การวิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต

กั หอสมุดกลา สำน ง

โดย

นายสิทธิพงศ์ สินธุปี

การค้นคว้าอิสระนีเป็นส่วนหนึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557 ลิขสิทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร การวิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต

กั หอสม ุดกลา สำน ง

โดย นายสิทธิพงศ์ สินธุปี

การค้นคว้าอิสระนีเป็นส่วนหนึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557 ลิขสิทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

THE ANALYSIS OF TRADING SOLOS IN IMPROVISATION BY JACK DEJOHNETTE

กั หอสมุด กลา สำน ง

By

Mr. Sittipong Sintupee

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Music Program in Music Research and Development Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2014 Copyright of Graduate School, Silpakorn University

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติให้การค้นคว้าอิสระเรือง “การวิเคราะห์ การด้นสดสลับเปลียนของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต” เสนอโดย นายสิทธิพงศ์ สินธุปี เป็นส่วนหนึงของ การศึกษาตามหลักสูตรปริญญา ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา

……...... (รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ห อ ส ม ุด วันที...... เดือน...... กล พ.ศ...... สำนกั าง

อาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์วุฒิชัย เลิศสถากิจ

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

...... ประธานกรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิศรี วงศ์ธราดล) ...... /...... /......

...... กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรัณย์ นักรบ) ...... /...... /......

...... กรรมการ (อาจารย์วุฒิชัย เลิศสถากิจ) ...... /...... /......

: สาขาสังคีตวิจัยและพัฒนา คําสําคัญ: การวิเคราะห์การด้นสด/พัฒนาโมทีฟ/แจ็ค ดิจอห์นเน็ต สิทธิพงศ์ สินธุปี: การวิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต. อาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์: อ.วุฒิชัย เลิศสถากิจ. หน้า.

การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาและวิเคราะห์แนวการพัฒนาโมทีฟในการด้น สดในท่อนสลับเปลียน ของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต นักบรรเลงกลองชุด ผู้วิจัยได้เลือกบทเพลงสองบท เพลงได้แก่ Bye Bye Blackbird และ I’ll Be Seeing You ซึงทังสองบทเพลงเป็นบทเพลงแจ๊ส มาตรฐาน และมีท่อนการด้นสดสลับเปลียนทีแตกตกั หอสมุดก่างกล ัน โดยผู้วิจัยได้ทําการศึกษาทังด้าน ประวัติศาสตร์กลองแจ๊ส สชีวประวัติของำน แจ็ค ดิจอห์นเน็ต และการวิเคราะห์บทเพลงาง ผู้วิจัยได้แบ ่งองค์ความรู้จากการวิเคราะห์ออกเป็นสามหัวข้อ คือ รูปแบบมือในการฝึก กลอง ส่วนย่อยของจังหวะ และรูปแบบการพัฒนาโมทีฟ จากการวิเคราะห์การบรรเลงด้นสดของ ของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต นันพบว่าเรืองรูปแบบมือในการฝึกกลองมีการใช้ ซิงเกิลสโตรก ดับเบิล สโตรก โรลสโตรก และแฟรมสโตรก เรืองส่วนยอยของจังหวะมีการใช้่ โน้ตตัวดํา โน้ตเขบ็ตหนึง ชันสามพยางค์ โน้ตเขบ็ตสองชัน และโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ เรืองรูปแบบการพัฒนาโมทีฟ มีการใช้ การทําซํา การเรียบเรียงประโยค การยืดหดของจังหวะ การตัดโน้ตในประโยค และการ เลือนจังหวะของประโยค ซึงความรู้ทังหมดนีเป็นความรู้พืนฐานทีสําคัญในบรรเลงกลองแจ๊สทีควร ทราบ ทังนีแจ็ค ดิจอห์นเน็ตสามารถนําความรู้เหล่านีมาประยุกต์ใช้จนเกิดเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ขึน

______สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชือนักศึกษา...... ปีการศึกษา 2557 ลายมือชืออาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์ …………………………………

: MAJOR: MUSIC RESEARCH AND DEVELOPMENT KEY WORD: ANALYSIS OF IMPROVISATION/MOTIF DEVELOPMENT/ JACK DEJOHNETTE SITTIPONG SINTUPEE: THE ANALYSIS OF IMPROVISATION BY JACK DEJOHNETTE. INDEPENDENT STUDY ADVISOR: MR.WOOTICHAI LERTSATAKIT. 78 pp.

This research aims to study and analyze motif development of Jack DeJohnette’s improvisation on trading used inกั 2 หsongs,อ สincludingมุดก : (1)ล าBye Bye Blackbird (2) I’ll Be Seeing You; These 2 compositions สำ classifyน as the standard jazz comงpositions, which collaborate with a disparity of trading solos in jazz improvise by mean of the researcher studying, in particular a history of drums, the biography of Jack DeJohnette and the analysis of compositions.

The researcher divided knowledge analysis into 3 subjects which are Drum Rudiment, Subdivision of the Beat and Motif Development. After analyzed Jack DeJohnette’s improvisation on trading, the researcher found that DeJohnette used Single Stroke, Double Stroke, Roll Stroke and Flam Stroke for Drum Rudiments. Quarter Note, Eighth Note Triplet, Sixteenth Note and Sixteenth Note Triplet were used in Subdivision of the Beat. For Motif Development, Repetition, Orchestrating Phrases, Rhythmic Elasticity, Rests within the Phrase and Adding Rests to the Phrase Or Rhythmic Displacement were applied. This knowledge is an important basic-learning for Jazz exercise, which all jazz players should know. However, Jack DeJohnette can apply all this knowledge to outstanding style and his own sound.

______Program in Music Research and Development Graduate School, Silpakorn University Student's signature ...... Academic Year 2014 Thesis Advisors' signature ......

กิตติกรรมประกาศ

การวิจัยในครังนีสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเนืองจากได้รับความกรุณาจาก อาจารย์วุฒิชัย เลิศสถากิจ ซึงเป็นอาจารย์ทีปรึกษาได้ให้ความช่วยเหลือและคําแนะนําอันเป็นประโยชน์อยางยิ่ งต่อ ผู้วิจัยส่งผลให้การวิจัยครังนีถูกต้องและสมบูรณ์ยิงขึน ผู้วิจัยขอขอบพระคุณในความกรุณาของ อาจารย์เป็นอยางสูง่ ตลอดจนขอขอบคุณบิดา มารดา พีชาย ทีคอยเป็นกาลังใจตลอดระยะเวลาในํ การทําวิจัยครังนี ส่งผลให้ผู้วิจัยสามารถดําเนินการวิจัยจนสําเร็จลุล่วงด้วยดี

กั หอสม ุดกล สำน าง

สารบัญ หน้า บทคัดยอภาษาไทย…………………………………………………………………………..่ ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ…………………………………………….…………….…………...่ จ กิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………….. ฉ สารบัญภาพ………………………………………………………………………………… ฌ บทที 1 บทนํา……………………………………………………………………...... 1 ความสําคัญของการศึกษา...... …………………………………….....กั หอสมุดกล 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา...... สำน าง ขอบเขตของการศึกษา...……………………………………….……………... 2 ประโยชน์ทีคาดวาจะได้รับ…………………….…………………….………..่ 2 2 การทบทวนวรรณกรรม…………….…………………….……………………..….. 3 ความรู้ทัวไปเก ียวกบกลองชุด...... ั ประวัติความเป็นมา...... ประวัติศาสตร์กลองแจ๊ส...... 6 เทคนิคพืนฐานในการบรรเลงกลองชุด…...... ส่วนยอยของจังหวะ...... ่ 13 รูปแบบมือในการฝึกกลอง………….……………………………..……… 15 เทคนิคพืนฐานในการบรรเลงด้นสดในกลองชุด……………………………... 23 โมทีฟ...... 23 การพัฒนาโมทีฟ……...... 25 การนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุด……………………………….. 28 ชีวประวัติ ของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ……………………………………….…… 31 3 วิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนระหวางเปียโนและกลองชุด่ ในเพลง Bye Bye Blackbird……………………………………………………………………. 35 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 8 ห้อง ครังที 1...... 36 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 8 ห้อง ครังที 2……………………….. 38 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 8 ห้อง ครังที 3……………………….. 40 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 8 ห้อง ครังที 4……………………….. 41

บทที หน้า วิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนระหวางแซกโซโฟนและกลองชุด่ ในเพลง I’ll Be Seeing You………………………………………………………………………... 43 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 3...... 44 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 5……………………….. 46 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 8……………………….. 48 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 12………………………. 49 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 17………………………. 51 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียนกั หอสม 4ุด ห้องก ลครังที 18………………………. 52 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียนสำน 4 ห้อง ครังทีาง 21………………………. 54 วิเคราะห์ท ่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 22………………………. 56 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 24………………………. 57 วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 28………………………. 59 5 สรุปผลการศึกษา………………..…………………………………………………. 61 สรุปผลการวิเคราะห์เพลง Bye Bye Blackbird……………………………… 61 สรุปผลการวิเคราะห์เพลง I’ll Be Seeing You………………………………. 62 รายการอ้างอิง………………..……………………………………………………………. 66 ภาคผนวก……………………..…………………………………………………………... 67 ประวัติผู้วิจัย…………………….…………………………………….…………………… 78

สารบัญตัวอย่าง ตัวอยางที่ หน้า 1 ส่วนยอยของจังหวะ่ เริมจากโน้ตตัวกลม ถึงโน้ตเขบ็ตสามชัน...... 14 2 เพลง Symphony No.5 in C Minor, Op. 67 First Movement...... 24 3 โมทีฟหลักในเพลง Symphony No. 5……...... 25 4 ตัวอยางการทําซํ่ า...... ……………….…………. 25 5 ตัวอยางการเรียงลําดับ...... ่ 26 6 ตัวอยางการพลิกกลับ…...... ่ 26 7 ตัวอยางการขยายตัวของขั่ นคูกั ่…...... หอสมุดกล 26 8 ตัวอยางการเพิ่ มขึน…………………………………………………………………..สำน าง 27 9 ตัวอยางการเปลียนแปลงจังหวะ……………………………………………………..่ 27 10 ตัวอยางการเลียนแบบ……………………………...... ่ 27 11 ตัวอยางโมทีฟหลักในการนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุด…………………..่ 28 12 ตัวอยางการทําซํ่ าในกลองชุด…..………………………………….…….………….. 29 13 ตัวอยางการเรียบเรียงประโยคในกลองชุด…………………………………………..่ 29 14 ตัวอยางการยืดหดของจังหวะในกลองชุด…...... ่ 30 15 ตัวอยางการตัดโน้ตในประโยคในกลองชุด…………………………………………่ 30 16 ตัวอยางการเว้นประโยคด้วยตัวหยุดหรือการเลือนจังหวะของประโยคในกลองชุด....่ 31 17 ท่อนเปียโนด้นสดในท่อนการสลับเปลียนครังที ……...... ……………………….. 36 18 การนําโมทีฟจากเปียโนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ...... 36 19 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที ………...... 20 การนําโมทีฟจากเปียโนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ...... 38 21 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที ………...... 38 22 การนําโมทีฟจากเปียโนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ...... 40 23 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที ………...... 40 24 การนําโมทีฟจากเปียโนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ………...... 41 25 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที ………...... 42 26 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ……...…... 44 27 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที ………..………………………..…... 44

ตัวอยางที่ หน้า 28 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที …………. 46 29 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที ………...…………………………… 46 30 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ...... 48 31 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที ………...…...... 48 32 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที …..……. 49 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที ...... 50 34 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครักั หอสมุดกล งที …….…... 51 35 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครัสำน งที ………...... าง 51 36 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครั งที ……….... 52 37 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที …………………………………….. 53 38 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ………… 54 39 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที …………………………………….. 54 40 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ………… 56 41 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที …………………………………….. 56 42 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ………… 57 43 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที …………………………………….. 58 44 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ………… 59 45 ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที …………………………………….. 59

บทที

บทนํา

1.1 ความสําคัญของการศึกษา ดนตรีแจ๊สเป็นดนตรีแขนงหนึงทีสร้างสรรค์โดยชนผิวดําชาวอเมริกันในช่วงต้น คริสต์ศตวรรษที โดยมีต้นกาเนิดมาจากเพลงบลูส์ํ อสมุด (Blues Music) ดนตรีแร็กไทม์ (Ragtime) และ หลากหลายวัฒนธรรมผสมผสานกำนกั นั หเนืองจากประวัติศาสตร์ของดนตรีแจ๊สถูกถกลาง ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ผานการเล่ ่าสู่กนฟังั และทางงานบันทึกเสียง ส จึงทําให้ไม่ทราบช่วงเวลาการเริมต้นและยุคสมัยของ ดนตรีแจ๊สในช่วงแรกทีแน่นอน จากนันดนตรีแจ๊สก็ได้ถูกพัฒนาโดยเหล่านักดนตรีผู้มี ความสามารถจนเกิดเป็นยุคสมัยต่างๆ อาทิเช่น นิวออร์ลีนส์ (New Orleans) สวิง (Swing Era) บีบ๊อพ (Bebop) คูลแจ๊ส (Cool Jazz) ฮาร์ดบ๊อพ (Hard Bop) โมดัลแจ๊ส (Modal Jazz) ฟรีแจ๊ส (Free Jazz) และฟิวชันแจ๊ส (Fusion Jazz) เป็นต้น ในการบรรเลงดนตรีแจ๊สสิงทีสําคัญคือ การด้นสด (Improvisation) เป็นการคิดและ การกระทําในขณะนัน โดยไม่ได้กาหนดหรือเตรียมมากํ ่อนล่วงหน้า ซึงการด้นสดนี เป็นหัวใจหลัก ของดนตรีแจ๊ส โดยใช้ทักษะและอารมณ์ในการบรรเลงดนตรีในขณะนัน การด้นสดทีน่าสนใจ ขึนอยูก่ บแนวคิดของแตั ่ละบุคคล ซึงจะแตกต่างกนไปั ในยุคก่อนเริมต้นดนตรีแจ๊ส กลองชุดมีหน้าทีเป็นเพียงเครืองดนตรีควบคุมจังหวะ เท่านัน แต่เมือดนตรีแจ๊สถือกาเนิดขึํ นบทบาทของกลองชุดได้เปลียนแปลงไปจากเดิม เมือแจ๊สให้ ความสําคัญในการด้นสด ซึงการด้นสดทําให้กลองชุดได้แสดงศักยภาพมากขึนในการบรรเลงกลอง ชุดในวงดนตรีแจ๊ส นอกจากเป็นเครืองดนตรีทีทําหน้าทีควบคุมให้จังหวะ และบรรเลงสนับสนุน (Comping) เครืองดนตรีอืนๆ ภายในวงดนตรี และรวมถึงการด้นสดตามโครงสร้างทางดนตรีซึง แสดงให้เห็นถึงทักษะและความเป็นเอกลักษณ์ในตัวผู้บรรเลง ในการบรรเลงด้นสดบนกลองชุดมี อยู่ รูปแบบ คือ )การด้นสดสลับเปลียน (Trading Solo) )การด้นสดตามสังคีตลักษณ์ (Form Solo) )การด้นสดแบบอิสระ (Free Form Solo) การด้นสดสลับเปลียน คือ การบรรเลงการด้นสดในช่วงสันๆ สลับเปลียนระหว่าง เครืองดนตรีอืนๆ กับกลองชุด ซึงแล้วแต่การนัดแนะกันตอนก่อนบรรเลงหรือในระหว่างการ บรรเลงว่าจะสลับเปลียนกีห้อง การด้นสดสลับเปลียนแสดงให้เห็นถึงทักษะ ความสามารถ

1

2

เฉพาะตัว ไหวพริบปฏิภาณในการโต้ตอบกบเครืองดนตรีอืนๆั ซึงแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงการด้น สดสลับเปลียนได้เป็นอยางดี่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เป็นผู้บรรเลงกลองทีบรรเลงได้อยางคล่ ่องแคล่ว เสียงกลองทีบรรเลง มีลักษณะเฉพาะตัว โดยเฉพาะการบรรเลงด้นสดสลับเปลียน แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงด้วยเทคนิค พืนฐานทีเรียบง่าย แต่สามารถเรียบเรียงการบรรเลงให้เป็นประโยคทีน่าสนใจและเป็นเอกลักษณ์ รวมทังมี ลักษณะการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหวางนักดนตรีทีบรรเลงโต้ตอบในการบรรเลง่ ด้นสดสลับเปลียนได้อยางดีเยียม่ โดยผู้วิจัยมีความสนใจค้นคว้าการบรรเลงด้นสดสลับเปลียน ของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต โดยเลือกเพลง Bye Bye Blackbird และเพลง I’ll Be Seeing You เนืองจากผู้วิจัยมี ความคิดเห็นว่า แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงด้นสดสลับเปลียนได้อยหอสมุดกล างโดดเด่ ่นและมีเอกลักษณ์เป็น ของตนเอง สำนกั าง

. วัตถุประสงค์ของการศึกษา ) ศึกษาประวัติศาสตร์กลองแจ๊ส 2) ศึกษาชีวประวัติของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต 3) วิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต

. ขอบเขตของการศึกษา การค้นคว้าอิสระเรือง การวิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ผู้ ศึกษาได้กาหนดขอบเขตของบทเพลงทีนํามาวิเคราะห์ํ จํานวนสองบทเพลง ดังนี 1) Bye Bye Blackbird 2) I’ll Be Seeing You ในบทเพลงดังกล่าว ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ท่อนที แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงการด้นสด เท่านัน

1.4 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ ผู้วิจัยมีความประสงค์ทีจะเผยแพร่สารนิพนธ์ฉบับนี เพือให้ผู้ทีสนใจได้รับความรู้เรือง การบรรเลงด้นสดของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ซึงสามารถนําไปประยุกต์กบความรู้ของผู้ทีสนใจศึกษาั และสามารถนําไปพัฒนาต่อไปเพือให้เกิดประโยชน์สูงสุด

บทที 2

การทบทวนวรรณกรรม

การค้นคว้าอิสระเรืองการวิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ผู้วิจัย ได้ศึกษาทบทวนในประเด็นดังนี . ความร้ทัวไปเกียวกับกลองชู ุด อสมุด 2.1.1 ประวัติความเป็นมาำนกั ห กลาง กลอง เป็นเครืองดนตรีทีเกส ่าแก่ทีสุด เปรียบเสมือนเป็นเครืองดนตรีชินแรกของ มนุษย์ ในอดีตมนุษย์ขึงหนังสัตว์บนรูกลวงของท่อนไม้ โดยตีหนังสัตว์ด้วยนิวและมือ เพือให้ จังหวะสําหรับการเต้นรําระหว่างชนเผ่า ต่อมาคนรุ่นใหม่ ก็ได้พัฒนาต่อ โดยนําเอากลอง หลากหลายใบและฉาบมาร่วมบรรเลงด้วยกนเรียกวั า่ กลองชุด (Drum Set) กลองชุดมีประวัติความเป็นมาตังแต่ประมาณปี ค.ศ. 1900 จากการเล่าสู่กนฟังของั บรรพบุรุษ กลองชุดในยุคแรกได้นําไปบรรเลงในละครเบ็ดเตล็ด (Vaudeville) เนืองด้วยต้องการลด จํานวนคนในการเล่นเครืองเคาะตี (Percussion) ซึงในวงทหารและวงออร์เคสตรา (Orchestral) จะ ใช้ผู้บรรเลงหลายคน กลองชุดพัฒนาโดยนํากลองใหญ่ (Bass Drum) ใช้เป็นศูนย์กลางแล้วนําเครือง เคาะตีอืนๆมาล้อมรอบ เช่น กลองสแนร์ (Snare Drum) กลองทอม (Tom Tom) และฉาบ (Cymbal) และสร้างขาตังเพือวางฉาบและอุปกรณ์อืนๆ เข้าด้วยกนซึงพัฒนาอยั างต่ ่อเนืองจนถึงปัจจุบัน ในปี ค.ศ. นักบรรเลงกลองเริมใช ้ กระเดืองบรรเลงกลองใหญ่ เป็นครังแรก ซึงเป็นต้นกาเนิดแนวคิดในการสร้างกลองชุดํ โดยจะนังบรรเลงด้วยผู้บรรเลงคนเดียวซึงมีกลองแค ่ ใบ คือกลองใหญ่ และกลองสแนร์ ซึงก่อนหน้านันในวงทหารและวงออร์เคสตราจะใช้ผู้บรรเลง หลายคน ในช่วง ค.ศ. 1890 ถึง ค.ศ. 1910 หลังจากได้คิดค้นกระเดืองบรรเลงกลองใหญ่ นักบรรเลงกลองได้พัฒนาทังวิธีการบรรเลงโดยแสดงออกถึงความรู้สึกทีเป็นอิสระของดนตรีแทน แบบเก่าทีมีแบบแผนบังคับให้ปฏิบัติตามการแสดงโดยการบรรเลงกลองเชือมประโยค (Fill In) และพัฒนาอุปกรณ์ในการประกอบเป็นกลองชุด

3

4

ในปี ค.ศ. ได้มีการคิดค้นขาตังฉาบไฮแฮทแทนแบบเดิมและเริมนํามาใช้ใน กลองชุด ใน ค.ศ. ได้มีการผลิตกลองชุดทีได้มาตรฐานออกจําหน่ายเป็นครังแรกและ ผู้ทําให้เป็นทีนิยมคือผู้บรรเลงกลองชือ เบน ดันแคน ต่อมาในปี ค.ศ. 1928 ถึง ค.ศ. 1935 เป็นยุคของ บิกแบนด์แจ๊ส (Big Band Jazz) จังหวะของดนตรีมีทังจังหวะเร็วและช้า การบรรเลงจังหวะช้านันเริมมีการใช้แส้ (Wirebrushes) นักบรรเลงกลองต้องเรียนรู้เกียวกบวิธีการใช้และวิธีการบรรเลงแส้และนักบรรเลงกลองต้องเป็นผู้ั ทีตังจังหวะในบทเพลงพร้อมทังยึดจังหวะให้มันคง ซึงเครืองดนตรีอืนๆ จะปฏิบัติตามจังหวะกลอง ชุด กั หอสมุดกล ปี ค.ศ. 1935สำ น จังหวะแบบใหม่ทีมีชือว่า สวิงาง (Swing) เริมแพร่หลายช่วงตอนต้น ของปี บทเพลงทุกเพลงต้องมีกลองชุดเข้าร ่วมบรรเลงด้วยเสมอ และต้องมีการบรรเลงด้นสดเดียว ถึงขนาดนักบรรเลงกลองชุดทีมีชือเสียง นําชือของตนเองมาตังเป็นชือของวงดนตรี ในยุคนีจึงถือวา่ เป็นยุคของนักบรรเลงกลองชุดทีประสบความสําเร็จอยางสูง่ เช่น จีน ครูปา และบัดดี ริช โดยในปี ค.ศ. มีการใช้กลองใหญ่ ใบ ในการบรรเลงพร้อมกันเป็นครังแรกโดยนักบรรเลงกลอง แจ๊สชือวา่ หลุย เบลซัน (Louie Bellson, ค.ศ. 19242009) ช่วงระยะสงครามโลกครังทีสอง ในปี ค.ศ. 1940 เป็นช่วงทีมีความต้องการใน ดนตรีสวิงเป็นอย่างมาก เพราะทหารต้องการฟังเพลงหลังจากออกรบ ในระหว่างช่วงสงคราม นักบรรเลงกลองเริมเบือหน่ายการบรรเลงจังหวะเดิมๆ และริเริมคิดจังหวะใหม่โดยเกิดจากการ บรรเลงร่วมกัน (Jam Sessions) ของนักดนตรีหลังเลิกจากงานในวงบิกแบนด์ ที Minton’s Playhouse ในยานฮาเล็ม่ จนเกิดเป็นดนตรีบีบ๊อพในเวลาต่อมา ในปี ค.ศ. หลังจากสงครามโลกครังทีสองสงบลงรสนิยมของบุคคลทัวไป เริมเปลียนแปลง ดนตรีแบบคอมโบ้ (Combo) เริมได้รับความนิยมอยางแพร่ ่หลาย และเป็นดนตรีที ได้รับอิทธิพลจากดนตรีบิกแบนด์ ซึงยังคงเป็นในแบบดนตรีเต้นรํา โดยเรียกกนวั า่ ริทึมแอนด์บลูส์ (Rhythm and Blues) โดยผู้บรรเลงกลองจะเล่นในจังหวะที และ โดยบรรเลงทีกลองสแนร์ตลอด ทังเพลง ในช่วงปี ค.ศ. เมือ ริงโก สตาร์ (Ringo Starr, ค.ศ. ปัจจุบัน) นัก บรรเลงกลองแห่งวง เดอะบีทเทิลส์ (The Beatles) ได้ทําการแสดงออกในรายการโทรทัศน์ที ประเทศอเมริกา ทําเกิดคนทัวไปเก ิดแรงจูงใจในการบรรเลงกลองเป็นจํานวนมาก และในช่วงปี ค.ศ. ผู้บรรเลงกลองนิยมบรรเลงกลองชุดชุดใหญ่ ซึงมีกลองและฉาบหลายใบ เช่น บิลลี ค็อปแฮม (, ค.ศ. ปัจจุบัน) ฟีล คอลลิน (Phil Collins, ค.ศ. ปัจจุบัน) 5

ไซมอน ฟิลิปซ์ (Simon Phillips, ค.ศ. ปัจจุบัน) และนีล เพิท (Neil Peart, ค.ศ. ปัจจุบัน) และในช่วงเวลานียังมีการเริมใช้กลองไฟฟ้าอีกด้วย

ส่วนประกอบของกลองชุด กลองชุด เป็นเครืองดนตรีประเภทเครืองเคาะตี กลองชุดประกอบด้วย กลองและ ฉาบลักษณะต่างๆหลายใบรวมกนั โดยใช้ผู้บรรเลงเพียงคนเดียวและใช้ไม้กลองเพือตีควบคุม จังหวะ กลองชุดเป็นเครืองดนตรีทีให้เสียงหนักแน่น สามารถให้จังหวะทีแข็งแรงในการเล่น สนับสนุนวงและรวมถึงการด้นสดอีกด้วย กลองชุดเป็นหนึงในเครืองดนตรีทีได้รับความนิยมทัว โลก กลองทีใช้ร่วมบรรเลงกบกลองชุดมีดังนีั กั หอส มุดกล . กลองใหญสำน่ (Bass Drum) เป็นกลองทีลักษณะคล้ายกาง บกลองใหญั ่ทีบรรเลงในวง ดุริยางค์ แต่จะมีขาหยั ง ไว้สําหรับวางทีด้านหน้าของตัวกลองเพือไม่ให้กลองเคลือนที ขนาดกลอง ใหญ่ทีนิยมใช้ทัวไป คือ ขนาดหน้ากว้าง นิว และด้านยาว นิว หรือขนาดหน้ากว้าง นิว และด้ายยาว นิว การเล่นกลองใหญ่ จะใช้เท้าขวาเหยียบทีกระเดือง (Pedal) ซึงเป็นอุปกรณ์อีกชิน หนึงทีติดตังอยู่ทีด้านหลังกลองใหญ่ มีลักษณะเป็นแป้นเหยียบซึงมีกานเหล็กและหัวนวมติดอยู้ ่ที ตัวกระเดือง 2. กลองสแนร์ (Snare Drum) เป็นกลองใบเล็กคล้ายกบกลองสแนร์ทีใช้บรรเลงั ในวงดุริยางค์แต่ความสูงจะน้อยกวา่ มีลักษณะเด่นคือจะมี แส้สแนร์ (Snare Wire) มีลักษณะเป็น เส้นลวดจํานวนหลายเส้น ขึงอยูก่ บหนังกลองทีด้านใต้ของตัวกลองั ขนาดของกลองสแนร์ทีนิยมใช้ คือ ขนาดหน้ากว้าง 14 นิว และด้านยาว นิว กลองสแนร์มีบทบาทสําคัญในการบรรเลงกลองในวง ทังในการบรรเลงในรูปแบบหลัก และการด้นสด 3. ฉาบ (Cymbals) เป็นส่วนประกอบอีกชินหนึงของกลองชุด ลักษณะเหมือนกบั ฉาบทีใช้บรรเลงในวงดุริยางค์ ฉาบมีหลากหลายขนาด โดยทัวไปนิยมใช้ฉาบหลัก 2 ใบ ได้แก่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2024 นิว วางไว้ทางขวามือฉาบชนิดนีเรียกว่า ไรด์ (Ride) และขนาด เส้นผาศูนย์กลาง่ 1419 นิว วางไว้ทางซ้ายมือฉาบชนิดนีเรียกวา่ แครช (Crash) และนอกจากนียังมี ขนาดทีน้อยกวา่ 14 นิว วางไว้ตามตําแหน่งต่างๆ รอบกลองเพือเล่นเสริมฉาบหลักทังสองใบเรียกวา่ สแปลช (Splash) ฉาบทุกใบจะไม่มีเชือกผูกติดอยู่แต่จะมีขาหยังเพือวางฉาบ เวลาบรรเลงใช้ไม้ กลองตีทีฉาบด้านบนเพือให้เสียงสัน และตีทีขอบเพือให้เสียงทียาว 4. ไฮแฮท (Hi Hat) คือ ฉาบสองใบทีนํามาประกบกนโดยทัั วไปนิยมใช้ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 1315 นิว ฉาบทังสองใบจะวางอยู่ทางด้านซ้ายมือของกลองชุด โดยมีขาตัง ไฮแฮทรองรับใบหนึงวางลงบนขาตังในลักษณะหงายขึน และอีกใบหนึงวางควําลงโดยเสียบอยูก่ บั 6

ตัวจับไฮแฮท ซึงมีลักษณะเป็นโลหะโดยสามารถใส่ไฮแฮทเข้าไปได้จากรูตรงกลางและขันน๊อต เกลียวให้แน่น ตัวจับไฮแฮทจะมีก้านหมุนเพือจับกบแกนเหล็กบนขาตัั งอีกทีหนึง เพือทําการตัง ระยะห่างของฉาบทังสองใบ โดยให้ระยะห่างกนพอประมาณั เพือไม่ให้ฉาบทังสองใบชิดติดกนั ทางด้านล่างของขาตังจะมีกระเดืองสามารถเหยียบเพือให้ฉาบทังสองใบตีกระทบกนั หรือสามารถ เหยียบหรือปล่อยเพือกาหนดระยะหํ ่างของฉาบทังสอง ในการบรรเลงใช้ไม้กลองตีทีไฮแฮท โดยยิง ฉาบห่างกนมากกั ็จะให้เสียงทียาวมากขึน 5. ทอม ทอม (Tom Tom) คือ กลองขนาดเล็กหลายใบ ในกลองชุดปกติจะนิยมใช้ จํานวนสองใบ โดยทัวไปนิยมใช้ ทอม ทอม ขนาดหน้ากว้าง 13 นิว และด้านยาว 9 และขนาดหน้า กว้าง 14 นิว และด้านยาว 14 นิวโดยใบเล็กจะถูกติดตักั หอสมุดกงอยูล่ทางด้านซ้ายและใบใหญ่จะติดตังทาง ด้านขวา ทังสองใบจะมีตัวจับกลองทอมสำน ทอม เพือติดตังลงบนแกนทีติดกาง บกลองใหญั ่ เสียงของ ทอม ทอม ด้านซ้ายจะให้เสียงทีสูงกว าด้านขวา่ การบรรเลงใช้ไม้ตีลงบนกลองทอม ทอม โดยส่วน ใหญ่จะใช้ในการบรรเลงกลองเชือมประโยคและการด้นสด 6. ฟลอร์ทอม (Floor Tom) คือ กลองทอมใบใหญ่ มีรูปร่างลักษณะเหมือนกบั กลอง ทอม ทอม แต่มีขนาดทีลึกและกว้างกวา่ และจะมีขาตังติดกบตัวฟลอร์ทอมั เพือตังอยู่ด้าน ขวามือชิดกบกลองใหญั ่ เสียงของ ฟลอร์ทอมจะตํากวาเสียงทอม่ ทอม แต่เสียงสูงกวาเสียงกลอง่ ใหญ่ โดยทัวไปนิยมใช้ ฟลอร์ทอมขนาด ขนาดหน้ากว้าง 16 นิว และด้านยาว 16 นิว

.. ประวัติศาสตร์กลองแจ๊ส ในดนตรีแจ๊ส กลองชุด คือ เครืองดนตรีหลักทีคอยสนับสนุน โต้ตอบ และบรรเลง การด้นสด เช่นเดียวกนกั บนักดนตรีแจ๊สเครืองอืนั แต่อยางไรก่ ็ตามความรับผิดชอบหลักของผู้ บรรเลงกลองชุดก็ยังคือการรักษาจังหวะและจิตวิญญาณในการบรรเลง ผู้บรรเลงกลองต้องพัฒนา วิสัยทัศน์รวมถึงความสามารถในการบรรเลง ไปพร้อมๆกนกั บยุคสมัยของดนตรีแจ๊สั เพราะดนตรี แจ๊สเป็นการผสมผสานองค์ประกอบของวัฒนธรรมของแอฟริกา ยุโรป และอีกหลากหลาย วัฒนธรรมในปัจจุบัน จังหวะของดนตรีแจ๊สได้รับอิทธิพลจากดนตรีของคนผิวสี เรืองราวต่างๆ ทีเกิดขึน ณ เมืองนิวออร์ลีนส์1 ถือได้วาเป็นเมืองท่ ่า ประชากรประกอบด้วยผู้คนหลากหลายเชือชาติทังคนผิว

1Jazz Drumming, accessed July 1, 2014, available from http://en.wikipedia.org/wiki/Jazz_drumming 7

ขาว คนผิวสี และชาวครีโอ วัฒนธรรมของชาว สเปนและชาวฝรังเศส เสมือนเป็นศูนย์รวม วัฒนธรรม ภายในปีทีเกิดการเลิกทาส ดนตรีแจ๊สได้ขับเคลือนไปด้วยวงดนตรีเครือง ทองเหลือง ต้นแบบมาจากจังหวะมาร์ช บรรเลงในวงพาเหรดในทีโล่งแจ้ง และใช้เครืองเคาะตี ชนิดได้แก่ กลองใหญ่ กลองสแนร์ และฉาบ วงในรูปแบบนีเกิดขึนมากมายทัวทังเมือง นิวออร์ลีนส์ ร่วมแสดงในหลากหลายโอกาส เช่น งานศพ งานแสดงในสวนสาธารณะ จนกระทัง สงครามโลกครังทีหนึงได้สินสุดลง นักดนตรีแจ๊สจํานวนมากได้กระจายตัวออกไปตามเมืองต่างๆ โดยเฉพาะทีเมืองชิคาโก2้ ดนตรีแจ๊สมีส่วนประกอบหลักๆมาจากดนตรีแนวแร็กไทม์กั หอสมุดกล ซึงเกิดขึนทางตอน เหนือไปจนถึงฝังตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกาสำน ผู้บบรรเลงกลองจะเลาง ่นจังหวะยกในสไตล์ เพลง แร็กไทม์ สืบเนืองมาจากดนตรีมาร์ชทางทหารของประเทศฝั งยุโรป โดยมักจะเล่นบนกลอง สแนร์เป็นหลัก การตีกลองแจ๊สเริมเป็นทีนิยมในเมืองนิวยอร์ก (New York) ในช่วงปี ค.ศ. เมือนักดนตรีชือโทนี สปาร์โก (Tony Spargo, ค.ศ. ) เป็นผู้บรรเลงกลองชุด ได้เดินทาง มาจากเมืองนิวออร์ลีนส์ พร้อมกบวงั Original Dixieland Jazz Band ถึงแม้เขาจะไม่ได้เป็นผู้คิดค้น จังหวะใหม่เหล่านี แต่ก็เป็นการสร้างแนวทางในการเล่นดนตรีแจ๊สให้กบผู้บรรเลงกลองอีกหลายๆั คน เบบี ด็อดซ์ (Baby Dodds, ค.ศ. ) ถือได้วาเป็นผู้บรรเลงกลองอีกหนึงคน่ ทีสําคัญมากต่อวงการดนตรีแจ๊ส เบบี ด็อดซ์ มาจากเมืองนิวออร์ลีนส์ โดยเริมเรียนรู้เครืองดนตรี ของตนเองพร้อมทังยังสามารถอ่านโน้ตดนตรีได้อีกด้วย การเล่นของเขานันไม่ได้เน้นในด้าน เทคนิค แต่ดนตรีทีเขาเล่นนันเป็นทีน่าจดจําอยางมาก่ เขาจะบรรเลงดนตรีในแบบเรียบง่าย แม้เขาจะ บรรเลงในอัตราส่วนจังหวะทับซ้อน (Polyrhythms) แต่เขาก็ยังรักษาความสมดุลทางด้านดนตรีได้ เป็นอยางดี่ ในบันทึกการแสดงสดที Folkways จัดขึนที New York’s Town Hall ในปี ค.ศ. ถือ ว่าเป็นการบันทึกเสียงกับศิลปินชันนํา เช่น คิง โอลิเวอร์ (King Oliver, ค.ศ. ) ซิดนีย์ บีเช็ท (Sidney Bechet, ค.ศ. ) หลุยส์ อาร์มสตรอง (Louis Armstrong, ค.ศ. ) และเจลลี โรลล์ มอร์ตัน (Jelly Roll Morton, ค.ศ. 18901941)

2Bill Kirchner, The Oxford Companion to Jazz (Oxford University Press, 2005), 683. 8

หลังจากทีดนตรีแจ๊สได้พัฒนาอย่างต่อเนืองทังด้านอุปกรณ์และเทคนิคในการ บรรเลง มีฉาบทีชือวา่ โลว์ บอย (Lowboy) คือ ฉาบประกบกนั อัน ซึงได้พัฒนาต่อมาเป็นไฮแฮท (Hihat) ซึงมีความสูงกวาฉาบโลว์่ บอย ทําให้ผู้บรรเลงกลองสามารถพัฒนาสร้างความอิสระในการ บรรเลงของมือและเท้าได้มากขึน ต่อมาผู้บรรเลงกลองชือว่า ดี แชนเดลอ (Dee Chandler, ค.ศ. ) ได้คิดค้นการนํากระเดืองหัวไม้มาใช้งาน ทําให้เกิดการพัฒนาไปข้างหน้าอย่างไม่ สินสุด ในการบรรเลงกลองแจ๊สยังไม่มีหลักฐานทีแน่ชัดว่าใครเป็นผู้บรรเลงกลองแจ๊ส คนแรกหรือด้นสดเป็นคนแรก ถึงอย่างไรก็ตามผู้บรรเลงกลองก็ได้ช่วยกันพัฒนารูปแบบและ วิธีการ ตังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยผู้บรรเลงกลองทีมีชือเสียง 3 หอสมุดกล ชิก เว็บส (Chickำนกั Webb, ค.ศ. )าง ในช่วงแรกของยุคสวิง ชิก เว็บ เปรียบเสมือนพระเจ้าของมือกลองหน้าใหม ่ เพราะวาตอนนั่ นเขาเป็นผู้บรรเลงกลองคนเดียวทีเป็น หัวหน้าวงบิกแบนด์ และการบรรเลงของเขารวมเอาไว้ด้วยความแม่นยําของจังหวะ และความเร็วที เร้าอารมณ์ ชิก เว็บ ถือว่าเป็นอีกคนทีสร้างความสมดุลระหว่างการบรรเลงกลองชุดกบวงดนตรีั แจ๊ส ชิก เว็บได้ใช้กลองทังชุดในการรักษาจังหวะ แต่ให้ความสําคัญไปที ไฮแฮท และกลองใหญ่ จีน ครูปา (Gene Krupa, ค.ศ. ) เป็นผู้บรรเลงกลองทีชือเสียงสําหรับยุค นัน ด้วยการร่วมงานกบั เบนนี กู๊ดแมน (Benny Goodman, ค.ศ. ) ในปี ค.ศ. ถือได้วาเป็นตํานานสําหรับผู้บรรเลงกลอง่ ด้วยสไตล์การบรรเลง รวมถึงการด้นสดกลองทีตืนตา ตืนใจ จีน ครูปา ใช้รูปแบบมือในการฝึกกลอง (Drum Rudiments) ทัง แบบ นํามาทดลอง ผสมผสานและสามารถนํามาใช้บรรเลงได้อยางดีมาก่ ทําให้จีน ครูปา ประสบความสําเร็จเป็นอยาง่ มาก ผลงานทีโดดเด่น คือเพลง Sing, Sing, Sing และจีน ครูปาคือลูกศิษย์ของ เบบี ด็อดซ์ อีกด้วย บัดดี ริช (Buddy Rich, ค.ศ. ) เป็นผู้นําวงบิกแบนด์ร่วมสมัยในตอนนัน จนกระทังปี ค.ศ. 1987 ทีเขาเสียชีวิต และยังคงดํารงไว้ซึงตํานานอันโด่งดังในแวดวงแจ๊ส และเป็น มือกลองแจ๊สทีมีชือเสียงมากทีสุดในโลก ด้วยการบรรเลงทีรวดเร็ว แต่นุ่มนวล และมีความแม่นยํา อยางมาก่ หัวหน้าวงบิกแบนด์หลายๆวงได้พยายามดึงตัวบัดดี ริชเข้ามาเล่นด้วย อาทิเช่น อาตี ชอว์ (Artie Shaw, ค.ศ. ) ทอมมี ดอซี (Tommy Dorsey, ค.ศ. ) เบนนี กู๊ดแมน และ เคาท์ เบซี (Count Basie, ค.ศ. ) รวมไปถึงนักดนตรีทีโด่งดังอยาง่ เลสเตอร์ ยัง (Lester Young, ค.ศ. ) ชาร์ลี พาร์กเกอร์ (Charlie Parker, ค.ศ. ) และดิซซี กิลเลสพี (Dizzy Gillespie, ค.ศ. )

3Ibid., 685. 9

เคนนี คลาร์ก (Kenny Clarke, ค.ศ. ) ได้พยายามหาหนทางใหม่ๆ สําหรับการบรรเลงกลอง ย้อนไปตังแต่ปี ค.ศ. ขณะทีเคนนี คลาร์ก ยังร่วมวงกบั Lonnie Simmons’s band เขาได้พัฒนาไอเดียโดยร่วมงานกบเพือนในวงั เคนนี คลาร์ก ได้เริมเล่นเพลงจาก การบรรเลงฉาบ แทนทีจะเริมโดยไฮแฮทหรือ สแนร์ แต่ใช้สแนร์และกลองใหญ่ในการบรรเลง สนับสนุนวง จึงทําให้ดนตรีไหลลืนยิงขึนทําให้ผู้บรรเลงกลองเล่นเพลงทีจังหวะเร็วขึนได้อย่าง ง่ายดาย และในปี ค.ศ. เขาได้ร่วมงานกบั ทีโลเนียส มังค์ (, ค.ศ. 19171982) ด้วยรูปแบบการบรรเลงทีคมชัดหนักแน่นและมีนําหนักในการบรรเลงทีดีเยียม เมือครังแรกที แมกซ์ โรช4 (Max Roach, ค.ศ. ) บันทึกเสียงกบั ชาร์ลี พาร์กเกอร์ โดยค่าย Savoy ในปี ค.ศ.ห อส ทําให้ผู้บรรเลงกลองอยมุดกล ่าง แสตน เลฟวี (Stan Levey, ค.ศ. ) ตกตะลึงในความเป็นธรรมชาติในการบรรเลงและเทคนิคของสำนกั าง แมกซ์ โรช ในการ แสดงสดที Onyx Club ในเมืองนิวยอร์ก ปี ค.ศ. และแสตน เลฟวี ยังได้ทิงไว้วา่ “การทีเขา (แมกซ์ โรช) สามารถแบ่งการควบคุมมือและเท้าได้อยางดีเยียมนั่ น ทําให้ผม(แสตน เลฟวี) สับสน อย่างมากในตอนแรก ต้องใช้เวลาชัวขณะ ถึงจะสามารถเกิดความคุ้นเคย แมกซ์ โรช ทําให้การ บรรเลงกลองไม่ใช่เป็นเพียงการรักษาจังหวะอีกต่อไป” อาร์ต เบลกกี (Art Blakey, ค.ศ. ) เป็นผู้บรรเลงกลองอีกคนทีได้ย้าย รากฐานตนเองไปทีเมืองนิวยอร์ก ในปี ค.ศ. กบวงั Billy Eckstine ซึงได้รับแรงบันดาลใจจาก ชิก เว็บ โดยการควบคุมวงของ ดิซซี กิลเลสพี เช่นเดียวกับผู้บรรเลงกลองทีน่าทึงทังหลาย อาร์ต เบลกกีได้นําเสนอเทคนิคใหม่ๆให้กบผู้บรรเลงกลองแจ๊สั และพัฒนาขึนไปอีกระดับหนึง โดยบรรเลงไฮแฮทในจังหวะที และ ในเครืองหมายกาหนดจังหวะํ / และมีการเล่นไขว้ จังหวะกนระหวั างกลองสแนร์และกลองทอม่ ฟิลลี โจ โจนส์ (Philly Joe Jones, ค.ศ. ) ผู้ซึงนําเอาหลักการตีกลอง รูปแบบใหม่ผสมเข้ากับรูปแบบเดิมจนมีความเป็นตัวเอง ฟิลลี โจ โจนส์ มีชือเสียงจากการที ร่วมงานกบั ไมล์ส เดวิส (Miles Davis, ค.ศ. ) ในช่วงปี ค.ศ. โทนี วิลเลียมส์ (Tony Williams, ค.ศ. ) ได้กล่าวไว้วาผลงานของ่ ฟิลลี โจ โจนส์ อัลบัม Milesstones นันถือวา่ เป็นการบันทึกการบรรเลงกลองแจ๊สทียอดเยียมทีสุด ฟิลลี โจ โจนส์ได้นําเอารูปแบบมือในการฝึก กลอง มาบรรเลงได้อย่างแท้จริงบนกลองชุดและพัฒนาความหลากหลายจนเกิดรูปแบบใหม่ๆ ในแนวทางการบรรเลง ผู้บรรเลงกลองในยุคบีบ๊อพ ไม่เพียงแต่สร้างสรรค์ดนตรีและจังหวะทีซับซ้อน แต่ ได้เพิมอุปกรณ์ในการบรรเลงทีมากขึน ไฮแฮทก็ได้มีการขยับขยายขนาดมากขึน และเช่นเดียวกนั

4Ibid., 689. 10

กบฉาบั และกลองใหญ่ ก็ได้เพิมขนาดขึนด้วยเช่นกนั รอย เฮนย์ส (Roy Haynes, ค.ศ. ปัจจุบัน) และแมกซ์ โรช ได้พัฒนาให้ตัวกลองมีความกว้างในแนวตังทีสันลง ไม่ยาวแบบเมือก่อน เพราะให้การตอบสนองทีทันทีและทําให้เกิดเสียงทีคมชัดขึน และหลุยส์ เบลสัน เลือกทีจะใช้ กลองใหญ่สองใบในการบรรเลง และได้เพิมขนาดทอมทีหลากหลายขึน และช่วงนีคือการปฏิวัติ อุปกรณ์ของกลองชุดตังแต่นันมา รอย เฮนย์ส5 กาเนิดทีเมืองบอสตันํ (Boston) หลังจากนันเขาได้ย้ายไปทีเมือง นิวยอร์ก พร้อมกบวงบิั กแบนด์ของลูอิส รัสเซล (Luis Russel, ค.ศ. ) ในปี ค.ศ. ความสามารถของเขาเองได้ทําให้ เลสเตอร์ ยัง และชาร์ลี พาร์กเกอร์ สนใจและได้บรรเลงร่วมกนั ในเวลาต่อมา อนาคต รอย เฮนย์ส เป็นผู้บรรเลงกลองทีมีจินตนาการหอสมุดกล แม่นยําในจังหวะและสัดส่วน โน้ตทีชัดเจน และบรรเลงดนตรีได้ทุกแนวสำนกั รอย เฮนย์ส มักจะนําเสนอความคิดและสือสารโต้ตอบาง กบบทเพลงั ณ เวลานั น แทนทีจะให้ความสําคัญกบการตีรูปแบบั (Pattern) เดิม ทีฉาบไรด์ ทําให้ รอย เฮนย์สเป็นอีกหนึงตัวอยางของผู้บรรเลงกลองร่ ่วมสมัย ผลงานของรอย เฮนย์สทีน่าสนใจคือ อัลบัม Now He Sings, Now He Sobs ซึงเป็นอัลบัมทีชิค คอเรีย (Chick Corea, ค.ศ. ปัจจุบัน) ได้กล่าวไว้วา่ รอย เฮนย์ส ได้บรรเลงดนตรีออกมาในความคิดสร้างสรรค์ระดับสูงสุด เมือ เอลวิน โจนส์ (Elvin Jones, ค.ศ. ) ย้ายจากเมืองดีทรอยต์ (Detroit) มาทีเมืองนิวยอร์กในช่วงปี ค.ศ. นักทรัมเป็ต โดนัลด์ เบิร์ด (Donald Byrd, ค.ศ. ) ได้กล่าวไว้วา่ “ผมได้ให้ โจนส์ ร่วมอัดเพลงมากมาย แต่ทําไมผมถึงเลือกโจนส์ ทังๆทีโจนส์เล่น จังหวะทีแปลกประหลาด และยังเน้นในจังหวะทีไม่ควรเน้น แต่ผมว่าไม่ใช่สิงทีฟังดูแย่เลย” เอลวิน โจนส์ ได้เริมแสวงหา เครืองหมายกาหนดจังหวะใหมํ ่ๆ ซึงเกิดจากการบรรเลงอัตราจังหวะ ซ้อน (Odd Time) ในรูปแบบทีหลากหลาย เช่น บรรเลงเครืองหมายกาหนดจังหวะํ / ในขณะที บรรเลงบนเครืองหมายกาหนดจังหวะํ / ไมเคิล เจมส์ นักดนตรีชาวอังกฤษกล่าวถึงเอลวิน โจนส์ ว่า “เขา (เอลวิน โจนส์) ทําให้ผู้บรรเลงทีกาลังด้นสดรังเกํ ียจเขาไปเลย เพราะว่า โจนส์ บรรเลงตามทีเขารู้สึก เล่นตาม มุมมองของเขา เล่นตามแบบฉบับดนตรีของเขาเอง เช่นไฮแฮทควรจะเหยียบทีจังหวะที และ แต่ บางทีเปลียนเป็น และ หรือเหยียบไปบนทุกๆจังหวะแม้วาความเร็วของเพลง่ จะเร็วหรือช้า แต่ที เราแน่ใจได้เลยว่าโจนส์ ได้เล่นทุกอย่างเหล่านีอยู่บนจังหวะของเพลงเสมอ” แพท ลาบาร์เบอรา (Pat LaBarbera, ค.ศ. ปัจจุบัน) นักแซกโซโฟน ยังได้กล่าวไว้อีกวา่ “โจนส์ไม่ได้บรรเลงกลอง ในส่วนทีมันควรจะเป็น แต่เขาทําให้คุณต้องพึงตัวเองด้วย”

5 Ibid., 691. 11

เอลวิน โจนส์ ได้ร่วมงานกบั จอห์น โคลเทรน ทังคู่ได้นําเสนอดนตรีในรูปแบบที ต่างออกไป ซึงเป็นการผสมผสานกนอยั ่างลงตัวของนักแซกโซโฟนระดับตํานานและผู้บรรเลง กลองทีมีความคิดทีนอกกรอบ โทนี วิลเลียมส์ ได้ร่วมวงกบั ไมล์ส เดวิส ขณะทีอายุเพียง ปี โทนี วิลเลียมส์เริม บรรเลงกลองตังแต่ปี ค.ศ. เมืออายุได้ ปี โดยฝึกซ้อมอยางหนักและพัฒนาดนตรีในรูปแบบ่ ร่วมสมัย (Contemporary) ตามแบบฉบับของ แมกซ์ โรช รอย เฮนย์ส อาร์ต เบลกกี และ ฟิลลี โจ โจนส์ และวิเคราะห์อยางลึกซึ่ งถึงสิงทีสามารถบรรเลงได้ และซ้อมสิงทียังบรรเลงไม่ได้ โทนี วิลเลียมส์ ทําให้เกิดการเปลียนแปลงครังยิงใหญ่ในวงของ ไมล์ส เดวิส การ ใช้กลองชุด ไฮแฮท และฉาบของโทนีห วิลเลียมส์อสม เปรียบเสมือนการอธิบายความคิดในขณะนัุดกล น ทํา ให้บางทีการเล่นของโทนีส วิลเลียมส์ำนกั ให้ความรู้สึกในการสือสารอารมณ์ออกมารุนแรงหรือฟังดูาง โครมครามเกินกวาทีมันควรจะเป็น่ แต่มิใช่ความดังทีเกินไปแต่อยางใด่ นันคือความสวยงาม เป็น การแสดงทีลืนไหล แสดงถึงความเข้ากนของวงในทุกเครืองดนตรีอยั ่างพอเหมาะ โทนี วิลเลียมส์ จึงถือได้ว่าเป็นผู้บรรเลงกลองทียกระดับหน้าทีของผู้บรรเลงกลองให้เท่าเทียมกนกั บเครืองดนตรีั อืนในวงดนตรีแจ๊ส เช่นเดียวกบเอลวินั โจนส์ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต6 (Jack DeJohnette, ค.ศ. ปัจจุบัน) เป็นอีกหนึงคนทีเป็นแรง บันดาลใจให้กับผู้บรรเลงกลองในทุกวันนี เหมือนกับ ฟิลลี โจ โจนส์ และโทนี วิลเลียมส์ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้ทําการโยกย้ายรูปแบบจังหวะ ไปในทุกๆความเป็นไปได้ในเพลง ผู้บรรเลง กลองทุกคนต่างรับรู้ถึงความสามารถของแจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ จากผลงานในช่วงปลายยุค ถึง ช่วงต้นของยุค เมือได้ร่วมบรรเลงกบั ชาร์ล ลอย (Charles Lloyd, ค.ศ. ปัจจุบัน) บิล อีแวนส์ (Bill Evans, ค.ศ. ) และไมล์ส เดวิส แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เลือกใช้กลองชุดทีมีขนาดใหญ่ เช่น กลองสแนร์ ใบ กลองใหญ่ ใบ ทอม ใบ ไฮแฮท แล้วก็ฉาบอีก ใบ บางครังก็นําพวกเครืองดนตรีอิเล็กทรอนิกส์เข้ามา บรรเลงด้วย แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้เรียนรู้จาก แมกซ์ โรช ฟิลลี โจ โจนส์ เอลวิน โจนส์ และโทนี วิลเลียมส์ ทังยังได้ศึกษากบั พอล โมเชียน (Paul Motian, ค.ศ. ) ซึงแจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้ ปรับเปลียนวิธีการบรรเลงจนกลายเป็นรูปแบบของตัวเอง ในยุคปี ค.ศ. เกิดการเพิมจํานวนของกลองชุดทังขนาดทีใหญ่ขึนและฉาบ ทีมากขึน บิลลี คอปแฮม ถือได้ว่าเป็นผู้ทีริเริมนําเอากลองใหญ่ ใบมาใช้พร้อมกนั รวมถึงกลอง ทอมอีกมากมาย ทังอุปกรณ์เล็กทรอนิกส์อีกด้วย ฟังจากผลงานทีเขาได้บันทึกเสียงกับวง John McLaughlins’ Mahavishnu Orchestra และ ไมล์ส เดวิส รวมถึงผลงานของตนเอง เป็นสิงที

6 Ibid., 693. 12

ชีให้เห็นว่าบิลลี คอปแฮม ชืนชอบดนตรีในหลากหลายแนวรวมถึงความสามารถทีแสดงออกมา บิลลี คอปแฮมได้กล่าวไว้วาในยุค่ นัน ผู้บรรเลงกลองทีมีหน้าทีรักษาจังหวะนันได้จบลงแล้ว ผู้บรรเลงกลองควรจะรับมือกบหน้าทีอืนั ซึงบิลลี คอปแฮมได้ทํามันให้เกิดขึนนันเอง สตีฟ แกดด์ (Steve Gadd, ค.ศ. ปัจจุบัน) ถือได้วาเป็นผู้บรรเลงกลองชั่ นนํา ในการบันทึกเสียงในห้องอัด เรียกได้วาเป็นผู้บรรเลงกลองทีประสบความสําเร็จเป็นอย่ างมาก่ ใน ยุคช่วงปี ค.ศ. สตีฟ แกดด์ได้บันทึกเสียงอัลบัมมากมาย หลากหลายแนวเพลงเช่น ป็อป ร็อค อาร์แอนด์บี และฟังก ์ สตีฟ แกดด์สามารถบรรเลงจังหวะสวิงได้อยางแม่ ่นยํา ให้ความรู้สึกทีอบอุ่น ไพเราะ ผลงานทียอดเยียมของเขาขณะร่วมงานกบั ชิค คอเรีย และในวีดีโอคอนเสิร์ต Steve Gadd Live at Pas ั หอสมุดกล สำนก าง หน้าทีของผ ้บรรเลงกลองชู ุดในวงดนตรีแจ๊ส บทบาทหน้าทีของผู้บรรเลงกลองชุดในวงดนตรีแจ๊ส ในยุคก่อนเริมต้นดนตรีแจ๊ส กลองชุดมีหน้าทีเป็นเพียงเครืองดนตรีควบคุมจังหวะเท่านัน แต่เมือดนตรีแจ๊สถือกาเนิดขึํ นบทบาท ของกลองชุดได้เปลียนแปลงไปจากความเข้าใจเดิม เมือแจ๊สให้ความสําคัญในการด้นสด ซึงการด้น สดนันคือการคิดและการกระทําในขณะนัน โดยไม่ได้กาหนดหรือเตรียมมากํ ่อนล่วงหน้า ซึงเป็น หัวใจหลักของดนตรีแจ๊ส โดยใช้อารมณ์ในการบรรเลงดนตรีในขณะนัน และทําให้กลองชุดได้ แสดงศักยภาพมากขึน ในการบรรเลงกลองชุดในวงดนตรีแจ๊ส นอกจากเป็นเครืองดนตรีทีควบคุมจังหวะ ในวงแล้ว ยังมีการบรรเลงสนับสนุน (Comping) ในการสือสารกบนักดนตรีในวงอยั างอิสระ่ และ รวมถึงการด้นสดตามโครงสร้างทางดนตรีซึงแสดงให้เห็นถึงทักษะและความเป็นเอกลักษณ์ในตัว ผู้บรรเลง ในการบรรเลงด้นสดบนกลองชุดมีอยู่ รูปแบบ คือ )การด้นสดสลับเปลียน (Trading Solo) )การด้นสดตามสังคีตลักษณ์ (Form Solo) )การด้นสดแบบอิสระ (Free Form Solo) . การด้นสดสลับเปลียน คือ การบรรเลงการด้นสดในช่วงสันๆ สลับเปลียน ระหวางเครืองดนตรีอืนๆ่ กบกลองชุดั เช่น การสลับเปลียน ห้อง (Trading Eights) คือ การบรรเลง การด้นสดบนเครืองดนตรีอืน ๆ 8 ห้อง แล้วสลับเปลียนเป็นการด้นสดบนกลองชุด 8 ห้อง ซึง แล้วแต่การนัดแนะกนตอนกั ่อนบรรเลงหรือในระหวางการบรรเลงว่ าจะสลับเปลียนก่ ีห้อง โดยมีทัง เช่น การสลับเปลียน ห้อง การสลับเปลียน ห้อง (Trading Fours) หรือการสลับเปลียน ห้อง (Trading Twos) เป็นต้น การสลับเปลียนสามารถบรรเลงได้ทุกเครืองดนตรี แต่โดยส่วนมากนิยม บรรเลงเครืองดนตรีทีบรรเลงท่วงทํานองสลับเปลียนกบกลองชุดั 13

. การด้นสดตามสังคีตลักษณ์ คือ การบรรเลงการด้นสดโดยยึดตามสังคีต ลักษณ์หรือโครงสร้างของเพลงเป็นหลัก ผู้บรรเลงกลองจะบรรเลงเป็นหลักโดยอาจจะมีเครือง ดนตรีอืนคอยบรรเลงสนับสนุนเป็นบางครัง หรือ บรรเลงเดียวโดยไม่มีเครืองดนตรีอืนคอยบรรเลง ร่วมด้วยก็ได้ . การด้นสดแบบอิสระ คือ การด้นสดโดยทีไม่ได้บรรเลงบนสังคีตลักษณ์ ของเพลง ซึงผู้บรรเลงกลองชุดจะเป็นผู้ทีสร้างการด้นสดด้วยตัวเอง และไม่มีผู้บรรเลงเครืองดนตรี อืนเล่นสนับสนุน การตีกลองชุด มีรูปแบบการบรรเลงทีชัดเจนขึนในช่วงต้นศตวรรษที ในวง ดนตรีแจ๊ส ซึงเริมมีการบันทึกโน้ตกลองชุดเป็นสัดสกั หอสมุดก่วนล เพือใช้สําหรับบรรเลงร่วมกบวงหรือการั บันทึกเสียง ในปัจจุบันการตีกลองชุดสำน มีรูปแบบในการเรียนรู้ทีเป็นแบบแผนาง ซึงผู้ทีจะเริมหัด บรรเลงกลองชุดจะต้องเรียนรู้พื นฐาน ส่วนย่อยของจังหวะ (Subdivision) รูปแบบมือในการฝึก กลอง (Drums Rudiment) และโมทีฟ (Motif) ซึงสิงเหล่านีจะใช้เป็นพืนฐานในการบรรเลงจังหวะ ต่างๆและการด้นสด ดังหัวข้อต่อไปนี

2.2 เทคนิคพืนฐานในการบรรเลงกลองชุด .. ส่วนย่อยของจังหวะ (Subdivision of the Beat) ส่วนยอยของจังหวะ่ หมายถึง คําทีใช้อธิบายความหลากหลายของสัดส่วนโน้ตทีมี ค่าสันหรือยาวในหนึงจังหวะ ซึงแบ่งละเอียดลงไป จากโน้ตทีมีอัตราจังหวะช้าจนถึงอัตราจังหวะ เร็ว เช่น โน้ตเขบ็ตหนึงชัน (Eighth Note) สามารถแบ่งให้อัตราจังหวะเร็วขึน คือเปลียนเป็น โน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ (Eighth Note Triplet) และโน้ตเขบ็ตสองชัน (Sixteenth Note) ตามลําดับ ในตัวอย่างที ได้แสดงสัดส่วน จากโน้ตทีมีอัตราจังหวะช้ามาก คือ โน้ตตัวกลม (Whole Note) จนถึงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วมาก คือโน้ตเขบ็ตสามชัน (ThirtySecond Note) โดย อ้างอิงจากเครืองหมายกาหนดจังหวะํ (Time Signature) / โดยเป็นสัดส่วนพืนฐานทีใช้ในแบบ ปกติทัวไป

14

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ตัวอยางที่ ส่วนยอยของจังหวะ่ เริมจากโน้ตตัวกลม ถึงโน้ตเขบ็ตสามชัน

15

.. รูปแบบมือในการฝึกกลอง (Drum Rudiments) รูปแบบมือในการฝึกกลอง คือ แบบฝึกรูปแบบมือพืนฐาน ทีผู้บรรเลงกลองต้อง เรียนรู้ เปรียบเสมือนตัวอักษร ทีมีตังแต่ กฮ ซึงนํามาประกอบกนเป็นคําั เป็นประโยค เช่นเดียวกบั การฝึกบรรเลงกลองในเบืองต้น คือต้องเรียนรู้รูปแบบการบรรเลงร่วมกันของมือสองข้าง ฝึก ความสัมพันธ์ทังมือซ้ายและมือขวา ในปี The National Association of Rudimental Drummers (N.A.R.D.) ได้ จัดรูปแบบมือในการฝึกกลอง ให้เป็นหมวดหมู่ รวมกนทั งหมดั รูปแบบมือในการฝึกกลอง เป็น ทีรู้กนในชือของั อเมริกนรูดิเมนท์ั และปัจจุบัน The Percussive Arts Society (P. A. S.) ได้ระบุ รูปแบบทีแน่นอนแล้วว่ามี รูปแบบมือในการฝึกกลองหอสมุดก ทีจําเป็นสําหรับนักดนตรีทีเล่นเครือง ดนตรีประเภทเคาะตี ซึงเป็นแบบฝึกหัดพืำนกั นฐานในการเลล่นกลองาง ซึงนํามาปรับใช้ในการเล่นกบั 7 ส กลองชุด รูปแบบมือในการฝึกกลอง แบ่งออกเป็น หัวข้อใหญ่ในการใช้เทคนิคแบบต่างๆ แบ่งเป็น )โรล (Roll) 2)ดิดเดิล (Diddle) 3)แฟรม (Flam) )แดรก (Drag) ดังนี

40 รูปแบบมือในการฝึกกลอง

1. ซิงเกิล สโตรก โรล (Single Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสลับกบมือซ้ายโดยตลอดั

2. ซิงเกิล สโตรก โฟร์ (Single Stroke Four) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสลับกบมือซ้ายสีครัั ง

7Michael Jordan, “Melodic Drumming in Contemporary Popular Music: An Investigation into Melodic DrumKit Performance Practices and Repertoire,” (Master’s dissertation School of Education College of Design & Social Context RMIT University, 2009), 32. 16

3. ซิงเกิล สโตรก เซเวน่ (Single Stroke Seven) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสลับกบมือซ้ายเจ็ดครัั ง

4. มัลทิเพิล เบาซ์ โรล (Multiple Bounce Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสลับกบมือซ้ายด้วยการั รัวโดยตลอด

5. ทริพเพิล สโตรก โรล (Triple Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสามครังและมือซ้ายสาม ครังสลับกนโดยตลอดั กั หอสมุดกลา สำน ง

6. ดับเบิล สโตรก โอเพน โรล (Double Stroke Open Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครังและ มือซ้ายด้วยการรัว โดยตลอด

. ไฟว์ สโตรก โรล (Five Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครังต่อด้วยมือซ้ายสองครัง และมือขวาอีกหนึงครังด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง

8. ซิกซ์ สโตรก โรล (Six Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาหนึงครังด้วยการบรรเลงการเน้น เสียงต่อด้วยมือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง และมือซ้ายด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง

17

9. เซเวน่ สโตรก โรล (Seven Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง และมือซ้ายอีกหนึงครังด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง

10. ไนน์ สโตรก โรล (Nine Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง และมือขวาอีกหนึงครังด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง หอสมุดกล สำนกั าง 11. เทน สโตรก โรล (Ten Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง และมือขวาหนึงครังต่อด้วยมือซ้ายอีกหนึงครังด้วยการบรรเลงการ เน้นเสียง

12. อีเลฟเวิน สโตรก โรล (Eleven Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครัง มือซ้ายสอง ครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง และมือซ้ายอีกหนึงครังด้วยการบรรเลงการ เน้นเสียง

13. เธอทีน สโตรก โรล (Thirteen Stroke Roll) คือการบรรเลงด้วยมือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง และมือขวาอีกหนึงครังด้วยการ บรรเลงการเน้นเสียง

18

14. ฟิฟทีน สโตรก โรล (Fifteen Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง และมือซ้ายอีก หนึงครังด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง

15. เซเวนทีน่ สโตรก โรล (Seventeen Stroke Roll) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครัง มือซ้าย สองครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัอสง มือขวาสองครัมุด ง มือซ้ายสองครัง มือขวาสองครัง มือซ้ายสองครัง และมือขวาอีกหนึงครัำนกั หงด้วยการบรรเลงการเน้นเสียงกลาง ส

16. ซิงเกิล พาราดิดเดิล (Single Paradiddle) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาหนึงครังด้วยการบรรเลงการ เน้นเสียง ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง และมือขวาสองครัง

17. ดับเบิล พาราดิดเดิล (Double Paradiddle) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาหนึงครังด้วยการบรรเลง การเน้นเสียง ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง มือขวาหนึงครัง มือซ้ายหนึงครัง และมือขวาสองครัง

18. ทริพเพิล พาราดิดเดิล (Triple Paradiddle) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาหนึงครังด้วยการบรรเลง การเน้นเสียง ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง มือขวาหนึงครัง มือซ้ายหนึงครัง มือขวาหนึงครัง มือซ้าย หนึงครัง และมือขวาสองครัง

19

19. ซิงเกิล พาราดิดเดิลดิดเดิล (Single Paradiddlediddle) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาหนึงครังด้วย การบรรเลงการเน้นเสียง ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง มือขวาสองครัง และมือซ้ายหนึงครัง

20. แฟรม (Flam) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวาเกือบพร้อมกนั

21. แฟรม แอคเซนท์ (Flam Accent)นกั หคือ อการบรรเลงด้วยมือซ้ายกสมุดกลาง่อนและตามด้วยมือขวาเกือบ พร้อมกนด้วยการบรรเลงการเน้นเสียงั สำ ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง และมือขวาอีกหนึงครัง

22. แฟรม แทพ (Flam Tap) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวาเกือบพร้อมกนด้วยั การบรรเลงการเน้นเสียง ต่อด้วยมือขวาหนึงครัง และบรรเลงด้วยมือขวาก่อนและตามด้วยมือซ้าย เกือบพร้อมกนด้วยการบรรเลงการเน้นเสียงั ต่อด้วยมืออีกหนึงครัง

23. แฟรมาคู (Flamacue) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวาเกือบพร้อมกนั ต่อด้วย มือซ้ายหนึงครังด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง มือขวาหนึงครัง มือซ้ายหนึงครังและบรรเลงด้วยมือ ซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวาเกือบพร้อมกนั

24. แฟรม พาราดิดเดิล (Flam Paradiddle) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวาเกือบ พร้อมกนด้วยการบรรเลงการเน้นเสียงั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง และมือขวาสองครัง

20

25. ซิงเกิล แฟรเมด มิว (Single Flammed Mill) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวา เกือบพร้อมกนด้วยการบรรเลงการเน้นเสียงั ต่อด้วยมือขวาหนึงครัง มือซ้ายหนึงครัง และมือขวา อีกหนึงครัง

26. แฟรม พาราดิดเดิลดิดเดิล (Flam Paradiddlediddle) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตาม ด้วยมือขวาเกือบพร้อมกนด้วยการบรรเลงการเน้นเสียงั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง มือขวาสองครัง และมือซ้ายสองครัง ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

27. พาทา ฟลา ฟลา (Pata Fla Fla) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวาเกือบพร้อม กนั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง มือขวาหนึงครัง และบรรเลงด้วยมือขวาก่อนและตามด้วยมือซ้ายเกือบ พร้อมกนั

28. สวิส อาร์มี ทริพลิท (Swiss Army Triplet) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวา เกือบพร้อมกนั ต่อด้วยมือขวาหนึงครัง และมือซ้ายหนึงครัง

29. อินเวิร์ท แฟรม แทพ (Inverted Flam Tap) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวา เกือบพร้อมกนั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง และบรรเลงด้วยมือขวาก่อนและตามด้วยมือซ้ายเกือบพร้อม กนั ต่อด้วยมือขวาหนึงครัง

21

30. แฟรม แดรก (Flam Drag) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนและตามด้วยมือขวาเกือบพร้อมกนั ต่อด้วยมือซ้ายสองครัง และบรรเลงด้วยมือขวาหนึงครัง

31. แดรก (Drag) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนสองครังและตามด้วยมือขวาหนึงครังเกือบพร้อม กนั

หอสมุดกล นกั า 32. ซิงเกิล แดรก แทพ (Single สำ Drag Tap) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายกง ่อนสองครังและตามด้วยมือ ขวาหนึงครังเกือบพร้อมก นั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครังด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง

33. ดับเบิล แดรก แทพ (Double Drag Tap) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนสองครังและตามด้วยมือ ขวาหนึงครังเกือบพร้อมกนสองรอบั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครังด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง

34. เลสเซิน ทเวนตีไฟฟ์ (Lesson TwentyFive) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนสองครังและตาม ด้วยมือขวาหนึงครังเกือบพร้อมกนั ต่อด้วยด้วยมือซ้ายหนึงครัง และมือขวาอีกหนึงครังด้วยการ บรรเลงการเน้นเสียง

35. ซิงเกิล แดรกเอดิดเดิล (Single DragADiddle) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาสองครัง ต่อด้วยมือ ซ้ายหนึงครังและมือขวาอีกสองครัง

22

36. แดรก พาราดิดเดิล (Drag Paradiddle 1) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาหนึงครังด้วยการบรรเลง การเน้นเสียง ต่อด้วยการบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนสองครังและตามด้วยมือขวาหนึงครังเกือบพร้อม กนั มือซ้ายหนึงครัง และมือขวาสองครัง

37. แดรก พาราดิดเดิล (Drag Paradiddle 2) คือ การบรรเลงด้วยมือขวาหนึงครังด้วยการบรรเลง การเน้นเสียง ต่อด้วยการบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนสองครังและตามด้วยมือขวาหนึงครังเกือบพร้อม กนสองรอบั มือซ้ายหนึงครัง และมือขวาสองครัหอสมง ุด ก ล สำนกั าง

38. ซิงเกิล ราทามาคู (Single Ratamacue) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนสองครังและตามด้วยมือ ขวาหนึงครังเกือบพร้อมกนั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง มือขวาหนึงครัง และมือซ้ายหนึงครังด้วยการ บรรเลงการเน้นเสียง

39. ดับเบิล ราทามาคู (Double Ratamacue) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนสองครังและตามด้วยมือ ขวาหนึงครังเกือบพร้อมกนสองรอบั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง มือขวาหนึงครัง และมือซ้ายหนึงครัง ด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง

40. ทริพเพิล ราทามาคู (Triple Ratamacue) คือ การบรรเลงด้วยมือซ้ายก่อนสองครังและตามด้วยมือ ขวาหนึงครังเกือบพร้อมกนสามรอบั ต่อด้วยมือซ้ายหนึงครัง มือขวาหนึงครัง และมือซ้ายหนึงครัง ด้วยการบรรเลงการเน้นเสียง

23

ในยุคเริมต้นของแจ๊ส กลองชุดได้ถูกกล่าวถึงการเล่นในรูปแบบ รูดิเมนทอล สไตล์ (Rudimental Style) คือการใช้รูปแบบมือในการฝึกกลอง ในรูปแบบทีสัน บรรเลงบนกลองสแนร์ และเน้นการบรรเลงในแบบโรลเน้นหนัก (press rolls) และแฟรม (open flams )ในจังหวะทีสองกบั สีของห้อง เล่นกลองใหญ่ในจังหวะหนึงและสามหรือเล่นทุกจังหวะ8 และเป็นแบบแผนมาตรฐาน ในเวลาต่อมาในการเล่นสนับสนุน (Accompaniment) ของกลองชุดในวงดนตรีแจ๊ส เช่น ในยุค แร็กไทม์ หัวหน้าวงชือวา่ เจมส์ รีส ยุโรป (James Reese Europe) และวงออร์เคสตราของเจมส์ รีส บรรเลงบทเพลงชือว่า Castle Hill Rag ซึงผู้บรรเลงกลองได้บรรเลงในรูปแบบมือซิงเกิลสโตรก (Single Strokes) โดยมีการเพิมการเน้นเข้าไปในโน้ต และใช้โมทีฟง่ายๆ ในการบรรเลงร่วมกบวงั 9 ผู้บรรเลงกลองทีมีชือเสียงทัั หองในอดีตและปัจจุบันสมุดกล เริมฝึกหัดการบรรเลงจาก รูปแบบ มือในการฝึกกลองเป็นพืสนฐานและพัฒนาตำนก ่อไปเป็น โมทีฟา (Motif)ง เฉพาะตัว ซึงผู้บรรเลงกลอง เหล่านีจะมีโมทีฟทีพัฒนาทีเป็นรูปแบบของตังเองทีหลากหลาย และเลือกใช้ได้อยางเหมาะสม่ ซึงผู้ บรรเลงกลองเหล่านีจะมีความสามารถในการจัดวางและเชือมต่อโมทีฟต่างๆให้เป็นประโยคทีดี และมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทําให้ผู้ฟังสามารถทราบได้ทันทีวาใครเป็นผู้บรรเลง่

. เทคนิคพืนฐานในการบรรเลงด้นสดในกลองชุด .. โมทีฟ (Motif) โมทีฟ คือ ทํานองหลักหรือชุดจังหวะของประโยคเพลงแบบสันๆ เป็นชุดของ ทํานองยอยทีมีความสําคัญจะปรากฎอยู่ ในประโยคหลักของเพลง่ เป็นต้นกาเนิดของบทเพลงํ และ เป็นส่วนทีจะขยายไปเป็นประโยคทียาวขึน ใช้พัฒนาในการแต่งเพลงหรือในการด้นสด มีหนึง โมทีฟหรือมากกวาต่ ่อหนึงบทเพลง ในตัวอยางที่ คือเพลง Symphony No.5 in C Minor, Op. 67 First Movement แต่งโดย ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven, ค.ศ. ) ซึงเป็นตัวอยางในการใช้่ โมทีฟในการแต่งเพลงและการพัฒนาโมทีฟ (Motif Development) ทีดีมาก

8Kenan A. Foley, “The Interpretation of Experience: A Contextual Studyof The Art of Three Pittsburgh Jazz Drummers,” (Doctoral dissertation Faculty of Arts and Sciences University of Pittsburgh, 2007), 83. 9Bill Kirchner, The Oxford Companion to Jazz (Oxford University Press, 2005), 683. 24

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ตัวอยางที่ เพลง Symphony No.5 in C Minor, Op. 67 First Movement

25

.. การพัฒนาโมทีฟ (Motif Development)

ในการพัฒนาของโมทีฟ เริมต้นใช้ในดนตรีคลาสสิกซึงเป็นการพัฒนาแนวคิดของ โมทีฟ ในการสร้างสรรค์บทเพลง ซึงเป็นทฤษฎีทัวไปทีใช้ก นอยั างแพร่ ่หลาย ในดนตรี แจ๊ส และ ป็อปในเวลาต่อมา การพัฒนาโมทีฟมีอยู ่ 7 รูปแบบ10 คือ )การทําซํา (Repetition) )การเรียงลําดับ (Sequence) 3)การพลิกกลับ (Inversion) )การหดตัวและการขยายตัวของขันคู่ (Interval Contraction/Interval Expansion) )การลดลงและการเพิมขึน (Diminution/Augmentation) 6)การ เปลียนแปลงจังหวะ (Rhythmic Metamorphosis) 7)การเลียนแบบ (Imitation) ในตัวอยางที่ 3 เป็นโมทีฟหลักของเพลงม Symphony No. 5 ซึงจะนํามาเป็นตัวอยาง่ ำนกั หอส ุดกลาง ในการอธิบายการพัฒนาโมทีฟทั ส ง รูปแบบ

ตัวอยางที่ โมทีฟหลักในเพลง Symphony No. 5

การพัฒนาโมทีฟทัง รูปแบบ .การทําซํา คือ การทําซําทํานองของโมทีฟหลัก โดยซําเหมือนกนทุกอยั า่ งทัง จังหวะและระดับเสียง เป็นวิธีการพัฒนาทํานองแบบง่ายทีสุดและเป็นรูปแบบทีนิยมใช้กนั โดยทัวไป ในตัวอยางที่

ตัวอยางที่ ตัวอยางการทําซํ่ า

10Toby Rush, Motivic Development, accessed November 1, 2014. available from http://tobyrush.com/theorypages/pdf/0210motivicdevelopment.pdf 26

. การเรียงลําดับ คือ ลักษณะการซําทํานองโดยเริมทีระดับเสียงต่างกนในแตั ่ละ ครังทีซํา ด้วยกลุ่มโน้ตทีสูงหรือตํากว่าโมทีฟเดิมโดยทีค่าโน้ตและจังหวะยังคงเหมือนเดิม แต่ บางครังก็มีการเปลียนแปลงโน้ต ในตัวอยางที่

สมด ตัวอยางที่ ตัวอยางการเรียงลําดับ่ ำนกั หอ ุ กลาง ส . การพลิกกลับ คือ การพลิกกลับของโมทีฟ โดยพลิกเอาโน้ตด้านบนลงล่าง หรือ โน้ตทีอยู่ล่างพลิกกลับขึนบน เช่น โมทีฟหลักมีทํานองหรือขันคู่ไล่ขึน โมทีฟพลิกกลับก็จะไล่ลง ด้วยคู่เสียงทีเท่ากนั ในตัวอยางที่

ตัวอยางที่ ตัวอยางการพลิกกลับ่

. การหดตัวและการขยายตัวของขันคู่ คือ การขยับคู่เสียงของโมทีฟหลักด้วยคู่ เสียงเพียงเล็กน้อย เช่น คู่ 2 คู่ 3 หรือขยายให้มีช่วงกว้างออกไป เช่น คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8 ในตัวอยางที่

ตัวอยางที่ ตัวอยางการขยายตัวของขั่ นคู่

27

. การลดลงและการเพิมขึน คือ การเปลียนค่าโน้ตจากโมทีฟหลักให้มีค่าเร็วขึน หรือช้าลง ถ้าเปลียนส่วนยอยของจังหวะให้ละเอียดขึ่ น คือการลดลงของจังหวะ และถ้าเปลียน ส่วนยอยของจังหวะให้ยืดออกไป่ คือการเพิมขึนของจังหวะ ในตัวอยางที่ 8

ตัวอยางที่ ตัวอยางการเพิ่ มขึน นกั หอสมุดกลาง . การเปลียนแปลงจังหวะ สำ คือ การพัฒนาโมทีฟด้วยการซําโน้ตเป็นกลุ่มเล็กๆ 2 หรือ 3โน้ตโดยไล่ซําขึ นไปหรือไล่ตําลงมาเป็นชุดๆ ในตัวอยางที่ 9

ตัวอยางที่ ตัวอยางการเปลียนแปลงจังหวะ่

. การเลียนแบบ คือ การซําโมทีฟคล้ายกบเั สียงสะท้อน (echo) ระหวางเสียง่ เครืองดนตรีต่างประเภทกนหรือกลุั ่มเครืองดนตรี ในตัวอยางที่ 10

ตัวอยางที่ 10 ตัวอยางการเลียนแบบ่

28

.. การนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุด การนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุดเป็นสิงทีผู้บรรเลงกลองแจ๊สทียิงใหญ่ อยาง่ เช่น แมกซ์ โรช เคนนี คลาร์ก ฟิลลี โจโจนซ์ และรอย เฮนย์สใช้เป็นวิธีการในการด้นสด เมือ นักดนตรีด้นสดไม่ใช่แค่เพียงนําโมทีฟทีเตรียมนํามาบรรเลงหรือบรรเลงอะไรก็ได้ให้ครบห้อง เท่านัน แต่เป็นการแสดงให้เห็นถึงการฝึกซ้อมและเกิดการจดจําในการฝึกทีมีรูปแบบ ผู้บรรเลง กลองจะบรรเลงโดยรู้ถึงตัวทํานองและท่อนของเพลงอยางถ่ ่องแท้ ซึงเวลาด้นสดจะทําให้มีจังหวะที ดี สอดคล้องในตัวเพลง และรู้สึกถึงสวิงฟิล11 เอลวิน โจนซ์ ได้กล่าวไว้วา่

“ฉันจะฟังการด้นสดของคนโซโลหอสมุดก่ จนเมือโซโล่เสร็จ ฉันก็จะ นําเอาประโยคสุดท้ายทีคนโซโลำนกั ่เล่น นํามาใช้ในการเริลางมด้นสดของฉัน และ ส 12 สร้างสรรค์ในรูปแบบทํานองบนกลอง”

การนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุด ในการบรรเลงหนึงโมทีฟมีค่า จังหวะ หรือมากกว่านันการนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุดมีอยู่ รูปแบบ ในทีนีจะ ยกตัวอยางโมทีฟในประโยค่ ห้อง ในหนังสือ The Art of Bop Drummingได้พูดถึงการนําโมทีฟ ไปใช้ในการบรรเลงกลองชุดมีอยู่ห้าลําดับด้วยกนคือั )การทําซํา (Repetition) )การเรียบเรียง ประโยค (Orchestrating Phrases) 3)การยืดหดของจังหวะ (Rhythmic Elasticity) 4)การตัดโน้ตใน ประโยค (Rests within the Phrase) )การเว้นประโยคด้วยตัวหยุดหรือการเลือนจังหวะของประโยค (Adding Rests to the Phrase Or Rhythmic Displacement) ซึงนํามาเป็นแนวคิดในการด้นสด ในตัวอยางที่ เป็นตัวอยางโมทีฟหลักในการนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลอง่ ชุด ซึงอธิบายการนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุด ทัง รูปแบบ

ตัวอยางที่ ตัวอยางโมทีฟหลักในการนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุด่

11John Riley, The Art of Bop Drumming, (Florida: Manhattan Music, 1994), 35. 12Ibid., 35. 29

การนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุด ทัง รูปแบบ การนําโมทีฟไปใช้ในการบรรเลงกลองชุด ทัง รูปแบบ เป็นการยกตัวอย่างใน การสลับเปลียน ห้อง (Trading fours) . การทําซํา คือ การบรรเลงซําของโมทีฟหลัก โดยซําเหมือนกนทุกจังหวะั เป็นรูปแบบทีนิยมใช้กนโดยทัั วไป ในตัวอยางที่

กั หอสมุดกลา สำน ง ตัวอยางที่ ตัวอย างการทําซํ่ าในกลองชุด

. การเรียบเรียงประโยค คือ การย้ายตําแหน่งของการบรรเลงไปรอบกลองชุด ซึงจะได้ยินเสียงกลองทีเป็นทํานองในเสียงทีแตกต่างไปเมือย้ายตําแหน่ง ในตัวอยางที่

ตัวอยางที่ ตัวอยางการเรียบเรียงประโยคในกลองชุด่

3. การยืดหดของจังหวะ คือ การขยายจังหวะของประโยคเดิมให้ยืดออกไปจะ ได้เสียงทีช้ากวาเดิม่ หรือจะหดจังหวะของประโยคเดิม จะทําให้ได้เสียงทีเร็วกวาเดิม่ 13ในตัวอยางที่ 14

13Ibid., 39. 30

ม ำนกั หอส ุดกลาง ตัวอยางที่ 14 ตัวอย างการยืดและการหดของจังหวะ่ ส

4. การตัดโน้ตในประโยค คือ การตัดตัวโน้ตบางตัวออกจากประโยค ซึงจะได้ ประโยคใหม่ทีน่าสนใจในหลากหลายรูปแบบ แต่ยังคงความเป็นประโยคเดิม ในตัวอยางที่

ตัวอยางที่ ตัวอยางการตัดโน้ตในประโยคในกลองชุด่

5. การเว้นประโยคด้วยตัวหยุด คือ การใช้โน้ตตัวหยุดในการสร้างช่องว่าง ระหว่างประโยคหรือเรียกอีกอย่างว่า การเลือนจังหวะของประโยค ทําให้เกิดโมทีฟโน้ตเดิมใน จังหวะเริมต้นทีต่างออกไป หรือมีการเปลียนแปลงโน้ตแต่ยังคงยึดโมทีฟหลักไว้ ในตัวอยางที่ และต่อไปผู้วิจัยจะใช้คําวาการเลือนจังหวะของประโยคในการบรรยายเท่ ่านัน

31

ตัวอยางที่ ตัวอยางการเว้นประโยคด้วยตัวหยุดหรือการเลือนจังหวะของประโยคในกลองชุด่

. ชีวประวัติ ของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เป็นผู้บรรเลงกลองทีมีชือเสียง ซึงได้รับการยอมรับวา่ เป็นหนึงในผู้ บรรเลงกลองทียิงใหญ่ในโลกของดนตรีแจ๊สส ด้วยผลงานการบรรเลงกลองและประพันธ์เพลงมุด ทัง ำนกั หอ กลาง งานบันทึกเสียงในห้องอัดเสียงและการแสดงสด ส ในฐานะหัวหน้าวงและนักดนตรีรับจ้าง แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้มีโอกาสร่วมงานกบนักดนตรีคนสําคัญในแตั ่ละยุคสมัย เช่น จอห์น โคลเทรน ไมล์ส เดวิส บิล อีแวนส์ ชาร์ล ลอย คีธ จาเร็ท (Keith Jarrett, ค.ศ. ปัจจุบัน) และเฮอร์บี แฮนค็อก (, ค.ศ. ปัจจุบัน) แจ็ค ดิจอห์นเน็ตเกิดในเมืองชิคาโก ้ ประเทศอเมริกา เมือวันที สิงหาคม ค.ศ. ในครอบครัวทีรักในเสียงเพลง แจ็ค ดิจอห์นเน็ตเรียนเปียโนตังแต่อายุ 4 ปี และได้เริมเล่นเป็นอาชีพ เมืออายุ ปี ซึงได้แรงบันดาลใจในการเป็นนักดนตรีจากลุงของเขา ซึงเป็นนักจัดรายการวิทยุใน สถานีวิทยุท้องถิน จากนันจึงเริมเล่นกลองในวงไฮสคูลและเรียนเปียโนทีโรงเรียนสอนดนตรี ชิคาโก ้ (Chicago Conservatory of Music)14 แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้พูดถึงตัวเองในวัยเด็กไว้วา่

“ตังแต่ผมยังเด็กผมฟังเพลงทุกแนวและไม่ได้แยกแยะว่าเพลงแบบ นันเป็นเพลงแนวอะไรผมได้เรียนเปียโนและได้ฟังเพลงแนวโอเปร่า คันทรี และ เพลงจําพวกดนตรีตะวันตก อาร์แอนด์บี สวิงแจ๊สและอีกหลากหลายแนวเพลง สําหรับผมนันเพลงทุกๆแนวล้วนเป็นดนตรีและมันเป็นสิงทียอดเยียมมาก ผมเก็บ ความรู้สึกทีเกียวกบดนตรีั ทุกแนวเพลงและพยายามซึมซับมันไว้ในตัวผม ผมยัง คงไว้ซึงความเชือ อารมณ์ และพยายามหาช่องวางระหว่ างคนเราก่ บดนตรี”ั 15

14Sonor, Jack DeJohnette, accessed January 1, 2014, available from http://us.sonor.com/artists/jackdejohnette/ 15Jack DeJohnette, Jack DeJohnette Profile, accessed January 1, 2014, available from http://www.jackdejohnette.com/?page_id=25 32

แจ็ค ดิจอห์นเน็ตเริมเล่นกลองเป็นอาชีพในแนวเพลง อาร์แอนด์บี ฮาร์ดบ็อพ และ อวองต์ การ์ด ในชิคาโก้ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ตรับหน้าทีเป็นหัวหน้าวง สมาชิกประกอบด้วย มูฮาล ริชาร์ด อบรามซ์ (Muhal Richard Abrams, ค.ศ. ปัจจุบัน) และรอสโค มิทเชล (Roscoe Mitchell, ค.ศ. ปัจจุบัน) และในปี ค.ศ. 1960 แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้รับโอกาสเล่นกบจอห์นั โคลเทรน นีถือเป็นช่วงแรกทีแจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้เล่นกบนักดนตรีแจ๊สทีมีชือเสียงของโลกั 16 ในปี ค.ศ. 1966 แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ย้ายไปอยูมหานครนิวยอร์ค่ และเป็นสมาชิกในวง ของ ชาร์ล ลอย การเล่นในวงของ ชาร์ล ลอย ทําให้แจ็ค ดิจอห์นเน็ตพบกบั คีธ จาเร็ท และได้ออก จากวงในช่วงต้นปี ค.ศ 1968 ต่อมาในช่วงกลางปี แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้ร่วมบรรเลงกบบิลั อีแวน และได้ร่วมบรรเลงในงาน Montreuxห Jazzอ Festivalสม ุดและผลิตอัลบักล มออกจําหน่ายในชือ Bill Evans at the Montreux Jazz Festivalสำ น ในเดือนพฤศจิกายนกั ค.ศ. 1968า ง แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ร่วมบรรเลงกบั สแตน เก็ตส์ ในช่วงเวลาสั นๆ ซึงนําพาไปสู่การบันทึกเสียงครังแรกกบั ไมล์ส เดวิส ในปลายปี ค.ศ. 1969 แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ร่วมงานกบั ไมล์ส เดวิส ในอัลบัม ซึงเป็นงานทีจุดชนวนความคิดสร้างสรรค์ครังยิงใหญ่และถือได้วาเป็นการเปลียนทิศทางของ่ ดนตรีแจ๊ส ไมล์ส เดวิส เขียนไว้ในอัตชีวประวัติของตัวเองวา่

“ฉันมองหาคนทีจะมาร่วมบรรเลงและให้แรงบันดาลใจกบฉันั ฉัน ต้องการมือกลองทีเล่นจังหวะ ฟังก์ (Funk) ได้อยางแข็งแรง่ ซึงแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงได้อยางยอดเยียมมากและเขาเล่ ่นจังหวะทีลึกซึงซับซ้อนได้อยางมั่ นคงซึง ฉันรักทีจะเล่นบนจังหวะนัน แต่เขาต้องการทําในสิงอืนทีต่างออกไป หมายถึงการ เป็นหัวหน้าวง และทําในสิงทีเป็นทางทีเขาเลือก ดังนันเขาจึงออกจากวงไป”17

แจ็ค ดิจอห์นเน็ตร่วมบรรเลงกบั ไมล์ส เดวิส เป็นเวลาสามปีและได้ชวน คีธ จาเร็ท มาร่วมบรรเลงด้วย ในอัลบัม LiveEvil(1971) A Tribute to Jack Johnson (1971) และ (1972) ในช่วงกลางปี ค.ศ. 1971 แจ็ค ดิจอห์นเน็ตออกจากวงของไมล์ส เดวิสและกลับมา บรรเลงร่วมกบไมล์สั เดวิส เป็นบางครังในช่วงปลายปี

16Lewis Porter, The New Grove Dictionary of Jazz, volume 1 (New York: Grove, 2002), 594. 17Ken Micallef, Modern drummer (New Jersey: Modern drummer, 2003), 38. 33

แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ทํางานอัลบัมแรกในฐานะหัวหน้าวงอย่างเต็มตัวในอัลบัมชือ The DeJohnette Complex ในปี ค.ศ. 1968 ซึงเป็นช่วงเวลาเดียวกนทีรั ่วมงานกบั ไมล์ส เดวิส และแจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ทําอัลบัมออกมาถึง อัลบัม ได้แก่ Have You Heard (1970) Sorcery (1974) และ (1975) ในช่วงแรกแจ็ค ดิจอห์นเน็ตทําทัง อัลบัมกับค่าย Milestone และ Prestige ต่อมาได้เปลียนมาทําร่วมกบคั ่าย ECM ในระยะเวลาทีแจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ร่วมงานกับค่ายเพลง ECM นัน ได้มีอิสระทาง ดนตรีอย่างมาก ในฐานะนักดนตรีรับจ้างและอัลบัมเพลงของตนเอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ตัง วง Compost ในปี ค.ศ. 1972 ซึงประสบความสําเร็จ เนืองจากแจ็ค ดิจอห์นเน็ตทําดนตรีแนวทดลอง ไกลเกินกว่าจะประสบความสําเร็จในทางการตลาดกั หอสมุด ในชกล่วงเวลานีแจ็ค ดิจอห์นเน็ต จึงยึดอาชีพใน การเป็นนักดนตรีรับจ้างส และได้กลับไปรำน ่วมงานกับ สแตนาง เก็ตส์ อีกครัง และได้ชวน เดฟ ฮอลแลนด์ (Dave Holland, ค.ศ. ปัจจุบัน) มาร่วมงานด้วย ซึงในช่วงเวลานันเองทําให้เกิด วง Gateway Trio ขึน สมาชิกประกอบไปด้วย เดฟ ฮอลแลนด์ บรรเลงกีต้าร์เบส และ จอห์น อเบอร์คอมบี (John Abercrombie, ค.ศ. ปัจจุบัน) บรรเลงกีต้าร์ ในปี ค.ศ. 1985 เขาได้เป็นสมาชิกของวง Keith Jarrett’s trio ทําให้แจ็ค ดิจอห์นเน็ต สนใจสแตนดาร์ดแจ๊สมากขึน วงนีประกอบด้วย คีธ จาเร็ท บรรเลงเปียโน แกรี พีค็อก (Gary Peacock, ค.ศ. ปัจจุบัน) บรรเลงกีต้าร์เบส และทังสามยังเล่นด้วยกนจนถึงปัจจุบันั ในปี ค.ศ. 1990 แจ็ค ดิจอห์นเน็ตออกแสดงกบวงของตนเองั ประกอบด้วย เฮอร์บี แฮนค็อก แพท เมธินี (, ค.ศ. ปัจจุบัน) และเดฟ ฮอลแลนด์ ซึงเป็นสมาชิกทีเล่น กบแจ็คั ดิจอห์นเน็ตมายาวนาน และออกอัลบัมชือ ในระหว่างปี ค.ศ. แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้เริมรือฟื นทักษะการบรรเลงเปียโนและออกแสดงเดียวเปียโนในปี ค.ศ. 1994 และกลับมาร่วมงานกบวงั Gateway trio โปรเจ็กต่อมาเป็นอัลบัมไว้อาลัยให้ โทนี วิลเลียมส์ ในนามวง Trio beyond โดยมี สมาชิกประกอบด้วยนักกีตาร์ จอห์น สโกฟิลด์ (, ค.ศ. ปัจจุบัน) และ นักออร์แกน ลารี โกลดิง (Larry Goldings, ค.ศ. ปัจจุบัน) หลังจากนัน แจ็ค ดิจอห์นเน็ตจึงได้ ก่อตังค่ายเพลงของตนเองชือว่า Golden Beams Productions ในปี ค.ศ. 2005 และได้ออกอัลบัม Music in the Key of OM ในค่ายของตนเอง ในปี ค.ศ. 2008 แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ร่วมงานกับ บ๊อบบี แม็คเฟอเลน (Bobby McFerrin, ค.ศ. ปัจจุบัน) ชิค คอเรีย และวง The Jarrett trio ต่อมาในปี ค.ศ. แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้รับรางวัล Grammy Award for Best New Age Album ในอัลบัม Peace Time และในปี ค.ศ. 2012 แจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้ออกอัลบัมชือว่า เป็นอัลบัมทีมีความ 34

หลากหลายทางแนวดนตรี โดยร่วมงานกบั บรูซ ฮอนส์บี (Bruce Hornsby, ค.ศ. ปัจจุบัน) เอสเพอรันซา สปอลดิง (Esperanza Spalding, ค.ศ. ปัจจุบัน) และลาโอเนียล ลูเค่ (Lionel Loueke, ค.ศ. ปัจจุบัน) ภายในปีเดียวกนนัั นเองแจ็ค ดิจอห์นเน็ตได้รับรางวัล NEA Jazz Masters Fellowship เนืองจากผลงานของแจ็ค ดิจอห์นเน็ตให้ความสําคัญต่อการพัฒนาและส่งเสริม ดนตรีแจ๊สและยังทําให้เกิดการเจริญเติบโตทางด้านศิลปะอีกด้วย

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส บทที

วิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนระหว่างเปียโนและกลองชุด ในเพลง Bye Bye Blackbird

ในบทนีผู้วิจัยได้ทําการถอดโน้ตในท่อนการบรรเลงโต้ตอบเพือศึกษาวิเคราะห์การด้น สดสลับเปลียนระหวางเปียโนและกลองชุด่ ในเพลง Bye Bye Blackbird จากซีดีบันทึกการแสดงสด ของ คีธ จาเร็ท โดยการเลือกเพลงจากอัลบัอสมนีม เพราะภายในบทเพลงมีการสลับเปลียนการด้นสดุด ระหว่างเปียโน โดย คีธ จาเร็ทำน และกลองชุดโดยกั ห แจ๊คก ดิจอห์นเน็ตลาง ทําให้เห็นความเชือมโยงกนในั เรืองการใช้โมทีฟและการพัฒนาโมทีฟจากเครืองเปียโนสู ส ่กลองชุด และการพัฒนาโมทีฟในการ บรรเลงกลองชุดของแจ็ค ดิจอห์นเน็ต

ลักษณะการบรรเลงและสังคีตลักษณ์ เพลง Bye Bye Blackbird เป็นเพลงมาตรฐานจังหวะสวิง ประพันธ์โดย เรย์ เฮนเดอซัน และเนือร้องโดย โมร์ท ดิกซัน (Mort Dixon, ค.ศ. ) โดยผู้วิจัยได้เลือกเพลง Bye Bye Blackbird จากซีดีบันทึกการแสดงสดของ คีส จาเร็ท ที Open Theater East ประเทศญีปุ่น แสดงเมือ วันที 25 กรกฎาคม ปี ค.ศ. 1993 เป็นเพลงลําดับที 8 จากอัลบัม Keith Jarrett Trio Live at Open Theater East 1993 มีความยาว 9:32 นาที มีผู้บรรเลง 3 คน ได้แก่ คีส จาเร็ทบรรเลงเปียโน แกรี พีค็อก บรรเลงกีต้าร์เบส และแจ็ค ดิจอห์นเน็ตบรรเลงกลอง สังคีตลักษณ์ (Form) AABA จังหวะสวิง อยูในกุญแจเสียง่ F เมเจอร์ ความเร็ว = 174 เริมต้น 8 ห้องแรกด้วยเปียโนบรรเลงเดียว อยูในจังหวะของเพลง่ เข้าท่อนทํานอง (0.12 นาที) ได้แก่ท่อน A จํานวน 8 ห้อง ท่อน A รอบที 2จํานวน 8 ห้อง ท่อน B จํานวน 8 ห้อง แล้ว กลับมาท่อน A จํานวน 8 ห้อง หลังจากนันเปียโนด้นสด ในท่อน AABA (0.55 นาที) จํานวน 160 ห้อง ต่อด้วยท่อนกีต้าร์เบสด้นสดในท่อน AABA (4.35 นาที) จํานวน 64 ห้อง หลังจากนันเปียโน และกลองชุดบรรเลงการด้นสดสลับเปลียน 8 ห้อง รวม 4 ครัง ในท่อน AABA จํานวน 64 ห้อง แล้ว กลับเข้าท่อนทํานอง (. นาที) จํานวน ห้อง จบเพลงด้วยท่อนจบ (. นาที) จํานวน ห้อง

35

36

ในเพลง Bye Bye Blackbird เริมต้นด้วยการบรรเลงเดียวเปียโน ต่อด้วยท่อนทํานอง ของเพลง และท่อนเปียโนด้นสด หลังจากนันเข้าท่อนกีต้าร์เบสด้นสด และเข้าท่อนการสลับเปลียน ห้อง ระหวาง่ เปียโน และกลองชุด เริมด้วยเปียโนด้นสด ห้อง และสลับเปลียนด้วยกลองชุดด้น สด ห้อง สลับเปลียนเป็นจํานวน ครัง มีความยาว ห้อง แล้วกลับเข้าท่อนทํานอง และจบเพลง ด้วยท่อนจบ โดยผู้วิจัยได้วิเคราะห์เฉพาะท่อนการสลับเปลียนเท่านัน

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 8 ห้อง ครังที 1

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ตัวอยางที่ 17 ท่อนเปียโนด้นสดในท่อนการสลับเปลียนครังที

ในตัวอยางที่ คีธ จาเร็ท บรรเลงโมทีฟหลักที ในจังหวะตกเป็นส่วนใหญ่ และ จังหวะสุดท้ายบรรเลงเป็นจังหวะยก โมทีฟa เป็นการพัฒนาโมทีฟ ในรูปแบบการเปลียนจังหวะและขันคู่ คีธ จาเร็ท เริมต้นโมทีฟด้วยจังหวะยก โดยบรรเลงโน้ตเดิมในห้าจังหวะแรก และเปลียนขันคู่ในจังหวะ สุดท้ายของโมทีฟa โมทีฟb เป็นการพัฒนาโมทีฟต่อจากโมทีฟa โดยเป็นการพัฒนาในรูปแบบการ เปลียนขันคู่ โดยยังคงบรรเลงโน้ตเดิมในสีจังหวะแรก และเปลียนขันคู่ในสามจังหวะท้าย และโมทีฟc เป็นการพัฒนาในรูปแบบการเปลียนขันคู่ โดย คีธ จาเร็ท บรรเลงเปลียนขัน คู่ทุกตัวโน้ต

ท่อนเปียโนด้นสด ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากเปียโนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที 37

ในท่อนการสลับเปลียนครังที ของ คีธ จาเร็ท ได้บรรเลงโมทีฟหลักและพัฒนา โมทีฟได้อยางชัดเจน่ ซึงทําให้ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต สามารถนํามาใช้ในการบรรเลงโต้ตอบ ดังนี ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําเอาส่วนท้ายโมทีฟของคีธ จาเร็ท ในห้องที จังหวะที มาเริมต้นในโมทีฟใหม่ของตัวเอง ต่อด้วยการนําโมทีฟของคีธ จาเร็ท ในห้าจังหวะ แรก นํามาเชือมต่อในห้องที ในจังหวะที โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้ขยายโมทีฟโดยเพิมจังหวะ ใหม่ ในห้องที จังหวะที โดยบรรเลงโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยทีตัดโน้ตตัวแรกออก

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ 19 โมทีฟหลักที ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสาม พยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ และ โมทีฟหลักที ประกอบด้วย โน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ และโน้ตตัวดํา โดยบรรเลงทีกลองสแนร์เป็นหลัก การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลักที ในรูปแบบการทําซํา และเปลียนจังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต เพิมโน้ตในการบรรเลง ด้วยกลองสแนร์ในจังหวะยกของ จังหวะที และในโมทีฟb เป็นการพัฒนาโมทีฟหลักที ในรูปแบบการหดของจังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึนจากโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ต สองชัน แต่ยังคงเน้นในสัดส่วนของโมทีฟหลักที โมทีฟa, b, 2c, d และe เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบการเรียบเรียงประโยค และเปลียนจังหวะ โดยบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน โดยใช้เทคนิคการบรรเลงกลองใน รูปแบบมือ ดับเบิลสโตรก เทคนิคครอสสติกและเปลียนตําแหน่งการบรรเลงไปยังกลองทอม กลองทอม และกลองฟลอร์ทอม การเรียบเรียงเสียงกลอง (Voicing) แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงทีกลองสแนร์สลับ กบกลองใหญั ่ในห้อง และยังคงบรรเลงกลองสแนร์เป็นหลักในห้องที ต่อมาบรรเลง ด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ตสองชัน และเพิม ความดังในการบรรเลงจากเบาไปสู่ดังขึนในห้องที เป็นทีน่าสังเกตว่าเมือเริมต้นบรรเลง 38

ด้วยกลองใหญ่ จะบรรเลงต่อด้วยกลองฟลอร์ทอมและเชือมด้วยกลองสแนร์ไปยังกลองทอม และ กลองทอม เสมอ ในการบรรเลงด้นสด ห้องนี แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะ ช้าไปสู่โน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน และความดังในการบรรเลงจากเบาไปสู่ดัง ในห้อง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิคการเลือนจังหวะของประโยค (Rhythm Displacement) เริมด้วยโมทีฟc 2d และ2e เป็นทีน่าสังเกตวาเมือ่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิคการ เลือนจังหวะของประโยคจะบรรเลงด้วยประโยค จังหวะและบรรเลงต่อด้วยประโยค จังหวะ และบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที เพือความแข็งแรงใน การส่งเข้าในห้องถัดไป กั หอสมุดกล . วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียนสำน 8 ห้อง าครังทีง

ท่อนเปียโนด้นสด ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ 20 การนําโมทีฟจากเปียโนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของคีธ จาเร็ท มาใช้ในการสร้าง โมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที จังหวะที ถึงห้องที จังหวะที นํามาเป็นโครงสร้าง โดยบรรเลงในสัดส่วนโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ บรรเลงด้วย กลองสแนร์และกลองใหญ่พร้อมกบฉาบั โดยเน้นโน้ตตามสัดส่วนของจังหวะทีนํามาจากคีธ จาเร็ท

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที 39

โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ 21 โมทีฟหลักที ประกอบด้วยโน้ต เขบ็ตหนึงชันสาม พยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์โดยใช้เทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือดับเบิลสโตรก สลับเปลียนกบกลองใหญั ่และฉาบ โดยเน้นโน้ตตามสัดส่วนของจังหวะทีนํามาจากคีธ จาเร็ท การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลักที ในรูปแบบการทําซํา โดยบรรเลงเหมือนเดิมทุกตัวโน้ต แต่เว้นในโน้ตตัวที ของจังหวะที แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลง เฉพาะกลองใหญ่ เพือพร้อมสําหรับการบรรเลงในจังหวะต่อไป และยังคงเน้นตามสัดส่วนในโมทีฟ หลักที โมทีฟb เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบการเรียบเรียงประโยค โดยบรรเลงที กลองสแนร์เป็นหลัก ด้วยการรัวกลองในรูปแบบมือดับเบิลสโตรกกั หอสมุดกล และบรรเลงซิงเกิลพาราดิดเดิล (Single Paradiddlediddle)ส ในสำน่วนโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์าง ในห้องที จังหวะที โมทีฟc เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบการเรียบเรียงประโยค บรรเลงด้วยโน้ต เขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยบรรเลงกลองใหญ่ต่อด้วยกลองฟลอร์ทอม ในโน้ตตัวที ของจังหวะ ที และจังหวะที และบรรเลงด้วยการเน้นเสียงในจังหวะที และ ในห้องที โมทีฟd เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบการเรียบเรียงประโยค แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะช้าลง จากโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์เป็นโน้ตตัวดํา ในห้องที และบรรเลงด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ต สองชัน และเพิมความดังในการบรรเลงจากเบาไปสู่ดัง ในห้องที โดยบรรเลงทีไฮแฮท และกลองสแนร์ การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ยังคงเริมบรรเลงทีกลองสแนร์เป็นหลัก โดยสลับกบกลองใหญั ่และฉาบเพือการเน้นเสียงในห้องที และบรรเลงกลองสแนร์สลับ กบกลองทอมั และกลองฟลอร์ทอม ในห้องที และบรรเลงไฮแฮทต่อกลองสแนร์ ในห้อง ที ในการบรรเลงด้นสด ห้องนี แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วใน ห้องที ไปสู่โน้ตทีมีอัตราจังหวะช้าลงในห้องที และกลับมาเร็วอีกครังในห้องที และบรรเลงกลองฟลอร์ทอมสลับกบกลองใหญั ่ในสองจังหวะสุดท้าย ในห้องที เพือ ความแข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป

40

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน ห้อง ครังที

ท่อนเปียโนด้นสด ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากเปียโนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที ม ำนกั หอส ุดกลาง ในตัวอย ส่างที แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของคีธ จาเร็ท มาใช้ในการสร้าง โมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที นํามาเป็นโครงสร้าง โดย บรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะช้าลง จากโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ เป็นโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ และโน้ตตัวดํา บรรเลงด้วยกลองสแนร์เป็นหลัก โดยเน้นโน้ตในจังหวะที และ ในห้องที

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอย่างที 23 โมทีฟหลักที ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสาม พยางค์และโน้ตตัวดํา โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์เป็นหลักและสลับเปลียนกบกลองทอมั ใน โน้ตตัวที ของจังหวะที และโมทีฟหลักที ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดย บรรเลงกลองทอม สลับกบกลองใหญั ่และกลองทอม การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟ1a b 1c 1d 1e และ1f เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบ การเรียบเรียงประโยคและเปลียนจังหวะ โดยใช้เทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือซิงเกิล สโตรก ดับเบิลสโตรก เทคนิคแฟรมสโตรก ด้วยการบรรเลงทีกลองสแนร์เป็นหลักและเปลียน ตําแหน่งการบรรเลงไปยังกลองทอม กลองทอม และกลองฟลอร์ทอม 41

โมทีฟa เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบการทําซําและการเรียบเรียงประโยค โดย แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงกลองฟลอร์ในจังหวะยกของจังหวะที และต่อด้วยกลองใหญ่ ใน จังหวะตกที และจังหวะยกของจังหวะที การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงทีกลองสแนร์เป็นหลักสลับกบั กลองใหญ่และฟลอร์ทอมในห้อง และ เป็นทีน่าสังเกตว่าเมือเริมต้นบรรเลงด้วยกลองใหญ่ จะบรรเลงต่อด้วยกลองฟลอร์ทอมและเชือมด้วยกลองสแนร์ไปยังกลองทอม สลับกบกลองใหญั ่ และกลองทอม ในห้องที และ ในการบรรเลงด้นสด ห้องนี แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้บรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเขบ็ตสองชันสามพยางค์ ในห้อง แจ็คกั ดิจอห์นเน็ตหอสม ใช้เทคนิคการเลือนจังหวะของประโยคุดกล เริมด้วย โมทีฟc 2d และ2e เป็นทีนสำ่าสังเกตวน าเมือ่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิคการเลือนจังหวะของประโยคาง จะบรรเลงด้วยประโยค จังหวะและบรรเลงต่อด้วยประโยค จังหวะเสมอ เหมือนในห้องที ในตัวอยางที่ และบรรเลงกลองฟลอร์ทอมในจังหวะสุดท้าย ของห้องที เพือความ แข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 8 ห้อง ครังที

ท่อนเปียโนด้นสด ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากเปียโนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในตัวอยางที่ 24 แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของคีธ จาเร็ท มาใช้ในการสร้าง โมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที นํามาเป็นโครงสร้าง โดย บรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะช้าลง จากโน้ตเขบ็ตสองชันเป็นโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์บรรเลง ด้วยกลองสแนร์เป็นหลัก โดยเน้นโน้ตในจังหวะที และ ในห้องที ด้วยเทคนิค ครอสสติก

42

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอย่างที 25 โมทีฟหลักที ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสาม พยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์โดยใช้เทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือดับเบิลสโตรกนกั หอสมุดกลาง เทคนิคครอสสติก สลับก สบการบรรเลงกลองใหญั ำ ่ การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาในรูปแบบการทําซําโดยบรรเลง เหมือนเดิมทุกตัวโน้ต และในโมทีฟb เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบการเรียบเรียงประโยค บรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยบรรเลงกลองสแนร์ด้วยการใช้เทคนิคการบรรเลง กลองในรูปแบบมือดับแฟรมสโตรก เทคนิคครอสสติก สลับกบการบรรเลงกลองใหญั ่ ต่อด้วยการ บรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ตสองชันสาม พยางค์ ในห้องที โมทีฟd เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบการเรียบเรียงประโยคและเปลียนจังหวะ ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ และโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ โดยบรรเลงทีกลอง ฟลอร์ทอม กลองใหญ่ กลองสแนร์ และกลองทอม และในโมทีฟe และf เป็นการพัฒนาโมทีฟใน รูปแบบการเรียบเรียงประโยคและเปลียนจังหวะ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงโดยกลองทอม สลับกบั กลองสแนร์ กลองทอม กลองฟลอร์ทอม และกลองใหญ่บรรเลงพร้อมฉาบ การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ยังคงเริมบรรเลงทีกลองสแนร์เป็นหลัก โดยสลับกับกลองใหญ่ เป็นทีน่าสังเกตว่าแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงเทคนิคครอสสติกหรือแฟรม สโตรกในกลองสแนร์และจะบรรเลงตามด้วยกลองใหญ่เสมอ เพือเป็นการเน้นเสียง และสลับเปลียน ไปสู่การบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ตสองชัน สามพยางค์ และในห้องที เริมต้นบรรเลงด้วยกลองฟลอร์ทอมสลับกบกลองใหญั ่และเชือมด้วย กลองสแนร์ไปยังกลองทอม กลองทอม และกลองฟลอร์ทอมในห้องที ในการบรรเลงด้น สด ห้องนี แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วในห้องที ไปสู่โน้ตทีมี อัตราจังหวะช้าลง ในห้องที และบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบในจังหวะยก ของจังหวะที ในห้องที บทที 4

วิเคราะห์การด้นสดสลับเปลียนระหว่างแซกโซโฟนและกลองชุด ในเพลง I’ll Be Seeing You

ในบทนีผู้วิจัยได้ทําการถอดโน้ตในท่อนการบรรเลงโต้ตอบเพือศึกษาวิเคราะห์การด้น สดสลับเปลียนระหวางแซกโซโฟนและกลองชุด่ ในเพลง I’ll Be Seeing You จากวิดีโอบันทึกการ แสดงสดของ ซันนี โรลลินส์ (Sonny Rollins,อสม ค.ศ.ุด ปัจจุบัน) โดยการเลือกเพลงนี เพราะ ภายในบทเพลงมีการสลับเปลียนการด้นสดระหวำนกั ห างแซกโซโฟน่ กลาง โดย ซันนี โรลลินส์ และกลองชุด โดย แจ๊ค ดิจอห์นเน็ต ทําให้เห็นความเชือมโยงก ส นในเรืองการใช้โมทีฟและการพัฒนาโมทีฟจากั เครืองแซกโซโฟนสู่กลองชุด และการพัฒนาโมทีฟในการบรรเลงกลองชุดของแจ็ค ดิจอห์นเน็ต

ลักษณะการบรรเลงและสังคีตลักษณ์ เพลง I’ll Be Seeing You เป็นเพลงมาตรฐานจังหวะสวิง ประพันธ์โดย แซมมี เฟน และเนือร้องโดย เออวิง คาฮาล (Irving Kahal, ค.ศ. ) โดยผู้วิจัยได้เลือกเพลง I’ll Be Seeing You จากวิดีโอบันทึกการแสดงสดของ ซันนี โรลลินส์ ที Theatre StDenis ในงาน Montreal Jazz Featival ประเทศแคนาดา เมือวันที กรกฏาคม ค.ศ. มีความยาว :37 นาที มีผู้บรรเลง 5 คน ได้แก่ ซันนี โรลลินส์ บรรเลงแซกโซโฟน บ็อบบี บรูม (Bobby Broom, ค.ศ. ปัจจุบัน) และ โยชิอะกิ มัสสูโอ (Yoshiaki Massuo) บรรเลงกีต้าร์ บ็อบ แครนชอว์ (Bob Cranshaw, ค.ศ. ปัจจุบัน) บรรเลงกีต้าร์เบส และแจ็ค ดิจอห์นเน็ตบรรเลงกลอง

สังคีตลักษณ์ ABAC จังหวะสวิง อยูในกุญแจเสียง่ Bb เมเจอร์ ความเร็ว  =180 ท่อนขึนต้น จํานวน ห้อง เข้าท่อนทํานอง (0.37 นาที) ได้แก่ท่อน A จํานวน 8 ห้อง ท่อน B จํานวน 8 ห้อง กลับมาท่อน A จํานวน 8 ห้อง และท่อน C จํานวน 8 ห้อง หลังจากนัน แซกโซโฟนและกลองบรรเลงการสลับเปลียน ห้อง ในท่อน ABAC (1.19 นาที) จํานวน 244 ห้อง แล้วกลับเข้าท่อนทํานอง (. นาที) จํานวน ห้อง จบเพลงด้วยท่อนจบ (. นาที) จํานวน ห้อง ในเพลง I’ll Be Seeing You เริมต้นด้วยท่อนขึนต้น ต่อด้วยท่อนทํานองของเพลง หลังจากนันเข้าท่อนการสลับเปลียน ห้อง ระหวางแซกโซโฟน่ และกลองชุด เริมด้วยแซกโซโฟน ด้นสด ห้อง ในท่อน B ห้องที และสลับเปลียนด้วยกลองชุดด้นสด ห้อง สลับเปลียนเป็น

43

44

จํานวน ครัง มีความยาว ห้อง แล้วกลับเข้าท่อนทํานอง และจบเพลงด้วยท่อนจบ โดยผู้วิจัย ได้วิเคราะห์เฉพาะท่อนการสลับเปลียนเท่านัน

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 3

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในท่อนการสลับเปลียนครังที ของ ซันนี โรลลินส์ได้บรรเลงโมทีฟสันๆ โดย บรรเลงด้วยโน้ต G, Bb, C และ Bb โดยบรรเลงซํา ครัง ต่อกนเป็นประโยคั ห้อง ในห้องที ซึงจดจําได้ง่ายและชัดเจน ทําให้ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต สามารถนํามาใช้ในการบรรเลงโต้ตอบ ดังนี ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที ในจังหวะที , และ จังหวะตก ของจังหวะที นํามาเป็นโครงสร้างโดยเน้นเสียงกลองในโน้ตตัว Bb ทีบรรเลงการเน้น เสียง และสร้างประโยคในรูปแบบ ห้องโดยสอดคล้องกบการบรรเลงของั ซันนี โรลลินส์ ในห้อง ที

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

45

โมทีฟหลัก ในตัวอย่างที ในโมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสาม พยางค์ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงทีกลองใหญ่และสลับเปลียนกบกลองสแนร์ั โดยเน้นโน้ต ในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที และจังหวะตกของจังหวะที และจังหวะยกของ จังหวะที ในห้องที การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลัก ในรูปแบบการเรียบเรียง ประโยคและเปลียนจังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึนจากโน้ต เขบ็ตหนึงชันสามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ ด้วยเทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบ มือ ดับเบิลสโตรก และยังคงเน้นสัดส่วนจังหวะของโมทีฟหลัก ในจังหวะตกของจังหวะที ใน ห้องที และเน้นต่างไปในโน้ตตัวทีกั ห ของจังหวะทีอสมุด ก ในห้องทีล และในโน้ตตัวที และ ของ จังหวะที ในห้องที ส โดยยังคงบรรเลงกลองใหญำน ่ในจังหวะยกของจังหวะทีาง และโน้ตตัวที ของจังหวะที เพือยํ าโน้ตในโมทีฟหลัก การเรียบเรียงเสียงกลอง (Voicing) แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงด้วยกลองใหญ่ สลับเปลียนกบกลองสแนร์ั โดยเน้นเสียงด้วยกลองสแนร์เป็นหลักและกลองใหญ่พร้อมฉาบ ใน จังหวะตกของจังหวะที ในห้องที ต่อมาบรรเลงด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตเขบ็ต หนึงชันสามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ และเพิมความดังในการบรรเลงจากเบาไปสู่ดัง ขึนในห้องที และบรรเลงกลองใหญ่ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที เพือความ แข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป เป็นทีน่าสังเกตวาเมือ่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงโน้ตด้วยอัตรา จังหวะทีช้าไปสู่อัตราจังหวะทีเร็วขึน จะบรรเลงทีกลองสแนร์และบรรเลงด้วยเทคนิคการบรรเลง กลองในรูปแบบมือ ดับเบิลสโตรกเสมอ

46

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที 5

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด

นกั หอสมุดกลาง สำ ท่อนกลองด้นสด ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครั งที

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที ในจังหวะที และ นํามาเป็นโครงสร้าง ด้วยการบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตเขบ็ตหนึงชัน เป็นโน้ต เขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ ในจังหวะที และ ของห้องที โดยบรรเลงด้วยกลองสแนร์สลับ เปลียนกบกลองใหญั ่

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ โมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ ในจังหวะที และ ต่อด้วยบรรเลงกลอง ใหญ่ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ของห้องที ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลัก ในรูปแบบการเรียบเรียง ประโยคและเปลียนจังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ ต่อด้วยการเน้นเสียงโดยบรรเลงทีกลองสแนร์และฉาบ ในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที และตัดโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที ออก ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ 47

โมทีฟb เป็นการพัฒนาจากโมทีฟa ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยคและเปลียน จังหวะโดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงฉาบไรด์ (Ride Cymbal) สลับเปลียนกบกลองใหญั ่และกลอง สแนร์ ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ โมทีฟc เป็นการพัฒนาจากโมทีฟa ในรูปแบบการทําซําและเปลียนจังหวะ โดย แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงเหมือนโมทีฟหนึงเอทุกจังหวะ และเพิมการบรรเลงสแนร์ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ ต่อด้วยการบรรเลงกลองสแนร์สลับ เปลียนกบกลองใหญั ่และฉาบไรด์ และบรรเลงด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึนจากโน้ตเขบ็ตหนึง ชันสามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ โดยบรรเลงทีกลองสแนร์ด้วยเทคนิคการบรรเลง กลองในรูปแบบมือ ดับเบิลสโตรกั ในห้องทีหอส ม จังหวะทีุดกล การเรียบเรียงเสียงกลองสำนก แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงทีกลองสแนร์สลับกาง บกลองใหญั ่ เป็นหลัก โดยเน้นเสียงด้วยการบรรเลงกลองสแนร์พร้อมฉาบ ในจังหวะตกของจังหวะที ในห้อง ที และในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที ต่อด้วยบรรเลงฉาบไรด์ พร้อมกลองใหญ่ใน โน้ตตัวที ของจังหวะที และจังหวะตก ของจังหวะที ในห้องที เป็นทีน่าสังเกตว่าเมือ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงโน้ตด้วยอัตราจังหวะทีช้าไปสู่อัตราจังหวะทีเร็วขึน จะบรรเลงทีกลอง สแนร์และบรรเลงด้วยเทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือ ดับเบิลสโตรก ในจังหวะตกของ จังหวะที ในห้องที ในห้อง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิคการเลือนจังหวะของประโยค (Rhythm Displacement) เริมด้วยโมทีฟหลัก a b และc เป็นทีน่าสังเกตวาเมือ่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้ เทคนิคการเลือนจังหวะของประโยคจะบรรเลงด้วยประโยค จังหวะเสมอ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองสแนร์ด้วยเทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือ ดับเบิลสโตรก ในจังหวะที ใน ห้องที เพือความแข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป

48

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด

กั หอสมุดกล ำน ท่อนกลองด้นสด าง ส ตัวอยางที่ 30 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที นํามาเป็นโครงสร้าง ด้วยการบรรเลงการเน้นเสียงในสามจังหวะแรกในรูปแบบทีคล้ายกนั และต่างออกไปในจังหวะทีสี หรือหยุดเหมือนทีซันนี โรลลินส์ บรรเลง

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ 31 โมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ และบรรเลงการเน้นเสียงด้วยกลองสแนร์ ในจังหวะตกของจังหวะที และบรรเลงกลองสแนร์พร้อมกบฉาบไรด์ั ในโน้ตตัวที ของจังหวะที การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลัก ในรูปแบบการเรียบเรียง ประโยคและเปลียนจังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงทีกลองสแนร์กบฉาบไรด์และไฮแฮทั บรรเลงด้วยเท้า เป็นหลัก และบรรเลงกลองใหญ่ ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที 49

โมทีฟ b เป็นการพัฒนาจากโมทีฟa ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยค โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต ยังคงบรรเลงกลองสแนร์กบฉาบไรด์และไฮแฮทบรรเลงด้วยเท้าั เป็นหลัก และบรรเลง กลองใหญ่พร้อมฉาบไรด์ ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที โมทีฟc เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลัก ในรูปแบบการทําซําและการเรียบเรียง ประโยค โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงเหมือนโมทีฟหลักโดยบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบไรด์ และ สลับเปลียนกบกลองสแนร์ั และบรรเลงด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึนจากโน้ตเขบ็ตหนึงชันสาม พยางค์เป็นโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ โดยบรรเลงทีกลองสแนร์ด้วยเทคนิคการบรรเลงกลองใน รูปแบบมือ ดับเบิลสโตรก ในห้องที ในจังหวะที การเรียบเรียงเสียงกลองกั หอ แจ็คส ดิจอห์นเน็ตมุดกล บรรเลงทีกลองสแนร์สลับกบกลองใหญั ่ และฉาบไรด์ เป็นหลัก และบรรเลงไฮแฮทบรรเลงด้วยเท้าสำน า ในห้องทีง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองสแนร์ด้วยเทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือ ดับเบิลสโตรก ในจังหวะตกของ จังหวะที ในห้องที เพือความแข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด

ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในท่อนการสลับเปลียนครังที ของ ซันนี โรลลินส์ได้บรรเลงโมทีฟสันๆ โดย บรรเลงด้วยโน้ต G Bb C และ Bb โดยบรรเลงซํา ครัง ต่อกนเป็นประโยคั ห้อง ในห้องที และบรรเลงซําในห้องที ซึงจดจําได้ง่ายและชัดเจน ซึงทําให้ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต สามารถนํามาใช้ในการบรรเลงโต้ตอบ ดังนี 50

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที ในจังหวะที และ จังหวะตก ของจังหวะที นํามาเป็นโครงสร้างโดยเน้นเสียงกลองในโน้ตตัว Bb ทีบรรเลงการเน้น เสียง และสร้างประโยคในรูปแบบ ห้องโดยสอดคล้องกบการบรรเลงของั ซันนี โรลลินส์ ในห้อง ที

อสมุด ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครัำนกั ห กลงทีา ง ส โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ ในโมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสาม พยางค์ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงทีกลองสแนร์และสลับเปลียนกบฉาบไรด์และกลองใหญั ่ โดยเน้นโน้ตในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที และจังหวะตกของจังหวะที และโน้ต ตัวที ของจังหวะที ในห้องที การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลัก ในรูปแบบการเรียบเรียง ประโยคและเปลียนจังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต ยังคงบรรเลงสอดคล้องกบโมทีฟหลักั ด้วยการเริม บรรเลงทีกลองสแนร์พร้อมฉาบไรด์ สลับเปลียนกบกลองใหญั ่พร้อมฉาบไรด์ และบรรเลงการเน้น เสียงทีกลองสแนร์และฉาบไรด์ในจังหวะตกของจังหวะที และ ในห้องที การเรียบเรียงเสียงกลอง (Voicing) แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงด้วยกลองสแนร์ สลับเปลียนกบฉาบไรด์และกลองสแนร์ั โดยบรรเลงการเน้นเสียงด้วยฉาบไรด์และกลองสแนร์เป็น หลักและบรรเลงกลองใหญ่ ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที และเน้นการบรรเลงกลอง ใหญ่พร้อมฉาบในห้องที และบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบในโน้ตตัวที ของจังหวะที ใน ห้องที เพือความแข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป

51

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด

ท่อนกลองด้นสดม ำนกั หอส ุดกลาง ส ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที ในจังหวะที และห้อง ที ในจังหวะที และ นํามาเป็นโครงสร้าง ด้วยการบรรเลงตามจังหวะของซันนี โรลลินส์ ทุกตัวโน้ต และสอดคล้องกบโน้ตสูงตําั ในห้องที ในจังหวะที และห้องที ในจังหวะที ด้วยการบรรเลงกลองสแนร์แทนโน้ตเสียงสูงและบรรเลงกลองใหญ่ด้วยโน้ตเสียงตํา

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ 35 โมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์พร้อมฉาบไรด์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ ในจังหวะที และ ต่อด้วย บรรเลงกลองใหญ่ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ของห้องที ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลัก ในรูปแบบการทําซําและ การตัดโน้ตในประโยค โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงเหมือนโมทีฟหลัก แต่เว้นการบรรเลงกลอง 52

ใหญ่ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที และฉาบไรด์ในโน้ตตัวที และ ของจังหวะที ในห้องที ที ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ โมทีฟb เป็นการพัฒนาจากโมทีฟa ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยคและเปลียน จังหวะโดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองใหญ่พร้อมกบฉาบไรด์ั ในจังหวะตก ของจังหวะที และ โน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที และโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที ซึงบรรเลง เป็นประโยค จังหวะ โมทีฟc เป็นการพัฒนาจากโมทีฟb ในรูปแบบการเปลียนจังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์น เน็ต บรรเลงกลองใหญ่พร้อมกบฉาบไรด์ั ในจังหวะตกของจังหวะที และ ในห้องที ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ ต่อด้วยการบรรเลงกลองใหญหอสมุดกล ่พร้อมกบฉาบไรด์สลับเปลียนกั บั ไฮแฮทบรรเลงด้วยเท้าและกลองสแนร์สำนกั าง การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงทีกลองสแนร์พร้อมกบฉาบั ไรด์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่พร้อมกบฉาบไรด์เป็นหลักั และเน้นการบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบ ในห้องที ในห้อง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิคการเลือนจังหวะของประโยค เริมด้วย โมทีฟหลัก a b และc เป็นทีน่าสังเกตว่าเมือ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิคการเลือนจังหวะของ ประโยคจะบรรเลงด้วยประโยค จังหวะเสมอ และแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบ ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที เพือความแข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด

ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ 36 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที 53

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที ในจังหวะที และ และห้องที ในจังหวะที และ นํามาเป็นโครงสร้าง ด้วยการเพิมโน้ตในการบรรเลงจากชุด จังหวะของซันนี โรลลินส์ ในจังหวะตกของจังหวะที และ ของห้องที

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครัม งที ำนกั หอส ุดกลาง ส โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ 37 โมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่พร้อมฉาบไรด์ ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลักโดยการตัดจังหวะทีหนึง ของโมทีฟหลักออก และพัฒนาต่อในรูปแบบการทําซําและการตัดโน้ตในประโยค โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงเหมือนโมทีฟหลัก แต่เว้นการบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบไรด์ในจังหวะตก ของจังหวะที และฉาบไรด์ในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที และบรรเลงการเน้นเสียงใน โน้ตตัวที ของจังหวะที และจังหวะตกของจังหวะที ของห้องที ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ โมทีฟb เป็นการพัฒนาจากโมทีฟa ในรูปแบบการทําซําและการเปลียนจังหวะโดย แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เพิมโน้ตในการบรรเลงด้วยกลองสแนร์ ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ โมทีฟc เป็นการพัฒนาจากโมทีฟa ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยค โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงด้วยกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่และฉาบไรด์ ซึงบรรเลงเป็น ประโยค จังหวะ ต่อด้วยการบรรเลงกลองใหญ่พร้อมกบฉาบไรด์ั ในห้องที การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบั กลองใหญ่พร้อมกบฉาบไรด์เป็นหลักั และเน้นการบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบในห้องที ในห้อง ถึงห้องที ในจังหวะที แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิคการเลือน จังหวะของประโยค เริมด้วยโมทีฟเอ บี และซี เป็นทีน่าสังเกตวาเมือ่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิค 54

การเลือนจังหวะของประโยคจะบรรเลงด้วยประโยค จังหวะเสมอ และแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลง กลองใหญ่พร้อมฉาบในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที เพือความแข็งแรงในการส่งเข้า ในห้องถัดไป

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที

อสมุดก ำนกั หท่อนแซกโซโฟนด้นสดลา ง ส

ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที ในจังหวะที และ นํามาเป็นโครงสร้าง ด้วยการบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตตัวดํา เป็นโน้ตเขบ็ตหนึง ชันสามพยางค์ ในจังหวะที ของห้องที

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอยาง่ ที 39 แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงโมทีฟหลักเริมต้นในจังหวะ ที ของห้องที และเพิมประโยคในโมทีฟเป็นประโยค จังหวะ ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึง ชันสามพยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ และบรรเลงโน้ตทีมีอัตรา 55

จังหวะเร็วขึน จากโน้ตตัวเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ เป็นโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ ในจังหวะที ของห้องที และจังหวะที ของห้องที โดยบรรเลงกลองฟลอร์ทอมในจังหวะตกของ จังหวะที และบรรเลงกลองทอม ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลักในรูปแบบการทําซํา โดย แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงจังหวะเหมือนโมทีฟหลักทุกตัวโน้ต ด้วยการบรรเลงการเน้นเสียงด้วย กลองสแนร์และฉาบ ในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที และบรรเลงกลองฟลอร์ทอมใน จังหวะตกของจังหวะที และบรรเลงกลองทอม ในโน้ตตัวที ของจังหวะที และบรรเลงกลอง ทอม ในโน้ตตัวที และ ของจังหวะที ในห้องที และบรรเลงการเน้นเสียงด้วยกลองสแนร์ และฉาบ ในจังหวะตกของจังหวะทีกั ห ในห้องทีอสม ุด ซึงบรรเลงเป็นประโยคกล จังหวะ โมทีฟb สเป็นการพัฒนาจากโมทีฟaำน ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยคาง โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงด้วยกลองสแนร์สลับเปลียนก บกลองใหญั ่ ต่อด้วยการบรรเลงทีกลอง ทอม ด้วยเทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือแฟรมสโตรก ในจังหวะตกของจังหวะที และ บรรเลงกลองฟลอร์ทอม ในโน้ตตัวที และ ของจังหวะที ในห้องที ซึงบรรเลงเป็นประโยค จังหวะ ต่อด้วยการบรรเลงกลองใหญ่พร้อมกบฉาบไรด์ั และกลองสแนร์ ในห้องที การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบั กลองใหญ่ และเริมบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตตัวเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ เป็น โน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ ในจังหวะตกของจังหวะที ของห้องที บรรเลงโดยกลองฟลอร์ ทอมสลับกบกลองทอมั กลองใหญ่ และกลองสแนร์ และเน้นการบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบใน ห้องที ในห้อง ในจังหวะที ถึงห้องที ในจังหวะที แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้ เทคนิคการเลือนจังหวะของประโยค เริมด้วยโมทีฟหลัก a และb เป็นทีน่าสังเกตว่าเมือ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ใช้เทคนิคการเลือนจังหวะของประโยคจะบรรเลงด้วยประโยค จังหวะเสมอ และแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที เพือความแข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป

56

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด

กั หอสมุดกล ำน ท่อนกลองด้นสด าง ส ตัวอยางที่ การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในท่อนการสลับเปลียนครังที ของ ซันนี โรลลินส์ได้บรรเลงโน้ตตัว G ตลอด ทังการบรรเลงด้นสด และบรรเลงโมทีฟในจังหวะทีเป็นรูปแบบซําๆ ซึงจดจําได้ง่ายและชัดเจน ซึง ทําให้ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต สามารถนํามาใช้ในการบรรเลงโต้ตอบ ดังนี ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําแนวคิดของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาแนวคิดของห้องที นํามาเป็นโครงสร้าง ด้วย แนวคิดทีซันนี โรลลินส์ บรรเลงโน้ตตัวเดิมและบรรเลงจังหวะซําหลายครัง โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงด้วยกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ และบรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ ซําๆ เป็นจํานวน ห้อง

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ 41 โมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่และฉาบไรด์ โดยกลองสแนร์ใช้เทคนิคการ บรรเลงกลองในรูปแบบมือโรลสโตรก 57

การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟa และb เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลัก ในรูปแบบการ ทําซํา โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงเหมือนโมทีฟหลักทุกตัวโน้ต โมทีฟ c เป็นการพัฒนาโมทีฟในรูปแบบการทําซําและการเรียบเรียงประโยค โดย แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงเหมือนโมทีฟหลักในสามจังหวะแรก และบรรเลงโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็ว ขึน จากโน้ตตัวเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ เป็นโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ ในโน้ตตัวที และ ของจังหวะที ในห้องที การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต เริมบรรเลงทีกลองสแนร์ด้วยเทคนิคการ บรรเลงกลองในรูปแบบมือโรลสโตรกสลับเปลียนกบกลองใหญั ่ และฉาบไรด์ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองสแนร์ด้วยเทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือกั หอสมุดกล ดับเบิลสโตรก ในโน้ตตัวที และ ของจังหวะที ในห้องที สำ เพือความแข็งแรงในการสน ่งเข้าในห้องถัดไปาง

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด

ท่อนกลองด้นสด

ตัวอยางที่ 42 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ใน การสร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที นํามาเป็น โครงสร้าง ด้วยการบรรเลงตามจังหวะของซันนี โรลลินส์ ในสามจังหวะแรก และเพิมโน้ตในการ บรรเลงจากโน้ตตัวดําเปลียนเป็นโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ ในจังหวะที ของห้องที

58

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ โมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ และบรรเลงการเน้นเสียงด้วยกลองสแนร์ ในจังหวะตกของจังหวะที และโน้ตตัวที ของจังหวะที และ ในห้องที การพัฒนาโมทีฟนกั โมทีฟหอ a สเป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลักมุดกลาง ในรูปแบบการเรียบเรียง ประโยคและเปลียนจังหวะ ส ำโดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงการเน้นเสียงทีกลองสแนร์ ในจังหวะตก ของจังหวะที ห้องที โดยสลับเปลียนกบกลองใหญั ่ โมทีฟ b เป็นการพัฒนาจากโมทีฟa ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยคและเปลียน จังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต ยังคงบรรเลงทีกลองสแนร์เป็นหลัก โดยบรรเลงการเน้นเสียงในโน้ต ตัวที ของจังหวะที และจังหวะตกของจังหวะที และ และสลับกบการบรรเลงกลองใหญั ่ ใน โน้ตตัวที ของจังหวะที และใช้เทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือ แฟรมสโตรก ในจังหวะ ตกของจังหวะที ในห้องที โมทีฟ c เป็นการพัฒนาจากโมทีฟb ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยคและเปลียน จังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองใหญ่สลับเปลียนกบกลองสแนร์ั และโดยบรรเลงการ เน้นเสียงในโน้ตตัวที ของจังหวะที และจังหวะตกของจังหวะที ด้วยการใช้เทคนิคการบรรเลง กลองในรูปแบบมือ แฟรมสโตรก ในห้องที การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงทีกลองสแนร์สลับกบกลองใหญั ่ เป็นหลัก แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองสแนร์ด้วยเทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือ แฟรม สโตรก ในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที และโน้ตตัวที ของจังหวะที และจังหวะตก ของจังหวะที ในห้องที และแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองใหญ่ในโน้ตตัวที ของจังหวะที ในห้องที เพือความแข็งแรงในการส่งเข้าในห้องถัดไป

59

. วิเคราะห์ท่อนการด้นสดสลับเปลียน 4 ห้อง ครังที

ท่อนแซกโซโฟนด้นสด

กั หอสมุดกล ำน ท่อนกลองด้นสด าง ส ตัวอยางที่ 44 การนําโมทีฟจากแซกโซโฟนมาใช้ในกลองชุดในการสลับเปลียนครังที

ในตัวอยางที่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้นําชุดจังหวะของซันนี โรลลินส์ มาใช้ในการ สร้างโมทีฟในการบรรเลงโต้ตอบ โดยนําเอาสัดส่วนจังหวะของห้องที นํามาเป็นโครงสร้าง โดยการบรรเลงทีกลองใหญ่ และแจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้เพิมการบรรเลงโน้ต ในจังหวะตกของจังหวะ ที และ ในห้องที ด้วยการบรรเลงทีกลองสแนร์

ตัวอยางที่ ท่อนกลองชุดด้นสดในการสลับเปลียนครังที

โมทีฟหลัก ในตัวอยางที่ 45 โมทีฟหลัก ประกอบด้วยโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ โดยเริมบรรเลงทีกลองสแนร์พร้อมฉาบไรด์สลับเปลียนกบกลองใหญั ่ และบรรเลงการเน้นเสียง ด้วยกลองสแนร์ในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที การพัฒนาโมทีฟ โมทีฟ a เป็นการพัฒนาจากโมทีฟหลัก ในรูปแบบการทําซําและ การตัดโน้ตในประโยค โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงเหมือนโมทีฟหลักโดยบรรเลงด้วยกลองใหญ่ และฉาบไรด์ แต่เว้นการบรรเลงโน้ตในจังหวะตกของจังหวะที และ ในห้องที โมทีฟb เป็นการพัฒนาจากโมทีฟ a ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยคและเปลียน จังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต ยังคงบรรเลงทีกลองใหญ่พร้อมกบฉาบไรด์เป็นหลักั โดยเพิมโน้ตใน 60

การบรรเลงกลองสแนร์ในจังหวะตกของจังหวะที และบรรเลงกลองใหญ่ในจังหวะตกของจังหวะ ที ในห้องที โมทีฟ c เป็นการพัฒนาจากโมทีฟb ในรูปแบบการเรียบเรียงประโยคและเปลียน จังหวะ โดยแจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบไรด์สลับเปลียนกบกลองสแนร์ั โดย บรรเลงการเน้นเสียงในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที การเรียบเรียงเสียงกลอง แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลงทีกลองสแนร์พร้อมกบฉาบไรด์ั สลับกบกลองใหญั ่ ในห้องที และเน้นบรรเลงกลองใหญ่พร้อมฉาบไรด์เป็นหลัก ในห้องที และบรรเลงการเน้นสียงในจังหวะตกของจังหวะที ในห้องที เป็นทีน่าสังเกตว่า แจ็ค ดิจอห์นเน็ต จะบรรเลงกลองใหญกั ห่พร้อมฉาบไรด์ในการเน้นเสมออสมุดกล แจ็ค ดิจอห์นเน็ต บรรเลง กลองใหญ่พร้อมฉาบในโน้ตตัวทีสำน ของจังหวะที ในห้องทีาง เพือความแข็งแรงในการส่งเข้า ในห้องถัดไป

บทที

สรุปผลการศึกษา

. สรุปผลการวิเคราะห์เพลง Bye Bye Blackbird จากการศึกษาพบวาในเพลง่ Bye Bye Blackbird แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้ใช้เทคนิคพืนฐาน ในการบรรเลงโมทีฟและการพัฒนาโมทีฟอ ดังนีสม ุด รูปมือในการฝึกกลองำนกั ห กลาง . ซิงเก ิสลสโตรก . ดับเบิลสโตรก . แฟรมสโตรก . ครอสสติก ส่วนยอยของจังหวะ่ 1. โน้ตตัวดํา . โน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ . โน้ตเขบ็ตสองชัน . โน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ การพัฒนาโมทีฟ . การทําซํา . การเรียบเรียงประโยค . การยืดหดของจังหวะ . การเลือนจังหวะของประโยค

และยังพบวา่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้ใช้เทคนิคการบรรเลงในรูปแบบของตนเอง ในเพลง Bye Bye Blackbird ดังนี . บรรเลงด้วยการสร้างประโยคทีกลองสแนร์และบรรเลงต่อด้วยกลองใหญ่ หรือ เริมบรรเลงด้วยกลองใหญ่และต่อด้วยการบรรเลงทีกลองสแนร์ เป็นโมทีฟสันๆ โดยบรรเลงในห้อง

61

62

ที ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที และห้องที ของการสลับเปลียนครังที . บรรเลงด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์เป็น โน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ โดยบรรเลงในห้องที ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที และห้องที ของการสลับเปลียนครังที . บรรเลงกลองใหญ่ต่อกบกลองฟลอร์ทอมหรือเริั มบรรเลงกลองฟลอร์ทอมต่อ ด้วยกลองใหญ่ โดยบรรเลงในห้องที และ ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที และ ในการสลับเปลียนครังที ต่อไปในห้องที และ ของการสลับเปลียนครังที และ ห้องที และ ในการสลับเปลียนครัหองทีส มุดกล . บรรเลงกลองสแนร์หรือกลองใหญสำนกั ่ต่อกบกลองทอมาั ง สลับกบกลองสแนร์และั ต่อด้วยกลองทอม โดยบรรเลงในห้องที ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที ต่อไปในห้องที ของการสลับเปลียนครังที และห้องที และ ในการสลับเปลียนครังที . บรรเลงในจังหวะสุดท้ายด้วยการบรรเลงกระเดืองพร้อมกบฉาั บหรือบรรเลง ด้วยกลองฟลอร์ทอม โดยบรรเลงกระเดืองพร้อมกบฉาบในห้องทีั ของการสลับเปลียนครังที และห้องที ในการสลับเปลียนครังที และบรรเลงด้วยกลองฟลอร์ทอม ในห้องที ในการ สลับเปลียนครังที และในห้องที ของการสลับเปลียนครังที . บรรเลงเทคนิคการเลือนจังหวะของประโยค ด้วยการบรรเลงประโยค จังหวะ ต่อด้วยประโยค จังหวะ และประโยค จังหวะอีกหนึงครัง โดยบรรเลงในห้องที ในการ สลับเปลียนครังที และในห้องที ในการสลับเปลียนครังที

. สรุปผลการวิเคราะห์เพลง I’ll Be Seeing You จากการศึกษาพบวาใ่ นเพลง I’ll Be Seeing You แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้ใช้เทคนิคพืนฐาน ในการบรรเลงโมทีฟและการพัฒนาโมทีฟ ดังนี รูปมือในการฝึกกลอง . ซิงเกิลสโตรก . ดับเบิลสโตรก . แฟรมสโตรก . ครอสสติก . โรลสโตรก 63

ส่วนยอยของจังหวะ่ 1. โน้ตตัวดํา . โน้ตเขบ็ตหนึงชันสามพยางค์ . โน้ตเขบ็ตสองชัน . โน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ การพัฒนาโมทีฟ . การทําซํา . การเรียบเรียงประโยคหอ สมุดกล . การตัดโน้ตในประโยคสำนกั าง . การเลือนจังหวะของประโยค และยังพบวา่ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ได้ใช้เทคนิคการบรรเลงในรูปแบบของตนเอง ในเพลง I’ll Be Seeing You ดังนี . บรรเลงด้วยการสร้างประโยคทีกลองสแนร์และบรรเลงต่อด้วยกลองใหญ่ หรือ เริมบรรเลงด้วยกลองใหญ่และต่อด้วยการบรรเลงทีกลองสแนร์ เป็นโมทีฟสันๆ โดยบรรเลงในห้อง ที ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที ถัดไปห้องที ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที ถัดไปห้องที ของการสลับเปลียนครังที และห้องที ของการสลับเปลียนครังที . บรรเลงเชือมประโยค ด้วยโน้ตทีมีอัตราจังหวะเร็วขึน จากโน้ตเขบ็ตหนึงชัน สามพยางค์เป็นโน้ตเขบ็ตสองชันสามพยางค์ โดยบรรเลงในห้องที ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที ถัดไปห้องที ของการสลับเปลียนครังที ต่อ ด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที และห้องที ของการสลับเปลียนครังที . บรรเลงกลองสแนร์สลับเปลียนกบกลองทอมั และกลองสแนร์ ต่อด้วยกลอง ฟลอร์ทอม โดยบรรเลงในห้องที ของการสลับเปลียนครังที และห้องที ในการสลับ เปลียนครังที . บรรเลงในจังหวะสุดท้ายด้วยการบรรเลงกระเดืองพร้อมกบฉาั บหรือบรรเลง ด้วยกลองสแนร์ในเทคนิคการบรรเลงกลองในรูปแบบมือดับเบิลสโตรก ด้วยโน้ตเขบ็ตสองชันสาม พยางค์ โดยบรรเลงกระเดืองพร้อมกบฉาบในห้องทีั ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที ถัดไปห้องที ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที ถัดไปห้องที ของการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ของ 64

การสลับเปลียนครังที และห้องที ของการสลับเปลียนครังที และบรรเลงกลองสแนร์ ใน ห้องที ในการสลับเปลียนครังที ต่อด้วยห้องที ในการสลับเปลียนครังที และห้องที ของการสลับเปลียนครังที . บรรเลงเทคนิกการเลือนจังหวะของประโยค ด้วยการบรรเลงประโยค จังหวะ ต่อกนั ครัง และบรรเลงประโยค จังหวะ ต่อกนั ครัง โดยบรรเลงประโยค จังหวะ ต่อกนั ครังในห้องที ในการสลับเปลียนครังที และในห้องที ในการสลับเปลียนครังที และบรรเลงประโยค จังหวะ ต่อกนั ครัง ในห้องที ในการสลับเปลียนครังที และ ในห้องที ในการสลับเปลียนครังที กั หอสม ุดกล อภิปรายผล สำน าง ผลสรุปในงานการศึกษาครั งนีพบว่าการบรรเลงของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต มีความ เชียวชาญในการบรรเลงด้นสด โดยการบรรเลงโมทีฟ ในประโยคจังหวะทีหลากหลาย ได้แก่ ประโยค จังหวะ, ประโยค จังหวะ, ประโยค จังหวะ และประโยค ห้อง ส่วนใหญ่จะเริม บรรเลงในห้องที ของการด้นสด สามารถบรรเลงโมทีฟในรูปแบบต่างๆ ได้อยางเหมาะสม่ และ ใช้รูปแบบมือในการฝึกกลอง ในแบบพืนฐาน ได้แก่ ซิงเกิลสโต๊คและดับเบิลสโต๊ค บรรเลงด้นสด ให้เกิดซุ่มเสียงทีเป็นเอกลักษณ์ของตนเองได้อย่างหลากหลาย มีการสลับเปลียนส่วนย่อยของ จังหวะได้อยางเหมาะสม่ และการบรรเลงโมทีฟในจังหวะทีไม่ปกติ โดยใช้เทคนิคการเลือนจังหวะ ของประโยค ทําให้เกิดการได้ยินเสียงจังหวะทีซับซ้อน สําหรับผู้ทีต้องการทีจะศึกษาเรียนรู้เกียวกบั การบรรเลงด้นสดของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต นัน สามารถนําสิงทีผู้วิจัยได้วิเคราะห์ไปใช้ในการบรรเลงของตนได้ โดยทีสามารถนําเรืองต่างๆมา ประยุกต์ร่วมกนเพือให้เกั ิดการพัฒนาในการบรรเลงด้นสดต่อไป การศึกษาประวัติและการบรรเลงของ แจ็ค ดิจอห์นเน็ต ผู้วิจัยใคร่ขอแนะนําสําหรับผู้ที จะทําการศึกษาต่อไปดังนี 1. ควรทําการศึกษาเรืองผลงานการบรรเลงด้นสดในรูปแบบ การด้นสดตามสังคีต ลักษณ์ หรือการด้นสดแบบอิสระ รวมถึงการบรรเลงด้นสดสลับเปลียนทียังไม่ปรากฏหลักฐานใน การวิจัย . ควรทําการศึกษารูปแบบในการบรรเลงสนับสนุน โดยศึกษาจากการบรรเลง ร่วมกบวงในรูปแบบทีหลากหลายั สิงสําคัญทีสุดของดนตรีแจ๊สคือการบรรเลงด้นสด การทีจะสามารถบรรเลงเพลง โดยการด้นสดได้นันจําเป็นต้องมีพืนฐานทีดี มีการฝึกซ้อมอย่างสมําเสมอ มีทัศนคติทีเปิดกว้าง 65

และหนึงในวิธีทีดีทีสุดในการพัฒนาการด้นสด คือการถอดโน้ตจากบันทึกเสียงของศิลปินเพือ ศึกษาและวิเคราะห์วิธีการด้นสดของศิลปินนันๆ โดยใช้หลักทางทฤษฏีดนตรีเป็นพืนฐานในการ วิเคราะห์แล้วนําไปฝึกบนเครืองดนตรีของตนเพือให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส 66

รายการอ้างอิง

ณัชชา โสคติยานุรักษ์. พจนานุกรม ศัพท์ดุริยางคศิลป์ . พิมพ์ครังที 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2547. อนันต์ ลือประดิษฐ์. Jazz อิสรภาพทางดนตรีของมนุษยชาติ. กรุงเทพมหานคร: เนชัน, 2545. DeJohnette, J. Jack DeJohnette Profile, Accessed January 1, 2014. Available from http://www.jackdejohnette.com/?page_id=25 Foley, K.A. The Interpretation of Experience: A Contextual Studyof The Art of Three Pittsburgh Jazz Drummersกั หอ. Doctoralสมุด dissertation,กล Faculty of Arts and Sciences University ofส Pittsburgh,ำน 2007. าง Jordan, M. Melodic Drumming in Contemporary Popular Music: An Investigation into Melodic DrumKit Performance Practices and Repertoire. Master’s Thesis dissertation, School of Education College of Design & Social Context RMIT University, 2009. Korall, B. Jazz Drumming. The Oxford Companion to Jazz. Oxford University Press, 2005. Micallef, K. Modern drummer. NJ: Modern drummer Publications, 2003. Porter, L. The New Grove Dictionary of Jazz, volume 1. New York: Grove Publications, 2002. Riley, J. The Art of Bop Drumming. FL: Manhattan Music Publications, 1994. Rush, T. Motivic Development. Accessed November 1, 2014. Available from http://tobyrush.com/theorypages/pdf/0210motivicdevelopment.pdf Sonor. Jack DeJohnette. Accessed January 1, 2014. Available from http://us.sonor.com/artists/jackdejohnette Jazz Drumming. Accessed July 1, 2014. Available from http://en.wikipedia.org/wiki/Jazz_drumming

กั หอสมุด กลา สำน ง

ภาคผนวก

68

Bye Bye Blackbird

ประพันธ์โดย เรย์ เฮนเดอซัน

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

69

Bye Bye Blackbird

กลองด้นสดโดย แจ็ค ดิจอห์นเน็ต

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

70

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

71

I’ll Be Seeing You

ประพันธ์โดย แซมมี เฟน

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

72

I’ll Be Seeing You

กลองด้นสดโดย แจ็ค ดิจอห์นเน็ต

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

73

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

74

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

75

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

76

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

77

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

78

ประวัติผ้วิจัยู

ชือ – สกุล นายสิทธิพงศ์ สินธุปี ทีอยู ่ / หมู่ที ต.อุโมงค์ อ.เมืองลําพูน จ.ลําพูน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2551 สําเร็จการศึกษาดุริยางคศาสตร์ สาขาดนตรีแจ๊ส คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2553 ศึกษาต่อระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา คณะดุริยางคศาสตร์อสมุด มหาวิทยาลัยศิลปากรก ำนกั ห ลาง ส