อาหารพื้นเมือง

วัฒนธรรมดานอาหารพื้นเมืองของชาวพังงา โดยรวม มีความคลายคลึงกับอาหารของชาวปกษใตทั่วไป โดยเฉพาะ ภาคใตฝงอันดามัน จะเปนการผสมผสานกันหลายวัฒนธรรมจาก ชาติตางๆ ที่เคยเขามาติดตอคาขายและตั้งหลักปกฐานที่นี่มา ตั้งแตโบราณกาล ทำใหดินแดนแหงนี้เปน แหลงรวมวัฒนธรรม อาหารจากทั้งอินเดีย จีน มุสลิม และไทย สืบทอดภูมิปญญา กลายเปนอาหารพื้นเมืองพังงาที่มีสีสันรสชาติอันเปนเอกลักษณ

แกงพุงปลา

อาหารคาว ชาวพังงามีวัฒนธรรมการกินคอนขางพิถีพิถัน อาหารคาว ที่นิยมรับประทานมักมีรสจัดเหมือนอาหารปกษใตทั่วไป แตอาจ มีความแตกตางกันบางในรายละเอียดปลีกยอยของการปรุง อาหารสวนใหญมักปรุงดวยพืชผักทองถิ่น อาหารประเภทเนื้อจะนิยม เนื้อปลามากกวาเนื้อสัตวประเภทอื่นๆ หมูฮอง สำรับอาหารคาวของชาวพังงาที่นิยม เชน น้ำชุบ (น้ำพริก) แกงสม น้ำชุบหยำ น้ำพริกกุงเสียบ แกงพุงปลา หมูฮอง ตมกะทิใบเหมียง แกงเหลือง แกงไตปลา ขนมจีน เปนตน

สะตอผัดกุง

น้ำชุบหยำ

ตมกะทิใบเหมียง เม็ดกาหยูคั่ว ลูกชก โกซุย อาหารวาง-ขนม อาหารวางและขนมเปนอาหารที่รับประทาน เตาสอ ไมอิ่มทองนัก นิยมรับประทานในมื้อเชาหรือรับประทาน ระหวางมื้อ มีทั้งขนมแบบพื้นเมืองดั้งเดิม และขนม ที่ตัดแปลงมาจากขนมของชาวจีน ขนมหรืออาหารวาง ทองถิ่น เชน โกซุย ขนมหัวลาน บะจาง เตาสอ ลูกชก ลูกจันทนเทศแชอิ่ม อาโปง ขนมอี๋ ขนมฝกบัว โลบะ อาจาด สะเตะ เม็ดกาหยูคั่ว เปนตน โลบะ ขนมหัวลาน

ขนมในงานบุญ ขนมในงานบุญสำคัญ เชน ประเพณีสารทเดือน ๑๐ ซึ่งจัดเปนประจำทุกปในวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ กับ ขนมตม วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ เปนประเพณีทางพุทธศาสนา ขนมลา ที่สำคัญของชาวพังงาและชาวใต จัดขึ้นเพื่ออุทิศสวนกุศล ใหบรรพบุรุษผูลวงลับ ในงานจะมีการทำขนมสำหรับ ทำทานแกผูยากไร เชน ขนมตม ขนมไขปลา ขนมลา ขนมเทียน (ขนมทอนใต) ขนมกานบัว ขนมสะบา เปนตน

ขนมกานบัว ขนมสะบา

ขนมเทียน ขนมไขปลา Local Cuisine The traditional cuisine of Phang Nga is on the whole similar to that of the other provinces of the South, especially on the Andaman Coast. Its main character is a blend of disparate cultural influences left by the extraneous ethnic groups that had since the ancient times sailed to the region to engage in trade and settled there. In this way the region had been a melting pot of diverse cultural traits from India, China, Muslims and Thais, inheriting and interweaving the age-old cooking wisdoms into a unique blend of tastes to result in a colorful, flavorful cuisine of its own. Kaeng Phung Pla (fish stomach curry)

Main Course The people of Phang Nga are noted for a refined cuisine tradition. The main items on the dinner table are marked by high pungency just like all other Southerners, except for a few minor differences in preparation here and there. Like people elsewhere around the globe, they rely on locally-available vegetables and Mu Hong (pork stew) other food ingredients, with fishes dominating the table over other meats. The favourite items forming the main course of the Phang Nga folks include, for example, Nam Shup or hot (chili) sauce, Nam Shup Yam or quickly-prepared chili and shrimp sauce, Kung Siap or spicy shrimp dip, fish stomach curry, pork stew, Phak Miang soup in coconut milk, etc.

Sato Phad Kung (stir-fried twisted cluster bean with shrimp)

Nam Chup Yam (chili and shrimp sauce)

Phak Miang soup in coconut milk Luk Shok (a kind of palm seed in syrup) Ko Sui (brown-sugar sticky dumplings) Roast cashew nuts Snacks Snacks or sweet indulgences are appetizers, often enjoyed during breakfast or in between meals. They consist of traditional sweet and dessert applied from Chinese food. Tao So (sweet bun with fillings) They include Ko Sui (brown-sugar sticky dumplings), Khanom Hua Lan (boiled dough dumplings with green bean filling), Loba Ba Chang (Zongzi), Tao So (sweet bun with fillings), Luk Shok (a kind of palm seed) in syrup, nutmeg preserved, A-pong (sweet crêpe), Khanom Ee (Tangyuan of Chinese origin), khanom Fakbua (a fried pastry in round shape), Loba (spicy, fried pork), Sa-te (roast pork and peanut sauce), roast Khanom Hua Lan (boiled dough dumplings with green bean filling) cashew nuts, among others.

Festival Desserts One of the Phang Nga and Southern people’s most important festivities, the Tenth Lunar Month Ceremony is observed in the Tenth Lunar Month every year, in which religious merit-making rite is performed Khanom Tom as a dedication to the dead on the 1st waning moon Khanom La and the 15th waning moon of the month. As part of the festivity, an assortment of sweets (Khanom) are prepared for offering to the poor and destitute, e.g. Khanom Tom, Khanom Khaipla, Khanom La, Khanom Thian, Khanom Kanbua, Khanom Luk Saba, etc. Khanom Kan Bua Khanom Saba

Khanom Thian Khanom Khai Pla 当地饮食

攀牙府当地的饮食文化和泰南安达曼海沿岸 各府基本相同,长时期以来,由于各国商人 的到此经商定居,使得这里的饮食文化也受 到印度、中国、穆斯林和泰国文化的影响, 而呈现出五彩斑斓的面貌,同时有具有鲜明 的本地特色。

鱼肚汤

荤菜

攀牙人饮食较为讲究,和其他泰南人一样,喜食口味浓烈的荤菜,荤 菜以鱼肉为主,用当地自产的蔬菜加以烹调,烹饪技法或许与其他泰 南地区稍有不同,著名的荤菜有:蘸料(辣酱的一种)、酸汤、手揉 辣虾汤、辣酱竹签虾、鱼肚汤、酱焖红肉、椰浆叻昂菜、烧麦等。 酱焖红肉

臭豆炒虾

手揉辣虾汤

椰浆叻昂菜 盐焗腰果

桄榔果

โกซุย 零食和点心

豆酥饼 攀牙人喜欢在早饭时间或闲暇时间食用零 食和点心,包括原住居民的传统点心,也 有口味调整过的中式点心,比较有名的点 心有:锅脆、秃头糕、粽子、豆酥饼、桄 榔果、肉豆蔻蜜饯、烘米卷、彩色汤圆、 莲蓬饼、卤猪杂、酸甜汤、沙嗲肉、盐焗 酱猪杂 腰果等。 秃头糕

节日食品

攀牙人和泰南人的重要佛教节日之一是中元节,每年 泰历十月初一和十五两天,人们会举行各类仪式祭奠 先人,其中一项便是做点心布施给穷人。中元节的点 棕榈叶椰丝糕 薄米卷 心包括:棕榈叶椰丝糕、鱼子糕、薄米卷、尖角糯米 糕、荷梗条、芝麻糖饼等。

荷梗条 芝麻糖饼

尖角糯米糕

鱼子糕