เข้าร่วมกิจกรรม ติดต่อ ซุ้มนิทรรศการกรมศิลปากร : นางวรานี เนียมสอน มือถือ 081-617-8009
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
ใต้ร่มพระบารมี 232 ปี กรุงรัตนโกสินทร์ (The 232nd Year of Rattanakosin City under Royal Benevolence) ๑๙-๒๑ เมษายน ๒๕๕๗ ณ บริเวณท้องสนามหลวง 19-21 April 2014 Sanam Luang, Bangkok กระทรวงวัฒนธรรม Ministry of Culture พระราชปณิธาน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช “ตั้งใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา ป้องกันขอบขัณฑสีมา รักษาประชาชนและมนตรี” “We will support and uphold Buddism, defend our territory and protect our people and civil servants” King Buddha Yod Fa Chulalok the Great (Rama I) ’s wish พระปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” “We shall reign in righteousness for the benefits and happiness of Siamese people” The first statement delivered by H.M. King Bhumibol Adulyadej the Great (Rama IX) upon performing the coronation ceremony on 5 May 1950 พระบรมสาทิสลักษณ์ 9 รัชกาล The portraits of the nine Kings of Chakri Dynasty แถวที่ 1 จากซ้ายไปขวา Row 1 Left to Right พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) King Buddha Loes La Nabhalai (Rama II) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) King Buddha Yod Fa Chalalok (Rama I) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) King Nang Klao (Rama III) แถวที่ 2 จากซ้ายไปขวา Row 2 Left to Right พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) King Mongkut (Rama IV) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) King Chulalongkorn (Rama V) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) King Vajiravudh (Rama VI) แถวที่ 3 จากซ้ายไปขวา Row 3 Left to Right พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) King Prajadhipok (Rama VII) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช (รัชกาลที่ 9) King Bhumibol Adulyadej (Rama IX) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) King Ananda Mahidol (Rama VIII) คำานำา นับตั้งแต่วันที่ 21 เมษายน 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช องค์ปฐมบรมกษัตริย์แห่งพระราชวงศ์จักรี ได้โปรดเกล้าฯ ให้ทำาพิธียกเสาหลักเมืองเพื่อความ เป็นสิริมงคลของบ้านเมือง ซึ่งถือเป็นวันสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ นับเนื่องมาจนปัจจุบัน เป็นเวลา 232 ปี พระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ ทรงมีคุณูปการ อย่างอเนกอนันต์ต่อประเทศชาติ พระมหากรุณาธิคุณมากล้นรำาพัน ล้วนประจักษ์ชัดตราตรึง ประทับแน่นในหัวใจทุกดวงของพสกนิกรชาวไทยไม่เสื่อมคลาย กระทรวงวัฒนธรรม จึงกำาหนดจัดงานวันสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ “ใต้ร่มพระบารมี 232 ปี กรุงรัตนโกสินทร์” (The 232nd Year of Rattanakosin City under Royal Benevolence) ระหว่างวันที่ 19-21 เมษายน 2557 ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง เพื่อเฉลิมพระเกียรติ น้อมรำาลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ในฐานะผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ และเพื่อเฉลิมฉลองในวาระสำาคัญนี้ รวมทั้งเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในประวัติศาสตร์ความเป็นมาของกรุงรัตนโกสินทร์ ด้วยการนำาศิลปวัฒนธรรมไทย ในหลากหลายมิติ โดยเฉพาะมรดกศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าภายในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ นำาเสนอสู่ประชาชนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ภายในงาน ประกอบด้วย ริ้วขบวนอันยิ่งใหญ่ อลังการ ตั้งแต่รัชกาลที่ 1-รัชกาลที่ 9 นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นิทรรศการสาธิตและจำาหน่ายของดีบ้านฉันจากทุกจังหวัด และสภาวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร การท่องเที่ยววัฒนธรรมสายนำ้าเจ้าพระยาและรอบเกาะรัตนโกสินทร์ การแสดงศิลปวัฒนธรรมชั้นเยี่ยมจากทุกภาค การประกวดกุลสตรีศรีรัตนโกสินทร์ ฯลฯ ในนามของกระทรวงวัฒนธรรม ผมขอขอบคุณหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชนทุกภาคส่วน เจ้าหน้าที่กระทรวงวัฒนธรรมทุกคนซึ่งล้วนมีบทบาทสำาคัญช่วยให้การจัดงาน “ใต้ร่มพระบารมี 232 ปี กรุงรัตนโกสินทร์” (The 232nd Year of Rattanakosin City under Royal Benevolence) สำาเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลสัมฤทธิ์จากการจัดงานดังกล่าวนี้ จะช่วยให้เกิดความรัก ความสามัคคี และ ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย อีกทั้งช่วยเผยแพร่ ภาพลักษณ์ของประเทศไทยในมิติของสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ให้เป็นที่ประจักษ์อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น (นายปรีชา กันธิยะ) ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม Foreword On the 21st of April 1782, King Rama I or King Buddha Yodfa Chulalok the Great, the first king of the Chakri Dynastry had the city pillar erected for the auspiciousness of the kingdom, marking the establishment of Rattanakosin. From that day on until now, it has been 232 years of enormous contribution from all the kings of Chakri Dynasty. Their dedication and divine grace to the nation remain in the hearts of all Thais. The Ministry of Culture is organizing the event “The 232nd Year of Rattanakosin City under Royal Benevolence” from 19-21 April 2014 at Sanam Luang in order to honour the Kings of Chakri Dynasty who have been the patronage of the nation. The event was also held to celebrate the occasion of 232 anniversary of Rattanakosin as well as to provide knowledge about its history by presenting arts and culture in various dimensions, especially the heritage of Rattanakosin, to both Thais and foreigners. As part of the celebration, there will be magnificent parades representing the time of each King, exhibitions to honour Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, demonstration and selling of products from every province in the country, exhibition from the Bangkok Metropolitan Cultural Council, Cultural Tourism along Chao Phraya River and around Rattanakosin Island, performances from every region, and Lady Sri Rattanakosin Beauty Pageant. On behalf of the Ministry of Culture, I would like to express my sincere thanks to government agencies involved, the private sectors, and staff members of the Ministry of Culture who contributed to the successful organization of “The 232nd Year of Rattanakosin City under Royal Benevolence” event. I hope that the accomplishment of this celebration will bring about love, unity, and pride of the Thai people. I hope this event will also promote and broaden the image of Thailand in the dimension of the importance of the monarchy and the uniqueness of Thai arts and culture. Mr. Preecha Gunteeya Permanent Secretary for Culture สารบัญ Content หน้า Page พระราชปณิธาน Royal Aspiration - พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช - King Buddha Yodfa Chulalok the Great (Rama I) - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช - King Bhumibol Adulyadej the Great (Rama IX) คำานำา Foreword กรุงรัตนโกสินทร์…ราชธานีแห่งราชอาณาจักรไทย 1 Rattanakosin, capital city of the Kingdom of Thailand 6 แผนผังการจัดงาน 12 Map 14 กำาหนดการจัดงาน Agenda - พิธีเปิด 16 - Opening Ceremony 17 กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม Arts and Cultural Performances - เวทีกลาง 18 - Main Stage 21 - เวทีย่อย 1 25 - Small Stage 1 29 - เวทีย่อย 2 34 - Small Stage 2 37 ริ้วขบวน 42 Parades 43 การท่องเที่ยววัฒนธรรมทางสายนำ้าเจ้าพระยา 46 Cultural Tourism along Chao Phraya River การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์รอบเกาะรัตนโกสินทร์ 54 Historical-Cultural Tourism around Rattanakosin Island นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 56 Exhibition in Honour of Her Royal Highness Princess Maha 58 Chakri Sirindhorn นิทรรศการ สาธิต และจำาหน่ายของดีบ้านฉัน สำานักงานวัฒนธรรมจังหวัด 61 และสภาวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร Exhibition, demonstration, and sales of community quality products 62 (18 provincial groups and Bangkok Metropolitan Cultural Council) การประกวดกุลสตรีศรีรัตนโกสินทร์ 65 Lady Sri Rattanakosin Beauty Pageant 67 ภาพรวมกิจกรรมต่างๆ ในงานใต้ร่วมพระบารมี 232 ปี กรุงรัตนโกสินทร์ 70 Overall Activities in “The 232nd Year of Rattanakosin City under Royal 72 Benevolence” event ของที่ระลึก Souvenirs 75 - เข็มกลัด Pin - พาสปอร์ต Passport 76 ประมวลภาพการแถลงข่าว 77 Pictures from the Press Conference คณะผู้จัดทำา The 232nd Year of Rattanakosin City under Royal Benevolence กรุงรัตนโกสินทร์...ราชธานีแห่งราชอาณาจักรไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ราชอาณาจักรไทยมีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน ปรากฏหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์เท่าที่สามารถสืบค้นถึงการเปลี่ยนแปลงที่ตั้งของราชธานี ซึ่งเป็นศูนย์รวม ของการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดิน นับแต่กรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ ตามลำาดับ จนตราบถึงทุกวันนี้ กรุงรัตนโกสินทร์ มีอายุถึง 232 ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325-2352) โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ ณ ฝั่งตะวันออกของแม่นำ้าเจ้าพระยา ใน พ.ศ. 2325 ภายหลังจาก ที่พระองค์เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระปฐมบรมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 1 ใต้ร่มพระบารมี ๒๓๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ภูเขาทอง วัดสระเกศ และคลองบางลำาภู วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในสมัยรัชกาลที่ 6 The Golden Mount, Sraket Temple (WatSaket), Temple of the Emerald Buddha in the reign and Banglumpu Canal of King Vajiravudh (Rama VI) ครั้งนั้นพระองค์ทรงพิจารณาว่ากรุงธนบุรี ซึ่งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นราชธานี ณ ฝั่งตะวันตกของแม่นำ้าเจ้าพระยา เมื่อ พ.ศ. 2310 นั้น มีชัยภูมิที่ไม่เหมาะสมในยามเกิดศึกสงคราม เพราะมีเนื้อที่คับแคบ เนื่องจากมี วัดแจ้ง (ต่อมาคือ วัดอรุณราชวราราม) และวัดท้ายตลาด (ต่อมาคือ วัดโมฬีโลกยาราม) ขนาบอยู่ทั้งสองด้าน ไม่สามารถขยายพระนครให้กว้างขวางและเจริญยิ่งขึ้น อีกทั้งยัง เป็นบริเวณท้องคุ้งนำ้าเซาะตลิ่งทรุดพังอยู่เสมอ ประกอบกับกรุงธนบุรียังมีสภาพเป็น เมืองอกแตก มีแม่นำ้าเจ้าพระยาไหลผ่านกลางเมือง จึงยากลำาบากแก่การสู้รบรักษา เมืองให้มั่นคงต่อไปในเบื้องหน้า 2 The 232nd Year of Rattanakosin City under Royal Benevolence สมโภชหลักเมือง กรุงเทพฯ 21 เมษายน พระแก้วมรกต วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พ.ศ. 2525 ฉลองกรุงเทพฯ 200 ปี (วัดพระแก้ว) Celebration of Bangkok City The Emerald Buddha, Temple of the on April 21, 1982 Emerald Buddha (Wat Phra Kaew) ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายราชธานีมายังฝั่งตะวันออกของแม่นำ้าเจ้าพระยา โดยโปรดให้ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณ์ (บุญรอด ต้นสกุล บุณยรัตพันธุ์) กับพระยาวิจิตรนาวี เป็นแม่กอง ก่อสร้างพระนคร มีการพระราชพิธียกเสาหลักเมือง เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2325 จากนั้นจึงเริ่มสร้างพระราชมณเฑียรเป็นที่ประทับชั่วคราว ด้วยเครื่องไม้ทั้งสิ้น เมื่อแล้วเสร็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช