อยุธยาศึกษา ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2564 ISSN 2229-1644 (Print) / ISSN 2730-3144 (Online)
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2564 ISSN 2229-1644 (Print) / ISSN 2730-3144 (Online) วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ทางวิชาการและงานวิจัยทางด้านอยุธยาศึกษา โดยพิมพ์เผยแพร่ บทความทางวิชาการ (Article) บทความงานวิจัย (Research Article) บทความปริทัศน์ (Book Review) ที่มีประเด็นเนื้อหาเกี่ยวข้องกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขอบเขตเนื้อหา : บทความวิชาการและบทความวิจัยในสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เงื่อนไขการตีพิมพ์ : บทความที่จะได้รับการตีพิมพ์ จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในการรับพิจารณาบทความของ วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา โดยกองบรรณาธิการจะตรวจสอบเป็นขั้นแรก แล้วจัดให้มี ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในสาขานั้น ๆ ร่วมกลั่นกรอง (Peer Review) อย่างน้อย 2 ท่าน โดยเป็น การประเมินแบบ Double-blind peer review คือ ผู้พิจารณาไม่ทราบชื่อผู้แต่ง และผู้แต่งไม่ ทราบชื่อผู้พิจารณา โดยมีการพิมพ์เผยแพร่เป็นรูปเล่ม ส าหรับจัดส่งให้ห้องสมุดและหน่วยงาน ทางวิชาการต่าง ๆ รวมทั้งเผยแพร่ทางระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ Thai Journals Online (ThaiJO) ก าหนดเผยแพร่ : วารสารตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ส านักงาน : สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 96 ถนนปรีดีพนมยงค์ ต าบลประตูชัย อ าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท์ / โทรสาร 0-3524-1407 เว็บไซต์สถาบันอยุธยาศึกษา: www.aru.ac.th/asi เว็บไซต์วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา: https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jas วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2564 I 1 คณะกรรมการกองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ที่ปรึกษา : นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา บรรณาธิการบริหาร : อาจารย์สุรินทร์ ศรีสังข์งาม บรรณาธิการ : อาจารย์อุมาภรณ์ กล้าหาญ กองบรรณาธิการ : ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย์ ดร.กาสัก เต๊ะขันหมาก มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร ดาบเพชร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภิศักดิ์ กัลยาณมิตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สหภัส อินทรีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชนิกานต์ ผลเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา อาจารย์ ดร.ปิยะนาถ อังควาณิชกุล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารย์ ดร.ณรงค์ คุ้มมณี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา อาจารย์กันยารัตน์ คงพร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ดร.เกษรา ศรีวิเชียร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เลขานุการกองบรรณาธิการ : นายพัฑร์ แตงพันธ์ คณะท างาน : ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางสาธิยา รื่นชล นางสาวธัญวลัย แก้วแหวน นายปัทพงษ์ ชื่นบุญ นางสาวสายรุ้ง กล่ าเพชร นายอายุวัฒน์ ค้าผล นางสาวศรีสุวรรณ ช่วยโสภา นางสาวอรอุมา โพธิ์จิ๋ว นางประภาพร แตงพันธ์ 2 I วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2564 ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.กาสัก เต๊ะขันหมาก มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี รองศาสตราจารย์ ดร.ก าจร หลุยยะพงศ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร ดาบเพชร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลับพลึง คงชนะ ข้าราชการบ านาญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภิศักดิ์ กัลยาณมิตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา เหลียวตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรศักดิ์ จ านงค์สาร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญสืบ บุญเกิด มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาขวัญ ทองรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพชรรุ่ง เทียนปิ๋วโรจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกาณฑ์ นานรัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์สหภัส อินทรีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา อาจารย์ ดร.ธีรพงษ์ ค าอุ่น ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร รัฐสภา อาจารย์ ดร.ปิยะนาถ อังควาณิชกุล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารย์ ดร.พิมพ์ปฏิมา นเรศศิริกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2564 I 3 สารบัญ ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยาและญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ.2149 ถึง พ.ศ.2310 7 ธานี สุขเกษม และวุฒิพงศ์ บัวช้อย บทบาทเมืองนครสวรรค์ในประวัติศาสตร์อยุธยา 23 ธีระวัฒน์ แสนค า บทบาทของกิจการรถไฟในอ าเภอท่าเรือ 38 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทศวรรษ 2440-2490 ภาณุพงศ์ ชลสวัสดิ์ มุสลิมชุมชนลุมพลีและชุมชนภูเขาทองอ าเภอพระนครศรีอยุธยา 57 : การส ารวจเบื้องต้น วิวัฒน์ ร้อยศรี รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ดนตรีไทย 72 โดยภาคประชาชนในท้องถิ่นภาคกลาง ปราณิสา อุ่นดี และศักดิ์ชัย นิรัญทวี ภูมิปัญญาทางอาหารในช่วงอุทกภัยของชาวบ้านในหมู่บ้านหัวตะพานมอญ 87 ต าบลวัดยม อ าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นพา ลีละศุภพงษ์ บทบาทเครือข่ายทางสังคมที่ส่งผลต่อความส าเร็จของวิสาหกิจชุมชน 100 สมุนไพรอายุวัฒนะ ต าบลเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จินดา ธ ารงอาจริยกุล ผลกระทบของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 119 ต่อการเปลี่ยนแปลงค่านิยมวัยรุ่นในพระนครศรีอยุธยา ปัทมาภรณ์ สุขสมโสด และปฐมพงษ์ พุ่มพฤกษ์ 4 I วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2564 บทบรรณาธิการ โรคโควิด-19 กลับมาระบาดอีกระลอกหนึ่ง ตั้งแต่ช่วงกลางเดือนธันวาคม 2563 อันเนื่องมาจาก แรงงานข้ามชาติ พลวัตการข้ามชาติของเงินทุน และแรงงาน สะท้อนความเป็นพหุสังคม วัฒนธรรมของ ไทย ที่มีมาอย่างต่อเนื่อง เราคนไทยยังคงต้องใช้วิถีชีวิตรูปแบบใหม่ (New Normal) ต่อไป จนกว่าจะ ได้รับวัคซีนต้านโรคโควิด-19 อย่างครอบคลุม และการท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะกลับมา คึกคักอีกครั้ง พร้อมกับพลวัตการเดินทางข้ามชาติที่ฟื้นตัวดังเดิม วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา รวบรวมความรู้เกี่ยวกับ “อยุธยา” ในทุกศาสตร์และทุกมิติ กองบรรณาธิการเปิดรับบทความวิจัยและบทความวิชาการทางด้านสังคมศาสตร์จากผู้เขียนทุกสาขาอาชีพ เพื่อส่งเสริมให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ไปจนถึงความร่วม สมัยในทุกแง่มุมของ “อยุธยา” บทความที่ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะได้รับการตีพิมพ์ตามล าดับ เนื้อหาของบทความวิชาการ และบทความวิจัย ประกอบด้วย 1.ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยา และญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ.2149 ถึง พ.ศ.2310 โดย รศ.ดร.ธานี สุขเกษม และ อ.ดร.วุฒิพงศ์ บัวช้อย 2.บทบาทเมืองนครสวรรค์ในประวัติศาสตร์อยุธยา โดย อ.ดร.ธีระวัฒน์ แสนค า 3.บทบาทของกิจการ รถไฟในอ าเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทศวรรษ 2440-2490 โดย คุณภาณุพงศ์ ชลสวัสดิ์ 4.มุสลิมชุมชนลุมพลีและชุมชนภูเขาทองอ าเภอพระนครศรีอยุธยา : การส ารวจเบื้องต้น โดย อ.วิวัฒน์ ร้อยศรี 5.รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ดนตรีไทย โดยภาคประชาชนในท้องถิ่นภาคกลาง โดย คุณปราณิสา อุ่นดี และ รศ.ดร.ศักดิ์ชัย นิรัญทวี 6.ภูมิปัญญาทางอาหารในช่วงอุทกภัยของชาวบ้านใน หมู่บ้านหัวตะพานมอญ ต าบลวัดยม อ าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดย อ.นพา ลีละศุภพงษ์ 7.บทบาทเครือข่ายทางสังคมที่ส่งผลต่อความส าเร็จของวิสาหกิจชุมชน สมุนไพรอายุวัฒนะ ต าบลเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดย อ.จินดา ธ ารงอาจริยกุล และ 8.ผลกระทบของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อ การเปลี่ยนแปลงค่านิยมวัยรุ่นในพระนครศรีอยุธยา โดย ผศ.ปัทมาภรณ์ สุขสมโสด และ อ.ปฐมพงษ์ พุ่มพฤกษ์ ในนามของคณะกรรมการกองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ขอขอบพระคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้พิจารณา กลั่นกรอง ชี้แนะและปรับปรุงแต่ละบทความให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณผู้อ่านทุกท่านที่ติดตามวารสารมาโดยตลอด หากมีข้อเสนอแนะประการใด กรุณาแจ้งมายัง กองบรรณาธิการ จักขอบพระคุณยิ่ง บรรณาธิการวารสารวิชาการอยุธยาศึกษา วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2564 I 5 6 I วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2564 ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยาและญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ.2149 ถึง พ.ศ.2310 Ayutthaya and Japanese Relations, 1606-1767 ธานี สุขเกษม / Thanee Sukkasem รองศาสตราจารย์ ดร. หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ Associate Professor Dr. Responsible to the Master of Political Science Curriculum, Phetchabun Rajabhat University วุฒิพงศ์ บัวช้อย / Wuttipong Buachoi อาจารย์ ดร. ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ Head of the Master of Political Science Curriculum, Phetchabun Rajabhat University วันที่รับบทความ 19 พฤษภาคม 2563 / แก้ไขบทความ 23 กรกฎาคม 2563 / ตอบรับบทความ 31 กรกฎาคม 2563 บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยาและญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ.2149 จนถึง พ.ศ.2310 ซึ่งเป็นสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถจนสิ้นสมัยอยุธยา วิธีการศึกษาเป็นการศึกษาจากเอกสาร ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เอกสาร บันทึก พงศาวดาร หนังสือ บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และน าเสนอ ข้อมูลในภาพแนวราบตามล าดับเหตุการณ์ ควบคู่กับการวิเคราะห์เชิงพรรณนาตามวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับญี่ปุ่นได้เริ่มต้นอย่างเป็นทางการใน พ.ศ.2149 ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถด้วยการทูตและการค้าส าเภา และมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดใน รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม โดยมีชาวญี่ปุ่นที่มียศขุนนางไทย คือ ออกญาเสนาภิมุข หรือยามาดา นากามาสะ เป็นผู้เชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างสองอาณาจักร ซึ่งการติดต่อระหว่างอยุธยาและญี่ปุ่นในยุคนี้ ให้ความส าคัญเรื่องการค้าทางเรือส าเภา และการทูต อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับญี่ปุ่น เริ่มเสื่อมคลายลงในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเป็นต้นมา เนื่องจากผู้น าอาณาจักรอยุธยามี นโยบายก าจัดชาวต่างชาติ เพราะเกรงว่าจะเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในอยุธยา ในขณะที่ฝ่ายญี่ปุ่นก็มี นโยบายปิดประเทศ คือห้ามคนญี่ปุ่นเดินทางออกนอกประเทศ และห้ามชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาใน ญี่ปุ่น ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับญี่ปุ่น จึงค่อย ๆ ยุติลงไปตราบจนสิ้นสมัยอยุธยา ค าส าคัญ : ความสัมพันธ์ อยุธยา ญี่ปุ่น วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2564 I 7 Abstract This article aims to study an overview of the Ayutthaya and Japan relation period form the year 1606 to 1767 (the reign of King Ekathotsarot to the end of Ayutthaya). The methodology of this article was conducted by documentary study from the review of related literature. The presentation focus on historical perspective in horizontal view and analytical description. The study found that the relationship between Ayutthaya and Japan formally started up in 1606 in the reign of king Elcathotsarot by diplomatic and junk trade relations. The relations reached a peak in the reign of King Songtham