<<

เอกสารประกอบการสอน กระบวนวิชา DOS 408381 เรื่อง กายวิภาคที่เกี่ยวของกับงานศัลยกรรมชองปาก

วัตถุประสงค เพื่อใหนักศึกษาสามารถ 1. อธิบายลักษณะทางกายวิภาค และโครงสรางทเกี่ ี่ยวของของกระดูก และ 2. อธิบายลักษณะทางกายวิภาค และการทาหนํ าที่ของระบบกลามเนื้อ ระบบหลอด เลือด ระบบเสนประสาท ระบบทอนาลายและต้ํ อมน้ําลาย ระบบหลอดนาเหล้ํ ืองและตอม น้ําเหลือง 3. อธิบายลักษณะทางกายวิภาคของโครงสรางตาง ๆ บริเวณชองปาก ขากรรไกร และ ใบหนา วามีความสมพั นธั กันอยางไร 4. นําความรูทางกายวิภาคไปใชในทางคลินิกได

จัดทําโดย .... อาจารย  วุฒินันท จตพศุ ภาควิชาศลยศาสตรั ชองปาก คณะทันตแพทยศาสตร  มหาวทยาลิ ัยเชียงใหม 

1

กายวิภาคที่เกี่ยวของกับงานศัลยกรรมชองปาก

Introduction กระดูกกะโหลกศีรษะ () ของมนุษยประกอบด วยกระดูกทงหมดั้ 29 ชิ้น แบงเปน (ดู รูป 1,2) กระดูกใบหนา (facial ) 14 ชิ้น กระดูกหุมรอบสมอง (cerebral cranium) 8 ชิ้น กระดูกห ู ( ) 6 ชิ้น กระดูก hyoid 1 ชิ้น

Facial bone คู เดี่ยว Maxilla Mandible Zygoma (malar) Nasal Lacrimal Palatine Inferior concha Cerebral cranium คู เดี่ยว Parietal Frontal Temporal Ethmoid Sphenoid Occipital

ในที่นี้จะกลาวถ ึงเฉพาะกระดูก maxilla และ mandible โดยจะจําแนกรายละเอียดดังน ี้ - ลักษณะทางกายวิภาคศาสตรและขอบเขต - โครงสรางที่เกยวขี่ อง - ความสาคํ ัญทางคลินิก

2

รูปที่ 1 Skull, anterior view (Hans Frick)

คําอธิบายรูป 1. Frontal, squamous part 10. Maxilla 19. Optic 2. Glabella 11. Mandible 20. Frontozygomatic suture 3. Superciliary arch 12. 21. 4. Orbital part of frontal bone 13. 22. Supra-orbital notch 5. Greater wing of sphenoid, orbital 14. Angle of mandible 23. Coronal suture surface 15. Infra-orbital formen and infra-orbital 24. Frontomaxillary (medial) 6. Zygomatic groove and frontolacrimal (lateral) 7. Internasal suture 16. Zygomaticomaxillary suture sutures 8. and nasomaxillary suture 17. 25. Frontonasal suture 9. Bony 18.

3

รูปที่ 2 Skull, lateral view (Hans Frick)

คําอธิบายรูป 1. Parietal 12. Coronal suture 21. Mental foramen 2. Frontal, squamous part 13. Sphenoparietal suture 22. Temporozygomatic suture 3. Occipital, squamous part 14. Sphenosquamousal suture 23. Styloid process of temporal 4. Temporal, squamous part 15. Sphenofrontal suture 24. Temporomandibular 5. Greater wing of sphenoid, 16. Frontozygomatic suture 25. External acoustic opening temporal surface 17. Frontolacrimal and frontomaxillary 26. Mastoid process 6. Zybomagic sutures 27. Occipitomastoid suture 7. Lacrimal 18. for 28. Lambdoidal suture 8. Nasal 19. Zygomaticofacial and infra-orbital 29. Parietomastoid suture 9. Maxilla foramina 30. Squamosal sutrue 10. Mandible 20. Zygomaticofacial and infra-orbital 11. Inferior temporal line foramina

4

Maxilla เปนกระดูกที่เปนองคประกอบสวนใหญของใบหนาสวนกลาง (midface) ประกอบดวย 5 สวนใหญ คือ body และ 4 processes ไดแก frontal process, , และ palatine process ใน bodies ของ maxilla มี maxillary sinuses อยู ซึ่งจัดเปน paranasal sinuses ที่ใหญที่สุด มีปริมาตรประมาณ 15-20 ml. ในผูใหญ Anatomical landmarks ที่สําคัญบนกระดูก maxilla มีดังน ี้ - มองจาก lateral view สามารถเห็น the body, alveolar, zygomatic และ frontal processes นอกจากนจะเหี้ ็น , , alveolar eminences, และ - Inferior view (palatal view) จะพบ landmarks ที่สําคัญคือ median palatine suture และ - Medial view (จาก ) จะพบ opening (hiatus) of ซึ่ง เปนทางติดตอของ maxillary sinus กับชองจม ูก (nasal cavity) และ lacrimal groove ซึ่งเปน ทางผานของนาตาจากเบ้ํ าตามายังจมูก ดังนนเมั้ ื่อคนรองไห  หรือมการหลี ั่งน้ําตา จะมีน้ําตาไหล ปนออกมาทางรูจมูก

ขอบเขตของกระดูก maxilla (ดูรูป 3, 4) กระดูก maxilla จะมีขอบเขตติดตอกับกระดูกชิ้นอื่น ในลักษณะของ suture line ดังน ี้ - ติดตอกับกระดูก frontal และ nasal บริเวณ frontal process เรียก fronto – maxillary และ naso-maxillary sutures - ติดตอกับกระดูก zygoma โดย zygomatic process เรียก zygomatico-maxillary suture - ติดตอกับกระดูก palatine โดย palatine process เรียก transverse palatine suture - กระดูก maxilla สองขาง เชอมกื่ ันตรงกลางโดย intermaxillary suture นอกจากนี้ กระดูก maxilla ยังประกอบเปนสวนหนงของพึ่ นเบื้ าตาดวย

5

รูปที่ 3 Maxilla a lateral view b Medial view (Hans Frick) คําอธิบายรูป 1. Frontal process 11. Infratemporal surface 20. Maxillary sinus 2. 12. Tuber of maxilla 21. 3. Infra-orbital margin 13. Alveolar foramina 22. Nasal surface 4. Infra-orbital foramen 14. Zybomatic process 23. Nasal crest 5. Nasal notch 15. Infra-orbital groove, continues as 24. Palatine process 6. Anterior nasal spine infra-orbital canal 25. Incisive canal 7. Body of maxilla 16. Lacrimal margin 26. Conchal crest 8. Canine fossa 17. Lacrimal margin 27. Ethmoidal crest 9. Alveolar processes 18. Groove for nasolacrimal duct 10. Alveolar juga 19. Opening of maxillary sinus

Related anatomy of maxilla 1 Blood vessels (รูป 5) 1.1 Arterial blood supplies ของกระดูก maxilla และฟนบนไดแขนงมาจาก maxillary ซึ่งเปนแขนงของ อีกท ี ชื่อแขนงของ ที่มาเลี้ยง maxilla และอวัยวะที่เกี่ยวของท ี่ควรทราบ คือ 1.1.1 Posterior superior alveolar (dental) artery ผาน posterior superior alveolar canal ของกระดูก maxilla ไปเลี้ยงฟนของขากรรไกรบน เหงือก maxillary sinus และ 1.1.2 ทอดผาน inferior orbital fissure และ infraorbital foramen ใหแขนง 2 แขนง คือ muscular branches ไปเลี้ยงกลามเน ื้อ inferior oblique inferior

6

rectus ของลูกตาและตอมน้ําตา อีกแขนงคือ anterior superior alveolar artery ไปเลี้ยงฟนของ ขากรรไกรบน 1.1.3 Descending palatine artery ทอดผาน pterygopalatine canal รวมไปกับ เสนประสาท greater palatine และแตกแขนง 2 แขนง คือ lesser palatine artery ทอดผาน lesser palatine foramen ไปเลี้ยงเพดานออน และตอม palatine tonsil, ทอดผาน ไปเลี้ยงเพดานแข็ง เหงอกื ตอมของเพดานปาก 1.2 Venous drainage ของกระดูก maxilla จากบริเวณที่เลี้ยงโดย maxillary artery มี ระบบ venous drainage ออกไปดังน ี้ บริเวณที่เลี้ยงโดย maxillary artery

branches เล็ก ๆ

pterygoid venous plexuses

maxillary

superficial temporal vein

external jugular vein

2 Muscles มีทั้ง muscle of mastication และ muscle of facial expression ที่มีจุดยึด (origin) บนกระดูก maxilla - Muscle of mastication ที่เกาะ maxilla มี 2 มัด คือ small of ซึ่งมีจุดยึดที่ maxillary tuberosity และ - Muscle of facial expression ที่มีจุดยึดท ี่ maxilla คือ , และ buccinator

7

รูปที่ 4 Base of skull, inferior view (Hans Frick) คําอธิบายรูป 1. Incisive fossa 11. 21. Opening of external acoustic 2. Palatine process of maxilla 12. Mandibular fossa meatus 3. Zygomatic process 13. Jugular fossa 22. External opening of 4. Horizontal plate of 14. 23. Styloid process of 5. Zybomatic bone 15. External occipital 24. Foramen lacerum 6. Greater wing of sphenoid protuberance 25. Lateral plate of pterygoid process 7. Vomer 16. Superior nuchal line 26. Medial plate of pterygoid process 8. Zygomatic process of temporal 17. Inferior nuchal line 27. bone 18. Occipital 28. Greater palatine foramen 9. Articular tubercle 19. Mastoid process 29. Transverse palatine suture 10. 20. 30. Median palatine suture

8

รูปที่ 5 to head and . Branches of external carotid artery, anastomoses between external and internal carotid arteries, branches of subclavian to neck and central (Hans Frick) คําอธิบายรูป 1. 12. with dorsales linguae 17. and internal 2. Supra-orbital artery branches, divides into sublingual artery and jugular vein 3. Supratrochlear artery arteria profunda linguae (not labelled) 18. Frontal branch 4. 13. – 15. 19. Parietal branch 5. 13. Infrahyoid branch and superior laryngeal 20. Middle meningeal and masseteric 6. Infra-orbital artery artery arteries 7. 14. Sternocleidomastoid branch, posterior 21. Frontal branch 8. glandular branch and cricothyroid branch 22. Parietal branch 9. 15. Anterior glandular branch 23. Superficial temporal artery with exit 10. Mental artery 16. of middle temporal (cranial) and 11. zygomatico-orbital arteries (both not labelled)

9

24. Transverse facial artery 32. Posterior auricular artery 40. Pharyngeal branches of inferior 25. Maxillary artery with exit of deep 33. Auricular branch of occipital thyroid auricular (to external acoustic artery with mastoid branch (into 41. Scalenus posterior meatus) and anterior tympanic ) 42. Transverse cervical artery (on arteries (both not labelled) 34. scalenus medius) with superficial 26. 35. Descending branch of occipital branch and deep branch 27. artery 43. 28. Posterior superior alveolar artery 36. 44. and scalenus 29. Anterior superior alveolar arteries 37. Ascending pharyngeal artery anterior 30. with exit of 38. and carotid 45. Subclavian vein mylohyoid branch (not labelled) sinus 46. and external 31. Ascending palatine artery 39. Ascending cervical artery and jugular vein scalenus medius

ความสาคํ ัญทางคลินิกของกระดูก maxilla ที่ควรทราบมีดังน ี้ 1. กระดูก maxilla เปนตวกั ําหนดรูปรางสวนใหญของใบหนาส วนกลาง การเจริญพฒนาั ที่ผิดปกติของ maxilla จะทําใหเกิด facial deformity ได 2. Blood supplies ที่มาเลี้ยงกระดูก maxilla มีมากกวา mandible ดังนั้นเมื่อเกิดพยาธิ สภาพใด ๆ เชน fracture of maxilla, หลงการรั ักษาขบวนการ healing จะดี 3. ความสัมพันธระหว างฟ นบน โดยเฉพาะ upper และ upper กับ maxillary sinus ดังนี้ รากฟนที่อยูใกลฐานโพรงอากาศ (floor of maxillary sinus) มากที่สุดคือ รากฟนกรามบนซ ี่ที่สอง รองลงมาคือรากฟนกรามบนซี่ที่หนึ่ง รากฟนกรามบนซ ี่ที่สาม รากฟน กรามนอยบน และรากฟนเข ยวบนี้ ตามลาดํ ับ

Mandible เปน single bone ที่มีอิทธพลติ อรูปรางของใบหนาสวนล าง (lower ) กระดูก mandible แบงออกเปน 3 parts ใหญคือ the horizontal body, the alveolar process และ vertical portion (ramus), bony landmarks ตาง ๆ ของ mandible มีดังน ี้ Lateral view จะพบ landmarks ดังน ี้ (ดูรูป 6) - Mental protuberance - Mental foramen - Condylar process - Coronoid process - External oblique line

10

คําอธิบายรูป 1. Coronoid process 2. 3. Alveolar juga 4. Mental foramen 5. Mental protuberance 6. Base of mandible 7. Body of mandible 8. Alveolar part 9. Oblique line 10. Angle of mandible 11. Ramus of mandible 12. Condylar process 13. Neck of mandible 14. Head of mandible 15. Lingula 16. Sublingual fovea 17. 18. Digastric fossa 19. 20. Submandibular fovea 21. Pterygoid tuberosity 22. Mylohyoid groove 23. 24. 25.

รูปที่ 6 Mandible a. Lateral view b. Left half of mandible, medial view (Hans Frick)

11

Medial view (ดูรูป 6) - Mandibular foramen ซึ่งเปนทางเข าของ inferior alveolar - Retromolar triangle - Internal oblique line - Mylohyoid line เปนแนว attachment ของ - Submandibular fossa - Sublingual fossa Posterior view - Genial tubercle จุดยึดของกลามเนื้อใตลิ้น - Digastric fossa จุดยึดของ

Mandible เปนกระด ูกที่มีบทบาทในการบดเคี้ยว ยึดตดกิ ับกระดูกสวนอ นโดยื่ ligament จากบริเวณ (TMJ) muscle of mastication และ TMJ. ประกอบดวย หัว condyle ซึ่งอยูใน glenoid fossa ของกระดูก temporal bone หัว condyle ถูกหมดุ วย capsule ซึ่งเปนเนื้อเยื่อพวก fibrous collagen การเคลื่อนไหวของ mandible ในการบดเคี้ยวถูกกําหนดโดย muscle of mastication ซึ่งถูกควบคุมโดย mandibular branch (V3) ของ

Related anatomy of mandible 1. Blood vessels 1.1 arterial blood supplies ของ mandible ไดแก inferior alveolar artery ซึ่งเปนสาขา ของ maxillary artery โดย inferior alveolar artery เขาสู mandible ตรง mandibular foramen ทอดไปใน inferior alveolar canal รวมกับเสนประสาท inferior alveolar ไปเลี้ยงฟนล าง จากนนออกจากั้ mandible ตรง mental foramen ไปเลี้ยงบริเวณคาง 1.2 venous drainage ของ mandible inferior alveolar vein

maxillary vein

retromandibular vein

12

2. Muscles muscle of mastication ทั้ง 4 มีจุดดึง (insertion) ที่ mandible ดังน ี้ 2.1 Masseter มีจุดดึงที่มุมกระดูกขากรรไกร (angle) ดานนอก 2.2 Temporalis มีจุดดึงท ี่ coronoid process และ anterior ramus 2.3 Medial pterygoid มีจุดดึงที่มุมกระดูกขากรรไกรดานใน 2.4 Lateral pterygoid มีจุดดึงที่ capsule ของ TMJ. นอกจากนี้ยังมี muscle of facial expression ที่มีจุดเกาะที่ mandible ไดแก depressor anguli oris, depressor labii inferioris, buccinator และ platysma

ความสาคํ ัญทางคลินิกของกระดูก mandible 1. เนื่องจากกระดูก mandible เปนต ัวกาหนดรํ ูปรางของใบหนาส วนลาง ซึ่งมีอิทธพลติ อ รูปใบหนาของคนเรา ดังนั้นการเจริญพัฒนาที่ผิดปกติของ mandible จะทาใหํ รูปรางใบหนา ผิดปกติไปดวย เชน ในใบหนา Cl III skeleton relationship อาจเกิดจากกระดูก mandible เจริญ มากกวาปกติ หรือ Cl II เกดจากกระดิ ูก mandible เจริญนอยกวาปกติเปนตน 2. Mandibular foramen จะมีตําแหนงอย ูประมาณกงกลางของความกวึ่ าง ramus ใน แนว antero-posterior 3. Mental foramen จะมีตําแหนงอยูประมาณระหวางฟน lower first premolar และ lower second premolar

Trigeminal nerve เปนเสนประสาทสมอง (cranial nerve) คูที่ 5 ในจานวนํ cranial nerve ทั้งหมด 12 คู มี เซลลประสาทตนกําเนิด (motor และ sensory nuclei) ในสมองระดับ pons เมื่อออกจากสมอง แลวจะแยกเปน 2 roots คือ motor และ sensory roots ซึ่งจะไปสิ้นสุดท ี่ semilunar ganglion จาก ganglion นี้ trigeminal nerve ซึ่งจะเปนเสนประสาทสมองท ี่ใหญที่สุด จึงแยกออกเปน 3 แขนงคือ 1 Ophthalmic nerve (V1) เปนเสนประสาทรับความรูสึก (sensory nerve) ออกจาก semilunar ganglion ซึ่งอยูใน เขาสูเบาตา () โดยผานทาง superior orbital fissure ใหแขนงดงนั ี้ 1.1 Frontal nerve ทอดไปตามหลังคาของเบาตา แลวแยกออกเป น 2 แขนง จึง ออกจากเบาตา 1.1.1 Supraorbital nerve ออกจากเบาตาทาง ไป เลี้ยงหนงศั ีรษะ และหนงตาบนั (upper )

13

1.1.2 Supratrochlear nerve ไปเลี้ยงหนาผากและด านในของหนังตาบน 1.2 Lacrimal nerve ไปเลี้ยงหนงตาบนั และตอมน ้ําตา (lacrimal gland) 1.3 Nasociliary nerve ทอดขามเสนประสาทตา (optic nerve) ไปทางดาน medial ของเบาตา แลวแยกออกเป น 5 แขนง ไปเลี้ยงลูกตา จมูก ระบบทอน้ําตา sphenoid sinus และ ethmoid sinus 2 Maxillary nerve (V2) เปนเสนประสาทรับความรูสึก (sensory nerve) ออกจาก middle cranial fossa ผาน เขาสู pterygopalatine fissure แลวแตกแขนง คือ 2.1 Meningeal branch ไปเลี้ยงเยื่อหุมสมองชั้น dura mater 2.2 Pterygopalatine nerve มี 2 แขนงไปยัง sphenopalatine ganglion แลวจึงให แขนงไปเลี้ยงโพรงจมูก เพดานปาก 2.3 Zygomatic nerve ผาน inferior orbital fissure และใหแขนง 2 แขนงคือ 2.3.1 Zygomaticotemporal nerve ผาน zygomaticofacial foramen ไป เลี้ยงผิวหนังบริเวณขมับ 2.3.2 Zygomaticofacial ผาน zygomaticofacial foramen ไปเลี้ยงผวหนิ ัง บริเวณแกม 2.4 Posterior superior alveolar nerve ผาน posterior superior alveolar foramen ไปเลี้ยงฟนกรามบน และ maxillary sinus 2.5 ผาน inferior orbital fissure และออกทาง infraorbital foramen ใหแขนง 2.5.1 Anterior superior alveolar nerve ไปเลี้ยงฟนบน 2.5.2 Terminal branches ไดแก - Palpebral branch ไปเลี้ยงหนังตาลาง - Nasal branch ไปเลี้ยงดานขางของจมูก - Labial branch ไปเลี้ยงริมฝปากบน 3 (V3) เปน mixed nerve คือมีทั้ง motor และ sensory components ออกจาก middle cranial fossa ทาง foramen ovale แลวใหแขนงดงนั ี้ 3.1 แขนงจาก trunk - meningeal branch เขาสู foramen spinosum ไปเลี้ยงเยื่อหุมสมองชั้น dura mater ใน middle cranial fossa

14

- medial pterygoid nerve ไปเลี้ยงกลามเน ื้อ medial pterygoid, tensor tympani และ tensor veli palatini 3.2 แขนงจาก anterior division - ไปเลี้ยงกลามเนื้อ masseter - Anterior deep temporal nerve ไปเลี้ยงกลามเนื้อ temporalis - Posterior deep temporal nerve ไปเลี้ยงกลามเนื้อ temporalis - Lateral pterygoid nerve ไปเลี้ยงกลามเน ื้อ lateral pterygoid - Buccal nerve ไปเลี้ยงผิวหนงบรั ิเวณแกม เหงือก และเยื่อเมือกแกม (buccal mucosa) 3.3 แขนงจาก posterior division - Auriculotemporal nerve คูไปกับหลอดเลือดแดง superficial temporal ไปเลี้ยงใบหูดานหนา ผิวหนงบรั ิเวณขมับ - รับความรูสึกทั่วไปจากบรเวณิ 2/3 ทางดานหนาของล ิ้น จากเหงือกดาน lingual และเยื่อบุชองปาก - ใหแขนง กอน แลวจ ึงเขาสู mandibular foramen วิ่งไปตาม inferior alveolar canal แตกแขนงไป เลี้ยงฟนลาง สวนปลายของ inferior alveolar nerve ออกจากกระดูก mandible ทาง mental foramen เรียกวา ไปเลี้ยง บริเวณ buccal ตอ lower premolar และผิวหนงบรั ิเวณคาง

ความสาคํ ัญทางคลินิกของ trigeminal nerve พยาธิสภาพของ trigeminal nerve จะทาใหํ  1. เกิดภาวะรูสึกเจ็บนอยกวาปกติของหนาขางที่มีพยาธิสภาพ (ipsilateral facial hypalgesia) 2. Complex reflex ขางที่มีพยาธิสภาพลดลงหรือหายไป 3. คางเอียงไปดานที่มีพยาธิสภาพ เพราะมีอัมพาตของกลามเนื้อในการเคี้ยวอาหาร

15

บรรณานุกรม 1. บังอร ฉางทรพยั . กายวิภาคศาสตร 1. กรุงเทพฯ : สํานกพั ิมพแหงจ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2548. 2. มีชัย ศรีใส, บุญเที่ยง ศีติสาร. มหกายวภาคศาสตริ ประยุกต เลมท ี่ 2 (ศีรษะและคอ). คณะ แพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2530 3. Dubrul EL. Oral Anatomy: 8th ed. Ishiyaku Euro America, Inc. 1988. 4. Frick H. Human Anatomy 1. New York: Thieme Medical Publishers, Inc. 1991. 5. Robert MH. Color Atlas of Head and Neck Anaotmy 2nd ed. ST. Louis : Mosby: 1994.

16