รายงานผลการเข าร วมโครงการฝกอบรม หลักสูตร Study Mission to a Nonmember Country on the Use of ICT in Service-sector Firms for Productivity Improvement ระหว างวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2558 ณ เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอรLเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดโดย Asian Productivity Organization (APO)

1. ผูเขาร วมโครงการฝกอบรม: น.ส.อารีวรรณ บุญกล่ํา, ตําแหน ง: นักบริหารงานทั่วไป7 (นบง.7), ส วนนโยบายและยุทธศาสตร0ภาครัฐ, ฝ3ายวางแผนกลยุทธ0องค0กร 2. ค าใชจ ายในการฝกอบรม 2.1 ค าใชจ ายที่ไดรับการอนุมัติและสนับสนุนโดย บมจ. กสท โทรคมนาคม จํานวน 54,180 บาท 2.2 ค าใชจ ายที่ไดรับการสนับสนุนโดย Asian Productivity Organization (APO) ไดแก ค าที่พัก ค าเดินทาง Site visits ค าอาหาร ค าเบี้ยเลี้ยง ตลอดหลักสูตร จํานวน 70,000 บาทโดยประมาณ 3. วัตถุประสงค0หลักสูตร เรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณ0ในการนํา ICT มาปรับใชในภาคบริการเพื่อเพิ่มผลิตผล (Productivity) และ ช วยปรับปรุงเปลี่ยนแปลงคุณภาพและตนทุนบริการใหมีความสามารถที่จะแข งขันได และเปXนโอกาสในการสราง เครือข ายสัมพันธภาพกับผูเชี่ยวชาญและมืออาชีพในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4. สาระสําคัญของเนื้อหาวิชาที่ไดรับจากเขารับการฝกอบรม/ดูงาน 4.1 การบรรยายโดย Dr. Masato Matsuo และ Mr. Scott Ellman: นวัตกรรมการใชงาน ICT มีความสําคัญ ต อสําหรับการเพิ่มผลผลิต นอกจากนี้มีการนําเสนอที่มาและแนวคิดของการเกิด ในพื้นที่ ทางใตของอ าวซานฟรานซิสโก แคลิฟอร0เนีย สหรัฐอเมริกา Silicon Valley เปXนศูนย0กลางวัฒนธรรมแห ง ความเปXนเจาของกิจการและความคิดสรางสรรค0ทางเทคโนโลยี เปXนที่ตั้งสํานักงานใหญ ของบริษัทและสถาน ประกอบการเทคโนโลยีชั้นนํา ปdจจัยสําคัญในการนํา Silicon Valley ไปสู ความสําเร็จประกอบดวย บรรยากาศการลงทุนที่เอื้อต อการเริ่มธุรกิจใหม หรือ “Startups” การเปXนที่ตั้งของ ซึ่งเปXนมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงดานเทคโนโลยีและการมีบุคลากรที่มีความสามารถดาน IT 4.2 การบรรยายโดย Mr. Ritesh Tyagi, Ineda System, Sr. VP & Product Marketing on Industrial Internet of Things (IIoT): IoT เปXนการติดต อสื่อสารระหว างสิ่งต างๆรอบตัวเพื่อสรางมูลค าใหม โดย ระบบซอฟแวร0ทําการรวบรวมขอมูลเพื่อใหผูใชงานมีความสะดวกถือเปXนความกาวหนาทางเทคโนโลยีของ อุปกรณ0ที่มีระบบเซ็นเซอร0 ขอมูลเพิ่ม: Ineda System. 4.3 Site visit: Google: บรรยายโดย Clara Reese, Associate Product Marketing Manager

Google ก อตั้งเปXนบริษัทเมื่อ 4 กันยายน 1998 ในโรงจอดรถที่เมืองเมนโลพาร0ก รัฐแคลิฟอร0เนีย โดย Sergey Brin, Larry Page ในขณะที่กําลังศึกษาที่ Stanford University ทั้งสองไดสรางเครื่องมือคนหา เรียกว า BackRub ซึ่งใชลิงก0ต างๆ ในการระบุความสําคัญของหนาเว็บแต ละหนา Google มีการเสนอขาย หุนใหม แก สาธารณะเปXนครั้งแรก (NASDAQ) เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2004 สํานักงานใหญ ตั้งอยู ที่ 1600 Amphitheatre Parkway Mountain View CA 94043 Mission ของ Google คือ “การจัดระบบขอมูล ของโลกและทําใหขอมูลดังกล าวสามารถเขาถึงและเปXนประโยชน0ไดอย างทั่วถึง” ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ Clara Reese ไดอธิบายผลิตภัณฑ0ต างๆของ Google 4.4 Site visit: HarvestPort, Shared Economy Platform in Agricultural Resources บรรยายโดย Tim Koide

HarvestPort เปXนบริษัทที่ใชระบบ IT เพื่อบริหารการใชทรัพยากรดานการเกษตรร วมกันตามฤดูกาล เปXน การแบ งปdน การเช า และสรางตลาดสินคาเพื่อช วยใหเกษตรกรผูเขาร วมโครงการในการจัดหา การปลูก การ เก็บเกี่ยว การขนส ง และการเก็บรักษาทรัพยากรในราคาตนทุนที่ต่ําที่สุดและสรางรายไดจากทรัพยากรที่ ไม ไดใชในช วงป~ดฤดูกาล

4.4 Site visit: LinkedIn (Social Networking) บรรยายโดย Jim Morgenson, VP, Workplace, on Connecting Business People

LinkedIn ก อตั้งเดือนธันวาคม 2545 ผูบริหารคือ สํานักงานใหญ อยู ที่ Mountain View, , United States ผูก อตั้งคือ , Konstantin Guericke, Jean-Luc Vaillant, Allen Blue และ Eric Ly LinkedIn เปXนเว็บไซต0ที่ผูใชงานที่ลงทะเบียนสามารถติดต อคนที่รูจักและน าเชื่อถือในการทําธุรกิจ เรียกว า "Connections" ผูใชสามารถเชิญผูใชงาน LinkedIn หรือไม ไดใช LinkedIn เปXน Connections เพื่อการ สรางเครือข ายทางวิชาชีพ หน วยงานต างๆ สามารถคนหาผูที่มีความสามารถเพื่อเชิญใหร วมงานหรือหาก ผูใชงานตองการหาบริษัทเพื่อสมัครงานก็สามารถทําได LinkedIn เนนขอมูล ประวัติการทํางานและ ประสบการณ0ต างๆ รวมทั้งเปXนแหล งขอมูลและเครือข ายอีกมากมายที่สามารถต อยอดธุรกิจทั่วโลก ตั้งแต เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 LinkedIn มีผูลงทะเบียนใชงานมากกว า 200 ลานคน ในจํานวน 150 อุตสาหกรรม และ 400 ภูมิภาคเศรษฐกิจมีผูใชงานมากที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา และอินเดีย ซึ่งสมาชิกส วน ใหญ คือผูบริหารระดับกลางและสูง

4.5 Site visit: บริษัท Tableau (Big Data & Analytics) บรรยายโดย Robert Green, Director, Product Management on Big Data Visualization

Tableau มีผูร วมก อตั้ง 3 ท าน ไดแก นักวิทยาศาสตร0สาขาคอมพิวเตอร0ระดับเยี่ยม ศาสตราจารย0ผูไดรับ รางวัล Academy-Award และผูนําทางธุรกิจที่มีความรูความสามารถในเรื่องขอมูล ต อมาไดร วมกัน ปรับปรุงซอฟแวร0ที่ชื่อว า 'tableau' ในการจัดการขอมูลเพื่อใหคนทั่วไปเขาใจขอมูลไดง ายขึ้นซึ่งเปXนภารกิจ หลักในการดําเนินงานของ Tableau สามารถคาดการณ0 วิเคราะห0ปริมาณขอมูลขนาดใหญ (Big Data) ใน ลักษณะที่มีการอธิบายมากขึ้น สามารถสรางกราฟและแผนภูมิออกมา ทําใหการวิเคราะห0และการตีความ ขอมูลง ายขึ้น ลดจํานวนชั่วโมงที่ใชเวลาในการจัดทํากราฟ ทําใหขอมูลที่สนับสนุนกระบวนการตัดสินใจทาง ธุรกิจมีความสะดวกมากขึ้น

4.6 Site visit: บริษัท Fetch Robotics บรรยายโดย Melonee Wise, CEO; Eimei Onaga, Asia Sales, on Warehouse Management

Fetch Robotics ลงทุนร วมกับ บ. O’Reilly Alpha Tech Ventures, 3D Robotics, Planet Labs, LittleBits, Misfit Wearables และ Sight Machines ในการสรางระบบหุ นยนตร0สําหรับอุตสาหกรรม โลจิสติกส0โดยมุ งปรับปรุงวิธีการจัดการงานโลจิสติกส0 ไดแก การจัดส ง คลังสินคา การบรรจุหีบห อ ตามใบสั่ง เปXนตน ทําใหเกิดวิทยาการหุ นยนต0รูปแบบใหม ที่เหมาะอุตสาหกรรมบริการในอนาคต

4.7 Site Visit: Levi’s Stadium (Personalization); ICT Uses in a Large Stadium

Levi’s Stadium เปXนสนามแข งขันอเมริกันฟุตบอลประจําทีม 49ers รองรับผูชมไดสูงสุด ถึง 83,000 คน ออกแบบสนามโดย HNTB ซึ่งเปXนบริษัทสถาปdตยกรรมมีชื่อเสียงระดับนานาชาติเพื่อการใช งานแบบอเนกประสงค0 เช น จัด concerts, motocross, indoor/outdoor conferences Levi’s Stadium มีการติดตั้งระบบ Guest Wi-Fi ที่ใหญ ที่สุดในโลกแห งหนึ่ง โดย Chuck Lukaszewski, Aruba Networks ใหประสบการณ0ลูกคาไดสัมผัสการบริการรูปแบบใหม เช น • Replay App สําหรับใหผูชมสามารถดูการแข งขันยอนหลังผ าน Mobile Application จากใน สนามแข งขันไดทันทีที่ตองการ ทําใหการรับชมมีอรรถรสมากขึ้น และมีโอกาสเกิด Viral ไดมากขึ้น จากการ Capture ภาพไดอีกเช นกัน • ระบบสั่งอาหารและเครื่องดื่มผ าน App ทําใหผูชมทุกคนสามารถสั่งของว างมารับประทานระหว าง ชมการแข งขันได พรอมบริการส งถึงที่นั่งไดทันที ทําใหไม ตองเสียโอกาสในการชมจังหวะสําคัญของ เกมการแข งขัน ไม ตองเสียเวลาต อแถวซื้ออาหาร และยังสรางโอกาสการเพิ่มยอดขายใหกับสนาม กีฬาไดอีกดวย • โฆษณาผ านชื่อ SSID ทําใหแบรนด0ต างๆ สามารถทําการโฆษณาในวาระโอกาสที่ตรงกับ ภาพลักษณ0ของแบรนด0ไดอย างง ายดาย

4.8 Site visit: Stanford University, d-School and Bio-X

Stanford University ก อตั้งในปŠ 1891 เปXนมหาวิทยาลัยเอกชนที่เชี่ยวชาญดานงานวิจัย เปXนศูนย0กลางสําหรับผู สรางสรรค0นวตกรรม ภาควิชาต างๆ ไดแก Engineering, Medicine, Business, Law, Humanities, Sciences และ Education การพยายามคิดคนแกปdญหาใหกับมนุษยชาติเปXนหัวใจหลักในการทํางานร วมกัน ส วน Stanford Bio–X เปXนจุดกําเนิดความกาวหนาทางวิทยาศาสตร0ที่อธิบายใหเห็นว าการทํางานในร างกายมนุษย0 และทําการวิจัยเพื่อยกระดับคุณภาพและสุขภาพของมนุษย0

4.9 Site visit : Eatsa

Eatsa เปXนรานอาหารมังสวิรัติที่ใช IT Applications ในการสรางสรรค0การบริการดานอาหารใหเปXน ไปตามความตองการของผูซื้อในเวลาที่รวดเร็วมากขึ้น Eatsa ตั้งอยู ย านการเงินของเมือง San Francisco มีพื้นที่ 500 square feet ลูกคาสามารถใช Application ในการสั่งอาหารโดยไม ยากดวยประสบการณ0ใน การเขารานอาหารแบบ High-Tech Cafeteria ประกอบดวย 8 เมนูหลัก แบบเมดิเตอร0เรเนียน หรือลูกคา จะสรางสรรค0อาหารดวยตนเองก็สามารถทําได แต ละเมนูใหพลังงานไม เกิน 646 Calories ดวยราคาต่ํากว า 7 USD

4.10 Site Visit: Scrum Ventures (Venture Capital (VC))

Scrum Ventures ดําเนินธุรกิจแบบลงทุนร วมกับเจาของกิจการที่มีศักยภาพในการเจริญเติบโตสูง มีการ สนับสนุนและใหคําปรึกษาทางดานการเงินหรือใหเงินร วมลงทุนเพื่อธุรกิจสามารถเติบโตไดอย างรวดเร็ว พรอมที่จะจดทะเบียนเปXนบริษัทมหาชนในตลาดหลักทรัพย0ฯ หรือสามารถถอนการลงทุนโดยผ านการขาย หุนในตลาดหลักทรัพย0ฯ หรือขายคืนใหกับเจาของกิจการเดิมในราคาที่ตกลงกันไวในกรณีที่ไม ประสงค0จะ เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย0ฯ หรือขายหุนต อให Strategic Partners Venture Capital (VC) มีส วนสําคัญในการผลักดันใหเกิดบริษัทเกิดใหม (Startup) เพราะสามารถเติมเต็ม ความตองการเงินทุนของ Startup ซึ่งธนาคารอาจจะไม สามารถรับความเสี่ยงตรงได VC จะมีรูปแบบการ ลงทุนที่ต างจากธนาคารพาณิชย0คือ ลงทุนในส วนทุน (Equity) ของบริษัทแทนที่จะใหกูยืม (Debt) โดย VC จะหวังผลตอบแทนที่สูงกว า (High risk, high return) VC จะมีผูประกอบการที่มีประสบการณ0ในการสราง บริษัทที่ประสบความสําเร็จเปXนผูจัดการ เนื่องจากสามารถเลือกบริษัทที่มีศักยภาพและใหคําปรึกษาไดอย าง ถูกตอง บริษัทที่มีชื่อเสียงที่เคยไดรับเงินทุนจาก VC ในการเริ่มตนบริษัท เช น Twitter, Facebook, Instagram, Google

5. ประโยชน0ที่ไดรับจากการเขาร วมการฝกอบรม/ดูงาน และ/หรือสิ่งที่คาดว าจะสามารถนํามาประยุกต0ใชในการ ปฏิบัติงาน • สามารถนําประสบการณ0ตรงเรื่องนวตกรรมดาน ICT ในภาคบริการมาต อยอดงานที่รับผิดชอบโดยตรง ดานนโยบายและกลยุทธ0องค0กรใหสอดคลองกับปdจจุบันและทิศทางในอนาคตซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (ICT) ไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันและกําลังกาวเขาสู ยุค Internet of Things (IoT) • การเขาร วมการอบรมครั้งนี้เปXนการเป~ดโอกาสที่สําคัญใหผูเขารับการอบรมและผูแทนของบรรดาสมาชิก APO กลุ มประเทศเอเชียเอเชียแปซิฟ~กรวมถึง Non-members จํานวนมากกว า 8 ประเทศ มีโอกาสเขาร วมการ ฝกอบรมในเวทีระหว างประเทศและแลกเปลี่ยนความรูและเรียนรูวิธีปฏิบัติที่เปXนเลิศดานการจัดการการเพิ่ม ผลิตผลภาคบริการดวยระบบ ICT และการสื่อสาร

5.1 ประโยชน0ต อหน วยงานตนสังกัด • บมจ. กสท โทรคมนาคม ในฐานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดําเนินงานภายใตนโยบาย Digital Economy ซึ่งเปXนนโยบายเนนการใช ICT เปXนเครื่องมือในการพัฒนาทุกภาค ส วน การอบรมครั้งนี้ ผูเขาอบรมสามารถนําความรูประสบการณ0ที่ไดมาประยุกต0ใชในองค0กร ในประเด็นการ สนับสนุนขอมูลการดําเนินงานขององค0กร เพื่อประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตร0 และแผนปฏิบัติการของ องค0กร และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • บมจ. กสท โทรคมนาคม เปXนผูใหบริการโทรคมนาคมรายใหญ ของประเทศที่มีบทบาทสําคัญในการดําเนิน ธุรกิจดานสื่อสารโทรคมนาคมซึ่งเปXนรากฐานของระบบ ICT และการสื่อสารของประเทศที่ใหบริการทั้งภายในและ ระหว างประเทศ ทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ผูเขาอบรมสามารถเรียนรูประโยชน0และแนวโนมใหม ในการ ประยุกต0ใชระบบ ICT และการสื่อสารที่ทันสมัย มาใชในการเพิ่มผลิต กาวทันความเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจผล มาเปXนขอมูลส วนหนึ่งในการสนับสนุนในการดําเนินธุรกิจของ บมจ. กสท โทรคมนาคม เพื่อตอบสนองต อความ ตองการขององค0กรรวมถึงลูกคาโดยเฉพาะภาคบริการไดอย างรวดเร็ว ไม ว าจะเปXนหน วยงานภาครัฐหรือเอกชน เช น ธุรกิจโลจิสติกส0 ธุรกิจก อสราง ธุรกิจท องเที่ยว ธุรกิจสุขภาพ ธุรกิจโรงแรม เปXนตน • บมจ. กสท โทรคมนาคม เปXนองค0กรภาคบริการเช นกัน ผูเขารับการอบรมสามารถเรียนรูแนวโนม/แนวคิด และนโยบายใหม ที่เกี่ยวของกับการนําระบบ ICT และการสื่อสารมาปรับใชจนเปXน Best Practice จากประเทศที่ พัฒนาแลว มาใชเพื่อแลกเปลี่ยนความรูในองค0กรฯ กับหน วยงานที่เกี่ยวของในประเด็นการเพิ่มผลผลิตและการสราง มูลค าเพิ่มใหกับหน วยงานดวยระบบ ICT

น.ส.อารีวรรณ บุญกล่ํา นักบริหารงานทั่วไป 7 ผูบันทึกรายงานผลการเขาร วมโครงการฝกอบรม 22 มกราคม 2559