พระราชพิธีบรมราชาภิเษก The Royal Coronation Ceremony

5 6 ทรงราชย์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระบรมชนกนาถ เสด็จสวรรคตในวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในขณะที่ยังทรงด�ำรงพระ อิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราช กุมาร เป็นพระรัชทายาทที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งไว้แล้วตามกฎมณเฑียร บาล จะได้สืบราชสมบัติ แต่ทรงขอผ่อนผัน ด้วยทรงเห็นว่ายังไม่สมควรด�ำเนิน การใดที่แสดงถึงการมีพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ ในระหว่างที่ประชาชนอยู่ ในภาวะทุกข์โศก ทรงขอเวลาร่วมทุกข์และท�ำใจเช่นเดียวกับประชาชนจนกว่า การพระราชพิธีพระบรมศพจะผ่านพ้นไประยะหนึ่ง และมีพระราชด�ำริให้ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี เป็นผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ โดยต�ำแหน่งไปก่อน

7 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพยวรางกูร ในฉลองพระองค์บรมราชภูษิตาภรณ์ หรือ ฉลองพระองค์ครุยมหาจักรี

8 ประกาศรัฐบาล เรื่อง แจ้งเรื่องการสถาปนาแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้แล้วตามกฎมณเฑียรบาล ว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗

Becoming King On October 13th, 2559 B.E., when His Majesty King Rama IX Borommanathbobitra passed away, Crown Prince Maha became the new King, according to The Palace Law of Succession of 2467 B.E. (1924). However, Crown Prince Maha Vajiralongkorn decided to postpone His coronation—as He thought it was inappropriate to crown a new king when the Thai people were still deeply saddened by the death of King Bhumibol Adulyadej Also He shared His own grief with Thai people during His father’s Royal Cremation Ceremony. He appointed General Prem Tinsulanonda, President of the Privy Council, His regent.

9 10 At 7:16 pm on December 1st, 2559 B.E., Regent General Prem Tinsula- nonda, President of the National Legislative Assembly Pornpetch Wichitcholchai, Prime Minister General Prayut Chan-o-cha, and President of the Supreme Court Judge Veeraphol Tangsuwan had an audience with King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun at the Amphorn Sathan Residential Hall of Dusit Palace. The President of the National Legislative Assembly ประกาศราชกิจจานุเบกษาเฉลิมพระปรมาภิไธย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร Pornpetch Wichitcholchai invited King Maha Vajiralongkorn Bodindradebaya- จนกระทั่ง วันพฤหัสบดีที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา varangkun to be the next King of ๑๙.๑๖ น. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ , in accordance with the สยามมกุฎราชกุมาร จึงพระราชทานพระราชวโรกาสให้ พลเอกเปรม Constitution of the Kingdom of ติณสูลานนท์ ผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ นายพรเพชร วิชิตชลชัย Thailand (Interim) of 2557 B.E. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าที่ประธานรัฐสภา (2014), Section 2, Clause 2, and the ประมุขฝ่ายนิติบัญญัติ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี Constitution of the Kingdom of ประมุขฝ่ายบริหาร และนายวีระพล ตั้งสุวรรณ ประธานศาลฎีกา Thailand of B.E. 2550 (2007), Section ประมุขฝ่ายตุลาการ เข้าเฝ้าฯ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวัง 23, Clause 1. ดุสิต โดยนายพรเพชร วิชิตชลชัย ได้กราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร องค์รัชทายาท เสด็จขึ้น ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบราชสันตติวงศ์ตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗ มาตรา ๒ วรรค ๒ ประกอบกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ มาตรา ๒๓ วรรค ๑ 11 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงตอบรับค�ำกราบบังคมทูล เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๑๐ แห่งราชวงศ์จักรี

12 จากนั้นพระองค์มีพระราชด�ำรัสตอบรับการขึ้นทรงราชย์ ความว่า “ตามที่ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าที่ประธานรัฐสภา ได้กล่าวในนามของปวงชนชาวไทย เชิญข้าพเจ้าขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ว่าเป็นไปตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎมณเฑียรบาล ว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยนั้น ข้าพเจ้าขอตอบรับเพื่อสนองพระราชปณิธานและเพื่อประโยชน์ของ ประชาชนชาวไทยทั้งปวง” ทั้งนี้ ในทางนิตินัยถือว่าได้ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ตั้งแต่วันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อให้เป็น ไปตามโบราณราชประเพณีโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และสอดคล้องกับคตินิยมของนานาประเทศที่ราชอาณาจักรย่อม ไม่ว่างเว้นขาดตอนจากการมีพระมหากษัตริย์ โดยโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

Crown Prince Maha Vajiralongkorn accepted the invitation.

“As President of the National Legislative Assembly Pornpetch Wichitcholchai, on behalf of Thai people, invited me to ascend the throne, in accordance with The Palace Law of Succession of 2467 B.E. (1924), and as King Bhumibol Adulyadej would wish, I would like to accept the invitation in order to fulfil His wishes for the benefit of the Thai People.”

However, according to Thai law, Crown Prince Maha Vajiralongkorn had been King since October 13th, 2559 B.E. This accords with Thai protocols and international practice asserting that a kingdom should always have King. King Rama X was named

“King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun.”

13 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

14 พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ความเป็นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป็นราชประเพณีคู่สังคมไทยมายาวนาน โดยได้รับอิทธิพลจากคติอินเดีย มีหลักฐาน ปรากฏตั้งแต่สมัยสุโขทัยในศิลาจารึกหลักที่ ๒ หรือจารึกวัดศรีชุม แต่ลักษณะการพระราชพิธีแต่เดิมมีแบบแผน รายละเอียดเป็นอย่างไรไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แม้แต่การเรียกชื่อพิธีก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละสมัย ครั้นถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๖ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้ข้าราชการ ผู้รู้ครั้งกรุงเก่า มีเจ้าพระยาเพชรพิชัยเป็นประธาน ประชุมปรึกษาหารือกับสมเด็จพระสังฆราชและพระราชาคณะ ผู้ใหญ่ ท�ำการสอบสวนร่วมกันตรวจสอบต�ำราว่าด้วยการราชาภิเษกในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร แล้วแต่ง เรียบเรียงขึ้นไว้เป็นต�ำรา เรียกว่า ต�ำราราชาภิเษกครั้งกรุงศรีอยุธยาส�ำหรับหอหลวง เป็นต�ำราที่เกี่ยวกับการราชาภิเษก ที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่พบหลักฐานในประเทศไทย และโปรดให้สร้างเครื่องประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แบบแผน การราชาภิเษกดังกล่าวได้ยึดถือปฏิบัติเป็นแบบอย่างสืบมาจนปัจจุบัน

The 2019 Royal Coronation Ceremony Background

The Royal Coronation Ceremony is a traditional practice to complete the procedure of the enthronement of the King. Some of the procedures resemble Hindu rituals. The Thai people have held coronation ceremonies since the Sukhothai Period, as told in Sukhothai Inscription No.2 or the Si Chum Temple Inscription. However, the inscriptions did not explain the coronation ceremony in detail and they even called it by a different Thai name.

In 2326 B.E. of the Rattanakosin Kingdom, King Phra Buddha Yotfa Chulalok (King ) had Chao Phraya Phet Phichai work with the Supreme Patriarch of Thai Buddhism and other high-ranking officials to revise the Coronation Manual, which was written in the reign of King (2243-2339 B.E.). The team edited the Coronation Manual and renamed it The Ayutthaya Coronation Manual for the Royal Library. This manual is the oldest coronation manual ever found in Thailand. King Rama I also had Royal court officers create the Royal Regalia to be used in the coronation ceremony. The Ayutthaya Coronation Manual for the Royal Library is still in use as a reference book for the coronation ceremony today. 15