เครื่องประดับที่ไดรับแรงบันดาลใจจากเห็ด “ดัชนีแหงความอุดมสมบูรณ”

กั หอสม ุดกลา สำน ง

โดย นางสาวปภาดา เรืองรุง

ศิลปนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2557 JEWELRY DESIGN PROJECT INSPIRED BY “THE INDICATOR OF PLENTIFUL”

กั หอสม ุดกลา สำน ง

By Miss Prapada Ruengrung

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Bachelor of Fine Arts Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University 2014 คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหศิลปนิพนธเรื่อง “เครื่องประดับที่ไดรับ แรงบันดาลใจจาก “เห็ดดัชนีแหงความอุดมสมบูรณ”” เสนอโดย นางสาวปภาดา เรืองรุง เปนสวน หนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต

ลงชื่อ...... กั หอสมุดกล(ผูชาวยศาสตราจารยเอกพงษ ตรีตรง) สำน งคณบดีคณะมัณฑนศิลป 

ลงชื่อ...... (อาจารยทัศนฐรสชง ศรีกุลกรณ) หัวหนาภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ

ลงชื่อ...... (รองศาสตราจารย ดร. สุภาวี ศิรินคราภรณ) อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ

คณะกรรมการตรวจและตัดสินศิลปนิพนธ ปการศึกษา 2557

1. อาจารยทัศนฐรสชง ศรีกุลกรณ ประธานกรรมการ 2. รองศาสตราจารย ดร. สุภาวี ศิรินคราภรณ กรรมการ 3. ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภูวนาท รัตนรังสิกุล กรรมการ 4. ผูชวยศาสตราจารย ดร. วีรวัฒน สิริเวสมาศ กรรมการ 5. ผูชวยศาสตราจารย ดร. วรรณวิภา สุเนตตา กรรมการ 6. ผูชวยศาสตราจารยกั  หดร. อเพ็ญสสิริ มุดชาตกินิยมล า กรรมการ 7. อาจารยสทวำีศักดิ์น มูลสวัสดิ์ ง กรรมการ 8. อาจารย วินิตา คงประดิษฐ กรรมการ 9. อาจารยภูษิต รัตนภานพ กรรมการ 10. อาจารยชาติชาย คันธิก กรรมการ 11. อาจารยศิดาลัย ฆโนทัย กรรมการ 12. อาจารย ดร. ปฐมาภรณ ประพิศพงศวานิช กรรมการและเลขานุการ

หัวขอโครงการ เครื่องประดับที่ไดรับแรงบันดาลใจจากเห็ด “ดัชนีแหงความอุดมสมบูรณ” ชื่อนักศึกษา นางสาวปภาดา เรืองรุง ภาควิชา ออกแบบเครื่องประดับ คณะ มัณฑนศิลป  ปการศึกษา 2555 คําสําคัญ เครื่องประดับ ความอุดมสมบูรณ ธรรมชาติ

กั หอสมุดกลา สำน บทคัดยอ ง

โครงการศิลปนิพนธนี้มีจุดประสงคเพื่อนําเสนอแนวความคิดและทัศนคติของขาพเจาที่มีตอ “เห็ด” สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่สรางคุณประโยชนใหแกเรามากมาย ความงดงามของสิ่งมีชีวิตขนาด เล็กสามารถเติมเต็มความอุดมสมบูรณแกสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในวงกวางได ทั้งหมดนี้ขาพเจาจึงเกิดแรง บันดาลใจในการสรางสรรคผลงานเครื่องประดับ ซึ่งขาพเจาตองการใหผลงานเครื่องประดับเปน เสมือนตัวแทนในการถายทอดเรื่องงราวของเห็ดที่เปนดั่ง “ดั ชนีแหงความอุดมสมบูรณ” และ เครื่องประดับนั้นยังสามารถสรางเสริมจิตสํานึกดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมในอนาคตแกผูสวมใสอีก ดวย

Thesis Title Jewelry design project inspired by Mushroom “The indicator of plentiful” Name Miss Prapada Ruengrung Department Jewelry Design Faculty Decorative Arts Year 2014 Key Word Jewelry , Plentifully , Natural กั หอสมุดกลา สำน ง Abstract

The aim of this art-thesis is to present my perspective of “Mushroom”. For a period of time, mushroom had created the plentiful from all over the world. The magnificence of small living things that makes the world fulfills. According to this reason, I have been inspired to create pieces of jewelry that representation the invaluable and beautiful of “Mushroom” as the indicator of abundantly. In additional it could well strengthen the subconscious of preserving the nature.

กิตติกรรมประกาศ

ศิลปนิพนธฉบับนี้เปนการรวบรวมประสบการณที่ไดรับการเรียนรูมาตลอดสี่ป กลั่นกรอง และขัดเกลาองคความรูทั้งทางดานกระบวนการคิดและการปฏิบัติใหเกิดความสมบูรณที่สุด ซึ่ง โครงการศิลปนิพนธของขาพเจาจะมิอาจสําเร็จลุลวงไปไดดวยดีเลย หากไมไดรั บความชวยเหลือเปน อยางดีจากหลายๆ ฝาย ขาพเจาจึงใครอยากขอกลาวขอบพระคุณไว ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.สุภาวี ศิรินคราภรณ ผูใหคําปรึกษาและแนะนํา แนวทางในการดําเนินการสรางศกั ิลปนหิพนธอสฉบับนมี้จนเสรุดก็จสมบลาูรณ ตลอดจนคณาจารยทุกทานใน ภาควิชาออกแบบเครสื่องประดำนับ ที่ปร ะสิทธิ์ประสาทวิชาความรู อบรมสง ั่งสอน ชี้แนะใหคําปรึกษา ให มุมมองและแนวค ิดท ี่ดีแกขาพเจา จนสามารถทํางานสําเร็จลุลวงเสมอมา ขอขอบพระคุณอาจารยโกศล สุวรรณกูฎ ผูกอตั้งภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะ มัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปกร และคณาจารยพิเศษทุกทาน รวมทั้งเจาหนาที่ ประจําภาควิชา ออกแบบเครื่องประดับดวย ขอขอบพระคุณบิดา มารดา และทุกๆคนในครอบครัว ที่คอยเปนกําลังใจ สนับสนุนขาพเจา คอยแนะนําตักเตือนสั่งสอนและสงเสริมใหทําในสิ่งที่ดีดีทุกเรื่องทั้งการเรื่องศึกษา และการดําเนินชีวิต ใหขาพเจาไดมีทุกวันนี้ ขอขอบพระคุณปา (อาจารยพิทยา) อาจารยที่ปรึกษาและอาจารยประจําวิชาศิลปะ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ที่สอนใหขาพเจารูจักศิลปะ รักงานศิลปะ คอยใหคําปรึกษาและ ตักเตือนเสมอมา ขอขอบพระคุณพี่แตงที่สอนศิลปะแกขาพเจา ทําใหขาพเจาไดเรียนที่นี่ และใหคําปรึกษา คอยชวยเหลือและตักเตือน ขอบคุณพี่ๆ เพื่อนๆ และนองๆ อีกหลายคนท ี่ไมไดเอยนาม ขอบคุณที่คอยชวยเหลืองาน ตางๆ ใหคําปรึกษาและแนะนํา เปนกําลังใจใหเมื่อเหนื่อยลาและทอแทหมดกําลังใจ ทําใหงานศิลป นิพนธของขาพเจาผานไปไดดวยดี สุดทายนี้ขอบคุณทุกสิ่งทุกอยางที่ไดผานเขามาในชีวิ ตของขาพเจา ที่สรางความเข็มแข็ง หลอหลอมใหขาพเจาไดมีวันนี้ ใหพรอมเผชิญหนากับเปาหมายตอไปในชีวิต

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย ...... จ บทคัดยอภาษาอังกฤษ ...... ฉ กิตติกรรมประกาศ ...... ช สารบัญ ...... สมด .... ซ สารบัญตาราง ...... นกั หอ ุ กลาง ญ สารบัญภาพ ...... สำ ฎ บทที่ 1 บทนํา ...... 1 1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา ...... 1 1.2 วัตถุประสงคของโครงงาน ...... 2 1.3 ขอบเขตการศึกษาของโครงงาน ...... 2 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ...... 2 2 การรวบรวมและการศึกษาขอมูล ...... 3 2.1 เห็ดและความหมายของเห็ด ...... 3 2.2 บทบาทตอระบบนิเวศในปา ...... 3 2.3 เห็ดเอคโตไมคอรไรซา ...... 4 2.4 โครงสรางของดอกเห็ด ...... 30 2.5 วัฎจักรชีวิตของเห็ด ...... 31 2.6 กลุมของเห็ด ...... 32 2.7 การพิจารณาหาลักษณะทางกายภาพและลักษณะทางบริบทโดยรอบ ของเห็ดเอคโตไมคอรไรซา ...... 34 2.8 การวิเคราะหลักษณะทางกายภาพ ...... 44 2.9 การวิเคราะหลักษณะการเจริญเติบโตและบริบทโดยรอบ ...... 48 3 แนวทางการออกแบบและวิธีการทดลอง ...... 58 3.1 การพิจารณาทางดานวิทยาศาสตร ...... 58 3.2 การพิจารณาทางดานศิลปะ ...... 60 3.3 การรางแบบเพื่อหาทัศนธาตุของเห็ดที่มีความอุดมสมบูรณ ...... 86 3.4 การทดลองวัสดุ ...... 91 3.5 การวิเคราหพื้นที่สวมใสบนรางกาย ...... 96 3.6 แนวทางการออกแบบ ...... 98

บทที่ หนา 4 กระบวนการสรางสรรคความงาม ...... 105 4.1 สรุปแนวทางในการออกแบบ ...... 105 4.2 แบบราง 2 มิติ ...... 105 4.3 สรุปและเขียนแบบชิ้นงาน ...... 108 4.4 สรุปแบบเพื่อผลิตชิ้นงานจริง ...... 120 4.5 ขั้นตอนการผลิตชิ้นงาน ...... 126 5 ผลงานเครื่องประดับ ...... 141 6.1 ภาพผลงานในสหวนลํอาคอส ...... มุดก 141 6.2 ภาพผลงานในสำนกั วนแขน ...... ลาง 142 6.3 ส ภาพผลงานในสวนนิ้วมือ ...... 144 6 สรุปผลการทดลอง ...... 148 รายการอางอิง ...... 151 ภาคผนวก ...... 152 ภาคผนวก ก ใบเสนอหัวขอศิลปนิพนธ ...... 153 ภาคผนวก ขม ปาไ ที่สําคัญ ...... 159 ประวัติผูเขียน ...... 162

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 2.1 ขอมูลพื้นฐานของกลุมเห็ดเอคโตไมคอรไรซาใน Phylum ...... 7 2.2 การสํารวจลักษณะทางกายภาพและการเจริญเติบโตของเห็ดเอคโตไมคอรไรซาใน กลุมเห็ดครีบ ...... 36 2.3 สรุปการสํารวจลักษณะทางกายภาพและการเจรสมด ิญเติบโตของเห็ดเอคโตไมคอรไรซา ในกลุมเห็ดครีบ ...... นกั หอ ุ กลาง 44 2.4 การพิจารณาร สำูปทรงของหมวกดอกเห็ด ...... 45 2.5 การพิ จารณาการเร ียงตัวของครีบใตหมวกดอกเห็ด ...... 46 2.6 การพิจารณาพื้นผิวของหมวกเห็ดและกาน ...... 47 2.7 การเจริญเติบโตของรากพืชที่มีและไมมีราเอคโตไมคอรไรซา ...... 51 2.8 การเจริญเติบโตและแผขยายของรากที่มีราเอคโตไมคอรไรซา ...... 52 2.9 ลักษณะรูปลักษณของเปลือกไมวงศยาง ...... 56 3.1 การพิจารณาทัศนธาตุและองคประกอบศิลปจากผลงานของศิลปนที่มีแนวคิดเรื่อง ความอุดมสมบูรณ ...... 75 3.2 การพิจารณาทัศนธาตุและองคประกอบศิลปจากผลงานเครื่องประดับของศิลปนที่ มีแนวคิดเรื่องความอุดมสมบูรณ ...... 78 3.3 การพิจารณาทัศนธาตุโดยละเอียดจากผลงานที่มีแนวคิดเรื่องความอุดมสมบูรณ . 80 3.4 การสรุปทัศนธาตุ ...... 85 3.5 การทดลองวัสดุ ...... 91 3.6 การพิจารณาวัสดุตางๆ ตามรูปแบบความรูสึกของทัศนธาตุ ...... 93 3.7 การทดลองว สดั ุแบบผสมผสาน ...... 94 3.8 การพิจารณาสัดสวนบนรางกาย ...... 96 3.9 การพิจารณาสัดสวนรางกายสวนตางๆโดยการรางแบบชิ้นงานติดตั้งบนรางกาย ... 97 3.10 การพิจารณาสัดสวนรางกายสวนตางๆโดยการรางแบบชิ้นงานติดตั้งบนรางกายควบ คูไปกับแนวทางการออกแบบ ...... 100 3.11 การพิจารณาวัสดุกับการติดตั้งบนรางกาย ...... 103

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 2.1 ลักษณะดอกออนและลักษณะดอกที่สมบูรณเต็มที่ ...... 30 2.2 วัฎจักรชีวิตของเห็ด ...... 31 2.3 เห็ดระโงกเหลือง ...... 48 2.4 การเจริญเติบโตของเห็ดเอคโตไมคอรไรซา ...... 49 2.5 ตัวอยางลักษณะการเกิดไมคอรไรซาในรากของไมวงศยาง...... 49 2.6 รูปรางลักษณะภายในหรือกายวิภาค (Anatomy) ของรากเอคโตไมคอรไรซาโดย ใชกลองจุลทรรศน ...... กั หอสมุดกลา 50 2.7 กลุมโทนสีของรากเอคโตไมคอรสำน ไรซา ...... ง 50 2.8 ตนยางนา ...... 54 2.9 ขนาดความสูงของไมวงศยาง ...... 54 2.10 เปลือกไมวงศยาง ...... 55 2.11 กลุมโทนสีของเปล ือกไมวงศยาง ...... 55 3.1 Environmental Diamonds ...... 58 3.2 ดินและชั้นของดิน ...... 59 3.3 น้ํา ...... 59 3.4 อากาศ ...... 60 3.5 “Venus of WIilendorf” (ซาย),“Venus of Vestonice” (กลาง), “Venus of Lespugue” (ขวา) ...... 60 3.6 The symbol of life and energy, also associated with abundance and prosperity (5000 B.C.) (ซาย), “Hopi Pueblo” parrots symbolise the sun and abundance(14 century) (ขวา)...... 61 3.7 “Demeter” เทพีแหงความอุดมสมบูรณ เกษตรกรรม การเก็บเกี่ยว ...... 61 3.8 “symbol of peaceful, abundance and tenacity” Tibet (ซาย) “The Makara” India, Madhya Pradesh and Rajasthan (กลาง), “Zoomorphic anklet” India, Kerala (ขวา) ...... 61 3.9 “Symbol of life and fertility”, Central Asia (19th century)(ซาย), “Symbol of fertility”, Central Asia (13th century)(ขวา) ...... 62 3.10 Buffalo Represents: sacredness, life, abundance ...... 62 3.11 “กรวยแหงความอุดมสมบูรณ” กรวยจากคริสตศตวรรษที่ 1(ซาย), “กรวยแหง .. ความอุดมสมบูรณ” เทพพลูโตถือกรวย (ขวา) ...... 62 3.12 “กรวยแหงความอุดมสมบูรณ” ประติมากรรม จิโอวาน บัตติสตา คัชชินิ (ซาย), . “กรวยแหงความอุดมสมบูรณ” เทพีฟอรชูนาแบบกรวย (กลาง),“กรวยแหงความ อุดมสมบูรณ” โปสเตอรจากแคนาดา (ขวา) ...... 63

ภาพที่ หนา 3.13 “กรวยแหงความอุดมสมบูรณ” ประติมากรรมตั้งโตะ(ซาย), “Horn of Plenty”, Susan M. ( 20th century)(ขวา) ...... 63 3.14 “Wealth And Prosperity” (ซาย) Abundantia (ขวา),doreen virtue ...... 63 3.15 Abundance and the four elements, Jan Brueghel D. Ä. (1568 - 1625) . (ซาย) Allegory of Abundance, Jan Brueghel the Younger (1601 - 1678) (กลาง)Abundance of Fruit, 1860. Severin Roesen (ca. 1815-ca. 1872)(ขวา) 64 3.16 “Harvest Moon” Abundance Blessing, Julia Watkins ...... 64 3.17 “Sunny Abundance”, Shirley Novak ...... 64 3.18 “Abundance Angelกั Artห andอ Prinสts”,ม Katherineุดกล Skaggsา (2004-2013)(ซาย), “Erzulie”ส prosperity,ำน abundance, and love, NMEZeroง (ขวา) ...... 65 3.19 The Garden Hamsa above evokes spring, abundance and the Garden of Eden (ซาย),The third of the Buddhist symbols is known as the great trea- sure vase. The great treasure vase provided the Buddha with long life and abundance of health.(กลาง), The second of the Buddhist symbols are two golden fish. They are symbolism of happiness, fertility, and abundance. (ขวา) ...... 65 3.20 “Abundance”, Jordan Schnitzer (2011)(ซาย) “Abundance”, Scott (2010) (ขวา) ...... 65 3.21 "Pomona the Fountain of Abundance", by Karl Bitter atop the Pulitzer 66 3.22 “Abundance” Jan Van Ek (ซาย), “Abundance” Anna Gillespie (2012)(ขวา) 66 3.23 “Guardian Mouse”, Otoyo-Jinja in Kyoto, the ball of water it carries represents an abundance of good health, luck, love and long life. (ซาย), “Abundance III”, Sun Yu Li (กลาง) “Abundance” Downtown Yakima (ขวา) 66 3.24 “Abundance” Ray Giddens ...... 67 3.25 symbolize the abundance of life, “an outward manifestation of a largeness of soul”, Nnamdi Okonkwo Okonkwo (ซาย), “abundance little feet”(ขวา) 67 3.26 "Abundance", Jeanne Brennan (ซาย), "The Coming of Abundance" Morgan Brig (2015) (ขวา) ...... 67 3.27 “Abundance: Shoes”, Claudia DeMonte (2011) (ซาย),"Abundance”, Jane Burton (ขวา) ...... 68 3.28 “Bronze Vitaleh Original Nude Fertility Goddess Modern Art Abstract Sculpture” United States ...... 68

ภาพที่ หนา 3.29 “Obese statue of david” embodies the gluttony, and the abundance of obesity in modern times. (ซาย), “Voluptuous Nude Female Sculpture Statue Figurine/fertility Goddess” (กลาง), “Venus Enwombed”, Ann Zeleny (ซาย) ...... 68 3.30 “The enigma of abundance”, Paul Deans(ซาย), “Symbol Of Abudance”, “Fertility/abundance”, Norman Ridenour (กลาง), Leo Arcand (1991)(ขวา) 69 3.31 “Abundant and Fertility”, Lindy Lalwer ...... 69 3.32 "Goddess Series", a celebratory expression of ‘delightfully abundant’ Adam Schultz ...... กั หอสมุดกลา 70 3.33 “อุดม สมบสูรณำ” นนนทิวรรธน จันทนะผะลิน (ซาย) "รูปทรงแหง งวิถีชีวิตและความ อุดมสมบ ูรณของบานเรา" ศราวุธ แวงวรรณ (กลาง)“ความสมบูรณผลผลิตจาก ธรรมชาติ” อนุสรณ  ทองรวย (ขวา) ...... 71 3.34 The Art Thesis “The Weaves and the Richness” (2550) สุกัลยา ไชยพิมพ 71 3.35 นิทรรศการประติมากรรม “ความอุดมสมบูรณแหงผืนดินไทย” (2557) นางสุธิดา มาออน ...... 72 3.36 “fecundity” Giovanni Corvaja (ซาย), “bolluk”(abundance) Sevan Bicakci (ขวา) ...... 72 3.37 “symbol of abundance” ...... 73 3.38 “Abundance Ring Gold” ...... 73 3.39 "Abundance Global Earrings" (ซาย), “Abundance Pendant Gold” (ขวา) 73 3.40 “Abundance” Love Jewelry (ซาย), “Satya Jewelry Abundance Bracelet” (ขวา) ...... 74 3.41 ภาพรางเสนสายความรูสึกของดิน น้ําและอากาศ ...... 86 3.42 ภาพรางรูปรางรูปทรงของทัศนธาตุที่ไดจากการคนหาผลงานโดยรวม ...... 86 3.43 ภาพรางรวมทัศนธาตุกับกายภาพของเห็ดในสวนของหมวก ...... 87 3.44 ภาพรางรวมทัศนธาตุกับกายภาพของเห็ดในสวนของกานและครีบ ...... 87 3.45 ภาพรางรวมทัศนธาตุกับกายภาพของเห็ดในสวนของหมวกครีบและหมวกครีบกาน 88 3.46 ภาพรางรวมการวิเคราะหทัศนธาตุจากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ชุดที่ 1 ...... 88 3.47 ภาพรางรวมการวิเคราะหทัศนธาตุจากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ชุดที่ 2 ...... 89 3.48 ภาพรางรวมการวิเคราะหทัศนธาตุจากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ชุดที่ 3 ...... 89 3.49 My Mapping สรุปการสํารวจการคนหาความอุดมสมบูรณ ...... 90 4.1 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 1 ...... 105 4.2 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 2 และ 3 ...... 106 4.3 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 4 และ 5 ...... 106 4.4 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 6 และ 7 ...... 107

ภาพที่ หนา 4.5 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 8 และ 9 ...... 107 4.6 เขียนแบบเครื่องประดับสวนสวนคอ ชุดที่ 1 ...... 108 4.7 เขียนแบบเครื่องประดับสวนสวนคอ ชุดที่ 2 ...... 109 4.8 เขียนแบบเครื่องประดับสวนแขน ชุดที่ 1 ...... 110 4.9 เขียนแบบเครื่องประดับสวนแขน ชุดที่ 2 ...... 111 4.10 เขียนแบบเครื่องประดับสวนแขน ชุดที่ 3 ...... 112 4.11 เขียนแบบเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชุดที่ 1 ...... 113 4.12 เขียนแบบเครื่องประด ับสวนนิ้วมือ ชุดที่ 2 ...... 114 4.13 เขียนแบบเครื่องประดกั ับสวนนิ้วมือหอส ชุดทมี่ 3ุด ...... กลา 115 4.14 เขียนแบบเครสำื่องประดน ับสวนนิ้วมือ ชุดที่ 4 ...... ง 116 4.15 เขียนแบบเคร ื่องประดับสวนนิ้วมือ ชุดที่ 5 ...... 117 4.16 เขียนแบบเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชุดที่ 6 ...... 118 4.17 เขียนแบบเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชุดที่ 7 ...... 119 4.18 แบบจําลองเครื่องประดับสวนลําคอ ชิ้นที่ 1 ...... 120 4.19 แบบจําลองเครื่องประดับสวนลําคอ ชิ้นที่ 2 ...... 120 4.20 แบบจําลองเครื่องประดับสวนแขน ชิ้นที่ 1 ...... 121 4.21 แบบจําลองเครื่องประดับสวนแขน ชิ้นที่ 2 ...... 121 4.22 แบบจําลองเครื่องประดับสวนแขน ชิ้นที่ 3 ...... 122 4.23 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1 ...... 122 4.24 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2 ...... 123 4.25 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3 ...... 123 4.26 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4 ...... 124 4.27 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5 ...... 124 4.28 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6 ...... 125 4.29 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7 ...... 125 4.30 เข็มจิ้มใยขนแกะ ...... 126 4.31 ฐานรองเข็ม...... 126 4.32 ใยขนแกะ Felting Wool ...... 127 4.33 การขึ้นรูปโครงสรางสวนลําคอ ชิ้นที่ 1 ...... 127 4.34 การขึ้นรูปโครงสรางสวนลําคอ ชิ้นที่ 2 ...... 128 4.35 การขึ้นรูปโครงสรางสวนแขน ชิ้นที่ 1 ...... 129 4.36 การขึ้นรูปโครงสรางสวนแขน ชิ้นที่ 2 ...... 130 4.37 การขึ้นรูปโครงสรางสวนแขน ชิ้นที่ 3 ...... 130 4.38 การขึ้นร ูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1 ...... 131 4.39 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2 ...... 131

ภาพที่ หนา 4.40 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3 ...... 132 4.41 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4 ...... 132 4.42 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5 ...... 133 4.43 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6 ...... 133 4.44 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7 ...... 133 4.45 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนลําคอ ชิ้นที่ 1 ...... 134 4.46 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสล วน ําคอ ชิ้นที่ 2 ...... 134 4.47 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนแขน ชิ้นที่ 1 ...... 135 4.48 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงกั หอิน และลูกปสมดในสุดกวนแขนลา ชิ้นที่ 2 ...... 136 4.49 การตกแตงชสิ้นงานดำนวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนแขน ชิ้นทงี่ 3 ...... 137 4.50 การตกแต งชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1 ...... 137 4.51 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2 ...... 138 4.52 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปส ดใน วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3 ...... 138 4.53 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4 ...... 139 4.54 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5 ...... 139 4.55 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6 ...... 139 4.56 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7 ...... 140 5.1 ภาพผลงานสวนลําคอ ชิ้นที่ 1...... 141 5.2 ภาพผลงานสวนลําคอ ชิ้นที่ 2...... 142 5.3 ภาพผลงานส วนแขน ชิ้นที่ 1 ...... 142 5.4 ภาพผลงานสวนแขน ชิ้นที่ 2 ...... 143 5.5 ภาพผลงานสวนแขน ชิ้นที่ 3 ...... 143 5.6 ภาพผลงานสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1 ...... 144 5.7 ภาพผลงานสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2 ...... 144 5.8 ภาพผลงานสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3 ...... 145 5.9 ภาพผลงานสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4 ...... 145 5.10 ภาพผลงานสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5 ...... 146 5.11 ภาพผลงานสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6 ...... 146 5.12 ภาพผลงานสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7 ...... 147 6.1 เห็ดและสิ่งมีชีวิต ...... 148 6.2 ลักษณะทางกายภาพของเห็ดและบริบทโดยรอบ ...... 149 6.3 ผลงานที่เกี่ยวของกับเห็ดและความอุดมสมบูรณ ...... 149

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา

‘ปาไม’ มีความสําคัญตอมวลมนุษยและสิ่งมีชีวิตนอยใหญทั้งหลาย ทั้งสัตวและพืชในผืนปา กวางใหญลวนมีความจําเปนจะตกั องพึ่หงพาอาศอสัยกัมนอยุดางเกกื้อกูลล แมาขาดสิ่งมีชีวิตเล็กๆเพียงสิ่งเดียวก็ไม อาจสรางความอุดมสมบสำูรณนอันยิ่งใหญได วัฎจัปกรของสิ่งมีชีวิตใน งาทําใหขาพเจาไดรับทราบขอมูล ของพืชชนิดหน ึ่ง ซึ่งแมเปนเพียงพืชขนาดเล็กแตใหคุณประโยชนกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆอยางอเนก อนันต พืชดังกลาวคือ “เห็ด” ปจจุบันเห็ดจัดเป นพืชเศรษฐกิจ เปนอาหารสุขภาพสามารถทดแทน โปรตีนจากเนื้อสัตวได นอกเหนือจากสิ่งที่กลาวมาแลวนั้น เห็ดยังเปนปจจัยหลักในการสงเสริมระบบ ชีววิทยาและมีสวนสําคัญในการสรางใหวัฏจักรชีวิตในผืนปาเกิดความสมดุล เห็ดเปนราชั้นสูงกลุมหนึ่งในอาณาจักรฟงไจมีประโยชนในการเอื้อใหดินเกิดความชุมชื้น ยอย สลายจุลินทรียเสมือนเปนตัวเชื่อมโยงผูผลิตและผูบริโภคใหเก ิดการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ชวยเพิ่มความ หลากหลายทางชีวภาพ เสริมสรางใหทรัพยากรธรรมชาติฟนตัวกลับคืนมา ทําใหหวงโซอาหารของพืช และสัตวครบวงจร และเติมเต็มความสมบูรณแกระบบนิเวศ อนึ่ง การที่เห็ดจะเกิดขึ้นและเจริญเติบโต ไดดีในธรรมชาตินั้น จําเปนตองอาศัยปจจัยตางๆมากมาย ที่เห็นไดชัดคือ ความอุดมสมบูรณที่มาจาก จํ านวนของตนไมในปาธรรมชาติ ดังนั้น เห็ดจึงเปนทั้งผูใหและผูรับ ถือวาเปน ”ดัชนีชี้วัดความอุดม สมบูรณ” ดังคํากลาวที่วา “ที่ไหนมีปาที่นั้นมีเห็ด” ดังนั้น เห็ดสอนใหขาพเจาเขาใจไดวา ความงดงามของสิ่งมีชีวิ ตขนาดเล็กสามารถเติมเต็ม ความอุดมสมบูรณแกสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในวงกวางได ทั้งหมดนี้ขาพเจาในฐานะนักออกแบบจึงเกิดแรง บันดาลใจในการสรางสรรคผลงานเครื่องประดับ ซึ่งขาพเจาตองการใหผลงานเครื่องประดับของ ขาพเจาเปนเสมือนตัวแทนในการถายทอดเรื่องราวและสาระความสําคัญของเห็ดกับความอุดม สมบูรณ ดวยหวังเปนอย างยิ่งวา นอกจากเห็ดจะสรางแรงบันดาลใจในการออกแบบผลงานเครื่อง ประดับที่มีความสวยงามแลว ยังสามารถสงเสริมจิตสํานึกดานการอนุรักษทรัพยากรในอนาคตแกผู สวมใสอีกดวยดังพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯซึ่งทรงกลาวไววา “เราควรปลูก ตนไมลงในใจเสียกอนแลวคนเหลานั้นก็จะพากันปลูกตนไมลงแผนดินและรักษาตนไมดวยตนเอง”

1 2

1.2 วัตถุประสงคของโครงงาน

1.2.1 ตองการออกแบบเครื่องประดับที่เปนเสมือนตัวแทนในการถายทอดเรื่องราวของเห็ดที่เปน ดั่ง "ดัชนีแหงความอุดมสมบูรณ” 1.2.2 ตองการออกแบบเครื่องประดับสามารถสรางเสริมจิตสํานึกดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม

1.3 ขอบเขตการศึกษาของโครงงาน

1.3.1 ศึกษาที่มาความสําคัญของปาไมในประเทศไทย ระบบนิเวศวิทยาของผืนปา 1.3.2 ศึกษาขอมูลของเห็ดชนกั ิดตหางๆซอึ่งเปสนดมัชนุดีวัดความอกลุดมสมบา ูรณในผืนปาตางๆเฉพาะอยาง ยิ่งปาสําคัญ ปาตนน้ําในประเทสำนศไทย เปนตน ง 1.3.3 ศึกษาหาท ัศนธาตุและการจัดองคประกอบศิลปที่สามารถถายทอดภาพความอุดมสมบูรณ และความสําคัญของสิ่งมีชีวิตที่ตองพึ่งพาอาศัยอยางเกื้อกูลกัน

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.4.1 ผลงานเครื่องประดับที่เปนเสมือนตัวแทนในการถายทอดเรื่องราวของเห็ด“ดัชนีแหงความ อุดมสมบูรณ” 1.4.2 ผลงานเครื่องประดับสรางเสริมจิตสํานึกเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอม

บทท ี่ 2

การรวบรวมและการศึกษาขอมูล

ในประเทศไทยนั้นอุทยานแหงชาติเขาใหญนับวาเปนปาตนน้ําที่หลอเลี้ยงจังหวัดตางๆของ ประเทศและเปนแหลงกําเนิดชีวิตที่สําคัญมากมาย พื้นที่ปาที่มีเนื้อที่กวางขวางและยังคงความอุดม สมบูรณของปาเอาไวอยางสมบปูรณ ซึ่งถือวาเ นมรดกทางธรรมชาติแหงแรกของประเทศไทย มีความ หลากหลายทางธรรมชาติ ดังนกั ั้นขหาพเจอาจึงไดสสนใจในเหมุดก็ดทลี่เปานดั่งดัชนีแหงความสมบูรณ ซึ่งเปน สิ่งมีชีวิตที่มีความสําคสัญกำับปนาตนน้ํานี้อีกดวย ง ปจจุบั นเห ็ดเปนพืชเศรษฐกิจ ใหประโยชนแกมนุษยในดานตางๆมากมาย ปอีกทั้งยังเ น อาหารสุขภาพสามารถทดแทนโปรตีนจากเนื้อสัตวได ซึ่งนอกเหนือจากที่กลาวมาแลวนั้น เห็ดยังเปน ปจจัยหลักในการสงเสริมระบบชีววิทยาและมีสวนสําคัญในการสรางใหวัฏจักรชีวิตในผืนปาเกิดความ สมดุล ไมวาจะเปนการเกื้อกูลพืชพรรณและสัตวตางๆทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ หรือการที่เปนผูชวยยอยสลายอินทรียวัตถุ ทั้งซากพืชและซากสัตว

2.1 เห็ดและความหมายของเห็ด

เห็ดเปนเห็ดเปนฟงไจชั้นสูงที่มีขนาดใหญซึ่งไมจัดเปนพืชหรือสัตว ไมมีสารสีเขียว(chlorop- hyll)เหมือนพืชจึงไมสามารถปรุงอาหารกินเองได ไมมีระบบประสาทหรืออวัยวะและไมสามารถเคลื่- อนที่ไดเชนสัตว การเจริญเติบโตของเห็ดมีลักษณะเปนเสนใยรวมกัน

2.2 บทบาทตอระบบนิเวศในปา

2.2.1 เห็ดผูยอยสลายอินทรียวัตถุ (Saprophytic Mushroom) เห็ดกลุมนี้จะพบไดตามซากอินทรียวัตถุที่ตายแลว (Dead organic matters) เชน ใบไม หญา กิ่งกาน ไมซุง ตอไม ผลไม เหม็ดไม หรือ มูลสัตว เปนตน เห็ดกลุมนี้ทําหนาที่ยอยสลายซาก เทานั้น โดยอาศัยก ารปลอยน้ํายอยออกไปเพื่อยอยสลายโครงสรางที่แข็งแรงของสิ่งที่ดอกเห็ดขึ้นอยู ทําใหซากอินทรียวัตถุนั้นๆ คอยๆ ผุพัง และกลายเปนแรธาตุ สวนหนึ่งกลับคืนสูดินเพื่อเปนวัฎจักร หมุนเวียนธาตุอาหาร และอีกสวนหนึ่งจะถูกเสนใยของดอกเห็ดดูดและน ําไปใชประโยชนตอไป สําหรับเห็ดกลุมนี้สามารถสํารวจพบไดบอยเพราะมีเปนจํานวนมาก อาจจะพบดอกเห็ดทั้งที่ออนนุม เหนียว แข็ง และพบไดเกือบทุกฤดูกาลโดยเฉพาะบริเวณที่มีความชื้นสูง เปนตน

3 2.2.2 เห็ดที่เปนสาเหตุของโรค (Parasitic Mushroom) เห็ดกลุมนี้เปนกลุมที่เขาทําลายตนไมขณะยืนตนและยังมีชีวิตอยู หรือเขาทําลายสัตวขนาด เล็กจําพวกแมลงและแมงมุม โดยเชื้อเห็ดจะเขาไปแยงน้ําและอาหาร ทําใหเซลลและเนื้อเยื่อของ สิ่งมีชีวิตที่ดอกเห็ดขึ้นอยูคอยๆ ทรุดโทรมและตายลงไปในที่สุด 2.2.3 เห็ดที่มีความสัมพันธกับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น (Symbiosis Mushroom) เห็ดกลุมนี้สามารถแบงตามชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธดวยได 2 กลุมคือ 2.2.3.1 เห็ดเอคโตไมคอรไรซา (Ectomycorrhizal Mushroom) เห็ดกลุมนี้เปน เห็ดที่สรางดอกเห็ดอยูตามบริเวณใตรมไม 2.2.3.2 เห็ดโคนปลวก (Termite Mushroom หรือ Termitomyces spp.) เห็ดใน กลุมนี้การเจริญของเสนใยที่กรวมตกั ัวเหิดเปอนดอกเหสม็ดจุดําเปกนตลองมาีสารบางชนิดที่ปลวกสรางขึ้นจึงจะ เกิดเปนโครงสรางดอกเหสำ็ดอยนางที่เราพบเห็นได ง

2.3 เห็ดเอคโตไมคอรไรซา

2.3.1 ความนํา ไมคอรไรซา (mycorrhiza) เปนชื่อเรียกความสัมพันธแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหวาง รากของพืชชั้นสูงที่มีชีวิตกับรา ไมคอรไรซาแบงออกเปนหลายประเภท โดยการแบงนั้นพ ิจารณาจาก ชนิดของพืช ชนิดของรา และลักษณะการเขาไปอาศัยอยูในรากพืชของรา สําหรับราในกลุมเห็ดมัก พบวามีความสัมพันธแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากของไมปาเปนสวนใหญ และเปนประเภทที่ เรียกวา เอคโตไมคอรไรซา (ectomycorrhiza) โดยเสนใยของเห็ดจะพันกันเปนชั้นหอหุมรากของไม ปา และมีเสนใยบางสวนแทงผานผ ิวรากเขาไปเจริญในระหวางเซลลผิวและเซลลชั้นคอรเท็กซ (cortex) ของราก สงผลใหรากแตกแขนงและมีขนาดใหญมากขึ้น รวมทั้งมีสีที่ตางไปจากเดิมดวย เชน สีขาว สีเหลือง สีดํา เปนตน ลักษณะเหลานี้สามารถมองเห็นดวยตาเปลาไดอยางชัดเจน เห็ดที่อยู รวมกับรากพืชด ังที่กลาวมาเรียกวา เห็ดเอคโตไมคอรไรซา (ectomycorrhiza mushroom) สวนราก พืชเรียกวา รากเอคโตไมคอรไรซา (ectomycorrhiza root)

2.3.2 ลักษณะที่สําคัญของเห็ดเอคโตไมคอรไรซา การอยูรวมกันแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหวางเห็ดเอคโตไมคอรไรซาและพืช เปนไปใน ลักษณะที่เห็ดไดรับอาหารที่มาจากการสังเคราะหแสงของพืชที่เห็ดนั้นอาศัยอยูสวนพืชไดรับแรธาตุ ตางๆ และน้ําจากดินเพิ่มขึ้นจากที่รากพืชดูดเองได โดยมีเสนใยของเห็ดที่แผกระจายอยูในดินชวยใน การดูดซึม แลวสงตอไปใหพืชโดยผานทางราก ทําใหพืชสามารถสังเคราะหอาหารไดมากขึ้นและ เติบโตแข็งแรงมากกวาปกติ อาหารที่พืชสังเคราะหขึ้นนี้บางสวนถูกสงมาเลี้ยงและสะสมไวที่ราก ซึ่ง รากจะสงอาหารตอไปใหเสนใยของเห็ด ทําใหเสนใยของเห็ดเจริญสมบูรณและสามารถสรางดอกเห็ด ขึ้นมาบนพื้นดิน เสนใยของเห็ดที่พันอยูรอบๆราก ทําหนาที่เหมือนเกราะปองกันรากจากการเขาทําลายของ เชื้อโรคพืชตางๆ จึงทําใหพืชมีความตานทานตอโรคที่รากมากขึ้น และเสนใยของเห็ดที่แผกระจาย ออกไปอยางกวางขวางในดินไดไกลกวาที่รากพืชไปถึง ชวยดูดน้ําและแรธาตุใหแกพืชมากขึ้น จึงทําให พืชเติบโตเร็วขึ้นและมีความทนทานตอสภาพแวดลอมที่แหงแลงเพิ่มขึ้นดวย เห็ดเอคโตไมคอรไรซาบางชนิด เปนอาหารของคนและสัตว มีคุณสมบัติเปนยารักษาโรค และ ชวยเพิ่มคุณคาทางการทองเที่ยว เนื่องจากดอกเห็ดที่ขึ้นอยูตามธรรมชาติมีรูปรางและสีที่ สวยงาม การที่บนพื้นปามีดอกเห็ดหลากชนิดขึ้นอยูเปนจํานวนมาก เปนสิ่งที่บงชี้วาปานั้นมีระบบนิเวศที่ดี มี ความชื้นและอาหารที่เหมาะสมตอการเจริญของเห็ด

2.3.3 ประโยชนของเห็ดเอคโตไมคอรไรซา 2.3.3.1 ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวและปริมาณของรากพืชและตนไม 2.3.3.2 ชวยเพิ่กั มความแขหอ็งแรงใหสมแกุดระบบรากของตกลา นไม 2.3.3.3สำ ชวยเพิ่น มความสามารถในการดูดซับน้ํา อางหาร และแรธาตุใหแกตนไม เชน ฟอสฟอรัส ไนโตรเจน (P) ไนโตรเจน (N) โปรแตสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) และธาตุอื่นๆ ซึ่งธาตุ เหลานี้เชื้อราจะดูดซับไวและสะสมในรากและซึมซับขึ้นสวนตางๆของตนไม ชวยในการสังเคราะหแสง (Photosynthesis) ของพืชเปนตน 2.3.3.4 ชวยสลายและดูดซับอาหารจากหินแรในดินที่สลายตัวยาก และพวกอินทรีย สารตางๆ ที่ยั งสลายตัวไมหมดใหพืชสามารถนําไปใชประโยชนได 2.3.3.5 ชวยเพิ่มอายุใหแกระบบรากของพืชและตนไม 2.3.3.6 ชวยปองกันโรคที่จะเกิดกับระบบรากพืชหรือตนไม 2.3.3.7 ชวยใหตนไมมีความแข็งแรง ทนทานตอสภาพพื้นที่ที่แหงแลง ทนทานตอ ความเปนพิษของดิน และทนทานตอความเปนกรด-ดางของดิน ชวยปรับความเปนกรด-ดางของดินให เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของตนไม 2.3.3.8 ชวยเพิ่มพูนความเจริญเติบโตของตนไม 1-7 เทาจากอัตราปกติ 2.3.3.9 ดอกเห็ดไมคอรไรซาสามารถใชเปนอาหารรับประทานได และเปนเห็ด สมุนไพร 2.3.3.10 ชวยใหมีการยอยสลายของซากพืชและแรธาตุที่ไมเปนประโยชนใหกลับ กลายเปนธาตุอาหารที่มีประโยชนตอตนไม ดังนั้น เห็ดเอคโตไมคอรไรซาจึงชวยเสริมสรางระบบนิเวศป าไมใหมีความอุดมสมบูรณมาก ขึ้นและทําใหปามีความอุดมสมบูรณ

2.3.4 เห็ดเอคโตไมคอรไรซาชนิดตางๆ ศึกษาเห็ดเอคโตไมคอรไรซาชนิดตางๆ จาก Phylum Basidiomycota (ตารางที่ 2.1) เนื่องจากเปนกลุมที่จัดวามีวิวัฒนาการสูงที่สุดและสามารถศึกษาไดดวยตาเปลา โดยมีเห็ดเอคโตไม คอรไรซาดังนี้ - Order (ทั้งหมด 33 ชนิด) ประกอบด วย Family Bolbitiaceae(1), Family Cortinariaceae(2), Family Hydnangiaceae(2), Family Pluteaceae(25), Family Tricholomatacea(3) - Order (ทั้งหมด 51 ชนิด) ประกอบด วย Family (41), Family Scleodermataceae(4), Family Suillaceae(6) - Order Cantharellales (ทั้งหมด 2 ชนิด) ประกอบดวย Family Cantharellaceae(2) - Order Russulales (ทั้งหมด 27 ชนิด) ประกอบดวย Family Russulaceae(27)

กั หอสมุดกลา สำน ง

2.4 โครงสรางของดอกเห็ด (Structure of mushroom) (ภาพที่ 2.1)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 2.1 ลักษณะดอกออนและลักษณะดอกที่สมบูรณเต็มที่ (ที่มา : http://www0.tint.or.th/nkc/nkc53/content/nstkc53-067.html)

ประกอบดวยสวนตางๆ (ภาพที่ 2.1) ดังนี้ 2.4.1. หมวก (Cap or pilleus) เปนสวนที่อยูดานบนสุด มีรูปรางตาง ๆ กันเชน โคงนูน รูปกรวยรูปปากแตร รูประฆัง พื้นผิว บนหมวกตางกัน เชน ผิวเรียบ ขรุขระ มีขนเกล็ด มีสีแตกตางกันและอาจมีการเปลี่ยนแปลงได 2.4.2. ครีบ (Gill or lamelta) อาจเปนแผนหรือซี่บาง ๆอยูใตหมวกเรียงเปนรัศมี หรือเปนรู (Pores) ครีบเปนที่เกิดของ สปอร 2.4.3. กาน (Dtalk or ) ปลายขางหนึ่งของกานยึดติดกับดอก หรือหมวกเห็ด มีขนาด รูปราง สี ตางกันในแตละชนิด บางชนิดไมมีกาน เชนเห็ดหูหนู เห็ดเผาะ 2.4.4. วงแหวน (Ring or annulus) เปนสวนที่เกิดจากเยื่อบาง ๆ ที่ยึดขอบหมวก กับกานดอกที่ขาดออกจากหมวกเห็ดบาน 2.4.5. เปลือกหรือเยื่อหุมดอก (Vova outer veil) เปนสวนนอกสุดที่หุมหมวก และกานไวภายในขณะที่ยังเปนดอกออน จะแตกออกเมื่อดอก เริ่มบาน สวนของเปลือกหุมจะยังอยูที่โคน 2.4.6. เนื้อ (Context) เนื้อภายในหมวกหรือกานอาจจะสั้น เหนียวนุม เปราะ เปนเสนใย

2.5 วัฎจักรชีวิตของเห็ด (ภาพที่ 2.2)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 2.2 วัฏจักรชีวิตของเห็ด (ที่มา : http://www0.tint.or.th/nkc/nkc53/content/nstkc53-067.html และ https://www.gotoknow.org/posts/224707)

ดอกเห็ดมีระยะทางการเจริญเติบโต 6 ระยะดวยกัน (ภาพที่ 2.2) คือ 2.5.1. ระยะหัวเข็มหมุด ระยะนี้เสนใยจะรวมตัวกันเห็นเปนจุดสีขาวเล็ก ๆ บนวัสดุที่เห็ด ฟางใชในการเจริบเติบโต 2.5.2. ระยะกระดุมเล็ก เปนระยะที่ดอกเห็ดโตขึ้นมีขนาดเทากับเม็ดกระดุมขนาดเล็ก 2.5.3. ระยะกระดุม เปนระยะที่เสนใยของเห็ดมีการเปลี่ยนแปลงและขยายตัวในความกวาง ของดอกเต็มที่ สวนของหมวกและกานดอกยังเล็กอยู เหมาะที่จะเก็บขยายในระยะนี้ 2.5.4. ระยะรูปไข ในระยะนี้ดอกเห็ดจะมีการเจริญดานความยาวบริเวณกานดอกและความ กวางบริเวณหมวกดอก 2.5.5. ระยะยืดตัว หลังจากเปลือกที่หุมปริออก กานดอกเห็ดเริ่มจะชูดอกโต ในระยะแรก หมวกดอกจะยังไมบาน ในระยะนี้สามารถมองเห็นหมวกดอก ครีบดอก กานดอก เนื้อเยื่อหุมโคนดอก ไดชัดเจน 2.5.6. ระยะดอกบานเต็มที่ห ดอกเ ็ดสวนที่บานเต็มที่ตรงสวนครีบดอกจะมีสปอรอยูภายใน ครีบเปนจํานวนมาก 2.6 กลุมของเห็ด

เห็ดถูกแบงออกเปนกลุมยอยหลายกลุมโดยใชรูปรางลักษณะของดอกเห็ดและรูปรางของ สวนที่เปนที่อยูของเบสิเดียมเปนหลัก สามารถแบงเห็ดออกเปนกลุมยอยๆ ไดดังตอไปนี้

กลุมที่ 1 กลุมเห็ดมีครีบ (Agarics or Gilled ) ดอกเห็ดมีหมวก อาจจะมีกานหรือไมมีกาน ดานลางของหมวกมีลักษณะเปนคร ีบและเปนที่ เกิดของสปอร ดอกเห็ดขึ้นบนดิน หรือบนทอนไม ใบไมผุ หรือบนมูลสัตว

กลุมที่ 2 กลุมเห็ดมันปกู ั (Chanterellesหอส)ม ุดกลา ดอกเห็ดมีหมวกสำ และกน าน รูปรางคลายแตรหรือแจกันปากบานง ผนังดานนอกของกรวย อาจจะเรียบหร ือหยักย นและเปนรองตื้นๆ สปอรเกิดอยูบนผนังดานนี้ ดอกเห็ดขึ้นบนดิน

กลุมที่ 3 กลุมเห็ดตับเตา (Boletes) ดอกเห็ดมีหมวกและกาน มีเนื้อออนนิ่ม ดานลางของหมวกมีลักษณะคลายฟองน้ําที่มีรูพรุน ชั้นที่มีรูนี้ถูกดึงแยกออกจากหมวกไดโดยงาย สปอรเกิดอยูภายในรู ตามปกติดอกเห็ดขึ้นอยูบนดิน

กลุมที่ 4 กลุมเห็ดหิ้ง (Polypores and Bracket Fungi) ดอกเห็ดมีรูปรางคลายชั้นหรือหิ้งหรือคลายเครื่องหมายวงเล็บหรืลอค ายพัด ไมมีกานหรือมี กานที่อยูเยื้องไปทางดานใดดานหนึ่งของหมวก หรือติดอยูทางดานขางของหมวก สวนใหญเนื้อเหนียว และแข็งคลายเนื้อไม ดานลางหรือดานหลังของหมวกมีรูขนาดเล็กเรียงกันแนนและภายในรูเปนที่เกิด ของสปอร ชั้นที่เปนรูไมสามารถแยกออกมาจากสวนหมวกได ตามปกติขึ้นอยูบนไม แตอาจพบบนดิน ได

กลุมที่ 5 กลุมเห็ดแผนหนัง (Leather-bracket Fungi) ดอกเห็ดรูปรางคลายเครื่องหมายวงเล็บหรือคลายพัด ไมมีกาน มีลักษณะเปนแผนบางเหนียว และมักเรียงซอนกันหรือขึ้นอยูติดๆกัน ดานบนของหมวกมีสีออนสลับกันเปนวง และบนผิวหมวก อาจมขนสั้นๆ ดานตรงขามซึ่งเปนที่เกิดของสปอรมีลักษณะเรียบ หรือเปนรอยนูนขึ้นลง บางชนิดขึ้น บนดิน บางชนิดขึ้นบนไม

กลุมที่ 6 กลุมเห็ดหูหนู (Jelly Fungi) ดอกเห็ดมีรูปรางหลายแบบ อาจเหมือนใบหู เนื้อบางคลายแผนยาง นิ่มและเปนเมือก สปอร เกิดอยูทางดานที่มีรอยยนหรือมีรอยเสนแตกแขนง ขึ้นบนไมผุในที่ชื้น

กลุมที่ 7 กลุมเห็ดที่เปนแผนแบนราบไปกับทอนไม (Crust and Parchment Fungi) ดอกเห็ดเปนแผนแข็งติดบนไม หรือมีขอบดอกโคงออกจากทอนไมคลายหิ้ง เนื้อเหนียวและ ไมเปนเมือก ดานที่อยูตรงขามกับทอนไมคือที่เกิดของสปอร อาจมีลักษณะเรียบ ยน เปนเสนคดเคี้ยว หรือนูนเปนปุม

กลุมที่ 8 กลุมเห็ดฟนเลื่อย (Tooth Fungi) ดอกเห็ดอาจมีหมวกและกาน หรือไมมีกานก็ได ดานลางของหมวกมีลักษณะคลายซี่เลื่อย หรือหนาม ทิ่มลงหาพื้นดิน สปอรที่เกิดอยูที่ซี่เลื่อยหรือหนามนี้ ดอกเห็ดอาจขึ้นจากดินหรือขึ้นบนไม

กลุมที่ 9 กลุมเห็ดปะการกั ัง หและเหอ็ดกระบองสมุด (Coralก ลandา Club Fungi) ดอกเห็ดตั้งตรงส ำอาจแตกแขนงเปน นกิ่งกานเล็กๆ หรือตั้ งตรงและพองออกตอนปลายง ดูคลาย กับกระบอง อย ูเด ี่ยวๆหร ือเปนกลุม สปอรเกิดบนผนังดานนอกของกระบองและตามกิ่งแขนง ขึ้นบน ดินหรือไม

กลุมที่ 10 กลุมเห็ดรูปรมหุบ (Gastroid Agarics) ดอกเห็ดมีรูปรางคลายรมหุบ คือมีหมวกและมีกานอยูตรงกลางหมวก และหมวกอยูใน ลักษณะคุม ไมกางออก เนื่องจากขอบหมวกติดอย ูกับกาน ภายใตหมวกมีแผนเนื้อเยื่อที่แตกเปนรอง แยกออกหลายแขนง มองดูคลายกับครีบที่บิดเบี้ยว เนื้อเยื่อสวนนี้คือที่เกิดของสปอร ซึ่งจะเปลี่ยนไป เปนฝุนผงทั้งหมดเมื่อดอกเห็ดแกสปอรออกสูภายนอกไดตอเมื่อหมวกฉีกขาด จากรูปจะเห็นไดวากาน ดอกผานสวนที่เปนที่เกิดของสปอร จนถึงยอดหมวก มักพบเห็ดชนิดดนี้บน ินในที่รอนและแหง ใน ทะเลทราย และบนภูเขาสูง

กลุมที่ 11 กลุมเห็ดลูกฝุนและดาวดิน (Puffballs and Earthstars) ดอกเห็ดเปนรูปทรงกลมรูปไขหรือรูปคลายผลสาลี่ บางชนิดเมื่อดอกแก ผนังชั้นนอกแตก และบานออกคลายกลีบดอกไม สปอรเกิดอยูภายในสวนที่เปนทรงกลม เมื่อออนผาดูเนื้อขางในมี ลักษณะหยุนและออนนุม เมื่อมีลักษณะเปนฝุนผง ดอกเห็ดอาจเกิดบนดินหรือบนไม

กลุมที่ 12 กลุมเห็ดลูกฝุนกานยาว (Stalked Puffballs) ดอกเห็ดเปนรูปทรงกลมคลายกับกลุมเห็ดลูกฝุน แตมีกานยาวชัดเจน ปลายกานสิ้นสุดที่ฐาน ของรูปทรงกลม และสปอรมีลักษณะเปนฝุนผงเกิดอยูภายในรูปทรงกลม มักจะพบในทะเลทราย ใน ทราย หรือบนดินในที่รกราง

กลุมที่ 13 กลุมเห็ดรังนก (Bird’s nest Fungi) ดอกเห็ดมีขนาดเล็ก ตามปกติมีเสนผานศูนยกลางนอยกวา 1 ซม. รูปรางคลายรังนกและมีสิ่ง ที่มองแลวคลายไข รูปรางกลมแบนวางอยูในรัง ภายในเต็มไปดวยสปอร ดอกเห็ดนี้เมื่อยังออนดานบน ของรังมีเนื้อเยื่อปดหุม พบขึ้นบนไมผุ กลุมที่ 14 กลุมเห็ดเขาเหม็น (Stinkhorns) ดอกเห็ดเมื่อออนรูปรางคลายไข ตอมาสวนของกานคอยๆโผลดันเปลือกหุมจนแตกออก เปลือกไขสวนลางกลายเปนถุงหรือถวยหุมโคนดอก ดานบนสวนปลายกานอาจจะมีหมวกหรือไมมี และมีสปอรเปนเมือกสีเขมฉาบอยู สวนของกานมีลักษณะพรุนและนิ่มมาก อาจมีรางแหปกคล ุมกานที่ โผลออกมาจากเปลือกอาจจะแตกคลายหนวดปลาหมึก หรือพองเปนชองโปรงคลายลูกตะกรอ ดอก เห็ดมีกลิ่นเหม็นมาก ขึ้นบนดินที่มีซากพืชทับทมหนา

สรุป : - เมื่อพิจารณาขอมูลพื้นฐานของเห็ดเอคโตไมคอรไรซาจากตารางการสํารวจสามารถแบง ขอมูลออกไดเปนสองสกัวนคือห ลักษณะทางกายภาพของเหอสมุดกลา็ด และลักษณะทางบริบทโดยรอบ - นําขอมูลพื้นฐานทสำนี่หามาได นําไปเปรียบเทียบกล ับก ุมเห็ดในประเทศไทยง ซึ่งกลุมเห็ดจะ แบงเป นกล ุมยอยไว 14 กลุม โดยจะแบง กลุมโดยใชรูปรางลักษณะของดอกเห็ดและรูปราง ของสวนที่เปนที่อยูของเบสิเดียมเปนหลัก - พบวาเห็ดในกลุมที่ 1 กลุมเห็ดมีครีบ (Agarics or Gilled mushrooms) คือ Order Agaricales และ Order Russulales มีความหลากลายเชิงชนิดของเห็ดกลุมเอคโตไมคอรไร ซามากที่สุด และนอกจากนั้นยังมีจํานวนของเห็ดเอคโตไมคอรไรซามากที่สุดดวย - จากนั้นจึงนําลักษณะเหลานี้มาเปนหัวขอในการสํารวจ เพื่อศึกษาหาลักษณะเดน ซึ่งลักษณะ ทางกายภาพมีความหลากหลายในทางดานองคประกอบศิลปหรือทัศนธาตุมากมาย และก็ได แยกมาแลวดังนี้ คือ ลักษณะทางกายภาพศึกษาจาก หมวก ครีบ กาน สี พื้นผิว และขนาด ลักษณะของบริบทโดยรอบ ศึกษาจาก ลัรกษณะการเจ ิญเติบโตและบริเวณใกลเคียง

2.7 การพิจารณาหาลักษณะทางกายภาพและลักษณะทางบริบทโดยรอบของเห็ดเอคโตไมคอรไร ซา

ลักษณะทางกายภาพของกลุมเห็ดครีบ มีกายภาพซึ่งเปนลักษณะเดียวกัน โครงสรางโดยรวม เหมือนกัน ซึ่งอาจจะมีรายละเอียดที่แตกตางกันบาง ในเรื่องของขนาด และ เรื่องสีในบางจุด จึงนํามา แยกพิจารณาโดยจับกลุมของเห็ดชนิดที่มีความเหมือนกันไวในกลุมเดียวกัน เพื่อจะพิจารณาหาสิ่งที่มี ความแตกตางกันและสิ่งที่เหมือนกัน ซึ่งลักษณะทางกายภาพสามารถถายทอดลักษณะและจุดเดน ของความเปนเห็ดไดและยังเปนสวนสําคัญในการเขาถึงเนื้อหาความอุมดมสมบูรณดวย โดยสามารถ แบงออกเปนกลุมของเห็ดแปดกลุม ตามชนิดของเห็ดและความใกลเคียงกัน ดังนี้ 2.7.1 Order Agaricales : Family Bolbitiaceae (1 ชนิด) : เห็ดหัวผักกาด 2.7.2 Order Agaricales : Family Cortinariaceae ( 2 ชนิด ) : เห็ดชอมวงและเห็ดผมซี ซาร 2.7.3 Order Agaricales : Family Hydnangiaceae ( 2 ชนิด ) : กลุมเห็ดชงโค 2.7.4 Order Agaricales : Family Pluteaceae ( 25 ชนิด ) : กลุมเห็ดไขหรือเห็ดระโงก 2.7.5 Order Agaricales : Family Tricholomatacea ( 3 ชนิด ) : กลุมเห็ดเหลือง 2.7.6 Order Russulales : Family Russulales ( 7 ชนิด ) : กลุมเห็ดฟาน 2.7.7 Order Russulales : Family Russulales ( 14 ชนิด ) : กลุมเห็ดหลม 2.7.8 Order Russulales : Family Russulales ( 2 ชนิด ) : กลุมเห็ดถาน

นกั หอสมุดกลาง สำ

2.8 การวิเคราะหลักษณะทางกายภาพ

ลักษณะทางกายภาพสามารถถายทอดลักษณะและจุดเดนของความเปนเห็ดได และยังเปน สวนสําคัญในการเขาถึงเนื้อหาความอุดมสมบูรณอีกดวย ซึ่งจากการที่ไดวิเคราะหลักษณะจากตาราง การสํารวจพบวา เห็ดมีลักษณะเดนที่เหมือนกันอยางชัดเจน แตจะมีรายละเอียดปลีกยอยแตกตางกัน

ตารางที่ 2.3 สรุปการสํารวจลักษณะทางกายภาพและการเจริญเติบโตของเห็ดเอคโตไมคอรไรซาใน กลุมเห็ดครีบ

สวนตางๆ รูปแบบ ม พื้นผิว ำนกั หอส ุดกลาง ส หมวก

ภาพตัดหมวก

กาน

ครีบ

สี

ตารางที่ 2.3 (ตอ)

20*5 cm 20 cm 1.5*0.1 cm ขนาด 1 cm

สรุป : ลักษณะที่เปนคนาเฉลกั ี่ย และภาพโดยรวมของเหหอสมุดก็ดจะมลาีสวนประกอบตางๆ (ตารางที่ 2.3) ดังนี้ สำ ง - หมวก พบว าหมวกจะมีรูปรางเปนเสนโคงไปจนถึงแบนราบเมื่อโตเต็มที่ - ครีบ จะมีลักษณะของครีบที่แผ เรียงตัวกันโดยพุงออกมาจากกาน - พื้นผิว พบวาพื้นผิวบริเวณกานและพื้นผิวบริเวณหมวกมีลักษณะพื้นผิวที่เหมือนกัน คือ เมื่อ หมวกมีขน กานก็จะมีขน หรือ เมื่อหมวกมีเกล็ด กานก็จะมีเกล็ด หรือบางชนิดก็มีทั้งเกล็ด และขนเลยก็ได ซึ่งแตละชนิดจะมีความตื้น ลึก หนา หรือบางแตกตางกัน - สี สีของเห็ดโดยรวมจะอยูในโทนสีรอน ไลเรียงจากสีเฉดออนอยางสีขาว ลและสีเห ืองไป จนถึงเฉดสีเขมอยางสีน้ําตาล และดํา โดยเห็ดหนึ่งดอกจะมีเฉดสีโทนออน และโทนเขม หรือ อาจะมีทั้งสองเฉดรวมกันก็ได - ขนาด ขนาดของเห็ดสามารถใหญไดถึง 20 คูณ 5 เซนติเมตร เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ และมี น้ําหนัก

ตารางที่ 2.4 การพิจารณารูปทรงของหมวกดอกเห็ด

โคง ตรง

คลายรูปไข ครึ่งวงกลม คลายรูปจานคว่ํา แผเปนแผนแบน

สรุป : หมวกมีรูปรางเปนเสนโคงคลายรูปไขไปจนถึงแผเปนแผนแบนราบเมื่อโตเต็มที่ (ตารางที่ 2.4)

ตารางที่ 2.5 การพิจารณาการเรียงตัวของครีบใตหมวกดอกเห็ด

ลําดับ ครีบหยัก 1 ครีบหยัก 2 ครีบหยัก 3 ครีบหยัก 4 มาก

5 ี่

เรี ยงถ

4 ี่ เรี ยงถ หอสม ุดกล นกั า 3 ี่ ง สำ เรี ยงถ

2 ี่ เรี ยงถ

1 ี่ นอย เรี ยงถ

นอย มาก ขนาด บาง หนา ปานกลางป ปลายหนาป ตรงกลางบาง

สรุป : ลักษณะการเรียงตัวกันของครีบใตหมวกดอกเห็ดในแบบตางๆ ประกอบไปดวย การเรียงของ ครีบที่เรียงหางกันไปจนถึงเรียงถี่มาก และเสนของครีบที่เปนเสนตรงไปจนถึงเสนที่หยักมาก (ตารางที่ 2.5)

ตารางที่ 2.6 แสดงการพิจารณาพื้นผิวของหมวกเห็ดและกาน

พื้นผิว

ขน

ขนออน ขนหยาบ ขนเปนริ้ว ขนเปนกระจุก ขนเสนหนา

แผน สะเก็ด กั หอส มุดกล รอยจางำน แผนสะเก็ดบาง แผนสะเก็ด าแผงนสะเก็ด แผนสะเก็ด ส

เกล็ด แห  งหยาบ ื่น

ยบล เรี เกล็ดสามเหลี่ยม เกล็ดสามเหลี่ยม เกล็ดชัดเจน รอยนูน รอยนูน

เสน ไหม

ตรง หนา คลื่น หยิก ริ้วหยิก

ริ้วนูน -

ผิวผสม -

สรุป : พื้นผิวบริเวณกานและพื้นผิวบริเวณหมวกมีลักษณะพื้นผิวที่เหมือนกัน ซึ่งแตละชนิดจะมีความ ตื้น ลึก หนา บาง และการเรียงตัวกันดังนี้ โดยเรียงจากพื้นผิวที่เรียบลื่นไปจนถึงพื้นผิวที่แหงหยาบ ประกอบไปดวยสวนที่เปน ขน เกล็ด และเสนริ้ว (ตารางที่ 2.6)

ตารางที่ 2.1 แสดงขอมูลพื้นฐานของกลุมเห็ดเอคโตไมคอรไรซาใน Phylum Basidiomycota1

NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Hebeloma radicosum (Bull.&Fr) Agaricales สมด นกัRick.ห อ ุ กลาง 1 สำ 5-10 5-8*1-1.5 พื้นดิน กินได Bolbitiaceae หัวผักกาด

Cortinarius traganus (Weinm. Agaricales Ex Fr.) Fr. 2 3-10 3-12*1-5 พื้นดิน - Cortinariaceae ชอมวง

Agaricales Inocybe caesariata (Fr.) Kar

3 2.5-3 1.5-4*0.2-0.4 พื้นดิน กินไมได Cortinariaceae ผมซีซาร

Laccaria amethystea (Bull.) Agaricales Murr. 4 1-6 4-10*0.2-0.5 พื้นดิน กินได Hydnangiaceae อัญชัญ

1อนงค จันทรศรีกุล และคนอื่นๆ. (2551). ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญในประเทศไทย. (กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,2551) ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Laccaria laccata (Scop. Ex Fr.) Agaricales Cke. อสมุดก 5 ำนกั ห 1-4ล าง 2.5-7.5*0.3-0.5 พื้นดิน กินได Hydnangiaceae ส หลายหนา

Agaricales caesarea (Fr.) Schw.

6 5-10 5-15*0.7-2 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุม กินได Pluteaceae ไขหานแดง/ระโงกแดงอมสม

Agaricales Amanita citrina (Schaeff.) S.F.G.

7 4-10 6-8*0.8-1.2 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุมเล็ก กินได Pluteaceae มันดิบ

Amanita cokeri (Gilb.&Kuhn.) Agaricales Gilb. 8 4.5-11.5 11.5-13*1-1.5 พื้นดิน - Pluteaceae ลูกยอ

Amanita fuliginea Agaricales Hongo 9 3-6 6-8*0.4-0.8 พื้นดิน ดอกเดี่ยว - Pluteaceae ไขเนา

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Agaricales Amanita griseofarinosa Hongo

10 หอสมุดก5.5-15ล 5-7*1-2.5 พื้นดิน - Pluteaceae นดอกเลากั าง สำ

Amanita gymnopus Agaricales Cor. Ex Bas. 11 5-8 8-11*1.5-2 พื้นดิน - Pluteaceae เหม็นเบื่อ

Amanita hemibapha Agaricales (Bull. Ex Fr.) Vitt. 12 4-10 10-20*0.1-0.2 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุมเล็ก กินได Pluteaceae ไขสมแดง/ระโงกแดงอมสม

Amanita hemibapha (Berk.&Br.) Agaricales Sacc. 13 5-12 8-15*0.5-2 พื้นดิน กินได Pluteaceae ไขเหลือง/ระโงกเหลือง

Amanita longistriata Agaricales Imai 14 5.5-7 7.5-9*1-1.2 พื้นดิน ดอกเดี่ยว กินไมได Pluteaceae ไขครีบชมพ/ู ระโงกครีบชมพู

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Amanita mira Agaricales Cor.&Bas. อสมุดก 15 ำนกั ห 4-6ล าง 4-8*0.3-0.6 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุม - Pluteaceae ส ดอกสาน

Agaricales Amanita perpasta Cor.&Bas.

16 4-12 5-12*0.7-1.6 พื้นดิน - Pluteaceae สับปะรด

Agaricales Amanita princeps Cor.&Bas.

17 9.4-20 10-20*1.2-2.5 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุม กินได Pluteaceae ไขหานขาว/ระโงกขาว

Amanita pseudoporphyria Agaricales Hongo 18 4-10 5-10*0.6-1.8 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุมเล็ก กินไมได Pluteaceae ไขพอกขาว/ระโงกพอกขาว

Amanita rubrovolvata Agaricales Imai 19 2.5-3.5 3-8*0.4-0.6 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุมเล็ก - Pluteaceae ตีนแดง

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Agaricales Amanita rufoferruginea Hongo

20 หอสมุดก5-10ล 8-12*0.4-0.6 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุมเล็ก - Pluteaceae ขี้ไคลสนกั ีน้ําตาลแดง าง สำ

Agaricales Amanita sculpta Cor. And Bas.

21 10-12 12-14*1.2-3 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุมเล็ก - Pluteaceae หนามทุเรียน

Amanita soiltaria (Bull. Ex Fr.) Agaricales Karst. 22 5-10 5-8*1-1.5 พื้นดิน - Pluteaceae หัวมะกรูด

Amanita spissacea Agaricales Imai 23 4-8 8-10*1.5-2.0 พื้นดิน ดอกเดี่ยว กินไมได Pluteaceae ไขกระ

Amanita vaginata Agaricales (fr.) Vitt. 24 4-6 8-13*0.8-1 พื้นดิน ดอกเดี่ยว กินไมได Pluteaceae ไขกานเกล็ดงู

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Amanita vanigata Agaricales var. อสมุดก 25 ำนกั ห 4-10ล าง 4-12*1-2 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุม กินได Pluteaceae ส ไขเยี่ยวมา

Amanita verna Agaricales (Bull. Ex Fr.) Vitt. 26 5-12 5-14*1-2 พื้นดิน กินไมได Pluteaceae ไขตายซาก/ระโงกหิน

Amanita verginea Agaricales Mass. 27 8-16 6-10*1.5-2.5 พื้นดิน - Pluteaceae ดอกกระถิน

Amanita virginioides Agaricales Bas. 28 8-20 10-20*1.5-2.5 พื้นดิน - Pluteaceae ขาวตอกตั้ง

Amanita virosa Agaricales (Fr.) Bertellon 29 6-11 10-20*1-2 พื้นดิน กินไมได Pluteaceae ระโงกหินกานขน

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Amanita volvata Agaricales (Pk.) Martinอ สมุดก 30 ำนกั ห 3-6ล าง 4-10*0.5-1.5 พื้นดิน - Pluteaceae ไขสเปลือกหนา/ระโงกเปลือกหนา

Tricholoma auratum (Paul. Ex Agaricales Fr.) Quel. 31 4-10 4-8*1.2-2 ดินปนทราย กินได Tricholomatacea เหลืองอมเขียว

Tricholoma flavovirens Agaricales (Pers.&Fr.)Lund. 32 3-7.5 2.5-5*1-2 พื้นดิน กินได Tricholomatacea เหลืองนกขมิ้น

Tricholoma sulphureum Agaricales (Bull.&Fr.) Kum. 33 2-6 2-8*0.5-1 พื้นดิน กินไมได Tricholomatacea เหลืองกํามะถัน

Aureoboletus thibetanus (Pat.) Boletales Hongo&Nagasawa 34 4-7.5 5-8*0.2-0.4 พื้นดิน กินได Boletaceae ตาทิพย/ตับเตาทิเบต

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Austroboletus subflavidus Boletales (Murr.)Wolfeอ สมุดก 35 ำนกั ห 3-10ล าง 4-10*0.7-3 พื้นดิน กินได Boletaceae ส กระบองเพชรยาว

Boletellus ananus Boletales Curt. 36 5.5-6 6-10*0.5-1.2 พื้นดิน กินได Boletaceae ฝกบัวแหง

Boletellus chrysenteroides Boletales (Snell) Sing. 37 3-6 2-4*6-10(mm) ไมผุ,โคนตนไม กินได Boletaceae ตับเตาน้ําตาลลายกระ

Boletellus elatus Boletales Nagasawa 38 3-10 8-20*0.6-1.2 พื้นดิน - Boletaceae -

Boletellus emodensis (Berk.) Boletales Sing. 39 4-8 5-10*0.5-1 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาเกล็ดแดงคล้ํา

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Boletales Boletellus russellii (Frost) Gilb.

40 หอสมุดก3-10ล 6-12*1-2 พื้นดิน กินได Boletaceae กระบองเพชรเหลนกั ือง าง สำ

Boletus appendiculatus Boletales (Schaeff.) Secr. 41 6-20 5-10*2-6 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาสีเนย

Boletus aureissimus var. Boletales castaneus Murr. 42 4-20 5-10*1-3 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาสีทอง

Boletus auripes Boletales Peck 43 3-10 5-10*2-3 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาทองแดง

Boletus bicolor Boletales Peck 44 2-12 5-10*1-3 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาสองสี

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Boletus edulis Boletales Bull. Ex Fr. อสมุดก 45 ำนกั ห 8-20ล าง 10-20*2-6 พื้นดิน ดอกเดี่ยว,กลุมเล็ก กินได Boletaceae ส ตับเตาราชา

Boletus firmus Boletales Frost 46 4.5-10 5-10*1-2 พื้นดิน กินได Boletaceae ผึ้งรูแดงอมสม

Boletus fraternus Boletales Peck 47 1.2-2.5 2.5-0.15-0.3 พื้นดิน กินได Boletaceae เตาแดง

Boletus griseipurpureus Boletales Cor. 48 3-10 3-10*1-1.5 พื้นดิน กินได Boletaceae เสม็ด

Boletus griseus Boletales Frost. 49 3.5-10.4 3.5-9*1-2 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาเทาดํา

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Boletus laetissimus Boletales Hongo อสมุดก 50 ำนกั ห 4-10ล าง 5-7*1.2-1.5 พื้นดิน - Boletaceae ส -

Boletus nobilis Boletales Peck 51 5-12 5-12*2-3 พื้นดิน กินได Boletaceae ผึ้งภูหลวง/ตับเตาภูหลวง

Boletus pallidus Boletales Frost. 52 4-8 8-9*2-2.5 พื้นดิน กินได Boletaceae ผึ้งขาว/ผึ้งไข/ตับเตาขาว

Boletus reticulatus Boletales Schaeff. 53 7-10 5-15*3-3.5 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตานองตาขาย

Boletus rufo-aureus Boletales Mass. 54 6-10 4-10*1-2 พื้นดิน - Boletaceae ตับเตาสีเพลิง

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Boletus tenex A.H. Boletales Smith&thiersอ สมุดก 55 ำนกั ห 4-12ล าง 3-10*1-3 พื้นดิน - Boletaceae ส ตับเตานองลาย

Boletus umbriniporus Boletales Hongo 56 4-9 4.5-8*0.7-2 พื้นดิน - Boletaceae ตับเตาน้ําตาลแดง

Chalciporus piperatus Boletales Bull. Ex Fr. 57 1.5-2 2-3*0.3-1 พื้นดิน กินได Boletaceae เชอรี่

Heimiella japonica Boletales Hongo 58 5-6 6-13*0.7-1.2 พื้นดิน กินได Boletaceae ปอดมาตาขายแดง

Heimiella mandarina Boletales Ces. 59 6-12 8-15*0.7-1.5 พื้นดิน กินได Boletaceae ปอดมาปากรูแดงอมสม

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Heimiella retispora (Pat.&Bak.) Boletales Boedijn. อสมุดก 60 ำนกั ห 4.5-8ล าง 7-10*0.7-1 พื้นดิน กินได Boletaceae ส ปอดมา

Leccinum holopus var. Boletales holopus (Rostk.) Wati. 61 3-7 5-10*0.5-1.5 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาขาวปนเปอนสีเขียว

Leccinum intusrubens (Cor.) Boletales Hongo 62 5-8 5-8*1-1.7 พื้นดิน กินได Boletaceae ตะไบหัวน้ําตาลอมเหลือง

Boletales Phylloporus bellus (Mass.) Cor.

63 2-6 2.45*0.4-0.7 พื้นดิน กินได Boletaceae กรวยทองเหลือง

Phylloporus orientalis Cor. Var. Boletales brevisporus Cor. 64 3-7 3-4*0.3-0.5 พื้นดิน กินได Boletaceae กรวยบูรพา

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Pulveroboletus ravenelii Boletales (Berk.&Curt.) Murr.อ สมุดก 65 ำนกั ห 2-10ล าง 4-10*0.5-1.5 พื้นดิน กินได Boletaceae ส แทงกํามะถัน

Strobilomyces floccopus (Vahl Boletales ex Fr.) Karst. 66 4-15 3-10*1.5-2.5 พื้นดิน กินได Boletaceae ตาเฒา

Strobilomyces seminudus Boletales Hongo 67 2-5 4-6*0.7-1 พื้นดิน กินได Boletaceae ปอดดํา

Boletales Tylopilus ballouii (Peck) Sing.

68 2.6-6 2.5-7*1-2.5 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาสีสมไหมไฟ

Tylopilus eximius Boletales Peck 69 3.5-6 3-4.5*1-3 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาน้ําตาลปนมวง

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Tylopilus nigerrimus (Heim) Boletales Hongo&Endoอ สมุดก 70 ำนกั ห 4.5-10ล าง 7-10*0.8-1.2 พื้นดิน กินได Boletaceae ส เปยกปูน

Tylopilus nigropurpureus Boletales (Corner) Hongo 71 3-8 3-7*0.5-1.5 พื้นดิน กินได Boletaceae -

Tylopilus otsuensis Boletales Hongo 72 3-8 7-10*1.5-2 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับไกโตง

Tylopilus vinosobrunneus Boletales Hongo 73 4.5-6 8*1-1.2 พื้นดิน กินได Boletaceae ตับเตาสีเปลือกมังคุด

Boletales Tylopilus virens (Chiu) Hongo

74 4-6 5-6*7-11 พื้นดิน กินได Boletaceae -

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Astraeus hygrometrics (Pers.) Boletales Morg. อสมุดก 75 ำนกั ห 1-5ล าง - ดินทราย กินได Sclerodermataceae ส ถอง/เหียง/เผาะ

Pisolithus tinctorius (Per.) Boletales Coker&Couch 76 5-10*5-20 - ดินทราย/ปาไมเนื้อแข็ง กินไมได Sclerodermataceae เห็ดเขากอนกรวด

Scleroderma citrinum Boletales Pers. ดอกเดี่ยว,หลาย พื้น 77 2-4 - กินไมได ใกลตอไม,ใกล ขอนไม  Sclerodermataceae -

Boletales Scleroderma verrucosum Pers.

78 5-10 - พื้นดิน,เปนกลุม กินได Sclerodermataceae -

Boletinus cavipes (Opat.) Boletales Kalchb. 79 2.7-5 2-4*1.5-2 พื้นดิน กินได Suillaceae ปอดนกขมิ้น

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Suillus bovinus (L. ex Fr.) Boletales Kuntze อสมุดก 80 ำนกั ห 4-10ล าง 4-6*1-1.5 พื้นดิน กินได Suillaceae ส ตับเตาสมอมชมพู

Suillus granulatus Boletales (L. ex Fr.) Kuntze 81 4-10 4-10*1-2 พื้นดิน กินได Sclerodermataceae ตับเตาน้ํานม

Suillus intermedius Boletales (Smith&Thiers) 82 3-8 4-6*0.6-1.2 พื้นดิน กินได Sclerodermataceae ตับเตาเนื้อเปรี้ยว

Suillus luteus Boletales (L.&Fr.) S.F.Gray 83 4-6 3-5*0.7-1 พื้นดิน กินได Sclerodermataceae ตับเตาสีน้ําตาลอมเหลือง/ตับไก

Suillus pictus Boletales (Peck) Kuntze 84 5-7.5 2-4*0.5-2 พื้นดิน กินได Suillaceae ตับเตาเกล็ดปลา

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Cantharellus cibarius Cantharellales Fr. อสมุดก 85 ำนกั ห 1-1.5ล าง 2-5*0.5-2 พื้นดิน กินได Cantharellaceae ส มันปูใหญ/ ขมิ้นใหญ

Cantharellus aureus Cantharellales Berk.&Curt. 86 0.5-3*2-4 2-4 พื้นดิน กินได Cantharellaceae ขมิ้นนอย

Arcangeliella beccarii (Pet.) Russulales Dodge.&Zell. 87 1.5-2 - พื้นดิน,ปาไผ - Russulaceae กอนกรวดยางสีเหลือง

Lactarius affinis var. viridilatis Russulales (Kauff.) Hes.&Sm. 88 5-10 3-8*1.2-1.5 พื้นดิน กินได Russulaceae ไพล

Lactarius corrugis Russulales Peck 89 5-10 5-10*1-2 พื้นดิน กินได Russulaceae ฟานสีแดงคล้ํา/ฟานหมวกยน

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Lactarius deliciosus (L.&Fr.) Russulales S.F.G. อสมุดก 90 ำนกั ห 3-10ล าง 3-6*1.5-2 พื้นดิน กินได Russulaceae ส ฟานสีสม

Lactarius gerardii Russulales Peck 91 3-5 2-4*0.8-1 พื้นดิน กินได Russulaceae เห็ดกรวยน้ําตาลดํา

Lactarius hygrophoroides Berk. Russulales And Curt. 92 3-10 3-5*0.4-1.5 พื้นดิน กินได Russulaceae ฟานสีเหลืองทอง

Lactarius luteolus Russulales Peck 93 3-8 2-6*1-1.5 พื้นดิน กินได Russulaceae ฟานสีเหลืองออน

Lactarius piperatus (Scop ex Russulales Fr.) S.F.G. 94 4-10 2-8*1-2.5 พื้นดิน กินได Russulaceae ขิง

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Lactarius subvellereus Russulales Peck อสมุดก 95 ำนกั ห 6-12ล าง 3-4*2-2.3 พื้นดิน - Russulaceae ส หิรัญญิกายางขาว

Lactarius uvidus Russulales (Fr.) Fr. 96 3-8 3-5*1-1.5 พื้นดิน กินได Russulaceae ฟานน้ํายาสีมวง

Lactarius volemus Russulales (Fr.) Fr. 97 5-10 4-10*1-2 พื้นดิน กินได Russulaceae ฟานน้ําตาลแดง

Russula alboareolata Russulales Hongo 98 5-10 2-6*1.5-2 พื้นดิน กินได Russulaceae น้ําแปง

Russulales Russula densifolia (Secr.) Gill.

99 2.7 2-8*0.6-3 พื้นดิน กินได Russulaceae ถานเล็ก

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Russula emetica (Schaeff.&Fr.) Russulales S.F.Gray. อสมุดก 100 ำนกั ห 3-10ล าง 5-10*1-2 พื้นดิน กินได Russulaceae ส แดงน้ําหมาก

Russulales Russula flavida Frost ex Peck

101 3-8 3-8*1-2 พื้นดิน กินได Russulaceae หลมเหลือง

Russula Japonica Russulales Hongo 102 6-10 3-6*1.5-2 พื้นดิน กินได Russulaceae หลมญี่ปุน

Russula laurocerasi Russulales Melzer 103 4-7 5-8*0.8-1.2 พื้นดิน กินได Russulaceae หลมกลิ่นอัลมอนด

Russula mairei Russulales Sing. 104 3-8 2.5-4*1-2 พื้นดิน กินได Russulaceae สีแดงอมชมพ ู

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Russula nigricans Russulales (Bull.) Fr. อสมุดก 105 ำนกั ห 5-20ล าง 3-8*1-3 พื้นดิน กินได Russulaceae ส ถานใหญ 

Russula olivacea Russulales (Schaeff.) Fr. 106 5-11 4-7*1-2.5 พื้นดิน กินได Russulaceae หลมสีแดงอมสีมะกอก

Ruaaula rosacea Russulales (Pers.) S.F.G. 107 5-18 2.5-12*1-2.5 พื้นดิน กินได Russulaceae หลมสีกุหลาบ

Russula sardonia Russulales Fr. 108 4-10 4-10*1-2.5 พื้นดิน - Russulaceae หลมสีครีบเหลืองอมเขียว

Russula senecis Russulales Imai. 109 5-10 5-10*0.1-0.15 พื้นดิน กินได Russulaceae หลมพุงลาย

ตารางที่ 2.1 (ตอ) NAME SIZE NO. PICTURE ORDER/FAMILY HABITAT EDIBILITY ENGLISH/THAI CAP (cm) STALK (cm) Russula sp. Russulales อสมุดก 110 ำนกั ห 2-6ล าง 3-6*0.4-1 พื้นดิน - Russulaceae ส -

Russula vesca. Russulales Fr. 111 3-10 2-5*1-1.5 พื้นดิน กินได Russulaceae หลมหมวกปร ิ

Russula vinosa Russulales Lindbl. 112 4-10 4-6*1.5-2 พื้นดิน กินได Russulaceae หลมสีมวงน้ําแปง

Russulales Russula virescens (Schaeff.) Fr.

113 5-10 4-6*1-2 พื้นดิน กินได Russulaceae -

ตารางที่ 2.2 การสํารวจลักษณะทางกายภาพและการเจริญเติบโตของเห็ดเอคโตไมคอรไรซาในกลุมเห็ดครีบ Order Agaricales : Family Bolbitiaceae (1 ชนิด) : เห็ดหัวผักกาด

ลักษณะทางกายภาพ กั หอสมุดกลา ลักษณะการเจริญเติบโต บริบทรอบขาง โครงสรางสวนตางๆ รูปแบบ ขนาด cm สพื้ำนผนิว สี ง

เล็กสุด ใหญสุด ชนิดของพืชอาศัย : หมวก ตนไมในวงศไมยาง

นูนแลวแบน 5 10 เกล็ดสีน้ําตาล ครีม-น้ําตาลออน อมเหลือง 1 2 เล็กสุด ใหญสุด ลักษณะของดิน : ครีบ ครีบ เจริญเติบโตไดดีในสภาพ 2 5 10 ดินทุกชนิด/ดินรวนปนทราย ติดกาน แคบ เรียงถี่ ขาวอมเหลือง- 1 เจริญบนรากพืช น้ําตาล ดอกเดี่ยว ขึ้นเหนือพื้นดิน

เล็กสุด ใหญสุด ประเภทของปา : กาน ปาไมผลัดใบ ลายตามยาว ออนกวาหมวก ขาว ทรงกระบอก บางๆ 5*1 8*1.5 อมเหลือง วงแหวนบาง

1 angelp. 2558. Mushrooms vector. (ออนไลน). แหลงท ี่มา : http://www.vectorstock.com 2 cla78. 2558. Root vector. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.shutterstock.com ตารางที่ 2.2 (ตอ) Order Agaricales : Family Cortinariaceae ( 2 ชนิด ) : เห็ดชอมวงและเห็ดผมซีซาร

ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะการเจริญเติบโต บริบทรอบขาง โครงสรางสวนตางๆ รูปแบบ ขนาด พื้นผิว หอสมสี ุดก กั ล ำน าง เล็กสุด ใหญสุด ส ชนิดของพืชอาศัย : หมวก ตนไมในวงศไมยาง 1. มีขนและเกล็ด สีมวง นูนแลวแบน 2.5 10 2.มีขนและเกล็ด 1.ชมพูอมมวง สีน้ําตาลอมเหลือง 2.ขาวอมเหลือง

เล็กสุด ใหญสุด ลักษณะของดิน : ครีบ ครีบ เจริญเติบโตไดดีในสภาพ

2.5 10 1.น้ําตาลแดง ดินทุกชนิด/ดินรวนปนทราย เรียงถี่ หาง เจริญบนรากพืช 2.เหลืองอมน้ําตาล ติดกาน กวาง ดอกเดี่ยว ขึ้นเหนือพื้นดิน

เล็กสุด ใหญสุด

ประเภทของปา : กาน ปาไมผลัดใบ 1.มวงออน 2.เหลืองอม ทรงกระบอก มีขนและเกล็ด 1.5*0.2 12*5 น้ําตาล วงแหวนบาง

ตารางที่ 2.2 (ตอ) Order Agaricales : Family Hydnangiaceae ( 2 ชนิด ) : กลุมเห็ดชงโค

ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะการเจริญเติบโต บริบทรอบขาง โครงสรางสวนตางๆ รูปแบบ ขนาด พื้นผิว หอสมสี ุดก กั ล เล็กสุด ใหญสุด ำน าง ส ชนิดของพืชอาศัย : หมวก ตนไมในวงศไมยาง มีขนออน 1.มวงสดถึงมวงเขม นูน กลางหมวกเปนแอง ขอบเปนคลื่น 1 6 2.น้ําตาลออนอมชมพู

เล็กสุด ใหญสุด ลักษณะของดิน : ครีบ ครีบ เจริญเติบโตไดดีในสภาพ

1 6 1.มวงสดถึงมวงเขม ดินทุกชนิด/ดินรวนปนทราย ติดกาน กวาง เรียงหาง 2.น้ําตาลออนอมชมพู เจริญบนรากพืช

ดอกเดี่ยว ขึ้นเหนือพื้นดิน เล็กสุด ใหญสุด

ประเภทของปา : กาน ปาไมผลัดใบ มีขนออนสีขาว 1.มวงสดถึงมวงเขม ทรงกระบอก 2.5*0.2 10*0.5 เปนเสนหยาบ 2.น้ําตาลออนอมชมพู บิดเปนเกลียว

ตารางที่ 2.2 (ตอ) Order Agaricales : Family Pluteaceae ( 25 ชนิด ) : กลุมเห็ดไขหรือเห็ดระโงก

ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะการเจริญเติบโต บริบทรอบขาง โครงสรางสวนตางๆ รูปแบบ ขนาด พื้นผิว กั หอสสี มุดกล ำน าง ส 1. ขอบเป นริ้ว เล็กสุด ใหญสุด ชนิดของพืชอาศัย : หมวก ตนไมในวงศไมยาง

2.มีเกล็ดหรือปุมนูน 2.5 20

รูปไขแลวแบน

3.มีเกล็ดรูปสามเหลี่ยม ขาว-เหลือง-แดง-ดํา

เล็กสุด ใหญสุด ลักษณะของดิน :

ครีบ ครีบ เจริญเติบโตไดดีในสภาพ

ดินทุกชนิด/ดินรวนปนทราย 2.5 20 เจริญบนรากพืช ไมติดกาน กวาง เรียงถ ี่ ขึ้นเหนือพื้นดิน ขาว-เหลือง-น้ําตาล ดอกเดี่ยว,กลุมเล็ก

เล็กสุด ใหญสุด

ประเภทของปา : กาน ทรงกระบอก วงแหวน 1.เรียบ ปาไมผลัดใบ บาง 2.มีเกล็ดเปนปุย 3*0.1 20*2.5 เปลือกหุมดอกออนรูป 3.มีขน ขาว-เหลือง-น้ําตาล ถวย

ตารางที่ 2.2 (ตอ) Order Agaricales : Family Tricholomatacea ( 3 ชนิด ) : กลุมเห็ดเหลือง

ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะการเจริญเติบโต บริบทรอบขาง โครงสรางสวนตางๆ รูปแบบ ขนาด พื้นผิว อสมสี ุดก กั ห ลา สำน ง เล็กสุด ใหญสุด ชนิดของพืชอาศัย : เหลืองออน-เหลือง หมวก ตนไมในวงศไมยาง

นูนแลวแบน เรียบ 2 10 น้ําตาลอมเหลือง น้ําตาลแดง

เล็กสุด ใหญสุด ลักษณะของดิน :

ครีบ ครีบ เจริญบนรากพืช เจริญเติบโตไดดีในสภาพ

ขึ้นเหนือพื้นดิน ดินทุกชนิด/ดินรวนปนทราย 2 10 เหลือง ดอกเดี่ยว ติดกาน กวาง เรียงถ ี่ สีออนกวาหมวก

เล็กสุด ใหญสุด ประเภทของปา : กาน ปาไมผลัดใบ

ทรงกระบอก 2*0.5 8*2 เรียบและมีขนบางๆ เหลืองออน เทากันตลอดกาน

ตารางที่ 2.2 (ตอ) Order Russulales : Family Russulales ( 7 ชนิด ) : กลุมเห็ดฟาน

ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะการเจริญเติบโต บริบทรอบขาง โครงสรางสวนตางๆ รูปแบบ ขนาด พื้นผิว หอสมสี ุดกล สำนกั าง เล็กสุด ใหญสุด ชนิดของพืชอาศัย : นูน กลางหมวกเปนแอง หมวก เหลือง-สม ตนไมในวงศไมยาง

มีขนออน 3 10

ขอบเปนลอน มวง-แดง-ชมพู

เล็กสุด ใหญสุด ลักษณะของดิน : ครีบ ครีบ เจริญเติบโตไดดีในสภาพ

ดินทุกชนิด/ดินรวนปนทราย เรียวลงไปติดกาน 3 10 เจริญบนรากพืช ขึ้นเหนือพื้นดิน เรียงถี่ ขาว-ครีม-สม-น้ําตาล

ดอกเดี่ยว,กระจาย,กลุมเล็ก เล็กสุด ใหญสุด ประเภทของปา : กาน ขาว-เหลือง-สม ปาไมผลัดใบ ทรงกระบอก โคนสอบเล็กนอย 2*0.4 10*2.5 เรียบหรือมีขนออน

มวง-แดง--น้ําตาล

ตารางที่ 2.2 (ตอ) Order Russulales : Family Russulales ( 14 ชนิด ) : กลุมเห็ดหลม

ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะการเจริญเติบโต บริบทรอบขาง โครงสรางสวนตางๆ รูปแบบ ขนาด พื้นผิว อสมสี ุดก กั ห ลา สำน ง เล็กสุด ใหญสุด ชนิดของพืชอาศัย :

หมวก ลื่นเรียบ ขอบมีริ้ว ขาว-เหลือง-สม-แดง ตนไมในวงศไมยาง

2 11 แหง ผิวปริแตก นูน กลางหมวกเปนแอง ขอบปริแตก ชมพู-มวง-น้ําตาล

เล็กสุด ใหญสุด ลักษณะของดิน : ครีบ ครีบ เจริญเติบโตไดดีในสภาพ

2 11 เจริญบนรากพืช ดินทุกชนิด/ดินรวนปนทราย ติดกาน แคบ เรียงถ ี่ ขาว-ครีม ดอกเดี่ยว ขึ้นเหนือพื้นดิน

เล็กสุด ใหญสุด ประเภทของปา : กาน ขาว-ครีม ปาไมผลัดใบ

ทรงกระบอก 2.5*0.1 10*3 เรียบ

ชมพู-แดง-มวง

ตารางที่ 2.2 (ตอ) Order Russulales : Family Russulales ( 2 ชนิด ) : กลุมเห็ดถาน ลักษณะทางกายภาพ กั หอสมุดกล ลักษณะการเจริญเติบโต บริบทรอบขาง โครงสรางสวนตางๆ รูปแบบ ขนาด พื้ำนผนิว สี าง ส เล็กสุด ใหญสุด ชนิดของพืชอาศัย :

หมวก ตนไมในวงศไมยาง นูน กลางหมวกเปนแอง 2.7 5 เรียบ ขาวหมน น้ําตาล-ดํา

เล็กสุด ใหญสุด ลักษณะของดิน : เรียวลงไปติดกาน ถี่ เจริญบนรากพืช ครีบ ครีบ เจริญเติบโตไดดีในสภาพ ดอกเดี่ยว ขึ้นเหนือพื้นดิน 2.7 5 ขาวหมน ดินทุกชนิด/ดินรวนปนทราย น้ําตาล-ดํา ติดกาน หนา หาง เล็กสุด ใหญสุด ประเภทของปา : ปาไมผลัดใบ/ปาดงดิบ กาน ตามที่ชุมชื้นใกลแมน้ํา ทรงกระบอก ขาวหมน ลําธารทั่วไป 2*0.6 8*3 เรียบ น้ําตาล-ดํา

48

2.9 การวิเคราะหลักษณะการเจริญเติบโตและบริบทโดยรอบ

การศึกษาหาขอมูลของลักษณะการเจริญเติบโตและบริบทโดยรอบของเห็ด ทําใหเรารูถึง ลักษณะการดํารงชีวิตของมัน นอกเหนือจากนั้น เรายังรูอีกดวยวาสิ่งที่มีชีวิตโดยรอบๆนั้น มีการ เจริญเติบโตและดํารงชีวิตเปนอยางไร จากตารางการสํารวจจะเห็นไดชัดเลยวา เห็ดทั้งหมดขึ้นโดยตรงจากพื้นดิน ในบริเวณใกล โคนตนไม เพราะประกอบไปดวยสวนสําคัญสองสวนคือ ลักษณะการเจริญเติบโตและพืชอาศัย (ภาพ ที่ 2.3) ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 2.3 เห็ดระโงกเหลือง (ที่มา : http://www.spkphusing.com/index.php?option=com_content&view=article&id= 89&It emid=179) 49

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส ภาพที่ 2.4 การเจริญเติบโตของเห็ดเอคโตไมอรไรซา (ที่มา : http://anonbiotec.gratis-foros.com/t1184-topic)

2.9.1 ลักษณะการเจริญเติบโต จากการสํารวจพบวาลักษณะที่สําคัญมากของเห็ดเอคโตไมคอรไรซา คือ ขึ้นโดยตรงจากดิน และอยูใกล หรือภายใตทรงพุมของพืชที่เปนพืชอาศัยหรือโฮสท (host) ของเห็ด (ภาพที่ 2.4) อาศัย อยูบริเวณเซลลผิว ของรากภายนอกของพืชหรือตนไม เสนใยของเชื้อราจะประสานจับตัวกันแนน ภายนอกผิวราก คลายรากฝอยมีสีตางๆ เชน สีขาว สีทอง สีเหลือง สีน้ําตาล สีแดง สีดํา ฯลฯ (ภาพที่ 2.5) สําหรับรากพืชที่มีเอคโตไมคอรไรซาจะมีการแตกแขนงของรากมาก และเมื่อตัดตามขวาง ของรากใหเปนชิ้นบางๆ แลวตรวจดูดวยกลองจุลทรรศนจะพบวารอบผิวรากและระหวางเซลลของ epidermis และ cortex มีเสนใยของราเจริญอยู (ภาพที่ 2.6)

ภาพที่ 2.5 ตัวอยางลักษณะการเกิดไมคอรไรซาในรากของไมวงศยาง (ที่มา : http://biology.ipst.ac.th/?p=903)

50

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 2.6 รูปรางลักษณะภายในหรือกายวิภาค (Anatomy) ของรากเอคโตไมคอรไรซาโดยใชกลอง จุลทรรศน (ที่มา : http://morganplaysinthedirt.blogspot.com/2011/06/mycorrhizae.html)

รากของตนไมหนึ่งรากอาจมีราเอคโตไมคอรไรซาไดหลายชนิด ทั้งนี้ทราบจากสีของราก ซึ่ง รากเอคโตไมคอรไรซาอาจมีสีน้ําตาล เหลือง ขาว เขียว ดํา น้ําเงิน ทอง เปนตน โดยขึ้นอยูกับชนิด ของราเอคโตไมคอรไรซาที่เขาไปอาศัยอยูรวมกับรากพืช สีของรากเอคโตไมคอรไรซาอาจไมเกิดจาก รา แตเกิดจากสีของเซลลชั้นแทนนิน เนื่องจากรับอิทธิพลของความเปนกรดดางของดินบริเวณนั้น (ภาพที่ 2.7)

ภาพที่ 2.7 กลุมโทนสีของรากเอคโตไมคอรไรซา 51

ตารางที่ 2.7 การเจริญเติบโตของรากพืชที่มีและไมมีราเอคโตไมคอรไรซา

เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของพืช (ภาพจริง)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ไมมีเอคโตไมคอรไรซา มีเอคโตไมคอรไรซา เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของพืช (ภาพจําลอง)

ไมมีเอคโตไมคอรไรซา มีเอคโตไมคอรไรซา

รากเอคโตไมคอรไรซามีการเปลี่ยนแปลงจากรากปกติ คือ มีการแตกแขนงเพิ่ม และมีขนาด ของรากใหญขึ้น เปนการเพิ่มพื้นที่ผิวของราก โดยเสนใยของเห็ดจะพันอยูรอบๆราก (ตารางที่ 2.7- 2.8)

52

ตารางที่ 2.8 การเจริญเติบโตและแผขยายของรากที่มีราเอคโตไมคอรไรซา

1 รากยังไมมี ราเอคโตไมคอรไรซา

ขั้นที่

นกั หอสมุดกลาง 2 ำ ส รากเมื่อมีราเอคโตไมคอรไรซา มีขนาดของรากที่ใหญมากขึ้น ขั้นที่

รากมีการแผขยายในรัศมี

3 ที่กวางกวาเดิมและมีการแตก แขนงมากขึ้น โดยสวนปลายมี

ขั้นที่ ลักษณเปน รากฝอยขยายเปนวงกวาง

4 ขั้นที่

53

2.9.2 พืชอาศัย โดยตนไมที่เปนพืชอาศัย (host) ของเห็ด คือตนไมในวงศไมยางทั้งหลาย เชน ยาง นา ยาง แดง เหียง กราด พลวง ตะเคียนทอง ตะเคียนหิน สยาแดง เต็ง รัง พะยอม เคี่ยมคะนอง พันจํา จันทนกะพอ พนอง กระบาก กระบก ยางคลอง ยางมันหมู ยางเสียน ยางคาย ยางขน ยางวาด ยาง ปาย ยางกลอง ยางยูง เปนตน (ภาพที่ 2.8) วงศยางนา หรือ วงศไมยาง หรือ Dipterocarpaceae เปนวงศของไมยืนตนมีสมาชิก 17 สกุลและประมาณ 500 สปชีส สวนใหญเปนพืชเขตรอน ในปาฝนเขตรอนระดับลาง ชื่อของวงศนี้มา จากสกุล Dipterocarpus ซึ่งมาจากภาษากรีก (di = สอง, pteron = ปก karpos =ผล) หมายถึงผล ที่มีสองปก สกุลขนาดใหญ ในวงศนี้ ไดแก Shorea (196 สปชีส), Hopea (104 สปชีส), Dipterocarpus (70 สปชีส), และกั Vaticaหอ (65ส สปมชีสุด) สกวนใหญลเปานไมยืนตนขนาดใหญ สูงประมาณ 40–70 เมตร บางชน สิดมาำนกกวา 80 เมตร (ในสกุล Dryobalanops,Hopeaง และ Shorea),ซึ่งพบ ตัวอยาง (Shorea faguetiana) ที่สูงที่สุดถึง 88.3 เมตร สวนมากเปนไมตนขนาดใหญ และมีคุณคาทางเศรษฐกิจ มากอีกวงศหนึ่ง ลําตนมักมีชัน หรือ น้ํายางมีกลิ่นเฉพาะตัว พบกระจายอยูทั่วไปในประเทศ เชน ปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง ปา ดิบชื้น ฯลฯ

ลักษณะทางกายภาพทั่วไปของไมวงศยาง

ใบ เดี่ยวออกสลับเสนแขนงใบมักขนานกันเปนระเบียบ และมีเสนขนานเล็ก ๆ เชื่อมระหวางเสน แขนงคลายขั้นบันได ยกเวนในสกุลพันจํา (Vatica)

ดอก สมบูรณเพศ มีกลิ่นหอม กลีบรองดอก 5 กลีบ และมักจะพัฒนาตอไปเปนปกผล กลีบ ดอก 5 กลีบ โคนกลีบมักเชื่อมติดกัน มักบิดและขอบของกลีบเรียงเกยซอนกันคลายกังหัน ลม เกสรเพศผูมีมาก อาจเรียงกัน 1-2-3 ชั้น รังไขจมอยูในฐานของดอกเพี ยง เล็กนอย มี 3 ชอง แตละชองมีไขออน 2 หนวย กานชูเกสรเพศเมีย 1-3 กาน

ผล ชนิดแหง แข็ง และไมแตก โดยมากมักมีปก

ลําตน มีความสูง 30-40 เมตร ความสูงถึงกิ่งสดกิ่งแรกประมาณ 20 เมตร ลําตน เปลาตรง เปลือก เรียบหนา สีเทาปนขาว โคนตนมักเปนพูพอน เรือนยอดเปนพุมกลมหนา เนื้อไมสีน้ําตาลแดง มีความ มั่นคงแข็งแรง (ภาพที่ 2.9)

54

นกั หอสมุดกลา สำ ง ภาพที่ 2.8 ตนยางนา (ที่มา : http://www.takuyak.com/articles/264221)

30-40 m

20 m

ภาพที่ 2.9 ขนาดความสูงของไมวงศยาง (ที่มา : http://www.takuyak.com/articles/264221)

55

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 2.10เปลือกไมวงศยาง (ที่มา : http://www.shutterstock.com)

เปลือกไม (ภาพที่ 2.10) เปลือกเรียบหนา สีเทาออน และเทาเขมปนขาว เห็นเนื้อไมสีน้ําตาลแดง ปะปนอยูเล็กนอย (ภาพที่ 2.11)

ภาพที่ 2.11 กลุมโทนสีของเปลือกไมวงศยาง 56

ตารางที่ 2.9 ลักษณะรูปลักษณของเปลือกไมวงศยาง

ลําดับ รอยลึกของเปลือก 1 รอยลึกของเปลือก 2 รอยลึกของเปลือก 3 รอยลึกของเปลือก 4 การสังเกต

1

ิว มีเสนรอยแตก บางๆขึ้นบางสวน มีรอยลึกเกิดขึ้น เพียงเล็กนอย รอยแตกบร ิ เวณผ

ิว 2 มีเสนรอยแตก กั หอสมุดกล บางๆกระจายอยู ำน าง มีรอยลึกเกิดขึ้น ส เล็กนอย รอยแตกบร ิ เวณผ

ิว 3 มีเสนรอยแตก บางๆกระจายอยู โดยรอบ มีรอยลึก เกิดขึ้น เล็กนอย รอยแตกบร ิ เวณผ มีเสนรอยแตก ิว 4 เห็นชัดเจน กระจายอยู โดยรอบ มีรอยลึก

รอยแตกบร ิ เวณผ เกิดขึ้น โดยรอบ

ิว 5

รอยแตกบร ิ เวณผ

สรุป : (ตารางที่ 2.9) - ลักษณะการเจริญเติบโต เห็ดจะมีการเจริญเติบโตแบบพึ่งพา โดยจะอาศัยรากของสิ่งมีชีวิตอื่นอยาง พืช เพราะเห็ดไมมีสารสีเขียว เหมือนพืชจึงไมสามารถปรุงอาหารกินเองได โดยจะเจริญเติบโตอยู บนราก ซึ่งรากที่เสนใยของเห็ดเขาไปพัน จะไดรับประโยชนอยางมากมาย เชน เปนเกราะปองกัน รากจากการเขาทําลายของเชื้อโรคพืชตางๆ จึงทําใหพืชเติบโตเร็วขึ้นและมีความทนทานตอ สภาพแวดลอมที่แหงแลงเพิ่มขึ้นดวย จากตารางแสดงการเจิญเติบโตของรากพืชที่มีและไมมีราเอค โตไมคอรไรซาพบวารากที่มีเห็ดเอคโตไมคอรไรซาไปอาศัยอยูจะมีการเจริญเติบโตที่แตกตางไปจาก รากที่ไมมีเห็ดไปอาศัยอยางเห็นไดชัด เสนใยของเชื้อราจะประสานจับตัวกันแนน ภายนอกผิวราก คลายกับรากฝอยมีสีตางๆ เชน สีขาว สีทอง สีเหลือง สีน้ําตาล สีแดง สีดํา ฯลฯ โดยไดทําการสเก็ต 57

เพื่อสํารวจลักษณะการเจริญเติบโตของรากในระยะตางๆ จากตารางแสดงการเจริญเติบโตและแผ ขยายของรากที่มีราเอคโตไมคอรไรซาพบวารากมีขนาดที่ใหญ อวบขี้น และมีการแตกแขนงของ รากออกแผเปนวงกวาง โดยเฉพาะการแผออกไปทางดานขาง - บริเวณใกลเคียง อยางบริเวณพื้นดินใกลโคนตนไมที่เห็ดไปเจริญอยู คือบริเวณในสวนที่เปนที่อยู ของพืชวงศยาง ซึ่งมีบทบาทเปนพืชอาศัยของเห็ด มีลักษณะที่สําคัญคือ เปนตนไมที่มีขนาดใหญ มี ลําตนที่แข็งแรง ตั้งตรง งและมั่นค - ลักษณะทางบริบทโดยรอบประกอบไปดวยสองสวนที่สําคัญ คือรากและลําตน

หอสม ุดกล ำนกั าง ส

บทที่ 3 แนวทางการออกแบบและวิธีการทดลอง 3.1 การพิจารณาทางดานวิทยาศาสตร พิจารณาจากการหาคาดัชนีความอุดมสมบูรณในทางวิทยาศาสตรสามารถหาไดโดยวิธีการหา คาดัชนีจาก Environmental Diamondsหอ ส(ภาพทมี่ ุด3.1)ก ซึ่งในที่นี้จะนํามาเปนกรณีศึกษา การจัดทํา ดัชนีและตัวบงชี้คุณภาพสำิ่งแวดลนกั อมมีความสําคัญทั้งในดานการเมืลาองและสง ิ่งแวดลอม เพราะดัชนีและ ตัวบงชี้ดานคุณภาพเหล สานี้จะชวยในการประเมินขนาดของความสมบูรณของสิ่งแวดลอม อากาศ น้ํา

ระบบนิเวศ ดิน

ภาพที่ 3.1 Environmental Diamonds Environmental Diamonds เปทนดัชนีผสม ี่แสดงแงมุมตางๆของปญหาสิ่งแวดลอม โดย พิจารณาตัวบงชี้จาก 4 ปจจัยหลัก คือ ดานอากาศ ดานน้ํา ดานดิน และดานระบบนิเวศ Environmental Diamonds นี้ใหความสําคัญแตละองคประกอบเทากัน ซึ่งผลการคํานวณคาดัชนี ตางๆ จะถูกนํามาแสดงในร ูปของกราฟที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด ซึ่งเมื่อพิจารณาจาก รูปกราฟจะพบวา พื้นที่ขาวหลามตัดที่แรเงาซึ่งเปนคาดัชนีบงบอกสภาวะปจจัยสิ่งแวดลอมนั้นๆ จะตองมีคาเทากันทั้ง 4 ปจจัย ยิ่งคากราฟมีสัดสวนทั้ง 4 ปจจัยอย ูในกราฟและเทากันมาก แสดงวา สภาวะดานสิ่งแวดลอมของสถานที่นั้นมีความอุดมสมบูรณมาก สรุป : แมวาสิ่งแวดลอมจะมีองคประกอบหลายๆสวน แตสวนที่มีความสําคัญและมีผลตอการดําเนิน ชีวิตของมนุษยนั้นสามารถสรุปรวบยอดไดวา คือ ดิน น้ํา อากาศ ระบบนิเวศ โดยดินนั้นหมายรวมถึง ทรัพยากรสินแร พลังงานตางๆที่รวมอยูในดินทั้งหมด น้ําครอบคลุมทั้งระบบนิเวศในน้ําจืดและน้ําเค็ม ในอากาศก็มีกาซตางๆ และสิ่งมีชีวิตในปาก็คือระบบนิเวศ (ซึ่งในที่นี้หมายความถึงเห็ด)

58 59

3.1.1 พิจารณาทัศนธาตุของดิน น้ํา อากาศ 3.1.1.1 ดิน

นกั หอสมุดกลาง สำ

ภาพที่ 3.2 ดินและชั้นของดิน (ที่มา : http://www.factmonster.com/dk/encyclopedia/soil.html)

ลักษณะ : แนน แข็ง (ภาพที่ 3.2)

3.1.1.2 น้ํา

ภาพที่ 3.3 น้ํา (ที่มา : https://www.pinterest.com/search/pins/?q=water&term_meta%5B%5D=water%7Ctyp ed&remove_refine=wate%7Ctyped)

ลักษณะ : พลิ้วไหว ออนโยน นุมนวล คลื่น (ภาพที่ 3.3)

60

3.1.1.3 อากาศ

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 3.4 อากาศ, ลม, ฟองอากาศ (ที่มา : https://www.pinterest.com/search/pins/?q=air&term_meta%5B%5D=air%7Ctyped&re move_refine=water%7Ctyped)

ลักษณะ : มีชองวาง วางเปลา ทะลุผาน (ภาพที่ 3.4)

3.2 การพิจารณาทางดานศิลปะ

พิจารณาจากผลงานของศิลปนจากที่ตางๆ ตั้งแตยุคสมัยกอนประวัติศาสตรจนถึงปจจุบัน โดยนําเอาผลงานของศิลปนที่มีแนวความคิดเรื่องความอุดมสมบูรณมาเปนกรณีศึกษา (ภาพที่ 3.5- 3.40)

ภาพที่ 3.5 “Venus of WIilendorf” (ซาย),“Venus of Vestonice” (กลาง), “Venus of Lespugue” (ขวา) (ที่มา : http://www.ipesk.ac.th/ipesk/VISUALART/lesson410.html (ซาย),https://www.gotoknow.org/posts/436918 (กลาง), https://www.mysticconvergence.com (ขวา)) 61

ภาพที่ 3.6 The symbol of life and energy, also associated with abundance and prosperity (5000 B.C.) (ซาย), “Hopi Pueblo” parrots symbolise the sun and abundance(14อสม century)ุดก (ขวา) ำนกั (หที่มา : www.pinterest.comลา) ง ส

ภาพที่ 3.7 “Demeter” เทพีแหงความอุดมสมบูรณ เกษตรกรรม การเก็บเกี่ยว (ที่มา : http://theappleindy.blogspot.com/2012/12/blog-post.html)

ภาพที่ 3.8 “symbol of peaceful, abundance and tenacity” Tibet (ซาย) “The Makara” India, Madhya Pradesh and Rajasthan (กลาง), “Zoomorphic anklet” India, Kerala (ขวา) (ที่มา : A World of Bracelets, Mauro Magliani, Lawrence Jenkens, Lynn Levenberg. (2002) p.237(ซาย) p.207(กลาง) p.179(ขวา))

62

ภาพที่ 3.9 “Symbol of life and fertility”, Central Asia (19th century)(ซาย), “Symbol of fertility”, Central Asia (13th century)(ขวา) (ที่มา : A World of Bracelets, Mauroอ สMaglianมุดi, Lawrenceก Jenkens, Lynn Levenberg. ำนกั (2002)ห p.155 (ซาย) p.154ล (ขวาา))ง ส

ภาพที่ 3.10 Buffalo Represents: sacredness, life, abundance (ที่มา : www.pinterest.com)

ภาพที่ 3.11 “กรวยแหงความอุดมสมบูรณ” กรวยจากคริสตศตวรรษที่ 1(ซาย), “กรวยแหงความ อุดมสมบูรณ” เทพพลูโตถือกรวย (ขวา) (ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/กรวยแหงความอุดมสมบูรณ)

63

ภาพที่ 3.12 “กรวยแหงความอุดมสมบูรณ” ประติมากรรม จิโอวาน บัตติสตา คัชชินิ (ซาย), “กรวย แหงความอุดมสมบูรณ” เทพีฟอรชูนาแบบกรวย (กลาง),“กรวยแหงความอุดมสมบูรณ” โปสเตอร อจากแคนาดาสมุด (ขวาก) (ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/ำนกั ห กรวยแหลางความอุง ดมสมบูรณ) ส

ภาพที่ 3.13 “กรวยแหงความอุดมสมบูรณ” ประติมากรรมตั้งโตะ(ซาย), “Horn of Plenty”, Susan M. ( 20th century)(ขวา) (ที่มา : www.pinterest.com (ซาย), Art Jewelry Today. Dona Z. Meilaach (2003)(ขวา))

ภาพที่ 3.14 “Wealth And Prosperity” (ซาย) Abundantia (ขวา),doreen virtue (ที่มา : www.pinterest.com)

64

ภาพที่ 3.15 Abundance and the four elements, Jan Brueghel D. Ä. (1568 - 1625) (ซาย) Allegory of Abundance, Jan Brueghel the Younger (1601 - 1678) (กลาง) Abundance of Fruit, 1860.อ Severinสม ุดRoesen (ca. 1815-ca. 1872)(ขวา) นกั ห (ที่มา : กลาง http://www.fineartprintsondemand.c สำ om/artists/brueghel_the_younger/allegory_ of_abundance.htm, http://www.art-prints-on-demand.com/a/jan-brueghel-the elder/ abundance-and-the-four-el.html (กลาง),https://nbmaa.wordpress.com/2013/07/03/an- abundant-nation(ขวา))

ภาพที่ 3.16 “Harvest Moon” Abundance Blessing, Julia Watkins (ที่มา : http://www.energyartistjulia.bigcartel.com/product/harvest-moon-abundance- blessing)

ภาพที่ 3.17 “Sunny Abundance”, Shirley Novak (ที่มา : http://www.allposters.com/-sp/Sunny-Abundance-Posters_i8276_.htm)

65

ภาพที่ 3.18 “Abundance Angel Art and Prints”, Katherine Skaggs (2004-2013)(ซาย), “Erzulie” prosperity, abundance, and love, NMEZero (ขวา) (ที่มา : http://katherineskaggs.com/shop/art-and-อสมุดprints/abundance-aก ngel-art-and-prints ำนกั (ซายห), www.pinterest.comล (ขวาา)ง) ส

ภาพที่ 3.19 The Garden Hamsa above evokes spring, abundance and the Garden of Eden (ซาย),The third of the Buddhist symbols is known as the great treasure vase. The great treasure vase provided the Buddha with long life and an abundance of health.(กลาง), The second of the Buddhist symbols are two golden fish. They are symbolism of happiness, fertility, and abundance.(ขวา) (ที่มา : www.pinterest.com)

ภาพที่ 3.20 “Abundance”, Jordan Schnitzer (2011)(ซาย) “Abundance”, Scott (2010) (ขวา) (ที่มา : http://mjandersonsculpture.com/pages/prints_1.php (ซาย) http://www.deepcraft.org/deep/archives/date/2010/05 (ขวา)) 66

ภาพที่ 3.21 "Pomona the Fountain of Abundance", by Karl Bitter atop the Pulitzer. (ที่มา : http://www.centralparknyc.org/things-to-see-and-do/attractions/pulitzer- อfountain.htmlสมุดก) ำนกั ห ลาง ส

ภาพที่ 3.22 “Abundance” Jan Van Ek (ซาย), “Abundance” Anna Gillespie (2012)(ขวา) (ที่มา : http://www.janvanek.com/page33/page33.html (ซาย), http://www.mymodernmet.com/profiles/blogs/anna-gillespie-nature-infused-statues (ขวา))

ภาพที่ 3.23 “Guardian Mouse”, Otoyo-Jinja in Kyoto, the ball of water it carries represents an abundance of good health, luck, love and long life. (ซาย), “Abundance III”, Sun Yu Li (กลาง) “Abundance” Downtown Yakima (ขวา) (ที่มา : www.pinterest.com/pin/477944579176940446(ซาย), http://comesingapore.com/travel-guide/article/554/the-sculpture-trail(กลาง), http://www.yakimawa.gov/media/photo-of-the-week/photo-of-the-week-6-13-13-art- architecture (ขวา))

67

ภาพที่ 3.24 “Abundance” Ray Giddens (ที่มา : http://raygiddenssculpture.com/gallery2.shtml) ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 3.25 symbolize the abundance of life, “an outward manifestation of a largeness of soul”, Nnamdi Okonkwo Okonkwo (ซาย), “abundance little feet”(ขวา) (ที่มา : http://www.aliexpress.com/store/product/Package-mail-authentic-yixing- recommended-tea-pet-furnishing-articles-sculpture-handicraft-abundance-little- feet/1078401_1575696716.html)

ภาพที่ 3.26 "Abundance", Jeanne Brennan (ซาย), "The Coming of Abundance" Morgan Brig (2015) (ขวา) (ที่มา : http://www.thefrasergallery.com/Compelled2006.html (ซาย), www.pinterest.com (ขวา)) 68

ภาพที่ 3.27 “Abundance: Shoes”, Claudia DeMonte (2011) (ซาย),"Abundance”, Jane อBurtonสม (ุดขวา) (ที่มา : http://writingwithoutpaper.blogspot.cนกั ห om/2012/03/all-art-friday_23.htmlกลาง (ซาย), สhttp://contemporaryfineaำ rtsgallery.com (ขวา))

ภาพที่ 3.28 “Bronze Vitaleh Original Nude Fertility Goddess Modern Art Abstract Sculpture” United States (ที่มา : http://www.ebay.ie/sch/sis.html?_nkw=Vasudhara%20Beautiful%20Cast%20 Bronze%20Buddhist%20Sculpture%20abundance%20fertility%20Goddess&_itemId=2 61410714784)

ภาพที่ 3.29 “Obese statue of david” embodies the gluttony, and the abundance of obesity in modern times. (ซาย), “Voluptuous Nude Female Sculpture Statue Figurine/fertility Goddess” (กลาง), “Venus Enwombed”, Ann Zeleny (ซาย) (ที่มา : http://www.ebay.ie/itm/) 69

ภาพที่ 3.30 “The enigma of abundance”, Paul Deans(ซาย), “Symbol Of Abudance”, “Fertility/abundance”,กั หNormanอส Ridenourมุด ก(กลางล), Leo Arcand (1991) (ขวา) (ที่มา : http://www.sculpture.org/portfoliำน o/sculpture_info.php?sculpture_id=1011329าง (ซาย )ส, http://clicks.robertgenn.com/keep-moving.php (กลาง), http://bearclawgallery.com/artists/leo-arcand (ขวา))

ภาพที่ 3.31 “Abundant and Fertility”, Lindy Lalwer (ที่มา : http://lindividual.myshopify.com)

70

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 3.32 "Goddess Series", a celebratory expression of ‘delightfully abundant’ Adam Schultz (ที่มา : http://www.adamsculpture.com/albums/album_image/8086828/7495342.htmtm)

71

ภาพที่ 3.33 “อุดม สมบูรณ” นนทิวรรธน จันทนะผะลิน (ซาย) "รูปทรงแหงวิถีชีวิตและความอุดมสมบูรณของบานเรา" ศราวุธ แวงวรรณ (กลาง) “ความสมบูรณผลผลอิตจากธรรมชาตสมุดิ” อนุสรณ ทองรวย (ขวา) (ที่มา : http://www.arthousegroups.com/artshow.php?art_showcase_id=373นกั ห กลาง (ซาย) , http://www.bloggang.com/viewdiar สำ y.php?id=haiku&month=052014&date=20&group=2 &gblog=94 (กลาง) , http://www.portfolios.net/forum/topics/look-at-this 1?xg_browser=iphone#ixzz3QN6PKs66 (ขวา))

ภาพที่ 3.34 The Art Thesis “The Weaves and the Richness” (2550) สุกัลยา ไชยพิมพ (ที่มา : http://designinnovathai.com/th/designdata/detail/991)

72

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 3.35 นิทรรศการประติมากรรม “ความอุดมสมบูรณแหงผืนดินไทย” (2557) นางสุธิดา มา ออน (ที่มา : http://www.nuks.nu.ac.th/mscsv2/index.php?name=news&file=readnews&i)

ภาพที่ 3.36 “fecundity” Giovanni Corvaja (ซาย), “bolluk”(abundance) Sevan Bicakci (ขวา) (ที่มา : Collect contemporary jewelry by Joanna Hardy (2012))

73

นกั หอสมุดกลาง สำ

ภาพที่ 3.37 “symbol of abundance” (ที่มา : www.pinterest.com)

ภาพที่ 3.38 “Abundance Ring Gold” (ที่มา : http://www.ka-gold-jewelry.com/p-categories/abundance-jewelry.php 2015-01- 31)

ภาพที่ 3.39 "Abundance Global Earrings" (ซาย), “Abundance Pendant Gold” (ขวา) (ที่มา : http://www.stilljewellery.com/earrings/israeli-coin-earrings-handmade-jewelry- abundance-global-by-noatam.htm (ซาย),http://www.ka-gold-jewelry.com/p- categories/abundance-jewelry.php 2015-01-31 (ขวา)) 74

ภาพที่ 3.40 “Abundance” Love Jewelry (ซาย), “Satya Jewelryอ สAbundanceมุด Bracelet” (ขวา) (ที่มา : http://www.loveprayjewนกั หelry.com/products/abundกลางance-goldstone-copper- african-trade-beads-and-t สำ ree-of-life-mala-bracelet (ซาย), http://www.shoebuy.com/satya-jewelr y-abundance-bracelet/588951 (ขวา))

75

ตารางที่ 3.1 การพิจารณาทัศนธาตุและองคประกอบศิลปจากผลงานของศิลปนที่มีแนวคิดเรื่องความ อุดมสมบูรณ

ป ภาพผลงาน สรุป สวนที่ 1 ภาพผลงานสวนมากใชทัศน- ธาตุที่มีความอวบอิ่ม มีฟอรม

15000-10000 B.C. ที่ใหญโตเกินความ ------จริง และมีปริมาตรมาก จะ หอสมุดกล เห็นไดชัดวาแนวความคิด ำนกั าง เรื่องฟอรมและปริมาตรไดใช ส มาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน รวมทั้งศิลปนชาวไทยดวย century century th -20 th 19

76

ตารางที่ 3.1 (ตอ)

ป ภาพผลงาน สรุป

THAILAND 2007-2014 กั หอสมุดกลา ำน ง ส สวนที่ 2 century

th ผลงานมีการใชการซ้ําและมี ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน แสดงภาพของจํานวนที่เพิ่ม

5000 B.C.-14 ------พูนขึ้นเรื่อยๆ อยางไมมีที่ สิ้นสุด century century th -20 th

------2007-2014 19 2007-2014 THAILAND

77

ตารางที่ 3.1 (ตอ)

ป ภาพผลงาน สรุป สวนที่ 3 ผลงานมีการใชความหลาก หลายของทัศนธาตุเขามา ชวย ทั้งทางดานความหลาก ------หลายทางองคประกอบ และสี สัน century 500 B.C. B.C. 500 century th

-18 สม th กั หอ ุดกล ำน าง 15 ------ส century th -20 th 18

สรุป : จากการพิจารณาทัศนธาตุและองคประกอบศิลปจากผลงานของศิลปนที่มีแนวคิดเรื่องความ อุดมสมบูรณ (ตารางที่ 3.1) พบวาทัศนธาตุและองคประกอบศิลปที่พบ แบงออกเปน 3 สวนดังน ี้ สวนที่ 1 ใชทัศนธาตุที่มีความอวบอิ่ม พอง แนน มีปริมาตรและมวลมาก อีกทั้งยังมีขนาดที่ใหญเกิน จริง สวนที่ 2 ใชการซ้ํา และความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน สวนที่ 3 ใชความหลากหลาย ทั้งขนาด รูปราง รูปทรง และสีสัน โดยในสวนที่ 1 นั้นพบวามีศิลปนนํามาใชมากที่สุด จะเห็นไดชัดวามีการนําทัศนธาตุนี้มาใช ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันนี้ รวมถึงศิลปนชาวไทยดวย 78

ตารางที่ 3.2 การพิจารณาทัศนธาตุและองคประกอบศิลปจากผลงานเครื่องประดับของศิลปนที่มีแนว คิดเรื่องความอุดมสมบูรณ  ป ภาพผลงานเครื่องประดับ สรุป  สวนที่ 1 ยังคงใชทัศนธาตุทีมีความโคง century century th มนอยูบางเล็กนอยแตยังมีการ ใชความแนน ตึงอยู ผลงาน century-19 th เครื่องประดับสวน กั หอสมุดกลา มากเปนการนําเรื่องราวความ ำน งเชื่อเรื่องความอุดมสมบูรณของ ส  แตละพื้นที่มาเลาอยูในตัวเครื่อง  ประดับ century 13 century th century-20 th 19



  สวนที่ 2 century century th 20   สรุป : จากการพิจารณาทัศนธาตุและองคประกอบศิลปจากผลงานเครื่องประดับของศิลปนที่มีแนวคิด เรื่องความอุดมสมบูรณ (ตารางที่ 3.2) พบวาทัศนธาตุและองคประกอบศิลปที่พบ แบงออกเปน 2 สวนดังน ี้ สวนที่ 1 ความแนน ความเต็ม สวนที่ 2 ความอวบอิ่ม พอง และการซ้ํา 79

โดยในสวนที่ 1 นั้นเปนการนําเรื่องราวความเชื่อเรื่องความอุดมสมบูรณของแตละพื้นที่มาเลา อยูในตัวเครื่องประดับ ซึ่งในทีนี้ จะนําเอาความเชื่อตามแนวคิดของขาพเจาซึ่งก็คือเห็ดที่เปรียบ เสมือนดั่งดัชนีแหงความอุดมสมบูรณมาเปนตัวกลางในการเลาเรื่อง

 ม ำนกั หอส ุดกลาง ส 80

ตารางที่ 3.3 การพิจารณาทัศนธาตุโดยละเอียดจากผลงานทั้งหมดที่มีแนวคิดเรื่องความอุดมสมบูรณ

ลําดับ ผลงาน ทัศนธาตุและปริมาตรที่พบ ภาพรางลายเสน สรุป เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 1 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 2 มีมวล มีสวนที่ใหญ อ สม ุด เกินจริง นกั ห กลาง เสนโคง ครึ่งวงกลม 3 ำ อวบ แนน ส มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 4 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 5 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ 6 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 7 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 8 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 9 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 10 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง

81

ตารางที่ 3.3 (ตอ)

ลําดับ ผลงาน ทัศนธาตุและปริมาตรที่พบ ภาพรางลายเสน สรุป เสนโคง ครึ่งวงกลม มนกลม ยาว 11 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 12 มีมวล มีสวนที่ใหญ อส มุด เกินจริง นกั ห กลาง เสนโคง ครึ่งวงกลม 13 สำ อวบ แนน มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 14 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 15 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 16 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 17 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 18 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 19 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 20 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง

82

ตารางที่ 3.3 (ตอ)

ลําดับ ผลงาน ทัศนธาตุและปริมาตรที่พบ ภาพรางลายเสน สรุป เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 21 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 22 มีมวล มีสวนที่ใหญ ห อส มุด ก เกินจริง ำนกั ลาง เสนโคง ครึ่งวงกลม 23 ส อวบ แนน มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 24 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 25 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 26 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 27 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 28 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 29 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 30 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง

83

ตารางที่ 3.3 (ตอ)

ลําดับ ผลงาน ทัศนธาตุและปริมาตรที่พบ ภาพรางลายเสน สรุป เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 31 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 32 มีมวล มีสวนที่ใหญ อ สม ุด เกินจริง นกั ห กลาง เสนโคง ครึ่งวงกลม 33 สำ อวบ แนน มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 34 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 35 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 36 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 37 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 38 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 39 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 40 กลวง มีสวนที่ใหญ เกินจริง

84

ตารางที่ 3.3 (ตอ)

ลําดับ ผลงาน ทัศนธาตุและปริมาตรที่พบ ภาพรางลายเสน สรุป เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 41 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 42 มีมวล มีสวนที่ใหญ อส มุด เกินจริง นกั ห กลาง เสนโคง ครึ่งวงกลม 43 สำ อวบ แนน มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 44 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 45 มีมวล มีสวนที่ใหญ  เกินจริง เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 46 มีมวล มีสวนที่ใหญ  เกินจริง

เสนโคง ครึ่งวงกลม  อวบ แนน 47 ไมมีมวล กลวง มี สวนที่ใหญเกินจริง 

  85

ตารางที่ 3.3 (ตอ)

ลําดับ ผลงาน ทัศนธาตุและปริมาตรที่พบ ภาพรางลายเสน สรุป เสนโคง ครึ่งวงกลม อวบ แนน 48 มีมวล มีสวนที่ใหญ เกินจริง

สรุป : จากการพิจารณาทัศนธาตุโดยละเอียดจากผลงานทั้งหมดที่มีแนวคิดเรื่องความอุดมสมบูรณ (ตาราง ที่ 3.3) สามารถสรุปไดวารูปรางรูปทรงที่พบมีสวนของความเปนเสนโคง อวบนูนอยางเห็นไดชัด นกั หอสมุดกลา ตารางที่ 3.4 การสรุปทัศนธาตสำุ ง

ทัศนธาตุที่พบ

เสนโคง เสนโคงซอนกัน

ลักษณะ : อวบ นูน พอง มวล ปริมาตร : แนน พื้นผิว : เรียบ ตึง ขนาด : ใหญเกินจริง

สรุป : (ตารางที่ 3.4) ดังนั้น รูปรางรูปทรงของทัศนธาตุที่นํามาใช คือ เสนโคงที่มีลักษณะอวบ นูน พอง มี ปริมาตรมีแนน พื้นผิวเรียบตึง และมีขนาดที่ใหญเกินความเปนจริง 86

3.3 การรางแบบเพื่อหาทัศนธาตุของเห็ดที่มีความอุดมสมบูรณ

ทัศนธาตุของเห็ดที่มีความอุดมสมบูรณคือรูปรางรูปทรงที่เปนจุดเดนของเห็ดที่เจริญเติบโต จากสภาพแวดลอมและปจจัยตางๆโดยรอบ ซึ่งใหความรูสึกถึงความอุดมสมบูรณ และเติมเต็ม

ขั้นที่ 1 ทัศนธาตุที่ไดจากการวิเคราะหดานวิทยาศาสตร (ภาพที่ 3.41)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 3.41 ภาพรางเสนสายความรูสึกของดิน น้ํา และอากาศ

ขั้นที่ 2 ทัศนธาตุที่ไดจากการวิเคราะหดานศิลปะ (ภาพที่ 3.42) 2.1 จากผลงานโดยรวม

ภาพที่ 3.42 แสดงภาพรางรูปรางรูปทรงของทัศนธาตุที่ไดจากการคนหาผลงานโดยรวม

87

2.2 จากผลงานโดยรวม วิเคราะหรวมกับลักษณะทางกายภาพโดยทั่วไปของเห็ดจากขอมูล จริงในบทที่ 2 (ภาพที่ 3.43-3.45)

กั หอสมุดกลา สำน ง

ภาพที่ 3.43 แสดงภาพรางรวมทัศนธาตุกับกายภาพของเห็ดในสวนของหมวก

ภาพที่ 3.44 แสดงภาพรางรวมทัศนธาตุกับกายภาพของเห็ดในสวนของกานและครีบ 88

กั หอสมุดกลา สำน ง

ภาพที่ 3.45 แสดงภาพรางรวมการวิเคราะหทัศนธาตุจากผลงานโดยรวมกับกายภาพของเห็ดในสวน ของหมวกครีบ และหมวกครีบกาน

ขั้นที่ 3 ทัศนธาตุที่ไดจากการรวมกันของทัศนธาตุจากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 (ภาพที่ 3.46-3.48)

ภาพที่ 3.46 แสดงภาพรางรวมการวิเคราะหทัศนธาตุจากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ชุดที่ 1 89

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 3.47 แสดงภาพรางรวมการวิเคราะหทัศนธาตุจากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ชุดที่ 2

ภาพที่ 3.48 แสดงภาพรางรวมการวิเคราะหทัศนธาตุจากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ชุดที่ 3

90

คนหาความอุดมสมบูรณ

ทางศิลปะ ทางวิทยาศาสตร

การหาคาดาดััชนีความอี ุดุดมม ผลงานโดยรวมผลงานโดย นกั หอสมุดกลางสมบูรณของสของสิ่งแวดล่ิ อมอม อวบอว นูน พอง แนน : เรี ยบส ตึงำ : ใหญเกินจริง

ระบบนิเวศ อากาศ ดิน น้ํา

เฉพาะผลงานเครเ ื่องประดับ ความแข็ง : ความออนนิ่ม : ความพริ้วไหว : ชองวาง แนน : ลักษณะของเห็ด (เรื่องราวอันเปน ของสัญลักษณะความอุดมสมบูรณ)

SKETCH ELEMENT ขั้นที่ 1

SKETCH ELEMENT ขั้นที่ 2 SKETCH ELEMENT ขั้นที่ 3

วัสดุ

ภาพที่ 3.49 My mapping สรุปการสํารวจการคนหาความอุดมสมบูรณ

สรุป : (ภาพที่3.49) คนหาลักษณะของความอุดมสมบูรณโดยการแบงการวิเคราะหออกเปน 2 สวน คือ การวิเคราะหทางศิลปะและการวิเคราะหทางวิทยาศาสตร จากนั้นนําสรุปการคนหามารางแบบ 2 มิติ ควบคูกับลักษณะทางกายภาพของเห็ดจริงเพื่อวิเคราะห คนหาทัศนธาตุและแบบรางที่เหมาะสม จากนั้นจ ึงนําไปพิจารณาควบคูกับการทดลองวัสดุตอไป 91

3.4 การทดลองวัสดุ

จากการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาความอุดมสมบูรณทั้งในดานวิทยาศาสตรและดานศิลปะพบวา รูปราง รูปทรงของเห็ดที่มีความอุดมสมบูรณนั้นมีหัวใจหลักคือความอวบอิ่ม นูน พอง แนน และ ตึง แนน ดังนั้นในขนตั้ น จึงทดลองวัสดุเพื่อหาวัสดุหลักในการขึ้นรูปตามแบบทัศนธาตุที่หามา

ตารางที่ 3.5 การทดลองวัสดุ

วัสดุ การทดลอง 1. ผา นกั หอสมุดกลา สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม สำ งทัศนธาตุที่หามา ได แตควบคุมรูปทรงคอนขาง ยาก

สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดยาก ผามีความหนาและ เหนียวมาก

สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดยาก ผามีความหนาและ เหนียวมาก

สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดยาก ผามีความหนาและ เหนียวมาก

92

ตารางที่ 3.5 (ตอ)

วัสดุ การทดลอง 2. ไหมพรม สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ได แตมีรูปแบบลวดลายที่เปน การซ้ํากัน ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

3. ใยขนแกะ สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดดี

4. ฟองน้ําอัด สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดดี

สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดดี

93

ตารางที่ 3.5 (ตอ)

วัสดุ การทดลอง 5. ไม สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดดี

6. โลหะ กั หอสมุดกลา สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม สำน งทัศนธาตุที่หามา ไดดี

สรุป : (ตารางที่ 3.5) วัสดุทุกชนิดสามารถขึ้นรูปใหเกิดรูปทรงได แตมีความยากงายของการขึ้นรูปที่ แตกตางกัน และรูปแบบที่เกิดขึ้นก็มีความแตกตางกัน ดังนนจั้ ึงเกิดการพิจารณาความรูสึกของวัสดุ ตามทัศนธาตุที่ตองการในลําดับถัดไป

ตารางที่ 3.6 การพิจารณาวัสดุตางๆ ตามรูปแบบความรูสึกของทัศนธาตุ

ความรูสึกจากทัศนธาตุ รูปทรง วัสดุ นูน ออน ออแก อวบอิ่ม แนน ตึง ชุมฉ่ํา แข็ง พอง นิ่ม นิค 1. ผา / / / / / / 2. ไหมพรม / / 3. ใยขนแกะ / / / / / / 4. ฟองน้ํา / / / / / / / 5. ไม / / / / / / 6. โลหะ / / / / / /

สรุป : (ตารางที่ 3.6) ในวัสดุทุกชนิดยังขาดความรูสึกของความแข็ง หรือ ออนนิ่มอยู ดังนั้น จึงจะนํา วัสดุมาผสมผสานกัน เพื่อใหไดชิ้นงานที่มีองคประกอบของทัศนธาตุครบถวน

94

ตารางที่ 3.7 การทดลองวัสดแบบผสมผสานุ

วัสดุ การทดลอง 1. ไม + ไหมพรม สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดดี แตมีรูปแบบลวดลายที่ เปน การซ้ํากัน หอสมุดกล สำนกั าง

2. ไม + ใยขนแกะ สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดดี

3. โลหะ + ใยขนแกะ สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดดี

95

ตารางที่ 3.7 (ตอ)

วัสดุ การทดลอง 4. โลหะ + ฟองน้ําอัด สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ทัศนธาตุที่หามา ไดดี หอสมุดก ำนกั ลาง 5. ไม + ไหมพรม + ส สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ฟองน้ําอัด ทัศนธาตุที่หามา ไดดี

6. ไม + ใยขนแกะ + สามารถขึ้นรูปราง รูปทรงตาม ฟองน้ําอัด ทัศนธาตุที่หามา ไดดี

สรุป : (ตารางที่ 3.7) การผสมผสานวัสดุสามารถแสดงองคประกอบศิลปที่มีทัศนธาตุครบถวนไดดี

96

3.5 พื้นที่สวมใสบนรางกาย

วิเคราะหพื้นที่สวมใสจากลักษณะทางบริบทโดยรอบของเห็ดเอคโตไมคอรไรซา โดยแบง หัวขอการพิจารณาออกเปน 2 สวน 3.5.1 ลักษณะทางกายภาพ 3.5.2 ลักษณะบริบทโดยรอบ - การเจริญเติบโต : เจริญขึ้นโดยตรงจากราก : รากของพืชอาศัย : พึ่งพาสิ่งมีชีวิต - พึ่งพา : โดยเสนใยของเห็ดพันโดยรอบรากไม

กั หอสมุดกลา ตารางที่ 3.8 การพิจารณาสสำนัดสวนบนรางกาย ง

สัดสวนรางกายมนุษย สวนตางๆของรางกาย หัวและหัวไหล

แขน

มือ

ลําตัว

ขา

97

ตารางที่ 3.9 การพิจารณาสัดสวนรางกายสวนตางๆโดยการรางแบบชิ้นงานติดตั้งบนรางกาย

สัดสวนตางๆ ภาพ ลักษณะการเรียงตัว

หัวและหัวไหล ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

แขน

มือ

98

ตารางที่ 3.9 (ตอ)

สัดสวนตางๆ ภาพ ลักษณะการเรียงตัว

ลําตัว อสมุด ำนกั ห ก ลาง ส

ขา

สรุป : จากการพิจารณาสัดสวนบนรางกาย (ตารางที่ 3.8) และสัดสวนรางกายสวนตางๆโดยการราง แบบชิ้นงานติดตั้งบนรางกาย (ตารางที่ 3.9) สามารถแบงแนวทางการออกแบบเครื่องประดับออกเปน 2 แนวทาง คือ กลมกลืนกับรางกาย และงอกออกมาจากรางกาย

3.6 แนวทางการออกแบบ

แนวทางการออกแบบมีความสอดคลองกับการติดตั้งบนรางกายและแนวความคิดของความ อุดมสมบูรณ ซึ่งพื้นที่บนรางกายที่จะทําการสวมใสนั้น จะวิเคราะหจากการนําชิ้นงานไปติดตั้งบน รางกาย และสามารถสงเสริมใหชิ้นงานแสดงออกถึงความอุดมสมบูรณไดมากขึ้น

3.6.1 แนวทางที่หนึ่ง : กลมกลืนกับรางกาย - มีสองสวน : แยกออกจากกันแลวชิ้นงานใหความรูสึกเหมือนไมไดแยกออกไป กลมกลืนเขากันกับรางกาย - มีสองสวน : แยกออกจากกันแลวชิ้นงานใหความรูสึกเหมือนขาดหาย เปรียบดั่ง การไมไดรับการเติมเต็ม ไมสมบูรณ 99

3.6.2 แนวทางที่สอง : งอกออกมาจากรางกาย - มีสวนเดียว : เครื่องประดับเสมือนงอกออกมาจากรางกาย เปนสวนเดียวกันและ กลมกลมกลืนกับรางกาย - มีสองสวน : เครื่องประดับเสมือนงอกออกมาจากรางกาย สามารถแยกสวนได ชิ้นงานทั้งสองสวนกลมกลืนเขากันได โดยแบงการรางแบบออกเปน 2 สวน คือ การเรียงตัวเปนกลุมเดียวและ การเรียงตัวอยาง กระจัดกระจาย

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส 100

ตารางที่ 3.10 การพิจารณาสัดสวนรางกายสวนตางๆโดยการรางแบบชิ้นงานติดตั้งบนรางกายควบคู ไปกับแนวทางการออกแบบ

สัดสวน/ เดี่ยว กลุม รูปแบบ

อสมุด หัวและ กั ห กล น าง หัวไหล สำ

แขน

101

ตารางที่ 3.10 (ตอ)

สัดสวน/ เดี่ยว กลุม รูปแบบ

ม ำนกั หอส ุดกลาง มือ ส

ลําตัว

102

ตารางที่ 3.10 (ตอ)

สัดสวน/ เดี่ยว กลุม รูปแบบ

อสมุดก นกั ห ลาง ขา สำ

สรุป : การพิจารณาสัดสวนรางกายสวนตางๆโดยการรางแบบชิ้นงานติดตั้งบนรางกายควบคูไปกับ แนวทางการออกแบบ (ตารางที่ 3.10) ยังไมคอยเห็นภาพชัดเจนมากนัก จึงนําไปพัฒนาตอควบคูกับ การใชวัสดุจริง ที่ขึ้นโครงเปนรูปรางรูปทรงตามทัศนธาตุที่หามาได ตารางที่ 3.11 การพิจารณาวัสดุกับการติดตั้งบนรางกาย

แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2 สัดสวนตางๆ/ แนวทาง เดี่ยว หกลุมอส มุดกล เดี่ยว กลุม สำนกั าง หัวและหัวไหล

แขน

มือ

ตารางที่ 3.11 (ตอ)

แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2 สัดสวนตางๆ/ แนวทาง เดี่ยว กลุม ม เดี่ยว กลุม ำนกั หอส ุดกลาง ส ลําตัว

ขา

สรุป : จากการพิจารณาวัสดุกับการติดตั้งบนรางกาย (ตารางที่ 3.11) พบวาพื้นที่สวมใสบนรางกายในสวนของบริเวณนิ้วมือ แขน ไปจนถึงหัวไหลและลําคอ นาสนใจและตอบสนองกับแนวความคิดที่สุด โดยเลือกพิจารณาแนวทางที่ 1 เพื่อนําไปพัฒนาเปนแบบรางเครื่องประดับ 2 มิติตอไป และเลือกใชวัสดุหลักเปนใย ขนแกะ เพราะใหความรูสึกถึงความเปนเสนใยและกลมกลืนไปกับรางกายที่สุด บทที่ 4

กระบวนการสรางสรรคความงาม

กระบวนการสรางสรรคความงามเปนกระบวนการที่ทําการกลั่นกรองและคัดเลือกทัศนธาตุที่ เหมาะสมกับแนวความคิด มาสรางเปนแบบราง เพื่อพัฒนาใหชิ้นงานสื่อถึงชีวิตที่มีความอุดมสมบูรณ อิ่มเอิบ และยิ่งใหญได โดยการรางแบบจากการนําผลการทดลอง แนวทางการออกแบบ และลักษณะ การสวมใสมาวิเคราะหรวมกัน กั หอสมุดกลา สำน ง 4.1 สรุปแนวทางในการออกแบบ

4.1.1 ผลการทดลองวัสดุ เลือกใชวัสดุใยขนแกะเปนวัสดุหลักของชิ้นงาน และเลือกใชโลหะลูกปดเปนวัสดุรอง โดยจะใชเปนตัวชวยเสริมรายละเอียดของชิ้นงาน 4.1.2 พื้นที่สวมใสบนรางกาย บริเวณนิ้วมือ แขน ไปจนถึงหัวไหลและลําคอ โดยชิ้นงานมีลักษณะพึ่งพงกิ ับรางกาย 4.1.3 แนวทางในการออกแบบ แนวทางการออกแบบแนวทางที่ 1 งอกออกมาจากรางกาย

4.2 แบบราง 2 มิติ

นําทัศนธาตุที่ไดทําการวิเคราะหมาจากบทที่ 3 มาผสมผสานกัน โดยแบบรางจะมีโครงสราง หลักที่ไดจากลักษณะทางกายภาพของเห็ดที่มีความอุดมสมบูรณ และมีรายละเอ ียดของเห็ดที่ให ความรูสึกถึงทัศนธาตุจากความอุดมสมบูรณของบริบทโดยรอบประกอบเขามาดวย 4.2.1 แบบราง 2 มิติ ครั้งที่ 1 (ภาพที่ 4.1)

ภาพที่ 4.1 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 1

105

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

105 106

4.2.2 แบบราง 2 มิติ ครั้งที่ 2 (ภาพที่ 4.2 และ 4.3)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.2 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 2 และ 3

ภาพที่ 4.3 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 4 และ 5

107

4.2.3 แบบราง 2 มิติ ครั้งที่ 3 (ภาพที่ 4.4 และ 4.5)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.4 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 6 และ 7

ภาพที่ 4.5 แบบราง 2 มิติ ชุดที่ 8 และ 9

4.3 สรุปและเขียนแบบชิ้นงาน

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

 ภาพที่ 4.6 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนลำคอชุดที่ 1 ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

  ภาพที่ 4.7 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนลำคอชุดที่ 2

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

 ภาพที่ 4.8 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนแขนชุดที่ 1   ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

 ภาพที่ 4.9 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนแขนชุดที่ 2

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

 ภาพที่ 4.10 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนแขนชุดที่ 3

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

 ภาพที่ 4.11 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนนิ้วมือชุดที่ 1

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.12 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนนิ้วมือชุดที่ 2

กั หอ สมุดกล สำน าง

ภาพที่ 4.13 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนนิ้วมือชุดที่ 3

กั หอ สมุดกล สำน าง

ภาพที่ 4.14 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนนิ้วมือชุดที่ 4

กั หอ สมุดกล สำน าง

ภาพที่ 4.15 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนนิ้วมือชุดที่ 5

กั หอ สมุดกล สำน าง

ภาพที่ 4.16 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนนิ้วมือชุดที่ 6

กั หอ สมุดกล สำน าง

ภาพที่ 4.17 เขียนแบบเครื่องประดับส่วนนิ้วมือชุดที่ 7

 120

4.4 สรุปแบบเพื่อผลิตชิ้นงานจริง

จากแบบราง 2 มิติ และโมเดล 3 มิติ สรุปไดวาผลงานที่จะนํามาผลิตจริงมีทั้งหมด 10 ชิ้น โดยแบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

4.4.1 สวนลําคอ (ภาพที่ 4.18-4.19)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.18 แบบจําลองเครื่องประดับสวนลําคอ ชิ้นที่ 1

ภาพที่ 4.19 แบบจําลองเครื่องประดับสวนลําคอ ชิ้นที่ 2

121

4.4.2 สวนแขน (ภาพที่ 4.20-4.22)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.20 แบบจําลองเครื่องประดับสวนแขน ชิ้นที่ 1

ภาพที่ 4.21 แบบจําลองเครื่องประดับสวนแขน ชิ้นที่ 2

122

นกั หอสมุดกลาง สำ

ภาพที่ 4.22 แบบจําลองเครื่องประดับสวนแขน ชิ้นที่ 3

4.4.3 สวนนิ้วมือ (4.23-4.29)

ภาพที่ 4.23 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1

123

นกั หอสมุดกลาง สำ

ภาพที่ 4.24 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2

ภาพที่ 4.25 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3

124

นกั หอสมุดกลาง สำ

ภาพที่ 4.26 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4

ภาพที่ 4.27 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5

125

นกั หอสมุดกลาง สำ

ภาพที่ 4.28 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6

ภาพที่ 4.29 แบบจําลองเครื่องประดับสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7

126

4.5 ขั้นตอนการผลิตชิ้นงาน

เครื่องประดับชุดนี้เปนเครื่องประดับที่มีสวนประกอบ 3 ชนิด คือ ใยขนแกะ โลหะเงิน และ ลูกปด โดยแบงขั้นตอนการผลิตชิ้นงานออกเปน 2 สวน คือสวนของการขึ้นรูปโครงสรางหลัก (ใยขน แกะ) และสวนของการตกแตงชิ้นงาน (โลหะเงิน และลูกปด)

4.5.1 ขั้นตอนการขึ้นรูปโครงสรางดวยใยขนแกะ อุปกรณ ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.30 เข็มจิ้มใยขนแกะ (ที่มา : http://owlcraftshop.com/hoot/get-to-know-needlefelting/)

ภาพที่ 4.31 ฐานรองเข็ม (ที่มา : http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=pakem&date=14-01- 2010&group=4&gblog=2) 127

ภาพที่ 4.32 ใยขนแกะ Felting Wool (ที่มา : http://www.taraeasystudio.com/category/54/pre-order-korea/ใยขนแกะเกาหลี/ใย ขนแกะเกาหลี-เกรดพรีเมี่ยม-50g) นกั หอสม ุดกลา วิธีการทํา - ขึ้นรูสำปโดยการใชเข็มสําหรับจิ้มใยขนแกะ (ภาพที่ง 4.30) แลวรองพื้นดวยฐานรอง เข็ม (ภาพท ี่ 4.31) ใชใยขนแกะสีที่เลือก(ภาพที่ 4.32) โดยการจับใยขนแกะสีที่ตองการใชให รวมกันเปนกลุมกอน ใชเข็มจิ้มขึ้นลงตรงๆ พรอมกับปนชิ้นงานไปดวย พิจารณาตามแบบที่ รางไวโดยในสวนที่ตองมีความหนาใหใชใยขนแกะมากและสวนที่มีความบางใชใยขนแกะนอย - จากนั้นใชเข็มจิ้มใยขนแกะใหเขารูปหากันจนแนน - ตกแตงลวดลายคลื่นเปนขั้นตอนสุดทาย

4.5.1.1 สวนลําคอ ชิ้นที่ 1

ภาพที่ 4.33 การขึ้นรูปโครงสรางสวนลําคอ ชิ้นที่ 1 128

4.5.1.2 สวนลําคอ ชิ้นที่ 2

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.34 การขึ้นรูปโครงสรางสวนลําคอ ชิ้นที่ 2

129

4.5.1.3 สวนแขน ชิ้นที่ 1

สม ำนกั หอ ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.35 การขึ้นรูปโครงสรางสวนแขน ชิ้นที่ 1

130

4.5.1.4 สวนแขน ชิ้นที่ 2

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.36 การขึ้นรูปโครงสรางสวนแขน ชิ้นที่ 2

4.5.1.5 สวนแขน ชิ้นที่ 3

ภาพที่ 4.37 การขึ้นรูปโครงสรางสวนแขน ชิ้นที่ 3 131

4.5.1.6 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1

กั หอสมุดกล ำภาพที่น 4.38 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือาง ชิ้นที่ 1 ส 4.5.1.7 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2

ภาพที่ 4.39 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2

132

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.40 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3

ภาพที่ 4.41 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4

133

ภาพที่ 4.42 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5 ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.43 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6

ภาพที่ 4.44 การขึ้นรูปโครงสรางสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7

134

4.2.2 ขั้นตอนการตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปด (ภาพที่ 4.45-4.56) 4.2.2.1 สวนลําคอ ชิ้นที่ 1

กั หอสมุดกล ำน าง ภาพที่ 4.45ส การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนลําคอ ชิ้นที่ 1

4.2.2.2 สวนลําคอ ชิ้นที่ 2

ภาพที่ 4.46 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนลําคอ ชิ้นที่ 2

135

4.2.2.3 สวนแขน ชิ้นที่ 1

สม ำนกั หอ ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.47 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนแขน ชิ้นที่ 1

136

4.2.2.4 สวนแขน ชิ้นที่ 2

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.48 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนแขน ชิ้นที่ 2

137

4.2.2.5 สวนแขน ชิ้นที่ 3

กั หอสมุดกล ภาพที่ 4.49ำ การตกแตน งชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปาดในสง วนแขน ชิ้นที่ 3 ส 4.2.2.6 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1

ภาพที่ 4.50 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1

138

4.2.2.7 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 4.51 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2

4.2.2.8 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3

ภาพที่ 4.52 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3

139

4.2.2.9 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4

กั หอสมุดกล ภาพที่ 4.53ำ การตกแตน งชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปาดในสง วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4 ส 4.2.2.10 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5

ภาพที่ 4.54 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5

4.2.2.11 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6

ภาพที่ 4.55 การตกแตงชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปดในสวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6

140

4.2.2.12 สวนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7

กั หอสมุดกล ภาพที่ 4.56ำ การตกแตน งชิ้นงานดวยโลหะเงิน และลูกปาดในสง วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7 ส บทที่ 5

ผลงานเครื่องประดับ

ผลงานเครื่องประดับไดรับแรงบันดาลใจจากเห็ด ที่เปนดั่งดัชนีแหงความอุดมสมบูรณ

5.1 ภาพผลงานในสวนลําคอ (ภาพที่ 5.1-5.2) ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 5.1 ภาพผลงานสวนลําคอ ชิ้นที่ 1

141 142 

กั หอสมุดกลา สำน ง

ภาพที่ 6.2 ภาพผลงานส่วนลําคอ ชิ้นที่ 2

6.2 ภาพผลงานในส่วนแขน (ภาพที่ 6.3-6.5)

ภาพที่ 6.3 ภาพผลงานส่วนแขน ชิ้นที่ 1

 

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 6.4 ภาพผลงานส่วนแขน ชิ้นที่ 2

ภาพที่ 6.5 ภาพผลงานส่วนแขน ชิ้นที่ 3

142  6.3 ภาพผลงานในส่วนนิ้วมือ (ภาพที่ 6.6-6.12)

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 6.6 ภาพผลงานส่วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 1

ภาพที่ 6.7 ภาพผลงานส่วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 2

 

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 6.8 ภาพผลงานส่วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 3

ภาพที่ 6.9 ภาพผลงานส่วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 4 142 

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 6.10 ภาพผลงานส่วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 5

ภาพที่ 6.11 ภาพผลงานส่วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 6  

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 6.12 ภาพผลงานส่วนนิ้วมือ ชิ้นที่ 7

บทที่ 6

สรุปผลการทดลอง

โครงการศิลปะนิพนธ์นี้เป็นการศึกษา รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากความงามและความพิเศษของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอย่างเห็ด ที่ให้คุณค่าและคุณประโยชน์แก่สิ่งมีชีวิตอื่นอย่างอเนกอนันต์ ซึ่งปัจจุบันเห็ดถูกจัดเป็นพืชเศรษฐกิจ เป็นอาหารสุขภาพ สามารถทดแทนเนกั หอสื้อสมัตวุด์ได้ กลานอกเหนือจากสิ่งที่กล่าวมาแล้วนั้น เห็ดยังเป็นปัจจัยหลักในการสสำน่งเสริมระบบชีววิทยาและมีส่วนสําคัญในการสรง ้างให้วัฏจักรชีวิตในผืนป่า เกิดความสมดุล จากการศึกษาข้อมูล เห็ดจะเกิดขึ้นและเจริญเติบโตได้ดีนั้นจําเป็นต้องอาศัยปัจจัยต่างๆมากมาย ที่เห็นได้ชัดก็คือความอุดมสมบูรณ์ที่มาจากจํานวนของต้นไม้ในพื้นที่นั้นๆ ดังนั้น เห็ดจึงเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ ถือว่าเป็น “ดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์” สําหรับข้าพเจ้านั้นเอง จากการสํารวจและวิเคราะห์ความงดงามและความสามารถของเห็ดให้แก่สิ่งมีชีวิตทั้งหลายทั้ งทางด้านรูปธรรม และนามธรรม ทําข้าพเจ้าสรุปได้ว่า การสร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับของข้าพเจ้าจะเป็นการสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อแสดงถึงความอุดมสมบูร ณ์โดยใช้เห็ดเป็นสื่อกลางการแสดงออกผ่านงานเครื่องประดับ เพื่อนําไปสู่การพัฒนาทางความคิดและจิตวิญญานด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อคงอยู่และรักษาความอุดมสมบูรณ์เอาไว้

ภาพที่ 6.1 เห็ดและสิ่งมีชีวิต (ที่มา : www.pinterest.com) จากการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของเห็ด และลักษณะทางบริบทโดยรอบ จากการทําตารางการสํารวจ โดยนําลักษณะของเห็ดชนิดต่างๆมาเปรียบเทียบกัน และสรุปเพื่อหาลักษณะเด่นออกมา

148  ทําให้ข้าพเจ้าทราบถึงรูปลักษณ์และสภาพแวดล้อมของบรรยากาศโดยรอบ ลักษณะการดํารงชีวิตที่เกี่ยวเนื่องกันกับสิ่งมีชีวิตข้างเคียง

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

148  149 

ภาพที่ 6.2 ลักษณะทางกายภาพของเห็ดและบริบทโดยรอบ กั (หที่มาอ : www.pinterest.comสมุดกลา) สำน ง จากนั้นจ ึงน ํามาเปรียบเทียบกับการวิเคราะห์เพิ่มเติมทางด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์ โดยการศึกษาหาผลงานและข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ โดยหาผลงานที่มีแนวคิดเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ วิเคราะห์จากการนําผลงานหลายรูปแบบจากศิลปินหลากหลายสุดท้ายจึงนําข้อมูลที่ได้มาสังเคราะห์แ ละวิเคราะห์ให้เกิดเป็นรูปธรรมโดยการร่างแบบ 2 มิติ เพื่อค้นหารูปแบบที่ตรงกับแนวความคิดมากที่สุด

ภาพที่6.3 ผลงานที่เกี่ยวข้องกับเห็ดและความอุดมสมบูรณ์ (ที่มา :https://www.pinterest.com/pin/498210777504351913)

จากการค้นหารูปแบบเพื่อให้ตรงกับแนวความคิดเรื่องความอุดมสมบูรณ์ข้าพเจ้าจึงได้ทําการ ทดลองวัสดุ เพื่อค้นหาความเหมาะสมของการแสดงออกของชิ้นงานที่ละเอียดอ่อนมากยิ่งขึ้น 150  โดยการทดลองวัสดุที่ได้จากธรรมชาติและมีพื้นผิว ความรู้สึกตรงกับลักษณะความอุดมสมบูรณ์ของเห็ด ซึ่งได้เลือกใช้วัสดุใยขนแกะเป็นวัสดุหลัก โดยมีโลหะเป็นส่วนเสริม

ต่อมาข้าพเจ้าจึงได้ค้นหาแนวทางการออกแบบโดยการนําการทดลองวัสดุมาวิเคราะห์ร่วมกับ ร่างกาย โดยสร้างองค์ประกอบศิลป์เพื่อค้นหาตําแหน่งการสวมใส่ด้วยการร่างแบบ 2 มิติควบคู่กันไป และสามารถสรุปได้ว่าจะสร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับจํานวน 10 ชิ้น ประกอบด้วย ตําแหน่งบริเวณลําคอจํานวน 2 ชิ้น ตําแหน่งบริเวณแขนจํานวน 3 ชิ้น ตําแหน่งบริเวณนิ้วมือจกั ํานวนห อ7ส ชิ้นม ุดกลา ซึ่งผลงานที่ไดส้นั้นำ น ได้นําเสนอถึงความอง ุดมสมบูรณ์ที่ยิ่งใหญ่ของเห็ด โดยนําเสนอผ่านร ูปแบบขององค ์ประกอบที่มีขนาดใหญ่ เกินจริง แต่ว่ามีความเป็นธรรมชาติ ดูอวบอิ่ม เพื่อให้ผลงานเครื่องประดับชุดนี้เปรียบเสมือนตัวแทนในการถ่ายทอดเรื่องราวของเห็ดที่เป็นดั่ง “ดัชนีแห่งความอุดมสมบูรณ์” และนอกจากนั้นข้าพเจ้ายังคาดหวังว่าผลงานชุดนี้จะสามารถสร้างเสริมจิตสํานึกเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแ วดล้อมได้อีกด้วย ดังเช่นพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯซึ่งทรงกล่าวไว้ว่า “เราควรปลูกต้นไม้ลงในใจเสียก่อนแล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้ว ยตนเอง”  รายการอางอิง

ดีพรอม ไชยวงศเกียรติ. การเพาะเห็ดและเห็ดบางชนิดในประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอักษรสยาม, 2519. ราชบัณฑิตยสถาน. เห็ดในประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถานพิมพ, 2550. อนงค จันทรศรีกุล. เห็ดเมืองไทย เทคโนโลยีการเพาะเห็ด.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพไทยวัฒนาพาณิช, 2544. อนงค จันทรศรีกุล. ความหลากหลายของเหกั หอส็ดและราขนาดใหญมุดกลาในประเทศไทย.กรุงเทพฯ: สํานสักพิมพำนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2551. ง

151

หอส มุดกล นกั าง สำ

ภาคผนวก

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาคผนวก ก

ใบเสนอหัวขอศิลปนิพนธ 

ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร

ชื่อนักศึกษา นางสาว ปภาดา เรืองรุง รหัสประจําตัว 04540232 อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ รองศาสตราจารย ดร. สุภาวี ศิรินคราภรณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557

แบบเสนอหัวขอศิลปนิพนธ  กั หอสมุดกลา 1. ชื่อหัวขอศิลปนสิพนธำ น ง (ภาษาไทย ) เครื่องประดับที่ไดรับแรงบันดาลใจจากเห็ด “ดั ชนีแหงความอุดม สมบูรณ” (ภาษาอังกฤษ) Jewelry design project inspired by Mushroom “The indicator of plentiful”.

2. ที่มาและความสําคัญของปญหา ‘ปาไม’ มีความสําคัญตอมวลมนุษยและสิ่งมีชีวิตนอยใหญทั้งหลาย ทั้งสัตวและพืชในผืนปา กวางใหญลวนมีความจําเปนจะตองพึ่งพาอาศัยกันอยางเกื้อกูล แมขาดสิ่งมีชีวิตเล็กๆเพียงสิ่งเดียวก็ไม อาจสรางความอุดมสมบูรณ อันยิ่งใหญได วัฎจักรของสิ่งมีชีวิตในปาทําใหขาพเจาไดรับทราบขอมูล ของพืชชนิดหนึ่ง ซึ่งแมเปนเพียงพืชขนาดเล็กแตใหคุณประโยชนกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆอยางอเนก อนันต พืชดังกลาวคือ “หเห็ด” ปจจุบันเ ็ดจัดเปนพืชเศรษฐกิจ เปนอาหารสุขภาพสามารถทดแทน โปรตีนจากเนื้อสัตวได นอกเหนือจากสิ่งที่กลาวมาแลวนั้น เห็ดยังเปนปจจัยหลักในการสงเสริมระบบ ชีววิทยาและมีสวนสําคัญในการสรางใหวัฏจักรชีวิตในผืนปาเกิดความสมดุล เห็ดเปนราชั้นสูงกลุมหนึ่งในอาณาจักรฟงไจมีประโยชนในการเอื้อใหดินเก ิดความชุมชื้น ยอย สลายจุลินทรียเสมือนเปนตัวเชื่อมโยงผูผลิตและผูบริโภคใหเกิดการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ชวยเพิ่มความ หลากหลายทางชีวภาพ เสริมสรางใหทรัพยากรธรรมชาติฟนตัวกลับคืนมา ทําใหหวงโซอาหารของพืช และสัตวครบวงจร และเติมเต็มความสมบูรณแกระบบนิเวศ อนึ่ง การที่เห็ดจะเกิดขึ้นและเจริญเติบโต ไดดีในธรรมชาตินั้น จําเปนต องอาศัยปจจัยตางๆมากมาย ที่เห็นไดชัดคือ ความอุดมสมบูรณที่มาจาก จํานวนของตนไมในปาธรรมชาติ ดังนั้น เห็ดจึงเปนทั้งผูใหและผูรับ ถือวาเปน ”ดัชนีชี้วัดความอุดม สมบูรณ” ดังคํากลาวที่วา “ที่ไหนมีปาที่นั้นมีเห็ด” ดังน ั้น เห็ดสอนใหขาพเจาเขาใจไดวา ความงดงามของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กสามารถเติมเต็มความ อุดมสมบูรณแกสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในวงกวางได ทั้งหมดนี้ ขาพเจาในฐานะนักออกแบบจึงเกิดแรง บันดาลใจในการสรางสรรคผลงานเครื่องประดับ ซึ่งขาพเจาตองการใหผลงานเครื่องประดับของ ขาพเจปาเ นเสมือนตัวแทนในการถายทอดเรื่องราวและสาระความสําคัญของเห็ดกับความอุดม

สมบูรณ ดวยหวังเปนอยางยิ่งวา นอกจากเห็ดจะสรางแรงบันดาลใจในการออกแบบผลงาน เครื่องประดับที่มีความสวยงามแลว ยังสามารถสงเสริมจิตสํานึกดานการอนุรักษทรัพยากรในอนาคต แกผูสวมใสอีกดวย ดังพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ซึ่งทรงกลาวไววา “เราควร ปลูกตนไมลงในใจเสียกอนแล วคนเหลานั้นก็จะพากันปลูกตนไมลงแผนดินและรักษาตนไมดวย ตนเอง”

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 1 กลุมเห็ดที่เกิดขึ้นบริเวณปา(ซาย) ภาพกลุมเห็ดที่เกิดขึ้นบริเวณน้ําตกในปา(ขวา) (ที่มา : http://aquieterstorm.tumblr.com/page/31 (ซาย) , http://jakespain.deviantart.com/gallery/ (ขวา))

ภาพที่ 2 กลุมเห็ดเอคโตไมคอรไรซา (ectomycorrhizal mushroom) กลุมเห็ดที่มีความสัมพันธกับ สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น (ที่มา : http://www.slideshare.net/influenzar/ss-15130441)

3. วัตถุประสงคของโครงงาน 3.1 ตองการออกแบบเครื่องประดับที่เปนเสมือนตัวแทนในการถายทอดเรื่องราวของเห็ดที่เปน ดั่ง "ดัชนีแหงความอุดมสมบูรณ” 3.2 ตองการออกแบบเครื่องประดับสามารถสรางเสริมจิตสํานึกดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม

4. ขอบเขตการศึกษาของโครงงาน 4.1 ศึกษาที่มาความสําคัญของปาไมในประเทศไทย ระบบนิเวศวิทยาของผืนปา 4.2 ศึกษาขอมูลของเห็ดชนิดตางๆซึ่งเปนดัชนีวัดความอุดมสมบูรณในผืนปาตางๆเฉพาะอยางยิ่ง ปาสําคัญ ปาตนน้ําในประเทศไทย เปนตน 4.3 ศึกษาทัศนธาตุและการจกั หัดองคอประกอบศสมิลปุดที่สามารถถกลาายทอดภาพความอุดมสมบูรณและ ความสําคัญของสสิ่งมำีชีวิตที่ตองพึ่น งพาอาศัยอยางเกื้อกูลกัน ง

5. แนวทางการแกปญหา

ปญหา แนวทางการแกปญหา 5.1 ลักษณะทางกายภาพของเห็ด ธรรมชาติ 5.1 วิเคราะหทัศนธาตุ องคประกอบศิลป และ และศักยภาพของเห็ดในฐานะ ดัชนีแหงความ หลักการออกแบบตางๆ จากกระบวนการศึกษา อุดมสมบูรณ และวิเคราะหทางกายภาพ กระบวนการทํางาน และวัฏจักรของเห็ด 5.2 ผูคนในสังคมรวมสมัยละเลยการให 5.2 สรางความเขาใจโดยการถายทอดเรื่องราว ความสําคัญและสํานึกดานการอนุรักษ ที่สะทอนถึงสุนทรียภาพของความอุดมสมบูรณ สิ่งแวดลอม ของสิ่งแวดลอม

6. วิธีการศึกษา 6.1 สํารวจขอมูลวัฏจักรความอุดมสมบูรณของผืนปาและประเภทของพืชและสัตวในปาที่มี ในความสําคัญตางๆของประเทศไทย จากหนังสือ,วารสาร และเว็บไซดตางๆ 6.2 วิเคราะหวงจรชีวิตของเห็ดและธรรมชาติของเห็ดในฐานะปจจัยหลักของความสมดุลจาก หนังสือ วารสาร และเว็บไซดตางๆ 6.3 วิเคราะห และสังเคราะหทัศนธาตุตางๆที่สามารถสรางรูปแบบของเห็ดและภาพความ อุดมสมบูรณของสิ่งมีชีวิตได เชน รูปทรง พื้นผิว และความเปนเอกภาพ เปนตน

7. แผนการดําเนินงานและระยะเวลา

แผนการดําเนินงาน ระยะเวลา 7.1 ศึกษา รวบรวม วิเคราะหสังเคราะหขอมูลและแนวคิดในการ ออกแบบสรางสรรค -ศึกษา รวบรวมขอมูลวัฏจักรความอุดมสมบูรณของผืนปา 17 ธันวาคม - - ศึกษาวงจรชีวิตของเห็ดและธรรมชาติของเห็ดชนิดตางๆ 6 มกราคม 2558 - วิเคราะหสังเคราะหขอมูลที่มีความสอดคลองกับวัตถุประสงค การ สรางสรรคงาน 7.2 วิเคราะหขอมูล ทดลองวกั ัสดุ หเพื่อสรอุปแนวทางการออกแบบสมุดกล - ศึกษาทัศนธาตุ องคประกอบศน ิลปและหลักการออกแบบ าง สำ 10 มกราคม - - แบบรางความค ิด 2 มิติ และ/หรือ 3 มิติ 5 กุมภาพันธ 2558 - ทดลองวัสดุที่ใชในการสรางรูปรางรูปทรงของงานเครื่องประดับ เพื่อสงเสริมแนวความคิดในการออกแบบ 7.3 พัฒนาแบบราง สรุปแบบผลงานเครื่องประดับ - สรุปรูปแบบผลงานที่สอดคลองกับแนวความคิดและวัตถุประสงค ใน 11 กุมภาพันธ - การสรางสรรคงาน 9 มีนาคม 2558 - เขียนแบบ 2 มิติ และทําตัวอยาง 3 มิติ และ/หรือ ความสัมพันธกับรูปแบบ การสวมใสเครื่องประดับ 7.4 กระบวนการผลิตชิ้นงานเครื่องประดับ จัดทําบรรจุภัณฑและเตรียม 13 มีนาคม - อุปกรณการจัดแสดงผลงาน 23 เมษายน 2558 - จัดทําศิลปนิพนธฉบับราง 7.5 จัดทําศิลปนิพนธฉบับสมบูรณ 25 เมษายน - 21 พฤษภาคม 2558

8. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 8.1 ผลงานเครื่องประดับที่เปนเสมือนตัวแทนในการถายทอดเรื่องราวของเห็ด “ดัชนีแหงความ อุดมสมบูรณ” 8.2 ผลงานเครื่องประดับสรางเสริมจิตสํานึกเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอม

9. งบประมาณที่ใช 9.1 คาเอกสารขอมูล ประมาณ 8,000 บาท 9.2 คาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสรางงาน ประมาณ 25,000 บาท เครื่องประดับ 9.3 คาบรรจุภัณฑและสื่อการนําเสนอผลงาน ประมาณ 10,000 บาท 9.4 คาจัดทําเอกสารรูปเลมรายงาน ประมาณ 3,000 บาท

9.5 คาใชจายในการเดินทาง ประมาณ 4,000 บาท รวมทั้งหมด 50,000 บาท

10. รายการอางอิง ดีพรอม ไชยวงศเกียรติ. การเพาะเห็ดและเห็ดบางชนิดในประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพอักษรสยาม, 2519. ราชบัณฑิตยสถาน. เห็ดในประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถานพิมพ, 2550. อนงค จันทรศรีกุล. เห็ดเมืองไทย เทคโนโลยหอสีการเพาะเหมุดก็ด.กรุลงเทพฯ: สํานักพิมพไทยวัฒนาพาณิช, สำนกั าง 2544. อนงค จันทรศรีกุล. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญในประเทศไทย.กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2551.

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาคผนวก ข ปาไมที่สําคัญ ปาไมที่สําคัญ อุทยานแหงชาติเขาใหญ 

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 1 อุทยานแหงชาติเขาใหญ (ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/อุทยานแหงชาติเขาใหญ)

อุทยานแหงชาติเขาใหญ มีอาณาเขตคาบเกี่ยวติดตอกันถึง 11 อําเภอของ 4 จังหวัด คือ จังหวัด สระบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครนายก ไดรับสมญาวาเปน อุทยานมรดกของกลุมประเทศอาเซียน เปนปาผืนใหญในเทือกเขาพนมดงรัก ในส วนหนึ่งของดง พญาไฟหรือดงพญาเย็นในอดีต ประกอบดวยขุนเขานอยใหญสลับซับซอนหลายลูก เปน แหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารที่สําคัญถึง 5 สาย เชน แมน้ํานครนายก แมน้ํามูล อุดมสมบูรณไปดวย พันธุไมและสัตวปานานาชนิด เชน ชางปา กวาง เกง กระทิง ตลอดจนมีเอกลักษณทางธรรมชาติที่ สวยงาม อุทยานแหงชาติเขาใหญมีเนื้อที่ 2,168.64 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,396.96 ไร นับเปน อุทยานแหงชาติแหงที่ 1 ของประเทศ

1. ลักษณะภูมิประเทศ สภาพทั่ว ๆ ไปของอุทยานแหงชาติเขาใหญ ประกอบดวยเทือกเขาสลับซับซอนกันหลายลูก ไดแก เขารม ซึ่งเปนยอดเขาที่สูงที่สุด 1,351 เมตร เขาแหลมสูง 1,326 เมตร เขาเขียวสูง 1,292 เมตร เขาสามยอดสูง 1,142 เมตร เขาฟาผาสูง 1,078 เมตร เขากําแพงสูง 875 เมตร เขาสมอปูนสูง 805 เมตร และเขาแกวสูงร 802 เมต ซึ่งวัดความสูงจากระดับน้ําทะเลเปนเกณฑ และยัง ประกอบดวยทุงกวางสลับกับปาไมที่อุดมสมบูรณ ดานทิศเหนือและตะวันออกพื้นที่จะลาดลง ทางทิศ ใตและตะวันตกเปนที่สูงชันไปเรื่อย ๆ นอกจากนี้ยังเปนแหลงกําเนิดตนน้ําลําธารที่สําคัญถึง 5 สาย ดังนี้ แมน้ําปราจีนบุรี แมน้ํานครนายก แมน้ําลําตะคอง แมน้ําหวยพระเพลิง และหวยมวกเหล็ก

160

2. จุดเดนที่นาสนใจ

ม ำนกั หอส ุดกลาง ส

ภาพที่ 2 น้ําตกเหวสุวัต ในอุทยานแหงชาติเขาใหญ (ที่มา : http://worldheritage.routes.travel/world-heritage-site/khao-yai-forest-complex/)

อุทยานแหงชาติเขาใหญ นับวาเปนแหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารที่ทําใหเกิดปรากฏการณ ธรรมชาติ ที่เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญนั้นก็คือ น้ําตกที่สวยงาม มีน้ําตกนอยใหญเกิดขึ้นหลายแหงใน พื้นที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ ซึ่งสํารวจพบและทําเสนทางเดินเทาไปถึงแลวประมาณ 30 แหง ที่ มีความสวยงามแตกตางกันไปตามสภาพธรรมชาติของภูมิประเทศเปนที่รูจักกันดี เชน น้ําตกนางรอง, น้ําตกสาริกา,น้ําตกกองแกว,น้ําตกผากลวยไม,น้ําตกเหวสุวัต,น้ําตกเหวนรก,น้ําตกไมปลอง,น้ําตกวัง เหว,น้ําตกตะกรอ,น้ําตกสลัดได,น้ําตกสมปลอย,น้ําตกพันทิพย,น้ําตกแกงกฤษณา,น้ําตกเหวจั๊กจั่น, น้ําตกเหวอีอ่ํา,น้ําตกผาไทรคู,น้ําตกผากระชาย,น้ําตกแกงหินเพลิง,น้ําตกเหวไทร,น้ําตกเหวประทุน, น้ําตกมะนาว,น้ําตกตาดตาภู,น้ําตกตาดตาคง และกลุมน้ําตกผาตะแบก เปนตน

3. สัตวปา อุทยานแหงชาติเขาใหญเปนแหลงที่มีสัตวปาชุกชุมมาก สัตวปาที่สามารถพบไดบอย ๆ และ ตามโอกาสอํานวย ไดแก เกง กวาง ตามทุงหญาทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้ยังพบ เสือโครง กระทิง เลียงผา หมี เมน ชะน ี พญากระรอก หรือ หมาไม ชะมดอีเห็น กระตายปา และนกชนิดตางๆ

161

ประวัติผูเขียน

ชื่อ - สกุล นางสาวปภาดา เรืองรุง วันเกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2535 ที่อยู 549 หมูบานโชคชัยปญจทรัพย ซอยลาดพราว 80 ถนนลาดพราว เขตวัง ทองหลาง แขวงพลับพลา กรุงเทพฯ 10310 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2551 สําเร็จการศกั หึกษาระดอสับมมัธยมศุดกึกษาตอนตลา น โรงเรียนสารสาสนเอกตรา สกรุำงเทพมหานครน ง พ.ศ. 2554 สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิง หเสนี) จังหวัดกรุงเทพฯ พ.ศ. 2558 สําเร็จการศึกษาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ กรุงเทพมหานคร

162