คํานํา สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช ไดมอบหมายให กลุมงานวิชาการ สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 9 (อุบลราชธานี) ดําเนินการจัดทําโครงการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ ภายใตกิจกรรม บริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อสํารวจและรวบรวมขอมูลพืช แมลง และเห็ดรา ในปาเบญจพรรณ พื้นที่อุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี ขอมูลที่ไดจากการสํารวจและวิเคราะหจะนําไปจัดทําเปน ฐานขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ เพื่อใชเปนประโยชนดานการบริหารจัดการความ หลากหลายทางชีวภาพในภาพรวมของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช โดยทําการสํารวจตั้งแตเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2559 – เดือนกันยายน พ.ศ. 2560 รายงานนี้ประกอบดวยขอมูลพรรณไม แมลง และเห็ดราที่ไดจากการวางแปลงสํารวจในปาเบญจพรรณใน อุทยานแหงชาติผาแตม จํานวน 4 แปลงแลวนํามาวิเคราะหสรุปประเมินผลใหเห็นภาพรวมความหลากหลาย ของทรัพยากร ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาขอมูลทั้งหมดสามารถใชเปนฐานขอมูลในการวางแผนการจัดการใน ดานการวิจัยความหลากหลากหลายทางชีวภาพ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อุทยานแหงชาติ รวมทั้งเปนประโยชนสําหรับผูสนใจทั่วไป

ผูจัดทํา

หนา 60 58 57 53 39 22 22 14 13 1

สารบัญ

ลทั่วไปของพื้นที่ดําเนินการ

ผลการสํารวจความหลากหลายของเห็ด ผลการสํารวจความหลากหลายของแมลง ผลการสํารวจความหลากหลายของพรรณไม สรุปและวิจารณผลการศึกษา ผลการศึกษา อุปกรณ อุปกรณ และวิธีการสํารวจ ทบทวนวรรณกรรม ขอมู

5 4 3 2 1

ภาคผนวก เอกสารอางอิง บทที่ บทที่ บทที่ บทที่

บทที่

หนา 43 46 27 37 33 51 55

ผาแตม อุทยานแหงชาติ

ใน

ผาแตม

ในอุทยานแหงชาติผาแตม

อุทยานแหงชาติ

ผาแตม อุทยานแหงชาติ

ปาเบญจพรรณ บญจพรรณ ที่สํารวจพบในปาเบญจพรรณ สารบัญตาราง ผาแตมอุทยานแหงชาติ และดวง และรายชื่อพรรณไมของสังคมพืช ายชื่อผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ IV บัญชีร บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางคืน อพรรณไมที่สํารวจพบในปาเบัญชีรายชื่ คา คา ผีเสื้อกลางวันจําแนกตามรายแปลงและฤดูกาลที่สํารวจพบ สรุปลักษณะทางนิเวศวิทยาของแตละแปลง บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบใน

5 6 1 2 4 3 7 ที่ ที่ ที่ ที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่

ตารางที่ ตารางที่ ตาราง ตารางที่ ตารางที่ ตาราง ตารางที่ ตารางที่

หนา 40 39 38 26 25 25 24 23 24 18 17 12 11 11 10 10 9 9 8 7 5 4

อุทยานแหงชาติผาแตม อุทยานแหงชาติผาแตม

แปลงที่ 1 ในอุทยานแหงชาติผาแตม

แปลงที่ 2 ในอุทยานแหงชาติผาแตม

แปลงที่ 4 ในอุทยานแหงชาติผาแตม แปลงที่ 3 ในอุทยานแหงชาติผาแตม

บญจพรรณ ของอุทยานแหงชาติผาแตม อุทยานแหงชาติผาแตม อุทยานแหงชาติผาแตม

สารบัญภาพ

เบญจพรรณ เบญจพรรณ

นในปา นในปา

Venn diagram บญจพรรณ งตัวอยางสํารวจพรรณไมปาเ จังหวัดอุบลราชธานี การสํารวจผีเสื้อกลางวั การสํารวจผีเสื้อกลางวั แปล แผนผัง แนวสํารวจผีเสื้อกลางวัน สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จทอดพระเนตรศึกษาพันธุดอกไมปา พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ ทุงดอกไมปา จุดวางแปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมในปาเ เบญจพรรณ แปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมปา บญจพรรณ ลักษณะโปรไฟลโครงสรางปาเ งพรรณไมที่สํารวจพบในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม ตัวอยางพรรณไมที่สํารวจพบในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม จ.อุบลราชธานี แปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมปาเบญจพรรณ แปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมปาเบญจพรรณ ผาชะนะได น้ําตกหวยพอก น้ําตกสรอยสวรรค น้ําตกแสงจันทร เสาเฉลียงใหญ เสาเฉลียง ภาพเขียนสีกอนประวัติศาสตร แผนที่แสดงแนวเขตอุทยานแหงชาติผาแตม แผนที่อําเภอที่ครอบคลุมอุทยานแหงชาติผาแตม

22 21 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 20 19 18 17 16 ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

ภาพที่ ภาพที่

4 3 3 2 0 45 45 44 43 42 5 42 5 41 5 41 5 5 40 48 49

) )ของผีเสื้อกลางวัน / / J J

บญจพรรณ

)และคาความสม่ําเสมอ ( ) ) และคาความสม่ําเสมอ( / / ชวงฤดูแลง ชวงฤดูแลง H H ฤดูกาล

สารบัญภาพ(ตอ) ผีเสื้อกลางวันในปาเ บญจพรรณ บญจพรรณ จํานวนชนิดผีเสื้อกลางวันพบในฤดูรอนและฤดูฝน

และรวมทั้งสองฤดู

และเก็บตัวอยาง กลางคืน Venn diagram กลางวันที่สํารวจพบจําแนกตาม ติดตั้งไฟลอแมลง รสํารวจผีเสื้อกลางวันในปาเ รสํารวจผีเสื้อกลางวันในปาเ แผนภาพ คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ( ผีเสื้อ ผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบจําแนกตามรายแปลง ผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบจําแนกตามวงศ ตัวอยางเห็ดที่สํารวจพบในอุทยานแหงชาติผาแตม การ เห็ดที่พบในอุทยานแหงชาติผาแตม เห็ดที่พบในอุทยานแหงชาติผาแตม ตัวอยางผีเสื้อกลางคืนและดวงที่สํารวจพบในอุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี กา คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ( ตัวอยางผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม การบันทึกขอมูล การสํารวจผีเสื้อ กา

ของผีเสื้อกลางวันที่พบจําแนกตามรายแปลง ที่พบในฤดูรอนและฤดูฝน 8 7 6 5 5 31 32 30 29 28 27 26 24 33 34 23 ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ 3 ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ 3 ภาพที่ ภาพที่ 2 ภาพที่ ภาพที่ 3 ภาพที่ ภาพที่ 3 ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

ภาพที่ ภาพที่

69 68 67 65 63 61

หนา

ในอุทยานแหงชาติผาแตม ในอุทยานแหงชาติผาแตม ในอุทยานแหงชาติผาแตม ในอุทยานแหงชาติผาแตม

4 3 2 1

แปลงที่ แปลงที่ แปลงที่ แปลงที่

บญจพรรณ เบญจพรรณ เบญจพรรณ เบญจพรรณ สารบัญภาคผนวก ในอุทยานแหงชาติแกงตะนะ ที่พบ ของพรรณไมในสังคมพืชปา ของพรรณไมในสังคมพืชปา ของพรรณไมในสังคมพืชปา ของพรรณไมในสังคมพืชปาเ IV IV IV IV รายชื่อลูกไมที่พบในอุทยานแหงชาติแกงตะนะ รายชื่อไมหนุม คา คา คา คา คา คา คา คา 6 5 4 3 2 1 ตารางผนวกที่ ตารางผนวกที่ ตารางผนวกที่ ตารางผนวกที่ ตารางผนวกที่ ตารางผนวกที่

บทที่ 1 ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ดําเนินการ

1. ขอมูลพื้นฐาน ในอดีตชาวบานทองถิ่นทํากินในบริเวณใกลเคียงพื้นที่ปาภูผา นอยคนนักที่จะเดินทางเขาไป ในปาแหงนี้เนื่องจากมีความเชื่อวา “ผาแตมเปนเขตตองหาม ภูผาเหลานั้นมีความศักดิ์สิทธิ์นักเปนภูผาแหง ความตาย ใครลวงล้ําเขาไปมักมีอันเปนไปอาจเจ็บไขหรือเปนอันตรายถึงชีวิต” ปจจุบันพื้นที่ปาภูผาแตม ไดถูก เปดเผยจนเปนที่รูจักกันทั่วไปเมื่อคณะอาจารยและนักศึกษาจากภาควิชามานุษยวิทยามหาวิทยาลัยศิลปากร ไดมาทําการสํารวจคนพบภาพเขียนสีโบราณสมัยกอนประวัติศาสตรที่ผาแตม ทองที่บานกุมตําบลหวยไผอําเภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานีประกอบกับสภาพปาในบริเวณใกลเคียงยังอุดมสมบูรณอยู จึงไดทําหนังสือบันทึก จากภาควิชาฯลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2524 เสนอตอกองอุทยานแหงชาติกรมปาไมขอใหจัดตั้งปาภูผาใน บริเวณผาแตมเปนอุทยานแหงชาติกองอุทยานแหงชาติไดบันทึกสั่งการลงวันที่ 27พฤษภาคม 2524 ใหนาย เสงี่ยมจันทรแจมนักวิชาการปาไม 4 ปฏิบัติหนาที่หัวหนาอุทยานแหงชาติดงหินกอง (ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปนอุทยาน แหงชาติแกงตะนะ) ไปทําการสํารวจหาขอมูลเพิ่มเติม ผลการสํารวจปรากฏรายงานตามหนังสืออุทยานแหงชาติ ดงหินกองที่กส 0708 (ดก) /57 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2524 วา “พื้นที่บริเวณที่ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร เสนอขอใหจัดตั้งเปนอุทยานแหงชาติอยูในบริเวณพื้นที่ปาภูผาปรากฏภาพเขียนสี โบราณ ซึ่งมีคุณคาทางประวัติศาสตรที่ผาแตมสภาพปาบริเวณใกลเคียงยังไมถูกทําลายและมีจุดเดนตาม ธรรมชาติที่สวยงาม การคมนาคมสะดวกเหมาะที่ตั้งอุทยานแหงชาติ โดยเห็นควรผนวกบริเวณดังกลาวเขา เปนสวนหนึ่งของ อุทยานแหงชาติดงหินกอง ” กรมปาไมจึงมีคําสั่งกรมปาไม ที่ 1162/2524 ลงวันที่ 13 กันยายน 2524 ใหนายเสงี่ยม จันทรแจม นักวิชาการปาไม 4 หัวหนาอุทยานแหงชาติแกงตะนะ (อุทยานแหงชาติดงหินกองเดิม) ไป ดําเนินการควบคุมดูแลรักษาปาภูผาโดยใหพิจารณาผนวกเขากับ อุทยานแหงชาติแกงตะนะทั้งนี้บริเวณภูผา ดังกลาวไดถูกประกาศรวมกับบริเวณปาใกลเคียง ใหเปนปาสงวนแหงชาติดงภูโหลนตามกฎกระทรวงฉบับที่ 603 (พ.ศ.2516) ลงวันที่24 ตุลาคม 2516ตอมากรมปาไมไดพิจารณาเห็นวาพื้นที่บริเวณดังกลาวเปนพื้นที่คน ละสวน และอยูหางไกลกับอุทยานแหงชาติแกงตะนะ ตลอดจนมีอาณาเขตกวางขวางเกรงวาอุทยานแหงชาติ แกงตะนะ จะดูแลไมทั่วถึง และเพื่อเปนการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลตามโครงการอีสานเขียว กระทรวง เกษตรและสหกรณ ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและปาไม เพื่อพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยว และ การศึกษาหาความรูทางวิชาการ จึงมีคําสั่งกรมปาไมที่ 991/2532 ลงวันที่ 28 มิถุนายน2532 ใหนายวรพล รัตนสุวรรณ นักวิชาการปาไม 5 กองอุทยานแหงชาติ ไปดําเนินการสํารวจเพื่อจัดตั้งพื้นที่ปาสงวน แหงชาติปาดงภูโหลนทองที่ อําเภอโขงเจียม อําเภอศรีเมืองใหม และอําเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี เนื้อที่ 340 ตารางกิโลเมตร หรือ 212,500 ไร เปนอุทยานแหงชาติผาแตม และทําหนาที่หัวหนาอุทยานแหงชาติแหง นี้ดวย กรมปาไมโดยกองอุทยานแหงชาติไดนําเรื่องราวดังกลาวนี้ เสนอตอคณะกรรมการอุทยานแหงชาติ 2

ซึ่งไดมติเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 3/2432 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2532 ผานมติเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2534 และไดรับประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษหนา 90 – 92 เลมที่ 108 ตอนที่ 245 ลงวันที่ 31ธันวาคม 2534 ใหเปนอุทยานแหงชาติผาแตม ตามพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ.2504 นับเปนอุทยานแหงชาติลําดับที่ 74 ของประเทศไทยปจจุบันนายนครินทร สุทัตโต ตําแหนง นักวิชาการปาไมชํานาญการทําหนาที่หัวหนาอุทยานแหงชาติผาแตม 2. อํานาจหนาที่ - อนุรักษคุมครอง ดูแล รักษาทรัพยากรปาไม สัตวปา และพันธุพืช ใหสมบูรณ และสมดุล ตามธรรมชาติ โดยใหมีทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน และเกิดประโยชนสูงสุด - ฟนฟู แกไข ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมปองกันไฟปา อันจะ เกิดความเสียหายตอระบบนิเวศในพื้นที่ปาไม - ควบคุม กํากับ ดูแล ปองกัน การบุกรุก ทําลายปา และการกระทําผิดกฎหมายเกี่ยวกับปา ไม และกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวของ - ศึกษา วิจัย และพัฒนาอุทยานแหงชาติ - บริหารจัดการและการใชประโยชนจากทรัพยากรโดยชุมชนมีสวนรวม - บริหารจัดการดานนันทนาการและสื่อความหมาย - ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่กําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ หรือตามที่กรมฯ มอบหมาย 3. สถานที่ตั้ง อุทยานแหงชาติผาแตม เปนอุทยานแหงชาติที่ตั้งอยูทางตะวันออกสุดของประเทศไทย เขต พิกัดทางภูมิศาสตร ละติจูด ที่ 15 23.- 15 46. เหนือ และลองจิจูดที่ 105 38. ตะวันออก สามารถรับชม พระอาทิตยขึ้นไดเปนจุดแรกของประเทศไทยที่ผาชะนะได เขตพื้นที่อุทยานแหงชาติผาแตม มีเนื้อที่ครอบคลุม ทองที่อําเภอโขงเจียม อําเภอศรีเมืองใหมและอําเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี เปนอุทยานแหงชาติแหงแรก ในประเทศไทยที่มีแมน้ําโขงซึ่งเปนเสนกั้นพรมแดนระหวางประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว เปนแนวเขตอุทยานแหงชาติที่ยาวที่สุดถึง 63 กิโลเมตรทําใหสามารถมองเห็นทิวทัศนปาเขาทาง ฝงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ไดเปนอยางดี ที่ทําการอุทยานแหงชาติผาแตม ตั้งอยูที่บริเวณบาน หนองผือนอย ตําบลหวยไผ อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี หางจากตัวเมืองจังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 95 กิโลเมตร

3

4. พื้นที่รับผิดชอบ อุทยานแหงชาติผาแตม เปนหนวยงานสังกัดสวนอุทยานแหงชาติ สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ ที่ 9 (อุบลราชธานี) มีพื้นที่รับผิดชอบ 212,500 ไร หรือ 340 ตารางกิโลเมตร ปรากฏอยูในแผนที่สภาพภูมิ ประเทศ หมายเลขระวาง L 7017 แผนที่ 6039 I , 6139 IV , 6040 I , 6040 II , 6140 III และ 6140 IV อยู ในพื้นที่ลุมน้ําชายแดนไทย – ลาว แบงพื้นที่รับผิดชอบออกเปน 4 หนวยพิทักษ 1 ฐานปฏิบัติการ 1 จุดสกัด ดังนี้ 4.1 หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติ หนวยที่ 1 (สรอยสวรรค) 4.2 หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติ หนวยที่ 2 (หุงหลวง) 4.3 หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติ หนวยที่ 3 (คันทาเกวียน) 4.4 หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติ หนวยที่ 4 (หวยทราย) 4.5 ฐานปฏิบัติการดงนาทาม 4.6 จุดสกัดดงนา

4

ภาพที่ 1 แผนที่อําเภอที่ครอบคลุมอุทยานแหงชาติผาแตม

5

ภาพที่ 2 แผนที่แสดงแนวเขตอุทยานแหงชาติผาแตม 5. กรอบแนวทางในการดําเนินงาน

ภาพที่ 2 แผนที่แสดงแนวเขตอุทยานแหงชาติผาแตม 6

5. กรอบแนวทางในการดําเนินงาน 5.1 วิสัยทัศน “บริหารจัดการอุทยานแหงชาติ ใหมีความมั่นคง และมีความสมบูรณของระบบนิเวศ สนับสนุนการศึกษาวิจัยใหเกื้อกูลการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการ 5.2 พันธกิจ “สงวน อนุรักษและฟนฟูระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ สงเสริมและสนับสนุนการศึกษา วิจัยและการทองเที่ยวของประชาชนโดยระบบการบริหารจัดการที่โปรงใส มีประสิทธิภาพและมีสวนรวม ของ ทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ” 5.3 บทบาทภารกิจ อนุรักษสงเสริม และพื้นฟู ทรัพยากรปาไม สัตวปา และพันธุพืช ในเขตปาอนุรักษ โดยการ ควบคุมปองกันพื้นที่ปาอนุรักษเดิมที่มีอยู และฟนฟูปาเสื่อมโทรมใหกลับสมบูรณดวยกลยุทธสงเสริม กระตุน และปลูกจิตสํานึกใหชุมชน มีความรูสึกหวงแหน และการมีสวนรวมในการดูแลรักษาสมดุลของระบบนิเวศและ สิ่งแวดลอม ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพ สําหรับเปนแหลงตนน้ําลําธาร แหลงที่อยูอาศัยของสัตวปา แหลงอาหาร แหลงนันทนาการ และการทองเที่ยวทางธรรมชาติและประวัติศาสตรของประชาชน 5.4 ยุทธศาสตรและกลยุทธ เพื่อใหการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติ สอดคลองกับการวิเคราะหและประเมินสถานการณ และสามารถบรรลุวิสัยทัศน พันธกิจและวัตถุประสงคที่วางไว จึงไดกําหนดยุทธศาสตรเพื่อใชเปนกรอบในการ ดําเนินงาน 4 ดานหลัก ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 : การคุมครองระบบนิเวศ และความหลากหลายชีวภาพ ยุทธศาสตรที่ 2 : การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ 3 : การวิจัยและพัฒนา ยุทธศาสตรที่ 4 : การสรางเอกภาพบริหารจัดการ

6. พรรณไม สภาพปาโดยทั่วไปเปนปาเต็งรังประมาณ 90 เปอรเซ็นตเปนปาโปรง ตนไมแคระแกร็น พันธุไม ไดแก เต็ง รัง เหียงประดู และเหมือดตางๆ ไมพื้นลางเปนพวก ไผปา หญา ขอยหิน และยังมีดอกไมที่สวยงาม ขึ้นอยูตามซอกหินอยูทั่วไป เชน หยาดน้ําคาง เอนอา ตลอดจนมี ทุงดอกไมปากินแมลงจําพวก ดุสิตา สรอย สุวรรณาทิพเกสรมณีเทวา สรัสจันทร นอกจากนี้ยังมีกลวยไมที่สําคัญ แดงอุบล (มาวิ่ง) สิงโต เหลืองโคราช เหลืองพิสมร ตะขาบเล็ก เอื้องเงิน ขึ้นอยูเปนจํานวนมากกระจัดกระจายอยูเต็มพื้นที่ มีปาดิบแลงกระจายตัว ในบริเวณที่ราบลุมแถบริมหวยและริมแมน้ํา เนื่องจากมีความชุมชื้นพอประมาณตลอดป พันธุไมที่สําคัญ ไดแก 7

ยาง กระบาก รกฟา ตะแบกเลือด เขลงไมพื้นลางเปนพวกไมเถา ไมเลื้อยตางๆ นอกจากนี้ยังพบปาสนสองใบที่ ขึ้นเองตามธรรมชาติบริเวณปาดงนาทาม

7. สัตวปา สัตวปาประเภทเลี้ยงลูกดวยนมขนาดใหญยังไมพบแตขนาดเล็กลงมา ที่พบโดยทั่วไปเชน สุนัข จิ้งจอก อีเห็น เกง ชะมดกระตายปา บาง ไกปา ในฤดูแลงเมื่อระดับน้ําในแมน้ําโขงลดลงมากมักจะพบเห็นสัตว ประเภท หมูปา เกง วายน้ําขามมาจากฝงประเทศลาวอยูเสมอ และปลาน้ําจืดชนิดตางๆ นกชนิดที่พบ เชน นกขุนทอง นกยูง เหยี่ยว อีกา นกขุนแผนนกกระเต็นนกกระแตแตแวด เปนตน

8. แหลงทองเที่ยวแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 8.1 แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร

ภาพที่ 3 ภาพเขียนสีกอนประวัติศาสตร ผาแตมเมื่อมองดูจากแมน้ําโขงดานลาง จะเห็นเปนหนาผาสูงที่สวยงามตามธรรมชาติ บริเวณ ดานลางของหนาผา มีภาพเขียนสีกอนประวัติศาสตร ปรากฏเรียงรายอยู ตามผนังหนาผาเปนจํานวนมาก อายุ ราว 3,000 - 4,000 ป (ภาพเขียนสีศิลปะถ้ําโบราณผาแตม) มีภาพเขียนเรียงตอกันเปนแนวยาว ทั้งที่เปนภาพ ขนาดเล็กและภาพขนาดใหญประมาณ 180 เมตร คิดเปนพื้นที่เกือบ 900 ตารางเมตร โดยมีภาพเขียนสีโบราณ ที่มากที่สุดเทาที่เคยพบทั้งในประเทศไทย และตางประเทศ ภาพที่พบแบงเปน 5 กลุม คือภาพคน ภาพสัตว ภาพเครื่องมือดักสัตว ภาพฝามือ และภาพลวดลายเรขาคณิตนอกจากนี้ยังมีการคนพบกลุมภาพเขียนสีโบราณ บริเวณผาเจ็ก ผาเมย โหงนแตม บริเวณผาชะนะไดซึ่งเปนกลุมภาพเขียนสีกอนประวัติศาสตรยุคเดียวกันอีก ดวย ลักษณะของกลุมภาพ แตละกลุมนั้นแตกตางกัน

8

8.2 แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 8.2.1 เสาเฉลียง

ภาพที่ 4 เสาเฉลียง เมื่อประมาณ 4,600 ลานป ที่ผานมา ซึ่งนักดาราศาสตร สันนิษฐานวาเกิดจากการรวมตัว ของกลุมกาซในอวกาศ ดวยความกดดันที่สูงมาก และเกิดพลังงานความรอนมหาศาลจนมวลสารที่รวมตัวกัน หลอมละลาย ซึ่งใชเวลานับลานป จึงเย็นตัวลงเปนเปลือกโลก แตวาสภาพบรรยากาศที่ปกคลุมโลกอยู เต็มไป ดวยกาซชนิดตางๆ สภาพลมฟาอากาศแปรปรวน กาซที่ปกคลุมผิวโลกอยูรวมตัวกัน ความหนาแนนมากขึ้น จน กลั่นตัวลงมาเปนฝนนานนับหมื่นป เมื่อสิ้นสุดฝนในครั้งนั้น โลกก็เย็นตัวลง มากขึ้น เกิดผืนน้ํา แมน้ําลําธาร มากมาย เกิดการกัดเซาะพังทลายของเปลือกโลก (กษัยการ) เกิดวัฏจักรของหิน ตอมาเมื่อประมาณ 3,500 ลานป ที่ผานมา จึงกําเนิดชีวิตแรกในทองน้ํา เปนสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว ประเภท โปรคารีโอต ซึ่งเปนจุดกําเนิด ของพืช และสัตวทุกชนิด ตามสายวิวัฒนาการ เสาเฉลียง.…เปนประติมากรรมหินทรายที่ธรรมชาติสรางขึ้น เปนหนวยหิน “ภูพาน” ที่เกิดขึ้นในยุค ครีเตเชียส (Cretaceous Period) เมื่อประมาณ 130 ลานป เสาเฉลียง ประกอบดวย หินสองสวน หินทรายตนถึงกลางยุค หินสวนบนเกิดจากการสะสมตะกอนของหินทราย ชวง ปลายยุคครีเตเชียส โดยผานกระบวนการการกัดกรอนทางธรรมชาติที่ยาวนานหลายลานป อันมีสาเหตุมา จากกระแสน้ํา แรงลม และความแปรปรวนของลมหลายลานปอันมีสาเหตุมาจากกระแสน้ํา แรงลมและความ แปรปรวนของลมฟาอากาศ กระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวของเปลือกโลกครั้งสําคัญ(การเคลื่อนตัว การโกง ตัว และการทรุดตัว) เปนผลใหเกิดการกัดกรอนของชั้นหินสวนลางที่เหลือจากการกัดกรอนซอนอยูในแนวดิ่ง และหินสวนบนที่เหลือจากการกัดกรอนซอนอยูในแนวนอน

9

8.2.2เสาเฉลียงใหญ

ภาพที่ 5 เสาเฉลียงใหญ บริเวณเสาเฉลียงยักษเปนชั้นหินทรายที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนทางน้ําในอดีต มีอายุ ประมาณ 100 ลานป หรืออยูในมหายุคมีโซโซอีก (Mecozoic era) ถูกจัดใหอยูในหมวดหินภูพาน (PhuPhan Formation) กลุมหินโคราช (Korat Group) โดยลักษณะภูมิสัณฐาน (Morphology) ที่ปรากฏตัวใหเห็นใน ปจจุบัน เปนผลมาจากชั้นหินทรายเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสราง เนื่องจากการยืดและหดตัวตามสภาพ ภูมิอากาศที่รอนในเวลากลางวันและอากาศเย็นในเวลากลางคืน ทําใหชั้นหินเกิดรอยแตกและรอยแยก ในเวลา ตอมาชั้นหินถูกการกัดเซาะดวยกระแสน้ําและลม และทําใหชั้นหินสวนที่เหลือปรากฏใหเห็นเปน “เสาเฉลียง ยักษ” ในปจจุบัน เปนเสาหินธรรมชาติที่มีขนาดใหญที่สุดในประเทศไทย ความสูงประมาณ 20 เมตร กวาง 10 เมตร

8.2.3 น้ําตกแสงจันทร

ภาพที่ 6 น้ําตกแสงจันทร

ภาพที่ 6 น้ําตกแสงจันทร

10

น้ําตกแสงจันทร หรือน้ําตกรู (UNSEEN )อยูหางจากที่ทําการอุทยานแหงชาติ ผาแตม ประมาณ 41 กิโลเมตร เปนน้ําตกขนาดเล็ก สูงประมาณ 8 เมตร เกิดจากลําหวยทาโลง ไหลตกลงจาก เพิงหนาผา เปนชองโพรงอันเกิดจากการกัดเซาะของน้ําตามธรรมชาติ ลักษณะของโพรงมองดูคลายรูป พระจันทรครึ่งเสี้ยว เมื่อแหงนจากดานลางจะเห็นสายน้ําไหลผานปลองหินลงมากระทบแสงแดดเปนประกาย งดงามคลายแสงจันทร มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 2 เมตร กอนไหลลงสูลําแมน้ําโขง 8.2.4 น้ําตกสรอยสวรรค

ภาพที่ 7 น้ําตกสรอยสวรรค อยูหางจากที่ทําการอุทยานแหงชาติผาแตม ประมาณ20 กิโลเมตรเปนน้ําตกที่สวยงามมีแอง น้ําที่สามารถลงเลนน้ําได จะมีน้ําไหลในชวงเดือน มิถุนายน - ธันวาคม เกิดจากลําธาร 2 สาย คือ หวยสรอยน้ําจะตกลงในแนวบันได และหวยสะหนม น้ําจะตกลงในแนวดิ่งหนาผาทํามุม 90 องศา ซึ่งทั้งสอง สายจะไหลมาบรรจบกัน มองดูคลายสายสรอยสีขาวคลองอยูกลางผืนปา ในเบื้องลางมองดูสูงราว 50 - 60 เมตรกวางราว 30 เมตร กอนไหลลงสูลําแมน้ําโขง

8.2.5 น้ําตกหวยพอก

ภาพที่ 8 น้ําตกหวยพอก

11

น้ําตกหวยพอกเปนน้ําตกขนาดกลาง เกิดจากหวยเฉลียงไหลลดหลั่นลงมาตามหินชัน เชิงผา 3 – 4 ชั้น กอนไหลผานปาดิบแลง ลงสูลําน้ําโขง การเดินทางสามารถใชรถยนตเขาถึงได แตตองใชรถยนตขับเคลื่อนสี่ลอ แตถาเดินเทาจะดีกวา เปนระยะทาง 10 กิโลเมตร โดยเริ่มเดินจากวัดถ้ําปาฏิหาริย ซึ่งจะไดพบน้ําตก พรรณไม เสาเฉลียงกอนหินมหัศจรรย และหลักฐานรองรอยตามโบราณคดี หางจากศูนยบริการนักทองเที่ยวอุทยาน แหงชาติผาแตม ประมาณ 55 กิโลเมตร 8.2.6 ผาชะนะได

ภาพที่ 9 ผาชะนะได ผาชะนะได เปนหนาผาที่ยื่นออกไปทางทิศตะวันออกสุดตามแผนที่ประเทศไทย ตั้งอยูที่บานซะซอม หมูที่ 7 ต.นาโพธิ์กลาง อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี เปนตําแหนงที่กรมอุตุนิยมวิทยา ใชเปนจุดคํานวณเวลา นอกจากนั้นยังเปนจุดชมพระอาทิตยขึ้นกอนใครในสยาม ที่เห็นแสงแรกกอนใครในสยาม

8.2.7 ทุงดอกไมปา

ภาพที่ 10 ทุงดอกไมปา 12

ทุงดอกไมปา บริเวณน้ําตกสรอยสวรรคมีเนื้อที่ประมาณ 42 ไร รวม 6 แปลง สวนใหญเปน พืชลมลุกและพืชกินแมลง เปนทุงดอกไมปาขนาดใหญที่สวยงามและออกดอกบานสะพรั่งในชวงปลายฝนตน หนาว ประมาณเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ ของทุกป สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรง เสด็จทอดพระเนตรศึกษาพันธุดอกไมปาทุกป ตั้งแตป พ.ศ. 2542 - 2548 และทรงพระราชทานนามดอกไมปา จํานวน 5 ชนิด คือ ดุสิตา(สีมวง) มณีเทวา(สีขาว) สรอยสุวรรณา(สีเหลือง) ทิพเกสร (สีชมพูออน) สรัสจันทร(สี มวง) สามารถเที่ยวชมไดในชวงเดือน พฤศจิกายน – กุมภาพันธของทุกป

ภาพที่ 11สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จทอดพระเนตรศึกษาพันธุดอกไมปา

13

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม ปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) ปาเบญจพรรณหรือปาผสมผลัดใบมีอยูมาก ทางภาคเหนือ ภาคกลางและพบกระจัดกระจาย เปนหยอมเล็กๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนทาง ภาคใตไมพบปาชนิดนี้เลย ปาเบญจพรรณมีลักษณะเปนปาโปรงมากหรือนอย ประกอบดวยไมตนขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็กปนกันหลากชนิดโดยเฉพาะ พรรณไมของวงศ Leguminosae, Combretaceae และ Labiatae แตจะไมปรากฏพรรณไมกลุมยาง-เต็ง-รัง ที่ผลัดใบ (deciduous dipterocarp) บางแหงมีไมไผ ชนิดตางๆ ขึ้นเปนกอสูงๆ แนนหรือกระจัดกระจาย พื้นดินมักเปนดินรวนปนทราย มีความชุมชื้นในดินปาน กลาง หากเปนดินที่สลายมาจากหินปูนหรือดินตะกอนที่อุดมสมบูรณตามฝงแมน้ํามักจะพบไมสักขึ้นเปนกลุมๆ เชน ปาเบญจพรรณในภาคเหนือลงมาถึงภาคตะวันออกเฉียงใต ในเขตจังหวัดกาญจนบุรีซึ่งประกอบดวยภูเขา หินปูนเปนสวนใหญ ในชวงฤดูแลง (มกราคม-มีนาคม) ตนไมสวนใหญ จะผลัดใบทําใหเรือนยอดของปาดูโปรง มาก เมื่อเขาฤดูฝนตนไมจึงผลิใบเต็มตนและปาจะกลับเขียวชอุมเชนเดิม ปาเบญจพรรณในทองที่มีดินตื้นหรือดินเปนกรวดทราย คอนขางแหงแลง (xeric) และมีไฟปาในฤดู แลง เปนประจํา ตนไมจะมีลักษณะแคระแกร็น เรือนยอดเปนพุมเตี้ยๆ ตามลําตนและกิ่งมักจะมีหนามแหลม เชน กระถินพิมาน Acacai tomentosa, A. harmandiana, แฉลบแดง A. leucophloea (Leguminosae- Mimosoideae), สีฟนคนฑา Harrisonia perforate (Simaroubaceae), มะสัง Feroniella lucida, กระแจะ Naringi crenulata (Rutaceae), แจง Maerua siamensis (Capparaceae), ตะขบปา Flacourtia indica (Flacourtiaceae) เปนตน (ธวัชชัย, 2555) ปาเบญจพรรณเปนปาผลัดใบประเภทหนึ่งที่ตนไมสวนใหญตางทิ้งใบหมดในชวงฤดูแลงและเริ่มผลิใบ ใหมในตนฤดูฝน ประเทศไทยพบปาเบญจพรรณไดทั่วไปทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 1,000 เมตร พันธุไมเดนในปาเบญจพรรณไดแก ไมสัก ไมแดง ไม ประดู ไมมะคาโมง ไมตะแบกใหญ ไมไผ เชน ไผหก ไผปา ไผรวก ไผขาวหลาม ไมเถา เชน เครือออน รางจืด และไมอิงอาศัย เชน กระแตไตไม นมตําเลีย กระเชาสีดา เอื้องกะเรกะรอน เอื้องเงิน นอกจากนี้ปา เบญจพรรณยังอุดมไปดวยเฟนชนิดตาง ๆ อีกหลากหลายชนิด ตลอดจนพืชสมุนไพรที่สําคัญ เชน บุกและ พญากาสักดํา สัตวปาในปาเบญจพรรณไดแก ชางปา กระทิง กวางปา เกง หมาไม ชะมด อีเห็น ไกปา นกและ แมลงอีกหลากหลายชนิด นอกจากนี้ยังเต็มไปดวยสัตวครึ่งน้ําครึ่งบกที่เปนอาหารของชาวบานไดอยางดี เชน กบ เขียด อึ่งอาง (พรชัย มูลจัด,2552)

14

บทที่ 3 อุปกรณ และวิธีการสํารวจ ระยะเวลาดําเนินการ โครงการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 มี ระยะเวลาดําเนินการศึกษา เริ่มตั้งแต วันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2560

วิธีการศึกษา โครงการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ ในอุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัด อุบลราชธานี ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ไดทําการศึกษาปาเบญจพรรณ โดยพิจารณาพื้นที่ซึ่งเปนตัวแทน ของปาเบญจพรรณที่ดีที่สุด เพื่อสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ดังตอไปนี้ 1. ความหลากหลายของพรรณไม 2. ความหลากหลายของแมลง 3. ความหลากหลายของเห็ด ซึ่งในการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษของพรรณไม แมลง และเห็ด ในปาเต็ง รังในอุทยานแหงชาติผาแตม มีวิธีการศึกษา และผลการศึกษา ดังตอไปนี้

ความหลากหลายของพรรณไม วิธีการศึกษา 1. การวางแปลงตัวอยาง ในการสํารวจความหลากหลายของพรรณไมในพื้นที่ปาอนุรักษ ในอุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัด อุบลราชธานี ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2560 ไดทําการคัดเลือกพื้นที่ปาเบญจพรรณซึ่งเปนตัวแทนของปา เบญจพรรณทั้งหมด แลวทําการวางแปลงตัวอยางขนาด 20 x 50 ตารางเมตร จํานวน 4 แปลง กระจายทั่ว พื้นที่ โดยเลือกพื้นที่ซึ่งเปนตัวแทนของปาชนิดนั้นทั้งหมด ในแปลง 20 x 50 ตารางเมตร แบงแปลงออกเปน 10 x 10 ตารางเมตร ไดทั้งหมด 10 แปลง ในแตละแปลงขนาด 10 x 10 ตารางเมตร วางแปลงขนาด 5 x 5 ตารางเมตร การเก็บตัวอยางพรรณไมมีวิธีการดังตอไปนี้ 1.1 ในแปลงขนาด 10 x 10 ตารางเมตร ทําการสํารวจเก็บขอมูลพรรณไมยืนตนที่มีเสนรอบ วงหรือความโตที่ระดับความสูงเพียงอกตั้งแต 15 เซนติเมตร ขึ้นไป โดยวัดความโต ความสูงทั้งหมด ความสูงกิ่ง แรก ขนาดเรือนยอด และตําแหนง 15

1.2 ในแปลงขนาด 5x 5 ตารางเมตร ทําการสํารวจเก็บขอมูลไมหนุม คือตนไมที่มีความโตที่ ระดับความสูงเพียงอกต่ํากวา 15 เซนติเมตร โดยจําแนกชนิดและนับจํานวน 1.3บันทึกภาพดอก ผล และลักษณะของพรรณไมที่ไมทราบชนิด และเก็บตัวอยางเพื่อนําไป อัดแลวสงใหผูเชี่ยวชาญจําแนกชนิด

2. การวิเคราะหขอมูล ขอมูลพรรณไมที่เก็บไดจากแปลงตัวอยาง นํามาวิเคราะหเพื่อบรรยายในสวนขององคประกอบของ ชนิดพันธุที่ปรากฏในแปลงตัวอยาง และลักษณะโครงสราง 2.1 การวิเคราะหองคประกอบของชนิดพันธุพืช ชนิดพันธุพืชแตละชนิดที่ปรากฏอยูในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งนั้น มีระดับความสําคัญทาง นิเวศวิทยาตอพื้นที่นั้นแตกตางกันไป ในการวัดระดับความสําคัญทางนิเวศวิทยาของชนิดพันธุพืชที่ปรากฏอยู ในพื้นที่หนึ่งๆ นั้น จะใชตัววัดที่แตกตางกันไป เชน ความหนาแนน ความถี่ของการปรากฏการปกคลุม เปนตน ซึ่งอาจจะใชตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายๆ ตัว ประกอบกันได สําหรับในการวิเคราะหองคประกอบของสังคมพืชที่มี ไมยืนตนเปนองคประกอบหลักนั้น โดยทั่วไปมักจะใชตัวแปรที่เกี่ยวของกับความหนาแนน ความถี่ของการ ปรากฏ และความเดน พรอมทั้งแสดงคาสัมพัทธของตัวแปรทั้งสาม และหาคาผลรวมของคาสัมพัทธทั้งสามนั้น ซึ่งเรียกวา “คาความสําคัญ (Important value)” 2.1.1 ความหนาแนน ความหนาแนน (Density) เปนคาที่ชี้ถึงความมากมายในรูปของจํานวนตนไมของ พันธุไมแตละชนิด ซึ่งมีสูตรในการคํานวณ ดังนี้ ความหนาแนน (ตน/เฮกแตร) = จํานวนตนของชนิดพันธุนั้นๆ ที่พบในแปลงตัวอยาง x 100 พื้นที่ของแปลงตัวอยาง (ตารางเมตร) 2.1.2 ความถี่ ความถี่ (Frequency) เปนคาที่แสดงการกระจายของชนิดพันธุนั้นๆ ชนิดพันธุพืชที่มี คาความถี่สูงแสดงวามีการกระจายมาก มีโอกาสที่จะถูกพบไดมากกวาชนิดพันธุที่มีการกระจายนอยกวา สําหรับสูตรในการคํานวณคาความถี่มีดังนี้ ความถี่ (%) = จํานวนแปลงยอยที่ชนิดพันธุนั้นๆ ปรากฏ x 100 จํานวนแปลงยอยทั้งหมดในแปลงตัวอยางหนึ่งๆ

16

2.1.3 ความเดน ความเดน (Dominance) เปนคาที่แสดงถึงการปกคลุมของชนิดพันธุพืชแตละชนิด ชนิดพันธุที่มีความเดนสูงจะมีการปกคลุมพื้นที่ไดดีกวาชนิดพันธุที่มีคาความเดนนอยกวา สําหรับในการศึกษา องคประกอบชนิดพันธุไมยืนตนนั้น มักจะใชปริมาณการปกคลุมของพื้นที่หนาตัดเปนตัววัดคาความเดนของ พันธุไมแตละชนิด ซึ่งมีสูตรในการคํานวณ ดังนี้ ความเดน (ตร.ซม./ตร.ม.) = พื้นที่หนาตัดทั้งหมดที่พบในแปลงตัวอยางของชนิดพันธุหนึ่งๆ (ตร.ซม.) พื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอยาง (ตร.ม.) 2.1.4 คาความสัมพัทธ คาความหนาแนน ความถี่ และความเดนของพันธุไมแตละชนิด เปนคาที่แสดงใหเห็น วาพันธุไมแตละชนิดนั้นๆ มีจํานวน โอกาสของการพบ และมีการปกคลุมของพื้นที่หนาตัดเทาไร ซึ่งเปนคาที่ แสดงเฉพาะของแตละชนิดพันธุเทานั้นไมไดมีการเปรียบเทียบกับชนิดพันธุอื่นๆ ที่ปรากฏในหมูไมนั้นๆ ดังนั้น คาผลรวมที่ไดจึงไมสามารถใชเปนตัววัดที่ดีได จําเปนตองนํามาเปรียบเทียบกับคาเดียวกันของชนิดพันธุอื่นๆ ที่ ปรากฏในพื้นที่นั้นๆ กอน คาเปรียบเทียบที่ไดนี้เรียกวา “คาสัมพัทธ (Important Value)” ซึ่งเปนตัวชี้ถึง ความสําคัญของพันธุไมชนิดนั้นๆ ในหมูไมที่ทําการศึกษา มีสูตรการคํานวณ ดังนี้

ความหนาแนนสัมพัทธ (%) = คาความหนาแนนของชนิดพันธุนั้นๆ x 100 ผลรวมของคาความหนาแนนของทุกชนิดที่พบในแปลงตัวอยาง ความถี่สัมพัทธ (%) = คาความถี่ของชนิดพันธุนั้นๆ x 100 ผลรวมของคาความถี่ของทุกชนิดที่พบในแปลงตัวอยาง ความเดนสัมพัทธ (%) = คาความเดนของชนิดพันธุนั้นๆ x 100 ผลรวมของคาความเดนของทุกชนิดที่พบในแปลงตัวอยาง

คาความสําคัญ= ความหนาแนนสัมพัทธ + ความถี่สัมพัทธ + ความเดนสัมพัทธ

2.2 การคํานวณคาความหลากหลายของชนิดพันธุพืช การคํานวณคาความหลากหลายของชนิดพันธุพิจารณาจากทั้งจํานวนชนิดพันธุและจํานวนตน ของแตละชนิดพันธุประกอบกัน สําหรับคาดัชนีที่นิยมใชโดยทั่วไปคือ Shannon – wiener Index โดยที่หมูไม ที่มีคาดัชนีนี้สูงกวาจะมีความหลากหลายของชนิดพันธุมากกวา สูตรในการคํานวณ มีดังนี้

17

k Shannon – wiener Index= - ∑ pi. log2 (pi) I=1 โดยที่ k = จํานวนของชนิดพันธุ Pi = สัดสวนระหวางจํานวนตนของชนิดพันธุนั้นตอจํานวนตนของตนไมทั้งหมดที่พบ สําหรับการวิเคราะหขอมูลองคประกอบของชนิดพันธุพืชและความหลากหลายของชนิดพันธุ ใชวิธีการ คํานวณดวยโปรแกรม ECOPACK ของอาจารยสมบูรณ กีรติประยูร

ความหลากหลายของแมลง วิธีการ 1. การสํารวจขอมูลผีเสื้อกลางวัน 1.1 คัดเลือกพื้นที่เพื่อวางแปลงสํารวจจํานวน 4 จุด โดยกระจายใหครอบคลุมพื้นที่ปา เต็งรังทั้งหมดบริเวณอุทยานแหงชาติผาแตม ทั้งนี้ เลือกพื้นที่ใกลแหลงน้ําเพื่อจะไดความหลากหลายของ ผีเสื้อกลางวันใหมากที่สุด 1.2 ในแตละจุดสํารวจ ทําการวางแนวสํารวจ 2 เสน ระยะทางเสนละ 100 เมตร โดยมี ระยะหาง 50 เมตร ในแนวขนานกัน

ภาพที่ 12 แนวสํารวจผีเสื้อกลางวัน 18

1.3 ทั้งสองแนวสํารวจ เก็บผีเสื้อกลางวันทุกตัวในรัศมีดานละ 5 เมตร รวมทั้งบันทึกชนิดและ จํานวนผีเสื้อทุกตัวที่พบ โดยไมเก็บผีเสื้อกลางวันในระหวางการเปลี่ยนเสนสํารวจ 1.4 บันทึกชนิดและจํานวนผีเสื้อที่สํารวจไดเพื่อนําไปทําบัญชีรายชื่อ 1.5 แบงการสํารวจผีเสื้อออกเปน 2 ฤดูกาล คือ ฤดูรอน และ ฤดูฝน 1.6 ในแตละฤดูกาล สํารวจผีเสื้อ 2 ชวงเวลา คือ ชวงเชา สํารวจชวงระหวางเวลา 9.00 – 12.00 น. ชวงบาย สํารวจชวงระหวางเวลา 13.00 – 16.00 น. (ใชเวลาแตละชวง 3 ชั่วโมงสํารวจแบบตอเนื่อง โดยไมหยุดพัก) 2. การสํารวจขอมูลผีเสื้อกลางคืน 2.1 คัดเลือกพื้นที่เพื่อเก็บขอมูลผีเสื้อกลางคืน จํานวน 1 จุด ใหอยูบริเวณเดียวกับพื้นที่ที่เก็บ ตัวอยางผีเสื้อกลางวัน 2.2 ติดตั้งกับดักแสงไฟ โดยใชหลอดไฟฟาแบบแบล็คไลท18-20 วัตต(หลอดสั้น) ใชจอผา ขนาด 1.20 X 1.50 เมตร เปนพื้นที่ดักแมลง 2.3 บันทึกภาพผีเสื้อกลางคืนที่เกาะบนจอผา และบริเวณใกลเคียง เชน พื้นดิน เสา และ ตนไม โดยบันทึกเฉพาะผีเสื้อกลางคืนที่มีขนาดมากกวา 4 เซนติเมตร บันทึกชนิดและจํานวนผีเสื้อในเวลา 21.00 น. และ 06.00 น. เพื่อนําไปทําบัญชีรายชื่อ 2.4 แบงการสํารวจผีเสื้อกลางคืนออกเปน 2 ฤดูกาล คือ ฤดูรอน และ ฤดูฝน

3. การวิเคราะหขอมูล 3.1 ทําแผนผัง Venn diagram เปรียบเทียบขอมูลของผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในฤดูรอน และฤดูฝน

A C B

ภาพที่ 13 แผนผัง Venn diagram

3.2 คํานวณหาคาความคลายคลึงกัน ของ Sorensen (Indices of similslity or Community coefficients) จากสูตร

19

ISs = ( ) X 100 2 W A+B โดย A = เปนจํานวนชนิดพันธุหรือคาวัดทั้งหมดในสังคม A B = เปนจํานวนชนิดพันธุหรือคาวัดทั้งหมดในสังคม B W = เปนคาปรากฏรวมกันทั้งในสังคม A และสังคม B 3.3 คํานวณหาคาความหลากหลายทางชีวภาพ Shannon’s Index (Ludwig and Reynolds, 1988) จากสูตร

s H '= −∑(Pi ln Pi ) i=1

โดย Pi = สัดสวนของชนิด I ตอจํานวนของชนิดทั้งหมด S = จํานวนชนิดทั้งหมด H ' = Shannon’s Index

คํานวณหาคาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness จากสูตร

J'= H′ โดย J' ln =S คาความสม่ําเสมอ H ' = Shannon’s Index S = จํานวนชนิดทั้งหมด

20

ความหลากหลายของเห็ด การศึกษาและการเก็บตัวอยางเห็ด การเก็บเห็ดจะเก็บในฤดูฝนโดยเฉพาะตอนตนฤดูหรือหลังจากฝนตกลงมาแลว 3 – 4 วัน อุปกรณเก็บตัวอยางภาคสนาม 1. ที่ใสเห็ด มีโครงสรางโปงและแข็ง เชน ตะกรา หรือเปสะพาย เพื่อไมใหตัวอยางเห็ดชํารุดขณะทํา การเก็บตัวอยาง 2. ถุงใสเห็ด ใชถุงกระดาษฟางหรือกระดาษไข สําหรับเห็ดครีบหรือเห็ดที่มีลักษณะออนนุม ชุมน้ํา เพื่อปองกันการสูญเสียน้ําของดอกเห็ดอันจะทําใหดอกเห็ดเสียรูปทรง แตบางครั้งอาจใชกระดาษหนังสือพิมพ เกาเพื่อความสะดวกและประหยัดตามงบประมาณ สําหรับเห็ดที่มีโครงสรางแข็ง เชน เห็ดหิ้ง หรือเห็ดกระดาง อาจประยุกตใชอุปกรณอื่นๆ เชน ถุงพลาสติก เปนตน 3. มีดและพลั่วสนาม ควรใชขนาดกลางๆ ใหสะดวกตอการพกพา แตหากมีสมาชิกหลายคนอาจพกได หลายขนาด แตตองมีความแข็งแรงทนทาน สามารถใชในการตัดไม ถากไม หรือแมกระทั่งขุดดินได 4. อุปกรณบันทึกขอมูล เชน สมุด ปากกา ดินสอดํา แบบฟอรมตางๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน โดยการ บันทึกจะบันทึกรายละเอียดของขนาด จํานวน สี และลักษณะตางๆ ที่สําคัญของดอกเห็ด 5. แวนขยาย กําลังขยายตั้งแต 10 – 30 เทา เพื่อใชในการตรวจสอบลักษณะบางประการ เชน ลักษณะการติดกันของครีบกับกาน ลักษณะรูของเห็ด เปนตน 6. เครื่องมือบันทึกภาพ เชน กลองถายรูป พรอมอุปกรณตางๆ เลนสชนิดตางๆ เชน macrolens, wideangle, lens เปนตน 7. เครื่องมือระบุพิกัดทางภูมิศาสตร 8. อุปกรอื่นๆ เชน ไมเทา ไมเขี่ยพื้นปา ยากันแมลงและสัตวมีพิษตางๆ อุปกรณปฐมพยาบาลเปนตน การเก็บตัวอยางเห็ด 1. ควรเก็บดอกเห็ดในหลายๆ ขั้นตอนของการเติบโต ตั้งแตดอกออนจนถึงดอกแก 2. ควรเก็บแตละชนิด หอแยกกัน เพื่อไมใหเกิดการปนกันของสปอร ภาชนะที่ใชตองสามารถเก็บ ความชื้นของดอกเห็ดไวไดเพราะถาดอกแหง สีของดอกอาจเปลี่ยนไป 3. ตองสังเกตและจดบันทึกลักษณะของดอกเห็ดที่อยูไมคงทน เชน วงแหวน หรือเสนใยบางๆ บนกาน สะเก็ดบนหมวกหรือขอบหมวก หยดของเหลว บนครีบ การเปลี่ยนสีของดอกเห็ดเมื่อซ้ํา เปนตน 4. บันทึกสิ่งที่เห็ดขึ้นอยู เชน ขึ้นอยูบนขอนไมหรือกิ่งไม เศษซากใบไม ขึ้นอยูบนดินบริเวณใกลตนไม ซึ่งควรรูชื่อตนไมดวย ชนิดของปา เปนตน 21

5. ดูลักษณะการขึ้นของดอกเห็ดอยูเดี่ยวๆ ขึ้นกระจายใกลๆ กัน ขึ้นเปนกระจุกหรือขึ้นเปนวงแหวน วิธีที่ดีที่สุดคือการถายรูป 6. ตองรีบอธิบายลักษณะภายนอกของดอกเห็ด และทํารายพิมพสปอรในขณะที่ดอกเห็ดกําลังสดอยู เมื่อบันทึกลักษณะภายนอกเรียบรอยแลว ถาสามารถวินิจฉัยชื่อดอกเห็ดไดถึงระดับสกุล และชนิด ก็ควรให เสร็จโดยเร็ว แตถาไมสามารถจําแนกไดควรเก็บดอกเห็ดไวในตูเย็นชองธรรมดา หรือเก็บไวในที่แหงและเย็น หรือนําไปอบแหงที่อุณหภูมิ 45 – 50 องศาเซลเซียส เพื่อนําไปศึกษาลักษณะภายใตกลองจุลทรรศนตอไป การบันทึกขอมูล การบันทึกลักษณะภายนอก (Macrostructure) ในการบันทึกลักษณะภายนอกของดอกเห็ดอยางคราวๆ จะตองบันทึกขอมูลในขณะที่ดอกเห็ดสดอยู เพื่อใชประกอบการวินิจฉัยชนิด ดังนี้ 1. ขนาด การวัดลักษณะเปนสิ่งสําคัญในการบันทึกขณะดอกเห็ดยังสดอยู ควรวัดขนาดความกวาง ความยาว และความสูงของหมวกเห็ด กานดอกปลอกกานดอก วงแหวน และลักษณะสําคัญอื่นๆ การวัดขนาด นิยมวัดในหนวยของมิลลิลิตร หรือเซนติเมตร 2. สี สีของดอกเห็ดมีไดทุกสีตั้งแตสีขาวถึงสีแดง แตสีที่พบบอยในโทนสีเหลืองถึงสีน้ําตาล การอธิบาย สีของดอกเห็ดมักแตกตางกันไปแลวแตบุคคล ดังนั้นควรมีตารางเทียบสีมาตรฐาน จะบันทึกสีไดถูกตอง สีของ ดอกเห็ดจะเปลี่ยนแปลงไปตามอายุ และสภาพแวดลอมจึงควรบันทึกทั้งสีของดอกออนและดอกแก 3. การทํารอยพิมพสปอร นิยมทําเฉพาะเห็ดนิ่ม เพื่อดูสีของสปอร หลังจากเก็บดอกเห็ดในปาซึ่งควร เปนดอกเห็ดที่โตเต็มที่และยังสดอยู นํามาตัดดอกเห็ดเอาเฉพาะหมวกเห็ดวางคว่ําลงบนกระดาษสีขาว หรือ กระดาษที่ขางหนึ่งเปนสีดําและอีกขางหนึ่งเปนสีขาว (ถาไมมีอาจใชกระดาษหนังสือพิมพแทนได) เมื่อกลับถึงที่ พักใหรีบทํารอยพิมพสปอรทันที หาภาชนะครอบเห็ดทิ้งไวระยะหนึ่งประมาณ 2 -3 ชั่วโมง ถึง 1 คืน แลวแต ชนิดเห็ด เมื่อเปดภาชนะครอบออกยายหมวกเห็ดออกจากกระดาษพิมพสปอร จะเห็นสีของสปอรที่หลนติดกับ กระดาษหนังสือพิมพสีของรอยพิมพสปอรแบงออกเปน 5 กลุม ดังนี้ กลุมสีขาวหรือสีออน ไดแก สีขาว สีครีม สีเหลืองออนจนถึงสีเหลืองและสีเขียวออน กลุมสีชมพูออนจนถึงชมพูแกและน้ําตาลอมชมพู กลุมสีน้ําตาลปน เหลืองจนถึงสีน้ําตาลและสีน้ําตาลปนแดงหรือสีสนิมเหล็ก กลุมสีน้ําตาลปนมวงจนถึงสีน้ําตาลปนสีช็อคโกแลต และกลุมสีเทาดําจนถึงสีดําเก็บรอยพิมพสปอรไวบันทึกเลขที่ใหตรงกับตัวอยางดอกเห็ดที่เก็บ เพื่อนําไปใช ขอมูลตรวจพิสูจนชนิดเห็ดตามหลักอนุกรมวิธาน (taxonomy) ตอไป

บทที่ 4 ผลการศึกษา จากการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณไม แมลง เห็ด ในพื้นที่ปาเบญจพรรณ ของอุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ไดผลการศึกษาดังนี้ ผลการสํารวจความหลากหลายของพรรณไม จากการวางแปลงขนาด 20 x 50 ตารางเมตร จํานวน 4 แปลง เพื่อสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพของ พรรณไมในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี พบพรรณไม 247 ตน 31 สกุล 15 วงศ พันธุไมที่มีความถี่สูงที่สุด คือ แดง มีคา 80.00 เปอรเซ็นต รองลงมาไดแก ติ้ว ตระแบก ปอ ยมหิน มีคา 70.00, 70.00, 40.00 และ 20.00 เปอรเซ็นต พันธุไมที่มีความหนาแนนสูงที่สุด คือ ติ้ว มีคา 220.00 ตน/เฮก แตร รองลงมา ไดแก แดง ตะแบก ปอ ตะครอ มีคา 160.00, 160.00, 80.00 และ 40.00 ตน/เฮกแตร ตามลําดับ พันธุไมที่มีความเดนสูงที่สุด ไดแก ติ้ว มีคา 5.88 ตารางเมตร/เฮกแตร รองลงมา ไดแก แดง ตะแบก ยมหิน ปอ มีคา 3.06, 2.88, 2.04 และ 1.68 ตารางเมตร/เฮกแตร การศึกษาคาความหลากหลายทางชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index) ของไมใหญจากการวาง แปลงสํารวจในปาเต็งรัง พบวา มีคา 2.0766 จากการวาดภาพ Profile Diagram สามารถแบงชั้นเรือนยอด ออกไดเปน 2 เรือนยอด ชั้นแรกมีชวงชั้นความสูงประมาณ 1.30 – 6 เมตร สวนชั้นเรือนยอดที่สองมีความสูง มากกวา 6 เมตร ขึ้นไป ดังภาพที่ 20 สวนลักษณะทางนิเวศวิทยาของแตละแปลง แสดงดังตารางที่ 3 จากการศึกษาไมหนุม โดยสํารวจในแปลงขนาด 5 x 5 ตารางเมตร พบไมหนุม 7 ชนิด ดังตารางผนวก ที่ 5 จากการศึกษาลูกไมและไมพื้นลาง โดยการสํารวจกระจายทั่วทั้งแปลง เพื่อใหไดความหลากหลายของ ลูกไมและไมพื้นลางมากที่สุด พบลูกไม 4 ชนิด ดังตารางผนวกที่ 6 นอกจากการวางแปลงตัวอยางเพื่อสํารวจพรรณไมแลว ยังไดทําการเดินสํารวจพรรณไมแบบบัญชี รายชื่อตามเสนทางที่เดินผาน โดยสํารวจทั้งไมยืนตน ไมพื้นลาง และกลวยไม พบพรรณไม 91 ชนิด ดังตารางที่ 1

23

ภาพที่ 14 จุดวางแปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี 24

ภาพที่ 15 แปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมปาเบญจพรรณ แปลงที่ 1 ในอุทยานแหงชาติผาแตม

ภาพที่ 16 แปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมปาเบญจพรรณ แปลงที่ 2 ในอุทยานแหงชาติผาแตม

25

ภาพที่ 17 แปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมปาเบญจพรรณ แปลงที่ 3 ในอุทยานแหงชาติผาแตม

ภาพที่ 18 แปลงตัวอยางสํารวจพรรณไมปาเบญจพรรณ แปลงที่ 4 ในอุทยานแหงชาติผาแตม

26

A B C

D E F

G H I

ภาพที่ 19 ตัวอยางพรรณไมที่สํารวจพบในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม จ.อุบลราชธานี

วงศ LYTHRACEAE A. ตะแบก Lagerstroemia sp. วงศ FABACEAE B. แดง Xylia xylocarpa (Roxb.) W. Theob. วงศ. MALVACEAE C. สมกบ Hibiscus surattensis L. วงศ MALVACEAE D. งิ้วปา Bombax anceps Pierre วงศ FABACEAE E. ประดู Pterocarpus macrocarpus Kurz. วงศ BURSERACEAE F. มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum Guillaumin วงศ ANNONACEAE G. สะแกแสง Cananga brandisiana (Pierre) I.M. Turner วงศ SAPINDACEAE H. ตะครอ Schleichera oleosa (Lour.) Merr. วงศ ESCALLONIACEAE I. เหมือดโลด Polysma integrifolia Blume.

ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อพรรณไมที่สํารวจพบในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม

ลําดับ วิสัย ประเภทปา ที่ ชื่อพื้นเมือง ชื่อสามัญ ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ (Author name) วงศ (Family) (Habit) (Forest type)

1 กระโดน กระโดน Careya arborea Roxb. LECYTHIDACEAE T ปาเบญจพรรณ 2 กระบก กระบก Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn. IRVINGIACEAE T ปาเบญจพรรณ 3 เสี้ยวปา เสี้ยวปา Bauhinia saccocalyx Pierre FABACEAE ST ปาเบญจพรรณ 4 ยมหิน ยมหิน Acrocarpus fraxinifolius Wight ex Arn. FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 5 แดง แดง Xylia xylocarpa (Roxb.) W. Theob. FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 6 สะทาง สะทาง Xylopia pierrei Hance MELIACEAE T ปาเบญจพรรณ 7 เมาขี้หมา เมาขี้หมา Antidesma sp. - EUPHORBIACEAE S/ST ปาเบญจพรรณ 8 ตีนนก ตีนนก Terminalia calamansanay (Blanco) Rolfe COMBRETACEAE T ปาเบญจพรรณ 9 หมักมอ หมักมอ Rothmannia wittii (Craib.) Bremek. RUBIACEAE S ปาเบญจพรรณ 10 ลําบิดดง ลําบิดดง Diospyros filipendula Pierre ex Lecomte EBENACEAE T ปาเบญจพรรณ 11 หําอาว หําอาว Litsea variabilis Hemsl. LAURACEAE T ปาเบญจพรรณ 12 ชาสาน ชาสาน Sarcoglyphis napaulensis DC. ORCHIDACEAE S/ST ปาเบญจพรรณ 13 กลอย กลอย Dioscorea hispida Dennst. DIOSCOREACEAE HC ปาเบญจพรรณ 14 เครืออีโกย เถาเปรี้ยว Ampelocissus martinii Planch. ARACEAE WC ปาเบญจพรรณ 15 ยางโอน ยางโอน Monomeria viride (Craib) B. Xue & R. M. K. ANNONACEAE T ปาเบญจพรรณ Saunders 16 ปอแดง ปอแดง Sterculia guttata Roxb. T MALVACEAE T ปาเบญจพรรณ 17 ขวาว ขวาว Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale RUBIACEAE T ปาเบญจพรรณ 18 กัดลิ้น กัดลิ้น Walsura trichostemon Miq. MELIACEAE T ปาเบญจพรรณ

2727

ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อพรรณไมที่สํารวจพบในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ)

ลําดับ วิสัย ประเภทปา ที่ ชื่อพื้นเมือง ชื่อสามัญ ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ (Author name) วงศ (Family) Habit Forest type ( ) ( ) 19 ขนุนปา ขนุนปา Artocarpus chama Buch.-Ham. MORACEAE T ปาเบญจพรรณ 20 หมากครอ ตะครอ Schleichera oleosa (Lour.) Merr. SAPINDACEAE T ปาเบญจพรรณ 21 หนามตะคอง ตะครอง cambodiana Pierre ST ปาเบญจพรรณ 22 ขอยหนาม ขอยหนาม Streblus ilicifolius (S. Vidal) Corner MORACEAE S/T ปาเบญจพรรณ 23 สะแกแสง สะแกแสง Cananga brandisiana (Pierre) I. M. Turner ANNONACEAE T ปาเบญจพรรณ 24 กระทอมขี้หมู กระทุมนา Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil. RUBIACEAE S/ST ปาเบญจพรรณ 25 สาน สาน Dillenia scabrella (D. Don) Roxb. Ex Wall DILLENIACEAE T ปาเบญจพรรณ 26 มะหวด มะหวด Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. SAPINDACEAE S/ST ปาเบญจพรรณ 27 ลําดวน ลําดวน Melodorum fruticosum Lour. ANNONACEAE S ปาเบญจพรรณ 28 หมากคอม พลับพลา Microcos tomentosa Sm. MALVACEAE T ปาเบญจพรรณ 29 หลักดํา หลักดํา Diospyros oblonga Wall. ex G. Don EBENACEAE T ปาเบญจพรรณ 30 สะทอนรอก สะทอนรอก Elaeocarpus tectorius (Lour.) Poir. ELAEOCARPACEAE T ปาเบญจพรรณ 31 อุโลก อุโลก Firmiana colorata (Roxb.) R. Br. MALVACEAE T ปาเบญจพรรณ 32 เปราะปา เปราะปา Kaempferia elegans (Wall.) Baker ZINGIBERACEAE H ปาเบญจพรรณ 33 วานนางคํา วานนางคํา Curcuma aromatica Salisb. ZINGIBERACEAE ExH ปาเบญจพรรณ 34 กําจัดตน กําจัดตน Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC. RUTACEAE T ปาเบญจพรรณ 35 ลิเภายุง ลิเภายุง Lygodium microphyllum (Cav.) R. Br. LYGODIACEAE CF ปาเบญจพรรณ 36 งิ้วปา งิ้วปา Bombax anceps Pierre MALVACEAE T ปาเบญจพรรณ 28 27

28

ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อพรรณไมที่สํารวจพบในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ)

ลําดับ วิสัย ประเภทปา ที่ ชื่อพื้นเมือง ชื่อสามัญ ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ (Author name) วงศ (Family) Habit Forest type ( ) ( ) 37 หมี่ หมีเหม็น Litsea glutinosa (Lour.) C. B. Rob. LAURACEAE T ปาเบญจพรรณ 38 เหมือดโลด โลด Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. PHYLLANTHACEAE S/ST ปาเบญจพรรณ 39 ติ้วขน ติ้วขน Cratoxylum pruniflorum (Kurz) Gogelein HYPERICACEAE T ปาเบญจพรรณ 40 ติ้วเกลี้ยง ติ้วเกลี้ยง Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume HYPERICACEAE T ปาเบญจพรรณ 41 โมกหลวง โมกหลวง Holarrhena pubescens Wall. ex G. Don APOCYNACEAE S/T ปาเบญจพรรณ 42 กะตังใบ กะตังใบ simplicifolia Zool. & Moritzi VITACEAE S ปาเบญจพรรณ 43 หนามแทง หนามแทง Catunaregam spathulifolia Tirveng. RUBIACEAE S/ST ปาเบญจพรรณ 44 มะพอก มะพอก Parinari anamensis Hance CHRYSOBALANACEAE T ปาเบญจพรรณ 45 ไผไร ไผไร Gigantochloa albociliata (Munro) Kurz POACEAE B ปาเบญจพรรณ 46 เขือง เขือง Wallichia caryotoides Roxb. ARECACEAE P ปาเบญจพรรณ 47 กะอาม กะอาม Crypteronia paniculata Blume CRYPTERONIACEAE T ปาเบญจพรรณ 48 คนทา คนทา Merr. SIMAROUBACEAE ScanS ปาเบญจพรรณ 49 ประดู ประดู Pterocarpus macrocarpus Kurz FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 50 เปอยเลือด ตะแบกเลือด Terminalia mucronata Craib & Hutch. COMBRETACEAE T ปาเบญจพรรณ 51 อะราง อะราง Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) Kurz FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 52 ออยชาง ออยชาง Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. ANACARDIACEAE T ปาเบญจพรรณ 53 แหน สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. COMBRETACEAE T ปาเบญจพรรณ 54 ตะแบก ตะแบก Lagerstroemia sp. - LYTHRACEAE T ปาเบญจพรรณ 27 2929

ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อพรรณไมที่สํารวจพบในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ)

ลําดับ วิสัย ประเภทปา ที่ ชื่อพื้นเมือง ชื่อสามัญ ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ (Author name) วงศ (Family) Habit Forest type ( ) ( ) 55 เมาไขปลา เมาไขปลา Antidesma ghaesembilla Gaertn. PHYLLANTHACEAE S/T ปาเบญจพรรณ 56 ขะเจาะ สาธร Millettia leucantha Kurz var. buteoides RUBIACEAE T ปาเบญจพรรณ (Gagnep.) P.K.Loc 57 กากะเลา อินทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa Wall. Ex Kurz LYTHRACEAE T ปาเบญจพรรณ 58 ไผเพ็ก ไผเพ็ก (A. Chev. & A. Camus) ปาเบญจพรรณ Vietnamosasa pusilla POACEAE B T. Q. Nguyen 59 กระเจียว กระเจียว Curcuma sessilis Gage ZINGIBERACEAE H ปาเบญจพรรณ 60 มะกอกเกลื้อน มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum Guillaumin BURSERACEAE T ปาเบญจพรรณ 61 หนอนตายอยาก หนอนตายอยาก Clitoria hanceana Hemsl. FABACEAE H ปาเบญจพรรณ 62 สานใหญ สานใหญ Dillenia indica L. DILLENIACEAE T ปาเบญจพรรณ 63 อีทก น้ําใจใคร Olax psittacorum (Lam.) Vahl OLACACEAE C ปาเบญจพรรณ 64 ยอปา ยอปา Morinda citrifolia L. RUBIACEAE ST ปาเบญจพรรณ 65 โมกมัน โมกมัน Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. APOCYNACEAE ST ปาเบญจพรรณ 66 ชิงชัน ชิงชัน Dalbergia oliveri Gamble ex Prain FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 67 ปอแดง ปอแดง Sterculia guttata Roxb. MALVACEAE T ปาเบญจพรรณ 68 คอแลน คอแลน Nephelium hypoleucum Kurz Sapindaceae T ปาเบญจพรรณ 69 เสี้ยวเครือ เสี้ยวเครือ Phanera glauca Benth. Subsp. Tenuiflora FABACEAE C ปาเบญจพรรณ (C. B. Clarke) A. Schmitz. 70 ไผโจด โจด Vietnamosasa ciliata (A. Camus) T. Q. POACEAE B ปาเบญจพรรณ Nguyen 27 3030

ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อพรรณไมที่สํารวจพบในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ)

ลําดับ วิสัย ประเภทปา ที่ ชื่อพื้นเมือง ชื่อสามัญ ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ (Author name) วงศ (Family) Habit Forest type ( ) ( ) 71 มะมวงแมงวัน มะมวงแมงวัน Buchanania lanzan Spreng. ANACARDIACEAE T ปาเบญจพรรณ 72 กระดูกกบ กระดูกกบ Hymenopyramis brachiata Wall.ex Griff. LAMIACEAE C ปาเบญจพรรณ 73 ขี้อาย แสนคํา Terminalia nigrovenulosa Pierre COMBRETACEAE T ปาเบญจพรรณ 74 พุดผา พุดผา Gardenia collinsiae Craib RUBIACEAE ST ปาเบญจพรรณ 75 กาสะลอง ปบ Millingtonia hortensis L. f. BIGNONIACEAE T ปาเบญจพรรณ 76 บาบน บาบน Entada reticulata Gagnep. FABACEAE C ปาเบญจพรรณ 77 คูน ราชพฤกษ Cassia fistula L. FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 78 ตะแบกเตี้ย ตะแบกเตี้ย lagerstroemia noei Craib COMBRETACEAE T ปาเบญจพรรณ 79 กางขี้มอด กางขี้มอด Albizia odoratissima (L. f.) Benth. FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 80 แคหางคาง แคหางคาง Markhamia Stipulate Sprague BIGNONIACEAE T ปาเบญจพรรณ var.kerrii 81 ขะยุง พะยูง Dalbergia cochinchinensis Pierre FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 82 ปอคาว ปอคาว Firmiana fulgens (Wall. ex Mast.) K. MALVACEAE T ปาเบญจพรรณ Schum. 83 มะคาแต มะคาแต Sindora siamensis Teijsm. Ex Miq. FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 84 คํารอก คํารอก Ellipanthus tomentosus Kurz CONNARACEAE ST ปาเบญจพรรณ 85 เหมือดหิน เหมือดหิน Symplocos sp. - SYMPLOCACEAE S/ST ปาเบญจพรรณ 86 กําแพงเจ็ดชั้น กําแพงเจ็ดชั้น Salacia chinensis L. CELASTRACEAE ScanS ปาเบญจพรรณ

31 3127

ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อพรรณไมที่สํารวจพบในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ)

ลําดับ วิสัย ประเภทปา ที่ ชื่อพื้นเมือง ชื่อสามัญ ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ (Author name) วงศ (Family) Habit Forest type ( ) ( ) 87 คาง คาง Albizia lebbekoides (DC.) FABACEAE T ปาเบญจพรรณ 88 สมลม สมลม Aganonerion polymorphum Pierre ex Spire APOCYNACEAE C ปาเบญจพรรณ 89 มันเทียน มันเทียน Dioclea filiformis Blume DIOSCOREACEAE HC ปาเบญจพรรณ 90 หมานอย กรุงเขมา Cissampelos pareira L. MENISPERMACEAE C ปาเบญจพรรณ 91 ฝนแสนหา ฝนแสนหา Myxopyrum smilacifolium (Wall.) Blume OLEACEAE C ปาเบญจพรรณ

27 3232

ตารางที่ 2 คา IV และรายชื่อพรรณไมของสังคมพืชปาเบญจพรรณในอุทยานแหงชาติผาแตม ความ ความ ความ ความเดน ความถี่ ลําดับ ความถี่ หนาแนน หนาแนน เดน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮก สัมพัทธ สัมพัทธ แตร) (%) แตร) (%) (%) 1 ตะแบก Lagerstroemia sp. LYTHRACEAE 210 370 11.87 14.38 16.82 21.17 52.38 Xylia xylocarpa (Roxb) 2 FABACEAE แดง W.Theob. Var. xylocarpa 120 220 5.92 8.22 10.00 10.57 28.79 Cratoxylum formosum (Jacq.) 3 Benth. & Hook. f. ex Dyer subsp. HYPERICACEAE ติ้วสม formosum 80 230 5.98 5.48 10.45 10.67 26.61 4 งิ้วปา Bombax anceps Pierre MALVACEAE 120 170 4.71 8.22 7.73 8.41 24.35 5 ปอแดง Sterculia guttata Roxb. MALVACEAE 70 130 3.57 4.79 5.91 6.37 17.07 6 สมกบ Hibiscus surattensis L. MALVACEAE 100 110 1.29 6.85 5.00 2.30 14.15 Millettia leucantha Kurz var. 7 สาธร buteoides (Gagnep.) P. K. Lôc FABACEAE 80 90 2.34 5.48 4.09 4.18 13.75 8 ปอ Trema Sp. CANNABACEAE 50 100 1.73 3.42 4.55 3.09 11.06 Terminalia calamansanay 9 COMBRETACEAE ตีนนก (Blanco) Rolfe 40 60 1.81 2.74 2.73 3.24 8.70 10 ประดู Pterocarpus macrocarpus Kurz FABACEAE 40 40 2.23 2.74 1.82 3.98 8.53 มะกอก Canarium subulatum 11 BURSERACEAE เกลื้อน Guillaumin 40 40 2.12 2.74 1.82 3.78 8.34 Cananga brandisiana (Pierre) I. 12 ANNONACEAE สะแกแสง M. Turner 30 90 1.22 2.05 4.09 2.18 8.32 27 3333

ตารางที่ 2 คา IV และรายชื่อพรรณไมของสังคมพืชปาเบญจพรรณในอุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ) ความ ความ ความ ความเดน ความถี่ ลําดับ ความถี่ หนาแนน หนาแนน เดน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮก สัมพัทธ สัมพัทธ แตร) (%) แตร) (%) (%) 13 ตะครอ Schleichera oleosa (Lour.) Merr. SAPINDACEAE 50 60 0.95 3.42 2.73 1.70 7.85 Acrocarpus fraxinifolius 14 FABACEAE ยมหิน Wight ex Arn. 20 20 2.04 1.37 0.91 3.65 5.92 Acrocarpus fraxinifolius Wight ex 15 FABACEAE กางขี้มอด Arn. 30 30 1.02 2.05 1.36 1.82 5.24 16 เหมือดโลด Polyosma integrifolia Blume ESCALLONIACEAE 40 40 0.27 2.74 1.82 0.48 5.04 17 ติ้ว Cratoxylum sp. HYPERICACEAE 30 50 0.31 2.05 2.27 0.56 4.89 18 สานใหญ Dillenia indica L. DILLENIACEAE 30 30 0.57 2.05 1.36 1.02 4.43 Holarrhena pubescens 19 APOCYNACEAE โมกหลวง Wall. ex G. Don 30 40 0.24 2.05 1.82 0.42 4.30 20 พลับพลา Microcos tomentosa Sm. MALVACEAE 20 20 0.71 1.37 0.91 1.27 3.55 Catunaregam nutans (Roxb. ex 21 RUBIACEAE ตูมกา Link) Tirveng. 20 20 0.55 1.37 0.91 0.98 3.26 Lannea coromandelica (Houtt.) 22 ออยชาง Merr. ANACARDIACEAE 20 20 0.53 1.37 0.91 0.95 3.22 กระทอม Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. 23 RUBIACEAE หมู Don) Havil. 20 20 0.45 1.37 0.91 0.80 3.08

27 3434

ตารางที่ 2 คา IV และรายชื่อพรรณไมของสังคมพืชปาเบญจพรรณในอุทยานแหงชาติผาแตม ความ ความ ความ ความเดน ความถี่ ลําดับ ความถี่ หนาแนน หนาแนน เดน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮก สัมพัทธ สัมพัทธ แตร) (%) แตร) (%) (%) Catunaregam longispina (Roxb. 24 RUBIACEAE หนามแทง ex Link) Tirveng. 20 30 0.14 1.37 1.36 0.24 2.98 Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) 25 อะราง Kurz FABACEAE 10 10 0.86 0.68 0.45 1.54 2.68 26 พะยอม Shorea guiso (Blanco) Blume 10 20 0.60 0.68 0.91 1.07 2.67 27 โมก Wrightia sp. APOCYNACEAE 20 20 0.04 1.37 0.91 0.07 2.35 28 mitragyna - - 10 10 0.44 0.68 0.45 0.78 1.92 Firmiana fulgens (Wall. ex Mast.) 29 ปอคาว K. Schum. MALVACEAE 10 20 0.17 0.68 0.91 0.30 1.90 Endocomia canarioides (King) W. 30 กรวยปา J. de Wilde MYRISTICACEAE 10 10 0.28 0.68 0.45 0.49 1.63 31 แสนคํา Terminalia nigrovenulosa Pierre COMBRETACEAE 10 10 0.23 0.68 0.45 0.41 1.55 Terminalia bellirica (Gaertn.) 32 COMBRETACEAE แหน Roxb. 10 10 0.21 0.68 0.45 0.37 1.51 Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. 33 DILLENIACEAE สานใบเล็ก & Thomson 10 10 0.20 0.68 0.45 0.35 1.49 34 ยอปา Polyosma arguta Craib ESCALLONIACEAE 10 10 0.16 0.68 0.45 0.29 1.43

35 3527

ตารางที่ 2 คา IV และรายชื่อพรรณไมของสังคมพืชปาเต็งรังในอุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ) ความ ความ ความ ความเดน ความถี่ ลําดับ ความถี่ หนาแนน หนาแนน เดน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮก สัมพัทธ สัมพัทธ แตร) (%) แตร) (%) (%) Lagerstroemia macrocarpa 35 LYTHRACEAE อินทนิลบก Wall. Ex Kurz 10 10 0.13 0.68 0.45 0.23 1.37 catunaregum 36 - - spathulifoliu 10 10 0.08 0.68 0.45 0.14 1.28 37 เหมือดแอ Memecylon pauciflorum Blume MELASTOMATACEAE 10 10 0.07 0.68 0.45 0.12 1.26 38 เลียง Eriolaena candollei Wall. MALVACEAE 10 10 0.02 0.68 0.45 0.04 1.18 รวม 1460 2200 56.040 100 100 100 300

27 3636

ตารางที่ 3 สรุปลักษณะทางนิเวศวิทยาของแตละแปลง แปลงที่ พรรณไมเดนที่มีคา IV จํานวนชนิด คาดัชนี พิกัดแปลง ระดับความสูง ความลาดชัน หินตน 5 อันดับแรก พรรณไมทั้งหมด ความ X Y จาก (องศา) กําเนิด (ที่มีคา IV) หลากหลาย ระดับน้ําทะเล ตะแบก (70.97) งิ้วปา (43.19) ประดู 1 18 2.6280 552302 1738847 146 m 5% หินทราย (23.33) แดง (22.68) มะกอกเกลื้อน (19.70) ปอแดง (54.07) งิ้วปา (45.39) ตะแบก 2 20 2.5299 554417 1736781 294 m 5% หินทราย (32.19) อุโลก (29.63) สะแกแสง (25.77) ติ้วสม (74.80) แดง (54.66) ตะแบก (51.43) 3 14 2.0677 553615 1727627 185 m - หินทราย ปอ (28.14) ยมหิน (18.02) ตะแบก (70.01) สาธร (51.98) แดง (41.58) 4 11 2.2873 555769 1732871 309 m 5% หินทราย ประดู (25.06) อะราง (24.05) สรุป ตะแบก (52.38) แดง (28.79) ติ้วสม (26.61) 39 3.0500 โดยรวม งิ้วปา (24.35) ปอแดง (17.07)

27 3737

ภาพที่ 20 ลักษณะโปรไฟลไฟลโครงสรางปาเต็งรังของอุทยานแหงชาติผาแตม 38 27 38

ความหลากหลายของแมลง 1. การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ ในอุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัด อุบลราชธานี การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณในอุทยานแหงชาติผาแตม จํานวน 4 แปลง เก็บขอมูลในฤดูรอนและฤดูฝน ผลการสํารวจครั้งนี้ พบผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 412 ตัว 65 ชนิด 4 วงศ ประกอบดวย วงศผีเสื้อสีน้ําเงิน (LYCAENIDAE) 115 ตัว 16 ชนิด วงศผีเสื้อขาหนาพู (NYMPHALIDAE) 138 ตัว 35 ชนิด วงศผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) 44 ตัว 7 ชนิด และวงศผีเสื้อขาวเหลือง (PIERIDAE) 115 ตัว 7 ชนิด ผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด ไดแก ผีเสื้อฟาหิ่งหอยสีคล้ํา Chilades pandava Horsfield 43 ตัว ผีเสื้อเณรธรรมดา Eurema hecabe (Linnaeus) 41 ตัว ผีเสื้อหนอนคูณธรรมดา Catopsilia pomona (Fablicius) 40 ตัว ผีเสื้อจรกามลายู Euploea camaralzeman 27 ตัว และผีเสื้อหนอนใบกุม ธรรมดา Appias albina (Boisduval) 24 ตัว ตามลําดับ

ภาพที่ 21 การสํารวจผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม

40

ภาพที่ 22 การสํารวจผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม

ภาพที่ 23 การบันทึกขอมูลและเก็บตัวอยางผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม

41

ภาพที่ 24 การสํารวจผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณชวงฤดูแลง

ภาพที่ 25 การสํารวจผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณชวงฤดูแลง

42

ภาพที่ 26 การติดตั้งไฟลอแมลง

ภาพที่ 27 การสํารวจผีเสื้อกลางคืน

43

160 138 140

120 115 115

100

80

60 44 40 35

20 16 7 7 0 LYCAENIDAE NYMPHALIDAE PAPILIONIDAE PIERIDAE

จํานวนชนิด จํานวนตัว

ภาพที่ 28 ผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบจําแนกตามวงศ

จากผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบทั้งหมด 412 ตัว 65 ชนิด เมื่อจําแนกเปนรายแปลงตาม 2 ฤดูกาลที่ สํารวจ พบวา แปลงที่สํารวจพบผีเสื้อกลางวันมากที่สุด ไดแก แปลงที่ 1 พบ 142 ตัว รองลงมา คือ แปลงที่ 2 , 3 และ 4 สํารวจพบผีเสื้อกลางวัน 115, 104 และ 51 ตัว ตามลําดับ แปลงที่สํารวจพบชนิดของผีเสื้อกลางวัน มากที่สุด ไดแกแปลงที่ 3 สํารวจพบผีเสื้อกลางวัน 41 ชนิด รองลงมา ไดแก แปลงที่ 2, 1 และ 4 สํารวจพบ ผีเสื้อ 37, 25 และ 20 ชนิด ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผีเสื้อกลางวันจําแนกตามรายแปลงและฤดูกาลที่สํารวจพบ ฤดูรอน ฤดูฝน รวม แปลงที่ จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน (ชนิด) (ตัว) (ชนิด) (ตัว) (ชนิด) (ตัว) 1 18 41 17 101 25 142 2 23 54 19 61 37 115 3 25 39 23 65 41 104 4 10 19 13 32 20 51 รวม 48 153 46 259 65 412

44

การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันเปรียบเทียบในแตละแปลงสํารวจ ชนิดของผีเสื้อกลาง วันที่สํารวจพบในแตละแปลงเปนดังนี้ แปลงสํารวจที่ 1 สํารวจพบผีเสื้อกลางวัน จํานวน 25 ชนิด 142 ตัว แปลงสํารวจที่ 2 สํารวจพบผีเสื้อกลางวัน จํานวน 37 ชนิด 115 ตัว แปลงสํารวจที่ 3 สํารวจพบผีเสื้อกลางวัน จํานวน 41 ชนิด 104 ตัว และแปลงสํารวจที่ 4 สํารวจพบผีเสื้อกลางวัน จํานวน 20 ชนิด 51 ตัว

160 142 140

120 115 104 100

80

60 51 41 37 40 25 20 20

0 แปลงที่ 1 แปลงที่ 2 แปลงที่ 3 แปลงที่ 4

จํานวนชนิด จํานวนตัว

ภาพที่ 29 ผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบจําแนกตามรายแปลง

จํานวนชนิดและจํานวนตัวของผีเสื้อกลางวันใน 2 ฤดูกาล คือ ฤดูรอน และ ฤดูฝน ผลการสํารวจผีเสื้อ กลางวันในฤดูรอน (เดือนมีนาคม ถึง เดือนพฤษภาคม) พบผีเสื้อกลางวันจํานวน 48 ชนิด 153 ตัว และ ในฤดู ฝน (เดือนมิถุนายน ถึง เดือนกันยายน) พบผีเสื้อกลางวันจํานวน 46 ชนิด 259 ตัว

45

300 259 250

200 153 150

100 48 46 50

0 ฤดูร้ อน ฤดูฝน

จํานวนชนิด จํานวนตัว

ภาพที่ 30 ผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบจําแนกตามฤดูกาล

การเปรียบเทียบขอมูลผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในฤดูรอน และฤดูฝน โดยใชแผนภาพ Venn diagram จากชนิดของผีเสื้อกลางวันในฤดูรอน 48 ชนิด และในฤดูฝน 46 ชนิด จํานวนผีเสื้อที่พบทั้งสองฤดู 29 ชนิด พบวามีคาความคลายคลึง 61.7021%

ฤดูรอน 48 ชนิด ฤดูฝน 46 ชนิด

19ชนิด 11 ชนิด 29 ชนิด

คาดัชนีความคลายคลึง 61.7021% ภาพที่ 31 แผนภาพ Venn diagram จํานวนชนิดผีเสื้อกลางวันพบในฤดูรอนและฤดูฝน

เมื่อนําผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในครั้งนี้ มาจําแนกตาม วงศ สกุล และชนิด แลวจัดทําเปนบัญชี รายชื่อผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ ในอุทยานแหงชาติผาแตม จําแนกตามฤดูกาลที่สํารวจ พบวาจากการ สํารวจผีเสื้อกลางวันในฤดูรอนพบผีเสื้อเณรธรรมดามากที่สุด พบ 22 ตัว เชนเดียวกับการสํารวจผีเสื้อกลางวัน ในฤดูฝน พบผีเสื้อหนอนคูนธรรมดามากที่สุด จํานวน 26 ตัว และเมื่อรวมทั้งสองฤดูกาลก็พบผีเสื้อฟาหิ่งหอยสี คล้ํามากที่สุด จํานวน 43 ตัว รองลงมา ไดแก ผีเสื้อเณรธรรมดา ผีเสื้อหนอนคูณธรรมดา และผีเสื้อจรกามลายู จํานวน 41, 40 และ 27 ตัว ตามลําดับ ดังตารางที่ 5

46

ตารางที่ 5 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม ลําดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ จํานวน(ตัว) ฤดู (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดูฝน รอน 1 ผีเสื้อกลาสีแถบกวาง Neptis sankara (Kollar) NYMPHALIDAE 2 1 2 ผีเสื้อกลาสีธรรมดา Neptis hylas (Linnaeus) NYMPHALIDAE 8 3 ผีเสื้อขาวหางริ้ว Cheritra freja (Fabricius) LYCAENIDAE 1 3 4 ผีเสื้อจรกาขีดเดียว Euploea aglea (Godart) NYMPHALIDAE 4 6 5 ผีเสื้อจรกามลายู Euploea camaralzeman NYMPHALIDAE 3 24 6 ผีเสื้อจรกาสองขีด Euploea sylvester NYMPHALIDAE 1 7 ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ Euploea core (Cramer) NYMPHALIDAE 6 11 8 ผีเสื้อจาเสนปกดํา Athyma ranga Moore NYMPHALIDAE 1 1 9 ผีเสื้อเชิงลายธรรมดา Chilasa clytia (Linnaeus) PAPILIONIDAE 1 3 10 ผีเสื้อเณรจิ๋ว Eurema brigitta Stoll PIERIDAE 1 1 11 ผีเสื้อเณรธรรมดา Eurema hecabe (Linnaeus) PIERIDAE 22 19 12 ผีเสื้อตาลพุมคั่นกลาง Mycalesis intermedia (Moore) NYMPHALIDAE 2 13 ผีเสื้อตาลพุมแถบเพศยาว Mycalesis visala (Moore) NYMPHALIDAE 1 14 ผีเสื้อตาลพุมไทย Mycalesis thailandica Aoki & NYMPHALIDAE 1 15 ผีเสื้อตาลพุมสี่จุดเรียง Mycalesis mineus (Linnaeus) NYMPHALIDAE 4 4 16 ผีเสื้อนิโกธ Orsotriaena medus (Fabricius) NYMPHALIDAE 1 17 ผีเสื้อปลายปกสมใหญ Hebomoia glaucippe PIERIDAE 1 18 ผีเสื้อแผนที่ลายหินออน Cyrestis cocles (Fabricius) NYMPHALIDAE 4 19 ผีเสื้อแผนที่เล็ก Cyrestis themire Honrath NYMPHALIDAE 8 20 ผีเสื้อพุมไมธรรมดา Hypolycaena erylus (Godart) LYCAENIDAE 2 21 ผีเสื้อแพนซีเทา Junonia atlites (Linnaeus) NYMPHALIDAE 3 22 ผีเสื้อแพนซีมยุรา Junonia almana (Linnaeus) NYMPHALIDAE 3 2 23 ผีเสื้อแพนซีสีตาล Junonia lemonias (Linnaeus) NYMPHALIDAE 1 24 ผีเสื้อแพนซีเหลือง Junonia hierta (Linnaeus) NYMPHALIDAE 1 25 ผีเสื้อฟาไมกอกระขาว Arhopala democritus LYCAENIDAE 1 26 ผีเสื้อฟาไมกอมดเลี้ยง Arhopala pseudocentaurus LYCAENIDAE 3 27 ผีเสื้อฟาวาวใหญ Jamides alecto (Felder) LYCAENIDAE 2 18 28 ผีเสื้อฟาหิ่งหอยสีคล้ํา Chilades pandava Horsfield LYCAENIDAE 18 25

47

ตารางที่ 5 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม(ตอ) ลําดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ จํานวน(ตัว) ฤดู (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดูฝน รอน 29 ผีเสื้อมวงใบไม Amblypodia anita Hewitson LYCAENIDAE 7 6 30 ผีเสื้อมวงใบไมใหญ Amblypodia narada (Horsfield) LYCAENIDAE 3 1 31 ผีเสื้อมาควิสแถบตรง Euthalia recta (de Niceville) NYMPHALIDAE 1 32 ผีเสื้อโยมา Yoma sabina (Cramer) NYMPHALIDAE 2 2 33 ผีเสื้อวาวครามใตขีด Sinthusa nasaka (Horsfield) LYCAENIDAE 2 34 ผีเสื้อสะพายขาวปกโคง Lebadea martha (Fabricius) NYMPHALIDAE 3 35 ผีเสื้อสีตาลจุดตาสีจาง Ypthima savara Graose-Smith NYMPHALIDAE 1 36 ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา Ypthima huebneri Kirby NYMPHALIDAE 1 1 37 ผีเสื้อสีหมากสุกปกวาว Curetis bulis (Westwood) LYCAENIDAE 2 38 ผีเสื้อสีอิฐธรรมดา Cirrochroa tyche C.& R. Felder NYMPHALIDAE 1 1 39 ผีเสื้อแสดหางยาว Loxura atymnus (Stoll) LYCAENIDAE 5 6 40 ผีเสื้อหนอนคูณธรรมดา Catopsilia pomona (Fablicius) PIERIDAE 14 26 41 ผีเสื้อหนอนคูณลายกระ Catopsilia pyranthe (Linnaeus) PIERIDAE 5 1 42 ผีเสื้อหนอนจําปจุดแดงตอ Graphium arycles (Boisduval) PAPILIONIDAE 1 43 ผีเสื้อหนอนใบกุมธรรมดา Appias albina (Boisduval) PIERIDAE 24 44 ผีเสื้อหนอนใบรักขีดยาว Parantica aglea (Stoll) NYMPHALIDAE 2 1 45 ผีเสื้อหนอนใบรักธรรมดา Danaus chrysippus (Linnaeus) NYMPHALIDAE 1 46 ผีเสื้อหนอนใบรักฟาสีคล้ํา Ideopsis vulgaris (Butler) NYMPHALIDAE 2 1 47 ผีเสื้อหนอนใบรักฟาใหญ Triumala septentrionis (Butler) NYMPHALIDAE 2 3 48 ผีเสื้อหนอนใบรักลายเสือ Danaus genutia (Cramer) NYMPHALIDAE 1 49 ผีเสื้อหนอนใบรักสีตาล parantica melaneus (Cramer) NYMPHALIDAE 2 50 ผีเสื้อหนอนพุทราแถบฟา Discolampa ethion LYCAENIDAE 1 51 ผีเสื้อหนอนพุทราธรรมดา Castalius rosimon (Fabricius) LYCAENIDAE 3 1 52 ผีเสื้อหนอนมะนาว Papilio demoleus Linnaeud PAPILIONIDAE 1 1 53 ผีเสื้อหนอนละหุงลายหัก Ariadne ariadne (Linnaeus) NYMPHALIDAE 2 54 ผีเสื้อหนอนหนามกะทกรก Acraea violae (Fabricius) NYMPHALIDAE 1 55 ผีเสื้อหางคูตาลไหม Remelana jangala (Horsfield) LYCAENIDAE 1 56 ผีเสื้อหางดาบธรรมดา Graphium antiphates (Cramer) PAPILIONIDAE 1

48

ตารางที่ 5 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวันในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ)

ลําดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ จํานวน(ตัว) ฤดู (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดูฝน รอน 57 ผีเสื้อหางดาบลายจุด Graphium nomius (Esper) PAPILIONIDAE 8 4 58 ผีเสื้อหางติ่งชะออน Papilio nephelus Boisduval PAPILIONIDAE 2 59 ผีเสื้อหางตุมจุดชมพู Pachliopta aristolochiae PAPILIONIDAE 2 20 60 ผีเสื้อหางพลิ้ว Zeltus amasa (Hewitson) LYCAENIDAE 3 61 ผีเสื้อหางริ้วขาวใหญ Neomyrina nivea (Godman & LYCAENIDAE 1 62 ผีเสื้อเหลืองสยามลายขีด Cepora nerissa (Fabricius) PIERIDAE 1 63 ผีเสื้ออไซเรี่ยนใหญ Terinos atlita Fabricius NYMPHALIDAE 1 64 ผีเสื้ออาซดุคจุดฟา Lexias albopunctata NYMPHALIDAE 1 65 ผีเสื้ออาซดุคธรรมดา Lexis pardalis (Moore) NYMPHALIDAE 1 1 รวม 153 259

เมื่อนําจํานวนตัวและจํานวนชนิดของผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบมาคํานวณหาคาดัชนีความหลากหลาย ทางชีวภาพตามสูตรของ Shannon’s Index (H /) และคาความสม่ําเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness (J /) ไดคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ ของพื้นที่ปาเบญจพรรณในฤดูรอนรวมทั้ง 4 แปลง มีคา H / เทากับ 3.3389 คา J / เทากับ 0.8625 ในฤดูฝน มีคา H / เทากับ 3.1671 คา J / เทากับ 0.5966 และเมื่อ นําขอมูลจํานวนชนิดผีเสื้อกลางวันที่สํารวจทั้งหมดจากการศึกษาในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม มา คํานวณหาคาดัชนีความหลากหลาย มีคา H / เทากับ 3.4323 คา J / เทากับ 0.5700 ดังภาพที่ 33

4.0000 3.3389 3.4323 3.5000 3.1671 3.0000 2.5000 2.0000 1.5000 0.8625 1.0000 0.5699 0.5700 0.5000 0.0000 ฤดูร้ อน ฤดูฝน รวม

Shannon’s Index Shannon Evenness

ภาพที่ 32 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (H /) และคาความสม่ําเสมอ (J /) ของผีเสื้อกลาง วันที่พบในฤดูรอนและฤดูฝน และรวมทั้งสองฤดู

49

คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (H /) และคาความสม่ําเสมอ (J /) จําแนกตามรายแปลง พบวา แปลงสํารวจที่ 1 H / เทากับ 2.6832 J / เทากับ 0.5414 แปลงสํารวจที่ 2 H / เทากับ 3.1618 J / เทากับ 0.6633 แปลงสํารวจที่ 3 H / เทากับ 3.2988 J / เทากับ 0.7103 และแปลงสํารวจที่ 4 H / เทากับ 2.2649 คา J /เทากับ 0.5761 ภาพที่ 34

3.5000 3.2988 3.1618 3.0000 2.6832

2.5000 2.2649

2.0000

1.5000

1.0000 0.6663 0.7103 0.5414 0.5761 0.5000

0.0000 แปลง 1 แปลง 2 แปลง 3 แปลง 4

Shannon’s Index Shannon Evenness

ภาพที่ 33 คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (H /)และคาความสม่ําเสมอ (J /) ของผีเสื้อกลางวันที่พบจําแนกตามรายแปลง

จากชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบในปาเบญจพรรณบริเวณอุทยานแหงชาติแกงตะนะทั้ง 65 ชนิด มีภาพ ผีเสื้อตัวอยางในบางชนิดดังแสดงในภาพที่ 34

50

A B C

D E F

G H I

J K L

ภาพที่ 34 ตัวอยางผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม วงศ PIERIDAE (A-B) A. หนอนคูณธรรมดา Catopsilia pomona (Fabricius) ; B. เณร ธรรมดา Eurema hecabe (Linnaeus) ; วงศ PAPILIONIDAE C. หนอนมะนาว Papilio demoleus Linnaeud ; วงศ NYMPHALIDAE (D-J) D. แพนซีตาล Junonia lemonias (Linnaeus) ; E. แพนซีสีเทา Junonia atlites (Linnaeus) ; F. แพนซีมยุรา Junonia almana (Linnaeus) ; G. สีอิฐธรรมดา Cirrochroa tyche C.& R. Felder; H. ผีเสื้อสีตาลจุดตาสีจาง Ypthima savara Graose-Smith; I. ผีเสื้อตาลพุมสี่จุดเรียง Mycalesis mineus (Linnaeus) ; J. หนอนใบรักฟาสีคล้ํา Ideopsis vulgaris (Butler); วงศ LYCAENIDAE (K-L) K. ฟา หิ่งหอยสีคล้ํา Chilades pandava Horsfield ; L. แสดหางยาว Loxura atymnus (Stoll)

51

2. การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางคืนและดวงในปาเบญจพรรณ ในเขตอุทยานแหงชาติ ผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางคืนและดวงในปาเบญจพรรณ ในเขตอุทยานแหงชาติผา แตม ผลการสํารวจครั้งนี้พบผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด 3 วงศ 7 ชนิด 15 ตัว แยกเปนผีเสื้อกลางคืนในฤดูรอน ทั้งหมด 3 วงศ 5 ชนิด 6 ตัว ในฤดูฝนพบผีเสื้อกลางคืน 3 วงศ 7 ชนิด 9 ตัว และพบดวงทั้งหมด 3 วงศ 5 ชนิด 11 ตัว แยกเปนในฤดูรอนพบดวง 3 วงศ 3 ชนิด 5 ตัว ในฤดูฝนพบดวง 3 วงศ 3 ชนิด 6 ตัว ดังตารางที่ 6 และดังภาพที่ 35 ตารางที่ 6 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางคืนและดวงที่สํารวจพบในปาเบญจพรรณ ในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม

ลําดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ จํานวน(ตัว) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดูรอน ฤดูฝน 1 ดวงหนวดยาวหัวรอง Hoplocerambyx CERAMBYCIDAE - 1 2 แมลงทับกลมขาเขียว Sternocera aequisignata BUPRESTIDAE - 1 3 ดวงนูนดําขาใหญ Peltonotus morio SCARABAEIDAE 2 - 4 ดวงหนวดยาวหนวดแบน Sarmydus antennatus CERAMBYCIDAE - 2 5 ดวงคีมรองเกา Aegus chelifer chelifer CERAMBYCIDAE 1 - 6 ดวงดีด - ELATERIDAE 2 3 7 ผีเสื้อมอธลายเสือปกกวาง Peridrome orbicularis - 1 1 8 ผีเสื้อหนอนมะไฟลายเลียน Cyclosia papilionaris ZYGAENIDAE 2 2 9 ผีเสื้อหนอนคืบ Celerena siganta GEOMETRIDAE - 1 10 ผีเสื้อหนอนคืบ Pelagodes sp. GEOMETRIDAE 1 2 11 มอธกอมวงลาย Pygospila tyres CRAMBIDAE 2 2 12 ผีเสื้อหนอนคืบ Geometridae sp. GEOMETRIDAE 1 1 13 ผีเสื้อหนอนคืบ Zamarada Denticulata GEOMETRIDAE - 1 14 ผีเสื้อหนอนไหม Bombycidae sp. BOMBYCIDAE 1 1 รวม 13 18

52

A B C

D E F

G H I

ภาพที่ 35 ตัวอยางผีเสื้อกลางคืนและดวงที่สํารวจพบในอุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี A= ดวงนูนดําขาใหญ Peltonotus morio วงศ SCARABAEIDAE ; B = ดวงหนวดยาวหนวดแบน Sarmydus antennatus วงศ CERAMBYCIDAE ; C = ดวงหนวดยาวหัวรอง Hoplocerambyx วงศ CERAMBYCIDAE ; D = ผีเสื้อหนอนคืบ Pelagodes sp. วงศ GEOMETRIDAE ; E= ผีเสื้อมอธลายเสือปก กวางPeridrome orbicularis (Walker) ; F = ผีเสื้อหนอนคืบ Celerena siganta วงศ GEOMETRIDAE ; G. = แมลงทับกลมขาเขียว Sternocera aequisignata วงศ BUPRESTIDAE ; H. = ผีเสื้อหนอนคืบZamarada Denticulata วงศ GEOMETRIDAE ; I. = ผีเสื้อหนอนไหม Bombycidae sp. วงศ BOMBYCIDAE

53

ผลการสํารวจความหลากหลายของเห็ด จากการศึกษาความหลากหลายของเห็ดในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี โดย การสํารวจในแปลงตัวอยางพรรณไมทั้ง 4 แปลง และสํารวจแบบบัญชีรายชื่อในพื้นที่ปาเบญจพรรณใกลกับ แปลงตัวอยาง พบเห็ดทั้งหมด 22 ชนิด พบเห็ดที่กินได ไดแก เห็ดระโงกเหลือง เห็ดระโงกขาว เห็ดเผาะหนัง เห็ดน้ําแปง เปนตน

ภาพที่ 36 เห็ดที่พบในอุทยานแหงชาติผาแตม

ภาพที่ 37 เห็ดที่พบในอุทยานแหงชาติผาแตม

54

A B C

D E F

G H I

ภาพที่ 38 ตัวอยางเห็ดที่สํารวจพบในอุทยานแหงชาติผาแตม A = เห็ดน้ําแปง Russula alboareolata ; B = เห็ดระโงกเหลือง Amanita hemibapha ; C = เห็ดระโงกขาว Amanita princeps ; D = Polyporus Sp.; E = เห็ดกรวยทองตะกู Microporus xanthopus (Fr.) Kuntze; F = ขอนสีเหลืองเกล็ดมวงแดง Gymnopilus aeruginosa (Pack) Sing.; G = เห็ด ตับเตาสีทอง Boletus aureissimus var. castaneus Murr.; H = เห็ดรมแดงหอม Marasmius jasminodorus Wannathe, Desjardin & Lumyong. ; I = เห็ดรังนก Cyathus striatus (Huds.) Willd.

55

ตารางที่ 7 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบในอุทยานแหงชาติผาแตม

วัสดุอาศัย/พืช ชนิดปาที่พบ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ อาศัย

1 Polyporus Polyporus Sp. POLYPORACEAE POLYPORALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 2 เห็ดรังนก Cyathus striatus (Huds.) Willd. AGARICACEAE AGARICALES ขอนไม ปาเบญจพรรณ 3 เห็ดเฟองลอสีสม Marasmius siccus (Schwein.) Fr. MARASMIACEAE MARASMIALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 4 เห็ดลูกชุบสีแดง Hygrophorus speciosus Peck. TRICHOLOMATACEAE AGARICALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ บนกิ่งไมรวงและ 5 เห็ดกรวยทองตะกู Microporus xanthopus (Fr.) Kuntze POLYPORACEAE POLYPORALES ขอนไมที่ตายแลว ปาเบญจพรรณ 6 เห็ดระโงกขาว Amanita princeps Corner & Bas AMANITACEAE AMANITALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ Amanita javannica (Corn & Bas) T.Oda, 7 เห็ดระโงกเหลือง AMANITACEAE AMANITALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ C.tanaka Tsuda 8 เห็ดเผาะหนัง Astraeus hygrometricus (Pers.) SCLERODERMATACEAE SCLERODERMATALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 9 เห็ดตับเตาสีทอง Boletus aureissimus var. castaneus Murr. BOLETACEAE BOLETALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ ขอนสีเหลืองเกล็ดมวง 10 Gymnopilus aeruginosa (Pack) Sing. CORTINARIACEAE AGARICALES ขอนไม ปาเบญจพรรณ แดง 11 เห็ดเมนนอย Hydnun repandum L. ex Fr. HYDNACEAE CANTHARELLALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ

55

56

ตารางที่ 7 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบในอุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ)

วัสดุอาศัย/ ชนิดปาที่พบ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ พืชอาศัย

Marasmius jasminodorus Wannathe, Desjardin 12 เห็ดรมแดงหอม MARASMIACEAE MARASMIALUS บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ & Lumyong 13 เห็ดกุหลาบขาว Polyporus alvicans (lmaz.) Tengs. POLYPORACEAE POLYPORALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 14 เห็ดน้ําแปง Russala alboareolata Hongo RUSSULACEAE RUSSULALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 15 เห็ดหลังแหล Russula sp. RUSSULACEAE RUSSULALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 16 เห็ดขา Lactarius glaucescens Crossl RUSSULACEAE RUSSULALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 17 เห็ดตะไคลเขียว Russula virescens (Schaeff.) Fr. RUSSULACEAE RUSSULALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 18 เห็ดโคนปลวกจิก Termitomyces microcarpus (Berk. & Br.) TRICHOLOMATACEAE AGARICALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 19 เห็ดประทัดจีน Hygrocybe coccineocrenata (Orton) Moser. TRICHOLOMATACEAE AGARICALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ เห็ดผึ้งนกยูง (เห็ดปอดมา 20 Heimiella japonica Hongo BOLETACEAE BOLETALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ ตาขายแดง) 21 เห็ดกระดาง Lentinus polychrous Lev. POLYPORACEAE POLYPORALES บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 22 เห็ดขมิ้นนอย Craterellus aureus Berk.&Curt. CANTHARELLACEAE CANTHARELLA บนพื้นดิน ปาเบญจพรรณ 56

59

บทที่ 5 สรุปและวิจารณผลการศึกษา 5.1 สรุปและวิจารณผลการศึกษาพรรณไมในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 จากการวางแปลงขนาด 20 x 50 ตารางเมตร จํานวน 4 แปลง เพื่อสํารวจความ หลากหลายทางชีวภาพ พบพรรณไม 247 ตน 31 สกุล 15 วงศ ชนิดไมที่มีคา IV สูงสุด หรือมีคาความสําคัญสูงสุด คือ ตะแบก รองลงมา ไดแก แดง ติ้วสม งิ้วปา และปอแดง ความหลากหลายทางชนิดพันธุ (Shannon-Wiener Index) มีคา 2.0766 จากการวาดภาพ Profile Diagram สามารถแบงชั้นเรือนยอดออกไดเปน 2 เรือนยอด ชั้นแรกมีชวงชั้นความสูงประมาณ 1.30 – 6 เมตร สวนชั้นเรือนยอดที่สองมีความสูงมากกวา 6 เมตร ขึ้นไป เมื่อสํารวจพรรณไมแบบบัญชีรายชื่อ พบพรรณไม 91 ชนิด 5.2 จากผลการสํารวจผีเสื้อกลางวันที่พบในปาเบญจพรรณ ในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม พบผีเสื้อ กลางวันทั้งหมด 412 ตัว 65 ชนิด 4 วงศ โดยผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด ไดแก ผีเสื้อฟาหิ่งหอยสีคล้ํา ในฤดู รอนพบผีเสื้อ 48 ชนิด 153 ตัว ในฤดูฝนพบผีเสื้อ 46 ชนิด 259 ตัว โดยมีคาความคลายคลึงของผีเสื้อที่พบ ระหวางฤดูรอนและฤดูฝน 61.7021 % คาดัชนีความหลากหลายของผีเสื้อทั้งหมด มีคา H / เทากับ 3.4323 คา J / เทากับ 0.5700 และในการศึกษาผีเสื้อกลางคืนพบ 3 วงศ 7 ชนิด 13 ตัว และพบดวง 3 วงศ 5 ชนิด 11 ตัว 5.3 สรุปและวิจารณผลการศึกษาเห็ดในปาเบญจพรรณ อุทยานแหงชาติผาแตม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 พบเห็ด 22 ชนิด พบเห็ดที่กินได ไดแก เห็ดระโงกเหลือง เห็ดระโงกขาว เห็ดเผาะหนัง เห็ดน้ําแปง เปน ตน ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ จากการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษอุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี พบปญหาและอุปสรรค คือ สภาพพื้นที่ปาถูกลอมรอบดวยแปลงพื้นที่เกษตรของชาวบาน หรือวัดปา ทําใหการ คัดเลือกแปลงเปนไปอยางยากลําบาก อาจเสี่ยงตอการที่ตนไมในแปลงจะถูกบุกรุกทําลาย สภาพอากาศมีฝน ตกหนักติดตอกันเปนเวลานานทําใหสภาพอากาศไมเหมาะตอการเจริญเติบโตของเห็ด และการออกมาหา อาหารของผีเสื้อ การเดินทางเขาแปลงลําบาก

59

เอกสารอางอิง

เต็ม สมิตินันทน. 2544. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. สวนพฤกษศาสตรปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม. กรุงเทพฯ. ธวัชชัย สันติสุข. 2549. ปาของประเทศไทย. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, กรุงเทพฯ. นิวัติ เรืองพานิช. 2537. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. รุงโรจน จุกมงคล. 2553. Thailand Bird Guide (ฉบับปรับปรุง). สํานักพิมพสารคดี, กรุงเทพฯ. ศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2546. การประยุกตใชขอมูลจากการสํารวจระยะไกล และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อสํารวจตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของการใชประโยชนที่ดินปาไม ในเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยทับทัน – หวยสําราญ จังหวัดสุรินทร. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. สุรชัย ชลดํารงกุล. 2553. บันทึกผีเสื้อ. สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. สํานักงานหอพรรณไม. 2551. พืชหายากของประเทศไทย. สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. กรมอุทยานแหงชาติแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. สํานักงานหอพรรณไม. 2552. ความหลากหลายของผลในกลุมปาแกงกระจาน. สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. กรมอุทยานแหงชาติแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. สํานักงานหอพรรณไม. 2553. ปาเต็งรังแมน้ําภาชี. สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. กรมอุทยานแหงชาติแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2553. คูมือการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ปาอนุรักษ. กรมอุทยานแหงชาติแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ. สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2554. คูมือการสํารวจความหลากหลายของพรรณไม. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2554. คูมือการสํารวจความหลากหลายของแมลง. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2554. คูมือการสํารวจความหลากหลายของเห็ด. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2554. คูมือการสํารวจความหลากหลายของสัตวปา. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช. 2556. การอนุรักษและใชประโยชนไมวงศยาง. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ

59

เอื้อมพร วีสมหมาย และ ปณิธาน แกวดวงเทียน. 2552. ไมปายืนตนของไทย 1. โรงพิมพ เอช เอ็น กรุป จํากัด, กรุงเทพฯ. Pisut Ek-amnuay. 2008. Beetles of Thailand. Siam Insect – Zoo & Museum. Amarin Printing And Publishing Public Co., Ltd. Bangkok. Thawatchai Santisuk, Kongkanda Chayamarit, Rachun Pooma and Somran Suddee. 2006. Thailand RED DATA . Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Anong Chandrasrikul et al. 2011 Mushrooms (Basidiomycetes) in Thailand. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning.

ภาคผนวก 68

ตารางผนวกที่ 1 คา IV ของพรรณไมในสังคมพืชปาเบญจพรรณ แปลงที่ 1 ในอุทยานแหงชาติผาแตม ความ ความเดน ความถี่ ความเดน ลําดับ ความถี่ ความหนาแนน หนาแนน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮกแตร) สัมพัทธ แตร) (%) (%) (%) 1 ตะแบก Lagerstroemia sp. LYTHRACEAE 60 80 5.14 17.14 20.51 33.31 70.97 2 งิ้วปา Bombax anceps Pierre MALVACEAE 50 60 2.09 14.29 15.38 13.52 43.19 3 ประดู Pterocarpus macrocarpus Kurz FABACEAE 20 20 1.93 5.71 5.13 12.49 23.33 Xylia xylocarpa (Roxb.) W. 4 แดง FABACEAE Theob. 20 20 1.83 5.71 5.13 11.84 22.68 มะกอก 5 Canarium subulatum Guillaumin BURSERACEAE เกลื้อน 20 20 1.37 5.71 5.13 8.85 19.70 Millettia leucantha Kurz var. RUBIACEAE 6 สาธร buteoides (Gagnep.) P.K.Loc 20 20 0.82 5.71 5.13 5.31 16.15 7 ติ้ว Cratoxylum sp. HYPERICACEAE 20 30 0.23 5.71 7.69 1.47 14.88 8 ตะครอ Schleichera oleosa (Lour.) Merr. SAPINDACEAE 20 20 0.23 5.71 5.13 1.47 12.31 Centipeda minima (L.) A. Braun 9 เหมือดโลด ASTERACEAE & Asch. 20 20 0.08 5.71 5.13 0.54 11.39 Holarrhena pubescens 10 โมกหลวง APOCYNACEAE Wall. ex G. Don 20 10 0.20 5.71 2.56 1.31 9.58 Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. ANACARDIACEAE 11 ออยชาง 10 10 0.51 2.86 2.56 3.30 8.72 12 ปอ sp. Trema Sp. CANNABACEAE 10 20 0.05 2.86 5.13 0.34 8.32

61

68

ตารางผนวกที่ 1 คา IV ของพรรณไมในสังคมพืชปาเบญจพรรณ แปลงที่ 1 ในอุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ) ความ ความ ความ ความเดน ความถี่ ลําดับ ความถี่ หนาแนน หนาแนน เดน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮก สัมพัทธ สัมพัทธ แตร) (%) แตร) (%) (%) 13 สานใหญ Dillenia indica L. DILLENIACEAE 10 10 0.37 2.86 2.56 2.38 7.81 Mitragyna diversifolia (Wall. ex 14 RUBIACEAE กระทอมหมู G. Don) Havil. 10 10 0.30 2.86 2.56 1.95 7.37 15 พลับพลา Microcos paniculata L. MALVACEAE 10 10 0.11 2.86 2.56 0.69 6.11 Catunaregam longispina (Roxb. 16 RUBIACEAE หนามแทง ex Link) Tirveng. 10 10 0.09 2.86 2.56 0.60 6.02 catunaregum 17 - - spathulifoliu 10 10 0.08 2.86 2.56 0.50 5.92 18 โมก Wrightia sp. APOCYNACEAE 10 10 0.02 2.86 2.56 0.13 5.55 รวม 350 390 15.44 100.00 100.00 100.00 300.00

62

68

ตารางผนวกที่ 2 คา IV ของพรรณไมในสังคมพืชปาเบญจพรรณ แปลงที่ 2 ในอุทยานแหงชาติผาแตม

ความ ความเดน ความถี่ ความ ความเดน ลําดับ ความถี่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ หนาแนน (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ หนาแนน สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮกแตร) แตร) (%) สัมพัทธ (%) (%)

1 ปอแดง Sterculia guttata Roxb. MALVACEAE 70 130 3.57 14.00 17.33 22.74 54.07 2 งิ้วปา Bombax anceps Pierre MALVACEAE 70 110 2.62 14.00 14.67 16.72 45.39 3 ตะแบก Lagerstroemia sp. LYTHRACEAE 50 100 1.39 10.00 13.33 8.86 32.19 4 อุโลก Firmiana colorata (Roxb.) R. Br. MALVACEAE 70 80 0.78 14.00 10.67 4.97 29.63 Cananga brandisiana (Pierre) I. M. 5 ANNONACEAE สะแกแสง Turner 30 90 1.22 6.00 12.00 7.77 25.77 Terminalia calamansanay 6 COMBRETACEAE ตีนนก (Blanco) Rolfe 30 40 1.44 6.00 5.33 9.16 20.49 Acrocarpus fraxinifolius Wight 7 กางขี้มอด FABACEAE 30 30 1.02 6.00 4.00 6.51 16.51 ex Arn. Millettia leucantha Kurz var. 8 RUBIACEAE สาธร buteoides (Gagnep.) P.K.Loc 20 30 0.81 4.00 4.00 5.15 13.15 Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) 9 PHYLLANTHACEAE เหมือดโลด Baill. 20 20 0.18 4.00 2.67 1.18 7.84 มะกอก Canarium subulatum 10 BURSERACEAE 10 10 0.64 2.00 1.33 4.11 7.44 เกลื้อน Guillaumin 11 พลับพลา Microcos paniculata L. MALVACEAE 10 10 0.60 2.00 1.33 3.85 7.18

63

68

ตารางผนวกที่ 2 คา IV ของพรรณไมในสังคมพืชปาเต็งรัง แปลงที่ 2 ในอุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ) ความ ความ ความเดน ความถี่ ความเดน ลําดับ ความถี่ หนาแนน หนาแนน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./ สัมพัทธ สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮก สัมพัทธ เฮกแตร) (%) (%) แตร) (%) 12 mitragyna - - 10 10 0.44 2.00 1.33 2.78 6.11 Sterculia urena Roxb. var. 13 ปอคาว MALVACEAE 10 20 0.17 2.00 2.67 1.08 5.75 urena Endocomia canarioides (King) 14 กรวยปา MYRISTICACEAE 10 10 0.28 2.00 1.33 1.76 5.10 W. J. de Wilde Terminalia bellirica (Gaertn.) 15 แหน COMBRETACEAE 10 10 0.21 2.00 1.33 1.32 4.65 Roxb. Mitragyna diversifolia (Wall. ex 16 กระทอมหมู RUBIACEAE 10 10 0.15 2.00 1.33 0.94 4.27 G. Don) Havil. Cratoxylum formosum (Jacq.) 17 ติ้วสม Benth. & Hook. f. ex Dyer HYPERICACEAE 10 10 0.10 2.00 1.33 0.66 3.99 subsp. formosum Holarrhena pubescens 18 โมกหลวง APOCYNACEAE 10 10 0.04 2.00 1.33 0.22 3.56 Wall. ex G. Don Lannea coromandelica 19 ออยชาง ANACARDIACEAE 10 10 0.02 2.00 1.33 0.13 3.46 (Houtt.) Merr. 20 โมก Wrightia sp. APOCYNACEAE 10 10 0.02 2.00 1.33 0.11 3.45 รวม 500 750 15.70 100.00 100.00 100.00 490.00

64

68

ตารางผนวกที่ 3 คา IV ของพรรณไมในสังคมพืชปาเบญจพรรณ แปลงที่ 3 ในอุทยานแหงชาติผาแตม ความ ความเดน ความถี่ ความเดน ลําดับ ความถี่ ความหนาแนน หนาแนน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮกแตร) สัมพัทธ แตร) (%) (%) (%) Cratoxylum formosum (Jacq.) Benth.

1 ติ้วสม & Hook. f. ex Dyer subsp. formosum HYPERICACEAE 70 220 5.88 16.28 27.16 31.36 74.80 Xylia xylocarpa (Roxb) W.Theob. 2 FABACEAE 80 160 3.06 18.60 19.75 16.30 54.66 แดง Var. xylocarpa 3 ตะแบก Lagerstroemia sp. LYTHRACEAE 70 160 2.88 16.28 19.75 15.39 51.43 4 ปอ sp. Trema Sp. CANNABACEAE 40 80 1.68 9.30 9.88 8.96 28.14 Acrocarpus fraxinifolius Wight ex 5 FABACEAE 20 20 2.04 4.65 2.47 10.90 18.02 ยมหิน Arn. 6 ตะครอ Schleichera oleosa (Lour.) Merr. SAPINDACEAE 30 40 0.72 6.98 4.94 3.87 15.78 7 อุโลก Firmiana colorata (Roxb.) R. Br. MALVACEAE 30 30 0.51 6.98 3.70 2.72 13.40 8 ตูมกา Strychnos nux-blanda A.W. Hill LOGANIACEAE 20 20 0.55 4.65 2.47 2.93 10.05 9 สานใบใหญ Dillenia indica L. DILLENIACEAE 20 20 0.20 4.65 2.47 1.07 8.19 10 พะยอม Shorea guiso (Blanco) Blume DIPTEROCARPACEAE 10 20 0.60 2.33 2.47 3.21 8.01 11 แสนคํา Terminalia nigrovenulosa Pierre COMBRETACEAE 10 10 0.23 2.33 1.23 1.24 4.80 Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. 12 DILLENIACEAE 10 10 0.20 2.33 1.23 1.06 4.62 สานใบเล็ก & Thomson

65

68

ตารางผนวกที่ 3 คา IV ของพรรณไมในสังคมพืชปาเบญจพรรณ แปลงที่ 3 ในอุทยานแหงชาติผาแตม (ตอ) ความ ความเดน ความถี่ ความเดน ลําดับ ความถี่ ความหนาแนน หนาแนน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮกแตร) สัมพัทธ แตร) (%) (%) (%) 13 ยอปา Morinda citrifolia L. RUBIACEAE 10 10 0.16 2.33 1.23 0.86 4.42 14 เลียง Eriolaena candollei Wall. MALVACEAE 10 10 0.02 2.33 1.23 0.12 3.68 รวม 430 810 18.74 100.00 100.00 100.00 300.00

66

68

ตารางผนวกที่ 4 คา IV ของพรรณไมในสังคมพืชปาเต็งรัง แปลงที่ 4 ในอุทยานแหงชาติผาแตม ความเดน ความถี่ ความ ความเดน ลําดับ ความถี่ ความหนาแนน ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ (ตร.ม./เฮก สัมพัทธ หนาแนน สัมพัทธ IV ที่ (%) (ตน/เฮกแตร) แตร) (%) สัมพัทธ (%) (%) 1 ตะแบก Lagerstroemia sp. LYTHRACEAE 30 30 2.45 16.67 13.64 39.71 70.01 Millettia leucantha Kurz var. 2 สาธร RUBIACEAE 40 40 0.71 22.22 18.18 11.58 51.98 buteoides (Gagnep.) P.K.Loc Xylia xylocarpa (Roxb) W.Theob. Var. 3 แดง FABACEAE 20 30 1.04 11.11 13.64 16.83 41.58 xylocarpa 4 ประดู Pterocarpus macrocarpus Kurz FABACEAE 20 20 0.30 11.11 9.09 4.86 25.06 Peltophorum dasyrrhachis 5 อะราง FABACEAE 10 10 0.86 5.56 4.55 13.95 24.05 (Miq.) Kurz Terminalia calamansanay 6 ตีนนก COMBRETACEAE 10 20 0.38 5.56 9.09 6.10 20.74 (Blanco) Rolfe 7 ติ้ว Cratoxylum sp. HYPERICACEAE 10 20 0.09 5.56 9.09 1.38 16.03 Catunaregam longispina (Roxb. ex 8 หนามแทง RUBIACEAE 10 20 0.04 5.56 9.09 0.72 15.37 Link) Tirveng. Lagerstroemia macrocarpa Wall. ex 9 อินทนิลบก LYTHRACEAE 10 10 0.13 5.56 4.55 2.06 12.16 Kurz มะกอก 10 Canarium subulatum Guillaumin BURSERACEAE 10 10 0.11 5.56 4.55 1.72 11.82 เกลื้อน 11 เหมือดแอ Memecylon pauciflorum Blume MELASTOMATACEAE 10 10 0.07 5.56 4.55 1.08 11.19 รวม 180 220 6.17 100.00 100.00 100.00 300.00 67

68

ตารางผนวกที่ 5 รายชื่อไมหนุมที่พบในอุทยานแหงชาติผาแตม ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ลักษณะวิสัย 1 Unknow6 - - T Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. 2 กระทอมหมู RUBIACEAE S/ST Don) Havil. Xylia xylocarpa (Roxb) W.Theob. 3 แดง FABACEAE T Var. xylocarpa 4 ตะแบก Lagerstroemia sp. LYTHRACEAE T 5 ปอ sp. Trema Sp. CANNABACEAE T 6 โมก sp. Wrightia sp. APOCYNACEAE T 7 สาน Dillenia obovata (Blume) Hoogland DILLENIACEAE T

6869

ตารางผนวกที่ 6 รายชื่อลูกไมที่พบในอุทยานแหงชาติผาแตม

ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ จํานวนที่พบ Xylia xylocarpa (Roxb) W.Theob. Var. 1 แดง FABACEAE 1 xylocarpa 2 ตะแบก Lagerstroemia sp. LYTHRACEAE 1 3 ปอ Trema Sp. CANNABACEAE 2 4 สมกบ Firmiana colorata (Roxb.) R. Br. MALVACEAE 1

คณะผูดําเนินงาน ที่ปรึกษา นายทองใบ บุญญาเสนียกุล ผูอํานวยการสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 9 (อุบลราชธานี) นายณรงค มหรรณพ ผูอํานวยการสํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช นายมนัส รวดเร็ว ผูอํานวยการสวนความหลากหลายทางชีวภาพ นายวีระชัย กําลังงาม หัวหนาอุทยานแหงชาติแกงตะนะ นายนครินทร สุทัตโต หัวหนาอุทยานแหงชาติผาแตม นายจิระนพ ทองเพิ่ม หัวหนาอุทยานแหงชาติภูสระดอกบัว นายมณเฑียร วิริยะพันธุ หัวหนาอุทยานแหงชาติภูผาเทิบ

คณะดําเนินการศึกษา นายวิสูตร อยูคง นักวิชาการปาไมชํานาญการพิเศษ หัวหนาคณะทํางาน นายไกรฤกษ เรือนคํา นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ นางสาวจิรัญญนันท บัวจันทร นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ นางสาวธนิศา ทาศิริ พนักงานจางเหมาบริการ นางสาวณัฏฐณิชา มุขสมบัติ พนักงานจางเหมาบริการ นางสาวศิรินภา พิลารัตน พนักงานจางเหมาบริการ

กลุมงานวิชาการ สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 9 (อุบลราชธานี)