Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Science) Vol.13 No.1 (January - June 2018) 167

Research Article

การออกแบบตนแบบตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑใหวิสาหกิจชุมชน กลุมคนรักษแพะบางบัวทอง ตําบลพิมลราช อําเภอบางบัวทอง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม THE PROTOTYPE DESIGN OF LOGO AND GRAPHIC PACKAGING FOR GOAT FARMING COMMUNITY ENTERPRISE, PIMOLRAJ, BANG BUA THONG DISTRICT, PROVINCE BY PARTICIPATORY ACTION RESEARCH ปณณณัช ธนัทพรรษรัตน Pannat Tanaspansarrat คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย Faculty of Humanities and Social Sciences Phranakhon Rajabhat University, , [email protected]*

บทคัดยอ การศึกษาเรื่อง การออกแบบตนแบบตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑใหวิสาหกิจชุมชน กลุมคนรักษแพะบางบัวทอง ตําบลพิมลราช อําเภอบางบัวทองโดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมี สวนรวมมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) สํารวจปญหาและความตองการในการพัฒนาตนแบบตราสัญลักษณ และกราฟกบน บรรจุภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะบางบัวทอง 2) พัฒนาตนแบบตราสัญลักษณ และกราฟกบนบรรจุภัณฑใหกับกลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะบางบัวทอง และ 3) ศึกษาความพึงพอใจ ของผูบริโภคตอตราสัญลักษณ กราฟกบนบรรจุภัณฑและบรรจุภัณฑสินคาวิสาหกิจชุมชนกลุมรักษแพะ บางบัวทอง ประชากรและกลุมตัวอยางคือ 1) ประชากรทั้งหมดของกลุมวิสาหกิจชุมชนคนรักษแพะ บางบัวทอง รวมมีจํานวน 18 คน ปศุสัตวและผูชวยปศุสัตวจังหวัดนนทบุรีจํานวน 2 คน ไดจากการเลือก แบบเจาะจง 2) ผูเชี่ยวชาญดานตราสัญลักษณและดานกราฟกบนบรรจุภัณฑดานละ 3 คน 3) ผูบริโภค เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีตอตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑจํานวน 200 คน ไดจากการเลือก แบบบังเอิญในระยะเวลา 5 เดือนหลังจากวางจําหนายผลิตภัณฑ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนประเด็น คําถามในการสนทนากลุม แบบสอบถามสําหรับเลือกตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑมีลักษณะ แบบจัดลําดับความสําคัญ และแบบสอบถามความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอการออกแบบตรา สัญลักษณ การวิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละ มัชฌิมเลขคณิต และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 168 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)

ผลการวิจัยพบวา 1) กลุมวิสาหกิจชุมชนคนรักษแพะบางบัวทองมีปญหาคือขาดตราสัญลักษณ และกราฟกบนบรรจุภัณฑ สงผลใหกลุมฯมีความตองการใหผูวิจัยพัฒนาตราสัญลักษณ กราฟกและ บรรจุภัณฑของกลุมฯทั้งหมดจํานวน 13 ชิ้น 2) จากกระบวนการมีสวนรวมระหวางผูวิจัยและกลุมฯ พบวา ทางกลุมตองการใชชื่อกลุมวา Iris nature ที่มาจากชื่อของประธานกลุม เลือกประเภทตราสัญลักษณ เปนแบบผสม เพื่อสื่อความหมายไดชัดเจนโดยการตัดทอนจากแพะที่ไดรับรางวัลการประกวดแพะแหงชาติ กราฟกบนบรรจุภัณฑเลือกภาพประกอบแบบตัดทอนเพื่อใหสื่อความเปนธรรมชาติในการเลี้ยงแพะ สีที่ใชแบบดูหรูหราเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑ 3) ผูบริโภคมีความพึงพอใจในระดับมากตอการ ออกแบบตราสัญลักษณดานจดจําไดงาย บงบอกความเปนเอกลักษณของผลิตภัณฑ โดดเดนและสีสัน มีความสอดคลองกับผลิตภัณฑและผูบริโภคมีความพึงพอใจตอบรรจุภัณฑและกราฟกบนบรรจุภัณฑ ในระดับมากทั้ง 13 ผลิตภัณฑ คําสําคัญ: การออกแบบตราสัญลักษณ การออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ กระบวนการมีสวนรวม

ABSTRACT The study of Logo and Graphic Prototype Designs on Packaging for the Community Enterprise called Bang Bua Thong Goat Lovers in Tambon Pimolraj, Ampher Bang Bua Thong is a participatory Action Research which aimed to 1) survey problems and demands in the development of logo and graphic prototypes on packaging of the enterprise, 2) develop logo and graphic prototypes on packaging for the enterprise, and 3) study consumers’ satisfactions toward the logos and graphics and the packaging of the enterprise. The population and samples consisted of 1) 18 members of the Community Enterprise Bang Bua Thong Goat Lovers and 2 Livestock Officers of gained by Purposive Sampling, 2) 3 logo experts and 3 packaging graphic experts, 3) 200 consumers – to study their satisfactions toward the logos and graphics on packaging – gained by Accidental Sampling within 5 months after the product release. The research tools consisted of questions for focus group, ranking questionnaire for logo and graphic selection, and questionnaire for consumers’ satisfactions toward the logos. The data was analyzed by percentage and Mean. The research results revealed as follows. 1) The problem of Community Enterprise Bang Bua Thong Goat Lovers was lacking of logos and graphics on packaging which resulted in demanding the development of logos and graphics on their 13 kinds of packaging. 2) From the engaging process between the researcher and the enterprise, it was found that the enterprise Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Science) Vol.13 No.1 (January - June 2018) 169 wanted to name their group “Iris Nature” which came from the Chairperson of the enterprise. They chose to use combination logos to convey clear meanings by cutting from the goat that won the prize of National Goat Contest. The graphics on the packaging were clipped out pictures to convey the natural goat raising. The colors looked luxurious to add more values on the products. 3) The consumers’ satisfactions toward the logos were in high level in the following aspects; Easy to Remember, Identity, Outstanding, and Colors Consistent with Products. Also, their satisfactions toward the 13 kinds of packaging and the graphics on them were all in high level as well. Keywords: logo design, graphic packaging, participation

บทนํา ผลิตนํ้านมเปนจํานวนมากแตผลิตภัณฑของ จากสภาวะเศรษฐกิจสังคมไทยที่มีการ นมแพะบางสวนยังไมไดมาตรฐานนํ้านมมีกลิ่นคาว เปลี่ยนแปลงตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของ มีสีขุนเหลืองจัดอยูในเกรด B ซึ่งเปนปญหาตอการ สังคมโลกนั้นสงผลกระทบใหประเทศไทยมีความ จัดจําหนายนํ้านมของทางกลุม จากปญหาดังกลาว เหลื่อมลํ้าทางสังคมคอนขางสูง รัฐบาลตองการ ทําใหคุณไชยยศ แสงมาน รองประธานกลุมฯ ได สรางความเขมแข็งภายในประเทศโดยสรางนโยบาย คิดนําผลิตภัณฑนํ้านมที่อยูในเกรด B ไปแปรรูป เพื่อสงเสริมพัฒนาเศรษฐกิจของชาติอยางตอเนื่อง เปนครีมบํารุงผิว สบู ครีมอาบนํ้าฯลฯ เพื่อเพิ่ม ดวยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากรากฐานสนับสนุน รายไดใหกับกลุมฯ โดยการแนะนําของศูนยวิจัย แนวคิดการรูจักจัดการกับทรัพยากรที่ตนเองมีอยู และพัฒนาผลิตผลจากสัตว สถาบันสุวรรณวาจก- เพื่อเพิ่มรายไดใหกับประชาชน แนวทางการพัฒนา กสิกิจฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต วิสาหกิจชุมชนเปนแนวทางหนึ่งที่จะชวยแกปญหา กําแพงแสน เพื่อรักษา ถนอมและแปรรูปผลิตภัณฑ ความยากจนของประชาชนและเปนแนวทางที่ชวย จากนํ้านมแพะใหสามารถจําหนายไดตลอดทั้งป สรางเศรษฐกิจ สังคมกอใหเกิดความยั่งยืน ให จากการนําผลิตภัณฑไปแจกใหกลุมผูบริโภค ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได (Department of ทดลองใชที่ตลาดดอนหวายผูบริโภคสวนใหญ Agricultural Extension, 2005) กลุมวิสาหกิจชุมชน พอใจและกลับมาซื้อผลิตภัณฑอีกเปนจํานวนมาก คนกลุมรักษแพะบางบัวทอง เปนการรวมตัวของ แตผลิตภัณฑของทางกลุมฯ ไมมีตราสัญลักษณที่ กลุมคนอาชีพเกษตรกรที่มีความรักและสนใจใน ชัดเจน รูปแบบของบรรจุภัณฑยังไมไดพัฒนาใหมี การเลี้ยงแพะ เพื่อเปนการสงเสริมและพัฒนาอาชีพ ความสวยงาม นาสนใจ สงผลทั้งทางตรงและทาง การเลี้ยงแพะนมของชุมชน ผสมผสานกับ ออมตอการจําหนาย และจากการสัมภาษณรอง การเกษตรแบบวิถีชีวิตพื้นบาน นํ้านมแพะเปน ประธานกลุมฯ ไชยยศ แสงมาน (Sangman, 2015) ผลิตภัณฑสวนใหญของกลุมฯ ทางกลุมมีแพะที่ ไดขอมูลเบื้องตนวา “มีหนวยงานจากทางราชการ 170 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)

มาชวยสนับสนุนการออกแบบแตทางกลุมไมไดนํา บนบรรจุภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะ ไปใชเพราะความคิดเห็นที่มีความแตกตางกันและ บางบัวทอง ตําบลพิมลราช อําเภอบางบัวทอง ผลงานออกแบบไมไดเกิดจากความคิดของคนใน จังหวัดนนทบุรี กลุมเลย” 2. เพื่อพัฒนาตนแบบตราสัญลักษณ ปจจุบันกลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะ และกราฟกบนบรรจุภัณฑใหกับกลุมวิสาหกิจ บางบัวทองมีผลิตภัณฑสินคาชุมชน สบูกอนสูตร ชุมชนรักษแพะบางบัวทอง ตําบลพิมลราช อําเภอ คอลลาเจน สบูกอนสูตรทองคํา ครีมอาบนํ้า โลชั่น บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี บํารุงผิวกายสูตรคอลลาเจน และสูตรทองคํา ครีม 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูบริโภค บํารุงผิวหนาสูตรกลางวันและสูตรกลางคืนเซรั่ม ตอตราสัญลักษณ กราฟกบนบรรจุภัณฑและ บํารุงผิว ครีมกันแดดผิวหนา ครีมกันแดดตัว สครับ บรรจุภัณฑสินคาวิสาหกิจชุมชนกลุมรักษแพะ ขัดผิว นํ้านมพาสเจอรไรส เปนตนเนื่องจากทาง บางบัวทอง ตําบลพิมลราช อําเภอบางบัวทอง กลุมวิสาหกิจชุมชนกลุมคนรักษแพะบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี มีความมุงมั่นและจริงจังตอการพัฒนาผลิตภัณฑ อยูเสมอสงผลใหในชวงระหวางที่ผูวิจัยไดลงไป ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย เก็บขอมูลนั้น ทางกลุมฯ ไดรับการสนับสนุนจาก 1. ไดขอมูลปญหาและความตองการ หนวยงานกรมปศุสัตวจังหวัดนนทบุรีเปนอยางมาก ในการพัฒนาตนแบบตราสัญลักษณและกราฟก ทําใหผลิตภัณฑไดรับการคัดเลือกจากทาง บนบรรจุภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะ หางสรรพสินคาเซ็นทรัลใหวางจําหนายในท็อป บางบัวทอง ตําบลพิมลราช อําเภอบางบัวทอง ซุปเปอรมาเก็ตจังหวัดนนทบุรี จากสาเหตุดังกลาว จังหวัดนนทบุรีเพื่อใชเปนแนวทางในการออกแบบ ผูวิจัยไดรวมมือกับกลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะ ตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑ บางบัวทองเพื่อออกแบบตนตราสัญลักษณและ 2. กลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะบางบัวทอง กราฟกบนบรรจุภัณฑใหกับกลุมฯ โดยกระบวนการ ตําบลพิมลราช อําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี มีสวนรวมเพื่อใหผลิตภัณฑมีภาพลักษณที่มีจุดเดน ไดตนแบบตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุ สวยงาม เปนที่จดจํา บงบอกถึงคุณภาพของ ภัณฑ ซึ่งจะเปนประโยชนตอกลุมฯ กอใหเกิดการ ผลิตภัณฑเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับสินคาใหมีคุณภาพ เพิ่มมูลคาของผลิตภัณฑชวยใหผลิตภัณฑเปน กอใหเกิดความรวมมือ ความภาคภูมิใจและการ ที่ยอมรับในวงกวาง ยอมรับที่ดีของกลุมตอไป 3. การวิจัยครั้งนี้จะเปนแนวทางและ ตัวอยางของการศึกษาและวิจัยในการออกแบบ วัตถุประสงคของการวิจัย ตนแบบตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑ 1. เพื่อสํารวจปญหาและความตองการ ใหแกชุมชนอื่นและผลิตภัณฑประเภทอื่น ๆ โดย ในการพัฒนาตนแบบตราสัญลักษณและกราฟก กระบวนการมีสวนรวม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Science) Vol.13 No.1 (January - June 2018) 171

กรอบแนวคิดของการวิจัย

- ผลิตภัณฑสินคากลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะบางบัวทอง ตําบลพิมลราช อําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี - ความตองการพัฒนาผลิตภัณฑสินคาชุมชนของผูประกอบ การกลุมวิสาหกิจชุมชนรักษแพะบางบัวทอง - บริบทของชุมชน

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ - กระบวนการมีสวนรวมระหวาง - ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบ ผูวิจัย กลุมวิสาหกิจชุมชนรักษ ตราสัญลักษณ แพะเมืองนนทบางบัวทอง และ - ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ ผูบริหารจากกรมปศุสัตวจังหวัด - ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบกราฟก ตําบลพิมลราช อําเภอ บนบรรจุภัณฑ บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี - ทฤษฎีการมีสวนรวม

- ตนแบบตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑผลิตภัณฑ สินคาวิสาหกิจชุมชนกลุมกลุมรักษแพะบางบัวทอง ตําบล พิมลราช อําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี

ระเบียบวิธีวิจัย จังหวัดนนทบุรีจํานวน 2 คน ไดจากการเลือกแบบ การออกแบบตนแบบตราสัญลักษณและ เจาะจง กราฟกบนบรรจุภัณฑโดยกระบวนการมีสวนรวม 1.3 ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ มีระเบียบและวิธีการดําเนินการวิจัย ดังนี้ ตราสัญลักษณและดานการออกแบบกราฟก 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง บนบรรจุภัณฑและบรรจุภัณฑ จํานวนดานละ 1.1 สมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชน 3 ทาน ใชวิธีเลือกแบบเจาะจงตัวบุคคลที่มี กลุมรักษแพะบางบัวทองฯ ใชประชากรทั้งหมด ความรูความชํานาญและมีประสบการณตั้งแต จํานวน 18 คน 12 ปขึ้นไป 1.2 บุคลากรจากหนวยงานที่เกี่ยวของ 1.4 ผูบริโภคผลิตภัณฑของกลุม ไดแก ปศุสัตวจังหวัดนนทบุรี และผูชวยปศุสัตว วิสาหกิจชุมชนคนรักษแพะบางบัวทองจํานวน 172 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)

200 คนไดจากการสุมแบบบังเอิญในระยะเวลา พึงพอใจฯ จากนั้นใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน 5 เดือน (นับจากวันที่เริ่มวางจําหนายผลิตภัณฑ) ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาของแบบ 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย สอบถามจากนั้นนํามาวิเคราะหหาคาความสอดคลอง 2.1 ประเด็นการสนทนากลุมเกี่ยวกับ (Index of Item-Objective Congruence: IOC) ปญหาและความตองการในการพัฒนาตนแบบตรา แลวนํามาปรับปรุงประเด็นในการสนทนากลุมตาม สัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑ และประเด็น ขอเสนอแนะและนําไปใช การสนทนากลุมเกี่ยวกับการพัฒนาตราสัญลักษณ 3. วิเคราะหขอมูล และกราฟกบนบรรจุภัณฑดําเนินการโดยศึกษา วิเคราะหขอมูลเพื่อใชในการกําหนด ขอบเขตและเนื้อหาของการสนทนากลุม ศึกษา แนวทางการออกแบบ ดําเนินการวิเคราะหขอมูล ตัวอยางประเด็นการสนทนากลุมจากเอกสารและ จากการรวบรวมภาคเอกสาร สรุปประเด็นการ งานวิจัยที่เกี่ยวของ รางประเด็นในการสนทนากลุม สนทนากลุมเพื่อเปนแนวทางในการออกแบบ จากนั้นใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบในแตละหัวขอของ วิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามสําหรับให การสนทนา ปรับปรุงประเด็นในการสนทนากลุม ผูเชี่ยวชาญเลือกตราสัญลักษณและกราฟกบน ตามขอเสนอแนะ และนําไปใช บรรจุภัณฑแบบจัดลําดับความสําคัญ 3 ลําดับโดย 2.2 แบบสอบถามสําหรับเลือกตรา ใหคาคะแนนเทากับ 3 คะแนน 2 คะแนนและ สัญลักษณและแบบสอบถามสําหรับเลือกกราฟก 1 คะแนนตามลําดับ การวิเคราะหขอมูลใชคารอยละ และบรรจุภัณฑ มีลักษณะเปนแบบจัดอันดับความ คามัชฌิมเลขคณิต และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน สําคัญดําเนินการโดยศึกษาหลักการสรางและ 4. ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย การดําเนิน ตัวอยางแบบสอบถามจากเอกสารและงานวิจัย การวิจัยครั้งนี้แบงเปน 3 ขั้นตอนคือ ที่เกี่ยวของ รางแบบสอบถาม ใหผูเชี่ยวชาญทั้ง ขั้นตอนที่ 1 สํารวจปญหาและความ 3 ทาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาของ ตองการในการพัฒนาตนแบบตราสัญลักษณและ แบบสอบถามจากนั้นนํามาปรับปรุงประเด็นในการ กราฟกบนบรรจุภัณฑผลิตภัณฑวิสาหกิจชุมชน สนทนากลุมตามขอเสนอแนะและนําไปใช รักษแพะบางบัวทอง 2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ 1. ศึกษาขอมูลดานบริบท สภาพวิถีการ ของผูบริโภคที่มีตอตราสัญลักษณและกราฟก ดําเนินชีวิตและอาชีพของกลุมซึ่งสวนใหญประกอบ บนบรรจุภัณฑของผลิตภัณฑวิสาหกิจชุมชน อาชีพเกษตรกรรม เลี้ยงแพะ คนรักษแพะบางบัวทอง มีลักษณะแบบตรวจสอบ 2. ลงพื้นที่พบกลุมวิสาหกิจชุมชน จัด รายการ ดําเนินการโดย ศึกษาหลักการสรางของ ประชุมเพื่อทําความเขาใจโครงการและแผนการ แบบสอบถามความความพึงพอใจและศึกษา ดําเนินงานวิจัย มีกลุมวิสาหกิจชุมชนคนรักษแพะ ตัวอยางแบบสอบถามรางแบบสอบถามความ บางบัวทองและผูแทนจากหนวยงานปศุสัตว คือ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Science) Vol.13 No.1 (January - June 2018) 173

ปศุสัตวและผูชวยปศุสัตวจังหวัดนนทบุรี เพื่อ เกี่ยวของมีความเขาใจและสามารถเลือกประเภท สํารวจปญหาและความตองการในการพัฒนาตนแบบ สัญลักษณ กลุมสีที่มีความเหมาะสมและสอดคลอง ตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑ กับผลิตภัณฑของกลุม เรื่องการออกแบบกราฟก 3. จัดเวทีสนทนากลุมเพื่อสํารวจปญหา บนบรรจุภัณฑ ในประเด็นดานโครงสรางในงาน ความตองการในการพัฒนาตนแบบ และรวม บรรจุภัณฑ สวนประกอบของกราฟกบนบรรจุภัณฑ คัดเลือกผลิตภัณฑที่เขารวมโครงการโดยมี ขนาดและรูปรางที่เหมาะสมรวมถึงประเภทของ ผูเขารวมคือ สมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุมคนรักษ ภาพประกอบสําหรับบรรจุภัณฑเพื่อใหวิสาหกิจชุม แพะบางบัวทองจํานวน 18 คน ปศุสัตวและผูชวย ชนฯ มีแนวคิดในการเลือกตัดสินใจงานของตนเอง ปศุสัตวจังหวัดนนทบุรีจํานวน 2 คน ที่ปศุสัตว 2. วิสาหกิจชุมชน ปศุสัตวและผูชวย จังหวัดนนทบุรีเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ปศุสัตวจังหวัดนนทบุรีมีสวนรวมแสดงความคิด ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบตนแบบตรา เห็นและนําเสนอในการหาเอกลักษณที่โดดเดนของ สัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑแบบมี กลุม โดยใชเครื่องมือคือ ประเด็นคําถามจากการ สวนรวม สนทนากลุม เกี่ยวกับตราสัญลักษณและกราฟก 1. ผูวิจัยนําเสนอองคความรูกับสมาชิก บนบรรจุภัณฑเพื่อใชเปนแนวทางในการออกแบบ วิสาหกิจชุมชนกลุมคนรักษแพะบางบัวทองจํานวน 3. ผูวิจัยและวิสาหกิจชุมชนรวมกัน 18 คน ปศุสัตวและผูชวยปศุสัตวจังหวัดนนทบุรี สรุปเอกลักษณที่โดดเดนของกลุมประเภท จํานวน 2 คนที่วิสาหกิจชุมชนฯ เมื่อวันที่ 15 ของสัญลักษณ ภาพประกอบที่ใชในบรรจุภัณฑ สิงหาคม พ.ศ. 2559 เรื่องการออกแบบตรา ขนาด รูปรางของบรรจุภัณฑ คัดเลือกอารมณ สัญลักษณในประเด็น ประเภทของตราสัญลักษณ ของสี (mood and tone) ที่มีความเหมาะสมกับ ลักษณะที่ดีของตราสัญลักษณ บุคลิกภาพและ ผลิตภัณฑของกลุมจากนั้นรวมกันรางภาพ อารมณของสีเพื่อใหวิสาหกิจชุมชนและผูที่ สัญลักษณ (preliminary design)

ภาพที่ 1 การมีสวนรวมระหวางผูวิจัย วิสาหกิจชุมชนกลุมรักษแพะบางบัวทอง ปศุสัตวและผูชวยปศุสัตว จังหวัดนนทบุรี 174 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)

4. จากนั้นผูวิจัยนําแบบรางจากกระบวนการ ขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ มีสวนรวมของวิสาหกิจชุมชนไปออกแบบตอใน 4.1 ขั้นการออกแบบ (sketch design)

ภาพที่ 2 ขั้นออกแบบ กลุมอารมณสีแบบหรูหราและกลุมอารมณสีแบบสดชื่น

ภาพที่ 3 ขั้นออกแบบ กลุมอารมณสีแบบธรรมชาติ

4.2 ขั้นการเลือกและตัดสินใจ สัญลักษณทั้ง 6 แบบใหผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ (selection) ผูวิจัย วิสาหกิจชุมชนกลุมคนรักษ ตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑดานละ บางบัวทองและผูมีสวนเกี่ยวของเลือกกลุมสี 3 ทาน ตรวจสอบคุณภาพการออกแบบโดยใช แบบดูหรูหรา เพื่อนําไปพัฒนาตอในขั้นตอไป แบบสอบถามสําหรับเลือกตราสัญลักษณและ 4.3 ขั้นการพัฒนาแบบ (develop กราฟกบนบรรจุภัณฑ ผูวิจัยนําตราสัญลักษณและ design) ผูวิจัยนําตราสัญลักษณจากการมีสวนรวม กราฟกบนบรรจุภัณฑที่ผูเชี่ยวชาญเลือกมาปรับแก ตัดสินใจของกลุมไปพัฒนาตอ จากนั้นผูวิจัยนํา ตามความคิดเห็น Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Science) Vol.13 No.1 (January - June 2018) 175

ภาพที่ 4 ขั้นพัฒนาแบบ

4.4 ขั้นการออกแบบสุดทาย (design วิสาหกิจชุมชนกลุมคนรักษแพะบางบัวทองเลือก finalization) ผูวิจัยนําตราสัญลักษณที่ผานการปรับ โดยกลุมเลือกพิจารณารูปแบบที่ 1 แกจากคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญแลวนําไปให

1 2 3 ภาพที่ 5 ขั้นออกแบบสุดทาย

สรุปผลการวิจัยและการอภิปรายผลการวิจัย ทั้งหมดจํานวน 13 รายการเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับ สรุปผลการวิจัย ผลิตภัณฑ 1. ผลจากการสํารวจปญหาและความ 2. ผลการออกแบบตนแบบตราสัญลักษณ ตองการในการพัฒนาตนแบบตราสัญลักษณ และกราฟกบนบรรจุภัณฑของกลุมฯ พบวา และกราฟกบนบรรจุภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชน เอกลักษณที่โดดเดนของกลุมคือ คุณภาพนํ้านม คนรักษแพะบางบัวทองพบวา ผลิตภัณฑของกลุม แพะที่เลี้ยงดวยหญาเนเปยเปนสวนใหญ ซึ่งหญา ขาดตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑ สง ดังกลาวเปนพืชที่มีกากใยสูงทําให คุณภาพนํ้านม ผลใหทางกลุมมีความตองการใหผูวิจัยออกแบบ ดี ไมมีกลิ่น แตกตางจากผลิตภัณฑที่ทําจากนํ้านม ตนแบบตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑ แพะของกลุมอื่น ๆ ประเภทตราสัญลักษณที่กลุม 176 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)

เลือกเปนแบบผสม (combination) เพื่อใหสื่อสาร เพื่อนมักจะเรียกกันวา “ไอฤทธิ์” สวน nature แทน ความหมายกับผูบริโภคไดอยางชัดเจนโดยการ ผลิตภัณฑที่เปนธรรมชาติ โดยกราฟกบนบรรจุ ตัดทอนจากแพะที่ไดรับรางวัลการประกวดแพะ ภัณฑเลือกภาพประกอบแบบตัดทอน (distortion) แหงชาติ ใชชื่อตราสัญลักษณวา Iris nature ไดมา เพื่อใหสื่อความเปนธรรมชาติในการเลี้ยงแพะ สีที่ จากชื่อเลนของคุณไชยยศ แสงมาน คือฤทธิ์ แต ใชแบบดูหรูหราเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑ

ภาพที่ 6 ตราสัญลักษณ IRIS NATURE

ภาพที่ 7 ภาพรวมของผลิตภัณฑกลุมวิสาหกิจชุมชนคนรักษแพะบางบัวทอง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Science) Vol.13 No.1 (January - June 2018) 177

ตารางที่ 1 ความพึงพอใจผูบริโภคที่มีตอการออกแบบตนแบบตราสัญลักษณ

เซ็นทรัลรัตนาธิเบศธ โรบินสันศรีสมาน ระดับความพึงพอใจ รายการ SD SD จดจําไดงาย 4.42 0.53 4.13 0.65 พึงพอใจมาก มีความโดดเดนสะดุดตา 4.21 0.45 4.24 0.61 พึงพอใจมาก บงบอกความเปนเอกลักษณของผลิตภัณฑ 4.54 0.68 4.18 0.80 พึงพอใจมาก สีสันมีความสอดคลองกับผลิตภัณฑ 4.43 0.80 4.19 0.85 พึงพอใจมาก เฉลี่ยรวม 4.40 0.62 4.19 0.73 พึงพอใจมาก จากตารางที่ 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจตอผลิตภัณฑตนแบบตราสัญลักษณ โดยรวมอยู ในระดับมาก ทั้งสองสถานที่ที่ไดวางจําหนายผลิตภัณฑ * วางจําหนายผลิตภัณฑ ณ ท็อป ซุปเปอรมารเก็ต เซ็นทรัลรัตนาธิเบศธ และท็อป ซุปเปอรมารเก็ต โรบินสันสาขา ศรีสมาน (ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2560 ถึงเดือน พฤษภาคม 2560)

ตารางที่ 2 ความพึงพอใจผูบริโภคที่มีตอการออกแบบบรรจุภัณฑและกราฟกบนบรรจุภัณฑ

เซ็นทรัลรัตนาธิเบศธ โรบินสันศรีสมาน ระดับ ความพึงพอใจ ดานบรรจุภัณฑ ดานกราฟก ดานบรรจุภัณฑ ดานกราฟก ความพึงพอใจ SD SD SD SD ลิปบัตเตอร 5 กรัม 4.24 0.67 4.04 0.65 4.22 0.77 4.00 0.65 พึงพอใจมาก สบูนมแพะผสมทองคํา 4.42 0.67 4.51 0.62 4.23 0.72 4.44 0.72 พึงพอใจมาก สบูนมแพะผสมคอลลาเจน 4.54 0.59 4.53 0.63 4.26 0.66 4.45 0.67 พึงพอใจมาก ครีมบํารุงผิวหนากลางวัน 4.38 0.66 4.40 0.68 4.54 0.52 4.22 0.73 พึงพอใจมาก ครีมบํารุงผิวหนากลางคืน 4.43 0.64 4.58 0.59 4.50 0.60 4.09 0.58 พึงพอใจมาก ครีมกันแดด 4.25 0.71 4.61 0.58 4.39 0.67 4.51 0.66 พึงพอใจมาก โลชั่นกันแดด นํ้านมผสมทองคํา 4.48 0.63 4.50 0.62 4.44 0.66 4.57 0.61 พึงพอใจมาก เฟเชี่ยลเซรั่ม 4.33 0.73 4.33 0.81 4.40 0.66 4.39 0.70 พึงพอใจมาก โลชั่นนํ้านมแพะผสมทองคํา 4.39 0.65 4.35 0.65 4.33 0.66 3.98 0.72 พึงพอใจมาก โลชั่นนํ้านมแพะผสมคอลลาเจน 4.38 0.71 4.43 0.63 4.24 0.71 4.51 0.69 พึงพอใจมาก ครีมอาบนํ้าผสมนํ้านมแพะ 4.35 0.73 4.44 0.73 4.35 0.68 4.32 0.72 พึงพอใจมาก เกลือสครับผิว - - 3.79 0.71 - - 3.87 0.72 พึงพอใจมาก นํ้านมแพะพาสเจอรไรซ - - 3.57 0.70 - - 3.77 0.99 พึงพอใจมาก เฉลี่ยรวม 4.38 0.67 4.31 0.66 4.35 0.66 4.24 0.70 พึงพอใจมาก

จากขอมูลตารางที่ 2 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจตอผลิตภัณฑทุกรายการโดยรวมอยูในระดับ มากทั้งที่เซ็นทรัลรัตนาธิเบศธและโรบินศรีสมาน 178 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)

อภิปรายผลการวิจัย และแพะของทางกลุมเคยประกวดไดรับรางวัลแพะ ผลจากการออกแบบตนแบบตราสัญลักษณ แหงชาติเพื่อใหสื่อสารความหมายกับผูบริโภคได และกราฟกบนบรรจุภัณฑใหวิสาหกิจชุมชนกลุม อยางชัดเจนจึงนําแนวคิดนี้มารางแบบเปนภาพ คนรักษแพะบางบัวทอง ตําบลพิมลราช อําเภอ แพะที่มีการตัดทอนรายละเอียดจากแพะของจริง บางบัวทองโดยกระบวนการมีสวนรวม มีดังนี้ และใชใบไมเพื่อเปนสื่อแทนของหญาเนเปยที่ใช 1. การสํารวจปญหาและความตองการใน เปนอาหาร กราฟกบนบรรจุภัณฑเลือกแบบตัดทอน การพัฒนาตนแบบตราสัญลักษณและกราฟกบน เพื่อใหสื่อความเปนธรรมชาติในการเลี้ยงแพะ เลือก บรรจุภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนคนรักษแพะ ใชสีหรูหราเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑและ บางบัวทองพบวา ผลิตภัณฑของกลุมขาดตรา ผูวิจัยนําแบบรางนั้นไปพัฒนาตอดวยคอมพิวเตอร สัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑ ยอมสงผล เพื่อใหผูทรงคุณวุฒิไดเลือกแบบที่เหมาะสมจาก ตอการจดจํา ความนาเชื่อถือและไมสามารถสราง นั้นนําแบบไปใหกลุมวิสาหกิจชุมชนคัดเลือก รวม ความแตกตางจากผลิตภัณฑของคูแขงไดซึ่งสอดคลอง ปรับแกแบบและรวมประเมินผลการออกแบบการ กับทองเจือ เขียดทอง (Kiadthong, 2004) ที่ได มีสวนรวมในทุกขั้นตอนนั้นสงผลใหสมาชิกทุกคน กลาววา การออกแบบตราสัญลักษณนั้นเพื่อเปน มีความสามัคคีกัน รักและหวงแหนในผลงานที่เปน การสื่อ เตือนความทรงจําและทําใหเกิดผลดานการ ของตนเองซึ่งสอดคลองกับทัศนะของกาญจนา สื่อความหมายตอสาธารณชนไดงายขึ้น ตรงกับ แกวเทพ (Kaethep, 2015) ที่ไดกลาวถึงบทบาท ทัศนะของฟลลิป คอตเลอร ที่ไดใหความสําคัญ การมีสวนรวมของฝายตาง ๆ ที่มีสวนไดสวนเสีย ของตราสัญลักษณวา ตราสัญลักษณเปรียบเสมือน (stakeholder) ในแตละขั้นตอนคือ รวมเปนคณะ การใหคําสัญญาของผูผลิตที่จะสงมอบคุณลักษณะ ทํางานหรือทีมวิจัย รวมตั้งโจทยวิจัย รวมพัฒนา คุณภาพรวมถึงผลประโยชนและบริการดังนั้น โครงรางวิจัยหรือรวมออกแบบงานวิจัย รวมสราง ตราสัญลักษณสินคาจึงเปนสิ่งบงชี้ถึงบุคลิกภาพ เครื่องมือการวิจัย รวมเลือกกลุมตัวอยาง รวมเก็บ เฉพาะของสินคาและสื่อถึงลักษณะของผูใชตาม ขอมูล รวมเปนกลุมตัวอยางหรือใหขอมูล รวม ไปดวย (Kotler & Armstrong, 2014) วิเคราะห สังเคราะห (คืนความรูใหชุมชน) รวม 2. ผลจากการออกแบบตนแบบตรา วางแผนดําเนินกิจกรรม รวมติดตามประเมินผล สัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑใหวิสาหกิจ รวมจัดทํารายงานวิจัย รวมรับผลได ผลเสีย รวม ชุมชนกลุมคนรักษแพะบางบัวทอง ตําบลพิมลราช สรางความยั่งยืนเปนตน และสอดคลองกับทฤษฎี อําเภอบางบัวทองโดยกระบวนการมีสวนรวม ของ ชอบ เข็มกลัดและโกวิทย พวงงาม (Khemgiud พบวา จากกระบวนการมีสวนรวมในการพัฒนา & Pangkgam, 2004) วาการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ตนแบบทั้งผูวิจัย สมาชิกในกลุมและผูที่เกี่ยวของ แบบมีสวนรวมเนนการมีสวนรวมของผูที่เกี่ยวของ ในทุก ๆ ขั้นตอน กลุมวิสาหกิจชุมชนมองวากลุม ศึกษาชุมชนการวิเคราะหปญหา ศึกษาแนวทางใน ตนเองมีวัตถุดิบที่ดีในการเลี้ยงแพะคือ หญาเนเปย การแกปญหา วางแผนและดําเนินการเพื่อแกไข Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Science) Vol.13 No.1 (January - June 2018) 179

ปญหา ยอมทําใหสมาชิกในชุมชนจะไดรับผล และเขมแข็ง ตามแผนภูมิการพัฒนาตราสัญลักษณ ประโยชนรวมกันกระบวนการทํางานทุกขั้นตอนที่ และกราฟกบนบรรจุภัณฑตามกระบวนการการมี ชุมชนไดมีสวนรวมนั้นกอใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน สวนรวมดังแผนภูมิที่ 1

ภาพที่ 8 การพัฒนาตราสัญลักษณและกราฟกบนบรรจุภัณฑตามกระบวนการการมีสวนรวม

3. ผลการสํารวจความพึงพอใจของผูบริโภค กลุมรวมถึงชวยใหผูบริโภคจดจําสินคาไดอยางดี ตอการออกแบบตราสัญลักษณและกราฟกบน บรรจุภัณฑมีโครงสรางที่แข็งแรงสามารถรองรับ บรรจุภัณฑ พบวา ผูบริโภคที่เซ็นทรัลรัตนาธิเบศธ ผลิตภัณฑไดอยางดี มีขนาด รูปราง นํ้าหนักที่ และเซ็นทรัลศรีสมานมีความพึงพอใจตอผลิตภัณฑ เหมาะสมรวมถึงสะดวกในการนําผลิตภัณฑออก ตนแบบตราสัญลักษณโดยรวมอยูในระดับมาก มาใชไดงาย สอดคลองกับแนวคิดของโสมภาณี ทั้งสองสถานที่ที่ไดวางจําหนายผลิตภัณฑทั้งนี้ ศรีสุวรรณ (Sreesuwan, 2015) กลาวถึง บรรจุภัณฑ เนื่องมาจาก ตราสัญลักษณประเภทผสมมีลักษณะ ที่ดีควรปกปองสินคาไดดีเมื่อมีการขนสงจะไมเกิด ผสมผสานระหวางภาพและตัวอักษร สัญลักษณ การเสียหาย เปดปดและใชงานไดงายเอาสินคา ประเภทนี้มักไดรับความนิยมเปนเพราะเปน ออกมาจากบรรจุภัณฑไดงาย สะดวกในการพกพา สัญลักษณที่สามารถสื่อแทนความเปนตัวตนของ และมีรูปราง นํ้าหนักที่ทําใหผูบริโภคสะดวกในการ 180 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)

ใชงาน สําหรับกราฟกบนบรรจุภัณฑของกลุม ของสีที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพซึ่งนิยามคําตาม ผูบริโภคทั้งสองแหงมีความพึงพอใจภาพรวมอยูใน รูปแบบการใชชีวิตของมนุษย ระดับมาก ทั้งนี้เนื่องมาจาก กราฟกบนบรรจุภัณฑ ของกลุมมีความเปนเอกลักษณที่โดดเดนแสดงให ขอเสนอแนะ เห็นถึงวิถีการเลี้ยงแพะที่เปนธรรมชาติ สะอาด จากการออกแบบตนแบบตราสัญลักษณ ปลอดภัย มีความสวยงามโดดเดนสะดุดตา และสี และกราฟกบนบรรจุภัณฑโดยกระบวนการมี ที่ใชมีความสอดคลองกับผลิตภัณฑโดยรวมทั้ง 13 สวนรวมนั้นผูวิจัยมีขอเสนอแนะการนําผลงานวิจัย รายการของกลุมวิสาหกิจชุมชน สอดคลองกับ ไปใชและขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไปดังนี้ แนวคิดของ ประชิด ทินบุตร (Tinnabutr, 1988) ที่ 1. ควรมีการศึกษาดานทิศทางการตลาด กลาวไววา ความมีลักษณะพิเศษที่สามารถสราง สวนแบงทางการตลาด ตําแหนงของผลิตภัณฑ ความทรงจําหรือทัศนคติที่ดีตอผลิตภัณฑและ แนวโนมการตลาดเปนตน เพื่อจะเปนประโยชนกับ บริษัทผูผลิต ไดแก การใชสี การใชกราฟก และภาพ ชุมชนตอไปในอนาคต ประกอบที่สามารถสรางทัศนคติที่ดีตอผลิตภัณฑ 2. ผลิตภัณฑกลุมวิสาหกิจชุมชนฯ อาจ ไดดี ซึ่งสีที่ใชในการออกแบบกราฟกบนบบรรจุ ยังไมเปนที่รูจักของผูบริโภคดังนั้นจึงควรนํา ภัณฑสําหรับกลุมเปาหมายที่มีระดับปานกลางใน ผลิตภัณฑออกเผยแพรผานสื่อออนไลน ทําสื่อ ระดับชั้นของสังคม อารมณและสีมีอิทธิพลตอการ ประชาสัมพันธเชนแผนพับและนําผลิตภัณฑสินคา รับรู สีที่ใหความรูสึกหรูหราจะเพิ่มมูลคาใหกับ ชุมชนฯ ออกรานตามเทศกาลหนึ่งตําบลหนึ่ง ผลิตภัณฑสอดคลองกับแนวคิดของ โคบายาชิ ผลิตภัณฑ เพื่อเปนการสรางเอกลักษณใหบางกลุม ชิเกโนบุ (Kobayashi, 1991) โดยแบงหมวดหมู และทําใหผูบริโภคไดเขาถึงสินคา Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Science) Vol.13 No.1 (January - June 2018) 181

REFERENCE Symbol. 3rd edition. Bangkok Sibprapa. Department of Agricultural Extension. (2005). (in Thai) Community Enterprise Promotion Act, Kotler, P. & Armstrong, G. (2014). Principles 2005. Retrieved June 19, 2016, from of marketing: global edition. 15th http://www.moac.go.th/law_agri- edition. Harlow, England: Pearson files-391991791824. Education Limited. Kaethep, K. (2015). Participatory action Tinnabutr, P. (1988). Packaging design. research proceeding. in PAR conference Bangkok: O.S. Printing House. (in Thai) Method and Instrument for Academic Sumang, C. (2015). Bang Bua Thong Goat Program including how to write Community Enterprise Group proposal, Knowledge Network Nonthaburi Province. Interviewed by Institute of Thailand, May 13-15, 2015. Tanaspansarrat, Pannat. March 15, Phranakhon Grand View. (in Thai) 2015. (in Thai) Khemglad, C & Pangkham. (2004). Practical Srisuvan, S (2015). Packaging design participatory action research. Bangkok development. Bangkok: O.S. Printing Sematham. House. (in Thai) Kiadthong, T. (2004). Logo Trade Mark