Dhonburi Rajabhat University Journal Volume 14, Issue 1, January-June 2020 41 การพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

วันที่รับบทความ 07/02/2563

วันแก้ไขบทความ 08/05/2563 1 2 วันตอบรับบทความ 20/05/2563 พรศิริ กองนวล สุชาดา ธโนภานุวัฒน์ วิไล ตั้งจิตสมคิด3 บทคัดย่อ การพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี ประชากรที่ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ (1) ผู้น�ำชุมชน ประกอบด้วย ประธานแขวง ประธานชุมชน/ผู้แทนในเขตธนบุรีุรี กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 7 แขวง 44 ชุมชน (2) ผู้สูงอายุในชุมชน (3) ผู้เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอบายุจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องและผู้เชี่ยวชาญด้านการก่อสร้าง ได้แก่ สถาปนิก วิศวกร เครื่องมือที่ใช้ในกานรเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ (1) ประเด็นที่ใช้ในการสนทนา (2) แบบส�ำรวจการพัฒนาอารยสถาปัตย์ เพื่อพัฒนธาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ (3) แบบประเมินความพึงพอใจ/ความเหมาะสมที่มีต่ออารยสถาปัตย์การด�ำเนินกฏั ารวิจัยและการพัฒนา มีดังนี้ (1) ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาอารยสถาปัตย์ส�ำหรับผู้สูงอายุ มีขั้นตอนดังนี้ภ 1.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง 1.2 จัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติกาช าร “การพัฒนาอารยสถาปัตย์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหร านคร” มีขั้นตอนดังนี้ 2.1 ชี้แจง ท�ำความ เข้าใจเกี่ยวกับโครงการวิจัย 2.2 บรรยายให้ความรู้ 2.3ยั ส�ำรวจความต้องการ 2.4 เลือกสถานที่ด�ำเนินการ พัฒน า (3) ประสานเจ้าของ/ผู้ดูแลพื้นที่ (4) กาารพัฒนลาอารยสถาปัตย์ส�ำหรับผู้สูงอาย ุ มีขั้นตอนดังนี้ 4.1 ผู้วิจัย และสถาปนิกร่วมกับประธานชุมชน/ผู้แทนลงพื้นที่ภย าคสนาม 4.2 ผู้วิจัยและสถาปนิกออกแบบ 4.3 ด�ำเนิน การพัฒนา (5) ศึกษาความพึงพอใจ/คววทิ ามเหมาะสม และท�ำการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปา ได้แก่ (1) ความถี่และร้อยละ (2) ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานข้อมูล เชิงคุณภาพวิเคราะห์ข้อมูลโดยกห ารวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis and Synthesis) ผลการศึกษา พบว่มา การพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ มีการด�ำเนินการ 7 ขั้น ดังนี้ 1. ขั้นให้ความรู้ 2. ขั้นศึกษาความต้องการของชุมชน 3. ขั้นประเมินความเป็นไปได้ 4. ขั้นการขออนุญาต และประสานเจ้าของ/ผู้ดูแลสถานที่ 5. ขั้นออกแบบ 6. ขั้นด�ำเนินการ 7. ขั้นการประเมิน ผลการศึกษา พบว่าส่วนมากต้องการพัฒนาห้องน�้ำ โดยการสนับสนุนงบประมาณ เครื่องสุขภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ ด�ำเนินการ

1 ดร. นักวิจัยช�ำนาญการพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี อีเมล : [email protected] 2 นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 3 รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 42 พรศิริ กองนวล

ต ามหลักอารยสถาปัตย์ 6 ประการ คือ 1) ทุกคนใช้ได้ เท่าเทียมกัน (Equitable Use) 2) ใช้งานง่าย (Simple and Intuitive Use) 3) การสื่อความหมายเข้าใจง่าย (Perceptible) 4) การออกแบบที่เผื่อการ ใช้งานที่ผิดพลาดได้ (Tolerance for Error) 5) ใช้แรงน้อย (Low Physical Effort) 6) ขนาดและพื้นที่ เหมาะสมกับการเข้าถึงและใช้งาน (Size and Space for Approach) ในพื้นที่ 7 แขวง คือ (1) แขวงตลาดพลู ชุมชนวัดกันตทาราราม (2) แขวงบางยี่เรือ ชุมชนตากสินสัมพันธ์ (3) แขวงดาวคะนอง ชุมชนวัดดาวคะนอง (4) แขวงหิรัญรูจี ชุมชนวัดบางไส้ไก่ (5) แขวงบุคคโล ชุมชนวัดกระจับพินิจ (6) แขวงส�ำเหร่ ชุมชนวัดบางน�้ำชน (7) แขวงวัดกัลยาณ์ ได้แก่ ชุมชนวัดบุปผาราม ชุมชนโรงคราม ซึ่งด�ำเนินการพัฒนาทางเดิน มีความพึงพอใจ ต่อการพัฒนาอารยสถาปัตย์ โดยภาพรวมในระดับมาก (X = 4.00) ̅ ี ค�ำส�ำคัญ : อารยสถาปัตย์ ผู้สูงอายุ เขตธนบุรี บุร ธน ภฏั าช ยั ร าล ทิ ย าว มห Dhonburi Rajabhat University Journal Volume 14, Issue 1, January-June 2020 43 Development of Universal Design for the Elders’ Quality of Life Improvement in Communities in Thon Buri District,

Revised 07/02/2020

Revised 08/05/2020 1 2 Accepted 20/05/2020 Pornsiri Kongnual Suchada Tanopanuwat Wilai Tangchitsomkit3 Abstract The purpose of this research was to develop the universal design for theี elders’ quality of life in communities in Thon Buri district, Bangkok. The populationบ ุรin this study consisted of 1) community leaders including subdistrict presidentsน and community presidents or representatives of 44 communities from seven subdistrictsธ in Thon Buri district, Bangkok, 2) elders in the communities, and 3) expertsฏั in the field of elderly from related organizations and construction experts (architectsภ and engineers). The data collection instruments were 1) discussion issues, 2)า surveyช form for the development of universal design for the elders’ quality of lifeยั รimprovement, and 3) evaluation form for the satisfaction/suitability on the universalล design. Data collection and the development process were as follows: 1) the studyยา of universal design development for the elders comprised of (1.1) studying relatedทิ documents and research and (1.2) conducting a focus group; 2) organizing a workshopว on the topic of “Development of Universal Design for the Elders’ Quality of Lifeา Improvement in Communities in Thon Buri District, Bangkok” according the followingห steps: (2.1) clarifying the research project, (2.2) lecturing, (2.3) analyzing needs, and (2.4)ม selecting places for the development; 3) coordinating with the landlord; 4) developing universal design for the elders as follows: (4.1) the researchers, architects, including the community presidents or representatives conducted a fieldwork, (4.2) the researchers and architects developed the design and 4.3 the development process was conducted;

1 Doctor of Philosophy, Researcher (Senior Professional Level), Dhonburi Rajabhat University e-mail: [email protected] 2 Researcher, Research and Development Institute, Dhonburi Rajabhat University 3 Associate Professor, Educational Administration, Dhonburi Rajabhat University วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 44 พรศิริ กองนวล and 5) investigating the satisfaction/suitability. For data analysis, quantitative data were analyzed for frequency, percentage, mean and standard deviation using a data analysis program while qualitative data were analyzed using content analysis and synthesis method. The result revealed that the development of universal design for the elders’ quality of life development comprised of seven steps: 1) lecturing, 2) analyzing needs, 3) evaluating possibility, 4) asking for permission and coordinating with the landlord, 5) designing, 6) conducting the development process, and 7) evaluating. The results revealed that the development of the bathrooms was highly needed. The budget, sanitary ware, and construction materials were supported based on the six principles of universalี design: 1) equitable use, 2) simple and intuitive use, 3) perceptible information, 4) toleranceุร for error, 5) low physical effort, and 6) size and space for approach. The developmentนบ process was conducted in seven subdistricts, which were 1) Wat Kanta Tararamธ community in subdistrict, 2) Sampan community in Bang Yi Rueaฏั subdistrict, 3) Wat community in Dao Khanong subdistrict, 4) Wat Bangภ Sai Gai community in Hiran Ruchi subdistrict, 5) Wat Krajab Pinit community in าBukkhaloช subdistrict, 6) Wat Bang Num Chon community in Sum Rae subdistrict, andั ร7) Wat Buppharam community and Rong Kram community in Wat Kanlaya subdistrictล whereย the paths were developed. The overall satisfaction towards the developmentย าof universal design was high (X = 4.00). ทิ ̅ Keywords: universal design,าว elders, Thon Buri district มห Dhonburi Rajabhat University Journal Volume 14, Issue 1, January-June 2020 45 Pornsiri Kongnual

บทน�ำ โครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงและมีแนวโน้มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) บางแหล่งข้อมูลได้มีการระบุว่าประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้วในปี พ.ศ. 2548 เนื่องด้วยข้อมูล ประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมีจ�ำนวน 10.4% และพยากรณ์ว่าปี พ.ศ. 2571 เพิ่มเป็น 23.5% ซึ่งย่อมส่งผล ต่ออัตราคนวัยท�ำงานผลผลิตโดยรวม และรายได้ของประเทศ และอาจก่อให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจ สังคมขึ้น จึงควรที่จะต้องมีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสภาวการณ์ที่จะเกิดขึ้น เช่น ด้านสาธารณสุข ด้านการศึกษา ด้านสวัสดิการและอื่น ๆ (ราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย, 2556) “ผู้สูงอายุ” องค์การสหประชาชาติ (United Nations, UN) ใช้ค�ำภาษาอังกฤษว่า Older Person or Elderly Person และให้ความหมายค�ำว่า “ผู้สูงอายุ” คือ ประชากรทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ส่วนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization, WHO) ยังไม่ได้นิยาม เนื่องด้วยประเทศุรี ต่าง ๆ มีการนิยามต่างกัน ทั้งบริบททางสังคม (Social) วัฒนธรรม (Culture) และสภาพร่าบงกาย (Functional Markers) ส�ำหรับประเทศไทย “ผู้สูงอายุ” ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546น หมายความว่า บุคคล ซึ่งมีอ ายุเกินกว่าหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย พจนานุกรมฉบับรั าธชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของค�ำว่า คนแก่ คือ มีอายุมาก หรืออยู่ในวัยชรา ภและให้ควฏ ามหมายของค�ำว่า ชรา คือ แก่ด้วยอายุ ช�ำรุดทรุดโทรม นอกจากนั้น ยังมีการเรียกผู้สูงอายุว่ชา ราษฎรอาวุโส (Senior Citizen) ผู้สูงอายุ เป็นประช ากรซึ่งมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว กล่าวคือ เป็นแหล่งควา ามรู้ ความช�ำนาญที่มีคุณค่า เป็นผู้ทรงไว้ ซึ่งประเพณี วัฒนธรรม และเป็นสายใยแห่งครอบครัวยั รเชื่อมต่อระหว่างบุคคลในช่วงวัยต่าง ๆ แต่ขณะ เดียวกัน มีปัญหาในด้านสุขภาพ อนามัย ปัญหาด้ลานสังคม และด้านเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้นกว่าวัยอื่น ๆ ปัญหา ด้านสุขภาพ เกิดเนื่องจากเป็นวัยชรา เซลล์ย าเนื้อเยื่อ อวัยวะต่าง ๆ เสื่อมลงตามธรรมชาติ ท�ำให้เกิดโรค การเสื่อมของอวัยวะต่าง ๆ เกิดภาวะสมรรถภทิ าพทดถอย ไร้แรงงาน หรือไร้สมรรถภาพ (Disability) เช่น โรคกระดูกเสื่อม โรคข้อเสื่อมหรือควว ามจ�ำ สติปัญญาเสื่อมถอย สับสนง่าย เกิดการทรงตัวไม่ดี เชื่องช้า ล้มได้ง่าย กระดูกหักง่าย เกิดโรคขา าดอาหารได้ง่ายจากการเสื่อมสภาพของเหงือกและฟัน รวมทั้งภูมิต้านทาน คุ้มกันโรคลดลง มีการติดเชื้อได้ง่ห าย และมักเป็นการติดเชื้อรุนแรง มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งสูงกว่าวัยอื่น ต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือจม ากบุคคลอื่น (พวงทอง ไกรพิบูลย์, 2560) จากแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545-2564 มีปรัชญา คือ (1) การสร้างหลักประกัน ในวัยสูงอายุเป็นกระบวนการสร้างความมั่นคงให้แก่สังคม (2) ผู้สูงอายุมีคุณค่าและศักยภาพ สมควรได้รับ การส่งเสริมสนับสนุนให้มีส่วนร่วมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม (3) ผู้สูงอายุมีศักดิ์ศรีและสมควรด�ำรงชีวิต อยู่ในชุมชนของตนได้อย่างมีคุณภาพที่สมเหตุสมผล และสมวัย (4) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ใช่บุคคลด้อยโอกาส หรือเป็นภาระต่อสังคมและถึงแม้ผู้สูงอายุจ�ำนวนหนึ่งจะประสบความทุกข์ยาก และต้องการการเกื้อกูล จากสังคมและรัฐ แต่ก็เป็นเพียงบางช่วงเวลาของวัยสูงอายุเท่านั้น ได้การก�ำหนดไว้ในวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม” โดยประชากรผู้สูงอายุที่มีสถานภาพดี (สุขภาพ ดีทั้งกายและจิต ครอบครัว อบอุ่น มีสังคมที่ดี มีหลักประกันที่มั่นคง ได้รับสวัสดิการและการบริการที่เหมาะสมอยู่อย่างมีคุณค่ามีศักดิ์ศรี วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 46 พรศิริ กองนวล

พึ่งตนเองได้ มีส่วนร่วมมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างต่อเนื่อง) และยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริม ผู้สูงอายุมาตรการที่ 6 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะ สมและปลอดภัย (กรมกิจการผู้สูงอายุ, 2560) จะเห็นว่า ทุกภาคส่วนให้ความส�ำคัญในการดูแลผู้สูงอายุใน ทุก ๆ ด้าน ดังนั้นผู้วิจัยจึงต้องการที่จะพัฒนาอารยสถาปัตย์ ในจุดที่เป็นศูนย์รวมของผู้สูงอายุและคนทุกวัยใน การท�ำกิจกรรมร่วมกันในชุมชน อาทิ วัด โบสถ์ ในพื้นที่เขตธนบุรีซึ่งแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 7 แขวง ได้แก่ วัดกัลยาณ์ หิรัญรูจี บางยี่เรือ บุคคโล ตลาดพลู ดาวคะนอง และส�ำเหร่ โดยมีจ�ำนวนประชากร 109,482 คน เป็นผู้สูงอายุจ�ำนวน 10,462 คน คิดเป็นร้อยละ 9.56 ของประชากรทั้งหมดเพื่อให้ได้รับความเสมอภาค โดยทั่วถึงกันทุกกลุ่มวัย วัตถุประสงค์การวิจัย ุรี เพื่อพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี นกรุงเทพมหบ านคร วิธีด�ำเนินการ ั ธ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ภฏ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม มีรชายละเอียดดังนี้ . 1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาความต้องการการพัฒนาาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุได้แก่ ประธานชุมชน/ผู้แทนในเขตธนบุรี กรุงเทพมหยั รานคร จ�ำนวน 7 แขวง 44 ชุมชน ชุมชนละ 1 คน รวม 44 คน ล .ช 2 ประ ากรที่ใช้ในการศึกษายการพัฒนา าอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย ทิ 2.1 ผู้น�ำชุมชน ได้แก่ว ประธานแขวง และประธานชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกในการด�ำเนินการ พัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ จ�ำนวน 8 ชุมชน ได้แก่ 1) ชุมชนวัดกันตทาราราม 2) ชุมชนวัดกระจับพินิจห 3) ชุมชนวัดบางน�้ำชน 4) ชุมชนวัดดาวคะนอง 5) ชุมชนวัดหิรัญรูจี 6) ชุมชน ตากสินสัมพันธ์ 7) มชุมชนวัดบุปผาราม 8) ชุมชนโรงคราม 2.2 ผู้เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมกิจการผู้สูงอายุ กรมส่งเสริม และพัฒน าคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส�ำนักงานขตธนบุรี นักวิชาการผู้สูงอายุ จ�ำนวน 5 คน 2.3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการก่อสร้าง ได้แก่ สถาปนิก วิศวกร จ�ำนวน 2 คน . 3 กลุ่มที่ใช้ศึกษาความพึงพอใจ/ความเหมาะสมที่มีต่ออารยสถาปัตย์พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูง อายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ได้แก่ ผู้น�ำชุมชน ผู้สูงอายุในชุมชนที่ใช้บริการ และบุคคลทั่วไปใน เขตธนบุรี กรุงเทพฯ จ�ำแนกตามแขวงจ�ำนวน 7 แขวงที่เป็นพื้นที่ด�ำเนินการ จ�ำนวน 238 คน ได้มาแบบเจาะจง ดังแสดงในตารางที่ 1 Dhonburi Rajabhat University Journal Volume 14, Issue 1, January-June 2020 47 Pornsiri Kongnual

ตารางที่ 1 แสดงประชากรที่ศึกษาความพึงพอใจ/ความเหมาะสมที่มีต่ออารยสถาปัตย์และความเหมาะสม ของการใช้งานของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

แขวง ชุมชน กรรมการชุมชน (คน) ผู้สูงอายุ (คน) ประชาชนทั่วไป (คน) รวม แขวงตลาดพลู วัดกันตทาราราม 4 14 12 30 แขวงบางยี่เรือ ตากสินสัมพันธ์ 5 16 9 30 แขวงดาวคะนอง วัดดาวคะนอง 5 10 13 28 แขวงหิรัญรูจี วัดบางไส้ไก่ 5 12 13 30 แขวงบุคคโล วัดกระจับพินิจ 5 11 14 30 แขวงส�ำเหร่ วัดบางน�้ำชน 5 12 13 ี 30 แขวงวัดกัลยาณ์ วัดบุปผาราม 5 16 9 ุร 30 โรงคราม 4 13 13 บ 30 รวม 38 104 น96 238 ฏั ธ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ภ 1. ประเด็นการสนทนากลุ่ม าช 2. แบบส�ำรวจการพัฒนาอารยสถาปัตย์ ั ร 3. แบบประเมินความพึงพอใจ/ตามควลามเหมย าะสมต่ออารยสถาปัตย์ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ยา ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยมีวิธีกทิ ารเก็บรวบรวมข้อมูลและการพัฒนา ดังนี้ 1. การศึกษาเกี่ยวกับกวารพัฒนาอารยสถาปัตย์ส�ำหรับผู้สูงอายุ 1.1 ศึกษาเอกสาารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งที่เป็นเอกสารวิชาการและกึ่งวิชาการ 1.2 จัดสนทนห ากลุ่ม (Focus Group) ผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในประเด็นเกี่ยวกับ “แนวทางการพัฒนมาอารยสถาปัตย์ที่เหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ” . 2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร” ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ ประธานแขวง ประธานชุมชนในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร รายละเอียดดังนี้ 2.1 ชี้แจง ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการวิจัยการพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 2.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับอารยสถาปัตย์ 2.3 ส�ำรวจความต้องการพัฒนาจากประธานชุมชนทั้ง 44 ชุมชน โดยใช้แบบส�ำรวจการพัฒนา อารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นเครื่องมือ วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 48 พรศิริ กองนวล

2.4 เลือกสถานที่ด�ำเนินการพัฒนาอารยสถาปัตย์ โดยแบ่งออกเป็น 7 กลุ่มตามแขวงใน เขตธนบุรี ประธานแขวงท�ำหน้าที่ประธานด�ำเนินการคัดเลือกสถานที่ที่มีความเหมาะสมความจ�ำเป็นและ ค�ำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยแก่คนในชุมชนมากที่สุดแขวงละ 3 แห่ง 3. ประสานเจ้าของ/ผู้ดูแลพื้นที่มีขั้นตอนดังนี้ 3.1 จัดท�ำแบบยินยอมให้ด�ำเนินงานในสถานที่ 3.2 ประธานแขวงด�ำเนินการประสานผู้บริหาร/เจ้าของ ผู้ดูแลสถานที่พื้นที่ที่ได้รับการคัดเลือก อันดับ 1 เพื่อขอความร่วมมือและยินยอมให้ใช้สถานที่ตามผลการคัดเลือกของแต่ละแขวง 4. การพัฒนาอารยสถาปัตย์ส�ำหรับผู้สูงอายุ โดยมีขั้นตอนการด�ำเนินการ ดังนี้ 4.1 ผู้วิจัยและสถาปนิกร่วมกับประธานชุมชน/ผู้แทนลงส�ำรวจภาคสนามเพื่อประเมิน ความเป็นไปได้และเก็บรวบรวมข้อมูล ุรี 4.2 ผู้วิจัยและสถาปนิกออกแบบตามหลักการของอารยสถาปัตย์และควบามเหมาะสมของ ก ารใช้งานของผู้สูงอายุและบริบทของแต่ละชุมชนโดยยึดองค์ประกอบและหลักการนของการออกแบบเพื่อคน ทั้งมวล (Universal Design) ั ธ 4.3 ด�ำเนินการพัฒนา โดยประธานแขวงและผู้น�ำชุมชนร่วมกันจัดหภฏ าช่างผู้รับเหมาในชุมชน เพื่อด�ำเนินการปรับปรุง พัฒนาตามแบบที่ผู้วิจัยและสถาปนิกออกแบบโดยโครงกช ารวิจัยสนับสนุนค่าวัสดุ และค่าแรง ดังนี้ า ยั ร ตารางที่ 2 แสดงสถานที่ด�ำเนินการพัฒนาอารลยสถาปัตย์และความเหมาะสมของการใช้งานของผู้สูงอายุ ในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหยานครา แขวง วชุมชนทิ สถานที่ แขวงตลาดพลู หวัดกันตทา าราราม วัดกันตทาราราม แขวงบางยี่เรือ ม ตากสินสัมพันธ์ วัดโพธิ์นิมิตรสถิตมหาสีมาราม แขวงดาวคะนอง วัดกลางดาวคะนอง วัดกลางดาวคะนอง แขวงหิรัญรูจี วัดบางไส้ไก่ พิพิธภัณฑ์และศูนย์การเรียนรู้ชุมชนวัดบางไส้ไก่ แขวงบุคคโล สนามแดง วัดกระจับพินิจ แขวงส�ำเหร่ วัดบางน�้ำชน ลานกีฬาพระราม 3 แขวงวัดกัลยาณ์ วัดบุปผาราม วัดบุปผาราม โรงคราม โรงคราม Dhonburi Rajabhat University Journal Volume 14, Issue 1, January-June 2020 49 Pornsiri Kongnual

4.4 ผู้วิจัยและสถาปนิกตรวจสอบความเหมาะสม ถูกต้อง . 5 ศึกษาความพึงพอใจ/ความเหมาะสมของผู้น�ำชุมชน ผู้สูงอายุ และคนทั่วไปที่มีต่ออารยสถาปัตย์ ผู้สูงอายุโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ/ความเหมาะสมที่มีต่ออารยสถาปัตย์ของผู้สูงอายุที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูป ได้แก่ (1) ความถี่และร้อยละ (2) ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ี เกณฑ์ในการแปลผลตามแนวคิดของเบสท์ (Best, 1977, น. 178-179) โดยพิจุร ารณาจาก ค่าเฉลี่ย ดังนี้ บ 1.00 – 1.49 หมายถึง ความเหมาะสม/พึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุดธน 1.50 – 2.49 หมายถึง ความเหมาะสม/พึงพอใจอยู่ในระดับน้อยฏั 2.50 – 3.49 หมายถึง ความเหมาะสม/พึงพอใจอยู่ในระดับปภ านกลาง 3.50 – 4.49 หมายถึง ความเหมาะสม/พึงพอใจอยู่ในระดับมาช าก 4.50 – 5.00 หมายถึง ความเหมยัาะสม/พึงพอใจอยู่ในระดับมร ากที่สุด 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์ข้อมูลโดยกล ารวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis and Synthesis) า ทิ ย สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัยาว สรุปผลการวิจัยห ผลการด�ำเนินงม านพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานครมีการด�ำเนินการพัฒนาห้องน�้ำส�ำหรับผู้สูงอายุทั้ง 7 แขวง 7 ชุมชน และการพัฒนาทางเดิน 1 ชุมชน สรุปได้ดังนี้ วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 50 พรศิริ กองนวล

ตารางที่ 3 แสดงสถานที่และการพัฒนาอารยสถาปัตย์ของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร แขวง สถานที่ การพัฒนา อุปกรณ์ แขวงตลาดพลู วัดกันตทาราราม ห้องน�้ำผู้สูงอายุและทางลาด 1. สุขภัณฑ์ 2 ชิ้น 2. ราวจับกันลื่นแบบตรง 3. กลอนประตูห้องน�้ำ 4. กริ่งสัญญาณฉุกเฉิน แขวงบางยี่เรือ วัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม ห้องน�้ำผู้สูงอายุ 1. สุขภัณฑ์ 2 ชิ้น 2. ราวจับกันลื่นแบบตรงุรี 3. กลอนประตูห้องน�้ำบ ธ4.น กริ่งสัญญาณฉุกเฉิน แขวงดาวคะนอง วัดกลางดาวคะนอง ห้องน�้ำผู้สูงอายุ ฏั 1. สุขภัณฑ์ 2 ชิ้น ภ 2. ราวจับกันลื่นตัวที าช 3. ราวจับกันลื่นแบบตรง ยั ร 4. กลอนประตูห้องน�้ำ าล 5. กริ่งสัญญาณฉุกเฉิน แขวงหิรัญรูจี พิพิธภัณฑ์และศูนย์กทิ ารเรียนรู้ย ห้องน�้ำผู้สูงอายุ 1. สุขภัณฑ์ 2 ชิ้น ชุมชนวัดบางไส้ไก่ว 2. ราวจับกันลื่นแบบตรง หา 3. กลอนประตูห้องน�้ำ ม 4. กริ่งสัญญาณฉุกเฉิน 5. พื้นกระเบื้อง แขวงบุคคโล วัดกระจับพินิจ ห้องน�้ำผู้สูงอายุ 1. สุขภัณฑ์ 2 ชิ้น 2. ราวจับกันลื่นตัวที 3. ราวจับกันลื่นแบบตรง 4. กลอนประตูห้องน�้ำ 5. กริ่งสัญญาณฉุกเฉิน Dhonburi Rajabhat University Journal Volume 14, Issue 1, January-June 2020 51 Pornsiri Kongnual

ตารางที่ 3 แสดงสถานที่และการพัฒนาอารยสถาปัตย์ของผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (ต่อ) แขวง สถานที่ การพัฒนา อุปกรณ์ แขวงส�ำเหร่ ลานกีฬาพระราม ชุมชนวัด ห้องน�้ำผู้สูงอายุ 1. สุขภัณฑ์ 2 ชิ้น บางน�้ำชน 2. ราวจับกันลื่นตัวที 3. ราวจับกันลื่นแบบตรง 4. กลอนประตูห้องน�้ำ 5. กริ่งสัญญาณฉุกเฉิน แขวงวัดกัลยาณ์ โรงคราม ทางเดิน 1. ลาดยางมะตอยบริเวณุรี ทางเดินชุมชนบ วัดบุปผาราม ห้องน�้ำผู้สูงอายุ ธ1.น กลอนห้องน�้ำ ฏั 2. ราวจับกันลื่น ภ 3. ราวจับประตูห้องน�้ำ าช 4. กริ่งสัญญาณฉุกเฉิน ยั ร ผลการศึกษาความพึงพอใจ/ความเหมาละสมที่มีต่ออารยสถาปัตย์ผู้สูงอายุเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบประเมินที่ผู้วิจัยสร้ยา างขึ้นโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้น�ำ ชุมชน ผู้สูงอายุ และคนทั่วไป ผลกาทิรวิเคราะห์ข้อมูล มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 238 คนส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง จ�ำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละาว 62.2 อายุ 60 - 69 ปี จ�ำนวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 36.1 ส่วนใหญ่ ไม่มีอาชีพ จ�ำนวน 95 คนห คิดเป็นร้อยละ 39.9 รองลงมาประกอบอาชีพรับจ้าง/อาชีพอิสระ จ�ำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 29.4ม ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาสุขภาพ จ�ำนวน 181 คน คิดเป็นร้อยละ 76.1 รองลงมามีปัญหา ในการเคลื่อนไหว (ใช้ไม้เท้า, วีลแชร์) จ�ำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 13.4 และมีความคิดเห็นว่าพื้นที่พัฒนา อารยสถาปัตย์ดีขึ้น จ�ำนวน 223 คน คิดเป็นร้อยละ 93.7 มีความพึงพอใจต่อการพัฒนาอารยสถาปัตย์ โดย ภาพรวมในระดับมาก (x = 4.00) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า สะดวกและไม่ต้องออกแรงมาก มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (x = 4.21) รองลงมา คือ เรียบง่าย ใช้งานได้ง่าย โดยไม่ต้องค�ำนึงถึงประสบการณ์ ภาษาหรือความช�ำนาญ ̅ ของผู้ใช้ (x = 4.16) ̅ ̅ วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 52 พรศิริ กองนวล

อภิปรายผลการวิจัย ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร พบว่าในการด�ำเนินการควรยึดหลักการของอารยสถาปัตย์หรือการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งฝ่ายปกครองที่ดูแลพื้นที่ ได้แก่ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร และ หน่วยงานที่รับผิดชอบผู้สูงอายุ ได้แก่ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งภาคเอกชน เห็นความส�ำคัญของอารยสถาปัตย์โดยมีการสนับสนุนทั้งในรูปแบบงบประมาณและรูปแบบอื่น ๆ สอดคล้อง กับแนวคิดของไตรรัตน์ จารุทัศน์ และคณะ (2552, น. บทน�ำ) ที่ได้จัดท�ำคู่มือปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม การออกแบบสภาพแวดล้อมและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับทุกคน (Universal Design Code ofี Practice) ฉบับ พ.ศ. 2552 ุร ขั้นตอนการพัฒนาอารยสถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุฯ มีการด�ำเนินกบ าร 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1.ให้ความรู้เกี่ยวกับอารยสถาปัตย์ 2.ศึกษาความต้องการ 3. ประเมินควธามเป็นไปได้น 4. ขออนุญาต การยินยอมของเจ้าของ/ผู้ดูแล 5. ออกแบบตามหลักอารยสถาปัตย์หรือการออกแบบเพื่อคนทั้งมวลฏั (Universal Design) ทั้งนี้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีการด�ำเนินการ 6 ประการจากหลักพื้นฐภ าน 7 ประการ 6.การด�ำเนิน การโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมและ 7. การประเมินความเหมาะสมและควาชามพึงพอใจจะเห็นได้ว่ามีการด�ำเนินการ ตามหลักการอารยสถาปัตย์ 6 ข้อ ได้แก่ 1) ทุกคนใช้ได้เท่ยั ารเทียมกัน (Equitable Use) 2) ใช้งานง่าย (Simple and Intuitive Use) 3) การสื่อความหมายเข้ลาใจง่าย (Perceptible) 4) การออกแบบที่เผื่อการใช้งาน ที่ผิดพลาดได้ (Tolerance for Error) 5)ย ใช้แรงน้อยา (Low Physical Effort) 6) ขนาดและพื้นที่เหมาะสม กับการเข้าถึงและใช้งาน (Size and ทิ Space for Approach) ยกเว้นความยืดหยุ่นในการใช้งาน (Flexibility in Use) เนื่องจากสภาพบริบทของพื้นที่ของชุมชนเป็นข้อจ�ำกัดเป็นไปตาว ามหลักการ Universal Design ว่าเป็น “การออกแบบเพื่อคนทั้งมวล”ห ตามสมาคมสถาปนิกแห่งสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (กระทรวงคมนาคม ส�ำนักงานนโยบายและแผนกม ารขนส่งและจราจร. 2558, น. 19) ในส่วนของการพัฒนาคณะผู้วิจัยเน้นการด�ำเนินที่ตรงตามความต้องการและการมีส่วนร่วมของ ผู้น�ำชุมชนและคนในชุมชน เพื่อให้ผู้น�ำชุมชนมีความตระหนัก ให้ความส�ำคัญกับผู้สูงอายุโดยเฉพาะด้าน อารยสถาปัตย์ที่นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุแล้วยังจะส่งผลต่อผู้พิการทางการเคลื่อนไหวด้วยเป็นไป ตามผลการศึกษารูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ผู้สูงอายุควรพัฒนาตนเอง ช่วยเหลือตนเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ครอบครัว ควรช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุให้ความส�ำคัญกับผู้สูงอายุ หน่วยงาน ภาครัฐ เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ควรเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จัดสวัสดิการ กิจกรรมเพื่อสุขภาพ ดูแลความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ อบรมให้ความรู้ จัดสิ่งอ�ำนวย Dhonburi Rajabhat University Journal Volume 14, Issue 1, January-June 2020 53 Pornsiri Kongnual

ความสะดวก จัดบริการสาธารณะ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชุมชน (อภินันท์ สนน้อย. 2559, น. 204) ทั้งการด�ำเนินการโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมและการให้ความรู้แก่ผู้น�ำชุมชนเป็นกระบวนการการสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนที่ชุมชนจะสามารถพึ่งพาตนเองได้ดังงานวิจัยของนารีรัตน์ จิตรมนตรี และสาวิตรี ทยานศิลป์ (2552, น. 94) ได้ศึกษาตัวแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ดีของครอบครัวและชุมชนเขตเมืองและ กรุงเทพมหานครพบว่า ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ชุมชนเขตเมืองมีการดูแลผู้สูงอายุที่ดี คือ การมีชุมชนที่เข้มแข็ง การมีระบบสนับสนุนที่ดี การมีทุนทางสังคม การตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุ การบริหารทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ การบูรณาการบทบาทในชุมชนและการมีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน ในการด�ำเนินการส่วนมากเป็นห้องน�้ำผู้สูงอายุทั้ง 7 ชุมชน และเป็นการด�ำเนินการในพื้นที่ วัดสอดคล้องกับงานวิจัยของภัทรนิษฐ์ จันพล (2556, บทคัดย่อ) โดยศึกษาบริเวณพื้นที่วัดในปัจจุบันวุ่รี า มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ พบว่าแต่ละวัดมีลักษณะสภบาพแวดล้อมทาง กายภาพและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ยังไม่เอื้อต่อการใช้งานของผู้สูงอายุเท่าที่ควร ส่วนห้องน�้ำส�ำหรับผู้สูงอน ายุ มีเพียงวัดเดียวที่จัดเตรียมไว้แล้วแต่อยู่ในต�ำแหน่งที่ผู้สูงอายุไม่ได้ใช้งาน ฏัรวมถึงมีลักษณะไม่ตรงตธ ามเกณฑ์ ที่เหมาะสม สิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการให้ปรับปรุงหรือออกแบบให้ดีขึ้นมภากที่สุดคือบริเวณห้องน�้ำส�ำหรับ ผู้สูงอ าย ุ ทั้งขนาดของห้องน�้ำ อุปกรณ์ในห้องน�้ำ หรือการใช้วัสดุพื้นผิวที่ลื่นอันเป็นจุดที่เสี่ยงต่อกช ารเกิดอุบัติเหตุ รวมทั้งการศึกษาของจักรกฤษณ์ แสนพรหม (2556, น. 72)ร าที่ศึกษาความจ�ำเป็นของสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส�ำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุและผู้สูงอายุในพื้นที่ กรณีศึกษยั าสถานที่ท่องเที่ยวซึ่งเป็นพระธาตุบริวารของ พระธาตุพนม จังหวัดนครพนม พบว่า ความจ�ำเป็นของสิ่งอ�ำนวยควาล ามสะดวกส�ำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ คือ การติดตั้งราวจับในห้องน�้ำ ย ในการด�ำเนินการพัฒนวาห้องน�้ำผู้สูงอทิ ายุในครั้งนี้เป็นการด�ำเนินการตามสภาพบริบทโดยเน้นให้ ความสะดวกแก่ผู้สูงอายุตามหลักกา ารของอารยสถาปัตย์บางแห่งมีการจัดท�ำทางลาดให้ด้วย เช่น ชุมชนวัด กระจับพินิจ แขวงบุคคโลห นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาทางเดินด้วย ได้แก่ ชุมชนโรงคราม แขวงวัดกัลยาณ์ แสดงให้เห็นว่าชุมชนต่มาง ๆ ยังมีความต้องการอารยสถาปัตย์ที่มีความหลากหลายสอดคล้องกับผลการวิจัย ของพีรพงษ์ เพ็ชรี่ (2551, น. 131-132) ส�ำรวจสภาพปัจจุบันของการจัดอุปกรณ์หรือสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส�ำหรับคนพิการในการเข้าถึงโบราณสถานแก่ผู้ที่พิการทางการเคลื่อนไหวและผู้สูงอายุ โดยท�ำการส�ำรวจ โบราณสถานในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 14 แห่ง มีโบราณสถานเพียง 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25 ที่มีการจัดอุปกรณ์หรือสิ่งอ�ำนวยความสะดวกแก่คนพิการ โบราณสถาน 5 แห่ง ไม่มีโบราณสถานใดที่การจัด อุปกรณ์หรือสิ่งอ�ำนวยความสะดวกแก่คนพิการในเรื่องของการขนส่ง การจอดรถ และลิฟต์ โบราณสถาน ทั้งหมดมีการจัดทางลาดร้อยละ 15 ทางเข้าหลักร้อยละ 32 ห้องส้วมร้อยละ 21 ทางสัญจรโดยรอบ ร้อยละ 72 อุปกรณ์และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอื่น ๆ ร้อยละ 23 ข้อมูลข่าวสารร้อยละ 16 แผนการนโยบาย วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 54 พรศิริ กองนวล

ร้อยละ 2 การจัดอุปกรณ์หรือสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับคนพิการ ในการเข้าถึงโบราณสถานนั้นต้อง ประกอบไปด้วยความเข้าใจในองค์ความรู้ต่าง ๆ การท�ำงานเป็นทีม และมีบัญชีตรวจสอบที่มีความเหมาะสม โดยผสมผสานทุกองค์ประกอบอย่างสมดุล เพื่อให้ได้แนวทางที่มีความเหมาะสมตรงกับความต้องการของ คนพิการในสังคมนั้น ๆ

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ประโยชน์ . 1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนควรน�ำแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาอารยสถาปัตย์ไปใช้ในการด�ำเนิน พัฒนาชุมชนเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ ุรี . 2 ผู้น�ำชุมชนควรมีระบบ กลไกและสร้างความตระหนักให้กับคนในชุมชนในกบารดูแลรักษาอารย- สถาปัตย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ให้มีความสะอธนาด สภาพพร้อมใช้งาน ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ฏั . 1 ควรมีการศึกษาวิจัยในการพัฒนาอารยสถาปัตย์ในรูปแบบอื่นภ ๆ เช่น การสร้างความร่วมมือกับ ภาครัฐ ภาคเอกชน าช 2. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับอารยสถาปัตย์ส�ำหรับกลุ่มคนอื่นยั ร ๆ เช่น ผู้พิการ . 3 ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอาาลยุในประเด็นอื่น ๆ เช่น ระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุ ฯลฯ ทิ ย าว มห Dhonburi Rajabhat University Journal Volume 14, Issue 1, January-June 2020 55 Pornsiri Kongnual

บรรณานุกรม

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2560). คนโสด ความกลัว กับครอบครัวที่ต้องดูแล. ค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2561, จาก http://www.thaicentenarian.mahidol.ac.th. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส�ำนักส่งเสริมศักยภาพและสิทธิ ส�ำนักงานส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. (2557). คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมส�ำหรับคนพิการและ คนทุกวัย. ค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2561, จาก http://nep.go.th/sites/default/files/files/services/ NEP8_07.pdf. กระทรวงคมนาคม ส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2558). รายงานโครงการศึกษาุรี การพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพการบริการภาคขนส่งส�บำหรับคนพิการ และผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธน จักรกฤษณ์ แสนพรหม. (2556). ความจ�ำเป็นของสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ฏั ำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุและ ผู้สูงอายุในพื้นที่ กรณีศึกษาสถานที่ท่องเที่ยวซึ่งเป็นพระธาตุบริวารของพระธาตุพนมจังหวัดภ นครพนม. วิทย านิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตาช สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. ยั ร ไตรรัตน์ จารุทัศน์ และคณะ. (2552). คู่มือปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมการออกแบบสภาพแวดล้อมและล สิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับทุกคน.ยา กรุงเทพมหานคร : สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรม ราชูปถัมภ์. ทิ ไตรรัตน์ จารุทัศน์. (2557).า Universalว Design: การออกแบบเพื่อคนทั้งมวล. ค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2561, จาก http://www.nstda.or.th/nac2013/download/presentation/Set4/NT-106-02/03ห Trirat.pdfม นารีรัตน์ จิตรมนตรี และสาวิตรี ทยานศิลป์. (2552). การทบทวนองค์ความรู้และแนวทางการจัดระบบ สวัสดิการผู้สูงอายุในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ. พวงทอง ไกรพิบูลย์. (2560). การดูแลผู้สูงอายุ. ค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2561, จาก http://haamor.com/ พีรพงษ์ เพ็ชรี่. (2551). การจัดอุปกรณ์หรือสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับคนพิการในโบราณสถาน (กรณีศึกษา : โบราณสถานในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชางานบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 56 พรศิริ กองนวล

ภัทรนิษฐ์ จันพล (2556). แนวทางการออกแบบและปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกส�ำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่วัด. วิทยานิพนธ์ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รัชพันธุ์ เชยจิตร และสุรีย์พร พันพึ่ง. (2548). การศึกษาความต้องการเดินทางและพฤติกรรมการเดินทาง ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย. (2556). ประเทศไทย...ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุเกือบเต็มตัวแล้ว. ค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2561, จาก http://www.royalthaident.org/dentist/talk/7. อภินันท์ สนน้อย. (2559). รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้น�ำเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศุรี าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. บ Best, J. W. (1977). Research in Education. (3 rd ed). New Jersey: Prenticeธน hall Inc. ภฏั าช ยั ร าล ทิ ย าว มห