แผนการจัดการเรียนร้โดยใช้แหล่งเรียนรู ้ออนไลน์ู ของสถาบันการส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 21101 เรื-อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศและการพยากรณ์อากาศ

จัดทําโดย นางวรรณภรณ์ ละออ [email protected] นางสาวรัตนาภรณ์ กาญจนพัฒน์ [email protected]

กล่มสาระการเรียนรุ ้วิทยาศาสตร์ู โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ ๑” อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยธยาุ สํานักงานเขตพื<นที-การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3

แผนการจัดการเรียนรู้ กล่มสาระการเรียนรุ ้วิทยาศาสตร์ู รายวิชาวิทยาศาสตร์พื<นฐาน (ว21101) ชั<นมัธยมศึกษาปีที- 1 หน่วยการเรียนร้ที-ู 7 บรรยากาศ ภาคเรียนที- 1/2556 เรื-อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศและการพยากรณ์อากาศ เวลา 2 ชั-วโมง

1. สาระสําคัญ นําในอากาศอยูได้ทั่ ง 3 สถานะ สถานะที(เป็นของแข็งได้แก่ หิมะ เกล็ดนําแข็งหรือ ลูกเห็บ ส่วนสถานะที(เป็นของเหลว ได้แก่ ละอองนํา และสถานะที(เป็นกาซได้แก๊ ่ ไอนํา ซึ(งไอนําเมื(อ รวมตัวกนจะกลายเป็นั เมฆ และถ้าเกิดการกลันตัวตกลงมาจะเรียกว( า่ ฝน การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศและปรากฏการณทางธรรมชาติที(จะ เกิดขึนล่วงหน้า ซึ(งลมฟ้าอากาศมีอิทธิพลตอชีวิตประจําวันของสิ่ (งมีชีวิตทังทางตรงและทางอ้อม ข้อมูล และผลการวิเคราะห์ลักษณะอากาศจึงเกี(ยวข้องกบบุคคลทุกอาชีพั

2. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี<วัด มาตรฐาน ว 6. 1 เข้าใจกระบวนการตาง่ ๆ ที(เกิดขึนบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ ของกระบวนการตาง่ ๆ ที(มีผลตอการเปลี(ยนแปลงภูมิอากาศ่ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื(อสารสิ(งที(เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี<วัด ว 6.1 ม.1/3 สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที(มีผล ตอมนุษย์่ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกปัญหา้ รู้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที(เก่ ิดขึนส่วนใหญมีรูปแบบที(แน่ ่นอน สามารถอธิบายและ ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื(องมือที(มีอยูในช่ ่วงเวลานันๆ เข้าใจวา่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ(งแวดล้อมมีความเกี(ยวข้องสัมพันธ์กนั ว 8.1 ม.1-3/5 วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกบข้อสรุปั ทังที(สนับสนุน หรือขัดแย้งกบสมมติฐานั และความผิดปกติของข้อมูลจากการสํารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.1-3/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ(มเติมจากแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที(เชื(อถือได้ และยอมรับการ เปลี(ยนแปลงความรู้ที(ค้นพบ เมื(อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหมเพิ่ มขึ( นหรือโต้แย้งจากเดิม

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. อธิบายการเกิดลม, พายุ และอธิบายเกี(ยวกบการพยากรณ์อากาศได้ั 2. อธิบายการเกิดลมมรสุมตางๆ่ พายุหมุนเขตร้อน และพายุฝนฟ้าคะนองได้ 3. บอกผลกระทบของพายุต่อมนุษย์และสิ(งแวดล้อมได้ ด้านทักษะกระบวนการ 4. สามารถสืบค้นข้อมูล สํารวจตรวจสอบ เกบข้อมูล็ และนําเสนอข้อมูลเกี(ยวกบปรากฏการณ์ั ลมฟ้าอากาศ และการพยากรณ์อากาศได้ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 5. นักเรียนมีความรับผิดชอบตองานที(ได้รับมอบหมายและสามารถทํางานร่ ่วมกบผู้อื(นได้ั 4. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของการพยากรณ์อากาศ 2. หลักการพยากรณ์อากาศ 3. ความสําคัญของการพยากรณ์อากาศ 4. อธิบายการเกิดเมฆและชนิดของเมฆได้ 5. อธิบายการเกิดฝนได้ 6. อธิบายการเกิดลมมรสุมตาง่ ๆ ได้ 7. ระบุผลของปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที(มีตอมนุษย์และสิ่ (งแวดล้อมได้ 5. สาระสําคัญ การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศและปรากฏการณทาง ธรรมชาติที(จะเกิดขึนล่วงหน้า ซึ(งลมฟ้าอากาศมีอิทธิพลตอชีวิตประจําวันของสิ่ (งมีชีวิตทังทางตรงและ ทางอ้อม ข้อมูลและผลการวิเคราะห์ลักษณะอากาศจึงเกี(ยวข้องกบบุคคลทุกอาชีพั นําในอากาศอยูได้ทั่ ง 3 สถานะ สถานะที(เป็นของแข็งได้แก่ หิมะ เกล็ดนําแข็งหรือ ลูกเห็บ ส่วนสถานะที(เป็นของเหลว ได้แก่ ละอองนํา และสถานะที(เป็นกาซได้แก๊ ่ ไอนํา ซึ(งไอนําเมื(อ รวมตัวกนจะกลายเป็นั เมฆ และถ้าเกิดการกลันตัวตกลงมาจะเรียกว( า่ ฝน 6. สมรรถนะของผ้เรียนู 6.1 ความสามารถในการสื-อสาร 6.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 6.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการทํางานกลุ่ม

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุงมั่ นในการทํางาน( 8. ชิ<นงาน/ภาระงาน 8.1 ชิ<นงาน 1. แผนภาพการนําเสนอ เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 8.2 ภาระงาน 1. การตอบคําถามระหวางการเรียนการสอน่ 2. การนําเสนอแผนภาพ เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 3. การทําใบงาน

9. การวัดและประเมินผล

สิ-งที-ต้องการวัด วิธีการวัด เครื-องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ 1. การถามตอบในชันเรียน 1.คําถาม ตอบได้ถูกต้อง 2. การนําเสนอแผนภาพ เรื(อง 2.แบบประเมินผล อยูในระดับคุณภาพ่ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ การนําเสนอ ดีขึนไป 2. ด้านทักษะ 1. การนําเสนอแผนภาพ เรื(อง 1.แบบประเมินผล อยูในระดับคุณภาพ่ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ การนําเสนอ ดีขึนไป 3.ด้านคุณลักษณะหรือ 1.สังเกตพฤติกรรมการทํางาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม อยูในระดับคุณภาพ่ จิตวิทยาศาสตร์ เป็นกลุ่ม การทํางานกลุ่ม ดีขึนไป

10. กิจกรรมการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที(เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ Inquiry Cycle (5E s)

ขั<นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูสร้างความสนใจโดยให้นักเรียนดูวีดีทัศน์ เรื(อง พายุทอร์นาโด จาก http://www.youtube.com/watch?v=H 9VpwmtnOZc โดยใช้คําถามกระตุ้นความสนใจ เช่น 1.1 นักเรียนทราบหรือไมว่ าพายุมีก่ ี(ประเภท 1.2 การเกิดพายุมีผลตอการดํารงชีวิตของนักเรียนหรือไม่ ่ 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้

ขั<นสํารวจและค้นหา (Exploration) 3. แบงนักเรียนออกเป็น่ 6 กลุ่ม กลุ่มละ 7-8 คน จากนันให้นักเรียนแตละกลุ่ ่มศึกษาและอภิปราย ตามหัวข้อที(ได้รับหมอบหมาย จากใบงานที(แจกให้ แล้วเตรียมออกมานําเสนอแผนภาพของแตละกลุ่ ่ม ดังนี กลุ่มที( 1 เรื(อง ลมประจําเวลา กลุ่มที( 2 เรื(อง ลมประจําฤดู กลุ่มที( 3 เรื(อง ลมประจําถิ(น กลุ่มที( 4 เรื(อง พายุหมุน กลุ่มที( 5 เรื(อง เมฆ กลุ่มที( 6 เรื(อง การพยากรณ์อากาศ

ขั<นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4. ครูให้นักเรียนแตละกลุ่ ่มออกมานําเสนอหัวข้อที(ได้รับมอบหมายหน้าชันเรียน พร้อมกบรั ่วมกนั อภิปรายในแตละหัวข้อ่ 5. ครูและนักเรียนร่วมกนสรุปเนืั อหาในแตละหัวข้อร่ ่วมกนั

ขั<นขยายความรู้ (Elaboration) 6. ครูอธิบายเพิมเติมเก( ี(ยวกบการเกั ิดลมและพายุในแตละชนิด่ โดยใช้ บทเรียนออนไลน์ เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ จาก http://www.youtube.com/watch?v=khy9AWWwy5E

ขั<นประเมิน (Evaluation) 7. นักเรียนตอบคําถามระหวางการเรียนการสอน่ 8. การนําเสนอตามหัวข้อที(กาหนดให้ได้อยํ างถูกต้อง่ 9. การทําแบบทดสอบหลังเรียน

11. สื-อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ม. 1 2. แผนภาพการนําเสนอ เรื(อง ลมและพายุ 3. ใบความรู้ที( 1 เรื(อง ลมประจําเวลา 4. ใบความรู้ที( 2 เรื(อง ลมประจําฤดู 5. ใบความรู้ที( 3 เรื(อง ลมประจําถิ(น 6. ใบความรู้ที( 4 เรื(อง พายุหมุน 7. ใบความรู้ที( 5 เรื(อง พายุฝนฟ้าคะนอง 8. ใบความรู้ที( 6 เรื(อง ผลของการเกิดพายุต่อมนุษย์และสิ(งแวดล้อม 9. บทเรียนออนไลน์ เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ จาก http://www.youtube.com/watch?v=khy9AWWwy5E 10. วีดีทัศน์ เรื(อง พายุทอร์นาโด จาก http://www.youtube.com/watch?v=H 9VpwmtnOZc

ใบความร้ที-ู 1 เรื-อง ลมประจําเวลา ลมประจําเวลา เป็นลมที(พัดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ(ง มีความแรงไมมาก่ ได้แก่ 1.ลมทะเล เกิดขึนในเวลากลางวัน เนื(องจากพืนนําดูดความร้อนได้ช้ากวาพื่ นดิน ทําให้อากาศเหนือ พืนนํามีอุณหภูมิตํ(ากวาอากาศเหนือพื่ นดิน อากาศเหนือพืนดินซึ(งร้อนกวาจะขยายตัวทําให้ความหนาแน่ ่น ลดลงจึงลอยตัวสูงขึน เป็นผลให้อากาศเหนือพืนนําทะเลซึ(งมีอุณหภูมิตํ(ากวา่ ความหนาแน่นมากกวา่ และ ความกดอากาศสูงกวาไหลเข้ามาแทนที(่ ส่งผลให้กระแสอากาศไหลจากทะเลเข้าสู่ฝังในระดับล่างเกิดเป็น ลมทะเล

ที(มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/16/contents/p02.html

2. ลมบก เกิดขึนในเวลากลางคืน เนื(องจากพืนดินคายความร้อนได้เร็วกวาพื่ นนํา ทําให้อากาศเหนือพืนดินมี อุณหภูมิตํ(ากวาอากาศเหนือพื่ นนํา ความหนาแน่นของอากาศและความกดอากาศจึงสูงกวาอากาศเหนือพื่ น นํา ทําให้กระแสอากาศในระดับล่างเคลื(อนจากพืนดินออกสู่ทะเลเกิดเป็นลมบก

ที(มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/16/contents/p02.html

ประโยชน์ของลมบก ลมทะเล เรือประมงขนาดเล็กจะออกสู่ท้องทะเลเพื(อหาปลาในเวลากลางคืน โดยอาศัย“ลมบก”ที(พัดจากฝั(ง ออกสู่ทะเล ในตอนกลางคืน พอรุ่งสางเรือเหล่านีกจะอาศัย็ “ลมทะเล” ที(พัดจากทะเลเข้าฝั(งในเวลากลางวัน แล่นกลับเข้า สู่ฝั(งอีกครังนันเอง

ลมภูเขา บริเวณภูเขาในขณะที(มีระบบลมออน่ ลมมักจะพัดลงตามลาดของภูเขาในเวลากลางคืน และพัดขึน ลาดภูเขาในเวลากลางวัน ทังนีเพราะในเวลากลางคืนตามบริเวณภูเขาที(ระดับสูง มีอากาศเย็นกวาตามที(ตํ(า่ ความหนาแน่นของอากาศในที(สูงจึงมีมากกวาในระดับตํ(า่ ลมจึงพัดลงตามเขา เราเรียกลมนีวา่ ลมภูเขา (Mountain wind or Mountain breeze)

ลมหุบเขา ส่วนในเวลากลางวันดวงอาทิตย์แผรังสีให้แก่ ่ภูเขา และหุบเขาทําให้อุณหภูมิที(ระดับสูงหรือที( ยอดเขาสูงกวาอุณหภูมิตามที(ตํ(าหรือหุบเขา่ ดังนันความหนาแน่นของอากาศในระดับสูงจึงน้อยกวาและ่ ลอยตัวสูงขึน ฉะนันอากาศจากที(ตํ(าหรือหุบเขา จึงพัดขึนไปแทนที( เราเรียกวา่ ลมหุบเขา (Valley wind or Valley breeze)

ใบความร้ที-ู 2 เรื-อง ลมประจําฤดู

ลมประจําฤดูกาลในประเทศไทย คือ ลมมรสุม ซึ(งเป็นลมที(พัดอยูอย่ างเด่ ่นชัดในช่วงฤดูใดฤดูหนึ(ง ได้แก่ 1. ลมมรสุมฤดูร้อน เกิดขึนในช่วงฤดูร้อน เนื(องจากภาคพืนทวีปเอเชียมีอากาศอบอุ่นขึน ทังนีเพราะ ในช่วงนีโลกหันซีกโลกเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์ ส่วนซีก โลกใต้จะได้รับแสงเฉียงจากดวงอาทิตย์ ทําให้อุณหภูมิของ อากาศในท้องทะเลลดตํ(าลงและเกิดหยอมความกดอากาศ่ สูงขึนในมหาสมุทร ส่วนบนภาคพืนทวีปจะเกิดหยอมความ่ กดอากาศตํ(า ทําให้มวลอากาศร้อนและชืนจากภาคพืนสมุทร ไหลเข้าสู่ภาคพืนทวีป เรียกวา่ ลมมรสุมฤดูร้อน ในประเทศ ไทยจะรู้จักลมนีในชื(อของ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จะเริ(ม พัดราวปลายเดือนพฤษภาคมหรือต้นเดือนมิถุนายน รูปที 1 ทิศทางของลมมรสุมฤดูร้อน

2. ลมมรสุมฤดูหนาว เป็นลมมรสุมที(พัดจากภาคพืน ทวีปลงสู่ทะเล เป็นลมเย็นและแห้ง ดังนันเมื(อลมมรสุม ฤดูหนาวพัดผานบริเวณใดจะทําให้อุณหภูมิของอากาศ่ ลดตํ(าลงและแห้งแล้ง ลมนีจะพัดในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึง กลางเดือนกุมภาพันธ์ ลมมรสุมฤดูหนาวเกิดขึนเนื(องจากใน ฤดูหนาวซีกโลกใต้ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์มากกวาซีก่ โลกเหนือ อุณหภูมิของพืนนําในมหาสมุทรอินเดียตอนใต้ เส้นศูนย์สูตรลงมาจึงสูงกวาภาคพื่ นดิน ทําให้ความลาดชัน ของความกดอากาศลาดเทจากภาคพืนทวีปลงสู่ภาคพืน มหาสมุทร ซึ(งทําให้เกิดลมมรสุมพัดขึนมา ในประเทศไทย รูปที 2 ทิศทางของลมมรสุมฤดูหนาว รู้จักลมมรสุมฤดูหนาวในชื(อ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ระหวางกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม่ โดยมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงํ ในซีกโลกใต้บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึ(งพัดออกจาก ศูนย์กลางเป็นลมตะวันออกเฉียงใต้ และเปลี(ยนเป็นลมตะวันตกเฉียงใต้เมื(อพัดข้ามเส้นศูนย์สูตร มรสุมนี จะนํามวลอากาศชืนจากมหาสมุทรอินเดียมาสู่ประเทศไทย ทําให้มีเมฆมากและฝนชุกทัวไป( โดยเฉพาะ อยางยิ่ งตามบริเวณชายฝั( (งทะเล และเทือกเขาด้านรับลมจะมีฝนมากกวาบริเวณอื(น่

ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หลังจากหมดอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แล้ว ประมาณกลางเดือนตุลาคม จะมีมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย จนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ มรสุมนีมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณํ ความกดอากาศสูงบนซีกโลกเหนือ แถบประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพาเอามวลอากาศเย็น และแห้งจาก แหล่งกาเนิดเข้ามาปกคลุมประเทศไทยํ ทําให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้งทัวไป( โดยเฉพาะ ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต้จะมีฝนชุกโดยเฉพาะภาคใต้ฝั(งตะวันออก เนื(องจาก มรสุมนีนําความชุ่มชืนจากอ่าวไทยเข้ามาปกคลุม การเริ(มต้นและสินสุดมรสุมทังสองชนิดอาจผันแปรไป จากปกติได้ในแตละปี่

ใบความร้ที-ู 3 เรื-อง ลมประจําถิ-น

ลมประจําถิ-น เป็นลมที(เกิดและพัดในพืนที(ใดพืนที(หนึ(ง เป็นลมที(เกิดขึนภายในท้องถิ(น เนื(องจาก อิทธิพลของภูมิประเทศและความเปลี(ยนแปลงของความกดอากาศ ได้แก่ 1. ลมตะเภาและลมว่าว เป็นลมท้องถิ(นในประเทศไทย โดยลมตะเภาเป็นที(พัดจากทิศใต้ไปยัง ทิศเหนือ คือ พัดจากอาวไทยเข้าสู่ ่ภาคกลางตอนล่าง พัดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ซึ(งเป็นช่วง ที(ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะเปลี(ยนเป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นลมที(นําความชืนมาสู่ภาคกลาง ตอนล่าง ในสมัยโบราณลมนีจะช่วยพัดเรือสําเภาซึ(งเข้ามาค้าขายให้แล่นไปตามลํานําเจ้าพระยา และพัด ในช่วงที(ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จะเปลี(ยนเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หรืออาจจะเรียกวา่ ลมข้าวเบา เพราะพัดในช่วงที(ข้าวเบากาลังออกรวงํ

ลมตะเภา ลมวาว่

2. ลมทะเลทราย (Desert Winds) เป็นลมท้องถิ(นเกิดขึนในบริเวณทะเลทราย เวลาเกิดจะมาพร้อม กบพายุั ฝุ่นหรือพายุทราย เวลาเกิดจะหอบเอาฝุ่นทรายมาด้วย บริเวณที(เกิดได้แก่ ประเทศซูดาน ในทวีปแอฟริกา เฉลี(ยจะเกิดประมาณปีละ 24 ครัง และบริเวณทะเลทรายทางตะวันตกเฉียงใต้ ของสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะทางภาคใต้ของมลรัฐแอริโซนา

ลมทะเลทราย

3. ลมชีนุก (Chinook) เป็นลมที(เกิดขึนทางด้านหลังเขา มีลักษณะเป็นลมร้อนและแห้ง ความแรงลมอยูในขั่ นปานกลางถึงแรงจัด การเคลื(อนที(ของลมเป็นผลจากความกดอากาศแตกตางก่ นทางั ด้านตรงข้ามของภูเขา ภูเขาด้านที(ได้รับลมจะมีความกดอากาศมากและอากาศจะถูกบังคับให้ลอยสูงขึนสู่ ยอดเขา ซึ(งจะขยายตัวและพัดลงสู่เบืองล่างทางด้านหลังเขา ขณะที(อากาศลอยตํ(าลง อุณหภูมิจะคอยๆ่ เพิม( สูงขึนตามอัตราการเปลี(ยนอุณหภูมิ จึงเป็นลมร้อนและแห้ง บริเวณที(เกิดลมเป็นบริเวณแคบๆ มีความกว้าง เพียง 2-3 ร้อยกิโลเมตรเทานั่ นและแผขยายจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมลรัฐนิวเม็กซิโก่ สหรัฐอเมริกา ไปทางเหนือเข้าสู่แคนาดา 4. ลมซานตาแอนนา (Santa Anna) เป็นลมร้อนและแห้งพัดจากทางตะวันออก หรือ ตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสู่ภาคใต้มลรัฐแคลีฟอร์เนีย จะพัดผานบริเวณทะเลทรายและภูเขา่ จึงกลายเป็นลม ร้อนและแห้ง ลมนีเกิดขึนในเขตความกดอากาศสูงบริเวณแกรตเบซิน และเมื(อพัดผานบริเวณใดจะก่ ่อให้เกิด ความเสียหายแก่พืชผลบริเวณนัน โดยเฉพาะในฤดูใบไม้ผลิ เมื(อต้นไม้ติดผลออนและบริเวณที(มีลมพัดผ่ าน่ จะมีอุณหภูมิสูงขึน เช่น เมื(อลมนีพัดเข้าสู่ภาคใต้มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ทําให้อุณหภูมิสูงกวาบริเวณที(ไม่ มีลมนี่  พัดผาน่

ใบความร้ที-ู 4 เรื-อง พายหมุ นุ

ถ้าความกดอากาศใน 2 บริเวณแตกตางก่ นมากั กระแสลมที(พัดกจะมีความเร็วสูงขึ็ นเรียกวา่ ลมพาย ุ บางครังลมพายุที(เกิดขึนจะพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางความกดอากาศตํ(า เนื(องจากความกดอากาศตรง ศูนย์กลางตํ(ากวาบริเวณรอบๆมาก่ การพัดของลมที(หมุนเวียนเข้าหาศูนย์กลางจะมีความเร็วสูงมากและมี กาลังแรงํ เรียกวา่ พายุหมุน พายุหมุนที(เกิดขึนในส่วนตางๆของโลกในแต่ ละครั่ งจะมีความรุนแรงแตกตางก่ นั การเกิดพายุหมุน ขึนในแตละครั่ งจะครอบคลุมพืนที(กว้าง 150-500 กิโลเมตร การจําแนกขนาดของพายุหมุนโดยใช้ความเร็ว ลมรอบศูนย์กลางเป็นเกณฑ์จะแบงได้่ 3 ชนิด คือ 1. พายดีเปรสชันุ เป็นพายุที(มีความเร็วลมรอบศูนย์กลางเฉลี(ยไมเก่ ิน 63 กิโลเมตรต่อชัวโมง( ใน บริเวณที(เกิดพายุหรือมีพายุชนิดนีเคลื(อนที(ผาน่ ท้องฟ้าจะมืดครึมและปกคลุมด้วยเมฆหนาทึบ มีฝนตก ปานกลางหรือตกหนักแผเป็นบริเวณกว้างและตกติดต่ อก่ นเป็นเวลานานั พายุดีเปรสชันเป็นพายุที(พัดมาถึง ประเทศไทยมากที(สุด 2. พายุโซนร้อน เป็นพายุหมุนที(เกิดขึนในเขตร้อน มีความเร็วลมรอบศูนย์กลางระหวาง่ 63-118 กิโลเมตรต่อชัวโมง( 3. พายรุ ุนแรง มีความเร็วของลมรอบศูนย์กลางเกินกวา่ 118 กิโลเมตรต่อชัวโมง( มีชื(อเรียกแตกตาง่ กนตามบริเวณที(เกั ิด ดังนี 3.1 พายุใต้ฝุ่ น เกิดในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้ 3.2 พายุไซโคลน เกิดในอาวเบงกอลทะเลอาหรับและในมหาสมุทรอินเดีย่

พายุไซโคลน

3.3 พายทอร์นาโดุ จะพัดขึนฝั(งในทวีปอเมริกา เป็นพายุที(เกิดจากการหมุนของอากาศ สามารถ เกิดขึนได้ในหลายลักษณะโดยลักษณะที(พบได้บอยสุด่ คือ ลักษณะรูปทรงกรวย โดยส่วนปลายโคนชีลง ที(พืน ทอร์นาโดสามารถก่อพลังทําลายได้สูง โดยความเร็วลม สามารถสูงมากถึง 500 กม/ช.ม (300 ไมล์/ชม) ซึ(งก่อให้เกิดการพังทลายของสิ(งก่อสร้างได้เนื(องจากสภาพภูมิประเทศที(สามารถก่อให้เกิดลมร้อนและ ไอเย็นปะทะกนบริเวณทุั งราบ่

พายุทอร์นาโด 3.4 พายเฮอริเคนุ เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ทะเลแคริบเบียน อาวเม็กซิโก่ และทะเล ฝั(งตะวันตกของอาวแม็กซิโก่ คือเป็นพายุหมุนเขตร้อน ชื(อมันกบอกอยู็ แล้วว่ าจะเก่ ิดบริเวณเขตร้อนใน มหาสมุทรหรือทะเลที(มีอุณหภูมิตังแต่ 26 องศาเซลเซียสขึนไปเกิดนอกเขตบริเวณเส้นศูนย์สูตร มักจะเริ(ม จากพายุฝนฟ้าคะนองแล้วค่อยพัฒนาความรุนแรงขึนจนมีความเร็วลมอยางน้อย่ 119 กิโลเมตร./ชัวโมง( (74 ไมล์ตอชั่ วโมง)( ตัวพายุอาจกว้างถึง 600 ไมล์ และนี(คือ การเกิดของพายุเฮอริเคน

ภาพแสดงการเกิดพายุเฮอริเคน

ใบความร้ที-ู 5 เรื-อง เมฆ

ลักษณะของเมฆบนท้องฟ้า

เมฆบนท้องฟ้าจะมีลักษณะแตกต่างกนตามสภาพอากาศที(เกั ิดขึนในขณะนัน หรือที(กาลังจะํ เกิดขึน เมฆบางชนิดเกิดขึนเมื(ออากาศดีเท่านัน ในขณะที(บางชนิดกทําให้เก็ ิดฝน หรือพายุฝนฟ้า คะนอง การจําแนกชนิดของเมฆ โดยใช้รูปร่างของเมฆเป็นเกณฑ์แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ

1. คิวมูลัส (Cumulus) มีลักษณะเป็นกอนหรือกระจุกกลม้ คล้ายภูเขา สีขาว หากด้านล่างมี สําดําคลําหรือมืด คาดได้วาจะมีฝนตก่ จะพบเมฆชนิดนีได้ในวันที(มีอากาศร้อน 2. สตราตัส (Stratus) มีลักษณะเป็นชันหนาเหมือนผ้าห่ม มีสีเทา ทอดตัวใกล้กบพืั นโลก บางครังอาจพบเป็นแบบหยอม่ เมฆชนิดนีมักไม่ก่อให้เกิดฝน 3. เซอร์รัส (Cirrus) มีลักษณะเป็นริวบางๆ เป็นปุยเหมือนขนนก สีขาวเป็นเส้นเรียงสวย ลอยอยูสูงบนท้องฟ้า่ จะพบเมฆชนิดนีได้ ในวันที(ท้องฟ้าโปร่ง

การสังเกตลักษณะของเมฆแต่ละชนิดแบ่งออกได้ 5 กลุ่ม ดังนี

• เซอร์โร (Cirro) หรือที(เรียกอีกอยางหนึ(งว่ า่ เมฆระดับสูง

• อัลโต (Alto) หรือที(เรียกวา่ เมฆระดับกลาง

• คิวมูลัส (Cumulus) หรือที(เรียกวา่ เมฆเป็นกอนกระจุก้

• สตราตัส (Stratus) หรือที(เรียกวา่ เมฆเป็นชันๆ

• นิมปัส (Nimbus) หรือ เมฆที(ก่อให้เกิดฝน

ที(มา : http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=benzlemon&date=24-02-2006&group=2&gblog=6

รายละเอียดของเมฆชนิดต่างๆ

เมฆชั<นสูง (High Clouds) ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยูที(ความสูง่ 6,000 - 18,000 เมตร (20,000 - 60,000 ฟุต) ขึน ไป ส่วนใหญ่จะมีสีขาวหรือเทาอ่อน และเกิดขึนใน Stable air เป็นเมฆซึ(งไม่ทําให้เกิด ฝน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเกล็ดนําแข็ง และมี Turbulence ด้วย เมฆชันสูงมีอยู ่ 3 ชนิด ดังนี 1.1 เมฆเซอรัส (Cirrus ) มีลักษณะเป็นแผนบางสีขาวเจิดจ้า่ หรือสีเทาอ่อน ดวงอาทิตย์สามารถส่องผานได้อย่ างดี่ มีหลาย ๆ รูปทรง เช่น เป็นฝอย คล้ายขนนกบางๆ หรือเป็นทางยาว อยูสูงที(ระดับ่ 30,000 ฟุต 1.2 เมฆเซอโรสคิวมูลัส(Cirrocumulus Cloud) มีลักษณะเป็นปอยบางๆ สีขาว หรือคล้ายขนแกะหรือปุยนุ่น 1.3 เมฆเซอโรสเตรตัส() มีลักษณะคล้ายกบเมฆเซอรัสั แต่จะ แผออกไปเป็นแผ่ นเยื(อบางๆ่ ต่อเนื(องเป็นแผนตามทิศทางของลมในระดับสูง่ 2.เมฆชั<นกลาง (Middle Clouds) ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยูที(ความสูงระหว่ าง่ 2,000 - 8,000 เมตร (6,500 - 26,000 ฟุต) มีอยู ่ 2 ชนิด 2.1 เมฆอัลโตคิวมูลัส () มีลักษณะเป็นกลุ่มกอนเล็ก้ ๆ คล้ายฝูง แกะที(อยูรวมก่ นั บางครังอาจก่อตัวตํ(าลงมาดูคล้าย ๆ กบเมฆสเตรโตคิวมูลัสั หรือเกิด เป็นกอนซ้อน้ ๆ กนคล้ายกั บยอดปราสาทั ( cloud) ในบางครังเมฆชนิดนี เกิดขึนจากการเคลื(อนตัวในลักษณะลูกคลื(นของลม ทําให้เกิดมีรูปร่างคล้ายกบจานบินั หรือแผนเลนส์นูน่ () 2.2 เมฆอัลโตสเตรตัส () มีลักษณะเป็นแผนปกคลุมบริเวณกว้าง่ บริเวณฐานเมฆจะเป็นสีเทา หรือสีฟ้า สามารถบังดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ ทําให้เห็น เป็นฝ้าๆ อาจทําให้เกิดฝนละอองบางๆได้ 3.เมฆชั<นตํ-า (Low Clouds) ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยูที(ความสูงไม่ ่เกิน 2,000 เมตร (ผิวพืน - 6,500 ฟุต) มีอยู ่ 4 ชนิด 3.1 เมฆสเตรตรัส () มีลักษณะเป็นแผนสีเทา่ ไม่รวมตัวกนอยูั เป็น่ บริเวณกว้างมากนัก บางครังอาจเกิดในระดับตํ(ามากคล้ายหมอก จะเคลื(อนที(ตามลมได้ เร็ว และอาจทําให้เกิดฝนละอองได้ 3.2 เมฆสเตรโตรคิวมูลัส () มีลักษณะเป็นกอนกลมคล้าย้ เมฆคิวมูลัส แต่เรียงติดกนเป็นแถวๆั รวมกนคล้ายคลื(นั บางครังอาจจะแยกตัวออกเป็น กลุ่มที(ประกอบด้วยกอนเล็ก้ ๆ จํานวนมาก

3.3 เมฆนิมโบสเตรตรัส () มีลักษณะเป็นแผนสีเทาเข้ม่ คล้าย พืนดินที(เปียกนํา ปกคลุมเป็นบริเวณกว้างมาก ทําให้เกิดฝนหรือหิมะตกในปริมาณ เล็กน้อยถึงปานกลางต่อเนื(องเป็นเวลานาน ๆ ได้

3.4 เมฆคิวมูลัส () มีลักษณะเป็นกอนหนา้ ฐานเมฆมักแบนราบ อาจเกิดเป็นกอนเดี(ยวๆ้ หรือรวมตัวกนเป็นกั อนใหญ้ ่ ทําให้มองเห็นคล้ายดอกกระหลํ(าปี

4. เมฆก่อตัวในทางตัง (Clouds with Vertical Development) เป็นเมฆที(ก่อตัวในแนวตังที(รุนแรงและฉับพลัน มีความสูงของฐานเมฆประมาณ 500 เมตร (1,600 ฟุต) ส่วนยอดเมฆ มีความสูงไมแน่ ่นอน บางครังสูงถึงระดับเมฆชันสูง มี อยู ่ 2 ชนิด 4.1 เมฆทาว์เวอริ(งคิวมูลัส (Towering Cumulus Cloud)เป็นเมฆที(ก่อตัวในแนวตัง ที(รุนแรงและฉับพลัน มีลักษณะคล้ายดอกกระหลํ(าปลี สูงเสียดขึนไปในเมฆชันสูง ฐาน เมฆจะเป็นสีเทาดํา สภาพอากาศแบบ Unstable air ทําให้เกิด Turbulence และฝนฟ้า คนอง 4.2 เมฆคิวมูโลนิมบัส () มีลักษณะเป็นเมฆหนากอนใหญ้ ่ ก่อตัวสูงมาก บางครังยอดเมฆจะแผออกเป็นรูปทั่ ง( ทําให้เกิดฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง บางครังมีลูกเห็บตก จึงมักถูกเรียกวา่ เมฆฝนฟ้าคะนอง

ใบความร้ที-ู 6เรื-อง การพยากรณ์อากาศ การพยากรณ์อากาศ หมายถึง การคาดหมายสภาพลมฟ้าอากาศในอนาคต การที(จะพยากรณ์อากาศได้ต้องมี องค์ประกอบ 3 ประการ ประการแรกคือความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์และกระบวนการ ต่าง ๆ ที(เกิดขึนในบรรยากาศ ประการที( สองคือสภาวะอากาศปัจจุบัน และประการสุดท้ายคือ ความสามารถที(จะผสมผสานองค์ประกอบทังสองข้างต้น เข้าด้วยกนเพื(อคาดหมายการั เปลี(ยนแปลงของบรรยากาศที(จะเกิดขึนในอนาคต ระยะเวลาของการพยากรณ์อากาศ 1. การพยากรณ์อากาศระยะสั4น (Short Range Forecast) เป็นการ พยากรณ์อากาศในช่วงเวลาไม่เกิน 72 ชัวโมงF ใช้ข้อมูลผลการตรวจอากาศ และแผนทีF อากาศในปัจจุบันมาวิเคราะห์ตามแนวทางทฤษฎีอุตุนิยมวิทยา เพืFอการพยากรณ์อากาศ สามารถแบ่งช่วงเวลาการพยากรณ์ออกได้ 1.1 การพยากรณ์อากาศปัจจุบัน (Nowcast) ช่วงเวลาพยากรณ์ไม่เกิน 3 ชัวโมงF 1.2 การพยากรณ์อากาศสั4นมาก (Very Short Range) ช่วงเวลาพยากรณ์ ไม่เกิน 12 ชัวโมงF 1.3 การพยากรณ์อากาศสั4น (Short – Range) ช่วงเวลาพยากรณ์ไม่เกิน 72 ชัวโมงF 2. การพยากรณ์อากาศระยะปานกลาง (Medium-range Forecast) คือ การ พยากรณ์อากาศในระยะเวลามากกวา่ 72 ชัวโมงF จนถึง 10 วัน ใช้ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ปัจจุบันร่วมกบข้อมูลจากสถิติภูมิอากาศในการพยากรณ์ั 3. การพยากรณ์อากาศระยะนาน (Longe Range Forecast) เป็นการพยากรณ์ อากาศในช่วงเวลา

ที(มา : http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=63 ขั<นตอนการพยากรณ์อากาศ มีดังนี 1. ตรวจสภาพอากาศ โดยสถานีตรวจอากาศบนบกหรือทะเล จะตรวจวัดอุณหภูมิของ อากาศ ความชืน ความกดอากาศ ลม เมฆ หยาดนําฟ้า ทัศนวิสัย บอลลูนตรวจสภาพอากาศจะนํา เครื(องมือที(จะทําการวัดอุณหภูมิ ความกดอากาศ และความชืนไปสู่ชันโทรโพสเฟียร์และ สตราโตสเฟียร์ ดาวเทียมตรวจสภาพอากาศจะอยูในชั่ นเอกโซสเฟียร์ และสามารถถ่ายภาพ พืนผิวโลก เมฆ และพายุ ส่งข้อมูลมายังสถานีรวบรวมข้อมูลได้ 2. สื(อสารข้อมูลที(ได้จากการตรวจสภาพอากาศจากสถานีต่างๆ ไปยังศูนย์พยากรณ์ อากาศ 3. เขียนแผนที(อากาศ วิเคราะห์ข้อมูล และพยากรณ์อากาศ โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยในการคํานวณ แล้วส่งข้อมูลการพยากรณ์อากาศไปยังหน่วยงานสื(อสารมวลชน การอ่านแผนที-อากาศ แผนที(อากาศ คือ แผนที(ที(แสดงองค์ประกอบทางอุตุนิยมวิทยา ณ เวลาใดเวลาหนึ(ง ข้อมูลต่างๆ ในแผนที(อากาศได้รับมาจากสถานีตรวจอากาศ แล้วนําข้อมูลมาเขียนเป็นตัวเลข รหัส และสัญลักษณ์ต่างๆ ทางอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลที(อยูในแผนที(อากาศจะนําไปใช้ในการ่ คาดหมายการเปลี(ยนแปลงลักษณะอากาศที(จะเกิดขึน ตัวอยางสัญลักษณ์ทางอุตุนิยมวิทยาบนแผนที(อากาศ่ มีดังนี 1. เส้นโค้งที(เชื(อมต่อระหวางบริเวณที(มีความกดอากาศเท่ ่ากนั เรียกวา่ เส้นไอโซบาร์ (Isobar) ตัวเลขบนเส้นไอโซบาร์แสดงค่าความกดอากาศที(อ่านได้ ซึ(งอาจอยูในหน่ ่วยมิลลิบาร์ หรือนิวของปรอท 2. เส้นโค้งที(เชื(อมต่อระหวางบริเวณที(มีอุณหภูมิของอากาศเท่ ่ากนั เรียกวา่ เส้นไอโซเทอร์ม (Isotherm) ค่าอุณหภูมิอาจบอกในหน่วยองศาเซลเซียส หรือองศาฟาเรนไฮต์ หรือทังสองหน่วย 3. อักษร H คือ ศูนย์กลางของบริเวณที(มีความกดอากาศสูง 4. อักษร L คือ ศูนย์กลางของบริเวณที(มีความกดอากาศตํ(า

ที(มา : http://www.tmd.go.th/weather_map.php ความกดอากาศตํา (Low Pressure Area) หมายถึง บริเวณทีFมีความกดอากาศตํFาเมืFอเทียบกบบริเวณใกล้เคียงในระดับเดียวกั นั กบั มีลมพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางคล้ายกับก้นหอยในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ ท้องฟ้ามีเมฆมาก ถ้าหากมีความกดอากาศตํFามาก จะเป็นพายุดีเปรสชันF และอาจพัฒนาขึ4นเป็น พายุโซนร้อน หรือพายุใต้ฝุ่น ความกดอากาศสูง (High Pressure Area) หมายถึง บริเวณทีFมีความกดอากาศสูงกวาบริเวณข้างเคียง่ ท้องฟ้าแจ่มใสและความ หนาวเย็น กระแสลมจะพัดเวียนออกจากศูนย์กลางในทิศทางตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ อิทธิพลของความกดอากาศสูงจากประเทศจีน ทําให้ประเทศไทยมีอากาศหนาวเย็นในช่วงฤดู หนาว

สถานีตรวจอากาศ สถานีตรวจอากาศที(จัดตังขึนเพื(อทําการตรวจสาระประกอบของอุตุนิยมวิทยานัน ได้จัดแบ่ง ไว้ 5 ประเภทดังนี 1. สถานีเพื(อการพยากรณ์อากาศ (synoptic stations) หมายถึง สถานีทังบนบกหรือในทะเล แบ่ง ยอยออกเป็นสถานีผิวพื่ น (ขันมูลฐานหรือเพิมเติม)( และสถานีตรวจอากาศชันบน (ไพลอต บัลลูน ราดิโอซอนด์ ราดิโอวินหรือเรวินซอนด์) 2. สถานีตรวจภูมิอากาศ (Climatogical stations) ได้แก่ สถานีหลัก สถานีธรรมดา สถานี ฝนและ สถานีตรวจอากาศเพื(อความมุ่งหมายพิเศษ 3. สถานีตรวจอากาศเกษตร (Agricultural meteological stations) ได้แก่ สถานีหลักสถานี ธรรมดา สถานีช่วยและสถานีตรวจอากาศเพื(อความมุ่งหมายพิเศษ 4. สถานีตรวจอากาศการบิน (Aeronautical meteorological stations) 5. สถานีพิเศษ (Special stations) หมายถึง สถานีที(ทําการตรวจบรรยากาศสถานีเรดาร์ ตรวจ อากาศ สถานีอุทกวิทยา การตรวจราดิเอชัน( หรือโอโซน การตรวจสาระประกอบ อุตุนิยมวิทยา ใกล้พืนดิน การตรวจสารเคมีในบรรยากาศการตรวจไฟฟ้าในบรรยากาศ ประเทศสมาชิกของ องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกได้จัดตังขายของสถานีตรวจอากาศขึน โดยแต่ละ ประเทศได้จัดตังสถานีเพื(อการพยากรณ์อากาศและสถานีภูมออากาศในประเทศของ ตนกาหนดให้ํ สถานีขันข้อมูลฐานเพื(อการพยากรณ์อากาศที(อยู่บนแผ่นดิน ต้องอยู่ห่างกนั ไม่เกิน 150 กิโลเมตรในบริเวณที(มีคนอาศัยอยูน้อยหรือเขตทะเลทราย่ ควรจะตังข่ายของสถานี ตามเกณฑ์ที(กาหนดไว้ํ ด้วยสําหรับตําแหน่งบริเวณที(ได้รับข่าวอากาศจากสถานีเพื(อ การพยากรณ์อากาศไม่เพียงพอกควร็ จะจัดให้มีการบินสํารวจลักษณะอากาศด้วยที(ที(ใดกตามถ้า็ สามมารถจัดทําได้ควรจะต้องจัดตังข่าย สถานีราดิโดซอนด์ (Radiosonde) เพิมเติม( ราดิโอซอนด์ หรือเครื(องวิทยุหยังอากาศมีลักษณะ( ประกอบด้วย บอลลูนหรือลูกโป่งที(มีเครื(องวิทยุซึ(งจะ ส่งสัญญาณกระจายเสียงในขณะ ที(ลอยขึนไป ความดัน อุณหภูมิและความชืนของบรรยากาศ อาจคํานวณได้จากความถี(ของสัญญาณและอาจ ใช้แถบความถี(อื(น ในการหาความเร็วและความ สูงขอบอลลูนได้อีกด้วย เครื-องมือตรวจอากาศ

 เครื-องมือตรวจอากาศผิวพื<น สถานีอุตุนิยมวิทยาแต่ละแห่งจะติดตังอุปกรณ์ตรวจวัดอากาศผิวพืนตามที(กล่าว มาแล้วข้างต้น โดยจะทําการตรวจวัดอากาศตามเวลาที(กาหนดไว้ในแตํ ่ละวัน ซึ(งจะมี เวลาหลักของการตรวจวัด คือ 07.00 น. (00.00 UTC) และเวลา 19.00 น. (12.00 UTC) โดยในระหวางเวลาหลักเหล่ ่านี อาจมีการตรวจวัดเพิมเติมได้ตามที(ก( าหนดไว้เพื(อความํ เหมาะสม

 เครื-องมือตรวจอากาศชั<นบน เนื(องจากการเปลี(ยนแปลงของลักษณะอากาศบนพืนผิว มีความเกี(ยวพันกบการั เปลี(ยนแปลงของบรรยากาศชันบนของโทรโพสเฟียร์ โดยใช้บอลลูนติดตังอุปกรณ์ตรวจ อากาศซึ(งได้กล่าวมาแล้วในเบืองต้น และข้อมูลซึ(งรายงานโดยนักบิน ได้แก่ ทัศนวิสัย อุณหภูมิ ทิศทางและความเร็วลม ปริมาณและชนิดเมฆ

 เครื-องมือตรวจอากาศพิเศษ เป็นเครื(องมือที(ใช้สําหรับตรวจวัดปรากฏการณ์หรือลักษณะอากาศที(เกิดขึนเพื(อ ช่วยเสริมในการวิเคราะห์พยากรณ์อากาศ ได้แก่ เรดาร์ตรวจอากาศ และดาวเทียม อุตุนิยมวิทยา

เครื(องมือตรวจอากาศสําหรับสถานีเพื(อการพยากรณ์อากาศ หรือสถานีภูมิอากาศจําเป็นต้อง มีไว้ใช้ มีดังต่อไปนี คือ 1. เทอร์โมมิเตอร์ตุ้มแห้งและตุ้มเปียก (Dry-bulb thermometer and wet-bulb thermometer) หรือ ไฮโกรมิเตอร์ (Hygrometer) ซึ(งใช้สําหรับวัดความชืนสัมพัทธ์และอุณหภูมิตํ(ามากๆ เช่น อุณหภูมิ สูงสุด และตํ(าสุดในช่วงเวลาหนึ(งวัน

ที(มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php?book=35&chap=6&page=t35-6-infodetail04.html

2. เทอร์โมมิเตอร์สูงสุดหรือตํ(าสุด (Maximum and minimum thermometer) ใช้สําหรับหา อุณหภูมิ สูงสุดและตํ(าสุดในช่วงเวลาหนึ(งวัน

ที(มา : http://travelgear.tarad.com/product.detail_645519_th_1195589

3. เรือนเทอร์โมมิเตอร์หรือสกรีน (Thermometer shelter or screen) คือ สิ(งก่อสร้างซึ(งมีไว้เพื(อ ป้องกนั เครื(องมือตรวจอากาศ เช่นเทอร์โมมิเตอร์หรือไฮโกรมิเตอร์ ได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์โดยตรง ป้องกนฝนและป้องกั นั ไม่ให้เกิดการควบแน่นขึน

ที(มา : http://www.phet.tmd.go.th/ob.html 4. เครื(องวัดนําฝน (Rain gauge)คือ เครื(องมือสําหรับตรวจวัดปริมาณฝนโดยวัดเป็นความสูงของ นําที(ได้จากนําฟ้าที(ตกลงมา โดยสมมติให้นํานันแผกระจายไปบนพื่ นราบที(ไม่มีการดูดซึมและ ไม่มี การระเหยเกิดขึน

ที(มา : http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Rain_gauge_museum.jpg 5. บาโรมิเตอร์ 6. บาโรกราฟ

บารอกราฟ ที(มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php?book=2&chap=4&page=t2-4-infodetail01.html 7. เครื(องวัดความเร็วลม หรือเครื(องวัดความเร็วลมที(บันทึกรายงานติดต่อเนื(องกนั 8. ศรลม (Wind vane) ประโยชน์ของการพยากรณ์อากาศ 1. ใช้วางแผนพัฒนาประเทศทังทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การค้าขายสินค้าทังภายในและต่างประเทศ 2. ใช้วางแผนการใช้ที(ดิน เพื(อประโยชน์ต่างๆ เช่น เพื(อการเกษตร เพื(อการอุตสาหกรรม 3. ใช้วางแผนเพิมผลผลิตและลดความสูญเสียของผลผลิตทางการเกษตร( 4. ใช้วางแผนพัฒนาแหลงนํ่ า เพื(อการชลประทาน 5. ใช้วางแผนการท่องเที(ยว การพักผอน่ และสาธารณสุข 6. ใช้วางแผนการพัฒนาการป้องกนและลดความสูญเสียจากภัยพิบัติั เช่น อุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ง ไฟป่า แผนดินเลื(อน่ แผนดินถล่ ่ม แผนดินไหว่ คลื(นใต้นํา คลื(นพายุซัดฝั(ง โรคระบาด อุบัติเหตุทางบก ทางนํา และทางอากาศ 7. ใช้วางแผนพัฒนาการขนส่ง และความปลอดภัยในการขนส่งทังทางบก ทางนํา ทางอากาศ

แบบประเมินการนําเสนอ

วิชาวิทยาศาสตร์พืนฐาน เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ รหัสวิชา ว 2110 1 ระดับชัน ม.1/...... ภาคเรียนที( 1 ปีการศึกษา 2556

หัวข้อการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน ประเมิน 3 2 1 เนื<อหา เนือหามีความถูกต้อง เนือหา มีความถูกต้อง มี เนือหามีความถูกต้อง มีการลําดับความคิด การลําดับความคิด ไมมีการลําดับความคิด่ มีการสรุปความคิดเห็น ไมมีการสรุปความคิดเห็น่ ไมมีการสรุปความคิดเห็น่ รูปแบบ น่าสนใจ น่าสน ใจ ความคิดริเริ(มสร้างสรรค์ การนําเสนอ ความคิดริเริ(มสร้างสรรค์ ความคิดริเริ(มสร้างสรรค์ ภาษาเข้าใจยาก ภาษาเข้าใจง่าย ชัดเจน ภาษาพอเข้าใจ ไมค่ อยน่ ่าสนใจ การทํางาน การเตรียมตัว การเตรียมตัว การเตรียมตัว กล่มุ การทํางานเป็นระบบ การทํางานเป็นระบบ การทํางานไมเป็นระบบ่ การมีส่วนร่วมของสมาชิก สมาชิกบางส่วนไม่มีส่วน สมาชิกบางส่วนไมมีส่ ่วน ความภูมิใจในผลงานของ ร่วมในการทํางาน มีความ ร่วมในการทํางาน สมาชิก ภูมิใจในผลงานของสมาชิก

เกณฑ์การตัดสิน/ระดับคุณภาพ คะแนน ระดับคุณภาพ 8-9 ดีมาก 6-7 ดี 4-5 พอใช้ 0-3 ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ตังแต่ระดับคะแนน 6 คะแนนขึนไป

แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกล่มุ

ความร่วมมือ การแสดงความ การรับฟังความ การตั<งใจทํางาน การร่วม ลําดับ ชื-อ – สกลุ คิดเห็น คิดเห็น ปรับปรุงผลงาน รวม ที- กล่มุ 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชื(อ...... ผู้ประเมิน ...... /...... /...... เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = 4 ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรับปรุง = 1 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 1 – 8 ปรับปรุง

เกณฑ์การผ่าน ตังแตระดับคะแนน่ 13 คะแนนขึนไป