21101 Orawan Yo@Hotmail.Com Rattan Poon@Hotmail.Com

แผนการจัดการเรียนร้โดยใช้แหล่งเรียนรู ้ออนไลน์ู ของสถาบันการส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 21101 เรื-อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศและการพยากรณ์อากาศ จัดทําโดย นางวรรณภรณ์ ละออ [email protected] นางสาวรัตนาภรณ์ กาญจนพัฒน์ [email protected] กล่มสาระการเรียนรุ ้วิทยาศาสตร์ู โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ ๑” อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยธยาุ สํานักงานเขตพื<นที-การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 แผนการจัดการเรียนรู้ กล่มสาระการเรียนรุ ้วิทยาศาสตร์ู รายวิชาวิทยาศาสตร์พื<นฐาน (ว21101) ชั<นมัธยมศึกษาปีที- 1 หน่วยการเรียนร้ที-ู 7 บรรยากาศ ภาคเรียนที- 1/2556 เรื-อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศและการพยากรณ์อากาศ เวลา 2 ชั-วโมง 1. สาระสําคัญ นําในอากาศอยูได้ทั่ ง 3 สถานะ สถานะที(เป็นของแข็งได้แก่ หิมะ เกล็ดนําแข็งหรือ ลูกเห็บ ส่วนสถานะที(เป็นของเหลว ได้แก่ ละอองนํา และสถานะที(เป็นกาซได้แก๊ ่ ไอนํา ซึ(งไอนําเมื(อ รวมตัวกนจะกลายเป็นั เมฆ และถ้าเกิดการกลันตัวตกลงมาจะเรียกว( า่ ฝน การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศและปรากฏการณทางธรรมชาติที(จะ เกิดขึนล่วงหน้า ซึ(งลมฟ้าอากาศมีอิทธิพลตอชีวิตประจําวันของสิ่ (งมีชีวิตทังทางตรงและทางอ้อม ข้อมูล และผลการวิเคราะห์ลักษณะอากาศจึงเกี(ยวข้องกบบุคคลทุกอาชีพั 2. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี<วัด มาตรฐาน ว 6. 1 เข้าใจกระบวนการตาง่ ๆ ที(เกิดขึนบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ ของกระบวนการตาง่ ๆ ที(มีผลตอการเปลี(ยนแปลงภูมิอากาศ่ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื(อสารสิ(งที(เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี<วัด ว 6.1 ม.1/3 สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที(มีผล ตอมนุษย์่ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกปัญหา้ รู้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที(เก่ ิดขึนส่วนใหญมีรูปแบบที(แน่ ่นอน สามารถอธิบายและ ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื(องมือที(มีอยูในช่ ่วงเวลานันๆ เข้าใจวา่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ(งแวดล้อมมีความเกี(ยวข้องสัมพันธ์กนั ว 8.1 ม.1-3/5 วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกบข้อสรุปั ทังที(สนับสนุน หรือขัดแย้งกบสมมติฐานั และความผิดปกติของข้อมูลจากการสํารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.1-3/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ(มเติมจากแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที(เชื(อถือได้ และยอมรับการ เปลี(ยนแปลงความรู้ที(ค้นพบ เมื(อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหมเพิ่ (มขึนหรือโต้แย้งจากเดิม 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. อธิบายการเกิดลม, พายุ และอธิบายเกี(ยวกบการพยากรณ์อากาศได้ั 2. อธิบายการเกิดลมมรสุมตางๆ่ พายุหมุนเขตร้อน และพายุฝนฟ้าคะนองได้ 3. บอกผลกระทบของพายุต่อมนุษย์และสิ(งแวดล้อมได้ ด้านทักษะกระบวนการ 4. สามารถสืบค้นข้อมูล สํารวจตรวจสอบ เกบข้อมูล็ และนําเสนอข้อมูลเกี(ยวกบปรากฏการณ์ั ลมฟ้าอากาศ และการพยากรณ์อากาศได้ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 5. นักเรียนมีความรับผิดชอบตองานที(ได้รับมอบหมายและสามารถทํางานร่ ่วมกบผู้อื(นได้ั 4. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของการพยากรณ์อากาศ 2. หลักการพยากรณ์อากาศ 3. ความสําคัญของการพยากรณ์อากาศ 4. อธิบายการเกิดเมฆและชนิดของเมฆได้ 5. อธิบายการเกิดฝนได้ 6. อธิบายการเกิดลมมรสุมตาง่ ๆ ได้ 7. ระบุผลของปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที(มีตอมนุษย์และสิ่ (งแวดล้อมได้ 5. สาระสําคัญ การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศและปรากฏการณทาง ธรรมชาติที(จะเกิดขึนล่วงหน้า ซึ(งลมฟ้าอากาศมีอิทธิพลตอชีวิตประจําวันของสิ่ (งมีชีวิตทังทางตรงและ ทางอ้อม ข้อมูลและผลการวิเคราะห์ลักษณะอากาศจึงเกี(ยวข้องกบบุคคลทุกอาชีพั นําในอากาศอยูได้ทั่ ง 3 สถานะ สถานะที(เป็นของแข็งได้แก่ หิมะ เกล็ดนําแข็งหรือ ลูกเห็บ ส่วนสถานะที(เป็นของเหลว ได้แก่ ละอองนํา และสถานะที(เป็นกาซได้แก๊ ่ ไอนํา ซึ(งไอนําเมื(อ รวมตัวกนจะกลายเป็นั เมฆ และถ้าเกิดการกลันตัวตกลงมาจะเรียกว( า่ ฝน 6. สมรรถนะของผ้เรียนู 6.1 ความสามารถในการสื-อสาร 6.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 6.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการทํางานกลุ่ม 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุงมั่ นในการทํางาน( 8. ชิ<นงาน/ภาระงาน 8.1 ชิ<นงาน 1. แผนภาพการนําเสนอ เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 8.2 ภาระงาน 1. การตอบคําถามระหวางการเรียนการสอน่ 2. การนําเสนอแผนภาพ เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ 3. การทําใบงาน 9. การวัดและประเมินผล สิ-งที-ต้องการวัด วิธีการวัด เครื-องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ 1. การถามตอบในชันเรียน 1.คําถาม ตอบได้ถูกต้อง 2. การนําเสนอแผนภาพ เรื(อง 2.แบบประเมินผล อยูในระดับคุณภาพ่ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ การนําเสนอ ดีขึนไป 2. ด้านทักษะ 1. การนําเสนอแผนภาพ เรื(อง 1.แบบประเมินผล อยูในระดับคุณภาพ่ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ การนําเสนอ ดีขึนไป 3.ด้านคุณลักษณะหรือ 1.สังเกตพฤติกรรมการทํางาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม อยูในระดับคุณภาพ่ จิตวิทยาศาสตร์ เป็นกลุ่ม การทํางานกลุ่ม ดีขึนไป 10. กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที(เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ Inquiry Cycle (5E s) ขั<นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูสร้างความสนใจโดยให้นักเรียนดูวีดีทัศน์ เรื(อง พายุทอร์นาโด จาก http://www.youtube.com/watch?v=H 9VpwmtnOZc โดยใช้คําถามกระตุ้นความสนใจ เช่น 1.1 นักเรียนทราบหรือไมว่ าพายุมีก่ ี(ประเภท 1.2 การเกิดพายุมีผลตอการดํารงชีวิตของนักเรียนหรือไม่ ่ 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ขั<นสํารวจและค้นหา (Exploration) 3. แบงนักเรียนออกเป็น่ 6 กลุ่ม กลุ่มละ 7-8 คน จากนันให้นักเรียนแตละกลุ่ ่มศึกษาและอภิปราย ตามหัวข้อที(ได้รับหมอบหมาย จากใบงานที(แจกให้ แล้วเตรียมออกมานําเสนอแผนภาพของแตละกลุ่ ่ม ดังนี กลุ่มที( 1 เรื(อง ลมประจําเวลา กลุ่มที( 2 เรื(อง ลมประจําฤดู กลุ่มที( 3 เรื(อง ลมประจําถิ(น กลุ่มที( 4 เรื(อง พายุหมุน กลุ่มที( 5 เรื(อง เมฆ กลุ่มที( 6 เรื(อง การพยากรณ์อากาศ ขั<นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4. ครูให้นักเรียนแตละกลุ่ ่มออกมานําเสนอหัวข้อที(ได้รับมอบหมายหน้าชันเรียน พร้อมกบรั ่วมกนั อภิปรายในแตละหัวข้อ่ 5. ครูและนักเรียนร่วมกนสรุปเนืั อหาในแตละหัวข้อร่ ่วมกนั ขั<นขยายความรู้ (Elaboration) 6. ครูอธิบายเพิ(มเติมเกี(ยวกบการเกั ิดลมและพายุในแตละชนิด่ โดยใช้ บทเรียนออนไลน์ เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ จาก http://www.youtube.com/watch?v=khy9AWWwy5E ขั<นประเมิน (Evaluation) 7. นักเรียนตอบคําถามระหวางการเรียนการสอน่ 8. การนําเสนอตามหัวข้อที(กาหนดให้ได้อยํ างถูกต้อง่ 9. การทําแบบทดสอบหลังเรียน 11. สื-อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ม. 1 2. แผนภาพการนําเสนอ เรื(อง ลมและพายุ 3. ใบความรู้ที( 1 เรื(อง ลมประจําเวลา 4. ใบความรู้ที( 2 เรื(อง ลมประจําฤดู 5. ใบความรู้ที( 3 เรื(อง ลมประจําถิ(น 6. ใบความรู้ที( 4 เรื(อง พายุหมุน 7. ใบความรู้ที( 5 เรื(อง พายุฝนฟ้าคะนอง 8. ใบความรู้ที( 6 เรื(อง ผลของการเกิดพายุต่อมนุษย์และสิ(งแวดล้อม 9. บทเรียนออนไลน์ เรื(อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ จาก http://www.youtube.com/watch?v=khy9AWWwy5E 10. วีดีทัศน์ เรื(อง พายุทอร์นาโด จาก http://www.youtube.com/watch?v=H 9VpwmtnOZc ใบความร้ที-ู 1 เรื-อง ลมประจําเวลา ลมประจําเวลา เป็นลมที(พัดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ(ง มีความแรงไมมาก่ ได้แก่ 1.ลมทะเล เกิดขึนในเวลากลางวัน เนื(องจากพืนนําดูดความร้อนได้ช้ากวาพื่ นดิน ทําให้อากาศเหนือ พืนนํามีอุณหภูมิตํ(ากวาอากาศเหนือพื่ นดิน อากาศเหนือพืนดินซึ(งร้อนกวาจะขยายตัวทําให้ความหนาแน่ ่น ลดลงจึงลอยตัวสูงขึน เป็นผลให้อากาศเหนือพืนนําทะเลซึ(งมีอุณหภูมิตํ(ากวา่ ความหนาแน่นมากกวา่ และ ความกดอากาศสูงกวาไหลเข้ามาแทนที(่ ส่งผลให้กระแสอากาศไหลจากทะเลเข้าสู่ฝังในระดับล่างเกิดเป็น ลมทะเล ที(มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/16/contents/p02.html 2. ลมบก เกิดขึนในเวลากลางคืน เนื(องจากพืนดินคายความร้อนได้เร็วกวาพื่ นนํา ทําให้อากาศเหนือพืนดินมี อุณหภูมิตํ(ากวาอากาศเหนือพื่ นนํา ความหนาแน่นของอากาศและความกดอากาศจึงสูงกวาอากาศเหนือพื่ น นํา ทําให้กระแสอากาศในระดับล่างเคลื(อนจากพืนดินออกสู่ทะเลเกิดเป็นลมบก ที(มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/16/contents/p02.html ประโยชน์ของลมบก ลมทะเล เรือประมงขนาดเล็กจะออกสู่ท้องทะเลเพื(อหาปลาในเวลากลางคืน โดยอาศัย“ลมบก”ที(พัดจากฝั(ง ออกสู่ทะเล ในตอนกลางคืน พอรุ่งสางเรือเหล่านีกจะอาศัย็ “ลมทะเล” ที(พัดจากทะเลเข้าฝั(งในเวลากลางวัน แล่นกลับเข้า สู่ฝั(งอีกครังนันเอง ลมภูเขา บริเวณภูเขาในขณะที(มีระบบลมออน่ ลมมักจะพัดลงตามลาดของภูเขาในเวลากลางคืน และพัดขึน ลาดภูเขาในเวลากลางวัน ทังนีเพราะในเวลากลางคืนตามบริเวณภูเขาที(ระดับสูง มีอากาศเย็นกวาตามที(ตํ(า่ ความหนาแน่นของอากาศในที(สูงจึงมีมากกวาในระดับตํ(า่ ลมจึงพัดลงตามเขา เราเรียกลมนีวา่ ลมภูเขา (Mountain wind or Mountain breeze) ลมหุบเขา ส่วนในเวลากลางวันดวงอาทิตย์แผรังสีให้แก่ ่ภูเขา และหุบเขาทําให้อุณหภูมิที(ระดับสูงหรือที( ยอดเขาสูงกวาอุณหภูมิตามที(ตํ(าหรือหุบเขา่ ดังนันความหนาแน่นของอากาศในระดับสูงจึงน้อยกวาและ่ ลอยตัวสูงขึน ฉะนันอากาศจากที(ตํ(าหรือหุบเขา จึงพัดขึนไปแทนที( เราเรียกวา่ ลมหุบเขา (Valley wind or Valley breeze) ใบความร้ที-ู 2 เรื-อง ลมประจําฤดู ลมประจําฤดูกาลในประเทศไทย คือ ลมมรสุม ซึ(งเป็นลมที(พัดอยูอย่ างเด่ ่นชัดในช่วงฤดูใดฤดูหนึ(ง ได้แก่ 1. ลมมรสุมฤดูร้อน เกิดขึนในช่วงฤดูร้อน เนื(องจากภาคพืนทวีปเอเชียมีอากาศอบอุ่นขึน ทังนีเพราะ ในช่วงนีโลกหันซีกโลกเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์ ส่วนซีก โลกใต้จะได้รับแสงเฉียงจากดวงอาทิตย์ ทําให้อุณหภูมิของ อากาศในท้องทะเลลดตํ(าลงและเกิดหยอมความกดอากาศ่ สูงขึนในมหาสมุทร ส่วนบนภาคพืนทวีปจะเกิดหยอมความ่ กดอากาศตํ(า ทําให้มวลอากาศร้อนและชืนจากภาคพืนสมุทร ไหลเข้าสู่ภาคพืนทวีป เรียกวา่ ลมมรสุมฤดูร้อน ในประเทศ ไทยจะรู้จักลมนีในชื(อของ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จะเริ(ม พัดราวปลายเดือนพฤษภาคมหรือต้นเดือนมิถุนายน รูปที 1 ทิศทางของลมมรสุมฤดูร้อน 2. ลมมรสุมฤดูหนาว เป็นลมมรสุมที(พัดจากภาคพืน ทวีปลงสู่ทะเล เป็นลมเย็นและแห้ง ดังนันเมื(อลมมรสุม ฤดูหนาวพัดผานบริเวณใดจะทําให้อุณหภูมิของอากาศ่ ลดตํ(าลงและแห้งแล้ง ลมนีจะพัดในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึง กลางเดือนกุมภาพันธ์ ลมมรสุมฤดูหนาวเกิดขึนเนื(องจากใน ฤดูหนาวซีกโลกใต้ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์มากกวาซีก่ โลกเหนือ อุณหภูมิของพืนนําในมหาสมุทรอินเดียตอนใต้ เส้นศูนย์สูตรลงมาจึงสูงกวาภาคพื่ นดิน ทําให้ความลาดชัน ของความกดอากาศลาดเทจากภาคพืนทวีปลงสู่ภาคพืน มหาสมุทร ซึ(งทําให้เกิดลมมรสุมพัดขึนมา ในประเทศไทย รูปที 2 ทิศทางของลมมรสุมฤดูหนาว รู้จักลมมรสุมฤดูหนาวในชื(อ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ระหวางกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม่ โดยมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงํ ในซีกโลกใต้บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึ(งพัดออกจาก ศูนย์กลางเป็นลมตะวันออกเฉียงใต้ และเปลี(ยนเป็นลมตะวันตกเฉียงใต้เมื(อพัดข้ามเส้นศูนย์สูตร มรสุมนี จะนํามวลอากาศชืนจากมหาสมุทรอินเดียมาสู่ประเทศไทย

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    28 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us