รายงานสถิติจังหวัดสุราษฎร์ธานี Surat Thani Provincial Statistical Report
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
ISSN 1905-8314 2560 2017 รายงานสถิติจังหวัดสุราษฎร์ธานี Surat Thani Provincial Statistical Report สำนักงานสถิติจังหวัดสุราษฎร์ธานี Surat Thani Provincial Statistical Office สำนักงานสถิติแห่งชาติ National Statistical Office รายงานสถิติจังหวัด พ.ศ. 2560 PROVINCIAL STATISTICAL REPORT : 2017 สุราษฎรธานี SURAT THANI สํานกั งานสถิติจังหวัดสุราษฎรธานี SURAT THANI PROVINCIAL STATISTICAL OFFICE สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม NATIONAL STATISTICAL OFFICE MINISTRY OF INFORMATION AND COMMUNICATION TECHNOLOGY ii หน่วยงานเจ้าของเรื่อง Division-in-Charge ส ำนักงำนสถิติจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี Surat Thani Provincial Statistical Office, อ ำเภอเมืองสุรำษฎร์ธำนี Mueang Surat Thani District, จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี Surat Thani Provincial. โทร 0 7727 2580 Tel. +66 (0) 7727 2580 โทรสำร 0 7728 3044 Fax: +66 (0) 7728 3044 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์: [email protected] E-mail: [email protected] หน่วยงานที่เผยแพร่ Distributed by ส ำนักสถิติพยำกรณ์ Statistical Forecasting Bureau, ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ National Statistical Office, ศูนย์รำชกำรเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษำฯ The Government Complex Commemorating His อำคำรรัฐประศำสนภักดี ชั้น 2 Majesty the King’s 80th birthday Anniversary, ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กทม. 10210 Ratthaprasasanabhakti Building, 2nd Floor. โทร 0 2141 7497 Chaeng watthana Rd., Laksi, โทรสำร 0 2143 8132 Bangkok 10210, THAILAND ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์: [email protected] Tel. +66 (0) 2141 7497 Fax: +66 (0) 2143 8132 E-mail: [email protected] http://www.nso.go.th ปีที่จัดพิมพ์ 2560 Published 2017 จัดพิมพ์โดย ส ำนักงำนสถิติจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี Printed by Surat Thani Provincial Statistical Office คาํ นาํ จากวิสัยทัศนของสํานักงานสถิติแหงชาติที่วา “เปนศูนยกลางขอมูลสถิติและสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจของประเทศ” และพันธกิจในการใหบริการขอมูลสถิติและสารสนเทศ แกผูใชบริการ ทุกภาคสวน สํานักงานสถิติจังหวัดสุราษฎรธานีซึ่งเปนหนวยงานหลักดานสถิติของจังหวัด จึงไดจัดทํารายงาน สถิติจังหวัดขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมและนําเสนอขอมูลสถิติพื้นฐานดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม พรอมทั้งตัวชี้วัดตาง ๆ ของจังหวัด ที่ไดรวบรวมจากผลสํามะโนและการสํารวจตัวอยาง ของสํานักงานสถิติแหงชาติ และจากหนวยงานสถิติอื่น ๆ เพื่อเผยแพรแกหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และประชาชนท่ัวไป นําขอมูลสถิติไปใชในการกําหนดนโยบาย วางแผน ตัดสินใจ และอางอิง ตาง ๆ สําหรับรายงานสถิติจังหวัดสุราษฎรธานี พ.ศ. 2560 ฉบับนี้ เนื้อหาประกอบดวย 2 สวน ดังนี้ สวนที่หนึ่งเปนการนําเสนอสรุปขอมูลเกี่ยวกับจังหวัดสุราษฎรธานี แผนที่จังหวัด และขอมูลสถิติที่นาสนใจ โดยนําเสนอในรูปแบบอินโฟกราฟฟก สวนที่สองเปนการนําเสนอขอมูลสถิติในรูปของตาราง และตัวชี้วัด ที่สําคัญของจังหวัด เพื่อใหผูใชมีขอมูลสถิติที่ครบถวน สะดวกในการนําไปใช โดยไดนําเสนอตามสาขาสถิติ คือ สถิติประชากรศาสตร ประชากรและเคหะ สถิติแรงงาน สถิติการศึกษา สถิติศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม สถิติสุขภาพ สถิติสวัสดิการสังคม สถิติหญิงและชาย สถิติรายไดและรายจายของครัวเรือน สถิติยุติธรรม ความม่ันคง การเมือง และการปกครอง สถิติบัญชีประชาชาติ สถิติเกษตรและประมง สถิติอุตสาหกรรม สถิติพลังงาน สถิติการคาและราคา สถิติการขนสงและโลจิสติกส สถิติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถิติการทองเที่ยวและกีฬา สถิติการเงิน การธนาคารและการประกันภัย สถิติการคลัง และสถิติ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ขอมูลสถิติที่นําเสนอไดระบุแหลงที่มาของขอมูลไวใตตารางสถิติ ทุกตาราง เพื่อใหผูใชขอมูลสามารถสืบคน หารายละเอียดเชิงลึกเพิ่มเติมไดอยางสะดวกมากขึ้น สํานักงานสถิติจังหวัดสุราษฎรธานีขอขอบคุณสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ที่ใหความ อนุเคราะหขอมูล เพื่อนํามาจัดทํารายงานสถิติจังหวัดไว ณ ที่นี้ และยินดีรับคําแนะนํา ขอคิดเห็นจากผูใชขอมูล สถิติ ซึ่งจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการพัฒนาและปรับปรุงรายงานสถิติจังหวัดฉบับตอไป ทั้งนี้ หากสนใจ ขอมูลของจังหวัดเพิ่มเติม สามารถเขาไปคนหาไดที่ http://www.nso.go.th หรือศูนยขอมูลสถิติจังหวัด http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/contact/datprov.html Preface As a vision is SMART Statistical Center for Decision Making, the National Statistical Office has been carrying out the mission in provide statistical and information service to all users. The Surat Thani Provincial Statistical Office, acting as a core agency of the local statistical office, has therefore, produced provincial statistical report. This report presents basic statistical data, concerning economic, social and environmental aspects, including the provincial indicators. Those statistics were from both censuses and surveys conducted by NSO as well as from other statistical units of Line Ministries. These statistical data could be used to guide policy planning, decision making and references purposes. The Surat Thani Provincial Statistical Report 2017 consists of; Part 1: Presentation of an overview of Surat Thani, on basic information, its map and statistical data in the form of Infographic. Part 2: Presentation of statistical data and some major indicators, in the form of statistical tables, which enable users to use complete data in timely manner. The presentation has been classified based on statistical sectors namely: Demographic, Population and Housing Statistics, Labour Statistics, Education Statistics, Religion Art and Culture Statistics, Health Statistics, Social Security Statistics, Gender Statistics, Household Income and Expenditure Statistics, Justice, Security, Political and Public Administration Statistics, National Accounts, Agricultural and Fishery Statistics, Industrial Statistics, Energy Statistics, Trade and Price Statistics, Transport and Logistics Statistics, Information Communication and Technology Statistics, Tourism and Sports Statistics, Finance, Banking and Insurance Statistics, Fiscal Statistics and Natural Resources and Environment Statistics. Sources of data presented have been provided under all statistical tables to enable users to seek additional information. The Surat Thani Provincial Statistical Office would like to express our sincere gratitude to all government agencies and state enterprises for the kind support in providing statistical data for this report. Any suggestions and comments are welcomed and would be taken into account so as to improve our next report. For further information, please visit our website at http://www.nso.go.th or Provincial Statistical Data Center at http://service.nso.go.th/ nso/nsopublish/contact/datprov.html แผนที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกาะเต่า จ.ชุมพร หมู่เกาะอ่างทอง จ.ระนอง อ่าวไทย ท่าเรือเฟอร์รี่ จ.พังงา จ.นครศรีธรรมราช จ.กระบี่ จังหวัดสุราษฎรธานี ความเปนมา สุราษฎรธานีเปนเมืองเกาแกที่มีมาตั้งแต โดยทางรถยนตประมาณ 660 กิโลเมตร และหาง สมัยกอนประวัติศาสตร ชนพื้นเมือง ไดแก พวกเซมัง จากจังหวัดอันเปนศูนยกลางของภาคใต คือ และมลายูดั้งเดิม ซึ่งอาศัยอยูในเขตลุมน้ําหลวง จังหวัดสงขลาและจังหวัดภูเก็ตเปนระยะทาง (แมน้ําตาป) และบริเวณอาวบานดอน กอนที่ ประมาณ 300 กิโลเมตร และ 250 กิโลเมตร ชาวอินเดียจะอพยพเขามาตั้งหลักแหลงและเผยแพร ตามลําดับ เนื้อที่ทั้งสิ้น 12,891 ตารางกิโลเมตร วัฒนธรรม ดังปรากฏหลักฐานในชุมชนโบราณที่ มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้ อ. ทาชนะ อ.ไชยา เปนตน ตอมาในพุทธศตวรรษ ทิศเหนือ ติดจังหวัดระนอง จังหวัด ที่ 13 มีหลักฐานปรากฏวาเมืองนี้ไดรวมกับอาณาจักร ชุมพรและอาวไทย ศรีวิชัย เมื่ออาณาจักรนี้เสื่อมลง จึงแยกออกเปน 3 ทิศตะวันออก ติดจังหวัดนครศรีธรรมราช เมือง คือ เมืองไชยา เมืองทาทอง และเมืองคีรีรัฐ ทิศใต ติดจังหวัดกระบี่ ขึ้นตอเมืองนครศรีธรรมราช ทิศตะวันตก ติดจังหวัดพังงา ตอมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรด ฯ ใหยายเมืองทาทอง ภูมิประเทศและภูมิอากาศ มาตั้งที่บานดอน และยกฐานะเปนเมืองจัตวา ขึ้นตรง จังหวัดสุราษฎรธานีมีพื้นที่กวางใหญ ตอกรุงเทพ ฯ พระราชทานนามวา “เมืองกาญจนดิษฐ" และมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย ไดแก ครั้นเมื่อมีการปกครองแบบมณฑล ไดรวมเมือง ภูมิประเทศแบบที่ราบชายฝงทะเล ที่ราบสูง ทั้งสามเปนเมืองเดียวกันเรียกวา เมืองไชยา ตอมา รวมทั้งภูมิประเทศแบบภูเขา ซึ่งกินพื้นที่ของ พ.ศ. 2458 รัชกาลที่ 6 โปรด ฯ ใหเปลี่ยนชื่อเมือง จังหวัดถึงรอยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมีทิวเขา ไชยา มาเปนเมืองสุราษฎรธานี แปลวา “เมืองแหง ภูเก็ตทอดตัวในแนวเหนือ - ใตของจังหวัด และมี คนดี” ลุมน้ําที่สําคัญ คือ ลุมน้ําตาป ไชยา ทาทอง เปนตน ขนาดและที่ตั้ง ดานตะวันออกเปนฝงทะเลอาวไทย และมี เกาะนอยใหญที่มีประชากรอาศัย สวนดาน จังหวัดสุราษฎรธานีเปนจังหวัดที่มีพื้นที่มาก ตะวันตก มีลักษณะเปนภูเขาสูง มีแมน้ําสายสําคัญ ที่สุดของภาคใต ตั้งอยูบนชายฝงทะเลดานตะวันออก คือ แมน้ําตาป ทางภาคใตของประเทศไทย อยูหางจากรุงเทพมหานคร viii เนื่องจากทําเลที่ตั้งรวมถึงภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติแหลงนํา้ และสภาพทาง จังหวัดสุราษฎรธานีไดรับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตก เศรษฐกจิ เฉียงใตที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งมรสุม ปาไมเปนทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญของ ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผานอาวไทย จึงทําให จังหวัดสุราษฎรธานี ปาไมในจังหวัดมีทั้งปาโปรง จังหวัดสุราษฎรธานีมีชวงฤดูฝนยาวนานมาก โดยกิน และปาดงดิบ จึงมีไมที่มีคามากมาย เชน ยาง ยูง ระยะเวลาตั้งแตเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมกราคม เคี่ยม ตะเคียน จําปา พะยอม และไมอื่น ๆ โดยจังหวัดสุราษฏรธานีมีอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 22.0 นอกจากนี้ ยังมีแรธาตุที่สําคัญอีกหลายชนิด อยูใน องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 36.5 องศา ทองที่ตาง ๆ เชน ยิปซั่ม โดโลไมต แอนไฮไดรต เซลเซียส และปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 127.0 มิลลิเมตร หินปูน ดินขาว และบอลเครย ในป พ.ศ. 2559 มีจํานวนเหมืองแรเปดดําเนินการทั้งสิ้น 56 แหง การปกครองและประชากร แหลงนํ้าธรรมชาติที่สําคัญของจังหวัด ณ วันที่ 10 กุมภาพั นธ พ.ศ. 2559 จังหวัด สุราษฎรธานี ไดแก แมน้ําตาป แมน้ําพุมดวง สุราษฎรธานี แบงการปกครองสวนภูมิภาคออกเปน ตลอดจน โครงการชลประทานอีกหลายแหงที่เปน 19 อําเภอ 131 ตําบล 1,074 หมูบาน โดยมีอําเภอ ประโยชนตอการเกษตร ดังนี้ เมืองสุราษฎรธานี กาญจนดิษฐ เกาะพะงัน อาชีพที่สําคัญของประชาชนสวนใหญ เกาะสมุย คีรีรัฐนิคม เคียนซา ชัยบุรี ไชยา ดอนสัก ในจังหวัดนี้ คือ ทํานา ทําสวน ทําไร โดยใชที่ดิน ทาฉาง ทาชนะ บานตาขุน บานนาเดิม บานนาสาร เพื่อทําการเพาะปลูกประมาณ 45% ของพื้นที่ พนม พระแสง พุนพิน เวียงสระ และวิภาวดี ทั้งหมด ซึ่งพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแก ยางพารา การปกครองสวนทองถิ่น ประกอบดวย ปาลมน้ํามัน มะพราว เงาะ ทุเรียน และกาแฟ องคการบริหารสวนจังหวัด 1 แหง เทศบาลนคร 2 แหง นอกจากนั้น ยังมีการเลี้ยงปศุสัตวและการทํา เทศบาลเมือง 3 แหง เทศบาลตําบล