<<

Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 1

ไดโนเสาร์ซอริสเชียนและออร์นิธิสเชียนในประเทศไทย Saurischian and Ornithischian in Thailand

ประวีรณ์ สุพรรณอ่วม1

บทคัดย่อ

ไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลานโบราณมีชีวิตอยู่ในช่วงมหายุคมีโซโซอิกเมื่อ 225-65 ล้านปีก่อน ในประเทศ ไทยพบไดโนเสาร์เฉพาะถิ่นทั้งหมด 9 ชนิด ในอันดับซอริสเชียพบ 5 ชนิด ได้แก่ อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ (Isanosaurus attavapachi) ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน ( sirindhornae) สยามโมไท แรนนัส อีสานเอนซิส ( isanensis) กินรีมิมัส ขอนแก่น เอนซิส ( khonkaenensis) และ สยามโมซอรัส สุธีธรนิ (Siamosaurus sueethorni) ส่วนอันดับออร์นิธิสเชียพบ 4 ชนิด ได้แก่ ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ ( sattayaraki) สยามโมดอน นิ่มงามอิ (Siamodon nimngami) ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ (Ratchasimasaurus suranareae) และ สิรินธรนา โคราชเอนซิส (Sirindhorna khoratensis) การศึกษาไดโนเสาร์มีประโยชน์ช่วยในการศึกษาเปลี่ยนแปลงของโลก วิวัฒนาการ และการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต

ค ำส ำคัญ : ไดโนเสาร์, ซอริสเชีย, ออร์นิธิสเชีย, มีโซโซอิก, ประเทศไทย

Abstract

Dinosaurs were ancient reptiles that lived in Mesozoic Era 225-65 million years ago. In Thailand, 9 species of endemic dinosaurs were found. Order was found 5 species that is Isanosaurus attavapachi, Phuwiangosaurus sirindhornae, Siamotyrannus isanensis, Kinnareemimus khonkaenensis and Siamosaurus sueethorni. Order Ornithischia was found 4 species, i.e. Psittacosaurus sattayaraki, Siamodon nimngami, Ratchasimasaurus suranareae and Sirindhorna khoratensis. The studies of dinosaurs are useful in order to understand the global changes, evolution and extinction of organisms.

Keywords: , Saurischia, Ornithischia, Mesozoic, Thailand

1 สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อ าเภอเมือง จ.อุบลราชธานี 34000 E-mail: [email protected] 2 วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น / ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559

1. บทน า สิรินธรเน (Phuwiangosaurus sirindhornae) หลัง จากนั้น มีการส ารวจซากดึกด าบรรพ์ ไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลานโบราณชนิด ระหว่างนักธรณีวิทยาจากกรมทรัพยากรธรณี หนึ่ง ปรากฏตัวในช่วงมหายุคมีโซโซอิก (Meso- และผู้เชี่ยวชาญจากฝรั่งเศส รวมทั้งสถาบันวิจัย zoic Era) ซึ่งประกอบด้วย 3 ยุค ได้แก่ ยุคไทร ไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาค แอสซิก ( Period) ที่อยู่ในช่วง 250-200 ตะวันออกเฉียงเหนือเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัย ล้านปีมาแล้ว ยุคจูแรสซิก ( Period) ที่อยู่ ราชภัฏนครราชสีมา และผู้เชี่ยวชาญจากประเทศ ในช่วง 200-145 ล้านปีมาแล้ว และยุคครีเทเชียส ญี่ปุ่น มีการส ารวจค้นพบอยู่ในหมวดหินชั้นต่างๆ ( Period) ที่อยู่ในช่วง 145-65 ทั่วทั้งภาคอีสาน แหล่งที่พบมากที่สุด คือ ภูกุ้ม ล้านปีมาแล้ว ซึ่งยุคครีเทเชียสตอนต้นประมาณ ข้าว อ าเภอสหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นแหล่ง 130 ล้านปีมาแล้ว ได้ชื่อว่าเป็นยุคทองของ ซากดึกด าบรรพ์ไดโนเสาร์ที่สมบูรณ์ที่สุดใน ไดโนเสาร์ เพราะไดโนเสาร์มีวิวัฒนาการมาก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่สุด และมีความหลากหลายมากที่สุดด้วย จนกระทั่งเมื่อ 65 ล้านปีก่อน ไดโนเสาร์ได้สูญ 3. การจัดจ าแนกไดโนเสาร์ พันธุ์ไปหมดจากโลกนี้ เหลือเพียงทายาทของ ไดโนเสาร์ซึ่งก็คือนกในปัจจุบันเท่านั้น (กมล นักบรรพชีวินวิทยา (Paleontologist) แบ่ง ลักษณ์ วงษ์โก และ วราวุธ สุธีธร, 2550; กรม ไดโนเสาร์เป็น 2 อันดับ คือ อันดับซอริสเชีย ทรัพยากรธรณี, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริม (Order Saurischia) มีลักษณะกระดูกเชิงกราน สกุล โทณวณิก, 2553; วิฆเนศ ทรงธรรม, 2554; แบบสัตว์เลื้อยคลาน มีทั้งพวกกินพืชและกินสัตว์ Buffetaut, Suteethorn, Suteethorn, Deesri กับอีกกลุ่มหนึ่ง คือ อันดับออร์นิธิสเชีย (Order & Tong, 2013) Ornithischia) พวก ออร์นิธิสเชียนมีกระดูกเชิง กรานแบบนก ซึ่งเป็นพวกกินพืชทั้งหมด 2. การส ารวจไดโนเสาร์ในประเทศไทย ไดโนเสาร์ซอริสเชียน จัดแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเทอโรพอดส์ (Theropods) เป็นกลุ่มกิน ซากดึกด าบรรพ์ของไดโนเสาร์ในประเทศ เนื้อ มีฟันแหลม เล็บแหลม ขาหลังใหญ่ ขาหน้า ไทยมีการขุดค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2519 ที่อ าเภอ เล็ก เดินด้วยสองเท้า แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ขณะส ารวจแร่ยูเรเนียม กลุ่มซีลูโรซอร์ (Coelurosaur) ที่มีขนาดเล็ก ภายหลังเมื่อให้ผู้เชี่ยวชาญจากฝรั่งเศสตรวจสอบ พวกนี้วิวัฒนาการกลายเป็นนกในปัจจุบัน และ พบว่า เป็นกระดูกต้นขาของไดโนเสาร์กินพืช กลุ่มคาร์โนซอร์ (Carnosaur) ที่มีขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่ ภายหลังได้ชื่อว่า ภูเวียงโกซอรัส ส่วนอีกกลุ่ม หนึ่ง คือ กลุ่มซอโรพอดส์ Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 3

(Sauropods) ซึ่งเป็นกลุ่มกินพืช เดินสี่เท้า มี เกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ขนาดใหญ่ คอยาว หางยาว หัวเล็ก ราชกุมารี ผู้ทรงสนพระทัยและติดตามงาน ส่วนไดโนเสาร์ออร์นิธิสเซียนนั้น จัดแบ่งเป็น 5 ส ารวจวิจัยไดโนเสาร์มาโดยตลอด แหล่งที่พบ กลุ่ม คือ กลุ่มสเตโกซอร์ (Stegosaur) เป็นไดโนเสาร์ มากที่สุด คือ ภูกุ้มข้าว จ.กาฬสินธุ์ ที่มีแผงหลัง เดินสี่เท้า กลุ่มออนิโธพอดส์ (Orni- thopods) เป็นไดโนเสาร์กินพืช ที่เดินด้วยสอง ขาหลังได้ กลุ่มเซอราทอปเชียน (Ceratopsian) เป็นไดโนเสาร์มีเขา เดินสี่เท้า กลุ่มแองกิโลซอร์ (Ankylosaur) เป็นไดโนเสาร์หุ้มเกราะ เดินสี่เท้า กลุ่มพาคีเซปฟาโลซอร์ (Pachycephalosaur) เป็นไดโนเสาร์หัวแข็ง เดินสองเท้า (Hickman, ภาพที่ 1 Phuwiangosaurus sirindhornae Roberts & Larson, 2001; Buffetaut et al., (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ 2013) และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก, 2553) 4. ไดโนเสาร์ในประเทศไทย 2) อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ (Isano- ประเทศไทยพบไดโนเสาร์เฉพาะถิ่น 8 ใน saurus attavapachi) (Buffetaut, Sutee- อันดับซอริสเชียพบ 5 ชนิด และอันดับออร์-นิธิส thorn, Cuny, Tong, le Loeuff, Khansubha เชียพบ 3 ชนิด ดังนี้ & Jongautchariyakul, 2000) (ภาพที่ 2) เป็น 1) ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน (Phuiango- บรรพบุรุษไดโนเสาร์ซอโรพอด ค้นพบในชั้นหิน saurus sirindhornae) (Martin, Buffetaut & หมวดหินน้ าพอง ที่ อ าเภอหนองบัวแดง จังหวัด Suteethorn, 1994) (ภาพที่ 1) เป็นไดโนเสาร์ ชัยภูมิ พบในช่วงปลายยุคไทรแอสซิก ประมาณ ซอโรพอดชนิดแรกที่พบในประเทศไทย เป็น 210 ล้านปีมาแล้ว พบชิ้นส่วนกระดูกต้นขาและ ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ความยาวประมาณ อื่น ๆ แสดงลักษณะของไดเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ 15-20 เมตร เดิน 4 ขา คอยาว หางยาว พบ เดิน 4 ขา คอยาว หางยาว มีขนาดประมาณ 16 กระดูกเป็นจ านวนมากในชั้นหินทราย ยุคครีเท เมตร เป็นไดโนเสาร์สกุลใหม่ชนิดใหม่ ตั้งชื่อเป็น เชียสตอนต้น ประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว พบ เกียรติแก่ นายปรีชา อรรถวิภัชน์ อดีตอธิบดีกรม ครั้งแรกที่ อ าเภอภูเวียง จ.ขอนแก่น พ.ศ. 2519 ทรัพยากรธรณี ผลการศึกษาวิจัยพบว่าเป็นไดโนเสาร์ สกุลใหม่และ ชนิดใหม่ของโลก จึงได้ตั้งชื่อเพื่อเฉลิมพระ 4 วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น / ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559

เป็นไดโนเสาร์ที่มีรูปร่างคล้ายนกกระจอกเทศ ขนาด 3 เมตร รูปร่างปราดเปรียว กินได้ทั้งพืช และสัตว์ อายุประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว พบ กระดูกหลายชิ้น เช่น กระดูกหัวหน่าว กระดูกขา หลังท่อนล่าง กระดูกน่อง กระดูกฝ่าเท้า และ กระดูกนิ้ว ผลการศึกษาพบว่าเป็นสกุลและชนิด ภาพที่ 2 Isanosaurus attavapachi ใ ห ม่ แ ล ะ ไ ด้ ตั้ ง ชื่ อ ว่ า Kinnareemimus (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ khonkaenensis ซึ่งมาจากชื่อ กินรี เป็น และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก, 2553) สิ่งมีชีวิตในเทพนิยายของไทย และขอนแก่นเอน ซิสมาจากชื่อสถานที่ค้นพบ คือ จังหวัดขอนแก่น 3) สยามโมไทแรนนัส อีสานเอนซิส (Siamo- tyrannus isanensis) (Buffetaut, Suteethorn & Tong, 1996) (ภาพที่ 3) เป็นไดโนเสาร์เทอโร พอดขนาดใหญ่พวกคาร์โนซอร์ กินเนื้อเป็น อาหาร มีขนาดล าตัว 6.5 เมตร เดินด้วยสองขา หลังขนาดใหญ่ ขาหน้าเล็กสั้น คอสั้น หัว กะโหลกขนาดใหญ่ ฟันคมเหมือนใบมีด พบซาก ภาพที่ 3 Siamothyrannus isanensis กระดูกหลายชิ้น ประกอบด้วย กระดูกสันหลัง (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ กระดูกสะโพก และกระดูกหาง อายุประมาณ และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล 130 ล้านปีมาแล้ว ผลการศึกษาวิจัย พบว่า เป็น โทณะวณิก, 2553) ไดโนเสาร์สกุลใหม่และชนิดใหม่ของโลก จึงตั้ง ชื่อใหม่ว่าสยามโมไทแรนนัส อีสานเอนซิส ซึ่ง แปลว่า ไทแรนโนซอรัสแห่งประเทศไทยที่มีถิ่น ก าเนิดที่ภาคอีสาน ไดโนเสาร์ชนิดนี้คาดว่าเป็น บรรพบุรุษของทีเร็กซ์ (T-rex) 4) กินรีมิมัส ขอนแก่นเอนซิส (Kinnaree- mimus khonkaenensis (Buffetaut, Sutee- ภาพที่ 4 Kinnareemimus khonkaenensis thorn & Tong, 2009) (ภาพที่ 4) เป็นไดโนเสาร์ (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ เทอโรพอดพบในหินทรายหมวดหินเสาขัวยุคครี และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก, 2553) เทเชียสที่อุทยานแห่งชาติภูเวียง จังหวัดขอนแก่น Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 5

5) สยามโมซอรัส สุธีธรนิ (Siamosaurus มาแล้ว จัดเป็นชนิดใหม่ ชื่อ ซิตตะโกซอรัส สัต suteethorni) (Buffetaut & Ingavat, 1986) ยารักษ์กิ เพื่อเป็นเกียรติแก่ นายนเรศ สัตยา (ภาพที่ 5) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดกินเนื้อ รักษ์ นักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ผู้ค้นพบ ขนาดใหญ่ ขนาด 8-9 เมตร พบฟันที่มีลักษณะ ไดโนเสาร์ชนิดนี้ เป็นรูปทรงกรวยคล้ายฟันจระเข้ พบหลายแห่ง ในชั้นหินยุคครีเทเชียสตอนต้น อายุประมาณ 130-120 ล้านปีมาแล้ว ผลการวิจัย พบว่า เป็น ไดโนเสาร์สกุลใหม่และชนิดใหม่ จึงตั้งชื่อว่า สยามโมซอรัส สุธีธรนิ โดยตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติ แก่ ดร.วราวุธ สุธีธร ซึ่งบุคคลส าคัญในการศึกษา ซากดึกด าบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศ

ไทย ภาพที่ 6 Psittacosaurus sattayaraki (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก, 2553)

7) สยามโมดอน นิ่มงามอิ (Siamodon nim- ngami) (Buffetaut & Suteethorn, 2011) (ภาพที่ 7) เป็นไดโนเสาร์ในกลุ่มอีกัวโนดอน ไม่ ทราบขนาด คาดว่าปรากฏขึ้นในเอเชียมาแล้ว ภาพที่ 5 Siamosaurus sueethorni (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ แล้วจึงกระจายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ของโลก กิน และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล พืชเป็นอาหาร พบชิ้นส่วนกระดูกขากรรไกรบน โทณะวณิก, 2553) ด้านซ้าย ฟันจากขากรรไกรบนเดี่ยว ๆ 1 ซี่ และ กระดูกส่วนสมองด้านท้ายทอย จากแหล่งขุดค้น 6) ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ (Psittaco- บ้านสะพานหิน ต าบลสุรนารี อ าเภอเมือง saurus sattayaraki) (Buffetaut & Sutheethorn, จังหวัดนครราชสีมา โดย นายวิทยา นิ่มงาม พบ 1992) (ภาพที่ 6) ไดโนเสาร์กินพืชขนาดเล็กกลุ่ม ฟันและกระดูกไดโนเสาร์ ในหินกรวดมนปนปูน เซอราทอปเชียน ปากเป็นจะงอยคล้ายปาก ยุคครีเทเชียสตอนต้น มีอายุประมาณ 100 ล้าน นกแก้ว มีความยาว 1 เมตร เดินสองขา โดยพบ ปีมาแล้ว ชิ้นส่วนกรามจาก จังหวัดชัยภูมิ ในชั้นหินยุคครี เทเชียสตอนต้น อายุประมาณ 130 ล้านปี 6 วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น / ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559

9) สิรินธรนา โคราชเอนซิส (Sirindhorna khoratensis) (Shibata, Jintasakul, Azuma & Yu, 2015) (ภาพที่ 9) เป็นไดโนเสาร์ชนิดที่ ค้นพบล่าสุดในประเทศไทย อยู่ในกลุ่มอีกัวโน ดอน พบชิ้นส่วนกะโหลก ขากรรไกรบนล่าง ฟัน และอื่น ๆ จากชั้นหินกรวดมนปนปูน ในหมวด หินโคกกรวด อายุประมาณ 115 ล้านปีก่อน ภาพที่ 7 Siamodon nimngami ความยาว 6 เมตร ความสูงระดับสะโพก 2 เมตร (ที่มา: วิฆเนศ ทรงธรรม, 2554; Shibata et al., 2015) น้ าหนักประมาณ 1 ตัน ค้นพบเมื่อปี พ.ศ. 2550 8) ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ (Ratchasima- ที่ อ าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ผลการ saurus suranareae) (Shibata, Jintasakul & ศึกษาวิจัยพบว่าเป็นไดโนเสาร์ชนิดใหม่ของโลก Azuma, 2011) (ภาพที่ 8) เป็นไดโนเสาร์กลุ่ม จึงได้ตั้งชื่อเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ อีกัวโนดอนกินพืช ชิ้นส่วนที่พบกรามล่างซ้าย ใน รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชั้นหินกรวดมนปนปูน ยุคครีเทเชียสตอนต้น หรืออายุประมาณ 100 ล้านปีก่อน แหล่งที่พบ คือ บริเวณสระน้ าของหมู่บ้านโป่งแมลงวัน ต าบลโคกกรวด อ าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา คณะผู้วิจัยได้ให้ชื่อสกุลของไดโนเสาร์นี้ว่า "ราช ภาพที่ 9 Sirindhorna khoratensis สีมาซอรัส" ตามชื่อแบบสั้นของจังหวัดนครราชสีมา (ที่มา: วิฆเนศ ทรงธรรม, 2554; Shibata et al., 2015)

ซึ่งเป็นแหล่งค้นพบ และให้ชื่อเฉพาะชนิดพันธุ์ว่า ชนิดของไดโนเสาร์ ลักษณะ อายุ และแหล่งที่ "สุรนารีเอ" ตามชื่อของท้าวสุรนารี วีรสตรีของ พบในประเทศไทยทั้งสองอันดับ แสดงดังตารางที่ 1 จังหวัดนครราชสีมา นอกจากนี้ยังมีไดโนเสาร์ที่พบทั้งในประเทศไทย และทั่วโลกอีกด้วย ที่ไม่สามารถระบุชนิดแต่ สามารถระบุสกุลได้ เช่น Mamenchisaurus, , , Iguanodon เป็นต้น และยังมีกลุ่มไดโนเสาร์ที่ระบุสกุลไม่ได้ เช่น Stegosaur, Prosauropod, Euhelopodid เป็นต้น (วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณวณิก, ภาพที่ 8 Ratchasimasaurus suranareae 2553; Chantasit, 2011; Suteethorn et al., (ที่มา: วิฆเนศ ทรงธรรม, 2554; Shibata et al., 2015) 2013) Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 7

ตารางที่ 1 ชนิดของไดโนเสาร์ ลักษณะ อายุ และแหล่งที่พบในประเทศไทย ที่ ชนิด ลักษณะ อายุ แหล่งที่พบ 1 ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน ซอโรพอด กินพืช เดิน 4 ขา 130 ล้านปี ขอนแก่น กาฬสินธุ์ (Phuwiangosaurus คอยาว หางยาว หมวดหินเสาขัว ชัยภูมิ อุดรธานี sirindhornae) ขนาด 15-20 เมตร หนองบัวล าภู ฯลฯ 2 อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ ซอโรพอดที่เก่าแก่ที่สุด กินพืช 210 ล้านปี ชัยภูมิ (Isanosaurus attavapachi) เดิน 4 ขา คอยาว หางยาว หมวดหิน น้าพอง ขนาด 16 เมตร 3 สยามโมไทแรนนัส อีสานเอนซิส คาร์โนซอร์ กินเนื้อ เดิน 2 ขา 130 ล้านปี ขอนแก่น กาฬสินธุ์ (Siamotyrannus isanensis) ขนาด 6.5 เมตร คาดว่าเป็น หมวดหินเสาขัว ชัยภูมิ บรรพบุรุษของ T-rex 4 กินรีมิมัส ขอนแก่นเอนซิส ออร์นิโธมิโมซอร์ กินเนื้อ 130 ล้านปี ขอนแก่น (Kinnareemimus เดิน 2 ขา ขนาด 3 เมตร หมวดหินเสาขัว khonkaenensis) 5 สยามโมซอรัส สุธีธรนิ คาร์โนซอร์ กินปลา เดิน 2 ขา 130 ล้านปี ขอนแก่น กาฬสินธุ์ (Siamosaurus sueethorni) ว่ายน้าได้ ขนาด 8-9 เมตร หมวดหินเสาขัว ชัยภูมิ สกลนคร อุบลราชธานี ฯลฯ 6 ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ เซอราทอปเซียน กินพืช 130 ล้านปี ชัยภูมิ (Psittacosaurus sattayaraki) เดิน 2-4 ขา ปากคล้ายนกแก้ว หมวดหินเสาขัว ขนาด 1 เมตร 7 สยามโมดอน นิ่มงามอิ ออร์นิโธพอด กินพืช เดิน 2 ขา 100 ล้านปี นครราชสีมา (Siamodon nimngami) ไม่ทราบขนาด หมวดหินโคก กรวด 8 ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ ออร์นิโธพอด กินพืช เดิน 2 ขา 100 ล้านปี นครราชสีมา (Ratchasimasaurus ไม่ทราบขนาด หมวดหินโคก suranareae) กรวด 9 สิรินธรนา โคราชเอนซิส ออร์นิโธพอด กินพืช เดิน 2 ขา 115 ล้านปี นครราชสีมา (Sirindhorna khoratensis) ความยาว 6 เมตร ความสูง หมวดหินโคก สะโพก 2 เมตร กรวด

นอกจากจะพบซากดึกด าบรรพ์ของ พบรอยเท้า ได้แก่ อ าเภอภูเวียง จังหวัด ไดโนเสาร์ในรูปของกระดูกและฟันแล้ว ยังพบ ขอนแก่น, อ าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ, ซากดึกด าบรรพ์ที่เป็นรอยเท้าอีกด้วย ซึ่งแหล่งที่ อ าเภอภูแฝก จังหวัดกาฬสินธุ์, อ าเภอภูหลวง 8 วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น / ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559

และ อ าเภอภูกระดึง จังหวัดเลย, อ าเภอท่าอุเทน สาเหตุการสูญพันธุ์สันนิษฐานว่าน่าจะมาจาก จังหวัดนครพนม และอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุกกาบาตที่พุ่งชนโลกบริเวณคาบสมุทรยูคาทาน จังหวัดปราจีนบุรี รอยเท้าที่พบมีทั้งไดโนเสาร์ ประเทศเม็กซิโก ซึ่งค้นพบหลุมอุกกาบาตที่มี จ าพวกคาร์โนซอร์ ซีลูโรซอร์ และอีกัวโนดอน ขนาด 10 กิโลเมตร (อัจฉริยา รังษิรุจิ, 2555) การศึกษารอยเท้าไดโนเสาร์ช่วยท าให้เข้าใจ Alvarez, Alvarez, Asaro & Michel รูปร่างลักษณะ และการด าเนินชีวิตในอดีต (1980) ได้เสนอทฤษฎีการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ รวมทั้งสภาพแวดล้อมในบรรพกาล ลักษณะ ว่าเมื่อ 65 ล้านปีมาแล้วได้เกิดอุกกาบาตหรือ รอยเท้าและแนวทางเดินสามารถบอกได้ว่า ดาวหางขนาดยักษ์พุ่งชนโลก ท าให้เกิดหลุม เจ้าของรอยเท้าเดินด้วยสี่ขาหรือสองขา ก าลัง อุกกาบาตขนาดกว้าง 118 กิโลเมตร ฝุ่นจ านวน เดินหรือก าลังวิ่ง กินพืชหรือกินเนื้อเป็นอาหาร มหาศาลลอยฟุ้งขึ้นไปแขวนลอยอยู่ในอากาศ และระยะห่างระหว่างรอยเท้ายังช่วยคาดคะเน เป็นชั้นหนาทึบและแผ่ปกคลุมโลกไว้ เป็นเหตุให้ ขนาดและความสูงของไดโนเสาร์ได้ด้วย (ชลิดา แสงอาทิตย์ถูกบดบัง ผู้ผลิตไม่สามารถเกิด เหล่าจุมพล และสุรเวช สุธีธร, 2558; รังสิมา กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ ท าให้ ตัณฑเลขา, ถาวร สิริมานนท์ และกมลลักษณ์ สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ตายก่อน ต่อมาสัตว์ที่กินพืช และ สงษ์โก, 2550; Laojumpon, Deersri, Khamha, สัตว์ที่กินสัตว์จึงล้มตายตาม ผลกระทบเกิดต่อ Wattanapituksakul, Lauprasert, Suteethorn, & กันเป็นลูกโซ่ การล้มตายของไดโนเสาร์ไม่ได้เกิด Suteenthorn, 2013; le Loeuff, Saeyamoon, อย่างกะทันหัน แต่จะค่อย ๆ ลดจ านวนลงเรื่อย ๆ Suteethorn, Khansubha & Buffetaut, 2005) จนกระทั่งหมดไป เหลือเพียงสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวได้ เท่านั้น (Hall, 2011) 5. การสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ นอกจากทฤษฎีการชนของอุกกาบาตแล้วยัง มีการเสนอทฤษฎีอื่น ๆ อีก เช่น ทฤษฎีภูเขาไฟ การสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์เป็นการสูญพันธุ์ ระเบิด (Keller, Sahni & Bajpai, 2009) ทฤษฎี ครั้งยิ่งใหญ่ของโลกครั้งล่าสุด เกิดในช่วง 65 ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Li & Keller, 1998) ล้านปีมาแล้ว เรียกว่า การสูญพันธุ์ครีเทเชียส- การชนของอุกกาบาตท าให้ภูเขาไฟระเบิดพร้อม เทอเชียรี (Cretaceous-Tertiary Extinction, กันทั่วโลก ท าให้เกิดฝุ่นละอองและมลพิษขึ้น K-T Extinction) ซึ่งเกิดในปลายยุคครีเทเชียส นอกจากผลกระทบจากฝุ่นละอองแล้ว ยังมีพิษ กวาดล้างสิ่งมีชีวิตไปกว่า 70% รวมถึงพวก จากภูเขาไฟท าให้สิ่งมีชีวิตตายเร็วขึ้นด้วย ไดโนเสาร์ เทอโรซอร์ และสัตว์เลื้อยคลานใต้ (Olsen, 1999) ส่วนทฤษฎีอากาศเปลี่ยน แปลง ทะเล สิ่งมีชีวิตที่ไม่สูญพันธุ์ ได้แก่ พวกหนู สัตว์ เกิดจากการที่แสงอาทิตย์ถูกบดบังเป็นเวลานาน เลี้ยงลูกด้วยนม นก เต่า ปลาซีลาแคนด์ และงู Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 9

ท าให้อุณหภูมิของโลกลดลง สิ่งมีชีวิตที่ปรับตัว ชลิดา เหล่าจุมพล และสุรเวช สุธีธร. 2558. ไม่ได้จึงตายเร็วขึ้น (Kardong, 2008) รายงานไดโนเสาร์ในช่วงระหว่างยุคไทร แอสซิก-ยุคจูแรสซิกของประเทศไทย. การ 6. สรุป ประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิจัยครั้งที่ 11, 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558. การศึกษาไดโนเสาร์เป็นการศึกษาย้อนหลัง มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ไปสู่อดีตช่วยท าให้ให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงทาง รังสิมา ตัณฑเลขา, ถาวร สิริมานนท์ และกมล ชีวภูมิศาสตร์และธรณีสัณฐานวิทยาของโลก ลักษณ์ วงษ์โก. (2550). หลากชีวิตโลกล้าน ชีวิตและความเป็นอยู่ของไดโนเสาร์ ความ ปี ประกาศศักดาผืนแผ่นดินไทย, BRT หลากหลายและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตในอดีต Magazine, 22, 14-26. ที่เป็นบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตในปัจจุบัน รวมทั้ง วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก. (2553). การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตอีกด้วย การศึกษา ไดโนเสาร์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: นาน ไดโนเสาร์บอกให้เราทราบว่า “ไม่เคยมีสิ่งมีชีวิต มีบุ๊คส์. ใดที่สามารถอยู่รอดได้โดยเอาชนะธรรมชาติ มี วิฆเนศ ทรงธรรม. (2554). โลกดึกด าบรรพ์ แต่จะอยู่รอดด้วยการปรับตัวเท่านั้น” ดังนั้น โคราช. นครราชสีมา: สถาบันวิจัยไม้ มนุษย์จะต้องช่วยเหลือธรรมชาติ และใช้ กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณี ภาค ทรัพยากรให้น้อยลงเพื่อคงความสมดุลของ ตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ ธรรมชาติให้ได้นานที่สุด เพื่อที่มนุษย์และ มหาวิทยาลัยสถาบันราชภัฏนครราชสีมา. ธรรมชาติจะอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน อัจฉริยา รังษิรุจิ. (2555). วิวัฒนาการ: จาก ทฤษฎีสู่การประยุกต์. กรุงเทพฯ: เท็กซ์ เอกสารอ้างอิง แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น. Alvarez, L. W., Alvarez, W., Asaro, F. & กมลลักษณ์ วงษ์โก และวราวุธ สุธีธร. (2550). Michel, H. V. (1980). Extraterrestrial เปิดต านานไดโนเสาร์ไทย. BRT Magazine cause for the Cretaceous–Tertiary 22: 7-13. extinction. Science, 208, 1095-1108. กรมทรัพยากรธรณี (2544). ไดโนเสาร์เมืองไทย. Buffetaut, E. & Ingevat, R. (1986). กรุงเทพฯ: ส านักธรณีวิทยา กรมทรัพยากร Unusual theropod dinosaur teeth ธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ from the Upper Jurassic of Phu สิ่งแวดล้อม. Wiang, northeastern Thailand. Review Paleobiology, 5, 217-220. 10 วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น / ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559

Buffetaut, E. & Suteethorn, V. (1992). A ornithopod dinosaur from the Phu new species of the ornithischian Kradung Formation (terminal Jurassic dinosaur Psittacosaurus from the - basal Cretaceous) of Phu Noi, of Thailand. north-eastern Thailand. Journal of Palaeontology, 35, 801–812. Science and Technology, Buffetaut, E., Suteethorn, V. & Tong, H. Mahasarakham University, 33, 344- (1996). The earliest known 347. tyrannosaur from the Lower Chanthasit P. 2011. New theropod Cretaceous of Thailand. Nature, 381, remains from the Phu Kradung 689-691. Formation of Kalasin Province and a Buffetaut, E., Suteethorn, V., Cuny, G., review of Late Jurassic theropod Tong, H., le Loeuff, J., Khansubha, S. record in Thailand. In: World & Jongautchariyakul, S. (2000). The Conference on Paleontology and earliest known sauropod dinosaur, Stratigraphy, November 28, 2011. Nature, 407, 72-74. Nakhon Rachasima: Nakhon Buffetaut, E., Suteethorn, V. & Tong, H. Rachasima Rajabhat University. (2009). An early 'ostrich dinosaur' Hall, B. K. (2011). Evolution Principles (: ) and Process. Boston: John and from the Early Cretaceous Sao Khua Bartlett. Formation of NE Thailand. Hickman, C. P., Roberts, L. S. & Larson, A. Geological Society, 315, 229-243. (2001). Integrated Principle of Buffetaut E & Suteethorn V. (2011). A Zoology (11th ed). Boston: McGraw- new Iguanodontian dinosaur from Hill. the Khok Kruat Formation (Early Kardong, K. V. (2008). An Introduction to Cretaceous, ) of northeastern Biological Evolution. (2nd ed). Thailand. Annales de Paléontologie, Boston: McGraw-Hill. 97, 51-62. Keller, G., Sahni, A. & Bajpai, S. (2009). Buffetaut, E., Suteethorn, S., Suteethorn, Deccan volcanism, the KT mass V., Deesri, U. & Tong, H. (2013). extinction and dinosaurs. Journal of Preliminary note on a small Biosciences, 34, 709-728. Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 11

Laojumpon, C., Deesri, U., Khamha, S., Thailand. Comptes Rendus de l’ Wattanapituksakul, A., Lauprasert, K., Academie des Science de Paris, Suteethorn, S. & Suteethorn, V. 319, 1085-1092. (2013). New vertebrate-bearing Olsen, P. E. (1999). Giant lava flows, localities in the Triassic of Thailand. mass extinctions, and mantle Journal of Science and Technology plumes. Science, 23, 604-605. Mahasarakham University, 33, 335- Shibata, M., Jintasakul, P. & Azuma, Y. 343. (2011). A New Iguanodontian Li, L., & Keller, G. (1998). Abrupt deep- Dinosaur from the Lower sea warming at the end of the Cretaceous Khok Kruat Formation, Cretaceous. Geology, 26, 995-998. Nakhon Ratchasima in Northeastern le Loeuff, J., Saeyamoon, T., Suteethorn, Thailand. Acta Geologica Sinica, 85, V., Khansubha, S. & Buffetaut, E. 969–976. (2005). Vertebrate footprint of Shibata, M., Jintasakul, P., Azuma, Y. & Yu, Southeast Asia (Thailand and Laos): H. (2015). A new basal Hadrosauroid a review. International Conference dinosaur from the lower Cretaceous on Geology, Geotechnology and Khok Kruat formation in Nakhon Mineral Resources of Indochina Ratchasima province, northeastern (GEOINDO 2005). November, 28-30, Thailand. Plos One, 10, e0145904. 2005. Khon Kaen: Department of Suteethorn, S., le Loeuff, J., Buffetaut, E., Geotechnology, Faculty of Suteethorn, V. & Wongko, K. (2013). Technology, Khon Kaen University. First evidence of a mamenchisaurid Martin, V., Buffeataut, E. & Suteethorn, V. dinosaur from the Upper Jurassic– (1994). A new of sauropod Lower Cretaceous Phu Kradung dinosaur from the of Thailand. Acta formation (Late Jurassic or early Palaeontologica Polonica, 58, 459- Cretaceous) of northeastern 469.