Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 1 ไดโนเสาร์ซอริสเชียนและออร์นิธิสเชียนในประเทศไทย Saurischian and Ornithischian Dinosaurs in Thailand ประวีรณ์ สุพรรณอ่วม1 บทคัดย่อ ไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลานโบราณมีชีวิตอยู่ในช่วงมหายุคมีโซโซอิกเมื่อ 225-65 ล้านปีก่อน ในประเทศ ไทยพบไดโนเสาร์เฉพาะถิ่นทั้งหมด 9 ชนิด ในอันดับซอริสเชียพบ 5 ชนิด ได้แก่ อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ (Isanosaurus attavapachi) ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน (Phuwiangosaurus sirindhornae) สยามโมไท แรนนัส อีสานเอนซิส (Siamotyrannus isanensis) กินรีมิมัส ขอนแก่น เอนซิส (Kinnareemimus khonkaenensis) และ สยามโมซอรัส สุธีธรนิ (Siamosaurus sueethorni) ส่วนอันดับออร์นิธิสเชียพบ 4 ชนิด ได้แก่ ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ (Psittacosaurus sattayaraki) สยามโมดอน นิ่มงามอิ (Siamodon nimngami) ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ (Ratchasimasaurus suranareae) และ สิรินธรนา โคราชเอนซิส (Sirindhorna khoratensis) การศึกษาไดโนเสาร์มีประโยชน์ช่วยในการศึกษาเปลี่ยนแปลงของโลก วิวัฒนาการ และการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ค ำส ำคัญ : ไดโนเสาร์, ซอริสเชีย, ออร์นิธิสเชีย, มีโซโซอิก, ประเทศไทย Abstract Dinosaurs were ancient reptiles that lived in Mesozoic Era 225-65 million years ago. In Thailand, 9 species of endemic dinosaurs were found. Order Saurischia was found 5 species that is Isanosaurus attavapachi, Phuwiangosaurus sirindhornae, Siamotyrannus isanensis, Kinnareemimus khonkaenensis and Siamosaurus sueethorni. Order Ornithischia was found 4 species, i.e. Psittacosaurus sattayaraki, Siamodon nimngami, Ratchasimasaurus suranareae and Sirindhorna khoratensis. The studies of dinosaurs are useful in order to understand the global changes, evolution and extinction of organisms. Keywords: Dinosaur, Saurischia, Ornithischia, Mesozoic, Thailand 1 สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อ าเภอเมือง จ.อุบลราชธานี 34000 E-mail: [email protected] 2 วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น / ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559 1. บทน า สิรินธรเน (Phuwiangosaurus sirindhornae) หลัง จากนั้น มีการส ารวจซากดึกด าบรรพ์ ไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลานโบราณชนิด ระหว่างนักธรณีวิทยาจากกรมทรัพยากรธรณี หนึ่ง ปรากฏตัวในช่วงมหายุคมีโซโซอิก (Meso- และผู้เชี่ยวชาญจากฝรั่งเศส รวมทั้งสถาบันวิจัย zoic Era) ซึ่งประกอบด้วย 3 ยุค ได้แก่ ยุคไทร ไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาค แอสซิก (Triassic Period) ที่อยู่ในช่วง 250-200 ตะวันออกเฉียงเหนือเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัย ล้านปีมาแล้ว ยุคจูแรสซิก (Jurassic Period) ที่อยู่ ราชภัฏนครราชสีมา และผู้เชี่ยวชาญจากประเทศ ในช่วง 200-145 ล้านปีมาแล้ว และยุคครีเทเชียส ญี่ปุ่น มีการส ารวจค้นพบอยู่ในหมวดหินชั้นต่างๆ (Cretaceous Period) ที่อยู่ในช่วง 145-65 ทั่วทั้งภาคอีสาน แหล่งที่พบมากที่สุด คือ ภูกุ้ม ล้านปีมาแล้ว ซึ่งยุคครีเทเชียสตอนต้นประมาณ ข้าว อ าเภอสหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นแหล่ง 130 ล้านปีมาแล้ว ได้ชื่อว่าเป็นยุคทองของ ซากดึกด าบรรพ์ไดโนเสาร์ที่สมบูรณ์ที่สุดใน ไดโนเสาร์ เพราะไดโนเสาร์มีวิวัฒนาการมาก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่สุด และมีความหลากหลายมากที่สุดด้วย จนกระทั่งเมื่อ 65 ล้านปีก่อน ไดโนเสาร์ได้สูญ 3. การจัดจ าแนกไดโนเสาร์ พันธุ์ไปหมดจากโลกนี้ เหลือเพียงทายาทของ ไดโนเสาร์ซึ่งก็คือนกในปัจจุบันเท่านั้น (กมล นักบรรพชีวินวิทยา (Paleontologist) แบ่ง ลักษณ์ วงษ์โก และ วราวุธ สุธีธร, 2550; กรม ไดโนเสาร์เป็น 2 อันดับ คือ อันดับซอริสเชีย ทรัพยากรธรณี, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริม (Order Saurischia) มีลักษณะกระดูกเชิงกราน สกุล โทณวณิก, 2553; วิฆเนศ ทรงธรรม, 2554; แบบสัตว์เลื้อยคลาน มีทั้งพวกกินพืชและกินสัตว์ Buffetaut, Suteethorn, Suteethorn, Deesri กับอีกกลุ่มหนึ่ง คือ อันดับออร์นิธิสเชีย (Order & Tong, 2013) Ornithischia) พวก ออร์นิธิสเชียนมีกระดูกเชิง กรานแบบนก ซึ่งเป็นพวกกินพืชทั้งหมด 2. การส ารวจไดโนเสาร์ในประเทศไทย ไดโนเสาร์ซอริสเชียน จัดแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเทอโรพอดส์ (Theropods) เป็นกลุ่มกิน ซากดึกด าบรรพ์ของไดโนเสาร์ในประเทศ เนื้อ มีฟันแหลม เล็บแหลม ขาหลังใหญ่ ขาหน้า ไทยมีการขุดค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2519 ที่อ าเภอ เล็ก เดินด้วยสองเท้า แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ขณะส ารวจแร่ยูเรเนียม กลุ่มซีลูโรซอร์ (Coelurosaur) ที่มีขนาดเล็ก ภายหลังเมื่อให้ผู้เชี่ยวชาญจากฝรั่งเศสตรวจสอบ พวกนี้วิวัฒนาการกลายเป็นนกในปัจจุบัน และ พบว่า เป็นกระดูกต้นขาของไดโนเสาร์กินพืช กลุ่มคาร์โนซอร์ (Carnosaur) ที่มีขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่ ภายหลังได้ชื่อว่า ภูเวียงโกซอรัส ส่วนอีกกลุ่ม หนึ่ง คือ กลุ่มซอโรพอดส์ Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 3 (Sauropods) ซึ่งเป็นกลุ่มกินพืช เดินสี่เท้า มี เกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ขนาดใหญ่ คอยาว หางยาว หัวเล็ก ราชกุมารี ผู้ทรงสนพระทัยและติดตามงาน ส่วนไดโนเสาร์ออร์นิธิสเซียนนั้น จัดแบ่งเป็น 5 ส ารวจวิจัยไดโนเสาร์มาโดยตลอด แหล่งที่พบ กลุ่ม คือ กลุ่มสเตโกซอร์ (Stegosaur) เป็นไดโนเสาร์ มากที่สุด คือ ภูกุ้มข้าว จ.กาฬสินธุ์ ที่มีแผงหลัง เดินสี่เท้า กลุ่มออนิโธพอดส์ (Orni- thopods) เป็นไดโนเสาร์กินพืช ที่เดินด้วยสอง ขาหลังได้ กลุ่มเซอราทอปเชียน (Ceratopsian) เป็นไดโนเสาร์มีเขา เดินสี่เท้า กลุ่มแองกิโลซอร์ (Ankylosaur) เป็นไดโนเสาร์หุ้มเกราะ เดินสี่เท้า กลุ่มพาคีเซปฟาโลซอร์ (Pachycephalosaur) เป็นไดโนเสาร์หัวแข็ง เดินสองเท้า (Hickman, ภาพที่ 1 Phuwiangosaurus sirindhornae Roberts & Larson, 2001; Buffetaut et al., (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ 2013) และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก, 2553) 4. ไดโนเสาร์ในประเทศไทย 2) อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ (Isano- ประเทศไทยพบไดโนเสาร์เฉพาะถิ่น 8 ใน saurus attavapachi) (Buffetaut, Sutee- อันดับซอริสเชียพบ 5 ชนิด และอันดับออร์-นิธิส thorn, Cuny, Tong, le Loeuff, Khansubha เชียพบ 3 ชนิด ดังนี้ & Jongautchariyakul, 2000) (ภาพที่ 2) เป็น 1) ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน (Phuiango- บรรพบุรุษไดโนเสาร์ซอโรพอด ค้นพบในชั้นหิน saurus sirindhornae) (Martin, Buffetaut & หมวดหินน้ าพอง ที่ อ าเภอหนองบัวแดง จังหวัด Suteethorn, 1994) (ภาพที่ 1) เป็นไดโนเสาร์ ชัยภูมิ พบในช่วงปลายยุคไทรแอสซิก ประมาณ ซอโรพอดชนิดแรกที่พบในประเทศไทย เป็น 210 ล้านปีมาแล้ว พบชิ้นส่วนกระดูกต้นขาและ ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ความยาวประมาณ อื่น ๆ แสดงลักษณะของไดเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ 15-20 เมตร เดิน 4 ขา คอยาว หางยาว พบ เดิน 4 ขา คอยาว หางยาว มีขนาดประมาณ 16 กระดูกเป็นจ านวนมากในชั้นหินทราย ยุคครีเท เมตร เป็นไดโนเสาร์สกุลใหม่ชนิดใหม่ ตั้งชื่อเป็น เชียสตอนต้น ประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว พบ เกียรติแก่ นายปรีชา อรรถวิภัชน์ อดีตอธิบดีกรม ครั้งแรกที่ อ าเภอภูเวียง จ.ขอนแก่น พ.ศ. 2519 ทรัพยากรธรณี ผลการศึกษาวิจัยพบว่าเป็นไดโนเสาร์ สกุลใหม่และ ชนิดใหม่ของโลก จึงได้ตั้งชื่อเพื่อเฉลิมพระ 4 วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น / ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559 เป็นไดโนเสาร์ที่มีรูปร่างคล้ายนกกระจอกเทศ ขนาด 3 เมตร รูปร่างปราดเปรียว กินได้ทั้งพืช และสัตว์ อายุประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว พบ กระดูกหลายชิ้น เช่น กระดูกหัวหน่าว กระดูกขา หลังท่อนล่าง กระดูกน่อง กระดูกฝ่าเท้า และ กระดูกนิ้ว ผลการศึกษาพบว่าเป็นสกุลและชนิด ภาพที่ 2 Isanosaurus attavapachi ใ ห ม่ แ ล ะ ไ ด้ ตั้ ง ชื่ อ ว่ า Kinnareemimus (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ khonkaenensis ซึ่งมาจากชื่อ กินรี เป็น และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก, 2553) สิ่งมีชีวิตในเทพนิยายของไทย และขอนแก่นเอน ซิสมาจากชื่อสถานที่ค้นพบ คือ จังหวัดขอนแก่น 3) สยามโมไทแรนนัส อีสานเอนซิส (Siamo- tyrannus isanensis) (Buffetaut, Suteethorn & Tong, 1996) (ภาพที่ 3) เป็นไดโนเสาร์เทอโร พอดขนาดใหญ่พวกคาร์โนซอร์ กินเนื้อเป็น อาหาร มีขนาดล าตัว 6.5 เมตร เดินด้วยสองขา หลังขนาดใหญ่ ขาหน้าเล็กสั้น คอสั้น หัว กะโหลกขนาดใหญ่ ฟันคมเหมือนใบมีด พบซาก ภาพที่ 3 Siamothyrannus isanensis กระดูกหลายชิ้น ประกอบด้วย กระดูกสันหลัง (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ กระดูกสะโพก และกระดูกหาง อายุประมาณ และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล 130 ล้านปีมาแล้ว ผลการศึกษาวิจัย พบว่า เป็น โทณะวณิก, 2553) ไดโนเสาร์สกุลใหม่และชนิดใหม่ของโลก จึงตั้ง ชื่อใหม่ว่าสยามโมไทแรนนัส อีสานเอนซิส ซึ่ง แปลว่า ไทแรนโนซอรัสแห่งประเทศไทยที่มีถิ่น ก าเนิดที่ภาคอีสาน ไดโนเสาร์ชนิดนี้คาดว่าเป็น บรรพบุรุษของทีเร็กซ์ (T-rex) 4) กินรีมิมัส ขอนแก่นเอนซิส (Kinnaree- mimus khonkaenensis (Buffetaut, Sutee- ภาพที่ 4 Kinnareemimus khonkaenensis thorn & Tong, 2009) (ภาพที่ 4) เป็นไดโนเสาร์ (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ เทอโรพอดพบในหินทรายหมวดหินเสาขัวยุคครี และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก, 2553) เทเชียสที่อุทยานแห่งชาติภูเวียง จังหวัดขอนแก่น Koch Cha Sarn Journal of Science / Vol.38 No.2 July-December 2016 5 5) สยามโมซอรัส สุธีธรนิ (Siamosaurus มาแล้ว จัดเป็นชนิดใหม่ ชื่อ ซิตตะโกซอรัส สัต suteethorni) (Buffetaut & Ingavat, 1986) ยารักษ์กิ เพื่อเป็นเกียรติแก่ นายนเรศ สัตยา (ภาพที่ 5) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดกินเนื้อ รักษ์ นักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ผู้ค้นพบ ขนาดใหญ่ ขนาด 8-9 เมตร พบฟันที่มีลักษณะ ไดโนเสาร์ชนิดนี้ เป็นรูปทรงกรวยคล้ายฟันจระเข้ พบหลายแห่ง ในชั้นหินยุคครีเทเชียสตอนต้น อายุประมาณ 130-120 ล้านปีมาแล้ว ผลการวิจัย พบว่า เป็น ไดโนเสาร์สกุลใหม่และชนิดใหม่ จึงตั้งชื่อว่า สยามโมซอรัส สุธีธรนิ โดยตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติ แก่ ดร.วราวุธ สุธีธร ซึ่งบุคคลส าคัญในการศึกษา ซากดึกด าบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลังในประเทศ ไทย ภาพที่ 6 Psittacosaurus sattayaraki (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล โทณะวณิก, 2553) 7) สยามโมดอน นิ่มงามอิ (Siamodon nim- ngami) (Buffetaut & Suteethorn, 2011) (ภาพที่ 7) เป็นไดโนเสาร์ในกลุ่มอีกัวโนดอน ไม่ ทราบขนาด คาดว่าปรากฏขึ้นในเอเชียมาแล้ว ภาพที่ 5 Siamosaurus sueethorni (ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ แล้วจึงกระจายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ของโลก กิน และสิ่งแวดล้อม, 2544; วราวุธ สุธีธร และเสริมสกุล พืชเป็นอาหาร พบชิ้นส่วนกระดูกขากรรไกรบน โทณะวณิก, 2553) ด้านซ้าย ฟันจากขากรรไกรบนเดี่ยว ๆ 1 ซี่ และ กระดูกส่วนสมองด้านท้ายทอย จากแหล่งขุดค้น 6) ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ (Psittaco- บ้านสะพานหิน ต าบลสุรนารี อ าเภอเมือง saurus sattayaraki) (Buffetaut & Sutheethorn, จังหวัดนครราชสีมา โดย นายวิทยา นิ่มงาม พบ 1992) (ภาพที่ 6) ไดโนเสาร์กินพืชขนาดเล็กกลุ่ม ฟันและกระดูกไดโนเสาร์ ในหินกรวดมนปนปูน เซอราทอปเชียน ปากเป็นจะงอยคล้ายปาก ยุคครีเทเชียสตอนต้น มีอายุประมาณ 100 ล้าน นกแก้ว มีความยาว 1 เมตร เดินสองขา โดยพบ ปีมาแล้ว ชิ้นส่วนกรามจาก จังหวัดชัยภูมิ
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages11 Page
-
File Size-