Book 10 No2.Indd
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
วารสารศรีวนาลัยวิจัย สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี บทบรรณาธิการ วารสารศรีวนาลัยวิจัย ได้จัดท าขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลงานของคณาจารย์ นักวิจัยและบุคลากรทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่ผู้เกี่ยวข้องได้น าไปใช้ประโยชน์ โดยเปิดรับบทความทางด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีก าหนดออกปีละ 2 ครั้ง คือ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน และฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม ของทุกปี โดยวารสารฉบับนี้เป็นฉบับที่ 2 ของปีที่ 10 ซึ่งการด าเนินงานของวารสาร ยังคงตระหนักถึงคุณภาพตามที่ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ก าหนดไว้โดยยังคงนโยบายในการเผยแพร่ ผลงานวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กองบรรณาธิการวารสารศรีวนาลัยวิจัย ได้รวบรวมและคัดกรองบทความวิจัย บทความทางวิชาการ บทความปริทัศน์และบทวิจารณ์หนังสือจากนักเขียนและนักวิจัยจากทั่วประเทศเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ศรีวนาลัยวิจัย จ านวนทั้งสิ้น 13 บทความ กองบรรณาธิการขอขอบคุณผู้เขียนทุกท่านที่ส่งบทความมาเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร ขอขอบพระคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขบทความให้มีความถูกต้อง (Peer review) ขอขอบคุณ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่ให้การสนับสนุนการจัดท าวารสารศรีวนาลัยวิจัยฉบับนี้ให้เสร็จ สมบูรณ์ด้วยดี กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่า องค์ความรู้จากบทความวิจัยและบทความวิชาการในวารสาร ศรีวนาลัยวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2563 จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อ่านและผู้สนใจ ส าหรับท่านผู้สนใจต้องการส่งบทความเผยแพร่ในวารสารศรีวนาลัยวิจัย สามารถส่งมายังกองบรรณาธิการวารสาร ศรีวนาลัยวิจัย หรือดูรายละเอียดการส่งบทความได้ที่เว็บไซต์ของวารสาร http://www.journalrdi.ubru.ac.th กองบรรณาธิการ บทบรรณาธิการบทบรรณาธิการ วารสารศรีวนาลัยวิจัย ได้จัดท าขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลงานของคณาจารย์ นักวิจัยและบุคลากรทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่ผู้เกี่ยวข้องได้น าไปใช้ประโยชน์ โดยเปิดรับบทความทางด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีก าหนดออกปีละ 2 ครั้ง คือ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน และฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม ของทุกปี โดยวารสารฉบับนี้เป็นฉบับที่ 2 ของปีที่ 10 ซึ่งการด าเนินงานของวารสาร ยังคงตระหนักถึงคุณภาพตามที่ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ก าหนดไว้โดยยังคงนโยบายในการเผยแพร่ ผลงานวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กองบรรณาธิการวารสารศรีวนาลัยวิจัย ได้รวบรวมและคัดกรองบทความวิจัย บทความทางวิชาการ บทความปริทัศน์และบทวิจารณ์หนังสือจากนักเขียนและนักวิจัยจากทั่วประเทศเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ศรีวนาลัยวิจัย จ านวนทั้งสิ้น 13 บทความ กองบรรณาธิการขอขอบคุณผู้เขียนทุกท่านที่ส่งบทความมาเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร ขอขอบพระคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขบทความให้มีความถูกต้อง (Peer review) ขอขอบคุณ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่ให้การสนับสนุนการจัดท าวารสารศรีวนาลัยวิจัยฉบับนี้ให้เสร็จ สมบูรณ์ด้วยดี กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่า องค์ความรู้จากบทความวิจัยและบทความวิชาการในวารสาร ศรีวนาลัยวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2563 จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อ่านและผู้สนใจ ส าหรับท่านผู้สนใจต้องการส่งบทความเผยแพร่ในวารสารศรีวนาลัยวิจัย สามารถส่งมายังกองบรรณาธิการวารสาร ศรีวนาลัยวิจัย หรือดูรายละเอียดการส่งบทความได้ที่เว็บไซต์ของวารสาร http://www.journalrdi.ubru.ac.th กองบรรณาธิการ สารบัญ บทความวิจัยสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้า การศึกษากระบวนการสอนการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้โครงงานเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา 1 ฐานิยา ทองไทย, จุฑามณี ทิพราช การพัฒนาการเรียนก�าหนดการเชิงเส้นโดยใช้ทักษะในศตวรรษที่ 21 11 สมถวิล ขันเขตต์ การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาหลักสูตรภาษาไทย เพื่อการสื่อสารส�าหรับนักเรียน โรงเรียน 21 ต�ารวจตระเวนชายแดน ศาสตราจารย์ดอกเตอร์เนวิน สคริมซอว์ต�าบลคอแลน อ�าเภอบุณฑริก จังหวัด อุบลราชธานี ปิยาพัชญ์ นิธิศอัครานนท์, อมรรัตน์ พันธุ์งาม, ปิยาภรณ์ พุ่มแก้ว, สุมลรัตน์ ไกรสรสวัสดิ์, ปรีดา กังแฮ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาวบรูบ้านท่าล้งและ 31 บ้านเวินบึก อ�าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม มานิตย์ โศกค้อ การศึกษาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมตามล�าแม่น�้ามูลเส้นทางวัดคูเดื่อ-วัดปากน�้า 47 บุ่งสระพัง จังหวัดอุบลราชธานี กันย์สินี จาฏุพจน์ การศึกษากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยใบไม้พรรณพื้นเมืองอีสาน 57 ในเชิงพาณิชย์ เผ่าไทย วงศ์เหลา การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลต�าบลกุดชุมพัฒนา อ�าเภอกุดชุม 69 จังหวัดยโสธร ศิริภัทธา พลมาตร, อรนันทร์ กลันทปุระ การออกแบบและพัฒนาชุดเฟอร์นิเจอร์บ้านห้วยขะยุงด้วยวัสดุธรรมชาติจากเถาวัลย์ 83 คณาธิศ เนียมหอม, อรอุมา เนียมหอม, เจษฎา สายสุข ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจ ที่มีต่อการใช้เกมแบบจ�าลองสถานการณ์ (Beer Game) 93 ในการเรียนการสอนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกซ์และห่วงโซ่อุปทาน รัญชิดา ดาวเรือง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย 107 จังหวัดกรุงเทพมหานคร สมพร ศรีทอง, อรนันท์ กลันทปุระ สารบัญ (ต่อ) หน้า การศึกษาการรับรู้ของผู้บริโภคและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคที่ออกแบบเพื่อ 121 สิ่งแวดล้อม ในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี บุษยมาส ชื่นเย็น การพัฒนาทักษะการเขียนแผนบันทึกทางการพยาบาลในชุมชน โดยใช้ผังความคิด (Mind mapping) 137 ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประกายรุ่ง จวนสาง การศึกษาข้อมูลนักเรียนในการเข้าศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปีการศึกษา 2557-2560 153 บุญเย็น ทองค�า, มารศรี แนวจ�าปา, ศุภมิตร พิมพ์ศรี วารสารศรีวนาลัยวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2563 1 การศึกษากระบวนการสอนการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้โครงงานเป็นฐาน ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา A Study of the Process of Teaching English Reading Based on STEM- Based Project Learning ฐานิยา ทองไทย1*, จุฑามณี ทิพราช2 Taniya Thongtai1*, Jutamanee Tipparach2 1สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 2สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 1Department of English, Faculty of Education, Ubon Ratchathani Rajabhat University, Mueang District, Ubon Ratchathani Province, 34000 2Department of Business English, Faculty if Humanitues and Sicial Sciences, Ubon Ratchathani Rajabhat University, Mueang District, Ubon Ratchathani Province, 34000 *Corresponding author; E-mail: [email protected] บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานตามแนวคิด สะเต็มศึกษา 2) เพื่อพัฒนากระบวนการสอนการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้โครงงานเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา โดยการประเมินทักษะของผู้เรียน และ 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย แผนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาจ านวน 30 คน ชั้นปีที่ 3 สาขาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านและเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 2) แบบ ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3) แบบประเมินผลการ เรียนรู้ทักษะทั้ง 4 ทักษะ หลังใช้ STEM คือ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะในการประดิษฐ์สร้างสรรค์งาน ทักษะในการ ช่วยเหลือตัวเอง ทักษะการคิดอย่างมีเหตุและผล และ 4) ข้อสอบ Pre-test และPost-test ของเนื้อหาในรายวิชา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์การสอนตามแนวคิดสะเต็มศึกษา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนการสอนตามโครงงานตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินแผนการสอน พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้หลังปรับตามโครงงานตามแนวคิดสะเต็ม ศึกษาทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านวิธีการสอน ด้านการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ อยู่ใน ระดับ “มาก” 2 JOURNAL OF SRIVANALAI VIJAI Vol. 10 No. 2 July - December 2020 2. ผลการพัฒนากระบวนการสอนการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้โครงงานเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา โดยการประเมินการพัฒนาทักษะของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะที่สูงสุด คือ ทักษะการช่วยเหลือตัวเอง รองลงมาเป็นทักษะการประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์ ล าดับที่ 3 คือ ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล และ ล าดับที่ 4 คือ ทักษะการแก้ปัญหา 3. นักศึกษาที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนการสอนตามโครงงานตามแนวคิดสะเต็มศึกษามีคะแนน ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ค าส าคัญ: การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ, โครงงานเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา ABSTARCT This research aimed 1) to develop a course syllabus based on the STEM-Based project, 2) to develop the process of teaching English reading based on the STEM-Based project by evaluating the students’ skills, and 3) to compare learning achievement: before and after learning by using the course syllabus based on the STEM-Based project. The samples were 30 students studying in the third year in the English major, the faculty of Education, Ubon Ratchathani Rajabhat University. They were selected by simple random sampling. The research instruments were 1) the course syllabus of the academic reading and writing 1, 2) the evaluation form of the course syllabus of the academic reading and writing 1, 3) the evaluation form of the four skills of the students after being taught by the course syllabus based on the STEM-Based project: problem-solving, creative, self-help, and rational thinking skills, and 4) pre-test and post-test of the academic reading and writing 1. The statistics used to analyze data were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows. 1. The results of the evaluation of the course syllabus based on the STEM-Based project indicated that all of the three aspects: teaching methods, learning measurement and evaluation, and lesson plans were at the high levels. 2. The results of the development of the process of the teaching English reading based on the STEM-Based project by evaluating the development of the learning skills of the students showed that the students’ skills developed in the highest level was the self-help skill, followed by the creative skill, the rational