Greenline27.Pdf
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
กันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009 1 GL27-VA.indd 1 3/2/10 4:49 PM 2 กันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009 บรรณาธิการที่ปรึกษา: อรพินท์ วงศ์ชุมพิศ, ธเนศ ดาวาสุวรรณ์, รัชนี เอมะรุจิ ฉบับที่ 27 กันยายน – ธันวาคม 2552 บรรณาธิการอำนวยการ: สากล ฐินะกุล No. 27 September - December 2009 บรรณาธิการบริหาร: สาวิตรี ศรีสุข กองบรรณาธิการ: ศรชัย มูลคำ, ภาวินี ณ สายบุรี, จงรักษ์ ฐินะกุล, จริยา ชื่นใจชน, ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา นันทวรรณ เหล่าฤทธิ์, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ผกาภรณ์ ยอดปลอบ, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นุชนารถ ไกรสุวรรณสาร 49 พระราม 6 ซอย 30 ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-298-5628 โทรสาร 02-298-5629 บรรณาธิการภาษาอังกฤษ: วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม www.deqp.go.th, www.environnet.in.th ผู้ช่วยบรรณาธิการ: แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา เลขานุการกองบรรณาธิการ: ศิริรัตน์ ศิวิลัย Publisher ผู้จัดทำ: หจก.สำนักพิมพ์ทางช้างเผือก Department of Environmental Quality Promotion 63/123 ซอยราษฎร์พัฒนา 5 Ministry of Natural Resources and Environment แยก 23 แขวง/เขตสะพานสูง 49 Rama VI Soi 30, Rama VI Rd., Bangkok 10400 กทม 10240 Tel. 02-298-5628 Fax. 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th โทรศัพท์ 02-917-2533, 02-517-2319 โทรสาร 02-517-2319 E-mail: [email protected] Editorial Advisers: Orapin Wongchumpit, Thanate Davasuwan, Ratchanee Emaruchi Editorial Director: Sakol Thinagul Executive Editor: Savitree Srisuk ลิขสิทธิ์บทความ สงวนสิทธิ์โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Editorial Staff: Sornchai Moonkham, ลิขสิทธิ์ภาพถ่าย สงวนสิทธิ์โดยผู้ถ่ายภาพหรือเจ้าของภาพ Pavinee Na Saiburi, Chongrak Thinagul, การพิมพ์หรือเผยแพร่บทความซ�้าโดยไม่ใช่เพื่อการพาณิชย์ สามารถท�าได้โดยอ้างอิงถึงกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม Jariya Chuenjaichon, การพิมพ์เพื่อเผยแพร่ภาพถ่ายซ�้า ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ Nantawan Lourith, ก่อนเท่านั้น Pagaporn Yodplob, บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนี้ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน เพื่อเผยแพร่ Nuchanard Kraisuwansan การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่หลากหลาย English Edition Editor: Wasant Techawongtham Text copyright by the Department of Environmental Assistant Editor: Maenwad Kunjara Na Ayuttaya Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and Editorial Secretary: Sirirat Siwilai Environment. Photographs copyright by photographers or right owners. Producer: Milky Way Press Limited Aricles may be reproduced or disseminated for non- Partnership commercial purposes with cited credit to the Department 63/123 Soi Rat Pattana 5, of Environmental Quality Promotion. Sub-soi 23, Saphan Sung, Bangkok 10240 Reproduction of photographs must be by permission of right owners only. Tel: 02-917-2533, 02-517-2319 Fax: 02-517-2319 Opinions expressed in the articles in this journal are the authors’ to promote the exchange of diverse points of view. e-mail: [email protected] GL27-VA.indd 2 3/2/10 4:49 PM บรรณาธิการ EDITORIAL ก่อนหมอกเช้าจะจางหาย เด็กชายก็ แบกกระด้งที่มีห่อหมกอยู่ราว 30 ห่อ มาวางขายในตลาดมอญแล้ว ห่อหมกใบเท่าฝ่ามือเหล่านี้เป็นยายที่ลุกขึ้นมาเก็บผักพื้นบ้าน เข้าครัวท�าตั้งแต่พระอาทิตย์ยังไม่ขึ้น ข้างในใบตองที่ห่อหุ้มและกลัด ด้วยไม้ไผ่เล็กๆ อย่างปราณีตมีผักมีปลารสชาติเอร็ดอร่อยราคาซื้อหา เพียงห่อละ 5 บาท หากวันนี้ขายได้ทั้งหมดจะได้เงิน 150 บาท เท่านั้น เงินจ�านวนนี้ไม่อาจน�ามาเปรียบเทียบกับรายได้ของคนค้าขายใน ตลาดใหญ่หรือผู้ประกอบการท่องเที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรีอันเลื่อง ชื่อ แต่เด็กชายกับคุณยายดูมีความสงบสุขและพึงพอใจในชีวิต แม้ พวกเขาจะถูกย้ายถิ่นฐานเดิมจากการสร้างเขื่อนศรีนครินทร์ แต่พวก เขายังยืนยันจะใช้ชีวิตที่ใกล้ชิดและเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติในถิ่น ใหม่ โดยไม่อนาทรร้อนใจไปกับความรวนเรของระบบเศรษฐกิจกระแส หลัก พวกเขาพอมีพอกินและใช้ชีวิตอย่างเป็นสุขไปตามอัตภาพ ปีเศษที่ผ่านมา เด็กชายยังคงขายห่อหมกด้วยรอยยิ้มเช่นทุกวัน ในขณะที่โลกต้องตกตะลึงกับข่าว “โรคแฮมเบอร์เกอร์” จากวิกฤต ชีวิตเรียบง่ายและมีสุขของเด็กชายขายห่อหมกในหมู่บ้านมอญ อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี ทางการเงินในอเมริกาที่ฉุดเศรษฐกิจทั่วโลกให้ดิ่งวูบจนรัฐบาลประเทศ A boy, leading a simple and contented life, sells steamed fish curry paste ต่างๆ ต้องทุ่มเงินงบประมาณ เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายและบริโภค ด้วย custard at a Mon village in Sangkhla Buri district of Kanchanaburi province หวังว่าในช่วงระยะหนึ่งจะพยุงระบบเศรษฐกิจของตนเอาไว้ได้ นักคิดปัญญาชนและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเชื่อว่าระบบ คล้ายกันคือการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนกว่า โดยมีผลกระทบต่อ ทุนนิยมที่เผาผลาญทรัพยากรธรรมชาติอย่างมากมายตั้งแต่ยุคปฏิวัติ ธรรมชาติน้อยที่สุด อุตสาหกรรมก�าลังถึงคราวเสื่อมสลาย หลายคนและกลุ่มคณะได้ ซึ่งหากมนุษย์สามารถเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างวิถีชีวิตของ เสนอแนวคิดอื่นๆ เช่น เศรษฐกิจสีเขียว เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจ ตนเองกับวิถีทางตามธรรมชาติได้อย่างสมดุล ความหวังว่าผู้คนใน แนวพุทธ หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมแห่งประชาชาติ โดยมีจุดมุ่งหมาย โลกจะมีความสุขเพิ่มขึ้นก็อาจจะเป็นจริงขึ้นมาได้ ven before the morning mist had dissi- The boy still tended to his business unfailingly pated, the boy was already sitting beside everyday even as the world was all shook up with the a threshing basket containing some 30 news from the economic superpower USA about the so- packs of haw mok (steamed fish with called “Hamburger Disease”, a financial bubble burst, curry paste) in the Mon market. over a year ago. Nearly all countries have dumped huge His grandma rose before sunrise to amounts of money into their own economies to stimulate prepare the ingredients, cook and wrap them neatly with E consumption, hoping to fend off the shock wave. banana leaves. The tasty steamed fish sold for five baht Many intellectuals and economists believe that the (14 US cents) a pack. The boy would make about 150 capitalist system that has plundered natural resources to baht if they sold out. His earning could not compare to that made by the a great degree since the Industrial Revolution is facing merchants in the big market or business operators in the its own demise. Many have already proposed alternative tourist town of Kanchanaburi where he stays. But the economic models, such as the green economy, sufficiency boy and his grandma seem happy and content with their economy, Buddhist economy, and the Gross National lives even though they had been uprooted when the Sri- Happiness Index, with a similar goal of attaining a more nagarindra Dam was built. Living close to and being one sustainable economy with minimum impact on nature. with nature, they are unworried by the wildly fluctuating If man could seamlessly weave his way of life with economy. They are happy enough with their sufficient the way of nature, the hope that people in this world way of life. would lead a happier life may just well come true. GL27-VA.indd 3 3/2/10 4:49 PM 4 สารบัญกันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009 CONTENTS ลอดรั้วริมทาง: ซื้อ-ขาย อย่างเป็นธรรม ON AN UNBEATEN PATH: 6 Fair Trade at Organic Weekend Markets 6 เส้นทางสู่เศรษฐกิจเขียว Towards Green Economy 12 ปรัชญา-แนวคิดทางเศรษฐกิจ ในวิกฤตสิ่งแวดล้อม The Economic Paradigm in the Midst of Environmental Crisis 22 12 เส้นทางสายใหม่: “เงิน” ไม่ใช่ค�าตอบที่ ตลาดร้อยปี สามชุก ON A NEW PATH: Money is Not the Answer… The Samchuk Market’s Story 32 12 เส้นทางสีเขียว: เมื่อชุมชน ไม่ต้องใช้เงินตรา GREEN LINE: Currency of Hope 38 22 GL27-VA.indd 4 3/2/10 4:49 PM กันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009 5 43 เส้นทางเดียวกัน: อาศรมวงศ์สนิท หนึ่งใจ ในความสุข ON A SAME PATH: One Happy Heart at the Wongsanit Ashram 43 สัมภาษณ์พิเศษ SPECIAL INTERVIEWS: • จิตวิญญาณในเศรษฐกิจ ในทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ • Spirituality in Economics According to 47 S. Sivaraksa 47 • เศรษฐกิจสีเขียว: เปิดโลกกว้างแห่งทัศนะ ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ • Green Economy: Expanding the Horizon Nithi Eawsriwong 54 สี่แยกไฟเขียว: ดัชนีโลกมีสุข: เศรษฐศาสตร์กู้โลก #1 GREEN INTERSECTION: Happy Planet Index: Save-the-World Economics 101 59 54 ข้ามฟ้า: ฮิปปี้ – เส้นทางคืนสู่ธรรมชาติ และอนาคต ACROSS THE SKY: The Hippies: Journey Back to Nature and Forward 63 มหิงสา: จากวัชพืชน�้า...สู่วิถีแห่งการเพิ่มมูลค่า LITTLE MAHINGSA...YOUNG RESEARCHERS Add Values to Floating Weeds 68 กิจกรรมกรม: เศรษฐกิจเขียว เศรษฐกิจเรา DEPARTMENT ACTIVITIES Green Economy, Our Economy 71 เรื่องจากผู้อ่าน: มาบตาพุดผู้โชคร้าย FROM THE READERS: Poor Map Ta Phut 75 ล้อมกรอบ: เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาเป็นของจริง VIEWFINDERS Ngoen Thong Pen Khong Maya; 78 Khao Pla Pen Khong Jing 78 GL27-VA.indd 5 3/2/10 4:49 PM 6 ลอดรั้วริมทางกันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009on an unbeaten path ซื้อ-ขาย อย่างเป็นธรรม เรื่อง/ภาพ บานตะไท เก้าโมงเช้าแล้ว ผู้คนยังคงแวะเวียน เคยรู้จัก ไม่เคยเห็น มาเจอที่นี่แม่ค้าก็ให้ข้อมูลว่าคืออะไร เอาไปปรุง อาหารแบบไหนถือว่าได้ความรู้ไปด้วย อีกอย่างมั่นใจว่าปลอดภัยจาก เข้ามาตลาดนัดเจเจ หรือ “กาดนัด สารเคมี รสชาติดี สดใหม่แน่นอน เพราะแม่ค้า พ่อค้า คือคนปลูก เจเจ” ในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อซื้อหา คนท�าให้เรา” เธอกล่าว อาหารที่ต้องการอย่างไม่ขาดสาย “นอกจากนี้ไม่ต้องกลัวเรื่องการโก่งราคา เพราะจะมีป้ายบอก ลูกค้าหน้าใหม่รายหนึ่งเพิ่งเข้ามาเป็นขาประจ�าในตลาดแห่งนี้มา ราคากลางอยู่ตรงกลางตลาด ไว้ให้ลูกค้าได้ส�ารวจตรวจสอบ การ ได้ 2-3 เดือนจากค�าแนะน�าของเพื่อนแม่บ้าน และก็ติดใจในเสน่ห์ บริหารจัดการจะมีการประชุมประจ�าเดือน ส่วนใหญ่พูดถึงราคาสินค้า ของตลาดนัดแห่งนี้ และสิ่งที่ต้องพัฒนาเพิ่มคุณภาพมากขึ้นไปอีก ทั้งๆ ที่ส่วนใหญ่ทุกร้าน “ชอบความหลากหลายที่มีพืชผักและผลไม้ บางอย่างหายาก จะมีป้ายองค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ (มอน.) รับรอง ในตลาดทั่วไป แต่มาที่นี่ได้หมด อย่างผักพื้นเมืองบางอย่างเราไม่ อยู่แล้ว” GL27-VA.indd 6 3/2/10 4:49 PM on an unbeaten path กันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009 7 (หน้าซ้าย) ลูกค้าก�าลังเลือกซื้อกล้วยหอม และมะละกอในกาดนัดเจเจ ตลาดนัดที่ขายแต่ ผลผลิตเกษตรอินทรีย์ (Left page) Shoppers buy bananas and papayas at a stall at the JJ weekend market which offers only organic produce. ป้ายรณรงค์ที่ติดอยู่ทั่วไปในตลาด นัด เพื่อให้ผู้ซื้อลดใช้ถุงพลาสติก และลดขยะด้วยการใช้ตะกร้าจาก