Call Number วพ384.5532 น332ก ชื่อผูแตง นวลพรรณ แจมรังษี ชื่อเรื่อง การถายโยงและแฟนของรายการ "" ชื่ออื่นๆ Imitation and Fan of TV Program "Academy Fantasia" อาจารยที่ปรึกษา ผศ.ดร.อัศวิน เนตรโพธิ์แกว ปการศึกษา 2549 ISBN 974-671-518-6 สถานที่พิมพ กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย, 2550 ลักษณะ ก-ฎ, 134 แผน : ภาพประกอบ หัวเรื่อง มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย - - วิทยานิพนธ - - 2549 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย - - สาขาวิชานิเทศศาสตรสารสนเทศ - - วิทยานิพนธ - - 2549 รายการโทรทัศน - - วิจัย สื่อมวลชน - - วิจัย รายการโทรทัศนเรียลลิตี้ - - วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย - - สาขาวิชานิเทศศาสตรสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตร ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย

บทคัดยอ การวิจัยเรื่องการถายโยงและแฟนของรายการ “Academy Fantasia” มีวัตถุประสงคเพื่อที่จะ ศึกษาการถายโยงรูปแบบรายการที่มาจากตะวันตก เพื่อใหเขากับวัฒนธรรมของคนไทยและลักษณะการ ตอบสนองของแฟนที่มีตอผูเขาแขงขันรายการ “Academy Fantasia”

ผลการวิจัยพบวา รายการ “Academy Fantasia” มีการถายทอดจากทวีปหนึ่งมาสูทวีปหนึ่งและ มาสูอีกทวีปหนึ่งอยางตอเนื่อง คือ จาก Pop Idol มาเปน American Idol มาเปน มาสู Academy Fantasia ในประเทศไทย โดยยังคงรากฐานของรูปแบบรายการเดิมไว และปรับเปลี่ยนเพียงบางสวนเพื่อให เหมาะสมและเขากับวัฒนธรรมไทยใหมากที่สุด โดยไมไปทําลายโครงสรางเดิม

ลักษณะของแฟนรายการนั้นแบงออกเปน 4 ลักษณะ คือ แฟนแบบคนเดียว แฟนแบบกลุม แฟนผูหลงใหลเพียงลําพัง และแฟนผูคลั่งไคล จากลักษณะดังกลาวสามารถนํามาเปนเกณฑในการแบงประเภท ของแฟนรายการ “Academy Fantasia” ไดเปน 3 ประเภท ไดแก แฟนแท แฟนปานกลาง และแฟนธรรมดา ซึ่งแฟนแตละประเภทมีลักษณะที่แตกตางกันออกไป ดังนี้

แฟนแท พบวา เกิดขึ้นไดใน 2 ลักษณะ แฟนผูหลงใหลแตเพียงลําพัง แฟนกลุมผูคลั่งไคล ซึ่งแฟนกลุมนี้มีลักษณะการตอบสนองที่แตกตางกันออกไป ประกอบดวย ลักษณะการตอบสนองแบบ Reaction เมื่อผูเขาแขงขันที่ตนเองชื่นชอบตองออกการจากแขงขันจะรองไหในทันที ลักษณะการตอบสนองแบบ Respond โดยการสง SMS เขาไป โวยวาย ตอวา และมี Feedback โดยการอธิบายตัวเคากับตนเอง หลงใหล ชื่นชอบ เมื่อรูสึกพึงพอใจ และผิดหวังหงุดหงิด เมื่อไมเปนไปตามความคิดของตนเอง จนนําไปสูการตอตาน แฟนปานกลาง พบวา สวนใหญจะพบในลักษณะการเปนแฟนแบบกลุม และเปนแฟนที่ ติดตามชมรายการ รูสึกเสียใจ ผิดหวัง ซึมเศรา ลักษณะการตอบสนองไมรุนแรงเทากับแฟนแท มีการรวมตัวกัน และสลายตัวในทันทีที่ผูเขาแขงขันที่ตนเองชื่นชอบนั้นออกจากการแขงขัน และจะกลับมารวมกันอีกครั้งเมื่อผูเขา แขงขันที่ตนเองชื่นชอบไดกลับเขามาในเกมสการแขงขันอีกครั้ง หรือเมื่อผูเขาแขงขันที่ตนเองชื่นชอบนั้นไป เปดต ัวตามสถานที่ตางๆ

แฟนธรรมดา พบวา สวนใหญจะพบในลักษณะแฟนแบบคนเดียว เปนแฟนที่ติดตามชม รายการ เลือกรับชมรายการสืบเนื่องมาจากอิทธิพบภายนอก หรือเพียงเพราะตองผอนคลายความตึงเครียดจากการ ทํางาน และเพื่อความบันเทิงสนุกสนานเทานั้น แฟนกลุมนี้จะไมชอบการแอบมองดูผูอื่น เนื่องจากมองวาเปนเรื่อง ที่ไมเหมาะสม นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังพบวา ชองทางที่ทําใหแฟนรายการสามารถเขาถึงผูเขาแขงขันรายการ ไดนั้น 3 ลักษณะดวยกัน ดังนี้ Mobile Chart โหวตผานทาง SMS และการโหวตทางโทรศัพทหมายเลข 1900 1900 71 ทั้งหมดนี้ลวนเปนสื่อใหมที่ทางผูผลิตนํามาปรับใชในรายการ เพื่อเปดโอกาสใหผูชมไดเขามามีสวนรวมกับ รายการเพิ่มมากขึ้น และใชเปนสื่อกลางในการติดตอสื่อสารระหวางผูเขาแขงขันรายการกับผูชม

Call Number วพ384.5532 น332ก Thesis Title Imitation and Fan of TV Program "Academy Fantasia" Name Nuanphan Jamrungsee Thesis Advisor Assoc. Dr. Asawin Nedpogaeo Department Information Communication Academic Year 2006

ABSTRACT

The research of imitation and fan of TV program “Academy Fantasia” was aimed to study an imitation in style of TV program, which came from western countries that adapted to Thai culture and responding of fan to “Academy Fantasia” candidate.

The result of the research showed that the “Academy Fantasia” was continually imitated from one continent to another continent and to another continent subsequently. Starting from being Pop Idol to be American Idol and became La Academia finally became Academy Fantasia in Thailand by maintained the same style of an original program. Candidates were selected from around the country and chose 12 of them then put them together in house for 9 weeks provide concert for them to practice their show in front of people. Concert would be moved to different place in 6th week and using SMS voting. The program was adjusted some parts as much as to fit to Thai culture but not broke an original structure as consistent to theory of intertextuality that producer of program must analyze what was necessary convention need to be maintain as its genres. At the same time producer of program must know what invention was able to adapt.

Characteristic of the program fan was divided into 4 types, which were single fan, group fan, pleased single fan, and crazy fan. As the characteristic it could distinguish into 3 classes of fan which were real fan, moderate fan, and ordinary fan. Each classes of fan were explained by the following.

Real fan occurred into 2 types, it were pleased single fan and crazy group fan. The characteristic in responding to the program of this class was vary which were responding as reaction occurred when their favorite candidates were cut off they would suddenly cry. Responding as respond by sending SMS in to complained and give feedback by express their feeling when they satisfied disappointed or upset when it was not became like their expectation. Until they became resistance.

Moderate fan, most of it were group fan, they felt less disappointed, upset, and sad than characteristic in responding of real fan. They get together or separate immediately when their favorite candidates were out of the program and get together when their favorite candidates were get back to the program again or get together when their favorite candidates were appear at any show.

Ordinary fan, most of it were single fan, they followed to watch the program selected to watch program influenced from outside or just watch it for relaxation from work, for entertainment, and just for fun. This group of fan did not like to steal watching of people because it was not appropriate.

Beside, the results of the research also showed that channels which reach fan to candidate were 3 ways it were mobile chat, vote through SMS, and vote through telephone number 1900 1900 71. All of this were new way of public relation that producer of TV program brought to adapt in program to let people participate more in TV program and it was a link that connected between people and candidate.