ศาลหลักเมือง Sisaket Is Local in the Part of Northern East of Thailand
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
ศาลหลักเมือง Sisaket is local in the part of northern east of Thailand. In the north direction reached with Roi – ed province. The south direction reached with Combodia. The east direction reached with Ubonratchatani province. And the west direction reached with Surin province. This province had a total are about 8,839.97 square – kilometers. The population had been used native ethnical language are Suier Khmer Loas and Yuier. Sisaket ศรีสะเกษเป็นจังหวัดที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน เป็นชุมชนที่มีอารยธรรม province had 4 ethnical natives group are Suier Khmer Loas and Yuier, รุ่งเรืองมานับพันปี นับตั้งแต่สมัยขอมเรืองอ�านาจ ศรีสะเกษเดิมเรียกกันว่า เมืองขุขันธ์ These group have been cultivated in diversity culture and tradition for age. เมืองเก่าตั้งอยู่บริเวณบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงล�าดวน ต�าบลดวนใหญ่ (อ�าเภอวังหิน Sisaket Province divided into Muang , Kantalalom , Kantalaluk , ในปัจจุบัน) ได้รับการยกฐานะในสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยมีหลวงแก้วสุวรรณ ซึ่งได้รับ Phrangkhu , Utompornpisai , Khu – kan Rasisalai , Prai – boueng , Yangchum บรรดาศักดิ์เป็นพระยาไกรภักดีเป็นเจ้าเมืองคนแรก ล่วงถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้ย้ายเมือง – noi , Kun – han , Non – khun , Huy – tabtan , Srirattana , Boung – boon , ขุขันธ์มาอยู่ที่บ้านเมืองเก่า ต�าบลเมืองเหนือ (อ�าเภอเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน) แต่ยัง Namkleang , wang – hin , Phu – sing , Benjhalak , Pha – u , Muang – chan คงใช้ชื่อเดิมว่าเมืองขุขันธ์ จนถึง พ.ศ. ๒๔๘๑ จึงเปลี่ยนเป็นจังหวัดศรีสะเกษตั้งแต่นั้นมา , Phosrisuwan and Silalad district. จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร ทิศใต้ติดกับประเทศกัมพูชา ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดอุบลราชธานี และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดสุรินทร์ มีเนื้อที่ ทั้งหมด ๘,๘๓๙.๙๗ ตารางกิโลเมตร ประชากรใช้ภาษาลาว เขมร ส่วย เยอ และภาษา ไทยกลาง เนื่องจากจังหวัดศรีสะเกษมีกลุ่มชาติพันธุ์อาศัยอยู่ ๔ กลุ่ม ได้แก่ เขมร ลาว ส่วย เยอ ซึ่งได้สร้างศิลปวัฒนธรรมอันหลากหลายที่เป็นมนต์เสน่ห์แห่งวิถีชีวิตของชาว ศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๒๒ อ�าเภอ คือ อ�าเภอเมือง อ�าเภอกันทรารมย์ อ�าเภอกันทรลักษ์ อ�าเภอปรางค์กู่ อ�าเภออุทุมพรพิสัย อ�าเภอขุขันธ์ อ�าเภอราษีไศล อ�าเภอไพรบึง อ�าเภอยางชุมน้อย อ�าเภอขุนหาญ อ�าเภอโนนคูณ อ�าเภอ ห้วยทับทัน อ�าเภอศรีรัตนะ อ�าเภอบึงบูรพ์ อ�าเภอน�้าเกลี้ยง อ�าเภอวังหิน อ�าเภอภูสิงห์ อ�าเภอเบญจลักษ์ อ�าเภอพยุห์ อ�าเภอเมืองจันทร์ อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ และอ�าเภอศิลาลาด ข้อมูลศรีสะเกษ ตราประจ�าจังหวัด เป็นรูปปราสาทหิน 7 ชั้น และดอกล�าดวน ซึ่งหมาย ถึงปราสาทหินและปรางค์กู่ ที่มีอยู่จ�านวนมากในจังหวัด เช่น ปราสาทหินสระก�าแพงน้อย ปราสาทหินสระก�าแพงใหญ่ และ ปรางค์กู่ จนได้ชื่อว่าเป็นนครแห่งปราสาท และในพื้นที่จังหวัด ศรีสะเกษ มีต้นล�าดวนอยู่ทั่วไป ในฤดูออกดอกจะมีกลิ่นหอม มาก เมืองศรีสะเกษจึงมีชื่อเดิมว่า เมืองศรีนครล�าดวน Provincial Seal Features 7-storey stone sanctuarices (prasat in Thai terminology) Flower referring to stone prasats and Prangs (a pagoda like architecture) widely found in the province. ค�าขวัญประจ�าจังหวัด แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงล�าดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล�้าสามัคคี Provincial Slogan Sisaket, a town of Khmer-style sanctuaries, onion and garlic of hight quality, Princess Mother Park, Lamduan flowering shrubs, cultural varieties and unity. ดอกไม้ประจ�าจังหวัด ดอกล�ำดวน Provincial Flower Lamduan แผนที่เขตเทศบาล สารบัญ นายก อบจ. ชวนเที่ยว..............................1 .............................................60 การเดินทางตารางเดินรถ.............................2 ที่กิน เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ ร�าศรีพฤทเธศวร...........................................5 สินค้า OTOP จ.ศรีสะเกษ..........68 เทศกาลดอกล�าดวนบาน ของที่ระลึก......................................70 สืบสานประเพณีสี่เผ่าไทย...............................8 เทศกาลดอกฝ้ายบาน....................................9 ที่ช้อป..............................................72 วิ่งมินิมาราธอน ปราสาทภูฝ้าย..................10 เมืองใหม่ช่องสะง�า โฮมบุญข้าวใหม่ ปลามัน ลุ่มแม่น�้ามูล-ชี แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่....................73 เทิดไท้องค์ราชันย์.........................................10 กลองตุ้ม......................................................11 แข่งเรือยาว...................................................11 ที่พัก.................................................77 แซนโฎนตา.....................................................12 หมายเลขโทรศัพท์ที่ส�าคัญ...84 หวัวบุญเบิกฟ้า มหัศจรรย์ ขึ้น 3 ค�่า เดือน 3........................................13 เทศกาลงานเงาะทุเรียน..................................14 มินิ-ฮาล์ฟมาราธอน สู่....อุทยานเขาพระวิหาร...............................16 เเเเเเเเเ...เเเเเเเเเเเเเเเเเเเ ออดหลอดซอดศรีสะเกษสอดสะพานด�า......18 ที่เที่ยวอ�าเภอเมืองศรีสะเกษ..........................19 ที่เที่ยวอ�าเภอกันทรารมย์..............................30 ที่เที่ยวอ�าเภอกันทรลักษ์...............................31 ที่เที่ยวอ�าเภอขุขันธ์........................................37 ที่เที่ยวอ�าเภอขุญหาญ..................................42 ที่เที่ยวอ�าเภอบึงบูรพ์....................................45 ที่เที่ยวอ�าเภอภูสิงห์.......................................48 ที่เที่ยวอ�าเภอห้วยทับทัน................................53 ที่เที่ยวอ�าเภออุทุมพรพิสัย............................54 เทศกาลและงานประเพณีที่ส�าคัญ...................58 นายก อบจ.ชวนเที่ยว ศรีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคอีสานตอนล่าง มีประวัติ ความเป็นมายาวนานเคยเป็นชุมชนที่มีอารยธรรมรุ่งเรืองมานับพันปี นับ ตั้งแต่สมัยขอมเรืองอ�านาจ มีชนเผ่าอพยพมาตั้งรกราก ประกอบไปด้วย เผ่า ลาว เขมร ส่วย เยอ ศรีสะเกษเดิม เรียกว่า เมืองขุขันธ์ ในรัชสมัย รัชกาลที่ ๕ ได้ย้ายเมืองขุขันธ์มาอยู่ที่บ้านเมืองเก่า ต�าบลเมืองเหนือ อ�าเภอเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน แต่ยังคงใช้ชื่อว่า เมืองขุขันธ์ จนถึง พุทธศักราช ๒๔๘๑ จึงเปลี่ยนเป็นจังหวัดศรีสะเกษตั้งแต่นั้นมา จังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางโบราณสถาน วัด แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติผสมผสานกลิ่นไอของอารยธรรมสถานที่ท่องเที่ยวที่ส�าคัญ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ผามออีแดง ปราสาทหินต่าง ๆ และธรรมชาติ น�้าตกที่เกิด จากความอุดมสมบูรณ์ของเทือกเขาพนมดงรัก รวมทั้ง จุดผ่านแดนถาวรช่องสะง�า และตลาด เมืองใหม่ช่องสะง�า อ.ภูสิงห์ ซึ่งเป็นประตูการค้า และการท่องเที่ยวส�าคัญ เพราะเป็นเส้นทาง สู่สิ่งมหัศจรรย์ของโลก คือ นครวัด-นครธม ของราชอาณาจักรกัมพูชา องค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีภารกิจ หน้าที่ในการสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยว ได้เข้าไปส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่ต่าง ๆ โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีในแต่ละพื้นที่ให้คงอยู่และ เป็นเอกลักษณ์ที่ให้นักท่องเที่ยว ได้สัมผัสถึงวัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจของจังหวัด ศรีสะเกษ และเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC (Asean Economics Community) การจัดท�าหนังสือคู่มือท่องเที่ยวของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษครั้งนี้ จึงได้ ถ่ายทอดเรื่องราวและการน�าเสนอข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวจังหวัด ให้แก่นักท่องเที่ยวได้รับทราบ ข้อมูลว่าจังหวัดศรีสะเกษยังมีหลาย ๆ สิ่งที่น่าสนใจและค้นหา (นายวิชิต ไตรสรณกุล) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ SISAKET Travel Wonderland lamduan 1 เเเเดินทาง ผู้ให้บริการ / ที่ตั้ง โทรศัพท์ เส้นทาง ชนิดรถ รุ่งประเสริฐทัวร์/สถานีขนส่ง 084-9844894 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ รัตนบุรี ท่าตูม ป.1 V.I.P รถยนต์ : จากกรุงเทพฯ เดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึงจังหวัดสระบุรี เลี้ยว สตึก พิมาย นครราชสีมา กรุงเทพฯ ขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ก่อนถึงอ�าเภอสีคิ้ว เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 24 บริษัท ขนส่ง จ�ากัด/ 045-612523 ศรีสะเกษ-กรุงเทพฯ (ปราสาท นางรอง ป.1 ป.2 (โชคชัย-เดชอุดม) ผ่านอ�าเภอปักธงชัย อ�าเภอโชคชัย อ�าเภอนางรอง อ�าเภอปราสาท อ�าเภอเมืองสุรินทร์ สถานีขนส่ง ศรีสะเกษ โชคชัย สระบุรี) และ (สุรินทร์ บุรีรัมย์ เลี้ยวขวาที่สี่แยกถนนเลี่ยงเมือง ผ่านอ�าเภอศรีขรภูมิ อ�าเภอห้วยทับทัน อ�าเภออุทุมพรพิสัย ถึงตัวเมือง นครราชสีมา สระบุรี) ศรีสะเกษ รวมระยะทางประมาณ 557 กิโลเมตร กิจการราชสีมายานยนต์/ 045-612156 ศรีสะเกษ-กรุงเทพฯ (ปราสาท นางรอง ป.1 By car. From Bangkok take route 1 (Phahonyothin Rd.) Saraburi. Turn into route 2 (Mitrap- วงเวียนแม่ศรี โชคชัย สระบุรี) hap Rd.) and then follow route 24 (Choke Chai-Det Udom Rd.) to Sisaket town (557 kms). พิบูลทัวร์/สถานีขนส่งศรีสะเกษ 045-441848 ช่องเม็ก พิบูลมังสาหาร ศรีสะเกษ ป.1 ป.2 รถโดยสารประจ�าทาง : จากกรุงเทพฯ มีรถโดยสารประจ�าทางทั้งธรรมดาและปรับอากาศออกจากสถานี นครราชสีมา กรุงเทพฯ ขนส่งหมอชิต ทุกวัน โดยใช้เวลาเดินทางประมาณ 8 ชั่วโมง สงวนชัย/สถานีขนส่งศรีสะเกษ 045-241820 ศรีสะเกษ ยโสธร ร้อยเอ็ด ป.2 By bus : From Bangkok daily bus services, both ordinary and air - conditioner are available at the Northeastern Bus terminal. รถไฟ จากสถานีหัวล�าโพง และสถานีรถไฟบางซื่อ มีรถดีเซลราง รถเร็ว และรถด่วน สายกรุงเทพ – The trip take about 8 hours. อุบลราชธานี ระยะทาง 515 กิโลเมตร สอบถามตารางรายละเอียดได้ที่หน่วยบริการรถไฟศรีสะเกษ By train. Daily train services (ordinary, rapid and express) ผู้ให้บริการ / ที่ตั้ง โทรศัพท์ เส้นทาง ชนิดรถ from Bangkok to Sisaket are available. ศรีสะเกษทัวร์/สถานีขนส่ง 083-7282027 ศรีสะเกษ ปราสาท นางรอง โชคชัย ป.1 ศรีสะเกษ สระบุรี กรุงเทพฯ ผู้ให้บริการ / ที่ตั้ง โทรศัพท์ เส้นทาง ชนิดรถ สถานีรถไฟศรีสะเกษ 045-611525 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ รถท้องถิ่น, รถเร็ว, ศรีมงคลทัวร์/ 087-7282027 ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ นครราชสีมา ป.1 ป.2 บุรีรัมย์ นครราชสีมา สระบุรี รถด่วน, รถด่วนพิเศษ สถานีขนส่งศรีสะเกษ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี กรุงเทพฯ V.I.P พระนครศรีอยุธยา กรุงเทพฯ รถนั่ง / รถนอน ศิริรัตนพลทัวร์/วงเวียนแม่ศรี 045-611277 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ป.1 นครราชสีมา สระบุรี กรุงเทพฯ เครื่องบิน จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง สู่ท่าอากาศยานอุบลราชธานี นครชัยแอร์/สถานีขนส่ง 045-613191 1.ศรีสะเกษ ปราสาท นางรอง โชคชัย ป.1 ป.2 ใช้เวลาประมาน 50 นาที ซึ่งมีบริการทุกวัน ศรีสะเกษ สระบุรี กรุงเทพฯ V.I.P By plan. Daily fight services from Suvanaphumi airport 2.อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ชัยภูมิ and Donmuang airport take about 50 min. เชียงใหม่ 3.อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา ผู้ให้บริการ