รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

ชื่อโครงการ “การจัดการข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศในอาเซียน” Boundary Dispute Management in ASEAN สัญญาเลขที่ RDG5510034

โดย นายอัครพงษ์ ค่่าคูณ วันที่ 31 สิงหาคม 2558

สนับสนุนโดยส่านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ความเห็นในรายงานนี้เป็นของผู้วิจัย สกว. และต้นสังกัดไม่จ่าเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป) บทคัดย่อ

รหัสโครงการ: สัญญาเลขที่ RDG5510034 ชื่อโครงการ : การจัดการข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศในอาเซียน (Boundary Dispute Management in ASEAN) ชื่อนักวิจัยและสถาบัน: นายอัครพงษ์ ค่่าคูณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ E-mail Address: [email protected] ระยะเวลาวิจัย: 2 ปี 11 เดือน (กันยายน 2555 – สิงหาคม 2558)

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ท่าการส่ารวจข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศในอาเซียน (ยกเว้นประเทศไทย) จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งข้อพิพาทเขตแดนทางบกและทางทะเลจ่านวนทั้งสิ้น 20 คู่กรณี โดยในจ่านวนนี้มีข้อ พิพาทที่สามารถระงับได้ 13 คู่กรณี และข้อพิพาทที่ยังด่าเนินการแก้ไขอยู่ 7 คู่กรณี งานวิจัยนี้ อธิบายความ เป็นมาทางประวัติศาสตร์ของการก่าหนดและการปักปันเส้นเขตแดนระหว่างประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (ยกเว้นไทย) โดยมุ่งเน้นไปที่การส่ารวจเอกสารสนธิสัญญา อนุสัญญา ความตกลง แผนที่ และเอกสารทางกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการก่าหนดเส้นเขตแดน ซึ่งถูกจัดท่าขึ้นในยุคที่ดินแดนภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เริ่มพัฒนาขึ้นมาจากรัฐราชอาณาจักร จนกระทั่งเข้าสู่ยุคอาณานิคมซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ เอกสารและข้อตกลงส่วนใหญ่มักจะส่งผลโดยตรงต่อการก่าหนดเส้นเขตแดนและอ่านาจอธิปไตยของแต่ละรัฐ ทั้งนี้ หลังจากการได้รับเอกราชของประเทศต่างๆ ก็มีการสืบสิทธิ์ตามกฎหมายและน่าไปสู่การก่าหนดสัณฐาน ของเส้นเขตแดนในปัจจุบัน ซึ่งเอกสารและการกระท่าต่างๆ ที่เกิดขึ้นในยุคอาณานิคมได้กลายมาเป็นหลักฐาน และปัจจัยส่าคัญที่ท่าให้เกิดข้อพิพาทระหว่างรัฐที่มีพรมแดนติดกันดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ยัง ท่าการศึกษากรอบความร่วมมือที่มีบทบัญญัติเกี่ยวข้องกับการจัดการข้อพิพาทระหว่างประเทศ โดยพิจารณา จากกรอบความร่วมมือและกลไกภายในองค์กรอาเซียนจ่านวนรวม 12 กลไก และกลไกภายนอกอาเซียน จ่านวน 3 กลไก จากการศึกษาพบว่า ข้อพิพาทเขตแดนในอาเซียนสามารถแก้ปัญหาให้ยุติลงได้ด้วยปัจจัยส่าคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1.ความชัดเจนของข้อตกลงระหว่างกันของประเทศต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากเอกสารทาง ประวัติศาสตร์ เช่น สนธิสัญญา หรือแผนที่ ซึ่งทั้งสองฝ่ายยอมรับ 2.ความไว้เนื้อเชื่อใจของคู่เจรจา โดยข้อ พิพาทแต่ละกรณีมักได้รับการแก้ไขได้โดยง่ายด้วยความตกลงทวิภาคีหากมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง ประเทศ 3.รัฐบาลเองมีแนวโน้มที่จะน่าข้อพิพาทเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้านมาใช้เป็นอาวุธทางการเมืองใน ภาวะที่รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพเพียงพอ แต่ท้ายที่สุดก็ไม่สามารถจะควบคุมข้อพิพาทไม่ให้กลายเป็นประเด็น สาธารณะได้ ซึ่งหากรัฐบาลมุ่งมั่นที่จะสร้างนโยบายเพื่อการแก้ปัญหาข้อพิพาทเส้นเขตแดนอย่างแท้จริงก็ย่อม สามารถอ่านวยความสะดวกให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติท่าหน้าที่และรับผิดชอบในการเจรจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ แม้ว่ารัฐต่างๆ ในอาเซียนจะมีการน่าข้อพิพาทเขตแดนเข้าสู่กลไกระงับข้อพิพาทของศาลโลก (ICJ) แต่ในท้ายที่สุดข้อพิพาทเหล่านั้นก็ยังไม่เป็นที่ยุติได้จนถึงปัจจุบัน แต่ก็ยังสามารถท่าข้อพิพาทเหล่านั้นอยู่ใน สถานะเสมือนระงับ (semi-settlement) หรือท่าให้คู่พิพาทมีแนวทางในการจัดการความขัดแย้งได้ต่อไป

ค าส าคัญ: ข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศ (international boundary dispute) เขตแดนทางบก (land boundary) เขตแดนทางทะเล (maritime boundary) การระงับข้อพิพาท (ASEAN dispute settlement) กลไกอาเซียน (ASEAN Mechanism)

(1)

Boundary Dispute Management in ASEAN Akkharaphong Khamkhun

Abstract This study explores the boundary disputes among states in Southeast Asia (excludes Thailand) from the past up to the present. The total twenty cases of land and maritime boundary dispute, thirteen of them can be settled while another seven cases are being resolved, reveal the history of delimitation and demarcation process between the claimant states in Southeast Asia. This study aims to examine the treaties, conventions, agreements, maps, and other related official documents pertaining to the management of boundary line construction made prior and during the colonial period. The colonial period affects directly to the delimitation and demarcation of the international boundary lines that define the juridical sovereignty of Southeast Asian countries. The genesis of the boundary disputes is that after Southeast Asian countries became independence, they have inherited all related documents and used them as the basis evidences of the present-day boundary negotiation with the adjacent states. Moreover, this study also examines twelve dispute management mechanisms and frameworks under ASEAN as well as three international mechanisms outside ASEAN namely PCA, ICJ, and ITLOS. The study found that most of the boundary disputes in Southeast Asia can be settled by three factors; 1. The explicit and clearness of the boundary definitions existed in the historical official documents which the claimant states had mutual agreement since the colonial period. 2. The mutual trust between the claimant states effectively entertains the process of bilateral negotiation which also leads to the constructive international relations. 3. The government of the claimant states tends to use the international boundary disputes as a domestic political tool during the unstable situation of the government itself but at the end it becomes the uncontrollable public issues that affect to the international problem between its neighboring countries. If the government’s intention is to create the applicable policies towards the international boundary management, it will effectively facilitate the persons who are working and responsible for boundary negotiation. Many ASEAN states have brought the disputed case into the ICJ’s settlement process, nevertheless the conflict is not fully resolved, at the end, it can be considered as a semi-settlement which ICJ’s rule is a practical suggestion for another process of boundary management between the disputed states.

Keywords: international boundary dispute, land boundary, maritime boundary, dispute settlement, ASEAN Mechanism

(2)

กิตติกรรมประกาศ

ผู้เขียนขอขอบคุณส่านักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการจับตา อาเซียน (ASEAN Watch) ซึ่งมี ผศ.ดร.กิตติ ประเสริฐสุข ผู้ประสานงานโครงการที่ให้โอกาสผู้วิจัยได้รับทุนใน ครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ ศ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ผู้เป็นครูบาอาจารย์ของผู้วิจัยเสมอมาและเป็นแรงบันดาลใจ ในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านอาเซียนด้วยค่ากล่าวที่ว่า “เขตแดนของเรา เพื่อนบ้านอาเซียน ของเรา” รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่า พระจันทร์ ผู้สนับสนุนด้านหน้าที่การงานของผู้เขียนเสมอมา สว.พนัส ทัศนียานนท์ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ผอ.ดามพ์ บุญธรรม ผู้อ่านวยการกองเขตแดน กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งปัจจุบัน ด่ารงต่าแหน่งเป็นอัครราชทูตไทยประจ่ากรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่กรุณาให้ค่าแนะน่าเกี่ยวกับค่าศัพท์เทคนิคและช่วยไขข้อสงสัยเกี่ยวกับประเด็นกฎหมายระหว่างประเทศ อาจารย์สงวน คุ้มรุ่งโรจน์ ผู้ให้ค่าปรึกษาภาษาจีน ผศ.ดร.อรอนง ทิพย์พิมล ผู้ให้ค่าปรึกษาภาษาอินโดนีเซีย ดร.มรกตวงษ์ ภูมิพลับ กรรพฤทธิ์ ผู้ให้ค่าปรึกษาภาษาเวียดนาม รวมทั้ง รศ.ดร.พวงทอง ภวครพันธุ์ ที่กรุณา ส่งบทความที่เกี่ยวข้องมาให้ผู้วิจัย ที่ส่าคัญที่สุดขอขอบคุณ คุณปิยดา จูตะวิริยะ ผู้ประสานงานส่านักงาน กองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ที่อดทนกับความล่าช้าของผู้วิจัยและอ่านวยความสะดวกในการท่าวิจัยอย่าง ยอดเยี่ยม ขอบคุณคุณจิณณประภา งามแสง ค่่าคูณ เด็กชายกฤษฎ์กิติภพ (อชิ) และเด็กหญิงอังคนิภางค์ (เตรุ) ผู้เป็นทั้งก่าลังกายและก่าลังใจให้แก่ผู้เขียนเสมอมา กราบขอบพระคุณ คุณแม่ฉวีวรรณ สาธุจรัญ ผู้เป็นที่พึ่งอัน ประเสริฐของผู้วิจัยมาตั้งแต่เกิด รวมทั้งกัลยาณมิตรและผู้คนมากหน้าหลายตาที่มีส่วนร่วมกับงานวิจัยนี้ใน หลากหลายมิติ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยนี้ยังต้องได้รับการตรวจสอบจากผู้สนใจและผู้เชี่ยวชาญอีกมาก และหากมี ข้อบกพร่องประการใดผู้เขียนขอน้อมรับค่าชี้แนะและค่าติเตียนทั้งหมดไว้โดยดุษณีย์ และหากงานวิจัยนี้จะมีคุณประโยชน์ต่อแวดวงวิชาการอยู่บ้าง โปรดจดจ่าเอาไว้ในหัวใจของท่าน ผู้อ่านและผู้สนใจศึกษาว่า “Make Love Not War among ASEAN – สร้างรัก ไม่สร้างศัตรู ในหมู่อาเซียน”

(3)

บทสรุปส าหรับผู้บริหาร

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้ท่าการส่ารวจข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศในอาเซียน (ยกเว้นประเทศ ไทย) จากอดีตจนถึงปัจจุบัน จ่านวนทั้งสิ้น 20 คู่กรณี โดยในจ่านวนนี้มีข้อพิพาทที่ระงับได้ 13 คู่กรณี ข้อ พิพาทที่ยังด่าเนินการแก้ปัญหาอยู่ 7 คู่กรณี งานวิจัยนี้ อธิบายความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของก่าเนิดและ พัฒนาการของเส้นเขตแดนระหว่างประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมุ่งเน้นไปที่การ ส่ารวจเอกสารสนธิสัญญา อนุสัญญา ข้อตกลง แผนที่ และเอกสารทางกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ก่าหนดเส้นเขตแดน ซึ่งถูกจัดท่าขึ้นในยุคที่ดินแดนภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เริ่มพัฒนาขึ้นมาจากรัฐ ราชอาณาจักร ซึ่งเอาเข้าจริงแล้ว “เส้นเขตแดน” ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นปรากฏการณ์ที่ ค่อนข้างใหม่ เพราะเพิ่งจะถูกก่าหนดให้มีขึ้นราวคริสตศตวรรษที่ 19 โดยผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ของสิ่งที่ เรียกว่า “แผนที่” เป็นเครื่องก่าหนดอาณาเขตอ่านาจทางการเมืองระหว่างผู้ปกครองกลุ่มต่างๆ ให้ชัดเจน มั่นคง ตายตัว ตามรูปแบบการปกครองสมัยใหม่ ที่เรียกว่า “รัฐชาติ หรือ รัฐประชาชาติ (nation state)” แต่ ก่อนหน้าที่จะมีการก่าหนดและการปักปันเขตแดนในรูปแบบของการท่าแผนที่สมัยใหม่นั้น ผู้ปกครองกลุ่ม ต่างๆ เช่น อาณาจักรทั้งหลาย มักรับรู้ปริมณฑลอ่านาจของตนว่า ครอบคลุมพื้นที่ไม่ชัดเจนและไม่มั่นคง เพราะขอบเขตอ่านาจอาจเปลี่ยนแปลงขยายกว้างออกหรือหดแคบเข้า มากบ้างน้อยบ้างขึ้นอยู่กับอ่านาจบารมี และอิทธิพลทางการทหาร และในบางครั้งพรมแดนอาจผลัดเปลี่ยนไปอยู่ใต้อ่านาจของอาณาจักรอื่นๆ ได้ หรือ บางพื้นที่อาจไม่มีอิทธิพลอ่านาจของอาณาจักรใดเลย ที่จะเคยแผ่เข้าไปถึงมาก่อน จนกระทั่งเข้าสู่ยุคอาณานิคม ซึ่งการที่ประเทศตะวันตกเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เบื้องต้น เป็นไปเพื่อการแสวงหาแหล่งทรัพยากรซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตที่ส่าคัญ รวมทั้งแรงงานและที่ดิน เพื่อขยายฐาน การผลิตและตลาดสินค้าตามแนวทางอุตสาหกรรมและพานิชยกรรมนิยม ความต้องการ “ที่ดิน/ดินแดน” นี่เอง ที่ท่าให้เกิดความจ่าเป็นต้องมีการ “ก่าหนดเขตแดน” ให้มีความ “ชัดเจน แน่นอน ตายตัว” เพื่อ ผลประโยชน์ทางการค้า การปกครอง และความคล่องตัวในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ภายในขอบเขต อ่านาจของตน น่าไปสู่การสร้างเครื่องมือที่เป็นแบบแผนและอุดมคติที่จะท่าให้ทราบว่าเส้นเขตแดนที่แน่นอน อยู่ที่ใด และเป็นช่วงเวลาที่เอกสารและข้อตกลงส่วนใหญ่มักจะมีผลโดยตรงในการก่าหนดขอบเขตและอ่านาจ อธิปไตยของแต่ละรัฐ ทั้งนี้ หลังจากการเป็นเอกราชจากเจ้าอาณานิคมและการสืบสิทธิ์ตามกฎหมายที่จะ

(4)

เลือกใช้เอกสารฉบับต่างๆ เพื่อน่าไปสู่การก่าหนดสัณฐานของเส้นเขตแดนที่แท้จริงให้ชัดเจน ก็เป็นปัจจัย ส่าคัญที่ท่าให้เกิดปัญหาความขัดแย้งกับรัฐที่มีพรมแดนติดกันดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่า หากเกิดข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศขึ้น ก็มีการใช้กลไกระหว่างรัฐในระดับ ต่างๆ เพื่อน่าไปสู่การระงับข้อพิพาท ได้แก่ กลไกระดับรัฐบาล เช่น ข้อตกลงทวิภาคี (Bilateral – Treaty / Agreement / MOU) คณะกรรมาธิการเขตแดนร่วม (Joint Border Commission) ระดับกระทรวง (Inter- Ministerial Level) รวมทั้งการมีคณะท่างานระดับปฏิบัติการ (Technical / Working Group Level) ซึ่งเป็น กลไกที่ได้ผลและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการด่าเนินการเจรจาแก้ไขปัญหาข้อพิพาท แต่กลไกระดับภูมิภาค เช่น กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ยังไม่มีการใช้เพื่อหวังผลในทางปฏิบัติมากนัก แต่ก็เป็นกลไกที่ สามารถชะลอปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศคู่พิพาทไม่ให้เกิดความรุนแรงถึงขั้นประกาศภาวะสงคราม ระหว่างประเทศได้ ส่วนกลไกระดับนานาชาติ เช่น ศาลประจ่าอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ (Permanent Court of Arbitration – PCA) ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก และ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) ก็เป็นกลไกที่ประเทศคู่พิพาทสามารถอาศัยกระบวนการระงับ ข้อพิพาทเพื่อลดระดับความรุนแรงของปัญหาที่เกิดขึ้นได้เช่นกัน โดยสรุปแล้ว ข้อพิพาทเขตแดนในอาเซียน สามารถแก้ปัญหาให้ยุติลงได้ด้วยปัจจัยส่าคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1. ความชัดเจนของข้อตกลงระหว่างกันของประเทศต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ เช่น สนธิสัญญา หรือแผนที่ ซึ่งทั้งสองฝ่ายยอมรับ 2. ความไว้เนื้อเชื่อใจของคู่เจรจา โดยข้อพิพาทแต่ละกรณีมักได้รับการแก้ไขได้โดยง่ายด้วยความตก ลงทวิภาคีหากมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างประเทศ 3. รัฐบาลเองมีแนวโน้มที่จะน่าข้อพิพาทเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้านมาใช้เป็นอาวุธทางการเมืองใน ภาวะที่รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพเพียงพอ แต่ท้ายที่สุดก็ไม่สามารถจะควบคุมข้อพิพาทไม่ให้กลายเป็นประเด็น สาธารณะได้ ซึ่งหากรัฐบาลที่มีนโยบายมุ่งมั่นที่จะแก้ปัญหาข้อพิพาทเส้นเขตแดนอย่างแท้จริงย่อมสามารถ อ่านวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมาธิการคู่เจรจาปฏิบัติท่าหน้าที่ได้โดยไม่ต้องกังวลต่อผลกระทบทาง การเมืองที่จะตามมาในภายหลัง แม้ว่าจะมีการน่าข้อพิพาทเข้าสู่กลไกของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก แต่ในท้ายที่สุดข้อพิพาทเหล่านั้นก็ยังไม่สามารถยุติลงได้อย่างสมบูรณ์จนถึง (5)

ปัจจุบัน แต่อย่างน้อยก็สามารถท่าให้ข้อพิพาทเหล่านั้นอยู่ในสถานะเสมือนระงับ (semi-settlement) หรือท่า ให้คู่พิพาทมีแนวทางในการจัดการความขัดแย้งต่อไปได้ โดยสรุป ปัญหาข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศในอาเซียน ย่อมจะส่งผลกระทบต่อการขับเคลื่อน การรวมตัวเป็น “ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)” ไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะประชาคมการเมือง และความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community - APSC) ซึ่งประเด็นที่ส่าคัญ คือ ผลประโยชน์ที่ จะเกิดขึ้นท่ามกลางความแตกต่างหลากหลายของแนวคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง และส่านึกของความเป็น รัฐชาติที่จ่าเป็นต้องต่อสู้เพื่อให้มีเส้นแบ่งอาณาเขต (boundary line) ที่ชัดเจน แต่ในอีกแง่หนึ่ง ข้อพิพาทเขต แดนย่อมเป็นอุปสรรคต่อ “ประชาคมเดียวกัน” โดยเฉพาะการที่ยังคงมีปัญหาข้อพิพาทเกี่ยวกับเขตแดน ระหว่างประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอยู่มาก แม้ในปัจจุบัน กระแสโลกาภิวัตน์ (globalization) ก็ก่อให้เกิด แนวคิดเรื่อง “โลกไร้พรมแดน (borderless world)” ส่งผลให้ “เส้นเขตแดน (borderline)” ถูกลดความ ความส่าคัญลงไป และดูเหมือนว่าจะมีแนวคิดที่พยายามท่าให้เส้นแบ่งเขตแดนค่อยๆ เปิดออก จนกระทั่ง หายไปหมดสิ้น ตัวอย่างเช่น ปรากฏการณ์ที่ประเทศต่างๆ รวมตัวกันเป็น สหภาพยุโรป (European Union) ก็ท่าให้ทั้งโลกเห็นว่า ประชากรของประเทศสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรป สามารถเดินทางข้าม “เส้นเขตแดน” ได้อย่างอิสระ อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตส่าคัญประการหนึ่งก่อนที่พรมแดนทางกายภาพของรัฐชาติเหล่านั้นจะ บรรลุภาวะ “ไร้พรมแดน” ได้นั้น ก็มีความจ่าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีกระบวนการก่าหนดขอบเขตและขีดเส้น เขตแดนให้ชัดเจนเสียก่อน หรือ อาจกล่าวได้โดยสรุปว่า “Borderline before Borderless”

(6)

สารบัญ

หน้า บทคัดย่อภาษาไทย (1) บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (2) กิตติกรรมประกาศ (3) บทสรุปส าหรับผู้บริหาร (4) สารบัญตาราง (10) สารบัญภาพ (11) บทที่ 1 บทน า 1 1.1 ที่มาและความส่าคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 3 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4 1.5 ความตกลงเบื้องต้น 5 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 5 บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9 2.1 แนวคิดว่าด้วยการก่าหนดเส้นเขตแดนระหว่างประเทศ 9 2.1.1 การก่าหนดเขตแดน (delimitation) 11 2.1.2 การปักปันเขตแดน (demarcation) 11 2.1.3 หลักการและเทคนิคในการเจรจาการแบ่งอาณาเขตทางทะเล 11 2.1.4 หลักการแบ่งเขตทางทะเลตามอนุสัญญากฎหมายทะเล 12 2.1.5 กระบวนการในการเจรจาเขตแดนทางทะเล 13 2.1.6 การได้ดินแดนโดยการใช้อ่านาจอธิปไตยเหนือดินแดน 15 2.1.7 การได้ดินแดนโดยใช้หลักการยอมรับโดยปริยาย 16 2.1.8 ความใกล้เคียงในทางภูมิศาสตร์ (Geographic Contiguity) 16 2.1.9 การได้ดินแดนโดยใช้ก่าลัง (Use of Force-Conquest) 16 2.1.10 การได้มาซึ่งดินแดนจากการยกให้จากรัฐอื่น (Cession) 17 2.2 แนวคิดว่าด้วยข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศ 17 2.2.1 ข้อพิพาทอาณาเขต (Territorial Dispute) 18 2.2.2 ข้อพิพาทแนวเขต (positional dispute) 22 2.2.3 ข้อพิพาทข้อพิพาททางการใช้งาน (functional dispute) 24 2.2.4 ข้อพิพาทเหนือการพัฒนาทรัพยากร (dispute over resource development) 24 2.3 แนวคิดว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ 27 2.3.1 การระงับข้อพิพาททางการทูต (Diplomatic Channels) 27 2.3.2 การระงับข้อพิพาททางกฎหมาย (legal means) 29

(7)

สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 3 เส้นเขตแดนทางบก 31 3.1 เส้นเขตแดนทางบกบนเกาะบอร์เนียว () 33 3.2 เส้นเขตแดนทางบกบนเกาะบอร์เนียวระหว่างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย 39 3.3 ดินแดนลิมบัง (Limbang) ระหว่างมาเลเซียกับบรูไน 50 3.4 ดินแดนซาบาห์ (Sabah) ระหว่างมาเลเซียกับฟิลิปปินส์ 58 3.5 เส้นเขตแดนทางบกระหว่างลาวกับเวียดนาม 69 3.6 เส้นเขตแดนทางบกตามแนวแม่น้่าโขงระหว่างลาวกับพม่า 77 3.7 เส้นเขตแดนทางบกระหว่างลาวกับกัมพูชา 81 3.8 เส้นเขตแดนทางบกระหว่างกัมพูชากับเวียดนาม 88 บทที่ 4 เส้นเขตแดนทางทะเล 108 4.1 ไหล่ทวีปในช่องแคบมะละกาและทะเลจีนใต้ระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย 111 4.2 ทะเลอาณาเขตในช่องแคบมะละการะหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย 120 4.3 ทะเลอาณาเขตในช่องแคบสิงคโปร์ระหว่างอินโดนีเซียกับสิงคโปร์ 127 4.5 พื้นที่พัฒนาร่วมบริเวณไหล่ทวีประหว่างมาเลเซียกับเวียดนาม 141 4.6 ช่องแคบยะโฮร์ (Strait of Johor) ระหว่างมาเลเซียกับสิงคโปร์ 150 4.7 ไหล่ทวีปถึงเกาะนาทูน่า (Natuna Islands) ระหว่างอินโดนีเซียกับเวียดนาม 159 4.8 เส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างบรูไนกับมาเลเซีย 164 4.9 เกาะมิอังกัส (Miangas Island) ระหว่างอินโดนีเซียกับฟิลิปปินส์ 168 4.10 เกาะลิกิตัน (Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Sipadan) ระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย 174 4.11 แหล่งน้่ามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย 187 4.12 ข้อพิพาทหิน 3 ก้อน ระหว่างมาเลเซียกับสิงคโปร์ 193 4.13 หมู่เกาะสแปรตลีย์ (Spratlys) บรูไน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม จีน และไต้หวัน 205 บทที่ 5 กลไกจัดการข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศของอาเซียน 239 5.1 กลไกจัดการข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศภายในกรอบอาเซียน 241 5.1.1 ปฏิญญาอาเซียน หรือ ปฏิญญากรุงเทพ 242 5.1.2 ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน I หรือ บาหลี 1 243 5.1.3 สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 245 5.1.4 ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยทะเลจีนใต้ 250 5.1.5 การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงฯ 252 5.1.6 ระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือฯ 253 5.1.7 ปฏิญญาว่าด้วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต้ 258 5.1.8 ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน II หรือ บาหลี 2 263 5.1.9 แผนปฏิบัติการประชาคมความมั่นคงอาเซียน 265 5.1.10 กฎบัติอาเซียน (ASEAN Charter) 268 5.1.11 แผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 270 5.1.12 พิธีสารของกฎบัตรอาเซียนว่าด้วยกลไกระงับข้อพิพาท 272 (8)

สารบัญ (ต่อ) หน้า 5.2 กลไกจัดการข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศภายนอกกรอบอาเซียน 274 5.2.1 ศาลประจ่าอนุญาโตตุลาการ 275 5.2.1.1 ข้อพิพาทเกาะปาลมัส (Palmas) หรือ มิอังกัส (Miangas) 276 5.2.1.2 ข้อพิพาทถมทรายในและรอบพื้นที่ช่องแคบยะโฮร์ 278 5.2.1.3 ข้อพิพาทเขตอ่านาจในพื้นที่ทะเลฟิลิปปินส์ตะวันตก (ทะเลจีนใต้) 280 5.2.2 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือ ศาลโลก 281 5.2.3 อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล หรือ ศาลโลกทะเล 286 5.2.3.1 ข้อพิพาทถมทราย มาเลเซียกับสิงคโปร์ 288 5.2.3.2 ฟิลิปปินส์ยื่นฟ้องจีนในข้อพิพาททะเลจีนใต้ 292 บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย ปัจจัยแห่งความส าเร็จ ความล้มเหลว และข้อเสนอแนะ 293 บรรณานุกรม 306 ภาคผนวก 315 ภาคผนวก 1 ค่าแปลภาษาไทย ปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 316 ภาคผนวก 2 แสดงวันเอกราช/วันชาติ วันที่เข้าอาเซียนและสหประชาชาติ 318 ภาคผนวก 3 แสดงรายชื่อผู้พิพากษาในคดีพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศอาเซียน 320 ภาคผนวก 4 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์ทะเลอาณาเขต 321 ภาคผนวก 5 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์เส้นฐานตรง รัฐหมู่เกาะ การอ้างสิทธิ์ประวัติศาสตร์ 323 ภาคผนวก 6 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์เขตต่อเนื่อง 325 ภาคผนวก 7 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์ไหล่ทวีป 326 ภาคผนวก 8 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์เขตเศรษฐกิจจ่าเพาะ และเขตประมง 328 ภาคผนวก 9 ตารางแสดงข้อก่าหนดด้านสิ่งแวดล้อม 330 ภาคผนวก 10 ตารางแสดงการลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 331 ภาคผนวก 11 ตารางแสดงความตกลงเส้นเขตแดนทางทะเล 333 ประวัติผู้วิจัย 337

(9)

สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1.1 กรณีศึกษาเส้นเขตแดนระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว้นไทย) 4 ตารางที่ 3.1 กรณีศึกษาเส้นเขตแดนทางบกระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว้นไทย) 31 ตารางที่ 3.2 แสดงเขตปกครองของ 3 ประเทศในเกาะบอร์เนียว 33 ตารางที่ 4.1 กรณีศึกษาเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว้นไทย) 109 ตารางที่ 4.2 แสดงลักษณะทางกายภาพของเส้นขอบไหล่ทวีประหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย 118 ตารางที่ 4.3 แสดงจุดเส้นเขตแดนทะเลอาณาเขตระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย 126 ตารางที่ 4.4 แสดงลักษณะทางกายภาพของเส้นเขตแดนในทะเลอาณาเขตระหว่างอินโดนีเซียกับสิงคโปร์ 130 ตารางที่ 4.5 แสดงการครอบครองพื้นที่หมู่เกาะสแปรตลีย์โดย 213 ตารางที่ 4.6 แสดงลักษณะทางภูมิศาสตร์ในหมู่เกาะสแปรตลีย์ที่ถูกครอบครองโดยมาเลเซียในปัจจุบัน 227 ตารางที่ 4.7 สรุปเหตุผลที่ใช้อ้างสิทธิ์อธิปไตยเหนือหมู่เกาะสแปรตลีย์ของแต่ละประเทศ 228 ตารางที่ 4.8 แสดงสารบันทึกวาจา (Note Verbale) เพื่อประท้วงรายงานไหล่ทวีป 233 ตารางที่ 5.1 การระงับข้อพิพาทเขตแดนโดยใช้กลไกภายนอกภูมิภาคอาเซียน 274 ตารางที่ 5.2 แสดงรายชื่อทนายความในคดีพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศอาเซียน 282 ตารางที่ 6.1 เปรียบเทียบข้อพิพาทที่ยังไม่ระงับกับข้อพิพาทที่ระงับแล้วในอาเซียน 295

(10)

สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 3.1 แผนที่แสดงกรณีศึกษาเส้นเขตแดนทางบกระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว้นไทย) 32 ภาพที่ 3.2 แผนที่แสดงเขตปกครองของ 3 ประเทศในเกาะบอร์เนียว 34 ภาพที่ 3.3 แผนที่แสดงเส้นเขตแดนบนเกาะบอร์เนียว 35 ภาพที่ 3.4 แผนที่แสดงเส้นเขตแดนบนเกาะบอร์เนียว ระหว่างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย 40 ภาพที่ 3.5 แผนที่ประเทศบรูไน 51 ภาพที่ 3.6 แผนที่แสดงเส้นเขตแดนทางบกระหว่างบรูไนกับมาเลเซีย 52 ภาพที่ 3.7 แผนที่ดินแดนซาบาห์ (Sabah) 63 ภาพที่ 3.8 เอกสารแจ้งการจ่ายเงิน ของสถานทูตมาเลเซียประจ่าปี 2549/2006 66 ภาพที่ 3.9 แผนที่แสดงเส้นเขตแดนทางบกระหว่างกัมพูชากับลาว 83 ภาพที่ 3.10 แผนที่แสดงเส้นเขตแดนทางบกระหว่างลาวกับเวียดนาม 84 ภาพที่ 3.11 แผนที่แสดงเส้นเขตแดนระหว่างกัมพูชากับเวียดนาม 90 ภาพที่ 3.12 แสดงปัญหาประการที่ 1 101 ภาพที่ 3.13 แสดงปัญหาประการที่ 3 103 ภาพที่ 3.14 แสดงปัญหาประการที่ 4 105 ภาพที่ 4.1 แผนที่แสดงกรณีศึกษาเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว้นไทย) 110 ภาพที่ 4.2 แผนที่ United States Naval Oceanographic Chart No. H.O. 5591 115 ภาพที่ 4.3 แผนที่แสดงจุด (Point) ทั้ง 25 จุด บนขอบไหล่ทวีประหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย 116 ภาพที่ 4.4 แผนที่ H.O. 71000, 15th Edition, June 1940, Revised 10/27/69 123 ภาพที่ 4.5 แผนที่แสดง จุด (Point) ทั้ง 8 124 ภาพที่ 4.6 แผนที่ DMAHC No.71242 H.O. 71242 131 ภาพที่ 4.7 แสดงจุดพิกัดก่าหนดเส้นเขตแดนในทะเลอาณาเขตระหว่างอินโดนีเซียกับสิงคโปร์ 132 ภาพที่ 4.8 แผนที่แสดงจุด (Point) ทั้ง 6 จุด ในทะเลอาณาเขต (territorial sea) 133 ภาพที่ 4.9 แผนที่แสดงเส้นบรีเว่ (Brévié Line) และพื้นที่อ้างสิทธิ์ระหว่างกัมพูชากับเวียดนาม 137

(11)

สารบัญรูป (ต่อ) หน้า ภาพที่ 4.10 แผนที่แสดงพื้นที่ทะเลประวัติศาสตร์ระหว่างกัมพูชาและเวียดนาม 140 ภาพที่ 4.11 แผนที่แสดงจุด (Point) เชื่อมต่อเส้นขอบไหล่ทวีประหว่างมาเลเซียกับเวียดนาม 148 ภาพที่ 4.12 แผนที่แสดงทะเลอาณาเขตระหว่างมาเลเซียกับสิงคโปร์ 156 ภาพที่ 4.13 แผนที่ British Admiralty Chart No.3482 162 ภาพที่ 4.14 ภาพขยายแผนที่ British Admiralty Chart No.3482 163 ภาพที่ 4.15 แผนที่แสดงแนวเส้นเขตแดนของทะเลอาณาเขต (territorial sea) 165 ภาพที่ 4.16 แผนที่แสดงที่ตั้งเกาะมิอังกัส (Miangas Island) และเกาะอื่นๆ โดยรอบ 169 ภาพที่ 4.17 แผนที่แสดงรายละเอียดภายในเกาะมิอังกัส (Miangas Island) 170 ภาพที่ 4.18 การก่าหนดอาณาเขตทางทะเลระหว่างมาเลเซียกับอินโดนีเซียในทะเลสุลาเวสี 175 ภาพที่ 4.19 แผนที่แสดงที่ตั้งของเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) 176 ภาพที่ 4.20 แผนที่ขยายแสดงที่ตั้งเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) 177 ภาพที่ 4.21 ดวงตราไปรษณียากรชุด “เกาะและชายหาด (Pulau-Pulau dan Pantai)” 180 ภาพที่ 4.22 แผนผังแสดงพื้นที่ทับซ้อน (overlapping area) 188 ภาพที่ 4.23 แผนที่แสดงการอ้างสิทธิ์เขตทางทะเลทับซ้อนกันในพื้นที่ของทะเลสุลาเวสี 191 ภาพที่ 4.24 แผนที่แสดงต่าแหน่งข้อพิพาทหิน 3 ก้อน ระหว่างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย 195 ภาพที่ 4.25 แผนที่แสดงต่าแหน่งหิน 3 ก้อน 196 ภาพที่ 4.26 ประภาคารฮอร์สเบิร์ก (Horsburgh lighthouse) บนเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต๊ะ 201 ภาพที่ 4.27 ภาพเซาท์ เลดจ์ (South Ledge) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต๊ะ 201 ภาพที่ 4.28 จดหมายของรักษาการเลขาธิการแห่งรัฐยะโฮร์ถึงเลขาธิการอาณานิคมของสิงคโปร์ 202 ภาพที่ 4.29 แผนที่แสดงที่ตั้งหมู่เกาะสแปรตลีย์ (Spratly) ในทะเลจีนใต้ 207 ภาพที่ 4.30 แผนที่หมู่เกาะสแปรตลีย์ทางตะวันตกของเส้นลองจิจูด 155 องศา 18 ลิปดา ตะวันออก 208 ภาพที่ 4.31 แผนที่หมู่เกาะสแปรตลีย์ทางตะวันออกของเส้นลองจิจูด 155 องศา 18 ลิปดา ตะวันออก 209 ภาพที่ 4.32 ภาพเกาะอีตู อาบา (Itu Aba) หรือ ไท่ผิงต่าว (Taiping Dao) 211

(12)

สารบัญรูป (ต่อ) หน้า ภาพที่ 4.33 แผนผังต่าแหน่งกองทหาร (Outpost) และ ลานบิน (Airfield) ในพื้นที่หมู่เกาะสแปรต 214 ภาพที่ 4.34 แผนที่แสดงพื้นที่ทับซ้อนในทะเลจีนใต้และการอ้างสิทธิ์ครอบครอง 215 ภาพที่ 4.35 แผนที่อ้างสิทธิ์ทะเลจีนใต้ฉบับทางการของไต้หวันหรือสาธารณรัฐจีน 217 ภาพที่ 4.36 แผนที่ 9 เส้นประซึ่งจีนน่าส่งให้แก่คณะกรรมาธิการก่าหนดขอบเขตของไหล่ทวีป 218 ภาพที่ 4.37 ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่แนวปะการังเกเฟิน (Gaven Reef) 220 ภาพที่ 4.38 ภาพถ่ายจากกองทัพอากาศฟิลิปปินส์บนพื้นที่แนวปะการังจอห์นสัน (Johnson Reef) 221 ภาพที่ 4.39 บันทึกทางการทูต (diplomatic note) นายฟาม วัน ด่ง (Pham Van Dong) 223 ภาพที่ 4.40 แผนที่แสดงพื้นที่ที่ก่าหนดทางตอนใต้ของทะจีนใต้ระหว่างมาเลเซียกับเวียดนาม 235 ภาพที่ 5.1 แผนที่แสดงพื้นที่พิพาทการถมทะเล (Land Reclamation) ระหว่างสิงคโปร์กับมาเลเซีย 290 ภาพที่ 5.2 แผนที่แสดงพื้นที่พิพาท “จุด 20 รูปเศษไม้ (Point 20 sliver)” 290 ภาพที่ 5.3 แผนที่แสดงการถมทรายในพื้นที่เกาะเตอกอง (Pulau Tekong) 291

(13)

บทที่ 1 บทน า

1.1 ที่มาและความส าคัญของปัญหา ปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศ (International Boundary Dispute) เป็นหัวข฾อวิจัยที่ได฾รับ ความสนใจจากนักวิชาการหลากหลายสาขาวิชาทั่วโลก ไม฽ว฽าจะเป็นนักภูมิศาสตรแ นักยุทธศาสตรแด฾านความ มั่นคง นักการทหาร นักกฎหมายระหว฽างประเทศ นักรัฐศาสตรแโดยเฉพาะด฾านความสัมพันธแระหว฽างประเทศ แม฾กระทั่งนักเศรษฐศาสตรแ และอีกหลากหลายสาขาวิชา เนื่องจากปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศ กลายเป็นอุปสรรคที่สําคัญในซึ่งส฽งผลกระทบต฽อแนวโน฾มความร฽วมมือระหว฽างประเทศที่มีเพิ่มมากขึ้นในยุค ปัจจุบัน อีกทั้งในหลายกรณีได฾นําไปสู฽ความขัดแย฾งที่สุ฽มเสี่ยงต฽อการใช฾กําลังทางการทหารเพื่อปะทะกันอีกด฾วย กล฽าวแต฽เฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ การขับเคลื่อนการรวมตัวเป็น “ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)” ในเที่ยงคืนของวันที่ 31 ธันวาคม 2558/2015 ย฽อมมีคําถามตามมาว฽า ท฽ามกลางความ แตกต฽างหลากหลายของประเทศต฽างๆ ในภูมิภาค ย฽อมเป็นอุปสรรคต฽อการสร฾าง “ประชาคมเดียวกัน” เพราะ หากอาเซียนจะกลายเป็นประชาคม “ไร฾พรมแดน (borderless)” ทําไมปัจจุบันจึงมีข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽าง ประเทศปรากฏอยู฽มากพอสมควร ปฏิเสธไม฽ได฾ว฽ากระแสโลกาภิวัตนแ (Globalization) ก฽อให฾เกิดแนวคิดเรื่อง “โลกไร฾พรมแดน” ส฽งผลให฾ “เส฾นเขตแดน” ถูกลดความความสําคัญลงไป ทั้งนี้เพราะดูเหมือนว฽าอินเตอรแเน็ตและโลกไซเบอรแ (Cyber space) ทําให฾เส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศค฽อยๆ เปิดออกจนกระทั่งรู฾สึกเหมือนว฽าหายไปหมดสิ้น นอกจากนี้ ปรากฏการณแที่ประเทศต฽างๆ รวมตัวกันเป็น สหภาพยุโรป (European Union) ก็ยิ่งทําให฾ทั้งโลกเห็นว฽า “เส฾น เขตแดนระหว฽างรัฐชาติ” กลายเป็นเรื่องไม฽สําคัญอีกต฽อไป ดังจะเห็นได฾จากการที่ประชากรของประเทศสมาชิก ในกลุ฽มสหภาพยุโรปสามารถเดินทางข฾าม “เส฾นเขตแดน” ได฾อย฽างอิสระ อย฽างไรก็ตาม มีข฾อสังเกตสําคัญ ประการหนึ่งก฽อนที่พรมแดนทางกายภาพของรัฐชาติเหล฽านั้นจะบรรลุภาวะ “ไร฾พรมแดน” ได฾ นั่นคือต฾องมี การกําหนดเส฾นเขตแดนให฾ชัดเจนเสียก฽อน หรือ อาจกล฽าวได฾โดยสรุปว฽า “Borderline before Borderless” แม฾ว฽าในปัจจุบัน เรากําลังเผชิญหน฾าอยู฽กับแนวคิดเรื่องโลกไร฾พรมแดน ที่หมายถึงการแลกเปลี่ยนข฾อมูล ข฽าวสารระหว฽างกันผ฽านเครือข฽ายเทคโนโลยีการสื่อสาร แต฽แท฾จริงแล฾ว เรายังอยู฽ในโลกที่มี “เส฾นเขตแดน” อีก ประเภทหนึ่ง ซึ่งทรงอิทธิพลและมีส฽วนอย฽างยิ่งในการบงการความรู฾สึกนึกคิด เส฾นเขตแดนประเภทนี้ไม฽ได฾จํากัด อยู฽แต฽เฉพาะขอบเขตทางภูมิศาสตรแระหว฽างรัฐชาติ และไม฽จําเป็นต฾องเป็นสิ่งปลูกสร฾างทางด฾านกายภาพ เช฽น รั้ว หรือ กําแพง เพราะเราไม฽สามารถมองเห็น “เส฾นเขตแดน” ประเภทนี้ด฾วยตาเปล฽า แต฽กลับมีผลกระทบ อย฽างยิ่งต฽อวิถีชีวิตประจําวัน คอยกําหนดขอบเขตว฽าอะไร “ถูกนับรวม” หรือ “ไม฽ถูกนับรวม” ก฽อให฾เกิดคําว฽า “พวกเรา” และ “ที่นี่” ซึ่งหมายถึงอะไรก็ตามที่อยู฽ภายในเส฾นเขตแดน แต฽ในขณะเดียวกัน ก็เกิดคําว฽า “พวก เขา” และ “ที่โน฽น” ซึ่งหมายถึงทุกสิ่งที่อยู฽นอกเส฾นเขตแดนของเรา ดังนั้น จึงมีความจําเป็นที่จะต฾อง “กําหนด เส฾นเขตแดน” เพื่อการบริหารจัดการอํานาจของรัฐและเพื่อความต฽อเนื่องของผลประโยชนแทางการเมืองและ เศรษฐกิจให฾ “ฝุายเรา” ได฾รับมากที่สุด โดยไม฽คํานึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ “ฝุายเขา” นอกจากนี้ ยังอาจ กล฽าวได฾ว฽า “เส฾นเขตแดน” เป็นอุปสรรคต฽อการเคลื่อนย฾ายผู฾คน ทุน สินค฾า และบริการ รวมทั้งเป็นเครื่องกีด ขวางทางความคิด ความรับรู฾ ความรู฾ และจินตนาการอีกด฾วย

1

นับตั้งแต฽ ปี 2510/1967 เป็นต฾นมา กรอบความร฽วมมืออาเซียนกลายเป็นกลไกที่สําคัญที่สุดของภูมิภาค เอเชียตะวันออเฉียงใต฾ แม฾ว฽าประเด็นข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศภายในภูมิภาคจะดํารงอยู฽มาก฽อนการ ก฽อตั้งอาเซียนแล฾วก็ตาม นับตั้งแต฽การนําข฾อพิพาทปราสาทพระวิหารเข฾าสู฽กลไกระงับข฾อพิพาทโดยศาล ยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก ในปี 2502/1959 หลังจาก การเป็นเอกราชของกัมพูชาเพียง 6 ปี และมีคําพิพากษาในอีก 3 ปีต฽อมาคือ 2505/1962 ซึ่งก็เป็นที่ประจักษแ ในอีกเกือบ 50 ปีต฽อมาเมื่อกัมพูชายื่นขอตีความคําพิพากษาคดีเดิมต฽อศาลโลกอีกครั้งเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554/2011 และนํามาซึ่งคําพิพากษาในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556/2013 ซึ่งในท฾ายที่สุดก็ต฾องอาศัยการ เจรจาตกลงกันระหว฽างทั้งสองประเทศ ดังนั้น จึงเห็นได฾ว฽า แม฾การระงับข฾อพิพาทโดยกลไกศาลโลกจะไม฽ สามารถยุติปัญหาความขัดแย฾งระหว฽างไทยกับกัมพูชาลงได฾โดยเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต฽ก็สามารถชะลอความ ขัดแย฾งที่เกิดขึ้นจากการใช฾กําลังปะทะกันตามแนวชายแดน รวมทั้งเป็นกลไกในการจัดการข฾อพิพาทอย฽างสันติ วิธี และอาจกล฽าวได฾ว฽าปัญหาความขัดแย฾งเรื่องปราสาทพระวิหารระหว฽างไทยกับกัมพูชาเป็นข฾อพิพาทเขตแดน ที่ส฽งผลกระทบต฽อบรรยากาศความสัมพันธแระหว฽างประเทศโดยรวมภายในภูมิภาคอาเซียนอีกด฾วย นอกจากนี้ ยังมีประเด็นพิพาทเขตแดนอื่นๆ ที่ปรากฏประเด็นความขัดแย฾งภายในภูมิภาคอาเซียน เช฽น ข฾อพิพาทเขตแดน ระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย เมื่อมีการสถาปนาสหพันธรัฐมาเลเซีย (Federation of ) ในปี 2506/1963 โดยซาราวักและซาบาหแตกลงเข฾าร฽วมเป็นส฽วนหนึ่งมาเลเซีย ส฽งผลให฾อินโดนีเซียเกิดความไม฽พอใจ อย฽างรุนแรง โดยประธานาธิบดีซูการแโนใช฾นโยบายการ “เผชิญหน฾า (konfrontasi)” และมีการใช฾กําลังปะทะ กันตามแนวชายแดนบนเกาะบอรแเนียวเป็นระยะเวลายาวนานกว฽า 4 ปี คือระหว฽างเดือนมกราคม 2506/1963 ถึงเดือนสิงหาคม 2509/1966 ปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนบนเกาะบอรแเนียวยังรวมไปถึงความขัดแย฾งระหว฽าง มาเลเซียกับฟิลิปปินสแ กรณีการอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือดินแดนซาบาหแโดยทายาทของสุลต฽านแห฽งซูลู และ รัฐบาลฟิลิปปินสแในสมัยของประธานาธิบดีมาคาปากัล ได฾ประกาศการอ฾างสิทธิ์อย฽างเป็นทางการในปี 2505/1962 โดยหยิบยกเอาประเด็นข฾อพิพาทซาบาหแมาเป็นนโยบายระดับชาติ เนื่องจากเห็นว฽าตนจะได฾ ประโยชนแทางการเมืองภายในประเทศอย฽างยิ่งจากข฾อพิพาทดังกล฽าว ข฾อพิพาทนี้นําไปสู฽ปัญหาความข฾ดแย฾ง ระหว฽างประเทศจนกระทั่งมีแนวคิดในปี 2507/1964 ที่จะยื่นคําร฾องต฽อศาลโลกให฾เป็นผู฾ตัดสินชี้ขาดแต฽ก็ไม฽มี ดําเนินการใดๆ ข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศภายในภูมิภาคอาเซียนที่โดดเด฽นและเป็นที่สนใจของนักวิชาการ นานาชาติที่สุดก็คือ ข฾อพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแในทะเลจีนใต฾ ซึ่งเป็นข฾อพิพาทเขตแดนทางทะเลที่มีความ ซับซ฾อนมากที่สุดแห฽งหนึ่งของโลก ทั้งในแง฽ของจํานวนประเทศคู฽พิพาทซึ่งมีมากถึง 6 ประเทศ ได฾แก฽ เวียดนาม มาเลเซีย บรูไน ฟิลิปปินสแ จีน และไต฾หวัน รวมทั้งความซับซ฾อนและความยุ฽งยากในแง฽พื้นที่พิพาทเนื่องจาก อาณาบริเวณหมู฽เกาะสแปรตลียแมีลักษณะทางภูมิศาสตรแที่แตกต฽างกันมากกว฽า 170 ประเภท ประเทศไทย เป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศกับเพื่อนบ฾านรอบด฾านไม฽ ว฽าจะเป็นข฾อพิพาทเส฾นเขตแดนทางบกและทางทะเลกับกัมพูชา ลาว มาเลเซีย และพม฽า ดังนั้น จึงมีความ จําเป็นอย฽างยิ่งที่จะต฾องมีการศึกษาสถานการณแข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศภายในภูมิภาค โดยการวิจัย ครั้งนี้ เป็นการศึกษากําเนิดและพัฒนาการของเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศทั้งทางบกและทางทะเลในของ บรรดาประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Association of Southeast Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) ยกเว฾นข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ฾าน โดยจะ ทําการสํารวจข฾อพิพาทเขตแดนจากอดีตจนถึงปัจจุบันครอบคลุมกรณีที่ประสบความสําเร็จในการระงับข฾อ พิพาท และกรณีที่ยังคงมีความขัดแย฾งกันอยู฽ในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังจะได฾ศึกษาและทบทวนรูปแบบและ วิธีการที่ถูกนํามาใช฾ระงับข฾อพิพาทเขตแดนภายในกรอบความร฽วมมืออาเซียน เช฽น ปฏิญญาความร฽วมมือและ 2

สนธิสัญญาฉบับต฽างๆ รวมทั้งกลไกภายนอกอาเซียน เช฽น ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ หรือ ศาลโลก และ กลไกอื่นๆ ซึ่งถูกนํามาใช฾ในการระงับข฾อพิพาทระหว฽างกันของประเทศสมาชิกอาเซียน และในท฾ายที่สุดจะได฾ วิเคราะหแปัจจัยและเงื่อนไขที่นําไปสู฽ความสําเร็จและสาเหตุของความล฾มเหลวในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดน ท฽ามกลางความแตกต฽างหลากหลายทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยหวังว฽าประโยชนแต฽อแนวทางในการกําหนดทิศทางและแนวนโยบายของไทยในการจัดการข฾อพิพาทเขต แดนที่เกิดขึ้นแล฾วและที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศทั้งทางบกและทางทะเล ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ ยกเว฾นประเทศไทย 2. เพื่อศึกษารูปแบบและวิธีการที่ใช฾ในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศภายใต฾กรอบความ ร฽วมมือของสมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Association of Southeast Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) 3. เพื่อวิเคราะหแปัจจัยที่ทําให฾การจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศภายในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾เกิดความสําเร็จหรือความล฾มเหลว

1.3 ขอบเขตของการวิจัย งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช฾วิธีการสํารวจเอกสาร (Documentary Review) เพื่อศึกษากําเนิดและพัฒนาการของเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศต฽างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾ ยกเว฾นประเทศไทย เน฾นศึกษากระบวนการและขั้นตอนการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ ผ฽าน ความตกลง สนธิสัญญา อนุสัญญา และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข฾อง โดยแบ฽งเนื้อหาการวิจัยออกเป็น 3 ส฽วน ได฾แก฽ 1. การกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ โดยแบ฽งออกเป็น 2 ส฽วน คือ เขตแดนทางบก และเขตแดน ทางทะเล จํานวน 20 กรณี ดังปรากฏรายละเอียดตามตารางที่ 1.1 2. รูปแบบและวิธีการที่ถูกนํามาใช฾ในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศในอาเซียน ยกเว฾นไทย 3. ปัจจัยแห฽งความสําเร็จและความล฾มเหลวในการบริหารจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศในอาเซียน

3

ตารางที่ 1.1 กรณีศึกษาเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว฾นไทย) ที่ ประเด็น/พื้นที่พิพาท คู่พิพาท สถานะข้อพิพาท 1 เส฾นเขตแดนทางบกบนเกาะบอรแเนียว มาเลเซีย-อินโดนีเซีย ยังไม฽ระงับ 2 ดินแดนลิมบัง (Limbang) มาเลเซีย-บรูไน ระงับชั่วคราว 16 มี.ค. 2009/2552 3 ดินแดนซาบาหแ (Sabah) มาเลเซีย-ฟิลิปปินสแ ยังไม฽ระงับ 4 เส฾นเขตแดนทางบก ลาว-เวียดนาม ระงับแล฾ว 1 มี.ค. 2533/1990 5 เส฾นเขตแดนตามแนวแม฽น้ําโขง ลาว-พม฽า ระงับแล฾ว 11 มิ.ย. 2537/1994 6 เส฾นเขตแดนทางบก ลาว-กัมพูชา ยังไม฽ระงับ 7 เส฾นเขตแดนทางบก กัมพูชา-เวียดนาม ยังไม฽ระงับ 8 ไหล฽ทวีปในช฽องแคบมะละกาและทะเลจีนใต฾ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ระงับแล฾ว 27 ต.ค. 2512/1969 9 ทะเลอาณาเขตในช฽องแคบมะละกา อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ระงับแล฾ว 8 ต.ค. 2514/1971 10 ทะเลอาณาเขตในช฽องแคบสิงคโปรแ อินโดนีเซีย-สิงคโปรแ ระงับแล฾ว 25 พ.ค. 2516/1973 11 ทะเลประวัติศาสตรแ (historic waters) กัมพูชา-เวียดนาม ระงับแล฾ว 7 ก.ค. 2525/1982 12 พื้นที่พัฒนาร฽วมบริเวณไหล฽ทวีป มาเลเซีย-เวียดนาม ระงับแล฾ว 5 มิ.ย. 2535/1992 13 ช฽องแคบยะโฮรแ (Strait of Johor) มาเลเซีย-สิงคโปรแ ระงับแล฾ว 7 ส.ค. 2538/1995 14 ไหล฽ทวีปถึงเกาะนาทูน฽า (Natuna Islands) อินโดนีเซีย-เวียดนาม ระงับแล฾ว 26 มิ.ย. 2546/2003 15 เส฾นเขตแดนทางทะเล บรูไน-มาเลเซีย ระงับชั่วคราว 16 มี.ค. 2009/2552 16 เกาะมิอังกัส (Miangas Island) อินโดนีเซีย-ฟิลิปปินสแ ยังไม฽ระงับ 17 เกาะลิกิตัน (Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Sipadan) อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ศาลโลกตัดสิน 17 ธ.ค. 2545/2002 18 แหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ยังไม฽ระงับ 19 ข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน มาเลเซีย-สิงคโปรแ ศาลโลกตัดสิน 23 พ.ค. 2551/2008 20 หมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratlys) บรูไน-มาเลเซีย- ยังไม฽ระงับ ฟิลิปปินสแ-เวียดนาม- จีน-ไต฾หวัน

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดองคแความรู฾และความเข฾าใจต฽อการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศทั้งทางบกและทางทะเล ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ยกเว฾นประเทศไทย 2. สามารถทราบถึงรูปแบบและวิธีการที่ใช฾เพื่อระงับข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศภายใต฾กรอบ ความร฽วมมือของสมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Association of Southeast Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) และ/หรือ กลไกอื่นๆ ภายนอกภูมิภาค 3. สามารถวิเคราะหแปัจจัยแห฽งความสําเร็จและความล฾มเหลวในการบริหารจัดการข฾อพิพาทเขตแดน ระหว฽างประเทศภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ซึ่งจะเป็นประโยชนแต฽อการกําหนดแนวนโยบายของ ไทยในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนที่เกิดขึ้นแล฾วและที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได฾

4

1.5 ความตกลงเบื้องต้น การนําเสนองานวิจัยครั้งนี้จะใช฾รูปแบบการระบุปี พุทธศักราช และ คริสตแศักราช ควบคู฽ไปพร฾อมกัน เช฽น 2556/2013 หมายความว฽า พุทธศักราช 2556 และ คริสตแศักราช 2013 เป็นต฾น เพื่อให฾สามารถ เทียบเคียงกับเหตุการณแอื่นๆ ในประเทศและต฽างประเทศได฾ การอ฾างอิงแหล฽งข฾อมูลที่สามารถเข฾าถึงได฾จากเครือข฽ายออนไลนแ (Online Resorces) นั้น เนื่องจากอยู฽ ของเว็บไซตแ หรือ URL แหล฽งข฾อมูลบางอย฽างมีความยาวมาก ดังนั้น ผู฾วิจัยจะใช฾การย฽อที่อยู฽ให฾สั้นลง โดยผ฽าน บริการของเว็บไซตแ https://bitly.com เพื่อให฾ผู฾อ฽านสามารถค฾นหาได฾สะดวกยิ่งขึ้น เช฽น URL ของ http://www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121203-175739-200288.pdf เมื่อย฽อแล฾ว จะได฾ที่อยู฽ใหม฽ คือ http://bit.ly/1CzLrtF เป็นต฾น

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ

เส้นเขตแดน, เส้นแบ่งเขต (boundary; boundary line) หมายถึง เส฾นสมมุติที่กําหนดขึ้นเป็น ขอบเขตของหน฽วยการปกครองหรือบริเวณพื้นที่ซึ่งมีลักษณะคล฾ายคลึงกันอย฽างใดอย฽างหนึ่ง เช฽น เส฾นแบ฽งเขต อําเภอ เส฾นแบ฽งเขตจังหวัด เส฾นแบ฽งเขตดิน เส฾นแบ฽งเขตภูมิอากาศ ในกรณีที่เป็นเส฾นแบ฽งเขตประเทศ นิยม เรียกว฽า เส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ (มีความหมายเหมือนกับ march; mark)1

เส้นเขตแดนระหว่างประเทศ (international boundary) หมายถึง เส฾นสมมุติที่กําหนดขึ้น โดย ประเทศทวิภาคี เพื่อเป็นขอบเขตและรู฾ว฽าอํานาจอธิปไตยของตนหรือของประเทศนั้นได฾มาสิ้นสุดที่เส฾นสมมุตินี้ เส฾นสมมุติดังกล฽าวอาจกําหนดขึ้นบนแผนที่หรือแผนผัง หรือแสดงด฾วยคําพรรณนาเป็นลายลักษณแอักษร หรือ อาจแสดงเป็นหลักฐานบนพื้นดินก็ได฾2

พรมแดน, แนวพรมแดน (frontier) หมายถึง พื้นที่ซึ่งคาบเกี่ยวไปตามเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ3 และ พื้นที่ซึ่งมีความคาบเกี่ยวทั้งสองประเทศ ซึ่งพื้นที่คาบเกี่ยวนี้จะไปตามเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ โดย ไม฽มีข฾อกําหนดแน฽ชัดว฽าจะต฾องอยู฽ลึกเข฾าจากเส฾นเขตแดนด฾านละเท฽าใด4

ชายแดน (border) หมายถึง พื้นที่ต฽อเนื่องกับเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศของประเทศใดประเทศ หนึ่ง”5 และ พื้นที่จากเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศเข฾าไปในดินแดนของประเทศใดประเทศหนึ่ง ไม฽มี ข฾อกําหนดว฽าจะลึกเข฾าไปเท฽าใด6

1 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพทแภูมิศาสตรแ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (กรุงเทพฯ: ห฾างหุ฾นส฽วนจํากัด โรงพิมพแชวน พิมพแ, 2549), หน฾า 83. 2 ราชบัณฑิตยสถาน. อักขรานุกรมภูมิศาสตรแไทย เล฽ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (กรุงเทพฯ: ห฾างหุ฾นส฽วนจํากัด อรุณ การพิมพแ, 2545), หน฾า 11. 3 ราชบัณฑิตยสถาน. อ฾างแล฾ว (2549), หน฾า 249. 4 ราชบัณฑิตยสถาน. อ฾างแล฾ว (2545), หน฾า 11. 5 ราชบัณฑิตยสถาน. อ฾างแล฾ว (2549), หน฾า 81. 6 ราชบัณฑิตยสถาน. อ฾างแล฾ว (2545), หน฾าดียวกัน. 5

สันปันน้ า (watershed) หมายถึง บริเวณที่สูงหรือสันเขา ซึ่งแบ฽งน้ําที่อยู฽แต฽ละด฾านของสันเขา ให฾ไหล ออกไป 2 ฟาก (หรือมีทิศทางตรงกันข฾าม) ไปสู฽แม฽น้ําลําธาร แต฽สันปันน้ําในการกําหนดเขตแดนนั้น หมายถึง ที่ สูงหรือส฽วนใหญ฽คือสันเขา ที่ต฽อเนื่องกัน และจะปันน้ําหรือน้ําฝนที่ตกลงมา ให฾แบ฽งออกเป็น 2 ฟาก โดยไม฽มี การไหลย฾อนกลับ ในกรณีที่มีสันเขาแยกออกเป็นหลายสันจะยึดถือสันเขาที่มีความต฽อเนื่องมากที่สุด นั่นคือ สันเขาที่สูงที่สุดไม฽จําเป็นต฾องเป็นสันปันน้ําเสมอไป แต฽สันเขาที่สูงและมีความต฽อเนื่องมากที่สุดมักจะได฾รับการ พิจารณาให฾เป็นสันปันน้ํา7

ฟาทอม (fathom) หมายถึง มาตราวัดความลึกทางทะเล ความลึก 1 ฟาทอม = 6 ฟุต = 2 หลา = 1.829 เมตร8

ไมล์ทะเล (nautical mile) เป็นหน฽วยระยะทางเท฽ากับระยะทางบนผิวโลกประมาณ 1 ลิปดาบนเส฾น เส฾นเมริเดียน โดย 1 ไมลแทะเล มีความยาวประมาณ 1,852 เมตร

อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล หรือ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 1 (The United Nations Convention on the Law of the Sea – UNCLOS I) ปี 2501/1958 เกิดขึ้นจากการจัดการประชุมสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเลครั้งที่ 1 (The First United Nations Conference on the Law of the Sea – UNCLOS I) ระหว฽างวันที่ 24 กุมภาพันธแ – 27 เมษายน 2501/ 1958 ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแแลนดแ โดยมีผู฾แทนจาก 86 ประเทศเข฾าร฽วมประชุม ในที่สุดที่ประชุมมี มติเห็นชอบกฎหมาย 4 ฉบับ ได฾แก฽ 1.อนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตและเขตต฽อเนื่อง (Convention on the Territorial Sea and the Contiguous Zone) 2. อนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลหลวง (Convention on the High Seas) 3. อนุสัญญาว฽าด฾วยการทําประมงและการอนุรักษแทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลหลวง (Convention on Fishing and Conservation of the Living Resources of the High Seas) และ 4. อนุสัญญาว฽าด฾วยไหล฽ทวีป (Convention on the Continental Shelf) ประเทศไทยลงนามในอนุสัญญาฉบับนี้เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2501/1958 และได฾ให฾สัตยาบันเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2511/1968 โดยมีผลบังคับกับประเทศไทยตั้งแต฽วันที่ 1 สิงหาคม 2511/1968 เป็นต฾นมา

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 เกิดขึ้นจากการประชุมสหประชาชาติว฽าด฾วย กฎหมายทะเลครั้งที่ 3 (The Third United Nations Conference on the Law of the Sea – UNCLOS III) ซึ่งเป็นการประชุมที่ต฽อเนื่องกันเป็นระยะนาวนานถึง 9 ปี ระหว฽างปี 2516/1973 – 2525/1982 มีการ ประชุมทั้งสิ้น 11 สมัยประชุม โดยมีผู฾แทนจาก 159 ประเทศเข฾าร฽วมประชุม ในที่สุดที่ประชุมได฾มีมติเห็นชอบ และรับรองอนุสัญญาฉบับนี้ ซึ่งเป็นการปรับปรุงและพัฒนาหลักการทางกฎหมายจากเนื้อหาเดิมของกฎหมาย ทะเลทั้ง 4 ฉบับ ของอนุสัญญากรุงเจนีวาว฽าด฾วยกฎหมายทะเล หรือ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมาย

7 เรื่องเดียวกัน. หน฾าเดียวกัน. 8 กรมชลประทาน. อภิธานศัพทแเทคนิคด฾านการชลประทานและการระบายน้ํา (กรุงเทพฯ: กรมชลประทาน, 2553), หน฾า 11. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1O4dhPl 6

ทะเล ฉบับที่ 1 (United Nations Convention on the Law of the Sea – UNCLOS I) เมื่อปี 2501/1958 โดยมีการกําหนดหลักการใหม฽หลายประการ ได฾แก฽ รัฐหมู฽เกาะ เขตเศรษฐกิจจําเพาะ สิทธิของรัฐไร฾ฝั่ง ทะเล โดยอนุสัญญาฉบับนี้เป็นการกําหนดหลักเกณฑแกฎหมายระหว฽างประทศเกี่ยวกับสิทธิ หน฾าที่ และ ขอบเขตอํานาจของรัฐประเภทต฽างๆ ในการใช฾ประโยชนแจากเขตทางทะเล (Maritime Zone) ได฾แก฽ น฽านน้ํา ภายใน (Internal Water) ทะเลอาณาเขต (Teritorial Sea/Territorial Water) เขตต฽อเนื่อง (Contiguous Zone) เขตเศรษฐกิจเฉพาะ (Economic Exclusive Zone) ไหล฽ทวีป (Continental Shelf) และ ทะเลหลวง (High Seas) ปัจจุบันอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ถือเป็นหลักกฎหมายที่ใช฾ในการกํากับดูแล การใช฾ทะเลและทรัพยากรทางทะเลในทุกๆ ด฾าน ซึ่งอนุสัญญาฉบับนี้มีผลบังคับใช฾เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2537/1994 และประเทศไทยได฾ลงนามรับรองในอนุสัญญาดังกล฽าวเมื่อ 2525/1982 และให฾สัตยาบันเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2554/2011 และมีผลบังคับใช฾กับประเทศไทยวันที่ 14 มิถุนายน 2554/2011

อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ได฾ แบ฽งอาณาเขตทางทะเลออกเป็นส฽วนต฽างๆ รวม 6 ส฽วน9 ได฾แก฽ 1. น่านน้ าภายใน (Internal Water) หมายถึง น฽านน้ําที่อยู฽ภายในเส฾นฐาน (baseline) เช฽น อ฽าว ปาก แม฽น้ํา ทะเลสาบ รัฐชายฝั่งมีอํานาจอธิปไตยเหนือน฽านน้ําภายในทํานองเดียวกันกับที่มีเหนือดินแดนซึ่งเป็นพื้น แผ฽นดิน 2. ทะเลอาณาเขต (Teritorial Sea / Territorial Water) หมายถึง อาณาเขตทางทะเลของรัฐชายฝั่งที่ วัดความกว฾างออกจากเส฾นฐานตามที่รัฐชายฝั่งได฾กําหนดขึ้นไม฽เกิน 12 ไมลแทะเล โดยรัฐชายฝั่งมีอํานาจ อธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขตของตนและอํานาจอธิปไตยนี้ ครอบคลุมไปถึงห฾วงอากาศ เหนือพื้นท฾องทะเล และใต฾ผิวพื้นท฾องทะเลของทะเลอาณาเขตนั้นๆ ด฾วย 3. เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) เป็นเขตที่อยู฽ต฽อเนื่องจากเส฾นขอบนอกของทะเลอาณาเขต ออกไปอีก 12 ไมลแทะเล ในเขตต฽อเนื่องนี้รัฐชายฝั่งมีอํานาจในการควบคุมเพื่อวัตถุประสงคแต฽างๆ ดังนี้ ปูองกัน มิให฾มีการฝุาฝืนกฎหมาย และข฾อบังคับว฽าด฾วยศุลกากร การเข฾าเมือง รัษฎากร และสุขาภิบาล อันจะทําให฾เกิด ในดินแดน หรือในทะเลอาณาเขตของตน และลงโทษผู฾กระทําฝุาฝืนกฎหมายและข฾อบังคับดังกล฽าว คุ฾มครอง วัตถุโบราณหรือวัตถุทางประวัติศาสตรแที่อยู฽บนพื้นทะเลในเขตต฽อเนื่อง 4. เขตเศรษฐกิจจ าเพาะ (Economic Exclusive Zone – EEZ) มีความกว฾างไม฽เกิน 200 ไมลแทะเล จากเส฾นฐาน ซึ่งรัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยในการสํารวจ แสวงประโยชนแ อนุรักษแ และการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวิตและไม฽มีชีวิต ส฽วนกิจกรรมที่ไม฽เกี่ยวข฾องกับทางเศรษฐกิจ เช฽น การเดินเรือ การ บิน ไม฽ตกอยู฽ในสิทธิอธิปไตยของรัฐชายฝั่ง 5. ไหล่ทวีป (Continental Shelf) ประกอบด฾วยพื้นทะเล และใต฾ผิวพื้นของพื้นที่ใต฾น้ํา ซึ่งยืดขยายจาก ทะเลอาณาเขตไปจนถึงขอบ ที่ด฾านนอกสุดของทวีปที่มีน้ําลึกไม฽เกิน 200 เมตร หรือที่ระยะ 200 ไมลแทะเล จากเส฾นฐาน ซึ่งใช฾วัดความกว฾างของทะเลอาณาเขต ในกรณีที่ริมขอบของทวีปยืดขยายออกไป ไม฽ถึงระยะ

9 สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เล฽มที่ 32 เรื่องที่ 5 เส฾นแบ฽งเขตแดนระหว฽างประเทศ, การแบ฽งเขตทางทะเล. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EsMyFA 7

ดังกล฽าว ตามกฎหมายทะเล รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยเหนือทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งบน และใต฾ผิวพื้นไหล฽ทวีป ไม฽ว฽าจะมีชีวิตหรือไม฽มีชีวิต ส฽วนรัฐอื่นๆ ยังมีสิทธิ ที่จะวางสายเคเบิล หรือท฽อทางใต฾ทะเลบนไหล฽ทวีปนั้นได฾ โดยต฾องได฾รับความยินยอมจากรัฐชายฝั่งก฽อน 6. ทะเลหลวง (High Seas) หมายถึง ส฽วนของทะเลที่มิใช฽ส฽วนหนึ่งของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ทะเล อาณาเขต หรือน฽านน้ําภายใน โดยทุกรัฐมีเสรีภาพในการใช฾ทะเลหลวงเพื่อการเดินเรือ การบิน การวางสาย เคเบิลและท฽อทางใต฾ทะเล การประมง การสร฾างเกาะเทียม และสิ่งติดตั้งอื่นๆ รวมทั้งการค฾นคว฾าวิจัยทาง วิทยาศาสตรแ

เส้นมัธยะ (Equidistance / Median Line) ตามหลักกฎหมายทะเล ในภาษาไทยใช฾คําเดียว คือ เส฾นมัธยะ แต฽ในภาษาอังกฤษใช฾ 2 คําคือ Equidistance Line กับ Median Line ซึ่งแปลว฽า เส฾นกึ่งกลาง หรือ เส฾นแบ฽งครึ่ง แต฽ความหมายในทางเทคนิคของการกําหนดเส฾นเขตแดนของคําทั้งสองนี้มีความแตกต฽างกัน กล฽าวคือ Equidistance Line หมายถึง เส฾นแบ฽งที่กําหนดขึ้นจากการใช฾ระยะเท฽าของฐานวัดความกว฾างที่อยู฽ ประชิดกัน หรือหมายถึง เส฾นแบ฽งระหว฽างรัฐที่มีฝั่งทะเลอยู฽ประชิดกัน ส฽วนคําว฽า Median Line หมายถึง เส฾น ที่ลากกึ่งกลางระหว฽างฐานวัดความกว฾างที่อยู฽ตรงกันข฾าม หรือหมายถึง เส฾นแบ฽งระหว฽างรัฐที่มีฝั่งทะเลอยู฽ตรง ข฾ามกัน การสร฾างเส฾นมัธยะจากจุดใดจุดหนึ่ง โดยทราบฐานวัดความกว฾างที่แน฽นอนแล฾ว มิใช฽เรื่องที่ซับซ฾อน อะไร เพราะเส฾นมัธยะก็คือ เส฾นซึ่งประกอบด฾วยจุดโฟกัสซึ่งทุกๆ จุดเหล฽านั้นมีระยะห฽างไปยังฐานวัดความกว฾าง ที่ใกล฾ที่สุดของรัฐทั้งสองที่อยู฽ตรงข฾ามกันหรืออยู฽ประชิดกันเท฽านั้น ไม฽ว฽าฐานวัดความกว฾างเหล฽านั้นจะเป็น เส฾นตรงหรือเป็นเส฾นโค฾งก็ตาม10 อย฽างไรก็ตาม ไม฽มีกฎเกณฑแที่แน฽ชัดเกี่ยวกับเรื่องนี้ แต฽เมื่อเป็นหลักการ หรือ วิธีการ มักจะใช฾คําว฽า Principle of Equidistance หรือ Equidistance Method ในทุกกรณีทั้งอยู฽ประชิด และอยู฽ตรงกันข฾าม11

10 ศรันยแ เพ็ชรแพิรุณ. สมุทรกรณี. (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแ, 2549), หน฾า 280-281. 11 ถนอม เจริญลาภ. “เขตแดนทางทะเลกับเขตทางทะเล” ใน นาวิกศาสตรแ. ราชนาวิกสภา, หน฾า 1. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JfPOXx 8

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศมีประโยชนแต฽อการศึกษาวิจัยทางรัฐศาสตรแ ประวัติศาสตรแ กฎหมายระหว฽างประเทศ ภูมิศาสตรแ และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข฾อง รวมทั้งผู฾สนใจทั่วไป ทั้งนี้ เครื่องมือ การศึกษาวิจัยทางภูมิศาสตรแ เช฽น แผนที่ และการทําความเข฾าใจลักษณะเฉพาะของภูมิประเทศ ย฽อมจะทําให฾มี ข฾อมูลที่เป็นประโยชนแต฽อการศึกษาในสาขาวิชาต฽างๆ นอกจากนี้ ข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศยัง เกี่ยวข฾องกับประเด็นอื่นๆ เช฽น กระบวนการตัดสินใจทางนโยบายของรัฐ แง฽มุมทางกฎหมายของสนธิสัญญา และความตกลงระหว฽างรัฐ บทบาทของบุคคลหรือองคแกรที่ประสบความสําเร็จในการนําเสนอข฾อคิดเห็นและ ข฾อโต฾แย฾งเพื่อการแก฾ไขปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนในกรณีต฽างๆ สิ่งเหล฽านี้ยังคงมีความจําเป็นที่นักวิชาการหรือ ผู฾สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติม เพื่อสร฾างความรู฾ความเข฾าใจต฽อสถานการณแข฾อพิพาทที่ยังคงดําเนินอยู฽ในขณะนั้น และต฾องชี้ให฾เห็นว฽าการวิเคราะหแข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศควรมุ฽งเปูาไปที่การค฾นหาสาเหตุเริ่มต฾นของ ข฾อพิพาท วิธีการหรือเหตุผลที่รัฐนํามาใช฾ในการอ฾างสิทธิ์ และเปูาหมายที่แท฾จริงของรัฐในการอ฾างสิทธิ์ ดังนั้น การวิเคราะหแปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศจึงมีความจําเป็น โดยเฉพาะเพื่อการประเมินคุณค฽าของ ข฾อถกเถียงทางวิชาการจากหลากหลายสาขาวิชาที่เกี่ยวข฾อง และเพื่อประเมินหรือทํานายแนวโน฾มของผลลัพธแ ของข฾อพิพาท ซึ่งอาจส฽งผลกระทบต฽อการตั้งถิ่นฐานของผู฾คนที่อาศัยอยู฽บริเวณชายแดนที่เกิดข฾อพิพาท รวมทั้ง อนาคตความสัมพันธแระหว฽างประเทศที่เป็นคู฽พิพาทด฾วย ดังนั้น ในบทที่ 2 นี้จึงจะนําเสนอแนวคิดทฤษฎีที่ เกี่ยวข฾อง 3 แนวคิด ได฾แก฽ แนวคิดว฽าด฾วยการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ แนวคิดว฽าด฾วยข฾อพิพาทเขต แดนระหว฽างประเทศ และ แนวคิดว฽าด฾วยการระงับข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ

2.1 แนวคิดว่าด้วยการก าหนดเส้นเขตแดนระหว่างประเทศ

ความหมายทั่วไปของเขตแดน12 ดินแดนของรัฐ หมายถึง บริเวณที่อยู฽ภายใต฾อธิปไตยของรัฐ โดยรัฐเป็นทั้งเจ฾าของและมีอํานาจปกครอง เหนือบริเวณนั้น ดินแดนของรัฐได฾แก฽ พื้นดิน พื้นน้ํา และห฾วงอากาศ ดังนี้ 1. พื้นดิน (land territory) ซึ่งรวมทั้งแหล฽งน้ําจืดซึ่งขังอยู฽บนดินและสิ่งที่อยู฽ใต฾ผิวดินของพื้นดิน 2. พื้นน้ํา (water) ซึ่งรวมทั้งพื้นน้ําภายใน (internal water) พื้นน้ําอาณาเขต (territorial water) พื้น ท฾องทะเล (sea-bed) และสิ่งที่อยู฽ใต฾ผิวท฾องทะเล (subsoil) 3. ห฾วงอากาศ (air space) คือท฾องฟูาหรือบรรยากาศในบริเวณที่อยู฽เหนือขึ้นมาจากพื้นดินและพื้นน้ํา ใน ข฾อ 1 และ ข฾อ 2

เขตแดนทางบก มักเกิดขึ้นจากการทําความตกลงกัน โดยใช฾สิ่งที่เห็นง฽ายหรือสิ่งกีดกั้นที่ทําให฾มีลักษณะ เป็นสัดส฽วนหรือทําให฾รัฐที่เกี่ยวข฾องได฾รับประโยชนแร฽วมกัน โดยมากมักใช฾ภูเขาหรือแม฽น้ําที่มิใช฽เป็นของรัฐเดียว ในการกําหนดเขตแดนระหว฽างสองฝุาย โดยอาจ฽ส฽วนของภูเขาหรือแม฽น้ําตามความเหมาะสม เช฽น - อาจใช฾ทิวเขา (range) สันปันน้ํา (water-shed) หรือ ชะง฽อนผา (escarpment) เป็นเขตแดน - หากเป็นแม฽น้ําที่ใช฾เดินเรือไม฽ได฾ (non-navigable river) มักใช฾แนวกึ่งกลางของแม฽น้ําเป็นเขตแดน

12 ศรันยแ เพ็ชรแพิรุณ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 277-278. 9

- หากเป็นแม฽น้ําที่ใช฾เดินเรือได฾ (navigable river) มักใช฾แนวกึ่งกลางของร฽องน้ําลึก (thalweg) เป็นเขตแดน - ถ฾ามีสะพานข฾ามแม฽น้ํามักถือกึ่งกลางสะพานเป็นเขตแดน

เขตแดนทางทะเล เนื่องจากเดิมทะเลส฽วนใหญ฽เป็นทะเลหลวงที่ทุกรัฐมีเสรีภาพนานาประการ ต฽อมา กฎหมายทะเลกําหนดให฾รัฐชายฝั่งสามารถอ฾างเขตทางทะเลได฾ เช฽น การประกาศทะเลอาณาเขต 12 ไมลแทะเล การประกาศเขตไหล฽ทวีปและเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล ซึ่งในหลายบริเวณทั่วโลกมีสภาพทาง ภูมิศาสตรแไม฽เอื้ออํานวยต฽อการมีเขตแดนทางทะเลได฾อย฽างเต็มที่ จึงทําให฾เกิดเขตทับซ฾อนทางทะเลระหว฽างรัฐ ทั้งที่อยู฽ตรงข฾ามและประชิดกัน ซึ่งจะต฾องเจรจาทําความตกลงแบ฽งเขตแดนทางทะเลที่เรียกว฽า การกําหนดเขต หรือ การแบ฽งเขตทางทะเล (delimitation) โดยอาศัยหลักกฎหมายระหว฽างประเทศที่เกี่ยวข฾อง รัฐที่อ฾างเขตแดนทางทะเลทับซ฾อนกับบรัฐอื่นยังไม฽มีสิทธิอย฽างเต็มที่ในเขตแดนที่ทับซ฾อนนั้น (เนื่องจาก เป็นการอ฾างหรือประกาศฝุายเดียว หรือ unilateral claim) ซึ่งต฾องมีการเจรจาตกลงกันก฽อน ภายหลังหาก การเจรจาไม฽เป็นผลอาจให฾ศาลหรืออนุญาโตตุลาการระหว฽างประเทศคตัดสินชี้ขาด อย฽างไรก็ดี เมื่อรัฐหนึ่ง ประกาศหรืออ฾างสิทธิเขตทางทะเล และรัฐที่เกี่ยวข฾องมีท฽าทีวางเฉยรับรู฾การอ฾างสิทิและการใช฾สิทธิในเขตทับ ซ฾อนเป็นเวลานานปีโดยไม฽มีการประท฾วง ก็อาจถือว฽าเป็นการยอมรับสิทธิของรัฐอื่นโดยการนิ่งเฉย (acquiescence) ซึ่งมีผลให฾ต฽อไปตนไม฽อาจโต฾แย฾งการใช฾สิทธิ์ของรัฐนั้นได฾อีกตามหลักกฎหมายปิดปาก (estoppel) หมายความว฽า การนิ่งเฉยไม฽โต฾แย฾งเมื่อเสียสิทธิถือว฽ายอมรับ ซึ่งเป็นหลักกฎหมายจารีตประเพณี ที่มีผลในทางบังคับ (mandatory)13

แนวคิดในการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศมี 2 ประเภท คือ เส้นเขตแดนที่ยอมรับกันโดยพฤติ นัย (non-agreement boundary) หมายถึง เส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศที่เกิดขึ้นและได฾รับการยอมรับโดย พฤตินัย ประเทศคู฽ภาคีไม฽มีการทําความตกลงอย฽างเป็นทางการซึ่งกันและกัน มีเพียงเจ฾าหน฾าที่และราษฎรใน ท฾องถิ่นเท฽านั้นที่รู฾ว฽าเส฾นเขตแดนของตนอยู฽ที่ใดโดยอัตโนมัติ14 แต฽ในปัจจุบันเขตแดนของรัฐส฽วนใหญ฽มักเป็นไป ในรูปแบบของ เส้นเขตแดนที่ก าหนดอย่างเป็นทางการ (agreement boundary) ซึ่งหมายถึง เส฾นเขตแดน ระหว฽างประเทศที่มีดินแดนต฽อเนื่องทําความตกลงกันอย฽างเป็นทางการ โดยความตกลงนั้นจะทําในรูปของ เอกสารประกอบข฾อตกลง ได฾แก฽ สนธิสัญญา (treaty) อนุสัญญา (convention) พิธีสาร (protocol) ข฾อตกลง (agreement) บันทึกวาจา (process verbal) ปฏิญญา (declaration) บันทึกความเข฾าใจ (memorandum of understanding) รวมทั้งการแสดงเส฾นเขตแดนบนแผนที่ไว฾ด฾วย การกําหนดเขตแดนเป็นทางการนี้ ผู฾แทนที่ ได฾รับอํานาจเต็มจากรัฐบาลจะต฾องมีหนังสือมอบอํานาจก฽อน จึงจะมีอํานาจในการลงนามในเอกสารหรือแผนที่ ดังกล฽าวแล฾ว แต฽เอกสารหรือแผนที่นี้ไม฽มีผลสมบูรณแตามกฎหมายระหว฽างประเทศ จนกว฽ารัฐบาลทั้ง 2 ฝุาย จะ มีการลงนามรับรองและแลกเปลี่ยนสัตยาบันซึ่งกันและกันอีกครั้งหนึ่ง15 ซึ่งขั้นตอนการจัดทําเส฾นเขตแดน ระหว฽างประเทศอย฽างเป็นทางการ สามารถแบ฽งได฾ 2 ขั้นตอนหลักๆ ได฾แก฽

13 เรื่องเดียวกัน. หน฾า 278-279. 14 ราชบัณฑิตยสถาน. อ฾างแล฾ว (2545), หน฾า 15. 15 เรื่องเดียวกัน. หน฾าเดียวกัน. 10

2.1.1 การก าหนดเขตแดน (delimitation) หมายถึง การกําหนดเขตแดนที่อยู฽ในรูปหลักฐานทาง เอกสาร ได฾แก฽ สนธิสัญญา แผนที่ แผนผัง หรืออื่นๆ ซึ่งมักกระทํากันในสํานักงานหรือบนโต฿ะเจรจา เพื่อใช฾เป็น แนวทางในการแบ฽งเขตแดนระหว฽างกันในระยะเริ่มต฾น ก฽อนดําเนินการสํารวจและปักปันเขตแดนร฽วมกันในภูมิ ประเทศจริง16 การกําหนดเขตแดน เป็นกระบวนการทางกฎหมายที่ประเทศอธิปไตย 2 ประเทศ ซึ่งจะมีการ เขียนข฾อความบรรยายที่ตั้งของเส฾นเขตแดนที่ใช฾ร฽วมกัน งานลักษณะนี้เป็นหน฾าที่ของนักการทูตหรือผู฾เจรจา สนธิสัญญาและอาจจะต฾องทําสนธิสัญญามากกว฽า 1 ฉบับ ตัวอย฽างเช฽น ในระหว฽างปี 2325/1782 – 2468/1925 สหรัฐอเมริกาและแคนาดาทําสนธิสัญญาขึ้นถึง 26 ฉบับ เพื่อตกลงที่ตั้งของเส฾นเขตแดนระหว฽าง 2 ประเทศ แม฾ว฽าเส฾นเขตแดนที่กําหนดขึ้นจะตั้งใจให฾ตรงกับเส฾นที่อยู฽บนแผนที่ แต฽ก็ต฾องตกลงกันให฾แน฽ชัด เสียก฽อนว฽าจะใช฾แผนที่ใด และ ใช฾เส฾นเขตแดนบนแผนที่นั้นประกอบคําอธิบายเส฾นเขตแดน การกําหนดเส฾นเขต แดนที่ใช฾คําอธิบายเพียงอย฽างเดียวโดยไม฽มีแผนที่แนบท฾ายจะต฾องแน฽ใจว฽าคําอธิบายนั้นชัดเจนเพียงพอโดย ปราศจากข฾อโต฾แย฾งใดๆ17

2.1.2 การปักปันเขตแดน (demarcation) หมายถึง การดําเนินการในขั้นต฽อมาซึ่งเป็นเรื่องของการ จัดสร฾างสัญลักษณแหรือที่หมายของแนวเขตแดนที่กําหนดไว฾แล฾วลงบนภูมิประเทศ กล฽าวคือ เมื่อได฾กําหนดแนว เขตแดนไปแล฾ว ก็จะจัดตั้งคณะกรรมการดําเนินการปักปันเขตแดนในภูมิประเทศจริงร฽วมกัน โดยกําหนดแบบ ของหลักเขตและวัสดุตามมาตรฐานที่ได฾ตกลงกันไว฾18 การปฏิบัติการปักปันเส฾นเขตแดนในสนาม จุดมุ฽งหมายคือ การทําเครื่องหมายขึ้นเพื่อแสดงตําแหน฽งของ เส฾นเขตแดนบนพื้นดินให฾ทุกคนสามารถเห็นได฾โดยง฽าย งานลักษณะนี้มักอยู฽ในรูปของคณะกรรมการร฽วมที่มี ผู฾แทนมาจากแต฽ละประเทศในจํานวนที่เท฽ากัน แม฾ว฽าการทํางานอาจมีการท฾าทายในแง฽ของวิชาชีพจากแต฽ละ ฝุายบ฾าง แต฽ต฾องถือว฽าเป็นการทํางานของคณะหนึ่งเดียวมากกว฽าจะเป็นคณะต฽างหากจากกัน หลังจากปักปัน เขตแดนแล฾วเสร็จ ก็จะต฾องมีกระบวนการจัดทําแผนที่ หรือ การจัดทําโครงร฽างเส฾นเขตแดน (Delineation) ซึ่ง เป็นกระบวนการแสดงเส฾นเขตแดนโดยใช฾แผนผังหรือคณิตศาสตรแ บ฽อยครั้งคณะกรรมการร฽วมมักทําหน฾าที่ทั้ง การปักปันและการเขียนเส฾นเขตแดน ผลงานของคณะกรรมการมักจะออกมาในรูปของรายงาน รูปถ฽ายหรือรูป อื่นๆ แผนที่ ตารางแสดงพิกัดตําแหน฽งของหลักเขตแดน และ หมุดหลักฐานการรังวัด เอกสารเหล฽านี้ถือเป็น หลักฐานที่เป็นทางการของที่ตั้งเส฾นเขตแดนทั้งหมด19

2.1.3 หลักการและเทคนิคในการเจรจาแบ่งอาณาเขตทางทะเล ทะเลและมหาสมุทรเป็นแหล฽งทรัพยากรที่สําคัญ ดังนั้น รัฐต฽างๆ จึงต฽างพยายามครอบครองพื้นที่ให฾ ได฾มากที่สุด ทําให฾ต฾องมีวิธีการเพื่อแบ฽งอาณาเขตให฾เป็นที่ยอมรับของรัฐต฽างๆ เพื่อความยุติธรรมและไม฽ให฾เกิด

16 เรื่องเดียวกัน. หน฾า 11. 17 ประศาสนแ ตั้งมติธรรม. “การกําหนด การปักปัน และ การเขียนเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ,” กรุงเทพธุกิจ, 3 กุมพาพันธแ 2557, เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1I0asjG แปลจาก Alec McEwen. “The Demarcation and Maintenance of International Boundaries,” A paper prepared for the Canadian Commissions of the Canada/United States International Boundary Commission (July 2002) ดูเอกสารต฾นฉบับภาษาอังกฤษได฾จาก http://bit.ly/1fzCZPY 18 ราชบัณฑิตยสถาน. อ฾างแล฾ว (2545), หน฾า 11-12. 19 ประศาสนแ ตั้งมติธรรม. อ฾างแล฾ว. 11

ความขัดแย฾งระหว฽างกัน ศาสตราจารยแฟิลลิป ซี. เจสซุบ (Phillip C. Jessup) ได฾ศึกษาการแบ฽งอาณาเขตทาง ทะเลของรัฐชายฝั่ง ซึ่งโดยสรุปแล฾วมี 8 วิธีใหญ฽ๆ ดังนี้20 1. กําหนดเส฾นอาณาเขตทางทะเลสําหรับรัฐชายฝั่ง โดยการต฽อตรงออกไปจากเส฾นเขตแดนบนบกที่มา บรรจบฝั่งทะเล วิธีนี้เหมาะสําหรับประเทศที่ประชิดกัน บริเวณขอบฝั่งค฽อนข฾างเป็นเส฾นตรงและเส฾นเขตแดน บนบกมีลักษณะเกือบจะตั้งฉากหรือตั้งฉากกับขอบฝั่ง 2. กําหนดเส฾นอาณาเขตในทะเลระหว฽างรัฐชายฝั่ง โดยถือเอาเส฾นตั้งฉากกับขอบฝั่ง ณ จุดที่เส฾นอาณา เขตบนบกบรรจบฝั่งทะเล จะใกล฾เคียงกับวิธีที่ 1 3. กําหนดเส฾นอาณาเขตโดนใช฾เส฾นจริงตั้งฉากกับทิศทางทั่วไปของขอบฝั่ง (general direction of the coast) เป็นเส฾นอาณาเขต 4. กําหนดเส฾นแบ฽งเขตในทะเลระหว฽างรัฐชายฝั่ง โดยถือเอาเมอริเดียนของละติดจูหรือลองจิจูดอันใด อันหนึ่งเป็นเส฾นแบ฽ง ถ฾าสามารถอ฾างอิงถึงสิ่งก฽อสร฾างที่ถาวร เกาะ หรือ สิ่งโดดเด฽นอื่นๆ ด฾วย ก็จะลดปัญหาลง ได฾มาก 5. กําหนดเส฾นแย฽งอาณาเขตระหว฽างรัฐชายฝั่งไปตามแนวแอซิมัธ (Azimuth) อันใดอันหนึ่ง 6. กําหนดแนวน้ําลึกเป็นเส฾นเขตแดนระหว฽างรัฐ จะพบโดยทั่วไประหว฽างประเทศที่มีแม฽น้ํากั้นกลางหรือ มีปากแม฽น้ําบริเวณที่บรรจบทะเล แนวน้ําลึกอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได฾ทั้งโดยธรรมชาติ โดยฤดูกาล และโดย การก฽อสร฾างริมฝั่ง โดยเฉพาะที่ปากแม฽น้ําบรรจบทะเลอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได฾มากจนเกิดข฾อได฾เปรียบ เสียเปรียบจนยอมไม฽ได฾ระหว฽างคู฽กรณี ดังนั้นควรมีการพิจารณาเรื่องเหล฽านี้ไว฾ก฽อน 7. กําหนดเส฾นแบ฽งอาณาเขตขึ้นตามลักษณะพิเศษของทางภูมิศาสตรแ หรือธรณีสัณฐานกําหนดขึ้นโดย สภาพแวดล฾อมทางภูมิศาสตรแที่สําคัญ เช฽น สันเขาใต฾ทะเล โดยถือความพอใจ ความเหมาะสม และทั้งสองฝุาย คิดว฽ายุติธรรมเป็นหลัก 8. กําหนดเส฾นแบ฽งอาณาเขตทางทะเลระหว฽างรัฐชายฝั่งโดยถือตามหลักการเส฾นมัธยะ โดยทั่วไปนับว฽า เป็นวิธีที่มีลักษณะยุติธรรม สะดวกในทางปฏิบัติเมื่อสามารถตกลงในข฾อปฏิบัติใหญ฽ๆ กันได฾ ในการใช฾เส฾นมัธยะ นั้นมีข฾อกําหนดไว฾ในอนุสัญญากรุงเจนีวาว฽าด฾วยไหล฽ทวีป ปี 2501/1958 ด฾วย

2.1.4 หลักการแบ่งเขตทางทะเลตามอนุสัญญากฎหมายทะเล วิธีการแบ฽งเขตไหล฽ทวีประหว฽างรัฐที่อยู฽ประชิดกันหรือตรงข฾ามกัน ตามอนุสัญญากรุงเจนีวาว฽าด฾วยไหล฽ ทวีป 2501/1958 ข฾อ 6 ของอนุสัญญาฯ กําหนดว฽า ต฾องแบ฽งโดยหลักการ Equidistance-Special Circumstances กล฽าวคือ 1. แบ฽งโดยความตกลงระหว฽างประเทศ (Agreement) 2. ในกรณีที่ไม฽มีความตกลงระหว฽างกันให฾ใช฾หลักการ Equidistance 2.1 ระหว฽างรัฐประชิดจะใช฾ Equidistance Line ในการแบ฽ง 2.2 ระหว฽างรัฐตรงข฾ามจะใช฾ Median Line ในการแบ฽ง 3. หากมีสถานการณแพิเศษ (special circumstances) ที่สมเหตุสมผล (justify) สําหรับการใช฾เส฾นอื่น ใดที่มิใช฽เส฾นตามหลักการ Equidistance ก็ให฾ใช฾เส฾นนั้นได฾

20 ศรันยแ เพ็ชรแพิรุณ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 279-280. 12

วิธีการแบ฽งเขตไหล฽ทวีประหว฽างรัฐที่อยู฽ประชิดกันหรือตรงข฾ามกัน ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วย กฎหมายทะเล ปี 2525/1982 ข฾อ 83 ของอนุสัญญาฯ กําหนดว฽าต฾องแบ฽งโดย 1. ความตกลง (Agreement) 2. บนพื้นฐานของกฎหมายระหว฽างประเทศ (on the basis of international law) 3. เพื่อให฾ได฾ผลลัพธแที่เที่ยงธรรม (equitable solution)

ผลลัพธ์ที่เที่ยงธรรม (equitable solution) จะต฾องพิจารณาเป็นกรณีๆ โดยมีแนวทางการพิจารณาดังนี้ 1. ใช฾ Median Line หรือ Equitable Line เป็นพื้นฐานเบื้องต฾น แม฾ว฽ากฎหมายระหว฽างประเทศจะมิได฾ บังคับเช฽นนั้น (ยกเว฾นระหว฽างภาคีอนุสัญญาฯ ปี 2501/1958) 2. ตรวจสอบความเยงธรรมของเส฾นโดยอาจปรับเท฽าที่จําเป็นเพื่อให฾ได฾ผลลัพธแที่เที่ยงธรรมตาม “สภาวะ แวดล฾อม” หรือ “ปัจจัย” หรือ “หลัก” ต฽างๆ อาทิ - ลักษณะรูปร฽างโดยทั่วไปและทิศทางของขอบฝั่ง - ลักษณะเขตแดนทางบกระหว฽างคู฽กรณี - น้ําหนักที่จะให฾ต฽อเกาะต฽างๆ (weighting) - ความได฾สัดส฽วนระหว฽างความยาวของฝั่งกับพื้นที่ทางทะเลที่แบ฽ง (proportionality)

2.1.5 กระบวนการในการเจรจาเขตแดนทางทะเล กระบวนการในการจัดทําความตกลงเกี่ยวกับเขตแดนทางทะเล มี 8 ขั้นตอน21 ดังนี้ 1. การประกาศอ฾างสิทธิ์ (Claim) โดยรัฐประกาศอ฾างสิทธิอาณาเขตทางทะเล ได฾แก฽ ทะเลอาณาเขต ไหล฽ทวีป หรือ เขตเศรษฐกิจจําเพาะ 2. การตอบสนอง (Response) โดยรัฐเพื่อนบ฾านตอบสนองการอ฾างสิทธิโดยการประท฾วง/คัดค฾าน (protest) หรือ ประกาศอ฾างสิทธิตอบโต฾ (counterclaim) ซึ่งโดยปกติ claim กับ response ย฾อมมีข฾อ แตกต฽างกัน และเป็นประเด็น (issue) ที่อาจนําไปสู฽ข฾อพิพาท (dispute) หรือ อาจถึงขั้นรุนแรงเป็นความ ขัดแย฾ง (conflict) หากฝุายหนึ่งฝุายใดกระทําการหรือพยายามครอบครองพื้นที่ปัญหานั้น 3. การหารือ (Consultation) ภายหลังจากทั้งสองฝุายทําความเข฾าใจในข฾อแตกต฽างระหว฽าง claim และ response แล฾ว อาจมีการหารือกันเพื่อให฾ทราบท฽าที (positions) อย฽างเป็นทางการของแต฽ละฝุายใน ประเด็นการอ฾างสิทธิ เพื่อตัดสินใจว฽าควรมีการเจรจาทําความตกลงเกี่ยวกับเขตแดนทางทะเลระหว฽างกัน หรือไม฽ การหารืออาจทําโดยการแลกเปลี่ยนหนังสือทางการทูต (diplomatic correspondence) หรือ การ เจรจาอย฽างไม฽เป็นทางการ (informal talk) 4. การต฽อรองเพื่อให฾ตนได฾สิ่งที่ต฾องการ (Negotiation) ในขั้นตอนนี้รัฐจะแต฽งตั้งคณะบุคลผู฾มี ความสามารถในการตกลงเจตตาเกี่ยวกับเขตแดนทางทะเลเป็นพิเศษ ซึ่งหากการเจรจาประสบผลสําเร็จจะทํา ให฾เกิด ความตกลง (Agreement) ในการแบ฽งเขตแดนและทรัพยากรทางทะเล ซึ่งโดยทั่วไปมักจะได฾เส฾นแบ฽ง เขตแดนที่แม฽นยําบนแผนที่ (cartographic precision) ระบุจุดพิกัดเส฾นละติจูด-ลองจิจูดโดยละเอียด 5. การวางโครง รูปแบบ และร฽างถ฾อยคํา (Drafting) อาจเป็นกระบวนการที่แยกต฽างหากจากการเจรจา โดยการแต฽งตั้งคณะเจ฾าหน฾าที่อีกชุดหนึ่ง ให฾มีผู฾เชี่ยวชาญในการร฽างหนังสือสัญญาร฽วมกับเจ฾าหน฾าที่ในคณะ

21 เรื่องเดียวกัน. หน฾า 284-286. 13

เจรจาเดิม วัตถุประสงคแเพื่อต฾องการเน฾นเกี่ยวกับการทําหนังสือสัญญาที่ถูกต฾องด฾านภาษารวมทั้งรูปแบบตาม มาตรฐานและข฾อปฏิบัติทางการทูต 6. การมีผลบังคับของความตกลง (Validation) ความตกลงที่ถูกกําหนดขึ้นจะมีผลผูกพันก็ต฽อเมื่อผ฽าน กระบวนการรับรอง หรือ การให฾สัตยาบัน (ratification) โดยรัฐสภา ทั้งนี้ ขึ้นกับรัฐธรรมนูญของแจ฽ละประเทศ ว฽าจะกําหนดวิธีการไว฾อย฽างไร บางประเทศอาจเป็นระบบพรรคเดียว (one party) เช฽น เวียดนาม หรือ เป็น ระบบรัฐสภา (parliamentary system) เช฽น ไทย ซึ่งโดยปกติเมื่อผ฽านการอภิปรายในรัฐสภาแล฾ว ถือว฽าความ ตกลงนั้นได฾รับความเห็นชอบโดยปริยาย หลังจากได฾รับความเห็นชอบแล฾ว รัฐบาลจึงดําเนินการแสดงเจตนา ยอมรับที่จะผูกพันตามความตกลง โดยวิธีส฽งหรือแลกเปลี่ยนสัตยาบันสาร (instrument of ratification) 7. การจัดการเพื่อรักษาเขตแดนทางทะเล (Administration) เขตแดนทางทะเลไม฽สามารถมี เครื่องหมายเช฽นเขตแดนทางบก ดังนั้น แนวปฏิบัติภายหลังการแบ฽งเขตแดนทางทะเลเรียบร฾อยแล฾ว รัฐที่ เกี่ยวข฾องมักมีการลาดตระเวนทางทะเลใกล฾แนวเขตเป็นประจํา (แม฾ว฽ารัฐเพื่อนบ฾านจะเป็นมิตรกันก็ตาม) อย฽างไรก็ดี อาจมีการลาดตระเวนร฽วมกัน ดังเช฽น กรณีประเทศไทยและเวียดนาม ซึ่งอาจปฏิบัติการพร฾อมกัน หรือผลัดกันปฏิบัติการ เพื่อเป็นการแสดงความสัมพันธแที่ดีต฽อกัน 8. การทบทวนความตกลง (Revision) โดยประเพณีแล฾วความตกลงเรื่องเขตแดนตะไม฽มีการทบทวน แม฾ว฽าจะไม฽มีข฾อบังคับไว฾ว฽า ห฾ามทบทวน อย฽างไรก็ตาม หากจะมีการทบทวนจะต฾องไม฽เกี่ยวกับตําแหน฽ง (position) ของเส฾นเขตแดนที่ได฾ทําความตกลงไว฾แล฾ว แต฽สามาระทบทวนได฾เกี่ยวกับธรรมชาติ (nature) หรือ หน฾าที่ (function) ของเส฾นเขตแดน ตัวอย฽างเช฽น ทั้งสองฝุายตกลงที่จะเปลี่ยน “ขอบเขตของไหล฽ทวีป” ไป เป็น “ขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะ” เป็นต฾น

ในกรณีที่การเจรจาทําความตกลงเกี่ยวกับเขตทางทะเลมีความยากลําบาก การเจรจาประสบความ ล฾มเหลวทางการทูต (diplomatic failure) ที่เรียกว฽า ถึงสภาวะทางตัน (stalemate) อาจต฾องใช฾กระบวนการ เพิ่มเติม ได฾แก฽ การไกล฽เกลี่ยโดยภาคีที่สาม เรียกว฽า diplomatic / intermediary process ซึ่งมี 12 ขั้นตอน ได฾แก฽ 1. การประกาศอ฾างสิทธิ์ (Claim) 2. การตอบสนอง (Response) 3. การหารือ (Consultation) 4. การ ต฽อรองเพื่อให฾ตนได฾สิ่งที่ต฾องการ (Negotiation) โดย 4 ขั้นตอนแรกเป็นขั้นตอนปกติก฽อนถึงสภาวะทางตัน และมีขั้นตอนในกระบวนการไกล฽เกลี่ยเพิ่มมาอีก 4 ขั้นตอน ดังนี้ 5. การไกล฽เกลี่ย (Advocacy) เป็นภาคีที่สาม ที่คู฽เจรจาตกลงเชิญมาทําหน฾าที่ไกล฽เกลี่ย 6. การวางโครงรูปแบบ (Drafting) และร฽างถ฾อยคํา คณะกรรมการไกล฽เกลี่ยจะร฽างข฾อเสนอแนะใน ประเด็นเพื่อให฾ได฾ข฾อยุติของปัญหา บางกรณีอาจอยู฽ภายใต฾กรอบการควบคุมของการไกล฽เกลี่ย บางกรณีคู฽กรณี อาจตัดสินใจโดยอิสระ 7. การหารือ (Consultation) คู฽กรณีหารือกันใน ร฽าง (draft) ของคณะกรรมการไกล฽เกลี่ย 8. การต฽อรองเพื่อให฾ตนได฾สิ่งที่ต฾องการ (Negotiation) คู฽กรณีเจรจากันใน ร฽าง (draft) ของ คณะกรรมการไกล฽เกลี่ยหากทั้งสองฝุายพอใจและพร฾อมที่จะทําความตกลงกัน ถือว฽าสิ้นสุดขั้นตอนของ กระบวนการไกล฽เกลี่ย จากนั้นคู฽กรณีจะเข฾าสู฽ขั้นตอนปกติอีก 4 ขั้นตอนสุดท฾าย 9. การวางโครงรูปแบบ และร฽างถ฾อยคําสุดท฾าย (Final Draft) เป็นการร฽างความตกลงสุดท฾าย ตามผล การเจรจาที่ตกลงกันในขั้นตอนการไกล฽เกลี่ย (ข฾อ 8) 10. การมีผลบังคับของความตกลง (Validation) 11. การจัดการเพื่อรักษาเขตแดนทางทะเล (Administration) 12. การทบทวนความตกลง (Revision) 14

นอกจากการกําหนดเขตแดน (Delimitation) การปักปันเขตแดน (Demarcation) และการจัดทําโครง ร฽างเขตแดน (Delineation) แล฾ว การถือกําเนิดขึ้นของเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศที่มักถูกนํามาเป็นเหตุผล ในการอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนและนําไปสู฽ข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศ คือแนวคิดว฽าด฾วย การได้มาซึ่ง ดินแดนของรัฐ (Acquisition of State Territory) ซึ่งสามารถอธิบายรูปแบบและวิธีการของการได฾มาซึ่ง ดินแดนของรัฐ22 ดังนี้

2.1.6 การได้ดินแดนโดยการใช้อ านาจอธิปไตยเหนือดินแดน ได฾แก฽ การได฾ดินแดนมาโดยการ ครอบครอง (Occupation) และ การครอบครองปรปักษแ หรือ การได฾มาโดยอายุความ (Prescription)

การได้ดินแดนมาโดยการครอบครอง (Occupation) หมายถึง การกระทําของรัฐใดรัฐหนึ่งในการเข฾า ยึดครองเอาดินแดนใดดินแดนหนึ่ง โดยเจตนาที่จะได฾มาซึ่งอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้น โดยที่ในขณะนั้น ดินแดนนั้นไม฽ได฾อยู฽ภายใต฾อํานาจอธิปไตยของรัฐใดเลย ดังนั้น ดินแดนที่จะถูกครอบครองได฾ จึงได฾แก฽ ดินแดน ที่ยังไม฽เป็นของรัฐใด หรือที่เรียกว฽า ดินแดนไม฽มีเจ฾าของ (Terra Nullius) หรือ เป็นทรัพยแที่ไม฽มีเจ฾าของ (Res Nullius) การได฾ดินแดนมาโดยการครอบครอง จะต฾องปรากฏหลักฐานว฽า รัฐนั้นต฾องทําการครอบครองดินแดน นั้นอย฽างมีประสิทธิภาพ (Effective Occupation) มีการใช฾อํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นอย฽างแท฾จริง

การได้ดินแดนมาโดยการครอบครองปรปักษ์ หรือ การได้มาโดยอายุความ (Prescription) หมายถึง การที่รัฐใดรัฐหนึ่งได฾มาซึ่งอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนของรัฐอื่น โดยการเข฾าครอบครองดินแดนนั้นอย฽าง ต฽อเนื่อง สงบ เปิดเผย และไม฽มีการขัดขวางจากรัฐอื่น ในช฽วงระยะเวลานานเพียงพอที่รัฐสามารถก฽อตั้งสิทธิ การครอบครองปรปักษแ และมีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นได฾ ซึ่งหลักเกณฑแหรือเงื่อนไขในการอ฾างสิทธิ์ เพื่อให฾ดินแดนมาโดยการครอบครองปรปักษแมี 4 ประการ ได฾แก฽ 1. การครอบครองดินแดนนั้นต฾องกระทําโดยองคแอธิปัตยแ (Sovereign) 2. การครอบครองดินแดนนั้นต฾องกระทําโดยสงบ และไม฽ถูกรบกวนหรือขัดขวางจากรัฐอื่น (Peaceful and Uninterrupted) 3. การครอบครองดินแดนนั้นต฾องกระทําโดยเปิดเผยต฽อสาธารณชนทั่วไป (Public) 4. การครอบครองดินแดนนั้นต฾องกระทําอย฽างต฽อเนื่องในช฽วงระยะเวลาหนึ่ง (to endure a length of time) จะเห็นได฾ว฽า หลักการการได฾ดินแดนมาโดยการครอบครอง (Occupation) และ การครอบครองปรปักษแ (Prescription) มีความคล฾ายคลึงกัน คือ รัฐที่เข฾าไปครอบครองดินแดนนั้น ต฾องสามารถทําการครอบครองหรือ ควบคุมดินแดนนั้นได฾อย฽างมีประสิทธิภาพ (Effective Occupation or Effective Control) มีการใช฾อํานาจ อธิปไตยเหนือดินแดนนั้นอย฽างแท฾จริง และยังพบว฽าไม฽มีการแยกความแตกต฽างของหลักการได฾ดินแดนมาโดย การครอบครอง (Occupation) และการครอบครองปรปักษแ (Prescription) ที่ชัดเจน โดยเฉพาะกรณีเกาะเล็ก เกาะน฾อยที่ตั้งอยู฽ห฽างไกลออกไปในทะเล

22 จันตรี สินศุภฤกษแ. “กรณีพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแ: ทัศนะทางกฎมายและการเมือง,” ใน จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 127-128, สุรชาติ บํารุงสุข บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ: โครงการความมั่นคงศึกษา จุฬาลงกรณแมหาวิทยาลัย, กรกฎาคม- สิงหาคม 2556), หน฾า 13-22. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2557 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fG8EjI 15

การที่รัฐใดจะอ฾างสิทธิ์เพื่อให฾ได฾ดินแดนมา ต฾องมีหลักฐานที่แสดงให฾เห็นว฽า รัฐนั้นต฾องแสดงอํานาจ อธิปไตยเหนือดินแดนนั้นอย฽างแท฾จริง พยานหลักฐานที่แสดงถึงการใช฾อํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนอาจเป็น การกระทําดังต฽อไปนี้ เช฽น - การเข฾าไปก฽อสร฾างประภาคาร สนามบิน ฐานทัพ สิ่งปลูกสร฾างต฽างๆ บนดินแดนนั้น - การกระทําที่เกี่ยวข฾องกับการใช฾อํานาจนิติบัญญัติอํานาจบริหารเหนือดินแดนดังกล฽าว - การให฾สัมปทานแก฽บริษัทต฽างชาติเพื่อขุดเจาะน้ํามันสํารวจแร฽หรือทําการประมง - การใช฾อํานาจรัฐทางอาญาเหนือการกระทําบนดินแดนนั้น - การทําสนธิสัญญากับรัฐอื่นซึ่งเป็นการแสดงถึงการยอมรับอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้น - การเข฾าไปสอบสวนเหตุการณแต฽างๆที่เกิดขึ้นในบริเวณน฽านน้ําใกล฾ดินแดนหรือเกาะนั้น - การพิมพแแผนที่เผยแพร฽ซึ่งแสดงให฾เห็นว฽ารัฐนั้นเป็นเจ฾าของดินแดนนั้น ฯลฯ

2.1.7 การได้ดินแดนโดยใช้หลักการยอมรับโดยปริยาย หรือ ไม่มีข้อโต้แย้ง (Acquiescence) และ การประท้วงหรือคัดค้าน (Protest) หมายถึง การที่รัฐอาจได฾ดินแดนมาจากการกระทําหรือปฏิกิริยา (Reaction) ของอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะปฏิกิริยาของรัฐที่อ฾างอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นอยู฽ด฾วย เช฽น หาก รัฐ A อ฾างอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนแห฽งหนึ่ง และทําการคัดค฾านหรือต฽อต฾านรัฐ B ซึ่งได฾ใช฾อํานาจอธิปไตย เหนือดินแดนนั้น การกระทําเช฽นว฽านั้นจะมีผลทําให฾ข฾อกล฽าวอ฾างการใช฾อํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนของรัฐ B อ฽อนลงไปอย฽างมาก ในทางตรงกันข฾ามหากรัฐ A ไม฽ได฾ทําการคัดค฾านหรือต฽อต฾านการใช฾อํานาจอธิปไตยของรัฐ B แต฽อย฽างใด เช฽นนี้แล฾วกฎหมายถือว฽ารัฐ A ได฾ยอมรับการใช฾อํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นของรัฐ B โดย ปริยาย (acquiescence) ทําให฾รัฐ B ได฾มาซึ่งอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนดังกล฽าว ตามหลักการยอมรับโดย ปริยาย หรือ ไม฽มีข฾อโต฾แย฾ง (Acquiescence) หลักการยอมรับ (Recognition) และ หลักการถูกตัดสิทธิ์ (Preclusion) หรือ หลักกฎหมายปิดปาก (Estoppel) นั่นเอง

2.1.8 ความใกล้เคียงในทางภูมิศาสตร์ (Geographic Contiguity) หมายถึง การที่รัฐอ฾างสิทธิ์เหนือ ดินแดนหลักสภาพที่ตั้งใกล฾เคียงทางภูมิศาสตรแ (Geographic Contiguity) เช฽น การอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนหมู฽ เกาะ โดยอ฾างว฽าเกาะบางเกาะและลักษณะทางภูมิศาสตรแ (Geographic Features) บางอย฽างในบริเวณหมู฽ เกาะตั้งอยู฽ในเขตไหลทวีป และเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐ ดังนั้น เกาะเหล฽านี้ก็ควรเป็นของรัฐที่อ฾างสิทธิ์ด฾วย ตามหลักแห฽งความยุติธรรม (fairness) โดยเฉพาะ ถ฾าเกาะหรือลักษณะทางภูมิศาสตรแนั้น ยังไม฽เคยมีรัฐใดเข฾า ครอบครองหรือควบคุมอย฽างมีประสิทธิภาพมาก฽อน แต฽ถ฾าจะพิจารณาตามหลักกฎหมายระหว฽างประเทศจะ พบว฽า การอ฾างหลักความใกล฾เคียงทางภูมิศาสตรแแต฽เพียงประการเดียว มิใช฽ฐานทางกฎหมายที่จะทําให฾รัฐได฾ ดินแดนที่อ฾างสิทธิ์เสมอไป เพราะยังจําต฾องต฾องมีหลักฐานของการเข฾าไปใช฾อํานาจอธิปไตยอย฽างต฽อเนื่อง สงบ และมีประสิทธิภาพเหนือเกาะซึ่งเป็นดินแดนที่ไม฽มีเจ฾าของ (terra nullius) ด฾วย โดยเฉพาะอย฽างยิ่ง ถ฾าเกาะ นั้นมีรัฐอื่นอ฾างสิทธิ์อธิปไตยอยู฽ด฾วยในขณะเดียวกัน

2.1.9 การได้ดินแดนโดยใช้ก าลัง (Use of Force-Conquest) หมายถึง การได฾ดินแดนมาจากการยึด ครองโดยการรบชนะหรือใช฾กําลังของรัฐใดรัฐหนึ่งเหนือดินแดนของรัฐอื่น โดยสามารถใช฾อํานาจอธิปไตยเหนือ ดินแดนนั้น ซึ่งในสมัยก฽อนอาจยึดครองโดยการรบ การใช฾กําลังจนได฾รับชัยชนะ แล฾วผนวกดินแดนเข฾าเป็นส฽วน หนึ่งของรัฐ แต฽ในปัจจุบัน การใช฾กําลังเข฾ายึดครองเป็นสิ่งต฾องห฾ามตามมาตรา 10 ของสันนิบาตชาติ (League of Nations Covenant) และสนธิสัญญาทั่วไปว฽าด฾วยการยุติสงคราม ปี 2471/1928 (General Treaty for 16 the Renunciation of War of 1928) และกฎบัตรสหประชาชาติ (The United Nations Charter) และข฾อ มติของสมัชชาใหญ฽แห฽งสหประชาชาติว฽าด฾วยการรุกราน 2517/1974 (1974 G.A. Resolution on “Aggression”) รวมทั้ง วิวัฒนาการของกฎหมายจารีตประเพณีระหว฽างประเทศได฾เปลี่ยนแปลงไปจาก บทบัญญัติในส฽วนที่เกี่ยวกับการยึดครองดินแดนในปฏิญญาว฽าด฾วยหลักกฎหมายระหว฽างประเทศซึ่งยอมรับโดย สมัชชาใหญ฽แห฽งสหประชาชาติ ปี 2513/1970 (1970 Declaration of Principles of International Law) ด฾วย กล฽าวโดยสรุป การใช฾กําลังเพื่อให฾ได฾มาซึ่งดินแดนของรัฐอื่นเป็นการกระทําที่ไม฽ชอบด฾วยกฎหมายระหว฽าง ประเทศและจะไม฽มีการรับรองการได฾มาซึ่งดินแดนโดยการใช฾กําลังอย฽างเด็ดขาด

2.1.10 การได้มาซึ่งดินแดนจากการยกให้จากรัฐอื่น (Cession) หมายถึง การที่รัฐเจ฾าของดินแดนได฾ โอนอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนให฾แก฽รัฐผู฾รับโอนจากเหตุการณแในประวัติศาสตรแ ปรากฏการณแยกหรือโอน ดินแดนให฾รัฐอื่นอาจมีค฽าตอบแทนหรือไม฽ก็ได฾ อาจเป็นไปในลักษณะของการขายหรือการยกให฾ก็ได฾ หรืออาจ เกิดจากความตกลงเพื่อระงับข฾อพิพาทหรืออาจเป็นส฽วนหนึ่งของการจัดการหรือตระเตรียมการบางอย฽าง เช฽น ความตกลงระหว฽างสหราชอาณาจักรกับจีน ในปี 2427/1984 ซึ่งสหราชอาณาจักรโอนอํานาจอธิปไตยเหนือ เกาะฮ฽องกงให฾แก฽จีน หรือ การเช฽า เช฽น จีนให฾อังกฤษเช฽าเกาะฮ฽องกง ให฾เยอรมนีเช฽าเมืองเกียวเจา ให฾ฝรั่งเศส เช฽ากวางโจว ให฾รัสเซียเช฽าพอรแทอารแเธอรแ (Port Arther) เป็นต฾น และรูปแบบของการยกดินแดนให฾ (Form of Cession) มักจะมีการทําผ฽านสนธิสัญญา (Formal Treaty)

2.2 แนวคิดว่าด้วยข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศ จากงานศึกษาของ เจ.อารแ.วี. เพรสคอททแ (J.R.V. Prescott) เรื่อง “ภูมิศาสตรแของชายแดนและเส฾นเขต แดน (The Geography of Frontier and Boundaries)”23 ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับปัญหาข฾อ พิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศ โดยแบ฽งข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศ ออกเป็น 4 ประเภท ได฾แก฽ 1. ข้อพิพาทอาณาเขต (territorial dispute) เป็นข฾อพิพาทที่เป็นผลมาจากคุณสมบัติบางประการของ พื้นที่ชายแดน (borderland) ซึ่งทําให฾มีความน฽าดึงดูดใจต฽อรัฐจนเกิดข฾อพิพาทขึ้น 2. ข้อพิพาทแนวเขต (positional dispute) เป็นข฾อพิพาทที่เกี่ยวข฾องกับตําแหน฽งที่ตั้งที่แท฾จริงของเส฾น เขตแดน และมักจะเกี่ยวข฾องกับข฾อถกเถียงเหนือการตีความคํานิยามการกําหนดขอบเขตของเส฾นเขตแดน 3. ข้อพิพาททางการใช้งาน (functional dispute) เป็นข฾อพิพาทที่เกิดขึ้นบนภารกิจของรัฐที่ต฾อง ปฏิบัติการบริเวณชายแดน และ 4. ข้อพิพาทเหนือการพัฒนาทรัพยากร (disputes over resource development) เป็นข฾อพิพาท เกี่ยวกับการใช฾ทรัพยากรข฾ามพรมแดน (transboundary resource) บางประการ เช฽น แม฽น้ํา หรือ แหล฽ง สินแร฽ เป็นต฾น ซึ่งข฾อพิพาทประเภทนี้ มักจะมีจุดประสงคแเพื่อการสร฾างองคแกรมาบริหารการใช฾ทรัพยากรนั้นๆ ซึ่งทั้ง “ข฾อพิพาทอาณาเขต” และ “ข฾อพิพาทแนวเขต” ต฽างมีจุดมุ฽งหมายเพื่อการเปลี่ยนตําแหน฽งที่ แท฾จริงของ “เส฾นเขตแดน” แต฽ “ข฾อพิพาททางการใช฾งาน” และ “ข฾อพิพาทเหนือการพัฒนาทรัพยากร” อาจ ไม฽มีความจําเป็นต฾องเปลี่ยนแปลงตําแหน฽งของเส฾นเขตแดนใดๆ

23 Prescott, J.R.V. The Geography of Frontier and Boundaries (London: Hutchinson University Library, 1965), pp.109-151. 17

2.2.1 ข้อพิพาทอาณาเขต (territorial dispute) เป็นที่ทราบดีในทางทฤษฎีว฽า หากรัฐใดอยู฽ในสถานะที่รู฾สึกว฽าตนเองมีความแข็งแกร฽งพอ รัฐนั้นอาจทํา การอ฾างสิทธิ์เพื่อเรียกร฾องดินแดน ซึ่งโดยมากแล฾วไม฽มีพื้นฐานข฾อเท็จจริง แต฽ในกรณีส฽วนใหญ฽ การโต฾แย฾งจะ เกิดขึ้นจากความไม฽ชัดเจนในเชิงหลักฐานข฾อมูล และมักหยิบยกเหตุผลต฽างๆ นานาขึ้นมาเพื่อสร฾างความชอบ ธรรม และในบางครั้งเส฾นเขตแดนก็ไม฽สอดคล฾องกับความเป็นจริงทางภูมิศาสตรแหรือลักษณะทางวัฒนธรรมใน พื้นที่ เนื่องจากเป็นการประนีประนอมระหว฽างความต฾องการทางยุทธศาสตรแ ความต฾องการทางเศรษฐกิจ และ ความต฾องการเชิงชาติพันธุแ เส฾นเขตแดนส฽วนใหญ฽มักจะมีระดับของความไม฽สอดคล฾องกันบางอย฽าง และใน หลายกรณีก็ไม฽มีเหตุผลเพียงพอที่จะทําให฾เกิดปัญหาข฾อพิพาทได฾ เส฾นเขตแดนอาจจะถูกซ฾อนทับโดยอํานาจ อาณานิคม เช฽น เส฾นเขตแดนของอาณานิคมในแอฟริกาและเอเชีย หรือ การที่รัฐมีชัยชนะในสงครามบนอาณา บริเวณที่มีการตั้งรกรากอยู฽ก฽อนแล฾ว นอกจากนี้ ยังเป็นไปได฾ที่ข฾อพิพาทจะเกิดขึ้นภายหลังจากการมีเส฾นเขต แดน โดยการสร฾างเงื่อนไขเพื่ออ฾างสิทธิ์เรียกร฾องดินแดนในภายหลัง เช฽น เมื่อเปรู ชิลี และ โบลิเวีย ถูกสถาปนา ขึ้น มีการค฾นพบแหล฽งทรัพยากรที่มีค฽ามหาศาล เช฽น ปุ฻ยขี้นก (guano) และไนเตรต (nitrate) ตามแนวชายฝั่ง ทะเลของทั้ง 3 ประเทศ โดยเฉพาะอย฽างยิ่งในโบลิเวีย ทั้งนี้ในเปรู แหล฽งทรัพยากรอยู฽ภายใต฾การผูกขาดของ รัฐบาล ในขณะที่ทางตอนเหนือของชิลีและภาคใต฾ของโบลิเวีย แหล฽งทรัพยากรอยู฽ภายใต฾สัมปทานของ บริษัทเอกชน ปัญหาเกิดขึ้นเมื่อชิลีใช฾แรงงานคนในการเก็บทรัพยากรในพื้นที่ใกล฾กับชายแดนโบลิเวีย ทําให฾ บางครั้งแรงงานจากฝั่งชิลีเดินข฾ามเข฾าไปเก็บปุ฻ยขี้นกในฝั่งของโบลิเวียด฾วย โบลิเวียจึงต฾องประกาศอ฾างสิทธิ์ของ ตนเหนือดินแดนบนชายฝั่งทะเลของโบลิเวียเอง โดยปกติแล฾ว เส฾นเขตแดนควรทําหน฾าที่แบ฽งดินแดนของรัฐที่อยู฽ใกล฾เคียงกัน แต฽ในบางครั้งดินแดน ดังกล฽าวมีคุณสมบัติที่น฽าดึงดูดใจบางประการ ทําให฾เกิดการอ฾างสิทธิ์ของรัฐและนําไปสู฽ข฾อพิพาท ซึ่งส฽วนใหญ฽ มักเกิดขึ้นจากเงื่อนไขของสถานการณแบางอย฽าง ซึ่งตัวเส฾นเขตแดนเองไม฽ได฾สร฾างปัญหามาเป็นเวลานาน จะ กระทั่งมีการสร฾างสถานการณแขึ้น และการสร฾างสถานการณแเหล฽านั้นมักเกี่ยวข฾องกับการเปลี่ยนแปลงบางอย฽าง ภายในรัฐบาล หรือ นโยบายของรัฐบาล หรือ ความกังวลอย฽างมากในบางเรื่องของรัฐบาล เช฽น การอ฾างสิทธิ์ ของฟิลิปปินสแในพื้นที่บอรแเนียวเหนือ (North Borneo) ซึ่งปัจจุบันคือรัฐซาบาหแ (Sabah) ของมาเลซีย เกิด จากนโยบายที่จะสร฾างสหพันธรัฐมาเลเซีย (Federation of Malaysia) โดยการรวมดินแดนในแหลมมลายู สิงคโปรแ ซาราวัก บรูไน และบอรแเนียวเหนือ ผู฾สังเกตการณแส฽วนใหญ฽มองว฽า การอ฾างสิทธิ์ของฟิลิปปินสแเป็น เพียงเครื่องมือขัดขวางการสถาปนาสหพันธรัฐมาเลเซีย โดยฟิลิปปินสแมีความกังวลว฽าจะกลายเป็นภัยคุกคาม คอมมิวนิสตแต฽อฟิลิปินสแเอง กรณีความขัดแย฾งระหว฽างจีนกับอินเดียเหนือพื้นที่ชายแดนระหว฽างลาดักหแ (Ladakh) กับพรมแดนทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะไม฽เกิดขึ้น จนกระทั่งจีนประสบความสําเร็จในการสถาปนาอํานาจเต็มภายประเทศ และสามารถเข฾าไปใช฾อํานาจของตนเองควบคุมดินแดนทิเบตได฾ นโยบายต฽างประเทศของจีนมุ฽งเปูาไปที่การ สร฾างเส฾นเขตแดนที่ชัดเจนกับประเทศเพื่อนบ฾าน ได฾แก฽ มองโกเลีย พม฽า และ ปากีสถาน ซึ่งเป็นนโยบาย ต฽อต฾านการยอมรับเส฾นเขตแดนที่ถูกกําหนดขึ้นโดยอํานาจอาณานิคมตามแนวชายฝั่ง เราอาจตั้งข฾อสังเกตได฾ว฽า รัฐไม฽ค฽อยเลือกวิธีการเจรจาเมื่อตนเองอยู฽ในฐานะที่อ฽อนแอกว฽า และ การเปลี่ยนแปลงอย฽างฉับพลันของ อํานาจรัฐมีผลต฽อการเพิ่มจํานวนการอ฾างสิทธิ์เพื่อทวงเอาดินแดนกลับคืน หลังจากการสิ้นสุดสงครามครั้งใหญ฽ ก็มักจะมีข฾อพิพาทดินแดนของศัตรูโดยฝุายผู฾ชนะเสมอ ตัวอย฽างเช฽น กรณีของโปรตุเกสในที่ประชุมสันติภาพ แวรแซาย (Versailles Peace Conference) ปี 2462/1919 ระหว฽างการแย฽งชิงดินแดนอาณานิคมในทวีป แอฟริกา เส฾นเขตแดนระหว฽าโปรตุเกสกับเยอรมันในแอฟริกาตะวันออกถูกกําหนดไว฾ที่บริเวณปากแม฽น้ําโรวูมา (Rovuma) ในปี 2429/1886 เยอรมนีอ฾างสิทธิ์เหนือพื้นที่สามเหลี่ยมกิอองก฾า (Kionga triangle) ออกไปทาง 18

ทิศใต฾ของแม฽น้ําโรวูมา และข฽มขู฽โปรตุเกสให฾ยกพื้นที่ดังกล฽าวแก฽เยอรมันในปี 2437/1894 แต฽หลังจากเยอรมนี พ฽ายแพ฾ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ปี 2461/1918 โปรตุเกสจึงขอคืนพื้นที่ดังกล฽าวในที่ประชุมสันติภาพ ในบางกรณี การทวงดินแดนกลับคืนก็เกิดจากการกระทําแต฽ฝุายเดียวของรัฐ เช฽น ในปี 2458/1915 และ 2470/1927 กัวเตมาลาได฾มอบดินแดนที่อยู฽ระหว฽างแม฽น้ํามาตากัว (Matagua River) กับภูเขาเมเรดอน (Meredon Mountains) ให฾แก฽บริษัทผลไม฾อเมริกัน (American Fruit Company) ทําให฾ฮอนดูรัสทําการอ฾าง สิทธิ์เหนือดินแดนแห฽งนี้ซึ่งไม฽มีการครอบครองเป็นเวลานาน ในทํานองเดียวกัน นิการากัวได฾ออกใบอนุญาต การเช฽าพื้นที่ให฾แก฽สหรัฐอเมริกาโดยการทําสัญญา 99 ปี บนเกาะเกรท (Great Island) และเกาะลิตเติ้ลคอรแน (Little Corn Island) ทําให฾โคลัมเบียประกาศอ฾างสิทธิ์ว฽า แต฽เดิมหมู฽เกาะทั้งสองนี้เป็นส฽วนหนึ่งของจังหวัดเว รากัว (Veragua) ดังนั้นจึงเป็นกรรมสิทธิ์ของโคลัมเบียภายตามหลักการตกทอดของดินแดนจากเจ้าอาณา นิคม (uti possidetis) นอกจากนี้ ยังมีเหตุผลการอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนของรัฐในแบบอื่นๆ เช฽น ปี 2505/1962 อินโดนีเซีย อ฾างสิทธิ์ในดินแดนอีเรียนตะวันตก (West Irian) ซึ่งนักวิเคราะหแมองว฽า เกิดจากเหตุผลภายประเทศเพื่อ เบี่ยงเบนความสนใจของประชาชนจากสภาพเศรษฐกิจที่ย่ําแย฽ที่สุดของรัฐบาล ทําให฾เกิดการตั้งคําถามต฽อ จุดประสงคแที่แท฾จริงของการพยายามหยิบยกยกเอาข฾อพิพาทเขตแดนขึ้นมาเป็นประเด็นของรัฐ ซึ่งดูเหมือนว฽า จะมีเปูาหมายพื้นฐานอยู฽หลักๆ 2 ประการ ประการแรก คือ เพื่อสร฾างความเข฾มแข็งให฾รัฐบาลโดยการเพิ่ม ดินแดนที่มีคุณสมบัติน฽าดึงดูดบางอย฽างในแง฽ยุทธศาสตรแความมั่งคั่งของประเทศ และ ประการที่สอง คือ เพื่อ ใช฾เป็นข฾ออ฾างเชิงนโยบายของรัฐบาล เช฽น การอ฾างสิทธิ์ของฟิลิปปินสแในดินแดนบอรแเนียวเหนือ การอ฾างสิทธิ์ ของอินโดนีเซียในดินแดนอีเรียนตะวันตก หรือ การอ฾างสิทธิ์ระหว฽างจีนกับอินเดีย โดยอ฾างเหตุผลว฽าต฾องการที่ จะบังคับให฾อินเดียเปลี่ยนแปลงงบประมาณจากโครงการทางเศรษฐกิจมาเป็นการใช฾จ฽ายในด฾านการปูองกัน ประเทศ อย฽างไรก็ตาม เป็นไปได฾ยากที่จะหาเหตุผลที่แน฽นอนมายืนยันว฽า จุดมุ฽งหมายของรัฐในเรื่องการอ฾าง สิทธิ์ดินแดนคืออะไร เพราะเป็นนโยบายลับของรัฐบาลทําให฾ยากที่จะทราบความจริงในขณะนั้นได฾ แต฽สามารถ ที่จะสืบทราบและยืนยันได฾หลังจากเหตุการณแนั้นเกิดขึ้นและผ฽านไปแล฾วเป็นเวลานาน การอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนในกรณีอื่น เกี่ยวข฾องกับการพิชิตดินแดน (conquest) หรือ การยกให฾ (cession) เช฽น การผนวกรัฐอิสระออเรนจแ (Orange Free State) และ ทรานสแวาล (Transvaal) โดยสห ราชอาณาจักร ในปี 2443/1900 เกิดขึ้นจากการเข฾าพิชิตดินแดนและสันนิษฐานว฽ารัฐบาลอินเดียที่เมืองกัว (Goa) ก็ไห฾การสนับสนุน โดยทั่วไปแล฾วคําว฽า “การยกให฾ (cession)” มีความชัดเจนว฽าจะไม฽กลายเป็นประเด็น ข฾อพิพาท แม฾ว฽าการยกดินแดนให฾จะเกิดขึ้นภายใต฾แรงกดกัน เช฽น กรณีที่โปรตุเกสยกดินแดนสามเหลี่ยมกิ อองก฾า (Kionga triangle) และ เช็กโกสโลวาเกีย (Czechoslovakia) แก฽ให฾เยอรมนีในปี 2481/1938 เมื่อเกิดความกดดันขึ้น รัฐที่ได฾รับผลกระทบมักจะอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนทุกครั้งที่มีโอกาส เช฽น กรณีการ ถอนกําลังออกจากดินแดนต฽างๆ ของเจ฾าอาณานิคม หลังการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 หมายความว฽า มีการใช฾อํานาจทางการปกครองในดินแดนอย฽างต฽อเนื่องเป็นระยะเวลาที่แสดงให฾เห็นว฽าการ กระทําดังกล฽าวเป็นไปตามกฎหมายระหว฽างประเทศ ตัวอย฽างที่ชัดเจนที่สุดในปัจจุบันของการอ฾างสิทธิ์ทาง กฎหมาย คือ กรณีที่ฟิลิปปินสแอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo) ในปี 2420/1877 – 2421/1878 บริษัทอังกฤษได฾รับโอนสิทธิ์การครอบครองดินแดนและหมู฽เกาะใกล฾เคียงใน บอรแเนียวเหนือมาจากสุลต฽านแห฽งซูลู (Sultan of Sulu) โดยอังกฤษตกลงจะจ฽ายค฽าตอบแทนเป็นเงินรายปี ให฾แก฽สุลต฽าน จากคําแปลฉบับภาษาอังกฤษของข฾อความในสนธิสัญญาระบุว฽า “ดินแดนถูกยกให฾และประทานให฾โดย ถาวรและเป็นกรรมสิทธิ์ตลอดชีพ (the land was ceded and granted forever and in perpetuity)” ใน 19

ปี 2424/1881 บริษัทอังกฤษถูกควบรวมกิจการโดยบริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ซึ่งได฾รับพระราชทานตราตั้งในปีเดียวกัน ในปี 2426/1883 ดินแดนดังกล฽าวกลายเป็นรัฐ ในอารักขาของอังกฤษ (British protectorate) และ ในปี 2446/1903 มีการลงนามยืนยันในเอกสารสิทธิ์การ ถือครองที่ดินโดยสุลต฽าน ซึ่งระบุข฾อความเกี่ยวกับอาณาบริเวณครอบคลุมพื้นที่เกาะซึ่งไม฽ได฾รับการเอ฽ยชื่อใน สนธิสัญญาฉบับดั้งเดิม และในปี 2489/1946 ดินแดนนี้ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ (British Colony) การอ฾างสิทธิ์ของฟิลิปปินสแในตอนแรกตั้งอยู฽บนเหตุผลที่ว฽า สุลต฽านไม฽มีอํานาจลงนามในสนธิสัญญาได฾ เนื่องจากดินแดนนี้และตัวสุลต฽านเองอยู฽ภายใต฾อํานาจอธิปไตยของสเปน ข฾อโต฾แย฾งนี้ไม฽เกิดผลใดๆ เนื่องจาก อังกฤษไม฽ยอมรับสนธิสัญญาที่สเปนเคยทํากับสุลต฽านใน ปี 2379/1836, 2394/1851 และ 2407/1864 เนื่องจากสเปนไม฽มีอํานาจควบคุมอังกฤษได฾ นอกจากนี้ ในปี 2428/1885 สเปนเคยประกาศสละสิทธิ์ของตน เหนือดินแดนหมู฽เกาะซูลู (Sulu archipelago) เพื่อเป็นการตอบแทนให฾แก฽อังกฤษ ในปี 2441/1898 สหรัฐอเมริกาเข฾ามาครอบครองดินแดนนี้แทนสเปนในฐานะมหาอํานาจใหม฽เหนือดินแดนแห฽งนี้ และอังกฤษได฾ ให฾การรับรองสถานะของอเมริกา ในปี 2473/1930 ดังนั้น รัฐบาลฟิลิปปินสแจึงอาศัยหลักการอ฾างสิทธิ์โดย ตีความสนธิสัญญาว฽า การยกดินแดนดังกล฽าวให฾อังกฤษไม฽ได฾เป็นการยกให฾อย฽างไม฽มีเงื่อนไข แต฽เป็นการทํา สัญญาให฾เช฽า (lease) การตีความเช฽นนี้เกิดจากการแปลภาษามลายู คําว฽า “padak” ซึ่งไม฽ได฾มีความหมายตรง กับคําว฽า “ประทาน และ ยกให้ (granted and ceded)” อย฽างไรก็ตาม รัฐผู฾อ฾างสิทธิ์ไม฽ค฽อยหยิบยกประเด็น การตีความสนธิสัญญาเพียงหนึ่งบรรทัดขึ้นมาเป็นเหตุผล แต฽บ฽อยครั้งที่ข฾อโต฾แย฾งทางกฎหมายถูกสนับสนุนโดย ประเด็นที่ไม฽ใช฽ข฾อกฎหมาย ที่มักเกิดขึ้นจากเหตุผลในทางประวัติศาสตรแ ภูมิศาสตรแ ยุทธศาสตรแ เศรษฐกิจ และชาติพันธุแ โดยข฾อโต฾แย฾งทางภูมิศาสตรแ มักถูกออกแบบมาเพื่อแสดงความปรารถนาในการขยายอาณาเขตของรัฐ โดยพยายามหาเหตุผลทําให฾เส฾นเขตแดนตรงกับคุณลักษณะทางกายภาพบางอย฽างหรือแสดงให฾เห็นพื้นฐาน ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของดินแดน เช฽น หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ข฾อพิพาทระหว฽างโรมาเนียกับ ยูโกสลาเวียเหนือดินแดนบานาท (Banat) ซึ่งแบ฽งเขตแดนโดยใช฾แม฽น้ําดานูบ (Danube) แม฽น้ําทิสซา (Tisza) และแม฽น้ํามูเร็ค (Murec) ครอบคลุมพื้นที่หุบเขาดราวา (Drava valley) ไปทางทิศตะวันตก ซี่งมีประชากร ดั้งเดิมเป็นชาวแม็กยารแ (Magyar) เซอรแโบ-โครท (Serbo-Croat) และชาวรูเมเนียน (Rumanian) ฝุาย ยูโกสลาเวียอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนตอนล฽างของภาคกลางและภาคตะวันตก ในขณะที่ฝุายโรมาเนียอ฾างสิทธิ์ เหนือดินแดนทั้งหมด ข฾ออ฾างดังกล฽าวมีพื้นฐานมาจาก “พรมแดนตามธรรมชาติ (natural frontiers)” ซึ่งแนว แม฽น้ําต฽างๆ ทําให฾เกิดลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบและเนินเขาไปทางทิศตะวันออก และพื้นที่ราบมีความ เหมาะสมในการอยู฽อาศัยของผู฾คน นอกจากนี้ รายงานการเจรจาเขตแดนระหว฽างจีนกับอินเดีย แสดงให฾เห็นว฽า อินเดียอ฾างเหตุผล “พรมแดนตามธรรมชาติ (natural frontiers)” ซึ่งทําให฾เกิดสันปันน้ําของเทือกเขาหิมาลัย และมีการตั้งข฾อสังเกตว฽า “พรมแดนตามธรรมชาติ (natural frontiers)” เป็นหนึ่งในเหตุผลที่รัฐใช฾อ฾างเพื่อ การขยายอาณาเขตของตน และไม฽มีรายงานเกี่ยวกับการที่รัฐต฾องการยกเลิกหลักการ “พรมแดนตามธรรมชาติ (natural frontiers)” การอ฾างสิทธิ์ของจีนเหนือดินแดนหิมาลัย (The cis-Himalayan zone) ในลาดั๊กหแ (Ladakh) และภาคเหนือของรัฐอัสสัม (Assam) เป็นอ฾างสิทธิ์ในตําแหน฽งการปูองกันช฽องเขาที่แข็งแรง และ เป็นตําแหน฽งของการรุกรานเพื่อการขยายดินแดนออกไปทางทิศใต฾ในอนาคต ข฾อโต฾แย฾งทางเศรษฐกิจเพื่อการสนับสนุนการอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดน มักถูกออกแบบมาเพื่อแสดงให฾เห็น ถึงการรวมกลุ฽มทางเศรษฐกิจในอาณาบริเวณเดียวกัน และจําเป็นที่จะต฾องอ฾างว฽ามีเส฾นทางการค฾าหรือมี ค฽าใช฾จ฽ายในพื้นที่เพื่อซ฽อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นในช฽วงสงคราม การอ฾างสิทธิ์ของเช็กโกสโลวาเกียเหนือ ดินแดนอําเภอเทสเชน (Teschen district) ของแคว฾นซิเลเซีย (Silesia) วางอยู฽บนข฾อโต฾แย฾งทางเศรษฐกิจ 2 20

ประการ ประการแรก ดินแดนเปรสตัดทแ (Freistadt) ถือว฽าเป็นเขตอุตสาหกรรมออสตราวา (Ostrava) เนื่องจากโรงหล฽อโลหะต฾องอาศัยถ฽านหินจากคารแนิวา (Karvina) และถ฽านหินก็ยังจําเป็นมากในโบฮีเมีย (Bohemia) และโมราเวีย (Moravia) ประการที่สอง รัฐบาลเช็กโกสโลวาเกีย อ฾างว฽าเส฾นทางรถไฟสายโอเดอรแ เบิรแก-จับลุนกา-ซิลเลี่ยน (Olderberg-Jablunka-Sillein Railway) มีความสําคัญอย฽างยิ่ง เนื่องจากเป็น เสมือนเส฾นโลหิตใหญ฽ที่เชื่อมต฽อสโลวาเกียกับโบฮีเมียและโมราเวีย เส฾นทางรถไฟพาดผ฽านช฽องเขาวลาร฽า (Vlara) ซึ่งโปแลนดแอ฾างว฽าสามารถพัฒนาได฾ แต฽ต฾องได฾รับการพิจารณาจากเช็ก เนื่องจากลักษณะของภูมิ ประเทศดังกล฽าวเป็นพื้นที่ซึ่งมีความสูงชันเป็นอย฽างมาก เส฾นทางรถไฟสายอื่นๆ จากเบรคลาวา (Breclava) ไป ยังบราติสลาวา (Bratislava) ก็อยู฽ไกลเกินไปทางทิศใต฾ โปแลนดแจึงนําเอาข฾อโต฾แย฾งในทางเศรษฐกิจนี้ไปกลับไป พัฒนาพื้นที่ทางตะวันออกในแคว฾นซิบสแ (Zips) และ โอราวา (Orava) เนื่องจากพื้นที่สูงมีคนที่พูดภาษาถิ่น ระหว฽างเช็กโกสโลวาเกียและโปแลนดแ ซึ่งถูกอ฾างว฽าพวกเขาอาศัยอยู฽ใกล฾กับเมืองคราโกว (Cracow) เพราะ สื่อสารภาษาได฾เข฾าใจง฽ายกว฽าเมืองคราโลฟวานี่ (Kralovany) ในเช็ค การอ฾างสิทธิ์ค฽าชดเชยต฽อความเสียหายในทรัพยแสินและประชากรในช฽วงสงคราม ถูกหยืบยกขึ้นมาเพื่อ เป็นเหตุผลในการต฽อต฾านอาณานิคมเยอรมัน เช฽น การอ฾างสิทธิ์ของเบลเยียมในดินแดนรวันดา-อูรุนดี (Rwanda-Urundi) การขยายดินแดนของโปแลนดแไปยังโอเดอรแ-เนซซี (Oder-Neisse) ถูกมองว฽าเป็นค฽าชดเชย ต฽อความเสียหายจากการกระทําของเยอรมัน หรือการเสียดินแดนให฾รัสเซีย นอกจากนี้ กรณีที่รัฐยึดดินแดน ตามสัญญาเพื่อการดําเนินงานร฽วมกับรัฐอื่น เช฽น ในปี 2458/1915 สนธิสัญญาลอนดอนระหว฽างอิตาลีกับ มหาอํานาจฝุายสัมพันธมิตร ซึ่งอิตาลีตกลงที่จะนํากองกําลังเข฾าร฽วมในการทําสงคราม ภายใต฾สนธิสัญญานี้ ดินแดนตามสัญญาจึงถูกกําหนดขึ้น ในกรณีดินแดนทั้งหมดหรือบางส฽วนของตุรกี อิตาลีจะได฾รับส฽วนแบ฽งบาง พื้นที่ของดินแดนเมดิเตอรแเรเนียน (Mediterranean) ซึ่งอยู฽ติดกับจังหวัดอาดาเลีย (Adalia) ในกรณีของ ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรในการขยายดินแดนอาณานิคมในทวีปแอฟริกาซึ่งเป็นค฽าใช฾จ฽ายของเยอรมนี ประเทศมหาอํานาจเหล฽านั้นตกลงในหลักการที่ว฽า อิตาลีอาจอ฾างสิทธิ์ค฽าชดเชยที่เป็นธรรม โดยเฉพาะอย฽างยิ่ง การตั้งถิ่นฐานตามความต฾องการของตนบนอาณานิคมของอิตาลีในดินแดนเอริเทรีย (Eritrea) โซมาลิแลนดแ (Somaliland) และลิเบีย (Libya) การอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนชาติพันธุแ มักขึ้นอยู฽กับลักษณะทางสัญชาติ เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมและ ประวัติศาสตรแ ในกรณีการตั้งถิ่นฐานของโปแลนดแและบางรัฐในบอลข฽าน (Balkan) หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มี ความพยายามที่จะกําหนดเส฾นเขตแดนขึ้นเพื่อลดจํานวนประชากรที่เป็นชนกลุ฽มน฾อยลง ความไม฽แน฽นอนของ ประชากรในพื้นที่ชายแดนของยุโรป ทําให฾เป็นไปได฾ยากที่จะกําหนดเส฾นเขตแดนซึ่งสามารถแยกกลุ฽มชาติพันธุแ ออกจากกันได฾อย฽างชัดเจน และในบางภูมิภาค เช฽น บานาทตะวันตก (Western Banat) ดังที่กล฽าวไปแล฾ว ข฾างต฾น ก็มีส฽วนผสมที่ซับซ฾อนของชาวยูโกสลาฟ (Yugoslavs) ชาวรูเมเนียน (Rumanians) ชาวมักยารแส (Magyars) และชาวเยอรมัน ในขณะที่ดินแดนอารแกีโร-คาสโตร (Argyro-Castro) ซึ่งกรีซอ฾างสิทธิ์โดยเหตุผล ที่ว฽าประชากรส฽วนใหญ฽ในชนบทของกรีก อาศัยอยู฽รอบเมืองที่มีประชากรเป็นชาวยูโกสลาฟ หรือในพื้นที่แอ฽ง คลาเก็นเฟิรแท (Klagenfurt Basin) ซึ่งยูโกสลาเวีย อ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนทั้งหมด เนื่องจากประชากรที่อาศัย อยู฽ในเขตชนบททั้งหมดมีเชื้อสายยูโกสลาฟ ในขณะที่การอ฾างสิทธิ์ของออสเตรียขึ้นอยู฽กับประชากรดั้งเดิมชาว เยอรมันที่อาศัยกระจุกตัวอยู฽ในเขตเมือง ข฾อพิพาทอาณาเขตในบางพื้นที่ของแอฟริกาซึ่งมีเหตุผลทางชาติพันธุแ ไม฽ได฾มีหลักเกณฑแเดียวกันในการตรวจสอบการปะปนกันของผู฾คนจากชนเผ฽าต฽างๆ และการกําหนดเส฾นเขต แดนก็สามารถทําได฾โดยไม฽ต฾องเคลื่อนย฾ายชนกลุ฽มน฾อยชาวเผ฽าต฽างๆ ในพื้นที่ ข฾อพิพาทที่เกิดขึ้นจากประเด็นชน กลุ฽มน฾อยมักได฾รับการแก฾ไขจากการออกเสียงลงคะแนนชี้ขาดโดยประชาชน (plebiscites) โดยเฉพาะอย฽างยิ่ง เมื่อมีการเสนอทางออกนี้เพื่อแก฾ปัญหาในพื้นที่ เช฽น ในพื้นที่แอ฽งคลาเก็นเฟิรแท (Klagenfurt Basin) เป็นต฾น 21

แต฽อีกหลายกรณี การทําประชามติก็ไม฽เป็นที่น฽าพอใจ เนื่องจากยังมีอํานาจรัฐเข฾าไปแทรกแซง ในปี 2426/1883 สนธิสัญญาแอคคอน (Treaty of Ancon) ซึ่งยุติสงครามระหว฽างชิลีกับเปรู ได฾ระบุว฽าจังหวัดทัค นา (Tacna) และแอริกา (Arica) จะถูกปกครองโดยชิลีเป็นระยะเวลา 10 ปี หลังจากที่ “จะให้มีการท า ประชามติโดยการหยั่งเสียงของประชาชน ว่าจะดินแดนแห่งนี้จะยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของชิลีหรือจะ ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของเปรู (a plebiscite will decide by popular vote whether the territory of the above-mentioned provinces is to remain definitely under the dominion and sovereignty of Chile, or is to continue to constitute a part of Peru.)” แต฽ในความเป็นจริง ไม฽ได฾เกิดความพยายามที่ แท฾จริงในการทําประชามติ จนกระทั่งในปี 2468/1925 ชิลีได฾ทําให฾ดินแดนเหล฽านี้มีสํานึกในความเป็นชาติชิลี มากเพียงพอที่จะทําให฾ผลการลงประชามมติเป็นไปในทางที่ชิลีต฾องการ และคณะกรรมการที่ได฾รับการแต฽งตั้ง ให฾ดําเนินการเพื่อทําประชามติก็ตั้งข฾อสังเกตว฽า ความล฾มเหลวของชีลีที่จะทําให฾เกิดบรรยากาศเสรีในการหยั่ง เสียงของประชาชน คือ อุปสรรคสําคัญในการจัดการทําประชามติ ดังนั้น ประเด็นในการทําประชามติเพื่อยุติ ข฾อพิพาทดูเหมือนว฽าจะเป็นไปเพื่อประโยชนแและความชอบธรรมในการเข฾าควบคุมดินแดนนั่นเอง

2.2.2 ข้อพิพาทแนวเขต (positional dispute) สาเหตุพื้นฐานของข฾อพิพาทเขตแดนมักเกิดขึ้นจากการซ฾อนทับกันของพื้นที่ทางภูมิศาสตรแ หรือ พื้นที่ ทางวัฒนธรรม ข฾อพิพาทแนวเขตจึงเกิดขึ้นจากพัฒนาการของการกําหนดเส฾นเขตแดนที่ไม฽สมบูรณแ ประเด็น ไม฽ได฾อยู฽ที่พื้นที่ชายแดน แต฽เป็นข฾อบกพร฽องของเส฾นเขตแดน เมื่อมีกระบวนการกําหนดเขตแดน (delimitation) แล฾ว กระบวนการปักปันเขตแดน (demarcation) ก็มักจะมีความล฽าช฾า ทําให฾เกิดข฾อบกพร฽อง ในการกําหนดเส฾นเขตแดนตั้งแต฽แรก ปัญหาข฾อพิพาททางตําแหน฽งมักจะเกิดขึ้นในกรณีที่พื้นที่ชายแดนบริเวณ นั้นมีการใช฾ประโยชนแค฽อนข฾างน฾อย กรณีข฾อพิพาทเขตแดนเหนือแม฽น้ําแดง (Red-river) ระหว฽างรัฐโอคลาโฮมากับรัฐเท็กซัส เกิดขึ้นในปี 2462/1919 บริษทน้ํามันเบอรแคเบอรแเน฽ (Burkburnett) เข฾าไปแสวงประโยชนแทางตอนใต฾ของฝั่งแม฽น้ํา รัฐเท็ก ซัสถือว฽าพื้นที่ฝั่งทางใต฾ของแม฽น้ําอยู฽ภายใต฾อํานาจของตน ในขณะที่รัฐโอคลาโฮมาก็ยืนยันว฽าฝั่งใต฾นี้ถือเป็นเส฾น แบ฽งเขตแดน ความสับสนนี้เกิดขึ้นเมื่อทั้งสองรัฐได฾ทําสัญญาเช฽าทําเหมืองแร฽ในพื้นที่ที่ครอบคลุมลําแม฽น้ํา ทั้งหมด ในที่สุดก็มีคําตัดสินว฽า ฝั่งแม฽น้ําทางใต฾เป็นเส฾นแบ฽งเขตแดน ในทํานองเดียวกัน ฝรั่งเศสไม฽ได฾ตั้งคําถาม ถึงปัญหาการปักปันเขตแดนระหว฽างไนจีเรียเหนือ (Northern Nigeria) กับไนเกอรแ (Niger) จนกระทั่งหน฽วย ทหารลาดตระเวนพบว฽า บางส฽วนของเส฾นทางปฏิบัติการที่เชื่อมต฽อระหว฽างนีอาเม (Niamey) กับ ซินเดอรแ (Zinder) อยู฽เข฾าไปในอาณาเขตของอังกฤษ ฝุายฝรั่งเศสจึงถูกห฾ามไม฽ให฾เข฾าไปยังพื้นที่นั้น ข฾อพิพาทแนวเขต (positional dispute) โดยทั่วไปมักจะมีปัญหาเกี่ยวข฾องกับข฾อกฎหมายและลักษณะ ทางภูมิศาสตรแ เช฽น ปัญหาที่เกิดจากสถานะทางกฎหมายของ “ถ฾อยคํา” ที่มีความคลุมเครือ ในขณะที่ปัญหา ทางภูมิศาสตรแ มักจะบ฽งชี้ว฽าคํานิยามของเส฾นเขตแดนไม฽สอดคล฾องกับภูมิประเทศจริง และในบางกรณีมีการ ถกเถียงกันไม฽จบสิ้น และในที่สุดคํานิยามสุดท฾ายมักจะขัดแย฾งกับความตั้งใจแรกหรือจิตวิญญานดั้งเดิมของ สนธิสัญญา ตัวอย฽างเช฽น การเจรจาระหว฽างอังกฤษกับเยอรมัน ในกรณีข฾อพิพาทระหว฽างไนจีเรีย (Nigeria) และคาเมรูน (Kamerun) เกิดปัญหาข฾อกฎหมายและปัญหาทางภูมิศาสตรแ โดยข฾อตกลงในปี 2428/1885 กําหนดว฽า เส฾นเขตแดนจากชายฝั่งไปยังเกาะแก฽งในแม฽น้ําครอส (Cross River Rapids) ให฾เป็นไปตามแนวตลิ่ง ฝั่งขวาของแม฽น้ําริโอเดลเรยแ (Rio del Rey) ตั้งแต฽ปากแม฽น้ําขึ้นไปถึงแหล฽งต฾นน้ํา และจากนั้นให฾ลากเส฾นตรง ไปยังเกาะแก฽ง (Rapids) แต฽ในปี 2431/1888 กลับพบว฽าแม฾น้ําริโอเดลเรยแ (Rio del Rey) เกิดช฽องทางน้ํามี แนวยาว 29 กิโลเมตร ระหว฽างเกาะ 2 เกาะ โดยไม฽มีการกําหนดแนวแม฽น้ําดังกล฽าวที่ชัดเจน เนื่องจากแนวทาง 22

เดินแม฽น้ําถูกรวมเข฾าไปอยู฽ในเครือข฽ายที่ซับซ฾อนของธารน้ําซึ่งล฾อมรอบด฾วยต฾นโกงกาง ทําให฾เกิดการเชื่อมต฽อ กันของแม฽น้ําสองสาย ทางทิศตะวันตก คือ แม฽น้ําอัคพายาเฟุ (Akpayafe) กับ ทางทิศตะวันออก คือ แม฽น้ํา เอนเดียน (Ndian) การค฾นพบครั้งนี้ ทําให฾เกิดข฾อถกเถียงว฽าแม฽น้ําที่เกิดขึ้นมาใหม฽นี้เป็นความต฽อเนื่องของแม฽น้ํา ริโอเดลเรยแ (Rio del Rey) หรือไม฽ ซึ่งรัฐบาลทั้งสองฝุายต฽างไม฽ยอมยกเลิกสัมปทานใดๆ เนื่องจากข฾อพิพาท เขตแดนนี้อาจนําไปสู฽ “สิ่งมีค฽าหรือไร฾ค฽า” ก็ได฾ ในปี 2429/1886 จึงเกิดข฾อตกลงระหว฽างอังกฤษกับเยอรมัน เพื่อกําหนดส฽วนที่สองของเส฾นเขตแดน ซึ่ง กําหนดจาก “จุดบนตลิ่งฝั่งขวาของแม่น้ าเบเน่ (River Benue) ไปทางทิศตะวันออก โดยให้ลากเข้าใกล้มาก ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้กับเขตเมืองโยลา (Yola) ซึ่งจะถูกขีดขึ้นโดยการตรวจสอบในทางปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อ ความถูกต้องของกระบวนการปักปันเส้นเขตแดน (a point on the right bank of the River Benue, to the east of and as close as possible to Yola as may be found on examination to be practically suited for the demarcation of the boundary)” ฝุายอังกฤษโต฾แย฾งว฽า เมื่อถึงเวลาที่จะต฾องเลือกจุดๆ นี้ คําว฽า “ในทางปฏิบัติ (to be practically)” มี ความหมายทั้งในทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ ในทางการเมือง ฝุายอังกฤษพบว฽าไม฽สมควรที่จะขีดเส฾นเขต แดนภายในขอบเขตกําแพงของเมืองโยลา (Yola) เนื่องจากผู฾ปกครอง (Emir) ของเมืองนี้ย฽อมจะสูญเสียพื้นที่ ส฽วนสําคัญของดินแดนนี้ให฾กับเยอรมนี ส฽วนในทางเศรษฐกิจ ก็ถูกตั้งคําถามว฽า เส฾นเขตแดนควรถูกขีดขึ้น เพื่อให฾มีการเคลื่อนย฾ายของประชาชนชาวเมืองโยลาโดยเสรีใช฽หรือไม฽ ซึ่งต฽อมาในภายหลังก็ได฾รับการชี้แจงว฽า การขีดเส฾นเขตแดนเช฽นนั้น ก็เพื่อให฾มีพื้นที่เพียงพอทางทิศตะวันออกในการเป็นแหล฽งฟืนและมีพื้นที่ทุ฽งหญ฾า เลี้ยงสัตวแที่เพียงพอต฽อความต฾องการใช฾งาน สําหรับฝุายเยอรมนีแล฾ว แน฽นอนคําว฽า “ในทางปฏิบัติ (to be practically)” เป็นเพียงคําที่มีความหมายในทางเทคนิคตามแง฽มุมในการปักปันเส฾นเขตแดนเท฽านั้น ตัวอย฽างของข฾อพิพาทแนวเขตที่เกิดขึ้นจากความเข฾าใจผิดและการตีความที่ไม฽ตรงกับความตั้งใจของ ข฾อตกลงดั้งเดิมของสนธิสัญญา เกิดขึ้นที่เขตบอรแนู (Bornu) ในการกําหนดเส฾นเขตแดนของคาเมรูน (Kamerun) ระหว฽างอังกฤษกับฝรั่งเศส ในปี 2459/1916 โดยรัฐบาลอังกฤษในไนจีเรียได฾รับคําแนะนํา เกี่ยวกับคํานิยามเส฾นเขตแดนจากข฾อความในโทรเลขว฽า “ในเยอรมันบอร์นู เส้นเขตแดนถูกก าหนดอย่างคร่าวๆ โดยเส้นโค้งของอิสะกะ อัวฟิสา กาอู กัมเบล และกูเตลากา จากนั้นจึงไปในทิศทางตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงวัล โก (In German Bornu the boundary is roughly indicated by the curved line of Isaga, Uafisa, Gau, Kumbel and Kutelaka, thence in a north-western direction to Wulgo.)” แต฽ความจริงแล฾ว เจ฾าหน฾าที่ท฾องถิ่นกลับพบว฽า เส฾นเขตแดนที่ถูกกําหนดขึ้นมานี้ซ฾อนทับอยู฽บนภูมิทัศนแ ทางวัฒนธรรมในพื้นที่และในเวลานั้นเองเจ฾าหน฾าที่ท฾องถิ่นก็ได฾ทําการทักท฾วงไปยังฝุายอังกฤษด฾วย ขณะที่ รัฐบาลกลางของอังกฤษในลอนดอน ไม฽เข฾าใจข฾อทักท฾วงดังกล฽าว จนกระทั่งพบว฽าโทรเลข ที่ส฽งไปนั้นได฾รับการ ถอดรหัสผิด ซึ่งข฾อความที่ถูกต฾องควรต฾องเป็นว฽า “ดินแดนต่อไปนี้จะถูกบริหารโดยเรา...ส่วนที่สองคือเยอรมัน บอร์นู เส้นเขตแดนจะถูกก าหนดไว้อย่างคร่าวๆ โดยเส้นโค้ง... (The following territories to be administered by us . . . Second, German Bornu. Boundary being indicated very roughly by a curved line ...)” จากนั้นฝรั่งเศสก็ยึดครองดินแดนตามที่เส฾นเขตแดนกําหนดไว฾ แม฾ว฽าอังกฤษจะประกาศว฽า ตามข฾อตกลง แล฾ว บอรแนู (Bornu) ต฾องตกเป็นดินแดนของอังกฤษ แต฽ฝรั่งเศสก็ปฏิเสธที่จะสละดินแดนดังกล฽าว ซึ่งใน ปัจจุบันเป็นส฽วนหนึ่งของสาธารณรัฐแคเมอรูน (Cameroun Republic)

23

2.2.3 ข้อพิพาททางการใช้งาน (functional dispute) ตัวอย฽างของข฾อพิพาททางการใช฾งานค฽อนข฾างหายาก เนื่องจากข฾อพิพาททางภาระกิจเหนือเขตแดนนั้น มักจะเกิดขึ้นในกรณีที่เส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศลากตัดผ฽านพื้นที่ชนเผ฽า เช฽น โซมาลี (Somali) หรือกรณีที่ เส฾นเขตแดนอยู฽คร฽อมอยู฽บนเส฾นทางการเลี้ยงสัตวแแบบเร฽ร฽อนในทุ฽งหญ฾ากว฾าง เช฽น กรณีของพวกโพวินดาสใน อาฟกานิสถาน (Powindas of Afghanistan) การตั้งข฾อสังเกตถึงผลกระทบของเส฾นเขตแดนในปี 2490/1947 ซึ่งแบ฽งเขตระหว฽างอิตาลีกับฝรั่งเศสในจังหวัดอาลป฼-มารีตีม (Alpes Maritimes) ผลของการกําหนดเส฾นเขต แดนใหม฽ในฝั่งของฝรั่งเศสปรากฏว฽า มีหมู฽บ฾านแห฽งหนึ่งไม฽มีพื้นที่ทุ฽งหญ฾าเลี้ยงสัตวแให฾ใช฾งานในฤดูร฾อน ในขณะที่ หมู฽บ฾านที่อยู฽ติดกันทางฝั่งของอิตาลีไม฽มีพื้นที่ทุ฽งหญ฾าเลี้ยงสัตวแใช฾งานในฤดูใบไม฾ผลิและฤดูใบไม฾ร฽วง เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงตําแหน฽งของเส฾นเขตแดนไม฽สามารถทําได฾ ดังนั้น อนุญาโตตุลาการฝุายสวิสจึงมีคําสั่งให฾ ประชาชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู฽ฝั่งในอิตาลีมีสิทธิใช฾ทุ฽งหญ฾าเลี้ยงสัตวแบางส฽วนในฝรั่งเศส เพื่อแลกกับสิทธิบางประการ ในการเข฾าไปใช฾ประโยชนแจากพื้นที่ปุาในประเทศอิตาลี เป็นการผ฽อนคลายกฎระเบียบตามอนุสัญญาที่มีอยู฽ก฽อน หน฾านี้ ซึ่งอนุญาตให฾มีการเคลื่อนย฾ายบุคคลและทรัพยแสินได฾อย฽างอิสระภายในอาณาเขต 20 กิโลเมตรจากแนว เส฾นเขตแดน วิธีการเช฽นนี้คล฾ายคลึงกับกรณีระหว฽างตูนิเซียกับแอลจีเรีย ซึ่งอนุญาตให฾ประชาชนที่อาศัยอยู฽ใน พื้นที่ชายแดนของแต฽ละรัฐสามารถที่จะข฾ามพรมแดนระหว฽างกันได฾โดยไม฽ต฾องผ฽านด฽านตรวจตามพิธีศุลากรหรือ ขอวีซ฽า เป็นการอํานวยความสะดวกให฾กับการเคลื่อนย฾ายแรงงานของทั้งสองฝุายได฾เป็นอย฽างดี

2.2.4 ข้อพิพาทเหนือการพัฒนาทรัพยากร (dispute over resource development) สาเหตุร฽วมกันประการหนึ่งของข฾อพิพาทเหนือการพัฒนาทรัพยากร คือ การใช฾แหล฽งน้ํากําหนดเส฾นเขต แดน หรือ มีแนวลําน้ําพาดข฾ามเส฾นเขตแดน และ ทะเลอาณาเขต (territorial water) หรือ ไหล฽ทวีป (continental shelf) ซึ่งข฾อพิพาทมักเกิดขึ้นกับแหล฽งทรัพยากรข฾ามพรมแดน (trans-boundary resources) เช฽น แหล฽งแร฽ธาตุ ปิโตรเลี่ยม หรือแหล฽งก฿าซ ซึ่งโดยหลักการแล฾ว ควรแยกวิธีการจัดการระหว฽างข฾อพิพาทในแม฽น้ําหรือทะเลสาบ กับข฾อพิพาททาง ทะเล เนื่องจากเส฾นเขตแดนมักจะถูกกําหนดไปตามแนวแม฽น้ําเพื่อให฾ง฽ายต฽อการรับรู฾ แต฽ก็มีข฾อเสียของลักษณะ ทางภูมิศาสตรแที่ใช฾กําหนดเส฾นเขตแดน เช฽น เมื่อเส฾นเขตแดนเป็นเส฾นเดียวกับแนวลําน้ํา พื้นที่ราบลุ฽มแม฽น้ําที่ แบ฽งระหว฽างรัฐที่อยู฽ติดกัน ข฾อตกลงหรือสนธิสัญญาที่ทําระหว฽างกันมักจะมีประโยคหรือข฾อความที่ระบุการให฾ สิทธิที่เท฽าเทียมกันแก฽ทั้งสองฝุาย แต฽ไม฽มีข฾อความที่ระบุตําแหน฽งแม฽น้ําสาขาที่ใช฾เป็นเส฾นเขตแดน และไม฽มีการ ทําข฾อกําหนดเพื่อการควบคุมพื้นที่ลําน้ําซึ่งพาดข฾ามเส฾นเขตแดน ที่เป็นเช฽นก็นี้เพราะว฽า พื้นที่ชายแดนเป็นพื้นที่ สามารถพัฒนาได฾ เช฽น การใช฾ประโยชนแจากแม฽น้ําในการสร฾างพลังงานไฟฟูาและการชลประทาน แต฽ในเวลาที่ ทําสนธิสัญญาตกลงแบ฽งเขตแดนกัน พื้นที่ดังกล฽าวยังรกร฾างว฽างเปล฽าและความก฾าวหน฾าทางเทคโนโลยียังมีไม฽ เพียงพอ ทําให฾ในปัจจุบัน ข฾อพิพาทเกี่ยวกับการใช฾ประโยชนแจากทรัพยากรในพื้นที่ชายแดนจึงเกิดขึ้น ข฾อพิพาทเกี่ยวกับลําน้ําสาขาในน฽านน้ําอาณาเขตเกิดขึ้นระหว฽างสหราชอาณาจักรกับสหรัฐอเมริกา ในปี 2443/1900 เทศบาลนครชิคาโก (Chicago municipal authority) ได฾เจาะท฽อเพื่อสูบน้ําออกจากทะเลสาบ มิชิแกน (Lake Michigan) โดยวิธีการขุดคลองขึ้นในพื้นที่หุบเขาแม฽น้ําชิคาโก (Chicago River) เพื่อให฾มี กระแสน้ําที่เพียงพอในการผลักดันน้ําเสียของเมืองผ฽านแม฽น้ําเดสเพลนสแ (Plaines River) ไปยังแม฽น้ํา อิลลินอยสแ (Illinois Rive) และแม฽น้ํามิสซิสซิปปี้ (Mississippi River) ซึ่งคลองที่ขุดขึ้นได฾ส฽งผ฽านมวลน้ําขนาด 4,167 ลูกบาศกแเมตรต฽อวินาทีออกจากทะเลสาบ แต฽ประชากรที่อาศัยอยู฽ในรัฐมิสซูรี่ซึ่งแม฽น้ําอิลลินอยสแไหล ผ฽านได฾ทําการร฾องเรียนเกี่ยวกับการกระทําของเทศบาลนครชิคาโก แต฽ก็พบว฽าแม฽น้ําที่มีกระแสน้ําไหลมากขึ้น นั้นมีความบริสุทธิ์มากขึ้นกว฽าแต฽ก฽อน 24

อย฽างไรก็ตาม สหราชอาณาจักรเกิดความกังวลว฽าการที่น้ําไหลออกไปจํานวนมากเช฽นนี้ จะทําให฾ระดับ น้ําในทะเลสาบลดลง และในปี 2469/1926 เมื่อมวลน้ําที่ไหลออกจากทะเลสาบมีประมาณมากถึง 8,500 ลูกบาศกแเมตรต฽อวินาที จึงคาดการณแว฽าระดับน้ําในทะเลสาบมิชิแกนและฮูรอน (Huron) มีปริมาณลดลงถึง 6 นิ้ว ในขณะที่ทะเลสาบออนตาริ (Lakes Ontario) และเอรี (Lakes Erie) มีระดับน้ําลดลง 5 นิ้ว เนื่องจาก ระดับน้ําที่ลดลงทุกหนึ่งนิ้ว หมายถึง ปริมาณน้ําที่จะสามารถรองนับน้ําหนักเรือได฾ 60-80 ตัน แสดงให฾เห็นว฽า โครงการขุดคลองของเทศบาลชิคาโกมีผลโดยตรงในทางลบต฽อการเดินเรือในน฽านน้ําอาณาเขต หลังจากสหราช อาณาจักรมีปฏิกิริยาต฽อเรื่องดังกล฽าว ในปี 2470/1927 ทําให฾เทศบาลนครชิคาโกลดปริมาณการสูบน้ําออก จากทะเลสาบลงมาอยู฽ที่ 6,500 ลูกบาศกแเมตรต฽อวินาที ในปี 2478/1935 ลดลงมาอยู฽ที่ 5,000 ลูกบาศกแเมตร ต฽อวินาที และในปี 2481/1938 ลดลงมาเหลือ 1,500 ลูกบาศกแเมตรต฽อวินาที ซึ่งเป็นปริมาณที่อนุญาตให฾ฝุาย อเมริกาสามารถสูบออกได฾ภายใต฾สัญญาเดิม เป็นที่ชัดเจนว฽าในการพิจารณาใช฾ประโยชนแจากแม฽น้ําต฽อเนื่อง (successive rivers) พื้นที่ซึ่งอยู฽บริเวณที่ ลุ฽มต่ํากว฽าอาจได฾รับอันตรายถ฾าการไหลของน้ํามีปริมาณลดลง ในขณะที่สิทธิของพื้นที่ซึ่งอยู฽ด฾านบนอาจจะถูก ละเมิดถ฾ามีการสร฾างเขื่อนกักลําน้ํา และอาจทําให฾เกิดน้ําท฽วมไปทั่วบริเวณที่เป็นแนวเขตแดน ตัวอย฽างเช฽น ความกังวลของอียิปตแต฽อการไหลของแม฽น้ําไนลแจากสร฾างโครงการชลประทานในซูดาน (Sudan) ทําให฾เกิด ความตกลงน้ําในแม฽น้ําไนลแ (Nile Waters Agreement) ในปี 2472/1929 สหราชอาณาจักรไม฽เข฾าไปยุ฽งกับ ปริมาณน้ํา ระดับน้ํา หรือข฾อกําหนดต฽างๆ ในการจัดการแม฽น้ําไนลแ ซูดานยังคงเคารพในข฾อตกลงฉบับนี้ถึงแม฾ จะยังไม฽มีข฾อตกลงเกี่ยวกับวิธีการจัดสรรน้ําเพิ่มเติม เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นในทะเลสาบคาริบา (Lake Kariba) ใน แซมเบซี่ (Zambezi) ซึ่งอยู฽ระหว฽างหรอดเดเซียเหนือ (Northern Rhodesia) กับหรอดเดเซียใต฾ (Southern Rhodesia) โปรตุเกสจึงแสดงความต฾องการที่จะรักษาระดับการไหลของปริมาณน้ําผ฽านทางโมซัมบิก (Mozambique) จํานวน 35,000 ลูกบาศกแเมตรต฽อวินาที ซึ่งเพียงพอสําหรับการเดินเรือได฾ตลอดทั้งปีในพื้นที่ ตอนล฽างของแซมเบซี่ (Zambezi) ในขณะเดียวกันรัฐบาลหรอดเดเซีย (Rhodesian Governments) ก็ได฾รับ ความมั่นใจจากสหภาพแอฟริกาใต฾ (The Union of South Africa) และแองโกลา (Angola) ว฽าจะไม฽สูบน้ํา ออกจากพื้นที่เหนือทะเลสาบในแซมเบซี่ (Zambezi) เนื่องจากพื้นที่ตอนบนมักเกิดน้ําท฽วมขึ้นบ฽อยครั้ง ในปี 2440/1897 บริษัททํานบแคนาดา (Canadian Dyking Company) จึงสร฾างเขื่อนบนแม฽น้ําบาวดารีครีก (Boundary Creek) ในบริติชโคลัมเบีย (British Columbia) ซึ่งส฽งผลทําให฾เกิดน้ําท฽วมครอบคลุมอาณาบริเวณกว฽า 80,000 เอเคอรแของไอดาโฮ (Idaho) หรือ ในกรณีเขื่อนยักษแอัสวาน (Aswan High Dam) ในสหสาธารณรัฐอาหรับ (United Arab Republic) ซึ่งมีน้ํา ท฽วมกินพื้นที่เข฾าไปในส฽วนหนึ่งของซูดาน และทําให฾เกิดการตั้งถิ่นฐานใหม฽ของชาวนูเบียน (Nubians) จํานวน กว฽า 35,000 คน ในพื้นที่คาสชแม เอล กีรบา (Khashm el Girba) คร฽อมอยู฽ในแม฽น้ําอัทบารา (Atbara River) ข฾อพิพาทระหว฽างฝรั่งเศสกับสเปนเหนือน฽านน้ําในทะเลสาบลาน็กซแ (Lake Lanoux) เป็นตัวอย฽างที่ ชัดเจนว฽า ความก฾าวหน฾าทางเทคโนโลยีทําให฾เกิดข฾อพิพาทขึ้น ไม฽นานหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝรั่งเศส ตัดสินใจที่จะสร฾างเขื่อนในทะเลสาบแห฽งนี้ ซึ่งปกติน้ําจะไหลไปทางสเปน โดยเขื่อนดังกล฽าวทําให฾น้ําลดลง 780 เมตรในหุบเขาแอริเก (Ariege valley) มวลน้ํานั้นก็จะถูกส฽งกลับไปโดยอุโมงคแไปยังลําน้ําของแม฽น้ําฟูอนทแ (River Font) ซึ่งเป็นลําน้ําสาขาของแม฽น้ําเสิรแจ (Serge River) ในสเปน คลองจากฝรั่งเศสได฾ส฽งน้ําไปยัง โครงการชลประทานของสเปน เสปนจึงคัดค฾านโครงการดังกล฽าวโดยให฾เหตุผลว฽าเป็นการละเมิดสนธิสัญญาบา ยอนเน (Treaty of Bayonne) ในปี 2429/1886 ตั้งแต฽สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต฾นมา หลายประเทศทําการการอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีป การอ฾างสิทธิ์นี้ค฽อนข฾าง แตกต฽างจากการอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขต เนื่องจากรัฐไม฽ได฾อ฾างสิทธิ์ในพื้นที่ทางทะเลเหนือไหล฽ 25

ทวีปนอกอาณาเขต (territorial limits) รัฐที่ทําการอ฾างสิทธิ์เหนือไหล฽ทวีปเป็นประเทศแรก คือ สหรัฐอเมริกา ในปี 2488/1945 โดยการอ฾างสิทธิ์เกิดขึ้นเพราะความต฾องการที่จะสํารวจพื้นดินใต฾ทะเลซึ่งมีแหล฽งน้ํามัน ปิโตรเลียมและแร฽ธาตุอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นส฽วนต฽อเนื่องกับพื้นที่บนบก โดยระบุไว฾ชัดเจนว฽า จะต฾องไม฽เกี่ยวข฾อง หรือรบกวนการเดินเรือ ในขณะเดียวกันสหรัฐอเมริกาก็สงวนสิทธิ์ในการประกาศเขตอนุรักษแเหนือพื้นที่การทํา ประมงในทะเลหลวง (high-sea fisheries) การตัดสินใจครั้งนี้ส฽งผลต฽อขบวนเรือหาปลาแซลมอนของญี่ปุุน ซึ่ง ถูกสกัดกั้นไม฽ให฾เข฾าไปในอ฽าวบริสตอล (Bristol Bay) ทําให฾ต฾องแล฽นเรือไปยังชายฝั่งทะเล และบรรจุปลาใส฽ กระป฻องในโรงงานลอยน้ํา ซึ่งทําลายอุตสาหกรรมการประมงปลาแซลมอนตามชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา การ อ฾างสิทธิ์ตามแบบสหรัฐอเมริกาจึงเกิดขึ้นตามมาอย฽างรวดเร็วโดยประเทศต฽างๆ ในอเมริกากลางและอเมริกาใต฾ เกาหลี รัฐที่อยู฽โดยรอบอ฽าวเปอรแเซีย และไอซแแลนดแ รวมทั้งออสเตรเลียด฾วย เหตุผลของการอ฾างสิทธิ์เหล฽านี้ ก็เพื่อที่จะแสวงหาสิทธิของรัฐในพื้นที่หาปลา ตัวอย฽างเช฽น ในปี 2424/1881 อังกฤษในศรีลังกาอ฾างสิทธิเหนือพื้นที่การทําประมงหอยมุกในอ฽าวมานารแ (Gulf of Manar) ซึ่ง ครอบคลุมอาณาบริเวณไกลออกไป 21 ไมลแทะเลจากชายฝั่ง ในทํานองเดียวกัน ปี 2431/1888 และ 2432/1889 รัฐควีนสแแลนดแและออสเตรเลียตะวันตกทําการอ฾างสิทธิ์ในพื้นที่ทําประมงหอยมุกและปลิงทะเล ฝรั่งเศสและอิตาลีก็แยกแนวปะการังในทะเลเมดิเตอรแเรเนียนออกจากแอลจีเรีย (Algeria) ซิซิลี (Sicily) และ ซารแดิเนีย (Sardinia) การอ฾างสิทธิ์โดยรัฐต฽างๆ ทํากันอย฽างกว฾างขวาง เปรู ชิลี และ เอกวาดอรแ ต฽างอ฾างสิทธิ์ เหนือพื้นที่โดยลากเส฾นขนานไปกับชายแนวฝั่งเป็นระยะทาง 200 ไมลแทะเล ในปี 2497/1954 เรือล฽าปลาวาฬ จํานวน 5 ลําซึ่งติดธงปานามาถูกจับโดยเรือของเปรูที่ในระยะทางที่แตกต฽างกันตั้งแต฽ 126 ถึง 364 ไมลแทะเล จากชายฝั่ง ในปี 2494/1951 มีคําตัดสินออกเป็น 2 แนวทางว฽า ไหล฽วีปไม฽ได฾เป็นส฽วนหนึ่งของข฾อกําหนดใน กฎหมายระหว฽างประเทศ คําตัดสินนี้เกิดขึ้นเนื่องจากข฾อพิพาทสัมปทานในปี 2478/1935 และ 2482/1939 ตามลําดับซึ่งทําขึ้นระหว฽างผู฾ปกครองของกาตารแกับอาบูดาบี เมื่อผู฾ปกครองได฾ประกาศการขยายอาณาเขต เหนือพื้นที่ซึ่งอยู฽ใต฾ท฾องทะเลในอ฽าวเปอรแเซีย บริษัทน้ํามันจึงอ฾างว฽าได฾รับสิทธิในการสํารวจน้ํามันในทะเลอาณา เขตนอกดินแดนที่อยู฽ประชิดกันของรัฐทั้งสอง ความพยายามที่จะแก฾ปัญหาความยากลําบากที่เกิดจากความ ต฾องการที่แตกต฽างกันของไหล฽ทวีป ซึ่งสหประชาชาติได฾จัดให฾มีการประชุมว฽าด฾วยกฎหมายทะเลในปี 2501/1958 การประชุมดังกล฽าวทําให฾เกิดข฾อตกลง 4 ฉบับ ได฾แก฽ อนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตและเขต ต฽อเนื่อง อนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลหลวง อนุสัญญาว฽าด฾วยการประมงและการอนุรักษแทรัพยากรมีชีวิตในทะเล หลวง และ อนุสัญญาว฽าด฾วยไหล฽ทวีป ประเด็นสุดท฾ายซึ่งเป็นที่น฽าสนใจสําหรับนักภูมิศาสตรแ คือ ระเบียบที่วางไว฾สําหรับการแบงเขตไหล฽ทวีป ระหว฽างรัฐชายฝั่งทะเลที่อยู฽ติดกัน และรัฐชายฝั่งทะเลที่อยู฽ตรงข฾ามกัน เส฾นเขตแดนควรจะตกลงกันระหว฽างรัฐ ที่เกี่ยวข฾องและหากไม฽มีข฾อตกลงที่เป็นไปได฾แล฾ว เส฾นมัธยะ (median line) ซึ่งมีระยะห฽างที่เท฽ากัน (equidistant) จากเส฾นฐาน (baselines) ในทะเลอาณาเขตต฾องมีการวัดและควรถูกนํามาใช฾ ในปี 2496/1953 ออสเตรเลียประกาศเขตอํานาจอธิปไตยเหนือไหล฽ทวีปโดยรอบ และประกาศเส฾นเขต แดนทางตอนเหนือระหว฽างออสเตรเลียกับอินโดนีเซีย และอาณาเขตของดัตชแอยู฽ตรงกลางระหว฽างออสเตรเลีย กับรัฐอื่นๆ การประกาศอย฽างเดียวกันนี้ มีบางพื้นที่ที่ต฽อเนื่องกันที่เป็นไหล฽ทวีป แต฽คั่นด฾วย ช฽องน้ําที่มีความลึก มากกว฽า 100 ฟาทอมที่ถูกอ฾างสิทธิ์ การประกาศฝุายเดียวของออสเตรเลียตามมาด฾วยการขยายพื้นที่การทํา ประมงหอยมุกของเรือญี่ปุุนในทะเลอาราฟูรา (Arafura Sea) ซึ่งออสเตรเลียกล฽าวว฽า จํานวนหอยมุกที่เก็บได฾ โดยเรือของญี่ปุุนเกินไปจากขอบเขตที่กําหนดไว฾ในอนุสัญญาว฽าด฾วยทรัพยากร

26

ในอนาคตข฾อพิพาทเกี่ยวกับขอบเขตของสิทธิบนไหล฽ทวีป อาจจะยังคงเกิดขึ้นระหว฽างรัฐที่มีพื้นที่อยู฽ใน ทะเลกึ่งปิด (semi-enclosed seas) เช฽น อ฽าวเปอรแเซีย (Persian Gulf) ทะเลเอเดรียติก (Adriatic Sea) และ ทะเลบอลติก (Baltic Sea) และกรณีที่รัฐซึ่งไม฽เป็นมิตรต฽อกัน เช฽น มาเลเซียกับอินโดนีเซีย ก็จะถูกแยกจากกัน โดยไหล฽ทวีปซึ่งมีพื้นที่ต฽อเนื่องกัน

2.3 แนวคิดว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ แนวคิดว฽าด฾วยการระงับข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ เป็นแนวคิดที่เกี่ยวข฾องกับสาขาวิชาความสัมพันธแ ระหว฽างประเทศ และกฎหมายระหว฽างประเทศ โดยอาศัยบทบัญญัติตามกฎบัตรสหประชาชาติ (UN Charter) ซึ่ง รองศาสตราจารยแ ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช24 ได฾อธิบายหลักการระงับข฾อพิพาทระหว฽างประเทศว฽า กฎบัตร สหประชาชาติมาตรา 2 (4) ห฾ามการใช฾กําลังทางทหารทุกรูปแบบ และมาตรา 2 (3) กําหนดให฾รัฐอธิปไตยต฾อง ระงับข฾อพิพาทโดยสันติวิธี (Settlement of international dispute by peaceful means) โดยกฎบัตร สหประชาชาติได฾รับรองพันธกรณีทางกฎหมายของรัฐ 2 ประการ คือ ต฾องงดเว฾นกระทําการ (negative duty) ที่จะไม฽ใช฾กําลังทางทหาร และ ต฾องกระทําการ (positive duty) การระงับข฾อพิพาทโดยสันติวิธีเท฽านั้น หน฾าที่ทั้ง 2 ประการนี้ เป็นหลักกฎหมายสําคัญที่ค้ําจุนความสัมพันธแระหว฽างประเทศให฾มีความมั่นคง และความสงบเรียบร฾อย อย฽างไรก็ตาม ในบางกรณีอาจไม฽สามารถหลีกเลี่ยงปัญหาความขัดแย฾งได฾ แต฽ระดับ ความรุนแรงของปัญหาและความขัดแย฾งก็มีหลายระดับและแตกต฽างกันไป เช฽น ความตึงเครียด (Tension) การเผชิญหน฾า (Confrontation) ความขัดแย฾ง (Conflict) หรืออาจรุนแรงจนกลายเป็น “ข฾อพิพาท” (Dispute) ซึ่งหมายถึง ความไม฽ลงรอยกัน (disagreement) ใน “ข฾อเท็จจริง” (Fact) หรือ “ข฾อกฎหมาย” (Law) หรือ “นโยบาย” (Policy) เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ดังนั้น การระงับข้อพิพาท (dispute settlement) จึง สามารถแบ฽งออกเป็น 2 วิธีหลักๆ คือ การระงับข฾อพิพาททางการทูต (Diplomatic Channels) และ การระงับ ข฾อพิพาททางกฎหมาย (Legal means) ซึ่งทั้ง 2 วิธียังสามารถแบ฽งย฽อยได฾อีกหลายประเภท ดังนี้

2.3.1 การระงับข้อพิพาททางการทูต (Diplomatic Channels) หมายถึง การระงับข฾อพิพาทที่ไม฽ใช฾ ข฾อบังคับทางกฎหมาย ซึ่งเป็นแนวทางแก฾ไขปัญหาที่ไม฽ผูกมัดให฾รัฐคู฽พิพาทต฾องปฏิบัติตาม ได฾แก฽

2.3.1.1 การเจรจา (Negotiation) หมายถึง การเสนอข฾อเรียกร฾องเกี่ยวกับประเด็นพิพาทของรัฐ คู฽พิพาททั้งสองฝุาย เพื่อให฾อีกฝุายหนึ่งพิจารณา ซึ่งเป็นวิธีระงับข฾อพิพาทที่นิยมมากที่สุดวิธีหนึ่งในทางการทูต และการเจรจาไม฽ได฾หมายถึงแค฽การแลกเปลี่ยนข฾อมูลหรือข฾อคิดเห็นเท฽านั้น โดยปกติแล฾วการเจรจาจะอาศัย ช฽องทางทางการทูตซึ่งอยู฽ในความรับผิดชอบของกระทรวงการต฽างประเทศ อย฽างไรก็ดี บุคคลที่มีอํานาจเจรจา แบ฽งออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับเจ฾าหน฾าที่ผู฾เชี่ยวชาญในประเด็นพิพาท และ ระดับเจ฾าหน฾าที่ของรัฐระดับสูง เช฽น ประมุขของรัฐ ประมุขของรัฐบาล รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ หรือ รัฐมนตรีว฽าการ กระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวข฾องกับข฾อพิพาท หรือ เอกอัครราชทูต เป็นต฾น และหากกลไกการระงับข฾อพิพาทใน ระดับเจ฾าหน฾าที่ไม฽บังเกิดผลสําเร็จ รัฐอาจนําเสนอข฾อพิพาทให฾ผู฾แทนของรัฐ เช฽น ประมุขของรัฐ หรือ รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศเป็นผู฾เจรจาแทน และมีข฾อสังเกตว฽า การระงับข฾อพิพาทในองคแการ การค฾าโลก (World Trade Organization – WTO) ใช฾คําว฽า “ปรึกษาหารือ (Consultation)” ซึ่งมี ความหมายคล฾ายคลึงกับการเจรจาด฾วยความสุจริตใจ

24 ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช. “บทที่ 10 การระงับข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ,” ใน คําอธิบายกฎหมายระหว฽างประเทศ (กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2555), หน฾า 288-298. 27

การเจรจา ไม฽จําเป็นต฾องเป็นการเจรจาเพียงคนเดียวเสมอไป ข฾อพิพาทบางอย฽างมีลักษณะเกิดขึ้นอย฽าง ต฽อเนื่องหรือซ้ําๆ กันอยู฽เนื่องๆ เช฽น ข฾อพิพาทเกี่ยวกับเขตแดน รัฐคู฽พิพาทอาจตกลงกันให฾มีการตั้ง คณะกรรมาธิการผสม (Mixed Committee) หรือ คณะกรรมาธิการร฽วม (Joint Commission) เพื่อเจรจาหา ข฾อยุติกันได฾ นอกจานี้ รัฐอาจใช฾วิธีการระงับข฾อพิพาทด฾วยช฽องทางทางการทูตอย฽างอื่นควบคู฽กันไปด฾วยก็ได฾ กล฽าวอีกนัยหนึ่ง การระงับข฾อพิพาทด฾วยการเจรจาไม฽ได฾ห฾ามให฾มีการระงับข฾อพิพาทโดยบุคคลที่สาม เช฽น การ ไกล฽เกลี่ย หรือ การประนีประนอม หรือ อนุญาโตตุลาการควบคู฽กันไปด฾วย โดยปกติวิธีการที่มักใช฾ควบคู฽กับ การเจรจาคือการค฾นหาข฾อเท็จจริงและการไกล฽เกลี่ย การเจรจาเป็นวิธีการที่ยืดหยุ฽น เนื่องจากรัฐคู฽พิพาทสามารถปรับให฾เข฾ากับสถานการณแที่แปรเปลี่ยนไป ได฾ อีกทั้งโดยปกติของการเจรจา รัฐคู฽พิพาทจะกล฽าวถึงประเด็นข฾อพิพาทและข฾อเรียกร฾อง อันจะเป็นประโยชนแ ต฽อกระบวนการพิจารณาคดีในศาล หากว฽ารัฐคู฽พิพาทได฾เสนอข฾อพิพาทให฾ศาลระหว฽างประเทศวินิจฉัยข฾อ พิพาทต฽อไป อย฽างไรก็ตาม ข฾อแตกต฽างระหว฽างการเจรจากับการระงับข฾อพิพาททางตุลาการ มีความแตกต฽างที่ เด฽นชัดที่สุด คือ การระงับข฾อพิพาทโดยการเจรจานั้น รัฐคู฽พิพาทสามารถควบคุมการบวนการของการระงับข฾อ พิพาทได฾ ไม฽ว฽าจะเป็นเรื่องของวิธีการเจรจา (รัฐคู฽พิพาทจะยกเลิกการเจรจาเมื่อใดก็ได฾) ประเด็นที่ต฾องการ เจรจา แต฽การระงับข฾อพิพาททางตุลาการ คู฽พิพาทไม฽สามารถควบคุมขั้นตอนต฽างๆ ได฾ด฾วยตนเอง แต฽อยู฽ภายใต฾ กฎเกณฑแและวิธีพิจารณาความของศาล (Procedural rules)

2.3.1.2 การระงับข้อพิพาทโดยบุคคลที่สาม (Third Party) โดยกฎหมายระหว฽างประเทศไม฽ได฾กําหนด ว฽า รัฐคู฽พิพาทจะต฾องระงับข฾อพิพาทด฾วยตนเองเสมอไป ในบางสถานการณแอาจอาศัย “บุคคลที่สาม” ที่เป็น กลางหรือไม฽มีส฽วนเกี่ยวข฾องกับข฾อพิพาท เข฾ามาช฽วยเหลือทั้งทางตรงหรือทางอ฾อมก็ได฾ การระงับข฾อพิพาทโดย บุคคลที่สามนี้อาจทําได฾หลายรูปแบบ ได฾แก฽

2.3.1.3 การจัดให้มีการเจรจา (Good Office) หมายถึง กรณีบุคคลที่สามซึ่งอาจเป็นผู฾นําของรัฐ ระดับสูง เช฽น ประมุขของรัฐ ประมุขของรัฐบาล หรือ รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ หรือ เลขาธิการขององคแการระหว฽างประเทศ ซึ่งโดยปกติแล฾ว บุคคลธรรมดาที่จะทําหน฾าที่เป็น Good Office ได฾ มักเป็นบุคคลที่ได฾รับการยอมรับนับถือจากรัฐคู฽พิพาท หรือ เป็นบุคคลที่มีบารมี (Charisma) พอสมควร เช฽น เลขาธิการสหประชาชาติ หรือ เลขาธิการองคแการการค฾าโลก ซึ่งอํานวยความสะดวกแก฽รัฐคู฽พิพาทให฾มีโอกาส เจรจา หรือปรึกษาหารือกันด฾วยบรรยากาศที่ลดการเผชิญหน฾ากัน โดยบุคคลที่สามไม฽ได฾เข฾าร฽วมการเจรจา หรือ หาทางออกให฾แก฽รัฐคู฽พิพาทแต฽อย฽างใด ซึ่งขั้นตอนและเนื้อหาของการเจรจายังอยู฽ภายในอํานาจการ ควบคุมของรัฐคู฽พิพาท

2.3.1.4 การตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อสอบสวนข้อเท็จจริง (Enquiry, Inquiry) หมายถึง การระงับข฾อ พิพาทนั้นนอกจากจะอาศัย “หลักกฎหมาย” แล฾ว ยังประกอบด฾วย ข฾อเท็จจริงอันเป็นที่ยุติ (Undisputed Fact) หรือ ข฾อเท็จจริงอันคู฽ความยอมรับ แต฽หากรัฐคู฽พิพาทยังโต฾เถียงกันอยู฽ การวินิจฉัยข฾อพิพาททางกฎหมาย ย฽อมไม฽อาจกระทําได฾ ดังนั้น การตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อสอบสวนข฾อเท็จจริง “Enquiry” หรือ “Fact-finding Committee” จึงเป็นวิธีการหนึ่ง เพื่อให฾ได฾มาซึ่งข฾อเท็จจริงอันเป็นที่ยอมรับโดยคู฽พิพาท ความหมายของคณะกรรมาธิการสอบสวนข฾อเท็จจริง มี 2 ประการ คือ ความหมายแรก ใช฾ในบริบท ของศาลระหว฽างประเทศที่มักจะมีขั้นตอนของการสอบสวนข฾อเท็จจริงเมื่อมีการพิจารณาคดี เช฽น ศาลโลกมี อํานาจแต฽งตั้งผู฾เชี่ยวชาญ เพื่อค฾นหาข฾อเท็จจริงที่ยังยุติไม฽ได฾ และ ความหมายที่ 2 หมายถึง กรณีที่รัฐคู฽พิพาทมี 28

ความตกลงที่จะแต฽งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อทําหน฾าที่สอบสวนข฾อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยความตกลงนี้ ต฾องกําหนดขอบเขตอํานาจหน฾าที่ของคณะกรรมาธิการด฾วยว฽า มีอํานาจสอบสวนข฾อเท็จจริง ในเรื่องใดบ฾าง ข฾อกําหนดนี้เรียกว฽า “(Terms of Reference – TOR)” อย฽างไรก็ดี คณะกรรมาธิการชุดนี้ไม฽มี หน฾าที่เสนอหนทางแก฾ไขปัญหา แต฽มีหน฾าที่เพียงแค฽ค฾นหา “ข฾อเท็จจริง” อันเป็นสาระสําคัญของข฾อพิพาทว฽ามี อยู฽จริงหรือไม฽ หรือ ข฾อเท็จจริงที่รัฐคู฽พิพาทโต฾เถียงกันนั้น แท฾จริงแล฾ว ข฾อเท็จจริงนั้นมีว฽าอย฽างไร โดยทําใน รูปแบบของ “รายงาน (Report)” โดยรายงานของคณะกรรมการสอบสวนข฾อเท็จจริงไม฽มีผลผูกพันทาง กฎหมายแก฽รัฐคู฽พิพาทแต฽อย฽างใด รัฐคู฽พิพาทจะเลือกรับหรือปฏิเสธรายงานดังกล฽าวหรือไม฽ก็ได฾

2.3.1.5 การไกล่เกลี่ย (Mediation) หมายถึง การระงับข฾อพิพาทโดยบุคคลที่สามเข฾ามาช฽วยเหลือ อํานวยความสะดวก และมีส฽วนร฽วมในการเสนอ “ทางออก (Solution)” หรือ “ข฾อเสนอ (Proposal)” ให฾แก฽ รัฐคู฽พิพาท แต฽ทางออกหรือข฾อเสนอที่เสนอโดยผู฾ไกล฽เกลี่ยนั้น ไม฽มีผลผูกพันทางกฎหมายแก฽รัฐคู฽พิพาท รัฐ คู฽พิพาทจะยอมหรือไม฽ยอมรับกับทางออกนั้นหรือไม฽ก็ได฾ การไกล฽เกลี่ยต฽างกับการจัดให฾มีการเจรจาในแง฽ที่ว฽า ผู฾ มีบทบาทในการจัดให฾มีการเจรจาไม฽ได฾มีส฽วนร฽วมในการเจรจาแต฽ประการใด ในขณะที่ ผู฾ทําการไกล฽เกลี่ยมี บทบาทในการริเริ่มการเจรจา หรือ ข฾อเสนอแก฽รัฐคู฽พิพาท อย฽างไรก็ดี นักกฎหมายระหว฽างประเทศบางท฽าน เห็นว฽า การไกล฽เกลี่ย กับ การจัดให฾มีการเจรจา มีความคล฾ายคลึงกันมาก จนการเรียกชื่อที่แตกต฽างกันไม฽ได฾มี ความสําคัญมากนัก โดยผู฾ที่จะทําหน฾าที่เป็นผู฾ไกล฽เกลี่ยได฾มี 3 กรณี คือ รัฐ องคแการระหว฽างประเทศ และ ปัจเจกชน

2.3.1.6 การประนีประนอม (Conciliation) หมายถึง รูปแบบของการตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นมาแล฾ว ทํารายงาน เพื่อเสนอหนทางในการระงับข฾อพิพาท โดยรายงานนี้ไมมีผลทางกฎหมายแก฽รัฐคู฽พิพาท

2.3.1.7 ศาล หรือ คณะกรรมาธิการเฉพาะกิจอื่นๆ หมายถึง กลไกการระงับข฾อพิพาทโดยสันติวิธี ไม฽ได฾มีแค฽มาตรา 33 ของกฎบัตรสหประชาชาติเท฽านั้น วิธีการระงับข฾อพิพาทจึงไม฽สิ้นสุดเพียงที่ระบุไว฾ใน มาตรา 33 เท฽านั้น มาตรา 33 จึงมิใช฽ Exhaustive lists ดังนั้น รัฐคู฽พิพาทอาจเลือกใช฾วิธีการอื่นที่ นอกเหนือไปจากมาตรา 33 เพื่อระงับข฾อพิพาทก็ได฾

2.3.2 การระงับข้อพิพาททางกฎหมาย (legal means) หมายถึง การใช฾ผลคําตัดสินของข฾อพิพาทที่มี ผลผูกพันทางกฎหมาย (legal biding force) แก฽รัฐคู฽พิพาทให฾ต฾องปฏิบัติตาม การระงับข฾อพิพาททางกฎหมาย นั้นแบ฽งได฾ออกเป็น 2 แบบ ได฾แก฽

2.3.2.1 การระงับข้อพิพาททางอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) แบ฽งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบ อนุญาโตตุลาการคนเดียว (Sole Arbitration) และ แบบ 3 คน ซึ่งมีประธานคนหนึ่งเรียกว฽า “Umpire” โดย เป็นรูปแบบที่ ศูนยแระหว฽างประเทศเพื่อการระงับข฾อพิพาทด฾านการลงทุน (International Centre for Settlement of Investment Disputes – ICSID) ใช฾อยู฽ในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมี การระงับข฾อพิพาทโดย อนุญาโตตุลาการ และ ศาลประจําอนุญาโตตุลาการ (The Permanent Court of Arbitration) ณ กรุงเฮก อีกด฾วย

29

2.3.2.2 การระงับข้อพิพาททางองค์การตุลาการ หมายถึง การระงับข฾อพิพาทโดยองคแกรตุลาการหรือ ศาลระหว฽างประเทศ ไม฽ว฽าศาลระหว฽างประเทศนั้นจะเป็นศาล “เฉพาะกิจ (Ad Hoc)” ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อการ ระงับข฾อพิพาทเฉพาะกรณี หรือ ศาลแบบถาวร เช฽น ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก ซึ่งเป็นศาลระหว฽างประเทศแบบถาวรที่สําคัญที่สุดที่ระงับข฾อพิพาทเรื่องทั่วๆ ไป ระหว฽างรัฐ นอกจากศาลโลกแล฾วยังมีศาลระหว฽างประเทศแบบถาวรหลายศาลที่ทําหน฾าที่ระงับข฾อพิพาท ระหว฽างประเทศ เช฽น ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) ณ เมืองฮัมบูรแก (Hamburg) ประเทศเยอรมนี และ ศาลอาญาระหว฽างประเทศ (International Criminal Court – ICC) เป็นต฾น

30

บทที่ 3 เส้นเขตแดนทางบก

ในบทนี้จะเป็นการศึกษาเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างประเทศในภูมิภาคอาเซียน ยกเว฾นประเทศไทย โดย สามารถแบ฽งออกได฾เป็น 2 กลุ฽มใหญ฽ๆ ตามตําแหน฽งที่ตั้งทางภูมิศาสตรแ ได฾แก฽ กลุ่มที่ 1 เส้นเขตแดนทางบกบนเกาะบอร์เนียว (Borneo) ซึ่งมี 3 กรณี ได฾แก฽ 1. เส฾นเขตแดนทางบก บนเกาะบอรแเนียวระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย 2. ดินแดนลิมบัง (Limbang) ระหว฽างมาเลเซียกับบรูไน และ 3. ดินแดนซาบาหแ (Sabah) ระหว฽างมาเลเซียกับฟิลิปปินสแ กลุ่มที่ 2 เส้นเขตแดนทางบกในภูมิภาคอินโดจีน ซึ่งมี 4 กรณี ได฾แก฽ 1. เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาว กับกัมเวียดนาม 2. เส฾นเขตแดนตามแนวแม฽น้ําโขงระหว฽างลาวกับพม฽า 3. เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับ กัมพูชา และ 4. เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างกัมพูชาและเวียดนาม รวมกรณีที่จะนํามาศึกษาในบทนี้ 3 จํานวนทั้งสิ้น 7 กรณี ดังแสดงไว฾ในตารางที่ 3.1 และภาพที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 กรณีศึกษาเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว฾นไทย) ที่ ประเด็น/พื้นที่พิพาท คู่พิพาท สถานะข้อพิพาท 1 เส฾นเขตแดนทางบกบนเกาะบอรแเนียว มาเลเซีย-อินโดนีเซีย ยังไม฽ระงับ 2 ดินแดนลิมบัง (Limbang) มาเลเซีย-บรูไน ระงับชั่วคราว 16 มี.ค. 2009/2552 3 ดินแดนซาบาหแ (Sabah) มาเลเซีย-ฟิลิปปินสแ ยังไม฽ระงับ 4 เส฾นเขตแดนทางบก ลาว-เวียดนาม ระงับแล฾ว 1 มี.ค. 2533/1990 5 เส฾นเขตแดนตามแนวแม฽น้ําโขง ลาว-พม฽า ระงับแล฾ว 11 มิ.ย. 2537/1994 6 เส฾นเขตแดนทางบก ลาว-กัมพูชา ยังไม฽ระงับ 7 เส฾นเขตแดนทางบก กัมพูชา-เวียดนาม ยังไม฽ระงับ

31

ภาพที่ 3.1 แผนที่แสดงกรณีศึกษาเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว฾นไทย) 32

3.1 เส้นเขตแดนทางบกบนเกาะบอร์เนียว (Borneo)

เกาะบอรแเนียว (Borneo) มีพื้นที่ประมาณ 743,330 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ฽ที่สุดใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾และใหญ฽เป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนดแ (Greenland) และ เกาะ นิวกีนี (New Guinea) เกาะบอรแเนียวเป็นที่ตั้งของดินแดน 3 ประเทศ ได฾แก฽ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน โดยพื้นที่ทั้งหมดของเกาะบอรแเนียวทอดตัวคร฽อมอยู฽บนเส฾นศูนยแสูตร อินโดนีเซียเรียกชื่อเกาะนี้ว฽า กาลิมันตัน (Kalimantan) โดยเป็นที่ตั้งของเขตปกครอง 5 จังหวัดอยู฽ทาง ตอนใต฾กับตะวันออกของเกาะ ในขณะที่มาเลเซียมีอาณาเขตปกครอง คือ รัฐซาบาหแ (Sabah) และรัฐซาราวัก () ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงเหนือและชายฝั่งตะวันออก ส฽วนบรูไนครอบครองพื้นที่ เล็กที่สุดซึ่งเป็นอาณาเขตของทั้งประเทศ ประชากรรวมของ 3 ประเทศ บนเกาะบอรแเนียวมีทั้งหมดประมาณ 20 ล฾านคน (ข฾อมูลปี 2553/2010) โดยมีอัตราความหนาแน฽นของประชากรอยู฽ที่ 21.25 คนต฽อตารางกิโลเมตร ประกอบด฾วยชาติพันธุแต฽างๆ ได฾แก฽ มาเลยแ (Malays) จีน (Chinese) บันจารแ (Banjar) บูกิส (Bugis) ชวา (Javanese) ดายัก (Dayak) และ กาดา ซาน-ดูซุม (Kasazan-Dusum)

ตารางที่ 3.2 แสดงเขตปกครองของ 3 ประเทศในเกาะบอรแเนียว อินโดนีเซีย จังหวัด (Province) กาลิมันตันตะวันตก (West Kalimantan/Kalimantan Barat) กาลิมันตันกลาง (Central Kalimantan/Kalimantan Tengah) กาลิมันตันใต฾ (South Kalimantan/Kalimantan Selatan) กาละมันตันตะวันออก (/Kalimantan Timur) กาลิมันตันเหนือ (North Kalimantan/Kalimantan Utara) มาเลเซีย รัฐ (State) ซาบาหแ (Sabah) ซาราวัก (Sarawak) ดินแดนสหพันธแ (Federal Territories) ลาบวน (Labuan) บรูไน อําเภอ (District) เบอลาอิท (Belait) บรูไน และ มูอารา (Brunei dan Muara) เติมบูรอง (Temburong) ตูตอง (Tutong)

33

ภาพที่ 3.2 แผนที่แสดงเขตปกครองของ 3 ประเทศในเกาะบอรแเนียว (ที่มา: http://bit.ly/1I105tC)

34

ภาพที่ 3.3 แผนที่แสดงเส฾นเขตแดนบนเกาะบอรแเนียว (ที่มา: Prescott, J.R.V., H. J. C., D.F. Prescott, Frontiers of Asia and Southeast Asia (Vitoria: Melbourne University Press, 1977), p.91)

35

ประวัติศาสตร์ เมื่อต฾นคริสตแศตวรรษที่ 17 มีการเดินทางเข฾ามาของชาวดัตชแ (Dutch) หรือ เนเธอรแแลนดแ (Netherland) โดยได฾สถาปนาดินแดนอาณานิคมขึ้นเป็นครั้งแรกบนชายฝั่งทางใต฾ของเกาะบอรแเนียว ต฽อมา อังกฤษจึงเริ่มมีความสนใจดินแดนบอรแเนียวในช฽วงคริสตแทศวรรษที่ 1840 เจมสแ บรูก (James Brooke) เดินทางมาถึงเกาะแห฽งนี้ และได฾รับดินแดนซาราวักเป็นรางวัลตอบแทนจาก สุลต฽าน โอมารแ อาลี ไซฟุดดิน ที่ 2 (Sultan Omar Ali Saifuddin II) สุลต฽านแห฽งบรูไน เมื่อปี 2385/1842 หลังจากที่เจมสแ บรูก สามารถจัดการ ปัญหาการก฽อกบฎให฾สงบลงได฾ ซึ่งในขณะนั้นองคแสุลต฽านแห฽งบรูไนทรงเป็นผู฾มีพระราชอํานาจปกครองดินแดน ที่เป็นบรูไน ซาบาหแ และซาราวัก เนื่องจากพระองคแทรงประสบกับความยากลําบากในการเก็บภาษีจากราษฎร ทําให฾อํานาจของสุลต฽านเริ่มเสื่อมถอยลงมาตั้งแต฽ช฽วงกลางคริสตแศตวรรษที่ 17 วิกฤติการณแดังกล฽าวได฾ทวีความรุนแรงมากขึ้นหลังปี 2424/1881 เมื่อบริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ซึ่งได฾รับพระราชทานตราตั้งจากรัฐบาลแห฽งสหราชอาณาจักร (Great Britain) เริ่มขยายอิทธิพลไปทั่วดินแดนซาบาหแ อาณาเขตของบรูไนจึงถูกเฉือนออกไปกลายเป็นซาราวัก และ บริษัทได฾ขยายอํานาจออกไปยังพื้นที่ต฽างๆ ทําให฾ประสบความสําเร็จในการครอบครองดินแดนกว฾างขวาง ออกไปมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการซื้อดินแดนเพิ่มเติมคือ เมืองเตอรูซาน (Terusan) ในปี 2487/1884 และ เมืองลิมบัง (Limbang) ในปี 2493/1890 ทําให฾อาณาเขตของบรูไนตกอยู฽ท฽ามกลางวงล฾อมของซาราวัก เส฾นเขตแดนทางทิศตะวันตกของบรูไนเป็นไปตามสันปันน้ําเกือบตลอดทั้งแนว และบางส฽วนของเส฾นเขต แดนถูกลากไปทางทิศตะวันตกตามแนวลําแม฽น้ําลิมบัง (Limbang River) และตามลักษณะของภูมิประเทศที่ เป็นสันเขาและปรากฏเส฾นสันปันน้ําที่ชัดเจน โดยมีความสูงประมาณ 1,285 เมตร เส฾นเขตแดนทางตะวันออก ของบรูไนถูกกําหนดให฾เป็นไปตามลําแม฽น้ําเปินดารูอัน (Pendaruan River) ทางทิศตะวันออกของเมืองลิมบัง และแนวสันปันน้ําทางทิศตะวันตกของเมืองเตอรูซาน (Terusan)25 อํานาจของอังกฤษในบอรแเนียว ได฾รับการรับรองเมื่อมีการตั้ง “ดินแดนในอารักขา (Protectorate)” ได฾แก฽ ซาราวัก บรูไน และ บอรแเนียวเหนือ (North Borneo หรือ ซาบาหแ) ขึ้นในปี 2431/1888 โดยมีการ เจรจาเรื่องเส฾นเขตแดนกับสเปนซึ่งในขณะนั้นครอบครองดินแดนในหมู฽เกาะซูลูทางหนึ่ง และมีการเจรจากับ ดัตชแซึ่งอ฾างการครอบครองดินแดนส฽วนที่เหลือของเกาะบอรแเนียวอีกทางหนึ่ง อังกฤษกับดัตชแสามารถบรรลุข฾อตกลงเรื่องเส฾นเขตแดนระหว฽างกันได฾เมื่อ 20 มิถุนายน 2434/1891 แม฾ ความตกลงฉบับเดิมระหว฽าง บารอน เดอ โอเวอรแเบ็ค (Baron de Overbeck) และ อัลเฟร็ด เด฾นทแ (Alfred Dent) กับองคแสุลต฽านแห฽งบรูไน เมื่อ 29 ธันวาคม 2420/1877 ซึ่งระบุว฽าแม฽น้ําเซอบูกู (Sebuku River) เป็น เส฾นเขตแดนทางใต฾สุดริมชายฝั่ง แต฽เจ฾าหน฾าที่ของบริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษไม฽สามารถเข฾าถึงพื้นที่ ดังกล฽าวได฾ก฽อนเนเธอรแแลนดแ เนื่องจากการรุกเข฾าไปยังพื้นที่ตอนใต฾จากทางสันดากัน (Sandakan) ถูกกีดกัน โดยโจรสลัดในอ฽าวดารแเวล (Darvel Bay) ทําให฾ฝุายดัตชแใช฾ประโยชนแจากสถานการณแดังกล฽าวในการขยาย อํานาจของตนขึ้นไปทางเหนือ รัฐบาลของทั้งสองตกลงที่จะเริ่มต฾นกําหนดเส฾นเขตแดนบนชายฝั่งที่พิกัดละติจูด 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ และเส฾นละติจูดดังกล฽าวก็ถูกใช฾ในการแบ฽งเส฾นเขตแดนบนเกาะเซอบาติก (Sebatik Island) ทางตะวันออกของบอรแเนียวด฾วย บริเวณชายฝั่ง เส฾นเขตแดนถูกลากต฽อไปบนเขตแผ฽นดินบนเกาะตามแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทําให฾ แม฽น้ําสิเมิงงาริส (Simengaris River) อยู฽ในเขตแดนบอรแเนียวของดัตชแ (Dutch Borneo) จากตําแหน฽งจุดตัด

25 ดูเพิ่มเติมใน Tarling, N. Britain. The Brookes and Brunei (Kuala Lumpur, 1971) และ Wright, L. R. The origins of British Borneo (Hong Kong, 1970) อ฾างใน J.R.V. Prescott, H. J. C., D.F. Prescott. Frontiers of Asia and Southeast Asia (Vitoria: Melbourne University Press, 1977), p.90. 36

ระหว฽างละติจูดที่ 4 องศา 20 ลิปดา เหนือ กับลองจิจูดที่ 117 องศา ตะวันออก เส฾นเขตแดนเหวี่ยงไปทาง ตะวันตกผ฽านเทือกเขาซึ่งแยกลําน้ําให฾ไหลลงสู฽ชายฝั่งซาราวักและซาบาหแ แล฾วจึงลากต฽อไปจนสุดทางทิศใต฾และ ทิศตะวันตกของเกาะบอรแเนียว แต฽คํานิยามที่ให฾ถือเอาแนวสันปันน้ําหลักที่ลากขนานไปตามเส฾นละติจูดที่ 4 องศา 20 ลิปดา เหนือ ทํา ให฾เกิดความสับสน ตามข฾อความที่ระบุว฽า “...ในกรณีของแม฽น้ําสิเมิงงาริส (Simengaris River) หรือแม฽น้ําอื่นที่ ไหลลงสู฽ทะเลต่ํากว฽าละติจูด 4 องศา 10 ลิปดา ซึ่งถูกพบในการสํารวจที่ไหลข฾ามผ฽านเส฾นเขตแดนที่เสนอไว฾ ภายในรัศมี 5 ไมลแบก (8 กิโลเมตร) เส฾นเขตแดนจะถูกเบี่ยงออกเพื่อครอบคลุมส฽วนเล็กต฽างๆ หรือตามแนวโค฾ง ของแม฽น้ําต฽างๆ ภายในอาณาเขตของดัตชแ; ความยินยอมเดียวกันกระทําโดยรัฐบาลเนเธอแลนดแ...”26 ความไม฽ ชัดเจนดังกล฽าวเกิดขึ้นเพราะเหตุผลที่ว฽าแม฽น้ําต฽างๆ นั้น หมายถึงอะไรกันแน฽ ระหว฽างแม฽น้ําที่ไหลข฾ามผ฽านเส฾น เขตแดนแต฽มีแหล฽งต฾นน้ําอยู฽ภายในรัศมี 5 ไมลแ (8 กิโลเมตร) หรือ แม฽น้ําที่ไหลข฾ามผ฽านเส฾นเขตแดนแต฽มีความ ยาวน฾อยกว฽า 5 ไมลแ (8 กิโลเมตร) จุดปลายสุดทางตะวันตกของเส฾นเขตแดนระหว฽างอังกฤษกับดัตชแ คือ จุดดาตู (Point Datu) ซึ่งเป็นจุด สังเกตที่รู฾จักกันเป็นอย฽างดีบนชายฝั่ง เส฾นเขตแดนตามแนวสันปันน้ํานี้ถูกระบุโดยความเชื่อทางภูมิศาสตรแ เนื่องจากยังไม฽มีการสํารวจทางเดินของแม฽น้ําสายต฽างๆ ซึ่งมีต฾นกําเนิดบนภูเขาอย฽างจริงจัง ในปี 2448/1905 เกิดความขัดแย฾งเล็กน฾อยระหว฽างดัตชแและเจ฾าหน฾าที่ของบริษัทบอรแเนียวเหนือของ อังกฤษ เกี่ยวกับแนวเส฾นเขตแดนที่อยู฽ใกล฾ชายฝั่ง เจ฾าหน฾าที่ของบริษัทเชื่อว฽าเส฾นเขตแดนเป็นไปตามละติจูดที่ 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ ถึงตะวันตกก฽อนที่จะลากเส฾นให฾เลี้ยวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงบริเวณจุดตัด ระหว฽างละติจูดที่ 4 องศา 20 ลิปดา เหนือ กับลองจิจูดที่ 117 องศา ตะวันออก ในขณะที่ฝุายดัตชแคัดค฾านว฽า เส฾นเขตแดนควรจะตัดผ฽านแม฽น้ําสิเมิงงาริส (Simengaris) ใกล฾กับบริเวณชายฝั่ง และยืนยันว฽าปัญหานี้ควรจะ เป็นที่ชัดเจนและยุติไปแล฾วในการเจรจาเมื่อปี 2434/1891 ซึ่งในที่สุดรัฐบาลอังกฤษก็เห็นด฾วยกับผู฾แทนฝุาย ดัตชแและบริษัทก็มีมติว฽าข฾อความที่กําหนดเส฾นเขตแดนของทั้งสองฝุายนั้นสอดคล฾องกัน เส฾นเขตแดนจากชายฝั่งตะวันออกไปจนถึงภูเขาโมเอลโลก (Moeloek Mountain) ซึ่งมีการปักปันเขต แดน (demarcation) ระหว฽างปี 2455/1912 – 2456/1913 โดยรายละเอียดอยู฽ในความตกลงฉบับเมื่อ 28 กันยายน 2458/1915 และเส฾นเขตแดนก็ถูกวาดลงบนแผนที่แนบท฾ายมาตราส฽วน 1:500,000 แผนที่แนบท฾าย ความตกลงดังกล฽าวแสดงเส฾นเขตแดน 2 เส฾น ความยาว 8 กิโลเมตร ทางทิศเหนือและทิศใต฾ของเส฾นพิกัดซึ่ง ระบุไว฾ในอนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) ปี 2434/1891 ทําให฾เป็นข฾อพิสูจนแที่ชัดเจนว฽า คณะกรรมการปักปันเขตแดนให฾ความสําคัญกับแหล฽งต฾นน้ําของแม฽น้ําที่ไหลข฾ามผ฽านเส฾นเขตแดน การตีความ เส฾นเขตแดนของคณะกรรมการปักปันเขตแดนซึ่งมีแม฽น้ําใหญ฽ข฾ามผ฽านเส฾นละติจูดที่ 4 องศา 20 ลิปดา แต฽มี แหล฽งต฾นน้ําอยู฽ในรัศมีมากกว฽า 8 กิโลเมตร จากพิกัดดังกล฽าวไม฽มีความสอดคล฾องกัน และจะต฾องถูกสันนิษฐาน ว฽ามีความยินยอมจากทั้งสองฝุาย หลักเขตแดนถูกสร฾างขึ้นและปักลงบนเส฾นละติจูดที่ 4 องศา 20 ลิปดา เหนือ บนตลิ่งของแม฽น้ําเปินเซียงงัน (Pensiangan River) อากิซัน (Agisan River) และเซอรแบูดา (Sebuda River)

26 ภาษาอังกฤษเขียนว฽า “...in the event of the Simengaris River or any other river flowing into the sea below 4°10‖, being found on survey to cross the proposed boundary within a radius of 5 geographical miles [8 km], the line shall be diverted so as to include such small portions or bends of rivers within Dutch territory; a similar being made by the Netherland Government....” United Kingdom, Foreign Office. British and Foreign State Papers Vol.83 (London: H.M.S.0., 1891-1892), p.42. อ฾างใน J.R.V. Prescott, H. J. C., D.F. Prescott. Ibid. 37

สนธิสัญญากําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างอังกฤษกับดัตชแฉบับที่ 3 ซึ่งถือว฽าเป็นฉบับสุดท฾ายลงนามไปเมื่อ 26 มีนาคม 2471/1928 ซึ่งเป็นการกําหนดเส฾นเขตแดนความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร ระหว฽างยอดเขาอาปี (Api Peak) กับยอดเขารายา (Raya Peak) เส฾นเขตแดนส฽วนนี้ถูกลากออกไปทางเหนือผ฽านจุดปลายสุดทาง ตะวันตกและตัดข฾ามผ฽านไปยังบริเวณเทือกเขาต่ําที่มีแกนวางไปตามแนวตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตก เฉียงใต฾ สันปันน้ําระหว฽างแม฽น้ําบางสายซึ่งทอดตัวไปตามแนวชายฝั่งจากตะวันออกไปตะวันตกของจุดดาตู (Point Datu) อยู฽ค฽อนข฾างต่ํา และดูเหมือนว฽าการลากเส฾นดังกล฽าวออกไปทางตะวันตกตามแนวหุบเขาจะทําให฾ เกินออกไปจากแนวสันปันน้ํา ซึ่งน฽าจะเป็นคําอธิบายที่ดีที่สุดในการยกดินแดนประมาณ 100 ตารางกิโลเมตร โดยเนเธอรแแลนดแบนเขตหุบเขาเซอปารัน (Separan Valley) และเบอรูนาส (Berunas Valley) เส฾นเขตแดน ดังกล฽าว มีการทําหลักเขตแดนเอาไว฾โดยเป็นเสาไม฾ 15 ต฾น และเสาคอนกรีต 4 ต฾น และระบุตําแหน฽งของหลัก เขตเหล฽านี้เอาไว฾บนแผนที่มาตราส฽วน 1:50,00027

27 J.R.V. Prescott, H. J. C., D.F. Prescott. Ibid. 38

3.2 เส้นเขตแดนทางบกบนเกาะบอร์เนียวระหว่างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย

เส฾นเขตแดนทางบกบนเกาะบอรแเนียวระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย มีความยาวประมาณ 1,781.5 กิโลเมตร ถูกกําหนดขึ้นโดยความตกลงระหว฽างอังกฤษกับเนเธอรแแลนดแ หรือ Anglo–Dutch Agreements ฉบับต฽างๆ ในยุคอาณานิคม โดยมีพื้นที่ปักปัน 2 ส฽วน คือ พื้นที่ซึ่งมีลําธารหลายสายไหลผ฽านแนวชายแดน ระหว฽างรัฐซาบาหแ (Sabah) ของมาเลเซีย กับ กาลิมันตันเหนือ (North Kalimantan/Kalimantan Utara) ของอินโดนีเซีย และ พื้นที่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾ของเมืองกูชิง (Kuching) รัฐซาราวัก (Sarawak) ของ มาเลเซีย ซึ่งใช฾แม฽น้ําสายเล็กๆ เป็นเส฾นเขตแดน กับ กาลิมันตันตะวันตก (West Kalimantan/Kalimantan Barat) ของอินโดนีเซีย โดยมีรายละเอียดดังนี้ เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซียเริ่มต฾นจากบริเวณชายฝั่งตะวันออกที่พิกัดละติจูด 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ ตั้งแต฽บริเวณเกาะเซอบาติก (Pulau28 Sebatik) ซึ่งถูกแบ฽งครึ่งโดยการลากเส฾นเขตแดน ไปทางตะวันตกผ฽านพื้นที่ทะเลที่คั่นระหว฽างเกาะเซอบาติกกับแผ฽นดินใหญ฽ของเกาะบอรแเนียว แล฾วลากต฽อไปใน ลักษณะคดเคี้ยวตามเส฾นมัธยะ (Median line) ของช฽องตัมโบ (Troesan Tamboe) และช฽องสิกาปัล (Troesan Sikapal) จนถึงเทือกเขาสิกาปัล (Sikapal Mountain) ซึ่งทําให฾เกิดสันปันน้ําระหว฽างแม฽น้ําเซอรู ดอง (Serudong) กับแม฽น้ําสิเมิงงาริส (Simengaris) เส฾นเขตแดนเป็นไปตามแนวสันปันน้ําโดยลากต฽อไปทาง ทิศตะวันตกจนถึงพิกัดที่ลองจิจูด 116 องศา 49.9 ลิปดา ตะวันออก ผ฽านแม฽น้ําเซอโบดา (Seboeda River) จากนั้นเส฾นเขตแดนเป็นไปตามแนวสันปันน้ําทางทิศตะวันตกที่พิกัดลองจิจูด 116 องศา 42.3 ลิปดา ตะวันออก บริเวณแม฽น้ําอากิซาน (Agisan River) ซึ่งเป็นสาขาของแม฽น้ําเซอโบดา (Seboeda River) และ บริเวณที่แม฽น้ําแยกออกเป็นลําน้ําสาขานี้เอง เส฾นเขตแดนคดเคียวไปตามลําน้ําสาขาทางทิศตะวันตกจนถึงพิกัด ที่ลองจิจูด 116 องศา 26.2 ลิปดา ตะวันออก ตรงบริเวณแม฽น้ําปันเจียงงัน (Pantjiangan River) ซึ่งเป็นแม฽น้ํา สายบนของแม฽น้ําเซมบาโกง (Sembakoeng River) ทําให฾เกิดบริเวณที่แม฽น้ําทั้ง 3 สายมาบรรจบกัน โดยมีการ สร฾างหลักหมายเขตแดนเป็นสัญลักษณแแสดงเอาไว฾ด฾วย จากนั้นเส฾นเขตแดนลากต฽อเนื่องไปทางทิศตะวันตกบรรจบกับแม฽น้ําเซไซ (Sesai River) ที่พิกัดลองจิจูด 116 องศา 09 ลิปดา ตะวันออก โดยพิกัดลองจิจูดที่กล฽าวมาทั้ง 4 จุดนี้ เป็นไปตามที่ระบุไว฾ในความตกลง อังกฤษ-ดัตชแ (Anglo–Dutch Agreements) ซึ่งกําหนดให฾เส฾นเขตแดนตัดผ฽านกับเส฾นละติจูดที่พิกัด 4 องศา 20 ลิปดา เหนือ และจากบริเวณจุดพิกัดของแม฽น้ําเซไซ (Sesai River) เส฾นเขตแดนลากต฽อไปตามแนวสันเขาซึ่ง เป็นแนวเดียวกับสันปันน้ํามีความยาวรวมประมาณ 1,287.5 กิโลเมตร อย฽างไรก็ตาม ยังไม฽มีการศึกษาข฾อมูล และรายละเอียดของตําแหน฽งแนวสันปันน้ําที่ชัดเจน ต฽อมาทางตะวันตกเฉียงใต฾ของกูชิง (Kuching) แนวสันปัน น้ําแบ฽งยอดเขาอาปี (Api Peak) กับยอดเขาราชา (Raja Peak) เป็นแนวเส฾นตรงต฽อเนื่องเป็นระยะทาง 22 กิโลเมตร จากจุดนี้เส฾นเขตแดนลากผ฽านต฽อไปยังพื้นที่สลับซับซ฾อนทั้ง เส฾นตรง ทางเดินเท฾า ลําธาร สันปันน้ํา และ เส฾นแบ฽งยอดเขา เส฾นเขตแดนที่ลากไปตามลําธารถูกกําหนดไว฾บนฝั่งขวาของแนวลําธาร หลักหมายเขต แดนทั้งที่ทําจากไม฾และคอนกรีตถูกปักเอาไว฾ตามจุดที่สําคัญๆ ตามแนวเส฾นเขตแดน เส฾นเขตแดนบริเวณนี้วัด ความยาวได฾ประมาณ 32 กิโลเมตร บนจุดสูงสุดของยอดเขาอาปี (Api Peak) เส฾นเขตแดนลากต฽อไปตามแนว สันปันน้ําอีกประมาณ 125.5 กิโลเมตร ตามทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จากนั้นก็ลากต฽อขึ้นไปทางเหนือจนจรด ทะเลจีนใต฾ที่เมืองตันจุงดาตู (Tandjung Datu) ดูภาพที่ 3.4

28 Pualu เป็นภาษามาเลยแ (malay) แปลว฽า เกาะ (island) 39

ภาพที่ 3.4 แผนที่แสดงเส฾นเขตแดนบนเกาะบอรแเนียว ระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย (ที่มา: International Boundary Study, Florida State University College of Law เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2555/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1Nu7h5o)

40

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เกาะบอรแเนียวเป็นเกาะที่เกือบถูกแบ฽งครึ่งโดยเส฾นศูนยแสูตร คําว฽า บอรแเนียว (Borneo) เป็นการออก เสียงโดยชาวตะวันตก มาจากคําว฽า บรูไน (Brunei) ซึ่งเป็นชื่อของรัฐสุลต฽านผู฾มีอํานาจปกครองดินแดนบน เกาะบอรแเนียว พื้นที่ 3 ส฽วนทางตอนเหนือของเกาะบอรแเนียวเป็นที่ตั้งของ ประเทศบรูไน (Brunei) กับ ดินแดนรัฐซาราวัก (Sarawak) และ ซาบาหแ (Sabah) หรือ บอรแเนียวเหนือ (North Borneo) ของมาเลเซีย ส฽วนพื้นที่ขนาด 2 ใน 3 ทางตอนใต฾เป็นส฽วนหนึ่งของสาธารณรัฐอินโดนีเซียเรียกว฽า กาลิมันตัน (Kalimantan) โดยพื้นที่ตามแนวชายแดนระหว฽างประเทศมาเลเซียกับอินโดนีเซียบนเกาะบอรแเนียวนี้ มีลักษณะทาง ภูมิศาสตรแเป็นเทือกเขาซึ่งทอดตัวตามแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีความสูงแตกต฽างกันไปตามลักษณะของ การก฽อตัวของพื้นดิน โดยยอดเขาสูงที่สุดคือ โมโรด (Moeroed Peak) มีความสูง 2,159 เมตร อยู฽ใกล฾กับ บริเวณจุดบรรจบกันของสามดินแดน (tripoint) คือ ซาบาหแ-ซาราวัก-กาลิมันตัน นอกจากนี่ยังมีเทือกเขาบาวัง (Bawang) ในพื้นที่ทางตะวันตกของชายแดนซึ่งมีความสูงไม฽มากและไม฽ ค฽อยมีความต฽อเนื่องนัก โดยมีแนวช฽องเขาอยู฽ระหว฽างต฾นแม฽น้ําซาดอง (Sadoeng) กับแม฽น้ํากาปอส (Kapoeas) ทางทิศตะวันออกเฉียงใต฾ของเมืองกูชิง (Kuching) พื้นที่ราบตามแนวชายฝั่งทางทิศตะวันตกทําให฾ เกิดช฽องทางที่สามารถเดินข฾ามไปมาหากันได฾ระหว฽างแม฽น้ําซัมบาส (Sambas) กับแม฽น้ําซาราวัก (Sarawak) ส฽วนพื้นที่บริเวณตอนกลางมีภูมิประเทศเป็นแนวสันเขาและหุบเขาที่มีความต฽อเนื่องเป็นแนวยาว มีลักษณะ ภายในเป็นภูเขาหินแกรนิตแต฽ภายนอกมีลักษณะเป็นพื้นผิวหินทรายและหินชนวน ทําให฾ยอดเขามีความโค฾งมน เนื่องจากคุณสมบัติของหินอัคนี ในขณะบริเวณที่เป็นหินทรายและหินชนวนจะมีลักษณะกัดเซาะกลายเป็นหุบ เขาลึก และค฽อนข฾างลาดชัน พื้นที่ทางทิศตะวันออก มีความสูงลดลงเนื่องจากเป็นแนวชายฝั่งทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) แต฽ก็มีลักษณะเป็นพื้นที่แคบและเล็กไม฽ต฽อเนื่องกันเท฽าไหร฽นัก29 ภูมิอากาศของเกาะบอรแเนียวเป็นแบบเขตร฾อนชื้น (tropical) โดยบริเวณที่ราบลุ฽มจะมีอากาศร฾อนและมี ความชื้นมาก มีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามฤดูกาลเล็กน฾อย โดยอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปีอยู฽ที่ประมาณ 26 องศาเซลเซียส การเพิ่มขึ้นของระดับความสูงของภูมิประเทศมีผลต฽อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเล็กน฾อย หรือแทบจะไม฽เปลี่ยนแปลงเลย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพื่นที่บนเกาะมีปริมาณน้ําฝนน฾อยกว฽า 2,500 มิลลิเมตร ต฽อปี ในขณะที่พื้นที่ตามแนวเทือกเขาอาจมีปริมาณน้ําฝนมากที่สุดราว 5,000 มิลลิเมตรต฽อปี เกาะบอรแเนียวมีฤดูแล฾งในช฽วงสั้นๆ เนื่องจากมีลมมรสุมพัดผ฽านเข฾ามาอย฽างสม่ําเสมอ ทําให฾พืชพันธุแ ต฽างๆ มีความอุดมสมบูรณแเนื่องจากมีอุณภูมิและปริมาณน้ํามากเพียงพอ ทําให฾มีพื้นที่ปุาฝนเขตร฾อนและปุา ชายเลนตามฝั่งแม฽น้ําและแนวชายฝั่งทะเล ซึ่งต฾นไม฾ใหญ฽อาจมีความสูงมากกว฽า 61 เมตร และมีต฾นไม฾ชนิด เดียวกันปกคลุมอยู฽ตามพื้นที่ต฽างๆ เช฽น พื้นที่ซึ่งมีความสูงมากกว฽า 914 เมตร ขึ้นไป จะพบพืชตระกูลสนแคระ (a dwarf alpine) เป็นต฾น

29 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Boundary. (International Boundary Study, No.45 of March 15, 1965), pp. 2-3. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1CC6xYt 41

ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ เกาะบอรแเนียวมีประชากรเบาบาง เมื่อเทียบกับหมู฽เกาะใกล฾เคียง เช฽น ชวา (Java) เซเลเบส (Celebes) และสุมาตรา (Sumatra) ประชากรบนเกาะบอรแเนียวอาศัยอยู฽หนาแน฽นตามแนวชายฝั่ง โดยเฉพาะอย฽างยิ่ง บริเวณปากแม฽น้ําสําคัญๆ รองลงมาคือพื้นที่บริเวณหุบเขา ส฽วนพื้นที่ลึกเข฾าไปในตอนกลางของเกาะไม฽ค฽อยมี ประชากรเข฾าไปอาศัยตั้งรกรากมากนัก ยกเว฾นฝั่งตะวันตกของเกาะบริเวณริมฝั่งแม฽น้ําซาดอง (Sadoeng) และ แม฽น้ํากาปอส (Kapoeas) ประชากรตามแนวชายฝั่งส฽วนใหญ฽เป็นชาวมาเลยแ (Malays) จากชวาและสุมาตรา มีประชากรเชื้อสาย จีนอพยพเข฾ามาตั้งรกรากเพื่อทํางานในเหมืองทองซัมบาส (Sambas) นอกจากนี้ยังมีชาวดายัก (Dayak) อาศัย รวมอยู฽ด฾วย ชาวจีนอาศัยมักตั้งบ฾านเรือนอยู฽ในพื้นที่ของชุมชนเมืองร฽วมกับชาวมาเลยแ ในขณะที่ชาวดายักตั้งถิ่น ฐานอยู฽ในพื้นที่ชนบท อาชีพหลักคือทําเกษตรกรรม เช฽น ปลูกข฾าว ปลูกพืชไร฽ มะพร฾าว เครื่องเทศ เช฽น พริกไทย และทําสวนยาง เคยมีการทําไร฽ขนาดใหญ฽ที่เรียกว฽า แพลนเตชั่น (plantation) แต฽เนื่องจากปัญหา การขาดแคลนแรงงาน จึงทําให฾มีปริมาณลดน฾อยลงมากในปัจจุบัน ปัญหาใหญ฽ที่สุด คือ คุณภาพของดินที่ขาด ความอุดมสมบูรณแ และสภาพภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิสูง ปริมาณน้ําฝนมาก ทําให฾เกิดการชะล฾างของหน฾าดิน อย฽างรวดเร็ว ทําให฾ปริมาณแร฽ธาตุในดินลดน฾อยลง และยังมีสัดส฽วนของดินลูกรังมาก ตรงข฾ามกับพื้นที่ในชวา และสุมาตรา บนเกาะบอรแเนียวไม฽มี ภูเขาไฟมีพลัง (active volcanoes) ที่มีเถ฾าถ฽านหรือลาวาซึ่งจะสามารถ เติมความอุดมสมบูรณแให฾คุณภาพดินได฾ แต฽ก็มีพื้นที่ดินตะกอนบางแห฽งที่เกิดจากแม฽น้ําทําให฾พอที่จะเติมแร฽ธาตุ ในดินได฾บ฾าง ประชากรที่อาศัยอยู฽พื้นที่ตอนกลางของเกาะ เป็นกลุ฽มชาติพันธุแและชนเผ฽าดั้งเดิม เช฽น บางชนเผ฽าเคย เป็นพวกล฽าหัวมนุษยแ (head-hunting) ซึ่งในปัจจุบันได฾เลิกประเพณีเหล฽านี้ไปหมดแล฾ว แต฽ก็ยังคงวิถีชีวิตดั้งเดิม แบบไล฽ล฽าหาเก็บ (hunting and gathering) และมีการเพาะปลูกเล็กๆ น฾อยๆ และจะโยกย฾ายที่อยู฽ไปเรื่อยๆ หลังจากทรัพยากรลดน฾อยลง

ประวัติศาสตร์ เมื่อชาวยุโรปเดินทางเข฾ามายังดินแดนเกาะบอรแเนียว มีความพยายามที่จะตั้งถิ่นฐานบนเกาะแต฽ก็ไม฽ ประสบความสําเร็จ ในจํานวนนี้ มีชาวโปรตุเกส สเปน ดัตชแ และอังกฤษ โดยทั้งหมดพยายามที่จะเข฾ายึดครอง ความร่ํารวยของดินแดนแห฽งนี้ด฾วยวิธีการต฽างๆ แต฽การต฽อสู฾ปะทะกับชนเผ฽าพื้นเมืองดั้งเดิม รวมทั้งความ โหดร฾ายของสภาพภูมิอากาศเป็นอุปสรรคขัดขวางแผนการของพวกเขา ชาวดัตชแได฾ก฽อตั้งโรงงานขึ้นที่บันเจอรแ มาซิน (Bandjermasin) บนชายฝั่งทางใต฾ในปี 2146/1603 แต฽ก็ต฾องปิดตัวลงในอีกสี่ปีต฽อมา เมื่อเกิดคดี ฆาตกรรมพนักงานของโรงงาน ความพยายามครั้งที่สองเกิดขึ้นในปี 2178/1635 แต฽ก็ล฾มเหลวภายในสามปี ต฽อมา ในปี 2241/1698 ชาวดัตชแได฾รับความช฽วยเหลือจากพระราชาของบันตัม (Bantam) แห฽งชวา (Java) ในช฽วงระยะเวลาสั้นๆ เพื่อสนับสนุนการค฾าแบบจํากัดภายในเกาะบอรแเนียว หลังจากนั้นก็มีความพยายามที่จะ เข฾ามาตั้งฐานของชาวดัตชแอีกหลายต฽อหลายครั้ง แต฽เนื่องจากการลงทุนในเกาะบอรแเนียวมีค฽าใช฾จ฽ายที่สูงมาก แต฽ผลตอบแทนค฽อนข฾างน฾อย ทําให฾รัฐบาลเนเธอรแแลนดแมีคําสั่งให฾ยกเลิกความคิดที่จะตั้งถิ่นฐานบนเกาะ บอรแเนียวในปี 2240/1797 แนวคิดของข฾าราชการอาณานิคมดัตชแต฽อบอรแเนียวนั้น ค฽อนข฾างสัมพันธแกับอํานาจ ของชวา เกาะบอรแเนียวจึงเปรียบเหมือนเมืองหน฾าด฽านที่อยู฽ภายใต฾อิทธิพลของชวาอยู฽แล฾ว ซึ่งเป็นประโยชนแต฽อ การค฾าอย฽างมาก โดยเป็นเสมือนแนวปูองกันการุกรานของศัตรูที่จะบุกเข฾ามายังพื้นที่การตั้งถิ่นฐานหลักของ ดัตชแบนเกาะชวา ดังนั้น ชายฝั่งทางตอนใต฾ของเกาะบอรแเนียวซึ่งอยู฽ใกล฾เกาะชวามากกว฽าจึงมีความน฽าสนใจ สําหรับดัตชแ 42

นอกจากนี้ยังมีชาวยุโรปอีกฝุายหนึ่งนั่นคือ อังกฤษ ซึ่งมีความคิดว฽าเกาะบอรแเนียวน฽าจะสามารถใช฾เป็น สถานีการค฾าของตนจากอินเดียไปยังจีนได฾ โดยการเดินเรือในช฽วงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต฾ไปยังประเทศจีนจะ ใช฾เส฾นทางจากช฽องแคบมะละกาและทะเลจีนใต฾ผ฽านทางทิศตะวันตกของเกาะบอรแเนียว อย฽างไรก็ตาม ในช฽วง ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ตุลาคมถึงเมษายน) เส฾นทางนี้ไม฽สามารถเดินทางได฾ ทําให฾เส฾นทางเดินเรือ เปลี่ยนไปใช฾เส฾นทางทางทิศใต฾และตะวันออกของเกาะบอรแเนียว แม฾ว฽าจะมีเรือที่ใช฾พลังงานจากเครื่องยนตแไอ น้ําแล฾ว อังกฤษก็ยังคงความคิดที่จะยึดเกาะบอรแเนียวมาเป็นจุดแข็งบนเส฾นทางการค฾าดังกล฽าว เป็นผลให฾ อังกฤษเข฾าไปยังดินแดนส฽วนสําคัญที่สุดของเกาะ คือ ชายฝั่งทางเหนือซึ่งเป็นพื้นที่บริเวณกว฾างขวางและมีอ฽าว ซึ่งสามารถวางกองกําลังคุ฾มกันได฾อย฽างแน฽นหนา ในสงครามนโปเลียนฝุายอังกฤษสามารถเอาชนะกองทัพเรือ ของฝุายดัตชแได฾ จึงเข฾ายึดกิจการของเนเธอรแแลนดแในหมู฽เกาะอินเดียตะวันออก หลังจากไม฽มีการแข฽งขันจาก ฝุายดัตชแแล฾ว อังกฤษจึงเข฾าไปตั้งโรงงานบนเกาะบอรแเนียว แต฽กิจการเหล฽านั้นไม฽ประสบความสําเร็จเท฽าที่ควร เนื่องจากขาดความร฽วมมือจากผู฾นําท฾องถิ่นที่เป็นชาวพื้นเมือง รวมทั้งเกิดภาวะขาดแคลนแรงงานด฾วย จากข฾อกําหนดของอนุสัญญาปี 2357/1814 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ (British East India Company) ต฾องโอนคืนการบริหารจัดการหมู฽เกาะอินเดียตะวันออกให฾แก฽ประเทศเนเธอรแแลนดแ ฝุายดัตชแจึง ดําเนินการกอบกู฾สิทธิดั้งเดิมของตนในดินแดนเกาะบอรแเนียวและเกาะอื่นๆ ที่อยู฽รายรอบ และสุลต฽านแห฽งบัน เจอรแมาซิน (Sultanate of Bandjermasin) ก็ประกาศยอมรับอํานาจของดัตชแทันที โดยสุลต฽านได฾สละอํานาจ เหนือดินแดนตาตัส (Tatas) กวีน (Kween) และหัวเมืองต฽างๆ ที่เป็นดินแดนของชาวดายัก (Dayak provinces) จังหวัดเมินดาไว (Mendawai) ซัมปิต (Sampit) และโกตาวาริงงิน (Kota Waringin) รวมทั้ง ดินแดนทั้งหมดที่ขึ้นตรงต฽อสุลต฽าน เช฽น ซินตัง (Sintang) ลาไว (Lawai) เจไล (Djelai) บากอมไป (Bakoempai) ตาบานิโอ (Tabanio) ปาตากัน (Patagan) โปโล ลาโอท (Poeloe Laoet) ปาซิรแ (Pasir) โกไต (Koetei) เบอโรว (Berouw) และดินแดนอื่นๆ ด฾วยการยกดินแดนขนาดใหญ฽ให฾แก฽ชาวดัตชแ ทําให฾บริษัทของ ฝุายอังกฤษที่ตั้งอยู฽ในแถบชายฝั่งทางใต฾ของเกาะบอรแเนียวก฽อนหน฾านี้ต฾องย฾ายออกจากพื้นที่ เมื่อฝุายดัตชแได฾ เข฾าควบคุมพื้นที่ทางตอนใต฾ของเกาะบอรแเนียวแล฾ว สุลต฽านแห฽งซัมบาส (Sultanates of Sambas) และ สุลต฽านแห฽งปอนติอานัก (Sultanates of Pontianak) จากชายฝั่งตะวันตกจึงแสดงความประสงคแที่จะร฾องขอ กองกําลังอารักขาจากฝุายดัตชแด฾วย การร฾องขอดังกล฽าวมีสาเหตุเนื่องมาจาก เกิดการปล฾นสะดมโดยกองโจร ชาวจีนที่เข฾ามาตั้งถิ่นฐานในซัมบาส และมีการกระทําอันเป็นโจรสลัดตามแนวชายฝั่งเพื่อท฾าทายอํานาจของ ทหารดัตชแ อย฽างไรก็ตาม ดัตชแก็ถูกบังคับให฾ละทิ้งดินแดนทั้งหมดอีกครั้งในปี 2368/1825 เนื่องมาจากการก฽อ จลาจลของชาวชวา (Javanese Rebellion) แต฽หลังจากสถานการณแกลับสู฽ภาวะปกติ ดัตชแได฾ดําเนินนโยบาย ดังเดิมคือการขยายอํานาจและอิทธิพลเหนือชาวพื้นเมืองดั้งเดิมในดินแดนแถบนี้ ตรงข฾ามกับผลประโยชนแที่ ดัตชแได฾จากดินแดนชวา บอรแเนียวไม฽ค฽อยให฾ผลประโยชนแที่เป็นชิ้นเป็นอันสักเท฽าไหร฽ ความกังวลหลักๆ ในช฽วง แรก ดูเหมือนจะอยู฽ที่การกําจัดการอ฾างสิทธิ์ของรัฐอื่นๆ การตั้งหลักแหล฽งถาวรครั้งแรกของอังกฤษบนเกาะบอรแเนียว เกิดขึ้นโดย เจมสแ บรูก (James Brooke) ซึ่งต฽อมาได฾รับการยกย฽องให฾เป็นราชาขาวแห฽งซาราวัก (The White Rajah of Sarawak) ในปี 2382/1839 เอาเข฾าจริงแล฾ว เจมสแ บรูก เดินทางมาถึงเกาะแห฽งนี้โดยเดินทางสํารวจเป็นการส฽วนตัว แต฽รัฐบาลบรูไนได฾ร฾อง ขอให฾เขาเข฾ามาช฽วยปราบจลาจล โดยครั้งแรกเขาไม฽ได฾ตกลงตามคําร฾องขอเนื่องจากยังติดภาระกิจสํารวจ เส฾นทางเดินเรืออยู฽ แต฽ในปีต฽อมาขณะที่เขาเดินทางกลับมายังเมืองกูชิง (Kuching) รัฐบาลบรูไนจึงได฾ร฾องขอ ความช฽วยเหลือจากเขาอีกครั้ง และครั้งนี้เขาก็ตกลงยอมรับงานปราบจลาจล ซึ่งทําให฾เขากลายเป็นผู฾ปกครอง รัฐซาราวักในปี 2385/1842 โดยมีอํานาจปกครองดินแดนตั้งแต฽เมืองตันจุง ดาตู (Tandjung Datu) จนถึง บริเวณปากแม฽น้ําซาดอง (Sadong River) 43

ในเบื้องต฾นฝุายเนเธอรแแลนดแได฾ทําการคัดค฾านการตั้งบริษัทของ เจมสแ บรูก แต฽หลังจากที่รัฐบาลอังกฤษ ประกาศอย฽างเป็นทางการว฽าไม฽มีความสนใจต฽อผลประโยชนแในรัฐซาราวัก เนเธอรแแลนดแจึงลดการคัดค฾าน บริษัทของเจมสแ บรูกลง แต฽ทุกครั้งที่รัฐซาราวักทําการขยายดินแดนของตนให฾เพิ่มมากขึ้น ฝุายดัตชแก็เกิดความ กังวลใจมากขึ้นด฾วย ฝุายดัตชแยังคงเฝูาดูด฾วยความสงสัยว฽าทางการอังกฤษให฾การสนับสนุนเรือแก฽ เจมสแ บรูก ในการปราบปรามการกระทําอันเป็นโจรสลัดของพวกดายักหรือไม฽ และเพื่อขัดขวางการขยายอํานาจของเจมสแ บรูก ดัตชแจึงเริ่มขยายอิทธิพลของตนเองตามแนวชายฝั่งตะวันออกด฾วยการลงนามในสนธิสัญญาปูองกัน ดินแดนกับสุลต฽านในเมืองต฽างๆ เช฽น สุลต฽านโกไต (Koetei) สุลต฽านปาซีรแ (Pasir) สุลต฽านโบลองงัน (Boeloengan) สุลต฽านโกนอง ตาบอรแ (Goenong Taboer) และ สุลต฽านซัมบาลิออง (Sambalioeng) เช฽นเดียวกับอังกฤษที่ทําข฾อตกลงกับสุลต฽านของดินแดนต฽างๆ เช฽นเดียวกัน แต฽รัฐบาลอังกฤษที่ลอนดอนไม฽เคย ให฾สัตยาบันในสนธิสัญญาต฽างๆ ที่ทําขึ้น จนกระทั่ง ในปี 2390/1847 สหราชอาณาจักรได฾ตกลงเจรจาใน สนธิสัญญากับสุลต฽านแห฽งบรูไน (Sultan of Brunei) โดยการแนะนําของเจมสแ บรูก เพื่ออนุญาตให฾มีการตั้ง ถิ่นฐานของชาวอังกฤษบนเกาะลาบวน (Labuan Island) ในปี 2393/1850 อังกฤษได฾เข฾ายึดครองดินแดนทาง ตอนเหนือของเกาะบอรแเนียว จนเนเธอรแแลนดแต฾องจําใจยอมรับและทําให฾ต฾องเพิ่มความพยายามที่จะขยาย อํานาจของตนออกไปยังดินแดนอื่นๆ อีกเป็นสองเท฽า และอีก 9 ปีต฽อมาสุลต฽านแห฽งบันเจอรแมาซิน (Sultanate of Bandjermasin) ได฾ใช฾กําลังเพื่อต฽อต฾านการปกครองของดัตชแ ทําให฾เกิดการปะทะกันและมีความสูญเสีย มากทั้งสองฝุาย จนกระทั่งการต฽อสู฾ได฾ยุติลงในปี 2410/1867 โดยฝุายสุลต฽านต฾องพ฽ายแพ฾และนําไปสู฽การเข฾า ยึดดินแดนอย฽างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดของฝุายดัตชแ และอีกหลายปีต฽อมารัฐบาลอาณานิคมที่ชวา (Java Government) ก็สามารถรวบรวมดินแดนทั่วทั้งตอนใต฾และฝั่งตะวันตกของเกาะบอรแเนียวเอาไว฾ได฾ทั้งหมด โดยมีที่มั่นอยู฽ที่เมืองบันเจอรแมาซิน (Bandjermasin) ในขณะเดียวกัน อังกฤษที่อยู฽ในดินแดนซาราวักยังคงทําการขยายอิทธิพลอย฽างมาก จนทําให฾อํานาจของ สุลต฽านแห฽งบรูไนอ฽อนกําลังลง ในปี 2396/1853 เส฾นเขตแดนทางทิศตะวันออกขยายออกไปจนถึงเมืองราจัง (Rajang) และในปี 2404/1861 ก็ขยายออกไปอีกจนถึงเมืองบินตูลู (Bintulu) และถึงเมืองบารัม (Baram) ใน ปี 2425/1882 นอกจากนี้ยังมีการขยายดินแดนออกไปอีกด฾วยวิธีการที่หลากหลาย เช฽น การยกให฾ การผนวก ดินแดน และการซื้อดินแดน ได฾แก฽ ในปี 2427/1884 ดินแดนตรูซาน (Trusan) ในปี 2433/1890 ดินแดนลิม บัง (Limbang) และ ในปี 2447-2448/1904-1905 ดินแดนลาวาส (Lawas) ในช฽วงเวลาเดียวกันนี้ทางด฾าน ทิศเหนือ ฝุายสเปนก็พยายามที่จะยุติความขัดแย฾งอันยาวนานกับสุลต฽านแห฽งซูลู (Sultan of Sulu) โดย สุลต฽านแห฽งซูลู ถูกสเปนประกาศให฾อยู฽ภายใต฾การปกครองตั้งแต฽ ปี 2181/1638 อย฽างไรก็ตาม ฝุายดัตชแรู฾ดีว฽า การประกาศของสเปนเพียงฝุายเดียวไม฽ได฾มีผลในทางปฏิบัติแต฽อย฽างใด แต฽ในปี 2394/1851 สุลต฽านแห฽งซูลูได฾ ยอมรับอํานาจอธิปไตยของราชบัลลังกแสเปน และยุติการกระทําที่เป็นการล฽วงละเมิดอํานาจของสเปน ทางด฾าน ฝุายสุลต฽านแห฽งซูลู ในเวลาดังกล฽าวมีอํานาจอธิปไตยอยู฽จํากัดเฉพาะบริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของ เกาะบอรแเนียวเหนือตั้งแต฽เมืองโบลองงัน (Boeloengan) จนถึงอ฽าวมารูดุ (Marudu Bay) และชายฝั่งตะวันตก เฉียงเหนือจนถึงแม฽น้ําปันดาซาน (Pandasan River) แต฽เนื่องจากการกระทําอันเป็นโจรสลัดของซูลูยังไม฽มีที ท฽าว฽าจะยุติลง ดังนั้น ในปี 2416/1873 สเปนจึงจัดกองทัพมาปิดล฾อมดินแดนของสุลต฽านแห฽งซูลู ซึ่งนําไปสู฽ การประท฾วงรุนแรงจากผู฾ประกอบการค฾าชาวอังกฤษที่สิงคโปรแ เกิดการบุกโจมตีเข฾าไปจนถึงในใจกลางเมือง โฮโล (Jolo) เมืองหลวงของซูลู จนในที่สุดฝุายสุลต฽านแห฽งซูลูก็ประกาศยอมแพ฾ ในปี 2421/1878 ในช฽วงเสื่อมอํานาจของสุลต฽านแห฽งซูลูนี้เอง เริ่มมีผลประโยชนแมากขึ้นในบอรแเนียวเหนือ เนื่องจากมี บริษัทอเมริกันและบริษัทสก฿อตแลนดแพยายามที่จะเข฾ามาสร฾างสถานีการค฾าแต฽ก็ไม฽ประสบความสําเร็จ ตั้งแต฽ปี 2418/1875 บริษัทออสเตรีย (Austrian) ชื่อ โอเว฽อรแเบ็ค (Overbeck) ได฾ซื้อสัญญาเช฽าเกาะบอรแเนียวเหนือต฽อ 44

จากบริษัทอเมริกันการค฾า (The American Trading Company) โดยร฽วมกับ อัลเฟร็ด เด฾นทแ (Alfred Dent) ชาวอังกฤษที่ร่ํารวยและมีอิทธิพลมาก จนกระทั่งปี 2420/1877 พวกเขาจึงทําการเจรจาต฽อสัญญากับสุลต฽าน แห฽งบรูไน เกี่ยวกับดินแดนระหว฽างอ฽าวกิมานิส (Kimanis Bay) กับแม฽น้ําเซอโบโก (Seboekoe) ทางด฾านทิศ ตะวันออกของเกาะบอรแเนียว โดยมีการชําระเงินเป็นรายปี เพื่อให฾โอเว฽อรแเบ็ค (Overbeck) และอัลเฟร็ด เด฾นทแ (Alfred Dent) มีอํานาจเต็มในการปกครองดินแดนทั้งหมดของซาบาหแ โดยทั้งสองรู฾อยู฽ว฽าสุลต฽านแห฽งซูลู ยังคงมีอิทธิพลอยู฽ในดินแดนดังกล฽าว พวกเขาจึงทําการเจรจาตกลงที่จะจ฽ายเงินรายปีให฾สุลต฽านแห฽งซูลูเช฽นกัน ดินแดนระหว฽างแม฽น้ําปันดาซาน (Pandasan River) ทางทิศตะวันตก และเมืองเซอโบโก (Seboekoe) ทาง ทิศตะวันออก มีการจ฽ายเงินประจําปี ปีละ 5,000 เหรียญ นับตั้งแต฽วันที่ 22 มกราคม 2421/1878 หรือ ประมาณ 6 เดือนก฽อนที่สเปนจะสามารถเอาชนะสุลต฽านแห฽งซูลูได฾สําเร็จ อาณาเขตพื้นที่อย฽างน฾อย 77,700 ตารางกิโลเมตร เป็นของบริษัทของโอเว฽อรแเบ็ค (Overbeck) และอัลเฟร็ด เด฾นทแ (Alfred Dent) โดยทั้งคู฽พยายามร฾องขอความช฽วยเหลือจากประเทศในยุโรป แต฽รัฐบาล ออสเตรียปฏิเสธคําร฾องขอดังกล฽าวทําให฾บริษัทโอเว฽อรแเบ็ค (Overbeck) ถอนตัวออกจากหุ฾นส฽วนทันที ในปี 2422/1879 ขณะที่รัฐบาลอังกฤษตกลงที่จะเข฾ามาสนับสนุนด฾วยการออกกฎหมายเพื่อพระราชทานตราตั้งเพื่อ จัดตั้งบริษัทขึ้นใหม฽ในปี 2424/1881 โดยใช฾ชื่อว฽า บริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ทั้งๆ ที่มีการประท฾วงจากรัฐบาลเนเธอรแแลนดแ การอ฾างสิทธิ์อธิปไตยของสเปนเหนือดินแดน สุลต฽านแห฽งซูลู ได฾ยุติลงโดยพิธีสารวันที่ 7 มีนาคม 2428/1885 ซึ่งทําให฾สเปนได฾สิทธิ์ขาดในการปกครองหมู฽ เกาะซูลูอย฽างสมบูรณแ โดยแลกกับการสละอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนบนแผ฽นดินใหญ฽ของเกาะบอรแเนียว ซึ่ง เคยอยู฽ภายใต฾เขตอิทธิพลการปกครองของสุลต฽านแห฽งซูลูมาก฽อน อังกฤษและดัตชแ รู฾ทันทีว฽าจะต฾องมีกําหนดเส฾นเขตแดนให฾ชัดเจน เพื่อปูองกันปัญหาที่จะเกิดตามมา ใน ปี 2432/1889 จึงมีการแต฽งตั้งคณะกรรมาธิการร฽วม เพื่อทําการสํารวจภูมิประเทศและตรวจสอบเอกสารที่ เกี่ยวข฾องกับการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างกัน แล฾วจึงมีการลงนามในอนุสัญญาปี 2434/1891 ข฾อตกลง ดังกล฽าวจึงเป็นหลักฐานที่แสดงถึงการประนีประนอมระหว฽างกันของทั้งสองมหาอํานาจในขณะนั้น ข฾อมูลทาง ภูมิศาสตรแจึงถูกผลิตออกมามากขึ้นในช฽วงเวลาระหว฽างการปักปันเส฾นเขตแดนดังกล฽าว เอกสารต฽างๆ มีการ ปรับปรุงและแก฾ไขให฾ถูกต฾องในปี 2458/1915 และปรับปรุงอีกครั้งในปี 2471/1928 เพื่อให฾สอดคล฾องกับ ข฾อเท็จจริง ต฽อมาในช฽วงสงครามโลกครั้งที่ 2 บอรแเนียวถูกยึดครองโดยกองทัพญี่ปุุน และปกครองดินแดนนี้จนถึง ช฽วงเดือนสุดท฾ายของสงคราม ก฽อให฾เกิดความเสียหายเป็นจํานวนมากต฽อทรัพยแสินและโครงสร฾างพื้นฐาน รวมทั้งเกิดผลกระทบต฽อเศรษฐกิจโดยภาพรวม อันเป็นผลจากการทิ้งระเบิดของฝุายสัมพันธมิตร ส฽งผลให฾ ราชาแห฽งซาราวัก (Rajah of Sarawak) และ บริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ตระหนักได฾ว฽า พวกเขาไม฽มีทรัพยากรเพียงพอที่จะฟื้นฟูความเสียหายทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น หลังจากช฽วงเวลาสงครามได฾ ดังนั้น รัฐซาราวักและบอรแเนียวเหนือ จึงถูกส฽งผ฽านไปยังรัฐบาลอังกฤษในฐานะดินแดนอาณานิคม ใน วันที่ 1 กรกฎาคม 2489/1946 และวันที่ 15 กรกฎาคม 2489/1946 ตามลําดับ นับตั้งแต฽งการที่ขบวนการ ชาตินิยมในดินแดนดัตชแอีสตแอินดีส (Dutch East Indies) หรือ อินโดนีเซีย ได฾ทําการประกาศเอกราชแยกตัว ออกจากอํานาจของเนเธอรแแลนดแ ในวันที่ 17 สิงหาคม 2488/1945 จนกระทั่งในวันที่ 28 ธันวาคม 2492/1949 สาธารณรัฐเอกราชใหม฽แห฽งอินโดนีเซีย ได฾ถือกําเนิดขึ้นเพื่อแทนที่อํานาจของชาวดัตชแทางตอนใต฾ ของเส฾นเขตแดนทางบกบนเกาะบอรแเนียว

45

ในที่สุดวันที่ 16 กันยายน 2506/1963 รัฐสิงคโปรแ (The State of Singapore) รัฐอาณานิคมแห฽งรัฐซา ราวัก (The Colony of Sarawak) และ รัฐอาณานิคมแห฽งบอรแเนียวเหนือ (The Colony of North Borneo) หรือในปัจจุบัน คือ รัฐซาบาหแ (Sabah) ได฾เข฾าร฽วมกับ สหพันธรัฐมาลายา (Federation of Malaya) เพื่อการ สถาปนาประเทศมาเลเซีย การเขาร฽วมเป็นส฽วนหนึ่งกับสหพันธรัฐมาลายาของ รัฐซาราวัก และ รัฐซาบาหแ นําไปสู฽การประท฾วงของอินโดนีเซีย โดยมีเรียกร฾องให฾ทําการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนบนเกาะ บอรแเนียวว฽ามีความต฾องการที่จะเข฾าร฽วมเป็นส฽วนหนึ่งของสหพันธรัฐแห฽งใหม฽นี้จริงหรือไม฽ คณะกรรมาธิการแห฽งสหประชาชาติได฾เดินทางเข฾ามายังดินแดนอาณานิคมทั้งสองแห฽งนี้ โดยมีการ พบปะพูดคุยกับองคแกรต฽างๆ รวมทั้งภาคประชาชน และในวันที่ 14 กันยายน 2506/1963 เลขาธิการ สหประชาชาติก็ได฾ประกาศอย฽างเป็นทางการว฽า ประชาชนส฽วนใหญ฽ยินดีที่จะเข฾าร฽วมเป็นส฽วนหนึ่งของประเทศ มาเลเซีย อย฽างไรก็ตาม รัฐบาลอินโดนีเซีย ไม฽ยอมรับคําประกาศดังกล฽าวของเลขาธิการองคแการสหประชาชาติ และยังจัดตั้งกองกําลังเพื่อสู฾รบแบบกองโจรเข฾าไปตามแนวชายแดนบนเกาะบอรแเนียว และมีการโจมตี แม฾กระทั่งบนดินแดนในคาบสมุทรมลายู ในขณะเดียวกันฝุายฟิลิปปินสแ ก็ส฽งกองกําลังเข฾าไปในพื้นที่บางส฽วน ของรัฐซาบาหแ บนพื้นฐานของการอ฾างสิทธิ์อธิปไตยของสุลต฽านแห฽งซูลูในอดีต โดยไม฽มีการกล฽าวอ฾างถึงขนาด พื้นที่หรือขอบเขตดินแดนที่ฟิลิปปินสแเข฾าไปควบคุม แต฽น฽าจะเป็นการถือเอาว฽าอาณาเขตนั้นมีขนาดเท฽ากับที่ สุลต฽านแห฽งซูลูได฾เคยตกลงเอาไว฾กับโอเว฽อรแเบ็ค (Overbeck) และอัลเฟร็ด เด฾นทแ (Alfred Dent) คําประกาศ ของเจ฾าหน฾าที่ฝุายอินโดนีเซีย เรียกร฾องให฾รัฐซาราวักและรัฐซาบาหแ ประกาศตนเป็นรัฐอิสระโดยออกจากการ เข฾าร฽วมกับประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซียก็ไม฽ได฾อ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือดินแดนส฽วนแดนใดของรัฐทั้งสองบน เกาะบอรแเนียว นโยบาย “การเผชิญหน฾า (Konfrontasi)” ของอินโดนีเซีย มีความตึงเครียดมากขึ้นในช฽วง หลายเดือนต฽อมา และขึ้นถึงขีดสูงสุดโดยการประกาศการถอนตัวออกจากองคแการสหประชาชาติ เพื่อประท฾วง การเลือกตั้งของมาเลเซีย โดยยื่นเรื่องไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแห฽งสหประชาชาติ (Security Council)

ความตกลงและสนธิสัญญา เอกสารต฽อไปนี้ มีผลต฽อการกําหนดเส฾นเขตแดนทางบกบนเกาะบอรแเนียวระหว฽างมาเลเซียกับ อินโดนีเซีย ได฾แก฽

1. สนธิสัญญาเกี่ยวกับดินแดนและการพาณิชย์ในหมู่เกาะอินเดียตะวันออกระหว่างสหราช อาณาจักรกับเนเธอร์แลนด์ (Treaty regarding territory and commerce in the East Indies between Great Britain and the Netherlands) ลงนาม ณ กรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2367/1824 จุดประสงคแของสนธิสัญญานี้ คือ การแบ฽งหมู฽เกาะที่อยู฽บริเวณช฽องแคบสิงคโปรแ โดยทางทิศเหนือให฾เป็น ของอังกฤษ และทางทิศใต฾ให฾เป็นของดัตชแ อย฽างไรก็ตาม ดัตชแได฾ตีความสนธิสัญญาดังกล฽าวแตกต฽างออกไป โดยถ฾อยคําตามสนธิสัญญาระบุไว฾ในมาตรา 12 ห฾ามไม฽ให฾อังกฤษตั้งถิ่นฐานในพื่นที่ “เกาะทางตอนใต฾ของช฽อง แคบ...สิงคโปรแ (islands south of the Straits [sic] of Singapore.)” แต฽การตีความทําให฾อังกฤษถูกกีดกัน ออกจากพื้นที่ทั้งหมดในเกาะทางใต฾ของพิกัดละติจูดในช฽องแคบ ซึ่งเป็นที่มาของการคัดค฾านจากฝุายดัตชแ โดย ต฽อต฾านไม฽ให฾อังกฤษเข฾ามาตั้งอาณานิคมอย฽างเป็นทางการบนเกาะบอรแเนียว

46

2. อนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) วันที่ 20 มิถุนายน 2434/1891 ระหว฽างสหราชอาณาจักรกับเนเธอรแแลนดแว฽าด฾วยเส฾นเขตแดนระหว฽างบอรแเนียวของอังกฤษ (British Borneo) กับ บอรแเนียวของดัตชแ (Dutch Borneo) ให฾สัตยาบันเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2425/1982 โดย มาตรา 1 กําหนดให฾เส฾นเขตแดนเริ่มต฾นจากพิกัดละติจูดที่ 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ บนชายฝั่งตะวันออก ต฽อเนื่องไปทางทิศตะวันตกจนถึงแม฽น้ําสิเมิงงาริส (Simengaris River) ถึงพิกัดลองจิจูดที่ 117 องศา ตะวันออก และละติจูดที่ 4 องศา 20 ลิปดา เหนือ ตามมาตรา 2 และเส฾นเขตแดนเป็นไปตามแนวสันปันน้ํา ระหว฽างแม฽น้ําสิเมิงงาริส (Simengaris River) กับแม฽น้ําโซดัง (Soedang) หรือแม฽น้ําเซอรูดุง (Serudung) จากนั้นเส฾นเขตแดนเป็นไปตามแนวสันปันน้ําตามเส฾นละติจูดที่ 4 องศา 20 ลิปดา เหนือ ต฽อไปทางทิศตะวันตก เส฾นเขตแดนเป็นไปตามแนวแม฽น้ําภายในระยะ 8 กิโลเมตร หรือตามแนวโค฾งภายในดินแดนของดัตชแแล฾วลาก ต฽อไปยังจุดที่แม฽น้ําไหลลงสู฽ทะเลทางตอนใต฾ที่พิกัดละติจูด 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ หรือภายในดินแดนของ อังกฤษต฽อไปยังจุดที่แม฽น้ําไหลลงสู฽ทะเลทางตอนใต฾ ที่พิกัดละติจูด 4 องศา 10 ลิปดาเหนือ ตามความใน มาตรา 2 ความในมาตรา 3 กําหนดว฽า เส฾นเขตแดนส฽วนที่เหลือให฾เป็นตามพิกัดที่ระบุในมาตรา 2 โดยเป็นไปตาม แนวสันปันน้ําหลักจนกระทั่งถึงเมืองตันโจง ดาโต (Tandjong Datoe) หรือ ตันจุง ดาตู (Tandjung Datu) บน พื้นที่ชายฝั่งตะวันตก สุดท฾ายในมาตรา 4 กําหนดให฾แบ฽งเกาะเซอบิตติก (Sebittik) หรือเซอบาติก (Sebatik) ตามแนวพิกัดละติจูดที่ 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ และตกลงที่จะยอมรับเส฾นเขตแดน “ต฽อไปโดยข฾อตกลงร฽วม (hereafter by mutual agreement)”

3. รายงานของคณะกรรมาธิการร่วม (Joint Commissioners Report) ลงนาม ณ เมืองตาเวา (Tawao) วันที่ 17 กุมภาพันธแ 2456/1913 เนื่องจากการขาดความรู฾เฉพาะด฾านทางภูมิศาสตรแของพื้นที่ตอนกลางภายในเกาะบอรแเนียว ทําให฾เกิด ปัญหาขึ้นในการกําหนดเส฾นเขตแดนในปี 2434/1891 ตามความในมาตรา 5 ของอนุสัญญานี้ กําหนดไว฾ว฽า รัฐ ทั้งสองจะต฾องแต฽งตั้งคณะกรรมาธิการร฽วม เพื่อการกําหนดรายละเอียดของเส฾นเขตแดน โดยผลการรายงาน ร฽วมของคณะกรรมาธิการ และแผนที่ จะถูกนํามาใช฾เป็นข฾อมูลพื้นฐานในการทําความตกลงฉบับต฽อไป

4. ความตกลงระหว่างสหราชอาณาจักรกับเนเธอร์แลนด์ที่เกี่ยวข้องกับเส้นเขตแดนระหว่างรัฐ บอร์เนียวเหนือและการเข้าครอบครองของเนเธอร์แลนด์ในเกาะบอร์เนียว (Agreement between the United Kingdom and the Netherlands relating to the boundary between the State of North Borneo and the Netherland possessions in Borneo) ลงนาม ณ กรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2458/1915 รายงานของคณะกรรมาธิการร฽วมได฾รับการยอมรับในฐานะองคแกรตามความตกลง เพื่อการเปลี่ยนแปลง เส฾นเขตแดนระหว฽าง บอรแเนียวเหนือ (North Borneo) หรือ ซาบาหแ (Sabah) ของอังกฤษ กับ กาลิมันตัน ตะวันออก (Kalimantan Timur) ของดัตชแ โดยมีการสร฾างหลักหมายเขตแดนจํานวน 4 หลัก ได฾แก฽ บนพิกัด ละติจูดที่ 4 องศา 20 ลิปดา เหนือ บริเวณแม฽น้ําปันเจียงงัน (Pantjiangan River) จํานวน 2 หลัก บริเวณแม฽น้ํา อากิซาน (Agisan River) จํานวน 1 หลัก และแม฽น้ําเซอโบดา (Seboeda River) นอกจากนี้ยังมีหลักเขตแดน เพิ่มเติมอีก 2 หลัก บนพิกัดละติจูดที่ 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ ทางทิศตะวันตกและชายฝั่งตะวันออกของเกาะ เซอบิตติก (Sebittik) หรือเซอบาติก (Sebatik)

47

เส฾นเขตแดนในน฽านน้ําระหว฽างเกาะเซอบาติกกับแผ฽นดินใหญ฽ คณะกรรมาธิการตกลงกําหนดให฾เส฾นเขต แดนเป็นไปตามเส฾นมัธยะ (Median line) ระหว฽างช฽องตัมโบ (Troesan Tamboe) และช฽องสิกาปัล (Troesan Sikapal) โดยรายงานของคณะกรรมาธิการร฽วม ได฾ให฾รายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงเส฾นเขตแดนในแผนที่ แนบท฾าย มาตราส฽วน 1:500,000 จํานวน 4 ระวาง แผนที่มาตราส฽วน 1:50,000 จํานวน 3 ระวาง และแผนที่ มาตราส฽วน 1:100,000 จํานวน 1 ระวาง แผนที่เหล฽านี้แสดงเส฾นเขตแดนจากเกาะถึงยอดเขา บี. ปาดาส (B. Padas) ที่พิกัดลองจิจูด 115 องศา 40 ลิปดา ตะวันออก โดยระบุตําแหน฽งที่ตั้งของหลักหมายเขตแดนเอาไว฾ บนแผนที่ด฾วย

5. อนุสัญญาระหว่างสหราชอาณาจักรกับเนเธอร์แลนด์ เกี่ยวกับการก าหนดเส้นเขตแดนระหว่าง เกาะบอร์เนียวภายใต้อารักขาของอังกฤษกับดินแดนของเนเธอร์แลนด์ (Convention between the United Kingdom and the Netherlands respecting the delimitation of the frontier between Borneo under British protection and Netherlands territory) ลงนาม ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2471/1928 อนุสัญญาฉบับนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงแนวสันปันน้ําระหว฽างยอดเขาอาปี (Api) ที่พิกัดลองจิจูด 110 องศา 04 ลิปดา ตะวันออก กับยอดเขาราชา (Raja) ที่พิกัดลองจิจูด 109 องศา 56 ลิปดา ตะวันออก ซึ่งลาก ไปตามลําธารเล็กๆ หลายสาย ทางเดินเท฾า และแนวเส฾นตรง ทําให฾เกิดแผนที่ผนวกอนุสัญญา มาตราส฽วน 1:50,000 มีการทําเครื่องหมายหลักเขตในพื้นที่ส฽วนนี้ โดย 15 หลักทําจากไม฾ และอีก 5 หลักทําจากปูนซีเมนตแ ผสมกับไม฾

วิเคราะห์และสรุป เส฾นเขตแดนทางบกบนเกาะบอรแเนียวระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย ถูกกําหนดขึ้นจากความตกลง อังกฤษ-ดัตชแ (Anglo–Dutch Agreements) ในยุคอาณานิคม โดยมีเพียงพื้นที่ 2 ส฽วนเล็กๆ ที่ได฾รับการปักปัน และไม฽ปรากฏว฽ามีข฾อพิพาทบนเส฾นเขตแดนในพื้นที่ซึ่งได฾รับการปักปัน แม฾ว฽าอินโดนีเซียและฟิลิปปินสแจะประกาศการอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนบางส฽วนของรัฐซาวักและซาบาหแ ของมาเลเซีย ทําให฾ไม฽มีข฾อพิพาทที่ชัดเจนบนแนว “เส฾นเขตแดน (dispute over the line)” แต฽เป็นปัญหาข฾อ พิพาทอธิปไตยเหนือดินแดน (dispute of the sovereignty over territory) หลักฐานที่ดีที่สุดที่ให฾ภาพเส฾น เขตแดนทางบกระหว฽างดินแดนซาราวักของมาเลเซีย กับ ดินแดนกาลิมันตันตะวันตก (Kalimantan Barat) ของอินโดนีเซีย คือ ชุดแผนที่ซาราวักของอังกฤษมาตราส฽วน 1:150,000 ซึ่งจัดทําโดย กรมที่ดินและการสํารวจ แห฽งซาราวัก (Lands and Surveys Department) โดยพื้นที่ซึ่งได฾รับการปักปันเส฾นเขตแล฾วเสร็จนั้น เกิดจาก อนุสัญญาปี 2471/1928 และแผนที่ภาคผนวกตามคําสั่งเลขที่ 2671 ในปี 2473/1930 มาตราส฽วน 1:50,000 ส฽วนพื้นที่อื่นๆ ให฾ใช฾แนวแม฽น้ําเป็นเส฾นเขตแดนตามข฾อความที่กําหนดเอาไว฾ในสนธิสัญญา ดังนั้น ตําแหน฽งของ เส฾นเขตแดนในปัจจุบัน จึงเปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนทิศทางของแนวลําน้ํา ซึ่งในทางปฏิบัติแล฾วทั้งสอง ประเทศต฽างยอมรับข฾อมูลใหม฽ที่เกิดจากการสํารวจทางภูมิศาสตรแ ส฽วนแผนที่แสดงเส฾นเขตแดนระหว฽าง ดินแดนซาบาหแของมาเลเซีย กับ ดินแดนกาลิมันตันตะวันออก (Kalimantan Timur) ของอินโดนีเซีย มีคุณภาพค฽อนข฾างต่ํา หลักฐานที่ดีที่สุดที่ให฾ภาพเส฾นเขตแดนทางบกใน พื้นที่บริเวณนี้ คือ แผนที่ภาคผนวกตามข฾อตกลงในปี 2458/1915 โดยมีแผนที่ซึ่งได฾รับการยอมรับ คือ แผนที่ ระหว฽างประเทศ (International Map of the World – IMW) ระวาง NA50 มาตราส฽วน 1:1,000,000 และ แผนที่อังกฤษในบอรแเนียวเหนือระวาง DOS 973 ซึ่งจัดพิมพแโดย คณะกรรมการจัดทําแผนที่ต฽างประเทศ 48

(Directorate of Overseas Surveys) และไม฽พบแผนที่ขนาดใหญ฽ของอินโดนีเซียที่แสดงรายละเอียดของเส฾น เขตแดนบริเวณพื้นที่ปักปักปันได฾อย฽างชัดเจน แต฽มีแผนที่ของดัตชแซึ่งจัดพิมพแในช฽วงอาณานิคม โดยแสดง รายละเอียดของเส฾นเขตแดนได฾ชัดเจนเช฽นเดียวกับแผนที่ของอังกฤษ

49

3.3 ดินแดนลิมบัง (Limbang) ระหว่างมาเลเซียกับบรูไน

เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างมาเลเซียกับบรูไนมีความยาว 481.3 กิโลเมตร ซึ่งอาณาเขตทางบกของ บรูไนถูกล฾อมรอบโดยรัฐซาราวักของมาเลเซีย ทําให฾สัณฐานของประเทศบรูไนมีความน฽าสนใจเป็นอย฽างยิ่ง เนื่องจากเป็นประเทศที่มีอาณาเขตทางบกไม฽ต฽อเนื่องกัน เพราะถูกคั่นกลางด฾วยเมืองลิมบัง (Limbang) รัฐซา ราวักของมาเลเซีย ดินแดนของประเทศบรูไนจึงถูกแบ฽งออกเป็น 2 ส฽วน (ดูภาพที่ 3.5) ได฾แก฽ บรูไนตะวันตก ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงบันดาเสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) และ บรูไนตะวันออก หรือที่เรียกว฽า ดินแดนเติมบูรอง (Temburong) ซึ่งมีเมืองบังการแ (Bangar) เป็นเมืองเอก เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างบรูไนกับมาเลเซียจากทางตะวันตกไปยังตะวันออก เริ่มต฾นที่บริเวณสันปัน น้ําของแม฽น้ําบารัม (Baram River) และเบอลาอิท (Belait River) ซึ่งไหลลงสู฽ทะเลจีนใต฾ที่บริเวณจุดพิกัด 6 ไมลแทะเลทางตะวันออกของเมืองตันจุงบารัม (Tanjung Baram) หรือ ละติจูดที่ 4 องศา 35 ลิปดา 20 ฟิลิป ดา เหนือ และ ลองจิจูดที่ 114 องศา 5 ลิปดา ตะวันออก จากจุดนี้เส฾นเขตแดนลากต฽อไปตามแนวสันปันน้ํา ของลุ฽มน้ําทั้งสองอีกประมาณ 30 กิโลเมตร จนถึงคลองปากาลายัน (Pagalayan Canal) แล฾วจึงลากต฽อไปอีก 44 กิโลเมตรถึงเนินเขาเตอราจา (Teraja Hills) จากบริเวณนี้ เส฾นเขตแดนลากไปตามแนวเส฾นสันปันน้ํา ระหว฽างแม฽น้ําเบอลาอิท (Belait River) กับ แม฽น้ําตูตอง (Tutong River) และลากต฽อไปตามสันปันน้ําระหว฽าง แม฽น้ําบารัม (Baram River) กับแม฽น้ําลิมบัง (Limbang River) จากนั้น เส฾นเขตแดนลากต฽อไปตามแนวสันปัน น้ําระหว฽างแม฽น้ําบรูไน (Brunei River) กับแม฽น้ําลิมบัง (Limbang River) จนสิ้นสุดที่บริเวณปากอ฽าวบรูไน (Brunei Bay)30 ส฽วนเส฾นเขตแดนในอําเภอเติมบูรอง (Temburong District) ซึ่งถูกแยกออกมาจากดินแดนส฽วนใหญ฽ ของบรูไน เริ่มต฾นที่บริเวณปากแม฽น้ําปันดารูอัน (Pandaruan River) แล฾วลากเส฾นไปตามความยาวของลําน้ํา สายนี้ ขึ้นไปจนถึงบริเวณต฾นแม฽น้ํา แล฾วจึงลากต฽อไปตามแนวสันปันน้ําระหว฽างแม฽น้ําเติมบูรอง (Temburong River) กับ แม฽น้ําตรูซัน (Trusan River) จนกระทั่งถึงบริเวณอ฽าวบรูไน31 (ดูภาพที่ 3.6)

30 Ewan W. Anderson. International Boundary: A Geopolitical Atlas (New York: Routledge, 2003), pp. 127-128. 31 Ibid. 50

ภาพที่ 3.5 แผนที่ประเทศบรูไน แบ฽งออกเป็น 2 ส฽วน ได฾แก฽ บรูไนตะวันตก และ บรูไนตะวันออก โดยมี ดินแดนลิมบัง (Limbang) รัฐซาราวักของมาเลเซียคั่นอยู฽ระหว฽างกลาง (ที่มา: ปรับปรุงจาก Political Map of Brunei Darussalam เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1I4YAq8)

51

ภาพที่ 3.6 แผนที่แสดงเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างบรูไนกับมาเลเซีย (ที่มา: Renate Haller-Trost, “The Brunei-Malaysia Dispute over Territorial and Maritime Claims in International Law,” in International Boundaries Research Unit, Maritime Briefing Vol.1 No.3 (1994), p.53)

52

ประวัติศาสตร์ ข฾อพิพาทเหนือดินแดนอําเภอลิมบัง (Limbang) เกิดขึ้นจากการผนวกดินแดนของราชาขาว (Whit Rajah) หรือ เจมสแ บรูก (James Brooke) แห฽งซาราวัก ในปี 2433/1890 เป็นผลให฾บรูไนถูกแบ฽งดินแดน ออกเป็น 2 ส฽วน ได฾แก฽ ดินแดนส฽วนใหญ฽ทางตะวันตกประกอบด฾วย 3 อําเภอ คือ อําเภอบรูไน-มูอารา (Brunei-Muara) อําเภอตูตอง (Tutong) และ อําเภอเบอลาอิท (Belait) และดินแดนทางตะวันออก คือ อําเภอเติมบูรอง (Temburong) ทําให฾อําเภอลิมบังคั่นกลางระหว฽างดินแดนสองส฽วนของบรูไน แต฽เดิมเส฾นเขต แดนถูกลากไปตามแนวสันปันน้ําระหว฽างแม฽น้ําบรูไนและแม฽น้ําลิมบังทางด฾านตะวันตก แล฾วลากไปตามแม฽น้ํา ปันดูราอันทางทิศตะวันออก โดยความตกลงว฽าด฾วยเส฾นเขตแดนระหว฽างกันได฾ลากเส฾นเอาไว฾เพียงฝั่งตะวันตก กับแม฽น้ําปันดารูอันเท฽านั้น ส฽วนเส฾นเขตแดนอื่นๆ ยังไม฽มีการขีดเส฾นเขตแดนที่ชัดเจน

ความตกลงและสนธิสัญญา เส฾นเขตแดนระหว฽างมาเลเซียกับบรูไนซึ่งมีความยาวรวม 481.3 กิโลเมตร สามารถเจรจาเพื่อกําหนด เส฾นเขตแดนระหว฽างกันเสร็จสิ้นไปได฾แล฾วเป็นความยาว 207.3 กิโลเมตร โดยมีการกําหนดเส฾นเขตแดนผ฽าน ความตกลงจํานวน 5 ฉบับ ดังนี้

1. เส้นเขตแดนตามแนวแม่น้ าปันดารูอัน (Pandaruan River) ความยาว 78 กิโลเมตร เป็นไปตาม “ความตกลงระหว฽างรัฐบาลแห฽งบรูไนกับรัฐบาลแห฽งรัฐซาราวักเกี่ยวกับแม฽น้ําและอําเภอปันดารูอัน (Agreement between Government of Brunei and the Government of Sarawak relating to the Pandaruan River and District)” ลงนามโดย จี.อี. คาเตอรแ (G.E. Cator) และ เอช.เอส.บี. จอหแสัน ผู฾แทน เขตปกครองที่ 5 แห฽งซาราวัก (H.S.B. Johnson, Resident Fifth Division, Sarawak) เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธแ 2463/1920

2. เส้นเขตแดนทางด้านตะวันออกของอ าเภอเติมบูรอง (Temburong District) ความยาว 19 กิโลเมตร เป็นไปตาม “ความตกลงระหว฽างรัฐบาลแห฽งบรูไนกับรัฐบาลแห฽งรัฐซาราวัก เกี่ยวกับเขตแดน ระหว฽างกันบริเวณตรูซานกับเติมบูรอง (Agreement between the Government of Brunei and the Government of Sarawak regarding the boundary between the States of Brunei and Sarawak between Trusan and Temburong)” ลงนามโดย ผู฾แทนฝุายอังกฤษ ผู฾แทนฝุายบรูไน และผู฾แทนเขต ปกครองที่ 5 แห฽งซาราวัก เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2474/1931

3. เส้นเขตแดนทางตะวันตกระหว่างบริเวณแม่น้ าบารัม (Baram River) และเบอลาอิท (Belait River) กับ คลองปากาลายัน (Pagalayan Canal) ความยาว 29.7 กิโลเมตร เป็นไปตาม “ความตกลง ระหว฽างรัฐบาลแห฽งบรูไนกับรัฐบาลแห฽งรัฐซาราวัก เกี่ยวกับเขตแดนระหว฽างกันบริเวณแม฽น้ําเบอลาอิทและ บารัมจากชายฝั่งทะเลถึงคลองปากาลายัน (Agreement between the Government of Brunei and the Government of Sarawak regarding the boundary between the States of Brunei and Sarawak between the Belait and the Baram rivers from the sea coast to the Pagalayan Canal)” ลงนาม โดย ผู฾แทนฝุายอังกฤษ ผู฾แทนฝุายบรูไน และ เอช.ดี. อับลิน ผู฾แทนเขตปกครองที่ 4 แห฽งซาราวัก (H.D. Aplin, Resident Fourth Division, Sarawak) เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2474/1931

53

4. เส้นเขตแดนทางตะวันตกระหว่างคลองปากาลายัน กับเนินเขาเตอราจา (Teraja Hills) ความ ยาว 43.6 กิโลเมตร เป็นไปตาม “ความตกลงเกี่ยวกับเขตแดนระหว฽างรัฐบาลแห฽งบรูไนกับรัฐบาลแห฽งซาราวัก จากคลองปากาลายันถึงเนินเขาเตอราจา (Agreement regarding the boundary between the State of Brunei and the State of Sarawak from the Pagalayan Canal to the Teraja)” ลงนามโดย ผู฾แทน ฝุายอังกฤษ ผู฾แทนฝุายบรูไน และ ผู฾แทนเขตปกครองที่ 4 แห฽งซาราวัก (H.D. Aplin, Resident Fourth Division, Sarawak) เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2482/1939

5. เส้นเขตแดนจากอ่าวบรูไน ถึงบริเวณทางทิศตะวันตกของเนินเขากาดอง (Gadong Hills) ตาม แนวสันปันน้ าของบรูไน กับแม่น้ าลิมบัง (Limbang River) ความยาว 37 กิโลเมตร เป็นไปตาม “ความตก ลงระหว฽างรัฐบาลแห฽งบรูไนกับรัฐบาลแห฽งซาราวัก เกี่ยวกับเขตแดนระหว฽างกัน บริเวณลิมบังกับบรูไนจาก ชายฝั่งทะเลถึงจุดตะวันตกของบูกิตกาดอง (Agreement between the Government of Brunei and the Government of Sarawak regarding the boundary between the States of Brunei and Sarawak between Limbang and Brunei from the coast to a point west of Bukit Gadong)” ลงนามโดย ผู฾แทนฝุายอังกฤษ ผู฾แทนฝุายบรูไน และ ผู฾แทนเขตปกครองที่ 5 แห฽งซาราวัก เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธแ 2476/1933 และล฽าสุดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2552/2009 มาเลเซียและบรูไนได฾ตกลงทําการแลกเปลี่ยนหนังสือ สัญญาระหว฽างกันเพื่อยืนยันและรับรองข฾อตกลงทั้ง 5 ฉบับดังกล฽าวข฾างต฾น โดยทั้งสองประเทศตกลงที่จะใช฾ หลักการแบ฽งเส฾นเขตแดนตามแนวสันปันน้ําเพื่อปักปันเส฾นเขตแดนบริเวณอื่นที่ยังไม฽แล฾วเสร็จ

ด่านพรมแดนระหว่างมาเลเซียกับบรูไน เนื่องจากประเทศบรูไนถูกล฾อมรอบโดยรัฐซาราวักของมาเลเซีย ด฽านข฾ามพรมแดนตามแนวชายแดน ระหว฽างกันจึงมีดังต฽อไปนี้ 1. ด่านสุไหงตูโจห์ – สุไหงตูจูห์ ( – Sungai Tujuh) เป็นด฽านข฾ามพรมแดนหลัก ระหว฽างเมืองกัวลาเบอลาอิท (Kuala Belait) ของบรูไน กับ เมืองมิริ () ของรัฐซาราวัก 2. ด่านกัวลาลูราห์ – เตอดุงงัน (Kuala Lurah – Tedungan) เป็นด฽านข฾ามพรมแดนหลักระหว฽าง บันดารแเสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) เมืองหลวงของบรูไน กับเมืองลิมบัง (Limbang) ของรัฐซาราวัก 3. ด่านปูนิ – ปันดารูอัน (Puni – Pandaruan) เป็นด฽านข฾ามพรมแดนหลักระหว฽างเติมบูรอง (Temburong) ของบรูไน กับเมืองลิมบัง (Limbang) ของรัฐซาราวัก ซึ่งก฽อนหน฾านี้ใช฾การเดินทางผ฽านเรือ โดยสารข฾ามฟาก แต฽ในปัจจุบันสามารถเดินทางได฾โดยใช฾สะพานมิตรภาพบรูไน-มาเลเซีย ซึ่งเปิดใช฾ไปเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2556/2013 4. ด่านลาบู – เมิงกาลับ (Labu – Mengkalap) เป็นด฽านข฾ามพรมแดนหลักระหว฽างเติมบูรอง (Temburong) ของบรูไน กับเมืองลาวาส (Lawas) ของรัฐซาราวัก

54

การแก้ไขปัญหาข้อพิพาท มาเลเซียและบรูไนสามารถตกลงกันอย฽างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2552/2009 โดยมีการลง นามในหนังสือสัญญาระหว฽างกัน เพื่อดําเนินการแก฾ปัญหาข฾อพิพาททางบกและทางทะเลโดยข฾อพิพาท เช฽น ข฾อ พิพาทเขตแดนทางทะเลในพื้นที่ในทะเลจีนใต฾ สิทธิการเข฾าไปแสวงหาผลประโยชนแในพื้นที่พิพาทซึ่งมีแหล฽ง น้ํามันอยู฽อย฽างอุดมสมบูรณแ สิทธิการเดินเรือของมาเลเซียเข฾าไปยังน฽านน้ําบรูไน และปัญหาการกําหนดเส฾นเขต แดนร฽วมกันของทั้งสองประเทศ โดยดาโต฿ะ เสรี อับดุลลาหแ อาหมัด บาดาวี (Datuk Seri Abdullah Ahmad Badawi) นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ได฾กล฽าวขอบคุณสุลต฽านแห฽งบรูไน ที่ทรงตกลงพระทัยที่จะแก฾ไขปัญหาข฾อ พิพาทต฽างๆ โดยเฉพาะอย฽างยิ่งที่อําเภอลิมบัง (Limbang) โดยกล฽าวว฽า การเจรจาทวิภาคีระหว฽างสองประเทศ จะนําไปสู฽ความสัมพันธแในยุคใหม฽ และในแถลงการณแร฽วมของทั้งสองประเทศได฾ระบุเอาไว฾ด฾วยว฽า จะมีการ บรรลุข฾อตกลงที่จะปักปันเขตแดนทางทะเลระหว฽างสองประเทศพื้นที่ในทะเลจีนใต฾ รวมทั้งยังมีการจัดตั้ง “พื้นที่จัดการเชิงพาณิชยแ (Commercial Arrangement Area – CAA)” ซึ่งผลประโยชนแที่เกิดจากน้ํามันและ ก฿าซธรรมชาติในพื้นที่พิพาทจะนํามาแบ฽งปันกันอย฽างยุติธรรม แต฽ยังไม฽มีการเปิดเผยถึงมูลค฽าที่ทั้งสองประเทศ จะได฾รับ นอกจากนี้ ทั้งสองฝุายยังตกลงที่จะให฾มีสิทธิในการเข฾าถึงเขตแดนทางทะเลโดยไม฽ถูกกีดกันซึ่ง รับประกันสิทธิในการเดินเรือจากมาเลเซียผ฽านเข฾าสู฽น฽านน้ําบรูไน โดยฝุายมาเลเซียยินยอมที่จะปฏิบัติตาม กฎหมายและระเบียบของฝุายบรูไน ท฾ายที่สุดหนังสือสัญญาแลกเปลี่ยนยังได฾จัดให฾มีกระบวนการและ วิธีดําเนินการปักปันเขตแดนทั้งทางบกและทางทะเลระหว฽างทั้งสองประเทศอีกด฾วย ขั้นตอนการเจรจาเพื่อ ระงับข฾อพิพาท เริ่มขึ้นในปี 2538/1995 โดยมีการประชุมระหว฽างกันมากกว฽า 39 ครั้ง โดยข฾อพิพาททางทะเล เริ่มปะทุขึ้นตั้งแต฽ปี 2522/1972 เมื่อทางการมาเลเซียได฾ตีพิมพแแผนที่เผยแพร฽ ซึ่งระบุว฽าเขตน฽านน้ําลึกนอก ชายฝั่งทะเลบรูไนอยู฽ในอํานาจอธิปไตยของมาเลเซีย ข฾อพิพาททางทะเลล฽าสุดเกิดขึ้นในปี 2546/2003 เมื่อ มาเลเซียและบรูไนได฾อนุมัติการให฾สัญญาสัมปทานปิโตรเลียมในพื้นที่สํารวจ 4 แปลง แก฽บริษัทที่ต฽างกันใน พื้นที่พิพาทเดียวกัน ซึ่งมีการสํารวจพบปริมาณน้ํามันดิบมากถึง 440,000,000 บารแเรล และเมื่อเกิดข฾อพิพาท ขึ้น ทั้งสองประเทศจึงตกลงที่จะหยุดการขุดเจาะในพื้นที่ดังกล฽าวเอาไว฾ก฽อนชั่วคราว32 ทั้งนี้ ดาตุ฿ก เสรี ดร. รา อีส ยาติม (Datuk Seri Dr. Rais Yatim) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของมาเลเซียยังกล฽าวอีกว฽า กระบวนการปักปันเส฾นเขตแดนนั้นสามารถดําเนินการได฾ผ฽านการลงนามในหนังสือสัญญาแลกเปลี่ยนระหว฽าง ดาโต฿ะ เสรี อับดุลลาหแ อาหมัด บาดาวี (Datuk Seri Abdullah Ahmad Badawi) นายกรัฐมนตรีของ มาเลเซีย กับ สุลต฽าน ฮัสซานาล โบเกียหแ (Sultan Hassanal Bolkiah) แห฽งบรูไน เมื่อวันจันทรแที่ 16 มีนาคม 2552/2009 หนังสือสัญญาดังกล฽าว ระบุว฽าการปักปันเส฾นเขตแดนจะกระทําโดยข฾อตกลงพื้นฐาน 5 ประการ ซึ่งได฾ลงนามไปแล฾วระหว฽างบรูไนกับรัฐซาราวักตั้งแต฽ปี 2463/1920 ถึงปี 2482/1939 ทั้งนี้พื้นที่บางส฽วนที่ยัง ไม฽มีการขีดเส฾นเขตแดนแต฽จะกระทําโดยการใช฾หลักสันปันน้ํา ซึ่งการยอมรับหลักการใช฾สันปันน้ําก็จะทําให฾ ดินแดนลิมบัง (Limbang) อยู฽ในขอบเขตอธิปไตยของมาเลเซีย แม฾ว฽าหนังสือสัญญาดังกล฽าวจะไม฽ได฾ระบุชื่อของดินแดนดังกล฽าวอย฽างชัดเจนก็ตาม ปัญหาดินแดนลิมบัง จะสามารถยุติลงได฾หากมีการกําหนดเส฾นเขตแดนให฾ชัดเจน ในขณะที่มีรายงานว฽า หนังสือสัญญาฉบับดังกล฽าว ได฾ระบุถึงปัญหาอธิปไตยเหนือดินแดนลิมบัง ซึ่งฝุายบรูไนเคยอ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของดินแดนลิมบังมา ยาวนาน ซึ่งดินแดนดังกล฽าวถูกยกให฾แก฽รัฐซาราวักเมื่อปี 2433/1890 อย฽างไรก็ตาม หลังจากการลงนามใน หนังสือสัญญาแล฾ว ฝุายปรูไนประกาศยุติการอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนลิมบังอย฽างเป็นทางการ โดยข฾อตกลง 2 ใน 5 ประการ ระบุอย฽างชัดเจนเกี่ยวกับขั้นตอนการปักปันเขตแดนระหว฽างบรูไนกับอําเภอลิมบัง โดยให฾ใช฾

32 Leong Shen Li. “Brunei drops claim over Limbang district, says Abdullah,” The Star Online, Friday March 20, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EOFnvU 55

หลักการขีดเส฾นเขตแดนระหว฽างกันตามเส฾นสันปันน้ํา ซึ่งก็ไม฽ได฾ทําให฾เส฾นเขตแดนที่เป็นอยู฽ในปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้การยอมรับข฾อตกลงดังกล฽าวของทั้งสองฝุายทําให฾ดินแดนลิมบังยังอยู฽ภายในเขตอํานาจ อธิปไตยของมาเลเซีย โดยคณะกรรมการทางเทคนิคจะใช฾เวลาประมาณ 12 – 18 เดือนในการกําหนดแนวเส฾น เขตแดนที่แท฾จริง และทั้งสองฝุายหวังว฽าการลงนามในหนังสือสัญญาดังกล฽าวจะไม฽ถูกนําไปเป็นประเด็นโจมตี ทางการเมืองโดยสื่อมวลชนท฾องถิ่นของทั้งสองประเทศ33 นอกจากนี้ ข฾อตกลงดังกล฽าวยังยินยอมให฾โครงการต฽างๆ ของฝุายมาเลเซียที่เคยถูกระงับไปแล฾ว สามารถกลับมาดําเนินการได฾อีกครั้ง หลังจากถูกประท฾วงจากฝุายบรูไนว฽าโครงการเหล฽านั้นรุกล้ําเข฾ามาใน ดินแดนลิมบังของบรูไน และทั้งสองฝุายจะยังได฾ผลประโยชนแด฾านมาตรการควบคุมชายแดนได฾สะดวกมาก ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การบรรลุข฾อตกลงเกี่ยวกับเส฾นเขตแดนลิมบัง ยังส฽งผลต฽อการดําเนินการเจรจาข฾อพิพาททาง ทะเลให฾มีความคืบหน฾ามากขึ้น รายงานยังระบุว฽าหนังสือสัญญาฉบับนี้ สามารถยุติปัญหาข฾อพิพาททางทะเล ระหว฽างบรูไนกับมาเลเซียได฾ด฾วย34 หัวหน฾าคณะรัฐมนตรี ตัน ศรี อับดุล ตาอิบ มะหแมูด (Chief Minister Tan Sri Abdul Taib Mahmud) กล฽าวว฽า การบรรลุข฾อตกลงเพื่อแก฾ปัญหาเรื่องอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนลิมบัง จะช฽วยให฾หลายโครงการของ มาเลเซียในรัฐซาราวักได฾นํามาซึ่งผลประโยชนแต฽อบรูไนด฾วย โดยเฉพาะอย฽างยิ่ง การสร฾างเขื่อนไฟฟูาพลังน้ําที่ แม฽น้ําลิมบัง (Sungai Limbang) ซึ่งจะสามารถจ฽ายกระแสไฟฟูาให฾กับทางบรูไนได฾ด฾วย และจะยิ่งทําให฾รัฐซารา วักและบรูไนมีความใกล฾ชิดกันมากยิ่งขึ้น ซึ่งได฾ช฽วยแก฾ปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนในพื้นที่ต฽างๆ ระหว฽างมาเลเซีย กับบรูไน ข฾อตกลงที่เกิดขึ้นนี้นํามาซึ่งการเข฾าไปดําเนินกิจการต฽างๆ ในเขตพื้นที่ลิมบังจากฝั่งซาราวักได฾ง฽ายขึ้น แต฽อาจมีปัญหาเล็กน฾อยเกี่ยวกับข฾อปฏิบัติในการตรวจคนเข฾าเมืองและพิธีการศุลกากร อย฽างไรก็ตาม ทั้งสอง ประเทศเห็นด฾วยกับการใช฾บัตรประจําตัวประชาชนแทนหนังสือเดินทางได฾ แต฽ในระยะยาวจะต฾องปรับปรุง ขั้นตอนการเดินทางข฾ามผ฽านด฽านชายแดนระหว฽างบรูไนกับมาเลเซียให฾ง฽ายยิ่งขึ้น โดยในปัจจุบันเส฾นทางถนน ทางบกที่ใช฾เดินทางเข฾าไปยังดินแดนลิมบังยังถูกตัดขาดออกจากการเชื่อมต฽อไปยังรัฐซาราวัก ทําให฾ผู฾ที่จะเดิน ทางเข฾าไปในเขตอําเภอลิมบัง ต฾องผ฽านด฽านชายแดน 2 ครั้ง กล฽าวคือ ต฾องข฾ามจากมาเลเซียเข฾าสู฽ประเทศบรูไน ก฽อน แล฾วจึงออกจากบรูไนเพื่อเข฾าไปยังพื้นที่ของอําเภอลิมบัง35 โดยสรุป การแลกเปลี่ยนหนังสือสัญญาระหว฽างบรูไนกับมาเลเซีย ในปี 2552/2009 ได฾ยุติข฾อพิพาทของ ทั้งสองประเทศที่มีมาอย฽างยาวนาน ด฾วยความเป็นมิตรที่ดีต฽อกัน กลไลนี้จะเสริมสร฾างความสัมพันธแที่ดีระหว฽าง บรูไนกับมาเลเซีย ข฾อตกลงที่สําคัญ คือ การปักปันเส฾นเขตแดนทางทะเลในขั้นตอนสุดท฾ายระหว฽างกัน รวมไป ถึงการจัดตั้ง “พื้นที่จัดการเชิงพาณิชยแ (Commercial Arrangement Area – CAA)” สําหรับพื้นที่ที่มีแหล฽ง น้ํามันและก฿าซธรรมชาติ จากข฾อความในหนังสือสัญญา มีการกําหนดและนิยามความหมายของ ทะเลอาณา เขต (Territorial Sea) เขตไหล฽ทวีป (continental shelf) และเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (exclusive economic zone) ของรัฐทั้งสอง และยังมีการระบุถึงแหล฽งสัมปทานน้ํามันของมาเลเซียซึ่งเป็นแหล฽งเดียวกันกับของบรูไน

33 Nurbaiti Hamdan. “Limbang border to be set,” The Star Online. Friday March 20, 2009 เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1K3SVn2 34 Leong Shen Li. “Brunei drops claim over Limbang in Sarawak,” The Star, March 16, 2009; Hafizah Kamaruddin. “Malaysia-Brunei Boundary Issues Formalised,” Bernama, (Malaysian National News Agency), March 16, 2009; “Brunei and Malaysia move toward land and maritime boundary settlement,” March 17, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1FIPdjU 35 “Win-win situation for Brunei and Malaysia,” The Star Online, March 17, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1bSgFj0 56

ด฾วย ข฾อความในหนังสือัญญาดังกล฽าวยังกล฽าวว฽า ภายใต฾บทบัญญัติที่เกี่ยวข฾องของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽า ด฾วยกฎหมายทะเล 2525/1982 (United Nations Convention on the Law of the Sea 1982) บรูไนยัง มีสิทธิที่จะใช฾อํานาจอธิปไตยเหนือพื้นที่อ฾างสิทธิ์ทับซ฾อน อย฽างไรก็ตาม การจัดตั้ง “พื้นที่จัดการเชิงพาณิชยแ (Commercial Arrangement Area – CAA)” จะทําให฾เกิดความร฽วมมือในการแสวงหาผลประโยชนแร฽วมกัน ของทั้งสองประเทศ หนังสือสัญญาดังกล฽าวได฾รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีมาเลเซียแล฾ว ซึ่งถือว฽าเป็น ความสําเร็จสูงสุดของการเจรจาแก฾ปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนตลอดระยะเวลากว฽า 20 ปี ระหว฽างบรูไนกับ มาเลเซีย นอกจากนี้ยังมีผลในการเริ่มต฾นความสัมพันธแทวิภาคีระหว฽างทั้งสองประเทศอีกครั้ง ในขณะที่นาย มหาเธรแ โมฮัมหมัด (Mahathir Mohamad) อดีตนายกรัฐมนตรีของมาเลเซีย ได฾กล฽าวว฽า การที่นายอับดุลลาหแ อาหมัดบาดาวีนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ยินยอมลงนามในหนังสือสัญญาดังกล฽าวเป็นการยอมสละแหล฽งน้ํามันที่ อุดมสมบูรณแในทะเลจีนใต฾ให฾แก฽บรูไน เพื่อแลกเปลี่ยนกับการที่ฝุายบรูไนจะยอมยุติเรียกร฾องดินแดนลิมบังใน รัฐซาราวักของมาเลเซียตะวันออก36 นอกจานี้ ยังกล฽าวอีกว฽าการกระทําของนายนายอับดุลลาหแอาหมัดบาดาวี ทําให฾มาเลเซียสูญเสียผลประโยชนแมากกว฽าแสนล฾านดอลล฽าหแสหรัฐฯ ในขณะที่ นายอับดุลลาหแอาหมัดบาดาวี ได฾ตอบโต฾คําพูดของอดีตนายกมาเลเซียว฽า หนังสือสัญญาฉบับนี้จะเป็นการนําไปสู฽ข฾อตกลงที่จะทําให฾ประเทศ มาเซียกับบรูไนมีเส฾นเขตแดนที่ชัดเจนและถาวรสืบไป37

36 “Border issues between Malaysia, Brunei solved,” Xinhua. May 04, 2010. เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1h60d1j 37 Ibid. 57

3.4 ดินแดนซาบาห์ (Sabah) ระหว่างมาเลเซียกับฟิลิปปินส์

ซาบาหแ (Sabah) หรือชื่อเดิมคือ บอรแเนียวเหนือ (North Borneo) เป็นดินแดนที่ตั้งอยู฽ทางตอนเหนือ ของเกาะบอรแเนียว มีพรมแดนทางตะวันตกเฉียงใต฾ติดกับรัฐซาราวัก และทางทิศใต฾ติดกับกาลิมันตันของ อินโดนีเซีย ซาบาหแมีความยาวของชายฝั่งทะเลประมาณ 1,300 – 1,400 กิโลเมตร ทางทิศตะวันตกและทิศ เหนือติดกับทะเลจีนใต฾ ส฽วนทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลซูลู (Sulu Sea) และทางทิศตะวันออกติด กับทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) รัฐซาบาหแมีพื้นที่ทั้งหมด 76,115 ตารางกิโลเมตร ประชากรของรัฐซาบาหแมี ประมาณ 3 ล฾านคน (ข฾อมูลปี 2553/2010) โดยมีความหนาแน฽นของประชากรอยู฽ที่ 42 คนต฽อตารางกิโลเมตร ซาบาหแอยู฽ห฽างจากฮ฽องกงเป็นระยะทาง 1,961 กิโลเมตร อยู฽ห฽างจากกรุงมะนิลา 1,143 กิโลเมตร อยู฽ห฽างจาก สิงคโปรแ 1,495 กิโลเมตร อยู฽ห฽างจากกัวลาลัมเปอรแ 1,678 กิโลเมตร และอยู฽ห฽างจากกรุงไทเป 2,291 กิโลเมตร ดังนั้น ซาบาหแจึงอยู฽ใกล฾กับกรุงมะนิลาเมืองหลวงของฟิลิปปินสแมากกว฽ากรุงกัวลาลัมเปอรแเมืองหลวง ของมาเลเซีย ซาบารแเป็นดินแดนที่ยังไม฽มีการพัฒนาเท฽าที่ควร แต฽ร่ํารวยด฾วยทรัพยากรทางธรรมชาติซึ่งมีอยู฽ อย฽างอุดมสมบูรณแ นอกจากนี้ซาบาหแยังอยู฽ติดกับประเทศบรูไนซึ่งเป็นรัฐสุลต฽านที่ร่ํารวยที่สุดแห฽งหนึ่งในโลก สุลต฽านแห฽งซูลู (Sultanate of Sulu) ได฾รับดินแดนซาบาหแหรือบอรแเนียวเหนือเป็นรางวัลตอบแทนจาก การช฽วยสุลต฽านแห฽งบรูไน (Sultan of Brunei) ปราบศัตรู ในปี 2247/1704 หลังจากนั้นดินแดนบอรแเนียว เหนือจึงถือว฽าเป็นส฽วนหนึ่งภายใต฾อํานาจการปกครองของสุลต฽านแห฽งซูลู ต฽อมาในปี 2421/1878 บารอน ฟอน โอเว฽อรแเบ็ค (Baron von Overbeck) ชาวออสเตรียกับหุ฾นส฽วนชาวอังกฤษชื่อ อัลเฟร็ด เด฾นทแ (Alfred Dent) ซึ่งเป็นหุ฾นส฽วนและผู฾แทนบริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ได฾ทํา ข฾อตกลงเพื่อทําการเช฽า (lease) ดินแดนที่รู฾จักในนาม “ซาบาหแ (Sabah)” ซึ่งแปลว฽า “ดินแดนที่อยู฽ใต฾ลม (the land beneath the winds)” ในทางกลับกันบริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษจะทําการจัดหาอาวุธให฾สุลต฽าน ซูลูเพื่อใช฾ในการต฽อสู฾กับการรุกรานของชาวสเปน โดยจ฽ายค฽าตอบแทนเป็นเงินรายปีจํานวน 5,000 ริงกิต มาเลเซีย ซึ่งในเวลานั้นอ฾างอิงอยู฽กับค฽าเงินดอลลารแเม็กซิกัน (Mexican dollars) หรืออาจจ฽ายเป็นทองคําที่มี มูลค฽าเทียบเท฽ากัน อย฽างไรก็ตาม สิ่งที่เป็นหลักฐานของความเกี่ยวข฾องระหว฽างชาวฟิลิปปินสแกับซาบาหแ คือ ชาติพันธุแ การแต฽งกาย และวัฒนธรรมความเป็นอยู฽38

ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตรแช฽วงต฾นในยุคอาณานิคมของการกําหนดเส฾นเขตแดนของซาบาหแก็เป็นเช฽นเดียวกับ ประวัติศาสตรแการกําหนดเส฾นเขตแดนทางบกเกาะบอรแเนียว แต฽ต฽อมาเมื่อเกิดกระบวนการเอกราชของ ฟิลิปปินสแ จึงมีการลงนามในสนธิสัญญาปี 2473/1930 ระหว฽างรัฐบาลอเมริกันกับสหราชอาณาจักร ซึ่งมีการ กําหนดอาณาเขตอธิปไตยของสาธารณรัฐฟิลิปปินสแ แต฽ไม฽ได฾มีการรวมดินแดนซาบาหแให฾เข฾ามาอยู฽ในเขตแดน ภายใต฾อํานาจอธิปไตยของสเปน อเมริกัน และฟิลิปปินสแแต฽อย฽างใด และหลังจากที่ฟิลิปปินสแได฾รับเอกราชใน วันที่ 10 กรกฎาคม 2489/1946 ต฽อมาอีก 6 วัน บริษัทบอรแเนียวเหนือแห฽งอังกฤษ (British North Borneo Company) ได฾มอบอํานาจและสิทธิการครอบครองซาบาหแคืนให฾แก฽รัฐบาลอังกฤษ โดยการตรากฎหมายที่ เรียกว฽า “คําสั่งโอนบอรแเนียวเหนือ North Borneo Cession Order” โดยในขณะนั้นไม฽มีความเคลื่อนไหว เกี่ยวกับการอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาหแระหว฽างปี 2489-2505/1946-1962 แต฽อย฽างใด

38Artemio V. Panganiban. Understanding the Sabah dispute, Philippine Daily Inquirer, Saturday, March 2nd, 2013 เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1cdfPhr 58

ต฽อมารัฐบาลฟิลิปปินสแได฾ทําการศึกษาข฾อกฏหมายและสืบสวนข฾อเท็จจริงและความเป็นไปได฾ในการอ฾าง สิทธิเหนือดินแดนซาบาหแอย฽างช฾าๆ ซึ่งผลการศึกษาและเอกสารที่เกี่ยวข฾องดังกล฽าวทําให฾ นายดิออสดาโด มา คาปากัล (Diosdado Macapagal) ซึ่งขณะนั้นมีตําแหน฽งเป็นผู฾อํานวยการกองกฎหมายของกระทรวงการ ต฽างประเทศฟิลิปปินสแ เกิดความคิดริเริ่มว฽ามีความเป็นไปได฾ที่ฟิลิปปินสแจะสามารถอ฾างสิทธิในดินแดนบอรแเนียว เหนือได฾ ปฏิบัติการอย฽างเป็นทางการของฝุายฟิลิปปินสแในเรื่องดังกล฽าว ได฾แก฽ การออกพระราชบัญญัติ หมายเลข 42 ลงวันที่ 28 เมษายน 2493/1950 โดยประกาศอย฽างชัดเจนว฽า ดินแดนตอนเหนือของเกาะ บอรแเนียวเป็นสมบัติของทายาทสุลต฽านแห฽งซูลู ซึ่งได฾มอบอํานาจให฾ประธานาธิบดีแห฽งฟิลิปปินสแเป็นผู฾เจรจา เพื่อทวงเอาอํานาจอธิปไตยกลับคืนมา ต฽อมาในปี 2505/1962 สมัยการดํารงตําแหน฽งของประธานาธิบดีดิออส ดาโด มาคาปากัล (Diosdado Macapagal) ของฟิลิปปินสแ จึงได฾ประกาศอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาหแอย฽าง เป็นทางการ โดยอาศัยการอ฾างสิทธิ์ของทายาทสุลต฽านซูลูแห฽งซูลู ในการอ฾างสิทธิ์ดังกล฽าวฟิลิปปินสแประกาศตัด ความสัมพันธแทางการทูตกับมาเลเซียหลังจากที่สหพันธแรัฐมาเลเซียรวมเอาดินแดนซาบาหแเข฾าเป็นส฽วนหนึ่งของ ตน และทายาทของสุลต฽านแห฽งซูลูได฾มอบอํานาจให฾แก฽รัฐบาลฟิลิปปินสแดําเนินการฟูองร฾องต฽อศาลยุติธรรม ระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก แต฽ในสมัยรัฐบาลต฽อมาก็ได฾ยุติการ อ฾างสิทธิ์ดังกล฽าว เนื่องด฾วยเหตุผลของความสงบสุขและความสัมพันธแทางการค฾ากับมาเลเซีย ในเดือนมิถุนายน 2505/1962 รัฐบาลฟิลิปปินสแได฾แจ฾งแก฽รัฐบาลสหราชอาณาจักรเกี่ยวกับการอ฾างสิทธิ ของตนเหนือซาบาหแ และต฽อมาในเดือนตุลาคมปีเดียวกันทั้งสองประเทศได฾ตกลงที่จะจัดการเจรจาเกี่ยวกับ ปัญหาดังกล฽าว การประกาศอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาหแของฟิลิปปินสแนําไปสู฽ความขัดแย฾งทางการทูตกับ อังกฤษ ซึ่งถือว฽าเป็นการรบกวนต฽อแผนการเปลี่ยนสถานะของบอรแเนียวเหนือจากดินแดนอาณานิคมเป็น สหพันธรัฐมาเลเซีย ในที่สุดรัฐบาลอังกฤษจึงปฏิเสธที่จะเจรจากับฟิลิปปินสแ เนื่องจากการสถาปนาสหพันธรัฐ มาเลเซียมีความสําคัญมากกว฽า การเป็นอาณานิคมของอังกฤษทําให฾ได฾รับการสนับสนุนจากฝุายมาเลเซีย มากกว฽าการที่จะคืนดินแดนให฾แก฽เจ฾าของเดิมคือสุลต฽านซูลูตามคําพิพากษาของศาลบอรแเนียวเหนือเมื่อปี 2482/1939 ความสงสัยที่ว฽าอังกฤษยังคงมีอิทธิพลต฽อการทําประชามติในปี 2505/1962 โดยผลปรากฏว฽า ประชาชนชาวซาบาหแต฾องการที่จะเข฾าร฽วมกับสหพันธรัฐมาเลเซียกว฽าการเป็นรัฐเอกราช คณะกรรมการไต฽สวนข฾อเท็จจริง (commissions of enquiry) จํานวน 2 ชุด ได฾เดินทางไปยังดินแดน บอรแเนียวเหนือ หรือ ซาบาหแ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการควบรวมดินแดนเข฾ากับมาลายา (Malaya) และสิงคโปรแ คณะกรรมการไต฽สวนข฾อเท็จจริง ได฾รับทราบความต฾องการของประชาชนชาวซาบาหแ ว฽า ควรต฾องจัดให฾มีสิทธิในการกําหนดการปกครองด฾วยตนเอง (self-determination) ได฾อย฽างอิสระ รวมทั้ง การตัดสินใจทางการเมือง แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของตนเอง คณะกรรมการไต฽ สวนข฾อเท็จจริงชุดแรก ซึ่งรู฾จักกันในชื่อ “คอบโบลดแ (Cobbold Commission)”39 ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยรัฐบาลมลา ยาและอังกฤษ โดยมี ลอรแด คอบโบลดแ (Lord Cobbold) เป็นประธาน พร฾อมด฾วยผู฾แทนของฝุายมลายาและ ฝุายสหราชอาณาจักรอีก 2 คน คณะกรรมการฯ ชุดนี้พบว฽า “ประมาณหนึ่งในสามของประชากรในดินแดน ทางเหนือของเกาะบอรแเนียวและซาราวัก พอใจมากต฽อการเริ่มต฾นของมาเลเซียโดยไม฽กังวลต฽อข฾อตกลงหรือ เงื่อนไขใดๆ”40 และอีกสามส฽วนยังยินดีกับโครงการสหพันธรัฐมาเลเซียโดยร฾องขอให฾มีการตั้งเงื่อนไขและการ ปูองกันตัว นอกจากนี้ สามส฽วนที่เหลือยังแบ฽งออกเป็น 2 ฝุาย คือ ฝุายที่ยืนยันความเป็นอิสระ กับ ฝุายที่ขอให฾ อังกฤษยังคงอํานาจการปกครองเอาไว฾อีกซักระยะ คณะกรรมการชุดนี้ได฾ตีพิมพแรายงานในวันที่ 1 สิงหาคม

39 โปรดดู Report of the Commission of Enquiry, North Borneo and Sarawak, 1962. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1RwVw0Y 40 Ibid. 59

2505/1962 และทําข฾อเสนอแนะในหลายแนวทาง แต฽ยังไม฽มีการทําประชามติในบอรแเนียวเหนือ หรือ ซาบาหแ กับลาบวน (Labuan) และซาราวัก ต฽อมาจึงมีการแลกเปลี่ยนบันทึกความเข฾าใจในการปฏิบัติตามข฾อตกลง มะนิลา (Manila Accord) ซึ่งทําเมื่อ 31 กรกฎาคม 2506/1963 โดย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินสแ ต฽างปฏิเสธ รายงานของคณะกรรมการชุด “คอบโบลดแ (Cobbold Commission)” ในปี 2506/1963 มีการประชุมไตรภาคีซึ่งจัดขึ้นในกรุงมะนิลา ระหว฽างประธานาธิบดีซูการแโน (Soekarno) ของอินโดนีเซีย ประธานาธิบดีดิออสดาโด มาคาปากัล (Diosdado Macapagal) ของฟิลิปปินสแ และนายกรัฐมนตรีตนกู อับดุล ระหแมาน (Tunku Abdul Rahman) ของมลายา และผลของการประชุมคือ การลงนามใน “ข฾อตกลงมะนิลา (Manila Accord)” ซึ่งระบุว฽า การรวมบอรแเนียวเหนือเข฾ากับมาเลเซียจะไม฽ กระทบกระเทือนต฽อสิทธิอย฽างใดอย฽างหนึ่งในการเรียกร฾องดินแดนของฟิลิปปินสแ41 ผู฾นําทั้ง 3 ประเทศ ตกลงที่ จะยื่นคําร฾องต฽อสหประชาชาติเพื่อให฾จัดตั้งคณะกรรมการไต฽สวนข฾อเท็จจริงขึ้นมาอีกชุดหนึ่ง โดยฟิลิปปินสแและ อินโดนีเซียยอมตกลงที่จะยุติการคัดค฾านการสถาปนาสหพันธรัฐมาเลเซีย หากคณะกรรมการชุดใหม฽นี้จะจัดทํา ข฾อสรุปเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่อีกครั้ง คณะผู฾แทนสหประชาชาติกรณีบอรแเนียว (The UN Mission to Borneo) ถูกจัดตั้งขึ้น ประกอบด฾วยสมาชิกของสํานักเลขาธิการสหประชาชาติจาก อารแเจนตินา (Argentina) บราซิล (Brazil) ศรีลังกา (Ceylon) เช็กโกสโลวาเกีย (Czechoslovakia) กานา (Ghana) ปากีสถาน (Pakistan) ญี่ปุุน (Japan) และ จอรแแดน (Jordan) และจัดทํารายงานของคณะผู฾แทนโดยมี นาย อู฽ ถั่น (U Thant) เลขาธิการสหประชาชาติ เป็นผู฾รายงาน โดยระบุว฽า “ประชากรส฽วนใหญ฽มีความต฾องการเข฾า ร฽วมกับสหพันธรัฐมาเลเซีย”42 แต฽อินโดนีเซียและฟิลิปปินสแก็ปฏิเสธผลการรายงานดังกล฽าว โดยอินโดนีเซียได฾ ดําเนินนโยบายเผชิญหน฾าหรือที่รู฾จักในชื่อ konfrontasi ต฽อมาเลเซียเป็นระยะเวลา 4 ปี คือ 2505- 2509/1963-1966 โดยอาจกล฽าวได฾ว฽า รายงานของสหประชาชาติฉบับนี้ ส฽งผลโดยตรงต฽อการถือกําเนิดขึ้น ของประเทศมาเลเซีย วันที่ 20 เมษายน 2506/1963 ความกังวลเรื่องข฾อพิพาทซาบาหแทําให฾ประธานาธิบดีมาคาปากัล แจ฾งไป ยังประธานาธิบดีจอหแน เอฟ. เคเนดี แห฽งสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับความสําคัญของซาบาหแที่มีต฽อความมั่นคงของ ฟิลิปปินสแ โดยในการประชุมระดับรัฐมนตรีเกี่ยวกับการอ฾างสิทธิ์ดังกล฽าว ณ กรุงลอนดอนในปี 2506/1963 ได฾ มีการออกแถลงการณแร฽วม (Join Communiqué) ระหว฽างรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศของ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินสแ ระบุว฽าการรวมซาบาหแไว฾ในสหพันธรัฐมาเลเซียจะไม฽กระทบต฽อการอ฾าง สิทธิใดๆ ของฟิลิปปินสแภายใต฾การลงนามในแถลงการณแฉบับนี้ แต฽ในที่สุด สหพันธรัฐมาเลเซียก็ถูกสถาปนาขึ้น ในวันที่ 16 กันยายน 2506/1963 และเข฾าครอบครองดินแดนซาบาหแอย฽างเป็นรูปธรรม ทําให฾รัฐบาลฟิลิปปินสแ ปฏิเสธการให฾การรับรองทางการทูตแก฽สหพันธรัฐมาเลเซีย ซึ่งขัดแย฾งกับข฾อตกลงมะนิลา จนกระทั่งเมื่อ ประธานาธิบดีซูการแโน เริ่มนโยบายเผชิญหน฾า หรือ Konfrontasi ต฽อมาเลเซีย รัฐบาลฟิลิปปินสแจึงลดระดับ ความสัมพันธแทางการทูตลงให฾เหลือเพียงแค฽ระดับกงสุลเท฽านั้น การอ฾างสิทธิ์ดังกล฽าวได฾ถูกลดความสําคัญลง เมื่อมีเกิดปัญหาที่ใหญ฽กว฽าในกรณีเหตุการณแเผชิญหน฾าของสาธารณรัฐอินโดนีเซียกับมาเซีย และระบอบซูการแ โนได฾ใช฾กําลังทหารคุกคามมาเลเซีย และหลังจากการเผชิญหน฾ายุติลง ข฾อพิพาทเหนือดินแดนซาบาหแได฾ถูก นํามาเจรจาที่กรุงเทพฯ แต฽การเจรจาทวิภาคีดังกล฽าวก็ล฾มเหลวโดยสิ้นเชิง ในการประชุมสมัชชาใหญ฽แห฽ง

41 โปรดดู No.8029 Manila Accord ลงนามเมื่อ 31 กรกฎาคม 2506/1963, Manila Declaration ลงนามเมื่อ 3 สิงหาคม 2506/1963 และ Joint Statement ลงนามเมื่อ 5 สิงหาคม 2506/1963 ใน United Nations – Treaty Series 1965, pp.344 – 360. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1QfPhdV 42 โปรดดู United Nations Malaysia Mission Report. “Final Conclusions of the Secretary-General,” 14 September 1963, เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Pi8rgP 60

สหประชาชาติ คู฽พิพาทได฾โต฾เถียงกันด฾วยข฾อกล฽าวหาต฽างๆ ความพยายามที่จะนําไปสู฽ความปรองดองกัน เกิดขึ้นมากมายแต฽ไม฽ประสบความสําเร็จ จนกระทั่งฟิลิปปินสแและมาเลเซียตกลงที่จะสถาปนาความสัมพันธแ ทางการทูตอีกครั้งในเดือนมิถุนายน 2509/1966 ซึ่งน฽าประหลาดใจว฽า ประธานาธิบดีเฟอรแดินานดแ มารแกอส ได฾รับรองสถานะของมาเลเซียหลังจากเขามีอํานาจทางการเมืองอย฽างเบ็ดเสร็จในฟิลิปินสแ ด฾วยเหตุผลในการ ก฽อตั้งองคแกรอาเซียนของสมาชิกแรกเริ่ม 5 ชาติ จึงได฾มีข฾อตกลงระหว฽างมาเลเซียและฟิลิปปินสแว฽า ปัญหาข฾อ พิพาทซาบาหแดังกล฽าวจะถูกเก็บไว฾บนหิ้งก฽อน เพื่อผลประโยชนแแห฽งความสมามัคคีกันภายในภูมิภาค และทั้ง สองประเทศได฾ตกลงว฽า ในท฾ายที่สุดจะแก฾ปัญหาข฾อพิพาทซาบาหแผ฽านกลไกอาเซียน ในเดือนมีนาคม 2510/1967 รัฐบาลฟิลิปปินสแถูกเชิญให฾ส฽งผู฾สังเกตการณแเพื่อเป็นพยานในการเลือกตั้ง โดยตรงครั้งแรกในซาบาหแ แต฽ฟิลิปปินสแปฏิเสธเนื่องจากเกรงว฽าอาจส฽งผลกระทบต฽อท฽าทีในการอ฾างสิทธิ์เหนือ ดินแดนซาบาหแ อย฽างไรก็ตามการปฏิเสธดังกล฽าวก็ไม฽ได฾ขัดขวางการเข฾าร฽วมการก฽อตั้งสมาคมประชาชาติแห฽ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾หรืออาเซียนในเดือนสิงหาคม 2510/1967 แต฽อย฽างใด และในเดือนมกราคม 2511/1968 ประธานาธิบดีเฟอรแดินานดแ มารแกอส และนางอีเมลดา มารแกอส ภริยา ได฾เดินทางไปเยือนกรุง กัวลาลัมเปอรแอย฽างเป็นทางการ แต฽ความตกต่ําในความสัมพันธแของทั้งสองประเทศซึ่งมีสาเหตุมาจากข฾อพิพาท ซาบาหแนั้น เมื่อฟิลิปปินสแได฾ออกสาธารณรัฐบัญญัติ หมายเลข 5446 (Republic Act 5446) ซึ่งมีผลบังคับใช฾ เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2511/1968 ได฾ระบุว฽า ซาบาหแเป็นดินแดน “ซึ่งสาธารณรัฐฟิลิปปินสแได฾มาซึ่งสิทธิใน การปกครองและมีอํานาจอธิปไตย (over which the Republic of the Philippines has acquired dominion and sovereignty)”นําไปสู฽ความแตกแยกในปี 2512/1969 ทําให฾ฟิลิปปินสแออกกฎหมาย สาธารณรัฐบัญญัติ 5546 (Republic Act 5546) ซึ่งประกาศรวมเอาดินแดนซาบาหแเข฾ามาอยู฽ในเขตแดนของ ฟิลิปปินสแ เป็นผลให฾มาเลเซียประกาศตัดความสัมพันธแทางการทูตทันที อย฽างไรก็ตาม ด฾วยจิตวิญญาณแห฽ง ความร฽วมมือภายในภูมิภาค ความสัมพันธแทางการทูตได฾รับการสถาปนาขึ้นใหม฽ในวันที่ 16 ธันวมาคม 2512/1969 ระหว฽างการประชุมสุดยอดรัฐมนตรีอาเซียนครั้งที่ 3 เหตุการณแที่มีนัยสําคัญซึ่งเกิดขึ้นหลังจากนั้น คือ การที่ประธานาธิบดีเฟอรแดินานดแ มารแกอส (Ferdinand Marcos) ได฾นําการอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนซาบารแกลับมาเป็นประเด็นอีกครั้งหนึ่ง โดยในปี 2515/1972 รัฐบาลมารแกอส ได฾ทําการฝึกอาวุธอย฽างลับๆ ให฾แก฽กลุ฽มมุสลิมบนเกาะกอริกิดอรแ (Corregidor) นอกอ฽าวมะนิลา (Manila Bay) เพื่อเตรียมพร฾อมที่จะบุกรุกเข฾าไปในดินแดนซาบาหแโดยหวังว฽าจะให฾ซาบาหแ แยกตัวออกมาจากมาเลเซีย แต฽เมื่อมีผู฾ทราบถึงแผนการดังกล฽าว กลุ฽มมุสลิมที่ได฾รับการฝึกก็เกิดจลาจลและถูก กําจัด ยกเว฾นผู฾ที่สามารถว฽ายน้ําหนีและได฾รับการช฽วยเหลือให฾รอดชีวิต หนังสือพิมพแเรียกเหตุการณแที่เกิดขึ้นนี้ ว฽า “การสังหารหมู฽จาบิดาหแ (Jabidah Massacre)” ซึ่งเป็นชื่อที่มาจากแผนกระชับพื้นที่ของฝุายทหาร ผู฾รอดชีวิตได฾เปิดเผยแผนการทั้งหมด และการอ฾างสิทธิ์ก็ถูกนํากลับมาเป็นประเด็นอีกครั้ง โดยเชื่อว฽าสาเหตุมา จากเหตุการณแที่เกิดขึ้น ชาวมาเลเซียให฾การช฽วยเหลือกลุ฽มแบ฽งแยกดินแดนชาวมุสลิมเพื่อต฽อต฾านรัฐบาล ฟิลิปปินสแ นักวิเคราะหแบางคนกล฽าวว฽า การเบี่ยงเบนความสนใจโดยการใช฾เรื่องการอ฾างสิทธิ์ในดินแดนซาบาหแนี้ เป็นสิ่งที่รัฐบาลตั้งใจให฾เกิดเพื่อสร฾างความขัดแย฾ง อย฽างไรก็ตาม ต฽อมาในปี 2532/1989 มีการสถาปนาความสัมพันธแทางการทูตขึ้นอีกครั้ง เนื่องจาก รัฐบาลฟิลิปปินสแระงับการอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาหแไว฾ และหันมาเน฾นนโยบายด฾านความสัมพันธแทาง เศรษฐกิจและความมั่นคงกับรัฐบาลมาเลเซีย เนื่องจากซาบาหแตั้งอยู฽อยู฽ห฽างจากซูลูเพียง 16 กิโลเมตร ทําให฾ ฟิลิปปินสแกังวลเรื่องความมั่นคงเป็นอย฽างมากจนถึงปัจจุบัน และในวันที่ 16 กรกฎาคม 2554/2011 ศาลฎีกา ของฟิลิปปินสแได฾มีคําตัดสินว฽าการอ฾างสิทธิ์ของฟิลิปปินสแเหนือดินแดนซาบาหแจะยังคงอยู฽และอาจมีขึ้นได฾อีกใน อนาคต นอกจากนี้ ฝุายฟิลิปปินสแตั้งข฾อสังเกตว฽า กรณีซาบาหแอาจเทียบเคียงได฾กับการที่อังกฤษคืนเกาะฮ฽องกง 61

ให฾แก฽จีนในปี 2540/1997 แทนที่จะมีการทําประชามติเหมือนที่เกิดขึ้นในซาบาหแในปี 2505/1962 และใน ปัจจุบันมาเลเซียยังคงปฏิเสธการเรียกร฾องของฟิลิปปินสแในการแก฾ปัญหาซาบาหแโดยกลไกศาลยุติธรรมระหว฽าง ประเทศ (International Court of Justice)

62

ภาพที่ 3.7 แผนที่ดินแดนซาบาหแ (Sabah) (ที่มา: World 1:1,000,000 Sheet NB50 Series 1301 Edition 7-DMATC เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1zImniM) 63

ความตกลงและสนธิสัญญา

1. สนธิสัญญาบอร์เนียวเหนือ (North Borneo Treaties 1877) วันที่ 29 ธันวาคม 2420/1877 สุลต฽านอับดุล มูมิน เอ็บบน มารแโฮม มัวลานา อับดุล วาฮับ (Sultan Abdul Mumim Ebn Marhoum Maulana Abdul Wahab) แห฽งบรูไนได฾ทําหนังสือสัญญา43 เพื่อพระราชทานดินแดนให฾แก฽ กุสตาวุส บารอน ฟอน โอเว฽อรแเบ็ค (Gustavus Baron von Overbeck) และ อัลเฟร็ด เด฾นทแ (Alfred Dent) และในหนังสือ สัญญาดังกล฽าวได฾ระบุดินแดนต฽างๆ ได฾แก฽ ไปตัน (Paitan) สุกุต (Sugut) ลาบัค (Labuk) สันดากัน (Sandakan) กีน฽า (Kina) บาตังกัน (Batangan) มัมมิอัง (Mumiang) และดินแดนต฽างๆ ที่อยู฽ห฽างออกไปจนถึง แม฽น้ําสิบูโก (Sibuco River) และเกาะต฽างๆ ภายในระยะทาง 3 ลีก (league)44 จากชายฝั่ง

2. สนธิสัญญาบอร์เนียวเหนือ (North Borneo Treaties 1878) วันที่ 22 มกราคม 2421/1878 เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2421/1878 มีการทําหนังสือสัญญาระหว฽าง ศรี ปาดูกา เมารานา อัล สุลต฽าน โมฮัมหมัด จามาลุล อาลาม (Sri Paduka Maulana Al Sultan Mohammad Jamalul Alam) ในฐานะ เจ฾าของและผู฾มีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนซาบาหแ กับ กุสตาวุส บารอน ฟอน โอเว฽อรแเบ็ค (Gustavus Baron von Overbeck) และ อัลเฟร็ด เด฾นทแ (Alfred Dent) ในฐานะผู฾แทนบริษัทอินเดียตะวันออกของ อังกฤษ (British East India Company) ต฽อมาจึงเปลี่ยนเป็น บริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) การจ฽ายเงินจํานวน 5,000 ดอลล฽าหแมาลายาต฽อปี45 และแม฾ว฽าต฽อมาอังกฤษจะทํา การส฽งมอบการครอบครองดินแดนซาบาหแให฾แก฽สหพันธรัฐมาเลเซียแล฾ว แม฽ในปัจจุบันมาเลเซียก็ไม฽ได฾ยกเลิก การจ฽ายเงินรายปีดังกล฽าว ประเด็นสําคัญในสนธิสัญญา คือ คําว฽า “ปัดจัก (padjak)” ซึ่งในภาษามาเลยแ ฉบับที่แปลโดย นักภาษาศาสตรแชาวสเปนในปี 2421/1878 และโดยนักมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน H. Otley Beyer และ Harold Conklin ในปี 2489/1946 ว฽า “arrendamiento” หรือ “สัญญาเช฽า (lease)” ส฽วนฝุายอังกฤษ ใช฾ สํานวนแปลและการตีความของนักประวัติศาสตรแ นาจีบ มิตรี ซาลีบาย (Najeeb Mitry Saleeby) ในปี 1908/2451 และของวิลเลียม ยอรแจ แม็กเวลลแ (William George Maxwell) และ วิลเลียม ซัมเมอรแ กิ๊บสัน (William Summer Gibson) ในปี 2467/1924 ซึ่งแปลว฽า “มอบให฾ (grant)” และ “ยกให฾ (cede)” แต฽ใน ภาษาซูลู คําว฽า “padjak” ปัจจุบันหมายถึง “การจํานอง (mortage)” หรือ “จํานํา (pawn)” หรือ “ขายส฽ง (wholesale)” ก็ได฾ อย฽างไรก็ตาม แม฾ในปัจจุบันสถานทูตมาเลเซียในฟิลิปปินสแก็ยังคงดําเนินการจ฽ายเงินรายปีเป็นจํานวน 5,300 ริงกิต หรือราว 1,710 ดอลล฽าหแสหรัฐ หรือประมาณ 77,000 เปโซ ให฾แก฽ทายาทของสุลต฽านแห฽งซูลู (ดู ภาพที่ 3.8) โดยฝุายมาเลเซียถือว฽าเงินจํานวนนี้เป็นค฽า “โอน (cession)” แต฽ฝุายสุลต฽านแห฽งซูลูและฟิลิปปินสแ ถือว฽าเป็น “ค฽าเช฽า (rent)”

43 โปรดดู Grant by the Sultan of Brunei of Territories from the Paitan to Sibucco River, December 29, 1877. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1bsHObC 44 หน฽วยวัดระยะทางในอังกฤษและอเมริกา โดย 1 league เท฽ากับประมาณ 3 ไมลแ หรือ 4.828 กิโลเมตร 45 โปรดดู Grant by Sultan of Sulu of Territories and Lands on the Mainland of the Island of Borneo, January 22, 1878. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1AAimaM 64

3. พิธีสารมาดริด (Madrid Protocol) วันที่ 7 มีนาคม 2428/1885 หลังจากที่สุลต฽านแห฽งซูลูได฾สละสิทธิอธิปไตยเหนือดินแดนทั้งหมดให฾แก฽สเปน โดยมี “สนธิสัญญา สันติภาพและการยอมจํานน (Bases of Peace and Capitulation)” ลงนามโดยสุลต฽านแห฽งซูลูและฝุาย สเปน ณ เมืองโฮโล (Jolo) เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2421/1878 ต฽อมาในปี 2428/1885 สหราชอาณาจักร เยอรมนี และสเปน ได฾ลงนามใน “พิธีสารมาดริด (Madrid Protocol)”46 เพื่อจํากัดอิทธิพลของสเปนที่มีในหมู฽ เกาะฟิลิปปินสแ และในสัญญาเดียวกันนี้รัฐบาลสเปนได฾สละอํานาจอธิปไตยทั้งหมดเหนือดินแดนของเกาะ บอรแเนียวเท฽าที่รัฐบาลอังกฤษเรียกร฾อง ซึ่งมีอยู฽หรือเคยมีอยู฽ในอดีตโดยสุลต฽านแห฽งซูลู และในพื้นที่ใกล฾เคียงซึ่ง ประกอบด฾วยเกาะบาลัมบังงัน (Balambangan) บังกูอัย (Banguey) และมาลาวาลี (Malawali) รวมทั้งเกาะ อื่นๆ ซึ่งตั้งอยู฽ห฽างออกไปภายในระยะ 3 ลีก (league) จากชายฝั่ง และในที่สุดรัฐบาลอังกฤษก็ได฾ดําเนินการผนวกดินแดนบอรแเนียวเหนือเข฾าเป็นส฽วนหนึ่งของอาณานิคม แห฽งราชอาณาจักรบริเตนใหญ฽เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2489/1946 ทั้งๆ ที่ตั้งแต฽ปี 2449/1906 และ 2463/1920 สหรัฐอเมริกาเคยแจ฾งเตือนสหราชอาณาจักรอย฽างเป็นทางการว฽า ซาบาหแไม฽ได฾เป็นของอังกฤษอีก ต฽อไปแล฾ว เพราะยังคงเป็นส฽วนหนึ่งของรัฐสุลต฽านแห฽งซูลู บนสมมติฐานที่ว฽าสเปนไม฽เคยมอบอํานาจอธิปไตย บนเกาะบอรแเนียวให฾อังกฤษตาม “พิธีสารมาดริด (Madrid Protocol)” ในปี 2428/1885

4. ตราสารยืนยัน (Confirmatory Deed of 1903) วันที่ 22 เมษายน 2446/1903 สุลต฽านจามาลุล กีแรม (Sultan Jamalul Kiram) แห฽งซูลูได฾ลงพระนามในเอกสารที่ชื่อว฽า “ยืนยันการ ยกให฾หมู฽เกาะบางแห฽ง (Confirmation of Cession of Certain Islands)” ซึ่งระบุว฽าพระองคแจะ “ยกให฾ (cede)”47 บรรดาหมู฽เกาะเพิ่มเติมในอาณาบริเวณใกล฾เคียงกับดินแดนบอรแเนียวเหนือตั้งแต฽เกาะบังกิ (Banggi Islands) จนถึงอ฽าวสิบูกุ (Sibuku Bay) ให฾แก฽บริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company)

5. ค าตัดสินของมากาสกี้ (Macaskie decision of 1939) ในปี 2482/1939 มีการฟูองคดีแพ฽งโดยผู฾สืบสิทธิ์คือทายาทของสุลต฽านแห฽งซูลู ดายัง ดายัง ฮัดจี ปิอาน เดา (Dayang Dayang Hadji Piandao) พร฾อมด฾วยคณะทายาทคนอื่นอีก 8 คน เกี่ยวกับ “เงินโอน (cession money)” ที่จ฽ายให฾กับทายาทของสุลต฽านแห฽งซูลู หลังจากที่สุลต฽านแห฽งซูลู จามาลุล กีแรม ที่ 2 (Jamalul Kiram II) เสียชีวิตในเดือนมิถุนายน 2479/1936 โดยไม฽มีบุตรหรือธิดา โดยคําตัดสินของ ซี.เอฟ.ซี มากาสกี้ (C.F.C. Makaskie) หัวหน฾าผู฾พิพากษาศาลฎีกาของบอรแเนียวเหนือ ระบุว฽า ให฾แบ฽งเงินดังกล฽าวให฾แก฽ผู฾ยื่นฟูอง ส฽วนละเท฽ากัน ซึ่งคดีนี้มักจะถูกหยิบยกมาอ฾างอิงโดยฝุายที่อ฾างสิทธิ์ในฐานะผู฾แทนของสุลต฽านแห฽งซูลู และ กลายเป็นหลักฐานที่สําคัญต฽อสถานะความเป็นเจ฾าของของสุลต฽านแห฽งซูลูในดินแดนบอรแเนียวเหนือ แต฽คดี ดังกล฽าวตัดสินเฉพาะประเด็นผู฾มีสิทธิรับ “เงินโอน (cession money)” เท฽านั้น48

46 โปรดดู Madrid Protocal หรือ British North Norneo, March 7, 1885. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JlH7g3 47 โปรดดู Confirmatory Deed of 1903 เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1FLdG87 48 Macaskie judgement. “Should Malaysia Stop the Annual Cession Money?,” March 17, 2013. เข฾าถึง เมื่อ 23 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1GVmib2 65

ภาพที่ 3.8 เอกสารแจ฾งการจ฽ายเงินจํานวน 70,444.06 เปโซ ของสถานทูตมาเลเซียประจําปี 2549/2006 ให฾แก฽ทายาทของสุลต฽านแห฽งซูลู (ที่มา: The Royal Hashemite Sultanate of Sulu, เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1ES1dyB) 66

สถานการณ์ในปัจจุบัน ในปี 2546/2002 มีการตัดสินคดีเกี่ยวกับอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และเกาะสิ ปาดัน (Pulau Sipadan) ระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย โดยศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก มีคําตัดสินให฾มาเลเซียเป็นฝุายชนะคดีและมีอํานาจอธิปไตยเหนือ เกาะทั้งสองนี้49 ซึ่งเกาะทั้งสองดังกล฽าวตั้งอยู฽ในทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) นอกชายฝั่งทางตะวันออกของ เกาะบอรแเนียว คําตัดสินของคดีนี้ตั้งอยู฽บนหลักการครอบครองดินแดนอย฽างมีประสิทธิภาพ (effectivités)50 ของฝุายมาเลเซีย ซึ่งระหว฽างที่มีการพิจารณาคดี ฝุายฟิลิปปินสแได฾ยื่นคําร฾องต฾อศาลโลกเพื่อขอเข฾าแทรกแซงคดี เนื่องจากฟิลิปปินสแได฾ประกาศการอ฾างสิทธิ์ในดินแดนบอรแเนียวเหนือ แต฽อินโดนีเซียคัดค฾านคําขอของฟิลิปปินสแ เนื่องจาก การอ฾างสิทธิ์ของฟิลิปปินสแไม฽เกี่ยวข฾องกับดินแดนทั้งสองเกาะและยืนยันว฽าสถานะทางกฎหมายของ บอรแเนียวเหนืออยู฽นอกขอบเขตการพิจารณาของศาลในคดีดังกล฽าว ส฽วนฝุายมาเลเซียก็คัดค฾านคําขอของ ฟิลิปปินสแเช฽นกัน โดยให฾เหตุผลว฽าประเด็นอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะทั้งสองในคดีนี้เป็นอิสระอย฽างสมบูรณแจาก สถานะของบอรแเนียวเหนือ และ ชื่อของดินแดนมีความแตกต฽างกันทั้งสองกรณี คําร฾องของฟิลิปปินสแจึงถูกศาล โลกปฏิเสธในที่สุด เพราะศาลไม฽พบเหตุผลอันสมควรใดว฽า คําตัดในคดีที่เกี่ยวกับอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะทั้ง สอง จะมีผลต฽อการอ฾างสิทธิ์ของฟิลิปปินสแในดินแดนบอรแเนียวเหนือ51 แต฽เหตุการณแที่ทําให฾ข฾อพิพาทซาบาหแกลับมาเป็นประเด็นที่ได฾รับความสนใจอีกครั้งหนึ่ง คือเหตุการณแ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธแ 2556/201352 ซึ่ง รัดจาหแ มูดาหแ อัจบิมัดดิน กิแรม (Radjah Mudah Ajbimuddin Kiram) และกองกําลังติดอาวุธอีกกว฽า 200 คน ได฾แล฽นเรือจากซิมูนัล (Simunul) ในจังหวัดตาวี-ตาวี (Tawi- Tawi) ซึ่งเป็นหมู฽เกาะทางใต฾สุดของฟิลิปปินสแ เข฾าไปยังจังหวัดลาหัด ดาตู (Lahad Datu) บนพื้นที่ชายฝั่งในรัฐ ซาบาหแ เนื่องจากกองกําลังดังกล฽าวมีจํานวนมาก ทางการมาเลเซียจึงปูองกันไม฽ให฾บุคคลเหล฽านี้ขึ้นฝั่งและแจ฾ง ให฾บุคคลเหล฽านั้นสละอาวุธ แต฽กองกําลังกลุ฽มนี้ไม฽ยอมทําตามคําสั่ง จึงเกิดการเผชิญหน฾ากันขึ้น ความอ฽อนไหว ของสถานการณแและผลกระทบที่อาจจะเกิดตามมาต฽อความสัมพันธแระหว฽างประเทศ ทําให฾เจ฾าหน฾าที่รักษา ความปลอดภัยของมาเลเซียไม฽ได฾จับกุมกลุ฽มบุคคลคนดังกล฽าวโดยทันที แต฽ได฾กําหนดกรอบเวลาเพื่อให฾กลุ฽ม กองกําลังนี้ถอนตัวออกไปจากพื้นที่อย฽างสงบ นายอัลเบิรแต เดล โรซาริโอ (Albert del Rosario) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศของ ฟิลิปปินสแได฾ขอให฾ทางการมาเลเซียขยายกําหนดเวลาออกไปจนถึงวันที่ 27 กุมภาพันธแ 2556/2013 เพื่อให฾ผู฾ เจรจามีเวลามากขึ้นในการเกลี้ยกล฽อมกลุ฽มดังกล฽าว รัดจาหแ มูดาหแ อัจบิมัดดิน กิแรม (Radjah Mudah Ajbimuddin Kiram) ผู฾นํากลุ฽มกองกําลังกล฽าวว฽า การเดินทางเข฾าไปยังพื้นที่ซาบาหแเป็นเพียงการกลับสู฽บ฾าน เท฽านั้น และจะไม฽มีการสู฾รบใดๆ โดยเปิดโอกาสให฾เจ฾าหน฾าที่ระดับสูงของมาเลเซียเข฾าไปเจรจาได฾ โดยเหตุผล ของการนํากองกําลังบุกเข฾าไปในดินแดนซาบาหแนั้น เนื่องมาจากความไม฽พอใจที่ประธานาธิบดีเบนิกโน อากิโน

49 โปรดดู Case Concerning Sovereignty Over Pualau Ligitan and Sipadan (Indonesia/Malaysia), Judgment of December 17, 2002. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1e7ChJu 50 “รัฐที่จะอ฾างการได฾มาซึ่งดินแดนโดยการครอบครองตามหลักเกณฑแข฾อนี้ได฾นั้น จะต฾องปรากฏหลักฐานว฽ารัฐนั้นต฾อง ทําการครอบครองดินแดนนั้นอย฽างมีประสิทธิภาพ (Effective Occupation) มีการใช฾อํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นอย฽าง แท฾จริง” ใน จันตรี สินศุภฤกษแ, อ฾างแล฾ว. หน฾า 13-14. 51 โปรดดู Sovereignty Over Pualau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia v. Malaysia) (Permission to intervene by the Philippines), Judgment of October 23, 2001. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1MGMl9A 52 Jean Magdaraog Cordero, Territorial dispute over Sabah resurfaces, February 28, 2013. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Qf3Ezh

67

(Benigno Aquino III) จะเดินทางไปเยือนค฽ายของแนวร฽วมปลดปล฽อยอิสลามโมโร (Moro Islamic Liberation Front – MILF) ในจังหวัดสุลต฽านกูดารัต (Sultan Kudarat) เพื่อมอบบัตรรักษาพยาบาลและ ทุนการศึกษา โดยทายาทสุลต฽านแห฽งซูลูได฾แสดงออกถึงความไม฽พอใจในกระบวนการสันติภาพ เพราะรัฐบาล ปรึกษากับทุกฝุายยกเว฾นกลุ฽มของรัดจาหแ มูดาหแ อัจบิมัดดิน กิแรม (Radjah Mudah Ajbimuddin Kiram) นายอานิฟาหแ อาแมน (Anifah Aman) รัฐมนตรีกระทรวงต฽างประเทศของมาเลเซีย ได฾สนทนาทาง โทรศัพทแกับนายอัลเบิรแต เดล โรซาริโอ (Albert del Rosario) เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธแ 2556/2013 เพื่อให฾ ความมั่นใจว฽ารัฐบาลมาเลเซียกําลังเจรจากับกองกําลังชาวฟิลิปปินสแ 200 คนกลุ฽มนี้ เพื่อขอให฾ถอนตัวออกไป อย฽างสงบ นอกจากนี้ยังแสดงข฾อเท็จจริงให฾ทราบด฾วยว฽า เสนาธิการของกองทัพของมาเลเซียและผู฾บัญชาการ ทหารของมาเลเซียรับทราบแล฾วว฽าการกระทําของชาวฟิลิปปินสแกลุ฽มนี้ไม฽ได฾รับการอนุมัติโดยรัฐบาล ฟิลิปปินสแ53 และแถลงการณแฉบับหนึ่งของกระทรวงการต฽างประเทศฟิลิปปินสแได฾ขอคํารับรองจากทางการ มาเลเซียว฽าจะให฾การเคารพสิทธิ์ของชาวฟิลิปปินสแที่พํานักอาศัยถาวรอยู฽ในรัฐซาบาหแ เหตุการณแดังกล฽าว เจ฾าหน฾าที่ทหารและตํารวจของฟิลิปปินสแได฾แลกเปลี่ยนข฾อมูลและปรึกษากับเจ฾าหน฾าที่ของมาเลเซียเพื่อหาทาง ออกให฾แก฽เหตุการณแ ในขณะเดียวกันได฾มีการเพิ่มการลาดตระเวนและมาตรการรักษาความปลอดภัยที่เข฾มงวด ขึ้นในน฽านน้ํานอกจังหวัดตาวี-ตาวี (Tawi-Tawi) และเกาะที่อยู฽ใกล฾เคียง ทางด฾านประธานาธิบดีเบนิกโน อากิ โน (Benigno Aquino III) ปฏิเสธที่จะใช฾กําลังเพื่อแก฾ปัญหา โดยกล฽าวว฽าการหาทางออกไม฽ได฾ขึ้นอยู฽กับรัฐบาล แต฽ทุกฝุายจะต฾องร฽วมมือกันหาทางออกให฾แก฽วิกฤตการณแครั้งนี้ และต฾องเป็นการหาทางออกในระยะยาวให฾แก฽ กรณีพิพาทดินแดนซาบาหแนี้ต฽อไปด฾วย นอกจากนี้ประธานาธิบดีฟิลิปปินสแยังกล฽าวขอบคุณมาเลเซียที่มี ความสัมพันธแที่ดีเสมอมา เพราะมาเลเซียช฽วยทําให฾เกิดข฾อตกลงสันติภาพกับกลุ฽มแนวร฽วมปลดปล฽อยอิสลามโม โร (Moro Islamic Liberation Front – MILF) โดยสรุป ปัญหาข฾อพิพาทซาบาหแระหว฽างมาเลเซียกับ ฟิลิปปินสแ ยังคงเป็นปัญหาที่ไม฽ได฾รับการแก฾ไข โดยเชื่อว฽าในอนาคตปัญหาการกระทบกระทั่งกันระหว฽างกลุ฽ม ทายาทของสุลต฽านแห฽งซูลูกับเจ฾าหน฾าที่ของทางการมาเลเซียในพื้นที่ซาบาหแคงจะเกิดขึ้นได฾อีกทุกเมื่อ

53 Ibid. 68

3.5 เส้นเขตแดนทางบกระหว่างลาวกับเวียดนาม

เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับเวียดนาม เกิดจากการบริหารงานอาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศส (French-Indochina) ในช฽วงปลายคริสตแทศวรรษที่ 1940 เส฾นเขตแดนบริเวณนี้มีความยาว 2,130.8 กิโลเมตร แต฽ก็ยังไม฽ได฾รับการปักปันให฾แล฾วเสร็จสมบูรณแอย฽างเป็นทางการ โดยเส฾นเขตแดนความยาวเกือบ 1,850.7 กิโลเมตร เป็นไปตามแนวสันปันน้ําทางตอนเหนือของเขตที่ราบสูงอินโดจีนและเทือกเขาอันนัม รวมทั้งแนวสัน ปันน้ําย฽อยที่อยู฽ในเทือกเขาเหล฽านี้ และเส฾นเขตแดนความยาวอีก 238.2 กิโลเมตร เกิดจากแม฽น้ําและลําธาร หลายสาย รวมทั้งบริเวณที่ขีดโดยใช฾เส฾นตรงสองเส฾นเป็นระยะทางอีก 61.2 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีแม฽น้ําอีก หลายสายที่ตัดผ฽านเส฾นเขตแดน พื้นที่บริเวณชายแดนส฽วนใหญ฽ ไม฽ค฽อยมีการตั้งถิ่นฐานของผู฾คนยกเว฾นกลุ฽ม ชาติพันธุแกลุ฽มน฾อยบางกลุ฽ม การกําหนดตําแหน฽งที่ถูกต฾องของเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับเวียดนาม อาจพิจารณาจากแผนที่ ระวาง “อินโดจีน (Carte de l‖Indochine)” มาตราส฽วน 1:100,000 จัดพิมพแโดยกองบริการภูมิศาสตรแแห฽ง อินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) ซึ่งชุดแผนที่ดังกล฽าว ได฾รับ การยอมรับจากสถาบันทางภูมิศาสตรแแห฽งชาติของหลายประเทศ เอกสารและตําราทั้งภายในและระหว฽าง ประเทศมีความสับสนและไม฽ชัดเจนเกี่ยวกับแผนที่นี้ ยกเว฾นพื้นที่ราบสูงตอนเหนือจากจุดบรรจบของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ ลาว เวียดนาม และจีน ซึ่งเส฾นเขตแดนลากไปตามแนวสันปันน้ําเป็นระยะ 198 กิโลเมตร ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต฾จนกระทั่งถึงพื้นที่ใกล฾เคียงกับเขตเดียนเบียนฟู ซึ่งในระยะสั้นๆ นั้นเส฾นเขตแดน เป็นไปตามแนวสันเขาตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต฾ แล฾วจึงลากต฽อไปทางทิศใต฾จนกระทั่งขนานไปกับ แนวสันเขา ส฽วนทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾ของเขตเดียนเบียนฟูเส฾นเขตแดนเป็นไปตามลําน้ําเมือก (Nam Meuk River) และแม฽น้ําสาขาไปอีกเป็นระยะทาง 12.2 กิโลเมตร ต฽อจากนั้นแนวสันปันน้ําขนาดเล็กทําให฾เกิดเส฾นเขต แดนต฽อเนื่องไปอีกเป็นระยะทาง 58 กิโลเมตร แล฾วจึงลากไปตามแนวลําน้ําหนาว (Nam Noua River) และ แม฽น้ําสาขาอีก 27 กิโลเมตร ก฽อนที่จะเข฾าสู฽แนวสันปันน้ําของเทือกเขาทางตะวันตกเฉียงใต฾ของเมืองเดียน เบียนฟู จากนั้นอีกประมาณ 18 กิโลเมตร เส฾นเขตแดนจึงลากต฽อไปตามแนวสันเขาตะวันตกเฉียงเหนือ- ตะวันออกเฉียงใต฾ โดยให฾ถือว฽าแนวเส฾นเขตแดนเป็นไปตามสันปันน้ําหลักทางใต฾ของแม฽น้ําซองหมา (Song Ma) จากนั้นเส฾นเขตแดนทางทิศเหนือของเขตซําเหนือ (Sam Neua) ลากไปตามเส฾นตัดของแม฽น้ําซองหมาก฽อนที่จะ ลากต฽อไปตามแนวสันปันน้ําของแม฽น้ําซองหมานี้ต฽อไปอีกเป็นระยะทาง 98 กิโลเมตร ยกเว฾นบริเวณใกล฾กับ จุดตัดบริเวณชายแดนของทางหลวงหมายเลข 6 ซึ่งทําให฾สันปันน้ําเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเนื่องจากการ ก฽อสร฾างถนนสายนี้ จากนั้นเส฾นเขตแดนลากต฽อไปอีกเป็นระยะทาง 27.8 กิโลเมตร ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความ ซับซ฾อนเนื่องจากมีแม฽น้ําลําธารสายเล็กๆ จํานวนมาก จนกระทั่งใช฾ลําน้ําซองหมาเป็นเขตแดนต฽อไปอีกเป็น ระยะทาง 14.8 กิโลเมตร จากจุกนี้เส฾นเขตแดนตัดผ฽านต฾นแม฽น้ําสายเล็กๆ 5 สาย โดยลากไปตามลําแม฽น้ําสาย เล็กชื่อซองเลือง (Song Luong River) อีกเป็นระยะทาง 7.6 กิโลเมตร แม฾ว฽าจะมีลําน้ําซํา (Sam River) ตัด ผ฽านแต฽เส฾นเขตแดนก็ลากต฽อไปตามแนวสันปันน้ําอีก 77 กิโลเมตร จนกระทั่งบรรจบกับแม฽น้ําซองกา (Song Ca) ที่จุดพิกัดละติจูด 19 องศา 40 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูด 104 องศา 19 ลิปดา ตะวันออก แม฽น้ําซองกา (Song Ca) และ ลําน้ําสาขาคือแม฽น้ําห฾วยหมาย (Houei May) กลายเป็นแนวเส฾นเขตแดน ต฽อไปอีก 47.5 กิโลเมตร จากนั้นเส฾นเขตแดนเลี้ยวไปทางทิศใต฾ตามแนวสันปันน้ําและแนวลําน้ําอีกเป็น ระยะทางประมาณ 42 กิโลเมตร จนกระทั่งบรรจบกับแม฽น้ําโม (Nam Mo) ที่จุดพิกัดละติจูด 19 องศา 25 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูด 104 องศา 04 ลิปดา ตะวันออก ซึ่งเส฾นเขตแดนเป็นไปตามลําน้ําสายนี้ต฽อไปอีก 69

เป็นระยะทาง 32 กิโลเมตร และลากต฽อไปอีก 4.8 กิโลเมตร จากบริเวณทิศเหนือของทางแยกระหว฽างทาง หลวงหมายเลข 7 กับแนวเส฾นเขตแดน หลังจากที่เส฾นเขตแดนถูกลากออกมาจากแม฽น้ําซองหมาแล฾วก็วางตัวไป ตามแนวสันปันน้ําทางตะวันออกเฉียงใต฾ของเทือกเขาอันนัมเป็นระยะทาง 362 กิโลเมตร หลังจากที่เส฾นเขตแดนลากตัดผ฽านทางหลวงหมายเลข 12 – 15 ที่จุดพิกัดละติจูด 17 องศา 40 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูด 105 องศา 46 ลิปดา ตะวันออก เส฾นเขตแดนจึงลากเข฾าสู฽พื้นที่ภูเขาสูงหินปูน และเส฾น เขตแดนลากต฽อไปทางตะวันออกเฉียงใต฾เป็นเส฾นตรงระยะทาง 40 กิโลเมตร ก฽อนที่จะบรรจบกับแนวสันปันน้ํา ต฽อไปอีก 98.2 กิโลเมตร จากเทือกเขาหินปูนซึ่งอยู฽ใกล฾กับพื้นที่เขตปลอดทหาร (demilitarized zone) เส฾น เขตแดนก็ลากเป็นเส฾นตรงไปทางทิศใต฾อีก 40 กิโลเมตร จากนั้นเส฾นเขตแดนก็ตัดเข฾าสู฽พื้นที่ซึ่งมีความซับซ฾อน ทางใต฾อีก 9.7 กิโลเมตร จนไปถึงลําแม฽น้ําเซโปน (Sé Pone River) ซึ่งใช฾เป็นแนวเส฾นเขตแดนตามลําแม฽น้ํา สายนี้ต฽อไปอีก 59 กิโลเมตร ต฽อจากแม฽น้ําเซโปนเส฾นเขตแดนลากไปตามแนวสันปันน้ํา 71 กิโลเมตร แล฾วจึง ลากไปตามแนวเส฾นตรงตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต฾ จากตัมบอย (Tam Boi) ผ฽านตัมลาย (Tam Lay) จนถึงอายลอค (Ale Loc) อีก 7.4 กิโลเมตร จากจุดนี้เส฾นเขตแดนลากไปตามล้ําน้ําสาขาของแม฽น้ํารัค ลาว (Rac Lao River) อีก 16.7 กิโลเมตร ก฽อนที่จะเลี้ยวออกไปทางใต฾และทางตะวันออกเฉียงใต฾เป็น ระยะทาง 153 กิโลเมตร ตามแนวสันปันน้ํา จากพื้นที่บริเวณใกล฾เคียงแม฽น้ําเซขะเหมน (Sé Kamane) ตอนบน จุดตะวันออกสุดของชายแดนลาว-เวียดนามไม฽สามารถทราบตําแหน฽งที่ถูกต฾องของเส฾นเขตแดนได฾เป็น ระยะทางประมาณ 51.5 กิโลเมตร แผนที่ 2 ระวาง ได฾แก฽ ระวาง 136E และ 142E ในชุด “แผนที่อินโดจีน (Carte de l‖Indochine)” ที่มี อยู฽ในกรุงวอชิงตัน ไม฽ได฾แสดงแนวเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศบริเวณนี้ ซึ่งแนวสันปันน้ําที่แท฾จริงอาจมีอยู฽แต฽ ยังไม฽สามารถวัดแนวสันปันน้ําที่ถูกต฾องได฾ ดังนั้นเส฾นเขตแดนควรจะถือว฽า “ยังไม฽แน฽นอน (indefinite)” โดย ถือว฽าให฾ลากไปตามแนวสันปันน้ํา ส฽วนเส฾นเขตแดนทางตอนใต฾ก็ลากต฽อเป็นไปตามแนวสันปันน้ําจนถึงจุด บรรจบของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ กัมพูชา ลาว และเวียดนาม เป็นระยะทางประมาณ 24 กิโลเมตร จนถึงแม฽น้ําดัก สัต (Dak Sat)54

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ พื้นที่ส฽วนใหญ฽ของชายแดนทางบกระหว฽างลาวกับเวียดนามเป็นพื้นที่บนภูเขาสูง ทางตอนเหนือมี ลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ตามแนวสันเขาเรื่อยไปจนถึงทางตะวันตกเฉียงเหนือและทางใต฾ โดยมีความสูง เฉลี่ยแตกต฽างกันไปตั้งแต฽ 1,500 เมตร ถึง 1,800 เมตร มีแม฽น้ําและลําธารหลายสายไหลผ฽านหุบเขาสูงชันซึ่ง พื้นที่ส฽วนใหญ฽ประกอบด฾วยผลึกหิน หินปูน และหินทราย ทําให฾เกิดลักษณะภูมิประเทศที่เข฾าถึงค฽อนข฾าง ยากลําบาก พื้นที่ทั้งหมดเป็นที่อยู฽อาศัยของกลุ฽มชาติพันธุแกลุ฽มต฽างๆ โดยตั้งบ฾านเรือนอาศัยอยู฽อย฽างเบาบาง พื้นที่บริเวณนี้มีที่ราบสูงอยู฽บ฾าง ซึ่งแนวเทือกเขาทอดตัวไปทางทิศตะวันตกกว฽ามากทางเหนือของลาว ส฽วนทางตอนเหนือของเวียดนามมีลักษณะภูมิประเทศเป็นแบบหุบเขาทอดตัวยุบลงไปตามแนวที่ราบลุ฽ม สามเหลี่ยมปากแม฽น้ําแดง ส฽วนทางตอนใต฾ของเส฾นเขตแดนนั้นเป็นไปตามแนวสันปันน้ําของเทือกเขาอันนัม โดยวางตัวทอดจากทางตะวันตกเฉียงเหนือไปยังตะวันออกเฉียงใต฾ขนานไปกับลําน้ําโขง และหากกล฽าวโดย เคร฽งครัดแล฾ว ภูมิประเทศแถบนี้ไม฽ได฾เป็นเขตเทือกเขาแต฽เป็นที่ราบสูงติดต฽อกันโดยมีบางส฽วนถูกกัดเซาะและมี

54 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Laos – Vietnam Boundary. (International Boundary Study, No.35 (revised) of June 3, 1966.), p. 8. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://archive.law.fsu.edu/library/collection/limitsinseas/ibs035.pdf

70

ยอดเขาโดดอยู฽เต็มไปหมด ด฾านที่มีความลาดชันของเทือกเขาอยู฽ทางฝั่งเวียดนาม โดยเทือกเขามีลักษณะค฽อยๆ เทตัวลาดเอียงมาทางฝั่งลาว เส฾นเขตแดนบางส฽วนขนานไปกับพื้นที่บริเวณแคบๆ ทางตอนใต฾ของแม฽น้ําซองกา (Song Ca) ซึ่งมีความสูงน฾อยกว฽าแนวเทือกเขาอันนัม ทําให฾สามารถเดินทางเข฾าถึงพื้นที่บริเวณนี้ได฾ไม฽ยาก ในขณะที่ทางตอนใต฾บริเวณท฽าเขต (Thakhet) เส฾นเขตแดนลากผ฽านเข฾าสู฽ภูมิประเทศแบบหุบเขาหินปูนและมี โตรกผารวมทั้งหน฾าผาชันอยู฽มาก เนื่องจากความแห฾งแล฾งของดินการตั้งบ฾านเรือนจึงมีอยู฽เบาบาง ส฽วนของเส฾น เขตแดนที่ลากผ฽านพื้นที่หินปูนนั้นสิ้นสุดลงทางใต฾ใกล฾กับบริเวณซึ่งเคยถูกกําหนดให฾เป็นพื้นที่ปลอดทหาร (demilitarized zone) เอาเข฾าจริงแล฾ว เส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศซึ่งใช฾กันอย฽างเป็นทางการในแผนที่ของ สหรัฐอเมริกา หมายถึง เส฾นเขตแดนที่กําหนดขึ้นโดยสนธิสัญญาระหว฽างประเทศและข฾อตกลงดั้งเดิมที่เคยมี ระหว฽างกัน เส฾นเขตแดนความยาวเกือบ 32.2 กิโลเมตร ทางตอนใต฾ลากผ฽านพื้นที่หินแกรนิตและหินบะซอล ทําให฾การเดินทางเข฾าถึงพื้นที่บริเวณนี้ค฽อนข฾างง฽ายและที่สําคัญคือมีถนนหมายเลข 9 (National Route No.9) ตัดผ฽าน ทําให฾สามารถเดินทางติดต฽อกันไปมาระหว฽างกวเางตริ่ (Quang Tri) ของเวียดนามกับสะหวันนะเขต (Savannakhet) ของลาว ต฽อมาคือ ภูมิประเทศทางใต฾ของเทือกเขาอันนัมซึ่งเป็นส฽วนที่ไม฽สามารถเข฾าถึงได฾ โดยบริเวณนี้มีความสูงเพิ่มมากขึ้นที่ระดับ 2,000 เมตร ทําให฾กลายเป็นหนึ่งในพื้นที่ซึ่งผู฾คนรู฾จักกันน฾อยที่สุดใน บริเวณคาบสมุทรอินโดจีน ในลาวเทือกเขาอันนัมวางตัวตามแนวขนานโดยต฽อเนื่องเป็นสามส฽วนโดยมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ ราบสูงหินทราย จากทางเหนือจรดใต฾เป็นเขตที่ราบสูง ได฾แก฽ คําม฽วน (Cammon) ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของเมืองท฽าแขก (Thakhek) กะเลิ่ง (Kha Leung) ทางตะวันออกเฉียงใต฾ของเมืองท฽าแขก และตะโฮ฾ย (Ta Hoi) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของแขวงสาละวัน (Saravane) ในทางตรงกันข฾ามบริเวณที่ราบสูงมักจะมีหญ฾า ขึ้นปกคลุมหนาแน฽นจึงถูกใช฾เป็นพื้นที่สําคัญทางยุทธศาสตรแของขบวนการปะเทดลาว (The Pathet Lao Operations) และส฽วนสุดท฾ายของเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับเวียดนาม เป็นภูมิประเทศแบบหินผลึก เนินเขาและมีภูเขาที่มียอดค฽อนข฾างแหลม รวมทั้งมีเขตภูเขาไฟเก฽าปรากฏตัวอยู฽ทั่วไปสลับกับที่ราบสูง ส฽วน พื้นที่ซึ่งเป็นเขตปกครองจังหวัดต฽างๆ อยู฽ทางใต฾ต฽อเนื่องกับที่ราบสูงดารแลัค (Darlac plateau) ชายแดน ระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม ภูมิอากาศในพื้นที่บริเวณชายแดนทั้งหมดเป็นแบบมรสุมตามฤดูกาลเช฽นเดียวกับภูมิอากาศโดยทั่วไป ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ แต฽ภูมิอากาศอาจเปลี่ยนแปลงไปได฾ตามระดับความสูงของพื้นที่ อุณหภูมิ โดยทั่วไปเป็นแบบเขตร฾อนชื้น โดยร฾อนที่สุดในช฽วงเดือนเมษายนที่อุณหภูมิราว 30 องศาเซลเซียส และที่เย็น ที่สุดในช฽วงเดือนธันวาคม โดยอยู฽ที่ 26 องศาเซลเซียส และในช฽วงเดือนสิงหาคมและกรกฎาคมมีอุณหภูมิอยู฽ที่ 27-26 องศาเซลเซียส เนื่องจากได฾รับอิทธิพลของลมมรสุม ยกเว฾นพื้นที่ทางตอนเหนือ ฤดูฝนเริ่มในเดือน เมษายนจนถึงเดือนพฤศจิกายน ส฽วนช฽วงปลายเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคมถือว฽าเป็นระยะมรสุมแล฾ง ในฤดูฝนมีปริมาณน้ําฝนสูงสุดในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม โดยปริมาณน้ําฝนในแต฽ละเดือนมี มากกว฽า 500 มิลลิเมตร อย฽างไรก็ตาม ในฤดูแล฾งก็อาจมีฝนตกได฾โดยเฉพาะในช฽วงฤดูหนาวมักจะเกิดฝนตก หนักเนื่องมาจาพายุไต฾ฝุุน และปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยต฽อปีอยู฽ระหว฽าง 2,000-3,000 มิลลิเมตร พื้นที่ชายแดนในบริเวณที่มีหุบเขาและลําแม฽น้ําจะมีผืนปุาปกคลุมอยู฽อย฽างหนาแน฽น ส฽วนภูมิประเทศที่มี ลักษณะเป็นดินเหนียวมักถูกปกคลุมด฾วยปุาฝนเขตร฾อน ส฽วนพื้นที่ดินร฽วนหรือดินปนทรายจะเป็นปุาโปร฽งและมี ความแห฾งแล฾งได฾ตามฤดูกาล พืชพันธุแธรรมชาติมีอยู฽อย฽างหลากหลาย พื้นที่ปุาไม฾มักถูกบุกรุกอย฽างต฽อเนื่อง เช฽น การทําไร฽เลื่อนลอย และการเข฾าไปถางหญ฾าเพื่อขยายพื้นที่อยู฽อาศัย เป็นต฾น

71

ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ จากตําแหน฽งทางภูมิศาสตรแของพื้นที่ชายแดนระหว฽างลาวกับเวียดนาม ทําให฾ชายแดนทางทิศตะวันออก ของลาวมีความสําคัญอย฽างยิ่งในช฽วงที่เกิดวิกฤติสงครามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ โดยเฉพาะสงครามในอินโด จีน การที่เวียดนามเหนือให฾การสนับสนุนการเคลื่อนไหวของขบวนการปะเทดลาว (Pathet Lao Movement) และความพยายามที่จะบุกข฾ไปในในเวียดนามใต฾ทําให฾เกิดการข฾ามไปมาระหว฽างกันบริเวณพื้นที่ชายแดน ระหว฽างลาวกับเวียดนามจากเหนือจรดใต฾เส฾นทางตามธรรมชาติที่สําคัญตามแนวชายแดนมีดังนี้ 1. เส฾นทางลายเจิว – พงสาลี (Lai Chau–Phong Saly) มีความสําคัญมากเนื่องจากการก฽อสร฾างถนน จากเมืองลา (Meng La) ในมณฑลยูนนานถึงพงสาลีในภาคเหนือของลาว หรือที่รู฾จักในนามเส฾นทางหมายเลข 4 (National Route No.4) 2. เมืองเดียนเบียนฟู (Dien Bein Phu) เป็นจุดศูนยแกลางสําคัญของเส฾นทางย฽อย 3 สาย ที่จะเชื่อม ต฽อไปยังภาคตะวันตกเฉียงใต฾และภาคใต฾จากฝั่งเวียดนามเข฾าไปในลาว 3. เส฾นทางหมายเลข 6 (National Route No.6) และอีก 2 เส฾นทาง จากภาคตะวันตกเฉียงเหนือเข฾าไป ยังหุบเขาตอนกลางของซองหมา (Song Ma) และเข฾าไปยังเมืองศูนยแกลางที่สําคัญของลาวในซําเหนือ (Sam Neua) 4. เส฾นทางหมายเลข 7 (National Route No.7) เป็นเส฾นทางยุทธศาสตรแที่สําคัญที่สุดซึ่งใช฾เดินทางจาก เขตตังเกี๋ย (เวียดนามเหนือ) เข฾าไปยังบริเวณทุ฽งไหหินในลาวซึ่งเส฾นทางนี้วางตัวไปตามแนวหุบเขาซองกา (Song Ca) โดยประชิดกับแนวชายแดน มีช฽วงสั้นๆ ฝั่งตะวันออกของเส฾นทางนี้เป็นหุบเขาสูงชันก฽อนช฽วงที่จะ เข฾าไปในเขตที่ราบสูง 5. เส฾นทางหมายเลข 8 (National Route No.8) ใช฾เส฾นทางตามธรรมชาติผ฽านเทือกเขาอันนัม ซึ่งมี ส฽วนที่แคบที่สุดใกล฾กับเมืองวินหแ (Vinh) ซึ่งเป็นศูนยแกลางสําคัญของเวียดนามติดกับบริเวณที่ราบสูงคําม฽วน (Cammon) ในลาว 6. เส฾นทางหมายเลข 12 ถึงหมายเลข 15 (National Route No.12 – 15) เป็นเส฾นทางที่คดเคี้ยว มากกว฽าหมายเลข 7 และ 8 โดยถนนสายนี้ยังคงเป็นเส฾นทางที่สําคัญในการเดินทางติดต฽อระหว฽างห฽าติ๋งหแ (Ha Tinh) ในเวียดนามกับยมมะลาด (Nhommarath) ในลาว ทางตอนใต฾ของที่ราบสูงคําม฽วน 7. เส฾นทางหมายเลข 9 (National Route No.9) เป็นถนนที่อยู฽ทางเหนือสุดที่เชื่อมต฽อระหว฽างลาวกับ เวียดนามใต฾ ผ฽านชายแดนลาวที่สําคัญในเมืองเซโปน (Tchepone) ถนนเส฾นนี้เป็นหินปูนขรุขระผ฽านเข฾าไปใน เส฾นทางที่แคบของพื้นที่หินบะซอลตแ ถนนย฽อยตามเส฾นทางธรรมชาติของเขตเซกอง (So Khong) หรือถนน หมายเลข 923 เป็นเส฾นทางเชื่อมต฽อระหว฽างเมืองเว฾กับแขวงสาละวัน 8. อัตตะปือ (Attopeu) และ เส฾นทางหมายเลข 14 ที่เชื่อมต฽อด฾วยเส฾นทางย฽อย ซึ่งใช฾ทางเดินตาม ธรรมชาติในเขตตอนบนของเมืองเซขะเหมน (So Kamane) 9. เส฾นทางหมายเลข 14 ขนานไปกับแนวชายแดนเวียดนามใต฾

72

ประวัติศาสตร์ ในทางประวัติศาสตรแอารยธรรมในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ได฾พัฒนาและเจริญรุ฽งเรืองในพื้นที่ ราบลุ฽มแม฽น้ําใหญ฽สายต฽างๆ ส฽วนเขตที่ราบสูงยังคงเป็นพื้นที่กันชนแบบดั้งเดิมระหว฽างการขยายและหดตัวของ จักรวรรดิริมฝั่งแม฽น้ําเป็นผลให฾เกิดข฾อจํากัดในการติดต฽อกันไปมาอย฽างต฽อเนื่องของแหล฽งอารยธรรมต฽างๆ และ เป็นเวลายาวนานหลายศตวรรษแล฾วที่เทือกเขาอันนัมกลายเป็นแนวเขตแดนขวางกั้นระหว฽างเขตรอยต฽อ จักรวรรดิ์ขแมรแ (Khmer Empire) ซึ่งอยู฽ทางทิศตะวันตกกับอาณาจักรอันนัม (Annamese Kingdom) และ อาณาจักรจําปา (Champa Kingdom) ซึ่งอยู฽ทางทิศตะวันออก นับตั้งแต฽การเสื่อมถอยของจักรวรรดิ์ขแมรแในราวคริสตแศตวรรษที่ 13 ซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของ อาณาจักรไทย (Thai Kingdom) เข฾าไปทางตะวันตกของลาว (Laotian States) ซึ่งมีความเจริญมาอยู฽ก฽อนใน พื้นที่ตอนกลางแม฽น้ําโขง ในช฽วงเวลาเดียวกันนี้เองก็เกิดการขยายตัวลงไปยังทางใต฾ของพวกอันนัม (Annamese) และเข฾าโจมตีจามปาจนสามารถบุกเข฾าไปถึงเขตต฽อเนื่องทางตอนเหนือของเขตดินดอน สามเหลี่ยมปากแม฽น้ําโขง และในที่สุดก็สามารถเข฾าไปปกครองดินแดนทางฝั่งตะวันออกของเทือกเขาอันนัมได฾ ทั้งหมด ต฽อมาในช฽วงต฾นของคริสตแศตวรรษที่ 19 ฝุายอาณาจักรไทยและอาณาจักรอันนัมต฽างๆ ขยายตัวเข฾าไป ยึดเอาดินแดนของอาณาจักรกัมพูชาและลาว จนกระทั่งทั้งสองอาณาจักรนี้เหลือดินแดนอยู฽เพียงบริเวณ ตอนกลางแม฽น้ําโขง และแม฾ว฽าจะมีความสนใจของชาวยุโรปในดินแดนอินโดจีนนับตั้งแต฽ช฽วงต฾นคริสตแศตวรรษ ก฽อนหน฾านี้แต฽การเข฾าควบคุมอํานาจการปกครองโดยตรงก็เกิดขึ้นในช฽วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 นี้เอง ดินแดนโคชินจีน (Cochin China) หรือ เวียดนามใต฾ ถูกฝรั่งเศสเข฾ายึดครองได฾ในปี 2405/1862 และ ขยายอิทธิพลออกไปอีกในปี 2410/1867 จนกระทั่งกัมพูชากลายเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสในปี 2406/1863 และต฽อมาดินแดนอันนัมและตังเกี๋ยก็ถูกผนวกเข฾ามาสําเร็จในปี 2427/1884 และในที่สุดปี 2436/1893 ฝรั่งเศสก็สามารถเข฾ายึดครองลาวได฾ทั้งหมดทําให฾เกิดดินแดนอาณานิคมแห฽งใหม฽ขึ้น ในชื่อ “อิน โดจีนฝรั่งเศส (French Indochina)” ในช฽วงระยะเวลาของการปกครองโดยระบอบอาณานิคมฝรั่งเศสนี้เอง เส฾นเขตแดนในปัจจุบันระหว฽างลาวกับเวียดนามจึงได฾ถูกกําหนดขึ้น ในที่สุดเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ระบอบอาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศสก็ล฽มสลายลงด฾วย เวียดนามจึงกลายเป็นประเทศเอกราชในวันที่ 8 มีนาคม 2492/1949 ตามมาด฾วยลาวในวันที่ 19 กรกฎาคม ของปีเดียวกัน และทั้งสองประเทศก็เกิดแรงบันดาลใจจากลัทธิคอมมิวนิสตแตั้งแต฽เป็นเอกราช ข฾อตกลงเจนีวา (The Geneva Conference) ในปี 2497/1954 ทําให฾เกิดการแบ฽งเวียดนามออกเป็นสองส฽วนโดยใช฾เส฾นขนาน ที่ 17 องศาเหนือ ส฽งผลให฾เขตแดนส฽วนใหญ฽ของลาวติดกับภาคเหนือของเวียดนามซึ่งเป็นส฽วนหนึ่งของกอง กําลังพรรคคอมมิวนิสตแ

ความตกลงและสนธิสัญญา เอกสารทางกฎหมายที่เกี่ยวข฾องกับเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับเวียดนาม ได฾แก฽ สนธิสัญญาและ รวมทั้งคําสั่งทางปกครองของอาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งเส฾นเขตแดนถูกกําหนดขึ้นโดยหน฽วยงานของฝุาย ฝรั่งเศสหลายครั้ง เช฽น กองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) ได฾ทําการสํารวจแนวเขตแดนทั้งหมดเพื่อศึกษาความถูกต฾องแม฽นยําของเส฾นเขตแดน ให฾มากขึ้น รายงานการสํารวจจึงถือเป็นเอกสารสําคัญอย฽างเป็นทางการที่เกี่ยวข฾องกับการปักปันเขตแดน แต฽ น฽าเสียดายที่ไม฽สามารถค฾นหาเอกสารการรายงานสํารวจเขตแดนได฾ ดังนั้นการยอมรับโดยพฤตินัยของการมี อยู฽ของเส฾นเขตแดนจึงเป็นหลักฐานเดียวที่จะพิสูจนแความถูกต฾องของเส฾นเขตแดน ซึ่งปรากฏว฽ามีพื้นที่เพียงแห฽ง เดียวเท฽านั้นที่ยังมีข฾อพิพาทเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับเวียดนาม 73

ในปี 2497/1954 และปี 2501/1958 กองกําลังเวียดนามเหนือได฾เข฾าครอบครองและอ฾างสิทธิ์เหนือ พื้นที่ของลาวซึ่งอยู฽บริเวณทางทิศตะวันตกของเขตปลอดทหาร (Demilitarized Zone – DMZ) โดยในปี 2501/1958 รัฐบาลลาวได฾ตีพิมพแชุดเอกสารเพื่อยืนยันเส฾นเขตแดนที่ถูกต฾อง เอกสารชุดนี้อ฾างอิงสนธิสัญญา โบราณตั้งแต฽ปี 1907/1364 ซึ่งเป็นการตกลงระหว฽างกษัตริยแแห฽งอันนัมของเวียดนามกับกษัตริยแแห฽งล฾านช฾าง ของลาว โดยกําหนดเส฾นเขตแดนโดยใช฾ “เส฾นแบ฽งของน้ํา (by the parting of the waters)” หรือ สันปันน้ํา อย฽างไรก็ตาม ในเวลาต฽อมายังปรากฏว฽ามีชาวเวียดนามเข฾าไปตั้งถิ่นฐานอยู฽ในพื้นที่ทางตะวันตกของแนวสันปัน น้ําด฾วย และหลังจากที่มีการศึกษารายละเอียดต฽างๆ ข฾าหลวงแห฽งอินโดจีนของฝรั่งเศส จึงออกคําสั่งในวันที่ 2 ตุลาคม 2459/1916 โดยให฾เส฾นเขตแดนระหว฽างจังหวัดกวเางตริ่ (Quang Tri) ของเวียดนามกับสะหวันนะเขต ของลาว “เริ่มจากยอดเขาสูง 1221 โดยลากจากเส฾นจากทางเหนือลงใต฾ทํามุม 115.78 จนบรรจบกับยอดเขา ทํามุม 1020.82 (starts at Peak 1221 and follows from north to south 115.78 until it meets bench mark 1020.82)”55 ข฾อความดังกล฽าวถือว฽าเพียงพอต฽อการปักปันเส฾นเขตแดนทางตะวันตกของเขต ปลอดทหาร (DMZ) นอกจากนี้แผนที่ตามข฾อตกลงเจนีวาซึ่งได฾กําหนดพื้นที่เขตปลอดทหาร (DMZ) ก็แสดงให฾ เห็นถึงแนวเส฾นเขตแดนในลักษณะเดียวกันกับคําสั่งทางปกครองของอาณานิคมฝรั่งเศส โดยแผนที่ดังกล฽าว ได฾รับการรับรองจากผู฾ลงนามตามข฾อตกลงเจนีวา เนื้อหาฉบับเต็มของคําสั่งทางปกครองอาณานิคมฝรั่งเศสในปี 2459/1916 ซึ่งเป็นเอกสารที่ใช฾กําหนด เส฾นเขตแดนระหว฽างลาวกับเวียดนาม จากช฽องแก฾วเหนือ (Keo-Nua Pass) ที่พิกัดละติจูด 18 องศา 23 ลิปดา เหนือ ลองจิจูด 105 องศา 10 ลิปดา ตะวันออก ไปยังหุบเขาเอซับ (A-Sap valley) ที่พิกัดละติจูด 16 องศา 12 ลิปดา เหนือ ลองจิจูด 107 องศา 09 ลิปดา ตะวันออก โดยมีรายละเอียดดังต฽อไปนี้

“ข฾าหลวงชั่วคราวแห฽งอินโดจีน, ผู฾บัญชาการกองทหารเกียรติยศ โดยอาศัยคําสั่ง ลงวันที่ 20 ตุลาคม 1911 ได฾ระบุอํานาจของข฾าหลวงใหญ฽ โครงสร฾างงบประมาณและ การบริหารงานอินโดจีน; โดยอาศัยคําสั่ง ลงวันที่ 26 เมษายน 1916; โดยอาศัยจดหมายเวียนรัฐมนตรี ลงวันที่ 20 มิถุนายน 1911; โดยอาศัยคําสั่งของข฾าหลวงใหญ฽ ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 1916; โดยอาศัยคําสั่ง 20 กันยายน 1915 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน ของปีเดียวกัน; โดยอาศัยคําสั่ง 27 ธันวาคม 1913 ซึ่งได฾แต฽งตั้งคณะกรรมการผู฾มีอํานาจเพื่อกําหนดเส฾นเขตแดน ระหว฽างอันนัมกับลาว; โดยอาศัยผลการรายงานอย฽างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 1914 โดยคณะกรรมการที่แต฽งตั้งขึ้น ตามคําสั่งว฽า; จากคําแนะนําของคณะผู฾แทนสูงสุดแห฽งอันนัมและลาว; คณะกรรมการถาวรแห฽งสภารัฐบาลในอินโดจีน เห็นชอบ

55 Ibid, p. 8. 74

ค าสั่ง56 ข฾อ 1: การกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽าง จังหวัดฮาติ่นหแ (Ha-Tinh) ดองหอย (Dong Hoi) กวเางตริ่ (Quang Tri) ถือเถี่ยน (Thua-Thien) ของเวียดนามฝุายหนึ่ง กับอีกฝุายหนึ่งได฾แก฽ คําม฽วน (Cammon) สะหวันนะเขต (Savannakhet) ของลาว กําหนดไว฾ดังต฽อไปนี้: 1. ฮาติ่นหแ (Ha-Tinh) และ ดองหอย (Dong Hoi) กับ คําม฽วน (Cammon) เส฾นเขตแดนเริ่มจากทางเหนือที่บริเวณจุดตัดกันของเส฾นสันปันน้ํากับเส฾นทางฮาไตร฽ – ฮาเป (Ha Trai – Hape) หรือ จากทางบนสุดของช฽องแก฾วเหนือ (Keo-Nua Pass) จากจุดนี้ เส฾นเขตแดนลากไปตามแนวทิศ ใต฾และตะวันออกเฉียงใต฾ตามเส฾นสันปันน้ํา ข฾ามยอดเขาตรามมัว (Tram Mua Peak) และช฽องมูเกีย (Mu Gia Pass) จนถึงภูเขาสูง 1221 ซึ่งได฾ทําเครื่องหมายไว฾ในแผนที่มาตราส฽วน 1:100,000 ระวางกวเางตริ่ (Quang Tri) ที่พิกัดละติจูด 18G90 และลองจิจูด 115G78E 2. กวเางตริ่ (Quang Tri) กับ สะหวันนะเขต (Savannakhet): “เขตแดนเริ่มจากยอดเขาสูง 1221 โดยลากจากเส฾นจากทางเหนือลงใต฾ทํามุม 115.78 จนบรรจบกับ ยอดเขาทํามุม 1020.82 ที่ดงตาบัค (Dong-Ta-Buc)” จากยอดเขานี้ เส฾นเขตแดนลากเป็นเส฾นตรงไปยังหลักลาวบ฽าว (Lao-Bao Post) ในอันนัม; ลากจาก ลาวทางเหนือของลังปะอัทลัท (North Lang P‖atlat); ลากจากอันนัมทางใต฾ของลังปะอัทลัท (South Lang P'atlat) จากลาวบ฽าว เส฾นเขตแดนตัดเข฾าไปในโค฾งของแม฽น้ําเซโปน (Tchepone) แล฾วออกจากหมู฽บ฾านลาวที่ บ฾านโปุง (Ban Phuong) กับพื้นที่รอบๆ จากบ฾านโปุง ถึงตาชา เส฾นเขตแดนลากไปตามลําน้ําเซโปน” “จากนั้นเส฾นเขตแดนออกจากแม฽น้ําเซโปน ที่จุดบรรจบของแม฽น้ําเข฾กัง (Khe Kang) ทําให฾ตาชา (Ta Tcha) อยู฽ในลาว แล฾วเส฾นเขตแดนก็ลากต฽อไปตามแนวสันปันน้ําระหว฽างแม฽น้ําตาเรียบ (Ta Riep) กับแม฽น้ําเข฾ กัง (Khe Kang) เมื่อเส฾นเขตแดนลากต฽อไปถึงสันปันน้ําหลักที่ยอดเขาโกพัด (Ko Pat peak) ที่พิกัดละติจูด 189G40 และลองจิจูด 116G10E 3. ถือเถี่ยน (Thua-Thien) กับ สะหวันนะเขต (Savannakhet) “จากยอดเขาโกพัด (Ko Pat peak) เส฾นเขตแดนลากไปตามแนวสันปันน้ําจนถึงยอดเขาภูตําบอย (Pou Tam Boi) ที่ตําแหน฽ง 1193.3 ซึ่งอยู฽ใกล฾กับพิกัดละติจูด 18G17N และลองจิจูด 116G38E จากนั้นเส฾น เขตแดนลากเป็นเส฾นตรงต฽อไปยังยอดเขาดงอะเบี้ย (Dong A-Bia) ที่ความสูง 982.8; และเมื่อมาถึงแม฽น้ําลัง อันนัม (Lang Annam) แม฽น้ําเอเลอเถี่ยน (A-Le-Thien) และแม฽น้ําเอเลอลก (A-Le-Lok) เส฾นเขตแดนจึงลาก ต฽อตามแนวใต฾และตะวันออกเฉียงใต฾ โดยลากไปตามตลิ่งด฾านซ฾ายของหุบเขาเอซับ (A-Sap) ตอนบน ซึ่งจะทํา ให฾แม฽น้ําสาขาทั้งหมดบริเวณนี้อยู฽ในเขตอันนัม ในเขตที่ไกลออกไปทางทิศใต฾ จะมีการทําเครื่องหมายใน ภายหลัง” ข฾อ 2: ผู฾แทนสูงสุดในอันนัมและลาวถูกกําหนดให฾แต฽ละฝุายมีอํานาจสั่งการภายใต฾บทบัญญัติของ คําสั่งนี้ ไซ฽ง฽อน 12 ตุลาคม 1916 ลงนาม ชารแลสแ อี. (CHARLES E.)

56 Ibid, p. 8-10. 75

หมายเหตุ ในปัจจุบัน หมู฽บ฾านจํานวน 6 แห฽ง ได฾แก฽ ลังห฽า (Lang-Ha) ลังเถี่ยน (Lang Thien) โปโล (Polo) สาไล (Salai) ตาโน (Tano) หรือ นุคฮุกโห (Nuc Huc Ho)/นูโก (Nu Ko) และลาโม (Lamo) ตั้งอยู฽ กระจัดกระจายตามลําแม฽น้ํา บางครั้งขึ้นกับฝุายอันนัม บางครั้งก็ขึ้นกับฝุายลาว เจ฾าเมืองของทั้ง 2 จังหวัด คือ กวเางตริ่ (Quang Tri) และ สะหวันนะเขต (Savannakhet) จะต฾อง ควบคุมการเคลื่อนย฾ายเข฾าออกเป็นระยะของพวกข฽า (Khas) เพื่อกันพวกนี้ให฾อยู฽แต฽ในพื้นที่ของตนเอง ดังนั้น แม฽น้ําเซโปน (Tchepone) จึงถือว฽าเป็นเขตแดนที่ชัดเจนระหว฽างทั้งสองประเทศ เนื่องจากยังไม฽มีข฾อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับดินแดนของพวกม฾อย (Mois) ซึ่งอยู฽ทางตอนใต฾ของเอซับ (A- Sap) เส฾นเขตแดนจึงไม฽สามารตรวจสอบได฾ถูกต฾อง ดังนั้น จากนี้ต฽อไป ให฾ผู฾แทนของทั้งสองประเทศแก฾ปัญหา ข฾อพิพาทที่อาจจะเกิดขึ้น อันมีสาเหตุมาจากการขาดความถูกต฾องของข฾อมูลเกี่ยวกับพื้นที่ดังกล฽าว จนกว฽าจะมี การตัดสินใจในขั้นสุดท฾ายต฽อไป เอกสารแนบท฾าย คําสั่งลงนามวันนี้ 12 ตุลาคม 1916 ข฾าหลวงใหญ฽ชั่วคราวแห฽งอินโดจีน ลงนาม ชารแลสแ อี. (CHARLES E.)

คําสั่งฉบับนี้ เป็นการกําหนดแนวเส฾นเขตแดนถึงสองในสามของเส฾นเขตแดนทั้งหมดระหว฽างลาวกับ เวียดนามในเทือกเขาอันนัม (Chaîne Annamatique)

โดยสรุป เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับเวียดนามควรจะถือว฽าเป็นเส฾นเขตแดนสากลเนื่องจากได฾รับ การปักปันโดยหน฽วยงานการทําแผนที่ แต฽เนื่องจากขาดเอกสารหลักฐานที่ครบถ฾วนจึงควรมีการระบุข฾อความ เป็นมาตรฐานสากลบนแผนที่ว฽า “การแสดงแนวแบ฽งเส฾นเขตระหว฽างประเทศ ต฾องไม฽ถือกําหนดเป็นทางการ (International Boundary Representation Must not be considered Authoritative)” และชุด “แผนที่ อินโดจีน (Carte de l‖Indochine)” มาตราส฽วน 1:100,000 ระวาง 136E และ 142E ควรจะถือเส฾นเขตแดน ว฽า “ยังไม฽แน฽นอน (indefinite)” เช฽นกัน ในขณะที่ชุดแผนที่ของหน฽วยบริหารแผนที่ทหารกองทัพสหรัฐ (U.S. Army Map Service - AMS) มาตราส฽วน 1:50,000 มีความถูกต฾องในการแสดงลักษณะทางภูมิประเทศ โดยเฉพาะแนวเส฾นสันปันน้ําและแนวเส฾นเขตแดน ส฽วนชุดแผนที่ของหน฽วยบริการภูมิศาสตรแแห฽งชาติเวียดนาม (The National Geographic Service of Vietnam) มาตราส฽วน 1:500,000 นั้นมีความถูกต฾องในฐานะที่ รวบรวมขึ้นมาจากแผนที่มาตราส฽วนขนาดเล็ก

76

3.6 เส้นเขตแดนทางบกตามแนวแม่น้ าโขงระหว่างลาวกับพม่า

เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับพม฽าเป็นไปตามร฽องน้ําลึก (thalweg) ในลําแม฽น้ําโขง ตั้งแต฽จุด บรรจบกันของเขตแดน 3 ประเทศ ได฾แก฽ ลาว พม฽า และจีน จนถึงบริเวณที่แม฽น้ําโขงบรรจบกับแม฽น้ํานานเนีย โฮ/หนานลาโฮ (Nania Ho/Nan-Ia Ho River) จากนั้นเส฾นเขตแดนจึงลากต฽อไปจนถึงจุดบรรจบกันของเขต แดน 3 ประเทศ ได฾แก฽ ลาว พม฽า และไทย ตรงบริเวณทางแยกของแม฽น้ํากกกับแม฽น้ําโขงเส฾นเขตแดนวัดได฾ 237.5 กิโลเมตร การกําหนดตําแหน฽งของเส฾นเขตแดนระหว฽างลาวกับพม฽าไม฽มีความซับซ฾อนมากนัก เนื่องจากใช฾ หลักเกณฑแตาม “ร฾องน้ําลึก (thalweg)” ซึ่งหมายถึง เส฾นที่ขีดขึ้นตามทางเดินของน้ําที่มีความลึกที่สุดที่ สามารถใช฾ในการเดินเรือได฾ในลําแม฽น้ําโขง ตั้งแต฽บริเวณเขตแดนที่ติดกับจีนจนถึงจุดบรรจบกันของแม฽น้ํากก กับแม฽น้ําโขง แต฽ในทางปฏิบัติปัญหาเกิดขึ้นจากการพิจารณาว฽าตําแหน฽งใดบ฾างที่เป็นร฽องน้ําลึกนั้นค฽อนข฾าง ยากลําบากเนื่องจากในแม฽น้ําโขงมีเกาะแก฽งอยู฽เป็นจํานวนมาก แต฽ความยากลําบากนี้ก็ไม฽ได฾มีนัยสําคัญมากนัก เนื่องจากพื้นที่ชายแดนบริเวณนี้ไม฽ค฽อยมีประชากรอาศัยอยู฽ และมีข฾อจํากัดในการใช฾ประโยชนแจากแม฽น้ํา นอกจากนี้ แผนที่มาตราส฽วนขนาดใหญ฽ของทั้งฝรั่งเศสและอังกฤษต฽างก็แสดงเส฾นเขตแดนในลักษณะเดียวกัน และมีการระบุเกาะแก฽งบางแห฽งที่อยู฽ในแม฽น้ําโขงในตําแหน฽งเดียวกัน พื้นที่ชายแดนระหว฽างจีนกับลาวถูก กําหนดโดยข฾อตกลงทางการทูตระหว฽างจีนกับฝรั่งเศส และเส฾นเขตแดนก็ถูกลากไปในแม฽น้ําโขงตามแนวสันปัน น้ําทางฝั่งใต฾ของแม฽น้ํานานเนียโฮ/หนานลาโฮ (Nania Ho/Nan-Ia Ho River) และเส฾นเขตแดนระหว฽างจีนกับ พม฽าก็ลากต฽อขึ้นไปทางทิศเหนือตามแนวแม฽น้ําโขง57

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ พื้นที่ตามแนวชายแดนระหว฽างลาวกับพม฽า มีลักษณะภูมิประเทศส฽วนใหญ฽เป็นเขตเทือกเขาและที่ราบ สูง มีลักษณะของผลึกหินทางทิศใต฾และทิศตะวันตก รวมทั้งมีองคแประกอบของพื้นที่เป็นหินทรายและหินปูนใน เขตทางทิศเหนือและทิศตะวันออก การวางตัวของพื้นที่เป็นไปตามแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต฾ ซึ่งเป็นแนวเดียวกับทิศทางการไหลของแม฽น้ําโขง ยกเว฾นในบางพื้นที่เช฽นบริเวณที่แม฽น้ําโขงและลําน้ําสาขาไหล ผ฽านช฽วงที่ภูมิประเทศเป็นหุบเขาลึกและแคบ ในหลายพื้นที่หุบเขาแม฽น้ําโขงทําให฾เกิดลักษณะภูมิประเทศแบบ โตรกผา ส฽วนพื้นที่ราบมีอยู฽เพียงทางด฾านตะวันออกในลาว ยอดเขาในบริเวณแถบนี้มีความสูงถึงกว฽า 1,829 เมตรทางตอนเหนือ โดยมีความสูงเฉลี่ยของพื้นที่อยู฽ประมาณ 1,067 เมตรเหนือระดับน้ําทะเล พื้นที่หุบเขามี ความสูงอยู฽ในช฽วง 488 เมตร ถึง 762 เมตร ตามแนวแม฽น้ําโขง ความสูงของพื้นที่เริ่มลดลงเล็กน฾อยในพื้นที่ทาง ทิศใต฾โดยเฉพาะบริเวณจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ คือ ลาว พม฽า และไทย ส฽วนความสูงของพื้นที่ตามแม฽น้ํา โขงมีประมาณ 366 เมตร ส฽วนพื้นที่โดยรอบมีความสูงประมาณ 915 เมตร ภูมิอากาศของพื้นที่ชายแดนทางบกระหว฽างลาวกับพม฽าเป็นเขตชื้นที่มีมรสุมหนาแน฽น อุณหภูมิโดยเฉลี่ย ทั้งปีอยู฽ที่ประมาณ 24 องศาเซลเซียส โดยมีช฽วงฤดูร฾อน 3 เดือน ระหว฽างเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม ส฽วนในเดือนสิงหาคมมีอุณหภูมิเฉลี่ยมากกว฽า 30 องศาเซลเซียส ช฽วงที่มีอากาศเย็นที่สุด คือ เดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธแ โดยมีอุณภูมิเฉลี่ยต่ํากว฽า 18 องศาเซลเซียส ฤดูฝนเริ่มในเดือนเมษายนและมีปริมาณ น้ําฝนมากที่สุดในเดือนกรกฎาคมและเดือนสิงหาคม โดยมีปริมาณในแต฽ละเดือนราว 500 มิลลิเมตร เดือน

57 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Burma – Laos Boundary. (International Boundary Study, No.33 of June 18, 1964.), p. 5. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1OaEtwj

77

มิถุนายนมีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยอยู฽ระหว฽าง 200 มิลลิเมตร และ 500 มิลลิเมตร ส฽วนเดือนอื่นๆ มีค฽าเฉลี่ยอยู฽ที่ ประมาณ 50 – 200 มิลลิเมตร ตั้งแต฽เดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมเป็นช฽วงฤดูแล฾ง แต฽ก็มีฝนตกอยู฽บ฾าง ประปรายโดยมีค฽าเฉลี่ยปริมาณน้ําฝนรายเดือนน฾อยกว฽า 50 มิลลิเมตร ปริมาณน้ําฝนโดยรวมทั่วพื้นที่ชายแดน อยู฽ระหว฽าง 2,000 – 3,000 มิลลิเมตร โดยเฉพาะพื้นที่ทางตอนเหนือและมีปริมาณน฾อยลงในพื้นที่ทางตอนใต฾

ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ ดินแดนในอินโดจีนรวมทั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾มีพื้นที่ราบลุ฽มแม฽น้ําอยู฽หลายแห฽งและเป็นบริเวณที่ ราบขนาดใหญ฽ มีฤดูน้ําหลากทําให฾เกิดการถ฽ายเทความอุดมสมบูรณแของดินตะกอนที่ไหลมาตามลําน้ํา ทําให฾ เกิดความอุดมสมบูรณแตามธรรมชาติเหมาะแก฽การเพราะปลูกพืชพันธุแต฽างๆ โดยเฉพาะข฾าว ห฽างออกไปจาก บริเวณที่ราบลุ฽มเหล฽านี้ เช฽น ทางตอนบนของแม฽น้ําและพื้นที่ราบสูง ก็ปรากฏวัฒนธรรมและกลุ฽มชาติพันธุแที่มี ความหลากหลายโดยเลยผ฽านอารยธรรมกระแสหลักไป พื้นที่ชายแดนระหว฽างลาวกับพม฽ามีการกระจายกันอยู฽ อย฽างซับซ฾อนของกลุ฽มชาติพันธุแต฽างๆ จึงอาจกล฽าวได฾อย฽างกว฾างๆ ว฽า ในพื้นที่ทางตอนเหนือไม฽จําเป็นที่แม฽น้ํา โขงจะเป็นแนวแบ฽งเขตทางเชื้อชาติ นอกจากนี้ ชาติพันธุแในตระกูลทิเบโต-เบอรแมัน (Tibeto-Burman) เช฽น ชาวอาข฽า (Akha) ก็อาศัยอยู฽ตลอดแนวทั้งสองฟากฝั่งของแม฽น้ําโขง ส฽วนพื้นที่ทางเหนือสุดความหนาแน฽นของ ประชากรอยู฽ในระดับน฾อยกว฽า 1 คนต฽อตารางกิโลเมตร ส฽วนพื้นที่ทางตอนใต฾ลงมาในบริเวณหุบเขาตอนบน ของแม฽น้ําโขง ความหนาแน฽นของประชากรเพิ่มขึ้นเล็กน฾อยแต฽ไม฽เกิน 10 คนต฽อตารางกิโลเมตร ในพื้นที่ตอนกลางแม฽น้ําโขงมีประชากรของรัฐฉานอาศัยอยู฽ในฝั่งพม฽า ส฽วนชาติพันธุแในตระกูลทิเบโต- เบอรแมัน (Tibeto-Burman) เช฽น ชาวลาหู฽ (Lahu) ก็อาศัยอยู฽ในฝั่งลาว โดยมีกลุ฽มชาติพันธุแไท/ไต อาศัย รวมอยู฽ด฾วยโดยเฉพาะในพื้นที่ราบขนาดใหญ฽ริมแม฽น้ําโขง ในขณะที่พื้นที่ทางตอนเหนือมีความหนาแน฽นของ ประชากรเบาบางเฉลี่ยระหว฽าง 1 ถึง 10 คนต฽อตารางกิโลเมตร ประชากรของรัฐฉานยังคงอาศัยอยู฽ในฝั่งพม฽า จนถึงไทย และบนพื้นที่สูงก็พบหมู฽บ฾านของกลุ฽มชาติพันธุแกาว/อาข฽า (Kaw /Akha) และชาวกวี (Kwi) ในลาว ประชากรส฽วนใหญ฽เป็นชาติพันธุแไท/ไต ตั้งรกรากอาศัยอยู฽ตามพื้นที่หุบเขาของลําแม฽น้ําสาขาสาย ต฽างๆ ของแม฽น้ําโขง ประชาชนยังดําเนินวิถีชีวิตแบบกึ่งอพยพ คือ ทําการเพาะปลูกแบบเลื่อนลอย (slash and burn) มีการเพาะปลูกพืช ได฾แก฽ ข฾าวไร฽ แต฽อาหารพื้นเมืองเป็นพืชผักที่ปลูกในครัวเรือน มีการล฽าสัตวแปุา ทําประมงในแม฽น้ํา และมีการเก็บผลไม฾ปุาด฾วย

ประวัติศาสตร์ พื้นที่ชายแดนบริเวณนี้อยู฽นอกเหนือจากการพัฒนาทางประวัติศาสตรแของแหล฽งอารยธรรมที่เกิดขึ้น ภายในรัฐของทั้งสองฝุาย ในยุคที่อาณาจักรพระนครของกัมพูชาขยายตัวอย฽างยิ่งใหญ฽ช฽วงคริสตแศตวรรษที่ 12 นั้น พื้นที่แห฽งนี้เป็นเพียงปลายแดนของอาณาจักร อย฽างไรก็ตาม การขยายตัวลงมาทางทิศใต฾ของพวกไท/ไต (Tai) เข฾าไปในที่ราบลุ฽มแม฽น้ําเจ฾าพระยา ก็ทําให฾พื้นที่บริเวณแม฽น้ําโขงตอนบนกลายเป็นเขตแดนระหว฽าง อาณาจักรไทยกับอาณาจักรลาวซึ่งมีศูนยแกลางอยู฽บริเวณแม฽น้ําโขงตอนกลาง แม฾ว฽าอาณาจักรเหล฽านี้จะเสื่อม อํานาจลง แม฽น้ําโขงก็ยังถือว฽าเป็นเขตแดนระหว฽างกัน จนกระทั่งช฽วงคริสตแศตวรรษที่ 19 ฝรั่งเศสสามารถเข฾ายึดเอาดินแดนในคาบสมุทรอินโดจีนไว฾ได฾ ทําให฾ ฝุายอังกฤษเกิดความกังวลว฽าฝรั่งเศสจะขยายอํานาจเข฾าสู฽อินเดีย ดังนั้น นโยบายของอังกฤษ คือ การรักษา สถานะความเป็นรัฐอิสระของอาณาจักรไทยหรือสยาม เพื่อใช฾เป็นรัฐกันชนระหว฽าง 2 มหาอํานาจยุโรป คือ อังกฤษในพม฽า และ ฝรั่งเศสในอินโดจีน ทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสต฽างก็ยอมรับแนวคิดนี้ แต฽ก็ไม฽ได฾ขยายอํานาจ

78

ของตนขึ้นไปทางเหนือ ส฽งผลให฾อิทธิพลของอังกฤษแผ฽ขยายเข฾าไปในทางเหนือของรัฐฉานซึ่งอยู฽ภายใต฾อํานาจ ของพม฽า อย฽างไรก็ตาม พื้นที่ชายแดนแถบนี้กลับได฾รับความสนใจเป็นพิเศษเนื่องจากปัจจัยหลายประการ เช฽น ในช฽วงหลังจากที่คอมมิวนิสตแจีนเข฾ามายึดครองประเทศจีน ทําให฾พรรคชาตินิยมจีนหรือจีนคณะชาติก฿กมินตั๋ง (Kuomintang) ได฾เข฾ามาตั้งฐานปฏิบัติการในพื้นที่ภาคเหนือของพม฽าและลาว เพื่อดําเนินการสู฾รบแบบกองโจร กับกองทัพในจีนแผ฽นดินใหญ฽ แต฽เมื่อกองกําลังเหล฽านี้ลดบทบาทลง พวกเขาก็ไม฽ได฾ถูกปราบปรามแต฽อย฽างใด สมาชิกของกองกําลังชาตินิยมหรือจีนคณะชาติได฾แต฽งงานกับชนเผ฽าต฽างๆ ในพื้นที่และยังคงอาศัยอยู฽ตามแนว ชายแดน เมื่อพรรคคอมมิวนิสตแจีนทําการขยายอํานาจเพื่อควบคุมแผ฽นดินใหญ฽ได฾แล฾ว ก็หันมาให฾ความสนกับ พื้นที่ชายแดนที่อยู฽ติดกับประเทศเพื่อนบ฾าน และได฾เริ่มทําโครงการสร฾างถนนอย฽างจริงจัง โครงการเหล฽านี้เป็น การให฾ความช฽วยเหลือแก฽ลาว โดยวิศวกรชาวจีนได฾สร฾างถนนจากเมืองลา (Meng La) ในมณฑลยูนนานจนถึง บริเวณหลวงน้ําทา (Nam Tha) ทางตะวันตกเฉียงเหนือของลาว จากนั้นจึงสร฾างต฽อไปทางใต฾จนถึงเมืองห฾วย ทราย (Houei Sai) เพื่อเชื่อมต฽อกับถนนสายหลักทางภาคเหนือของประเทศไทย ประการสุดท฾าย พื้นที่ชายแดนไม฽ได฾อยู฽ภายใต฾การควบคุมอย฽างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดจากรัฐบาลของทั้งสอง ประเทศ กล฽าวคือ ทางฝั่งลาวมีกองกําลังของขบวนการปะเทดลาวเคยครอบครองพื้นที่ชายแดนทั้งหมดยกเว฾น พื้นที่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของห฾วยทราย เช฽นเดียวกับทางฝั่งพม฽าก็มีกองทัพกู฾ชาติแห฽งรัฐฉานตั้งกองกําลังอยู฽ ตามแนวชายแดนเพื่อต฽อสู฾กับกองทัพของรัฐบาลกลางพม฽าเช฽นกัน นอกจากนี้พื้นที่ดังกล฽าวยังเป็นพื้นที่ของการ ผลิตและจําหน฽ายยาเสพติดแหล฽งใหญ฽ที่สุดแห฽งหนึ่งของโลก

ความตกลงและสนธิสัญญา จากการศึกษาพบว฽ามีเพียงความตกลงระหว฽างประเทศ 1 ฉบับเท฽านั้นที่เกี่ยวข฾องกับการกําหนดเส฾นเขต แดนทางบกระหว฽างลาวกับพม฽า คือ “หนังสือปฏิญญา ฤาหนังสือสัญญาในระหว฽างอังกฤษกับฝรั่งเศสได฾ทําไว฾ที่ กรุงลอนดอน (The Anglo-French Declaration) ณ วันที่ 15 มกราคม 2438/1896”58 หรือ “ประกาศ กําหนดเส฾นเขตแดนในดินแดนอาณานิคมของฝรั่งเศสและอังกฤษ ตามแนวชายแดนราชอาณาจักรสยาม (Declaration relative to the delimitation of French and English possessions along the frontiers of the Kingdom of Siam) โดยข฾อ 3 กําหนดว฽า “ตั้งแต฽ปากแม฽น้ําฮวก ซึ่งเป็นเขตรแดรไทยกับอังกฤษนั้น ขึ้นไปข฾างเหนือจนถึงพรมแดนของกรุงจีนนั้น ทางน้ําของแม฽น้ําโขงจะต฾องเป็นพรมแดน เมืองขึ้นของอังกฤษแล ฝรั่งเศสฤาเปนเขตรที่อังกฤษแลฝรั่งเศสมีอํานาจต฽อกัน ณ ที่นั้น แลเมืองสิงหแนั้นอังกฤษยกให฾แก฽ฝรั่งเศส แล฾ว”59 โดยสรุป เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับพม฽าความยาว 237.5 กิโลเมตรนั้น ถูกกําหนดขึ้นโดย ข฾อตกลงระหว฽างฝั่งเศสและอังกฤษ โดยใช฾หลักการปักปันโดยตําแหน฽งเฉพาะในลําแม฽น้ําโขง คือ ร฽องน้ําลึก และเส฾นเขตแดนบริเวณนี้ยังไม฽เกิดข฾อพิพาทใดๆ เนื่องจากพื้นที่ชายแดนไม฽ได฾อยู฽ภายใต฾การควบคุมอย฽าง เบ็ดเสร็จเด็ดขาดโดยรัฐบาลของทั้ง 2 ประเทศ อย฽างไรก็ตาม ปัญหาข฾อพิพาทก็อาจเกิดขึ้นได฾ นอกจากนี้ แผน ที่ของทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสต฽างแสดงแนวเส฾นเขตแดนในลักษณะเดียวกัน ถึงแม฾ว฽าแผนที่อังกฤษ 1 นิ้ว (British one-inch maps) มาตราส฽วน 1:63,360 ระวางพม฽า – รัฐฉานใต฾ (BURMA – Southern Shan

58 โปรดดู ชาญวิทยแ เกษตรศิริ. ประมวลสนธิสัญญา อนุสัญญา ความตกลง บันทึกความเข฾าใจ และแผนที่ ระหว฽าง สยามประเทศไทยกับประเทศอาเซียนเพื่อนบ฾าน: กัมพูชา-ลาว-พม฽า-มาเลเซีย (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแ และมนุษยศาสตรแ, 2554), หน฾า 90-93. 59 เพิ่งอ฾าง, หน฾า 93. 79

State)60 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับเส฾นเขตแดนได฾ดีที่สุด รวมทั้งชุดแผนที่ของหน฽วยบริการแผนที่ทหาร (The Army Map Service) มาตราส฽วน 1:250,000 ก็มีความถูกต฾องตามสัดส฽วนของแผนที่ต฽อขนาดพื้นที่จริงเช฽นกัน

60 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Burma – Laos Boundary. Ibid, p. 6. 80

3.7 เส้นเขตแดนทางบกระหว่างลาวกับกัมพูชา

เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับกัมพูชามีความยาวประมาณ 541 กิโลเมตร (ดูภาพที่ 3.9 – 3.10) โดยเริ่มจากจุด A ซึ่งเป็นจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ (tripoint) ได฾แก฽ กัมพูชา ลาว และไทย ณ บริเวณ สามเหลี่ยมมรกตบนเทือกเขาพนมดงรัก จนถึงจุด B ซึ่งเป็นจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ณ บริเวณพิกัดละติจูดที่ 14 องศา 41 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูดที่ 107 องศา 32 ลิปดา ตะวันออก โดยลากเส฾นจากจุดพิกัดนี้ไปทางทิศตะวันตก ซึ่งเส฾นเขตแดนส฽วนใหญ฽ถือเอาร฽องน้ําของแม฽น้ําและ ลําธารสายต฽างๆ เป็นเกณฑแในการแบ฽งเขตแดนความยาวประมาณ 338 กิโลเมตร การปักปันเส฾นเขตแดน ระหว฽างลาวกับกัมพูชาเกิดขึ้นจากคําสั่งฉบับต฽างๆ ภายใต฾การบริหารงานภายในของรัฐบาลอาณานิคมอินโดจีน ฝรั่งเศส

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับกัมพูชา สามารถแบ฽งได฾เป็น 3 ส฽วน ตามลักษณะของภูมิประเทศ ได฾แก฽ 1.เทือกเขาอันนัม (Chaine Annamatique) 2.หุบแม฽น้ําโขง (Middle Mekong Valley) และ 3. เทือกเขาพนมดงรัก (Dangrek Mountain) โดยเส฾นเขตแดนเริ่มจากบริเวณเทือกเขาอันนัมในทิศตะวันออก ซึ่ง แม฾ว฽าจะเรียกชื่อ “เทือกเขาอันนัม” แต฽ลักษณะภูมิประเทศบริเวณดังกล฽าวไม฽ได฾เป็นแนวสันเขา แต฽กลับเป็น เขตที่ราบสูงซึ่งมียอดผาชันที่เต็มไปด฾วยภูเขาหินปูน ภูเขาหินทราย และพื้นที่ภูเขาไฟเก฽า โดยลักษณะของภูมิ ประเทศมีความสูงชันทางทิศตะวันออกแล฾วค฽อยๆ ลดระดับความลาดชันลงมาทางทิศตะวันตก ทําให฾แม฽น้ําที่ ไหลไปทางทิศตะวันตกมีความยาวและมีความกว฾างมากกว฽า แนวเทือกเขาบริเวณนี้มีความสูงเฉลี่ยอยู฽ที่ 800 – 1,000 เมตร และภูเขาโดดบางยอดมีความสูงชันที่ระดับ 1,500 เมตร จากนั้นเส฾นเขตแดนจึงลากพาดผ฽านขึ้น ไปจนถึงบริเวณหุบแม฽น้ําโขงและหุบแม฽น้ําเซกอง ความสูงชันของภูมิประเทศบริเวณนี้จะลดลงทันทีโดยมีความ สูงเฉลี่ยที่ระดับ 100 – 200 เมตร ยกเว฾นบริเวณด฾านตะวันออกของแม฽น้ําโขงซึ่งเป็นพื้นที่พาดผ฽านของเขตที่ ราบสูงภูเขาไฟเก฽าโบโลเว฽น (Bolovens) ซึ่งมีความอุดมสมบูรณแของตะกอนโคลนทับถมจากแม฽น้ําโขงและ แม฽น้ําสาขา ส฽วนทางทิศตะวันตกของแม฽น้ําโขงมีลักษณะภูมิประเทศเช฽นเดียวกันนี้เรื่อยไปจนจรดชายแดน ประเทศไทยซึ่งมีความสูงชันของพื้นที่ไม฽ต฽างกันมาก ลักษณะภูมิประเทศอีกประการหนึ่งคือที่ราบสูงเทือกเขา หินทรายพนมดงรัก (Dangrek) ซึ่งมีหน฾าผาสูงชันเป็นลักษณะเด฽นที่แสดงขอบของเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽าง ลาว กัมพูชา และไทย ซึ่งระดับความชันของพื้นที่จะเพิ่มสูงขึ้นจากบริเวณที่ราบจนกระทั่งมีความสูงของหน฾าผา เฉลี่ยอยู฽ที่ 500 เมตร เส฾นเขตแดนทางด฾านทิศตะวันออกเริ่มต฾นที่บริเวณเทือกเขาอันนัม (Chaine Annamatique) ณ พิกัด ละติจูดที่ 14 องศา 41 ลิปดาเหนือ และ ลองจิจูดที่ 107 องศา 32 ลิปดา ตะวันออก เทือกเขาบริเวณนี้มี ความสูงเฉลี่ยประมาณ 900 เมตร เส฾นเขตแดนถูกลากไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾มีความยาว 157.7 กิโลเมตร โดยเป็นการขีดเส฾นคดเคี้ยวไปตามแนวสันปันน้ําที่อยู฽ระหว฽างแม฽น้ําเซกอง (Se Kong) ในลาว และแม฽น้ําเซซาน (Se San) ในกัมพูชา จากนั้นเส฾นเขตแดนก็เลี้ยวไปทางตะวันตกเฉียงเหนืออีกประมาณ 48.3 กิโลเมตร โดย เป็นการขีดเส฾นไปตามลําน้ําเล็กๆ 2 สาย ซึ่งแยกออกมาจากแม฽น้ําเซกอง แล฾วจึงลากต฽อไปอีกทางทิศตะวันตก เฉียงใต฾ของเมืองอัตตะปือเป็นระยะทาง 49.8 กิโลเมตร จากจุดนี้ต฽อไปอีก 24.1 กิโลเมตร เส฾นเขตแดนก็ลาก ไปตามลําน้ําอีกประมาณ 0.8 กิโลเมตรเลยจุดบรรจบของแม฽น้ําเซกองกับเซคําโพ (Se Khampho) ซึ่งเป็น แม฽น้ําสาขาจากทางขวา เส฾นเขตแดนลากออกจากแม฽น้ําใหญ฽ไปตามแม฽น้ําสายรองแล฾วจึงลากไปตามเส฾นสันปัน น้ํา จากจุดนี้ไปจนถึงแม฽น้ําโขงเส฾นเขตแดนควรจะลากไปตามลักษณะกายภาพทางภูมิศาสตรแ แต฽เนื่องจากมี 81

เหตุผลพื้นฐานทางประวัติศาสตรแโดยเฉพาะในบริเวณทางตอนเหนือของจังหวัดสตึงเตร็ง พื้นที่นี้ถูกครอบครอง โดยประชากรชาติพันธุแลาวซึ่งอาศัยอยู฽อย฽างหนาแน฽นมากกว฽าพื้นที่ทางตะวันออก ท฽ามกลางพื้นที่อันทุรกันดาร ระหว฽างแม฽น้ําเซกองกับแม฽น้ําโขง เส฾นเขตแดนลากไปตามสําน้ําสายเล็กๆ ได฾แก฽ ห฾วยตีนเหียง (Houei Tin Hiang) ห฾วยหลวง (Houei Loung) ห฾วยแลน (Houei Lane) ห฾วยคําผา (Houei Khampha) และลากต฽อมา จนถึงห฾วยกาเหลียง/กะเหลี่ยง (Houei Khalieng) ซึ่งทําให฾เส฾นเขตแดนมีความยาวประมาณ 24 กิโลเมตร ตามแม฽น้ําโขงที่ไหลมาจนถึงทางทิศตะวันตกของหมู฽บ฾านเวินคาม (Voun Kham) ของกัมพูชา ความสัมพันธแระหว฽างเส฾นเขตแดนกับพื้นที่ที่ประชิดติดกับทางหลวงหมายเลข 13 (Route Nationale No.13) มีความซับซ฾อนค฽อนข฾างมาก หลังจากที่เส฾นเขตแดนลากขนานไปกับถนนหมายเลข 13 ไปทางทิศเหนือ ประมาณ 16 กิโลเมตร เส฾นเขตแดนก็พาดข฾ามถนนเข฾าไปยังหมู฽บ฾านเวินคาม จากหมู฽บ฾านเวินคามเส฾นเขตแดน ก็ข฾ามแม฽น้ําโขงเกือบจะเป็นเส฾นขนานตะวันออก-ตะวันตก จนจรดฝั่งตะวันตกของแม฽น้ําโขง จากจุดนี้แม฽น้ํา ไหลเข฾าสู฽ช฽องทางน้ําที่มีความแคบและมีจุดพักซึ่งสามารถเดินเรือได฾ จากนั้นเส฾นเขตแดนลากต฽อไปทาง ตะวันตกเฉียงเหนืออีก 12.9 กิโลเมตร โดยขนานไปกับฝั่งแม฽น้ําโขงด฾านกัมพูชา จากจุดนี้เส฾นเขตแดนแบ฽งโดย เส฾นมัธยะ (Median Line) ของลําน้ําซึ่งประชิดมาทางฝั่งกัมพูชา จนกระทั่งถึงจุดบรรจบของแม฽น้ําตนเลระปูวแ (Tonle Repou) เส฾นเขตแดนลากต฽อไปอีก 107.8 กิโลเมตร แล฾วไปจรด ณ จุดบรรจบของเขตแดน 3 ประเทศ

82

ภาพที่ 3.9 แผนที่แสดงเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างกัมพูชากับลาว โดยสังเขปจากจุด A ถึง B มีความยาว ประมาณ 540 กิโลเมตร (ที่มา: ปรับปรุงจาก Prescott, J.R.V., H. J. C., D.F. Prescott. Frontiers of Asia and Southeast Asia (Vitoria: Melbourne University Press, 1977), p.65) 83

ภาพที่ 3.10 แผนที่แสดงเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับเวียดนาม (ที่มา: Prescott, J.R.V., H. J. C., D.F. Prescott. Frontiers of Asia and Southeast Asia (Vitoria: Melbourne University Press, 1977), p.63) 84

ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ พื้นที่ชายแดนระหว฽างลาวกับกัมพูชา เป็นที่อยู฽อาศัยของชนกลุ฽มน฾อยหลายกลุ฽ม พื้นที่ตามสองฟากฝั่ง แม฽น้ําโขงและลําน้ําสาขาเป็นถิ่นที่อยู฽ของประชากรกลุ฽มชาติพันธุแไทย-ลาว นอกจากนี้ในเขตเทือกเขายังมี ประชากรในกลุ฽มชาติพันธุแมอญ-เขมร หรือในกัมพูชาเรียกว฽า ขแมรแเลอ (Khmer Loeu) หรือ เขมรสูง อาศัย อยู฽ ส฽วนพื้นที่ทางทิศตะวันออกเป็นที่อยู฽ของกลุ฽มชาติพันธุแมาลาโย-โพลีนีเชี่ยน (Malayo-Polynesians) โดยเฉพาะชนเผ฽าจะไร (Jarai) ซึ่งรัฐบาลกัมพูชาพยายามที่จะเข฾าไปกลืนกลุ฽มชาติพันธุแเหล฽านี้ให฾เข฾ามาเป็น ประชากรของประเทศมากขึ้นแต฽ยังมีข฾อจํากัดอยู฽มากเนื่องจากเป็นพื้นที่ห฽างไกลและทุรกันดาร แต฽รูปแบบทาง วัฒนธรรมบางอย฽าง เช฽น การสืบสายมรดก การถือครองที่ดิน และรูปแบบทางเศรษฐกิจอื่นๆ ก็มีพื้นฐานทาง สังคมและวัฒนธรรมที่คล฾ายคลึงกัน

ประวัติศาสตร์ เนื่องจากการขยายอิทธิพลของอาณาจักรไทยลุ฽มน้ําเจ฾าพระยาในราวคริสตแศตวรรษที่ 13 ส฽งผลให฾ อํานาจและอิทธิพลของอาณาจักรพระนครเริ่มลดลง และในช฽วงก฽อนที่อาณานิคมฝรั่งเศสจะเข฾ามาใน คาบสมุทรอินโดจีน ทั้งลาวและทางตอนเหนือของประเทศกัมพูชาก็ได฾ตกอยู฽ภายใต฾อํานาจการควบคุมของ อาณาจักรไทยแล฾ว นอกจากนี้ ยังมีแรงกดดันจากเวียดนามต฽อกัมพูชาในบริเวณลุ฽มแม฽น้ําโขงตอนล฽าง ต฽อมา เกิดการปกครองในรูปแบบรัฐอารักขาของฝรั่งเศสซึ่งได฾ขยายเข฾าไปยังกัมพูชาและลาวในปี 2406/1863 โดย การลงนามในสนธิสัญญาระหว฽างฝรั่งเศสกับสยามในปี 2436/1893 ทําให฾ฝุายสยามต฾องสละอํานาจออกจาก ดินแดนทางฝั่งตะวันออกและเกาะแก฽งต฽างๆ ของแม฽น้ําโขง ผลจากสนธิสัญญาฉบับนี้ทําให฾พื้นที่ของจังหวัดสตึง เตร็งเดิม (Old Stung Treng) (ในปัจจุบัน คือ จังหวัดสตึงเตร็ง (Stung Treng) และรัตนคีรี (Ratanakiri)) ซึ่ง แต฽เดิมเคยอยู฽ภายใต฾การปกครองโดยลาวในช฽วงคริสตแศตวรรษที่ 18 และไทยคริสตแศตวรรษที่ 19 ตกอยู฽ภายใต฾ เขตการปกครองของลาวฝรั่งเศส (French Laos) แต฽ต฽อมามีการออกคําสั่งทางปกครองของอินโดจีน (The Indochinese Decree) เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2447/1904 และมีผลบังคับใช฾ในวันที่ 1 มกราคม 2448/1905 โดยให฾โอนพื้นที่ดังกล฽าวกลับไปอยู฽ภายใต฾การปกครองของกัมพูชา อย฽างไรก็ตาม การบริหารการปกครองพื้นที่ บริเวณดังกล฽าวกลับอยู฽ภายใต฾อํานาจของเวียดนาม ต฽อมาหลังจากการสิ้นสุดระบอบอาณานิคมฝรั่งเศสในอินโด จีนก็ทําให฾ลาวและกัมพูชาเป็นประเทศเอกราช

ความตกลงและสนธิสัญญา เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวและกัมพูชายังไม฽มีการปักปันตามวิธีการและมาตรฐานของข฾อตกลง ระหว฽างประเทศ และในบางกรณีไม฽สามารถหาเอกสารหรือข฾อตกลงใดมารองรับหรือสืบค฾นความถูกต฾องได฾ สนธิสัญญาและคําสั่งทางปกครองภายในการบริหารงานอาณานิคมของอินโดจีนฝรั่งเศสที่เกี่ยวข฾องกับการ กําหนดเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับกัมพูชา ได฾แก฽

1. สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับกัมพูชา วันที่ 11 สิงหาคม 2406/1863 โดยมีการให฾สัตยาบันแลกเปลี่ยนกันเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2407/1864 รัฐบาลฝรั่งเศสตกลงที่จะเข฾ามา มีอํานาจปกครองราชอาณาจักรกัมพูชาในฐานะรัฐในอารักขา โดยไม฽ได฾กําหนดขอบเขตของรัฐ (limits of the state) แต฽อย฽างใด ในขณะที่ราชอาณาจักรกัมพูชายังอยู฽ในช฽วงที่พระราชวงศแกําลังเสื่อมอํานาจ และกําลังได฾รับ ผลกระทบอย฽างหนักจากการรุกรานของสยามและเวียดนาม เพื่อเข฾ามาครอบครองดินแดนของกัมพูชา

85

2. สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับราชอาณาจักรสยาม วันที่ 15 กรกฎาคม 2410/186761 โดยมีการให฾สัตยาบันแลกเปลี่ยนกันเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2410/1867 กําหนดสถานะทางการเมือง และขอบเขตของกัมพูชา และยินยอมให฾สยามปกครองดินแดนกัมพูชาส฽วนใน คือ พระตะบอง และ เสียมราฐ ตามความข฾อ 4 ของสนธิสัญญา62 แต฽ก็ไม฽ได฾มีผลกระทบโดยตรงต฽อเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับกัมพูชา โดยสนธิสัญญาฉบับนี้ทําให฾สยามยอมรับขอบเขตอํานาจการปกครองของฝรั่งเศสเหนือดินแดนกัมพูชา

3. สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับราชอาณาจักรสยาม วันที่ 3 ตุลาคม 2436/189363 โดยมีการให฾สัตยาบันแลกเปลี่ยนกันเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธแ 2436/189464 ตามความในข฾อ 1 ของ สนธิสัญญาระบุว฽า “สยามยอมสละเสียซึ่งข฾ออ฾างว฽ามีกรรมสิทธิ์ทั้งสิ้นทั่วไปในดินแดน ณ ฝั่งซ฾ายฟากตะวันออก แม฽น้ําโขง และในบรรดาเกาะทั้งหลายในแม฽น้ํานั้นด฾วย”65 ทําให฾ฝรั่งเศสจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อดูแลควบคุม กิจการต฽างๆ ภายในดินแดนของลาว

4. อนุสัญญาเพื่อการจัดการปัญหาในการก าหนดเขตแดน (Convention to regulate certain difficulties in the delimitation) วันที่ 7 ตุลาคม 2445/190266 เนื่องจากเกิดความยุ฽งยากในการตีความสนธิสัญญาฉบับวันที่ 3 ตุลาคม 2436/1893 ภายหลังการเกิด วิกฤติการณแ รศ.112 โดยข฾อ 1 ของสนธิสัญญากําหนดว฽า ให฾ใช฾สันปันน้ําของเทือกเขาพนมดงรักเป็นเขตแดน ระหว฽างกัมพูชากับสยาม และข฾อ 2 ของสนธิสัญญาให฾ใช฾แม฽น้ําโขงเป็นเส฾นเขตแดนระหว฽างลาวกับสยาม แต฽ ต฽อมาอนุสัญญาฉบับนี้ก็ถูกแทนที่ด฾วยอนุสัญญาฉบับวันที่ 13 กุมภาพันธแ 2446/190467

5. ค าสั่งทางปกครอง (Arrété) วันที่ 6 ธันวาคม 2447/1904 โดยมีผลบังคับใช฾เมื่อ 1 มกราคม 2448/1905 คําสั่งฉบับนี้ให฾ดําเนินการแยกพื้นที่ของจังหวัดสตึงเตร็ง (และรัตนคีรี) ออกมาจากลาว และถูกแบ฽งไปให฾กัมพูชาและเวียดนาม แต฽ปัญหาอยู฽ที่ถ฾อยคําที่สมบูรณแของ คําสั่งทางปกครองฉบับดังกล฽าวไม฽เคยได฾รับการตรวจสอบ และการระบุขอบเขตของเส฾นเขตแดนที่แท฾จริงยังไม฽ มีความชัดเจน

6. อนุสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับราชอาณาจักรสยาม วันที่ 13 กุมภาพันธแ 2446/1904 โดยมีการให฾สัตยาบันแลกเปลี่ยนกันเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2447/1904 สนธิสัญญาฉบับนี้มีวัตถุประสงคแ เพื่อการตีความสนธิสัญญาฉบับวันที่ 3 ตุลาคม 2436/1983 แทนที่อนุสัญญาฉบับวันที่ 7 ตุลาคม 2445/1902 โดยกําหนดให฾ใช฾เทือกเขาพนมดงรักและแม฽น้ําโขงเป็นแนวเขตแดนทําให฾จําปาสักอยู฽ในเขตแดนของลาว68 และ

61 ชาญวิทยแ เกษตรศิริ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 36-49. 62 เรื่องเดียวกัน. หน฾า 45. 63 เรื่องเดียวกัน. หน฾า 75-87. 64 วันขึ้นปีใหม฽ของสยามยังคงเป็นวันที่ 1 เมษายน ดังนั้นจึงยังไม฽เปลี่ยนปีพุทธศักราช โดยจะมีการเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม฽ เป็นวันที่ 1 มกราคม ครั้งแรกในปี พ.ศ.2484 หมายความว฽า ปี พ.ศ.2483 มีเพียง 9 เดือน (เมษายน – ธันวาคม) และก฽อนปี พ.ศ.2484 จึงต฾องบวกเพิ่มเพียง 542 ปี ไม฽ใช฽ 543 ปี 65 ชาญวิทยแ เกษตรศิริ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 83. 66 เรื่องเดียวกัน. หน฾า 101-108. 67 อธิบายเช฽นเดียวกับเชิงอรรถที่ 64 68 ชาญวิทยแ เกษตรศิริ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 109-112. 86

เป็นข฾อเท็จจริงที่เจ฾าหน฾าที่ฝรั่งเศสยังคงต฾องดําเนินการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับลาวต฽อมาอีก 40 ปี กระบวนการดําเนินงานนี้อาจกระทําโดยเจ฾าพนักงานท฾องถิ่นผู฾มีความชํานาญเขตพื้นที่ในหวัดสตึงเตร็ง หรือ พื้นที่อื่นๆ เช฽น หมู฽บ฾าน หรือหน฽วยงานทางปกครองอื่นๆ ส฽วนในเขตพื้นที่เทือกเขาอันนัม (Chaine Annamatique) นั้น ข฾อกําหนดเรื่องสันปันน้ําถูกนํามาใช฾เพื่อความสะดวกในการปักปันเขตแดน และเส฾นเขต แดนที่ปรากฏบนแผนที่เป็นเพียงเส฾นสมมุติที่ขีดขึ้นโดย “ต฾องไม฽ถือว฽ามีผลบังคับใช฾อย฽างเป็นทางการ (must not be authoritative)”69

อย฽างไรก็ตาม ความถูกต฾องในการวางตําแหน฽งของเส฾นเขตแดนระหว฽างลาวกับกัมพูชา เกิดจาก การศึกษาแผนที่แผนที่อินโดจีน (Carte de l'Indochine) มาตราส฽วน 1:100,000 ต฾นฉบับตีพิมพแ โดย หน฽วย บริการภูมิศาสตรแฝรั่งเศสแห฽งอินโดจีน (French Service Geographique de l'Indochine) และถูกนํามาใช฾ ตลอดมาโดยสถาบันทางภูมิศาสตรแขององคแกรต฽างๆ ในหลายประเทศ ข฾อความของสนธิสัญญาและการกระทํา ต฽างๆ ของรัฐคู฽ภาคีมีความคลุมเครือเกินกว฽าที่จะนํามาเป็นเหตุผลในการกําหนดเส฾นเขตแดนในปัจจุบัน แหล฽งข฾อมูลหลักที่ใช฾ในการเขียนโครงร฽างเส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับลาว คือ แผนที่อินโดจีน (Carte de l'Indochine) ขนาดระวาง 1 : 100,000 ต฾นฉบับตีพิมพแ โดย หน฽วยบริการภูมิศาสตรแฝรั่งเศสแห฽ง อินโดจีน (French Service Geographique de l'Indochine) และ นับตั้งแต฽ได฾รับเอกราชเป็นต฾นมา กัมพูชาได฾ศึกษาแผนที่ชุดนี้ในแบบของตนเอง โดยกัมพูชาและเวียดนามได฾ร฽วมกันทําการปรับปรุงและแก฾ไข รายละเอียดต฽างๆ ในแผนที่อีกครั้ง ดังนั้น เส฾นเขตแดนที่ปรากฏบนแผนที่ซึ่งรัฐบาลสหรัฐได฾จัดทําขึ้นนั้น ต฾อง เป็นไปตามต฾นฉบับของฝรั่งเศส เนื่องจากทั้งกัมพูชาและลาวต฽างก็ยอมรับแผนที่ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมี ต฾นแบบมาจากระวาง 1:100,000 ว฽าเส฾นเขตแดนที่ปรากฏบนแผนที่คือเส฾นที่แบ฽งเขตแดนระหว฽างประเทศที่ แท฾จริง

69 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Laos Boundary. (International Boundary Study, No.32 of June 12, 1964.), p.7. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1WMTc69 87

3.8 เส้นเขตแดนทางบกระหว่างกัมพูชากับเวียดนาม

เส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม มีความยาวประมาณ 1,228 กิโลเมตร เริ่มตั้งแต฽ บริเวณอ฽าวไทยจนถึงบริเวณที่เป็นจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ กัมพูชา ลาว และเวียดนาม70 เส฾นเขต แดนดังกล฽าว เกิดขึ้นจากสนธิสัญญาระหว฽างประเทศฝรั่งเศสกับกัมพูชา และจากคําสั่งทางปกครอง (Decree) ในช฽วงระยะเวลาการบริหารอาณานิคมของข฾าหลวงใหญ฽แห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (Governor General of French Indochina) ทั้งนี้ หลายพื้นที่ตามแนวชายแดนยังคงมีข฾อพิพาทระหว฽างกันอยู฽ รวมไปถึงปัญหาการ อ฾างสิทธิ์อธิปไตยทับซ฾อนเหนือหมู฽เกาะในพื้นที่อ฽าวไทยด฾วย

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามประกอบด฾วย 2 ส฽วน ได฾แก฽ ส฽วนที่ 1 คือ พื้นที่ราบลุ฽มปาก แม฽น้ําทางตะวันตกเฉียงใต฾ และส฽วนที่ 2 คือ เขตพื้นที่ราบสูงทางเหนือ ส฽วนที่ 1 ตั้งแต฽พื้นสามเหลี่ยมปากน้ําไซ฽ง฽อน (Saigon River) แม฽น้ําด฽งนาย (Dong Nai River) และ แม฽น้ําโขง (Mekong River) รวมทั้งบริเวณคาบสมุทรกเาเหม฽า (Ca Mau) พื้นที่ดังกล฽าวครอบคลุมอาณาบริเวณ กว฾างขวางซึ่งประกอบด฾วยที่ราบดินตะกอนแม฽น้ํา ดินโคลน และดินทราย เต็ยนิงหแ พื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม฽น้ําเริ่มต฾นจากบริเวณทางทิศตะวันตกใกล฾กับกรุงพนมเปญ และพื้นที่ ทั้งหมดของโคชินจีน (Cochin China) หรือ เวียดนามใต฾ และมีเนินเขาเล็กๆ กระจายอยู฽ตามแนวพรมแดน เช฽น พื้นที่ระหว฽างเมืองห฽าเตียน (Ha Tien) กับแม฽น้ําโขง ตลอดพื้นที่ชายแดนมีความสูงเฉลี่ยน฾อยกว฽า 5 เมตร บริเวณที่ราบลุ฽มซึ่งอยู฽ห฽างออกไปทางทิศเหนือของแม฽น้ําโขงเรียกว฽า เพลนเดอสแจองสแ (Plaine Des Joncs) ทําให฾เกิดภูมิประเทศแบบที่ราบน้ําท฽วมขัง (swamp and marsh) หรือ ปุาบุ฽งปุาทาม นอกจากนี้ พื้นที่ ส฽วนใหญ฽ของชายแดนทางทิศใต฾และทิศตะวันตกของเมืองเต็ยนิงหแ (Tay Ninh) เป็นบริเวณที่มีน้ําท฽วมเป็น ประจําทุกปี พื้นที่จากเต็ยนิงหแ (Tay Ninh) ถึงห฽าเตียน (Ha Tien) มีความสูงต่ํากว฽าระดับน้ําทะเลประมาณ 6 เมตร และระดับน้ําในแม฽น้ําโขงจะมีความสูงมากที่สุดประมาณ 12 เมตร ในฤดูน้ําหลาก71 พื้นที่ทางเหนือของเต็ยนิงหแ (Tay Ninh) มีระดับความลาดชันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทําให฾เกิดพื้นที่ราบสูงจนถึง แม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) ซึ่งมีแหล฽งต฾นน้ําที่มาจากบริเวณจุดบรรจบกันของ 3 ดินแดน คือ อันนัม (Annam หรือ เวียดนามกลาง) กัมพูชา และ โคชินจีน ซึ่งมีระดับความสูง 943 เมตร เขตที่ราบสูงนี้มีพื้นที่ติดกับ เทือกเขาอันนัม (Chaine Annamatique) ซึ่งเป็นแกนกลางของคาบสมุทรอินโดจีนทางตะวันออกเฉียงใต฾ของ แม฽น้ําแดง โดยเทือกเขาอันนัมมีหน฾าผาลาดชันอยู฽ทางทิศตะวันออก มีลักษณะของโครงสร฾างผลึกชั้นหินโบราณ สลับกับชั้นหินลาวา มีที่ราบสูง 2 แห฽ง ตามแนวพรมแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม ได฾แก฽ ที่ราบสูงกอนตูม (Kontum) ในภาคเหนือ และที่ราบสูงมะนอง (Mnong) ในภาคใต฾ โดยที่ราบสูง 2 แห฽งนี้ถูกแบ฽งออกจากกัน โดยสาขาของแม฽น้ําสเรปก (Srepok) ตอนบน

70 J.R.V. Prescott, H. J. C., D.F. Prescott. Frontiers of Asia and Southeast Asia (Vitoria: Melbourne University Press, 1977), p.64. 71 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Vietnam Boundary. (International Boundary Study, No.155 of March 5, 1976), p.2. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1V2hsPY 88

ลักษณะภูมิอากาศตามแนวชายแดนเป็นแบบมรสุมเขตร฾อน เดือนที่ร฾อนที่สุดคือ เมษายน มีอุณหภูมิ เฉลี่ยที่ 29.4 องศาเซลเซียส และในเดือนสิงหาคมมีอุณหภูมิเฉลี่ย 27.8 องศาเซลเซียส เดือนที่มีอากาศเย็นคือ ธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยที่ 26.1 องศาเซลเซียส และมีปริมาณน้ําฝนตกในช฽วงฤดูมรสุม เฉลี่ยราว 2,000 – 3,500 มิลลิเมตร แต฽พื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม฽น้ําโขงมีปริมาณน้ําฝนค฽อนข฾างน฾อยเฉลี่ยราว 1,000 – 1,300 มิลลิเมตรต฽อปี ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติเป็นแบบปุาฝนเขตร฾อน การตั้งถิ่นฐานของมนุษยแในพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยม ปากแม฽น้ําทําให฾มีการใช฾พื้นที่ส฽วนใหญ฽เพื่อทํานาปลูกข฾าว โดยเฉพาะบริเวณทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง ห฽าเตียน (Ha Tien) และในเขตที่ราบสูงเพลนเดอสแจองสแ (Plaine Des Joncs) ส฽วนบริเวณที่ราบสูงทางเหนือ ก็ถูกปกคลุมอย฽างหนาแน฽นด฾วยพื้นที่ปุาไม฾ และบริเวณแม฽น้ําสเรปก (Srepok) ตอนบนก็เป็นพื้นที่เขตทุ฽งหญ฾า เส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามเริ่มจากบริเวณอ฽าวไทยถึงแม฽น้ําโขง ถูกกําหนดขึ้นบนพื้นฐาน ทางวัฒนธรรมในพื้นที่ เส฾นเขตแดนจึงมีสัณฐานที่ค฽อนข฾างเป็นเส฾นตรงซึ่งอาจเกิดจากลักษณะของภูมิประเทศที่ ไม฽มีความแตกต฽างทางกายภาพที่เด฽นชัดของพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม฽น้ํา พื้นที่ทางชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต฾ใกล฾ กับห฽าเตียน (Ha Tien) เส฾นเขตแดนถูกกําหนดขึ้นเพื่อกั้นเขตหมู฽บ฾านนุยสะกาย (Nui Saky) และนุยดาดัง (Nui Da Dang) ทางเหนือและตะวันออกก฽อนถึงบริเวณอ฽าวด฾านในของเมืองห฽าเตียน (Ha Tien) ส฽วนทางตะวันออก ไปจนถึงพื้นที่แม฽น้ําโขงเส฾นเขตแดนขนานไปกับแนวถนนและเสาโทรเลขถึงเมืองเกียงถ฽านหแ (Giang Thanh) และคลองวินหแเท (Canal de Vinh Te) ทางตะวันตกของหมู฽บ฾านซอมดําชิต (Xom Dam Chit) โดยตลิ่ง ทางด฾านเหนือของคลองทําหน฾าที่เป็นแนวเขตแดนระหว฽างสองประเทศ ทางทิศตะวันออกเส฾นเขตแดนขนาน กับแนวลําคลองต฽อไปอีกทางตะวันตกเป็นระยะทาง 1 กิโลเมตร จากนั้นอีกประมาณ 1.4 กิโลเมตร ทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเจิวฝู (Chau Phu) หรือ เจิวด฿ก (Chau Doc) เส฾นเขตแดนตวัดขึ้นไปทางทิศเหนือ จนถึงบริเวณเส฾นตรงที่ลากไปตามลําแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) จากจุดบรรจบของแม฽น้ําซองเจิวด฿ก (Song Chau Doc) กับแม฽น้ํารัคบิ่นหแกี (Rach Binh Ghi) เส฾นเขตแดนขนานไปตามแนวตลิ่งทางฝั่งซ฾ายด฾าน ตะวันออกเฉียงเหนือจนถึงหมู฽บ฾านกานหแบิ่นหแ (Khanh Binh) ณ จุดนี้เส฾นเขตแดนกับลําน้ําเป็นแนวเดียวกัน ตั้งแต฽กานหแบิ่นหแ (Khanh Binh) ไปจนถึงแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) และแม฽น้ําปุาสักก็กลายเป็นเส฾นเขตแดนต฽อลง ไปทางทิศใต฾จนถึงเมืองบั๊คน้ํา (Bac Nam) ต฽อมาเส฾นเขตแดนก็ลากยาวไปทางตะวันออกจากลําน้ําสายต฽างๆ เป็นเส฾นตรงผ฽านพื้นที่ระหว฽างแม฽น้ําปุาสักกับแม฽น้ําโขง จากนั้นลากไปตามแนวแม฽น้ําโขงก฽อนที่จะเข฾าสู฽เขตรัค ซอทวง (Rach So Thuong) กับซองโสห฽า (Song So Ha) หรือ แพรกกระออม (Prek Kraom) เป็นระยะทาง 26.6 กิโลเมตร จากนั้นจึงเข฾าสู฽แม฽น้ําสาขาชื่อรัคไก฽โก (Rach Cai Co) หรือ แพรกดําปงนาย (Prek Dampong Nay) เป็นระยะทางอีก 34 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉียงใต฾ไปจนถึงทางเหนือ เส฾นเขตแดนทําให฾เกิดบริเวณที่เรียกว฽า “ปากนกแก฾ว (Parrot‖s Beak)” โดยเส฾นเขตแดนถูกลากให฾เป็นเส฾นตรงซึ่งแบ฽งเขตเมืองและหมู฽บ฾านตามแนวชายแดน นอกจากนี้ เส฾นเขตแดนยังทําให฾เกิดลําน้ําแนวตรงซึ่งรู฾จักกันในชื่อ กําปงโรว (Kampong Rou) และ รัคกาโร (Rach Ca Ro) ทางตะวันตกเฉียงใต฾และตะวันตกของท฾ายหนิ่นหแ (Tay Ninh) เส฾นเขตแดนค฽อนข฾างซับซ฾อนเนื่องจาก ขนานประชิดกับแนวทางเดินและแนวถนน ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเต็ยนิงหแ (Tay Ninh) เส฾นเขตแดน เป็นแนวเดียวกับแม฽น้ํา 3 สาย ได฾แก฽ แม฽น้ํารัคไก฽กาย (Rach Cai Cay) หรือแม฽น้ําแพรกกําปงสะเปียน (Prek Kampong Spean) แม฽น้ํารัคไก฽บั๊ค (Rach Cai Bac) หรือแม฽น้ําสตึงกําปงเกย (Stoeng Kampong Koei) และแม฽น้ํารัคเบิ่นโก (Rach Ben Go) หรือแม฽น้ําตนเลโรตี (Tonle Roti) เป็นระยะทางรวม 76.4 กิโลเมตร จากบริเวณต฾นน้ําของแม฽น้ําเหล฽านี้ เส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม ลากต฽อไปทางทิศเหนือและ 89

ตะวันออกไปตามแนวลําน้ําที่สลับซับซ฾อน จนกระทั่งถึงจุดบรรจบกันของแม฽น้ําตนเลโตรว (Tonle Trou) กับ แม฽น้ํารัคจาม (Rach Cham) จุดนี้เป็นจุดสิ้นสุดของเส฾นเขตแดนซึ่งมีการปักปันในปี 2516/1973 และเป็นจุด ที่ตั้งดั้งเดิมของหลักเสาเขตแดนหมายเลข 3

90

ภาพที่ 3.11 แผนที่แสดงเส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม (ที่มา: Prescott, J.R.V., H. J. C., D.F. Prescott. Frontiers of Asia and Southeast Asia (Vitoria: Melbourne University Press, 1977), p.65) 91

แม฽น้ํารัคจาม (Rach Cham) กั้นเขตแดนทางทิศเหนือของหลักเขตแดน (จุด A ในภาพที่ 3.11) ตาม คําสั่งวันที่ 31 กรกฎาคม 2457/1914 (Decree of July 31, 1914) ทําให฾เส฾นเขตแดนเป็นเส฾นตรงลากตาม แนวทิศเหนือกับตะวันออกเฉียงเหนือจนถึงหลักเขตต฽อมา (จุด B ในภาพที่ 3.11) บนแม฽น้ําแพรกเกรียว (Prek Kriou) หรือ แม฽น้ําแพรกจิว-แพรกเจรียว (Prek Chiu-Prek Chrieu) จากนั้นเส฾นเขตแดนลากต฽อไปอีกตามลําน้ําทางตะวันออกเป็นเส฾นตรง (จุด C ถึง D ในภาพที่ 3.11) โดย ลากต฽อไปจนตลอดลําแม฽น้ําดั๊คเจอรมัน (Dak Jerman) หรือแม฽น้ําสตึงจะเรยเมียง (Stoeng Chrey Meang) จนถึงต฾นแม฽น้ํา ในทางเดียวกันเส฾นเขตแดนลากต฽อไปเป็นเส฾นตรงถึงแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) หรือแม฽น้ํา แพรกดักแดง (Prek Dak Dang) จนถึงบริเวณต฾นแม฽น้ํา หลักเสาเขตแดนของอาณานิคมฝรั่งเศสเดิมตั้งอยู฽ใกล฾กับจุดนี้ โดยเป็นจุดบรรจบกันของ 3 ดินแดน ได฾แก฽ อันนัม (เวียดนามกลาง) โคชินจีน (เวียดนามใต฾) และกัมพูชา ซึ่งมีความชัดเจนอย฽างมากเนื่องจากเส฾น เขตแดนถูกกําหนดโดยลักษณะภูมิประเทศทางตะวันตกเฉียงใต฾ (กัมพูชา – โคชินจีน) ตัดกับพื้นที่ราบสูงของ บริเวณชายแดน (อันนัม – กัมพูชา) ทางตอนเหนือของหลักเสาเขตแดน จากนั้นเส฾นเขตแดนลากออกจากดักฮ วี้ด (Dak Huyt) แล฾วจึงเข฾าไปเชื่อมต฽อกับบริเวณต฾นแม฽น้ําดักดํา (Dak Dam) แล฾วลากต฽อไปทางเหนือจนถึงจุด บรรจบของแม฽น้ําสเรปก (Srepok) เป็นระยะทางประมาณ 85 กิโลเมตร ต฽อจากนั้นไปอีก 95 กิโลเมตร ทาง ทิศเหนือจนถึงแม฽น้ําเซซาน (Se San) เส฾นเขตแดนถูกกําหนดให฾เป็นเส฾นตรง72 จากนั้น เส฾นเขตแดนเป็นไปตามลําแม฽น้ําเซซาน (Se San) ระยะทางประมาณ 18.8 กิโลเมตร และไป ตามลําน้ําสาขาอีกประมาณ 15 กิโลเมตร ทางทิศเหนือและทิศตะวันตก โดยแบ฽งเขตกันทางตะวันตกของ แม฽น้ําน้ําสะทาย (Nam Sathay) จากนั้นเส฾นเขตแดนเป็นไปตามแนวสันเขาทางเหนือจนถึงจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม โดยเส฾นเขตแดนส฽วนนี้วัดความยาวโดยประมาณได฾ 113 กิโลเมตร

ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ การกระจายตัวของประชากรสะท฾อนให฾เห็นขนาดของภูมิประเทศที่กว฾างใหญ฽ ชาวนาเวียดนามและ กัมพูชาอาศัยอยู฽ในพื้นที่ราบลุ฽มตามแนวชายแดนเหมาะแก฽การทํานาปลูกข฾าว ความหนาแน฽นของประชากรมี มากเมื่อเทียบกับขนาดของพื้นที่ เส฾นแบ฽งเขตแดนระหว฽างประเทศจึงไม฽ใช฽เส฾นแบ฽งความแตกต฽างกันของกลุ฽ม ชาติพันธุแ ชาวเวียดนามอาศัยอยู฽ในฝั่งกัมพูชาตลอดแนวด฾านเหนือของบริเวณ “ปากนกแก฾ว (Parrot‖s Beak)” รวมทั้งพื้นที่ตามแนวแม฽น้ําโขง นอกจากนี้ยังมีชาวจาม (Cham) ตั้งถิ่นฐานตามแนวชายแดนซึ่งอยู฽คร฽อมเส฾น เขตแดนอีกด฾วย บริเวณพื้นที่ราบลุ฽มอื่นๆ ก็มีชาวขแมรแอาศัยอยู฽ในฝั่งของเวียดนาม โดยตั้งถิ่นฐานอยู฽อย฽าง หนาแน฽นทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองห฽าเตียน (Ha Tien) และทางตอนเหนือของเมืองเต็ยนิงหแ (Tay Ninh)

72 ไม฽พบว฽ามีข฾อความในสนธิสัญญาหรือคําสั่งทางปกครองของอาณานิคมฝรั่งเศสที่กําหนดตําแหน฽งชัดเจนของเส฾นเขต แดนบริเวณนี้ มีแต฽เพียงหลักฐานการลากเส฾นบนแผนที่ซึ่งตีพิมพแในปี 2469/1926 และแผนที่ปี 2471/1928 แม฾ว฽าจะมีการ เปลี่ยนแปลงในบริเวณนี้เพียงเล็กน฾อย แต฽รัฐบาลกัมพูชาและเวียดนามได฾แสดงให฾เห็นถึงการยอมรับเส฾นที่ปรากฏบนแผนที่ อย฽างเป็นทางการ และมีเอกสารที่ระบุถึงการโต฾ตอบระหว฽างกัน เส฾นเขตแดนในบริเวณนี้จึงยังมีความ “ไม฽แน฽นอน (indefinite)” ไปจนถึงบริเวณเอียดรัง (Ia Drang) หรือญาดรัง (Ya Drang) อ฾างใน U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Vietnam Boundary. (International Boundary Study, No.155 of March 5, 1976), p.7. 92

ในเขตพื้นที่ราบสูง เป็นถิ่นอาศัยของกลุ฽มชาติพันธุแต฽างๆ จากแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) ถึงแม฽น้ําสเรปก (Srepok) มีกลุ฽มชาติพันธุแมอญ-ขแมรแ หรือ “ขแมรแเลอ/เขมรสูง (Upper Cambodians)” อาศัยอยู฽ตอดแนว ชายแดนทั้งสองฝั่ง ความหนาแน฽นของประชากรในเขตที่สูงมีค฽อนข฾างเบาบางเมื่อเทียบกับบริเวณสามเหลี่ยม ปากแม฽น้ํา กลุ฽มชาติพันธุแ “สะเตียง (Stieng)” และ “พนง (Pnong)” ตั้งถิ่นฐานอยู฽บริเวณทางใต฾ของเขตพื้นที่ ราบสูง ในขณะที่กลุ฽มชาติพันธุแ “มนง (Mnong)” อาศัยอยู฽ในเขตแม฽น้ําดักดํา (Dak Dam) แม฽น้ําสเรปก (Srepok) เรื่อยไปจนถึงบริเวณจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ซึ่งเป็น ถิ่นอาศัยของผู฾คนในกลุ฽มชาติพันธุแมาลาโย-โพลินีเชีย ได฾แก฽ ระแด (Rhade) อัดดาม (Adham) กรุง (Krung) และจะไร (Jarai) ปกติแล฾วกลุ฽มชาติพันธุแเหล฽านี้ส฽วนใหญ฽อาศัยอยู฽ในเขตที่ราบสูงของฝั่งเวียดนาม แต฽ก็พบว฽ามี การตั้งถิ่นฐานอยู฽ในเขตภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของกัมพูชาด฾วย

ประวัติศาสตร์ เส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม ถูกกําหนดขึ้นโดยการบริหารปกครองดินแดนอินโดจีนของ ฝรั่งเศส (French Indochina) เขตแดนทางทิศตะวันออก คือ อันนัม (Annam) หรือเวียดนามกลาง มีพื้นฐาน ดั้งเดิมมาจากอํานาจอิทธิพลของจีน (The Sinified Empire of Annam) ซึ่งแผ฽ขยายมาจากบริเวณตังเกี๋ย (Tokin) หรือ เวียดนามเหนือ ไปตามที่ราบลุ฽มชายฝั่งแคบๆ แต฽อุดมสมบูรณแตามแนวชายฝั่งติดกับทะเลจีนใต฾ เมื่อจักรวรรดิอันนัม (Annamese Empire) ได฾ขยายอํานาจออกไปมากขึ้น การติดต฽อระหว฽างดินแดน ต฽างๆ จึงมีความยากลําบาก ทําให฾เกิดกองกําลังกลุ฽มต฽างๆ ในบริเวณศูนยแกลาง ในราวคริสตแศตวรรษที่ 12 กลุ฽มขแมรแฮินดู (The Hinduized Khmer) ได฾สถาปนาอํานาจของตนขึ้นครอบคลุมอาณาเขตที่ปัจจุบัน กลายเป็นดินแดนของกัมพูชา ลาว และไทย รวมทั้งบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม฽น้ําโขง ส฽วนดินแดนที่อยู฽ ระหว฽างกัมพูชาและอาณาจักรอันนัม คือ อาณาจักรจามปา (Champa) ทางทิศตะวันตก อาณาจักรสยามก็เริ่มขยายอํานาจของตนจากทางตอนใต฾ของจีนเข฾าไปในดินแดนแม฽น้ํา เจ฾าพระยา หลังจากถูกผลักดันโดยมองโกล ในไม฽ช฾าอาณาจักรสยามก็เข฾ามาแทนที่อํานาจของขแมรแ และ สถาปนาอารยธรรมอันยิ่งใหญ฽ของตัวเองขึ้น ดังนั้น จักรวรรดิจามปาและจักรวรรดิขแมรแ จึงถูกขนาบโดย มหาอํานาจใหม฽ของอันนัมและสยาม อาณาจักรจามปาถูกทําลายลงก฽อน หลังจากคริสตแศตวรรษที่ 17 อันนัมจึงไม฽ถูกกีดขวางจากจามปาอีก ต฽อไป และอันนัมได฾ขยายอํานาจเข฾ามายังที่ราบลุ฽มแม฽น้ําโขง จากนั้นก็ขยับขยายลงมาทางใต฾เข฾าไปในดินแดน ของขแมรแ โดยเข฾าไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ว฽างเปล฽าก฽อนแล฾วจึงสามารถเข฾าครอบครองพื้นที่ซึ่งชาวขแมรแเคยอาศัย อยู฽แต฽เดิม พื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม฽น้ําโขงจึงกลายมาเป็นของอันนัมในที่สุด กัมพูชาซึ่งเป็นผู฾สืบสาย ตระกูลมาจากจักรวรรดิพระนครอันยิ่งใหญ฽ จึงกลายมาเป็นรัฐที่อ฽อนแอซึ่งต฾องคอยต฾านทานแรงกดดันจาก อํานาจทางตะวันออกและทิศตะวันตก การถูกรุกรานและการเสียดินแดนเป็นระยะๆ ได฾ลดอํานาจและทําลาย ความเกรียงไกรของจักรวรรดิพระนคร นับตั้งแต฽ปี 2146/1603 เวียดนามและสยามทําการรุกรานเข฾ามาในดินแดนดั้งเดิมของอดีตจักรวรรดิ พระนคร และในปี 2332/1789 กองกําลังอาณานิคมฝรั่งเศสก็ได฾เข฾าแทรกแซงสงครามกลางเมืองของอันนัม จนกระทั่งปี 2344-2345/1801-1802 ฝรั่งเศสจึงถือโอกาสใช฾ประโยชนแจากการสถาปนาราชวงศแเหงวียนใหม฽ (Nguyen Dynasty) ที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันอีกครั้งของหลายอาณาจักรในดินแดนเวียดนาม และพระ จักรพรรดิองคแใหม฽ก็ร฾องขอการสนับสนุนจากจักรพรรดิจีน อิทธิพลของฝรั่งเศสได฾เริ่มเสื่อมลงในช฽วงปี 2363-2400/1820-1857 อันเป็นช฽วงเวลาการเติบโตขึ้นของ ขบวนการชาตินิยมในเวียดนาม เป็นผลให฾ชาวคริสตแนิกายโรมันคาทอลิกได฾รับผลกระทบเป็นอย฽างมาก นําไปสู฽ 93

การกลับเข฾ามาแทรกแซงเวียดนามโดยฝุายฝรั่งเศสอีกครั้ง เมื่อมีการบุกเข฾าโจมตีเมืองดานัง (Da Nang) และ เมืองไซ฽ง฽อน (Saigon) ฝุายกษัตริยแของกัมพูชาก็เข฾าร฽วมกับฝรั่งเศสในการโจมตีศัตรูอันเก฽าแก฽คือเวียดนาม จนกระทั่งเกิดสนธิสัญญาสันติภาพ ปี 2405/1862 โดยกัมพูชายอมสละอํานาจเหนือดินแดน 3 จังหวัด ทาง ภาคตะวันออกของเขตโคชินจีน ได฾แก฽ เบียนหว฽า (Bien Hoa) ซาดิ่งหแ (Gia Dinh) และหมีทอ (My Tho) ให฾แก฽ฝรั่งเศส และฝรั่งเศสก็ได฾ดินแดนส฽วนที่เหลืออีก 3 จังหวัด ได฾แก฽ ห฽าเตียน (Ha Tien) เจิวด฿ก (Chau Doc) และ วินหแลอง (Vinh Long) เช฽นกัน ส฽งผลให฾เกิดการต฽อต฾านจากภายในต฽อฝรั่งเศสซึ่งเข฾าไปยึดเอา ดินแดนส฽วนที่เหลือมาผนวกเข฾ากับเขตปกครองโคชินจีน ต฽อมาในปี 2407/1864 กัมพูชากลายเป็นรัฐใน อารักขาของฝรั่งเศส (French Protectorate) ทําให฾สิ้นสุดยุคแห฽งการรุกรานกัมพูชาโดยเวียดนามและสยาม ในการเจรจาต฽อรองระหว฽างฝรั่งเศสกับกัมพูชาเกี่ยวกับดินแดนของกัมพูชาในโคชินจีนนั้น มีการลงนาม ในอนุสัญญาปี 2413/1870 และความตกลงในปี 2416/1873 ทําให฾เกิดเค฾าโครงเริ่มต฾นของเส฾นเขตแดนใน ปัจจุบันระหว฽างห฽าเตียน (Ha Tien) กับแม฽น้ําตนเลตรู (Tonle Tru) จากนั้น ในปี 2416/1873 ฝรั่งเศสจึงทํา สนธิสัญญากับเวียดนาม เพื่อรับรองอํานาจของฝรั่งเศสเหนือดินแดนโคชินจีน (เวียดนามใต฾) และอีกไม฽กี่ปี ต฽อมาฝรั่งเศสก็สามารถครอบครองดินแดนทั้งหมดของโคชินจีนได฾สําเร็จ กระนั้นก็ตาม สยามยังคงขยายอํานาจของตนเข฾าไปยังเขตสูญญากาศทางการเมืองของภูมิภาคใน ตอนกลางลุ฽มแม฽น้ําโขง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่อํานาจของอาณาจักรพระนครกําลังอ฽อนแอลง สยามแผ฽ขยายอิทธิพล และอํานาจทางการทหารไปทางตะวันออกเฉียงใต฾ จนถึงบริเวณตอนเหนือของที่ราบสูงสเรปก (Srepok) หลังจากเกิดเหตุการณแสู฾รบกันระหว฽างสยามกับฝรั่งเศส จึงนํามาสู฽การลงนามในสนธิสัญญา ปี 2436/1893 ซึ่ง สยามยอมสละอํานาจของตนเหนือดินแดนทั้งหมดทางตะวันออกของแม฽น้ําโขง รวมทั้งจังหวัดสตึงเตร็ง (Stung Treng) ให฾แก฽ฝรั่งเศส โดยฝรั่งเศสได฾โอนสตึงเตร็งไปอยู฽ภายใต฾อํานาจการปกครองของลาว และแยกอํานาจ ของกัมพูชาออกจากเวียดนามอย฽างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ในปี 2442/1899 มีการตั้งตําบลดารแลัค (Darlac) แยกออกจากสตึงเตร็ง (Stung Treng) โดยรวมเอา ดินแดนทางตะวันออกของสเรปก (Srepok) และดินแดนที่อยู฽ทางตอนเหนือตามแนวสันปันน้ําระหว฽างแม฽น้ํา เอียดรัง (Ia Drang) กับ แม฽น้ําน้ําเลี้ยว (Nam Lieou) เอาไว฾ด฾วย โดยลาวยังคงเป็นศูนยแกลางในการบริการงาน อาณานิคมในเขตพื้นที่ตอนกลางของลุ฽มแม฽น้ําโขง อิทธิพลของฝรั่งเศสสามารถเข฾าไปครอบครองในเขตที่ราบสูงโดยเริ่มจากเวียดนามตอนกลางจนสามารถ ผนวกเอาดินแดนดารแลัค (Darlac) เข฾ามาอยู฽ภายใต฾อํานาจได฾ในปี 2447/1904 และในปีเดียวกันนี้ พื้นที่ส฽วน ใหญ฽ของจังหวัดสตึงเตร็ง (Stung Treng) ก็ถูกโอนกลับคืนไปให฾กัมพูชา โดยแยกออกจากดินแดนฝั่งขวาของ แม฽น้ําน้ําถ้ํา (Nam Tham) หรือแม฽น้ําดักดํา (Dak Dam) ซึ่งอยู฽ภายใต฾การดูแลโดยตรงของเวียดนามกลาง แต฽ เส฾นเขตแดนในบริเวณทางเหนือของสเรปก (Srepok) ยังไม฽ได฾รับการปักปัน คําสั่งเหล฽านี้ได฾วางพื้นฐานในการ แบ฽งเส฾นเขตแดนระหว฽างเวียดนามกลางกับกัมพูชา โดยมีการออกคําสั่งฉบับต฽อๆ มา แต฽ก็ไม฽ได฾ส฽งผลกระทบใน การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ส฽วนใหญ฽ (ดูเอกสารคําสั่งทางปกครองในหัวข฾อถัดไป) นับตั้งแต฽เป็นเอกราช สนธิสัญญาหรือความตกลงใดๆ ที่เกิดขึ้นในช฽วงการปกครองของอาณานิคม ระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม ได฾กลายมาเป็นสาเหตุหลักในข฾อพิพาทเขตแดนของทั้งสองประเทศ แต฽ปัญหา ส฽วนใหญ฽มักเกี่ยวกับหมู฽เกาะในพื้นที่อ฽าวไทย ในปี 2452/1939 ข฾าหลวงใหญ฽แห฽งอินโดจีนฝรั่งเศสได฾ออกคําสั่ง ทางปกครอง (Decree) เพื่อประโยชนแในการบริหารงานอาณานิคม โดยกําหนดเส฾นแบ฽งเขตแดนที่เรียกว฽า “เส฾นบรีเว฽ (Brévié Line)” ซึ่งต฽อมาความตกลง (Agreement) ระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามได฾ยอมรับเส฾น ดังกล฽าวนี้ โดยจะได฾กล฽าวถึงรายละเอียดในหัวข฾อเส฾นเขตแดนทางทะเลระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามต฽อไป

94

ในกรณีของเส฾นเขตแดนทางบก รัฐบาลสาธารณรัฐเวียดนาม (Republic of Vietnam) ได฾ยึดเอาตาม เส฾นเขตแดนทที่ถูกกําหนดขึ้นในยุคของการบริหารงานอาณานิคมฝรั่งเศส แต฽รัฐบาลกัมพูชาปฏิเสธเส฾นเขต แดนจํานวน 2 แห฽ง คือ กรณีแรก เส฾นเขตแดนบนแผนที่ก฽อนสนธิสัญญาเจนีวา (Maps of pre-Geneva) ปี 2497/1954 ข฾อส฽วน 1:100,000 หรือ ที่รู฾จักกันในชื่อ “แผนที่อินโดจีน (Carte de l' Indochine)” จัดพิมพแ โดย หน฽วยบริการทางภูมิศาสตรแในพื้นที่อินโดจีนแห฽งฝรั่งเศส (French Service Geographique de I ‖Indochine – SGI) และต฽อมาถูกนํามาใช฾โดย สถานทูตสหรัฐอเมริกา ณ กรุงพนมเปญ ในปี 2507/1964 ซึ่งมีความแตกต฽าง กันเพียงเล็กน฾อย เนื่องจากมีพื้นที่อ฾างสิทธิ์ของเวียดนาม อย฽างไรก็ตาม รัฐบาลกัมพูชาได฾หยิบยกเอาปัญหาการ “เสียดินแดน” ของตนมาเป็นประเด็นข฾อพิพาทอยู฽หลายครั้ง กรณีที่ 2 คือ พื้นที่ทางภาคใต฾ ในเขตห฽าเตียน (Ha Tien) ซึ่งถูกโอบล฾อมโดยแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) และ แม฽น้ําโขงและพื้นที่ตอนเหนือของเต็ยนิงหแ (Tay Ninh) เป็นถิ่นอาศัยของชนกลุ฽มน฾อยชาวขแมรแ หรือ ที่รู฾จักกัน ในนามชาว “ขแมรแกรอม (Khmer Krom)” จํานวนมาก

ความตกลงและสนธิสัญญา เส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามเกิดขึ้นจากความตกลง สนธิสัญญา อนุสัญญา และคําสั่งทาง ปกครองของการบริหารงานดินแดนอาณานิคมฝรั่งเศส รวมทั้งสิ้น 17 ฉบับ ได฾แก฽

1. สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับโคชินจีน (Treaty between France and Cochin China) วันที่ 28 พฤศจิกายน 2330/1787 สนธิสัญญาฉบับนี้ทําให฾ฝรั่งเศสได฾สิทธิ์ครอบครองเมืองท฽าฮอยอัน (Hoi-An) หรือ ตูราน (Tourane) หรือ ดานัง (Da Nang) และหมู฽เกาะพูโล-กอนดอเร (Pulo-Condre) หรือ หมู฽เกาะกอนเซิน (Con Son) โดย เป็นจุดเริ่มต฾นของการตั้งถิ่นฐานของฝรั่งเศสและการบริหารงานอาณานิคมในคาบสมุทรอินโดจีน

2. สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสและสเปนกับราชอาณาจักรอันนัม (Treaty between France and Spain, and the Kingdom of Annam) วันที่ 5 มิถุนายน 2405/1862 และแลกเปลี่ยนสัตยาบัน 14 เมษายน 2406/1863 โดยข฾อ 3 ของสนธิสัญญากําหนดว฽า ราชอาณาจักรอันนัมหรือเวียดนามกลางยินยอมยกดินแดน 3 จังหวัดของโคชินจีน (Cochin China) ได฾แก฽ เบียนเหา (Bien-Hoa) เกียดิ่นหแ (Gia-Dinh) และดิ่นหแเทือง (Dinh-Tuong) หรือ หมีทอ (My Tho) รวมทั้งเกาะพูโล-กอนดอเร (Pulo-Condre) หรือ หมู฽เกาะกอนเซิน (Con Son) ให฾แก฽ฝรั่งเศส

3. สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับกัมพูชา (Treaty between France and Cambodia) วันที่ 11 สิงหาคม 2406/1863 และแลกเปลี่ยนสัตยาบัน 14 เมษายน 2407/1864 ฝรั่งเศสเข฾ายึดเอากัมพูชาเป็นรัฐในอารักขา (Protectorate) โดยไม฽ได฾กําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽าง อาณาเขตของกัมพูชากับดินแดนโคชินจีนของฝรั่งเศส เนื่องจากมีความยากลําบากระหว฽างดินแดนสองส฽วนที่ แยกกันของโคชินจีนฝรั่งเศสจึงเข฾าครอบครองดินแดนที่ส฽วนเหลือ

95

4. อนุสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับกัมพูชาเกี่ยวกับการก าหนดอาณาเขต (Convention between France and Cambodia relative to the delimitation of the Frontier) วันที่ 9 กรกฎาคม 2413/1870 ในปี 2411/1868 และปี 2412/1869 ฝรั่งเศสและกัมพูชากําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างกัน โดยมีการ ปักหลักเสาเขตแดนในพื้นที่สําคัญ รวมทั้งปรับปรุงรายละเอียดของเส฾นเขตแดนที่ปรากฏในสนธิสัญญาฉบับ ก฽อน การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกิดขึ้นใกล฾กับพื้นที่เมืองเปรยเวง (Prey-Veng) ในเขตเทือกเขาอันนัมและหุบ เขาไวโก (Vaico valley) โดยผลการดําเนินงานตามอนุสัญญาปี 2413/1870 มีดังนี้

4.1 ความตกลงระหว่างพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแห่งกรุงกัมพูชา กับ พลเรือตรี ข้าหลวง และ ผู้บัญชาการทหารบกแห่งโคชินจีน เพื่อก าหนดเส้นเขตแดนระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับโคชินจีน ฝรั่งเศส (Agreement concluded between His Majesty the King of Cambodia and the Rear Admiral, Governor, and Commander in Chief in Cochin China to determine definitively the boundary between the Kingdom of Cambodia and French Cochin China) วันที่ 15 กรกฎาคม 2416/1873 โดยความตกลงฉบับนี้ ได฾กําหนดเส฾นเขตแดนและอาจเป็นการปักปันเส฾นเขตแดนจากจุดพิกัดที่ ประมาณละติจูดที่ 11 องศา 45 ลิปดา เหนือ ลองจิจูด 106 องศา 30 ลิปดา ตะวันออก ในบริเวณพื้นที่ทาง ตอนใต฾ของเมืองลอคหนิ่นหแ (Loc Ninh) ใกล฾ชายฝั่งห฽าเตียน (Ha Tien) ซึ่งการกําหนดเส฾นเขตแดนดังกล฽าว เป็นไปตามรูปแบบวิธีการสมัยใหม฽ แม฾ว฽าความแม฽นยําจะไม฽ถูกต฾องมากนัก เนื่องจากชื่อสถานที่ต฽างๆ ใน เอกสารไม฽ตรงกับชื่อในปัจจุบัน เส฾นเขตแดนที่ลากจากทางทิศตะวันออกผ฽านบริเวณ “ปากนกแก฾ว (Parrot‖s Beak)” จนถึงบริเวณแนวแม฽น้ําโขง ในแผนที่ปี 2406/1863 แสดงให฾เห็นว฽าพื้นที่ส฽วนใหญ฽ของบริเวณ “ปากนกแก฾ว (Parrot‖s Beak)” อยู฽ในอาณาเขตของโคชินจีน นอกจากนี้ดินแดนทางตะวันตกในเขตสวาย เรียง (Svay Rieng) ของกัมพูชา รวมทั้งเส฾นเขตแดนในอาณาบริเวณใกล฾เคียงแม฽น้ําโขง โดยข฾อความที่กําหนด ว฽า “จะลากไปทางเหนือตามแนวเส฾นขนานกับคลองวินหแเท (Canal de Vinh Te) จนถึงหมู฽บ฾านเกียงถ฽านหแ (Giang-Thanh) จากนั้นลากต฽อไปโดยตรงถึงห฽าเตียน (Ha Tien) ทางตะวันออกตามแนวลําคลองเปรกครอส (Prec-Cros)”73 แต฽ตําแหน฽งที่ถูกต฾องของเส฾นเขตแดนบริเวณนี้ ไม฽สามารถกําหนดได฾ เนื่องจากระยะทางจากแนวคลอง และความหมายของคําว฽า “โดยตรงถึงห฽าเตียน (directly to Ha Tien)” ยังไม฽สามารถทําความเข฾าใจให฾ ชัดเจนได฾ อย฽างไรก็ตาม หลักฐานแผนที่ซึ่งมีอยู฽ในขณะนั้นก็แสดงเส฾นเขตแดนขนานไปกับแนวคลองซึ่ง ใกล฾เคียงกับตําแหน฽งของเส฾นเขตแดนในปัจจุบัน ในทางตรงกันข฾าม เส฾นเขตแดนที่ปรากฏบริเวณห฽าเตียน (Ha Tien) กลับถูกลากออกไปเกินกว฽าแนวชายฝั่งทางทิศเหนือของเส฾นเขตแดนในปัจจุบัน

73 “will follow a line parallel to the canal of Vinh-Te, to the north; it will end at the village of Giang Thanh and will be drawn from there directly to Ha Tien, with the canal of Prec-Cros to the east.” in U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Vietnam Boundary (International Boundary Study, No.155 of March 5, 1976), p.11. 96

4.2 สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับอันนัม (Treaty between France and Annam) วันที่ 15 มีนาคม 2417/1874 มีการผนวกดินแดน 3 จังหวัดของโคชินจีนเข฾ากับฝรั่งเศส ตามข฾อ 5 ของสนธิสัญญา ให฾โอนดินแดนใน อารักขาเพิ่มเติมจากดินแดนที่เหลือของอันนัม โดยระบุเกี่ยวกับการกําหนดเส฾นเขตแดนทางตอนเหนือของโค ชินจีนว฽า ตั้งอยู฽ระหว฽างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรอันนัมที่จังหวัดบินหแถ฽วน (Binh Thuan)

4.3 สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับกัมพูชา (Treaty between France and Cambodia) วันที่ 12 เมษายน 2425/1882 สนธิสัญญานี้ถูกนําอ฾างอิงมากที่สุดเกี่ยวกับการกําหนดแนวพื้นที่ 8 กิโลเมตร (8-kilometer deep zone) ของทั้งสองฝั่งของเส฾นเขตแดนให฾เป็นเขต “hot pursuit” เพื่อการจับกุมกลุ฽มโจรและชาวพื้นเมืองที่ทํา การต฽อต฾านฝรั่งเศส โดยสําเนาสนธิสัญญาฉบับนี้อยู฽ที่กรุงวอชิงตัน อย฽างไรก็ตาม ไม฽มีการกําหนดแนวเส฾นเขต แดนตามที่ระบุเอาไว฾ในสนธิสัญญา

5. สนธิสัญญาการใช้อ านาจอารักขาของฝรั่งเศสเหนือดินแดนอันนัม (Treaty authorizing the Protectorate of France over Annam) วันที่ 6 มิถุนายน 2527/1884 สนธิสัญญานี้เป็นฉบับสุดท฾ายที่ทําขึ้นเพื่อการจัดตั้งดินแดนในอารักขาของฝรั่งเศสในอันนัมอย฽าง สมบูรณแ โดยกระบวนการกําหนดเส฾นเขตแดนหลังจากนี้ จะถูกประกาศในรูปแบบคําสั่งทางปกครอง (Decree) ซึ่งเป็นการบริหารงานภายในของอาณานิคมฝรั่งเศส

6. สนธิสัญญาระหว่างฝรั่งเศสกับราชอาณาจักรสยาม วันที่ 3 ตุลาคม 2436/189374 โดยมีการให฾สัตยาบันแลกเปลี่ยนกันเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธแ 2436/1894 ตามความในข฾อ 1 ของ สนธิสัญญาระบุว฽า “สยามยอมสละเสียซึ่งข฾ออ฾างว฽ามีกรรมสิทธิ์ทั้งสิ้นทั่วไปในดินแดน ณ ฝั่งซ฾ายฟากตะวันออก แม฽น้ําโขง และในบรรดาเกาะทั้งหลายในแม฽น้ํานั้นด฾วย”75 ทําให฾ฝรั่งเศสจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อดูแลควบคุม กิจการต฽างๆ ภายในดินแดนของลาว สนธิสัญญาฉบับนี้เกิดขึ้นหลังจาก “วิกฤติการณแ รศ.112” โดยสยามยอม ยกดินแดนทั้งหมดบนฝั่งซ฾ายหรือฝั่งตะวันออกของแม฽น้ําโขงให฾แก฽ฝรั่งเศส รวมทั้งจังหวัดสตึงเตร็ง (Stung Treng) ซึ่งฝรั่งเศสให฾อยู฽ภายใต฾การบริหารของลาวชั่วคราว ต฽อมาจึงถูกแบ฽งออกไปขึ้นกับ ลาว กัมพูชา และ อันนัม สนธิสัญญาฉบับนี้ไม฽มีผลเปลี่ยนแปลงเส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับอันนัม

7. ค าสั่ง 6 พฤษภาคม 2440/1897 (Decree of May 6, 1897) ประกาศแต฽งตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อกําหนดและร฽างเส฾นเขตแดนของโคชินจีน โดยข฾าหลวงใหญ฽แห฽งอิน โดจีนฝรั่งเศสได฾แต฽งตั้งคณะกรรมาธิการเขตแดนเพื่อให฾คําแนะนําแก฽การบริหารงานอาณานิคมในด฾านกิจการ กําหนดเส฾นเขตแดนตามรอยต฽อระหว฽างโคชินจีนกับกัมพูชาและโคชินจีนกับอันนัม รายงาน ของ คณะกรรมาธิการชุดนี้ ถูกใช฾เป็นพื้นฐานเพื่อการออกคําสั่งอื่นๆ ที่จะถูกประกาศตามมาอีกหลังจากนี้

74 ชาญวิทยแ เกษตรศิริ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 75-87. 75 เรื่องเดียวกัน. หน฾า 83. 97

8. ค าสั่ง 2 พฤศจิกายน 2442/1899 (Decree of November 2, 1899) ประกาศแต฽งตั้งกองทหารแห฽งเมืองดารแลัค (Commissariat of Darlac) โดยคําสั่งฉบับนี้ ได฾จัดตั้งหน฽วย ทหารย฽อยในเขตสตึงเตร็ง (Stung Treng) เพื่อดําเนินการกําหนดเส฾นเขตแดนบนที่ราบสูงทางตอนกลางของ เวียดนาม แต฽เส฾นเขตแดนทางตะวันตกที่เกิดจากผลงานของหน฽วยทหารย฽อยนี้ ไม฽ตรงกับเส฾นเขตแดนใน ปัจจุบัน โดยเส฾นเขตแดนถูกลากไปตามแนวแม฽น้ําสเรปก (Srepok) จนกระทั่งบรรจบลําน้ําเอียแดรง (Ia Drang) หรือ แม฽น้ําน้ําลาแดรง (Nam Ladrang) จากนั้นลากต฽อไปตามแนวสันปันน้ําระหว฽างลําน้ําเอีย (Ia) กับ ลําน้ําน้ําเลี้ยว (Nam Lieou) ทางทิศใต฾

9. ค าสั่ง 22 พฤศจิกายน 2447/1904 (Decree of November 22, 1904) ประกาศให฾แยกดินแดนดารแลัก (Darlac) ออกจากลาว ทําให฾จังหวัดดารแลัก (Darlac Province) ถูก ผนวกอยู฽ภายใต฾อํานาจการปกครองของอันนัม แต฽ไม฽มีการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างลาวและเวียดนาม

10. ค าสั่ง 6 ธันวาคม 2447/1904 (Decree of December 6, 1904) ประกาศให฾ผนวกดินแดนสตึงเตร็ง (Stung Treng) เข฾าไปอยู฽กับกัมพูชา โดยจังหวัดสตึงเตร็ง (Stung Treng) ถูกโอนจากลาวไปยังกัมพูชา และคําสั่งนี้ยังให฾กําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างลาวกับกัมพูชา รวมทั้ง กําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างอันนัมกับกัมพูชาไว฾ที่บริเวณแม฽น้ําน้ําถ้ํา (Nam Tham) หรือ แม฽น้ําดักดํา (Dak Dam) ด฾วย

11. ค าสั่ง 31 กรกฎาคม 2457/1914 (Decree of July 31, 1914) ประกาศให฾กําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างโคชินจีนกับกัมพูชา โดยคําแนะนําของคณะกรรมาธิการซึ่งจัดตั้ง ขึ้นในวันที่ 6 ธันวาคม 2453/1910 เพื่อตรวจสอบเส฾นเขตแดน โดยแบ฽งออกเป็น 3 พื้นที่ ได฾แก฽ a) พื้นที่รอบห฽าเตียน (Ha Tien) ตามแนวที่ตั้งของเสาโทรเลขใหม฽ และเส฾นเขตแดนของหมู฽บ฾านซากาย (Saky) และหนุ฽ยดาดุง (Nui Dadung) ถูกนํามาใช฾; b) พื้นที่ทางตะวันตกของเต็ยนิงหแ (Tay Ninh) ของโคชินจีน ซึ่งเป็นดินแดนรูป “นิ้ว (finger)” ยื่นเข฾า ไปในกัมพูชาถูกยกให฾กับโคชินจีน; และ c) เส฾นเขตแดนที่ชัดเจนถูกกําหนดจากซองซัย (Song Sai) ไปทางทิศเหนือและทิศตะวันออกถึงจุด บรรจบกันของ 3 ดินแดน คือ อันนัม กัมพูชา และโคชินจีน ซึ่งอยู฽ใกล฾กับต฾นแม฽น้ําดักดํา (Dak Dam) จุดสุดท฾ายเป็นการกําหนดเส฾นเขตแดนโดยพฤตินัย (de facto) ระหว฽าง 2 ประเทศ มาตั้งแต฽ปี 2436/1893 เมื่อจังหวัดกิ๋วอันหแ (Cuu Anh) ถ฽านอันหแ (Thanh Anh) ล็อกนินหแ (Loc Ninh) และ ฟฺุคเลอ (Phuoc Le) กลายเป็นส฽วนหนึ่งของโคชินจีน

12. ค าสั่ง 30 มีนาคม 2475/1932 (Decree of March 30, 1932) ประกาศจัดตั้งคณะผู฾แทนบริหารจังหวัดดารแลัค (Darlac) และจัดตั้งเขตบริหารดักดํา (Dak Dam) ภายในจังหวัดดารแลัค ให฾เป็นเขตแดนทางตะวันตกติดกับกัมพูชา โดยบังคับใช฾ตามคําสั่ง 6 ธันวาคม 2447/1904 (Decree of December 6, 1904) โดยกําหนดให฾เส฾นเขตแดนเป็นไปตามแนวสันปันน้ําระหว฽าง แม฽น้ําซองเบ (Song Be) กับแม฽น้ําดักบุงโซ (Dak Bung So)

98

13. ค าสั่ง 4 มีนาคม 2476/1933 (Decree of March 4, 1933) ประกาศกําหนดเส฾นเขตแดนจังหวัดเปรยกู (Pleiku) และจัดตั้งจังหวัดใหม฽ คือ กอนตูม (Kontum) ซึ่ง เป็นพื้นที่ส฽วนเล็กบนเส฾นเขตแดนระหว฽างอันนัมกับกัมพูชา โดยกําหนด “[จาก] จุด A ที่พิกัด 116 G 78.96 ลองจิจูด และ 15 G 33 ละติจูด ซึ่งเส฾นเขตแดนกัมพูชาลากผ฽านไปทางตะวันออกของเซซาน (Se San) เส฾นปัก ปันเขตแดนลากไปตามแนวลําน้ําเซซาน (Se San) จนถึงจุด B…”76 ซึ่งจุด B ถูกคั่นด฾วยเส฾นเขตแดนภายในเขต จังหวัด อย฽างไรก็ตามลําน้ําเซซาน (Se San) ในช฽วงสั้นๆ ก็กลายเป็นเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศด฾วย

14. ค าสั่ง 6 ธันวาคม 2478/1935 (Decree of December 6, 1935) ประกาศกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างโคชินจีนกับกัมพูชา โดยมีการกําหนดแนวเขตเพื่อการปักปันเขต แดน (demarcation) ระหว฽างแม฽น้ําโขงกับแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) เป็นระยะทางสั้นๆ ประมาณ 10 กิโลเมตร และจากการทําแผนที่ก็ทําให฾กัมพูชาได฾ดินแดนส฽วนเล็กๆ ทางตะวันออกของแนวเขตแดนใหม฽ ในขณะที่ดิน แดนส฽วนอื่นๆ ไม฽มีการเปลี่ยนแปลง

15. ค าสั่ง 11 ธันวาคม 2479/1936 (Decree of December 11, 1936) ประกาศกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างโคชินจีนกับกัมพูชาทางทิศตะวันออกของแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) เป็นระยะทาง 7.6 กิโลเมตร โดยมีการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตคิดเป็นพื้นที่ขนาดเล็กมาก

16. ค าสั่ง 31 มกราคม 2482/1939 (Decree of January 31, 1939) (ดูคําแปลฉบับเต็มได฾ที่หน฾า ) เป็นคําสั่งเพื่อกําหนดเส฾นเขตแดนเหนือบรรดาหมู฽เกาะในพื้นที่อ฽าวไทย โดย จูลสแ บรีเว฽ (Jules Brévié) ข฾าหลวงใหญ฽แห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส ได฾แบ฽งเขตการปกครองและการบริหารงานระหว฽างโคชินจีนกับกัมพูชา เหนือบรรดาหมู฽เกาะที่อยู฽ในพื้นที่อ฽าวไทย เป็นผลให฾เกิดเส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) อันโด฽งดัง ทั้งกัมพูชาและ เวียดนามต฽างไม฽ยอมรับเส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) ว฽าเป็นเส฾นแบ฽งเขตแดนระหว฽างประเทศ ทําให฾เกิดข฾อพิพาท เกี่ยวอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะต฽างๆ เนื่องจากในคําสั่งดังกล฽าวมีข฾อความระบุเอาไว฾ข฾างท฾ายว฽า “เป็นที่เข฾าใจกันว฽า ข฾อความข฾างต฾นเป็นไปเพื่อการบริหารงานและการตํารวจของหมู฽เกาะเหล฽านี้ ซึ่งประเด็นอํานาจเหนืออาณาเขต บนเกาะเหล฽านี้ยังคงได฾รับการสงวนไว฾ทั้งหมด”77 ต฽อมาในปี 2525/1982 มีการทําความตกลงเกี่ยวกับพื้นที่ ทะเลประวัติศาสตรแ (Agreement on Historic Water) ของทั้งสองประเทศ โดยจะอธิบายในหัวข฾อเส฾นเขต แดนทางทะเลระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามในบทที่ 4 ต฽อไป

76 “[from] Point A by 116 G 78.96 longitude 15 G 33 latitude point where the Cambodian border passes east of the Sesam (Se San). The demarcation line follows the Sesam to Point B…” อ฾างใน U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Vietnam Boundary. (International Boundary Study, No.155 of March 5, 1976), p.13. 77 “It is understood that the above [delimitation] applies only to the administration and policing of these islands and the issue of the islands' territorial jurisdiction remains entirely reserved.” อ฾างใน Ibid, p.14. 99

17. ค าสั่ง 26 กรกฎาคม 2485/1942 (Decree of July 26, 1942) เป็นคําสั่งให฾เปลี่ยนแปลงเส฾นเขตแดนระหว฽างโคชินจีนกับกัมพูชา โดยให฾เกาะคานหแเหา (Khanh Hoa) ในแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) โอนไปอยู฽ในเขตของโคชินจีน เพื่อแลกกับพื้นที่ความกว฾างขนาด 200 เมตรตามแนว ลําคลองเบนหงี่ (Benghi canal) เป็นระยะทาง 2.5 กิโลเมตร ให฾โอนไปขึ้นอยู฽กับเขตของกัมพูชา รวมทั้ง หมู฽บ฾านเบนหงี่ (Benghi village) หรือ บินหแดี (Binh-Di) ด฾วย

ประเด็นปัญหาข้อพิพาท การจัดวางตําแหน฽งของเส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามที่ปรากฏบนชุดแผนที่ซึ่งจัดพิมพแโดย กองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) มาตราส฽วน 1:100,000 เป็นที่ยอมรับจากรัฐบาลกัมพูชาและสาธารณรัฐเวียดนาม เส฾นเขตแดนที่ได฾รับการ ตีพิมพแโดยหน฽วยบริการแผนที่กองทัพบกแห฽งสหรัฐอเมริกา (The United States Defense Mapping Agency Topographic Center – DMATC) เป็นแผนที่ซึ่งมีค฽าความเบี่ยงเบนมาตรฐานน฾อยมาก โดยผลิตขึ้น จากการกําหนดตําแหน฽งของเส฾นเขตแดนตามที่ระบุในความตกลง สนธิสัญญา และคําสั่งอื่นๆ หรือแม฾แต฽แผนที่ ดั้งเดิมและอาจมีการเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนตําแหน฽งของแผ฽นดินด฾วย ชุดแผนที่ซึ่งจัดพิมพแโดยกองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) มาตราส฽วน 1:100,000 ไม฽ได฾แสดงให฾เห็นถึงตําแหน฽งของหลักเสา เขตแดน หรือไม฽ระบุว฽าแนวเขตแดนบริเวณใดบ฾างที่ยังมีความ “ไม฽แน฽นอน (indefinite)” ดังนั้น แผนที่ฉบับ ทางการที่มีอยู฽ทั้งหมดก฽อนที่จะมีข฾อตกลงเจนีวาจึงต฾องได฾รับการตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง จากการศึกษาพบว฽าแผนที่มาตราส฽วน 1:100,000 ซึ่งตีพิมพแเผยแพร฽โดยหน฽วยงานที่เกี่ยวข฾องกับการ กําหนดเส฾นเขตแดนของทั้งสองประเทศต฽างระบุตําแหน฽งของสถานที่และจํานวนของหลักเสาเขตแดนไว฾ทั้งหมด แผนที่ทั้งหลายถูกนํามาเปรียบเทียบกับชุดแผนที่ของกองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) สามารถยืนยันความถูกต฾องได฾ทั้งหมด ยกเว฾นแห฽ง เดียว คือ บริเวณพื้นที่คอคอดทางบกระหว฽างแม฽น้ําปุาสักกับแม฽น้ําโขง ซึ่งแสดงตําแหน฽งของเส฾นเขตแดนไม฽ ตรงกัน แม฾ว฽าเส฾นเขตแดนจะมีความคล฾ายคลึงกัน แต฽ก็ไม฽เหมือนกันเสียทีเดียวกับเส฾นเขตแดนที่ปรากฏในแผน ที่ของฝุายกัมพูชา ดังนั้น แผนที่ของฝุายสหรัฐอเมริกาจึงระบุชัดลงไปว฽าพื้นที่บริเวณดังกล฽าวยังมีข฾อพิพาทเรื่อง เส฾นเขตแดน แต฽แผนที่ของฝุายกัมพูชาและเวียดนามก็ยืนยันว฽าเส฾นเขตแดนนั้นเป็นไปตามชุดแผนที่ของกอง บริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) ดังนั้น จึงเกิดข฾อพิพาทขึ้นในพื้นที่บริเวณดังกล฽าว จากชุดแผนที่ของกองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) รัฐบาลกัมพูชาได฾ส฽งคําชี้แจงรายละเอียดของแผนที่ชุดดังกล฽าว ไปยังสถานทูต สหรัฐอเมริกาในปี 2507/1964 ว฽ามีการเปลี่ยนแปลงของตําแหน฽งบนแผนที่จากฉบับที่เขียนด฾วยลายมือกับ ฉบับที่จัดพิมพแหลายต฽อหลายระวาง ซึ่งความแตกต฽างหลายแห฽งดูเหมือนจะเกิดจากปัญหาทางด฾านเทคนิค โดย ตําแหน฽งบนแผนที่ที่มีปัญหานั้น สหรัฐอเมริกาควรระบุข฾อความลงไปในแผนที่ด฾วยว฽าเส฾นเขตแดน “ยังไม฽ แน฽นอน (indefinite)” หรือเป็น “พื้นที่พิพาท (disputed sector)” ปัญหาประการแรกของพื้นที่พิพาท คือ ตําแหน฽งที่ตั้งของเส฾นเขตแดนในแม฽น้ําแพรกบินหแกี่ (Prek Binh Gi) ใกล฾กับจุดเชื่อมต฽อแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) (ภาพที่ 3.12) ซึ่งชุดแผนที่ของกองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีน ฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) แสดงเส฾นเขตแดนลากขนานไปทาง ทิศตะวันตกของแนวลําแม฽น้ํา ในขณะที่แผนที่ชุดของฝุายกัมพูชาระบุว฽า เส฾นเขตแดนคือเส฾นเดียวกันกับแนวลํา 100

แม฽น้ํา และคําสั่งวันที่ 26 กรกฎาคม 2485/1942 (Decree of July 26, 1942) ได฾ยืนยันว฽าเส฾นเขตแดนบน แผนที่ของฝุายกัมพูชานั้นถูกต฾อง ทําให฾แผนที่ชุดของสหรัฐอเมริกาต฾องเปลี่ยนแปลงตามคําท฾วงติงของฝุาย กัมพูชา ปัญหาประการที่ 2 คือ เส฾นเขตแดนบริเวณพื้นที่คอคอดทางบกระหว฽างแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) กับแม฽น้ํา โขง (ภาพที่ 3.12) พื้นที่พิพาทนี้มีสัณฐานเป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมีความยาวประมาณ 5 กิโลเมตร และมีความ กว฾างประมาณ 500 เมตร ความแตกต฽างในการตีความคําสั่งวันที่ 6 ธันวาคม 2478/1935 (Decree of December 6, 1935) คือสาเหตุของข฾อพิพาท เนื่องจากลักษณะเฉพาะของข฾อความที่ปรากฏในคําสั่งฯ ไม฽ สามารถระบุได฾บนแผนที่และมีการระบุพื้นที่พิพาทบนชุดแผนที่ของสหรัฐฯ ด฾วย

101

ภาพที่ 3.12 แสดงปัญหาประการที่ 1 ตําแหน฽งพื้นที่พิพาทของเส฾นเขตแดนในแม฽น้ําแพรกบินหแกี่ (Prek Binh Gi) ใกล฾กับจุดเชื่อมต฽อแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) และปัญหาประการที่ 2 ตําแหน฽งพิพาทของเส฾นเขตแดนในพื้นที่ บริเวณคอคอดแผ฽นดินระหว฽างแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) กับแม฽น้ําโขง มีสัณฐานของพื้นที่พิพาทเป็นรูปสามเหลี่ยม

102

ปัญหาประการที่ 3 คือ บริเวณพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของล็อคนินหแ (Loc Ninh) ระหว฽างแม฽น้ํา ดักเจอรมัน (Dak Jerman) กับแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) ซึ่งเป็นเขตปุาหนาทึบและไม฽มีผู฾คนอาศัยอยู฽ (ภาพที่ 3.13) โดยชุดแผนที่ของกองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) แสดงเส฾นเขตแดนว฽า ลากจากแหล฽งต฾นน้ําของแม฽น้ําดักเจอรมัน (Dak Jerman) ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือถึงแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) แต฽ในชุดแผนที่ของฝุายกัมพูชาได฾แสดงเส฾นเขตแดน ว฽า ลากข฾ามไปทางทิศตะวันออกของแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) แล฾วจึงลากต฽อไปทางทิศเหนือ 2.5 กิโลเมตร ก฽อนที่เส฾นเขตแดนจะถูกลากไปรวมกับแม฽น้ําดักเจอรมัน (Dak Jerman) นอกจากนี้ เส฾นที่แสดงทิศทางการ ไหลของแม฽น้ํา (drainage pattern) ที่ปรากฏในชุดแผนที่ของหน฽วยบริการแผนที่กองทัพบกแห฽งสหรัฐอเมริกา (The United States Defense Mapping Agency Topographic Center – DMATC) มาตราส฽วน 1:50,000 นั้น มีความแตกต฽างไปจากเส฾นที่แสดงทิศทางการไหลของแม฽น้ํา (drainage pattern) ที่แสดงบนชุด แผนที่ของกองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) มาตราส฽วน 1:100,000 คําสั่งวันที่ 31 กรกฎาคม 2457/1944 (Decree of July 31, 1914) กําหนดเอาไว฾ว฽าเส฾นเขตแดน บริเวณนี้ “ให฾เป็นไปตามลําแม฽น้ําดักเจอรมันขึ้นไปจนถึงแหล฽งต฾นน้ํา จนถึงจุดบรรจบกันของแม฽น้ําดารแกลี (Dar-Kle) กับแม฽น้ําดารแฮั้วด (Dar-Hoyt) หรือ แม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) แล฾วจึงไปตามลําน้ําแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) ขึ้นไปจนถึงแหล฽งต฾นน้ํา”78 แต฽ไม฽มีการระบุตําแหน฽งของแม฽น้ําดารแกลี (Dar-Kle) บนแผนที่ใดเลย และเป็นไปได฾ค฽อนข฾างยากที่จะระบุตําแหน฽งของลําน้ําสายนี้ ทําให฾เกิดปัญหาขึ้นว฽าใครจะเป็นผู฾กําหนด ตําแหน฽งที่ถูกต฾องทางตะวันออกของแหล฽งต฾นน้ําของแม฽น้ําดักเจอรมัน (Dak Jerman) เนื่องจากไม฽มีการ อธิบายถึงจุดตัดของแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) ในชุดแผนที่ของฝุายกัมพูชา พื้นที่ระหว฽างแม฽น้ําบริเวณนี้จึงต฾อง มีการระบุด฾วยว฽าเส฾นเขตแดน “ยังไม฽แน฽นอน (indefinite)” หรือเป็น “พื้นที่พิพาท (disputed sector)”

78 “following its [Dak Jerman] course to its source, to the confluence of Dar-Kle and of the Dar-Hoyt [Dak Huyt]; it follows the latter to its source” อ฾างใน Ibid, p.8. 103

ภาพที่ 3.13 แสดงปัญหาประการที่ 3 ตําแหน฽งพื้นที่พิพาทของเส฾นเขตแดนบริเวณพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ ล็อคนินหแ (Loc Ninh) ระหว฽างแม฽น้ําดักเจอรมัน (Dak Jerman) กับแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt)

104

ปัญหาประการที่ 4 คือ พื้นที่ขนาดใหญ฽ที่สุดซึ่งเป็นพื้นที่แห฽งเดียวที่มีหมู฽บ฾านตั้งอยู฽ (ภาพที่ 3.14) คําสั่ง วันที่ 31 กรกฎาคม 2457/1914 (Decree of July 31, 1914) ระบุว฽าเส฾นเขตแดนให฾เป็นไปตามลําแม฽น้ําดักฮ วี้ด (Dak Huyt) จนถึงแหล฽งต฾นน้ํา ระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร จากแต฽ปรากฏว฽าแม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) เกิดจากแม฽น้ํา 2 สาขา คือ แม฽น้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt) ทางใต฾ กับ แม฽น้ําดักแดง (Dak Dang) ทาง เหนือ ชุดแผนที่ซึ่งถูกพิมพแขึ้นในช฽วงก฽อนปี 2497/1954 ระบุว฽าเส฾นเขตแดนเป็นไปตามแม฽น้ําดักแดง (Dak Dang) ทางเหนือ แต฽ในชุดแผนที่ของฝุายกัมพูชาซึ่งถูกส฽งยังให฾สถานทูตสหรัฐอเมริกานั้น เส฾นเขตแดนในพื้นที่ บริเวณนี้มีรอยถูกลบออก และมีการลากเส฾นด฾วยลายมือเพื่อแสดงว฽าเส฾นเขตแดนนั้นเป็นดักไปตามลําน้ําดักฮ วี้ด (Dak Huyt) และดูเหมือนว฽าข฾อความที่ระบุในคําสั่งวันที่ 31 กรกฎาคม 2457/1914 (Decree of July 31, 1914) นั้น เป็นหลักฐานยืนยันว฽าชุดแผนที่ของฝุายกัมพูชามีความถูกต฾อง แต฽ชุดแผนที่ซึ่งถูกพิมพแขึ้นในที่ ต฽างๆ ไม฽เป็นไปตามข฾อความในเอกสารของฝรั่งเศส ปัญหาประการที่ 5 เกิดจากความไม฽ชัดเจนของเส฾นเขตแดนที่เป็นเส฾นตรงซึ่งลากระหว฽างแม฽น้ําสเรปก (Srepok) กับ แม฽น้ําเซซาน (Se San) ซึ่งชุดแผนที่ของกองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) มีจุดผิดพลาด โดยเส฾นเขตแดนซึ่งแสดงบนแผนที่ ระวางหมายเลข 164E กับระวางหมายเลข 164W นั้นไม฽ตรงกัน เพราะพิมพแเหลื่อมกันอยู฽ประมาณ 4 กิโลเมตร ตามแนวทิศเหนือ-ใต฾ แต฽ในชุดแผนที่ของฝุายกัมพูชาแสดงเส฾นเขตแดนว฽า แม฽น้ําทั้งสองสายนี้มา บรรจบกัน ณ จุดสิ้นสุดของเส฾นเขตแดนตามแนวเหนือ-ใต฾ และตัดผ฽านที่ราบลุ฽มแม฽น้ําเอียดรัง (Ia Drang) เนื่องจากไม฽มีการปักปันเส฾นเขตแดนในพื้นที่ดังกล฽าว เส฾นเขตแดนในพื้นที่บริเวณหุบแม฽น้ําเอียดรัง (Ia Drang Valley) จึงไม฽มีความชัดเจน และพื้นที่เดียวกันทางตอนเหนือของแม฽น้ําสเรปก (Srepok) ก็ยังมีปัญหาอยู฽เล็กน฾อยด฾วย จากชุดแผนที่ ของฝุายกัมพูชานั้น มีการลากเส฾นเขตแดนด฾วยลายมือเพิ่มเข฾ามา เช฽นเดียวกับพื้นที่ทางทิศตะวันตกในชุดแผน ที่ของฝุายเวียดนามด฾วย ปรากฏพื้นที่แคบๆ บนเส฾นเขตแดนว฽าเป็น “พื้นที่ปลอดนุษยแ (No Man‖s Land)” ซึ่ง สันนิษฐานว฽าเป็นข฾อผิดพลาดทางเทคนิค เนื่องจากเกิดปัญหาข฾อพิพาทเส฾นเขตแดน ดังนั้น สิ่งที่สามารถทําได฾คือ การระบุข฾อความเป็น มาตรฐานสากลบนแผนที่ว฽า “การแสดงแนวแบ฽งเส฾นเขตระหว฽างประเทศ ต฾องไม฽ถือกําหนดเป็นทางการ (International Boundary Representation Must not be considered Authoritative)”

105

ภาพที่ 3.14 แสดงปัญหาประการที่ 4 เส฾นเขตแดนในพื้นที่บริเวณนี้มีรอยถูกลบออก และมีการลากเส฾นด฾วย ลายมือเพื่อแสดงว฽าเส฾นเขตแดนนั้นเป็นไปตามลําน้ําดักฮวี้ด (Dak Huyt)

106

ปัญหาประการสุดท฾าย คือ ความต฽อเนื่องของเส฾นเขตแดนทางตอนเหนือบริเวณจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ซึ่งในชุดแผนที่ของกองบริการภูมิศาสตรแแห฽งอินโดจีนฝรั่งเศส (The French Service Géographique de l'Indochine – SGI) ระวางหมายเลข 156W กับระวางหมายเลข 148W เส฾นเขตแดนที่ปรากฏในชุดแผนที่ของฝุายเวียดนามถูกกําหนดขึ้นจากแนวสันปันน้ําซึ่งเขียนขึ้นมาใหม฽ จากเทคนิคการทําแผนที่ภาพถ฽ายทางอากาศในปี 2496/1953 แต฽ในชุดแผนที่ของฝุายกัมพูชาได฾แสดงเส฾นเขต แดนเช฽นเดียวกับแผนที่ระวาง 156W โดยใช฾ระวาง “ใหม฽ (new)” เฉพาะทางใต฾ แต฽ยังคงใช฾แผนที่ระวางเก฽า ทางเหนือ เพื่อให฾เส฾นเขตแดนสามารถต฽อกันได฾ระหว฽างแผนที่สองระวาง กัมพูชาจึงทําการลบเส฾นเขตแดนที่ พิมพแอยู฽บนแผนที่ระวางทางใต฾ออกไปประมาณ 1.6 กิโลเมตร แล฾วก็ลากเส฾นขึ้นมาใหม฽เพื่อให฾สามารถเชื่อมต฽อ เข฾ากับแผนที่ทางเหนือได฾อย฽างต฽อเนื่อง อย฽างไรก็ตาม ปัญหาเหล฽านี้เป็นเรื่องทางเทคนิค เนื่องจากทั้งสองประเทศตั้งใจที่จะใช฾หลักการกําหนด เส฾นเขตแดนตามแนวสันปันน้ํา และต฾องตั้งข฾อสังเกตไว฾ด฾วยว฽า ไม฽มีสนธิสัญญาหรือคําสั่งใดที่ระบุเกี่ยวกับการ ปักปันเส฾นเขตแดนทางตอนเหนือของเซซาน (Se San) เนื่องจากมีลักษณะภูมิประเทศที่ชัดเจนตามธรรมชาติ จึงไม฽จําเป็นจะต฾องเขียนระบุเอาไว฾บนแผนที่79

วิเคราะห์และสรุป จากการศึกษาพบว฽า รายละเอียดของสนธิสัญญาและคําสั่งที่เกิดขึ้นในช฽วงการบริหารงานอาณานิคม ของฝรั่งเศส คือ เอกสารพื้นฐานในการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม ตั้งแต฽บริเวณชายฝั่งห฽า เตียน (Ha Tien) จนไปถึงแม฽น้ําสเรปก (Srepok River) ทั้งสองประเทศยอมรับเส฾นเขตแดนที่กําหนดขึ้น ตามที่ปรากฎบนแผนที่ซึ่งแสดงเส฾นเขตแดนจนถึงเซซาน (Se San) คําสั่งทางปกครองของฝรั่งเศส ได฾กําหนด เส฾นเขตแดนเป็นระยะทางสั้นๆ บริเวณแม฽น้ําเซซาน (Se San) ทางด฾านเหนือไปจนถึงบริเวณจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม โดยเส฾นเขตแดนเป็นไปตามแนวสันปันน้ํา ทั้งนี้ ในปัจจุบันยัง ปรากฏว฽ามีข฾อพิพาทเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างกัน จํานวน 6 แห฽ง ได฾แก฽ 1. บริเวณจุดแยกของแม฽น้ําแพรกบินหแกี่ (Prek Binh Gi) กับแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) โดย ฝุายกัมพูชา อ฾างอิงเส฾นเขตแดนตามแนวลําน้ําเดิมซึ่งยืนยันตามข฾อความในคําสั่งทางปกครองของฝรั่งเศส 2. บริเวณพื้นที่คอคอดแผ฽นดินระหว฽างแม฽น้ําปุาสัก (Bassac) กับแม฽น้ําโขง โดย การปักปันเขตแดนที่ ถูกต฾องไม฽สามารถจัดทําได฾เนื่องจากข฾อมูลและหลักฐานที่มีอยู฽ไม฽เพียงพอ 3. พื้นที่ดักเจอรมัน (Dak Jerman) กับดักฮวี้ด (Dak Huyt) การกําหนดตําแหน฽งที่ถูกต฾องของเส฾นเขต แดนยังไม฽สามารถทําได฾ 4. ดักแดง (Dak Dang) กับ ดักฮวี้ด (Dak Huyt) ไม฽สามารถแก฾ไขข฾อพิพาทได฾เนื่องจากข฾อมูลและ หลักฐานที่มีอยู฽ไม฽เพียงพอ แม฽น้ําดักแดง (Dak Dang) ควรถูกกําหนดให฾เป็นเส฾นเขตแดนเนื่องจาก ยังอยู฽ระหว฽างการเจรจาเพื่อระงับข฾อพิพาท 5. พื้นที่สเรปก (Srepok) กับ เซซาน (Se San) ยังไม฽มีหลักการพื้นฐานเพื่อการปักปันเส฾นเขตแดน ระหว฽างกัน 6. ความต฽อเนื่องของเส฾นเขตแดนทางตอนเหนือบริเวณจุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ ได฾แก฽ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ไม฽สามารถแสดงเส฾นเขตแดนตามแนวสันปันน้ําที่แท฾จริงบนแผนที่ได฾

79 Ibid, p.6-9. 107

บทที่ 4 เส้นเขตแดนทางทะเล

นับตั้งแต฽ปี 2501/1958 เมื่อมีการประกาศใช฾ อนุสัญญากรุงเจนีวาว฽าด฾วยกฎหมายทะเล หรือ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 1 (United Nations Convention on the Law of the Sea – UNCLOS I)80 ประเทศต฽างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ก็เริ่มกําหนดอาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ระหว฽างกัน แต฽ก็ยังไม฽สามารถกําหนดให฾เสร็จสมบูรณแได฾ จนกระทั่งในปี 2525/1982 มีการ ประกาศใช฾อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II)81 ความคืบหน฾าของการกําหนดเส฾นเขตแดนของอาณาเขตทาง ทะเล (Maritime Zone) ของประเทศต฽างๆ จึงมีมากขึ้นเนื่องจากความพยายามในการแสวงหาผลประโยชนแ และเพื่อเพิ่มความมั่นคงทางทะเลของแต฽ละประเทศให฾มากที่สุดเท฽าที่จะทําได฾ ดังนั้น บทนี้จะกล฽าวถึงเส฾นเขตแดนของอาณาเขตทางทะเลระหว฽างประเทศในภูมิภาคอาเซียน ยกเว฾น ประเทศไทย แต฽เนื่องจากหลักเกณฑแและขั้นตอนในการกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลเป็นสาขาวิชาที่ต฾องใช฾ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด฾าน ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้จึงเป็นเพียงการอธิบายกําเนิดและพัฒนาการของอาณา เขตทางทะเล (Maritime Zone) เพื่อชี้ให฾เห็นกระบวนการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนทางทะเลเท฽านั้น โดยเส฾น เขตแดนทางทะเลที่จะนํามาศึกษามีจํานวนทั้งสิ้น 13 กรณี ดังที่แสดงเอาไว฾ในตารางที่ 4.1 และภาพที่ 4.1

80 อนุสัญญากรุงเจนีวาว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 1 (United Nations Convention on the Law of the Sea – UNCLOS I) ปี 2501/1958 ประกอบด฾วยกฎหมาย 4 ฉบับ ได฾แก฽ 1.อนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตและเขตต฽อเนื่อง (Convention on the Territorial Sea and the Contiguous Zone) 2. อนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลหลวง (Convention on the High Seas) 3. อนุสัญญาว฽าด฾วยการทําประมงและการอนุรักษแทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลหลวง (Convention on Fishing and Conservation of the Living Resources of the High Seas) และ 4. อนุสัญญาว฽าด฾วยไหล฽ทวีป (Convention on the Continental Shelf) โปรดดู “ประกาศ เรื่อง ใช฾อนุสัญญากรุงเจนีวาว฽าด฾วยกฎหมายทะเล” ใน ราช กิจจานุเบกษา (เล฽มที่ 86 ตอนที่ 44 วันที่ 20 พฤษภาคม 2512), หน฾า 450-518. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึง จาก http://bit.ly/1EObU2c 81 โปรดดู กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย, กระทรวงการต฽างประเทศ. หนังสืออนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมาย ทะเล 1982, พิมพแครั้งที่ 1 กันยายน 2548. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1KkOSmG และ ฉบับภาษาอังกฤษเข฾าถึงได฾จาก http://bit.ly/1dSph2X 108

ตารางที่ 4.1 กรณีศึกษาเส฾นเขตแดนทางทะเลระหว฽างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว฾นไทย) ที่ ประเด็น/พื้นที่พิพาท คู่พิพาท สถานะข้อพิพาท 1 ไหล฽ทวีปในช฽องแคบมะละกาและทะเลจีนใต฾ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ระงับแล฾ว 27 ต.ค. 2512/1969 2 ทะเลอาณาเขตในช฽องแคบมะละกา อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ระงับแล฾ว 8 ต.ค. 2514/1971 3 ทะเลอาณาเขตในช฽องแคบสิงคโปรแ อินโดนีเซีย-สิงคโปรแ ระงับแล฾ว 25 พ.ค. 2516/1973 4 ทะเลประวัติศาสตรแ (historic waters) กัมพูชา-เวียดนาม ระงับแล฾ว 7 ก.ค. 2525/1982 5 พื้นที่พัฒนาร฽วมบริเวณไหล฽ทวีป มาเลเซีย-เวียดนาม ระงับแล฾ว 5 มิ.ย. 2535/1992 6 ช฽องแคบยะโฮรแ (Strait of Johor) มาเลเซีย-สิงคโปรแ ระงับแล฾ว 7 ส.ค. 2538/1995 7 ไหล฽ทวีปถึงเกาะนาทูน฽า (Natuna Islands) อินโดนีเซีย-เวียดนาม ระงับแล฾ว 26 มิ.ย. 2546/2003 8 เส฾นเขตแดนทางทะเล บรูไน-มาเลเซีย ระงับชั่วคราว 16 มี.ค. 2009/2552 9 เกาะมิอังกัส (Miangas Island) อินโดนีเซีย-ฟิลิปปินสแ ยังไม฽ระงับ 10 เกาะลิกิตัน (Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Sipadan) อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ศาลโลกตัดสิน 17 ธ.ค. 2545/2002 11 แหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ยังไม฽ระงับ 12 ข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน มาเลเซีย-สิงคโปรแ ศาลโลกตัดสิน 23 พ.ค. 2551/2008 13 หมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratlys) บรูไน-มาเลเซีย- ยังไม฽ระงับ ฟิลิปปินสแ-เวียดนาม- จีน-ไต฾หวัน

109

ภาพที่ 4.1 แผนที่แสดงกรณีศึกษาเส฾นเขตแดนทางทะเลระหว฽างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ยกเว฾นไทย) 110

4.1 ไหล่ทวีปในช่องแคบมะละกาและทะเลจีนใต้ระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย

เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2512/1969 รัฐบาลมาเลเซียและรัฐบาลอินโดนีเซียสามารถบรรลุความตกลงว฽า ด฾วยไหล฽ทวีประหว฽างกัน และมีการให฾สัตยาบันในวันที่ 7 พฤศจิกายน 2512/1969 ความตกลงฉบับนี้ถือเป็น ความตกลงว฽าด฾วยอาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ฉบับแรกที่เกิดขึ้นโดยรัฐบาลของประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ความตกลงฉบับนี้ได฾กําหนดไหล฽ทวีป (Continental Shelf Boundary) ระหว฽าง อินโดนีเซียกับมาเลเซียโดยการลากเส฾นจํานวน 3 เส฾น เส฾นแรกอยู฽ในช฽องแคบมะละกาและอีกสองเส฾นอยู฽ใน ทะเลจีนใต฾ เส฾นแรก ถูกลากขึ้นในช฽องแคบมะละกามีความยาว 339 ไมลแทะเล (จุด 1-10) เป็นเส฾นมัธยะ (Median Line) ที่บังเอิญเป็นเส฾นเดียวกันนี้ถูกลากต฽อออกไปโดยความตกลงในปี 2514/1971 ระหว฽างอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย (หมายเลข 6-12) จนถึงจุดบรรจบของ 3 ประเทศ เรียกว฽า “จุดร฽วม (Common Point)” ซึ่งถูกกําหนดไว฾ในข฾อ 1 (3) ของความตกลงดังกล฽าว เส฾นที่สองมีความยาว 310 ไมลแทะเล (จุด 11-20) ถูกลาก ขึ้นระหว฽างคาบสมุทรมาเลเซียและเกาะของอินโดนีเซียในทะเลจีนใต฾ เส฾นนี้ก็เป็นเส฾นมัธยะเช฽นเดียวกัน จุด ปลายสุดทางเหนือของเส฾นนี้เป็นจุดกึ่งกลางระหว฽างแผ฽นดินของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย และเวียดนาม และ เส฾นที่สาม มีความยาว 264 ไมลแทะเล (จุด 21-25) ถูกลากขึ้นในทะเลจีนใต฾จากจุดปลายสุดของเส฾นเขตแดน ทางบกระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียบนชายฝั่งทางเหนือของเกาะบอรแเนียว ทั้งสามเส฾นดังกล฽าวถูกกําหนดขึ้นโดยการลากเส฾นไปตามแนวเส฾นมัธยะ (equidistant) จากจุดฐาน (basepoint) ของแต฽ละประเทศเพื่อแบ฽งเขตไหล฽ทวีป อย฽างไรก็ตามเส฾นขอบเขตที่ถูกลากขึ้นนี้จะ “ไม฽ส฽งผล กระทบทางหนึ่งทางใดต฽อความตกลงอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งรัฐบาลของทั้งสองประเทศจะมีการทํา ความตกลงเพื่อกําหนดเส฾นเขตแดนในทะเลอาณาเขตระหว฽างกัน (บทบัญญัติข฾อ 3 ของความตกลงฉบับนี้)” ความตกลงฉบับนี้ยังมีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการพิจารณาตําแหน฽งที่แท฾จริงของจุดพิกัดที่ได฾ตกลงกัน เอาไว฾ และขั้นตอนในการแสวงหาผลประโยชนแจากแหล฽งทรัพยากรแร฽ธาตุในบริเวณที่ตกลงกัน นอกจากนี้ยัง ระบุเอาไว฾ด฾วยว฽าหากเกิดข฾อพิพาทขึ้นจากการตีความหรือการปฏิบัติตามบทบัญญัติที่ถูกกําหนดไว฾จะต฾อง ดําเนินการระงับข฾อพิพาทโดยแนวทางสันติวิธี (peaceful means) โดยวิธีการเช฽นนี้เองความตกลงระหว฽าง ประเทศว฽าด฾วยเส฾นเขตแดนทางทะเลที่เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾จํานวนมากจึงมักใช฾ข฾อความ ตามบทบัญญัติของความตกลงฉบับนี้ อินโดนีเซียและมาเลเซียมีตําแหน฽งที่ตั้งทางภูมิศาสตรแอยู฽ตรงข฾ามกัน ส฽วนเส฾นเขตแดนบนเกาะบอรแเนียว นั้นมีที่ตั้งอยู฽ประชิดกัน อินโดนีเซียเป็นรัฐหมู฽เกาะแห฽งแรกและยังมีขนาดใหญ฽ที่สุดของโลกอีกด฾วย ดังนั้น อินโดนีเซียจึงทําการประกาศแนวขอบเขตทะเลอาณาเขต (territorial sea) ออกไปเป็นระยะ 12 ไมลแทะเล ใน 18 กุมภาพันธแ 2503/1960 โดยเป็นการประกาศเส฾นฐานตรง (straight baseline) ล฾อมรอบเกาะต฽างๆ จํานวน 13,667 เกาะ82 ส฽วนมาเลเซียนั้น มีการสํารวจและกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลของตนเองมาตั้งแต฽ ช฽วงคริสตแทศวรรษที่ 1960 เนื่องจากมีสาเหตุมาจากเหตุการณแต฽างๆ เช฽น การอับปางของเรือทอรแเรยแ แคน ยอน (Torrey Canyon) เมื่อเดือนมีนาคม 2510/1967 ที่บริเวณชายฝั่งตะวันตกของเมืองคอรแนวอลลแ (Cornwall) ประเทศอังกฤษ ซึ่งส฽งผลกระทบต฽อสิ่งแวดล฾อมตามแนวชายฝั่งและท฾องทะเลเป็นอย฽างยิ่ง เนื่องจากการรั่วไหลของน้ํามันที่บรรทุกมาในเรือลําดังกล฽าวทําให฾เกิดความยากลําบากในการฟื้นฟู สภาพแวดล฾อมและระบบนิเวศเป็นอย฽างยิ่ง โดยเฉพาะการขจัดคราบน้ํามันในทะเลในครั้งนั้นไม฽สามารถใช฾วิธี

82 Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.I (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 1993, 1996), p. 1,020. 111

อื่นได฾นอกจากการจุดไฟเผาเพื่อให฾น้ํามันระเหยหมดสิ้นไป83 รวมทั้งสถานการณแในตะวันออกกลางซึ่งทวีความ รุนแรงมากเกิดขึ้นจากการที่อียิปตแปิดคลองสุเอซ (Suez Canal) ในเดือนมิถุนายน 2510/1967 รัฐชายฝั่งทั้ง 4 ได฾แก฽ สิงคโปรแ ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ต฽างก็แสดงความกังวลต฽อความปลอดภัย ในการเดินเรือและการปกปูองสิ่งแวดล฾อมทางทะเลในช฽องแคบมะละกา เนื่องจากทั้ง 4 ประเทศเป็นผู฾ใช฾และมี แนวอาณาเขตอยู฽รอบพื้นที่ของช฽องแคบมะละกาที่ถือว฽าเป็นช฽องทางเดินเรือ (chokepoint) ขนส฽งทางทะเลที่ สําคัญที่สุดในโลก และเพื่อเป็นการยืนยันสิทธิ์ทางทะเลของมาเลเซีย มาเลเซียจึงได฾ประกาศแนวขอบเขตทะเล อาณาเขต (territorial sea) ออกไปเป็นระยะ 12 ไมลแทะเล ในเดือนสิงหาคม 2512/1969 แต฽ก็ยังสงวนสิทธิ์ที่ จะรับรองการประกาศเขตทางทะเลใหม฽ของอินโดนีเซียภายในระยะ 24 ไมลแทะเล โดยแนวคิดดังกล฽าวของ มาเลเซียจะตามมาด฾วยการกําหนดเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขต (territorial sea) กับรัฐที่อยู฽ตรงข฾าม ดังนั้น มาเลเซียจึงลงนามในความตกลงว฽าด฾วยไหล฽ทวีปกับอินโดนีเซียในปี 2512/1969 เป็นครั้งแรกโดย ตามมาด฾วยการลงนามในความตกลงว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตในปี 2513/1970 ซึ่งได฾รับแรงผลักดันจากการ แสวงหาผลประโยชนแในไหล฽ทวีป ซึ่งกระบวนการกําหนดแนวเส฾นมัธยะ (equidistance) ระหว฽างประเทศนั้น ปัจจัยทางการเมืองและปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข฾องไม฽เพียงกระทบต฽อพิกัดตําแหน฽งที่แท฾จริงของเส฾นเขตแดน แต฽ยัง ส฽งผลต฽อโอกาสในการดําเนินงานอีกด฾วย ไหล฽ทวีปเส฾นแรกและเส฾นที่สองถูกกําหนดขึ้นจากหลักการของเส฾นมัธยะ (equidistance) แต฽ไหล฽ทวีป เส฾นที่สามถูกกําหนดขึ้นจากเมืองตันจงดาตู (Tanjong Datu) ซึ่งเป็นจุดสุดท฾ายของเส฾นเขตแดนทางบก ระหว฽างกาลิมันตันของอินโดนีเซียกับซาราวักของมาเลเซียบนเกาะบอรแเนียว ซึ่งเส฾นดังกล฽าวเป็นเส฾นมัธยะ (median line) ที่ลากขึ้นจากจุดฐาน (basepoint) ของทั้งสองประเทศแต฽ก็ค฽อนไปทางอินโดนีเซียนิดหน฽อย มาเลเซียนั้นค฽อนข฾างที่จะไม฽ค฽อยเต็มใจนักในการที่จะให฾ข฾อตกลงที่มีระหว฽างกันส฽งผลอย฽างสมบูรณแในบางพื้นที่ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของตันจงดาตู (Tanjong Datu) โดยไหล฽ทวีปเส฾นที่ 3 ซึ่งลากไปตามจุดพิกัดที่ 21-25 ตามข฾อ 1 ของความตกลงฉบับนี้เกิดขึ้นจากความยินยอมตามการอ฾างสิทธิ์ของมาเลเซียเนื่องจากอินโดนีเซีย หวังว฽ามาเลเซียจะให฾การสนับสนุนสถานะการอ฾างสิทธิ์รัฐหมู฽เกาะ (Archipelagic State) ของตน ทําให฾เชื่อกัน ว฽าการกําหนดไหล฽ทวีปเส฾นที่สามดังกล฽าวเป็นการประนีประนอมเพื่อการแสวงหาผลประโยชนแระหว฽างกันและ เพื่อให฾สามารถบรรลุความสําเร็จในการทําความตกลงฉบับนี้ รูปแบบการดําเนินการดังกล฽าวระหว฽างมาเลเซีย กับอินโดนีเซียได฾กลายเป็นต฾นแบบของการทําความตกลงเกี่ยวกับอาณาเขตทางทะเลในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ โดยจะเห็นได฾จากการกําหนดเอาไว฾ในข฾อ 5 ของความตกลงฉบับนี้ ว฽า “ข฾อพิพาทใดๆ ระหว฽างทั้งสองประเทศที่จะเกิดขึ้นจากการตีความหรือการปฏิบัติตามสนธิสัญญานี้ ให฾ระงับอย฽างสันติ โดย วิธีการหารือหรือการเจรจา” พื้นที่ส฽วนใหญ฽ภายในเขตของไหล฽ทวีปที่ถูกกําหนดขึ้นจากความตกลงฉบับนี้มีระดับความลึกของท฾อง ทะเลน฾อยกว฽า 100 ฟาทอม หรือประมาณ 200 เมตร และเชื่อว฽าเป็นอาณาบริเวณที่จะสามารถแสวงหา ทรัพยากรใต฾พื้นทะเล เช฽น น้ํามัน และก฿าซธรรมชาติได฾

83 มัธยะ ยุวมิตร. การให฾สถานที่หลบภัยแก฽เรือที่ต฾องการความช฽วยเหลือ. (วิทยานิพนธแนิติศาสตรแมหาบัณฑิต สาขา กฎหมายการค฾าระหว฽างประเทศ คณะนิคิศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตแ, 2555), หน฾า 2-3. 112

ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียกับรัฐบาลแห่งมาเลเซีย เกี่ยวกับการก าหนดไหล่ทวีประหว่างสองประเทศ84

ข้อ 1 (1) เส฾นไหล฽ทวีประหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซียในช฽องแคบมะละกาและทะเลจีนใต฾ คือ เส฾นตรงที่ เชื่อมต฽อระหว฽างจุดในตารางที่ 1 ด฾านล฽างซึ่งระบุตําแหน฽งพิกัดของจุดเหล฽านั้นไว฾ในตารางที่ 2 และ 3 ดังนี้ A. ในช฽องแคบมะละกา (1) (2) (3) จุด ลองจิจูด ตะวันออก ละติจูด เหนือ 1 98° 17′ .5 05° 27′ .0 2 98° 41′ .5 04° 55′ .7 3 99° 43′ .6 03° 59′ .6 4 99° 55′ .0 03° 47′ .4 5 101° 12′ .1 02° 41′ .5 6 101° 46′ .5 02° 15′ .4 7 101° 13′ .4 01° 55′ .2 8 101° 35′ .0 01° 41′ .2 9 101° 03′ .9 01° 19′ .5 10 101° 22′ .8 01° 15′ .0 B. ในทะเลจีนใต฾ (ด฾านตะวันตก – ฝั่งตะวันออกของมาเลเซียตะวันตก) (1) (2) (3) จุด ลองจิจูด ตะวันออก ละติจูด เหนือ 11 104° 29′ .5 01° 23′ .9 12 104° 53′ .0 01° 98′ .0 13 105° 05′ .2 01° 54′ .4 14 105° 01′ .2 02° 22′ .5 15 104° 51′ .5 02° 55′ .2 16 104° 46′ .5 03° 50′ .1 17 104° 51′ .9 04° 03′ .0 18 105° 28′ .8 05° 04′ .7 19 105° 47′ .1 05° 40′ .6 20 105° 49′ .2 06° 05′ .8

84 โปรดดู “Agreement between the Government of the Republic of Indonesia and the Government of Malaysia Relating to the Delimitation of the Continental Shelves between the Two Countries,” in U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Continental Shelf Boundary (International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.1 of January 21, 1970.), pp. 2-4. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1hThUBN 113

C. ในทะเลจีนใต฾ (ด฾านตะวันออก – ชายฝั่งซาราวัก) (1) (2) (3) จุด ลองจิจูด ตะวันออก ละติจูด เหนือ 21 109° 38′ .8 02° 05′ .0 22 109° 54′ .5 03° 00′ .0 23 110° 02′ .0 04° 40′ .0 24 109° 59′ .0 05° 31′ .2 25 109° 38′ .6 06° 18′ .2 (2) พิกัดของจุดตามวงเล็บ (1) คือ พิกัดทางภูมิศาสตรแและเส฾นฐานตรงซึ่งลากเชื่อมต฽อกันระหว฽างจุด เหล฽านี้ ซึ่งถูกระบุเอาไว฾ในแผนที่แนบท฾าย “A” ตามความตกลงนี้ (3) ตําแหน฽งที่แท฾จริงของจุดทั้งหมดในทะเลจะได฾รับการกําหนดให฾แน฽ชัดโดยวิธีการที่เห็นพ฾องต฾องกัน โดยเจ฾าหน฾าที่ผู฾รับมอบอํานาจจากรัฐบาลของทั้งสองประเทศ (4) เพื่อให฾บรรลุจุดประสงคแตามวงเล็บ (3) “เจ฾าหน฾าที่ผู฾รับมอบอํานาจ” ฝุายมาเลเซียหมายถึง ผู฾อํานวยการการทําแผนที่แห฽งชาติ (Pengarah, Pemetaan Negara) รวมทั้งผู฾ที่ได฾รับมอบหมายจากเขา และ ฝุายอินโดนีเซีย หมายถึง ผู฾อํานวยการกรมอุทกศาสตรแกองทัพเรือ (Direktur, Direktorat Hidrografi Angkatan Laut) รวมทั้งผู฾ที่ได฾รับมอบหมายจากเขา ข้อ 2 รัฐบาลแต฽ละฝุายจะขอรับรองเพื่อให฾แน฽ใจว฽าทุกขั้นตอนที่จําเป็นจะต฾องถูกดําเนินการภายในประเทศ เพื่อให฾สอดคล฾องกับเงื่อนไขของความตกลงฉบับนี้ ข้อ 3 ความตกลงฉบับนี้จะไม฽ส฽งผลกระทบทางหนึ่งทางใดต฽อความตกลงอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งรัฐบาล ของทั้งสองประเทศจะมีการทําความตกลงเพื่อกําหนดเส฾นเขตแดนในทะเลอาณาเขตระหว฽างกัน ข้อ 4 หากมีแหล฽งปิโตรเลียมหรือก฿าซธรรมชาติใดทอดตัวข฾ามเส฾นฐานตรงตามข฾อ 1 และส฽วนใดส฽วนหนึ่งของ แหล฽งทรัพยากรดังกล฽าวตั้งอยู฽บนอีกด฾านหนึ่งของเส฾นฐานตรง และแหล฽งทรัพยากรเหล฽านั้นจะสามารถนํามาใช฾ เพื่อแสวงประโยชนแได฾ทั้งหมดหรือบางส฽วน รัฐบาลทั้งสองจะพยายามแสวงหาความตกลงที่เป็นไปในลักษณะ ของการนําแหล฽งทรัพยากรมาใช฾ให฾เกิดประโยชนแอย฽างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ข้อ 5 ข฾อพิพาทใดๆ ระหว฽างทั้งสองประเทศที่จะเกิดขึ้นจากการตีความหรือการปฏิบัติตามสนธิสัญญานี้ ให฾ ระงับอย฽างสันติ โดยวิธีการหารือหรือการเจรจา ข้อ 6 ความตกลงตกลงนี้จักไดรับสัตยาบันตามกระบวนการรัฐธรรมนูญของทั้งสองประเทศ ข้อ 7 สนธิสัญญานี้จะมีผลบังคับใช฾ในวันที่มีการแลกเปลี่ยนสัตยาบันระหว฽างกัน

เพื่อเป็นพยานแก฽การนี้ ผู฾ลงนามข฾างท฾ายได฾รับมอบหมายโดยถูกต฾องจากรัฐบาลได฾ลงนามในความตกลงนี้ ทําขึ้นเป็น 3 ฉบับ ณ กรุงกัวลาลัมเปอรแ วันที่ 27 ตุลาคม 1969 ในภาษามาเลเซีย ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษ ในกรณีที่ความแตกต฽างกันในการตีความตัวบทต฽างภาษา ให฾ถือตัวบทภาษาอังกฤษเป็นสําคัญ 114

ภาพที่ 4.2 แผนที่ United States Naval Oceanographic Chart No. H.O. 5591, 3rd Ed., May 26, 1969 แสดงจุด (Point) ทั้ง 25 จุดบนไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย (ที่มา: U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Continental Shelf Boundary. International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.1 of January 21, 1970. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1hThUBN)

115

ภาพที่ 4.3 แผนที่แสดงจุด (Point) ทั้ง 25 จุด บนไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย (ที่มา: Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.I (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 1993, 1996), p. 1,024) 116

จุด (Point) ต฽างๆ บนไหล฽ทวีปตามความตกลงดังกล฽าวข฾างต฾นคือเส฾นเดียวกับเส฾นฐานระหว฽าง อินโดนีเซียกับมาเลเซียในแผนที่นาวิกโยธินสหรัฐอเมริการะวางหมายเลข H.O. 5591 ฉบับที่ 3 วันที่ 26 พฤษภาคม 2512/1969 (ดูภาพที่ 4.2) พื้นที่ซึ่งลากเส฾นไหล฽ทวีปมีระดับความลึกของน้ําทะเลน฾อยกว฽า 100 ฟาทอม (200 เมตร) ยกเว฾นบริเวณจุด 25 ซึ่งมีความลึกที่ระดับ 100 ฟาทอมพอดี และเป็นจุดสุดท฾ายของไหล฽ ทวีปในทะเลจีนใต฾ เป็นที่น฽าสนใจว฽า ไหล฽ทวีประหว฽างทั้งสองประเทศแบ฽งออกเป็น 3 ส฽วนที่แยกออกจากกัน ได฾แก฽ ส฽วนแรกด฾านตะวันตกของช฽องแคบมะละกา จุด 1 ตั้งอยู฽ที่ระยะห฽าง 54 ไมลแทะเลทางตะวันออกเฉียงใต฾ ของขอบของไหล฽ทวีปและมีระดับความลึกอยู฽ที่ 55 ฟาทอม จุด 1 ตั้งอยู฽ที่จุดบรรจบกันของ 3 ประเทศ (Tripoint) คือ ไทย – มาเลซีย – อินโดนีเซีย โดยไม฽ปรากฎว฽ามีข฾อพิพาทกับการอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปของไทย ซึ่ง ไหล฽ทวีปส฽วนแรกนี้ลากจากจุด 1 ถึงจุด 10 มีความยาวของเส฾น 399 ไมลแทะเล หรือคิดเป็นระยะห฽างจากจุด หนึ่งถึงอีกจุดหนึ่งเฉลี่ยประมาณ 39.9 ไมลแทะเล ระดับความลึกที่สุดของไหล฽ทวีปส฽วนนี้อยู฽ที่ 55 ฟาทอม และ มีระดับความลึกเฉลี่ย 22.7 ฟาทอม ในช฽องแคบมะละกาไหล฽ทวีปทําหน฾าที่แบ฽งพื้นท฾องทะเลระหว฽างมาเลเซีย และอินโดนีเซียตามแนวเส฾นฐานตรง ระยะห฽างเฉลี่ยช฽วงกลางของจุดจากเส฾นฐานตรงระหว฽างอินโดนีเซียกับ มาเลเซียคิดเป็นระยะทาง 17.9 ไมลแทะเล จุดสุดท฾ายทางทิศตะวันออกของไหล฽ทวีปส฽วนนี้อยู฽ที่จุด 10 ซึ่ง สิงคโปรแอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณาเขตในบริเวณช฽องแคบสิงคโปรแด฾วย ส฽วนที่ 2 ของไหล฽ทวีปเริ่มต฾นที่จุด 11 ในพื้นที่ช฽องแคบสิงคโปรแและขยายออกไปที่จุด 20 ในทะเลจีนใต฾ ไหล฽ทวีปมีความยาว 310 ไมลแทะเล คิดเป็นระยะห฽างจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่งเฉลี่ยประมาณ 31.0 ไมลแทะเล จุด 20 ซึ่งเป็นจุดสุดท฾ายของไหล฽ทวีปส฽วนนี้ คือ จุดกึ่งกลางระหว฽าง มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเวียดนาม บริเวณนี้ ไหล฽ทวีปเป็นไปตามระยะกึ่งกลางตามแนวเส฾นฐานตรงระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย จุดกึ่งกลาง ของไหล฽ทวีปส฽วนนี้มีระยะห฽างเฉลี่ยอยู฽ที่ 67 ไมลแทะเลจากเส฾นฐานตรงของทั้งสองประเทศ ความลึกเฉลี่ยที่ บริเวณจุดกลางอยู฽ที่ 31.5 ฟาทอม และมีความลึกมากที่สุดอยู฽ที่ 43 ฟาทอม โดยก฽อนที่จะมีความตกลงฉบับนี้ พื้นที่ไหล฽ทวีปส฽วนที่ 2 และ 3 คือพื้นที่ที่มีข฾อพิพาทในการอ฾างสิทธิ์ระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย ส฽วนที่ 2 ของไหล฽ทวีป คือจุด 11 – 20 ซึ่งเห็นได฾ชัดเจนว฽าถูกกําหนดขึ้นโดยแยกออกจากการอ฾างสิทธิ์เดิมและแสดงให฾ เห็นส฽วนที่เท฽ากันของไหล฽ทวีประหว฽างเส฾นฐานของทั้งสองประเทศ ส฽วนที่ 3 ของ ไหล฽ทวีป มีความยาว 264 ไมลแทะเล จากจุด 21 (Tg Datu) บนแผ฽นดินในเกาะบอรแเนียวไปยังจุด 25 ซึ่งมีระดับความลึกอยู฽ที่ 100 ฟาทอม ซึ่งเป็นบริเวณปลายสุดของไหล฽ทวีป ระยะห฽างจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่งเฉลี่ยประมาณ 52.8 ไมลแทะเล และมีความลึกเฉลี่ยอยู฽ที่ 67 ฟาทอม (ดูรายละเอียดตามตารางที่ 4.2)

117

ตารางที่ 4.2 แสดงลักษณะทางกายภาพของเส฾นไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย จุด ระยะห่าง ความลึก ดินแดนที่ตั้งอยู่ใกล้ที่สุด (ไมล์ทะเล) (Point) ระหว่างจุด (ฟาทอม) ดินแดนอินโดนีเซีย จุดกลาง ดินแดนมาเลเซีย (ไมล์ทะเล) 1 55 อุดจุงเปอเรอลัก (Udjung Peureulak) 42 เกาะเปอรัก (Pulau Perak) 39 2 37 อุดจุง ตามิอัง (Udjung Tamiang) 38 เส฾นฐาน 83 3 34 เกาะเบอรแฮาลา (Pulau Berhala) 18 เส฾นฐาน 18 4 30 เส฾นฐาน 15 เกาะจารัก (Pulau Jarak) 101 5 9 เส฾นฐาน 13 เส฾นฐาน 43 6 10 เกาะรูปัท (Pulau Rupat) 11 แหลมราคาโด (Cape Racado) 34 7 19 เส฾นฐาน 10 ปูโล อันดัน (Pulo Undan) 26 8 13 เกาะเบิงกาลิส (Pulau Bengkalis) 12 ตอฮอรแ (Tg Tohor) 36 9 5 เส฾นฐาน 14 เส฾นฐาน 19 10 15 เดอะ บราเธอสแ (The Brothers) 6 เกาะโกกบ (Pula Kokob) ช่องแคบสิงคโปร์ (Singapore Strait) 11 14 เบอรากิต (Tg Berakit) 11 แผ฽นดิน 19 12 22 เบอรากิต (Tg Berakit) 30 เส฾นฐาน 22 13 30 ตอกอง มาลังบิรู (Tokong Malangbiru) 39 เส฾นฐาน 28 14 30 เส฾นฐาน 30 เกาะอาอูรแ (Palau Aur) 34 15 31 เกาะดามารแ (Pulau Damar) 33 เส฾นฐาน 56 16 37 เกาะมังกาอิ (Pulau Mangkai) 66 เส฾นฐาน 14 17 40 เกาะมังกาอิ (Pulau Mangkai) 71 เส฾นฐาน

118

72 18 43 ตอกอง นานาส (Tokong Nanas) 106 เกาะเติงกอล (Pulau Tenggol) 41 19 37 ตอกอง เบอลาจารแ (Tokong Belajar) 135 เกาะเติงกอล (Pulau Tenggol) 24 20 31 เกาะเซอมิอุม (Pulau Semiun) 149 เกาะเติงกอล (Pulau Tenggol) จุดตัดการเชื่อมต่อ (Disconnected Points) 21 แผ฽นดิน ดาตู (Tg Datu) A ดาตู (Tg Datu) 58 22 30 เกาะเกอปาลา (Pulau Kepala) ดาตู (Tg Datu) 102 50 58 23 58 เซนูอารแ (Senua) ซีริก (Tg Sirik) 52 103 139 24 80 เกาะลาอุต (Pulau Laut) ซีริก (Tg Sirik) 52 125 185 25 100 เกาะลาอุต (Pulau Laut) ซีริก (Tg Sirik) 132 236 ที่มา: ปรับปรุงจาก U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Continental Shelf Boundary (International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.1 of January 21, 1970.), pp. 5 – 6.

ส฽วนที่เหลือของตาราง ไม฽ได฾ใช฾ระยะทางที่เป็นจุดกึ่งกลางซึ่งวัดระหว฽างดินแดนของทั้งสองประเทศ แต฽เป็น ระยะทางที่วัดจากดินแดนของแต฽ละประเทศถึงจุดในไหล฽ทวีป ได฾แก฽ จุด (Point) 22 ถึงจุด จุด (Point) 25 โดยระบุระยะทางเอาไว฾ที่ชื่อดินแดนเหล฽านี้

119

4.2 ทะเลอาณาเขตในช่องแคบมะละการะหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย

รัฐบาลอินโดนีเซียและรัฐบาลมาเลเซียลงนามในสนธิสัญญาว฽าด฾วยการกําหนดทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ในวันที่ 17 มีนาคม 2513/1970 โดยกําหนดทะเลอาณาเขตระหว฽างกันในช฽องแคบมะละกา (Strait of Malacca) และมีผลบังคับใช฾ในวันที่ 10 มีนาคม 2514/1971 ทั้งนี้ มาเลเซียเป็นภาคีในอนุสัญญา ว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตและเขตต฽อเนื่อง (Geneva Convention on the Territorial Sea and Contiguous Zone) ปี 2501/1958 ในปี 2513/1970 เมื่อมีการลงนามในสนธิสัญญาทะเลอาณาเขตฉบับนี้ มาเลเซียมองเห็นผลประโยชนแที่ มีอยู฽ในแหล฽งทรัพยากรในท฾องทะเลมากกว฽าการกําหนดเส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตกับอินโดนีเซีย ซึ่งเหตุผล เดียวกันนี้เองที่ทําให฾เกิดความตกลงเรื่องไหล฽ทวีปในปี 2512/1969 ซึ่งอาจกล฽าวได฾ว฽ามาเลเซียยอมจํากัดเขต ทางทะเลของตนให฾อยู฽ภายในระยะ 24 ไมลแทะเล จากชายฝั่งของอินโดนีเซีย และในทางเดียวกันมาเลเซียก็ ประกาศทะเลอาณาเขตภายในระยะ 12 ไมลแทะเล อย฽างเป็นทางการในปี 2512/1969 เป็นที่แน฽ชัดว฽า ไม฽ ปรากฏเหตุผลทางการเมือง ยุทธศาสตรแ หรือประวัติศาสตรแใดโดยเฉพาะซึ่งทําให฾เกิดเส฾นเขตแดนตามความตก ลงฉบับนี้ กระนั้น สนธิสัญญาว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตฉบับนี้จึงถือเพียงว฽าเป็นผลสืบเนื่องจากการทําความตกลง ไหล฽ทวีปฉบับก฽อนหน฾านั่นเอง ในสนธิสัญญาฉบับนี้ เป็นการกําหนดขอบเขตของทะเลอาณาเขตเท฽านั้น โดยพื้นที่ซึ่งถูกสงวนเอาไว฾ ภายในพื้นที่สีเทา (Gray Area – ดูภาพที่ 4.5) ยังคงอยู฽ภายใต฾อํานาจอธิปไตยไหล฽ทวีปของอินโดนีเซีย แต฽ เนื่องจากความต฾องการที่จะบรรลุจุดประสงคแเพื่อการระงับข฾อพิพาทที่อาจเกิดขึ้นจากการตีความหรือการ ปฏิบัติตามบทบัญญัติของสนธิสัญญา ทําให฾ยังคงมีการระยุข฾อความเช฽นเดียวกับที่ทําไว฾ในความตกลงฉบับปี 2512/1969 นั่นคือ “ให฾ระงับอย฽างสันติ โดยวิธีการหารือหรือการเจรจา” (ข฾อ 3 ของสนธิสัญญาฉบับนี้) ฝุายอินโดนีเซีย มีความยากลําบากมากกว฽าในแง฽ของลักษณะทางภูมิศาสตรแ เนื่องจากมีความซับซ฾อน ของบรรดาหมู฽เกาะน฾อยใหญ฽จํานวนมาก ดังนั้นจึงตัดสินใจที่จะลากเส฾นเขตแดนให฾ใกล฾เคียงกับเส฾นแนวชายฝั่ง (coastline) ของทั้งสองประเทศให฾มากที่สุด ทําใส฾สามารถมองข฾ามผ฽านปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของภูมิประเทศซึ่ง ส฽งผลกระทบต฽อการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างกันได฾

120

สนธิสัญญาระหว่างสาธารณรัฐอินโดนีเซียกับมาเลเซีย ว่าด้วยการก าหนดเส้นเขตแดนของทะเลอาณาเขตของทั้งสองประเทศในช่องแคบมะละกา85

สาธารณรัฐอินโดนีเซียและมาเลเซีย โดยสังเกตเห็นว฽าแนวชายฝั่งของทั้งสองประเทศอยู฽ตรงข฾ามกันในช฽องแคบมะละกาและความกว฾างของ ทะเลอาณาเขตของแต฽ละประเทศอยู฽ที่ 12 ไมลแทะเล โดยปรารถนาที่จะกระชับสายสัมพันธแแห฽งมิตรภาพซึ่งมีมายาวนานของทั้งสองประเทศให฾แน฽นแฟูนยิ่งขึ้น โดยปรารถนาเช฽นกันที่จะกําหนดเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขตของทั้งสองประเทศในส฽วนแคบของ ช฽องแคบมะละกา โดยแบ฽งดังนี้ a. ทางเหนือ โดยเส฾นที่เชื่อมต฽อระหว฽าง ตันจุง ตู (Tandjung Thu) ละติจูด 02° 51.1′ เหนือ ลองจิจูด 101°16.9′ ตะวันออก ถึงจุด (Point) 1 ละติจูด 02°51.6′ เหนือ 101°00.2′ ตะวันออก ถึง เกาะบาตู มันดี (Batu Mandi Isle) ละติจูด 02°52.2′ เหนือ ลองจิจูด 100°41.0′ ตะวันออก และ b. ทางใต฾ โดยเส฾นที่เชื่อมต฽อระหว฽าง ตันจุง ปิไอ (Tandjung Piai) ละติจูด 01°16.2′ เหนือ ลองจิจูด 103°30.5′ ตะวันออก ถึง จุด (Point) 8 ละติจูด 01°15.0′ เหนือ ลองจิจูด. 103°22.8′ ตะวันออก ถึง เกาะอีจู เก็ทจิล (Iju Ketjil Isle) ละติจูด 01°11.2′ เหนือ ลองจิจูด 103°21.0′ ตะวันออก และตันจุง เกอดาบู (Tandjung Kedabu) ละติจูด 01°05.9′ เหนือ ลองจิจูด 102°58.5′ ตะวันออก ได฾ตกลงกันดังต฽อไปนี้ ข้อ 1 (1) โดยไม฽มีการตัดทอนบทบัญญัติในวงเล็บ (2) ของข฾อนี้ เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตของอินโดนีเซีย และมาเลเซียในช฽องแคบมะละกาในพื้นที่ที่ระบุเอาไว฾ในส฽วนนําของสนธิสัญญานี้จะเป็นเส฾นที่อยู฽ตรงกลางซึ่ง ลากออกมาจากเส฾นฐานของแต฽ละฝุายตามพื้นที่กล฽าวไว฾ (2) (a) ยกเว฾นที่กล฽าวไว฾ในอนุ b ในวงเล็บ (2) ของข฾อนี้ พอกัดของจุดของเส฾นเขตแดนเป็นดังนี้ จุด 1 101° 00.2′ ตะวันออก 02° 51.6′ เหนือ จุด 2 101° 12.1′ ตะวันออก 02° 41.5′ เหนือ จุด 3 101° 45.5′ ตะวันออก 02° 15.4′ เหนือ จุด 4 102° 13.4′ ตะวันออก 01° 55.2′ เหนือ จุด 5 102° 35.0′ ตะวันออก 01° 41.2′ เหนือ จุด 6 103° 02.1′ ตะวันออก 01° 19.1′ เหนือ จุด 7 103° 03.9′ ตะวันออก 01° 19.5′ เหนือ จุด 8 103° 22.8′ ตะวันออก 01° 15.0′ เหนือ

(b) จุด 6 ไม฽ใช฾กับมาเลเซีย

85 โปรดดู “Treaty between the Republic of Indonesia and Malaysia on Determination of Boundary Lines of Territorial Waters of the Two Nations at the Strait of Malacca,” in U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Territorial Sea Boundary (International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.50 of January 10, 1973.), pp. 2-4. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1Ed73gj

121

(3) พิกัดของจุดตามที่กําหนดไว฾ในวงเล็บ (2) เป็นพิกัดทางภูมิศาสตรแและเส฾นเขตแดนซึ่งเชื่อมต฽อตามที่ แสดงไว฾ในแผนที่แนบท฾ายสนธิสัญญานี้เรียกว฽า แผนที่แนบ “A” (4) พื้นที่จริงของจุดที่ระบุไว฾ข฾างต฾นจะถูกกําหนดโดยวิธีการร฽วมกันซึ่งรับรองโดยเจ฾าหน฾าที่ผู฾รับมอบ อํานาจอย฽างเป็นทางการของทั้งสองประเทศ (5) ที่กล฽าวถึง “เจ฾าหน฾าที่ผู฾รับมอบอํานาจ” ในวงเล็บ (4) คือ ฝุายอินโดนีเซีย หมายถึง ผู฾อํานวยการ กรมอุทกศาสตรแกองทัพเรือ (Director of Naval Hydrography of the Republic of Indonesia) รวมถึงผู฾ที่ ได฾รับมอบหมายทุกคน และฝุายมาเลเซีย หมายถึง ผู฾อํานวยการแผนที่ของรัฐมาเลเซีย ผู฾อํานวยการการทํา แผนที่แห฽งชาติ (Director of Mapping of the State of Malaysia) รวมถึงผู฾ที่ได฾รับมอบหมายทุกคน ข้อ 2 ภาคีแต฽ละฝุายให฾สัญญาที่จะยืนยันว฽าทุกมาตรการที่จําเป็นจะต฾องดําเนินการภายในประเทศให฾เป็นไป ตามบทบัญญัติที่อยู฽ในสนธิสัญญานี้ ข้อ 3 ข฾อพิพาทใดๆ ระหว฽างทั้งสองประเทศที่จะเกิดขึ้นจากการตีความหรือการปฏิบัติตามสนธิสัญญานี้ ให฾ ระงับอย฽างสันติ โดยวิธีการหารือหรือการเจรจา ข้อ 4 สนธิสัญญานี้จะได฾รับการรับรองตามกฎหมายตามที่กําหนดโดยขั้นตอนทางรัฐธรรมนูญของแต฽ละประเทศ ข้อ 5 สนธิสัญญานี้จะมีผลบังคับใช฾ ณ วันที่มีการแลกเปลี่ยนหนังสือสัญญาตามกฎหมาย

ทําเป็น 3 ฉบับ ณ กรุงจาการแตา วันที่ 25 พฤษภาคม 1973 ในภาษาอินโดนีเซีย มาเลเซีย และ ภาษาอังกฤษ ในกรณีที่มีความแตกต฽างกันในการตีความตัวบทต฽างภาษา ให฾ถือตัวบทภาษาอังกฤษเป็นสําคัญ

สําหรับสาธารณรัฐอินโดนีเซีย สําหรับมาเซีย อาดัม มาลิก จุน ฮัจจี อับดุล ราซัก บิน ดาโต฿ะ ฮัสเซน (Adam Malik) (Jun Haji Abdul Razak Bin Dato Hussein) รัฐมนตรีต฽างประเทศ รองนายกรัฐมนตรี

122

ภาพที่ 4.4 แผนที่ H.O. 71000, 15th Edition, June 1940, Revised 10/27/69. แสดงเส฾นเขตแดนทะเล อาณาเขตระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียในช฽องแคบมะละกา (ที่มา: ดูขนาดใหญ฽ใน U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Territorial Sea Boundary (International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.50 of January 10, 1973) เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1Ed73gj)

123

ภาพที่ 4.5 แผนที่แสดง จุด (Point) ทั้ง 8 ของเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขตระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย ในช฽องแคบมะละกา (ที่มา: Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.I (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 1993, 1996), p. 1,034.) 124

เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขต (territorial sea boundary) ที่ปรากฏในแผนที่นาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ระวางหมายเลข 71000 ฉบับที่ 15 มิถุนายน 2483/1940 ปรับปรุงเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2512/1969 (ดูภาพ ที่ 4.4) ซึ่งการทําแผนที่ดังกล฽าวเกิดข฾อผิดพลาด 2 ประการ คือ (1) จุด 4 (สีแดง) และจุด 7 (สีฟูา) ตั้งอยู฽ที่ระยะ 2 ไมลแทะเลทางตะวันตกเฉียงใต฾ของจุดบนแผนที่ (2) ระหว฽างขั้นตอนการทําสําเนาแผนที่ฉบับนี้ มีความคลาดเคลื่อนของเส฾นสีแดงเล็กน฾อย แต฽ก็ไม฽มาก จนที่จะไปแทนที่จุดของเส฾นเขตแดนที่แท฾จริง ทั้งอินโดนีเซียและมาเลเซียต฽างอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณาเขตระยะ 12 ไมลแทะเล ทําให฾เส฾นเขตแดนทะเล อาณาเขตถูกกําหนดขึ้นในช฽องแคบมะละกาจากพิกัดที่ละติจูด 02 องศา 51.6 ลิปดา เหนือ ลองจิจูด 01 องศา 00.2 ลิปดา ตะวันออก ถึงละติจูด 01 องศา 15.0 ลิปดา เหนือ ลองจิจูด 103 องศา 22.8 ลิปดา ตะวันออก (02°51.6′N., 101°00.2′E,; 01°15.0′N., 103°22.8′E.) การอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณาเขตของแต฽ละประเทศมีความแตกต฽างกันในประเด็นความยาวของเส฾นเขตแดน เนื่องจากพื้นที่ทะเลหลวงที่เหลืออยู฽ในช฽องแคบมะละกามีขนาดเล็กมาก และทําหน฾าที่แบ฽งเส฾นเขตแดนทะเล อาณาเขตไปด฾วย โดยเฉพาะพื้นที่สามเหลี่ยมของจุด 5-6-7 ซึ่งทะเลอาณาเขตของมาเลเซียลากจากจุด 5 ถึง 7 มีความยาว 173 ไมลแทะเล (ซึ่งไหล฽ทวีปของมาเลเซียเป็นเส฾นเดียวกับทะเลอาณาเขต) ส฽วนเส฾นเขตแดนทะเล อาณาเขตของอินโดนีเซียนั้นถูกกําหนดโดยจุด 5-6-7 มีความยาว 174 ไมลแทะเล ซึ่งยาวกว฽าของมาเลเซีย (ดู ตารางที่ 4.3) สนธิสัญญาระบุว฽า เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตเป็นเส฾นแบ฽งระหว฽างเส฾นฐานของอินโดนีเซียและ มาเลเซีย โดยอินโดนีเซียได฾ประกาศใช฾เส฾นฐานตรง (straight baselines) เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธแ 2513/196086 และดูเหมือนว฽ามาเลเซียก็ใช฾ระบบเส฾นฐานตรงไม฽ต฽างไปจากที่อินโดนีเซียประกาศเอาไว฾ อย฽างไรก็ตาม มาเลเซียไม฽เคยประกาศระบบเส฾นฐานตรงอื่นนอกจากการอ฾างอิงความตกลงไหล฽ทวีประหว฽าง อินโดนีเซียกับมาเลเซียซึ่งมีการแลกเปลี่ยนสัตยาบันต฽อกันไปเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2512/196987 เมื่อพิจารณาความตกลงทะเลอาณาเขตและไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย ก็เป็นที่ชัดเจนว฽า มาเลเซียได฾อาศัยการกําหนดระบบเส฾นฐานตรงดังกล฽าวเพื่อลากเส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตของตน และยังใช฾ เพื่ออ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปในช฽องแคบมะละกาอีกด฾วย เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตนี้สอดคล฾องกับไหล฽ทวีปในปี 2512/1969 ยกเว฾นในพื้นที่สามเหลี่ยมจุด 5-6-7 โดยทุกจุดบนเส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตตรงกับจุดบนไหล฽ ทวีป ยกเว฾นจุด 1 และ 6 โดยจุด 1 ตั้งอยู฽บนไหล฽ทวีปแต฽ไม฽ใช฽จุดเดียวกับไหล฽ทวีป ส฽วนจุด 6 อยู฽บนเส฾นเขต แดนทะเลอาณาเขตของอินโดนีเซีย อย฽างไรก็ตาม เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตและไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียในช฽องแคบมะ ละกา มีความสัมพันธแโดยตรงกับตามความตกลงของ 3 ประเทศ ระหว฽างอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ที่จุด บรรจบกันของ 3 ประเทศ (Tripoint) ซึ่งสามารถยืนยันอํานาจอธิปไตยสมบูรณแของอาณาเขตทางทะเลใน อาณาบริเวณช฽องแคบมะละกาด฾วย

86 โปรดดู U.S. Department of State, Office of the Geographer. Straight Baselines Indonesia. International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.35 of July 20, 1971. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1NDoPvb 87 โปรดดู U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Continental Shelf Boundary. International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.1 of January 21, 1970. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1hThUBN 125

ตารางที่ 4.3 แสดงจุดเส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย จุด (Turning Point) ระยะทางถึงเส้นฐาน (ไมล์ทะเล) ระยะระหว่างจุด (ไมล์ทะเล) อาณาเขต ไหล่ทวีป 1 - 11.5 15.0 2 5 10.5 43.5 3 6 10.0 33.0 4 7 10.5 25.0 5 8 12.0 36.5* 6** - 12.0 3.5* 7 9 11.5 17.5 8 10 4.5 * ทะเลอาณาเขตของอินโดนีเซีย แต฽ทะเลอาณาเขตจากจุด 5-7 ของมาเลเซียมีระยะ 39.0 ไมลแทะเล ** จุด 6 ไม฽เป็นของมาเลเซีย เนื่องจากเกินกว฽าทะเลอาณาเขตของมาเลเซีย ที่มา: ปรับปรุงจาก U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Territorial Sea Boundary (International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.50 of January 10, 1973.), pp. 4-5.

126

4.3 ทะเลอาณาเขตในช่องแคบสิงคโปร์ระหว่างอินโดนีเซียกับสิงคโปร์

รัฐบาลอินโดนีเซียและสิงคโปรแ สามารถลงนามในความตกลงกําหนดเงื่อนไขเส฾นเขตแดนทะเลอาณา เขต (territorial sea) ระหว฽างกันได฾สําเร็จเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2516/1973 ซึ่งฝุายอินโดนีเซียให฾สัตยาบัน รับรองเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2516/1973 และฝุายสิงคโปรแให฾สัตยาบันรับรองเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2517/1974 และทั้งสองประเทศยังเป็นภาคีในอนุสัญญาเจนีวาว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตและเขตต฽อเนื่อง (Geneva Convention on the Territorial Sea and Contiguous Zone) ปี 2501/1958 อีกด฾วย เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตในช฽องแคบสิงคโปรแเป็นเส฾นที่เขื่อมต฽อระหว฽างจุดที่ถูกกําหนดขึ้นจํานวน 6 จุด โดย 3 จุดอยู฽ทางตะวันออกเป็นเส฾นมัธยะ (equidisyance) ที่ลากขึ้นระหว฽างอินโดนีเซียและสิงคโปรแ และ อีก 2 ใน 3 จุดทางตะวันตกเป็นเส฾นที่ลากเบนเข฾าไปในฝั่งของอินโดนีเซียเล็กน฾อย และอีก 1 จุดที่เหลือตั้งอยู฽ที่ ระยะ 0.5 ไมลแทะเล ภายในระบบเส฾นฐานของรัฐหมู฽เกาะของอินโดนีเซีย ความตกลงว฽าด฾วยทะเลอาณาเขต “3 ไมลแทะเล” เป็นความโดดเด฽นท฽ามกลางการใช฾ระยะ 12 ไมลแ ทะเล ของประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ สิงคโปรแจึงจําเป็นที่จะต฾องมีความตกลง 3 ประเทศ (triparties agreement) คือกับมาเลเซียและอินโดนีเซียเพิ่มเติม เพื่อให฾สามารถกําหนดเส฾นเขตแดนทะเล อาณาเขตได฾อย฽างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น เส฾นเขตแดนตามความตกลงฉบับนี้จึงเป็นการกําหนดขอบเขตกับรัฐ ชายฝั่งอื่นๆ ที่อยู฽ตรงข฾ามซึ่งมีทะเลอาณาเขตอยู฽ประชิดติดกัน อย฽างไรก็ตาม เส฾นเขตแดนทางทะเลเป็นการ ลากเส฾นขึ้นมาจากการกําหนดเส฾นมัธยะ (equidistance) โดยเฉพาะทั้งอินโดนีเซียและสิงคโปรแ ซึ่งมีความ กังวลต฽อความปลอดภัยในการเดินเรือในช฽องแคบสิงคโปรแและช฽องแคบมะละกา ซึ่งเป็นทางเดินเรือที่มี ความสําคัญต฽อระบบเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะกับสิงคโปรแ การปกปูองสิ่งแวดล฾อมทางทะเลใน พื้นที่ปักปันจึงมีความสําคัญมากเช฽นกัน ด฾วยปัจจัยต฽างๆ เหล฽านี้จึงนํามาสู฽การพิจารณาจากข฾อเท็จจริงซึ่งเป็น การกําหนดเส฾นเขตแดนขึ้นจากความสําคัญของเส฾นทางการเดินเรือที่สําคัญของภูมิภาค เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตที่กําหนดขึ้นจากจุดพิกัดทั้ง 6 จุดนี้ มีความยาว 24.55 ไมลแทะเล โดยตัด ผ฽านน฽านน้ําที่เต็มไปด฾วยความซับซ฾อนของภูมิประเทศ เช฽น เกาะแก฽ง และแนวชายฝั่งที่มีความโค฾งเว฾ามาก แต฽ อย฽างไรก็ตามทั้งสองฝุายก็สามารถบรรลุข฾อตกลงระหว฽างกันได฾เนื่องจากคํานึงถึงความสําคัญของการอํานวย ความสะดวกในการเป็นช฽องทางเดินเรือในช฽องแคบสิงคโปรแ โดยตลอดความยาวของแนวเส฾นเขตแดนเส฾นนี้มี ความลึกของระดับน้ําทะเลอยู฽ที่ 12-25 ฟาทอม หรือคิดเป็นความลึกเฉลี่ยที่ 17.83 ฟาทอม โดยเส฾นที่กําหนด ขึ้นนี้เป็นไปตามร฽องน้ําที่ลึกที่สุดที่สามารถใช฾เดินเรือได฾อย฽างสะดวกในช฽องแคบสิงคโปรแ

127

ความตกลงก าหนดเงื่อนไขเส้นเขตแดนทะเลอาณาเขต ระหว่างอินโดนีเซียกับสาธารณรัฐสิงคโปร์ในช่องแคบสิงคโปร์88

ข้อ 1 1. เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแในช฽องแคบสิงคโปรแจะเป็นเส฾นตรงที่ลาก ขึ้นระหว฽างจุด (Point) พิกัดของแต฽ละจุดเป็นดังนี้ จุด (Points) ละติจูด เหนือ (Latitude North) ลองจิจูด ตะวันออก (Longitude East) 1 1° 11′ 46″.0 103° 40′ 14″.6 2 1° 07′ 49″.3 103° 44′ 26″.5 3 1° 10′ 17″.2 103° 48′ 18″.0 4 1° 11′ 45″.5 103° 51′ 35″.4 5 1° 12′ 66″.1 103° 52′ 50″.7 6 1° 16′ 10″.2 104° 02′ 00″.0 2. พิกัดของจุดที่ระบุไว฾ในวรรค 1 เป็นพิกัดทางภูมิศาสตรแและเส฾นเขตแดนที่ลากเชื่อมต฽อระหว฽างจุดถูก แสดงไว฾ในแผนที่แนบ “Annexure A” ท฾ายสนธิสัญญานี้ 3. ตําแหน฽งที่แท฾จริงของจุดข฾างต฾นในทะเลจะถูกกําหนดขึ้นด฾วยวิธีการตกลงร฽วมกันโดยเจ฾าหน฾าที่ผู฾มี อํานาจของทั้งสองประเทศ 4. เพื่อบรรลุวัตถุประสงคแตามข฾อ 3 เจ฾าหน฾าที่ผู฾มีอํานาจฝุายอินโดนีเซีย คือ ผู฾อํานวยการหน฽วยพิกัด ภูมิศาสตรแและแผนที่แห฽งชาติ (Ketua Badan Koordinasi Survey dan Pemataan Nasional) และ เจ฾าหน฾าที่ผู฾มีอํานาจฝุายสิงคโปรแ คือ หน฽วยงานที่ได฾รับมอบอํานาจจากรัฐบาลสิงคโปรแ

ข้อ 2 ข฾อพิพาทใดๆ ระหว฽างทั้งสองประเทศที่จะเกิดขึ้นจากการตีความหรือการปฏิบัติตามสนธิสัญญานี้ ให฾ ระงับอย฽างสันติ โดยวิธีการหารือหรือการเจรจา ข้อ 3 สนธิสัญญานี้จะรับการสัตยาบันตามที่กําหนดโดยขั้นตอนทางรัฐธรรมนูญของทั้งสองประเทศ

ข้อ 4 สนธิสัญญานี้จะมีผลบังคับใช฾ในวันที่มีการแลกเปลี่ยนสัตยาบันระหว฽างกัน

ทําเป็นคู฽ฉบับ ณ กรุงจาการแตา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2516/1973 เป็นภาษาอินโดนีเซียและ ภาษาอังกฤษ ในกรณีที่ตัวบทเหล฽านี้ขัดแย฾งกัน ให฾ถือตัวบทภาษาอังกฤษเป็นสําคัญ

88 โปรดดู “Agreement Stipulating the Territorial Sea Boundary Lines between Indonesia and the Republic of Singapore in the Strait of Singapore,” in U.S. Department of State, Office of the Geographer. Territorial Sea Boundary: Indonesia-Singapore. (International Boundary Study Limits in the Seas No.60, November 11, 1974), pp. 2-3. เข฾าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1LasWvi 128

เส฾นเขตแดนในทะเลอาณาเขตระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแ เป็นไปตามการกําหนดจุดพิกัดที่ปรากฏ บนแผนที่ DMAHC No.71242 (ภาพที่ 4.6) ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2506/1963 ปรับปรุงเมื่อ 21 ตุลาคม 2513/1970 โดยฝุายอินโดนีเซียอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณาเขตระยะ 12 ไมลแทะเล เมื่อปี 2500/1957 ส฽วนฝุาย สิงคโปรแอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณาเขตเพียง 3 ไมลแทะเล ในปี 2500/1957 เช฽นกัน การอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณาเขตระยะ 3 ไมลแทะเลของสิงคโปรแนั้น เริ่มมาตั้งแต฽สมัยที่อังกฤษเข฾ามาครอบครองอินแดนอาณานิคมบนเกาะสิงคโปรแ เมื่อปี 2421/1878 เส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขตจากจุด (Point) ที่ 1 – 6 มีความยาว 24.55 ไมลแทะเล ระยะห฽างเฉลี่ย ระหว฽างจุดมีความยาว 4.91 ไมลแทะเล ใกล฾ที่สุดคือ 1.35 ไมลแทะเล และไกลที่สุดคือ 9.85 ไมลแทะเล ความลึก ของทะเลอาณาเขตอยู฽ที่ 12 – 25 ฟาทอม โดยมีความลึกเฉลี่ย 17.83 ฟาทอม (ดูตารางที่ 4.4) พิกัดของจุด (Point) ที่ใช฾ในการลากเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขต (territorial sea boundary) มี ทั้งหมด 6 จุด มาจากการกําหนดเส฾นมัธยะ (equidistant) ระหว฽างประเทศที่มีฝั่งทะเลอยู฽ตรงกันข฾าม ในกรณี นี้คือจากฝั่งดินแดนของอินโดนีเซียและจากฝั่งดินแดนขอสิงคโปรแซึ่งมีภูมิประเทศเป็นชายฝั่งทะเลที่อยู฽ตรงข฾าม กัน (opposite coastal state) โดยจุด (Point) ทั้ง 6 นี้ มีระยะห฽างเฉลี่ยจากชายฝั่งของดินแดนอินโดนีเซียประมาณ 1.9 ไมลแทะเล และอยู฽ห฽างจากชายฝั่งของดินแดนสิงคโปรแอยู฽ที่ 2.7 ไมลแทะเล จุด (Point) ที่กําหนดเอาไว฾ในทะเลอาณาเขต คือ ระยะห฽างที่เท฽ากันจากฝั่งแผ฽นดินของอินโดนีเซียและ สิงคโปรแ โดยกําหนดพื้นที่เหนือน้ําขณะน้ําลด (low-tide elevation) เป็นระยะเท฽ากันระหว฽างสองประเทศ เส฾นมัธยะ (median line) ระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแซึ่งปรากฎบนแผนที่แนบท฾ายสนธิสัญญาถูก กําหนดขึ้นจากเส฾นฐานตรง (straight baselines) ของอินโดนีเซีย และพื้นที่เหนือน้ําขณะน้ําลด (the low- tide elevation) ของสิงคโปรแ เป็นผลให฾ จุด (Point) ที่ถูกกําหนดขึ้นตามตําแหน฽งที่ตั้งของเกาะต฽างๆ ไม฽ จําเป็นต฾องตั้งอยู฽บนแนวเดียวกันกับเส฾นมัธยะ (equidistant line) และจุดปลายสุด (terminus) ของเส฾นเขต แดนอยู฽ทางทิศตะวันตกในบริเวณช฽องแคบหลัก (Main Strait) (ดูตารางที่ 4.4)

129

ตารางที่ 4.4 แสดงลักษณะทางกายภาพของเส฾นเขตแดนในทะเลอาณาเขตระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแ จุด ระยะห่าง ความลึก ดินแดนอินโดนีเซีย ระยะห่างจาก ดินแดนสิงคโปร์ (Point) ระหว่างจุด (ฟาทอม) ดินแดนถึงจุด (ไมล์ทะเล) (ฟาทอม) 1 17 เกาะนีปา 1.70 2.80 เกาะซูดอง 4.80 (Pulau Nipa) (Pualau Sudong) 2 13 เกาะตากองใหญ฽ 1.35 1.75 เกาะซาตูมู 4.75 (Pulau Takong- (Pualau Satumu) besar) 3 12 บัฟฟาโลร็อค 1.10 1.80 เกาะเซอบาร็อค 3.80 (Buffalo Rock) (Pualau Sebarok) 4 20 เบอรแฮันตี 1.30 1.30 เกาะซากิจาง เบินเดอรา 1.35 (Bt. Berhanti) (Pualau Sakijang Bendera) 5 25 เบอรแฮันตี 1.30 1.30 เกาะไม฽มีชื่อทางตะวันออก 9.85 (Bt. Berhanti) ของเกาะซากิจาง เปเตปาหแ (Pualau Sakijang Petepah) 6 20 เซิงกูอัง 4.65 4.65 เบด฿อก (Tg. Sengkuang) (Tg. Bedok) ที่มา: ปรับปรุงจาก U.S. Department of State, Office of the Geographer, “Territorial Sea Boundary: Indonesia-Singapore,” International Boundary Study Limits in the Seas No.60 (November 11, 1974.), pp. 3-4.

จุด (Point) 1 ของเส฾นเขตแดนมีระยะห฽างจากแต฽ละประเทศไม฽เท฽ากัน โดยตั้งอยู฽ห฽างจากเกาะนีปา (Pulau Nipa) ของอินโดนีเซีย 1.70 ไมลแทะเล และอยู฽ห฽างจากเกาะซูดอง (Pulau Sudong) ของสิงคโปรแ 2.80 ไมลแทะเล จุด (Point) 2 ตั้งอยู฽ห฽างจาก จุด (Point) 1 มาทางทิศตะวันออกเฉียงใต฾เป็นระยะทาง 4.80 ไมลแทะเล โดยอยู฽ห฽างจากเกาะตากองใหญ฽ (Pulau Takong-besar) ของอินโดนีเซีย 1.25 ไมลแทะเล และอยู฽ห฽างจาก เกาะเกาะซาตูมู (Pulau Satumu) ของสิงคโปรแ 1.75 ไมลแทะเล ซึ่งได฾ขยายเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขต ออกไปทางใต฾ของเส฾นมัธยะ (median line) ระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแ นอกจากนี้ เส฾นเขตแดนยังข฾ามเข฾า มาในเขตน฽านน้ําภายใน (internal water) ของอินโดนีเซีย และยังตั้งอยู฽ด฾านเข฾าหาฝั่งของเส฾นฐานตรง (straight baselines) ของอินโดนีเซียอีกด฾วย โดยระยะห฽างระหว฽าง จุด (Point) 2 ถึง จุด (Point) 3 อยู฽ที่ 4.75 ไมลแทะเล จุด (Point) 3 ไม฽ใช฽จุดกึ่งกลาง โดยตั้งอยู฽ห฽างจากบัฟฟาโลร็อค (Buffalo Rock) ของอินโดนีเซียเป็น ระยะทาง 1.10 ไมลแทะเล และอยู฽ห฽างจากเกาะเซอบารอค (Pulau Sebarok) ของสิงคโปรแ เป็นระยะทาง 1.80 ไมลแทะเล นอกจากนี้ จุด (Point) 3 ยังตั้งเยื้องเข฾ามาทางฝั่งอินโดนีเซียจากแนวเส฾นมัธยะ (median line) ระหว฽างกัน จุด (Point) 4 ตั้งอยู฽ห฽างจาก จุด (Point) 3 ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะทาง 3.80 ไมลแทะเล โดยจุดนี้เป็นจุดกึ่งกลางระหว฽างเบอรแฮันตี (Bt. Berhanti) ของอินโดนีเซีย กับเกาะซากิจาง เบินเดอรา (Pulau 130

Sakijang Bendera) ของสิงคโปรแ มีระยะห฽างระหว฽างกันอยู฽ที่ 1.30 ไมลแทะเล โดยเส฾นมัธยะ (median line) ระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแลากผ฽านไปทางทิศเหนือของจุด (Point) 4 ทําให฾จุดนี้ตั้งอยู฽เยื้องเข฾ามาทางฝั่ง อินโดนีเซียจากแนวเส฾นมัธยะเช฽นเดียวกับจุด (Point) 3 จุด (Point) 5 ตั้งอยู฽ห฽างจาก จุด (Point) 4 ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะทาง 1.35 ไมลแทะเล โดยจุดนี้เป็นจุดกึ่งกลางระหว฽างเบอรแฮันตี (Bt. Berhanti) ของอินโดนีเซีย กับเกาะไม฽มีชื่อทางตะวันออกของ เกาะซากิจาง เปเตปาหแ (Pualau Sakijang Petepah) ของสิงคโปรแ มีระยะห฽างระหว฽างกันอยู฽ที่ 1.30 ไมลแ ทะเล จุด (Point) 5 นี้ตั้งอยู฽เยื้องเข฾ามาทางฝั่งสิงคโปรแจากแนวเส฾นมัธยะ จุด (Point) 6 คือจุดปลายสุด (terminus) ของเส฾นเขตแดนทางทิศตะวันออก โดยตั้งอยู฽เยื้องเข฾ามาทาง ฝั่งอินโดนีเซียจากแนวเส฾นมัธยะ โดยจุดนี้เป็นจุดกึ่งกลางระหว฽างเซิงกูอัง (Tg. Sengkuang) ของอินโดนีเซีย กับเบด฿อก (Tg. Bedok) ของสิงคโปรแ มีระยะห฽างระหว฽างกันอยู฽ที่ 4.65 ไมลแทะเล จุดพิกัดจํานวน 6 จุด (Point) ที่ใช฾ในการกําหนดเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขต (territorial sea boundary) ระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแนั้น เกิดจากหลักการ 2 ประการ คือ หลักการระยะห฽างที่เท฽ากัน (equidistant principle) และหลักการเจรจาต฽อรอง (negotiated position) หลักการละ 3 จุด (Point) ใน จํานวนนี้มี 5 จุด (Point) ตั้งอยู฽เยื้องเข฾ามาทางฝั่งอินโดนีเซียจากแนวเส฾นมัธยะ โดยเฉพาะ จุด (Point) 2 ซึ่ง ตั้งอยู฽ภายในเส฾นฐานตรง (straight baselines) หรือก็คืออยู฽บนเขตน฽านน้ําภายใน (internal water) ของ อินโดนีเซียนั่นเอง

ภาพที่ 4.6 แผนที่ DMAHC No.71242, 17th Edition, August 1963, Revised 9/21/70 สามารถดูแผนที่ ขนาดใหญ฽ได฾จาก http://1.usa.gov/1LasWvi

131

ภาพที่ 4.7 แสดงจุดพิกัดกําหนดเส฾นเขตแดนในทะเลอาณาเขตระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแในช฽องแคบมะละกา จํานวน 6 จุด (ที่มา: ตัดครอบและขยายเพื่อแสดงเฉพาะจุดพิกัด 6 จุด จาก H.O. 71242, 17th Edition, August 1963, Revised 9/21/70, Office of the Geographer, Department of State. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1LasWvi)

132

ภาพที่ 4.8 แผนที่แสดงจุด (Point) ทั้ง 6 จุด ในทะเลอาณาเขต (territorial sea) ระหว฽างอินโดนีเซียกับ สิงคโปรแในช฽องแคบสิงคโปรแ (ที่มา: Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.I (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 1993, 1996), p. 1,054) 133

4.4 ทะเลประวัติศาสตร์ (historic waters) ระหว่างกัมพูชากับเวียดนาม

ในปี 2501/1958 เวียดนามได฾ส฽งหนังสือแจ฾งอย฽างเป็นทางการไปยังประเทศกัมพูชาเพื่ออ฾างสิทธิ์เหนือ หมู฽เกาะต฽างๆ เช฽น เกาะไบเยแ (Baie) หรือ เกาะตาแก฾ว (Koh Ta Kiev) เกาะมิเลียววแ (Milieu) หรือ เกาะทเมย (Koh Thmei) เกาะอีววแ (Eau) หรือ เกาะเสส (Koh Ses) เกาะพิก (Pic) หรือ เกาะตนสาย (Koh Tonsay) และเกาะโจรสลัดเหนือ (Northern Pirates) หรือ เกาะปอ (Koh Po) หรือ ปูโล ไว (Poulo Wai) โดยเหตุผลในการอ฾างสิทธิ์เหนือหมู฽เกาะเหล฽านี้ของเวียดนามมาจากหลักฐานในยุคอาณานิคมอินโดจีน ของฝรั่งเศส แต฽ฝุายกัมพูชาปฏิเสธการอ฾างสิทธิ์ของเวียดนาม เพราะหลักฐานทางประวัติศาสตรแชี้ให฾เห็นว฽า กัมพูชามีอํานาจอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะเหล฽านี้มาตั้งแต฽ปี 2399/1856 ซึ่งในเวลานั้นฝรั่งเศสพยายามที่จะเข฾าไป ยึดครองและแย฽งชิงเกาะฝูก฿วก (Phu Quoc) จากฝุายกัมพูชาไม฽ใช฽จากฝุายเวียดนาม หลังจากมีการสถาปนาอาณานิคมฝรั่งเศสในโคชินจีนหรือเวียดนามใต฾ และหลังจากฝรั่งเศสทําให฾ กัมพูชากลายเป็นรัฐในอารักขาได฾แล฾ว หมู฽เกาะต฽างๆ เหล฽านี้ก็ถูกผนวกเข฾าเป็นส฽วนหนึ่งของจังหวัดห฽าเตียน (Ha Tien) ในปี 2482/1939 ข฾าหลวงใหญ฽แห฽งอินโดจีนฝรั่งเศสชื่อ จูล บรีเว฽ (Jules Brévié) ได฾ออกคําสั่งทาง ปกครอง ลงวันที่ 31 มกราคม 2482/1939 (Decree of January 31, 1939 – ดูรายละเอียดในหน฾าถัดไป) เพื่อแบ฽งเขตการบริหารงานอาณานิคมในหมู฽เกาะ โดยจดหมายของบรีเว฽ได฾แจ฾งแก฽ทั้งฝุายกัมพูชาและฝุายโคชิน จีนถึง “ปัญหาเกี่ยวกับเกาะต฽างๆ ในอ฽าวสยาม, เกี่ยวกับการเข฾าครอบครองซึ่งกลายเป็นข฾อพิพาทระหว฽าง กัมพูชากับโคชินจีน” และได฾แบ฽งเส฾นเขตแดนระหว฽างกันด฾วยการลากเส฾นตรงทํามุม 140 เกรด (grad) ออกไป จากชายฝั่ง แต฽เส฾นตรงนี้ถูกลากอ฾อมเกาะฝูก฿วก (Phu Quoc) มีระยะห฽างจากแนวชายฝั่งของเกาะ 3 กิโลเมตร และเรียกเส฾นแบ฽งเขตเส฾นนี้ว฽า เส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) ในเบื้องต฾นกัมพูชายอมรับเส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) ในฐานะเส฾นแบ฽งเขตแดนที่เท฽าเทียมกัน แต฽ต฽อมา กัมพูชากลับขยายการอ฾างสิทธิ์ของตนออกไปจนถึงหมู฽เกาะโจรสลัดใต฾ (Southern Pirates) โดยการอ฾างสิทธิ์ ของกัมพูชาน฽าจะเกิดจากความสับสนระหว฽างการวัดมุมในระบบเกรด (grad) ของฝรั่งเศส กับ การวัดมุมใน ระบบองศา (degree) ที่ใช฾กันโดยทั่วไป89 ระบบเกรด (grad) เป็นหน฽วยการวัดมุมแบบฝรั่งเศส มีค฽าการวัด 1 ใน 400 ส฽วนของวงกลม (1/400th of a circle) และวัดแบบทวนเข็มนาฬิกา ในขณะที่ระบบองศา (degree) มีค฽าการวัด 1 ใน 300 ส฽วนของวงกลม (1/360th of a circle) และวัดแบบตามเข็มนาฬิกา ดังนั้น โดยปกติ ของมุม 140 เกรดที่วัดถึงชายฝั่ง จะลากไปตามทิศตะวันออกเฉียงใต฾เข฾าหาแผ฽นดิน หากวัดแบบทวนเข็ม นาฬิกาจะทําให฾เกิดมุม 220 องศา และรวมเอาเกาะโจรสลัดใต฾ (Southern Pirates) เข฾ามาอยู฽ภายในฝั่งของ กัมพูชา แต฽เส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) ถูกลากขึ้นตามวิธีการในระบบเกรด (grad) จึงทําให฾เกิดมุม 234 องศา โดยเส฾นมุมตําแหน฽ง (azimuth) ทําให฾ลากผ฽านกลางเป็นผลให฾เกาะโจรสลัดเหนือ (Northern Pirates) หรือ เกาะปูโล ไว (Poulo Wai) อยู฽ในฝั่งกัมพูชา และเกาะโจรสลัดใต฾ (Southern Pirates) หรือเกาะโถ จู฽ (Tho Chu) อยู฽ในฝั่งโคชินจีน

89 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Vietnam Boundary (International Boundary Study, No.155 of March 5, 1976), pp. 9-10. 134

การแก฾ไขปัญหาข฾อพิพาทหมู฽เกาะในพื้นที่อ฽าวไทยระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามนั้น ทั้งสองประเทศ สามารถบรรลุความตกลงว฽าด฾วยการกําหนด “พื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแร฽วม (a join historic waters area)” เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2525/1982 ในอาณาบริเวณโดยรอบเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม โดยความตกลงนี้จะทําให฾เกิดเขตน฽านน้ําภายใน (internal water) และจัดให฾มีหน฽วยลาดตระเวนและตรวจ ตราร฽วมกัน นอกจากนี้ยังกําหนดว฽า การทําประมงของประชาชนยังสมารถดําเนินการต฽อไปได฾เหมือนเดิม การ สํารวจทรัพยากรทางธรรมชาติในพื้นที่กําหนดจะกระทําผ฽าน “ความตกลงร฽วม (common agreement)” รวมทั้ง การกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลจะกระทําโดยการเจรจาต฽อรองเมื่อถึง “เวลาอันเหมาะสม (suitable time)” ดังนั้น เส฾นเขตแดนทางทะเลจึงยังไม฽สามารถตกลงกันได฾

135

ค าสั่ง 31 มกราคม 2482/193990

สํานักงานกิจการปกครอง เลขที่ 867/API ฮานอย, 31 มกราคม 1939 ข฾าหลวงใหญ฽แห฽งอินโดจีน สํานักงานใหญ฽แห฽งเลฌียงดอเนอรแ

ถึง ผู฾ว฽าการแห฽งโคชินจีน (สํานักงาน) ใน ไซ฽ง฽อน เรื่อง: หมู฽เกาะในอ฽าวสยาม

ข฾าพเจ฾ารู฾สึกเป็นเกียรติที่จะแจ฾งให฾ท฽านทราบว฽า ข฾าพเจ฾าเพิ่งพิจารณาปัญหาของเกาะต฽างๆ ในอ฽าว สยามอีกครั้ง, เกี่ยวกับการเข฾าครอบครองซึ่งกลายเป็นข฾อพิพาทระหว฽างกัมพูชากับโคชินจีน ที่ตั้งของหมู฽เกาะเหล฽านี้, กระจายอยู฽ตามแนวชายฝั่งของกัมพูชา และบางเกาะก็อยู฽ใกล฾กับแนวชายฝั่ง ซึ่งกําลังมีการดําเนินการที่ดูเหมือนจะรวมเข฾ากับฝั่งกัมพูชาในอนาคตอันใกล฾, ในทางตรรกะและทางภูมิศาสตรแ ต฾องกล฽าวว฽าหมู฽เกาะเหล฽านี้อยู฽ภายใต฾ขอบเขตอํานาจของกัมพูชา ข฾าพเจ฾าเชื่อว฽าเป็นไปไม฽ได฾ที่จะปล฽อยให฾สภาพปัจจุบันดําเนินต฽อไปเช฽นนี้ ซึ่งกําลังจะบังคับให฾ผู฾ที่อาศัย อยู฽ในหมู฽เกาะนี้ยินยอม, ไม฽ว฽าในราคาของการข฾ามที่ไกล, หรือราคาของทางอ฾อมผ฽านเข฾าไปในอาณาเขตของ กัมพูชา, ที่จะเข฾ามาสู฽การปกครองของโคชินจีน ดังนั้น, ข฾าพเจ฾าจึงตัดสินใจว฽าหมู฽เกาะทั้งหมดที่ตั้งอยู฽ทางเหนือของเส฾นตั้งฉากกับชายฝั่งซึ่งเริ่มต฾นจาก ชายแดนระหว฽างกัมพูชากับโคชินจีน และทํามุม 140 เกรดกับเส฾นแวงเหนือ, เป็นไปตามแผนภูมิที่แนบมา, จากนี้ไปจะอยู฽ในการบริหารงานของกัมพูชา รัฐในอารักขาจะ, โดยเฉพาะ, เข฾าแทนที่ตํารวจในหมู฽เกาะเหล฽านี้ หมู฽เกาะทั้งหมดทางตอนใต฾ของเส฾นนี้, รวมทั้งเกาะฝูก฿วก, จะยังคงบริหารงานโดยโคชินจีน โดยเป็นที่ เข฾าใจว฽าเส฾นแบ฽งเขตแดนที่ทําขึ้นมานั้นทําให฾เส฾นรอบที่อยู฽ทางเหนือของเกาะฝูก฿วก, ลากผ฽านขึ้นไปเป็นระยะ สามกิโลเมตรจากปลายสุดของชายฝั่งทางตอนเหนือของเกาะนี้ การบริหารงานและอํานาจตํารวจบนเกาะเหล฽านี้ จะได฾กระจายอย฽างชัดเจนระหว฽างโคชินจีนกับ กัมพูชา, ดังนั้นข฾อพิพาทในอนาคตอาจหลีกเลี่ยงได฾ เป็นที่เข฾าใจกันว฽า ข฾อความข฾างต฾นเป็นไปเพื่อการบริหารงานและการตํารวจของเกาะเหล฽านี้ ซึ่ง ประเด็นอํานาจเหนืออาณาเขตบนเกาะเหล฽านี้ยังคงได฾รับการสงวนไว฾ทั้งหมด

ท฽านจะได฾กรุณาเตรียมการ ดังนั้น การตัดสินใจของข฾าพเจ฾ามีจะผลทันที โปรดแจ฾งข฾าพเจ฾าถึงการได฾รับจดหมายฉบับนี้ ลงนาม: บรีเว฽

90 โปรดดู “Annex 12 Decree of January 31, 1939” in U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Vietnam Boundary (International Boundary Study, No.155 of March 5, 1976), p. 32. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1V2hsPY 136

ภาพที่ 4.9 แผนที่แสดงเส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) และพื้นที่อ฾างสิทธิ์ระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม

137

ความตกลงเกี่ยวกับทะเลประวัติศาสตร์ของเวียดนามและกัมพูชา (7 กรกฎาคม 2525/1982)91

รัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) และ รัฐบาลแห฽ง สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (People‖s Republic of Kampuchea) ปรารถนาที่จะกระชับและพัฒนาความสัมพันธแพิเศษระหว฽างเวียดนามกับกัมพูชาด฾วยจิตวิญญานแห฽ง สนธิสัญญาสันติภาพ มิตรภาพ และความร฽วมมือระหว฽างสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามกับสาธารณรัฐ ประชาชนกัมพูชาลงนามเมื่อวันที่ 18 กุมพาพันธแ 2522/1979 พิจารณาจากข฾อเท็จจริงที่ว฽าเขตทางทะเล (Maritime Zone) ที่อยู฽ระหว฽างชายฝั่งของจังหวัดเกียนเจียง (Kien Giang Province) เกาะฝูก฿วก (Phu Quoc) และหมู฽เกาะโถ จู฽ (Tho Chu Archipelago) ของ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามฝุายหนึ่ง กับ ชายฝั่งของจังหวัดกําปอด (Kampot Province) และหมู฽เกาะปูโล ไว (Poulo Wai) ของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา อีกฝุายหนึ่ง อยู฽ล฾อมรอบทะเลซึ่งมีปัจจัยทางภูมิศาสตรแที่มี ลักษณะพิเศษ และความสําคัญยิ่งในการปกปูองประเทศ รวมทั้งเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ เป็นของ เวียดนามและกัมพูชามาอย฽างยาวนาน ได฾ตกลงกันดังต฽อไปนี้:

ข้อ 1 ทะเลที่ตั้งอยู฽ระหว฽างชายฝั่งของจังหวัดเกียนเจียง (Kien Giang Province) เกาะฝูก฿วก (Phu Quoc) และหมู฽เกาะโถ จู฽ (Tho Chu Archipelago) ของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามฝุายหนึ่ง กับ ชายฝั่งของ จังหวัดกําปอด (Kampot Province) และหมู฽เกาะปูโล ไว (Poulo Wai) ของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา อีก ฝุายหนึ่ง จะก฽อรูปเป็นทะเลประวัติศาสตรแ (historic water) ของทั้งสองประเทศ และวางอยู฽ภายใต฾ระบอบ กฎหมายของน฽านน้ําภายในและจะถูกกําหนดขึ้น (ตามลองจิจูดตะวันออกของเมืองกรีนีช) ทางตะวันตกเฉียงเหนือโดยเส฾นตรงที่ลากออกจากพิกัดละติจูด 09 องศา 54 ลิปดา 2 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 102 องศา 55 ลิปดา 2 ฟิลิปดา ตะวันออก และพิกัดละติจูดที่ 09 องศา 54 ลิปดา 5 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 102 องศา 57 ลิปดา 2 ฟิลิปดา ตะวันออก ของเกาะปูโล ไว (Poulo Wai Island) (กัมพูชา) จนถึง พิกัดละติจูด 10 องศา 24 ลิปดา 1 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 103 องศา 48 ลิปดา 0 ฟิลิปดา ตะวันออก ของ เกาะเสส (Koh Ses Island) (กัมพูชา) ถึง พิกัดละติจูด 10 องศา 30 ลิปดา 0 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 103 องศา 47 ลิปดา 4 ฟิลิปดา ตะวันออก ของเกาะทเมย (Koh Thmei Island) (กัมพูชา) ถึงพิกัดละติจูด 10 องศา 32 ลิปดา 4 ฟิลิปดา เหนือ กับลองจิจูด 103 องศา 48 ลิปดา 2 ฟิลิปดา ตะวันออก บนชายฝั่งของ จังหวัดกําปอด (กัมพูชา) ทางเหนือ จากชายฝั่งของจังหวัดกําปอด ลากเส฾นตรงออกไปจากพิกัดละติจูด 10 องศา 32 ลิปดา 4 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 103 องศา 48 ลิปดา 2 ฟิลิปดา ตะวันออก บนจุดสุดท฾ายของเส฾นเขตแดนทางบก ระหว฽างเวียดนามกับกัมพูชาบนชายฝั่ง ทางตะวันออกเฉียงใต฾โดยเส฾นตรงที่ลากออกจากจุดสุดท฾ายของเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างเวียดนามกับ กัมพูชาบนชายฝั่งที่พิกัดละติจูด 10 องศา 04 ลิปดา 42 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 104 องศา 02 ลิปดา 3 ฟิลิป

91 โปรดดูรายละเอียดใน Appendix 2 “Agreement of the Historic Waters of Vietnam and Kampuchea (7 July 1982),” in Kriangsak Kittichaisaree. The Law of the Sea and Maritime Boundary Delimitation in South-East Asia (Oxford New York: Oxford University Press, 1987), p.180-181. 138

ดา ตะวันออก จากจุดอันเย็ต (An Yet point) ของเกาะฝูก฿วก (Phu Quoc) (เวียดนาม) และไปตามแนว ชายฝั่งทางเหนือของเกาะนี้จนถึงจุดดัทโด (Dat Do Point) ซึ่งตั้งอยู฽ที่พิกัดละติจูดที่ 10 องศา 02 ลิปดา 8 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 103 องศา 59 ลิปดา 1 ฟิลิปดา ตะวันออก และจากที่นี่ถึงพิกัดละติจูด 09 องศา 10 ลิปดา 1 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 103 องศา 26 ลิปดา 4 ฟิลิปดา ตะวันออก ของเกาะโถ จู฽ (Tho Chu Island) (เวียดนาม) ถึง พิกัดละติจูด 09 องศา 15 ลิปดา 0 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 103 องศา 27 ลิปดา 0 ฟิลิปดา ตะวันออก ของเกาะหอนหนาน (Hon Nanh Island) ในหมู฽เกาะโถ จู฽ (เวียดนาม) ทางตะวันตกเฉียงใต฾ โดยเส฾นตรงที่ลากออกจากพิกัดละติจูด 09 องศา 55 ลิปดา 0 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 102 องศา 53 ลิปดา 5 ฟิลิปดา ตะวันออก จากเกาะปูโล ไว (กัมพูชา) จนถึงพิกัดละติจูด 09 องศา 15 ลิปดา 0 ฟิลิปดา เหนือ ลองจิจูด 103 องศา 27 ลิปดา 5 ฟิลิปดา ตะวันออก ของเกาะหอนหนาน (Hon Nanh Island) ในหมู฽เกาะโถ จู฽ (เวียดนาม) ข้อ 2 ทั้งสองฝุายจะดําเนินการเมื่อถึงเวลาอันเหมาะสมในการเจรจาต฽อรองด฾วยจิตวิญญานแห฽งความเท฽า เทียม มิตรภาพ และความเคารพต฽อเอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห฽งดินแดนของกันและกัน และผลประโยชนแ อันชอบธรรมของแต฽ละฝุายเพื่อการกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลระหว฽างสองประเทศในพื้นที่ทะเล ประวัติศาสตรแตามที่ระบุเอาไว฾ในข฾อ 1 ข้อ 3 ระหว฽างการดําเนินการตกลงเส฾นเขตแดนทางทะเลระหว฽างสองประเทศในพื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแ ตามที่ระบุเอาไว฾ในมาตารา 1 จุดบรรจบที่ 0 ของเส฾นฐานสองเส฾นใช฾เพื่อวัดความกว฾างของทะเลอาณาเขตของแต฽ละประเทศตั้งอยู฽ใน ทะเลหลวงบนเส฾นฐานตรงเชื่อมระหว฽างหมู฽เกาะโถ จู฽ และเกาะปูโล ไว จะถูกกําหนดโดยความตกลงร฽วมกัน ทั้งสองฝุายจะยังคงใช฾เส฾นบรีเว฽ซึ่งถูกลากขึ้นในปี 2482/1939 ต฽อไป เพื่อเป็นเส฾นแบ฽งหมู฽เกาะในพื้นที่นี้ การลาดตระเวนและการตรวจตราในทะเลอาณาเขตนี้จะดําเนินการร฽วมกันโดยทั้งสองฝุาย ประชาชนในท฾องที่จะยังคงทําการประมงและจับผลิตภัณฑแทางทะเลอื่นในพื้นที่ตามวิถีทางที่เคยทํามา แต฽เก฽าก฽อน การสํารวจทรัพยากรทางธรรมชาติในพื้นที่จะถูกตัดสินใจโดยความตกลงร฽วมกัน

ทําขึ้น ณ เมืองโฮจิมินหแ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2525/1982 ทําเป็น 2 ภาษา คือ ภาษาเวียดนาม และ ภาษาแขมรแ ซึ่งทั้งสองภาษาจะใช฾บังคับได฾เท฽าเทียมกัน

สําหรับรัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สําหรับรัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา เหวงียน โก ธัช (Nguyen Co Thach) ฮุน เซน (Hun Sen) รัฐมนตรีว฽าการต฽างประเทศแห฽ง รัฐมนตรีว฽าการต฽างประเทศแห฽ง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา

139

ภาพที่ 4.10 แผนที่แสดงพื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแระหว฽างกัมพูชาและเวียดนามตามความตกลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2525/1982 (ที่มา: Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.III (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 2004), p. 2,363.) 140

พื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแ (Historic Water Agreement) ตามความตกลงดังกล฽าวมีสัณฐานเกือบจะ เป็นรูปสี่เหลี่ยม (ดูภาพที่ 4.10) วัดขนาดได฾ 4,000 ตารางไมลแทะเล จากแนวชายฝั่ง (shoreline) บริเวณใกล฾ กับเวียลเรนหแ (Veal Renh) ในจังหวัดกําปอด (Kampot Province) ถึงจุดปลายสุดของเส฾นเขตแดนทางบก ระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามทําให฾เกิดด฾านหนึ่งของพื้นที่สี่เหลี่ยมนี้ ส฽วนด฾านตะวันตกเฉียงเหนือเริ่มจากเกาะ ปูโล ไว (Poulo Wai) จนไปสิ้นสุดที่ประมาณทางตะวันออกฉียงเหนือของเกาะเสส (Koh Ses) และจากนั้น ลากโค฾งเข฾าไปยังแนวชายฝั่งทําให฾เกาะเสส (Koh Ses) และเกาะทเมย (Koh Thmei) อยู฽ในเขตทะเลของ กัมพูชานอกเขตพื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแ ทางตะวันออกเฉียงใต฾เกิดจากเส฾นตรงสองเส฾น เส฾นหนึ่งลากจากจุด ปลายสุดของเส฾นเขตแดนทางบกถึงจุดบนเกาะฝูก฿วก (Phu Quoc) และอีกเส฾นหนึ่งลากจากจุดที่ 2 บนเกาะฝู ก฿วก (Phu Quoc) ถึงเกาะโถ จู฽ (Tho Chu) ในหมู฽เกาะโถ จู฽ (Tho Chu Archipelago) เส฾นสุดท฾ายลากเชื่อม ระหว฽างเกาะปูโล ไว (Poulo Wai) กับเกาะหอน หนาน (Hon Nanh) ในหมู฽เกาะโถ จู฽ (Tho Chu Archipelago) เส฾นที่ลากออกมาจากฝั่งไม฽สัมพันธแกับการอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปก฽อนหน฾านี้ของทั้งกัมพูชาและ เวียดนาม ทําให฾หลายประเทศรวมทั้งสหรัฐอเมริกาและไทย ประท฾วงการกําหนดพื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแนี้ โดยเหตุผลที่ว฽าหลักเกณฑแที่ใช฾ในการกําหนดพื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามนั้น ไม฽ สามารถแสดงเห็นได฾อย฽างชัดเจนว฽าการอ฾างสิทธิ์ของทั้งคู฽เกิดจากการใช฾อํานาจปกครองอย฽างมีประสิทธิภาพ (effectivités/effective occupation) และไม฽มีการยอมรับจากรัฐอื่นที่เกี่ยวข฾อง อย฽างไรก็ตาม “ความตกลงทะเลประวัติศาสตรแ (Historic Water Agreement)” ในปี 2525/1982 นี้ มุ฽งไปที่ประเด็นการแก฾ไขปัญหาอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะฝูก฿วก (Phu Quoc) ซึ่งตั้งอยู฽ใกล฾กับเส฾นเขตแดนทาง บกระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม รวมทั้งหมู฽เกาะอื่นๆ เช฽น ปูโล ไว (Poulo Wai) และ โถ จู฽ (Tho Chu) แต฽ ยังคงมีประเด็นข฾อพิพาทการอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีประหว฽างกัมพูชากับเวียดนามใต฾ ในช฽วงคริสตแทศวรรษ 1970 ซึ่ง เป็นเหตุผลพื้นฐานในการอ฾างสิทธิ์อธิปไตยสมบูรณแเหนือหมู฽เกาะเหล฽านี้และทําให฾เกิดพื้นที่ทับซ฾อนประมาณ 14,580 ตารางไมลแทะเล92 ดังที่อธิบายได฾ให฾ทราบในตอนต฾นแล฾วว฽า เมื่อปี 2482/1939 ข฾าหลวงใหญ฽แห฽งอินโดจีนฝรั่งเศสได฾จัดทํา เส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) เพื่อแบ฽งเขตอํานาจทางการปกครองและการใช฾กฎหมายของตํารวจระหว฽างเวียดนาม กับกัมพูชา โดยลากเส฾นตรงออกจากจุดปลายสุดของเส฾นเขตแดนทางบกไปในทะเลทํามุม 140 เกรด หรือเส฾น มุมตําแหน฽งที่ 126 องศากับทิศเหนือแท฾ แล฾วลากเส฾นขึ้นไปทางเหนือเพื่ออ฾อมเขตเกาะฝูก฿วก (Phu Quoc) ให฾ อยู฽ในเขตของเวียดนาม จากนั้นลากเส฾นตรงต฽อออกไปในทะเลผ฽านบริเวณตรงกึ่งกลางระหว฽างเกาะปูโล ไว (Poulo Wai) กับ โถ จู฽ (Tho Chu) หรือก็คือระหว฽างเกาะโจรสลัดเหนือกับเกาะโจรสลัดใต฾นั่นเอง นอกจากนี้ เกาะเสส (Koh Ses) และเกาะทเมย (Koh Thmei) ก็อยู฽ในฝั่งกัมพูชาด฾วย เส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) อยู฽ทาง ตะวันตกเฉียงเหนือของเส฾นมัธยะ (equidistance) และหากใช฾เส฾นมัธยะเป็นเส฾นแบ฽งเขตแดนทางทะเล (maritime boundary) ฝุายกัมพูชาก็จะได฾ประโยชนแ เนื่องจากในช฽วงคริสตแทศวรรษที่ 1970 มีการกําหนดไหล฽ทวีประหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม แต฽ทั้ง สองปฏิสธที่จะใช฾เส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) เพื่อเป็นเส฾นเขตแดนทางทะเลและเส฾นแบ฽งเขตหมู฽เกาะ ต฽อมา กัมพูชาได฾เสนอว฽า ควรใช฾เส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) เพื่อแบ฽งเขตหมู฽เกาะและเส฾นเขตแดนทางทะเล แต฽ เวียดนามปฏิเสธที่จะใช฾เส฾นบรีเว฽ (Brévié Line) เป็นแบ฽งเส฾นเขตแดนทางทะเล (maritime boundary)93

92 Jonathan I. Charney and Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.III (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 2004), pp. 2,357-2,365. 93 Ibid, p. 2,358. 141

อย฽างไรก็ตาม ความตกลงนี้ได฾ระบุเอาไว฾ในข฾อ 3 ว฽า “ทั้งสองฝุายจะยังคงใช฾เส฾นบรีเว฽ซึ่งถูกลากขึ้นในปี 2482/1939 ต฽อไป เพื่อเป็นเส฾นแบ฽งหมู฽เกาะในพื้นที่นี้” ความตกลงดังกล฽าวจึงกลายเป็นสัญลักษณแของความ ร฽วมมืออย฽างใกล฾ชิดระหว฽างรัฐบาลของทั้งสองประเทศ รวมทั้งระบุว฽า “การลาดตระเวนและการตรวจตราใน ทะเลอาณาเขตนี้จะดําเนินการร฽วมกันโดยทั้งสองฝุาย” ก็เป็นเครื่องบ฽งชี้ว฽า ทั้งสองประเทศได฾พิจารณาประเด็น ด฾านยุทธศาสตรแในพื้นที่ร฽วมกัน นอกจากนี้ ยังได฾ระบุเอาไว฾ในข฾อ 1 ว฽า ขอบเขตที่ถูกกําหนดขึ้นจะ “ทําให฾เกิด พื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแของทั้งสองประเทศ” ซึ่งจะกลายเป็นน฽านน้ําภายใน (internal water) และย฽อหน฾าที่ 3 ของบทนําได฾กําหนดว฽า การอ฾างสิทธิ์ในทะเลประวัติศาสตรแนี้ตั้งอยู฽บนพื้นฐานของเงื่อนไขพิเศษทาง ภูมิศาสตรแ (special geographic conditions) ซึ่งมีความสําคัญต฽อการปูองกันตนเอง และต฽อเศรษฐกิจของทั้ง สองประเทศ รวมทั้งยืนยันว฽า พื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแเป็นของกัมพูชาและเวียดนามมาอย฽างยาวนาน (have long belonged) ความตกลงนี้มีลักษณะของการกําหนด “พื้นที่พัฒนาทรัพยากรร฽วม (a join resource development zone)” โดยกําหนดให฾มีการสํารวจทรัพยากรทางธรรมชาติในทะเลประวัติศาสตรแร฽วมกัน และอนุญาตให฾ประชาชนใน พื้นที่ทําการประมงต฽อไปตามรูปแบบที่เคยทํามาอยู฽ก฽อนแล฾ว การกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลถูกละไว฾เพื่อ การเจรจาในอนาคต ความตกลงดังกล฽าวจึงมุ฽งแก฾ไปในทางเศรษฐกิจมากกว฽าที่จะเป็นการมุ฽งเน฾นเพื่อแก฾ไข ปัญหาข฾อพิพาทเส฾นเขตแดนทางทะเลระหว฽างกัน ในการประกาศใช฾เส฾นฐานตรง (straight baseline) ของทั้งกัมพูชาและเวียดนาม และความตกลงทะเล ประวัติศาสตรแปี 2525/1982 นี้ ได฾กําหนดให฾เส฾นที่ลากเชื่อมต฽อระหว฽างเกาะปูโล ไว (Poulo Wai) ของ กัมพูชา กับ เกาะหอนหนาน (Hon Nhan) ของเวียดนามนั้น เป็นส฽วนขยายของเส฾นฐานตรงของแต฽ละประเทศ จุดบรรจบกันของเส฾นฐานตรง (จุด 0) จะถูกกําหนดโดยความตกลงร฽วมกัน ในขณะที่จุดสิ้นสุดของเส฾นฐานตรง ระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามยังไม฽ได฾ตกลงกัน จุดดังกล฽าวอยู฽แนวเดียวกับเส฾นตรงที่ลากลงไปในทะเลตามความ ตกลงทะเลประวัติศาสตรแ ดังนั้น จุดฐานสุดท฾ายของเส฾นฐานตรงของแต฽ละประเทศจะอยู฽ในมหาสมุทรมากกว฽า ที่จะอยู฽บนแผ฽นดิน ผลดังกล฽าวทําให฾เส฾นฐานตรงของกัมพูชาและเวียดนามรวมกันเป็นเส฾นฐานตรงชุดเดียวกัน ซึ่งทอดตัวเริ่มตั้งแต฽เขตแดนทางทะเลระหว฽างไทยกับกัมพูชาขึ้นไปจนถึงบริเวณอ฽าวตังเกี๋ย การดําเนินการเช฽นนี้ ทําให฾เกิดการวิเคราะหแ วิพากษแวิจารณแ และประท฾วงระบบเส฾นฐานตรงของกัมพูชา และเวียดนาม เนื่องจากเกณฑแทั่วไปในการยอมรับเส฾นฐานตรง จะไม฽ยอมให฾ใช฾จุดฐาน (basepoint) กลาง มหาสมุทร การใช฾หมู฽เกาะที่อยู฽ห฽างไกลออกไปจากชายฝั่งและไม฽ใช฽เกาะเล็กเกาะน฾อย (fringing islands) ซึ่งจะ ทําให฾เกิดปัญหา ดังนั้น การกําหนดระบบเส฾นฐานตรงของทั้งสองประเทศจึงถูกวิจารณแว฽าไม฽เป็นไปตาม หลักเกณฑแซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วไป โดยสรุป ความตกลงเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2525/1982 นี้ ไม฽ใช฽การกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเล (Maritime Boundary) ระหว฽างกัมพูชากับเวียดนาม แต฽เป็นการกําหนดพื้นที่ทะเลประวัติศาสตรแ (historic water) เพื่อการระงับข฾อพิพาทในประเด็นอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะ แต฽ยังคงมีประเด็นปัญหาเกี่ยวกับเส฾นเขต แดนทางทะเลเพราะยังไม฽มีข฾อมูลที่เปิดเผยสู฽สารธารณะชนจนกระทั่งปัจจุบันนี้

142

4.5 พื้นที่พัฒนาร่วมบริเวณไหล่ทวีประหว่างมาเลเซียกับเวียดนาม

บันทึกความเข฾าใจ (Memorandum of Understanding – MoU) ระหว฽างมาเลเซียกับเวียดนามซึ่งลง นามกันเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2535/1992 เป็นการกําหนด “พื้นที่รูปเศษไม฾ (sliver-shape)” (ดูภาพที่ 4.11) นอกอ฽าวไทยซึ่งมาเลเซียและเวียดนามมีการอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปทับซ฾อนกัน โดยเป็นการกําหนดพื้นที่เพื่อ ดําเนินการสํารวจและการใช฾ประโยชนแแหล฽งปิโตรเลียมในพื้นที่กําหนดบนไหล฽ทวีปของทั้งสองประเทศ ดังนั้น จุดประสงคแของบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้จึงไม฽ใช฽เพื่อการระงับข฾อพิพาทในประเด็นอธิปไตย แต฽เป็นการอํานวย ความสะดวกในการสํารวจแหล฽งทรัพยากรที่มีอยู฽ในพื้นทะเลให฾เกิดขึ้นจริงได฾ โดยรูปแบบของการจัดทําบันทึกความเข฾าใจเช฽นนี้เป็นไปในแนวทางเช฽นเดียวกับความตกลงที่เกิดขึ้น ระหว฽างมาเลเซียกับไทยบนพื้นที่ไหล฽ทวีปในอ฽าวไทย ในปี 2522/1979 หรือ ความตกลงระหว฽างออสเตรเลีย กับอินโดนีเซียในพื้นที่ “หุบติมอรแ (Timor Gap)” ในปี 2532/1989 โดยตกลงกันว฽าค฽าใช฾จ฽ายและ ผลประโยชนแที่จะเกิดขึ้นจะมาจากการเป็นหุ฾นส฽วนของทั้งสองฝุายอย฽างเท฽าเทียม ภายใต฾การดําเนินงานของ บริษัทสํารวจและผลิตปิโตรเลียมแห฽งชาติของแต฽ละประเทศ คือ ปิโตรนาส (PETRONAS) ของมาเลเซีย และ ปิโตรเวียดนาม (PETROVIETNAM) ของเวียดนามจะเข฾ามาเป็นผู฾จัดการเชิงพาณิชยแเพื่อสํารวจและใช฾ ประโยชนแจากปิโตรเลียมในพื้นที่ที่กําหนด โดยจะต฾องได฾รับการอนุมัติจากรัฐบาลของทั้งสองประเทศก฽อนทุก ครั้งจึงดําเนินการได฾ นอกจากนี้ ยังระบุอย฽างชัดเจนตามรูปแบบการทําความตกลงเรื่องเส฾นเขตแดนทางทะเล ว฽า “ข฾อพิพาทที่เกิดขึ้นจากการตีความหรือการดําเนินการตามบทบัญญัติของบันทึกความเข฾าใจนี้จะถูกระงับ โดยสันติ โดยการปรึกษาหารือหรือการเจรจาระหว฽างทั้งสองฝุาย (ข฾อ 6 ในบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้)” จากข฾อ 3 วงเล็บ (c) แสดงให฾เห็นถึงข฾อเท็จจริงที่เกี่ยวกับค฽าใช฾จ฽ายที่เกิดขึ้นแล฾วจากการสํารวจ ทรัพยากรในพื้นที่ที่กําหนดไว฾ โดยทั้งมาเลเซียและเวียดนามต฽างให฾สัมปทานแก฽บริษัทไปแล฾วเต็มพื้นที่ ซึ่งทําให฾ ทราบแนวคิดของทั้งสองประเทศในการจัดทําบันทึกความเข฾าใจซึ่งมุ฽งไปยังผลประโยชนแที่จะเกิดขึ้นจากความ ร฽วมมือมากกว฽าการเผชิญหน฾าในปัญหาข฾อพิพาทที่เกิดจากการอ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของแต฽เพียงฝุายเดียว อย฽างไรก็ตาม ปัจจัยสําคัญที่ทําให฾มาเลเซียและเวียดนามสามารถตกลงกันเพื่อทําทึกความเข฾าใจฉบับนี้หลาย ประการ ได฾แก฽ ประการแรก บันทึกความตกลงฉบับนี้เกิดขึ้นในช฽วงเวลาความตึงเครียดของข฾อพิพาทหมู฽เกาะส แปรตลียแ (Spraly Islands) ซึ่งทั้งมาเลเซียและเวียดนามต฽างก็เป็นประเทศคู฽พิพาท ในขณะที่พื้นที่ซึ่งถูก กําหนดเอาไว฾ในบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้อยู฽นอกพื้นที่พิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแ ดังนั้น บันทึกความเข฾าใจฉบับ นี้จึงเป็นข฾อตกลงที่มีความสําคัญในฐานะตัวอย฽างที่ดีของการจัดการข฾อพิพาทปัญหาเขตแดนทางทะเลที่ สามารถเปลี่ยนให฾พื้นที่พิพาทให฾กลายเป็นพื้นที่พัฒนาซึ่งจะช฽วยให฾เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็นประโยชนแ ต฽อทั้งมาเลเซียและเวียดนาม ประการที่สอง เนื่องจากมาเลเซียและไทยสามารถบรรลุข฾อตกลงว฽าด฾วยการจัดตั้งองคแกรร฽วมเพื่อ แสวงหาผลประโยชนแจากทรัพยากรในพื้นดินใต฾ทะเลในบริเวณที่กําหนดของไหล฽ทวีปของประเทศทั้งสองใน อ฽าวไทย ลงวันที่ 21 กุมภาพันธแ 2522/197994 ประการที่สาม เวียดนามได฾ดําเนินการเจรจาปัญหาอาณาเขตทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ฾านรอบพื้นที่ อ฽าวไทยและอินโดนีเซียโดยมุ฽งเน฾นแนวคิดว฽าด฾วยความร฽วมมือและพื้นที่พัฒนาร฽วมเป็นสําคัญซึ่งเป็นนโยบาย ของรัฐบาลเวียดนามในขณะนั้น

94 โปรดดู ชาญวิทยแ เกษตรศิริ. อ฾างแล฾ว, 213-217. 143

ประการสุดท฾าย เวียดนามกําลังเริ่มกระบวนการเข฾าสู฽การเป็นสมาชิกของสมาคมประชาชาติเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾หรืออาเซียน ซึ่งประสบความสําเร็จในปี 2538/1995 ทําให฾เวียดนามต฾องพยายามสร฾าง ความน฽าเชื่อถือในฐานะประเทศสมาชิกที่ดีของสมาคม โดยเฉพาะการสร฾างความร฽วมมือกับมาเลเซียซึ่งเป็น ประเทศสมาชิกที่สําคัญของอาเซียน อย฽างไรก็ตาม บันทึกความเข฾าใจฉบับนี้เป็นการกําหนดเฉพาะประเด็นไหล฽ทวีป โดยเวียดนามประกาศ การอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปในปี 2514/1971 แม฾ว฽าต฽อมาในปี 2520/1977 เวียดนามจะประกาศขยายการอ฾างสิทธิ์ ไหล฽ทวีปของตนอีกครั้ง ส฽วนมาเลเซียก็ประกาศอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปตามแผนที่ในปี 2522/1979 แต฽อย฽างไรก็ตาม เวียดนามก็ใช฾ไหล฽ทวีปที่ตนเคยอ฾างสิทธิ์ในปี 2514/1971 เพื่อเป็นพื้นฐานในการกําหนดพื้นที่พัฒนาร฽วมกับ มาเลเซียตามบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้

144

บันทึกความเข้าใจระหว่างมาเลเซียกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ส าหรับการส ารวจและการใช้ประโยชน์แหล่งปิโตรเลียมในพื้นที่ก าหนดบน ไหล่ทวีปของทั้งสองประเทศ95

มาเลเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ปรารถนาที่จะกระชับความร฽วมมือระหว฽างทั้งสองประเทศ รับทราบถึงผลของการอ฾างสิทธิ์พื้นที่ทับซ฾อนที่กระทําโดยทั้งสองประเทศเกี่ยวกับไหล฽ทวีปที่ตั้งอยู฽ทาง ตะวันออกเฉียงเหนือของชายฝั่งมาเลเซียตะวันตก และทางตะวันตกเฉียงใต฾ของชายฝั่งเวียดนาม ทําให฾เกิด พื้นที่ทับซ฾อนในไหล฽ทวีปของกันและกัน เห็นพ฾องกับข฾อตกลงของผู฾นําของทั้งสองประเทศต฽อความร฽วมมือในส฽วนของพื้นที่ทับซ฾อนที่เกี่ยวข฾อง กับทั้งสองประเทศเท฽านั้น ระมัดระวังในการตัดสินใจของผู฾นําทั้งสองประเทศเพื่อแก฾ปัญหาอย฽างสันติในประเด็นการอ฾างสิทธิ์ทับ ซ฾อนพหุภาคีกับภาคีที่เกี่ยวข฾องในเวลาที่เหมาะสม พิจารณาว฽าผลประโยชนแสูงสุดของทั้งสองประเทศ ในระหว฽างการดําเนินการเพื่อกําหนดไหล฽ทวีปที่ ตั้งอยู฽ที่ตั้งอยู฽ทางตะวันออกเฉียงเหนือของชายฝั่งมาเลเซียตะวันตก และทางตะวันตกเฉียงใต฾ของชายฝั่ง เวียดนาม เพื่อเข฾าสู฽ข฾อตกลงชั่วคราวในการสํารวจและใช฾ประโยชนแแหล฽งปิโตรเลียมในพื้นดินท฾องทะเลของ พื้นที่ทับซ฾อน เชื่อมั่นในกิจกรรมต฽างๆ ที่จะสามารถนํามาซึ่งความร฽วมมือระหว฽างกัน ได฾ตกลงกันดังต฽อไปนี้ ข้อ 1 (1) ทั้งคู฽เห็นด฾วยว฽าผลของการอ฾างสิทธิ์พื้นที่ทับซ฾อนที่กระทําโดยทั้งสองประเทศบนไหล฽ทวีปที่ตั้งอยู฽ทาง ตะวันออกเฉียงเหนือของชายฝั่งมาเลเซียตะวันตก และทางตะวันตกเฉียงใต฾ของชายฝั่งเวียดนาม ทําให฾เกิด พื้นที่ทับซ฾อนในไหล฽ทวีป (พื้นที่กําหนด “Defined Area”) ได฾แก฽ พื้นที่ซึ่งถูกล฾อมด฾วยเส฾นตรงตามจุดพิกัดดังนี้ A เหนือ 7° 22.0′ ตะวันออก 103° 42.5′ B เหนือ 7° 20.0′ ตะวันออก 103° 39.0′ C เหนือ 7° 18.31′ ตะวันออก 103° 35.71′ D เหนือ 7° 03.0′ ตะวันออก 103° 52.0′ E เหนือ 6° 05.8′ ตะวันออก 105° 49.2′ F เหนือ 6° 48.25′ ตะวันออก 104° 30.0′ A เหนือ 7° 22.0′ ตะวันออก 103° 42.5′

และได฾แสดงไว฾ในแผนที่ British Admiralty Chart No: 2414, Edition 1967 ตามภาคผนวกที่แนบมา

95 โปรดดู “Memorandum of Understanding between Malaysia and the Socialist Republic of Vietnam for the Exploration and Exploitation of Petroleum in a Defined Area of the Continental Shelf Involving the Two Countries,” in Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.III (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 2004), p.2341-2344. 145

(2) ตําแหน฽งที่แท฾จริงในทะเลของจุด (Point) ที่กล฽าวถึงในวรรค (1) ตามข฾อนี้ จะถูกตรวจสอบโดยวิธีการที่จะ เป็นข฾อตกลงร฽วมกันโดยผู฾รับมอบอํานาจของทั้งสองฝุาย โดยผู฾รับมอบอํานาจของฝุายมาเลเซียหมายถึง ผู฾อํานวยการกรมสํารวจและทําแผนที่ (Directorate of National Mapping) รวมทั้งผู฾ที่ได฾รับมอบหมายจาก เขา และของฝุายเวียดนามหมายถึง กรมแผนที่ภูมิศาสตรแ (Department of Geo-Cartography) และ หน฽วย แผนที่ภูมิศาสตรแทหารเรือ (Navy Geo-Cartography Section) รวมทั้งผู฾ที่ได฾รับมอบหมายจากเขา ข้อ 2 (1) ทั้งสองฝุายเห็นพ฾อง ระหว฽างดําเนินการในขั้นตอนสุดท฾ายของการกําหนดไหล฽ทวีปในพื้นที่กําหนด (Defined Area) ผ฽านข฾อตกลงร฽วมกัน เพื่อการสํารวจและใช฾ประโยชนแแหล฽งปิโตรเลียมนพื้นที่ซึ่งเป็นไปตาม เงื่อนไขและระยะเวลาของความสมบูรณแแห฽งบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้ (2) แหล฽งปิโตรเลียมที่ตั้งอยู฽ในบางส฽วนของพื้นที่กําหนด (Defined Area) และบางส฽วนนอกไหล฽ทวีปของ มาเลเซียหรือเวียดนาม ซึ่งอาจเกิดขึ้นได฾ ทั้งสองฝุายจะยอมรับร฽วมกันเพื่อการสํารวจและการใช฾ประโยชนแจาก แหล฽งปิโตรเลียมแห฽งนั้น (3) ค฽าใช฾จ฽ายที่เสียและได฾มาจากการสํารวจและการใช฾ประโยชนแจากแหล฽งปิโตรเลียมในพื้นที่กําหนดจะมาจาก ความรับผิดชอบร฽วมกันอย฽างเท฽าเทียมของทั้งสองฝุาย ข้อ 3 เพื่อจุดประสงคแของบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้ (a) มาเลเซียและเวียดนามตกลงที่จะเสนอให฾ ปิโตรนาส (PETRONAS) และ ปิโตรเวียดนาม (PETROVIETNAM) ตามลําดับ เป็นผู฾ดําเนินการในนามของตนเพื่อการสํารวจและการใช฾ประโยชนแ จากแหล฽งปิโตรเลียมในพื้นที่กําหนด (b) มาเลเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามจะทําให฾ ปิโตรนาส (PETRONAS) และ ปิโตรเวียดนาม (PETROVIETNAM) ตามลําดับ เพื่อเข฾าสู฽ข฾อตกลงเชิงพาณิชยแระหว฽างกัน ในการสํารวจและการใช฾ ประโยชนแจากปิโตรเลียมในพื้นที่ที่กําหนด โดยการจัดทําเงื่อนไขของข฾อตกลงจะอยู฽ภายใต฾การอนุมัติ ของรัฐบาลมาเลเซียและรัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (c) ทั้งสองฝุายตกลงที่จะคํานึงถึงค฽าใช฾จ฽ายอย฽างมีนัยสําคัญที่เกิดขึ้นแล฾วในพื้นที่กําหนด โดยพยายามที่ จะดําเนินการเพื่อให฾แน฽ใจว฽ามีการสํารวจเบื้องต฾นอย฽างต฽อเนื่องในแหล฽งปิโตรเลียมในพื้นที่กําหนด ข้อ 4 ไม฽มีสิ่งใดในบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้จะถูกตีความไปทางใดทางหนึ่งที่จะ (a) ทําให฾เสียสิทธิ์ในตําแหน฽งและการอ฾างสิทธิ์ของฝุายใดฝุายหนึ่งในพื้นที่กําหนด และ (b) ไม฽ทําให฾เสียสิทธิ์ตามบทบัญญัติในข฾อ 3 ต฽อสิทธิ ผลประโยชนแ หรือ สิทธิพิเศษของบุคคลอื่นที่ไม฽ได฾อ ยูในข฾อตกลงฉบับนี้ ในส฽วนของแหล฽งทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่กําหนด ข้อ 5 บันทึกความเข฾าใจฉบับนี้จะยังคงอยู฽ตลอดระยะเวลาที่กําหนดโดยการแลกเปลี่ยนบันทึกทางการทูตระหว฽างทั้ง สองฝุาย ข้อ 6 ข฾อพิพาทที่เกิดขึ้นจากการตีความหรือการดําเนินการตามบทบัญญัติของบันทึกความเข฾าใจนี้จะถูกระงับโดย สันติ โดยการปรึกษาหารือหรือการเจรจาระหว฽างทั้งสองฝุาย ข้อ 7 บันทึกความเข฾าใจฉบับนี้ จะมีผลบังคับใช฾ในวันที่กําหนดขึ้นโดยการแลกเปลี่ยนบันทึกทางการทูตระหว฽างทั้งสองฝุาย 146

ข้อ 8 เพื่อวัตถุประสงคแของบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้ (a) “พื้นที่กําหนด (Defined Area)” หมายถึง พื้นที่ซึ่งอ฾างถึงในข฾อ 1 (1) ของบันทึกความเข฾าใจฉบับนี้ (b) “ปิโตรเลียม” หมายถึง แร฽น้ํามันหรือสารไฮโดรคารแบอนและก฿าซธรรมชาติที่มีอยู฽ตามสภาพธรรมชาติ รวมทั้งหินตะกอนบิทูมินัส (bituminus shales) และแหล฽งทรัพยากรที่อยู฽ในชั้นหินประเภทอื่นๆ ที่ เกิดขึ้นจากการสกัดน้ํามัน (c) “แหล฽งปิโตรเลียม” หมายถึง พื้นที่ซึ่งประกอบด฾วยบ฽อเก็บน้ํามันเดียวหรือหลายบ฽อรวมกันเป็นกลุ฽มที่ เกี่ยวข฾องกับคุณลักษณะของโครงสร฾างทางธรณีวิทยาของบ฽อน้ํามันเดียวกัน หรือชั้นหินที่ปิโตรเลียม จะสามารถถูกผลิตได฾ในเชิงพาณิชยแ (d) ―PETRONAS‖ เป็นคําย฽อของ บริษัทปิโตรเลียมแห฽งชาติจํากัด (Petroliam Nasional Berhad) ซึ่ง จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติบริษัทมาเลเซีย (Malaysia Companies Act 1965) ปี 2508/1965; และ (e) ―PETROVIETNAM‖ เป็นคําย฽อของ บริษัทน้ํามันและก฿าซแห฽งชาติเวียดนาม (Vietnam National Oil and Gas Company) จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาหมายเลข 25/HDBT (Decree of No. 250/HDBT) เมื่อ 6 กรกฎาคม 2533/1990

ทําขึ้นเป็นคู฽ฉบับ ณ กรุงกัวลาลัมเปอรแ ในวันที่ 5 มิถุนายน 1992 ในภาษาอังกฤษ

สําหรับมาเลเซีย สําหรับรัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ฯพณฯ ดาตุ฿ก อาหมัด กามิล จาฟารแ ฯพณฯ วู ควน (H.E. Datuk Ahmad Kamil Jaafar) (H.E. Vu Khoan) ปลัดกระทรวงการต฽างประเทศ รัฐมนตรีช฽วยว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ

147

ภาพที่ 4.11 แผนที่แสดงจุด (Point) เชื่อมต฽อเส฾นไหล฽ทวีประหว฽างมาเลเซียกับเวียดนามตามข฾อตกลงเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2535/1992 (ที่มา: Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.III (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 2004), p. 2,340.) 148

เมื่อพิจารณาจากภาพที่ 4.11 จะพบว฽าพื้นที่ส฽วนทางตะวันตกเฉียงเหนือของบริเวณที่กําหนดจากจุด A ถึงจุด C เป็นส฽วนที่บรรจบกับขอบเขตทางด฾านตะวันตกเฉียงใต฾ของพื้นที่พัฒนาร฽วมระหว฽างมาเลเซียกับไทย เนื่องจากจุด A และ B คือจุดที่ใช฾เพื่อกําหนดขอบเขตพื้นที่พัฒนาร฽วมระหว฽างมาเลเซียกับไทย โดยจุด A เป็น จุดกึ่งกลางที่ลากขึ้นระหว฽างเกาะเรอดัง (Pulau Redang Island) ของมาเลเซีย กับ เกาะโลซิน (Ko Losin Island) ของไทย จุด C อยู฽ระหว฽างส฽วนทางตะวันออกเฉียงใต฾ซึ่งทําให฾เกิดเขตพื้นที่พัฒนาร฽วมระหว฽างมาเลเซียกับไทย โดยเป็นจุดกึ่งกลางระหว฽างแผ฽นดินของเวียดนามกับมาเลเซีย เช฽นเดียวกับจุด D ซึ่งเป็นจุดกึ่งกลางระหว฽าง แผ฽นดินของเวียดนามและมาเลเซียโดยสัมพันธแกับระยะทางระหว฽างเกาะของทั้งสองประเทศ โดยเวียดนามใช฾ เกาะฮอนไคว (Hon Khoai Island) เป็นจุดอ฾างอิงในการกําหนดไหล฽ทวีป ส฽วนมาเลเซียใช฾เกาะเรอดัง (Pulau Redang Island) ทั้งจุด C และ D มาจากการอ฾างไหล฽ทวีปของเวียดนามในปี 2514/1971 จุด A F และ E เป็นจุดที่มาจากการประกาศอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปของมาเลเซียในปี 2522/1979 โดยจุด F เป็นจุดกึ่งกลางที่กําหนดขึ้นจากฝุายมาเลเซียโดยอ฾างอิงจากเกาะเรอดัง (Pulau Redang Island) ไม฽ได฾ พิจารณาระยะทางจากเกาะของเวียดนามแต฽อย฽างใด ส฽วนจุด E เป็นจุดสุดท฾ายของไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซีย กับมาเลเซียตามความตกลงเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2512/1969 (หรือจุดที่ 20 ในภาพที่ 4.3) โดยเป็นจุด กึ่งกลางระหว฽างแผ฽นดินของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม โดยมาเลเซียนั้นมีจุดอ฾างอิงอยู฽ที่เกาะเติงกอล (Tenggol Island) และเวียดนามอยู฽ที่เกาะฮอนไคว (Hon Khoai Island) ดังที่กล฽าวไปแล฾วข฾างต฾น บันทึกความเข฾าใจฉบับนี้มีวัตถุประสงคแเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะ การสํารวจและการสกัดทรัพยากรไฮโดรคารแบอน เช฽น ปิโตรเลียม และก฿าซธรรมชาติ เท฽านั้น ทําให฾บันทึก ความเข฾าใจฉบับนี้ไม฽มีผลต฽อการเจรจาต฽อรองผลประโยชนแเรื่องอาณาเขตทางทะเลอื่นๆ ของทั้งสองประเทศที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต อย฽างไรก็ตาม พื้นที่กําหนดรูปเศษไม฾นี้เป็นอาณาเขตที่ติดต฽อกับพื้นที่พัฒนาร฽วม ระหว฽าง มาเลเซียกับไทยซึ่งแสดงให฾เห็นว฽าเวียดนามต฾องการที่จะเป็นส฽วนหนึ่งของการสร฾างพื้นที่พัฒนาร฽วมและ มาเลเซียก็ยอมรับในความประสงคแของเวียดนาม ซึ่งแสดงให฾เห็นถึงรูปแบบของการจัดการปัญหาข฾อพิพาทเขต แดนทางทะเลที่มีแนวโน฾มไปในทางการกําหนดพื้นที่เพื่อการสํารวจและใช฾ประโยชนแจากทรัพยากรร฽วมกัน มากกว฽าที่จะเอาชนะกันในประเด็นความเป็นเจ฾าของพื้นที่แต฽เพียงฝุายเดียว โดยเฉพาะอย฽างยิ่งประเทศต฽างๆ ในเอเชียที่สามารถบรรลุข฾อตกลงร฽วมกันเพื่อการพัฒนา เช฽น ระหว฽างมาเลเซียกับไทย ออสเตรเลียกับ อินโดนีเซีย ญี่ปุุนกับเกาหลี โดยเฉพาะเวียดนามกับอินโดนีเซียและไทย

149

4.6 ช่องแคบยะโฮร์ (Strait of Johor) ระหว่างมาเลเซียกับสิงคโปร์

ความตกลง 9 ข฾อที่เกิดขึ้นจากความตกลงระหว฽างรัฐบาลมาเลเซียกับรัฐบาลสาธารณรัฐสิงคโปรแเพื่อ กําหนดเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขตที่ถูกต฾องให฾สอดคล฾องกับความตกลงระหว฽างสเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแสกับ ยะโฮรแว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตปี 2470/1927 ลงนามในวันที่ 7 สิงหาคม 2538/1995 นั้น เป็นการกําหนดเส฾น เขตแดนในช฽องแคบยะโฮรแซึ่งแบ฽งแยกเกาะสิงคโปรแออกจากปลายสุดของคาบสมุทรมาลายู ช฽องแคบนี้มีความ ยาวประมาณ 50 ไมลแทะเล ตามบทบัญญัติในข฾อ 1 ของความตกลงระหว฽างสเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแสกับยะโฮรแ ว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตปี 2470/1927 ได฾กําหนดแนวเส฾นทะเลอาณาเขตให฾เป็นไปตามจุดกึ่งกลางของช฽องทาง น้ําที่ลึกที่สุด (deep-water channel) ในช฽องแคบยะโฮรแ โดยมีการสํารวจทางอุทกศาสตรแในบริเวณดังกล฽าว เสร็จสิ้นในปี 2525/1982 และมีการรับรองรายงานการสํารวจโดยทั่งสองฝุายในปี 2528/1985 ดังนั้นจึงอาจ กล฽าวได฾ว฽า ความตกลงฉบับวันที่ 7 สิงหาคม 2538/1995 นี้ เป็นผลสืบเนื่องจากการดําเนินการขั้นสุดท฾ายของ กระบวนการเจรจาตกลงกันซึ่งมีมาตั้งแต฽ปี 2470/1927 โดยยึดถือเอาช฽องทางน้ําที่ลึกที่สุด (deep-water channel) ในช฽องแคบยะโฮรแ เป็นเกณฑแในการกําหนดเส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ ความตกลงในปี 2538/1995 ไม฽เกี่ยวข฾องและไม฽มีผลโดยตรงต฽อข฾อพิพาทระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ ในกรณีพิพาทเหนือหิน 3 ก฾อน ได฾แก฽ เกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) มิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) และ เซาทแ เลดจแ (South Ledge) ซึ่งตั้งอยู฽ทางตะวันออกของช฽องแคบ สิงคโปรแ และความตกลงฉบับนี้ไม฽ได฾เป็นการกําหนดเส฾นเขตแดนระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแในช฽องแคบ สิงคโปรแ แต฽ข฾อตกลงฉบับนี้เป็นการกําหนดจุดฐาน (basepoint) ทั้งในส฽วนตะวันออกและตะวันตกของ สิงคโปรแที่บริเวณซึ่งช฽องแคบยะโฮรแบรรจบกับช฽องแคบสิงคโปรแ การเจรจาที่จะเกิดขึ้นต฽อไปจึงเป็นการขยาย เส฾นเขตแดนทางทะเล การเจรจาเพื่อกําหนดแนวเส฾นเขตแดนทางด฾านตะวันออกของสิงคโปรแจําเป็นต฾องดึงเอาอินโดนีเซียเข฾า มามีส฽วนร฽วม ในขณะที่เส฾นเขตแดนทางด฾านตะวันตก มาเลเซียและสิงคโปรแสามารถเจรจาปัญหาทะเลอาณา เขตระหว฽างกันได฾โดยไม฽ต฾องดึงเอาอินโดนีเซียเข฾ามามีส฽วนร฽วม แต฽การกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลในช฽อง แคบสิงคโปรแจําเป็นที่จะต฾องเกิดขึ้นจากการเจรจาของทั้งสามประเทศ ในขณะที่ความตกลงในปี 2538/1995 ไม฽เกี่ยวข฾องกับข฾อพิพาทอธิปไตยกรณีหิน 3 ก฾อน ซึ่งทั้งสาม ประเทศจะสามารถเริ่มดําเนินการเจรจาเพื่อกําหนดเส฾นเขตแดนในช฽องแคบยะโฮรแทันทีหลังจากมาเลเซีย สามารถระบุอย฽างเป็นทางการได฾ว฽าหิน 3 ก฾อน เป็นกรรมสิทธิ์ของประเทศใด

150

ความตกลงระหว่างรัฐบาลมาเลเซียกับรัฐบาลสาธารณรัฐสิงคโปร์ เพื่อก าหนดเส้นเขตแดนของทะเลอาณาเขตที่ถูกต้องให้สอดคล้องกับ ความตกลงระหว่างสเตรทส์เซ็ทเทิลเมนท์สกับยะโฮร์ว่าด้วยทะเลอาณาเขตปี 2470/192796

เนื่องด฾วยโดยความตกลงว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตระหว฽างรัฐบาลสเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแสกับรัฐยะโฮรแ เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2470/1927 จากนี้ไปจะเรียกว฽า “ความตกลง ปี 2470/1927” ซึ่งทําขึ้นระหว฽าง เซอรแ ฮิวจแ ชารแลสแ คลิฟฟอรแด (Sir Hugh Charles Clifford) ข฾าหลวงและผู฾บัญชาการแห฽งอาณานิคมสเตรทสแเซ็ทเทิล เมนทแสในพระนามของกษัตริยแแห฽งอังกฤษ กับ อิบราฮิม บิน อัลมารแฮัม สุลต฽าน อาบู บาการแ (Ibrahim bin Almarhum Sultan Abu Bakar) องคแสุลต฽านแห฽งรัฐยะโฮรแ (Johor) เส฾นเขตแดนระหว฽างทะเลอาณาเขตของ รัฐบาลสเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแสแห฽งสิงคโปรแและรัฐสุลต฽านแห฽งยะโฮรแได฾ถูกตกลงร฽วมกัน และเนื่องด฾วยรัฐสุลต฽านแห฽งยะโฮรแถูกสืบทอดโดยประเทศมาเลเซียและเป็นรัฐภายในของประเทศ มาเลเซีย และรัฐบาลสเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแสแห฽งสิงคโปรแถูกสืบทอดโดยสาธารณรัฐสิงคโปรแ และเนื่องด฾วยรัฐบาลมาเลเซียและรัฐบาลสาธารณรัฐสิงคโปรแ จากนี้ไปจะเรียกว฽า “ภาคีผู฾ทําสัญญา (Contacting Parties)” ได฾รับทราบความจําเป็นที่จะกําหนดเส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตให฾ชัดเจน เพื่อให฾ สอดคล฾องกับความความตกลงปี 2470/1927 โดยตกลงที่จะจัดให฾มีการสํารวจทางทะเลร฽วมกันบนพื้นฐานของ บันทึกขั้นตอนการทํางาน (Memorandum of Procedure) เกี่ยวกับพื้นที่สํารวจดีงกล฽าวซึ่งตกลงกันเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2523/1980 และเนื่องด฾วยความสําเร็จของการจัดการสํารวจทางทะเลร฽วมกันในวันที่ 12 พฤษภาคม 2525/1982 และมีการรับรองรายงานการสํารวจโดยภาคีผู฾ทําสัญญาเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2538/1985 ภาคีผู฾ทําสัญญามี ความประสงคแที่จะบรรลุข฾อตกลงในการกําหนดเส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตระหว฽างมาเลเซียกับสาธารณรัฐ สิงคโปรแในอาณาบริเวณพื้นที่ซึ่งอธิบายไว฾ตามข฾อ 1 ของความความตกลงปี 2470/1927 ข้อ 1 เส้นเขตแดน 1. เส฾นเขตแดนทะเลอาณาเขตระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแในอาณาบริเวณพื้นที่ซึ่งอธิบายไว฾ตามข฾อ 1 ของความความตกลงปี 2470/1927 จะถูกกําหนดขึ้นจากเส฾นตรงที่เชื่อมระหว฽างจุด (Point) โดยพิกัดทาง ภูมิศาสตรแของแต฽ละจุดจะถูกระบุเอาไว฾ในภาคผนวก 1 (Annex I) 2. ละติจูดและลองจิจูดของพิกัดภูมิศาสตรแซึ่งระบุเอาไว฾ในภาคผนวก 1 ถูกกําหนดขึ้นโดย Revised Kertau Datum, Everest Spheroid (Malaya) Malaysia Rectified Skew Orthomorphic Projection (ตารางค฽าพิกัดถูกพิมพแโดยสํานักงานแผนที่ทหาร (Directorate of Military Survey) กระทรวงกลาโหมแห฽ง สหราชอาณาจักร – มีนาคม 2508/1965) “พื้นเกณฑแแผนที่ (Chart Datums)” ได฾รับการกําหนดไว฾ใน ภาคผนวกที่ 2 บัญชีการสํารวจทางทะเลร฽วม 1980/1982 (Joint Hydrographic Survey Fair Sheet) หรือ ภาคผนวก 2 (Annex II) 3. ดังที่ได฾กล฽าวมา เส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขตที่อ฾างถึงในย฽อหน฾า 1 ถูกแสดงในสีแดงบนแผนที่ แนบท฾ายในภาคผนวก 3 (Annex III)

96 โปรดดูรายละเอียดใน “Agreement Between the Government of Malaysia and the Government of the Republic of Singapore to Delimit Precisely the Territorial Waters Boundary in Accordance with the Straits Settlement and Johor Territorial Waters Agreement 1972” อ฾างใน Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.III (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 2004), pp. 2,351-2,353. 151

4. เมื่อตําแหน฽งที่แท฾จริงของจุด (Point) ที่กําหนดขึ้นโดยพิกัดทางภูมิศาสตรแในภาคผนวก 1 (Annex I) หรือจุดอื่นๆ ที่อยู฽ตามเส฾นเขตแดนถูกเรียกร฾องให฾ตรวจสอบ จะต฾องถูกตรวจสอบร฽วมกันโดยผู฾รับมอบอํานาจ จากภาคีผู฾ทําสัญญา 5. เพื่อให฾เป็นตามความประสงคแในย฽อหน฾าที่ 4 ของข฾อนี้ คําว฽า “ผู฾รับมอบอํานาจ (competent authorities)” ของฝุายมาเลเซียจะหมายถึง ผู฾อํานวยการกรมสํารวจและทําแผนที่ (Director General of Survey and Mapping) ของมาเลเซียหรือผู฾ที่ได฾รับมอบหมาย และของฝุายสิงคโปรแจะหมายถึงหัวหน฾ากองทํา แผนที่ (Head of the Mapping Unit) กระทรวงกลาโหมแห฽งสิงคโปรแหรือผู฾ที่ได฾รับมอบหมาย ข้อ 2 ขั้นตอนสุดท้ายของเส้นเขตแดน จะต฾องไม฽มีการเปลี่ยนแปลงแก฾ไขเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขตตามที่กําหนดไว฾ในข฾อ 1 ข้อ 3 การระงับช้อพิพาท หากข฾อพิพาทใดๆ ระหว฽างภาคีผู฾ทําสัญญาเกิดขึ้นจากการตีความหรือการนําไปใช฾ตามความตกลงนี้ จะต฾อง ระงับพิพาทนั้นโดยวิธีการให฾คําปรึกษาหารือหรือการเจรจา ข้อ 4 ความสัมพันธ์กับตกลงปี 2470/1927 ในกรณีที่มีความไม฽สอดคล฾องกันระหว฽างข฾อ 1 ของความตกลงฉบับนี้ กับ ข฾อ 1 ของความตกลงปี 2470/1927 ให฾ใช฾ข฾อ 1 ของความตกลงฉบับนี้ ข้อ 5 การให้สัตยาบัน ความตกลงฉบับนี้จะต฾องได฾รับการให฾สัตยาบันโดยภาคีผู฾ทําสัญญา ข้อ 6 การมีผลบังคับใช้ ตกลงนี้จะมีผลบังคับใช฾ในวันที่มีการแลกเปลี่ยนสัตยาบันโดยภาคีผู฾ทําสัญญา

เพื่อเป็นพยานแก฽การนี้ ผู฾ลงนามข฾างท฾ายนี้ได฾รับมอบอํานาจจากรัฐบาลของแต฽ละฝุายให฾ลงนามบันทึกความ เข฾าใจฉบับนี้

ทําขึ้น ณ สิงคโปรแ ในวันที่ 7 สิงหาคม 1995 ใน 4 ภาษาต฾นฉบับ อย฽างละ 2 ฉบับในภาษามาเลยแและ ภาษาอังกฤษ ทุกฉบับมีความถูกต฾องเท฽าเทียมกัน ในกรณีที่แตกต฽างกัน ให฾ใช฾ตัวบทภาษาอังกฤษเป็นหลัก

สําหรับรัฐบาลแห฽งมาเลเซีย สําหรับรัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐสิงคโปรแ ดาตุ฿ก อับดุลลาหแ อาหมัด บาดาวี ศาสตราจารยแ เอส. ชัยกุมาร (Datuk Abdullah Ahmad Badawi) (Professor S. Jayakumar) รัฐมนตรีการต฽างประเทศ รัฐมนตรีการต฽างประเทศ

152

ภาคผนวก 1 พิกัดทางภูมิศาสตร์ (Annex I Geographical Coordinates)

1. ทางตะวันออกของช่องยะโฮร์ (East of Johor Causeway) จุด (Point) ละติจูด เหนือ (Latitude North) ลองจิจูด ตะวันออก (Longitude East) E1 01° 27′ 10.0″ 103° 46′ 16.0″ E2 01° 27′ 54.5″ 103° 47′ 25.7″ E3 01° 28′ 35.4″ 103° 48′ 13.2″ E4 01° 28′ 42.5″ 103° 48′ 45.6″ E5 01° 28′ 36.1″ 103° 49′ 19.8″ E6 01° 28′ 22.8″ 104° 50′ 03.0″ E7 01° 27′ 58.2″ 103° 51′ 07.2″ E8 01° 27′ 46.6″ 103° 51′ 31.2″ E9 01° 27′ 31.9″ 103° 51′ 53.9″ E10 01° 27′ 23.5″ 103° 52′ 05.4″ E11 01° 26′ 56.3″ 103° 52′ 30.1″ E12 01° 26′ 06.5″ 104° 53′ 10.1″ E13 01° 25′ 40.6″ 103° 53′ 52.3″ E14 01° 25′ 39.1″ 103° 54′ 45.9″ E15 01° 25′ 36.0″ 103° 55′ 00.6″ E16 01° 25′ 41.7″ 103° 55′ 24.0″ E17 01° 25′ 49.5″ 103° 56′ 00.3″ E18 01° 25′ 49.7″ 104° 56′ 15.7″ E19 01° 25′ 40.2″ 103° 56′ 33.1″ E20 01° 25′ 31.3″ 103° 57′ 09.1″ E21 01° 25′ 27.9″ 103° 57′ 27.2″ E22 01° 25′ 29.1″ 103° 57′ 38.4″ E23 01° 25′ 19.8″ 103° 58′ 00.5″ E24 01° 25′ 19.0″ 104° 58′ 20.7″ E25 01° 25′ 27.9″ 103° 58′ 47.7″ E26 01° 25′ 27.4″ 103° 59′ 00.9″ E27 01° 25′ 29.7″ 103° 59′ 10.2″ E28 01° 25′ 29.2″ 103° 59′ 20.5″ E29 01° 25′ 30.0″ 103° 59′ 34.5″ E30 01° 25′ 25.3″ 103° 59′ 42.9″ E31 01° 25′ 14.2″ 104° 00′ 10.3″

153

จุด (Point) ละติจูด เหนือ (Latitude North) ลองจิจูด ตะวันออก (Longitude East) E32 01° 26′ 20.9″ 104° 01′ 23.9″ E33 01° 26′ 38.0″ 104° 02′ 27.0″ E34 01° 26′ 23.5″ 104° 03′ 26.9″ E35 01° 26′ 04.7″ 104° 04′ 16.3″ E36 01° 25′ 51.3″ 104° 04′ 35.3″ E37 01° 25′ 03.3″ 104° 05′ 18.5″ E38 01° 24′ 55.8″ 104° 05′ 22.6″ E39 01° 24′ 44.8″ 104° 05′ 26.7″ E40 01° 24′ 21.4″ 104° 05′ 33.6″ E41 01° 23′ 59.3″ 104° 05′ 34.9″ E42 01° 23′ 39.3″ 104° 05′ 32.9″ E43 01° 23′ 04.9″ 104° 05′ 22.4″ E44 01° 22′ 07.5″ 104° 05′ 00.9″ E45 01° 21′ 27.0″ 104° 04′ 47.0″ E46 01° 20′ 48.0″ 104° 05′ 07.0″ E47 01° 17′ 21.3″ 104° 07′ 34.0″

2. ทางตะวันตกของช่องยะโฮร์ (West of Johor Causeway) จุด (Point) ละติจูด เหนือ (Latitude North) ลองจิจูด ตะวันออก (Longitude East) W1 01° 27′ 09.8″ 103° 46′ 15.7″ W2 01° 25′ 54.2″ 103° 45′ 38.5″ W3 01° 27′ 01.4″ 103° 44′ 48.4″ W4 01° 27′ 16.6″ 103° 44′ 23.3″ W5 01° 27′ 36.5″ 103° 43′ 42.0″ W6 01° 27′ 26.9″ 104° 42′ 50.8″ W7 01° 27′ 02.8″ 103° 42′ 13.5″ W8 01° 26′ 35.9″ 103° 41′ 55.9″ W9 01° 26′ 23.6″ 103° 41′ 38.6″ W10 01° 26′ 14.1″ 103° 41′ 00.0″ W11 01° 25′ 41.3″ 103° 40′ 26.0″ W12 01° 24′ 56.7″ 104° 40′ 10.0″ W13 01° 24′ 37.7″ 103° 39′ 50.1″ W14 01° 24′ 01.5″ 103° 39′ 25.8″ W15 01° 23′ 28.6″ 103° 39′ 12.6″ W16 01° 23′ 13.5″ 103° 39′ 10.7″

154

จุด (Point) ละติจูด เหนือ (Latitude North) ลองจิจูด ตะวันออก (Longitude East) W17 01° 22′ 47.7″ 103° 38′ 57.1″ W18 01° 21′ 46.7″ 104° 38′ 27.2″ W19 01° 21′ 26.6″ 103° 38′ 15.5″ W20 01° 21′ 07.3″ 103° 38′ 08.0″ W21 01° 20′ 24.8″ 103° 37′ 48.2″ W22 01° 19′ 17.8″ 103° 37′ 04.2″ W23 01° 18′ 55.5″ 103° 37′ 01.5″ W24 01° 18′ 51.5″ 103° 36′ 58.2″ W25 01° 15′ 51.0″ 103° 36′ 10.3″

ภาผนวก 2 บัญชีการส ารวจทางทะเลร่วม 1980/1982 (Annex II Joint Hydrographic Survey Fair Sheet) Sheet 1 of 21 (JS/5/IIa-1) Sheet 2 of 21 (JS/5/IIa-2) Sheet 3 of 21 (JS/5/IIb-1) Sheet 4 of 21 (JS/5/IIb-2) Sheet 5 of 21 (JS/5/Ia) Sheet 6 of 21 (JS/5/Ib) Sheet 7 of 21 (JS/5/IIIa-1) Sheet 8 of 21 (JS/5/IIIa-2) Sheet 9 of 21 (JS/5/IIIb-1) Sheet 10 of 21 (JS/5/IIIb-2) Sheet 11 of 21 (JS/5/IVa) Sheet 12 of 21 (JS/5/IVb-1) Sheet 13 of 21 (JS/5/IVb-2) Sheet 14 of 21 (JS/5/Va-1) Sheet 15 of 21 (JS/5/Va-2) Sheet 16 of 21 (JS/5/Vb-1) Sheet 17 of 21 (JS/5/Vb-2) Sheet 18 of 21 (JS/5/VIa-1) Sheet 19 of 21 (JS/5/VIa-2) Sheet 20 of 21 (JS/5/VIb-1) Sheet 21 of 21 (JS/5/VIb-2)

155

ภาพที่ 4.12 แผนที่แสดงทะเลอาณาเขตระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแตามตกลงเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2538/1995 (ที่มา: Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.III (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 2004), p. 2,350.) 156

ความตกลงในปี 2538/1995 เกิดจากการอ฾างถึงความตกลงในปี 2470/1927 ระหว฽างสหราชอาณาจักร กับสุลต฽านแห฽งยะโฮรแ โดยกําหนดให฾แนวเขตแดนเป็นไปตามจุดกึ่งกลางของช฽องน้ําลึก (deep-water channel) ในช฽องแคบยะโฮรแ ซึ่งความตกลงในปี 2470/1927 ยังคงมีผลผูกพันกับทั้งมาเลเซียและสิงคโปรแ ในช฽วงของการเป็นเอกราชผ฽านบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญของทั้งสองประเทศซึ่งกําหนดให฾เกิดความต฽อเนื่องของ ภาระผูกพันตามสนธิสัญญาต฽างๆ ในสมัยอาณานิคม ความตกลงในปี 2538/1995 แสดงเส฾นตรงที่ลากขึ้นจากจุดต฽างๆ ที่ถูกกําหนดขึ้นจํานวน 72 จุด (E จํานวน 47 จุด และ W จํานวน 25 จุด) ซึ่งเกิดจากการนําความตกลงในปี 2470/1927 มาดําเนินการให฾เป็น รูปธรรม โดยข฾อ 4 ของความตกลงในปี 2538/1995 กําหนดว฽า “ในกรณีที่มีความไม฽สอดคล฾องกันระหว฽างข฾อ 1 ของความตกลงฉบับนี้ กับ ข฾อ 1 ของความตกลงปี 2470/1927 ให฾ใช฾ข฾อ 1 ของความตกลงฉบับนี้” จึงถือว฽า ความตกลงในปี 2470/1927 ถูกแทนที่โดยความตกลงในปี 2538/1995 โดยสมบูรณแ การใช฾จุดกึ่งกลางของช฽องน้ําลึก (deep-water channel) เพื่อเป็นเส฾นเขตแดนสมมุติ (imaginary boundary) ตามความตกลงในปี 2470/1927 เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม฽บ฽อยนัก เนื่องจากความตกลงในปี 2428/1885 ระหว฽างสหราชอาณาจักรกับรัฐยะโฮรแระบุเอาไว฾ว฽าบริเวณทะเลที่มีความกว฾างน฾อยกว฽าหกไมลแจะ ใช฾ “เส฾นสมมุติที่อยู฽กึ่งกลางระหว฽างชายฝั่งของทั้งสองประเทศ”97 และยังกําหนดให฾กองเรือของอังกฤษ สามารถที่จะเข฾าถึงน฽านน้ําของรัฐยะโฮรแได฾โดยอิสระ แต฽ความตกลงในปี 2470/1927 ไม฽ได฾กล฽าวอ฾างอิงถึง ความตกลงในปี 2428/1885 แต฽อย฽างใด ยังไม฽เป็นที่แน฽ชัดว฽าเหตุใด จุดกึ่งกลางของช฽องน้ําลึก (deep-water channel) จึงถูกนํามาให฾ในความ ตกลงในปี 2470/1927 ซึ่งอาจเป็นไปได฾ว฽าเพื่ออํานวยความสะดวกให฾แก฽กองเรือของอังกฤษในการเดินทาง เข฾าถึงฐานทัพเรือของตนที่เซิมบาวัง (Sembawang) โดยการใช฾ช฽องน้ําลึกเป็นการประกันความสามารถในการ เดินเรือของอังกฤษเพื่อควบคุมเส฾นทางจากตะวันตกไปยังตะวันออกในช฽องแคบยะโฮรแ มาเลเซียและสิงคโปรแต฽างให฾ร฽วมมือกันเพื่อการเจรจาอย฽างต฽อเนื่องนับตั้งแต฽ปี 2523/1980 เพื่อกําหนด ทะเลอาณาเขตในช฽องแคบยะโฮรแอย฽างถาวร โดยตระหนักว฽าการบรรลุข฾อตกลงทะเลอาณาเขตตามความตกลง ปี 2538/1995 ในครั้งนี้จะไม฽สงผลกระทบต฽อข฾อพิพาทอื่นๆ ที่มีอยู฽ระหว฽างกัน โดยเฉพาะปัญหาอธิปไตยกรณี หิน 3 ก฾อน เนื่องจากทะเลอาณาเขตเป็นไปตามจุดกึ่งกลางของช฽องน้ําลึก (deep-water channel) ดังนั้นบรรดา เกาะทั้งหลายจึงไม฽มีความเกี่ยวข฾องกับการกําหนดเส฾นเขตแดนแต฽อย฽างใด แต฽ช฽องแคบที่เกิดขึ้นระหว฽างเกาะ สิงคโปรแกับแผ฽นดินใหญ฽ของมาเลเซียอาจทําให฾เกิดปัญหาเกี่ยวกับอํานาจอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะที่อยู฽ในบริเวณ ช฽องแคบ แต฽การใช฾จุดกึ่งกลางของช฽องน้ําลึก (deep-water channel) ก็ไม฽ได฾ทําให฾เกิดปัญหาตามที่มีข฾อกังวล มากนักเนื่องจากแนวเส฾นที่ลากตามจุดกึ่งกลางของช฽องน้ําลึก (deep-water channel) ไม฽ได฾เบนเข฾าไปใกล฾กับ เกาะใดมากนัก ยกเว฾นที่จุด E18 ซึ่งอยู฽ภายในระยะ 0.2 ไมลแทะเล จากเกาะปูเลาอูบิน (Pulau Ubin) ของ สิงคโปรแ โดยสรุป การลากเส฾นทะเลอาณาเขตระหว฽างสิงคโปรแกับมาเลเซียในช฽องแคบยะโฮรแโดยการกําหนดจุด จํานวน 72 จุด ไปตามจุดกึ่งกลางของช฽องน้ําลึก (deep-water channel) ทําให฾เกิดเส฾นตรงมีความยาว ประมาณ 50 ไมลแทะเล โดยข฾อ 1 วงเล็บ (4) ของความตกลงฉบับนี้ กําหนดว฽า “เมื่อตําแหน฽งที่แท฾จริงของจุด (Point) ที่กําหนดขึ้นโดยพิกัดทางภูมิศาสตรแในภาคผนวก 1 (Annex I) หรือจุดอื่นๆ ที่อยู฽ตามเส฾นเขตแดนถูก เรียกร฾องให฾ตรวจสอบ จะต฾องถูกตรวจสอบร฽วมกันโดยผู฾รับมอบอํานาจจากภาคีผู฾ทําสัญญา” นอกจากนี้ จุดทั้ง

97 Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. Ibid, p. 2,346. 157

72 จุดที่ใช฾ในการกําหนดทะเลอาณาเขตมีระยะห฽างระหว฽างกันตั้งแต฽ 0.2 ไมลแทะเล ถึง 4.2 ไมลแทะเล ซึ่งจุด เหล฽านี้จะถูกเชื่อกันโดยเส฾นตรง โดย “ละติจูดและลองจิจูดของพิกัดภูมิศาสตรแซึ่งระบุเอาไว฾ในภาคผนวก 1 ถูก กําหนดขึ้นโดย Revised Kertau Datum, Everest Spheroid (Malaya) Malaysia Rectified Skew Orthomorphic Projection (ตารางค฽าพิกัดถูกพิมพแโดยสํานักงานแผนที่ทหาร (Directorate of Military Survey) กระทรวงกลาโหมแห฽ง สหราชอาณาจักร – มีนาคม 2508/1965) “พื้นเกณฑแแผนที่ (Chart Datums)” ได฾รับการกําหนดไว฾ใน ภาคผนวกที่ 2 บัญชีการสํารวจทางทะเลร฽วม 1980/1982 (Joint Hydrographic Survey Fair Sheet) หรือ ภาคผนวก 2 (Annex II)” ตามความในข฾อ 1 วงเล็บ (2) ข฾อตกลงฉบับนี้มีความยุ฽งยากในการทําให฾เสร็จสมบูรณแได฾ เนื่องจากจําเป็นต฾องใช฾ข฾อมูลที่มีแม฽นยําซึ่งได฾ จากการสํารวจธรณีสัณฐานของน฽านน้ําที่กําหนด แต฽ในที่สุดทั้งสองประเทศก็สามารถให฾ความร฽วมมือแก฽กัน และกันเพื่อบรรลุข฾อตกลงซึ่งเป็นที่พอใจด฾วยกันทั้งสองฝุาย และยังสงวนสิทธิ์ที่จะไม฽นําข฾อพิพาทเขตแดนอื่นๆ ที่มีระหว฽างกันเข฾ามาเป็นอุปสรรคในการกําหนดเฉพาะทะเลอาณาเขตในช฽องแคบยะโฮรแ ซึ่งเป็นแนวทางในการ แก฾ปัญหาและวิสัยทัศนแที่น฽าสนใจของทั้งสองประเทศอย฽างยิ่ง

158

4.7 ไหล่ทวีปถึงเกาะนาทูน่า (Natuna Islands) ระหว่างอินโดนีเซียกับเวียดนาม

ไหล฽ทวีปซึ่งถูกกําหนดขึ้นตามความตกลงระหว฽างอินโดนีเซียกับเวียดนามในปี 2546/2003 เกิดจากเส฾น สองเส฾นตามความตกลงว฽าด฾วยไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียในปี 2512/1969 ดังที่ได฾กล฽าวไว฾แล฾วใน หัวข฾อ 4.1 ไหล่ทวีปในช่องแคบมะละกาและทะเลจีนใต้ระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย ซึ่งความตกลงว฽า ด฾วยไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียในปี 2512/1969 ฉบับนี้ได฾กําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลในพื้นที่ ทางตะวันออกและตะวันตกของหมู฽เกาะนาทูน฽า (Natuna Islands) ทางทิศตะวันตก ไหล฽ทวีปตามความตกลงในปี 2512/1969 เป็นไปตามแนวเส฾นมัธยะที่ลากขึ้นระหว฽าง มาเลเซียคาบสมุทร (Peninsular Malaysia) กับ หมู฽เกาะอานัมบัส (Anambas Islands) และนาทูน฽า (Natuna Islands) ของอินโดนีเซีย ส฽วนทางทิศตะวันตก ไหล฽ทวีปตามความตกลงในปี 2512/1969 ลาก ออกไปทางทิศเหนือจากชายฝั่งของเกาะบอรแเนียว แต฽ไม฽ได฾เป็นไปตามเส฾นมัธยะตลอดทั้งแนวเนื่องจากเบนเข฾า ไปในฝั่งทางอินโดนีเซียนิดหน฽อย ซึ่งทําให฾ฝุายมาเลเซียได฾ประโยชนแ โดยเป็นการลากเส฾นจากจุดอ฾างอิงระหว฽าง ชายฝั่งซาราวักของมาเลเซียกับเกาะนาทูน฽า (Natuna Islands) ของอินโดนีเซีย ความตกลงระหว฽างอินโดนีเซียกับเวียดนามในปี 2546/2003 ได฾กําหนดไหล฽ทวีปที่มีความยาว 250 ไมลแ ทะเล โดยเป็นการลากเส฾นที่เชื่อมต฽อระหว฽างจุดเหนือสุดของเส฾นไหล฽ทวีปทั้งสองส฽วนตามความตกลงในปี 2512/1969 ระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย ทําให฾สามารถกําหนดไหล฽ทวีปรอบเกาะนาทูน฽า (Natuna Islands) ได฾สําเร็จ ซึ่งแต฽เดิมพื้นที่ทับซ฾อนบนไหล฽ทวีปในบริเวณดังกล฽าวเกิดขึ้นจากการอ฾างสิทธิ์ของ อินโดนีเซียในปี 2511/1968 และต฽อมาเวียดนามก็ประกาศการอ฾างสิทธิ์ในปี 2514/1971 โดยมีขนาดพื้นที่ 37,000 ตารางกิโลเมตร ทางทิศตะวันออกเฉียงใต฾ของทะเลจีนใต฾ การเจรจาเริ่มขึ้นในปี 2515/1972 หลายครั้ง แต฽ก็ไม฽มีผลการเจรจาใดๆ เกิดขึ้น แต฽หลังจากการรวม ประเทศของเวียดนามเหนือและเวียดนามใต฾ในปี 2518/1975 ฝุายเวียดนามจึงเป็นฝุายเริ่มเปิดให฾มีการะบวน การการเจรจากับอินโดนีเซียอีกครั้ง ในระหว฽างขั้นตอนของการเจรจาระหว฽างกันของทั้งสองประเทศมีการ พยายามที่จะประสานแนวคิดที่แตกต฽างกันรวมทั้งแก฾ไขปัญหาความเข฾าใจที่ไม฽ตรงกัน รวมทั้งหาจุดร฽วมที่ เหมาะสมและมีเหตุผลเพื่อมุงสู฽ผลสําเร็จในการระงับข฾อพิพาทในพื้นที่ทับซ฾อนดังกล฽าว ในที่สุดวันที่ 26 มิถุนายน 2546/2003 ทั้งสองประเทศก็สามารถบรรลุความตกลงว฽าด฾วยไหล฽ทวีปฉบับนี้ได฾สําเร็จ โดยมีผล บังคับใช฾ในวันที่ 29 พฤษภาคม 2550/2007 โดยในขั้นต฽อไปคือการเจรจาเรื่องเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Economic Exclusive Zone – EEZ) ระหว฽างกัน

159

ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย เกี่ยวกับการก าหนดไหล่ทวีป 26 มิถุนายน 2546/200398

รัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและรัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (ต฽อไปในความตกลงนี้ จะเรียกว฽า “ภาคีผู฾ทําสัญญา”) โดยคํานึงถึงอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ลงนามที่อ฽าวมอนเตโก (Montego Bay) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2525/1982 ซึ่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและสาธารณรัฐอินโดนีเซียเป็นรัฐภาคี ปรารถนาที่จะกระชับและพัฒนาความร฽วมมือที่มีอยู฽ระหว฽างทั้งสองประเทศ ปรารถนาที่จะสถาปนาไหล฽ทวีประหว฽างเวียดนามกับอินโดนีเซีย ได฾ตกลงกันดังต฽อไปนี้ ข้อ 1 1. ไหล฽ทวีประหว฽างเวียดนามกับอินโดนีเซียถูกกําหนดโดยเส฾นตรงที่ลากเชื่อมต฽อระหว฽างจุดซึ่งระบุพิกัด ตามลําดับด฾านล฽างนี้ จุด ละติจูด ลองจิจูด 20 06° 05′ 48″ เหนือ 105° 49′ 12″ ตะวันออก H 06° 15′ 00″ เหนือ 106° 12′ 00″ ตะวันออก H1 06° 15′ 00″ เหนือ 106° 19′ 01″ ตะวันออก A4 06° 20′ 59.88″ เหนือ 106° 39′ 37.67″ ตะวันออก X1 06° 50′ 15″ เหนือ 109° 17′ 13″ ตะวันออก ดังนั้นเส฾นขอบเขตจึงลากตรงไปยังจุดพิกัดที่ละติจูด 06° 18′ 12″ เหนือ ลองจิจูด 109° 38′ 36″ ตะวันออก (จุด 25) 2. เส฾นตรงและพิกัดของจุดที่ระบุไว฾ในวรรค (1) ของข฾อนี้ คือเส฾นบนแผนที่และพิกัดทางภูมิศาสตรแที่ คํานวณตามระบบ World Geodetic System 1984 Datum (WGS84) และแผนที่ British Admiralty Chart No. 3482 อัตราส฽วน 1:1,500,000 ตีพิมพแในปี 2540/1997 ซึ่งเป็นแผนที่แนบท฾ายตามความตกลง ฉบับนี้ เส฾นขอบเขตที่แสดงในแผนที่แนบท฾ายตามความตกลงฉบับนี้ ทําขึ้นเพื่อวัตถุประสงคแในการแสดง ภาพประกอบเท฽านั้น 3. ตําแหน฽งที่แท฾จริงในทะเลของจุดและเส฾นตรงที่ระบุถึงในวรรค (1) ของข฾อนี้ จะถูกกําหนดขึ้นด฾วย วิธีการตกลงร฽วมกันโดยเจ฾าหน฾าที่ผู฾รับมอบอํานาจของภาคีผู฾ทําสัญญา 4. เพื่อให฾บรรลุจุดประสงคแตามวรรค (3) ของข฾อนี้ เจ฾าหน฾าที่ผู฾รับมอบอํานาจของสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม คือ กรมการสํารวจและทําแผนที่ (Department of Survey and Mapping) กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล฾อม (Ministry of Natural Resources and Environment) และ เจ฾าหน฾าที่ ผู฾รับมอบอํานาจของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย คือ กรมอุทกศาสตรแแห฽งกองทัพเรืออินโดนีเซีย (The Hydro- oceanographic Agency of the Indonesian Navy)

98 โปรดดู C. H. Schofield & T.L. McDorman. “Agreement between the government of the Socialist Republic of Vietnam and the Republic of Indonesia concerning the delimitation of the continental shelf boundary (Report no.5-27),” in D. A. Colson & R. W. Smith. International Maritime Boundaries Vol.VI (2011), pp. 4,301-4,315. 160

ข้อ 2 ความตกลงฉบับนี้จะไม฽ส฽งผลกระทบทางหนึ่งทางใดต฽อความตกลงอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นระหว฽างภาคีผู฾ทํา สัญญาในอนาคตเกี่ยวกับการกําหนดเส฾นขอบเขตในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ข้อ 3 ภาคีผู฾ทําสัญญาจะปรึกษากันโดยการประสานงานด฾านนโยบายตามหลักกฎหมายระหว฽างประเทศว฽า ด฾วยการคุ฾มครองสิ่งแวดล฾อมทางทะเล ข้อ 4 หากโครงสร฾างหรือบ฽อเดียวทางธรณีวิทยาของปิโตรเลียม หรือก฿าซฑรรมชาติ หรือแหล฽งแร฽อื่นๆ ใน ลักษณะใดๆ แห฽งเดียว ขยายข฾ามเส฾นขอบเขตที่อ฾างถึงในข฾อ 1 ภาคีผู฾ทําสัญญาจะแจ฾งให฾แก฽กันถึงข฾อมูลทั้งหมด เกี่ยวกับเรื่องนี้ และจะหาทางตกลงกันเกี่ยวกับวิธีที่จะแสวงหาประโยชนแจากโครงสร฾างบ฽อหรือแหล฽งน้ํามันนั้น ให฾มีประสิทธิผลที่สุด และการแบ฽งผลประโยชนแอันเกิดจากการแสวงประโยชนแเช฽นว฽านั้นอย฽างเป็นธรรม ข้อ 5 ข฾อพิพาทใดๆ ระหว฽างภาคีผู฾ทําสัญญาที่จะเกิดขึ้นจากการตีความหรือการปฏิบัติตามสนธิสัญญานี้ ให฾ ระงับอย฽างสันติ โดยวิธีการหารือหรือการเจรจา ข้อ 6 1. ความตกลงฉบับนี้จะได฾รับสัตยาบันตามที่กําหนดโดยขั้นตอนทางรัฐธรรมนูญของภาคีผู฾ทําสัญญา 2. ความตกลงฉบับนี้จะมีผลบังคับใช฾ ณ วันที่มีการแลกเปลี่ยนหนังสือสัญญาตามกฎหมาย 3. เพื่อเป็นพยานแก฽การนี้ ผู฾ลงนามข฾างท฾ายนี้ได฾รับมอบอํานาจจากรัฐบาลของแต฽ละฝุายใด฾ลงนามใน ความตกลงฉบับนี้ ทําขึ้น ณ กรุงฮานอย เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2546/2003 ทําเป็นคู฽ฉบับในภาษาเวียดนาม ภาษา อินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษ ทุกภาษาใช฾บังคับได฾เท฽าเทียมกัน ในกรณีที่มีความแตกต฽างกันในการตีความตัว บทต฽างภาษา ให฾ถือตัวบทภาษาอังกฤษเป็นสําคัญ

สําหรับรัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สําหรับสาธารณรัฐอินโดนีเซีย เหวียน ดาย เหนี่ยน (Nguyen Dy Nien) เอ็น ฮัสสัน วิราจุดา (N. Hassan Wirajuda) รัฐมนตรีต฽างประเทศ รัฐมนตรีต฽างประเทศ

161

ภาพที่ 4.13 แผนที่ British Admiralty Chart No.3482 อัตราส฽วน 1:1,500,000 ตีพิมพแในปี 2540/1997 แนบท฾ายความตก ลงไหล฽ทวีประหว฽างเวียดนามกับอินโดนีเซีย 26 มิถุนายน 2546/2003 (ที่มา: United Nations. The Law of the Sea Bulletins (No.67, 2008), pp. 39-41. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1MDt1YQ)

162

ภาพที่ 4.14 ภาพขยายแผนที่ British Admiralty Chart No.3482 อัตราส฽วน 1:1,500,000 ตีพิมพแในปี 2540/1997 แนบท฾ายความตกลงไหล฽ทวีประหว฽างเวียดนามกับอินโดนีเซีย 26 มิถุนายน 2546/2003 แสดงให฾ เห็นจุดพิกัดต฽างๆ ตามที่กําหนดเอาไว฾ในความตกลงฉบับดังกล฽าว 163

4.8 เส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างบรูไนกับมาเลเซีย

การกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลเส฾นแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2501/1958 โดยการประกาศของสหราชอาณาจักรในน฽านน้ําบริเวณนอกชายฝั่งระหว฽างบรูไนกับซา ราวัก และบรูไนกับซาบาหแ โดยแต฽ละเส฾นมีความลึก 100 ฟาทอม (200 เมตร) ซึ่งเป็นความลึกที่ระบุไว฾ใน อนุสัญญาว฽าด฾วยไหล฽ทวีปปี 2501/1958 ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักการเพื่ออ฾างสิทธิ์อาณาเขตทางทะเลระหว฽าง ประเทศ เส฾นเขตแดนกับซาราวักมีความยาว 34 ไมลแทะเล และส฽วนที่ยื่นออกไปในทะเลนั้นดูเหมือนจะเกิด ประโยชนแต฽อบรูไน จุดปลายสุด (terminus) จึงมีความยาวประมาณ 10 ไมลแทะเล ไปทางทิศตะวันตกของจุดที่ เท฽ากับเส฾นมัธยะ (equidistance) เส฾นเขตแดนระหว฽างบรูไนและซาบาหแมีความยาว 80 ไมลแทะเล และ ค฽อนข฾าง ใกล฾เคียงกับเส฾นมัธยะแต฽ก็ไม฽ชัดเจนว฽าการลากเส฾นเขตแดนฝุายเดียวของอังกฤษในครั้งนี้ เป็นที่ ยอมรับจากรัฐอื่นๆ ที่มีส฽วนได฾ส฽วนเสียหรือไม฽ เส฾นเขตแดนทางทะเลของบรูไน โดยเฉพาะการอ฾างสิทธิ์ตามไหล฽ทวีปความยาว 200 ไมลแทะเล ก็ทําให฾ บรูไนเข฾าไปเป็นส฽วนหนึ่งของการอ฾างสิทธิ์ในพื้นที่ทับซ฾อนบริเวณทะเลจีนใต฾ (เกิดข฾อพิพาทกับจีน ไต฾หวัน และ เวียดนาม) มาเลเซียก็เป็นส฽วนหนึ่งของประเทศคู฽พิพาทในทะเลจีนใต฾ แต฽เนื่องจากมีการทําข฾อตกลงทวิภาคีกับ บรูไนจึงทําให฾สามารถแก฾ไขปัญหาพื้นที่ทับซ฾อนทางทะเลในน฽านน้ําบรูไนได฾ เส฾นเขตแดนทางทะเลของบรูไน กับมาเลเซีย นั้นเป็นเกิดขึ้นจาก “คําสั่งสภาแห฽งรัฐซาราวัก ปี 2501/1958” และ “คําสั่งสภาแห฽งบอรแเนียว เหนือว฽าด฾วยคํานิยามเส฾นเขตแดน ปี 2501/1958” โดยคําสั่งทั้งสองฉบับนี้ ได฾กําหนดให฾มีการนิยามเส฾นเขต แดนระหว฽างบรูไน กับรัฐซาราวักและรัฐซาบาหแของมาเลเซีย ซึ่งดินแดนทั้งหมดถูกปกครองโดยอังกฤษ ดังที่ได฾กล฽าวไปแล฾วว฽า บรูไนและมาเลเซียเป็นรัฐที่มีชายฝั่งประชิดกัน (adjacent states) ซึ่งต฽างอ฾าง สิทธิ์ทะเลอาณาเขต (territorial sea) 12 ไมลแทะเล และเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล ทั้งสองประเทศ ได฾รับมรดกเส฾นเขตแดนในทะเล 3 แห฽ง โดยเป็นไปตาม “พระราชบัญญัติเส฾นเขตแดนของอาณานิคม (Colonial Boundaries Act)” ปี 2438/189599 เส฾นเขตแดนแบ฽งเขตพื้นดินท฾องทะเล (seabed) และทะเล อาณาเขต (territorial water) ของบรูไน ออกจากพื้นที่เดียวกับซาบาหแและซาราวักในทะเลจีนใต฾ กับอ฽าว บรูไน (Brunei Bay)100 ในขณะนั้นอังกฤษอ฾างสิทธิ์เขตน฽านน้ํา 3 ไมลแทะเล และเขตพื้นดินท฾องทะเลที่ความลึก 100 ฟาทอม (182 เมตร) ซาบาหแและซาราวักเข฾าร฽วมเป็นส฽วนหนึ่งของมาเลเซียในปี 2506/1963 ต฽อมาในปี 2522/1979 มาเลเซียตีพิมพแแผนที่แสดงเส฾นเขตแดนเขตตามอังกฤษโดยใช฾เครื่องหมายระบุในแผนที่ว฽า “เส฾น เขตแดนระหว฽างประเทศ (International Boundary)”101 ข฾อมูลที่น฽าเชื่อถือในการอ฾างสิทธิ์ทางทะเลของ บรูไนมีความยากลําบากที่จะเข฾าถึง แต฽แผนที่ซึ่งตีพิมพแโดยกระทรวงการต฽างประเทศของสหรัฐอเมริกา (United States State Department) ในปี 2538/1995 แสดงสิ่งที่บรูไนอ฾างสิทธิ์ในปี 2538/1995 แผนที่นี้ระบุข฾อความว฽า “เพื่อเป็นตัวอย฽างเท฽านั้น (for illustrative purposes only)” แสดงให฾เห็นถึง การอ฾างสิทธิ์ทางทะเลของบรูไนว฽าตั้งอยู฽บนเส฾นเขตแดนของอังกฤษ ซึ่งก็คือเส฾นตรงที่ลากออกไป (straight- line extensions) จนถึงแนวเส฾นมัธยะ (equidistance) ระหว฽างแผ฽นดินของบรูไนกับเวียดนาม การอ฾างสิทธิ์

99 โปรดดู Colonial Boundaries Act. July 6, 1895. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1HsBtZN 100 Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.II (The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 1993, 1996), pp.815-828. 101 Director of National Mapping Malaysia, Map showing territorial waters and continental shelf boundaries of Malaysia, Sheet 2, (1979) Mercator projection, scale 1:1.5 million at 5° 30′ N. 164

ดังกล฽าวขยายออกไปอีก 240 ไมลแทะเลจากชายฝั่งของบรูไน และเชื่อว฽าต฽อมาการอ฾างสิทธิ์ของบรูไนจะลดลง ในระยะ 200 ไมลแทะเล จากเส฾นฐาน (baseline) ของตน เส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขต (territorial sea) และ เส฾นแบ฽งเขตทางทะเล หรือ เส฾นเขตแดนของ พื้นดินท฾องทะเล (seabed boundary) ระหว฽างบรูไนกับมาเลเซียทางตะวันออกคือ เส฾นมัธยะ (equidistance line) ที่ถูกลากออกไปเป็นระยะ 60 ไมลแทะเล จากปากอ฽าวบรูไนจนถึงระดับความลึก 100 ฟาทอม หรือจุด A ในภาพที่ 4.15 ส฽วนเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขต (territorial sea) และเส฾นเขตแดนของพื้นดินท฾องทะเล (seabed boundary) ทางตะวันตกระหว฽างทั้งสองประเทศ ถูกลากออกไปจากจุดปลายสุดของเส฾นเขตแดน ทางบกเป็นระยะ 35 ไมลแทะเล จนถึงระดับความลึก 100 ฟาทอม หรือจุด B ในภาพที่ 4.15 และแนวเส฾นมัธ ยะ (equidistance line) ของเส฾นเขตแดนขยายออกไปเป็นระยะ 5 ไมลแทะเล จากชายฝั่ง หรือจุด C ในภาพที่ 4.15

ภาพที่ 4.15 แผนที่แสดงแนวเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขต (territorial sea) และเส฾นเขตแดนพื้นดินท฾อง ทะเล (seabed boundary) ระหว฽างบรูไนกับมาเลเซีย (ที่มา: Schofield, Victor Prescott and Clive., 2001. p.7)

165

เส฾นที่เหลือคือเส฾นที่ลากตั้งฉาก (perpendicular) กับแนวชายฝั่งโดยลากเลยออกมาจากแหลมตันจง บารัม (Tanjong Baram cape) ซึ่งตั้งอยู฽ทางตะวันตกของจุดปลายสุดของเส฾นเขตแดนทางบกห฽างออกไป ประมาณ 8 ไมลแทะเล ในขณะที่เส฾นเขตแดนของอังกฤษจึงถูกลากบนแผนที่ทหารเรือของอังกฤษหมายเลข BA2109 (British Admiralty chart BA2109) ปี 2501/1958 ตามคําสั่งของสภาอังกฤษ (The British Orders in Council) ซึ่งลากผ฽านระหว฽างบ฽อน้ํามัน 2 แห฽งเป็นระยะเพียง 0.75 ไมลแทะเลให฾แยกออกจาก กัน102 การกําหนดเส฾นมัธยะ (equidistance) ระหว฽างบรูไนกับมาเลเซียมีปัญหาความยุ฽งยาก 2 ประการ ได฾แก฽ ประการแรก คือ ทั้งสองประเทศอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือโขดหินลุยซ฽า (Louisa Reef) ซึ่งเป็นหินที่อยู฽พ฾นจาก ระดับน้ําขึ้นสูงสุดประมาณน้ําประมาณ 3 ฟุต และยังถูกนับรวมอยู฽กับกลุ฽มของหมู฽เกาะสแปรตลียแ ปัญหา ประการที่ 2 คือ เส฾นเขตแดนระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียซึ่งลากขยายออกมาทางตอนเหนือของเมืองตันจง ดาตู (Tanjong Datu) ในทั้งสองกรณีเส฾นเขตแดนของพื้นดินท฾องทะเลไม฽ได฾สิ้นสุดในตําแหน฽งที่เท฽ากัน (equidistant position) จึงเป็นสิ่งจําเป็นที่จะสํารวจว฽าเส฾นเขตแดนของพื้นดินท฾องทะเลในตําแหน฽งที่ไม฽ เท฽ากัน (a non-equidistant seabed boundary) จะสามารถเชื่อมกับเส฾นเขตแดนของห฾วงน้ําที่เท฽ากันได฾ อย฽างไร (equidistant water-column boundary) จากจุด C เส฾นเขตแดนด฾านตะวันตกเปลี่ยนทิศทางจากแนวเส฾นมัธยะเป็นระยะ 5 ไมลแทะเลจากชายฝั่ง แล฾วเส฾นมัธยะจึงถูกลากต฽อไปอีกทางทิศเหนือเป็นระยะประมาณ 29 ไมลแทะเล โดยชายฝั่งที่ประชิดติดอยู฽กับ จุดปลายสุดของเส฾นเขตแดนทางบกทําให฾เกิดจุดฐาน (basepoint) ของทั้งสองประเทศ ที่ระยะประมาณ 29 ไมลแทะเลจากชายฝั่งเมืองตันจง บารัม (Tanjong Baram) คือจุดฐาน (basepoint) ของมาเลเซีย และที่ระยะ อีกประมาณ 1.7 ไมลแทะเล แล฾วลากเส฾นต฽อไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวเว฾าของชายฝั่งทางเหนือ ของบรูไนบริเวณใกล฾เคียงกับพิกัดลองจิจูดที่ 114 องศา 34 ลิปดา ตะวันออก คือจุดฐานที่ใกล฾ที่สุดของบรูไน เส฾นมัธยะ (equidistance) ถูกเบี่ยงออกไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 19 ไมลแทะเล จนถึงจุด D อยู฽ที่พิกัดละติจูด 5 องศา 38.5 ลิปดาเหนือ และลองจิจูด 114 องศา 01 ลิปดาตะวันออก ซึ่งเป็นจุดปลาย สุดของเส฾นมัธยะ เนื่องจากใช฾โขดหินลุยซ฽า (Louisa Reef) เป็นจุดฐาน จุดปลายสุดตั้งอยู฽ที่ประมาณ 41 ไมลแ ทะเลทางตะวันออกเฉียงเหนือของจุดปลายสุดของเส฾นเขตแดนของอังกฤษบนเส฾นความลึก 100 ฟาทอม มีข฾อสังเกตว฽า คํานิยามของจุดปลายสุดของเส฾นเขตแดนที่ตัดกับแนวเส฾นแบริ่ง (bearing)103 และแนว เส฾นความลึก (isobath) อาจไม฽เป็นที่น฽าพอใจ เนื่องจากตําแหน฽งของแนวเส฾นความลึกอาจเปลี่ยนแปลงได฾ การ เปลี่ยนแปลงนี้อาจเป็นประโยชนแกับฝุายใดฝุายหนึ่ง ทําให฾บางครั้งฝุายที่เสียประโยชนแอาจโต฾แย฾งว฽าจุดตัดของ เส฾นเขตแดนควรจะอยู฽ตามตําแหน฽งที่ตัดกันระหว฽างเส฾นแบริ่งกับเส฾นความลึกดังปรากฏบนแผนที่ทหารเรือของ อังกฤษหมายเลข BA2109 (British Admiralty Chart BA2109) ปี 2501/1958 เส฾นเขตแดนของอังกฤษทางตะวันออกลากไปตามแนวเส฾นมัธยะตามจุดฐานบนเกาะเกอรามัน (Pulau Keraman) และชายฝั่งตะวันออกของบรูไนที่พิกัด 114 องศา 51 ลิปดา ตะวันออก เป็นระยะเท฽ากับแนวเส฾น ความลึกที่ 100 ฟาทอม และใช฾จุดฐานเดียวกันนี้ เส฾นมัธยะถูกลากต฽อเนื่องไปทางตะวันตกเฉียงเหนือจากจุด ปลายสุดของอังกฤษออกไปประมาณ 16 ไมลแทะเล ถึงจุดที่ใช฾โขดหินลุยซ฽า (Louisa Reef) เป็นเส฾นฐาน ตามที่

102 Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. Ibid, p.919. 103 แบริ่ง (Bearing) คือ มุมราบที่วัดตามหรือทวนเข็มนาฬิกาจากแนวทิศเหนือหรือใต฾ มุมแบริ่งมีขนาดไม฽เกิน 90 องศา (มุมแบริ่งนั้นวัดได฾จากทิศเหนือจริงแนวทิศเหนือแม฽เหล็ก และแนวทิศเหนือกริดได฾เช฽นกัน) จาก พันโทพินิจ ถาวรกุล, การอ฽านแผนที่และรูปถ฽ายทางอากาศ (กรุงเทพฯ: โรงเรียนแผนที่ กรมแผนที่ทหาร, 2523), หน฾า 48. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556 เข฾าถึงจาก http://kmcenter.rid.go.th/kmc14/gis_km14/gis_km14(31).pdf 166

แสดงในจุด E ของภาพที่ 4.15 ซึ่งจุดนี้มีพิกัดที่ตําแหน฽ง ละติจูด 5 องศา 53.5 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูด 114 องศา 14 ลิปดา ตะวันออก จุดปลายสุดของเส฾นมัธยะ 2 จุดนี้อยู฽ห฽างระหว฽างจุดฐานของมาเลเซียและ บรูไน กับ โขดหินลุยซ฽า (Louisa Reef) เป็นระยะประมาณ 20 ไมลแทะเล มีเหตุผล 2 ประการ ที่ทําให฾มาเลเซียและบรูไนจะต฾องเจรจาขยายเส฾นเขตแดนของอังกฤษในอนาคต อันใกล฾นี้ ประการแรก เส฾นเขตแดนของอังกฤษได฾แบ฽งพื้นดินท฾องทะเลถึงจุดที่อยู฽ใกล฾จุดตัดระหว฽างไหล฽ทวีป (continental shelf) กับ ลาดทวีป (continental slope) ในขณะที่แหล฽งทรัพยากรไฮโดรคารแบอน (hydrocarbon deposit) ที่พบในลาดทวีปส฽วนใหญ฽พบภายในเขตไหล฽ทวีป104 ซึ่งหมายความว฽าทั้งสอง ประเทศได฾เข฾าถึงพื้นที่ที่มีโอกาสทางทรัพยากรมากที่สุดของพื้นดินท฾องทะเลในภูมิภาคนี้ ปัญหาประการที่สอง คือ ประเด็นอํานาจอธิปไตยเหนือโขดหินลุยซา (Louisa Reef) ซึ่งเป็นประเด็นที่ สําคัญมากในการกําหนดแนวเส฾นมัธยะ (equidistance) ในพื้นที่ทางตอนใต฾ของทะเลจีนใต฾ ดูเหมือนว฽าทั้งสอง ประเทศไม฽สามารถยืนยันได฾ว฽าเส฾นเขตแดนทางตะวันออกจะสามารถกําหนดเขตแดนทางทะเล (maritime boundary) ได฾อย฽างยุติธรรม มาเลเซียประกาศว฽าเส฾นเขตแดนตามแผนที่ซึ่งถูกกําหนดโดยสหราชอาณาจักร คือ เส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ (international boundary) ในขณะที่บรูไนต฾องการที่จะขยายเส฾นเขตแดน ออกไปอีกจนถึงทะเลอาณาเขตของเวียดนาม หรือในระยะ 200 ไมลแทะเล บรูไนเชื่อว฽า เส฾นเขตแดนทางทะเล ด฾านตะวันตกควรเป็นเส฾นตรง เพื่อให฾มั่นใจว฽าแนวเขต 57 ไมลแทะเล ระหว฽างจุดปลายสุดของอังกฤษที่เส฾น ความลึก 100 ฟาทอม กับระยะความกว฾าง 63 ไมลแทะเลของแนวเขต 200 ไมลแทะเลจากชายฝั่ง เนื่องจากเส฾น เขตแดนของอังกฤษทางตะวันตกทําให฾บรูไนได฾เปรียบ จึงเป็นที่น฽าสนใจว฽ามาเลเซียจะเห็นด฾วยกับเส฾นเขตแดน ดังกล฽าวหรือไม฽ เพราะจะทําให฾มีการขยายแนวเส฾นเขตแดนออกไปจากเดิม ทําให฾มาเลเซียอาจจะเผชิญกับ ความต฾องการของอินโดนีเซีย ในการกําหนดเส฾นเขตแดนในห฾วงน้ําซึ่งแยกเส฾นเขตแดนของพื้นดินท฾องทะเลทาง เหนือของเมืองตันจุง ดาตู (Tanjung Datu) และอาจพิจารณาว฽าการกําหนดเส฾นเขตแดนดังกล฽าวจะเหมาะสม กับบรูไน ถ฾าเส฾นเขตแดนในห฾วงน้ําถูกกําหนดขึ้นก็จะทําให฾เกิดปัญหาต฽อเส฾นเขตแดนของพื้นดินท฾องทะเลด฾วย เช฽นกัน ดังนั้น จึงเป็นการง฽ายกว฽าในกรณีระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย เนื่องจากคําสั่งของอังกฤษในสภา (the British Orders in Council) ได฾ระบุเส฾นความลึก 100 ฟาทอม เอาไว฾อย฽างชัดเจน และอาจจะเหมาะสม อย฽างยิ่งหากจุดปลายสุดของเส฾นเขตแดนของพื้นดินท฾องทะเลทางตะวันตกของอังกฤษจะลากไปบรรจบกับ เส฾นมัธยะที่ขีดไปตามแนวเดียวกับเส฾นความลึก 100 ฟาทอม ที่จุด F ในภาพที่ 4.15 ซึ่งหมายความว฽า พื้นที่ สามเหลี่ยมที่กําหนดโดยเส฾นเขตแดนของอังกฤษ ทําให฾เส฾นมัธยะและเส฾นความลึก 100 ฟาทอม เป็นแนว กําหนดให฾เขตน฽านน้ําเป็นของมาเลเซีย ส฽วนพื้นดินท฾องทะเลเป็นของบรูไน ยกเว฾นเสียแต฽ว฽า บรูไนจะได฾รับ อนุญาตให฾ใช฾พื้นที่ขนาดเล็กในทะเลทางตอนใต฾ของพื้นที่สามเหลี่ยมนี้ เพื่อการรักษาบูรณภาพแห฽งดินแดนใน ทะเลอาณาเขตของตน

104 Prescott, J.R.V. and Boyes, G. “Undelimited Maritime Boundaries in the Pacific Ocean Excluding the Asian Rim,” in Maritime Briefing Vol.2 No.8 (Durham: International Boundaries Research Unit, 2000), pp. 76-77. 167

4.9 เกาะมิอังกัส (Miangas Island) ระหว่างอินโดนีเซียกับฟิลิปปินส์

เกาะมิอังกัส (Miangas Island) หรือ เกาะปาลมัส (Palmas Island) ตั้งอยู฽ทางตอนใต฾ของเกาะมินดา เนา (Mindanao) ของฟิลิปปินสแ กับ ทางตอนเหนือของเกาะนานูซา (Nanusa/Nanoesa Island) ของ อินโดนีเซียหรือในอดีตคืออินเดียตะวันออกของเนเธอรแแลนดแ (Netherlands East Indies) เกาะมิอังกัสแห฽งนี้ มีขนาดความยาว 2 ไมลแ และมีความกว฾าง 0.75 ไมลแ และเป็นเกาะที่อยู฽ห฽างไกลจากศูนยแกลางปกครอง และมี มูลค฽าทางเศรษฐกิจค฽อนข฾างน฾อยรวมทั้งไม฽มีความสําคัญทางยุทธศาสตรแเท฽าใดนัก105 โดยชื่อของ “เกาะปาลมัส (Isla de las Palmas)” หรือเกาะมิอังกัส (Miangas Island) สันนิษฐานว฽าน฽าจะมาจากคําในภาษามาเลยแว฽า “นังกิส (nangis)” แปลว฽า “ร่ําไห฾ (to weep)” หรือ อาจเป็นภาษาตาลาอุด (Talaud language) ซึ่งเป็นชื่อที่ ได฾มาจากการที่เกาะมักจะถูกโจรสลัดเข฾าโจมตีอยู฽บ฽อยครั้งทําให฾เป็นเกาะแห฽งการร่ําไห฾106 นับตั้งแต฽วันที่ 21 มกราคม 2449/1906 พลตรี ลีโอนารแด วูด (Major-General Leonard Wood) นายทหารชาวอเมริกันได฾ เดินทางขึ้นฝั่งบนเกาะแห฽งหนึ่งซึ่งตั้งอยู฽ที่พิกัดละติจูด 5 องศา 35 ลิปดา เหนือ และลองจิจูด 126 องศา 36 ลิปดา ตะวันออก107 หรือประมาณ 48 ไมลแทะเลจากทางตะวันออกเฉียงใต฾ของแหลมซานออกุสติน (Cape San Augustine) ในเกาะมินดาเนา (Mindanao Island) และประมาณ 50 ไมลแทะเลจากจุดเหนือสุดของเกาะ ตาลาอุด (Talaud Islands) ของอินเดียตะวันออกของเนเธอรแแลนดแ (Netherlands East Indies) (ดูภาพที่ 4.16 และภาพที่ 4.17) เกาะแห฽งนี้มีชื่อว฽า “เกาะปาลมัส (Isla de las Palmas)” หรือเกาะมิอังกัส (Miangas Island) พลตรี ลีโอนารแด วูด (Major-General Leonard Wood) ซึ่งรับแต฽งตั้งให฾เป็นผู฾ว฽าราชการจังหวัดโมโร (Moro Province) มีหน฾าที่สํารวจเส฾นเขตแดนของดินแดนสเปนซึ่งได฾ยกให฾แก฽สหรัฐอเมริกาตามสนธิสัญญา ปารีส (Paris Treaty 1898) ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2441/1898108 แต฽เรือเล็กซึ่งทําหน฾าที่รับส฽งลีโอ นารแด วูด ไปยังเกาะมิอังกัส (Miangas) กลับใช฾ธงชาติของฝุายดัตชแ ทําให฾ลีโอนารแด วูด เกิดข฾อสงสัยว฽าใครกัน แน฽ที่เป็นเจ฾าของเกาะแห฽งนี้

105 Kurt Taylor Gaubatz. The Island of Palmas: Abridgement and Notes (Scott: Hague Court Reports, 1932), p. 1. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Hd2NO9 106 Khan, Daniel-Erasmus. Max Huber as Arbitrator: The Palmas (Miangas) Case and Other Arbitrations (The European Journal of International Law Vol. 18 No.1, 2007), pp. 160. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1cqr1XD 107 Khan, Daniel-Erasmus. Ibid, pp. 158-159. 108 C. Parry. Consolidated Treaty Series Vol. 187 (1898–1899), p. 100. อ฾างใน Khan, Daniel-Erasmus. Ibid, p. 159. 168

ภาพที่ 4.16 แผนที่แสดงที่ตั้งเกาะมิอังกัส (Miangas Island) และเกาะอื่นๆ โดยรอบ (ที่มา: Khan, Daniel- Erasmus. Max Huber as Arbitrator: The Palmas (Miangas) Case and Other Arbitrations (The European Journal of International Law Vol. 18 No.1, 2007), p. 159) 169

ภาพที่ 4.17 แผนที่แสดงรายละเอียดภายในเกาะมิอังกัส (Miangas Island) (ที่มา: Khan, Daniel-Erasmus. Max Huber as Arbitrator: The Palmas (Miangas) Case and Other Arbitrations (The European Journal of International Law Vol. 18 No.1, 2007), p. 160) 170

ตามข฾อความในมาตรา 3 ของสนธิสัญญาปารีส (Paris Treaty) ในปี 2441/1898 กล฽าวว฽า “สเปนยกให฾แก฽สหรัฐอเมริกาซึ่งหมู฽เกาะที่รู฾จักกันในชื่อหมู฽เกาะฟิลิปปินสแ, และเข฾าใจว฽าเกาะอื่นๆ ที่ตั้ง อยู฽ภายในเส฾นดังต฽อไปนี้: เส฾นที่ลากจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ไปตามหรือใกล฾กับเส฾นขนานที่ 20 ละติจูด, ... เพราะฉะนั้น ตามเส฾นลองจิจูดที่ 127 องศาตะวันออกของเมืองกรีนิช กับ เส฾นขนานที่ละติจูด 4 องศา 45 ลิปดา เหนือ, เพราะฉะนั้น ตามเส฾นขนานที่ 4 องศา 45 ลิปดา เหนือ จนถึงจุดตัดกับเส฾นลองจิจูดที่ 119 องศา 35 ลิปดา ตะวันออกของเมืองกรีนิช”109 (ดูภาพที่ 4.16) ซึ่งเป็นผลให฾เกาะมิอังกัส (Miangas Island) ตั้งอยู฽ภายในขอบเขตของหมู฽เกาะฟิลิปปินสแ โดยในรายงาน ของลีโอนารแด วูด (Major-General Leonard Wood) ที่ส฽งไปยังกองทัพสหรัฐอเมริกาได฾บันทึกเอาไว฾ว฽า “เท฽าที่ข฾าพเจ฾าสามารถยืนยันได฾, ธงดัตชแใช฾อยู฽ก฽อนแล฾วสิบห฾าปี, ชายคนหนึ่งกล฽าวว฽าเขาคิดว฽ามันเคยมี อยู฽ที่นั่นมาตลอด – ผู฾คนทําการค฾ากับหมู฽เกาะฟิลิปปินสแและดูเหมือนจะมีการติดต฽อกันบ฾างกับเซเลเบส, ยกเว฾น ว฽ามีการมาเยือนรายปีของเรือดัตชแ”110 ต฽อมาในปี 2449/1906 สหรัฐอเมริกาพบว฽าเนเธอรแแลนดแประกาศอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือเกาะมิอังกัส ทําให฾ในวันที่ 23 มกราคม 2468/1925 ทั้งสองประเทศจึงตกลงที่จะนําปัญหานี้เข฾าสู฽กระบวนการระงับข฾อ พิพาทโดยศาลประจําอนุญาโตตุลาการ (Permanent Court of Arbitration – PCA) ซึ่งมี แมกซแ ฮิวเบอรแ (Max Huber) ชาวสวิสเซอรแแลนดแทําหน฾าที่เป็นอนุญาโตตุลาการ (Arbitrator) โดยประเด็นข฾อพิพาทที่ อนุญาโตตุลาการต฾องตัดสิน คือ “เกาะมิอังกัสเป็นดินแดนส฽วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกาหรือเนเธอรแแลนดแ” ข฾อ โต฾แย฾งของสหรัฐอเมริกา 2 ประการแรก คือ สหรัฐอเมริกาเป็นเจ฾าของกรรมสิทธิ์เกาะแห฽งนี้เนื่องจากได฾รับโอน ดินแดนโดยชอบธรรมตามสนธิสัญญาที่ทําไว฾กับสเปน และ กรรมสิทธิ์ควรเป็นของสเปนเนื่องจากเป็นฝุาย ค฾นพบและตั้งชื่อเกาะปาลมัส (Palmas) ซึ่งในขณะนั้นเป็นดินแดนที่ไม฽มีเจ฾าของ (Terra Nullius) สเปนยก ดินแดนให฾แก฽สหรัฐอเมริกาตามสนธิสัญญาปารีสปี 2441/1898 หลังสิ้นสุดสงครามสเปน-อเมริกัน (Spanish- American War) ในปีเดียวกัน อนุญาโตตุลาการตั้งข฾อสังเกตว฽าไม฽มีกฎหมายระหว฽างประเทศใดที่ทําให฾การโอนดินแดนผ฽านการยกให฾ กลายเป็นโมฆะ อย฽างไรก็ตาม อนุญาโตตุลาการยังตั้งข฾อสังเกตอีกว฽าการยกกรรมสิทธิ์ดินแดนของสเปนให฾แก฽ สหรัฐอเมริกาไม฽ได฾เป็นไปตามกฎหมายเนื่องจากไม฽มีการระบุชื่อของดินแดนเอาไว฾ในข฾อความของสนธิสัญญา ปารีส ทําให฾การยกดินแดนให฾ไม฽สมบูรณแ อนุญาโตตุลาการ สรุปว฽า แม฾สเปนจะอ฾างการ “ค฾นพบ” และตั้งชื่อ

109 มาตรา 3 ของสนธิสัญญาปารีส (Paris Treaty 1898) กล฽าวว฽า ―Spain cedes to the United States the archipelago known as the Philippine Islands, and comprehending the islands lying within the following lines: A line running from west to east along or near the twentieth parallel of north latitude, … thence along the one hundred and twenty seventh (127°) degree meridian of longitude east of Greenwich to the parallel of four degrees and forty five minutes (4°45′) north latitude, thence along the parallel of four degrees and forty five minutes (4°45′) north latitude to its intersection with the meridian of longitude one hundred and nineteen degrees and thirty five minutes (119°35′) east of Greenwich‖ in Khan, Daniel- Erasmus. Ibid, p. 161. 110 บันทึกของ พลตรี ลีโอนารแด วูด (Major-General Leonard Wood) ระบุว฽า “As far as I could ascertain, the Dutch flag has been there for the past fifteen years, one man said he thought it had always been there – The people trade with the Philippine Islands and appear to have little communication with the Celebes, except through the annual visit of a Dutch ship.” จาก Report from Zamboanga, Netherlands Counter Memorial, 26 January 1906, p. 83. อ฾างใน W.J.B. Versfelt, The Miangas Arbitration (1933), p. 4. จาก in Khan, Daniel-Erasmus. Ibid, p. 161. 171

เกาะแห฽งนี้ว฽า “ปาลมัส (Palmas)” แต฽การรักษาอธิปไตยโดยให฾เหตุผลของการค฾นพบเป็นครั้งแรกซึ่งผู฾ค฾นพบ ไม฽เคยใช฾อํานาจที่แท฾จริง ไม฽แม฾แต฽การปักธงของตนเองลงบนชายหาด ในกรณีนี้ สเปนไม฽ได฾ใช฾อํานาจภาย หลังจากการอ฾างสิทธิ์ครั้งแรกโดยการค฾นพบ และดังนั้นเหตุผลในการอ฾างสิทธิ์ของสหรัฐอเมริกาจึงค฽อนข฾างอ฽อน สหรัฐอเมริกายังคงโต฾แย฾งต฽อไปอีกว฽าเกาะปาลมัส (Palmas) ควรเป็นกรรมสิทธิ์ของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีตําแหน฽งที่ตั้งอยู฽ใกล฾กับฟิลิปปินสแมากกว฽าอินโดนีเซียซึ่งเคยถูกปกครองโดยอินเดียตะวันออกของ เนเธอรแแลนดแ (Netherlands East Indies) อนุญาโตตุลาการแย฾งว฽า ไม฽มีบทบัญญัติของกฎหมายระหว฽าง ประเทศที่สนับสนุนเหตุผลของสหรัฐอเมริกาในประเด็นระยะทางที่ใกล฾ที่สุดของทวีปหรือเกาะซึ่งนําไปสู฽การถือ ว฽ามีกรรมสิทธิ์ในดินแดนพิพาท อนุญาโตตุลาการกล฽าวอีกว฽า แค฽เพียงความใกล฾กันของระยะทางย฽อมไม฽มี เหตุผลเพียงพอที่จะทําการอ฾างสิทธิ์ในดินแดนได฾ และถ฾าหากประชาคมระหว฽างประเทศทําตามข฾ออ฾างของ สหรัฐอเมริกาย฽อมจะนําไปสู฽การกระทําตามอําเภอใจ เนเธอรแแลนดแสมควรเป็นเจ฾าของกรรมสิทธิ์เหนือเกาะแห฽งนี้ด฾วยเหตุผลของการใช฾อํานาจบนเกาะมา ตั้งแต฽ปี 2220/1677 อนุญาโตตุลาการตั้งข฾อสังเกตว฽า สหรัฐอเมริกาไม฽สามารถแสดงเอกสารเพื่อพิสูจนแอํานาจ อธิปไตยของสเปนบนเกาะ ยกเว฾นเอกสารเกี่ยวกับการค฾นพบเกาะแห฽งนี้ นอกจากนี้ ยังไม฽มีหลักฐานที่ชี้ให฾เห็น ได฾ชัดเจนว฽าเกาะปาลมัสเคยเป็นส฽วนหนึ่งของการบริหารงานของรัฐบาลสเปนในฟิลิปปินสแ อย฽างไรก็ตาม เนเธอรแแลนดแกลับสามารถแสดงให฾เห็นว฽าบริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) เคยมีการเจรจา ต฽อรองสนธิสัญญากับผู฾มีอํานาจปกครองในท฾องถิ่นของเกาะแห฽งนี้ตั้งแต฽คริสตแศตวรรษที่ 17 และใช฾สิทธิอํานาจ อธิปไตย รวมทั้งหลักฐานของการเข฾าไปของคณะนักบวชนิกายโปรเตสแตนตแและการห฾ามไม฽ให฾ชาติอื่นๆ เข฾าไป บนเกาะแห฽งนี้ด฾วย อนุญาโตตุลาการชี้ให฾เห็นว฽า หากสเปนเป็นฝุายที่ใช฾อํานาจอยู฽จริงก็จะต฾องปรากฏข฾อพิพาท ระหว฽างกันบ฾างไม฽มากก็น฾อย แต฽ในข฾อเท็จจริงแล฾วไม฽มีข฾อพิพาทใดเกิดขึ้นเลยระหว฽างสเปนและเนเธอรแแลนดแ ภายในพื้นที่ของเกาะแห฽งนี้ จากเหตุผลดังกล฽าวทําให฾เกิดหลักเกณฑแการตัดสินเพื่อระงับข฾อพิพาทจากประเด็น ที่สําคัญ 3 ประการ ดังนี้ ประการแรก กรรมสิทธิ์ที่เกิดจากการมีที่ตั้งอยู฽ใกล฾กัน (contiguity) ไม฽มีอยู฽ในหลัก กฎหมายระหว฽างประเทศ ประการที่สอง กรรมสิทธิ์ที่เกิดจากการค฾นพบเป็นเพียงกรรมสิทธิ์ในขั้นต฾น (inchoate title) และประการสุดท฾าย หากมีการใช฾อํานาจอธิปไตยของรัฐอย฽างต฽อเนื่อง โดยการอ฾างกรรมสิทธิ์ นั้นต฾องเปิดเผยและเป็นสาธารณะ และรัฐฝุายที่อ฾างเหตุผลบนพื้นฐานของการค฾นพบดินแดนไม฽ได฾ทําการ ประท฾วงการอ฾างกรรมสิทธิ์ดังกล฽าว การอ฾างกรรมสิทธิ์โดยเหตุผลการใช฾อํานาจอธิปไตยย฽อมมีน้ําหนักมากกว฽า การอ฾างสิทธิ์บนพื้นฐานของค฾นพบดินแดน ในที่สุดวันที่ 4 เมษายน 2471/1928 ศาลประจําอนุญาโตตุลาการ จึงมีคําตัดสินว฽า “ด฾วยเหตุผลเหล฽านี้ อนุญาโตตุลาการ, ในความสอดคล฾องกับมาตรา 1 ของข฾อตกลงพิเศษเมื่อ 23 มกราคม 2468/1925, ตัดสินว฽า: เกาะปาลมัส (Palmas) หรือ มิอังกัส (Miangas) เป็นส฽วนหนึ่งของดินแดน เนเธอรแแลนดแโดยสมบูรณแ”111

111 “FOR THESE REASONS the Arbitrator, in conformity with Article I of the Special Agreement of January 23rd, 1925, DECIDES that: THE ISLAND OF PALMAS (or MIANGAS) forms in its entirety a part of Netherlands territory.” in Permanent Court of Arbitration. “The Island of Palmas Case (or Miangas) United States of America v. The Netherlands,” Award of the Tribunal (The Hague: April 4, 1928), p. 37. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1WMWvKN 172

จนกระทั่งในปัจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห฽งชาติของฟิลิปปินสแยังถือว฽าเกาะมิอังกัสไม฽ใช฽ส฽วนหนึ่ง ของอินโดนีเซีย โดยให฾เหตุผลว฽ากลุ฽มชาติพันธุแที่อาศัยอยู฽ในเกาะแห฽งนี้มีภาษาที่มีความสัมพันธแกับชาวซารังกานี (Sarangani) ในมินดาเนามากกว฽ากลุ฽มชาติพันธุแอื่นใดในอินโดนีเซีย แต฽รายงานล฽าสุดกล฽าวว฽า นายฮัซซัน วิราจู ดา (Hassan Wirajuda) อดีตรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของอินโดนีเซีย ปฏิเสธข฽าวลือเรื่องการเข฾า ยึดพื้นที่เกาะของอินโดนีเซียโดยฟิลิปปินสแ เนื่องจากรัฐบาลฟิลิปปินสแรับทราบอยู฽ว฽าอธิปไตยเหนือเกาะมิอังกัส (Miangas Island) เป็นของอินโดนีเซีย112 โดยกล฽าวว฽าการตื่นตูมเรื่องเกาะมิอังกัสเป็นเรื่องที่เสียเวลา เนื่องจากรัฐบาลฟิลิปปินสแไม฽เคยทําการอ฾างสิทธิ์เหนือเกาะแห฽งนี้อย฽างเป็นทางการมาก฽อน ประเด็นข฽าว ดังกล฽าวเกิดขึ้นหลังจากที่ การท฽องเที่ยวแห฽งประเทศฟิลิปปินสแ (Philippine Tourism Authority) ได฾จัดพิมพแ แผ฽นพับประชาสัมพันธแการท฽องเที่ยวโดยแสดงที่ตั้งของเกาะมิงอังกัสให฾อยู฽ในเขตแดนของฟิลิปปินสแ ทางด฾าน นายเตอูกู ไฟซาสยาหแ (Teuku Faizasyah) โฆษกกระทรวงต฽างประเทศของอินโดนีเซีย กล฽าวว฽าน฽าจะเป็น เพียงความผิดพลาดของผู฾จัดพิมพแแผนที่ท฽องเที่ยวฉบับดังกล฽าว และไม฽คิดว฽ารัฐบาลฟิลิปปินสแตั้งใจที่จะเข฾ามา ยึดเอาเกาะมิอังกัสไปเป็นของตน เพราะอย฽างไรเสียการจัดพิมพแแผนที่โดยเอกชนก็ไม฽มีผลกระทบใดๆ ต฽อการ อ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนอย฽างเป็นทางการ และยังให฾ข฾อมูลว฽าในปี 2519/1976 รัฐบาลฟิลิปปินสแเคยลงนามใน ข฾อตกลงส฽งผู฾ร฾ายข฾ามแดนกับอินโดนีเซียโดยยอมรับว฽าพื้นที่เกาะมิอังกัสอยู฽ภายใต฾อธิปไตยของอินโดนีเซีย113 ฝุายอินโดนีเซียมอบหมายให฾กงสุลใหญ฽อินโดนีเซีย (Indonesian Consulate General) แห฽งเมืองดา เวา (Davao City) เป็นผู฾รับผิดชอบ นอกจากนี้ นายเฟรดดี้ นัมเบอรี (Freddy Numberi) รัฐมนตรีว฽าการ ทะเลและการประมงของอินโดนีเซีย กล฽าวว฽าเกาะมังกัส (Miangas Island) เป็นส฽วนหนึ่งของจังหวัดสุลาเวสี เหนือ (North Sulawesi Province) ของอินโดนีเซีย และได฾รับการขึ้นทะเบียนกับสหประชาชาติว฽าเป็นหนึ่งใน หมู฽เกาะที่อยู฽นอกสุดของประเทศ114 นอกจากนี้ สารานุกรมแผนที่บริแทนิกา (Britannica Atlas 1984) ฉบับปี 2527/1984 ไม฽มีชื่อของ เกาะมิอังกัส (Miangas) ปรากฏอยู฽ในแผนที่ทั้งของอินโดนีเซีย (หน฾า 112-113) และฟิลิปปินสแ (หน฾า 116 - 117)115 จํานวนประชากรที่อาศัยอยู฽ในเกาะมิอังกัสเมื่อปี 2546/2003 มีจํานวน 678 คน หรือ 150 ครอบครัว อย฽างไรก็ตาม การรับรู฾เกี่ยวกับรายละเอียดของการพิจารณาคดีดังกล฽าวในศาลประจําอนุญาโตตุลาการยังไม฽ เป็นที่แพร฽หลายมากนัก แม฽กระทั่งผู฾คนที่อาศัยอยู฽ในพื้นที่ก็เรียกเกาะแห฽งนี้ว฽า “เกาะมิอังกัส (Pulau Miangas – Pulau ในภาษามาเลยแ แปลว฽า เกาะ)” ไม฽ใช฽ “ปาลมัส (Palmas)” และในปัจจุบันเกาะมิอังกัสยังคงเป็น พื้นที่ห฽างไกลความเจริญ แต฽ก็สามารถติดต฽อสื่อสารกับผู฾คนในเกาะได฾โดยการใช฾เครื่องส฽งสัญญานดาวเทียม ขนาดเล็ก (Very Small Aperture Terminal – VSAT) โดยเมื่อไม฽นานมานี้อินโดนีเซียประกาศว฽าบริษัทเทลคอม (Telkom) จะดําเนินการเชื่อมต฽อเครือข฽ายโทรศัพทแเข฾าไปยังเกาะมิอังกัส แต฽ก็ไม฽มีการยืนยันว฽าโครงการดังกล฽าวจะ เกิดขึ้นจริงหรือไม฽116

112 “Private Mapmaker Suspected in Border Blunder,” The Jakarta Post, 14 February 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1LfotJB 113 Ibid. 114 Minister: Miangas Island belongs to Indonesia. TMC News, February 12, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fY2P1h 115 Khan, Daniel-Erasmus. Ibid, p. 162. 116 Andreas Harsono. “Miangas, Nationalism and Isolation,” Tempo Magazine, No.13/V/November 30 – December 6, 2004. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1F9IG0Z 173

4.10 เกาะลิกิตัน (Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Sipadan) ระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย

ข฾อพิพาทเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ระหว฽างอินโดนีเซีย กับมาเลเซีย เป็นคดีพิพาทในศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก117 ตั้งแต฽ปี 2541/1998 โดยความตกลงของคู฽พิพาท ซึ่งในวันที่ 17 ธันวาคม 2545/2002 ศาลโลกได฾ มีคําตัดสินให฾อธิปไตยเหนือเกาะทั้งสองเป็นของมาเลเซีย อย฽างไรก็ตาม ศาลโลกไม฽ได฾ตัดสินเกี่ยวกับเส฾นเขตแดนทางทะเลในพื้นที่บริเวณทั้งสองเกาะนี้ ทําให฾มี ข฾อถกเถียงตามมาว฽าข฾อพิพาทดังกล฽าวมิได฾ถูกระงับอย฽างสมบูรณแ สาเหตุก็เนื่องมาจากศาลโลกมิได฾ถูกร฾องขอให฾ ตัดสินในประเด็นเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ เป็นแต฽เพียงให฾ตัดสินในประเด็นอธิปไตยเหนือเกาะทั้งสองว฽า เป็นของใครเท฽านั้น118 ดังนั้นการศึกษาวิจัยครั้งนี้จึงเน฾นไปที่การพิจารณาประเด็นที่ทั้งมาเลเซียและอินโดนีเซียนํามาใช฾เพื่อ การอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือดินแดนเป็นสําคัญ เอาเข฾าจริงแล฾ว เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็นเกาะขนาดเล็กที่ตั้งอยู฽ในทะเลสุลาเวสี (Sulawesi Sea) หรือ ทะเลเซเลเบส (Celebes Sea)119 (ดูภาพที่ 4.18, 4.19 และ 4.20) เดิมเป็นเกาะว฽างเปล฽าไม฽มีผู฾คนตั้งรกรากอาศัยอยู฽ แต฽หลังจากมีการ ค฾นพบแหล฽งน้ํามันนอกชายฝั่งในบริเวณแถบนี้ก็ทําให฾มาเลเซียประกาศอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือเกาะทั้งสองในปี 2512/1969 แต฽อินโดนีเซียทําการประท฾วงจนเกิดเป็นข฾อพิพาทระหว฽างประเทศขึ้น

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) คําว฽า “สิปาดัน (Sipadan)” มาจากการพบศพของ “ปารัน (Paran)” ที่บริเวณชายฝั่งของเกาะแห฽งนี้ และคําว฽า “สิ (Si)” เป็นคํานําหน฾าเพศชายคล฾ายกับคําว฽า “นาย (Mr.)” ดังนั้น จึงเรียกว฽า “เกาะนายปารัน (Mr.Paran Island)” แต฽เมื่อเวลาผ฽านไปจึงเรียกชื่อเพี้ยนเป็น “สิปาดัน (Sipadan)” นอกจากนี้ยังมีคําอธิบาย ของเจมสแ ฮั้นทแ (James Hunt)120 ในปี 2416/1873 ว฽า ที่ชายหาดของอ฽าวกิออง (Bay of Giong) หรือต฽อมา ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นอ฽าวดารแเวล (Darvel Bay) มีเกาะที่ตั้งอยู฽ห฽างออกไปจากชายฝั่งแห฽งนี้ ได฾แก฽ “เกาะปูโล กิยา (Pulo Giya) ที่เต็มไปด฾วยกวาง และ เกาะเซอปารัน (Separan) ที่มีเต฽าเขียวอยู฽อย฽างอุดมสมบูรณแ”121

117 โปรดดู เสาวนียแ แก฾วจุลกาญนแ. การอ฾างอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และเกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan): ศึกษาและวิเคราะหแจากคําพิพากษาศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (วิทยานิพนธแนิติศาสตรแมหาบัณฑิต สาขา กฎหมายระหว฽างประเทศ คณะนิติศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2552); John G. Bucher. “The International Court of Justice and the Territorial Dispute between Indonesia and Malaysia in the Sulawesi Sea,” in Contemporary Southeast Asia Vol.35 No.2 (2013), pp. 235-257. 118 Strachan, Anna Louise. “Resolving Southeast Asian Territorial Disputes: A Role for the ICJ,” in IPCS Issue Brief No.133 (New Delhi: Institute of Peace and Conflict Studies (IPCS), October 2009), p. 1. เข฾าถึง เมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1FX3sDn 119 อินโดนีเซีย เรียกชื่อทะเลแห฽งนี้ว฽า ทะเลสุลาเวสี (Sulawesi Sea) ส฽วนมาเลเซีย เรียกว฽า ทะเลเซลีเบส (Celebes Sea) 120 James Hunt. “Some Particulars Relating to Sulo,” in The Archipelago of Felicia (1837). อ฾างใน International Court of Justice. Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Memorial of Malaysia Volume 1 (2 November 1999), p. 118. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1CC99W6 121 International Court of Justice. Memorial of Malaysia Volume 1. Ibid, p. 17. 174

ภาพที่ 4.18 การกําหนดอาณาเขตทางทะเลระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซียในทะเลสุลาเวสี (Sulawesi Sea) หรือทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) (ที่มา: Renate, Haller-Trost. “The Territorial Dispute between Indonesia and Malaysia over Pulau Sipadan and Pulau Ligitan in the Celebes Sea: A Study in International Law,” (Boundary and Territory Briefing Vol.2 No.2. Department of Geography, University of Durham, 1995.), p. 35) 175

ภาพที่ 4.19 แผนที่แสดงที่ตั้งของเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ในทะเลสุลาเวสี (Sulawesi Sea) หรือทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) (ที่มา: เช฽นเดียวกับรูป 4.18, p. 36) 176

ภาพที่ 4.20 แผนที่ขยายแสดงที่ตั้งของเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) (ที่มา: ปรับปรุงจาก Location of Ligitan Island in Darvel Bay เข฾าถึงเมื่อ 20 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1L7NNzG)

เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ตั้งอยู฽ที่พิกัดละติจูด 4 องศา 06 ลิปดา 39 ฟิลิปดา เหนือ และ ลองจิจูดที่ 118 องศา 37 ลิปดา 56 ฟิลิปดา ตะวันออก (4°06′ 39″N, 118°37′56″E)122 มีสัณฐานเป็นรูปไข฽ และมีพื้นที่ประมาณ 0.13 ตารางกิโลเมตร หรือ ตั้งอยู฽ทางทิศใต฾ของจุดต่ําสุดของระดับน้ําทะเล (low water mark) ของเกาะมาบุล (Pulau Mabul) เป็นระยะทาง 6.5 ไมลแทะเล และอยู฽ทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾ของจุด ต่ําสุดของระดับน้ําทะเลของเกาะกาปาไล (Pulau Kapalai) เป็นระยะทาง 6 ไมลแทะเล (ดูภาพที่ 4.19) เกาะสิ ปาดัน (Pulau Sipadan) ตั้งอยู฽ห฽างจากแผ฽นดินใหญ฽ของมาเลเซียที่เมืองตันจุง ตูตุ฿ป (Tanjong Tutop/Tutup) ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต฾ของรัฐซาบาหแบนเกาะบอรแเนียวเป็นระยะทาง 14 ไมลแทะเล และ ระยะทางที่ใกล฾ที่สุดจากทางตอนใต฾ของเกาะเซอบาติก (Pulau Sebatik) ของอินโดนีเซีย เป็นระยะทาง 40 ไมลแทะเล เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็นเกาะในเขตมหาสมุทรน้ําลึก (deep-water oceanic island) เพียงแห฽งเดียวที่ตั้งอยู฽แยกออกจากไหล฽ทวีปที่ระดับความลึกของน้ําทะเล 808 ฟาทอม ท฽ามกลางแนวปะการัง

122 Ibid, p. 15. 177

หรือโขดหินโดยรอบซึ่งส฽วนใหญ฽อยู฽บนไหล฽ทวีปในระดับความลึกของน้ําทะเลน฾อยกว฽า 100 เมตร พื้นที่ของ เกาะแห฽งนี้มีปุาไม฾ปกคลุม โดยมีความสูงของต฾นไม฾อยู฽ที่ประมาณ 50 เมตร (165 ฟุต) และเป็นพื้นที่วางไข฽ของ เต฽าทะเลจํานวนมาก นอกจากนี้ ยังมีประภาคาร (lighthouse) ซึ่งเป็นอาคารทรงสูงสีขาวคาดแดงมีความสูง 22 เมตร ตั้งอยู฽ทางตอนใต฾บริเวณปลายสุดของเกาะ123 จากแผนที่ BA Chart No.1681124 พื้นมหาสมุทรมี ความชันลดลงภายในระยะ 2 ไมลแทะเลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 1,470 เมตร ภายในระยะ 5 ไมลแทะเลไป ทางทิศเหนือไป 570 เมตร หรือภายใน 5 ไมลแทะเลไปทางทิศตะวันออก 1,030 เมตร ภายในระยะ 4 ไมลแ ทะเลไปทางทิศใต฾ 1,410 เมตร และภายในระยะ 8 ไมลแทะเลไปทางทิศใต฾ 1,790 เมตร ทําให฾การทอดสมอเพื่อ จอดเรือในบริเวณนี้เป็นสิ่งที่ค฽อนข฾างทําได฾ยาก ลักษณะทางธรณีวิทยาของเกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็น ส฽วนบนสุดของภูเขาไฟในทะเลที่สูงชัน (a precipitous volcanic sea-mountain) ซึ่งมีความสูงประมาณ 600-700 เมตร ทําให฾เกิดแนวปะการังและพืชน้ํารวมทั้งสันทรายขึ้นโดยภายในของภูเขาไฟที่โผล฽พ฾นน้ําแล฾วมี สภาพกลายเป็นเกาะแห฽งนี้125 แม฾ว฽าเกาะแห฽งนี้จะที่ไม฽มีผู฾คนอาศัยอยู฽ แต฽ก็มีแหล฽งน้ําจืดขนาดเล็กอยู฽บนเกาะ ทําให฾มีชาวประมงจากเกาะดินาวัน (Pulau Dinawan) เดินทางแวะเวียนเข฾ามาในพื้นที่เพื่อหาเก็บไข฽เต฽าอยู฽ เป็นประจํา ในปี 2476/1933 บอรแเนียวเหนือทําการประกาศให฾เกาะสิปาดันเป็นเขตรักษาพันธุแนก126 และในปี 2531/1988 กรมการท฽องเที่ยวและสิ่งแวดล฾อมแห฽งรัฐซาบาหแ (Sabah Department for Tourism and Environment) ได฾สร฾างสํานักงานอนุรักษแพันธุแสัตวแปุาบนเกาะสิปาดันและทําการออกใบอนุญาตให฾สร฾าง กระท฽อมชายหาดและรีสอรแทขนาดเล็กเพื่อให฾บริการดําน้ําแก฽นักท฽องเที่ยว เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) คําว฽า “ลิกิตัน (Ligitan)” เป็นคําในภาษาบาเจา (Bajau) ว฽า “ลิกิต (ligit)” แปลว฽า “หนาม (thorn)” ดังนั้นคําว฽า “ปูเลา ลิกิตัน (Pulau Ligitan)” จึงแปลว฽า “เกาะหนาม (island of thorns)”127 โดยเกาะแห฽งนี้ ตั้งอยู฽ที่พิกัดละติจูด 4 องศา 14 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูดที่ 118 องศา 50 ลิปดา ตะวันออก (4°14′N, 118°50′E) เป็นส฽วนหนึ่งของแนวปะการังและโขดหินขนาดใหญ฽ทางตะวันออกสุดของหมู฽เกาะลิกิตัน (Ligitan Group) ซึ่งอยู฽ทางตะวันออกของเกาะกาปาไล (Pulau Kapalai) เป็นระยะทาง 3.5 ไมลแทะเล และเกาะสิปา ดัน (Pulau Sipadan) เป็นระยะทาง 15.5 ไมลแทะเล แนวปะการังและโขดหินในกลุ฽มนี้ส฽วนใหญ฽จมอยู฽ใต฾น้ํา โดยทอดตัวยาวเป็นอาณาบริเวณความกว฾าง 11 ไมลแทะเล (ประมาณ 20 กิโลเมตร) และวัดจากทิศเหนือจรด ทิศใต฾เป็นระยะทาง 8.5 ไมลแทะเล (ประมาณ 15 กิโลเมตร) โดยมีกลุ฽มของแนวปะการังรูปร฽างต฽างๆ มีขนาด ตั้งแต฽ 0.3-0.6 เมตร ตลอดแนว บริเวณปลายสุดทางตอนเหนือเป็นส฽วนที่อยู฽พ฾นจากระดับน้ําทะเลอย฽างถาวร

123 Hydrographic Department, Great Britain. Philippine Islands pilot: the northern and north- eastern coasts of Borneo to the Sabah/Indonesia border, the Philippine Islands (except for the western coasts of Palawan and Luzon, between Cape Buliluyan and Cape Bojeador, and the northern coast of Luzon, between Cape Bojeador and Escarpada Point), Sulu Sea and Sulu Archipelago (Hydrographer of the Navy, 1978), p. 5.82. อ฾างใน Renate, Haller-Trost. “The Territorial Dispute between Indonesia and Malaysia over Pulau Sipadan and Pulau Ligitan in the Celebes Sea: A Study in International Law,” (Boundary and Territory Briefing Vol.2 No.2. Department of Geography, University of Durham, 1995.), p. 3. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1hmOFH5 124 โปรดดู Philippine Islands, Southern Part, Defense Mapping Agency, Hydrographic/Topographic Center, Washington DC, DMA 92AC092005, 1989. อ฾างใน Renate Haller-Trost. Ibid. 125 โปรดดู Wong, M.P., Sipadan: Borneo‖s Underwater Paradise (Singapore: Odyssey Publishing, 1991) 126 State of North Borneo Official Gazette No.69, 1 February 1933. อ฾างใน Renate Haller-Trost. Ibid, p. 3. 127 International Court of Justice. Memorial of Malaysia Volume 1. Ibid, p. 15. 178

ทําให฾มีหมู฽บ฾านชาวประมงตั้งรกรากอยู฽ที่นี่เรียกว฽าเกาะดินาวัน (Pulau Dinawan)128 และห฽างออกไปเล็กน฾อย ทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะทางประมาณ 0.5 ไมลแทะเล มีการสร฾างประภาคารที่เกาะสิอามิล (Pulau Si Amil)129 ส฽วนของแนวปะการังและโขดหินกลุ฽มนี้ซึ่งเป็นบริเวณที่อยู฽พ฾นจากระดับน้ําทะเลอย฽างถาวรมีความสูง ประมาณ 1.2 เมตร คือ เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) ซึ่งตั้งอยู฽ที่บริเวณปลายสุดทางตอนใต฾ โดยมีพื้นที่เล็กกว฽า เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) และที่ตอนใต฾สุดของเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) มีประภาคารตั้งอยู฽ที่พิกัด ละติจูด 4 องศา 09 ลิปดา 75 ฟิลิปดา เหนือ และ ลองจิจูดที่ 118 องศา 53 ลิปดา 05 ฟิลิปดา ตะวันออก (4°09′75″N, 118°53′05″E) ซึ่งบริเวณปลายสุดทางใต฾มีลักษณะภูมิประเทศที่เข฾าถึงได฾ค฽อนข฾างยากเนื่องจากมี แนวปะการังอยู฽หนาแน฽นเป็นระยะถึง 1 ไมลแทะล จากเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) ห฽างออกไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทาง 130 ไมลแทะเล เป็นเกาะ ที่ใกล฾ที่สุดของอินโดนีเซีย ได฾แก฽ เกาะแซงกิเฮ (Pulau Sangihe) และเกาะกาวิโอ (Pulau Kawio) ในกลุ฽ม เกาะสุลาเวสีเหนือ (Northern Sulawesi Group) และ ส฽วนของแผ฽นดิน (terra firma) ที่อยู฽ใกล฾ที่สุดทางทิศ ใต฾เป็นระยะทาง 110 ไมลแทะเล คือ เกาะมาราตัว (Pulau Maratua) ซึ่งมีส฽วนปลายสุดทางด฾านเหนือถูกใช฾ เพื่อกําหนดเส฾นฐานของอินโดนีเซียที่พิกัดละติจูด 2 องศา 19 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูดที่ 118 องศา 33 ลิปดา 08 ฟิลิปดา ตะวันออก (2°19′00″N, 118°33′08″E) หรือ Baseline Coordinate(s) – BLC ของ อินโดนีเซียที่ตําแหน฽ง 39130 ส฽วนที่ใกล฾ที่สุดทางทิศตะวันตกระหว฽างเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) กับ แผ฽นดินใหญ฽ของดินแดนอินโดนีเซีย คือ เกาะเซอบาติก (Pulau Sebatik) ซึ่งอยู฽ห฽างออกไปเป็นระยะทาง 55 ไมลแทะเล ในขณะที่ ห฽างออกไปจากแนวปะการังทางตอนเหนือของเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) เป็นระยะทาง เพียง 8.5 ไมลแทะเล คือพื้นที่เกาะดินาวัน (Pulau Dinawan) ของมาเลเซีย อย฽างไรก็ตาม เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) ไม฽มีผู฾คนตั้งรกรากอาศัยอยู฽ และมีเพียงไม฾พุ฽มเตี้ยเจริญเติบโตบนพื้นที่เหนือระดับน้ําทะเล131 พื้นที่ ส฽วนใหญ฽ที่โผล฽พ฾นน้ําของเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) ปกคลุมไปด฾วยหิน หญ฾าปุา และต฾นไม฾ที่เรียกว฽าบิลัง-บิ ลัง (Bilang-Bilang) โดยเมื่อไม฽นานมานี้มีการสร฾างกระท฽อมเพื่อการท฽องเที่ยวจํานวนหนึ่งบนเกาะ โดยรูปร฽าง ของเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) สามารถดูได฾จากภาพที่ 4.21

128 บางแห฽งเขียนว฽าเกาะดานาวัน (Pulau Danawan) ตั้งอยู฽ที่พิกัดละติจูด 4 องศา 18 ลิปดา 5 ฟิลิปดา เหนือ และ ลองจิจูดที่ 118 องศา 51ลิปดา 75 ฟิลิปดา ตะวันออก (4°15′05″N, 118°51′75″E) อ฾างจาก Renate Haller-Trost. Ibid, p. 3. 129 ตั้งอยู฽ที่พิกัดละติจูด 4 องศา 19 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูดที่ 118 องศา 52ลิปดา 05 ฟิลิปดา ตะวันออก (4°19′00″N, 118°52′05″E) อ฾างจาก Renate Haller-Trost. Ibid, p. 4. 130 Renate Haller-Trost. Ibid, p. 4. 131 Hydrographic Department, Great Britain. Ibid, p. 5.79. 179

ภาพที่ 4.21 ดวงตราไปรษณียากรชุด “เกาะและชายหาด (Pulau-Pulau dan Pantai)” ของมาเลเซีย จัดพิมพแในปี 2546/2003 เป็นรูปเกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) และ เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) (ที่มา: http://www.fabiovstamps.com เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1A97cPq)

180

ก าเนิด พัฒนาการของข้อพิพาท และการตัดสินของศาลโลก ปัญหาข฾อพิพาทอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย เกิดขึ้นครั้งแรกในปี 2525/1982 เมื่อกองทัพเรือของอินโดนีเซียเข฾าไป ลาดตระเวนใกล฾กับพื้นที่เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เพื่อตรวจตราว฽ามีกองกําลังของต฽างชาติอยู฽ในพื้นที่ ดังกล฽าวหรือไม฽ รัฐบาลของทั้งสองประเทศพยายามที่จะระงับการรายงานข฽าวดังกล฽าวเพื่อไม฽ให฾เกิดความ บาดหมางต฽อกัน132 หลังจากนั้นต฽อมาเป็นเวลา 9 ปี คือในปี 2534/1991 ก็ปรากฏข฾อพิพาทขึ้นอีกครั้งในหน฾า หนังสือพิมพแเมื่ออินโดนีเซียกล฽าวหาว฽ามาเลเซียว฽าทําการละเมิด “ข฾อตกลงด฾วยวาจาในปี 2512/1969”133 ซึ่ง เป็นความตกลงที่ทั้งสองประเทศให฾สัญญาด฾วยวาจาว฽าจะร฽วมกันเจรจาหารือเพื่อแก฾ปัญหาอธิปไตยเหนือเกาะลิ กิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan)แต฽ฝุายมาเลเซียกลับแถลงปฏิเสธการมีอยู฽ของ ข฾อตกลงด฾วยวาจาเมื่อปี 2512/1969 ตามที่อินโดนีเซียกล฽าวอ฾าง เนื่องจากมาเลเซียมีจุดยืนมาโดยตลอดว฽า เกาะทั้งสองนี้เป็นส฽วนหนึ่งภายในดินแดนบอรแเนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo) หรือในปัจจุบัน คือ ซาบาหแ (Sabah) ซึ่งหมายความว฽ามาเลเซียเป็นผู฾มีอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan)อย฽างสมบูรณแ ต฽อมาในเดือนมิถุนายน 2534/1991 ก็เกิดปัญหากระทบกระทั่ง กันอีกครั้ง เนื่องจากอินโดนีเซียประท฾วงมาเลเซียเรื่องการเข฾าไปสร฾างสิ่งก฽อสร฾างเพื่อการท฽องเที่ยวในพื้นที่บน เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ในเดือนตุลาคม 2534/1991 ดาโต฿ะ อับดุลลาหแ อาหแหมัด บาดาวี (Datuk Abdullah Ahmad Badawi) ซึ่งในขณะนั้นดํารงตําแหน฽งรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของมาเลเซีย ได฾แถลงเพื่อให฾ความมั่นใจต฽อ นายอาลี อลาตาส (Ali Alatas) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของ อินโดนีเซียในขณะนั้นว฽า มาเลเซียจะหยุดโครงการพัฒนาต฽างๆ ในพื้นที่พิพาทจนกว฽าทั้งสองประเทศจะ สามารถตกลงเรื่องความเป็นเจ฾าของเหนือเกาะทั้งสองแห฽งนี้ได฾ ภายหลังจากวิกฤตการณแ “เผชิญหน฾า (konfrontasi)” ซึ่งมีการใช฾กําลังปะทะกันตามแนวชายแดนบน เกาะบอรแเนียวเป็นระยะเวลายาวนานกว฽า 4 ปี คือระหว฽างเดือนมกราคม 2506/1963 ถึงเดือนสิงหาคม 2509/1966 สิ้นสุดลงแล฾ว ต฽อมาอีก 3 ปี มาเลเซียและอินโดนีเซียสามารถบรรลุความลงว฽าด฾วยไหล฽ทวีปใน ช฽องแคบมะละกาและทะเลจีนใต฾ (ดังได฾กล฽าวไปแล฾วในหัวข฾อ 4.1 ไหล฽ทวีปในช฽องแคบมะละกาและทะเลจีนใต฾ ระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย) แต฽ก็ไม฽มีการตกลงใดๆ เกี่ยวกับอาณาเขตทางทะเลด฾านตะวันออกของเกาะ บอรแเนียว โดยอินโดนีเซียหวังว฽าจะยังสามารถคงสถานะเดิมของหมู฽เกาะพิพาททั้งสองนี้เอาไว฾ไม฽ให฾เกิดความ เปลี่ยนแปลง ในขณะที่มาเลเซียก็ยังเดินหน฾าก฽อสร฾างโครงการท฽องเที่ยวต฽างๆ ในพื้นที่พิพาท โดยในปี 2512/1969 ทั้งสองประเทศเห็นพ฾องต฾องกันว฽าปัญหาข฾อพิพาทเหนือหม฽เกาะทั้งสองไม฽ใช฽เรื่องที่น฽ากังวล เนื่องจากประเด็นหลักของอินโดนีเซียในขณะนั้นคือต฾องความยอมรับการประกาศเส฾นฐานความเป็นรัฐหมู฽เกาะ ของตน และยังกล฽าวอีกว฽าอย฽างไรเสียข฾อพิพาทนี้ก็ไม฽สามารถแก฾ไขได฾ภายในสองสามวัน ดังนั้น จึงขอร฾องให฾ทุก ฝุายอย฽าทําให฾ข฾อพิพาทหรือความขัดแย฾งมากไปกว฽าที่เป็นอยู฽ในปัจจุบัน ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2540/1997 ทั้งสองประเทศได฾ลงนามในความตกลงพิเศษ (special agreement) ระหว฽างดาโต฿ะ อับดุลลาหแ อาหแหมัด บาดาวี (Datuk Abdullah Ahmad Badawi) ซึ่งใน

132 โปรดดู Akhbar Sinar Harapan, 5 July 1982; Straits Times, 7 July 1982; and Asiaweek, 23 July 1982. รายละเอียดของการรายงานใช฾คําว฽า “investigate foreign troops” โดยคําว฽า “ต฽างชาติ (foreign)” ไม฽ได฾ระบุว฽าคือ ประเทศใด แต฽ก็ทราบได฾ว฽าหมายถึง “มาเลเซีย” อ฾างใน Renate Haller-Trost. Ibid, p. 4. 133 Baroto, A. “Similarities and Difference in Malaysia-Indonesia Relations: Some Perspectives,” in Indonesian Quarterly, XXI, 2 (1993), p. 160 181

ขณะนั้นดํารงตําแหน฽งรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของมาเลเซีย กับ นายอาลี อลาตาส (Ali Alatas) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของอินโดนีเซียของอินโดนีเซีย เพื่อนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽การพิจารณาของ ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก โดยหวังว฽าผลการ ตัดสินจะ “เป็นที่สุดและมีผลผูกพัน (final and binding)” ต฽อมาในวันที่ 14 พฤษภาคม 2541/1998 ทั้งสอง ฝุายได฾ให฾สัตยาบรรณต฽อกันเพื่อให฾ความตกลงพิเศษดังกล฽าวมีผลบังคับใช฾ และอีก 6 เดือนต฽อมาคือในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2541/1998134 ศาลโลกจึงแจ฾งผลการเริ่มการพิจารณาคดีอย฽างเป็นทางการ โดยใช฾ชื่อคดี “อธิปไตยเหนือเกาะลิกิตันและสิปัน (อินโดนีเซีย/มาเลเซีย) หรือ Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia)” โดยการพิจารณาคดีใช฾ระยะเวลายาวนานกว฽า 4 ปี ทั้งสองฝุายได฾ นําเสนอเอกสารเพื่อชี้แจงเหตุผลและประเด็นข฾อโต฾แย฾งเพื่อการต฽อสู฾คดีในชั้นศาล135 ทั้งสองฝุายได฾ว฽างจ฾างนักกฎหมายผู฾เชี่ยวชาญระดับโลก ซึ่งสื่อของอินโดนีเซียมักรายงานซ้ําๆ ว฽านัก กฎหมายชาวต฽างชาติเหล฽านี้คิดค฽าตอบแทนเป็นรายชั่วโมง136 โดยคณะทนายฝุายอินโดนีเซีย (Co-Agent) ได฾แก฽ Mr. Alain Pellet, Mr. Alfred H.A. Soons, Sir Arthur Watts, Mr. Rodman R. Bundy, Ms. Loretta Malintoppiและคณะทนายฝุายมาเลเซีย (Co-Agent) ได฾แก฽ Sir Elihu Lauterpacht, Mr. Jean- Pierre Cot, Mr. James Crawford, Mr. Nico Schrijver137 ข฾อโต฾แย฾งหลักของอินโดนีเซียคือการอ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของหมู฽เกาะทั้งสองตามอนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2434/1891 ระหว฽างสหราชอาณาจักรกับ เนเธอรแแลนดแว฽าด฾วยเส฾นเขตแดนระหว฽างบอรแเนียวของอังกฤษ (British Borneo) กับ บอรแเนียวของดัตชแ (Dutch Borneo) และให฾สัตยาบันเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2425/1982 (ซึ่งได฾กล฽าวถึงไปแล฾วในหัวข฾อที่ 3.2 เส฾นเขตแดนทางบกบนเกาะบอรแเนียวระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย) โดยอินโดนีเซียอ฾างว฽าเส฾นเขตแดน ระหว฽างซาบาหแ (มาเลเซีย) กับกาลิมันตัน (อินโดนีเซีย) คือเส฾นตรงที่ลากตัดผ฽านเกาะเซอบาติก (Pulau Sebatik) ต฽อเนื่องไปทางทิศตะวันออกและหยุดลงที่ระยะ 19 กิโลเมตรจากกลุ฽มของหมู฽เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) ดังนั้น สนธิสัญญาดังกล฽าวจึงเป็นหลักฐานที่สําคัญซึ่งแสดงว฽า เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะ สิปาดัน (Pulau Sipadan) อยู฽ภายในเขตน฽านน้ําของอินโดนีเซีย แต฽ฝุายมาเลเซียได฾โต฾แย฾งว฽ามีการใช฾แผนที่ ของอาณานิคมดัตชแโดยอินโดนีเซียจํานวนมากกว฽า 22 ฉบับระหว฽างปี 2434/1891 ถึงปี 2535/1992 แต฽ไม฽มี แผนที่แม฾ฉบับเดียวที่แสดงให฾เห็นได฾อย฽างชัดเจนว฽า เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็นส฽วนหนึ่งภายในดินแดนบอรแเนียวของดัตชแหรือของอินโดนีเซีย นอกจากนี้ แผนที่บางฉบับไม฽ แม฾แต฽ที่จะแสดงที่ตั้งของหมู฽เกาะทั้งสองแห฽งนี้ ในขณะที่แผนที่ทุกฉบับซึ่งแสดงให฾เห็นเกาะทั้งสองก็ล฾วนแสดง อย฽างชัดเจนว฽าว฽า เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan)เป็นส฽วนหนึ่งภายใน

134 โปรดดู International Court of Justice. Special Agreement for Submission to the International Court of Justice of the Dispute between Indonesia and Malaysia Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan, jointly notified to the Court on 2 November 1998. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1TAGrsN 135 สามารถเข฾าถึงเอกสารที่เกี่ยวข฾องของทั้งสองฝุายได฾ที่ International Court of Justice. Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia) เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1IIwCoK 136 Bunn Nagara. “Sipadan-Ligitan: Peaceful conclusion to a regional dispute,” in The Star, 18 December 2002. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1HkdHyJ 137 International Court of Justice. Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Judgment of 17 December 2002 (Report of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 17 December 2002), pp. 627, 629. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1e7ChJu 182

ดินแดนของบอรแเนียวเหนือหรือซาบาหแ และหากกล฽าวในทางภูมิศาสตรแแล฾ว เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ตั้งอยู฽ใกล฾กับเขตซาบาหแของมาเลเซียมากกว฽าเขตกาลิมันตันของ อินโดนีเซีย เป็นที่น฽าสนใจอย฽างยิ่งว฽า ระหว฽างที่มีการพิจารณาคดีข฾อพิพาท เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะ สิปาดัน (Pulau Sipadan) อยู฽นั้น ฟิลิปปินสแซึ่งยังมีกรณีพิพาทอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือดินแดนซาบาหแกับ มาเลเซีย ได฾ทําการยื่นเรื่องต฽อศาลโลกเพื่อขอแทรกแซงการพิจารณาคดีในวันที่ 13 มีนาคม 2544/2001138 โดยร฾องขอให฾ศาลโลกทําสําเนาเอกสารที่นําเสนอโดยมาเลเซียและอินโดนีเซียเพื่อรักษาและปกปูองสิทธิ์ในการ อ฾างอธิปไตยเหนือดินแดนซาบาหแ อย฽างไรก็ตาม ฟิลิปปินสแแสดงท฽าทีว฽าไม฽ต฾องการที่จะอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) และไม฽ได฾ต฾องการที่จะเป็นคู฽พิพาทในคดีนี้ ต฽อมาในวันที่ 2 พฤษภาคม 2544/2001 มีการยื่นเอกสารเพื่อคัดค฾านคําขอแทรกแซงของฟิลิปปินสแโดยอินโดนีเซีย139 และมาเลเซีย140 และหลังจากนั้นต฽อมาอีก 5 เดือน คือในวันที่ 23 ตุลาคม 2544/2001 ศาลโลกจึงมีคําตัดสินว฽า “ศาล, โดยคะแนนสิบสี่เสียงต฽อหนึ่งเสียง ตัดสินว฽าคําร฾องของสาธารณรัฐฟิลิปปินสแ, ยื่นเรื่องต฽อศาลเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2544/2011 เพื่อ ขออนุญาตแทรกแซงการพิจารณาคดีภายใต฾ข฾อ 62 ของธรรมนูญศาล, ไม฽สามารถยอมรับได฾”141 หลังจากนั้นทั้งมาเลเซียและอินโดนีเซียต฽างก็โต฾แย฾งกันในศาลด฾วยการใช฾หลักฐานส฽วนใหญ฽ที่เป็นข฾อมูล ทางประวัติศาสตรแที่เกิดจากการทําสนธิสัญญาและแผนที่ การพิจารณาคดีในครั้งนี้มีความซับซ฾อนอยู฽มาก พอสมควร แม฾ว฽าจะไม฽ได฾มีการแทรกแซงของฟิลิปปินสแในประเด็นที่เกี่ยวข฾องกับการอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือ ดินแดนซาบาหแซึ่งเอาเข฾าจริงแล฾วก็ตั้งอยู฽บนพื้นฐานของเอกสารทางประวัติศาสตรแและการตีความสนธิสัญญา ชุดเดียวกันกับคดีพิพาทเกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) และ เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan)

138 โปรดดู International Court of Justice. Application for Permission to Intervene by the Government of the Philippines file in the Registry of Court on 13 March 2001, Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia) เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JHZro6 139 โปรดดู International Court of Justice. Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Observations of the Government of the Republic of Indonesia on the Philippines‖s Application for Permission to Intervene, 2 May 2001. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1K6bbgX 140 โปรดดู International Court of Justice. Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Observations of Malaysia on the Application for Permission to Intervene by the Government of the Republic of the Philippines, 2 May 2001. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1I1151s 141 “THE COURT, By fourteen votes to one, Finds that the Application of the Republic of the Philippines, filed in the Registry of the Court on 13 March 2001, for permission to intervene in the proceedings under Article 62 of the Statute of the Court, cannot be granted.” ใน International Court of Justice. Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Application by the Philippines for Permission to Intervene, Judgement of 23 October 2001 (Report of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 23 October 2001), p. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JtrA0f 183

ในประเด็นการอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือ เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ฝุายมาเลเซียเริ่มได฾เปรียบเนื่องจากมีการศึกษาค฾นคว฾าเอกสารทางประวัติศาสตรแเพื่อสนับสนุนข฾อ โต฾แย฾งของฝุายมาเลเซียอย฽างกว฾างขวางและลุ฽มลึก แต฽สิ่งที่ไม฽คาดคิดมาก฽อนก็เกิดขึ้นกับอินโดนีเซียเมื่อ มาเลเซียใช฾ข฾อต฽อสู฾ด฾วยประเด็นการเข฾าไปใช฾สอยในพื้นที่บริเวณพิพาทก฽อนเกิดปัญหาข฾อพิพาทในปี 2412/1969 ส฽วนการอ฾างสิทธิ์ของฝุายอินโดนีเซียเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) มีพื้นฐานมาจากอนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2434/1891 ระหว฽างสหราชอาณาจักรกับเนเธอรแแลนดแว฽าด฾วยเส฾นเขตแดนระหว฽างบอรแเนียวของอังกฤษ (British Borneo) กับ บอรแเนียวของดัตชแ (Dutch Borneo) โดยอินโดนีเซียอ฾างว฽า “อนุสัญญาฉบับ 1981 กําหนดให฾เส฾นละติจูดที่ 4 องศา 10 ลิปดาเหนือ เป็นเส฾นแบ฽งเขตแดนระหว฽างอังกฤษกับดัตชแในดินแดน ปกครองของพื้นที่พิพาทซึ่งทําให฾เกาะเหล฽านั้นตกเป็นของผู฾สืบทอดจากเนเธอรแแลนดแ”142 นอกจากนี้ อินโดนีเซียยังอาศัยเหตุผลของ “การเข฾าครอบครองอย฽างมีประสิทธิภาพทั้งดัตชแและอินโดนีเซียซึ่งการอ฾างสิทธิ์ ได฾รับการยืนยันโดยกรรมสิทธิ์ของอนุสัญญา”143 นอกจากนี้ ในกระบวนการพิจารณาคดีด฾วยวาจา (oral proceedings) อินโดนีเซียยังให฾เหตุผลว฽า เกาะ ทั้งสองนี้เป็นสมบัติของทายาทสุลต฽านแห฽งบูลุงงัน (Sultan Bulungan) เพราะมีการใช฾อํานาจการปกครอง เหนือพื้นที่เกาะทั้งสองแห฽งนี้ แต฽ฝุายมาเลเซียก็ตอบแย฾งว฽าการสืบทอดอํานาจอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะทั้งสองนั้น แท฾จริงแล฾วเกิดจากการตกลงทําอนุสัญญาเพื่อส฽งต฽อทางอํานาจในนามของสุลต฽านแห฽งซูลู (Sultan of Sulu) ฝุายมาเลเซียยังอ฾างอีกว฽าหมู฽เกาะพิพาทในอนุสัญญาดังกล฽าว ตกทอดผ฽านมาอย฽างต฽อเนื่องไปยังสเปน ต฽อไปยัง สหรัฐอเมริกา ต฽อไปยังสหราชอาณาจักรในนามของบอรแเนียวเหนือ (North Borneo) ต฽อไปยังสหราช อาณาจักรบริเตนใหญ฽และไอรแแลนดแเหนือ และในที่สุดก็ตกทอดมาถึงประเทศมาเลเซียเอง มาเลเซียได฾ให฾ เหตุผลต฽อไปว฽า หมู฽เกาะทั้ง 2 นี้ปรากฏอยู฽ในเอกสารทางกฎหมายและยังได฾รับการยืนยันผ฽านการเข฾าไปใช฾ อํานาจปกครองพื้นที่อย฽างมีประสิทธิภาพ (effectivités/effective occupation) โดยอังกฤษและมาเลเซีย ในขณะที่อินโดนีเซียอาศัยความตามมาตรา 4 ของอนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) ฉบับปี 2434/1891 ที่ระบุว฽า “จากละติจูดที่ 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ บนชายฝั่งตะวันออกของเส฾นเขตแดน ควรจะลากต฽อเนื่องไปทางทิศตะวันออกตามแนวเส฾นขนาน ข฾ามไปยังเกาะเซอบาติก พื้นที่ส฽วนของเกาะซึ่ง ตั้งอยู฽ทางตอนเหนือของเส฾นขนานจะเป็นของบริษัทบอรแเนียวเหนือของอังกฤษโดยปราศจากข฾อสงสัย และ พื้นที่ส฽วนของเกาะซึ่งตั้งอยู฽ทางตอนใต฾จะเป็นของเนเธอรแแลนดแ”144 ส฽งผลให฾อินโดนีเซียยืนกรานว฽ามาตรานี้ ของอนุสัญญาไม฽มีข฾อความใดที่ระบุว฽าเส฾นเขตแดนสิ้นสุดลงที่ชายฝั่งตะวันออกของเกาะเซอบาติก (Sebatik islands) แต฽ฝุายมาเลเซียแย฾งว฽าอนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) ฉบับปี 2434/1891 แสดง

142 “the 1891 Convention established the 4° 10' north parallel of latitude as the dividing line between the respective possessions of Great Britain and the Netherlands in the area of the disputed islands and that those islands therefore belong to it as successor to the Netherlands,” in International Court of Justice. Judgment of 17 December 2002. Ibid, p. 625. 143 “series of effectivites, both Dutch and Indonesian, which it claims confirm its conventional title.” in Ibid, p. 643. 144 “From 4°10′north latitude on the east coast the boundary-line shall be continued eastward along that parallel, across the Island of Sebatik: that potion of the islands situated to the north of that parallel shall belong unreservedly to the British North Borneo Company, and the portion south of that parallel to the Netherlands.” in Ibid, p. 645. 184

ให฾เห็นอย฽างชัดเจนว฽าสหราชอาณาจักรและเนเธอรแแลนดแตกลงทําอนุสัญญาฉบับนี้ขึ้นเพื่อที่จะแสดงเส฾นเขต แดนระหว฽างดินแดนทางบกที่ตนต฾องการครอบครองบนเกาะบอรแเนียวและเกาะเซอบาติด เพราะกําหนดเอาไว฾ แต฽เพียงว฽า เส฾นเขตแดนจะสิ้นสุดลงตรงบริเวณตะวันออกสุดของเกาะเซอบาติกเท฽านั้น นอกจากนี้ มาเลเซีย ยังให฾เหตุผลว฽า เส฾นเขตแดนที่ลากตัดผ฽านเกาะเซอบาติกนั้นมีการระบุแต฽เฉพาะการกําหนดให฾เส฾นเขตแดนลาก จากฝั่งตะวันตกไปทางฝั่งตะวันออก แต฽ไม฽มีการระบุว฽าหลังจากนั้นเส฾นเขตแดนจะลากต฽อไปทางทิศทางใด และ ศาลโลกก็เห็นด฾วยว฽า อนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) ฉบับปี 2434/1891 ไม฽ได฾ระบุชื่อของ เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) รวมอยู฽ด฾วย ดังนั้น อินโดนีเซียจึงไม฽ สามารถที่จะอ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของเกาะทั้งสองได฾จากข฾อความตามมาตรา 4 ของ อนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) แต฽เหตุผลประการสําคัญที่ทําให฾ศาลโลกตัดสินว฽าอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็นของมาเลเซีย นั่นคือ การที่มาเลเซียแสดงหลักฐานการใช฾อํานาจ ปกครองอย฽างมีประสิทธิภาพ (effectivités/effective occupation) เหนือสองเกาะได฾ชัดเจนกว฽าอินโดนีเซีย โดยศาลพิจารณาจากการใช฾อํานาจอย฽างมีประสิทธิภาพบนเกาะทั้งสองว฽ามาเลเซียควบคุมการจับเต฽าและการ เก็บไข฽เต฽า ซึ่งเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สําคัญที่สุดบนเกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็นเวลาหลายปี ตั้งแต฽ปี 2457/1914 สหราชอาณาจักรได฾เข฾าจัดการและควบคุมการเก็บไข฽เต฽าบนเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) มาเลเซียเน฾นย้ําข฾อเท็จจริงที่ว฽า หากเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเก็บไข฽เต฽า เจ฾าหน฾าที่บอรแเนียวเหนือของอังกฤษจะเป็นผู฾เข฾ามาทําหน฾าที่แก฾ไขข฾อพิพาทที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ยังมีการออก ใบอนุญาตให฾กับบรรดาเรือประมงที่เข฾ามาหาปลาในน฽านน้ําบริเวณรอบเกาะทั้งสองแห฽งนี้ ในปี 2476/1933 มาเลเซียยังทําการประกาศให฾เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็นเขตรักษาพันธุแนก รวมทั้งการที่เจ฾าหน฾าที่ อาณานิคมบอรแเนียวเหนือของอังกฤษได฾สร฾างประภาคารเอาไว฾บนเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และเกาะสิปา ดัน (Pulau Sipadan) เมื่อต฾นคริสตแศตวรรษที่ 1960 และยังมีการใช฾งานอยู฽จนถึงทุกวันนี้ซึ่งได฾รับการ บํารุงรักษาโดยเจ฾าหน฾าที่มาเลเซีย อีกทั้งรัฐบาลมาเลเซียได฾ออกระเบียบว฽าด฾วยการท฽องเที่ยวบนเกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) และวันที่ 25 กันยายน 2540/1997 มาเลเซียประกาศให฾เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็นเขตอนุรักษแภายใต฾กฎหมายคุ฾มครองพื้นที่ของมาเลเซีย (Malaysia's Protected Areas Order)145 มาเลเซียจึงชนะคดีไปด฾วยเหตุผลของการมีหลักฐานการใช฾อํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) อย฽างแท฾จริง การปฏิบัติที่สืบต฽อกันมาของฝุายมาเลเซีย ก฽อนเกิดปัญหาข฾อพิพาทในปี 2412/1969 ได฾แสดงให฾เห็นถึงการใช฾อํานาจตามหลัก “การครอบครองอย฽างมี ประสิทธิภาพ (effectivités/effective occupation)” ซึ่งแม฾แต฽ฝุายอินโดนีเซียก็ไม฽ได฾ทําการประท฾วงหรือ คัดค฾านพฤติการการใช฾อํานาจของมาเลเซียเป็นเวลาหลายทศวรรษ ศาลโลกใช฾เวลาในการพิจารณาคดีนี้เป็นเวลายาวนานกว฽า 4 ปี และในที่สุดวันที่ 17 ธันวาคม 2545/2002 ศาลโลกจึงมีคําตัดสินว฽า “ศาล, โดยคะแนนสิบหกเสียงต฽อหนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตันและเกาะสิปาดันเป็นของมาเลเซีย”146

145 Ibid, p. 681. 146 “THE COURT, By sixteen votes to one, 185

คําตัดสินของศาลโลกถือเป็นการยุติข฾อพิพาทระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียที่มีมาอย฽างยาวนาน แต฽ จนถึงปัจจุบันก็ไม฽ได฾มีการดําเนินการใดๆ จากทั้งสองฝุายหลังคําตัดสินในปี 2545/2002 ซึ่งส฽งผลโดยตรงต฽อ ข฾อพิพาทไหล฽ทวีปและแหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย ซึ่งจะได฾ อธิบายในหัวข฾อต฽อไป

Finds that sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan belongs to Malaysia.” in Ibid, p. 676. 186

4.11 แหล่งน้ ามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย

ในเดือนมีนาคมปี 2548/2005 เกิดข฾อพิพาทระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียในพื้นที่นอกชายฝั่งทางทิศ ตะวันออกของเกาะบอรแเนียวในทะเลสุลาเวสี (Sulawesi Sea) หรือทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) เนื่องจาก วันที่ 16 กุมภาพันธแ 2548/2005 มาเลเซียได฾ทําการออกใบอนุญาตแหล฽งสัมปทานน้ํามันสองแหล฽งซึ่งมาเลเซีย เรียกว฽าแหล฽ง ND-6 และ ND-7 ให฾แก฽บริษัทน้ํามันปิโตรนาส (PETRONAS) ของมาเลเซียโดยความร฽วมมือกับ บริษัทน้ํามันระหว฽างประเทศกลุ฽มเชลลแ (Shell Group) ทําให฾เกิดพื้นที่ทับซ฾อน (overlapping area) กับแหล฽ง น้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) และอัมบาลัทตะวันออก (East Ambalat Oil Block) ของอินโดนีเซีย (ดูภาพที่ 4.22) ซึ่งมีการออกใบอนุญาตตั้งแต฽ปี 2542/1999 และ 2547/2004 ให฾แก฽ บริษัทน้ํามันอีเอ็นไอ (ENI – Ente Nazionale Idrocarburi) ของอิตาลี และบริษัทน้ํามันยูโนแคล (Unocal – Union Oil Company of California) ของสหรัฐอเมริกาตามลําดับ ทําให฾การสํารวจน้ํามันและก฿าซธรรมชาติในพื้นที่ พิพาทยุติลง147 ฝุายมาเลเซียอ฾างสิทธิ์เหนือพื้นที่ทับซ฾อนอัมบาลัท (Ambalat Overlapping Area) ด฾วย เหตุผล 2 ประการ ได฾แก฽ ประการแรก อ฾างสิทธิ์ตามแผนที่ของมาเลซียฉบับปี 2522/1979 และประการที่ 2 อ฾างสิทธิ์ตามคําตัดสินของศาลโลกในปี 2545/2002 ว฽าอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิ ปาดัน (Pulau Sipadan)เป็นของมาเลเซีย ในขณะที่ฝุายอินโดนีเซียอ฾างสิทธิ์ตามอนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) ปี 2434/1891 ข฾อพิพาทเหนือพื้นที่ทับซ฾อนอัมบาลัท (Ambalat Overlapping Area) ทําให฾เกิดความตึงเครียดต฽อ ความสัมพันธแระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย เพราะเกิดผลกระทบต฽อโดยตรงความรู฾สึกของประชาชนชาว อินโดนีเซีย หลังจากที่อินโดนีเซียต฾องพ฽ายแพ฾คดีในศาลโลกกรณีพิพาทอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan)ในปี 2545/2002 ประชาชนส฽วนใหญ฽ของอินโดนีเซียรู฾สึกผิดหวัง และไม฽พอใจที่ต฾องสูญเสีย เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan)เป็นระยะเวลา เพียง 3 ปี เท฽านั้น ที่มาเลเซียกลับมาทําการอ฾างสิทธิ์ทับซ฾อนเหนือดินแดนอธิปไตยของอินโดนีเซียอีกครั้ง ยิ่ง ทําให฾กรณีพิพาทแหล฽งน้ํามันอัมบาลัทส฽งผลในทางลบต฽อความสัมพันธแของทั้งสองประเทศเป็นอย฽างยิ่ง ดังนั้น สังคมอินโดนีเซียจึงสร฾างแรงกดดันแก฽รัฐบาลของตนเพื่อให฾เอาใจใส฽กับปัญหาการกําหนดเขต แดนทางทะเลอย฽างจริงจัง148 และเป็นความจริงที่ว฽า การที่มาเลเซียกล฾าที่จะทําการอ฾างสิทธิ์เหนือพื้นที่แหล฽ง น้ํามันอัมบาลัทนั้น มีความสมเหตุสมผลในบางส฽วนจากคําตัดสินของศาลโลก อย฽างไรก็ตาม แม฾ว฽าศาลโลกจะ ตัดสินให฾มาเลเซียเป็นฝุายมีอํานาจอธิปไตยเหนือ เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) แต฽คําตัดสินของศาลโลกก็ไม฽เกี่ยวกับข฾องกับประเด็นอาณาเขตทางทะเลแต฽อย฽างใด ดังนั้น อาณา เขตทางทะเลในพื้นที่เกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) จึงยังคงเป็นประเด็นที่ ต฾องมีการเจรจากันภายใต฾หลักกฎหมายระหว฽างประเทศ ซึ่งทั้งสองประเทศกําลังอยู฽ในขั้นตอนการเจรจาเพื่อ แก฾ปัญหาข฾อพิพาทดังกล฽าว149

147 Resistensia Kesumawardhani. “Dispute between Indonesia – Malaysia over Ambalat Block,” in Journal of Yuridika Vol.23 No.3, (2008), pp. 1-2. เข฾าถึงเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1GgUejP 148 โปรดดูแนวคิดเรื่องพื้นที่และความเป็นเจ฾าของในรัฐภาคพื้นสมุทรของอินโดนีเซียที่มีผลต฽อความรู฾สึกของประชาชน และรัฐบาลอินโดนีเซียเพิ่มเติมได฾จาก สิทธา เลิศไพบูลยแศิริ. “พรมแดนอินโดนีเซีย-มาเลเซีย: ความทับซ฾อนในจินตกรรมสู฽ ความขัดแย฾งรูปธรรม,” ใน อุษาคเนยแที่รัก (กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ศึกษา คณะศิลปศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2553), หน฾า 196-217. 149 Resistensia Kesumawardhani. Ibid, p. 2. 187

ภาพที่ 4.22 แผนผังแสดงพื้นที่ทับซ฾อน (overlapping area) ระหว฽างแหล฽งน้ํามัน ND-6 และ ND-7 ของ มาเลเซีย กับ แหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat) และอัมบาลัทตะวันออก (East Ambalat) ของอินโดนีเซีย (ที่มา: Khairi Budayawan, “Blok Ambalat Kian Memanas, Lima Kapal Perang dan Sekompi Marinir Siaga,” October 28, 2008. เข฾าถึงเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1FrkskM)

188

อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียมีอยู฽ 3 พื้นที่ ได฾แก฽ ช฽องแคบมะ ละกา (Strait of Malacca) ทะเลจีนใต฾ () และทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) โดยถูก กําหนดขึ้นในยุคอาณานิคมระหว฽างสหราชอาณาจักรและเนเธอรแแลนดแ ซึ่งอังกฤษและดัตชแได฾ตกลงแบ฽ง ดินแดนทางบกบนเกาะบอรแเนียวออกเป็น 2 ส฽วน คือ พื้นที่ทางใต฾เป็นของดัตชแ และพื้นที่ตอนเหนือเป็นของ อังกฤษ ตามอนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) ปี 2434/1891 ต฽อมาเมื่ออินโดนีเซียเป็น ประเทศเอกราชในวันที่ 17 สิงหาคม 2488/1945 จึงเริ่มที่จะดําเนินการต฽างๆ ตามกฎหมายและข฾อกําหนดซึ่ง เป็นมรดกตกทอดจากระบอบการปกครองของเจ฾าอาณานิคมเนเธอรแแลนดแ เช฽นเดียวกับที่มาเลเซียก็ต฾องสืบ ทอดระบอบการปกครองของเจ฾าอาณานิคมอังกฤษ ดังนั้น ความสําเร็จในการบรรลุข฾อตกลงเกี่ยวกับอาณาเขต แดนทางทะเลระหว฽างทั้งสองประเทศจึงเริ่มต฾นอย฽างเป็นทางการในวันที่ 27 ตุลาคม 2512/1969 โดยรัฐบาล มาเลเซียและรัฐบาลอินโดนีเซียสามารถบรรลุความตกลงว฽าด฾วยไหล฽ทวีประหว฽างกันและมีการให฾สัตยาบันใน วันที่ 7 พฤศจิกายน 2512/1969 (ดังที่ได฾กล฽าวไปแล฾วในหัวข฾อที่ 4.1 ไหล฽ทวีปในช฽องแคบมะละกาและทะเล จีนใต฾ระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย) ฝุายอินโดนีเซียประกาศให฾สัตยาบันโดยการออกคําสั่งประธานาธิบดี หมายเลข 89 (Presidential Decree No.89) นอกจากนี้ ยังมีการลงนามในสนธิสัญญาว฽าด฾วยการกําหนดทะเลอาณาเขตระหว฽างกัน เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2513/1970 โดยกําหนดทะเลอาณาเขต (Torritorial Sea) ระหว฽างมาเลเซียและอินโดนีเซียในช฽อง แคบมะละกา และมีผลบังคับใช฾ในวันที่ 10 มีนาคม 2514/1971 (ดังที่ได฾กล฽าวไปแล฾วในหัวข฾อที่ 4.2 ทะเล อาณาเขตในช฽องแคบมะละการะหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย) ฝุายอินโดนีเซียประกาศให฾สัตยาบันโดยผ฽าน กฎหมายหมายเลข 2 ปี 2514/1971 (Law No.2 Year 1971) และออกคําสั่งประธานาธิบดี หมายเลข 20 (Presidential Decree No.20) ปี 2515/1972 ทั้งมาเลเซียและอินโดนีเซียต฽างให฾สัตยาบันรับรองอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ฝุายอินโดนีเซียให฾สัตยาบันภายใต฾การออก “กฎหมาย หมายเลข 17 ปี 2528/1985 (Law No.17 Year 1985)” ทําให฾ทั้งสองประเทศต฾องดําเนินการกําหนดอาณาเขตทางทะเลระหว฽างกันให฾ชัดเจนตามความในข฾อ 47 วงเล็บ (9) ที่กําหนดว฽า “รัฐหมู฽เกาะจะต฾องเผยแพร฽แผนที่หรือรายการพิกัดทางภูมิศาสตรแเช฽นว฽านั้นให฾ ทราบตามสมควรและจะต฾องส฽งมอบแผนที่หรือรายงานดังกล฽าวให฾เลขาธิการสหประชาชาติเก็บรักษาไว฾อย฽าง ละหนึ่งชุด”150 อย฽างไรก็ตาม อินโดนีเซียยังไม฽สามาระดําเนินการตามข฾อกําหนดดังกล฽าวกับประเทศเพื่อนบ฾าน ให฾เสร็จสิ้นได฾ทั้งหมด ซึ่งได฾แก฽ ออสเตรเลีย มาเลเซีย ฟิลิปปินสแ สิงคโปรแ ปาเลา (Palau) อินเดีย ไทย เวียดนาม ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea) และติมอรแตะวันออก (East Timor)

150 “The archipelagic State shall give due publicity to such charts or lists of geographical coordinates and shall deposit a copy of each such chart or list with the Secretary-General of the United Nations.” จาก มาตรา 49 (2) ของ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับปี 2525/1982, กรมสนธิสัญญาและ กฎหมาย, กระทรวงการต฽างประเทศ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 22. 189

ข้อพิพาท ดังที่ทราบแล฾วว฽า อินโดนีเซียและมาเลเซียประกาศอ฾างสิทธิ์เขตทางทะเลทับซ฾อนกันในพื้นที่ของทะเลสุ ลาเวสี (Sulawesi Sea) หรือทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) ทั้งทะเลอาณาเขต (territorial sea) เขต เศรษฐกิจพิเศษ (Economic Exclusive Zone – EEZ) และเขตไหล฽ทวีป (Continental Shelf boundary) ซึ่งแหล฽งน้ํามัน (Ambalat Oil Block) อยู฽ในเขตพื้นที่ทับซ฾อนของเส฾นเขตแดนเหล฽านี้ (ดูภาพที่ 4.23) แหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ตั้งอยู฽ที่พิกัดละติจูด 2 องศา 34 ลิปดา 07 ฟิลิปดา ถึง 3 องศา 47 ลิปดา 50 ฟิลิปดา เหนือ และ ลองจิจูด 118 องศา 15 ลิปดา 21 ฟิลิปดา ถึง 118 องศา 51 ลิปดา 15 ฟิลิปดา ตะวันออก (2°34′07″–3°47′50″N, 118°15′21″–118°51′15″E)151 มีขนาดวัดได฾จากเหนือจรดใต฾ 65 กิโลเมตร และจากตะวันตกไปตะวันออก 135 กิโลเมตร เป็นที่น฽าสังเกตว฽า แหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ตั้งอยู฽ต่ํากว฽าแนวเส฾นเขตแดนที่ลาก ผ฽านเกาะเซอบาติก (Sebatik) ตามที่กําหนดไว฾ในมาตรา 4 ของ อนุสัญญาลอนดอน (The London Convention) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2434/1891 ระหว฽างสหราชอาณาจักรกับเนเธอรแแลนดแว฽าให฾แบ฽งเกาะ เซอบิตติก (Sebittik) หรือ เซอบาติก (Sebatik) ตามแนวพิกัดละติจูดที่ 4 องศา 10 ลิปดา เหนือ แต฽มาเลเซีย นั้นมีจุดแข็งในการอ฾างสิทธิ์เนื่องจากคําตัดสินของศาลโลกในดคีพิพาทเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะ สิปาดัน (Pulau Sipadan) ซึ่งอาจนําไปสู฽การกําหนดเส฾นฐาน (baseline) ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ของมาเลเซียขึ้นมาใหม฽ จึงมีแนวโน฾มที่มาเลเซียจะขยายการอ฾างสิทธิ์อาณาเขตแดนทางทะเลของตนออกไป ทางทิศใต฾เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ข฾อพิพาทเหนือแหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ยังมีประเด็น ปัญหาเกี่ยวกับการส฽งเรือลาดตระเวนเข฾าไปยังบริเวณใกล฾เคียงพื้นที่พิพาทจากทั้งสองประเทศ แม฾ว฽าแหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) จะอยู฽ในพื้นที่ทะเลน้ําลึก แต฽ก็มีศักยภาพในเชิง พาณิชยเป็นอย฽างมาก เนื่องจากมีข฾อมูลว฽าเป็นแหล฽งน้ํามันดิบจํานวนมหาศาล นอกจากนี้ ยังมีความสําคัญต฽อ ความมั่นคงในการเดินเรือ เนื่องจากอยู฽ในเส฾นทางคมนาคมทางทะเล (Sea Lanes of Communication – SLOC) จากช฽องแคบลอมบอก (Lombok Strait) ระหว฽างบาหลีกับเกาะลอมบ็อค (Lombok Island) ไปทาง เหนือผ฽านอินโดนีเซีย และเส฾นทางเดินเรือผ฽านช฽องแคบมากัสซารแ (Makassar Straits) ระหว฽างเกาะโมลุกกะ (Molucca Islands) กับทะเลเซเลเบสและชายฝั่งทางตะวันออกของเกาะบอรแเนียว ในปี 2522/1979 มาเลเซียจัดพิมพแแผนที่ออกเผยแพร฽อย฽างเป็นทางการเพื่อแสดงทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) และไหล฽ ทวีป (Continental Shelf) แผนที่ดังกล฽าวเป็นการกระทําโดยฝุายเดียว (unilateral) และการอ฾างสิทธิ์ยัง กระทบต฽ออาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ของประเทศอื่นด฾วย ทําให฾ประเทศเพื่อนบ฾านต฽างประท฾วง แผนที่ฉบับปี 2522/1979 ของมาเลเซีย ในเดือนกุมภาพันธแปี 2523/1980 อินโดนีเซียส฽งจดหมายประท฾วง ประเด็นหมู฽เกาะ ตามด฾วยฟิลิปปินสแและจีนก็ประท฾วงประเด็นแนวปะการังในพื้นที่ทางตอนใต฾ของหมู฽เกาะส แปรตลียแ (Spratly Islands) ในเดือนเมษายนปี 2523/1980 สิงคโปรแทําจดหมายประท฾วงกรณีเกาะเปดรา แบ รงคา (Pedra Banca) หรือเกาะบาตู ปูเต฿ะ (Pulau Batu Puteh) รวมทั้งไทยก็ส฽งจดหมายประท฾วงไปยัง มาเลเซีย ต฽อมาสหราชอาณาจักรก็ส฽งคําประท฾วงในนามของไต฾หวัน บรูไน และเวียดนาม152

151 Lina Puryanti, and Sarkawi B. Husain. “A people-state negotiation in a borderland: A Case Study of the Indonesia-Malaysia Frontier in Sebatik Island,” in Wacana Vol.13 No.1 (April 2011), p. 116. เข฾าถึงเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1hBqCEQ 152 Resistensia Kesumawardhani. Ibid, p. 6. 190

ภาพที่ 4.23 แผนที่แสดงการอ฾างสิทธิ์เขตทางทะเลทับซ฾อนกันในพื้นที่ของทะเลสุลาเวสี (Sulawesi Sea) หรือ ทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) ทั้งทะเลอาณาเขต (territorial sea) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Economic Exclusive Zone – EEZ) และเขตไหล฽ทวีป (Continental Shelf boundary) ระหว฽างอินโดนีเซียกับ มาเลเซีย (ที่มา: Mark. J. Valencia and Nazery Khalid. “The Sulawesi Sea Situation: Stage for Tension or Storm in a Teacup?,” in The Asia-Pacific Journal Vol. 28-1-09, July 13, 2009. เข฾าถึง เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1FhyUbZ)

191

ในทางกลับกัน มาเลเซียยังไม฽ได฾ส฽งแผนที่ฉบับปี 2522/1979 ดังกล฽าวให฾แก฽เลขาธิการสหประชาชาติ ความในข฾อ 47 วงเล็บ (9) ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ที่กําหนดไว฾ว฽า “รัฐ หมู฽เกาะจะต฾องเผยแพร฽แผนที่หรือรายการพิกัดทางภูมิศาสตรแเช฽นว฽านั้นให฾ทราบตามสมควรและจะต฾องส฽งมอบ แผนที่หรือรายงานดังกล฽าวให฾เลขาธิการสหประชาชาติเก็บรักษาไว฾อย฽างละหนึ่งชุด” ดังนั้น แผนที่ฉบับปี 2522/1979 ของมาเลเซีย ซึ่งเกี่ยวข฾องกับการกําหนดทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) จึงยังไม฽ถูกต฾องตาม หลักกฎหมายระหว฽างประเทศ ดังนั้น ในกรณีพิพาทแหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) มาเลเซียจึงมีแนวโน฾มที่จะยืนยันว฽า เขตแดนทางทะเล (Maritime Boundary) ควรจะถูกกําหนดขึ้นบนพื้นฐานของเส฾นมัธยะ (equidistance) ตามที่ศาลโลกตัดสินว฽าอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เป็นของมาเลเซีย อย฽างไรก็ตาม ศาลโลกไม฽ได฾ตัดสินในประเด็นการกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลระหว฽าง อินโดนีเซียกับมาเลเซียอย฽างแต฽อย฽างใด ทําให฾ข฾อพิพาทแหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ยังเป็น ปัญหาที่ต฾องการการแก฾ไขจนถึงปัจจุบัน และเป็นที่น฽ายินดีว฽ามีแนวโน฾มที่ทั้งสองประเทศจะดําเนินการแก฾ไข ปัญหาดังกล฽าวโดยเปลี่ยนพื้นที่พิพาท (Disputed Area) ให฾เป็นพื้นที่พัฒนาร฽วม (Joint Development Zone – JDZ)

192

4.12 ข้อพิพาทหิน 3 ก้อน ระหว่างมาเลเซียกับสิงคโปร์

ข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน153 ระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ เป็นข฾อพิพาทที่เกิดขึ้นเหนือพื้นที่ทางภูมิศาสตรแ ในบริเวณ 3 แห฽ง ได฾แก฽ 1.เกาะเพอดรา บรังกา (Pedra Branca) หรือ เกาะบาตู ปูเต฿ะ (Pulau Batu Puteh) 2. มิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) และ 3. เซาทแ เลดจแ (South Ledge) ซึ่งในวันที่ 23 พฤษภาคม 2008/2551 ศาลโลกมีคําพิพากษาตัดสินให฾อธิปไตยเหนือเกาะเพอดรา บรังกา (Pedra Branca) เป็นของ สิงคโปรแ ส฽วนมิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) เป็นของมาเลเซีย ในขณะที่เซาทแ เลดจแ (South Ledge) ถูก แบ฽งเป็นสองส฽วนให฾แต฽ประเทศเท฽าๆ กันขึ้นอยู฽กับการกําหนดเขตทางทะเลของทั้งสองฝุายที่จะต฾องตกลง ร฽วมกัน ซึ่งทั้งมาเลเซียและสิงคโปรแต฽างมีแถลงการณแยอมรับคําตัดสินของศาลโลก โดยนาย เอส. ชัยกุมาร (S. Jayakumar) รองนายกรัฐมนตรีของสิงคโปรแกล฽าวว฽าสิงคโปรแรู฾สึกพอใจกับคําตัดสินของศาลโลกในครั้งนี้ ในขณะที่ฝุายมาเลเซียโดยนายราอีส ยาติม (Rais Yatim) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของมาเลเซียก็ แถลงว฽าคําพิพากษาของศาลโลกถือเป็น “ตัดสินแห฽งชัยชนะของทั้งสองฝุาย (a “win-win” judgment)”154 ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกฝุายคาดหวังจากการที่ทั้งสองประเทศได฾ตกลงว฽าการยื่นคําร฾องแก฽ศาลโลกในปี 2003/2546 โดย มีเปูาหมายเพื่อนําไปสู฽การะงับข฾อพิพาทโดยสันติวิธี

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เกาะเพอดรา บรังกา (Pedra Branca) หรือ เกาะบาตู ปูเต๊ะ (Pulau Batu Puteh)155 เป็นเกาะ หินแกรนิตขนาดกว฾าง 60 เมตร ยาว 137 เมตร เมื่อระดับน้ําลงต่ําสุดจะมีพื้นที่ประมาณ 8,560 ตารางเมตร ตั้งอยู฽ที่ตําแหน฽งพิกัดละติจูด 1 องศา 19 ลิปดา 48 ฟิลิปดา เหนือ และ ลองจิจูด 104 องศา 24 ลิดา 27 ฟิลิป ดา ตะวันออก (1°19′48″N, 104°24′27″E) หรือบริเวณทางทิศตะวันออกของทางเข฾าช฽องแคบสิงคโปรแ ซึ่งเป็น ทางเดินเรือเข฾าสู฽น฽านน้ําทะเลจีนใต฾ เกาะแห฽งนี้ตั้งอยู฽ห฽างจากทางตะวันออกของสิงคโปรแประมาณ 24 ไมลแ ทะเล หรือจากทางตอนใต฾ของรัฐยะโฮรแ (Johor) ของมาเลเซียประมาณ 7.7 ไมลแทะเล และตั้งอยู฽ทางตอน เหนือของเกาะบินตัน (Pulau Bintan) ของอินโดนีเซียประมาณ 7.6 ไมลแทะเล คําว฽า “เพอดรา บรังกา (Pedra Branca)” มาจากภาษาโปรตุเกส และคําว฽า “บาตู ปูเต฿ะ (Batu Puteh)” มาจากภาษามาเลยแ (Malay) ทั้งสองคํานี้แปลว฽า “หินขาว (white rock)” บนเกาะแห฽งนี้มีประภาคาร “ฮอรแสเบิรแก (Horsburgh lighthouse)” ถูกสร฾างขึ้นเมื่อประมาณกลางคริสตแศตวรรษที่ 19 ตั้งอยู฽ด฾วย

มิดเดิล ร็อคส์ (Middle Rocks) ตั้งอยู฽ทางทิศใต฾ของเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) เป็นระยะทาง 0.6 ไมลแทะเล โดยมีลักษณะเป็นก฾อนหินขนาดเล็ก 2 ก฾อนตั้งอยู฽ แยกออกจากกันเป็นระยะประมาณ 250 เมตร มีความสูงถาวรพ฾นจากระดับน้ําทะเล 0.6 ถึง 1.2 เมตร

153 ผู฾วิจัยใช฾คําว฽า “หิน 3 ก฾อน” เนื่องจากเป็นคําที่สั้นกระชับตามงานศึกษาของ รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุแ ภาควิชาความสัมพันธแระหว฽างประเทศ คณะรัฐศาสตรแ จุฬาลงกรณแมหาวิทยาลัย ใน พวงทอง ภวัครพันธุแ. “กรณีพิพาท ระหว฽างมาเลเซียและสิงคโปรแ: กรณีหินสามก฾อน,” ใน อุษาคเนยแที่รัก (กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ศึกษา คณะ ศิลปศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2553), หน฾า 218-239. 154 Strachan, Anna Louise. Ibid. 155 ชื่อของเกาะนี้เรียกแตกต฽างกันขึ้นอยู฽กับประเทศที่อ฾างสิทธิ์ ได฾แก฽ สิงคโปรแ เรียกว฽า เกาะเพอดรา บรังกา (Pedra Branca) ส฽วนมาเลเซีย เรียกว฽า ปูเลา บาตู ปูเต฿ะ (Pulau Batu Puteh) หรือเป็นที่รู฾จักกันของบรรดาทหารเรือในชื่อ ประภาคาร/กระโจมไฟฮอรแสเบิรแก (Horsburgh lighthouse) 193

เซาท์ เลดจ์ (South Ledge) ตั้งอยู฽ทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾ของเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) เป็นระยะทาง 2.2 ไมลแทะเล โดยเป็นโขดหินที่สามารถมองเห็นได฾ใน ขณะที่ระดับน้ําทะเลลดลงต่ําสุดเท฽านั้น156

เนื่องจากทิศตะวันออกของช฽องแคบสิงคโปรแ มีช฽องทางเดินเรือ 3 ช฽องทาง ได฾แก฽ ช฽องเหนือ (North Channel) ช฽องกลาง (Middle Channel) ซึ่งใช฾เป็นช฽องทางหลักในการขนส฽งทางเรือ และช฽องใต฾ (South Channel) โดย หิน 3 ก้อน ตั้งอยู฽บริเวณระหว฽างช฽องกลาง (Middle Channel) และช฽องใต฾ (South Channel) (โปรดดูภาพที่ 4.24 และ 4.25)

156 International Court of Justice. Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore), Judgment of 23 May 2008 (Report of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 23 May 2008), p. 22. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Nu5VYs 194

ภาพที่ 4.24 แผนที่แสดงตําแหน฽งข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน ระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซีย (ที่มา: International Court of Justice. Case Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore), Judgment of 23 May 2008 (Report of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 23 May 2008), p. 23. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Nu5VYs)

195

ภาพที่ 4.25 แผนที่แสดงตําแหน฽งหิน 3 ก฾อน เกาะเพอดรา บรังกา (Pedra Branca) หรือ เกาะบาตู ปูเต฿ะ (Pulau Batu Puteh) มิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) และ เซาทแ เลดจแ (South Ledge) ตั้งอยู฽บริเวณระหว฽างช฽องกลาง (Middle Channel) และช฽อง ใต฾ (South Channel) ทางตะวันออกของช฽องทางเดินเรือสู฽ช฽องแคบสิงคโปรแ (ที่มา: เช฽นเดียวกับภาพที่ 4.23, Ibid, p. 24)

196

ประวัติศาสตร์ ระบอบสุลต฽านแห฽งยะโฮรแ (Sultanate of Johor) ถูกสถาปนาขึ้นโดยการยึดมะละกา (Malacca) ของ โปรตุเกสในปี 2054/1511 อํานาจการปกครองของอาณานิคมโปรตุเกสช฽วงปี 1500 ในอินเดียตะวันออก (East Indies) เริ่มเสื่อมถอยลงไปในช฽วงปี 1600 ซึ่งต฽อมาในช฽วงกลางยุค 1600 เนเธอรแแลนดแได฾เข฾ายึดและ ควบคุมดินแดนอาณานิคมต฽างๆ จากโปรตุเกส ในปี 2338/1795 ฝรั่งเศสเข฾ายึดครองเนเธอรแแลนดแทําให฾ อังกฤษสามารถเข฾าไปปกครองดินแดนหมู฽เกาะมลายูหลายแห฽งซึ่งเคยถูกปกครองโดยเนเธอรแแลนดแ ต฽อมาในปี 2356/1813 ฝรั่งเศสถอนกําลังออกจากเนเธอรแแลนดแ จึงทําให฾เกิดสนธิสัญญาอังกฤษ-ดัตชแ (Anglo-Dutch Treaty) หรือ อนุสัญญาลอนดอน (Convention of London) ฉบับปี 2357/1814 โดยกําหนดว฽า สหราช อาณาจักรตกลงที่จะคืนดินแดนทั้งหลายในหมู฽เกาะมลายูให฾แก฽เนเธอรแแลนดแ ในปี 2362/1819 เซอรแ สแตมฟอรแด ราฟเฟิล (Sir Stamford Raffles) ข฾าหลวงใหญ฽แห฽งเบงกูลู (Governor-General of Bengkulu) ในเกาะสุมาตราของอังกฤษ ได฾ทําการตั้งสถานีการค฾าขึ้นบนเกาะสิงคโปรแ ซึ่งขณะนั้นยังเป็นของยะโฮรแ โดยมีบริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) ทําหน฾าที่เป็นตัวแทน การค฾าของรัฐบาลอังกฤษในดินแดนต฽างๆ จากครึ่งหลังของศตวรรษที่ 17 ช฽วงถึงปลายศตวรรษที่ 19 มีการทํา สนธิสัญญาจํานวน 2 ฉบับ ได฾แก฽ ฉบับแรกลงนามเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2362/1819 ระหว฽าง บริษัทอินเดีย ตะวันออก (East India Company) กับ เตอเม็งกอง หรือ อัครเสนาบดีแห฽งยะโฮรแ (Temenggong of Johor)157 และ ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธแ 2362/1819 ระหว฽าง เซอรแ สแตมฟอรแด ราฟเฟิล (Sir Stamford Raffles) กับ สุลต฽านฮุสเซนแห฽งยะโฮรแ (Sultan Hussein of Johor) และ เตอเม็งกอง หรือ อัคร เสนาบดีแห฽งยะโฮรแ (Temenggong of Johor) เพื่อการก฽อตั้งสถานีการค฾าของอังกฤษ สนธิสัญญาทั้งสองฉบับดังกล฽าวทําให฾ความขัดแย฾งระหว฽างอังกฤษกับเนเธอรแแลนดแเนื่องจากทั้งคู฽ต฽าง แข฽งขันกันเพื่อให฾ฝุายตนมีอํานาจปกครองเหนือดินแดนต฽างๆ ในฐานะอาณานิคม เกิดความตึงเครียดภายใน ภูมิภาคเป็นอย฽างมาก ทําให฾ทั้งสองฝุายต฾องเริ่มมีการเจรจากันในปี 2363/1820 และนํามาซึ่งการลงนามใน “สนธิสัญญาระหว฽างพระบาทสมเด็จพระเจ฾าอยู฽หัวแห฽งอังกฤษกับพระมหากษัตริยแแห฽งเนเธอรแแลนดแ, ว฽าด฾วย ดินแดนและการพาณิชยแใน หมู฽เกาะอินเดียตะวันออก (Treaty between His Britannic Majesty and the King of the Netherlands, Respecting Territory and Commerce in the East Indies)” เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2367/1824 หรือ “สนธิสัญญาอังกฤษ-ดัตชแ ฉบับ 2367/1824 (Anglo-Dutch Treaty 1824)” โดย กําหนดว฽า ฝุายเนเธอรแแลนดแตกลงที่จะถอนตัวออกจากเกาะสิงคโปรแ และฝุายอังกฤษตกลงที่จะไม฽ทําการก฽อตั้ง สถานีการค฾าบนเกาะต฽างๆ ที่อยู฽ทางตอนใต฾ของช฽องแคบสิงคโปรแ นอกจานี้ยังส฽งผลในทางปฏิบัติต฽อการสร฾าง ฐานอํานาจและอิทธิพลของทั้งสองฝุายในดินแดนอาณานิคมหมู฽เกาะอินเดียตะวันออก และทําให฾ดินแดนของ สุลต฽านแห฽งยะโฮรแตกอยู฽ภายใต฾อิทธิพลของฝุายอังกฤษส฽วนหนึ่ง และอีกส฽วนหนึ่งก็ตกอยู฽ภายใต฾อิทธิพลของ เนเธอรแแลนดแ

157 คําว฽า “เตอเม็งกอง (Temenggong)” เป็นตําแหน฽งขุนนางระดับสูงหรืออัครเสนาบดีในระบอบการปกครองของรัฐ สุลต฽านมาเลยแ ในรัฐยะโฮรแช฽วงแรกของคริสตแศตวรรษที่ 19 เกิดการแย฽งชิงและแข฽งอํานาจกันระหว฽างองคแสุลต฽านกับอัคร เสนาบดี ดังนั้นหากรัฐอื่นต฾องการที่จะเข฾าไปเจริญสัมพันธไมตรีหรือทําหนังสือสัญญาใดๆ กับรัฐสุลต฽านมาเลยแ จึงจําเป็นต฾อง ได฾รับความยินยอมจากทั้งสองตําแหน฽งนี้ ต฽อมาในปี 2398/1855 อํานาจเต็มในรัฐยะโฮรแได฾ถูกโอนจากองคแสุลต฽านไปยังอัคร เสนาบดี อ฾างใน International Court of Justice. Judgment of 23 May 2008. Ibid, p. 25. 197

วันที่ 2 สิงหาคม 2367/1824 มีการลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพและพันธมิตร (Treaty of Friendship and Alliance) หรือ สนธิสัญญาครอวแเฟิรแด (Crawfurd Treaty) ระหว฽าง บริษัทอินเดีย ตะวันออก (East India Company) กับ สุลต฽านแห฽งยะโฮรแ (Sultan of Johor) และ อัครเสนาบดีแห฽งยะโฮรแ (Temenggong of Johor) โดยให฾มีการยกดินแดน (cession) สิงคโปรแให฾แก฽บริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) พร฾อมกับหมู฽เกาะทั้งหมดภายในระยะทาง 10 ไมลแบก (geographical miles) จากเกาะ สิงคโปรแ โดยข฾อความในสนธิสัญญาระบุว฽า “องค์สุลต่าน ฮุสเซน โมฮัมเหม็ด ชาห์ และ อัครเสนาบดี ดาตู เตอมุงกอง อับดุล ระห์มาน ศรี มหา ราชาห์ โดยประการฉะนี้ ได้ยกอ านาจอธิปไตยสมบูรณ์และกรรมสิทธิ์ให้แก่บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ อันมีเกียรติ, รวมทั้งทายาทและผู้สืบทอดตลอดไป, เกาะสิงคโปร์, ตั้งอยู่ในช่องแคบมะละกา, รวมทั้งกับทะเลที่ อยู่ข้างเคียง, ช่องแคบ, และเกาะต่างๆ, ภายในระยะ 10 ไมล์บก, จากชายฝั่งของเกาะหลักดังกล่าวของ สิงคโปร์”158 นับตั้งแต฽การสวรรคตของสุลต฽านมะหะหมัดที่ 3 (Sultan Mahmud III) ในปี 2355/1812 พระโอรส ของพระองคแ คือ ฮุสเซน (Hussein) และ อับดุล ระหแมาน (Abdul Rahman) ต฽างแข฽งกันเพื่ออ฾างสิทธิ์ในราช บัลลังกแสุลต฽านแห฽งยะโฮรแ ฝุายอังกฤษให฾การสนับสนุนพระโอรสองคแโต คือ ฮุสเซน (Hussein) ซึ่งมีฐานอํานาจ อยู฽ในสิงคโปรแ ในขณะที่ฝุายเนเธอรแแลนดแให฾การสนับสนุนพระโอรสองคแเล็ก คือ อับดุล ระหแมาน (Abdul Rahman) ซึ่งมีฐานอํานาจอยู฽ในริเอา (Riau) หรือ ปัจจุบัน คือ เกาะบินตัน (Pulau Bintan) ของอินโดนีเซีย โดยภายหลังจากการลงนามใน “สนธิสัญญาครอวแเฟิรแด (Crawfurd Treaty)” ปี 2367/1824 สุลต฽าน อับดุล ระหแมาน (Abdul Rahman) ได฾ส฽งจดหมายลงวันที่ 25 มิถุนายน 2368/1825 ไปยังพระเชษฐาของ พระองคแ ความว฽า “ในความตกลงอันสมบูรณ์ด้วยจิตวิญญาณและเนื้อหาของสนธิสัญญาระหว่างพระพระบาท เด็จพระเจ้าอยู่หัวของพวกเขา, กษัตริย์แห่งเนเธอร์แลนด์และสหราชอาณาจักร” โดย “การแบ่งดินแดนของยะ โฮร์, ปะหัง, ริเอา, และ ลิงกา ตามที่ก าหนดไว้”, ได฾อุทิศให฾แก฽สุลต฽านฮุสเซน “ส่วนของดินแดนที่ได้รับมอบ [ภายหลัง]”159 โดยเนื้อความในจดหมายกล฽าวว฽า “ดินแดนของพระองค์, ดังนั้น, ครอบคลุมเหนือยะโฮร์และปะหังบนแผ่นดินใหญ่หรือบนคาบสมุทร มาเลย์ ดินแดนของพระอนุชา [อับดุล ระห์มาน] ครอบคลุมเหนือเกาะลิงกา, บินตัน, กาลัง, บุลัน, การิมอน และเกาะอื่นทั้งหมด อะไรก็ตามที่อาจจะอยู่ในทะเล, นี้คือเป็นดินแดนของพระอนุชาของพระองค์, และสิ่งที่ ตั้งอยู่บนแผ่นดินใหญ่จะเป็นของพระองค์”160

158 “Their Highnesses the Sultan Hussain Mahomed Shah and Datu Tumungong Abdul Rahman Sri Maharajah hereby cede in full sovereignty and property to the Honourable the English East India Company, their heirs and successors forever, the Island of Singapore, situated in the Straits of Malacca, together with the adjacent seas, straits, and islets, to the extent of ten geographical miles, from the coast of the said main Island of Singapore.” อ฾างใน International Court of Justice. Judgment of 23 May 2008. Ibid, p. 45. 159 “in complete agreement with the spirit and the content of the treaty concluded between their Majesties, the Kings of the Netherlands and Great Britain” whereby “the division of the lands of Johor, Pahang, Riau and Lingga [was] stipulated”, he donated to Sultan Hussein “[t]he part of the lands assigned to [the latter]” อ฾างใน International Court of Justice. Judgment of 23 May 2008. Ibid, p. 26. 160 “Your territory, thus, extends over Johor and Pahang on the mainland or on the Malay Peninsula. The territory of Your Brother [Abdul Rahman] extends out over the islands of Lingga, Bintan, Galang, Bulan, Karimon and all other islands. Whatsoever may be in the sea, this is the territory of Your Brother, and whatever is situated on the mainland is yours.” อ฾างใน Ibid. 198

ในปี 2369/1826 บริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) ได฾จัดตั้ง สเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแส (Straits Settlements) ซึ่งเป็นการจัดกลุ฽มดินแดนที่อยู฽ภายใต฾การครอบครองของบริษัทฯ ประกอบด฾วย ปีนัง (Penang) สิงคโปรแ (Singapore) และ มะละกา (Malacca) ต฽อมาในเดือนมีนาคม 2393/1850 และเดือนตุลาคม 2394/1851 มีการสร฾างประภาคาร (lighthouse) บนเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) ในปี 2410/1867 สเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแส (Straits Settlements) กลายเป็นดินแดนราชอาณานิคม ของอังกฤษ (British Crown Colony) ซึ่งจะถูกปกครองโดยข฾าหลวงที่ได฾รับการแต฽งตั้งโดยตรงจากกระทรวง อาณานิคม (Colonial Office) ณ กรุงลอนดอน ในปี 2428/1885 รัฐบาลอังกฤษและรัฐยะโฮรแร฽วมกันลงนาม ใน “สนธิสัญญายะโฮรแ (Johor Treaty)” ซึ่งให฾สิทธิแก฽อังกฤษสามารถทําการค฾าทางบกและขนส฽งสินค฾าผ฽านรัฐ ยะโฮรแ รวมทั้งรับผิดชอบด฾านการต฽างประเทศและความมั่นคงของรัฐยะโฮรแ ในปี 2438/1895 รัฐบาลอังกฤษจัดตั้งสหพันธแมาเลยแ (Federated Malay States) ประกอบด฾วย ดินแดนในอารักขา (protectorate) บนคาบสมุทร 4 แห฽ง ได฾แก฽ สลังงอ (Selangor) เประ (Perak) เนอกีรี เซมบีลัน (Negeri Sembilan) และ ปาหัง (Pahang) ทําให฾ยะโฮรแ (Johor) กลายเป็นรัฐนอกสหพันธแมาเลยแ (Unfederated Malay States) ในปี 2457/1914 อิทธิพลของอังกฤษในยะโฮรแเพิ่มมากยิ่งขึ้นเนื่องจากมีการ แต฽งตั้งที่ปรึกษาชาวอังกฤษ ในวันที่ 19 ตุลาคม 2470/1927 ข฾าหลวงแห฽งสเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแส (Straits Settlements) และ สุลต฽านแห฽งยะโฮรแ ได฾ลงนามใน “ความตกลงระหว฽างสเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแสกับยะโฮรแว฽าด฾วยทะเลอาณาเขต (Straits Settlement and Johor Territorial Waters Agreement)” โดยกําหนดขอบเขตของทะเล ช฽อง แคบ และเกาะเล็กเกาะน฾อย ซึ่งยะโฮรแยกให฾แก฽บริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) ภายใต฾ “สนธิสัญญาครอวแเฟิรแด (Crawfurd Treaty)” ปี 2367/1824 ต฽อมาในปี 2489/1946 ระบอบสเตรทสแเซ็ท เทิลเมนทแส (Straits Settlements) ถูกยกเลิก โดยมีการจัดตั้งสหภาพมาลายา (Malayan Union) ซึ่ง ประกอบด฾วย ดินแดนสเตรทสแเซ็ทเทิลเมนทแส (Straits Settlements) ยกเว฾นสิงคโปรแ ดินแดนสหพันธแมาเลยแ (Federated Malay States) และดินแดนนอกสหพันธแมาเลยแ (Unfederated Malay States) จากนั้นเป็นต฾น มา สิงคโปรแ จึงมีฐานะเป็นดินแดนราชอาณานิคมของอังกฤษ (British Crown Colony) โดยตรง ในปี 2491/1948 สหภาพมาลายา (Malayan Union) เปลี่ยนสถานะเป็นสหพันธรัฐมาลายา (Federation of Malaya) ประกอบด฾วยดินแดนอาณานิคมเดิมของอังกฤษ ซึ่งต฽อมาเป็นเอกราชจากอังกฤษใน ปี 2500/1957 ทั้งนี้ยะโฮรแเป็นส฽วนหนึ่งของดินแดนสหพันธแด฾วย ในปี 2501/1958 สิงคโปรแกลายเป็นดินแดน อาณานิคมปกครองตนเอง (selfgoverning colony) ในปี 2506/1963 มีการสถาปนาสหพันธรัฐมาเลเซีย (Federation of Malaysia) ซึ่งประกอบด฾วย ดินแดนสหพันธรัฐมาลายา (Federation of Malaya) สิงคโปรแ ซาบาหแ (Sabah) หรือ บอรแเนียวเหนือ (North Borneo) และซาราวัก (Sarawak) และในที่สุดเมื่อปี 2508/1965 สิงคโปรแจึงแยกตัวออกจากสหพันธแ มาเลเซียกลายเป็นประเทศเอกราชและมีอธิปไตยสมบูรณแ

199

ก าเนิด พัฒนาการของข้อพิพาท และการตัดสินของศาลโลก เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2522/1979 ผู฾อํานวยการกรมแผนที่แห฽งชาติมาเลเซีย (Director of National Mapping) ได฾ตีพิมพแแผนที่ชื่อ “ทะเลอาณาเขตและไหล฽ทวีปของมาเลเซีย (Territorial Waters and Continental Shelf Boundaries of Malaysia)” หรือ “แผนที่ฉบับ 2522/1979” ซึ่งแสดงเส฾นขอบเขตและ พิกัดทะเลอาณาเขตและไหล฽ทวีปรวมเอาพื้นที่เกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) เข฾ามาไว฾ภายในอธิปไตยของมาเลเซีย ต฽อมาวันที่ 14 กุมภาพันธแ 2523/1980 สิงคโปรแจึงได฾ทําบันทึก ทางการทูต (diplomatic note) เพื่อประท฾วงการอ฾างสิทธิ์ของมาเลเซียเหนือพื้นที่เกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) โดยขอให฾ฝุายมาเลเซียแก฾ไข “แผนที่ฉบับ 2522/1979” ระหว฽างการเจรจารอบแรกในวันที่ 6 กุมภาพันธแ 2536/1993 มีการหยิบยกเอาปัญหาอธิปไตยเหนือ พื้นที่มิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) และเซาทแ เลดจแ (South Ledge) (ดูภาพที่ 4.27) ขึ้นมาเป็นประเด็นใน การเจรจาเพิ่มเติม และหลังจากนั้นทั้งสองประเทศจึงจัดให฾มีการเจรจาอีกหลายครั้งระหว฽างปี 2536- 2357/1993-1994 แต฽ก็ไม฽สามารถบรรลุข฾อตกลงร฽วมกันได฾ ทําให฾ทั้งสองฝุายตัดสินใจที่จะนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽ กระบวนการระงับข฾อพิพาทโดยศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice) หรือ ศาล โลก โดยในเดือนกุมภาพันธแ 2546/2003 ทั้งสองประเทศได฾ลงนามในความตกลงพิเศษ (special agreement)161 และแจ฾งต฽อศาลโลกในวันที่ 24 กรกฎาคม 2546/2003 ศาลโลกให฾เหตุผลโดยสรุปว฽า162 ข฾อเท็จจริงที่เกิดขึ้นระหว฽างคู฽พิพาทในประเด็นอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) ซึ่งถูกส฽งผ฽านจากอังกฤษไปยังสิงคโปรแ โดยเฉพาะการสร฾างประภาคารฮอรแ สเบิรแก (Horsburgh lighthouse) (ดูภาพที่ 4.26) โดยฝุายอังกฤษและสิงคโปรแ รวมทั้งการจัดการอุบัติเหตุทาง ทะเล การควบคุมการเข฾าถึงพื้นที่เกาะ การติดตั้งอุปกรณแสื่อสารทหารเรือ และแผนการพัฒนาพื้นที่ทั้งหมด เป็นการกระทําตามหลักการ “สิทธิอธิปไตย (à titre de souverain/ sovereign right)” นับตั้งแต฽ปี 2496/1953 มาเลเซียไม฽ได฾ตอบโต฾หรือปฏิเสธการกระทําดังกล฽าวของสิงคโปรแ

161 โปรดดู International Court of Justice. Special Agreement for Submission to the International Court of Justice of the Dispute between Malaysia and Singapore Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge, jointly notified to the Court on 24 July 2003. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JdOXcK 162 รายละเอียดการพิจารณาคดีของศาลโลก โปรดดูหัวข฾อ “ข฾อวินิจฉัยของศาล: การกระทําคือการอ฾างสิทธิ์” ใน พวง ทอง ภวัครพันธุแ. “กรณีพิพาทระหว฽างมาเลเซียและสิงคโปรแ: กรณีหินสามก฾อน,” ใน อุษาคเนยแที่รัก (กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียง ใต฾ศึกษา คณะศิลปศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2553), หน฾า 223-226. 200

ภาพที่ 4.26 ประภาคารฮอรแสเบิรแก (Horsburgh lighthouse) บนเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) (ที่มา: Singaporebirdgroup เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1cigSMm)

ภาพที่ 4.27 ภาพเซาทแ เลดจแ (South Ledge) ตั้งอยู฽ทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾ของเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปู เต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) เป็นระยะทาง 2.2 ไมลแทะเล โดยเป็นโขดหินที่สามารถมองเห็นได฾ ในขณะที่ระดับน้ําทะเลลดลงต่ําสุดเท฽านั้น (ที่มา: Puteralapismahang เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Fa9QjP)

201

นอกจากนี้ ฝุายสิงคโปรแยังมีการจัดการอุบัติเหตุทางทะเล การควบคุมการเข฾าถึงพื้นที่เกาะ การติดตั้ง อุปกรณแสื่อสารทหารเรือ รวมทั้งแผนการพัฒนาพื้นที่ทั้งหมด โดยกระทําของฝุายสิงคโปรแนี้เป็นไปตามหลักการ “สิทธิอธิปไตย (à titre de souverain/ sovereign right)” นับตั้งแต฽ปี 2496/1953 มาเลเซียก็ไม฽ได฾ตอบโต฾ หรือปฏิเสธการกระทําดังกล฽าวของสิงคโปรแแต฽อย฽างใด นับตั้งแต฽เดือนมิถุนายน 2393/1850 และเมื่อฝุาย มาเลเซียจะต฾องเดินทางเข฾าไปเยือนพื้นที่อย฽างเป็นทางการ เช฽น ในปี 2513/1970 มาเลเซียก็มีการขออนุญาต ฝุายสิงคโปรแ นอกจากนี้ แผนที่อย฽างเป็นทางการของมาเลเซียในช฽วงคริสตแทศวรรษ 1960 และ 1970 ยังแสดง ให฾เห็นว฽าสิงคโปรแมีอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) และมีหลักฐานของจดหมายโต฾ตอบระหว฽างรักษาการเลขาธิการแห฽งรัฐยะโฮรแ (Acting Secretary of the State of Johor) ถึงเลขาธิการอาณานิคม (Colonial Secretary) ของสิงคโปรแ ลงวันที่ 21 กันยายน 2496/1953 ว฽า “รัฐยะโฮรแไม฽ได฾อ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของเพอดรา บรังกา (the Johore Government does not claim ownership of Pedra Branca)” (ดูภาพที่ 4.28) ซึ่งเป็นหลักฐานชิ้นสําคัญที่ทําให฾ศาลตัดสินว฽า เกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) เป็นของสิงคโปรแ

ภาพที่ 4.28 จดหมายของรักษาการเลขาธิการแห฽งรัฐยะโฮรแ (Acting Secretary of the State of Johor) ถึง เลขาธิการอาณานิคม (Colonial Secretary) ของสิงคโปรแ ลงวันที่ 21 กันยายน 2496/1953 ว฽า “รัฐยะโฮรแ ไม฽ได฾อ฾างสิทธแความเป็นเจ฾าของเพอดรา บรังกา (the Johore Government does not claim ownership of Pedra Branca)” (ที่มา: Puteralapismahang เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Fa9QjP)

202

ในกรณีอํานาจอธิปไตยเหนือพื้นที่มิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) ศาลอธิบายว฽าแม฾กรรมสิทธิ์เหนือ พื้นที่เกาะเพอดรา บรังกา/บาตู ปูเต฿ะ (Pedra Branca/Pulau Batu Puteh) จะตกเป็นของสิงคโปรแ แต฽ เหตุผลที่ศาลได฾นํามาพิจารณาไว฾ข฾างต฾นนั้น ไม฽สามารถนํามาใช฾กับกรณีมิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) ได฾ เนื่องจากกรรมสิทธิ์ดั้งเดิมของมิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) ยังคงเป็นของมาเลเซียเพราะเกาะแห฽งนี้เป็น ของสุลต฽านยะโฮรแ และสิงคโปรแไม฽สามารถพิสูจนแหรือให฾เหตุผลได฾อย฽างชัดเจนว฽ามิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) ควรเป็นของตน ส฽วนกรณีของเซาทแ เลดจแ (South Ledge) ศาลพิจารณาว฽าควรเป็นไปตามข฾อ กฎหมายที่เกี่ยวกับคุณสมบัติทางภูมิศาสตรแว฽าด฾วยพื้นที่เหนือน้ําขณะน้ําลด (low-tide elevation) ตามข฾อ 13 ของ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ซึ่งกําหนดว฽า “1. พื้นที่เหนือน้ําขณะน้ําลด ได฾แก฽ บริเวณที่ดินที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งล฾อมรอบด฾วยน้ําและโผล฽พ฾น น้ําขณะน้ําลด แต฽จมอยู฽ใต฾น้ําขณะน้ําขึ้น ในกรณีที่พื้นที่เหนือน้ําขณะน้ําลดทั้งหมดหรือบางส฽วนตั้งอยู฽ใน ระยะห฽างจากผืนแผ฽นดินหรือเกาะไม฽เกินความกว฾างของทะเลอาณาเขต อาจใช฾เส฾นแนวน้ําลดของพื้นที่เหนือน้ํา นั้นเป็นเส฾นฐานสําหรับวัดความกว฾างของทะเลอาณาเขตก็ได฾ 2. ในกรณีที่พื้นที่เหนือน้ําขณะน้ําลดทั้งหมดตั้งอยู฽ในระยะห฽างจากผืนแผ฽นดินหรือเกาะเกินกว฽าความ กว฾างของทะเลอาณาเขต พื้นที่เหนือน้ําขณะนั้นไม฽มีทะเลอาณาเขตของตนเอง”163

ศาลจึงอ฾างถึงข฾อตกลงพิเศษ (Special Agreement) ซึ่งคู฽พิพาททําขึ้นเพื่อให฾ศาลตัดสินแต฽เฉพาะ ประเด็นอํานาจอธิปไตยเหนือพื้นที่ทั้ง 3 แห฽งเท฽านั้น ดังนั้น ในการพิจารณาคดีในครั้งนี้ศาลจึงไม฽มีอํานาจ ตัดสินเกินกว฽าสิ่งที่คู฽พิพาทร฾องขอมาตั้งแต฽ต฾น ทําให฾ศาลไม฽มีอํานาจกําหนดเส฾นเขตแดนหรือทะเลอาณาเขต (territorial waters) ระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ ศาลจึงสรุปว฽าอธิปไตยเหนือพื้นที่เซาทแ เลดจแ (South Ledge) ซึ่งเป็นพื้นที่เหนือน้ําขณะน้ําลด (low-tide elevation) จะเป็นของรัฐที่มีทะเลอาณาเขตซึ่งเซาทแ เลดจแ (South Ledge) ตั้งอยู฽นั่นเอง ศาลโลกใช฾เวลาในการพิจารณาคดีเป็นเวลานานกว฽า 5 ปี164 และในที่สุด วันที่ 23 พฤษภาคม 2551/2008 ศาลโลกจึงมีคําตัดสินว฽า “ศาล, (1) โดยคะแนนสิบสองเสียงต฽อสี่เสียง ตัดสินว฽าอธิปไตยเหนือเกาะเพอดรา บรังกา/ปูเลา บาตู ปูเต฿ะ เป็นของสาธารณรัฐสิงคโปรแ (2) โดยคะแนนสิบห฾าเสียงต฽อหนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตยเหนือมิดเดิล ร็อคสแ เป็นของมาเลเซีย

163 “1. A low-tide elevation is a naturally formed area of land which is surrounded by and above water at low tide but submerged at high tide. Where a low-tide elevation is situated wholly or partly at a distance not exceeding the breadth of the territorial sea from the mainland or an island, the low-water line on that elevation may be used as the baseline for measuring the breadth of the territorial sea. 2. Where a low-tide elevation is wholly situated at a distance exceeding the breadth of the territorial sea from the mainland or an island, it has no territorial sea of its own.” จาก ข฾อ 13 ของ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับปี 2525/1982, กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 8. 164 สามารถเข฾าถึงเอกสารที่เกี่ยวข฾องของทั้งสองฝุายได฾ที่ International Court of Justice. Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore) เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1cXdOpw 203

(3) โดยคะแนนสิบห฾าเสียงต฽อหนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตยเหนือเซาทแ เลดจแ เป็นของรัฐในทะเลอาณาเขตซึ่งเซาทแ เลดจแ ตั้งอยู฽”165

อย฽างไรก็ตาม ถึงแม฾จะมีคําพิพากษาของศาลโลกแล฾ว แต฽ปัญหาก็ยังไม฽ได฾ยุติลงโดยง฽ายเนื่องจาก ประเด็นอธิปไตยเหนือพื้นที่เซาทแ เลดจแ (South Ledge) โดยสิงคโปรแและมาเลเซียยังไม฽สามารถตัดสินได฾ใจว฽า การกําหนดเขตแดนของทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ระหว฽างกันจะดําเนินการอย฽างไร โดยจะมีการ แต฽งตั้งคณะกรรมการเทคนิคร฽วม (joint technical committee) จากทั้งสองประเทศเพื่อรับผิดชอบในการ เจรจาเพื่อยุติปัญหาดังกล฽าวต฽อไป

165 “THE COURT, (1) By twelve votes to four, Finds that sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh belongs to the Republic of Singapore; (2) By fifteen votes to one, Finds that sovereignty over Middle Rocks belongs to Malaysia; (3) By fifteen votes to one, Finds that sovereignty over South Ledge belongs to the State in the territorial waters of which it is located.” ใน International Court of Justice. Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore), Judgment of 23 May 2008 (Report of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 23 May 2008), pp. 101-102. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Nu5VYs 204

4.13 หมู่เกาะสแปรตลีย์ (Spratlys) ระหว่างบรูไน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม จีนและไต้หวัน

หมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratlys/Spratly Islands)166 ในทะเลจีนใต฾ เป็นพื้นที่ซึ่งมีความสําคัญทั้งในเชิง ยุทธศาสตรแและความมั่นคง เป็นแหล฽งทรัพยากรปริมาณมหาศาล เช฽น ทรัพยากรประมง แหล฽งน้ํามันและก฿าช ธรรมชาติ รวมทั้งเป็นส฽วนหนึ่งของเส฾นทางเดินเรือเพื่อการขนส฽งระหว฽างประเทศที่สําคัญที่สุดของโลก จึงทําให฾ ประเทศต฽างๆ ที่มีอาณาเขตทางทะเลอยู฽ใกล฾กับหมู฽เกาะสแปรตลียแทําการอ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของ โดยใน ปัจจุบันมีประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์จํานวน 5+1 ประเทศ ได฾แก฽ บรูไน มาเลเซีย ฟิลิปปินสแ เวียดนาม จีนและ ไต฾หวัน167 ซึ่งประเด็นสําคัญที่ทําให฾ปัญหาข฾อพิพาทเหนือพื้นที่หมู฽เกาะสแปรตลียแมีความซับซ฾อนคือ การที่แต฽ ละประเทศใช฾เทคนิคในการอ฾างสิทธิ์หลากหลายรูปแบบ เช฽น การอ฾างสิทธิ์ในทางประวัติศาสตรแ (historic claim) ของจีนและไต฾หวัน การส฽งเรือลาดตระเวนและกองกําลังทหารเข฾าไปยึดพื้นที่ หรือแม฾กระทั่งการ ก฽อสร฾างสิ่งปลูกสร฾างต฽างๆ เช฽น ลานบิน อาคารที่พัก และประภาคาร เป็นต฾น ข฾อพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแไม฽เพียงเกี่ยวข฾องเฉพาะกับรัฐชายฝั่งจํานวน 5+1 ประเทศดังที่กล฽าวไป เท฽านั้น แต฽หมู฽กาะสแปรตลียแยังถือว฽าเป็นสมรภูมิทางอํานาจของประเทศภายนอกภูมิภาค โดยการแสดง แสนยานุภาพของประเทศมหาอํานาจผ฽านการให฾ความสนับสนุนแก฽ประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์บางประเทศซึ่งอาจบาน ปลายกลายเป็นความขัดแย฾งระดับโลกได฾ หากประเทศคู฽พิพาทไม฽สามารถแสวงหาแนวทางแก฾ไขปัญหาได฾อย฽าง สันติโดยเร็ว ดังนั้น ในหัวข฾อนี้จึงจะนําเสนอลักษณะทางภูมิศาสตรแของหมู฽เกาะสแปรตลียแ การอ฾างสิทธิ์ของ แต฽ละประเทศ และการกําหนดอาณาเขตทางทะเล รวมทั้งประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข฾องกับข฾อพิพาท168 ดังนี้

166 คําว฽า Spratlys หรือ Spratly Islands เป็นชื่อของกลุ฽มหมู฽เกาะ ไม฽ใช฽ Spratly ซึ่งเป็นชื่อของเกาะเพียงเกาะเดียว โดยการสะกดในงานเขียนภาษาไทยมีหลากหลายแบบ เช฽น สแปรตลี สแปรตลี่ สแปรตลียแ สแปรตลี่ยแ แต฽ในการศึกษาครั้งนี้จะ ใช฾การสะกดว฽า “หมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratly Islands)” เพื่อหมายถึงหมู฽เกาะทั้งหมดในพื้นที่นี้ 167 การอ฾างสิทธิ์เหนือหมู฽เกาะสแปรตลียแของจีนมีพื้นฐานมาจากการอ฾างสิทธิ์ของไต฾หวัน ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้จะ ใช฾คําว฽า จีนและไต฾หวัน เพื่อหมายถึงการอ฾างสิทธิ์ของจีน 168 โปรดดูงานศึกษาของ สุรชัย ศิริไกร. รายงานวิจัยเรื่องความขัดแย฾งระหว฽างจีน ไต฾หวัน เวียดนาม ฟิลิปปินสแ มาเลเซีย และบรูไน ในการอ฾างกรรมสิทธิ์ทับซ฾อนเหนือหมู฽เกาะพาราเซล สแปรตลี่ และหมู฽เกาะอื่นๆ ในทะเลจีนใต฾. เสนอต฽อ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2544; ยศพนธแ นิติรุจิโรจนแ. ปัญหาหมู฽เกาะสแปรตลี่ยแในกฎหมาย ระหว฽างประเทศ. วิทยานิพนธแนิติศาสตรแมหาบัณฑิต สาขากฎหมายระหว฽างประเทศ คณะนิติศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ , 2555; จันตรี สินศุภฤกษแ. “กรณีพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแ: ทัศนะทางกฎมายและการเมือง,” ใน จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 127-128, สุรชาติ บํารุงสุข บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: โครงการความมั่นคงศึกษา จุฬาลงกรณแมหาวิทยาลัย, กรกฎาคม- สิงหาคม 2556. 205

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ หมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratly Islands) ตั้งอยู฽บริเวณตอนกลางและตอนใต฾ของทะเลจีนใต฾169 วัดตาม แนวยาวของหมู฽เกาะที่กระจายอยู฽ทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾ขึ้นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือระหว฽างตําแหน฽งพิกัด ที่ละติจูด 6 องศา เหนือ และ ลองจิจูด 109 องศา 30 ลิปดา ตะวันออก ถึงละติจูด 12 องศา เหนือ และ ลองจิจูด 117 องศา 50 ลิปดา ตะวันออก170 เป็นแนวยาวประมาณ 900 กิโลเมตร (ดูภาพที่ 4.29) หมู฽เกาะสแปรตลียแประกอบด฾วยลักษณะทางภูมิศาสตรแแบบต฽างๆ (geographical feature) มากกว฽า 170 ประเภท เช฽น เกาะ (island) เกาะเล็กเกาะน฾อย (islet) สันดอนหรือหาดทราย (bank/shoal) เกาะเตี้ย เล็กๆ สันดอน หรือ โขดหิน ที่เรียกว฽า เคยแ (cay) โขดหินหรือแนวปะการัง (reef) สันดอนจมน้ํา (submerged bank) แนวปะการังแบบวงแหวนหรือเกือกม฾า (atoll) และ พื้นที่เหนือน้ําขณะน้ําลด (low-tide elevation) หรือ “เกาะเทียม (pseudo-islands)” โดยพื้นที่ 37 แห฽ง เป็นเกาะขนาดเล็ก (tiny island) และมีพื้นที่อีก ประมาณ 300-400 แห฽งที่ไม฽สามารถตั้งรกรากอาศัยอยู฽ได฾ นอกจากนี้ยังมีพื้นที่อีกประมาณ 230 แห฽งเป็นโขด หินหรือแนวปะการังและหาดทราย โดยมีการตั้งชื่อพื้นที่เหล฽านี้แล฾วจํานวนกว฽า 100 แห฽ง แต฽มีเพียง 36 เกาะ เท฽านั้นที่มีความสูงมากกว฽าระดับน้ําทะเล โดยพื้นที่ทั้งหมดของหมู฽เกาะสแปรตลียแมีความยาวจากเหนือจรดใต฾ ประมาณ 550 ไมลแทะเล และกว฾างจากตะวันออกถึงตะวันตกประมาณ 650 ไมลแทะเล อยู฽ห฽างจากชายฝั่งทาง ทิศตะวันออกของเวียดนามประมาณ 650 กิโลเมตร อยู฽ห฽างจากชายฝั่งทางทิศตะวันตกของฟิลิปปินสแประมาณ 100 กิโลเมตร อยู฽ห฽างจากชายฝั่งทางทิศเหนือของซาบาหแ 250 กิโลเมตร และซาราวัก 160 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 800,000 ตารางกิโลเมตร171 หรือ ประมาณ 233,000 ตารางไมลแทะเล (ดูภาพที่ 4.30 และ 4.31)

169 ทะเลจีนใต฾มีลักษณะเป็นทะเลกึ่งปิด (semi-enclosed sea) ครอบคลุมอาณาบริเวณกว฽า 648,000 ตารางไมลแ ทะเล หรือ 2,222,000 ตารางกิโลเมตร ตั้งแต฽เกาะสิงคโปรแทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾ขึ้นไปยังเกาะไต฾หวันทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือ และมีความกว฾างจากเวียดนามไปถึงบริเวณมาเลเซียตะวันออก หรือ ซาบาหแ (Sabah) 170 Asri Salleh, Che Hamdan Che Mohd Razali and Kamaruzaman Jusoff. “Malaysia‖s policy towards its 1963 - 2008 territorial disputes,” in Journal of Law and Conflict Resolution Vol. 1(5), (October, 2009), p. 112 เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Qcka16 171 สุรชัย ศิริไกร. รายงานวิจัยเรื่องความขัดแย฾งระหว฽างจีน ไต฾หวัน เวียดนาม ฟิลิปปินสแ มาเลเซีย และบรูไน ในการ อ฾างกรรมสิทธิ์ทับซ฾อนเหนือหมู฽เกาะพาราเซล สแปรตลี่ และหมู฽เกาะอื่นๆ ในทะเลจีนใต฾ (เสนอต฽อสถาบันเอเชียตะวันออก ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2544), หน฾า 1. 206

ภาพที่ 4.29 แผนที่แสดงที่ตั้งหมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratly) ในทะเลจีนใต฾ (ที่มา: Nationmaster เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1I50s2j)

207

ภาพที่ 4.30 แผนที่หมู฽เกาะสแปรตลียแทางตะวันตกของเส฾นลองจิจูด 155 องศา 18 ลิปดา ตะวันออก (ที่มา: David Hancox and Victor Prescott. “A Geographical Description of the Spratly Islands and an Account of Hydrographic Surveys Amongst Those Islands,” in Maritime Briefing Vol.1 No.6 (International Boundaries Research Unit, University of Durham, 1995), p. 22. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Fi9oRE)

208

ภาพที่ 4.31 แผนที่หมู฽เกาะสแปรตลียแทางตะวันออกของเส฾นลองจิจูด 155 องศา 18 ลิปดา ตะวันออก (ที่มา: เช฽นเดียวกับภาพที่ 4.30, p. 23) 209

ในบรรดาเกาะทั้งหลาย เกาะอีตู อาบา (Itu Aba) หรือ ไท฽ผิงต฽าว (Taiping Dao) เป็นเกาะที่มีขนาด ใหญ฽ที่สุด (ดูภาพที่ 4.32) โดยมีความยาว 1.4 กิโลเมตร (0.87 ไมลแ) และความกว฾าง 402 เมตร (0.25 ไมลแ) หรือคิดเป็นพื้นที่ขนาด 0.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 106 เอเคอรแ และเป็นเกาะแห฽งเดียวที่มีแหล฽งน้ําจืด172 เกาะแห฽งนี้ถูกครอบครองโดยไต฾หวันตั้งแต฽ปี 2489/1946 มีการก฽อสร฾างฐานทัพถาวรตั้งแต฽ปี 2499/1956 ต฽อมาในปี 2546/2000 ไต฾หวันส฽งหน฽วยปูองกันชายฝั่ง (Coast Guard) เคลื่อนกําลังพลพร฾อมอาวุธจํานวน 100 นายไปยังเกาะอีดู อาบา (Itu Aba) เพื่อประจําการ และสร฾างทางวิ่งเครื่องบิน (airstrip) ขึ้นในปี 2551/2008 และมีการซ฽อมบํารุงโดยใช฾งบประมาณกว฽า 100 ล฾านเหรียญสหรัฐ โดยขยายลานบินให฾มีขนาด ยาว 1,200 เมตร เพื่อให฾เครื่องบินซี 130 (C-130 cargo planes) สามารถลงจอดได฾ โดยคาดว฽าจะสร฾างแล฾ว เสร็จและพร฾อมใช฾งานในเดือนกุมภาพันธแ 2558/2015173 ส฽วนเกาะอื่นๆ เช฽น เกาะสแปรตลียแ (Spratly) มีพื้นที่ 0.15 ตารางกิโลเมตร และมีอีก 5 เกาะที่มีขนาด ใหญ฽กว฽า 0.1 ตารางกิโลเมตร ได฾แก฽ เกาะถิตู (Thitu) เกาะเวสตแยอรแก (West York) เกาะนอรแธอีสตแ เคยแ (Northeast Cay) เกาะเซาทแเวสตแ เคยแ (Southwest Cay) และเกาะแซนดแเคยแ (Sand Cay)174 ส฽วนเกาะที่มี ความสูงที่สุดคือเกาะนามยิต (Namyit) โดยมีความสูงอยู฽ที่ 6.2 เมตร175 เกาะที่มีต฾นไม฾ขึ้นอยู฽ตามธรรมชาติมี จํานวน 10 เกาะ ได฾แก฽ เกาะอีตู อาบา (Itu Aba) เกาะถิตู (Thitu) เกาะเวสตแยอรแก (West York) เกาะนอรแธ อีสตแ เคยแ (Northeast Cay) เกาะเซาทแเวสตแ เคยแ (Southwest Cay) เกาะแซนดแเคยแ (Sand Cay) เกาะ เลาอิตา (Loaita) เกาะนามยิต (Namyit) เกาะหนานชาน (Nanshan) และซินคาว (Sin Cowe) ในจํานวนนี้มี เพียงไม฽กี่เกาะสามารถแสวงประโยชนแจากปุ฻ยธรรมชาติที่ส฽วนใหญ฽ประกอบด฾วยมูลจากนกทะเล (guano) ได฾แก฽ เกาะสแปรตลียแ (Spratly) เกาะอัมบอยญา เคยแ (Amboyna Cay) และ เกาะเซาทแเวสตแ เคยแ (Southwest Cay) โดยแหล฽งทํามาหากินของชาวประมงจากเกาะไหหลําและจากที่อื่นๆ อยู฽บริเวณเกาะอีตู อาบา (Itu Aba) และเกาะถิตู (Thitu)

172 สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว., หน฾า 1. 173 Mira Rapp-Hooper. “Before and After: The South China Sea Transformed,” in Asia Maritime Transparency Initiative. February 18, 2015 เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/17R5O6S 174 Jon M. Van Dyke. “Disputes Over Islands and Maritime Boundaries in East Asia,” in Maritime Boundary Disputes, Settlement Processes, and the Law of the Sea. (Leiden, Boston: Martinus Nijhoff Publishers, 2009), p. 68. 175 Prescott, J.R.V. Maritime Jurisdiction in Southeast Asia: Commentary and Map (Honolulu: East- West Center, 1981), p. 32. และ Ying Cheng Kiang, China‖s Boundaries (Northeastern Illinois University Institute of China Studies, 1984), p. 43. ระบุว฽าเกาะนามยิต (Namyit) มีความสูงมากถึง 19 เมตร 210

ภาพที่ 4.32 ภาพเกาะอีตู อาบา (Itu Aba) หรือ ไท฽ผิงต฽าว (Taiping Dao) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ฽ที่สุดใน บรรดาหมู฽เกาะสแปรตลียแ มีความยาว 1.4 กิโลเมตร (0.87 ไมลแ) และความกว฾าง 402 เมตร (0.25 ไมลแ) หรือ คิดเป็นพื้นที่ขนาด 0.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 106 เอเคอรแ และเป็นเกาะแห฽งเดียวที่มีแหล฽งน้ําจืด เกาะแห฽งนี้ ถูกครอบครองโดยไต฾หวันตั้งแต฽ปี 2489/1946 มีการก฽อสร฾างฐานทัพถาวรตั้งแต฽ปี 2499/1956 ต฽อมาในปี 2546/2000 ไต฾หวันส฽งหน฽วยปูองกันชายฝั่ง (Coast Guard) เคลื่อนกําลังพลพร฾อมอาวุธจํานวน 100 นายไป ยังเกาะอีดู อาบา (Itu Aba) เพื่อประจําการ และสร฾างทางวิ่งเครื่องบิน (airstrip) ในปี 2551/2008 ซึ่ง สามารถเห็นเป็นทางยาวพาดผ฽านกลางเกาะ และมีการซ฽อมบํารุงโดยใช฾งบประมาณกว฽า 100 ล฾านเหรียญสหรัฐ โดยขยายลานบินให฾มีขนาดยาว 1,200 เมตร เพื่อให฾เครื่องบินซี 130 (C-130 cargo planes) สามารถลงจอด ได฾ โดยคาดว฽าจะสร฾างแล฾วเสร็จและพร฾อมใช฾งานในเดือนกุมภาพันธแ 2558/2015 (ที่มา: Asia Maritime Transparency Initiative เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/17R5O6S)

211

การอ้างสิทธิ์ของแต่ละประเทศ การอ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของเหนือบรรดาลักษณะทางภูมิศาสตรแแบบต฽างๆ ในหมู฽เกาะสแปรตลียแมี ความน฽าสนใจและท฾าทายเป็นอย฽างยิ่ง ประเทศจีนและไต฾หวันอ฾างสิทธิ์เหนือหมู฽เกาะสแปรตลียแทั้งหมด โดยให฾ เหตุผลว฽าชาวจีนเป็นผู฾ค฾นพบและใช฾อํานาจปกครองเป็นชาติแรก มีหลักฐานทางประวัติศาสตรแยาวนานมา ตั้งแต฽สมัยราชวงศแฮั่น และประเทศต฽างๆ ก็รับรองอํานาจอธิปไตยของจีนเรื่อยมาจนถึงศตวรรษที่ 20176 ในขณะที่เวียดนามส฽งทหารเข฾าไปควบคุมหลายพื้นที่ของหมู฽เกาะสแปรตลียแตั้งแต฽ปี 2516/1973 โดย อ฾างสิทธิ์ตั้งแต฽ยุคที่อาณานิคมของฝรั่งเศสปกครองเวียดนาม เพราะฝรั่งเศสเคยใช฾อํานาจควบคุมหมู฽เกาะเล็กๆ 7 แห฽ง ในช฽วงคริสตแทศวรรษที่ 1930 จนกระทั่งญี่ปุุนบุกเข฾ามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾เมื่อเดือน สิงหาคม 2481/1938 ฝรั่งเศสจึงได฾เข฾าไปครอบครองเกาะเหล฽านั้นอย฽างจริงจัง โดยญี่ปุุนใช฾เกาะอีตู อาบา (Itu Aba) เป็นฐานทัพเรือดําน้ํา แต฽ญี่ปุุนต฾องถอนกําลังออกจากเกาะในปี 2489/1945 ตามสนธิสัญญาสันติภาพ เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2494/1951 โดยญี่ปุุนประกาศสละสิทธิ์เหนือเกาะสแปรตลียแแต฽ไม฽มีประเทศใดรับรองคํา ประกาศของญี่ปุุน177 ต฽อมาไต฾หวันจึงเข฾าครอบครองพื้นที่เกาะอีตู อาบา (Itu Aba) ระหว฽างปี 2489- 2493/1946-1950 และในปี 2499/1956 จนถึงปัจจุบัน ฟิลิปปินสแอ฾างสิทธิ์เข฾ายึดครองเกาะเล็กเกาะน฾อยบางส฽วนของหมู฽เกาะสแปรตลียแมาตั้งแต฽ปี 2513/1970 ฟิลิปปินสแอ฾างว฽าพื้นที่หมู฽เกาะดังกล฽าวไม฽มีเจ฾าของและอ฾างข฾อกฎหมายตามอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วย กฎหมายทะเล ปี 2525/1982 ส฽วนมาเลเซียเข฾าไปควบคุมพื้นที่บางส฽วนทางตอนใต฾ของหมู฽เกาะสแปรตลียแในปี 2520/1977 และ สามารถยึดพื้นที่ 3 แห฽ง ได฾แก฽ แนวปะการังสวอลโล (Swallow Reef) แนวปะการังอารแดาเซียรแ (Ardasier Reef) แนวปะการังมาริวัลเลส (Marivales Reef) โดยการประกาศไหล฽ทวีปตามที่กําหนดไว฾ในกฎหมายทะเล ทั้งนี้บรูไนประกาศอ฾างสิทธิ์เหนือแนวปะการังลุยซ฽า (Louisa Reef) แต฽ไม฽ได฾ส฽งกองกําลังเข฾าไปประจําในพื้นที่ การอ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของเหนือบรรดาลักษณะทางภูมิศาสตรแแบบต฽างๆ ในหมู฽เกาะสแปรตลียแ สามารถดูได฾จากตารางที่ 4.5 และแผนผังตําแหน฽งกองทหาร (Outpost) และ ลานบิน (Airfield) ในพื้นที่หมู฽ เกาะสแปรตลียแในภาพที่ 4.33 รวมทั้งแผนที่แสดงพื้นที่ทับซ฾อนในทะเลจีนใต฾ในภาพที่ 4.34

176 สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว., หน฾า 2. 177 Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 66. 212

ตารางที่ 4.5 แสดงการครอบครองพื้นที่หมู฽เกาะสแปรตลียแโดยบรูไน มาเลเซีย ฟิลิปปินสแ เวียดนาม จีนและไต฾หวัน ประเทศ ที่ ชื่อพื้นที่ (Feature) พิกัดภูมิศาสตร์ ปีที่เข้าครอบครอง บรูไน 1 แนวปะการังลุยซ฽า (Louisa Reef) 06° 20′ 07″ 113° 16′ 47″ อ฾างสิทธิ์ 2535/1992 มาเลเซีย 1 แนวปะการังสวอลโล (Swallow Reef) 07° 24′ 00″ 113° 48′ 00″ 2520/1977 2 แนวปะการังอารแดาเซียรแ (Ardasier Reef) 07° 37′ 00″ 113° 56′ 00″ 2520/1977 3 แนวปะการังมาริวัลเลส (Marivales Reef) 07° 58′ 30″ 113° 56′ 00″ 2522/1979 ฟิลิปปินสแ 1 เกาะหนานซาน (Nanshan Island) 10° 44′ 00″ 115° 48′ 00″ 2513/1970 2 เกาะแฟลท (Flat Island) 10° 49′ 00″ 115° 49′ 30″ 2513/1970 3 เกาะถิตู (Thitu Island) 11° 02′ 30″ 112° 16′ 30″ 2514/1971 4 เกาะเลาอิตา (Loaita or South Island) 10° 40′ 50″ 114° 25′ 00″ 2514/1971 5 เกาะนอรแธอีสตแ เคยแ (Northeast Cay) 11° 27′ 03″ 114° 21′ 01″ 2514/1971 6 เกาะเวสตแยอรแก (West York Island) 11° 05′ 00″ 115° 00′ 00″ 2514/1971 7 พานาตา (Panata) 10° 44′ 01″ 114° 21′ 00″ 2531/1978 8 แนวปะการังคอมโมดอรแ (Commodore Reef) 08° 22′ 00″ 115° 13′ 00″ 2533/1980 เวียดนาม 1 เกาะนามยิต (Namyit Island) 10° 11′ 00″ 114° 21′ 30″ 2516/1973 2 เกาะเซาทแเวสตแ เคยแ (Southwest Cay) 11° 25′ 30″ 114° 19′ 20″ 2516/1973 3 ตุนเชียน ซาโจว (Dunqian Shazhou) 10° 22′ 55″ 114° 28′ 00″ 2516/1973 4 เกาะสแปรตลียแ (Spratly Island) 08° 39′ 00″ 111° 54′ 40″ 2516/1973 5 เกาะซินคาว (Sin Cowe Island) 09° 54′ 00″ 114° 20′ 00″ 2516/1973 6 เกาะอัมบอยญา เคยแ (Amboyna Cay) 07° 54′ 00″ 112° 54′ 00″ 2516/1973 7 หร฽านชิง ซาโจว (Ranqing Shazhou) 09° 52′ 30″ 114° 34′ 40″ 2521/1978 8 แนวปะการังเซ็นทรัล (Central Reef) 08° 56′ 00″ 112° 22′ 00″ 2521/1978 9 แนวปะการังเพียสัน (Pearson Reef) 08° 58′ 00″ 113° 42′ 00″ 2521/1978 10 แนวปะการังบารแคแคนาดา (Bargue Canada Reef) 08° 10′ 00″ 113° 18′ 00″ 2530/1987 11 แนวปะการังเวสตแ (West Reef) 08° 52′ 00″ 112° 14′ 00″ 2531/1988 12 แนวปะการังเท็นเนนตแ (Tennent Reef) 08° 52′ 00″ 114° 39′ 00″ 2531/1988 13 แนวปะการังแลดดแ (Ladd Reef) 08° 39′ 00″ 111° 40′ 00″ 2531/1988 14 แนวปะการังดิสคัฟเวอรีเกรท (Discovery Great Reef) 10° 04′ 00″ 114° 52′ 00″ 2531/1988 15 แนวปะการังอีสตแ (East Reef) 08° 49′ 00″ 112° 36′ 00″ 2531/1988 16 แนวปะการังอลิสัน (Alison Reef) 08° 49′ 00″ 114° 00′ 00″ 2531/1988 17 แนวปะการังคอรแนวัลลิส เอส. (Cornwallis S. Reef) 08° 45′ 00″ 114° 13′ 00″ 2531/1988 18 แนวปะการังเพ็ทลียแ (Petley Reef) 10° 24′ 50″ 114° 34′ 00″ 2531/1988 19 แนวปะการังเซาทแ (South Reef) 11° 23′ 00″ 114° 18′ 00″ 2531/1988 20 แนวปะการังคอลลินสแ (Collins Reef) 09° 46′ 00″ 114° 15′ 00″ 2531/1988 21 โฉงเจียว (Qiong Jiao) 09° 46′ 00″ 114° 22′ 00″ 2532/1989 22 บอมเบยแแคสเซิล (Bombay Castle) 07° 56′ 00″ 111° 42′ 30″ 2532/1989 23 สันดอนปรินสแออฟเวลสแ (Prince of Wales Bank) 08° 08′ 00″ 110° 27′ 00″ 2533/1990

213

ประเทศ ที่ ชื่อพื้นที่ (Feature) พิกัดภูมิศาสตร์ ปีที่เข้าครอบครอง เวียดนาม 24 สันดอนแวงการแด (Vanguard Bank) 07° 32′ 00″ 109° 43′ 00″ 2533/1990 25 สันดอนปรินสแคอนสอรแท (Prince Consort Bank) 07° 55′ 00″ 109° 58′ 00″ 2534/1991 จีน/ไต฾หวัน 1 เกาะอิตู อาบา (Itu Aba Island) ไต฾หวัน 10° 22′ 55″ 114° 22′ 00″ 2499/1946 2 Fiery Cross/NW Investigator Reef 09° 32′ 30″ 112° 54′ 00″ 2531/1988 3 แนวปะการังจอหแนสัน (Johnson Reef) 09° 42′ 30″ 114° 16′ 00″ 2531/1988 4 ดงเหมิน เจียว (Dongmen Jiao) 09° 54′ 00″ 114° 29′ 15″ 2531/1988 5 แนวปะการังเกเฟิน (Gaven Reef) 10° 13′ 00″ 114° 14′ 00″ 2531/1988 6 แนวปะการังซูบี (Subi Reef) 10° 54′ 00″ 114° 06′ 00″ 2531/1988 7 แนวปะการังกัวรแเตอรอน (Guarteron Reef) 08° 54′ 00″ 112° 51′ 00″ 2531/1988 8 แนวปะการังมิสชีฟ (Mischief Reef) 09° 55′ 00″ 115° 32′ 00″ 2538/1995 ที่มาของตาราง: ปรับปรุงจาก Pan Shiying. “The Nansha Islands,” Window. September 3, 1993.178

ภาพที่ 4.33 แผนผังตําแหน฽งกองทหาร (Outpost) และ ลานบิน (Airfield) ในพื้นที่หมู฽เกาะสแปรตลียแ (ที่มา: Asia Maritime Transparency Initiative เข฾าถึงเมื่อ 28 พฤษภาคม 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1AvQ8Us)

178 สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว, ภาคผนวกที่ 29. 214

ภาพที่ 4.34 แผนที่แสดงพื้นที่ทับซ฾อนในทะเลจีนใต฾และการอ฾างสิทธิ์ครอบครองพื้นที่ในหมู฽เกาะสแปรตลียแของ ประเทศต฽างๆ (ที่มา: Velencia, Mark J. and Jon M. Van Dyke. Sharing The Resource of the South China Sea, University of Hawaii Press, 1999. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1I50KpV)

215

จีนและไต้หวัน การอ฾างสิทธิ์ของจีนและไต฾หวันอยู฽บนพื้นฐานทางประวัติศาสตรแ (historic claim)179 เพราะเป็นผู฾ ค฾นพบ (discovery) และใช฾ประโยชนแอย฽างต฽อเนื่อง (continuous usage) เพื่อประโยชนแทางเศรษฐกิจและ ทางทหารมาเป็นเวลายาวนานนับพันปี จนกระทั่งในปี 2490/1947 รัฐบาลพรรคชาตินิยมพรรคก฿กมินตั๋ง (Kuomintang) เผยแพร฽แผนที่หมู฽เกาะทะเลจีนใต฾ (Nan-Hai-Zhu-Dao-Wei-Tz-Tu หรือ Map of Locations of South China Sea Islands) โดยใช฾เส฾นประจํานวน 11 เส฾น180 (ดูภาพที่ 4.35) เพื่อเป็นเส฾นเขตแดนของหมู฽ เกาะ (islands) เกาะเล็กเกาะน฾อย (islets) แนวปะการัง (reef) สันดอน (bank) และน฽านน้ําโดยรอบ181 แต฽ ต฽อมามีการลบเส฾นประจํานวน 2 เส฾นในอ฽าวตังเกี๋ยออกไป ทําให฾กลายเป็นแผนที่ 9 เส฾นประ (ดูภาพที่ 4.36) แผนที่นี้มีรูปร฽างคล฾ายลิ้น (tongue-like configuration) หรือ เส฾นรูปตัวยู (U-Shape Line) ครอบคลุมหมู฽ เกาะพาราเซล (Paracels) แต฽ไม฽ได฾ระบุหมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratlys) โดยมีข฾อความว฽า “รัฐบาลของ สาธารณรัฐประชาชนจีนจะประกาศเส฾นฐานที่เหลือของทะเลอาณาเขตของสาธารณรัฐประชาชนจีนในเวลา อื่น”182 และจีนประกาศเส฾นฐาน (baseline) เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2539/1996 แต฽ไม฽ได฾ประกาศเขต เศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone – EEZ) ซึ่งแม฾ว฽าการอ฾างสิทธิ์ของจีนจะไม฽มีความชัดเจน ในแง฽กฎหมายระหว฽างประเทศ แต฽บ฽อยครั้งที่ถ฾อยแถลงและปฏิบัติการของจีนทําให฾ทราบว฽าจีนยังคงยืนยันการ อ฾างสิทธิ์น฽านน้ําและทรัพยากรภายในขอบเขตของเส฾นประที่จีนประกาศเอาไว฾

179 โปรดดู “บทที่ 2 เหตุผลและหลักฐานการอ฾างกรรมสิทธิ์ของประเทศที่เกี่ยวข฾อง” ของ สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว, หน฾า 20-41. 180 คําว฽า เส฾นประ ในเอกสารวิชาการที่กล฽าวถึงเส฾นเขตแดนในทะเลจีนใต฾ อาจพบเห็นการใช฾คําในภาษาอังกฤษว฽า interrupted line, dotted line หรือ dashed line เช฽นกัน 181 โปรดดู Pan Shiying, South China Sea and the International Practice of the Historic Title (Paper delivered to American Enterprise Institute conference on the South China Sea, September 7-9, 1994), p. 5; Pan Shiying, The Nansha Islands: A Chinese Point of View, Window (Hong Kong: September 3, 1993), p. 35; Steven Kuan- Tsyh Yu. “Who Owns the Paracels and Spratlys? An Evaluation of the Nature and Legal Basis of the Conflicting Territorial Claims,” in Fishing in Troubled Waters: Proceeding of an Academic Conference on Territorial Claims in the South China Sea (R. D. Hill, Norman G. Owen and E.V Roberts, eds., Hong Kong: Centre of Asian Studies, University of Hong Kong, 1991). pp. 48-55. 182 “The Government of the People's Republic of China will announce the remaining baselines of the territorial sea of the People's Republic of China at another time” ใน Declaration of the Government of the People‖s Republic of China on the Baselines of the Territorial Sea of the People‖s Republic of China. (May 15, 1996), p. 3. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1lsPYyv 216

ภาพที่ 4.35 แผนที่อ฾างสิทธิ์ทะเลจีนใต฾ฉบับทางการของไต฾หวันหรือสาธารณรัฐจีน (Republic of China) ตีพิมพแ เมื่อธันวาคม 2489/1946 เผยแพร฽เมื่อปี 2490/1947 (ที่มา: Nien-Tsu Alfred Hu, South China Sea: Troubled Waters or a Sea of Opportunity? (Ocean Development & International Law, 41:3, 2010), p. 208.) 217

ภาพที่ 4.36 แผนที่ 9 เส฾นประซึ่งจีนนําส฽งให฾แก฽คณะกรรมาธิการกําหนดขอบเขตของไหล฽ทวีป (Commission on the Limits of the Continental Shelf – CLCS) (ที่มา: CML/17/2009 – Submission by the PRC to the UN Commission on the Limits of the Continental shelf, United Nations. (May 7, 2009), p. 2. เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/QKlRLV) 218

ในบทความของพาน สืออิง (Pan Shiying) นักวิจัยอาวุโสแห฽งสถาบันเพื่อการศึกษาเทคโนโลยีเศรษฐกิจ ระหว฽างประเทศ (Institute for International Technological Economic Studies) ณ กรุงปักกิ่ง ซึ่ง เผยแพร฽เมื่อปี 2537/1994 ได฾อธิบายว฽าเส฾นประเหล฽านี้เป็น “การอ฾างสิทธิ์ทางประวัติศาสตรแ (historic title)”183 ซึ่งเป็นการอธิบายตามเป็นแนวคิดของกองทัพปลดปล฽อยประชาชน หรือ People's Liberation Army – Navy (PLAN) ที่ถือว฽าการอ฾างสิทธิ์ของจีนเป็นไปตามกฎหมายระหว฽างประเทศที่มีอยู฽ในช฽วงเวลานั้น และระบุว฽าหลังจากที่มีการประกาศเส฾นประแล฾วก็มีประเทศใดโต฾แย฾งหรือประท฾วงจีนเป็นเวลายาวนานหลายปี และมีนักวิชาการอีกหลายคนผลิตซ้ําแผนที่ฉบับนี้ ทั้งนี้ พาน สืออิง (Pan Shiying) ยังตั้งข฾อสังเกตอีกว฽า เส฾นประของจีนมีจุดอ฽อนตรงที่ไม฽ใช฽เส฾นตรงเนื่องจากการลากเส฾นเขตแดนไม฽สามารถเกิดจากเส฾นประในแบบ ของจีนได฾ แต฽ก็ชี้ให฾เห็นว฽าแนวเส฾นประของจีนยังสามารถนําไปสู฽การสร฾างพื้นที่พัฒนาร฽วมกันของภูมิภาคได฾ บทความชิ้นที่สองเสนอโดยนักวิชาการชาวไต฾หวันชื่อ ซ฽ง เยี่ยนฮุย (Song Yann-Huei)184 อธิบายว฽าจีน มีการอ฾างสิทธิ์แต฽เพียงดินแดนทางบก โดยไม฽ได฾สรุปอย฽างชัดเจนว฽าสถานะของน฽านน้ําภายในเส฾นประเหล฽านี้คือ อะไร ซึ่งทั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China – PRC) และรัฐบาลไต฾หวัน ไม฽เคยกีด กันหรือต฽อต฾านการเดินเรือของประเทศต฽างๆ ที่ผ฽านเข฾าออกในเขตน฽านน้ําของจีนตามเส฾นประดังกล฽าวเลยและ จีนไม฽เคยอ฾างว฽าน฽านน้ําตามแนวเส฾นประ คือ ทะเลประวัติศาสตรแ (Historic Waters)185 แต฽จีนอาจลากเส฾น ฐานเชื่อมต฽อกับหมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratly Islands) เพื่ออ฾างว฽าเส฾นฐานนี้กําหนดเขตน฽านน้ําภายใน โดยนอก เส฾นฐานก็จะมีสถานะเป็นเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ในวันที่ 18 พฤษภาคม 2538/1995 นายเฉิน กวเอฟุาง (Shen Guofang) โฆษกกระทรวงการต฽างประเทศของจีน ระบุว฽าจีนให฾ความสําคัญกับการเดินเรือที่ปลอดภัยและเสรี ในช฽องทางเดินเรือนานาชาติในทะเลจีนใต฾ และการอ฾างสิทธิ์ของจีนจะเป็นปัญหาในอนาคต186 แต฽ก็ไม฽สามารถ อธิบายได฾ว฽าการอ฾างสิทธิ์ของจีนหมายความว฽าอะไร ต฽อมาภายหลังเดือนพฤษภาคม 2538/1995 มีการระบุว฽า จีนได฾ละทิ้งการอ฾างสิทธิ์อันคลุมเครือก฽อนหน฾านี้ โดยเปลี่ยนมาเป็นการอ฾างสิทธิ์น฽านน้ําในทะเลจีนใต฾โดยใช฾ แผนที่เส฾นประ 9 เส฾น แต฽ความต฾องการที่แท฾จริงของฝุายจีนก็ยังไม฽ชัดเจน เพราะการอ฾างสิทธิ์ทาง ประวัติศาสตรแย฽อมไม฽มีเหตุผลหนักแน฽นเพียงพอ แต฽การที่จีนยืนกรานอ฾างสิทธิ์ดังกล฽าวก็ส฽งผลให฾เกิดความ ยากลําบากในการปักปันเขตแดนในทะเลจีนใต฾อย฽างยิ่ง นอกจากนี้ การที่ไต฾หวันเข฾ามามีบทบาทเกี่ยวข฾องกับ ข฾อพิพาทในทะเลจีนใต฾ยิ่งทําให฾ความซับซ฾อนของปัญหาเพิ่มมากขึ้น เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2536/1993 ไต฾หวันประกาศใช฾ “แนวนโยบายต฽อทะเลจีนใต฾ (Policy Guidelines for the South China Sea)” ซึ่งยืนยันอํานาจอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะสแปรตลียแ หมู฽เกาะพารา เซล (Paracels Islands) สันดอนแมคเคิลฟีลดแ (Macclesfield Bank) และหมู฽เกาะปราตาส (Pratas Island) พร฾อมทั้งระบุว฽าอาณาบริเวณของทะเลจีนใต฾ในเขตทะเลประวัติศาสตรแ คือ เขตแดนภายใต฾อํานาจการ

183 Pan Shiying, South China Sea and the International Practice of the Historic Title (Paper delivered to American Enterprise Institute Conference on the South China Sea, September 7-9, 1994), p. 23. 184 Yann-huei Song, The Issue of Historic Waters in the South China Sea Territorial Sea Dispute (Paper delivered to the American Enterprise Institute Conference on the South China Sea, September 7- 9, 1994), p. 23. 185 Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 64. 186 “China had always attached great importance to the safety and freedom of navigation through international lanes in the South China Sea, and that there would not be problems in this regard in the future” จาก Patrick E. Tyler. “China Pledges Safe Passage for All Foreign Ships Around Contested Islands,” in New York Times, May 19, 1995. และ “China Says Ready to Solve Spratly Dispute by Law,” in Reuters, July 30, 1995. อ฾างใน Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 64. 219

บังคับใช฾กฎหมายของสาธารณรัฐจีน (Republic of China) ซึ่งมีสิทธิและผลประโยชนแโดยสมบูรณแ และใน เดือนเมษายน 2538/1995 กระทรวงการต฽างประเทศของไต฾หวันได฾ประกาศว฽า ไต฾หวันมีอํานาจอธิปไตยเหนือ เขตแดนตามเส฾นรูปตัวยู และเข฾าครอบครองอาณาบริเวณที่ใหญ฽ที่สุดของเกาะสแปรตลียแ คือ อีตู อาบา (Itu Aba) หรือ ไท฽ผิงต฽าว (Taiping Dao) โดยส฽งนาวิกโยธินจํานวน 600 นายไปประจําการอยู฽บนเกาะแห฽งนี้187 ซึ่ง ปฏิบัติการของไต฾หวันเป็นไปเพื่อสนับสนุนจุดยืนของจีน และกองทหารของจีนที่อยู฽ในพื้นที่ต฽างๆ ของหมู฽ เกาะสแปรตลียแได฾รับเสบียงอาหารและน้ําจืดจากกองกําลังของไต฾หวันบนเกาะอีตู อาบา (Itu Aba) และเมื่อไม฽นานมานี้ จีนได฾เดินหน฾าก฽อสร฾างมหากําแพงทราย (Great Wall of Sand)188 ในพื้นที่หมู฽ เกาะสแปรตลียแที่จีนครอบครอง โดยนายหวัง ยี่ (Wang Yi) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศของจีน ยืนยันว฽าเป็นการก฽อสร฾างสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเป็นบนเกาะและแนวปะการังซึ่งจีนเป็นเจ฾าของ ซึ่งจะทํา ให฾จีนสามารถค้ําจุนการเดินเรืออย฽างเสรีบนเส฾นทางขนส฽งสินค฾าทางเรือในทะเลจีนใต฾ได฾อย฽างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ระหว฽างเดือนสิงหาคมถึงพฤศจิกายน 2557/2014 จีนได฾ถมทรายลงบนพื้นที่แนวปะการังเฟียรี่ครอส (Fiery Cross) ขนาดยาว 3 กิโลเมตร กว฾าง 200-300 เมตร189 รวมทั้งพื้นที่อื่นๆ ด฾วย (ดูภาพที่ 4.37 และ 4.38)

ภาพที่ 4.37 ภาพถ฽ายดาวเทียมแสดงความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่แนวปะการังเกเฟิน (Gaven Reef) ในหมู฽ เกาะสแปรตลียแ หลังจากมีการขยายการก฽อสร฾างของจีน รูปซ฾ายสุดคือวันที่ 30 มีนาคม 2557/2014 รูปกลาง คือวันที่ 7 สิงหาคม 2557/2014 และรูปขวาสุดคือวันที่ 30 มกราคม 2558/2015 (ที่มา: Clive Schofield. “Why the world is wary of China's 'great wall of sand' in the sea,” in CNN, May 14, 2015. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://cnn.it/1GsSwKE)

187 Mark J. Valencia. “The Spratly Islands: Dangerous Ground in the South China Sea” in Pacific Review 1 (1988), pp. 382-395. 188 Clive Schofield. “Why the world is wary of China‖s ―great wall of sand‖ in the sea,” in CNN, May 14, 2015. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://cnn.it/1GsSwKE 189 Simon Denyer. “U.S. Navy alarmed at Beijing‖s ―Great Wall of sand‖ in South China Sea,” in The Washington Post, April 1, 2015. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://wapo.st/1Mz6q43 220

ภาพที่ 4.38 ภาพถ฽ายจากกองทัพอากาศฟิลิปปินสแแสดงให฾เห็นการก฽อสร฾างบนพื้นที่แนวปะการังจอหแนสัน (Johnson Reef) ในหมู฽เกาะสแปรตลียแ เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธแ 2558/2015 (ที่มา: Reuters in Beijing. “Land reclamation work in part of South China Sea is near completion, China says,” in The Guardian, Tuesday 16 June 2015. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JTNhHU)

เวียดนาม การอ฾างสิทธิ์เหนือหมู฽เกาะสแปรตลียแของเวียดนามมีพื้นฐานมาจากประวัติศาสตรแอันยาวนาน โดยกล฽าว ว฽าชาวเวียดนามเป็นผู฾ค฾นพบหมู฽เกาะสแปรตลียแและเรียกหมู฽เกาะแห฽งนี้ว฽า เตรื่อง ซา (Truong Sa) มีการใช฾ ประโยชนแในพื้นที่อย฽างต฽อเนื่อง (continuous usage) และมีการครอบครองอย฽างมีประสิทธิภาพ (effective occupation)190 มาตั้งแต฽ปี 2358/1815 ซึ่งเวียดนามได฾ส฽งคณะสํารวจออกไปสํารวจเส฾นทางเดินเรือ จนกระทั่งปี 2501/1958 เวียดนามจึงทําแผนที่อากาศยานโดยรวมเอาหมู฽เกาะสแปรตลียแเข฾ามาเป็นส฽วนหนึ่ง ของเวียดนาม นอกจากนี้ เวียดนามยังเคยประกาศอ฾างสิทธิ์เหนือหมู฽เกาะสแปรตลียแในการประชุมสันติภาพที่ นครซานฟรานซิสโกในปี 2494/1951 และอ฾างหลักการตกทอดของดินแดนจากเจ฾าอาณานิคม (uti possidetis)191 ในสมัยที่เวียดนามเคยตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสในปี 2327/1884 ซึ่งฝรั่งเศสเคยเข฾าไปยึด ครองบางส฽วนของหมู฽เกาะสแปรตลียแ โดยในวันที่ 23 เมษายน 2473/1930 กระทรวงการต฽างประเทศของ ฝรั่งเศสได฾ประกาศผนวกเกาะสแปรตลียแ (Spratly) ให฾เป็นของฝรั่งเศส และในวันที่ 21 ธันวาคม 2476/1933 ข฾าหลวงใหญ฽แห฽งอินโดจีนฝรั่งเศสก็ได฾ออกประกาศผนวกดินแดนในหมู฽เกาะสแปรตลียแเพิ่มเติมอีก 9 เกาะ192

190 โปรดดู สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว, หน฾า 41-50. 191 จันตรี สินศุภฤกษแ. “กรณีพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแ: ทัศนะทางกฎมายและการเมือง,” ใน จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 127-128, สุรชาติ บํารุงสุข บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ: โครงการความมั่นคงศึกษา จุฬาลงกรณแมหาวิทยาลัย, กรกฎาคม- สิงหาคม 2556), หน฾า 42. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2557 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fG8EjI 192 สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว, หน฾า 43. 221

ความน฽าสนใจคือ เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2501/1958 รัฐบาลจีนหรือสาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China) ประกาศอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณาเขต (territorial sea) เป็นระยะ 12 ไมลแทะเล รวมถึงหมู฽ เกาะต฽างๆ ในทะเลจีนใต฾ รัฐบาลเวียดนามเหนือหรือสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (Democratic Republic of Vietnam – DRVN) โดยนายฟาม วัน ด฽ง (Pham Van Dong) นายกรัฐมนตรีของเวียดนาม เหนือได฾ส฽งบันทึกทางการทูต (diplomatic note) ลงวันที่ 14 กันยายน 2501/1958 ไปยังนายโจว เอินไหล (Zhou Enlai) นายกรัฐมนตรีของจีน เพื่อรับรองการประกาศทะเลอาณาเขตและหมู฽เกาะต฽างๆ ในทะเลจีนใต฾ ของจีนความว฽า “รัฐบาลเวียดนามรับรองคําประกาศ...และจะให฾ทุกองคแกรของรัฐร฽วมกันมุ฽งไปยังการสร฾างความเคารพ เชื่อมั่นต฽อทะเลอาณาเขตของจีนในระยะ 12 ไมลแทะเล ในทุกความสัมพันธแกับจีนทางทะเล”193 (ดูภาพที่ 4.39)

193 Vietnamese Recognition and Support for China's Sovereignty Over Spratly Islands and Paracel Islands Prior to 1975,” in Vietnamese Claims on the Spratly Islands (Quan Dao Truong Sa). เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1LhMaPy 222

ภาพที่ 4.39 บันทึกทางการทูต (diplomatic note) นายฟาม วัน ด฽ง (Pham Van Dong) นายกรัฐมนตรีของ เวียดนามเหนือ ลงวันที่ 14 กันยายน 2501/1958 รับรองการประกาศทะเลอาณาเขตและหมู฽เกาะต฽างๆ ใน ทะเลจีนใต฾ของจีน (ที่มา: “Vietnamese Recognition and Support for China's Sovereignty Over Spratly Islands and Paracel Islands Prior to 1975,” in Vietnamese Claims on the Spratly Islands (Quan Dao Truong Sa). เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1BnbbbQ)

223

ต฽อมาในปี 2525/1982 เวียดนามได฾ประท฾วงแผนที่ใหม฽ (New Map) หรือ เปอตา บารู (Peta Baru) ของมาเลเซีย หลังจากนั้นเป็นต฾นมาก็มีการแลกเปลี่ยนเอกสารบันทึกการประท฾วงอย฽างเป็นทางการระหว฽าง สองประเทศ ตามมาด฾วยการประกาศทะเลอาณาเขต (territorial water) ของเวียดนามซึ่งอ฾างสิทธิ์เหนือพื้นที่ แนวปะการังสวอลโล (Swallow Reef) ในเดือนพฤศจิกายน 2525/1982 ต฽อมาอีก 2 เดือน คือ ในเดือน มกราคมปี 2526/1983 มาเลเซียได฾ส฽งบันทึกทางการทูตเพื่อปฏิเสธเส฾นฐาน (baseline) ของเวียดนาม และใน วันที่ 25 มีนาคม 2526/1983 เวียดนามจึงมีเอกสารตอบกลับไปยังมาเลเซียโดยระบุว฽าเส฾นฐานไหล฽ทวีป (Continental Shelf Baseline) ของเวียดนามนั้นถูกต฾องเนื่องจากสอดคล฾องกับหลักกฎหมายระหว฽างประเทศ194 ในปี 2521/1978 มีการเผชิญหน฾าที่เกือบจะนําไปสู฽การปะทะกันเมื่อคณะของวิศวกรชาวมาเลเซียเดิน ทางเข฾าไปยังหมู฽เกาะอัมบอยญา เคยแ (Amboyna Cay) เพื่อปักเสาหินเป็นเครื่องหมายไว฾ในบริเวณใกล฾กับเสา หินของเวียดนามซึ่งปักเอาไว฾ก฽อนหน฾านั้น เนื่องจากเวียดนามเคยเข฾าไปครอบครองเกาะอัมบอยญา เคยแ (Amboyna Cay) ถึง 2 ครั้ง คือ ในปี 2499/1956 และ 2516/1973 แต฽ไม฽เคยมีการอาศัยอยู฽อย฽างถาวร และ เมื่อมาเลเซียทําการปักเสาหินในปี 2521/1978 เวียดนามก็ได฾กลับเข฾ามายังเกาะนี้อีกครั้งในปี 2522/1979 และถอนเสาหินของมาเลเซียออก ทําให฾เวียดนามไม฽ถอนกําลังออกจากเกาะนับตั้งแต฽นั้นเป็นต฾นมา และยังทํา การก฽อสร฾างสิ่งอํานวยความสะดวกทางเรือและทางอากาศรวมถึงการสร฾างลานบินไว฾ด฾วย โดยรวมแล฾วนับตั้งแต฽ ปี 2539/1996 เวียดนามได฾เข฾าไปครอบครองพื้นที่ในหมู฽เกาะสแปรตลียแจํานวน 25 แห฽ง พร฾อมทั้งมีสิ่งปลูก สร฾างต฽างๆ และกองกําลังประจําการจํานวนกว฽า 600 นาย195

ฟิลิปปินส์ การอ฾างสิทธิ์เหนือหมู฽เกาะสแปรตลียแของฟิลิปปินสแมีพื้นฐานมาจากความสนใจต฽อผลประโยชนแด฾าน ความมั่นคงและแหล฽งน้ํามันในน฽านน้ําทะเลจีนใต฾มาตั้งแต฽ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยอ฾างว฽าเกาะเหล฽านี้ เป็นดินแดนที่ไม฽มีเจ฾าของ (terra nullius) หรือละทิ้งการครองครองไปนานแล฾ว และได฾ประกาศอ฾างสิทธิ์อย฽าง เป็นทางการในปี 2522/1979196 ฟิลิปปินสแอ฾างถึงหลักการค฾นพบ (discovery) และความใกล฾เคียงในทาง ภูมิศาสตรแ (geographic contiguity)197 เมื่อนายทอมัส คลอมา (Thomas Cloma) ชาวฟิลิปปินสแอ฾างว฽าเป็นผู฾ค฾นพบมาตั้งแต฽ปี 2490/1947 โดยมีคําแถลงการณแในวันที่ 16 พฤษภาคม 2499/1956 ว฽าเขาได฾ครอบครองและใช฾ประโยชนแหมู฽เกาะต฽างๆ จํานวน 33 เกาะ มีการทํามาหากินอย฽างต฽อเนื่องในพท฽นที่หมู฽เกาะสแปรตลียแเป็นพื้นที่รวมกว฽า 64,976 ตาราง ไมลแทะเล และตั้งชื่อหมู฽เกาะเหล฽านี้ว฽ากาลายาอัน (Kalayaan) ซึ่งแปลว฽า อิสระ (Freedom)198 ต฽อมาในเดือน เมษายน 2515/1972 ฟิลิปปินสแประกาศให฾หมู฽เกาะกาลายาอัน (Kalayaan) เป็นเขตการปกครองส฽วนหนึ่งของ จังหวัดปาลาวัน (Palawan) และแต฽งตั้งให฾นายนายทอมัส คลอมา (Thomas Cloma) เป็นที่ปรึกษาพิเศษของ เขตการปกครองแห฽งนี้ด฾วย199

194 Asri Salleh, Che Hamdan Che Mohd Razali and Kamaruzaman Jusoff. “Malaysia‖s policy towards its 1963 - 2008 territorial disputes,” Journal of Law and Conflict Resolution Vol. 1 (5) (October, 2009), p. 113. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Qcka16 195 Ibid, p. 113. 196 โปรดดู สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว, หน฾า 51-57. 197 จันตรี สินศุภฤกษแ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 7. 198 Thomas Cloma. Notice to the Whole World (May 15, 1956) อ฾างใน สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว, หน฾า 51. 199 เพิ่งอ฾าง, หน฾า 53. 224

ในช฽วงต฾นคริสตแทศวรรษ 1970 ฟิลิปปินสแเริ่มเข฾าไปครอบครองเกาะในหมู฽เกาะสแปรตลียแมากขึ้น เนื่อง เกิดจากความกังวลเรื่องความมั่นคงหลังจากเวียดนามรวมเป็นหนึ่งและปกครองในระบอบคอมมิวนิสตแอย฽าง สมบูรณแในปี 2518/1975 ต฽อมาในปี 2521/1978 ฟิลิปปินสแประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล ซึ่ง ครอบคลุมพื้นที่หมู฽เกาะกาลายาอัน (Kalayaan) นอกจากนี้ในวันที่ 11 มิถุนายน 2521/1978 ประธานาธิบดี เฟอรแดินานดแ มารแกอส (Ferdinand Marcos) ได฾ออกคําสั่งประธานาธิบดีหมายเลข 1596 (Presidential Decree No.1596) ประกาศให฾เกาะจํานวน 33 แห฽งในหมู฽เกาะสแปรตลียแเป็นอาณาเขตของประเทศฟิ ลิปินสแ200 ในเดือนมีนาคมปี 2531/1998 ทหารฟิลิปปินสแพบว฽ามาเลเซียได฾สร฾างสิ่งปลูกสร฾างไว฾ในพื้นที่ 2 แห฽ง คือ สันดอนอินเวสติเกเตอรแ (Investigator Shoal) และ แนวปะการังเอริกา (Erica Reef) แต฽ฟิลิปปินสแก็ไม฽ได฾ทํา การประท฾วงอย฽างเป็นการ เนื่องจากได฾รับคํายืนยันจากรัฐมนตรีต฽างประเทศของมาเลเซียในขณะนั้น คือ นาย อับดุลลาหแ บาดาวี (Abdullah Badawi) ว฽า สิ่งปลูกสร฾างเหล฽านี้ไม฽ใช฽การกระทําโดยรัฐบาลมาเลเซียและต฽อมา ในเดือนมิถุนายนปี 2532/1999 มาเลเซียได฾ทําการสร฾างอาคาร 2 ชั้น ลานจอดเฮลิคอปเตอรแ ท฽าเรือ และเสา อากาศเรดารแ ในพื้นที่ 2 แห฽งนี้เพิ่มเติม201 แต฽ครั้งนี้ เวียดนามจีน และไต฾หวัน ได฾ประท฾วงการกระทําของ มาเลเซีย ตามมาด฾วยเหตุการณแปี 2531-2532/1998-1999 ซึ่งฟิลิปปินสแประท฾วงทางการทูตไปยังมาเลเซีย ระบุว฽ามาเลเซียทําการล฽วงล้ําเข฾าไปยังสันดอนอินเวสติเกเตอรแ (Investigator Shoal) ซึ่งฟิลิปปินสแถือว฽าอยู฽ใน เขตแดนของตน และกล฽าวหาว฽าการกระทําเช฽นนี้ของมาเลเซียเป็นการละเมิด “ปฏิญญาอาเซียนว฽าด฾วยทะเล จีนใต฾ (ASEAN Declaration on The South China Sea)”เมื่อปี 2535/1992 ซึ่งลงนามที่มะนิลา หรือ ปฏิญญามะนิลา (Manila Declaration) ซึ่งตกลงกันว฽าประเทศสมาชิกจะยับยั้งปฏิบัติการต฽างๆ ของรัฐใน พื้นที่หมู฽เกาะสแปรตลียแ โดยฟิลิปปินสแเรียกร฾องให฾แก฾ปัญหาอย฽างสันติตามกลไก “สนธิสัญญามิตรภาพและ ความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC)” ปี 2519/1976 การปะทะกันระหว฽างมาเลเซียกับฟิลิปปินสแดําเนินไปด฾วยการใช฾คารมที่รุนแรงจากทั้งสองฝุาย จากนั้น นายมหาเธรแ โมฮัมหมัด (Mahathir Mohamad) นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ได฾กล฽าวย้ําว฽ามาเลเซียไม฽ได฾บุกรุกเข฾า ไปในดินแดนของประเทศใด และกล฽าวว฽าสิ่งปลูกสร฾างเหล฽านี้ทําขึ้นเพื่อการวิจัยสภาพภูมิอากาศ การศึกษา ชีวิตทางทะเล และการให฾ความช฽วยเหลือและสนับสนุนทางการเดินเรือ ทําให฾นายโจเซฟ เอสตราดา (Joseph Estrada) ประธานาธิบดีฟิลิปปินสแ ตอบโต฾ว฽าถ฾าเป็นเช฽นนั้นจริง ฟิลิปปินสแก็อาจพิจารณาการเข฾าไปสร฾างสิ่ง ปลูกสร฾างของฝุายตนบ฾าง202 ซึ่งฝุายมาเลเซียก็ตอบโต฾ว฽าการกระทําของตนถูกต฾องแล฾วเพราะเป็นพื้นที่ซึ่งอยู฽ ภายในเขตเศรษฐกิจจําเพาะของมาเลเซีย รัฐบาลฟิลิปปินสแไม฽เห็นด฾วยกับข฾อโต฾แย฾งของมาเลเซียและขู฽ว฽าจะนํา เรื่องนี้เข฾าไปยังที่ประชุมสหประชาชาติ และตั้งแต฽ปี 2539/1996 ฟิลิปปินสแส฽งกองกําลังจํานวน 595 นาย เข฾า ไปประจําในหมู฽เกาะสแปรตลียแ203 และในปัจจุบันฟิลิปปินสแยังคงครอบครองพื้นที่ทั้งหมดจํานวน 8 แห฽ง ได฾แก฽ เกาะหนานซาน (Nanshan Island) เกาะแฟลท (Flat Island) เกาะถิตู (Thitu Island) เกาะเลาอิตา (Loaita or

200 โปรดดู ภาคผนวก 3 ตารางแสดงการอ฾างสิทธิ์เส฾นฐานตรง (Straight Baseline) รัฐหมู฽เกาะ (Archipelagic Sate) การอ฾างสิทธิ์ประวัติศาสตรแ (Historic Claim) ของประเทศต฽างๆ ในอาเซียน (ยกเว฾นลาว พม฽า และไทย) 201 Chung, Christopher. The Spratly Island Dispute: Decision Units and Domestic Politics unpublished doctoral dissertation (New South Wales University, New South Wales: 2004), p. 121. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JX7JYk 202 Ibid, p. 122. 203 Asri Salleh, Che Hamdan Che Mohd Razali and Kamaruzaman Jusoff. Ibid, p. 112. 225

South Island) เกาะนอรแธอีสตแ เคยแ (Northeast Cay) เกาะเวสตแยอรแก (West York Island) พานาตา (Panata) และแนวปะการังคอมโมดอรแ (Commodore Reef) โดยยังไม฽มีการดําเนินการเพื่อระงับข฾อพิพาทใดๆ

มาเลเซีย มาเลเซียเริ่มต฾นการอ฾างสิทธิ์เหนือลักษณะทางภูมิศาสตรแบางส฽วนของเกาะสแปรตลียแ โดยการอ฾างสิทธิ์ ไหล฽ทวีปตั้งแต฽วันที่ 28 กรกฎาคม 2509/1966204 และต฽อมาในวันที่ 21 ธันวาคม 2522/1979 ซึ่งมีการ จัดพิมพแแผนที่ใหม฽ (New Map) หรือ เปอตา บารู (Peta Baru) โดยมาเลเซียถือว฽าลักษณะทางภูมิศาสตรแ เหล฽านี้อยู฽ภายในไหล฽ทวีปและเขตเศรษฐกิจจําเพาะของมาเลเซีย แต฽ก็ถูกประท฾วงในทันทีจาก เวียดนาม ฟิลิปปินสแ บรูไน จีนและไต฾หวัน นอกจากนี้มาเลเซียยังอ฾างหลักการตกทอดของดินแดนจากเจ฾าอาณานิคม (uti possidetis) อังกฤษที่เคยครอบครองเกาะดังกล฽าวมาก฽อน จนกระทั่งในวันที่ 19 พฤษภาคม 2526/1983 มาเลเซียแถลงอย฽างเป็นทางการว฽า สิทธิของมาเลเซียเหนือเกาะอัมบอยญา เคยแ (Amboyna Cay) และ แนว ปะการังสวอลโล (Swallow Reef) เป็นสิทธิที่เกิดขึ้นจากลักษณะทางภูมิศาสตรแ แม฾จะมีการอ฾างสิทธิ์ของ เวียดนามในแนวปะการังสวอลโล (Swallow Reef) แต฽มาเลเซียก็ยังเข฾ายึดครองพื้นที่ในวันที่ 4 กันยายน 2526/1983 ทําให฾ฝุายเวียดนามทําการประท฾วงทันทีในวันที่ 7 กันยายน 2526/1983 ต฽อมาในปี 2531/1988 นายอับดุลลาหแ เช วาน (Abdullah Che Wan) รัฐมนตรีช฽วยว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศของมาเลเซีย แถลงว฽าการอ฾างสิทธิ์ของมาเลเซียนั้นถูกต฾องเนื่องจากสอดคล฾องกับหลักกฎหมายระหว฽างประเทศ และในปี 2535/1992 ยัง ดิเปอรแตวน อากง (Yang Dipertuan Agong) หรือ องคแประมุขของประเทศมาเลเซีย ได฾ เดินทางเข฾าไปเยือนพื้นที่แนวปะการังสวอลโล (Swallow Reef) ซึ่งมีการสร฾างสิ่งปลูกสร฾างต฽างๆ เช฽น ลานบิน (airstrip) รีสอรแทประดาน้ํา (dive resort) และมีทหารประจําอยู฽จํานวนประมาณ 70 นาย205 ในปี 2540/1997 มาเลเซียยังอ฾างสิทธิ์บริเวณสันดอนลูโคเนีย (Luconia Shoal) แต฽ไม฽ได฾เข฾าครอบครอง โดยสันดอนนี้ ประกอบด฾วย 3 ส฽วน ได฾แก฽ สันดอนลูโคเนียเหนือ (North /Gugusan Beting Raja Jarum) สันดอนลูโคเนียใต฾ (South Luconia Shoals/Gugusan Beting Patinggi Ali) และพื้นน้ําลูโคเนียกลาง (Central Luconia Field) ซึ่งเป็นบริเวณที่มาเลเซียอนุญาตให฾มีกิจกรรมดําน้ําของนักท฽องเที่ยวและยังทําการ วางท฽อก฿าซผ฽านไปยังเมืองตันจุง กิดูรอง (Tanjung Kidurong) ในรัฐซาราวักด฾วย เนื่องจากมาเลเซียมีความ กังวลต฽อข฾อพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแ จึงได฾ยุติกิจกรรมในการครอบครองพื้นที่เพิ่มเติมตั้งแต฽ปี 2542/1999 ปัจจุบันมาเลเซียเข฾าครอบครองพื้นที่ทั้งหมดจํานวน 11 แห฽ง (ดูตารางที่ 4.6) มีการให฾สัมปทานการขุดเจาะ น้ํามันแก฽บริษัทจากสหรัฐอเมริกา รวมทั้งพัฒนากองกําลังทหารและยุทโธปกรณแอย฽างต฽อเนื่อง มีกองเรือติดตั้ง ปูอมปืน มีการสร฾างสนามบินและโรงแรมสําหรับนักท฽องเที่ยว มาเลเซียได฾รับงบประมาณในส฽วนนี้เป็นจํานวน มาก206

204 โปรดดู สุรชัย ศิริไกร. อ฾างแล฾ว. หน฾า 57-60. 205 Asri Salleh, Che Hamdan Che Mohd Razali and Kamaruzaman Jusoff. Ibid, p. 116. 206 จันตรี สินศุภฤกษแ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 9. 226

ตารางที่ 4.6 แสดงลักษณะทางภูมิศาสตรแในหมู฽เกาะสแปรตลียแที่ถูกครอบครองโดยมาเลเซียในปัจจุบัน ลักษณะทางภูมิศาสตร์ (Features) ปีที่เข้าครอบรอง แนวปะการังอารแดาเซียรแ (Ardasier Reef/Terumbu Ubi) 2529/1986 ทหาร 20 นาย แนวปะการังดัลลัส (Dallas Reef/Terumbu Laya) 2530/1987 แนวปะการังเอริกา (Erica Reef/Terumbu Siput) 2541/1998 แนวปะการังลุยซ฽า (Louisa Reef/Terumbu Semarang Barat Kecil) 2530/1987 แนวปะการังมาริวัลเลส (Marivales Reef/Terumbu Mantanani) 2529/1986 1 หมู฽ทหาร(platoon) แนวปะการังรอยัลชารแลอตตแ (Royal Charlotte Reef/Terumbu Semarang Barat Besar) ไม฽ปรากฏปี แนวปะการังสวอลโล (Swallow Reef/Terumbu Layang–Layang) 2526/1983 สันดอนลูโคเนียเหนือ (North Luconia Shoals/Gugusan Beting Raja Jarum) 2540/1997 สันดอนลูโคเนียใต฾ (South Luconia Shoals/Gugusan Beting Patinggi Ali) 2540/1997 พื้นน้ําลูโคเนียกลาง (Central Luconia Field) 2540/1997 สันดอนอินเวสติเกเตอรแ (Investigator Shoal/Terumbu Peninjau) 2532/1999 ที่มา: Asri Salleh, Che Hamdan Che Mohd Razali and Kamaruzaman Jusoff. (2009), pp. 113.207

บรูไน บรูไนเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจพึ่งพิงอยู฽กับการผลิตและส฽งออกน้ํามันและก฿าซธรรมชาติเป็นอันดับต฾นๆ ของโลก ดังนั้น เพื่อการปกปูองแหล฽งผลประโยชนแและความมั่นคงของประเทศจึงจําเป็นต฾องประกาศอ฾างสิทธิ์ เหนือลักษณะทางภูมิศาสตรแบางส฽วนในหมู฽เกาะสแปรตลียแจํานวน 2 แห฽ง ได฾แก฽ แนวปะการังลุยซ฽า (Louisa Reef) และ แนวปะการังไรเฟิลแมน (Rifleman Reef) โดยอ฾างว฽าอยู฽ภายในเขตไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended Continental Shelf) เป็นระยะ 350 ไมลแทะเล โดยในเดือนกรกฎาคม 2536/1993 บรูไนได฾ ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล แต฽ก็ไม฽ได฾ส฽งกําลังทหารไปยึดครองพื้นที่เหล฽านั้น เนื่องจากขาด กําลังทหาร แต฽ก็มีโครงการพัฒนาศักยภาพทางทหารทั้งทางเรือและทางอากาศ208

207 Ibid, p. 113. 208 จันตรี สินศุภฤกษแ. อ฾างแล฾ว, หน฾า 9. 227

จากที่กล฽าวมา สามารถสรุปเหตุผลที่แต฽ละประเทศนํามาใช฾ในการอ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือหมู฽เกาะสแปรต ลียแได฾ตามตารางที่ 4.7 ดังนี้

ตารางที่ 4.7 สรุปเหตุผลที่ใช฾อ฾างสิทธิ์อธิปไตยเหนือหมู฽เกาะสแปรตลียแของแต฽ละประเทศ ประเทศ เหตุผลที่ใช้ในการอ้างสิทธิ์อธิปไตย จีนและไต฾หวัน อ฾างสิทธิ์ประวัติศาสตรแ (historic claim) การค฾นพบ (discovery) การครอบครอง (occupation) การใช฾ประโยชนแอย฽างต฽อเนื่อง (continuous usage) ประกาศทะเลอาณาเขตและเขตต฽อเนื่องตามแผนที่เส฾นประรูปตัวยู (U-Shape Line) เวียดนาม อ฾างสิทธิ์ประวัติศาสตรแ (historic claim) การค฾นพบ (discovery) การครอบครอง (occupation) การใช฾ประโยชนแอย฽างต฽อเนื่อง (continuous usage) การตกทอดของดินแดนจากเจ฾าอาณานิคม (uti possidetis) ฟิลิปปินสแ ดินแดนที่ไม฽มีเจ฾าของ (terra nullius) หรือละทิ้งการครองครองไปนานแล฾ว การค฾นพบ (discovery) การครอบครอง (occupation) ความใกล฾เคียงในทางภูมิศาสตรแ (geographic contiguity) มาเลเซีย การตกทอดของดินแดนจากเจ฾าอาณานิคม (uti possidetis) การอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีป และ เขตเศรษฐกิจจําเพาะ การครอบครอง (occupation) บรูไน เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และ ไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended Continental Shelf)

228

การก าหนดอาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ในหมู่เกาะสแปรตลีย์ ปัญหาสําคัญที่ทําให฾เกิดข฾อพิพาทอธิปไตยเหนือบรรดาลักษณะภูมิศาสตรแในหมู฽เกาะสแปรตลียแ มักเกิด จากการอ฾างสิทธิ์ “หลักการค฾นพบ (discovery)” และ “หลักการครอบครอง (occupation)” แม฾ว฽าบางครั้ง ประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์ไม฽เคยมีกิจกรรมใดๆ ในหลายพื้นที่ของเกาะเหล฽านี้ เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศของเกาะ ไม฽เอื้ออํานวยต฽อการอยู฽อาศัย แต฽หลายประเทศก็ประกาศอ฾างสิทธิ์อย฽างเป็นทางการว฽าเกาะเหล฽านี้อยู฽ภายใต฾ อธิปไตยของตน ทั้งนี้ ไม฽ปรากฏว฽ามีประเทศใดสามารถโน฾มน฾าวให฾ประเทศอื่นยอมรับเหตุผลในการอ฾างสิทธิ์ ของตนได฾อย฽างหนักแน฽นเพียงพอ แม฾ว฽าจีนและไต฾หวันจะเคยโต฾แย฾งว฽าวิธีการกําหนดเส฾นเขตแดนแบบตะวันตก ไม฽ควรนํามาใช฾ในภูมิภาคเอเชีย แต฽ก็ย้ําอีกหลายครั้งว฽าควรจะแก฾ปัญหาทะเลจีนใต฾โดยใช฾หลักกฎหมายระหว฽าง ประเทศและหลักการในอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982209 และหากยึดตามหลักกฎหมายระหว฽างประเทศแล฾ว การอ฾างสิทธิ์ของแต฽ละประเทศก็ไม฽ค฽อย สมเหตุสมผล เนื่องจากประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์ไม฽สามารถแสดงให฾เห็นไอ฾ย฽างชัดเจนถึงการใช฾ประโยชนแในพื้นที่อย฽าง ต฽อเนื่อง (continuous usage) และมีการครอบครองอย฽างมีประสิทธิภาพ (effective occupation) เช฽นเดียวกับการแสดงความนิ่งเฉยของประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์รายอื่นซึ่งรู฾ดีอยู฽แก฽ใจว฽าหากข฾อพิพาทถูกนําเข฾าสู฽ กระบวนระงับข฾อพิพาทโดยศาลหรืออนุญาโตตุลาการ ฝุายตนก็อาจจะไม฽ได฾รับชัยชนะ เพราะไม฽มีเหตุผลที่ หนักแน฽นเหนือกว฽าอีกฝุาย ดังนั้น ในระยะยาวประเทศผู฾อ฾างสิทธิแต฽ละรายอาจจะต฾องตัดสินใจละทิ้งประเด็น อํานาจอธิปไตยเอาไว฾ก฽อน แล฾วหันมาร฽วมกับประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์รายอื่นในการสร฾างข฾อตกลงพหุภาคีเพื่อการ พัฒนาทรัพยากรในพื้นที่พิพาท วิธีการดังกล฽าวไม฽ใช฽การปฏิเสธการอ฾างสิทธิ์อย฽างทางการ แต฽จะช฽วยรักษา สถานภาพทางกฎหมายและสามารถเปิดพื้นที่ให฾มีการพัฒนาทรัพยากรเพื่อให฾เกิดประโยชนแสูงสุดแก฽ ประเทศชาติและประชาชนในภูมิภาค ประเทศคู฽พิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแต฽างเป็นภาคีของอนุสัญญา สหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982210 ซึ่งหลายประเทศแสดงท฽าทีว฽าจะสามารถนําไปใช฾เพื่อแก฾ไขปัญหาได฾ หลักการกําหนดอาณาเขตทางทะเลของลักษณะทางภูมิศาสตรแในหมู฽เกาะสแปรตลียแ ตามที่ระบุไว฾ใน ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 และหลักการดั้งเดิมของกฎหมายจารีตประเพณี ระหว฽างประเทศ มีดังต฽อไปนี้

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่จมอยู่ใต้ผิวน้ าในขณะน้ าขึ้นสูงสุด (submerged features) ไม่สามารถใช้ เพื่อก าหนดอาณาเขตทางทะเลได้ ข฾อ 121 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 กําหนดว฽า ระบบของเกาะ คือ 1. เกาะคือบริเวณแผ฽นดินที่ก฽อตัวขึ้นตามธรรมชาติ โดยมีน้ําล฾อมรอบ ซึ่งอยู฽เหนือน้ําในขณะน้ําขึ้นสูงสุด 2. เว฾นแต฽ที่ได฾บัญญัติไว฾ในวรรค 3 ทะเลอาณาเขต เขตต฽อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจําเพาะและไหล฽ทวีปของ เกาะ ให฾พิจารณากําหนดตามบัญญัติแห฽งอนุสัญญานี้ซึ่งบังคับใช฾กับอาณาเขตทางบกอื่น

209 Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 66. 210 โปรดดู ภาคผนวก 8 ตารางแสดงการลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 ปี 2525/1982 (UNCLOS II) ของประเทศในอาเซียน (ยกเว฾นลาวและพม฽า) 229

3. โขดหินซึ่งโดยสภาพแล฾วมนุษยแไม฽สามารถอยู฽อาศัยหรือยังชีพทางเศรษฐกิจได฾ จะไม฽มีเขตเศรษฐกิจ จําเพาะหรือไหล฽ทวีป211 ดังนั้น การที่แต฽ละประเทศอ฾างสิทธิ์อาณาเขตทางทะเลโดยใช฾ลักษณะทางภูมิศาสตรแ เช฽น สันดอนหรือ หาดทราย (bank/shoal) เกาะเตี้ยเล็กๆ สันดอน หรือ โขดหิน ที่เรียกว฽า เคยแ (cay) โขดหินหรือแนวปะการัง (reef) สันดอนจมน้ํา (submerged bank) หรือ แนวปะการังแบบวงแหวนหรือเกือกม฾า (atoll) ซึ่งจมใต฾ผิวน้ํา ในขณะน้ําขึ้นสูงสุด (submerged water at high tide) และแม฾ว฽าที่แห฽งนั้นจะมีสิ่งปลูกสร฾างที่ไม฽ได฾เกิดขึ้น ตามธรรมชาติตั้งอยู฽ก็ตาม ก็ถือว฽าไม฽สามารถใช฾เพื่อกําหนดอาณาเขตทางทะเลโดยชอบด฾วยกฎหมายได฾ แต฽ปรากฏว฽าในบรรดาเกาะเล็กเกาะน฾อยของหมู฽เกาะสแปรตลียแมีจํานวน 25 – 35 เกาะ ของทั้งหมด ราว 80 –90 เกาะ ที่อยู฽พ฾นผิวน้ําในขณะน้ําขึ้นสูงสุด ทําให฾ลักษณะภูมิศาสตรแเหล฽านี้ก็มีคุณสมบัติเป็น “เกาะ” ตามข฾อ 121 อย฽างไรก็ตาม ข฾อย฽อยที่ 3 ของข฾อ 121 ดังกล฽าว ก็ระบุเอาไว฾ด฾วยว฽า “โขดหินซึ่งโดยสภาพแล฾ว มนุษยแไม฽สามารถอยู฽อาศัยหรือยังชีพทางเศรษฐกิจได฾ จะไม฽มีเขตเศรษฐกิจจําเพาะหรือไหล฽ทวีป” เป็นที่ทราบตลอดมาว฽าบรรดาลักษณะภูมิศาสตรแในหมู฽เกาะสแปรตลียแไม฽เคยมีใครอาศัยอยู฽ จะมีก็เพียง ชาวประมงซึ่งแวะเวียนเข฾ามาพักพิงเป็นครั้งคราว แต฽ก็ไม฽มีการตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู฽อย฽างถาวรเพราะในพื้นที่ของ เกาะต฽างๆ นั้นไม฽สามารถปักหลักเพื่อการยังชีพทางเศรษฐกิจได฾ด฾วยตนเอง ถ฾อยคําตามข฾อย฽อยที่ 3 ของข฾อ 121 นั้นกําหนดให฾มีการอาศัยอยู฽และมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต฾องสามารถยังชีพอยู฽ได฾ด฾วยตนเอง ดังนั้น กิจกรรมทางเศรษฐกิจเทียมซึ่งต฾องอาศัยการสนับสนุนจากประชากรที่อยู฽ห฽างไกล เพื่อประโยชนแในการ ครอบครองอาณาเขตทางทะเลย฽อมไม฽มีเหตุผลเพียงพอ212 งานศึกษาของกิเดล (Gidel) ให฾คํานิยามว฽าลักษณะภูมิศาสตรแแบบเกาะที่สามารถนํามาใช฾เพื่อกําหนด อาณาเขตทางทะเลได฾คือพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการดํารงชีวิตของผู฾คนจํานวนอย฽างน฾อย 50 คน และหมู฽ เกาะสแปรตลียแไม฽มีคุณสมบัติตามคํานิยามดังกล฽าว213 ทําให฾ไม฽สามารถกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะและไหล฽ ทวีปได฾ สิ่งที่สําคัญมากกว฽านั้นคือปฏิบัติการของรัฐ เช฽น เวียดนามในขณะนี้ดูเหมือนว฽าจะยอมรับเหตุผลที่ว฽า ลักษณะภูมิศาสตรแของหมู฽เกาะสแปรตลียแไม฽สามารถกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะและไหล฽ทวีปได฾ เช฽นเดียวกับ เอกอัครราชทูตฮัสจิม จาลาล (Hasjim Djalal) ของอินโดนีเซียซึ่งก็ได฾กล฽าวถึงปัญหาดังกล฽าวด฾วย214 แต฽จีน และไต฾หวันยังยืนยันว฽าลักษณะภูมิศาสตรแของหมู฽เกาะสแปรตลียแสามารถใช฾เพื่อขยายอาณาเขตทางทะเลได฾ โดยสรุปแล฾ว ถ฾าลักษณะภูมิศาสตรแของหมู฽เกาะสแปรตลียแไม฽สามารถใช฾เพื่อกําหนดอาณาเขตทางทะเล ได฾ ดังนั้น ทางออกที่น฽าจะเป็นไปได฾คือการยอมให฾ลักษณะภูมิศาสตรแเหล฽านี้กําหนด “อาณาเขตทางทะเล ภูมิภาค (regional maritime zone)” ซึ่งทุกประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์สามารถร฽วมกันใช฾ประโยชนแและบริหารจัดการ โดยการเปลี่ยนชื่อทะเลแห฽งนี้เป็น “ทะเลกลางอาเซียน (ASEAN Middle Sea)” เพราะอย฽างน฾อยบรรดาเกาะ ต฽างๆ ในหมู฽เกาะสแปรตลียแมีผู฾คนภายในของภูมิภาคเดินทางแวะเวียนเข฾ามาใช฾ประโยชนแอยู฽ตลอดเป็นเวลา

211 กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต฽างประเทศ, หนังสืออนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล 1982 (พิมพแครั้งที่ 1 กันยายน 2548), หน฾า 51. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1KkOSmG และ ฉบับภาษาอังกฤษเข฾าถึงได฾จาก http://bit.ly/1dSph2X 212 Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 68. 213 Jon M. Van Dyke & Dale L. Bennett. “Islands and the Delimitation of Ocean Space in the South China Sea,” in Ocean Yearbook 10 (1993), pp. 75-80, 89. 214 ดูเพิ่มเติมใน Summary of Proceedings of the First Technical Working Group Meeting on Legal Matters in the South China Sea (Phuket, Thailand: July 2-5, 1995), p. 10. อ฾างใน Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 69. 230

ยาวนานหลายศตวรรษ ด฾วยการมองว฽าเป็นแหล฽งทรัพยากรที่มนุษยแสามมารถใช฾ร฽วมกัน ตัวอย฽างเช฽น ในกรณี อ฽าวฟอนเซคา (Gulf of Fonseca) ระหว฽าง ฮอนดูรัส นิการากัว และ เอลซัลวาดอรแ ซึ่งยอมรับหลักการ “คอนโดมีเนียม (condominium)” ซึ่งทุกประเทศมีกรรรมสิทธิ์ร฽วมกันในทะเลประวัติศาสตรแ (historic water) แห฽งนี้215

สถานะทางกฎหมายของลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นเกาะเทียม (Artificial lslands) ในหมู่เกาะสแปรตลีย์ ข฾อย฽อยที่ 8 ของข฾อ 60 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ระบุเอาไว฾อย฽างชัดเจนว฽า “เกาะเทียม สิ่งติดตั้ง และสิ่งก฽อสร฾างที่ไม฽มีสถานะเป็นเกาะ สิ่งเหล฽านี้ไม฽มีอาณาเขตทางทะเลของ ตนเอง และการที่มีสิ่งเหล฽านี้อยู฽ไม฽กระทบกระเทือนการกําหนดขอบเขตของทะเลอาณาเขต เขตเศรษฐกิจ จําเพาะ หรือไหล฽ทวีป”216 จีนและไต฾หวันเข฾ายึดครอง แนวปะการังซูบี (Subi Reef) แนวปะการังจอหแนสัน (Johnson Reef) และ แนวปะการังมิสชีฟ (Mischief Reef) ในขณะที่มาเลเซียยึดครอง แนวปะการังดัลลัส (Dallas Reef) และ บริเวณสันดอนอินเวสติเกเตอรแ (Investigator Shoal)217 ส฽วนเวียดนามก็เข฾ายึดครอง สันดอนแวงการแด (Vanguard Bank) และ สันดอนปรินซแออฟเวลสแ (Prince of Wales Banks) โดยลักษณะทางภูมิศาสตรแที่ กล฽าวมาทั้งหมดตรงกับนิยาม “เกาะเทียม” ในข฾อย฽อยที่ 8 ของข฾อ 60 ของอนุสัญญาฯ ซึ่งกําหนดขึ้นเพื่อ ปูองกันไม฽ให฾ประเทศต฽างๆ สร฾างสิ่งปลูกสร฾างตามแนวปะการังหรือพื้นที่ซึ่งอยู฽พ฾นผิวน้ําในขณะน้ําลดต่ําสุด แล฾วนําไปใช฾อ฾างสิทธิ์เพื่อกําหนดอาณาเขตทางทะเลของตน

การก าหนดทะเลอาณาเขต (Territorial Water) ของลักษณะทางภูมิศาสตร์ในหมู่เกาะสแปรตลีย์ ข฾อ 3 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 กําหนด ความกว้างของทะเลอาณาเขต ว฽า “รัฐทุก รัฐมีสิทธิกําหนดความกว฾างของทะเลอาณาเขตของตนได฾จนถึงขอบเขตหนึ่งซึ่งไม฽เกิน 12 ไมลแทะเล โดยวัดจาก เส฾นฐานที่กําหนดขึ้นตามอนุสัญญานี้”218 รวมทั้งข฾อ 121 ก็ระบุชัดเจนว฽าภูมิประเทศซึ่งอยู฽พ฾นผิวน้ําในขณะน้ํา ขึ้นสูงสุดสามารถนํามาใช฾เพื่อกําหนดทะเลอาณาเขต (Territorial Water) ได฾ เวียดนามออกแถลงการณแว฽าด฾วยทะเลอาณาเขต 12 ไมลแทะเลรอบเกาะสแปรตลียแในปี 2520/1977 และจีนก็ออกกฎหมายว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตในปี 2535/1992219 ส฽วนมาเลเซียประกาศอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณา

215 โปรดดู International Court of Justice. Case concerning the Land, Island and Maritime Frontier Dispute (El Salvador/Honduras: Nicaragua intervening) (El Salvador v. Honduras), Judgment of 11 September 1992. เข฾าถึงเมื่อ 19 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1LnIjR8 216 กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 27. 217 สันดอนอินเวสติเกเตอรแ (Investigator Shoal) หรือรู฾จักในชื่ออื่นๆ เช฽น จีน เรียกว฽า หวีย฽า อ฾านซา (Yuya Ansha - 榆亚暗沙) มาเลเซีย เรียกว฽า เตอรัมบู เปินนินเจา (Terumbu Peninjau) ฟิลิปปินสแ เรียกว฽า ปาวิกัน (Pawikan) และ เวียดนาม เรียกว฽า บเาย ถาม เหี่ยม (bãi Thám hiểm) ซึ่งตั้งอยู฽พิกัดที่ละติจูด 8 องศา 10 ลิปดา เหนือ และ ลองจิจูด 114 องศา 40 ลิปดา ตะวันออก มีส฽วนที่อยู฽พ฾นผิวน้ําในขณะน้ําลดต่ําสุด มีหินขนาดใหญ฽หลายก฾อนล฾อมรอบอยู฽ทางด฾านตะวันตก สุด ซึ่งทําให฾เกิดลักษณะของภูมิประเทศแบบทะเลสาบบนเกาะหินปะการัง หรือ ลากูน (lagoon) 218 กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 5. 219 เวียดนามออกแถลงการณแในวันที่ 12 พฤษภาคม 2520/1977 และจีนออกกฎหมายว฽าด฾วยทะเลอาณาเขต และเขตต฽อเนื่อง (Law on the Territorial Sea and the Contiguous Zone of February 25, 1992) ในวันที่ 25 231

เขต 12 ไมลแทะเล รอบแนวปะการังสวอลโลว (Swallow Reef) และเกาะอัมบอยญา เคยแ (Amboyna Cay) แต฽ไม฽มีการประกาศรอบเกาะอื่นๆ ของหมู฽เกาะสแปรตลียแซึ่งมาเลเซียอ฾างสิทธิ์ แม฾ว฽าของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 จะรับรองการประกาศทะเลอาณาเขต 12 ไมลแทะเล รอบชายฝั่งและหมู฽เกาะ แต฽ก็ไม฽จําเป็นที่จะต฾องใช฾ตัวเลข 12 ไมลแทะเลตามที่ระบุไว฾เสมอไป เพราะใน อนุสัญญาฯ ข฾อ 300 ว฽าด฾วยเรื่อง “ความสุจริตและการใช฾สิทธิในทางที่ผิด”220 ได฾ย้ําเตือนให฾ประเทศต฽างๆ ต฾องไม฽ใช฾สิทธิภายใต฾อนุสัญญาฯ ในลักษณะที่เป็นการเอาเปรียบประเทศอื่นๆ ตัวอย฽างที่สามารถพบได฾ในกรณี ที่รัฐได฾ทําความตกลงที่จะกําหนดทะเลอาณาเขตน฾อยกว฽า 12 ไมลแทะเลรอบหมู฽เกาะ เช฽น การประกาศทะเล อาณาเขต 3 ไมลแทะเล กรณีเกาะอิสลา ปาตอส (Isla Patos) ระหว฽างเวเนซุเอลา (Venezuela) กับตรินิแดด และโตเบโก (Trinidad and Tobago) หรือ กรณีเกาะเดญิญนาหแ (Dayyinah) ระหว฽างอาบูดาบี (Abu Dhabi) กับกาตารแ (Qatar) และ กรณีหมู฽เกาะในช฽องแคบตอรแเรส (Torres Strait) ระหว฽างออสเตรเลียกับ ปาปัวนิวกินี เช฽นเดียวกับหมู฽เกาะในทะเลอีเจียน (Aegean Sea) ก็กําหนดทะเลอาณาเขตเพียง 6 ไมลแทะเล221 เอกอัครราชทูตฮัสจิม จาลาล (Hasjim Djalal) ตั้งข฾อสังเกตว฽าลักษณะทางภูมิศาสตรแในหมู฽เกาะสแปรต ลียแไม฽น฽าจะมีสิทธิ์กําหนดทะเลอาณาเขตได฾ แต฽ก็ควรจะได฾รับการสงวนสิทธิ์เพื่อกําหนด “เขตปลอดภัย (safety zones)”222 ซึ่งประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์น฽าจะตกลงกันได฾บนพื้นฐานแนวคิดที่ว฽าทรัพยากรในพื้นที่ควรจะถูกนํามาใช฾ ร฽วมกันเพื่อประโยชนแของประชาคมอาเซียนโดยรวม

แนวทางการก าหนดไหล่ทวีปของประเทศผู้อ้างสิทธิ์ ลักษณะทางภูมิศาสตรแของทะเลจีนใต฾มีความท฾าทายต฽อการตีความและการใช฾ข฾อ 76223 ของอนุสัญญา สหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ซึ่งเป็นที่แน฽ชัดแล฾วว฽าลําพังเพียงลักษณะทางภูมิศาสตรแของหมู฽ เกาะสแปรตลียแนั้นไม฽สามารถนํามาใช฾เพื่อกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะหรือไหล฽ทวีปได฾ ดังนั้น อาณาเขตทาง ทะเลอาจถูกกําหนดได฾โดยการใช฾อาณาเขตทางบกหรือผืนแผ฽นดินบนเกาะใหญ฽ของประเทศผู฾อ฾างสิทธิ์ ไหล฽ทวีปทางด฾านตะวันออกเฉียงใต฾ของเวียดนาม และทางด฾านตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐซาราวักของ มาเลเซีย หรือ อาณาเขตทางทะเลของบรูไนขยายออกไปเกิน 200 ไมลแทะเล จากชายฝั่งที่ไม฽ต฽อเนื่อง (irrespective coasts) ซึ่งบทบัญญัติในข฾อย฽อยที่ 5 ของข฾อ 76 ของอนุสัญญาฯ เปิดช฽องให฾เวียดนามและ มาเลเซียสามารถอ฾างสิทธิ์ในทรัพยากรบนไหล฽ทวีปขยายออกไปได฾ถึง 350 ไมลแทะเล ในกรณีที่ไม฽ปรากฏว฽ามี การอ฾างสิทธิ์ซ฾อนทับโดยประเทศอื่น ไหล฽ทวีปของมาเลเซียขยายออกไปทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ส฽วน

กุมภาพันธแ 2535/1992 และคําสั่งประธานาธิบดีแห฽งสาธารณรัฐประชาชนจีน หมายเลข 55 (Order of the President of the People‖s Republic of China No.55) 220 มาตรา 300 ความสุจริตและการใช฾สิทธิในทางที่ผิด “ให฾รัฐภาคีปฏิบัติตามพันธกรณีที่ยอมรับตามอนุสัญญานี้โดย สุจริต และให฾ใช฾สิทธิ เขตอํานาจและเสรีภาพที่ได฾รับการรับรองในอนุสัญญานี้ ในลักษณะซึ่งจะไม฽เป็นการใช฾สิทธิในทางที่ผิด” กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 128. 221 Jon M. Van Dyke. “An Analysis of the Aegean Dispues Ynder International Law,” Ocean Development and International Law 63 (2005), pp. 83-85. 222 Summary of Proceedings of the First Technical Working Group Meeting on Legal Matters in the South China Sea (Phuket, Thailand: July 2-5, 1995), p. 10. อ฾างใน Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 71. 223 โปรดดู ข฾อ 76 อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982, กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 36-37. 232

ไหล฽ทวีปของบรูไนนั้นไม฽สามารถอ฾างสิทธิ์ได฾เนื่องจากมีร฽องน้ําปาลาวันตะวันออก (East Palawan Trough) อยู฽ใกล฾แนวชายฝั่ง การอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปของฟิลิปปินสแก็ไม฽สามมารถทําได฾เช฽นกัน เนื่องจากรอยตัดชั้นความลึก (deep indentation) ในพื้นทะเลอยู฽ทางตะวันตกของขอบทวีปหลักของฟิลิปปินสแ224

คณะกรรมาธิการก าหนดขอบเขตของไหล่ทวีป (Commission on the Limits of the Continental Shelf – CLCS) ข฾อ 76 และภาคผนวก 2 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 กําหนดให฾มี คณะกรรมาธิการกําหนดขอบเขตของไหล฽ทวีป (Commission on the Limits of the Continental Shelf – CLCS) จํานวน 21 คน มีหน฾าที่รับผิดชอบในการพิจารณาการอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปของรัฐชายฝั่งที่กําหนดไหล฽ทวีป ของตนเกินกว฽า 200 ไมลแทะเล เนื่องจากหลักเกณฑแที่ค฽อนข฾างซับซ฾อนของข฾อ 76 จึงมีความจําเป็นที่จะต฾องมี องคแกรกลางเพื่อพิจารณาการอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended Continental Shelf - ECS) แต฽ก็ ไม฽มีความชัดเจนว฽าคณะกรรมาธิการฯ ควรจะปฏิบัติอย฽างไรในกรณีที่มีการอ฾างสิทธิ์ทับซ฾อนกัน แม฾แต฽ข฾อย฽อยที่ 6 ของข฾อ 76 ซึ่งกล฽าวถึง “การให฾ข฾อเสนอแนะ (recommendation)” ซึ่งคําตัดสินของคณะกรรมาธิการฯ ต฾องได฾รับการยอมรับโดยประเทศคู฽พิพาท หากมีประเทศใดในทะเลจีนใต฾ยื่นคําร฾องต฽อคณะกรรมาธิการฯ คํา ตัดสินของคณะกรรมาธิการฯ จะต฾องเกิดผลโดยจะกลายเป็นหลักการที่มีนัยสําคัญต฽อการปักปันเขตแดน ภายในภูมิภาคอย฽างเป็นมาตรฐานเดียวกัน ในเดือนพฤษภาคม 2552/2009 มาเลเซียและเวียดนามร฽วมกันเสนอรายงานไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended Continental Shelf - ECS) เกินกว฽า 200 ไมลแทะเล ในทะเลจีนใต฾ ให฾แก฽คณะกรรมาธิการฯ แต฽ยังไม฽ได฾ รับการรับรอง225 (ดูภาพที่ 4.40) ต฽อมาจีนได฾ส฽งสารบันทึกวาจา (Note Verbale) เลขที่ CML/17/2009 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2552/2009 เพี่อประท฾วงการนําเสนอรายงานร฽วมของมาเลเซียและเวียดนาม หลังจากนั้นประเทศต฽างๆ ที่เกี่ยวข฾องก็ส฽งสารบันทึกวาจาเพื่อประท฾วงรายงานร฽วมของมาเลเซียและเวียดนามดังแสดงในตารางที่ 4.8

ตารางที่ 4.8 แสดงสารบันทึกวาจา (Note Verbale) เพื่อประท฾วงรายงานไหล฽ทวีปร฽วมของมาเลเซียและเวียดนาม ประเทศ วันที่ เนื้อหาของสารบันทึกวาจา (Note Verbale) เข้าถึงเอกสารได้ที่ จีน 7 พฤษภาคม จีนมีอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะในทะเลจีนใต฾ และเรียกร฾อง http://bit.ly/QKlRLV 2551/2009 คณะกรรมการฯ ไม฽ให฾พิจารณารายงานร฽วมของมาเลเซีย และเวียดนาม เวียดนาม 8 พฤษภาคม เกาะพาราเซล และสแปรตลียแเป็นส฽วนหนึ่งของดินแดน http://bit.ly/1H3FaYS 2551/2009 เวียดนาม และมีอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะเหล฽านี้ การอ฾างสิทธิ์ ของจีนตามบันทึกวาจาดังกล฽าวไม฽ถูกต฾องตามข฾อเท็จจริง ทางกฎหมายและประวัติศาสตรแ

224 Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 71. 225 โปรดดู Commission on the Limits of the Continental Shelf (CLCS). “Outer limits of the continental shelf beyond 200 nautical miles from the baselines: Submissions to the Commission: Joint submission by Malaysia and the Socialist Republic of Viet Nam,” in Division for Ocean Affairs and the Law id the Sea, United Nations, Updated on May 3, 2011. เข฾าถึงเมื่อ 19 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1dFX7zg 233

ประเทศ วันที่ เนื้อหาของสารบันทึกวาจา (Note Verbale) เข้าถึงเอกสารได้ที่ มาเลเซีย 20 พฤษภาคม มาเลเซียได฾แจ฾งให฾จีนทราบก฽อนที่จะมีการนําเสนอรายงาน http://bit.ly/1FrItSa 2551/2009 ร฽วมระหว฽างมาเลเซียกับเวียดนามแล฾ว ฟิลิปปินสแ 4 สิงหาคม ฟิลิปปินสแขอเรียกร฾องให฾คณะกรรมการฯ ระงับการพิจารณา http://bit.ly/1Swk0Vo 2551/2009 รายงานร฽วมระหว฽างมาเลเซียกับเวียดนาม จนกว฽าจะสามารถ แก฾ปัญหาข฾อพิพาทได฾สําเร็จ เวียดนาม 18 สิงหาคม รายงานของเวียดนามไม฽เกี่ยวกับการกําหนดเส฾นเขตแดน http://bit.ly/1RhclYx 2551/2009 ของรัฐที่มีชายฝั่งตรงข฾ามหรือประชิดกันซึ่งจะไม฽กระทบกับ สิทธิของรัฐคู฽พิพาทเขตแดนทางบกและทางทะเล มาเลเซีย 21 สิงหาคม มาเลเซียได฾แจ฾งให฾ฟิลิปปินสแทราบก฽อนที่จะมีการนําเสนอรายงาน http://bit.ly/1TBvfx4 2551/2009 ร฽วมระหว฽างมาเลเซียกับเวียดนามแล฾ว และยังเสนอให฾ฟิลิปปินสแร฽วม เสนอด฾วย และอ฾างอิงคําตัดสินศาลโลกกรณีการคัดค฾านคดีสิปาดัน-ลิ กิตัน ซึ่งขี้ว฽าการอ฾างสิทธิ์ของฟิลิปปินสแเหนือดินแดนบอรแเนียว เหนือไม฽อยู฽ภายใต฾หลักกฎหมายระหว฽างประเทศ ดังนั้นจึงขอให฾ คณะกรรมการฯ พิจารณารายงานร฽วมระหว฽างมาเลเซียกับเวียดนาม อินโดนีเซีย 8 กรกฎาคม อินโดนีเซียไม฽ได฾เป็นคู฽พิพาทในปัญหาหมู฽เกาะในทะเลจีนใต฾ และเป็น http://bit.ly/1MSxTt1 2553/2010 ผู฾พยายามไกล฽เกลี่ยด฾วยแนวทางสันติมาตั้งแต฽ปี 2533/1990 อินโดนีเซียเห็นว฽า “แผนที่ 9 เส฾นประ” ของจีนขาดไม฽ถูกต฾องตาม หลักกฎหมายระหว฽างประเทศและยังเป็นการคว่ําอนุสัญญา สหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ปี 2525/1982 ด฾วย ฟิลิปปินสแ 5 เมษายน 1. ฟิลิปปินสแมีอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะกาลายาอัน http://bit.ly/UIt1Cp 2554/2011 2. ฟิลิปปินสแมีอธิปไตยเหนือน฽านน้ําของหมู฽เกาะนี้ 3. จีนไม฽มีสิทธิ์เหนือทะเลอาณาเขต เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล฽ทวีปของลักษณะภูมิศาสตรแต฽างๆ ตามหลัก กฎหมายระหว฽างประเทศ จีน 14 เมษายน จีนมีสิทธิอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะหนานชาหรือสแปลตลียแ http://bit.ly/1ITHorj 2554/2011 รวมทั้งทะเลอาณาเขต เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล฽ทวีป ตามที่ เคยประกาศไว฾ตั้งแต฽ปี 2535/1992 และ 2541/1998 เวียดนาม 3 พฤษภาคม หมู฽เกาะพาราเซล และ สแปรตลียแเป็นส฽วนสําคัญของเขต http://bit.ly/1IoYmLu 2554/2011 แดนเวียดนาม และเวียดนามมีหลักฐานทางประวัติศาสตรแ และกฎหมายที่จะยืนยันสิทธิอธิปไตยเหนือหมู฽เกาะทั้งสองนี้

234

ภาพที่ 4.40 แผนที่แสดงพื้นที่ที่กําหนดทางตอนใต฾ของทะจีนใต฾ (Defined Area in the southern part of the South China Sea) ตามรายงานร฽วมระหว฽างมาเลเซียกับเวียดนามว฽าด฾วยไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended Continental Shelf - ECS) เกินกว฽า 200 ไมลแทะเล (ที่มา: Excutive Summary, Joint Submission to the Commission on the Limits of the Continental Shelf เข฾าถึงเมื่อ 19 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1GWteWX)

235

เส้นมัธยะ (Equidistance) กับการก าหนดอาณาเขตทางทะเล ข฾อ 6 ของอนุสัญญาว฽าด฾วยไหล฽ทวีป (Convention on the Continental Shelf) ปี 2501/1958 และ ข฾อ 12 ของอนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตและเขตต฽อเนื่อง (Convention on the Territorial Sea and the Contiguous Zone) ปี 2501/1958226 กําหนดหลักการเรื่อง “เส฾นมัธยะ (equidistance)” โดยให฾ถือ เป็นวิธีการเพื่อแก฾ปัญหาการอ฾างสิทธิ์บริเวณน฽านน้ําโดยรอบ ภายใต฾หลักการนี้ พื้นที่พิพาทจะแบ฽งตามแนว เส฾นมัธยะระหว฽างประเทศคู฽พิพาท แต฽ในอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 จะหลีกเลี่ยง การใช฾ “เส฾นมัธยะ (equidistance)” แต฽ใช฾ข฾อย฽อยที่ 1 ของข฾อ 74 และข฾อย฽อยที่ 1 ของข฾อ 83 ซึ่งกําหนด หลักเกณฑแในการแก฾ไขข฾อพิพาทโดยตรง “การกําหนดขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะระหว฽างรัฐที่มีฝั่งทะเล ตรงข฾ามหรือประชิดกัน ให฾กระทําโดยความตกลงบนมูลฐานของกฎหมายระหว฽างประเทศ ตามที่อ฾างถึงในข฾อ 38 แห฽งธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ เพื่อให฾บรรลุผลอันเที่ยงธรรม”227 จุดประสงคแของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ก็เพื่อให฾บรรลุผลตาม “หลักการความเที่ยงธรรม (equitable principle)” ซึ่งเกี่ยวข฾องโดยตรงมากที่สุดกับข฾อพิพาทในทะเลจีนใต฾ เนื่องจากลักษณะทางภูมิศาสตรแในหมู฽เกาะสแปรตลียแไม฽มีคุณสมบัติที่จะสามารถนําไปกําหนดอาณาเขตทาง ทะเลได฾ และแม฾ว฽าในบางกรณีเกาะบางแห฽งในหมู฽เกาะสแปรตลียแจะถูกเข฾าใจว฽าสามารถนําไปใช฾เพื่อกําหนด อาณาเขตทางทะเลได฾ก็ตาม แต฽ก็ไม฽สามารถทําได฾อย฽างเท฽าเทียมกับอาณาเขตทางทะเลที่เกิดจากการกําหนด โดยการใช฾อาณาเขตทางบกหรือผืนแผ฽นดินบนเกาะใหญ฽

การจัดการทะเลหลวง (High Seas) หลังจากมีการก าหนดอาณาเขตทางทะเล ถ฾าหากสามารถกําหนดอาณาเขตทางทะเลตามอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยอนุสัญญาสหประชาชาติ ว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ได฾สําเร็จแล฾ว พื้นที่ซึ่งอยู฽เลยออกไปจากอํานาจอธิปไตยของประเทศต฽างๆ ย฽อมจะยังคงอยู฽บริเวณตอนกลางของทะเลจีนใต฾ ทรัพยากรประมงในพื้นที่นี้จะได฾รับการดูแลตามข฾อ 116 – 119 ของอนุสัญญาและความตกลงว฽าด฾วยทรัพยากรสัตวน้ําครอมเขตและอพยพยายถิ่น (Agreement on Straddling and Migratory Stocks) ปี 2538/1995 แร฽ธาตุและแหล฽งทรัพยากรไฮโดรคารแบอนในท฾องทะเล และในพื้นที่เกินกว฽าเขตอํานาจอธิปไตยของรัฐซึ่งมีความสําคัญมากกว฽าข฾อพิพาทเขตแดน จะได฾รับการ ควบคุมดูแลโดย องคแการพื้นสมุทรระหว฽างประเทศ (International Sea-Bed Authority) แต฽ก็ยังไม฽มีความ ชัดเจนว฽า องคแกรนี้จะมีวิธีดําเนินการอย฽างไรในพื้นที่ทะเลกึ่งปิดอย฽างทะเลจีนใต฾ เพราะการสํารวจและใช฾

226 อนุสัญญากรุงเจนีวาว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 1 (United Nations Convention on the Law of the Sea – UNCLOS I) ปี 2501/1958 ประกอบด฾วยกฎหมาย 4 ฉบับ ได฾แก฽ 1.อนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตและเขตต฽อเนื่อง (Convention on the Territorial Sea and the Contiguous Zone) 2. อนุสัญญาว฽าด฾วยทะเลหลวง (Convention on the High Seas) 3. อนุสัญญาว฽าด฾วยการทําประมงและการอนุรักษแทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลหลวง (Convention on Fishing and Conservation of the Living Resources of the High Seas) และ 4. อนุสัญญาว฽าด฾วยไหล฽ทวีป (Convention on the Continental Shelf) ราชกิจจานุเบกษา (เล฽มที่ 86 ตอนที่ 44 วันที่ 20 พฤษภาคม 2512) เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EObU2c 227 ข฾อย฽อยที่ 1 ของข฾อ 74 การกําหนดขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะระหว฽างรัฐที่มีฝั่งทะเลตรงข฾ามหรือประชิดกัน อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 ปี 2525/1982 กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 34. 236

ประโยชนแจากทรัพยากรที่พบในพื้นทะเลต฾องได฾รับการอนุมัติจาก องคแการพื้นสมุทรระหว฽างประเทศ (International Sea-Bed Authority) แต฽การมีคณะกรรมการที่ปรึกษาระดับภูมิภาคย฽อมเป็นผลดีต฽อการมี ส฽วนร฽วมในการตัดสินใจระดับภูมิภาค

ประเทศผู้อ้างสิทธิ์มีหน้าที่ให้ความร่วมมือในการจัดการทรัพยากรและการปกป้องสิ่งแวดล้อมใน พื้นที่ทะเลกึ่งปิด (Semi-Enclosed Sea) ข฾อ 122 และ 123 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ได฾วางแนวคิดเรื่อง “ทะเลกึ่ง ปิด (Semi-Enclosed Sea)” และเรียกร฾องให฾ประเทศที่มีอาณาเขตติดต฽อกับทะเลกึ่งปิดต฾องให฾ความร฽วมมือใน การจัดการกิจกรรมและปัญหาต฽างๆ ที่จะเกิดขึ้น ซี่งทะเลจีนใต฾มีลักษณะทางภูมิศาสตรแสอดคล฾องตามคํานิยาม ของข฾อ 122 ที่กล฽าวว฽า “ทะเลปิดหรือกึ่งปิด หมายถึง อ฽าว แอ฽ง หรือทะเลที่ล฾อมรอบโดยรัฐสองรัฐหรือ มากกว฽า และเชื่อมกับอีกทะเลหนึ่งหรือมหาสมุทร โดยช฽องทางออกแคบ หรือประกอบขึ้นทั้งหมดหรือส฽วน ใหญ฽ด฾วยทะเลอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจําเพาะของรัฐชายฝั่งสองรัฐหรือมากกว฽า” และ ข฾อ 123 กําหนดให฾ รัฐชายฝั่ง “จะเพียรพยายามโดยตรงหรือโดยผ฽านองคแกรระดับภูมิภาค ที่เหมาะสมที่จะ (เอ) ประสานงานการ จัดการ การอนุรักษแ การสํารวจ และการแสวงประโยชนแจากทรัพยากรมีชีวิตในทะเล (บี) ประสานงานการใช฾ สิทธิและการปฏิบัติหน฾าที่ของตนในส฽วนที่เกี่ยวกับการปูองกันและการรักษาสิ่งแล฾วล฾อมทางทะเล (ซี) ประสาน นโยบายการวิจัยทางวิทยาศาสตรแของตน และดําเนินโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตรแร฽วมกันตามความเหมาะสม ในบริเวณนั้น (ดี) เชิญรัฐอื่นหรือองคแการระหว฽างประเทศที่เกี่ยวข฾อง เท฽าที่เหมาะสม เพื่อร฽วมมือกับตนในการ ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห฽งข฾อนี้”228

มรดกร่วมแห่งภูมิภาค (A Shared Reginal “Common Heritage”) แม฾อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 จะไม฽มีหลักการเพื่อรองรับแนวคิด “มรดกร฽วม แห฽งภูมิภาค” แต฽ประเทศทั้งหลายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ก็สามารถแสดงท฽าทีที่จะยืนยันการอ฾าง สิทธิ์ความเป็นเจ฾าของทรัพยากรในทะเลจีนใต฾ร฽วมกันได฾ ข฾อเท็จจริงทางประวัติศาสตรแที่ว฽าจีนนั้นมีอิทธิพลในหมู฽เกาะสแปรตลียแมาอย฽างยาวนาน เพราะเคยเป็น ประเทศที่ผู฾มีอํานาจเหนือดินแดนต฽างๆ ในภูมิภาคนี้ แต฽เมื่ออิทธิพลของจีนเริ่มลดลงเนื่องจากการเข฾ามาของ ลัทธิอาณานิคมตะวันตก ดินแดนต฽างๆ ก็เป็นผู฾รับสิทธิ์สืบทอดอํานาจของจีนเช฽นกัน แต฽เนื่องจากไม฽สามารถ แบ฽งปันดินแดนของหมู฽เกาะสแปรตลียแได฾ง฽าย เพราะจีนยังคงอ฾างสิทธิ์ความเป็นเจ฾าของอยู฽ ดังนั้น แนวคิดเรื่อง การสร฾างพื้นที่มรดกร฽วมระหว฽างประเทศโดยเปลี่ยนพื้นที่พิพาทร฽วม (joint disputed area) ให฾เป็นพื้นที่ พัฒนาร฽วม (joint development area) ซึ่งน฽าจะเป็นแนวทางที่เหมาะที่สุดในการแก฾ปัญหาข฾อพิพาทเขต แดนทางทะเลในหมู฽เกาะสแปรตลียแ โฮเซ฽ เดอ เวเนเซีย (Jose de Venecia) ที่ปรึกษาประธานาธิบดีฟิเดล รามอส (Fidel Ramos) และ สมาชิกรัฐสภาคนสําคัญของฟิลิปปินสแได฾เสนอแนวคิดเรื่อง “ระบบคอนโดมีเนียม (condominium system)” ในทะเลจีนใต฾ นอกจากนี้เมื่อเวเนเซียได฾รับตําแหน฽งที่ปรึกษากฎหมายของกระทรวงการต฽างประเทศฟิลิปปินสแ (Philippine Department of Foreign Affairs) ก็ได฾กล฽าวว฽าทรัพยากรทางทะเลของภูมิภาคนี้ “ควรจะ

228 กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 52. 237

ได฾รับการสํารวจ ใช฾ประโยชนแ และบริหารจัดการโดยความร฽วมมือของทุกชาติเพื่อให฾เกิดผลประโยชนแต฽อ ประชาชนทุกคน”229 ในปี 2533/1990 นาย หลี่ เผิง (Li Peng) นายกรัฐมนตรีของจีน ได฾แถลง ณ ประเทศสิงคโปรแ “ปัญหา ข฾อพิพาทในทะเลจีนใต฾ต฾องยุติลงแล฾วหันมาร฽วมกันพัฒนาทรัพยากรในทะเลจีนใต฾”230 และต฽อมาในเดือน สิงหาคม 2538/1995 นายลี เต็งฮุย (Lee Teng-hui) ประธานาธิบดีไต฾หวัน มีข฾อเสนอว฽าประเทศต฽างๆ จํานวน 12 ประเทศ ที่มีผลประโยชนแหรือมีอาณาเขตติดกับทะเลจีนใต฾ต฾องยกเลิกการอ฾างสิทธิ์หมู฽เกาะสแปรต ลียแ และต฾องลงทุนเป็นเงิน 1 หมื่นล฾านเหรียญสหรัฐเพื่อร฽วมกันก฽อตั้งและพัฒนา “บริษัททะเลจีนใต฾พัฒนา จํากัด (The South China Sea Development Company)”231 อย฽างไรก็ตามแนวคิดนี้ก็ยังคงเป็นแนวคิด กว฾างๆ มากกว฽าจะมีการลงมือทํากันอย฽างจริงจัง

โดยสรุป ข฾อพิพาทเขตแดนทางทะเลที่ยังไม฽สามารถหาข฾อยุติได฾ย฽อมเป็นอุปสรรคกีดขวางการใช฾ ประโยชนแจากทรัพยากรในพื้นที่ และเกี่ยวข฾องกับความรู฾สึกชาตินิยมที่เกิดจากความเข฾าใจผิดทาง ประวัติศาสตรแ ซึ่งปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศเหล฽านี้มีความซับซ฾อน แต฽ก็ไม฽เกินความสามารถ และสติปัญญาของมนุษยแที่จะมองเห็นแนวทางในการแก฾ปัญหาให฾ยุติลงได฾อย฽างสันติ เพราะการเกิดข฾อถกเถียง และการศึกษาข฾อมูลเพื่อนํามาโต฾แย฾งกันหลายต฽อหลายครั้งทําให฾คู฽พิพาทมองเห็นข฾อมูลและมุมมองที่ หลากหลายและชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งอาจนําไปสู฽การแก฾ปัญหาได฾อย฽างถาวร และการแก฾ไขปัญหาจะเกิดขึ้นได฾ก็ ต฽อเมื่อแต฽ละประเทศพบว฽าข฾อพิพาทเขตแดนเหล฽านี้ได฾ฉุดรั้งผลประโยชนแของประเทศไปแล฾วมากมายเพียงใด

229 “…should be explored, exploited and managed by all nations jointly for the benefit of all peoples.” House of Representatives Resolution No.1010 introduced by Congressman Jose de Venecia อ฾างใน Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 74. 230 Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 75. 231 Kyodo. “Lee Urges Joint Venture Plan for South China Sea Works,” Japan Times (Aug. 22, 1995), p. 4. อ฾าง ใน Jon M. Van Dyke. Ibid, p. 74. 238

บทที่ 5 กลไกจัดการข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศของอาเซียน

ข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ได฾สร฾างความท฾าทายต฽อกระบวนการจัดการปัญหา ผ฽านความร฽วมมือและบูรณาการภายในภูมิภาค (regional integration) นับตั้งแต฽ประเทศต฽างๆ ในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾เป็นเอกราชหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็เกิดความพยายามในการสร฾างรัฐชาติ (nation sate) ของตนให฾มีเสถียรภาพและความมั่นคงมากยิ่งขึ้น จนกระทั่งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510/ 1967 มีการลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)” ว฽าด฾วยความร฽วมมือของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ในนาม “สมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Association of South East Asian Nations)” หรือ “อาเซียน (ASEAN)” โดยมีประเทศสมาชิกเริ่มแรก 5 ประเทศ ได฾แก฽ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินสแ สิงคโปรแ และไทย ต฽อมาในปี 2527/1984 บรูไน ได฾เข฾าเป็นสมาชิกลําดับที่ 6 และปี 2538/ 1995 เวียดนาม ได฾เข฾าเป็นสมาชิกลําดับที่ 7 และในปี 2540/1997 ลาว กับ พม฽า ได฾เข฾าร฽วมเป็น สมาชิกลําดับที่ 8 กับ 9 จนกระทั่งในปี 2542/ 1999 กัมพูชา จึงได฾เข฾าร฽วมเป็นประเทศสมาชิกลําดับที่ 10 ซึ่ง ในปัจจุบันอาเซียนมีเลขาธิการอาเซียนเป็นผู฾บริหารสํานักงานที่กรุงจาการแตา ประเทศอินโดนีเซีย อาเซียน เกิดขึ้นในยุคแห฽งการเผชิญหน฾าทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ บนความแตกต฽างทาง เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และประวัติศาสตรแ ดังนั้น อาเซียน จึงเป็นองคแการความร฽วมมือทางภูมิศาสตรแ การเมือง และองคแการความร฽วมมือทางเศรษฐกิจ มีวัตถุประสงคแเพื่อร฽วมมือกันในการเพิ่มอัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การพัฒนาวัฒนธรรมในกลุ฽มประเทศสมาชิก และการธํารงรักษา สันติภาพและความมั่นคงในพื้นที่ และเป็นการเปิดโอกาสให฾คลายข฾อพิพาทระหว฽างประเทศสมาชิกอย฽างสันติ จนกระทั่งในยุคปัจจุบัน อาเซียน มี “กฏบัตรอาเซียน (Asian Charter)” ซึ่งเป็นสนธิสัญญาพหุภาคีที่ทํา ร฽วมกันระหว฽างประเทศสมาชิก ลงนามอย฽างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน.2551/ 2007 เป็น เครื่องมือในการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร฾างองคแกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการ ดําเนินการตามวัตถุประสงคแและเปูาหมาย โดยเฉพาะอย฽างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็น “ประชาคม อาเซียน (ASEAN Community)” ในปี 2558/ 2015 นับตั้งแต฽มีการจัดตั้งองคแกรอาเซียนเป็นต฾นมา ประเทศสมาชิกได฾สร฾างความเชื่อมั่น ความคุ฾นเคย และ ความเข฾าใจในสถานะของกันและกันในประเด็นต฽างๆ ผ฽านทั้งการพบปะพูดคุยที่ไม฽เป็นทางการและการประชุม ที่เป็นทางการทั้งในระดับผู฾นําประเทศ รัฐมนตรี และเจ฾าหน฾าที่อาวุโสของประเทศสมาชิก ซึ่งอาจกล฽าวได฾ว฽า ประสบความสําเร็จอย฽างสูงในด฾านการมีปฏิสัมพันธแ การประสานงาน และความเข฾าใจระหว฽างประเทศสมาชิก ผู฾ก฽อตั้งของอาเซียน การตัดสินใจร฽วมกันโดยเฉพาะการการส฽งเสริมความสําเร็จในระดับภูมิภาค บนพื้นฐาน ของความยืดหยุ฽นภายในของแต฽ละประเทศสมาชิกผ฽านการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะส฽งผลต฽อเสถียรภาพทาง การเมืองระหว฽างประเทศที่เพิ่มขึ้นด฾วย ทั้งนี้ วิธีการของอาเซียนในการบริหารจัดการความขัดแย฾งส฽วนใหญ฽มัก ดําเนินการในรูปแบบของการหลีกเลี่ยงข฾อพิพาทและไม฽ยินยอมให฾ข฾อพิพาทที่มีอยู฽ทําลายความสัมพันธแระหว฽าง ประเทศ องคแประกอบที่สําคัญของวิธีการนี้ คือ กระบวนการให฾คําปรึกษาที่เรียกว฽า มัสยาวาระหแ (Musyawarah) หรือ การปรึกษาหารืออย฽างไม฽เป็นทาง (informal consultation) เพื่อปูองกันไม฽ให฾เกิด

239

ปัญหาขึ้น232 และให฾สามารถบรรลุการตัดสินใจที่เป็นเอกฉันทแ หรือ “ฉันทามติ (consensus/Mufakat)” ซึ่ง เป็นกลไกสําคัญในกระบวนการจัดการความขัดแย฾งในแบบของอาเซียน เนื่องจากมีจุดมุ฽งหมายเพื่อที่จะรักษา ความสัมพันธแอันดีและสันติภาพระหว฽างประเทศสมาชิกโดยหลีกเลี่ยงเงื่อนไขที่อาจนําไปสู฽ความขัดแย฾ง ซึ่งหาก ความสําเร็จของการจัดการความขัดแย฾งระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียนวัดจากการปูองกันการกระทบกระทั่ง กันทางทหารแล฾ว ผลงานที่ผ฽านมาของอาเซียนถือว฽าอยู฽ในระดับที่น฽าพอใจ เนื่องจากยังไม฽มีข฾อพิพาทใดที่ทํา ไปสู฽การเผชิญหน฾าทางทหารอย฽างจริงจังถึงขั้นมีการประกาศสงครามระหว฽างประเทศสมาชิกผู฾ก฽อตั้ง อย฽างไรก็ ตาม วิธีการเช฽นนี้ของอาเซียนก็ไม฽ได฾ทําให฾ข฾อพิพาทที่มีอยู฽ได฾รับการแก฾ไขให฾ยุติลงอย฽างถาวร หรือสามารถ หยุดยั้งไม฽ให฾มีข฾อพิพาทอื่นๆ เกิดเพิ่มมากขึ้น ข฾อพิพาทบางกรณีได฾รับการแก฾ไข ในขณะที่ข฾อพิพาทอีกหลายกรณียังคงไม฽ได฾รับการแก฾ไข แต฽กรณี พิพาทอื่นๆ ก็มีการหยิบยกขึ้นมาถกเถียงกัน และมีกระบวนการคลี่คลายผ฽านกลไกการจัดการความขัดแย฾ง ต฽างๆ แม฾จะเป็นความจริงที่ว฽าการขยายตัวของการเข฾าร฽วมเป็นสมาชิกอาเซียนในปี 2533/1990 ได฾ทําให฾เกิด ข฾อพิพาทเขตแดนเพิ่มเติมภายในสมาคม ซึ่งกระทบโดยตรงต฽อความท฾าทายในการบริหารจัดการความขัดแย฾ง ภายในภูมิภาคเพิ่มขึ้นด฾วย ในขณะที่สมาชิกส฽วนใหญ฽ของอาเซียนแสดงท฽าทีที่จะจํากัดกรอบการเจรจาทวิภาคี และพยายามใช฾วิธีการปรึกษาหารือเป็นการภายในเฉพาะคู฽กรณี เพื่อการระงับข฾อพิพาทต฽างๆ ที่เกิดขึ้นในช฽วง หลายปีที่ผ฽านมา แต฽ก็มีกรณีพิพาทระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ และกรณีพิพาทเขตแดนระหว฽างอินโดนีเซียกับ มาเลเซีย ที่ได฾นําข฾อพิพาทเขตแดนเข฾าสู฽กระบวนการพิจารณาคดีของศาลโลก ซึ่งแสดงให฾เห็นว฽าประเทศ สมาชิกอาเซียนบางประเทศพยายามแสวงหากลไกลการระงับข฾อพิพาทด฾วยวิธีอนุญาโตตุลาการระหว฽าง ประเทศภายนอกภูมิภาค ดังนั้น อาจกล฽าวได฾ว฽าความพยายามในระดับทวิภาคีเพื่อการแก฾ปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนไม฽เพียงพอที่จะ แก฾ปัญหาได฾ แต฽ความพยายามในระดับทวิภาคีในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนก็สามารถที่จะได฾รับการอํานวย ความสะดวกได฾ด฾วยกลไกที่ถูกสร฾างขึ้นภายในกรอบอาเซียน โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและความจริงจังในการ ใช฾กลไกเหล฽านี้ให฾มากขึ้นระหว฽างประเทศสมาชิกด฾วยกันเอง ซึ่งจะส฽งผลโดยตรงต฽อบทบาทของอาเซียนใน ฐานะ “ผู฾อํานวยความสะดวก (facilitator)” มากกว฽าการเป็น “ผู฾ไกล฽เกลี่ยซึ่งเป็นบุคคลที่สาม (third-party mediator)” อย฽างไรก็ตาม บทบาทของอาเซียนในฐานะคนกลางนั้นใช฽ว฽าจะเป็นไม฽ได฾เสียทีเดียว แต฽ตราบ เท฽าที่อาเซียนได฾ปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ตนได฾กําหนดขอบเขตเอาไว฾ ซึ่งอุปสรรคที่สําคัญคือการถูกจํากัดด฾วย กรอบความร฽วมมือของอาเซียนเอง โดยเฉพาะกลไกในการจัดการความขัดแย฾งที่ต฾องอาศัย “ฉันทามติ” ของ ประเทศสมาชิกทุกประเทศ โดยเฉพาะบริบทของการเกิดข฾อพิพาทเขตระหว฽างประเทศสมาชิกซึ่งเป็นคู฽พิพาท ระหว฽างกันเองภายในองคแกร ประเด็นที่สําคัญคือการทําให฾อาเซียนสามารถตอบสนองต฽อความท฾าทายของข฾อ พิพาทเขตแดนที่กําลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน ในบทนี้จึงจะนําเสนอกลไกกรอบความร฽วมมือที่มีบทบัญญัติหรือข฾อความเกี่ยวข฾องกับการจัดการข฾อ พิพาทระหว฽างประเทศ โดยพิจารณาจากกรอบความร฽วมมือและกลไกภายในองคแกรอาเซียนจํานวนรวม 12 กลไกและกลไกภายนอกอาเซียนจํานวน 3 กลไก ดังนี้

232 Amer, Ramses. “The Association of South-east Asian Nations and the Management of Territorial Disputes.” in IBRU Boundary and Security Bulletin Winter 2001-2002 (2002), p. 87. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1V4Fkm4 240

5.1 กลไกจัดการข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศภายในกรอบอาเซียน กรอบความร฽วมมือฉบับต฽างๆ ของอาเซียนมีบทบัญญัติหรือข฾อความที่เกี่ยวข฾องกับการจัดการข฾อพิพาท ระหว฽างประเทศในอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกและเป็นแนวทางในการแก฾ไขปัญหาระหว฽างประเทศ สมาชิกอาเซียน ซึ่งแต฽ละประเทศได฾ลงนามรับรองกรอบความร฽วมมือที่เกี่ยวข฾องกับการจัดการข฾อพิพาท ระหว฽างกันจํานวน 12 กลไก ได฾แก฽ 5.1.1 ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ปี 2510/1967 5.1.2 ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน I (Declaration of ASEAN Concord I) หรือ บาหลี 1 (Bali Concord I) ปี 2519/1976 5.1.3 สนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ปี 2519/1976 5.1.4 ปฏิญญาอาเซียนว฽าด฾วยทะเลจีนใต฾ (ASEAN Declaration on The South China Sea) ปี 2535/1992 5.1.5 การประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) ปี 2535/1992 5.1.6 ระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾ (Rules of Procedure of the High Council of the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia) ปี 2544/2001 5.1.7 ปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต฾ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC) ปี 2545/2002 5.1.8 ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน II (Declaration of ASEAN Concord II) หรือ บาหลี 2 (Bali Concord II) ปี 2546/2003 5.1.9 แผนปฏิบัติการประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community Plan of Action) ปี 2547/2004 5.1.10 กฎบัติอาเซียน (Charter of the Association of Southeast Asian Nations – ASEAN Charter) ปี 2550/2007 5.1.11 แผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint) 5.1.12 พิธีสารของกฎบัตรอาเซียนว฽าด฾วยกลไกระงับข฾อพิพาท (Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms - DSMP) ปี 2553/2010

ซึ่งกลไกแต฽ละฉบับมีรายละเอียดและบทบัญญัติที่เกี่ยวข฾องกับการจัดการข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ สมาชิกอาเซียน ดังนี้

241

5.1.1 ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)

ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เกิดขึ้นเมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม 2510/1967 ณ พระราขวังสราญรมยแ กรุงเทพมหนาคร เพื่อก฽อตั้งสมาคมประชาชาติแห฽ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Association of Southeast Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) โดยผู฾แทน จาก 5 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ได฾แก฽ นายอาดัม มาลิค (Adam Malik) รัฐมนตรีฝุาย การเมือง/รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศอินโดนีเซีย ตุน อับดุล ราซัค (Tun Abdul Razak) รอง นายกรัฐมนตรีรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงกลาโหม และกระทรวงพัฒนาการแห฽งชาติมาเลเซีย นายนารแซิโซ รา มอส (Narciso Ramos) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศฟิลิปปินสแ นาย เอส. ราชารัตนัม (S. Rajaratnam) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศสิงคโปรแ และ พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตรแ รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศไทย233 เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติและเนื้อหาทั้งหมดของปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) แล฾ว ไม฽พบกลไกโดยตรงเพื่อการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽าง ประเทศ แต฽มีความ “ปรารถนา ที่จะก฽อตั้งรากฐานอันมั่นคง เพื่อกระทําการร฽วมกันในอันที่จะส฽งเสริมความ ร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ด฾วยเจตนารมณแแห฽งความเสมอภาคและร฽วมมือร฽วมใจ และโดย ประการนั้นก็จะช฽วยให฾มีสันติภาพ ความก฾าวหน฾า และความเจริญรุ฽งเรืองในภูมิภาค”234 ซึ่งเป็นการประกาศ หลักการของความร฽วมมือระหว฽งประเทศเอาไว฾อย฽างกว฾างๆ ไม฽ได฾เจาะจงเกี่ยวกับการสร฾างกลไกหรือการ จัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศแต฽อย฽างใด นอกจากนี้ยังมีบทบัญญัติว฽าด฾วยจุดหมายและความมุ฽ง ประสงคแของสมาคมในข฾อที่ 2 ว฽า “เพื่อส฽งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค โดยเคารพอย฽างแน฽วแน฽ใน ความยุติธรรมและหลักนิติธรรม ในการดําเนินความสัมพันธแระหว฽างประเทศในภูมิภาคและยึดมั่นในหลักการ แห฽งกฎบัตรสหประชาชาติ”235 โดยสรุป ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เกิดขึ้นเพื่อให฾ประเทศสมาชิกดําเนินนโยบายตามแนวทาง “สันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค (regional peace and stability)” โดยอาศัยหลักการของกฎบัติสหประชาชาติเป็นกลไกในการแก฾ปัญหาข฾อพิพาทที่ เกิดขึ้นระหว฽างกัน โดยยึดหลัก “ความยุติธรรมและหลักนิติธรรม (justice and the rule of law)” อย฽างไรก็ ตาม ปฏิญญาฉบับนี้ก็ไม฽ได฾กําหนดกลไกพิเศษเฉพาะ เพื่อการระงับข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศภายใน ภูมิภาคอาเซียน แต฽อย฽างใด

233 โปรดดู ภาคผนวกที่ 1 คําแปลภาษาไทย ปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (ปฏิญญา กรุงเทพ) รับรองโดยรัฐมนตรีว฽าการต฽างประเทศในการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ณ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510/1967 234 เพิ่งอ฾าง. 235 เรื่องเดียวกัน. 242

5.1.2 ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน I (Declaration of ASEAN Concord I) หรือ บาหลี 1 (Bali Concord I)

ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน I (Declaration of ASEAN Concord I) หรือ บาหลี I (Bali Concord I)236 เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธแ 2519/1976 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 1 ณ เกาะ บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย โดยผู฾นําประเทศสมาชิกอาเซียน 5 ประเทศ ได฾แก฽ ประธานาธิบดีซูฮารแโต (Soeharto) แห฽งอินโดนีเซีย ดร.ฮุสเซน ออน (Dr.Hussien Onn) นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ประธานาธิบดี เฟอรแดินานดแ อี. มารแกอส (Ferdinand Marcos) แห฽งฟิลิปปินสแ นายลี กวน ยู (Lee Kuan Yew) นายกรัฐมนตรีสิงคโปรแ และ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติและเนื้อหาทั้งหมดของปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน I (Declaration of ASEAN Concord I) หรือ บาหลี I (Bali Concord I) แล฾ว จะพบข฾อความที่เกี่ยวข฾องกับการ จัดการข฾อพิพาทหรือการระงับ (settlement) ความแตกต฽าง/ข฾อพิพาท (difference/dispute) เป็นครั้งแรก โดยประกาศให฾ “รัฐสมาชิกโดยจิตวิญญาณของความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกันของอาเซียน จะยึดมั่นใน กระบวนการสันติวิธีเพื่อระงับความแตกต฽างกันภายในภูมิภาค (settlement of intra-regional differences)”237 นอกจากนี้ยังกําหนดให฾มีกรอบความร฽วมมือทางการเมืองอาเซียน (framework for ASEAN Political Cooperation) โดยให฾ “ระงับข฾อพิพาทภายในภูมิภาค (settlement of intra-regional disputes) โดยสันติวิธี ด฾วยความรวดเร็วเท฽าที่จะเป็นไปได฾”238 รวมทั้งการขยายกรอบความร฽วมมือระหว฽างประเทศ สมาชิกที่จะสร฾าง “เขตสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality – ZOPFAN)” ขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ที่สําคัญคือ การปรากฏคําว฽า “ประชาคมอาเซียน (ASEAN community)” ขึ้นเป็นครั้งแรก โดย กําหนดให฾ “รัฐสมาชิกจะต฾องพัฒนาอย฽างจริงจังถึงความตระหนักในอัตลักษณแของภูมิภาค และทุ฽มเทความ พยายามทั้งหมดเพื่อสร฾างประชาคมอาเซียนที่แข็งแกร฽ง ให฾ความเคารพทุกประเทศบนพื้นฐานของ ความสัมพันธแที่มีผลประโยชนแร฽วมกัน และให฾สอดคล฾องกับหลักการอํานาจในการตัดสินใจอย฽างอิสระ อํานาจ อธิปไตยที่เสมอภาคกัน และหลักการไม฽แทรกแซงกิจการภายในของประเทศ”239 ซึ่งภายใต฾กรอบความร฽วมมือทางการเมืองอาเซียน (framework for ASEAN Political Cooperation) ได฾กําหนดแนวทางปฏิบัติไว฾ 7 ข฾อ ได฾แก฽ 1. ให฾มีการประชุมของประมุขของรัฐหรือหัวหน฾ารัฐบาลเมื่อมีเหตุจําเป็น 2. ลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) 3. ระงับข฾อพิพาทภายในภูมิภาคโดยสันติวิธี ด฾วยความรวดเร็วเท฽าที่จะเป็นไปได฾

236 “ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord)” หรือ ปฏิญญาบาหลี (Bali Concord) บางแห฽งแปลเป็นภาษาไทยว฽า “ปฏิญญาสมานฉันทแอาเซียน (Declaration of ASEAN Concord)” หรือ ปฏิญญา บาหลี I (Bali Concord I) โปรดดู Declaration of ASEAN Concord. Adopted by the Heads of State/Government at the 1st ASEAN Summit in Bali, Indonesia on 24 February 1976 จาก เอกสารสําคัญอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Sj4YQT 237 เพิ่งอ฾าง. 238 เรื่องเดียวกัน. 239 เรื่องเดียวกัน. 243

4. พิจารณาทันทีเกี่ยวกับขั้นตอนเพื่อรับรองและเคารพต฽อ “เขตสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality – ZOPFAN)” 5. ปรับปรุงกลไกอาเซียนเพื่อกระชับความร฽วมมือทางการเมืองให฾เข฾มแข็งมากขึ้น 6. ศึกษาวิธีการพัฒนาความร฽วมมือทางการพิจารณาคดี รวมทั้งความเป็นไปได฾ของ “สนธิสัญญาการส฽ง ผู฾ร฾ายข฾ามแดนอาเซียน (ASEAN Extradition Treaty)” 7. เสริมสร฾าง ความเป็นปึกแผ฽นทางการเมือง โดยการส฽งเสริมการสอดประสานกันของวิสัยทัศนแ ตําแหน฽งการประสานงาน และความเป็นไปได฾และเป็นที่น฽าพอใจของการปฏิบัติการร฽วมกัน”240

โดยสรุป ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน I (Declaration of ASEAN Concord I) หรือ บาหลี I (Bali Concord I) เป็นกรอบความร฽วมมือภายในอาเซียนที่ให฾ความสําคัญกับ “ข฾อพิพาท (dispute)” และมี การแบ฽งหมวดหมู฽ของกรอบความร฽วมมืออาเซียน (framework for ASEAN cooperation) ออกเป็น 6 หมวด ได฾แก฽ การเมือง (Political) เศรษฐกิจ (Economic) สังคม (Social) วัฒนธรรมและข฾อมูลข฽าวสาร (Cultural and Information) ความมั่นคง (Security) และ การปรับปรุงกลไกขับเคลื่อนอาเซียน (Improvement of ASEAN Machinery) ทั้งนี้ สิ่งสําคัญที่สุดประการหนึ่งที่เกิดขึ้นภายใต฾ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน I (Declaration of ASEAN Concord I) หรือ บาหลี I (Bali Concord I) คือ การลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพ และความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ซึ่งเกี่ยวข฾องโดยตรงกับการจัดการข฾อพิพาทระหว฽างประเทศอาเซียน โดยจะอธิบายรายละเอียด ในหัวข฾อต฽อไป

240 เรื่องเดียวกัน. 244

5.1.3 สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC)

สนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC)241 เกิดขึ้นภายใต฾ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน I (Declaration of ASEAN Concord I) หรือ บาหลี 1 (Bali Concord I) ตามข฾อ 2 ของแนวทางปฏิบัติตามกรอบความร฽วมมือทาง การเมืองอาเซียน (framework for ASEAN Political Cooperation) ซึ่งอาจกล฽าวได฾ว฽าเป็นกรอบความ ร฽วมมือของอาเซียนที่ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อจุดประสงคแในการระงับข฾อพิพาทระหว฽างประเทศโดยเฉพาะ โดยยังคง มุ฽งเน฾นหลักการระงับข฾อพิพาทโดยสันติวิธี และในเวลาต฽อมามีพิธีสารเพื่อแก฾ไขเพิ่มเติมอีก 3 ครั้ง ได฾แก฽ ครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2530/1987 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินสแ เพื่อเปิดโอกาสสําหรับการ ภาคยานุวัติโดยรัฐนอกเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ และมีประเทศบรูไนเข฾าร฽วมเป็นอัครภาคี ครั้งที่ 2 วันที่ 25 กรกฎาคม 2541/1998 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินสแ เพื่อให฾การภาคยานุวัติโดย รัฐอื่นนอกเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾จะต฾องได฾รับความยินยอมของทุกประเทศอัครภาคีซึ่งเป็นรัฐในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ และมีประเทศกัมพูชา ลาว พม฽า เวียดนาม และปาปัวนิวกีนี เข฾าร฽วมเป็นอัครภาคี และครั้งที่ 3 วันที่ 23 กรกฎาคม 2553/2010 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เพื่อให฾องคแการระดับ ภูมิภาคซึ่งมีสมาชิกเป็นรัฐอธิปไตยสามารถภาคยานุวัติสนธิสัญญาได฾ และมีประเทศออสเตรเลีย บังคลาเทศ จีน เกาหลีเหนือ ฝรั่งเศส อินเดีย ญี่ปุุน มองโกเลีย นิวซีแลนดแ ปากีสถาน เกาหลีใต฾ รัสเซีย ศรีลังกา ติมอรแ- เลสเต ตุรกี สหรัฐอเมริกา เข฾าร฽วมเป็นอัครภาคี ในปัจจุบัน สนธิสัญญาฉบับนี้มีประเทศสมาชิกจํานวน 27 ประเทศ ได฾แก฽ บรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สหภาพพม฽า สาธารณรัฐฟิลิปปินสแ สาธารณรัฐสิงคโปรแ ราชอาณาจักรไทย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เครือรัฐ ออสเตรเลีย สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี สาธารณรัฐฝรั่งเศส สาธารณรัฐอินเดีย ญี่ปุุน มองโกเลีย นิวซีแลนดแ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ปาปัวนิวกีนี สาธารณรัฐเกาหลี สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐสังคมนิยม ประชาธิปไตยศรีลังกา สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอรแ-เลสเต สาธารณรัฐตุรกี และสหรัฐอเมริกา เข฾าร฽วมเป็น อัครภาคี เพื่อช฽วยสร฾างความไว฾เนื้อเชื่อใจและส฽งเสริมมาตรการการดําเนินความสัมพันธแระหว฽างภาคีสมาชิกให฾ มีมากยิ่งขึ้น ต฽อมาในปี 2544/2001 มีการบัญญัติใช฾ระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญามิตรภาพ และความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Rules of Procedure of the High Council of the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia) เพื่อสร฾างความเข฾าใจถึงวิธีการในการจัดการข฾อพิพาท ระหว฽างรัฐตามสนธิสัญญา242 เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติและเนื้อหาของสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) จะพบว฽า ในบทที่ 1 ว฽าด฾วย “ความประสงคแและหลักการ (Purpose and Principles)” ข฾อ 1 กําหนดไว฾ว฽า “ความมุ฽งประสงคแแห฽ง

241 กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. สนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (กันยายน 2554) เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1CzLrtF 242 เพิ่งอ฾าง. 245

สนธิสัญญานี้ ได฾แก฽ การที่จะส฽งเสริมสันติภาพนิรันดร มิตรภาพ และความร฽วมมือกันตลอดกาลระหว฽าง ประชาชนของตน ซึ่งจะช฽วยเกื้อกูลให฾เกิดความเข฾มแข็งความเป็นปึกแผ฽น และสัมพันธภาพที่ใกล฾ชิดกันยิ่งขึ้น” ในขณะที่ข฾อ 2 กําหนดว฽า “ในความสัมพันธแระหว฽างกันอัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักรับเอาหลักการขั้นมูล ฐานดังต฽อไปนี้เป็นแนวทาง คือ ก. การเคารพซึ่งกันและกันในเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห฽งดินแดน และเอกลักษณแ แห฽งชาติของประชาชาติทั้งปวง ข. สิทธิของทุกรัฐที่จะนําความคงอยู฽ของชาติตนให฾ปลอดจากการแทรกแซง การบ฽อนทําลาย หรือการขู฽ บังคับจากภายนอก ค. การไม฽แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน ง. การระงับข฾อขัดแย฾งหรือกรณีพิพาทโดยสันติวิธี จ. การเลิกคุกคามหรือใช฾กําลัง ฉ. ความร฽วมมือระหว฽างอัครภาคีด฾วยกันอย฽างมีประสิทธิผล”

นอกจากนี้ ยังกําหนดให฾ประเทศสมาชิกต฾องดําเนินการต฽อไปนี้ ได฾แก฽

“บทที่ 2 มิตรภาพ ข฾อ 3 โดยอนุวัติตามความมุ฽งประสงคแแห฽งสนธิสัญญานี้ อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักพยายามพัฒนาและ กระชับความผูกพันในความเป็นมิตรต฽อกันตาม ประเพณี วัฒนธรรม และประวัติศาสตรแความเป็นเพื่อนบ฾านที่ ดีและความร฽วมมือซึ่งผูกพันตนไว฾ด฾วยกัน และจะปฏิบัติให฾ถูกต฾องตามข฾อผูกพันที่รับว฽าจะปฏิบัติตาม สนธิสัญญานี้โดยสุจริต เพื่อที่จะส฽งเสริมความเข฾าใจระหว฽างกันให฾ใกล฾ชิดยิ่งขึ้น อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจัก สนับสนุนและอํานวยความสะดวกแก฽การติดต฽อ และความเกี่ยวพันกันระหว฽างประชาชนของตน

บทที่ 3 ความร฽วมมือ ข฾อ 4 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักส฽งเสริมให฾มีความร฽วมมือกันอย฽างจริงจังในด฾านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตรแ และการบริหาร กับทั้งในเรื่องใดๆ อันเกี่ยวกับอุดมคติ และประณิธานร฽วมกันเกี่ยวกับ สันติภาพและเสถียรภาพระหว฽างประเทศในภูมิภาค และเรื่องอื่นๆ ทั้งปวงอันเป็นผลประโยชนแร฽วมกัน ข฾อ 5 โดยอนุวัติตามข฾อ 4 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักใช฾ความพยายามมากที่สุด ทั้งที่เป็นการ หลายฝุาย และสองฝุายตามมูลฐานแห฽งความเสมอภาพ การไม฽เลือกปฏิบัติ และเกิด คุณประโยชนแแก฽กันและกัน ข฾อ 6 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักร฽วมกันเพื่อเร฽งรัดให฾เกิดความเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเพื่อที่จะ เสริมสร฾างรากฐานประชาคมของประชาชาติให฾มีความไพบูลยแและมีสันติภาพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ เพื่อ จุดมุ฽งหมายนี้ อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักส฽งเสริมให฾มีการใช฾ประโยชนแจากเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมมากยิ่งขึ้น ให฾มีการขยายตัวทางการค฾าและปรับปรุงพื้นฐานทางเศรษฐกิจให฾ดีขึ้นเพื่อคุณประโยชนแซึ่งกันและกันของ ประชาชนของตน ในการนี้อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักค฾นหาหนทางทั้งปวงสืบไปเพื่อความร฽วมมืออย฽างใกล฾ชิดและ อํานวยประโยชนแกับรัฐอื่นๆ ทั้งกับองคแการระหว฽างประเทศและองคแการส฽วนภูมิภาคซึ่งอยู฽ภายนอกภูมิภาคนี้ ด฾วย ข฾อ 7 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักขยายความร฽วมมือกันในทางเศรษฐกิจเพื่อให฾บรรลุถึงความยุติธรรมทาง สังคมและเพื่อยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชนในภูมิภาคเพื่อความมุ฽งประสงคแนี้จักรับยุทธศาสตรแที่ เหมาะสมของภูมิภาคเพื่อพัฒนาการทางเศรษฐกิจ และการช฽วยเหลือซึ่งกันและกัน 246

ข฾อ 8 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักพยายามให฾บรรลุถึงความร฽วมมือกันอย฽างใกล฾ชิดที่สุด ตามมาตรส฽วนที่ กว฾างขวางยิ่ง และจะหาทางให฾ความช฽วยเหลือแก฽กันและกัน ในรูปการให฾ความสะดวกเกี่ยวกับการฝึกอบรม และการวิจัยในด฾าน สังคม วัฒนธรรม วิชาการวิทยาศาสตรแและการบริหาร ข฾อ 9 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักพยายามสนับสนุนให฾มีความร฽วมมือกันยิ่งขึ้นเพื่อช฽วยส฽งเสริมอุดมการณแ แห฽งสันติภาพ ความสมัครสมาน และเสถียรภาพในภูมิภาค และเพื่อจุดมุ฽งหมายนี้ อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักดํารง ไว฾ซึ่งการติดต฽อและการปรึกษาหารือกันเป็นประจําในเรื่องต฽างๆ เกี่ยวกับการระหว฽างประเทศและเกี่ยวกับ ภูมิภาคเพื่อประสานทัศนคติ การกระทํา และนโยบายของตนเข฾าด฾วยกัน ข฾อ 10 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาแต฽ละฝุายจักไม฽เข฾ามีส฽วนร฽วมไม฽ว฽าในทํานองหรือรูปแบบใดๆ ในกิจกรรมซึ่ง จะก฽อให฾เกิดการคุกคามต฽อเสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจ อธิปไตย หรือบูรณภาพแห฽งดินแดนของอัคร ภาคีผู฾ทําสัญญาอีกฝุายหนึ่ง ข฾อ 11 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักพยายามเสริมสร฾างพลังอันเข฾มแข็งของชาติของตนแต฽ละฝุายทั้งในด฾าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม กับทั้งในด฾านความมั่นคง ให฾เป็นการสอดคล฾องกับอุดมคติและ ประณิธานของแต฽ละฝุาย เพื่อให฾ปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก และปลอดจากกิจกรรมในทางบ฽อน ทําลายภายใน เพื่อรักษาไว฾ซึ่งเอกลักษณแแห฽งชาติของแต฽ละฝุาย ข฾อ 12 ในความพยายามที่จะบรรลุความไพบูลยแและความมั่นคงในภูมิภาค อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจัก พยายามร฽วมมือกันในทุกด฾านเพื่อส฽งเสริมพลังอันเข฾มแข็งของภูมิภาคตามมูลฐานแห฽งหลักการว฽าด฾วยความ เชื่อมั่นในตนเอง การพึ่งตนเองการเคารพซึ่งกันและกัน ความร฽วมมือและความเป็นปึกแผ฽น ซึ่งจะสร฾างรากฐาน ความแข็งแกร฽งและการดํารงความมั่นคงให฾แก฽ประชาคมของประชาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾”

บทที่ 4 การระงับกรณีพิพาทโดยสันติ ข฾อ 13 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักมีความมุ฽งมั่นและมีความสุจริตใจที่จะปูองกันมิให฾เกิดกรณีพิพาทขึ้นได฾ ในกรณีที่กรณีพิพาทในเรื่องที่กระทบกระเทือนตนโดยตรงเกิดขึ้น โดยเฉพาะอย฽างยิ่งกรณีพิพาทที่น฽าจะก฽อ ความระส่ําระสายต฽อสันติภาพ และความสมัครสมานในภูมิภาคอัครภาคีผู฾ทําสัญญาจะละเว฾นจากการคุกคาม หรือการใช฾กําลัง และในทุกขณะจักระงับกรณีพิพาทระหว฽างกันเช฽นว฽านั้น โดยการเจรจากันอย฽างเป็นฉันทแมิตร ข฾อ 14 ในการระงับกรณีพิพาทโดยกรรมวิธีใดๆ ของภูมิภาค อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจะตั้งคณะอัครภาคีใน ฐานะองคแคณะที่คงอยู฽ตลอดไปขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด฾วยผู฾แทนระดับรัฐมนตรีจากอัครภาคีผู฾ทําสัญญาแต฽ละ ฝุาย เพื่อรับทราบกรณีพิพาทที่มีอยู฽หรือรับทราบสถานการณแที่น฽าจะก฽อความระส่ําระสายต฽อสันติภาพและ ความสมัครสมานกันในภูมิภาค243 ข฾อ 15 ในกรณีที่ไม฽สามารถตกลงกันได฾โดยการเจรจาโดยตรง คณะอัครมนตรีจักรับทราบกรณีพิพาท หรือสถานการณแ และจักทําข฾อเสนอแนะให฾คู฽กรณีพิพาททราบวิธีระงับกรณีที่เหมาะสม เช฽น การให฾บริการ ประสานไมตรี การไกล฽เกลี่ย การไต฽สวน หรือ การประนอม อย฽างไรก็ตาม คณะอัครมนตรีอาจเสนอตนเป็นผู฾ ให฾บริการประสานไมตรี หรือเมื่อคู฽กรณีในกรณีพิพาทได฾ตกลงกัน คณะอัครมนตรีอาจตั้งตนเองเป็น คณะกรรมการไกล฽เกลี่ยคณะกรรมการไต฽สวน หรือคณะกรรมการประนอมได฾ เมื่อเห็นว฽าจําเป็น คณะอัคร มนตรีจะได฾เสนอแนะมาตรการที่เหมาะสมเพื่อปูองกันการเสื่อมทรามลงของกรณีพิพาทหรือสถานการณแนั้น

243 ต฽อมาในวันที่ 15 ธันวาคม 2530/1987 ในการประชุมที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินสแ มีการแก฾ไขข฾อ 14 โดยเพิ่ม ข฾อความว฽า “อย฽างไรก็ตามข฾อนี้ให฾ใช฾บังคับกับรัฐนอกเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ซึ่งได฾ภาคยานุวัติสนธิสัญญา เฉพาะในกรณีที่ รัฐ นั้นมีส฽วนเกี่ยวข฾องโดยตรงในกรณีพิพาทที่จะรับการตัดสินโดยกรรมวิธีใดๆ ของภูมิภาค” 247

ข฾อ 16 ความในบทบัญญัติที่กล฽าวมาแล฾วในบทนี้จะไม฽ใช฾บังคับกรณีพิพาท เว฾นแต฽คู฽กรณีในกรณีพิพาท ทั้งหมดยินยอมให฾ใช฾บังคับ อย฽างไรก็ตาม ข฾อห฾ามนี้จะไม฽กีดกันอัครภาคีผู฾ทําสัญญาอื่นๆ ซึ่งมิได฾เป็นคู฽กรณีใน กรณีพิพาทที่จะเสนอความช฽วยเหลือทุกวิถีทางที่เป็นไปได฾ เพื่อระงับกรณีพิพาทดังกล฽าว คู฽กรณีในกรณีพิพาท ควรเห็นด฾วยกับข฾อเสนอเช฽นว฽านั้น ข฾อ 17 ความในสนธิสัญญานี้มิให฾เป็นอันกีดกันการอาศัยวิธีระงับกรณีโดยสันติที่มีอยู฽ในข฾อ 33 (1) แห฽ง กฎบัตรสหประชาชาติ อัครภาคีผู฾ทําสัญญาซึ่งเป็นคู฽กรณีในกรณีพิพาทจักได฾รับความสนับสนุนให฾ใช฾ความริเริ่ม เพื่อระงับกรณีพิพาทนั้น โดยการเจรจาฉันทแมิตรก฽อนที่จะอาศัยกระบวนอื่นๆ ตามที่บัญญัติไว฾ในกฎบัตร สหประชาชาติ”

โดยสรุป สนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ได฾กําหนดให฾ประเทศคู฽สัญญาหรืออัครภาคี ต฾องยอมรับใน หลักการ 3 ประการ ได฾แก฽ มิตรภาพ ความร฽วมมือ และ การระงับกรณีพิพาทโดยสันติ โดยในบทที่ 3 ซึ่งว฽า ด฾วย “ความร฽วมมือ” ก็ได฾กําหนดขอบเขตความร฽วมมือระหว฽างกันและระบุความสามารถที่จะจัดตั้งและขยาย ความร฽วมมือและความเชื่อมโยงระหว฽างการทํางานร฽วมกัน ความสัมพันธแที่ดีและการไม฽แทรกแซงกิจการ ภายใน โดยเฉพาะเรื่องการไม฽แทรกแซงกิจการภายใน ได฾ระบุไว฾อย฽างชัดเจนในข฾อ 12 ว฽า “ในความพยายามที่ จะบรรลุความไพบูลยแและความมั่นคงในภูมิภาค อัครภาคีผู฾ทําสัญญา จักพยายามร฽วมมือกันในทุกด฾านเพื่อ ส฽งเสริมพลังอันเข฾มแข็งของภูมิภาคตามมูลฐานแห฽งหลักการว฽าด฾วยความเชื่อมั่นในตนเอง การพึ่งตนเอง การ เคารพซึ่งกันและกัน ความร฽วมมือและความเป็นปึกแผ฽น ซึ่งจะสร฾างรากฐานความแข็งแกร฽งและการดํารงความ มั่นคงให฾แก฽ ประชาคมของประชาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾” ที่สําคัญที่สุดคือบทที่ 4 ซึ่งกําหนดให฾มีขั้นตอนและกระบวนการใน “การระงับกรณีพิพาทโดยสันติ (Pacific Settlement of Disputes)” ขึ้นเป็นครั้งแรก จากข฾อ 13 ซึ่งเป็นข฾อแรกของบทนี้ ได฾แสดงวิธีการที่ ควรปฏิบัติในสถานการณแที่มีความเสี่ยงว฽าปัญหาความขัดแย฾งอาจจะเกิดขึ้นหรือได฾เกิดขึ้นแล฾ว โดยบัญญัติว฽า “อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักมีความมุ฽งมั่นและมีความสุจริตใจที่จะปูองกันมิให฾เกิดกรณีพิพาท ขึ้นได฾ ในกรณีที่กรณี พิพาทในเรื่องที่กระทบกระเทือนตนโดยตรงเกิดขึ้น โดยเฉพาะอย฽าง ยิ่งกรณีพิพาทที่น฽าจะก฽อความ ระส่ําระสายต฽อสันติภาพ และความสมัครสมานในภูมิภาค อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจะละเว฾นจากการคุกคามหรือ การใช฾กําลัง และในทุกขณะจักระงับกรณี พิพาทระหว฽างกันเช฽นว฽านั้น โดยการเจรจากันอย฽างเป็นฉันทแมิตร” ในขณะที่ข฾อ 14 เป็นการรองรับการสร฾างและการวางบทบาทของสภาสูงหรือ “คณะอัครมนตรี (High Council)” ที่ประกอบด฾วยผู฾แทนในระดับรัฐมนตรีจากแต฽ละประเทศภาคีสมาชิก โดยต฾องมี “การพิจารณา (cognizance)” การมีอยู฽ของข฾อพิพาท หรือ สถานการณแที่เกิดขึ้นซึ่งอาจเป็นภัยคุกคาม “ต฽อสันติภาพและ ความสมัครสมานกัน (peace and harmony)” โดยการสร฾างสภาสูงหรือคณะอัครมนตรี (High Council) ให฾ มีลักษณะเป็นองคแกรที่ถาวร โดย “...จะตั้งคณะอัครภาคีในฐานะองคแคณะที่คงอยู฽ตลอดไปขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด฾วยผู฾แทนระดับรัฐมนตรีจากอัครภาคีผู฾ทําสัญญาแต฽ละฝุาย เพื่อรับทราบกรณีพิพาทที่มีอยู฽ หรือ รับทราบสถานการณแที่น฽าจะก฽อความระส่ําระสาต฽อสันติภาพและความสมัครสมานกันในภูมิภาค” ในข฾อ 15 มีสาระสําคัญเกี่ยวกับบทบาทของสภาสูงหรือคณะอัครมนตรี (High Council) ในฐานะ “องคแกรกลาง” โดยหากการไกล฽เกลี่ยโดยตรงหรือการเจรจาทวิภาคีระหว฽างคู฽พิพาทเกิดความล฾มเหลว การเป็น องคแกรกลางเพื่อไกล฽เกลี่ยข฾อพิพาท สามารถใช฾รูปแบบของการให฾คําแนะนําหรือการเสนอแนะวิธีการที่ เหมาะสมในการระงับข฾อพิพาทโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง เช฽น การจัดให฾มีการเจรจา (good offices) การไกล฽

248

เกลี่ย (mediation) การตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อสอบสวนข฾อเท็จจริง (inquiry) หรือ การประนีประนอม (conciliation) ก็ได฾ ในขณะที่ข฾อ 16 อธิบายเพิ่มเติมว฽า มีเพียงสภาสูงหรือคณะอัครมนตรี (High Council) ที่จะสามารถ ตัดสินใจที่จะไกล฽เกลี่ยข฾อพิพาท ในกรณีที่คู฽พิพาททั้งสองฝุายตกลงที่จะยื่นคําประสงคแตามความในข฾อ 14 และ ข฾อ 15 ซึ่งสภาสูงหรือคณะอัครมนตรี (High Council) จะมีบทบาทในฐานะองคแกรกลางได฾ก็ต฽อเมื่อประเทศ คู฽พิพาทยินยอมที่จะนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽กระบวนการของสภาสูงหรือคณะอัครมนตรี (High Council) และยัง ระบุอีกว฽าอัครภาคีสมาชิกที่ไม฽ได฾เป็นส฽วนหนึ่งของคู฽ข฾อพิพาท สามารถให฾ความช฽วยเหลือในการระงับข฾อพิพาท โดยความตกลงของคู฽พิพาทต฽อข฾อเสนอดังกล฽าว อย฽างไรก็ตาม ยังไม฽มีบทบัญญัติที่เป็นรูปธรรมในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศที่จะ สามารถระงับข฾อพิพาทให฾ยุติลงได฾ เนื่องจากสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ไม฽มีสภาพบังคับและการลงโทษ ที่มีประสิทธิภาพหากประเทศคู฽สัญญาไม฽ปฏิบัติตาม

249

5.1.4 ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยทะเลจีนใต้ (ASEAN Declaration on The South China Sea)

ปฏิญญาอาเซียนว฽าด฾วยทะเลจีนใต฾ (ASEAN Declaration on The South China Sea) เกิดขึ้นในการ ประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting) ครั้งที่ 25 เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2535/1992 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินสแ โดยผู฾แทนจาก 6 ประเทศ ร฽วมลงนามในปฏิญญาฉบับนี้ ได฾แก฽ เจ฾าชายโมฮัม เม็ด โบลเกียหแ (Prince Mohamed Bolkiah) รัฐมนตรีต฽างประเทศบรูไน นายอาลี อาลาตัส (Ali Alatas) รัฐมนตรีต฽างประเทศอินโดนีเซีย ดาโต฿ะ อับดุลลาหแ บิน ฮาจี อาหมัด บาดาวี (Datuk Abdullah Bin Haji Ahmad Badawi) รัฐมนตรีต฽างประเทศมาเลเซีย นายราอูล เอส. มังลาปัส (Raul S. Manglapus) รัฐมนตรี ต฽างประเทศฟิลิปปินสแ นายหว฽อง กัน เส็ง (Wong Kan Seng) รัฐมนตรีต฽างประเทศสิงคโปรแ และ นายอาสา สารสิน รัฐมนตรีต฽างประเทศไทย ซึ่งปฏิญญาอาเซียนว฽าด฾วยทะเลจีนใต฾ มีเนื้อหาและสาระสําคัญดังนี้ “รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียง ใต฾ ระลึกถึงความสัมพันธแทางประวัติศาสตรแ วัฒนธรรม และสังคมที่ผูกพันประชาชนของรัฐซึ่งตั้งอยู฽ติดกับ ทะเลจีนใต฾ ประสงคแที่จะส฽งเสริมจิตวิญญาณของความเป็นญาติ มิตรภาพ และความสามัคคีในหมู฽ประชาชนผู฾ ร฽วมประเพณีและมรดกความเป็นเอเชียอันคล฾ายคลึงกัน ปรารถนาที่จะส฽งเสริมบรรยากาศที่จําเป็นเพื่อความ ร฽วมมือทางเศรษฐกิจและการเจริญเติบโตให฾มากขึ้น รับทราบว฽าจะต฾องปฏิบัติตามอุดมการณแเดียวกันโดยความ เคารพซึ่งกันและกัน เสรีภาพ อํานาจอธิปไตย และขอบเขตอํานาจของภาคีที่เกี่ยวข฾องโดยตรง ตระหนักว฽า ประเด็นทะเลจีนใต฾เกี่ยวข฾องกับปัญหาที่มีความอ฽อนไหวต฽ออํานาจอธิปไตยและขอบเขตอํานาจของภาคีที่ เกี่ยวข฾องโดยตรง ตระหนักว฽าพัฒนาการอันไม฽พึงประสงคแใดๆ ในทะเลจีนใต฾ส฽งผลกระทบโดยตรงต฽อสันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค ดังนั้น จึงได฾ตกลงกันดังต฽อไปนี้ 1. มุ฽งเน฾นต฽อความจําเป็นที่จะต฾องแก฾ไขประเด็นอํานาจอธิปไตยและปัญหาที่เกี่ยวข฾องกับขอบเขต อํานาจที่เกี่ยวข฾องกับทะเลจีนใต฾โดยสันติวิธี ปราศจากการใช฾กําลัง 2. เรียกร฾องทุกฝุายที่เกี่ยวข฾องให฾ใช฾ความยับยั้งชั่งใจในการสร฾างบรรยากาศเชิงบวกเพื่อนําไปสู฽แนว ทางการแก฾ไขปัญหาข฾อพิพาททุกกรณีในที่สุด 3. แก฾ไขปัญหาโดยไม฽กระทบต฽อสิทธิ์อธิปไตยและขอบเขตอํานาจของประเทศผู฾มีส฽วนได฾เสียโดยตรงใน พื้นที่ เพื่อค฾นหาความเป็นไปได฾ที่จะสร฾างความร฽วมมือในทะเลจีนใต฾ด฾านความปลอดภัยในการเดินเรือและการ ติดต฽อสื่อสาร การปูองกันมลพิษของสิ่งแวดล฾อมทางทะเล การประสานงานด฾านการค฾นหาและการดําเนินการ กู฾ภัย ความพยายามเพื่อต฽อต฾านการละเมิดลิขสิทธิ์และปล฾นโดยใช฾อาวุธ รวมทั้งการทํางานร฽วมกันในการ รณรงคแต฽อต฾านการค฾ายาเสพติดผิดกฎหมาย 4. มอบความไว฾วางใจให฾ทุกฝุายที่เกี่ยวข฾องที่จะใช฾หลักการที่มีอยู฽ในสนธิสัญญามิตรภาพและความ ร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) เป็น พื้นฐานในการสร฾างแนวปฏิบัติระหว฽างประเทศในพื้นที่ทะเลจีนใต฾ 5. ขอเชิญชวนทุกฝุายที่เกี่ยวข฾องเข฾าร฽วมเป็นภาคีในหลักการแห฽งปฏิญญานี้”244

โดยสรุป บทบัญญัติที่กําหนดไว฾ในปฏิญญาฉบับนี้เป็นความมุ฽งมั่นที่จะแก฾ไขปัญหาข฾อพิพาทโดยสันติวิธี ตามหลักการของอาเซียนที่เคยปฏิบัติสืบต฽อกันมาเช฽นเดียวกับปฏิญญาฉบับอื่นๆ โดยยึดเอาสนธิสัญญา

244 ปฏิญญาอาเซียนว฽าด฾วยทะเลจีนใต฾ หรือ ASEAN Declaration on The South China Sea. Adopted by the Foreign Ministers at the 25th ASEAN Ministerial Meeting in Manila, Philippines on 22 July 1992. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1q2JD1C 250

มิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) เป็นพื้นฐาน โดยไม฽ได฾มีการกําหนดขั้นตอนเพื่อการระงับข฾อพิพาทโดยเฉพาะ และเนื่องจากมี ประเทศภาคีนอกภูมิภาคอาเซียน ยิ่งทําให฾การดําเนินการต฾องระมัดระวังเป็นอย฽างมาก โดยดูได฾จากการ กําหนดหลักการอย฽างกว฾างเอาไว฾ คือ จะแก฾ไขข฾อพิพาททะเลจีนใต฾โดยสันติวิธี ปราศจากการใช฾กําลัง และใน ต฽อมาจะนําไปสู฽การบัญญัติ “ปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต฾ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC)” ในปี 2545/2002 ซึ่งจะได฾กล฽าวถึงในหัวข฾อต฽อไป

251

5.1.5 การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF)

การประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) เกิดขึ้นจากมติของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 4 ระหว฽างวันที่ 27-29 มกราคม 2535/1992 ที่ประเทศสิงคโปรแ โดยได฾ออก “ปฏิญญาสิงคโปรแ” (Singapore Declaration) ซึ่งระบุถึงการให฾ ความร฽วมมืออย฽างใกล฾ชิดระหว฽างอาเซียนกับสหประชาชาติและองคแการระหว฽างประเทศอื่นๆ เพื่อปฏิบัติตาม ความตกลงสันติภาพ และแยกการหารือโดยใช฾เวทีการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนกับประเทศคู฽เจรจา (ASEAN Post Ministerial Conferences – PMC) ออกเป็นอีกเวทีหนึ่งสําหรับการหารือด฾านการเมืองและความมั่นคง ในภูมิภาคเป็นการเฉพาะ เพื่อให฾สามารถหารือในรายละเอียด และได฾ผลเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น โดยเป็นกลไกที่จะ ดึงประเทศที่สําคัญภายนอกภูมิภาคเข฾ามาร฽วมมือกับอาเซียนด฾านการส฽งเสริมความมั่นคง ซึ่งการประชุมระดับ รัฐมนตรีการประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) จัดขึ้นเป็นครั้งแรกที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537/1994 ปัจจุบันการประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) มีประเทศต฽างๆ เข฾าร฽วมแล฾วจํานวน 26 ประเทศ กับอีก 1 กลุ฽มประเทศ ได฾แก฽ ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนดแ จีน ญี่ปุุน สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย อินเดีย และสหภาพยุโรป โดยมีประเทศผู฾สังเกตการณแพิเศษของอาเซียน (Special Observer) 1 ประเทศ คือ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่นในภายภูมิภาค 6 ประเทศ ได฾แก฽ มองโกเลีย สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ปากีสถาน ติมอรแ-เลสเต บังกลาเทศ และ ศรีลังกา กลไกในการประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) มีขั้นตอนการดําเนินการ 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 การส฽งเสริมมาตรการไว฾ เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระดับที่ 2 การทูตในเชิงปูองกัน (Preventive Diplomacy - PD) และ ระดับที่ 3 แนวทางช฽วยแก฾ไขปัญหาความขัดแย฾ง (Approaches to Conflict) โดยใน ปัจจุบันการประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) กําลังเข฾าสู฽ขั้นตอนการดําเนินการระดับที่ 2 โดยสรุป แม฾ว฽ากลไกการประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) จะมีโครงสร฾างการประชุมว฽าด฾วยเรื่องความมั่นคงทาง ทะเล (Inter-sessional Meeting on Maritime Security) แต฽ก็เป็นการประชุมที่ให฾ความสําคัญกับการเพิ่ม ความร฽วมมือระดับภูมิภาคและระหว฽างประเทศเพื่อปกปูองและพิทักษแความมั่นคงของเส฾นทางคมนาคมทาง ทะเล (the Sea Lanes of Communication – SLOC) ในเชิงพาณิชยแเท฽านั้น245 ซึ่งทําให฾เห็นว฽ากลไกการ ประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) ยังไม฽สามารถเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศใน อาเซียนได฾

245 กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ, รายงานของไทยเกี่ยวกับมุมมองความมั่นคงในภูมิภาค ประจําปี 2555 ใน กรอบ ASEAN Regional Forum (พฤศจิกายน 2555), หน฾า 29. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1NM8mT7 252

5.1.6 ระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (Rules of Procedure of the High Council of the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia)

เกิดจากการประชุมของประเทศที่เป็นอัครภาคีผู฾ทําสัญญาเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2544/2001 ณ กรุง ฮานอย ประเทศเวียดนาม โดยรับเอาระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรี (Rules of Procedure of the High Council) ซึ่งเป็นการอนุวัติตามข฾อ 14 ของสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾ (TAC) เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธแ 2519/1976246 ซึ่งระบุว฽า “ในการระงับกรณีพิพาทโดยกรรมวิธีใดๆ ของภูมิภาค อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจะตั้งคณะอัครภาคีในฐานะองคแคณะที่คงอยู฽ตลอดไปขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด฾วยผู฾แทนระดับรัฐมนตรีจากอัครภาคีผู฾ทําสัญญาแต฽ละฝุาย เพื่อรับทราบกรณีพิพาทที่มีอยู฽หรือ รับทราบสถานการณแที่น฽าจะก฽อความระส่ําระสายต฽อสันติภาพและความสมัครสมานกันในภูมิภาค” บทบัญญัติและเนื้อหาของระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Rules of Procedure of the High Council of the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia) ประกอบด฾วยระเบียบของขั้นตอนจํานวน 10 ส฽วน (Part) จํานวนทั้งหมด 25 ข฾อ (Rule)247 ดังนี้ ส฽วนที่ 1 ความมุ฽งประสงคแ ข฾อ 1 ภายใต฾บทบัญญัติของสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ระเบียบนี้ จักปรับใช฾แก฽อัครภาคีผู฾ทําสัญญาของสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ และใช฾ บังคับโดยอนุโลมกับงานใดๆ ของคณะผู฾ปฏิบัติงานในกรณีที่มีการขัดกันของระเบียบนี้กับบทบัญญัติใน สนธิสัญญาสนธิสัญญาจักอยู฽เหนือ

ส฽วนที่ 2 นิยาม ข฾อ 2 เพื่อความมุ฽งประสงคแของระเบียบนี้: ก. “สนธิสัญญา” หมายความถึงสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾และที่ ซึ่งแก฾ไขเพิ่มเติมในพิธีสาร และ ข. “คณะอัครมนตรี” หมายความถึงคณะอัครมนตรีในบทที่ 4 ของสนธิสัญญา และ ค. “ประธานคณะอัครมนตรี” หมายความถึงประธานของคณะอัครมนตรีซึ่งได฾รับการแต฽งตั้งโดย ระเบียบนี้ และ ง. “อัครภาคีผู฾ทําสัญญา” หมายความถึงอัครภาคีผู฾ทําสัญญาตามสนธิสัญญา

ส฽วนที่ 3 องคแประกอบ ข฾อ 3 คณะอัครมนตรีจักประกอบด฾วย

246 กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. ระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญามิตรภาพและความ ร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (กันยายน 2554), หน฾า 36-74. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1CzLrtF 247 Rules of Procedure of the High Council of the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia. Done in Hanoi on 23 July 2001 เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1DahICf 253

ก. ผู฾แทนระดับรัฐมนตรีหนึ่งคนจากแต฽ละอัครภาคีผู฾ทําสัญญา ซึ่งเป็นรัฐในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต฾ ได฾แก฽ บรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว สาธารณรัฐมาเลเซีย สหภาพพม฽าสาธารณรัฐฟิลิปปินสแ สาธารณรัฐสิงคโปรแ ราชอาณาจักรไทย และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และ ข. ผู฾แทนระดับรัฐมนตรีหนึ่งคนจากแต฽ละอัครภาคีผู฾ทําสัญญา ซึ่งเป็นรัฐนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾และมีส฽วนเกี่ยวข฾องโดยตรงกับข฾อพิพาทซึ่งอยู฽ภายใต฾อํานาจพิจารณาของคณะอัครมนตรีตาม สนธิสัญญาและระเบียบนี้

ข฾อ 4 อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักต฾องติดต฽อสื่อสารกับอัครภาคีผู฾ทําสัญญาอื่นโดยผ฽านช฽องทางทางการทูต เกี่ยวกับการแต฽งตั้งและการเปลี่ยนแปลงใดๆในการแต฽งตั้ง: ก. ตัวแทนของอัครภาคีผู฾ทําสัญญาตามข฾อ 3 ก และ ข. กรณีที่อัครภาคีผู฾ทําสัญญาตามข฾อ 3 ข จะได฾แก฽ ผู฾ที่จะเป็นผู฾แทนของอัครภาคี ผู฾ทําสัญญานั้น ถ฾า อัครภาคีผู฾ทําสัญญานั้นเกี่ยวข฾องโดยตรงกับข฾อพิพาทซึ่งคณะอัครมนตรีได฾รับไว฾พิจารณา

ข฾อ 5 จักต฾องมีประธานในคณะอัครมนตรี ตามข฾อ 21 ประธานจักต฾องเป็น: ก. ผู฾แทนของอัครภาคีผู฾ทําสัญญาซึ่งในขณะนั้นเป็นประธานคณะกรรมาธิการของสมาคมประชาชาติ เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ หรือ ข. ผู฾แทนอื่นในอัครภาคีผู฾ทําสัญญาซึ่งเป็นรัฐในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ตามที่คณะอัครมนตรีได฾ เลือกตามระเบียบนี้

ส฽วนที่ 4 การเริ่มต฾นขั้นตอนการระงับข฾อพิพาท ข฾อ 6 1. อัครภาคีผู฾ทําสัญญาอาจมีอํานาจในการพิจารณาข฾อพิพาทหรือสถานการณแตามข฾อ 14 ถึงข฾อ 16 ของ สนธิสัญญา 2. วิธีการระงับข฾อพิพาทของคณะอัครมนตรีสามารถอุทธรณแได฾โดยอัครภาคีผู฾ทําสัญญาซึ่งมีส฽วน เกี่ยวข฾องโดยตรงกับข฾อพิพาทนั้นเท฽านั้น

ข฾อ 7 1. อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักอุทธรณแวิธีการระงับข฾อพิพาทของคณะอัครมนตรีโดยลายลักษณแอักษรโดย ผ฽านช฽องทางทางการทูตไปที่ประธานคณะอัครมนตรีและที่อัครภาคีผู฾ทําสัญญาอื่นๆ โดยจักต฾องมีข฾อความ ดังต฽อไปนี้: ก. ลักษณะของข฾อพิพาทหรือสถานการณแที่ส฽งถึงคณะอัครมนตรี ข. คู฽พิพาทและข฾อเรียกร฾อง ค. หลักเกณฑแที่ทําให฾คณะอัครมนตรีมีอํานาจเหนือข฾อพิพาทหรือสถานการณแตามสนธิสัญญา 2. อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจักส฽งหนังสือลายลักษณแอักษรตามวรรค 1 ให฾กับอัครภาคีผู฾ทําสัญญาอื่นอันเป็น คู฽กรณีในกรณีพิพาท โดยผ฽านช฽องทางทางการทูตก฽อนอุทธรณแวิธีการระงับข฾อพิพาทของคณะอัครมนตรี 14 วัน 254

ข฾อ 8 1. เมื่อได฾รับหนังสือลายลักษณแอักษรตามที่ระบุไว฾ในข฾อ 7 ประธานคณะอัครมนตรีจักร฽วมกันหาการ รับรองเป็นลายลักษณแอักษรจากทุกฝุายในข฾อพิพาท ตามที่ระบุไว฾ในข฾อ 7 ข ว฽า คู฽กรณีในข฾อพิพาทจะยอมรับ ระเบียบของคณะอัครมนตรีตามที่ได฾บัญญัติไว฾ตามข฾อ 16 ของสนธิสัญญา 2. ในการเสนอการรับรองเป็นลายลักษณแอักษร อัครภาคีผู฾ทําสัญญาซึ่งเป็นคู฽กรณีในข฾อพิพาทนั้นอาจ จัดเตรียมคําชี้แจงรายละเอียดที่นอกเหนือไปจากการรับรองเป็นลายลักษณแอักษรดังนี้ ก. ลักษณะของข฾อพิพาทหรือสถานการณแที่ส฽งถึงคณะอัครมนตรี ข. คู฽พิพาทและข฾อเรียกร฾อง ค. หลักเกณฑแที่ทําให฾คณะอัครมนตรีมีอํานาจเหนือข฾อพิพาทหรือสถานการณแ ตามสนธิสัญญา

ข฾อ 9 หากว฽าคู฽กรณีในข฾อพิพาทนั้นไม฽ได฾รับการรับรองเป็นลายลักษณแอักษรตามข฾อ 8 คณะอัครมนตรีจะ ไม฽สามารถดําเนินการต฽อไปได฾

ส฽วนที่ 5 การประชุม ข฾อ 10 เมื่อได฾รับทราบการรับรองเป็นลายลักษณแอักษรตามข฾อ 9 แล฾วประธานคณะอัครมนตรีจัก ก. เริ่มการประชุมคณะอัครมนตรีภายใน 6 สัปดาหแ และ ข. แจ฾งผู฾แทนและผู฾ที่เกี่ยวข฾องตามระเบียบในการประชุมล฽วงหน฾าเป็นเวลา 3 สัปดาหแ โดยในการแจ฾ง เตือนนั้นจะต฾องแนบสําเนาของหนังสือลายลักษณแอักษรและการรับรองเป็นลายลักษณแอักษร ข฾อ 11 การประชุมของคณะอัครมนตรีจักจัดขึ้นที่รัฐของอัครภาคีผู฾ทําสัญญาซึ่งดํารงตําแหน฽ง ประธานอัครมนตรี หรืออาจเป็นสถานที่อื่นตามการตัดสินใจของคณะอัครมนตรี ส฽วนที่ 6 การดําเนินการประชุมบทบัญญัติทั่วไป ข฾อ 12 องคแประชุมของคณะอัครมนตรี ได฾แก฽ ผู฾แทนคณะอัครมนตรี ข฾อ 13 ผู฾แทนอาจมาจากตัวแทนที่ได฾รับอนุญาตถูกต฾อง และอาจมีตัวแทนและที่ปรึกษาเข฾าร฽วมด฾วย ข฾อ 14 รัฐอัครภาคีผู฾ทําสัญญาที่อยู฽นอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ และไม฽ได฾เกี่ยวข฾องกับข฾อพิพาท โดยตรงมีสิทธิที่จะเข฾าร฽วมการประชุมของคณะอัครภาคีผู฾ทําสนธิสัญญาได฾ในฐานะผู฾สังเกตการณแ โดยยื่นคําขอ อย฽างเป็นลายลักษณแอักษรต฽อประธานคณะอัครมนตรี เว฾นแต฽คณะอัครมนตรีจะมีการตัดสินใจเป็นอย฽างอื่น ผู฾ สังเกตการณแมีสิทธิให฾ความเห็นในการประชุมหากคณะอัครมนตรีมอบสิทธิให฾ ข฾อ 15 หากคณะอัครมนตรีไม฽มีการตัดสินใจเป็นอย฽างอื่น อัครภาคีผู฾ทําสัญญาจะเป็นผู฾เตรียม เลขาใน การประชุมแต฽ละครั้ง โดยอัครภาคีผู฾ทําสัญญาอาจขอความช฽วยเหลือจากสํานักเลขาธิการอาเซียน ข฾อ 16 หากคณะอัครมนตรีไม฽มีการตัดสินใจเป็นอย฽างอื่น อัครภาคีผู฾ทําสัญญาที่เป็นเจ฾าภาพเป็น ผู฾รับผิดชอบค฽าใช฾จ฽ายในการจัดการประชุม ข฾อ 17 ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการทํางานของคณะอัครมนตรี ข฾อ 18 บันทึกเป็นลายลักษณแอักษรของการดําเนินการในการประชุมแต฽ละครั้งจักถูกจัดเตรียมและ นํามาปรับใช฾โดยคณะอัครมนตรี

ส฽วนที่ 7 กระบวนการตัดสินใจ ข฾อ 19 กระบวนการตัดสินใจของอัครภาคีผู฾ทําสัญญาจะเป็นไปโดยเอกฉันทแในการประชุม 255

ข฾อ 20 เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น แม฾ว฽าบุคคลที่อ฾างถึงในข฾อ 4 ข จะเป็นตัวแทนตามข฾อ 3 ข บุคคลนั้น จะไม฽ ถือเป็นผู฾แทนในการกําหนดท฽าที่และกระบวนการตัดสินใจในปัญหานั้น อย฽างไรก็ตามบุคคลนั้นจะได฾รับโอกาส ในการแสดงความเห็นก฽อนการตัดสินใจ

ส฽วนที่ 8 การตัดสินใจในการประชุม ประเด็นเบื้องต฾น ข฾อ 21 หากประธานคณะอัครมนตรีเป็นผู฾แทนของอัครภาคีผู฾ทําสัญญาซึ่งเกี่ยวข฾องโดยตรงในข฾อพิพาท ที่ส฽งถึงคณะอัครมนตรีตามข฾อ 7 ในตอนเริ่มต฾นการประชุมตามที่ได฾อ฾างแล฾วบุคคลนั้นจักต฾องลงจากตําแหน฽ง ประธานคณะอัครมนตรี โดยการรับรองของผู฾แทนของอัครภาคีผู฾ทําสัญญาคนอื่น ซึ่งได฾แก฽รัฐในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ ตามที่ได฾ตัดสินโดยคณะอัครมนตรี ข฾อ 22 ก฽อนที่จะตัดสินใจในการเสนอแนะ และจัดให฾มีการดําเนินการอื่นๆ ภายใต฾สนธิสัญญา, คณะ อัครมนตรี จะต฾องทําให฾เป็นที่พึงพอใจใน: ก. ข฾อพิพาท หรือสถานการณแ ซึ่งเป็นหนึ่งในความรู฾ความเข฾าใจตามสนธิสัญญา และ ข. เงื่อนไขกําหนดโดยสนธิสัญญาเพื่อนําเสนอการดําเนินการเป็นไปตามที่กําหนดไว฾

ส฽วนที่ 9 อํานาจอื่นๆ ข฾อ 23 ภายใต฾บทบัญญัติในสนธิสัญญาและระเบียบนี้ คณะอัครมนตรีอาจตัดสินใจ และนําระเบียบอื่น มาใช฾สําหรับการประชุม ข฾อ 24 คณะอัครมนตรีอาจจัดตั้งคณะทํางานในลักษณะเฉพาะกิจเท฽าที่จําเป็นเพื่อช฽วยในการปฏิบัติ หน฾าที่ และรับผิดชอบในเรื่องต฽างๆ

ส฽วนที่ 10 การแก฾ไข ข฾อ 25 ระเบียบนี้อาจแก฾ไขได฾โดยข฾อตกลงที่เป็นเอกฉันทแของอัครภาคีผู฾ทําสัญญา

โดยสรุปแล฾ว กระบวนการจัดการข฾อพิพาทของระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญา มิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Rules of Procedure of the High Council of the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia) โดยในขั้นแรกจะต฾องมีการจัดตั้งสภาสูงหรือคณะ อัครมนตรี (High Council) ซึ่งแสดงให฾เห็นว฽าความร฽วมมือทางการเมืองและความมั่นคงระหว฽างประเทศ สมาชิกอาเซียนทั้งในระดับที่เป็นทางการและไม฽เป็นทางการมีแนวโมที่จะเพิ่มมากขึ้น และสิ่งที่จะต฾องนํามา พิจารณาคือ คณะอัครมนตรีอาจตัดสินใจทําหน฾าที่เป็นผู฾ใช฾อํานาจเพื่อการระงับข฾อพิพาท หรือ ในกรณีที่เกิด ข฾อพิพาทขึ้นแล฾ว ประเทศคู฽พิพาททั้งสองฝุายอาจร฾องขอให฾คณะอัครมนตรีเข฾ามาใช฾อํานาจขึ้นอยู฽กับการ ตีความบทบัญญัติที่เกี่ยวข฾อง นอกจากนี้ยังอาจตีความได฾ว฽า ข฾อพิพาททวิภาคีอาจกลายเป็นข฾อพิพาทพหุภาคี เนื่องจากการตัดสินใจของคณะอัครมนตรีจะเพิ่มระดับความเข฾มข฾นของความเป็นสถาบันภายในองคแกรอาเซียน มากขึ้น และเป็นขั้นตอนที่มีความเป็นทางการมากขึ้นของอาเซียนเองด฾วย248 อย฽างไรก็ตาม ระเบียบขั้นตอน ของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Rules of

248 Amer, Ramses. “The Association of Southeast Asian Nations‖ (ASEAN) Conflict Management Approach Revisited: Will the Charter Reinforce ASEAN‖s Role?” In Current Research on South-East Asia, pp. 11-12. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JrGEao 256

Procedure of the High Council of the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia) ได฾ แสดงให฾เห็นถึงความมุ฽งมั่นในการจัดตั้งคณะอัครมนตรีของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเสริมสร฾างความ เข฾มแข็งของกลไกการจัดการข฾อพิพาทภายในภูมิภาค อย฽างไรก็ตาม กลไกที่ถูกกําหนดเอาไว฾ในระเบียบขั้นตอนดังกล฽าว ดูเหมือนว฽าจะไม฽สามารถเกิดขึ้นได฾ จริง เนื่องจากในย฽อหน฾าที่ 2 ของข฾อที่ 6 ระบุไว฾ว฽า “วิธีการระงับข฾อพิพาทของคณะอัครมนตรีสามารถอุทธรณแ ได฾โดยอัครภาคีผู฾ทําสัญญาซึ่งมีส฽วนเกี่ยวข฾องโดยตรงกับข฾อพิพาทนั้นเท฽านั้น” และยังให฾ความสําคัญกับประเทศ คู฽พิพาทอย฽างมากโดยในข฾อที่ 9 กําหนดว฽า “หากว฽าคู฽กรณีในข฾อพิพาทนั้นไม฽ได฾รับการรับรองเป็นลายลักษณแ อักษรตามข฾อ 8 คณะอัครมนตรีจะไม฽สามารถดําเนินการต฽อไปได฾” ซึ่งข฾อที่ 8 ได฾กําหนดหลักการเอาไว฾ว฽า “ประธานคณะอัครมนตรีจักร฽วมกันหาการรับรองเป็นลายลักษณแอักษรจากทุกฝุายในข฾อพิพาท…คู฽กรณีในข฾อ พิพาทจะยอมรับระเบียบของคณะอัครมนตรีตามที่ได฾บัญญัติไว฾ตามข฾อ 16 ของสนธิสัญญา” ดังนั้น การที่คณะ อัครมนตรีจะสามารถเริ่มต฾นขั้นตอนระงับข฾อพิพาทได฾ก็ต฽อเมื่อคู฽กรณีที่เกี่ยวข฾องกับข฾อพิพาทยินยอมที่จะเข฾าสู฽ กระบวนการของคณะอัครมนตรีเท฽านั้น นอกจากนี้ คู฽กรณีฝุายหนึ่งจะต฾องนําเรื่องเสนอให฾คณะอัครมนตรี พิจารณา และถ฾าหากมีฝุายที่ไม฽เห็นด฾วยกับการยื่นเรื่องต฽อคณะอัครมนตรีแล฾ว ขั้นตอน “เพื่อรับทราบกรณี พิพาทที่มีอยู฽ (to take cognizance of the existence of disputes) ” ก็เป็นอันตกไปด฾วย สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งของกลไกฉบับนี้คือ ส฽วนที่ 7 “กระบวนการตัดสินใจ (Decision-Making)” โดยข฾อที่ 19 กําหนดไว฾ว฽า “กระบวนการตัดสินใจของอัครภาคีผู฾ทําสัญญาจะเป็นไปโดยเอกฉันทแในการ ประชุม” ซึ่งสมาชิกอาเซียนทุกประเทศมีสิทธิ์ที่จะเป็นหนึ่งในผู฾แทนของคณะอัครมนตรี ดังนั้น การตัดสินใจ ใดๆ ก็ตามจึงไม฽สามารถขัดต฽อความต฾องการของฝุายใดฝุายหนึ่งในข฾อพิพาทได฾ โดยในทางปฏิบัติแล฾วต฾อง ยอมรับว฽าเงื่อนไขที่คณะอัครมนตรีจะสามารถเริ่มขั้นตอนการระงับข฾อพิพาทได฾ คู฽กรณีต฾องให฾ความเห็นชอบต฽อ ตัดสินใจที่จะเกิดขึ้นด฾วย ดังนั้นในที่สุด กลไกคณะอัครมนตรีจึงไม฽สามารถเกิดขึ้นเพื่อต฽อต฾านประเทศคู฽กรณีซึ่ง เป็นสมาชิกอาเซียนด฾วยกันเอง ยกเว฾นแต฽ประเทศคู฽กรณีจะให฾ความยินยอม ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได฾ไม฽ง฽ายนักหรือ อาจจะไม฽เกิดขึ้นเลยตลอดไป เพราะไม฽มีประเทศใดอยากให฾ข฾อพิพาททวิภาคีกลายเป็นข฾อพิพาทพหุพาคีซึ่งฝุาย ตนย฽อมจะเสียเปรียบในการเจรจาต฽อรอง

257

5.1.7 ปฏิญญาว่าด้วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต้ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC)

ปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต฾ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC) เกิดขึ้นในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2545/2002 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา โดยมีผู฾แทนจาก 11 ประเทศ ร฽วมลงนามในปฏิญญาฉบับนี้ ได฾แก฽ เจ฾าชายโมฮัมเม็ด โบลเกียหแ (Prince Mohamed Bolkiah) รัฐมนตรีต฽างประเทศบรูไน นายฮอรแ นัมฮง (HOR Namhong) รัฐมนตรีอาวุโสและรัฐมนตรีความสัมพันธแและความร฽วมมือระหว฽างประเทศกัมพูชา ดร. ฮัสซัน วิรายุดา (Dr.Hassan Wirayuda) รัฐมนตรีต฽างประเทศอินโดนีเซีย นายสมสวาด เล฽งสวัสดิ์ (Somsavat Lengsavad) รัฐมนตรีต฽างประเทศ สปป.ลาว ดาโต฿ะ เสรี ซาเย็ด ฮามิด อัลบารแ (Datuk Seri Syed Hamid Albar) รัฐมนตรีต฽างประเทศมาเลเซีย นายวิน อ฽อง (Min Aung) รัฐมนตรีต฽างประเทศสหภาพพม฽า นายดิแอส เอฟ. โอเปิล (Dias F. Ople) รัฐมนตรีต฽างประเทศฟิลิปปินสแ ศาสตราจารยแ เอส. ชัยกุมาร (Prof. S. Jayakumar) รัฐมนตรีต฽างประเทศสิงคโปรแ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีต฽างประเทศไทย นายเหวงียน ดี เหนียน (Nguyen Dy Nien) รัฐมนตรีต฽างประเทศเวียดนาม และ นายหวัง ยี่ (Wang Yi) ทูตพิเศษและ รัฐมนตรีช฽วยว฽าการประทรวงต฽างประเทศจีน โดยรัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนและรัฐบาลแห฽งสาธารณรัฐประชาชนจีน ยืนยันความมุ฽งมั่นที่จะ ร฽วมกันพัฒนามิตรภาพและความร฽วมมือที่มีอยู฽ระหว฽างประชาชนและรัฐบาลของกันและกัน ด฾วยวิสัยทัศนแใน การส฽งเสริมความเป็นหุ฾นส฽วนกันในศตวรรษที่ 21 ของความเพื่อนบ฾านที่ดีและมีความไว฾วางใจซึ่งกันและกัน รู฾เท฽าทันความจําเป็นที่จะส฽งเสริมสันติภาพ ในบรรยากาศของความเป็นมิตรและความสามัคคีในทะเลจีนใต฾ ระหว฽างอาเซียนกับจีน เพื่อการเสริมสร฾างสันติภาพ เสถียรภาพ การเติบโตทางเศรษฐกิจ และความ เจริญรุ฽งเรืองในภูมิภาค โดยมีภาระที่จะเสริมสร฾างหลักการและวัตถุประสงคแของแถลงการณแร฽วมการประชุม ของประมุขของรัฐและหัวหน฾ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนและประธานาธิบดีแห฽งสาธารณรัฐประชาชน จีน (Joint Statement of the Meeting of the Heads of State/Government of the Member States of ASEAN and President of the People's Republic of China) เมื่อปี 2540/1997249 ปรารถนาที่จะ เสริมสร฾างบรรยากาศที่ดีในการแก฾ปัญหาด฾วยสันติวิธีและความยั่งยืนท฽ามกลางความแตกต฽างและข฾อพิพาท ระหว฽างประเทศเกี่ยวข฾อง จึงได฾ประกาศดังต฽อไปนี้250 1. ภาคียืนยันอีกครั้งถึงพันธสัญญาที่มีตามเปูาหมายและหลักการของกฎบัตรสหประชาชาติ (the Charter of the United Nations) อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 สนธิสัญญามิตรภาพ และความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ปี 2519/1976 หลัก 5 ประการแห฽งการอยู฽ร฽วมกันอย฽างสันติ (Five Principles of Peaceful

249 โปรดดู Joint Statement of the Meeting of Heads of State/Government of the Member States of ASEAN and the President of the People's Republic of China Kuala Lumpur, Malaysia, 16 December 1997 เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1RwMgtO 250 ปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต฾ หรือ Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC จาก เอกสารสําคัญอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1HrnSDG 258

Coexistence)251 และหลักการสากลอื่นซึ่งได฾รับการยอมรับในแง฽กฎหมายระหว฽างประเทศซึ่งจะทําหน฾าที่เป็น บรรทัดฐานขั้นพื้นฐานของความสัมพันธแระหว฽างรัฐต฽อรัฐ 2. ภาคีมุ฽งมั่นที่จะมองหาแนวทางเพื่อสร฾างความไว฾วางใจและความเชื่อมั่นตามหลักการดังกล฽าวข฾างต฾น บนพื้นฐานของความเสมอภาคและความเคารพซึ่งกันและกัน 3. ภาคียืนยันอีกครั้งถึงความเคารพและพันธสัญญาที่มีต฽อเสรีภาพในการเดินเรือและการเดินอากาศ เหนือพื้นที่ทะเลจีนใต฾ให฾เป็นไปตามหลักการสากลที่ได฾รับการยอมรับของกฎหมายระหว฽างประเทศ รวมถึง หลักการของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 4. ภาคีที่เกี่ยวข฾องจะดําเนินการแก฾ไขข฾อพิพาทเขตแดนและขอบเขตอํานาจโดยสันติวิธี ไม฽ใช฾การ คุกคามหรือการใช฾กําลัง ผ฽านการปรึกษาหารืออย฽างเป็นมิตร และการเจรจาต฽อรองโดยรัฐอธิปไตยที่เกี่ยวข฾อง โดยตรง ตามหลักการสากลที่ได฾รับการยอมรับของกฎหมายระหว฽างประเทศ รวมถึงหลักการของอนุสัญญา สหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 5. ภาคีจะใช฾ความอดทนอดกลั้นในการดําเนินการใดๆ ที่อาจทําให฾ข฾อพิพาทเกิดความซับซ฾อนหรือบาน ปลาย และส฽งผลกระทบต฽อสันติภาพและความมั่นคง รวมทั้งจะละเว฾นจากการเข฾าไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ที่ยังไม฽มี ใครอาศัยอยู฽ในปัจจุบัน บนหมู฽เกาะ แนวสันดอน แนวปะการัง และลักษณะทางภูมิศาสตรแอื่นๆ และจะ ดําเนินการจัดการกับความแตกต฽างในแนวทางที่สร฾างสรรคแ ในขณะที่รอดําเนินการระงับข฾อพิพาทเขตแดนและ ขอบเขตอํานาจ ภาคีที่เกี่ยวข฾องจะพยายามอย฽างยิ่งยวดในการหาวิธี ด฾วยจิตวิญญาณแห฽งความร฽วมมือและ ความเข฾าใจ เพื่อสร฾างความไว฾วางใจและความเชื่อมั่นระหว฽างกัน ดังนี้ ก. จัดให฾มีการหารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตามความเหมาะสมระหว฽างเจ฾าหน฾าที่ทางการทหาร ของกันและกัน ข. สร฾างความมั่นใจในความเที่ยงธรรมและการปฏิบัติอย฽างมีมนุษยธรรมต฽อทุกคนที่กําลังตกอยู฽ใน อันตรายหรือกําลังอยู฽ในความทุกขแยาก ค. แจ฾งให฾ภาคีอื่นที่เกี่ยวข฾องทราบบนพื้นฐานของความสมัครใจในกิจกรรมร฽วมทางการทหารที่กําลังจะ เกิดขึ้น และ ง. แลกเปลี่ยนข฾อมูลที่เกี่ยวข฾องบนพื้นฐานของความสมัครใจ

251 หลัก 5 ประการแห฽งการอยู฽ร฽วมกันอย฽างสันติ (Five Principles of Peaceful Coexistence) หรือ สนธิสัญญา ปัญจศีล (Panchsheel Treaty) ระหว฽างจีนกับอินเดีย ปี 2497/1954 หรือ “ความตกลง (พร฾อมการแลกเปลี่ยนบันทึก) ว฽า ด฾วยการค฾าและการแลกเปลี่ยนระหว฽าง (Agreement (with exchange of notes) on trade and intercourse between Tibet Region of China and India” ลงนาม ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2497/1954 โดยมีหลักการดังนี้ 1.การเคารพต฽อบูรณภาพแห฽งดินแดนและอํานาจอธิปไตยของกันและกัน (Mutual respect for each other's territorial integrity and sovereignty) 2.การไม฽รุกรานกัน (Mutual non-aggression) 3.การไม฽แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน (Mutual non-interference in each other's internal affairs) 4.ความเสมอภาคและความร฽วมมือเพื่อผลประโยชนแร฽วมกัน (Equality and cooperation for mutual benefit.) 5.การอยู฽ร฽วมกันอย฽างสันติ (Peaceful co-existence) ใน United Nations, Treaty Series Vol.299 (Treaties and international agreements registered or filed and recorded with the Secretariat of the United Nations), pp. 57-81. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึง จาก http://bit.ly/1CC0frC 259

6. ในขณะที่รอการดําเนินการระงับข฾อพิพาทที่สมบูรณแและยั่งยืน ภาคีที่เกี่ยวข฾องอาจสํารวจหรือดําเนิน กิจกรรมความร฽วมมือ ซึ่งอาจรวมถึงกิจกรรมดังต฽อไปนี้ ก. การปกปูองสิ่งแวดล฾อมทางทะเล ข. การวิจัยวิทยาศาสตรแทางทะเล ค. ความปลอดภัยในการเดินเรือและการติดต฽อสื่อสารในทะเล ง. ปฏิบัติการค฾นหาและการกู฾ภัย และ จ. การต฽อต฾านอาชญากรรมข฾ามชาติ รวมถึงการลักลอบค฾ายาเสพติด การละเมิดลิขสิทธิ์ และปล฾นอาวุธ ในทะเล และลักลอบค฾าอาวุธผิดกฎหมาย รูปแบบวิธีการ ขอบเขต และตําแหน฽งที่ตั้ง ในส฽วนของความร฽วมมือทวิภาคีและพหุภาคีจะต฾องตกลงกัน โดยภาคีที่เกี่ยวข฾องก฽อนที่จะมีปฏิบัติการระหว฽างกัน

7. ภาคีที่เกี่ยวข฾องพร฾อมที่จะทําการปรึกษาหารือและการเจรจาในประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข฾อง โดยใช฾ วิธีการที่จะมีการตกลงกัน รวมทั้งการปรึกษาหารือทั่วไปว฽าด฾วยการปฏิบัติตามปฏิญญานี้ เพื่อจุดประสงคแใน การส฽งเสริมการเป็นเพื่อนบ฾านที่ดีและความโปร฽งใส สร฾างความสามัคคี ความเข฾าใจซึ่งกันและกันและความ ร฽วมมือ และอํานวยความสะดวกเพื่อการแก฾ไขปัญหาข฾อพิพาทระหว฽างกันอย฽างสันติ 8. ภาคียอมรับที่จะเคารพบทบัญญัติของปฏิญญานี้และดําเนินการให฾สอดคล฾องกัน 9. ภาคีจะส฽งเสริมให฾ประเทศอื่นๆ เคารพหลักการที่มีอยู฽ในปฏิญญานี้ 10. ภาคีที่เกี่ยวข฾องยืนยันว฽าจะมีการรับรอง “แนวปฏิบัติในทะเลจีนใต฾ (code of conduct in the South China Sea)” ซึ่งจะส฽งเสริมสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาคและเห็นด฾วยกับการดําเนินงานบน พื้นฐานของฉันทามติเพื่อนําไปสู฽ความสําเร็จในตามวัตถุประสงคแของปฏิญญานี้

โดยสรุป ปฏิญญาฉบับนี้ เป็นปฏิญญาฉบับแรกที่ทุกประเทศอาเซียนรวมทั้งจีนประกาศเจตนารมณแ ร฽วมกันเพื่อจะมุ฽งมั่นและร฽วมกันแก฾ไขปัญญาข฾อพิพาททะเลจีนใต฾อย฽างสันติวิธี อย฽างไรก็ตาม มีการวิเคราะหแ เกี่ยวกับปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต฾ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC) ซึ่งได฾รับการยกย฽องว฽าเป็นหมุดหมายที่สําคัญระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียนกับ จีน แต฽ก็ยังไม฽สามารถสร฾างความไว฾วางใจหรือปูองกันไม฽ให฾ข฾อพิพาทรัฐที่อ฾างสิทธิ์ในทะเลจีนใต฾ลุกลามได฾ เนื่องจากมีบทบาทเป็นเพียงการเรียกร฾องให฾คู฽กรณีมีความยับยั้งชั่งใจต฽อกัน แต฽อย฽างน฾อยที่สุด ปฏิญญาฉบับนี้ก็ ยังมีประโยชนแในแง฽ของการเป็นบรรทัดฐานอ฾างอิงเมื่อเกิดปัญหาและความตึงเครียด รวมทั้งเป็นพื้นฐานสําหรับ การเจรจาโดยถือเป็นระเบียบปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) อย฽างเป็นทางการ252 แม฾กระทั่งปัจจุบันก็ ไม฽ปรากฏว฽ามีรัฐที่อ฾างสิทธิ์รัฐใดที่ปฏิบัติตามบทบัญญัติของปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต฾ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC) อย฽างเคร฽งครัด ซึ่งหลังจาก มีการลงนามรับรองกลไกฉบับนี้แล฾ว โครงการความร฽วมมือทวิภาคีหรือพหุภาคีในทะเลจีนใต฾เกิดขึ้นน฾อยมาก เนื่องจากไม฽มีอํานาจทางกฎหมายในการยับยั้งพฤติกรรมของฝุายที่อ฾างสิทธิ์ในทะเลจีนใต฾ และขาดกลไกการ

252 Mingjiang Li. การจัดการด฾านความมั่นคงในทะเลจีนใต฾: จาก DOC ถึง COC. (แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษแ) The South China Sea. Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 15 (March 2014). เข฾าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1V081jS 260

สอดส฽องดูแล และข฾อบังคับให฾ปฏิบัติตาม อีกทั้งการที่ฝุายจีนแสดงท฽าทีไม฽สนใจและไม฽มีความตั้งใจที่จะปฏิบัติ ตามข฾อกําหนดที่เคยตกลงกันไว฾ เพราะกลัวว฽าจะส฽งผลเสียต฽อการอ฾างอํานาจอธิปไตยในทะเลจีนใต฾253 แม฾ว฽าจะมีการประชุมเจ฾าหน฾าที่อาวุโสอาเซียน-จีน (ASEAN-China Senior Officials‖ Meeting – SOM) เพื่อกํากับดูแลการนํากลไกฉบับนี้ไปใช฾ปฏิบัติ โดยมีการแต฽งตั้งคณะทํางานร฽วมเพื่อจัดการกับข฾อพิพาท เฉพาะกรณี นับตั้งแต฽เดือนธันวาคม 2547/2004 ซึ่งมีการจัดประชุมเจ฾าหน฾าที่อาวุโสอาเซียน-จีน เป็นครั้งแรก ณ กรุงกัวลาลัมเปอรแ โดยกําหนดให฾มีคณะทํางานร฽วมและนําเสนอเอกสารที่กําหนดรายละเอียดโครงสร฾าง บทบาทหน฾าที่และความรับผิดชอบของคณะทํางานร฽วมให฾มีภาระหน฾าที่ในด฾านการศึกษาและวางมาตรการเชิง นโยบายที่เฉพาะเจาะจงสําหรับการปฏิบัติ รวมทั้งระบุพฤติกรรมที่ก฽อให฾เกิดข฾อพิพาทหรือการบานปลาย ต฽อมาในวันที่ 4-5 สิงหาคม 2548/2005 จึงมีการประชุมคณะทํางานร฽วมครั้งแรกขึ้น ณ กรุงมะนิลา เพื่อ นําเสนอร฽างเอกสารแนวทางปฏิบัติ 7 ข฾อ ซึ่งข฾อที่ 2 กําหนดว฽า “อาเซียนจะยังคงปฏิบัติตามแนวทางปัจจุบัน ในการหารือกันเองก฽อนจัดประชุมกับจีน” ซึ่งฝุายจีนคัดค฾านข฾อนี้ โดยอ฾างว฽าทะเลจีนใต฾ไม฽ใช฽ปัญหาของชาติ สมาชิกอาเซียนทุกชาติ แต฽เกี่ยวข฾องกับประเทศสมาชิกอาเซียนส฽วนน฾อยเท฽านั้น โดยฝุายจีนยืนยันว฽าจะทําการ หารือกับ “ฝุายที่เกี่ยวข฾อง” เท฽านั้น ไม฽ใช฽การหารือกับกลุ฽มประเทศอาเซียนทั้งหมด254 ในที่สุด เมื่อเดือนกรกฎาคม 2554/2011 อาเซียนและจีนตัดสินใจที่จะจัดทําแนวทางการปฏิบัติตาม กลไกฉบับนี้ได฾ ซึ่งในการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554/2011 อดีตนายกรัฐมนตรี ของจีน กล฽าวว฽าจีนจะยังคงเป็นเพื่อนมิตรและหุ฾นส฽วนที่ดีของอาเซียน โดยเต็มใจทํางานกับประเทศสมาชิก อาเซียนเพื่อก฾าวไปสู฽การปฏิบัติตามปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต฾ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC) และจีนเต็มใจที่จะหารือเกี่ยวกับการร฽างระเบียบ ปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) อีกด฾วย โดยฝุายจีนรับปากว฽าจะจัดสรรเงินกู฾จํานวน 1 หมื่นล฾านเหรีญ ดอลลารแสหรัฐ (รวมวงเงินกู฾ดอกเบี้ยต่ํา 4 พันล฾าน) เพื่อก฽อสร฾างโครงสร฾างพื้นฐานในกลุ฽มประเทศอาเซียน ต฽อมานายหยางเจี๋ยฉือ อดีตรัฐมนตรีว฽าต฽างประเทศของจีน ย้ําว฽าการประชุมหารือเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) ควรวางอยู฽บนพื้นฐานการอนุโลมตามปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีใน ทะเลจีนใต฾ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC) โดยกล฽าวว฽า “จีนหวังว฽าทุกฝุายจะดําเนินการมากกว฽านี้เพื่อขยายความไว฾วางใจซึ่งกันและกัน ส฽งเสริมความร฽วมมือและสร฾าง เงื่อนไขที่จําเป็นเพื่อการวางกรอบ COC”255 ในเดือนสิงหาคม 2556/2013 นายหวังอี้ รัฐมนตรีต฽างประเทศคนใหม฽ของจีน ได฾เสนอทัศนะ 4 ประการเกี่ยวกับกระบวนการร฽างระเบียบปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) ได฾แก฽ 1. อาจต฾องใช฾เวลายาวนานพอสมควรกว฽าจะจัดทําระเบียบปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) ได฾ สําเร็จ เนื่องจากความซับซ฾อนของปัญหา 2. กระบวนการร฽างระเบียบปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) ควรคํานึงถึงฉันทามติให฾มากที่สุดและ เคารพความสบายใจของแต฽ละฝุายที่อ฾างสิทธิ์เหนือทะเลจีนใต฾ 3. ควรหลีกเลี่ยงการแทรกแซงอื่นๆ และ

253 Ibid. 254 Ibid. 255 Chinese FM: Trust and co-op essential to COC, Xinhua, July 13, 2012. เข฾าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://on.china.cn/1NMd0Re 261

4. การเจรจาควรดําเนินไปในลักษณะค฽อยเป็นค฽อยไป โดยพื้นฐานแล฾ว กระบวนการร฽างระเบียบปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) ควรดําเนินไปควบคู฽กับการปฏิบัติตามปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีใน ทะเลจีนใต฾ (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC) ทั้งนี้ ในวันที่ 15 กันยายน 2556/2013 มีการจัดการประชุมเจ฾าหน฾าที่อาวุโสจีน-อาเซียน ว฽าด฾วย กระบวนการร฽างระเบียบปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) ขึ้นเป็นครั้งแรก ณ เมืองซูโจว โดยทุกฝุายเห็น พ฾องต฾องกันบนหลักการที่จะต฾องคํานึงถึงฉันทามติและใช฾วิธีการแบบค฽อยเป็นค฽อยไป ซึ่งกระบวนการร฽าง ระเบียบปฏิบัติ (Code of Conduct – COC) ย฽อมไปอย฽างยากลําบากและยาวนาน ซึ่งตรงกันข฾ามกับความ คาดหวังของหลายประเทศในภูมิภาคและมหาอํานาจภายนอกภูมิภาคอย฽างสหรัฐอเมริกา256

256 Mingjiang Li. Ibid. 262

5.1.8 ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน II (Declaration of ASEAN Concord II) หรือ บาหลี II (Bali Concord II)

ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน II (Declaration of ASEAN Concord II)257 ได฾รับการรับรองขึ้น เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2546/2003 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ระหว฽างวันที่ 7-8 ตุลาคม 2546/2003 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย โดยเป็นครั้งแรกที่มีการประกาศจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด฾วย 3 เสาหลัก ได฾แก฽ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community – ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) และ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio – Cultural Community – ASCC) ภายในปี 2563/2020 ซึ่งเป็นการแสดงความต฽อเนื่องของการพัฒนาความสัมพันธแและการทํางานร฽วมกันภายในประเทศ สมาชิกอาเซียน โดยสรุป กลไกฉบับนี้ได฾ให฾ความสําคัญกับการยืนยันค฽านิยมพื้นฐานและหลักการรวมตัวกันเป็นองคแกร อาเซียน โดย “ยืนยันอีกครั้งถึงความสําคัญขั้นมูลฐานที่จะยึดมั่นในหลักการไม฽แทรกแซงและฉันทามติภายใน กรอบความร฽วมมืออาเซียน”258 และยังย้ําถึงกลไกสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ปี 2519/1976 โดย ระบุเอาในข฾อที่ 5 ว฽า “แนวทางปฏิบัติที่สําคัญในการดําเนินความสัมพันธแทางการปกครอง ระหว฽างรัฐ และ เป็นวิธีการทางการทูตเพื่อส฽งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพภายในภูมิภาค” นอกจากนี้ ยังเน฾นพันธสัญญาระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียน ตามที่ระบุไว฾ในข฾อที่ 4 ว฽าจะ “ตกลงใจ ในการระงับข฾อพิพาทที่มีมายาวนานด฾วยแนวทางสันติวิธี (resolve to settle long-standing disputes through peaceful means)” และยังระบุถึงการที่ประเทศสมาชิกจะรับรองกรอบการดําเนินงานเพื่อให฾บรรลุ “ประชาคมอาเซียนที่มีพลวัตร เป็นอันหนึ่งอันเดียว มีความยืดหยุ฽น และมีบูรณาการ (dynamic, cohesive, resilient and integrated ASEAN community)” อย฽างไรก็ตาม อาเซียนจะยังคงส฽งเสริมความเป็นปึกแผ฽น และความร฽วมมือในระดับภูมิภาค โดย “ประเทศสมาชิกจะใช฾สิทธิของตนเพื่อนําไปสู฽การดํารงอยู฽ของชาติตน ให฾เป็นอิสระจากการแทรกแซงจากภายนอกต฽อกิจการภายในของประเทศ” และจะต฾องปฏิบัติตามกฎบัตร สหประชาชาติและหลักการอื่นๆ ของกฎหมายระหว฽างประเทศ แต฽ก็ยังจําเป็นต฾องส฽งเสริมหลักการไม฽ แทรกแซง ฉันทามติในการตัดสินใจ ความยืดหยุ฽นในระดับชาติและระดับภูมิภาค เคารพในอํานาจอธิปไตยของ ชาติ การไม฽คุกคามหรือการใช฾กําลัง และการระงับความแตกต฽างและข฾อพิพาทข฾อพิพาทโดยสันติวิธี ที่น฽าสนใจคือ ข฾อที่ 7 ภายใต฾กรอบประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community – ASC) ได฾เน฾นไปที่สภาสูงหรือคณะอัครมนตรี (High Council) โดยระบุว฽า “คณะอัครมนตรีที่จัดตั้งขึ้นภายใต฾ กลไกสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) จะเป็นองคแประกอบที่สําคัญในประชาคมความมั่นคงอาเซียน เพราะสะท฾อนให฾เห็นถึงความมุ฽งมั่นของอาเซียนที่จะแก฾ปัญหาความแตกต฽าง ข฾อพิพาท และความขัดแย฾งโดย สันติ

257 ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน II (The Declaration of ASEAN Concord II) หรือ ปฏิญญาบาหลี II (Bali Concord II) Done in Bali, Indonesia on 7 October 2003 จาก เอกสารสําคัญอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการ ต฽างประเทศ เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Dqauu1 258 “REAFFIRMING the fundamental importance of adhering to the principle of non-interference and consensus in ASEAN cooperation;” Ibid. 263

และในท฾ายที่สุดกลไกปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน II (Declaration of ASEAN Concord II) ยังพยายามที่จะแสวงหานวัตกรรมหรือการมองไปข฾างหน฾าเพื่อจัดให฾มีเวทีสําหรับการพัฒนากลไกในการจัดการ ข฾อพิพาทระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียน ตามข฾อที่ 12 ว฽า “อาเซียนจะแสวงหานวัตกรรมหรือวิธีการใหม฽ๆ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยของตน และสร฾างวิธีการสําหรับสําหรับประชาคมความมั่นคงอาเซียน ซึ่งรวมถึง องคแประกอบต฽อไปนี้ ได฾แก฽ การจัดตั้งบรรทัดฐาน การปูองกันข฾อพิพาท แนวทางในการแก฾ปัญหาความขัดแย฾ง และการสร฾างสันติภาพภายหลังความขัดแย฾ง”259

259 “12. ASEAN shall explore innovative ways to increase its security and establish modalities for the ASEAN Security Community, which include, inter alia, the following elements: norms-setting, conflict prevention, approaches to conflict resolution, and post-conflict peace building.” Ibid. 264

5.1.9 แผนปฏิบัติการประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community Plan of Action)

แผนปฏิบัติการประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community Plan of Action) ได฾รับ การรับรองในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 10 ระหว฽างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547/2004 ณ กรุง เวียงจันทนแ ประเทศลาว ซึ่งกระบวนการสร฾างประชาคมความมั่นคงอาเซียนเริ่มเป็นรูปธรรม โดยเป็นเค฾าโครง ในการดําเนินงานด฾านความมั่นคงของอาเซียนว฽าควรขึ้นอยู฽กับ “บรรทัดฐานและกฎระเบียบร฽วมของการปฏิบัติ ที่ดีในความสัมพันธแระหว฽างประเทศ การปูองกันความขัดแย฾งที่มีประสิทธิภาพและกลไกในการแก฾ปัญหา และ กิจกรรมในการสร฾างสันติหลังจากเกิดข฾อพิพาท”260 นอกจากนี้ยังมีความชัดเจนยิ่งขึ้นว฽าประชาคมความมั่นคง อาเซียนจะส฽งเสริม “ความมั่นคงและความร฽วมมือทางการเมืองของอาเซียนในวงกว฾าง เพื่อให฾สอดคล฾องกับ วิสัยทัศนแอาเซียน 2020 มากกว฽าสนธิสัญญาการปูองกัน พันธมิตรทางการทหาร หรือนโยบายร฽วมในทางการ ต฽างประเทศ”261 ซึ่งกระบวนการเป็นประชาคมความมั่นคงอาเซียนต฾องมีลักษณะที่ “ก฾าวหน฾า/เชิงรุก (progressive)” ตามหลักการไม฽แทรกแซง การตัดสินใจโดยใช฾หลักฉันทามติ การมีความความยืดหยุ฽นใน ระดับชาติและระดับภูมิภาค หลักการเคารพต฽ออธิปไตยของชาติ และหลักการไม฽คุกคามหรือการใช฾กําลังทาง ทหาร รวมทั้งการระงับความแตกต฽างและข฾อพิพาทโดยสันติวิธี แผนการที่ชัดเจนแสดงให฾เห็นระดับของความ ต฽อเนื่องและยึดมั่นในการทํางานร฽วมกันระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียน นอกจากนี้ ยังระบุว฽าอาเซียนไม฽ เพียงแต฽จะเสริมสร฾าง “แนวคิดแรกเริ่ม (initiative)” ที่มีอยู฽ให฾เข฾มแข็ง แต฽ควรเสนอแนวทางใหม฽ๆ และจัดตั้ง “กรอบการดําเนินงานที่เหมาะสม (appropriate implementation frameworks)” ด฾วย แผนปฏิบัติการประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community Plan of Action) ประกอบด฾วย 7 ส฽วน ได฾แก฽ 1. การเสริมสร฾างพัฒนาการทางการเมือง (Political Development) ระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อส฽งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ประชาธิปไตย และความมั่งคั่งในภูมิภาค เช฽น การส฽งเสริมสถาบัน ประชาธิปไตยและการมีส฽วนร฽วมของประชาชน การคุ฾มครองสตรี เด็ก ผู฾พิการและแรงงานอพยพ เป็นต฾น 2. การเสริมสร฾างบรรทัดฐานร฽วมกัน (Shaping and Sharing of Norms) ระหว฽างประเทศสมาชิก อาเซียน เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินความสัมพันธแที่ดีระหว฽างประเทศสมาชิก เช฽น การไม฽ฝักใฝุฝุายใด (Non-alignment) ส฽งเสริมทัศนคติที่มุ฽งเน฾นสันติภาพของประเทศสมาชิกอาเซียน (Fostering of peace- oriented attitudes of ASEAN Member Countries) การแก฾ไขความขัดแย฾งโดยวิธีการไม฽ใช฾ความรุนแรง (Conflict resolution through non-violent means) การยกเลิกอาวุธนิวเคลียรแและอาวุธอื่นๆ ที่มีอํานาจ การทําลายล฾างสูง และหลีกเลี่ยงการแข฽งขันทางด฾านอาวุธในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Renunciation of nuclear weapons and other weapons of mass destruction and avoidance of arms race in Southeast Asia) และ การยกเลิกการคุกคามหรือการใช฾กําลัง (Renunciation of the threat or the use of force) รวมถึงการส฽งเสริมให฾ประเทศนอกอาเซียนเข฾ามาเป็นภาคีในสนธิสัญญาต฽างๆ ของอาเซียน และการ จัดทํากฎบัตรอาเซียน เป็นต฾น 3. การปูองกันความขัดแย฾ง (Conflict Prevention) โดยการเสริมสร฾างความไว฾เนื้อเชื่อใจและความ เชื่อมั่นในประชาคมอาเซียน ลดความตึงเครียดและปูองกันการเกิดข฾อพิพาท อีกทั้งปูองกันไม฽ให฾ข฾อพิพาททวี ความรุนแรงยิ่งขึ้น เช฽น การจัดการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน การส฽งเสริมความสัมพันธแและความ

260 แผนปฏิบัติการประชาคมความมั่นคงอาเซียน หรือ ASEAN Security Community Plan of Action เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1VkMweU 261 Ibid. 265

ร฽วมมือระหว฽างทหารและพลเรือน การส฽งเสริมความร฽วมมือในประเด็นภัยคุกคามรูปแบบใหม฽ซึ่งรวมถึงการก฽อ การร฾าย อาชญากรรมข฾ามชาติ โรคติดต฽อ ปัญหาสิ่งแวดล฾อม เป็นต฾น 4. การแก฾ไขปัญหา (Conflict Resolution) ข฾อพิพาทในภูมิภาคโดยใช฾กลไกสันติวิธี เช฽น การสร฾าง เครือข฽ายระหว฽างศูนยแรักษาสันติภาพขอประเทศสมาชิก เป็นต฾น 5. การสร฾างสันติภาพภายหลังความขัดแย฾ง (Post-Conflict Peace Building) โดยการสร฾าง สภาพแวดล฾อมที่จําเป็นต฽อสันติภาพที่ยั่งยืนในบริเวณที่ได฾รับผลกระทบจากสงครามและปูองกันการเกิดข฾อ พิพาทอีกในอนาคต ซึ่งรวมถึง การให฾ความช฽วยเหลือด฾านมนุษยธรรม การฟื้นฟูและบูรณะประเทศ เช฽น การ จัดตั้งกลไกระดมทรัพยากรที่จําเป็นในการสร฾างสรรคแสันติภาพภายหลังความขัดแย฾ง เป็นต฾น 6. การบังคับใช฾กลไกต฽างๆ ให฾เกิดผลในทางปฏิบัติ (Implementing Mechanisms) โดยการจัดตั้ง กลไกติดตามการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community Plan of Action) โดยมอบหมายให฾เลขาธิการอาเซียนติดตามและทบทวนความคืบหน฾าในเรื่องดังกล฽าว ทั้งนี้ รัฐมนตรีต฽างประเทศอาเซียนจะรายงานความคืบหน฾าของการดําเนินการทุกๆ ปีต฽อที่ประชุมสุดยอดอาเซียน 7. พื้นที่และกิจกรรม (Areas of Activities) ซึ่งมีรายละเอียดในภาคผนวกสําหรับแผนการสร฾าง ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ANNEX for ASEAN Security Community Plan of Action)262

โดยสรุปแล฾ว ในแง฽ของการจัดการข฾อพิพาท กลไกตามแผนปฏิบัติการประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community Plan of Action) ได฾เน฾นว฽า ข฾อพิพาทและความขัดแย฾งที่เกี่ยวข฾องกับ ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต฾องได฾รับการแก฾ไขโดย “สันติวิธี (peaceful way)” ในขณะที่ยังคงใช฾กลไกใน ระดับชาติ ในระดับทวิภาคี และในระดับนานาชาติ ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต฾องพยายามใช฾กลไกที่มีอยู฽ใน การระงับข฾อพิพาทในระดับภูมิภาค รวมทั้งการเตรียมการรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค เพื่อ ผลประโยชนแโดยรวมของประเทศสมาชิกทั้งหมด นอกจากนี้ ยังกําหนดให฾มี “สนธิสัญญาว฽าด฾วยการช฽วยเหลือ ทางกฎหมายระหว฽างกัน (ASEAN Treaty on Mutual Legal Assistance (MAL) Agreement)” และ “สนธิสัญญาส฽งผู฾ร฾ายข฾ามแดนอาเซียน (ASEAN Extradition Treaty)” ตามที่ได฾วางเปูาหมายเอาไว฾ใน “ปฏิญญาความร฽วมมืออาเซียน (ASEAN Concord)” ฉบับปี 2519/1976 รวมทั้งการจัดตั้ง “อนุสัญญา อาเซียนว฽าด฾วยการต฽อต฾านการก฽อการร฾าย (ASEAN Convention on Counter Terrorism)”263 และให฾มี “การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers Meeting – ADMM)” เป็นประจําทุกปี เพื่อเสริมสร฾างมาตรการการปูองกันและสร฾างความเข฾มแข็งให฾แก฽ “การประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾าน การเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย–แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF)” เพื่อสนับสนุนและ เสริมสร฾างความร฽วมมือในประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม฽ (non-traditional security issues) มุ฾งเน฾นที่จะ การรักษาหลักการความเคารพในอธิปไตยของบูรณภาพแห฽งดินแดนและความสามัคคีของประเทศสมาชิก (efforts in maintaining respect for territorial integrity sovereignty and unity of member countries) และการเสริมสร฾างความร฽วมมือเพื่อรับมือต฽อ “ภัยคุกคามและความท฾าทาย (threats and challenges)” จากลัทธิการแบ฽งแยกดินแดน (separatism)

262 โปรดดู ANNEX for ASEAN Security Community Plan of Action เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1I2Vinm 263 ASEAN Convention on Counter Terrorism. Done at Cebu, Philippines on 13 January 2007 เข฾าถึง เมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1OhnojJ 266

โดยระบุกลไกในการระงับข฾อพิพาท ได฾แก฽ การใช฾วิธีระงับข฾อพิพาทโดยสันติวิธีที่มีอยู฽แล฾ว เช฽น การ เจรจา และ การปรึกษาหารือ การจัดให฾มีการใช฾คนกลางที่น฽าเชื่อถือ การต฽อรองและการไกล฽เกลี่ย หรือใช฾กลไก “คณะอัครมนตรี (High Council)” เป็นตัวเลือกที่ควรให฾ความสําคัญเป็นอันดับแรก และหากมีความ จําเป็นต฾องใช฾กลไกคณะอัครมนตรี อาจการแต฽งตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะกิจ (ad hoc) โดยมี “คณะกรรมการ ผู฾เชี่ยวชาญและที่ปรึกษา (Experts Advisory Committee – EAC)” หรือ “คณะผู฾ทรงคุณวุฒิ (Eminent Persons Group – EPG)” ซึ่งอาจขยายความช฽วยเหลือแก฽คณะอัครมนตรีที่จะให฾คําแนะนําหรือให฾คําปรึกษา เพื่อระงับข฾อพิพาทตามที่มีการร฾องขอ เพื่อให฾สอดคล฾องกับ “ระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของ สนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Rules of Procedure of the High Council of the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia)” นอกจากนี้ ยังมีมาตรการใน การพัฒนาความร฽วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อการรักษาสันติภาพและความมั่นคง เช฽น ความเป็นไปได฾ในการ จัดตั้ง “สถานบันอาเซียนเพื่อสันติภาพและความสมานฉันทแ (ASEAN Institute for Peace and Reconciliation)” และในภาคผนวกสําหรับแผนการสร฾างประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ANNEX for ASEAN Security Community Plan of Action) ยังเรียกร฾องให฾มีการเสริมสร฾างความช฽วยเหลือด฾านมนุษยธรรมของ อาเซียน เพื่อพัฒนาความร฽วมมือในการการสร฾างสันติภาพภายหลังความขัดแย฾ง และการฟื้นฟู รวมทั้งการ จัดตั้งกลไกในการระดมทรัพยากรอีกด฾วย

267

5.1.10 กฎบัติอาเซียน (Charter of the Association of Southeast Asian Nations – ASEAN Charter)

กฎบัติอาเซียน (Charter of the Association of Southeast Asian Nations – ASEAN Charter) ได฾รับการรับรองเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550/2007 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 13 ระหว฽างวันที่ 18-22 พฤศจิกายน 2550/2007 ณ ประเทศสิงคโปรแ ซึ่งถือเป็นความตกลงฉบับประวัติศาสตรแ ในวาระที่ อาเซียนก฽อตั้งมาครบ 40 ปี โดยมีความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ เช฽น กําหนดให฾มีการประชุมสุดยอดปีละ 2 ครั้ง มีการแต฽งตั้งผู฾แทนถาวรอาเซียนของแต฽ละประเทศสมาชิกในคณะกรรมการผู฾แทนถาวร ณ กรุงจาการแตา และ มีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการระหว฽างรัฐบาลอาเซียนว฽าด฾วยสิทธิมนุษยชน เป็นต฾น ทั้งนี้กฎบัติอาเซียนมีผล บังคับใช฾ตั้งแต฽เดือนธันวาคม 2551/2008 เป็นต฾นมา ที่สําคัญคือบทบัญญัติที่เกี่ยวข฾องกับการระงับข฾อพิพาท ในหมวดที่ 8 ว฽าด฾วยการระงับข฾อพิพาท ข฾อ 22-28 ได฾แก฽ “หมวด 8 การระงับข฾อพิพาท264 ข฾อ 22 หลักการทั่วไป 1. รัฐสมาชิกต฾องพยายามที่จะระงับข฾อพิพาททั้งปวงอย฽างสันติให฾ทันท฽วงที โดยผ฽านการสนทนา การปรึกษาหารือ และการเจรจา 2. ให฾อาเซียนจัดตั้งและธํารงไว฾ซึ่งกลไกการระงับข฾อพิพาทในทุกสาขาความร฽วมมือของอาเซียน

ข฾อ 23 คนกลางที่มีตําแหน฽งหน฾าที่น฽าเชื่อถือ การประนีประนอม และการไกล฽เกลี่ย 1. รัฐสมาชิกที่เป็นคู฽กรณีในข฾อพิพาทอาจจะตกลงกันเมื่อใดก็ได฾ที่จะใช฾คนกลางที่มีตําแหน฽งหน฾าที่ น฽าเชื่อถือ การประนีประนอม หรือการไกล฽เกลี่ย เพื่อระงับข฾อพิพาทภายในระยะเวลาที่ตกลงกัน 2. คู฽กรณีในข฾อพิพาทอาจร฾องขอให฾ประธานอาเซียน หรือเลขาธิการอาเซียน ทําหน฾าที่โดยตําแหน฽ง ในการเป็นคนกลางที่มีตําแหน฽งหน฾าที่น฽าเชื่อถือ การประนีประนอม หรือการไกล฽เกลี่ย

ข฾อ 24 กลไกระงับข฾อพิพาทตามตราสารเฉพาะ 1. ให฾ระงับข฾อพิพาทที่เกี่ยวข฾องกับตราสารเฉพาะของอาเซียนโดยกลไกและขั้นตอนการดําเนินการที่ กําหนดไว฾ในตราสารนั้นๆ 2. ให฾ระงับข฾อพิพาทที่ไม฽เกี่ยวข฾องกับการตีความหรือการใช฾ตราสารอาเซียนใดๆ โดยสันติตาม สนธิสัญญาทางไมตรีและความร฽วมมือแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾และตามกฎว฽าด฾วยขั้นตอนการดําเนินงาน ของสนธิสัญญาดังกล฽าว 3. ในกรณีที่มิกําหนดไว฾เป็นอย฽างอื่นเป็นการเฉพาะ ให฾ระงับข฾อพิพาทที่เกี่ยวข฾องกับการตีความหรือการ ใช฾ความตกลงทางเศรษฐกิจของอาเซียนตามพิธีสารว฽าด฾วยกลไกระงับข฾อพิพาทของอาเซียน

ข฾อ 25 การจัดตั้งกลไกระงับข฾อพิพาท ในกรณีที่มิได฾กําหนดไว฾เป็นอย฽างอื่นเป็นการเฉพาะ ให฾มีการจัดตั้งกลไกระงับข฾อพิพาทที่เหมาะสม รวมถึงอนุญาโตตุลาการ สําหรับข฾อพิพาทที่เกี่ยวข฾องกับการตีความหรือการใช฾กฎบัตรนี้ และตราสารอาเซียน อื่นๆ

264 กฎบัติอาเซียน หรือ Charter of the Association of Southeast Asian Nations. Done in Singapore on 20 November 2007 จาก เอกสารสําคัญอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fY2hbM 268

ข฾อ 26 ข฾อพิพาทที่มิอาจระงับได฾ ในกรณีที่ยังคงระงับข฾อพิพาทมิได฾ ภายหลังการใช฾บทบัญญัติก฽อนหน฾านี้ในหมวดนี้แล฾ว ให฾เสนอข฾อ พิพาทนั้นไปยังที่ประชุมสุดยอดอาเซียน เพื่อตัดสิน

ข฾อ 27 การปฏิบัติตาม 1. เลขาธิการอาเซียนโดยการช฽วยเหลือจากสํานักเลขาธิการอาเซียน หรือ องคแกรอาเซียนอื่นๆ ที่ได฾รับ แต฽งตั้ง จะสอดส฽องดูแลการปฏิบัติตามผลการวินิจฉัย ข฾อเสนอแนะ หรือข฾อตัดสินใจ ซึ่งเป็นผลจากกลไกระงับ ข฾อพิพาทของอาเซียน และส฽งรายงานไปยังที่ประชุมสุดยอดอาเซียน 2. รัฐสมาชิกที่ได฾รับผลกระทบจากการไม฽ปฏิบัติตามผลการวินิจฉัย ข฾อเสนอแนะ หรือข฾อตัดสินใจ ซึ่ง เป็นผลจากกลไกระงับข฾อพิพาทของอาเซียน อาจส฽งเรื่องไปยังที่ประชุมสุดยอดอาเซียนเพื่อตัดสิน

ข฾อ 28 บทบัญญัติของกฎบัตรสหประชาชาติ และกระบวนการระหว฽างประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข฾อง หากมิได฾ระบุไว฾เป็นอย฽างอื่นในกฎบัตรนี้ รัฐสมาชิกยังคงไว฾ซึ่งสิทธิที่จะใช฾วิธีการระงับข฾อพิพาทอย฽าง สันติที่ระบุไว฾ในข฾อ 33(1) ของกฎบัตรสหประชาชาติ หรือตราสารทางกฎหมายระหว฽างประเทศอื่นๆ ที่รัฐ สมาชิกคู฽พิพาทเป็นภาคี”

โดยสรุป กฎบัติอาเซียนเป็นการยืนยันหลักการพื้นฐานของความสัมพันธแระหว฽างประเทศสมาชิก อาเซียน ตามวรรคที่ 7 ของบทนํา ซึ่งระบุว฽า “เคารพความสําคัญพื้นฐานของมิตรภาพและความร฽วมมือ และ หลักการแห฽งอธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห฽งดินแดน การไม฽แทรกแซงในกิจการภายใน ฉันทามติและ เอกภาพในความหลากหลาย”265 ซึ่งยังคงเน฾นความสําคัญของสันติภาพ ดังที่ระบุเอาไว฾อย฽างชัดเจนในข฾อ 1 “วัตถุประสงคแ (Purposes)” ของบทที่ 1 “วัตถุประสงคแและหลักการ (Purposes and Principles)” ว฽า จุดประสงคแแรกของอาเซียน คือ “เพื่อธํารงรักษาและเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และเสถียรภาพ กับทั้ง เสริมสร฾างคุณค฽าทางสันติภาพในภูมิภาคให฾มากขึ้น” รวมทั้ง ข฾อที่ 2 ของ “หลักการ (Principles)” โดยประเทศสมาชิกอาเซียนจะ “ปฏิบัติตามหลักการ ดังต฽อไปนี้” (ก) การเคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห฽งดินแดน และอัตลักษณแแห฽งชาติ ของรัฐสมาชิกอาเซียนทั้งปวง (ข) ความผูกพันและความรับผิดชอบร฽วมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และความมั่งคั่งของภูมิภาค (ค) การไม฽ใช฾การรุกราน และการข฽มขู฽ว฽าจะใช฾หรือการใช฾กําลังหรือการกระทําอื่น ใดในลักษณะที่ขัดต฽อกฎหมายระหว฽างประเทศ (ง) การอาศัยการระงับข฾อพิพาทโดยสันติ (จ) การไม฽แทรกแซง กิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน (ฉ) การเคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธํารงประชาชาติของตนโดย ปราศจากการแทรกแซง การบ฽อนทําลาย และการบังคับ จากภายนอก และ (ฎ) การละเว฾นจากการมีส฽วนร฽วม ในนโยบายหรือกิจกรรมใดๆ รวมถึงการใช฾ดินแดนของตน ซึ่งดําเนินการโดยรัฐสมาชิกอาเซียนหรือรัฐที่มิใช฽ สมาชิกอาเซียนหรือผู฾กระทําที่ไม฽ใช฽รัฐใดๆ ซึ่งคุกคามอธิปไตย บูรณภาพแห฽งดินแดน หรือเสถียรภาพทาง การเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน ทั้งนี้ หลักการไม฽แทรกแซงยังคงเป็นหลักการที่ชัดเจนที่สุดของ อาเซียน การยึดมั่นอย฽างเคร฽งครัดต฽อบทบัญญัติของกฎบัตรสหประชาชาติ ที่เกี่ยวข฾องกับข฾อห฾ามในการ “การ คุกคามหรือการใช฾กําลัง (threat or use of force)”

265 Ibid. 269

5.1.11 แผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint)

แผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint) ได฾รับการรับรองในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 14 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552/2009 ณ ชะอํา/หัวหิน ประเทศไทย โดยเป็นการกําหนดแผนงาน 6 ปี ระหว฽างปี 2552-2558/2009-2015 เพื่อสร฾าง ความร฽วมมือทางการเมืองและความมั่นคงระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียน มีจุดมุ฽งหมายเพื่อให฾เกิดความมั่นใจ ว฽าประเทศสมาชิกอาเซียนจะสามารถอยู฽ร฽วมกันได฾อย฽างสันติภายในบรรยากาศที่เป็นประชาธิปไตยและความ สามัคคี ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนจะยึดมั่นในหลักการสันติวิธี เพื่อการระงับความแตกต฽างและข฾อพิพาทที่ เกิดขึ้นภายในภูมิภาค ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนสนับสนุนแนวทางด฾านความมั่นคงที่ ครอบคลุมทุกมิติ ซึ่งมีความเกี่ยวโยงต฽อพัฒนาการด฾านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมอย฽างใกล฾ชิด ยึดหลักใน การละเว฾นการรุกรานหรือการขู฽ใช฾ใช฾กําลัง และการกระทําใดๆที่ไม฽สอดคล฾องกับกฎหมายระหว฽างประเทศและ การพึ่งพาการแก฾ไขปัญหาความขัดแย฾งโดยสันติวิธี ในการนี้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนยึดมั่น ตามความตกลงทางการเมืองของอาเซียน อาทิ ปฏิญญาว฽าด฾วยเขตสันติภาพ อิสรภาพ และการวางตัวเป็น กลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality Declaration – ZOPFAN) หรือ สนธิสัญญามิตรภาพ และความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) เป็นต฾น ซึ่งมีบทบาทสําคัญในด฾านมาตรการส฽งเสริมความไว฾เนื้อเชื่อใจ การทูตในเชิงปูองกัน และ แนวทางแก฾ไขปัญหาโดยสันติวิธี อีกทั้งแก฾ไขประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม฽ ทั้งนี้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประกอบด฾วยคุณลักษณะ 3 ประการ ได฾แก฽ ก) ประชาคมที่มีกติกาและมีการพัฒนาค฽านิยมและบรรทัดฐานร฽วมกัน (A rules-based community of shared values and norms) ข) ประชาคมที่ทําให฾ภูมิภาคมีความเป็นเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกร฽ง พร฾อมทั้งมีความ รับผิดชอบร฽วมกันเพื่อแก฾ไขปัญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ (A cohesive, peaceful, and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) ค) ประชาคมที่ทําให฾เป็นภูมิภาคที่มีพลวัตรและมองไปยังโลกภายนอกที่มีการรวมตัวและลักษณะพึ่งพา ซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น (A dynamic and outward looking region in an increasingly integrated and interdependent world)266 โดยสรุปแล฾ว แผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint) ได฾ตั้งเปูาหมายว฽าจะสามารถจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนได฾ใน ปี 2558/2015 นอกจากนี้ ยังสร฾างแผนงานที่มีความยืดหยุ฽นเพื่อให฾เกิดการดําเนินงานตามโครงการหรือ กิจกรรมที่มีได฾อย฽างต฽อเนื่องภายหลังปี 2558/2015 โดยจะทําให฾เกิดประชาคมการเมืองและความมั่นคงที่มี คุณภาพและความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น ด฾วยการกําหนดบทบัญญัติที่เกี่ยวข฾องกับการจัดการข฾อพิพาทระหว฽าง ประเทศ ได฾แก฽ “ข.1 ปูองกันความขัดแย฾งและมาตรการการสร฾างความไว฾เนื้อเชื่อใจ” กําหนดว฽า ข฾อ 18 มาตรการการสร฾างความไว฾เนื้อเชื่อใจและการทูตเชิงปูองกันเป็นเครื่องมือ สําคัญในการปูองกัน ความขัดแย฾ง ช฽วยลดความตึงเครียดและปูองกันไม฽ให฾เกิดข฾อพิพาทระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียน และ

266 ASEAN Political-Security Community Blueprint เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงฉบับ ภาษาอังกฤษได฾จาก http://bit.ly/1IeCIiG หรือฉบับภาษาไทยได฾จาก http://bit.ly/1Rud11Y 270

ระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศที่ไม฽ใช฽สมาชิกอาเซียน ตลอดจนช฽วยปูองกันการขยายความรุนแรง ของความขัดแย฾งที่มีอยู฽แล฾ว ข฾อ 19 ในส฽วนของการหารือด฾านการปูองกันหรือการเมืองในภูมิภาค เจ฾าหน฾าที่กลาโหมอาเซียนได฾มี ส฽วนร฽วมในการเจรจาด฾านความมั่นคงของอาเซียนตั้งแต฽ปี 1996/2539 ภายใต฾กรอบความร฽วมมือของเวทีการ การประชุมอาเซียนว฽าด฾วยความร฽วมมือด฾านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) อาเซียนได฾ทําการรายงานโดยสมัครใจในเรื่องพัฒนาการด฾านการเมืองและความ มั่นคงในภูมิภาคและจัดประชุมเจ฾าหน฾าที่กลาโหมระดับสูงโดยสม่ําเสมอภายใต฾การหารือของเจ฾าหน฾าที่กลาโหม เออารแเอฟ (ARF Defence Officials‖ Dialogue – DOD) และการประชุมนโยบายความมั่นคงเออารแเอฟ (ARF Security Policy Conference – ASPC) อาเซียนยังได฾จัดตั้งการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ประจําปี (ASEAN Defence Ministers Meeting – ADMM) และการประชุมเจ฾าหน฾าที่อาวุโสอาเซียนด฾าน กลาโหม (ASEAN Defence Senior Officials‖ Meetings) นอกจากนี้ยังกําหนดให฾ มีข฾อ “ข.2 การแก฾ไขความขัดแย฾งและการระงับข฾อพิพาทโดยสันติ” ข฾อ 20 โดยเชื่อมั่นว฽าการระงับความแตกต฽างหรือข฾อพิพาทควรกํากับโดยกระบวนการที่มีเหตุผล มี ประสิทธิภาพ และยืดหยุ฽นเพียงพอ เพื่อหลีกเลี่ยงแนวคิดในทางลบซึ่งอาจเป็นอันตรายหรือเป็นอุปสรรคต฽อ ความร฽วมมืออาเซียน จึงสนับสนุนสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ซึ่งพยายามรักษาสันติภาพและอยู฽ ร฽วมกันอย฽างเป็นสุขในภูมิภาคและบัญญัติให฾ประเทศสมาชิกระงับการข฽มขู฽ว฽าจะใช฾หรือการใช฾กําลัง ข฾อ 21 สนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ให฾บทบัญญัติสําหรับการระงับข฾อพิพาทโดยสันติ ตลอดเวลา โดยผ฽านการเจรจาฉันทแมิตรและหลีกเลี่ยงการข฽มขู฽ว฽าจะใช฾หรือการใช฾กําลังเพื่อแก฾ไขข฾อพิพาทยุทธศาสตรแ สําหรับการแก฾ไขความขัดแย฾งจะเป็นส฽วนหนึ่งของแนวทางที่ครอบคลุมในทุกมิติ วัตถุประสงคแสําหรับ ยุทธศาสตรแเหล฽านี้เป็นไปเพื่อปูองกันข฾อพิพาทและความขัดแย฾งไม฽ให฾เกิดขึ้นระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีศักยภาพที่จะสร฾างภัยคุกคามต฽อสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค ข฾อ 22 อาเซียน สหประชาชาติและองคแการอื่นได฾จัดกิจกรรมความร฽วมมือจํานวนมากร฽วมกันภายใต฾ ความพยายามในการส฽งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพ มีความจําเป็นที่จะมีความพยายามที่มากขึ้นในการ เสริมสร฾างวิธีการระงับข฾อพิพาทโดยสันติที่มีอยู฽เพื่อหลีกเลี่ยงหรือระงับข฾อพิพาทในอนาคต และการดําเนินการ ในการจัดการความขัดแย฾งและการศึกษาวิจัยเรื่องการแก฾ไขความขัดแย฾ง อาเซียนอาจจัดตั้งกลไกการระงับข฾อ พิพาทที่เหมาะสมได฾เช฽นกันภายใต฾กฎบัตรอาเซียน ทั้งนี้ มีการกําหนดกิจกรรมเอาไว฾ในข฾อ “ข.2.1 พัฒนารูปแบบการระงับข฾อพิพาทโดยสันติเพิ่มเติมจาก รูปแบบที่มีอยู฽และพิจารณาเสริมสร฾างรูปแบบดังกล฽าวให฾เข฾มแข็งขึ้นด฾วยกลไกเพิ่มเติมตามที่จําเป็น” ได฾แก฽ 1) ศึกษาและวิเคราะหแรูปแบบการระงับข฾อพิพาทโดยสันติที่มีอยู฽ และ/หรือกลไกเพิ่มเติม เพื่อเสริมสร฾าง กลไกในภูมิภาคในการระงับข฾อพิพาทโดยสันติ 2) พัฒนารูปแบบ คนกลางที่น฽าเชื่อถือ การประนีประนอมและการไกล฽เกลี่ยของอาเซียน 3) จัดตั้งกลไกการระงับข฾อพิพาทโดยสันติที่เหมาะสม รวมทั้งอนุญาโตตุลาการตามกฎบัตรอาเซียน

271

5.1.12 พิธีสารของกฎบัตรอาเซียนว่าด้วยกลไกระงับข้อพิพาท (Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms – DSMP)

พิธีสารของกฎบัตรอาเซียนว฽าด฾วยกลไกระงับข฾อพิพาท (Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms – DSMP)267 เกิดขึ้นจากการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 16 ระหว฽าง วันที่ 8-9 เมษายน 2553/2010 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ตามที่ระบุไว฾ในกฎบัตรอาเซียนข฾อที่ 25 ว฽า ด฾วย การจัดตั้งกลไกระงับข฾อพิพาท “ในกรณีที่มิได฾กําหนดไว฾เป็นอย฽างอื่นเป็นการเฉพาะ ให฾มีการจัดตั้งกลไก ระงับข฾อพิพาทที่เหมาะสม รวมถึงอนุญาโตตุลาการ สําหรับข฾อพิพาทที่เกี่ยวข฾องกับการตีความหรือการใช฾กฎ บัตรนี้ และตราสารอาเซียนอื่นๆ” ซึ่งสถานะในปัจจุบันยังอยู฽ระหว฽างรอให฾รัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียน แต฽ละประเทศประกาศให฾สัตยาบันรับรองกลไกฉบับนี้อยู฽ พิธีสารของกฎบัตรอาเซียนว฽าด฾วยกลไกระงับข฾อพิพาท (Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms – DSMP) เป็นการกําหนดขั้นตอนและกระบวนการระงับข฾อพิพาท ภายใต฾บทบัญญัติของกฎบัตรอาเซียนซึ่งมีบทบัญญัติทั้งหมด 21 ข฾อ และภาคผนวกอีก 4 ฉบับ ที่สําคัญๆ เช฽น ข฾อ 5 ว฽าด฾วยการปรึกษาหารือ (consultation) ซึ่งประเทศคู฽พิพาทต฾องยื่นคําร฾องที่ระบุเหตุผลของความ จําเป็นที่จะให฾มีกระบวนการปรึกษาหารือแก฽เลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN) โดย ประเทศคู฽พิพาทอีกฝุายต฾องทําการตอบกลับ (reply) การยื่นคําร฾องภายใน 30 วัน และต฾องเริ่มกระบวนการ ปรึกษาหารือภายใน 60 วัน และกระบวนการปรึกษาหารือจะสิ้นสุดลงภายใน 90 วัน หรือภายในระยะเวลาที่ คู฽พิพาทตกลงร฽วมกัน เป็นต฾น ข฾อ 6 ว฽าด฾วยการจัดให฾มีการเจรจา (good office) การไกล฽เกลี่ยโดยคนกลาง (mediation) และการ ประนีประนอม (conciliation) ซึ่งมีรายละเอียดขั้นตอนตามที่ระบุไว฾ข฾อที่ 7 ว฽าด฾วยหน฾าที่ (functions) และใน ภาคผนวกแนบท฾ายพิธีสารฉบับนี้ ข฾อ 8 ว฽าด฾วยการร฾องขอให฾มีกระบวนการอนุญาโตตุลาการ (request for arbitration) ข฾อ 9 การอ฾างอิงถึงคณะมนตรีประสานงานอาเซียน (Reference to the ASEAN Coordinating Council) ข฾อ 10 ว฽าด฾วยกระบวนการอนุญาโตตุลาการ (arbitration) ข฾อ 11 ผู฾ที่จะมาทําหน฾าที่อนุญาโตตุลาการ (arbitrators) และข฾อ 12 หน฾าที่ของคณะอนุญาโตตุลาการ (functions of arbitral tribunal) ข฾อ 13 ว฽าด฾วยการระงับข฾อพิพาทโดยบุคคลที่สาม (third party) ข฾อ 14 ว฽าด฾วยการนํากฎหมายมาใช฾บังคับ (applicable law) โดยในข฾อ 15 ได฾กําหนดเอาไว฾อย฽าง ชัดเจนว฽า “คําตัดสินของคณะอนุญาโตตุลาการถือว฽าสิ้นสุดและผูกพันภาคีคู฽พิพาท และจะต฾องปฏิบัติตามโดย ภาคีคู฽พิพาท (The award of the arbitral tribunal shall be final and binding on the Parties to the dispute. It shall be fully complied with by the Parties to the dispute)” ข฾อ 16 ว฽าด฾วยการปฎิบัตรตามคําตัดสินของอนุญาโตตุลาการและความตกลงระงับข฾อพิพาท (compliance with arbitral award and settlement agreement) ข฾อ 17 ค฽าใช฾จ฽าย (costs) โดยกําหนดให฾ภาคีคู฽พิพาทเป็นผู฾ออกค฽าใช฾จ฽ายตามที่กําหนดไว฾ในภาคผนวก ของกฎว฽าด฾วยอนุญาโตตุลาการ (rules of arbitration)

267 Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms. Done in Hanoi on 8 April 2010 เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1KgakdE 272

ข฾อ 18 ว฽าด฾วยหน฾าที่ของสํานักงานเลขาธิการอาเซียน (function of the ASEAN Secretariat) ซึ่ง กําหนดให฾สํานักงานเลขาธิการอาเซียนมีหน฾าที่รับผิดชอบในการให฾ความช฽วยเหลือคณะอนุญาฌตตุลาการ และ ผู฾ที่ทําหน฾าที่ในการเจรจา เป็นคนกลาง การไกล฽เกลี่ย และประนีประนอม โดยเฉพาะด฾านกฎหมาย ประวัติศาสตรแ และด฾านอื่นๆ ที่เกี่ยวข฾อง และทําหน฾าที่เป็นเลขานุการเพื่อสนับสนุนทางด฾านเทคนิคด฾วย ทั้งนี้ พิธีสารของกฎบัตรอาเซียนว฽าด฾วยกลไกระงับข฾อพิพาท (Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms – DSMP) มีภาคผนวกแนบท฾ายจํานวน 4 ฉบับ ได฾แก฽ ภาคผนวก 1 (Annex 1) กฎว฽าด฾วยการจัดให฾มีการเจรจา (Rules of Good Offices) เป็นการกําหนด รายละเอียดต฽างๆ ที่จะช฽วยอํานวยความสะดวกในการเจรจาระหว฽างประเทศคู฽พิพาท เช฽น การช฽วยโทรศัพทแ ประสานงาน หรือการจัดหาสถานที่เพื่ออํานวยความสะดวกในการเจรจา เป็นต฾น ภาคผนวก 2 (Annex 2) กฎว฽าด฾วยการไกล฽เกลี่ยโดยคนกลาง (Rules of Mediation) ได฾กําหนด รายละเอียดเกี่ยวกับผู฾ทําหน฾าที่ไกล฽เกลี่ย และวิธีการไกล฽เกลี่ย ซึ่งอาจจะเป็นการพบปะหารือกับประเทศ คู฽พิพาททั้งสองโดยพร฾อมกัน หรือแยกพบกันคนละคราวเพื่อช฽วยไกล฽เกลี่ยข฾อพิพาทก็ได฾ ภาคผนวก 3 (Annex 3) กฎว฽าด฾วยการประนีประนอม (Rules of Conciliation) ซึ่งกําหนดให฾ประเทศ คู฽พิพาทต฾องจัดทําคําชี้แจงให฾แก฽ผู฾ทําหน฾าที่ประนีประนอม และกําหนดให฾ผู฾ทําหน฾าที่ประนีประนอมซึ่งโดยปกติ จะมีเพียง 1 คน ดําเนินการจัดทําข฾อเสนอสําหรับการระงับข฾อพิพาท ภาคผนวก 4 (Annex 4) กฎว฽าด฾วยอนุญาโตตุลาการ (Rules of Arbitration) กําหนดให฾คําตัดสินของ อนุญาโตตุลาการเป็นที่สุดและผูกพันคู฽พิพาท รวมทั้งกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับจํานวนและที่มาของ อนุญาโตตุลาการผู฾ทําหน฾าที่ รวมทั้งกรอบระยะเวลาในการดําเนินการต฽างๆ ที่เกี่ยวข฾อง เป็นต฾น268 โดยสรุปแล฾ว หากเกิดข฾อพิพาทขึ้น ประเทศคู฽กรณีจะต฾องระงับข฾อพิพาทโดยวิธี “ปรึกษาหารือ (consultation)” เป็นอันดับแรกก฽อนวิธีอื่น แต฽หากกลไกนี้ไม฽ประสบความสําเร็จประเทศคู฽พิพาทสามารถใช฾ กลไก “อนุญาโตตุลาการ (arbitration)” แต฽หากประเทศคู฽พิพาทฝุายหนึ่งฝุายใดปฏิเสธการใช฾กลไก อนุญาโตตุลาการ ประเทศคู฽พิพาทอีกฝุายสามารถยื่นคําร฾องให฾ “คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council – ACC)” ตัดสินว฽าจะให฾ประเทศคู฽พิพาทใช฾วิธีใดในการระงับข฾อพิพาท ตามที่กําหนด ไว฾ในพิธีสารของกฎบัตรอาเซียนว฽าด฾วยกลไกระงับข฾อพิพาท (Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms – DSMP)

268 เพลินตา ตันรังสรรคแ. สรุปการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “กลไกระงับข฾อพิพาทของอาเซียนและกฎสําหรับการเสนอ เรื่องการไม฽ปฏิบัติตามให฾ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนตัดสิน” จัดโดย กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ วันอังคารที่ 24 มกราคม 2555/2012 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนดแ ถนนวิภาวดี กรุงเทพมหานคร. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (มี.ค.-เม.ย.2555) 273

5.2 กลไกจัดการข้อพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศภายนอกกรอบอาเซียน

กลไกจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศภายนอกกรอบอาเซียน หรือ กลไกที่รัฐคู฽พิพาทเคยใช฾ บริการเพื่อการระงับข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างกัน หมายถึง กลไกที่มีบทบัญญัติเกี่ยวข฾องกับการแก฾ปัญหาข฾อ พิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นตามความตกลงระหว฽างประเทศภายนอกกรอบอาเซียน ซึ่ง ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นภาคีสมาชิก และเคยใช฾กลไกดังกล฽าวในการระงับข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽าง ประเทศ ประกอบด฾วยกลไกจํานวน 3 กลไก ได฾แก฽ 5.2.1 ศาลประจําอนุญาโตตุลาการ (Permanent Court of Arbitration – PCA) 5.2.2 ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก 5.2.3 อนุญาโตตุลาการระหว฽างประเทศว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) หรือ ศาลโลกทะเล

ตารางที่ 5.1 การระงับข฾อพิพาทเขตแดนโดยใช฾กลไกภายนอกภูมิภาคอาเซียน วันที่ก่อตั้ง กลไก ข้อพิพาท ปีที่เกิดข้อพิพาท ใช้เวลา 29 กรกฎาคม ศาลประจํา 1.ข฾อพิพาทเกาะปาลมัส (Palmas) หรือ มิอังกัส 2468-2471/ 4 ปี 2442/1899 อนุญาโตตุลาการ (Miangas) ระหว฽างเนเธอรแแลนดแกับ 1925-1928 (PCA) สหรัฐอเมริกา (อินโดนีเซียกับฟิลิปปินสแ)

2. ข฾อพิพาทถมทรายในและรอบพื้นที่ช฽องแคบ 2546-2548/ 2 ปี ยะโฮรแ ระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ 2003-2005

3. ข฾อพิพาทเขตอํานาจในพื้นที่ทะเลฟิลิปปินสแ 2556/2013 ยังไม฽ระงับ ตะวันตก (ทะเลจีนใต฾) ระหว฽างฟิลิปปินสแกับจีน 24 ตุลาคม ศาลยุติธรรมระหว฽าง 1. ปราสาทพระวิหาร 2502-2505/ 4 ปี 2488/1945 ประเทศ ไทยกับกัมพูชา 1959-1962 (ICJ) 2. เกาะลิกิตัน-สิปาดัน 2541-2545/ 4 ปี มาเลเซียกับอินโดนีเซีย 1998-2002

3. ข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน 2546-2551/ 5 ปี มาเลเซียกับสิงคโปรแ 2003-2008

4. ตีความคําพิพากษาปราสาทพระวิหาร 2544-2546/ 2 ปี ไทยกับกัมพูชา 2011-2013 10 ธันวาคม อนุญาโตตุลาการ 1. ข฾อพิพาทถมทราย กันยายน-ตุลาคม 1 เดือน 2525/1982 ระหว฽างประเทศว฽าด฾วย มาเลเซียกับสิงคโปรแ 2546/2003 กฎหมายทะเล (ITLOS) 2. ฟิลิปปินสแยื่นฟูองจีนในข฾อพิพาททะเลจีนใต฾ มกราคม ยังไม฽ระงับ ฟิลิปปินสแกับจีน 2556/2013

274

5.2.1 ศาลประจ าอนุญาโตตุลาการ (Permanent Court of Arbitration – PCA)

ศาลประจําอนุญาโตตุลาการ (Permanent Court of Arbitration – PCA) มีที่ตั้งอยู฽ที่วังสันติภาพ (Peace Palace) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแแลนดแ เป็นองคแกรระหว฽างประเทศด฾านตุลาการที่เก฽าแก฽ที่สุด ก฽อตั้งขึ้นโดย “อนุสัญญาเพื่อการระงับโดยสันติของข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ (Convention for the Pacific Settlement of International Disputes)” เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2442/1899269 ในการประชุมสันติภาพ ครั้งที่ 1 (The First Peace Conference) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแแลนดแ ซึ่งมีพระเจ฾าซารแนิโคลัสที่ 2 (Tsar Nicholas II) แห฽งรัสเซีย เป็นผู฾ริเริ่มการประชุมดังกล฽าว ศาลประจําอนุญาโตตุลาการนี้มิได฾มีสถานะเป็นศาล (Court) ตามความหมายที่เข฾าใจกันโดยทั่วไป แต฽ เป็นองคแกรที่ทําหน฾าที่ให฾บริการแก฽ประเทศสมาชิกโดยวิธีอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) และวิธีการอื่นๆ เช฽น การสอบสวนข฾อเท็จจริง (Fact-finding) หรือ การประนีประนอม (Conciliation) เป็นต฾น270 ในปัจจุบันศาล ประจําอนุญาโตตุลาการมีสมาชิกจํานวน 117 ประเทศ271 ให฾บริการด฾านการแก฾ปัญหาข฾อพิพาทระหว฽างคู฽กรณีที่ เป็นรัฐ (state entities) องคแกรระหว฽างประเทศ (intergovernmental organizations) และ เอกชน (private parties) มีเลขาธิการใหญ฽ (Secretary-General) ประจําสํานักเลขาธิการศาลประจําอนุญาโตตุลาการ (PCA‖s Secretariat) ทําหน฾าที่อํานวยความสะดวกและบริหารงานเพื่อสนับสนุนคณะอนุญาโตตุลาการและ คณะกรรมการต฽างๆ โดยจํานวนการพิจารณาคดีสะท฾องถึงความกว฾างขวางของศาลประจําอนุญาโตตุลาการที่มี ต฽อการระงับข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ ซึ่งครอบคลุมกรณีพิพาทเขตแดน ข฾อพิพาทสนธิสัญญา ข฾อพิพาทสิทธิ มนุษยชน ข฾อพิพาททางการค฾าและการลงทุน รวมทั้ง ข฾อพิพาทที่เกิดขึ้นภายใต฾สนธิสัญญาการลงทุนทวิภาคี และพหุภาคี สํานักเลขาธิการศาลประจําอนุญาโตตุลาการสามารถให฾คําแนะนําและช฽วยเหลือในการเลือก อนุญาโตตุลาการและอาจมีการเรียกร฾องให฾กําหนดหรือทําหน฾าที่เป็นผู฾มีอํานาจในการแต฽งตั้งอนุญาโตตุลาการ ได฾ ทั้งยังเป็นศูนยแกลางการศึกษา การตีพิมพแ และการอภิปรายทางกฎหมาย “ด฾วยวัตถุประสงคแในการแสวงหา แนวทางที่เป็นหลักประกันความมั่นคงเพื่อผลประโยชนแของสันติภาพอันแท฾จริงและสถาพรของประชาชน และ เหนือสิ่งอื่นใดเพื่อจํากัดความก฾าวหน฾าด฾านการพัฒนาอาวุธยุทธภัณฑแที่มีอยู฽ในปัจจุบัน”272 ตามอนุสัญญาเพื่อ การระงับโดยสันติของข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ (Convention for the Pacific Settlement of International Disputes) ปี 2442/1899 ซึ่งได฾รับการปรับปรุงล฽าสุดในการประชุมสันติภาพเฮก (Hague Peace Conference) ครั้งที่ 2 เมื่อปี 2450/1907273

269 United Nations. “Dispute Settlement,” 1.3 Permanent Court of Arbitration (Conference on Trade and Development, 2003), p. 5. เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1SB2wXZ 270 พนัส ทัศนียานนท. “ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice) และ ศาลประจํา อนุญาโตตุลาการ (Permanent Court of Arbitration),” ใน ศาลโลก-ศาลประจําอนุญาโตตุลาการ กับ ข฾อพิพาทระหว฽าง ประเทศ (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ, 2554), หน฾า 6. 271 Permanent Court of Arbitration, About Us (2009) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1N1wikM 272 “…with the object of seeking the most objective means of ensuring to all peoples the benefits of a real and lasting peace, and above all, of limiting the progressive development of existing armaments.” History of Permanent Court of Arbitration (2009) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1IuvJMV 273 Ibid. 275

นอกจากนี้ ประเทศไทยมีผู฾เชี่ยวชาญสําหรับข฾อพิพาทด฾านสิ่งแวดล฾อม (Experts for Environmental Disputes) ในศาลประจําอนุญาโตตุลาการ คือ อาจารยแพนัส ทัศนียานนทแ ซึ่งได฾รับการแต฽งตั้งเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2545/2002 (ต฽ออายุเมื่อ 27 มีนาคม 2556/2013)274

5.2.1.1 ข้อพิพาทเกาะปาลมัส (Palmas) หรือ มิอังกัส (Miangas) ระหว่างเนเธอร์แลนด์กับ สหรัฐอเมริกา (อินโดนีเซียกับฟิลิปปินส์)

ดังที่กล฽าวไปแล฾วในบทที่ 4 หัวข฾อ 4.9 เกาะมิอังกัส (Miangas Island) ระหว฽างอินโดนีเซียกับฟิลิปปินสแ ซึ่งในวันที่ 23 มกราคม 2468/1925 สหรัฐอเมริกาและเนเธอรแแลนดแได฾ตกลงนําปัญหาข฾อพิพาทเหนือเกาะ ปาลมัส (Palmas) หรือ มิอังกัส (Miangas) เข฾าสู฽กระบวนการระงับข฾อพิพาทของศาลประจําอนุญาโตตุลาการ (Permanent Court of Arbitration – PCA) โดยมี แมกซแ ฮิวเบอรแ (Max Huber) ชาวสวิสเซอรแแลนดแทํา หน฾าที่เป็นอนุญาโตตุลาการ (Arbitrator) โดยประเด็นข฾อพิพาทที่อนุญาโตตุลาการต฾องตัดสิน คือ “เกาะมิ อังกัสเป็นดินแดนส฽วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกาหรือเนเธอรแแลนดแ” ข฾อโต฾แย฾งของสหรัฐอเมริกา 2 ประการแรก คือ สหรัฐอเมริกาเป็นเจ฾าของกรรมสิทธิ์เกาะแห฽งนี้เนื่องจาก ได฾รับโอนดินแดนโดยชอบธรรมตามสนธิสัญญาที่ทําไว฾กับสเปน และ กรรมสิทธิ์ควรเป็นของสเปนเนื่องจากเป็น ฝุายค฾นพบและตั้งชื่อเกาะปาลมัส (Palmas) ซึ่งในขณะนั้นเป็นดินแดนที่ไม฽มีเจ฾าของ (Terra Nullius) สเปนยก ดินแดนให฾แก฽สหรัฐอเมริกาตามสนธิสัญญาปารีสปี 2441/1898 หลังสิ้นสุดสงครามสเปน-อเมริกัน (Spanish- American War) ในปีเดียวกัน อนุญาโตตุลาการตั้งข฾อสังเกตว฽าไม฽มีกฎหมายระหว฽างประเทศใดที่ทําให฾การโอนดินแดนผ฽านการยกให฾ กลายเป็นโมฆะ อย฽างไรก็ตาม อนุญาโตตุลาการยังตั้งข฾อสังเกตอีกว฽าการยกกรรมสิทธิ์ดินแดนของสเปนให฾แก฽ สหรัฐอเมริกาไม฽ได฾เป็นไปตามกฎหมายเนื่องจากไม฽มีการระบุชื่อของดินแดนเอาไว฾ในข฾อความของสนธิสัญญา ปารีส ทําให฾การยกดินแดนให฾ไม฽สมบูรณแ อนุญาโตตุลาการ สรุปว฽า แม฾สเปนจะอ฾างการ “ค฾นพบ” และตั้งชื่อ เกาะแห฽งนี้ว฽า “ปาลมัส (Palmas)” แต฽การรักษาอธิปไตยโดยให฾เหตุผลของการค฾นพบเป็นครั้งแรกซึ่งผู฾ค฾นพบ ไม฽เคยใช฾อํานาจที่แท฾จริง ไม฽แม฾แต฽การปักธงของตนเองลงบนชายหาด ในกรณีนี้ สเปนไม฽ได฾ใช฾อํานาจภาย หลังจากการอ฾างสิทธิ์ครั้งแรกโดยการค฾นพบ และดังนั้นเหตุผลในการอ฾างสิทธิ์ของสหรัฐอเมริกาจึงค฽อนข฾างอ฽อน สหรัฐอเมริกายังคงโต฾แย฾งต฽อไปอีกว฽าเกาะปาลมัส (Palmas) ควรเป็นกรรมสิทธิ์ของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากมีตําแหน฽งที่ตั้งอยู฽ใกล฾กับฟิลิปปินสแมากกว฽าอินโดนีเซียซึ่งเคยถูกปกครองโดยอินเดียตะวันออกของ เนเธอรแแลนดแ (Netherlands East Indies) อนุญาโตตุลาการแย฾งว฽า ไม฽มีบทบัญญัติของกฎหมายระหว฽าง ประเทศที่สนับสนุนเหตุผลของสหรัฐอเมริกาในประเด็นระยะทางที่ใกล฾ที่สุดของทวีปหรือเกาะซึ่งนําไปสู฽การถือ ว฽ามีกรรมสิทธิ์ในดินแดนพิพาท อนุญาโตตุลาการกล฽าวอีกว฽า แค฽เพียงความใกล฾กันของระยะทางย฽อมไม฽มี เหตุผลเพียงพอที่จะทําการอ฾างสิทธิ์ในดินแดนได฾ และถ฾าหากประชาคมระหว฽างประเทศทําตามข฾ออ฾างของ สหรัฐอเมริกาย฽อมจะนําไปสู฽การกระทําตามอําเภอใจ เนเธอรแแลนดแสมควรเป็นเจ฾าของกรรมสิทธิ์เหนือเกาะแห฽งนี้ด฾วยเหตุผลของการใช฾อํานาจบนเกาะมา ตั้งแต฽ปี 2220/1677 อนุญาโตตุลาการตั้งข฾อสังเกตว฽า สหรัฐอเมริกาไม฽สามารถแสดงเอกสารเพื่อพิสูจนแอํานาจ อธิปไตยของสเปนบนเกาะ ยกเว฾นเอกสารเกี่ยวกับการค฾นพบเกาะแห฽งนี้ นอกจากนี้ ยังไม฽มีหลักฐานที่ชี้ให฾เห็น ได฾ชัดเจนว฽าเกาะปาลมัสเคยเป็นส฽วนหนึ่งของการบริหารงานของรัฐบาลสเปนในฟิลิปปินสแ อย฽างไรก็ตาม

274 Panels of Arbitrators and Experts for Environmental Disputes. Annex 2 Specialized Panel of Arbitrators (Thailand). Permanent Court of Arbitration เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1GiTqXW 276

เนเธอรแแลนดแกลับสามารถแสดงให฾เห็นว฽าบริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) เคยมีการเจรจา ต฽อรองสนธิสัญญากับผู฾มีอํานาจปกครองในท฾องถิ่นของเกาะแห฽งนี้ตั้งแต฽คริสตแศตวรรษที่ 17 และใช฾สิทธิอํานาจ อธิปไตย รวมทั้งหลักฐานของการเข฾าไปของคณะนักบวชนิกายโปรเตสแตนตแและการห฾ามไม฽ให฾ชาติอื่นๆ เข฾าไป บนเกาะแห฽งนี้ด฾วย อนุญาโตตุลาการชี้ให฾เห็นว฽า หากสเปนเป็นฝุายที่ใช฾อํานาจอยู฽จริงก็จะต฾องปรากฏข฾อพิพาท ระหว฽างกันบ฾างไม฽มากก็น฾อย แต฽ในข฾อเท็จจริงแล฾วไม฽มีข฾อพิพาทใดเกิดขึ้นเลยระหว฽างสเปนและเนเธอรแแลนดแ ภายในพื้นที่ของเกาะแห฽งนี้ จากเหตุผลดังกล฽าวทําให฾เกิดหลักเกณฑแการตัดสินเพื่อระงับข฾อพิพาทจากประเด็น ที่สําคัญ 3 ประการ ดังนี้ ประการแรก กรรมสิทธิ์ที่เกิดจากการมีที่ตั้งอยู฽ใกล฾กัน (contiguity) ไม฽มีอยู฽ในหลัก กฎหมายระหว฽างประเทศ ประการที่สอง กรรมสิทธิ์ที่เกิดจากการค฾นพบเป็นเพียงกรรมสิทธิ์ในขั้นต฾น (inchoate title) และประการสุดท฾าย หากมีการใช฾อํานาจอธิปไตยของรัฐอย฽างต฽อเนื่อง โดยการอ฾างกรรมสิทธิ์ นั้นต฾องเปิดเผยและเป็นสาธารณะ และรัฐฝุายที่อ฾างเหตุผลบนพื้นฐานของการค฾นพบดินแดนไม฽ได฾ทําการ ประท฾วงการอ฾างกรรมสิทธิ์ดังกล฽าว การอ฾างกรรมสิทธิ์โดยเหตุผลการใช฾อํานาจอธิปไตยย฽อมมีน้ําหนักมากกว฽า การอ฾างสิทธิ์บนพื้นฐานของค฾นพบดินแดน ในที่สุดวันที่ 4 เมษายน 2471/1928 ศาลประจําอนุญาโตตุลาการ จึงมีคําตัดสินว฽า “ด฾วยเหตุผลเหล฽านี้ อนุญาโตตุลาการ, ในความสอดคล฾องกับมาตรา 1 ของข฾อตกลงพิเศษเมื่อ 23 มกราคม 2468/1925, ตัดสินว฽า: เกาะปาลมัส (Palmas) หรือ มิอังกัส (Miangas) เป็นส฽วนหนึ่งของดินแดนเนเธอรแแลนดแโดย สมบูรณแ”275 จนกระทั่งในปัจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห฽งชาติของฟิลิปปินสแยังถือว฽าเกาะมิอังกัสไม฽ใช฽ส฽วนหนึ่ง ของอินโดนีเซีย โดยให฾เหตุผลว฽ากลุ฽มชาติพันธุแที่อาศัยอยู฽ในเกาะแห฽งนี้มีภาษาที่มีความสัมพันธแกับชาวซารังกานี (Sarangani) ในมินดาเนามากกว฽ากลุ฽มชาติพันธุแอื่นใดในอินโดนีเซีย แต฽รายงานล฽าสุดกล฽าวว฽า นายฮัซซัน วิราจู ดา (Hassan Wirajuda) อดีตรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงต฽างประเทศของอินโดนีเซีย ปฏิเสธข฽าวลือเรื่องการเข฾า ยึดพื้นที่เกาะของอินโดนีเซียโดยฟิลิปปินสแ เนื่องจากรัฐบาลฟิลิปปินสแรับทราบอยู฽ว฽าอธิปไตยเหนือเกาะมิอังกัส (Miangas Island) เป็นของอินโดนีเซีย276 โดยกล฽าวว฽าการตื่นตูมเรื่องเกาะมิอังกัสเป็นเรื่องที่เสียเวลา เนื่องจากรัฐบาลฟิลิปปินสแไม฽เคยทําการอ฾างสิทธิ์เหนือเกาะแห฽งนี้อย฽างเป็นทางการมาก฽อน ประเด็นข฽าว ดังกล฽าวเกิดขึ้นหลังจากที่ การท฽องเที่ยวแห฽งประเทศฟิลิปปินสแ (Philippine Tourism Authority) ได฾จัดพิมพแ แผ฽นพับประชาสัมพันธแการท฽องเที่ยวโดยแสดงที่ตั้งของเกาะมิอังกัสให฾อยู฽ในเขตแดนของฟิลิปปินสแ ทางด฾าน นายเตอูกู ไฟซาสยาหแ (Teuku Faizasyah) โฆษกกระทรวงต฽างประเทศของอินโดนีเซีย กล฽าวว฽าน฽าจะเป็น เพียงความผิดพลาดของผู฾จัดพิมพแแผนที่ท฽องเที่ยวฉบับดังกล฽าว และไม฽คิดว฽ารัฐบาลฟิลิปปินสแตั้งใจที่จะเข฾ามา ยึดเอาเกาะมิอังกัสไปเป็นของตน เพราะอย฽างไรเสียการจัดพิมพแแผนที่โดยเอกชนก็ไม฽มีผลกระทบใดๆ ต฽อการ

275 “FOR THESE REASONS the Arbitrator, in conformity with Article I of the Special Agreement of January 23rd, 1925, DECIDES that: THE ISLAND OF PALMAS (or MIANGAS) forms in its entirety a part of Netherlands territory.” in Permanent Court of Arbitration. “The Island of Palmas Case (or Miangas) United States of America v. The Netherlands,” Award of the Tribunal (The Hague: April 4, 1928), p. 37. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1WMWvKN 276 “Private Mapmaker Suspected in Border Blunder,” The Jakarta Post, 14 February 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1LfotJB 277

อ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนอย฽างเป็นทางการ และยังให฾ข฾อมูลว฽าในปี 2519/1976 รัฐบาลฟิลิปปินสแเคยลงนามใน ข฾อตกลงส฽งผู฾ร฾ายข฾ามแดนกับอินโดนีเซียโดยยอมรับว฽าพื้นที่เกาะมิอังกัสอยู฽ภายใต฾อธิปไตยของอินโดนีเซีย277 ฝุายอินโดนีเซียมอบหมายให฾กงสุลใหญ฽อินโดนีเซีย (Indonesian Consulate General) แห฽งเมืองดา เวา (Davao City) เป็นผู฾รับผิดชอบ นอกจากนี้ นายเฟรดดี้ นัมเบอรี (Freddy Numberi) รัฐมนตรีว฽าการ ทะเลและการประมงของอินโดนีเซีย กล฽าวว฽าเกาะมิอังกัส (Miangas Island) เป็นส฽วนหนึ่งของจังหวัดสุลาเวสี เหนือ (North Sulawesi Province) ของอินโดนีเซีย และได฾รับการขึ้นทะเบียนกับสหประชาชาติว฽าเป็นหนึ่งใน หมู฽เกาะที่อยู฽นอกสุดของประเทศ278 นอกจากนี้ สารานุกรมแผนที่บริแทนิกา (Britannica Atlas 1984) ฉบับปี 2527/1984 ไม฽มีชื่อของ เกาะมิอังกัส (Miangas) ปรากฏอยู฽ในแผนที่ทั้งของอินโดนีเซีย (หน฾า 112-113) และฟิลิปปินสแ (หน฾า 116 - 117)279 จํานวนประชากรที่อาศัยอยู฽ในเกาะมิอังกัสเมื่อปี 2546/2003 มีจํานวน 678 คน หรือ 150 ครอบครัว อย฽างไรก็ตาม การรับรู฾เกี่ยวกับรายละเอียดของการพิจารณาคดีดังกล฽าวในศาลประจําอนุญาโตตุลาการยังไม฽ เป็นที่แพร฽หลายมากนัก แม฽กระทั่งผู฾คนที่อาศัยอยู฽ในพื้นที่ก็เรียกเกาะแห฽งนี้ว฽า “เกาะมิอังกัส (Pulau Miangas – Pulau ในภาษามาเลยแ แปลว฽า เกาะ)” ไม฽ใช฽ “ปาลมัส (Palmas)” และในปัจจุบันเกาะมิอังกัสยังคงเป็น พื้นที่ห฽างไกลความเจริญ แต฽ก็สามารถติดต฽อสื่อสารกับผู฾คนในเกาะได฾โดยการใช฾เครื่องส฽งสัญญาณดาวเทียม ขนาดเล็ก (Very Small Aperture Terminal – VSAT) โดยเมื่อไม฽นานมานี้อินโดนีเซียประกาศว฽าบริษัทเตลกอม (Telkom) จะดําเนินการเชื่อมต฽อเครือข฽ายโทรศัพทแเข฾าไปยังเกาะมิอังกัส แต฽ก็ไม฽มีการยืนยันว฽าโครงการดังกล฽าวจะ เกิดขึ้นจริงหรือไม฽280

5.2.1.2 ข้อพิพาทถมทรายในและรอบพื้นที่ช่องแคบยะโฮร์ ระหว่างมาเลเซียกับสิงคโปร์281

ในกรณีข฾อพิพาทระหว฽างมาเลเซียและสิงคโปรแภายใต฾บทบัญญัติของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วย กฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 โดยคณะอนุญาโตตุลาการจํานวน 5 คน ได฾มาพบกันเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2548/2005 ณ วังสันติภาพ (Peace Palace) พร฾อมกับผู฾แทนของคู฽กรณีทั้งสองฝุาย ต฽อกรณีพิพาทซึ่งริเริ่มโดยฝุายมาเลเซีย ภายใต฾บทบัญญัติของผนวกที่ 7 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 เกี่ยวกับกิจกรรมการ ถมทรายโดยสิงคโปรแซึ่งถูกกล฽าวหาว฽ามีผลกระทบต฽อสิทธิของมาเลเซียในและรอบพื้นที่บริเวณช฽องแคบยะโฮรแ ในการประชุมครั้งนี้ คณะอนุญาโตตุลาการได฾รับฟังการบรรยายสรุปจากผู฾แทนเกี่ยวกับความคืบหน฾าในการ เจรจาเพื่อแก฾ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และได฾รับแจ฾งว฽าคู฽กรณีสามารถบรรลุข฾อตกลงตามที่ระบุไว฾ในร฽างความตกลง ระงับข฾อพิพาท (The Settlement Agreement)

277 Ibid. 278 Minister: Miangas Island belongs to Indonesia. TMC News, February 12, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fY2P1h 279 Khan, Daniel-Erasmus. Ibid, p. 162. 280 Andreas Harsono. “Miangas, Nationalism and Isolation,” Tempo Magazine, No.13/V/November 30 – December 6, 2004. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1F9IG0Z 281 Permanent Court of Arbitration. Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore) (Past Cases) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1N1COIn 278

โดยเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2546/2003 มาเลเซียได฾ยื่นฟูองสิงคโปรแตามข฾อ 287 ของอนุสัญญา สหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 และข฾อ 1 ของภาคผนวกที่ 12 ของอนุสัญญาฉบับนี้ โดยฝุาย มาเลเซียได฾แจ฾งให฾สิงคโปรแทราบถึงกระบวนการร฾องขอมาตรการคุ฾มครองชั่วคราว (provisional measures) แก฽ศาลประจําอนุญาโตตุลาการแล฾ว ตามบทบัญญัติข฾อ 290 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ได฾ระงับการพิจารณา ข฾อพิพาทดังกล฽าวเนื่องจากมีการนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽กระบวนการอนุญาโตตุลาการระหว฽างประเทศว฽าด฾วย กฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) หรือ ศาลโลกทะเล เพื่อร฾อง ขอมาตรการคุ฾มครองชั่วคราวเช฽นเดียวกัน โดยมีการพิจารณาคดีที่เมืองฮัมบูรแก (Hamburg) ประเทศเยอรมนี เมื่อวันที่ 25-27 กันยายน 2546/2003 เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546/2003 อนุญาโตตุลาการระหว฽างประเทศว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) มีคําตัดสินโดยกําหนดมาตรการคุ฾มครอง ชั่วคราว รวมทั้งการจัดตั้งคณะกรรมการผู฾เชี่ยวชาญอิสระ (Group of Independent Experts – GEO) เพื่อ ดําเนินการศึกษากระทบที่เกิดจากการถมทราย และให฾คําแนะนําที่เหมาะสมเพื่อจัดการกับผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นเป็นระยะเวลา 1 ปี ต฽อมาคณะกรรมการผู฾เชี่ยวชาญอิสระ (Group of Independent Experts – GEO) ได฾นําส฽งรายงาน การศึกษาต฽อคู฽พิพาทเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2547/2004 โดยมีการนําเสนอด฾วยวาจาต฽อหน฾าคู฽พิพาทในวันที่ 22 ธันวาคม 2547/2004 ซึ่งถือว฽าได฾บรรลุภารกิจของคณะกรรมการชุดนี้โดยสมบูรณแ ต฽อมาคู฽พิพาทได฾มีการ ประชุมร฽วมกันระหว฽างวันที่ 22-23 ธันวาคม 2547/2004 และวันที่ 7-9 มกราคม 2548/2005 ก฽อนที่จะมีการ ประชุมร฽วมกับคณะอนุญาโตตุลาการ282 โดยคู฽พิพาทได฾ลงนามร฽วมกันในความตกลงระงับข฾อพิพาท (The Settlement Agreement) เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2548/2005 และคณะอนุญาโตตุลาการถือว฽าเป็นการระงับ ข฾อพิพาทโดยสมบูรณแในวันที่ 1 กันยายน 2548/2005283 โดยคณะอนุญาโตตุลาการในคดีนี้ประกอบด฾วย เอ็ม. ซี.ดับเบิ้ลยู (M.C.W. Pinto) เป็นประธาน กามาล ฮอสเซน (Kamal Hossain) เบอรแนารแด เอช. อ฿อกซแมาน (Bernard H. Oxman) อีแวน เชียเร฽อ (Ivan Shearer) และ เซอรแ อารแเธอรแ วัตตสแ (Sir Arthur Watts)

282 Permanent Court of Arbitration. Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore). Press release (January 14, 2005) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1IuGWgv 283 Permanent Court of Arbitration. Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore). Award on Agreed Terms (September 1, 2005) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Cp1Lrp 279

5.2.1.3 ข้อพิพาทเขตอ านาจในพื้นที่ทะเลฟิลิปปินส์ตะวันตก (ทะเลจีนใต้) ระหว่างฟิลิปปินส์กับจีน

เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2556/2013 รัฐบาลฟิลิปปินสแได฾เริ่มกระบวนการอนุญาโตตุลาการเพื่อฟูองร฾อง จีนภายใต฾บทบัญญัติของภาคผนวก 12 (Annex VII) ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 โดย “อ฾างถึงข฾อพิพาทกับจีนเหนือเขตอํานาจในพื้นที่ทะเลฟิลิปปินสแตะวันตก (with respect to the dispute with China over the maritime jurisdiction of the Philippines in the West Philippine Sea.)” เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธแ 2556/2013 จีนได฾ส฽งสารบันทึกวาจา (Note Verbale) ว฽าด฾วย “ท฽าทีของจีน ในทะเลจีนใต฾ (the Position of China on the South China Sea issues)” ไปยังฟิลิปปินสแ เพื่อปฏิเสธคํา ร฾องของฟิลิปปินสแ โดยศาลประจําอนุญาโตตุลาการได฾ดําเนินการรับคําร฾องของฟิลิปปินสแเพื่อเข฾าสู฽กระบวนการ พิจารณาของอนุญาโตตุลาการแล฾ว และได฾แต฽งตั้งคณะอนุญาโตตุลาการจํานวน 5 คน ได฾แก฽ ทอมัส เอ. เมน ซาหแ (Thomas A. Mensah) เป็นประธาน ฌอง-ปิแอรแ คอท (Jean-Pierre Cot) สแตนิชลอวแ พาวลัค (Stanislaw Pawlak) อัลเฟรด เอช. เอ. ซูนสแ (Alfred H. A. Soons) และ รุดดิเจอรแ วอลฟรุม (Rüdiger Wolfrum) และฝุายฟิลิปปินสแได฾แต฽งตั้งผู฾แทน (agent) ตามขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการแล฾ว แต฽ฝุาย จีนยังไม฽มีท฽าทีที่จะแต฽งตั้งผู฾แทนของฝุายตนแต฽อย฽างใด โดยในสารบันทึกวาจา (Note Verbale) ของจีน เมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม 2556/2013 จีนได฾ย้ําว฽า “จุดยืนของฝุายจีนคือการไม฽ยอมรับกระบวนการอนุญาโตตุลาการที่ ฟิลิปปินสแเริ่มขึ้น”284

284 Permanent Court of Arbitration, The Republic of the Philippines v. The People's Republic of China, Pending Cases เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Iaj4TE 280

5.2.2 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก

ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก ก฽อตั้งขึ้นตามกฎ บัตรสหประชาชาติ (United Nation Charter) ขององคแการสหประชาชาติ (United Nations – UN) ก฽อตั้ง ขึ้นเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2488/1945285 (ดูภาคผนวก 2 แสดงวันเอกราช/วันชาติ และวันที่เข฾าเป็นสมาชิก องคแการสหประชาชาติของประเทศอาเซียน) เป็น 1 ใน 6 องคแกรหลักของสหประชาชาติ (United Nations) เป็นองคแกรยุติธรรมมีหน฾าที่ 2 ประการหลัก คือ ระงับข฾อพิพาทที่ประเทศต฽างๆ ยื่นคําร฾องมายังศาล และ ให฾ คําแนะนําหรือความเห็นทางกฎหมายตามที่องคแกรระหว฽างประเทศร฾องขอ โดยผู฾พิพากษาประจําศาลจํานวน 15 คน ซึ่งได฾รับการคัดเลือกโดย สมัชชาใหญ฽แห฽งสหประชาชาติ (UN General Assembly) และ คณะมนตรีความ มั่นคงแห฽งสหประชาชาติ (UN Security Council) โดยมีระยะเวลาการทํางาน 9 ปี286 กรณีพิพาทระหว฽างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ซึ่งคู฽กรณีตกลงปลงใจที่จะเข฾าสู฽กระบวนการระงับ ข฾อพิพาทโดยกลไกศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก มี จํานวน 3 คู฽กรณี ได฾แก฽ คดีที่ 1 คือ ข฾อพิพาทระหว฽างกัมพูชากับไทย เมื่อปี 2502/1959 กรณีพิพาทปราสาท พระวิหาร ซึ่งไม฽ได฾อยู฽ในขอบเขตของการศึกษาครั้งนี้ คดีที่ 2 คือ ข฾อพิพาทระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย เมื่อปี 2541/1998 กรณีอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ในทะเลสุลาเวสี (Sulawesi Sea) หรือ ทะเลเซเลเบส (Celebes Sea) คดีที่ 3 คือ ข฾อพิพาทระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ ในปี 2546/2003 กรณีข฾อพิพาทเขตแดนเหนือหิน 3 ก฾อน ได฾แก฽ 1.เกาะเพอดรา บรังกา (Pedra Branca) หรือ เกาะบาตู ปูเต฿ะ (Pulau Batu Puteh) 2.มิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) และ 3.เซาทแ เลดจแ (South Ledge) ในปี 2545/2002 ศาลโลกตัดสินให฾อธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ตกเป็นของมาเลเซีย ซึ่งข฾อพิพาทนี้ถูกนํามาฟูองเป็นคดีในศาลโลกตั้งแต฽ปี 2541/1998 โดย ความตกลงของคู฽กรณี อย฽างไรก็ตาม ศาลโลกไม฽ได฾ตัดสินเกี่ยวกับประเด็นเส฾นเขตแดนทางทะเลระหว฽าง ประเทศมาเลเซียกับอินโดนีเซียในพื้นที่โดยรอบบริเวณเกาะทั้งสองแห฽งนี้ ซึ่งทําให฾มีข฾อถกเถียงตามมาว฽าการใช฾ กลไกศาลโลกในกรณีนี้ไม฽สามารถทําให฾ข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศสามารถยุติลงได฾อย฽างสมบูรณแ ทั้งนี้ก็ มีสาเหตุมาจากศาลโลกไม฽ได฾ถูกร฾องขอให฾ตัดสินในประเด็นเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ แต฽ถูกร฾องขอให฾ตัดสิน แต฽เฉพาะประเด็นอํานาจอธิปไตยเหนือเกาะทั้งสองว฽าเป็นของใครเท฽านั้น ต฽อมา ในเดือนพฤษภาคม 2551/2008 ศาลโลกมีคําพิพากษาให฾อธิปไตยเหนือเกาะเกาะเพอดรา บรัง กา (Pedra Branca) หรือ เกาะบาตู ปูเต฿ะ (Pulau Batu Puteh) เป็นของสิงคโปรแ ส฽วนอธิปไตยเหนือมิดเดิล ร็อคสแ (Middle Rocks) เป็นของมาเลเซีย และให฾อธิปไตยเหนือเซาทแ เลดจแ (South Ledge) ตั้งอยู฽ในอธิปไตย ของประเทศซึ่งมีทะเลอาณาเขตตั้งอยู฽ โดยทั้งมาเลเซียและสิงคโปรแต฽างยอมรับคําตัดสินของศาลโลก ด฾วยการที่ นาย เอส. ชัยกุมาร (S. Jayakumar) รองนายกรัฐมนตรีของสิงคโปรแ ได฾แถลงแสดงความพอใจต฽อคําตัดสินของ ศาลโลก และฝุายมาเลเซียโดยนายราอีส ยาติม (Rais Yatim) รัฐมนตรีต฽างประเทศ ก็ได฾แถลงว฽าคําพิพากษา

285 กรมองคแการระหว฽างประเทศ, กระทรวงการต฽างประเทศ. กฎบัตรสหประชาชาติ (ตุลาคม 2537) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Ld7F6p 286 โปรดดู พนัส ทัศนียานนท, ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนาพานิช และ วิพล กิติทัศนาสรชัย. ศาลโลก-ศาลประจําอนุญาโตตุลาการ กับ ข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ, 2554), หน฾า 1-48. 281

ของศาลโลกถือเป็น “ชัยชนะของทั้งสองฝุาย”287 เพราะการนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽กลไลของศาลนั้น มีเปูาหมาย เพื่อนําไปสู฽การระงับข฾อพิพาท อย฽างไรก็ตาม ถึงแม฾จะมีคําตัดสินของศาลโลกแล฾ว แต฽ปัญหาข฾อพิพาทก็ยังไม฽ สามารถยุติลงทันที เนื่องจากสิงคโปรแและมาเลเซียยังไม฽มีการกําหนดเส฾นเขตแดนของทะเลอาณาเขตระหว฽าง กันในบริเวณพิพาท แต฽ก็มีคณะกรรมการเทคนิคร฽วมของทั้งสองประเทศเป็นผู฾รับผิดชอบดําเนินการต฽อไป ข฾อพิพาททั้งสองกรณีดังกล฽าวข฾างต฾น อาจพิจารณาได฾ว฽าคําพิพากษาของศาลโลกเป็นการจัดการข฾อ พิพาทได฾มากกว฽าครึ่งและเป็นกลไกระงับข฾อพิพาทในทิศทางที่ถูกต฾อง ซึ่งยังคงต฾องอาศัยระยะเวลาอีกหลายปี ในการเจรจาเพื่อที่จะสามารถนําไปสู฽การระงับข฾อพิพาทให฾ยุติลงได฾อย฽างสมบูรณแ ทั้งนี้ สิ่งสําคัญที่จะต฾องตั้ง ข฾อสังเกตไว฾คือ กลไกศาลโลกได฾ทําหน฾าที่บรรเทาปัญหาข฾อพิพาทให฾ลดความรุนแรงลงหรือสามารถปูองกันการ ปะทะกันโดยใช฾กําลังทางทหารได฾ แต฽ก็อาศัยกระบวนการพิจารณาที่ใช฾ระยะเวลายาวนานในการตัดสินคดี และหลังจากมีคําพากษาแล฾วก็ต฾องกลับมาที่กลไกการเจรจาทวิภาคีระหว฽างคู฽พิพาทเช฽นเดิม ซึ่งกล฽าวโดยที่สุด แล฾ว การเจรจาของคู฽พิพาทด฾วยความไว฾เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกันโดยการสร฾างความสัมพันธแที่ดีและบรรยากาศที่ เป็นมิตรในการแก฾ปัญหาข฾อพิพาท อาจจะมีประสิทธิภาพและประหยัดงบประมาณมากกว฽าการนําข฾อพิพาท ไปสู฽กระบวนการพิจารณาของศาลโลกก็เป็นได฾

ตารางที่ 5.2 แสดงรายชื่อทนายความในคดีพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศอาเซียนในศาลยุติธรรมระหว฽าง ประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก เกาะลิกิตัน (Ligitan)-สิปาดัน (Sipadan) ข้อพิพาทหิน 3 ก้อน คดีตีความปราสาทพระวิหาร 2541-2545/1998-2002 (4 ปี) 2546-2551/2003-2008 (5 ปี) 2544-2546/2011-2013 (2 ปี) อินโดนีเซีย มาเลเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ กัมพูชา ไทย Alain Pellet* James James Alain Pellet* Rodman R. Alain Pellet* Crawford*** Crawford*** Bundy** Rodman R. Nico Schrijver Nico Schrijver Rodman R. Jean-Marc James Bundy** Bundy** Sorel Crawford*** Loretta Elihu Elihu Loretta Franklin Donald Malintoppi Lauterpacht Lauterpacht Malintoppi Berman McRae Alfred H.A. Jean-Pierre Cot Penelope Ian Brownlie Thomas Soons Nevill Grant Arthur Watts Marcelo G. Alina Miron Kohen ที่มา: รวบรวมจาก 3 คดี ในศาลโลก (International Court of Justice)288

287 Strachan, Anna Louise. Ibid. 288 Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia). Ibid, pp. 627, 629; Case Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore). Ibid, pp. 15-16; Request for Interpretation of the Judgment of 15 June 1962 in the Case Concerning the Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand). Ibid, pp. 284-285. 282

จากตารางที่ 5.2 พบว฽ารายชื่อทนายความที่เกี่ยวข฾องกับคดีข฾อพิพาทระหว฽างประเทศในอาเซียนนั้นมี รายชื่อที่ซ้ําซ฾อนกันไม฽มากก็น฾อย โดยรายชื่อของทนายบางท฽านที่มีความน฽าสนใจอย฽างมีนัยสําคัญ เช฽น ในคดี ข฾อพิพาทเกาะลิกิตัน (Ligitan) สิปาดัน (Sipadan) เมื่อปี 2541-2545/1998-2002 คณะทนายของอินโดนีเซีย มีรายชื่อของ อลัน เปเล฽ตแ (Alain Pellet*) และ รอดแมน อารแ. บันดี (odman R. Bundy**) ในขณะที่ทนาย ฝุายมาเลเซียมีชื่อของ เจมสแ ครอฟอรแด (James Crawford***) รวมอยู฽ด฾วย ซึ่งปรากฏว฽าในคดีนี้มาเลเซียเป็น ฝุายชนะ ต฽อมาในปี 2546-2551/2003-2008 ก็เกิดคดีข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน ระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ โดย คณะทนายของมาเลเซียยังคงมี เจมสแ ครอฟอรแด (James Crawford***) ร฽วมอยู฽ในคณะด฾วย ในขณะที่คณะ ทนายของฝุายสิงคโปรแมีรายชื่อของ อลัน เปเล฽ตแ (Alain Pellet*) และ รอดแมน อารแ. บันดี (Rodman R. Bundy**) ซึ่งเคยว฽าความให฾อินโดนีเซียรวมอยู฽ด฾วย และในคดีนี้สิงคโปรแเป็นฝุายชนะ และที่น฽าสนใจไปกว฽านั้น คือในปี 2544-2546/2011-2013 เกิดข฾อพิพาทคดีตีความปราสาทพระวิหารระหว฽างกัมพูชากับไทย โดยคณะ ทนายของฝุายกัมพูชามีชื่อของ รอดแมน อารแ. บันดี (Rodman R. Bundy**) ในขณะที่ฝุายไทยมีชื่อของ อลัน เปเล฽ตแ (Alain Pellet*) และ เจมสแ ครอฟอรแด (James Crawford***) ร฽วมคณะเดียวกัน ซึ่งทั้งสองเคยว฽า ความอยู฽กันคนละฝุายในคดีข฾อพิพาทก฽อนหน฾านี้ เมื่อมีการนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽ศาลโลกก็แสดงให฾เห็นว฽าศาลโลกเป็นกลไกที่มีศักยภาพในการแก฾ปัญหาข฾อ พิพาทที่สําคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ เนื่องจากคําพิพากษาของศาลโลกเป็นที่ยอมรับของคู฽กรณี ทั้งในคดีระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย และ คดีระหว฽างสิงคโปรแกับมาเลเซีย (รวมทั้งกรณีพิพาทปราสาทพระ วิหารระหว฽างกัมพูชาและไทยด฾วย) แสดงให฾เห็นว฽าศาลโลกเป็นกลไกลหรือองคแกรกลางที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ศาลโลกเป็นองคแกรยุติธรรมระหว฽างประเทศซึ่งในทางทฤษฎีแล฾วย฽อมมีความเป็นกลาง และถูก คาดหวังในเชิงอุดมคติว฽าจะทําการวินิจฉัยตัดสินข฾อพิพาทโดยไม฽เข฾าข฾างฝุายใดฝุายหนึ่ง อย฽างไรก็ตาม หลังจาก มีคําพิพากษาของศาลโลกออกมาทุกครั้ง ก็มักถูกวิพากษแวิจารณแอย฽างกว฾างขวางโดยเฉพาะประเทศคู฽พิพาทที่ เสียเปรียบตามคําพิพากษา รวมทั้งจากนักวิชาการ เช฽น ข฾อถกเถียงว฽าคําวินิจฉัยของศาลไม฽ผูกพันประเทศ คู฽กรณี หรือ การวิจารณแในทํานองว฽าศาลโลกมีความลําเอียง และบางประเทศถึงกับประกาศไม฽ยอมรับเขต อํานาจศาลโลก ซึ่งคําวิพากษแวิจารณแต฽างๆ เหล฽านี้ สมควรได฾รับการศึกษาและพิจารณาในรายละเอียดเพื่อ ประเมินบทบาทของศาลโลกในฐานะกลไกการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾ นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นความลําเอียงของศาลโลกโดย เอริค เอ. พอสเนอรแ (Eric A. Posner) และ มิกูเอล เอฟ. พี. เดอ ฟิกุยเรโด (Miguel F. P. de Figueiredo)289 ซึ่งสรุปว฽า ผู฾พิพากษาร฾อยละ 90 มักลงคะแนนให฾รัฐบ฾านเกิดของตน และยังพบอีกว฽าในกรณีที่รัฐบ฾านเกิดของผู฾พิพากษาไม฽มีส฽วนเกี่ยวข฾อง กับคดี ผู฾พิพากษามักจะลงคะแนนให฾กับรัฐที่มีความสัมพันธแใกล฾เคียงในแง฽ฐานะทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ประเพณี และระบอบการเมืองการปกครองกับรัฐบ฾านเกิดของตน โดยชี้ว฽าการลงคะแนนเสียงของผู฾พิพากษา จะเป็นไปเพื่อเอื้อประโยชนแให฾แก฽รัฐพันธมิตรที่มีความสัมพันธแทางยุทธศาสตรแกับรัฐบ฾านเกิดของตนเอง แต฽ หลักฐานที่ใช฾ในการพิสูจนแข฾อกล฽าวหาเหล฽านี้ค฽อนข฾างไม฽มีน้ําหนักเพียงพอ เนื่องจากเป็นการตั้งข฾อสังเกตต฽อผู฾ พิพากษาเป็นรายบุคคล ดังนั้น จึงไม฽มีผลสรุปต฽อการศึกษาความลําเอียงของศาลโลกในฐานะที่เป็นสถาบัน ยุติธรรมระหว฽างประเทศ ทั้งนี้ คณะผู฾พิพากษาทั้ง 15 คน มีผู฾พิพากษาหลายคนมาจากประเทศที่ไม฽มีความ เชื่อมโยงกับประเทศคู฽กรณีเลย จึงไม฽น฽าเป็นไปได฾ตามข฾อสรุปของเอริค เอ. พอสเนอรแ (Eric A. Posner) และ มิ

289 Eric A. Posner and Miguel F. P. de Figueiredo. “Is the International Court of Justice Biased?” in Journal of Legal Studies, vol. 34 (June 2005), pp. 599-630. เข฾าถึงเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1hfYyqz 283

กูเอล เอฟ. พี. เดอ ฟิกุยเรโด (Miguel F. P. de Figueiredo) ที่ความลําเอียงส฽วนบุคคลของผู฾พิพากษาจะส฽ง อิทธิพลต฽อคําวินิจฉัยขั้นสุดท฾ายของศาลโลก ข฾อสรุปเช฽นนี้เป็นไปตามที่ เอริค เอ. พอสเนอรแ (Eric A. Posner) และ มิกูเอล เอฟ. พี. เดอ ฟิกุยเรโด (Miguel F. P. de Figueiredo) ได฾ชี้ให฾เห็นเองว฽า หลักฐานที่แสดงให฾เห็น ถึงความลําเอียงของศาลโลกนั้นมีไม฽เพียงพอที่จะครอบคลุมในทุกกรณี290 จากการศึกษาของ ไนทแ ดับบลิว. แอนดี้ (Knight W. Andy) พบว฽า แม฾ศาลโลก “จะเป็นรากฐานสําคัญ ในการรักษาสันติภาพ แต฽ก็ไม฽ใช฽ว฽ารัฐสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมดจะยอมรับเขตอํานาจศาลโลก และรัฐ เหล฽านั้นก็สามารถสงวนสิทธิ์ในการยอมรับคําพิพากษาที่จะเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได฾”291 การกระทําเช฽นนี้ย฽อมเป็น การขัดขวางความน฽าเชื่อถือของคําพิพากษาศาลโลกอย฽างรุนแรง ดังนั้น ประเทศคู฽พิพาทจึงต฾องทําการประกาศ ยอมรับเขตอํานาจศาลโลกก฽อนหากประสงคแที่จะให฾กระบวนการระงับข฾อพิพาทประสบผลสําเร็จ แม฾จะเป็น ความจริงที่ว฽ามีจํานวน 64 ประเทศ ที่ประกาศยอมรับเขตอํานาจศาลโลกและสนธิสัญญาพหุภาคีจํานวนมากที่ ให฾อํานาจศาลโลกในการพิจารณาคดี แต฽ก็มีคดีอีกจํานวนมากมายที่ประเทศคู฽พิพาทได฾ประกาศโต฾แย฾งไม฽ ยอมรับเขตอํานาจศาลโลก หนึ่งในนั้นคือ คดีพิพาทปราสาทพระวิหาร ปรากฏว฽าประเทศไทยเคยยอมรับเขต อํานาจศาลโลกก฽อนที่จะมีกระบวนการพิจารณาคดี แต฽เมื่อมีคําตัดสินให฾ฝุายไทยแพ฾คดีจึงประกาศไม฽ยอมรับ อํานาจศาลโลกในเวลาต฽อมา ดังนั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนอาจไม฽มีความจําเป็นที่จะต฾องใช฾องคแกรทางกฎหมายระหว฽างประเทศใน การแก฾ไขปัญหาความขัดแย฾งภายในภูมิภาค เพราะอาเซียนควรจะต฾องมีบทบาทมากขึ้นในการระงับข฾อพิพาท ภายในภูมิภาค อย฽างไรก็ตาม ประเทศสมาชิกอาเซียนยังคงสนับสนุนหลักการ “ไม฽แทรกแซงกิจการภายในของ กันและกัน” แม฾ว฽าในปี 2550/2007 จะมีการประกาศใช฾กฎบัตรอาเซียนอย฽างเป็นทางการ ซึ่งมีบทบัญญัติที่ เกี่ยวกับการระงับข฾อพิพาทตามหมวด 8 ว฽าด฾วยการระงับข฾อพิพาท ซึ่งให฾พยายามระงับข฾อพิพาททั้งปวงอย฽าง สันติให฾ทันท฽วงที โดยผ฽านการสนทนา การปรึกษาหารือ และการเจรจา และให฾จัดตั้งกลไกการระงับข฾อพิพาท ในทุกสาขาความร฽วมมือของอาเซียน และในข฾อ 23 ระบุว฽าคู฽กรณีในข฾อพิพาทอาจร฾องขอให฾ประธานอาเซียน หรือเลขาธิการอาเซียนทําหน฾าที่โดยตําแหน฽งเป็นคนกลางที่น฽าเชื่อถือ ประนีประนอม หรือไกล฽เกลี่ย รวมทั้ง แผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint) ได฾รับการเปิดตัวในการประชุมสุดยอดอาเซียนในประเทศไทยเมื่อเดือนมีนาคม 2552/2009 โดย ประกาศว฽า “มีความจําเป็นที่จะมีความพยายามที่มากขึ้นในการเสริมสร฾างวิธีการระงับข฾อพิพาทโดยสันติที่มีอยู฽ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือระงับข฾อพิพาทในอนาคต”292 และมีแนวโน฾มที่จะสนับสนุนการแก฾ปัญหาข฾อพิพาทโดยใช฾ กลไกทวิภาคีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾มากขึ้น

290 Strachan, Anna Louise. Ibid. 291 Knight, W. Andy. “The United Nations and International Security in the New Millennium.” Perspectives on Global Development and Technology. Vol. 4 (3-4). 2005, p. 521. 292 “More efforts are needed in strengthening the existing modes of pacific settlement of disputes to avoid or settle future disputes” in B.2. Conflict Resolution and Pacific Settlement of Disputes (22.) ASEAN Political-Security Community Blueprint, p. 10. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงฉบับภาษาอังกฤษ ได฾จาก http://bit.ly/1IeCIiG หรือฉบับภาษาไทย ข.2 การแก฾ไขความขัดแย฾งและการระงับข฾อพิพาทโดยสันติ (ข฾อ 22.) หน฾า 18. เข฾าถึงได฾จาก http://bit.ly/1Rud11Y 284

นอกจากนี้ งานการศึกษาของ ทอมมี่ โก฿ะ (Tommy Koh) และ โจลีน ลิน (Jolene Lin)293 ได฾ยืนยันว฽า กระบวนการฝุายที่สาม (third-party) เป็นกลไกที่มีประโยชนแในการระงับข฾อพิพาทอย฽างฉันทแมิตร โดยระบุว฽า กระบวนการดังกล฽าวเป็นวิธีเดียวที่จะผ฽าทางตัน สิงคโปรแเคยนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽กลไกระหว฽างประเทศหลายครั้ง และได฾ชี้ให฾เห็นว฽าวิธีการแก฾ไขปัญหาโดยฝุายที่สาม (third-party) สามารถใช฾ระงับข฾อพิพาทระหว฽างสิงคโปรแ กับมาเลเซียกรณีข฾อพิพาททางรถไฟสายมลายา (Malayan Railway) ซึ่งแสดงให฾เห็นว฽าสิงคโปรแเชื่อมั่นต฽อ กลไกกฎหมายระหว฽างประเทศเป็นอย฽างมาก ดังนั้น จึงมีความจําเป็นที่จะต฾องเพิ่มระดับความเชื่อมั่นของ ประเทศสมาชิกอาเซียน หากศาลโลกจะเข฾ามามีบทบาทมากขึ้นในการระงับข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศ โดยสรุปแล฾ว ศาลโลกเป็นกลไกที่มีศักยภาพและบทบาทสําคัญต฽อการระงับข฾อพิพาท หากกลไกระงับข฾อ พิพาทในรูปแบบอื่นๆ เกิดความล฾มเหลว แม฾ว฽าการเจรจาทวิภาคีจะยังเป็นกลไกระงับข฾อพิพาทที่ดีที่สุด แต฽ก็ อาจไม฽ประสบความสําเร็จเสมอไป และกลไกระงับข฾อพิพาทภายในภูมิภาคอาเซียนอื่นๆ ก็ยังไม฽สามารถ ดําเนินการได฾อย฽างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเงื่อนไขจากบทบัญญัติของตัวกลไกเอง รวมทั้ง ประเทศสมาชิก ยังคงมีความรู฾สึกหวาดระแวงต฽อผู฾ที่จะมาทําหน฾าที่คนกลางซึ่งมักถูกตั้งคําถามว฽าอาจมีส฽วนได฾เสียในข฾อพิพาท

293 Koh, Tommy and Jolene Lin. “The Land Reclamation Case: Thoughts and Reflections,” Singapore Year Book of International Law and Contributors Vol. X 10 SYBL (2006), p.1-7. เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Lsh4ov 285

5.2.3 อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) หรือ ศาลโลกทะเล

อนุญาโตตุลาการระหว฽างประเทศว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) หรือ ศาลโลกทะเล เป็นกลไกที่ถูกจัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมาย ทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 โดยเป็นองคแกรตุลาการอิสระที่จัดตั้งขึ้นเพื่อตัดสินข฾อพิพาทที่เกิดจากการตีความและการใช฾ บทบัญญัติของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล อนุญาโตตุลาการประกอบด฾วยกรรมการอิสระ 21 ท฽าน ซึ่งได฾รับการเลือกตั้งจากบุคคลที่มีชื่อเสียงและมีความสามารถในกระบวนการยุติธรรมซึ่งได฾รับการ ยอมรับว฽ามีความชํานาญทางด฾านกฎหมายทะเล294 อนุญาโตตุลาการมีอํานาจในการพิจารณาคดีเกี่ยวกับข฾อพิพาทใดๆ ที่เกิดขึ้นจากการตีความหรือการใช฾ อนุสัญญา รวมทั้งปัญหาข฾อพิพาทเฉพาะกรณีที่เกิดขึ้นจากความตกลงภายใต฾อํานาจที่ระบุไว฾ในบทบัญญัติข฾อที่ 21 ตามธรรมนูญ (Statue) ของอนุญาโตตุลาการ โดยเปิดโอกาสให฾รัฐภาคี (States Parties) ของอนุสัญญา เช฽น รัฐ และองคแกรระกว฽างประเทศ (international organizations) ซึ่งเป็นภาคีในอนุสัญญา นอกจากนี้ ยัง เปิดโอกาสให฾หน฽วยงานอื่นที่ไม฽ใช฽ภาคี เช฽น รัฐ (state) องคแกรระหว฽างรัฐบาล (intergovernmental organizations) ที่ไม฽ได฾เป็นภาคีในอนุสัญญา และรัฐวิสาหกิจ (state enterprises) และหน฽วยงานภาคเอกชน (private entities) “ในกรณีใดๆ ที่ถูกระบุไว฾ในส฽วนที่ 11 (Part XI) หรือ กรณีที่มีการนําเสนอข฾อพิพาทซึ่ง ได฾รับการตกลงกันภายในเขตอํานาจของอนุญาโตตุลาการซึ่งเป็นที่ยอมรับจากทุกฝุายที่เกี่ยวข฾องกับข฾อพิพาท นั้น” ที่ระบุไว฾ในบทบัญญัติข฾อที่ 20 ตามธรรมนูญ (Statue) ของอนุญาโตตุลาการ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 เปิดโอกาสให฾มีการเข฾าเป็นภาคีที่อ฽าวมอนเตเนโก (Montego Bay) ประเทศจาไมกา (Jamaica) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2525/1982 โดยมีผลบังคับใช฾ในอีก 12 ปีต฽อมาคือวันที่ 16 พฤศจิกายน 2537/1994 ความตกลงที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามส฽วนที่ 11 (Part XI) ของ อนุสัญญาถูกนําไปปฏิบัติ (adopted) เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2537/1994 และมีผลบังคับใช฾เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2539/1996 ความตกลงและการปฏิบัติตามส฽วนที่ 11 (Part XI) ของอนุสัญญาจะได฾รับการตีความ และนําไปใช฾ร฽วมเป็นกลไกลเดียวกัน จุดกําเนิดของอนุสัญญาเริ่มมาตั้งแต฽เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2510/1967 เมื่อเอกอัครราชทูตอารแฟิด ปารแโด (Arvid Pardo) แก฽งมอลตา (Malta) ได฾แถลงในที่ประชุมสมัชชาใหญ฽แห฽งสหประชาชาติโดยเรียกร฾อง ให฾ “ระบอบการปกครองของระหว฽างประเทศที่มีประสิทธิภาพเหนือพื้นดินท฾องทะเลและพื้นมหาสมุทรเกินว฽า ขอบเขตอํานาจของรัฐมีอยู฽อย฽างชัดเจน (an effective international regime over the seabed and the ocean floor beyond a clearly defined national jurisdiction)” นําไปสู฽การประชุมเมื่อปี 2516/1973 ของการประชุมสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเลครั้งที่ 3 (The Third United Nations Conference on the Law of the Sea) หลังจากการเจรจาเพื่อการนําบทบัญญัติของมาบังคับใช฾เป็นระยะเวลา 9 ปี อนุสัญญาได฾กําหนดกรอบกฎหมายเพื่อควบคุมการใช฾ทรัพยากรที่มีอยู฽ในพื้นที่มหาสมุทร โดยมี บทบัญญัติที่เกี่ยวข฾องกับทะเลอาณาเขต (territorial sea) เขตต฽อเนื่อง (contiguous zone) ไหล฽ทวีป (continental shelf) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (exclusive economic zone) และทะเลหลวง (high seas)

294 International Tribunal for the Law of the Sea, The Tribunal. เข฾าถึงเมื่อ 22 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึง จาก http://bit.ly/1JGM9Cc 286

นอกจากนี้ ยังมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการปูองกันและการรักษาสภาพแวดล฾อมทางทะเล การวิจัยวิทยาศาสตรแทาง ทะเล รวมทั้งการพัฒนาและถ฽ายทอดเทคโนโลยีทางทะเล ส฽วนที่สําคัญที่สุดประการหนึ่งของอนุสัญญา คือ บทบัญญัติที่เกี่ยวกับการสํารวจและการใช฾ประโยชนแจากทรัพยากรในพื้นท฾องทะเล (seabed) และชั้นใต฾ผิวดิน (subsoil) ที่อยู฽เกินกว฽าขอบเขตอํานาจของรัฐชาติ อนุสัญญาได฾กําหนด “พื้นที่ที่กําหนด (Area)” และทรัพยากรที่มีอยู฽ในพื้นที่ให฾เป็น “มรดกร฽วมของ มนุษยชาติ (common heritage of mankind)” องคแกรพื้นดินท฾องทะเลระหว฽างประเทศ (International Seabed Authority – ISA) จัดตั้งขึ้นภายใต฾อนุสัญญา เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรใน “พื้นที่ที่กําหนด” ส฽วนที่ 15 (Part XV) ของอนุสัญญา ได฾กําหนดกลไกการระงับข฾อพิพาทที่อาจเกิดขึ้นในการตีความและ การใช฾บทบัญญัติของอนุสัญญา โดยกําหนดให฾รัฐภาคีระงับข฾อพิพาทที่เกี่ยวข฾องกับการตีความหรือการใช฾ อนุสัญญาโดยสันติวิธีซึ่งได฾ระบุเอาไว฾ในกฎบัตรสหประชาชาติ แต฽หากรัฐคู฽พิพาทไม฽สามารถระงับข฾อพิพาทโดย สันติวิธีได฾ รัฐคู฽พิพาทที่เป็นภาคีในอนุสัญญานี้ต฾องใช฾วิธีระงับข฾อพิพาทภาคบังคับซึ่งมีผลผูกพันที่มีอยู฽ภายใต฾ อนุสัญญาฉบับนี้ กลไกที่จัดตั้งขึ้นโดยอนุสัญญานี้ได฾ให฾ทางเลือกในการระงับข฾อพิพาท ได฾แก฽ อนุญาโตตุลาการระหว฽าง ประเทศว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) ศาลยุติธรรม ระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) ซึ่งเป็นกลไกตุลาการตามภาคผนวกที่ 7 (Annex VII) ของอนุสัญญา และเป็นกลไกตุลาการพิเศษตามภาคผนวกที่ 8 (Annex VIII) ของอนุสัญญา โดยรัฐภาคีมี อิสระที่จะเลือกกลไกอย฽างใดอย฽างหนึ่งหรือมากกว฽าโดยการประกาศเป็นลายลักษณแอักษรตามข฾อที่ 287 ของ อนุสัญญา และเสนอต฽อเลขาธิการสหประชาชาติ หากคู฽พิพาทยังไม฽แสดงท฽าทียอมรับขั้นตอนการระงับข฾อ พิพาทเดียวกัน ข฾อพิพาทนั้นอาจจะถูกนําเสนอต฽ออนุญาโตตุลาการตามภาคผนวกที่ 7 (Annex VII) เว฾นแต฽ คู฽พิพาททั้งสองฝุายได฾ตกลงกันเป็นอย฽างอื่น ตามบทบัญญัติของธรรมนูญศาล กระบวนการอนุญาโตตุลาการได฾จัดตั้งคณะกรรมการ (Chamber) ชุด ต฽างๆ ดังต฽อไปนี้ ได฾แก฽ คณะกรรมการของขั้นตอนการสรุปผล (Chamber of Summary Procedure) คณะกรรมการเพื่อข฾อพิพาทประมง (Chamber for Fisheries Disputes) คณะกรรมการเพื่อข฾อพิพาท สิ่งแวดล฾อมทางทะเล (Chamber for Marine Environment Disputes) และ คณะกรรมการเพื่อข฾อพิพาท การกําหนดอาณาเขตทางทะเล (Chamber for Maritime Delimitation Disputes) และตามคําร฾องของคู฽พิพาท อนุญาโตตุลาการยังได฾จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษ (special chamber) เพื่อ พิจารณาข฾อพิพาทว฽าด฾วยการอนุรักษแและการใช฾อย฽างยั่งยืนของมวลปลากระทงดาบในมหาสมุทรแปซิฟิก ตะวันออกเฉียงใต฾ (ชิลี/ประชาคมยุโรป) (Case concerning the Conservation and Sustainable Exploitation of Swordfish Stocks in the South-Eastern Pacific Ocean (Chile/European Community) รวมทั้ง ข฾อพิพาทเกี่ยวกับการกําหนดเขตแดนทางทะเลระหว฽างกานาและโกตดิวัวรแใน มหาสมุทรแอตแลนติก (กานา/โกตดิวัวรแ) (Dispute Concerning Delimitation of the Maritime Boundary between Ghana and Côte d'Ivoire in the Atlantic Ocean (Ghana/Côte d'Ivoire) ข฾อพิพาทที่เกี่ยวข฾องกับกิจกรรมในพื้นที่ก฾นทะเลระหว฽างประเทศ (International Seabed Area) จะ ถูกนําส฽งไปยังคณะกรรมการข฾อพิพาทก฾นทะเล (Seabed Disputes Chamber) ซึ่งประกอบด฾วย อนุญาโตตุลาการจํานวน 11 คน คู฽พิพาทฝุายใดฝุายหนึ่งซึ่งคณะกรรมการมีคําตัดสินแล฾วสามารถร฾องขอให฾ คณะกรรมการข฾อพิพาทก฾นทะเล (Seabed Disputes Chamber) แต฽งตั้งกรรมการเฉพาะกิจ (ad hoc chamber) ซึ่งประกอบด฾วยสมาชิกจํานวน 3 คน จากคณะกรรมการข฾อพิพาทก฾นทะเล (Seabed Disputes Chamber) 287

ขั้นตอนอนุญาโตตุลาการจะเปิดให฾รัฐภาคีของอนุสัญญา และในบางกรณีหน฽วยงานอื่นที่ไม฽ใช฽รัฐภาคี เช฽น องคแกรระหว฽างประเทศ และบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลตามกฎหมาย สามารถเข฾าสู฽กระบวนการ พิจารณาคดีของอนุญาโตตุลาการได฾ เขตอํานาจของคณะอนุญาโตตุลาการประกอบด฾วยข฾อพิพาททั้งหมดที่ สอดคล฾องกับบทบัญญัติของอนุสัญญา นอกจากนี้ยังขยายครอบคลุมไปถึงทุกกรณีที่อยู฽ภายใต฾ความตกลงที่ เกี่ยวข฾องกับเขตอํานาจของอนุญาโตตุลาการ โดยในปัจจุบัน มีความตกลงพหุภาคีจํานวน 10 ฉบับ ที่เกี่ยวข฾อง กับเขตอํานาจของคณะอนุญาโตตุลาการ ยกเว฾นในกรณีที่รัฐภาคียอมรับเขตอํานาจของอนุญาโตตุลาการ โดยมี ผลบังคับใช฾ในกรณีที่เกี่ยวข฾องตามข฾อที่ 292 ของอนุสัญญา และมาตรการคุ฾มครองชั่วคราวที่อยู฽ระหว฽างรอ ดําเนินการภายใต฾บทบัญญัติของธรรมนูญคณะอนุญาโตตุลาการตามข฾อที่ 290 วรรค 5 ของอนุสัญญา คณะกรรมการข฾อพิพาทก฾นทะเล (Seabed Disputes Chamber) มีอํานาจที่จะให฾ความเห็นทาง กฎหมายต฽อข฾อพิพาทที่เกิดขึ้นภายในขอบเขตขององคแกรพื้นทะเลระหว฽างประเทศ (International Seabed Authority) คณะอนุญาโตตุลาการอาจพิจารณาให฾ความเห็น (advisory opinion) ในกรณีพิพาทที่อยู฽ภายใต฾ ความตกลงระหว฽างประเทศซึ่งเกี่ยวข฾องกับเปูาประสงคแของอนุสัญญา ข฾อพิพาทที่นําเข฾าสู฽กระบวนการ อนุญาโตตุลาการจะต฾องทําการอย฽างใดอย฽างหนึ่งโดยการนําส฽งหนังสือที่เป็นลายลักษณแอักษร (written application) หรือโดยการแจ฾งให฾ทราบด฾วยการทําความตกลงพิเศษ (special agreement) โดยขั้นตอนต฽อมา คือการดําเนินการตามบทบัญญัติที่กําหนดไว฾ในธรรมนูญและระเบียบของอนุญาโตตุลาการ

5.2.3.1 ข้อพิพาทถมทราย (Land Reclamation) ระหว่างมาเลเซียกับสิงคโปร์

เนื่องจากประชากรของสิงคโปรแเพิ่มขึ้นจาก 1.63 ล฾านคนในปี 2503/1960 เป็น 4.84 ล฾านคน ในปี 2553/2010 ดังนั้น สิงคโปรแจึงจําเป็นต฾องถมทรายขยายพื้นที่ (land reclamation) เพื่อสร฾างสาธารณูปโภค รองรับการขยายตัวของประชากร และถมทะเลไปแล฾วเป็นพื้นที่รวมกว฽า 130 ตารางกิโลเมตร โดยนําเข฾าทราย จากทั่วโลกมากกว฽า 517 ล฾านตัน ถือว฽าเป็นประเทศที่นําเข฾าทรายสูงที่สุดในโลก295 ทั้งนี้ ข฾อพิพาทถมทราย (Land Reclamation) ระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ เกิดจากสิงคโปรแถมทรายเพื่อขยายดินแดนออกไปในทะเล บริเวณพื้นที่ 2 แห฽ง ได฾แก฽ โครงการพัฒนาทูอัส (Tuas Development) ซึ่งอยู฽ทางทิศตะวันตกเฉียงใต฾ของ เกาะสิงคโปรแ และ เกาะเตอกอง (Pulau Tekong) ทางตะวันออกเฉียงเหนือในช฽องแคบยะโฮรแ (ดูภาพที่ 5.1) แม฾ว฽าการถมทรายบนเกาะเตอกอง (Pulau Tekong) จะไม฽ได฾รุกล้ําเข฾าไปในน฽านน้ําอาณาเขต (territorial water) ของมาเลเซีย แต฽มาเลเซียกังวลว฽าการถมทรายจํานวนมากเกินไปอาจส฽งผลกระทบต฽อการเดินเรือและ สภาพแวดล฾อมในช฽องแคบยะโฮรแ ซึ่งเป็นน฽านน้ําที่ทั้งสองประเทศใช฾ประโยชนแร฽วมกัน มาเลเซียกล฽าหาว฽าโครงการพัฒนาทูอัส (Tuas Development) ของสิงคโปรแถมทรายรุกล้ําเข฾าไปใน บริเวณที่เรียกว฽า “จุด 20 รูปเศษไม฾ (Point 20 sliver)” (ดูภาพที่ 5.2) โดยพื้นที่รูปเศษไม฾ (sliver) ดังกล฽าว เกิดขึ้นจากการประกาศใช฾แผนที่ฝุายเดียวของมาเลเซียชื่อ “ทะเลอาณาเขตและไหล฽ทวีปของมาเลเซีย (Territorial Waters and Continental Shelf Boundaries of Malaysia)” หรือ “แผนที่ฉบับ 2522/1979” ซึ่งจุด 20 ดังกล฽าวยื่นออกไปทางตะวันออกของไหล฽ทวีประหว฽างจุด 19 และจุด 21 ทําให฾เกิด พื้นที่สามเหลี่ยมรูปเศษไม฾ (sliver) แต฽ฝุายสิงคโปรแเคยรับรองการประกาศใช฾ “แผนที่ฉบับ 2522/1979” ของ มาเลเซีย ดังนั้น จึงไม฽ยอมรับว฽าพื้นที่บริเวณ “จุด 20 รูปเศษไม฾ (Point 20 sliver)” อยู฽ภายใต฾อธิปไตยของ

295 UNEP, Global Environmental Alert Service (GEAS). “Thematic focus: Ecosystem management, Environmental governance, Resource efficiency,” (March 2014) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1uqsYFH 288

มาเลเซีย ต฽อมาในวันที่ 4 กันยายน 2546/2003 มาเลเซียจึงยื่นคําร฾องต฽ออนุญาโตตุลาการระหว฽างประเทศว฽า ด฾วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) หรือ ศาลโลกทะเล เพื่อ ขอมาตรการคุ฾มครองชั่วคราว (provisional measures) ต฽อกิจกรรมการถมทรายของสิงคโปรแ296 รวมทั้งกรณี “จุด 20 รูปเศษไม฾ (Point 20 sliver)” และในที่สุดวันที่ 8 ตุลาคม 2546/2003 อนุญาโตตุลาการจึงมีคําตัดสิน297 ว฽ามาเลเซียยังไม฽สามารถแสดงให฾เห็นได฾ว฽ามีความจําเป็นเร฽งด฽วนหรือมีความเสี่ยงใดที่กระทบต฽อสิทธิในทะเล อาณาเขตซึ่งเกิดความเสียหายจนไม฽สามารถกลับมาดังเดิมได฾ ดังนั้น อนุญาโตตุลาการจึงไม฽พิจารณากําหนด มาตรการชั่วคราวเกี่ยวกับการถมทรายของสิงคโปรแในพื้นที่ตูอัส (Tuas)298 ส฽วนพื้นที่การถมทรายที่เกาะเตอกอง (Pulau Tekong) อนุญาโตตุลาการมีคําสั่งให฾ทั้งสองฝุายร฽วมกัน แต฽งตั้งคณะกรรมการผู฾เชี่ยวชาญอิสระ (Group of Independent Experts – GEO) เพื่อจัดทํารายงาน ผลกระทบที่เกิดจากการถมทรายของสิงคโปรแ และเสนอมาตรการที่เหมาะสมเพื่อจัดการกับผลกระทบเหล฽านั้น ภายในเวลาไม฽เกิน 1 ปี จากวันที่มีคําสั่งนี้ และอีก 13 เดือนต฽อมา คือวันที่ 5 พฤศจิกายน 2547/2004299 คณะกรรมการผู฾เชี่ยวชาญอิสระดังกล฽าวได฾นําเสนอรายงานผลกระทบที่เกิดจากการถมทรายของสิงคโปรแ จํานวน 57 ผลกระทบ ในจํานวนนี้มี 40 ผลกระทบที่สามารถตรวจพบได฾ในแบบจําลองคอมพิวเตอรแแต฽ไม฽ น฽าจะตรวจพบในพื้นที่จริง ส฽วนอีก 17 ผลกระทบสามารถบรรเทาให฾หมดไปได฾โดยการกําหนดมาตรการเพื่อ การบรรเทาผลกระทบ โดย ศาสตราจารยแทอมมี่ โก฿ะ (Tommy Koh)300 ผู฾แทนของสิงคโปรแกล฽าวว฽า คณะ ผู฾แทนของทั้งสองประเทศเห็นด฾วยกับมาตรการที่เหมาะสมในการบรรเทาผลกระทบตามรายงานของ คณะกรรมการผู฾เชี่ยวชาญอิสระดังกล฽าวโดยทั้งสองประเทศจะดําเนินการแก฾ปัญหาอย฽างฉันทแมิตร301 และต฽อมาในวันที่ 26 เมษายน 2548/2005 ทั้งสองประเทศจึงลงนามใน “ความตกลงระงับข฾อพิพาท (The Settlement Agreement)” ส฽วนกรณี “จุด 20” นั้น คณะกรรมการผู฾เชี่ยวชาญอิสระไม฽ได฾นําเข฾ามา เกี่ยวข฾องเนื่องจากเป็นประเด็นปัญหาในกําหนดอาณาเขตทางทะเลระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแ ซึ่งทั้งสอง ประเทศบรรลุความตกลงโดยไม฽เกี่ยวกับจุด 20 โดยจะมีการเจรจาในโอกาสอื่นเพื่อการระงับข฾อพิพาทโดยสันติ เพื่อรักษาสิทธิและผลประโยชนแของประเทศตนภายใต฾หลักกฎหมายระหว฽างประเทศ

296 โปรดดู Request for Provisional Measures, In the Dispute Concerning Land Reclamation Activities by Singapore Impinging upon Malaysia‖s Rights in and around the Straits of Johor Inclusive of the Areas around Point 20 Malaysia v. Singapore (4 September 2003) เข฾าถึง เมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1BviAFZ 297 โปรดดู International Tribunal for the Law of the Sea. Case concerning Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore), Case No. 12 เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1eAxsJh 298 โปรดดู International Tribunal for the Law of the Sea, Case Concerning Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore) List of case: No.12, Report of Judgment Advisory Opinions and Orders, Order of 8 October 2003. เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1cYvC3a 299 โปรดดู Report of the Group of Independent Experts in the Matter of the Order of 8 October 2003 (5 November 2004) เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1MXjETU 300 โปรดดู Koh, Tommy and Jolene Lin. Ibid, pp.1-7. 301 โปรดดู Remarks In Parliament By Singapore Foreign Minister George Yeo On The Settlement Agreement Between Singapore And Malaysia On Land Reclamation (16 May 2005) เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1SAIf4H 289

ช่องแคบยะโฮร์ (Strait of Johor) เกาะเตอกอง (Pulau Tekong)

โครงการพัฒนาทูอัส (Tuas Development)

ภาพที่ 5.1 แผนที่แสดงพื้นที่พิพาทการถมทะเล (Land Reclamation) ระหว฽างสิงคโปรแกับมาเลเซีย (ที่มา: UNEP, Global Environmental Alert Service (GEAS) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1IqBon8)

โครงการพัฒนาทูอัส (Tuas Development)

20

21

19

ภาพที่ 5.2 แผนที่แสดงพื้นที่พิพาท “จุด 20 รูปเศษไม฾ (Point 20 sliver)” (ที่มา: Response of Singapore, Case concerning Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore) (20 September 2003), p. 312. เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1TDP1rQ) 290

ภาพที่ 5.3 แผนที่แสดงการถมทรายในพื้นที่เกาะเตอกอง (Pulau Tekong) (ที่มา: Report of the Group of Independent Experts in the Matter of the Order of 8 October 2003 (5 November 2004), p. 101. เข฾าถึง เมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1MXjETU)

291

การลงนามใน “ความตกลงระงับข฾อพิพาท (The Settlement Agreement)” นั้น มีสิงคโปรแเป็น เจ฾าภาพ และลงนามโดย ตัน ศรี อาหมัด ฟูซี ฮัจ อับดุล ราซัก (Tan Sri Ahmad Fuzi Hj Abdul Razak) ผู฾แทนฝุายมาเลเซีย กับ ศาสตราจารยแทอมมี่ โก฿ะ (Tommy Koh) ผู฾แทนฝุายสิงคโปรแ และมีสักขีพยาน ได฾แก฽ ดาโต฿ะ เสรี ไซดแ ฮามิด อัลบารแ (Dato' Seri Syed Hamid Albar) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ มาเลเซีย และ จอรแจ เยโอะ (George Yeo) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศของสิงคโปรแ302 และ ภายใต฾ความตกลงฉบับนี้ รัฐบาลของทั้งสองประเทศจะดําเนินการตามมาตรการที่คณะกรรมการผู฾เชี่ยวชาญ อิสระ (Group of Independent Experts – GEO) เสนอไว฾เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2547/2004 ดังนั้น ความตกลงฉบับนี้จึงถือเป็นการยุติข฾อพิพาทของทั้งสองประเทศอย฽างสิ้นเชิง โดยจะร฽วมกันส฽งความตกลงฉบับ นี้ไปยังอนุญาโตตุลาการระหว฽างประเทศว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) ณ เมืองฮัมบูรแก (Hamburg) ประเทศเยอรมนี เพื่อรับรองว฽าทั้งสองประเทศได฾ปฏิบัติตาม คําตัดสินของอนุญาโตตุลาการเป็นที่เรียบร฾อยแล฾ว และความตกลงฉบับนี้ถือเป็นกระบวนการแก฾ไขปัญหา ขั้นตอนสุดท฾าย ซึ่งรัฐบาลของทั้งสองพิจารณาแล฾วว฽าจะเกิดผลประโยชนแที่เหมาะสมและเที่ยงธรรมบนพื้นฐาน ของความปรารถนาดีต฽อกันฉันทแมิตรประเทศ303

5.2.3.2 ฟิลิปปินส์ยื่นฟ้องจีนในข้อพิพาททะเลจีนใต้

เมื่อ 22 มกราคม 2556/2013 นายอัลเบิรแต เดล โรซาริโอ (Albert del Rosario) รัฐมนตรีว฽าการ กระทรวงการต฽างประเทศของฟิลิปปินสแแถลงต฽อกรณีพิพาทกับจีนเรื่องการอ฾างกรรมสิทธิ์บริเวณทะเล ฟิลิปปินสแตะวันตก (West Philippine Sea) หรือ ทะเลจีนใต฾ โดยฟิลิปปินสแจะขอให฾อนุญาโตตุลาการระหว฽าง ประเทศว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (International Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) หรือ ศาลโลก ทะเล ประกาศว฽าการอ฾างกรรมสิทธิ์ของจีนไม฽ถูกต฾อง และการบริหารจัดการพื้นที่ในทะเลดังกล฽าวควรเป็นไป ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 โดยกระทรวงการต฽างประเทศของฟิลิปปินสแได฾เชิญ นางหม฽า เกเอจิ้ง (Ma Keqing) เอกอัครราชทูตจีนประจําฟิลิปปินสแเข฾าพบเพื่อแจ฾งให฾ทราบถึงการดําเนินการ ดังกล฽าวแล฾ว304 แต฽ฝุายจีนปฏิเสธความต฾องการของฟิลิปปินสแมาตั้งแต฽ปี 2554/2011 เนื่องจากจีนสงวนสิทธิไม฽ ยอมรับเขตอํานาจของศาลโลกทะเล (ITLOS) แม฾ว฽าจะให฾สัตยาบันในอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 แล฾วก็ ตาม305

302 Joint Press Statement on the Case concerning Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (April 26, 2005) เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Jc8A7u 303 Singapore and Malaysia sign Land Reclamation Settlement Agreement (May 17, 2005) เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1BEDYsX 304 สํานักข฽าวกรองแห฽งชาติ. “ฟิลิปปินสแจะยื่นเรื่องต฽อศาลระหว฽างประเทศกรณีพิพาทกับจีนเรื่องการอ฾างกรรมสิทธิ์ บริเวณทะเลจีนใต฾” (23 มกราคม 2556/2013) เข฾าถึงเมื่อ 16 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1SkKVTM 305 Roberto Tofani. “Legality waves lap South China Sea,” Asia Times Online, February 8, 2013.เข฾าถึง เมื่อ 16 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1hBso97 292

บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย ปัจจัยแห่งความส าเร็จ ความล้มเหลว และข้อเสนอแนะ

ดังที่ได฾นําเสนอไปแล฾วในบทที่ 3 และ 4 ว฽าด฾วยเส฾นเขตแดนทางบกและทางทะเลระหว฽างประเทศใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (ยกเว฾นไทย) จากอดีตจนถึงปัจจุบัน รวมจํานวนทั้งสิ้น 20 คู฽กรณี โดยข฾อพิพาทที่ ระงับได฾ 13 คู฽กรณี (ดูตารางที่ 6.1) ข฾อพิพาทที่ยังดําเนินการแก฾ปัญหาอยู฽ 7 คู฽กรณี ซึ่งได฾อธิบายความเป็นมา ทางประวัติศาสตรแของกําเนิดและพัฒนาการของเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศต฽างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾ โดยมุ฽งเน฾นไปที่การสํารวจเอกสารสนธิสัญญา อนุสัญญา ข฾อตกลง แผนที่ และเอกสารทางกฎหมาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข฾องกับการกําหนดเส฾นเขตแดน ซึ่งถูกจัดทําขึ้นในยุคที่ดินแดนภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾เริ่ม พัฒนาขึ้นมาจากรัฐราชอาณาจักร ซึ่งเอาเข฾าจริงแล฾ว “เส฾นเขตแดน” ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ เป็น ปรากฏการณแที่ค฽อนข฾างใหม฽ เพราะเพิ่งจะถูกกําหนดให฾มีขึ้นราวคริสตศตวรรษที่ 19 โดยผ฽านกระบวนการ สร฾างสรรคแของสิ่งที่เรียกว฽า “แผนที่” เป็นเครื่องกําหนดอาณาเขตอํานาจทางการเมืองระหว฽างผู฾ปกครองกลุ฽ม ต฽างๆ ให฾ชัดเจน มั่นคง ตายตัว ตามรูปแบบการปกครองสมัยใหม฽ ที่เรียกว฽า “รัฐชาติ หรือ รัฐประชาชาติ (nation state)” แต฽ก฽อนหน฾าที่จะมีการกําหนดและการปักปันเขตแดนในรูปแบบของการทําแผนที่สมัยใหม฽ นั้น ผู฾ปกครองกลุ฽มต฽างๆ เช฽น อาณาจักรทั้งหลาย มักรับรู฾ปริมณฑลอํานาจของตนว฽า ครอบคลุมพื้นที่ไม฽ชัดเจน และไม฽มั่นคง เพราะขอบเขตอํานาจอาจเปลี่ยนแปลงขยายกว฾างออกหรือหดแคบเข฾า มากบ฾างน฾อยบ฾างขึ้นอยู฽ กับอํานาจบารมีและอิทธิพลทางการทหาร และในบางครั้งพรมแดนอาจผลัดเปลี่ยนไปอยู฽ใต฾อํานาจของ อาณาจักรอื่นๆ ได฾ หรือ บางพื้นที่อาจไม฽มีอิทธิพลอํานาจของอาณาจักรใดเลย ที่จะเคยแผ฽เข฾าไปถึงมาก฽อน จนกระทั่งเข฾าสู฽ยุคอาณานิคม ซึ่งการที่ประเทศตะวันตกเข฾ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ เบื้องต฾น เป็นไปเพื่อการแสวงหาแหล฽งทรัพยากรซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตที่สําคัญ รวมทั้งแรงงานและที่ดิน เพื่อขยายฐาน การผลิตและตลาดสินค฾าตามแนวทางอุตสาหกรรมและพานิชยกรรมนิยม ความต฾องการ “ที่ดิน/ดินแดน” นี่เอง ที่ทําให฾เกิดความจําเป็นต฾องมีการ “กําหนดเขตแดน” ให฾มีความ “ชัดเจน แน฽นอน ตายตัว” เพื่อ ผลประโยชนแทางการค฾า การปกครอง และความคล฽องตัวในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู฽ภายในขอบเขต อํานาจของตน นําไปสู฽การสร฾างเครื่องมือที่เป็นแบบแผนและอุดมคติที่จะทําให฾ทราบว฽าเส฾นเขตแดนที่แน฽นอน อยู฽ที่ใด และเป็นช฽วงเวลาที่เอกสารและข฾อตกลงส฽วนใหญ฽มักจะมีผลโดยตรงในการกําหนดขอบเขตและอํานาจ อธิปไตยของแต฽ละรัฐ ทั้งนี้ หลังจากการเป็นเอกราชจากเจ฾าอาณานิคมและการสืบสิทธิ์ตามกฎหมายที่จะ เลือกใช฾เอกสารฉบับต฽างๆ เพื่อนําไปสู฽การกําหนดสัณฐานของเส฾นเขตแดนที่แท฾จริงให฾ชัดเจน ก็เป็นปัจจัย สําคัญที่ทําให฾เกิดปัญหาความขัดแย฾งกับรัฐที่มีพรมแดนติดกันดังที่เป็นอยู฽ในปัจจุบัน จากการศึกษาพบว฽า หากเกิดข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศขึ้น ก็มีการใช฾กลไกระหว฽างรัฐในระดับ ต฽างๆ เพื่อนําไปสู฽การระงับข฾อพิพาท ได฾แก฽ กลไกระดับรัฐบาล เช฽น ข฾อตกลงทวิภาคี (Bilateral – Treaty / Agreement / MOU) คณะกรรมาธิการเขตแดนร฽วม (Joint Border Commission) ระดับกระทรวง (Inter- Ministerial Level) รวมทั้งการมีคณะทํางานระดับปฏิบัติการ (Technical / Working Group Level) ซึ่งเป็น กลไกที่ได฾ผลและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการดําเนินการเจรจาแก฾ไขปัญหาข฾อพิพาท แต฽กลไกระดับภูมิภาค เช฽น กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ยังไม฽มีการใช฾เพื่อหวังผลในทางปฏิบัติมากนัก แต฽ก็เป็นกลไกที่ สามารถชะลอปัญหาความขัดแย฾งระหว฽างประเทศคู฽พิพาทไม฽ให฾เกิดความรุนแรงถึงขั้นประกาศภาวะสงคราม ระหว฽างประเทศได฾ ส฽วนกลไกระดับนานาชาติ เช฽น ศาลประจําอนุญาโตตุลาการระหว฽างประเทศ (Permanent Court of Arbitration – PCA) ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก และ ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (International 293

Tribunal for the Law of the Sea – ITLOS) ก็เป็นกลไกที่ประเทศคู฽พิพาทสามารถอาศัยกระบวนการระงับ ข฾อพิพาทเพื่อลดระดับความรุนแรงของปัญหาที่เกิดขึ้นได฾เช฽นกัน โดยสรุปแล฾ว ข฾อพิพาทเขตแดนในอาเซียน สามารถแก฾ปัญหาให฾ยุติลงได฾ด฾วยปัจจัยสําคัญ 3 ประการ ได฾แก฽ 1. ความชัดเจนของข฾อตกลงระหว฽างกันของประเทศต฽างๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากเอกสารทางประวัติศาสตรแ เช฽น สนธิสัญญา หรือแผนที่ ซึ่งทั้งสองฝุายยอมรับ 2. ความไว฾เนื้อเชื่อใจของคู฽เจรจา โดยข฾อพิพาทแต฽ละกรณีมักได฾รับการแก฾ไขได฾โดยง฽ายด฾วยความตกลง ทวิภาคีหากมีการสร฾างความสัมพันธแที่ดีระหว฽างประเทศ 3. รัฐบาลเองมีแนวโน฾มที่จะนําข฾อพิพาทเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ฾านมาใช฾เป็นอาวุธทางการเมืองใน ภาวะที่รัฐบาลไม฽มีเสถียรภาพเพียงพอ แต฽ท฾ายที่สุดก็ไม฽สามารถจะควบคุมข฾อพิพาทไม฽ให฾กลายเป็นประเด็น สาธารณะได฾ ซึ่งหากรัฐบาลที่มีนโยบายมุ฽งมั่นที่จะแก฾ปัญหาข฾อพิพาทเส฾นเขตแดนอย฽างแท฾จริงย฽อมสามารถ อํานวยความสะดวกให฾แก฽คณะกรรมาธิการคู฽เจรจาปฏิบัติทําหน฾าที่ได฾โดยไม฽ต฾องกังวลต฽อผลกระทบทาง การเมืองที่จะตามมาในภายหลัง แม฾ว฽าจะมีการนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽กลไกของศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก แต฽ในท฾ายที่สุดข฾อพิพาทเหล฽านั้นก็ยังไม฽สามารถยุติลงได฾อย฽างสมบูรณแจนถึง ปัจจุบัน แต฽อย฽างน฾อยก็สามารถทําให฾ข฾อพิพาทเหล฽านั้นอยู฽ในสถานะเสมือนระงับ (semi-settlement) หรือทํา ให฾คู฽พิพาทมีแนวทางในการจัดการความขัดแย฾งต฽อไปได฾ ในทํานองเดียวกัน กรณีพิพาทเขตแดนที่ไม฽สามารถบรรลุข฾อตกลงเพื่อระงับความขัดแย฾งได฾นั้น มักเกิด จากปัจจัยสําคัญอย฽างน฾อย 2 ประการ ได฾แก฽ 1. ความไม฽ลงรอยกันในการตีความเอกสารทางประวัติศาสตรแ เช฽น สนธิสัญญา หรือ แผนที่ ซึ่งเป็น หลักฐานที่สืบทอดมาตั้งแต฽ยุคก฽อนการเป็นเอกราชของรัฐชาติต฽างๆ ตัวอย฽างเช฽น กรณีการตีความคําหรือ ข฾อความในสนธิสัญญาระหว฽างฟิลิปปินสแกับมาเลเซีย กรณีดินแดนซาบาหแ เป็นต฾น 2. กระบวนการเจรจาระงับข฾อพิพาทถูกนํามาเป็นประเด็นทางการเมืองภายในประเทศ เช฽น กรณีข฾อ พิพาทเส฾นเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามตลอดทั้งแนวเส฾นเขตแดนทางบก โดยฝุายที่ไม฽เห็นด฾วยกับ รัฐบาลกัมพูชามักหยิบยกกรณีดินแดนขะแมรแกรอม (Khmer Krom) ขึ้นมาโจมตีรัฐบาล ว฽าไม฽ดําเนินการเพื่อ ยึดเอาดินแดนกลับคืนมาหรือรัฐบาลไม฽รักชาติ จนทําให฾กระบวนการในการเจรจาเพื่อดําเนินการแก฾ปัญหาถูก ผลกระทบจนทําให฾ไม฽สามารถระงับข฾อพิพาทได฾ หรือดังเช฽นกรณีการใช฾ข฾อพิพาทเขตแดนเพื่อสร฾างฐานความ นิยมทางการเมืองให฾แก฽ฝุายตน โดยละเลยที่จะมุ฽งเน฾นการแก฾ปัญหาอย฽างจริงจังของกลุ฽มการเมืองท฾องถิ่น เช฽น สุสุลต฽าน จามาลุล กีแรม ที่ 3 (Sultan Jamalul Kiram III) ซึ่งส฽งกองกําลังติดอาวุธจากเกาะซูลูในฟิลิปปินสแ บุกเข฾าไปยังดินแดนซาบาหแซึ่งอยู฽ภายในขอบเขตอํานาจอธิปไตยของมาเลเซีย จนบานปลายกลายเป็นปัญหา ระหว฽างประเทศ เป็นต฾น ในบทนี้จึงจะทําการวิเคราะหแปัจจัยแห฽งความสําเร็จและความล฾มเหลวในการจัดการ ข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศในอาเซียน ตลอดจนข฾อสังเกตและข฾อแนะนําเพื่อการจัดการข฾อพิพาทเขต แดนระหว฽างประเทศในอาเซียนต฽อไป จากการศึกษาในบทที่ 3 และบทที่ 4 ว฽าด฾วยการกําหนดเส฾นเขตแดนทางบกและทางทะเลระหว฽าง ประเทศในอาเซียน เราสามารถพิจารณาได฾ตามตารางที่ 6.1 เปรียบเทียบข฾อพิพาทที่ยังไม฽ระงับและข฾อพิพาทที่ สามารถระงับได฾แล฾ว

294

ตารางที่ 6.1 เปรียบเทียบข฾อพิพาทที่ยังไม฽ระงับกับข฾อพิพาทที่ระงับแล฾วในอาเซียน (ยกเว฾นไทยกับเพื่อนบ฾าน)

ที่ ข้อพิพาทที่ยังไม่ระงับ ที่ ข้อพิพาทที่ระงับแล้ว ระงับเมื่อ 1 เส฾นเขตแดนเกาะบอรแเนียว 1 ดินแดนลิมบัง (Limbang) ระงับชั่วคราว มาเลเซีย-อินโดนีเซีย มาเลเซีย-บรูไน 16 มี.ค. 2009/2552 2 ดินแดนซาบาหแ (Sabah) 2 เส฾นเขตแดนทางบก 1 มี.ค. 2533/1990 มาเลเซีย-ฟิลิปปินสแ ลาว-เวียดนาม 3 เส฾นเขตแดนทางบก 3 เส฾นเขตแดนตามแนวแม฽น้ําโขง 11 มิ.ย. 2537/1994 ลาว-กัมพูชา ลาว-พม฽า 4 เส฾นเขตแดนทางบก 4 ไหล฽ทวีปในช฽องแคบมะละกาและ 27 ต.ค. 2512/1969 กัมพูชา-เวียดนาม ทะเลจีนใต฾ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย 5 เกาะมิอังกัส (Miangas Island) 5 ทะเลอาณาเขตในช฽องแคบมะละกา 8 ต.ค. 2514/1971 อินโดนีเซีย-ฟิลิปปินสแ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย 6 แหล฽งน้ํามันอัมบาลัท อินโดนีเซีย- 6 ทะเลอาณาเขตในช฽องแคบสิงคโปรแ 25 พ.ค. 2516/1973 มาเลเซีย อินโดนีเซีย-สิงคโปรแ 7 หมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratlys) 7 ทะเลประวัติศาสตรแ (historic waters) 7 ก.ค. 2525/1982 บรูไน-มาเลเซีย-ฟิลิปปินสแ-เวียดนาม- กัมพูชา-เวียดนาม จีน-ไต฾หวัน 8 พื้นที่พัฒนาร฽วมบริเวณไหล฽ทวีป 5 มิ.ย. 2535/1992 มาเลเซีย-เวียดนาม 9 ช฽องแคบยะโฮรแ (Strait of Johor) 7 ส.ค. 2538/1995 มาเลเซีย-สิงคโปรแ 10 ไหล฽ทวีปถึงเกาะนาทูน฽า (Natuna 26 มิ.ย. 2546/2003 Islands) อินโดนีเซีย-เวียดนาม 11 เส฾นเขตแดนทางทะเล 16 มี.ค. 2009/2552 บรูไน-มาเลเซีย 12 เกาะลิกิตัน (Ligitan) และ เกาะสิปาดัน ศาลโลกตัดสิน (Sipadan) อินโดนีเซีย-มาเลเซีย 17 ธ.ค. 2545/2002 13 ข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน ศาลโลกตัดสิน มาเลเซีย-สิงคโปรแ 23 พ.ค. 2551/2008

295

ปัจจัยประการหนึ่งที่ทําให฾การจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศเป็นไปค฽อนข฾างยากลําบาก คือ ความไม฽มีเสถียรภาพของรัฐบาลและความขัดแย฾งทางการเมืองภายในของแต฽ละประเทศ เช฽น ในช฽วงคริสตแ ทศวรรษที่ 1980 มีการทําข฾อตกลงเกี่ยวกับปัญหาเขตแดนระหว฽างสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (People‖s Republic of Kampuchea – PRK) กับเวียดนามหลายฉบับ เช฽น ในปี 2525/1982 ปี 2526/1983 และปี 2528/1985306 (ในช฽วงเวลาเดียวกันนี้ ไม฽มีความคืบหน฾าในการเจรจาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างกัมพูชากับ ไทย) ทั้งนี้ ความขัดแย฾งทางการเมืองภายในกัมพูชาเองส฽งผลโดยตรงต฽อความคืบหน฾าในการเจรจาข฾อพิพาท เขตแดนระหว฽างปี 2522/1979 ถึงปี 2534/1991 แม฾ว฽าสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาจะมีความสัมพันธแที่ดีกับ ลาว แต฽ก็ไม฽มีกระบวนการใดๆ ที่เกี่ยวข฾องกับการแก฾ปัญหาเส฾นเขตแดนระหว฽างกัน ในช฽วงคริสตแทศวรรษที่ 1990 เมื่อความขัดแย฾งภายในกัมพูชาช฽วงปลายปี 2534/1991 สิ้นสุดลง ภายหลังจากที่มีการจัดการเลือกตั้ง โดยสหประชาชาติในช฽วงกลางปี 2536/1993 และมีการจัดตั้งรัฐบาลผสมของกัมพูชา ก็ทําให฾ข฾อพิพาทเขต แดนระหว฽างกัมพูชากับประเทศเพื่อนบ฾านถูกนํากลับมาเป็นประเด็นข฾อถกเถียงอีกครั้ง โดยกัมพูชาได฾กล฽าวหา ว฽าลาว ไทย และเวียดนาม ทําการละเมิดดินแดนที่อยู฽ภายใต฾อธิปไตยของกัมพูชา โดยเฉพาะอย฽างยิ่งกรณีข฾อ พิพาทเขตแดนกับเวียดนามที่ทําให฾ความสัมพันธแระหว฽างทั้งสองประเทศมีความตึงเครียดเป็นอย฽างมาก307 และ เมื่อเกิดปัญหาขึ้นที่บริเวณแนวชายแดน จึงมีการเริ่มต฾นการเจรจาระหว฽างกัมพูชากับเวียดนามอีกครั้ง ในปี 2525/1982 ปี 2526/1983 และปี 2528/1985 ซึ่งทั้งสองฝุายตกลงให฾มีกระบวนการกําหนดกรอบการเจรจา ระหว฽างกัน308 แต฽การเจรจาทวิภาคีก็ไม฽มีความคืบหน฾าจนกระทั่งเวียดนามได฾ประกาศอย฽างเป็นทางการว฽า จะต฾องดําเนินการให฾บรรลุความตกลงเพื่อระงับข฾อพิพาทกับกัมพูชาก฽อนสิ้นปี 2543/2000 แต฽เมื่อถึงเวลา ดังกล฽าวก็ไม฽มีความคืบหน฾าใดๆ แต฽ก็มีการเจรจาระหว฽างกันมากขึ้นเป็นระยะๆ และในที่สุดทั้งสองประเทศจึง จัดให฾มีการเจรจาเพื่อแก฾ปัญหาข฾อข฾อพิพาทดินแดนตามสนธิสัญญาเพิ่มเติม (Supplementary Treaty) เมื่อ วันที่ 10 ตุลาคม 2548/2005 โดยมีการแลกเปลี่ยนเอกสารการให฾สัตยาบันของสนธิสัญญาเพิ่มเติม (Supplementary Treaty) ในวันที่ 6 ธันวาคม 2548/2005 และมีผลบังคับใช฾ทันที ทําให฾กระบวนการระงับ ข฾อพิพาทระหว฽างทั้งสองประเทศได฾สําเร็จ ปัจจุบัน มีการทําข฾อตกลงระหว฽างนายกรัฐมนตรีของกัมพูชาและ เวียดนาม เพื่อดําเนินงานในขั้นตอนการปักปันเขตแดน (demarcation) และการปักหลักเขต (marker planting) ตามแนวเส฾นเขตแดนทางบก โดยตั้งเปูาว฽าจะให฾เสร็จสิ้นภายในปี 2555/2012309 ในกรณีข฾อพิพาทเขตแดนทางบกระหว฽างกัมพูชากับลาว พบว฽ามีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการเขตแดนร฽วม กัมพูชา-ลาว (Cambodia-Laos Joint Boundary Commission – CLJBC) และ คณะกรรมาธิการเขตแดน ร฽วมลาว-กัมพูชา (Laos-Cambodia Joint Boundary Commission – LCBJC) ซึ่งมีการประชุมกันเป็นครั้ง แรกระหว฽างวันที่ 20-22 พฤศจิกายน 2538/1995 ณ กรุงเวียงจันทนแ โดยมีการจัดทํารายงานผลการสํารวจ

306 Amer, Ramses. “Managing Border Disputes in Southeast Asia.,” in Journal of Malaysian Studies, Special Issue on Conflict and Conflict Management in Southeast Asia, (Kajian Malaysia XVIII (1-2), 2000), p. 40-43. เข฾าถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1NZgaku 307 Ibid. 308 โปรดดูใน Amer, Ramses. “Vietnam and Its Neighbours: The Border Dispute Dimension,” in Contemporary Southeast Asia, (17(3), 1995), pp. 299-301 และ Amer, Ramses. “The Border Conflicts Between Cambodia and Vietnam,” in Boundary and Security Bulletin, (5(2), 1997), pp.80-91 309 Ministry of Foreign Affairs, Socialist Republic of Vietnam. “Vietnam, Cambodia push for border security,” 2009. เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1LBn1k7 296

และการปักปันเขตแดน รวมถึงข฾อตกลงว฽าด฾วยจุดบรรจบ 3 ประเทศ กัมพูชา-ลาว-เวียดนาม ในปี 2551/2008 แต฽ในปัจจุบันข฾อพิพาทเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างลาวกับกัมพูชาก็ยังไม฽ได฾รับการแก฾ไขให฾แล฾วเสร็จ310 ในกรณีระหว฽างลาวกับเวียดนามนั้นไม฽ปรากฏว฽ามีความขัดแย฾งหรือเกิดการโต฾เถียงกันอย฽างเป็นทางการ ในประเด็นข฾อพิพาทเขตแดน และสามารบรรลุข฾อตกลงเกี่ยวกับเส฾นเขตแดนทางบกระหว฽างกันได฾ในช฽วงครึ่ง หลังของคริสตแทศวรรษ 1970 โดยดําเนินการปักปันเขตแดนระหว฽างกันได฾สําเร็จในปี 2533/1990 แต฽ก็ยังมีข฾อ พิพาทเกี่ยวกับพื้นที่ทับซ฾อนบริเวณแนวชายแดน ซึ่งได฾รับการแก฾ไขได฾ด฾วยกระบวนการเจรจากันอีกครั้งใน เดือนกันยายน 2551/2008 โดยการวางแผนดําเนินการที่จะพัฒนาพื้นที่ชายแดนให฾เป็นสถานที่ดึงดูด นักท฽องเที่ยวและนักลงทุน ซึ่งได฾ดําเนินงานไปแล฾วระหว฽างปี 2551/2008 – 2557/2014 และจะมีการปักหลัก เขตจํานวนกว฽า 800 หลักตามแนวชายแดนความยาว 2,067 กิโลเมตร311 นับตั้งแต฽ต฾นคริสตแทศวรรษ 1990 เวียดนามกลายเป็นประเทศที่มีบทบาทอย฽างมากต฽อการระงับข฾อ พิพาทเขตแดนโดยสันติวิธี เวียดนามสามารถบรรลุข฾อตกลงเกี่ยวกับข฾อพิพาทเขตแดนทางบกกับจีนและ กัมพูชา รวมทั้งข฾อพิพาททางทะเลกับมาเลเซีย ไทย จีน และอินโดนีเซีย นอกจากนี้ เวียดนามยังบรรลุข฾อตกลง “code of conduct” กับฟิลิปปินสแในประเด็นข฾อพิพาททะเลจีนใต฾ และเมื่อไม฽นานมานี้เวียดนามและ มาเลเซีย ได฾มี “ข฾อเสนอร฽วม (Joint Submission)” ต฽อคณะกรรมาธิการกําหนดขอบเขตของไหล฽ทวีป (Commission on the Limits of the Continental Shelf) ซึ่งเป็นความสําเร็จของการระงับข฾อพิพาทเขต แดนในบริบทของเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ เวียดนามได฾พัฒนาแนวคิดและนําหลักกฎหมายระหว฽างประเทศ เช฽น การประยุกตแใช฾หลักการสืบทอดดินแดนจากเจ฾าอาณานิคม (uti possidetis) และ หลักความเที่ยงธรรม (equitable principle) หลักการกําหนดเขตทางทะเล (maritime delimitation) มาใช฾เพื่อการจัดการข฾อ พิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศของตน จากตารางที่ 6.3 จะพบว฽า ข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศที่ สามารถระงับได฾นั้น เกิดจากข฾อถกเถียงหรือปัจจัยที่ทําให฾เกิดข฾อพิพาทนั้นมีความไม฽ซับซ฾อน รวมทั้งความ มุ฽งมั่นของคู฽พิพาทที่จะพยายามระงับปัญหาที่มีอยู฽เพื่อให฾เกิดผลประโยชนแต฽อความสัมพันธแระหว฽างประเทศ มากกว฽าการตกอยู฽ในวังวนของปัญหาที่เกิดขึ้นจากข฾อพิพาทซึ่งไม฽ก฽อให฾เกิดประโยชนแกับฝุายใดเลย จากงานศึกษาของ อัสลี ซัลเลหแ (Asri Salleh) และคนอื่นๆ312 เกี่ยวกับนโยบายของของมาเลเซียในการ จัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างปี 2506/963 – 2551/2008 โดยได฾วิเคราะหแนโยบายของมาเลเซียต฽อการ ระงับข฾อพิพาท สถานะของข฾อพิพาท และปัจจัยที่อยู฽เบื้องหลังนโยบายของมาเลเซีย ในกรณีของมาเลเซียนั้น ประกอบด฾วยดินแดน 2 ส฽วนใหญ฽ๆ มีพื้นที่รวมทั้งหมดประมาณ 330,252 ตารางกิโลเมตร ได฾แก฽ ดินแดน มาเลเซียตะวันตกหรือคาบสมุทรมาเลเซีย และ มาเลเซียตะวันออกบนเกาะบอรแเนียว ทั้งสองดินแดนแยกออก จากกันโดยทะเลจีนใต฾ ด฾วยระยะทางการบินคิดเป็นระยะทาง 920 ไมลแทะเล หรือ 1,711 กิโลเมตร มีความ ยาวของแนวชายฝั่ง 4,675 กิโลเมตร โดยมาเลเซียตะวันตก 2,068 กิโลเมตร และมาเลเซียตะวันออก 2,607 กิโลเมตร สภาพทางภูมิศาสตรแของประเทศมาเลเซียเป็นตัวอย฽างที่แสดงให฾เห็นข฾อพิพาทเขตแดนที่อาจพบมาก ที่สุด เนื่องจากมีชายฝั่งทะเลติดต฽อกับเขตแดนของประเทศต฽างๆ ทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ทําให฾มาเลเซียมี ข฾อพิพาทและทําการอ฾างสิทธิ์ในพื้นที่ทับซ฾อนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ฾านเกือบทุกประเทศ ข฾อพิพาทเขต

310 Amer, Ramses. Ibid. (2000), p. 42-43. 311 Ministry of Foreign Affairs, Socialist Republic of Vietnam. “Preparations for Vietnam-Laos border landmark upgrade,” 2008. เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1KTeYfv 312 Asri Salleh, Che Hamdan Che Mohd Razali and Kamaruzaman Jusoff. “Malaysia‖s policy towards its 1963 - 2008 territorial disputes,” in Journal of Law and Conflict Resolution Vol. 1(5), (October, 2009), pp. 107-116. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Qcka16 297

แดนของมาเลเซียมีทั้งทางบกและทางทะเล เริ่มตั้งแต฽บริเวณอ฽าวไทย ทะเลอันดามัน ช฽องแคบมะละกา ช฽อง แคบสิงคโปรแ ทะเลจีนใต฾ ทะเลซูลู และทะเลเซเลเบส มาเลเซียได฾นําวิธีการที่หลากหลายมาใช฾เพื่อการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนเหล฽านี้ เช฽น มาเลเซียกับ อินโดนีเซียได฾ลงนามความตกลงว฽าด฾วยไหล฽ทวีประหว฽างกันเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2512/1969 ตามมาด฾วย ข฾อตกลงไตรภาคีกับอินโดนีเซียและไทยในการกําหนดไหล฽ทวีประหว฽างกัน ในบริเวณทางตอนเหนือของช฽อง แคบมะละกาเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2515/1972 และมีการลงนามในความตกลงระหว฽างมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย เพื่อการพัฒนาทรัพยากรร฽วมกันในอ฽าวไทย (joint resource development) ในปี 2521/1978 นอกจากนี้ ยังมีการลงนามในความตกลงว฽าด฾วยการกําหนดเส฾นเขตแดนในช฽องแคบยะโฮรแ (Straits of Johor) เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2538/1995 รวมทั้ง การที่มาเลเซียเลือกใช฾กลไกการระงับข฾อพิพาทโดยศาลยุติธรรม ระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก ในกรณีข฾อพิพาทกับอินโดนีเซีย ใน ปี 2541/1998 และกับสิงคโปรแ ในปี 2546/2003 ส฽วนข฾อพิพาทเขตแดนอื่นๆ เช฽น กับบรูไนกรณีดินแดนลิม บัง (Limbang) ก็สามารถบรรลุความตกลงด฾วยการแลกเปลี่ยนหนังสือสัญญาระหว฽างบรูไนกับมาเลเซีย ในปี 2552/2009 ซึ่งได฾ยุติข฾อพิพาทของทั้งสองประเทศที่มีมาอย฽างยาวนาน ด฾วยความเป็นมิตรที่ดีต฽อกัน ในขณะที่ กรณีข฾อพิพาทเหนือหมู฽เกาะสแปรตลียแ เช฽น เกาะอัมบอยญา เคยแ (Amboyna Cay) ก็ยังคงเป็นปัญหาอยู฽ ซึ่ง มาเลเซียได฾พิจารณาแล฾วว฽าข฾อพิพาทเหนือดินแดนซาบาหแ และเกาะบางแห฽งในหมู฽เกาะสแปรตลียแ เช฽น ลายัง- ลายัง (Layang-Layang) ต฾องได฾รับการแก฾ไขเพื่อให฾สามารถระงับความขัดแย฾งที่มีระหว฽างประเทศให฾ได฾ โดยภาพรวมแล฾ว ข฾อพิพาทเขตแดนทําให฾ทราบปัจจัยพื้นฐานของระบบราชการซึ่งมีบทบาทสําคัญและมี อิทธิพลต฽อนโยบายของมาเลเซียในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศ

ส านักนายกรัฐมนตรี (Prime Minister Department) และ หน่วยความมั่นคงแห่งชาติ (National Security Division – NSD) สํานักนายกรัฐมนตรี เป็นหน฽วยงานหลักด฾านนโยบายของรัฐบาลซึ่งทําหน฾าที่กําหนดทิศทางในการ จัดการข฾อพิพาทเขตแดนทั้งหมด ดังนั้น นายกรัฐมนตรี จึงเป็นผู฾ตัดสินใจขั้นสุดท฾ายของแนวนโยบายต฽างๆ ที่ ถูกนําเสนอขึ้นในรัฐบาล ในกรณีข฾อพิพาทเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) และ ข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน นั้น นายกรัฐมนตรี มหาเธรแ โมฮัมหมัด (Mahathir Mohamad) คือผู฾ ตัดสินใจว฽ามาเลเซียจะนําข฾อพิพาทเข฾าสู฽กลไกการะงับข฾อพิพาทโดยผ฽านบุคคลที่สาม (third party) นั่นคือ ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก เนื่องจากความล฾มเหลว ของการเจรจาทวิภาคี ดังที่นายกรัฐมนตรีมหาเธรแ โมฮัมหมัด กล฽าวว฽า “เนื่องจากเป็นที่ชัดเจนแล฾วว฽า ทั้งสอง ฝุายไม฽สามารถยอมรับการอ฾างสิทธิ์ของกันและกัน และไม฽สามารถบรรลุการตัดสินใจได฾ จึงเป็นธรรมดาที่เราไป หาที่บุคคลที่สาม (ศาลโลก)”313 ข฾อพิพาทเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ได฾แสดงให฾เห็นถึง บทบาทที่สําคัญของหน฽วยความมั่นคงแห฽งชาติ (National Security Division – NSD) เช฽นการยืนยันตาม คําสั่งของปลัดกระทรวงต฽างประเทศมาเลเซีย ซึ่งไม฽ใช฽เรื่องบังเอิญเมื่อปลัดกระทรวงได฾ออกแถลงการณแฉบับ

313 “Since it is very clear that both parties cannot accept each other‖s claims and cannot reach a decision, it is natural that we go to a third party (the ICJ)” Straits Times, 14 September 1994. อ฾างจาก Renate, Haller-Trost. “The Territorial Dispute between Indonesia and Malaysia over Pulau Sipadan and Pulau Ligitan in the Celebes Sea: A Study in International Law,” (Boundary and Territory Briefing Vol.2 No.2. Department of Geography, University of Durham, 1995.), p. 31. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1hmOFH5 298

วันที่ 13 กันยายน 2537/1994 และนายกรัฐมนตรี ออกคําสั่งหลังจากนั้นเพียง 1 วัน คือ วันที่ 14 กันยายน 2537/1994 ซึ่งทําให฾เห็นว฽านายกรัฐมนตรีได฾ตัดสินใจเพียง 1 วันหลังจากที่ปลัดกระทรวงต฽างประเทศออก แถลงการณแ เป็นตัวบ฽งชี้ความสําคัญของสภาความมั่นคงแห฽งชาติในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนของมาเลเซีย

กระทรวงกลาโหมมาเลเซีย (Ministry of Defense – MINDEF) กระทรวงกลาโหมมาเลเซีย เป็นหน฽วยงานหลักในการรับผิดชอบด฾านการทหารเพื่อสนับสนุนการอ฾าง สิทธิ์เหนือดินแดนต฽างๆ ของมาเลเซีย ดังนั้น อาจกล฽าวได฾ว฽ากระทรวงกลาโหมมาเลเซียเป็นหน฽วยงานที่มี อิทธิพลครอบงํานโยบายต฽างประเทศมากกว฽าหน฽วยงานอื่นของรัฐบาล แม฾ว฽าจะไม฽มีการปะทะกันทางทหาร เกิดขึ้นระหว฽างมาเลเซียกับประเทศคู฽พิพาท แต฽กระทรวงกลาโหมก็ยังมีบทบาทนําต฽อนโยบายเกี่ยวกับข฾อ พิพาทเขตแดนของมาเลเซียอยู฽ไม฽น฾อย ตัวอย฽างเช฽น บทบาทของกองทัพเรือมาเลเซีย (Malaysian Royal Navy Force – MRNF) ซึ่งออกลาดตระเวนในพื้นที่รอบหมู฽เกาะที่มีข฾อพิพาทอย฽างต฽อเนื่อง โดยเฉพาะอย฽างยิ่ง กรณีข฾อพิพาทเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) และ ข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน ทั้งๆ ที่มีความไม฽มั่นคงด฾านการรักษาความปลอดภัย การดําเนินงานในลักษณะดังกล฽าวได฾พิสูจนแว฽า กองทัพมีอิทธิพลต฽อมุมมองด฾านนโยบายของมาเลเซียที่มีต฽อปัญหาข฾อพิพาทเขตแดน ผลกระทบที่สําคัญซึ่ง กองทัพเรือทําให฾เกิดขึ้นในกรณีข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน คือ เหตุการณแที่สิงคโปรแขอให฾มาเลเซียหยุดส฽งเรือตรวจ การเข฾ามาในน฽านน้ําบริเวณพื้นที่พิพาท แต฽สิงคโปรแกลับอนุญาตให฾ชาวประมงมาเลเซียสามารถเข฾าไปทําการ ประมงในน฽านน้ําใกล฾เคียงได฾ ในทํานองเดียวกับกรณีข฾อพิพาทเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ซึ่งฝุายมาเลเซียร฾องขอให฾อินโดนีเซียดําเนินการลดปริมาณการแสดงตนของจํานวนทหารใน น฽านน้ําของเกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ในข฾อพิพาทนี้บทบาทของกระทรวงกลาโหมมาเลเซียแสดงให฾เห็น ได฾อย฽างชัดเจนโดยเฉพาะอย฽างยิ่งเมื่อ นายนาจิบ ราซัค (Najib Razak) รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงกลาโหม มาเลเซียกล฾าเดินทางเข฾าไปในพื้นที่เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) ในช฽วงที่ความขัดแย฾งกําลังอยู฽ในขั้นวิกฤต ช฽วงปี 2537/1994 แม฾ว฽าสถานการณแทางการทหารกําลังมีความตึงเครียด แต฽การเดินทางเข฾าไปในพื้นที่พิพาท ก็จบลงอย฽างสันติ การกระทําดังกล฽าวเป็นสิ่งที่จะสนับสนุนการอ฾างสิทธิ์อธิปไตยและเป็นการแสดงอํานาจของ ฝุายมาเลเซียที่มีบนเกาะอย฽างมีนัยสําคัญ เช฽นเดียวกับในปี 2535/1992 ยุทธศาสตรแในการเดินทางเข฾าไปใน พื้นที่พิพาทก็เกิดขึ้นอีกครั้งเมื่อ ยัง ดิเปอรแตวน อากง (Yang Dipertuan Agong) หรือ องคแประมุขของ ประเทศมาเลเซีย314 เดินทางเข฾าไปเยือนพื้นที่เกาะลายัง-ลายัง (Layang-Layang) หรือ แนวปะการังสวอลโล (Swallow Reef) ซึ่งเป็นพื้นที่ส฽วนหนึ่งของข฾อพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแในทะเลจีนใต฾ระหว฽างมาเลเซียกับ ฟิลิปปินสแ จีน และไต฾หวัน

สถาบันยุทธศาสตร์และนานาชาติศึกษา (Institute of Strategic and International Studies – ISIS) และ สถาบันกิจการทางทะเลแห่งมาเลเซีย (Malaysian Institute of Maritime – MIMA) สถาบันยุทธศาสตรแและนานาชาติศึกษา (Institute of Strategic and International Studies – ISIS) และ สถาบันกิจการทางทะเลแห฽งมาเลเซีย (Malaysian Institute of Maritime – MIMA) เป็นหน฽วยงานที่ เกี่ยวข฾องกับการกําหนดนโยบายเพื่อจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽งประเทศ โดยมีบทบาทมากในสมัยของ นายฮัมซาหแ อาหมัด (Hamzah Ahmad) เนื่องจากเคยทํางานที่วิทยาลัยกองทัพบกมาเลเซีย (Armed Forces College) ในปี 2527/1984 และเป็นรองผู฾อํานวยการของสถาบันยุทธศาสตรแและนานาชาติศึกษา (Institute

314 ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญของมาเลเซียนั้น ยัง ดิเปอรแตวน อากง (Yang Dipertuan Agong) มีสถานะเป็นผู฾ บัญชาการทหารสูงสุด หรือ จอมทัพของกองทัพมาเลเซียทั้งหมดด฾วย 299 of Strategic and International Studies – ISIS) ในปี 2533/1990 และจากนั้นจึงเป็นผู฾อํานวยการสถาบัน กิจการทางทะเลแห฽งมาเลเซีย (Malaysian Institute of Maritime – MIMA) ในปี 2540/1997 ซึ่งในช฽วงที่ เขาดํารงตําแหน฽งได฾ผลิตผลงานและสร฾างองคแความรู฾ด฾านกิจการทางทะเลและเส฾นเขตแดนของมาเลเซีย ซึ่ง ได฾รับการตีพิมพแเผยแพร฽เป็นจํานวนมาก เช฽น Malaysia and the Law of the Sea: Post-UNCLOS III Issues, (Honolulu, 1984), Malaysia’s Exclusive Economic Zone, (Petaling Jaya, 1988), The Spratlys: What Can Be Done To Enhance Confidence, (ISIS, 1990), The Oil Sultanate-Political History of Oil in Brunei Darussalam, (Seremban, 1991), Straits of Malacca; International Co- operation in Trade, Funding and Navigational Safety, (Petaling Jaya, 1997), Current Issues of Marine and Coastal Affairs in Malaysia, (KL, 1997), and finally, Jurisdictional Issues and Conflicting Claims in the Spratlys, (Manila, 1990). นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารของสถาบันยุทธศาสตรแและนานาชาติศึกษา (Institute of Strategic and International Studies – ISIS) และ สถาบันกิจการทางทะเลแห฽งมาเลเซีย (Malaysian Institute of Maritime – MIMA) ยังเป็นสมาชิกของสภาความมั่นคงแห฽งชาติ (National Security Council – NSC) เช฽น นายฮามิด โอธมาน (Hamid Othman) จากหน฽วยความมั่นคงแห฽งชาติ (National Security Division – NSD) นายคาลิด รามลี (Khalid Ramli) ผู฾อํานวยการกองประสานงานสํานักนายกรัฐมนตรี (Implementation Coordination Unit of the Prime Minister) และ นายอิลยาส ดิน (Ilyas Din) ผู฾ บัญชาการทหารบก (Chief of the Armed Forces) ผลงานวิจัยของสถาบันยุทธศาสตรแและนานาชาติศึกษา (Institute of Strategic and International Studies – ISIS) และ สถาบันกิจการทางทะเลแห฽งมาเลเซีย (Malaysian Institute of Maritime – MIMA) มีบทบาทและอิทธิพลอย฽างมากต฽อการตัดสินใจในกรณีข฾อ พิพาทเขตแดนต฽างๆ ของมาเลเซีย นโยบายด฾านการต฽างประเทศและปัจจัยภายนอกมีบทบาทสําคัญในการตัดสินใจของมาเลเซียต฽อการนํา ข฾อพิพาทเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) และ ข฾อพิพาทหิน 3 ก฾อน เข฾าสู฽กลไกศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก แม฾ว฽า นายกรัฐมนตรีจะมีบทบาทสําคัญต฽อการตัดสินใจด฾านนโยบายต฽างประเทศของมาเลเซีย แต฽ระบบราชการก็ยังมี อิทธิพลในเบื้องต฾นก฽อนที่จะมีการตัดสินใจเพื่อดําเนินการจัดการข฾อพิพาทในขั้นต฽อไป อย฽างไรก็ตาม หน฽วยงาน ที่มีอิทธิพลมาก ได฾แก฽ กองทัพบก กระทรวงต฽างประเทศ และสถาบันวิชาการ โดยเฉพาะผู฾ดํารงตําแหน฽ง ระดับบนของรัฐ ซึ่งหากพิจารณาจากลําดับเหตุการณแแล฾วจะพบว฽านายกรัฐมนตรีมาเลเซียจะตัดสินใจหลังจาก ที่ข฾าราชการจากหน฽วยงานข฾างต฾นได฾นําเสนอแนวทางอย฽างใดอย฽างหนึ่งแล฾ว นอกจากนี้ ข฾าราชการที่ทํางาน ด฾านโยบายต฽างประเทศยังประกอบด฾วยกลุ฽มของผู฾เชี่ยวชาญในประเด็นข฾อพิพาทเขตแดน ซึ่งดูเหมือนว฽า นายกรัฐมนตรีจะให฾น้ําหนักกับข฾อเสนอแนะและข฾อคิดเห็นของบุคคลเหล฽านี้ก฽อนที่จะมีการตัดสินใจดําเนินการ อย฽างไดอย฽างหนึ่ง ทั้งนี้ การที่มาเลเซียตัดสินใจที่จะใช฾กลไกศาลในการระงับข฾อพิพาททั้งๆ ที่นายกรัฐมนตรีไม฽ เห็นด฾วยกับนโยบายที่ถูกเสนอมาจากหน฽วยงานเหล฽านี้ ก็เป็นสิ่งที่พิสูจนแให฾เห็นถึงอิทธิพลของหน฽วยงาน ราชการที่มีต฽อการตัดสินใจขั้นสุดท฾ายของนายกรัฐมนตรี แต฽ก็ปฏิเสธไม฽ได฾ว฽า นายกรัฐมนตรี คือ ผู฾ตัดสินใจใน ขั้นสุดท฾าย หรืออาจกล฽าวอีกอย฽างหนึ่งได฾ว฽า แม฾หน฽วยงานราชการด฾านนโยบายต฽างประเทศของมาเลเซียจะ ไม฽ใช฽ผู฾ตัดสินใจด฾านการจัดการข฾อพิพาทเขตแดน แต฽ก็ทําหน฾าที่เป็นผู฾จัดการและดําเนินการนําการตัดสินใจขั้น สุดท฾ายของนายกรัฐมนตรีไปปฏิบัติให฾เกิดผล และนายกรัฐมนตรีก็ไม฽ได฾เป็นผู฾ตัดสินใจในนโยบายเพียงผู฾เดียว แต฽เกิดจากการรับทราบข฾อมูลผ฽านกระบวนการวิเคราะหแและความเข฾าใจในสถานการณแของหน฽วยงานราชการ ประจํา นอกจากนี้ ยังแสดงให฾เห็นว฽ากลไกการจัดการข฾อพิพาทของอาเซียนทั้งที่ไม฽เป็นทางการและเป็น 300

ทางการ เช฽น “คณะอัครมนตรีอาเซียน (ASEAN High Council)” ก็มีอิทธิพลต฽อการตัดสินใจของมาเลเซีย เช฽นกัน เนื่องจากผู฾กําหนดนโยบายรับทราบถึงความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากกระบวนการระงับข฾อพิพาทกับ ประเทศเพื่อนบ฾านหากใช฾กลไกสภาสูงหรือ “คณะอัครมนตรีอาเซียน (ASEAN High Council)” ทํามาเลเซีย เลือกที่จะใช฾แนวทางแก฾ปัญหาด฾วยการพึ่งพากลไกอื่นๆ ภายนอกอาเซียน แต฽การเลือกใช฾กลไกภายนอกก็ เพื่อให฾สอดคล฾องกับจิตวิญญาณของอาเซียนที่จะสร฾างความสัมพันธแที่ดีกับเพื่อนบ฾านอาเซียนนั่นเอง เนื่องจาก โครงสร฾างความสัมพันธแทางอํานาจที่เกิดขึ้นใหม฽ของ “สมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Association of South East Asian Nations)” หรือ “อาเซียน (ASEAN)” ยังไม฽มีความแน฽นอน การจัดการเพื่อแก฾ปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนของมาเลเซียในอดีตและปัจจุบัน จึงมีการใช฾กลไกแบบ ผสมผสานตั้งแต฽ การกระทําเพียงฝุายเดียว (unilateralism) การเจรจาทวิภาคี (bilateralism) กรอบความ ร฽วมมือพหุภาคี (multilateralism) และ การใช฾กลไกบุคคลที่สาม (third party adjudication) เช฽น การ กระทําเพียงฝุายเดียว (unilateralism) ในกรณีการจัดทําแผนที่ใหม฽ (New Map) หรือ เปอตา บารู (Peta Baru) ในปี 2522/1979 เพื่อแสดงจุดยืนและความต฾องการของฝุายมาเลเซียในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดน และเมื่อมีการทักท฾วงจากประเทศเพื่อนบ฾านซึ่งมีส฽วนได฾ส฽วนเสียกับการดําเนินงานของมาเลเซีย มาเลเซียก็ไม฽ ลังเลที่จะใช฾กลไกการเจรจาทวิภาคี (bilateralism) เพื่อให฾เกิดประโยชนแแก฽ประเทศทั้งทางด฾านการเมืองและ เศรษฐกิจ เช฽น การจัดให฾มีการเจรจาในระดับทวิภาคีกรณีข฾อพิพาทเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) อย฽างไรก็ตาม ในกรณีข฾อพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแ (Spratlys) มาเลเซียกลับ ใช฾วิธีจัดการข฾อพิพาทด฾วยแนวทางการกระทําเพียงฝุายเดียว (unilateralism) เห็นได฾จากการเข฾าไปยึดครอง แนวปะการังสวอลโล (Swallow Reef) และบริเวณสันดอนอินเวสติเกเตอรแ (Investigator Shoal) แต฽ในกรณี เกาะอัมบอยญา เคยแ (Amboyna Cay) มาเลเซียกลับเรียกร฾องให฾มีการแก฾ปัญหาโดยใช฾กลไกพหุภาคี (multilateralism)

บทสรุปและข้อเสนอแนะ เพื่อให฾การจัดการในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศในอาเซียน มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีการนําเสนอ อาเซียนอาจจะต฾องมีการสร฾างความเป็นไปได฾ในการจัดตั้ง “ศาลอาเซียน (ASEAN Court)” เพื่อ เป็นกลไกในการระงับข฾อพิพาททุกประเภทระหว฽างประเทศสมาชิก แต฽ก็ไม฽ได฾จําเป็นที่จะต฾องมีรูปแบบ เช฽นเดียวกับศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก315 ไม฽ว฽า รูปแบบของศาลอาเซียนจะมีรูปแบบด฾านองคแกรอย฽างไร แต฽ในเบื้องต฾นต฾องเป็นองคแกรที่สามารถทําหน฾าที่ได฾มี ประสิทธิภาพมากกว฽า “คณะอัครมนตรีอาเซียน (ASEAN High Council)” และต฾องรองรับข฾อพิพาททุก ประเภทที่เกิดขึ้นภายในภูมิภาค ที่สําคัญที่สุดจะต฾ององคแกรที่มีอํานาจในการควบคุมและมีสภาพบังคับทาง กฎหมาย เพื่อให฾มีผลต฽อการระงับข฾อพิพาทได฾อย฽างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด และประเทศสมาชิกควรต฾องมีส฽วนร฽วมใน กระบวนการระงับหรือตัดสินข฾อพิพาทด฾วย และต฾องมีกระบวนการคัดเลือกผู฾พิพากษาที่เป็นกลางและเป็น อิสระจากอิทธิพลและการครอบงําของประเทศใดประเทศหนึ่งในอาเซียน อีกทางเลือกหนึ่ง คือ อาเซียนอาจ ต฾องกําหนดบทบัญญัติให฾ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาล โลก เป็นหนึ่งในกลไกที่เป็นทางการในการจัดการข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้งนี้ อาเซียนต฾องประกาศให฾ชัดเจนด฾วยว฽า นอกจาก “คณะอัครมนตรีอาเซียน (ASEAN High Council)” แล฾ว

315 Asri Salleh, Che Hamdan Che Mohd Razali and Kamaruzaman Jusoff. Ibid, p. 115. 301

อาเซียนยังรับรองและจะอํานวยความสะดวกให฾แก฽คู฽พิพาทที่ตกลงปลงใจจะนํากรณีพิพาทเข฾าสู฽การตัดสินของ ศาลโลกด฾วย นอกจากนี้ เพื่อให฾เกิดผลในทางปฏิบัติด฾านนโยบายการต฽างประเทศ ประเทศต฽างๆ อาจไม฽จําเป็นที่ จะต฾องนําข฾อพิพาทเขตแดนทั้งหมดที่มีอยู฽เข฾าสู฽กลไกศาลโลก แต฽ควรที่จะเปิดพื้นที่ให฾มากที่สุดในการพึ่งพา กลไกจัดการปัญหาผ฽านการเจรจาในทวิภาคีหรือพหุภาคีภายในภูมิภาค เพื่อส฽งเสริมและยืนยันว฽าเจตนารมณแ ของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน คือ ความสามารถในการจัดการปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนภายใน ภูมิภาคได฾ด฾วยตนเอง ซึ่งในปัจจุบัน ข฾อพิพาทเขตแดนที่มีปัญหามากที่สุดคือ ข฾อพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลี่ยแที่มี ความเสี่ยงสูงที่จะนําไปสู฽ความรุนแรงระหว฽างกันเพราะมีปัจจัยของประเทศมหาอํานาจจากภายนอกภูมิภาค เข฾ามาเกี่ยวข฾องด฾วยทั้งทางตรงและทางอ฾อม เนื่องจากมีแหล฽งมรัพยากรน้ํามันอยู฽ใกล฾กับแนวชายฝั่งของ ประเทศต฽างๆ และเชื่อว฽าจะเป็นฐานทรัพยากรที่สําคัญต฽อสถานะความเป็นอยู฽ทางเศรษฐกิจที่ดีของประเทศผู฾ อ฾างสิทธิ์ ดังนั้น บรรดาประเทศผู฾มีส฽วนเกี่ยวข฾องกับกระบวนการกําหนดนโยบายระหว฽างกัน จึงไม฽ควรผลีผลาม ตัดสินใจที่จะเสนอให฾นําข฾อพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลี่ยแเข฾าสู฽กลไกระงับข฾อพิพาทในทันที แต฽ควรเลือกใช฾กลไกการ เจรจาทวิภาคีหรือพหุภาคี เช฽น แนวทางการสร฾างความตกลงว฽าด฾วย “พื้นที่พัฒนาร฽วม (Joint Development Area - JDA)” ซึ่งอาจจะเป็นหนึ่งในทางเลือกที่มีประสิทธิภาพที่สุด

พื้นที่พัฒนาร่วม (Joint Development Zone – JDZ) ข฾อพิพาทอธิปไตยเหนือดินแดนหมู฽เกาะและเส฾นเขตแดนทางทะเล เป็นปัญหาที่มีความซับซ฾อนและ ยุ฽งยากในการแก฾ไขปัญหา และมักมีความตึงเครียดเนื่องจากนําไปสู฽การปะทะกันทางอาวุธระหว฽างประเทศผู฾ อ฾างสิทธิ์ แต฽เนื่องจากประเทศสมาชิกอาเซียนได฾ลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ในปี 2519/1976 ซึ่ง หมายความว฽าทุกประเทศจะต฾องแสวงหาแนวทางในการระงับข฾อพิพาทโดยสันติวิธี ดังนั้น จึงมีผู฾เสนอแนวทาง ในการจัดการข฾อพิพาทด฾วยการสร฾างกรอบความตกลงว฽าด฾วย “พื้นที่พัฒนาร฽วม (Joint Development Area - JDA)” ซึ่งที่ผ฽านมาประเทศทั้งหลายในอาเซียนก็ต฽างมีประสบการในการดําเนินงานผ฽านกรอบความร฽วมมือ ทํานองนี้มาแล฾ว และพิสูจนแได฾ว฽าเป็นแนวทางที่ประสบความสําเร็จได฾เป็นอย฽างดี ซึ่งประโยชนแประการแรกของ “พื้นที่พัฒนาร฽วม (Joint Development Area - JDA)” คือ การหลีกเลี่ยงความล฽าช฾าอันเกินควรที่เกิดจาก การหยุดชะงักระหว฽างการเจรจาทวิภาคี และ ประการที่ 2 คือ หลีกเลี่ยงการเสียโอกาสและงบประมาณที่ ค฽อนข฾างสูงซึ่งถูกนํามาใช฾เพื่อการจัดเวทีการเจรจา นอกจากนี้ พื้นที่พัฒนาร฽วมยังมีความยืดหยุ฽นในแง฽ของพื้นที่ ระยะเวลา และทรัพยากร หรือขั้นตอนการทํางาน ซึ่งสอดคล฾องกับ 74 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วย กฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 เกี่ยวกับการกําหนดขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะระหว฽างรัฐที่มีฝั่งทะเลตรงข฾ามหรือ ประชิดกัน ซึ่งกําหนดว฽า “การกําหนดขอบเขตของเขตเศรษฐกิจจําเพาะระหว฽างรัฐที่มีฝั่งทะเลตรงข฾ามหรือ ประชิดกัน ให฾กระทําโดยความตกลงบนมูลฐานของกฎหมายระหว฽างประเทศ..., เพื่อให฾บรรลุผลอันเที่ยง ธรรม”316 และตามข฾อ 74 (3) “ระหว฽างที่ยังไม฽บรรลุความตกลงตามที่กําหนดไว฾ในวรรค 1 รัฐที่เกี่ยวข฾องจะ พยายามทุกวิถีทางที่จะจัดทําข฾อตกลงชั่วคราวซึ่งมีลักษณะที่ปฏิบัติได฾ด฾วยเจตนารมณแแห฽งความเข฾าใจและ

316 “The delimitation of the exclusive economic zone between States with opposite or adjacent coasts shall be effected by agreement on the basis of international law …, in order to achieve an equitable solution.” มาตรา 74 (1) ของ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับปี 2525/1982, กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 34. 302

ความร฽วมมือกัน และในช฽วงระยะเวลานี้จะพยายามทุกวิถีทางที่จะไม฽ทําให฾เสื่อมเสียหรือขัดขวางการบรรลุ ความตกลงสุดท฾าย ข฾อตกลงเช฽นว฽าจะไม฽เป็นการเสื่อมเสียต฽อการกําหนดขอบเขตขั้นสุดท฾าย”317 อย฽างไรก็ตาม ในทางกลับกัน แม฾ว฽าการจัดตั้ง “พื้นที่พัฒนาร฽วม (Joint Development Area - JDA)” จะมีประโยชนแหลายประการ แต฽ก็เป็นเสมือนการนําเอาข฾อพิพาทเขตแดนนั้นๆ เก็บซ฽อนเอาไว฾ในลิ้นชัก เนื่องจากจะมีไม฽มีกระบวนการกําหนดเขตแดนทางทะเล (maritime boundary delimitation) ระหว฽าง ประเทศที่เกี่ยวข฾อง และเป็นที่ทราบดีว฽าแนวทางของ “พื้นที่พัฒนาร฽วม (Joint Development Area - JDA)” มักจะเป็นทางเลือกสุดท฾ายหากประเทศคู฽พิพาทไม฽สามารถบรรลุข฾อตกลงใดๆ และมีทีท฽าว฽าข฾อพิพาทนั้นอาจ นําไปสู฽การปะทะกันทางทหาร ดังนั้น เปูาหมายของการจัดการข฾อพิพาทเขตแดน คือ การระงับข฾อพิพาทอย฽าง สันติ ซึ่งแม฾ว฽า “พื้นที่พัฒนาร฽วม (Joint Development Area - JDA)” อาจจะทําให฾ฝุายหนึ่งฝุายใด เสียเปรียบ เนื่องจากหากมีการกําหนดเส฾นเขตแดนทางทะเลตามหลักกฎหมายระหว฽างประเทศแล฾ว ก็อาจทํา ให฾ความร฽วมมือ “พื้นที่พัฒนาร฽วม (Joint Development Area - JDA)” ไม฽สอดคล฾องกับหลัก “ผลอันเที่ยง ธรรม (equitable solution)” ตัวอย฽างเช฽น ในกรณีข฾อพิพาทแหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ระหว฽างมาเลเซียกับ อินโดนีเซีย โซระ โลกิตา (Sora Lokita) จากสํานักงานประสานงานแห฽งชาติเพื่อการสํารวจและจัดทําแผนที่ (National Coordinating Agency for Surveys and Mapping – BAKORSUTANAL) ของมาเลเซีย กล฽าว ว฽า ทั้งสองประเทศได฾กําหนดให฾มีการจัดการเจรจาทุกๆ 3 เดือน เริ่มตั้งแต฽ปี 2548/2005 ซึ่งชัดเจนว฽า กระบวนการเจรจานั้นอาจใช฾เวลายาวนาน ดังเช฽นกรณีการเจรจาเพื่อกําหนดเขตไหล฽ทวีประหว฽างอินโดนีเซีย กับเวียดนามใช฾เวลายาวนานถึง 25 ปี318 ซึ่งข฾อ 83 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 แสดงให฾เห็นว฽า “การกําหนดขอบเขตของไหล฽ทวีปที่มีฝั่งทะเลตรงข฾ามหรือประชิดกันจะกระทําโดยความตกลง ...”319 ซึ่งหมายความว฽า การเจรจาระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียเป็นไปตามข฾อกําหนดของอนุสัญญา สหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ทั้งอินโดนีเซียและมาเลเซียจะมีการเจรจาอย฽างต฽อเนื่อง เพื่อการ กําหนดเส฾นฐาน (baseline) ทะเลสุลาเวสี (Sulawesi) หรือ ทะเลเซเลเบส (Celebes) โดยทั้งสองประเทศมี หน฾าที่ที่จะต฾องกําหนดเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone – EEZ) และไหล฽ทวีป (Continental Shelf Boundary) ของตน หลังจากที่ทั้งสองประเทศมีข฾อตกลงร฽วมกันแล฾ว ก็จําเป็นที่จะต฾อง ส฽งสําเนาแผนที่ไปยังเลขาธิการสหประชาชาติ ตามข฾อกําหนดในข฾อ 84 ของ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วย กฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 (The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 – UNCLOS II) ปี 2525/1982 ซึ่งกําหนดว฽า “รัฐชายฝั่งจะต฾องเผยแพร฽แผนที่หรือรายการพิกัดทางภูมิศาสตรแเช฽นว฽านั้นให฾ ทราบตามสมควร และจะต฾องส฽งมอบแผนที่หรือรายการเช฽นว฽านั้นให฾เลขาธิการสหประชาชาติเก็บรักษาไว฾อย฽าง

317 “Pending agreement as provided for in paragraph 1, the states concerned, in a spirit of understanding and cooperation shall make every effort to enter into provisional arrangements of a practical nature and, during this transitional period, not to jeopardize or hamper the reaching of the final agreement. Such arrangements shall be without prejudice to the final delimitation.” Ibid. 318 Resistensia Kesumawardhani. Ibid, p.16. 319 “The delimitation of the continental shelf between States with opposite or adjacent coasts shall be effected by agreement….,” มาตรา 83 (1) ของ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับปี 2525/1982, กรมสนธิสัญญาและ กฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 39. 303

ละหนึ่งชุด และให฾เลขาธิการขององคแกรด฾วยในกรณีที่แผนที่หรือรายการนั้นแสดงเส฾นขอบเขตด฾านนอกของ ไหล฽ทวีป”320 ความกังวลเกี่ยวกับความมั่นคงทางพลังงานมีผลกระทบต฽อเส฾นเขตแดนทางทะเล และข฾อพิพาท เขตแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ซึ่งข฾อพิพาทแหล฽งน้ํามันอัมบาลัท (Ambalat Oil Block) ระหว฽างมาเลเซีย กับอินโดนีเซีย เกี่ยวข฾องโดยตรงกับคําตัดสินของศาลโลกในดคีข฾อพิพาทเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และ เกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan) เมื่อปี 2545/2002 แต฽ศาลก็ตัดสินโดยเปิดทางให฾การกําหนดเส฾นเขต แดนทางทะเลและไหล฽ทะทวีปต฾องกระทําบนพื้นฐานของหลักกฎหมายระหว฽างประเทศ และคําตัดสินของศาล ก็เกี่ยวข฾องโดยตรงกับข฾อ 83 ของอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล (UNLOSC) ซึ่งต฾องการให฾ “บรรลุผลอันเที่ยงธรรม (to achieve an equitable solution)” ดังนั้น ทั้งสองประเทศจะต฾องดําเนินการ กําหนดเขตแดนทางทะเล (maritime boundary) บนพื้นฐานของกฎหมายระหว฽างประเทศ เพื่อที่จะสามารถ ยุติข฾อพิพาทและบรรลุการแก฾ปัญหาอย฽างเป็นธรรม ดังที่ปรากฏใน ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) สนธิสัญญา มิตรภาพและความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) ปี 2519/1976 และตอกย้ําอีกครั้งใน ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน II (Declaration of ASEAN Concord II) ปี 2546/2003 ซึ่งเป็นกรอบข฾อตกลงที่สําคัญในการจัดการความสัมพันธแระหว฽าง ประเทศสมาชิกอาเซียน และยังเป็นจุดเริ่มต฾นของการสร฾างกรอบความร฽วมมือเพื่อการจัดข฾อพิพาทเขตแดนที่ เกิดขึ้นระหว฽างประเทศสมาชิกอาเซียนบนพื้นฐานของการไม฽แทรกแซงในกิจการภายใน การไม฽ใช฾กําลัง การ ระงับข฾อพิพาทโดยสันติวิธี และการเคารพในอธิปไตยและบูรณภาพแห฽งดินแดนของประเทศสมาชิก ซึ่ง หลักการเหล฽านี้ไม฽ได฾แตกต฽างไปจากหลักการด฾านความมั่นคงภายในของภูมิภาคอื่นทั่วโลก แต฽สิ่งที่ปรากฏเป็น รูปแบบเฉพาะของอาเซียน คือ หลักการทํางานร฽วมกันภายในภูมิภาคที่ให฾ความสําคัญกับ การเจรจา (dialogue) การทูตแบบเงียบ (quiet diplomacy) การหลีกเลี่ยงการเผชิญหน฾า (an avoidance of confrontation) การแสดงความเห็นด฾วยเพื่อไม฽เห็นด฾วย (agree to disagree) และการลดรูปแบบของการ เป็นสถาบันให฾น฾อยลง (minimal institutionalization) การประชุมทวิภาคีโดยเฉพาะอย฽างยิ่งแบบตัวต฽อตัว ระหว฽างผู฾นํา ยังคงเป็นสิ่งสําคัญในการสร฾างความไว฾วางใจระหว฽างกัน321 เพื่อให฾มีการประชุมระหว฽างผู฾นําที่ เกิดขึ้นโดยไม฽มีวาระการประชุมหรือล฽าม การดําเนินการในเชิงการทูตแบบเงียบ (quiet diplomacy) ถูก ออกแบบมาเพื่อจัดการความขัดแย฾ง เป็นลักษณะเฉพาะของวิถีอาเซียน หรือ ASEAN Way ซึ่งเป็นรูปแบบที่ไม฽ เป็นทางการในการเจรจา และในท฾ายที่สุด หากผู฾นําของชาติสมาชิกอาเซียนอยากให฾ภูมิภาคนี้เป็นภูมิภาคที่ สามารถจัดการกับปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างกันยุติลงได฾ จักต฾องมีวิสัยทัศนแที่กว฾างไกล และมอง ผลประโยชนแของผู฾คนท฾องถิ่นซึ่งอาศัยอยู฽บริเวณชายแดนซึ่งเป็นผู฾ได฾รับผลกระทบโดยตรงจากปฏิบัติการต฽างๆ ที่เกิดขึ้นจากส฽วนกลาง ซึ่งโดยมากมักจะอยู฽ห฽างไกลจากผลกระทบและความเดือดร฾อนที่เกิดขึ้นจากการปะทะ กันของกองกําลังติดอาวุธของทั้งสองฝุาย

320 “The coastal State shall give due publicity to such charts or lists of geographical coordinates and shall deposit a copy of each such chart or list with the Secretary-General of the United Nations and, in the case of those showing the outer limit lines of the continental shelf, with the Secretary-General of the Authority.” มาตรา 84 (2) ของ อนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมายทะเล ฉบับปี 2525/1982, กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. อ฾างแล฾ว, หน฾า 22. 321 Munmun Majumdar. “ASEAN and Conflict management in the Spratlys,” in Third Global International Studies Conference at University of Porto, Portugal (17-20 August 2011). เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EgJuTC 304

ดังนั้น จะเห็นได฾ว฽า ปัญหาข฾อพิพาทเขตแดนระหว฽างประเทศในอาเซียน ส฽งผลกระทบต฽อการขับเคลื่อน การรวมตัวเป็น “ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)” ไม฽มากก็น฾อย โดยเฉพาะประชาคมการเมือง และความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community - APSC) ซึ่งประเด็นที่สําคัญ คือ ผลประโยชนแที่ จะเกิดขึ้นท฽ามกลางความแตกต฽างหลากหลายของแนวคิดและอุดมการณแทางการเมือง และสํานึกของความเป็น รัฐชาติที่จําเป็นต฾องต฽อสู฾เพื่อให฾มีเส฾นแบ฽งอาณาเขต (boundary line) ที่ชัดเจน แต฽ในอีกแง฽หนึ่ง ข฾อพิพาทเขต แดนย฽อมเป็นอุปสรรคต฽อ “ประชาคมเดียวกัน” โดยเฉพาะการที่ยังคงมีปัญหาข฾อพิพาทเกี่ยวกับเขตแดน ระหว฽างประเทศต฽างๆ ในภูมิภาคอยู฽มาก แม฾ในปัจจุบัน กระแสโลกาภิวัตนแ (globalization) ก็ก฽อให฾เกิด แนวคิดเรื่อง “โลกไร฾พรมแดน (borderless world)” ส฽งผลให฾ “เส฾นเขตแดน (borderline)” ถูกลดความ ความสําคัญลงไป และดูเหมือนว฽าจะมีแนวคิดที่พยายามทําให฾เส฾นแบ฽งเขตแดนค฽อยๆ เปิดออก จนกระทั่ง หายไปหมดสิ้น ตัวอย฽างเช฽น ปรากฏการณแที่ประเทศต฽างๆ รวมตัวกันเป็น สหภาพยุโรป (European Union) ก็ทําให฾ทั้งโลกเห็นว฽า ประชากรของประเทศสมาชิกในกลุ฽มสหภาพยุโรป สามารถเดินทางข฾าม “เส฾นเขตแดน” ได฾อย฽างอิสระ อย฽างไรก็ตาม มีข฾อสังเกตสําคัญประการหนึ่งก฽อนที่พรมแดนทางกายภาพของรัฐชาติเหล฽านั้นจะ บรรลุภาวะ “ไร฾พรมแดน” ได฾นั้น ก็มีความจําเป็นอย฽างยิ่งที่จะต฾องมีกระบวนการกําหนดขอบเขตและขีดเส฾น เขตแดนให฾ชัดเจนเสียก฽อน หรือ อาจกล฽าวได฾โดยสรุปว฽า “Borderline before Borderless”

305

บรรณานุกรม

กรมชลประทาน. อภิธานศัพทแเทคนิคด฾านการชลประทานและการระบายน้ํา. กรุงเทพฯ: กรมชลประทาน, 2553. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1O4dhPl กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย, กระทรวงการต฽างประเทศ. หนังสืออนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วยกฎหมาย ทะเล 1982, พิมพแครั้งที่ 1 กันยายน 2548. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1KkOSmG และฉบับภาษาอังกฤษเข฾าถึงได฾จาก http://bit.ly/1dSph2X. กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. กฎบัติอาเซียน. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fY2hbM กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. บันทึกการเดินทางอาเซียน. กรุงเทพฯ: บริษัท วิธิตา แอนิเมชั่น จํากัด, 2552. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EO7nwx กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord)” หรือ ปฏิญญาบาหลี (Bali Concord). เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Sj4YQT กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. ปฏิญญาว฽าด฾วยความร฽วมมืออาเซียน II (The Declaration of ASEAN Concord II) หรือ ปฏิญญาบาหลี II (Bali Concord II) เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Dqauu1 กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. ปฏิญญาว฽าด฾วยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต฾ หรือ Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea – DOC. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1HrnSDG กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. ปฏิญญาอาเซียนว฽าด฾วยทะเลจีนใต฾. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1q2JD1C กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. ระเบียบขั้นตอนของคณะอัครมนตรีของสนธิสัญญามิตรภาพและ ความร฽วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1CzLrtF กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. รายงานของไทยเกี่ยวกับมุมมองความมั่นคงในภูมิภาค ประจําปี 2555 ในกรอบ ASEAN Regional Forum. พฤศจิกายน 2555. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึง จาก http://bit.ly/1NM8mT7 กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. สนธิสัญญามิตรภาพและความร฽วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต฾ (กันยายน 2554) เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1CzLrtF กรมองคแการระหว฽างประเทศ, กระทรวงการต฽างประเทศ. กฎบัตรสหประชาชาติ (ตุลาคม 2537) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Ld7F6p จันตรี สินศุภฤกษแ. “กรณีพิพาทหมู฽เกาะสแปรตลียแ: ทัศนะทางกฎมายและการเมือง,” ใน จุลสารความมั่นคง ศึกษา ฉบับที่ 127-128, สุรชาติ บํารุงสุข บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: โครงการความมั่นคงศึกษา จุฬาลงกรณแมหาวิทยาลัย, กรกฎาคม-สิงหาคม 2556. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2557 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fG8EjI

306

ชาญวิทยแ เกษตรศิริ. ประมวลสนธิสัญญา อนุสัญญา ความตกลง บันทึกความเข฾าใจ และแผนที่ ระหว฽างสยาม ประเทศไทยกับประเทศอาเซียนเพื่อนบ฾าน: กัมพูชา-ลาว-พม฽า-มาเลเซีย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการ ตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ, 2554. ถนอม เจริญลาภ. “เขตแดนทางทะเลกับเขตทางทะเล” ใน นาวิกศาสตรแ. ราชนาวิกสภา. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JfPOXx ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช. คําอธิบายกฎหมายระหว฽างประเทศ. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2555. ประศาสนแ ตั้งมติธรรม. “การกําหนด การปักปัน และ การเขียนเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ,” กรุงเทพธุกิจ, 3 กุมพาพันธแ 2557, เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1I0asjG แปลจาก Alec McEwen. “The Demarcation and Maintenance of International Boundaries,” A paper prepared for the Canadian Commissions of the Canada/United States International Boundary Commission (July 2002) ดู เอกสารต฾นฉบับภาษาอังกฤษได฾จาก http://bit.ly/1fzCZPY พนัส ทัศนียานนท. “ศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ (International Court of Justice) และ ศาลประจํา อนุญาโตตุลาการ (Permanent Court of Arbitration),” ใน ศาลโลก-ศาลประจําอนุญาโตตุลาการ กับ ข฾อพิพาทระหว฽างประเทศ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ, 2554. พินิจ ถาวรกุล. การอ฽านแผนที่และรูปถ฽ายทางอากาศ. กรุงเทพฯ: โรงเรียนแผนที่ กรมแผนที่ทหาร, 2523. พวงทอง ภวัครพันธุแ. “กรณีพิพาทระหว฽างมาเลเซียและสิงคโปรแ: กรณีหินสามก฾อน,” ใน อุษาคเนยแที่รัก. กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ศึกษา คณะศิลปศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2553. เพลินตา ตันรังสรรคแ. สรุปการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “กลไกระงับข฾อพิพาทของอาเซียนและกฎสําหรับการ เสนอเรื่องการไม฽ปฏิบัติตามให฾ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนตัดสิน” จัดโดย กรมอาเซียน กระทรวงการ ต฽างประเทศ วันอังคารที่ 24 มกราคม 2555/2012 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนดแ ถนนวิภาวดี กรุงเทพมหานคร. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (มี.ค.-เม.ย.2555) มัธยะ ยุวมิตร. การให฾สถานที่หลบภัยแก฽เรือที่ต฾องการความช฽วยเหลือ. วิทยานิพนธแนิติศาสตรแมหาบัณฑิต สาขากฎหมายการค฾าระหว฽างประเทศ คณะนิคิศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตแ, 2555. ยศพนธแ นิติรุจิโรจนแ. ปัญหาหมู฽เกาะสแปรตลี่ยแในกฎหมายระหว฽างประเทศ. วิทยานิพนธแนิติศาสตรแมหาบัณฑิต สาขากฎหมายระหว฽างประเทศ คณะนิติศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2555. ราชกิจจานุเบกษา. “ประกาศ เรื่อง ใช฾อนุสัญญากรุงเจนีวาว฽าด฾วยกฎหมายทะเล” เล฽มที่ 86 ตอนที่ 44 วันที่ 20 พฤษภาคม 2512. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EObU2c ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพทแภูมิศาสตรแ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ห฾างหุ฾นส฽วนจํากัด โรง พิมพแชวนพิมพแ, 2549. ราชบัณฑิตยสถาน. อักขรานุกรมภูมิศาสตรแไทย เล฽ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ห฾างหุ฾นส฽วนจํากัด อรุณการพิมพแ, 2545. ศรันยแ เพ็ชรแพิรุณ. สมุทรกรณี. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแ, 2549. สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เล฽มที่ 32 เรื่องที่ 5 เส฾นแบ฽งเขตแดนระหว฽างประเทศ, การแบ฽งเขตทางทะเล. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EsMyFA สิทธา เลิศไพบูลยแศิริ. “พรมแดนอินโดนีเซีย-มาเลเซีย: ความทับซ฾อนในจินตกรรมสู฽ความขัดแย฾งรูปธรรม,” ใน อุษาคเนยแที่รัก. กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ศึกษา คณะศิลปศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2553. 307

สุรชัย ศิริไกร. รายงานวิจัยเรื่องความขัดแย฾งระหว฽างจีน ไต฾หวัน เวียดนาม ฟิลิปปินสแ มาเลเซีย และบรูไน ใน การอ฾างกรรมสิทธิ์ทับซ฾อนเหนือหมู฽เกาะพาราเซล สแปรตลี่ และหมู฽เกาะอื่นๆ ในทะเลจีนใต฾. เสนอต฽อ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2544. สํานักข฽าวกรองแห฽งชาติ. “ฟิลิปปินสแจะยื่นเรื่องต฽อศาลระหว฽างประเทศกรณีพิพาทกับจีนเรื่องการอ฾าง กรรมสิทธิ์บริเวณทะเลจีนใต฾” (23 มกราคม 2556/2013) เข฾าถึงเมื่อ 16 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1SkKVTM เสาวนียแ แก฾วจุลกาญนแ. การอ฾างอธิปไตยเหนือเกาะลิกิตัน (Pulau Ligitan) และเกาะสิปาดัน (Pulau Sipadan): ศึกษาและวิเคราะหแจากคําพิพากษาศาลยุติธรรมระหว฽างประเทศ. วิทยานิพนธแนิติศาสตรแ มหาบัณฑิต สาขากฎหมายระหว฽างประเทศ คณะนิติศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ, 2552. Amer, Ramses. “Managing Border Disputes in Southeast Asia.,” in Journal of Malaysian Studies, Special Issue on Conflict and Conflict Management in Southeast Asia, (Kajian Malaysia XVIII (1-2), 2000), p. 40-43. เข฾าถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1NZgaku Amer, Ramses. “The Association of South-east Asian Nations and the Management of Territorial Disputes.” in IBRU Boundary and Security Bulletin Winter 2001-2002. เข฾าถึง เมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1V4Fkm4 Amer, Ramses. “The Association of Southeast Asian Nations‖ (ASEAN) Conflict Management Approach Revisited: Will the Charter Reinforce ASEAN‖s Role?” In Current Research on South-East Asia, เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JrGEao Andreas Harsono. “Miangas, Nationalism and Isolation,” Tempo Magazine, No.13/V/November 30 – December 6, 2004. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1F9IG0Z Artemio V. Panganiban. “Understanding the Sabah dispute,” Philippine Daily Inquirer, Saturday, March 2nd, 2013 เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1cdfPhr Asri Salleh, Che Hamdan Che Mohd Razali and Kamaruzaman Jusoff. “Malaysia‖s policy towards its 1963 - 2008 territorial disputes,” in Journal of Law and Conflict Resolution Vol. 1(5), October, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Qcka16 Baroto, A. “Similarities and Difference in Malaysia-Indonesia Relations: Some Perspectives,” in Indonesian Quarterly, XXI, 2. 1993. “Border issues between Malaysia, Brunei solved,” Xinhua. May 04, 2010. เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1h60d1j Brunei and Malaysia move toward land and maritime boundary settlement, March 17, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1FIPdjU Bunn Nagara, “Sipadan-Ligitan: Peaceful conclusion to a regional dispute,” in The Star, 18 December 2002. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1HkdHyJ Case Concerning Sovereignty Over Pualau Ligitan and Sipadan (Indonesia/Malaysia), Judgment of December 17, 2002. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1e7ChJu Chinese FM: Trust and co-op essential to COC, Xinhua, July 13, 2012. เข฾าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://on.china.cn/1NMd0Re

308

Chung, Christopher. The Spratly Island Dispute: Decision Units and Domestic Politics unpublished doctoral dissertation. New South Wales University, New South Wales: 2004. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JX7JYk Clive Schofield. “Why the world is wary of China‖s ―great wall of sand‖ in the sea,” in CNN, May 14, 2015. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://cnn.it/1GsSwKE Colonial Boundaries Act, July 6, 1895. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1HsBtZN Confirmatory Deed of 1903 เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1FLdG87 D. A. Colson & R. W. Smith (eds), International Maritime Boundaries Vol.VI The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 2011. Eric A. Posner and Miguel F. P. de Figueiredo, “Is the International Court of Justice Biased?” in Journal of Legal Studies, vol. 34 June 2005. เข฾าถึงเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึง จาก http://bit.ly/1hfYyqz Ewan W. Anderson, International Boundary: A Geopolitical Atlas. New York: Routledge, 2003. Grant by Sultan of Sulu of Territories and Lands on the Mainland of the Island of Borneo, January 22, 1878. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1AAimaM Grant by the Sultan of Brunei of Territories from the Paitan to Sibucco River, December 29, 1877. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1bsHObC Hafizah Kamaruddin, “Malaysia-Brunei Boundary Issues Formalised,” Bernama. Malaysian National News Agency, March 16, 2009. International Court of Justice, Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Memorial of Malaysia Volume 1 (2 November 1999) เข฾าถึง เมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1CC99W6 International Court of Justice, Case concerning the Land, Island and Maritime Frontier Dispute (El Salvador/Honduras: Nicaragua intervening) (El Salvador v. Honduras), Judgment of 11 September 1992. เข฾าถึงเมื่อ 19 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1LnIjR8 International Court of Justice, Application for Permission to Intervene by the Government of the Philippines file in the Registry of Court on 13 March 2001, Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia) เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JHZro6 International Court of Justice, Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore), Judgment of 23 May 2008 (Report of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 23 May 2008), p. 22. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Nu5VYs International Court of Justice, Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Judgment of 17 December 2002 (Report of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 17 December 2002), pp. 627, 629. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1e7ChJu International Court of Justice, Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore), Judgment of 23 May 2008 (Report 309

of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 23 May 2008), pp. 101-102. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Nu5VYs International Court of Justice, Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Observations of Malaysia on the Application for Permission to Intervene by the Government of the Republic of the Philippines, 2 May 2001. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1I1151s International Court of Justice, Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Observations of the Government of the Republic of Indonesia on the Philippines‖s Application for Permission to Intervene, 2 May 2001. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1K6bbgX International Court of Justice, Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore) เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1cXdOpw International Court of Justice, Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia) เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1IIwCoK International Court of Justice, Special Agreement for Submission to the International Court of Justice of the Dispute between Indonesia and Malaysia Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan, jointly notified to the Court on 2 November 1998. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1TAGrsN International Court of Justice, Special Agreement for Submission to the International Court of Justice of the Dispute between Malaysia and Singapore Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge, jointly notified to the Court on 24 July 2003. เข฾าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JdOXcK International Court of Justice, Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia), Application by the Philippines for Permission to Intervene, Judgement of 23 October 2001 (Report of Judgments, Advisory Opinions and Orders, 23 October 2001), p. เข฾าถึง เมื่อ 30 พฤษภาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JtrA0f Jean Magdaraog Cordero, Territorial dispute over Sabah resurfaces, February 28, 2013. เข฾าถึง เมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Qf3Ezh John G. Bucher. “The International Court of Justice and the Territorial Dispute between Indonesia and Malaysia in the Sulawesi Sea,” in Contemporary Southeast Asia Vol.35 No.2 (2013) Jonathan I. Charney, Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.I The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 1993, 1996. Jonathan I. Charney and Lewis M. Alexander. International Maritime Boundaries Vol.III The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 2004. Jon M. Van Dyke. “An Analysis of the Aegean Dispues Ynder International Law,” Ocean Development and International Law 63, 2005. 310

Jon M. Van Dyke. “Disputes Over Islands and Maritime Boundaries in East Asia,” in Maritime Boundary Disputes, Settlement Processes, and the Law of the Sea. Leiden, Boston: Martinus Nijhoff Publishers, 2009. Jon M. Van Dyke & Dale L. Bennett. “Islands and the Delimitation of Ocean Space in the South China Sea,” in Ocean Yearbook 10, 1993. Khan, Daniel-Erasmus. Max Huber as Arbitrator: The Palmas (Miangas) Case and Other Arbitrations. The European Journal of International Law Vol. 18 No.1, 2007. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1cqr1XD Knight, W. Andy. “The United Nations and International Security in the New Millennium.” Perspectives on Global Development and Technology. Vol. 4 (3-4). 2005. Koh, Tommy and Jolene Lin. “The Land Reclamation Case: Thoughts and Reflections,” Singapore Year Book of International Law and Contributors Vol. X 10 SYBL, 2006. เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Lsh4ov Kriangsak Kittichaisaree. The Law of the Sea and Maritime Boundary Delimitation in South- East Asia. Oxford New York: Oxford University Press, 1987. Kurt Taylor Gaubatz, The Island of Palmas: Abridgement and Notes. Scott: Hague Court Reports, 1932. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Hd2NO9 Leong Shen Li. “Brunei drops claim over Limbang district, says Abdullah,” The Star Online, Friday March 20, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EOFnvU Leong Shen Li, “Brunei drops claim over Limbang in Sarawak,” The Star, March 16, 2009. Lina Puryanti., and Sarkawi B. Husain. “A people-state negotiation in a borderland: A Case Study of the Indonesia-Malaysia Frontier in Sebatik Island,” in Wacana Vol.13 No.1, April 2011. เข฾าถึงเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1hBqCEQ Macaskie judgement, “Should Malaysia Stop the Annual Cession Money?,” March 17, 2013. เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1GVmib2 Madrid Protocal หรือ British North Norneo, March 7, 1885. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1JlH7g3 Mark J. Valencia. “The Spratly Islands: Dangerous Ground in the South China Sea” in Pacific Review 1, 1988. Mingjiang Li. การจัดการด฾านความมั่นคงในทะเลจีนใต฾: จาก DOC ถึง COC. (แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษแ) The South China Sea. Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 15 (March 2014). เข฾าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1V081jS Minister: Miangas Island belongs to Indonesia. TMC News, February 12, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fY2P1h Ministry of Foreign Affairs, Socialist Republic of Vietnam. “Vietnam, Cambodia push for border security,” 2009. เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1LBn1k7

311

Ministry of Foreign Affairs, Socialist Republic of Vietnam. “Preparations for Vietnam-Laos border landmark upgrade,” 2008. เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1KTeYfv Mira Rapp-Hooper. “Before and After: The South China Sea Transformed,” in Asia Maritime Transparency Initiative. February 18, 2015 เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/17R5O6S Munmun Majumdar. “ASEAN and Conflict management in the Spratlys,” in Third Global International Studies Conference at University of Porto, Portugal (17-20 August 2011). เข฾าถึงเมื่อ 12 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EgJuTC No.8029 Manila Accord ลงนามเมื่อ 31 กรกฎาคม 2506/1963, Manila Declaration ลงนามเมื่อ 3 สิงหาคม 2506/1963 และ Joint Statement ลงนามเมื่อ 5 สิงหาคม 2506/1963 ใน United Nations – Treaty Series 1965, pp.344 – 360. เข฾าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1QfPhdV Nurbaiti Hamdan, “Limbang border to be set,” The Star Online. Friday March 20, 2009 เข฾าถึง เมื่อ 23 เมษายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1K3SVn2 Pan Shiying, South China Sea and the International Practice of the Historic Title. Paper delivered to American Enterprise Institute Conference on the South China Sea, September 7-9, 1994. Pan Shiying, The Nansha Islands: A Chinese Point of View, Window. Hong Kong: Sept. 3, 1993. Permanent Court of Arbitration. Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore). Award on Agreed Terms (September 1, 2005) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Cp1Lrp Permanent Court of Arbitration. Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore) (Past Cases) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1N1COIn Permanent Court of Arbitration. Land Reclamation by Singapore in and around the Straits of Johor (Malaysia v. Singapore). Press release (January 14, 2005) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1IuGWgv Permanent Court of Arbitration. “The Island of Palmas Case (or Miangas) United States of America v. The Netherlands,” Award of the Tribunal. The Hague: April 4, 1928. เข฾าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1WMWvKN Permanent Court of Arbitration. The Republic of the Philippines v. The People's Republic of China, Pending Cases เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Iaj4TE Prescott, J.R.V Maritime Jurisdiction in Southeast Asia: Commentary and Map. Honolulu: East-West Center, 1981. Prescott, J.R.V. The Geography of Frontier and Boundaries. London: Hutchinson University Library, 1965. Prescott, J.R.V. and Boyes, G., “Undelimited Maritime Boundaries in the Pacific Ocean Excluding the Asian Rim,” in Maritime Briefing Vol.2 No.8 Durham: International Boundaries Research Unit, 2000. 312

Prescott, J.R.V., H. J. C., D.F. Prescott, Frontiers of Asia and Southeast Asia. Vitoria: Melbourne University Press, 1977. “Private Mapmaker Suspected in Border Blunder,” The Jakarta Post, 14 February 2009. เข฾าถึง เมื่อ 23 ตุลาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1LfotJB Renate, Haller-Trost. “The Territorial Dispute between Indonesia and Malaysia over Pulau Sipadan and Pulau Ligitan in the Celebes Sea: A Study in International Law,” Boundary and Territory Briefing Vol.2 No.2. Department of Geography, University of Durham, 1995. Report of the Commission of Enquiry, North Borneo and Sarawak, 1962. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1RwVw0Y Resistensia Kesumawardhani, “Dispute between Indonesia – Malaysia over Ambalat Block,” in Journal of Yuridika Vol.23 No.3, 2008. เข฾าถึงเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1GgUejP Roberto Tofani. “Legality waves lap South China Sea,” Asia Times Online, February 8, 2013. เข฾าถึงเมื่อ 16 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1hBso97 Simon Denyer. “U.S. Navy alarmed at Beijing‖s ―Great Wall of sand‖ in South China Sea,” in The Washington Post, April 1, 2015. เข฾าถึงเมื่อ 17 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://wapo.st/1Mz6q43 Sovereignty Over Pualau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia v. Malaysia) (Permission to intervene by the Philippines), Judgment of October 23, 2001. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1MGMl9A Steven Kuan-Tsyh Yu, “Who Owns the Paracels and Spratlys? An Evaluation of the Nature and Legal Basis of the Conflicting Territorial Claims,” in Fishing in Troubled Waters: Proceeding of an Academic Conference on Territorial Claims in the South China Sea. R. D. Hill, Norman G. Owen and E.V Roberts, eds., Hong Kong: Centre of Asian Studies, University of Hong Kong, 1991. Strachan, Anna Louise. “Resolving Southeast Asian Territorial Disputes: A Role for the ICJ,” Institute of Peace and Conflict Studies (IPCS), New Delhi. IPCS Issue Brief No.133 October 2009. เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1FX3sDn UNEP, Global Environmental Alert Service (GEAS). “Thematic focus: Ecosystem management, Environmental governance, Resource efficiency,” (March 2014) เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1uqsYFH United Nations Malaysia Mission Report, “Final Conclusions of the Secretary-General,” 14 September 1963, เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Pi8rgP United Nations, Treaty Series Vol.299 (Treaties and international agreements registered or filed and recorded with the Secretariat of the United Nations. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1CC0frC

313

U.S. Department of State, Office of the Geographer. Burma – Laos Boundary. International Boundary Study, No.33 of June 18, 1964. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1OaEtwj U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Laos Boundary. International Boundary Study, No.32 of June 12, 1964. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1WMTc69 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Cambodia – Vietnam Boundary International Boundary Study, No.155 of March 5, 1976. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1V2hsPY U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Boundary. International Boundary Study, No.45 of March 15, 1965. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://fla.st/1CC6xYt U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Continental Shelf Boundary. International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.1 of January 21, 1970. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1hThUBN U.S. Department of State, Office of the Geographer. Indonesia – Malaysia Territorial Sea Boundary International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.50 of January 10, 1973. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1Ed73gj U.S. Department of State, Office of the Geographer. Laos – Vietnam Boundary. International Boundary Study, No.35 (revised) of June 3, 1966. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึง จาก http://fla.st/1f0bfE2 U.S. Department of State, Office of the Geographer. Straight Baselines Indonesia. International Boundary Study, Series A, Limits in the Seas, No.35 of July 20, 1971. เข฾าถึง เมื่อ 20 กันยายน 2556 เข฾าถึงจาก U.S. Department of State, Office of the Geographer. Territorial Sea Boundary: Indonesia- Singapore. International Boundary Study Limits in the Seas No.60, November 11, 1974. เข฾าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1LasWvi “Win-win situation for Brunei and Malaysia,” The Star Online, March 17, 2009. เข฾าถึงเมื่อ 23 เมษายน 2555/2012 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1bSgFj0 Wong, M.P., Sipadan: Borneo‖s Underwater Paradise. Singapore: Odyssey Publishing, 1991. Yann-huei Song, The Issue of Historic Waters in the South China Sea Territorial Sea Dispute. Paper delivered to the American Enterprise Institute Conference on the South China Sea, September 7-9, 1994. Ying Cheng Kiang, China‖s Boundaries. Northeastern Illinois University Institute of China Studies, 1984.

314

ภาคผนวก

315

ภาคผนวก 1 ค าแปลภาษาไทย ปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ปฏิญญากรุงเทพ) รับรองโดยรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศในการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ณ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510/1967322

รัฐมนตรีฝุายการเมือง/รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศอินโดนีเซีย รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศฟิลิปปินสแ รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศสิงคโปรแและ รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศไทย ระลึกว่า มีผลประโยชนแและมีปัญหาร฽วมกันอยู฽ในบรรดาประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ และเชื่อมั่นว฽า มีความจําเป็นที่จะกระชับเกลียวสัมพันธแของความเป็นปึกแผ฽นและความร฽วมมือภูมิภาคให฾แน฽นแฟูนยิ่งขึ้น ปรารถนา ที่จะก฽อตั้งรากฐานอันมั่นคง เพื่อกระทําการร฽วมกันในอันที่จะส฽งเสริมความร฽วมมือในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ด฾วยเจตนารมณแแห฽งความเสมอภาคและร฽วมมือร฽วมใจ และโดยประการนั้นก็จะช฽วย ให฾มีสันติภาพ ความก฾าวหน฾า และความเจริญรุ฽งเรืองในภูมิภาค ตระหนักว่า ในโลกที่ต฾องพึ่งพาอาศัยกันยิ่งขึ้นนี้ อุดมการณแอันพึงเทิดทูนเพื่อสันติภาพ เสรีภาพ ความ ยุติธรรมทางสังคม และความผาสุกในทางเศรษฐกิจจะบรรลุผลอย฽างดียิ่งได฾ โดยการเสริมสร฾างความเข฾าใจอันดี ความเป็นเพื่อนบ฾านที่ดี และความร฽วมมืออย฽างจริงจังในบรรดาประเทศในภูมิภาคซึ่งมีสายสัมพันธแในทาง ประวัติศาสตรแและวัฒนธรรมต฽อกันอยู฽แล฾ว พิจารณาเห็นว่า ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾มีความรับผิดชอบร฽วมกันในอันดับแรก ที่จะสร฾าง เสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมระดับภูมิภาคให฾มั่นคงและจัดหลักประกันการพัฒนาประเทศ ดําเนิน ไปโดยสันติและก฾าวหน฾า และเห็นว฽าประเทศเหล฽านี้มีความตั้งใจแน฽วแน฽ที่จะให฾เสถียรภาพและความมั่นคงของ ตนพ฾นการแทรกแซงจากภายนอก ไม฽ว฽าในรูปหรือลักษณะใด ทั้งนี้เพื่อที่จะธํารงรักษาไว฾ซึ่งลักษณะความเป็น ชาติของแต฽ละประเทศ ตามอุดมการณแและความมุ฽งปรารถนาของประชาชนของตน ยืนยันว่า ฐานทัพต฽างชาติทั้งมวลที่มีอยู฽เป็นการชั่วคราว และคงอยู฽ได฾ก็โดยความเห็นพ฾องที่แสดงออก โดยชัดแจ฾งของประเทศที่เกี่ยวข฾องเท฽านั้น และมิได฾มุ฽งหมายที่จะให฾ใช฾โดยทางตรงหรือทางอ฾อม เพื่อบ฽อน ทําลายเอกราชของชาติ และอิสรภาพของรัฐต฽างๆ ในอาณาบริเวณนั้น หรือทําให฾กระบวนการพัฒนาประเทศ ต฾องเสื่อมเสียผันแปรไป จึงประกาศ ณ ที่นี้ว่า ประการที่หนึ่ง ให฾ก฽อตั้งสมาคมสําหรับความร฽วมมือระดับภูมิภาคระหว฽างประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾ เรียกว฽า สมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ (อาเซียน) ประการที่สอง จุดหมายและความมุ฽งประสงคแของสมาคม คือ

322 กรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. บันทึกการเดินทางอาเซียน (กรุงเทพฯ: บริษัท วิธิตา แอนิเมชั่น จํากัด, 2552), หน฾า 5-7. เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1EO7nwx หรือเข฾าถึงต฾นฉบับภาษาอังกฤษ ได฾ที่ The ASEAN Declaration (Bangkok Declaration) Adopted by the Foreign Ministers at the 1st ASEAN Ministerial Meeting in Bangkok, Thailand on 8 August 1967 จาก เอกสารสําคัญอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการ ต฽างประเทศ เข฾าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2556/2013 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1CS1zXg 316

1. เพื่อเร฽งรัดความเจริญทางเศรษฐกิจ ความก฾าวหน฾าทางสังคมและการพัฒนาทางวัฒนธรรมในภูมิภาค โดยความเพียรพยายามร฽วมกัน ด฾วยเจตนารมณแแห฽งความเสมอภาคและความร฽วมมือร฽วมใจ ทั้งนี้ เพื่อเสริม รากฐานสําหรับประชาคมที่มีความรุ฽งเรืองและสันติสุขแห฽งประชาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ 2. เพื่อส฽งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค โดยเคารพอย฽างแน฽วแน฽ในความยุติธรรมและหลักนิติธรรม ในการดําเนินความสัมพันธแระหว฽างประเทศในภูมิภาคและยึดมั่นในหลักการแห฽งกฎบัตรสหประชาชาติ 3. เพื่อส฽งเสริมให฾มีความร฽วมมืออย฽างจริงจัง และความช฽วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องที่มีผลประโยชนแ ร฽วมกันทางด฾านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตรแ และการบริหาร 4. เพื่อให฾มีความช฽วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปแบบของการอํานวยความสะดวกในด฾านการฝึกอบรมและ การวิจัยทางด฾านการศึกษา วิชาชีพ วิชาการเทคนิค และการบริหาร 5. เพื่อร฽วมมืออย฽างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในการใช฾ประโยชนแด฾านการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การขยายการค฾า รวมทั้งการศึกษาปัญหาในเรื่องการค฾าระหว฽างประเทศเกี่ยวกับโภคภัณฑแ การปรับปรุงบริการ ความสะดวกเกี่ยวกับการขนส฽งและคมนาคม และการยกระดับการครองชีพของประชาชนของตน 6. เพื่อส฽งเสริมการศึกษาเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ 7. เพื่อธํารงความร฽วมมืออย฽างใกล฾ชิดกับองคแการระหว฽างประเทศและระดับภูมิภาคที่มีความมุ฽งหมายและความ มุ฽งประสงคแคล฾ายคลึงกัน และที่จะแสวงหาลู฽ทางทั้งหลายเพื่อให฾มีความร฽วมมืออย฽างใกล฾ชิดขึ้นระหว฽างกัน ประการที่สาม เพื่อดําเนินการให฾เป็นไปตามจุดหมายและความประสงคแดังกล฽าวจึงได฾จัดตั้งกลไก ดังต฽อไปนี้ ก) การประชุมประจําปีของรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ ซึ่งจะหมุนเวียนกันไป และเรียกว฽า การประชุมรัฐมนตรีสมาคมประชาชาติแห฽งเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ การประชุมพิเศษของรัฐมนตรีว฽าการ กระทรวงการต฽างประเทศอาจมีขึ้นตามความจําเป็น ข) คณะกรรมการประจํา โดยมีรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศของประเทศเจ฾าภาพ หรือผู฾แทนเป็น ประธาน และมีสมาชิกประกอบด฾วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอื่นที่ประจําอยู฽ในประเทศนั้นเป็น ผู฾ดําเนินการของสมาคม ในระยะเวลาระหว฽างการประชุมรัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศแต฽ละครั้ง ค) คณะกรรมการเฉพาะกิจ และคณะกรรมการถาวร ประกอบด฾วยผู฾เชี่ยวชาญและเจ฾าหน฾าที่ในแต฽ละเรื่อง ง) สํานักเลขาธิการแห฽งชาติในแต฽ละประเทศสมาชิก เพื่อดําเนินงานของสมาคมในนามของประเทศนั้น และเพื่อจัดการประชุมประจําปี หรือการประชุมพิเศษของรัฐมาตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ คณะกรรมการประจําและคณะกรรมการอื่นๆ ซึ่งอาจจัดตั้งขึ้นภายหลัง ประการที่สี่ สมาคมจะเปิดให฾รัฐทั้งมวลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ซึ่งยอมรับจุดหมายหลักการ และความมุ฽งประสงคแดังกล฽าวเข฾าร฽วมด฾วย ประการที่ห้า สมาคมเป็นสัญลักษณแของความตั้งใจร฽วมกันของประชาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ ใน อันที่จะสมานความสัมพันธแฉันมิตร และความร฽วมมือกัน จะเพียรพยายามร฽วมกัน และเสียสละเพื่อให฾ ประชาชนของตนและอนุชนได฾รับประสาทพรแห฽งสันติภาพ เสรีภาพ และความเจริญรุ฽งเรือง

ท าขึ้น ณ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 (ค.ศ.1967) สําหรับสาธารณรัฐอินโดนีเซีย อาดัม มาลิค รัฐมนตรีฝุายการเมือง/รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ สําหรับมาเลเซีย ตุน อับดุล ราซัค รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงกลาโหม และกระทรวงพัฒนาการแห฽งชาติ สําหรับสาธารณรัฐฟิลิปปินสแ นารแซิโซ รามอส รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ สําหรับสาธารณรัฐสิงคโปรแ เอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ สําหรับราชอาณาจักรไทย ถนัด คอมันตรแ รัฐมนตรีว฽าการกระทรวงการต฽างประเทศ 317

ภาคผนวก 2 แสดงวันเอกราช/วันชาติ วันที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนและองค์การสหประชาชาติของประเทศอาเซียน

ประเทศ วันเอกราช/วันชาติ วันเข้าอาเซียน วันเข้าสหประชาชาติ บรูไน 23 กุมภาพันธแ 7 มกราคม 21 กันยายน 2527/1984 2527/1984 2527/1984 กัมพูชา 9 พฤศจิกายน 9 เมษายน 14 ธันวาคม 2498/1955 2496/1953 2542/1999 ประกาศรับเขตอํานาจศาลโลก 19 กันยายน 2500/1957323 อินโดนีเซีย 17 สิงหาคม 8 สิงหาคม 28 กันยายน 2493/1950 2488/1945 2510/1967 แต฽มีจดหมายลงวันที่ 20 มกราคม 2508/1965 ตัดสินใจ ถอนตัว (withdraw) ออกจากการเป็นสมาชิก แต฽ต฽อมา ได฾ส฽งโทรเลขลงวันที่ 19 กันยายน 2509/1966 เพื่อ ขอกลับคืน (resume) สมาชิกสภาพ และในวันที่ 28 กันยายน 2509/19666 สมัช ช าใหญ฽แห฽ง สหประชาชาติ(General Assembly) มีมติรับรองให฾ที่ นั่งแก฽ผู฾แทนอินโดนีเซีย ลาว 2 ธันวาคม 23 กรกฎาคม 14 ธันวาคม 2498/1955 2518/1975 2540/1997 มาเลเซีย 31 สิงหาคม 8 สิงหาคม 17 กันยายน 2500/1957 สหพันธรัฐมาลายา 2500/1957 2510/1967 (Federation of Malaya) เข฾าเป็นสมาชิก แต฽ต฽อมา วันที่ 16 กันยายน 2506/1963 เปลี่ยนชื่อเป็น สหพันธรัฐมาเลเซีย(Federation of Malaya) ซึ่ง ประกอบด฾วยดินแดนสหพันธรัฐมาลายา (Federation of Malaya) สิงคโปรแ ซาบาหแ (Sabah) หรือ บอรแเนียวเหนือ (North Borneo) และซาราวัก (Sarawak) และวันที่ 9 สิงหาคม 2508/1965 สิงคโปรแได฾แยกตัวเป็นเอกราช และเข฾าเป็นสมาชิก สหประชาชาติในวันที่ 21 กันยายน 2508/1965 พม฽า 4 มกราคม 23 กรกฎาคม 19 เมษายน 2481/1948 2491/1948 2540/1997 ฟิลิปปินสแ 4 กรกฎาคม 8 สิงหาคม 24 ตุลาคม 2488/1945 2489/1946 2510/1967 ประกาศยอมรับเขตอํานาจศาลโลก 18 มกราคม 2515/1972324

323 Declarations recognizing as compulsory the jurisdiction of the International Court of Justice under Article 36, paragraph 2, of the Statute of the Court. เข฾าถึงเมื่อ 22 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1eDTn2v 324 Ibid. 318

ประเทศ วันเอกราช/วันชาติ วันเข้าอาเซียน วันเข้าสหประชาชาติ สิงคโปรแ 9 สิงหาคม 8 สิงหาคม 21 กันยายน 2508/1965 2508/1965 2510/1967 ไทย 24 มิถุนายน 8 สิงหาคม 16 ธันวาคม 2489/1946 2475/1932 2510/1967 5 ธันวาคม 2503/1960 เวียดนาม 2 กันยายน 28 กรกฎาคม 20 กันยายน 2520/1977 2488/1945 2538/1995 30 เมษายน 2518/1975

* ติมอรแ-เลสเต (Timor-Leste) เข฾าเป็นสมาชิกวันที่ 27 กันยายน 2545/2002 และประกาศยอมรับเขต อํานาจศาลโลกวันที่ 21 กันยายน 2555/2012

ที่มา: United Nations. Member States, Growth in United Nations membership 1945-present เข฾าถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2558/2015 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1Ly0RA3

319

ภาคผนวก 3 แสดงรายชื่อผู้พิพากษาในคดีพิพาทเขตแดนระหว่างประเทศอาเซียน ณ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice – ICJ) หรือ ศาลโลก

เกาะลิกิตัน (Ligitan)-สิปาดัน (Sipadan) ข้อพิพาทหิน 3 ก้อน คดีตีความปราสาทพระวิหาร 2541-2545/1998-2002 (4 ปี) 2546-2551/2003-2008 (5 ปี) 2544-2546/2011-2013 (2 ปี) มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย กัมพูชา ไทย เห็นพ฾อง 15 เห็นต฽าง 1 เห็นพ฾อง 12/15/15 เห็นต฽าง 4/1/1 เห็นพ฾อง 16 เสียง 0 ข้อ 1 (12 เสียง) (4 เสียง) Guillaume1 Franck* Guillaume1 Shi2 Shi2 Dugard* Greenwood Ranjeva3 Ranjeva3 Simma Donoghue Koroma4 Koroma4 Bhandari Parra-Aranguren5 Parra-Aranguren5 Yusuf Buergenthal6 Buergenthal6 Xue Herczegh Owada7 Owada7 Vereshchetin Tomka8 Tomka8 Higgins Keith9 Keith9 Oda Sepúlveda-Amor10 Sepúlveda-Amor10 Kooijmans Bennouna11 Bennouna11 Rezek Skotnikov12 Skotnikov12 Al-Khasawneh Sreenivasa Rao* Abraham13 Abraham13 Fleischhauer Al-Khasawneh Sebutinde Elaraby Gaja Weeramantry ข้อ 2 (15 เสียง) Sreenivasa Rao* Cançado Trindade ข้อ 3 (15 เสียง) Parra-Aranguren5 Cot * ผู฾พิพากษาเฉพาะคดี (judge ad hoc) ที่มา: รวบรวมจาก 3 คดี ในศาลโลก (International Court of Justice)325

325 Case Concerning Sovereignty over Pulau Ligitan and Pulau Sipadan (Indonesia/Malaysia). Ibid, p. 686; Case Concerning Sovereignty over Pedra Branca/Pulau Batu Puteh, Middle Rocks and South Ledge (Malaysia/Singapore). Ibid, pp. 101-102; Request for Interpretation of the Judgment of 15 June 1962 in the Case Concerning the Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand). Ibid, p. 318. 320

ภาคผนวก 4 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ของประเทศต่างๆ ในอาเซียน (ยกเว้นลาว พม่า และไทย)

ประเทศ เมื่อ การด าเนินการ บรูไน กุมภาพันธแ ประกาศทะเลอาณาเขต (Territorial Water Enactment) 12 ไมลแทะเล 2526/1983 กัมพูชา กรกฎาคม พระราชกฤษฎีกา (Decree of the Council of State) ประกาศทะเลอาณาเขต 12 ไมลแทะเล โดย 2525/1982 ต฾องการการรับรองจากต฽างประเทศเพื่อให฾มีผลเป็นที่ยอมรับ แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและยืนยัน อีกครั้งในปี 2529/1986, 2532/1989, 2535/1992 จนถึงปี 2538/1995, 2542/1999, และปี 2553/2010 (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1KqAWYK) อินโดนีเซีย กรกฎาคม ข฾อบังคับหมายเลข 8 (Regulation No. 8) โดยเรือรบต฽างชาติและเรืออื่นที่ไม฽ใช฽เรือเพื่อ 2505/1962 การค฾าต฾องได฾รับอนุญาตก฽อนเข฾าไปในทะเลอาณาเขต แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและยืนยันอีกครั้งในปี 2535/1992, 2536/1993, 2543/2000, 2544/2001, 2546/2003, 2547/2004, 2554/2011 และ 2555/2012

สิงหาคม พระราชบัญญัติหมายเลข 6 (Act No. 6) ประกาศทะเลอาณาเขต 12 ไมลแทะเล (เข฾าถึง 2539/1996 เอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1HItAkI) มาเลเซีย สิงหาคม คําสั่งหมายเลข 7 (Ordinance No.7) ประกาศทะเลอาณาเขต 12 ไมลแทะเล (เข฾าถึง 2512/1969 เอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1JSXbYO)

ตุลาคม เอกสารเงื่อนไข (Declaration Upon Ratification) ในอนุสัญญญาสหประชาชาติว฽าด฾วย 2539/1996 กฎหมายทะเลฉบับที่ 2 ปี 2525/1982 (UNCLOS II) แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและ ประท฾วงในปี 2540/1997 โดยยืนยันอีกครั้งในปี 2556/2013 ฟิลิปปินสแ มิถุนายน สาธารณรัฐบัญญัติหมายเลข 3046 (Republic Act No.3046) ประกาศทะเลอาณาเขต 2504/1961 จนถึงระยะ 285 ไมลแทะเล โดยมีการแก฾ไขในปี 2552/2009 ซึ่งอ฾างสิทธิ์ประวัติศาสตรแตาม สนธิสัญญาปารีส (2441/1898) สนธิสัญญาอเมริกา-สเปน (2443/1900) และสนธิสัญญา อเมริกา-อังกฤษ (2473/1930) (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1JT0Zco) แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงในปี 2504/1961, 2512/1969 และปี โดยยืนยัน อีกครั้งในปี จนถึงปี 2539/1996, 2544/2001 จนถึงปี 2550/2007 และปี 2555/2012 จนถึงปี 2556/2013

มกราคม รัฐธรรมนูญ มาตรา 1 อ฾างสิทธิ์น฽านน้ําที่อยู฽ “โดยรอบ, ระหว฽าง และเชื่อมต฽อเกาะต฽างๆ” 2516/1973 เป็นทะเลอาณาเขต (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1JT0VcG)

เมษายน สาธารณรัฐบัญญัติหมายเลข 9522 (Republic Act No.9522) ประกาศทะเลอาณาเขต 2552/2009 มากกว฽า 12 ไมลแทะเล (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1i81JzU)

321

ประเทศ เมื่อ ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) สิงคโปรแ 2421/1878 พระราชบัญญัติเขตอํานาจทะเลอาณาเขต (Territorial Waters Jurisdiction Act) ประกาศ 3 ไมลแ ทะเล โดยอังกฤษ (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1Go4Uf5)

พฤษภาคม อาณาเขตทางทะเล หมายเลข 1485 (No. 1485-Singapore Maritime Zones) ประกาศทะเลอาณา 2551/2008 เขต 12 ไมลแทะเล (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1GIbO1V) เวียดนาม มกราคม พระราชกฤษฎีกาหมายเลข 30/C (Decree No. 30/C) ประกาศทะเลอาณาเขต 12 ไมลแ 2523/1980 ทะเล โดยเรือรบต฽างชาติต฾องขออนุญาตก฽อนเข฾าไปในทะเลอาณาเขตและเขตต฽อเนื่อง ล฽วงหน฾า 30 วัน โดยจํากัดจํานวนเรือรบไม฽เกินครั้งละ 3 ลํา และต฾องปลดอาวุธก฽อนเข฾าใน บริเวณดังกล฽าวทุกครั้ง แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงในปี 2525/1982 โดยยืนยันอีกครั้งในปี 2525/1982, 2526/1983, 2528/1985, 2529/1986, 2531/1988 จนถึงปี 2545/2002 และปี 2553/2010 จนถึงปี 2555/2012

มิถุนายน กฎหมายทะเลเวียดนาม (Law of the Sea of Vietnam) ประกาศทะเลอาณาเขต 12 2555/2012 ไมลแทะเล โดยเรือของกองทัพต฽างๆ ที่จะผ฽านทะเลอาณาเขตของเวียดนามต฾องแจ฾งให฾ ทางการเวียดนามอนุญาตก฽อนทุกครั้ง แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงในปี 2556/2013 โดยยืนยันอีกครั้งในปี 2556/2013

322

ภาคผนวก 5 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์เส้นฐานตรง (Straight Baseline) รัฐหมู่เกาะ (Archipelagic Sate) การอ้างสิทธิ์ประวัติศาสตร์ (Historic Claim) ของประเทศต่างๆ ในอาเซียน (ยกเว้นลาว พม่า และไทย)

ประเทศ เมื่อ การด าเนินการ บรูไน กุมภาพันธแ ประกาศเส฾นฐานตรง (straight baseline) 2526/1983 กัมพูชา กรกฎาคม พระราชกฤษฎีกา (Decree of the Council of State) ประกาศกําหนดเส฾นฐานตรง 2525/1982 (straight baseline) แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและยืนยันอีกครั้งในปี 2529/1986, 2532/1989, 2535/1992, จนถึงปี 2537/1994, 2539/1996 จนถึงปี 2548/2005 และปี 2553/2010 จนถึงปี 2556/2013 อินโดนีเซีย สิงหาคม พระราชบัญญัติหมายเลข 6 (Act No.6) อ฾างสิทธิ์สถานะรัฐหมู฽เกาะ และออกกฎหมายเพื่อ 2539/1996 ประกาศเส฾นฐานตรง

2541/1998 ข฾อบังคับหมายเลข 61 (Regulation No.61) กําหนดจุดฐาน (basepoint) ของเส฾นฐานหมู฽ เกาะ (archipelagic baselines) ในทะเลนาทูนา (Natuna Sea) (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1GnpWuh)

มิถุนายน ข฾อบังคับหมายเลข 37 (Regulation No.37) กําหนดจุดพิกัดช฽องทางเดินเรืออย฽างเป็น 2546/2002 ทางการ (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1KRMeYb) แต฽สหรัฐอเมริกาประท฾วงในปี 2546/2003 และยืนยันอีกครั้งในปี 2548/2005 จนถึงปี 2555/2012 มาเลเซีย สิงหาคม คําสั่งหมายเลข 7 (Ordinance No.7) และออกกฎหมายเพื่อประกาศเส฾นฐานตรง 2512/1969 ฟิลิปปินสแ มิถุนายน สาธารณรัฐบัญญัติหมายเลข 3046 (Republic Act No.3046) โดยมีการแก฾ไขในปี 2552/2009 2504/1961 ซึ่งกําหนดเส฾นฐานตรงเพื่อสร฾างระบบหมู฽เกาะ (archipelagic system) แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงในปี 2529/1986 โดยยืนยันอีกครั้งในปี 2536/1993 จนถึงปี 2539/1996, 2544/2001 จนถึงปี 2550/2007 และปี 2555/2012 จนถึงปี 2556/2013

กันยายน สาธารณรัฐบัญญัติหมายเลข 5446 (Republic Act No.5446) ปรับปรุงความถูกต฾องของระบบ 2511/1968 เส฾นฐาน (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1dFY5eY)

มิถุนายน คําสั่งประธานาธิบดีหมายเลข 1596 (Presidential Decree No.1596) ประกาศให฾เกาะจํานวน 33 2521/1978 แห฽งในหมู฽เกาะสแปรตลียแเป็นอาณาเขตของประเทศฟิลิปินสแ (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1lvBvaQ) การประกาศอ฾างสิทธิ์ดังกล฽าวทําให฾เกิดข฾อพิพาทกับจีน ไต฾หวัน เวียดนาม และมาเลเซีย

323

ประเทศ เมื่อ การด าเนินการ ฟิลิปปินสแ เมษายน สาธารณรัฐบัญญัติหมายเลข 9522 (Republic Act No.5446) ปรับปรุงส฽วนที่ 1 ของสาธารณรัฐ (ต฽อ) 2552/2009 บัญญัติหมายเลข 3046 โดยกําหนดจุดฐานจํานวน 80 จุด (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1i81JzU อยู฽ที่หน฾า 32) สิงคโปรแ ไม฽มี เวียดนาม พฤศจิกายน แถลงการณแว฽าด฾วยเส฾นฐานทะเลอาณาเขต (Statement on the Territorial Sea Baseline) 2525/1982 กําหนดเส฾นฐานตรงและอ฾างสิทธิ์เหนืออ฽าวตังเกี๋ยว฽าเป็นทะเลประวัติศาสตรแ (historic water) และอ฾างสิทธิ์ทะเลอาณาเขต เขตต฽อเนื่อง ไหล฽ทวีป เขตเศรษฐกิจจําเพาะ เพื่อให฾ครอบคลุมหมู฽ เกาะต฽างๆ ที่อยู฽นอกเหนือทะเลอาณาเขต (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1BdIwpR) แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงในปี 2525/1982 และ 2530/1987 โดยยืนยันอีก ครั้งในปี 2539/1996, 2540/1997 จนถึงปี 2545/2002 และปี 2553/2010 จนถึงปี 2556/2013

324

ภาคผนวก 6 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) ของประเทศต่างๆ ในอาเซียน (ยกเว้นลาว พม่า และไทย)

ประเทศ เมื่อ การด าเนินการ บรูไน ไม฽มี กัมพูชา กรกฎาคม พระราชกฤษฎีกา (Decree of the Council of State) ประกาศเขตต฽อเนื่อง 24 ไมลแ 2525/1982 ทะเล อ฾างสิทธิ์อธิปไตยเพื่อความมั่นคง โดยต฾องการการรับรองจากต฽างประเทศเพื่อให฾มีผล เป็นที่ยอมรับ แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและยืนยันอีกครั้งในปี 2538/1995 จนถึงปี 2548/2005 และปี 2553/2010 จนถึงปี 2556/2013 (เขตความมั่นคง security zone) และปี 2542/1999 และปี 2553/2010 (ได฾รับอนุญาต entry permission) อินโดนีเซีย กรกฎาคม ข฾อบังคับหมายเลข 8 (Regulation No.8) จํากัดการ “หยุดจอดและการทอดสมอเรือ และ/หรือ การ 2505/1962 เดินเรือที่ไม฽มีเหตุอันชอบธรรม” ในทะเลหลวงที่อยู฽ติดกับทะเลอาณาเขตภายในระยะ 100 ไมลแ ทะเล แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองการอ฾างสิทธิ์นี้ มาเลเซีย กันยายน พระบรมราชโองการ (Orders in Council 1517 & 1518) อังกฤษประกาศทะเลอาณาเขตและไหล฽ 2501/1958 ทวีประหว฽างบอรแเนียวเหนือ (1517) ซาราวัก (1518) และบรูไน ฟิลิปปินสแ ไม฽มี สิงคโปรแ ไม฽มี เวียดนาม พฤษภาคม แถลงการณแว฽าด฾วยทะเลอาณาเขต เขตต฽อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล฽ทวีป (Statement on 2520/1977 the Territorial Sea, the Contiguous Zone, the Exclusive Economic Zone and the Continental Shelf) ประกาศเขตต฽อเนื่อง 24 ไมลแทะเล โดยอ฾างสิทธิ์เหนือพื้นที่ความมั่นคง (เข฾าถึง เอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1AzjIbo) แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงในปี 2525/1982 และ 2545/2002 โดยยืนยันอีกครั้งในปี 2539/1996 จนถึงปี 2543/2000, 2554/2011 และปี 2556/2013

มกราคม พระราชกฤษฎีกาหมายเลข 30/C (Decree No. 30/C) กําหนดให฾ในเขตต฽อเนื่อง เรือดําน้ํา 2523/1980 ต฾องแล฽นพ฾นผิวน้ําและแสดงธงสัญลักษณแ รวมทั้งห฾ามนําเครื่องบินขึ้นลงจากเรือบรรทุก เครื่องบิน ก฽อนเข฾าสู฽ทะเลอาณาเขตหรือเขตต฽อเนื่อง และต฾องปลดอาวุธก฽อนเข฾าในบริเวณ ดังกล฽าวทุกครั้ง แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองการอ฾างสิทธิ์

325

ภาคผนวก 7 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์ไหล่ทวีป (Continental Shelf) ของประเทศต่างๆ ในอาเซียน (ยกเว้นลาว พม่า และไทย)

ประเทศ เมื่อ การด าเนินการ บรูไน 2497/1954 พระบรมราชโองการ (Royal Proclamation) ประกาศอ฾างสิทธิ์ไหล฽ทวีป กัมพูชา กรกฎาคม พระราชกฤษฎีกา (Decree of the Council of State) ประกาศเขตไหล฽ทวีป 200 ไมลแทะเล 2525/1982 อินโดนีเซีย กุมภาพันธแ ประกาศรัฐบาล (Government Announcement) 2513/1969

มิถุนายน เสนอรายงานไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended Continental Shelf - ECS) เกินกว฽า 2551/2008 200 ไมลแทะเล บริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา (North West of Sumatra Island) ให฾แก฽คณะกรรมาธิการกําหนดขอบเขตของไหล฽ทวีป (Commission on the Limits of the Continental Shelf – CLCS) แต฽ยังไม฽ให฾การรับรอง (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1dFMRqT) มาเลเซีย พฤษภาคม พระราชบัญญัติไหล฽ทวีปหมายเลข 57 ปรับปรุงโดยพระราชบัญญัติหมายเลข 8 ปี 2509/1966 2515/1972 (Continental Shelf Act, No.57 as amended by Act No.8) (เข฾าถึง เอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1LazSIP)

2527/1984 พระราชบัญญัติหมายเลข 311 (Act No. 311) โดยรวมเอาพระราชบัญญัติไหล฽ทวีปหมายเลข 57 ปี 2509/1966 ไว฾ด฾วย (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1dFWUfA)

พฤษภาคม มาเลเซียและเวียดนามร฽วมกันเสนอรายงานไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended 2552/2009 Continental Shelf - ECS) เกินกว฽า 200 ไมลแทะเล ให฾แก฽คณะกรรมาธิการกําหนด ขอบเขตของไหล฽ทวีป (Commission on the Limits of the Continental Shelf – CLCS) แต฽ยังไม฽มีการรับรอง (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1dFX7zg) ฟิลิปปินสแ มีนาคม ประกาศประธานาธิบดี (Presidential Proclamation No.370) (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ 2511/1968 http://bit.ly/1IeYflq)

เมษายน เสนอรายงานไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended Continental Shelf - ECS) เกินกว฽า 2552/2009 200 ไมลแทะเล บริเวณเบนแฮม ไรสแ (Benham Rise – ดูที่หน฾าถัดไป*) (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1egil7H)

เมษายน คณะกรรมาธิการกําหนดขอบเขตของไหล฽ทวีป (Commission on the Limits of the 2555/2012 Continental Shelf – CLCS) รับคําร฾องโดยพิจารณาการกําหนดขอบไหล฽ทวีปบริเวณเบน แฮม ไรสแ (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1TntX8K) สิงคโปรแ ไม฽มี 326

ประเทศ เมื่อ การด าเนินการ เวียดนาม พฤษภาคม แถลงการณแว฽าด฾วยทะเลอาณาเขต เขตต฽อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล฽ทวีป 2520/1977 (Statement on the Territorial Sea, the Contiguous Zone, the Exclusive Economic Zone and the Continental Shelf) ประกาศขอบไหล฽ทวีป 200 ไมลแทะเล

พฤษภาคม มาเลเซียและเวียดนามร฽วมกันเสนอรายงานไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended 2551/2009 Continental Shelf - ECS) เกินกว฽า 200 ไมลแทะเล ให฾แก฽คณะกรรมาธิการกําหนด ขอบเขตของไหล฽ทวีป (Commission on the Limits of the Continental Shelf – CLCS) แต฽ยังไม฽มีการรับรอง (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1dFX7zg)

พฤษภาคม เสนอรายงานไหล฽ทวีปที่ขยายออกไป (Extended Continental Shelf - ECS) เกินกว฽า 2551/2009 200 ไมลแทะเล ให฾แก฽คณะกรรมาธิการกําหนดขอบเขตของไหล฽ทวีป (Commission on the Limits of the Continental Shelf – CLCS) แต฽ยังไม฽มีการรับรอง

* เบนแฮม ไรส์ (Benham Rise) เป็นชื่อของลักษณะทางภูมิศาสตรแทางตะวันออกของเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินสแ

ที่มา: 13 Million Hectares Benham Rise belongs to the Philippines, UN Approved! เข฾าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธแ 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://bit.ly/1fcl2Y7

327

ภาคผนวก 8 ตารางแสดงการอ้างสิทธิ์เขตเศรษฐกิจจ าเพาะ (Economic Exclusive Zone) และเขตประมง (Fisheries Zone) ของประเทศต่างๆ ในอาเซียน (ยกเว้นลาว พม่า และไทย)

ประเทศ เมื่อ การด าเนินการ บรูไน กรกฎาคม ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล 2536/1993 กัมพูชา กรกฎาคม พระราชกฤษฎีกา (Decree of the Council of State) ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 2525/1982 200 ไมลแทะเล อินโดนีเซีย มีนาคม ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1BgyxQo) 2523/1980

ตุลาคม พระราชบัญญัติหมายเลข 5 (Act No.5) ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล 2526/1983 (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1fbJx7S) มาเลเซีย 2527/1984 พระราชบัญญัติหมายเลข 311 (Act No. 311) ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล

ตุลาคม เอกสารเงื่อนไข (Declaration Upon Ratification) ในอนุสัญญาสหประชาชาติว฽าด฾วย 2539/1996 กฎหมายทะเลฉบับที่ 2 ปี 2525/1982 (UNCLOS II) แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงในปี 2541/1998 โดยยืนยันอีกครั้งในปี 2541/1998 จนถึงปี 2546/2003 และปี 2556/2013 ฟิลิปปินสแ มิถุนายน 58 คําสั่งประธานาธิบดีหมายเลข 1599 (Presidential Decree No.1599) ประกาศเขต 2521/1978 เศรษฐกิจจําเพาะและเขตประมง 200 ไมลแทะเล (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1SDoGd1) สิงคโปรแ เมษายน พระราชบัญญัติประมง หมายเลข 14 (Fisheries Act, No. 14) ประกาศเขตประมง ออก 2509/1966 กฎข฾อบังคับกําหนดอาณาเขต ออกใบอนุญาต และระเบียบต฽างๆ เวียดนาม พฤษภาคม แถลงการณแว฽าด฾วยทะเลอาณาเขต เขตต฽อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล฽ทวีป 2520/1977 (Statement on the Territorial Sea, the Contiguous Zone, the Exclusive Economic Zone and the Continental Shelf) ประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล

มกราคม พระราชกฤษฎีกาหมายเลข 30/C (Decree No. 30/C) 2523/1980 เมษายน พระราชกฤษฎีกา – กฎหมายประมง 2533/1990 พฤศจิกายน พระราชกฤษฎีกาหมายเลข 437/HDBT (Decree No. 437/HDBT) 2533/1990 กําหนดให฾เรือประมงต฽างชาติต฾องขออนุญาตทําประมงและแสดงธงสัญลักษณแในเขต เศรษฐกิจจําเพาะ และไม฽อนุญาตให฾เรือต฽างชาติเข฾ามาในเขตปลอดภัย (safety zone) เกิน กว฽าระยะ 500 เมตร 328

ประเทศ เมื่อ การด าเนินการ เวียดนาม มิถุนายน กฎหมายทะเลเวียดนาม (Law of the Sea of Vietnam) โดยกําหนดว฽าเมื่อใช฾สิทธิ (ต฽อ) 2555/2012 เดินเรือและการบินเสรีในเขตเศรษฐกิจจําเพาะและไหล฽ทวีปของเวียดนาม องคแกรหรือ ปัจเจกบุคคลย฽อมไม฽ได฾รับอนุญาตให฾กระทําการต฽อต฾านอํานาจอธิปไตย อํานาจการปูองกัน ตัว และความมั่นคงของเวียดนาม แต฽สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงในปี 2556/2013

329

ภาคผนวก 9 ตารางแสดงข้อก าหนดด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Regulation) ทางทะเล ของประเทศในอาเซียน (ยกเว้นลาวและพม่า)

ประเทศ เดือน/ปี ข้อก าหนดด้านสิ่งแวดล้อม บรูไน ไม฽มี ไม฽มี กัมพูชา กรกฎาคม กฤษฎีกาประกาศเขต 200 ไมลแทะเล (Decree of the Council of State 200 2525/1982 nautical miles) (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1KqAWYK) อินโดนีเซีย ไม฽มี ไม฽มี มาเลเซีย กุมภาพันธแ ความตกลงคณะมนตรีร฽วมเพื่อการจัดตั้งกับอินโดนีเซียและสิงคโปรแในการเดินเรือ 2518/1975 อย฽างปลอดภัยและมลพิษในช฽องแคบมะละกา (Agreement Joint Council established with Indonesia and Singapore on Navigation Safety and Pollution in Straits of Malacca) ให฾การรับรองแผนงานแบ฽งแยกการสัญจร (traffic separation schemes) ฟิลิปปินสแ 11 คําสั่งประธานาธิบดีหมายเลข 1599 อํานาจจําเพาะเพื่อการรักษาสิ่งแวดล฾อมใน มิถุนายน ทะเลภายในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลแทะเล 2521/1978 (Presidential Decree No. 1599 Exclusive jurisdiction for preservation of the marine environment within EEZ) (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1SDoGd1) สิงคโปรแ มกราคม กฎหมายปูองกันมลพิษทางทะเล (Prevention of Pollution of the Sea) 2514/1971 พระราชบัญญัติ หมายเลข 3 ทะเลอาณาเขตเพื่อบรรลุอนุสัญญานานาชาติว฽าด฾วย การปูองกันมลพิษทางทะเลโดยน้ํามัน ปี 2497/1954 (Act No.3 Territorial Sea Implemented the International Convention for the Prevention of Pollution in the Sea by Oil of 1954) ไทย ไม฽มี ไม฽มี เวียดนาม พฤษภาคม แถลงการณแเรื่องทะเลอาณาเขต, เขตต฽อเนื่อง, เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล฽ทวีป 2520/1977 ระยะ 200 ไมลแทะเล (ส฽วนของอ฾างสิทธิ์เขตเศรษฐกิจจําเพาะ) (Statement on the Territorial Sea, the Contiguous Zone, the Exclusive Economic Zone and the Continental Shelf) (เข฾าถึงเอกสารได฾ที่ http://bit.ly/1AzjIbo)

330

ภาคผนวก 10 ตารางแสดงการลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ฉบับที่ 2 ปี 2525/1982 (UNCLOS II) ของประเทศในอาเซียน (ยกเว้นลาวและพม่า)

ประเทศ เดือน/ปี ด าเนินการ หมายเหตุ บรูไน ธันวาคม ลงนามในอนุสัญญา ให฾ความยินยอมที่จะผูกพันตามความตกลงเกี่ยวกับการ 2527/1984 บังคับใช฾ภาคที่ 11 (bound by Part XI Agreement)

พฤศจิกายน ให฾สัตยาบันอนุสัญญา 2539/1996 กัมพูชา กรกฎาคม ลงนามในอนุสัญญา ยังไม฽มีการให฾สัตยาบันอนุสัญญา 2526/1983 อินโดนีเซีย ธันวาคม ลงนามในอนุสัญญา 2525/1982

กุมภาพันธแ ให฾สัตยาบันอนุสัญญา 2529/1986

กรกฎาคม ลงนามในภาคที่ 11 2537/1994 (Part XI Agreement)

มิถุนายน ให฾สัตยาบันภาคที่ 11 2543/2000 (Part XI Agreement) มาเลเซีย ธันวาคม ลงนามในอนุสัญญา ให฾ความยินยอมที่จะผูกพันตามความตกลงเกี่ยวกับการ 2525/1982 บังคับใช฾ภาคที่ 11 (bound by Part XI Agreement)

สิงหาคม ลงนามในภาคที่ 11 2537/1994 (Part XI Agreement)

ตุลาคม ให฾สัตยาบันอนุสัญญา 2539/1996 ฟิลิปปินสแ ธันวาคม ลงนามในอนุสัญญา แต฽สงวนสิทธิ์ภายใต฾สนธิสัญญาปารีส (Treaty of Paris of 2525/1982 1898) สนธิสัญญาวอชิงตัน (Treaty of Washington of 1930) และ สนธิสัญญาการปูองกันร฽วม (Mutual Defense Treaty of พฤษภาคม ให฾สัตยาบันอนุสัญญา 1951) ยืนยันอธิปไตยเหนือทางเดินเรือหมู฽เกาะ (archipelagic 2527/1984 sea lanes) และน฽านน้ําหมู฽เกาะ (archipelagic waters) รวมทั้งน฽านน้ําภายใน (internal waters)

331

ประเทศ เดือน/ปี ด าเนินการ หมายเหตุ ฟิลิปปินสแ พฤศจิกายน ลงนามในภาคที่ 11 เพื่อให฾สอดคล฾องกับภารผนวก 7 (Annex VII) เมื่อ 22 (ต฽อ) 2537/1994 (Part XI Agreement) มกราคม 2556/2013 ฟิลิปปินสแส฽งแถลงการณแ “ว฽าด฾วยข฾อ พิพาทกับจีนเหนืออํานาจทางทะเลของฟิลิปปินสแในทะเล กรกฎาคม ให฾สัตยาบันภาคที่ 11 ฟิลิปปินสแตะวันตก (with respect to the dispute with China 2540/1997 (Part XI Agreement) over the maritime jurisdiction of the Philippines in the West Philippine Sea)” ต฽อมา 19 กุมภาพันธแ 2556/2013 จีนตอบฟิลิปปินสแว฽าไม฽ยอมรับ ข฾อเสนออนุญาโตตุลาการ ในเดือนสิงหาคม 2556/2013 จีนส฽ง หนังสือ (Note Verbale) ไปยังศาลประจําอนุญาโตตุลาการ (Permanent Court of Arbitration – PCA) ว฽าจีนปฏิเสธและตี กลับการแจ฾งความของฟิลิปปินสแ ต฽อมาในเดือนมีนาคม 2557/2014 ฟิลิปปินสแยื่นเอกสาร 2 ชุดให฾แก฽ศาลประจํา อนุญาโตตุลาการ แต฽การไต฽สวนไม฽ได฾กระทําโดยเปิดเผย สิงคโปรแ ธันวาคม ลงนามในอนุสัญญา ให฾ความยินยอมที่จะผูกพันตามความตกลงเกี่ยวกับการ 2525/1982 บังคับใช฾ภาคที่ 11 (bound by Part XI Agreement)

พฤศจิกายน ให฾สัตยาบันอนุสัญญา 2537/1994 ไทย ธันวาคม ลงนามในอนุสัญญา ประกาศยอมรับความตกลงเกี่ยวกับการบังคับใช฾ภาคที่ 11 2525/1982 (Acceded to Part XI Agreement)

พฤษภาคม ให฾สัตยาบันอนุสัญญา สหรัฐอเมริกาไม฽รับรองและประท฾วงการอ฾างสิทธิ์ในปี 2554/2011 2554/2011 เวียดนาม ธันวาคม ลงนามในอนุสัญญา ทําการประกาศเพื่อตอกย้ําการอ฾างสิทธิ์เหนือพื้นที่พิพาท 2525/1982 เกาะเหืองซา (Hoang Sa) หรือ พาราเซล (Paracels) และ เตรื่องซา (Truong Sa) หรือ สแปรตลี่ยแ (Spratly) และอ฾าง กรกฎาคม ให฾สัตยาบันอนุสัญญา สิทธิ์เพื่อรับรองมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการจัดการและ 2537/1994 การปูองกันไหล฽ทวีป (continental shelf) และอาณาเขต ทางทะเล (maritime zones) ของตนเอง

332

ภาคผนวก 11 ตารางแสดงความตกลงเส้นเขตแดนทางทะเล (Maritime Boundaries Agreement) ระหว่างประเทศในอาเซียน (ยกเว้นลาว พม่า และไทย)

ประเทศ วันที่ลงนาม ประเภท การด าเนินการ บรูไน กันยายน พระบรมราช ประกาศอาณาเขตทางทะเลกับมาเลเซียในพื้นที่บอรแเนียวเหนือ 2501/1958 โองการ (Orders (1517) และซาราวัก (1518) ดําเนินการโดยอังกฤษ in Council 1517 & 1518) กัมพูชา กรกฎาคม ความตกลง ความตกลงทะเลประวัติศาสตรแ (Historic Waters) ระหว฽างกัมพูชา 2525/1982 (Agreement) กับเวียดนาม โดยสหรัฐอเมริกาไม฽รับรองการอ฾างสิทธิ์และประท฾วง การอ฾างสิทธิ์ทางประวัติศาสตรแในปี 2525/1982 และยืนยันอีกครั้ง ในปี 2542/1999 อินโดนีเซีย ตุลาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างมาเลเซียกับอินโดนีเซียว฽าด฾วยการกําหนดขอบ 2512/1969 (Agreement) ไหล฽ทวีป (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1GGhIic)

มีนาคม สนธิสัญญา สนธิสัญญาระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียเกี่ยวกับการกําหนดทะเล 2514/1971 (Treaty) อาณาเขตในช฽องแคบมะละกา (เข฾าถึงที่ http://1.usa.gov/1JPqGMy)

พฤษภาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างออสเตรเลียกับอินโดนีเซียเพื่อกําหนดเส฾นเขต 2514/1971 (Agreement) แดนทางทะเล (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1Qy0Q3S)

ธันวาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างไทยกับอินโดนีเซียเกี่ยวกับการกําหนดขอบไหล฽ทวีป 2514/1971 (Agreement) ในช฽องแคบมะละกาและทะเลอันดามัน (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1La3Psn)

ธันวาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย เกี่ยวกับการ 2514/1971 (Agreement) กําหนดขอบไหล฽ทวีปทางตอนเหนือของช฽องแคบมะละกา (เข฾าถึงที่ http://1.usa.gov/1fbXTVN)

ตุลาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างออสเตรเลียกับอินโดนีเซียเพื่อกําหนดเส฾นเขต 2515/1972 (Agreement) แดนพื้นดินท฾องทะเล (seabed) ในทะเลติมอรแ (Timor) และอาราฟู รา (Arafura) (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1FigTXB)

กุมภาพันธแ ความตกลง ความตกลงระหว฽างออสเตรเลียกับอินโดนีเซียว฽าด฾วยเส฾นเขตแดนระหว฽าง 2516/1973 (Agreement) ปาปัวนิวกีนีกับอินโดนีเซีย (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1L9Hz54)

สิงหาคม สนธิสัญญา สนธิสัญญาระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแเกี่ยวกับการกําหนดทะเลอาณา 2517/1974 (Treaty) เขตในช฽องแคบสิงคโปรแ (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1GntU67) 333

ประเทศ วันที่ลงนาม ประเภท การด าเนินการกับคู่ภาคี อินโดนีเซีย สิงหาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างไทยกับอินโดนีเซียเกี่ยวกับการกําหนดเส฾นเขต (ต฽อ) 2517/1974 (Agreement) แดนพื้นดินท฾องทะเล (seabed) ในทะเลอันดามัน (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1IerRzu)

ธันวาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างอินเดียกับอินโดนีเซียเกี่ยวกับการกําหนดขอบไหล฽ 2518/1975 (Agreement) ทวีป (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1G6QooN)

มกราคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างอินเดียกับอินโดนีเซียว฽าด฾วยการขยายขอบไหล฽ 2520/1977 (Agreement) ทวีปเมื่อปี 1974 ในทะเลอันดามันและมหาสมุทนอินเดีย (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1KRVvzy)

มิถุนายน ความตกลง ความตกลงระหว฽างไทย อินเดีย และอินโดนีเซีย ว฽าด฾วยการกําหนด 2521/1978 (Agreement) จุดร฽วม (trijuction point) และการกําหนดเส฾นเขตแดนที่เกี่ยวข฾อง (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1IEzbHr)

กรกฎาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างอินโดนีเซียกัลปาปัวนิวกีนีว฽าด฾วยเส฾นเขตแดน 2525/1982 (Agreement) ทางทะเล

ธันวาคม สนธิสัญญา สนธิสัญญาระหว฽างออสเตรีเลียกับอินโดนีเซียว฽าด฾วยเขตความ 2532/1989 (Treaty) ร฽วมมือในพื้นที่ระหว฽างจังหวัดติมอรแตะวันออกกับออสเตรเลียเหนือ หรือ หุบติมอรแ (Timor Gap) (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1JSM1TY)

มีนาคม สนธิสัญญา สนธิสัญญาระหว฽างออสเตรีเลียกับอินโดนีเซียเพื่อกําหนดเขต 2540/1997 (Treaty) เศรษฐกิจจําเพาะและเส฾นเขตแดนพื้นดินท฾องทะเล (seabed)

ธันวาคม คําพิพากษา ศาลโลก โดยคะแนนสิบหกเสียงต฽อหนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตยเหนือ 2545/2002 ศาลโลก (ICJ เกาะลิกิตันและเกาะสิปาดันเป็นของมาเลเซีย ทําให฾มาเลเซียและ Judgment) อินโดนีเซียต฾องกําหนดเส฾นเขตแดนในพื้นที่นี้ (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1IEFFpE)

มิถุนายน ความตกลง ความตกลงระหว฽างเวียดนามกับอินโดนีเซียว฽าด฾วยการกําหนดขอบ 2546/2003 (Agreement) ไหล฽ทวีป (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1MDt1YQ)

334

ประเทศ วันที่ลงนาม ประเภท การด าเนินการกับคู่ภาคี มาเลเซีย มีนาคม สนธิสัญญา สนธิสัญญาระหว฽างอินโดนีเซียกับมาเลเซียเกี่ยวกับการกําหนดทะเล 2514/1971 (Treaty) อาณาเขตในช฽องแคบมะละกา (เข฾าถึงที่ http://1.usa.gov/1JPqGMy)

ธันวาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย เกี่ยวกับการ 2514/1971 (Agreement) กําหนดขอบไหล฽ทวีปทางตอนเหนือของช฽องแคบมะละกา (เข฾าถึงที่ http://1.usa.gov/1fbXTVN)

ตุลาคม สนธิสัญญา สนธิสัญญาระหว฽างไทยกับมาเลเซียเกี่ยวกับการกําหนดทะเลอาณา 2522/1979 (Treaty) เขต (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1Fin2D2)

ตุลาคม บันทึกความเข฾าใจ บันทึกความเข฾าใจระหว฽างไทยกับมาเลเซียว฽าด฾วยการกําหนดขอบ 2522/1979 (Memorandum ไหล฽ทวีปในอ฽าวไทย (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1KS48u2) of Understanding)

สิงหาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแเพื่อกําหนดเส฾นเขตแดนของ 2538/1995 (Agreement) ทะเลอาณาเขตให฾สอดคล฾องกับความตกลงระหว฽างสเตรทสแเซ็ทเทิล เมนทแสกับยะโฮรแว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตปี 2470/1927

ธันวาคม คําพิพากษา ศาลโลก โดยคะแนนสิบหกเสียงต฽อหนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตยเหนือ 2545/2002 ศาลโลก (ICJ เกาะลิกิตันและเกาะสิปาดันเป็นของมาเลเซีย ทําให฾มาเลเซียและ Judgment) อินโดนีเซียต฾องกําหนดเส฾นเขตแดนในพื้นที่นี้ (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1IEFFpE)

เมษายน ความตกลง ความตกลงระงับข฾อพิพาทกรณีอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนโดยรอบช฽อง 2548/2005 (Agreement) แคบยะโฮรแโดยสิงคโปรแ (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1QZNKXZ)

พฤษภาคม คําพิพากษา ศาลโลก (1) โดยคะแนนสิบสองเสียงต฽อสี่เสียง ตัดสินว฽าอธิปไตย 2551/2008 ศาลโลก (ICJ เหนือเกาะเพอดรา บรังกา/ปูเลา บาตู ปูเต฿ะ เป็นของสาธารณรัฐ Judgment) สิงคโปรแ (2) โดยคะแนนสิบห฾าเสียงต฽อหนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตย เหนือมิดเดิล ร็อค เป็นของมาเลเซีย (3) โดยคะแนนสิบห฾าเสียงต฽อ หนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตยเหนือเซาทแ เลดจแ เป็นของรัฐในทะเล อาณาเขตซึ่งเซาทแ เลดจแ ตั้งอยู฽” (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1Bd22mr)

335

ประเทศ วันที่ลงนาม ประเภท การด าเนินการกับคู่ภาคี ฟิลิปปินสแ - - ยังไม฽มีเคยมีการดําเนินการใดๆ สิงคโปรแ พฤษภาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างอินโดนีเซียกับสิงคโปรแเกี่ยวกับการกําหนดทะเล 2516/1973 (Agreement) อาณาเขตในช฽องแคบสิงคโปรแ (เข฾าถึงที่ http://1.usa.gov/1LasWvi)

สิงหาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างมาเลเซียกับสิงคโปรแเพื่อกําหนดเส฾นเขตแดนของ 2538/1995 (Agreement) ทะเลอาณาเขตให฾สอดคล฾องกับความตกลงระหว฽างสเตรทสแเซ็ทเทิล เมนทแสกับยะโฮรแว฽าด฾วยทะเลอาณาเขตปี 2470/1927

เมษายน ความตกลง ความตกลงระงับข฾อพิพาทกรณีอ฾างสิทธิ์เหนือดินแดนโดยรอบช฽อง 2548/2005 (Agreement) แคบยะโฮรแโดยสิงคโปรแ (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1QZNKXZ)

พฤษภาคม คําพิพากษา ศาลโลก (1) โดยคะแนนสิบสองเสียงต฽อสี่เสียง ตัดสินว฽าอธิปไตย 2551/2008 ศาลโลก (ICJ เหนือเกาะเพอดรา บรังกา/ปูเลา บาตู ปูเต฿ะ เป็นของสาธารณรัฐ Judgment) สิงคโปรแ (2) โดยคะแนนสิบห฾าเสียงต฽อหนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตย เหนือมิดเดิล ร็อค เป็นของมาเลเซีย (3) โดยคะแนนสิบห฾าเสียงต฽อ หนึ่งเสียง ตัดสินว฽าอธิปไตยเหนือเซาทแ เลดจแ เป็นของรัฐในทะเล อาณาเขตซึ่งเซาทแ เลดจแ ตั้งอยู฽” (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1Bd22mr)

เวียดนาม กรกฎาคม ความตกลง ความตกลงทะเลประวัติศาสตรแ (Historic Waters) ระหว฽างกัมพูชา 2525/1982 (Agreement) กับเวียดนาม โดยสหรัฐอเมริกาไม฽รับรองการอ฾างสิทธิ์และประท฾วง การอ฾างสิทธิ์ทางประวัติศาสตรแในปี 2525/1982 และยืนยันอีกครั้ง ในปี 2542/1999

สิงหาคม ความตกลง ความตกลงระหว฽างไทยกับเวียดนามว฽าด฾วยการกําหนดเขตแดนทาง 2540/1997 (Agreement) ทะเลในอ฽าวไทย (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1IXiFoS)

มิถุนายน ความตกลง ความตกลงระหว฽างเวียดนามกับจีนว฽าด฾วยการปักปันเขตทะเลอาณา 2547/2004 (Agreement) เขต เขตเศรษฐกิจจําเพาะ และไหล฽ทวีปในอ฽าวตังเกี๋ย (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1IEPHXG)

มิถุนายน ความตกลง ความตกลงระหว฽างเวียดนามกับอินโดนีเซียว฽าด฾วยการกําหนดขอบ 2546/2003 (Agreement) ไหล฽ทวีป (เข฾าถึงที่ http://bit.ly/1MDt1YQ)

ข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดู Office of Ocean and Polar Affairs, Bureau of Oceans and International Environmental and Scientific Affairs in the Department of State. Limits in the Seas เข฾าถึงเมื่อ 18 กุมภาพันธแ 2557/2014 เข฾าถึงจาก http://1.usa.gov/1Uhwy7j 336

ประวัติผู้วิจัย

นายอัครพงษแ ค่ําคูณ เกิดที่อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ เข฾าศึกษาในระดับชั้นอนุบาลที่โรงเรียน บ฾านท฽าโพธิ์ มิตรภาพที่ 204 ปัจจุบันคือ โรงเรียนอนุบาลราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ จบการศึกษาชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนเทศบาล 2 “รัชมังคลานุสรณแ” อําเภอเมืองศรีสะเกษ โดยได฾รับคัดเลือกให฾ เป็นนักเรียนดีเด฽นรางวัลพระราชทานประจําปีการศึกษา 2536/1993 ต฽อมาเข฾าศึกษาต฽อในระดับชั้น มัธยมศึกษาที่โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย อําเภอเมืองศรีสะเกษ และได฾รับคัดเลือกให฾เป็นนักเรียนดีเด฽นรางวัล พระราชทานประจําปีการศึกษา 2540/1997 ต฽อมาในปี 2544/2001 สอบเข฾าศึกษาต฽อในโครงการเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต฾ศึกษา คณะศิลปศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ ท฽าพระจันทรแ เมื่อจบการศึกษาในปี 2548/2005 จึงสอบบรรจุเข฾าเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยในตําแหน฽งอาจารยแประจําโครงการเอเชียตะวันออก เฉียงใต฾ศึกษา คณะศิลปศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ ท฽าพระจันทรแ ต฽อมาในปี 2549/2006 จึงลาศึกษา ต฽อโดยได฾รับทุนการศึกษาจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอรแ (Rockefeller Foundation) เพื่อเข฾าศึกษาต฽อในระดับ ปริญญาโทที่โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณแ มหาวิทยาลัย และจบการศึกษาในปี 2551/2008 โดยทําวิทยานิพนธแในหัวข฾อ “การท฽องเที่ยวชายแดนระหว฽าง ไทยกับกัมพูชาถายหลังการสิ้นสุดของสงครามเย็น: อัตลักษณแ จิตจํานงคแ และโอกาส (BORDER TOURISM BETWEEN THAILAND AND CAMBODIA AFTER THE END OF THE COLD WAR: IDENTITY, SPIRIT, AND PROSPECT)” ต฽อมาในปี 2552/2009 จึงลาออกเพื่อสอบบรรจุเข฾าเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยใน ตําแหน฽งอาจารยแประจําวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงคแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ ท฽าพระจันทรแ โดยทํางาน สอนและงานวิจัยตลอดมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังทําหน฾าที่กรรมการศูนยแเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ และกรรมการศูนยแอาเซียน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ โดยสนใจศึกษาวิจัยในประเด็น สหสาขาวิชาการทางสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ เช฽น ประวัติศาสตรแ ความสัมพันธแระหว฽างประเทศ การท฽องเที่ยว การจัดการเส฾นเขตแดนระหว฽างประเทศ และ วัฒนธรรมศึกษา โดยเฉพาะอาณาบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต฾ศึกษา (Southeast Asian Studies)

ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ของผู้วิจัย Groslier, Bernard-Philippe. 2545. นี่ เสียมกุก. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและ มนุษยศาสตรแ. ชาญวิทยแ เกษตรศิริ และอัครพงษแ ค่ําคูณ (บรรณาธิการ). 2552. แม฽น้ําโขง ณ นครพนม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. อัครพงษแ ค่ําคูณ. 2546. "โพธิ์: เรื่องที่เรายังไม่รู้." หน฾า 53 – 146 ในหนังสือ พระศรีมหาโพธิ์: จากชมพูทวีปสู฽ สุวรรณภูมิ, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและ มนุษยศาสตรแ. —. 2547. “การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์กับเจ็ดทศวรรษการเมืองไทย” ในหนังสือ ธรรมศาสตรแและ การเมืองเรื่องพื้นที่: สู฽ทศวรรษที่ 7 ปฏิวัติ 2475 สถาปนา มธก. 2477 . ชาญวิทยแ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2549. "ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ าโขง (The Mekong Delta): แผ่นดิน ผืนน้ า ผู้คน ประวัติศาสตร์ และทรัพยากร." หน฾า 357 - 437 ในหนังสือ แม฽น้ําโขง: จากต฾าจู - ล฾านช฾าง - ตนเลธม ถึง กิ๋วล฽อง, 337

ชาญวิทยแ เกษตรศิริ และอัครพงษแ ค่ําคูณ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตํารา สังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2551. “ว่าด้วย สฺย ากุกฺ” ในหนังสือ สยามหรือไทย: นามนั้นสําคัญมากฉะนี้หรือ? กรุงเทพฯ : มูลนิธิ โครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2553. "การจัดการสิ่งแวดล้อมในประเทศกัมพูชา." หน฾า 430 - 468 ในหนังสือ การจัดการสิ่งแวดล฾อมใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต฾, สีดา สอนศรี (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: โครงการตําราและสิ่งพิมพแ คณะ รัฐศาสตรแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ. —. 2555. "กฎหมายระหว่างประเทศกับแม่น้ านานาชาติ." หน฾า 2 - 53 ในหนังสือ น้ําของ: แม฽น้ําโขง ณ นครพนม, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ และกาญจนี ละอองศรี (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการ ตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2556. "เขตแดน พรมแดน และชายแดน ระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชา." หน฾า 71 - 175 ในหนังสือ เขต แดนสยามประเทศไทยกับลาวและกัมพูชา, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2549. "ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ าโขง (The Mekong Delta): แผ่นดิน ผืนน้ า ผู้คน ประวัติศาสตร์ และทรัพยากร." หน฾า 363 - 403 ในหนังสือ ลุ฽มน้ําโขง: วิกฤต การพัฒนา และทางออก, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ และกัมปนาท ภักดีกุล (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและ มนุษยศาสตรแ. —. 2551. "เสียงจากท้ายน้ า เบื้องล่าง ตนเลสาบและเวียดนามใต้." หน฾า 378 - 440 ในหนังสือ สาละวิน-แม฽ โขง, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและ มนุษยศาสตรแ. —. 2551. ฮีตสิบสอง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2552. "ฮีตสิบสอง." หน฾า 430 - 474 ในหนังสือ แม฽น้ําโขง ณ นครพนม, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ และอัคร พงษแ ค่ําคูณ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2553. "แม่น้ ากก-เสียมกุก กับความเป็นมาของค า สยาม ไทย ลาว และขอม." หน฾า 172 – 222 ในหนังสือ เชียงราย ณ แม฽น้ําโขง, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ และกาญจนี ละอองศรี (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2554. "การบริหารจัดการแม่น้ านานาชาติดานูบ." หน฾า 83 – 140 ในหนังสือ เขตแดนเบลเยียม - ฝรั่งเศส - เนเธอรแแลนดแ - แม฽น้ําดานูบ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2554. "เขตแดน พรมแดน และชายแดน ระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชา." หน฾า 295 – 399 ในหนังสือ เขตแดน สยามประเทศไทย - มาเลเซีย - พม฽า - ลาว -กัมพูชา, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2556. "เขตแดนทางบก-ทางทะเล กับเพื่อนบ้านอาเซียน." หน฾า 153 - 195 ในหนังสือ อาเซียนศึกษา, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ และกาญจนี ละอองศรี (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตํารา สังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. มิถุนายน 2551 - พฤษภาคม 2552. "ประวัติศาสตร์" และ "ชาติ" ฟิลิปปินส์ ในหนังสือเรียน "ประวัติศาสตร์ชนชาติฟิลิปปินส์ส าหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย". ใน จุลสารหอจดหมายเหตุ ธรรมศาสตรแ. ฉบับที่ 12

338

—. มิถุนายน 2547 – พฤษภาคม 2548 " ชาวธรรมศาสตร์ยุคแรก: เกร็ดจากเอกสารส านักทะเบียนและ ประมวลผล” ใน จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตรแ. ฉบับที่ 8 อัครพงษแ ค่ําคูณ และคนอื่นๆ. 2556. 50 คํากุญแจไขอาเซียน. อรรถยุทธ ศรีสมุทร และพิภพ อุดร (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: สถาบันทรัพยากรมนุษยแ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ ร฽วมกับกรมอาเซียน กระทรวงการต฽างประเทศ. —. 2555. อยุธยา: Discovering Ayutthaya. ชาญวิทยแ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการ ตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ และมูลนิธิโตโยต฾าประเทศไทย. อัครพงษแ ค่ําคูณ และชาญวิทยแ เกษตรศิริ. 2555. "แผนที่คดีเมือง แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ระหว่างสยาม กับฝรั่งเศส พ.ศ.2446/47 (ค.ศ.1904) และ พ.ศ.2451 (ค.ศ.1908)." หน฾า 402 - 411 ในหนังสือ ประมวลแผนที่: ประวัติศาสตรแ-ภูมิศาสตรแ-การเมือง กับลัทธิอาณานิคมในอาเซียน-อุษาคเนยแ, ชาญ วิทยแ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแและมนุษยศาสตรแ. —. 2556. "แผนที่คดีเมือง แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ.2446/47 (ค.ศ.1904) และ พ.ศ.2451 (ค.ศ.1908)." หน฾า 186 - 310 ในหนังสือ สยามประเทศไทย: ได฾ดินแดน-เสียดินแดน กับลาวและกัมพูชา, ชาญวิทยแ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรแ และมนุษยศาสตรแ.

339