พยาบาลสาร : Nursing Journal คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 • Volume 47 No.1 January-March 2020 ISSN 0125-5118

ที่ปรึกษา (Consultant) ศาสตราจารย์ ดร.วิภาดา คุณาวิกติกุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Wipada Kunaviktikul, PhD, RN, FAAN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑารัตน์ มีสุขโข คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Jutarat Mesukko, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ (Editorial Advisors) ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วิจิตร ศรีสุพรรณ อดีตนายกสภาการพยาบาล Wichit Srisuphan, DrPH, RN Professor ศาสตราจารย์ ดร.ประนอม โอทกานนท์ ศาสตราจารย์ Pranom Othagnont, RN, M.E.D.,Ed.D. Professor ศาสตราจารย์ ดร.สมจิต หนุเจริญกุล ศาสตราจารย์ Somchit Hanucharurnkul, PhD, RN Professo

บรรณาธิการ (Editor) ศาสตราจารย์ ดร. อารีวรรณ กลั่นกลิ่น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Areewan Klunklin, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University

รองบรรณาธิการ (Associate Editor) รองศาสตราจารย์ ดร.นันทพร แสนศิริพันธ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Nantaporn Sansiriphun, PhD, RN, APN Faculty of Nursing, Chiang Mai University

กองบรรณาธิการ (Editorial Board) ศาสตราจารย์ ดร.รุจา ภู่ไพบูลย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลศาสตราจารย์ Rutja Phuphaibul, DNS, RN Faculty of Nursing, Mahidol University ศาสตราจารย์ ดร.วีณา จีระแพทย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Veena Jirapaet, PhD, RN Faculty of Nursing, Chulalongkorn University ศาสตราจารย์ ดร.วารุณี ฟองแก้ว คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Warunee Fongkaew, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา เชาวลิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Aranya Chaowalit, PhD, RN Faculty of Nursing, Songkla University ศาสตราจารย์ ดร.เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน Phechnoi Singchugcha, PhD, RN Faculty of Nursing, Christian University ศาสตราจารย์ ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Darawan Thapinta, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University รองศาสตราจารย์ ดร.อัมพรพรรณ ธีรานุตร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Ampornpan Teeranud, PhD, RN Faculty of Nursing, Khon kaen University รองศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณา บุญยะลีพรรณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Suwanna Boonyaleepun, PhD, RN Faculty of Nursing, Khon kaen University รองศาสตราจารย์. ดร.กรรณิการ์ กันธะรักษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Kannika Kantaruksa, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University รองศาสตราจารย์. ดร. นัทธมน วุทธานนท์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Nuttamon Vuttanon, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University รองศาสตราจารย์ ดร. ปิยะนุช ชูโต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Piyanut Xuto, PhD, RN, APN Faculty of Nursing, Chiang Mai University รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Pimpaporn Klunklin, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย เลิศวัฒนวิลาศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Wanchai Lertwatthanawilat, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี วรกิจพูนผล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Patcharee Woragidpoonpol, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระพร ศุทธากรณ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Weeraporn Suthakorn, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Apiradee Nantsupawat, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญพนมพร ธรรมไทย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Kwaunpanomporn Thummathai, MSC, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรนุช กิตสัมบันท์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Varanut Kitsumban, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Nattaya Suwankruhasn Ph.D, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาศ สุขสถิตย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Benjamas Suksatit, PhD, RN, APN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Waruntorn Jongrungrotsakul, PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา มีชำ�นาญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Chutima Meechamnan,PhD, RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University Doreen C. Harper, PhD, RN, FAAN The University of Alabama at Birmingham,School of Nursing, U Margaret M. Heitkemper, PhD, RN University of Washington, Seattle, USA Lian-Hua Huang, PhD, RN, EMBA National Taiwan University Department of Nursing, College of Medicine National Taiwan University Hospital, Taiwan Tonda Hughes, Ph.D, RN, FAAN University of Illinois at Chicago (UIC), Collegeof Nursing, USA Department of Health Systems Science Shake Ketefian, EdD, RN, FAAN WMU Bronson School of Nursing, USA Mari Kondo, Ph.D Faculty of Nursing, Toho University, Japan Karry Liu Ming, PhD, RN School of Health Science Macao Polytechnic Institute, Hong Kong Pamela H. Mitchell PhD, RN, FAHA, FAAN Biobehavioral Nursing @ Health Systems, School of Nursing University of Washington, USA Alan Pearson, PhD, RN, FRCNA, The Joanna Briggs InstituteSchool of Translational Health FCN, FAAG,FRCN Science Faculty of Health Sciences The University of Adelaide, Australia Gwen Sherwood, PhD, RN, FAAN The University of North Carolina at Chapel Hill, School of Nursing, USA Josefina A. Tuazon, DPH, RN, College of Nursing, University of Philippines Manilla, The Philippines Lynda Wilson, PhD, RN, FAAN School of Nursing The University of Alabama at Birmingham, USA Nancy Fugate Woods, PhD, RN, FAAN Biobehavioral Nursing and Health Systems University of Washington Seattle, USA Hu Yan, PhD, RN School of Nursing, Fudan University, China

บรรณาธิการการจัดการ (Managing Editor) อาจารย์ ดร. รุจาธร อินทรตุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Rujadhorn Indratula, PhD, RN, Faculty of Nursing, Chiang Mai University อาจารย์ ดร. ปิยะภรณ์ ประสิทธิ์วัฒนเสรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Piyaporn Prasitwattanaseree, M.P.H., RN Faculty of Nursing, Chiang Mai University นางอนุสรา ต๊ะพรหม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Anusra Thaprom Faculty of Nursing, Chiang Mai University นางสาวชลลดา กองสุข คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Chonlada Kongsook Faculty of Nursing, Chiang Mai University นางสาววริษา วิกะศิลป์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Warisa Wikasillp Faculty of Nursing, Chiang Mai University นางมาริสา คุปตารักษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Marisa Guptarak Faculty of Nursing, Chiang Mai University นายสุพจน์ เชี่ยวชาญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Supoj Cheiwchan Faculty of Nursing, Chiang Mai University นางสาวพรธิดา คำ�มงคล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Pornthida Kummongkol Faculty of Nursing, Chiang Mai University

(Editorial office) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200 http://www.TCI-Thaijo.org/index.php/cmunursing คำ�แนะนำ�ในการเตรียมต้นฉบับวารสารพยาบาลสาร สำ�หรับผู้เขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการเพื่อตีพิมพ์

วารสารพยาบาลสาร ด�ำเนินการโดยคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นการเผยแพร่ ผลงาน วิชาการของนักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา ผู้ที่สนใจในวิชาชีพการพยาบาล และผู้ที่สนใจในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในด้าน สุขภาพ ทั้งนี้บทความที่ส่งมาต้องไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารอื่นมาก่อน หรือไม่อยู่ในระหว่างส่งไปตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่น เนื้อหา บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ในวารสารนี้ ถือเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนเท่านั้น ทางบรรณาธิการวารสาร พยาบาลสารไม่จ�ำเป็นต้องเห็นพ้องด้วยเสมอไปโดยพยาบาลสารเปิดรับ บทความวิจัย บทความวิชาการ รายงาน การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ทางด้านพยาบาลศาสตร์ และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ที่กองบรรณาธิการฯ มีความเห็นว่าเหมาะสมที่จะตีพิมพ์ในพยาบาลสาร

วัตถุประสงค์และขอบเขต 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของพยาบาล นักวิจัย นักศึกษา และ นักวิชาการในสาขาวิชา พยาบาลศาสตร์ และสาขาที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2. เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้าความรู้ทางด้านพยาบาลศาสตร์ และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องในด้านสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านวิชาการ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ

ประเภทบทความที่จะตีพิมพ์ 1. บทความวิจัย (Research article) 2. บทความวิชาการ (Academic article) 3. บทความพิเศษ

ก�ำหนดการออกวารสารปีละ 5 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มีนาคม ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน-มิถุนายน ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม-กันยายน ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม ฉบับที่ 5 พิเศษเดือนธันวาคม

การพิจารณาบทความ (Peer Review Process) บทความที่ส่งมาเพื่อตีพิมพ์จะได้รับการพิจารณา และตรวจสอบความถูกต้องจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการ พยาบาลและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 2 ท่านต่อ 1 บทความ โดยมีการด�ำเนินการปกปิดแบบ 2 ทาง (Double blinded) ทั้งชื่อของผู้วิจัยและผู้ทรงคุณวุฒิ จริยธรรมของการเผยแพร่ผลงาน (Publication Ethics) บทบาทหน้าของผู้เขียน(Duties of Author) 1. บทความต้องเป็นผลงานที่ไม่เคยได้รับการเผยแพร่มาก่อน และจะต้องแน่ใจว่าผลงาน ดังกล่าวนั้นไม่ได้ท�ำการ คัดลอก หรือท�ำซ�้ำผลงานของบุคคลอื่น 2. หากมีการน�ำผลงานหรือข้อความอ้างอิงผลงานของผู้อื่นต้องจัดท�ำรายการเอกสารอ้างอิงไว้ท้ายบทความเสมอ 3. ตรวจสอบการเขียนบทความ ให้ถูกต้องตามรูปแบบตามข้อก�ำหนดของวาสาร 4. รายนามของผู้วิจัยทั้งหมด ที่ปรากฏในบทความวิจัยทุกคนต้องเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในการด�ำเนินการวิจัยจริง 5. หากผลงานวิจัย มีการวิจัยในมนุษย์หรือสัตว์ทดลอง ผู้วิจัยจะต้องแนบหนังสือรับรองจากคณะกรรมการ พิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ หรือในสัตว์ทดลองแล้วแต่กรณี โดยระบุหมายเลขหรือรหัสการรับรองลงใน เนื้อหาในส่วนของ “การพิจารณาด้านจริยธรรม”

บทบาทหน้าที่ของผู้ทรงคุณวุฒิ (Duties of Reviewer) 1. ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest) และไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้เขียน โดยพิจารณาบทความ ภายใต้หลักการและเหตุผลทางวิชาการปราศจากอคติหรือความคิดเห็นส่วนตัว 2. ไม่แสวงหาผลประโยชน์ จากบทความที่ตนเองได้รับมอบหมายให้ท�ำการประเมิน 3. หากพิจารณาตรวจสอบแล้วพบว่าบทความที่รับมอบหมายให้ประเมินนั้นเป็นบทความที่เคยได้รับการเผย แพร่มาก่อน และท�ำการคัดลอก หรือ ท�ำซ�้ำผลงานของบุคคลอื่นผู้ทรงคุณวุฒิต้องแจ้งให้บรรณาธิการทราบทันทีเพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องก่อนการเผยแพร่ 4. ต้องรักษาระยะเวลาประเมินตามกรอบเวลาประเมินที่ก�ำหนด 5. ต้องไม่เปิดเผยข้อมูลของบทความให้ผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับรู้

บทบาทหน้าที่ของบรรณาธิการ (Duties of Editors) 1. พิจารณาคุณภาพของบทความให้มีความที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของวารสาร 2. ตรวจสอบคุณภาพบทความในทุกกระบวนการประเมินก่อนการเผยแพร่ 3. ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้วิจัยหรือผู้ทรงคุณวุฒิ และ ไม่น�ำบทความหรือผลงานทางวิชาการไปใช้ประโยชน์ ในเชิงธุรกิจหรือน�ำไปเป็นผลงานทางวิชาการของตนเอง 4. ไม่แก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเนื้อหาบทความที่ผู้วิจัยได้ส่งมายังวารสาร และผลประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิ 5. หากตรวจพบว่าบทความที่ส่งตีพิมพ์ได้รับการเผยแพร่มาก่อน และท�ำการคัดลอก หรือท�ำซ�้ำบรรณาธิการ มีสิทธิ์ปฏิเสธการตีพิมพ์บทความนั้นๆ

ขั้นตอนการประเมินบทความ การด�ำเนินการพิจารณาบทความทั้งหมด จะด�ำเนินการผ่านทางระบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเว็บไซต์ Thai Journal Online (ThaiJO) เพื่อให้การท�ำงานของวารสารพยาบาลสาร เป็นไปตามมาตรฐานสากลโดยมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. ผู้เขียนมีหน้าที่ส่งไฟล์บทความไปยังระบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์ของวารสารพยาบาลสารในเว็ปไซต์ Thai Journals Online (ThaiJO) URL: https://www.tci-thaijo.org 2. กองบรรณาธิการแจ้งให้ผู้วิจัยทราบว่าได้รับไฟล์บทความเป็นที่เรียบร้อย 3. กองบรรณาธิการด�ำเนินการตรวจสอบ เนื้อหาของบทความ รูปแบบการจัดพิมพ์ รูปแบบการอ้างอิง ประเด็น ทางจริยธรรม การคัดลอกบทความ (Plagiarism) ความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของวารสารรวมทั้งประโยชน์ในเชิง ทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ 4. กองบรรณาธิการพิจารณาเห็นควรตีพิมพ์ จะด�ำเนินการจัดส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อตรวจ สอบคุณภาพของบทความ ว่าเหมาะสมที่จะลงตีพิมพ์หรือไม่ แบบปกปิดสองทาง (Double blind review) โดยไม่ เปิดเผยชื่อผู้เขียนบทความให้ผู้ทรงคุณวุฒิทราบ และไม่เปิดเผยชื่อผู้ทรงคุณวุฒิให้ผู้เขียนทราบ และกองบรรณาธิการ ไม่เปิดเผยทั้งชื่อผู้วิจัยและชื่อผู้ทรงคุณวุฒิให้บุคคลอื่น ทราบเช่นกัน 5. เมื่อบทความได้รับการประเมินผลคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้วกองบรรณาธิการจะด�ำเนินการดังนี้ 5.1 กรณีมีความเห็นให้ ตอบรับการตีพิมพ์ (Accept Submission) กองบรรณาธิการจะแจ้งผู้เขียนให้ทราบ และด�ำเนินการส่งไฟล์บทความเข้าสู่ขั้นตอนการปรับแก้ไขต้นฉบับ การพิสูจน์อักษร และการจัดรูปแบบเอกสารตาม ต้นฉบับบทความของวารสาร ก่อนน�ำไปเผยแพร่ 5.2 กรณีมีความเห็นให้ ผู้วิจัยแก้ไขบทความ (Revision Require) ทางกองบรรณาธิการจะส่งค�ำแนะน�ำให้ ผู้เขียน แก้ไขบทความ และเมื่อแก้ไขเสร็จแล้วให้ ส่งกลับคืนมายังบรรณาธิการ เพื่อพิจารณาใหม่อีกครั้งโดยอาจส่งให้ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบผลการแก้ไข หรือ บรรณาธิการตรวจสอบ ด้วยตนเอง ซึ่งหากต้องมีการแก้ไขในรอบที่ 2 จะด�ำเนินการส่งกลับไปยังผู้เขียนเพื่อแก้ไข และตรวจสอบผลการแก้ไข จนกว่าจะมีเนื้อหาบทความครบถ้วนสมบูรณ์ 5.3 กรณีมีความเห็นให้ ปฏิเสธการรับตีพิมพ์ (Decline Submission) กองบรรณาธิการ จะส่งจดหมายแจ้ง ผลดังกล่าวให้ผู้เขียนบทความรับทราบ พร้อมทั้งเหตุผลของการปฏิเสธ 6. หลังจากกองบรรณาธิการได้ส่งข้อมูลการแก้ไขจากผลการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิให้กับผู้เขียนบทความ ให้ผู้เขียนแก้ไขเอกสาร และจัดท�ำตารางสรุปผลการแก้ไขระบุข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิท่านที่ 1และ 2 ทุกข้อ ตามแบบฟอร์มตารางแสดงการแก้ไขของวารสารและส่งกลับกองบรรณาธิการ ภายใน 1 สัปดาห์

การจัดเตรียมต้นฉบับ ผู้ที่มีความประสงค์จะตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความวิชาการในพยาบาลสารนี้จะต้องเป็นสมาชิกของพยาบาล สารจึงจะได้รับการตีพิมพ์ และกองบรรณาธิการ ใคร่ขอความร่วมมือท่านผู้เขียนด�ำเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. พิมพ์ต้นฉบับด้วยโปรแกรมไมโครซอฟเวิร์ด (Microsoft Word) โดยใช้ตัวอักษร TH Sarabun New ขนาด 16 ทั้งอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พิมพ์หน้าเดียว 1 คอลัมน์ ระยะห่างบรรทัด 1 เท่า (single space) พิมพ์ บนกระดาษสีขาวขนาดกระดาษ A4 (21×29.7 ซม.) โดยเว้นระยะขอบกระดาษ บน 3.81 ซม. ขอบขวา 2.54 ซม. และขอบซ้าย 3.81 ซม. รวมอ้างอิงทั้งหมดต้องไม่เกิน 15 หน้า การใช้ภาษาอังกฤษในเนื้อหาให้ใช้ตัวเล็กทั้งหมด ยกเว้นชื่อเฉพาะ 2. การใช้ภาษาไทยให้ยึดตามหลักราชบัณฑิตยสถาน ค�ำสะกดและค�ำแปลความหมายใช้ภาษาไทยเป็นหลัก และใช้ภาษาอังกฤษในกรณีที่ไม่มีค�ำสะกดในภาษาไทย การใช้ อักษรย่อ ต้องเขียนค�ำเต็มไว้ในการเขียนในครั้งแรกก่อน และไม่ใช้ค�ำย่อที่ไม่เป็นมาตรฐานยกเว้นการย่อเพื่อเขียนเนื้อหาให้กระชับขึ้น การแปลศัพท์อังกฤษเป็นไทยให้เขียน ทับศัพท์โดยให้ยึดตามหลักราชบัณฑิตยสถาน ส่วนที่ 1 หน้าแรกขอบทความส�ำหรับวิจัยและบทความวิชาการ ชื่อเรื่อง (Title) ต้องระบุทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พิมพ์ไว้หน้าแรกตรงกลาง ความยาวไม่เกิน 120 ตัวอักษร ชื่อผู้เขียน (Author name) ต้องระบุชื่อผู้เขียนทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ไม่ใส่ยศ หรือต�ำแหน่ง วิชาการ ในกรณีที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คนให้เรียงชื่อตามล�ำดับตามการมีส่วนร่วม พร้อมทั้งแสดงสังกัดหน่วยงานของ ผู้เขียนทุกคนขณะท�ำการวิจัย และ e-mail เฉพาะของผู้รับผิดชอบหลักบทความ (Corresponding author) น�ำดอก จันทร์ไปต่อค�ำส�ำคัญส่วนท้ายกระดาษ บทคัดย่อ (Abstract) เขียนเนื้อหาของบทความได้แก่ความส�ำคัญ วัตถุประสงค์ วิธีด�ำเนินการวิจัย ผลการ วิจัย และการอภิปรายผล โดยใช้ภาษาที่เหมาะสมเป็นประโยคสมบูรณ์และสื่อความหมายได้ชัดเจนอย่างกระชับ เขียน แยกภาษาในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยบทคัดย่อภาษาไทยไม่ควรเกิน 300 ค�ำ และบทคัดย่อภาษาอังกฤษไม่ ควรเกิน 250 ค�ำ คำ� ส�ำคัญ (Keywords) ระบุค�ำส�ำคัญในแต่ละภาษาให้ใช้ค�ำที่สื่อความหมายกับเนื้อหาของงานวิจัย จ�ำนวน 3-5 ค�ำ เรียงล�ำดับตามตัวอักษร ส่วนที่ 2 ส่วนเนื้อหาของบทความวิจัย ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย ค�ำถามการวิจัย สมมติฐานการวิจัย กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย วิธีด�ำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัย การอภิปรายผล ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ส่วนที่ 3 ส่วนเนื้อหาของบทความวิชาการ บทน�ำ (Introduction) เนื้อหา บทสรุป (Conclusions) ส่วนที่ 4 การอ้างอิงและเอกสารอ้างอิง (Cite and References) 1. ใช้การอ้างอิงและเอกสารอ้างอิงระบบ American Psychological Association (APA6) โดยมีหลักเกณฑ์ การลงรายการการอ้างอิงในเนื้อหาและการอ้างอิงในรายชื่อเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม 2. เอกสารอ้างอิงไม่ควรเกิน 10 ปี ยกเว้นหนังสือ ต�ำรา บางประเภทที่เป็นทฤษฎีหรือปรัชญา 3. รายการอ้างอิงที่เป็นภาษาไทยให้แปลเป็นภาษาอังกฤษทุกรายการแล้วให้ระบุค�ำว่า (In Thai) ไว้ท้ายรายการ 4. เอกสารอ้างอิงไม่ควรเกิน 20 รายการ 5. ผู้เขียนมีหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารอ้างอิงตามระบบ American Psychological Asso- ciation (APA6) อย่างเคร่งครัด

การส่งบทความต้นฉบับ 1. ผู้เขียนต้องลงทะเบียน (Register) เป็นสมาชิกของระบบThaiJo หรือหากเป็นสมาชิกของระบบThaiJo แล้วสามารถ log in เข้าสู่ระบบได้และปฏิบัติตามคู่มือการใช้งานระบบ เพื่อด�ำเนินการส่งบทความผ่านเว็บไซต์วารสารฯ ตามขั้นตอน โดยสามารถศึกษาข้อมูลค�ำแนะน�ำการใช้งานระบบวารสารของผู้เขียน ใน ThaiJo ได้บนหน้าเว็บไซต์ ของวารสาร 2. ดาวโหลดแบบฟอร์มการขอน�ำส่งบทความผ่านทางหน้าเว็ปไซต์ ThaiJo ของวารสารพยาบาลสาร URL: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing กรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง 3. ผู้เขียนส่งเอกสารผ่านทางระบบ ThaiJo ดังนี้ 3.1 บทความต้นฉบับเป็นไฟล์ word นามสกุล (.docx) 3.2 แบบฟอร์มการน�ำส่งบทความของวารสาร 3.3 ส�ำหรับบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้เขียนต้องส่งส�ำเนาเอกสารรับรองโครงการวิจัยจากคณะ กรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 3.4 ส�ำเนาใบเสร็จสมาชิก วารสารพยาบาลสาร

บรรณาธิการวารสารพยาบาลสาร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เลขที่ 110/406 ถนนอินทวโรรส ตำ�บลศรีภูมิ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 เบอร์ติดต่อ 053-949100 สารบัญ บทความวิจัย หน้า ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส�ำหรับพยาบาล 1 วิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย Effects of a Breastfeeding Promotion, Support, and Protection Program for Registered Nurses in the กรรณิการ์ กันธะรักษา มาลี เอื้ออ�ำนวย สุสัณหา ยิ้มแย้ม นันทพร แสนศิริพันธ์ บังอร ศุภวิทิตพัฒนา นงลักษณ์ เฉลิมสุข ปรียกมล เลิศตระการนนท์ ปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด 13 Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Postpartum Mothers ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์ กรรณิการ์ กันธะรักษา เสาวนีย์ เหลี่ยมไตรรัตน์ บุษกร จันทร์จรมานิตย์ การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง 25 “บทบาทของพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” Development of a Multimedia Electronic Book “Role of Nurse in Postpartum Family Planning” พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ นุชนาต สุนทรลิ้มศิริ พจนีย์ ภาคภูมิ นิศาชล รักสกุล ปริญญา คลี่สกุล อดิศักดิ์ พวงสมบัติ โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอด 35 ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ Perceived Susceptibility, Self-efficacy, and Exercise Behaviors among Postpartum Women with Gestational Diabetes Mellitus เยาวลักษณ์ มาก๋า จันทรรัตน์ เจริญสันติ พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ สารบัญ บทความวิจัย หน้า ปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด 45 Factors Predicting Father Involvement in Postnatal Period แสงเดือน ศิริพร นันทพร แสนศิริพันธ์ ฉวี เบาทรวง ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์และน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ 56 Knowledge of Body Weight, Body Image and Gestational Weight Gain Among Pregnant Women อรวรรณ ฤทธิ์มนตรี ปิยะนุช ชูโต พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกันการกลับเป็นซำ�้ ของโรคปอดอักเสบในเด็ก 66 Related Factors of Maternal Practices for Recurrent Pneumonia Prevention Among Children กัญญาพัชร นิยมสัตย์ ศรีมนา นิยมค้า สุธิศา ล่ามช้าง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกันการกลับเป็นซำ�้ ของโรคปอดอักเสบในเด็ก 77 Related Factors of Maternal Practices for Recurrent Pneumonia Prevention Among Children กุลรัศมิ์ ช�ำนินอก พัชราภรณ์ อารีย์ สุธิศา ล่ามช้าง พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ 88 Child-care Behaviors at Home and Related Factors Among Caregivers of HIV/AIDS Infected Children ธวัลชญาน์ โชติเจริญธนันต์ สุธิศา ล่ามช้าง พัชราภรณ์ อารีย์ สารบัญ บทความวิจัย หน้า ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะอาการในเด็กป่วยมะเร็ง 101 ที่ได้รับเคมีบ�ำบัด Effect of Oral Mucositis Management Program on Symptom Status of Children with Cancer Receiving Chemotherapy พชรภรณ์ เกวียนสูงเนิน ศรีพรรณ กันธวัง ศรีมนา นิยมค้า ผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนดขณะใส่สายสวน 113 หลอดเลือดทางสะดือ Effect of Wearing Plastic Cap on Body Temperature Among Preterm Infants During Umbilical Catheterization วลัยพรรณ โชตวรพันธุ์ จุฑามาศ โชติบาง มาลี เอื้ออ�ำนวย การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยา 123 หลายกลุ่มในโรงพยาบาล Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital ณัฐวิภา บุญเกิดรัมย์ วิลาวัณย์ พิเชียรเสถียร พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลเอกชน 138 Surgical Site Infection Surveillance Practices and Related Factors Among Private Hospitals กัญญ์นิฏฐา วงษ์ศิริ นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ

ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก Knowledge, Attitude and Practices of Hand Hygiene Among Visitors in Intensive 151 Care Unit อมรรัตน์ อินทรชื่น อะเคื้อ อุณหเลขกะ วันชัย เลิศวัฒนวิลาศ สารบัญ บทความวิจัย หน้า การลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง: การทบทวนอย่างเป็นระบบ 164 Relieving the Burden Among Caregivers of Cancer Patients: A Systematic Review เจษฎาภรณ์ อิก�ำเหนิด จินดารัตน์ ชัยอาจ วราวรรณ อุดมความสุข ผลของการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ 175 Effect of Iyengar Yoga Exercise on Severity of Knee Osteoarthritis Among the Older Persons อังคณารัชต์ แก้วแสงใส กนกพร สุค�ำวัง ภารดี นานาศิลป์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง 185 Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ สุมาลี เลิศมัลลิกาพร ธานี แก้วธรรมานุกูล วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล ปิยวรรณ สวัสดิ์สิงห์ ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา 198 การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community วิลาวัณย์ เตือนราษฎร์ ศิวพร อึ้งวัฒนา สุกิจ เตือนราษฎร์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็ก 209 ปฐมวัยในชุมชน Factors Related to Family Member Practices for Early Childhood Injury Prevention in Community. สุภัทรา สารขาว เดชา ท�ำดี วราภรณ์ บุญเชียง สารบัญ บทความวิจัย หน้า ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง 222 The Effect of an Empowerment Program on Quality of Life Among Older Persons with Stroke จารวี คณิตาภิลักษณ์ ทศพร ค�ำผลศิริ ลินจง โปธิบาล พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 231 Food Consumption Behaviors and Nutritional Status in Dependent Older Persons ฐิตินันท์ ดวงจินา ศิริรัตน์ ปานอุทัย ณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์ การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: กรณีศึกษา 242 Empowerment in Persons Undergone Coronary Artery Bypass Grafting: A Case Study ลาลิน เจริญจิตต์ ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ เบญจมาศ สุขสถิตย์ การประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 255 Evaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Care พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์ ปานตา อภิรักษ์นภานนท์ ดาเรศ ชูศรี เรวดีทรรศน์ รอบคอบ ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา 268 Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process รัญชนา หน่อค�ำ จุฑามาศ กิติศรี พรรณี ไชยวงค์ กรรณิกา อุ่นอ้าย นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช สารบัญ บทความวิจัย หน้า ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 280 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Pong Hospital, Phayao Province อัจฉราภรณ์ จ�ำรัส ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 289 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Tron Hospital, Uttaradit Province วัลลภา ทองศรีอ้น ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง 301 ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Effect of Problem Solving Therapy Program on Depression among Patients with End Stage Renal Disease Receiving Hemodialysis. นัฎกานต์ มันตะสูตร สมบัติ สกุลพรรณ์ ดาราวรรณ ต๊ะปินตา ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาล 313 วิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ Head Nurses’ Transformational Leadership and Registered Nurses’ Voice Behaviors, University Hospitals, Northern Region ชไมพร ปินใจ เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล ทรียาพรรณ สุภามณี เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม และคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาล 324 สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย Professional Autonomy, Team Climate, and Quality Nursing Care Among Registered Nurses in Hospitals Under the Foundation of the Church of Christ in Thailand ธัญญ์นลิน ภัทรธันยโรจน์ ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ รัตนาวดี ชอนตะวัน สารบัญ บทความวิจัย หน้า การวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 337 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ Situational Analysis of Incident Reporting in Medical Intensive Care Unit 1 , Chiang Mai Province บังอร เขื่อนค�ำ สมใจ ศิระกมล บุญพิชชา จิตต์ภักดี การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาล 350 ค่ายสุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปาง Perceived Patient Safety Management Among Nursing Personnel in Fort Surasakmontri Hospital, Province วราภรณ์ ศรีรัตนา เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์ ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล 361 ศูนย์ เขตภาคเหนือ Head Nurses’ Servant Leadership and Registered Nurses’ Work Engagement, Regional Hospital, Northern Region วิรวรรณ ฉิมพลี กุลวดี อภิชาติบุตร บุญพิชชา จิตต์ภักดี ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวน 374 อย่างเป็นระบบ Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review สุปราณี ค�ำมา ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ พิกุล พรพิบูลย์ Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers 388 การปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะแห่งตนของมารดาชาวบังคลาเทศ บิวตี้ อาคเคอร์ พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น มาลี เอื้ออ�ำนวย สารบัญ บทความวิจัย หน้า Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, 400 the Republic of Kenya สมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า คาเลบ คิแทกวา อะโฮยา กุลวดี อภิชาตบุตร อรอนงค์ วิชัยค�ำ Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among 414 Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำและความผูกพันในงานของ พยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน ดวน จินเหมย สมใจ ศิระกมล ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, 428 Republic of The Gambia. บรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาลในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐแกมเบีย แฟนตา แซคกา จอว์ ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ อรอนงค์ วิชัยค�ำ Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors 441 in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้และความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาลในสถาบัน การศึกษาพยาบาล สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ รินา รานิ บาราล สมใจ ศิระกมล รัตนาวดี ชอนตะวัน สารบัญ บทความวิชาการ หน้า การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ 454 Palliative Care Nursing for Older Persons ศิริรัตน์ ปานอุทัย รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา: ผู้น�ำทางการพยาบาลสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพ 467 Associate Professor Praneet Sawasdiraksa: Nursing Leader Building Professional Advance วิจิตร ศรีสุพรรณ ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ อุดมรัตน์ สงวนศิริธรรม การจัดการกับอาการวัยทอง 478 The Management of Menopausal Symptoms ประวีดา ค�ำแดง

การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก 488 Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia ศิริรัตน์ ปานอุทัย โรจนี จินตนาวัฒน์ ฐิตินันท์ ดวงจินา บทบรรณาธิการ

สวัสดีปีใหม่สมาชิกพยาบาลสารทุกท่าน ปีนี้เป็นปีหนูทอง ทางกองบรรณาธิการยังคงพัฒนาคุณภาพวารสาร ของเราต่อไป พยาบาลสารฉบับที่ 1 ของปีที่ 47 นี้ ประกอบด้วยบทความวิชาการ บทความวิจัยที่เป็นภาษาอังกฤษ และทั้งภาษาไทยมากมายหลากหลายประเด็น ตัวอย่างเช่น ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแล ในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาด มือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก ผลของการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม ในผู้สูงอายุ ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง พฤติกรรมการ บริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะ ซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้า หอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ และ บทความวิจัยที่เป็นภาษาอังกฤษได้แก่ Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers. Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya. Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China. Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, Republic of The Gambia. Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh. นอกจากนี้ยังมีบทความวิชาการที่น่าสนใจอีก 3 เรื่องได้แก่ การพยาบาลแบบประคับประคอง ในผู้สูงอายุ รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา: ผู้น�ำทางการพยาบาลสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพ และ การจัดการ กับอาการวัยทอง กองบรรณาธิการ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า บทความวิจัยและบทความวิชาการจะเป็นประโยชน์ส�ำหรับผู้อ่านทุกท่าน ขอขอบคุณที่ส่งบทความวิจัยมาตีพิมพ์กับพยาบาลสารของเราและ หากมีข้อเสนอแนะประการใดในการปรับปรุง คุณภาพ พยาบาลสารของเรา ทางกองบรรณาธิการยินดีน้อมรับจากทุกท่าน

ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย Effects of a Breastfeeding Promotion, Support, and Protection Program for Registered Nurses in the Northern Thailand

กรรณิการ์ กันธะรักษา * Kannika Kantaruksa * มาลี เอื้ออ�ำนวย * Malee Urharmnuay * สุสัณหา ยิ้มแย้ม ** Susanha Yimyam ** นันทพร แสนศิริพันธ์ * Nantaporn Sansiriphan * บังอร ศุภวิทิตพัฒนา *** Bangorn Supawitichpatana *** นงลักษณ์ เฉลิมสุข **** Nonglak Chaloumsuk **** ปรียกมล เลิศตระการนนท์ **** Preeyakamon Lerttrakannon ****

บทคัดย่อ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีประโยชน์ทั้งต่อลูกและแม่ รวมทั้งสังคมและประเทศชาติ เพราะเป็นการเริ่มต้นสร้างเสริม สุขภาพและคุณภาพของประชากรของประเทศ ส�ำหรับประเทศไทยแม้จะมีการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มาเป็น เวลานาน แต่สถิติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวยังคงต�่ำกว่าของประเทศอื่น ๆ พยาบาลเป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญ ในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพจ�ำนวน 66 ราย ที่ท�ำงานเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในโรงพยาบาลของรัฐ ในภาคเหนือของประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ไม่มีการ ค�ำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยด�ำเนินการวิจัยโดยเก็บข้อมูลจากพยาบาลวิชาชีพที่มาเข้ารับโปรแกรมการอบรม ซึ่งเป็นจ�ำนวนของกลุ่มเป้าหมายการอบรมของแหล่งทุนและสภาการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ด�ำเนินการวิจัยได้แก่ คู่มือวิทยากรแกนน�ำเครือข่ายการอบรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพ และสื่อการสอนของคณะ ผู้จัดท�ำคู่มือและสื่อการอบรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร่วมกับอาจารย์จากคณะพยาบาลศาสตร์ 5 มหาวิทยาลัย เครื่องมือรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1) แบบสอบถามความรู้ของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ของ Sangperm (2014a) และ 2) แบบสอบถามทัศนคติของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และ คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ของ Sangperm (2014b) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และทดสอบสมมติฐาน ด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ�้ำ (Repeated Measures ANOVA) * รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University ** ศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University **** อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ **** Instructor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 1 ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย

ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังสิ้นสุดโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ คะแนนเฉลี่ยความรู้ และ ทัศนคติของพยาบาลวิชาชีพ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .05) 2. หลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน คะแนนเฉลี่ยความรู้ และทัศนคติของพยาบาลวิชาชีพ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .05) ผลการวิจัยครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สามารถ น�ำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาความรู้ และทัศนคติ ของพยาบาลวิชาชีพ เพื่อให้มีความสามารถในการส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: โปรแกรม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พยาบาลวิชาชีพ ความรู้ ทัศนคติ

Abstract Breastfeeding has benefits to both child and mother, including benefits to society and nation as it is an initiation of health promotion and improving the quality of life for the population. In Thailand, breastfeeding has been promoted for a longer period of time but the exclusive breastfeeding rate is still lower than other countries. Nurses play an important role in the breastfeeding promotion, support, and protection. This quasi-experimental research using one group pretest-posttest design aimed to examine the effects of a breastfeeding promotion, support, and protection program for registered nurses in Northern Thailand. The participants were 66 registered nurses working in public hospitals located in Northern Thailand whose practices were relevant to breastfeeding. A total of 66 registered nurses participating in the training program were included in this study without sample size calculation as it was the target number of participants defined by the grantor and the Thailand Nursing and Midwifery Council. The research instruments consisted of a manual for trainers and additional materials which were created by a production team and nursing instructors from five universities. The data collection tools consisted of 1) the questionnaire assessing nurses’ knowledge of breastfeeding promotion, support, and protection produced by Sangperm (2014a) and 2) the questionnaire assessing nurses’ attitude of breastfeeding promotion, support, and protection produced by Sangperm (2014b). Data were analyzed using descriptive statistics and repeated measures of ANOVA. The results of study showed that: 1. Immediately after attending the program, the mean knowledge score and the mean attitude score of the registered nurses was significantly higher than that of before attending the program (p < 0.05). 2. At 6 months after attending the program, the mean knowledge score and the mean attitude score of the registered nurses was significantly higher than that of before attending the program (p < 0.05).

2 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effects of a Breastfeeding Promotion, Support, and Protection Program for Registered Nurses in the Northern Thailand

The findings of this study reveals that breastfeeding promotion, support, and protection program can be used as guidelines for the improvement of nurses’ knowledge and attitude in order to enhance the competency in the promotion of breastfeeding.

Key word: Program, Breastfeeding, Registered nurse, Knowledge, Attitude

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา behavior) ท�ำให้เกิดความรัก ความผูกพัน ระหว่างแม่ นมแม่เป็นอาหารธรรมชาติที่มีคุณค่าท�ำให้ลูก และลูกอีกด้วย (Lawrence & Lawrence, 2011) มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ เพระอุดมไปด้วยสารอาหาร ในส่วนประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ การเลี้ยงลูก ที่เหมาะสมกับความต้องการของลูก สามารถย่อยและ ด้วยนมแม่ช่วยให้ประหยัดเป็นอย่างมากเพราะไม่ต้อง ดูดซึมได้ง่าย มีภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ และสามารถ เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อนมผสมและอุปกรณ์ในการให้นม ป้องกันโรคภูมิแพ้ได้ นอกจากประโยชน์ทางด้านร่างกายแล้ว รวมทั้งลดปัญหาขยะจากการใช้นมผสม เป็นการรักษา นมแม่ยังมีผลต่อการพัฒนาทางด้านอารมณ์ และจิตใจ สิ่งแวดล้อม (American College of Obstetricians ของลูก เพิ่มสัมพันธภาพระหว่างแม่และลูก (Lawrence and Gynecologist [ACOG], 2007) นอกจากนี้การ & Lawrence, 2011) แม่ที่ให้นมลูก อยู่ใกล้ชิดลูก สัมผัส เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษาทารก โอบกอดลูก ท�ำให้ลูกมีความรักความผูกพันกับแม่ และ จากการเจ็บป่วยอีกด้วย (Wong, Perry, Hockenberry, มีความมั่นคงทางอารมณ์ (Haroon, Das, Salam, Imdad, & Wilson, 2006) & Bhutta, 2013) การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่นอกจากมี การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีประโยชน์ทั้งต่อลูกและแม่ ประโยชน์ต่อสุขภาพของลูกแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อ รวมทั้งสังคมและประเทศชาติ ส�ำหรับประเทศไทย สุขภาพของแม่ คือในขณะที่ลูกดูดนม ร่างกายแม่จะหลั่ง แม้จะมีความพยายามในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วย ฮอร์โมนออกซิโทซิน (oxytocin) ท�ำให้มดลูกหดรัดตัวดี นมแม่จากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในระดับชุมชน ประเทศ ช่วยลดอุบัติการณ์การตกเลือดหลังคลอด ช่วยขับน�้ำ และจากองค์กรระดับนานาชาติ มาเป็นเวลานาน แต่จาก คาวปลา ท�ำให้รูปร่างดี เพราะมีการน�ำไขมันที่สะสมไว้ รายงานขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ในร่างกายมาใช้ในการผลิตน�้ำนม (World Health (UNICEF, 2013) พบสถิติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ Organization [WHO], 2014) และเป็นการคุมก�ำเนิด อย่างเดียว 6 เดือนทั่วโลกอยู่ที่ร้อยละ 38 และสถิติ โดยวิธีธรรมชาติจากการที่ฮอร์โมนโปรแลคติน (prolactin) ของประเทศไทยอยู่ที่ร้อยละ 15 และหากใช้ข้อมูลจาก ที่อยู่ในระดับสูงช่วยยับยั้งการตกไข่ นอกจากนี้การ รายงานสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกพรุน โดยส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าอัตราการเลี้ยงลูก เมื่อเข้าสู่วัยหมดประจ�ำเดือน (Lawrence & Lawrence, ด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน มีเพียงร้อยละ 12.3 2011) และช่วยลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม (National Statistic Office, Statistical Forecasting (Mohammad Mousa, 2014) มะเร็งรังไข่ (Jordan, Bureau, 2013) แม้ว่าประเทศไทยจะมีการส่งเสริมให้ Cushing-Haugen, Wicklund, Doherty, & Rossing, มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างต่อเนื่อง แต่สถิติการ 2012) ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรคความ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของไทยยังคงต�่ำกว่า ดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และโรคหัวใจ (Stuebe & ของประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกอยู่มาก Schwarz, 2010) ส�ำหรับทางด้านจิตใจนั้นการเลี้ยงลูก การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะประสบผลส�ำเร็จ และ ด้วยนมแม่ช่วยกระตุ้นพฤติกรรมการเป็นแม่ (maternal เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสุขภาพของแม่และลูกได้นั้นต้อง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 3 ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย

ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่แตกต่างกัน และยัง จากบุคลากรสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากพยาบาล พบอีกว่าพยาบาลขาดความรู้ในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วย (Laantera, Polkki, & Pietila, 2011) พยาบาลเป็นผู้ที่ นมแม่ (Bernaix, 2000) จากการทบทวนวรรณกรรมของ มีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครอง Dennis (2002) ที่รวบรวมงานวิจัยระหว่างปี ค.ศ. 1990- การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อีกทั้งยังมีส่วนในการตัดสินใจ 2000 พบว่าบุคลากรสุขภาพไม่ได้เป็นแหล่งสนับสนุนที่ดี เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นอันดับต้น ๆ รองจากตัวของแม่ ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เนื่องจากขาดความรู้ ท�ำให้ไม่ เนื่องจากพยาบาลเป็นบุคคลที่คอยให้การดูแลแม่อย่าง สามารถให้ค�ำแนะน�ำแก่แม่ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ ใกล้ชิดตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลังคลอด McInnes & Chambers (2008) ได้ทบทวนอย่างเป็น จนกระทั่งกลับไปเลี้ยงดูลูกที่บ้าน นอกจากนั้นพยาบาล ระบบจากงานวิจัยระหว่างปี ค.ศ. 1990-2005 พบว่า ยังมีบทบาทในการดูแลสุขภาพทารกและเด็กอย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนช่วยเหลือในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ตั้งแต่ระยะแรกเกิด จึงเป็นหน้าที่ของพยาบาลที่จะต้อง จากบุคลากรสุขภาพ เช่นพยาบาลผดุงครรภ์ยังไม่มี ดูแลให้ทารกได้รับอาหารที่ดีที่สุดคือนำ�้ นมแม่อย่างเพียงพอ คุณภาพเท่าที่ควรเนื่องจากบุคลากรสุขภาพยังขาดความรู้ พยาบาลจึงต้องให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ที่ทันสมัย ขาดทักษะในการดูแล รวมทั้งขาดความเข้าใจ ถ่ายทอดทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สอนและ ในความต้องการของแม่ และบุคลากรสุขภาพบางคนไม่มี ฝึกทักษะให้แม่มีความมั่นใจและสามารถให้นมลูกได้ ทักษะในการเป็นที่ปรึกษาให้แก่แม่ที่มีปัญหาในการให้ อย่างถูกต้องตั้งแต่ระยะแรกหลังคลอด จนกระทั่ง นมลูกและจาการศึกษาของ Gale, Fothergill- จ�ำหน่ายกลับบ้าน ตลอดจนดูแลให้แม่ที่ต้องกลับไป Bourbonnais & Chamberlain (2001) ยังพบว่าหาก ท�ำงานนอกบ้านสามารถให้นมแม่แก่ลูกได้อย่างต่อเนื่อง พยาบาลมีพฤติกรรมที่ไม่สนับสนุนช่วยเหลือการเลี้ยงลูก หากแม่ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากพยาบาลอาจจะเกิด ด้วยนมแม่ เช่น พยาบาลมีความรีบเร่งในการช่วยเหลือ ความล้มเหลวในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ ดังเช่น เนื่องจากมีงานยุ่งตลอดเวลา และขาดการประเมินความ ผลการศึกษาประสบการณ์และปัจจัยในการเลี้ยงลูกด้วย ต้องการของแม่อย่างเหมาะสม ให้ค�ำแนะน�ำที่ขัดแย้งกัน นมแม่อย่างเดียวของแม่ท�ำงานนอกบ้านของ Tangsuksan, ขาดความเอาใจใส่ห่วงใย ตลอดจนมีความรู้ที่จ�ำกัดเกี่ยวกับ & Ratinthorn (2011) พบว่าแม่ที่ไม่ได้รับข้อมูลความรู้ วิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หรือไม่มีความสามารถในการ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากพยาบาล แก้ไขปัญหา ล้มเหลวในการช่วยเหลือให้แม่สามารถให้ เมื่อกลับไปท�ำงานจะไม่สามารถวางแผนบีบเก็บน�้ำนม นมลูกในครึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด การสนับสนุนช่วยเหลือ สะสมไว้ให้ทารกล่วงหน้าได้ นอกจากนี้แม่ยังต้อง ที่ไม่เหมาะสมเหล่านี้ท�ำให้แม่เกิดความไม่มั่นใจ ลังเลใจ แสวงหาแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการบีบเก็บ การให้นำ�้ นม ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ บีบเก็บแก่ลูกจากบุคคลรอบข้างและสื่อต่าง ๆ แต่ยังไม่ ในประเทศไทยจากการศึกษาของ Panbangpra, เพียงพอที่จะช่วยให้แม่ประสบผลส�ำเร็จในการเลี้ยงลูก & Sangperm (2013) พบว่าพยาบาลขาดความรู้ ด้วยนมแม่อย่างเดียวนานถึง 6 เดือนได้ ดังนั้นพยาบาล เนื่องจากไม่ได้รับการอบรมเพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการ จึงเป็นบุคคลส�ำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน และ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ทันสมัย และจากการศึกษาของ คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ประสบผลส�ำเร็จ Kantaruksa, Sansiriphun, & Prasitwattanaseree ด้วยเหตุนี้พยาบาลจึงต้องเป็นผู้มีความรู้ที่ถูกต้องและ (2014) พบว่าพยาบาลมีความต้องการเพิ่มพูนความรู้ ทันสมัย ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ให้เป็นปัจจุบันในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทั้งในระยะ จากผลการวิจัยพบว่าพยาบาลมีความรู้เกี่ยวกับ ตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด รวมถึงความรู้เกี่ยว การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และมีศักยภาพในการส่งเสริม กับการแก้ไขปัญหาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และ

4 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effects of a Breastfeeding Promotion, Support, and Protection Program for Registered Nurses in the Northern Thailand

จากการศึกษายังพบว่าความรู้ และทัศนคติของพยาบาล ที่ดีเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้แก่แม่และครอบครัว รวมทั้งการปฏิบัติในโรงพยาบาลจะส่งผลต่อการเลี้ยงลูก สภาการพยาบาลและคณะพยาบาลศาสตร์ทั้ง 5 ด้วยนมแม่ (Hong, Callister & Schwartz, 2003) ดังนั้น มหาวิทยาลัย จึงได้สร้างโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน พยาบาลจึงต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับการเลี้ยงลูก และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาล ด้วยนมแม่เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ วิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐ โดยคณะ ที่ทันสมัย มีทัศนคติที่ดี รวมทั้งมีทักษะในการส่งเสริม พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับผิดชอบจัด และแก้ไขปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างถูกต้อง โปรแกรมให้แก่พยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของ ดังที่องค์การอนามัยโลก และองค์การทุนเพื่อเด็กแห่ง ประเทศไทย ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาผลของ สหประชาชาติ ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าบุคลากรสุขภาพ โปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยง ผู้มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูก ลูกด้วยนมแม่ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของ ด้วยนมแม่จะต้องได้รับการอบรมเพิ่มเติม เพราะการเรียน ประเทศไทย โดยคาดว่าพยาบาลวิชาชีพที่ได้รับ ในชั้นเรียนเมื่อเป็นนักศึกษาไม่เพียงพอที่จะด�ำเนินการ โปรแกรมดังกล่าวจะมีความรู้เพิ่มมากขึ้น และมีทัศนคติ ได้อย่างมีคุณภาพ ดังเช่นการศึกษาในสหราชอาณาจักร ที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ที่จัดให้ผดุงครรภ์เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พบว่าสามารถเพิ่มความรู้ และ วัตถุประสงค์การวิจัย ทัศนคติ ในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้อย่างมี 1. เพื่อเปรียบเทียบความรู้ และทัศนคติของ นัยส�ำคัญทางสถิติ (Moran, Bramwell, Dykes, & พยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังสิ้นสุดโปรแกรมการส่งเสริม Dinwoodie, 2000) ประกอบกับในปัจจุบันองค์ความรู้ สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีการพัฒนาเป็นอย่างมาก 2. เพื่อเปรียบเทียบความรู้ และทัศนคติของ รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายในการด�ำเนินงานเกี่ยว พยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริม กับการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูก สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ด้วยนมแม่เช่นกัน ดังนั้นพยาบาลควรได้รับการอบรม เพื่อเพิ่มพูนความรู้ รวมทั้งเกิดทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูก สมมติฐานการวิจัย ด้วยนมแม่ 1. หลังสิ้นสุดโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และ สภาการพยาบาลโดยการสนับสนุนจากองค์การ คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความรู้และทัศนคติของ ทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และคณะพยาบาลศาสตร์ พยาบาลวิชาชีพ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ คณะพยาบาลศาสตร์ 2. หลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ความรู้ และ ขอนแก่น มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยสงขลา ทัศนคติของพยาบาลวิชาชีพสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม นครินทร์ ได้เห็นความส�ำคัญในการพัฒนาพยาบาล วิชาชีพเพื่อให้มีความรู้ที่ถูกต้องและทันสมัย เป็นไปใน กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย แนวทางเดียวกัน ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูก การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะประสบผลส�ำเร็จได้นั้น ด้วยนมแม่ โดยมุ่งหวังให้พยาบาลวิชาชีพ สามารถวิเคราะห์ ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งคือ การส่งเสริม สนับสนุน และ ปัญหา วางแผนให้ความช่วยเหลือแม่ และให้ค�ำปรึกษา คุ้มครองอย่างต่อเนื่องจากพยาบาล ซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาท การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทั้งในภาวะปกติและเจ็บป่วยของแม่ ส�ำคัญและเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับหญิงในระยะตั้งครรภ์ และลูกได้ รวมถึงสามารถถ่ายทอดความรู้ และทัศนคติ คลอด และหลังคลอด การที่พยาบาลได้รับความรู้จาก

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 5 ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย

โปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ด้วยนมแม่ ตามคู่มือวิทยากรแกนน�ำเครือข่ายการอบรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพ และสื่อ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการด�ำเนินการวิจัย ได้แก่ คู่มือ การสอน ของคณะผู้จัดท�ำคู่มือและสื่อการอบรมการ วิทยากรแกนน�ำเครือข่ายการอบรมการเลี้ยงลูกด้วย เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (2557) จะท�ำให้พยาบาลวิชาชีพมี นมแม่ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพ และสื่อการสอน ของคณะ ความรู้เพิ่มมากขึ้น และมีทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูก ผู้จัดท�ำคู่มือและสื่อการอบรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ด้วยนมแม่ ซึ่งอาจส่งผลให้การส่งเสริม สนับสนุน และ ร่วมกับอาจารย์จากคณะพยาบาลศาสตร์ 5 มหาวิทยาลัย คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีประสิทธิภาพก่อให้เกิด ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลลัพธ์ที่ดีต่อสุขภาพของทั้งแม่และลูก ตลอดจน มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยบูรพา และ ประเทศชาติต่อไป มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ ด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จาก 5 ภูมิภาค วิธีด�ำเนินการวิจัย 2. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi- 2.1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วย experimental research) แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุด หน่วยงาน หลังการทดลอง (one group pretest-posttest design) ที่ปฏิบัติงาน ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานปัจจุบัน เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และ หน้าที่ความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของพยาบาลวิชาชีพ การได้รับการอบรมเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเติม ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพที่ท�ำงาน ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการท�ำงาน เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในโรงพยาบาลของรัฐ 2.2 แบบสอบถามความรู้ของพยาบาลในการส่งเสริม ในภาคเหนือของประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกตาม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ของ คุณสมบัติต่อไปนี้ 1) ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลระดับ Sangperm, 2014a มีจ�ำนวน 30 ข้อ ลักษณะค�ำตอบ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลจังหวัด หรือโรงพยาบาล มี 2 ตัวเลือก (ใช่/ไม่ใช่) ชุมชน 2) ปฏิบัติงานในหน่วยฝากครรภ์ หน่วยห้องคลอด 2.3 แบบสอบถามทัศนคติของพยาบาลในการ หน่วยหลังคลอด หน่วยทารกแรกเกิด หรือในหอผู้ป่วย ส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ที่มีการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หรือ ของ Sangperm, 2014b มีจ�ำนวน 10 ข้อ ลักษณะค�ำ มีการปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับหญิงในระยะตั้งครรภ์ ระยะ ตอบเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 อันดับ (rating scale) ให้นมบุตร หรือทารกแรกเกิด และ 3) ยินดีเข้าร่วมการวิจัย ตั้งแต่ เห็นด้วยอย่างยิ่ง (5 คะแนน) ถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง การศึกษาครั้งนี้ เป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการที่มีกลุ่ม (1 คะแนน) เป้าหมายกระจาย อยู่ในจังหวัดทางภาคเหนือ จ�ำนวนของ การทดสอบคุณภาพเครื่องมือ 1) ความตรงด้าน กลุ่มเป้าหมายของการอบรมจ�ำเป็นต้องอ้างอิงตามความ เนื้อหา (content validity) คู่มือวิทยากรแกนน�ำเครือข่าย ต้องการของแหล่งทุนและสภาการพยาบาล การศึกษา การอบรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพ ครั้งนี้จึงไม่มีการค�ำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัย และสื่อการสอนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ประกอบด้วย ด�ำเนินการวิจัยโดยเก็บข้อมูลจากพยาบาลวิชาชีพที่มา ต�ำราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สื่อวิดีทัศน์ และเอกสาร เข้ารับโปรแกรมการอบรม 66 คน ประกอบการอบรมฯ ได้น�ำไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญ ด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จ�ำนวน 3 ท่าน เป็นพยาบาล จ�ำนวน 1 ท่าน และเป็นแพทย์จ�ำนวน 2 ท่าน เป็นผู้พิจารณา

6 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effects of a Breastfeeding Promotion, Support, and Protection Program for Registered Nurses in the Northern Thailand

ภายหลังจากผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาแล้ว ได้น�ำมาปร สามารถสอบถามผู้วิจัยได้ับปรุง เมื่อกลุ่มตัวอย่างยินยอมเข้า แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ 2) ความเชื่อมั่น ร่วมวิจัย ให้กลุ่มตัวอย่างลงชื่อในหนังสือแสดงเจตนา (reliability) แบบสอบถามความรู้ของพยาบาล และ ยินยอมเข้าร่วมการวิจัย แบบสอบถามทัศนคติของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน 2. ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามความรู้ และ และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ผู้วิจัยน�ำไปตรวจ แบบสอบถามทัศนคติของพยาบาลในการส่งเสริม สอบความเชื่อมั่นแบบความสอดคล้องภายใน (internal สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (pre-test) consistency reliability) โดยทดสอบกับพยาบาล 3. ด�ำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการตามโปรแกรม วิชาชีพที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน การส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 10 ราย และน�ำมาหาค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟา ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพ เป็นเวลา 4 วัน (Cronbach alpha coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นของ 4. ในวันที่ 4 เมื่อสิ้นสุดโปรแกรม กลุ่มตัวอย่าง แบบสอบถามความรู้ของพยาบาล และแบบสอบถาม ตอบแบบสอบถามความรู้และแบบสอบถามทัศนคติของ ทัศนคติของพยาบาลเท่ากับ .70 และ .80 ตามล�ำดับ พยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ (post-test ครั้งที่ 1) การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง 5. หลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน ให้กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยด�ำเนินการพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่างโดย ตอบแบบสอบถามความรู้และแบบสอบถามทัศนคติของ การน�ำโครงร่างการวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการจริยธรรม พยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยง การวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ลูกด้วยนมแม่ (post-test ครั้งที่ 2) โดยการส่งแบบสอบถาม เมื่อได้รับอนุญาตผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตาม ให้กับกลุ่มตัวอย่างทางไปรษณีย์ พร้อมซองติดแสตมป์ คุณสมบัติ แล้วชี้แจงวัตถุประสงค์ ประโยชน์และขั้นตอน เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างส่งแบบสอบถามคืนให้ผู้วิจัยทาง การด�ำเนินการวิจัยแก่กลุ่มตัวอย่าง และสิทธิในการตอบรับ ไปรษณีย์ หรือปฏิเสธในการเข้าร่วมการวิจัยโดยไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง ให้กลุ่มตัวอย่างเซ็นใบยินยอมเข้าร่วม การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยและชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่างทราบว่ากลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลโดยใช้สถิติพรรณนา มีสิทธิในการขอยุติการเข้าร่วมการวิจัยโดยไม่มีผลกระทบ และวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้ และ ต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน และข้อมูลที่ได้จากการ ทัศนคติของพยาบาลในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยแม่ วิจัยจะน�ำเสนอในภาพรวมเท่านั้น และหากกลุ่มตัวอย่าง ก่อนได้รับโปรแกรม หลังสิ้นสุดโปรแกรม และหลังได้รับ มีข้อสงสัยสามารถสอบถามจากผู้วิจัยได้ตลอดเวลา โปรแกรม 6 เดือน ด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบวัดซำ�้ (Repeated Measures ANOVA) และท�ำการ การเก็บรวบรวมข้อมูล ทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยใช้การทดสอบของ เมื่อได้รับอนุมัติให้ด�ำเนินการวิจัยได้ ผู้วิจัยท�ำการ เชฟเฟ (Scheffe) รวบรวมข้อมูลดังนี้ 1. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ขั้นตอนการเก็บ ผลการวิจัย รวบรวมข้อมูล การพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่าง การ 1. กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 66 ราย ส่วนใหญ่มีอายุ ตัดสินใจในการเข้าร่วมโครงการวิจัยเป็นไปโดยความ อยู่ระหว่าง 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 38 มีสถานภาพ สมัครใจ ผู้วิจัยขอให้กลุ่มตัวอย่างอ่านค�ำอธิบายตาม สมรสคู่ร้อยละ 66.10 การศึกษาในระดับชั้นปริญญาตรี เอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย และหากมีข้อสงสัย ร้อยละ 86.80 ปฏิบัติงานในหน่วยฝากครรภ์ ร้อยละ 24

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 7 ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย

หน่วยคลอดร้อยละ 23.20 หน่วยหลังคลอดร้อยละ ของกลุ่มตัวอย่าง สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมี 15.70 ห้องเด็กแรกเกิดร้อยละ 7.40 แผนกติดตาม นัยส�ำคัญทางสถิติ (F= 21.535, p < .05) เยี่ยมบ้านร้อยละ 5.80 และปฏิบัติงานมากกว่า 1 จุด 5. หลังการได้รับโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน ร้อยละ 23.90 มีประสบการณ์การท�ำงานมากกว่า 5 ปี และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน คะแนน ร้อยละ 60.30 ส่วนใหญ่มี หน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการ เฉลี่ยทัศนคติของกลุ่มตัวอย่าง สูงกว่าก่อนได้รับ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในด้านการสอนและแนะน�ำการเลี้ยงลูก โปรแกรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (F= 21.535, p < .05) ด้วยนมแม่ คิดเป็นร้อยละ 85.10 ในระยะเวลา 3 ปี ดังแสดงในตารางที่ 1, 2, 4 และ 5 ที่ผ่านมาได้รับการอบรมเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เมื่อท�ำการทดสอบค่าเฉลี่ยของความรู้ และ มากกว่า 8 ชั่วโมงขึ้นไป ร้อยละ 49.60 ทัศนคติของกลุ่มตัวอย่างระหว่างก่อนได้รับโปรแกรม 2. หลังสิ้นสุดโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และ หลังสิ้นสุดโปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ คะแนนเฉลี่ยความรู้ของ เป็นรายคู่โดยใช้วิธีการทดสอบของเชฟเฟ (Scheffe) กลุ่มตัวอย่าง สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยส�ำคัญ ผลการวิเคราะห์พบว่า ก่อนได้รับโปรแกรม และหลัง ทางสถิติ (F=7.533, p < .05) สิ้นสุดโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรู้และ 3. หลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และ ทัศนคติแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .05) คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน คะแนนเฉลี่ย และพบว่าก่อนได้รับโปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม ความรู้ของกลุ่มตัวอย่าง สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่าง 6 เดือน กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรู้และทัศนคติแตก มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (F= 7.533, p < .05) ต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .05) ดังแสดงใน 4. หลังสิ้นสุดโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และ ตารางที่ 3 และ 6 ตามล�ำดับ คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ คะแนนเฉลี่ยทัศนคติ

ตารางที่ 1 คะแนนความรู้ของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนได้รับ โปรแกรม หลังสิ้นสุดโปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน คะแนน ต�่ำสุด สูงสุด ค่าเฉลี่ย S.D ก่อนได้รับโปรแกรม 13 27 20.24 1.54 หลังสิ้นสุดโปรแกรม 17 27 21.45 1.44 หลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน 17 25 21.45 2.69

ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ�้ำของคะแนนเฉลี่ยความรู้ของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครอง การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนได้รับโปรแกรม หลังสิ้นสุดโปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน แหล่งความแปรปรวน df SS MS F ความแปรปรวนร่วมระหว่างกลุ่ม 2 46.242 23.121 7.533 ความแปรปรวนภายในกลุ่ม 64 196.424 3.069 รวม 66 242.666 p< .05

8 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effects of a Breastfeeding Promotion, Support, and Protection Program for Registered Nurses in the Northern Thailand

ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่ระหว่างคะแนนเฉลี่ยความรู้ของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และ คุ้มครอง การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนได้รับโปรแกรม หลังสิ้นสุดโปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน หลังสิ้นสุด หลังได้รับโปรแกรม ค่าเฉลี่ย ก่อนได้รับโปรแกรม โปรแกรม 6 เดือน ก่อนได้รับโปรแกรม - -1.212* -1.606* หลังสิ้นสุดโปรแกรม 1.212* - -.394 หลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน 1.606* 394 - p< .05

ตารางที่ 4 คะแนนทัศนคติของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนได้รับ โปรแกรม หลังสิ้นสุดโปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน คะแนน ต�่ำสุด สูงสุด ค่าเฉลี่ย S.D ก่อนได้รับโปรแกรม 32 50 37.93 3.15 หลังสิ้นสุดโปรแกรม 31 50 42.60 2.71 หลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน 31 49 40.30 4.05

ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ�้ำของคะแนนเฉลี่ยทัศนคติของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครอง การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนได้รับโปรแกรม หลังสิ้นสุดโปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน แหล่งความแปรปรวน df SS MS F ความแปรปรวนร่วมระหว่างกลุ่ม 2 359.354 179.677 21.535 ความแปรปรวนภายในกลุ่ม 64 533.980 8.343 รวม 66 893.334 p< .05

ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่ระหว่างค่าคะแนนเฉลี่ยทัศนคติของพยาบาลในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครอง การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนได้รับโปรแกรม หลังสิ้นสุดโปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน หลังสิ้นสุด หลังได้รับโปรแกรม ค่าเฉลี่ย ก่อนได้รับโปรแกรม โปรแกรม 6 เดือน ก่อนได้รับโปรแกรม - -4.667* -2.364* หลังสิ้นสุดโปรแกรม 4.667* - 2.303 หลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน 2.364* -2.303 - p< .05

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 9 ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย

การอภิปรายผล ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้แก่ผดุงครรภ์ ผลการ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาผลของโปรแกรมการ ศึกษาพบว่าสามารถเพิ่มความรู้ และทัศนคติ ในการส่งเสริม ส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย (Moran et al., 2000) นอกจากนี้ยังมีการศึกษาที่พบว่า โดยเปรียบเทียบความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการเลี้ยงลูก พยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีความ ด้วยนมแม่ระหว่างก่อนได้รับโปรแกรม หลังสิ้นสุด ต้องการเพิ่มพูนความรู้ให้เป็นปัจจุบันทั้งในระยะตั้งครรภ์ โปรแกรม และหลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน ระยะคลอด และหลังคลอด รวมถึงความรู้เกี่ยวกับการ สมมติฐานการวิจัยครั้งนี้ระบุว่า 1) หลังสิ้นสุด แก้ไขปัญหาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (Kantaruksa et โปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยง al., 2014) ดังนั้นเมื่อพยาบาลได้รับการอบรมตามที่ ลูกด้วยนมแม่ความรู้ และทัศนคติของพยาบาลวิชาชีพ ต้องการย่อมจะท�ำให้มีคะแนนความรู้และทัศนคติสูงขึ้นได้ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม และ 2) หลังได้รับโปรแกรม การส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วย ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ นมแม่ 6 เดือน ความรู้ และทัศนคติของพยาบาลวิชาชีพ 1. ด้านนโยบาย น�ำผลการวิจัยเสนอต่อผู้บริหาร สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม เพื่อสนับสนุนให้น�ำโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และ การที่ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานสามารถ คุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไปใช้อบรมพยาบาล อธิบายได้ว่าโปรแกรมที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น วิชาชีพให้มีความรู้และทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วย โปรแกรมที่มีคุณภาพ ประกอบด้วยคู่มือการอบรมการ นมแม่ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพ และสื่อการ 2. ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ส่งเสริมให้พยาบาล สอนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้แก่ ต�ำราการเลี้ยงลูกด้วย ที่เข้ารับการอบรมตามโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน นมแม่ สื่อวิดีทัศน์ และเอกสารประกอบการอบรมที่มี และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ประยุกต์ใช้ความรู้ ความครอบคลุมในทุกระยะ ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ คลอด เพื่อเพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หลังคลอด กลับไปอยู่บ้าน และเมื่อกลับไปท�ำงาน 3. ด้านการศึกษา น�ำผลการวิจัยไปถ่ายทอดให้ โปรแกรมนี้พัฒนาโดยอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบัน นักศึกษาพยาบาลทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับ การศึกษาทางการพยาบาล 5 มหาวิทยาลัย และ บัณฑิตศึกษาเพื่อให้เห็นความส�ำคัญของการพัฒนา พยาบาลวิชาชีพผู้มีความเชี่ยวชาญด้านการส่งเสริม ศักยภาพของพยาบาลในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ นอกจากนี้โปรแกรมดังกล่าวยังได้ ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญด้านการ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในระดับประเทศ ควรศึกษาวิจัยผลส�ำเร็จของการส่งเสริมการเลี้ยงลูก เมื่อผู้วิจัยได้น�ำโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน ด้วยนมแม่อย่างเดียวในพยาบาลที่ได้รับการอบรมตาม และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มาใช้ให้ความรู้ และ โปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูก ฝึกปฏิบัติเป็นระยะเวลา 4 วัน โดยมีผู้เชี่ยวชาญทั้งภาค ด้วยนมแม่ เช่นการเพิ่มของอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทฤษฎีและปฏิบัติเป็นวิทยากรจึงมีผลให้กลุ่มตัวอย่างมี อย่างเดียว คะแนนความรู้ และทัศนคติ ทั้งหลังได้รับโปรแกรม และ หลังได้รับโปรแกรม 6 เดือน สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ จะเห็นได้ว่าสอดคล้องกับการ ศึกษาในสหราชอาณาจักร ที่ได้จัดการอบรมเกี่ยวกับการ

10 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effects of a Breastfeeding Promotion, Support, and Protection Program for Registered Nurses in the Northern Thailand

เอกสารอ้างอิง American College of Obstetricians and Gynecologist. (2007). Breastfeeding: Maternal and infant aspects. Retrieved from http://www.oumedicine.com/docs/adobgynworkfiles/ acogclinreviewbfdg2007.pdf?sfvrsn=2 Bernaix, L. W. (2000). Nurses’ attitude, subjective norms, and behavioral intentions toward support of breastfeeding mothers. Journal of Human Lactation, 16(3), 201-209. Dennis, C. (2002). Breastfeeding initiation and duration: A 1990-2000 literature review. Journal of Obstetrics Gynecologic and Neonatal Nursing, 31, 12-32. Gale, J., Fothergill-Bourbonnais, F., & Chamberlain, M. (2001). Measuring nursing support during childbirth. Maternal and Child Nursing Journal, 26(5), 264-271. Haroon, S., Das, K. J., Salam, A. R., Imdad, A., & Bhutta, A. Z., (2013). Breastfeeding promotion interventions and breastfeeding practice: A systematic review. BMC Public Health, 13(3), 520-537. doi: 10.1186/1471-2458-13-53-520 Hong, T. M., Callister, L. C., & Schwartz, R. (2003). First-time mothers’ views of breastfeeding support from nurses. Maternal and Child Nursing. 28, 10-15. Jordan, S. J., Cushing-Haugen, K. L., Wicklund, K. G., Doherty, J. A., & Rossing, M. A. (2012). Breast-feeding and risk of epithelial ovarian cancer. Cancer causes & control, 23(6), 919-927. Kantaruksa, K., Sansiriphun., & Prasitwattanaseree. (2014). Development of breastfeeding promotion models for instructors, Faculty of Nursing, Chiang Mai University and nurses Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. Nursing Journal, 41(Supple), 159-169. (In Thai). Laanterä, S., Polkki, T., & Pietila, A.-M. (2011). A descriptive qualitative review of the barriers relating to breast-feeding counselling. International Journal of Nursing Practice, 17(1), 72-84. doi: 10.1111/j.1440-172X.2010.01909.x Lawrence, R. A., & Lawrence, R. M., (2011). Breastfeeding a guide for the medical profession (7th ed). Maryland Heights: Mosby. McInnes, R. J., & Chambers, J. A. (2008). Supporting breastfeeding mothers: Qualitative synthesis. Journal of Advanced Nursing, 62(4), 407-427. Mohammad Mousa, A. (2014). Breastfeeding for the Prevention of Breast Cancer: Evidence Based Practice. Middle East Journal of Age & Ageing, 12(4), 8-10. Moran, V. H., Bramwell, R., Dykes, F., & Dinwoodie, K. (2000). An evaluation of skills acquisition on the WHO/UNICEF breastfeeding management course using the pre validated breastfeeding support skills tool (BeSST). Midwifery, 16, 197-203. National Statistic office, Statistical Forecasting Bureau, The government complex. (2013). Major findings of multiple indicator cluster survey 2012. Bangkok: Text and Journal Publication. Panbangpra, S., & Sangperm, P. (2013). Knowledge, attitude, and practice of breastfeeding promotion among nurses in private hospitals. Journal of Nursing Science 31(1), 70-79. (In Thai).

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 11 ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส�ำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย

Sangperm, P. (2014a). The Questionnaire assessing nurses’ knowledge of breastfeeding promotion, support, and protection. Bangkok: Faculty of Nursing, Mahidol University. (In Thai). Sangperm, P. (2014b). The Questionnaire assessing nurses’ attitude of breastfeeding promotion, support, and protection. Bangkok: Faculty of Nursing, Mahidol University. (In Thai). Stuebe, A. M., & Schwarz, E. B. (2010). The risks and benefits of infant feeding practices for women and their children. Journal of Perinatology, 30(3), 155-162. doi: 10.1038/jp.2009.107 Tangsuksan, P., & Ratinthorn, A. (2011). Experiences and contextual factors related to exclusive breastfeeding in full-time working mothers. Nursing Science, 29(3), 51-62. (In Thai). UNICEF. (2013). Breastfeeding. Retrieved from http://unicef.org/nutrition/index_24824.html Wong, D. L., Perry, S. E., Hockenberry, D. L., & Wilson, D. (2006). Maternal child nursing care (3rd ed.). St Louis: Mosby. World Health Organization. (2014). Breastfeeding. Retrieved from http:// www. Who.int/maternal_child_adolescent/topics/child/nutrition/breastfeeding/

12 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Postpartum Mothers

ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์ * Preeyakamon Krikitrat * กรรณิการ์ กันธะรักษา ** Kannika Kantaruksa ** เสาวนีย์ เหลี่ยมไตรรัตน์ *** Saowanee Liamtrirat *** บุษกร จันทร์จรมานิตย์ **** Busakorn Janjornmanit ****

บทคัดย่อ ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะช่วยให้มารดาหลังคลอดสามารถเผชิญ กับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และการปรับตัวในระยะหลังคลอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิจัยหาความ สัมพันธ์เชิงท�ำนายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล และปัจจัยท�ำนาย ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาที่เข้ารับการดูแล ในหน่วยหลังคลอด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 จ�ำนวน 80 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่ก�ำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม ข้อมูล คือ แบบประเมินความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล แบบวัดคุณภาพการสอนของพยาบาลก่อน จ�ำหน่าย และแบบสอบถามการประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย ทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือโดยใช้สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์อัลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .96 .97 และ .97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1. มารดาหลังคลอด ร้อยละ 65.00 รับรู้เกี่ยวกับความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลอยู่ใน ระดับสูง โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 193.08 (S.D. = 25.2) 2. มารดาหลังคลอด ร้อยละ 58.75 รับรู้เกี่ยวกับคุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่ายอยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 208.41 (S.D. = 35.82) 3. มารดาหลังคลอด ร้อยละ 70.00 รับรู้เกี่ยวกับการประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่ายอยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนน เฉลี่ยเท่ากับ 101.63 (S.D. = 18.35) 4. คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูงกับความพร้อมส�ำหรับการ จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .513) ส่วนการประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ

* อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Instructor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ *** Registered Nurse, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital **** พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลนครพิงค์ **** Registered Nurse, Nakornping Hospital

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 13 ปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด

ที่ระดับ .01 (r = .465) 5. คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย และการรับรู้การประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย สามารถร่วมกัน ท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ได้ร้อยละ 33.00 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถน�ำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความพร้อมในการจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาลของมารดา หลังคลอด

ค�ำส�ำคัญ: การจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาล ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย คุณภาพการสอน การประสานการดูแล มารดาหลังคลอด

Abstract Readiness for hospital discharge is necessary for postpartum mothers. This helps mothers effectively face with physical, mental, and adaptive changes in the postpartum period. The purpose of this predictive correlational research study was to explore readiness for hospital discharge and the predicting factors of readiness for hospital discharge among postpartum mothers. The subjects were 80 mothers who gave birth and stay in the postpartum care unit at Maharaj Nakorn Chaing Mai or Nakornping Hospitals from January to August 2016. The participants were criteria selected. The assessment tools were the readiness for hospital discharge questionnaire, the teaching quality questionnaire and the care coordination questionnaire. The reliability of the readiness for hospital discharge questionnaire, the teaching quality questionnaire of Sirirat Panuthai and the care coordination questionnaire that was modified by Preeyakamon Krikitrat and Kannika Kantaruksa. The tools were tested reliability by using Cronbach’ alpha coefficient, were 97, .97 and .96, respectively. Descriptive statistics, Spearman’s product moment correlation and stepwise multiple regression were used to analyze the data. Results of the study revealed that: 1. 65.00 % of Postpartum mothers perceived about readiness for hospital discharge at high level and mean score was 193.08 (S.D. = 25.20). 2. 58.75% of Postpartum mothers perceived about teaching quality at high level and mean score was 208.41 (S.D. = 35.82). 3. 70.00 % of Postpartum mothers perceived about care coordination at high level and mean score was 101.63 (S.D. = 18.35). 4. Teaching quality had a high positive correlation with readiness for hospital discharge (r = .513, p< .01). Care coordination had moderate positive correlation with readiness for hospital discharge (r = .465, p< .01). 5. Teaching quality and care coordination can predict readiness for hospital discharge among postpartum mothers at a percentage of 33.0 (p< .01).

14 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Postpartum Mothers

The result of this study will be the basic information about readiness for hospital discharge of postpartum mother.

Key word: Hospital discharge, Discharge readiness, Teaching quality, Care coordination, Postpartum mother

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา เกิดปัญหาการตายของทั้งมารดาและทารก มารดาหยุด ระยะหลังคลอดเป็นภาวะวิกฤตช่วงหนึ่งของชีวิต ให้นมทารกโดยเร็วรวมทั้งอัตราการกลับเข้ามารักษาตัว เนื่องจากการมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย ในโรงพยาบาลซำ�้ สูงขึ้น (Brown, Small, Argus, Davis, จิตใจ สังคม และแบบแผนการด�ำเนินชีวิต ท�ำให้มารดา & Krastev, 2009) นอกจากนี้ยังส่งผลถึงสุขภาพของทารก ต้องมีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น รวมทั้ง โดยพบว่าทารกที่มารดาจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาลโดยเร็ว การปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาในเวลาเดียวกัน มีอัตราการเกิดภาวะตัวเหลือง (hyperbilirubinemia) (Posmoiter, 2008) พยาบาลเป็นผู้ที่สามารถช่วยให้ ที่รุนแรงสูงขึ้น (Catz, Hanson, Simpson, & Yaffe, บุคคลที่เผชิญกับการเปลี่ยนผ่านมีความรู้และทักษะ 1995) จากการศึกษาของ Dato, Saraiya, & Ziskin (2000) ในการจัดการกับการเปลี่ยนผ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ท�ำการศึกษาในมารดาที่คลอดบุตรทางช่องคลอดและ โดยพยาบาลจะท�ำหน้าที่เตรียมความพร้อม ในการ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน จ�ำนวน 1,555 ราย พบว่า ร้อยละ จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล (Meleis, Sawyer, Im, 37.3 คิดว่าระยะเวลาในการพักรักษาตัวในโรงพยาบาล Messias, & Schumacher, 2000) ในหลายโรงพยาบาล สั้นเกินไป ซึ่งกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวมีความวิตกกังวล ต้องการลดระยะเวลาในการนอนพักรักษาตัวใน เกี่ยวกับภาวะสุขภาพของตนเองและบุตร รวมทั้ง โรงพยาบาลของมารดาภายหลังคลอดบุตร ท�ำให้มีการ วิตกกังวลเกี่ยวกับปัญหาการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา จ�ำหน่ายมารดาออกจากโรงพยาบาลโดยเร็ว (early ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลว่าได้รับการสอนเกี่ยวกับการ discharge) คือ ให้มารดาพักรักษาตัวในโรงพยาบาล บริบาลทารกไม่เพียงพอ น้อยกว่า 48 ชั่วโมงในรายที่คลอดปกติ และน้อยกว่า ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล 96 ชั่วโมงในรายที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (American (readiness for hospital discharge) ในมารดาหลัง คลอด Academic of Pediatrics & American College of เป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญ ที่ต้องพิจารณาทั้งการฟื้นคืน Obstetrics and Gynecology, 1992) ซึ่งส่วนใหญ่ สภาพร่างกายของมารดา และการเรียนรู้เกี่ยวกับการ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของทีมบุคลากรทางการแพทย์ ปรับตัวของมารดาในระยะหลังคลอด ดังนั้นแนวคิด เป็นหลัก ท�ำให้ระยะเวลาในการเตรียมความพร้อม ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ส�ำหรับการจ�ำหน่ายมารดาออกจากโรงพยาบาลมีจ�ำกัด จึงมีความส�ำคัญ และน�ำมาใช้ทางการพยาบาลค่อนข้าง และไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมารดาครรภ์แรก แพร่หลายในปัจจุบัน ซึ่งความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย ที่ไม่มีประสบการณ์ในการดูแลตนเองหลังคลอด ดังนั้น ออกจากโรงพยาบาล หมายถึง การรับรู้ความสามารถ มารดาส่วนหนึ่งที่ได้รับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ของผู้ป่วยและครอบครัวส�ำหรับการได้รับการจ�ำหน่าย ยังไม่มีความพร้อมในการดูแลตนเองและทารกที่บ้าน ออกจากโรงพยาบาล และการรับรู้เกี่ยวกับการได้รับ อาจส่งผลให้เกิดปัญหาตามมาในระยะยาวได้ เช่น การเตรียมหรือไม่ได้รับการเตรียมส�ำหรับการจ�ำหน่าย มารดาและทารกได้รับการค้นหาปัญหาและรักษาที่ล่าช้า ออกจากโรงพยาบาล ซึ่งความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย มารดาเกิดภาวะซึมเศร้าในระยะหลังคลอดสูงขึ้น เป็นดัชนีบ่งชี้อย่างหนึ่งในการฟื้นสภาพจากความเจ็บ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 15 ปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด

ป่วยที่แสดงถึงความปลอดภัยในการจ�ำหน่าย มี ออกจากโรงพยาบาลเมื่อร่างกายฟื้นฟูสู่สภาพเดิม องค์ประกอบ 2 ด้าน ได้แก่ 1) ความพร้อมด้านร่างกาย มารดามีความรู้ความมั่นใจในการปรับตัว และการบริบาล ประกอบด้วย ภาวะสุขภาพ ความสามารถในการท�ำหน้าที่ ทารก รวมทั้งได้รับการดูแลสนับสนุนจากครอบครัว และ ของร่างกาย ความพร้อมและความสามารถในการจัดการ จากการศึกษาของ Weiss & Piacentine (2006) ท�ำการ ตนเองที่บ้าน 2) ความพร้อมด้านจิตใจ ประกอบด้วย ศึกษาการรับรู้ความพร้อมก่อนจ�ำหน่ายออกจาก ทักษะการปรับตัว การได้รับการสนับสนุน การได้รับข้อมูล โรงพยาบาลในมารดาหลัง คลอดบุตร จ�ำนวน 1,462 ราย ที่ต้องการ และการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพและแหล่ง ประกอบด้วยมารดาที่คลอดบุตรทางช่องคลอด จ�ำนวน ทรัพยากรในชุมชน (Weiss & Piacentine, 2006) 1,192 ราย และมารดาที่ผ่าตัดคลอด จ�ำนวน 270 ราย ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมส�ำหรับการได้รับการ ในศูนย์มารดาและทารกระดับตติยภูมิ (Tertiary level จ�ำหน่ายจากโรงพยาบาลในมารดาหลังคลอดมีหลาย perinatal center) ในมลรัฐทางตะวันตกตอนกลางของ ปัจจัย ทั้งปัจจัยส่วนบุคคล (personal status/patient ประเทศสหรัฐอเมริกา (Midwestern united stated) characteristic) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาล พบว่าระดับคะแนนการรับรู้ความพร้อมก่อนจ�ำหน่าย (hospitalization factor) และปัจจัยทางด้านการปฏิบัติ จากโรงพยาบาลในมารดาหลังคลอดมีระดับต�่ำ ในกลุ่ม การพยาบาล (nursing therapeutic intervention) ตัวอย่างที่เป็นครรภ์แรก เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ส�ำหรับปัจจัยส่วนบุคคล เช่น บุคลิกลักษณะของมารดา มีสถานภาพสมรสคู่ และพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ขึ้นอยู่กับสภาวะและสิ่งแวดล้อมส่วนบุคคลที่มีผลต่อ เป็นระยะเวลาน้อยกว่า 30 ชั่วโมง ซึ่งเป็นระดับคะแนน การส่งเสริมหรือยับยั้งกระบวนการเปลี่ยนผ่าน (transition ที่ใช้ในการท�ำนายปัญหาทางร่างกายและจิตใจ การดูแล process) รวมถึง อายุ เชื้อชาติ ฐานะทางสังคมเศรษฐกิจ ของทีมสุขภาพในระยะ 6 สัปดาห์แรกหลังคลอด ส่วนใน และสถานภาพสมรส (Weis & Lokken, 2009 ; Weiss, มารดาที่คลอดทางช่องคลอดสามารถจ�ำหน่ายออกจาก Ryan, & Lokken, 2006) ได้ท�ำการศึกษาการรับรู้ โรงพยาบาลได้โดยเร็ว คือ ระหว่าง 18-30 ชั่วโมงหลัง ความพร้อมในมารดาหลังคลอดก่อนจ�ำหน่ายออกจาก คลอด แต่อย่างไรก็ตามมีการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยด้าน โรงพยาบาล พบว่า มารดาครรภ์แรก มารดาที่เลี้ยงบุตร ความรู้ซึ่งหน่วยทีมสุขภาพหลังจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาล ด้วยนมมารดา และมารดาที่ต้องท�ำงานนอกบ้าน มีความ ได้โทรศัพท์ติดตาม พบว่าไม่มีความแตกต่างตามระยะ พร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในระดับตำ�่ เวลาที่นอนโรงพยาบาล ซึ่งปัจจัยเหล่านี้เป็นปัจจัยส่วนบุคคล ที่จะสามารถน�ำมา ส�ำหรับปัจจัยทางด้านการพยาบาลที่มีผลต่อความ ประเมินความรู้สึกของมารดาต่อภาวะสุขภาพทางร่างกาย พร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ได้แก่ และจิตสังคมในวันที่จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลได้ คุณภาพการสอนก่อนจ�ำหน่าย (teaching quality) และสามารถเป็นปัจจัยท�ำนายการดูแลสุขภาพในระยะเวลา ซึ่งการสอนก่อนจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาล ถูกน�ำมาใช้ใน 6 สัปดาห์หลังคลอดของหน่วยบริการทางสุขภาพได้ กระบวนการบ�ำบัดทางการพยาบาลเพื่อประเมินปัจจัย ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ที่มีผลต่อความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก นอกจากปัจจัยส่วนบุคคลแล้วยังขึ้นกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาล เพื่อศึกษารูปแบบการตอบสนองระหว่าง กับโรงพยาบาล เช่น ประสบการณ์ที่ผ่านมาในการนอน การเปลี่ยนผ่าน ความยากล�ำบากในการปรับตัวหลัง โรงพยาบาลเพื่อคลอดบุตร ประเภทของการคลอด และ จ�ำหน่ายจากโรงพยาบาล และการเข้าถึงระบบสุขภาพ วิธีการให้นมบุตร (Weis & Lokken, 2009) จากการ รวมทั้งผลลัพธ์ของการตอบสนอง การสอนในระยะหลัง ศึกษาของ Weis & Lokken (2009) พบว่า มารดาครรภ์ คลอดที่โรงพยาบาลถูกคาดหวังว่าเป็นสิ่งที่มารดามี แรกจะรู้สึกว่าตนเองมีความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย ความต้องการทั้งด้านเนื้อหาและทักษะ โดยการสอนที่มี

16 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Postpartum Mothers

คุณภาพจะช่วยให้การเปลี่ยนผ่านของมารดาเป็นไป (Kleinpell, 2004) ซึ่งยังไม่พบการศึกษาเกี่ยวกับการ อย่างราบรื่น ส่งเสริมพฤติกรรมทางสุขภาพที่ดีของทั้ง ประสานการดูแลในมารดาหลังคลอด จากการทบทวน มารดาและทารก ซึ่งเนื้อหาและทักษะของพยาบาลที่ วรรณกรรมพบการศึกษาของ Weiss et al. (2007) สอนให้แก่มารดาก่อนจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลมี ที่ศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย ความเกี่ยวข้องกับระยะเวลาที่จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ออกจากโรงพยาบาลในผู้ป่วยจ�ำนวน 147 รายที่เข้ารับ นอกจากนี้ยังพบว่า ระดับความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย การรักษาในแผนกอายุรกรรมและศัลยกรรมในประเทศ ออกจากโรงพยาบาลมีความสัมพันธ์กับความยากล�ำบาก สหรัฐอเมริกา พบว่าการประสานการดูแลหลังจ�ำหน่าย ในการปรับตัวหลังจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาล และการ เป็นปัจจัยร่วมกับคุณภาพการสอน ที่สามารถท�ำนายการ สนับสนุนจากครอบครัวและหน่วยบริการทางสุขภาพ รับรู้ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล (Weis & Lokken, 2009) ได้ร้อยละ 33 (Weis & Lokken, 2009) ท�ำการศึกษาปัจจัยท�ำนาย การประเมินความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออก และผลลัพธ์ของการรับรู้ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย จากโรงพยาบาลเป็นสิ่งส�ำคัญในการประเมินผลลัพธ์ของ ออกจากโรงพยาบาลในมารดาหลังคลอดที่คลอดบุตร การพักรักษาตัวในโรงพยาบาล และสามารถระบุได้ถึง ทางช่องคลอดหรือผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง และทารก ความเสี่ยงของมารดาหลังคลอดเมื่อกลับไปอยู่บ้าน มีสุขภาพดี จ�ำนวน 140 ราย โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎี โดยความพร้อมก่อนจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การเปลี่ยนผ่าน (Transition Theory) พบว่า คุณภาพ โดยเฉพาะในมารดาหลังคลอด อาจแตกต่างกันตาม ของการสอน ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก การรับรู้ของมารดาแต่ละราย สามารถประเมินได้จาก โรงพยาบาล การปรับตัวหลังจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ทั้งทีมบุคลากรทางสุขภาพ มารดา และสมาชิกใน (postdischarge coping) และการได้รับการสนับสนุน ครอบครัว แต่อย่างไรก็ตามการประเมินจากทีมบุคลากร จากครอบครัวและหน่วยบริการทางสุขภาพ เป็นปัจจัย ทางสุขภาพถูกน�ำมาใช้มากที่สุด (Barnes, 2000) ท�ำให้ ที่มีความสัมพันธ์ โดยพบว่า คุณภาพของการสอนก่อน มารดาขาดการมีส่วนร่วมและประเมินความพร้อมของ จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล มีความสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน ตนเองที่จะกลับไปอยู่บ้าน และปรับเปลี่ยนบทบาทเพื่อ ตามความต้องการได้รับข้อมูล การรับรู้ความพร้อมก่อน ดูแลทารก จ�ำหน่าย และทักษะการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล นอกจากนี้คุณภาพของการสอนก่อนจ�ำหน่ายออกจาก เป็นผลลัพธ์ของการเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โรงพยาบาล เป็นปัจจัยท�ำนายการรับรู้ความพร้อมก่อน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านการเข้ารับการรักษา จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลได้ร้อยละ 38 (R2= .38) ในโรงพยาบาลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ นอกจากนี้การรับรู้ความพร้อมก่อนจ�ำหน่ายออกจาก ทางการพยาบาล รวมถึงองค์ความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ โรงพยาบาลสามารถเป็นปัจจัยท�ำนายการปรับตัวหลัง ระหว่างความพร้อมในการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ร้อยละ 22 กับความสามารถในการปรับตัวในการดูแลตนเองที่บ้าน ปัจจัยด้านการปฏิบัติการพยาบาลที่มีผลต่อความ ภายหลังจ�ำหน่าย แต่อย่างไรก็ตามจากการทบทวน พร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลอีกหนึ่ง วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พบว่า มีการศึกษาปัจจัยที่มีผล ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านการประสานการดูแล (care ต่อความพร้อมก่อนจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของ coordination) ซึ่งเป็นการรับรู้ของผู้ป่วยต่อการส่งเสริม มารดาหลังคลอดค่อนข้างจ�ำกัดในประเทศไทย ดังนั้น ให้เกิดความพร้อมก่อนจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ผู้วิจัยจึงเห็นความส�ำคัญของการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ และการรับรู้ความสามารถในการดูแลเมื่อกลับไปอยู่บ้าน ปัจจัยท�ำนายพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 17 ปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด

โรงพยาบาลซึ่งจะเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการก�ำหนด ก่อนจ�ำหน่ายมารดาออกจากโรงพยาบาลสามารถร่วม แนวทางในการส่งเสริมให้มารดามีความพร้อมก่อน กันท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก จ�ำหน่ายจากโรงพยาบาลอันจะน�ำไปสู่ความสามารถใน โรงพยาบาลของมารดาได้หรือไม่ อย่างไร การดูแลตนเองและทารก รวมทั้งการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงบทบาทการเป็นมารดาได้อย่างเหมาะสม กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิดการเปลี่ยนผ่าน วัตถุประสงค์การวิจัย (theory of transition) ของ Meleis (2000) โดยการ 1. ศึกษาความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก เปลี่ยนผ่านหมายถึงการข้ามผ่านจากช่วงหนึ่งของชีวิต โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด หรือภาวะหนึ่งหรือสถานะหนึ่งไปสู่อีกช่วงหนึ่ง สภาวะ 2. ศึกษาคุณภาพการสอนของพยาบาลก่อน หนึ่งหรือสถานะหนึ่ง เป็นทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ จ�ำหน่ายมารดาออกจากโรงพยาบาล ที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสิ่งแวดล้อม 3. ศึกษาการประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่ายมารดา โดยในช่วงระยะหลังคลอด เป็นช่วงที่มารดามีการ ออกจากโรงพยาบาล เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึง 4. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการสอน แบบแผนการด�ำเนินชีวิต ท�ำให้มารดาต้องมีการปรับตัว ของพยาบาลก่อนจ�ำหน่ายมารดาออกจากโรงพยาบาล ต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น รวมทั้งการปรับตัวต่อ การประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่ายมารดาออกจาก บทบาทการเป็นมารดา ดังนั้นพยาบาลเป็นผู้ที่สามารถ โรงพยาบาล และความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออก ช่วยให้บุคคลที่เผชิญกับการเปลี่ยนผ่านมีความรู้และ จากโรงพยาบาลของมารดา ทักษะในการจัดการกับการเปลี่ยนผ่านได้อย่างมี 5. ศึกษาอ�ำนาจการท�ำนายของปัจจัยที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพ การจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาลกลับสู่บ้าน ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล เป็นการเปลี่ยนผ่านประเภทหนึ่งโดยมีระยะการเปลี่ยน ของมารดา ผ่าน 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะที่อยู่ในโรงพยาบาลซึ่งมีการ วางแผนจ�ำหน่าย (hospitalization phase 2) ระยะ ค�ำถามการวิจัย จ�ำหน่าย (discharge phase) ซึ่งเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ ที่ 1. ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก สามารถวัดผลลัพธ์ได้ และ 3) ระยะหลังจ�ำหน่าย โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอดเป็นอย่างไร (postdischarge phase) ซึ่งเป็นระยะที่มารดารับรู้ถึง 2. คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย ความสามารถในการปรับตัวของตนเองต่อความต้องการ มารดาออกจากโรงพยาบาลเป็นอย่างไร การดูแลที่เกิดขึ้นที่บ้านและความต้องการการช่วยเหลือ 3. การประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่ายมารดาออก จากครอบครัวหรือความต้องการบริการด้านสุขภาพเพื่อ จากโรงพยาบาลเป็นอย่างไร ให้การเปลี่ยนผ่านเกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อสุขภาพ (Weiss 4. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการสอนของ et al., 2007) การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยคัดเลือกปัจจัยที่อาจ พยาบาลก่อนจ�ำหน่ายมารดาออกจากโรงพยาบาล มีผลต่อความพร้อมของในการจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาล การประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่ายมารดาออกจาก ของมารดา 2 ปัจจัยได้แก่ คุณภาพการสอนของพยาบาล โรงพยาบาล และความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออก ก่อนจ�ำหน่าย และการประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย จากโรงพยาบาลของมารดาเป็นอย่างไร มารดาจากโรงพยาบาล ซึ่งหากคุณภาพการสอนของ 5. คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย พยาบาลก่อนจ�ำหน่าย และการประสานการดูแลก่อน มารดาออกจากโรงพยาบาล และการประสานการดูแล จ�ำหน่ายมารดาออกจากโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง

18 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Postpartum Mothers

อาจจะเพิ่มความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก ดัชนีความตรงของเนื้อหา (content validity index: โรงพยาบาลของมารดาที่เข้ารับการดูแลในโรงพยาบาลได้ CVI) เท่ากับ 1.00 ทดสอบความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัม และอาจสามารถท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย ประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .97 ออกจากโรงพยาบาลของมารดาที่เข้ารับการดูแลใน การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง โรงพยาบาลได้ ผู้วิจัยด�ำเนินการพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่างโดย การน�ำโครงร่างการวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการจริยธรรม วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบการวิจัยความสัมพันธ์แบบ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาล ท�ำนาย (predictive correlational research design) นครพิงค์ เมื่อได้รับอนุญาตผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยศึกษาปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย ตามเกณฑ์แล้วชี้แจงวัตถุประสงค์ ประโยชน์และขั้นตอน ออกจากโรงพยาบาลในมารดาหลังคลอดที่เข้ารับการ การด�ำเนินการวิจัยแก่กลุ่มตัวอย่าง และโดยกลุ่ม ดูแลในโรงพยาบาล ในจังหวัดเชียงใหม่ ตัวอย่างมีสิทธิอย่างอิสระในการตัดสินใจตอบรับหรือ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ปฏิเสธในการเข้าร่วมการวิจัยโดยไม่มีผลกระทบใด ๆ 1. แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ต่อกลุ่มตัวอย่าง ให้กลุ่มตัวอย่างเซ็นใบยินยอมเข้าร่วม 2. แบบประเมินความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย การวิจัยและชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่างทราบว่ากลุ่มตัวอย่าง ออกจากโรงพยาบาลของ Panuthai (2014a) ประกอบ มีสิทธิในการขอยุติการเข้าร่วมการวิจัยโดยไม่มีผลกระทบ ด้วยข้อค�ำถาม จ�ำนวน 23 ข้อ ใน 4 องค์ประกอบได้แก่ ใด ๆ ต่อการรักษาพยาบาล นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ค�ำนึงถึง 1) ความรู้สึกของมารดาในวันก่อนจ�ำหน่าย (สถานะด้าน การรักษาความลับเกี่ยวกับผู้ป่วยโดยข้อมูลที่ได้จากการ สุขภาพ) 2) ความรู้ของมารดาเกี่ยวกับการจัดการตนเอง วิจัยจะน�ำเสนอในภาพรวมเท่านั้น และหากกลุ่มตัวอย่าง ที่บ้าน (ความรู้) 3) ความสามารถในการจัดการดูแล มีข้อสงสัยสามารถสอบถามจากผู้วิจัยได้ตลอดเวลา ตนเองที่บ้าน (การปรับตัว) 4) การได้รับการสนับสนุน การเก็บรวบรวมข้อมูล ด้านอารมณ์และความช่วยเหลือที่บ้าน (การคาดหวังการ ผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัยท�ำการรวบรวมข้อมูลหลังจาก ได้รับการสนับสนุน) ทดสอบความเชื่อมั่นโดยใช้ ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมคณะ สัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้ค่าความเชื่อมั่น พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรงพยาบาล เท่ากับ .96 มหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลนครพิงค์ 3. แบบวัดคุณภาพการสอนของพยาบาลก่อน รวบรวมข้อมูลเป็นระยะเวลา 8 เดือน โดยคัดเลือก จ�ำหน่าย ของ Panuthai (2014b) ประกอบด้วยข้อค�ำถาม กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนด อธิบายข้อมูล 19 ข้อ ใน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ เนื้อหาการสอนที่ต้องการ การวิจัยให้ทราบเพื่อตัดสินใจเข้าร่วมการวิจัย และลงนาม เนื้อหาการสอนที่ได้รับ และวิธีการสอน ทดสอบความ ยินยอมเข้าร่วมการวิจัย หลังจากนั้นให้กลุ่มตัวอย่างตอบ เชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้ค่า แบบสอบถาม ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ผู้วิจัยและผู้ร่วม ความเชื่อมั่น เท่ากับ .97 วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามก่อนน�ำ 4. แบบสอบถามการประสานการดูแลก่อน ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ จ�ำหน่าย ของ Panuthai (2014c) โดยผู้วิจัยได้ดัดแปลง การวิเคราะห์ข้อมูล ลักษณะข้อค�ำถามให้สอดคล้องกับบริบทมารดาหลัง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูป วิเคราะห์ คลอดปกติ ประกอบด้วยข้อค�ำถาม จ�ำนวน 25 ข้อ และ ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ค่าคะแนน ให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความตรงของเนื้อหา โดยมีค่า คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย การประสาน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 19 ปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด

การดูแลก่อนจ�ำหน่าย และความพร้อมส�ำหรับการ ที่พบมากที่สุดร้อยละ 62.50 คือ อายุ 20-29 ปี จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล โดยใช้สถิติพรรณนา สถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 92.50 อาศัยอยู่กับคู่สมรส วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพียงล�ำพัง ร้อยละ 45.00 การศึกษาระดับมัธยมศึกษา ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ความสามารถในการท�ำนาย ร้อยละ 38.80 ไม่ได้ประกอบอาชีพ ร้อยละ 37.5 มีรายได้ ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ของครอบครัว 10,001-20,000 บาท/เดือน ร้อยละ ของปัจจัยด้วยสถิติโดยสถิติพหุคูณแบบขั้นตอนถดถอย 42.50 เป็นมารดาหลังคลอดบุตรคนที่ 2 ร้อยละ 45.00 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คลอดบุตรเมื่ออายุครรภ์ 39 สัปดาห์ ร้อยละ 32.50 พัก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ มารดาที่เข้ารับ รักษาตัวหลังคลอด 3 วัน ร้อยละ 45.00 และใช้สิทธิ การดูแลในหน่วยหลังคลอด โรงพยาบาลมหาราชนคร ประกันสังคม เป็นสิทธิการรักษาพยาบาล ร้อยละ 46.30 เชียงใหม่ และโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ 2. กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 65.20 รับรู้เกี่ยวกับความ กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาหลังคลอดที่เข้ารับการ พร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล อยู่ใน ดูแลในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาล ระดับสูง มีคะแนนอยู่ระหว่าง 112-226 คะแนนเฉลี่ย นครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงเดือนมกราคม ถึง เท่ากับ 193.08 (S.D. = 25.20) สิงหาคม 2559 โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติดังนี้ 3. กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 58.75 รับรู้คุณภาพการ 1) อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป และแพทย์มีแผนการ สอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย อยู่ในระดับสูง มีคะแนน จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล อยู่ระหว่าง 95-260 คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 208.41 (S.D. 2) คลอดปกติทางช่องคลอด และไม่มีภาวะ = 35.82) แทรกซ้อน 4. กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 70 รับรู้การประสานการ 3) สามารถพูด และเขียนภาษาไทยได้ ดูแลก่อนจ�ำหน่าย อยู่ในระดับสูง มีคะแนนอยู่ระหว่าง 4) ยินดีเข้าร่วมการวิจัย 42-183 คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 101.63 (S.D. = 18.35) ขนาดของกลุ่มตัวอย่างก�ำหนดโดยวิธีการเปิด 5. คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย ตารางประมาณกลุ่มประชากรตามอานาจการวิเคราะห์ มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูงกับความพร้อมส�ำหรับ ทางสถิติ (power analysis) โดยก�ำหนดระดับนัยส�ำคัญ การจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลอย่างมีนัยส�ำคัญทาง ทางสถิติ (α) ที่ .05 อ�ำนาจทดสอบ (level of power) ที่ สถิติที่ระดับ .01 (r = .513) ส่วนการประสานการดูแล .80 และค่าคาดประมาณขนาดความสัมพันธ์ของ ก่อนจ�ำหน่าย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง ประชากรระดับปานกลาง (estimated population กับความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล effect size) เท่ากับ .13 (medium R2=.13) ได้ขนาด อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .465) ของกลุ่มตัวอย่าง 67 ราย (Polit, 2010) ในการวิจัยครั้งนี้ 6. การรับรู้เกี่ยวกับคุณภาพการสอนของพยาบาล ได้เพิ่มขนาดกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 20 ดังนั้นการเก็บ ก่อนจ�ำหน่าย และการรับรู้การประสานการดูแลก่อน รวบรวมข้อมูลผู้วิจัยจึงใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 80 ราย จ�ำหน่าย สามารถร่วมกันท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการ โดยแบ่งจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างเท่า ๆ กัน คือ โรงพยาบาล จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลได้ร้อยละ 33.00 อย่างมี มหาราชนครเชียงใหม่ 40 ราย และโรงพยาบาลนครพิงค์ นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธ์ 40 ราย พหุคูณเป็น .575 มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการ ท�ำนายเท่ากับ ± 20.88 เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ ผลการวิจัย ทดถอยของตัวท�ำนาย พบว่า คุณภาพการสอนของ 1. กลุ่มตัวอย่างมีอายุระหว่าง 20-39 ปี กลุ่มอายุ พยาบาลก่อนจ�ำหน่าย สามารถท�ำนายความพร้อม

20 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Postpartum Mothers

ส �ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลได้สูงสุด โดยมี สามารถท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนนดิบ (b) และค่า โรงพยาบาลได้ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูป สัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน (β) เป็น คะแนนดิบ (b) และค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนน .27 กับ .38 ส่วนการประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย มาตรฐาน (β) เป็น .40 กับ .29 ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนเพื่อพยากรณ์ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ของมารดาหลังคลอด (n=80) ตัวแปร b β t p-value คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย .27 .38 3.61 .01 การประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย .40 .29 2.78 .01

ค่าคงที่ 96.827 SEest ± 20.88 R= .575 R2= .330

การอภิปรายผล 58.75 รับรู้คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย 1. ความพร้อมของมารดาส�ำหรับการจ�ำหน่ายออก อยู่ในระดับสูง คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 208.41 (S.D. = 35.82) จากโรงพยาบาล ในการศึกษาครั้งนี้พบว่ากลุ่มตัวอย่าง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากกลุ่มตัวอย่างมีการศึกษาระดับ ร้อยละ 65.20 รับรู้เกี่ยวกับความพร้อมส�ำหรับการ มัธยมศึกษา ร้อยละ 38.80 ระดับปริญญาตรี ร้อยละ จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง คะแนน 30.00 ท�ำให้มีความพร้อมในการเรียนรู้ที่ดี นอกจากนี้ เฉลี่ยเท่ากับ 193.08 (S.D. = 25.20) รองลงมา คือ ทักษะการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย เป็นอีกปัจจัย ระดับปานกลาง ร้อยละ 27.50 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ที่มีผลต่อการรับรู้คุณภาพการสอนก่อนจ�ำหน่าย (Weis กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 45.00 เป็นมารดาหลังคลอดบุตร & Lokken, 2009) โดยบริบทของโรงพยาบาลที่ศึกษา คนที่ 2 ซึ่งมีประสบการณ์ในการคลอด และเคยเลี้ยงดู เป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ และโรงพยาบาลประจ�ำ บุตรมาก่อน นอกจากนี้การศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาในมารดา จังหวัด ซึ่งพยาบาลที่ให้การสอนมารดาหลังคลอดเป็น ที่คลอดบุตรทางช่องคลอด และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมและมีประสบการณ์ในการสอน ซึ่งอาจท�ำให้มีความพร้อมด้านร่างกาย และด้านจิตใจ สามารถถ่ายทอดความรู้ และทักษะที่จ�ำเป็นแก่มารดา ก่อนจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล จากการทบทวน หลังคลอดได้ อีกทั้งมีการใช้สื่อประกอบการสอน เช่น วรรณกรรมพบว่าความพร้อมต่อการจ�ำหน่ายจาก แผ่นพับ วิดีโอ หุ่นเต้านม เป็นต้น ท�ำให้มารดาเกิดความ โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอดขึ้นอยู่กับปัจจัยส่วน เข้าใจ และเรียนรู้เนื้อหาต่าง ๆ จากการสอนได้อย่าง บุคคลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาล ได้แก่ ชัดเจนมากขึ้น บุคลิกลักษณะของมารดา อายุ เชื้อชาติ ฐานะทางสังคม 3. การประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่ายมารดาออก เศรษฐกิจ และสถานภาพสมรส รวมถึงประสบการณ์ จากโรงพยาบาล พบว่ากลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 70.00 ที่ผ่านมา เช่น การนอนโรงพยาบาลเพื่อคลอดบุตร มีการรับรู้การประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่ายอยู่ในระดับสูง ประเภทของการคลอด และวิธีการให้นมบุตร (Weis & คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 101.63 (S.D. = 18.35) ทั้งนี้อาจ Lokken, 2009) เนื่องมาจากพยาบาลได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการติดตาม 2. คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย เยี่ยมหลังคลอด และเปิดโอกาสให้ได้ซักถามเกี่ยวกับ มารดาออกจากโรงพยาบาล พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ อาการผิดปกติที่ต้องมาโรงพยาบาลก่อนวันนัด การติดต่อ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 21 ปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด

สื่อสารกับบุคคลากรทางสุขภาพเมื่อพบความผิดปกติ ส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล อย่างมีนัยส�ำคัญ เมื่ออกจากโรงพยาบาล นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างอาศัยอยู่ ทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธ์พหุคูณเป็น กับคู่สมรส และบุตรหลาน ร้อยละ 40.00 ซึ่งสามารถ .58 และสามารถร่วมกันท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการ ให้การดูแลช่วยเหลือในระยะหลังคลอดเมื่อต้องกลับไป จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลได้ร้อยละ 33.00 โดยพบว่า อยู่บ้านได้ รวมทั้งกลุ่มตัวอย่างมีสิทธิการรักษาพยาบาล คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย สามารถ โดยใช้สิทธิประกันสังคม ร้อยละ 46.30 และสิทธิประกัน ท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก สุขภาพ (30 บาท) ร้อยละ 27.50 ซึ่งท�ำให้ไม่เกิดความ โรงพยาบาลได้สูงกว่าการประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย กังวลเกี่ยวกับการรักษาหรือการดูแลภาวะสุขภาพเมื่อ ซึ่งคล้ายคลึงกับการศึกษาของ Weiss et al.(2007) ออกจากโรงพยาบาล ที่ศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย 4. ในการศึกษาครั้งนี้ พบว่า คุณภาพการสอนของ ออกจากโรงพยาบาลในผู้ป่วยจ�ำนวน 147 รายที่เข้ารับ พยาบาลก่อนจ�ำหน่าย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง การรักษาในแผนกอายุรกรรมและศัลยกรรมในประเทศ กับความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล สหรัฐอเมริกา พบว่าการประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .513) เป็นปัจจัยร่วมกับคุณภาพการสอน ที่สามารถท�ำนายการ แสดงว่ามารดาหลังคลอดที่รับรู้คุณภาพการสอนใน รับรู้ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ระดับสูง จะมีความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก ได้ร้อยละ 33 โรงพยาบาลในระดับสูง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการที่มี ความรู้และข้อมูลที่เพียงพอส�ำหรับการดูแลตนเองเมื่อ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ กลับไปอยู่ที่บ้าน จะท�ำให้มีความพร้อมในการจ�ำหน่าย 1. ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ออกจากโรงพยาบาล (Titler & Pettit, 1995) คล้ายคลึง 1.1 ใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อม กับการศึกษาของ Weiss & Lokken ( 2009) ที่ศึกษา ส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล โดยการ ปัจจัยท�ำนายและผลลัพธ์ของการรับรู้ความพร้อม ประเมินปัจจัยที่มีผลต่อความความพร้อม ได้แก่ คุณภาพ ส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในมารดาหลัง การสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย และการประสาน คลอด จ�ำนวน 140 ราย ที่คลอดบุตรทางช่องคลอดหรือ การดูแลก่อนจ�ำหน่าย เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความ ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง และทารกมีสุขภาพดี พบว่า สามารถในการดูแลตนเอง ทารก และปรับตัวก่อน คุณภาพของการสอนก่อนจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล จ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความพร้อมก่อนจ�ำหน่ายออก 1.2 ใช้เป็นแนวทางในการจัดโครงการ หรือ จากโรงพยาบาลร้อยละ 38 (R2= .38) โปรแกรมที่มีความเฉพาะเจาะจงกับมารดาหลังคลอด ผลการวิจัยยังพบว่าการประสานการดูแลก่อน เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีการรับรู้คุณภาพ จ�ำหน่าย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับ การสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย การประสานการ ความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ดูแลก่อนจ�ำหน่าย และมีความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .465) แสดง ออกจากโรงพยาบาล ว่าการรับรู้การประสานการดูแลจะท�ำให้มารดาหลัง 2. ด้านการศึกษาพยาบาล ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน คลอดมีความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาล ในการจัดการเรียนการสอนด้านการผดุงครรภ์ เกี่ยวกับ นอกจากนี้การรับรู้เกี่ยวกับคุณภาพการสอนของ การสอนของพยาบาลก่อนจ�ำหน่าย การประสานการ พยาบาลก่อนจ�ำหน่าย และการประสานการดูแลก่อน ดูแลก่อนจ�ำหน่าย และมีความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่าย จ�ำหน่าย มีความสัมพันธ์แบบพหุคูณกับความพร้อม ออกจากโรงพยาบาลไปเป็นส่วนหนึ่ง เพื่อให้พยาบาล

22 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Readiness for Hospital Discharge Among Postpartum Mothers

ผดุงครรภ์เกิดความตระหนักเกี่ยวกับความพร้อมส�ำหรับ มารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน เป็นต้น การจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล 2. ควรท�ำการศึกษาเชิงทดลองโดยการจัด ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป โปรแกรม หรือแผนให้ความรู้แก่มารดา เพื่อส่งเสริม 1. ควรท�ำการศึกษาการรับรู้คุณภาพการสอนของ ความการรับรู้ คุณภาพการสอนของพยาบาลก่อน พยาบาลก่อนจ�ำหน่าย การประสานการดูแลก่อน จ�ำหน่าย การประสานการดูแลก่อนจ�ำหน่าย และความ จ�ำหน่าย และความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก พร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล โรงพยาบาลในมารดากลุ่มอื่น ๆ เช่น มารดาวัยรุ่น หรือ เอกสารอ้างอิง American Academic of Pediatrics & American College of Obstetrics and Gynecology. (1992). Guidelines for perinatal Care. Elk Grove Village, IL. Barnes, S. (2000). Ambulatory surgery: Are you watching the clock? Let criteria define discharge readiness. Journal of Peri Anesthesia Nursing, 15, 174-176.doi:10.1053/jpan.2000.7512 Brown, S., Small, R., Argus, B., Davis, P. G., & Krastev, A. (2009). Early postnatal discharge from hospital for healthy mothers and term infants (Review). Retrieved from http://apps.who.int/rhl/reviews/langs/CD002958.pdf Catz, C., Hanson, J. W., Simpson, L., & Yaffe, S. J. (1995). Summary of a workshop: Early discharge and neonatal hyperbilirubinemia. Pediatrics, 96, 743-745 . Cohen, J. (1988). Statistical of power analysis for the behavioral science. New Jersy: Lawrence Erlbaum associate. Kleinpell, R. (2004). Randomized trial of an intensive care unit-based early discharge intervention for critically ill elderly patients. American Journal of Critical Care, 13(4), 335-345. Meleis, A. I., Sawyer, L.M., Im, E-O., Messias, D.K., & Schumacher, K. (2000). Experiencing transitions: An emerging middle-range theory. Advanced Nursing Science, 23(1), 12-28. Panuthai, S. (2014a). The Readiness for Hospital Discharge Scale: RHDS). Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. Panuthai, S. (2014b). The Quality of Discharge Teaching Scale (QDTS). Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. Panuthai, S. (2014c). The Care Coordination Scale (CCS). Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. Posmontier, B. (2008). Functional status outcomes in mothers with and without postpartum depression. Journal of Midwifery & Women’,s Health, 53(4), 310-318. Weiss, M., Ryan, P., & Lokken, L. (2006). Validity and reliability of the perceived readiness for discharge after birth scale. Journal of Obstetric, Gynecologic, & Neonatal Nursing, 35(1), 34-45. doi: 10.1111/j.1552-6909.2006.00020.x

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 23 ปัจจัยท�ำนายความพร้อมส�ำหรับการจ�ำหน่ายออกจาก โรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด

Weiss, M. & Piacentine, L.B. (2006). Psychometric properties of the readiness for hospital discharge scale. Journal of Nursing Measurement, 14(3), 163–180. Weiss, M., Piacentine, L.B., Lokken, L., Ancona, J., & Archer, L. (2007). Perceived readiness for hospital discharge in adult medical-surgical patients. Clinical Nurse Specialist, 21(1), 31-42. Weis E. M. & Lokken L. (2009). Predictors and Outcomes of Postpartum Mothers, s Perceptions of Readiness for Discharge after Birth. Journal of Obstetric, Gynecologic, & Neonatal Nursing, 38, 406-417. doi: 10.1111/j.15526909.2009.01040.x

24 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทของพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” Development of a Multimedia Electronic Book “Role of Nurse in Postpartum Family Planning”

พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ * Punpilai Sriarporn * นุชนาต สุนทรลิ้มศิริ ** Nachanart Suntornlimsiri ** พจนีย์ ภาคภูมิ *** Potjanee Phakphumi *** นิศาชล รักสกุล *** Nisachon Ragsakun *** ปริญญา คลี่สกุล **** Parinya Kisakul **** อดิศักดิ์ พวงสมบัติ **** Adisak Puangsombat ****

บทคัดย่อ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียเป็นสื่อดิจิตอลที่มีรูปแบบใหม่ทันสมัยน่าสนใจ จัดว่าเป็นสื่อทางเลือกใหม่ ในศตวรรษที่ 21 ที่สนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์ของการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้เพื่อ 1) พัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียเรื่อง “บทบาทของพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” ที่มีประสิทธิภาพ 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย และ 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อการ ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวนทั้งหมด 30 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนนิกส์มัลติมีเดีย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียเรื่อง “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” มีประสิทธิภาพ 73.54/85.00 โดยกลุ่มตัวอย่างสามารถท�ำคะแนนเฉลี่ยได้เป็น 73.54 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 85.00 เปอร์เซ็นต์สามารถบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละข้อ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าผลการทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (t 3.657, p.001) และ 3) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดียโดยรวมอยู่ในระดับดี (Mean=4.25) ผลการวิจัยครั้งนี้สรุปได้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” เป็นสื่อดิจิตอลที่มีคุณภาพดีทั้งในด้านเนื้อหาและรูปแบบ

ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะพยาบาลศาสตร์ ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 * รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University ** พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Registered nurse specialist, Faculty of Medicine, Chiang Mai University *** อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Instructure, Faculty of Nursing, Chiang Mai University **** ส�ำนักงานคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ **** Office, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 25 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทของพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด”

การน�ำเสนอสามารถช่วยพัฒนาความรู้และเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้แก่นักศึกษาพยาบาล แต่ควรมีการพัฒา ปรับปรุงต่อไปเพื่อให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด และมีความเหมาะสมที่จะน�ำไปใช้ในการเรียนการสอน การ ศึกษาด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21

ค�ำส�ำคัญ: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ บทบาทพยาบาล การวางแผนครอบครัวหลังคลอด นักศึกษาพยาบาล

Abstract Multimedia electronic books are a new form and interest digital media which are rapidly becoming an alternative form of self learning in the 21 century. The objectives of this developmental research are: 1) to develop an effective multimedia electronic book on Role of Nurse in Postpartum Family Planning; 2) to study learning achievement after used multimedia electronic book; and 3) to investigate the satisfaction of students towards the use of the proposed multimedia electronic book. Thirty fourth year nursing students were specifically selected as the samples to be used in this research. The research tools deployed in this work were; 1) multimedia electronic book on Role of Nurse in Postpartum Family Planning; 2) evaluation of learning achievement forms; and 3) questionnaire of sutdents satisfaction towards the multimedia electronic book. Finally, descriptive statistics and paired t-test were used to analyse the data. The results of this study reveal that: 1) efficiency of the multimedia electronic book on Role of Nurse in Postpartum Family Planning was at 73.54/85.00. It was found that the average score of the samples was 73.54% and 85.00% of the samples managed to achieve all objectives. 2) the learning achievement after study was statistically significantly higher than the pretest (t 3.657, p.001) and 3) students satisfaction level on the multimedia electronic book was placed at “highly satisfied” for both the content and design of the book with an overall mean of 4.25. The conclusion from this study is that the multimedia electronic book on Role of Nurse in Postpartum Family Planning is an excellent approach for self study in terms of the content, design, and presentation. It helps nursing students develop basic knowledge and increases learning efficiency. It is recommended that multimedia electronic book should be improved in order to reach effectiveness as criteria and appropriate for further develope skill of learning in 21th century.

Keyword: electronic book, role of nurse, Postpartum Family Planning, nursing student

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ไปอย่างรวดเร็ว การศึกษาในศตวรรษที่ 21 จึงเป็น เทคโนโลยีทางการศึกษาและการสื่อสารมีการ กระบวนทัศน์ใหม่ที่ท้าทายทางด้านการศึกษา จากความ เปลี่ยนแปลงและมีความก้าวหน้าอย่างมากมายใน ก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสารดังกล่าว จึงมี ศตวรรษที่ 21 ครอบคลุมไปถึงเทคโนโลยีด้าน บทบาทส�ำคัญในองค์กรการศึกษาเป็นอย่างมากในทุกด้าน คอมพิวเตอร์ ท�ำให้การเรียนรู้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเรียนการสอน

26 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of a Multimedia Electronic Book “Role of Nurse in Postpartum Family Planning”

ด้านนวัตกรรมทางการศึกษาและสื่อเพื่อการศึกษา ในการสอนด้วยบทเรียนทางคอมพิวเตอร์ และบทเรียน ส�ำหรับด้านการเรียนการสอนนั้น การจัดการเรียนรู้ต้อง อิเล็กทรอนิกส์ (courseware) ตลอดจนบทเรียนทาง มุ่งเน้นที่ผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ให้สอดคล้องกับกระแสแห่ง คอมพิวเตอร์ประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) การเปลี่ยนแปลงของยุคดิจิตอล (Education Reform จ�ำเป็นต้องสนับสนุนให้คณาจารย์และบุคลากรให้เข้าถึง Office,1999) โดยระบบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Laohajarussang, 2011) ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ เป็นการเรียนรู้แบบใหม่ที่ ให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนแบบใหม่ ดังที่ Panich ผู้เรียนต้องมีความคล่องทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และ (2012) ได้กล่าวว่า ผู้เรียนและผู้สอนจะต้องมีทักษะด้าน คล่องในการใช้สื่อ โดยผู้สอนเป็นเพียงผู้แนะน�ำอ�ำนวย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (information, ความสะดวก เป็นที่ปรึกษาทั้งในและนอกสถานที่ media, technology skill) ทักษะด้านสื่อ (media การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการ literacy skills) ซึ่งเป็นทักษะสองทาง คือ ด้านรับสาร จึงได้มีนโยบายมุ่งเน้นในการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา จากสื่อ และด้านสื่อสารออกไปยังผู้อื่น หรือสาธารณะ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ตลอดจนการพัฒนา หรือโลกในวงกว้าง คนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีความ ผลงานทางวิขาการของผู้บริหารการศึกษา ข้าราชการครู สามารถใช้เครื่องมือสร้างสื่อ และสื่อสารออกไปได้ และบุคลากรทางการศึกษา (MardJarus, 2013) และ หลากหลายทาง เช่น วิดีโอ (video) ออดิโอ (audio) ในการจัดการเรียนรู้ (learning management) พอดคาส์ท (podcast) เว็บไซต์ (website) เป็นต้น มีการสนับสนุนการเรียนรู้หลายรูปแบบ เช่น การใช้ เป็นทักษะหนึ่งที่มีความส�ำคัญมากในศตวรรษที่ 21 คอมพิวเตอร์ในการสอนด้วย e-learning ผ่านระบบ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครือข่าย การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (learning นับเป็นสถาบันการศึกษาชั้นน�ำในประเทศ ที่มีการน�ำ network) การใช้คอมพิวเตอร์ในการสื่อสารแลกเปลี่ยน แนวคิดบริหารจัดการสมัยใหม่ มีการพัฒนาระบบ อภิปรายกับผู้เรียน การแบ่งปันข้อมูลข่าวสารความรู้ สารสนเทศที่ทันสมัย และน�ำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ แบ่งปันคลิปภาพ เสียง และวิดีโอทางการศึกษา การใช้ มาใช้ในการเรียนการสอน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาใน ซีดีรอม วิดีทัศน์ ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีบูรณาการ การเรียนรู้โดยการชี้น�ำตนเอง โดยอาศัยรูปแบบการ เข้ากับการเรียนรู้ ที่ผู้สอนเป็นผู้คอยอ�ำนวยความสะดวก เรียนรู้ที่หลากหลาย สนับสนุนการเรียนการสอนแบบ ให้กับนักศึกษา ท�ำให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน e-learning ผ่านระบบเครือข่าย ตลอดจนการใช้สื่อ ดีขึ้น (Sornprang, 2012) การใช้นวัตกรรมทางการศึกษา มัลติมีเดียประเภทต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้ ที่อาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (technology multimedia) ด้วยตนเอง (รายงานประเมินตนเอง คณะพยาบาล จากการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจ�ำปีการศึกษา 2556) ฮาร์ดแวร์ รวมถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือ ท�ำให้มีการ ส�ำหรับสื่อมัลติเดียประเภทหนังสือที่ผ่านมา ได้มีการ จัดการด้านสื่อการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง กับสื่อต่าง ๆ ในรูปแบบของสื่อมัลติมีเดีย สื่อดังกล่าว “การเตรียมความพร้อมส�ำหรับการฝึกปฏิบัติในหน่วย สามารถโต้ตอบกับผู้เรียนและตอบสนองต่อการเรียนรู้ ตรวจพิเศษทางสูติ-นรีเวชวิทยา” ส�ำหรับนักศึกษา ของผู้เรียนและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ทันสมัย พยาบาลชั้นปีที่ 4 โดย Kunnasuta et al. (2015) ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง (Malithong, 2005; เพื่อน�ำมาใช้ในการเรียนการสอนการฝึกปฏิบัติการ Laohajarussang,1996) การน�ำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ พยาบาลมารดาในระยะหลังคลอด ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ มาใช้ในสถาบันการศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือส�ำหรับการ จากสื่อการเรียนการสอนที่มีความหลากหลายของสื่อ เรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ ที่มีความสอดคล้องกับลักษณะเนื้อหา ในรูปแบบของ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 27 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทของพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด”

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดียดังกล่าว ช่วยให้ ได้แก่ การวางแผนครอบครัวหลังคลอด บทบาทของ นักศึกษาเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และ พยาบาล และการคุมก�ำเนิดในระยะหลังคลอด ที่ผ่านมา เป็นการเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติในหน่วย คณาจารย์ประจ�ำหน่วยหลังคลอดได้จัดเตรียมหนังสือ ตรวจพิเศษทางสูติ-นรีเวชวิทยาได้เป็นอย่างดี เอกสารเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัวหลังคลอดส�ำหรับ ส�ำหรับบทบาทของพยาบาลในการวางแผน นักศึกษาในลักษณะของหนังสือทั่วไป โดยเอกสารดังกล่าว ครอบครัวของมารดาในระยะหลังคลอด องค์การอนามัย มีเพียงเนื้อหา ไม่มีภาพประกอบ ซึ่งไม่สามารถน�ำเสนอ โลกได้กล่าวถึงหน้าที่ของพยาบาลในด้านการวางแผน ขั้นตอนการปฏิบัติที่ชัดเจนได้ ครอบครัวไว้ว่า พยาบาลควรมีบทบาทอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนั้นหากผู้เรียนได้เรียนรู้จากสื่อการเรียนการ ดังต่อไปนี้คือ 1) การให้การพยาบาลทั่วไปแก่ผู้รับบริการ สอนในลักษณะสื่อมัลติมีเดีย ที่มีความหลากหลายของ (general nursing care) การเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง สื่อประเภทต่าง ๆ ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คลินิกด้านการวางแผนครอบครัว (clinical specialist จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ in family planing) เช่น การใส่และถอดห่วงอนามัย สามารถน�ำความรู้ไปใช้ในการฝึกปฏิบัติได้เป็นอย่างดี การตรวจมะเร็งปากมดลูก การจ่ายยาเม็ดคุมก�ำเนิด ผู้วิจัยจึงได้น�ำหนังสือ “บทบาทพยาบาลในการวางแผน การสอนวิธีใส่หมวกยางครอบปากมดลูก 2) การเป็น ครอบครัวหลังคลอด” มาปรับเนื้อหาให้มีความทันสมัย ผู้บริหารหรือผู้นิเทศงานพยาบาลผดุงครรภ์ในด้าน และพัฒนาเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เพื่อเป็น การวางแผนครอบครัว (administrators and/or ต�ำราส�ำหรับนักศึกษา และบุคลากรทีมสุขภาพในการ supervisors) 3) การเป็นผู้ฝึกอบรมบุคลากร หรือ เรียนรู้ด้วยตนเอง เนื่องจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ให้การศึกษาแก่บุคลากรในเรื่องการวางแผนครอบครัว มัลติมีเดียเป็นสื่อนวัตกรรมที่สะดวก ทันสมัย และดึงดูด (trainers or educators) ทั้งอย่างเป็นทางการและ ความสนใจ เนื่องจากมีทั้งเนื้อหา รูปภาพ วิดีทัศน์ และ อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการฝึกอบรมฟื้นฟูความรู้ เสียงบรรยายประกอบ รวมทั้งมีแบบฝึกหัดท้ายเล่ม ของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานทั้งระดับพยาบาลวิชาชีพ และ พร้อมเฉลยส�ำหรับประเมินตนเอง โดยหนังสือ ระดับผู้ช่วยพยาบาลหรือนักศึกษาพยาบาลผดุงครรภ์อื่น ๆ อิเล็กทรอนิกส์จะอยู่ในรูปซีดีรอม เพื่อเปิดอ่านกับ และ 4) การท�ำการวิจัยด้านวางแผนครอบครัวในส่วนที่ คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้หนังสือยังสามารถน�ำขึ้นระบบ เกี่ยวข้องกับพยาบาลผดุงครรภ์ (research workers) ซึ่งมี เครือข่าย เพื่อนักศึกษาสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ หลายระดับตั้งแต่เก็บรวบรวมข้อมูลประจ�ำวันไปจนถึงการ สะดวกตามต้องการ ช่วยให้มีประสบการณ์ที่ดีก่อนที่จะ วางแผนที่จะท�ำการศึกษาเฉพาะเรื่อง ดังนั้นนักศึกษา ไปฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง สื่อดังกล่าวสนับสนุนการ พยาบาลจึงต้องมีความรู้ และเข้าใจในบทบาทของพยาบาล เรียนรู้โดยการชี้น�ำตนเอง และเป็นประโยชน์ต่อ ในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด รวมทั้งวิธีการคุมก�ำเนิด นักศึกษาพยาบาลในการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อไป แบบต่าง ๆ ในระยะหลังคลอด เพื่อสามารถน�ำความรู้ ไปใช้ในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างเหมาะสม วัตถุประสงค์การวิจัย ในการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาลในการ 1. เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย ดูแลมารดาระยะหลังคลอด นักศึกษาจะได้รับมอบหมาย ที่มีประสิทธิภาพ เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการวางแผน ให้ฝึกปฏิบัติงานในหน่วยวางแผนครอบครัว เพื่อให้มี ครอบครัวหลังคลอด” ความรู้และประสบการณ์ในการให้บริการวางแผน 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน ครอบครัวแก่มารดาและผู้เป็นบิดา นักศึกษาต้องทบทวน ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาท ความรู้ก่อนการฝึกปฏิบัติในหน่วยวางแผนครอบครัว พยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด”

28 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of a Multimedia Electronic Book “Role of Nurse in Postpartum Family Planning”

3. ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อการ หลังคลอด” ในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาท ยังไม่ได้ฝึกปฏิบัติในหน่วยวางแผนครอบครัว เพื่อประเมิน พยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” ประสิทธิภาพของหนังสือโดยน�ำหนังสือไปทดลองราย บุคคล 1:1 กับกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 3 คน เพื่อดูการสื่อ วิธีด�ำเนินการวิจัย ความหมายของเนื้อหา และความสะดวกในการใช้ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา (develop- หนังสือและคู่มือการใช้ จากนั้นน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ mental research) ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ มัลติมีเดียที่ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้แบบภาคสนามกับ จริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 6 คน โดยมีขั้นตอนเช่นเดียวกับ เชียงใหม่ เลขที่ EXP-119-2558 เป็นวิจัยแบบกลุ่มเดียว การทดลองแบบกลุ่มเล็ก และขั้นตอนสุดท้ายน�ำหนังสือ วัดผลก่อนและหลังการทดลอง (pretest-posttest one อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียไปทดลองใช้แบบกลุ่มเล็กกับ group design) โดยมีระยะเวลาในการด�ำเนินการ 12 เดือน กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 30 คน โดยให้กลุ่มตัวอย่างท�ำแบบ ผู้วิจัยได้พัฒนาและออกแบบโดย มีการด�ำเนินการวิจัยใน ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเรียนหนังสือ 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียด้วยตนเอง เมื่อสิ้นสุดการ เป็นการจัดเตรียมเนื้อหา เตรียมการออกแบบพัฒนาหนังสือ เรียนให้กลุ่มตัวอย่างท�ำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการ อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย และการประเมินคุณภาพโดย เรียนซึ่งเป็นข้อสอบชุดเดียวกัน และตอบแบบสอบถาม ผู้ทรงคุณวุฒิ ระยะที่ 2 เป็นการน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ความคิดเห็นต่อการเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดียไปทดลองใช้เพื่อประเมินประสิทธิภาพ และ มัลติมีเดีย น�ำผลจากการท�ำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ประเมินผลสัมฤทธ์ของผู้เรียน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ทางการเรียนหลังเรียนมาวิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพ ระยะที่ 1 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เพื่อเทียบกับ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัว เกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ คือ 80/80 (80 ตัวแรก หมายถึง หลังคลอด” ได้แก่ น�ำเนื้อหาจากหนังสือ “บทบาทพยาบาล คะแนนเฉลี่ยจากการท�ำแบบทดสอบหลังเรียนของ ในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นและ ผู้เรียนทุกคน คิดเป็น 80 % ของคะแนนทั้งหมด 80 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย ก�ำหนดเป้าหมายและ ตัวหลัง หมายถึงผู้เรียนจ�ำนวน 80% สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ ขอบเขตเนื้อหา สื่อการสอน วิธีการประเมิน วัตถุประสงค์ของการเรียนในแต่ละวัตถุประสงค์) ผล และเกณฑ์การประเมินผล โดยผ่านการพิจารณาจาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและรูปแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สื่อ จากนั้นออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาท ก�ำหนดรูปแบบการน�ำเสนอ เขียนผังบทเรียน (Flowchart) พยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” บันทึกอยู่ การด�ำเนินเรื่อง (storyboards) การเชื่อมโยงปฏิสัมพันธ์ ในแผ่น CD-ROM พัฒนาโดยใช้ระบบการออกแบบการสอน พื้นที่และองค์ประกอบในหน้าหนังสือ วีดีทัศน์ แบบฝึกหัด ADDIE model (2013) ในการวางแผนออกแบบ ซึ่งแบ่ง ภายในเล่ม สร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นวิเคราะห์ (A: Analysis) 2) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้หนังสืออิเลคโทรนิกส์ ขั้นออกแบบ (D: Design) 3) ขั้นพัฒนา (D: Development) มัลติมีเดีย และสร้างหนังสืออิเลคโทรนิกส์มัลติมีเดีย 4) ขั้นทดลองใช้ (I: Implementation) 5) ขั้นประเมินผล พร้อมทั้งคู่มือการเปิดอ่านหนังสือ (E: Evaluation) เนื้อหามาจาก หนังสือ เรื่อง “บทบาท ระยะที่ 2 การทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ พยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลัง คลอด” เนื้อหา มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัว ประกอบไปด้วย 1) การวางแผนครอบครัว 2) บทบาทของ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 29 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทของพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด”

พยาบาล 3) การคุมก�ำเนิดหลังคลอด ภายในเล่มประกอบ “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” ด้วย เนื้อหา รูปภาพ วีดีทัศน์ และเสียงประกอบ พร้อมทั้ง น�ำไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพของหนังสือ แบบทดสอบความรู้ภายในเล่ม บรรจุในแผ่น CD-ROM ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผดุงครรภ์จ�ำนวน 2. แบบประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3 ท่าน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการวางแผน และด้านการออกแบบสื่อจ�ำนวน 1 ท่าน ประเมิน ครอบครัวหลังคลอด” โดยผู้ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญด้าน คุณภาพของหนังสือด้านเนื้อหาและด้านการออกแบบ เนื้อหาและด้านสื่อ ได้แก่ ความสอดคล้องของเนื้อหากับ ก�ำหนดค่าประเมินการยอมรับที่ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ วัตถุประสงค์ ความถูกต้อง การล�ำดับเนื้อหา ความชัดเจน 3.5 ขึ้นไป ผลปรากฏว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เนื้อหา ความยากง่ายเหมาะสม การใช้รูปภาพ วีดีทัศน์ มีคุณภาพสูงกว่าเกณฑ์ คือคุณภาพด้านเนื้อหา ค่าเฉลี่ย เสียงประกอบ ตัวอักษร แบบฝึกหัดในเล่ม ความชัดเจน 4.54 และด้านออกแบบ ค่าเฉลี่ย 4.60 จากนั้นปรับปรุง ของภาพ วีดีทศน์ และเสียงประกอบ รูปแบบและขนาด หนังสือตามข้อเสนอแนะเพื่อให้มีคุณภาพมากขึ้น ตัวอักษร การออกแบบหน้าจอและพื้นหลัง การเชื่อมโยง 2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยผู้วิจัย ภายในเล่ม เมนูและการใช้งานของปุ่มต่าง ๆ เป็นค�ำตอบ น�ำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 อันดับ มากที่สุด มาก ไปตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและภาษาที่ใช้โดย ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด สร้างขึ้นจากการทบทวน ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วยอาจารย์พยาบาล วรรณกรรมให้สอดคล้องกับเนื้อหาและการออกแบบ ผู้เชี่ยวชาญด้านการผดุงครรภ์และสื่อมัลติมีเดีย 1 ท่าน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย และพยาบาลด้านการผดุงครรภ์ที่เกี่ยวข้องกับการ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้หนังสือ วางแผนครอบครัวหลังคลอด 2 ท่าน หลังจากผ่านการ อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการ พิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ น�ำมาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม วางแผนครอบครัวหลังคลอด” แบ่งออกเป็น 3 ตอน เพื่อให้เกิดความชัดเจนในเนื้อหา ความเหมาะสมของ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่ม ตอนที่ 2 ความคิดเห็น ภาษาก่อนน�ำไปใช้ในการวิจัย ได้ค่าความตรงตามเนื้อหา ต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย ด้านตัวอักษร ด้าน เท่ากับ 1.00 และหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) สี ด้านสัญรูป ด้านการเชื่อมโยง ด้านวัตถุประสงค์ของ โดยน�ำไปทดลองใช้กับนักศึกษาพยาบาลที่ลักษณะ การเรียน ด้านการเสนอเนื้อหา และด้านกิจกรรมการ คล้ายกับกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 10 ราย วิเคราะห์หาค่า เรียนรู้ ข้อเสนอแนะต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย ความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค แบบสอบถามเป็นค�ำตอบแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ได้ค่าเท่ากับ 0.81 อันดับ ได้แก่ ดีมาก ดี ปานกลาง ควรปรับปรุง และ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้หนังสือ ไม่ดีเลย (Srisaard, 2002) อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียที่ได้รับการตรวจสอบความ 4. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบ เที่ยงตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 3 ท่าน และ ทดสอบความรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่องบทบาท ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ ค�ำนวณค่าความตรงตาม พยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” ชุดเดียวกัน เนื้อหา ได้เท่ากับ 1.00 จากนั้นผู้วิจัยน�ำแบบทดสอบผล เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 20 ข้อ สัมฤทธิ์ทางการเรียนน�ำไปทดลองใช้กับนักศึกษา โดยมีข้อค�ำถามสอดคล้องกับเนื้อหา และจุดประสงค์การ พยาบาลที่ลักษณะคล้ายกับกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 10 ราย เรียนรู้ในแต่ละบท แล้วน�ำมาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย สิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.86 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง

30 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of a Multimedia Electronic Book “Role of Nurse in Postpartum Family Planning”

การวิเคราะห์ข้อมูล ในการใช้หนังสือและคู่มือการใช้ จากการศึกษาพบว่า 1. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียเป็นสื่อการสอนที่มี อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการ ความทันสมัย เนื้อหาอ่านเข้าใจง่าย ตัวหนังสือมีความ วางแผนครอบครัวหลังคลอด” โดยน�ำคะแนนที่ได้จาก เหมาะสม อ่านสบายตาและมีความน่าสนใจ แต่มีบาง การทดสอบหลังเรียนมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ 80/80 ภาพที่สื่อความไม่ชัดเจน สีพื้นหลังขาวท�ำให้แสบตาจึง 2. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้ทบทวนเนื้อหาและปรับปรุงให้มีความชัดเจนและ โดยเปรียบเทียบคะแนนจากการทดสอบก่อนเรียนและ รูปแบบที่เหมาะสมมากขึ้น หลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง 2. ผลการน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” ที่ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้แบบภาคสนามกลับกลุ่ม ด้วยสถิติ pair t-test หลังจากทดสอบพบว่าข้อมูล ตัวอย่างจ�ำนวน 6 คน โดยมีขั้นตอนเช่นเดียวกับการ มีการกระจายแบบโค้งปกติ ทดลองแบบกลุ่มเล็ก และสอบถามความคิดเห็นของกลุ่ม 3. วิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจต่อการใช้หนังสือ ตัวอย่างต่อการเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย อิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย โดยหาค่าความถี่ ร้อยละ และน�ำผลจากการทดสอบหลังเรียนมาวิเคราะห์เพื่อดู ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย ผลการวิเคราะห์จากคะแนนการทดสอบหลังเรียนปรากฏ ผลการวิจัย ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียมีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยได้พัฒนาและออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 73.54/85.00 (เกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80) โดยกลุ่มตัวอย่าง มัลติมีเดียที่มีคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านออกแบบ ทั้งหมดสามารถท�ำคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 73.54 และ และน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียไปทดลองใช้เพื่อ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 85.00 สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ประเมินประสิทธิภาพ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน การเรียนแต่ละข้อ และความพึงพอใจต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างหลัง มัลติมีเดีย ผลการศึกษาพบว่า เรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย พบว่าผลสัมฤทธ์ 1. ผลการน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างภายหลังเรียน มีคะแนน ไปทดลองใช้ในกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 3 คน เพื่อประเมิน เฉลี่ย 11.77 (SD. = 1.75) ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อน ประสิทธิภาพของหนังสือ โดยทดลองรายบุคคลเพื่อ เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย 9.97 (SD. = 1.88) อย่างมีนัย ประเมิน การสื่อความหมายของเนื้อหา และความสะดวก ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับคะแนนการทดสอบของกลุ่มตัวอย่างก่อนเรียน และภายหลังเรียนหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย (n=30) ค่าเฉลี่ย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ค่าสถิติ ระดับคะแนน P-value ก่อนเรียน ภายหลังเรียน t การทดสอบ เรื่อง บทบาทพยาบาล 9.97 (1.88) 11.77 (1.75) 3.657 .001 ในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด

4. ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการ วางแผนครอบครัวหลังคลอด” ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 31 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทของพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด”

มัลติมีเดียโดยรวมอยู่ในระดับ ดี (Mean =4.25) และ เสนอเนื้อหา และด้านกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับ ดี เมื่อจ�ำแนกรายด้านพบว่า ด้านตัวอักษร ด้านสี ด้านสัญรูป (Mean= 4.04 4.40 4.24 4.21 4.37 4.25 และ ด้านการเชื่อมโยง ด้านวัตถุประสงค์ของการเรียน ด้านการ 4.40 ตามล�ำดับ) ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางท ี่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการ วางแผนครอบครัวหลังคลอด” โดยรวมและจ�ำแนกรายด้าน (n =30) ความคิดเห็น (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ย ระดับ รายการประเมิน ควร (SD) ดีมาก ดี ปานกลาง ปรับปรุง ด้านตัวอักษร 5 (16.7) 20 (66.6) 5 (16.7) - 4.04 (0.48) ดี ด้านสี 16 (53.3) 11 (36.7) 3 (10.0) - 4.40 (0.60) ดี ด้านสัญรูป 10 (33.3) 18 (60.0) 2 (6.7) - 4.24 (0.55) ดี ด้านการเชื่อมโยง 10 (33.3) 17 (56.7) - 4.21 (0.55) ดี ด้านวัตถุประสงค์ของการเรียน 10 (33.3) 19 (63.4) - 4.37 (0.49) ดี ด้านการน�ำเสนอเนื้อหา 13 (43.3) 15 (50.0) - 4.25 (0.56) ดี ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ 9 (30.0) 20 (66.7) - 4.40 (0.46) ดี รวม 10 (33.3) 19 (63.4) 1 (3.3) - 4.25 (0.40) ดี

กลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะให้เพิ่มปุ่มปิด-เปิดเสียง คลอด” พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียมี ดนตรีประกอบ และค�ำอธิบายปุ่มเปิดในหน้าตรวจ ประสิทธิภาพ 73.54/85.00 (เกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80) ค�ำตอบเพื่อให้สะดวกในการใช้งาน จึงได้ปรับปรุงแก้ไข โดยกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดสามารถท�ำคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ตามข้อเสนอแนะพร้อมทั้งปรับปรุงคู่มือการใช้งาน 73.54 และกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 85.00 สามารถบรรลุ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ที่มีต่อการเรียน วัตถุประสงค์การเรียนแต่ละข้อ ทั้งนี้เพราะหนังสือ ด้วยตนเองจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง “บทบาท อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการ พยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” กลุ่ม วางแผนครอบครัวหลังคลอด” ได้พัฒนาตามขั้นตอนของ ตัวอย่างแสดงความคิดเห็นว่าเป็นสื่อการสอน ระบบการออกแบบการสอน ADDIE model (Christine, อิเล็กทรอนิกส์ที่ดีมาก มีคุณค่ามาก ได้ทบทวนความรู้ 2003) โดยผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ ได้เรียนรู้เพิ่มเติม ได้ความรู้ใหม่ และเป็นการเรียนรู้ ทั้งด้านเนื้อหา และด้านออกแบบ มีการน�ำไปทดลองใช้ ด้วยตนเองที่ง่ายและสะดวก เข้าใจง่าย สามารถน�ำความรู้ กับกลุ่มตัวอย่างทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม และปรับปรุง ไปใช้ในการฝึกปฏิบัติงานในหน่วยวางแผนครอบครัว ข้อบกพร่องต่าง ๆ ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติดีเดีย ควรให้นักศึกษาดูก่อนฝึก และควรมีการท�ำหนังสือ ให้มีคุณภาพยิ่งขึ้นก่อนน�ำไปทดลองใช้จริงกับกลุ่ม อิเล็กทรอนิกส์ ในเรื่องอื่น ๆ ต่อไป ตัวอย่าง แม้ผลการศึกษาประสิทธิภาพของหนังสือไม่ เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ 80/80 แต่แสดงถึง การอภิปรายผล ประสิทธิภาพของหนังสือที่ได้มีการออกแบบและพัฒนา ผลการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย อย่างเป็นระบบดังกล่าว จึงส่งผลให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลัง มัลติมีเดียมีประสิทธิภาพใกล้เคียงเกณฑ์ที่ตั้งไว้

32 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of a Multimedia Electronic Book “Role of Nurse in Postpartum Family Planning”

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของจากคะแนนการทดสอบ ในศตวรรษที่ 21 เป็นยุคดิจิตอลที่มีการใช้เทคโนโลยี ของกลุ่มตัวอย่างภายหลังเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สารสนเทศ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร ที่ มัลติมีเดีย มีคะแนนสูงกว่าคะแนนการทดสอบของกลุ่ม เน้นผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อต่าง ๆ ตัวอย่างก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ .001 ทั้งนี้ (Panich, 2012) สอดคล้องกับการวิจัยการพัฒนา อาจกล่าวได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง การเตรียมความ “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” พร้อมส�ำหรับการปฏิบัติในหน่วยตรวจพิเศษทาง มีเนื้อหาที่มีการอธิบายอย่างชัดเจน ครอบคลุม มีความ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ส�ำหรับนักศึกษาพยาบาล ทันสมัย ทั้งมีรูปภาพและวีดีทัศน์แสดงการคุมก�ำเนิด (Kannasuta et al., 2011) และการวิจัยพัฒนาหนังสือ แต่ละชนิดประกอบเนื้อหา ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างเกิดการ อิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ เรียนรู้ มีความเข้าใจอย่างชัดเจน นอกจากนี้ในแต่ละบท การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ส�ำหรับนักศึกษาพยาบาล มีแบบฝึกหัดพร้อมเฉลยให้กลุ่มตัวอย่างได้ทบทวนความ (Yimyam, Chareonsanti, & Kannasud, 2014) ที่พบ รู้ และเรียนรู้เพิ่มเติมได้ตามต้องการ ท�ำให้เกิดการเรียน ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียมีความเหมาะสม รู้อย่างมีประสิทธิภาพ คือผู้เรียนมีความรู้มากขึ้น การใช้ โดยผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อหนังสือในระดับมากที่สุด คอมพิวเตอร์ในการสื่อสารแบ่งปันความรู้ แบ่งปันคลิป เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึง ภาพ เสียง และวิดีโอทางการศึกษา ตลอดจนการใช้ พอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาท เทคโนโลยีบูรณาการเข้ากับการเรียนรู้ ที่ผู้สอนเป็นผู้ พยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” ด้านตัวอักษร คอยอ�ำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษา ท�ำให้นักศึกษา ด้านสี ด้านสัญรูป ด้านการเชื่อมโยง ด้านวัตถุประสงค์ของ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น (Sornprang, 2012) การเรียน ด้านการเสนอเนื้อหา และด้านกิจกรรมการ สอดคล้องกับการวิจัย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรียนรู้ อยู่ในระดับ ดี โดยเห็นว่าเนื้อหาที่น�ำเสนอและ เรื่อง การเตรียมความพร้อมส�ำหรับการปฏิบัติในหน่วย การเรียงล�ำดับ เนื้อหาเหมาะสม ข้อความและภาษาที่ใช้ ตรวจพิเศษทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ส�ำหรับ มีความชัดเจนเข้าใจง่าย รูปภาพประกอบสอดคล้องกับ นักศึกษาพยาบาล ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เนื้อหา และวีดีทัศน์สามารถน�ำเสนอเนื้อหาได้ชัดเจน สูงกว่าผลทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาที่ใช้ในการศึกษา แบบทดสอบ .001 (Kannasuta et al., 2015) ภายในเล่มมีความเหมาะสม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการใช้หนังสือ มัลติมีเดีย เรื่องนี้ ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับ อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทพยาบาลในการ การเตรียมความพร้อมส�ำหรับการฝึกปฏิบัติในหน่วย วางแผนครอบครัวหลังคลอด” โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี วางแผนครอบครัว กลุ่มตัวอย่างสามารถเรียนรู้เรื่อง เนื่องจากการออกแบบพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การเตรียมความพร้อมส�ำหรับการฝึกปฏิบัติในหน่วย ในครั้งนี้มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ โดยค�ำนึงถึงพฤติกรรม วางแผนครอบครัวเล่มนี้ด้วยตนเอง และเห็นว่าเนื้อหาใน การเรียนรู้ของผู้เรียนและหลักจิตวิทยาการเรียนการ หนังสือเล่มนี้ท�ำให้มีความมั่นใจก่อนที่จะขึ้นฝึกปฏิบัติ สอนเป็นพื้นฐานในการออกแบบสื่อ เพื่อสามารถสนอง ในหน่วยวางแผนครอบครัว จากการที่กลุ่มตัวอย่างมีความ ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีความแตกต่างระหว่างบุคคล พึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียในระดับดี เกิดการเรียนรู้ มีความเข้าใจ สามารถจดจ�ำและรับรู้อย่าง อาจเนื่องมาจากที่ผู้วิจัยได้มีการออกแบบอย่างเป็นระบบ ถูกต้อง ท�ำให้กระตือรือร้น และสนใจในการเรียน และมีการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างทั้งรายบุคคลและ (Malithong, 2005; Laohajarussang, 2011) และ รายกลุ่ม มีการปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ เพื่อให้มีความ ใช้นวัตกรรมการให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ ซึ่งศึกษา เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน และมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 33 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มัลติมีเดีย เรื่อง “บทบาทของพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด”

สรุปได้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง 2. ควรมีวิจัยเกี่ยวกับมาตรฐานการพัฒนาสื่อที่ “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” เหมาะสมส�ำหรับเนื้อหาทางการพยาบาล เพื่อสามารถ สามารถสนองต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ น�ำมาใช้ในการส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้น ทางการเรียนสูงขึ้น ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมาย และมีความ ผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และการศึกษาด้วยตนเองอย่างมี พึงพอใจในระดับดี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ กิตติกรรมประกาศ ควรน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เรื่อง งานวิจัยครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนทุนจากงบประมาณ “บทบาทพยาบาลในการวางแผนครอบครัวหลังคลอด” รายได้ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 คณะพยาบาลศาสตร์ ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนโดยมอบหมายให้ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ก่อนขึ้นปฏิบัติงานในหน่วยวางแผนครอบครัว จากนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการเข้าร่วมเป็นกลุ่มตัวอย่าง ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป และขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้ค�ำแนะน�ำ 1. ควรมีการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย ที่เป็นประโยชน์ในการวิจัย ในเนื้อหาหรือกระบวนวิชาอื่นให้กว้างขวางต่อไป เอกสารอ้างอิง ADDIE Model. (2013). ADDIE Model. Retrieved from http://en.wikipedia.org/wiki/ADDIE_Model Education Reform Office. (1999).National Education Act B.C. 1999. Bangkok: Krurusapra Publication Lardpraw. Kunnasuta, S., Sriarporn, P., Supavititpatana, B., Indarangkura NaAyutthaya, A., & Chaiwipassatorn, W. (2015). Development of a Multimedia Electronic Book on Preparation for Practice at Special Screening Obstetrics–Gynecology Unit for Nursing Students. Chiang Mai: Faculty of Nursing, Chiang Mai University. (In Thai) Laohajarussang, T. (1996). Computor for Teaching. Bangkok: Wongkrom Production. Laohajarussang, T. (2011). University Staff and Using Computer in Teaching: Handbook for Chiang Mai University Staff. Chiang Mai: Service EducationSection Chiang Mai University. Malithong, K. (2005). ITC for education. Bangkok: Arund Printing. MardJarus, T. (2013). Learning Management System: LMS. Bangkok: Tharnarksorn. Panich, V. (2012). The Learning Way for the 21st Century’s Students. Bangkok: Tathata Publication LTD. Srisaard, B. (2002). Basic Reseach. Bangkok: Suweriyasarn. Sornprang, P. (2012). Information Systems. Bangkok: SeEd Youkasion. Sornprang, R. (2013). New Paradigm in Education Case Perspective for 21th Century Education. Bangkok: Thipwisuth. Yimyam, S., Chareonsanti, J., & Kannasud, S. (2014). Development of Electronic Multimedia: Primary Knowledge regarding Maternal Breastfeeding for Nursing Students. Journal of Nursing, 41(4). 70-82. 34 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย ของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ Perceived Susceptibility, Self-efficacy, and Exercise Behaviors among Postpartum Women with Gestational Diabetes Mellitus

เยาวลักษณ์ มาก๋า * Yaowaluck Maka * จันทรรัตน์ เจริญสันติ ** Jantararat Chareonsanti ** พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ *** Punpilai Sriarporn ***

บทคัดย่อ พฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์สามารถลดโอกาสเสี่ยงในการ พัฒนาไปเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโอกาสเสี่ยง ตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน พฤติกรรมการออกก�ำลังกาย และความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่างคือ สตรีภายหลังคลอดบุตร 4-6 สัปดาห์ และได้รับการวินิจฉัยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ที่มารับการตรวจหลังคลอด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1 และโรงพยาบาลล�ำพูน จ�ำนวน 85 ราย ระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2558-เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถาม โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ของการเป็นโรคเบาหวานของ Kim, Goewey, McEvan, Ferrara, & Walker, (2007) แปลเป็นภาษาไทยโดยผู้วิจัย แบบสอบถามสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกายของ Kim, McEwen, Kieffer, Herman,& Piette, (2008) แปลเป็นภาษาไทยโดยผู้วิจัย และแบบสอบถามพฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรี หลังคลอดที่ดัดแปลงจากแบบสอบถามพฤติกรรมออกก�ำลังกายของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน (Panyoyai, 2007) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ของการเป็นโรคเบาหวานอยู่ในระดับ ปานกลาง ( = 35.33, S.D. = 7.60) 2. สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกายอยู่ในระดับปานกลาง ( = 32.71, S.D. = 9.07) 3. สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีพฤติกรรมการออกก�ำลังกายอยู่ในระดับปานกลาง ( = 43.92, S.D. = 7.36) 4. สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการออกก�ำลังกายอย่างมีนัยส�ำคัญทาง

* อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่ * Instructor, Boromarajonani College of Nursing Chiang Mai ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 35 โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย ของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

สถิติ (r = .594, p < .01) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกายหลังคลอด เพื่อให้ สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีพฤติกรรมการออกก�ำลังกายเพิ่มขึ้น

ค�ำส�ำคัญ: โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน พฤติกรรมการออกก�ำลังกาย สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์

Abstract Exercise behaviors of postpartum women with gestational diabetes mellitus can reduce the risk of them developing Type 2 diabetes. The purposes of this descriptive correlational research were to investigate perceived susceptibility, self-efficacy, exercise behaviors and their relationship among postpartum women with gestational diabetes mellitus. The subjects were 85 postpartum women with gestational diabetes mellitus who attended 4-6 weeks postpartum checkup at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, Health Promotion Region 1 Hospital, and Lamphun Hospital between September 2014 and January 2015. The research instruments included: The Risk Perception Survey for Developing Diabetes developed by Kim, Goewey, McEwen, Ferrara, Piette, and Walker (2007), translated into Thai by the researchers, The Self-Efficacy Surveys for Exercise Behaviors developed by Kim, McEwen, Kieffer, Herman, and Piette (2008), also translated into Thai by the researchers, and The Exercise Behavior of Postpartum Women, modified from Exercise Behaviors Questionnaire, which was developed by Pimpaka Panyoyai (Panyoyai, 2007). Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson correlation coefficient. The results of the study were as follows: 1. The postpartum women with gestational diabetes mellitus had a perceived susceptibility of diabetes at a moderate level ( = 35.33, S.D. = 7.60). 2. The postpartum women with gestational diabetes mellitus demonstrated self-efficacy for exercise at a moderate level ( = 32.71, S.D. = 9.07). 3. The postpartum women with gestational diabetes mellitus demonstrated exercise behaviors at a moderate level ( = 43.92, S.D. = 7.36). 4. Self-efficacy for exercise had a positive significant correlation at a high level in relation to exercise behaviors (r = .594, p < .01). The findings of this study can be used as a guideline to promote self-efficacy for exercise to increase exercise behaviors of postpartum women with gestational diabetes mellitus.

Key words: Perceived Susceptibility, Self-efficacy, Exercise Behaviors, Postpartum Women with Gestational Diabetes Mellitus.

36 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Susceptibility, Self-efficacy, and Exercise Behaviors among Postpartum Women with Gestational Diabetes Mellitus

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา หลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์จะเกี่ยวข้องกับ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes การควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ Mellitus: GDM) เกิดจากความทนต่อกลูโคสที่ผิดปกติ โดยการควบคุมอาหารและการออกก�ำลังกายอย่าง วินิจฉัยได้ครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์ (Diabetes สม�่ำเสมอ (Cunningham et al., 2014) ซึ่งการออก Association of Thailand, 2017) ถึงแม้ว่าร้อยละ 90 ก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอหลังคลอดสามารถลดความ ของสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์จะมีระดับของ เสี่ยงที่จะพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้สูงสุด น�้ำตาลในเลือดกลับสู่ภาวะปกติในระยะหลังคลอด ถึงร้อยละ 60 (Canadian Diabetes Association แต่ยังเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสพัฒนาเป็นโรคเบาหวาน [CDA], 2013) เมื่อมีการออกก�ำลังกายจะมีการ ในอนาคต (Feig, Zinman, Wang, & Hux, 2008) เปลี่ยนแปลงการท�ำงานของร่างกายดังนี้ 1) การเผา ซึ่งอุบัติการณ์การพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ผลาญพลังงานในเซลล์ 2) ระบบการสร้างพลังงานและ ในสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์พบได้ การปรับตัวของฮอร์โมน ท�ำให้มีการน�ำนำ�้ ตาลเข้าสู่เซลล์ ทั่วโลก เช่น ประเทศออสเตรเลียพบได้ร้อยละ 20-30 ส่งผลให้ระดับนำ�้ ตาลในเลือดลดลง (Kaouar, Peronnet, (Smith, Zehle, Cheung, McLean, & Bauman, Massicotte, & Lavoie, 2004) 2005) ประเทศเยอรมันพบร้อยละ 52.7 (Lobner et ถึงแม้การออกก�ำลังกายจะมีผลต่อการดึงน�้ำตาล al., 2006) ส�ำหรับในประเทศไทย สตรีหลังคลอดที่เป็น ในเลือดไปใช้ แต่การออกก�ำลังกายจะต้องถูกตามหลัก เบาหวานขณะตั้งครรภ์พัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ การออกก�ำลังกาย (Thomas, Ellioutt, & Naughton, 2 ถึงร้อยละ 50 (Wanitchakorn, 2008) 2007) โดยออกก�ำลังกายอย่างน้อย 30 นาที 3 วันต่อ การพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในสตรี สัปดาห์ หรือการท�ำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 20 นาที หลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์เกิดจากการ อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์ (American College of เปลี่ยนแปลงของเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อนเสื่อมสภาพลง Sports Medicine [ACSM], 2009) อย่างไรก็ตามสตรี ท�ำให้เกิดความผิดปกติในการหลั่งเอมโซม์กลูโคไคเนส หลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ยังมีพฤติกรรม (glucokinase) ที่ท�ำหน้าที่ควบคุมการเผาผลาญนำ�้ ตาล การออกก�ำลังกายน้อยกว่าที่ควรเป็น ดังการศึกษาของ กลูโคส รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงอัตราเมตาบอลิซึมที่เกิด Fehler, Kennedy, McCargar, Bell, & Ryan (2007) จากการเปลี่ยนแปลงตามวัย พฤติกรรมสุขภาพ และ พบว่า กลุ่มตัวอย่างออกก�ำลังกายน้อยกว่า 2 ครั้งต่อ พันธุกรรม (Jittrapirom & Chantharasanti, 2012) สัปดาห์ และใช้เวลาในการออกก�ำลังกายน้อยกว่า 30 เมื่อเข้าสู่ระยะหลังคลอดถึงแม้ว่าฮอร์โมนจากรกจะลด นาที ร้อยละ 53 มีพฤติกรรมการออกก�ำลังกายใน 1 ระดับลง ความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิซึม สัปดาห์หลังคลอด ร้อยละ 58 ออกก�ำลังกายใน 6 จากเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อนเสื่อมสภาพยังคงอยู่ ส่งผลต่อ สัปดาห์หลังคลอด และและลดลงเหลือเพียงร้อยละ 37 การผลิตและการท�ำงานของอินสุลิน ท�ำให้ระดับนำ�้ ตาล ที่ออกก�ำลังกาย 6 เดือนหลังคลอด ในประเทศไทยยัง ในเลือดจึงยังสูงในระยะหลังคลอด (Lowdermilk, ไม่มีการศึกษาพฤติกรรมการออกก�ำลังกายหลังคลอด Perry, Cashion, & Alden, 2012) ของสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาภาวะเบาหวานขณะ จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า มีปัจจัยที่ ตั้งครรภ์ไปเป็นโรคเบาหวานในระยะหลังคลอด เกิดจาก เกี่ยวข้องกับการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่เป็น 2 ปัจจัย ประกอบไปด้วย 1) ปัจจัยส่วนบุคคล 2) เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล และ พฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานระยะหลังคลอด ปัจจัยอื่น ๆ ประกอบด้วย โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้และ โดยพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานส�ำหรับสตรี สมรรถนะแห่งตน ซึ่งโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 37 โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย ของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

(perceived susceptibility) เป็นความคิด ความเชื่อ ต�่ำถึงระดับปานกลาง จะไม่ค่อยออกก�ำลังกาย ของบุคคลเกี่ยวกับโอกาสการเกิดโรคในสภาวการณ์ใด ๆ การออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่เป็น หรือเป็นความเชื่อของบุคคลในการยอมรับความเสี่ยงใน เบาหวานขณะตั้งครรภ์มีความส�ำคัญในการลด การเกิดโรคของตน (Rosenstock, Strecher, & Becker, ความเสี่ยงในการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 1988) การมีโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้เป็นสิ่งส�ำคัญที่จะ ในระยะหลังคลอด การดูแลสตรีหลังคลอดจะเน้นการ กระตุ้นให้สตรีหลังคลอดเกิดการเปลี่ยนพฤติกรรม ดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการกลับคืนของสภาพร่างกาย สุขภาพ (O’Reilly, 2014) หากสตรีหลังคลอดที่รับรู้ว่า เข้าสู่ภาวะปกติเหมือนก่อนการตั้งครรภ์ การปรับตัวต่อ ตนเองมีโอกาสเสี่ยงต�่ำต่อการเป็นโรคเบาหวานจะขาด บทบาทการเป็นมารดา การเลี้ยงดูบุตร ตลอดจนการให้ พฤติกรรมในการป้องกันโรค เช่น การศึกษาของ Kim ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการคุมก�ำเนิด ส�ำหรับการให้ค�ำ et al. (2007) พบว่า สตรีหลังคลอดร้อยละ 35 มีโอกาส แนะน�ำถึงโอกาสเสี่ยงในการเป็นเบาหวานในครรภ์ครั้ง เสี่ยงตามการรับรู้ในการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ ต่อไป โอกาสเสี่ยงที่จะพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิด 2 อยู่ในระดับต�่ำ จึงท�ำให้สตรีหลังคลอดไม่สนใจดูแล ที่ 2 ในอนาคต รวมถึงการให้ค�ำแนะน�ำการออกก�ำลังกาย สุขภาพของตนเอง ในทางตรงกันข้ามหากสตรีหลัง ในระยะหลังคลอดยังมีน้อย (Devsam, Bogossian, & คลอดรับรู้ว่าตนเองมีโอกาสเสี่ยงต่อการพัฒนาไปเป็น Peacock, 2013) ส่งผลให้สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวาน โรคเบาหวานจะมีพฤติกรรมในการควบคุมอาหาร และ ขณะตั้งครรภ์ เกิดความเสี่ยงในการเป็นเบาหวานขณะ พฤติกรรมการออกก�ำลังกาย เช่น การศึกษาของ ตั้งครรภ์ซำ�้ และการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Bandyopadhyay et al. (2011) พบว่า สตรีหลังคลอด ในอนาคต ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาความ ที่รับรู้ว่าตนเองมีโอกาสเสี่ยงในการพัฒนาไปเป็นโรค สัมพันธ์ระหว่างโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่ง เบาหวาน จะเกิดความกลัว และจะปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ ตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกายในสตรีหลังคลอด ในเรื่อง การออกก�ำลังกายเพื่อไม่ให้ระดับนำ�้ ตาลในเลือด ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ซึ่งผลการศึกษาจะท�ำให้ สูงขึ้น ได้ข้อมูลพื้นฐาน ที่สามารถน�ำไปใช้ในการปฏิบัติการ สมรรถนะแห่งตน (self - efficacy) เป็นความคิด พยาบาลในการดูแลสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะ และความเชื่อของบุคคลต่อความสามารถของตนเองใน ตั้งครรภ์ต่อไป การควบคุมหรือจัดการสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ตนเองประสบ ความส�ำเร็จ หรือสิ่งที่คาดหวังไว้ว่าจะกระท�ำให้ส�ำเร็จ วัตถุประสงค์การวิจัย (Bandura, 1986) สตรีหลังคลอดที่มีความเชื่อว่าตนเอง 1. เพื่อศึกษาโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะ มีความสามารถที่จะออกก�ำลังกาย จะมีพฤติกรรมการ แห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลัง ออกก�ำลังกายเพื่อป้องกันการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 คลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Lipscombe et al., 2014) ดังการศึกษาของ Smith 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสเสี่ยงตาม et al. (2005) พบว่า สตรีหลังคลอดที่มีสมรรถนะ การรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลัง แห่งตนในการออกก�ำลังกายที่สูง จะมีพฤติกรรมการ กายของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ออกก�ำลังกายในระยะหลังคลอด ในทางตรงกันข้ามสตรี หลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีสมรรถนะ ค�ำถามการวิจัย แห่งตนในการออกก�ำลังกายตำ�่ จะไม่ค่อยออกก�ำลังกาย 1. โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และ ดังการศึกษา ของ Kim et al. (2008) พบว่า สตรีหลัง พฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่เป็น คลอดที่มีสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกายที่ระดับ เบาหวานขณะตั้งครรภ์เป็นอย่างไร

38 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Susceptibility, Self-efficacy, and Exercise Behaviors among Postpartum Women with Gestational Diabetes Mellitus

2. โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และ คุณวุฒิจ�ำนวน 3 ท่าน ได้ความเที่ยงตรงเท่ากับ 1 จากนั้น พฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่เป็น น�ำเครื่องมือทั้งหมดไปหาความเชื่อมั่นจากสตรีหลัง เบาหวานขณะตั้งครรภ์มีความสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร คลอดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 10 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’ s วิธีด�ำเนินการวิจัย alpha coefficient) เท่ากับ .73, .89 และ .80 ตามล�ำดับ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง สัมพันธ์ (descriptive correlational design) กลุ่ม ผู้วิจัยด�ำเนินการวิจัยภายหลังได้รับการรับรองจาก ตัวอย่างที่ศึกษา คือ สตรีภายหลังคลอดบุตร 4-6 สัปดาห์ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ และได้รับการวินิจฉัยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ที่มารับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะกรรมการจริยธรรม การตรวจหลังคลอดโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ การวิจัยในมนุษย์ของสถานที่เก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อได้รับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1 และ อนุญาตผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยขอความยินยอมกลุ่ม โรงพยาบาลล�ำพูน รวบรวมข้อมูลระหว่างระหว่างเดือน ตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามก�ำหนดในการเข้าร่วมวิจัย กันยายน พ.ศ. 2558-เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ขนาด เมื่อกลุ่มตัวอย่างยินยอมเข้าร่วมการวิจัยแล้ว ผู้วิจัยและ ของกลุ่มตัวอย่างได้มาจากวิธีการเปิดตารางประมาณค่า ผู้ช่วยวิจัยให้ลงลายมือชื่อแสดงความยินยอมเข้าร่วม อ�ำนาจการทดสอบ (power analysis) โดยก�ำหนดระดับ การวิจัยอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร จากนั้นผู้วิจัยและ ความเชื่อมั่น (significant level) ที่ .05 �ำอ นาจการ ผู้ช่วยวิจัยชี้แจงการตอบแบบสอบถาม และแจก ทดสอบ (level of power) ที่ .80 และก�ำหนดขนาด แบบสอบถามโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามด้วย อิทธิพลของกลุ่มตัวอย่างการประมาณค่าความสัมพันธ์ ตนเอง ในสถานที่ที่มีความเป็นส่วนตัว และไม่รบกวน ของตัวแปร (effect size) ที่ .30 ได้จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง การเข้ารับการตรวจรักษา จากนั้นตรวจสอบความ ทั้งหมด 85 ราย (Polit, 2010) ตามคุณสมบัติ คือ ครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูลทั้งหมด สามารถพูด อ่าน และเขียนภาษาไทยได้ มีการคลอดทาง ช่องคลอดและยินยอมเข้าร่วมการวิจัย ผลการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ข้อมูลส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างมีอายุระหว่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 3 ชุด ประกอบด้วย 21-44 ปี ( = 31.92, S.D = 4.93) ส่วนใหญ่มีอายุ แบบสอบถามโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ของการเป็น 30-39 ปี ร้อยละ 55.29 มีเชื้อชาติไทย ร้อยละ 89.41 โรคเบาหวานของ Kim, Goewey, McEvan, Ferrara, & ระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไปร้อยละ 51.77 มีอาชีพ Walker, (2007) แปลเป็นภาษาไทยโดยผู้วิจัย ร้อยละ 78.82 ประกอบอาชีพรับจ้างมากที่สุดร้อยละ แบบสอบถามสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกายของ 40 มีรายได้เฉลี่ย 5,000-10,000 บาท ร้อยละ 48.23 Kim, McEwen, Kieffer, Herman, & Piette (2008) ตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 ร้อยละ 42.35 ไม่มีญาติสายตรงเป็น แปลเป็นภาษาไทยโดยผู้วิจัย และแบบสอบถาม โรคเบาหวาน ร้อยละ 63.53 และส่วนใหญ่ไม่เคย พฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่ ออกก�ำลังกายหลังคลอด ร้อยละ 61.18 ดัดแปลงจากแบบสอบถามพฤติกรรมออกก�ำลังกาย กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ ของผู้สูงอายุโรคเบาหวานของพิมผกา ปัญโญใหญ่ ของการเป็นโรคเบาหวาน อยู่ระหว่าง 20-50 คะแนน (Panyoyai, 2007) ผู้วิจัยน�ำแบบสอบถามพฤติกรรม ( = 35.33, S.D. = 7.60) ส่วนใหญ่ ร้อยละ 63.52 การออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอด ไปหาความตรงตาม มีคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง มีคะแนนสมรรถนะ เนื้อหา และความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหารายข้อ โดยผู้ทรง แห่งตนในการออกก�ำลังกาย อยู่ระหว่าง 11-58 คะแนน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 39 โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย ของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

( = 32.71, S.D. = 9.07) ส่วนใหญ่ ร้อยละ 71.76 สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ มีคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง และมีคะแนนพฤติกรรม พฤติกรรมการออกก�ำลังกายอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ การออกก�ำลังกายหลังคลอดอยู่ระหว่าง 16-63 คะแนน (r = .594, p < .01) ส่วนโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ไม่มี ( = 43.92, S.D. = 7.36) ส่วนใหญ่ ร้อยละ 72.94 ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย (r = .067, มีคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง p > .05) ตามตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออก ก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ โอกาสเสี่ยงตาม สมรรถนะ พฤติกรรม ตัวแปร การรับรู้ แห่งตน การออกก�ำลังกาย 1. โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ 1.000 2. สมรรถนะแห่งตน .035 1.000 3. พฤติกรรมการออกก�ำลังกาย .067 .594** 1.000 **p < .01

การอภิปรายผล แทรกซ้อนต่าง ๆ การดูแลเกี่ยวกับการควบคุมอาหาร ผู้วิจัยได้อภิปรายผลการวิจัยตามค�ำถามการวิจัย และการออกก�ำลังกาย แต่พอเข้าสู่ระยะหลังคลอด ดังนี้ กิจกรรมเหล่านี้ถูกละเลยไป ท�ำให้การรับรู้โอกาสเสี่ยง 1) โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน ที่จะพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานลดลง (Srisawad & และพฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่ Sikhaw, 2014) นอกจากนั้นอาจเกิดจากการที่กลุ่ม เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ตัวอย่างไม่มี ประสบการณ์เกี่ยวกับการเป็นโรคเบาหวาน โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า เนื่องจากไม่มี ประวัติญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนโอกาสเสี่ยงตามการรับรู้อยู่ใน ถึงร้อยละ 63.53 ซึ่งการที่บุคคลไม่มีประสบการณ์ ระดับปานกลาง อาจเนื่องมาจาก เมื่อเข้าสู่ระยะหลัง การเจ็บป่วย ไม่มีบุคคลในครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิด คลอดฮอร์โมนที่ผลิตจากรกจะลดระดับลง ท�ำให้การท�ำ เกิดเจ็บป่วย จะท�ำให้การรับรู้โอกาสเสี่ยงลดลง (Janz หน้าที่ของอินซูลินที่ผลิตจากตับอ่อนสามารถท�ำหน้าที่ & Becker, 1984) ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้คล้ายคลึง ได้เหมือนเดิม และใน 6 สัปดาห์หลังคลอด การท�ำงาน กับการศึกษาของ Morrison, Lowe, & Collinst, (2010) ของฮอร์โมนจะเป็นปกติ ส่งผลให้ระดับน�้ำตาลในเลือด พบว่า สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์รับรู้ ของสตรีหลังคลอดลดต�่ำลงและกลับเข้าสู่ระดับปกติ ว่าตนมีโอกาสเสี่ยงในการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวาน เหมือนก่อนการตั้งครรภ์ (Lowdermilk et al., 2012) ชนิดที่ 2 ร้อยละ 42 ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง ท�ำให้สตรีหลังคลอดรับรู้ว่าเบาหวานขณะตั้งครรภ์หาย สมรรถนะแห่งตนของกลุ่มตัวอย่าง อยู่ในระดับ ไป และตนเองไม่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน ปานกลาง อาจเนื่องจาก กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 41.18 ในอนาคต (Linne, Barkeling, & Rossener, 2002) ตั้งครรภ์เป็นครรภ์แรก ไม่มีประสบการณ์ในการเลี้ยงดู และการดูแลสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ บุตร ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างมีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง จะเน้นในระยะตั้งครรภ์ โดยเฉพาะการควบคุมระดับ ทั้งร่างกาย จิตใจ และรับบทบาทใหม่คือบทบาทการเป็น น�้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ การป้องกันภาวะ มารดาในการเลี้ยงดูบุตรในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งต้องใช้

40 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Susceptibility, Self-efficacy, and Exercise Behaviors among Postpartum Women with Gestational Diabetes Mellitus

เวลาในการปรับตัวดังกล่าว อีกทั้งไม่เคยบริหารร่างกาย จะรับรู้ว่าการเริ่มต้นออกก�ำลังกายเบา ๆ การบริหาร หลังคลอดถึงร้อยละ 61.18 จึงส่งผลท�ำให้ขาดความเชื่อ ร่างกายในระยะหลังคลอดจะส่งผลดี แต่ส่วนใหญ่ก็ ว่าตนเองจะสามารถออกก�ำลังกายในระยะหลังคลอดได้ ไม่ค่อยออกก�ำลังกาย ซึ่งสอดคล้องกับผลจากการศึกษา ซึ่งสมรรถนะแห่งตน (self-efficacy) เป็นความเชื่อของ ของ Evans, Patrick, & Wellington (2010) พบว่า บุคคลต่อความสามารถของตนเองในการที่จะควบคุม การออกก�ำลังกายในสตรีหลังคลอดจะมีประโยชน์ หรือจัดการสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ตนเองประสบความส�ำเร็จ มากมาย และปฏิบัติได้ไม่ยาก แต่พฤติกรรม การออก บุคคลที่รับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงจะมีความพยายาม ก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดยังไม่ค่อยปรากฏ ซึ่งตรงกับ ที่จะบรรลุจุดมุ่งหมาย แม้ว่าจะพบปัญหาหรืออุปสรรค กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยบริหารร่างกายหลังคลอด ในทางตรงกันข้ามบุคคลที่มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนตำ�่ ถึงร้อยละ 61.18 และตั้งครรภ์เป็นครรภ์แรก ร้อยละ จะท�ำให้เกิดการล้มเลิกการกระท�ำได้ง่ายเมื่อพบปัญหา 41.18 ไม่เคยมีประสบการณ์เป็นโรคเบาหวานขณะ และอุปสรรคหรือเมื่อต้องท�ำกิจกรรมที่ยาก (Bandura, ตั้งครรภ์ท�ำให้เกิดความรู้สึกทางลบต่อการได้รับการ 1986) ผลการศึกษานี้คล้ายคลึงกับการศึกษาของ Kim วินิจฉัย มีความยุ่งยากในการจัดการปรับเปลี่ยน et al. (2008) ที่พบว่า สตรีหลังคลอดที่มีสมรรถนะ พฤติกรรมโดยเฉพาะพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย แห่งตนในการออกก�ำลังกายที่ระดับตำ�่ ถึงระดับปานกลาง (Devsam et al., 2013) จะไม่ค่อยออกก�ำลังกาย 2) โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน มี พฤติกรรมการออกก�ำลังกายของกลุ่มตัวอย่าง ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรี อยู่ในระดับปานกลาง อาจเนื่องมาจาก กลุ่มตัวอย่าง หลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือไม่อย่างไร ตั้งครรภ์ที่ 2 ร้อยละ 42.35 ซึ่งจ�ำนวนของการมีบุตร สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ มีผลต่อพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย ดังการศึกษาของ พฤติกรรมการออกก�ำลังกายในระดับสูงอย่างมีนัยส�ำคัญ Swan, Kilmartin, & Liaw (2007) พบว่าสตรีหลังคลอด ทางสถิติ (r = .594, p < .01) แสดงให้เห็นว่ากลุ่ม ที่มีบุตร 1 คน มีพฤติกรรมการออกก�ำลังกายร้อยละ 36 ตัวอย่างมีสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกายที่สูง และสตรีหลังคลอดที่มีบุตรตั้งแต่ 2 คนมีพฤติกรรม จึงส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการออกก�ำลังกายในระยะ การออกก�ำลังกายร้อยละ 64 ระดับการศึกษา กลุ่ม หลังคลอด สตรีหลังคลอดที่มีความเชื่อว่าตนเองมี ตัวอย่างมีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปถึงร้อยละ ความสามารถที่จะออกก�ำลังกาย จะมีพฤติกรรมการ 51.77 ระดับการศึกษามีผลต่อพฤติกรรม ดังการศึกษา ออกก�ำลังกาย เพื่อป้องกันการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวาน ของ Ferrara et al. (2011) พบว่า สตรีหลังคลอดที่มี ชนิดที่ 2 ในอนาคต (Lipscombe et al., 2014) และ การศึกษาในระดับปริญญาตรีขึ้นไป จะมีพฤติกรรม สตรีหลังคลอดที่มีสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกาย การออกก�ำลังกายมากกว่าสตรีหลังคลอดที่มีการศึกษา จะเกิดพฤติกรรมการออกก�ำลังกายในระยะหลังคลอด อยู่ในระดับมัธยมหรือน้อยกว่านอกจากนั้นในสังคมไทย (Kaiser, Razurel, & Jeannot, 2013) บุคคลที่มีสมรรถนะ สตรีภายหลังคลอดจะมีวัฒนธรรมและความเชื่อเกี่ยวกับ แห่งตนสูงจะมีความพยายามที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายแม้ว่า การอยู่ไฟขณะอยู่ไฟจะต้องสวมใส่เสื้อผ้ามิดชิด ท�ำหน้าที่ จะพบปัญหาหรืออุปสรรค ในทางตรงกันข้ามบุคคล เลี้ยงดูบุตรอย่างเดียว ไม่ต้องท�ำงาน ห้ามยกของหนัก ที่มีสมรรถนะแห่งตนต�่ำจะท�ำให้เกิดการล้มเลิกการ หรือท�ำงานหนัก และห้ามออกก�ำลังกายหนัก ๆ กระท�ำได้ง่ายเพื่อพบปัญหาและอุปสรรคหรือเมื่อต้องท�ำ (Siriphan, 2014) ดังนั้นอาจส่งผลกับพฤติกรรม กิจกรรมที่ยาก (Bandura, 1986) จากผลการศึกษาครั้งนี้ การออกก�ำลังกายหลังคลอดอยู่ในระดับปานกลาง ถึงแม้ พบว่าคล้ายคลึงกับการศึกษาของ Hinton & Olson สตรีหลังคลอดที่ได้รับวินิจฉัยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (2001) เป็นการศึกษาไปข้างหน้าในสตรีหลังคลอดที่มี

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 41 โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย ของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

ประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ผลการวิจัยพบว่า ระยะหลังคลอด เพื่อให้มีพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย สตรีหลังคลอดที่มีสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกาย ในระยะหลังคลอด ที่สูงมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย 2. ใช้ในการจัดการเรียนการสอนส�ำหรับนักศึกษา อีกทั้งยังพบว่าการศึกษาของKim et al. (2008) พบว่า พยาบาล เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ สมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกายหลังคลอด และ ออกก�ำลังกายอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .60, p < .05) พฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่เป็น เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 3. เป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาปัจจัยท�ำนาย 1. สามารถน�ำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการสนับสนุน พฤติกรรมการออกก�ำลังกายของสตรีหลังคลอดที่ได้รับ ให้สตรีหลังคลอดที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นเบาหวานขณะ วินิจฉัยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ให้มีสมรรถนะแห่งตนในการออกก�ำลังกาย เอกสารอ้างอิง American College of Sports Medicine [ACSM]. (2009). ACSM’s guidelines for exercise testing and prescription (8thed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. Bandura, A. (1986). Social foundation of thought and action. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall. Bandyopadhyay, M., Small, R., Davey, M., Oats, J., Forster, D., & Aylward, A. (2011). Lived experience of gestational diabetes mellitus among immigrant South Asian women in Australia. Australian and New Zealand Journal of Obstetrics and Gynaecology, 51(4), 360-364. Canadian Diabetes Association [CDA]. (2013). Gestational diabetes and post-partum screening. Clinical Practice Guidelines, 37(1), 17-19. Cunningham, G. F., Leveno, J. K., Bloom, L. S., Hauth, C. J., Rouse, J. D., & Spong, Y. C. (2014). Williams obstetrics (24thed.). New York: Mcgraw-Hill. Devsam, B. U., Bogossian, F. E., & Peacock, A. S. (2013). An interpretive review of women’s experiences of gestational diabetes mellitus: Proposing a framework to enhance midwifery assessment. Women and Birth, 26(2), 69-76. Diabetes Association of Thailand under the Patronage of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. (2017). Clinical Practice Guideline for diabetes. Bangkok: RomyenMedia Company Limited. (In Thai) Evans, M. K., Patrick, L. J., & Wellington, C. M. (2010). Health behaviors of postpartum women with a history of gestational diabetes. Cannadian Journal of Diabetes, 34(3), 227-232. Fehler, K. L., Kennedy, L. E., McCargar, L. J., Bell, R. C., & Ryan, E. A. (2007). Postpartum dietary changes in women with previous gestational diabetes mellitus. Cannadian Journal of Diabetes, 31(1), 54-56.

42 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Susceptibility, Self-efficacy, and Exercise Behaviors among Postpartum Women with Gestational Diabetes Mellitus

Feig, D. S., Zinman, B., Wang, X., Hux, J. E. (2008). Risk of development of diabetes mellitus after diagnosis of gestational diabetes. Canadian Medical Association Journal, 179(3), 229–234. Ferrara, A., Hedderson, M. M., Albright, C. L., Ehrlich, S. F., Quesenberry, C. P., Peng, T., ... & Crites, Y. (2011). A Pregnancy and postpartum lifestyle intervention in women with gestational diabetes mellitus reduces diabetes risk factors a feasibility randomized control trial. Diabetes Care, 34(7), 1519-1525. Hinton, P. S., & Olson, C. M. (2001). Postpartum exercise and food intake: the importance of behavior-specific self-efficacy.Journal of the American Dietetic Association, 101(12), 1430-1437. Janz, N. K., & Becker, M. H. (1984). The health belief model: A decade later. Health Education & Behavior, 11(1), 1-47. Jittrapirom, A., Chantharasanti, C. (2012). Nursing for women with diabetess during pregnancy. Journal of Nurses Association of Thailand Northern Office, 18(Jan-Dec): 1-12. (In Thai) Kaiser, B., Razurel, C., & Jeannot, E. (2013). Impact of health beliefs social support and self- efficacy on physical activity and dietary habits during the postpartum period after gestational diabetes mellitus: study protocol. BMC pregnancy and childbirth, 13(1), 1-7. Kaouar, H. M., Peronnet, F., Massicotte, D., & Lavoie, C. (2004). Gender difference in the metabolic response to prolonged exercise with glucose ingestion. European Journal of Applied Physiology, 92(5), 462-469. Kim, C., Goewey, G., McEvan, L. N., Ferrara, A., Piette, J. D., & Walker. (2007). Risk perception for diabetes among women with histories of gestational diabetes mellitus. Diabetes Care, 30(9), 2281-2286. Kim, C., McEwen, L. N., Kieffer, E. C., Herman, W. H., & Piette, J. D. (2008). Self-efficacy, social support, and associations with physical activity and body mass index among women with histories of gestational diabetes mellitus. Diabetes Education, 34(4), 719-728. Linne, Y., Barkeling, B., & Rossener, S. (2002). Natural course of gestational diabetes mellitus: Long-term follow-up of women in the SPAWN study. Obsterical and gynecological survey, 58(5), 295-296. Lipscombe, L. L., Banerjee, A. T., MacTavish, S., Mukerji, G., Lowe, J., Ray, J., …& Feig, D. S. (2014). Readiness for diabetes prevention and barriers to lifestyle change in women with a history of gestational diabetes mellitus: Rationale and study design. Diabetes reserch and clinical practice, 106(1), 57-66. Lobner, K., Knopff, A., Baumgarten, A., Mollenhauer, U., Marienfeld, S., Garrido-Franco. M.,… & Ziegler, A. G. (2006). Predictors of postpartum diabetes in women with gestational diabetes mellitus. Diabetes, 55(3), 792-797.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 43 โอกาสเสี่ยงตามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย ของสตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

Lowdermilk, D. L., Perry, E. S., Cashion, K., & Alden, K. R. (2012). Maternity and women’s health care (10 thed.). St. Louis: Mosby. Morrison, M. K., Lowe, J. M., & Collinst, C. E. (2010). Perceived risk of type 2 diabetes in Australian women with a recent history of gestational diabetes mellitus. Diabetic Medicine, 27(8), 882-886. O’Reilly, S. L. (2014). Prevention of diabetes after gestational diabetes: Better translation of nutrition and lifestyle messages needed. Healthcare Journal, 2(4), 468-491. Panyoyai, P. (2007). Effect of the self-efficacy and social support enhancement program on exercise behavior among the elderly with diabetes mellitus. Nursing Journal, 34(4): 93-103. (In Thai) Polit, D. F. (2010). Statistics and data analysis for nursing research (2nd ed.). New Jersey: Pearson Education Inc. Rosenstock, I. J., Strecher, V. J., & Becker, M. H. (1988). Social learning theory and health belief model. Health Education Quarterly, 15(2), 175-183. Siriphan, S. (2014). Postpartum nursing with cultural differences. (2nd ed.). Narathiwat: Faculty of Nursing, Princess of Naradhiwas University. (In Thai) Smith, B. J., Zehle, K., Cheung, N. W., McLean, M., & Bauman, A. E. (2005). Postpartum physical activity and related psychosocial factors among women with recent gestational diabetes mellitus. Diabetes Care, 28(11), 2650-2650. Srisawad, K., Sikhaw, A. (2014). Management for gestational diabetes mellitus. Journal of Royal Thai Army Nurses, 15(2): 50-59. (In Thai) Swan, W., Kilmartin, G., & Liaw, S. T. (2007). Assessment of readiness to prevent type 2 diabetes in a population of rural women with a history of gestational diabetes. Rural Remote Health, 7(4), 1-10. Thomas, D. E., Ellioutt, E. J., & Naughton, G. A. (2007). Exercise for type 2 diabetes mellitus (review). The Cochrane Library, 10(1), 1-16. Wanitchakorn, N. (2008). Gestational diabetes mellitus in Endocrine Clinic Buddhachinaraj Hospital during 2000-2007. Buddhachinaraj Medical Journal, 25(3): 751-761. (In Thai)

44 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด Factors Predicting Father Involvement in Postnatal Period

แสงเดือน ศิริพร * Sangduan Siriporn * นันทพร แสนศิริพันธ์ ** Nantaporn Sansiriphun ** ฉวี เบาทรวง ** Chavee Baosoung **

บทคัดย่อ การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดามีความส�ำคัญเป็นอย่างมาก ต่อภาวะสุขภาพร่างกาย และจิตใจของบิดา มารดา และบุตรในระยะหลังบุตรเกิด การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงท�ำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด กลุ่มตัวอย่างคือ บิดา ที่มีบุตรอยู่ในระยะ 6-8 สัปดาห์ หลังคลอด พาบุตรมาฉีดวัคซีนครั้งแรกที่ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอกแผนกกุมารเวชกรรม รพ.ภูมิพลอดุลยเดช หรือ พาภรรยามาตรวจหลังคลอดตามนัดที่ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอกแผนกสูตินรีกรรม รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ในช่วงเดือน ตุลาคม 2558 ถึงเดือนธันวาคม 2558 จ�ำนวน 200 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่ก�ำหนด เครื่องมือที่ใช้ใน การรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังคลอด ที่ศุภกร ไชยนา และนันทพร แสนศิริพันธ์ สร้างขึ้นจากแนวคิดของ Lamb (2000) และการทบทวนวรรณกรรม แบบสอบถามความเครียดสวนปรุงฉบับ 20 ข้อค�ำถาม ที่สร้างขึ้นโดย Mahatnirunkul, Pumpaisalchai & Tapanya (1997) และแบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมของบิดา ที่ ศุภกร ไชยนา และนันทพร แสนศิริพันธ์ สร้างขึ้นจากแนวคิดของ House (1981) และการทบทวนวรรณกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบสเปียร์แมน วิเคราะห์อ�ำนาจการท�ำนายของตัวแปรที่ศึกษาโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นแบบมีตัวแปรหุ่น ผลการวิจัยพบว่า 1. ความเครียดมีความสัมพันธ์ทางลบ กับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 (r= -.263) 2. การสนับสนุนทางสังคม ระดับการศึกษา และรายได้ของครอบครัว มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการเข้ามา มีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .231, .170, .202 ตามล�ำดับ) 3. อายุมีความสัมพันธ์ทางบวก กับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (r=.120) 4. การสนับสนุนทางสังคมและรายได้ของครอบครัวร่วมกันท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมในระยะหลังบุตรเกิด ได้ร้อยละ 10.8 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .001

ค�ำส�ำคัญ: บิดา, การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดา, ปัจจัยส่วนบุคคล, ความเครียด, การสนับสนุนทางสังคม * พยาบาลวิชาชีพ ช�ำนาญการ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรุงเทพฯ * Professional Nurse, Bhumibol Adulyadej Hospital Bangkok ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 45 ปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด

Abstract Father involvement is very important for the physical and mental health of the parents and child after birth. The purpose of this predictive correlational research design was to explore factors that predicting father involvement during the postnatal period. The subjects were selected following the inclusion criteria and consisted of 200 expectant fathers who took their child to the outpatient pediatrics department or took their wives to the outpatient obstetrics and gynecology department at Bhumibol Adulyadej Hospital from October to December 2015. The research tools were the personality questionnaire, the Father Involvement During Postpartum Period Questionnaire developed by Supakorn Chaina and Nantaporn Sansiriphun based on the father involvement concept by Lamb (2000) and literature reviewed, the Suanprung Stress Test-20 developed by Mahatnirunkul, Pumpaisalchai & Tapanya (1997) and the Father Social Support Questionnaire developed by Supakorn Chaina and Nantaporn Sansiriphun based on the social support concept by House (1981) and literature reviewed. Descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation, Spearman’s rank correlation coefficient and Linear Regression with Dummy Variables were used to analyze the data. Results of the study revealed that: 1. There was a negative correlation between stress and father involvement during the postnatal period (r= -.263, p< .01); 2. Social support, education and income were positively correlated with father involvement during the postnatal period (r= .231, .170, .202 respectively; p< .01); 3. There was a positive correlation between age and father involvement during the postpartum period (r=.120, p<.05); 4. The social support network of the father together with family’s income can predict father involvement during the postnatal period 10.8% (p < .001);

Key words: father, father involvement, personality factors, stress, social support,

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ต่อภาวะสุขภาพของภรรยาและบุตร ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ บิดาเป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญอย่างมากในครอบครัว ไปจนถึงระยะหลังบุตรเกิด ตั้งแต่ระยะเริ่มสร้างครอบครัว ท�ำหน้าที่เป็นหัวหน้า Lamb (2000) นักจิตวิทยาพัฒนาการได้ท�ำการ ครอบครัว มีความรับผิดชอบในการหาเลี้ยงครอบครัว ศึกษา การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาและพัฒนาการของ ปกป้องคุ้มครองให้สมาชิกในครอบครัวมีความปลอดภัย เด็กที่มีบิดาเข้ามามีส่วนร่วมและไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม และมีความสุขสบาย (Lowdermilk, Perry, Cashion, ในการเลี้ยงดู และได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเข้ามา & Alden, 2012) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อภรรยามีการ มีส่วนร่วมของบิดา (father involvement) ในการดูแล ตั้งครรภ์และคลอดบุตร มีสมาชิกใหม่เพิ่มเข้ามาใน บุตร ซึ่งมี 3 องค์ประกอบคือ 1) การมีปฏิสัมพันธ์ ครอบครัว บิดาถือเป็นบุคคลที่มีความส�ำคัญอย่างมาก (engagement) 2) การเอื้อให้สามารถเข้าถึงบิดาได้

46 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Father Involvement in Postnatal Period

ตามความต้องการ (accessibility) และ 3) การแสดง ลดอาการซึมเศร้าของมารดาได้ และยังมีการศึกษาที่พบว่า ความรับผิดชอบ (responsibility) ต่อมาแนวคิดการ การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาท�ำให้มารดามีความพึงพอใจ เข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในการเลี้ยงดูบุตรถูกน�ำมาใช้ ในชีวิตคู่ ช่วยเพิ่มสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบิดาและ เป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับการเข้ามามีส่วนร่วม มารดา ซึ่งเป็นผลต่อความมั่นคงของครอบครัว ของบิดาในการให้การดูแลทั้งภรรยาและบุตรในระยะ (Easterbrooks, Raskin, & McBrian, 2014) หลังบุตรเกิดทั้ง 3 องค์ประกอบ และได้มีการให้ความ ส�ำหรับทารก การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดามีผล หมายของแต่และองค์ประกอบไว้ดังนี้ การมีปฏิสัมพันธ์ ต่อพัฒนาการของทารก ทั้งพัฒนาการด้านร่างกายและ (engagement) หมายถึง การเข้ามามีส่วนร่วมใน จิตใจ เห็นได้จากการศึกษาของ Keizer, Lucassen, กิจกรรมต่าง ๆ ของบิดากับภรรยาและบุตร เช่น การอุ้ม Jaddoe, & Tiemeier (2014) ที่พบว่า การเข้ามามีส่วน บุตร การเล่นและพูดคุยกับบุตร การช่วยเหลือภรรยาใน ร่วมของบิดา มีส่วนท�ำให้พฤติกรรมที่เป็นปัญหาของ การท�ำงานบ้านและเลี้ยงดูบุตร เป็นต้น การเอื้อให้ ทารกวัยหัดเดิน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคมลดลง สามารถเข้าถึงบิดาได้ตามความต้องการ (accessibility) และในระยะยาวพบว่า ทารกที่ได้รับการเข้ามามีส่วนร่วม หมายถึง การให้เวลาแก่ภรรยาและบุตร พร้อมที่จะเข้า ของบิดามาก มีระดับเชาวน์ปัญญา (Intelligence มาช่วยเหลือดูแลเมื่อภรรยาและบุตรต้องการความ Quotient ; IQ) สูงกว่าทารกกลุ่มที่บิดาเข้ามามีส่วนร่วม ช่วยเหลือ อยู่เป็นเพื่อนในระยะหลังบุตรเกิด สามารถ น้อย แต่ในทางตรงกันข้ามทารกที่บิดาไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม ให้การช่วยเหลือภรรยาและบุตรได้ทันทีหากมีเหตุจ�ำเป็น หรือทารกที่ขาดบิดาจะมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าทารก และการแสดงความรับผิดชอบ (responsibility) หมายถึง ที่มีบิดา เนื่องจากความเสี่ยงในเรื่องการดูแลรักษา และ การให้ทรัพยากรสนับสนุน ให้สวัสดิการต่าง ๆ ท�ำให้ การขาดการดูแลทารกที่เหมาะสม ภรรยาและบุตรเกิดความสุขสบาย เช่น การหารายได้ให้ ส�ำหรับบิดา การเข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุน กับครอบครัว การจัดเตรียมอุปกรณ์ จัดหาอาหารที่ ดูแลภรรยาหลังคลอดและบุตรแรกเกิด ส่งผลให้บิดา เหมาะสมของใช้ที่จ�ำเป็นส�ำหรับภรรยาหลังคลอดและ มีความมั่นใจในการเป็นบิดามากขึ้น (Hausman & บุตรแรกเกิด และจัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้ปลอดภัย Goldring, 2000) ท�ำให้บิดามีความรู้สึกภาคภูมิใจ (Chaina, Sansiriphun, & Kantaruksa, 2015) มีความพึงพอใจในการแสดงบทบาทบิดา การศึกษาของ การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด Sansiriphun et al. (2014) พบว่า ผู้เป็นบิดารู้สึกภาค ส่งผลต่อทั้งมารดา ทารก และตัวของบิดาเอง ส�ำหรับ ภูมิใจ ดีใจ และรู้สึกมีความสุขมาก เมื่อได้เข้ามามีส่วน มารดาหลังคลอดต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้าน ร่วมในการดูแลภรรยาและบุตรในระยะหลังคลอด ร่างกายและจิตใจ เป็นระยะฟื้นฟูสภาพร่างกายโดย ส�ำหรับผู้เป็นบิดาที่ไม่ค่อยมีโอกาสได้เข้ามามีส่วนร่วม เฉพาะระบบสืบพันธุ์ให้กลับมาเหมือนก่อนการตั้งครรภ์ ในการดูแลภรรยาและบุตร จะรู้สึกว่าตนเองถูกกีดกัน ต้องเผชิญกับผลจากการคลอด ได้แก่ ความเจ็บปวดจาก รู้สึกหงุดหงิด ไม่พอใจเป็นบางครั้ง เนื่องจากไม่สามารถ การคลอด การฉีกขาดของฝีเย็บและช่องทางคลอด หรือ แสดงบทบาทการเป็นบิดาได้อย่างเต็มภาคภูมิ การเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด นอกจากนี้มารดาอาจเกิด การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดา ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ภาวะซึมเศร้าหลังคลอดได้ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง หลายประการได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลของบิดา ปัจจัย ด้านร่างกาย ความวิตกกังวลในการเลี้ยงดูบุตร และการ ด้านครอบครัว และปัจจัยทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม กลัวว่าบิดาจะสนใจตนเองน้อยลง ซึ่งจากการศึกษาของ ส�ำหรับการศึกษาในครั้งนี้ ผู้วิจัยเลือกศึกษาปัจจัยส่วน Gremigni, et al.(2011) พบว่าการเข้ามามีส่วนร่วมของ บุคคลของบิดา และปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม บิดาในการดูแลมารดาหลังคลอดและบุตรแรกเกิดช่วย เนื่องจากการทบทวนวรรณกรรมที่ผ่านมาพบว่า ปัจจัย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 47 ปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด

ต่าง ๆ เหล่านี้ มีความสัมพันธ์กับการเข้ามามีส่วนร่วม บิดาในระยะหลังคลอดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด (r=.375, P<.01) ปัจจัยส่วนบุคคลของบิดา ได้แก่ อายุ ระดับการ จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการศึกษาการ ศึกษา และรายได้ จากการศึกษาของ Volling & Belsky เข้ามามีส่วนร่วมของบิดาทั้งกับภรรยาและบุตรใน (1991) ที่ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ามามี ประเทศไทย พบว่ามีเพียงการศึกษาเชิงคุณภาพของ ส่วนร่วมของบิดาในการดูแลบุตรวัยทารก พบว่า ปัจจัย Sansiriphun et al. (2014) เกี่ยวกับประสบการณ์ของ ส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ของ ผู้เป็นบิดาครั้งแรก ที่สะท้อนให้เห็นความต้องการเข้ามา บิดามีความสัมพันธ์กับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดา มีส่วนร่วมของผู้เป็นบิดาในการดูแลมารดาและทารกใน ในการดูแลบุตร โดยบิดาที่มีอายุมากกว่า จะเข้าไปมี ระยะหลังบุตรเกิด และการศึกษาเชิงพรรณนาเพื่อหา ส่วนร่วม ตอบสนองต่อการกระตุ้น และเข้าไปมี ความสัมพันธ์ เช่น การศึกษาของ Chaina, Sansiriphun, ปฏิสัมพันธ์กับบุตรวัย 3 เดือนมากกว่าบิดาที่อายุน้อยกว่า & Kantaruksa (2015) ที่ศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์ (r= .18, P<.05) บิดาที่มีการระดับการศึกษาสูง จะตอบ ระหว่างความเครียด การสนับสนุนทางสังคม และการมี สนองและเข้าไปให้การดูแลบุตรในวัย 9 เดือนบ่อยกว่า ส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังคลอด และการศึกษาของ บิดาที่มีระดับการศึกษาต�่ำ (r= .18, P<.05) และบิดาที่ Chemama, Sansiriphun & Kantaruksa (2015) ที่ มีรายได้มากกว่าจะตอบสนองและเข้าไปให้การดูแลบุตร ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของความเครียด การสนับสนุน ได้บ่อยกว่าบิดาที่มีรายได้น้อย (r= .24, P<.01) การศึกษา ทางสังคม และการมีส่วนร่วมของบิดาชาวมุสลิม แต่ยัง ของ Moore & Kotelchuck (2004) พบว่า บิดาที่มีการ ไม่มีการศึกษาเพื่อหาปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วม ศึกษาระดับมัธยมขึ้นไป จะเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล ของบิดา ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการเข้ามามีส่วนร่วมของ สุขภาพบุตรมากกว่าบิดาที่มีระดับการศึกษาต�่ำกว่า บิดาในระยะหลังบุตรเกิด และปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่น่าจะ ระดับมัธยมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (P< .10) ท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดา ได้แก่ ความเครียด ปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ความเครียด การสนับสนุนทางสังคม อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ และการสนับสนุนทางสังคม จากการศึกษา การศึกษาของ ของบิดา ผลการศึกษาครั้งนี้จะท�ำให้มีความรู้ ความเข้าใจ Fagan, Bernd, & Whiteman (2007) พบว่า ความเครียด เกี่ยวกับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาชาวไทยมากขึ้น มีความสัมพันธ์ทางลบกับการเข้ามามีส่วนร่วมในการ ได้ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ซึ่งพยาบาลผดุงครรภ์ ให้การดูแลบุตร ทั้งจากการประเมินของภรรยา (r= -.39, สามารถใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้บิดาเข้ามามี P<.01) และจากการประเมินของตัวบิดาเอง (r= -.42, ส่วนร่วมในการดูแลมารดาหลังคลอดและบุตรแรกเกิด P<.001) และพบว่า การสนับสนุนทางสังคมมีความ อันจะส่งผลดีต่อทั้งผู้เป็นมารดา ทารก และตัวบิดาเอง สัมพันธ์ทางบวกกับการเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลบุตร ทั้งจากการประเมินของภรรยา (r= .18, P<.10) และ วัตถุประสงค์การวิจัย จากการประเมินของตัวบิดาเอง (r= .25, P<.05) 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความเครียด นอกจากนี้ มีการศึกษาในประเทศไทย ของ Chaina, การสนับสนุนทางสังคม และปัจจัยส่วนบุคคลกับการเข้า Sansiriphun, Kantaruksa (2015) พบว่า ความเครียด มามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด มีความสัมพันธ์ทางลบกับการมีส่วนร่วมของบิดาในระยะ 2. เพื่อศึกษาความสามารถของ ความเครียด การ หลังคลอดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r=-.245, P<0.01) สนับสนุนทางสังคม และปัจจัยส่วนบุคคลในการท�ำนาย และยังพบว่า การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด ทางบวกในระดับปานกลางกับการเข้ามามีส่วนร่วมของ

48 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Father Involvement in Postnatal Period

ค�ำถามการวิจัย ที่ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอกแผนกกุมารเวชกรรม 1. ความเครียด การสนับสนุนทางสังคม และปัจจัย รพ.ภูมิพลอดุลยเดช หรือพาภรรยามาตรวจหลังคลอด ส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับการเข้ามามีส่วนร่วมของ ตามนัดที่ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอกแผนกสูตินรีกรรม บิดาในระยะหลังบุตรเกิดหรือไม่ อย่างไร รพ.ภูมิพลอดุลยเดช โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ 2. ความเครียด การสนับสนุนทางสังคม และปัจจัย ที่ก�ำหนด คือ สามารถสื่อสาร อ่าน เขียนภาษาไทยได้ ส่วนบุคคล สามารถท�ำนายหรือร่วมกันท�ำนายการเข้ามา และยินยอมเข้าร่วมการวิจัย จ�ำนวน 200 ราย มีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิดได้หรือไม่ อย่างไร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย อายุ ระดับการศึกษา อาชีพรายได้ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเข้า ครอบครัว ความเพียงพอของรายได้ ลักษณะครอบครัว มามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิดโดยใช้กรอบ เพศบุตรตรงต่อความต้องการของบิดา และ การวางแผน แนวคิดของ Lamp (2000) และจากการทบทวน การมีบุตร วรรณกรรม ซึ่งมี 3 องค์ประกอบได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ 2. แบบสอบถามการมีส่วนร่วมของบิดาในระยะ การเอื้อให้สามารถเข้าถึงบิดาได้ตามความต้องการ และ หลังคลอด ของ Chaina, Sansiriphun, & Kantaruksa การแสดงความรับผิดชอบ โดยปัจจัยที่ท�ำให้การเข้ามา (2015) ที่สร้างขึ้นจากแนวคิดของ Lamb (2000) ซึ่งมี มีส่วนร่วมของบิดาเพิ่มขึ้นหรือลดลง คือ ปัจจัยด้าน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ การเอื้อให้ สังคมและสิ่งแวดล้อมได้แก่ ความเครียด ที่ใช้กรอบ สามารถเข้าถึงบิดาได้ตามต้องการ และการแสดงความ แนวคิดของ Miller et al. (1993) และการสนับสนุน รับผิดชอบ ลักษณะค�ำถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า ทางสังคม ที่ใช้กรอบแนวคิดของHouse (1981) และ (Rating scale) 4 ระดับ โดยมีข้อค�ำถามทั้งหมด 32 ข้อ ปัจจัยส่วนบุคคลของบิดา ที่ได้จากการทบทวน ก�ำหนดให้เลือกค�ำตอบการกระท�ำที่ตรงกับความเป็น วรรณกรรมได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ จริงมากที่สุดเพียงค�ำตอบเดียว มีค่าคะแนนรวมตั้งแต่ ของบิดา ซึ่งปัจจัยดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับการเข้ามา 32-128 คะแนน แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ 32-64 คะแนน มีส่วนร่วมของบิดา และอาจจะสามารถท�ำนายหรือ หมายถึง การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลัง ร่วมกันท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลัง คลอดน้อย 65-96 คะแนน หมายถึง การเข้ามามีส่วน บุตรเกิดได้ ร่วมของบิดาในระยะหลังคลอดปานกลาง และ 97-132 คะแนน หมายถึง การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะ วิธีด�ำเนินการวิจัย หลังคลอดมาก ทดสอบหาความเชื่อมั่นได้เท่ากับ .97 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์ 3. แบบสอบถามความเครียด ใช้แบบวัด เชิงท�ำนาย (predictive correlational research ความเครียดสวนปรุง ที่สร้างขึ้นจากกรอบแนวคิดทาง design) เพื่อศึกษาปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วม ด้านชีวภาพ จิตใจ และสังคมของความเครียด ของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด (Mahatnirunkul, Pumpaisalchai, & Tapunya 1997) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นแบบสอบถามมีทั้งหมด 20 ข้อการให้คะแนนเป็น ประชากร ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บิดาที่มีบุตรอยู่ใน มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แปรผลจากคะแนนรวม ระยะ 6-8 สัปดาห์หลังคลอด ที่อยู่ในช่วง 0-100 คะแนนโดยถ้ามีคะแนนรวมมาก กลุ่มตัวอย่าง คือ บิดา ที่มีบุตรอยู่ในระยะ 6-8 แสดงว่ามีความเครียดสูง ทดสอบหาความเชื่อมั่น สัปดาห์หลังคลอดที่พาบุตรมารับการฉีดวัคซีนครั้งแรก ได้เท่ากับ .82

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 49 ปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด

4. แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม (Social การเก็บรวบรวมข้อมูล Support Questionnaire) ของ Chaina, Sansiriphun, & ผู้วิจัยด�ำเนินการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง โดยมีผู้ช่วย Kantaruksa (2015) ที่สร้างจากแนวคิดของ House วิจัย 1 คน ระหว่างเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึง ธันวาคม (1981) เป็นแบบสอบถามที่ใช้ประเมินเกี่ยวกับการรับรู้ พ.ศ. 2558 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลโดยใช้สถิติพรรณนา ของบิดาถึงการได้รับการช่วยเหลือสนับสนุน 4 ด้าน วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ได้แก่ การสนับสนุนด้านอารมณ์ การสนับสนุนด้านการ แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation ประเมินค่า การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และการ coefficient) และ สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ สนับสนุนด้านทรัพยากร แต่ละด้านมี 5 ข้อค�ำถาม สเปียร์แมน (Spearman’s rank correlation รวมทั้งหมด 20 ข้อ โดยแบ่งเป็นค�ำถามด้านบวก 18 ข้อ coefficient) และวิเคราะห์อ�ำนาจการท�ำนายของปัจจัย และค�ำถามด้านลบ 2 ข้อ ลักษณะค�ำตอบเป็นมาตราส่วน ที่เกี่ยวข้องกับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลัง ประมาณค่า 5 ระดับ คะแนนรวมทั้งหมดมีค่าตั้งแต่ บุตรเกิดโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นแบบมีตัวแปร 20-100 คะแนน โดยคะแนนรวมมากหมายถึงได้รับการ หุ่น (Linear Regression) สนับสนุนทางสังคมมาก ทดสอบหาความเชื่อมั่นได้ เท่ากับ .89 ผลการวิจัย การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้ การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง 1. กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีอายุระหว่าง 20-58 ปี โดยน�ำโครงร่างวิทยานิพนธ์เสนอต่อคณะกรรมการ อายุเฉลี่ยเท่ากับ 31.05 ปี กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดคือ จริยธรรมของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย อายุระหว่าง 20-30 ปี ร้อยละ 52.50 รองลงมาคือ เชียงใหม่ เมื่อได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการวิจัย ผู้วิจัย กลุ่มอายุ 31-40 ปี ร้อยละ 39.50 การศึกษาอยู่ในระดับ น�ำหนังสือพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่างเสนอต่อคณะ มัธยมศึกษาขึ้นไป ร้อยละ 95.50 ประกอบอาชีพรับจ้าง กรรมการจริยธรรมของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ร้อยละ 56 มีรายได้ครอบครัวต่อเดือนมากกว่า 5,000 เมื่อคณะกรรมการจริยธรรมของโรงพยาบาลอนุมัติแล้ว บาท คิดเป็นร้อยละ 98.50 มีความเพียงพอของรายได้ ผู้วิจัยแจ้งวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประโยชน์ของการ ร้อยละ 54.50 ลักษณะครอบครัวเป็นครอบครัวขยาย วิจัย วิธีการรวบรวมข้อมูล และสิทธิในการตอบรับหรือ ร้อยละ 57.50 ส่วนใหญ่มีการวางแผนการมีบุตร ร้อยละ ปฏิเสธการเข้าร่วมการวิจัยให้กลุ่มตัวอย่างทราบ ให้กลุ่ม 77.50 เพศบุตรตรงต่อความต้องการของบิดา ร้อยละ ตัวอย่างเซ็นยินยอมเข้าร่วมการวิจัย ขณะเข้าร่วมการ 83.50 วิจัยกลุ่มตัวอย่างสามารถยกเลิกการเข้าร่วมการวิจัยได้ 2. กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยการเข้ามามีส่วนร่วม ตลอดเวลา โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผล ซึ่งการยกเลิกการ ของบิดาในระยะหลังบุตรเกิดเท่ากับ 112.60 (S.D. = เข้าร่วมการวิจัยจะไม่มีผลต่อภรรยาและบุตรในการเข้า 10.76) ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 91 คะแนน รับบริการที่ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอกแผนกสูตินรีกรรม เฉลี่ยความเครียด เท่ากับ 32.87 (S.D.= 9.01) ส่วนใหญ่ และแผนกกุมารเวชกรรม ส�ำหรับข้อมูลที่ได้ในการวิจัย มีคะแนนความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ ครั้งนี้ผู้วิจัยเก็บไว้เป็นความลับและน�ำมาใช้เฉพาะการ 72.50 คะแนนการสนับสนุนทางสังคมเฉลี่ย 81.56 วิจัยในครั้งนี้เท่านั้นโดยน�ำเสนอข้อมูลที่ได้ในภาพรวม (S.D.=10.61) ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างที่มีความเครียดระดับสูงจ�ำนวน 8 ราย และ อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 76 ระดับรุนแรงจ�ำนวน 1 ราย ผู้วิจัยท�ำการแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ 3. ความเครียดมีความสัมพันธ์ทางลบ กับการมี เพื่อให้ได้รับการดูแลต่อไป เข้ามาส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด อย่างมี

50 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Father Involvement in Postnatal Period

นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= -.263) การสนับสนุน สหสัมพันธ์พหุคูณเป็น .387 และทุกปัจจัยสามารถร่วม ทางสังคม ระดับการศึกษา และรายได้ของครอบครัวมี กันท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตร ความสัมพันธ์ทางบวก กับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดา เกิดได้ร้อยละ 10.8 (p<.001) มีความ คลาดเคลื่อน ในระยะหลังบุตรเกิด อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ มาตรฐานในการท�ำนาย ± .93 แต่เมื่อพิจารณาค่า .01 (r= .231, r= .170, r= .202) อายุมีความสัมพันธ์ สัมประสิทธิ์การถดถอยของปัจจัยท�ำนายแต่ละปัจจัย ทางบวก กับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลัง พบว่ามีเพียงการสนับสนุนทางสังคม และรายได้ของ บุตรเกิดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=.120) ครอบครัว ที่สามารถท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของ 4. ทุกปัจจัยมีความสัมพันธ์กับการเข้ามามีส่วน บิดาในระยะหลังบุตรเกิดได้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ (p<.05, และ p<.01ตามล�ำดับ) ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ถดถอยเพื่อท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด โดยน�ำปัจจัยการ สนับสนุนทางสังคม และรายได้ของครอบครัวเข้าในสมการ β ตัวแปร b S.E.b t p-value ค่าคงที่ 470 147 3.192 .002 การสนับสนุนทางสังคม .181 .068 .183 2.668 .008 รายได้ของครอบครัว (ตัวแปรหุ่นชุดที่ 1) -.603 .174 -.308 -3.474 .001 รายได้ของครอบครัว (ตัวแปรหุ่นชุดที่ 2) -.583 .195 -.266 -2.985 .003

SEest= ± .93, R = .329, R2 = .108, F = .709,p- value =.000

การอภิปรายผล พร้อมและสามารถเผชิญความเครียดได้ดี ซึ่งผลการ ความเครียดมีความสัมพันธ์ทางลบ กับการมีเข้า ศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเครียดอยู่ใน มาส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด อย่างมีนัยส�ำคัญ ระดับต�่ำถึงปานกลาง ร้อยละ 95.50 และยังพบว่ากลุ่ม ทางสถิติที่ระดับ .01 (r= -.263) หมายความว่า บิดาที่มี ตัวอย่างส่วนใหญ่มีเพศบุตรที่ตรงกับความต้องการร้อยละ ความเครียดน้อยจะเข้ามามีส่วนร่วมในระยะหลังบุตร 83.50 ซึ่งเป็นปัจจัยส่งเสริมให้กลุ่มตัวอย่างมีความ เกิดมาก ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Chaina, กระตือรือร้น ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่าง ๆ Sansiriphun, & Kantaruksa (2015) ที่พบว่า ในการดูแลภรรยาและบุตร ให้เวลาและตอบสนองต่อ ความเครียดมีความสัมพันธ์ทางลบกับการเข้ามามีส่วนร่วม ความต้องการของภรรยาและบุตรอย่างเต็มที่ ของบิดาในระยะหลังคลอดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวก (r=-.245, P<.01) ความเครียดที่เกิดขึ้นมักส่งผลให้ กับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด บุคคลมีการตอบสนองที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งจะแสดง อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .231) ผลออกมาทางด้านร่างกายและจิตใจ เป็นแรงกดดันที่ หมายความว่า บิดาที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมมาก ท�ำให้บุคคลพยายามจะหาทางต่อสู้หรือปรับเปลี่ยน จะเข้ามามีส่วนร่วมในระยะหลังบุตรเกิดมาก คล้ายคลึง พฤติกรรมเพื่อรับมือกับความเครียด (Miller, Smith, & กับการศึกษาของ (Chaina, Sansiriphun & Kantaruksa, Rothstein, 1993) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาส่วนใหญ่มี 2015) ที่พบว่า การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ การวางแผนการมีบุตรร้อยละ 77.50 มีรายได้ที่พอเพียง ทางบวกกับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลัง ร้อยละ 54.50 ปัจจัยเหล่านี้ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างมีความ คลอดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r=.375, P<.01) และ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 51 ปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด

ยังคล้ายคลึงกับการศึกษาของ Fagan et al. (2007) เข้ามาส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิดอย่างมี ที่พบว่า การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวก นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .170) หมายความว่า กับการเข้ามามีส่วนร่วมในการให้การดูแลบุตร ทั้งจาก บิดาที่มีระดับการศึกษาสูงจะเข้ามามีส่วนร่วมของบิดา การประเมินของภรรยา (r= .18, P<.10) และจากการ ในระยะหลังบุตรเกิดมาก บิดาที่มีระดับการศึกษาสูงจะ ประเมินของตัวบิดาเอง (r= .25, P<.05) การสนับสนุน มีความพร้อมในการเป็นบิดามากกว่าผู้เป็นบิดาที่มีระดับ ทางสังคมจะช่วยให้บิดามีความพร้อมในการกระท�ำ การศึกษาต�่ำ (Srichuntraapar, 1984) ซึ่งบิดาที่มีการ สิ่งต่าง ๆ และสามารถปรับตัวเข้าสู่บทบาทการเป็นบิดาได้ รับรู้บทบาทการเป็นบิดาได้ดีจะเข้ามามีส่วนร่วมในการ (Hoffman, 2011) ลักษณะครอบครัวของกลุ่มตัวอย่าง ดูแลบุตรมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีการศึกษาอยู่ใน ที่ศึกษาในครั้งนี้เป็นครอบครัวขยายร้อยละ 57.50 ท�ำให้ ระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป ร้อยละ 95.50 ซึ่งเป็นระดับ กลุ่มตัวอย่างมีโอกาสได้รับการสนับสนุนทางสังคมจาก การศึกษาที่ค่อนข้างสูง ท�ำให้สามารถค้นคว้าหาความรู้ บุคคลส�ำคัญในครอบครัวมากขึ้น จากการศึกษาพบว่า เกี่ยวกับ การดูแลภรรยาและบุตรได้จึงส่งผลให้กลุ่ม กลุ่มตัวอย่างได้รับการสนับสนุนจากภรรยา ร้อยละ 83 ตัวอย่างเข้ามามีส่วนร่วมของในระยะหลังบุตรเกิดมาก ซึ่งภรรยาถือเป็นบุคคลใกล้ชิด และเกี่ยวข้องกับการเข้า คล้ายคลึงกับการศึกษาของ Moore & Kotelchuck, มามีส่วนร่วมของบิดาเป็นอย่างมาก หากภรรยามีความ (2004) ที่พบว่า บิดาที่มีการศึกษาระดับมัธยมขึ้นไป เชื่อและยอมรับในบทบาทของผู้เป็นบิดา รวมทั้ง จะเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพบุตรมากกว่าบิดา สนับสนุนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลตนเองและบุตร ที่มีรับการศึกษาตำ�่ กว่าระดับมัธยมอย่างมีนัยส�ำคัญทาง ก็จะท�ำให้บิดาเข้ามามีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น สถิติ (P< .10) อายุมีความสัมพันธ์ทางบวก กับการเข้ามามีส่วน รายได้ของครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางบวก ร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิดอย่างมีนัยส�ำคัญทาง กับการมีเข้ามาส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด สถิติที่ระดับ .05 (r=.120) หมายความว่า บิดาที่มีอายุมาก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .202) จะเข้ามามีส่วนร่วมในระยะหลังบุตรเกิดมาก ทั้งนี้ หมายความว่า บิดาที่มีรายได้ของครอบครัวมากจะเข้า เนื่องจากบิดาที่มีอายุมากจะมีการรับรู้บทบาทการเป็น มามีส่วนร่วมในระยะหลังบุตรเกิดมาก กลุ่มตัวอย่างที่ บิดาได้ดีกว่าบิดาที่อายุน้อย และการรับรู้บทบาทการ ศึกษาส่วนใหญ่มีรายได้มากกว่า 5,000 บาทต่อเดือน เป็นบิดามีความสัมพันธ์กับการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดา คิดเป็นร้อยละ 98.50 และส่วนใหญ่มีรายได้ที่เพียงพอ (Goldberg et al., 2013) ท�ำให้บิดาเข้ามามีส่วนร่วม ร้อยละ 54.50 ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างเข้ามา มากขึ้น ในการศึกษาครั้งนี้กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมี มีส่วนร่วมในระยะหลังบุตรเกิดในระดับมากร้อยละ 91 อายุระหว่าง 20-30 ปี ร้อยละ 52.50 รองลงมาคือ ซึ่งคล้ายคลึงกับการศึกษาของ Volling & Belsky (1991) กลุ่มอายุ 31-40 ปี ร้อยละ 39.50 ซึ่งเป็นช่วงวัยผู้ใหญ่ ที่พบว่า บิดาที่มีรายได้มากกว่าจะตอบสนองและเข้าไป จึงมีวุฒิภาวะและมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ของ ให้การดูแลบุตรได้บ่อยกว่าบิดาที่มีรายได้ต�่ำน้อย และ การเป็นบิดา จึงส่งผลให้บิดาเข้ามามีส่วนร่วมในระยะ การศึกษาของ Lee et al. (2011) ที่พบว่า รายได้เป็น หลังคลอดในระดับมาก ซึ่งคล้ายคลึงกับการศึกษาของ ปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของบิดา (father Volling & Belsky (1991) ที่พบว่า บิดาที่มีอายุมาก participation) ในกิจกรรมต่าง ๆ ของครอบครัวการมี จะเข้ามามีส่วนร่วม ตอบสนองต่อการกระตุ้น และเข้า เงินรายได้ที่เพียงพอ ท�ำให้บิดาสามารถจัดหาสิ่งต่าง ๆ มามีปฏิสัมพันธ์กับบุตรวัย 3 เดือนมากกว่าบิดาที่อายุ ส�ำหรับการดูแลมารดาและบุตรได้ดี (Hernandez & น้อยกว่า Coley, 2007) ดังนั้นบิดาที่มีรายได้ครอบครัวมากจึง ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวก กับการมี สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระยะหลังบุตรเกิดได้โดย

52 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Father Involvement in Postnatal Period

ให้การสนับสนุนทรัพยากรที่จ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิต ถึงความสัมพันธ์ของการสนับสนุนทางสังคมกับการเข้า ให้ความสุขสบาย และให้สวัสดิการต่าง ๆ แก่ภรรยา มามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด พบว่า หลังคลอดและบุตรได้มากขึ้น การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวก กับการ รายได้ของครอบครัวสามารถท�ำนายการเข้ามามี เข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด อย่างมี ส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิดได้สูงสุด ร้อยละ นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .231) หมายความว่า 7.6 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และเมื่อ บิดาที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมมาก จะเข้ามามีส่วน พิจารณาถึงความสัมพันธ์ของรายได้ของครอบครัวกับ ร่วมในระยะหลังบุตรเกิดมากและการสนับสนุนทาง การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด สังคมยังมีอิทธิพลส่งผลให้บิดาเข้ามามีส่วนร่วมในระยะ พบว่ารายได้ของครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางบวก หลังบุตรเกิดด้วย อธิบายได้ว่า การสนับสนุนทางสังคม กับการมีเข้ามาส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่แสดงออกถึงความรัก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .202) แสดงว่า ความห่วงใยที่บุคคลได้รับการสนับสนุนจากคนรอบข้าง บิดาที่มีรายได้ของครอบครัวมากจะเข้ามามีส่วนร่วม ในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านอารมณ์ ข้อมูลข่าวสาร ทรัพยากร ในระยะหลังบุตรเกิดมาก และผลการศึกษาในครั้งนี้ยัง และการประเมินค่า (House, 1981) การได้รับการ แสดงให้เห็นว่า รายได้ของครอบครัวเป็นปัจจัยที่มี สนับสนุนทางสังคมอย่างเหมาะสม เป็นตัวแปรส�ำคัญ อิทธิพลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลัง ที่ท�ำให้บิดาเกิดความพร้อมในการกระท�ำสิ่งต่าง ๆ บุตรเกิดด้วย สามารถอธิบายได้ว่า ฐานะทางเศรษฐกิจ การสนับสนุนทางสังคมจะช่วยให้บิดาสามารถเผชิญ ที่ดีย่อมเป็นพื้นฐานที่ดีส�ำหรับการเป็นบิดา ผู้ที่มีรายได้ กับความกดดัน ความท้าทาย และการเปลี่ยนแปลง มากย่อมมีศักยภาพในการจัดหาสิ่งอ�ำนวยความสะดวก บทบาทของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด และสามารถปรับ และปัจจัยพื้นฐานได้ตามความต้องการ ผู้มีรายได้มาก ตัวเข้าสู่บทบาทการเป็นบิดารวมทั้งเข้ามามีส่วนร่วม จึงมีความสามารถในการจัดหาทรัพยากรที่จ�ำเป็น ในระยะหลังบุตรเกิดมากขึ้นดังนั้นการสนับสนุนทาง ส�ำหรับมารดาหลังคลอดและบุตรแรกเกิดได้ดีกว่าผู้มี สังคมจึงสามารถท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาใน รายได้น้อย บิดาที่มีรายได้ครอบครัวมาก จะมีการรับรู้ ระยะหลังบุตรเกิดได้ บทบาทการเป็นบิดาได้ดี และมีความพร้อมในการเป็น บิดาได้ดีกว่าบิดาที่มีรายได้ครอบครัวน้อย ในทางตรงกัน ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ข้ามความยากจนของบิดาเป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการเข้า ด้านการปฏิบัติการพยาบาล น�ำผลที่ได้จากการ มามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด เนื่องจาก ศึกษาไปใช้เป็นข้อมูล ในการวางแผนการปฏิบัติการ ความยากจนเป็นภัยคุกคามต่อบิดา ทั้งด้านจิตใจและ พยาบาลโดยให้การสนับสนุนทางสังคมแก่บิดา รวมทั้ง ความผาสุกทางกายภาพ ท�ำให้บิดาไม่สามารถให้การ ประเมินปัจจัยส่วนบุคคลโดยเฉพาะรายได้ของครอบครัว สนับสนุนทางด้านการเงินและด้านจิตใจแก่บุตรได้ เพื่อเฝ้าระวังและหาแนวทางให้การช่วยเหลือ เพื่อส่งเสริม (Lerman & Sorensen, 2000 as cite in Castillo & การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด Sarver, 2012) ดังนั้นรายได้ของครอบครัวจึงสามารถ ด้านการศึกษาพยาบาล น�ำข้อมูลเกี่ยวกับ ท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตร ความเครียด การสนับสนุนทางสังคม ปัจจัยส่วนบุคคล เกิดได้ และการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด การสนับสนุนทางสังคมสามารถท�ำนายการเข้ามา ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เกิดขึ้น อ�ำนาจการท�ำนาย มีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิดได้ร้อยละ 4.9 ของตัวแปรที่มีต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเมื่อพิจารณา หลังบุตรเกิด ไปเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 53 ปัจจัยท�ำนายการเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด

ด้านการผดุงครรภ์ เพื่อให้นักศึกษา พยาบาลผดุงครรภ์ แนวทางการดูแล หรือโปรแกรมส่งเสริมการสนับสนุน เกิดความตระหนักเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของบิดาใน ทางสังคม เพื่อให้บิดาเข้ามีส่วนร่วมในระยะหลังบุตรเกิด ระยะหลังบุตรเกิด และช่วยส่งเสริมให้บิดาเข้ามามีส่วน มากขึ้น ร่วมมากขึ้น 2. ควรท�ำการศึกษาปัจจัยอื่นที่อาจมีอิทธิพลต่อ การเข้ามามีส่วนร่วมของบิดาในระยะหลังบุตรเกิด เช่น ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป การรับรู้บทบาทบิดา ความวิตกกังวลของบิดา สภาพของ 1. ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถน�ำไปเป็นข้อมูล ทารกแรกเกิด จ�ำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ ความเชื่อทาง พื้นฐานในการศึกษาวิจัยในล�ำดับต่อไป ได้แก่ การพัฒนา ศาสนา เป็นต้น เอกสารอ้างอิง Castillo, J. T., & Sarver, C. M. (2012). Nonresident fathers’ social networks: The relationship between social support and father involvement. Personal Relationships, 19(4), 759-774. doi: 10.1111/j.1475-6811.2011.01391.x Chaina, S., Sansiriphun, N., Kantaruksa, K. (2015). Stress social support and father involvement during postpartum period. Nursing Journal, 42(1): 85-96. (In Thai) Chemama, N., Sansiriphun, N., Kantaruksa, K. (2015). Stress social support and father involvement among Muslim expectant fathers. Nursing Journal, 42(Suppl): 105-115. (In Thai) Easterbrooks, M. A., Raskin, M., & McBrian, S. F. (2014). Father involvement and toddlers’ behavior regulation: Evidence from a high social risk sample. Fathering: A Journal of Theory, Research, & Practice about Men as Fathers, 12(1), 71-93. doi: 10.3149/fth.1201.71 Fagan, J., Bernd, E., & Whiteman, V. (2007). Adolescent fathers’ parenting stress, social support, and involvement with infants. Journal of Research on Adolescence (Wiley-Blackwell), 17(1), 1-22. doi: 10.1111/j.1532-7795.2007.00510.x Gremigni, P., Mariani, L., Marracino, V., Tranquilli, A. L., & Turi, A. (2011). Partner support and postpartum depressive symptoms. Journal of Psychosomatic Ostetrics and Gynegology, 32(3), 135-140. Goldberg, W. A., Tan, E. T., Davis, C. R., & Ann Easterbrooks, M. (2013). What predicts parental involvement by young fathers at psychosocial risk? Fathering, 11(3), 280-291. doi: 10.3149/ fth.1103.280 Hausman, C., & Goldring, E. (2000). Parent involvement, influence, and satisfaction in Magnat Schools: Do reasons for choice matter. The Urban Review, 32(2), 105-121. doi: 10.1023/A: 1005121214860 Hernandez, D. C., & Coley, R. L. (2007). Measuring father involvement within low-income families: Who is a reliable and valid reporter? Parenting, 7(1), 69-97. doi: 10.1080/15295190709336777

54 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Predicting Father Involvement in Postnatal Period

Hoffman, J. (2011). Father factors: What social science research tells us about fathers and how to work with them Retrieved March 22, 2012, from www.fira.ca/cms/documents/211/ FatherFactorsFinal.pdf House, J. S. (1981). The nature of social support. In M.A. Reading (Ed.), Work stress and social support (pp. 13-23). Philadelphia: Addison Wesley Keizer, R., Lucassen, N., Jaddoe, V., & Tiemeier, H. (2014). A prospective study on father involvement and toddlers’ behavioral and emotional problems: Are sons and daughters differentially affected. Fathering: A Journal of Theory, Research, & Practice about Men as Fathers, 12(1), 38-51. doi: 10.3149/fth.1201.38 Lamb, M. E. (2000). The history of research on father involvement. Marriage & Family Review. 29, 23-42. doi: 10.1300/J002v29n02_03 Lee, S. J., Anna, Y., Brisebois, K., & Banks, K. L. (2011). Low-income fathers’ barriers to participation in family and parenting programs. Journal of Family Strengths, 11(1) Lowdermilk, D. L., Perry, S. E., Cashion, K., & Alden, K. R. (2012). Maternity & Women’s Health Care (10thed.). St. Louis: Elsevier Mosby. Mahatnirunkul, S., Pumpaisalchai, W., Tapunya, P. (1997). Research report: The construction of Suanprung Stress Test. Chiang Mai: Suanprung Hospital. (In Thai) Miller, L. H., Smith, A. D., & Rothstein, L. (1993). The stress solution: An action plan manage the stress your life. New York: Pocket book. Moore, T., & Kotelchuck, M. (2004). Predictors of urban fathers’ involvement in their child’s health care. Pediatrics, 113(3), 574-580. Sansiriphun, N., Baosuang, C., Klunklin, A., Kantaruksa, K., Liamtrirat, S. (2014). Experience of first time father during labor and delivery period. Nursing Journal, 41(Suppl): 143-157. (In Thai) Srichuntraapar, S. (1984). Parenthood readiness of parents in the Northern region of Thailand. Thesis of the Degree of Master of Education, Department of Higher Education, Graduate School, Chulalongkorn University. (In Thai) Volling, B. L., & Belsky, J. (1991). Multiple determinants of father involvement during infancy in dual-earner and single-earner and single-earner families. Journal of Marriage & Family, 53(2), 461-474.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 55 ความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัว ภาพลักษณ์และนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ Knowledge of Body Weight, Body Image and Gestational Weight Gain Among Pregnant Women.

อรวรรณ ฤทธิ์มนตรี * Orawan Ritmontree * ปิยะนุช ชูโต ** Piyanut Xuto ** พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ ** Punpilai Sriarporn **

บทคัดย่อ นำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์ การวิจัยเชิงพรรณนาแบบ หาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัว ภาพลักษณ์และนำ�้ หนัก ตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่างเลือกตามคุณสมบัติที่ก�ำหนด จ�ำนวน 194 ราย เป็นสตรี ตั้งครรภ์ที่มีดัชนีมวลกายปกติก่อนการตั้งครรภ์ และมีอายุครรภ์ 36 สัปดาห์ ณ แผนกฝากครรภ์ โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช ระหว่างเดือนกันยายน ถึง พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมิน ความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ที่ อรวรรณ ฤทธิ์มนตรี ปิยะนุช ชูโต และ พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ ที่สร้าง ขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม และแบบวัดการรับรู้ภาพลักษณ์ของ Souto & Garcia (2002) ฉบับแปลและดัดแปลงเป็น ภาษาไทยโดย Sarit-apirak (2008) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า 1. สตรีตั้งครรภ์มีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวเท่ากับ 20.24 (S.D.= 4.83) ส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับ นำ�้ หนักตัวอยู่ในระดับดี ร้อยละ 81.44 และมีค่าเฉลี่ยการรับรู้ภาพลักษณ์ระหว่างตั้งครรภ์ เท่ากับ 87.35 (S.D. = 12.88) มีการรับรู้ภาพลักษณ์(โดยรวม) อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 56.19 2. สตรีตั้งครรภ์มีค่าเฉลี่ยน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เท่ากับ 12.76 กิโลกรัม (S.D.=4.50) 3. ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัวมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับน�้ำหนักตัว ที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ (r = -.315, p < .01) 4. ภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต�่ำอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่าง ตั้งครรภ์ (r = -.143, p < .05) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถน�ำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส�ำหรับความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัว ภาพลักษณ์และนำ�้ หนักตัว ที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์เพื่อให้ค�ำแนะน�ำแก่สตรีตั้งครรภ์ให้มีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ อย่างเหมาะสม

ค�ำส�ำคัญ: ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์ น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ สตรีตั้งครรภ์

* อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช * Instructor, Boromarajchonani College of Nursing Nakhon Si Thammarat ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 56 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Knowledge of Body Weight, Body Image and Gestational Weight Gain Among Pregnant Women.

Abstract Gestational weight gain affects maternal health and fetal outcomes. The purpose of this descriptive correlational research was to examine whether there was a relationship between knowledge of body weight, body image, and gestational weight gain among pregnant women. The study sample consisted of one hundred and ninety-four participants, all of whom were pregnant women who had normal pre-pregnancy body mass index, and had gestational age of 36 weeks and selected by purposive sampling. The participants were taken from the antenatal clinics at Maharaj Nakhonsithammarat Hospital from September to November 2013. The research instruments used were Knowledge of Weight Gain Evaluation questionnaire, developed by Ritmontree, Xuto, & Sriarporn, based on the literature reviewed; and the Body Image Rating Scale, developed by Souto & Garcia (2002) which was translated and adapted into the Thai language by Sirirat Sarit-apirak (Sarit-apirak, 2008). Descriptive statistics and the Spearman rank order correlation coefficient were used to analyze the data. Results of the study revealed that: 1. The mean score of knowledge of body weight was 20.24 (S.D.= 4.83). There was 81.44% of participants having good knowledge of weight gain. The mean score of body image was 87.35 (S.D. = 12.88). There was 56.19% of participants having moderate perception of body image. 2. The mean score of gestational weigh gain was 12.76 kilogram (S.D.=4.50). 3. There was a significant moderate negative correlation between Knowledge of weight gain and gestational weight gain among pregnant women (r = -.315, p < .01). 4. There was a significant low negative correlation between body image and gestational weight gain among pregnant women (r = -.143, p < .05). These findings could be used to enhance knowledge of weight gain, body image, and gestational weight gain among pregnant women, and to advise pregnant women on appropriate weight gain.

Key words: Knowledge of Body Weight, Body Image, Gestational Weight Gain, Pregnant Women

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ที่เพิ่มขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ถือเป็นการตอบสนองต่อ นำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ (Gestational การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ รวมทั้ง weight gain) หมายถึง ปริมาณน�้ำหนักตัวทั้งหมดของ ภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ (Stables & Rankin, มารดาที่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์ (Lertbunnaphong, 2005) โดยปกติแล้วนำ�้ หนักตัวระหว่างตั้งครรภ์จะเพิ่มขึ้น 2008) ทั้งนี้นำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เกิดจาก เล็กน้อยในไตรมาสแรก ประมาณ 0.5-2 กิโลกรัม และ การเพิ่มขึ้นของน�้ำ โปรตีนและไขมันของมารดา รวมทั้ง เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในไตรมาสที่ 2 และ 3 เฉลี่ย 0.42 นำ�้ หนักรก นำ�้ หนักทารกในครรภ์ และนำ�้ หนักของนำ�้ ครำ�่ กิโลกรัมต่อสัปดาห์ และเพิ่มขึ้นสูงสุดเมื่ออายุครรภ์ 36 (Rasmussen & Yaktine, 2009) ซึ่งการมีน�้ำหนักตัว สัปดาห์ และจะเพิ่มขึ้นไม่เกิน 2 กิโลกรัม จนถึงก�ำหนด

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 57 ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์และน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์

คลอด (Rasmussen & Yaktine, 2009) ที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์มากกว่าเกณฑ์ จากการศึกษา จากการศึกษาของ Titapant, Lertbunnaphong, ในประเทศไทย ที่โรงพยาบาลศูนย์ล�ำปาง กลุ่มตัวอย่าง & Pimsen (2013) ในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ทั้งหมด 1,849 คน 4,747 คน พบว่า การมีนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ พบว่า ร้อยละ 58.57 เป็นสตรีที่มีดัชนีมวลกายปกติก่อน มากกว่าเกณฑ์มีความสัมพันธ์กับภาวะความดันโลหิตสูง การตั้งครรภ์ ซึ่งพบว่าเป็นประชากรส่วนใหญ่ของสตรี ระหว่างตั้งครรภ์ การผ่าตัดคลอด ทารกแรกเกิดตัวโต และ ตั้งครรภ์ในประเทศไทย จากเกณฑ์ของสถาบันแพทย์ ความยาวที่เพิ่มขึ้นของทารกแรกเกิด (Arora, Arora, & อเมริกัน (Rasmussen & Yaktine, 2009) ก�ำหนดให้ Patumanond, 2013) นอกจากนี้การมีน�้ำหนักตัวที่ สตรีที่มีดัชนีมวลกายปกติก่อนการตั้งครรภ์ ควรมีนำ�้ หนัก เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์มากกว่าเกณฑ์ยังส่งผลกระทบ ตัวเพิ่มขึ้นทั้งหมดระหว่างตั้งครรภ์ อยู่ในช่วง 11.5-16 ระยะยาวคือ การเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะอ้วน การมี กิโลกรัม หากน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 11.5 กิโลกรัม น�้ำหนักตัวคงค้างหลังคลอดและมีน�้ำหนักตัวก่อนการ แสดงว่ามีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์น้อยกว่า ตั้งครรภ์ครั้งต่อไปเพิ่มมากขึ้น ซึ่งพบได้ในสตรีทุกกลุ่ม เกณฑ์ และหากมีน�้ำหนักตัวระหว่างตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น ดัชนีมวลกาย (Lertbunnaphong, 2008) มากกว่า 16 กิโลกรัม แสดงว่ามีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น จากการศึกษาของ Hill et al. (2013) พบว่า ปัจจัย ระหว่างตั้งครรภ์มากกว่าเกณฑ์ (Rasmussen & Yaktine, ที่ส่งผลต่อนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ประกอบ 2009) จากการศึกษาในสตรีตั้งครรภ์ที่มีดัชนีมวลกาย ด้วยปัจจัยดังต่อไปนี้ คือ 1) ปัจจัยส่วนบุคคลและ ปกติก่อนการตั้งครรภ์ ที่โรงพยาบาลศิริราช กลุ่ม พบว่า ครอบครัว ได้แก่ ลักษณะส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับ ร้อยละ 60.9 ที่มีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ภาพลักษณ์ และ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ปกติ (Titapan et al., 2013) โดย ความพึงพอใจในการสมรส 2) ปัจจัยด้านจิตสังคม ได้แก่ ร้อยละ 30.6 มีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์น้อย ความเครียด ความวิตกกังวล และความรู้สึกมีคุณค่า กว่าเกณฑ์ และ ร้อยละ 30.3 มีนำ�้ หนักตัวเพิ่มขึ้นระหว่าง ในตนเอง 3) ปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การรับรู้ ตั้งครรภ์มากกว่าเกณฑ์ ความสามารถของตนเอง และแรงจูงใจต่อการเปลี่ยนแปลง การมีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์น้อย พฤติกรรมในการบริหารน�้ำหนักตัว 4) ปัจจัยด้าน หรือมากกว่าเกณฑ์ปกติ จะเพิ่มโอกาสเกิดภาวะ พฤติกรรมของมารดาในการบริหารจัดการน�้ำหนักตัว แทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์และระยะคลอดเพิ่มขึ้น ที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ได้แก่ การรับประทานอาหาร (Lertbunnaphong, 2008) รวมทั้งเพิ่มโอกาสในการเกิด และกิจกรรมทางกาย จากการศึกษาปัจจัยด้านความรู้ ผลกระทบระยะยาวทั้งต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว พบว่า ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัวมี ทั้งนี้สตรีที่มีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นน้อยกว่าเกณฑ์มีความ ความสัมพันธ์กับนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ใน เกี่ยวข้องกับการเกิดทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IOM, ลักษณะซับซ้อน คือ มีความสัมพันธ์กันโดยผ่านปัจจัย 1990) การคลอดก่อนก�ำหนด (Schieve et al., 2000) อื่น ๆ ได้แก่ ภาพลักษณ์ แรงจูงใจต่อการเปลี่ยนแปลง และทารกแรกเกิดน�้ำหนักน้อย (Ricci, Parazzini, พฤติกรรมในการบริหารน�้ำหนักตัว การรับประทาน Chiaffarino, Cipriani, & Polverino, 2010) ทารกเกิด อาหาร และกิจกรรมทางกาย (Hill et al., 2013) ความ น�้ำหนักน้อยมีความเสี่ยงต่อการตายในระยะปริก�ำเนิด เข้าใจที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสถานะน�้ำหนักตัวก่อนการ และระยะขวบปีแรกของชีวิต และยังมีความเสี่ยงต่อ ตั้งครรภ์ท�ำให้สตรีตั้งครรภ์มีการเพิ่มของอัตราการเกิด การเจ็บป่วย ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการล่าช้าใน น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์มากกว่าเกณฑ์ถึง ทุกด้านมากกว่าทารกที่มีน�้ำหนักแรกเกิดตั้งแต่ 2,500 7 เท่า (Herring et al., 2008) และภาพลักษณ์มีความ กรัมขึ้นไป (Isaranurag, 2006) ส่วนสตรีที่มีน�้ำหนักตัว สัมพันธ์กับน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ใน

58 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge of Body Weight, Body Image and Gestational Weight Gain Among Pregnant Women.

ลักษณะซับซ้อนด้วยเช่นกัน (Mehta, Siega-Riz, & ได้รับเกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวระหว่างตั้งครรภ์ เป็นค�ำแนะน�ำ Herring, 2011) โดยจากการศึกษาในสตรีตั้งครรภ์ที่มี โดยทั่วไปที่ให้กับสตรีตั้งครรภ์ทุกคน โดยไม่แยกตาม นำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เกินเกณฑ์และอ้วน กลุ่มดัชนีมวลกาย และไม่เหมาะสมกับสถานะน�้ำหนัก พบว่าเมื่อสตรีตั้งครรภ์มีการเพิ่มของนำ�้ หนักตัวระหว่าง ก่อนการตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์แต่ละบุคคล ตั้งครรภ์มากขึ้นจะมีความพึงพอใจในนำ�้ หนักและรูปร่าง (Lertbunnaphong, 2008) ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้ ลดลง (Sui, Turnbull, & Dodd, 2012) จึงต้องการทราบว่า สตรีตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับ ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่าง น�้ำหนักตัวและมีการรับรู้ภาพลักษณ์ระหว่างตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ เป็นการรับรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหาสาระของ ที่เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร เพื่อพยาบาลผดุงครรภ์ สตรีตั้งครรภ์ที่เกี่ยวข้องกับสถานะนำ�้ หนักตัวของตนเอง ที่มีหน้าที่ดูแลจะได้ส่งเสริมและให้ความรู้เกี่ยวกับ ก่อนการตั้งครรภ์ และน�้ำหนักตัวที่ควรเพิ่มขึ้นอย่าง น�้ำหนักตัวได้อย่างเหมาะสมต่อไป เหมาะสมระหว่างตั้งครรภ์ (Herring et al., 2008) รวมทั้งผลกระทบของการมีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่าง วัตถุประสงค์การวิจัย ตั้งครรภ์น้อยกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์ และวิธีการ 1. เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัว ภาพลักษณ์ ปฏิบัติตัวในการบริหารจัดการน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น และนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ (Rasmussen & Yaktine, 2009) 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับ จากการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวนี้ นำ�้ หนักตัว ภาพลักษณ์ และนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่าง พบว่า สตรีตั้งครรภ์ชาวอเมริกัน ร้อยละ 52.5 ระบุเกณฑ์ ตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ การเพิ่มของนำ�้ หนักตัวระหว่างตั้งครรภ์ได้ไม่ถูกต้อง และ สตรีตั้งครรภ์ร้อยละ 74.6 ระบุว่าไม่ได้รับค�ำแนะน�ำ ค�ำถามการวิจัย เกี่ยวกับน�้ำหนักตัวที่ควรเพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ และ 1. ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์ และ การศึกษาเชิงคุณภาพในกลุ่มตัวอย่างจากตอนกลางของ น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ ประเทศอังกฤษโดยการสนทนากลุ่ม 5 กลุ่ม คือ สตรี เป็นอย่างไร ตั้งครรภ์จ�ำนวน 9 คน 2 กลุ่ม สตรีหลังคลอดจ�ำนวน 2. ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์ และ 14 คน 2 กลุ่ม และบุคลากรทางการแพทย์จ�ำนวน 6 คน น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ 1 กลุ่ม ชี้ให้เห็นว่าแพทย์ ผดุงครรภ์ และพยาบาล ให้ข้อมูล มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ในลักษณะ ที่จ�ำกัดหรือเป็นค�ำแนะน�ำสั้น ๆ ที่ยังขาดรายละเอียด กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย (Brown & Avery, 2012) ท�ำให้สตรีตั้งครรภ์มีมุมมอง นำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ส่งผลต่อภาวะ ว่าหากไม่ได้รับค�ำแนะน�ำ เกี่ยวกับน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น สุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ การศึกษา ระหว่างตั้งครรภ์ เรื่องน�้ำหนักจึงไม่ใช่เรื่องที่ส�ำคัญ ครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยว (Olander, Atkinson, Edmunds, & French, 2011) กับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์ และน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้สตรีตั้งครรภ์ส่วนใหญ่อาจจะมุ่งเน้นไปที่ ระหว่างตั้งครรภ์ โดยใช้กรอบแนวคิดจากการทบทวน ผลกระทบของน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นน้อย มากกว่าการที่ วรรณกรรม ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัวเป็นปัจจัยส่วน น�้ำหนักตัวระหว่างตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นมากกว่าเกณฑ์ บุคคล จากการทบทวนวรรณกรรมสามารถแบ่งออกเป็น (Groht & Kearney, 2009) จากสถานการณ์ใน 4 องค์ประกอบ คือ 1) สถานะของนำ�้ หนักตัวของตนเอง ประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน ค�ำแนะน�ำที่สตรีตั้งครรภ์ ก่อนการตั้งครรภ์ 2) เกณฑ์ที่เหมาะสมส�ำหรับนำ�้ หนักตัว

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 59 ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์และน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์

ที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ 3) ผลกระทบของการมี ประมาณกลุ่มตัวอย่าง ตามอ�ำนาจการทดสอบ (power นำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์น้อยกว่าเกณฑ์หรือ analysis) โดยก�ำหนดความเชื่อมั่นที่ระดับ .05 ให้อ�ำนาจ มากกว่าเกณฑ์ และ 4) วิธีการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม การทดสอบ (level of power) .80 และประมาณค่า ระหว่างตั้งครรภ์ในการบริหารจัดการนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้น ขนาดความสัมพันธ์ของตัวแปร (effect size) .20 (Polit, ระหว่างตั้งครรภ์ ซึ่งความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ 2010) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 194 ราย สถานะน�้ำหนักตัวก่อนการตั้งครรภ์จะท�ำให้มีการเพิ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย ของนำ�้ หนักตัวระหว่างตั้งครรภ์ไม่เหมาะสมได้ (Herring 3 ส่วน ดังนี้ et al., 2008) ส่วนภาพลักษณ์ตามแนวคิดของ Price 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (1990) แบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบ คือ 1) การรับรู้ 2. แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ของร่างกายที่เป็นจริง 2) การรับรู้ภาพลักษณ์ ระหว่างตั้งครรภ์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวน ของร่างกายในอุดมคติ และ 3) การรับรู้ภาพลักษณ์ของ วรรณกรรม ลักษณะค�ำตอบเป็นแบบ ตอบใช่ ไม่ใช่ และ ร่างกายตามการแสดงออก ทั้งนี้เมื่อสตรีตั้งครรภ์มีการ ไม่แน่ใจ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ เพิ่มของน�้ำหนักตัวระหว่างตั้งครรภ์มากขึ้นจะมีความ จ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย พยาบาลผดุงครรภ์ที่มี พึงพอใจในน�้ำหนักและรูปร่างลดลง (Sui et al., 2013) ความเชี่ยวชาญด้านน�้ำหนักตัวระหว่างตั้งครรภ์ 1 คน โดยเฉพาะในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์ สตรีจะรู้สึกไม่ดี อาจารย์พยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญด้านโภชนาการ 1 คน ต่อรูปร่างที่อ้วนขึ้นจากการมีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มมากขึ้น และอาจารย์พยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญด้านพฤติกรรม ระหว่างตั้งครรภ์ (Hill et al., 2013) สตรีตั้งครรภ์ที่มี ศาสตร์ 1 คน ผู้วิจัยปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ค�ำนวณ การรับรู้ภาพลักษณ์ไม่ดีจะไม่สนใจการรับประทาน หาดัชนีความตรงตามเนื้อหา (Content Validity Index อาหารหรือจ�ำกัดปริมาณอาหารมากเกินไปท�ำให้ขาด [CVI]) จนได้ค่า CVI เท่ากับ 1 (Tiansward, 2007) และ สารอาหารหรือน�้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อยกว่าเกณฑ์ระหว่าง ตรวจสอบความเชื่อมั่นได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของ ตั้งครรภ์ (Copper et al., 1995) ดังนั้นหากสตรีตั้งครรภ์ ครอนบาคเท่ากับ .85 มีความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว และมีการรับรู้ภาพลักษณ์ 3. แบบวัดภาพลักษณ์ระหว่างตั้งครรภ์ ใช้แบบวัด ที่ดีระหว่างตั้งครรภ์อาจส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของ การรับรู้ภาพลักษณ์ ที่สร้างขึ้นโดย Souto & Garcia, น�้ำหนักตัวในระหว่างตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม (2002) ฉบับแปลและดัดแปลงข้อค�ำถามเป็นภาษาไทย โดย Sarit-apirak, (2008) ลักษณะค�ำตอบเป็นคะแนน วิธีด�ำเนินการวิจัย ประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ตรวจสอบความ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาหาความ เชื่อมั่นได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ สัมพันธ์ (descriptive correlational research design) .84 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ผู้วิจัยด�ำเนินการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง และท�ำการ ภาพลักษณ์และน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ สตรีตั้งครรภ์ที่มี หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์ อายุครรภ์ 36 สัปดาห์ และมีดัชนีมวลกายปกติก่อนการ สหสัมพันธ์สเปียร์แมน เนื่องจากมีการกระจายของข้อมูล ตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่างคือ สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 36 ไม่เป็นโค้งปกติ สัปดาห์ และมีดัชนีมวลกายปกติก่อนการตั้งครรภ์ ที่แผนกฝากครรภ์ โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช ก�ำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้วิธีการเปิดตาราง

60 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge of Body Weight, Body Image and Gestational Weight Gain Among Pregnant Women.

การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง 4. ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัวมีความสัมพันธ์ทาง การวิจัยครั้งนี้ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ ลบในระดับปานกลางกับน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่าง จริยธรรมการวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย ตั้งครรภ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = -.315, เชียงใหม่ และโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช ผู้วิจัย p < .01) พิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลทุกอย่างที่ได้จากการ 5. การรับรู้ภาพลักษณ์ระหว่างตั้งครรภ์ มีความ วิจัยจะเก็บรักษาเป็นความลับ น�ำเสนอผลการวิจัยใน สัมพันธ์ทางลบในระดับต�่ำกับน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ภาพรวม เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาเท่านั้น ผู้เข้าร่วม ระหว่างตั้งครรภ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วิจัยสามารถปฏิเสธหรือยุติการเข้าร่วมการศึกษาได้โดย (r = -.143, p < .05) ไม่ต้องชี้แจงเหตุผล ซึ่งการยกเลิกการเข้าร่วมการศึกษา จะไม่มีผลต่อการรับบริการฝากครรภ์ทางตรงและ การอภิปรายผล ทางอ้อม และถามถึงความสมัครใจผู้เข้าร่วมงานวิจัย ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ พร้อมเซ็นใบยินยอม ในการศึกษาครั้งนี้พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้ เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัว โดยรวมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 81.44 ผลการวิจัย ( = 20.24, S.D. = 4.83) สามารถอธิบายได้ว่าการที่ 1. กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีอายุระหว่าง 20-43 ปี กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวนั้น เป็นการรับรู้ กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด คือ อายุระหว่าง 20-35 ปี ร้อยละ และเข้าใจเกี่ยวกับสถานะของนำ�้ หนักตัวของตนเองก่อน 74.74 การศึกษาชั้นปริญญาตรี/เทียบเท่าขึ้นไปมากที่สุด การตั้งครรภ์ และนำ�้ หนักตัวที่ควรเพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ร้อยละ 40.72 มีอาชีพแม่บ้านมากที่สุด ร้อยละ 37.63 (Herring et al., 2008) รวมไปถึงผลกระทบของการมี เกือบทั้งหมดอยู่ร่วมกับสามี ร้อยละ 97.9 เป็นสตรีที่เคย น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์น้อยหรือมากกว่า ตั้งครรภ์แล้ว ร้อยละ 66.49 มีดัชนีมวลกายก่อนการ เกณฑ์ และวิธีการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมระหว่างตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ระหว่าง 18.5-24.9 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ในการบริหารจัดการนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ( = 21.32, S.D. = 1.81) ช่วงดัชนีมวลกายก่อนการ (Rasmussen & Yaktine, 2009) ซึ่งความรู้ความเข้าใจ ตั้งครรภ์ที่พบมากที่สุด คือ 18.5-20.9 กิโลกรัมต่อตาราง ในเรื่องเหล่านี้เป็นความสามารถทางปัญญา ที่เกิดขึ้น เมตร ร้อยละ 47.94 จากการได้รับการศึกษาระดับพื้นฐาน ที่จะน�ำไปสู่การ 2. สตรีตั้งครรภ์มีค่าเฉลี่ยน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ศึกษาด้วยตนเอง จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า กลุ่ม ระหว่างตั้งครรภ์เท่ากับ 12.76 กิโลกรัม (S.D.=4.50) ตัวอย่างร้อยละ 40.72 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป 3. สตรีตั้งครรภ์มีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เกี่ยวกับ ร้อยละ 38.14 เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เท่ากับ 20.24 ระหว่างตั้งครรภ์ สตรีตั้งครรภ์จึงมีความสามารถในการ (S.D.= 4.83) ส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวอยู่ใน ศึกษาค้นคว้าความรู้จากแหล่งต่าง ๆ เพื่อให้มีความรู้ ระดับดี ร้อยละ 81.44 และมีค่าเฉลี่ยการรับรู้ภาพลักษณ์ ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ในระหว่างการฝาก ระหว่างตั้งครรภ์ เท่ากับ 87.35 (S.D. = 12.88) มีการ ครรภ์สตรีตั้งครรภ์ทุกรายยังได้รับค�ำแนะน�ำจาก รับรู้ภาพลักษณ์(โดยรวม) อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ พยาบาลผดุงครรภ์ และแพทย์ เกี่ยวกับการรับประทาน 56.19 ด้านภาพลักษณ์ที่เป็นจริงอยู่ในระดับปานกลาง อาหารระหว่างตั้งครรภ์เพื่อให้มีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่าง ร้อยละ77.32 ด้านภาพลักษณ์ในอุดมคติอยู่ในระดับดี เหมาะสม โดยแนะน�ำเมนูอาหารแต่ละมื้อที่สตรีตั้งครรภ์ ร้อยละ 55.15 และด้านภาพลักษณ์ตามการแสดงออก ควรรับประทาน และสารอาหารแลกเปลี่ยนตามสมุด อยู่ในระดับดี ร้อยละ 48.97 ฝากครรภ์สีชมพู และเมื่อสตรีมาฝากครรภ์ตามนัด

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 61 ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์และน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์

จะได้รับการชั่งน�้ำหนักเพื่อติดตามน�้ำหนักตัวทุกครั้ง มากกว่า 35 ปี ร้อยละ 25.26 ซึ่งเป็นวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัว และตอนกลาง มีวุฒิภาวะ มีความมั่นคงทางจิตใจ มีความ ที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์อยู่ในระดับดี สามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ภาพลักษณ์ระหว่างตั้งครรภ์ (Chetchaowalit, 1998) ถึงแม้ว่าในระยะตั้งครรภ์จะมี ในการศึกษาครั้งนี้พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีภาพลักษณ์ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของทั้งร่างกายและจิตใจ สตรี ระหว่างตั้งครรภ์โดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง ร้อยละ ตั้งครรภ์วัยผู้ใหญ่จะมีความสามารถในการปรับตัวต่อ 56.19 ค่าเฉลี่ยของภาพลักษณ์เท่ากับ 87.35 (S.D. = 12.88) การเปลี่ยนแปลงนั้นได้ สตรีตั้งครรภ์จึงมีการรับรู้ภาพ โดยส่วนใหญ่มีภาพลักษณ์ของร่างกายที่เป็นจริงอยู่ใน ลักษณ์ระหว่างตั้งครรภ์โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ระดับปานกลาง ( = 24.77, S.D. = 4.64) มีภาพลักษณ์ นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างยังเป็นสตรีตั้งครรภ์ที่มีอาชีพเป็น ของร่างกายในอุดมคติอยู่ในระดับดี ( = 42.94, S.D. แม่บ้าน ร้อยละ 37.63 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย = 6.72) และมีภาพลักษณ์ตามการแสดงออกอยู่ในระดับดี ระหว่างตั้งครรภ์จึงไม่ส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงานมาก ( = 19.63, S.D. = 4.00) สามารถอธิบายได้ว่า โดย นัก ประกอบกับส่วนใหญ่เป็นสตรีที่เคยมีประสบการณ์ ทั่วไปสตรีตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของ การตั้งครรภ์มาแล้ว ร้อยละ 66.49 สตรีตั้งครรภ์จึง ร่างกายที่เป็นจริงเด่นชัดกว่าด้านภาพลักษณ์ในอุดมคติ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรูปร่างได้ดีกว่าสตรีตั้งครรภ์ และการแสดงออก ได้แก่ มีการเปลี่ยนแปลงของนำ�้ หนักตัว ครั้งแรก สตรีตั้งครรภ์จึงมีการแสดงออกโดยการแต่งกาย ซึ่งเป็นผลโดยตรงจากการเพิ่มขนาดล�ำตัวของสตรีตั้งครรภ์ ด้วยชุดคลุมท้องที่สวยงามเมื่อมาฝากครรภ์ และมีความ เต้านม มดลูก สะโพก แขนขาและอวัยวะที่เกี่ยวข้อง มั่นใจในการเข้าสังคม เมื่อสตรีตั้งครรภ์มีความรู้สึกดีต่อ (Fraser & Cooper, 2003) โดยสตรีตั้งครรภ์จะมีนำ�้ หนัก การตั้งครรภ์ สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณ 11.5-16 กิโลกรัม (Rasmussen อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ได้ จึงมีคะแนนการรับรู้ภาพ & Yaktine, 2009) จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าสตรีตั้งครรภ์ ลักษณ์ทั้ง 3 ด้าน ในลักษณะที่สมดุล มีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เฉลี่ย 12.76±4.5 น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ กิโลกรัม ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ปกติ น�้ำหนักที่เพิ่มขึ้นนี้เป็นไป ในการศึกษาครั้งนี้พบว่า สตรีตั้งครรภ์มีค่าเฉลี่ยนำ�้ ตามพัฒนาการปกติของการตั้งครรภ์ ส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เท่ากับ 12.76 กิโลกรัม เกิดการยอมรับทั้งในด้านภาพลักษณ์ของร่างกายใน (S.D.=4.50) ซึ่งสอดคล้องกับแบบแผนการเพิ่มขึ้นของ อุดมคติและภาพลักษณ์ของร่างกายตามการแสดงออก นำ�้ หนักตัวระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ชาวไทยและ ดังแสดงให้เห็นในผลการวิจัยว่า สตรีตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ ต่างชาติ ดังการศึกษาในประเทศไทยที่โรงพยาบาลศิริราช มีภาพลักษณ์ของร่างกายที่เป็นจริงอยู่ในระดับปานกลาง ในสตรีกลุ่มดัชนีมวลกายปกติก่อนการตั้งครรภ์ จ�ำนวน เมื่อเทียบกับภาพลักษณ์ในอุดมคติและภาพลักษณ์ตาม 1,083 ราย พบว่าสตรีตั้งครรภ์ มีค่าเฉลี่ยน�้ำหนักตัวที่ การแสดงออกที่ส่วนใหญ่มีคะแนนในระดับดี สอดคล้อง เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เท่ากับ 14.2±4.7 กิโลกรัม กับที่ (Price, 1990) กล่าวไว้ว่าภาพลักษณ์ของร่างกาย (Titapant, Lertbunnaphong & Pimsen, 2013) ที่เป็นจริงของบุคคลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตาม และการศึกษาในสตรีตั้งครรภ์ชาวอเมริกัน กลุ่มดัชนี ระยะพัฒนาการ โดยในแต่ละช่วงวัยมีการเปลี่ยนแปลง มวลกายปกติก่อนการตั้งครรภ์ จ�ำนวน 3,108 คน พบว่า เกิดขึ้นมากมาย เช่น การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของ สตรีตั้งครรภ์ มีค่าเฉลี่ยน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่าง ร่างกายในระยะตั้งครรภ์ เป็นต้น ตั้งครรภ์เท่ากับ 14.8 ±6.1 กิโลกรัม (Margerison Zilko นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 74.74 et al., 2010) อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 20-35 ปี รองลงมาคือช่วงอายุ

62 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge of Body Weight, Body Image and Gestational Weight Gain Among Pregnant Women.

ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = -.143) สามารถอธิบาย ภาพลักษณ์และนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของ ได้ว่า สตรีตั้งครรภ์จะมีคะแนนภาพลักษณ์ลดลงเมื่อมี สตรีตั้งครรภ์ น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น อาจเนื่อง ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยว มาจากสตรีตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย กับน�้ำหนักตัวและน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ โดยเฉพาะการมีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ของสตรีตั้งครรภ์ พบว่าความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวมีความ น�้ำหนักส่วนใหญ่จะเพิ่มบริเวณหน้าอก แขนขา สะโพก สัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้น และหน้าท้องที่จะมีการขยายขนาดเพื่อรองรับมดลูก ระหว่างตั้งครรภ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = -.315, p ที่ขยายขนาดขึ้น และจะชัดเจนมากขึ้นในไตรมาสที่ 3 < .01) สามารถอธิบายได้ว่า สตรีที่มีความรู้เกี่ยวกับ ของการตั้งครรภ์ (Rassmussen & Yaktine, 2009) น�้ำหนักตัวอยู่ในระดับดีจะมีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นไม่มาก กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ อายุครรภ์ 36 สัปดาห์ เกินค�ำแนะน�ำระหว่างตั้งครรภ์ ในทางตรงกันข้ามหาก มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายตามภาพลักษณ์ที่เป็นจริง สตรีตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวอยู่ในระดับไม่ดี คือมีการเพิ่มขึ้นของน�้ำหนักตัวอย่างชัดเจน ท�ำให้สตรี จะส่งผลให้มีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์มาก ตั้งครรภ์มีการรับรู้ภาพลักษณ์ได้อย่างชัดเจนเช่น เกินค�ำแนะน�ำ ดังเช่นการศึกษาของ Herring et al. เดียวกัน จากสตรีที่เคยมีดัชนีมวลกายปกติก่อนการ (2008) ที่พบว่าการรับรู้ที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสถานะ ตั้งครรภ์เมื่อมีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ นำ�้ หนักตัวก่อนการตั้งครรภ์ท�ำให้สตรีตั้งครรภ์มีการเพิ่ม เฉลี่ย 12.76±4.5 กิโลกรัม ซึ่งเป็นการเพิ่มของนำ�้ หนักตัว ของอัตราการเกิดน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ที่เป็นไปตามเกณฑ์ปกติ และมีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น มากกว่าค�ำแนะน�ำถึง 7 เท่า และสอดคล้องกับการศึกษา ระหว่างตั้งครรภ์สอดคล้องกับเกณฑ์ ร้อยละ 39.69 แบบจ�ำลองแนวคิดความเสี่ยงและปัจจัยป้องกันนำ�้ หนัก ท�ำให้สตรีตั้งครรภ์มีการรับรู้ภาพลักษณ์ระหว่างตั้งครรภ์ ตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์เกินเกณฑ์ ของ Hill et al. ในระดับปานกลาง นอกจากนี้บุคคลจะมีภาพลักษณ์ (2013) ที่พบว่าความรู้เกี่ยวกับนำ�้ หนักตัวมีความสัมพันธ์ ของร่างกายในอุดมคติที่แตกต่างกันออกไปตามบริบท กับนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ในลักษณะซับซ้อน ทางสังคม กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ส่วนใหญ่ไม่ได้ สามารถอธิบายได้ว่าความรู้เป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยส่วน มีหน้าที่การงานเกี่ยวกับความสวยงามของเรือนร่างหรือ บุคคลของมารดา ซึ่งส่งผลผ่านแรงจูงใจต่อการ อาชีพที่อาศัยการติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่น ๆ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการบริหารนำ�้ หนักตัวระหว่าง โดยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอาชีพแม่บ้าน ร้อยละ 37.63 ตั้งครรภ์ ผ่านพฤติกรรมการรับประทานอาหารและ จึงไม่ส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ กิจกรรมทางกาย และส่งผลต่อน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ในอุดมคติไปในทางที่ไม่ดี สตรีตั้งครรภ์จึงมีการ ระหว่างตั้งครรภ์ เมื่อสตรีตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับ แสดงออกด้วยการแต่งกายด้วยชุดคลุมท้องที่สวยงาม น�้ำหนักตัวอยู่ในระดับดี อาจท�ำให้มีแรงจูงใจที่ดีต่อการ เมื่อมาฝากครรภ์ เช่นเดียวกับการศึกษาของ Mehta et เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริหารน�้ำหนักตัวระหว่าง al. (2011) ที่พบว่าภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์กับ ตั้งครรภ์ท�ำให้มีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ในลักษณะซับซ้อน สอดคล้องกับค�ำแนะน�ำในระหว่างตั้งครรภ์ได้ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ และนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ 1. ผลการศึกษาที่ได้ไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส�ำหรับ พบว่าภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต�่ำกับ ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์และน�้ำหนักตัวที่ น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์เพื่อให้ค�ำแนะน�ำ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 63 ความรู้เกี่ยวกับน�้ำหนักตัว ภาพลักษณ์และน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์

แก่สตรีตั้งครรภ์ให้มีนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป อย่างเหมาะสม การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเฉพาะกลุ่มสตรี 2. ควรน�ำผลการศึกษาที่ได้ไปเป็นส่วนหนึ่งในการ ตั้งครรภ์ที่มีดัชนีมวลกายปกติก่อนการตั้งครรภ์เท่านั้น จัดการเรียนการสอนด้านการผดุงครรภ์ เพื่อให้พยาบาล ดังนั้นการศึกษาในครั้งต่อไปควรศึกษาความรู้เกี่ยวกับ ผดุงครรภ์มีความเข้าใจเกี่ยวกับน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น นำ�้ หนักตัว ภาพลักษณ์ และนำ�้ หนักตัวที่เพิ่มขึ้นระหว่าง ระหว่างตั้งครรภ์ และการรับรู้ภาพลักษณ์ของสตรีตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ ให้ครอบคลุมถึงกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ที่มีดัชนีมวล กายน้อยกว่าปกติ น�้ำหนักเกิน และกลุ่มอ้วนก่อนการ ตั้งครรภ์ เอกสารอ้างอิง Arora, R., Arora, D., & Patumanond, J. (2013). Risk of high gestational weight gain on adverse pregnancy outcomes. Journal of Obstetrics and Gynecology, 3(1A), 142-147. doi:10.4236/ ojog.2013.31A027 Brown, A., & Avery, A. (2012). Healthy weight management during pregnancy: What advice and information is being provided. Journal of Human Nutrition and Dietetics, 25(4), 378-387. doi:10.1111/j.1365-277X.2012.01231.x Chetchaowalit, T. (1998). Developmental psychology for nurses. Songkhla: Chanmuangkarnpim. (In Thai) Copper, R. L., DuBard, M. B., Goldenberg, R. L., & Oweis, A. I. (1995). The relationship of maternal attitude towards weight gain to weight gain during pregnancy and low birth weight. Journal of Obstetrics and Gynecology, 85(4), 590-595. Fraser, D. M., & Cooper, M. A. (2003). Myles textbook for midwives. London: Cherchill Livingston. Groth, S. W., & Kearney, M. H. (2009). Diverse women’s beliefs about weight gain in pregnancy. Journal of Midwifery & Women’s Health, 54(6), 452-457. doi:10.1016/j.jmwh.2009.03.003 Herring, S. J., Oken, E., Haines, J., Rich-Edwards, J. W., Rifas-Shiman, S. L., Kleinman, K. P., & Gillman, M. W. (2008). Misperceived pre-pregnancy body weight status predicts excessive gestational weight gain: Findings from a US cohort study. BMC Pregnancy and Childbirth, 8(1), 54. doi:10.1186/1471-2393-8-54 Hill, B., Skouteris, H., McCabe, M., Milgrom, J., Kent, B., Herring, S. J., . . . Gale, J. (2013). A conceptual model of psychosocial risk and protective factors for excessive gestational weight gain. Midwifery, 29(2), 110-114. doi:10.1016/j.midw.2011.12.001 Isaranurag, S. (2006). Low birth weight babies: Thai health problems that cannot be solved. Journal of Public Health and Development, 4(1): 67-79. (In Thai) Lertbunnaphong, T. (2008). Maternal body weight and pregnancy: Factors that an obstetrician overlooks. Siriraj Medical Bulletin, 10(2): 81-90. (In Thai)

64 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge of Body Weight, Body Image and Gestational Weight Gain Among Pregnant Women.

Margerison Zilko, C.E., Rehkopf, D., Abrams, B. (2010). Association of maternal gestational weight gain with short-and long-term maternal and child health outcome. American Journal of Obstetric Gynecology, 202(6): 574.e1-8. Mehta, U. J., Siega-Riz, A. M., & Herring, A. H. (2011). Effect of body image on pregnancy weight gain. Maternal and Child Health Journal, 15(3), 324-332. doi: 10.1007/s10995-010-0578-7 Olander, E. K., Atkinson, L., Edmunds, J. K., & French, D. P. (2011). The views of pre-and post- natal women and health professionals regarding gestational weight gain: An exploratory study. Sexual & Reproductive Healthcare, 2(1), 43-48. doi:10.1016/j.srhc.2010.10.004 Polit, D. F. (2010). Statistics and data analysis for nursing research (2nd ed.). New Jersey: Pearson Education. Price, B. (1990). Body image: Nursing concepts and care. London: Prentice Hall International. Rasmussen, K. M., & Yaktine, A. L. (Eds.). (2009). Weight gain during pregnancy: Reexamining the guidelines. Washington, DC: Institute of Medicine & The National Academies Press. Ricci, E., Parazzini, F., Chiaffarino, F., Cipriani, S., & Polverino, G. (2010). Pre-pregnancy body mass index, maternal weight gain during pregnancy and risk of small-for-gestational age birth: Results from a case-control study in Italy. Journal of Maternal-Fetal and Neonatal Medicine, 23(6), 501-505. doi:10.3109/14767050903216025 Sarit-apirak, S. (2008). Relationship between personal factors, relationship between spouses, self-esteem, and the perception of the image of pregnant women. Bangkok: Mahidol University. (In Thai) Schieve, L. A., Cogswell, M. E., Scanlon, K. S., Perry, G., Ferre, C., Blackmore-Prince, C., . . . Rosenberg, D. (2000). Pre-pregnancy body mass index and pregnancy weight gain: Associations with preterm delivery. Obstetrics & Gynecology, 96(2), 194-200. Souto, C. M., & Garcia, T. R. (2002). Construction and validation of a body image rating scale: A preliminary study. International Journal of Nursing Terminlogies and Classifecations, 13(4), 117-126. doi:10.1111/j.1744-618X.2002.tb00415 Stables, D., & Rankin, J. (Eds.). (2005). Physiology in childbearing with anatomy and related biosciences. Philadelphia: Health Sciences Rights Department in Philadelphia. Sui, Z., Turnbull, D., & Dodd, J. (2013). Effect of body image on gestational weight gain in overweight and obese women. Women and Birth, 26(4), 267-272. doi:10.1016/j. wombi.2013.07.001 Tiansawad, S. (2007). Content validity index: critique and recommendation for computation. Nursing Journal, 34(3): 1-7. (In Thai) Titapant, V., Lertbunnaphog, T., & Pimsen, S. (2013). Is the U.S. Institute of Medicine recommendation for gestational weight gain suitable for Thai singleton pregnant Women. Journal Medical Association Thai, 96(1), 1-6.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 65 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด Factors Related to Caregiver Participation in Treatment Decision-Making for Children with Cancer Receiving Chemotherapy

กัญญาพัชร นิยมสัตย์* Kanyapat Niyomsats* ศรีมนา นิยมค้า** Srimana Niyomkar** สุธิศา ล่ามช้าง*** Suthisa Lamchang***

บทคัดย่อ การมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาจึงเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญเพราะการพยากรณ์โรคมะเร็ง ไม่แน่นอน การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจ ดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนและ การสนับสนุนข้อมูลกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดที่มีอายุ ตั้งแต่ 1 ถึง 15 ปี จ�ำนวน 85 ราย เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมของผู้ดูแล ในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลเด็ก ป่วยโรคมะเร็งและแบบสอบถามการสนับสนุนข้อมูลของผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาคเท่ากับ .94 .95 และ.97 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่าการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดอยู่ใน ระดับปานกลาง การรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลเด็กป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการมีส่วนร่วม ของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r =.69, p<.01) การสนับสนุนข้อมูลมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r =.49, p<.01) ดังนั้นในการวางแผนการพยาบาล หรือการวิจัยจึงควรเน้นส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนข้อมูลแก่ผู้ดูแลเด็กป่วย เพื่อพัฒนาให้ ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

ค�ำส�ำคัญ: การมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

* อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา * Instructor, Boromarajonani College of Nursing Nakhonratchasima, [email protected] ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 66 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Factors Related to Caregiver Participation in Treatment Decision-Making for Children with Cancer Receiving Chemotherapy

Abstract The caregiver participation in treatment decision–making for children with cancer receiving chemotherapy is important because cancer is an uncertain prognosis. The purpose of this correlational descriptive study was to investigate caregiver participation in treatment decision–making for children with cancer receiving chemotherapy, and to explore the relationship among perceived self-efficacy, information support, and 85 caregiver participation in treatment decision–making for children aged 1 to 15 years with cancer receiving chemotherapy. The research instruments consisted of the Caregiver Participation in Treatment Decision–Making for Children with Cancer Receiving Chemotherapy Questionnaire and the Perceived Self-Efficacy in Treatment Decision–Making for Children with Cancer Questionnaire developed by the researcher, and the Information Support for Caregivers of Children with Cancer Questionnaire with Cronbach’s alpha coefficient reliability .94, .95 and .97, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s correlation coefficient. Findings of this study showed caregiver participation in treatment decision–making for children with cancer receiving chemotherapy was moderate. Caregiver perceived self-efficacy had a statistically significant strong positive correlation with caregiver participation in treatment decision–making for children with cancer receiving chemotherapy (r =.69, p<.01) and information support had a statistically significant moderate positive correlation with caregiver participation in treatment decision–making for children with cancer receiving chemotherapy (r = .49, p<.01). These results should be used as the basis for planning nursing care and this research emphasizes on self-efficacy promoting and information support to improve caregiver’s decision to participate in treatment decision-making for children with cancer receiving chemotherapy.

Key words: Caregiver Participation in Treatment Decision–making, Children with Cancer Receiving Chemotherapy, Factors Related

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา สามารถมีชีวิตอยู่ในระยะเวลาเกิน 5 ปีได้ถึงร้อยละ 80 โรคมะเร็งเป็นโรคเรื้อรังที่รุนแรงและคุกคามต่อ (Howlader et al., 2013; Murphy, Xu, & Kochanek, ชีวิตเด็กป่วย มะเร็งในเด็กเป็นปัญหาสุขภาพที่ส�ำคัญของ 2013) การรักษาด้วยเคมีบ�ำบัดถือเป็นการรักษาหลัก ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้วย เนื่องจากมีอุบัติการณ์ ส�ำหรับเด็กป่วยโรคมะเร็ง เป็นวิธีการรักษาที่มี การเกิดโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นทุกปีและเป็นสาเหตุของการ ประสิทธิภาพสูงและมีความส�ำคัญในการเพิ่มอัตราการ เสียชีวิตรองจากอุบัติเหตุในกลุ่มเด็กอายุ 5-14 ปีของเด็ก รอดชีวิต เนื่องจากเคมีบ�ำบัดมีฤทธิ์ในการยับยั้งการ ทั่วโลก (Howlader et al., 2013; Murphy, Xu, & เจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งรวมถึงสามารถท�ำลายเซลล์ Kochanek, 2013) แม้เป็นโรคที่ร้ายแรงแต่โดยส่วนใหญ่ มะเร็งได้ เด็กป่วยจึงมีการพยากรณ์โรคที่ดี และสามารถ สามารถรักษาให้หายได้หากได้รับการดูแลรักษาที่ รักษาให้หายได้มากกว่าร้อยละ 70 (O’Leary et al., เหมาะสม เด็กป่วยโรคมะเร็งมีโอกาสรอดชีวิตและ 2008) แม้ว่าการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัดจะมีประสิทธิภาพ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 67 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

สูงแต่การให้เคมีบ�ำบัดก็มีผลกระทบต่อเด็กป่วยและ จึงจ�ำเป็นต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้อง ครอบครัวทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ และสังคม กับการดูแลรักษาเด็กป่วยในหลากหลายสถานการณ์ที่มี (Ruland, Hamilton, & Schjodt-Osmo, 2009) ความซับซ้อนนั้น (Holm et al, 2003) ตั้งแต่การตัดสินใจ ผลการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ผลกระทบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อรับเคมีบ�ำบัดในระยะแรกของการบ�ำบัด หรือการ กับเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สามารถ ปฏิเสธการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัดเนื่องจากกังวลเรื่องภาวะ ลดลงได้โดยการให้ผู้ดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ แทรกซ้อนของเคมีบ�ำบัดและเชื่อมั่นในการรักษารูปแบบอื่น ดูแลรักษาเด็กป่วย (Maurer et al., 2010; Pyke- นอกเหนือจากการรักษาของแพทย์แผนปัจจุบัน การให้ Grimm et al., 2006) แต่จากการทบทวนวรรณกรรม เคมีบ�ำบัดในปริมาณที่มากขึ้นเมื่อมีการกลับเป็นซำ�้ หรือ ที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจ การปฏิเสธการรักษาเมื่อโรคมีการกลับเป็นซ�้ำ (Pyke- ดูแลรักษาในกลุ่มเด็กป่วยเฉียบพลันและเรื้อรังที่เข้ารับ Grimm et al., 2006) การศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม การรักษาในโรงพยาบาลนั้น พบว่าการมีส่วนร่วมในด้าน ในการตัดสินใจด้านการดูแลรักษาในต่างประเทศส่วนใหญ่ การตัดสินใจในการดูแลรักษาเด็กป่วยในประเทศไทย พบว่าปัจจุบันผู้ดูแลได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับน้อย (Pholanun, Kantawang, & ส�ำหรับการดูแลเด็กป่วยเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Klunklin, 2013; Wongwan, Lamchang, & Kantawang, มากขึ้น (Lipstein, Brinkman, & Britto, 2012; Mack 2009) บางการศึกษาพบว่าผู้ดูแลส่วนใหญ่ไม่มีส่วนร่วม et al., 2006) ส�ำหรับในประเทศไทยการศึกษาเกี่ยวกับ ในด้านการตัดสินใจเลย (Kapan, Kantawang, & การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษามีข้อจ�ำกัดและ Jintrawet, 2010). ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาถึงการมีส่วนร่วมในการดูแล การมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา มากกว่าการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและกลุ่มประชากร เด็กป่วยนั้นเป็นกระบวนการของการมีปฏิสัมพันธ์กัน ที่ศึกษาก็มีความหลากหลาย เช่น เด็กทารกแรกเกิด ระหว่างผู้ดูแลเด็กป่วยและบุคลากรทางสุขภาพอย่าง เด็กป่วยเฉียบพลัน เด็กป่วยวิกฤต และเด็กป่วยโรคเรื้อรัง ต่อเนื่อง (Griffith, & Tengnah, 2013; Pyke - Grimm (Pholanun et al., 2013; Samit et al., 2013; Wongwan et al., 2006) ซึ่งการมีปฏิสัมพันธ์นั้นครอบคลุมตั้งแต่ et al., 2009) ซึ่งไม่ใกล้เคียงและเฉพาะเจาะจงกับการ การรับฟัง ตั้งค�ำถาม แสดงความคิดเห็น ตลอดจนการ มีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย ตัดสินใจของผู้ดูแลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งในการดูแล โรคมะเร็ง เด็กป่วยร่วมกันกับบุคลากรทางสุขภาพ (Kon, 2010) จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าการมีส่วนร่วม โดยมีเป้าหมายเพื่อค้นหาและคัดเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยที่เข้ารับการ ในการแก้ไขปัญหาให้กับเด็กป่วย (Griffith, & Tengnah, รักษาในโรงพยาบาลนั้นอาจมีความเกี่ยวข้องกับปัจจัย 2013) การมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแล บางประการ เช่น การรับรู้สมรรถนะแห่งตน (Tarini, รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งนั้นเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญและ Christakis, & Lozano, 2007) และการสนับสนุนข้อมูล จ�ำเป็นมากเพราะสถานการณ์ในการตัดสินใจดูแลรักษา (Lipstein, Brinkman, & Britto, 2012; Pyke - Grimm เด็กป่วยโรคมะเร็งนั้นมีความซับซ้อน เป็นการตัดสินใจ et al., 2006) การรับรู้สมรรถนะแห่งตนเป็นปัจจัยที่อาจ ภายใต้แรงกดดันที่สูง (Maurer et al., 2010; Pyke - มีความสัมพันธ์ต่อการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของ Grimm et al., 2006) เนื่องจากโรคมะเร็งเป็นโรคที่มี ผู้ดูแลเกี่ยวกับการดูแลรักษาเด็กป่วย โดย Bandura การพยากรณ์โรคไม่แน่นอนไม่สามารถยืนยันหรือชี้ขาดได้ (1997) กล่าวว่าสมรรถนะแห่งตนเป็นความเชื่อมั่นใน รวมถึงไม่สามารถคาดการณ์ถึงผลการรักษาในระยะยาวได้ ความสามารถของตนเองในการตัดสินหรือด�ำเนินการ (Sung, & Regier, 2013) ครอบครัวของเด็กป่วยโรคมะเร็ง ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่บุคคลนั้นก�ำหนด

68 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Related to Caregiver Participation in Treatment Decision-Making for Children with Cancer Receiving Chemotherapy

เป็นกระบวนการทางความคิดที่เชื่อมระหว่างความรู้กับ ที่ได้รับเคมีบ�ำบัดได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้เด็กป่วย การกระท�ำ มีการศึกษาพบว่าสมรรถนะแห่งตนมีความ โรคมะเร็งมีภาวะสุขภาพที่ดี อันจะส่งผลให้มีคุณภาพ สัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแล ชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป รักษาเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติ ดังการศึกษาถึงบทบาทของผู้ดูแล วัตถุประสงค์การวิจัย ในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยที่เข้า 1. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสิน รับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในของโรงพยาบาลใน ใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่าผู้ดูแลในกลุ่มที่มีคะแนน 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ สมรรถนะแห่งตนอยู่ในระดับสูงจะมีโอกาสเข้ามามี สมรรถนะแห่งตนในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย ส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยมากกว่า โรคมะเร็งและการสนับสนุนข้อมูลของผู้ดูแลเด็กป่วย ผู้ดูแลในกลุ่มที่มีคะแนนสมรรถนะแห่งตนอยู่ในระดับตำ�่ โรคมะเร็งกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจ ถึง 17.8 เท่า (Tarini, Christakis, & Lozano, 2007) ดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ดังนั้นหากผู้ดูแลมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนอาจส่งผล ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย ค�ำถามการวิจัย โรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดด้วยเช่นกัน 1. การมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแล การสนับสนุนข้อมูล คือการที่ผู้ดูแลได้รับข้อมูล รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดเป็นอย่างไร ที่เป็นประโยชน์และเอื้อต่อการตัดสินใจส�ำหรับดูแล 2. การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการตัดสินใจดูแล รักษาเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ข้อมูล รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งและการสนับสนุนข้อมูลของ จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ครอบครัวต้องการ (Mack et al., ผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง มีความสัมพันธ์กับการมี 2006; Markward, Benner, & Freese, 2013) ข้อมูล ส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย เป็นองค์ประกอบที่มีความส�ำคัญต่อการตัดสินใจ การได้ โรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดหรือไม่ รับการสนับสนุนข้อมูลจากบุคลากรทางสุขภาพจะท�ำให้ ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษาที่เด็กป่วยได้รับ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย จึงน�ำมาสู่การตัดสินใจในการเลือกการรักษาและการ การศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจ ดูแลที่ดีที่สุดส�ำหรับเด็กป่วย (Markward, Benner, & ดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งและปัจจัยที่เกี่ยวข้องครั้งนี้ Freese, 2013) ในทางตรงกันข้ามหากผู้ดูแลได้รับการ ผู้วิจัยใช้กรอบแนวคิดการวิจัยที่สร้างขึ้นจากการทบทวน สนับสนุนด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ อาจส่งผลให้ผู้ดูแล วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง กล่าวคือการมีส่วนร่วมของผู้ดูแล มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษาและการดูแล ในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมี เด็กป่วยน้อย บ�ำบัดคือการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้ดูแลเด็กป่วย การศึกษาในครั้งนี้ท�ำให้ทราบถึงสถานการณ์ โรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดและบุคลากรทางสุขภาพ ปัจจุบันของการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแล อย่างต่อเนื่อง โดยการมีปฏิสัมพันธ์นั้นครอบคลุมตั้งแต่ รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดและปัจจัยที่ การรับฟัง การตั้งค�ำถาม การแสดงความคิดเห็น ตลอดจน เกี่ยวข้อง เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการน�ำผลการวิจัยมา การตัดสินใจของผู้ดูแลเกี่ยวกับการดูแลเด็กป่วย 2 ด้าน เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการพยาบาล และการ คือ ด้านการรักษา และด้านการดูแลสุขภาพ วิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ดูแล โดยปัจจัยที่อาจมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วม มีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง ของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 69 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

ที่ได้รับเคมีบ �ำบัด ได้แก่ การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการ สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง ผู้วิจัย ตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งและการสนับสนุน สร้างขึ้นตามแนวคิดสมรรถนะแห่งตนของ Bandura ข้อมูลของผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง โดยการรับรู้ (1997) ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง มีค่า สมรรถนะแห่งตนเป็นความเชื่อมั่นในความสามารถ ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (content validity index ตนเองของผู้ดูแลที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ [CVI]) เท่ากับ .97 และ 1 ตามล�ำดับ และ 3) แบบสอบถาม ดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด เมื่อผู้ดูแล การสนับสนุนข้อมูลของผู้ดูแลเด็กป่วยของ (Samit et มีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองสูงอาจเข้ามา al. (2013) มีการปรับภาษาให้เหมาะสมกับผู้ดูแลเด็ก มีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด เมื่อค�ำนวณหาความเชื่อ ที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ส่วนการสนับสนุนข้อมูลของผู้ดูแลเด็ก มั่นด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s ป่วยโรคมะเร็ง เป็นการที่ผู้ดูแลได้รับข้อเท็จจริง และ alpha coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .94 .95 ค�ำแนะน�ำจากบุคลากรทางสุขภาพ เมื่อผู้ดูแลได้รับการ และ .97 ตามล�ำดับ สนับสนุนข้อมูลจากบุคลากรทางสุขภาพอาจเข้ามา การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง มีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง ภายหลังได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ ที่ได้รับเคมีบ�ำบัดด้วยเช่นกัน จริยธรรมการวิจัยคณะพยาบาลศาสตร์และคณะ กรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคนของ วิธีด�ำเนินการวิจัย โรงพยาบาลที่ศึกษา ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์การวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ ประโยชน์ ขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัยแก่กลุ่มตัวอย่าง (correlational descriptive research) โดยท�ำการ และสิทธิในการตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมการวิจัย ศึกษาในผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็งที่มีอายุตั้งแต่ 1 ปี ซึ่งจะไม่มีผลกระทบใด ๆ ทั้งสิ้นต่อการรักษาและ ถึง 15 ปี รับการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัดที่แผนกกุมาร การพยาบาลที่บุตรหรือเด็กในปกครองได้รับ รวมทั้ง เวชกรรม โรงพยาบาลในจังหวัดนครราชสีมา ระหว่าง ให้กลุ่มตัวอย่างเซ็นใบยินยอมเข้าร่วมการวิจัย ผู้วิจัยให้ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 กลุ่มตัวอย่างท�ำแบบสอบถาม โดยใช้เวลาในการตอบ ผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive แบบสอบถามประมาณ 30-45 นาที วิเคราะห์ข้อมูล sampling) ตามคุณสมบัติที่ก�ำหนด กลุ่มตัวอย่างก�ำหนด โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยใช้ตารางประมาณค่าอ�ำนาจการวิเคราะห์ทางสถิติ แบบเพียร์สัน (power analysis) ก�ำหนดให้ระดับความคลาดเคลื่อน .05 ค่าอ�ำนาจการทดสอบ .80 และค่าขนาดความ ผลการวิจัย สัมพันธ์ของตัวแปร .30 (Cohen, 1992) ซึ่งจากการเปิด 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ดูแลพบว่า ร้อยละ 68.2 เป็น ตารางส�ำเร็จรูปได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 85 ราย มารดาของเด็กป่วย และมีอายุอยู่ในช่วง 31-45 ปี ร้อยละ (Polit, 2010) 55.6 ส�ำเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา ร้อยละ การเก็บรวบรวมข้อมูล 42.4 โดยผู้ดูแลส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการดูแลเด็ก ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยตนเองโดยใช้เครื่องมือในการ ป่วยโรคมะเร็งขณะเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล คิดเป็น รวบรวมข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย 1) แบบสอบถามการมี ร้อยละ 84.7 ผู้ดูแลรับรู้ว่าการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็ง ส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย เป็นการเจ็บป่วยที่รุนแรง ร้อยละ 75.3 และผู้ดูแลเด็ก โรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดที่ สร้างขึ้นจากการทบทวน ป่วยโรคมะเร็งทุกรายเคยได้รับข้อมูลในการดูแลเด็กป่วย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2) แบบสอบถามการรับรู้ ที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัด ร้อยละ 100 โดยแหล่ง

70 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Related to Caregiver Participation in Treatment Decision-Making for Children with Cancer Receiving Chemotherapy

ที่ได้รับข้อมูลในการดูแลเด็กป่วย ได้แก่ แพทย์/พยาบาล 2. การมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแล คิดเป็นร้อยละ 100 รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดอยู่ในระดับ ส่วนข้อมูลทั่วไปของเด็กป่วยโรคมะเร็งนั้นผลการ ปานกลาง ( =62.54, S.D.=18.23) เมื่อพิจารณาการ ศึกษาพบว่า ร้อยละ 33.0 มีอายุอยู่ในช่วง 3 ปี 1 เดือน มีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย - 6 ปี รับการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัดในระยะ Maintenance โรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดเป็นรายด้าน ผลการศึกษา phase ร้อยละ 38.8 ภายหลังการได้รับการรักษาด้วย พบว่า ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้านการดูแล เคมีบ�ำบัดเด็กป่วยโรคมะเร็งส่วนใหญ่เกิดภาวะ สุขภาพมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 32.61 (S.D.=8.83) แทรกซ้อน ร้อยละ 97.6 โดยภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย ส่วนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้านการรักษา คะแนน ได้แก่ ไข้ ร้อยละ 76.5 เฉลี่ย 29.93 (S.D.=11.42) ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับของการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็ก ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดโดยรวม (n=85) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแล Mean S.D. ระดับ รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง โดยรวม 62.54 18.23 ปานกลาง รายด้าน 1. ด้านการรักษา 29.93 11.42 ปานกลาง 2. ด้านการดูแลสุขภาพ 32.61 8.83 ปานกลาง

3. การรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลเด็กป่วยมี ในระดับปานกลางกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการ ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการมีส่วนร่วมของ ตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้ โดยรวมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r=.49, p<.01) ดัง รับเคมีบ�ำบัดโดยรวมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r=.69, แสดงในตารางที่ 2 p<.01) และการสนับสนุนข้อมูลมีความสัมพันธ์ทางบวก

ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งและการ สนับสนุนข้อมูลของผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็งกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง ที่ได้รับเคมีบ�ำบัดโดยรวม การมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ที่ได้รับเคมีบ�ำบัด (r) การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง .69** การสนับสนุนข้อมูลของผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง .49**

การอภิปรายผล อยู่ในระดับปานกลางสะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่าง การศึกษาครั้งนี้พบว่า ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการ จากการศึกษาที่ผ่านมาที่พบว่าการมีส่วนร่วมด้านการ ตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ตัดสินใจในการดูแลรักษาเด็กป่วยในประเทศไทยส่วนใหญ่

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 71 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

อยู่ในระดับน้อย (Pholanun et al., 2013; Wongwan รักษาเด็กป่วยเพิ่มมากขึ้นโดยเป็นข้อมูลที่ได้รับจาก et al., 2009) บางการศึกษาพบว่าผู้ดูแลส่วนใหญ่ไม่มี ประสบการณ์ตรงของผู้ดูแลด้วยกันเอง การที่ผู้ดูแลมี ส่วนร่วมในด้านการตัดสินใจเลย (Kapan et al., 2010) โอกาสในการได้รับความรู้เกี่ยวกับการรักษาที่เพิ่มขึ้นจึง เมื่อวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ผู้ดูแลของเด็กป่วยโรคมะเร็ง ส่งผลให้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการ มีแนวโน้มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจดูแลรักษา รักษาและดูแลเด็กป่วยร่วมกับบุคลากรทางสุขภาพ เด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลร่วมกับ (Stewart, Pyke-Grimm, & Kelly, 2005) บุคลากรทางสุขภาพเพิ่มมากขึ้น อาจเนื่องมาจากผู้ดูแล แม้ว่าจะมีหลายปัจจัย เช่น อายุของผู้ดูแล ส่วนใหญ่เป็นมารดาของเด็กป่วยโรคมะเร็งและมีอายุ (McKenna et al., 2010) นโยบายทางด้านสุขภาพ เฉลี่ย 39.78 ปีซึ่งอยู่ในวัยที่บรรลุนิติภาวะอย่างสมบูรณ์ (Department of Health, 2009; Kon, 2010) รวมถึง แล้วมีความสามารถเพียงพอที่จะตัดสินใจในการดูแล ความสะดวกรวดเร็วและง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับ รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งได้ด้วยเหตุผล อายุของผู้ดูแล การดูแลรักษาเด็กป่วยของผู้ดูแล (Abdelkader, นับเป็นปัจจัยที่บ่งชี้ถึงวุฒิภาวะหรือความสามารถในการ Al-Hussami, Saleh, Mahadeen, & Insherah, 2012) ตัดสินใจในเหตุการณ์ต่าง ๆ เนื่องจากอายุมีความ ที่อาจท�ำให้ผู้ดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแล เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ที่ผ่านมาในอดีต บุคคลที่มีวุฒิ รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดสูงขึ้น แต่ผล ภาวะย่อมมาพร้อมกับความมั่นใจ กล้าตัดสินใจ เพราะ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจยังอยู่ในระดับปานกลางไม่ คิดว่ามีสติปัญญาพอที่จะตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีที่สุดให้ ขึ้นไปถึงระดับสูง อาจเป็นเพราะผู้ดูแลส่วนใหญ่ถึงร้อยละ บุตรได้ ผู้ดูแลที่มีอายุน้อยอาจไม่กล้าตัดสินใจและยก 75.3 รับรู้ว่าความเจ็บป่วยของเด็กป่วยอยู่ในระดับ ปัญหาให้คนอื่นเป็นผู้ตัดสินใจแทน (McKenna et al., รุนแรง เมื่อผู้ดูแลรับรู้ว่าเด็กป่วยด้วยโรคที่รุนแรงและ 2010; Orem, 2001) นอกจากนี้อาจเนื่องจากระบบการ คุกคามต่อชีวิต จึงมองว่าการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแล บริการทางสุขภาพในปัจจุบันที่มีนโยบายเน้นให้ความ รักษาเด็กป่วยเป็นเรื่องที่ยาก และการตัดสินใจของ ส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแล ตนเองนั้นอาจส่งผลกระทบต่อตัวโรคและการรักษาที่ รักษาเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น เด็กป่วยได้รับ ด้วยเหตุนี้ผู้ดูแลจึงเชื่อมั่นในการตัดสินใจ พร้อมทั้งให้ผู้ดูแลเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจ จากบุคลากรทางสุขภาพและให้บุคลากรทางสุขภาพเป็น เกี่ยวกับการดูแลรักษาที่เด็กป่วยได้รับร่วมกับบุคลากร ผู้ที่ท�ำหน้าที่ตัดสินใจแทน (Gross & Howard, 2001) ทางสุขภาพ (Department of Health, 2009; Kon, นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าเด็กป่วยถึงร้อยละ 97.6 2010) ประกอบกับผู้ดูแลสามารถอยู่เฝ้าเด็กป่วยได้ มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นภายหลังการได้รับการรักษา ตลอด 24 ชั่วโมง ท�ำให้ได้ใกล้ชิดกับบุคลากรทางสุขภาพ ด้วยเคมีบ�ำบัด ซึ่งเป็นปัจจัยส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีการรับรู้ และผู้ดูแลเด็กป่วยรายอื่น ได้รับฟังข้อมูลข่าวสารและ ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น แลกเปลี่ยนความคิดเห็น จึงกล้าที่จะเข้ามามีส่วนร่วมใน เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ การตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งร่วมกับ สมรรถนะแห่งตนในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย บุคลากรทางสุขภาพ และประเด็นสุดท้ายอาจเนื่องมา โรคมะเร็งกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจ จากสภาพสังคมในยุคปัจจุบันเป็นยุคของเทคโนโลยี ดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด พบว่าการ ข่าวสาร ผู้ดูแลสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวกับการรักษา รับรู้สมรรถนะแห่งตนในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย และการดูแลเด็กป่วยได้จากหลากหลายช่องทางภายใน โรคมะเร็งมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการ ระยะเวลาอันรวดเร็ว มีการสร้างไลน์กลุ่มของผู้ดูแลเพื่อ มีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย แลกเปลี่ยนข้อมูลกันท�ำให้ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแล โรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดอธิบายได้ว่า ถ้าผู้ดูแลของ

72 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Related to Caregiver Participation in Treatment Decision-Making for Children with Cancer Receiving Chemotherapy

เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดมีความเชื่อมั่นใน โรงพยาบาลนั้น ผู้ดูแลจะเห็นพฤติกรรมของผู้ดูแลเด็ก ความสามารถของตนเองก็จะเข้ามามีส่วนร่วมในการ ป่วยรายอื่นในหอผู้ป่วยที่เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ดูแลรักษาเด็กป่วยร่วมกับบุคลากรทางสุขภาพ ส่งผลให้ ร่วมกับบุคลากรทางสุขภาพมากขึ้น ซึ่งการที่ผู้ดูแล ผู้ดูแลรับรู้ว่าตนเองก็มีความสามารถที่จะกระท�ำได้เช่น มีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองนั้น สามารถ เดียวกันถือเป็นประสบการณ์การกระท�ำของบุคคลอื่น อธิบายด้วยแนวคิดของ Bandura (1997) ได้ดังนี้ ผู้ดูแล (Bandura,1997) นอกจากนี้ขณะเข้ารับการรักษาใน ส่วนใหญ่เคยมีประสบการณ์ในการดูแลเด็กป่วย โรงพยาบาลบุคลากรทางสุขภาพได้ให้การสนับสนุนช่วย โรคมะเร็งขณะเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล ร้อยละ เหลือผู้ดูแล เนื่องมาจากนโยบายของโรงพยาบาลที่เก็บ 84.7 และเด็กป่วยถึงร้อยละ 38.8 รับการรักษาด้วยเคมี ข้อมูลเน้นการดูแลเด็กป่วยโดยยึดครอบครัวเป็น บ�ำบัดในระยะ Maintenance phase การที่ผู้ดูแลมี ศูนย์กลาง บุคลากรทางสุขภาพมีการให้ข้อมูลพร้อมเปิด ประสบการณ์การดูแลเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาใน โอกาสให้ผู้ดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแล โรงพยาบาลมาก่อนด้วยโรคเดิมท�ำให้เกิดการเรียนรู้ใน รักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ร่วมกับกล่าว การดูแลสุขภาพของเด็กป่วย (Gross & Howard, 2001) ชมเชยและให้ก�ำลังใจผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง การที่ จึงเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับโรค วิธีการรักษา การปฏิบัติ ผู้ดูแลได้รับข้อมูลการดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้ ตัวของตนเองและบุตร เมื่อมีอาการผิดปกติต่าง ๆ รับเคมีบ�ำบัดจากบุคลากรทางสุขภาพจะเกิดการเรียนรู้ สามารถทราบว่าสิ่งใดที่จ�ำเป็นต้องท�ำและวิธีการใดที่ ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วย น่าจะเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการช่วยเหลือบุตร ร่วมกับบุคลากรทางสุขภาพ ถือเป็นการชักจูงด้วยค�ำพูด (Guerriere, McKeever, & Berall, 2003) ดังนั้น (Bandura,1997) ประสบการณ์เดิมของผู้ดูแลจึงมีความส�ำคัญต่อการมี ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนข้อมูลของ ส่วนร่วมในการตัดสินใจ ท�ำให้ผู้ดูแลมีความมั่นใจและ ผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็งกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลใน ต้องการที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับ การตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมี การรักษาและการดูแลเด็กป่วยร่วมกับบุคลากรทาง บ�ำบัด ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าการสนับสนุนข้อมูลจาก สุขภาพ (Stewart, Pyke-Grimm, & Kelly, 2005) บุคลากรทางสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับ ประสบการณ์ของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง ปานกลางกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจ ที่กระท�ำแล้วประสบความส�ำเร็จมาก่อนถือเป็นการ ดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดอธิบายได้ กระท�ำที่บรรลุผลส�ำเร็จของตนเอง (performance ว่าผู้ดูแลที่ได้รับการสนับสนุนข้อมูลที่เป็นประโยชน์และ accomplishment) สอดคล้องกับการศึกษาของ Tarini, เอื้อต่อการตัดสินใจจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ Christakis, & Lozano (2007) พบว่าประสบการณ์เดิม ดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดร่วมกับ ในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล บุคลากรทางด้านสุขภาพ เนื่องจากการสนับสนุนข้อมูล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ จากบุคลากรทางสุขภาพส่งผลให้ผู้ดูแลมีความรู้ ของผู้ดูแล (r=.20, p<.05) โดยผู้ดูแลที่มีประสบการณ์ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วย แนวทางการดูแลรักษา เดิมในการดูแลเด็กป่วยจะมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมใน ประโยชน์และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการรักษา รวมถึง การตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยร่วมกับบุคลากรทาง ทางเลือกในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง สุขภาพมากกว่าผู้ดูแลที่ไม่มีประสบการณ์ถึง 6.28 เท่า เพิ่มมากขึ้น (The Institute of Hospital Quality ประเด็นต่อมาการที่ผู้ดูแลได้ดูแลเด็กป่วย Improvement & Accreditation, 2008) ไม่เพียง โรคมะเร็งที่รักษาด้วยเคมีบ�ำบัดขณะเข้ารับการรักษาใน เท่านั้นการสนับสนุนข้อมูลจากบุคลากรทางสุขภาพยัง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 73 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

ส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความมั่นใจและเชื่อมั่นในศักยภาพ ผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็งเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของ ของตนเองที่จะน�ำข้อมูลมาปรับใช้ในการเข้ามามีส่วน ผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็งรายใหม่ ร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งร่วม 2. เป็นแนวทางการสนับสนุนข้อมูลกับผู้ดูแลเด็ก กับบุคลากรทางสุขภาพอีกด้วย ดังนั้นการที่ผู้ดูแลจะมี ป่วยโรคมะเร็งเพื่อให้ผู้ดูแลน�ำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ใน ส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยมากน้อย การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง เพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้รับ หากได้รับข้อมูลที่ไม่ ที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ครอบคลุมและไม่เพียงพอจะน�ำมาสู่การตัดสินใจที่ 3. เป็นข้อมูลพื้นฐานในการอ้างอิงส�ำหรับงานวิจัย ผิดพลาดได้ ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่าผู้ดูแลได้รับการ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ สนับสนุนข้อมูลอยู่ในระดับสูง โดยผู้ดูแลทุกรายได้รับ ดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดใน ข้อมูลการดูแลเด็กป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัด ประเด็นการรับรู้สมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุน ซึ่งแหล่งที่ได้รับข้อมูลมากที่สุดคือ แพทย์/พยาบาล ข้อมูลของผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง การที่ผู้ดูแลได้รับข้อมูลจากบุคลากรทางสุขภาพมาก ที่สุดเมื่อเทียบกับแหล่งอื่น ๆ นั้น อาจเนื่องมาจาก ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป นโยบายของโรงพยาบาลที่เน้นการให้ข้อมูล (The 1. ควรมีการศึกษาปัจจัยอื่นที่อาจมีความสัมพันธ์ Institute of Hospital Quality Improvement & กับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา Accreditation, 2008) เมื่อเด็กป่วยและผู้ดูแลเข้ามา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด เช่น การรับรู้ความ ในหอผู้ป่วย บุคลากรทางสุขภาพจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับ รุนแรงของโรค ระเบียบปฏิบัติของญาติ ขั้นตอนการรักษา อาการข้างเคียง 2. ควรมีการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วน และภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัด รวมถึง ร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็ง อาการผิดปกติที่ต้องสังเกตอย่างใกล้ชิด ที่ได้รับเคมีบ�ำบัด 3. ควรมีการศึกษาวิธีการส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีส่วน ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ร่วมในการตัดสินใจดูแลรักษาเด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับ 1. เป็นแนวทางในการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน เคมีบ�ำบัด ให้เกิดขึ้นในผู้ดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็ง เช่น การสร้างกลุ่ม เอกสารอ้างอิง Abdelkader, R., Alhusami, M., Nassar, M., Mahadeen, A., & Alqadrei, I. (2012). Jordanians Parents’ needs while their child is hospitalized. Jordan Medical Journal, 46(1). Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. New York: W.H. Freeman and company. Cohen, J. (1992). A power primer. Psychological bulletin, 112(1), 155. Department of Health. (2009). The NHS constitution. Department of Health, London. Griffith, R., & Tengnah, C. (2013). Shared decision-making: nurses must respect autonomy over paternalism. British journal of community nursing, 18(6), 303-306. Gross, G. J., & Howard, M. (2001). Mothers’ Decision-Making Processes Regarding Health Care for Their Children. Public health nursing, 18(3), 157-168.

74 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Factors Related to Caregiver Participation in Treatment Decision-Making for Children with Cancer Receiving Chemotherapy

Guerriere, D. N., McKeever, P., Llewellyn-Thomas, H., & Berall, G. (2003). Mothers’ decisions about gastrostomy tube insertion in children: factors contributing to uncertainty. Developmental Medicine & Child Neurology, 45(07), 470-476. Holm, K. E., Patterson, J. M., & Gurney, J. G. (2003). Parental involvement and family-centered care in the diagnostic and treatment phases of childhood cancer: results from a qualitative study. Journal of Pediatric Oncology Nursing, 20(6), 301-313. Howlader N., Noone A. M., Krapcho, M., Garshell, J., Neyman, N., Altekruse, S. F., … Cronin, K. A. (2013). SEER Cancer Statistics Review, 1975-2010. Kapan, K., Kantawang, S., & Jintrawet, U. (2010). Parent participation in caring for critically III children in pediatric intensive care unit and related factors. Nursing Journal, 37(3), 62-75. Kon, A. A. (2010). The shared decision-making continuum. JAMA, 304(8), 903-904. Lipstein, E. A., Brinkman, W. B., & Britto, M. T. (2012). What is known about parents’ treatment decisions? A narrative review of pediatric decision making. Medical Decision Making, 32(2), 246-258. Maurer, S. H., Hinds, P. S., Spunt, S. L., Furman, W. L., Kane, J. R., & Baker, J. N. (2010). Decision making by parents of children with incurable cancer who opt for enrollment on a phase I trial compared with choosing a do not resuscitate/terminal care option. Journal of Clinical Oncology, 28(20), 3292-3298. Mack, J. W., Wolfe, J., Grier, H. E., Cleary, P. D., & Weeks, J. C. (2006). Communication about prognosis between parents and physicians of children with cancer: parent preferences and the impact of prognostic information. Journal of Clinical Oncology, 24(33), 5265-5270. Markward, M. J., Benner, K., & Freese, R. (2013). Perspectives of parents on making decisions about the care and treatment of a child with cancer: A review of literature. Families, Systems, & Health, 31(4), 406. McKenna, K., Collier, J., Hewitt, M., & Blake, H. (2010). Parental involvement in paediatric cancer treatment decisions. European Journal of Cancer Care, 19(5), 621-630. Murphy, S. L., Xu, J. Q., & Kochanek, K. D. (2013). Deaths: final data for 2010.National Vital Statistics Reports, 61(4), 1-118. O’Leary, M., Krailo, M., Anderson, J. R., & Reaman, G. H. (2008). Progress in childhood cancer: 50 years of research collaboration, a report from the Children’s Oncology Group. Seminars in Oncology, 35(5), 484-493. Orem, D. (2001). Nursing: Concepts of practice (6th ed.). St. Louis, MO: Mosby. Pholanun, P., Kantawang, S., & Klunklin, P. (2013). Maternal participation in caring for preterm infants in neonatal intensive care unit and related factors. Nursing Journal, 40(2), 89-101. Polit, D.F. (2010). Statistic and analysis for nursing research (2nd ed.). United States of America: Pearson Education.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 75 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการตัดสินใจดูแลรักษา เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

Pyke - Grimm, K. A., Stewart, J. L., Kelly, K. P., & Degner, L. F. (2006). Parents of children with cancer: factors influencing their treatment decision making roles. Journal of Pediatric Nursing, 21(5), 350-361. Ruland, C. M., Hamilton, G. A., & Schjødt-Osmo, B. (2009). The complexity of symptoms and problems experienced in children with cancer: a review of the literature. Journal of Pain and Symptom Management, 37(3), 403-418. Samit, J., Lamchang, S., & Mesukko, J. (2013) Informational support, self-efficacy and parent participation in caring for hospitalized children with acute illness. Nursing Journal, 40(4), 114-125. Stewart, J. L., Pyke-Grimm, K. A., & Kelly, K. P. (2005). Parental treatment decision making in pediatric oncology. In Seminars in oncology nursing, 21(2), 89-97. Sung, L., & Regier, D. A. (2013). Decision making in pediatric oncology: evaluation and incorporation of patient and parent preferences. Pediatric blood & cancer, 60(4), 558-563. Tarini, B. A., Christakis, D. A., & Lozano, P. (2007). Toward family - centered inpatient medical care: the role of parents as participants in medical decisions. The Journal of Pediatrics, 151(6), 690-695. The Institute of Hospital Quality Improvement & Accreditation. (2008). Hospital and Health Care Standard Sixtieth Anniversary Cerebrations of His Majesty’s Accession to the Throne Edition. Bangkok: D-one book. Wongwan, S., Lamchang, S., & Kantawang, S. (2009). Parents’ participation in caring for children with acute lower respiratory tract infection and related factors. Nursing Journal, 36(3), 22-33.

76 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกัน การกลับเป็นซ�้ำของโรคปอดอักเสบในเด็ก Related Factors of Maternal Practices for Recurrent Pneumonia Prevention Among Children

กุลรัศมิ์ ช�ำนินอก * Kunlarat Chamninork * พัชราภรณ์ อารีย์ ** Patcharaporn Aree ** สุธิศา ล่ามช้าง ** Suthisa Lamchang **

บทคัดย่อ การกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กยังคงเป็นปัญหาที่พบอยู่และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น การปฏิบัติที่ถูกต้อง เหมาะสมของมารดาจะช่วยป้องกันการเกิดโรคปอดอักเสบซ�้ำได้ การวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติของมารดาและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซำ�้ ในเด็ก กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาเป็นมารดาจ�ำนวน 85 คน ที่มีบุตรอายุต�่ำกว่า 5 ปีที่ป่วยด้วยโรคปอดอักเสบ และได้รับการ รักษาที่แผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลนครพิงค์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ โรงพยาบาลล�ำพูน และโรงพยาบาล ล�ำปาง ระหว่างเดือนมีนาคม ถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2558 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม การปฏิบัติของมารดาในการป้องกันโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก และแบบสอบถามปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของ มารดาในการป้องกันโรคปอดอักเสบซำ�้ ในเด็ก ประกอบด้วย การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของการ ปฏิบัติ การรับรู้อุปสรรคของการป้องกันโรค และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของมารดาในการป้องกันโรคปอดอักเสบ ซ�้ำในเด็ก การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าดัชนีความตรงของเนื้อหาเท่ากับ .84, .80, .88, .94 และ .95 ตามล�ำดับ การทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟ่า ครอนบาคได้ค่าความเชื่อมั่น .80, .80, .80, .81 และ .92 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และหาความ สัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงอันดับแบบสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า 1. มารดาของเด็กที่ป่วยด้วยโรคปอดอักเสบ ร้อยละ 71.8 มีการปฏิบัติในการป้องกันโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก อยู่ในระดับสูง 2. การรับรู้สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันโรคปอดอักเสบซำ�้ ในเด็กอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .233, p < .05) ผลการวิจัยครั้งนี้ ท�ำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติของมารดาและการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของมารดาในการ ป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซำ�้ ในเด็ก ซึ่งสามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสริมและป้องกันโรคเกี่ยวกับ การป้องกันโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กของมารดาต่อไป ค�ำส�ำคัญ: การปฏิบัติของมารดา โรคปอดอักเสบซ�้ำ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง * พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ หอผู้ป่วยหนักกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ * Registered Nurse : Professional Level, Pediatric Nurse Division, Nakornping Hospital ** รองศาสตราจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 77 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกัน การกลับเป็นซ�้ำของโรคปอดอักเสบในเด็ก

Abstract Recurrent pneumonia is still a common problem and prevalence is higher among children. Maternal Practice is the most effective way to prevent recurrent pneumonia. The purpose of this correlational descriptive study was to examine maternal practices and related factors for recurrent pneumonia prevention in children. The subjects of this study included mothers of children with pneumonia under the age of five years and admitted to the pediatrics unit at Nakornping Hospital, Chiangrai Prachanukroh Hospital, Lamphun Hospital and Lampang Hospital. Data were collected from March to May 2015. The study instruments were comprised of a maternal practices for recurrent pneumonia prevention in children questionnaire and a related factors of maternal practices for recurrent pneumonia prevention in children questionnaire, which recorded the perceived severity, perceived benefits, perceived barrier and perceived self-efficacy. The content validity of all questionnaires were confirmed to be valid by a panel of experts, scoring the values. 84, .80, .88, .94 and .95 respectively. The reliability of the questionnaires was also tested. The Cronbach’s alpha coefficients of the questionnaire were 0.80, 0.80, 0.80, 0.81 and 0.92. Data were analyzed using descriptive statistics, the Pearson product moment correlation coefficient and the Spearman rank correlation coefficient. The results of this study showed that: 1. Seventy-one point eight percent of the mothers had high levels of practice in recurrent pneumonia prevention. 2. There was a statistically significant positive correlation between perceived self-efficacy and maternal practices for recurrent pneumonia prevention in children (r = .233, p < .05). This study provides an understanding of maternal practices and perceived self-efficacy for mothers to help prevent recurrent pneumonia in children. This information can be used as a guide to improve their maternal practices for recurrent pneumonia prevention in children.

Key words: maternal practices, recurrent pneumonia, Related Factors

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา โรคปอดอักเสบ (World Health Organization, 2012) โรคปอดอักเสบ (pneumonia) เป็นปัญหา จากรายงานของส�ำนักระบาดวิทยาพบว่าในปี พ.ศ. 2554 สาธารณสุขที่ส�ำคัญของทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งโรคปอด และ 2555 มีเด็กอายุต�่ำกว่า 5 ปี ป่วยด้วยโรคปอด อักเสบเป็นสาเหตุของการตายที่ส�ำคัญของเด็กอายุต�่ำ อักเสบ เพิ่มขึ้นจาก 72,243 คน เป็น 74,277 คน และ กว่า 5 ปี ทั่วโลก โรคปอดอักเสบ หมายถึง โรคที่เกิดจาก เสียชีวิตเพิ่มขึ้นจาก 51 คน เป็น 227 คน ตามล�ำดับ การติดเชื้อในบริเวณปอด ท�ำให้มีการอักเสบของปอด (Bureau of Epidemiology of Department of บริเวณหลอดลมฝอยส่วนปลาย และถุงลม (Medical Disease Control, 2013) ในจังหวัดเชียงใหม่ เด็กอายุ Service Department, 2013) ในแต่ละปีมีเด็กที่อายุ ต�่ำกว่า 5 ปีที่ป่วยเป็นโรคปอดอักเสบและมาเข้ารับ ต�่ำกว่า 5 ปี ทั่วโลกประมาณ 1.1 ล้านคนที่เสียชีวิตจาก รักษาในโรงพยาบาลนครพิงค์ใน ปี พ.ศ. 2554 ถึง ปี

78 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Related Factors of Maternal Practices for Recurrent Pneumonia Prevention Among Children

พ.ศ. 2556 เท่ากับ 605, 835, และ 568 คน ตามล�ำดับ ภาวะปกติ เด็กอายุต�่ำกว่า 5 ปีที่มีการป่วยด้วยโรคปอด (Office of Policy and Strategy, Nakornping อักเสบจะส่งผลให้มีความรุนแรงมากขึ้นและมีโอกาสเป็น Hospital, 2014) ซำ�้ ได้มากกว่าเด็กโตและเมื่อกลับเป็นโรคปอดอักเสบซำ�้ สาเหตุของโรคปอดอักเสบในเด็กอายุต�่ำกว่า 5 ปี จะส่งผลกระทบต่อเด็กอย่างรุนแรง ถึงขั้นเสียชีวิตได้ ประมาณร้อยละ 60 เกิดจากเชื้อไวรัส และร้อยละ 30 (Portmann, & Soto-Martínez, 2014) ส�ำหรับผล เกิดจากการติดเชื้อร่วมกันทั้งเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย กระทบด้านครอบครัว โดยเฉพาะบิดามารดาเนื่องจาก (Sinaniotis, 2005) พบรอยโรคที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ เป็นผู้ใกล้ชิดและรับผิดชอบดูแลเด็กป่วยมากที่สุด บิดา ในเนื้อเยื่อปอด (pulmonary infiltration) ในภาพรังสี มารดาต้องเผชิญกับความเครียดจากสถานการณ์ที่เกิด ทรวงอก โรคปอดอักเสบซ�้ำ (recurrent pneumonia) ขึ้นและต้องปรับตัวทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ความ เป็นภาวะปอดอักเสบที่เกิดซำ�้ อย่างน้อย 2 ครั้ง ในระยะ รุนแรงของอาการของเด็กป่วยรวมถึงการกลับเป็นโรค เวลา 1 ปี หรือตั้งแต่ 3 ครั้งโดยไม่ค�ำนึงถึงระยะเวลา ปอดอักเสบซ�้ำของเด็ก และหลังจากเป็นปอดอักเสบแต่ละครั้งต้องมีอาการและ การป่วยด้วยโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กอายุต�่ำกว่า ภาพรังสีทรวงอกกลับมาเป็นปกติ (Suthiwirakachon, 5 ปี มักเนื่องมีสาเหตุจากบิดามารดามีการปฏิบัติในการ 2013) ปัจจัยเสี่ยงของการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำ ป้องกันโรคแก่เด็กที่ไม่เหมาะสม ทั้งนี้จากแบบแผนความ ได้แก่ ปัจจัยด้านตัวเด็ก เช่น กลุ่มอาการส�ำลัก โรควัณโรค เชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) ของ Becker ปอด โรคหัวใจพิการแต่ก�ำเนิด โรคหอบหืด โรคภูมิคุ้มกัน (1974) ซึ่งเชื่อว่าการรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้ บกพร่อง ภาวะขาดวิตามินดี ภาวะคลอดก่อนก�ำหนด พฤติกรรมสุขภาพ โดยบุคคลจะแสดงพฤติกรรมใด ๆ และการได้รับยาพ่นขยายหลอดลมกับยาพ่น สเตียรอยด์ ด้วยความเชื่อว่า จะท�ำให้มีสุขภาพดีและมีวัตถุประสงค์ นอกจากปัจจัยจากตัวเด็กแล้วยังมีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ในการป้องกันไม่ให้เป็นโรคขึ้นกับปัจจัย 3 ประการ คือ รอบตัวเด็ก เช่น ฝุ่นละออง ควันไฟ ควันบุหรี่ และการ 1) ความพร้อมที่จะปฏิบัติประกอบด้วย การรับรู้โอกาส ปฏิบัติของมารดาในการดูแลด้านสุขอนามัยแก่เด็ก เสี่ยงของการเกิดโรค และการรับรู้ความรุนแรงของโรค (Hoving, & Brad, 2013) 2) การประเมินถึงประโยชน์ต่อการปฏิบัติพฤติกรรม การเกิดโรคปอดอักเสบในเด็กส่งผลให้เกิดผล สุขภาพ ประกอบด้วย การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ กระทบต่อการหยุดชะงักของพัฒนาการเด็กทั้งด้าน และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ และ 3) สิ่งชักน�ำ ร่างกายและจิตใจ เด็กป่วยที่นอนโรงพยาบาลมักมีภาวะ ให้มีการปฏิบัติซึ่งอาจเป็นสิ่งชักน�ำ มาจากภายในหรือ ทุพโภชนาการ แบบแผนการนอนหลับถูกรบกวนจาก ภายนอก ความไม่สุขสบาย ความเจ็บปวดจากการท�ำหัตถการและ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยง รอยโรค การปฏิบัติการพยาบาลของแพทย์และพยาบาล ของการเกิดโรคและการรับรู้ความรุนแรงของโรคมีความ เสียงดังจากสิ่งแวดล้อม ท�ำให้เด็กพักผ่อนไม่เพียงพอ สัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการป้องกันโรคต่าง ๆ เกิดอาการอ่อนเพลีย (Meltzer, Davis, & Mindell, ของมารดาและผู้ดูแลเด็ก (Somboonnak, 2004) 2012)ภาวะทุพโภชนาการจะส่งผลให้เด็กเกิดเป็นโรค การศึกษาของ Suphanjanaphop (2000) พบว่า ปอดอักเสบซำ�้ ได้ง่ายและมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น (Huang, การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค มีความสัมพันธ์ทาง 2013) ส่วนผลกระทบด้านจิตใจนั้น เด็กที่ป่วยและเข้า บวกกับพฤติกรรมการป้องกันโรคปอดอักเสบในเด็กของ รับการรักษาในโรงพยาบาลจะได้รับการท�ำหัตถการที่ส่ง ผู้ปกครองเด็กอายุ 1-5 ปี อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลกระทบให้เด็กป่วยเกิดความเครียด โดยเด็กอาจ (r = .58, p < .001) การศึกษาของ Chaidee, Santi, แสดงออกของอารมณ์และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจาก & Kongsaktrakul (2012) พบว่า การรับรู้ความรุนแรง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 79 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกัน การกลับเป็นซ�้ำของโรคปอดอักเสบในเด็ก

ของโรค มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแล รุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ การรับ เด็กที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจของ รู้อุปสรรคในการป้องกันโรค และการรับรู้สมรรถนะแห่ง ผู้ดูแลเด็ก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = 0.28, p < .05) ตน กับการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับเป็น ส่วนการรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรคของการ โรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก ปฏิบัติ พบการศึกษาของ Chaidee, Santi, & Kong- saktrakul (2012) ที่แสดงให้เห็นว่า การรับรู้ประโยชน์ ค�ำถามการวิจัย ของการปฏิบัติมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง 1. การปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับ กับพฤติกรรมการดูแลเด็กที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อ เป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กเป็นอย่างไร เฉียบพลันระบบหายใจอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ 2. การรับรู้ความรุนแรงของโรค มีความสัมพันธ์ (r = 0.41, p < .05) และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ กับการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับเป็น มีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการดูแลบุตรที่ป่วย โรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กหรือไม่ อย่างไร ด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจอย่างมีนัยส�ำคัญ 3. การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติมีความ ทางสถิติ (r = -0.40, p <.05) นอกจากนี้ยังพบว่าการ สัมพันธ์กับการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับ รับรู้สมรรถนะแห่งตนเกี่ยวกับการปฏิบัติในการป้องกัน เป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กหรือไม่ อย่างไร โรคมีผลต่อการปฏิบัติของมารดาในการดูแลเด็กเช่นกัน 4. การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันโรค มีความ โดยมารดาที่มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงจะมีการดูแล สัมพันธ์กับการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับ บุตรที่เหมาะสม ซึ่งจัดเป็นสิ่งชักน�ำภายในให้มารดา เป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กหรือไม่ อย่างไร ปฏิบัติการดูแลเด็ก 5. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน มีความสัมพันธ์กับ การศึกษาที่ผ่านมาเป็นการศึกษาในเขต การปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับเป็น กรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียง ซึ่งมีความแตกต่าง โรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กหรือไม่ อย่างไร กับบริบทของมารดาในเขตภาคเหนือ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งด้านวัฒนธรรม การศึกษา และด้านเศรษฐกิจ รวมทั้ง กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย เป็นการศึกษาในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีการเจ็บป่วยด้วย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีความ โรคทางเดินหายใจและโรคปอดอักเสบในระยะแรก สัมพันธ์กับการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับ เท่านั้น แต่ยังไม่มีการศึกษาในกลุ่มมารดาของเด็กที่ป่วย เป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก ตามกรอบแนวคิดการ เป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ป้องกันการเกิดโรคปอดอักเสบขององค์การอนามัยโลก ท�ำการศึกษาการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการ (World Health Organization, 2013) มี 5 ด้าน ได้แก่ กลับเป็นซำ�้ ของโรคปอดอักเสบในเด็ก เพื่อเป็นข้อมูลพื้น 1) การดูแลบุตรในด้านโภชนาการ 2) ด้านการรักษา ฐานในการให้ข้อเสนอแนะ ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติของ ความอบอุ่นของร่างกายให้แก่บุตร 3) ด้านการพาบุตร มารดาเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ�้ำของโรคปอดอักเสบ ไปรับภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ 4) ด้านการจัดสิ่งแวดล้อม ในเด็กต่อไป ที่บ้านให้อากาศถ่ายเทสะดวก และ 5) ด้านการหลีกเลี่ยง การสัมผัสมลภาวะที่เป็นพิษและเชื้อโรค รวมถึงการ วัตถุประสงค์การวิจัย สังเกตอาการต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุของโรคปอดอักเสบซ�้ำ 1. เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติของมารดาในการ ของบุตร จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงที่ท�ำให้เกิดโรคปอด ป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก อักเสบในเด็กได้ โดยมารดาจะมีการปฏิบัติที่เหมาะสม 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความ ขึ้นอยู่กับความเชื่อสุขภาพ (Health Belief Model)

80 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Related Factors of Maternal Practices for Recurrent Pneumonia Prevention Among Children

ได้แก่ การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ถึงประโยชน์ ถ่ายเทสะดวก 4 ข้อ และด้านการหลีกเลี่ยงการสัมผัส ของการปฏิบัติ การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันโรค และ มลภาวะที่เป็นพิษและเชื้อโรค 9 ข้อ ลักษณะค�ำตอบเป็น การรับรู้สมรรถนะแห่งตน มาตรวัด ประมาณค่า 3 ระดับ คือปฏิบัติทุกครั้งหรือ ทุกวัน ปฏิบัติบางครั้งหรือบางวัน และไม่เคยปฏิบัติเลย วิธีด�ำเนินการวิจัย ชุดที่ 3 แบบสอบถามการรับรู้ถึงความรุนแรงของ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบ โรคปอดอักเสบในเด็ก ซึ่งผู้วิจัยสร้างจากการทบทวน หาความสัมพันธ์ (descriptive correlational research) วรรณกรรม ประกอบด้วยข้อค�ำถามทั้งหมด 15 ข้อ เพื่อศึกษาการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับ มีลักษณะค�ำตอบ เป็นมาตราส่วนประมาณ 3 ระดับ ดังนี้ เป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก และศึกษาความสัมพันธ์ เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง และไม่เห็นด้วย ระหว่างการรับรู้ถึงความรุนแรงของโรค การรับรู้ ชุดที่ 4 แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ของการ ประโยชน์ของการปฏิบัติ การรับรู้อุปสรรคของการ ปฏิบัติในการป้องกันโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก ซึ่งผู้วิจัย ป้องกันโรค และสมรรถนะแห่งตน กับการปฏิบัติของ สร้างจากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วยข้อค�ำถาม มารดาในการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำ ทั้งหมด 9 ข้อ มีลักษณะค�ำตอบ เป็นมาตราส่วนประมาณ ในเด็ก ของมารดาจ�ำนวน 85 คน ที่มีบุตรอายุต�่ำกว่า 5 3 ระดับ ดังนี้ เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง และ ปี ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลนครพิงค์ ไม่เห็นด้วย โรงพยาบาลล�ำพูน โรงพยาบาลล�ำปาง และโรงพยาบาล ชุดที่ 5 แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการ เชียงรายประชานุเคราะห์ เลือกกลุ่มตัวอย่างก�ำหนด ปฏิบัติในการป้องกันโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก ซึ่งผู้วิจัย โดยการค�ำนวณจากขนาดอิทธิพลและการเปิดตาราง สร้างจากการศึกษาต�ำราและแบบสอบถามครอบคลุม ประมาณค่าอ�ำนาจการทดสอบ (power analysis) การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการกลับเป็นโรคปอด โดยก�ำหนดค่าความเชื่อมั่นที่ระดับนัยส�ำคัญ (significant อักเสบซ�้ำในเด็ก ประกอบด้วยข้อค�ำถามทั้งหมด 12 ข้อ level) ที่ .05 และระดับอ�ำนาจการทดสอบ (level of มีลักษณะค�ำตอบ เป็นมาตราส่วนประมาณ 3 ระดับ ดังนี้ power) ที่ .80 (Polit, 2010) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง และไม่เห็นด้วย จ�ำนวน 85 คน ชุดที่ 6 แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในการปฏิบัติของมารดา ซึ่งผู้วิจัยสร้างจากการทบทวน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถาม วรรณกรรม ประกอบด้วยข้อค�ำถามทั้งหมด 15 ข้อ จ�ำนวน 85 ฉบับ แบ่งเป็น 6 ชุด คือ โดยลักษณะค�ำตอบเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า (rating ชุดที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล จ�ำนวน 20 scale) 3 ระดับ ซึ่งประกอบด้วย มั่นใจมาก มั่นใจปาน ข้อ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ข้อมูลส่วนบุคคลของลูก กลาง และไม่มั่นใจ จ�ำนวน 11 ข้อ และมารดา จ�ำนวน 9 ข้อ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดย ชุดที่ 2 แบบสอบถามการปฏิบัติของมารดาในการ ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 5 คน ได้ค่าดัชนีความตรงของ ป้องกันโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก ซึ่งผู้วิจัยสร้างจากการ เนื้อหา (content validity index [CVI]) ของ ทบทวนวรรณกรรม จ�ำนวน 29 ข้อ เป็นข้อค�ำถามเกี่ยว แบบสอบถามชุดที่ 2-6 เท่ากับ .84, .80, .88, .94 และ กับการปฏิบัติของมารดาในการดูแลบุตรเกี่ยวกับด้าน .95 ตามล�ำดับ ทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือ ได้ค่า โภชนาการ 7 ข้อ ด้านการรักษาความอบอุ่นของร่างกาย สัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค (Cronbach’s alpha ให้แก่บุตร 6 ข้อ ด้านการพาบุตรไปรับภูมิคุ้มกันโรคตาม coefficient) เท่ากับ .80, .80, .80, .81 และ .92 ตาม เกณฑ์ 3 ข้อ ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้อากาศ ล�ำดับ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 81 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกัน การกลับเป็นซ�้ำของโรคปอดอักเสบในเด็ก

ผู้วิจัยด �ำเนินการรวบรวมข้อมูลภายหลังได้รับการ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน พบว่าข้อมูลมีการกระจาย รับรองของคณะกรรมการจริยธรรมของคณะพยาบาล ไม่ปกติ จึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้พิทักษ์สิทธิ์ของ สหสัมพันธ์เชิงอันดับแบบสเปียร์แมน (Spearman’s กลุ่มตัวอย่าง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง rank correlation coefficient) พรรณนา (descriptive research) การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัย การวิจัยนี้ได้ผ่านการพิจารณาและอนุมัติจากคณะ 1. ลักษณะข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็ก กรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ ป่วยโรคปอดอักเสบ จ�ำนวน 85 ราย จ�ำแนกตามข้อมูล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เลขที่ EXP-099-2557 ผู้วิจัยแจ้ง ส่วนบุคคลของเด็กป่วยโรคปอดอักเสบ พบว่าเด็กเจ็บ ให้ผู้เข้าร่วมการวิจัยทราบวัตถุประสงค์การวิจัย การปฏิบัติ ป่วยประมาณครึ่งหนึ่งเป็นเพศชาย (ร้อยละ 51.8) ต่อผู้เข้าร่วมการวิจัย และชี้แจงให้ทราบว่าหากเข้าร่วม ร้อยละ 91.7 อายุอยู่ในช่วง 1-36 เดือน โดยมีอายุเฉลี่ย การวิจัยแล้ว สามารถออกจากการวิจัยได้หากต้องการ เท่ากับ 18.5 เดือน ร้อยละ 83.5 มีนำ�้ หนักตัวระดับปกติ โดยไม่มีผลใด ๆ ต่อการรักษาพยาบาล ข้อมูลทั้งหมด ร้อยละ 45.9 เป็นบุตรคนเดียว ร้อยละ 11.0 ไม่ได้รับ จะถูกเก็บเป็นความลับ และน�ำ เสนอในภาพรวมเท่านั้น ภูมิคุ้มกันตามเกณฑ์ ร้อยละ 60.0 เข้ารับการรักษาใน เมื่อกลุ่มตัวอย่างยินยอมเข้าร่วมการวิจัยให้เซ็นใบ โรงพยาบาลด้วยโรคปอดอักเสบเป็นครั้งแรก ร้อยละ ยินยอม (informed consent form) 40.0 เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคปอดอักเสบ การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นครั้งที่ 2-6 ร้อยละ 97.1 ได้รับการพาไปรักษาที่ ผู้วิจัยน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยใช้โปรแกรม โรงพยาบาล คลินิก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ คอมพิวเตอร์ส�ำเร็จรูป โดยข้อมูลส่วนบุคคลของมารดา ระดับต�ำบล ร้อยละ 52.9 และมารดาเด็กป่วยโรคปอด ข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กวิเคราะห์ด้วยการแจกแจง อักเสบจ�ำนวน 85 ราย จ�ำแนกตาม ข้อมูลส่วนบุคคล ความถี่ และแสดงจ�ำนวนร้อยละ ข้อมูลการปฏิบัติของ ของมารดาเด็กป่วยโรคปอดอักเสบ พบว่า มารดาของ มารดาในการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำ เด็กป่วยโรคปอดอักเสบ ร้อยละ 65.9 มีอายุระหว่าง และข้อมูลการรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ 18-30 ปี ร้อยละ 77.6 ท�ำงานนอกบ้าน ร้อยละ 94.1 ประโยชน์ของการปฏิบัติ การรับรู้อุปสรรคของการ มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 35.3 จบการศึกษาชั้น ป้องกันโรค และการรับรู้สมรรถนะแห่งตน น�ำมา มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และประสบการณ์ วิเคราะห์โดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การได้รับความรู้หรือข่าวสารเกี่ยวกับโรคปอดอักเสบ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พิสัย ในเด็ก ร้อยละ 41.2 ได้รับข้อมูลจากแพทย์และพยาบาล มัธยฐาน และความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติของ และร้อยละ 34.1 ได้รับข้อมูลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มารดาในการป้องกันการเกิดโรคปอดอักเสบในเด็ก กับ จ�ำแนกตาม ข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกในครอบครัวและ การรับรู้ความรุนแรงของโรคปอดอักเสบในเด็ก ทดสอบ สิ่งแวดล้อม พบว่า ร้อยละ 54.1 เป็นครอบครัวเดี่ยว ด้วย สถิติโคลโมโกรอฟ สเมอร์นอฟ (Kolmogorov- ร้อยละ 51.8 ไม่มีการสูบบุหรี่ในครอบครัว และ ร้อยละ Smirnov test) พบว่าข้อมูลมีการกระจายแบบปกติ 10.6 มีการสูบบุหรี่ใกล้ๆเด็ก ร้อยละ 83.6 และร้อยละ จึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์ 83.5 ไม่มีการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัวด้วยโรค สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment ไข้หวัดและไข้หวัดใหญ่ และโรคปอดอักเสบ ตามล�ำดับ correlation coefficient) ส่วนการรับรู้ประโยชน์ของ 2. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนของการปฏิบัติ การปฏิบัติ การรับรู้อุปสรรคของการป้องกันโรค และ ในการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก

82 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Related Factors of Maternal Practices for Recurrent Pneumonia Prevention Among Children

โดยรวมอยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 71.8 โดยมีคะแนน โภชนาการ ด้านความอบอุ่นร่างกาย ด้านภูมิคุ้มกันโรค เฉลี่ยของการปฏิบัติโดยรวมของมารดาเด็กป่วยโรคปอด ด้านการจัดสิ่งแวดล้อม และด้านการหลีกเลี่ยงการสัมผัส อักเสบคือ 73.3 คะแนน (คะแนนต�่ำสุด 56 คะแนน เชื้อ ร้อยละ 76.5, 56.5, 62.4, 69.5 และ 54.1 ตามล�ำดับ คะแนนสูงสุด 86 คะแนน) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ดังแสดงในตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนในระดับสูงในด้าน

ตารางที่ 1 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ�ำแนกตามระดับคะแนนของการปฏิบัติในการป้องกันการกลับเป็น โรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กโดยรวมและรายด้าน (n=85) ส่วน จ�ำนวน (ร้อยละ) ของกลุ่มตัวอย่าง ค่า การปฏิบัติของมารดา พิสัย เบี่ยงเบน ตามระดับคะแนนการปฏิบัติ เฉลี่ย มาตรฐาน สูง ปานกลาง ต�่ำ การปฏิบัติของมารดาโดยรวม 56-86 73.3 6.6 61 (71.8) 24 (28.2) 0 (0.0) การปฏิบัติของมารดารายด้าน ด้านโภชนาการ 13-21 17.9 2.2 65 (76.5) 20 (23.5) 0 (0.0) ด้านความอบอุ่นร่างกาย 10-18 14.7 1.7 48 (56.5) 36 (42.4) 1 (1.2) ด้านภูมิคุ้มกันโรค 4-9 7.7 1.5 53 (62.4) 20 (23.5) 12 (14.1) ด้านสิ่งแวดล้อม 7-12 10.1 1.2 56 (69.5) 29 (34.1) 0 (0.0) ด้านการหลีกเลี่ยงการสัมผัสเชื้อ 15-27 22.8 3.2 46 (54.1) 37 (43.5) 2 (2.4)

3. จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนของความเชื่อ การป้องกันโรคอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 61.2 และการ สุขภาพ จ�ำแนกเป็น การรับรู้ความรุนแรงของโรคอยู่ใน รับรู้สมรรถนะแห่งตน อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 80.0 ระดับสูง ร้อยละ 80.0 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ ดังแสดงในตารางที่ 2 อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 89.4 การรับรู้อุปสรรคของ

ตารางที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ�ำแนกตามระดับคะแนนความเชื่อด้ารสุขภาพ (n=85) ส่วน จ�ำนวน (ร้อยละ) ของกลุ่มตัวอย่าง ค่า ความเชื่อสุขภาพ พิสัย เบี่ยงเบน ตามระดับคะแนนความเชื่อสุขภาพ เฉลี่ย มาตรฐาน สูง ปานกลาง ต�่ำ การรับรู้ความรุนแรงของโรค 23-45 38.2 4.0 68 (80.0) 16 (18.8) 1 (1.2) การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ 18-27 24.4 2.2 76 (89.4) 9 (10.6) 0 (0.0) การรับรู้อุปสรรคของการป้องกันโรค 12-36 30.0 6.5 52 (61.2) 11 (12.9) 22 (25.9) การรับรู้สมรรถนะแห่งตน 27-45 40.1 4.6 68 (80.0) 17 (20.0) 0 (0.0)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 83 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกัน การกลับเป็นซ�้ำของโรคปอดอักเสบในเด็ก

ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบ ซำ�้ ในเด็ก กับการรับรู้ความรุนแรงของโรคปอดอักเสบ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ การรับรู้อุปสรรค ของการป้องกันโรค และการรับรู้สมรรถนะแห่งตน (n=85) ดังแสดงในตารางที่ 3 ตัวแปรที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกัน ค่าสัมประสิทธิ์สห P-value การกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก สัมพันธ์ การรับรู้ความรุนแรงของโรคปอดอักเสบ .035 ** .376 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ .014 *** .450 การรับรู้อุปสรรคของการป้องกันโรค -.111 *** .155 การรับรู้สมรรถนะแห่งตน .233 *** .016 * * p < .05 ** ใช้สถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน *** ใช้สถิติสหสัมพันธ์เชิงอันดับแบบสเปียร์แมน

การอภิปรายผล ได้รับประสบการณ์จากการพาบุตรไปโรงพยาบาลเพื่อ 1. ผลการศึกษาการปฏิบัติของมารดาในการ รักษาโรคปอดอักเสบจึงเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ ป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กพบว่า และมีการปรับตัว ปรับเปลี่ยนการปฏิบัติตัวในการ กลุ่มตัวอย่างคือ มารดาที่มีบุตรอายุต�่ำกว่า 5 ปี ที่ป่วย ป้องกันการเกิดโรคปอดอักเสบซำ�้ ในเด็กได้ รวมทั้งได้รับ ด้วยโรคปอดอักเสบ มีคะแนนเฉลี่ยของการปฏิบัติในการ ฟังข่าวสารทางสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ แผ่นพับ ป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กโดยรวม ทั้งจากทางโรงพยาบาลจัดให้และสื่อทั่วไป ท�ำให้เกิด 73.34 คะแนน (คะแนนเต็ม 87 คะแนน) (ตารางที่ 1) การเรียนรู้และพัฒนาทักษะในการควบคุมโรค (Plod- โดยมีคะแนนอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 71.8 โดยเมื่อ naimuang, 1999; Rattanapitak, 1997) การปฏิบัติ พิจารณาการปฏิบัติฯรายด้าน พบว่ามีจ�ำนวนมารดาที่มี ในการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซำ�้ ของมารดา การปฏิบัติฯ อยู่ระดับสูงในด้านการดูแลโภชนาการ ในการศึกษาครั้งนี้เป็นไปในทิศทางเดียวกับการศึกษา ด้านการดูแลความอบอุ่นร่างกาย ด้านการดูแลให้ได้รับ ของ Yod-in (2014) ที่ศึกษาในมารดาที่น�ำบุตรอายุตำ�่ กว่า ภูมิคุ้มกันโรค ด้านการจัดสิ่งแวดล้อม และด้านการ 5 ปี ที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจ เข้ารับ หลีกเลี่ยงการสัมผัสเชื้อ แสดงให้เห็นว่ามีมารดาส่วนมาก การรักษาในสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ที่มีการปฏิบัติในการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบ พบว่ามารดามีพฤติกรรมในการดูแลบุตรที่ป่วยด้วยโรค ซำ�้ ในเด็กถูกต้อง สามารถอภิปรายได้ว่า เด็กมีประวัติการ ติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 71.1 เจ็บป่วยด้วยโรคปอดอักเสบมาแล้ว ร้อยละ 40 ท�ำให้ 2. ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ มารดามีประสบการณ์ด้านการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรค ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ ปอดอักเสบในเด็กจากการเจ็บป่วยของบุตรจากครั้งก่อน การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันโรค และการรับรู้ ซึ่งมารดาร้อยละ 41.2 เคยได้รับค�ำแนะน�ำจากแพทย์ สมรรถนะแห่งตน กับการปฏิบัติของมารดาในการ พยาบาล และร้อยละ 34.1 ได้รับข้อมูลเจ้าหน้าที่ ป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก พบว่า สาธารณสุข ทั้งนี้มารดาที่เคยได้รับค�ำแนะน�ำในการดูแล การรับรู้สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับ บุตร จะมีการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดปอด ต�่ำกับการปฏิบัติของมารดาในการป้องกันการกลับเป็น อักเสบซ�้ำในเด็กที่ถูกต้อง และ โดยทั่ว ๆ ไปมารดาจะ โรคปอดอักเสบในเด็ก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .233)

84 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Related Factors of Maternal Practices for Recurrent Pneumonia Prevention Among Children

แต่การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของ แต่ผลการศึกษาพบว่าการรับรู้ความรุนแรงของโรค การปฏิบัติ และการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันโรค ไม่มี การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ และการรับรู้อุปสรรค ความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของมารดาในการป้องกัน ในการป้องกันโรค ไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของ การกลับเป็นโรคปอดอักเสบในเด็ก (ตารางที่ 3) ทั้งนี้ มารดาในการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบในเด็ก สามารถอธิบายได้ว่า มารดาที่มีการรับรู้สมรรถนะแห่ง ทั้งนี้อาจเนื่องจากการรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ ตนในการปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการกลับเป็นโรค ประโยชน์ของการปฏิบัติ และการรับรู้อุปสรรคในการ ปอดอักเสบซ�้ำในเด็กสูง มีแนวโน้มที่จะมีการปฏิบัติ ป้องกันโรค เป็นเพียงปัจจัยหนึ่งจากหลาย ๆ ปัจจัยที่ ส�ำหรับการป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำใน เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดา ดังนั้นการที่มารดา เด็กสูงด้วย ในทางตรงกันข้ามถ้ามารดาที่มีการรับรู้ เลือกปฏิบัติหรือเลือกไม่ปฏิบัติในการป้องกันการเกิด สมรรถนะแห่งตนในการปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการ โรคปอดอักเสบในเด็กนั้น อาจต้องอาศัยปัจจัยอื่นร่วม กลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็กต�่ำ มีแนวโน้มที่จะมี การปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการกลับเป็นโรคปอด ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ อักเสบซำ�้ ในเด็กตำ�่ บุคคลที่เชื่อว่าตนเองมีความสามารถ ผลการวิจัยสามารถน�ำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ จะมีอุตสาหะ อดทน ไม่ท้อถอยโดยง่าย และจะประสบ วางแผนการพยาบาล เพื่อส่งเสริม การรับรู้สมรรถนะ ความส�ำเร็จในที่สุด ระดับสมรรถนะแห่งตนจะมีอิทธิพล แห่งตนของมารดาในการป้องกันการเกิดโรคปอดอักเสบ ต่อการเลือกการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงความพยายาม ซำ�้ ในเด็ก และการปฏิบัติของมารดาในการดูแลบุตรอายุ ที่จะกระท�ำกิจกรรมอย่างนั้นต่อเนื่อง (Bandura, 1997) ต�่ำกว่า 5 ปี เพื่อป้องกันการกลับเป็นโรคปอดอักเสบซ�้ำ ซึ่งสมรรถนะแห่งตนเป็นแรงจูงใจส�ำคัญในการตัดสินใจ ในเด็ก ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยบุคคลจะเลือกปฏิบัติ และคงพฤติกรรมที่มีประโยชน์ สอดคล้องกับการศึกษา ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ของ Suphanjanaphop (2000) ที่ศึกษาในผู้ปกครอง 1. ศึกษาปัจจัยท�ำนายการปฏิบัติของมารดา ที่พาเด็กมารับการรักษาที่โรงพยาบาลสังกัดกระทรวง ส�ำหรับการป้องกันการเกิดโรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก สาธารณสุข พบว่าการรับรู้สมรรถนะแห่งตนหรือความเชื่อ 2. ศึกษาปัจจัยอื่น ๆ อาจเกี่ยวข้องกับปฏิบัติของ อ�ำนาจในตนมีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับสูงกับ มารดาส�ำหรับการป้องกันการเกิดโรคปอดอักเสบซ�้ำใน พฤติกรรมป้องกันโรคปอดอักเสบอย่างมีนัยส�ำคัญทาง เด็ก เช่น ปัจจัยด้านคุณลักษณะประชากร การสนับสนุน สถิติที่ระดับ .001 (r = 0.578) และการศึกษาของ ทางสังคม เป็นต้น Kaewsuk, Pongjaturawit, & Chaimongkol, (2016) 3. ศึกษาในรูปแบบงานวิจัยเชิงทดลอง (quasi พบว่า การรับรู้ความสมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์ experimental research) โดยจัดโปรแกรมการส่งเสริม ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมของมารดาในการ การปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกันการเกิด ป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กวัยก่อน โรคปอดอักเสบซ�้ำในเด็ก เรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .727, p < .001) อีกทั้งยังสอดคล้องกับการศึกษาที่พบว่าการรับรู้ สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของ มารดาในการป้องกันและดูแลบุตรโรคต่าง ๆ (Bland, Kegler, Escoffery, & Malcoe, 2005; Samit, Lamchang, & Mesukko, 2013)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 85 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของมารดาส�ำหรับการป้องกัน การกลับเป็นซ�้ำของโรคปอดอักเสบในเด็ก

เอกสารอ้างอิง Aiumsupasit, S. (2007). Theories and techniques in behavior modification. Bangkok: Chulalongkorn University. (In Thai) Becker, M. H. (1974). The health belief model and sick role behavior. New Jersery: Chares B. Slack. Bland, A. D., Kegler, M. C., Escoffery. C., & Malcoe, L. H. (2005). Understanding childhood lead poisoning preventive behavior: The roles of self-efficacy, subjective norms, and perceived benefits.Preventive Medicine, 41, 70-78 Bureau of Epidemiology of Department of Disease Control. (2013). Pneumonia. Retrieved from http//www.epid.moph.go.th/Fact/Pneumonia.htm (In Thai) Chaidee, C., Santi, S., & Kongsaktrakul, C. (2012). Factors Related to Acute Respiratory Infection Prevention Behavior of Child Caregivers in Day Care Centers. Proceeding in the conference, The 2nd International Nursing Research Conference 2012. (In Thai) Kaewsuk, C., Pongjaturawit, Y., & Chaimongkol, N. (2016). Factors Associated with Maternal Behavior in Prevention of Acute Respiratory Infection in Preschool Children. The Journal of Faculty of Nursing Burapha University, 24( 4), 54-64. Hoving, M. F., & Brad, P. L. (2013). Causes of recurrent pneumonia in children in a general hospital. Journal of Paediatrics Child and Health, 49(3), 208-212. doi:10.1111/jpc.12114 Medical Service Department. (2013). Pneumonia Statistics in Children. Retrieved from http://www.msd.bangkok.go.th/healthconner_pneumonia.htm (In Thai) Office of Policy and Strategy,Nakornping Hospital. (2014).Statistics of pneumonia in children under 5 years. Chiang Mai: Nakornping Hospital. (In Thai) Plodnaimuang, A. (1999). The effectiveness of support and education programs to improve performance awareness in self-care and disease control in patients with type 2 diabetes who cannot control the disease. Bangkok: Mahidol University. (In Thai) Polit, D. F. (2010). Statistics and data analysis for nursing research (2nd ed.). United State of America: Ewards Brothers. Portmann, M. P., & Soto-Martínez, M. (2014). Recurrent lower respiratory tract infections in children. Retrieved from http://www.medicalobserver.com.au/news/recurrent-lower-respiratory- tract-infections-in-children Rattanapitak, U. (1997). Effects of nursing system on behavioral support and support system Self-care towards diabetes control. Master thesis, Graduate School, Mahidol University. (In Thai) Samit, J., Lamchang, S., & Mesukko, J. (2013). Informational support, self-efficacy and parent participation in caring for hospitalized children with acute illness. Nursing Journal, 40(4), 114-125. (In Thai) Sinaniotis, C. A. (2005). Community-acquired pneumonia in children. Current Opinion in Pulmonary Medicine, 11(3), 218-225.

86 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Related Factors of Maternal Practices for Recurrent Pneumonia Prevention Among Children

Somboonnak, J. (2004). The factors related to acute respiratory infection in children prevention and control behaviors in 0-5 years children’s mothers in Pramongkutkloa hospital. Master Thesis (Health Education). Kasetsart University. (In Thai) Suphanjanaphop, O. (2000). Factors affecting parents’ pneumonia prevention behaviors of children who are hospitalized. Under the Ministry of Public Health, Master of Science Thesis Health Education Program. Graduate School, Kasetsart University. (In Thai) Suthiwirakachon, W. (2013). Recurrent / Persistent Pneumonia In Chitladda Derojanawong, Suchada Sriphipayawan, and Kanokporn Udomittiphong (Editor), guidelines for the care of common respiratory problems in children. Bangkok: Department of Pediatrics Faculty of Medicine Chulalongkorn University. (In Thai) World Health Organization. (2012). Pneumonia in children. Retrieved from http://www.who.int/ mediacentre/factsheets/fs331/ World Health Organization. (2013). Pnuemonia. Retrieved from http://www.who.int/entity/ mediacentre/factsheets/fs331/en/ Yod-in, M. (2014). Factors Related to Maternal Behavior in Caring for Children with Acute Respiratory Infection (Master of Science Thesis Health Education Program). Graduate School, Srinakharinwirot University. (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 87 พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ Child-care Behaviors at Home and Related Factors Among Caregivers of HIV/AIDS Infected Children

ธวัลชญาน์ โชติเจริญธนันต์ * Tawalchaya Chotecharoentanan* สุธิศา ล่ามช้าง ** Suthisa Lamchang** พัชราภรณ์ อารีย์ ** Patcharaporn Aree**

บทคัดย่อ การรักษาเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ด้วยยาต้านไวรัส ท�ำให้เด็กมีสุขภาพที่ดีขึ้น เด็กส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่กับ ครอบครัวที่บ้านและสามารถด�ำรงชีวิตได้ตามปกติ ดังนั้นพฤติกรรมการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านของ ผู้ดูแลจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ การวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการ ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และการสนับสนุนทางสังคม รวมทั้งหาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์และการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรม ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแล กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง คือ ผู้ดูแลของเด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์อายุระหว่าง 6-14 ปี และเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2557 จ�ำนวน 85 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามพฤติกรรมในการดูแลเด็ก แบบสอบถามความรู้ในการดูแลเด็ก และแบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยโดยรวมของพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านและความรู้ในการดูแลเด็ก ที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ของผู้ดูแลอยู่ในระดับสูง และคะแนนเฉลี่ยโดยรวมของการสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับ ปานกลาง 2. ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .24, p < .05 และ r = .47, p < .001 ตามล�ำดับ) ผลวิจัยครั้งนี้สามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางส�ำหรับพยาบาล ในการส่งเสริมพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแล ซึ่งพยาบาลควรสนับสนุนความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์และสนับสนุน ทางสังคมแก่ผู้ดูแล

ค�ำส�ำคัญ: พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้าน ความรู้ การสนับสนุนทางสังคม ผู้ดูแล เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์

* พยาบาลวิชาชีพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Professional Nurse, Research Institute for Health Sciences, Chiang Mai University ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 88 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Child-care Behaviors at Home and Related Factors Among Caregivers of HIV/AIDS Infected Children

Abstract Treating HIV/AIDS infected children with antiretroviral drugs enables them to live healthily. They spend their lives mostly with their families at home, and can lead normal live. Therefore, child-care behaviors at home by caregivers are important. This correlational descriptive study aimed to examine HIV/AIDS infected child-care behaviors at home, knowledge of HIV/AIDS related child- care, social support, and the relationship between knowledge of HIV/AIDS related child-care and social support as well as HIV/AIDS infected child-care behaviors at home. The purposive samples were 85 HIV/AIDS infected child caregivers of children aged between 6 and 14 years who live with their families and have joined HIV/AIDS network group activities during June to December 2014. The research instruments include the Behaviors of HIV/AIDS related Child-care at Home Questionnaire, the Knowledge about HIV/AIDS Related Child-care Questionnaire and the Social Support Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s correlation coefficient. The study results revealed that: 1. The average score of the overall behaviors of HIV/AIDS related child-care at home of caregivers and knowledge of HIV/AIDS related child-care of caregivers were at a high level. The average score of the overall social support was at a moderate level. 2. Knowledge of HIV/AIDS related child-care and social support were significantly positively correlated with HIV/AIDS infected child-care behaviors at home of caregivers (r = .24, p < .05 and r = .47, p < .001 respectively). The findings of this study could be implemented as a guideline for nurses to promote behavior in caring for children with HIV/HIDS at homes. Nurse should provide knowledge and social support for caregivers of HIV/AIDS infected children.

Key words: Child-care Behaviors at Home, Knowledge, Social support, Caregiver, Children with HIV/AIDS

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา และจากรายงานสถานการณ์เอดส์จังหวัดเชียงใหม่ โรคเอดส์มีการระบาดทั่วโลกมากกว่า 30 ปี ส่งผล โดยงานควบคุมโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ให้มีผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ประมาณ 35.0 ล้านคน เป็น กลุ่มงานควบคุมโรค ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เด็กที่อายุต�่ำกว่า 15 ปี 3.3 ล้านคน (UNAIDS, 2015) เชียงใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 จนถึง 30 กันยายน 2556 จากข้อมูลส�ำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวง พบว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์จ�ำนวน 32,457 คน เป็น สาธารณสุข ตั้งแต่กันยายน 2527 ถึง ตุลาคม 2557 เด็กที่มีอายุ 5 ปี ถึง 14 ปี จ�ำนวน 358 คน (Control พบว่าประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์จ�ำนวน of AIDS and STDs Disease Control Chiang Mai 388,621 คน เป็นเด็กที่มีอายุ 5 ปี ถึง 14 ปี จ�ำนวน Provincial Health Office, 2013) 6,763 (Bureau of Epidemiology, Department of ในปี พ.ศ. 2550 จากการศึกษาพบว่า เด็กที่ติดเชื้อ Disease Control, Ministry of Public Health, 2015) เอชไอวี/เอดส์ที่รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 89 พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์

ที่มีประสิทธิภาพดีขึ้น ส่งผลให้เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ ปานกลาง โดยผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับเอกสาร เอดส์มากกว่าร้อยละ 50 มีอายุ 7 ปี ถึง 18 ปี ท�ำให้เด็ก ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็กที่มีการติดเชื้อทางเดิน วัยเรียนและวัยรุ่นมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น เด็กที่ได้รับยา หายใจและต้องการให้มีการสนับสนุนเอกสารความรู้ ต้านไวรัสจะมีสุขภาพแข็งแรง การเจ็บป่วยลดลง การใช้ เพื่อให้การดูแลเด็กมีความถูกต้องเหมาะสม ดังนั้นความรู้ ชีวิตส่วนใหญ่จึงอยู่กับครอบครัวและผู้ดูแลที่บ้าน ในการดูแลเด็กจึงส่งผลต่อการกระท�ำหรือการปฏิบัติ สามารถไปเรียนและใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ กิจกรรมแก่เด็กและสามารถเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิด (Chokphaibunkit, 2008) เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ความถูกต้องได้การดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ เมื่อเติบโตเข้าสู่วัยเรียนยังไม่สามารถดูแลตนเองได้ ให้สามารถด�ำเนินชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพนั้น ต้อง ทั้งหมด การดูแลจึงผสมผสานระหว่างความสามารถตาม อาศัยการสนับสนุนด้านต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ผู้ดูแลและ วัยของเด็กและความสามารถของผู้ดูแล ดังนั้นพฤติกรรม เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ในการดูแลเด็กจากผู้ดูแลก็ยังคงเป็นส่วนส�ำคัญ (Senarat, 2006) โดยการสนับสนุนด้านต่าง ๆ ควรมาจาก (Pathumwan, 1993) ส�ำหรับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ บุคคลใกล้ชิด ได้แก่ มารดา บิดา ญาติหรือบุคคลใน เอดส์เมื่อได้รับการดูแลที่เหมาะสมในด้านกิจวัตร ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนสนิท เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน ประจ�ำวัน การป้องกันการติดเชื้อโดยเฉพาะเชื้อฉวย พระ บุคลากรทางด้านวิชาชีพ เช่น แพทย์ พยาบาล โอกาส การรับประทานยาต้านไวรัส การดูแลตามอาการ องค์กรในชุมชน เช่น องค์การบริหารส่วนต�ำบล องค์กร ผิดปกติ และการพามาพบแพทย์ตามนัด ซึ่งเป็นหัวใจ ภาคเอกชน และกลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ส�ำคัญที่ท�ำให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีชีวิตยืนยาวมากขึ้น กลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์นั้นเป็นการรวมกลุ่ม (Chokphaibunkit, 2008) ดังนั้นพฤติกรรมการดูแลเด็ก ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ เพื่อช่วยเหลือผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ขณะที่อยู่ที่บ้านโดยผู้ดูแลจึงมี เอดส์ ในการช่วยเหลือเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ กลุ่ม ส่วนส�ำคัญที่จะท�ำให้เด็กสามารถด�ำเนินชีวิตในสังคมได้ เครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์จะช่วยให้ความรู้และ อย่างปกติ สร้างความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์ เพื่อให้สังคมเข้าใจและ ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ของ ยอมรับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์มากขึ้น ประสานเรื่อง ผู้ดูแลถือได้ว่าเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่จะท�ำให้เกิดการปฏิบัติ ทุนสนับสนุนในการด�ำรงชีวิตแก่เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ กิจกรรมแก่เด็กอย่างถูกต้องและเหมาะสม จากการ เอดส์และครอบครัว การติดตามเยี่ยมบ้านและให้ค�ำ ศึกษาของ Phayaphrom (1996) เกี่ยวกับความรู้และ แนะน�ำในการอยู่ร่วมกันของเด็กและผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อ การปฏิบัติในการดูแลทารกของมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวี เอชไอวี/เอดส์ (Banjong, 2012) ดังนั้นการสนับสนุน พบว่า มารดาที่ติดเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่มีความรู้และ ทางสังคมจึงมีส่วนช่วยเหลือผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ การปฏิบัติในการดูแลทารกด้วยการป้องกันการติดเชื้อ เอดส์ให้เกิดการดูแลเด็กอย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น ใน และควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในระดับปานกลาง และ ประเทศตะวันตก ให้ความส�ำคัญกับการดูแลสนับสนุน ยังพบว่าความรู้ในการดูแลทารกมีความสัมพันธ์ทางบวก ทางจิตสังคมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์อย่าง กับการปฏิบัติ และจากการศึกษาของ Wongsuya มาก และประเทศไทยซึ่งมีขนบธรรมเนียม ประเพณี (2008) เกี่ยวกับความรู้และการปฏิบัติการดูแลเด็กที่มี วัฒนธรรม และความเชื่อที่แตกต่างกันก็ได้น�ำข้อมูลและ การติดเชื้อทางเดินหายใจของผู้ปกครองในโรงพยาบาล ความรู้จากประเทศตะวันตกมาใช้โดยตรง ซึ่งก่อให้เกิด แม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในกลุ่มผู้ปกครองเด็ก ปัญหาในทางปฏิบัติ (Phanchareon, Phitthayunont, แรกเกิด ถึง 5 ปี พบว่า ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลเด็ก & Tisakorn, 2002) ถือได้ว่าการสนับสนุนทางสังคมเป็น ที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจโดยรวมในระดับ ส่วนหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ

90 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Child-care Behaviors at Home and Related Factors Among Caregivers of HIV/AIDS Infected Children

เอชไอวีเอดส์ และสิ่งต่าง ๆ ข้างต้น เป็นส่วนหนึ่งของ แก่ผู้ดูแลต่อไป การสนับสนุนด้านอารมณ์ ด้านการประเมิน ด้านข้อมูล ข่าวสาร และด้านทรัพยากร ซึ่งตรงตามแนวคิดของ วัตุประสงค์การวิจัย House (1981) 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ จากการทบทวนงานวิจัยเกี่ยวกับการดูแลเด็กที่ติด เอชไอวี/เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแล เชื้อเอชไอวี/เอดส์ในประเทศไทยพบการศึกษาในเด็ก 2. เพื่อศึกษาความรู้ในการดูแลที่ติดเชื้อเอชไอวี/ ปฐมวัยของ Klunklin (2003) เกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก เอดส์และการสนับสนุนทางสังคมของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อ ติดเชื้อ เอชไอวีแรกเกิดถึง 5 ปี โดยศึกษาในผู้ดูแลหลัก เอชไอวี/เอดส์ ของเด็กติดเชื้อเอชไอวี แรกเกิดถึง 5 ปีที่บ้าน และการ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ในการ ศึกษาของ Sawadipanich (2004) เกี่ยวกับความเชื่อ ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์และการสนับสนุนทาง ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ดูแล สังคมกับพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ เด็กติดเชื้อเอชไอวี โดยศึกษาในผู้ดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแล ที่เด็กมีอายุระหว่าง 1 ปี 3 เดือน ถึง 5 ปี และมารับการ ตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก การดูแลเด็กที่ติดเชื้อ ค�ำถามการวิจัย เอชไอวี/เอดส์ในเด็กวัยเรียนพบเพียงการศึกษาเชิง 1. พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ คุณภาพโดย Srimuang (2001) เกี่ยวกับการดูแลเด็ก เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแลเป็นอย่างไร วัยเรียนที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านโดยผู้ดูแล โดยศึกษา 2. ความรู้ในการดูแลที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์และ ในกลุ่มผู้ดูแลเด็กวัยเรียนที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน การสนับสนุนทางสังคมของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ อายุ 10 ปี ถึง 14 ปี จ�ำนวน 10 ราย และการศึกษาของ เอดส์เป็นอย่างไร Wiriyasirikun (2006) เกี่ยวกับอิทธิพลของสัมพันธภาพ 3. ปัจจัยด้านความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ ในครอบครัวและภาระการดูแลต่อพฤติกรรมการดูแล เอชไอวี/เอดส์และการสนับสนุนทางสังคมมีความ ของผู้ดูแลเด็กวัยเรียนที่ติดเชื้อเอชไอวีเป็นการศึกษาเชิง สัมพันธ์กับพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ บรรยาย โดยศึกษาในกลุ่มผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแลหรือไม่ อย่างไร เอดส์ อายุ 6 ปี ถึง 12 ปี ที่มารับการตรวจที่ห้องตรวจ กุมารเวชกรรมในโรงพยาบาล และการศึกษาของ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย Lamchang, & Akarachinot (1998) เกี่ยวกับบทบาท การศึกษาพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและ ของผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่ม ปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ผู้ปกครองที่ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งมารับการตรวจ ครั้งนี้ใช้แนวคิดจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง รักษาที่โรงพยาบาล กล่าวคือ ในปัจจุบันเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์จะได้รับ ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาเกี่ยว ยาต้านไวรัสท�ำให้มีสุขภาพแข็งแรง การใช้ชีวิตส่วนใหญ่ กับพฤติกรรมในการดูแลเด็กวัยเรียน ในช่วงอายุ 6 ปี จึงอยู่กับครอบครัวที่บ้าน ดังนั้นพฤติกรรมในการดูแล ถึง 14 ปี ที่บ้านของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ของผู้ดูแลจึงมีส่วนส�ำคัญ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ ประกอบด้วยพฤติกรรมในการดูแลเกี่ยวกับกิจวัตร เอชไอวี/เอดส์ของผู้ดูแล และการสนับสนุนทางสังคม ประจ�ำวัน การป้องกันการติดเชื้อ การดูแลตามอาการ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการหาแนวทางในการส่งเสริม ผิดปกติ การรับประทานยา และการไปตรวจตามนัด พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน และปัจจัยที่อาจจะมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมดังกล่าว

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 91 พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์

คือ ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ (power analysis) ก�ำหนดความเชื่อมั่นที่ระดับ .05 เอชไอวี/เอดส์ ซึ่งเป็นความคิด ความเข้าใจของ อ�ำนาจการทดสอบ (level of power) .80 และค่า ผู้ดูแล ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในเรื่อง สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (correlation coefficient) ที่ กิจวัตรประจ�ำวัน การป้องกันการติดเชื้อ การดูแลตาม .30 ได้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 85 คน (Polit & Beck, 2010) อาการผิดปกติ การรับประทานยา และการไปตรวจตามนัด เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive นอกจากนี้ปัจจัยหนึ่งที่อาจจะมีความสัมพันธ์กับ sampling) โดยก�ำหนดคุณสมบัติ (inclusion criteria) พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน ดังนี้ เป็นผู้ดูแลหลักเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ อาศัยอยู่ คือ การได้รับการสนับสนุนทางสังคม ซึ่งเป็นการมี บ้านเดียวกับเด็ก ทราบว่าเด็กมีการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ท�ำให้เกิดความรัก ความ เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ผูกพัน การดูแลเอาใจใส่ ความไว้วางใจ ความช่วยเหลือ สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ และยินยอมเข้าร่วม ในด้านการเงิน สิ่งของ แรงงาน การให้ข้อมูลข่าวสาร โครงการวิจัย และการให้ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อการเรียนรู้และการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประเมินตนเอง การสนับสนุนทางสังคมตามแนวคิดการ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลประกอบด้วย สนับสนุนทางสังคมของ House (1981) ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และ การช่วยเหลือจากสังคม 4 ด้าน คือ การสนับสนุนด้าน ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ อารมณ์ ด้านการประเมิน ด้านข้อมูล ข่าวสาร และด้าน 2. แบบสอบถามพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ ทรัพยากร เอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวน วรรณกรรม ประกอบด้วยข้อค�ำถามในเรื่องกิจวัตร วิธีด�ำเนินการวิจัย ประจ�ำวัน การป้องกันการติดเชื้อ การดูแลตามอาการ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบ ผิดปกติ การรับประทานยา และการไปตรวจตามนัด หาความสัมพันธ์ (correlational descriptive research) จ�ำนวน 34 ข้อ ลักษณะค�ำตอบเป็นมาตราส่วนประมาณ เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ ค่า 4 ระดับ คือ ไม่เคยปฏิบัติ ปฏิบัติบางวัน ปฏิบัติเกือบ เอดส์ที่บ้าน ความรู้ในการดูแลที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ทุกวัน ปฏิบัติทุกวัน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนคือ 0 1 และการสนับสนุนทางสังคมของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อ 2 และ 3 และแบ่งพฤติกรรมการดูแลเด็กโดยรวมเป็น 3 เอชไอวี/เอดส์ และหาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ใน ระดับ คือ ระดับสูง (คะแนน 71-105) ระดับปานกลาง การดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์และการสนับสนุน (คะแนน 36-70) ระดับต�่ำ (คะแนน 0-35) และแบ่ง ทางสังคมกับพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ พฤติกรรมในการดูแลเด็ก เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแล รายด้านเป็น 3 ระดับ เช่นเดียวกัน คือ ด้านกิจวัตร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประจ�ำวัน (ระดับสูง คะแนน 17-24 ระดับปานกลาง ประชากรที่ศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อ คะแนน 9-16 ระดับต�่ำ คะแนน 0-8) ด้านป้องกันการ เอชไอวี/เอดส์อายุ 6-14 ปี ที่มีภูมิล�ำเนาอยู่ในจังหวัด ติดเชื้อ (ระดับสูง คะแนน 25-36 ระดับปานกลาง เชียงใหม่ คะแนน 13-24 ระดับต�่ำ คะแนน 0-12) การดูแลตาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ อาการผิดปกติ (ระดับสูง คะแนน 9-12 ระดับปานกลาง อายุ 6-14 ปี ที่อาศัยอยู่กับครอบครัวและมีภูมิล�ำเนาอยู่ คะแนน 5-8 ระดับต�่ำ คะแนน 0-4) การรับประทานยา ในจังหวัดเชียงใหม่ ก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ (ระดับสูง คะแนน 13-18 ระดับปานกลาง คะแนน 7-12 ตารางประมาณค่าการวิเคราะห์อ�ำนาจการทดสอบ ระดับตำ�่ คะแนน 0-6) และการไปตรวจตามนัด (ระดับสูง

92 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Child-care Behaviors at Home and Related Factors Among Caregivers of HIV/AIDS Infected Children

คะแนน 11-15 ระดับปานกลาง คะแนน 6-10 ระดับต�่ำ ทรัพยากร (ระดับสูง คะแนน 13-18 ระดับปานกลาง คะแนน 0-5) มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ คะแนน 7-12 ระดับตำ�่ คะแนน 0-6) มีค่าดัชนีความตรง .94 และค่าความเชื่อมั่นด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์ ตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 1.00 และค่าความเชื่อมั่นด้วย แอลฟาครอนบาค (Cronbach’ s alpha coefficient) วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’ เท่ากับ .85 s alpha coefficient) เท่ากับ .70 3. แบบสอบถามความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง เอชไอวี/เอดส์ ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม การวิจัยนี้ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ ประกอบด้วยข้อค�ำถามในเรื่องกิจวัตรประจ�ำวัน จริยธรรมของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย การป้องกันการติดเชื้อ การดูแลตามอาการผิดปกติ เชียงใหม่ ตามเอกสารเลขที่ 155/2556 ลงวันที่ 25 การรับประทานยา และการไปตรวจตามนัด จ�ำนวน 26 ข้อ กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ผู้วิจัยพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่าง ลักษณะค�ำตอบเป็นแบบเลือกตอบเพียงอย่างเดียวคือ โดยเข้าพบกลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ จังหวัด ถูก หรือ ผิด โดยให้คะแนนข้อที่ตอบถูกเท่ากับ 1 และ เชียงใหม่ เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัยและราย ตอบผิดเท่ากับ 0 และแบ่งคะแนนความรู้โดยรวมเป็น 3 ละเอียดต่าง ๆ และให้กลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ระดับ คือ ระดับสูง (คะแนน 18-26) ระดับปานกลาง เอดส์ชี้แจงให้ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ พร้อมทั้ง (คะแนน 9-17) ระดับต�่ำ (คะแนน 0-8) มีค่าดัชนีความ ขอความร่วมมือในการเข้าถึงข้อมูล เมื่อผู้ดูแลยินดีให้ ตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ .99 และค่าความเชื่อมั่น ความร่วมมือในการเข้าร่วมการวิจัย ผู้วิจัยจึงเข้าพบผู้ ด้วยวิธีคูเดอร์ริชาร์ดสัน 21 (Kuder Richardson 21) ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ เพื่อแนะน�ำตัว ชี้แจง เท่ากับ .79 วัตถุประสงค์การวิจัย ขออนุญาตและขอความร่วมมือ 4. แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมในการ จากผู้ดูแลในการตอบแบบสอบถาม และพิทักษ์สิทธิ์ของ ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในการตัดสินใจเข้าร่วม จากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วยข้อค�ำถาม โครงการวิจัย และยินยอมเข้าร่วมการวิจัยด้วยวาจา โดย ครอบคลุมการสนับสนุนทางสังคม 4 ด้าน คือ การ การตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมวิจัยในครั้งนี้จะไม่มี สนับสนุนด้านอารมณ์ ด้านการประเมิน ด้านข้อมูล ผลต่อกลุ่มตัวอย่างแต่อย่างใด กลุ่มตัวอย่างสามารถออก ข่าวสาร และด้านทรัพยากร จ�ำนวน 21 ข้อ ลักษณะ จากการวิจัยในระหว่างการวิจัยได้โดยไม่มีผลต่อกลุ่ม ค�ำตอบเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ คือ ไม่จริง ตัวอย่าง ข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของกลุ่ม เลย เป็นจริงเล็กน้อย เป็นจริงส่วนมาก และเป็นจริงมาก ตัวอย่างจะเก็บเป็นความลับและจะน�ำมาใช้ตาม ที่สุด โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนคือ 0 1 2 และ 3 และ วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เท่านั้น ผู้วิจัยน�ำเสนอ แบ่งการสนับสนุนทางสังคมโดยรวมเป็น 3 ระดับ คือ ข้อมูลและเผยแพร่ในภาพรวมเท่านั้น ระดับสูง (คะแนน 43-63) ระดับปานกลาง (คะแนน การเก็บรวบรวมข้อมูล 22-42) ระดับต�่ำ (คะแนน 0-21) และแบ่งการสนับสนุน หลังจากได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ ทางสังคมรายด้านเป็น 3 ระดับ คือ ด้านอารมณ์ (ระดับ จริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย สูง คะแนน 13-18 ระดับปานกลาง คะแนน 7-12 ระดับ เชียงใหม่ ผู้วิจัยด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดย ต�่ำ คะแนน 0-6) ด้านการประเมิน (ระดับสูง คะแนน น�ำหนังสือจากคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย 11-15 ระดับปานกลาง คะแนน 6-10 ระดับต�่ำ คะแนน เชียงใหม่ เสนอต่อกลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ 0-5) ด้านข้อมูลข่าวสาร (ระดับสูง คะแนน 9-12 ระดับ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ราย ปานกลาง คะแนน 5-8 ระดับต�่ำ คะแนน 0-4) และด้าน ละเอียดของโครงการวิจัย และให้กลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 93 พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์

เอชไอวี/เอดส์ชี้แจงให้ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่เป็นเด็ก 1 ถึง 3 ราย ร้อยละ 73.0 มีระยะเวลาในการ ทราบ พร้อมทั้งขอความร่วมมือในการเข้าถึงข้อมูล เมื่อ ดูแลเด็กรายนี้ 7 ถึง 12 ปี และร้อยละ 71.8 ไม่เคย ผู้ดูแลยินดีให้เข้าถึงข้อมูล ผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ประสบการณ์ในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์รายอื่น ตามคุณสมบัติที่ก�ำหนด หลังจากนั้นผู้วิจัยแนะน�ำตัวและ เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์มีอายุเฉลี่ย 10.63 ปี ชี้แจงวัตถุประสงค์การวิจัย รวมทั้งการพิทักษ์สิทธิของ (SD =1.54) โดยร้อยละ 73.9 มีอายุระหว่าง 6 ปี ถึง 11 ปี ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในการตัดสินใจเข้าร่วม และร้อยละ 26.1 มีอายุระหว่าง 12 ปี ถึง 14 ปี ร้อยละ โครงการวิจัย และขอความยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย 58.8 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 74.1 มีการศึกษาชั้นประถม ด้วยวาจา เมื่อผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ให้ความ ศึกษาปีที่ 4-6 การตรวจพบการติดเชื้อเอชไอวีครั้งแรก ยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย ผู้วิจัยให้ผู้ดูแลตอบ ร้อยละ 43.5 เมื่อเด็กอายุแรกเกิดถึง 1 ปี ร้อยละ 29.4 แบบสอบถามด้วยตนเองใช้เวลาประมาณ 30-45 นาที เมื่อเด็กอายุมากกว่า 1 ปี ถึง 3 ปี และ ร้อยละ 25.9 เมื่อ ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล แล้วจึงน�ำข้อมูล เด็กอายุมากกว่า 3 ถึง 9 ปี และร้อยละ 1.2 ไม่ทราบ ไปวิเคราะห์ทางสถิติ ข้อมูล ร้อยละ 83.5 ไม่เคยเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล การวิเคราะห์ข้อมูล เด็กที่เข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ร้อยละ 78.6 เข้า วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อ รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคปอดอักเสบ ร้อยละ 58.9 เอชไอวี/เอดส์และเด็ก ข้อมูลพฤติกรรมในการดูแลเด็ก มีระดับภูมิคุ้มกันซีดี 4 (CD4) ในปัจจุบัน เท่ากับ 500- ที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน ความรู้ในการดูแลติดเชื้อ 999 เซลล์ และร้อยละ 94.0 มีปริมาณไวรัสในกระแสเลือด เอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน และการสนับสนุนทางสังคมด้วย (Viral load) ในปัจจุบันน้อยกว่า 400 ก๊อปปี้ ร้อยละ สถิติพรรณนา ตรวจสอบการแจกแจงข้อมูลโดยการใช้ 42.4 ได้รับยาต้านไวรัสสูตร GPOVIR Z250 และส่วน สถิติโคลโมโกรอฟ–สเมียร์นอฟ (Kolmogorov-Smirnov) ใหญ่ร้อยละ 96.4 มีวินัยการรับประทานยา (Adherence) พบว่าข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ แล้วจึงหาความ ในระดับ 96 ถึง 100 % แหล่งช่วยเหลือส�ำหรับเด็ก ร้อยละ สัมพันธ์โดยการใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน 8.2 ได้ทุนการศึกษา ร้อยละ 20.0 ได้ค่าเดินทางมาพบ (Pearson’ s product moment correlation แพทย์ และ ร้อยละ 80.0 ไม่มีแหล่งความช่วยเหลืออื่น coefficient) พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ บ้านของผู้ดูแลมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อ ผลการวิจัย พิจารณารายด้านพบว่า พฤติกรรมในการดูแลเด็กด้าน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ จ�ำนวน 85 ราย คือ กิจวัตรประจ�ำวัน การป้องกันการติดเชื้อ การการดูแล ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่มีภูมิล�ำเนาอยู่ใน ตามอาการผิดปกติ การรับประทานยา และการไปตรวจ จังหวัดเชียงใหม่และเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเครือข่ายผู้ติด ตามนัด อยู่ในระดับสูงเช่นเดียวกัน และความรู้ในการ เชื้อเอชไอวี/เอดส์จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือน ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ของผู้ดูแลมีคะแนนเฉลี่ย มิถุนายน ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2557 โดย ร้อยละ 83.5 โดยรวมอยู่ในระดับสูง ส่วนการสนับสนุนทางสังคมของ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 70.6 มีอายุระหว่าง 31 ถึง 50 ปี ผู้ดูแลมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 45.9 เป็นมารดา ร้อยละ 58.8 มีสถานภาพสมรส ดังแสดงในตารางที่ 1 ร้อยละ 32.9 มีการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ร้อยละ 51.8 มีอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 51.8 มีรายได้เดือน ไม่เกิน 10,000 บาท และร้อยละ 77.6 รายได้มีความ เพียงพอและเหลือเก็บ ร้อยละ 78.8 มีสมาชิกในครอบครัว

94 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Child-care Behaviors at Home and Related Factors Among Caregivers of HIV/AIDS Infected Children

ตารางที่ 1 คะแนนพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ และการสนับสนุนทางสังคมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแล (n = 85) คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ ต�่ำสุด สูงสุด เฉลี่ย มาตรฐาน พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ 72 102 94.80 8.17 สูง เอดส์ที่บ้านโดยรวม (0-105) พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ที่บ้านรายด้าน กิจวัตรประจ�ำวัน (0-24) การป้องกันการติดเชื้อ (0-36) 15 23 20.56 2.08 สูง การดูแลตามอาการผิดปกติ (0-12) 21 36 31.73 4.01 สูง การรับประทานยา (0-18) 8 12 11.32 1.26 สูง การไปตรวจตามนัด(0-15) 13 18 17.14 1.61 สูง ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ 9 15 14.05 1.76 สูง โดยรวม (0-26) 21 26 25.41 1.47 สูง การสนับสนุนทางสังคมโดยรวม (0-63) 25 49 39.31 6.89 ปานกลาง

ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ < .001) เมื่อจ�ำแนกพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมในการดูแลเด็ก เอชไอวี/เอดส์ที่บ้านรายด้านพบว่า การสนับสนุนทาง ที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านโดยรวมของผู้ดูแลอย่าง สังคมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์มีความ มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .24, p < .05) เมื่อจ�ำแนก สัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน เอชไอวี/เอดส์ที่บ้านในด้านการดูแลตามอาการผิดปกติ รายด้านพบว่า ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ (r = .33, p < .001) การรับประทานยา (r = .67, p < เอดส์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมในการดูแล .001) และการไปตรวจตามนัด (r = .67, p < .001) เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านในด้านกิจวัตรประจ�ำ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ แต่ด้านกิจวัตรประจ�ำวันและ วัน (r = .27, p < .05) การรับประทานยา (r = .80, p การป้องกันการติดเชื้อไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมใน < .001) และการไปตรวจตามนัด (r = .89,p < .001) การดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน ดังแสดงใน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ แต่ด้านการป้องกันการติดเชื้อ ตารางที่ 2 และการดูแลตามอาการผิดปกติ ไม่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน ดังแสดงในตารางที่ 2 การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน โดยรวมของผู้ดูแลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .47, p

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 95 พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์

ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์และการสนับสนุนทางสังคมกับ พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแล (n = 85) การสนับสนุนทาง ความรู้ในการดูแลเด็ก พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ สังคม ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ .24* .47** ที่บ้านโดยรวม พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ที่บ้านรายด้าน กิจวัตรประจ�ำวัน .27* .16 ns การป้องกันการติดเชื้อ .03 ns .21 ns การดูแลตามอาการผิดปกติ .18 ns .33** การรับประทานยา .80** .67** การไปตรวจตามนัด .89** .67** * p<.05, ** p<.001, ns p>.05

การอภิปรายผล พบว่า ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์มีคะแนนเฉลี่ย ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์มีคะแนนเฉลี่ย ของพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านในด้านกิจวัตร ของพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านโดยรวมอยู่ในระดับสูง ประจ�ำวันอยู่ในระดับสูง อาจเนื่องมาจากการดูแล และเมื่อพิจารณารายด้าน คือ กิจวัตรประจ�ำวัน การ กิจวัตรและสุขอนามัยส่วนบุคคลของเด็กที่ติดเชื้อ ป้องกันการติดเชื้อ การดูแลตามอาการผิดปกติ การรับ เอชไอวี/เอดส์ ถือได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ผู้ดูแลปฏิบัติเพื่อ ประทานยา และการไปตรวจตามนัด ก็มีคะแนนเฉลี่ย ตอบสนองความต้องการพื้นฐานในการด�ำรงชีวิตของเด็ก อยู่ในระดับสูงเช่นเดียวกัน ทั้งนี้อาจอธิบายได้ว่า การติด ถึงแม้ว่าเด็กเองจะสามารถดูแลตนเองในเรื่องการปฏิบัติ เชื้อเอชไอวี/เอดส์ถือว่าเป็นภาวะการเจ็บป่วยเรื้อรังที่ กิจวัตรประจ�ำวันได้ส่วนหนึ่ง แต่ผู้ดูแลยังคงต้องช่วยดูแล ต้องมีการดูแลสุขภาพอนามัยอย่างเคร่งครัด รับประทาน ในส่วนที่เด็กไม่สามารถปฏิบัติได้ (Srimuang, 2011) ยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่อง ตรงเวลา และไปพบแพทย์ ด้านการป้องกันการติดเชื้อ เนื่องมาจากเด็กที่ติดเชื้อ ตามนัดอย่างสมำ�่ เสมอ เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์หลาย เอชไอวี/เอดส์จ�ำเป็นต้องได้รับการส่งเสริมสุขอนามัยใน รายไม่สามารถดูแลตนเองได้อย่างเต็มที่ ผู้ดูแลจึงมีความ ทุก ๆ ด้าน เพื่อป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาสที่อาจเกิด ส�ำคัญอย่างมากในการช่วยเหลือและดูแล อีกทั้งการวิจัย ขึ้นกับเด็ก เน้นเรื่องของความสะอาดและการสร้างสุข ครั้งนี้ผู้ดูแลส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 40 ถึง 50 ปี ร้อยละ อนามัยที่ดี (Chokphaibunkit, 2008) ผู้ดูแลเด็กที่ติด 57.1 ซึ่งเป็นวัยผู้ใหญ่ และมีระยะเวลาในการดูแลเด็ก เชื้อเอชไอวี/เอดส์จึงต้องมีพฤติกรรมในการดูแลความ รายนี้มากกว่า 3 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีประสบการณ์และความ สะอาดและส่งเสริมสุขอนามัยที่ดีแก่เด็กอย่างเคร่งครัด สามารถในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์เป็นอย่างดี และถูกต้องเหมาะสม เพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยที่รุนแรงขึ้น ผู้ดูแลอาจได้รับข้อมูลความรู้ ค�ำแนะน�ำจากบุคลากร ในด้านการดูแลตามอาการผิดปกติ การดูแลเด็กที่ติดเชื้อ สุขภาพและกลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในการ เอชไอวี/เอดส์เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ต้องเพิ่มความ ดูแลเด็ก เมื่อพิจารณาพฤติกรรมในการดูแลเด็กรายด้าน ระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะเด็กจะไม่สามารถบอกราย

96 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Child-care Behaviors at Home and Related Factors Among Caregivers of HIV/AIDS Infected Children

ละเอียดได้ชัดเจนว่ามีอาการอย่างไร ฉะนั้นจึงมีความ เชื้อเอชไอวี/เอดส์จึงมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมและได้รับ ส�ำคัญอย่างยิ่งที่ผู้ดูแลต้องรู้จักสังเกตและไวต่อการ ความรู้ในการดูแลจากกลุ่มเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเด็ก โดยเฉพาะความผิดปกติใน เอดส์ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์มีคะแนนเฉลี่ยของ เรื่องการรับประทานอาหาร การขับถ่าย การหายใจ และ การสนับสนุนทางสังคมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง การนอนหลับ (Saisangchan, & Panjarat, 2008) เนื่องมาจากการติดเชื้อเอชไอวีกลายเป็นตราบาปส�ำหรับ ด้านการรับประทานเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์จะ บุคคล เพราะโรคเอดส์ถูกน�ำไปเชื่อมโยงกับพฤติกรรม สามารถรับประทานยาต้านไวรัสได้เอง แต่ก็ยังคง ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และคนทั่วไปจะรับรู้ว่าเป็น ต้องการการดูแลเรื่องการรับประทานยาต้านไวรัสจาก โรคติดต่อร้ายแรง (Alonzo & Reynold cited in ผู้ดูแลร่วมด้วย (Srimuang, 2011) เนื่องจากการรักษา Chuntawan et al, 2002) จากทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยว ด้วยยาต้านไวรัสจ�ำเป็นต้องได้รับความร่วมมือในการ กับโรคเอดส์และทัศนคติทางด้านลบต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี รับประทานยาอย่างถูกต้องและสม�่ำเสมอ เพราะความ ส่งผลให้เกิดการตีตราและการเลือกปฏิบัติต่อครอบครัว ร่วมมือในการรับประทานยามีความสัมพันธ์กับการลดลง ของผู้ติดเชื้อเอดส์ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Prasert ของเชื้อเอชไอวีในกระแสเลือด การดื้อยาต้านไวรัส & Chancharat (1996) พบว่า การติดเชื้อเอชไอวีของ เอชไอวี การลุกลามเป็นเอดส์ และอัตราการเสียชีวิต บิดาและมารดาเป็นตราบาปหรือตราประทับส�ำหรับเด็ก ส�ำหรับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ความร่วมมือในการรับ ดังนั้นการช่วยเหลือสนับสนุนจากสังคมจึงยังมีไม่มากนัก ประทานยาอย่างถูกต้องและสมำ�่ เสมอเป็นสิ่งที่ท�ำได้ยาก ความรู้ในการดูแลเด็กมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ กว่าผู้ใหญ่ ดังนั้นการดูแลจากผู้ดูแลอย่างถูกต้องเหมาะสม พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน จึงส�ำคัญ และด้านการไปตรวจตามนัด เนื่องมาจากการ โดยรวมของผู้ดูแลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .24, p นัดตรวจติดตามการรักษาเป็นระยะก็เพื่อประเมินอาการ < .05) แสดงว่า ผู้ดูแลเด็กที่มีความรู้ในการดูแลเด็กใน ทางร่างกาย ผลข้างเคียงของยาต้านไวรัสจากการซักถาม ระดับสูง จะมีพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ และตรวจร่างกาย และยังเป็นการติดตามการเจริญ เอดส์ในระดับสูง ส่วนผู้ดูแลที่มีความรู้ในการดูแลเด็กใน เติบโตและพัฒนาการร่วมด้วย นอกจากนั้นจะมีการ ระดับตำ�่ ก็จะมีพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ ตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อเฝ้าระวังผลข้างเคียงของ เอดส์ในระดับต�่ำ อาจเนื่องมาจาก การติดเชื้อเอชไอวี/ ยาต้านไวรัส และเฝ้าติดตามการด�ำเนินโรค ผู้ดูแลเด็กที่ เอดส์เป็นภาวะการเจ็บป่วยเรื้อรังที่ต้องรับประทานยา ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์จึงต้องพาเด็กไปพบแพทย์ตามนัด อย่างต่อเนื่องและตรงเวลา เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ทุกครั้งอย่างสม�่ำเสมอ หลายรายไม่สามารถดูแลตนเองได้เต็มที่ ผู้ดูแลจึงมีความ ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์มีคะแนนเฉลี่ย ส�ำคัญต่อเด็กอย่างยิ่ง (Bunthasit, 2008) เช่นเดียวกับ ของความรู้ในการดูแลเด็กโดยรวมอยู่ในระดับสูง อาจ การศึกษาของ Phayaphrom (1996) เกี่ยวกับความรู้ กล่าวได้ว่าเนื่องมาจาก ผู้ดูแลส่วนใหญ่มีระยะเวลาใน และการปฏิบัติในการดูแลทารกของมารดาที่ติดเชื้อเอช การดูแลเด็กแต่ละรายมากกว่า 3 ปี ซึ่งถือได้ว่ามี ไอวีพบว่า ความรู้ในการดูแลทารกมีความสัมพันธ์ทาง ประสบการณ์ ความรู้ และความสามารถในการดูแลเด็ก บวกกับการปฏิบัติในการดูแลทารก ที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์เป็นอย่างดี จากการได้รับข้อมูล การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความรู้ ค�ำแนะน�ำจากบุคลากรสุขภาพและกลุ่มผู้ติดเชื้อ พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน เอชไอวี/เอดส์ในการดูแลเด็ก อีกทั้งผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อ โดยรวมของผู้ดูแลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .47, p เอชไอวี/เอดส์ ร้อยละ 94.1 ได้เข้ารับการศึกษา และผู้ < .001) แสดงว่า ผู้ดูแลเด็กที่มีการสนับสนุนทางสังคม ดูแลเด็กทุกรายยังเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเครือข่ายผู้ติด ในการดูแลเด็กในระดับสูงจะมีพฤติกรรมในการดูแลเด็ก

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 97 พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์

ที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในระดับสูง ส่วนผู้ดูแลที่มีการ เพิ่มสาระเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีพฤติกรรมใน สนับสนุนทางสังคมในการดูแลเด็กในระดับต�่ำจะมี การดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้านอย่างเหมาะสม พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในระดับ ทั้งในด้านการให้ความรู้และการสนับสนุนทางสังคมให้ ตำ�่ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการสนับสนุนทางสังคมเป็นการ แก่ผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่บุคคลมีปฏิสัมพันธ์ที่ท�ำให้เกิดความรัก ความผูกพัน การดูแลเอาใจใส่ ความไว้วางใจ ความช่วยเหลือในด้าน ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป การเงิน สิ่งของ แรงงาน การให้ข้อมูลข่าวสาร และการ 1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยท�ำนายพฤติกรรม ให้ข้อมูลย้อนกลับ ซึ่งจะมีผลต่อพฤติกรรมในการดูแล ในการดูแลตนเองของเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่บ้าน เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โดยศึกษาว่าปัจจัยด้านความรู้ในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์และการสนับสนุนทางสังคมสามารถ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ท�ำนายพฤติกรรมในการดูแลตนเองของเด็กที่ติดเชื้อ 1. ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ผลการศึกษาครั้งนี้ เอชไอวี/เอดส์ที่บ้านได้มากน้อยเพียงใด เป็นข้อมูลพื้นฐานในการหาแนวทาง เพื่อส่งเสริมให้ 2. ควรมีการศึกษาพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้าน ผู้ดูแลมีพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ ที่บ้านอย่างเหมาะสม อาจให้ความรู้ในการดูแลเด็กที่ติด เอดส์ในกลุ่มเครือข่ายอื่นจะได้ข้อสรุปเช่นเดียวกับกลุ่ม เชื้อเอชไอวี/เอดส์และการสนับสนุนทางสังคม ทั้งนี้เพื่อ เครือข่ายในเครือข่ายจังหวัดเชียงใหม่หรือไม่ ช่วยลดการเกิดปัญหาสุขภาพในกลุ่มเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ 3. ควรมีการศึกษาปัจจัยอื่นที่อาจเกี่ยวข้องกับ เอดส์และช่วยให้เด็กใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ พฤติกรรมในการดูแลตนเองของเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/ 2. ด้านการศึกษาพยาบาล ในการจัดการเรียนการ เอดส์ที่บ้านของผู้ดูแล เช่น ปัจจัยด้านเด็ก สอนหัวข้อการพยาบาลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ควร เอกสารอ้างอิง Banjong, S. (2012). Situation analysis of care for HIV infected persons. Of HIV-infected lead leaders in Pong District, Phayao Province, Master of Nursing Science (Community Nurse Practitioner) Independent Study. Faculty of Nursing, Chiang Mai University (In Thai). Bunthasit, W. (2008). Psychosocial support for children with HIV. In Kulkanya Chokphaibunkit (Editor), HIV / AIDS in children (pages 289-302). Bangkok: People Company Limited (In Thai). Bureau of Epidemiology, Department of Disease Control, Ministry of Public Health. (2015). Situation of AIDS patients in Thailand as of 31 October 2014. Retrieved from http://www.boe.moph.go.th/files/report /20141128_61345755.pdf (In Thai) Chokphaibunkit, K. (2008). HIV / AIDS infection in children. Bangkok: People. (In Thai) Chuntawan, R., Tiewkun, S., Phanchanprasit, C., Meesukho , J., Thaya, N., &Leawiriyakit, N. (2002). Prevention and mitigation of the effects of parents’ HIV infection on children: participatory research. Research report Faculty of Nursing, Chiang Mai University (In Thai).

98 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Child-care Behaviors at Home and Related Factors Among Caregivers of HIV/AIDS Infected Children

Control of AIDS and STDs Disease Control Chiang Mai Provincial Health Office. (2013).AIDS situation Chiang Mai Province, October - December 2012. Retrieved from http://www.chiangmaihealth.com/cmpho_web53/attachments/ 1058_AIDS255512.pdf. (In Thai) House, J. S. (1981). Work stress and social support. Reading. MA: Addison- Wesley. Klunklin, P. (2003). Child-rearing practices among primary caregivers of HIV-infected children aged 0-5 years in Chiang Mai, Thailand (Unpublished doctor dissertation). Chiang Mai University, Thailand. Pathumwan, A. (1993). Application of Orem’s Nursing Theory in Child Nursing. In Somchit Nuancharoenkul (Ed.), Self-care: Nursing science and art, First Amendment (page 187-206). Bangkok: VJ Printing (In Thai). Phanchareon, C., Phitthayunont, T., & Tisakorn, U. (editor). (2002). AIDS in children. Bangkok: Chulalongkorn University (In Thai). Phayaphrom, Y. (1996). Knowledge and practice in caring for infants of HIV-infected mothers, Master of Nursing Science (Nursing Care for Patient with Infectious Disease and Infection Control) Thesis, Faculty of Nursing, Chiang Mai University (In Thai). Lamchang, S.,& Akarachinot, P. (1998). A study of the role of parents in caring for children with HIV. Nursing Journal, 25(4), 55-67 (In Thai). Prasert, P., & Chancharat, P.(1996). Problems and Impacts of AIDS on Children and Youth in Thailand. Journal of Public Health, 5(1), 132-141 (In Thai). Polit, D.F.,& Beck, C.T. (2010). Essentials of nursing research: Appraising evidence for nursing practice. (7th ed.).Philadelphia: Lipincol William & Wilkind. Saisangchan, C., & Panjarat, A. (2008). Promoting the cohabitation of children affected by AIDS in shelters. In Pichai Chintana Phakdee (Editor), A Guide to promoting living together for children affected by AIDS in Public and Private Welfare Centers (pages 21-46). Bangkok: Agricultural Cooperative Assembly of Thailand (In Thai). Sawadipanich, N. (2004). Health beliefs and health care behaviors of caregivers of HIV-infected children, Master of Nursing Science (Pediatric Nursing) Thesis, Faculty of Nursing, Chiang Mai University (In Thai). Senarat, W., Photchanamat, C., Chanaokok, A., Chittaruech, C ., Chuntawan, R., Yimyam, S., & Namphom, N. (2006). Study of the orphan situation and children affected by HIV / AIDS in Thailand and help forms: A case study in the northern region. Research report Faculty of Nursing Chiang Mai University. Office of the Higher Education Commission Ministry of Education (In Thai). Srimuang, P. (2011). Caring for children with HIV / AIDS at home by caregivers. Master of Nursing Science (Children Health Nursing) Thesis, Khon Kaen University (In Thai).

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 99 พฤติกรรมในการดูแลเด็กที่บ้านและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์

Wiriyasirikun, N. (2006). Influence of family relationships and care burden on care behavior of caregivers of school-aged children with HIV infection, Master of Nursing Science (Pediatric Nursing) Thesis, Prince of Songkla University (In Thai). Wongsuya, J. (2008). Knowledge and practice in caring for children with respiratory infections of parents in Mae Sariang Hospital. Mae Hong Son Province, Master of Nursing Science (Pediatric Nursing) Independent Study, Faculty of Nursing, Chiang Mai University (In Thai). UNAIDS. (2015). UNAIDS World AIDS Day report 2014. Retrieved from http://www.unaids.org/ en/resources/campaigns/World-AIDS-Day-Report-2014/factsheet.

100 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะอาการ ในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด Effect of Oral Mucositis Management Program on Symptom Status of Children with Cancer Receiving Chemotherapy

พชรภรณ์ เกวียนสูงเนิน * Pacharaphorn Kwiensungnoen * ศรีพรรณ กันธวัง ** Seepan Kantawang ** ศรีมนา นิยมค้า ** Seemana Niyomka **

บทคัดย่อ เยื่อบุช่องปากอักเสบเป็นอาการข้างเคียงของเคมีบ�ำบัดที่พบได้บ่อยในเด็กป่วยมะเร็ง และส่งผลกระทบทั้งทาง ด้านร่างกายและจิตใจของเด็กป่วยมะเร็งเป็นอย่างมาก จึงควรมีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบเพื่อลด ความรุนแรงของอาการ งานวิจัยที่ผ่านมายังลดความรุนแรงของอาการได้ไม่เพียงพอ การวิจัยแบบกึ่งทดลองชนิดหนึ่ง กลุ่มนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบก่อนและหลังได้รับ โปรแกรมการจัดการอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบซึ่งพัฒนาจากแนวคิดการจัดการกับอาการของ ดอดด์ และคณะ และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่างซึ่งเลือกโดยวิธีการเฉพาะเจาะจง ได้แก่ เด็กป่วยมะเร็งอายุ 8-15 ปี จ�ำนวน 14 ราย ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ 2 แห่ง และผู้ดูแลหลักของเด็กป่วยจ�ำนวน 14 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการ รวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบขององค์การอนามัยโลก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ทดสอบวิลคอกซันจับคู่เครื่องหมายต�ำแหน่ง ผลการวิจัยพบว่า ระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการอาการ เยื่อบุช่องปากอักเสบน้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (z = -2.774, p < .01) การวิจัยนี้ท�ำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วย มะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดร่วมกันระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย และสามารถน�ำผลการวิจัยนี้ไปใช้ในการ จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: การจัดการกับอาการ เยื่อบุช่องปากอักเสบ เด็กป่วยมะเร็ง

Abstract Oral mucositis is a common side effect among children with cancer receiving chemotherapy and can have a profound impact on the child physically and psychologically. Oral mucositis should be managed to reduce severity. Previous studies insufficiently reduced symptom severity. The

* อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก * Instructor, Faculty of Nursing, Royal Thai Army Nursing College ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 101 ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะอาการ ในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

purpose of this one group quasi-experimental study was to compare severity levels of oral mucositis before and after receiving an oral mucositis management program based on the symptom management model of Dodd and colleagues and related literature. The purposive sample included 14 children with cancer aged between 8-15 years admitted to two tertiary hospitals and 14 of their primary caregivers. Data were collected using the World Health Organization Mucositis Scale. The Wilcoxon matched-pairs signed-rank test was used to analyze the data. The findings revealed that the severity levels of oral mucositis after receiving the oral mucositis management program was significant lower than before receiving the program (z = -2.774, p < .01). The study provides information on strategies for collaborative oral mucositis management among nurses, primary caregivers and children. The result of the study can be used to manage oral mucositis of children with cancer receiving chemotherapy.

Key words: Symptom Management, Oral Mucositis, Children with Cancer

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา มีการตอบสนองที่ดีต่อการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัด เพราะ มะเร็งในเด็กเป็นโรคเรื้อรังที่มีความรุนแรง และ เป็นเซลล์มะเร็งที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และ เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตที่ส�ำคัญของเด็กป่วย เคมีบ�ำบัดจะออกฤทธิ์ต่อเซลล์ที่ก�ำลังเจริญเติบโต ในประเทศสหรัฐอเมริกาปี 2012 พบเด็กป่วยมะเร็ง การรักษามะเร็งในเด็กใช้เคมีบ�ำบัดหลายชนิดที่ออกฤทธิ์ รายใหม่ (อายุ 0-14 ปี) 16.4 รายต่อประชากรแสนคน เฉพาะเซลล์มะเร็งซึ่งมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ท�ำให้เกิด ต่อปี และมีอัตราการเสียชีวิต 2.2 รายต่อประชากร การท�ำลายเซลล์มะเร็ง (Pizzo & Poplack, 2002) และ แสนคนต่อปี (Centers for Disease Control and ท�ำลายเซลล์ปกติที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็วด้วย เช่น เซลล์ Prevention [CDC], 2015a) และมะเร็งยังเป็นสาเหตุ เยื่อบุทางเดินอาหาร เซลล์รากผม และเซลล์ไขกระดูก ของการเสียชีวิตล�ำดับที่ 2 ในเด็กอายุ 5-19 ปี รองจาก จึงท�ำให้เกิดอาการข้างเคียงที่รุนแรงหลายอาการ เช่น อุบัติเหตุ (CDC, 2015b) ส�ำหรับประเทศไทย ปี พ.ศ. เยื่อบุช่องปากอักเสบ ผมร่วง และอาการที่เกิดจาก 2546-2548 พบเด็กป่วยมะเร็งรายใหม่อายุ 0-15 ปี ไขกระดูกถูกกด ได้แก่ ภาวะเม็ดเลือดขาวตำ�่ ภาวะเกล็ด จ�ำนวน 2,792 ราย อัตราการเสียชีวิต 1.1 รายต่อ เลือดต�่ำ และภาวะซีด ส่งผลให้เด็กป่วยเสี่ยงต่อการ ประชากร 100 รายต่อเดือน (Wiangnon et al., 2011) ติดเชื้อหรือมีภาวะเลือดออกซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อน และในปี 2557 พบว่ามะเร็งในเด็กเป็นสาเหตุการ ที่รุนแรง (English, 2010) เสียชีวิตของเด็กอายุตำ�่ กว่า 14 ปี เป็นล�ำดับที่ 5 รองจาก อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบเป็นอาการข้างเคียง ความพิการแต่ก�ำเนิด อุบัติเหตุ โรคของระบบทางเดิน ของยาเคมีบ�ำบัดที่พบบ่อยในเด็กป่วยมะเร็ง ผลการ หายใจ และโรคติดเชื้อ (Strategy and Planing Division, ศึกษาในต่างประเทศพบว่าร้อยละ 41 ของเด็กป่วย 2016) วิธีการรักษามะเร็งในเด็ก ได้แก่ เคมีบ�ำบัด รังสี โรคมะเร็งอายุ 6-18 ปีที่ได้รับเคมีบ�ำบัดมีอาการเยื่อบุ รักษา และการผ่าตัด จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่ามีเด็ก ช่องปากอักเสบเกิดขึ้น (Cheng et al., 2011) ใน ป่วยมะเร็งและครอบครัวจ�ำนวนไม่น้อยที่ได้รับผลกระทบ ประเทศไทยพบว่าร้อยละ 50 - 56.2 ของเด็กป่วยมะเร็ง จากโรคและการรักษา เกิดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบจากการได้รับเคมีบ�ำบัด เคมีบ�ำบัดเป็นการรักษาหลักเนื่องจากมะเร็งในเด็ก (Kunthana, 2015) ยาเคมีบ�ำบัดที่เป็นสาเหตุให้เกิด

102 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Oral Mucositis Management Program on Symptom Status of Children with Cancer Receiving Chemotherapy

อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วยมะเร็ง ได้แก่ นานขึ้น และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเพิ่มมากขึ้น methotrexate cytosine arabinoside doxorubicin (Sonis et al., 2001) คุณภาพชีวิตของเด็กป่วยมะเร็ง และ vincristine ยาออกฤทธิ์ขัดขวางการสังเคราะห์ ลดลง (Cheng et al., 2012) ดังนั้นการให้การดูแลเพื่อ ดีเอ็นเอ (DNA) ของเซลล์เยื่อบุช่องปาก ท�ำให้เซลล์ จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วยมะเร็ง เยื่อบุช่องปากถูกท�ำลายและตาย เกิดการหลั่งสารไซโตไคน์ ที่ได้รับเคมีบ�ำบัดจึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพื่อลด TNF-α และ IL-6 ท�ำให้เกิดกระบวนการอักเสบของเยื่อบุ ความทุกข์ทรมานและผลกระทบอื่นจากความรุนแรง ช่องปาก เยื่อบุช่องปากจึงมีลักษณะบาง บวมแดง และ ของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ซึ่งส่งผลให้เด็กป่วยมี เกิดเป็นแผลในปากขึ้น (Sonis, 2004) คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตามทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวกับวิธีการจัดการ (Piaget’s cognitive development) เด็กป่วยอายุ กับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วยมะเร็ง การ 8-15 ปี เป็นเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นตอนต้นที่มีพัฒนาการ ศึกษาในประเทศไต้หวัน พบว่าเด็กป่วยมะเร็งในกลุ่ม ทางความคิดและสติปัญญาอยู่ในระดับที่สามารถเข้าใจ ทดลองซึ่งได้รับการท�ำความสะอาดช่องปากตามแนว ความหมายและสาเหตุของความเจ็บป่วยได้ (Potts, & ปฏิบัติมีอัตราการเกิดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบลดลง Mandleco, 2012) รับรู้ผลกระทบของความเจ็บป่วย ร้อยละ 38 มีระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปาก และสามารถปฏิบัติเพื่อให้อาการเจ็บป่วยดีขึ้นหรือเพื่อ อักเสบ และมีอาการปวดแผลในปากน้อยกว่ากลุ่มควบคุม ให้หายจากอาการเจ็บป่วย ( Lamchang, & Niyonkra, (Cheng, Molassiotis, Chang, Wai, & Cheung, 2001) 2003) เด็กป่วยจึงสามารถรับรู้การเกิดอาการเยื่อบุ เช่นเดียวกับการศึกษาของ Jiamjiraporn (2009) ที่พบว่า ช่องปากอักเสบ และหาทางจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก เด็กป่วยที่ได้รับโปรแกรมการดูแลช่องปากด้วยตนเองมี อักเสบได้ (Pothamuang, 2006) การเกิดอาการเยื่อบุ คะแนนพฤติกรรมการดูแลช่องปากด้วยตนเองมากกว่า ปากอักเสบจึงส่งผลกระทบต่อเด็กป่วยมะเร็งทั้งทาง และมีระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ร่างกาย จิตใจ และสังคม ร้อยละ 50 ของเด็กป่วยมะเร็ง น้อยกว่าเด็กป่วยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ที่มีอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบมีอาการปวดแผลรุนแรง นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยพบว่า บิดามารดาที่เข้าร่วม (Glenny et al., 2010) เบื่ออาหาร กลืนอาหารได้ล�ำบาก โปรแกรมมีความสามารถในการดูแลช่องปากของเด็ก รับประทานอาหารและดื่มนำ�้ ได้ลดลง (Cheng, Lee, Li, ป่วยที่มีอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบเพิ่มขึ้น ช่วยให้เด็ก Yuen, & Epstein, 2012; Green, Horn, & Erickson, ป่วยสามารถรับประทานอาหารได้มากขึ้น และยังมีผล 2010) การมีแผลในปากร่วมกับการมีภาวะเม็ดเลือดขาว ให้สภาพช่องปากของเด็กป่วยดีขึ้น (Kaewkarn, 2001) ต�่ำท�ำให้เด็กป่วยมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อแบคทีเรีย การศึกษาดังกล่าวเป็นการจัดการกับอาการเยื่อบุ เชื้อไวรัส และเชื้อราผ่านทางแผลในช่องปาก (Glenny ช่องปากอักเสบที่ปฏิบัติโดยคนใดคนหนึ่ง ท�ำให้มี et al., 2010) อาการปวดแผลในปากท�ำให้เกิดความ ข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุ ทุกข์ทรมานจากอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ (Sonis, ช่องปากอักเสบ ซึ่งท�ำให้มีข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติวิธีการ 2004) พักผ่อนนอนหลับได้น้อยลง อารมณ์เปลี่ยนแปลง จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ และท�ำให้การ หงุดหงิดง่าย และปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นลดลง (Stone et จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบไม่ต่อเนื่อง อีกทั้ง al., 2007) เด็กป่วยที่มีอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบใน การจัดการดังกล่าวยังเป็นการจัดการกับอาการด้วยวิธีการ ระดับที่รุนแรงต้องได้รับสารอาหาร สารน�้ำ และยา เดียวหรือสองวิธีการร่วมกัน ได้แก่ การท�ำความสะอาด บรรเทาอาการปวดทางหลอดเลือดด�ำ ท�ำให้เสี่ยงต่อการ ช่องปาก และ/หรือ การบรรเทาอาการปวดแผลในปาก ติดเชื้อในร่างกายเพิ่มมากขึ้น ระยะเวลานอนโรงพยาบาล แต่อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบเป็นอาการที่มีความซับซ้อน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 103 ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะอาการ ในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

การจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบเพียงหนึ่ง ช่องปากอักเสบ พบเฉพาะการศึกษาเชิงพรรณนาของ หรือสองวิธีการยังไม่เพียงพอที่จะท�ำให้ความรุนแรงของ วัชรินทร์ โปธาเมือง (Pothamuang, 2006) ซึ่งให้ความรู้ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบลดลงได้ จากการทบทวน เกี่ยวกับประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการกับ วรรณกรรมเกี่ยวกับการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก อาการ และผลลัพธ์ของการจัดการกับอาการของเด็ก อักเสบพบว่าวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดตามการรับรู้ของเด็กป่วย อักเสบ ประกอบด้วย การประเมินอาการเยื่อบุช่องปาก ดังนั้นผู้วิจัยจึงท�ำการศึกษาผลของโปรแกรมการ อักเสบ (Cawley, & Benson, 2005; Eilers & Million, จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ซึ่งเป็นการด�ำเนิน 2011; Harris & Knobf, 2004) การท�ำความสะอาด วิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของเด็ก ช่องปาก (Cawley, & Benson, 2005; Harris , Eilers, ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดที่ครอบคลุมทั้งการประเมิน Harriman, Cashavelly & Maxwell, 2008) การบรรเทา อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ การท�ำความสะอาดช่องปาก อาการปวดแผลในปาก (Kaewkarn, 2001; Jiamjiraporn, การบรรเทาอาการปวดแผลในปาก และการรับประทาน 2009; Green et al., 2010) และการรับประทานอาหาร อาหารและการดื่มนำ�้ โดยปฏิบัติร่วมกันระหว่างพยาบาล และการดื่มน�้ำ (Cawley, & Benson, 2005;. Ebstein บิดามารดาหรือผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ใช้แนวคิดการ & Schubert, 2003) ดังนั้นเพื่อให้สามารถลดความรุนแรง จัดการกับอาการของ Dodd et al.(2001) เป็นกรอบ ของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบได้ การจัดการกับอาการ แนวคิดการวิจัย จะช่วยให้เด็กป่วยได้รับการจัดการกับ เยื่อบุช่องปากอักเสบควรเป็นการจัดการร่วมกันระหว่าง อาการที่เหมาะสมกับระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุ พยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ด้วยวิธีการจัดการ ช่องปากอักเสบ เกิดการติดต่อประสานงาน การแลกเปลี่ยน ที่ครอบคลุมทั้ง 4 วิธีดังกล่าว ข้อมูล และมีการวางแผนร่วมกันระหว่างพยาบาล Dodd et al. (2001) ได้เสนอแนวคิดการจัดการ ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ท�ำให้เกิดความต่อเนื่องในการ กับอาการ (symptom management model) ของ จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ จะท�ำให้ระดับ ผู้ป่วยและบุคลากรทางสุขภาพที่จะท�ำการจัดการและ ความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของเด็ก บรรเทาอาการของโรคที่เกิดขึ้น ประกอบด้วย (1) ป่วยลดลง ซึ่งส่งผลให้ลดความทุกข์ทรมานจากการปวด ประสบการณ์การมีอาการ (2) กลวิธีในการจัดการกับ แผลในปากของเด็กป่วย และเพิ่มความสามารถในการ อาการ ซึ่งเป็นการจัดการเพื่อชะลอการเกิดผลลัพธ์ทาง รับประทานอาหารและดื่มน�้ำ ผลการวิจัยนี้จะท�ำให้ได้ ลบด้วยวิธีการจัดการทางการแพทย์ โดยบุคลากรสุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก และการจัดการกับอาการด้วยผู้ป่วยและผู้ดูแล และ (3) อักเสบในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดร่วมกัน ผลลัพธ์ของการจัดการกับอาการ ซึ่งเป็นผลมาจากกลวิธี ระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย และสามารถ การจัดการกับอาการและประสบการณ์การมีอาการ และ น�ำผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก ประเมินได้จากสภาวะของอาการและสภาวะการท�ำ อักเสบในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดต่อไป หน้าที่ของร่างกาย ผลการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ วัตถุประสงค์การวิจัย กับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบจากเคมีบ�ำบัดในเด็กป่วย เพื่อเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของอาการ มะเร็งตามแนวคิดการจัดการกับอาการของ Dodd et เยื่อบุช่องปากอักเสบก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการ al. (2001) ยังไม่พบรายงานการศึกษาผลของการจัดการ จัดการอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ กับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกันระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ต่อความรุนแรงของอาการเยื่อบุ

104 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Oral Mucositis Management Program on Symptom Status of Children with Cancer Receiving Chemotherapy

สมมติฐานการวิจัย ของเด็กป่วย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ตามคุณสมบัติที่กําหนด ก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดย ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการอาการเยื่อบุช่องปาก ใช้ตารางประมาณค่าการวิเคราะห์อ�ำนาจการทดสอบ อักเสบน้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการอาการ ระดับนัยส�ำคัญที่ .05 อ�ำนาจการทดสอบที่ .80 และ เยื่อบุช่องปากอักเสบ ก�ำหนดขนาดอิทธิพลของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ .60 (Burns & Grove, 2005) ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย จ�ำนวน 14 ราย ในการศึกษาการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย อักเสบต่อสภาวะอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับเคมีบ�ำบัดครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้ (1) เครื่องมือที่ใช้ในการด�ำเนินการวิจัย ได้แก่ แนวคิดการจัดการกับอาการของ Dodd et al. (2001) โปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ร่วมกับการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นกรอบแนวคิด ประกอบด้วย แผนการให้ความรู้เกี่ยวกับอาการเยื่อบุ ในการศึกษา กล่าวคือ การจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก ช่องปากอักเสบและการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก อักเสบในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดเป็นการจัดการ อักเสบ แผนการสอนการฝึกปฏิบัติการจัดการกับอาการ ที่ประกอบด้วย การประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ เยื่อบุช่องปากอักเสบ แผนการเตรียมการจัดการกับ การท�ำความสะอาดช่องปาก การบรรเทาอาการปวดแผล อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกันระหว่างพยาบาล ในปาก และการรับประทานอาหารและการดื่มน�้ำ และ ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย และแบบตรวจสอบรายการ เป็นการจัดการร่วมกันระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลักและ การปฏิบัติวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ เด็กป่วย โดยก�ำหนดเป้าหมายของการจัดการกับอาการ ของผู้ดูแลหลักและเด็กป่วย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความ เยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกันและอย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์ ถูกต้องของเนื้อหาและความเป็นไปได้ การจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบคือระดับ (2) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) ความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบลดลง แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กและผู้ดูแลหลัก และ 2) แบบประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของ WHO วิธีด�ำเนินการวิจัย (1979) เป็นเครื่องมือที่ใช้ประเมินระดับความรุนแรงของ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ชนิดหนึ่งกลุ่ม อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ประกอบด้าน 4 ด้าน คือ วัดก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม การเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุช่องปาก อาการเจ็บปวดแผล การจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะ ในปาก ความสามารถในการรับประทานอาหาร และ อาการในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ประชากรที่ ความสามารถในการดื่มนำ�้ วิธีการคิดคะแนนระดับความ ศึกษา คือ เด็กป่วยอายุ 8-15 ปี ที่ได้รับการวินิจฉัยว่า รุนแรงของ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบออกเป็น 5 ระดับ เป็นโรคมะเร็งและเข้ารับการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัดใน โดยให้ คะแนน 1-5 (1 คะแนน หมายถึง ความรุนแรง โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ และผู้ดูแลหลักของเด็กป่วย ของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบอยู่ที่ระดับ 0 ถึง 5 กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กป่วยอายุ 8-15 ปี ที่ได้รับการวินิจฉัย คะแนน หมายถึง ความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปาก ว่าเป็นโรคมะเร็ง และเข้ารับการรักษาด้วยเคมีบ�ำบัด อักเสบอยู่ที่ระดับ 4) ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ และโรงพยาบาลล�ำปาง จังหวัดล�ำปาง ระหว่างเดือน แบบประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของ กรกฎาคม 2558 ถึง เดือนมีนาคม 2559 และผู้ดูแลหลัก องค์การอนามัยโลก (WHO, 1979) ผ่านการแปล

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 105 ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะอาการ ในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

ย้อนกลับและตรวจสอบความเชื่อมั่นระหว่างผู้ประเมิน เด็กป่วยและการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ โดยมีค่าความเชื่อมั่นระหว่างผู้ประเมินเท่ากับ 1 และ ร่วมกับเปิดโอกาสให้ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยซักถาม ตรวจสอบความเชื่อมั่นระหว่างผู้วิจัยและผู้เชี่ยวชาญ ประเด็นที่สงสัยและผู้วิจัยตอบข้อสงสัยของผู้ดูแลหลัก ในการดูแลเด็กป่วยโรคมะเร็งที่มีอาการเยื่อบุช่องปาก และเด็กป่วย จากนั้นบรรยายสรุปโดยใช้โปรแกรม อักเสบ 1 ท่าน โดยน�ำไปทดลองใช้กับเด็กป่วยมะเร็ง Power Point Presentation เรื่อง อาการเยื่อบุช่องปาก ที่ได้รับเคมีบ�ำบัดและมีอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ อักเสบและการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ จ�ำนวน 5 ราย พบว่าสอดคล้องถูกต้องทุกราย ได้ค่า เป็นสื่อประกอบ (2) เตรียมผู้ดูแลหลักและเด็กป่วย ความเชื่อมั่นระหว่างผู้ประเมินเท่ากับ 1 ให้สามารถปฏิบัติการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก การเก็บรวบรวมข้อมูล อักเสบ โดยผู้วิจัยสาธิตการปฏิบัติวิธีการจัดการกับ หลังจากได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบและให้ผู้ดูแลหลักและ จริยธรรมของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย เด็กป่วยสาธิตย้อนกลับการปฏิบัติวิธีการจัดการกับ เชียงใหม่และโรงพยาบาลทั้ง 2 แห่งแล้ว ผู้วิจัยเข้าพบ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ (3) เตรียมผู้ดูแลหลักและ พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรมเพื่อชี้แจง เด็กป่วยให้เข้าใจในบทบาทของพยาบาล ผู้ดูแลหลัก วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล และขอความ และเด็กป่วย ในการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากร่วมกัน ร่วมมือในการท�ำวิจัย ส�ำรวจรายชื่อเด็กป่วย เมื่อได้เด็ก โดยใช้การอธิบายให้ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยเข้าใจ ป่วยที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ อธิบายวัตถุประสงค์ บทบาทของแต่ละคนและให้ดูวีดีทัศน์การจัดการกับ ขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัยและการรวบรวมข้อมูลให้ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกันระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยทราบ เมื่อผู้ดูแลหลักของเด็ก ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย และ (4) ด�ำเนินการปฏิบัติตาม ป่วยยินยอมและเด็กป่วยสมัครใจเข้าร่วมการวิจัยแล้ว โปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ จึงรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กป่วยและผู้ดูแลหลัก อย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ 7 โดยปฏิบัติตาม โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และประเมินอาการ บทบาทของพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย เยื่อบุช่องปากอักเสบของเด็กป่วยโดยใช้แบบประเมิน การด�ำเนินโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของ WHO (1979) ก่อน ช่องปากอักเสบในวันที่ 2-7 ผู้วิจัยติดตามประเมินผล ด�ำเนินโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก การปฏิบัติวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ อักเสบ ขั้นตอนการด�ำเนินโปรแกรมการจัดการกับ ของเด็กป่วยและผู้ดูแลหลักอย่างต่อเนื่องทุกวันโดยใช้ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกันระหว่างพยาบาล แบบตรวจสอบรายการการปฏิบัติวิธีการจัดการกับ ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย มีดังนี้ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของผู้ดูแลหลักและเด็กป่วย การด�ำเนินโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุ และประเมินระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปาก ช่องปากอักเสบในวันที่ 1 ประกอบด้วย (1) เตรียมผู้ดูแล อักเสบโดยใช้แบบประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ หลักและเด็กป่วยให้มีความรู้เกี่ยวกับอาการเยื่อบุช่องปาก ขององค์การอนามัยโลก WHO (1979) และใช้ผล อักเสบและวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ การประเมินระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปาก ทั้งการประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ การท�ำความ อักเสบวันที่ 7 ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความ สะอาดช่องปาก การบรรเทาอาการปวดแผลในปาก และ รุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ผู้วิจัยท�ำการ การรับประทานอาหารและการดื่มน�้ำ โดยใช้ค�ำถาม ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบข้อมูล น�ำข้อมูล กระตุ้นให้ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยคิดเกี่ยวกับ ที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้สถิติทดสอบ ประสบการณ์การเกิดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของ วิลคอกซันจับคู่เครื่องหมายต�ำแหน่ง (the Wilcoxon

106 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Oral Mucositis Management Program on Symptom Status of Children with Cancer Receiving Chemotherapy matched-pairs signed-rank test) ระหว่าง 41 ถึง 50 ปี และ 31 ถึง 40 ปี ตามล�ำดับ ร้อยละ 64.29 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 35.71 ผลการวิจัย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และร้อยละ 50.00 มีรายได้ เด็กป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดที่เป็นกลุ่ม ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่า 5,000 บาท ร้อยละ ตัวอย่าง จ�ำนวน 14 ราย พบว่าส่วนใหญ่เป็นเด็กหญิง 57.14 ไม่เคยดูแลเด็กป่วยที่มีอาการเยื่อบุช่องปาก (ร้อยละ 64.29) มีอายุระหว่าง 8-11 ปี (ร้อยละ 57.14) อักเสบ ทุกราย (ร้อยละ 100) เคยได้รับแนะน�ำเมื่อเด็ก ก�ำลังศึกษาในระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 64.29) ป่วยเกิดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ได้รับค�ำแนะน�ำ ร้อยละ 57.14 ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว ในหัวข้อการท�ำความสะอาดช่องปาก (ร้อยละ 85.71) ร้อยละ 55.56 ของระยะการรักษาด้วยยาเคมีบ�ำบัดของ และร้อยละ 57.14 ได้รับค�ำแนะน�ำในหัวข้อการบรรเทา มะเร็งเม็ดเลือดขาวและมะเร็งต่อมน�้ำเหลืองได้รับการ อาการปวดแผลในปาก และส่วนใหญ่ไม่ได้รับค�ำแนะน�ำ รักษาด้วยยาเคมีบ�ำบัดในระยะ induction phase ในหัวข้อการประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบและ ร้อยละ 57.14 ได้รับยาเคมีบ�ำบัดที่ท�ำให้เกิดอาการ การรับประทานอาหารและการดื่มน�้ำ (ร้อยละ 85.71 เยื่อบุช่องปากอักเสบตั้งแต่ 3 ชนิดร่วมกัน ส่วนใหญ่ และร้อยละ 71.43 ตามล�ำดับ) (ร้อยละ 78.57) เคยได้รับค�ำแนะน�ำเมื่อเกิดอาการเยื่อบุ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความรุนแรง ช่องปากอักเสบ ได้รับค�ำแนะน�ำในหัวข้อการท�ำความ ของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วยโรคมะเร็ง สะอาดช่องปากและการบรรเทาอาการปวดแผลในปาก ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุ (ร้อยละ 90.91 และร้อยละ 72.73 ตามล�ำดับ) และไม่ ช่องปากอักเสบ พบว่าระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุ ได้รับค�ำแนะน�ำในหัวข้อการประเมินอาการเยื่อบุช่องปาก ช่องปากอักเสบภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการ อักเสบและการรับประทานอาหารและการดื่มนำ�้ (ร้อยละ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบลดลงกว่าก่อนเข้าร่วม 90.91 และร้อยละ 72.73 ตามล�ำดับ) โปรแกรมการจัดการอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบอย่าง ผู้ดูแลหลักของเด็กป่วยโรคมะเร็งที่เป็นกลุ่ม มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (z = -2.774, p < .01) ดังแสดง ตัวอย่าง จ�ำนวน 14 ราย พบว่าส่วนมากเป็นมารดา ในตารางที่ 1 (ร้อยละ 92.86) ร้อยละ 42.86 และร้อยละ 35.71 มีอายุ

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังเข้าร่วม โปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ (N=14) สภาวะอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ Median Max-Min Z ก่อนเข้าร่วมโปรแกรม 3.50 4-3 -2.774* หลังเข้าร่วมโปรแกรมวันที่ 7 2.50 4-1

การอภิปรายผล สนับสนุนสมมติฐานและกรอบแนวคิดการวิจัยตาม ผลการศึกษาพบว่าระดับความรุนแรงของอาการ แนวคิดการจัดการกับอาการของ Dodd et al. (2001) เยื่อบุช่องปากอักเสบภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมการ และแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุ จัดการอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบลดลงกว่าก่อนเข้า ช่องปากอักเสบท�ำให้ระดับความรุนแรงของอาการเยื่อบุ ร่วมโปรแกรมการจัดการอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ช่องปากอักเสบของเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัดลดลง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (z = -2.774, p < .01) ซึ่ง สามารถอธิบายได้ด้วยเหตุผล 2 ประการ ดังนี้

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 107 ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะอาการ ในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

1. มีการเตรียมความพร้อมให้ผู้ดูแลหลักและ เรื่อง “การจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกัน เด็กป่วย ระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย” เพื่อให้เข้าใจ ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยได้รับการเตรียมให้มีความรู้ ในบทบาทของพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ในการ เกี่ยวกับการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกัน ว่าใครเป็น โดยการใช้ค�ำถามกระตุ้นให้ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยเกิด ผู้ท�ำ ท�ำอะไร ท�ำอย่างไร ท�ำเมื่อไร ท�ำกับใคร ท�ำที่ไหน การคิด ซึ่งค�ำตอบของผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยท�ำให้ ท�ำมากน้อยเพียงใด ท�ำให้ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยเห็น ผู้วิจัยทราบว่าผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยมีความรู้และ สิ่งที่พยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วยปฏิบัติและความ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบและ ต่อเนื่องของขั้นตอนการปฏิบัติการจัดการกับอาการเยื่อบุ วิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบถูกต้องหรือไม่ ช่องปากอักเสบแต่ละวิธี ท�ำให้ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วย มากน้อยเพียงใด และมีประเด็นใดที่ต้องได้รับการชี้แนะ สามารถจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกับ เพิ่มเติม ท�ำให้ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยมีส่วนร่วมใน พยาบาลได้ จึงส่งผลให้ความรุนแรงของอาการเยื่อบุ การประเมินความต้องการการเรียนรู้ของตนเอง และ ช่องปากอักเสบของเด็กป่วยลดลง เป็นการน�ำประสบการณ์การเรียนรู้ในอดีตมาใช้ในการ 2. การร่วมกันจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก ให้ความรู้ครั้งนี้ด้วย (Knowles, 1980) ผู้ดูแลหลักและ อักเสบ เด็กป่วยได้รับการเตรียมให้สามารถปฏิบัติการจัดการกับ การร่วมกันจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบได้ โดยผู้วิจัยสาธิตวิธีการ ระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย และมีวิธีการ จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ จากนั้นให้ผู้ดูแล จัดการที่ครอบคลุมการประเมินอาการเยื่อบุช่องปาก หลักและเด็กป่วยสาธิตย้อนกลับวิธีการจัดการกับอาการ อักเสบ การท�ำความสะอาดช่องปาก การบรรเทาอาการ เยื่อบุช่องปากอักเสบในทุกวิธี ผู้วิจัยชี้แนะเพิ่มเติมในสิ่ง ปวดแผลในปาก และการรับประทานอาหารและการดื่มนำ�้ ที่ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยยังปฏิบัติได้ไม่ถูกต้อง ซึ่งท�ำให้ ท�ำให้ความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบลดลง ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยได้รับประสบการณ์ตรงจากการ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ ปฏิบัติด้วยตนเอง ค้นพบปัญหาและอุปสรรคจากการ การประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ปฏิบัติ เกิดการปรับปรุงเพื่อให้การปฏิบัติวิธีการจัดการ การร่วมกันจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ กับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในเรื่องการประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบระหว่าง และเกิดทักษะในการปฏิบัติวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุ พยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ช่วยลดความรุนแรง ช่องปากอักเสบ (Harrow, 1972) ดังนั้นการที่ผู้ดูแลหลัก ของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบได้ เนื่องจากมีการ และเด็กป่วยได้รับการเตรียมให้มีความรู้ความเข้าใจและ ประเมินอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกันอย่างต่อเนื่อง สามารถปฏิบัติวิธีการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปาก ตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ 7 ตามบทบาทของพยาบาล ผู้ดูแล อักเสบได้ จึงเป็นขั้นตอนส�ำคัญที่ช่วยให้ผู้ดูแลหลักและ หลัก และเด็กป่วย ท�ำให้ทราบการเปลี่ยนแปลงภายใน เด็กป่วยสามารถจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ช่องปาก ได้แก่ การเกิดแผลในปาก อาการปวดแผลในปาก ร่วมกับพยาบาลได้ ซึ่งส่งผลให้ความรุนแรงของอาการ และความสามารถรับประทานอาหารและดื่มน�้ำได้ เยื่อบุช่องปากอักเสบลดลง เด็กป่วยและผู้ดูแลเด็กสามารถระบุปัจจัยเสี่ยงที่ท�ำให้ หลังจากนั้นผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยได้รับการ เกิดการติดเชื้อในช่องปาก และน�ำผลการประเมินมาใช้ อธิบายให้เห็นความส�ำคัญของการร่วมกันจัดการกับ วางแผนจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบด้วยวิธี อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลัก การที่เหมาะสมกับสภาวะอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ และเด็กป่วย จากนั้นให้ผู้ดูแลหลักและเด็กป่วยชมวีดีทัศน์ ของเด็กป่วยในขณะนั้น (Eilers & Million, 2011;

108 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Oral Mucositis Management Program on Symptom Status of Children with Cancer Receiving Chemotherapy

Harris & Knobf, 2004) ดังนั้นการจัดการกับอาการ ป่วยสามารถรับประทานอาหารและดื่มนำ�้ ได้ ดังนั้นการ เยื่อบุช่องปากอักเสบด้วยวิธีการประเมินอาการเยื่อบุ ร่วมกันจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบด้วยวิธีการ ช่องปากอักเสบจึงมีส่วนท�ำให้ความรุนแรงของอาการ บรรเทาอาการปวดแผลในปากตามบทบาทของพยาบาล เยื่อบุช่องปากอักเสบลดลงได้ ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ส่งผลให้ความรุนแรงของอาการ การท�ำความสะอาดช่องปาก เยื่อบุช่องปากอักเสบลดลง (Ebstein & Schubert, การร่วมกันจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ 2004; Eilers & Million, 2011) ด้วยวิธีการท�ำความสะอาดช่องปากระหว่างพยาบาล การรับประทานอาหารและการดื่มน�้ำ ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ช่วยลดความรุนแรงของอาการ การร่วมกันจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ เยื่อบุช่องปากอักเสบได้ เนื่องจากการท�ำความสะอาด ด้วยวิธีการรับประทานอาหารและการดื่มน�้ำระหว่าง ฟันและช่องปากโดยใช้ไม้พันส�ำลีชุบ 0.9% NSS และ พยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ช่วยให้ความรุนแรง การบ้วนปากด้วย 0.9% NSS อย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ ของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของเด็กป่วยลดลง 1 ถึงวันที่ 7 อย่างน้อยวันละ 5 ครั้ง ได้แก่ หลังตื่นนอน เนื่องจากการที่เด็กป่วยหลักเลี่ยงรับประทานอาหารที่ เวลาเช้า หลังรับประทานอาหารเช้า หลังรับประทาน ท�ำให้เกิดการระคายเยื่อบุช่องปาก ได้แก่ รับประทาน อาหารกลางวัน หลังรับประทานอาหารเย็น และก่อนเข้า อาหารอ่อนหรืออาหารเหลว อาหารไม่เผ็ดจัดหรือเค็มจัด นอน ช่วยขจัดเศษอาหารหรือสิ่งสกปรกที่ฟันและภายใน อาหารไม่ร้อนจัดหรือเย็นจัด อาหารขนาดชิ้นพอเหมาะ ช่องปาก โดยการละลายเยื่อเมือกและเศษอาหารที่ติด ท�ำให้เด็กป่วยสามารถรับประทานอาหารได้มากขึ้น ส่งผล อยู่ที่ฟันและภายในช่องปากให้หลุดออกง่าย ช่วยขจัด ให้ได้รับสารอาหารเพียงพอ ป้องกันการเกิดแผลในปาก เชื้อโรคภายในช่องปากซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการ และป้องกันการขยายขนาดของแผล (Ebstein & ติดเชื้อของแผลในปากได้ (Cawley & Benson, 2005; Schubert, 2003; Green et al., 2010) อาหารที่มี Harris et al.,2008) และท�ำให้ภายในช่องปากเกิดภาวะ โปรตีนสูงช่วยส่งเสริมการหายของแผลในปาก เนื่องจาก เป็นด่าง ซึ่งลดการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่ โปรตีนประกอบด้วยกรดอะมิโนที่ใช้ในการสังเคราะห์ เจริญเติบโตได้ดีในช่องปากที่มีสภาวะเป็นกรด (Daeffler, คอลลาเจนที่ช่วยในกระบวนการหายของแผล แผลใน 1981) และ 0.9% NSS มีคุณสมบัติช่วยให้เยื่อบุช่องปาก ปากจึงหายเร็วขึ้น (Zahn et al., 2012) และอาหาร เกิดความชุ่มชื้น ลดการระคายเคืองภายในเยื่อบุช่องปาก แบคทีเรียต�่ำช่วยป้องกันการติดเชื้อของแผลในปาก ลดการเกิดแผลในปากและไม่ท�ำให้ขนาดของแผลในปาก ท�ำให้อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบลดลงมากขึ้น (Epstein เพิ่มขึ้น (Cawley & Benson, 2005; Harris et al., 2008) & Schubert, 2003) และจากการที่ยาเคมีบ�ำบัดส่งผล การท�ำความสะอาดช่องปากตามบทบาทของพยาบาล ให้เด็กป่วยเกิดอาการปากแห้ง จากการที่ต่อมน�้ำลาย ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย อย่างต่อเนื่องทุกวันท�ำ จึงช่วย หลั่งน�้ำลายลดลงและน�้ำลายมีลักษณะเหนียว ส่งผลให้ ลดความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบได้ เยื่อบุช่องปากเกิดการอักเสบมากขึ้น ดังนั้นการดื่มนำ�้ ใน การบรรเทาอาการปวดแผลในปาก ปริมาณมากจึงช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นภายในช่องปาก การร่วมกันจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ช่วยลดความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ ด้วยวิธีการบรรเทาอาการปวดแผลในปากระหว่าง และลดความเสี่ยงที่จะเกิดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ พยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ช่วยให้อาการปวดแผล (Eilers & Million, 2011) การทาริมฝีปากด้วย ในปากของเด็กป่วยลดลง เนื่องจากยา 2% xylocaine ปิโตรเลียมเจลหรือวาสลีนหลังจากท�ำความสะอาด viscous ท�ำให้เกิดอาการชาและลดอาการปวดแผลในปาก ช่องปาก เพื่อให้เด็กป่วยเกิดความสุขสบาย ป้องกัน เมื่ออาการปวดแผลในปากลดลงหรือหายไป ท�ำให้เด็ก ริมฝีปากแห้งแตกท�ำให้เด็กป่วยสามารถรับประทาน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 109 ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะอาการ ในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

อาหารได้มากขึ้น (Eilers & Million, 2007) ดังนั้นการ เคมีบ�ำบัดร่วมกันระหว่างพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และ จัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกันตาม เด็กป่วย สามารถน�ำผลการวิจัยนี้ไปใช้ในการจัดการกับ บทบาทของพยาบาล ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย ด้วยวิธี อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกันระหว่างพยาบาล การรับประทานอาหารและการดื่มนำ�้ อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ผู้ดูแลหลัก และเด็กป่วย เพื่อให้ความรุนแรงของอาการ วันที่ 1 ถึงวันที่ 7 ท�ำให้เด็กป่วยสามารถรับประทาน เยื่อบุช่องปากอักเสบของเด็กป่วยลดลง อาหารและดื่มน�้ำได้มากขึ้น ส่งผลให้ความรุนแรงของ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบของเด็กป่วยลดลง ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วยที่ได้รับเคมีบ�ำบัด ผลการวิจัยนี้ท�ำให้ได้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดการ ในรูปแบบการวิจัยกึ่งทดลองชนิดสองกลุ่มวัดผลก่อน กับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับ และหลังการทดลอง เอกสารอ้างอิง Burns, N., & Grove, S. K. (2005). The practice of nursing research: Conduct, critique and utilization (5thed.). St. Louis, MO: Elsevier Saunders. Cawley, M. M., & Benson, L. M. (2005). Current trends in managing oral mucositis. Clinical Journal of Oncology Nursing, 9(5), 584-592. Centers for Disease Control and Prevention. (2015a). United States Cancer Statistics: 1999–2012 Incidence and Mortality Web-based Report. Retrieved from https://nccd.cdc.gov/uscs/childhoodcancerdetailedbyICCC.aspx Centers for Disease Control and Prevention. (2015b). United States Cancer Statistics: 1999–2012 Incidence and Mortality Web-based Report. Retrieved from http://www.cdc.gov/injury/wisqars/pdf/leading_causes_of_death_by_age_group_2012-a.pdf Chen, C., Wang, R., Cheng, S., & Chang, Y. (2004). Assessment of Chemotherapy-Induced Oral Complications in Children With Cancer. Journal of Pediatric Oncology Nursing, 21, 33-39. doi:10.1177/1043454203259947 Cheng, K. K. F., Goggins, W. B., Lee, V. W. S., & Thompson, D. R. (2008). Risk factors for oral mucositis in children undergoing chemotherapy: A matched case-control study. Oral Oncology, 44(11), 1019-1025. doi: 10.1016/j.oraloncology.2008.01.003 Cheng, K. K. F., Lee, V., Li, C. H., Goggins, W., Thompson, D. R., Yuen, H. L.,& Epstein, J.B. (2011). Incidence and risk factors of oral mucositis in paediatric and adolescent patients undergoing chemotherapy. Oral Oncology, 47(3), 153-162. doi: 10.1016/j.oraloncology.2010.11.019. Cheng, K. K. F., Lee, V., Li, C. H., Yuen, H. L., & Epstein, J. B. (2012). Oral mucositis in pediatric and adolescent patients undergoing chemotherapy: the impact of symptoms on quality of life. Supportive Care in Cancer, 20(10), 2335-42. doi: 10.1007/s00520-011-1343-1.

110 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Oral Mucositis Management Program on Symptom Status of Children with Cancer Receiving Chemotherapy

Cheng, K. K. F., Molassiotis, A., Chang, A. M., Wai, W. C., & Cheung, S. S. (2001). Evaluation of an oral care protocol intervention in the prevention of chemotherapy-induced oral mucositis in pediatric cancer patients. European Journal of Cancer, 37(16), 2056-2063. Daeffler, R. (1981). Oral hygiene measures for patients with cancer. III.Cancer Nursing, 4(1), 29-35. doi:10.1097/00002820-198102000-00003 Dodd, M., Janson, S., Facione, N., Faucett, J., Froelicher, E. S., Humphreys, J., …Taylor D. (2001). Advancing the science of symptom management. Journal of Advanced Nursing, 33(5), 668-676. Eilers, J., & Million, R. (2011). Clinical Update: Prevention and Management of Oral Mucositis in Patients with Cancer. Paper presented at the Seminars in oncology nursing. English, M. W. (2010). Principles of chemotherapy. Paediatrics and Child Health, 20(3), 123-128. Epstein, J. B., & Schubert, M. M. (2003). Oropharyngeal mucositis in cancer therapy. Review of pathogenesis, diagnosis, and management. Oncology,17(12), 1767-1779. Glenny, A. M., Gibson, F., Auld, E., Coulson, S., Clarkson, J. E., Craig, J. V., … Children’s Cancer and Leukaemia Group (CCLG)/ Paediatric Oncology Nurses Forum’s (CCLG-PONF) Mouth Care Group (2010). The development of evidence-based guidelines on mouth care for children, teenagers and young adults treated for cancer. European Journal of Cancer, 46(8), 1399- 1412.doi: 10.1016/j.ejca.2010.01.023. Green, R., Horn, H., & Erickson, J. M. (2010). Eating experiences of children and adolescents with chemotherapy-related nausea and mucositis. Journal of Pediatric Oncology Nursing, 27(4), 209-216. Harris, D. J., Eilers, J., Harriman, A., Cashavelly, B. J., & Maxwell, C. (2008). Putting Evidence Into Practice: Evidence-based interventions for the management of oral mucositis. Clinical journal of oncology nursing, 12(1), 141-152. Harris, D. J., & Knobf, M. T. (2004). Assessing and Managing Chemotherapy-Induced Mucositis Pain. Clinical Journal of Oncology Nursing, 8(6), 622-628. doi:10.1188/04.cjon.622-628 Harrow, A. (1972). A taxonomy of the psychomotor domain: A guide for developing behavioral objectives. New York: McKay. Jiamjiraporn, A. (2009). Effects of an Oral Self Care Programme on Oral Mucositis in Cancer School Age Children Being Treated with Chemotherapy. Master of Nursing Science Thesis (Pediatric Nursing), Graduate School, Mahidol University. (In Thai). Kaewkarn, S. (2001). The effect of a special oral care program on father’s abilities. Mothers and oral conditions Pain and food intake in children with cancer receiving chemotherapy. Master of Nursing Science Thesis (Family Nursing). Graduate School, Khon Kaen University. Thailand. (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 111 ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อสภาวะอาการ ในเด็กป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบ�ำบัด

Knowles, M. S. (1980) The Modern Practice of Adult Education:From Pedagogy to Andragogy. New York: Cambridge, The Adult Education Company Kunthana, K. (2015). Unpleasant symptoms and symptom management of childhood acute lymphoblastic Leukemic patients during treatment with chemotherapy. Master of Nursing Science Thesis (Pediatric Nursing), Graduate School, Khon Kaen University. Thailand. (In Thai) Lamchang, S., & Niyonkra, S. (2003). Perception of illness in school-age hospitalized children. Research report. Chiang Mai: Faculty of Nursing, Chiang Mai University. (In Thai) Pizzo, P. A., & Poplack, D. G. (2002). Principles and practice of pediatric oncology. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. Pothamuang, W. (2006). Management of Oral Mucositis Induced by Chemotherapy in Children with Cancer. Master of Nursing Science Thesis (Pediatric Nursing), Graduate School, Chiang Mai University. (In Thai). Potts, N.L., & Mandleco, B.L. (2012). Pediatric nursing: Caring for children and their families (3rd Ed.). New York: Delmar, Cengage Leaning. Sonis, S. T. (2004). The pathobiology of mucositis. Nature Reviews Cancer, 4(4), 277-284. Sonis, S. T., Oster, G., Fuchs, H., Bellm, L., Bradford, W. Z., Edelsberg, J., … Horowitz, M. (2001). Oral mucositis and the clinical and economic outcomes of hematopoietic stem-cell transplantation. Journal of Clinical Oncology, 19(8), 2201-2205. Stone, R., Potting, C. M., Clare, S., Uhlenhopp, M., Davies, M., Mank, A., … Research Subgroup of European Group for Blood and Marrow Transplanation Nurses Group (EBMT – NG). (2007). Management of oral mucositis at European transplantation centres. European Journal of Oncology Nursing, 11, S3-S9. Strategy and Planing Division (2016). Health statistics. Retrieved January 12, 2017, from http://bps2.moph.go.th/sites/default/ files/health_statistics2557.pdf (In Thai) Wiangnon, S., Veerakul, G., Nuchprayoon, I., Seksarn, P., Hongeng, S., Krutvecho, T., & Sripaiboonkij, N. (2011). Childhood Cancer Incidence and Survival 2003-2005, Thailand: Study from the Thai Pediatric Oncology Group. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 12, 2215-2220. World Health Organization. (1979). Handbook for reporting results of cancer treatment. Geneva: World Health Organization Zahn, K. L., Wong, G., Bedrick, E. J., Poston, D. G., Schroeder, T. M., & Bauman, J. E. (2011). Relationship of protein and calorie intake to the severity of oral mucositis in patients with head and neck cancer receiving radiation therapy. Head Neck Head & Neck, 34(5), 655-662. doi:10.1002/hed.21795

112 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนด ขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ Effect of Wearing Plastic Cap on Body Temperature Among Preterm Infants During Umbilical Catheterization

วลัยพรรณ โชตวรพันธุ์ * Walaipan Choatworapan * จุฑามาศ โชติบาง ** Jutamas Chotibang ** มาลี เอื้ออ�ำนวย ** Malee Urharmnuay **

บทคัดย่อ ทารกเกิดก่อนก�ำหนดทารกสูญเสียความร้อนได้ง่ายโดยเฉพาะช่วงการท�ำหัตถการต่าง ๆ วัตถุประสงค์ของ การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนดที่มีอายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์ ขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือจ�ำนวน 20 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 10 คนได้รับการสวม หมวกพลาสติกโพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูงและมีขอบยางยืดร่วมกับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มควบคุม 10 คน ได้รับกับการพยาบาลตามปกติ ทารกทั้งสองกลุ่มได้รับการวัดอุณหภูมิกายด้วยอินฟราเรดเทอร์โมมิเตอร์ที่ต�ำแหน่ง หลังใบหูก่อน ทุก 5 นาทีขณะท�ำหัตถการและหลังเสร็จสิ้นหัตถการแล้วบันทึกด้วยแบบบันทึกการท�ำหัตถการใส่สาย สวนหลอดเลือดทางสะดือและแบบสังเกตลักษณะผิวหนังภายหลังถอดหมวกพลาสติก หลังจากเสร็จสิ้นการใส่สาย สวนหลอดเลือดทางสะดือ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าที 2 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน และสถิติ ฟิชเชอร์เอกแซคท์ ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือทารกเกิดก่อนก�ำหนด ในกลุ่มที่ได้รับการสวมหมวกพลาสติกร่วมกับการพยาบาลตามปกติมีอุณหภูมิกายสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาล ตามปกติอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p <.001) และมีสัดส่วนการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต�่ำน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการ พยาบาลตามปกติอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้สามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการป้องกันภาวะ อุณหภูมิกายต�่ำในทารกเกิดก่อนก�ำหนดขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ ซึ่งจะช่วยลดอันตรายที่อาจเกิดจาก ภาวะอุณหภูมิกายต�่ำหรือภาวะเครียดจากความเย็นได้

ค�ำส�ำคัญ: ทารกเกิดก่อนก�ำหนด อุณหภูมิ หมวกพลาสติก การใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ

Abstract Preterm infants are easily heat loss especially during procedure. The purpose of this quasi- experimental study was to study the effect of wearing a plastic cap on body temperature in 20 preterm infants with 28-36 weeks postconceptional age undergoing umbilical catheterization. Ten

* พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ จังหวัดเชียงราย * Professional Nurse, Chiang Rai Prachanukroh Hospital, Chiang Rai Province, [email protected] ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 113 ผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนด ขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ

infants of an experimental group wore a high-density polyethylene plastic cap and receiving routine care and other infants of a control group received routine care only. Infants of both groups were assessed body temperature at behind ear by an infrared thermometer before, every 5 minutes during umbilical catheterization, and after the procedure. The data were recorded in an umbilical catheterization record form skin record form and analyzed using descriptive statistics, independent t-test and Fisher exact probability test. The study revealed that the experimental group had significantly higher body temperatures (p <.001) and significantly lower proportion of the experimental had hypothermia than the control group following umbilical catheterization (p< .05). The findings of this study could be used as a guide for preventing hypothermia during umbilical catheterization in preterm infants. This will reduce the incidence of hypothermia and cold stress.

Keyword: preterm infants, temperature, polyethylene plastic cap, umbilical catheterization

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ลดลงและระยะเวลาที่ได้รับหัตถการใส่สายสายสวน ทารกเกิดก่อนก�ำหนดที่มีภาวะวิกฤตที่ได้รับการ หลอดเลือดทางสะดือ อาจส่งผลต่อระยะเวลาที่ทารก รักษาในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด มีแนวโน้มต้องนอน ต้องสัมผัสกับอากาศเย็นภายในหอผู้ป่วยเพิ่มขึ้น หากทารก พักรักษาในโรงพยาบาลนานและมักมีภาวะหายใจ เกิดก่อนก�ำหนดไม่ได้รับการดูแลเพื่อป้องกันการสูญเสีย ล�ำบาก ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจและได้รับหัตถการใส่ ความร้อนจากร่างกาย เกิดภาวะอุณหภูมิกายต�่ำและ สายสวนหลอดเลือดทางสายสะดือ ซึ่งเป็นการสอดใส่ น�ำไปสู่ภาวะเครียดจากความเย็น (cold stress) ซึ่งจะ สายสวนเข้าทางหลอดเลือดสะดือ เพื่อให้ยาฉุกเฉิน ส่งผลต่อการท�ำงานของระบบต่าง ๆ ของร่างกายท�ำให้ ให้สารน�้ำ และเก็บตัวอย่างเลือดเพื่อวิเคราะห์ค่าก๊าซ มีอัตราการเผาผลาญในร่างกายเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความร้อน ในเลือดและส�ำหรับวัดความดันหลอดเลือดแดงส่วนกลาง ให้กับร่างกาย ท�ำให้เกิดภาวะน�้ำตาลในเลือดต�่ำ ภาวะ (central arterial blood pressure) (Thai Neonatal เลือดเป็นกรด เกิดภาวะพร่องออกซิเจน และเกิดอาการ Society, 2010) ในการท�ำหัตถการการใส่สายสวนหลอด หายใจล�ำบาก (Blackburn, 2007) เลือดทางสายสะดือโดยแพทย์จะต้องเปิดเผยร่างกาย จากการศึกษาของ Trevisanuto et al. (2010) ทารก ทารกเกิดก่อนก�ำหนดมีพื้นที่ผิวกายมากเมื่อเทียบ ที่ได้ศึกษาการป้องกันการสูญเสียความร้อนในทารก กับน�้ำหนักตัวโดยเฉพาะบริเวณศีรษะและหน้าผากของ เกิดก่อนก�ำหนดขณะเคลื่อนย้ายจากห้องคลอดมาหอ ทารก ซึ่งเป็นบริเวณที่มีตัวรับอุณหภูมิ (thermal receptor) ผู้ป่วยทารกแรกเกิด ผลการศึกษาพบว่าทั้งสองวิธีคือ อยู่จ�ำนวนมากประกอบกับทารกเกิดก่อนก�ำหนดมี การสวมหมวกพลาสติกให้กับทารกร่วมกับการเช็ดตัว ผิวหนังบาง ขาดสารเคลือบผิวเคอราตินมีไขมันใต้ ให้แห้ง และการห่อตัวทารกด้วยถุงพลาสติกร่วมกับการ ผิวหนังและไขมันสีน�้ำตาลมีน้อยและศูนย์ควบคุม เช็ดศีรษะให้แห้งช่วยป้องกันการสูญเสียความร้อนได้ดี อุณหภูมิในสมองของทารกเกิดก่อนก�ำหนดยังเจริญ เหมือนกันและดีกว่าการเช็ดตัวและศีรษะให้แห้งแล้ว เติบโตไม่สมบูรณ์เต็มที่ จึงส่งผลให้ทารกสูญเสียความร้อน ห่อตัวทารกด้วยผ้าอุ่น แต่ในการท�ำหัตถการใส่สายสวน ออกจากร่างกายได้ง่าย (Blackburn, 2007) นอกจากนี้ หลอดเลือดทางสะดือ ต้องเปิดเผยร่างกายทารกและ หอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิดมีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ใช้เวลาประมาณ 15-45 นาที (Swatesutipun, 2010) ท�ำให้อุณหภูมิห้องตำ�่ และมีผลให้อุณหภูมิกายของทารก จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ถ้าทารกเกิดก่อนก�ำหนด

114 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Wearing Plastic Cap on Body Temperature Among Preterm Infants During Umbilical Catheterization

อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เย็น อุณหภูมิกายของทารกจะลดลง ก�ำหนด ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถน�ำไปปรับปรุง 1 องศาเซลเซียสในทุก ๆ 5 นาที (Rutter, 1999) ดังนั้น คุณภาพการพยาบาลทารกเกิดก่อนก�ำหนด เพื่อช่วยลด การสวมหมวกพลาสติกอาจจะช่วยลดการสูญเสีย ผลกระทบจากภาวะอุณหภูมิกายต�่ำขณะที่ทารกได้รับ ความร้อนได้ เนื่องจากพื้นที่ผิวบริเวณศีรษะทารกคิด หัตถการใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือและเป็น เป็นร้อยละ 20 ของพื้นที่ผิวกายทั้งหมด (Nuntnarumit, แนวทางในการศึกษาเพื่อป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต�่ำ 2015) ประกอบกับบริเวณใบหน้ารวมถึงหน้าผากทารก ในทารกเกิดก่อนก�ำหนดขณะท�ำหัตถการอื่น ๆ มีตัวรับอุณหภูมิอยู่เป็นจ�ำนวนมาก (Blackburn, 2007) หากมีการป้องกันการสูญเสียความร้อนที่บริเวณศีรษะ วัตถุประสงค์การวิจัย และหน้าผากอาจจะช่วยลดการเกิดภาวะอุณหภูมิกาย 1. เพื่อเปรียบเทียบอุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อน ตำ�่ ได้ ผู้วิจัยจึงพัฒนาหมวกพลาสติกเพื่อสวมให้กับทารก ก�ำหนดขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือระหว่าง เกิดก่อนก�ำหนดขณะได้รับหัตถการใส่สายสวนหลอด กลุ่มที่ได้รับการสวมหมวกพลาสติกร่วมกับการพยาบาล เลือดทางสะดือ โดยเลือกพลาสติกโพลีเอทิลีนมาตรฐาน ตามปกติกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ พลาสติกบรรจุอาหาร มีความเหนียว ความทนแรงดึง 2. เพื่อเปรียบเทียบสัดส่วนของการเกิดภาวะ ทนทานต่อความร้อนและสารเคมี มีจุดหลอมเหลว อุณหภูมิกายตำ�่ ในทารกเกิดก่อนก�ำหนดขณะใส่สายสวน ประมาณ 135 องศาเซลเซียสและจุดอ่อนตัว 125 องศา หลอดเลือดทางสะดือระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสวมหมวก เซลเซียส (Suso, 2011) มาพัฒนาเป็นหมวกพลาสติก พลาสติกร่วมกับการพยาบาลตามปกติกับกลุ่มที่ได้รับ ที่มีขอบยางยืดสวมให้กับทารกเกิดก่อนก�ำหนดขณะ การพยาบาลตามปกติ ได้รับหัตถการใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ โดยสวม หมวกพลาสติกที่ได้พัฒนาขึ้นเองนี้ให้ขอบหมวกคลุม สมมติฐานการวิจัย ศีรษะลงมาถึงระดับเหนือคิ้วหรือบริเวณหน้าผากที่มี 1.ภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือดทาง ตัวรับอุณหภูมิร่วมกับการพยาบาลตามปกติคือใช้ สะดือทารกเกิดก่อนก�ำหนดในกลุ่มที่ได้รับการสวม พลาสติกโพลีเอทิลีนพันรอบตัว แขนและขาทั้งสองข้าง หมวกพลาสติกร่วมกับการพยาบาลตามปกติมีอุณหภูมิ ของทารกเกิดก่อนก�ำหนดตั้งแต่ระดับคอลงมาจนถึงเท้า กายสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ โดยพันเว้นบริเวณสะดือของทารกส�ำหรับใส่สายสวน 2.ภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือดทาง หลอดเลือดทางสะดือ ซึ่งพลาสติกจะท�ำหน้าที่เหมือน สะดือทารกเกิดก่อนก�ำหนดในกลุ่มที่ได้รับการสวม เป็นฉนวนกั้นความร้อนของร่างกายผ่านผิวหนังไปสู่ หมวกพลาสติกร่วมกับการพยาบาลตามปกติมีสัดส่วน สิ่งแวดล้อมภายนอก (Mathew, Lakshminrusimha, การเกิดภาวะอุณหภูมิกายต�่ำน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการ Cominsky, Schroder, & Carrion, 2007) และช่วยลด พยาบาลตามปกติ การสูญเสียความร้อนโดยการพาและการแผ่รังสี (Bredemeyer, Reid, & Wallace, 2005) กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการประเมินผลของการสวม ทารกเกิดก่อนก�ำหนดที่มีภาวะวิกฤตที่รับไว้ในหอ หมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อน ผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด มีแนวโน้มที่ต้องนอนพักรักษา ก�ำหนดขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ โดยใช้ ในโรงพยาบาลนานและมักมีภาวะหายใจล�ำบาก ต้องใช้ กรอบแนวคิดที่ได้จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัย เครื่องช่วยหายใจและได้รับหัตถการใส่สายสวนหลอด เรื่องการควบคุมอุณหภูมิกายในทารกแรกเกิด และ เลือดทางสายสะดือ เพื่อให้ยาฉุกเฉิน ให้สารน�้ำ และวัด การป้องกันการการสูญเสียความร้อนในทารกเกิดก่อน ความดันหลอดเลือดแดงส่วนกลาง การใส่สายสวนหลอด

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 115 ผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนด ขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ

เลือดทางสะดือเป็นหัตถการที่จะต้องเปิดเผยร่างกาย จัดจ�ำหน่ายเครื่องมือโดยเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน ทารก ท�ำให้ทารกเกิดก่อนก�ำหนดมีโอกาสสูญเสีย ที่ผ่านการทดสอบจากบริษัทผู้ผลิต ตรวจสอบโดยช่าง ความร้อน จากทารกมีพื้นที่ผิวกายได้มากโดยเฉพาะ วิศวกรรมการแพทย์ ส�ำนักงานสนับสนุนระบบบริการ บริเวณศีรษะที่มีพื้นที่ผิวมากถึงร้อยละ 20 ประกอบกับ สุขภาพเขต 1 จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือด�ำเนินการวิจัย บริเวณหน้าผากทารกมีตัวรับอุณหภูมิอยู่มาก จึงเป็น ได้แก่ หมวกพลาสติกที่พัฒนาขึ้นเองจากพลาสติก บริเวณที่มีการสูญเสียความร้อนมากที่สุด การสวมหมวก โพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูงและมีขอบยางยืดโดย พลาสติกให้ขอบหมวกคลุมศีรษะลงมาถึงระดับเหนือคิ้ว ผ่านการรับรองจากบริษัทผู้ผลิตด้านคุณสมบัติพื้นฐาน หรือบริเวณหน้าผากที่มีตัวรับอุณหภูมิร่วมกับการ ทางกายภาพและเคมี ข้อมูลด้านพิษวิทยาและการตรวจ พยาบาลตามปกติคือการใช้พลาสติกโพลีเอทิลีนพัน สอบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ของพลาสติกจากกรม รอบตัว แขนและขาทั้งสองข้างของทารกเกิดก่อนก�ำหนด วิทยาศาสตร์การบริการ นาฬิกาจับเวลา ดิจิตอล ตั้งแต่ระดับคอลงมาจนถึงเท้า โดยพันเว้นบริเวณสะดือ เทอร์โมมิเตอร์ส�ำหรับวัดอุณหภูมิห้อง เครื่องพัลส์ออกซิ ให้กับทารกจะเป็นเหมือนฉนวนกั้นความร้อนของ มิเตอร์ ส�ำหรับวัดค่าความความอิ่มตัวของออกซิเจนใน ร่างกายไม่ให้ผ่านผิวหนังบริเวณศีรษะและหน้าผากไปสู่ เลือดและอัตราการเต้นของหัวใจทารก และแบบสังเกต สิ่งแวดล้อมภายนอก ช่วยลดการสูญเสียความร้อน ลักษณะผิวหนังภายหลังถอดหมวกพลาสติก หลังจาก โดยการพาซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิรอบกายทารกเกิด เสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ ซึ่งผ่านการ ก่อนก�ำหนดต�่ำกว่าอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมจากการ ตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน มีกระแสลมจากเครื่องปรับอากาศพัดผ่านผิวกายทารก การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง และการแผ่รังสี เป็นการสูญเสียความร้อนจากผิวกาย งานวิจัยนี้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ ที่อุ่นของทารกเกิดก่อนก�ำหนดไปยังสิ่งแวดล้อมรอบกาย จริยธรรมการวิจัยคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย ที่มีอุณหภูมิเย็นกว่า เช่น การแผ่รังสีไปสู่ผนังตู้ควบคุม เชียงใหม่และโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ อุณหภูมิ ผนังห้อง หรือสิ่งของอื่น ๆ ที่อยู่รอบกายทารก การเก็บรวบรวมข้อมูล ที่มีอุณหภูมิเย็นกว่าอุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อน ภายหลังได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ ก�ำหนด ดังนั้นหากทารกได้รับการสวมหมวกพลาสติก จริยธรรมการวิจัยผู้วิจัยด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลด้วย ร่วมกับได้รับการพยาบาลตามปกติขณะได้รับหัตถการ ตนเอง เมื่อบิดาหรือมารดาของกลุ่มตัวอย่างยินยอมเข้า ใส่สายสวนหลอดเลือดทางสายสะดือ จะช่วยให้การสูญ ร่วมการวิจัยและลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มการยินยอม เสียความร้อนลดลง เข้าร่วมการวิจัย จึงด�ำเนินการเก็บข้อมูลตามขั้นตอน สรุปขั้นตอนรวบรวมข้อมูลดังแสดงในแผนภูมิที่ 1 วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi- วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติทดสอบ experimental research ) แบบ 2 กลุ่มวัดหลังการ ค่าที 2 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน และสถิติฟิชเชอร์เอกแซคท์ ทดลอง รายละเอียดแสดงในแผนภูมิที่ 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง คือ ทารกเกิดก่อนก�ำหนดที่มีอายุ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ครรภ์ 28-36 สัปดาห์ ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วย อินฟราเรดโมมิเตอร์ส�ำหรับวัดอุณหภูมิกายที่ผ่านการ ทารกแรกเกิดวิกฤต โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ รับรองคุณภาพจากองค์กรก�ำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับ และต้องใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ การคัดเลือก ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ระหว่างประเทศจากบริษัทที่ กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling)

116 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Wearing Plastic Cap on Body Temperature Among Preterm Infants During Umbilical Catheterization

ก �ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยค�ำนวณจากงานวิจัยของ เป็นเพศชายและเพศหญิง ร้อยละ50 เท่ากัน มีอายุครรภ์ Vohra et al. (2004) ที่ศึกษาผลของการป้องกันการ 28-34 สัปดาห์ อายุครรภ์เฉลี่ย 31.20 สัปดาห์ สูญเสียความร้อนโดยการใช้พลาสติกโพลีเอทิลีนห่อตัว (SD=2.201) น�้ำหนัก ณ วันที่ศึกษาอยู่ระหว่าง 986- ต่อการป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต�่ำในทารกเกิดก่อน 1,963 กรัม น�้ำหนัก ณ วันที่ศึกษาเฉลี่ย 1,539.60 กรัม ก�ำหนดในห้องคลอด น�ำค่าที่ได้จากการทดลองมา (SD=303.564) ชนิดของการใส่สายสวนเป็น UVC ร้อยละ ก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 90 ผู้ท�ำหัตถการเป็นแพทย์ใช้ทุนทั้ง 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 ราย รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 20 ราย (Burn & 100 ระยะเวลาท�ำหัตถการเสร็จสิ้นใช้เวลา 10 นาที Grove, 2005) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการจับคู่ คิดเป็นร้อยละ 50 ระยะเวลาท�ำหัตถการเฉลี่ย 13.50 (matched-pair) โดยแต่ละคู่มีลักษณะเหมือนกันใน นาที (SD=4.116) ระยะเวลาท�ำหัตถการเสร็จสิ้นมาก เรื่อง อายุครรภ์ น�้ำหนัก ณ วันที่ท�ำการศึกษา ชนิดของ ที่สุด 20 นาที ดังแสดงในตารางที่ 1 การใส่สายสวนหลอดเลือดสะดือและการใช้เครื่องให้ 2. ภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือดทาง ความอบอุ่นโดยการแผ่รังสีขณะใส่สายสวนหลอดเลือด สะดือทารกเกิดก่อนก�ำหนดในกลุ่มที่ได้รับการสวม สะดือ โดยทารกรายแรกที่มีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนด หมวกพลาสติกร่วมกับการพยาบาลตามปกติมีอุณหภูมิ ถูกจัดเข้ากลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุมโดยการจับฉลาก กายสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัย ทารกรายที่ 2 ที่มีลักษณะเข้าคู่กับรายแรกจะถูกจัดคู่ ส�ำคัญทางสถิติ (p<.001) ดังแสดงในตารางที่ 2 เข้ากับกลุ่มที่ได้จับฉลากไว้ในครั้งแรก แต่ถ้าทารกรายที่ 3. ภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือดทาง 2 มีลักษณะแตกต่างไปจากรายแรก จะท�ำการจับฉลาก สะดือทารกเกิดก่อนก�ำหนดในกลุ่มที่ได้รับการสวม เป็นกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุมต่อไป กระท�ำเช่นนี้ไป หมวกพลาสติกร่วมกับการพยาบาลตามปกติมีสัดส่วน เรื่อย ๆ จนได้ตัวอย่างครบ 10 คู่ การเกิดภาวะอุณหภูมิกายต�่ำน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการ พยาบาลตามปกติอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัย ดังแสดงในตารางที่ 3 1. ทารกเกิดก่อนก�ำหนดกลุ่มทดลองจ�ำนวน 10 ราย ร้อยละ 70 เป็นเพศหญิง มีอายุครรภ์ 28-34 สัปดาห์ อายุครรภ์เฉลี่ย 31.10 สัปดาห์ (SD=1.792) น�้ำหนัก ณ วันที่ศึกษาอยู่ระหว่าง 1,026-2,050 กรัม น�้ำหนัก ณ วันที่ศึกษาเฉลี่ย 1,564.60 กรัม (SD=360.765) ชนิด ของการใส่สายสวนเป็น umbilical vein catheterization (UVC) ร้อยละ 90 ผู้ท�ำหัตถการเป็นแพทย์ใช้ทุนคิดเป็น ร้อยละ 90 ระยะเวลาท�ำหัตถการเสร็จสิ้นใช้ระยะเวลา 15 นาที คิดเป็นร้อยละ 50 ระยะเวลาท�ำหัตถการเฉลี่ย 20.50 นาที (SD=9.846) ) ระยะเวลาท�ำหัตถการเสร็จ สิ้นมากที่สุด 40 นาที และลักษณะผิวหนังบริเวณศีรษะ และหน้าผากปกติภายหลังถอดหมวกพลาสติก หลังจาก เสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือคิดเป็น ร้อยละ 100 ทารกเกิดก่อนก�ำหนดกลุ่มควบคุมจ�ำนวน 10 ราย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 117 ผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนด ขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ

ทารกเกิดก่อนก าหนดที่มีคุณสมบัติตามที่ก าหนด

สุ่มเข้ากลุ่ม

กลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง

บันทึกข้อมูลทั่วไปของทารก

อุณหภูมิห้อง 26-28 OC

วัดอุณหภูมิห้องก่อนเริ่มท าหัตถการ

วัดอุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก าหนดที่ต าแหน่งหลังใบหูด้วยอินฟราเรดเทอร์โมมิเตอร์ก่อนเริ่มท าหัตถการ ( pretest )

อุณหภูมิห้อง 25- 28 OC และอุณหภูมิกาย 36.8-37.2 OC อุณหภูมิห้อง 26-28 OC ได้รับการพยาบาลตามปกติ 5 นาทีก่อนเริ่มหัตถการ

สวมหมวกพลาสติกร่วมกับได้รับการพยาบาลตามปกติ 5 นาทีก่อนเริ่มหัตถการ

ปรับตู้ควบคุมอุณหภูมิเป็นการตั้งอุณหภูมิอากาศในตู้ (air servo control mode) ชั่วคราว โดยตั้งอุณหภูมิ ให้เท่ากับอุณหภูมิตู้ ก่อนเลื่อนที่รองตัวทารกออกจากตู้

วัดอุณหภูมิกายทารกเกิดก่อนก าหนดที่ต าแหน่งหลังใบหูด้วยอินฟราเรดเทอร์โมมิเตอร์ ทุก 5 นาที ระหว่างใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ *หมายเหตุ หากทารกมีอุณหภูมิกายต ่ากว่า 36.5 องศาเซลเซียส ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดต ่ากว่า 88% และ มีอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาทีหรือมากกว่า 180 ครั้ง/นาที หาสาเหตุและช่วยเหลือ ทารกให้กลับสู่ปกติทันทีและยุติการทดลอง

วัดอุณหภูมิกายที่ต าแหน่งหลังใบหูด้วยอินฟราเรดเทอร์โมมิเตอร์หลังจากเสร็จสิ้นหัตถการทันทีก่อนถอดหมวก พลาสติกและพลาสติกโพลีเอทิลีนที่ห่อตัวออกและวัดก่อนเลื่อนถาดที่รองตัวทารกเข้าตู้ควบคุมอุณหภูมิ (posttest) แผนภมิทีู่ 1 แผนภูมิที่ แสดงการศึกษาผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก 1 แสดงการศึกษาผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนด าหนด ขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ 118 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Wearing Plastic Cap on Body Temperature Among Preterm Infants During Umbilical Catheterization

ตารางที่ 1 จ�ำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไปของทารกกลุ่มทดลองและควบคุม กลุ่มทดลอง (n=10) กลุ่มควบคุม (n=10) ลักษณะที่ศึกษา p-value จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ เพศ .361 ชาย 3 30 5 50 หญิง 7 70 5 50 อายุครรภ์ (สัปดาห์) .913 28-30 3 30 4 40 31-33 6 60 4 40 34-36 1 10 2 20 Range 28-34 28-34 ค่าเฉลี่ย (±SD) 31.10 (1.792) 31.20 (2.201) น�้ำหนัก ณ วันที่ศึกษา (กรัม) .869 <1,000 0 0 1 10 1,001-1,500 5 50 3 30 >1,500 5 50 6 60 Range 1026-2050 986-1963 ค่าเฉลี่ย (±SD) 1564.60 (360.765) 1539.60 (303.564) ชนิดของการใส่สายสวน 1.000 UVC 9 90 9 90 UAC and UVC 1 10 1 10 ผู้ท�ำหัตถการ .305 แพทย์ใช้ทุน 9 90 10 100 กุมารแพทย์ 1 10 0 0 ระยะเวลาท�ำหัตถการเสร็จสิ้น .092 10 นาที 1 10 5 50 15 นาที 5 50 3 30 ≥ 20 นาที 4 40 2 20 ค่าเฉลี่ย (±SD) 20.50 (9.846) 13.50 (4.116) (min=10, m ax=40) (min=10,max=20)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 119 ผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนด ขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบอุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนดกลุ่มทดลองและควบคุม กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม อุณหภูมิกายทารก ( ํC) (n=10) (n=10) t p-value mean SD mean SD ก่อนใส่สายสวน 5 นาที 37.09 .110 37.03 .125 -1.138 .270 ภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวน 37.08 .154 36.73 .176 -2.007 .000

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบสัดส่วนของการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต�่ำในทารกเกิดก่อนก�ำหนดกลุ่มทดลองและควบคุม กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม (n=10) (n=10) การเกิดภาวะอุณหภูมิกายต�่ำ p-value อุณหภูมิกาย อุณหภูมิกาย ร้อยละ ร้อยละ <36.8 Cํ <36.8 Cํ นาทีที่ 5 0/10 0 2/10 20 .474 นาทีที่ 10 0/10 0 5/10 50 .033 นาทีที่ 15 0/10 0 3/10 30 .027 ภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวน 0/10 0 6/10 60 .011

การอภิปรายผล พลาสติกโพลีเอทิลีนให้ขอบหมวกคลุมศีรษะลงมาถึง ผลการวิจัยพบว่าภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวน ระดับเหนือคิ้วหรือบริเวณหน้าผากที่มีตัวรับอุณหภูมิ หลอดเลือดทางสะดือ ทารกเกิดก่อนก�ำหนดในกลุ่ม ร่วมกับการพยาบาลตามปกติโดยการใช้พลาสติก ที่ได้รับการสวมหมวกพลาสติกร่วมกับการพยาบาล โพลีเอทิลีนพันรอบตัว แขนและขาทั้งสองข้างตั้งแต่ ตามปกติมีอุณหภูมิกายสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาล ระดับคอลงมาจนถึงเท้าเว้นบริเวณสะดือ ส่วนทารกเกิด ตามปกติและภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือด ก่อนก�ำหนดในกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ทางสะดือทารกเกิดก่อนก�ำหนดในกลุ่มที่ได้รับการสวม โดยการใช้พลาสติกโพลีเอทิลีนพันรอบตัว แขนและขา หมวกพลาสติกร่วมกับการพยาบาลตามปกติไม่เกิดภาวะ ทั้งสองข้างตั้งแต่ระดับคอลงมาจนถึงเท้าเว้นบริเวณสะดือ อุณหภูมิกายต�่ำ ส่วนในทารกเกิดก่อนก�ำหนดในกลุ่มที่ ซึ่งพลาสติกจะท�ำหน้าที่เหมือนเป็น ฉนวนกั้นความร้อน ได้รับการพยาบาลตามปกติมีอุณหภูมิกายเฉลี่ยต�่ำกว่า ของร่างกายผ่านผิวหนังไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก 36.8 องศาเซลเซลเซียส นาทีที่ 5 10 และ 15 จนถึงภาย (Mathew et al., 2007) และช่วยลดการสูญเสียความ หลัง ภายหลังเสร็จสิ้นการใส่สายสวนหลอดเลือดทาง ร้อนโดยการพา ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิรอบกายทารก สะดือ ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ 2 การที่ทารกเกิดก่อน เกิดก่อนก�ำหนดตำ�่ กว่าอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมจากการ ก�ำหนดในกลุ่มทดลองมีอุณหภูมิกายสูงกว่ากลุ่มควบคุม มีกระแสลมจากเครื่องปรับอากาศพัดผ่านผิวกายทารก และไม่เกิดภาวะอุณหภูมิกายต�่ำ อธิบายได้ว่า ทารกเกิด และการแผ่รังสี เป็นการสูญเสียความร้อนจากผิวกาย ก่อนก�ำหนดในกลุ่มทดลองได้รับการป้องกันการสูญเสีย ที่อุ่นของทารกเกิดก่อนก�ำหนดไปยังสิ่งแวดล้อมรอบกาย ความร้อนออกจากร่างกายบริเวณศีรษะขณะได้รับ ที่มีอุณหภูมิเย็นกว่า เช่น การแผ่รังสีไปสู่ผนังตู้ควบคุม หัตถการใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือโดยสวมหมวก อุณหภูมิ ผนังห้อง หรือสิ่งของอื่น ๆ ที่อยู่รอบกายทารก

120 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Wearing Plastic Cap on Body Temperature Among Preterm Infants During Umbilical Catheterization

ที่มีอุณหภูมิเย็นกว่าอุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อน ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ก�ำหนด (Bredemeyer, Reid, & Wallace, 2005) 1. ด้านการปฏิบัติการพยาบาล พยาบาลที่ปฏิบัติ ดังนั้นการสวมหมวกพลาสติกโพลีเอทีลีนจึงช่วยรักษา การพยาบาลในหออภิบาลทารกแรกเกิดสามารถน�ำ อุณหภูมิร่างกายของทารกให้คงที่และไม่เกิดภาวะ หมวกพลาสติกไปใช้ในทารกเกิดก่อนก�ำหนดเพื่อป้องกัน อุณหภูมิกายต�่ำ และผลการศึกษานี้ไม่พบผลข้างเคียง การสูญเสียความร้อนขณะทารกได้รับหัตถการใส่สาย เมื่อถอดหมวกพลาสติกออกภายหลังจากเสร็จสิ้นการ สวนหลอดเลือดทางสะดือ ใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ 2. ด้านการบริหารและการศึกษาการพยาบาล ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อสังเกตว่า การสวมหมวก พัฒนาแนวปฏิบัติในการป้องกันการสูญเสียความร้อน พลาสติกร่วมกับการพันรอบตัว แขนและขาทั้งสองข้าง ในทารกเกิดก่อนก�ำหนดขณะท�ำหัตถการใส่สายสวน ของทารกเกิดก่อนก�ำหนดตั้งแต่ระดับคอลงมาจนถึงเท้า หลอดเลือดทางสะดือ จัดกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจ ด้วยพลาสติกโพลีเอทิลีนและพันเว้นบริเวณสะดือของ แก่บุคลากรพยาบาลและนักศึกษาพยาบาลเกี่ยวกับ ทารกขณะได้รับการใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ การป้องกันการสูญเสียความร้อนจากร่างกายทารกเกิด ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการป้องกันการสูญเสียความ ก่อนก�ำหนดขณะท�ำหัตถการ เพื่อเพิ่มความตระหนัก ร้อนออกจากร่างกายทารกได้ดีขึ้น แม้ว่าพบว่าอุณหภูมิ และเห็นความส�ำคัญของการป้องกันการสูญเสียความร้อน กายของทารกเกิดก่อนก�ำหนดในกลุ่มควบคุมลดลงตำ�่ กว่า ช่วยลดผลกระทบจากการเกิดภาวะอุณหภูมิกายตำ�่ และ 36.8 องศาเซลเซียส แต่ก็ยังสูงกว่า 36.5 องศาเซลเซียส น�ำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล ซึ่งเป็นค่าอุณหภูมิที่บ่งบอกถึงภาวะเครียดจากความเย็น 3. ด้านการวิจัย เป็นแนวทางการในการศึกษาวิจัย ขององค์การอนามัยโลก (WHO Newborn CC., 2014) การป้องกันการสูญเสียความร้อนในทารกเกิดก่อนก�ำหนด จากที่กล่าวมาแล้ว จะเห็นได้ว่าหมวกพลาสติกโพลีเอทิลีน ที่มีประสิทธิภาพต่อไป ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นนี้สามารถป้องกันการสูญเสียความร้อน ได้ จึงท�ำให้อุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนด มีระดับ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ปกติและไม่เกิดภาวะอุณหภูมิกายต�่ำ และไม่ท�ำให้เกิด 1. พัฒนานวัตกรรมหมวกพลาสติกโดยเลือกใช้ ความผิดปกติของผิวหนังบริเวณศีรษะและหน้าผาก พลาสติกชนิดที่มีคุณสมบัติทนความร้อนและสารเคมี ภายหลังถอดหมวกพลาสติกหลังจากเสร็จสิ้นการใส่สาย ได้ดีชนิดที่มีความนิ่มมากขึ้น สวนหลอดเลือดทางสะดือ ดังนั้นการสวมหมวกพลาสติก 2. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นและความ จึงเป็นวิธีการที่เหมาะสมส�ำหรับทารกเกิดก่อนก�ำหนด พึงพอใจของบุคลากรด้านสุขภาพ ได้แก่ แพทย์ผู้ท�ำ ที่ได้รับการใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือและการ หัตการ พยาบาลที่ดูแล เกี่ยวกับผลของการใช้นวัตกรรม สวมหมวกพลาสติกร่วมกับการพันรอบตัว แขนและขา หมวกพลาสติกเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนในทารก ทั้งสองข้างของทารกตั้งแต่ระดับคอลงมาจนถึงเท้าด้วย เกิดก่อนก�ำหนดขณะท�ำหัตถการใส่สายสวนหลอดเลือด พลาสติกโพลีเอทิลีนและพันเว้นบริเวณสะดือของทารก ทางสะดือ ส�ำหรับใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการป้องกันการสูญเสียความร้อนออกจาก ร่างกายในทารกเกิดก่อนก�ำหนดที่ได้รับการใส่สายสวน หลอดเลือดทางสะดือได้ดียิ่งขึ้น

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 121 ผลของการสวมหมวกพลาสติกต่ออุณหภูมิกายของทารกเกิดก่อนก�ำหนด ขณะใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดือ

เอกสารอ้างอิง Blackburn, S. T. (2007). Thermoregulation. Maternal, fetal, & neonatal physiology: A clinical perspective. Elsevier Health Sciences. Bredemeyer, S., Reid, S., & Wallace, M. (2005). Thermal management for premature births. Journal of Advanced Nursing, 52(5), 482-489. doi: 10.1111/j.1365-2648.2005.03616. Burns, N., & Grove, S. K. (2005). The Practice of Nursing Research Conduct Critique and Utilization (5th ed.) Pennsylvania: Elsevier. Mathew, B., Lakshminrusimha, S., Cominsky, K., Schroder, E., & Carrion, V. (2007). Vinyl bags prevent hypothermia at birth in preterm infants. The Indian Journal of Pediatrics, 74(3), 249-253. Retrieved From http://download.springer.com/static/pdf/828/art%253A10.1007 %252Fs 12098-007-0039-5.pdf?auth66=1426446080_5bc278801fe64e5b4b0ab436 f9187 f3e&ext=.pdf Nuntnarumit, P. (2015). Measuring and temperature control in neonates. In: Pracha Nuntnarumit, editor. Application of physiological knowledge to care for newborns (page 20-49). Bangkok: Holistic Publishing, Co. Rutter, N. (1999). Temperature control and its disorders. In Rennie, J. M., & Roberton, N. R. C. (Eds.), Textbook of Neonatology (3rded., pp. 289-294). Churchill Livingstone. Suso, P. (2011). Mechanical properties of plastic tertiary blends high density polyethylene, low density polyethylene and polypropylene. (Master’s thesis). Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. Swatesutipun, B. (2010). A randomized controlled trial of plastic drape for prevention hypothermia during umbilical catheterization. (Master’s thesis). Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. Thai Neonatal Society. (2010). Basis newborn care. Bangkok: Pim-luck Printing. Trevisanuto, D., Doglioni, N., Cavallin, F., Parotto, M., Micaglio, M., & Zanardo, V. (2010). Heat loss prevention in very preterm infants in delivery rooms: A prospective, randomized, controlled trial of polyethylene caps. The Journal of Pediatrics, 156(6), 914-917. doi: 10.1016/j.jpeds.2009.12.021 Vohra, S., Roberts, R. S., Zhang, B., Janes, M., & Schmidt, B. (2004). Heat Loss Prevention (HeLP) in the delivery room: a randomized controlled trial of polyethylene occlusive skin wrapping in very preterm infants. The Journal of Pediatrics, 145(6), 750-753. doi: 10.1016/j.jpeds .2004.07.036 WHO Newborn CC. (2014). Thermal Protection. Retrieved January 1, 2020 from www.newbornwhocc.org/.

122 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital

ณัฐวิภา บุญเกิดรัมย์ * Nattawipa Boonkirdram * วิลาวัณย์ พิเชียรเสถียร ** Wilawan Picheansathian ** พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น ** Pimpaporn Klunklin **

บทคัดย่อ การแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วย รวมทั้งบุคลากร สุขภาพ โรงพยาบาล ชุมชน และประเทศชาติ การวิจัยเชิงพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิก ส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม ในแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลศูนย์ ด�ำเนิน การระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสุขภาพที่ปฏิบัติงาน ในแผนกอายุรกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จ�ำนวน 131 คน และทดลองใช้แผนการดูแลทางคลินิกกับกลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรือสงสัยว่าติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยแผนกอายุรกรรม จ�ำนวน 10 คน การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกใช้แนวคิดของ Cheah (2000) 3 ขั้นตอน ได้แก่ การประเมินและวิเคราะห์ สถานการณ์ การออกแบบแผนการดูแลทางคลินิก และการทดลองใช้แผนการดูแลทางคลินิก เครื่องมือที่ใช้ในการ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพต่อความเป็นไปได้ ในการใช้แผนการดูแลทางคลินิก ซึ่งตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความ เที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการจัดกลุ่มค�ำตอบ ผลการวิจัยพบว่า แผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลาย กลุ่มในโรงพยาบาล ประกอบด้วย การคัดกรอง การใช้หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางการสัมผัส การสวม ผ้าปิดปากปิดจมูก การท�ำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยด้วย 2% คลอเฮ็กซิดีน กลูโคเนต การท�ำความสะอาดสิ่งแวดล้อม การแจ้งเตือนบุคลากรสุขภาพ การส่งต่อระหว่างหน่วยงาน การเฝ้าระวังเชิงรุกและการระมัดระวังความผิดพลาด ในการให้ยาและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าแผนการดูแลทางคลินิกนี้มีความ ชัดเจน สะดวก ปฏิบัติได้ง่าย และเหมาะสมในการใช้ปฏิบัติในหน่วยงาน การวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้น�ำแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ ดื้อยาหลายกลุ่มนี้ไปใช้ในโรงพยาบาลต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: แผนการดูแลทางคลินิก การป้องกันและควบคุม การแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม

* พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ โรงพยาบาลสกลนคร จังหวัดสกลนคร * Professional nurse, Sakonnakhon hospital, Sakonnakhon Province, [email protected] ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 123 การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล

Abstract Transmission of multidrug-resistant organisms in hospitals has a direct impact on patients, health care personnel, the hospital, community, and the nation. This developmental research aimed to develop a clinical pathway for prevention and control of multidrug-resistant organism transmission in the medical department at a regional hospital during October 2015 to January 2016. Study samples included 131 health care personnel who worked in the medical department and related units. Ten patients infected or suspected of multidrug-resistant organism infection and admitted at the medical department were included in the test using the clinical pathway implementation process. The process for developing the clinical pathway was based on the framework of Cheah. Three development steps were included: 1) assessing and analyzing the situation, 2) designing the clinical pathway, and 3) testing the implementation of clinical pathway. The data collection instruments consisted of a demographic data record form and questionnaire assessing the opinions of health care personnel towards the use of the clinical pathway. The content validity of the questionnaire was examined by 5 experts and the content validity index was .90. Data were analyzed using descriptive statistics and data categorization. The results revealed that the clinical pathway for prevention and control of multidrug-resistant organisms included: screening, using contact precautions, wearing masks, cleaning patients’ bodies with 2% Chlorhexidine gluconate, cleaning the environment, reminding the health care personnel, proper transfer of patient between units, active surveillance, and being careful of medical errors and adverse events. Most health care personnel agreed that this clinical pathway was clear, convenient, practical and appropriate for implementation in their units. This research suggests that this clinical pathway for prevention and control of multidrug-resistant organisms should be routinely implemented in the hospital.

Key word: Clinical Pathway, Prevention and Control, Multidrug-Resistant Organisms Transmission.

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา cephalosporins) พบมากกว่าร้อยละ 30 (WHO, 2014) การดื้อยาหลายกลุ่ม (Multidrug-Resistance ส�ำหรับประเทศไทย จากรายงานข้อมูลของศูนย์เฝ้าระวัง [MDR]) ของเชื้อจุลชีพในโรงพยาบาลเป็นปัญหาที่มี การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ (National ความรุนแรงและเป็นภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในหลาย Antimicrobial Resistance Surveillance Center, ประเทศทั่วโลก จากรายงานการเฝ้าระวังพบว่าเชื้อดื้อยา Thailand [NARST]) พบว่า เชื้อ E. coli ดื้อต่อยากลุ่ม หลายกลุ่มเช่น เชื้อสแตฟิโลคอคคัส ออเรียส ที่ดื้อต่อยา ฟูลออโร-ควิโนโลน (Fluoroquinolones) เพิ่มจากร้อยละ เมทิซิลลิน (Methicillin-resistant Staphylococcus 40.14 ในปี พ.ศ. 2543 เป็นร้อยละ 54.90 ในปี พ.ศ. aureus [MRSA]) พบร้อยละ 20-80 ส่วนเชื้อเคลบเซลลา 2557 และเชื้อ Acinetobacter baumannii ดื้อต่อยากลุ่ม นิวโมนิอี (Klebsiella pneumonia [K. pneumoniae]) Carbapenems เพิ่มจากร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2543 ที่ดื้อต่อยากลุ่มเซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 (third-generation เป็นร้อยละ 70.17 ในปี พ.ศ. 2557 (National

124 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital

Antimicrobial Resistance Surveillance Center, โรงพยาบาลในประเทศไทยได้ก�ำหนดแนวปฏิบัติดังกล่าว Thailand, 2014) ขึ้นตามหลักฐานเชิงประจักษ์ แต่ยังพบรายงานการแพร่ การติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มก่อให้เกิดผลกระทบ กระจายเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลอยู่ อาจเนื่อง โดยตรงต่อผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ดังเช่น มาจากการรับผู้ป่วยเข้ารับการรักษาทั้งที่ทราบหรือ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอ็นเทอโรแบคทีเรียซีอีที่ดื้อยาจากการ ไม่ทราบว่ามีการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม โดยเฉพาะ สร้างเอนไซม์เบต้าแลคตาเมสชนิดออกฤทธิ์กว้าง อย่างยิ่งโรงพยาบาลศูนย์ ซึ่งให้การรักษาผู้ป่วยที่ยุ่งยาก (ESBL-producing Enterobacteriaceae) มีอาการ ซับซ้อน รวมทั้งรองรับผู้ป่วยที่ส่งต่อมาจากโรงพยาบาล รุนแรงและไม่ตอบสนองต่อการรักษาเป็น 2.38 เท่า อื่น ๆ (Strategy and Planning Division Ministry of ของผู้ป่วยที่ไม่ติดเชื้อดื้อยาดังกล่าว (Maslikowska et Public Health, Thailand, 2013) จึงมีโอกาสรับผู้ป่วย al, 2016) นอกจากนี้ผู้ป่วยยังต้องเข้ารับการรักษาใน ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มทั้งที่แสดงอาการและไม่แสดง โรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น และอาจ อาการ อีกทั้งขาดการคัดกรองผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มแรกที่มา เสียชีวิตได้ ดังการศึกษาในประเทศตุรกี พบว่าการ รับบริการ ผู้ป่วยเหล่านี้สามารถแพร่กระจายเชื้อขณะ ติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจที่เกิดจาก เข้ารับบริการในหน่วยบริการต่าง ๆ ที่มีการส่งต่อผู้ป่วย เชื้ออะซิเนโทแบคเทอร์บาวแมนนิไอที่ดื้อยาแบบขยาย ไปรับการตรวจวินิจฉัยหรือรักษาพยาบาล โดยที่บุคลากร วงกว้าง (Extreme Drug-Resistant Acinetobacter สุขภาพในหน่วยงานดังกล่าวไม่ทราบและไม่ได้ปฏิบัติ baumannii [XDR-AB]) ท�ำให้ผู้ป่วยรักษาใน ตามหลักการป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ โรงพยาบาลนานขึ้นเฉลี่ย 39.0+18.9 วัน ในขณะที่ผู้ป่วย อย่างเคร่งครัด หรือปฏิบัติไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ที่ไม่ติดเชื้อดื้อยาดังกล่าว รับการรักษาในโรงพยาบาล เป็นเหตุให้อุบัติการณ์การติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มไม่ลดลง เฉลี่ย 27.8+13.2 วัน (Özgür et al., 2014) จากรายงาน (Huskins et al., 2011) และก่อให้เกิดการระบาดของ ของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา เชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลได้ (Knoester et al., (CDC, 2013) และศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่ง 2014) ดังนั้นการก�ำหนดการดูแลผู้ป่วยที่ดีมีการสื่อสาร สหภาพยุโรป (ECDC, 2012) พบผู้ป่วยเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ที่ดีระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ และการปฏิบัติเป็นไปใน จากการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม และเสียค่าใช้จ่ายในการ มาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้การป้องกันการแพร่กระจาย รักษาเพิ่มขึ้นกว่าปกติ ส่วนผลกระทบต่อชุมชนนั้นพบว่า เชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมี หากผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มได้รับการจ�ำหน่าย ประสิทธิภาพ จึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาแผนการดูแล กลับบ้านโดยที่ยังมีเชื้ออาศัยอยู่ในร่างกาย จะท�ำให้เกิด ทางคลินิกส�ำหรับป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย การแพร่กระจายเชื้อสู่บุคคลและสิ่งแวดล้อมใน เชื้อหลายกลุ่มในโรงพยาบาล ครอบครัวและชุมชนได้ (Fritz et al., 2014) การทบทวนอย่างเป็นระบบของ Rotter et al. เชื้อดื้อยาสามารถแพร่กระจายได้โดยการสัมผัสกับ (2010) จากงานวิจัย 27 ฉบับ พบว่าการใช้แผนการดูแล ตัวผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมผ่านมือของบุคลากรสุขภาพ ทางคลินิกช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน (OR=0.58, ที่ดูแลผู้ป่วย (Knoester et al., 2014) การระบาดอาจ 95% CI: 0.36-0.94) และปรับปรุงเรื่องงานเอกสาร เกิดขึ้นได้จากการคัดกรองที่ไม่ดีพอ โดยเฉพาะกับผู้ป่วย (OR= 11.95, 95% CI: 4.72-30.30) แผนการดูแลทาง ที่มีเชื้อดื้อยาก่อนิคมโดยที่ไม่แสดงอาการ นอกจากนี้ยัง คลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย เกิดจากการรายงานการเฝ้าระวังการติดเชื้อที่ไม่ดีพอ ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลในต่างประเทศ และไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการป้องกันและควบคุม พบว่ามีการน�ำมาใช้ในการดูแลเฉพาะกับผู้ป่วยที่ติดเชื้อ การติดเชื้อดื้อยาดังกล่าว (Herbert et al., 2007) แม้ว่า MRSA (Wolstenholme, 2005) ส่วนในประเทศไทย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 125 การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล

ยังไม่พบแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มใน การแพร่กระจายเชื้อจากผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหลาย โรงพยาบาล ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาแผนการดูแลทาง กลุ่มในโรงพยาบาลโดยการสัมผัสผ่านมือของพยาบาล คลินิกส�ำหรับป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ และบุคลากรสุขภาพอื่น ๆ ที่ปนเปื้อนเชื้อ การคัดกรอง หลายกลุ่มเพื่อใช้ในโรงพยาบาลศูนย์ ตามแนวคิดของ ที่ไม่ดีพอและการที่ไม่มีแผนการปฏิบัติในการป้องกัน Cheah (2000) ซึ่งก�ำหนดไว้ 5 ขั้นตอน คือ 1) การประเมิน และควบคุมการติดเชื้อที่เป็นมาตรฐานเดียวกันในหน่วย และวิเคราะห์สถานการณ์ 2) การออกแบบแผนการดูแล งานที่เกี่ยวข้อง แผนการดูแลทางคลินิกตามหลักฐาน ทางคลินิก 3) การทดลองใช้แผนการดูแลทางคลินิก 4) เชิงประจักษ์เป็นเครื่องมือของทีมสหสาขาวิชาชีพที่ การน�ำแผนการดูแลทางคลินิกไปใช้ และ 5) การประเมิน เกี่ยวข้องในการจัดการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ผลและบูรณาการแผนการดูแลทางคลินิก โดยการวิจัย ดื้อยาหลายกลุ่ม โดยใช้ปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่แรก ครั้งนี้ ด�ำเนินการเฉพาะในขั้นตอนที่ 1-3 โดยพัฒนา รับเข้ารักษาในหอผู้ป่วยจนกระทั่งจ�ำหน่ายกลับบ้าน แผนการดูแลทางคลินิกขึ้นใช้ในแผนกอายุรกรรม เนื่องจากแผนการดังกล่าวจะช่วยควบคุมกระบวนการ เนื่องจากเป็นแผนกที่รับผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม ปฏิบัติ ลดความแตกต่างในการปฏิบัติ และท�ำให้เกิดการ มากที่สุด การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกดังกล่าวจะ ประสานงานระหว่างหน่วยงานที่ดี มีผลท�ำให้ระบบการ ช่วยให้โรงพยาบาลมีแนวปฏิบัติส�ำหรับบุคลากรสุขภาพ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในหอผู้ป่วย ในการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น การพัฒนาแผนการ หลายกลุ่มในโรงพยาบาลที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ดูแลทางคลินิกในการวิจัยครั้งนี้ใช้แนวคิดของ Cheah มากขึ้น ซึ่งจะน�ำไปสู่การลดการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา (2000) ใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การประเมินและวิเคราะห์ หลายกลุ่มในโรงพยาบาล มีผลท�ำให้ผู้ป่วยและบุคลากร สถานการณ์ 2) การออกแบบแผนการดูแลทางคลินิก สุขภาพปลอดภัยจากการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มต่อไป 3) การทดลองใช้แผนการดูแลทางคลินิก ซึ่งจะท�ำให้ได้ แผนการดูแลทางคลินิกที่เหมาะสมและมีความเป็นไปได้ วัตถุประสงค์การวิจัย ส�ำหรับพยาบาลและบุคลกรสุขภาพใช้ในการปฏิบัติการ 1. เพื่อพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการ ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มใน ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยา โรงพยาบาลให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน หลายกลุ่มในโรงพยาบาล 2. เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้แผนการดูแล วิธีด�ำเนินการวิจัย ทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่ การวิจัยเชิงพัฒนาครั้งนี้ท�ำการศึกษาในแผนก กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล อายุรกรรม โรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสุขภาพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่ ค�ำถามการวิจัย เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม 11 1. แผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและ หน่วยงาน ได้แก่ หอผู้ป่วยอายุรกรรม จ�ำนวน 5 หอผู้ป่วย ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มใน หน่วยไตเทียม หน่วยตรวจพิเศษ 5 หน่วย รวม 131 คน โรงพยาบาล มีลักษณะอย่างไร ประกอบด้วย อายุรแพทย์ 5 คน บุคลากรทางการพยาบาล 2. แผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและ 92 คน เจ้าหน้าที่หน่วยรังสี 10 คน เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจ ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มมี พิเศษหัวใจและหลอดเลือด 2 คน เจ้าหน้าที่หน่วยบริการ ความเป็นไปได้ในการน�ำไปปฏิบัติในโรงพยาบาลหรือไม่ CT scan 8 คน เจ้าหน้าที่หน่วยบริการ MRI 4 คน และ

126 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital

พนักงานเปล 10 คน ส่วนผู้ป่วยที่เข้าร่วมทดลองใช้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และโรงพยาบาลที่ศึกษา ผู้วิจัย แผนการดูแลทางคลินิกเป็นผู้ป่วยติดเชื้อหรือสงสัยว่า เข้าพบหัวหน้าหน่วยงาน หัวหน้าหอผู้ป่วยและบุคลากร ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในช่วงที่ทดลองใช้แผนการดูแล สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยแผนกอายุรกรรม ทางคลินิกระยะเวลา 2 สัปดาห์ จ�ำนวน 10 คน ด�ำเนิน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีด�ำเนินการวิจัย ประโยชน์ที่ได้ การระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึง เดือนมกราคม รับจากการวิจัย และขอความร่วมมือในการด�ำเนินการวิจัย พ.ศ. 2559 บุคลากรสุขภาพที่ยินดีเข้าร่วมการวิจัยลงชื่อในใบ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยสร้างขึ้น ยินยอมเข้าร่วมการวิจัย หลังจากนั้นผู้วิจัยด�ำเนินการ จากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส่วนที่ 1 พัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของบุคลากรสุขภาพ ลักษณะ ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มใน ข้อค�ำถามเป็นแบบปลายปิด ประกอบด้วย ข้อค�ำถาม โรงพยาบาล ตามแนวคิดการพัฒนาแผนการดูแลทาง เกี่ยวกับ เพศ อายุ ต�ำแหน่งการปฏิบัติงาน หน่วยงานที่ คลินิกของ Cheah (2000) ใน 3 ขั้นตอน ดังนี้ ปฏิบัติงาน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน การเคยได้รับ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์ การอบรม และการเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับการป้องกัน โดยแต่งตั้งทีมพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกจาก และควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มใน บุคลากรสุขภาพที่เป็นตัวแทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาล และส่วนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็น กับการดูแลผู้ป่วยแผนกอายุรกรรม ผู้วิจัยและทีมพัฒนา ของบุคลากรสุขภาพต่อความเป็นไปได้ในการใช้แผนการ ร่วมกันทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ค้นหาปัญหา และ ดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่ วิเคราะห์ตามแนวคิด SWOT analysis หาจุดแข็ง จุดอ่อน กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล มีลักษณะ โอกาส และอุปสรรค วิเคราะห์สถานการณ์การปฏิบัติ เป็นค�ำถามปลายเปิดและปลายปิด ประกอบด้วยค�ำถาม การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม ปลายปิดในเรื่อง ความชัดเจน ความสะดวก ความง่าย ของบุคลากรสุขภาพที่ปฏิบัติงานในแผนกอายุรกรรม และความเหมาะสมในการน�ำแผนการดูแลทางคลินิกไป แล้วน�ำมาใช้ก�ำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และแนวทาง ใช้ในการปฏิบัติจริง ลักษณะค�ำตอบเป็นแบบมาตราส่วน ของแผนการดูแลทางคลินิกที่จะพัฒนา หลังจากนั้น ประมาณค่าของลิเคอร์ท (Likert scale) 4 ระดับ ได้แก่ ผู้วิจัยจัดการอบรมให้ความรู้แก่ทีมพัฒนาทุกคนเรื่อง เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง การด�ำเนินการพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกและวิธีการ ส่วนค�ำถามปลายเปิดเป็นค�ำถามเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรค สืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ เพื่อสร้างความรู้และความ และข้อเสนอแนะในการใช้แผนการดูแลทางคลินิก เข้าใจตรงกันเกี่ยวกับการพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิก ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิง ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบแผนการดูแลทางคลินิก เนื้อหา (content validity) จากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน โดยก�ำหนดกลุ่มผู้ป่วย เลือกศึกษาในผู้ป่วยติดเชื้อหรือ ได้แก่ อาจารย์พยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้านแนวปฏิบัติทาง สงสัยว่าติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มที่มารับการรักษาในหอ คลินิก 2 ท่าน อาจารย์พยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้านการ ผู้ป่วยแผนกอายุรกรรมในโรงพยาบาล ทีมพัฒนาร่วมกัน ควบคุมการติดเชื้อ 2 ท่าน และพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ สืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์อย่างเป็นระบบ ก�ำหนด ในโรงพยาบาล 1 ท่าน ได้ค่าดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา วัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการสืบค้นและการคัดเลือก ได้แก่ (content validity index [CVI]) ของแบบสอบถามส่วน งานวิจัยที่ตีพิมพ์เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ในช่วง ที่ 2 เท่ากับ .90 ปี ค.ศ. 2000 -2016 สืบค้นจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การวิจัยด�ำเนินการภายหลังจากได้รับอนุมัติจาก วิทยาศาสตร์สุขภาพ สถาบัน หรือองค์กรให้บริการเผยแพร่ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ ข้อมูลทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและวิจัย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 127 การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล

หลังจากนั้นผู้วิจัยและทีมพัฒนาท�ำการประเมินคุณภาพ ทางคลินิก ชี้แจงรายละเอียดของแผนการดูแลทางคลินิก ของหลักฐานเชิงประจักษ์ สรุปข้อมูลที่ได้และก�ำหนด ของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เปิดโอกาสให้ซักถาม เป็นแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและ เพื่อท�ำให้เข้าใจตรงกันในการน�ำไปทดลองใช้ ติดโปสเตอร์ ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มใน แสดงแผนการดูแลทางคลินิกในบริเวณที่ปฏิบัติงานของ แผนกอายุรกรรมในโรงพยาบาล โดยก�ำหนดระดับความ แต่ละหน่วยงานเพื่อกระตุ้นเตือนให้บุคลากรปฏิบัติตาม น่าเชื่อถือของหลักฐานเชิงประจักษ์ (level of evidence) แผนการดูแลทางคลินิก แจกแผ่นพับแผนการดูแลทาง และระดับข้อเสนอแนะตามความสามารถในการน�ำไป คลินิก รวมทั้งสนับสนุนอุปกรณ์ให้เพียงพอในการปฏิบัติ ประยุกต์ใช้ (grade for recommendation) ตามเกณฑ์ ตามแผนการดูแลทางคลินิก ได้แก่ ผ้าปิดปากปิดจมูก ของสถาบันโจแอนนาบริกส์ (The Joanna Briggs ถุงมือ เสื้อคลุม แอลกอฮอล์ส�ำหรับท�ำความสะอาดมือ Institute Levels of Evidence and Grade of หลังจากนั้นให้บุคลากรสุขภาพในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Recommendation Working Party, 2014) ยกร่าง น�ำแผนการดูแลทางคลินิกไปทดลองใช้กับผู้ป่วยติดเชื้อ แผนการดูแลทางคลินิกโดยจัดท�ำเป็นเนื้อหาความเรียง หรือสงสัยว่าติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มที่เข้ารับการรักษา และระบุระดับคุณภาพของข้อมูล จัดท�ำเป็นแผนภูมิการ ในหอผู้ป่วยแผนกอายุรกรรม จ�ำนวน 5 ราย เป็นเวลา ปฏิบัติของแต่ละหน่วยงาน น�ำแผนการดูแลทางคลินิก 1 สัปดาห์ จากนั้น ผู้วิจัยแจกสอบถามความความคิดเห็น ที่จัดท�ำไปตรวจสอบคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ของบุคลากรสุขภาพถึงความเป็นไปได้ในการใช้แผนการ ประกอบด้วย อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยา ดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่ หลายกลุ่ม แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมการติดเชื้อ กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม เมื่อสิ้นสุดการทดลองใช้ ในโรงพยาบาล อาจารย์พยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้านการ ผู้วิจัยได้จัดพิมพ์แผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการ ควบคุมการติดเชื้อ พยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลาย ด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและควบคุมการติดเชื้อ กลุ่มในโรงพยาบาลเป็นรูปเล่มและมอบให้กับหน่วยงาน และอาจารย์พยาบาลที่เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาแนว ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยในแผนกอายุรกรรมทุก ปฏิบัติหรือแผนการดูแลทางคลินิก จากนั้นน�ำข้อเสนอ หน่วยงาน แนะจากผู้ทรงคุณวุฒิมาปรับปรุงแก้ไขให้แผนการดูแล การวิเคราะห์ข้อมูล ทางคลินิกมีความถูกต้องด้านเนื้อหามากขึ้น ข้อมูลทั่วไปของบุคลากรสุขภาพใช้สถิติเชิง ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้แผนการดูแลทางคลินิก พรรณนา ส่วนความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพต่อ โดยน�ำแผนการดูแลทางคลินิกไปทดลองใช้กับผู้ป่วยติดเชื้อ ความเป็นไปได้ในการใช้แผนการดูแลทางคลินิกใช้สถิติ หรือสงสัยว่าติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มที่เข้ารับการรักษา เชิงพรรณนาและการจัดกลุ่มค�ำตอบจากค�ำตอบของ ในหอผู้ป่วยแผนกอายุรกรรมดังแสดงในแผนภูมิที่ 1 ค�ำถามปลายเปิด ในโรงพยาบาลที่ศึกษา จ�ำนวน 5 ราย เป็นเวลา 1 สัปดาห์ โดยผู้วิจัยท�ำหน้าที่ประสานงาน อ�ำนวยความสะดวก ผลการวิจัย จัดหาอุปกรณ์และของใช้ที่จ�ำเป็นให้เพียงพอ เมื่อสิ้นสุด ผลจากการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์ การทดลองใช้กับผู้ป่วย 5 รายนี้แล้ว ผู้วิจัยและทีมพัฒนา การด�ำเนินการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ ประชุมกันเพื่อสรุปผลการทดลองใช้ ปัญหาที่พบและ ดื้อยาหลายกลุ่มในแผนกอายุรกรรมในโรงพยาบาล แนวทางการแก้ไข ปรับปรุงแผนการดูแลให้ชัดเจนขึ้น ที่ศึกษาพบว่า มีปัญหาหลายประการ ได้แก่ แนวปฏิบัติ แล้วด�ำเนินการอบรมให้ความรู้แก่บุคคลากรสุขภาพ ยังไม่ครอบคลุมทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วย ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะทดลองใช้แผนการดูแล บุคลากรสุขภาพยังขาดความรู้ ขาดการปฏิบัติตามแนว

128 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital

ปฏิบัติที่มีอยู่ ขาดการคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อหรือสงสัยว่า ผู้ป่วยนั้นก�ำหนดให้ใช้แบบคัดกรองจากการศึกษาของ ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มตั้งแต่เริ่มแรกที่เข้ารับการรักษา นฤมล จุ้ยเล็ก ที่มีการให้คะแนนปัจจัยเสี่ยงของการ ในโรงพยาบาล ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงาน ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม มีคะแนนรวม 42 คะแนน ขาดการให้ข้อมูลย้อนกลับ ขาดการนิเทศและควบคุม ก�ำหนดจุดตัดที่ 15 คะแนน หากได้คะแนน < 15 ถือว่า ก�ำกับการปฏิบัติของบุคลากรสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยไม่มีความเสี่ยงของการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม การสื่อสารระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพไม่เป็นไปในแนว หากได้คะแนน ≥ 15 ถือว่าผู้ป่วยมีโอกาสติดเชื้อดื้อยา เดียวกัน อุปกรณ์ที่ใช้ในการแยกผู้ป่วยแต่ละราย หรือสงสัยว่าติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม ซึ่งแบบคัดกรองนี้ ไม่เพียงพอ ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในแผนกอายุรกรรม มีความถูกต้องในการท�ำนายการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม มีจ�ำนวนมาก อัตราก�ำลังบุคลากรสุขภาพไม่เพียงพอ ในโรงพยาบาลร้อยละ 96.4 เมื่อก�ำหนดจุดตัดที่ 15 และห้องแยกไม่เพียงพอ ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้ผู้วิจัยและ คะแนน มีค่าความไว ความจ�ำเพาะ การท�ำนายเชิงบวก ทีมพัฒนาประเมินแล้วพบว่ามีโอกาสที่จะพัฒนาให้ดีขึ้นได้ การท�ำนายเชิงลบ ร้อยละ 82.2, 95.7, 91.8 และ 90.1 แผนการดูแลทางคลินิกที่พัฒนาขึ้นมีเนื้อหาตาม ตามล�ำดับ (Juylek, Picheansathian, & Klunklin, ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ผู้วิจัยและทีมพัฒนา 2016) จึงมีคุณสมบัติดีพอที่จะใช้ในการคัดกรองผู้ป่วย สืบค้นจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จ�ำนวน 77 ฉบับ แต่สามารถ เชื้อดื้อยาหลายกลุ่มได้ ทั้งนี้การใช้แผนการดูแลทาง เลือกน�ำมาก�ำหนดแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการ คลินิกก�ำหนดให้โรงพยาบาลต้องจัดการอบรมแก่บุคลากร ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลาย สุขภาพที่เกี่ยวข้อง หัวหน้าหอผู้ป่วยหรือหน่วยงาน และ กลุ่มในโรงพยาบาลได้ มีจ�ำนวน 30 ฉบับ ได้แก่ การทบทวน พยาบาลควบคุมการติดเชื้อ ต้องนิเทศติดตามการปฏิบัติ งานวิจัยอย่างเป็นระบบ 8 ฉบับ การวิจัยเชิงทดลอง และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่บุคลากรสุขภาพด้วย แบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม 5 ฉบับ การวิจัยกึ่งทดลอง 12 ฉบับ การวิจัยเชิงพัฒนา 2 ฉบับ การวิจัยแบบติดตาม ไปข้างหน้า 2 ฉบับ และการศึกษาแบบสังเกตเชิงวิเคราะห์ 1 ฉบับ สรุปข้อมูลจัดท�ำเป็นแผนการดูแลทางคลินิกแบบ ความเรียงที่ก�ำหนด level of evidence และ grade for recommendation ตามสถาบันโจแอนนาบริกส์ (The Joanna Briggs Institute Levels of Evidence and Grade of Recommendation Working Party, 2014) และจัดท�ำเป็นแผนภูมิแผนการดูแลทางคลินิก ของแต่ละหน่วยงาน แผนการดูแลทางคลินิกที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย การคัดกรองผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม การใช้หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางการ สัมผัส การสวมผ้าปิดปากปิดจมูกเมื่อท�ำกิจกรรมการที่ เกิดการฟุ้งกระจาย การท�ำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยด้วย 2% คลอเฮ็กซิดีน กลูโคเนต การท�ำความสะอาดสิ่งแวดล้อม การแจ้งเตือนบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การส่งต่อระหว่าง หน่วยงาน การเฝ้าระวังเชิงรุก การระมัดระวังความผิดพลาด ในการให้ยาและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ในการคัดกรอง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 129 ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม หากได้คะแนน  15 ถือว่าผู้ป่วยมีโอกาสติดเชื ้อดื้อยาหรือสงสัยว่าติดเชื ้อดื้อยา หลายกลุ่ม ซึ่งแบบคัดกรองนีมีความถูกต้องในการท ้ านายการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลร้อยละ 96.4 เมื่อก าหนดจุดตัดที่ 15 คะแนน มีค่าความไว ความจ าเพาะ การท านายเชิงบวก การท านายเชิงลบ ร้อยละ 82.2, 95.7, 91.8 และ 90.1 ตามล าดับ (Juylek, Picheansathian, & Klunklin, 2016) จึงมีคุณสมบัติดีพอที่จะ ใช้ในการคัดกรองผู้ป่วยเชื ้อดื ้อยาหลายกลุ่มได้ ทั ้งนีการใช้แผนการดูแลทางคลินิกก ้ าหนดให้โรงพยาบาลต้อง จัดการอบรมแก่บุคลากรสุขภาพที่เกี่ยวข้อง หัวหน้าหอผู้ป่วยหรือหน่วยงาน และพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ ต้องนิเทศติดตามการปฏิบัติและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่บุคลากรสุขภาพด้วยการพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล

แผนภูมิที่แผนการด 1 แผนการดูแลทางคลินิกูแลทางคลินิก หอผ้ป่วยอายุรกรรมู หอผู้ป่วยอายุรกรรม

คะแนน < 15 คัดกรอง ผ้ป่วยรับใหมู่ /รับย้าย

ดูแลผ้ป่วยตามปกติู คะแนน  15

1. ใช้หลักการ contact precautions เฝ้าระวังเชิงรุก 1.1 แยกผ้ป่วยเข้าห้องแยกู หรือแยกบริเวณเฉพาะ ส่งตรวจเพาะเชื้อจากตาแหน่งจม ูก 1.2 แจ้งแพทย์เจ้าของไข้และทีมสหสาขาวิชาชีพ คอ และทวารหนัก 1.3 ติดสติ๊กเกอร์ CP หน้าแฟ้มประวัติผ้ป่วยู , Kardex และ แขวนป้ าย CP ที่ปลายเตียง ผลลบ 1.4 ทาความสะอาดมือตามข้อบ่งชี้ ก่อนสวมถุงมือและหลัง ยุติการใช้หลักการ ถอดถุงมือ Contact precautions ผลเพาะเชื้อ 1.5 สวมเสื้อคลุมและถุงมือในการดแลผู ้ป่วยู และดูแลผ้ป่วยตามปกติู 2. สวมผ้าปิดปากปิดจม ูกเมื่อทากิจกรรมที่เกิดการฟุ้งกระจาย 3. ใ ช้น ้ายา 2% คลอเฮ็กซิดีน กลูโคเนต เช็ดทาความสะอาดร่างกาย ผ้ป่วยตั้งแต่คอลงไปแทนสบู ่วันละู 1 ครั้ง ผลบวก 4. ท าความสะอาดสิ่งแวดล้อมในห้องผ ้ป่วยู หรือบริเวณที่แยก 1.ให้ใช้หลักการ Contact precautions ผ้ป่วยเฉพาะู ด้วยน ้ายาโซเดียมไฮโปคลอไรด์ 1:100 2. ส่งตรวจเพาะเชื้อซ ้าทุกสัปดาห์ 5. การดแลผู ้ป่วยในห้องแยกู ควรระวัง Medical error และ adverse event ยุติการใช้หลักการ Contact precautions 1. โทรศัพท์แจ้งหน่วยงานที่จะส่งผ้ป่วยไปตรวจหรือู ทาการรักษาอื่น เมื่อรักษาหายจากอาการติดเชื้อ 2. แจ้งเจ้าหน้าที่หน่วยงานเปล หรือผลเพาะเชื้อได้ผลลบ 3 ครั้ง

ความเป็นไปได้ในการใช้แผนการดูแลทางคลินิกสความเป็นไปได้ในการใช้แผนการดูแลทางคลินิก าหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชืคือ ร้อยละ 54.96 เคยได้รับการอบรมเกี่ยวกับการป้องกัน ้อ ดื ้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของ ด าเนินการโดยให้บุคลากรสุขภาพและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม 131 คน ทดลองใช้กับผู้ป่วยจ านวน 5 ราย เชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล ด�ำเนินการโดยให้ ในโรงพยาบาล โดยร้อยละ 95.83 ได้รับจากการประชุม บุคลากรสุขภาพ 131 คน ทดลองใช้กับผู้ป่วยจ�ำนวน สัมมนาทางวิชาการของโรงพยาบาล บุคลากรร้อยละ 9 5 ราย โดยบุคลากรแต่ละคนจะมีโอกาสได้ทดลองใช้ 49.62 เคยเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับการป้องกันและ ปฏิบัติกับผู้ป่วยคนละ 1-5 ราย บุคลากรส่วนใหญ่เป็น ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มใน เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 76.33 มีอายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี โรงพยาบาล โดย ร้อยละ 64.62 ได้รับจากการประชุม ค่ามัธยฐานอายุ 31 ปี ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานในต�ำแหน่ง ประจ�ำเดือนของหน่วยงานหรือกลุ่มงาน พยาบาลวิชาชีพคิดเป็นร้อยละ 57.25 และพบว่าปฏิบัติ หลังการทดลองใช้แผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับ งานในหอผู้ป่วยอายุรกรรมมากที่สุด บุคลากรส่วนใหญ่ การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยา

130 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital

หลายกลุ่มในโรงพยาบาล บุคลากรสุขภาพส่วนใหญ่ได้ สุขภาพบางส่วนเพียงร้อยละ 6.87, 7.63, 6.11 ที่ไม่เห็นด้วย ให้ความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยและเห็นด้วยอย่างยิ่งต่อ ในเรื่อง ความสะดวก ความง่าย และความเหมาะสมใน ความเป็นไปได้ในการใช้แผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับ การน�ำไปปฏิบัติได้จริง ตามล�ำดับ บุคลากรสุขภาพส่วนใหญ่ การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยา คือร้อยละ 84.73 ให้ความคิดเห็นว่าไม่มีอุปสรรคในการใช้ หลายกลุ่มในโรงพยาบาล ทั้งในเรื่องความชัดเจน ความ ส่วนปัญหาอุปสรรคที่ยังมีอยู่คือ ห้องแยกและบริเวณ สะดวก ความง่าย และความเหมาะสมในการน�ำไปปฏิบัติ ส�ำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มมีไม่เพียงพอ ได้จริง โดยมีความเห็นในระดับเห็นด้วยคิดเป็น ร้อยละ เสื้อคลุมไม่เพียงพอ และการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างหน่วยงาน 94.66, 90.84, 86.26, 86.26 ตามล�ำดับ มีบุคลากร ยังไม่ดีเท่าที่ควร ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 1 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสุขภาพจ�ำแนกตามความคิดเห็นต่อความเป็นไปได้ในการใช้ แผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล (n=131) ระดับความคิดเห็น (ร้อยละ) ความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ความชัดเจนในการน�ำไปปฏิบัติ 7 (5.34) 124 (94.66) 0 (0.00) ความสะดวกในการน�ำไปปฏิบัติ 3 (2.29) 119 (90.84) 9 (6.87) การน�ำไปใช้ปฏิบัติได้ง่าย 8 (6.11) 113 (86.26) 10 (7.63) ความเหมาะสมในการน�ำไปปฏิบัติได้จริง 10 (7.63) 113 (86.26) 8 (6.11)

ตารางที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสุขภาพจ�ำแนกตามความคิดเห็นต่อปัญหาและอุปสรรคใน การใช้แผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการกระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม ปัญหาและอุปสรรค จ�ำนวน (n=131) ร้อยละ ไม่มี 111 84.73 มี 20 15.27 - ห้องแยกและบริเวณส�ำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มไม่เพียงพอ 8 40 - เสื้อคลุมมีจ�ำนวนไม่เพียงพอ 6 30 - การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างหน่วยงานไม่ดีเท่าที่ควร 6 30

การอภิปรายผล ดูแลผู้ป่วยให้สอดคล้องกันได้ ซึ่งการท�ำงานแบบสหสาขา การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการ วิชาชีพที่นี้จะส่งผลให้การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิก ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลาย ประสบผลส�ำเร็จ(Every,Hochman,Becker, Kopecky, กลุ่มในโรงพยาบาล ด�ำเนินการโดยทีมพัฒนาที่ประกอบ & Cannon, 2000) แผนการดูแลทางคลินิกที่พัฒนาขึ้น ด้วยตัวแทนจากสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการดูแล มีเนื้อหาที่เสนอแนะการปฏิบัติจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ผู้ป่วย ท�ำให้สามารถประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์ ที่ได้มาจากรายงานการวิจัย 30 ฉบับ มีระดับความน่า ในภาพรวมของการปฏิบัติได้ แล้วน�ำมาวางแผนการ เชื่อถือของหลักฐานเชิงประจักษ์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ แก้ไขปัญหา ก�ำหนดเป้าหมายและเชื่อมประสานการ 1.b, 1.c และ 2.d ส่วนระดับข้อเสนอแนะตามความ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 131 การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล

สามารถในการน�ำไปประยุกต์ใช้อยู่ในเกรด A และ MRSA เนื่องจากเชื้อดังกล่าวเป็นเชื้อก่อนิคมในจมูกของ แผนการดูแลคลินิกได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพจาก บุคลากรสุขภาพ ซึ่งพบว่าการสวมผ้าปิดปากปิดจมูกของ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญ จึงท�ำให้แผนการดูแล บุคลากรสุขภาพ สามารถป้องกันการปนเปื้อนเชื้อได้ ทางคลินิกที่พัฒนาขึ้นมีความน่าเชื่อถือ สามารถน�ำไป (Lacey, Flaxman, Scales, & Wilson, 2001) ใช้ได้จริง เนื่องจากประกอบด้วยข้อปฏิบัติที่ก�ำหนดจาก 4. การท�ำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยด้วย 2% หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ผ่านการพิสูจน์โดยกระบวนการ คลอเฮ็กซิดีน กลูโคเนต แทนสบู่วันละ 1 ครั้ง โดยเช็ด วิจัยและกิจกรรมการปฏิบัติการป้องกันและควบคุมการ ท�ำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยตั้งแต่คอลงไป ช่วยลดเชื้อ แพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลที่ ดื้อยาหลายกลุ่มบนผิวหนังของผู้ป่วยลงได้ และสามารถ ก�ำหนดในแผนการดูแลทางคลินิกมีความสอดคล้องกับ ช่วยป้องกันการติดเชื้อในกระแสโลหิตจากการใส่สาย แนวปฏิบัติที่ก�ำหนดโดย HICPAC ร่วมกับ CDC (Siegel, สวนหลอดเลือดด�ำส่วนกลางและการติดเชื้อที่ต�ำแหน่ง Rhinehart, Jackson, Chiarello, & Committee, ผ่าตัดได้ รวมทั้งช่วยลดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มที่ผิวหนัง 2007) โดยมีข้อปฏิบัติดังนี้ ผู้ป่วยโดยเฉพาะเชื้อ MRSA และเชื้อเอ็นเทอโรคอคไค 1. การคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม ที่ดื้อต่อยาแวนโคมัยซิน (Vancomycin-Resistant ใช้แบบคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม Enterococci [VRE]) ก่อนิคม (Karki & Cheng, 2012; ซึ่งจะช่วยแยกกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงออกจากผู้ที่ไม่มี Chen, Li, Li, Wu, & Zhang, 2013) ปัจจัยเสี่ยง (Juylek, Picheansathian, & Klunklin, 5. การท�ำความสะอาดสิ่งแวดล้อมด้วยนำ�้ ยาโซเดียม 2016) ท�ำให้บุคลากรสุขภาพทราบว่าผู้ป่วยรายใดมี ไฮโปคลอไรด์ 1: 100 ทุกวัน เนื่องจากเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม ความเสี่ยงต่อการมีเชื้อดื้อยาก่อนิคมหรือติดเชื้อดื้อยา สามารถอาศัยอยู่บนพื้นผิวของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย หลายกลุ่มตั้งแต่วันแรกและปฏิบัติการแยกผู้ป่วย รวมทั้ง ได้นาน (Kramer, Schwebke, & Kampf, 2006) การ ใช้หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางการสัมผัส ท�ำความสะอาดสิ่งแวดล้อมจึงเป็นส่วนประกอบหนึ่งของ ตั้งแต่เริ่มแรกได้ จึงช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อและการ มาตรการการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของ ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลได้ (Ho, Lau, เชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลที่สามารถลดอุบัติ Cimon, Farrah, & Gardam, 2013) การณ์ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มได้ (Apisarnthanarak et 2. การใช้หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ al., 2008) ทางการสัมผัส ที่ก�ำหนดให้แยกผู้ป่วยเข้าห้องแยก หรือ 6. การแจ้งเตือนบุคลากรสุขภาพที่เกี่ยวข้อง แยกบริเวณเฉพาะ ท�ำความสะอาดมือ และสวมอุปกรณ์ โดยการใช้สัญลักษณ์สื่อสาร ได้แก่ การติดเป็นสติ๊กเกอร์ ป้องกันส่วนบุคคล ซึ่งผลงานวิจัยหลายฉบับที่ด�ำเนินการ ที่หน้าแฟ้มประวัติผู้ป่วย คาร์เด็กซ์ แขวนป้ายแจ้งเตือน โดยใช้หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางการ และการแจ้งข้อมูลทางวาจา วิธีการเหล่านี้มีประสิทธิภาพ สัมผัสแล้วพบว่าอุบัติการณ์การติดเชื้อดื้อยาและมีเชื้อ ในการกระตุ้นให้บุคลากรสุขภาพปฏิบัติตามหลักการ ดื้อยาก่อนิคมของผู้ป่วยลดลง (Apisarnthanarak et แยกผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มเพิ่มขึ้น (Kac et al., al., 2008; Ciobotaro et al., 2011; Kim et al., 2014) 2007) นอกจากนี้การส่งต่อระหว่างหน่วยงาน โดยการ 3. การสวมผ้าปิดปากปิดจมูกเมื่อท�ำกิจกรรมที่เกิด ประสานงานทางโทรศัพท์หรือระบบคอมพิวเตอร์ การฟุ้งกระจาย เช่น การชะล้างแผล การดูดเสมหะ เพื่อให้บุคลากรสุขภาพในหน่วยงานที่รับผู้ป่วยเตรียม การใส่ท่อช่วยหายใจ รวมทั้งในสถานการณ์ที่อาจเกิด พร้อมในการปฏิบัติการป้องกันและควบคุมการแพร่ การแพร่เชื้อจากแหล่งที่มีเชื้อจ�ำนวนมาก (Siegel et al., กระจายของเชื้อยาหลายกลุ่ม สามารถลดอุบัติการณ์การ 2007) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการท�ำกิจกรรมกับผู้ป่วยติดเชื้อ ติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มลงได้ (Ciobotaro et al, 2011)

132 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital

7. การเฝ้าระวังเชิงรุกโดยส่งตรวจเพาะเชื้อ (active และประเมินผู้ป่วยแรกรับ นอกจากนี้การใช้แบบคัดกรอง surveillance culture) ในผู้ป่วยที่รับใหม่หรือรับย้ายที่ ให้คะแนนปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม มีความเสี่ยงของการติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม เป็นการค้นหา สามารถค้นหาประวัติเก่าของผู้ป่วยได้จากระบบเครือข่าย ผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อยาก่อนิคมอยู่โดยไม่มีอาการของการติดเชื้อ คอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ส่วนการปฏิบัติตามหลัก ดังนั้นจึงควรท�ำการเฝ้าระวังเชิงรุกโดยส่งตรวจเพาะเชื้อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางการสัมผัสนั้น ตั้งแต่เริ่มแรกที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สามารถปฏิบัติได้เนื่องจากหลักการดังกล่าวใช้ปฏิบัติ หากตรวจเพาะเชื้อเมื่อผู้ป่วยแสดงอาการของการติดเชื้อ เพื่อป้องกันการติดเชื้อเป็นประจ�ำในหอผู้ป่วยอยู่แล้ว แล้ว อาจท�ำให้บุคลากรสุขภาพปฏิบัติการป้องกันและ บุคลากรสุขภาพบางส่วนที่ไม่เห็นด้วยนั้น เกิดจากการที่ ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มใน ยังติดในปัญหาเรื่องอัตราก�ำลังในหน่วยงานมีไม่เพียงพอ โรงพยาบาลล่าช้าได้ (Herbert et al., 2007) จ�ำนวนผู้ป่วยและภาระงานมีมาก มีห้องแยกหรือบริเวณ 8. การระมัดระวังความผิดพลาดในการให้ยาและ ส�ำหรับแยกผู้ป่วยไม่เพียงพอ ไม่สะดวกในการสวมเสื้อ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ เป็นสิ่งส�ำคัญที่ต้องค�ำนึงถึง คลุมดูแลผู้ป่วยและการเตรียมน�้ำยาท�ำลายเชื้อก่อนน�ำ เมื่อแยกผู้ป่วยเข้าห้องแยก เนื่องจากมีการศึกษาพบว่า ไปท�ำความสะอาดสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้บุคลากร การใช้หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางการ สุขภาพบางคนได้ทดลองใช้ปฏิบัติกับผู้ป่วยเพียง 1 ราย สัมผัสและการแยกผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหรือมีเชื้อดื้อยา จึงยังไม่มั่นใจว่าแผนการดูแลทางคลินิกสามารถน�ำไปได้ ก่อนิคมไว้ในห้องแยก มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดเหตุการณ์ จริงหรือไม่ และแผนการดูแลทางคลินิกเป็นการก�ำหนด ไม่พึงประสงค์ได้ เช่น การติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้ กิจกรรมที่จ�ำเป็นในปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยตามหลักฐาน เครื่องช่วยหายใจและความผิดพลาดในการให้ยาซึ่งพบ เชิงประจักษ์ที่ต้องปฏิบัติเพิ่มจากการปฏิบัติเดิม ซึ่งอาจ ได้มากกว่าผู้ป่วยที่ไม่ได้อยู่ในห้องแยก เนื่องจาก ท�ำให้บุคลากรสุขภาพรู้สึกถึงความรับผิดชอบและ บุคลากรสุขภาพไม่ได้มองเห็นหรืออยู่กับผู้ป่วยในห้อง ภาระงานที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง แยกตลอดเวลา (Zahar et al., 2013) (Wijitjammaree, 2011) ความเป็นไปได้ในการใช้แผนการดูแลทางคลินิก ในการใช้แผนการดูแลทางคลินิกจึงจ�ำเป็นต้องมี ส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของ การอบรมให้ความรู้หรือทบทวนการปฏิบัติเป็นระยะ เชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาลพบว่า บุคลากรสุขภาพ และต้องมีการส่งเสริมบุคลากรสุขภาพให้สามารถปฏิบัติ ทุกคนเห็นด้วยถึงความชัดเจนในการน�ำแผนการดูแล การดูแลผู้ป่วยได้อย่างมั่นใจ สามารถปรับตัวกับการ ทางคลินิกไปปฏิบัติ เนื่องจากทีมพัฒนาแผนการดูแล เปลี่ยนแปลงได้ อีกทั้งมีการนิเทศติดตามก�ำกับและ ทางคลินิกมาจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนการดูแล สนับสนุนการปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อให้ปฏิบัติตามหลักการ ทางคลินิกที่พัฒนาขึ้นผ่านการตรวจสอบคุณภาพจาก ที่ก�ำหนดในระยะยาวต่อไปได้ (Shah, Castro-Sánchez, ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญ ท�ำให้เนื้อหามีความ Charani, Drumright, & Holmes, 2015) อย่างไรก็ตาม ชัดเจนและเข้าใจง่าย บุคลากรสุขภาพส่วนใหญ่เห็นด้วย บุคลากรสุขภาพส่วนใหญ่มีความเห็นด้วยกับความ ว่าแผนการดูแลทางคลินิกมีความสะดวกในการน�ำไป เหมาะสมของการน�ำไปปฏิบัติได้จริงเนื่องจากสามารถ ปฏิบัติ น�ำไปใช้ในการปฏิบัติได้ง่าย และมีความเหมาะ ปฏิบัติการตามแผนการดูแลทางคลินิกได้ทุกข้อ สมในการน�ำไปปฏิบัติจริง โดยสามารถปฏิบัติร่วมกับ ปัญหาและอุปสรรคในการทดลองใช้แผนการดูแล กิจกรรมการพยาบาลอื่น ๆ ได้ และสามารถแยกผู้ป่วย ทางคลินิกนั้นพบว่า แผนกอายุรกรรมยังมีห้องแยกและ ได้ตั้งแต่แรกเข้ารับการรักษา ดังเช่น บุคลากรสุขภาพ บริเวณเฉพาะส�ำหรับแยกผู้ป่วยไม่เพียงพอ ทั้งนี้สิ่งที่ สามารถปฏิบัติการคัดกรองผู้ป่วยร่วมกับการซักประวัติ ส�ำคัญคือ การจัดแยกผู้ป่วยไว้ในบริเวณเดียวกัน และ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 133 การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล

ปฏิบัติตามแผนการดูแลทางคลินิกอย่างเคร่งครัด ดังข้อ การปฏิบัติของบุคลากรสุขภาพด้วยการสนับสนุนวัสดุ เสนอแนะในแนวทางการจัดการเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม อุปกรณ์ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการดูแลผู้ป่วยอย่างเพียงพอ ในสถานพยาบาลของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค รวมทั้งมีการนิเทศ ติดตามก�ำกับให้บุคลากรสุขภาพ ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ชี้ให้เห็นว่าไม่มีวิธีการเดียว ปฏิบัติตามแผนการดูแลทางคลินิกนี้อย่างต่อเนื่อง ในการควบคุมเชื้อดื้อยาที่เหมาะสมส�ำหรับสถาน นอกจากนี้ควรสนับสนุนให้มีห้องแยกหรือบริเวณแยก พยาบาลทั้งหมด ปัจจัยหลายอย่างมีอิทธิพลต่อการ เพียงพอกับจ�ำนวนผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม ป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยาหลายกลุ่ม (Siegel et al., บุคลากรสุขภาพในโรงพยาบาลควรตระหนักถึงความ 2007) นอกจากนี้เสื้อคลุมมีจ�ำนวนไม่พอใช้ในกรณีที่ ส�ำคัญในการปฏิบัติตามแผนการดูแลทางคลินิกนี้อย่าง ต้องดูแลผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มจ�ำนวนหลายราย เคร่งครัดเพื่อให้การ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา ต่อวัน บุคลากรสุขภาพจึงมีข้อเสนอแนะให้มีการเสนอ หลายกลุ่มมีประสิทธิผลและควรมีการปรับปรุงแผนการ ต่อผู้บริหารให้ท�ำห้องแยกเพิ่ม รวมทั้งจัดสรรบริเวณ ดูแลทางคลินิกส�ำหรับป้องกันและควบคุมการแพร่ ส�ำหรับแยกผู้ป่วยเมื่อห้องแยกไม่พอและสนับสนุน กระจายของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มเป็นระยะตามหลักฐาน เสื้อคลุมอย่างเพียงพอ ปัญหาอีกเรื่องหนึ่งคือ การส่งต่อ เชิงประจักษ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ผู้ป่วยระหว่างหอผู้ป่วยกับหน่วยงานอื่น ๆ ยังไม่ดีพอ จึงควรปรับปรุงต่อไป ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาประสิทธิผลของการใช้แผนการดูแลทาง ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ คลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย การน�ำแผนการดูแลทางคลินิกนี้ไปใช้ในโรงพยาบาล ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล นั้น โรงพยาบาลควรจัดการอบรมให้ความรู้และส่งเสริม เอกสารอ้างอิง Apisarnthanarak, A., Pinitchai, U., Thongphubeth, K., Yuekyen, C., Warren, D. K., Fraser, V. J., & Thammasat University Pandrug-Resistant Acinetobacter baumannii Control Group. (2008). A multifaceted intervention to reduce pandrug-resistant Acinetobacter baumannii colonization and infection in 3 intensive care units in a Thai tertiary care center: a 3-year study. Clinical Infectious Diseases, 47(6), 760-767. Centers for Disease Control and Prevention [CDC]. (2013). Antibiotic resistance threats in the United States, 2013. Retrieved from http://www.cdc.gov/drugresistance/threat-report-2013/ Cheah, J. (2000). Development and implementation of a clinical pathway programme in an acute care general hospital in Singapore. International Journal for Quality in Health Care, 12(5), 403-412. Chen, W., Li, S., Li, L., Wu, X., & Zhang, W. (2013). Effects of daily bathing with chlorhexidine and acquired infection of methicillin-resistant Staphylococcus aureus and vancomycin-resistant Enterococcus: a meta-analysis. Journal of Thoracic Disease, 5(4), 518-524.

134 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital

Ciobotaro, P., Oved, M., Nadir, E., Bardenstein, R., & Zimhony, O. (2011). An effective intervention to limit the spread of an epidemic carbapenem-resistant Klebsiella pneumoniae strain in an acute care setting: from theory to practice. American Journal of Infection Control, 39(8), 671-677. European Centre for Disease Prevention and Control [ECDC]. (2012). EU action on antimicrobial resistance–european antibiotic awareness day. Retrieved from http://ecdc.europa.eu/en/ aboutus/organisation/ Director%20Speeches/1201_Director_speech_EU_health_prize_ journalists.pdf Every, N., Hochman, J., Becker, R., Kopecky, S., & Cannon, C., P. (2000). Critical pathways: A review. Circulation, 101(4), 461-465. Fritz, S. A., Hogan, P. G., Singh, L. N., Thompson, R. M., Wallace, M. A., Whitney, K.,... Fraser, V. J. (2014). Contamination of environmental surfaces with Staphylococcus aureus in households with children infected with methicillin-resistant S. aureus. JAMA Pediatric, 168(11), 1030-1038. Herbert, S., Halvorsen, D. S., Leong, T., Franklin, C., Harrington, G., & Spelman, D. (2007). Large outbreak of infection and colonization with gram-negative pathogens carrying the metallo- β-lactamase gene bla IMP-4 at a 320-bed tertiary hospital in Australia. Infection Control & Hospital Epidemiology, 28(1), 98-101. Ho, C., Lau, A., Cimon, K., Farrah, K., & Gardam, M. (2013). Screening, isolation, and decolonization strategies for Vancomycin-Resistant Enterococci or Extended Spectrum Beta-Lactamase- producing organisms: A systematic review of the clinical evidence and health services impact. Canadian Agency for Drugs and Technologies in Health, 3(1), e3102. Huskins, W. C., Huckabee, C. M., O’Grady, N. P., Murray, P., Kopetskie, H., Zimmer, L.,... Samore, M. (2011). Intervention to reduce transmission of resistant bacteria in intensive care. New England Journal of Medicine, 364(15), 1407-1418. Juylek, N., Picheansathian, W., & Klunklin, P. (2016). Development of Risk Factor Scoring System of Multidrug-resistant Microorganism Infection Among In-Patents. Nursing Journal, 43(3), 69-80. (In Thai) Kac, G., Grohs, P., Durieux, P., Trinquart, L., Gueneret, M., Rodi, A., ... & Meyer, G. (2007). Impact of electronic alerts on isolation precautions for patients with multidrug-resistant bacteria. Archives of Internal Medicine, 167(19), 2086-2090. Karki, S., & Cheng, A. C. (2012). Impact of non-rinse skin cleansing with chlorhexidine gluconate on prevention of healthcare-associated infections and colonization with multi-resistant organisms: a systematic review. Journal of Hospital Infection, 82(2), 71-84.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 135 การพัฒนาแผนการดูแลทางคลินิกส�ำหรับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจาย ของเชื้อดื้อยาหลายกลุ่มในโรงพยาบาล

Kim, N. H., Han, W. D., Song, K. H., Seo, H. K., Shin, M. J., Kim, T. S., ... & Kim, H. B. (2014). Successful containment of carbapenem-resistant Enterobacteriaceae by strict contact precautions without active surveillance. American Journal of Infection Control, 42(12), 1270-1273. Knoester, M., de Boer, M. G. J., Maarleveld, J. J., Claas, E. C. J., Bernards, A. T., de Jonge, E., ... & Veldkamp, K. E. (2014). An integrated approach to control a prolonged outbreak of multidrug resistant Pseudomonas aeruginosa in an intensive care unit. Clinical Microbiology and Infection, 20(4), O207-O215. Kramer, A., Schwebke, I., & Kampf, G. (2006). How long do nosocomial pathogens persist on inanimate surfaces? A systematic review. BMC Infectious Diseases, 6(1), 130-137. Lacey, S., Flaxman, D., Scales, J., & Wilson. A. (2001). The usefulness of masks in preventing transient carriage of epidemic methicillin-resistant Staphylococcus aureus by healthcare workers. Journal of Hospital Infection, 48(4), 308-311. Maslikowska, J. A., Walker, S. A. N., Elligsen, M., Mittmann, N., Palmay, L., Daneman, N., Simor, A. (2016). Impact of infection with extended-spectrum b-lactamase-producing Escherichia coli or Klebsiella species on outcome and hospitalization costs. Journal of Hospital Infection, 92(1), 33-41. National Antimicrobial Resistance Surveillance Center, Thailand. (2014). Antibiograms. Retrieved from http://narst.dmsc. moph. go.th/antibiograms.html (In Thai) Özgür, E. S., Horasan, E. S., Karaca, K., Ersöz, G., Atış, S. N., & Kaya, A. (2014). Ventilator-associated pneumonia due to extensive drug-resistant Acinetobacter baumannii: risk factors, clinical features, and outcomes. American Journal of Infection Control, 42(2), 206-208. Rotter, T., Kinsman, L., James, E., Machotta, A., Gothe, H., Willis, J.,... & Kugler, J. (2010). Clinical pathways: effects on professional practice, patient outcomes, length of stay and hospital costs. Retrieved from http://2.cochrane.org/reviews/en/ab006632.Html Shah, N., Castro-Sánchez, E., Charani, E., Drumright, L. N., & Holmes, A. H. (2015). Towards changing healthcare workers’ behaviour: a qualitative study exploring non-compliance through appraisals of infection prevention and control practices. Journal of Hospital Infection, 90(2), 126-134. Siegel, J. D., Rhinehart, E., Jackson, M., Chiarello, L., & Committee, H. I. C. P. A. (2007). Management of multidrug-resistant organisms in health care settings, 2006. American Journal of Infection Control, 35(10), S165-S193. Strategy and Planning Division Ministry of Public Health, Thailand. (2013). Manaul Health Office (1st ed). Bangkok: The War Veterans Organization officer of Printing Mill. (In Thai)

136 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Development of Clinical Pathway for Prevention and Control of Multidrug-Resistant Organisms Transmission in Hospital

The Joanna Briggs Institute Levels of Evidence and Grade of Recommendation Working Party. (2014). Supporting document for the Joanna Briggs Institute levels of evidence and grades of recommendation. Retrieved from http://joannabriggs.org/jbi-approach.html#tabbed-nav= Levels-of-Evidence. Wijitjammaree, N. (2011). Organization Communication (2nd ed). Bangkok: Kasetsart University Press. (In Thai) Wolstenholme, S. (2005). Pathway to success- the introduction of an integrated care pathway for delivery of care to methicillin-resistant Staphylococcus aureus- positive patients. Journal of Infection Prevention, 6(6), 20-24. World Health Organization. (2014). Antimicrobial resistance global report on surveillance. Retrieved from http://www.who.int/drugresistance/documents/surveillancereport/en/ Zahar, J.R., Garrouste-Orgeas, M., Vesin, A., Schwebel, C., Bonadona, A., Philippart, F., ... & Timsit, J. F. (2013). Impact of contact isolation for multidrug-resistant organisms on the occurrence of medical errors and adverse events. Intensive Care Medicine, 39(12), 2153-2160.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 137 การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลเอกชน Surgical Site Infection Surveillance Practices and Related Factors Among Private Hospitals

กัญญ์นิฏฐา วงษ์ศิริ * Kunnittha Wongsiri * นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล ** Nongyao Kasatpibal ** จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ ** Jittaporn Chitreecheur **

บทคัดย่อ การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดที่มีประสิทธิภาพ มีความส�ำคัญในการป้องกัน การติดเชื้อ ต�ำแหน่งผ่าตัด การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติการเฝ้าระวัง การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการเฝ้าระวัง การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ของโรงพยาบาลเอกชน ระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2558 กลุ่มตัวอย่าง ที่ศึกษาคือ พยาบาลควบคุมการติดเชื้อหรือบุคลากรหลัก ที่ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชน จ�ำนวน 69 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาล ข้อมูลการปฏิบัติการเฝ้าระวัง การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ผู้บันทึกและเก็บรวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดส่วนใหญ่คือพยาบาล ควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ร้อยละ 73.91 วินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดตามเกณฑ์ การวินิจฉัยของศูนย์ ควบคุมและป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา ร้อยละ 59.42 โดยเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดในการผ่าตัด ทุกประเภท ร้อยละ 57.97 ผู้วินิจฉัยการติดเชื้อ คือศัลยแพทย์เจ้าของไข้ ร้อยละ 79.70 ค�ำนวณอัตราการติดเชื้อ ต�ำแหน่งผ่าตัดจากจ�ำนวนครั้งของการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดต่อการผ่าตัดทั้งหมดในแต่ละหัตถการ 100 ครั้งมากที่สุด ร้อยละ 66.67 ส่วนใหญ่ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นประจ�ำทุกเดือน ร้อยละ 75.36 และมีการ รายงานข้อมูลการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดต่อคณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นประจ�ำ ทุกเดือน ร้อยละ 60.87 ประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ 15.90 ติดตามการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดหลังจ�ำหน่ายได้ ร้อยละ 84.06 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด พบว่า 1) ด้านโครงสร้าง มีบุคลากรปฏิบัติงานเต็มเวลา ร้อยละ 73.90 2) ด้าน กระบวนการมีการจัดอบรมแก่บุคลากรใหม่และฟื้นฟูความรู้ให้แก่บุคลากรกรเก่าเป็นประจ�ำทุกปี ร้อยละ 59.42 และ 68.12 ตามล�ำดับ และ 3) ด้านผลลัพธ์ มีการน�ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการก�ำหนดมาตรการป้องกัน การติดเชื้อ ต�ำแหน่งผ่าตัด ร้อยละ 82.60 แต่ยังมีปัญหาคือ ประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดน้อยกว่าร้อยละ 60 คิดเป็นร้อยละ 14.49 และแต่ละโรงพยาบาลต้องการความร่วมมือจากผู้ร่วมงาน จากผู้บริหาร และการสนับสนุน

* พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Professional Nurse, Faculty of Nursing, Chiang Mai University ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 138 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Surgical Site Infection Surveillance Practices and Related Factors Among Private Hospitals

อัตราก�ำลังในการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ คิดเป็นร้อยละ 94.20, 71.01 และ 52.17 ตามล�ำดับ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลเอกชนส่วนใหญ่มีการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดที่ เป็นไปตามมาตรฐาน แต่ยังมีบางประเด็นที่มีความแตกต่างกัน ข้อมูลที่ได้สามารถน�ำไปเป็นแนวทางในการวางแผน การพัฒนาการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชน และใช้ในการพัฒนาฐานข้อมูล การเฝ้าระวังการติดเชื้อที่ต�ำแหน่งผ่าตัดในโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย

ค�ำส�ำคัญ: การปฏิบัติ การเฝ้าระวัง การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาลเอกชน

Abstract Effective surgical site infection (SSI) surveillance practices are key to preventing SSIs. This descriptive study aimed to study the SSI surveillance practices and related factors at private hospitals from September 2014 to January 2015. The sample was 69 healthcare personnel (infection control nurses or key persons responsible for SSI surveillance) in private hospitals. Research instruments employed in this study were a demographic questionnaire, a hospital information questionnaire, a surveillance practices questionnaire, and the SSI surveillance related factors questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics. The study found that most SSI data collection and recording were performed by infection control nurses (73.91%). The Centers for Disease Control and Prevention (CDC) definition was used to diagnose SSIs accounting for 59.42%. Fifty-seven point ninety-seven percent of study hospitals performed SSI surveillance for all types of surgery. SSIs were diagnosed by the surgeons 79.7% of the time. The SSI rate was computed by the number of SSIs divided by the total number of operations in each procedure multiplied by 100 and accounted for 66.67%. The SSI rates were reported monthly to the related staff accounting for 75.36%, and reported to the Infection Control Committee accounting for 60.87%. Post-discharge surveillance could include 84.06% of patients after surgery and SSI surveillance practices included 15.90% of hospitals had SSI surveillance efficiency rates of 100%. The related factors to SSI surveillance practices were divided into three domains and were comprised of: 1) structure: private hospitals had full-time infection control personnel 73.9%; 2) process: 59.42% of hospitals provided training in SSI prevention for novice staff and 68.12% held an annual refresher course for current staff; and 3) outcomes: the data from the surveillance were used in SSI prevention planning accounting for 82.61%. However, problems in SSI surveillance practices included 14.28% of hospitals had SSI surveillance efficiency rates of less than 60%. These hospitals required support for SSI surveillance practices. Study participants noted that support needed included collaboration from colleagues (94.20%) and hospital administrators (71.01%), and adequate staffing (52.17%). The findings suggest that most private hospitals have standard SSI surveillance practices. However, some practices are diverse among hospitals. This information can be used to make

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 139 การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลเอกชน

a development plan for SSI surveillance practices in private hospitals. It may lead to the establishment of an SSI surveillance database for private .

Key words: Practices, Surveillance, Surgical Site Infection, Related Factors, Private Hospitals

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา จ�ำนวน 10 แห่ง พบว่าการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดพบเป็น การผ่าตัดในแต่ละปีพบว่ามีจ�ำนวนมาก ในปี ค.ศ. อันดับ 3 ของการติดเชื้อในโรงพยาบาลมีอุบัติการณ์การ 2010 พบว่าโรงพยาบาลในประเทศสหรัฐอเมริกาพบมี ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด 1.4-1.8 ครั้งต่อการผ่าตัด 100 ครั้ง การผ่าตัดประมาณ 16 ล้านครั้งการผ่าตัด (Centers for (Kasatpibal et al., 2005; Kasatpibal et al., 2006; Disease Control and Prevention, 2013) ประเทศไทย Kasatpibal et al., 2009) จึงเห็นได้ว่าการติดเชื้อ ในปี พ.ศ. 2554 พบการผ่าตัดในโรงพยาบาลสังกัดกรม ต�ำแหน่งผ่าตัดสามารถพบได้ในทุกภูมิภาคทั่วโลก การแพทย์ จ�ำนวน 167,373 ครั้ง (Department of การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย Medical Services, 2012) เห็นได้ว่าในแต่ละปีมีผู้ป่วย ทั้งทางตรงและทางอ้อม จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยต้อง ได้รับการผ่าตัดเป็นจ�ำนวนมาก หากได้รับการดูแลที่ เพิ่มวันนอนโรงพยาบาลนานขึ้น และเสียค่าใช้จ่ายที่ ไม่ถูกต้องเหมาะสมอาจก่อให้เกิดการติดเชื้อต�ำแหน่ง สัมพันธ์กับการใช้ยาเกินความจ�ำเป็น (Stone et al., ผ่าตัดได้ การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด (surgical site 2009; Buffet-Bataillon et al., 2011) ในประเทศ infection [SSI]) คือ การเปลี่ยนแปลงที่แผลผ่าตัดตั้งแต่ สหรัฐอเมริกาพบว่าผู้ป่วยที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ชั้นผิวหนัง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง เนื้อเยื่อพังผืด ลึกลง และติดเชื้อที่ต�ำแหน่งผ่าตัดมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 10,317 ไปถึงกล้ามเนื้อ และอวัยวะหรือช่องว่างภายในอวัยวะ เหรียญสหรัฐ สูงกว่าผู้ป่วยที่ไม่ติดเชื้อที่ต�ำแหน่งผ่าตัด เนื่องมาจากการได้รับเชื้อจุลชีพขณะที่อยู่ในโรงพยาบาล ซึ่งมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยเพียง 6,829 เหรียญสหรัฐ (Olsen อาการของการติดเชื้ออาจปรากฏขณะอยู่ในโรงพยาบาล et al., 2010) นอกจากนี้ถ้ามีการลุกลามของการติดเชื้อ หรือหลังจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล (WHO, เข้าสู่กระแสโลหิตจะส่งผลท�ำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ 2009; CDC, 2013) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่ส�ำคัญใน (Astagneau, Rioux, Golliot, & Brucker, 2001) ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด และเป็นปัญหาส�ำคัญของการ จากรายงานขององค์การอนามัยโลกพบอัตราการตาย ติดเชื้อในโรงพยาบาล จากรายงานการเฝ้าระวังการ จากการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดทั่วโลกร้อยละ 0.4-0.8 ติดเชื้อของประเทศสหรัฐอเมริกา (The National (WHO, 2009) ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นจะส่งผลถึง Healthcare Safety Network [NHSN]) ปี ค.ศ. 2006- โรงพยาบาลที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผู้ป่วยที่ติดเชื้อ 2008 พบว่าอัตราการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดคิดเป็นร้อยละ เพิ่มมากขึ้น (Boltz, Hollenbeak, Julian, Ortenzi, & 1.9 (CDC, 2013) ประเทศไทยจากการส�ำรวจความชุก Dillon, 2011) และส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของ ของการติดเชื้อในปี พ.ศ. 2549 ในโรงพยาบาล 20 แห่ง โรงพยาบาลได้ พบอัตราการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดเป็นอันดับที่ 3 ของ การเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด เป็นกระ การติดเชื้อทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 11 ของการติดเชื้อใน บวนการที่จะท�ำให้ทราบข้อมูลของการติดเชื้อ ทั้งขนาด โรงพยาบาล (Danchaivijitr et al., 2006) และจากการ ของปัญหา และแนวโน้มของการติดเชื้อ โดยการติดตาม ส�ำรวจการติดเชื้อในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สังเกต การจัดเก็บ วิเคราะห์ แปลผล และเผยแพร่ข้อมูล ศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปในปี ค.ศ. 2005 จ�ำนวน 9 แห่ง ที่มีการปฏิบัติการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อลด ในปี ค.ศ. 2006 จ�ำนวน 7 แห่ง และในปี ค.ศ. 2009 อัตราการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด (CDC, 2001) จากการ

140 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Surgical Site Infection Surveillance Practices and Related Factors Among Private Hospitals

ศึกษาในประเทศเยอรมันพบว่า การใช้ระบบการเฝ้าระวัง ปัจจัยสนับสนุนมีผลต่อการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่ง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ปี ค.ศ.1997-2003 สามารถ ผ่าตัด จากการศึกษาพบว่าสามารถช่วยให้บุคลากร ช่วยลดอัตราการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดลงได้อย่างมี สามารถวินิจฉัยการติดเชื้อ การปฏิบัติการป้องกันการ นัยส�ำคัญทางสถิติ 0.72 (95% CI, 0.64-0.80) ติดเชื้อ และลดค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลในการดูแลผู้ที่ (Gastmeier et al., 2006) ซึ่งการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ติดเชื้อแผลผ่าตัดได้ (Murphy, 2002) ต�ำแหน่งผ่าตัดมีความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานเฝ้าระวัง ปัจจุบันระบบการเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังการติดเชื้อ การติดเชื้อในโรงพยาบาล โดยในต่างประเทศมีการพัฒนา ในโรงพยาบาลแต่ละโรงพยาบาลทั่วโลกมีความแตกต่างกัน เครือข่ายในการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดทั้งใน ทั้งเรื่องขององค์กรของระบบเฝ้าระวัง บุคคลที่เกี่ยวข้อง ประเทศและต่างประเทศ แต่ในประเทศไทยระบบการ ในระบบการเฝ้าระวัง นิยามของปัญหาที่ท�ำการเฝ้าระวัง เฝ้าระวังการติดเชื้อยังอยู่ในระหว่างการพัฒนา (Kaset- ขั้นตอนในการเฝ้าระวัง การเก็บข้อมูล การวินิจฉัยการ pibal, 2006) ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาการเฝ้าระวังการ ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดการรวบรวมข้อมูล การจัดการข้อมูล ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดในแต่ละโรงพยาบาล เพื่อเป็น การวิเคราะห์ข้อมูล การเผยแพร่ผลการเฝ้าระวัง การส่ง ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อ ต่อข้อมูล การควบคุมคุณภาพของข้อมูล และการน�ำผล ต�ำแหน่งผ่าตัดต่อไป โดยในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ในแต่ละกระบวนการอาจพบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการ ต�ำแหน่งผ่าตัด (CDC, 2001) ท�ำให้ไม่สามารถน�ำข้อมูล เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ที่ได้มาเปรียบเทียบกันเป็นภาพรวมได้ ประเทศไทยมี ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังการติดเชื้อ โรงพยาบาลเอกชนเกือบทุกจังหวัด โดยโรงพยาบาลเอกชน ต�ำแหน่งผ่าตัด จากการทบทวนเอกสารงานวิจัยที่ เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพที่ต้องมีการเฝ้าระวังการ เกี่ยวข้องพบว่ามีองค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่ ปัจจัย ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ซึ่งการศึกษาในประเทศไทยพบว่า ด้านโครงสร้าง ด้านกระบวนการ และด้านผลลัพธ์ การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดที่มี ซึ่งจากการเฝ้าระวังจากการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ผ่าน ความแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละโรงพยาบาล ท�ำให้ มาพบว่ามีปัจจัยสนับสนุนที่ช่วยในการปฏิบัติการเฝ้าระวัง ไม่สามารถบอกได้ว่าอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลหนึ่ง การติดเชื้อ ในด้านโครงสร้าง คือ การที่องค์กรเห็นความ สูงหรือต�่ำกว่าอีกโรงพยาบาลหนึ่งหรือไม่ จึงท�ำให้มอง ส�ำคัญของการให้ความรู้กับบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการ ไม่เห็นถึงขนาดของปัญหาการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ควบคุมการติดเชื้อ มีการก�ำหนดเกณฑ์การวินิจฉัยที่ แนวโน้มของการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด แต่การศึกษา ชัดเจนช่วยให้กระบวนการเก็บข้อมูล กระชับขึ้น และ ดังกล่าวศึกษาเฉพาะในโรงพยาบาลรัฐบาล จึงไม่สามารถ เป็นการเก็บข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการป้องกันการติดเชื้อ เป็นตัวแทนที่ดีของโรงพยาบาลทุกประเภทได้ เพราะ การสนับสนุนในด้านเทคโนโลยีเพื่อช่วยในการจัดเก็บ บริบทการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล ช่วยลดภาระงานของพยาบาล ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชนอาจมีความแตกต่างกัน ควบคุมการติดเชื้อ และช่วยในการวางแผนการพัฒนา ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ การควบคุมการติดเชื้อต่อไป (Murphy, 2002) ปัจจัย ต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชน เพื่อให้เห็นถึงการ ด้านกระบวนการ พบว่ามี การฝึกอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการเฝ้าระวัง กับการควบคุมการติดเชื้อ (Talaat et al., 2006) และ การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ ปัจจัยด้านผลลัพธ์ พบว่า มีการน�ำข้อมูลที่ได้จากการเก็บ เปรียบเทียบการการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ รวบรวมข้อมูลมาใช้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของ ต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชน และเป็นข้อมูล ผู้บริหารและน�ำไปพัฒนาการดูแลผู้ป่วยต่อไป จึงเห็นได้ว่า ส�ำหรับการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่ง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 141 การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลเอกชน

ผ่าตัดให้เป็นมาตรฐานเดียวกันต่อไป ต�ำแหน่งผ่าตัด ในการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ต�ำแหน่งผ่าตัด ซึ่งวิเคราะห์ตามด้านโครงสร้าง ด้าน วัตถุประสงค์การวิจัย กระบวนการ และด้านผลลัพธ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลไปใช้ 1. เพื่อศึกษาการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ส�ำหรับการวางแผนการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังการ ต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชน ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชนต่อไป 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ ปัจจัย สนับสนุน และปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติการ วิธีด�ำเนินการวิจัย เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (descrip- tive research) เพื่อศึกษาการปฏิบัติการเฝ้าระวังการ ค�ำถามการวิจัย ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรง 1. การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่ง พยาบาลเอกชน ระยะเวลาด�ำเนินการวิจัย 5 เดือน ผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชนเป็นอย่างไร ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2557 - มกราคม พ.ศ. 2558 2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ ปัจจัยสนับสนุน และ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พยาบาล ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ควบคุมการติดเชื้อหรือบุคลากรหลักที่ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับ ต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชนมีอะไรบ้าง การเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาล เอกชนในประเทศไทย โดยเลือกโรงพยาบาลละ 1 คน กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ซึ่งก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางส�ำเร็จรูป การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie และ Morgan ที่มีประสิทธิภาพ จะต้องมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและ จากประชากรทั้งหมด 213 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง 138 คน เป็นระบบ การศึกษาการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาลเอกชนในครั้งนี้ ศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย เกี่ยวกับเกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ครั้งนี้ คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากการ ผู้วินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ผู้ที่ท�ำหน้าที่บันทึก ดัดแปลงข้อค�ำถาม และเพิ่มเติมค�ำถามปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อมูล แบบเฝ้าระวังที่ใช้บันทึกข้อมูลการติดเชื้อต�ำแหน่ง ในการปฎิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ผ่าตัด วิธีการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด วิธีการ จากแบบสอบถามของ Kasatpibal (2006) ซึ่งพัฒนา เก็บข้อมูลการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ผู้ที่รับผิดชอบในการ มาจากกรอบแนวคิดเรื่องการประเมินการด�ำเนินงาน เก็บรวบรวมข้อมูล การติดตามรวบรวมข้อมูล การส่งต่อ เฝ้าระวังการติดเชื้อของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ข้อมูล การเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดภายหลัง สหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 2001 และการศึกษาเอกสารที่ จ�ำหน่าย การประเมินประสิทธิภาพของการเฝ้าระวัง เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยข้อมูล 4 ส่วน คือ ข้อมูลที่เก็บในการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของพยาบาลควบคุมการ การบันทึกข้อมูล การเรียบเรียงข้อมูล การวิเคราะห์และ ติดเชื้อในโรงพยาบาลเอกชน ประกอบด้วย ข้อมูล แปลผลข้อมูล การรายงานผลข้อมูล และการน�ำผลไปใช้ เกี่ยวกับ อายุ เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด ต�ำแหน่งงาน ตามกรอบแนวคิดเรื่องการประเมินการด�ำเนินงานเฝ้า ประสบการณ์การท�ำงานในโรงพยาบาล ประสบการณ์ ระวังการติดเชื้อของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค การท�ำงานด้านการควบคุมการติดเชื้อ การได้รับการ สหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 2001 (Mangram, 2001) รวมถึง อบรมเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ประสบการณ์ในการป้องกันการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด

142 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Surgical Site Infection Surveillance Practices and Related Factors Among Private Hospitals

การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อ วิจัยภายหลังได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ ต�ำแหน่งผ่าตัด โดยลักษณะค�ำถามเป็นแบบปลายเปิด จริยธรรมของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย และแบบปลายปิด เชียงใหม่ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล หลังจากได้รับ ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาล ประกอบ อนุญาตให้ด�ำเนินการวิจัย ผู้วิจัยพิทักษ์สิทธิของกลุ่ม ด้วย จ�ำนวนเตียง จ�ำนวนห้องผ่าตัด จ�ำนวนการผ่าตัด ตัวอย่าง โดยจัดท�ำเอกสารชี้แจงวัตถุประสงค์ของ ลักษณะการผ่าตัด คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อใน การวิจัย วิธีการวิจัย และประโยชน์ที่โรงพยาบาลคาดว่า โรงพยาบาล การประชุมของคณะกรรมการควบคุมการ จะได้รับจากการเข้าร่วมการวิจัย และแจ้งให้กลุ่ม ติดเชื้อในโรงพยาบาล คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ ตัวอย่างทราบว่าการเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมการวิจัยจะ ต�ำแหน่งผ่าตัด จ�ำนวนพยาบาลด้านการควบคุมการติดเชื้อ ไม่มีผลเสียใด ๆ และข้อมูลที่ได้จะใช้รหัสแทนชื่อจริง โดยลักษณะค�ำถามเป็นแบบปลายเปิดและแบบปลายปิด และเก็บเป็นความลับและใช้เพื่อการวิจัยเท่านั้น ส่วนที่ 3 การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ การน�ำเสนอข้อมูลจะถูกวิเคราะห์และรายงานในภาพรวม ต�ำแหน่งผ่าตัดตามกรอบแนวคิดเรื่องการประเมินการ และจะไม่มีผลกระทบต่อชื่อเสียงใด ๆ ของกลุ่มตัวอย่าง ด�ำเนินงานเฝ้าระวังการติดเชื้อของศูนย์ควบคุมและ กลุ่มตัวอย่างสามารถบอกเลิกได้โดยไม่ต้องบอกเหตุผล ป้องกันโรคสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 2001 ประกอบด้วย หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามผู้วิจัยได้ตลอดเวลา เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ผู้วินิจฉัยการ ผู้ที่สมัครใจยินยอมเข้าร่วมการวิจัย ผู้วิจัยจะให้ลงนาม ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ผู้ที่ท�ำหน้าที่บันทึกข้อมูล แบบเฝ้า ในแบบฟอร์มเข้าร่วมการวิจัย ระวังที่ใช้บันทึกข้อมูลการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด วิธีการ การเก็บรวบรวมข้อมูล เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด วิธีการเก็บข้อมูลการ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยด�ำเนินการรวบรวม ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ผู้ที่รับผิดชอบในการเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ โดยมีขั้นตอน ข้อมูล การติดตามรวบรวมข้อมูล การส่งต่อข้อมูล การ ดังนี้ เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดภายหลังจ�ำหน่าย 1. ผู้วิจัยท�ำหนังสือผ่านคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ การประเมินประสิทธิภาพของการเฝ้าระวัง ข้อมูลที่เก็บ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เสนอต่อผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ในการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด การบันทึกข้อมูล เอกชน 138 แห่ง เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย การเรียบเรียงข้อมูล การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล และขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูล การรายงานผลข้อมูล และการน�ำผลไปใช้ โดยลักษณะ 2. เมื่อได้รับอนุมัติให้ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ค�ำถามเป็นแบบปลายเปิดและแบบปลายปิด จากผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลแต่ละแห่งแล้ว ผู้วิจัย ส่วนที่ 4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการปฎิบัติการเฝ้าระวัง ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยท�ำจดหมายชี้แจง การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด แบ่งเป็น ด้านโครงสร้าง พร้อมกับแบบสอบถาม ถึงพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ ประกอบด้วย จ�ำนวนพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ การ หรือบุคลากรหลักที่ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง พัฒนาบุคลากร วิธีการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดของโรงพยาบาล เพื่อขอ ต�ำแหน่งผ่าตัด ด้านกระบวนการ ประกอบด้วย การให้ ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามรวมถึงวิธีการ ความรู้และอบรมบุคลากร ด้านผลลัพธ์ ประกอบด้วย ตอบแบบสอบถาม พร้อมแนบซองติดแสตมป์และ การน�ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ และสิ่งต้องการการ จ่าหน้าซองถึงผู้วิจัยเพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการ สนับสนุน ส่งแบบสอบถามกลับ การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง 3. เมื่อกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามเสร็จ ผู้วิจัยพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่าง โดยด�ำเนินการ เรียบร้อย ได้จัดส่งแบบสอบถามมาให้ผู้วิจัย โดยใช้เวลา

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 143 การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลเอกชน

ในการรวบรวมข้อมูล 1 เดือน ผู้วิจัยได้แบบสอบถาม ผู้ป่วยได้โดยตรง ความถูกต้องของข้อมูลสูง ข้อมูลเชื่อ กลับคืนจ�ำนวน 69 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 50 ถือได้ ด้านการวินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดพบว่า 4. ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลใน ส่วนใหญ่คือ ศัลยแพทย์เจ้าของไข้ ข้อมูลการติดเชื้อ แบบสอบถามที่ได้รับกลับคืน ต�ำแหน่งผ่าตัดมีการลงข้อมูลในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5. วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ มีการวิเคราะห์อัตราการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดคือ การวิเคราะห์ข้อมูล จ�ำนวนครั้งของการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดต่อการผ่าตัด 1. วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยการแจกแจงความถี่ 100 ครั้งมากที่สุด มีความถี่ในการวิเคราะห์ข้อมูลทุก ค�ำนวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3 เดือน และรายงานต่อคณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ 2. วิเคราะห์ข้อมูลการปฏิบัติการเฝ้าระวังการ ในโรงพยาบาล เป็นประจ�ำทุกเดือน และเผยแพร่ข้อมูล ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดโดยการแจกแจงความถี่ ค�ำนวณ การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดให้กับบุคลากรในโรงพยาบาล ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยจัดท�ำเป็นเอกสาร/รายงาน และน�ำผลการเฝ้าระวัง 3. วิเคราะห์หาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการ การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดไปวางแผนการป้องกันการ เฝ้าระวังการติดเชื้อที่ต�ำแหน่งผ่าตัด โดยการแจกแจง ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ความถี่ ค�ำนวณค่าร้อยละ และจัดกลุ่มค�ำถามปลายเปิด ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ต�ำแหน่งผ่าตัด ในด้านโครงสร้างโรงพยาบาลเอกชน ผลการวิจัย มีพยาบาลควบคุมการติดเชื้อปฏิบัติงานเต็มเวลา ในด้าน โรงพยาบาลเอกชนมีการปฏิบัติการเฝ้าระวังการ กระบวนการโรงพยาบาลเอกชนมีการจัดอบรมเรื่องการ ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด โดยใช้เกณฑ์วินิจฉัยการติดเชื้อ ป้องกันการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดให้แก่ บุคลากรใหม่ ต�ำแหน่งผ่าตัดส่วนใหญ่ของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค เป็นประจ�ำ 1 ครั้ง/ปี และมีการจัดอบรมเพื่อฟื้นฟูความรู้ ประเทศสหรัฐอเมริกามากที่สุด ผู้ที่ท�ำหน้าที่บันทึก เกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด เป็นประจ�ำ ข้อมูลโดยส่วนใหญ่คือ พยาบาลควบคุมการติดเชื้อ (ICN) ทุกปี และในด้านผลลัพธ์ โรงพยาบาลเอกชนมีการน�ำ ใช้แบบบันทึกการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการติดเชื้อต�ำแหน่ง และระยะเวลาที่เริ่มในการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่ง ผ่าตัดในการก�ำหนดมาตรการการป้องกันการติดเชื้อ ผ่าตัด อยู่ในช่วง 1-5 ปี มากที่สุด มีการเฝ้าระวังการ ต�ำแหน่งผ่าตัด วางแผนการป้องกันการติดเชื้อต�ำแหน่ง ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดในการผ่าตัดทุกประเภทมากที่สุด ผ่าตัด และจัดอบรมเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อ วิธีการทราบการเกิดการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดส่วนใหญ่ ต�ำแหน่งผ่าตัด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงผู้ท�ำ ได้ข้อมูลจากหัวหน้าหอผู้ป่วย/เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง หน้าที่เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ส่งผลให้การ แจ้งทันทีที่พบผู้ป่วยเกิดการติดเชื้อ และพยาบาลควบคุม เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดไม่มีความต่อเนื่อง การติดเชื้อลงติดตามที่หอผู้ป่วยด้วยตนเอง โดยส่วนมาก ผู้รับผิดชอบงานใหม่ขาดความรู้/วินิจฉัยการติดเชื้อ พยาบาลควบคุมการติดเชื้อลงติดตามที่หอผู้ป่วย 1-2 ไม่ถูกต้อง และการรายงานการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ครั้ง/สัปดาห์ มีวิธีการติดตามการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ล่าช้า และโรงพยาบาลเอกชนต้องการการสนับสนุนใน ต�ำแหน่งผ่าตัดหลังจ�ำหน่าย โดยติดตามจากการนัดตรวจ การเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดจากความร่วมมือ ผู้ป่วยภายหลังการผ่าตัดมากที่สุด สามารถติดตามการ ของเพื่อนร่วมงานการสนับสนุนจากผู้บริหาร และ เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดหลังจ�ำหน่าย อัตราก�ำลัง ได้มากกว่าร้อยละ 76 และพบการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด หลังจ�ำหน่ายน้อยกว่าร้อยละ 25 ซึ่งช่วยให้สามารถตรวจ

144 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Surgical Site Infection Surveillance Practices and Related Factors Among Private Hospitals

การอภิปรายผล เพราะว่าจะต้องมีการเฝ้าระวังแผลผ่าตัด เนื่องจากเสี่ยง การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ต่อการติดเชื้อได้มาก ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ของโรงพยาบาลเอกชนเป็นอย่างไร ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบุถึงความถี่ในการเฝ้าระวังคือ จากการศึกษาพบว่าโรงพยาบาลเอกชนมีการ พยาบาลควบคุมการติดเชื้อควรมีการตรวจเยี่ยมผู้ป่วย ปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด โดยใช้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์ (Alicia, Teresa, Michele, Leah, เกณฑ์วินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดส่วนใหญ่ของ William, 1999) ซึ่งจะท�ำให้พยาบาลควบคุมการติดเชื้อ ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถทราบการเกิดการติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว เพื่อน�ำ มากที่สุด ซึ่งตรงกับสมาคมการควบคุมการติดเชื้อใน ไปสู่การปฏิบัติในการรักษาและป้องกันได้ทันที มีวิธีการ โรงพยาบาลระหว่างประเทศ (International ติดตามการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดหลัง Nosocomial Infection Control Consortium: INICC) จ�ำหน่าย คิดเป็นร้อยละ 84.06 โดยติดตามจากการนัด ใช้เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อของศูนย์ควบคุมและ ตรวจผู้ป่วยภายหลังการผ่าตัดมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ป้องกันโรคสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์การวินิจฉัย 78.26 สามารถติดตามการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่ง ที่เป็นมาตรฐานและเป็นที่ยอบรับในระดับสากล ผ่าตัดหลังจ�ำหน่าย ได้มากกว่ามากกว่าร้อยละ 76 คิดเป็น (Rosenthal et al., 2013) มีระยะเวลาที่เริ่มในการ ร้อยละ 44.93 และพบการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดหลัง เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด อยู่ในช่วง 1-5 ปี จ�ำหน่ายน้อยกว่าร้อยละ 25 คิดเป็นร้อยละ 37.68 ซึ่ง มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 30.43 ผู้ที่ท�ำหน้าที่บันทึกข้อมูล ช่วยให้สามารถตรวจผู้ป่วยได้โดยตรง ความถูกต้องของ โดยส่วนใหญ่คือ พยาบาลควบคุมการติดเชื้อ (ICN) ข้อมูลสูง ข้อมูลเชื่อถือได้ ตรงกับการศึกษาในต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 73.91 ซึ่งพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ พบว่าร้อยละ 72 ของการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดพบได้ (ICN) เป็นองค์ประกอบของการเฝ้าระวังการติดเชื้อที่ได้ หลังจากผู้ป่วยจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล (Avato & รับการอบรมมาโดยตรง ที่มีคุณสมบัติเพียงพอตาม Lai, 2002) แกณฑ์ในการเฝ้าระวังการติดเชื้อ (Gaynes et al., กลุ่มตัวอย่างมีผู้วินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด 2001) ใช้แบบบันทึกการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรง โดยส่วนใหญ่คือ ศัลยแพทย์เจ้าของไข้ คิดเป็นร้อยละ พยาบาลมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 71.01 และใช้แบบ 79.71 จาการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดของ เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดโดยเฉพาะ คิดเป็น ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบุ ร้อยละ 28.99 ปัจจุบันพบว่าการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ถึงแพทย์ พยาบาล และพยาบาลควบคุมการติดเชื้อเป็น ต�ำแหน่งผ่าตัดในประเทศไทยที่ด�ำเนินการอยู่ ยังขาด ผู้สังเกตุ และวินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด (Alicia, แบบฟอร์มเฉพาะที่ใช้ ในการเฝ้าระวังการติดเชื้อ Teresa, Michele, Leah, William, 1999) สอดคล้อง ต�ำแหน่งผ่าตัด ซึ่งในการเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังการติดเชื้อ กับการศึกษาของ Kasetpibal (2006) พบว่ามีโรงพยาบาล ต�ำแหน่งผ่าตัดในทุกประเภทการผ่าตัดมากที่สุด คิดเป็น ที่มีแพทย์/พยาบาลควบคุมการติดเชื้อเป็นผู้วินิจฉัย ร้อยละ 57.97 มีวิธีการให้ทราบการเกิดการติดเชื้อ การติดเชื้อ ร้อยละ 79.6 ซึ่งแพทย์เป็นผู้วินิจฉัยการ ต�ำแหน่งผ่าตัดโดยส่วนใหญ่จะได้รับข้อมูลจากหัวหน้า ติดเชื้อที่ดีที่สุด แต่พยาบาลควบคุมการติดเชื้อเป็นผู้บันทึก หอผู้ป่วย/เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง แจ้งทันทีที่พบผู้ป่วยเกิด ข้อมูลการติดเชื้อ จึงจ�ำเป็นต้องมีการวินิจฉัยการติดเชื้อ การติดเชื้อ คิดเป็นร้อยละ 57.97 และพยาบาลควบคุม ซึ่งถ้าพยาบาลควบคุมการติดเชื้อไม่แน่ใจในการวินิจฉัย การติดเชื้อ ลงติดตามที่หอผู้ป่วยด้วยตนเอง คิดเป็นร้อยละ จะต้องมีการปรึกษาแพทย์ในการวินิจฉัย ข้อมูลการติดเชื้อ 34.78 โดยส่วนมากพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ ลงติดตาม ต�ำแหน่งผ่าตัดมีการลงข้อมูลในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่หอผู้ป่วย 1-2 ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 14.49 คิดเป็นร้อยละ 33.33 แสดงให้เห็นว่าบุคลากรใน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 145 การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลเอกชน

โรงพยาบาลยังไม่ได้รับข้อมูลการติดเชื้อที่ทันสมัย โรงพยาบาล ปฏิบัติงานแต็มเวลา คิดเป็นร้อยละ 73.9 ส่งผลให้บุคลากรขาดความตระหนักในการป้องกันการ การจัดให้มีพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ หรือผู้ที่ได้รับ ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด หรือการดูแลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ การอบรมทางด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อใน ต�ำแหน่งผ่าตัด ถ้าหากว่ามีคอมพิวเตอร์ ในการบันทึก โรงพยาบาล ในหอผู้ป่วยและก�ำหนดบทบาทหน้าที่ ข้อมูลการเฝ้าระวังและโปรแกรมส�ำเร็จรูป เพื่อการบันทึก คุณสมบัติเฉพาะต�ำแหน่ง ส�ำหรับงานด้านป้องกันและ และรายงานการวินิจฉัยการ ติดเชื้อจะช่วยประหยัดเวลา ควบคุมการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด มีความสอดคล้องกับ ในการเฝ้าระวังและลดภาระของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง แนวทางปฏิบัติการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น (Haley, 1995) มีการ ต�ำแหน่งผ่าตัด และแนวทางปฏิบัติของศูนย์ควบคุม วิเคราะห์อัตราการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดคือ จ�ำนวนครั้ง โรคติดเชื้อในสหรัฐอเมริกา (Mangram AJ, 2001) เป็น ของการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดต่อการผ่าตัด 100 ครั้งมาก ปัจจัยสนับสนุนในการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 66.7 มีความถี่ในการวิเคราะห์ข้อมูล มีการจัดอบรมเรื่องการป้องกันการ ติดเชื้อต�ำแหน่ง ทุก 3 เดือน และรายงานต่อคณะกรรมการควบคุมการ ผ่าตัดให้แก่ บุคลากรใหม่ เป็นประจ�ำ 1 ครั้ง/ปี และมี ติดเชื้อในโรงพยาบาล เป็นประจ�ำทุกเดือน และเผยแพร่ การจัดอบรมเพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการ ข้อมูลการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดให้กับบุคลากรในโรง ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด เป็นประจ�ำทุกปี ในการจัดระบบ พยาบาลโดยจัดท�ำเป็นเอกสาร/รายงาน และน�ำผลการ นิเทศงาน การให้ความรู้และให้ค�ำแนะน�ำในการปฏิบัติ เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดไปวางแผนการป้องกัน งานบุคลากรในหน่วยงานเกี่ยวกับการป้องกันและ การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด การทบทวนวรรณกรรมที่ผ่าน ควบคุมการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด สอดคล้องกับแนวทาง มาพบว่าสิ่งสนับสนุนคือ มีการน�ำข้อมูลที่ได้จากการเก็บ ปฏิบัติการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด รวบรวมข้อมูลมาใช้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของ และแนวทางปฏิบัติของศูนย์ควบคุมโรคติดเชื้อใน ผู้บริหารและน�ำไปพัฒนาการดูแลผู้ป่วยต่อไป มีการน�ำ สหรัฐอเมริกา (Mangram AJ, 2001) มีการใช้เกณฑ์ ข้อมูลจากการวิเคราะห์และประมวลผล ไปเผยแพร่ใน การวินิจฉัยการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดของศูนย์ควบคุม รูปแบบของเอกสาร/รายงาน การน�ำเสนอในที่ประชุม และป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2014 ร้อยละ ให้แก่หน่วยงานที่ได้รับข้อมูล คือ คณะกรรมการป้องกัน 41 โดยข้อมูลที่เก็บในการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่ง และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล หอผู้ป่วย คณะ ผ่าตัด ประกอบด้วย ข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูลการผ่าตัด ข้อมูล กรรมการบริหารโรงพยาบาล เพื่อให้ได้รับข้อมูลการ การติดเชื้อ และข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เฝ้าระวัง ซึ่งมีความถี่ในการประเมินประสิทธภาพการ ซึ่งใช้แบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลใน เฝ้าระวัง เป็นประจ�ำทุก 6 เดือน หรือ 1 ปี ซึ่งจากการ การเก็บข้อมูล สอดคล้องกับการศึกษาที่องค์กรเห็น ส�ำรวจสถานการณ์การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล ความส�ำคัญของการให้ความรู้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ ในประเทศไทยพบว่าประสิทธิภาพการเฝ้าระวังส่วนใหญ่ การควบคุมการติดเชื้อ มีการก�ำหนดเกณฑ์การวินิจฉัย อยู่ระหว่างร้อยละ 71-80 (ส�ำนักพัฒนาระบบสุขภาพ ที่ชัดเจนช่วยให้กระบวนการเก็บข้อมูล กระชับขึ้น และ กระทรวงสาธารณสุข, 2547) ไม่เป็นการเก็บข้อมูลที่ไม่มีประโยชน์ต่อการป้องกันการ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ติดเชื้อ ช่วยลดภาระงานของพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ ต�ำแหน่งผ่าตัด และช่วยในการวางแผนการพัฒนาการควบคุมการ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ติดเชื้อต่อไป (Murphy, 2002) ต�ำแหน่งผ่าตัด ในด้านโครงสร้าง จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค พบว่า โรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลเอกชนมีพยาบาลควบคุมการติดเชื้อประจ�ำ บางแห่งยังมีพยาบาลควบคุมการติดเชื้อที่ปฏิบัติงาน

146 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Surgical Site Infection Surveillance Practices and Related Factors Among Private Hospitals

บางเวลา ท�ำให้ไม่เกิดความต่อเนื่องของการเฝ้าระวัง ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค พบว่าการรวบรวมข้อมูล การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด โรงพยาบาลเอกชนบางแห่ง โดยบุคลากรหลายคนท�ำให้มีความแตกต่างของข้อมูล มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบโดยส่วนใหญ่มาจากการ และคุณภาพของข้อมูลขึ้นอยู่กับความตระหนักและการ ที่ผู้รับผิดชอบลาออกจากงาน ซึ่งจะมีผลกระทบต่อ ให้ความส�ำคัญของผู้ที่ท�ำหน้าที่เฝ้าระวัง (Sukapan, การเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด คือการปฏิบัติ 2009) ด้านผลลัพธ์ จากการศึกษาพบว่า โรงพยาบาล การเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด เกิดความไม่ เอกชนมีการเก็บข้อมูลโดยพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ ต่อเนื่อง และผู้รับผิดชอบงานใหม่ขาดความรู้/วินิจฉัย เป็นผู้ลงบันทึกข้อมูล วิเคราะห์อัตราการติดเชื้อต�ำแหน่ง การติดเชื้อไม่ถูกต้อง ที่สอดคล้องกับการศึกษาของ ผ่าตัดจากจ�ำนวนครั้งของการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดต่อ Kasetpibal (2006) พบว่า ไม่มีพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ การผ่าตัด 100 ครั้ง และมีการเปรียบเทียบอัตราการ ที่ท�ำงานเต็มเวลา และพยาบาลควบคุมการติดเชื้อประจ�ำ ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดกับข้อมูลการเฝ้าระวังการติดเชื้อ หอผู้ป่วย มีการเปลี่ยนบ่อยทุก 1-2 ปี มีภาระงานมาก ของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคประเทศสหรัฐอเมริกา และต้องขึ้นเวรบ่าย-ดึก (Kasetpibal, 2006) และ โดยมีความถี่ในการวิเคราะห์ข้อมูล ทุก 3 เดือน และ ส่วนใหญ่ไม่มีการประเมินประสิทธิภาพการเฝ้าระวัง รายงานต่อคณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ส่วนใหญ่ยังไม่มีระบบเครือข่าย เป็นประจ�ำทุกเดือน และเผยแพร่ข้อมูลการติดเชื้อ คอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาล (intranet) ที่ช่วยในการ ต�ำแหน่งผ่าตัดให้กับบุคลากรในโรงพยาบาลโดยจัดท�ำ บันทึกข้อมูลและเอื้อต่อการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่ง เป็นเอกสาร/รายงาน และน�ำผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ผ่าตัด และยังไม่มีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สามารถ ต�ำแหน่งผ่าตัดไปวางแผนการป้องกันการติดเชื้อ เชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ต�ำแหน่งผ่าตัด ซึ่งการน�ำข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม สอดคล้องกับการศึกษาในเรื่องการขาดโปรแกรมในการ ข้อมูลมาใช้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหาร ปฏิบัติในการเก็บรวบรวมข้อมูล การขาดหลักวิธีการ และน�ำไปพัฒนาการดูแลผู้ป่วยต่อไป รวบรวมข้อมูลอัตโนมัติ (Murphy, 2002) ซึ่งส่งผลต่อ การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ข้อจ�ำกัดของการวิจัย ด้านกระบวนการ จากการศึกษาพบว่า โรงพยาบาล การศึกษาครั้งนี้ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาร้อยละ เอกชนมีการจัดอบรมเรื่องการป้องกันการติดเชื้อ 50 ซึ่งค่อนข้างน้อย ทั้งนี้อาจเนื่องจากค�ำถามบางข้อเป็น ต�ำแหน่งผ่าตัดให้แก่ บุคลากรใหม่ เป็นประจ�ำ 1 ครั้ง/ปี ข้อมูลที่โรงพยาบาลบางแห่งไม่อยากเปิดเผยข้อมูล เช่น และมีการจัดอบรมเพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน อัตราการติดเชื้อที่ต�ำแหน่งผ่าตัด เป็นต้น ผลการวิจัย การติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด เป็นประจ�ำทุกปี การคัดเลือก ที่ได้จึงอาจไม่ได้เป็นตัวแทนที่ดีของโรงพยาบาลเอกชน ICWN ส่วนใหญ่มากจากการแต่งตั้ง และไม่มีการระบุ ในประเทศไทย ดังนั้นการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งต่อไป วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และไม่มีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบ ควรใช้หลายวิธีประกอบกัน การเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัด ดังการศึกษาที่ พบว่าการฝึกอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ การติดเชื้อ เป็นปัจจัยสนับสนุนในการเฝ้าระวังการติดเชื้อ 1. บุคลากรผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันการติดเชื้อ ต�ำแหน่งผ่าตัด (Talaat et al., 2006) และบุคลากรที่ได้รับ ในโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ควรน�ำข้อมูลที่ได้ การเสริมแรงโดยการได้รับการอบรม การแจกคู่มือ และ จากการวิจัยนี้ไปใช้ในการวางแผนพัฒนาการปฏิบัติการ โปสเตอร์เตือน ส่งผลให้อุบัติการณ์การติดเชื้อที่ต�ำแหน่ง เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดเพื่อให้มีประสิทธิภาพ ผ่าตัดทางหน้าท้องมีแนวโน้มลดลง (Laemkla, 2012) มากขึ้น

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 147 การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลเอกชน

2. โรงพยาบาลเอกชนควรพัฒนาวิธีการปฏิบัติการ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป เฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดให้เป็นมาตรฐาน 1. ควรพัฒนาวิธีการปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อ เดียวกัน เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบข้อมูลการติดเชื้อ ต�ำแหน่งผ่าตัดในโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ต�ำแหน่งผ่าตัดระหว่างโรงพยาบาลได้ 2. ควรศึกษารูปแบบการปฏิบัติการเฝ้าระวังการ ติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดที่เหมาะสมกับโรงพยาบาลเอกชน ในประเทศไทย เอกสารอ้างอิง Alicia, J. M., Teresa C. H., Michele L. P., Leah C. S., William R. J. (1999). Guideline for prevention of surgical site infection, 1999. Infection Control and Hospital epidemiology. 20(4), 236-266. Astagneau, P., Rioux, C., Golliot, F., & Brucker, G. (2001). Morbidity and mortality associated with surgical site infections: results from the 1997-1999 INCISO surveillance. Journal of Hospital Infection, 48, 267-274. Avato J. L. and Lai,K. K. (2002) Impact of post discharge surveillance on surgical-site infection rates for coronary artery bypass procedure. Infection Control Hospital Epidemiology. 23(7): 364-7. Boltz, M.M., Hollenbeak, C. S., Julian, K. G., Ortenzi, G., & Dillon, P. W. (2011). Hospital costs associated with surgical site infections in general and vascular surgery patients. Surgery, 150(5), 934-942. Buffet-Bataillon, S., Haegelen, C., Riffaud, L., Bonnaure-Mallet, M., Brassier, G., & Cormier, M. (2011). Impact of surgical site infection surveillance in a neurosurgical unit. Journal of Hospital Infection, 77, 352-355. Centers for Disease Control and Prevention. (2013). Surgical Site Infection (SSI) Event. Procedure-Associated Events SSI. Retrieved June 14,2013. From http://www.cdc.gov/nhsn/pdfs/pscmanual/9pscssicurrent.pdf Danchaivijitr, S., Judaeng, T., Sripalakij, S., Naksawas, K., & Plipat, T. (2006). Prevalence of Nosocomial Infection in Thailand 2006. Journal of Medical Association of Thailand, 90(8), 1524-1529. Department of Medical Services. (2012). Numbers of surgeries in the year 2011. Retrieved 20/08/2013 from http://203.157.32.40/statreport/2554/table17.htm (in Thai). Gastmeier, P., Geffers, C., Brandt, C., Zuschneid, I., Sohr, D., Schwab, F., . . . Ruden, H. (2006). Effectiveness of a nationwide nosocomial infection surveillance system for reducing nosocomial infections. Journal of hospital infection, 64, 16 – 22. Gaynes, R. P., & Horan, T. C. (2004). Surveillance of nosocomial infection. In C. G. Mayhall (Ed.), Hospital epidemiology and infection control, 3rd ed., pp. 1659-1702).

148 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Surgical Site Infection Surveillance Practices and Related Factors Among Private Hospitals

Haley, R. W. (1995). The scientific basic for using surveillance and risk factor data to reduce nosocomial infection rates. Journal of Hospital Infection, 30(suppl.), 3-14. Kasatpibal, N., Jamulitrat, S., & Chongsuvivatwong, V. (2005). Standardized incidence rates of surgical site infection: A multicenter study in Thailand. American Journal of Infection Control, 33(10), 587-594. Kasatpibal, N., Jamulitrat, S., Chongsuvivatwong, V., Norgaard, M., & Sorensen, H. T. (2006). Impact of surgeon-specific feedback on surgical site infection rates in Thailand. Journal of Hospital Infection, 63, 148-155. Kasatpibal, N., Norgaard, M., & Jamulitrat, S. (2009). Improving surveillance system and surgical site infection rates through a network: A pilot study from Thailand. Clinical Epidemiology, 1, 67-74. Kasatpibal, N., Norgaard, M., Sorensen, H. T., Schonheyder, H. C., Jamulitrat, S., & Chongsuvivatwong, V. (2006). Risk of surgical site infection and efficacy of antibiotic prophylaxis: a cohort study of appendectomy patients in Thailand. BMC Infectious Diseases, 6:111. Kasetpibal, N. (2006). Development of surgical site infection surveillance in .: Research report: Health System research. Division (in Thai). Mangram AJ. (2001). A brief overview of the 1999 CDC Guideline for the Prevention of Surgical Site Infection. Centers for Disease Control and Prevention. Journal of Chemotherapy; 13(1), 35-39. Murphy, M. D. (2002). From expert data collectors to interventionists: Changing the focus for infection control professionals. American Journal of Infection Control, 30(2), 120-132. Rosenthal VD, Richtmann R, Singh S, Apisarnthanarak A, Kubler A, Viet-Hung, et al. (2013) Surgical site infection, International Nosocomial Infection Control Conosotium (INICC) report, data summary of 30 countries, 2005 - 2010. Infection Control and Hospital Epidemiology; 34(6): 597-604. Stone,W.P., Kunches, L., & Hirschhorn, L. (2009). Cost of hospital-associated infections in Massachusetts. American Journal of Infection Control, 37, 210-214. Sukapan, N. (2009). Development of a nosocomial infection surveillance system using collaborative quality improvement of Community Hospitals in Chiang Rai Province. (Master’s thesis). Retrieved from archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/nuic0252ns_abs.pdf (in Thai). Talaat, M., Kandeel, A., Rasslan, O., Hajjeh, R., Hallaj, Z., El-Sayed, N., et al. (2006). Evolution of infection control in Egypt: Achievements and challenges. American Journal of Infection Control, 34(4), 193-200.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 149 การปฏิบัติการเฝ้าระวังการติดเชื้อต�ำแหน่งผ่าตัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลเอกชน

World Health Organization. (2009). Safe surgery saves lives WHO guidelines for safe surgery 2009. Retrieved 06/06/2013 from http://whqlibdoc.who.int/publications/2009/9789241598552_ eng.pdf World Health Organization. (2009). WHO guidelines for safe Surgery 2009: Safe Surgery Saves Lives. (pp.43-71). Geneva: WHO.

150 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก Knowledge, Attitude and Practices of Hand Hygiene Among Visitors in Intensive Care Unit

อมรรัตน์ อินทรชื่น * Amornrat Intarashuen * อะเคื้อ อุณหเลขกะ ** Akeau Unahalekhaka ** วันชัย เลิศวัฒนวิลาศ *** Wanchai Lertwatthanawilat ***

บทคัดย่อ การท�ำความสะอาดมือเป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ได้ผลดีที่สุด ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยอาจได้รับเชื้อและน�ำเชื้อจากโรงพยาบาลไปสู่ชุมชน ผู้เข้าเยี่ยมจึงจ�ำเป็นต้องท�ำความสะอาดมืออย่าง ถูกต้อง การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติและความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยที่เข้ารับ การรักษาในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม ศัลยกรรมและกุมารเวชกรรมในโรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ.2559 จ�ำนวน 228 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบด้วยค�ำถาม 4 ส่วน คือ ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าเยี่ยม ความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติในการ ท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความ ตรงตามเนื้อหาในส่วนของความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติ 0.95, 0.98 และ 1 ตามล�ำดับ ผลการทดสอบความเชื่อมั่น ของแบบสอบถามความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติ ได้ค่า 0.76, 0.78 และ 0.74 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงร้อยละ 71.5 มีอายุตั้งแต่ 18-66 ปี อายุเฉลี่ย 36.7 ปี จบชั้น ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาร้อยละ 32 และ 46.5 ตามล�ำดับ เข้าเยี่ยมผู้ป่วยตั้งแต่ 2-42 ครั้ง เป็นบุตรและเป็น บิดามารดาของผู้ป่วยร้อยละ 47.8 และ 23.3 ตามล�ำดับ เคยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือร้อยละ 78.5 ได้รับข้อมูลจากพยาบาลร้อยละ 61.5 ได้รับข้อมูลจากโปสเตอร์ร้อยละ 42.4 ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมืออยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 35.5 มีความรู้อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 43.9 และ 20.6 มีความรู้อยู่ในระดับปานกลางและระดับต�่ำ มีทัศนคติอยู่ในระดับดีและปานกลางร้อยละ 48.7 และ 49.6 ตามล�ำดับ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับสูงร้อยละ 41.2 ระดับปานกลางและระดับตำ�่ ร้อยละ 21.5 และ 37.3 ตามล�ำดับ ความรู้และทัศนคติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับต�่ำอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติ (r = .375, p<.01) ความรู้และทัศนคติไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม การส่งเสริมให้ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยมีความรู้ที่ถูกต้อง สร้างความตระหนักถึงความส�ำคัญและประโยชน์ของการ

* พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ โรงพยาบาลนครพนม * Professional Nurse, Nakhonphanom Hospital, Nakhonphanom ** ศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 151 ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก

ท �ำความสะอาดมือ และส่งเสริมให้มีการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมืออย่างถูกต้องขณะเข้าเยี่ยมผู้ป่วยเป็นสิ่งจ�ำเป็น ที่โรงพยาบาลควรด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล จากผู้เข้าเยี่ยม และป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะเชื้อดื้อยาจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน

ค�ำส�ำคัญ: ความรู้, ทัศนคติ, การปฏิบัติ, การท�ำความสะอาดมือ, ผู้เข้าเยี่ยม

Abstract Hand hygiene is the most effective measure in prevention of microorganism transmission and hospital-associated infections. When people visit the hospital, they can acquire and transmit microorganisms from the hospital to the community. It is necessary that visitors practice correct hand hygiene while visiting patients. This descriptive study aimed to determine knowledge, attitude, and practices in hand hygiene among visitors and determine the correlation between knowledge, attitude, and practices in hand hygiene of visitors. Samples included 228 visitors of patients who were admitted in medical, surgical, and pediatric intensive care units of a general hospital from November 2015 to April 2016. The study instrument used was a four-part questionnaire developed by the researcher which consisted of general information of visitors, knowledge, attitude and practices in hand hygiene. The content validity of questionnaire was assessed by five experts. The content validity index of knowledge, attitude, and practice were 0.95, 0.98 and 1, respectively. The reliability of knowledge, attitude, and practice were 0.76, 0.78 and 0.74, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman rank correlation coefficient. In the study, 71.5% of the participants were female aged between 18-66 years old with a mean age of 36.7. Thirty two percent and 46.5% of the participants graduated from elementary and high school respectively. Each participant was visited 2 - 42 times. Forty seven point eight and 23.3% of participants were either the children of patients or the parents of patients, respectively. Seventy eight point five percent of participants used to obtain hand hygiene knowledge, 61.5% obtained from nurses and 42.4% from posters. Knowledge, attitude and practices in hand hygiene of all participants were at a moderate level. Thirty five point five percent of samples had a high level of hand hygiene knowledge, 43.9% had a moderate level and 20.6% had a low level, respectively. Forty eight point seven percent and 49.6% had good and moderate attitude toward hand hygiene. Forty one point two percent of samples practiced a high level of hand hygiene, 21.5% and 37.3% practiced a moderate level and a low level, respectively. Knowledge and attitude in hand hygiene of participants were significantly positive correlated at low level (r = .357, p < .01). Knowledge and attitude did not correlate with hand hygiene practices among participants. Promoting visitors to obtain accurate knowledge, creating an awareness of the importance and advantages of hand hygiene and promoting appropriate hand hygiene practices while visiting patients is necessary for hospitals to implement continuously in order to prevent visitors from

152 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge, Attitude and Practices of Hand Hygiene Among Visitors in Intensive Care Unit transmitting microorganisms, especially multidrug resistant organisms, in hospitals and to the community.

Key words: Knowledge, Attitude, Practice, Hand Hygiene, Visitors

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา เตียงร้อยละ 23 ผ้าปูที่นอนร้อยละ 18 โต๊ะข้างเตียงร้อยละ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาที่หอผู้ป่วยหนักมีโอกาส 14.3 และตู้ข้างเตียงร้อยละ 10.3 ของจ�ำนวนครั้งที่สัมผัส เกิดการติดเชื้อในโรงพยาบาลสูงเนื่องจากผู้ป่วยอยู่ใน ทั้งหมด (Cheng et al., 2015) จะเห็นได้ว่าผู้เข้าเยี่ยม ภาวะวิกฤตต้องเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักเป็น มีโอกาสได้รับเชื้อเนื่องจากการสัมผัสด้วยระยะเวลาใน เวลานาน อาจมีเชื้อจุลชีพก่อนิคมอยู่ตามส่วนต่าง ๆ การเข้าเยี่ยมที่นานย่อมมีโอกาสสัมผัสผู้ป่วยและ ของร่างกายผู้ป่วย และปนเปื้อนบริเวณสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ สิ่งแวดล้อมได้มากขึ้นท�ำให้เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อ ผู้ป่วยจากการที่เชื้อจุลชีพออกมากับผิวหนังผู้ป่วย ผ่านมือได้เช่นเดียวกับบุคลากรของโรงพยาบาล โดยพบบนหมอนผู้ป่วยร้อยละ 33 กระเป๋ากางเกงผู้ป่วย เชื้อจากโรงพยาบาลอาจแพร่กระจายสู่บุคคลอื่น ร้อยละ 31 ขากางเกงผู้ป่วยร้อยละ 23 เครื่องปรับหยด และสู่ชุมชนจากมือผู้เข้าเยี่ยมได้หากผู้เข้าเยี่ยมไม่มี น�้ำเกลือร้อยละ 16 และโต๊ะข้างเตียงผู้ป่วยร้อยละ 14 การท�ำความสะอาดมืออย่างถูกวิธี (Mcadams, Ellis, ของตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ (Lerner et al., 2013) บนผ้า Trevino, & Rajnik, 2008) การศึกษาการปนเปื้อนเชื้อ ปูเตียงผู้ป่วยร้อยละ 40.2 โต๊ะขวางเตียงร้อยละ 22.4 บนมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาล ราวกั้นเตียงร้อยละ 20.9 (Oie, Suenaga, Sawa, & มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี Kamiya, 2007) และเชื้อจุลชีพเหล่านี้สามารถมีชีวิตอยู่ ค.ศ. 2015 พบเชื้อปนเปื้อนบนมือผู้เข้าเยี่ยมที่ไม่ ในสิ่งแวดล้อมได้เป็นเวลานาน (Kramer, Schwebke, ท�ำความสะอาดมือทุกคน ซึ่งในจ�ำนวนนี้พบเชื้อจุลชีพ & Kampf, 2006) จึงท�ำให้มีโอกาสเกิดการแพร่กระจาย ที่ก่อโรคร้อยละ 25.7 ได้แก่ เชื้อ Stenotrophomonas เชื้อจุลชีพในโรงพยาบาลได้ง่าย maltophilia, Klebsiella pneumoniae, Enterobacter การแพร่กระจายเชื้อในหอผู้ป่วยมีโอกาสเกิดขึ้นได้ spp., MRSA และ Escherichia coli (Birnbach, หากมีการสัมผัสผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม รอบ ๆ ผู้ป่วย Rosen, Fitzpatrick, Arheart, & Munoz-Price, 2015) ผู้เข้าเยี่ยมส่วนใหญ่มีการสัมผัสผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมใน ดังนั้น ผู้เข้าเยี่ยมจ�ำเป็นต้องท�ำความสะอาดมือเพื่อ ขณะเข้าเยี่ยม จากการศึกษาพบว่าผู้เข้าเยี่ยมจะใช้เวลา ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากโรงพยาบาลออกสู่ชุมชน ในการเยี่ยมนานกว่าบุคลากรของโรงพยาบาลเฉลี่ย 14 การท�ำความสะอาดมือเป็นการป้องกันการแพร่ นาที (Hyman, Cohen, Rosenberg, & Larson, 2011) กระจายเชื้อจุลชีพจากการสัมผัสที่มีประสิทธิภาพที่สุด ด้วยระยะเวลาในขณะเข้าเยี่ยมนานท�ำให้ผู้เข้าเยี่ยม ปฏิบัติได้ง่ายและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด มีโอกาสสัมผัสผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล (Guilhermetti, Hernandes, Fukushigue, Garcia, & พบว่า ผู้เข้าเยี่ยมสัมผัสผิวหนังผู้ป่วยร้อยละ 45.1 สัมผัส Cardoso, 2001; Sax et al., 2007) องค์กรและสถาบัน สิ่งแวดล้อมร้อยละ 28.5 สัมผัสเลือดและสารคัดหลั่งร้อยละ ทางด้านสุขภาพต่าง ๆ จึงให้ความส�ำคัญต่อการท�ำความ 19.6 มีเพียงร้อยละ 6.8 ของผู้เข้าเยี่ยมเท่านั้นที่ไม่สัมผัส สะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมและได้จัดท�ำแนวปฏิบัติหรือ สิ่งใดเลยขณะเข้าเยี่ยม (Cohen, Hyman, Rosenberg, ข้อแนะน�ำส�ำหรับผู้เข้าเยี่ยมในโรงพยาบาลโดยโรงพยาบาล & Larson, 2012) และการศึกษาในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลต่าง ๆ ต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศฮ่องกง เมื่อปี ค.ศ.2014 การท�ำความสะอาดมือ เช่น อ่างล้างมือ สบู่หรือน�้ำยา พบว่า ผู้เข้าเยี่ยมสัมผัสร่างกายผู้ป่วยร้อยละ 11.9 ราวกั้น ท�ำลายเชื้อ ผ้าเช็ดมือที่แห้งและสะอาดหรือกระดาษเช็ดมือ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 153 ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก

แอลกอฮอล์ถูมือ เป็นต้น ให้เพียงพอส�ำหรับผู้เข้าเยี่ยม หาความรู้ในสิ่งนั้น ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง สามารถ ข้อบ่งชี้ในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมที่ส�ำคัญ จดจ�ำเรื่องนั้นและน�ำไปใช้ประโยชน์ได้หรืออาจกล่าวได้ว่า ได้แก่ ก่อนและหลังเข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอผู้ป่วย ก่อนและ ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและ หลังสัมผัสผู้ป่วย ก่อนและหลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมใกล้ กัน (Bloom, 1975) ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาความรู้ ทัศนคติ ตัวผู้ป่วย (CDC, 2013; WHO 2009) หากผู้เข้าเยี่ยม และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม ท�ำความสะอาดมือตามข้อบ่งชี้ดังกล่าวอย่างเคร่งครัดจะ ในหอผู้ป่วยหนักเพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานน�ำมาวางแผน ช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อจุลชีพในโรงพยาบาลได้ ในการให้ความรู้และส่งเสริมการปฏิบัติในการท�ำความ อย่างมีประสิทธิภาพ สะอาดมือแก่ผู้เข้าเยี่ยมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการ ข้อมูลจากการศึกษาที่ผ่านมาพบอัตราการ ลดการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลและชุมชน ท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมค่อนข้างต�่ำ ดังการ ศึกษาในประเทศอังกฤษ พบว่า ผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วย วัตถุประสงค์การวิจัย เด็กร้อยละ 38.5 ท�ำความสะอาดมือตามข้อบ่งชี้ 5 1. เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติใน กิจกรรมและในหอผู้ป่วยหนักกุมารเวชกรรม ความสะอาด การท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก มือตามข้อบ่งชี้ทั้ง 5 กิจกรรมร้อยละ 57.3 (Randle, 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ Arthur, & Vaughan, 2010; Randle, Firth, & และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม Vaughan, 2012) ผู้เข้าเยี่ยมท�ำความสะอาดมือก่อนเข้า ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลร้อยละ 44 ก่อนเข้าหอผู้ป่วยเพียงร้อยละ 4.1 และก่อนเข้าเยี่ยมผู้ป่วยในห้องแยกโรคร้อยละ 2.7 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ของจ�ำนวนครั้งที่ผู้เข้าเยี่ยมควรจะท�ำความสะอาดมือ การวิจัยนี้ศึกษาความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติใน (Wolfe & O’Neill, 2012) ท�ำความสะอาดมือก่อนเข้า การท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยและศึกษา เยี่ยมผู้ป่วยร้อยละ 10.8 และหลังเข้าเยี่ยมผู้ป่วยร้อยละ ความสัมพันธ์ของความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตาม 9.7 ของจ�ำนวนครั้งที่สังเกตทั้งหมด (Clock, Cohen, แนวคิดของBloom (1975) โดยความรู้ ความเชื่อสัมพันธ์ Behta, Ross, & Larson, 2010) ส�ำหรับในประเทศไทย กับการปฎิบัติ ความรู้เกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือ มีการศึกษาการท�ำความสะอาดมือและทัศนคติต่อการ ประกอบด้วย การแพร่กระจายเชื้อจุลชีพผ่านมือ ข้อบ่งชี้ ท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก ในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม ประโยชน์ของ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งเมื่อ ปี พ.ศ. 2548 การท�ำความสะอาดมือ และวิธีการท�ำความสะอาดมือ โดยการสังเกตการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม 26 ทัศนคติเกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือ ประกอบด้วย คน พบว่า ผู้เข้าเยี่ยมท�ำความสะอาดมือก่อนสัมผัสผู้ป่วย การแพร่กระจายเชื้อจุลชีพผ่านมือ ประโยชน์ของการ เพียงร้อยละ 11.5 และจากการสอบถามผู้เข้าเยี่ยม 35 คน ท�ำความสะอาดมือ วิธีการท�ำความสะอาดมือ และการ พบว่า ท�ำความสะอาดมือก่อนสัมผัสผู้ป่วยโดยปฏิบัติทุก ปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยใน ครั้งร้อยละ 54.3 ปฏิบัติบ่อยครั้งร้อยละ 34.3 ปฏิบัติ หอผู้ป่วยหนักซึ่งได้จากการทบทวนแนวทางปฏิบัติของ เป็นบางครั้งร้อยละ 8.6 และไม่ปฏิบัติร้อยละ 2.8 องค์กรต่าง ๆ ประกอบด้วย การท�ำความสะอาดมือก่อน (Patarakul, Tan-Khum, Kanha, Padungpean, & เข้าเยี่ยมผู้ป่วย ก่อนออกจากหอผู้ป่วย ก่อนสัมผัสผู้ป่วย Jaichaiyapum, 2005) ความรู้เป็นปัจจัยพื้นฐาน หากไปสัมผัสสิ่งอื่นมาก่อน หลังสัมผัสผู้ป่วย ก่อนสัมผัส ที่ท�ำให้เกิดการตัดสินใจที่จะปฏิบัติ เมื่อบุคคลมีความรู้ดี สิ่งต่าง ๆ รอบผู้ป่วย เช่น เตียง ราวกั้นเตียง โต๊ะข้างเตียง จะส่งผลให้เกิดทัศนคติหรือความรู้สึกที่ดีและจะศึกษา และเสาน�้ำเกลือ เป็นต้น หากสัมผัสผู้ป่วยมาก่อน และ

154 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge, Attitude and Practices of Hand Hygiene Among Visitors in Intensive Care Unit

หลังสัมผัสเตียง ราวกั้นเตียง โต๊ะข้างเตียงและเสานำ�้ เกลือ ความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือ ของผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนักที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น วิธีด�ำเนินการวิจัย ประกอบด้วยข้อมูล 4 ส่วน ดังนี้ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วย สัมพันธ์ (descriptive correlational research) ประกอบด้วยค�ำถามเกี่ยวกับเพศ อายุ ระดับการศึกษา เพื่อศึกษาและหาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ จ�ำนวนครั้งที่เข้าเยี่ยมผู้ป่วย ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม และการเคยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือ ในหอผู้ป่วยหนัก ระยะเวลาศึกษาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ส่วนที่ 2 ความรู้ในการท�ำความสะอาดมือ 2558 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 ของผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วย ประกอบด้วยค�ำถามเกี่ยวกับ ประชากรในการวิจัยนี้ คือ ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอ การแพร่กระจายเชื้อจุลชีพผ่านมือ 4 ข้อ ข้อบ่งชี้ในการ ผู้ป่วยหนักอายุรกรรม หอผู้ป่วยหนักศัลยกรรมและหอ ท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม 4 ข้อ ประโยชน์ของ ผู้ป่วยหนักกุมารเวชกรรมในโรงพยาบาลทั่วไป ในปี พ.ศ. การท�ำความสะอาดมือ 3 ข้อและวิธีการท�ำความสะอาดมือ 2557 มีจ�ำนวนประมาณ 1,524 คน 4 ข้อ รวมทั้งหมด 15 ข้อ ลักษณะค�ำถามเป็นแบบปรนัย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนัก 3 ตัวเลือก คือ ถูก ผิด และไม่ทราบ ให้เลือกตอบเพียง อายุรกรรม หอผู้ป่วยหนักศัลยกรรม และหอผู้ป่วยหนัก ค�ำตอบเดียว มีการให้คะแนน ดังนี้ ตอบถูกต้องให้ 1 กุมารเวชกรรมในโรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง ในช่วง คะแนน ตอบไม่ถูกต้องหรือตอบไม่ทราบ ไม่ได้คะแนน ระยะเวลาที่ศึกษาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึง ส่วนที่ 3 ทัศนคติต่อการท�ำความสะอาดมือ เดือนเมษายน พ.ศ. 2559 ของผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วย ประกอบด้วยค�ำถามเกี่ยวกับ จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยก�ำหนดโดยใช้เกณฑ์ ความคิดเห็นต่อการแพร่กระจายเชื้อจุลชีพผ่านมือ 3 ข้อ ร้อยละ 15 ของจ�ำนวนประชากรเป็นหลักพัน (Pengsawas, ประโยชน์ของการท�ำความสะอาดมือ 3 ข้อ และวิธีการ 2008) ในการวิจัยนี้กลุ่มตัวอย่างมีจ�ำนวน 228 คน ท�ำความสะอาดมือ 4 ข้อ รวมทั้งหมด 10 ข้อ แบ่งระดับ โดยค�ำนวณจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนของ ของความคิดเห็นเป็น 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ประชากรในแต่ละหอผู้ป่วยหนัก ดังนี้ หอผู้ป่วยหนัก เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง อายุรกรรม 117 คน หอผู้ป่วยหนักศัลยกรรม 65 คน ส่วนที่ 4 การปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือ และหอผู้ป่วยหนักกุมารเวชกรรม 46 คน ของผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยตามข้อบ่งชี้ 6 ข้อ คือ การท�ำความ เกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (inclusion สะอาดมือก่อนและหลังเข้าเยี่ยมผู้ป่วย ก่อนสัมผัสตัว criteria) ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive ผู้ป่วยหากไปสัมผัสสิ่งอื่นมาก่อน หลังสัมผัสตัวผู้ป่วย sampling) ตามคุณสมบัติ ดังนี้ ก่อนสัมผัสสิ่งต่าง ๆ รอบตัวผู้ป่วย เช่น เตียง ราวกั้นเตียง 1. ผู้เข้าเยี่ยมทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุตั้งแต่ โต๊ะข้างเตียง เสาน�้ำเกลือหากสัมผัสผู้ป่วยมาก่อน และ 18 ปีขึ้นไป หลังสัมผัสเตียง ราวกั้นเตียง โต๊ะข้างเตียง เสาน�้ำเกลือ 2. เข้าเยี่ยมผู้ป่วยอย่างน้อย 2 ครั้งเพื่อให้มีโอ ให้เลือกตอบตามการปฏิบัติจริง คือ ปฏิบัติทุกครั้ง กาสได้ปฎิบัติการท�ำความสะอาดมือ ปฏิบัติบางครั้ง และไม่ได้ปฏิบัติ 3. สามารถสื่อสารภาษาไทย อ่านและเขียน การประเมินระดับความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติ ภาษาไทยได้ ประเมินโดยการอิงเกณฑ์เป็น 3 ระดับ ดังนี้ (Bloom, 1975) 4. ยินดีเข้าร่วมในการวิจัย ปฏิบัติระดับต�่ำ หมายถึง ได้คะแนนต�่ำกว่า เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม ร้อยละ 60

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 155 ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก

ปฏิบัติระดับปานกลาง หมายถึง ได้คะแนน โดยเลือกไปช่วงเวลาไหนก็ได้ ได้แก่ ช่วงเช้า ตั้งแต่เวลา เท่ากับร้อยละ 60-80 7.00 น.-8.00 น. ช่วงกลางวันตั้งแต่เวลา 12.00 น.- ปฏิบัติระดับสูง หมายถึง ได้คะแนนมากกว่า 14.00 น. และช่วงเย็นตั้งแต่เวลา 18.00 น.-20.00 น. ร้อยละ 80 โดยเก็บข้อมูลในหอผู้ป่วยต่างกันโดยการสุ่มอย่างง่าย ผู้วิจัยน�ำแบบสอบถามส่วนที่ 2, 3 และ 4 ไปตรวจ ในการเลือกหอผู้ป่วย ผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยพบกลุ่มตัวอย่าง สอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 5 ท่าน โดยแนะน�ำตัว ชี้แจงวัตถุประสงค์การวิจัย ขอความร่วมมือ และน�ำมาค�ำนวณหาค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา และความยินยอมในการเข้าร่วมการวิจัยรวมทั้งแจ้งสิทธิ์ ได้เท่ากับ 0.95, 0.98 และ 1.00 ตามล�ำดับ จากนั้นน�ำ ในการตัดสินใจเข้าร่วมการวิจัยและให้กลุ่มตัวอย่างลง แบบสอบถามไปทดลองใช้กับผู้เข้าเยี่ยมที่มีลักษณะ นามในเอกสารยินยอมเข้าร่วมวิจัย อธิบายถึงวิธีการตอบ เดียวกันกับกลุ่มตัวอย่างในโรงพยาบาลที่ศึกษา จ�ำนวน แบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างทราบและให้ตอบแบบ 10 คน แล้วมาหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือโดยแบบ สอบถามด้วยตนเองในสถานที่ที่จัดไว้ โดยให้เวลาแก่ วัดความรู้ใช้วิธีของ คูเดอร์ ริชาร์ดสัน สูตร K.R. 20 กลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถามอย่างเพียงพอและ (Kuder-Richardson 20) ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.76 ขอรับคืนทันทีที่ตอบแบบสอบถามเสร็จ จากนั้นตรวจ แบบสอบถามทัศนคติและการปฎิบัติใช้สัมประสิทธิ์ สอบความสมบูรณ์ของข้อมูลในแบบสอบถาม จากนั้น แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) จึงน�ำมาวิเคราะห์ทางสถิติ ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.74 และ 0.78 ตามล�ำดับ การวิเคราะห์ข้อมูล การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลทั่วไป วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาโดย ผู้วิจัยพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาโดย การแจกแจงความถี่ ค�ำนวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและ การน�ำเสนอโครงร่างการวิจัยต่อคณะกรรมการจริยธรรม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูลความรู้ ทัศนคติ และ การวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือ วิเคราะห์เป็นค่าเฉลี่ย หลังจากได้รับการอนุมัติแล้วผู้วิจัยด�ำเนินการวิจัยโดย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ทดสอบการกระจาย ชี้แจงโครงการวิจัยแก่กลุ่มตัวอย่างและให้กลุ่มตัวอย่าง ของข้อมูลความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติโดยใช้สถิติ ลงนามในการเข้าร่วมวิจัย ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา Kolmogorov-Smirnovtest พบการกระจายแบบไม่ปกติ มีสิทธิ์ที่จะปฏิเสธหรือถอนตัวจากการวิจัยนี้เมื่อใดก็ได้ จึงวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนความรู้ โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลและจะไม่มีผลกระทบต่อกลุ่ม ทัศนคติ และการปฏิบัติโดยใช้สถิติการหาค่าสัมประสิทธ์ ตัวอย่าง สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (Spearman rank-order การเก็บรวบรวมข้อมูล correlation coefficient) ผู้วิจัยด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลโดยมีผู้ช่วยวิจัย การแปลผลความสัมพันธ์ใช้เกณฑ์พิจารณา ดังนี้ 1 คน ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลโดยขออนุญาตผู้อ�ำนวย (Munro, 1997) การโรงพยาบาลที่ศึกษาในการด�ำเนินการวิจัย ชี้แจง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การแปลผล วัตถุประสงค์การวิจัย ขั้นตอนรวบรวมข้อมูลต่อหัวหน้า 0.00 – 0.25 มีความสัมพันธ์ระดับต�่ำมาก หอผู้ป่วยหนักทั้ง 3 แห่งและขอความร่วมมือในการ 0.26 – 0.49 มีความสัมพันธ์ระดับต�่ำ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยชี้แจงผู้ช่วยวิจัยเกี่ยวกับราย 0.50 – 0.69 มีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง ละเอียดการวิจัย วิธีรวบรวมข้อมูลและฝึกซ้อมวิธีการ 0.70 – 0.89 มีความสัมพันธ์กันระดับสูง รวบรวมข้อมูลร่วมกัน ผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยรวบรวมข้อมูล 0.90 – 1.00 มีความสัมพันธ์ระดับสูงมาก ในหอผู้ป่วยหนักวันละ 2 ช่วงเวลาที่เป็นช่วงเวลาเข้าเยี่ยม

156 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge, Attitude and Practices of Hand Hygiene Among Visitors in Intensive Care Unit

ผลการวิจัย 23.3 ตามล�ำดับ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 78.5 เคยได้รับ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 228 คน เป็นเพศหญิงร้อยละ ข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือและได้รับข้อมูล 71.5 มีช่วงอายุระหว่าง 18 ถึง 66 ปี อายุเฉลี่ย 36.7 ปี เกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือตั้งแต่ 1-5 ครั้ง ส่วนใหญ่ ช่วงอายุของกลุ่มตัวอย่างที่เข้าเยี่ยมมากที่สุด คือ อายุ 30 ได้รับข้อมูล 1 ครั้งคิดเป็นร้อยละ 53.1 และ 3-5 ครั้ง ถึง 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 53.9 จบการศึกษาชั้นประถม ร้อยละ 21.2 โดยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำความสะอาด ศึกษาร้อยละ 32 รองลงมาจบการศึกษามัธยมศึกษาตอน มือจากพยาบาลมากที่สุดร้อยละ 61.5 รองลงมาอ่านจาก ปลาย/ปวช. ร้อยละ 27.2 เข้าเยี่ยมผู้ป่วยตั้งแต่ 2-42 ครั้ง โปสเตอร์ร้อยละ 42.5 ส่วนใหญ่เข้าเยี่ยมผู้ป่วย 2-5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 69.3 ครั้ง ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่าง 228 คนมีความรู้ ทัศนคติ เป็นบุตรและเป็นบิดามารดาของผู้ป่วยร้อยละ 47.8 และ และการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย มัธยฐานและระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของกลุ่ม ตัวอย่างในภาพรวม (n = 228 คน) ตัวแปร คะแนนเต็ม พิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ร้อยละก ระดับ ความรู้ 15 2-15 10.4 10 69.3 ปานกลาง ทัศนคติ 40 22-40 31.8 31 79.5 ปานกลาง การปฏิบัติ 12 2-12 8.4 9 70.0 ปานกลาง หมายเหตุ.ก ค่าร้อยละของค่าเฉลี่ยจากคะแนนเต็ม

ความรู้เกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 35.5 มีความรู้ในระดับสูง ร้อยละ 43.9 มีความรู้อยู่ในระดับปานกลางและร้อยละ 20.6 มีความรู้ในระดับต�่ำ ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางท ี่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จ�ำแนกตามระดับความรู้เกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือ (n = 228 คน) ระดับความรู้ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ สูง 81 35.5 ปานกลาง 100 43.9 ต�่ำ 47 20.6

กลุ่มตัวอย่างมากกว่าร้อยละ 90 ตอบค�ำถามถูกต้อง ร้อยละ 50 ที่ตอบถูกต้อง ได้แก่ การล้างมือด้วยน�้ำกับ ได้แก่ เมื่อมือผู้เข้าเยี่ยมสัมผัสเลือด เสมหะ ปัสสาวะหรือ สบู่ให้ฟอกฝ่ามือและหลังมือให้ทั่วก็เพียงพอแล้ว ผู้เข้า อุจจาระผู้ป่วยผู้เข้าเยี่ยมต้องท�ำความสะอาดมือทันที เยี่ยมควรท�ำความสะอาดมือก่อนเยี่ยมผู้ป่วยเท่านั้น การท�ำความสะอาดมือเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพใน เมื่อผู้เข้าเยี่ยมใช้มือสัมผัสผิวหนังผู้ป่วยที่ปกติผู้เข้าเยี่ยม การขจัดสิ่งสกปรกและเชื้อโรคออกจากมือ และเมื่อมือ จะไม่ได้รับเชื้อจากผู้ป่วย และหลังจากถูมือด้วย ผู้เข้าเยี่ยมสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งของผู้ป่วย ต้องล้างมือ แอลกอฮอล์ท�ำความสะอาดมือแล้วต้องไปล้างมือด้วยนำ�้ ด้วยนำ�้ และสบู่ผสมนำ�้ ยาท�ำลายเชื้อคิดเป็นร้อยละ 97.8, อีกครั้งซึ่งล้วนแต่เป็นข้อความทางลบ คิดเป็นร้อยละ 95.6 และ 90.8 ตามล�ำดับ ความรู้ที่กลุ่มตัวอย่างน้อยกว่า 46.5, 36.8, 35.1 และ 27.6 ตามล�ำดับ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 157 ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก

ทัศนคติต่อการท�ำความสะอาดมือของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติอยู่ในระดับดีและปานกลางคิด เป็นร้อยละ 48.7 และ 49.6 ตามล�ำดับ ดังแสดงในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จ�ำแนกตามระดับทัศนคติในการท�ำความสะอาดมือ (n = 228 คน) ระดับทัศนคติ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ ดี 111 48.7 ปานกลาง 113 49.6 ไม่ดี 4 1.7

กลุ่มตัวอย่างมากกว่าร้อยละ 60 เห็นด้วยอย่างยิ่ง คือ การท�ำความสะอาดมือช่วยป้องกันการติดเชื้อใน กับทัศนคติทางบวก คือ การท�ำความสะอาดมือก่อนเข้า โรงพยาบาลและความเสี่ยงต่อการติดเชื้อหากใช้มือ เยี่ยมผู้ป่วยเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ต้องท�ำ การท�ำความสะอาด สัมผัสผู้ป่วยคิดเป็นร้อยละ 42.5 และ 34.6 ตามล�ำดับ มือเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เข้าเยี่ยมทุกคนต้องปฏิบัติ การปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของกลุ่ม ให้ถูกต้องและการท�ำความสะอาดมือทุกครั้งก่อนเยี่ยม ตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 41.2 มีการปฏิบัติ ผู้ป่วยจะช่วยลดการน�ำเชื้อโรคสู่ผู้ป่วยคิดเป็นร้อยละ ในการท�ำความสะอาดมืออยู่ในระดับสูง มีการปฏิบัติ 69.3, 68 และ 63.6 ตามล�ำดับ และกลุ่มตัวอย่างน้อย ในระดับปานกลางร้อยละ 21.5 และระดับต�่ำร้อยละ กว่าร้อยละ 50 ที่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับทัศนคติทางบวก 37.3 ดังแสดงในตารางที่ 4

ตารางที่ 4 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จ�ำแนกตามระดับการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือ (n = 228 คน) ระดับการปฏิบัติ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ สูง 94 41.2 ปานกลาง 49 21.5 ต�่ำ 85 37.3

กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติในการท�ำความสะอาด ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการ มือทุกครั้งก่อนเข้าเยี่ยมและก่อนออกจากหอผู้ป่วยหนัก ปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม พบว่า ร้อยละ 71.9 และ 57.9 ตามล�ำดับ ท�ำความสะอาดมือ ความรู้และทัศนคติในการท�ำความสะอาดมือมีความ ก่อนและหลังสัมผัสตัวผู้ป่วยร้อยละ 68.9 และ 54.4 ตาม สัมพันธ์ทางบวกในระดับต�่ำอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ล�ำดับ ท�ำความสะอาดมือก่อนและหลังสัมผัสสิ่งต่าง ๆ (p< .01) ส่วนความรู้กับการปฏิบัติและทัศนคติกับการ รอบตัวผู้ป่วยร้อยละ 34.6 และ 35.1 ตามล�ำดับ ปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือไม่มีความสัมพันธ์กันใน ทางสถิติ ดังแสดงในตารางที่ 5

158 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge, Attitude and Practices of Hand Hygiene Among Visitors in Intensive Care Unit

ตารางที่ 5 ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของ กลุ่มตัวอย่าง (n = 228 คน) ตัวแปร ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ ความรู้ 1 .357* .032 ทัศนคติ 1 -.053 การปฏิบัติ 1 หมายเหตุ. *p < 0.01

การอภิปรายผล ของกลุ่มตัวอย่างไม่เคยใช้แอลกอฮอล์ท�ำความสะอาดมือ ความรู้ในการท�ำความสะอาดมือของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างจึงมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง อาจเนื่องจากกลุ่ม แอลกอฮอล์ท�ำความสะอาดมือ ตัวอย่างเคยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือ ทัศนคติต่อการท�ำความสะอาดมือของกลุ่ม มากถึงร้อยละ 78.5 อย่างไรก็ตามระดับความรู้อาจจะ ตัวอย่างในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มตัวอย่าง ไม่สูงมากนักเนื่องจาก กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 53.1 เคยได้ เห็นด้วยอย่างยิ่งว่าการท�ำความสะอาดมือก่อนเข้าเยี่ยม รับความรู้เกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือเพียงครั้งเดียว ผู้ป่วยเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ต้องท�ำ การท�ำความสะอาดมือ โดยได้รับข้อมูลจากโปสเตอร์ร้อยละ 42.5 ซึ่งเนื้อหาใน ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องและเชื่อว่าการท�ำความสะอาดมือ โปสเตอร์เน้นเฉพาะวิธีการล้างมือ กลุ่มตัวอย่างบางส่วน ทุกครั้งก่อนเยี่ยมผู้ป่วยจะช่วยลดการน�ำเชื้อโรคสู่ผู้ป่วย ได้รับข้อมูลจากการบอกต่อกันมาร้อยละ 19 จากการที่ คิดเป็นร้อยละ 69.3, 68 และ 63.6 ตามล�ำดับ ทัศนคติ กลุ่มตัวอย่างไม่ได้รับข้อมูลจากบุคลากรสุขภาพอาจ ดังกล่าวอาจเกิดจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้ ท�ำให้ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือไม่ เกี่ยวกับความส�ำคัญของการท�ำความสะอาดมือที่จะช่วย ครอบคลุมและไม่ครบถ้วนในทุกเรื่องที่ควรรู้ กลุ่ม ลดการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ซึ่งประเมินจากแบบวัด ตัวอย่างร้อยละ 32 จบชั้นประถมศึกษามีระดับความรู้ ความรู้ที่กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 83.3 ตอบถูกต้องในข้อ ในการท�ำความสะอาดมืออยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียว ค�ำถามว่า เมื่อผู้เข้าเยี่ยมใช้มือสัมผัสเลือดหรือสิ่งที่ออก กับกลุ่มตัวอย่างอื่น ๆ อาจเป็นเพราะความรู้เกี่ยวกับ จากร่างกายผู้ป่วยอาจมีโอกาสติดเชื้อได้และร้อยละ การท�ำความสะอาดมือเป็นเรื่องที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน 80.7 ตอบถูกต้องในข้อค�ำถามว่า เมื่อผู้เข้าเยี่ยมใช้มือ มากนัก สื่อที่น�ำเสนอความรู้เกี่ยวกับการท�ำความสะอาด สัมผัสสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ภายในหอผู้ป่วยแล้วไปสัมผัส มือที่พบเห็นทั่วไปสามารถท�ำความเข้าใจได้ง่าย ผู้ป่วยอาจท�ำให้ผู้ป่วยได้รับเชื้อจากมือผู้เข้าเยี่ยมได้ ประชาชนทั่ว ๆ ไปสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ดังนั้น ด้วยเหตุนี้กลุ่มตัวอย่างจึงมีความตระหนักและมองเห็น แม้ว่ากลุ่มตัวอย่างจบชั้นประถมศึกษาแต่ท�ำความเข้าใจ เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะต้องท�ำเพราะกลุ่มตัวอย่างเชื่อว่า เกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือได้ไม่ยากจึงท�ำให้มีระดับ สามารถป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ สอดคล้อง ความรู้ไม่ต่างจากกลุ่มอื่น กลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ 27.6 กับแนวคิดของ Bloom (1975) ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ เข้าใจถูกต้องว่าหลังท�ำความสะอาดมือด้วยแอลกอฮอล์ ระหว่างความรู้และทัศนคติไว้ว่า เมื่อบุคคลมีความรู้ แล้วไม่ต้องล้างมือด้วยนำ�้ อีกครั้ง อาจเป็นผลมาจากกลุ่ม จะท�ำให้เกิดความเข้าใจ มีความรู้สึกนึกคิดหรือมีทัศนคติ ตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการท�ำความ ที่ดี หรืออาจเป็นเพราะว่าความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม สะอาดมือด้วยแอลกอฮอล์ซึ่งปกติในชีวิตประจ�ำวัน ตัวอย่างมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดอย่างมากกับผู้ป่วยโดย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 159 ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก

เป็นบุตรและบิดา/มารดาร้อยละ 47.8 และ 23.3 ท�ำความสะอาดมือทุกครั้ง คือ ท�ำความสะอาดมือก่อน ตามล�ำดับ สอดคล้องกับการศึกษา ในประเทศไนจีเรีย ออกจากหอผู้ป่วยหนัก ก่อนสัมผัสตัวผู้ป่วยและหลัง พบว่า มารดามีทัศนคติในทางบวกหรือเห็นด้วยกับการ สัมผัสตัวผู้ป่วยร้อยละ 57.9, 68.9 และ 54.5 ตามล�ำดับ ท�ำความสะอาดมือมีความส�ำคัญถึงร้อยละ 98.7 ใกล้เคียงกับการศึกษาในประเทศไทยที่สอบถามการ (Olubukolaet al., 2014) ปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมก่อน กลุ่มตัวอย่างน้อยกว่าร้อยละ 50 เห็นว่าการท�ำความ สัมผัสผู้ป่วยโดยปฏิบัติทุกครั้งร้อยละ 54.3 (Patarakul สะอาดมือช่วยป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลได้และ et al., 2005) ซึ่งต่างจากการศึกษาในต่างประเทศที่สังเกต การสัมผัสผู้ป่วยจะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้คิดเป็น การท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม พบว่า ผู้เข้าเยี่ยม ร้อยละ 45.2 และ 34.6 ตามล�ำดับ อาจเนื่องจากกลุ่ม ท�ำความสะอาดก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วยร้อยละ 47.4 ตัวอย่างไม่เคยรับรู้เกี่ยวกับการเกิดการติดเชื้อในโรง และ 22.7 ตามล�ำดับ (Randle, Firth, & Vaughan, พยาบาล กลุ่มตัวอย่างบางส่วนจึงไม่เชื่อว่า การท�ำความ 2012) สาเหตุที่กลุ่มตัวอย่างท�ำความสะอาดมือขณะเข้า สะอาดมือเพียงอย่างเดียวจะช่วยป้องกันการติดเชื้อใน เยี่ยมในอัตราตำ�่ อาจเป็นเพราะกลุ่มตัวอย่างไม่ได้มีส่วน โรงพยาบาลได้และท�ำให้เกิดการติดเชื้อได้ ดังการศึกษา ในการดูแลผู้ป่วยโดยตรงซึ่งเป็นการปฏิบัติของบุคลากร ทัศนคติเกี่ยวกับการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยม ของโรงพยาบาลมากกว่า กลุ่มตัวอย่างจึงปฏิบัติน้อย พบว่า ผู้เข้าเยี่ยมจะมีทัศนคติที่ดีต่อการท�ำความสะอาด เพราะคิดว่าตนเองไม่ได้ท�ำอะไรให้ผู้ป่วย แต่ในความเป็น มือหากได้รับข้อมูลเกี่ยวกับอุบัติการณ์การติดเชื้อ จริงผู้เข้าเยี่ยมมีโอกาสสัมผัสตัวผู้ป่วย เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม (Patarakul et al., 2005) นอกจากนี้จ�ำนวนครั้งของ สิ่งของเครื่องใช้ พื้นผิวสิ่งแวดล้อม และเมื่อพิจารณาตาม การเข้าเยี่ยมมากกว่า 10 ครั้ง ท�ำให้เกิดทัศนคติที่ดีได้ ความรู้ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ อธิบายได้ว่าจ�ำนวนครั้งของการเข้าเยี่ยมบ่อย ๆ อาจเป็น 35.1 เท่านั้นที่เข้าใจถูกต้องว่า การสัมผัสผิวหนังผู้ป่วย ประสบการณ์ที่ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างได้พบเห็นการ ที่ปกติอาจจะได้เชื้อจากผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ ท�ำความสะอาดมือบ่อย ๆ จึงท�ำให้เกิดการฝังใจและ 65 เข้าใจผิดว่า การสัมผัสผิวหนังผู้ป่วยที่ปกติจะไม่ได้ เกิดเป็นทัศนคติขึ้นได้ (WonganutaraRoj, 2010). รับเชื้อ กลุ่มตัวอย่างจึงท�ำความสะอาดก่อนสัมผัสผู้ป่วย ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติในการ ค่อนข้างตำ�่ ยังมีข้อบ่งชี้ในการท�ำความสะอาดมือที่กลุ่ม ท�ำความสะอาดมืออยู่ในระดับปานกลาง โดยกลุ่ม ตัวอย่างต�่ำกว่าร้อยละ 50 ปฏิบัติทุกครั้ง คือ ท�ำความ ตัวอย่างร้อยละ 41.2 มีการปฏิบัติในการท�ำความสะอาด สะอาดมือทุกครั้งก่อนและหลังสัมผัสสิ่งต่าง ๆ รอบตัว มือในระดับสูงและร้อยละ 21.5 มีการปฏิบัติในระดับ ผู้ป่วย เช่น เตียง ราวกั้นเตียง โต๊ะข้างเตียง เสาน�้ำเกลือ ปานกลาง เมื่อพิจารณาตามข้อบ่งชี้ของการท�ำความ ร้อยละ 34.6 และ 35.1 ตามล�ำดับ ใกล้เคียงกับการ สะอาดมือ พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 71.9 ท�ำความ ศึกษาในต่างประเทศ พบว่า กลุ่มตัวอย่างท�ำความ สะอาดมือก่อนเข้าเยี่ยมทุกครั้ง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะหอ สะอาดมือหลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ผู้ป่วย ร้อยละ ผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไปโดยเฉพาะหอผู้ป่วยหนักจะ 30 (Randle, Firth, & Vaughan, 2012) อาจเป็นเพราะ เน้นการท�ำความสะอาดมือก่อนเข้าเยี่ยมผู้ป่วยซึ่งเป็น กลุ่มตัวอย่างไม่คุ้นเคยกับการท�ำความสะอาดมือตาม นโยบายหลักของโรงพยาบาลทุกแห่งจึงมีวิธีการต่าง ๆ ข้อบ่งชี้ดังกล่าว ดังนั้นการท�ำความสะอาดมือก่อนและ ที่กระตุ้นการท�ำความสะอาดมือ เช่น จัดเตรียมอุปกรณ์ หลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมของกลุ่มตัวอย่างจึงค่อนข้างน้อย ในการท�ำความสะอาดมือไว้บริเวณหน้าหอผู้ป่วยหนัก กว่าข้อบ่งชี้ในการท�ำความสะอาดมือด้านอื่น ๆ มีป้ายกระตุ้นเตือน เป็นต้น ส่วนการท�ำความสะอาดมือ ความรู้กับทัศนคติในการท�ำความสะอาดมือของ ตามข้อบ่งชี้ด้านอื่น ๆ ที่กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50-70 ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนักมีความสัมพันธ์ทางบวก

160 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge, Attitude and Practices of Hand Hygiene Among Visitors in Intensive Care Unit

ในระดับตำ�่ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ตามแนวคิดทฤษฏี ก่อนเข้าเยี่ยมทุกครั้งเกี่ยวกับการแพร่กระจายเชื้อผ่าน ของ Bloom(1975) อธิบายได้ว่า เมื่อบุคคลมีความรู้ มือของผู้เข้าเยี่ยม ข้อบ่งชี้ในการท�ำความสะอาดมือขณะ มากขึ้น จะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านทัศนคติ เข้าเยี่ยมและขั้นตอนการล้างมือที่ถูกต้อง รวมทั้งวิธีการ ที่ดี ดังนั้นกลุ่มตัวอย่างจึงมีความรู้และทัศนคติสัมพันธ์ ใช้แอลกอฮอล์ท�ำความสะอาดมือ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติ กันและมีทิศทางเดียวกันเมื่อกลุ่มตัวอย่างมีความรู้ ทางบวกต่อการท�ำความสะอาดมือให้ดียิ่งขึ้น ในการท�ำความสะอาดมือในระดับปานกลางจึงส่งผลให้ 2. โรงพยาบาลควรเพิ่มข้อมูลในสื่อโปสเตอร์การ มีทัศนคติเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ความสัมพันธ์อื่น ๆ ท�ำความสะอาดมือขณะเข้าเยี่ยมผู้ป่วยเกี่ยวกับข้อบ่งชี้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการปฏิบัติ และ ในการท�ำความสะอาดมือ ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติกับการปฏิบัติในการ 3. โรงพยาบาลควรกระตุ้นให้ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วย ท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมไม่มีความสัมพันธ์กัน ท�ำความสะอาดมือตามข้อบ่งชี้ให้ถูกต้องและทุกครั้ง ในทางสถิติ อาจเนื่องจากการปฏิบัติในการท�ำความ ในขณะเข้าเยี่ยมผู้ป่วยควบคู่ไปกับการสนับสนุนอุปกรณ์ สะอาดมือเป็นวิธีปฏิบัติที่ง่ายไม่มีขั้นตอนยุ่งยาก ดังนั้น การท�ำความสะอาดมือให้เพียงพอและเหมาะสม ถ้าจะส่งเสริมการปฏิบัติการท�ำความสะอาดมืออาจ ไม่จ�ำเป็นต้องมีการให้ความรู้หรือเสริมสร้างทัศนคติ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป อาจส่งเสริมในการกระตุ้นเตือน การสนับสนุนอุปกรณ์ 1. ศึกษาการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของ ในการท�ำความสะอาด ก็อาจจะท�ำให้กลุ่มตัวอย่างมีการ ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วยโดยการสังเกตการปฏิบัติ ท�ำความสะอาดมือมากขึ้น 2. ควรศึกษาเพื่อหากลยุทธ์ที่เหมาะสมในการ ส่งเสริมการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วย ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ตามบริบทของโรงพยาบาล 1. โรงพยาบาลควรให้ความรู้แก่ผู้เข้าเยี่ยมผู้ป่วย เอกสารอ้างอิง Birnbach, D. J., Rosen, L. F., Fitzpatrick, M., Arheart, K. L., & Munoz-Price, L. S. (2015). An evaluation of hand hygiene in an intensive care unit: Are visitors a potential vector for pathogens?. Journal of infection and public health, 8(6), 570-574. Bloom, B. S. (1975). Taxonomy of educational objectives: The classification of educational goals. Handbook I: Cognitive domain. New York: David McKay Company. Cheng, V. C. C., Chau, P. H., Lee, W. M., Ho, S. K. Y., Lee, D. W. Y., So, S. Y. C., ... & Yuen, K. Y. (2015). Hand-touch contact assessment of high-touch and mutual-touch surfaces among healthcare workers, patients, and visitors. Journal of Hospital Infection, 90(3), 220-225. Clock, S. A., Cohen, B., Behta, M., Ross, B., & Larson, E. L. (2010). Contact precautions for multidrug-resistant organisms: Current recommendations and actual practice. American journal of infection control, 38(2), 105-111. Cohen, B., Hyman, S., Rosenberg, L., & Larson, E. (2012). Frequency of patient contact with health care personnel and visitors: implications for infection prevention. Joint Commission Journal on Quality Patient Safety, 38(12), 560-565.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 161 ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการท�ำความสะอาดมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยหนัก

Guilhermetti, M., Hernandes, S. E. D., Fukushigue, Y., Garcia, L. B., & Cardoso, C. L. (2001). Effectiveness of Hand Cleansing Agents for Removing Methicillin Resistant Staphylococcus aureus From Contaminated Hands. Infection Control and Hospital Epidemiology.22(2), 105-108. Hyman, S. R., Cohen, B., Rosenberg, L., & Larson, E. (2011). Frequency, Level and Duration of Patient Contacts: An Observational Study and Survey of Physicians, Nurses, Clinical Staff, Non-Clinical Staff and Visitors. American Journal of Infection Control, 39(5), E178-E179.doi: 10.1016/j.ajic.2011.04.298 Kramer, A., Schwebke, I., & Kampf, G. (2006). How long do nosocomial pathogens persist on inanimate surfaces? A systematic review. BMC infectious diseases, 6(1), 130. Lerner, A., Adler, A., Abu-Hanna, J., Meitus, I., Navon-Venezia, S., & Carmeli, Y. (2013).Environmental contamination by carbapenem-resistant Enterobacteriaceae. Journal Clinical Microbiology, 51(1), 177-181. doi: 10.1128/jcm.01992-12 McAdams, R. M., Ellis, M. W., Trevino, S., & Rajnik, M. (2008). Spread of methicillin-resistant Staphylococcus aureus USA300 in a neonatal intensive care unit. Pediatric International, 50(6), 810-815. Munro, B.H. (1997). Statistical method for health care research(3rded.). Philadelphia: J.B.Lippincott. Oie, S., Suenaga, S., Sawa, A., & Kamiya, A. (2007). Association between isolation sites of methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) in patients with MRSA-positive body sites and MRSA contamination in their surrounding environmental surfaces. Japanese Journal of Infection Diseases, 60(6), 367-369. Olubukola, O., & Asekun-Olarinmoye, I. O. (2014). Hand Washing: Knowledge, Attitude and Practice amongst Mothers of Under-Five Children in Osogbo, Osun State, Nigeria. Journal of Biology, Agriculture and Healthcare, 4(16), 40-49. Patarakul, K., Tan-Khum, A., Kanha, S., Padungpean, D., & Jaichaiyapum, O. O. (2005).Cross-sectional survey of hand-hygiene compliance and attitudes of health care workers and visitors in the intensive care units at King Chulalongkorn Memorial Hospital. Journal of the Medical Association of Thailand, 88(4), S287-293. Pengsawas, W. (2008). Research methodology. Bangkok: Suvirisarn (in Thai). Randle, J., Arthur, A., & Vaughan, N. (2010). Twenty-four-hour observational study of hospital hand hygiene compliance. Journal of Hospital Infection, 76(3), 252-255. Randle, J., Firth, J., & Vaughan, N. (2012). An observational study of hand hygiene compliance in paediatric wards. Journal Clinical Nursing, 22(17-18), 2586-2592. Sax, H., Allegranzi, B., Uckay, I., Larson, E., Boyce, J., & Pittet, D. (2007). ‘My five moments for hand hygiene’: A user-centred design approach to understand, train, monitor and report hand hygiene. Journal of Hospital Infection, 67(1), 9-21.

162 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Knowledge, Attitude and Practices of Hand Hygiene Among Visitors in Intensive Care Unit

Wolfe, R., & O’neill, E. (2012). Hand hygiene compliance by visitors to hospitals can we do better?. American journal of infection control, 40(9), 899. WonganutaraRoj, P. (2010). Academic administration. Bangkok: PimDee. (in Thai). World Health Organization. (2009). WHO guidelines on hand hygiene in health care: First global patient safety challenge. Clean care is safer care: World Health Organization. Retrieved from http://whqlibdoc. who.int/publications/2009/9789241597906_eng.pdf

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 163 การลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง: การทบทวนอย่างเป็นระบบ Relieving the Burden Among Caregivers of Cancer Patients: A Systematic Review

เจษฎาภรณ์ อิก�ำเหนิด * Jetsadaporn I-gumnerd * จินดารัตน์ ชัยอาจ ** Jindarat Chaiard ** วราวรรณ อุดมความสุข ** Warawan Udomkhamsuk **

บทคัดย่อ การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งส่งผลกระทบต่อผู้ดูแลทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ จนกระทั่งเกิดการ รับรู้ว่าเป็นภาระในการดูแลตามมา ดังนั้นการจัดการเพื่อช่วยลดภาระของผู้ดูแลจึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ การทบทวนอย่าง เป็นระบบครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสรุปวิธีการและผลลัพธ์ของการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยสืบค้น รายงานการวิจัยเชิงทดลองที่มีการออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลองและการวิจัย กึ่งทดลองที่ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้ตีพิมพ์ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษที่รายงานไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ถึง 2558 โดยใช้วิธีการทบทวนอย่างเป็นระบบของ Joanna Briggs Institute [JBI] (2014) ประเมินคุณภาพงานวิจัย และสกัดข้อมูลงานวิจัยโดยใช้เครื่องมือที่พัฒนาโดยสถาบัน โจแอนนาบริกส์โดยผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษาหลักแยกกันประเมินอย่างอิสระ ผลการสืบค้นพบงานวิจัยที่ศึกษา เกี่ยวกับการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง มีงานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกและการประเมินคุณภาพงานวิจัย จ�ำนวน 11 เรื่อง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปเชิงเนื้อหาเพื่อจ�ำแนกวิธีการและผลลัพธ์ของการลดภาระของผู้ดูแล ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ผลการวิเคราะห์พบว่า วิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง จ�ำแนกได้เป็น 3 วิธี ได้แก่ 1) การสนับสนุน ด้วยการให้ความรู้ 2) การให้ค�ำปรึกษาด้านอารมณ์ และ 3) การนวดและการสัมผัสเพื่อบ�ำบัด โดยเป็นการจัดกระท�ำ ในโรงพยาบาล หรือการติดตามทางโทรศัพท์ และการเยี่ยมบ้าน ส�ำหรับผลลัพธ์ ส่วนใหญ่พบว่า วิธีการลดภาระของ ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งโดยการสนับสนุนด้วยการให้ความรู้สามารถช่วยลดภาระของผู้ดูแล ส่วนวิธีการให้ค�ำปรึกษา ด้านอารมณ์ และการนวดและการสัมผัสเพื่อบ�ำบัดมีงานวิจัยเพียงวิธีการละหนึ่งเรื่อง จึงไม่สามารถสรุปผลลัพธ์ของ การลดภาระของผู้ดูแลได้ การทบทวนอย่างเป็นระบบครั้งนี้ ให้ข้อเสนอแนะว่าบุคลากรทางสุขภาพควรมีการช่วยเหลือในการลดภาระ ของผู้ดูแล โดยการให้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะในการดูแลผู้ป่วย อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง เพิ่มเติมหรือท�ำการศึกษาวิจัยซ�้ำ เพื่อยืนยันประสิทธิผลของแต่ละวิธีการในการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง และเพียงพอต่อการน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์เมตาได้

ค�ำส�ำคัญ: ภาระของผู้ดูแล โรคมะเร็ง การทบทวนอย่างเป็นระบบ

* พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ * Professional Nurse, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, [email protected] ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 164 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Relieving the Burden Among Caregivers of Cancer Patients: A Systematic Review

Abstract Caring for cancer patients affects the physical, psychological, social and economic of caregivers, leading to a perceived burden. Therefore, relieving the burden of a caregiver is important. This systematic review aimed to summarize the interventions and outcomes in relieving the burden among caregivers of cancer patients. The search strategy aimed to find published and unpublished randomized controlled trials (RCTs) and quasi-experimental studies either in Thai or English regarding relieving burden interventions of caregivers of cancer patients which were reported between 1995 and 2015. The systematic review was conducted using a systematic guideline developed by the Joanna Briggs Institute (JBI, 2014). All identified studies were independently appraised and extracted by the researcher and major advisor using standardized tools developed by the Joanna Briggs Institute. The systematic search identified a total of eleven studies met the inclusion criteria and the critical appraisal criteria. Narrative summarization was used to identify the relieving burden interventions and their effectiveness. The relieving burden interventions among cancer patients’ caregivers could be classified into three categories including 1) educational support 2) emotionally focused therapy and 3) massage therapy and healing touch, which were held in a hospital or with telephone follow up and home visits. For the results, the educational support intervention was effective in relieving caregivers’ burden, however, emotionally focused therapy and massage therapy and healing touch were found in one single study that could not identify their effectiveness on the caregivers’ burden. This systematic review recommends that health personnel can relieve the burden of caregivers by providing skill training as well as educational support. However, additional experimental research and replicating of primary research is needed. This will confirm the effects of each intervention in relieving burden among caregivers of cancer patients and the data will be adequate for meta-analysis.

Key words: caregivers’ burden, cancer, systematic review

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ยังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับหนึ่ง และมีแนวโน้ม โรคมะเร็งเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง ที่ส�ำคัญและคุกคามต่อชีวิตของประชากรทั่วโลก คิดเป็น 91.2, 95.2 และ 98.5 รายต่อประชากร 100,000 จากรายงานขององค์การอนามัยโลกพบว่า ในปี ค.ศ. คน ตามล�ำดับ (Bureau of Policy and Strategy, 2012 มีอุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่จ�ำนวน 2013) จากสถิติข้างต้น จะเห็นได้ว่าแม้ในปัจจุบันจะมี 14.1 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งจ�ำนวน 8.1 ความก้าวหน้าอย่างมากของเทคโนโลยีทางการแพทย์ ล้านคน (World Health Organization, 2015) ส�ำหรับ ท�ำให้การรักษามีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่จ�ำนวนผู้ป่วย ในประเทศไทยพบว่า ในช่วงปีพ.ศ. 2553-2555 มีอัตรา โรคมะเร็งรายใหม่และจ�ำนวนผู้ที่เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง ผู้ป่วยโรคมะเร็งคิดเป็น 143.21, 153.59 และ 154.49 ก็ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงถือได้ว่าโรคมะเร็งเป็น รายต่อประชากร 100,000 คน ตามล�ำดับ และโรคมะเร็ง ปัญหาที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อระบบสาธารณสุขทั่วโลก

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 165 การลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

การเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งต้องใช้ระยะเวลาในการ ตามมา (Scherbring, 2002) ดูแลรักษาที่ต่อเนื่องและยาวนาน ท�ำให้ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ภาระ (burden) เป็นการรับรู้ของผู้ดูแลที่เกิดจาก ต้องเผชิญกับความทุกข์ทรมานจากพยาธิสภาพของโรค การรับบทบาทในการเป็นผู้ดูแลบุคคลในครอบครัวที่ และผลข้างเคียงจากการรักษา เมื่ออาการของโรคมะเร็ง เจ็บป่วย โดยผู้ดูแลรับรู้ถึงความยากล�ำบากที่เกิดขึ้นจาก มีความรุนแรงมากขึ้นท�ำให้ความสามารถในการปฏิบัติ กิจกรรมการดูแลที่ต้องรับผิดชอบ และก่อให้เกิดผลกระทบ กิจวัตรประจ�ำวันลดลง ไม่สามารถปฏิบัติตามบทบาท ต่อผู้ดูแลทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและ ในครอบครัวและสังคมได้ ผู้ป่วยโรคมะเร็งจึงมีความ เศรษฐกิจ ซึ่งการที่ผู้ดูแลต้องรับภาระงานที่หนักและ ต้องการความช่วยเหลือจากผู้ดูแลในการปฏิบัติกิจวัตร ต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องยาวนานโดยไม่สามารถระบุ ประจ�ำวัน การสนับสนุนด้านจิตใจ การจัดการเกี่ยวกับยา ระยะเวลาสิ้นสุดได้ อาจท�ำให้ผู้ดูแลเกิดการรับรู้ว่าเป็น การจัดการเกี่ยวกับค่ารักษา และการจัดการอาการต่าง ๆ ภาระตามมา และหากความรู้สึกเป็นภาระที่เกิดขึ้นต่อ (Given, Given, & Kozachik, 2001) โดยผู้ดูแลส่วนใหญ่ ผู้ดูแลดังกล่าวไม่ได้รับการช่วยเหลือในการลดความรู้สึก มักเป็นคู่สมรส บิดามารดา บุตร ญาติพี่น้อง เพื่อน เพื่อน เป็นภาระ อาจท�ำให้ผู้ดูแลเกิดอาการล้าเกินก�ำลังจนไม่ บ้าน หรือบุคคลที่มีความส�ำคัญในชีวิต (Meecharoen, สามารถรับภาระในการดูแลได้อีกต่อไป (caregiver Northouse, Sirapo-ngam, & Monkong, 2013) burnout) ซึ่งอาจท�ำให้เกิดการละทิ้งผู้ที่ดูแลอยู่ได้ การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ผู้ดูแลจะรับบทบาทใน (Luvira, 2013) และการที่ผู้ดูแลไม่สามารถให้การดูแล การให้การดูแลโดยตรงในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวัน ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้นั้น ย่อมจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อ เช่น การอาบนำ�้ การแต่งตัว การป้อนอาหาร การเข้าห้องนำ�้ ภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตามมา ดังนั้น การขับถ่าย และการเคลื่อนไหว การช่วยเหลือในกิจกรรม จึงควรมีการจัดการที่มีประสิทธิภาพในการช่วยลดภาระ ที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น การเดินทาง การท�ำงานบ้าน ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง การเตรียมอาหาร เป็นต้น (National Alliance for การสืบค้นงานวิจัยเบื้องต้นจากฐานข้อมูลต่าง ๆ Caregiving, 2009) รวมทั้งบทบาทอื่น ๆ เช่น บทบาท ในช่วง 20 ปีย้อนหลังพบว่า มีวิธีการลดภาระของผู้ดูแล การเป็นผู้ตัดสินใจ บทบาทการเป็นผู้แทน บทบาทการ ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่หลากหลาย เช่น การให้ความรู้ การให้ เป็นผู้สื่อสาร และบทบาทการเป็นผู้ให้การสนับสนุน ข้อมูล หรือค�ำแนะน�ำแก่ผู้ดูแลเกี่ยวกับการด�ำเนินของ ทางสังคม เป็นต้น (National Cancer Institute, 2015) โรคในผู้ป่วยโรคมะเร็ง แหล่งสนับสนุนหรือแหล่งฝึกอบรม ซึ่งการปฏิบัติกิจกรรมดังกล่าว นอกจากจะท�ำให้วิถี ต่าง ๆ (Bahrami & Farzi, 2014; McMillan et al., การด�ำเนินชีวิตของผู้ดูแลต้องเปลี่ยนแปลงไป เพื่อตอบ 2006) การพัฒนาทักษะในการจัดการอาการของผู้ป่วย สนองต่อความต้องการความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ของ โรคมะเร็ง การจัดการกับปัญหา (Toseland, Blanchard, ผู้ป่วยแล้ว การที่ผู้ดูแลต้องให้การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง & McCallion, 1995) การให้ค�ำปรึกษาหรือการท�ำ อย่างต่อเนื่องและยาวนาน รวมถึงการที่ผู้ดูแลรู้สึกว่า จิตบ�ำบัด (McLean, Walton, Rodin, Esplen, & Jones, ไม่ได้เตรียมตัวไว้ก่อน มีความรู้ไม่เพียงพอ และได้รับ 2013) การนวดและการสัมผัสเพื่อบ�ำบัด (Rexilius, ค�ำแนะน�ำเพียงเล็กน้อยในการให้การดูแลจากผู้ Mundt, Megel, & Agrawal, 2002) เป็นต้น ซึ่งจาก เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ ท�ำให้ผู้ดูแลไม่ทราบถึงบทบาท การทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้นนี้พบว่า ผลลัพธ์ที่ได้จาก ในการดูแล ไม่คุ้นเคยกับลักษณะงานหรือปริมาณงานที่ วิธีการจัดกระท�ำดังกล่าวมีความแตกต่างกัน โดยบาง ต้องให้การดูแล รวมถึงไม่ทราบถึงแหล่งประโยชน์ต่าง ๆ การศึกษาสามารถลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งได้ ที่มีอยู่ เป็นผลให้ผู้ดูแลเกิดการรับรู้ถึงความยากล�ำบาก (Bahrami & Farzi, 2014; Belgacem et al., 2013; ในการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลและก่อให้เกิดเป็นภาระ McMillan et al., 2006) แต่บางการศึกษากลับไม่สามารถ

166 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Relieving the Burden Among Caregivers of Cancer Patients: A Systematic Review

ลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งได้ (McLean et al., ท�ำให้ไม่สามารถน�ำมาใช้เป็นแนวปฏิบัติที่มีคุณภาพได้ 2013; Rexilius et al., 2002; Toseland et al., 1995) ผู้วิจัยจึงได้ท�ำการทบทวนอย่างเป็นระบบในครั้งนี้ แสดงให้เห็นถึงผลการศึกษาที่หลากหลาย และยังไม่พบ เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับวิธีการและผลลัพธ์ของการลด ข้อสรุปที่ชัดเจนถึงวิธีการและผลลัพธ์ของการลดภาระ ภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยใช้กระบวนการ ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ท�ำให้ยากต่อการน�ำผลการ ทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบของJBI, (2014) ศึกษาไปใช้ในทางปฏิบัติ และยังไม่พบว่ามีการทบทวน ซึ่งประกอบด้วย 8 ขั้นตอน ได้แก่ การก�ำหนดหัวข้อ อย่างเป็นระบบหรือการวิเคราะห์เมตา (meta-analysis) วัตถุประสงค์ และค�ำถามส�ำหรับการทบทวน การก�ำหนด มาก่อน เกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย การสืบค้นงานวิจัย การคัด ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะท�ำการทบทวนอย่างเป็นระบบ เลือกงานวิจัย การประเมินคุณภาพงานวิจัย การรวบรวม เกี่ยวกับการลดภาระของผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคมะเร็ง โดยใช้ และสกัดข้อมูลจากงานวิจัย การวิเคราะห์ สรุป และ แนวคิดการทบทวนอย่างเป็นระบบของ Joanna Briggs สังเคราะห์ข้อมูลจากผลการวิจัย และการอภิปรายผล Institute [JBI] (2014) เพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับวิธีการ และให้ข้อเสนอแนะ ตามล�ำดับ โดยคัดเลือกงานวิจัย และผลลัพธ์ของการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม หรืองานวิจัยกึ่งทดลอง และน�ำไปสู่การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกในการลด ที่ศึกษาเกี่ยวกับการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งต่อไป ที่ก�ำหนดผลลัพธ์เป็นภาระของผู้ดูแล ท�ำการศึกษาใน ประเทศไทยและต่างประเทศทั้งที่ได้รับการตีพิมพ์และ วัตถุประสงค์การวิจัย ไม่ได้ตีพิมพ์ โดยเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี เพื่อสรุปความรู้จากงานวิจัยเกี่ยวกับการลดภาระ พ.ศ. 2538 ถึง พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 1995 ถึง ค.ศ. 2015) ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ในประเด็นต่อไปนี้ 1. วิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง วิธีด�ำเนินการวิจัย 2. ผลลัพธ์ของวิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วย การวิจัยครั้งนี้เป็นการทบทวนอย่างเป็นระบบ โรคมะเร็ง ประชากรคือ รายงานการวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการลด ภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มตัวอย่างคือ ค�ำถามการวิจัย รายงานการวิจัยในผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่เป็นผู้ใหญ่ 1. วิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งมีวิธี เป็นงานวิจัยทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม หรือ การใดบ้าง งานวิจัยกึ่งทดลอง ทั้งที่ตีพิมพ์และไม่ได้ตีพิมพ์ โดยเป็น 2. ผลลัพธ์ของวิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรค ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ถึง มะเร็งเป็นอย่างไร พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 1995 ถึง ค.ศ. 2015) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบคัด การเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็ง ท�ำให้ผู้ป่วยมีความ กรองงานวิจัย (inclusion criteria form) ที่ผู้วิจัยสร้าง สามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ลดลง ท�ำให้ผู้ดูแล ขึ้นตามเกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย 2) แบบประเมินคุณภาพ ต้องให้การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องเป็น งานวิจัย (critical appraisal form) และ 3) แบบบันทึก เวลานาน ส่งผลให้ผู้ดูแลเกิดการรับรู้ว่าเป็นภาระ ปัจจุบัน ผลการสกัดข้อมูล พัฒนาโดยสถาบันโจแอนนาบริกส์ รูปแบบการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง มีวิธีการ การควบคุมคุณภาพการรวบรวมข้อมูล โดยผู้วิจัย จัดกระท�ำที่หลากหลายและให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน และอาจารย์ที่ปรึกษาหลักน�ำแบบคัดกรองงานวิจัย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 167 การลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

แบบประเมินคุณภาพงานวิจัย และแบบบันทึกผลการ และฐานข้อมูลที่ควรสืบค้น ดังนี้ สกัดข้อมูลไปทดลองใช้ในการรวบรวมข้อมูลจากรายงาน 3.1 ก�ำหนดค�ำส�ำคัญ (key words) ตาม การวิจัย จ�ำนวน 5 เรื่อง โดยท�ำอย่างเป็นอิสระต่อกัน หลักของ PICO โดยก�ำหนดสืบค้นค�ำทั้งในภาษาไทย แล้วจึงน�ำผลการบันทึกมาเปรียบเทียบกัน พบว่าผู้วิจัย และภาษาอังกฤษ ดังนี้ และอาจารย์ที่ปรึกษาหลักมีเห็นความสอดคล้องตรงกัน 3.1.1 กลุ่มประชากร (population) จึงเริ่มขั้นตอนการทบทวนอย่างเป็นระบบต่อไป ได้แก่ ผู้ดูแล ผู้ดูแลหลัก ญาติผู้ดูแล ครอบครัวผู้ดูแล การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะ ผู้วิจัยด�ำเนินกระบวนการทบทวนงานวิจัยอย่าง สุดท้าย ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลแบบ เป็นระบบตาม 8 ขั้นตอนของ JBI (2014) ดังนี้ ประคับประคอง caregiver, couple, carer, spouse, 1. ก�ำหนดหัวข้อ วัตถุประสงค์ และค�ำถาม family, family caregiver, partner, caregiver of ส�ำหรับการทบทวน ผู้วิจัยก�ำหนดหัวข้อส�ำหรับการ cancer patient, caregiver of advance cancer ทบทวนคือ การลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง patient, caregiver of palliative care patient โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปวิธีการและผลลัพธ์ของ 3.1.2 วิธีการจัดกระท�ำ (interven- ลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง และค�ำถามส�ำหรับ tion) ได้แก่ การสนับสนุน การให้ความรู้ โปรแกรมการ การทบทวน คือ 1) วิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วย ให้ความรู้ การให้ค�ำปรึกษา การบ�ำบัด การท�ำจิตบ�ำบัด โรคมะเร็งมีวิธีการใดบ้าง และ 2) ผลลัพธ์ของวิธีการลด supportive group, family support, intervention, ภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งเป็นอย่างไร เพื่อให้ได้ psychosocial intervention, educational program, ค�ำตอบที่ตรงประเด็นและน�ำไปสู่การก�ำหนดเกณฑ์ใน psychoeducational intervention, counseling, การคัดเลือกงานวิจัย therapy, psychotherapy, cognitive behavioral 2. ก�ำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกงานวิจัย therapy โดยก�ำหนดเกณฑ์ดังนี้ 1) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลผู้ป่วย 3.1.3 กลุ่มเปรียบเทียบ (compari- ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคมะเร็งทุกชนิด 2) ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการ son) ได้แก่ การดูแลตามปกติ การดูแลตามมาตรฐาน ลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งเป็นตัวแปรต้น 3) usual care, standard care กลุ่มเปรียบเทียบเป็นกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการดูแลตาม 3.1.4 ตัวแปรผลลัพธ์ (outcome) ปกติ 4) ตัวแปรผลลัพธ์ คือ ภาระของผู้ดูแลผู้ป่วย ได้แก่ ภาระ ภาระการดูแล ความรู้สึกเป็นภาระ burden, โรคมะเร็ง 5) เป็นงานวิจัยทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่ม caring burden, caregiver burden ควบคุม หรืองานวิจัยกึ่งทดลอง และ 6) ท�ำการศึกษา 3.2 ก�ำหนดแหล่งสืบค้นข้อมูล ทั้งจากห้อง ในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งที่ได้รับการตีพิมพ์ สมุดและคอมพิวเตอร์ ดังนี้ และไม่ได้ตีพิมพ์ โดยเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3.2.1 ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ถึง พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 1995 ถึง ค.ศ. บริการสืบค้นข้อมูลออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ตของสถาบัน 2015) เพื่อให้ได้งานวิจัยที่ตรงกับเรื่องที่จะท�ำการทบทวน หรือองค์กรที่ให้บริการเผยแพร่ข้อมูลทางสุขภาพ ได้แก่ และสามารถตอบค�ำถามของการทบทวนได้อย่างตรง ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฐานข้อมูล ประเด็น วิทยานิพนธ์ในประเทศไทย สมาคมโรคมะเร็งแห่ง 3. สืบค้นงานวิจัย โดยด�ำเนินการตามขั้นตอน ประเทศไทย สถาบันมะเร็งแห่งชาติ PubMed, CINAHL, ดังต่อไปนี้ Science direct, Springer Link, Cochrane library, ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนดค�ำส�ำคัญในการสืบค้น Wiley online library และ ProQuest medical library

168 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Relieving the Burden Among Caregivers of Cancer Patients: A Systematic Review

3.2.2 วารสารทางการแพทย์และ พิจารณาจากรูปแบบของวิธีการลดภาระ เครื่องมือที่ใช้ การพยาบาล รายงานวิจัยทางการแพทย์และการพยาบาล วัดผลลัพธ์ ระยะเวลาการวัดผลลัพธ์ ความน่าเชื่อถือ รายการเอกสารอ้างอิงและบรรณานุกรมของงานวิจัย ของหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ ข้อจ�ำกัดในงานวิจัย ที่ค้นได้ รวมถึงวิทยานิพนธ์ในห้องสมุด ที่น�ำมาทบทวน และให้ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 ด�ำเนินการสืบค้น โดยสืบค้น ไปใช้ และข้อเสนอแนะส�ำหรับการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ตามค�ำส�ำคัญและฐานข้อมูลที่ก�ำหนดไว้ การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 3 สืบค้นจากบรรณานุกรม โดย การรวบรวมข้อมูลด�ำเนินการภายหลังได้รับการ สืบค้นจากรายชื่อเอกสารอ้างอิง บรรณานุกรม หนังสือ รับรองจริยธรรมการวิจัย แบบเร่งด่วน (expedited ดัชนี วารสาร และบทความที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทบทวน review) จากคณะกรรมการด้านจริยธรรมการวิจัย ย้อนหลังตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ถึง พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 1995 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถึง ค.ศ. 2015) การวิเคราะห์ข้อมูล 4. คัดเลือกงานวิจัย ผู้วิจัยและอาจารย์ที่ ผู้วิจัยน�ำผลการบันทึกที่ได้จากการสกัดข้อมูลงาน ปรึกษาหลักคัดเลือกงานวิจัยอย่างเป็นอิสระต่อกัน วิจัยมาวิเคราะห์ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ลักษณะทั่วไป โดยใช้แบบคัดกรองงานวิจัยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามเกณฑ์ และคุณลักษณะเชิงระเบียบวิธีวิจัยของงานวิจัย การคัดเลือกงานวิจัย มีงานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่และร้อยละ ส�ำหรับ ทุกข้อจ�ำนวน 18 เรื่อง วิธีการและผลลัพธ์ของการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วย 5. ประเมินคุณภาพงานวิจัย ผู้วิจัยและอาจารย์ โรคมะเร็งใช้การวิเคราะห์สรุปเชิงเนื้อหา ที่ปรึกษาหลักประเมินคุณภาพงานการวิจัยที่ผ่าน เกณฑ์การคัดกรอง โดยใช้แบบประเมินคุณภาพส�ำหรับ ผลการวิจัย งานวิจัยเชิงทดลองที่พัฒนาโดยสถาบันโจแอนนาบริกส์ งานวิจัยการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ จากนั้นจึงน�ำผลประเมินมาเปรียบเทียบกัน พบว่ามีงาน ผ่านเกณฑ์การคัดกรองและการประเมินคุณภาพงานวิจัย วิจัยที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพงานวิจัยจ�ำนวน 11 ทั้งหมดจ�ำนวน 11 เรื่อง และถูกคัดเลือกเข้าสู่การสกัด เรื่อง ข้อมูลงานวิจัยและการทบทวนอย่างเป็นระบบ เป็นงาน 6. รวบรวมและสกัดข้อมูลงานวิจัย ผลจากการ วิจัยทดลองที่มีการออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและมีการ สืบค้นงานวิจัยที่ศึกษาการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วย สุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลอง จ�ำนวน 9 เรื่อง และงาน โรคมะเร็ง พบจ�ำนวนทั้งสิ้น 85 เรื่อง งานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์ วิจัยกึ่งทดลอง จ�ำนวน 2 เรื่อง งานวิจัยทั้งหมดเป็นงาน การคัดเลือกมีจ�ำนวน 18 เรื่อง และผ่านเกณฑ์การ วิจัยที่ท�ำการศึกษาในต่างประเทศและได้รับการตีพิมพ์ ประเมินคุณภาพงานวิจัย จ�ำนวน 11 เรื่อง เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษ โดยตีพิมพ์ในช่วงปี พ.ศ. 2554 7. วิเคราะห์ สรุป และสังเคราะห์ข้อมูล ถึง พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2011 ถึง ค.ศ. 2015) มากที่สุด เนื่องจากงานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือก มีวิธีการ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยทั้งหมดเป็นคู่สมรสหรือคู่ จัดกระท�ำ เครื่องมือวัดผลลัพธ์ และระยะเวลาการ ชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็ง ซึ่งพบว่ามีอายุเฉลี่ย 50-60 ปี วัดผลลัพธ์ที่ความแตกต่างกัน จึงท�ำให้ไม่สามารถ จ�ำนวน 10 เรื่อง และมีอายุเฉลี่ย 30-40 ปี จ�ำนวน 1 เรื่อง วิเคราะห์ผลลัพธ์ด้วยการวิเคราะห์เมตา (meta-analysis) โดยกลุ่มตัวอย่างให้การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกระยะ ได้ ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์โดยการสรุปเชิงเนื้อหา (narrative มากที่สุดจ�ำนวน 6 เรื่อง รองลงมา คือ ระยะลุกลามหรือ summary) ระยะกลับเป็นซำ�้ จ�ำนวน 3 เรื่อง ระยะการรักษา จ�ำนวน 8. อภิปรายผลและให้ข้อเสนอแนะ โดย 1 เรื่อง และระยะสุดท้าย จ�ำนวน 1 เรื่อง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 169 การลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

วิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง สามารถ ผ่านสื่อระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อรายงานข้อมูลอาการของ จ�ำแนกได้เป็น 3 วิธี ได้แก่ 1) การสนับสนุนด้วยการให้ ผู้ป่วยและความต้องการของผู้ดูแลให้แพทย์รับรู้ และ ความรู้ 2) การให้ค�ำปรึกษาด้านอารมณ์ และ 3) การนวด ได้รับการช่วยเหลือจากแพทย์เมื่อระบบแจ้งเตือน และ และการสัมผัสเพื่อบ�ำบัด โดยงานวิจัยทั้ง 11 เรื่องมีวิธี 3) การสนับสนุนด้วยการให้ความรู้โดยสหสาขาวิชาชีพ การจัดกระท�ำ เครื่องมือวัดผลลัพธ์ และระยะเวลาการ เป็นการศึกษาของ Sun และ Sun et al. (2015) วัดผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน จึงท�ำให้ไม่สามารถวิเคราะห์ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ พยาบาลประเมินคุณภาพ ผลลัพธ์ด้วยการวิเคราะห์เมตาได้ ผู้วิจัยจึงสรุปผลการ ชีวิตผู้ดูแลและผู้ป่วย ทีมสหสาขาวิชาชีพประชุมทีมเพื่อ ทบทวนด้วยการบรรยายสรุปเชิงเนื้อหา โดยมีราย ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับวิธีการสนับสนุน ได้แก่ การจัดการ ละเอียดของวิธีการและผลลัพธ์ของการลดภาระของ อาการและการส่งต่อการดูแล และการให้ความรู้แก่ ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ดังนี้ ผู้ดูแลใน 4 หัวข้อตามมิติของคุณภาพชีวิต ได้แก่ สุขภาวะ 1. การสนับสนุนด้วยการให้ความรู้ จากงานวิจัย ทางกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ รวมจ�ำนวน 9 เรื่อง มีการจัดกระท�ำเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ งานวิจัยทั้ง 6 เรื่องนี้ มีการออกแบบมาเฉพาะ การสนับสนุนด้วยการให้ความรู้โดยไม่มีการติดตามหลัง ส�ำหรับแต่ละการศึกษา แต่มีจุดเน้นที่คล้ายคลึงกัน คือ ทดลอง และการสนับสนุนด้วยการให้ความรู้ร่วมกับการ มุ่งเน้นการให้ความรู้เรื่องโรค การดูแลผู้ป่วย การประเมิน ติดตามหลังทดลอง อาการ การจัดการอาการ และการแก้ไขปัญหา รวมทั้ง 1.1 การสนับสนุนด้วยการให้ความรู้โดยไม่มี การจัดการความเครียดของผู้ดูแล การติดตามหลังทดลอง มีงานวิจัยจ�ำนวน 6 เรื่อง 1.2 การสนับสนุนด้วยการให้ความรู้ร่วมกับการ เป็นการวิจัยทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม 5 เรื่อง ติดตามหลังทดลอง มีงานวิจัยจ�ำนวน 3 เรื่อง เป็นการ และกึ่งทดลอง 1 เรื่อง โดยวิธีการที่ใช้ ได้แก่ 1) การสนับสนุน วิจัยเชิงทดลองที่มีการออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและ ด้วยการให้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะ พบว่า ในการศึกษา มีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลองทั้งหมด แบ่งวิธีที่ใช้ ของ Belgacem et al. (2013) เป็นการให้ความรู้ใน 4 ในการติดตามได้เป็น 2 วิธี คือ 1) การติดตามทางโทรศัพท์ หัวข้อ คือ การสนับสนุนด้านอาหาร การให้การพยาบาล รวม 2 งานวิจัย โดยมีการติดตามหลังจ�ำหน่ายผู้ป่วยจาก การดูแลความสุขสบาย และการจัดการอาการ โดยผู้ดูแล โรงพยาบาล 3 ครั้งคือในสัปดาห์ที่ 1, 3 และ 5 (Shum ได้รับการสอนจากพยาบาลและลงมือปฏิบัติตามทีละ et al., 2014) และติดตาม 4 ครั้งใน 14 วัน, สัปดาห์ที่ ขั้นตอน ขณะที่การศึกษาของ Hendrix et al. (2015) 4, 6 และ 10 ตามล�ำดับ (Shaw et al., 2015) และ 2) เป็นการให้ความรู้ร่วมกับฝึกทักษะการจัดการอาการจาก การติดตามโดยการเยี่ยมบ้าน จากงานวิจัย 1 เรื่องของ โรคมะเร็งให้แก่ผู้ป่วยและการจัดการความเครียดของ McMillan และMcMillan et al. (2006) เยี่ยมบ้านรวม ผู้ดูแล ส่วนการศึกษาของ Pahlavanzade et al. (2014) 3 ครั้ง คือ ครั้งแรกภายใน 72 ชั่วโมง ครั้งถัดไปในวันที่ เป็นโปรแกรมการสนับสนุนร่วมกับการฝึกทักษะโดยใช้ 16, 30 ความต้องการของครอบครัวเป็นพื้นฐาน (family need- งานวิจัยทั้ง 3 เรื่องนี้ มีการออกแบบส�ำหรับ based program) เนื้อหาของโปรแกรม ประกอบด้วย ประเมินสถานการณ์ของผู้ดูแลและระบุปัญหาที่เกิดขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับโรค ภาวะแทรกซ้อน การดูแลผู้ป่วย รวมถึงความต้องการของผู้ดูแลเพื่อให้ความช่วยเหลือ รวมถึงการดูแลตนเอง ทักษะการแก้ปัญหา การลด ผู้ดูแล รวมถึงการสนับสนุนทางด้านจิตใจและด้านสังคม ความเครียดและวิตกกังวลในผู้ดูแล 2) การสนับสนุนด้วย ผลลัพธ์ของการสนับสนุนด้วยการให้ความรู้ การให้ความรู้โดยใช้สื่อ โดยพบการศึกษาของ Chih et พบว่างานวิจัยจ�ำนวน 7 เรื่อง มีผลลัพธ์ที่ดีในการลดภาระ al. (2013) และ DuBenske et al. (2014) ซึ่งให้ความรู้ ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง (McMillan et al., 2006;

170 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Relieving the Burden Among Caregivers of Cancer Patients: A Systematic Review

Belgacem et al., 2013; DuBenske et al., 2014; แบบที่มีการจัดกระท�ำโดยบุคลากรทางสุขภาพ เพื่อช่วย Pahlavanzade et al., 2014; Shum et al., 2014; เหลือผู้ดูแลได้อย่างเหมาะสมและครอบคลุมทุกมิติของ Shaw et al., 2015; Sun et al., 2015) ปัญหาไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิต 2. การให้ค�ำปรึกษาด้านอารมณ์ จากงานวิจัย วิญญาณ (Belgacem et al., 2013; Pahlavanzade จ�ำนวน 1 เรื่องของ McLean et al. (2013) เป็นการวิจัย et al., 2014; Sun et al., 2015; Shum et al., 2014) ทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ท�ำในกลุ่มตัวอย่าง โดยมีจุดเน้นที่คล้ายคลึงกัน คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับ ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะแพร่กระจายจ�ำนวน 42 ราย โรคและการรักษา การฝึกทักษะในการดูแลและการ มีการจัดกระท�ำที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างสัมพันธภาพ จัดการอาการจากโรคมะเร็งของผู้ป่วย การฝึกทักษะ ระหว่างผู้ป่วยและผู้ดูแล โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงการติดตามเพื่อประเมิน และเสริมสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกันตามแนวปฏิบัติ สถานการณ์ในการดูแลผู้ป่วย ประเมินปัญหาและความ ของการให้ค�ำปรึกษาด้านอารมณ์ที่ได้รับการปรับให้ ต้องการของผู้ดูแล ในการทบทวนอย่างเป็นระบบพบว่า เหมาะสมกับคู่สมรสของผู้ป่วยจากทีมนักจิตวิทยา แม้ว่าจะไม่สามารถน�ำผลการวิจัยวิธีการลดภาระของ จ�ำนวน 8 ครั้ง โดยใช้ระยะเวลาครั้งละ 1 ชั่วโมง จ�ำนวน ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้มาเปรียบเทียบกันเพื่อหา 1 ครั้ง/สัปดาห์ วัดผล 3 ครั้ง คือ ก่อนการทดลอง หลัง ข้อสรุปถึงวิธีการที่ดีที่สุดได้ วิธีการสนับสนุนด้วยการ การทดลอง และ 3 เดือนหลังการทดลอง โดยใช้เครื่อง ให้ความรู้แก่ผู้ดูแลยังคงเป็นวิธีการที่ให้ผลลัพธ์ที่ดี มือวัด Caregiver Burden Scale (CBS) ผลการศึกษา ในขณะที่การติดตามทางโทรศัพท์และการเยี่ยมบ้าน พบว่า ไม่มีผลในการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ให้ผลลัพธ์ที่ดีในงานวิจัยที่เฉพาะ อย่างไรก็ตามผลลัพธ์ 3. การนวดและการสัมผัสเพื่อบ�ำบัด จากงานวิจัย ดังกล่าวเป็นการวัดผลลัพธ์จากเครื่องมือวัดผลลัพธ์ จ�ำนวน 1 เรื่องของ Rexillus และ Rexilius et al. (2002) ที่แตกต่างกัน อาทิเช่น Zarit Burden Scale, Caregiver เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีการจัดกระท�ำที่เน้นการส่งเสริม Burden Inventory, Caregiver Burden Scale, และ ความสุขสบายของผู้ดูแล โดยการนวดและการสัมผัส Subjective Burden Scale รวมทั้งมีระยะเวลาในการ เพื่อบ�ำบัด จ�ำนวน 6 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ในระยะเวลา วัดผลลัพธ์แตกต่างกันตั้งแต่ 1 สัปดาห์จนถึง 2 ปี ดังนั้น 3 สัปดาห์ วัดผลก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้เครื่อง การน�ำวิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งดังกล่าว มือวัด Subjective Burden Scale (SBS) ผลการศึกษา ไปใช้ จึงควรพิจารณาความเหมาะสมของผู้ดูแล ตลอด พบว่า ภาระของผู้ดูแลในกลุ่มที่ได้รับการนวดและการ ถึงบริบทของสถานบริการทางสุขภาพนั้น ๆ ด้วย สัมผัสเพื่อบ�ำบัดลดลงกว่ากลุ่มควบคุม แต่ไม่แตกต่างกัน ทางสถิติ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ โดยสรุป วิธีการที่มีผลลัพธ์ที่ดีในการลดภาระของ 1. วิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งจากการทบทวนอย่างเป็นระบบ โดยการสนับสนุนด้วยการให้ความรู้ร่วมกับการติดตาม ครั้งนี้ ได้แก่ การสนับสนุนด้วยการให้ความรู้ โดยวิธีการ ทางโทรศัพท์หรือการเยี่ยมบ้าน เป็นวิธีการที่เหมาะสม ที่กล่าวมานี้ มีการออกแบบงานวิจัยที่น่าเชื่อถือ มีการ ในการเลือกใช้ส�ำหรับให้บริการผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ และให้ผลลัพธ์ที่ เนื่องจากเป็นวิธีการที่ให้ผลลัพธ์ที่ดีในการลดภาระ สอดคล้องกัน จึงเป็นวิธีการที่เหมาะสมในการน�ำไปใช้ ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ในการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง 2. วิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง การอภิปรายผล โดยวิธีการสนับสนุนด้วยการให้ความรู้โดยใช้สื่อ เช่น วิธีการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง เป็นรูป การใช้สื่อระบบอินเตอร์เน็ต เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 171 การลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

ส �ำหรับหน่วยบริการทางสุขภาพที่มีข้อจ�ำกัดในการ กับกลุ่มตัวอย่างและวิธีการจัดกระท�ำ เพื่อจะสามารถ ติดตาม โดยพิจารณาตามความเหมาะสมและความ ยืนยันประสิทธิผลของวิธีการดังกล่าว และเพียงพอต่อ ต้องการของผู้ดูแลเป็นหลัก การน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์เมตาและสรุปความรู้เป็น 3. พยาบาลและบุคลากรทางสุขภาพ สามารถน�ำ หลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ที่สามารถน�ำไปใช้ก�ำหนด ผลการทบทวนไปใช้ในการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วย เป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาลเพื่อลดภาระของผู้ดูแล โรคมะเร็ง รวมทั้งเป็นแนวทางส�ำหรับการศึกษาวิจัย ผู้ป่วยโรคมะเร็งต่อไปได้ เพิ่มเติม หรือการศึกษาวิจัยซ�้ำในหน่วยงาน เพื่อให้ได้ 2. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับวิธีการลดภาระ หลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการลดภาระของ ของผู้ดูแลเพิ่ม ได้แก่ การสนับสนุนด้วยการให้ความรู้ ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งต่อไป โดยใช้สื่อระบบอินเตอร์เน็ต การสนับสนุนด้วยการให้ ความรู้โดยสหสาขาวิชาชีพ การให้ค�ำปรึกษาด้านอารมณ์ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป และ การนวดและการสัมผัสเพื่อบ�ำบัด เนื่องจากวิธีการ 1. ควรมีการศึกษาวิจัยซ�้ำเกี่ยวกับวิธีการลดภาระ ดังกล่าวยังมีการศึกษาน้อย และยังไม่สามารถยืนยัน ของผู้ดูแลโดยการสนับสนุนด้วยการให้ความรู้ โดยมี ถึงผลลัพธ์ที่ดีในการลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง การออกแบบเป็นงานวิจัยทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่ม ของวิธีการดังกล่าวได้ ควบคุม รวมถึงมีการใช้เครื่องมือวัดผลลัพธ์ที่เหมาะสม เอกสารอ้างอิง Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health. (2013). Rate per 100,000 populations of first 10 leading cause groups of death, 2010-2012. Retrieved from http://bps.ops.moph.go. th (In Thai) Bahrami, M., & Farzi, S. (2014). The effect of a supportive educational program based on COPE model on caring burden and quality of life in family caregivers of women with breast cancer. Iranian Journal of Nursing and Midwifery Research, 19(2), 119-126. Belgacem, B., Auclair, C., Fedor, M. C., Brugnon, D., Blanquet, M., Tournilhac, O., & Gerbaud, L. (2013). A caregiver educational program improves quality of life and burden for cancer patients and their caregivers: A randomised clinical trial. European Journal of Oncology Nursing, 17(6), 870-876. DOI: 10.1016/j.ejon.2013.04.006 Chih, M. Y., DuBenske, L. L., Hawkins, R. P., Brown, R. L., Dinauer, S. K., Cleary, J. F., & Gustafson, D. H. (2013). Communicating advanced cancer patients’ symptoms via the Internet: A pooled analysis of two randomized trials examining caregiver preparedness, physical burden, and negative mood. Palliative Medicine, 27(6), 533-543. DOI: 10.1177/0269216312457213 DuBenske, L. L., Gustafson, D. H., Namkoong, K., Hawkins, R. P., Atwood, A. K., Brown, R. L., ... Cleary, J. F. (2014). CHESS improves cancer caregivers’ burden and mood: Results of an eHealth RCT. Health Psychology, 33(10), 1261-1272. DOI: 10.1037/a0034216

172 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Relieving the Burden Among Caregivers of Cancer Patients: A Systematic Review

Hendrix, C. C., Bailey Jr, D. E., Steinhauser, K. E., Olsen, M. K., Stechuchak, K. M.,Lowman, S. G.,… Tulsky, J. A. (2015). Effects of enhanced caregiver training program on cancer caregiver’s self-efficacy, preparedness, and psychological well-being.Supportive Care in Cancer, 24(1), 327-336. DOI: 10.1007/s00520-015-2797-3 Given, B. A., Given, C. W., & Kozachik, S. (2001). Family support in advanced cancer. CA: A Cancer Journal of Clinicians, 51(4), 213-231. Luvira, V. (2013). Health care for caregivers of patients with terminal illness. Srinagarind Medical Journal, 22(8), 266-270. (In Thai) McLean, L. M., Walton, T., Rodin, G., Esplen, M. J., & Jones, J. M. (2013). A couple-based intervention for patients and caregivers facing end-stage cancer: outcomes of a randomized controlled trial. Psycho-Oncology, 22(1), 28-38. DOI: 10.1002/pon.2046 McMillan, S. C., Small, B. J., Weitzner, M., Schonwetter, R., Tittle, M., Moody, L., & Haley, W. E. (2006). Impact of coping skills intervention with family caregivers of hospice patients with cancer: A randomized clinical trial. Cancer, 106(1), 214-222. DOI: 10.1002/cncr.21567 Meecharoen, W., Northouse, L., Sirapo-ngam, Y., & Monkong, S. (2013). Family caregivers for cancer patients in Thailand: An integrative review. SAGE Open, 3(3), 1-10. DOI: 10.1177/2158244013500280 National Alliance for Caregiving. (2009). Caregiving in the U.S. Retrieved from http://www.caregiving.org/data/Caregiving_in_the_US_2009_full_report.pdf. National Cancer Institute. (2015). Family Caregivers in Cancer: Roles and Challenges. Retrieved from http://www.cancer.gov/cancertopics/pdq/supportivecare/caregivers/ healthprofessional/page4. Pahlavanzade, S., Khosravi, N., & Moeini, M. (2014). The effect of a family need-based program on burden of caregivers of leukemia patients in Isfahan in 2013-2014. Iranian Journal of Nursing and Midwifery Research, 19(6), 629-634. Rexilius, S. J., Mundt, C. A., Megel, M. E., & Agrawal, S. (2002). Therapeutic effects of massage therapy and healing touch on caregivers of patients undergoing autologous hematopoietic stem cell transplant. Oncology Nursing Forum, 29(3), E35-E44. DOI:10.1188/02.ONF.E35-E44 Scherbring, M. (2002). Effect of caregiver perception of preparedness on burden in an oncology population. Oncology Nursing Forum, 29(6), E70-E76. Shaw, J. M., Young, J. M., Butow, P. N., Badgery-Parker, T., Durcinoska, I., Harrison, J. D.,… Solomon, M. J. (2015). Improving psychosocial outcomes for caregivers of people with poor prognosis gastrointestinal cancer: A randomized controlled trial (family connect). Supportive Care in Cancer, 24(2), 585-595. DOI: 10.1007/s00520-015-2817-3 Shum, N. F., Lui, Y. L., Law, W. L., & Fong, Y. T. D. (2014). A nurse-led psycho-education programme for Chinese carers of patients with colorectal cancer. Cancer Nursing Practice, 13(5), 31-39.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 173 การลดภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

Sun, V., Grant, M., Koczywas, M., Freeman, B., Zachariah, F., Fujinami, R.,... Ferrell, B. (2015). Effectiveness of an interdisciplinary palliative care intervention for family caregivers in lung cancer. Cancer, 121(20), 3737-3745. DOI: 10.1002/cncr.29567 The Joanna Briggs Institute [JBI]. (2014). Joanna Briggs Institute Reviewers’ Manual: 2014 edition. Retrieved from https://docplayer.net/6678504-Joanna-briggs-institute-reviewers-manual- 2014-edition.html Toseland, R. W., Blanchard, C. G., & McCallion, P. (1995). A problem solving intervention for caregivers of cancer patients. Social Science & Medicine, 40(4), 517-528. World Health Organization. (2015). Cancer. Retrieved from http://www. who. int/mediacentre/factsheets/fs297/en/index.html

174 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ผลของการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ Effect of Iyengar Yoga Exercise on Severity of Knee Osteoarthritis Among the Older Persons

อังคณารัชต์ แก้วแสงใส * Angkanarat Keawsengsai * กนกพร สุค�ำวัง ** Khanokporn Suchamvang ** ภารดี นานาศิลป์ *** Paradee Nanasilp ***

บทคัดย่อ โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคเรื้อรังที่พบได้บ่อยและส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพและความผาสุกของผู้สูงอายุ ไอเยนกะโยคะเป็นการออกก�ำลังกายแบบโยคะชนิดหนึ่งที่เชื่อว่าสามารถลดความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมใน ผู้สูงอายุได้ การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการออกก�ำลังกายแบบ ไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มารับการรักษา ณ แผนกผู้ป่วยนอกออร์โธปิดิกส์ของโรงพยาบาลในจังหวัดร้อยเอ็ด ระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 สุ่มได้โรงพยาบาลเมืองสรวงเป็นกลุ่มทดลอง และโรงพยาบาลโพนทองเป็นกลุ่มควบคุม สุ่มกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ ก�ำหนดเข้ากลุ่มทดลอง 19 คน กลุ่มควบคุม 19 คน รวมจ�ำนวน 38 คน กลุ่มทดลองออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ นานครั้งละ 60 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้งเป็นเวลา 12 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมให้ออกก�ำลังกายตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ รวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และแบบประเมินความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนาและทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนเฉลี่ยความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุภายหลังการออกก�ำลังกายแบบ ไอเยนกะโยคะลดลงกว่าก่อนการออกก�ำลังกายอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .001) และ2) คะแนนเฉลี่ยความรุนแรง ของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่ออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะลดลงกว่ากลุ่มที่ออกก�ำลังกายตามปกติอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลจากการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะสามารถลดความรุนแรงของโรคข้อ เข่าเสื่อมในผู้สูงอายุได้ จึงควรน�ำการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะไปใช้ในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมเพื่อช่วย ลดความรุนแรงของโรคและสร้างเสริมสุขภาพร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง

ค�ำส�ำคัญ: การออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ, ผู้สูงอายุ, ข้อเข่าเสื่อม

* พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด * Professional Nurse, Atsamat hospital, Roi et Province ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 175 ผลของการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ

Abstract Knee osteoarthritis (knee OA) is a common chronic disease and effects on health and well-being of the older persons. Iyengar Yoga is one kind of yoga exercise that might reduce the severity of knee OA. This two group pre and posttest experimental study aimed to examine the effect of Iyengar Yoga exercise on the severity of knee OA among the older persons. The participants were the older persons with knee OA who received treatment at the Orthopaedic Outpatient Department between January and April 2014. Mueang Suang hospital and Phon Thong hospital were randomly assigned into the experimental and control groups. 38 purposive participants were randomly assigned into the experimental group (n=19) and the control group (n=19). A 60-minute, three-per- week Iyengar Yoga exercise was implemented for 12 weeks as the intervention for the participants in the experimental group. The control group was not given the Iyengar Yoga exercise. The research instruments consisted of the Demographic Data Record Form and The Severity of Knee Osteoarthritis Assessment Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test. The results of study revealed that 1) mean score of knee OA severity in the older persons after performing Iyengar Yoga exercise were significantly decreased (p< .001) and 2) mean score of knee OA severity in the older persons who performed Iyengar Yoga exercise were significantly decreased in comparison to the control group (p < .001). The results of this study indicate that Iyengar Yoga exercise can alleviate severity of knee OA among older persons. Therefore, this exercise could be applied in additional to the treatment of older persons with knee OA to decrease the severity of the disease, and to promote physical well-being.

Key words: Iyengar Yoga Exercise, Older Persons, Knee Osteoarthritis

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา รองจากความดันโลหิตสูง ฟันใช้งานน้อยกว่า 20 ซี่ โรคข้อเข่าเสื่อม (knee osteoarthritis) เป็นปัญหา เบาหวาน และซึมเศร้า Bureau of Health Promotion, ส�ำคัญของระบบสุขภาพทั่วโลกและเป็นสาเหตุส�ำคัญ Ministry of Public Health (2013) โดยพบผู้ป่วย ของการเกิดความทุพลภาพในผู้สูงอายุ (Sacks, Luo, & รายใหม่ 22.5 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งเมื่อแยกรายภาค Helmick, 2010) จากรายงานขององค์การอนามัยโลก พบว่าผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นโรคข้อเข่า พบความชุกของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี เสื่อมเป็นอันดับสองรองจากภาคเหนือ Office of ขึ้นไป เป็นร้อยละ 12.1 และคาดการณ์ว่าในปี ค.ศ. Policy and Strategy Ministry of Public Health 2020 โรคข้อเข่าเสื่อมจะเป็นสาเหตุของความทุพลภาพ (2013) ส�ำหรับจังหวัดร้อยเอ็ดซึ่งเป็นจังหวัดหนึ่งในภาค เป็นอันดับที่ 4 ในกลุ่มผู้สูงอายุ (World Health ตะวันออกเฉียงเหนือ พบข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. 2553 Organization, 2003) ถึง 2556 ว่าผู้สูงอายุเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมและต้องเข้ารับ ส�ำหรับประเทศไทย ในปี พ.ศ.2556 โรคข้อเข่า การรักษา คิดเป็น 118.4, 134.6, 129.3 ต่อประชากร เสื่อมก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุเป็นอันดับ 5 แสนคน (Roi Et Public Health Office, 2010-2012)

176 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Iyengar Yoga Exercise on Severity of Knee Osteoarthritis Among the Older Persons

จึงเห็นได้ว่าแนวโน้มของการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมใน ออกก�ำลังเพื่อสุขภาพ เช่น ไท่จี๋ชี่กง โยคะ เป็นต้น ผู้สูงอายุในจังหวัดร้อยเอ็ดเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และ (Prechanon, (2007); Dougados & Hochberg, 2011; สูงกว่าภาพรวมของประเทศ Lapane, Sands, Yang, McAlindon, & Eaton, 2012; โรคข้อเข่าเสื่อมเกิดจากการเสื่อมสภาพของ Shengelia, Parker, Ballin, George,& Reid, 2013) กระดูกอ่อนผิวข้อซึ่งท�ำหน้าที่ปกป้องและดูดซับแรง ขณะที่สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศ แนะน�ำวิธีการ กระแทกภายในข้อเข่า (Hough, 2001; Dougados & ออกก�ำลังกายเพื่อการรักษาส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม Hochberg, 2011) โดยทั่วไปร่างกายจะพยายาม ได้แก่ การเพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ ซ่อมแซมตนเองด้วยการสร้างกระดูกใหม่บริเวณขอบ รอบข้อ และการเพิ่มพิสัยการเคลื่อนไหวและป้องกันการ กระดูก ท�ำให้รูปร่างของข้อเข่ามีขนาดใหญ่ขึ้น กระดูก ติดของข้อ (Thai Rheumatism Association2010; ใต้กระดูกอ่อนแข็งตัวขึ้น หรือมีการงอกของกระดูก Morris & Schoo, 2004) ทั้งนี้ลักษณะการออกก�ำลังกาย บริเวณขอบข้อขึ้นท�ำให้ช่องว่างระหว่างข้อแคบลง ที่ก่อให้เกิดผลดีต่อผู้สูงอายุควรเป็นการออกก�ำลังกาย เกิดมีเสียงดังในข้อขณะเคลื่อนไหวซึ่งเป็นผลจากกระดูก ที่มีความหนักเบาระดับปานกลาง (moderate-intensity อ่อนผิวข้อขรุขระ และเมื่อเคลื่อนไหวข้อ จะเกิดการ activity) ซึ่งหมายถึงการออกก�ำลังกายอย่างต่อเนื่อง เสียดสีของขอบผิว รวมถึงเกิดแรงกดที่กระดูกใต้กระดูก นานครั้งละ 20-60 นาที ควรปฏิบัติ 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์ อ่อนท�ำให้เกิดอาการปวดข้อขึ้นได้ ซึ่งอาการจะทุเลา เพื่อท�ำให้อัตราการเต้นของหัวใจขณะออกก�ำลังอยู่ที่ เมื่อหยุดพักการใช้ข้อ ส่วนใหญ่เมื่อเกิดอาการปวด ร้อยละ 60-80 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด ผู้สูงอายุที่มีปัญหาโรคข้อเข่าเสื่อมมักหลีกเลี่ยงการใช้ (American College of Sport Medicine, 2009) ข้อเข่า เมื่อมีการพักการใช้เข่าเป็นเวลานานย่อมส่งผล ไอเยนกะโยคะเป็นการออกก�ำลังกายที่ดัดแปลง เกิดข้อฝืด หากการด�ำเนินโรคต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน จากท่าโยคะ คิดค้นโดยครูสอนโยคะชาวอินเดีย (B.K.S. จะท�ำให้ข้อเข่าสูญเสียความมั่นคง กล้ามเนื้อต้นขาลีบ Iyengar) ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน และอ่อนแรงได้ (Ninkanuwongs, 2008) ซึ่งจะส่งผล สหรัฐอเมริกาและยุโรป มีหลักการส�ำคัญ 3 ประการ กระทบด้านจิตใจท�ำให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะซึมเศร้า คือ 1) การเคลื่อนไหวร่างกายช้า ๆ แบบโยคะ ด้วยการยืด (Riddle, Kong, Fitzgerald, 2011) รวมถึงความ และเหยียดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับที่ ท�ำให้หลอดเลือด สามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันลดลง ต้องพึ่งพา ขยายตัว ส่งผลให้เพิ่มการไหลเวียนโลหิตไปยังบริเวณ ผู้อื่นท�ำให้เป็นภาระต่อครอบครัวและสังคม (Power, ที่บริหารร่างกายส่วนนั้นมาก เกิดผลดีต่อข้อโดยช่วยยืด Badley, French ,Wall, & Hawker, 2008) ข้อต่อ และคลายความตึงตัวกล้ามเนื้อโดยไม่เกิดอันตราย การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมประกอบด้วย การใช้ยา ต่อเนื้อเยื่อรอบข้อ 2) การก�ำหนดลมหายใจเข้า-ออก บรรเทาอาการ การผ่าตัด และการรักษาโดยไม่ใช้ยา โดยก�ำหนดการหายใจแบบช้าและลึก ท�ำให้ปอดท�ำงาน ซึ่งเป็นวิธีการบ�ำบัดในผู้สูงอายุที่เชื่อว่าได้ผลดีและ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจน เป็นที่ยอมรับในระดับสากล (The Royal College of เพิ่มขึ้น และ 3) การท�ำสมาธิ ช่วยให้เกิดการสงบนิ่ง Physicians of London, 2008) การรักษาโดยไม่ใช้ยานี้ ผ่อนคลาย (Michalsen et al., 2012) จากการทบทวน ส่วนใหญ่มุ่งเน้นการลดแรงกดของข้อเข่าร่วมกับสร้าง วรรณกรรมในต่างประเทศ พบว่ามีการน�ำวิธีการ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อต้นขา ขณะเดียวกันกับส่งเสริม ออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะมาใช้ในการบ�ำบัด ให้ร่างกายซ่อมแซมส่วนของข้อที่เสื่อม ประกอบด้วย ผู้ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมและพบว่า ช่วยให้ผู้ที่เป็นโรคข้อ การแนะน�ำการใช้ข้ออย่างถูกวิธี การควบคุมน�้ำหนักตัว เข่าเสื่อม มีระดับความปวดข้อเข่าลดลง และเคลื่อนไหว การใช้ความร้อนและเย็น การบริหารกล้ามเนื้อและ ร่างกายดีขึ้น (Bukowski et al., 2006; Kolasinski et

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 177 ผลของการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ

al., 2005) อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาในผู้ที่เป็น สมองท�ำให้เกิดอาการปวด อาการปวดที่เกิดขึ้นท�ำให้ ข้อเข่าเสื่อมคนไทย ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาผลการ ผู้ที่เป็นเคลื่อนไหวข้อน้อยลง ส่งผลให้เกิดอาการข้อติด ออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของ และหากอาการของโรคข้อเข่าเสื่อมรุนแรงขึ้นท�ำให้ข้อ โรคข้อเสื่อมในผู้สูงอายุ ซึ่งผลการศึกษาที่ได้ในครั้งนี้จะ ผิดรูปและเกิดความพิการได้ การออกก�ำลังกายแบบ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ ไอเยนกะโยคะเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างช้า ๆ ด้วยการออกก�ำลังกายที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุ โดยการยืดและเหยียดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับที่ ช่วยลด บรรเทาจากอาการปวดข้อเข่า สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ การกระตุ้นการส่งสัญญาณปวด นอกจากนี้ช่วยข้อต่อ ด้วยตนเอง ชะลอการเกิดทุพลภาพ รวมถึงลดการพึ่งพา ให้เคลื่อนไหวได้มุมมากขึ้น ช่วยลดอาการข้อติด การ ผู้อื่นซึ่งจะช่วยให้ผู้สูงอายุด�ำรงชีวิตที่มีคุณภาพยิ่งขึ้น เปลี่ยนแปลงของสรีรวิทยาของการออกก�ำลังกายท�ำให้ ต่อมใต้สมองส่วนหน้ามีการหลั่งสารเคมีภายในร่างกาย วัตถุประสงค์การวิจัย ที่มีผลคล้ายมอร์ฟีนออกมายับยั้งความปวด ยับยั้งการ 1. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของ ส่งสัญญาณไปสมองจึงไม่เกิดความรู้สึกปวด การก�ำหนด โรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่ออกก�ำลังกายแบบไอเยน ลมหายใจเข้าออกช้าและลึก ร่วมกับการท�ำสมาธิช่วยลด กะโยคะระหว่างก่อนและหลังออกก�ำลังกาย การกระตุ้นของระบบประสาทอัตโนมัติ และลดการกระตุ้น 2. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของ ทางอารมณ์ที่เกิดจากการท�ำงานของสมองธาลามัสและ โรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่ออกก�ำลังกายแบบไอเยน ระบบลิมบิค ช่วยลดการหลั่งสารที่มีผลกระตุ้นการรับ กะโยคะระหว่างกลุ่มที่ออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ ความรู้สึกปวดบริเวณปลายประสาทจึงช่วยให้ลดความ กับกลุ่มที่ออกก�ำลังกายตามปกติ ปวดของข้อเข่าได้

สมมติฐานการวิจัย วิธีการด�ำเนินการวิจัย 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของโรคข้อเข่า การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสอง เสื่อมในผู้สูงอายุภายหลังการออกก�ำลังกายแบบไอเยน กลุ่มวัดก่อนและหลัง (two group pre and posttest กะโยคะแตกต่างกว่าก่อนออกก�ำลังกาย design) 2. ค่าเฉลี่ยความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมใน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้สูงอายุที่ออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะแตกต่างกว่า 1. เครื่องมือที่ใช้ในการด�ำเนินการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มที่ออกก�ำลังกายตามปกติ 1.1 โปรแกรมการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะ โยคะ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยบูรณาการความรู้โรคข้อเข่า กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย เสื่อมในผู้สูงอายุ การออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ การวิจัยนี้ใช้แนวคิดการบูรณาการโรคข้อเข่าเสื่อม ร่วมกับกลไกทางสรีรวิทยาของการออกก�ำลังกาย ในผู้สูงอายุ การออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ ใช้เวลาปฏิบัติครั้งละ 60 นาที ก�ำหนดให้ปฏิบัติสัปดาห์ละ ร่วมกับกลไกทางสรีรวิทยาของการออกก�ำลังกายจาก 3 ครั้ง เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ เอกสารต�ำราวิชาการที่เกี่ยวข้อง โดยโรคข้อเข่าเสื่อม 1.2 คู่มือการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากความเสื่อม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ของกระดูกอ่อนผิวข้ออย่างค่อยเป็นค่อยไป ท�ำให้ช่อง 1.3 อุปกรณ์ในการออกก�ำลังกาย ได้แก่ เสื่อปู ว่างระหว่างข้อแคบลง และเกิดการเสียดสีระหว่างการ รองพื้น เข็มขัดหรือเชือก เก้าอี้ เคลื่อนไหวข้อซึ่งเป็นการกระตุ้นสัญญาณประสาทไป 1.4 ผู้น�ำการฝึกออกก�ำลังกาย

178 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Iyengar Yoga Exercise on Severity of Knee Osteoarthritis Among the Older Persons

โปรแกรมและคู่มือการออกก�ำลังกายแบบไอเยน ในภาพรวมโดยไม่ระบุชื่อผู้ให้ข้อมูล เมื่อตัดสินใจเข้าร่วม กะโยคะ ซึ่งพัฒนาโดยผู้วิจัยนี้ได้รับการตรวจสอบเนื้อหา โครงการวิจัย ผู้วิจัยขอให้กลุ่มตัวอย่างลงนามในหนังสือ จากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ราย หลังจากนั้นน�ำมาปรับปรุงแก้ไข แสดงความยินยอม ตามข้อเสนอแนะก่อนน�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างจริง การเก็บรวบรวมข้อมูล ส�ำหรับผู้น�ำการฝึกออกก�ำลังกาย ในที่นี้คือผู้วิจัย ได้เข้า ผู้วิจัยด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองตาม ฝึกอบรมหลักสูตรครูโยคะพื้นฐานจากศูนย์พัฒนา ขั้นตอน ดังนี้ สุขภาพลานนาโยคะจังหวัดเชียงใหม่ และได้รับ 1. ผู้วิจัยท�ำหนังสือจากคณบดีคณะพยาบาล ประกาศนียบัตรรับรอง ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เสนอต่อผู้อ�ำนวยการ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย โรงพยาบาลเมืองสรวง และโรงพยาบาลโพนทอง 2.1 แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล จังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อขออนุญาตเข้าท�ำการด�ำเนินการวิจัย 2.2 แบบประเมินความรุนแรงของโรคข้อเข่า 2. เมื่อได้รับการอนุญาตให้เข้าท�ำการวิจัยได้ เสื่อมของ Taweechai (2000) ที่ดัดแปลงจากแบบ ผู้วิจัยส�ำรวจรายชื่อผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม จากแฟ้ม ประเมินภาวะข้อเข่าเสื่อมของ Western Ontario and ประวัติผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก McMaster Universities Osteoarthritis (WOMAC) โรงพยาบาลเมืองสรวง และโรงพยาบาลโพนทอง ประกอบด้วยข้อค�ำถาม 23 ข้อ ลักษณะเป็นแบบวัด จังหวัดร้อยเอ็ดและท�ำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตาม ความรุนแรงของอาการด้วยสายตาจากเส้นตรงที่มี คุณสมบัติที่ก�ำหนด ความยาว 10 เซนติเมตร โดยให้ปลายสุดทางซ้ายมือ 3. ผู้วิจัยเข้าพบกลุ่มตัวอย่าง แนะน�ำตัวเอง ชี้แจง มีคะแนนเท่ากับ 0 หมายถึง ไม่มีอาการตามข้อค�ำถามนั้น วัตถุประสงค์ และขอให้ลงนามในหนังสือแสดงความ ปลายสุดทางขวามือ มีคะแนนเท่ากับ 10 หมายถึง มีอาการ ยินยอมในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างยินยอมเข้าร่วมการวิจัย ตามข้อค�ำถามนั้นและมีความรุนแรงของอาการมากที่สุด 4. ด�ำเนินการวิจัยกับกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง จากการทดสอบคุณภาพเครื่องมือ ได้ค่าความตรงตาม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ เนื้อหา เท่ากับ .83 ผู้วิจัยได้น�ำไปทดลองใช้กับผู้สูงอายุ กลุ่มควบคุม ด�ำเนินการดังนี้ โรคข้อเข่าเสื่อมจ�ำนวน 10 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา 1) สัปดาห์ที่ 1 ให้ตอบแบบบันทึกข้อมูลส่วนตัว ของครอนบาค เท่ากับ .95 ประเมินความรุนแรงของโรคข้อเสื่อมของผู้สูงอายุครั้งที่ 1 การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง 2) สัปดาห์ที่ 1-12 ให้ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันและ โครงการวิจัยนี้ผ่านการพิจารณาและอนุมัติให้ ออกก�ำลังกายตามปกติ ด�ำเนินการจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยของ 3) สัปดาห์ที่ 14 ประเมินความรุนแรงของโรค คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ข้อเข่าเสื่อม ครั้งที่ 2 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลเมืองสรวง และโรงพยาบาล กลุ่มทดลอง ด�ำเนินการดังนี้ โพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ผู้วิจัยแจ้งให้กลุ่มตัวอย่าง 1) สัปดาห์ที่ 1 ให้ตอบแบบบันทึกข้อมูลส่วนตัว ทราบว่าการเข้าร่วมการวิจัยนี้เป็นไปด้วยความสมัครใจ ประเมินความรุนแรงของโรคข้อเสื่อมของผู้สูงอายุครั้งที่ 1 กลุ่มตัวอย่างมีสิทธิตอบรับหรือปฏิเสธเข้าร่วมการวิจัย 2) สัปดาห์ที่ 1-2 ฝึกการออกก�ำลังกายแบบไอเยน โดยไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อการรักษาพยาบาลที่กลุ่ม กะโยคะ ประกอบด้วย การอบอุ่นร่างกาย 12 ท่า การ ตัวอย่างได้รับอยู่ รวมทั้งกลุ่มตัวอย่างสามารถขอยุติการ ออกก�ำลังกาย 12 ท่าและการผ่อนคลาย 1 ท่า ใช้เวลา เข้าร่วมการวิจัยในช่วงเวลาใด ๆ ก็ได้โดยไม่ต้องแจ้งเหตุผล ฝึกครั้งละ 60 นาที จนกลุ่มตัวอย่างสามารถปฏิบัติได้ ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยจะเก็บไว้เป็นความลับและน�ำเสนอ ถูกต้อง ใช้ระยะเวลารวม 2 สัปดาห์ หลังจากนั้นผู้วิจัย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 179 ผลของการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ

มอบคู่มือการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะให้กลุ่ม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ก�ำหนดคือ ไม่มีแผนการ ตัวอย่างเพื่อน�ำไปใช้ฝึกปฏิบัติต่อที่บ้านโดยยำ�้ ให้ปฏิบัติ รักษาด้วยการผ่าตัด หรือได้รับผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม สัปดาห์ละ 3 วัน เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ภายใน 2 ปี หรือรักษาด้วยการฉีดสเตียรอยด์ภายใน 3 3) สัปดาห์ที่ 3-14 ฝึกการออกก�ำลังกายแบบ เดือน ไม่ใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน และไม่มีอาการอักเสบหรือ ไอเยนกะโยคะตามที่ก�ำหนด ปวดข้อเข่ารุนแรง สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 4) สัปดาห์ที่ 14 ประเมินความรุนแรงของโรค โดยจับคู่ให้ทั้งสองกลุ่มมีลักษณะใกล้เคียงกันในด้านอายุ ข้อเข่าเสื่อม ครั้งที่ 2 เพศ และระดับความรุนแรงของโรค การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการวิจัย เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของโรคข้อเข่า กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม จ�ำนวน เสื่อมก่อนและหลังการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ รวม 38 ราย เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ ของกลุ่มทดลอง และระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม 19 ราย ทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบ ควบคุมด้วยสถิติทดสอบค่าที เนื่องจากการทดสอบการก จากข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่างทั้งสอง ระจายข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างด้วยสถิติ Kolmogorov- กลุ่มเป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 60-69 ปี สถานะภาพ Smirnov one sample test พบว่าข้อมูลมีการกระจาย สมรส การศึกษาระดับประถมศึกษา รายได้อยู่ระหว่าง เป็นโค้งปกติ 5,000-10,000 บาท ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง มีค่า BMI อยู่ในช่วง 18.5- 24.9 kg/m2 ซึ่งหมายถึงมี ประชากร คือ ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ได้รับ นำ�้ หนักเกิน ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ได้รับการวินิจฉัย การวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม และเข้ารับ จากแพทย์ว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม มาเป็นระยะเวลา 1-5 การรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลในจังหวัด ปี โดยมีจ�ำนวนข้อเข่าเสื่อม 1 ข้อ ร้อยเอ็ด จากสมมุติฐานข้อ 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรง กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรที่เข้ารับการรักษาใน ของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุภายหลังการออกก�ำลังกาย โรงพยาบาลในจังหวัดร้อยเอ็ด ระหว่างเดือนมกราคม แบบไอเยนกะโยคะแตกต่างกว่าก่อนออกก�ำลังกาย ถึงมีนาคม พ.ศ. 2557 ท�ำการสุ่มโรงพยาบาลด้วยการ ผลวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของโรคข้อ จับสลาก ได้โรงพยาบาลเมืองสรวงเป็นกลุ่มทดลอง และ เข่าเสื่อมในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมภายหลังการ โรงพยาบาลโพนทองเป็นกลุ่มควบคุม ออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ค�ำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธี power ทางสถิติ (p<.001) ดังแสดงในตารางที่ 1 analysis โดยก�ำหนดระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ (significant level) ที่ .05 ระดับอ�ำนาจการทดสอบ (level of power) ที่ .80 ค่าอิทธิพลของตัวแปร (effect size) เท่ากับ 0.98 ซึ่งได้จากการศึกษาในกลุ่มผู้ป่วยเดียวกันของ Thapklam (2006) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มทดลอง 16 ราย และกลุ่มควบคุม 16 ราย และเพื่อป้องกันการสูญหาย ของกลุ่มตัวอย่าง ระหว่างการศึกษาจึงเพิ่มขนาดกลุ่ม ตัวอย่างอีกร้อยละ 20 (Polit & Hungler, 1999) ได้เป็น กลุ่มละ 19 ราย รวมเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 38 ราย ผู้วิจัย

180 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Iyengar Yoga Exercise on Severity of Knee Osteoarthritis Among the Older Persons

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมของผู้สูงอายุก่อนและหลังการออกก�ำลังกาย แบบไอเยนกะโยคะ คะแนนความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม  SD t p-value ก่อนการออกก�ำลังกาย 54.3 18.1 11.3 .001*** หลังการออกก�ำลังกาย 30.3 13.9 ***p < .001

จากสมมุติฐานข้อ 2 ค่าเฉลี่ยความรุนแรงของ กะโยคะ ลดลงกว่ากลุ่มที่ออกก�ำลังกายตามปกติอย่าง โรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่ออกก�ำลังกายแบบไอเยน มีนัยส�ำคัญทางสถิติทางสถิติ (p< .001) โดยก่อนการ กะโยคะแตกต่างกว่ากลุ่มที่ออกก�ำลังกายตามปกติ ทดลองค่าเฉลี่ยความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมใน ผลวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของโรค ผู้สูงอายุทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ดังแสดงในตารางที่ 2 ข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่การออกก�ำลังกายแบบไอเยน

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมระหว่างกลุ่มที่ออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะ โยคะและกลุ่มออกก�ำลังกายตามปกติ คะแนนความรุนแรงของโรค กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม t p-value ข้อเข่าเสื่อม  (S.D.)  (S.D.) ก่อนการทดลอง 54.3(18.2) 62.7(12.4) 1.7 .053 หลังการทดลอง 30.6(13.9) 63.1(11.8) 7.7 .001*** ***p < .001

การอภิปรายผล การกีฬาอเมริกา (ACSM, 2009) นอกจากนี้การ ผลการศึกษานี้เป็นไปตามสมมุติฐานที่ก�ำหนด เคลื่อนไหวร่างกายช้า ๆ ด้วยการยืดและเหยียดกล้ามเนื้อ โดยผู้วิจัยอภิปรายผลตามวัตถุประสงค์การศึกษา ดังนี้ แบบอยู่กับที่ ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อรอบข้อ รวมถึงเอ็นข้อ 1. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของ ต่อมีการเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ และต่อเนื่องกันไปใน โรคข้อเสื่อมในผู้สูงอายุก่อนและหลังการออกก�ำลังกาย แต่ละท่า ส่งผลให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบ ๆ ข้อเข่า เอ็นมีความ แบบไอเยนกะโยคะ ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนน แข็งแรงและยืดหยุ่นดีขึ้น อีกทั้งการฝึกให้กล้ามเนื้อมีการ ความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุหลังการ หดตัวช้า ๆ จะส่งผลให้เพิ่มความสามารถในการใช้ ออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะลดลงกว่าก่อนการ ออกซิเจนและใช้พลังงานจากกระบวนการใช้ออกซิเจน ออกก�ำลังกายอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p <.001 ) เกิดการแลกเปลี่ยนออกซิเจนดีขึ้น ไม่เกิดความเหนื่อยล้า อธิบายได้ว่า การออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ ได้ (Dougados & Hochberg, 2011) ส�ำหรับการฝึก เป็นการออกก�ำลังกายที่มีความหนักเบาระดับปานกลาง การหายใจเข้าออกช้า ๆ ลึก ๆ ร่วมกับการท�ำสมาธ ิ (moderate-intensity activity) เหมาะกับผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้มีเลือดไหลเวียนบริเวณข้อเข่าเพิ่มขึ้น ท�ำให้ ข้อเข่าเสื่อมตามเกณฑ์ของวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ กล้ามเนื้อแข็งแรงซึ่งช่วยลดอาการปวดข้อ นอกจากนี้

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 181 ผลของการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ

เมื่อออกก �ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะอย่างสม�่ำเสมอ กะโยคะอย่างสม�่ำเสมอต่อเนื่อง ช่วยเพิ่มความแข็งแรง และต่อเนื่อง ยังท�ำให้ความสามารถการเคลื่อนไหวของ และความยืดหยุ่นให้กับข้อต่อต่าง ๆ ท�ำให้เพิ่มการ ข้อต่อเพิ่มมากขึ้นและร่างกายเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น เคลื่อนไหวของข้อมากขึ้น ส่งผลให้สามารถเคลื่อนไหว (Williams et al, 2005) ได้ดีขึ้น สอดคล้องกับค�ำแนะน�ำของสมาคมรูมาติซั่ม ทั้งนี้การออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะเป็น แห่งประเทศไทยถึงวิธีการออกก�ำลังที่เหมาะสมส�ำหรับ การฝึกโดยการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ช่วยในการฝึกซึ่ง ผู้ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้แก่ การเพิ่มความแข็งแรงและ เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความยืดหยุ่นและความแข็งแรง ทนทานของกล้ามเนื้อรอบข้อ และการเพิ่มพิสัยการ ของร่างกายน้อย (Supaporn, 2004) ในขณะเดียวกัน เคลื่อนไหวและป้องกันการติดของข้อ (Thai Rheumatism กลุ่มทดลองเป็นวัยผู้สูงอายุตอนต้นและตอนกลางยังไม่มี Association,2006) นอกจากนั้นยังพบว่า การออกก�ำลัง การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่เป็นข้อจ�ำกัดของการ กายแบบไอเยนกะโยคะมีผลดีต่อด้านจิตใจ ช่วยท�ำให้ ออกก�ำลังกายจึงสามารถฝึกการออกก�ำลังกายแบไอเยน จิตใจสงบ นิ่ง มีสมาธิมากขึ้น (Vadiraja et al., 2009) กะโยคะได้ถูกต้องและต่อเนื่องการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับ ทั้งนี้ในระหว่างช่วงของการฝึกวิธีการออกก�ำลังกายแบบ การศึกษาของ Kolasinski และ Kolasinski et al. ไอเยนกะโยคะ ผู้วิจัยซึ่งเป็นผู้ฝึกได้คอยกระตุ้น ให้ก�ำลังใจ (2005) ที่ศึกษาการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะ และตรวจสอบความถูกต้องของท่า พร้อมให้ค�ำแนะน�ำ ต่ออาการปวดข้อเข่าในผู้ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีอายุ เป็นระยะ ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติเกิดความมั่นใจ และมีก�ำลังใจ มากกว่า 50 ปี ซึ่งผลการศึกษาพบว่า ผู้ที่เป็นโรคข้อเข่า ฝึกการออกก�ำลังกายได้ตามแผน เสื่อมมีอาการปวดข้อเข่าลดลง และเคลื่อนไหวร่างกาย ดีขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ขณะที่ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ Cheung et al.(2014) ท�ำการศึกษาผลของโปรแกรม 1. น�ำเสนอผลการวิจัยแก่ผู้บริหารการพยาบาลเพื่อ โยคะต่อการดูแลโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุหญิงเป็น พิจารณาเป็นแนวการดูแลผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม เวลา 8 สัปดาห์ โดยให้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 36 ราย ฝึก 2. เป็นแนวทางแก่พยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุโรค โปรแกรมโยคะ นานครั้งละ 30 นาที สัปดาห์ละ 4 ครั้ง ข้อเข่าเสื่อมในการลดความรุนแรงของโรคได้ เป็นเวลา 8 สัปดาห์ หลังสิ้นสุดการทดลองพบว่า คะแนน 3. น�ำผลการศึกษาไปใช้เป็นข้อมูลทางเลือกหนึ่ง ความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมของกลุ่มตัวอย่างลดลง ของการออกก�ำลังกายแก่ทีมสุขภาพและนักศึกษาและ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p <.05) ซึ่งสนับสนุน ผู้สนใจทั่วไปในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่า สมมุติฐานข้อ 1 ของการศึกษาครั้งนี้ว่า ค่าเฉลี่ยคะแนน เสื่อมให้มีพฤติกรรมการออกก�ำลังกายที่เหมาะสมได้ ความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่ออกก�ำลัง กายแบบไอเยนกะโยคะแตกต่างกว่าก่อนออกก�ำลังกาย ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป 2. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของ ควรมีการศึกษาซำ�้ โดยติดตามและประเมินผลการ โรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุระหว่างกลุ่มที่ออกก�ำลังกาย ออกก�ำลังกายเป็นระยะเพื่อติดตามผลและความยั่งยืน แบบไอเยนกะโยคะกับกลุ่มที่ออกก�ำลังกายตามปกติ ของการออกก�ำลังกาย ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของ โรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่การออกก�ำลังกายแบบไอเยน กะโยคะ ลดลงกว่ากลุ่มที่ออกก�ำลังกายตามปกติอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติทางสถิติ (p< .001) ซึ่งสามารถ อธิบายได้ว่า เมื่อกลุ่มตัวอย่างออกก�ำลังกายแบบไอเยน

182 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Iyengar Yoga Exercise on Severity of Knee Osteoarthritis Among the Older Persons

เอกสารอ้างอิง American College of Sport Medicine [ACSH]. (2009). ACSM’s guidelines for exercise testing and Prescription (8th ed.). Philadelphia: Lippincott. Bukowski, L. E., Conway, A., Glentz, A. L., Kurland, K., &Galantino, L. M. (2006). The effect of Iyenga yoga and strengthening exercise for living with osteoarthritis knee: a case series. International quarterly of community health education 2006- 2007, 26(3), 287- 305. Bureau of Health Promotion, Ministry of Public Health. (2013). The health status survey report of Thai elderly 2013. Bangkok: Watcharin P.P. (In Thai) Cheung, C., Wyman,J. F., Resnick, B., & Savik, K.(2014). Yoga for managing knee osteoarthritis in older women: a pilot randomized controlled trial. BMC Complementary and Alternative Medicine, 14(160), 1472-6882. Dougados, M., & Hochberg, M. C. (2011). Management of osteoarthritis. In Marc, C.H., Alan, J.S., Josef, S.S., Michael, E.W., & Michael, H.W., (Eds.), Rheumatology (pp. 1793-1799). Philadelphia: Elsevier. Hough, A. J. (2001). Pathology osteoarthritis. In Moskowitz, R. W., Howell, D. S., Altman, R. D., Buckwalter, J. A., & Goldberg, V. M., (Eds.), Osteoarthritis diagnosis medical/surgical management (pp. 69-114). Philadelphia: W. B. Saunders. Kolasinski, S.L., Garfinkel, M., sai,T A.G., Matz, W., Van Dyke, A., Schumacher, H.R. (2005). Iyengar yoga for treating symptoms of osteoarthritis of knee: a pilot study. Journal of Alternative and Complementary Medicine, 11(4), 689-693. Lapane, K. L., Sands, M. R., Yang, S., McAlindon, T. E., Eaton, C. B. (2012). Use of complementary and alternative medicine among patients with radiographically-confirmed knee osteoarthritis. Osteoarthritis and Cartilage, 20(1), 8- 22. Michalsen, A., Jeitler, M., Brunnhuber, S., Ludtke, R., Bussing, A., Musial, F., Dobos, G., & Kessler, C. (2012). Iyengar yoga for distressed women: A 3-armed randomized controlled trial. Evidence-based Complementary and Alternative Medicine, 2012, 1-10. DOI:10.1155/2012/408727 Morris, M. E., & Schoo, A. M. (2004). Optimizing exercise and physical activity in older people. New York: Bulterworth-Heinemann. Ninkanuwongs, S. (2008). Osteoarthritis. In K. Totemchokchaikarn, P. Asavathanabodee & T. Kitiamnuipong (Eds.), Rheumatology for the non-rheumatologist (pp.175-205). Bangkok: Sitiprint. (In Thai) Office of Policy and Strategy, Ministry of Public Health. (2013).Public health statistics 2013. Bangkok: Veterans’ Relief Organization. (In Thai) Polit, D.F., & Hungler, B.P. (1999). Nursing research: Principles methods (6th ed.). Philadelphia: Lippincott.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 183 ผลของการออกก�ำลังกายแบบไอเยนกะโยคะต่อความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ

Power, J. D., Badley, E. M., French, M. R., Wall, A. J., & Hawker, G. A. (2008). Fatigue in osteoarthritis: a qualitative study. BMC Musculoskeletal Disorder, 9, 63-70. DOI:10.1186/1471-2474-9-63 Prechanon, S. (2007). Complementary and alternative medicine in Rheumatic diseases. Retrieved from http:// www.rehabmed.or.th/royal/re_thai/Research/article12.htm. (In Thai) Riddle, D. L., Kong, X., Fitzgerald, G. K. (2011). Psychological health impact on 2-year Changes in pain and function in persons with knee pain: Data form the osteoarthritis initiative. Osteoarthritis and Cartilage, 19(1), 1095- 1101. Roi Et Public Health Office. (2010-2012).ICD10 diagnosis data report. Roi Et: Data and Information Center. (In Thai) Sacks, J. J., Luo, Y. H. & Helmick, C. G. Prevalence of specific types of arthritis and other rheumatic conditions in the ambulatory health care system in the United States, 2001-2005. Arthritis Care & Research (Hoboken), 62(4), 460–464. Shengelia, R., Parker, S.J., Ballin, M., George, T., & Reid, M.C. (2013). Complementary therapies for osteoarthritis: are they effective? Pain Management Nursing, 14(4), e274-e288. DOI:10.1016/j.pmn.2012.01.001 Supaporn, S. (2004). Iyengar yoga (3rd ed.). Bangkok: Srinakharinwirot University. Taweechai, W. (2000). Self-care behaviors and severity of knee osteoarthritis among the elderly (Master’s thesis). Chiang Mai University, Faculty of Graduate School. Thai Rheumatism Association. (2010). Guideline for the treatment of osteoarthritis of knee. Retrieved from https://www.thairheumatology.org/wp-content/uploads/2016/08/Guideline- for-Management-of-OA-knee.pdf (In Thai) Thapklam, N. (2006). Effect of Tai Chi Qigong on severity of knee osteoarthritis (Master’s thesis). Chiang Mai University, Faculty of Graduate School. The Royal College of Physicians of London. (2008). Osteoarthritis: National clinical guideline for care and management in adults. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/ pubmed/21290638 Vadiraja, H.S., Rao, M.R., Nagarathna, R., Nagendra, H.R., Rekha, M., Vanitha, N., .Rao, N. (2009). Effects of yoga program on quality of life and affect in early breast cancer patients undergoing adjuvant radiotherapy: a randomized controlled trail. Complementary Therapies in Medicine, 17(5), 274-280. Williams, K.A., Petronis, J., Smoth, D., Goodrich, D., Wu, J., Ravi, N., … Steinberg, L. (2005). Effect of Iyengar yoga therapy for chronic low back pain. Pain, 115(1-2), 107-117. World Health Organization. (2003). Burden of major musculoskeletal conditions. Special theme- bone and joint decade 2000- 2010. Retrieved from http://www.who.int.bulletin/volumes/89/9/Woolf0903.pdf.

184 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study

ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ * Chawapornpan Chanprasit * สุมาลี เลิศมัลลิกาพร ** Sumalee Lirtmunlikaporn ** ธานี แก้วธรรมานุกูล ** Thanee Kaewthummanukul ** วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล ** Waruntorn Jongrungrotsakul ** ปิยวรรณ สวัสดิ์สิงห์ ** Piyawan Sawasdisingha **

บทคัดย่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ เป็นองค์ความรู้จากการสั่งสมประสบการณ์ เน้นสมดุลสุขภาพ ให้คุณค่าต่อสุขภาพ องค์รวม การศึกษาเชิงคุณภาพแบบพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาในการส่งเสริม ปกป้องและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ปราชญ์ชาวบ้าน หมอพื้นบ้าน และผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ใน เขตจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดล�ำพูน จ�ำนวนรวม 68 ราย รวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มและการสัมภาษณ์เจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุล้านนารวมทั้งการส่งเสริมและปกป้องสุขภาพ ถูกบูรณาการ เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ความเชื่อนับถือผี (เทวดา) และพิธีกรรมถูกผสมผสานในการดูแลเพื่อสุขภาวะทางกายและ อารมณ์ โดยใช้ หลักการส�ำคัญคือ เบญจ อ. สู่อายุยืน เริ่มที่ อาหารกินตามธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ออกก�ำลัง กิจกรรม ตามวิถี อารมณ์ มุ่งสู่ศีลธรรมจิตใจเบิกบาน อากาศดี บริสุทธิ์ปลอดมลภาวะ และเอื้ออาทร ห่วงใยใส่ใจกันส่วนพิธีกรรม ที่ส�ำคัญ คือ การสืบชะตา การส่งเคราะห์บูชาเทียน เมื่อผู้สูงอายุเจ็บป่วยจะใช้การบ�ำบัดเยียวยาจากแพทย์พื้นบ้าน ทั้งสมุนไพรบ�ำบัดและพิธีกรรมบ�ำบัด เป็นการดูแลทั้งกายและใจตามแนวคิดสุขภาพองค์รวม ผลการศึกษาจึงเอื้อ ประโยชน์ในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุทั้งการสร้างเสริมสุขภาพและการบ�ำบัดเยียวยาที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น และสากล เพื่อ ‘การดูแลสุขภาพร่วมสมัย’ เหมาะกับบริบทสังคมวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์

ค�ำส�ำคัญ: ภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การสร้างเสริมสุขภาพ

Abstract Lanna local wisdom related to health is knowledge through accumulated experiences focusing on health stability and placing value on holistic health. The main purpose of this qualitative descriptive study was to explore Lanna local wisdom in promoting, protecting, and caring for elderly health. Key informants, a total of 68, were tradition scholar, traditional healer, and the elderly, residing in Chiang Mai and Lumphun Province. Data were obtained through focus group discussions and * รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 185 ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง

in-depth interviews. Content analysis was utilized for data analysis. The main results illustrated that Lanna elderly care including health promotion and protection were an integral part of daily life. The spirit beliefs and all kinds of rituals were incorporated to elderly care for their physical and emotional well-being. The main principle of caring was five notions to live longer, starting with food: natural and nontoxic, exercise and activities based on their lifeway, emotion: morale to spiritual joyfulness, fresh air, and caring each other. Regarding specific rituals, these included Seub Chata, and Songkaeu-buchatean. Concerning therapeutic therapy, while the elderly got sick, folk remedies including herbal remedies and therapeutic rites were adopted. These remedies were caring for both physical and mind as the holistic health concept. These results are useful for elderly care plan including health promotion and remedies integrating local and universal wisdom and gaining ‘contemporary health care suitable to social and cultural context in the globalization era.

Keywords: Lanna local wisdom, Caring for elderly health, Health promotion

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา มีส่วนร่วมตระหนักรับผิดชอบสร้างวัฒนธรรมที่เอื้อต่อ สุขภาพเป็นเป้าหมายสูงสุดของชุมชนและสังคม สุขภาพตามพื้นฐานปรัชญาการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นทั้งอุดมการณ์และหลักประกันความมั่นคงของชาติ โดยใช้กระบวนการและกลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพ สาระส�ำคัญของพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้ผลักดันแนวคิดของการสร้าง 2550 คือ การพัฒนาที่มุ่งสร้างสุขภาพของประชาชน เสริมสุขภาพอย่างจริงจังนับแต่การประชุมนานาชาติ และสังคม ให้ความส�ำคัญล�ำดับสูงกับการพัฒนา ที่ประเทศแคนาดาในปี พ.ศ. 2529 อีกทั้งนานาประเทศ ‘คุณภาพคน’ ในทุกมิติอย่างสมดุล (Office of the รวมทั้งประเทศไทยได้มีการขานรับ น�ำการสร้างเสริม National Economic and Social Development สุขภาพเป็นนโยบายในการพัฒนาสุขภาวะของประชาชน Council [NSDC], 2007) กระบวนทัศน์สุขภาพจึงส�ำคัญ ทุกกลุ่มอายุรวมทั้งผู้สูงอายุ (World Health Organization เป็นเสมือนแนวทางชี้น�ำการพัฒนาคุณภาพคนในเชิง [WHO], 1986) สุขภาพทั้งด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การปกป้องและ สังคมผู้สูงอายุ (aged society) หมายถึง สังคมที่ รักษาสุขภาพ (Ministry of Public Health, 2017) มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปหรืออายุ 65 ปีขึ้นไป เกินกว่า ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 สุขภาพ ร้อยละ 10 และ ร้อยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ตามล�ำดับ ถือเป็นปรากฏกาณ์ที่เกิดขึ้นในหลายภูมิภาค ทางปัญญา ทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่าง ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเร็ว สมดุล (Ratchakitcha, 2007) เป็นการพิจารณาสุขภาพ กว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว (Foundation of Thai ในลักษณะพหุมิติกับเหตุปัจจัยส�ำคัญทางเศรษฐกิจ Gerontology Research and Development Institute สังคม วัฒนธรรม การเมืองและสิ่งแวดล้อม การบรรลุ [TGRI], 2017) รายงานในปี พ.ศ. 2559 พบผู้สูงอายุ ‘สุขภาพ’ นอกจากเป็นสิทธิพื้นฐานของบุคคล ยังเป็นต้น ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมีร้อยละ 16.5 ของประชากรทั้งประเทศ ทุนแห่งการพัฒนาและแนวคิดพื้นฐานส�ำคัญของศาสตร์ และเพิ่มเป็น ร้อยละ 16.5 ในปี พ.ศ. 2560 โดยสัดส่วน ทางการแพทย์พยาบาล บุคคลครอบครัวและชุมชนต้อง ของประชากรผู้สูงอายุวัยกลาง (70 - 79 ปี) และวัยปลาย

186 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study

(80 ปีขึ้นไป) เพิ่มสูงขึ้น ทั้งคาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะ ประชาชนทุกกลุ่มรวมทั้งผู้สูงอายุอย่างชัดเจนเป็น เข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ คือมี ประชากรอายุ 60 รูปธรรม นับแต่แผนพัฒนาสุขภาพ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. ปีขึ้นไป ร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2564 และจะเข้าสู่สังคม 2555-2559) โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพให้ สูงอายุระดับสุดยอดคือมี ประชากรที่อายุตั้งแต่ 60 ปี ความส�ำคัญกับการการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพบน ขึ้นไปร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 (TGRI, 2017) ชี้ชัด พื้นฐานภูมิปัญญาไทย การพัฒนาศักยภาพวิถีการดูแล สังคมไทยก้าวสู่ ‘สังคมผู้สูงวัย’และสังคมผู้สูงอายุอย่าง สุขภาพจากภูมิปัญญา ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ พัฒนา สมบูรณ์ (NSDC, 2016) การเพิ่มขึ้นประชากรสูงอายุ ระบบการเรียนรู้ การจัดการความรู้ด้านการแพทย์ เป็นผลให้สถิติความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ แผนไทย พื้นบ้านและทางเลือกให้มีมาตรฐาน รวมทั้ง เพราะเป็นกลุ่มเปราะบางและเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยด้วย ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเองด้าน โรคเรื้อรัง อาทิ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ข้ออักเสบ/ สุขภาพ (Ratchakitcha, 2011) สะท้อนความส�ำคัญ ข้อเสื่อม โรคหัวใจ ภาวะทันตกรรมรวมทั้งเผชิญกับภาวะ ในการจัดการความรู้ด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทางสุขภาพ ทุพพลภาพระยะยาว (TGRI, 2017) การดูแลสุขภาพจาก โดยการสืบค้น ถอดความรู้ภูมิปัญญาให้เป็นความรู้ โรคเรื้อรัง ก่อให้เกิดการสูญเสียด้านเศรษฐกิจจากภาระ ที่ผู้อื่นสามารถเรียนรู้ได้ บ่งชี้ความส�ำคัญของการน�ำ การรักษาพยาบาลของภาครัฐและด้านเทคโนโลยีการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมด้าน แพทย์ เพื่อลดความสูญเสียด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ สุขภาพ การจัดบริการสุขภาพส�ำหรับผู้สูงอายุที่เน้นการส่งเสริม กว่าสองทศวรรษที่ผ่านมาแนวคิด ภูมิปัญญาไทย สุขภาพโดยเฉพาะการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ จึงมี ภูมิปัญญาท้องถิ่น การแพทย์แผนไทยและพื้นบ้าน ได้รับ ความจ�ำเป็น (NSDC, 2016) เพื่อผู้ให้สูงอายุคงไว้ซึ่ง ความสนใจอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะแวดวงวิชาการ คุณภาพชีวิต ก้าวสู่ภาวะสูงวัยอย่างปกติสุข ล้อรับกับ ด้านมานุษยวิทยาสังคม ด้วยตระหนักการดูแลสุขภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ที่มุ่งส่งเสริมให้คนไทย ในปัจจุบันมีการใช้การรักษาทางเลือกร่วมกับการรักษา มีสุขภาวะที่ดีตลอดช่วงชีวิต (NSDC, 2016) สมัยใหม่ เริ่มมีการบูรณาการการส่งเสริมสุขภาพแบบ รัฐบาลไทยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาคนไทย ตะวันออกหรือแบบพื้นบ้านซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุกช่วงวัย รวมทั้งพัฒนาผู้สูงอายุให้มีความมั่นคงด้าน สู่ชีวิตประจ�ำวัน อาทิ สมุนไพร การนวด การออกก�ำลังกาย เศรษฐกิจและสังคม มีคุณค่าเป็นพลังในการพัฒนาสังคม โดยใช้ไม้พลอง ก่อเกิดแนวคิดการฟื้นฟู สืบค้น ถอดความรู้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการน�ำความรู้และ เพื่อสืบทอดและรักษา ‘คุณค่า’ ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ประสบการณ์ของผู้สูงอายุที่เป็นคลังสมองของชาติ และการแพทย์แผนไทยมากขึ้น สะท้อนการเปลี่ยนแปลง ปราชญ์ชาวบ้าน/ผู้มีความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ วิธีคิดของสังคมไทยปัจจุบัน ยอมรับวัฒนธรรมท้องถิ่น ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและประเทศ นับแต่ ที่เน้นสุขภาพแบบองค์รวม (Taoprasert, 2003) ดังแผน แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 2555-2559 พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 หนึ่งใน ซึ่งล้อรับกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545- ยุทธศาสตร์การพัฒนา เน้นความส�ำคัญของการใช้ 2564) ที่ให้ความส�ำคัญต่อคุณค่าและศักยภาพผู้สูงอายุ ประโยชน์ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการบูรณา มีการก�ำหนดยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา หนึ่งในหกมาตรการหลัก คือ มาตรการส่งเสริมความรู้ พยาบาล ฟื้นฟูสภาพ เพื่อใช้ประโยชน์อย่างรู้เท่าทัน ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ดูแลตนเองเบื้องต้น ทั้งภูมิปัญญาสากลและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในประเด็นนี้ (Jitapunkul & Wivatwanit, 2009) นอกจากนี้รัฐบาล การวิจัยจึงมีความจ�ำเป็นต่อการขยายองค์ความรู้การ ได้ก�ำหนดนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพส�ำหรับ สร้างเสริมสุขภาพที่ประยุกต์การดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 187 ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง

หรือทางเลือกอื่นที่สอดคล้องกับวิถีการด�ำเนินชีวิต ท้องถิ่นทางสุขภาพและการแพทย์พื้นบ้าน โดยเฉพาะ ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่า การแพทย์แผนปัจจุบัน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ‘ล้านนา’ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ไม่สามารถแก้ปัญหาสุขภาพได้ทั้งหมด ทีมสุขภาพเริ่ม ในผู้สูงอายุ ยังขาดการรวบรวมและวิเคราะห์อย่างเป็น ยอมรับการดูแลสุขภาพที่มีพื้นฐานต่างจากแนวชีวการ ระบบ เพื่อให้เห็นคุณค่าในเชิงสร้างเสริมสุขภาพของ แพทย์ (biomedical model) แนวคิดที่พัฒนาจาก ภูมิปัญญา การศึกษาอย่างลุ่มลึก เป็นระบบ เพื่อตรวจ ความรู้ดั้งเดิมหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเดิมมิได้ยอมรับ สอบ ยืนยันความถูกต้องขององค์ความรู้จึงมีความส�ำคัญ อย่างเป็นทางการ แต่เริ่มมีหลักฐานทางวิชาการที่ชี้ให้เห็น เพื่อได้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่สะท้อนคุณค่าของ บทบาทภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อการเสริมสร้างสุขภาวะของ ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อสุขภาวะน�ำสิ่งที่ยังเหมาะสมกับ กลุ่มผู้สูงอายุ มีงานวิจัยที่สะท้อนบ่งบอกนัยส�ำคัญของ ยุคสมัยมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สู่การฟื้นฟู ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับภูมิปัญญา จากการ บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น‘ล้านนา’ กับภูมิปัญญา สั่งสมประสบการณ์ชีวิตของผู้สูงอายุที่เกิดการเรียนรู้ สากลได้การดูแลสุขภาพร่วมสมัย เหมาะสมกับบริบท หล่อหลอมเป็นองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการศึกษา ทางสังคมและวัฒนธรรมของล้านนาในการส่งเสริมสุข ที่ชี้แนะว่ากลุ่มคนที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นจะเข้าสู่ภาวะ ภาวะของผู้สูงอายุ ซึ่งครอบคลุมการปกป้องและดูแล สูงวัยได้ดีกว่าคนที่ไม่ได้ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Jeste, สุขภาพของผู้สูงอายุ Ardelt, Blazer, Kraemer, Vaillant, & Meek, 2010) หรือมีหลักฐานที่ระบุการร�ำมวยจีน (Tai Chi Chuan) วัตถุประสงค์การวิจัย เป็นระยะเวลา 1 ปี มีประโยชน์ต่อการท�ำหน้าที่ของ 1. เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ‘ล้านนา’ ในการ ระบบหลอดเลือดและระบบหายใจ ความแข็งแกร่ง ส่งเสริม/ปกป้องสุขภาพของผู้สูงอายุ การทรงตัว การยืดหยุ่น (Li et al., 2001) องค์ความรู้ 2. เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ‘ล้านนา’ ในการ ดังกล่าวมีความส�ำคัญต่อทีมสุขภาพที่จักต้องมีการบูรณา ดูแลเมื่อเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ การภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนร่วมกับความรู้ด้านวิชาชีพ ในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ให้เกิดความเหมาะสม ค�ำถามการวิจัย เป็นที่ยอมรับในเชิงวัฒนธรรมตามบริบทสังคมที่มีความ 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ‘ล้านนา’ ที่เกี่ยวข้องกับการ เป็นอิสระต่อทางเลือกด้านสุขภาพ ส่งเสริม/ปกป้องสุขภาพของผู้สูงอายุเป็นอย่างไร ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ ความสามารถ 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ‘ล้านนา’ ที่เกี่ยวข้องกับการ ประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมา บ่งบอกความ ดูแลเมื่อเจ็บป่วยของผู้สูงอายุเป็นอย่างไร สามารถและศักยภาพการแก้ปัญหา การปรับตัว เรียนรู้ และสืบทอดสู่คนรุ่นใหม่ นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรม กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ของชาติเผ่าพันธุ์หรือวิถีของชาวบ้าน ตามมาตรา 75 การวิจัยครั้งนี้ประยุกต์แนวคิดการดูแลทาง แห่งกฎหมายสุขภาพแห่งชาติ (พ.ศ. 2542) ก�ำหนดไว้ วัฒนธรรมที่หลากหลายและที่เป็นสากล (Cultural Care ชัดเจนว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นควรได้รับการส่งเสริมและ Diversity and Universal) ของ Leininger (1991) ใช้ให้เป็นประโยชน์ในวิถีชีวิตชาวบ้าน ขนบธรรมเนียม นั่นคือ การดูแลทางวัฒนธรรม มีอิทธิพลต่อการดูแล ประเพณี วัฒนธรรมและท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นจึง สุขภาพแบบองค์รวม รวมทั้งระยะเจ็บป่วยของบุคคล อยู่บนรากฐานแนวความคิดการพึ่งตนเองในด้านสุขภาพ ครอบครัว กลุ่มคนและสังคม การดูแลทางวัฒนธรรมจะ แต่ความเข้าใจภูมิปัญญาท้องถิ่นยังคลุมเครือ ทีมสุขภาพ สอดคล้องกับวิถีชีวิตของบุคคล กลุ่มคน ประกอบด้วย จึงจ�ำเป็นต้องเริ่มต้นทบทวนท�ำความเข้าใจภูมิปัญญา การดูแลแบบดั้งเดิมหรือพื้นบ้าน (folk care) ที่ประชาชน

188 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study

หรือผู้สูงอายุเรียนรู้การดูแลสุขภาพตนเองทั้งในภาวะ สุขภาวะ ข้อควรปฏิบัติ การป้องกันความเจ็บป่วย การ ปกติและเจ็บป่วย การดูแลดังกล่าวสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ดูแลเมื่อมีภาวะเจ็บป่วยส�ำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ รวมทั้งการปฏิบัติดูแลการพยาบาล (nursing care การเก็บรวบรวมข้อมูล practice) และการดูแลบ�ำบัดแบบสมัยใหม่ (profes- การศึกษาครั้งนี้ ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูล โดยการ sional-cure care) ซึ่งเป็นการพยาบาลและการแพทย์ สนทนากลุ่ม (focus group discussions) และการ สมัยใหม่ของศาสตร์ทางตะวันตกที่ผู้สูงอายุอาจใช้การ สัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth interviews) ท�ำการ ดูแลดังกล่าวเมื่อเกิดภาวะเจ็บป่วย สนทนากลุ่มผู้สูงอายุจ�ำนวน 5 กลุ่ม (กลุ่มละ 10 ราย) เป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่จ�ำนวน 3 กลุ่ม วิธีด�ำเนินการวิจัย จังหวัดล�ำพูนจ�ำนวน 2 กลุ่ม และกลุ่มหมอพื้นบ้าน การศึกษาเชิงพรรณนาประยุกต์วิธีการรวบรวม ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 1 กลุ่ม (6 คน) ส่วนการ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ประชากรที่ศึกษาประกอบด้วยบุคคล สัมภาษณ์เจาะลึก ทีมผู้วิจัยด�ำเนินการสัมภาษณ์เจาะลึก 3 กลุ่ม คือ 1) ปราชญ์ชาวบ้าน 2) หมอพื้นบ้าน/ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือปราชญ์ชาวบ้าน จ�ำนวน 3 ราย หมอเมือง หรือผู้บ�ำบัดเยียวยาที่ให้บริการทางระบบ หมอพื้นบ้านล้านนา จ�ำนวน 3 ราย และผู้สูงอายุจ�ำนวน การแพทย์พื้นบ้าน และ 3) ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป 6 ราย รวมจ�ำนวนผู้ให้ข้อมูล 68 ราย ซึ่งการสัมภาษณ์ ทั้งเพศชายและหญิง ทั้งสามกลุ่มเป็นบุคคลที่อาศัยอยู่ เจาะลึกจะด�ำเนินการกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจ�ำนวน 1-2 ครั้ง ในเขตอ�ำเภอแม่ออน อ�ำเภอแม่แจ่ม อ�ำเภอสารภีและ ตามความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูลในการตอบ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่และอ�ำเภอเมือง วัตถุประสงค์การวิจัย ล�ำพูน อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง การคัดเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ใช้วิธีการคัดเลือกใน การรวบรวมข้อมูลด�ำเนินการภายหลังการรับรอง ลักษณะการบอกต่อแบบลูกโซ่หรือ สโนบอลล์ (snow จากคณะกรรมการด้านจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาล ball technique) ส่วนขนาดของผู้ให้ข้อมูล ใช้หลักการ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามเอกสารรับรอง ความซำ�้ ซ้อนของข้อมูล หรือความสามารถในการอธิบาย โครงการวิจัยเลขที่ 155/2554 รวบรวมข้อมูลตามหลัก แต่ละสาระประเด็นหลักตามวัตถุประสงค์การวิจัย การ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง ชี้แจงวัตถุประสงค์และ ศึกษาครั้งนี้ ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ปราชญ์ชาวบ้าน วิธีการด�ำเนินการวิจัย พร้อมการลงนามยินยอมเข้าร่วม จ�ำนวน 3 ราย หมอพื้นบ้าน/หมอเมืองจ�ำนวน 9 ราย วิจัย รวมทั้งสิทธิการตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมวิจัย ผู้สูงอายุ จ�ำนวน 56 ราย รวมจ�ำนวนผู้ให้ข้อมูล ทั้งสิ้น ได้ตลอดเวลา โดยไม่เกิดผลกระทบใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง 68 ราย ผลการวิจัยจะน�ำเสนอในภาพรวม เพื่อประโยชน์ทาง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย วิชาการเท่านั้น เครื่องมือในการวิจัย เป็นประเด็นแนวค�ำถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ปลายเปิดที่ใช้ในการสนทนากลุ่ม (focus group ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis) discussion) และการสัมภาษณ์เจาะลึก แนวค�ำถาม ก�ำหนดประเด็นหลัก ลงรหัส จัดหมวดหมู่ การเชื่อมโยง ดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบความเหมาะสม ความ ความสัมพันธ์ของข้อมูลและหมวดหมู่ต่าง ๆ ที่วิเคราะห์ ครอบคลุมประเด็นสาระส�ำคัญจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ ทั้งผลการวิเคราะห์ข้อมูล ได้น�ำเสนอให้ปราชญ์ชาวบ้าน ที่มีความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงคุณภาพ และการ หมอพื้นบ้าน/หมอเมืองและกลุ่มผู้สูงอายุเป็นผู้ทบทวน พยาบาลผู้สูงอายุ ค�ำถามแต่ละข้อจะเป็นการเปิด ตรวจสอบความถูกต้องของข้อค้นพบอีกครั้ง (member ประเด็นเพื่อค้นหาค�ำตอบที่เกี่ยวข้องกับ การสร้างเสริม checking) ซึ่งข้อค้นพบเป็นที่ยอมรับจากกลุ่มว่าถูกต้อง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 189 ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง

ตรงกับข้อเท็จจริง ทั้งสามารถปรับตัวได้ตามยุคสมัยที่มีการปรับเปลี่ยน “...ตอนเย็นบางทีอายุ 80 กว่าแล้วยังมานั่งถอน ผลการวิจัย หญ้าอยู่ที่หน้าบ้าน ฟันนั่นฟันนี่อยู่แถวรั้วบ้าน อันนั้นคือ ผู้สูงอายุ : เกณฑ์การเป็นผู้สูงอายุและสุขภาวะ สุขภาพดี และเราก็ดูลักษณะการเดิน ทรงตัวดีมาก ดูละ ผู้สูงอายุที่ชาวล้านนานิยมเรียก ‘คนเฒ่า’ หมายถึง ผู้สูงอายุคนนี้แข็งแรงสมบูรณ์ หูตาดี พูดฟังชัด เขาก็ฟัง ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 70-80 ปี การเป็น ‘คนเฒ่า’ ชาวล้านนา ของเราได้ชัด พูดก็ชัดเจน” เริ่มเมื่ออายุ 70 ปี เกี่ยวเนื่องจากพละก�ำลังที่ลดลงตาม “ดูตั้งแต่ใบหน้า จะเป็นคนยิ้มแย้ม แจ่มใส ยิ้ม วัย ดังค�ำระบุของปราชญ์ชาวบ้าน “..70 บะโหกราดเต็ม เสมอ ไม่แสดงอาการโกรธ พูดจาทักทายดี มนุษย์สัมพันธ์ ตัว...นั่งนานนอนนานก็ไม่ได้ เดินนานก็ไม่ได้” ส่วนผู้สูง ดี เห็นใครก็ทัก เห็นใครก็ถาม เพราะว่าอารมณ์จิตใจท่าน อายุที่มีสุขภาวะ/สุขภาพดีตามคติชาวล้านนา หมายถึง ดีถึงถาม ถ้าคนอารมณ์ไม่ดี จิตใจไม่ด ี มีอารมณ์ขุ่นมัวไม่ ผู้สูงอายุที่มีอายุยืนและสุขภาพแข็งแรง เป็น “บุคคลที่ ค่อยถามใคร” มีเลือดลมดี” ทั้งนี้เพราะคติความเชื่อชาวล้านนา ร่างกาย ประกอบด้วย 4 ธาตุที่ส�ำคัญ คือ ดิน นำ�้ ลม ไฟ “ร่างกาย ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการส่งเสริม คนเรามันต้องมีธาตุดินน�้ำลมไฟในร่างกายเรา” ธาตุที่มี สุขภาพและปกป้องสุขภาพ คือ เบญจ อ. สู่อายุยืน ความส�ำคัญยิ่งในผู้สูงอายุ คือ ธาตุลม เป็นตัวบ่งบอก อาหาร “กินตามธรรมชาติ ปลอดสารพิษ” ความมีอายุยืน “...เรียกว่าเลือดลมดี เฒ่าก็ไม่เฒ่า วิถีชีวิตของผู้สูงอายุล้านนาจะรับประทานอาหาร แล้วยังแข็งแรง ค�ำว่าแข็งแรงย้อนไปถึง เลือดลมดี… ครบ 3 มื้อ หลักการรับประทานอาหารของผู้สูงอายุ คือ คนโบราณเขาถือว่า สุขสภาพจะดี หรือไม่ดี อายุจะสั้น “ข้าวเป็นหลัก ผักเป็นยา กล้วยเป็นอาหารเสริม” เลือก จะยาวอยู่ที่เลือดกับลม” ส่วนธาตุดินและธาตุไฟเกี่ยวข้อง รับประทานพืชผักผลไม้ตามฤดูกาล ที่ขึ้นตามธรรมชาติ กับกระดูกและขบวนการเผาผลาญของร่างกาย กรณี ไม่มีการใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชเฉกเช่นปัจจุบัน เป็นผัก ผู้สูงอายุธาตุดินและธาตุไฟอยู่ในภาวะเสื่อมถอย จึงส่งผล ผลไม้ที่ปลอดสารพิษ (สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช) ทั้งไม่ใช้ ต่อการเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่คล่องแคล่ว มีอาการปวด สารปรุงรส (ผงชูรส) ในการประกอบอาหาร ซึ่งหมอพื้นบ้าน เข่าปวดขา แต่การที่ผู้สูงอายุยังสามารถด�ำรงชีวิตอย่าง ระบุว่า “วิถีชีวิตชาวบ้านสมัยก่อน เขาก็จะกินผักกินปลา เป็นปกติสุขนั้นเกิดจากภาวะสมดุลของธาตุลมและ กินผักที่เขาปลูกขึ้นมาเอง ที่เขายังไม่ได้ใส่สารพิษอะไร ธาตุนำ�้ (เลือด) “ดิน กับไฟ นี ้ มันเกี่ยวกับร่างกายส่วนใหญ่ เลย ปุ๋ยอะไรยังไม่รู้จักเลยน่ะของคนสมัยก่อน…กินผัก ที่เรียกว่าแข้ง ขา บางทีแข้ง ขาเดินไม่สะดวกแต่ว่าเขา ผักก็จะเป็นผักสวนครัว เป็นผักสวนครัวรั้วกินได้ อะไร ยังมีชีวิตยืนยาว ส่วนมากคนแก่ ๆ จะเสียขา หัวเข่าไม่ดี แบบนี้ แล้วก็กินผักตามฤดูกาล ผลไม้ก็ต้องกินตาม เดินโขยกเขยก ไปไกล ๆ ไม่ได้ แต่เขาก็ยังมีชีวิตอยู่ ฤดูกาล” เพราะเลือดลมเขาดี...” ส�ำหรับประเภทอาหารเนื้อสัตว์ที่ผู้สูงอายุนิยม ลักษณะของผู้สูงอายุที่มีเลือดลมดี หรือผู้สูงอายุ รับประทาน ได้แก่ ปลาที่มีเกล็ด เช่น ปลาช่อน ปลาหมอ ที่มีสุขภาพดีทั้งทางกายและจิตใจ ประกอบด้วย การคงไว้ ปลาสลิด ยกเว้นปลาทับทิมเพราะเป็นปลาที่เพาะเลี้ยง ซึ่งความสามารถในการท�ำหน้าที่ของร่างกายตามวิถีชีวิต ในกระชัง ไม่ได้กินอาหารที่เป็นพืชตามธรรมชาติ “ปลา ประจ�ำวัน ท่าทางการทรงตัวดี เคลื่อนไหวได้คล่อง การ ที่มีเกล็ดมันกินผัก ยกเว้นปลาทับทิม……มันเป็นพิษ มองเห็น การได้ยิน การสื่อสารเป็นปกติ มีความจ�ำด ี เพราะว่าปลาทับทิม เขาไม่ได้กินพืชเป็นอาหาร เขาเพาะ อารมณ์ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคล ออกมา” ผู้สูงอายุจะไม่รับประทานปลาที่ไม่มีเกล็ด รอบข้าง ไม่มีความกังวลในภาวะเจ็บป่วยหรือเศรษฐกิจ (ปลาหนัง) หรือกบเขียด ด้วยความเชื่อปลาดังกล่าวเป็น

190 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study

ปลาที่มีพิษ ท�ำให้เกิดลมและสารพิษสะสมในร่างกาย อารมณ์ “มุ่งสู่ศีลธรรม จิตใจเบิกบาน” เกาะตามเอ็นร่างกายเกิดเป็นพังผืดกระทบต่อธาตุลม นอกเหนือจากการปฏิบัติเรื่องอาหารและการออก ในร่างกาย ส่งผลต่อสุขภาพท�ำให้เกิดอาการหูอื้อ วิงเวียน ก�ำลังเพื่อสุขภาพที่ดี ผู้สูงอายุชาวล้านนายังให้ความส�ำคัญ มึนศีรษะ หรืออาการปวดเมื่อยร่างกาย ดังค�ำระบุของ กับการรักษาอารมณ์ ด้วยการเข้าวัดฟังเทศน์ฟังธรรม ปราชญ์ชาวบ้าน “...ปลาที่เป็นหนังมักจะแสลงโรค นั่งสมาธิหรือนอนวัดทุกวันศีล (วันพระ) การกระท�ำดังกล่าว กินไม่ได้ กินแล้วมันปวด ๆ ตามเนื้อตามตัวบ้าง อย่างกบ เป็นการใช้หลักธรรมะกล่อมเกลาจิตใจ ให้เป็นผู้สูงอายุ บางคนกินไม่ได้กินแล้วปวด แล้วแต่ละคน ไม่ถูกธาตุ ที่มีคุณภาพ สามารถควบคุมอารมณ์ตนเอง เป็นที่รักของ ไม่ถูกลม...เฉพาะปลาหนัง ปลาเกล็ดไม่เป็นไร....ปลา ลูกหลาน ดังค�ำกล่าวของผู้สูงอายุ “...เมื่อมุ่งจิตตรงมาสู่ หนังนี้มันมีพิษ” วัด มาสัมผัสกับพระธรรม ๆ ก็กล่อมเกลาจิตใจ ให้เป็น ส่วนอาหารประเภทเนื้อสัตว์ที่ต้องงดเว้น ได้แก่ คนเฒ่าที่มีคุณภาพ รักษาอารมณ์ ตุ๊เจ้าก็จะสอน คนเฒ่า เนื้อสัตว์ใหญ่ ประเภทเนื้อวัว เนื้อควาย ผู้สูงอายุมีความ ปากหวานลูกหลานก็รัก คนเฒ่าปากนักลูกหลานก็ชัง เชื่อว่าสัตว์ใหญ่ เช่น วัว ควาย เป็นสัตว์ที่มีบุญคุณ คนเฒ่าไปอยู่วัดก็รักษาอารมณ์เขา จะพูดอะไรก็พูดหวาน สร้างประโยชน์ต่อมนุษย์ในชีวิตประจ�ำวัน เนื่องจากใน ขานม่วน...” สมัยโบราณจะใช้วัว ควายในการไถนาเพื่อปลูกข้าว “ทั้งผู้หญิงผู้ชายส่วนหนึ่งคือการไปนอนวัด ไปนั่ง ซึ่งปราชญ์ชาวบ้านให้ข้อคิดว่า “...คนโบราณจริง ๆ สมาธิ ฟังเทศน์ สงบจิตในวัด หลังจากน ี้ ทุกคนทั้งผู้หญิง จะไม่กินสัตว์ตัวใหญ่ เช่น สัตว์ที่มีคุณกับชีวิตประจ�ำวัน ผู้ชาย ก็คุยกัน ... เรื่องราวต่าง ๆ ทั้งทางโลก ทางธรรม วัว ควาย แต่กินสัตว์ตัวน้อย ๆ เช่น ปู ปลา หมู แต่สัตว์ อดีตมีความเป็นมาอย่างใด คุยกันมันก็เลยม่วน (สนุก) ตัวใหญ่ ๆ จะไม่ค่อยกิน นั้นก็คือรู้จักประมาณกิน ท�ำให้ ทุกคนก็จะคอยหา พอครบ 7 วันรีบไปวัดเลย ไปคุยต่อ ร่างกายของเราสามารถปรับตัวเข้ากับภูมิอากาศได้” ไปสุมต่อ ไปม่วนต่อ....” ออกก�ำลัง กิจกรรมตามวิถี อากาศดีบริสุทธิ์ ปลอดมลภาวะ การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ผู้สูงอายุชาวล้านนาจะ อากาศที่บริสุทธิ์ในสภาพแวดล้อมเป็นอีกปัจจัย มีกิจกรรมการท�ำงานที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายตลอด หนึ่งที่ก่อให้เกิดสุขภาวะในผู้สูงอายุ ในอดีตผู้สูงอายุชาว เวลา เช่น การเดิน การหาบหรือหิ้วของ การท�ำสวน ท�ำไร่ ล้านนาจะอาศัยอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ ซึ่งมีป่าไม้ต้นไม้ ลักษณะงานดังกล่าวเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้พลังงานของ จ�ำนวนมาก ปราศจากมลพิษทางอากาศ ทั้งประชากร ร่างกาย ผู้สูงอายุถือว่าเป็นกิจกรรมการออกก�ำลังกาย อาศัยอยู่ไม่หนาแน่น ไม่มีการใช้ยวดยานพาหนะที่ก่อให้ ประเภทหนึ่ง เพราะท�ำให้เกิดเหงื่อเช่นเดียวกับการ เกิดมลภาวะทางอากาศ เฉกเช่นปัจจุบัน ซึ่งส่งผลกระทบ ออกก�ำลังด้วยกีฬาต่าง ๆ เฉกเช่นปัจจุบัน การที่มีเหงื่อ ต่อสุขภาพ ดังค�ำระบุของผู้สูงอายุ “ถ้าเราไปอยู่ที่แออัด ออกเป็นการขับของเสียออกจากร่างกาย ท�ำให้ผู้สูงอายุ ไปอยู่ที่คับแคบ อากาศหายใจมันไม่โล่ง ผู้สูงอายุน่ะ รู้สึกสบายตัว ร่างกายแข็งแรง ดังค�ำระบุของผู้สูงอายุ มันจะท�ำให้อ่อนล้า” “...เอาแรงไปท�ำไร่ท�ำนา จะได้เหงื่อ ไม่สูญเปล่า มันจะ “สิ่งแวดล้อมเมื่อก่อนนี้ พูดถึงธรรมชาติ ต้นไม้ สบาย โล่งเนื้อ โล่งตัว...ก็เหมือนปัจจุบัน ถ้าเราไปวิ่ง ก็นัก ประชากรก็น้อย สมัยผมอายุ 17 ประชากร 10 เหงื่อออก เราจะรู้สึกเบาเนื้อเบาตัว สมัยก่อน อยากได้ กว่าล้าน เดี๋ยวนี้ 70 กว่าปี ประชากร 60 กว่าล้าน เหงื่อได้ไคลก็ไปขุดดิน ไปเข้าทุ่ง เข้านา เขาเอาแรงก�ำลัง มันขึ้นมาเท่าใด รถก็นัก สมัยก่อนรถก็ไม่เยอะ รถถีบ ไปท�ำไร่ ท�ำนา ไม่ต้องเอาไปท�ำอย่างอื่น เสียดายแรง ๆ ก็ไม่มี อยู่กันไปตามธรรมชาติของป่าไม้ ป่าไม้ก็นัก คือพลังของเรา เอาไปใช้กับทุ่งกับนามันได้ประโยชน์ อากาศก็ดีบริสุทธิ์” ร่างกายเราก็ด ี คือว่าร่างกายเราสมบูรณ์ มันแข็งแรงดี...” เอื้ออาทรห่วงใย ใส่ใจกัน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 191 ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง

ความเอื้ออาทร ห่วงใย เอาใจใส่ซึ่งกันและกันของ หมดโศก อย่างเทียน ๆ ก็เขียนคาถา ๆ ใส่ในไส้เทียน ผู้สูงอายุที่มีต่อทั้งเพื่อนผู้สูงอายุและลูกหลาน รวมทั้ง แล้วก็บูชา” การเลือกวันบูชาจะเลือกวันที่ผู้บูชาคิดว่า การช่วยเหลือเกื้อกูลของสมาชิกในชุมชนต่อผู้สูงอายุ เป็นวันมงคล การบูชาเทียนดวงชะตาจะก่อให้เกิดความ การติดต่อไปมาหาสู่กันระหว่างผู้สูงอายุและสมาชิกใน สุขกายสุขใจของผู้ขอบูชา เพิ่มความเชื่อมั่นว่าจะ ชุมชน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ท�ำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดี ปราศจากภัยอันตรายต่าง ๆ ไม่มีเรื่องเดือดร้อน ทั้งมี ด้านจิตใจ ดังข้อมูลของหมอพื้นบ้าน “ทั้งจิตใจทั้ง โชคลาภ “เทียนสืบชะตาลดเคราะห์ ใส่วัด เดือน ปีเกิดไป ร่างกาย เอื้ออาทรให้เขาหมด สมมติบ้านเขาสกปกรก จะมีเทียนโชคลาภ” เลอะเทอะ แม่หมอก็ไปตัดต้นกล้วยให้ ไปเพี้ยวให้ “บูชาเทียน… อย่างสืบชะตา ถ้ารู้สึกว่าท่านไม่ค่อย ไปกวาดให้” สบาย เป็นโน่น เป็นนี ่ ต้องการสืบชะตา แต่ว่าท�ำกันง่าย ๆ “1. ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2. คลุกคลีเป็นเพื่อน ก็เอาวันเดือนปีเกิดของท่านมา ท�ำไส้เทียนลงเป็นอักขระ การที่ได้คลุกคลีกันมันมีความสุขส�ำหรับคนแก่ เย็นมา เขามียันต์ของเขาท�ำเทียนฟั่นเทียนขึ้นมา แล้วก็เอาไป ลูกกลับมาท�ำอะไรให้ก็มีความสุข เราต้องเดิน ต้องออก จุดหน้าพระพุทธรูป หน้าพระประธานในวิหาร… อันนี้ก็ ไปสมาคม ไปสังคม การถามคนนั้น มันก็มีความสุข ถือว่าเทียนสืบชะตา เหมือนกับส่งเคราะห์ บูชาเคราะห์ อยู่บ้านก็มีความสุข แต่ถ้านั่งรอความตายไม่มีความสุข” มันมีเทียนเรียกว่าเทียนส่งเคราะห์ เทียนลดเคราะห์” พิธีกรรมที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ส�ำหรับการปกป้องสุขภาพในผู้สูงอายุชาวล้านนา การสืบชะตา พิธีกรรมที่ผู้สูงอายุชาวล้านนานิยม เช่นเดียวกับกับการสร้างเสริมสุขภาพ เน้นที่สุขภาพทาง เพื่อสุขภาวะ คือ พิธีกรรมสืบชะตา เพื่อความเป็นสิริมงคล กายและจิตใจ ให้ความส�ำคัญกับการรักษาอารมณ์ด้วย ต่อชีวิต เป็นการต่ออายุให้มีชีวิตยืนยาว ทั้งเป็นการขจัด การใช้หลักธรรม ทั้งผู้สูงอายุจะระมัดระวังเรื่องอาหาร สิ่งชั่วร้ายออกจากร่างกาย ให้มีจิตใจสบาย การท�ำพิธี ดังค�ำระบ ุ “มันก็จะมีการกินนี่แหละ คือกินไม่สเปะสปะ สืบชะตาในผู้สูงอายุกระท�ำได้ทั้งในภาวะปกติหรือเจ็บป่วย บ่กิ๋นไปเรื่อย” ส่วนพิธีกรรมที่ช่วยปกป้องความเจ็บป่วย ซึ่งหมอพื้นบ้านให้ข้อมูลว่า “กรณีหลังจากเจ็บไข้ได้ป่วย ก็เช่นเดียวกัน ประกอบด้วยการสืบชะตา การส่งเคราะห์ อย่างหนัก แล้วก็รอดมาได้ อันนั้นอันหนึ่ง อีกอันหนึ่งก็ “การไปวัดก็ป้องกันไม่ให้เราเจ็บป่วย การสืบชะตาก็ คือผู้เฒ่าผู้แก่สืบชะตา” พิธีกรรมนี้อาจท�ำที่บ้านผู้สูงอายุ ป้องกัน การส่งสะเดาะเคราะห์อะไรเนี่ยมันก็ป้องกัน” หรือกรณีที่มีผู้สูงอายุหลายคนจะท�ำที่วัด “อาจจะท�ำ ภูมิปัญญาล้านนาที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเมื่อเจ็บ พร้อม ๆ กันกับสู่ขวัญเลย บางคนดาครัวมาสืบชะตา ป่วยของผู้สูงอายุ สืบชะตาเพื่อต่ออายุให้ยืนยาว ให้อยู่ดีมีสุข…มันเป็น กรณีเจ็บป่วย ผู้สูงอายุชาวล้านนาจะมีการปฏิบัติ เรื่องของส่งเสริมจิตใจให้สบาย” ตัวเพื่อบ�ำบัดการเจ็บป่วย เริ่มจากสังเกตอาการเจ็บป่วย การบูชาเทียน ตามความเชื่อของชาวล้านนา การ มีการดูแลตนเอง เช่น การกินสมุนไพร “คนสมัยก่อน บูชาเทียนจะท�ำให้ได้รับสิ่งดีงามที่เป็นสิริมงคลต่อชีวิต อย่างถ้าป่วยเป็นไข้ ... ก็ฟ้าทลายโจรบ้าง ใบเล็บครุฑ เป็นการบูชาเพื่อให้ตนเองและครอบครัวอยู่ดีมีสุข การ บ้างที่จะเอามากิน มันจะมียาสมัยโบราณที่มันจะมีกิ่งไม้ บูชาเทียนจะมีการประดิษฐ์เทียน มีค�ำเขียนประกอบเป็น กิ่งอะไร มาฝน แล้วแช่น�้ำข้าวจ้าวกิน” การพักผ่อน ไส้เทียน คือ ‘ยันต์’ เป็นลายลักษณ์อักษรหรือการเขียน งดการท�ำงานหนักเป็นการพักเอาแรง การไม่อาบนำ�้ เย็น อักขระ หรือค�ำที่เป็นคาถา เป็นเครื่องรางของขลังว่ามี ดื่มน�้ำอุ่นใส่สมุนไพรปูเลย หรืออบสมุนไพร (โฮมยา) ประสิทธิคุณให้สัมฤทธิ์ผลต่อผู้เชื่อถือ เทียนบูชาจะน�ำมา เพื่อช่วยขับลม ขับเหงื่อ ท�ำให้ร่างกายสุขสบาย “เวลากิน จุดเพื่อเสริมมงคลแห่งชีวิต หมอพื้นบ้านให้ข้อคิดเห็นว่า น�้ำต้องกินน�้ำต้มนะ ต้มอุ่น ๆ ต้องเอาปูเลยมาใส่ด้วย... “…บูชาเทียน ก็เป็นอีกอย่างหนึ่งให้มีโชคมีลาภ หมดทุก ให้มันมีกลิ่นหอม ...ขับลม ขับเหงื่อในร่างกายของเราออก

192 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study

คนสมัยก่อนเปิ้นว่า อ๋อ..ลมในตัวมันเยอะ ต้องเอาปูเลย จากหมอพิธีกรรมเพื่อท�ำพิธีสืบชะตา ส่งเคราะห์ ส่งแถน มาต้มให้มันกินบ้าง...ก็ให้มันโล่งตัว ตัวเบา เบาเนื้อเบาตัว ส่งชน (แถนตามความเชื่อของชาวล้านนา หมายถึง พ่อ ถ้าไม่ดีก็ต้องอบเลย คนสมัยก่อนเปิ้นเรียกว่า โฮมยา” เกิดแม่เกิด ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วย กรณีนี้จะ ถ้าอาการเจ็บป่วยไม่ดีขึ้น ผู้สูงอายุจะแสวงหาการ ต้องท�ำพิธีส่งเครื่องบูชา เครื่องเส้นสังเวย เพื่อเป็นการ รักษาจากแพทย์พื้นบ้าน ประกอบด้วย หมอพื้นบ้าน 5 ต่ออายุ) ด้วยเป้าหมายเอาเคราะห์ร้ายที่เกี่ยวเนื่องกับ กลุ่มได้แก่ หมอยาสมุนไพร หมอนวด หมอผี หมออาคม ความเจ็บป่วยออกจากตัว เป็นการต่ออายุไปในตัว ดัง และหมอพิธีกรรม “ถ้าไม่สบายนะ กินสมุนไพรละ อาบน�ำ้ ข้อมูลที่ได้จากผู้สูงอายุ แล้ว อบยาแล้ว แล้วไข้ยังไม่ลด ทีนี้ต้องไปหาหมอผีละ “สมมติไปท�ำหลายอย่างแล้วพ่อก็ไม่หาย อันนี้มัน หมอโฮงยานี่เปิ้นยังไม่ไปนะ ไปหาหมอผีก่อน ไปหาหมอ ต้องเกี่ยวกับพิธีกรรมสืบชะตาใช่ไหม พิธีกรรมส่งเคราะห์ คืบไม้...” โดยทั่วไปเริ่มจาก หมอยาสมุนไพรหรือหมอ พิธีกรรมส่งแถนส่งชน ถึงเวลาพ่อเกิดแม่เกิดต้องการตัว นวดหรือหมออาคม ทั้งนี้ขึ้นกับอาการเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ แล้ว ต้องการตัวจะเอาไปอยู่ด้วย ถึงเวลาแล้ว เราก็ไป ที่อาจรักษาโดยใช้ยาสมุนไพร การนวด หรือการบ�ำบัด หาหมอพิธีกรรม หมอพิธีกรรมก็จะดู อันนี้ต้องส่งแถน โดยหมออาคม เช่น การเป่า การเช็ดแหก “... มันเป็น ต้องบูชาแถน” อะไร เดี๋ยวก็ปวดขา เดี๋ยวก็ขึ้นไปเอว เดี๋ยวก็ขึ้นไปคอ “แถนนี้คือพ่อเกิดแม่เกิดเดิม ตั้งแต่ชาติก่อน อันนั้น เคล็ดคอ ก็จะไปหาหมออาคม ๆ ก็จะดูอันนี้มันเกี่ยวกับ พ่อแม่เก่านี้ต้องการจะเอาคืนไปแล้ว เราต้องส่งท�ำเครื่อง เส้น เกี่ยวกับเอ็น เกี่ยวกับลมพิษลมเข้าไปตรงนี้ ก็จะแหก บูชา เพื่อที่จะได้เปลี่ยนขอต่อสักหน่อยอันนี้บูชาไป จะเป่า” ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ผู้สูงอายุจะแสวงหาความ แต่ขอพ่ออายุของพ่อนี้ไว้นาน ๆ หน่อย แถนก็ได้เครื่องบูชา ช่วยเหลือในการบ�ำบัดเยียวยาจากหมอผี เพื่อค้นหา เครื่องเส้นสังเวย...” สาเหตุของความเจ็บป่วย ส่วนใหญ่เชื่อว่าความเจ็บป่วย พิธีกรรมเมื่อผู้สูงอายุเจ็บป่วย เกิดจากการกระท�ำของผี จะด�ำเนินการแก้ไข โดยการ พิธีกรรมที่นิยมกระในภาวะเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ ขอขมาและเลี้ยงผีที่เป็นเหตุของความเจ็บป่วยตามข้อ เพื่อเป็นการผ่อนการเจ็บป่วยที่หนักให้เป็นเบาได้แก่ แนะน�ำหมอผี หลังจากนั้นอาการเจ็บป่วยจะบรรเทาลง พิธีสืบชะตา การส่งเคราะห์ บูชาเทียนลดเคราะห์ ในช่วงระยะเวลา 3-7 วัน การเลี้ยงผีจะกระท�ำเมื่ออาการ พิธีสืบชะตา ท�ำเพื่อเสริมสร้างก�ำลังใจ ความสุขใจ เจ็บป่วยบรรเทาหรือเป็นปกติ ดังค�ำระบุของผู้สูงอายุ ให้กับผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย บรรเทาความไม่สุขสบายจาก “….ไม่รู้ว่าเป็นอะไรก็ไปหาหมอผี หมอผีก็จะ ความเจ็บป่วย และเป็นการต่ออายุให้ยืนยาว ส่วนใหญ่ ทรงเจ้า ลูกหลานก็จะถามพ่อเป็นอะไร มันไปถูกผีตรงนั้น กระท�ำเมื่อผู้สูงอายุเจ็บป่วยเป็นระยะเวลานาน หรือ วันนั้นพ่อเฒ่าไปทางนั้นไปถุยน�้ำลายใส่หัวเขาอะไรพวกนี้ มีความเจ็บป่วยบ่อยครั้งส่งผลต่อสุขภาพจิตใจ การสืบ ผีจะบอก ไปวันนั้นก็เดินทางไปทางนี้ไปปัสสาวะรดหัว ชะตาอาจท�ำที่บ้านหรือที่วัดโดยพระสงฆ์หรือหมอ เขาต้องไปเลี้ยงเขา เลี้ยงผี ลูกเต้าไปหาไก่หาอะไรไปเลี้ยงผี” พิธีกรรมที่มีความรู้ ซึ่งหมอพื้นบ้านให้ข้อมูลว่า “สืบชะตา “ใช่เกิดจากผี เพราะสมัยก่อนเราเข้าป่า ผีป่าผีดง …เป็นพิธีกรรม และประเพณีด้วย…ต้องมีพิธีกรรม พ่อเฒ่า มันเยอะ ถ้าเปิ้นบอกว่า อี่แม่เปิ้นโดนผีเน้อ ก็ขอสุมาลา คนนี้ ไม่เห็นพ่อเฒ่าคนนี้หลายวัน ท่านไม่ค่อยจะสบาย โทษเน้อนะ ที่ท�ำไปโดยที่ไม่รู้ ก็จะกินไก่ กินขันข้าวสาม เดี๋ยวเป็นไข้เดี๋ยวก็เป็นเหน็ดเหนื่อย ...ไม่ค่อยสดชื่น วันเจ็ดวันนะ ขอให้แม่ข้าเจ้าหายเน้อ ขอให้หายก่อนเน้อ คนเฒ่า ๆ แก่ ๆ ที่มาสมาคมกัน ก็มาช่วยกันแต่งดาเครื่อง ค่อยมาถวาย บนไว้ 3 วัน 7 วัน ไม่ถึง 3 วันหรอก” ชะตา แล้วก็บอกให้ท่านมาสืบชะตา สืบชะตาแล้วก็มา กรณีที่ความเจ็บป่วยยังไม่ทุเลาลง ผู้สูงอายุบางราย ผูกข้อมือให้ท่าน พระผูกข้อมือให้ก็บ�ำรุงก�ำลังใจท่าน หรือลูกหลานอาจแสวงหาการช่วยเหลือบ�ำบัดเยียวยา ท่านก็หายจากเหน็ดเหนื่อยรู้สึกสบายเพราะว่า การสืบ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 193 ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง

ชะตาจะมีอายุที่ยืนด้วย แล้วก็หวังถ้าสืบชะตาอายุข้า อากาศที่บริสุทธิ์ อารมณ์ หลีกเลี่ยงอบายมุข ป้องกัน ก็จะยืน ท�ำให้มีความสุข ใจก็ชื้นขึ้น มีพลังขึ้นมาอีก” อุบัติเหตุ อนามัย อโรคยา (Department of Health, พิธีส่งเคราะห์ บูชาเทียนลดเคราะห์ กระท�ำเพื่อ 2012) การดูแลสุขภาพตามหลักการ อ. จึงมิใช่สิ่งใหม่ ขจัดหรือปัดเป่าสิ่งไม่ดี/เคราะห์ร้าย เช่น ความเจ็บป่วย ส�ำหรับผู้สูงอายุ หาก ‘เบญจ อ.’ เป็นสิ่งที่ปฏิบัติเป็น ออกจากร่างกาย เชื่อว่าท�ำให้ความเจ็บป่วยหรือเคราะห์ เวลานานจนเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต การดูแลสุขภาพ เบาบางลง ส่งผลให้ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยมีก�ำลังใจ ดังค�ำ ผู้สูงอายุชาวล้านนาให้ความส�ำคัญทั้งสุขภาพร่างกาย ระบุของหมอพื้นบ้าน “ส่งเคราะห์เนี่ยต้องท�ำตอน และจิตใจ ทั้งนี้เพราะคติของชาวล้านนาเชื่อว่าคนประกอบ ไม่สบาย แต่สืบชะตาเนี่ย สบาย ไม่สบายต้องสืบหมด... ขึ้นจาก ‘รูป’ กับ ‘นาม’ คือ กาย (ธาตุ) และจิต (ขวัญ) ก็เราไม่สบายน่ะ เราส่งเคราะห์ให้พ่อเกิดแม่เกิด บางที อย่างสมดุลและสัมพันธ์กัน (Taoprasert, 2003) พ่อเกิดแม่เกิดอาจจะมาเห็นเราแล้วมาทักมาทายเรา กรณี อาหาร ‘กินตามธรรมชาติ ปลอดสารพิษ’ เรามีเคราะห์อะไรหรือเปล่า ผู้สูงอายุให้ความส�ำคัญกับอาหารตามธรรมชาติปลอด “การบูชาเทียนลดเคราะห์ ผู้ขอบูชาคิดว่าตนมี สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช เน้นการรับประทานผัก ผลไม้และปลา เคราะห์ จากความเจ็บป่วย หรือเสียเลือดเนื้อเป็นประจ�ำ คล้ายการศึกษาของ (Pesek, Reminick, & Nair, 2010) เมื่อบูชาเทียนลดเคราะห์จะส่งผลให้สภาพจิตใจของผู้ขอ ที่พบผู้สูงอายุที่อาศัยแถบภูเขาอเมริกากลาง หรือชาว บูชาดีขึ้น… สิ่งเลวร้ายจะเบาบางลง และหายไปในที่สุด” แอพพาลาเชียนและอเมริกันดั้งเดิม จะรับประทานอาหาร ประเภทผักผลไม้และสมุนไพรต่าง ๆ ที่ปลอดจากการใช้ การอภิปรายผล สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช หรือยาฆ่าแมลง หรือผู้สูงอายุแถบ จากข้อค้นพบ การเป็นผู้สูงอายุ ชาวล้านนาจะใช้ เมดิเตอร์เรเนียน เช่น ประเทศกรีซ สเปนและอิตาลี เกณฑ์ความสามารถในการท�ำหน้าที่ของร่างกายเป็นตัว ที่รับประทานอาหารจ�ำพวกผัก ผลไม้ มันฝรั่ง ถั่ว สัตว์ปีก ก�ำหนดมากกว่าใช้เกณฑ์อายุ ซึ่งประเทศไทยก�ำหนดว่า และปลา ซึ่งเป็นอาหารดั้งเดิมของชาวกรีกนับแต่ ปี ค.ศ. ผู้สูงอายุ คือ บุคคลที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปหรือในทางสากล 1960 เป็นต้นมา (Tyrovolas & Panagiotakos, 2010) ก�ำหนดที่อายุ 65 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่มีการเสื่อมถอยของการ ส่วนความเชื่ออาหารที่ควรงดเว้นส�ำหรับผู้สูงอายุ เช่น ท�ำหน้าที่ทางสรีรวิทยา (WHO, 2010) ขณะที่ผู้สูงอายุ ปลาหนังทุกชนิด เนื้อวัว เนื้อควาย หน่อไม้หรือหน่อไม้ดอง ชาวล้านนาใช้หลักความถดถอยของพละก�ำลังเช่น Ketprom (2008) ได้กล่าวถึงความเชื่อของชาวล้านนา เดียวกัน แต่เริ่มเกิดในช่วงอายุ 70 ปี เกี่ยวกับอาหารแสลง จ�ำพวกเนื้อสัตว์ ได้แก่ ปลาหนัง โดยทั่วไปการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเป็นไปตามวิถี ทุกชนิด เนื้อวัว เนื้อควาย จ�ำพวกผัก ได้แก่ หน่อไม้ การด�ำเนินชีวิต ที่ชาวล้านนามองว่าเป็นเรื่อง ‘ธรรมชาติ’ หน่อไม้ดอง รวมทั้งของหมักดองทุกชนิด อาหารดังกล่าว และเป็นไปตามความเชื่อของชาวล้านนาที่เชื่อในเรื่องผี ผู้สูงอายุไม่นิยมรับประทาน เพราะจะท�ำให้โรคลม การนับถือผี (Ketprom, 2008) เนื่องจากการดูแลสุข มีอาการก�ำเริบ เกิดอาการปวดเมื่อยตามกระดูก ข้อหรือ ภาวะผู้สูงอายุเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน มีไข้ตาฝ้าฟาง วิงเวียนศีรษะ เป็นต้น (Ketprom, 2008) พิธีกรรม ประเพณีต่าง ๆ จึงถูกบูรณาการเพื่อก่อให้เกิด การออกก�ำลังกายของผู้สูงอายุล้านนาใช้หลักการ สุขภาวะของผู้สูงอายุ ทั้งในด้านการสร้างเสริมหรือ ออกก�ำลังตามกิจวัตรประจ�ำวันที่มีการใช้แรง เช่น การ ปกป้องสุขภาพการสร้างเสริมสุขภาพ ข้อค้นพบ เบญจ อ. ท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวน ด้วยเชื่อว่าการท�ำงาน คือ การออก สู่อายุยืน เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สะท้อนอย่างเด่นชัดถึง ก�ำลัง ท�ำให้มีเหงื่อออก ขับของเสียออกจากร่างกาย ความสอดคล้องกับภูมิปัญญาสากลที่เน้นการดูแลผู้สูงอายุ เกิดความสบายทั้งร่างกายและจิตใจ เช่นเดียวกับการ ในส่วนของหลัก “อ” ดังเช่น อาหาร ออกก�ำลังกาย ศึกษาของ Pesek, Reminick, & Nair, (2010) ที่พบว่า

194 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study

ผู้สูงอายุจะมีกิจกรรมการออกก�ำลังในชีวิตประจ�ำวัน (ตามทิศทางลม) มีการใช้พลังจักรวาล หรือพลัง ทั้งการเดิน การท�ำงานบ้านที่ใช้แรงกาย แต่ทั้งนี้ความเชื่อ จากธรรมชาติในการเตรียมยาเพื่อการบ�ำบัดรักษา หรือ และวิธีการออกก�ำลังกายจะต่างกันตามบริบทวัฒนธรรม ชาวแอพพาลาเชียน มีการใช้สมุนไพรในการักษา แต่ละสังคม ดังเช่น ผู้สูงอายุชาวจีนนิยมการออกก�ำลัง ความเจ็บป่วยร่วมกับพิธีกรรมเพื่อสร้างขวัญและก�ำลังใจ กายแบบไท้จี๋ชี่กง ซึ่งเป็นวิถีชีวิตในการดูแลสุขภาพแบบ ดั้งเดิมของประเทศจีนนับแต่ศตวรรษที่ 17 โดยผสมผสาน ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ การบริหารกายและจิตเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดประโยชน์ ผลการศึกษาน�ำร่องครั้งนี้ เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้น ต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต (Jiménez-Martin, ที่ควรตระหนักในการน�ำไปใช้ด้านการปฏิบัติการ Meléndez-Ortega, Albers, & Schofield, 2013; พยาบาลและการศึกษาดังนี้ Miller & Taylor-Piliae, 2013) ส่วนการรักษาอารมณ์ ด้านการปฏิบัติการพยาบาล: พยาบาลควรผสม เพื่อสุขภาพจิตผู้ สูงอายุยึดมั่นในค�ำสอนพระพุทธศาสนา ผสาน ยอมรับ ท�ำความเข้าใจแนวคิดภูมิปัญญาท้องถิ่น ความเชื่อบุญบาป มีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับศาสนา ทั้งการ ‘ล้านนา’ เพื่อพัฒนาการวางแผนดูแลสุขภาพของ ท�ำบุญตักบาตร ฟังเทศน์หรือนอนวัดจ�ำศีลที่เป็น ผู้สูงอายุทั้งในด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน ประเพณีท�ำสืบต่อกันมาช้านาน ด้วยจุดประสงค์ขัดเกลา และการบ�ำบัดรักษา รวมทั้งพิธีกรรมที่ไม่ขัดแย้งกับ กิเลสจากจิตใจ (Ketprom, 2008) การแพทย์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการดูแลที่เหมาะสมกับ ส�ำหรับพิธีกรรม เป็นการท�ำตามหลักเกณฑ์ที่ บริบทสังคมวัฒนธรรม เป็นที่ยอมรับในกลุ่มผู้ใช้บริการ ก�ำหนดโดยสังคม โดยเฉพาะพิธีกรรมที่ก่อให้เกิดความ คือผู้สูงอายุ เป็นสิริมงคลต่อชีวิต เช่น การสืบชะตา หรือการบูชาเทียน ด้านการศึกษา: การจัดการเรียนการสอนทางการ สะท้อนความเชื่อของชาวล้านนาในด้านพิธีกรรมทาง พยาบาล ควรส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดแนวคิดตระหนัก ลัทธิพราหมณ์และพุทธศาสนา และความเชื่อเรื่องผีสาง ในความส�ำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ‘ล้านนา’ ในการ เกิดการเรียนรู้กุศโลบายการแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ สร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ รวมทั้งจัดให้นักศึกษา ล้านนาในการสร้างเสริมขวัญและก�ำลังใจอย่างเป็นรูปธรรม มีประสบการณ์จริงในชุมชน ที่ยังคงมีการใช้ภูมิปัญญา มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ (Taoprasert, ท้องถิ่น ‘ล้านนา’ ในการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อเรียนรู้จาก 2003) ส่วนการบ�ำบัดการรักษา สะท้อนความสามารถ สภาพการณ์จริง เป็นการอนุรักษ์ คุณค่าภูมิปัญญาท้องถิ่น ชาวล้านนา ในการจัดการรักษาดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้งการ รักษาโรคด้วยการใช้อาคมคาถาหรือการรักษาด้วยวิธี ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป การแบบ ‘หมอยา’ คือ การใช้สมุนไพร ซึ่งเป็นการบ�ำบัด ควรศึกษาเจาะลึกในทุกประเด็นของการดูแล เยียวยาที่สะท้อนภูมิปัญญาท้องถิ่นในทุกภาคทั้งภาคเหนือ สุขภาพผู้สูงอายุทั้งการสร้างเสริม การปกป้อง และการ ภาคอีสานและภาคใต้ของประเทศไทย (Chanprasit, บ�ำบัดเยียวยา เพื่อให้ได้ภาพรวมที่อธิบายได้ครอบคลุม Lertpoonwilaikul, Pothiban, Panuthai, & Sucumwang, ลึกซึ้งกว่าการศึกษาน�ำร่องในปัจจุบัน 2005); Ketprom, 2008; Thongsaew, Sethabouppha, & Chanprasit, 2011; Wongkwanklom, Sethabouppha, & Chanprasit, 2011) เช่นเดียวกัน Pesek, Reminick, & Nair (2010) ที่พบผู้สูงอายุชาวมายายังใช้ความรู้ ดั้งเดิมในการดูแลสุขภาพ ใช้สมุนไพรเพื่อสร้างความ สมดุลให้กับร่างกาย รวมทั้งพิธีการบูชาลมสี่ทิศ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 195 ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ล้านนา” ในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ: การศึกษาน�ำร่อง

เอกสารอ้างอิง Chanprasit, C., Lertpoonwilaikul, W., Pothiban, L., Panuthai, S., & Sucumwang, K. (2005). Health seeking behaviors among the elderly in muang district chiang mai. Nursing Journal, 32(2), 72-83. (in Thai) Department of Health, Ministry of Public Health. (2012). Home care for older persons in communities. Retrieved from https://spkhp.files.wordpress.com/2016/01/manual- elderlycare-volunteer.pdf (in Thai) Foundation of Thai Gerontology Research and Development institute. (2017). Situation of Thai ederly 2017. Retrieved from http://www.dop.go.th/download/knowledge/ th1552463947-147_0.pdf (in Thai) Jeste, D. V., Ardelt, M., Blazer, D., Kraemer, H. C., Vaillant, G., & Meek, T. W. (2010). Expert consensus on characteristics of wisdom: A delphi method study. The Gerontologist, 50(5), 668-680. Jiménez-Martin, P. J., Meléndez-Ortega, A., Albers, U., & Schofield, D. (2013). A review of Tai Chi Chuan and parameters related to balance. European Journal of Integrative Medicine, 5, 469-475. Jitapunkul, S., & Wivatvanit, S. (2009). National policies and programs for the aging population in Thailand. Ageing International, 33, 62-74. Ketprom, S. (2008). Urban lifestyle. Chiangmai: Saraphi Printing. (in Thai) Leininger, M. (1991). Cultural care diversity and universality: A theory of nursing. New York League for Nursing. Li, F., Harmer, P., McAuley, E., Duncan, T. E., Duncan, S. C., Chaumeton, N., & Fisher, K. J. (2001). An evaluation of the effects of Tai Chi exercise on physical function among older persons: A randomized controlled trial. Annals of Behavioral Medicine, 23(2), 139-146. Miller, S. M., & Taylor-Piliae, R. E. (2013). Effects of Tai Chi on cognitive function in community-dwelling older adults: A review. Geriatric Nursing, 35(1), 9-19. Ministry of Public Health. (2017). New paradigm to drive healthcare system. Retrieved from http://envocc.ddc.moph.go.th/uploads/Occupational%20Health/MOH%20SEM%20 1-4/2/2.5%20Env.-Occ%204.0.pdf Office of the National Economic and Social Development Council. (2007). Thailand population predictions 2000-2030. Retrieved from http://hpc5.anamai.moph.go.th Pesek, T., Reminick, R., & Nair, M. (2010). Secret of long life: Cross-cultural explorations in sustainably enhancing vitality and promoting longevity via elders’ practice wisdom. Explore, 6(6), 352-358. Ratchakitcha. (2007). National heath act 2007. Retrieved from http://www.thailaws.com/law/thaiacts/code1667.pdf

196 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lanna Local Wisdom in Promoting the Elderly Well-being: A Pilot Study

Ratchakitcha. (2011). National economic and social development plan no. 11 (2012-2016). Retrieved from http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/152/1.PDF (in Thai) Taoprasert, S. (2003). Way of health maintenance in the Lanna folk medicine system. Chulalongkorn University Book Center. Wanida Press. (in Thai) Thongsaew, N., Sethabouppha, H., & Chanprasit, C. (2011). “Lanna” local wisdom for health care among people with alcohol dependence. Nursing Journal, 38(3), 110-121. (in Thai) Tyrovolas, S., & Panagiotakos, D. B. (2010). The role of Mediterranean type of diet on the development of cancer and cardiovascular disease, in the elderly: A systematic review. Maturitas, 65, 122-130. Wongkwanklom, M., Sethabouppha, H., & Chanprasit, C. (2011). local wisdom for health care among persons with alcohol dependence. Nursing Journal, 38(3), 122-133. (in Thai) World Health Organization. (1986). Ottawa charter for health promotion. Retrieved from http://www.euro.who.int/__data/assets/pdf_file/0004/129532/Ottawa_ Charter.pdf World Health Organization. (2010). Definition of an older or elderly person. Retrieved from http://www.who.int/healthinfo/survey/ageingdefnolder /en/print.html

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 197 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

วิลาวัณย์ เตือนราษฎร์ * Wilawan Tuanrat * ศิวพร อึ้งวัฒนา * Sivaporn Aungwattana * สุกิจ เตือนราษฎร์ ** Sukit Tuanrat **

บทคัดย่อ การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ในชุมชน เป็นกระบวนการที่ส�ำคัญต่อสุขภาพประชาชน การถอดบทเรียนจะช่วยน�ำไปสู่การขยายในพื้นที่อื่นต่อไป การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เพื่อถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เฉพาะจงจง ได้แก่ ตัวแทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ผู้น�ำชุมชน ตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน และตัวแทนประชาชน รวม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แนวค�ำถาม การสนทนากลุ่ม และแนวค�ำถามการสัมภาษณ์รายบุคคลแบบไม่มีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูล โดยการจัดหมวดหมู่ ข้อมูล และสรุปประเด็น ผลการถอดบทเรียน พบว่า การจัดการกับปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของประชาชนในชุมชน ของอ�ำเภอแม่ทา ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมบนพื้นฐานแนวคิดหลัก 5ร. คือ ร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมแก้ไข ร่วมติดตาม และประเมินผล และสร้างนโยบายสาธารณะ เพื่อลดปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และ ท�ำบันทึกตกลงระหว่างองค์กร เรียกว่า ข้อตกลง 3ม.2ร. คือ ไม่ขาย ไม่ดื่ม และไม่จ�ำหน่าย (3ม.) ร่วมบังคับใช้กฎหมาย และร่วมตรวจสอบ (2ร.) ผลการถอดบทเรียน แสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนจะก่อให้เกิดพลังในการน�ำไปสู่ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพร่วมกันได้อย่างยั่งยืน

ค�ำส�ำคัญ: การถอดบทเรียน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

Abstract The advocacy healthy public policy based on participatory to management of alcoholic consumption in the community. It is a process that is important to public health. The lesson learn will lead to further expansion in other areas. The purposes of this descriptive research was to

* รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University ** นายแพทย์ (แขนงเวชศาสตร์ป้องกัน) โรงพยาบาลล�ำพูน ** Physician (Preventive Medicine), Lamphun Hospital

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 198 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community explore the Lessons Learned of the participatory public health policy management in alcoholic consumption problem, Mae-Tha district, Lamphun Province. The subjects were 30 included key person of local administration, health officer from primary care unit, community leaders, representing groups in the community, and public representative. The research instruments were the group discussion questions and unstructured individual interview questions. Data were analyzed using data classification and Theme. Results of the study revealed that the participatory public health policy management in alcoholic consumption problem, Mae-Tha district, Lamphun Province used a participatory process based on 5 main ideas. It is 5Co, co-decision, co-editing, monitoring and evaluation and create public policy to reduce the problem of alcoholic consumption and do the agreement document between organizations. It is 3Not 2Co, not sell, not drink and not sell, co law enforcement and co-investigate. The result of this to show the community involvement can contribute to building a shared public health agenda.

Key words: Lessons Learned, Public Health Policy, Alcoholic Consumption in the Community

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ระบบสุขภาพชุมชนนั้น มิได้เป็นไปเพียงแต่การพัฒนา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ศักยภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิในชุมชน อันได้แก่ ได้ระบุไว้ในมาตรา 66, 67, 80(1) และ 80(2) ที่ให้สิทธิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลและโรงพยาบาลชุมชน ชุมชนในการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานของรัฐในการ แต่เพียงเท่านั้น แต่ยังจะต้องครอบคลุมการเสริมสร้าง ด�ำเนินงานต่าง ๆ อีกทั้งรัฐต้องส่งเสริม สนับสนุนและ พลังการพัฒนาของประชาชนและองค์กรในชุมชนให้ พัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันน�ำ สามารถมีบทบาทและจัดการได้ด้วยตนเองมากขึ้นด้วย ไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน นอกจากนี้การให้ ทุกหน่วยงาน/องค์กร ทุกระบบในสังคมต้องมีส่วนร่วม ความหมายของค�ำว่า สุขภาพ ยังครอบคลุมสุขภาวะ สร้างให้เกิดสุขภาพดีร่วมกัน การด�ำเนินงานที่จะท�ำให้ (Well-being) ของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย ทางจิต ทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกระดับมีสุขภาวะได้นั้น สังคม ทางปัญญา และทางสังคม ที่เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม จะต้องให้ชุมชนมีส่วนร่วมในนนกกการด�ำเนินงาน มี อย่างสมดุล (National Health Commission, 2007) “นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพที่ดี” (Healthy Public การด�ำเนินการเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพ จึงหมายถึง Policy) ที่แสดงถึงความห่วงใยอย่างชัดเจนในเรื่อง การด�ำเนินงานเพื่อสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงและ สุขภาพ และพร้อมที่จะรับผิดชอบต่อผลกระทบทาง บูรณาการทั้งมวล ทั้งทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข สุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นต่อนโยบายนั้น ขณะเดียวกัน การจัดการศึกษา การพัฒนาสังคมเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ก็มุ่งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อม ทั้งทางสังคมและกายภาพ สิ่งแวดล้อม และการด�ำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี และมุ่งให้ประชาชนมีทางเลือก สุขภาพด้วย อีกทั้งการให้ความส�ำคัญในการพัฒนาระบบ ที่ก่อให้เกิดสุขภาพดีด้วย สุขภาพในระดับชุมชน จะเป็นปัจจัยความส�ำเร็จของ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็น การพัฒนาระบบสุขภาพในอนาคต (National Health กฎหมายที่เป็นเครื่องมือของคนไทยทุกฝ่ายในสังคม Commission, 2009) ทั้งนี้การสร้างความเข้มแข็งของ ได้ใช้ร่วมกัน และมุ่งสู่การพัฒนาให้เกิดการมี “สุขภาพ”

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 199 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

หรือ “สุขภาวะ (well-being)” ในทุกระดับและทุกมิติ สมดุล 3) การสร้างนโยบายสาธารณะขาดข้อมูลหลักฐาน ซึ่งในการพัฒนาส่วนหนึ่งได้เน้นกระบวนการพัฒนา ทางวิชาการที่มีน�้ำหนักเพียงพอ 4) ขาดกระบวนการ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมี ส่วนร่วม ประเมินผลกระทบและการก�ำหนดทางเลือกที่หลากหลาย (Participatory Healthy Public Policy Process : และ 5) ขาดระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล PHPPP) ซึ่งเป็นกระบวนการที่สร้างการมีส่วนร่วม กระทบจากนโยบายสาธารณะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและ เน้นการสานพลังทุกภาคส่วนในสังคมเข้ามาร่วมท�ำงาน ได้ด�ำเนินการไปแล้ว ดังนั้น การด�ำเนินนโยบายสาธารณะ ด้วยกัน และเรียนรู้ไปพร้อมกัน และเป็นการด�ำเนินงาน ใด ๆ ควรมีเรื่องของสุขภาพหรือสุขภาวะเข้าไปเกี่ยวข้อง ที่สร้างกระบวนการที่เป็นรูปธรรมของการพัฒนา ด้วย และเป็นทิศทางหรือแนวทางที่สังคมโดยรวมเห็น ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory หรือเชื่อว่าควรจะด�ำเนินการไปในทิศทางนั้น จึงจะเกิด Democracy) ด้วย อีกทั้งค�ำนึงถึงปัจจัยก�ำหนดสุขภาพ ผลดีต่อสุขภาพ/สุขภาวะของสังคม (Social Determinants of Health : SDH) ที่เกี่ยวข้อง ส�ำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) กับทั้งปัจเจกบุคคล สิ่งแวดล้อม และระบบบริการ ได้ร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรภาคีเครือข่ายในภาคส่วน สุขภาพ รวมทั้งให้ความส�ำคัญกับการสร้างการมีส่วนร่วม ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม ในการก�ำหนดนโยบายเพื่อสุขภาพจากผู้มีส่วนได้เสีย จากทั่วประเทศ ในการพัฒนากระบวนการนโยบาย ทุกฝ่ายในสังคม อันประกอบด้วย ภาคการเมือง รัฐบาล สาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (PHPP) ผ่านการ ราชการ องค์กรอิสระ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้เครื่องมือตาม พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ภาคธุรกิจเอกชน ชุมชน และประชาชนเอง เพื่อให้เป็น 2550 ในระดับต่าง ๆ รวมทั้งการขยายผลไปยังชุมชน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ในระดับต�ำบล อาทิ ธรรมนูญสุขภาพต�ำบล สมัชชาสุขภาพ (Participatory Healthy Public Policy: PHPP) ต�ำบล การประเมินผลกระทบทางสุขภาพระดับชุมชน การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบ (CHIA) และเครื่องมืออื่น ๆ ที่ชุมชนน�ำมาใช้ร่วมด้วย มีส่วนร่วม เป็นทิศทางและกระบวนการที่ส�ำคัญหนึ่งใน ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาในระดับพื้นที่โดย การพัฒนาระบบสุขภาพและความเข้มแข็งของชุมชน เฉพาะการตอบสนองต่อความต้องการที่แท้จริงของ ซึ่งแต่ละชุมชนมีความซับซ้อนและแตกต่างหลากหลาย ประชาชน ซึ่งมีองค์กรท้องถิ่น และท้องที่ที่ใกล้ชิดกับ ตามบริบทของพื้นที่ กระบวนการ/แนวทางเชิงระบบ ประชาชนเป็นแกนส�ำคัญในการพัฒนา จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นเพื่อการท�ำความเข้าใจกับระบบและ จากประสบการณ์และบทเรียนการพัฒนา ดังที่ ก�ำหนดวิธีการท�ำงานที่เหมาะสมในการพัฒนา และไม่เป็น กล่าวถึงข้างต้น ถ้าจะให้บรรลุเป้าหมายการสร้างความ ไปเพียงแต่ท�ำความเข้าใจกับคุณลักษณะขององค์ประกอบ เข้มแข็งของชุมชนและความสามารถในการจัดการ ย่อยต่าง ๆ ในชุมชนเท่านั้น แต่หมายถึงการ “จัดการ กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพได้ด้วยตนเอง ความสัมพันธ์” ขององค์ประกอบย่อยต่าง ๆ ที่ประกอบ ได้นั้น จ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญในเรื่องการเชื่อมโยง กันอยู่ในระบบชุมชนด้วย ซึ่งจากการศึกษาการพัฒนา จุดแข็งและความเชี่ยวชาญของแต่ละพื้นที่และหน่วย นโยบายสาธารณะในสังคมไทยที่ผ่านมา ก็พบว่า ส่วนใหญ่ งานองค์กรภาคีทุกภาคส่วน ให้เกิดการเสริมพลังกัน ถูกก�ำหนดจากฝ่ายการเมือง ฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายราชการ โดยการเสริมสร้าง “กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อ โดยที่ภาคประชาชนและวิชาการมีส่วนร่วมน้อย ซึ่งอาจ สุขภาพแบบมีส่วนร่วม” โดยมีชุมชน เป็นศูนย์กลาง และ มีสาเหตุหลายประการ ได้แก่ 1) ประชาชนเข้าไม่ถึง มุ่งหมายในการเสริมสร้างขีดความสามารถ และทางเลือก กระบวนการนโยบายสาธารณะ 2) นโยบายสาธารณะ ที่หลากหลายให้ชุมชนตัดสินใจ ก�ำหนดทิศทางการพัฒนา นั้น ๆ ให้ความส�ำคัญของคุณค่าและมิติต่าง ๆ อย่างไม่ และการบริหารจัดการชุมชน ท้องถิ่นของตนเอง ร่วมกับ

200 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

หน่วยงานและองค์ภาคีต่าง ๆ และเชื่อมโยงมิติการพัฒนา ได้ก�ำหนดประเด็นการควบคุมและลดการบริโภคเครื่อง ทั้งทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ดื่มแอลกอฮอล์เป็นแผนเร่งด่วนในการพัฒนาขับเคลื่อน การศึกษา สุขภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและอื่น ๆ ระบบสุขภาพชุมชน ปี พศ. 2560-2561 เพื่อแก้ไขปัญหา ที่เกี่ยวข้องของชุมชน ให้เกิดการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว โดยด�ำเนินการภายใต้แนวคิด “คนแม่ทา วิถีการด�ำเนินชีวิตไปในทางที่ดีขึ้น ไม่ทอดทิ้งกัน” คืนความสุขสู่คนแม่ทา โดยการพัฒนา อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ตั้งอยู่ทางทิศตะวัน คุณภาพชีวิตระดับอ�ำเภอ อันมีเป้าหมายเพื่อให้ชุมชน ออกเฉียงเหนือของจังหวัดล�ำพูน ประชากรส่วนใหญ่ สุขภาพดี มีความสุข เข้มแข็ง จัดการตนเองได้ ระบบ ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม และปศุสัตว์ แบ่งการ บริการสุขภาพที่มีคุณภาพ เป็นที่พึ่งของประชาชน ซึ่งการ ปกครองออกเป็น 6 ต�ำบล 71 หมู่บ้าน มีการปกครอง ขับเคลื่อนก่อให้เกิดการสร้างนโยบายสาธารณะและ ท้องถิ่น 2 รูปแบบ คือ เทศบาลต�ำบล 7 แห่ง และ สร้างกระแสของชุมชนในการลดปัญหาจากการดื่ม องค์การบริหารส่วนต�ำบล 1 แห่ง โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ มีผลงานเชิงประจักษ์ด้านบวก ป่าไม้ มีจ�ำนวนครัวเรือน 13,709 หลังคาเรือน มีประชากร ตลอดจนเกิดการเปลี่ยนแปลงในชุมชน เกิดมาตรการ โดยรวม 39,218 คน แบ่งเป็นเพศชาย 19,334 คน ทางสังคม เกิดชุมชนต้นแบบลดการบริโภคเครื่อง คิดเป็นร้อยละ 49.30 และเพศหญิง 19,884 คน แอลกอฮอล์ (Mae Tha District Public Health Office, คิดเป็นร้อยละ 50.70% พบปัญหาการดื่มเครื่องดื่ม 2014) ที่มีแอลกอฮอล์ ในลักษณะที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น การถอดบทเรียนเป็นวิธีการหนึ่งของการจัดการ รวมทั้งพบอีกว่า ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความ ความรู้ โดยเป็นกระบวนการดึงเอาความรู้จากการท�ำงาน ชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นอันดับที่ 3 ออกมาใช้เป็นทุนในการท�ำงานเพื่อยกระดับให้ดียิ่งขึ้น ของจังหวัดล�ำพูน และจากการคัดกรองพฤติกรรมการ ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน ท�ำให้ได้บทเรียนในรูปแบบ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในพื้นที่อ�ำเภอแม่ทา ชุดความรู้ ที่เป็นรูปธรรมและเกิดการเรียนรู้ร่วมกันของ พบความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ใน ผู้เข้าร่วมกระบวนการ น�ำมาซึ่งการปรับวิธีคิด และ ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี พ.ศ. 2556-2558 คิดเป็น เปลี่ยนแปลงวิธีการท�ำงานที่สร้างสรรค์และมีคุณภาพ ร้อยละ 15.00, 13.70 และ 10.87 ตามล�ำดับ จากสถิติ ยิ่งขึ้น (Kengkanpanit, 2013) การถอดบทเรียนใน การเข้ารับบริการในคลินิกสุขภาพจิตโรงพยาบาลแม่ทา ประเด็นด้านสุขภาพชุมชน จะท�ำให้ชุดความรู้ที่เป็น พบผู้มีปัญหาสุขภาพจิตจากการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ประโยชน์ ในการน�ำมาใช้เป็นต้นแบบการด�ำเนงานด้าน มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นในแต่ละปี จากปี พ.ศ. 2556-2558 สุขภาพในพื้นที่ต่อไป เช่น การศึกษาของ Vongmanee พบจ�ำนวน 163 คน, 233 คน และ 212 คน ตามล�ำดับ & Noosorn (2017) ได้ศึกษาถอดบทเรียนและสังเคราะห์ และพบว่า ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตจากการดื่มเครื่องดื่มที่มี รูปแบบการจัดการระบบสุขภาพระดับอ�ำเภอหล่มสัก แอลกอฮอล์ มีโอกาสกลับเป็นซำ�้ ถึง ร้อยละ 8.59, 7.19, จังหวัดเพชรบูรณ์ พบว่า ระบบสุขภาพระดับอ�ำเภอ 5.75 ตามล�ำดับด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ยังรวมถึงผู้ติด ส�ำหรับอ�ำเภอหล่มสักในมุมมองด้านพื้นฐานมุ่งเน้นงาน เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มักมีภาวะซึมเศร้าร่วมด้วย และ สุขภาพจิตมุ่งเน้นให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคนสามารถ ยังเป็นสาเหตุหลักของการฆ่าตัวตายส�ำเร็จถึงร้อยละ 50 ดูเเลผู้ป่วยจิตเวชได้เเละพัฒนารูปแบบการดูแลเฝ้าระวัง ซึ่งจากสถิติการฆ่าตัวตายส�ำเร็จของอ�ำเภอแม่ทา ปี พ.ศ. โดยอาสาสมัครสาธารณสุขเเละเเกนน�ำในครอบครัว 2554-2558 พบถึงร้อยละ 7.45, 4.54, 11.95, 17.32 ปัจจัยที่น�ำไปสู่ผลส�ำเร็จคือการมีนโยบายที่ชัดเจน และ 7.39 ต่อแสนประชากรตามล�ำดับ (Mae Tha การมีส่วนร่วมของชุมชน ผู้น�ำทุกระดับเห็นความส�ำคัญ District Public Health Office, 2013) �ำอ เภอแม่ทา มีอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีศักยภาพผู้บริหารทุกระดับ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 201 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

ให้การสนับสนุนและติดตามอย่างจริงจัง เช่นเดียวกับ การถอดบทเรียน หมายถึง การสรุปความรู้ที่เกิด การศึกษา Pagaiya et al. (2018) ได้ศึกษาการจัดการ การเรียนรู้ร่วมกันของผู้เข้าร่วมกระบวนการ ก�ำลังคนด้านสุขภาพเพื่อขับเคลื่อนระบบบริการปฐมภูมิ การถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ และระบบสุขภาพระดับอ�ำเภอของประเทศไทย โดยการ เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการ ถอดบทเรียน พบว่า ผลส�ำเร็จในการพัฒนาระบบบริการ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน หมายถึง การสรุป ปฐมภูมิและระบบสุขภาพระดับอ�ำเภอ มีปัจจัยความ ความรู้ที่เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของผู้เข้าร่วมกระบวนการ ส�ำเร็จประกอบด้วย ภาวะผู้น�ำ การมองภาพรวมของ ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ระบบสุขภาพอ�ำเภอเป็นหนึ่งเดียว การสร้างทีมงานผู้น�ำ ในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และการท�ำงานในรูปเครือข่ายกับภาคีอื่นๆ ในชุมชน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ในด้านแนวคิดการ ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่นและ ด�ำเนินงานหลัก และการสร้างนโยบายสาธารณะ ประเทศด้านสุขภาพ การศึกษาครั้งนี้จึงได้น�ำวิธีการถอด บทเรียนมาใช้เป็นกรอบในการด�ำเนินการศึกษาการ วิธีด�ำเนินการวิจัย ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา และ ในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ใช้วิธีการถอดบทเรียน เพื่อถอดบทเรียนการขับเคลื่อน ในชุมชนของอ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ซึ่งเป็นชุมชน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการ ต้นแบบที่เกิดมาตรการทางสังคมน�ำไปสู่เกิดชุมชน จัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน ต้นแบบในการลดการบริโภคเครื่องแอลกอฮอล์ ซึ่งผล อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ที่ได้รับจากการถอดบทเรียนจะท�ำให้เห็นถึงแนวคิดการ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ด�ำเนินงาน และการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะจงจง ผู้ที่มีส่วน สุขภาพแบบมีส่วนร่วมที่ชัดเจน อันจะเป็นชุดความรู้ เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อ ที่จะน�ำไปต่อยอดสู่การสร้างสังคมที่มีสุขภาวะในพื้นที่ สุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่อง ของอ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน และพื้นที่อื่นต่อไป ดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ประกอบด้วย ตัวแทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วัตถุประสงค์การวิจัย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ผู้น�ำชุมชน เพื่อถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน และตัวแทนประชาชน เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่ม รวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 30 คน เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ล�ำพูน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจาก นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หมายถึง การตัดสินใจของฝ่ายต่าง ๆ ในทิศทางที่สังคม ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1) แนวค�ำถามการสนทนา ต้องการอย่างชัดเจนเรื่องสุขภาพ โดยการสร้างพื้นที่ กลุ่ม และ 2) แนวค�ำถามการสัมภาษณ์รายบุคคลแบบไม่มี สาธารณะให้กับภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคมได้เข้ามามี โครงสร้าง ส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรึกษาหารือ และ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ผู้วิจัยจะได้ เกิดกระบวนการผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติที่เป็น เครื่องมือไปท�ำการตรวจสอบข้อมูลก่อนน�ำไปเก็บรวบรวม ระบบบนหลักการมีส่วนร่วม ข้อมูลจริง โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบ ความตรงของเนื้อหาจากนั้นน�ำมาปรับปรุงแก้ไขก่อนใช้จริง

202 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ร่วมคิด คือ การให้ชุมชนร่วมคิด ร่วมวางแผน ผู้วิจัยด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ออกแบบและก�ำหนดแนวทางแก้ไข จากเอกสารสถิติรายงานต่าง ๆ และเก็บรวบรวมข้อมูล 3. ร่วมตัดสินใจ คือ การให้ชุมชนร่วมพิจารณา เชิงคุณภาพคุณภาพ โดยการสนทนากลุ่มและการ และตัดสินใจเลือกวิธีการด�ำเนินงานที่เหมาะสม สัมภาษณ์ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 4. ร่วมแก้ไข คือ การให้ชุมชนร่วมลงมือปฏิบัติ 1. ศึกษาและวิเคราะห์จากเอกสารรายงานต่าง ๆ 5. ร่วมติดตาม และประเมินผล คือ การให้ชุมชน ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนโยบายสาธารณะของอ�ำเภอ ร่วมรับทราบผลการด�ำเนินงาน ร่วมแก้ไขปรับปรุงเมื่อ แม่ทา จังหวัดล�ำพูน และสรุปประเด็น มีปัญหา และร่วมสรุปผลการด�ำเนินงาน 2. ถอดบทเรียนนโยบายสาธารณะของพื้นที่โดย อ�ำเภอแม่ทาได้มุ่งเน้นกระบวนการขับเคลื่อนให้ นักวิจัยในพื้นที่ด�ำเนินการสนทนากลุ่ม ไปสู่เป้าหมายเชิงกระบวนการ สู่การเป็นชุมชนแห่งสุข 3. ทวนสอบสรุปการถอดบทเรียนนโยบาย ภาวะ ซึ่งประกอบด้วย สาธารณะในพื้นที่โดยคณะผู้วิจัย 1. เกิดธรรมนูญสุขภาพระดับต�ำบล 4. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการจัดหมวด 2. เกิดเครือข่ายสุขภาพ หมู่ข้อมูล และสรุปประเด็น 3. มีการจัดล�ำดับความรุนแรงของการดื่มเครื่อง ดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง 4. มีกระบวนการจัดระดับการดื่มและการประเมิน การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ผ่านการพิจารณารับรอง เพื่อส่งต่อประชาชนเข้าสู่ระบบการบ�ำบัดได้มากขึ้น เรียบร้อยแล้วจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย 5. จ�ำนวนร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ลดลง คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามเอกสาร 6. อุบัติการณ์ของการเกิดอุบัติเหตุทางจราจรที่ เลขที่ 60/004 เกิดจากเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ลดลง 7. ความขัดแย้งหรือปัญหาการทะเลาะเบาะแว้งใน ผลการวิจัย ครอบครัวและชุมชนลดลง ส่วนที่ 1 แนวคิดการด�ำเนินงานหลัก 8. ครัวเรือนมีเงินออม การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบ 9. ชุมชนเข้มแข็ง มีการพึ่งตนเอง มีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มี ทั้งนี้ความส�ำเร็จส่งผลเชิงบวกทั้งต่อระดับบุคคลที่ แอลกอฮอล์ในชุมชน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้านค้า ครอบครัว ชุมชน ตลอด ขับเคลื่อนโดยแกนน�ำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จนเกิดธรรมนูญสุขภาพระดับต�ำบลขึ้น ซึ่งกระบวนการ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับต�ำบล บนพื้นฐาน ด�ำเนินงานมีเป้าหมายดังนี้ ของประชุมพูดคุย ปรึกษาหารือกัน เพื่อน�ำไปสู่การมี 1. เพื่อลดการดื่มและลดปัญหาจากการดื่มเครื่อง ส่วนร่วมการกันขับเคลื่อนกระบวนการ การจัดการกับ ดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน ปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของประชาชน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้เข้ามามีส่วน ในชุมชนของอ�ำเภอแม่ทา ในด้านความส�ำเร็จจาก ร่วมในการแก้ไขปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่มที่มี กระบวนการมีส่วนร่วมนั้น อ�ำเภอแม่ทาด�ำเนินการโดย แอลกอฮอล์ ใช้แนวคิดหลัก 5 ร. คือ 3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย 1. ร่วมรับรู้ คือ การให้ข้อมูลแก่ชุมชนรับรู้ รับทราบ ในการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานสุขภาพจิตและพัฒนา และเข้าใจในปัญหานั้นร่วมกัน ระบบสุขภาพให้เข้มแข็ง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 203 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

4. เพื่อร่วมกันก�ำหนดนโยบายสาธารณะว่าด้วย ส่วนที่ 2 การสร้างนโยบายสาธารณะ เรื่องเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การด�ำเนินการสร้างนโยบายสาธารณะในประเด็น อ�ำเภอแม่ทาใช้การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นกลไก “การมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มี การขับเคลื่อนการด�ำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาสุราในพื้นที่ แอลกอฮอล์ในชุมชน” ของอ�ำเภอแม่ทานั้น มีการสร้าง มีการจัดตั้งคณะท�ำงานซึ่งประกอบด้วยแกนน�ำชุมชน กระแสของชุมชนในการลดปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่ม ทีมสุขภาพ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับต�ำบล ที่มีแอลกอฮอล์ และท�ำประชาคม โดยการท�ำบันทึก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วัด โรงเรียน และภาคเอกชน ตกลงระหว่างหน่วยงาน/องค์กรที่เข้าร่วมโครงการ ร่วมคิด ร่วมวางแผนด�ำเนินงาน และร่วมประเมินผล (ดังภาพที่ 1) เรียกว่า ข้อตกลง 3 ม. 2 ร. โดยมีรายละเอียด ก�ำหนดกฎกติกา มาตรการทางสังคม และนโยบาย ดังนี้ สาธารณะของอ�ำเภอขึ้นเพื่อเป็นกรอบในการด�ำเนินงาน ม. 1 คือ ไม่ขาย ไม่ดื่ม ในวันพระ และในงานศพ เพื่อความยั่งยืนโดยชุมชนมีจุดเน้นในการด�ำเนินงาน ม. 2 คือ ไม่จ�ำหน่ายเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ให้ ดังนี้ กับผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างบ�ำบัดรักษา 1. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม การสร้างเครือข่าย ม. 3 คือ ไม่จ�ำหน่ายเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ให้ และการเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งของชุมชน กับผู้ที่ดื่มหนัก และโทรให้ญาติมารับกลับบ้าน 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์และสนับสนุนนโยบาย ร.1 คือ ร่วมบังคับใช้กฎหมายตาม พรบ. ควบคุม สาธารณะเพื่อสุขภาพ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเคร่งครัด 3. ส่งเสริมความสามารถของชุมชนในการด�ำเนิน ร. 2 คือ ร่วมช่วยกันตรวจสอบ ติดตาม สอดส่อง การแก้ไขปัญหาที่ชุมชนให้ความส�ำคัญ ดูแลชุมชนไม่ให้มีจุดสี่ยง และเกิดแหล่งมั่วสุม

ภาพที่ 1 กิจกรรมการท�ำบันทึกตกลงระหว่างหน่วยงาน/องค์กรที่เข้าร่วมโครงการ

ภายหลังจากการท�ำบันทึกข้อตกลงพื้นที่มีการขับเคลื่อนในกิจกรรมต่อไปนี้ 1. การส�ำรวจสถานประกอบการ ร้านค้า ร้านสะดวกซื้อ ร้านขายของช�ำ ในชุมชน ตลอดจนประชาสัมพันธ์ เชิญชวนเข้าร่วมโครงการตามนโยบายสาธารณะ

204 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

2. การให้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ความคิดเห็นกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ และผลกระทบแก่ผู้ประกอบการร้านค้า และการส�ำรวจ ช่วยในการเข้าถึงข้อมูลข่างสารที่ถูกต้อง สร้างให้เกิด ความคิดเห็นผู้ประกอบการร้านค้าต่อปัญหาสุราในชุมชน ความเข้าใจแก่ประชาชนในชุมชนอย่างมาก การพัฒนา 3. การเยี่ยมเยียนร้านค้าในชุมชน และติดป้ายให้ ศักยภาพทีมงานให้มีความเข้มแข็ง ตลอดจนความ กับร้านค้า ที่เข้าร่วมโครงการ เสียสละและตั้งใจของทีมงานเป็นพลังขับเคลื่อนสู่ความ 4. การประกาศเป็นวาระส�ำคัญของพื้นที่ ส�ำเร็จ รวมทั้งการสนับสนุนจากเครือข่ายความร่วมมือ 5. การประชาสัมพันธ์รณรงค์เพื่อไปสู่การยกระดับ ที่เกี่ยวข้อง สร้างให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะในการ โดยการประกาศเสียงตามสาย การบอกปากต่อปาก การ จัดการสุขภาวะให้เกิดในพื้นที่ของตน แจ้งให้ทราบในทุกการประชุมเพื่อให้รับทราบ และการ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ โดยมีการด�ำเนินการต่อเนื่อง การอภิปรายผล ตลอดปี ส่วนที่ 1 แนวคิดการด�ำเนินงานหลัก 6. การตั้งด่านกวดขัน อย่างน้อยเดือนละ 1-2 ครั้ง การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบ โดยมีมาตรการเตือน-ปรับ-จับ-ด�ำเนินคดีตามกฎหมาย มีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มี และตรวจสอบ สอดส่องดูแล จุดเสี่ยง ในแต่ละชุมชน แอลกอฮอล์ในชุมชน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน มีขับ ให้ปลอดภัย ไม่ให้เป็นแหล่งมั่วสุม เคลื่อนโดยแกนน�ำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะสู่ธรรมนูญ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับต�ำบล บนพื้นฐาน สุขภาพต�ำบลทาทุ่งหลวง ซึ่งเป็นต�ำบลน�ำร่อง ของประชุมพูดคุย ปรึกษาหารือกัน กล่าวได้ว่า ชุมชน 8. การด�ำเนินการต่อยอดกิจกรรมงดเหล้าในช่วง อ�ำเภอแม่ทา ใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน เป็น เทศกาลวันเข้าพรรษา โดยการน�ำผู้น�ำชุมชน คณะ แนวคิดพื้นฐานที่ส�ำคัญในการด�ำเนินงาน ซึ่งสอดคล้อง กรรมการหมู่บ้าน เพื่อเป็นต้นแบบที่ดีในการงดเหล้า กับหัวใจส�ำคัญของการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อ และการปฏิบัติธรรมในวันพระช่วงเทศกาลวันเข้าพรรษา สุขภาพ ที่กล่าวว่า ความส�ำเร็จของการพัฒนาและ 9. การมอบใบประกาศเกียรติคุณ ให้กับผู้เข้าร่วม ผลักดันการมีส่วนร่วมในการก�ำหนดประเด็นนโยบาย โครงการ ประกาศรายชื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ ผ่านทาง สาธารณะ นั้นควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม เสียงตามสายประจ�ำหมู่บ้าน และขององค์กรปกครอง อย่างกว้างขวาง เพื่อให้เกิดกระบวนการสาธารณะอย่าง ส่วนท้องถิ่น แท้จริง (Wasri, 2004) ซึ่งนอกจากการให้ทุกฝ่ายมามี 10. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่าย ส่วนร่วมในการก�ำหนดประเด็นแล้ว อ�ำเภอแม่ทายังได้ อื่น เพื่อน�ำไปสู่การขยายผลให้ครอบคลุมทั้งอ�ำเภอ อย่าง ด�ำเนินการโดยใช้แนวคิดหลักของการมีส่วนร่วมที่เรียกว่า น้อย 1 หมู่บ้าน / 1 สถานบริการ และเครือข่ายระดับ หลักแนวคิดการมีส่วนร่วม 5 ร. คือ ร่วมรับรู้ ร่วมคิด อ�ำเภอ ระดับจังหวัด เช่น การจัดกิจกรรมคนเห็นคน ร่วมตัดสินใจ ร่วมแก้ไข ร่วมติดตาม และประเมินผล 11. การสรุปและประเมินผลรายงานผลให้กับ เป็นการชี้ให้เห็นถึงว่า ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องของอ�ำเภอแม่ทา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป ได้มีส่วนร่วมก�ำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาพชุมชน ความส�ำเร็จของการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ซึ่งจะมีผลดีต่อสุขภาพร่วมกัน สอดคล้องกับแนวคิดหลัก เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่ม ของการด�ำเนินงานนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ที่ว่า เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัด ทุกภาคส่วนในสังคมต้องได้มีโอกาสก�ำหนดแนวทางการ ล�ำพูน นั้นมาจากรู้ซึ้งถึงรากเหง้าของปัญหา บนพื้นฐาน พัฒนาซึ่งจะมีผลดีต่อสุขภาพร่วมกัน โดยอาศัย ของข้อมูลที่ถูกต้อง ร่วมกับการจัดเวทีแลกเปลี่ยน กระบวนการเรียนรู้ที่ท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 205 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

ข่าวสาร ความรู้ ความห่วงใย และการให้คุณค่าความ ระดับต�ำบล เป็นต้น ซึ่งฝ่ายที่ท�ำงานด้านวิชาการที่เอื้อเฟื้อ ส�ำคัญ บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและความเป็นธรรม และสนับสนุนข้อมูล หลักฐานที่เกี่ยวกับสุขภาพจากการ ในสังคม (Jindawattana, 2004) ด�ำเนินโครงการสุขภาพต่าง ๆ เพื่อชวนทุกฝ่ายในสังคม การใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน เป็นหลัก เข้ามาร่วมคิดร่วมท�ำ ซึ่งการสนับสนุนของฝ่ายวิชาการ ในการด�ำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อ ก่อให้เกิดร่วมรับรู้ ร่วมคิด การสื่อสารเผยแพร่ข้อมูล สุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่อง ข่าวสาร เพื่อร่วมรับผิดชอบสังคมที่จะน�ำไปสู่การมี ดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน ของอ�ำเภอแม่ทา นั้น สุขภาพที่ดี/สุขภาวะร่วมกันออกแบบสู่การน�ำเสนอทาง สอดคล้องกับการศึกษาวิจัยถอดบทเรียนนโยบาย เลือกของนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพที่สามารถปฏิบัติได้ สาธารณะเพื่อสุขภาพ ต�ำบลขัวมุง อ�ำเภอสารภี จังหวัด พัฒนาจิตส�ำนึกการเป็นพลเมืองที่สนใจเรื่องของส่วนรวม เชียงใหม่ (Tuanrat et al., 2016a) ที่มีแนวทางการ และกระตือรือร้นเข้ารับฟังและแสดงความคิดเห็น ด�ำเนินงานเพื่อสร้างนโยบายสาธารณะต่อปัญหาสุรา เพื่อสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพร่วมกัน โดยใช้การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในพื้นที่ ในด้านความ (Jindawattana, 2004) ส�ำเร็จจากกระบวนการมีส่วนร่วมนั้น อ�ำเภอแม่ทา ส่วนที่ 2 การสร้างนโยบายสาธารณะ ด�ำเนินการโดยใช้แนวคิดหลัก 5 ร. คือ ร่วมรับรู้ ร่วมคิด การด�ำเนินการสร้างนโยบายสาธารณะในประเด็น ร่วมตัดสินใจ ร่วมแก้ไข ร่วมติดตาม และประเมินผล “การมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มี สอดคล้องกับการศึกษาวิจัยถอดบทเรียนนโยบาย แอลกอฮอล์ในชุมชน” ของอ�ำเภอแม่ทานั้น มีการสร้าง สาธารณะเพื่อสุขภาพ ต�ำบลริมปิง อ�ำเภอสารภี จังหวัด นโยบายสาธารณะโดยการสร้างกระแสของชุมชนในการ ล�ำพูน (Tuanrat et al., 2016b) ที่พัฒนาธรรมนูญ ลดปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และ สุขภาพ ต�ำบลริมปิง โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของ ท�ำประชาคม มีการท�ำบันทึกตกลงระหว่างหน่วยงาน/ ชุมชนเป็นพื้นฐานในการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพของ องค์กรที่เข้าร่วมโครงการ เรียกว่า ข้อตกลง 3 ม. 2 ร. โดย ต�ำบลริมปิง มีรายละเอียดดังนี้ หลักแนวคิดการมีส่วนร่วม 5 ร. ของอ�ำเภอแม่ทา ม. 1 คือ ไม่ขาย ไม่ดื่ม ในวันพระ และในงานศพ เป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดสิ่งต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการ ม. 2 คือ ไม่จ�ำหน่ายเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ให้ ขับเคลื่อนงานนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ อันได้แก่ กับผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างบ�ำบัดรักษา การสร้างความตระหนักในคุณค่าของสุขภาพ สอดคล้อง ม. 3 คือ ไม่จ�ำหน่ายเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ให้ กับแนวคิด ร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมแก้ไข การ กับผู้ที่ดื่มหนัก และโทรให้ญาติมารับกลับบ้าน ให้ชุมชนทราบสถานการณ์ปัญหา ให้เห็นว่าการบริโภค ร.1 คือ ร่วมบังคับใช้กฎหมายตาม พรบ. ควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัญหาที่ชุมชนอ�ำเภอแม่ทา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเคร่งครัด ต้องร่วมแก้ไข เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นแล้วในชุมชน และชุมชน ร. 2 คือ ร่วมช่วยกันตรวจสอบ ติดตาม สอดส่อง ควรมีความรับผิดชอบร่วมกัน ไม่ใช่งานของฝ่ายบริการ ดูแลชุมชนไม่ให้มีจุดสี่ยง และเกิดแหล่งมั่วสุม สาธารณสุขเท่านั้น ซึ่งตรงนี้ต้องอาศัยกระบวนการ ซึ่งมีการด�ำเนินการที่สอดคล้องกับ การถอดบท ท�ำงานร่วมกับกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและ เรียนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ต�ำบลขัวมุง อ�ำเภอ กันอย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนทางด้านวิชาการ อ�ำเภอ สารภ ี จังหวัดเชียงใหม่ (Tuanrat et al., 2016a) ในการ แม่ทาได้รับการสนับสนุนทางวิชาการ จากหลายหน่วยงาน สร้างนโยบายสาธารณะในการด�ำเนินงานงดเหล้าใน เช่น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ งานบุญ งานศพ ในรูปแบบของการมีข้อตกลงของชุมชน โรงพยาบาลอ�ำเภอแม่ทา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เช่นเดียวกัน แต่ในพื้นที่อ�ำเภอแม่ทานั้นมีข้อตกลง

206 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

ที่เข้มแข็งมากกว่าทุกพื้นที่ในประเด็นของ ไม่จ�ำหน่าย ของการให้ชุมชนตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ให้กับผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างบ�ำบัด ก�ำหนดนโยบายสาธารณะของพื้นที่ร่วมกัน รักษา ไม่จ�ำหน่ายเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ให้กับผู้ที่ดื่มหนัก และโทรให้ญาติมารับกลับบ้าน ร่วมบังคับใช้กฎหมายตาม ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ พรบ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเคร่งครัด และ ควรน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการสร้างนโยบาย ร่วมช่วยกันตรวจสอบ ติดตาม สอดส่องดูแลชุมชนไม่ให้ สาธารณะเพื่อสุขภาพในประเด็นอื่น ๆ ต่อไป มีจุดสี่ยง และเกิดแหล่งมั่วสุม แสดงให้เห็นถึงความ เข้มแข็งของชุมชน นอกจากนี้ ยังสอดคล้องกับการ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ด�ำเนินงานสร้างนโยบายสาธารณะงานศพปลอดเหล้า ควรศึกษาติดตามผลลัพธ์การขับเคลื่อนนโยบาย ต�ำบลบ้านใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ (Aungwattana & สาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการ Thanawat, 2015) ที่มีการสร้างนโยบายสาธารณะ ปัญหาการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชนใน เพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมในรูปแบบของข้อตกลง ระยะยาว เพื่อดูความต่อเนื่อง และความยั่งยืนของการ เรียกว่า ข้อบัญญัติร่วมกันของชุมชน มีนโยบายสาธารณสะเพื่อสุขภาพ ตลอดจนปัญหาและ ดังนั้น กล่าวได้ว่า การสร้างนโยบายสาธารณะของ อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น แต่ละชุมชน นั้นแต่ละพื้นที่จะด�ำเนินการสร้างตลอดจน การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะในชุมชนในรูปแบบ เอกสารอ้างอิง Aungwattana, S., & Thanawat, R. (2015). Lessons learned of driving public policy for participatory health to have concrete results at the sub-district level: Baan Mai sub-district, Mae Rim district, Chiang Mai province. Faculty of Nursing, Chiang Mai University. (Thai) Jindawattana, A. (2004). Creating public policies for participatory health: New dimensions of health promotion. Bangkok: National Health Office. (Thai) Kengkanpanit, M. (2013). Lessons learned. Retrieved from www.ph.mahidol.ac.th/sos/group6/ lesson_learned.pdf. (Thai) Mae Tha District Public Health Office. (2013).Summary of operating reports for the Mae Tha district health office. Lamphun province. (Thai) Mae Tha District Public Health Office. (2014).Summary of operating reports for the Mae Tha district health office. Lamphun province. (Thai) National Health Commission. (2007). National health act 2007. Retrieved from http://pcmc.swu.ac.th/EC/document/form/dw_form4/17.pdf. (Thai) National Health Commission. (2009). National health statute 2009. Retrieved from https://www.nationalhealth.or.th/node/155. (Thai) Pagaiya, N., Khaonuan, B., Phanthunane, P., Bamrung, A., & Jirawattanapisal, T. (2018). An analysis of health manpower needs for Thailand’s secondary care system in 2026. Journal of Health Systems Research, 12(2), 189-204.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 207 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

Tuanrat, W. et al. (2016a). Lessons Learned of public policy for health, Khua Mung sub-district, Saraphi district, Chiang Mai province. Faculty of Nursing, Chiang Mai University. (Thai) Tuanrat, W. et al. (2016b). Lessons Learned of public policy for health, Rim Ping sub-district, Muang district, Lamphun province. Faculty of Nursing, Chiang Mai University. (Thai) Vongmanee, K., & Noosorn, N. (2017). Lessons learned district health system model for health promotion district in mental health Lomsak district Phetchaboon province. Journal of Nursing care, 35(3), 232-241. Wasri, P. (2004). Public policy process. Bangkok. National Health Foundation. (Thai)

208 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกัน การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน Factors Related to Family Member Practices for Early Childhood Injury Prevention in Community.

สุภัทรา สารขาว * Supattra Sarnkhao * เดชา ท�ำดี ** Decha Tamdee ** วราภรณ์ บุญเชียง ** Waraporn Boonchiang **

บทคัดย่อ การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ส�ำคัญ สมาชิกครอบครัวมีส่วนส�ำคัญในการเป็นผู้ดูแลหลัก ของเด็กปฐมวัย ดังนั้น การทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บ ของเด็กปฐมวัยในชุมชน สามารถน�ำไปใช้ในการวางแผนเพื่อการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยได้ การศึกษาเชิง พรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของ สมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ สมาชิกของครอบครัว ที่มีบทบาทในการดูแลเด็กปฐมวัยซึ่งเรียนอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลในพื้นที่อ�ำเภอสารภ ี จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนกันยายน ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามลักษณะที่ก�ำหนดไว้ จ�ำนวน 110 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ของสมาชิก ครอบครัวเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ทัศนคติ การรับรู้ประโยชน์ ความร่วมมือ และการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวเกี่ยวกับ การป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัย ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา ได้เท่ากับ .91, .89, .94, .94 และ .98 ตามล�ำดับ ค่าความเชื่อมั่น ได้เท่ากับ .79, .91, .78, .81 และ .86 ตามล�ำดับ ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ สเปียร์แมน ก�ำหนดระดับนัยส�ำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษาพบว่า 1. สมาชิกครอบครัวส่วนใหญ่มีคะแนนการปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็ก ปฐมวัยในชุมชนโดยรวม อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 86.40 2.สมาชิกครอบครัวส่วนใหญ่มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ทัศนคติ การรับรู้ประโยชน์และความร่วมมือ ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยอยู่ในระดับมาก ซึ่งแต่ละปัจจัยคิดเป็นร้อยละ 85.45, 59.40, 95.50, 63.60 ตามล�ำดับ 3.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บ ของเด็กปฐมวัย

* นักศึกษาปริญญาโท สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Master of Nursing Science (Community Nurse Practitioner), Chiang Mai University ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 209 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

ในชุมชน ประกอบด้วย ความร่วมมือของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการ บาดเจ็บของเด็กปฐมวัยความสัมพันธ์ ทางบวก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .500, p < .001) ส่วนความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยและทัศนคติมีความสัมพันธ์ ทางบวก(r =.129, p =.180, r =.073, p =.450) แต่การรับรู้ประโยชน์มีความสัมพันธ์ทางลบ (r =-.013, p =.894) กับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ผลการศึกษาครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า ความร่วมมือของสมาชิกครอบครัวมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของสมาชิก ครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ดังนั้น บุคลากรทางสุขภาพควรวางแผนการด�ำเนินงาน เพื่อส่งเสริมความร่วมมือของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชนให้มี ประสิทธิภาพต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: สมาชิกครอบครัว, การป้องกันการบาดเจ็บ, เด็กปฐมวัย

Abstract Unintentional injuries in early childhood are a major public health issue in Thailand. Family members are important caregivers for young children. Therefore, it is important to know about the factors related to family member practices for early childhood injury prevention in community. The purposes of this descriptive correlational study was to study the correlation between factors related to family member practices for early childhood injury prevention in community. The subjects were 110 persons that were the main caregiver of a young child and who studied child care under the local administrative organization in Saraphi District, Chiang Mai Province. Data was collected through interviews. The research instruments consist of demographic data, knowledge, attitude, perceived benefits, cooperation and injury prevention practices among family member for early childhood injury prevention in community. The content validity of interviewing forms were .91, .89, .94, .94 and .98 respectively and reliabilities were .79, .91, .78, .81 and .86 respectively. Descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation coefficient and Spearman Rank Correlation Coefficient were used to analyze data. The results of this research revealed that: 1. Most of the family members have a high percentage score (86.40%) for early childhood injury prevention practices in community among family members. 2. Most family members have a high score for knowledge, attitude, perceived benefits, cooperative with injury prevention practices for early childhood in community, (85.45%, 59.40%, 95.50% and 63.60%) respectively. 3. Cooperation was found to be significantly and positively correlated with family member practices for early childhood injury prevention in community (r = .500, p < 0.01). Knowledge and attitude were found to be positively correlated (r =.129, p =.180, r =.073, p =.450), but perceived benefits were found to be negatively correlated (r =-.013, p =.894) with family member practices for early childhood injury prevention in community.

210 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

The findings of the study indicate that cooperation are associated with family member practices for early childhood injury prevention in community. Therefore health personnel should plan to improve the family member cooperation for effective injury prevention practices among early childhood.

Key words: Family member, Injury prevention, Early childhood

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา เปลี่ยนแปลงด้านพัฒนาการ เด็กเริ่มพัฒนาความรู้สึก ปัญหาการเกิดการบาดเจ็บและอุบัติเหตุในเด็ก ที่เป็นอิสระ และต้องการที่จะท�ำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่ส�ำคัญ โดยสถิติทั่วโลกในแต่ละปี จึงมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ได้ มีจ�ำนวนเด็กอายุต�่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตมากกว่าปีละ (Prateepchaikul, 2002) ส่วนปัจจัยด้านผู้ดูแล ได้แก่ 630,000 คน และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง บุคคลผู้ดูแลเด็กที่มีความใกล้ชิดกับเด็ก ที่ขาดความรู้ (World Health Organization [WHO], 2011) ส�ำหรับ และความตระหนัก การขาดความรับผิดชอบ หรือ ประเทศไทยการบาดเจ็บและอุบัติเหตุเป็นสาเหตุน�ำ ประมาท รวมถึงการไม่รู้พัฒนาการตามวัยของเด็ก การเสียชีวิตอันดับหนึ่งในประชากรเด็ก เมื่อปี พ.ศ.2556 ท�ำให้ไม่สามารถจ�ำแนกการแสดงออกของเด็กได้ มีเด็กอายุตำ�่ กว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการบาดเจ็บ จ�ำนวน จึงเกิดการบาดเจ็บได้ง่ายขึ้น ส่วนปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม 2,636 ราย คิดเป็นอัตราการเสียชีวิตประมาณ 24 คน ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมทางสังคม ต่อประชากรเด็กแสนคน (Strategy and Planning สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ คือ สิ่งแวดล้อมทั้งภายในบ้าน Division Office of the Permanent Secretary, 2014) และรอบ ๆ บริเวณบ้านอาจเป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้ จากข้อมูลการศึกษาของศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความ เช่น ถนน แม่น�้ำ ล�ำคลอง บ่อน�้ำ สระน�้ำ สนามเด็กเล่น ปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็กปี พ.ศ.2550 (Phetmueng, 2006) ส่วนสิ่งแวดล้อมทางสังคม ได้แก่ พบว่า เด็กอายุ 2-5 ปี เสียชีวิตจากการบาดเจ็บและ บุคคลที่อยู่ใกล้ชิดครอบครัวเด็ก ซึ่งอาจเป็นเพื่อน บ้าน อุบัติเหตุ จ�ำนวน 1,045 ราย ต่อปี โดยการจมน�้ำเป็น หรือเพื่อนเล่นของเด็ก เมื่อเด็กไปเล่นด้วยกันอาจเกิด สาเหตุส�ำคัญของการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุเด็กอายุต�่ำ การวิ่งชนกัน การพลัดตกหกล้ม การทะเลาะกันจากการ กว่า15 ปี เสียชีวิตจากการบาดเจ็บและอุบัติเหตุ จ�ำนวน แย่งสิ่งของกัน เป็นต้น (Durongritichai, 2002) โดย 1,045 ราย ต่อปี (Plitapolkarnpim,2007) เป็นสิ่งที่ จากการศึกษาของ Sangvisit (2010) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพเด็กในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะ ต่อการเกิดอุบัติเหตุในบริเวณบ้านหลายจุด ซึ่งผู้ปกครอง เด็กปฐมวัยในช่วงอายุ 2-5 ปี ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต้นที่ส�ำคัญ ควรได้รับความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อม ในชีวิต (Chotibang,2015) บริเวณบ้าน เช่นเดีวกับการศึกษาของ Ngamsuoy สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบาดเจ็บในเด็ก (2008) ที่พบว่าในกรณีที่ผู้ปกครองมีความรู้ในการจัด ปฐมวัย ได้แก่ ปัจจัยจากตัวเด็กปฐมวัย ผู้ดูแลเด็ก และ สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยจะช่วยลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม โดยเด็กปฐมวัยเป็นวัยแห่งการเรียนรู้เป็นการ ในเด็กได้ เปลี่ยนแปลงจากวัยที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นและเคยถูกจ�ำกัด นอกจากนี้จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ ด้านการเคลื่อนไหว พัฒนามาสู่ความเป็นอิสระด้านการ การป้องกันการบาดเจ็บในเด็กปฐมวัยในประเทศไทย เคลื่อนไหว การใช้ภาษา และเป็นสมาชิกที่อยากรู้ มีการศึกษาเกี่ยวกับความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในเด็ก อยากเห็นของครอบครัว (Chotibang, 2015) มีการ ดังนี้ จากการศึกษาของ Ngamsuoy (2008) พบว่า

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 211 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

ผู้ปกครองเด็กอายุ 1-4 ปีมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กให้ปลอดภัยอยู่เสมอ (National อุบัติเหตุในบ้านอยู่ในระดับตำ�่ ถึงปานกลาง แต่มีทัศนคติ Institute for Child and Family Development, ในการป้องกันอุบัติเหตุในบ้านอยู่ในระดับสูง และมีการ Mahidol University, 2013) ดังนั้น ในการแก้ไขปัญหา ปฏิบัติเพื่อป้องกันอุบัติเหตุในบ้านอยู่ในระดับปานกลาง และลดความรุนแรงจากการเกิดการบาดเจ็บต่าง ๆ ใน และการศึกษาของ Sangvisit (2010) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ส�ำคัญ จึงต้องอาศัยการ ความรู้ของผู้เลี้ยงดูเด็กอายุแรกเกิดถึง 6 ปี ที่มีต่อการ ปฏิบัติจากบิดามารดาหรือครอบครัวของเด็กปฐมวัย จัดสภาพแวดล้อมภายในบ้านเพื่อป้องกันการบาดเจ็บ อยย่างไรก็ตามจากการฝึกปฏิบัติการพยาบาลในพื้นที่ และการได้รับสารพิษของเด็ก พบว่ามีความเสี่ยงต่อการ อ�ำเภอสารภี จังหวัดชียงใหม่ พบว่ามีอัตราการเกิด เกิดอุบัติเหตุในบริเวณบ้านหลายจุด ซึ่งผู้ปกครองควรได้ อุบัติเหตุของเด็กเล็กโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยที่เข้ารับ รับความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อม การดูแลในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ เช่น การได้กลืน บริเวณบ้าน รวมทั้งเน้นย�้ำให้ผู้เลี้ยงดูเด็กตระหนักถึง วัตถุลงท้อง การตกน�้ำ การเกิดบาดแผลจากของมีคม การป้องกันอุบัติเหตุดังกล่าวควบคู่ไปกับการดูแลเด็กใน เป็นต้น ผู้วิจัยในฐานะพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนมีหน้าที่ ด้านอื่น ๆ ด้วย การที่ผู้ปกครองจะตัดสินใจปรับเปลี่ยน ปฏิบัติงานด้านการสร้างเสริมสุขภาวะแก่บุคคลในทุกกลุ่ม หรือหรือยอมรับพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาพได้นั้น พบว่า โดยบทบาทในการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านสุขภาพนั้น การให้ความรู้เพียงอย่างเดียวไม่ได้ท�ำให้บุคคลเกิดการ พยาบาลมีบทบาทหน้าที่ส�ำคัญในการสร้างมาตรฐานใน เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง (Prasopkittikun, การป้องกันการบาดเจ็บในเด็กปฐมวัยโดยการใช้วิจัย 2006) แต่บุคคลจะปฏิบัติได้โดยตรงจากการรับรู้ซึ่งเป็น เป็นฐาน จึงน�ำแนวคิดการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ พื้นฐานในการตัดสินใจที่จะกระท�ำสิ่งที่พึงพอใจและคิดว่า ในการป้องกันการบาดเจ็บในเด็กปฐมวัยมาใช้ในการ สิ่งที่ปฏิบัตินั้นก่อประโยชน์แก่ตนเอง น�ำไปสู่ปรับเปลี่ยน ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัว พฤติกรรมการดูแลเด็กของผู้ปกครองได้ (Buasuwan, ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน 2005) นอกจากนี้ พบว่ามีการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ประโยชน์ หรือปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดการบาดเจ็บใน ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยและ เด็กปฐมวัยเท่านั้น ยังไม่มีผู้ใดศึกษาถึงการปฏิบัติของ ความร่วมมือของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกัน สมาชิกครอบครัวในการป้องกันการบาดเจ็บในเด็กปฐมวัย การบาดเจ็บในเด็กปฐมวัย เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานใน และจากข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าส่วนใหญ่ การน�ำไปใช้เป็นแนวทางส�ำหรับบุคลากรในทีมสุขภาพ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับความรู้และทัศนคติของพ่อแม่ ให้ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบัติของสมาชิก และไม่มีการศึกษาใดที่ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของสมาชิก ครอบครัวในป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยใน ในครอบครัว ซึ่งล้วนแต่มีผลต่อการปฏิบัติเพื่อป้องกัน ชุมชนต่อไป การเกิดอุบัติเหตุในเด็กทั้งสิ้น การปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก วัตถุประสงค์การวิจัย ปฐมวัยเป็นการแสดงออกถึงการปฏิบัติพฤติกรรม 1. เพื่อศึกษาการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัว สุขภาพอย่างหนึ่ง จะเกิดขึ้นได้เมื่อครอบครัวมีความรู้ ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ความเข้าใจในพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของเด็ก 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของ ในวัยนี้ ถ้าผู้ดูแลเด็กและชุมชนตระหนักถึงความเสี่ยง สมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของ เฝ้าดูแลเด็กอย่างระมัดระวัง สอนเด็กให้เหมาะสมตามวัย เด็กปฐมวัยในชุมชน ได้แก่ ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ เพื่อเรียนรู้เรื่องการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง และจัดสภาพ ประโยชน์ และความร่วมมือส�ำหรับการป้องกันการบาด

212 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

เจ็บของเด็กปฐมวัยของสมาชิกครอบครัว ติดต่อสื่อสาร อ่านออกเขียนภาษาไทยได้ และยินดีให้ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ ความร่วมมือในการศึกษา จ�ำนวนทั้งหมด 110 ราย เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ 6 ส่วนที่ผู้วิจัยสร้าง ขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและได้ผ่านการตรวจ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ดังราย การวิจัยครั้งนี้ใช้แนวคิดการปฏิบัติพฤติกรรม ละเอียด คือ สุขภาพในการป้องกันการบาดเจ็บในเด็กปฐมวัย โดย ส่วนที่ 1 แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบ ทฤษฎีส่วนใหญ่จะพบว่าเมื่อบุคคลที่มีความรู้มาก ด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ มีทัศนคติเชิงบวก มีการรับรู้ประโยชน์มาก จะส่งผลให้ รายได้ จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว เกิดความร่วมมือในการป้องกันการบาดเจ็บของเด็ก ส่วนที่ 2 แบบสัมภาษณ์ความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ปฐมวัยมาก ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติ ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ความรู้เกี่ยวกับการ การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในเด็กได้มาก และน่าจะมีการ เปลี่ยนแปลงพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จ�ำนวน 15 ข้อ ปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัย การป้องกันการบาดเจ็บและการเฝ้าระวังความปลอดภัย ในชุมชนมาก โดยทั่วไปแล้วบุคคลที่มีบทบาทส�ำคัญใน ในเด็กปฐมวัย จ�ำนวน 24 ข้อ เป็นข้อค�ำถามแบบให้ การดูแล เลี้ยงดู เด็กปฐมวัยจะได้แก่พ่อแม่และสมาชิก เลือกตอบ ถูก (ให้ 1 คะแนน) หรือ ผิด (ให้ 0 คะแนน) ในครอบครัว ดังนั้นถ้าสมาชิกในครอบครัวมีความรู้เกี่ยว รวมทั้งหมดจ�ำนวน 39 ข้อ น�ำมาแบ่งความรู้ตาม กับการป้องกันอุบัติเหตุในเด็กปฐมวัยก็จะท�ำให้สามารถ อันตรภาคชั้น เป้ฯ 3 ระดับคือ มาก-ปานกลาง-น้อย ปฏิบัติการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุได้อย่างดีเช่นเดียวกัน แบบสอบถามชุดนี้มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .91 ความเชื่อมั่นเท่ากับ.79 วิธีด�ำเนินการวิจัย ส่วนที่ 3 แบบสัมภาษณ์ทัศนคติของสมาชิก เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ ครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็ก (descriptive correlational study) เพื่อศึกษาการ ปฐมวัยในชุมชน เป็นแบบสัมภาษณ์วัดความคิดเห็นตาม ปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการ แบบLikert’s scale 5 ตัวเลือก (เห็นด้วยอย่างยิ่ง, เห็น บาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน และความสัมพันธ์ ด้วย, ไม่แน่ใจ, ไม่เห็นด้วย, ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง) จ�ำนวน ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 22 ข้อ แบบสอบถามชุดนี้มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ .89 ความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 สมาชิกของครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัยซึ่งเรียนอยู่ ส่วนที่ 4 แบบสัมภาษณ์การรับรู้ประโยชน์ของ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบล ในอ�ำเภอสารภ ี สมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของ จังหวัดเชียงใหม่ และอาศัยอยู่ในอ�ำเภอสารภี จังหวัด เด็กปฐมวัยในชุมชน เป็นแบบสัมภาษณ์ความคิดเห็น เชียงใหม่ ตามแบบLikert’s scale 5 ตัวเลือก (เห็นด้วยอย่างยิ่ง, สมาชิกของครอบครัวที่มีบทบาทในการดูแลเด็ก เห็นด้วย, ไม่แน่ใจ, ไม่เห็นด้วย, ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง) ปฐมวัยซึ่งเรียนอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 10 ข้อ แบบสอบถามชุดนี้มีค่าดัชนีความตรง ในพื้นที่อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ท�ำการคัดเลือก ตามเนื้อหา เท่ากับ .94 ความเชื่อมั่นเท่ากับ .78 กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงโดยก�ำหนดคุณสมบัติ ส่วนที่ 5 แบบสัมภาษณ์ความร่วมมือของสมาชิก ดังนี้ มีบทบาทเป็นผู้ดูแลหลักของเด็กปฐมวัย สามารถ ครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 213 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

ในชุมชน เป็นแบบสัมภาษณ์ลักษณะของค�ำตอบจะใช้ ของการศึกษา และขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูลจาก แบบตัวเลือก (scale steps) มี 4 ระดับ คือ สม�่ำเสมอ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลในอ�ำเภอสารภี ผู้วิจัย ทุกวัน/ทุกครั้ง บ่อยครั้ง นาน ๆ ครั้ง และ ไม่เคย จ�ำนวน เข้าพบผู้อ�ำนวยการกองการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 10 ข้อ แบบสอบถามชุดนี้มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา เทศบาลต�ำบล และครูผู้ดูแลเด็ก เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ เท่ากับ .94 ความเชื่อมั่นเท่ากับ .81 ของการวิจัย และติดต่อผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่เป็น ส่วนที่ 6 แบบสัมภาษณ์การปฏิบัติของสมาชิก กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยไปพบกลุ่มตัวอย่าง ครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัย พร้อมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์ของการศึกษาและรายละเอียด ในชุมชน เป็นข้อค�ำถามปลายปิดแบบเลือกตอบ ลักษณะ ในการเก็บข้อมูล ขอความร่วมมือในการตอบแบบสัมภาษณ์ ค�ำตอบเป็นมาตราส่วนประมาณ (Rating Scale) 4 ตัว มีการพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างลงนาม เลือก คือ ปฏิบัติทุกครั้ง ปฏิบัติบ่อยครั้ง ปฏิบัตินาน ๆ เพื่อยินยอมเข้าร่วมการศึกษา ใช้เวลาในการสัมภาษณ์ ครั้ง ไม่ปฏิบัติเลย จ�ำนวน 28 ข้อ แบบสอบถามชุดนี้มี ประมาณ 30 นาที ตรวจสอบความถูกต้อง ความครบ ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .98 ความเชื่อมั่น ถ้วนของข้อมูลในแบบสัมภาษณ์น�ำข้อมูลที่ได้จากกลุ่ม เท่ากับ .86 ตัวอย่างมาวิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการทางสถิติ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล โครงการวิจัยนี้ได้รับการรับรองโครงการวิจัยจาก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามเกสารรับรองโครงการวิจัย ของเพียร์สัน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เลขที่ 083/2559 เมื่อได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการวิจัย สเปียร์แมน ก�ำหนดระดับนัยส�ำคัญทางสถิติที่ .05 ผู้วิจัยจัดท�ำเอกสารชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ขั้นตอนและระยะเวลาของการวิจัย ประโยชน์ของการวิจัย ผลการวิจัย วิธีการรวบรวมข้อมูล และสิทธิในการตอบรับหรือปฏิเสธ กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 110 คน เป็นเพศหญิง จ�ำนวน การเข้าร่วมการวิจัยซึ่งไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง 98 คน คิดเป็นร้อยละ 89.10 มีอายุเฉลี่ย 32.50 ปี ขณะด�ำเนินการวิจัยกลุ่ม สามารถบอกเลิกจากการวิจัย (S.D. = 7.386) มีสถานภาพสมรสคู่ คิดเป็นร้อยละ 82.70 โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผล และจะไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อ ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ร้อยละ กลุ่มตัวอย่าง ส�ำหรับข้อมูลที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ 34.50 ประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 42.7 มี ผู้วิจัยถือเป็นความลับและน�ำมาใช้เฉพาะการวิจัยในครั้งนี้ รายได้ต่อเดือนมากกว่า 15,000 บาท คิดเป็นร้อยละ เท่านั้น โดยน�ำเสนอข้อมูลที่ได้ในภาพรวมและน�ำไปใช้ 55.50 มีรายได้ต่อเดือนเฉลี่ย 20,336 บาท (S.D. = 12,299) ประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น หากกลุ่มตัวอย่างมีข้อสงสัย และมีรายได้ทั้งครอบครัวเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 54.50 ในการท�ำวิจัยสามารถสอบถามผู้วิจัยได้ตลอดเวลา ส่วนใหญ่มีจ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว 4 คน คิดเป็นร้อยละ การเก็บรวบรวมข้อมูล 44.50 และมีความสัมพันธ์กับเด็กปฐมวัยเป็นบิดา ผู้วิจัยท�ำการอบรมผู้ช่วยวิจัยในการสัมภาษณ์ มารดามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 92.70 ส่วนใหญ่สมาชิก จ�ำนวน 2 คน โดยให้ผู้ช่วยวิจัยฝึกสัมภาษณ์ตามแบบ ครอบครัวมีการปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บ สัมภาษณ์จัดท�ำหนังสือผ่านทางคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยในชุมชนในแต่ละด้านอยู่ในระดับมาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ถึงผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ นายกเทศมนตรี (คะแนนเต็มเท่ากับ 3 คะแนน) เรียงล�ำดับจากมากไป ผู้อ�ำนวยการกองการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาล หาน้อย คือ การป้องกันการได้รับสารพิษ การป้องกัน ต�ำบล ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ สัตว์กัด การป้องกันความร้อนลวกและอันตรายจาก

214 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

ไฟฟ้า การป้องกันอุบัติเหตุจราจร การป้องกันการอุดตัน 45.22 และ 66.91 ตามล�ำดับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางเดินหายใจ การป้องกันการจมน�้ำ การป้องกันการ เท่ากับ 4.11, 6.68, 4.41, 7.49 และ 9.43 ตามล�ำดับ พลัดตกหกล้มและการชนกระแทก โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนน ดังตารางที่ 2 เท่ากับ 2.80, 5.30, 7.80, 7.80, 5.18, 6.91 และ 17.61 ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของ ตามล�ำดับ (คะแนนเต็มเท่ากับ 3, 6, 9, 9, 6, 9 และ 24 สมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของ คะแนนตามล�ำดับ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เด็กปฐมวัยในชุมชน คือ ความร่วมมือของสมาชิก เท่ากับ .50, .52, .51, .38, .62, .69 และ .53 ตามล�ำดับ ครอบครัวในการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยใน ดังตารางที่ 1 ชุมชนมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง อย่างมี สมาชิกครอบครัวมีคะแนนความรู้เกี่ยวกับเด็ก นัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .500, p < .001) ส่วนความรู้ ปฐมวัย ทัศนคติ การรับรู้ประโยชน์ ความร่วมมือและ เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยและทัศนคติมีความสัมพันธ์ทางบวก การปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการ (r =.129, p =.180, r =.073, p =.450) แต่การรับรู้ บาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชนอยู่ในระดับมาก คิดเป็น ประโยชน์มีความสัมพันธ์ทางลบ (r =-.013, p =.894) ร้อยละ 85.45, 59.40, 95.50, 63.60 และ 86.40 กับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกัน ตามล�ำดับ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 30.75, 81.16, 44.12, การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ดังตารางที่ 3

ตารางที่ 1 จ�ำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับคะแนนการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัว ในการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน (n=110) ระดับคะแนนการปฏิบัติ  การปฏิบัติการป้องกัน น้อย ปานกลาง มาก S.D. ระดับ (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) การพลัดตกหกล้มและการชน กระแทก 3 (2.70) 37 (36.30) 70 (63.00) 17.61 4.26 มาก การจมน�้ำ 8 (7.20) 32 (28.80) 70 (63.00) 6.91 1.17 มาก การอุดตันทางเดินหายใจ 4 (3.60) 20 (18.00) 86 (78.40) 5.18 1.24 มาก ความร้อนลวกและอันตรายจากไฟฟ้า 3 (2.70) 20 (18.00) 87 (79.30) 7.80 1.53 มาก สัตว์กัด 2 (1.80) 22 (19.80) 86 (78.40) 5.30 1.04 มาก อุบัติเหตุจราจร 0 18 (16.20) 92 (82.80) 7.80 1.14 มาก การได้รับสารพิษ 3 (2.70) 15 (14.50) 92 (82.80) 2.80 .50 มาก การบาดเจ็บอื่น ๆ 1 (0.90) 39 (35.10) 80 (64.00) 13.51 2.62 มาก รวม 0 5 (4.50) 115 (95.50) 66.91 9.43 มาก

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 215 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

ตารางที่ 2 จ�ำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับคะแนนความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ทัศนคติ การรับรู้ประโยชน์ ความร่วมมือและการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัย ในชุมชน (n=110) ระดับคะแนน  ตัวแปร น้อย ปานกลาง มาก S.D. ระดับ (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) ความรู้ 0 16 (14.55) 94 (85.45) 30.75 4.11 มาก ทัศนคติ 0 44 (39.60) 66 (59.40) 81.16 6.68 มาก การรับรู้ประโยชน์ 0 5 (4.50) 105 (95.50) 44.12 4.41 มาก ความร่วมมือ 0 40 (36.40) 70 (63.60) 45.22 7.49 มาก การปฏิบัติ 0 14 (12.60) 96 (86.40) 66.91 9.43 มาก

ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวในการป้องกันการบาดเจ็บของเด็ก ปฐมวัยในชุมชน กับความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ทัศนคติ การรับรู้ประโยชน์ และความร่วมมือของสมาชิกครอบครัว ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน (n=110) ตัวแปรที่มีสัมพันธ์กับการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวในการ ค่าสัมประสิทธิ์สห P-value ป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน สัมพันธ์ (r) ความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยของสมาชิกครอบครัว .129 .180 ทัศนคติของสมาชิกครอบครัว .073 .450 การรับรู้ประโยชน์ของสมาชิกครอบครัว -.013 .894 ความร่วมมือของสมาชิกครอบครัว .500 <.001

การอภิปรายผล ครอบครัวมีการปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บ ผลจากการศึกษาครั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ของเด็กปฐมวัยในชุมชนรายด้านอยู่ในระดับมากทั้งหมด คือ มารดา จ�ำนวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 89.10 มีอายุ การศึกษาครั้งนี้พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลมีส่วน เฉลี่ย 32.50 ปี (S.D. = 7.386) ส่วนใหญ่มีระดับการ ส่งเสริมต่อการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในด้านการปฏิบัติ ศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ร้อยละ 34.50 มีรายได้ ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ต่อเดือนเฉลี่ย 20,336 บาท (S.D. = 12,299) มีรายได้ เนื่องจาก ผู้ดูแลหลักของเด็กปฐมวัยที่ศึกษาในครั้งนี้ ทั้งครอบครัวเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 54.50 เมื่อพิจารณา ส่วนใหญ่เป็นมารดา เนื่องจาก ครอบครัวส่วนใหญ่นั้น ค่าเฉลี่ยคะแนนของการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับ จะมีมารดาเป็นผู้เลี้ยงดูและกระท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ให้แก่เด็ก การป้องกันการ บาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชนโดยรวม เป็นผู้รู้และเข้าใจและไวต่อการตอบสนองความต้องการ มีค่าเท่ากับ 66.91 (คะแนนเต็มเท่ากับ 84 คะแนน) ต่าง ๆ ของเด็กได้เป็นอย่างดี (Yupvattanapan ,1998) (S.D. = 9.43) (ตารางที่ 2) และเมื่อพิจารณาการปฏิบัติ ท�ำให้เด็กปฐมวัยที่มีมารดาดูแลได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บ ตลอดจนการปกป้องอันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก ของเด็กปฐมวัยในชุมชนรายด้าน พบว่า ส่วนใหญ่สมาชิก (Kompor,1999)และวัยผู้ใหญ่เป็นช่วงวัยที่เหมาะสมต่อ

216 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

การดูแลเด็กเนื่องจากมีความพร้อมทั้งด้านวุฒิภาวะ และ พบว่า ความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในเด็กเล็กของมารดา เป็นวัยที่มีสุขภาพแข็งแรงส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพ มีความแตกต่างกันตามปัจเจกบุคคลไม่มีผลต่อการปฏิบัติ ของผู้ดูแลที่ดีต่อเด็กปฐมวัยในครอบครัว นอกจากนี้ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุในเด็กเล็ก แต่มีความส�ำคัญต่อการ ระดับการศึกษาที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้มารดาซึ่งเป็นผู้ดูแลเด็ก การปฏิบัติเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากสารพิษและสารเคมี มีความตระหนักรู้เห็นถึงความส�ำคัญในการป้องกันการ ในบ้าน มารดาความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในเด็กเล็กสูง บาดเจ็บในเด็ก ทั้งการเฝ้าระวังตามการเปลี่ยนแปลง มีการปฏิบัติเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากสารพิษและสารเคมี ด้านพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับการบาดเจ็บของเด็ก ในบ้านมากที่สุด และผลการศึกษาครั้งนี้ได้ผลตรงข้าม ตลอดจนการดูแลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บต่าง ๆ ในเด็ก กับการศึกษาของ (Morrongiello & Dayler, 1996) (Sangvisit, 2010) อีกทั้งการมีรายได้ที่เพียงพอใน เกี่ยวกับความรู้ ความเชื่อ และทัศนคติต่อการปฏิบัติเพื่อ ครอบครัวนั้นส่งผลให้มีการอบรมเลี้ยงดูของมารดาดีขึ้น ป้องกันการบาดเจ็บในเด็กปฐมวัย พบว่า ทั้งความรู้ เนื่องจากมีพร้อมในการดูแลเด็กได้อย่างรอบด้าน ความเชื่อ และทัศนคติมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญ (Nanthamongkolchai, 2004) นอกจากนี้ การศึกษา ทางสถิติกับการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก ของ (Bordeerat,2015) ที่ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผล ปฐมวัย ทั้งนี้เนื่องจาก ความรู้เป็นการรับรู้เบื้องต้นซึ่ง ต่อพฤติกรรมการป้องกันโรค มือ เท้า ปาก ของผู้ปกครอง บุคคลส่วนมาก จะได้รับผ่านประสบการณ์โดยการเรียนรู้ และผู้ดูแลเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์เด็กเล็ก อ�ำเภอลาน จากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แล้วจัดระบบเป็นโครงสร้าง กระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร พบว่า ระดับการศึกษา รายได้ ของความรู้ที่ผสมผสานระหว่าง ความจ�ำกับสภาพ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับพฤติกรรม จิตวิทยา ด้วยเหตุนี้ความรู้จึงเป็นความจ�ำทีเลือกสรร การป้องกันโรค มือ เท้า ปากของผู้ปกครองและ ผู้ดูแล ซึ่งสอดคล้องกับสภาพจิตใจของตนเอง ความรู้จึงเป็น เด็กก่อนวัยเรียน ดังนั้น ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดาที่มี กระบวนการภายใน อย่างไรก็ตาม ความรู้ก็อาจส่งผลต่อ ระดับการศึกษาที่สูง อยู่ในช่วงวัยที่เหมาะสม และมีรายได้ พฤติกรรม ที่แสดงออกของ มนุษย์ได้และผลกระทบที่ ที่เพียงพอจึงเป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้น�ำไปสู่การมีพฤติกรรม ผู้รับสาร (Srisang, 2009) ทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกัน สุขภาพที่ดีซึ่งเป็นการกระท�ำ การปฏิบัติ การแสดงออก การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยและการปฏิบัติของสมาชิก อันจะก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว หรือ ครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็ก ชุมชน ปฐมวัยในชุมชน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับตำ�่ อย่าง ความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยและการปฏิบัติของ ไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .073, p = .450) (ตารางที่ 3) สมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของ อธิบายได้ว่า ทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันการบาดเจ็บ เด็กปฐมวัยในชุมชน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต�่ำ ของเด็กปฐมวัยในสมาชิกครอบครัวเป็นเพียงปัจจัยหนึ่ง ไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .129, p = .180) (ตารางที่ 3) จากหลาย ๆ ปัจจัย ดังนั้น การที่สมาชิกครอบครัวเลือก อธิบายได้ว่า ความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยของสมาชิก ปฏิบัติหรือเลือกไม่ปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการการ ครอบครัวเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งจากหลาย ๆ ปัจจัย ดังนั้น บาดเจ็บของเด็กปฐมวัยนั้น อาจต้องอาศัยปัจจัยอื่น ๆ การที่สมาชิกครอบครัวเลือกปฏิบัติหรือเลือกไม่ปฏิบัติ ร่วมด้วย ผลการศึกษาครั้งนี้ได้ผลตรงข้ามกับการศึกษา ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยนั้น ของ Vladutin, Nansel et al. (2006) ที่ศึกษาใน อาจต้องอาศัยปัจจัยอื่น ๆ ร่วมด้วย ผลการศึกษาครั้งนี้ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-4 ปี ในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ผลสอดคล้องกับการศึกษา (Riyadh & Lafta et al., พบว่า ทัศนคติและความเชื่อมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติ 2013) ที่ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุ ในการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กอายุ 0-4 ปีอย่างมี ในเด็กเล็กของมารดาเด็กวัยก่อนเรียนในเมือง Baghdad นัยส�ำคัญ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 217 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันการบาดเจ็บของ สมาชิกครอบครัวมีความร่วมมือส�ำหรับการป้องกันการ เด็กของปฐมวัยและการปฏิบัติของสมาชิกครอบครัว บาดเจ็บของเด็กปฐมวัยที่ดี จะมีการปฏิบัติส�ำหรับการ ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน ป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชนที่ดีตามด้วย มีความสัมพันธ์ทางลบ อย่างไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติ ทั้งนี้อธิบายได้ว่า ความร่วมมือของสมาชิกครอบครัว (r = -.013, p = .894) (ตารางที่ 3) อธิบายได้ว่า การรับรู้ ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยเป็นการ ประโยชน์ของการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยใน แสดงออกของการปฏิบัติอย่างหนึ่งที่สามารถพัฒนาได้ สมาชิกครอบครัวเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งจากหลาย ๆ ปัจจัย กับบุคคล เพื่อให้เกิดคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ใน ดังนั้นการที่สมาชิกครอบครัวเลือกปฏิบัติหรือเลือก การอยู่ร่วมกันโดยเฉพาะในครอบครัวซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ ไม่ปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการการบาดเจ็บของเด็ก ต่อกัน และจ�ำเป็นต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน จึงมีส่วน ปฐมวัยนั้น อาจต้องอาศัยปัจจัยอื่น ๆ ร่วมด้วย ผลการ ส�ำคัญในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งสอดคล้องกับ ศึกษาครั้งนี้แตกต่างจากการศึกษาของ Earle & Burman การศึกษาของ Senngam, Kulwijit, & kongsang (2012) (1998) พบว่า มารดาที่มีการรับรู้ประโยชน์ของการ ที่ศึกษาเกี่ยวกับภาวะสุขภาพและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ป้องกันโรค การประเมินพัฒนาการเด็ก และการดูแล กับภาวะสุขภาพของเด็กที่รับบริการที่ฝ่ายพัฒนาเด็ก รักษาสุขภาพเด็ก ท�ำให้สามารถพบความผิดปกติที่เกิด ปฐมวัยพบว่า ปัจจัยความร่วมมือจากผู้ปกครองในการ ขึ้นต่อสุขภาพของเด็กได้ ท�ำให้เด็กได้รับการช่วยเหลือ ไม่น�ำเด็กที่มีไข้มารับบริการที่ฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย เบื้องต้น และจากการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อ ท�ำให้การสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลด้านสุขอนามัย พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาในการส่งเสริมสุข ส่วนบุคคลของเด็ก การควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ ภาพบุตร 1-3 ปี ในจังหวัดระยองพบว่าการรับรู้ประโยชน์ อยู่ในระดับสูง ดังนั้น ความร่วมมือของผู้ปกครองจึงเป็น ของมารดาในการส่งเสริมสุขภาพบุตรมีความสัมพันธ์ ความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพในด้าน ทางบวก (r = .29, p < .001) และเป็นปัจจัยที่สามารถ การป้องกันโรค เช่นเดียวกับการศึกษาของ Seiss Jenny ท�ำนายพฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริมสุขภาพบุตร (2008) ที่ศึกษาผลของการจัดโปรแกรมส่งเสริมความ วัย 1-3 ปีได้ร้อยละ 19.5 (Sakdapetchsiri,2007) และ ร่วมมือในการดูแลเด็กให้แก่บิดามารดาในรูปแบบของ การศึกษาของ Janet Abboud et al. (2002) ที่ศึกษา การเยี่ยมบ้าน พบว่าการเยี่ยมบ้านลักษณะนี้เป็นวิธีที่มี เกี่ยวกับปัจจัยท�ำนายความเสี่ยงของการเกิดการบาด ประสิทธิภาพส�ำหรับครอบครัวที่มีรายได้น้อย และ เจ็บของเด็กปฐมวัยในมารดา พบว่า การรับรู้ประโยชน์ หลักสูตรการให้การศึกษาแก่บิดามารดาส่งผลให้เกิด ของการป้องกันการบาดเจ็บของมารดาเด็กปฐมวัยเป็น ความสัมพันธ์เชิงบวก ในด้านทักษะการเลี้ยงดูเด็กของ หนึ่งในปัจจัยการท�ำนายความเสี่ยงของการเกิดการ พ่อแม่และทัศนคติที่ดีในการเลี้ยงดูเด็ก และภายหลัง บาดเจ็บของเด็กปฐมวัย มารดาที่มีการรับรู้ประโยชน์ จากการใช้โปรแกรมเยี่ยมบ้านพบว่ามีความแตกต่างกัน มากมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงในการเกิดการบาดเจ็บ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ในด้านทัศนคติและความเชื่อ ของเด็กปฐมวัยต�่ำ ของบิดามารดา ความร่วมมือส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของ ผลจากการศึกษาครั้งนี้ จะเห็นได้ว่าความร่วมมือ เด็กปฐมวัยของสมาชิกครอบครัว มีความสัมพันธ์ทาง ของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บ บวกระดับปานกลางกับ การปฏิบัติของสมาชิกครอบครัว ในเด็กปฐมวัยเป็นสิ่งส�ำคัญ ดังนั้น พยาบาลจึงต้องเข้า ส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือของสมาชิก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .500, p < 0 .001) ครอบครัวส�ำหรับการปฏิบัติการป้องกันการบาดเจ็บของ (ตารางที่ 3) ซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ คือ เด็กปฐมวัยในชุมชน โดยการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการ

218 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

เปลี่ยนแปลงพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่เกี่ยวข้องกับ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ การบาดเจ็บของเด็กปฐมวัยและการป้องกันการบาดเจ็บ ผลการวิจัยสามารถน�ำไปใช้ในการออกแบบ ของเด็กปฐมวัยในชุมชน ส่งเสริมให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อ บริการสุขภาพ หรือรูปแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความ การป้องกันการบาดเจ็บ ชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของการ ร่วมมือของสมาชิกครอบครัวส�ำหรับการป้องกันการ ป้องกันการบาดเจ็บ เพื่อให้สมาชิกครอบครัวได้ตระหนัก บาดเจ็บของเด็กปฐมวัยในชุมชน หรือการออกแบบงาน และน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพในการ วิจัยอื่นๆ เกี่ยวกับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัย ปฏิบัติส�ำหรับการป้องกันการบาดเจ็บของเด็กปฐมวัย ในชุมชน ในชุมชน เอกสารอ้างอิง Bordeerat, P. (2015). Factor affecting health-protective behavior of hand, foot and mouth disease among parent and babysitters of pre-school children at Day-Care Center in Lankrabue District Kamphaeng phet Province. Thai science and technology Vol 6 No.1 (2015) 347-356.In Thai) Buasuwan, J. (2005).The effect of nursing practice according to health alliance concept on mother’s behavior concerning injury prevention in toddlers in community. Master thesis in Nursing Science. Graduate School, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai) Chotibang, J. (2015). Early childhood care. Capacity of community treasures project: Chiang Mai. Northern region, Thailand. (In Thai) Durongritichai, V.( 2002) Caregiver self-helf group development in preschooler home injury prevention : an action research perspective. Mahidol University Library and Knowledge Center, Bangkok. (In Thai) Earle, L. P., & Burman, M. E. (1998). Benefits and barriers to well-child care: Perceptions of mothers in a rural state. Pubic Health Nursing, 15(3), 180-187. Janet Abboud, Dal Santo, Robert M. Goodman, Deborah Glik, and Kirby Jackson. “Childhood unintentional injuries: factors predicting injury risk among preschoolers.” Journal of pediatric psychology, 29(4), 273-283. Kompor, P. (1999). CHILD HEALTH. Bangkok: Aksornsiamkarnpim. (In Thai) Lafta, R. K., Al-Shatari, S. A., & Abass, S. (2013). Mothers’ knowledge of domestic accident prevention involving children in Baghdad City. Qatar medical journal, 2013(2), 50.., 2013 Morrongiello, B. A., & Dawber, T. (1998). Toddlers’ and mothers’ behaviors in an injury-risk situation: Implications for sex differences in childhood injuries. Journal of Applied Developmental Psychology, 19(4), 625-639. Ngamsuoy, A. (2008) Know ledges, Attitudes, and Practices of Parents related to the Prevention of Injuries and Accidents in Children aged 1-4 years. The journal of trauma, The trauma association of Thailand. Vol 27 No.1 (2008). 5-15. (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 219 ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน

Nanthamongkolchai, S.(2004) Child Rearing in Thai Families Qualitative Study. Research and development office, Prince of Songkla University, Songkla. (In Thai) National Institute for Child and Family Development, Mahidol University.(2013) Thai’s Family Health. Retrieved May 11, 2014, from http://www.cf.mahidol.ac.th/ (In Thai) Prateepchaikul, L.(2002) Nursing care for Early Childhood Development. Bangkok : Samjaroenpanich. (In Thai) Plitapolkarnpim, A. (2007). Child safety management for kids under 3 years old. Retrieved May 11, 2014, from http://resource.thaihealth.or.th/media/knowledge/12880 (In Thai) Plitapolkarnpim, A. (2007). Child safety management for kids 3-5 years old. Retrieved May 11, 2014, from http://resource.thaihealth.or.th/media/knowledge/12881 (In Thai) Phetmueng, P. (2006) Alternative : Environmental conditions of healthy day care centers in Uttaradit province.KKU research journal (Graduate Studies) Vol 6 (2006) 130-138 (In Thai) Prasopkittikun, T. (2006). Influencing Factors to maternal behaviors about home management in preterm newborn. Thai Journal of pediatrics Vol 1 No.3 (2006) 42-55.(In Thai) Sakdapetchsiri, J. (2007). Factors influencing maternal behaviors in promoting toddlers health at Rayong province. Master thesis in Nursing Science (Pediatric Nursing). Graduate School, Mahidol University, Bangkok. (In Thai) Sangvisit, S. (2010). Effect of risk factors in home and giving individual counselling on parents for injury prevention of Pediatric Clinic COC. Thai Journal of pediatrics Vol 18 No.1 (2010). 54-63. (In Thai) Seiss, J. (2009). Effects of a Twelve Week Home Based Adlerian Parent Education Program in Families with Seriously Emotionally Disturbed Children Between the Ages of Six and Fourteen. ProQuest. Retrieve September 10, 2016 from https://books.google.co.th/books? Senngam, K., Kulwijit, J., & kongsang, L.(2012). Health Status and Factors Related to Health Status of Children Attending at the Early Childhood Development Center. Songklanakarind journal of nursing. Vol 32 No.1 (2012) 11-26. (In Thai) Srisang, N. (2009). A Knowledge and Practice Assessment of Disease Prevention for Pre-school Children by their Mothers: A Case Study of “Influenza 2009”, Bang Muang Municipality, Bangyai Nonthaburi Province. Master thesis in Public Health. Sukhothai Thammathirat Open University, Nontaburi. (In Thai) Strategy and Planning Division Office of the Permanent Secretary.(2014) Mid-year population. Retrieved May 11, 2014, from http://bps.moph.go.th/new_bps/(In Thai) Vladutiu, C. J., Nansel, T. R., Weaver, N. L., Jacobsen, H. A., & Kreuter, M. W. (2006). Differential strength of association of child injury prevention attitudes and beliefs on practices: a case for audience segmentation. Injury prevention, 12(1), 35-40.

220 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Lessons Learned of the Participatory Public Health Policy in Alcoholic Consumption Management in the Community

Wolrd Health Organization [WHO]. (2010). International and regional child safety organizations. Retrieved January, 25, 2016, from http://www.who.int/violence_injury_prevention/ child_injuries/organizations/en/ Yupvattanapan, P. (1998). Needs and Received Need Response among Mothers of Children Hostipitalized in Pediatric Intensive Care Unit at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitals. Master thesis in Nursing Science (Pediatric Nursing). Graduate School, Chiang Mai University, Chiang Mai. (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 221 ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง The Effect of an Empowerment Program on Quality of Life Among Older Persons with Stroke

จารวี คณิตาภิลักษณ์ * Jarawee Kanedtapilux * ทศพร ค�ำผลศิริ ** Totsaporn Khampolsiri ** ลินจง โปธิบาล *** Linchong Pothiban ***

บทคัดย่อ โรคหลอดเลือดสมองที่เกิดในผู้สูงอายุท�ำให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อการท�ำหน้าที่ของร่างกาย และอาจท�ำให้ เกิดปัญหาทางจิตใจท�ำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองไม่มีพลังอ�ำนาจในการควบคุมหรือจัดการกับการเจ็บป่วยและ ความพิการของตนเองได้ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตลดลง ดังนั้นเพื่อให้คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ดีขึ้นจึงต้องมีการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้สูงอายุกลุ่มนี้การวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ และเพื่อเปรียบเทียบ คุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจกับกลุ่มที่ไม่ได้ รับโปรแกรมกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองจ�ำนวน 88 ราย สุ่มโดยใช้การสุ่มแบบบล็อกเข้ากลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 44 ราย ซึ่งทั้งสองกลุ่มได้รับการวัดคุณภาพชีวิตโดยใช้ Stroke impact scale (SIS) โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจตามแนวคิดของกิบสัน (Gibson) ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม เสริมสร้างพลังอ�ำนาจ 4 ขั้นตอนได้แก่ 1. การค้นพบสภาพการณ์จริง 2. การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3. การตัดสินใจ ลงมือปฏิบัติ และ 4. การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และใช้สถิติทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า 1. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองหลังได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจสูงกว่า ก่อนการได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ (p < .05) 2. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจสูงกว่า กลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ (p < .05)

ค�ำส�ำคัญ: การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง

วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต * พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี * Professional Nurse, Sunpasitthiprasong hospital, Ubon Ratchathani ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 222 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 The Effect of an Empowerment Program on Quality of Life Among Older Persons with Stroke

Abstract Stroke that occur in an older person directly impacts their functional ability and may cause psychological problems. These consequences often lead to feelings of powerlessness in controlling or managing their symptoms and disability, resulting in decreased quality of life. Thus, to improve quality of life, older persons in this group should be empowered. This experimental research aimed to compare quality of life of the older person with stroke before and after completing the empowerment program and to compare the quality of life of the older person between the groups completing the empowerment program and those who did not participate in the program. Sample group included 88 older persons with stroke. All subjects were randomized by using permuted block design method into an experimental group and a control group. Each group contained 44 persons. Both groups had their quality of life measured using the Stroke impact scale (SIS). The experimental group completed the empowerment program which is based on Gibson’s model, composed of four stages of empowerment activities including: (1) discovering reality, (2) critical reflection, (3) taking charge, and (4) holding on. Data were obtained in eight weeks. Descriptive statistics and t-test were used for data analysis. The results of this study revealed that 1. The quality of life for the older persons with stroke after completing the program was statistically and significantly higher than before at level of p < 0.05 2. After completing the program, the quality of life of older persons with stroke was statistically and significantly higher than that of the group without the program at level of p < 0.05 The results of this study show that the empowerment program can improve the quality of life of older persons with stroke. It can be considered as a useful intervention to improve the quality of life for this group of the older persons.

Key words: Empowerment, Quality of life, Stroke in older person

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา 2550-2556 โดยเพิ่มจาก 20.65 ต่อประชากรแสนคน โรคหลอดเลือดสมองเป็นกลุ่มอาการหรืออาการ เป็น 36.13 ต่อประชากรแสนคน (Office of Policy ทางคลินิกทางสมอง ที่เกิดจากการตีบ อุดตัน หรือแตก and Strategy Office of the Permanent Secretary ของหลอดเลือดสมองที่มีอาการนานเกิน 24 ชั่วโมงและ Ministry of Public Health,2012) ส�ำหรับโรงพยาบาล ในกรณีรุนแรงอาจท�ำให้เสียชีวิตได้ (WHO, 2006) สรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี มีจ�ำนวน อุบัติการณ์การเกิดโรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทย ผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มมากขึ้นทุกปี ในปี 2550-2555 พบอัตราป่วยทั่วประเทศมีแนวโน้ม พบว่าในปี 2554 มีจ�ำนวน 966 ราย ผู้ป่วยใหม่ 12 ราย สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยในปี 2550-2555 เพิ่มขึ้นจาก ผู้ป่วยเก่า 954 ราย ปี 2555 มีจ�ำนวน 1,067 ราย ผู้ป่วย 255.85 ต่อประชากรแสนคน เป็น 354.54 ต่อประชากร ใหม่ 3 ราย ผู้ป่วยเก่า1,064 รายและปี 2556 มีจ�ำนวน แสนคน และอัตราตายเพิ่มขึ้นเกือบถึงสองเท่าระหว่างปี 1,100 ราย ผู้ป่วยใหม่ 4 ราย ผู้ป่วยเก่า 1,096 ราย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 223 ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง

(Institute of Neurology, Department of Medical (Hafsteindottir & Grypdonck, 1996) รวมทั้งความ Services, Ministry of Public Health, 2014) โรค พิการที่เกิดขึ้นท�ำให้ไม่สามารถประกอบอาชีพท�ำให้ขาด หลอดเลือดสมองแบ่งเป็น 2 ชนิดได้แก่ โรคหลอดเลือด รายได้ในการเลี้ยงดู ครอบครัว ซึ่งผลกระทบเหล่านี้ สมองจากการมีเลือดออกในสมอง (hemorrhagic จะท�ำให้ผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองมีความ stroke) ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีการแตกของหลอดเลือดในสมอง บกพร่อง สูญเสียหรือไร้ความสามารถ และมีความด้อย และมีอัตราการตายสูง ในเขตเอเชียพบว่าอัตราการตาย โอกาสทางสังคม (Harnphadungkit, 2007) ซึ่ง เป็นผล สูงถึงร้อยละ 40-50 ของจ�ำนวนผู้ป่วยที่เกิดโรคหลอด ในระยะยาวต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย เลือดสมองทั้งหมด และโรคหลอดเลือดสมองจากการ Duncan et al. (2002) ได้กล่าวถึงคุณภาพชีวิต ขาดเลือด (ischemic stroke) ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีการอุดตัน ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองว่า เกิดความยากล�ำบาก หรือมีการตีบแคบของหลอดเลือดในสมอง และจะมี ในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นผลที่เกิดจากการ โอกาสรอดชีวิตสูงพบร้อยละ 85 (Rukskul,2007) โรค ท�ำงานของร่างกายลดลง โดยแบ่งเป็น 8 ด้าน ได้แก่ หลอดเลือดสมองท�ำให้เกิดความบกพร่องหรือความ ความแข็งแรง (strength) การท�ำงานของมือ (hand ผิดปกติการท�ำงานของสมอง ปัญหาที่พบจะขึ้นกับส่วน function) การเคลื่อนไหว (mobility) การท�ำกิจวัตร ของสมองที่มีพยาธิสภาพอาการที่พบได้แก่ การท�ำงาน ประจ�ำวัน (activities of daily living / instrumental ของกล้ามเนื้อลดลง การประสานงานของกล้ามเนื้อ activities of daily living) การติดต่อสื่อสาร ไม่สัมพันธ์กัน การทรงตัวไม่ดี ระบบประสาทสัมผัสการ (communication) อารมณ์ (emotion) ความคิดความจ�ำ รับความรู้สึกร้อน เย็น การรับรู้ต�ำแหน่งของร่างกายลดลง (memory and thinking) และการเข้าร่วมในสังคม การสื่อสารในการฟัง พูด อ่าน เขียนบกพร่อง เกิดกลุ่ม (participation) ดังนั้นเพื่อท�ำให้คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อาการละเลยร่างกายครึ่งซีก (neglect syndrome) ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองดีขึ้น จึงจ�ำเป็นจะต้องมีการ ภาวะกลืนล�ำบาก (dysphagia) รวมทั้งควบคุมระบบ เสริมสร้างพลังอ�ำนาจร่วมกับการจัดการกับปัจจัยต่าง ๆ ขับถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะไม่ได้ (Harnphadungkit, ที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มนี้ ซึ่งใน 2007) ซึ่งปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย การดูแลตนเองและการจัดการปัญหาของผู้ป่วยภายหลัง โรคหลอดเลือดสมองในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านร่างกาย ออกจากโรงพยาบาล สามารถด�ำเนินการได้หลายวิธีโดย มีความพิการที่ท�ำให้ต้องพึ่งพาผู้อื่นเริ่มตั้งแต่การปฏิบัติ เฉพาะการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและการเพิ่ม กิจวัตรประจ�ำวัน จนถึงกิจกรรมด้านอื่น ๆ ในการด�ำรงชีวิต สมรรถนะความแข็งแรงของร่างกายเพื่อให้สามารถช่วย นอกจากนั้นความบกพร่องของการรับรู้ด้านสติปัญญา เหลือตัวเองได้ และพึ่งพิงผู้อื่นลดลง ซึ่งวิธีการดังกล่าว และการด้อยสมรรถภาพของร่างกาย ท�ำให้เกิดปัญหา คือการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจนั่นเอง ด้านจิตใจโดยพบความไม่มั่นใจในการที่จะด�ำเนินชีวิต Gibson กล่าวถึงการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ความเครียด วิตกกังวล หมดหวัง ท้อแท้ หมดแรง และ (empowerment) ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่จะ ซึมเศร้าไม่ต้องการที่จะช่วยเหลือตนเอง หรือบางราย ช่วยให้ผู้ป่วยได้มีการตระหนัก มีการเสริมสร้างและ ไม่ต้องการมีชีวิตอยู่เพื่อเป็นภาระให้ครอบครัว นอกจาก ดึงเอาความสามารถของตนเองมาใช้เพื่อให้บรรลุในสิ่งที่ นั้นยังส่งผลให้เกิดผลกระทบในด้านสังคมและเศรษฐกิจ ตนเองต้องการ สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับตนเองได้ เนื่องจากการที่ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้น้อยลงในการ และสามารถเคลื่อนย้ายแหล่งข้อมูลที่จ�ำเป็นเพื่อให้รู้สึก ปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันและการเปลี่ยนแปลงบทบาท ว่าสามารถควบคุมชีวิตของตนเองได้ (Gibson, 1995) ในครอบครัวท�ำให้รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่าเป็นภาระที่ การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจเป็นกระบวนการสนับสนุนผู้ป่วย ต้องพึ่งพิงผู้อื่นจึงไม่อยากเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม โดยพยาบาลจะต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองมาเป็น

224 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 The Effect of an Empowerment Program on Quality of Life Among Older Persons with Stroke

ผู้กระตุ้น (sensitizer) ผู้อ�ำนวยความสะดวก (facilitator) จะท�ำให้ผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองสามารถ และเป็นแหล่งข้อมูล (resource) ให้กับผู้ป่วย (Gibson, ค้นพบปัญหาด้วยตนเอง สามารถควบคุมสิ่งต่าง ๆ เพื่อ 1991) การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจจะเป็นวิธีการท�ำให้ การเปลี่ยนแปลงการด�ำเนินชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่ตนเอง ผู้ป่วยได้มองเห็นปัญหา สะท้อนคิดเพื่อการวิเคราะห์ อาศัยอยู่ตามบริบท รวมทั้งการมีส่วนร่วมที่จะเลือกการ ปัญหาและมีส่วนร่วมในการก�ำหนดเป้าหมายในการแก้ รักษาพยาบาลให้เหมาะสมกับตนเอง เพื่อที่จะกลับไป ปัญหาของตนเอง ซึ่งการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของ ดูแลตนเองได้อย่างมั่นใจและเกิดความยั่งยืนในการฟื้นฟู บุคคลนั้นเกิดจากอิทธิพลของปัจจัยภายในตัวบุคคล เช่น สมรรถภาพของตนเอง ซึ่งจะท�ำให้ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือด ค่านิยม ความเชื่อ เป้าหมายในชีวิต และประสบการณ์ สมองมีโอกาสฟื้นคืนสภาพให้ใกล้เคียงสภาพเดิม ลดการ ส่วนบุคคลและปัจจัยระหว่างบุคคล เช่นการสนับสนุน พึ่งพิงผู้ดูแลให้น้อยที่สุด ลดการเป็นภาระให้ครอบครัว ทางสังคม กระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจตาม และสังคมท�ำให้ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองมีคุณภาพ แนวคิดของกิบสันประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ (1) การ ชีวิตดีขึ้นต่อไป ค้นพบสภาพการณ์จริง จะท�ำให้ผู้ป่วยมีความตระหนัก ในปัญหาและเกิดความเข้าใจในการเกิดโรค (2) การ วัตถุประสงค์การวิจัย สะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณท�ำให้ผู้ป่วยสามารถ 1. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรค ประเมินสาเหตุของการเป็นโรคของตนเอง (3) การตัดสินใจ หลอดเลือดสมองก่อนและหลังได้รับการเสริมสร้างพลัง ลงมือปฏิบัติท�ำให้ผู้ป่วยได้ตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติ อ�ำนาจ ให้เหมาะสมกับตนเอง รวมทั้งช่วยกันก�ำหนดเป้าหมาย 2. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุโรค ที่จะปฏิบัติให้บรรลุผลส�ำเร็จ (4) คงไว้ซึ่งการปฏิบัติ หลอดเลือดสมองระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเสริมสร้างพลัง หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพท�ำให้ผู้ป่วยสามารถด�ำรงไว้ อ�ำนาจกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ซึ่งความรู้สึกถึงอ�ำนาจในการควบคุมตนเองและเลือกวิธี การปฏิบัติให้เหมาะสมได้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้ป่วย สมมติฐานการวิจัย สามารถดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 1. คะแนนคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคหลอด ปัจจุบันพบว่ายังไม่มีการน�ำโปรแกรมการเสริมสร้าง เลือดสมองหลังได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจสูงกว่า พลังอ�ำนาจไปใช้กับผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ก่อนการได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ โดยตรง และยังไม่มีการศึกษาถึงผลของโปรแกรมการ 2. คะแนนคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคหลอด เสริมสร้างพลังอํานาจต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุ เลือดสมองกลุ่มที่ได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ สูงกว่า ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง เนื่องจากผู้สูงอายุที่ป่วยจะ กลุ่มที่ไม่ได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ มีความยากล�ำบากในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็น ผลที่เกิดจากการท�ำงานของร่างกายลดลง อันเป็นผลจาก กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย มีความเสื่อมของร่างกาย แล้วยังเกิดความบกพร่อง สูญเสีย การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการเสริมสร้าง หรือไร้ความสามารถและมีความด้อยโอกาสทางสังคม พลังอ�ำนาจของ (Gibson, 1995) มาใช้ส�ำหรับผู้สูงอายุ ขาดพลังอ�ำนาจ และมีแนวโน้มการลดลงของคุณภาพ ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง เนื่องจากเป็นแนวคิดที่ท�ำให้ ชีวิตมากกว่าวัยอื่น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่น�ำโปรแกรม ผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองได้ค้นพบ และสร้าง การเสริมสร้างพลังอํานาจที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามแนวคิด ศักยภาพที่มีอยู่ในตัวเอง เพื่อให้รับผิดชอบชีวิตของ ของกิบสันไปใช้กับผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ตนเองได้เพิ่มขึ้น ลดการพึ่งพิงผู้อื่น ซึ่งแนวคิดดังกล่าว ซึ่งผู้วิจัยคาดว่าโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอนได้แก่ขั้นที่ 1.การ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 225 ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง

ค้นพบสภาพการณ์จริง (discovering reality) ขั้นที่ 2. ตัวอย่างจ�ำนวน 20 % เพื่อป้องกันกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ (critical reflection) สามารถเข้าร่วมงานวิจัยครบตามก�ำหนด (attrition ขั้นที่ 3. การตัดสินใจลงมือปฏิบัติ (taking charge) ขั้นที่ rate) เป็นกลุ่มละ 44 คน รวมทั้งสิ้น 88 คน 4. คงไว้ซึ่งการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ (holding ขั้นด�ำเนินการทดลอง โดยผู้วิจัยใช้โปรแกรมการ on) ซึ่งในกระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจทั้ง 4 ขั้นตอน เสริมสร้างพลังอ�ำนาจประกอบด้วยกิจกรรมเสริมสร้าง นี้ผู้วิจัยได้น�ำมาเป็นส่วนประกอบส�ำคัญในกิจกรรมเสริม พลังอ�ำนาจ 4 ขั้นตอนโดยใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ สร้างพลังอ�ำนาจที่น�ำไปใช้ส�ำหรับผู้สูงอายุที่เป็นโรค ดังนี้ หลอดเลือดสมองโดยการท�ำแต่ละกิจกรรม เพื่อเพิ่ม ในสัปดาห์ที่ 1 ประเมินคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1 และ ความแข็งแรงฝึกการท�ำงานของกล้ามเนื้อในส่วนต่าง ๆ จัดกิจกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ 2 ขั้นตอน โดยจัด มีการเคลื่อนไหวในการท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน มีการติดต่อ ที่ตึกผู้ป่วยนอก (คลินิกโรคหลอดเลือดสมอง)ใช้เวลา สื่อสาร ฝึกใช้ความคิดความจ�ำ และการเข้าร่วมในสังคม 60-90 นาที ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1. การค้นพบสภาพการณ์ ผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองมีอารมณ์ดีขึ้น ท�ำให้ จริง และขั้นตอนที่ 2. การสะท้อนคิดอย่างมี วิจารณญาณ สามารถปรับตัวเพื่ออยู่ในภาวะสมดุลทั้งร่างกาย จิตใจ ในสัปดาห์ที่ 2 และ 3 โดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย 2 อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ รวมทั้งให้มีความยั่งยืน ครั้ง ๆ ละ 60-90 นาที ซึ่งจัดกิจกรรมการเสริมสร้างพลัง ในการปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพของตนเอง ซึ่งคาดว่า อ�ำนาจขั้นตอนที่ 3. การตัดสินใจลงมือปฏิบัติ และ จะท�ำให้ผู้สูงที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองมีโอกาสฟื้นคืน กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ขั้นตอนที่ 4. การคงไว้ สภาพให้ใกล้เคียงสภาพเดิมลดการพึ่งพิงผู้ดูแลให้น้อย ซึ่งการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ที่สุด ลดการเป็นภาระให้ครอบครัว และท�ำให้ผู้สูงอายุ ในสัปดาห์ที่ 4-8 โดยการโทรศัพท์ สอบถามอาการ โรคหลอดเลือดสมองมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ผู้ป่วยใช้เวลา 10-15 นาที เป็นกิจกรรมการเสริมสร้าง พลังอ�ำนาจขั้นตอนที่ 4. การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติหน้าที่ วิธีด�ำเนินการวิจัย อย่างมีประสิทธิภาพ (ต่อเนื่อง) การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบการวิจัยเชิงทดลอง และสัปดาห์ที่ 9 ประเมินคุณภาพชีวิตครั้งที่ 2 โดย (experimental research) ชนิดสองกลุ่มวัดก่อนและหลัง ประเมินที่บ้านของผู้ป่วยใช้เวลา 30 นาที (two groups pretest-posttest design) เพื่อศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ ชีวิตในผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มตัวอย่าง แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบประเมินคุณภาพชีวิต คือผู้ที่มีอายุ 60-75 ปี ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง น�ำไปทดสอบค่าความ หลอดเลือดสมองครั้งแรกในระยะเวลา 3 ถึง 6 เดือน เชื่อมั่น เท่ากับ 0.94 ที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลสรรพ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการด�ำเนินการวิจัย ได้แก่ สิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี ค�ำนวณกลุ่มตัวอย่าง โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจผู้สูงอายุที่เป็นโรค โดยใช้อ�ำนาจการทดสอบ ที่ 0.80 ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ หลอดเลือดสมองผ่านการตรวจสอบและแก้ไขให้มีความ เท่ากับ 0.05 และขนาดความสัมพันธ์ของตัวแปร ในการ ถูกต้องตามค�ำแนะน�ำของผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 ท่าน วิจัยทางการพยาบาลที่สามารถเห็นผลการวิจัยทางคลินิก และผ่านการทดลองใช้เพื่อทดสอบความเป็นไปได้ในทาง ที่ชัดเจน ซึ่งจะต้องมีขนาดความสัมพันธ์ที่ต้องการศึกษา ปฏิบัติก่อนการน�ำไปใช้จริง คู่มือการฟื้นฟูสมรรถภาพ อยู่ในระดับไม่เกิน 0.40 (Burns & Grove, 2005) ได้ ส�ำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพาต อัมพฤกษ์) ขนาดกลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 36 คน และเพิ่มขนาดกลุ่ม ส�ำหรับประชาชน (Institute of Neurology, 2014)

226 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 The Effect of an Empowerment Program on Quality of Life Among Older Persons with Stroke

และวีดิทัศน์การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมองตามคุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่างที่ สมอง (Institute of Neurology, 2014) ก�ำหนดไว้ และจัดกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยเป็น 2 กลุ่มโดยใช้ การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง permuted block design โดยกลุ่มควบคุมไม่ได้รับ ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้พิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ส่วนกลุ่มทดลองได้ โดยน�ำโครงร่างวิทยานิพนธ์เสนอต่อคณะกรรมการ รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ จริยธรรมการวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ข้อมูล เชียงใหม่ เมื่อได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูล โดยวิธีการทางสถิติ โดยการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ผู้วิจัยได้จัดท�ำเอกสารชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ข้อมูลตามลักษณะข้อมูล ประโยชน์ของการวิจัย ขั้นตอนการด�ำเนินการรวบรวม 1. ข้อมูลส่วนบุคคลวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิง ข้อมูล และสิทธิในการตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วม พรรณนา และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความแตกต่างของ วิจัยซึ่งจะไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง โดยกลุ่ม ข้อมูลส่วนบุคคลระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ตัวอย่างมีอิสระและมีเวลาในการตัดสินใจในการให้ข้อมูล โดยใช้สถิติไค-สแควร์ (Chi-square test) รวมถึงการเข้าร่วมในการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพ 2. เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตกลุ่มควบคุมและกลุ่ม ชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ให้กลุ่ม ทดลอง ก่อนและหลังการศึกษาโดยใช้สถิติ Independent ตัวอย่างลงชื่อยินยอมเข้าร่วมการวิจัยก่อนเริ่มการวิจัย t-test ซึ่งการให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูลเป็นไปตามความ 3. เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตระหว่างกลุ่มควบคุม สมัครใจของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างมีสิทธิ์ที่จะถอนตัว และกลุ่มทดลองหลังการใช้โปรแกรมการเสริมสร้างพลัง หรือยกเลิกจากการวิจัยโดยไม่มีผลกระทบต่อการรักษา อ�ำนาจ โดยใช้สถิติ Paired t-test ที่จะได้รับหากเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินขึ้นขณะท�ำโปรแกรม การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ เช่นกลุ่มตัวอย่างมีอาการ ผลการวิจัย เวียนศีรษะ หน้ามืด ตาพร่ามัว ใจสั่น เป็นลม ผู้วิจัยจะ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่ม ให้กลุ่มตัวอย่างรายนั้นหยุดพัก และให้การพยาบาลจน ตัวอย่างมีอายุระหว่าง 60-69 ปี (ร้อยละ 65.9) ส่วนใหญ่ กระทั่งกลุ่มตัวอย่างมีอาการดีขึ้นและด�ำเนินการตาม เป็นเพศชาย (ร้อยละ 54.5) มีสถานภาพสมรสคู่ (ร้อยละ โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อ หากกลุ่มตัวอย่าง 88.6) ระดับการศึกษาจบการศึกษาระดับประถมศึกษา รายนั้นยินดีและมีความพร้อมที่จะเข้าร่วมการวิจัยอีกครั้ง (ร้อยละ 72.7) การประกอบอาชีพไม่ได้ท�ำงาน (ร้อยละ หรือหากเกิดอันตรายใด ๆ จากการวิจัยกลุ่มตัวอย่างจะ 31.8) รายได้เฉลี่ยครอบครัวมีรายได้น้อยกว่า 5,000 ได้รับการรักษาอย่างเต็มที่ โดยผู้วิจัยจะดูแลและติดตาม บาท (ร้อยละ 36.4) ระยะห่างจากโรงพยาบาลกับบ้าน เยี่ยมจนกว่ากลุ่มตัวอย่างจะปลอดภัย การน�ำเสนอข้อมูล พักอาศัยมีระยะห่าง 10-50 กิโลเมตร (ร้อยละ 68.5) จะน�ำเสนอในภาพรวมของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด และข้อมูล ส่วนกลุ่มทดลอง มีช่วงอายุ 66-69 ปี และช่วงอายุ 70- ที่ได้จากการศึกษาจะถูกเก็บเป็นความลับ ก่อนการวิจัย 75 ปี ในสัดส่วนเท่ากัน (ร้อยละ 50) เพศชายและเพศหญิง กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองจะได้รับคู่มือ และวีดิทัศน์ มีสัดส่วนเท่ากัน (ร้อยละ 50) มีสถานภาพสมรสคู่ (ร้อยละ การฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 70.5) ระดับการศึกษา จบการศึกษาระดับประถมศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล (ร้อยละ 72.7) การประกอบอาชีพไม่ได้ท�ำงาน (ร้อยละ ผู้วิจัยด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลร่วมกับผู้ช่วยวิจัย 54.5) รายได้เฉลี่ยครอบครัวมีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาท 2 ซึ่งได้รับการฝึกเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้วิจัย โดยการ (ร้อยละ 45.5) ระยะห่างจากโรงพยาบาลกับบ้านพัก คัดเลือกผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองทุกวันในคลินิก อาศัย มีระยะห่าง 10-50 กิโลเมตร (ร้อยละ 70.5)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 227 ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง

ส่วนที่ 2 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนน (p < .05) คุณภาพชีวิตก่อนและหลังการศึกษาของกลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุมคะแนนเฉลี่ยของคุณภาพชีวิต กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพชีวิต หลังการศึกษาต�่ำกว่าก่อนการศึกษาอย่างไม่มีนัยส�ำคัญ หลังการใช้โปรแกรมเสริมพลังอ�ำนาจสูงกว่าก่อนการใช้ ทางสถิติ ดังแสดงในตารางที่ 1 โปรแกรมเสริมพลังอ�ำนาจ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ

ตารางท ี่ 1 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการศึกษาของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม คุณภาพชีวิต กลุ่มตัวอย่าง ก่อนศึกษา หลังศึกษา P-value  S.D.  S.D. กลุ่มทดลอง 243.23 8.15 256.82 8.82 0.00* กลุ่มควบคุม 239.05 13.09 224.75 13.76 0.055

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพชีวิตคุณภาพชีวิตกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม คุณภาพชีวิต กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง t P-value  S.D.  S.D. ก่อนศึกษา 239.05 13.09 243.23 8.15 -1.79 0.06 หลังศึกษา 224.75 13.76 256.82 8.81 -13.01 0.00* *p < .05

จากตารางที่ 2 พบว่าคะแนนคุณภาพชีวิตของ โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจเป็นการท�ำ ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองหลังการใช้โปรแกรมเสริม กิจกรรมที่มีประสิทธิผลสามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กลุ่ม พลังอ�ำนาจ พบว่า กลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม ตัวอย่างที่เป็นที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองได้ เนื่องจาก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .05) กลุ่มตัวอย่างและครอบครัวให้ความร่วมมือในการท�ำ กิจกรรม มีการเรียนรู้และต้องการมีส่วนร่วม โดยใช้ การอภิปรายผล กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ได้แก่การค้นพบ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาผลของโปรแกรมการ สภาพการณ์จริงท�ำให้กลุ่มตัวอย่างมีความตระหนักในปัญหา เสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ และเกิดความเข้าใจในการเกิดโรคน�ำไปสู่การสะท้อน เป็นโรคหลอดเลือดสมอง จ�ำนวน 88 คน โดยแบ่งกลุ่ม คิดอย่างมีวิจารณญาณท�ำให้กลุ่มตัวอย่างสามารถ ตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 44 คน กลุ่มควบคุมเป็น ประเมินสาเหตุของการเป็นโรคหลอดเลือดสมองของ กลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ส่วน ตนเอง เพื่อการตัดสินใจลงมือปฏิบัติ และการคงไว้ซึ่ง กลุ่มทดลองเป็นกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้าง การปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพท�ำให้กลุ่มตัวอย่าง พลังอ�ำนาจ ซึ่งผลการศึกษาอธิบายตามสมมติฐานได้ดังนี้ ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองเกิดการรับรู้พลังอ�ำนาจ

228 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 The Effect of an Empowerment Program on Quality of Life Among Older Persons with Stroke

ในตนเองว่าตนเองว่าสามารถท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ด้วย คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง เป็นทาง ตนเองโดยที่กลุ่มตัวอย่างเกิดพลังหนุนเสริมในตัวเอง เลือกหนึ่งที่จะน�ำมาใช้เป็นวิธีการเพิ่มคุณภาพชีวิต ซึ่งในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านร่างกายต้องอาศัย ส�ำหรับการดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง รวมทั้ง ระยะเวลาเป็นเดือน หรืออาจเป็นปี ตัวกลุ่มตัวอย่างเอง เป็นแนวทางในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มี เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดที่ต้องยอมรับกับความเจ็บป่วย การเจ็บป่วยเรื้อรัง หรืออยู่ในภาวะพึ่งพิงที่คล้ายคลึงกับ ที่ท�ำให้ชีวิตต้องเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ในโรงพยาบาลสรรพ การที่กลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองได้ สิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานีต่อไป เข้าร่วมโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในกิจกรรม ดังได้กล่าวมาแล้วนั้นได้น�ำผลลัพธ์ที่ได้จากการปฏิบัติ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ มาบอกเล่ากับผู้วิจัย และน�ำมาปรับปรุงเพื่อให้เกิด 1. บุคลากรทางสุขภาพ สามารถน�ำโปรแกรมการ แนวทางที่ดี และเหมาะสมไปใช้ส�ำหรับตนเอง สามารถ เสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ไปเป็นแนวทางในการสอนผู้สูงอายุ ควบคุมสิ่งต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงการด�ำเนินชีวิตใน ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง และผู้ดูแลเพื่อให้การส่งเสริม สิ่งแวดล้อมที่ตนเองอาศัยอยู่ตามบริบท รวมทั้งการมี การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายมีประสิทธิภาพ และเป็นไป ส่วนร่วมที่จะเลือกการรักษาพยาบาลให้เหมาะสมกับ ในแนวทางเดียวกัน ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งในการเพิ่ม ตนเอง กลับไปดูแลตนเองได้อย่างมั่นใจ จากการ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่พักรักษาในโรงพยาบาล เปลี่ยนแปลงต่อการท�ำงานของร่างกายลดลง หลังใช้การ 2. เป็นข้อมูลส�ำหรับการฝึกพยาบาลในชุมชนใน เสริมสร้างพลังอ�ำนาจในกลุ่มตัวอย่าง จะท�ำให้กลุ่ม การใช้โปรแกรมเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในการดูแลผู้สูงอายุ ตัวอย่างเกิดการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตหลังการเสริมสร้าง ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง และท�ำให้เพิ่มคุณภาพชีวิต พลังอ�ำนาจ ท�ำให้ลดการพึ่งพิงผู้อื่น ของผู้สูงอายุที่เป็น โรคหลอดเลือดสมองในชุมชน ดังนั้นหลังท�ำกิจกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองได้รับการ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ประเมินคุณภาพชีวิตทั้ง 8 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย 1. น�ำไปใช้ในการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจให้ผู้ป่วย ด้านความจ�ำและความคิด ด้านการควบคุมอารมณ์ ด้าน ที่มีโรคเรื้อรังโดยการเข้ากลุ่มเพื่อให้ผู้ป่วยได้แลกเปลี่ยน การสื่อสารกับผู้อื่น รวมถึงการเข้าใจสิ่งที่อ่าน และได้ยิน เรียนรู้ข้อมูลซึ่งกันและกัน มีความเข้าใจในการเจ็บป่วย จากการสนทนา ด้านการท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน ด้านการ และสามารถน�ำข้อมูลต่าง ๆ มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับ เคลื่อนไหวทั้งภายใน และภายนอก (ในชุมชน) ด้านการ ตนเอง เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ใช้มือข้างที่เป็นอัมพาต และอ่อนแรง ด้านการเข้าร่วม 2. น�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคเรื้อรังที่อาจ ในกิจกรรมที่เคยท�ำ, สิ่งที่มีความหมาย กลุ่มตัวอย่างมี มีความพิการที่อาศัยในชุมชนที่ยังต้องพึ่งพิงผู้ดูแล เป้าหมายในชีวิต มีการรับรู้ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมีคุณภาพ จากโรคหลอดเลือดสมอง หลังเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ชีวิตดีขึ้น โดยกลุ่มตัวอย่างมีความตั้งใจที่จะท�ำสิ่งที่เป็นประโยชน์ และเหมาะสมกับปัญหาของตัวผู้ป่วยเอง มีความตื่นตัว ที่จะเรียนรู้และปรับเปลี่ยนในสิ่งต่าง ๆ ในตนเองหลังจาก ได้รับโปรแกรมนี้กลุ่มตัวอย่างมีการด�ำเนินชีวิต และ คุณภาพชีวิตดีขึ้น จากเหตุผลดังกล่าวขั้นต้นแสดงให้เห็นว่า ประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 229 ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง

เอกสารอ้างอิง Burns, N. & Grove, S. K. (2005). The practice of nursing research: Conduct, critique, and utilization. (5thed). Philadelphia: W.B. Saunders. Duncan, P. W., Lai, S. M., Tyler, D., Perera, S., Reker, D. M., & Studenski, S. (2002). Evaluation of proxy responses to the Stroke Impact Scale. The American Heart Association/American Stroke Association. Stroke, 33(11), 2593-2599. Gibson, C. H. (1991). A concept analysis of empowerment. Journal of Advanced Nursing, 16(3), 354-361. Gibson, C. H. (1995). The process of empowerment in mothers of chronically ill children. Journal of Advanced Nursing, 21(6), 1201-1210. Hafsteinsdottir, T. B., & Grypdonck, M. (1996). Being a stroke patient: A review of the literature. Journal of Advanced Nursing, 26(3), 580-588. Institute of Neurology, Department of Medical Services, Ministry of Public Health. (2014). Stroke Patient Nursing Guidelines. Bangkok: Institute of Neurology. (In Thai) Kamontip Harnphadungkit. (2007). Rehabilitation for Stroke Patients. Bangkok: Works of textbooks, journals, and publications, Medical Technology Center Faculty of Medicine Siriraj Hospital Mahidol University. (In Thai) Office of Policy and Strategy Office of the Permanent Secretary Ministry of Public Health. (2012). Retrieved from http://www.healthdata.moph.go.th/kpi (In Thai) Pataravit Rukskul. (2007). Cerebral Vascular Disease. Bangkok: Thammasat University. (In Thai)

230 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง Food Consumption Behaviors and Nutritional Status in Dependent Older Persons

ฐิตินันท์ ดวงจินา * Thitinan Duangjina * ศิริรัตน์ ปานอุทัย ** Sirirat Panuthai ** ณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์ ** Nattaya Suwankruhasn **

บทคัดย่อ ภาวะทุพโภชนาการเป็นปัญหาที่พบได้ในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรม การบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ และความสัมพันธ์ของตัวแปรดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จ�ำนวน 88 คน ที่อาศัยอยู่ในอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน พ.ศ. 2560 คัดเลือก กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกภาวะโภชนาการ แบบสัมภาษณ์ พฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ถูกตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยใช้ค่าดัชนีความตรงเชิง เนื้อหาและการทดสอบซำ�้ เครื่องมือประเมินภาวะโภชนาการ ได้แก่ เครื่องวัดความหนาของชั้นไขมันที่ถูกการทดสอบ เทียบโดยใช้บล็อกมาตรฐาน และสายวัดที่ถูกทดสอบเทียบโดยใช้ตลับเมตร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 94.3) มีเพียง ร้อยละ 2.3 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเหมาะสมมาก และร้อยละ 3.4 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสม 2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีภาวะโภชนาการปกติ (BMI 18.5-22.9 กก./ตร.ม.) ร้อยละ 37.5 และภาวะโภชนาการ เกิน (BMI > 23 กก./ตร.ม.) ร้อยละ 32.9 ขณะที่ร้อยละ 29.6 มีภาวะพร่องโภชนาการ (BMI < 18.5 กก./ตร.ม.) 3. พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับ ต�่ำอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = .233 p< .05) ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับบุคคลากรทางสุขภาพทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน ในการส่งเสริม ภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโดยการปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เหมาะสม

ค�ำส�ำคัญ: พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

Abstract Malnutrition is a problem found in dependent older persons. This research study aimed to explore food consumption behaviors, nutritional status and to find the relationships among these variables. The sample included 88 dependent older persons residing in the Mueang district of * พยาบาลวิชาชีพ * Registered Nurse, [email protected] ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 231 พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

Chiang Mai province, from February to April 2017. Purposive sampling was used. Data were collected using a demographic data recording form, a nutritional recording form, food consumption behaviors of dependent older persons questionnaire tested quality of instrument by using content validity and test-retest reliability and equipment including a skin fold caliper calibrated by using standard block and measuring tape calibrated by using steel measuring tape. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson product-moment correlation statistics. The results showed that: 1. Almost all dependent older persons (94.3%) were found to have a moderate level of food consumption behaviors. Only 2.3% and 3.4% of dependent older persons reported most appropriate and low level of food consumption behaviors. 2. Dependent older persons have normal nutritional status (BMI 18.5-22.9 kg/m^2) 37.5% and over nutritional status (BMI > 23 kg/m^2) 32.9 %, while 29.6% were under nutritional status (BMI < 18.5 kg/m^2). 3. Food consumption behaviors of dependent older persons were slightly and positively correlated with nutritional status (r = .233 p< .05). These study results may be beneficial to both health personnel working in hospitals and in the community in promoting nutritional status of dependent older persons by modifying food consumption behaviors for improvement.

key word: Food Consumption Behaviors, Nutritional Status, Dependent Older Persons

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา บางส่วน และร้อยละ 10 เป็นกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งหมด ปัจจุบันสถานการณ์ทั่วโลกพบว่าสัดส่วนผู้สูงอายุ (Srithamrongsawat, Bundhamcharoen, Sasat, มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น (World Health Organization Odton, & Ratkjaroenkhajorn, 2009) จะเห็นได้ว่า [WHO], 2015) จากการที่ผู้สูงอายุมีความเสื่อมตาม จ�ำนวนของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น กระบวนการสูงอายุหรืออาจร่วมกับการมีความเจ็บป่วย จึงเป็นปัญหาที่ทุกภาคส่วนควรให้ความส�ำคัญ ด้วยโรคเรื้อรังท�ำให้มีภาวะพึ่งพิงเกิดขึ้น จากรายงาน ภาวะพึ่งพิง (dependency) เป็นภาวะที่บุคคล สถานการณ์ความต้องการการดูแลระยะยาวของไทย ในปี ต้องการความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น รวมทั้งการ พ.ศ. 2556 พบสัดส่วนของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ร้อยละ ต้องการความรัก ความอบอุ่น และความเอาใจใส่ดูแล 20.5 และสูงขึ้นตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งหนึ่งในสามเป็น โดยประเมินจากความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 75 ปี ทั้งนี้คาดการณ์ว่าจ�ำนวน ประจ�ำวันที่ประกอบด้วยกิจกรรมในบ้าน ได้แก่ การ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงบางส่วนหรือสามารถช่วยเหลือ เคลื่อนที่ในบ้าน การล้างหน้าแปรงฟัน การอาบน�้ำ การ ตนเองได้บ้าง และผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งหมดหรือ ใช้ห้องน�้ำ การลุกนั่ง การสวมเสื้อผ้า การกลั้นปัสสาวะ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้เลยจะมีจ�ำนวนเพิ่มสูงขึ้น โดยเพิ่ม และอุจจาระ การขึ้นลงบันได และการรับประทาน จาก 1.96 ล้านคน ในปี 2557 เป็น 2.78 ล้านคน ในปี อาหาร (Wade & Collin, 1988) ซึ่งการมีข้อจ�ำกัดใน พ.ศ. 2567 โดยที่ร้อยละ 90 เป็นกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง การปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันท�ำให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทาง

232 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Food Consumption Behaviors and Nutritional Status in Dependent Older Persons

กายลดลง ประกอบกับการที่ไม่สามารถรับประทาน ประกอบกับการที่ไม่สามารถเตรียมหรือปรุงอาหารเอง อาหารเองได้อาจมีผลต่อภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุ ได้จึงท�ำให้ไม่ได้รับประทานอาหารที่ตนเองต้องการส่งผล ภาวะโภชนาการ (nutritional status) หมายถึง ให้ความอยากอาหารลดลง (Mattayaruk, 2014) อีกทั้ง ภาวะร่างกายของบุคคลอันเป็นผลมาจากสารอาหารต่าง ๆ มีความไม่แน่นอนว่าจะรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ ที่ร่างกายได้รับจากการบริโภคหรือระดับสารอาหารใน และครบ 5 หมู่ต่อวันหรือไม่ นอกจากนี้การที่ผู้สูงอายุ ร่างกายและความสามารถของสารอาหารที่จะรักษา เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังบางโรค เช่น โรคไตเรื้อรังระยะ สมดุลของการเผาผลาญให้เป็นปกติ (Bender, 2009) สุดท้ายซึ่งอาจสูญเสียโปรตีนจากการฟอกเลือด หาก แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ภาวะโภชนาการปกติ (normal บริโภคโปรตีนไม่เพียงพอก็อาจส่งผลท�ำให้เกิดภาวะขาด nutrition) และภาวะทุพโภชนาการ (malnutrition) สารอาหารขึ้นได้ จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมการบริโภค ภาวะโภชนาการปกติ หมายถึง ภาวะร่างกายอันเป็นผล อาหารที่ไม่เหมาะสมน�ำมาสู่การได้รับปริมาณสารอาหาร มาจากการได้รับสารอาหารจากการบริโภคที่เหมาะสม ที่ไม่เพียงพอ และไม่ครบถ้วน จนกระทั่งอาจท�ำให้เกิด และร่างกายสามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารได้อย่าง ภาวะทุพโภชนาการ (Mann & Truswell, 2017) มีประสิทธิภาพ ส่วนภาวะทุพโภชนาการประกอบด้วย พฤติกรรมการบริโภคอาหาร (food consumption ภาวะพร่องโภชนาการ (under nutrition) และภาวะ behaviors) หมายถึง การกระท�ำของแต่ละบุคคลที่ โภชนาการเกิน (over nutrition) ภาวะโภชนาการเกิน เกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริโภคอาหาร รวมทั้งกระบวนการ เกิดจากการที่ร่างกายได้รับสารอาหารเกินความต้องการ ตัดสินใจที่เกิดขึ้นก่อนและปัจจัยที่ท�ำให้เกิดการตัดสินใจขึ้น ส่วนภาวะพร่องโภชนาการเกิดจากการที่ร่างกายได้รับ (Wannawong, 2009) ประกอบด้วย จ�ำนวนมื้ออาหาร สารอาหารในปริมาณที่ไม่เพียงพอกับความต้องการ โดย ที่บริโภค ลักษณะอาหารที่บริโภค อาหารที่งดหรือหลีกเลี่ยง เฉพาะโปรตีนและพลังงาน (Mann & Truswell, 2017) รสชาติอาหาร ชนิดและปริมาณในการบริโภคอาหารใน ภาวะโภชนาการปกติเป็นความสมดุลของพลังงาน แต่ละวัน ซึ่งการจะมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีนั้น ที่ใช้ไปในแต่ะละวันกับพลังงานที่ได้รับ ซึ่งในผู้สูงอายุที่ ผู้สูงอายุควรบริโภคอาหารมื้อละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง มีภาวะพึ่งพิงมีโอกาสเกิดความไม่สมดุลได้จากพลังงาน ลักษณะอาหารควรเป็นอาหารที่เคี้ยวและย่อยง่าย ที่ใช้ไปในแต่ละวันลดลง เนื่องจากการมีกิจกรรมทางกาย หลีกเลี่ยงอาหารประเภทไขมันในปริมาณที่มาก หลีกเลี่ยง ที่ลดลงเพราะมีข้อจ�ำกัดในการเคลื่อนไหวท�ำให้เสี่ยงต่อ อาหารที่มีเกลือโซเดียม และอาหารไม่ควรมีรสจัด การมีภาวะโภชนาการเกิน (Bernstein & Munoz, อาหารที่ควรรับประทาน เช่น อาหารคาร์โบไฮเดรตควร 2019) ส่วนพลังงานที่ได้รับต่อวันอาจไม่สมดุล เนื่องจาก มาจากข้าวกล้องหรือธัญพืช โปรตีนควรมาจากเนื้อปลา ได้รับปริมาณสารอาหารที่ไม่เพียงพอหรือไม่เหมาะสม ถั่วเหลือง และควรรับประทานอาหารในปริมาณที่ กับสภาวะของร่างกาย ซึ่งอาจเกิดจากพฤติกรรมการ เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย (World Health บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมโดยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย Organization [WHO], 2002) ดังนั้นพฤติกรรมการ ประการ เช่น ความชอบ ชนิด ปริมาณและความถี่ในการ บริโภคอาหารที่เหมาะสมนั้นจึงขึ้นอยู่กับชนิด ความถี่ บริโภคอาหาร ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงมีความบกพร่อง และลักษณะของอาหารที่บริโภคที่ต้องง่ายต่อการเคี้ยว ในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันไม่สามารถเดินหรือการ และกลืนจึงจะท�ำให้ร่างกายของผู้สูงอายุได้รับสารอาหาร เคลื่อนที่ออกจากบ้าน ไม่สามารถใช้บริการรถโดยสาร ในปริมาณที่เพียงพอ ซึ่งจะส่งผลให้ร่างกายสามารถใช้ ออกนอกบ้านด้วยตนเองหรือการที่ไม่สามารถทอน ประโยชน์จากสารอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เงินได้ ท�ำให้การออกไปซื้ออาหารด้วยตนเองมีความยาก เก็บสะสมเป็นมวลของร่างกาย หรืออาจกล่าวได้ว่าหาก ล�ำบากมากขึ้นและอาจท�ำให้เข้าไม่ถึงอาหารที่มีคุณภาพ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีคือถูกต้องตามหลัก

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 233 พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

โภชนาการและเหมาะสมกับโรคแล้วก็จะท�ำให้มีภาวะ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการ โภชนาการที่ดีตามไปด้วย บริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะ จากการทบทวนวรรณกรรมทั้งในประเทศและต่าง พึ่งพิง ประเทศที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ พบว่า ส่วนใหญ่ท�ำการ ค�ำถามการวิจัย ศึกษาในผู้สูงอายุทั่วไป และพบความสัมพันธ์ทางบวก 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการ ดังศึกษาการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการใน ในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเป็นอย่างไร ผู้สูงอายุในอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าพฤติกรรม 2. พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการ การรับประทานอาหารกลุ่มแป้งและน�้ำตาลมีความ ในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ สัมพันธ์กับภาวะโภชนาการ (Phantha, 2009) และ อย่างไร การศึกษาของ Howarth, Huang, Roberts, Lin, & McCrory (2007) ซึ่งได้ศึกษารูปแบบการรับประทาน กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย อาหารและดัชนีมวลกายในผู้สูงอายุ ผลการศึกษาพบว่า กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้จาก การบริโภคอาหารที่ให้พลังงานและความถี่ในการบริโภค การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยผู้สูงอายุที่มีภาวะ อาหารมากกว่า 3 ครั้งต่อวันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ พึ่งพิงนั้นมีความบกพร่องในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวัน ดัชนีมวลกาย ดังนั้นจะเห็นว่า พฤติกรรมการบริโภค ไม่สามารถออกไปซื้ออาหารหรือประกอบอาหารได้ด้วย อาหารมีผลโดยตรงกับภาวะโภชนาการและมีความ ตนเองส่งผลให้ไม่ได้รับอาหารที่ตนเองต้องการและ แตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่นขึ้นอยู่กับขนบธรรมเนียม ไม่สามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพจึงท�ำให้เสี่ยงต่อการ ประเพณี และความเชื่อ (Ma, 2015) จึงท�ำให้พฤติกรรม มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมได้ ซึ่งการมี การบริโภคอาหารของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในต่าง พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมนั้นขึ้นอยู่กับ ประเทศและในประเทศไทยมีความแตกต่างกันซึ่งอาจ ชนิดของอาหารที่บริโภคที่ต้องครบถ้วนและเหมาะสม ท�ำให้มีภาวะโภชนาการที่มีความแตกต่างกันด้วย กับโรคเรื้อรังที่เป็นอยู่ ความถี่ในการบริโภคอาหารซึ่ง จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ ผู้สูงอายุควรเพิ่มความถี่ของมื้ออาหารจึงจะท�ำให้ได้รับ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มี ปริมาณสารอาหารที่เพียงพอเนื่องจากผู้สูงอายุมีการ ภาวะพึ่งพิงนั้นพบเพียงการศึกษาในต่างประเทศ ส่วนใน หลั่งฮอร์โมนจากล�ำไส้เล็กลดลง ท�ำให้ระยะเวลาอาหาร ประเทศไทยนั้นยังไม่พบการศึกษาในกลุ่มผู้สูงอายุที่มี อยู่ในกระเพาะอาหารนานขึ้น กระเพาะอาหารยืดขยาย ภาวะพึ่งพิงแต่พบในกลุ่มผู้สูงอายุที่สุขภาพดีและเจ็บ ได้น้อยลง ผู้สูงอายุจึงรู้สึกอิ่มเร็ว ส่วนลักษณะของอาหาร ป่วยในชุมชน และผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ต้องเคี้ยวและกลืนง่ายเนื่องจากจ�ำนวนฟันและคุณภาพ ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการบริโภค ฟันลดลง ผู้สูงอายุจึงรับประทานอาหารประเภทกากใย อาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และเนื้อสัตว์ได้ล�ำบากซึ่งอาจท�ำให้ได้รับสารอาหาร เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ ไม่ครบถ้วน ประกอบกับการท�ำงานของกล้ามเนื้อที่ช่วย และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในการกลืนลดลง ผู้สูงอายุจึงกลืนอาหารได้ล�ำบาก ดังนั้น ลักษณะอาหารจึงต้องมีความชุ่มชื่น เพื่อท�ำให้ผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์การวิจัย กลืนได้ง่ายจึงจะได้รับอาหารในปริมาณที่เพียงพอ กล่าว 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ คือการรับประทานอาหารที่มีชนิดของอาหาร ความถี่ ภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และลักษณะที่เหมาะสม ร่วมทั้งปริมาณอาหารที่เพียง

234 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Food Consumption Behaviors and Nutritional Status in Dependent Older Persons

พอ คือการมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีซึ่งจะส่งผล การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ผู้วิจัยได้ ให้ร่างกายสามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารได้อย่าง พัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วย มีประสิทธิภาพ และเก็บสะสมเป็นมวลของร่างกายใน ค�ำถามปลายปิดจ�ำนวน 24 ข้อ ได้แก่ ชนิดของอาหารที่ ปริมาณที่พอต่อความต้องการของร่างกาย ส่งผลท�ำให้มี ควรบริโภคและควรหลีกเลี่ยง 9 ข้อ ความถี่ในการบริโภค ภาวะโภชนาการที่ดีตามมาด้วย อาหาร 1 ข้อ ปริมาณของอาหารที่บริโภคในแต่ละวัน 7 ข้อ และลักษณะอาหารที่บริโภค 7 ข้อ ลักษณะค�ำตอบเป็น วิธีด�ำเนินการวิจัย มาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) 4 ระดับ คะแนน การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา รวมอยู่ในช่วง 0-72 คะแนน แบ่งกลุ่มคะแนนทั้งหมด ความสัมพันธ์ (descriptive correlational research) ออกเป็น 3 ช่วงโดยใช้วิธีการหาอันตรภาคชั้น (Jirojkul, เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ 2005) ได้แก่ คะแนนรวม 49-72 คะแนน หมายถึง และความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการบริโภคอาหารเหมาะสมมาก คะแนนรวม และภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่ม 25-48 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคคลที่มีอายุ 60 ปี เหมาะสมปานกลาง คะแนนรวม 0-24 คะแนน หมายถึง ขึ้นไปที่มีภาวะพึ่งพิง อาศัยอยู่ในอ�ำเภอเมือง จังหวัด พฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสม (3) เครื่องมือ เชียงใหม่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive ประเมินภาวะโภชนาการ ได้แก่ เครื่องวัดความหนาของ sampling) ตามคุณสมบัติ คือ ผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเอง ชั้นไขมัน และสายวัด เนื่องจากผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ไม่ได้ คือมีคะแนนอยู่ระหว่าง 0-4 คะแนน และผู้สูงอายุ ไม่สามารถยืนเพื่อชั่งน�้ำหนักและวัดส่วนสูงได้จึงใช้วิธี ที่ดูแลตนเองได้บ้าง คือมีคะแนนอยู่ระหว่าง 5-11 คะแนน วัดสัดส่วนต่าง ๆ แล้วเข้าสมการท�ำนายส่วนสูงและนำ�้ หนัก ประเมินโดยแบบประเมินความสามารถในการประกอบ เพื่อน�ำไปค�ำนวณดัชนีมวลกาย (4) แบบบันทึกภาวะ กิจวัตรประจ�ำวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอลของ Department โภชนาการ ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นซึ่งเป็นการบันทึกสัดส่วน of Health, Ministry of Public Health, n.d. และ ต่าง ๆ ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ได้แก่ ความหนาของ อาศัยอยู่กับผู้ดูแลซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบในการเลือกซื้อและ ไขมันใต้ผิวหนังบริเวณใต้กระดูกสะบักขวา ส่วนสูงของ ประกอบอาหารโดยผู้ดูแลมีคุณสมบัติคือ มีสติสัมปชัญญะ เข่าซ้าย เส้นรอบกึ่งกลางแขนซ้ายส่วนบน และเส้นรอบ สมบูรณ์ประเมินโดยใช้แบบประเมินเพื่อตรวจสอบสติ วงน่องซ้าย เพื่อประมาณน�้ำหนักและส่วนสูง โดยน�ำน�้ำ ปัญญา (mental status questionnaire) ของ Kahn, หนักเป็นกิโลกรัมหารส่วนสูงเป็นเมตรยกก�ำลังสองได้ Goldfarb, Pollack, & Peck (1960) ต้องได้คะแนน เป็นค่าดัชนีมวลกายแปลความหมายตาม Institute of 8 คะแนนขึ้นไป สามารถเข้าใจและสื่อสารภาษาไทยได้ และ Geriatric Medicine (2004) และ Thai Health Promotion ยินดีเข้าร่วมการวิจัย ขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการ Foundation (2012). เปิดตารางประมาณค่าอ�ำนาจทดสอบ (power analysis) การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ได้แก่ (1) จากการเปิดตาราง (Polit& Beck, 2008) ได้ขนาด แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ ตัวอย่างจ�ำนวน 88 คน ก�ำหนดจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างตาม ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา สัดส่วนของจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างที่มีภาวะพึ่งพิงซึ่งเป็น (content validity) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 6 ท่าน ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน 48 คน และกลุ่มติดเตียง 40 คน ซึ่งค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาโดยรวมได้ 0.97 และตรวจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย สอบความเชื่อมั่นด้วยการท�ำ test-retest reliability ประกอบด้วย 4 ชุด ได้แก่ (1) แบบสัมภาษณ์ข้อมูล ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.83 (2) เครื่องมือประเมิน ทั่วไป ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น (2) แบบสัมภาษณ์พฤติกรรม ภาวะโภชนาการ แบบสายวัดเป็นไฟเบอร์กลาส ตรวจสอบ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 235 พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ความแม่นย�ำโดยวัดเทียบกับตลับเมตรในผู้สูงอายุ 4. ผู้วิจัยท�ำการประเมินภาวะพึ่งพิงซ�้ำในผู้สูงอายุ จ�ำนวน 20 คน ส่วนเครื่องวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนัง โดยใช้แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร ใช้แรงกด 10 กรัม/มิลลิเมตร ท�ำการทดสอบเทียบก่อน ประจ�ำวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอลของกรมอนามัย และ น�ำไปใช้โดยการใช้บล็อกมาตรฐาน และผู้วิจัยได้ทดสอบ ประเมินสติปัญญาในผู้ดูแล เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีคุณสมบัติ การวัดสัดส่วนต่าง ๆ กับผู้เชี่ยวชาญ ได้ค่าความเชื่อมั่น ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ผู้วิจัยด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล inter-rater reliability เท่ากับ 1.0 (3) สมการท�ำนาย ดังนี้ ส่วนสูงได้รับการตรวจสอบความถูกต้องแม่นย�ำโดย 4.1 ผู้วิจัยสัมภาษณ์ข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะ Chumlea, Roche, & Steinbaugh (1985) และสมการ พึ่งพิงจากผู้ดูแล โดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป และ ท�ำนายนำ�้ หนักได้รับการตรวจสอบความถูกต้องแม่นย�ำ แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ โดย Chumlea, Guo, Roche, & Steinbaugh (1988) ที่มีภาวะพึ่งพิง การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง 4.2 ผู้วิจัยวัดความหนาของชั้นไขมันใต้กระดูก ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการเพื่อพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง สะบักขวา ส่วนสูงของเข่าซ้าย เส้นรอบวงกึ่งกลางแขน โดยการแนะน�ำตัวผู้วิจัย อธิบายวัตถุประสงค์ ขั้นตอน ซ้ายส่วนบน และเส้นรอบน่องซ้ายของผู้สูงอายุที่มีภาวะ ของการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมทั้งขอความร่วมมือใน พึ่งพิง จ�ำนวน 3 ครั้ง น�ำมาหาค่าเฉลี่ยแล้วเข้าสมการ การท�ำวิจัยและชี้แจงให้แก่กลุ่มตัวอย่างว่าสามารถตอบ ประมาณหาน�้ำหนักและส่วนสูง จากนั้นน�ำมาค�ำนวณ รับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมวิจัยในครั้งนี้ได้ และการ ค่าดัชนีมวลกาย ด�ำเนินการวิจัยนี้ไม่ใช่การให้บริการทางสาธารณสุข การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สูงอายุและผู้ดูแลจะไม่เสียประโยชน์ใด ๆ หากไม่เข้าร่วม ข้อมูลทั่วไปน�ำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา โครงการวิจัย การเข้าร่วมวิจัยจะไม่ส่งผลกระทบต่อกลุ่ม ด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยง ตัวอย่างรวมถึงการรักษาพยาบาลที่ได้รับในปัจจุบัน เบนมาตรฐาน และส�ำหรับคะแนนพฤติกรรมการบริโภค เมื่อกลุ่มตัวอย่างได้ยินยอมเข้าร่วมในการวิจัยแล้ว ผู้วิจัย อาหารวิเคราะห์ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ให้กลุ่มตัวอย่างและผู้ดูแลลงนามในใบยินยอมหรือพิมพ์ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่ และร้อยละ วิเคราะห์ ลายนิ้วมือเพื่อเข้าร่วมวิจัย นอกจากนี้หากกลุ่มตัวอย่าง ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ มีข้อสงสัยสามารถซักถามได้ ภาวะโภชนาการ น�ำข้อมูลที่ได้ทุกชุดไปทดสอบการ การเก็บรวบรวมข้อมูล แจกแจงด้วยสถิติโคโมโกรอฟ ซามินอฟ (Kolmogorov- 1. หลังจากโครงการวิจัยได้ผ่านการรับรองจาก Smirnov test [KS]) พบว่ามีการแจกแจงแบบเป็นโค้ง คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยของ คณะพยาบาล ปกติจึงได้ใช้สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson product- ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่แล้ว ผู้วิจัยจึงจะเริ่มด�ำเนิน moment correlation) ในการหาความสัมพันธ์ และ การวิจัย โดยใช้เกณฑ์พิจารณาระดับความสัมพันธ์ของBurns & 2. ผู้วิจัยได้เข้าพบพยาบาลผู้รับผิดชอบงานเยี่ยม Grove (2009) บ้านและอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) ส�ำรวจรายชื่อกลุ่มตัวอย่างตามภาวะพึ่งพิงในระบบฐาน ผลการวิจัย ข้อมูล และนัดหมายวันเวลาเพื่อพบผู้สูงอายุที่บ้าน ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลความเจ็บป่วย 3. ผู้วิจัยและ อสม. เข้าพบผู้สูงอายุที่บ้านเพื่อชี้แจง กลุ่มตัวอย่าง เป็นเพศหญิงร้อยละ 58.00 เพศชาย เกี่ยวกับโครงการวิจัยและขอค�ำยินยอมในการเข้าร่วม ร้อยละ 42.00 อายุเฉลี่ย 76 ปี (SD= 11.52) โดยมีอายุ โครงการวิจัยทั้งผู้สูงอายุและผู้ดูแล อยู่ในช่วง 60-69 ปีถึงร้อยละ 38.60 กลุ่มตัวอย่างกว่า

236 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Food Consumption Behaviors and Nutritional Status in Dependent Older Persons

ครึ่งมีระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษา (ร้อยละ พฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง 52.30) อาศัยอยู่กับบุตรหลาน (ร้อยละ 58.00) ความ (= 38.13, SD= 7.09) และกลุ่มติดเตียงมีคะแนน สัมพันธ์กับผู้ดูแลหลักเป็นบิดาหรือมารดา (ร้อยละ พฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง 56.80) และสถานภาพสมรส หม้ายหรือหย่า (ร้อยละ เช่นกัน (= 35.20, SD= 6.80) หากพิจารณารายด้าน 63.60) มีจ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว 3-4 คน, > 4 คน, พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และ 1-2 คน ร้อยละ 50.00, 26.10, และ 23.90 ตาม ด้านชนิดอาหารที่ควรบริโภคและควรหลีกเลี่ยง และด้าน ล�ำดับ กลุ่มตัวอย่างมีรายได้เฉลี่ยของตนเองต่อเดือน ลักษณะอาหารที่บริโภคอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง 3,437.50 บาท (SD= 6,107.74) และส่วนใหญ่มีรายได้ ส่วนด้านความถี่ในการบริโภคอาหาร และด้านปริมาณ อยู่ในช่วง 0-5,000 บาท (ร้อยละ 84.10) แหล่งที่มาของ ของอาหารที่บริโภคในแต่ละวันอยู่ในระดับไม่เหมาะสม รายได้มาจากเบี้ยยังชีพ ร้อยละ 63.60 รองลงมาคือมา หากจ�ำแนกคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารตาม จากเบี้ยยังชีพและบุตรหลาน ร้อยละ 21.60 และแหล่ง ความสัมพันธ์กับผู้ดูแลหลัก พบว่ากลุ่มที่มีความสัมพันธ์ ที่มาของอาหารคือประกอบเองและซื้อ ร้อยละ 48.80 กับผู้ดูแลหลักเป็นบิดามารดามีค่าเฉลี่ยคะแนน ข้อมูลความเจ็บป่วยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ พฤติกรรมการบริโภคอาหารสูงที่สุด คือ 37.02 รองลงมา มีโรคประจ�ำตัว (ร้อยละ 84.10) ร้อยละ 14.80 เป็นโรค คือ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่มีความสัมพันธ์กับผู้ดูแล ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 13.60 เป็นโรคความดันโลหิต หลักเป็นญาติ นายจ้าง และคู่สมรส คือ 36.87 36.80 สูงร่วมกับโรคหลอดเลือดสมองและโรคร่วมอื่น ๆ ซึ่ง และ36.40 ตามล�ำดับ หากจ�ำแนกคะแนนพฤติกรรมการ ผู้สูงอายุที่มีโรคประจ�ำตัวทั้งหมดได้รับยาและได้ยา บริโภคอาหารตามข้อมูลการเจ็บป่วย พบว่ากลุ่มที่มี รับประทานมากกว่า 5 ชนิดขึ้นไป ร้อยละ 27.30 รอง โรคประจ�ำตัว (ร้อยละ 84.10) มีค่าเฉลี่ยคะแนน ลงมาคือได้รับยารับประทาน 3 ชนิด ร้อยละ 21.60 ส่วน พฤติกรรมการบริโภคอาหาร คือ 37.50 ซึ่งสูงกว่ากลุ่ม ใหญ่ได้รับยาลดความดันโลหิต (ร้อยละ 75.70) และรอง ที่ไม่มีโรคประจ�ำตัว (= 33.07) นอกจากนี้ยังพบอีกว่า ลงมาได้รับยากลุ่มวิตามิน/แร่ธาตุ (ร้อยละ 50.00) เมื่อจ�ำแนกคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารตาม ประมาณหนึ่งในสามได้รับยาลดไขมัน (37.80) และ แหล่งที่มาของอาหาร กลุ่มที่ประกอบอาหารเองและซื้อ ต้านการแข็งตัวของเลือด (33.80) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ กลุ่มที่ประกอบอาหารเอง และกลุ่มที่ซื้ออาหารเพียง มีสิทธิการรักษาบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ร้อยละ อย่างเดียว มีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 83.00) และได้รับการเยี่ยมบ้าน (ร้อยละ 87.50) โดย คือ 37.97 36.51 และ33.90 ตามล�ำดับ ผู้เยี่ยมเป็น อสม. พยาบาล และนักกายภาพบ�ำบัด ร้อยละ ส่วนที่ 3 ภาวะโภชนาการ 94.80, 76.60, และ 13.00 ตามล�ำดับ ซึ่งร้อยละ 36.40 กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีภาวะโภชนาการปกติ (BMI ได้รับการเยี่ยมบ้าน 1 ครั้งใน 2 สัปดาห์ กิจกรรมที่ได้รับ = 18.5-22.9) เมื่อเทียบกับค่าดัชนีมวลกาย โดยพบว่า คือ ค�ำแนะน�ำ (ร้อยละ 100.00) มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น มีค่า BMI เฉลี่ย 20.85 กก./ตร.ม. (SD= 6.44) ซึ่งกลุ่ม ที่ได้รับการท�ำกายภาพบ�ำบัดที่บ้าน (ร้อยละ 13.00) และ ติดบ้านมีค่า BMI เฉลี่ย 21.77 กก./ตร.ม. (SD= 4.45) ท�ำแผล (ร้อยละ 2.60) และกลุ่มติดเตียง มีค่า BMI เฉลี่ย 19.74 (SD= 8.14) ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการบริโภคอาหาร เมื่อพิจารณาระดับความอ้วนและผอมตามดัชนี กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร มวลกาย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่น�้ำหนักตัวปกติ โดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง (= 36.38, ร้อยละ 37.50 อ้วน ร้อยละ 22.70 และผอมระดับ 3 SD= 7.07) เมื่อพิจารณาคะแนนพฤติกรรมการบริโภค ร้อยละ 19.40 อาหารจ�ำแนกตามกลุ่มพบว่า กลุ่มติดบ้านมีคะแนน ส่วนที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 237 พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

บริโภคอาหารและภาวะโภชนาการ ที่เหมาะกับโรคประจ�ำตัวของผู้สูงอายุรวมทั้ง หลีกเลี่ยง ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหาร อาหารประเภทไขมันในปริมาณที่มากเกินไปโดยเฉพาะ และภาวะโภชนาการ จากการทดสอบโดยใช้สถิติ ไขมันอิ่มตัว หลีกเลี่ยงอาหารและผลไม้ที่มีรสหวานจัด Kolmogorov-smirnov test พบว่ามีการกระจายของ และหลีกเลี่ยงอาหารที่มีเกลือโซเดียมสูง ดังนั้นโรค คะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการ ประจ�ำตัวก็อาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อพฤติกรรมการ (ค่าดัชนีมวลกาย) เป็นโค้งปกติ จึงใช้สถิติสหสัมพันธ์ บริโภคอาหารของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ซึ่งผลการวิจัย เพียร์สันในการหาความสัมพันธ์ พบว่าพฤติกรรมการ ครั้งนี้พบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่มีโรคประจ�ำตัวมีค่า บริโภคอาหารของกลุ่มตัวอย่างมีความสัมพันธ์ทางบวก เฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารคือ 37.50 กับค่าดัชนีมวลกายในระดับตำ�่ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ และกลุ่มที่ไม่มีโรคประจ�ำตัวมีค่าคะแนนเฉลี่ย 33.07 (r = .233 p< .05) เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการบริโภคอาหารรายด้าน พบว่าชนิดอาหารที่ควรบริโภคและชนิดอาหารที่ควร การอภิปรายผล หลีกเลี่ยง และด้านลักษณะอาหารที่บริโภคอยู่ในระดับ พฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะ เหมาะสมปานกลาง อาจเนื่องจากผู้สูงอายุและผู้ดูแล พึ่งพิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 94.30) อยู่ในระดับเหมาะสม ทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมกับโรคอยู่ ปานกลาง (=36.80, SD=7.07) อาจเนื่องมาจากผู้สูง แล้ว และส่วนใหญ่ประกอบอาหารเอง จึงสามารถเลือก อายุที่มีภาวะพึ่งพิงกว่าครึ่งมีความสัมพันธ์กับผู้ดูแลหลัก วัตถุดิบและชนิดอาหารที่เหมาะสมกับโรคได้ รวมถึง เป็นบิดา/มารดา (ร้อยละ 56.80) ซึ่งในวัฒนธรรมไทย สามารถควบคุมระยะเวลาในการปรุงอาหารให้นานขึ้น มักปลูกฝังเรื่องความกตัญญูกตเวทีจึงท�ำให้ลูกต้องดูแล จึงท�ำให้อาหารมีลักษณะอ่อนนุ่ม ท�ำให้เคี้ยวและกลืนง่าย พ่อแม่เมื่อสูงอายุเพื่อเป็นการทดแทนบุญคุณ ซึ่งเป็น ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้พบว่ากลุ่มที่ประกอบอาหารเองและซื้อ แบบอย่างที่ปฏิบัติกันมาจากการที่เห็นพ่อแม่ปฏิบัติต่อ และกลุ่มที่ประกอบอาหารเองเพียงอย่างเดียว มีค่าเฉลี่ย ปู่ย่าตายาย ดังนั้นผู้ดูแลหลักที่เป็นบุตร/หลานของผู้สูงอายุ คะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร คือ 37.97 และ ที่มีภาวะพึ่งพิงจึงมักจะเลือก ปรุง และจัดหาอาหารที่ 36.51 ตามล�ำดับ ส่วนกลุ่มที่ซื้ออาหารมีคะแนนเฉลี่ย ถูกหลักโภชนาการให้กับผู้สูงอายุ โดยผลการวิจัยครั้งนี้ 33.90 ด้านความถี่ในการบริโภคอาหาร และด้านปริมาณ พบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของ ของอาหารที่บริโภคในแต่ละวันนั้นอยู่ในระดับไม่เหมาะสม ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มที่เป็นบิดา/มารดาของผู้ดูแล อาจเนื่องจากผู้ดูแลคิดว่าการจัดอาหารให้ผู้สูงอายุที่มี หลักมีค่าสูงกว่ากลุ่มอื่น (=37.02) ซึ่งค่าเฉลี่ยคะแนน ภาวะพึ่งพิงบริโภค 3 มื้อเพียงพอกับความต้องการของ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มที่เป็นคู่สมรส ญาติ ผู้สูงอายุแล้ว และไม่ทราบว่าควรแบ่งอาหารเป็นมื้อละ และนายจ้างของผู้ดูแลหลัก คือ 36.40, 36.87, และ น้อย ๆ แต่บ่อยครั้งหรือเพิ่มความถี่ของมื้ออาหารให้กับ 36.80 ตามล�ำดับ จากการศึกษาอื่นพบว่าหากผู้ดูแลหลัก ผู้สูงอายุจึงจะท�ำให้ได้รับปริมาณอาหารที่เพียงพอเพราะ มีความคิดความเชื่อต่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง การเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการชราท�ำให้ผู้สูงอายุมี ทางบวก คือ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเป็นคนที่มีคุณค่า การหลั่งฮอร์โมนจากล�ำไส้เล็กลดลง ระยะเวลาที่อาหาร ต่อตนเองและต่อครอบครัว เป็นพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย อยู่ในกระเพาะอาหารจึงนานขึ้น ประกอบกับกระเพาะ เป็นผู้มีพระคุณต่อผู้ดูแลหลัก ผู้ดูแลก็จะให้การดูแล อาหารยืดขยายได้น้อยลงผู้สูงอายุจึงรู้สึกอิ่มเร็ว สอดคล้อง ผู้สูงอายุอย่างเหมาะสม (Sawatphol, Pengpinit, กับการศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารและสุขภาพ Senanikorn, & Srisuraphol, 2015) โดยการจัดหา ของผู้สูงอายุ จังหวัดปทุมธานี ที่พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ อาหารที่ดีหรือที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ จัดอาหาร 72.75 รับประทานอาหาร 3 มื้อ (Thanasansakolpob,

238 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Food Consumption Behaviors and Nutritional Status in Dependent Older Persons

2010) นอกจากนี้จากการพูดคุยกับผู้ดูแลยังพบว่า แม้ผู้ (Ministry of Public Health, 2005) จึงอาจกล่าวได้ว่า ดูแลจะจัดหาชนิดของอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ แม้จะบริโภคอาหารในปริมาณที่น้อย แต่ความต้องการ และจัดอาหารที่มีลักษณะที่เคี้ยวง่าย กลืนง่าย และ ใช้พลังงานหรือการเผาผลาญพลังงานก็น้อยลงตามไป กระตุ้นความอยากอาหารให้กับผู้สูงอายุ แต่ปริมาณการ ด้วย จึงท�ำให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงยังมีภาวะโภชนาการ บริโภคอาหารในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับความต้องการของ ปกติ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมาในกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุเอง อาจเนื่องจากการที่ผู้สูงอายุมีข้อจ�ำกัดใน ทั่วไปที่มีภาวะโภชนาการปกติ ได้แก่ การศึกษาเกี่ยวกับ การปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวัน ไม่สามารถเดินหรือการ การบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุ เคลื่อนที่ออกจากบ้าน ท�ำให้ไม่สามารถออกไปซื้ออาหาร ชุมชนสันนาลุง ต�ำบลวัดเกตุ อ�ำเภอเมือง จังหวัด ได้ด้วยตนเอง ประกอบกับผู้สูงอายุไม่สามารถเตรียม เชียงใหม่ พบว่าผู้สูงอายุมีภาวะโภชนาการปกติ ร้อยละ อาหารหรือปรุงอาหารเองได้จึงอาจท�ำให้ไม่ได้รับประทาน 55.80 (Phantha, 2009) ส่วนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อาหารที่ตนเองต้องการส่งผลให้ความอยากอาหารลดลง ที่มีภาวะโภชนาการเกิน (ร้อยละ 32.90) ส่วนใหญ่เป็น (Mattayaruk, 2014) ท�ำให้บริโภคอาหารน้อยกว่า ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ซึ่งยังสามารถตักอาหารที่ผู้ดูแล ปริมาณที่กระทรวงสาธารณสุขแนะน�ำให้ผู้สูงอายุบริโภค เตรียมไว้ให้รับประทาน หรือหยิบอาหารว่างที่ผู้ดูแลวาง ต่อวัน (Ministry of Public Health, 2005) โดยผลการ ไว้รับประทานเอง โดยส่วนใหญ่เป็นประเภทเบอเกอรี่ วิจัยครั้งนี้พบว่ากลุ่มติดเตียงมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรม ท�ำให้อาจได้รับปริมาณสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต การบริโภคอาหารคือ 35.20 และกลุ่มติดบ้านมีคะแนน และไขมันมากเกินไป จึงมีภาวะโภชนาการเกินได้ ส่วน เฉลี่ยคือ 38.13 ด้วยเหตุนี้ความสามารถในการปฏิบัติ กลุ่มที่มีภาวะพร่องโภชนาการ (ร้อยละ 29.60) ส่วนใหญ่ กิจวัตรประจ�ำวันจึงอาจมีผลท�ำให้พฤติกรรมการบริโภค เป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง ซึ่งไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตร อาหารด้านปริมาณของอาหารที่บริโภคในแต่ละวันอยู่ใน ประจ�ำวันเองได้เลย การเตรียม ปรุงอาหาร และจ�ำนวน ระดับไม่เหมาะสม มื้ออาหารจึงขึ้นอยู่กับผู้ดูแล แต่เนื่องจากผู้สูงอายุ ส่วนภาวะโภชนาการนั้น ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ไม่สามารถบอกความต้องการได้จึงอาจท�ำให้ไม่ได้รับ ร้อยละ 37.50 มีภาวะโภชนาการปกติ ร้อยละ 29.60 ประทานอาหารที่ตนเองต้องการ มีภาวะพร่องโภชนาการ และร้อยละ 32.90 มีภาวะ ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โภชนาการเกิน อธิบายได้ว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงยังมี และภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในการ ภาวะโภชนาการที่ดี บางส่วนมีภาวะโภชนาการเกินและ ศึกษาครั้งนี้พบว่า พฤติกรรมการบริโภคอาหารกับดัชนี พร่องโภชนาการ เนื่องจากภาวะโภชนาการปกติเป็น มวลกายมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ความสมดุลของอัตราการเผาผลาญพลังงานหรือความ .05 (r = .233 p < .029) เนื่องจากผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ต้องการใช้พลังงานกับการบริโภคอาหาร ซึ่งในผู้สูงอายุ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยรวมที่เหมาะสมปาน ที่มีภาวะพึ่งพิงมีข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวัน กลางส่งผลให้ร่างกายสามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหาร ท�ำให้มีกิจกรรมทางกายน้อย ประกอบความต้องการใช้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเก็บสะสมเป็นมวลของ พลังงานที่ลดลงในผู้สูงอายุซึ่งจะลดลง 100 กิโลแคลอรี ร่างกายซึ่งสามารถประเมินได้จากการวัดสัดส่วนต่าง ๆ ทุก 10 ปีที่อายุเพิ่มขึ้น (Bernstein & Munoz, 2019) ของร่างกายในรูปของน�้ำหนักและส่วนสูง และน�ำมาหา ส่วนพฤติกรรมการบริโภคอาหารด้านปริมาณของอาหาร สัดส่วนระหว่างน�้ำหนักและส่วนสูงเป็นค่าดัชนีมวลกาย ที่บริโภคในแต่ละวันอยู่ในระดับไม่เหมาะสม ซึ่งจาก ในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงแม้จะมีพฤติกรรมการบริโภค สัมภาษณ์พบว่ากลุ่มตัวอย่างบริโภคอาหารน้อยกว่า อาหารโดยรวมที่ดี แต่มีข้อจ�ำกัดในการออกก�ำลังกาย ปริมาณที่กระทรวงสาธารณสุขแนะน�ำให้บริโภคต่อวัน และมีกิจกรรมทางกายลดลง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 239 พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ในผู้สูงอายุที่มวลกระดูกลดลงท�ำให้ส่วนสูงลดลง จึงท�ำให้ ค่าดัชนีมวลกายสูง ในขณะที่คะแนนพฤติกรรมการ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ บริโภคอาหารก็สูงตามเช่นกัน จึงกล่าวได้ว่าพฤติกรรม ข้อมูลจากการวิจัยใช้เป็นข้อมูลส�ำหรับบุคลากรที่ การบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะ เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในการปรับ โภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เมื่อพิจารณาราย พฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และ ด้านพบว่าพฤติกรรมการบริโภคอาหารด้านปริมาณของ สามารถน�ำผลการวิจัยด้านโภชนาการไปใช้เพื่อการเฝ้า อาหารที่บริโภคในแต่ละวัน และด้านความถี่ในการ ระวังการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากภาวะทุพ บริโภคอาหารอยู่ในระดับไม่เหมาะสม อาจท�ำให้แม้ โภชนาการ พฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยรวมเหมาะสมปานกลาง แต่ก็ยังคงมีบางส่วนที่มีภาวะทุพโภชนาการอยู่ จึงอาจ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป กล่าวได้ว่าแม้พฤติกรรมการบริโภคอาหารจะมีความ ควรมีการศึกษาปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ สัมพันธ์กับภาวะโภชนาการแต่ก็มีความสัมพันธ์ในระดับตำ�่ ในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มเติม เอกสารอ้างอิง Bender, D. A. (2009). A dictionary of food and nutrition. New York: Oxford University Press. Bernstein, M., & Munoz, N. (2019). Nutrition for the older adult. (3th ed.). Burlington: Jones & Bartlett Learning. Burns, N., & Grove, S. K. (2009). The practice of nursing research: Appraisal, synthesis, and generation of evidence. (6th ed.). Philadelphia: Elsevier Saunders. Chumlea, W. C., Guo, S., Roche, A. F., & Steinbaugh, M. L. (1988). Prediction of body weight for the nonambulatory elderly from anthropometry. Journal of the American Dietetic Association, 88(5), 564-568. Chumlea, W. C., Roche, A. F., & Steinbaugh, M. L. (1985). Estimating stature from knee height for persons 60 to 90 years of age. Journal of The American Geriatrics Society, 33(2), 116-120. doi: 10.1111/j.1532-5415.1985.tb02276.x Department of Health, Ministry of Public Health. (n.d.). Assessment form for the elderly based on the ability to perform activities of daily living (Barthel Activities of Daily Living [ADL]). Retrieved from http://hpc9.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=508. (In Thai) Howarth, N. C., Huang, T. T., Roberts, S. B., Lin, B. H., & McCrory, M. A. (2007). Eating patterns and dietary composition in relation to BMI in younger and older adults. International Journal of Obesity, 31(4), 675-684. Institute of Geriatric Medicine. (2004). Nutrition assessment guide for elderly. Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand. (In Thai) Jirojkul, P. (2005). Nursing research, philosophy, principles and practices. (2nd ed.). Bangkok: Academic Welfare Project, Praboromarajchanok Institute. (In Thai)

240 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Food Consumption Behaviors and Nutritional Status in Dependent Older Persons

Kahn, R. L., Goldfarb, A. I., Pollack, M., & Peck, A. (1960). Brief objective measures for the determination of mental status in the aged. American Journal of Psychiatry, 117(4), 326-328. Ma, G. (2015). Food, eating behavior, and culture in Chinese society. Journal of Ethnic Foods, 2(4), 195-199. Mattayaruk, S. (2014). Nutritional Status and Factors Related to Nutritional Status in Chronically Ill Older Persons Attended Outpatient Clinic at A Secondary Hospital. (Thesis of Master of Nursing Science, Gerontological Nursing). Graduate School, Khon Kaen University. (In Thai) Mann, J., & Truswell, A. S. (Eds.). (2017). Essentials of human nutrition. Oxford: Oxford University Press. Ministry of Public Health. (2005). Guide for recording and evaluating general food intake and calcium sources. Bangkok: Veterans Relief Organization Printery. (In Thai) Phantha, A. (2009). Food consumption and nutritional status of the elderly. (Thesis of Master of Science, Nutrition Education). Graduate School, Chiang Mai University. (In Thai) Polit, D. F., & Beck, C. T. (2008). Nursing research: Generating and assessing evidence for nursing practice. Baltimore: Lippincott Williams & Wilkins. Thai Health Promotion Foundation. (2012). Overweight and obesity. Retrieved from http://www. thaihealth.or.th /Content/20399-overweight and obesity.html. (In Thai) Thanasansakolpob, S. (2010). Food consumption behavior and health of the elderly in Pathum thani province (Thesis of Master of Science, Home Economics). Graduate School, Kasetsart University. (In Thai) Sawatphol, C., Pengpinit, T., Senanikorn, A., & Srisuraphol, W. (2015). Care and development elderly by communities in Northeast of Thailand. Humanities and Social Sciences Journal, Ubon Ratchathani Rajabhat University, 7(1), 187-199. (In Thai) Srithamrongsawat, S., Bundhamcharoen, K., Sasat, S., Odton, P., & Ratkjaroenkhajorn, S. (2009). Projection of demand and expenditure for institutional long term care in Thailand. Nonthaburi: Health Insurance System Research Office. Wade, D. T., & Collin, C. (1988). The Barthel ADL index: A standard measure of physical disability? International Disability Studies, 10(2), 64-67. Wannawong, C. (2009). Factors related to food consumption behaviors of the elderly in Mueang district, Yasothon province. (Thesis of Master of arts, Home Economies for Community Development). Graduate School, Ramkhamhaeng University. (In Thai) World Health Organization. (2002). Keep fit for life: Meeting the nutritional need of older persons. Malta: Malta Interprint Limited. World Health Organization. (2015). Ageing and health. Retrieved May 29, 2016, from http:// www. who.int/mediacentre/factsheets /fs404/en/

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 241 การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: กรณีศึกษา Empowerment in Persons Undergone Coronary Artery Bypass Grafting: A Case Study

ลาลิน เจริญจิตต์ * Lalin Charoenchit * ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ ** Taweeluk Vannarit ** เบญจมาศ สุขสถิตย์ ** Benjamas Suksatit **

บทคัดย่อ ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจมักมีการปฏิบัติพฤติกรรมไม่ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน ท�ำให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนและมีการกลับเป็นซ�้ำได้ การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจน่าจะช่วยให้บุคคลดังกล่าวมีพฤติกรรมสุขภาพที่ เหมาะสม การศึกษาแบบกรณีศึกษาที่มีการจัดกระท�ำครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการและผลลัพธ์ของ การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือด หัวใจและได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจไปแล้ว 2 สัปดาห์ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจ�ำนวน 5 ราย ส่งเสริมการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพภายใต้กรอบแนวคิดกระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของ Gibson (1993) 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การค้นพบสถานการณ์ความเป็นจริง ขั้นตอนที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ ขั้นตอนที่ 3 การลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสม และขั้นตอนที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ครั้งนี้ได้แก่ แนวทางการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ คู่มือส�ำหรับผู้ป่วย โรคหลอดเลือดหัวใจ คู่มือส�ำหรับผู้ป่วยผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ แบบบันทึกพฤติกรรมของผู้ที่ได้รับการ ผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ และเครื่องบันทึกเสียง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ และแบบวัดการ รับรู้พลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการที่ใช้สนับสนุนกระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจมีทั้งหมด 7 กระบวนการ ได้แก่ การสร้างและ คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดี การใช้เทคนิคค�ำถาม การสอนรายบุคคล การฝึกทักษะโดยการสาธิตและสาธิตย้อนกลับการ ทวนเนื้อหาซ�้ำ การชื่นชมและให้ก�ำลังใจ และการเอาใจใส่อย่างสม�่ำเสมอ 2. ผลลัพธ์จากการได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ได้แก่ 2.1 ด้านการรับรู้พลังอ�ำนาจ กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้พลังอ�ำนาจเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการ เสริมสร้างพลังอ�ำนาจ 2.2 ด้านพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพหลังได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ดีกว่าก่อนได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ

* อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี * Instructor, Boromarajonani College of Nursing, Suratthani ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 242 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Empowerment in Persons Undergone Coronary Artery Bypass Grafting: A Case Study

ผลการศึกษาครั้งนี้สะท้อนให้เห็นว่า การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจผ่านการใช้กระบวนการทั้ง 7 ประการสามารถ ส่งเสริมให้ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจเกิดผลลัพธ์ที่ดี ดังนั้นการสนันสนุนให้ พยาบาลมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเสริมสร้างพลังอ�ำนาจโดยการใช้กระบวนการทั้ง 7 ประการจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะส่งเสริม ให้ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม รวมถึงส่งเสริม ให้พยาบาลพัฒนาคุณภาพของการพยาบาลให้ดียิ่งขึ้น

ค�ำส�ำคัญ: การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ การรับรู้พลังอ�ำนาจ พฤติกรรมสุขภาพ โรคหลอดเลือดหัวใจ การผ่าตัดท�ำทาง เบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ

Abstract People who underwent coronary artery bypass grafting usually behave inappropriately after being discharged and this may lead to complications and the recurrence of the disease. Empowerment may help them to have appropriate health behaviors. The objectives of this intervention case study research were to study the process and outcomes of empowering people who underwent coronary artery bypass grafting. A purposive sampling of five persons with coronary artery disease who underwent coronary artery bypass graft surgery for two weeks. Health behaviors were promoted based on a conceptual framework of the Gibson’s empowerment process (Gibson, 1993), including four steps: 1) discovering reality, 2) reflecting critically, 3) taking charge, and 4) holding on. The research instruments consisted of the empowering process guidelines for persons who underwent coronary artery bypass grafting, the manual for persons with coronary artery disease, the manual for persons who underwent coronary artery bypass grafting, behaviors recording form for persons who underwent coronary artery bypass grafting, and audiotape. The instruments used for collecting data consisted of the demographic data record form, the health behaviors of persons who underwent CABG questionnaire, and the sense of power in persons who underwent CABG questionnaire. Data were analyzed by content analysis. The results of the study revealed that: 1. The process of empowerment composed of seven processes which are an establishment a good rapport, to use of questioning technique, individualized instruction, skills training through the demonstration and return demonstration, content review, admiring and encouraging, and continues caring. 2. There are two outcomes from receiving empowerment 2.1 Perception of power: the participants had a greater sense of power than that of before. 2.2 Health behaviors: the participants practice better health behaviors than that of before. The results from this study revealed that empowering persons who underwent coronary artery bypass grafting by utilizing 7 processes yielded positive outcomes. Therefore, encouraging nurses to gain knowledge and understanding of empowerment and be able to empower clients is crucial

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 243 การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: กรณีศึกษา

to support persons who underwent coronary artery bypass grafting to perform appropriate health behaviors, along with to enhance quality of nursing care.

Key words: empowerment, perception of power, health behavior, coronary artery disease, coronary artery bypass graft

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ได้แก่ การรักษาทางยา การรักษาผ่านทางสายสวน และ โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ โดยการรักษา ที่เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ส�ำคัญทั่วโลก รวมถึง ด้วยการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ เป็นวิธีการ ในประเทศไทยด้วย จากสถิติของ Public Health แก้ไขพยาธิสภาพที่ประสบผลส�ำเร็จสูงสุด เสมือนเป็น Statistics Strategy and Planning division Ministry ทางเลือกที่ดีที่สุดส�ำหรับผู้ป่วย (Ong & Nair, 2015) of Public Health (2019) พบว่า อัตราผู้ป่วยด้วย นิยมท�ำในผู้ที่มีหลอดเลือดหัวใจตีบ 3 เส้น (triple โรคหลอดเลือดหัวใจในประเทศไทยในระหว่างปี พ.ศ. vessels disease) และมีการท�ำงานของหัวใจห้องล่าง 2557-2560 เท่ากับ 887.2 845.48 1,011.67 1,026.57 ซ้ายผิดปกติที่ท�ำให้ความสามารถในการบีบเลือดออก และ 810.25 ต่อแสนประชากร ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าอัตรา จากหัวใจ (ejection fraction) น้อยกว่าร้อยละ 50 หรือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจในประเทศไทยแต่ละปียังมี ในผู้ที่มีหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ไปเลี้ยงหัวใจด้านซ้ายมี สถิติสูง การเจ็บป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจจึงเป็นหนึ่ง การตีบมากกว่าร้อยละ 50 (Abu-Omar & Taggart, ในปัญหาสาธารณสุขที่ส�ำคัญที่บุคลากรในทีมสุขภาพ 2014) ส�ำหรับสถิติในประเทศไทยพบว่า มีผู้เข้ารับการ ควรให้ความตระหนัก ผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจปี พ.ศ. 2555-2558 โรคหลอดเลือดหัวใจ มีสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก เท่ากับ 4,756, 4,917, 5,313 และ 5,159 คนต่อปีตาม ความเสื่อมของผนังเส้นเลือด ส่งผลให้เกิดภาวะหลอด ล�ำดับ และสถิติผู้เข้ารับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอด เลือดแดงโคโรนารีแข็ง มีผลท�ำให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจ เลือดหัวใจในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ปี พ.ศ. 2555-2558 ไม่เพียงพอและอาจส่งผลให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ เท่ากับ 174, 170, 160 และ 162 คนต่อปีตามล�ำดับ ขาดเลือดได้ (Sayasathid, 2012; Stone, 2012) ซึ่งเมื่อ (The Society of Thoracic Surgeons of Thailand, หลอดเลือดหัวใจมีการตีบร้อยละ 50 หรือมากกว่า 2015) ผู้ป่วยจะเริ่มปรากฏอาการและอาการแสดง (Sithisuk, จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการเกิดโรค 2014) โดยอาการที่พบได้บ่อย ได้แก่ อาการเจ็บเค้นอก และปัจจัยเสี่ยงของการกลับมารักษาซ�้ำภายหลังการ ใจสั่น เหงื่อออก เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลม หมดสติ ผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ พบว่าในระยะ 1, 5, หรือเสียชีวิตเฉียบพลัน หรือในบางรายอาจพบอาการ 10, 15, 20 และ 25 ปี มีอัตราการกลับมารักษาซำ�้ ร้อยละ ร่วม เช่น หายใจไม่เต็มปอด เหนื่อย หายใจล�ำบาก หรือ 99, 96, 88, 73, 60, และ 46 ตามล�ำดับ ซึ่งภายใน 1 ปี มีอาการปวดร้าวไปตามแขน ร้าวไปท้ายทอยและหลัง แรกหลังได้รับการผ่าตัดเป็นช่วงเวลาที่มีการกลับมา เป็นต้น การตระหนักถึงความส�ำคัญของอาการทางคลินิก รักษาซ�้ำสูงที่สุด โดยปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลให้ผู้ป่วยกลับมา จึงสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับผู้ป่วย เนื่องจากจะท�ำให้ผู้ป่วยรับรู้ รักษาซ�้ำ ได้แก่ ระดับไตรกลีเซอไรด์สูง ระดับไขมันชนิด ว่าเกิดการเจ็บป่วยและตัดสินใจเข้ารับการรักษาได้อย่าง ไม่ดีสูง และการมีโรคเบาหวานร่วม ซึ่งเป็นปัจจัยที่ ทันเวลา (Noottaro, 2011; Sithisuk, 2014) สามารถควบคุมและจัดการได้ (Sabik, Blackstone, ปัจจุบันการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจมี 3 วิธี Gillinov, Smedira, & Lytle, 2006) แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่

244 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Empowerment in Persons Undergone Coronary Artery Bypass Grafting: A Case Study

มักเข้าใจว่าการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอด (Gibson, 1993) ดังนี้ 1) การค้นพบสถานการณ์ความ เลือดหัวใจเป็นการรักษาให้หายขาดจากโรค จึงอาจส่งผล เป็นจริง 2) การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) การ ให้ผู้ป่วยมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม ลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสม และ 4) การคงไว้ซึ่ง ดังนั้นสิ่งส�ำคัญของการป้องกันการกลับเป็นซ�้ำในกลุ่ม การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ทั้ง 4 ขั้นตอนเป็นกระบวนการ ผู้ป่วยเหล่านี้คือ การส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ป่วยมีการ ที่กระตุ้นให้บุคคลได้ยอมรับถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม (Miller ท�ำความเข้าใจกับปัญหา จนรู้อย่างแท้จริงว่าสิ่งที่ตนเอง & Miller, 2009) ต้องการคืออะไร แล้วเกิดการทบทวนเหตุการณ์เกี่ยวกับ พฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทาง การปฏิบัติพฤติกรรม เพื่อให้เกิดความตระหนักและเกิด เบี่ยงหลอดเลือดหัวใจเป็นการปฏิบัติกิจกรรมในด้านการ ความเชื่อมั่นในตนเอง จนเกิดการรับรู้ว่าตนเองมีศักยภาพ รับประทานยา การออกก�ำลังกาย การรับประทาน พอที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ สามารถเผชิญ อาหาร และการจัดการความเครียด ที่มีผลต่อสภาวะทาง กับสถานการณ์ความจริง และสามารถตัดสินใจเลือกวิธี สุขภาพและชีวิตประจ�ำวันของแต่ละบุคคล แต่จากการ การปฏิบัติพฤติกรรมได้ด้วยตนเอง เพื่อควบคุมปัจจัย ศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับผลของการให้โภชนศึกษาในผู้ที่ เสี่ยงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและลดอัตราการกลับเป็นซ�้ำได้ ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ศูนย์หัวใจ การที่บุคคลจะปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพให้คงไว้ได้ สิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า หลังการให้โภชน อย่างต่อเนื่องนั้น จะต้องมีความเข้าใจในสถานการณ์ ศึกษาถึงแม้ว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีความรู้ในการบริโภค ความเป็นจริงของตนเองแล้วสามารถตัดสินใจแก้ปัญหา อาหารอยู่ในระดับดี แต่ผู้ป่วยยังมีการปฏิบัติพฤติกรรม เหล่านั้นได้ด้วยตนเองก่อน จนเกิดความรู้สึกมั่นใจและ สุขภาพที่ไม่เหมาะสมในด้านการดื่มชา กาแฟ ร้อยละ เชื่อมั่นในศักยภาพของความสามารถของตนเอง ท�ำให้ 20 การใช้เครื่องปรุงส�ำเร็จรูปในการประกอบอาหาร สามารถปฏิบัติพฤติกรรมเหล่านั้นได้ดียิ่งขึ้นและต่อเนื่อง ร้อยละ 40 และการลืมรับประทานยาถึงร้อยละ 50 จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ได้มีการน�ำแนวคิดการ (Wichitthongchai; 2012) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การส่งเสริม เสริมสร้างพลังอ�ำนาจมาศึกษาผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ พฤติสุขภาพด้วยการให้ความรู้เพียงอย่างเดียวนั้นอาจ เรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Janejob, 1999) ไม่เพียงพอที่จะท�ำให้ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Jantiya, 2004) โรคเบาหวาน หลอดเลือดหัวใจมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (On non, 2004) และโรคไขมันในเลือดสูง (Aree, Wijit, การเสริมสร้างให้บุคคลได้รับรู้ถึงปัญหาของตนเอง Wongsuraprakit, & Punyosophan, 2013) ผลการ ยอมรับในปัญหา แล้วสามารถหาทางเลือกในจัดการ ศึกษาพบว่าผู้ป่วยในกลุ่มโรคเหล่านี้มีการรับรู้พลัง แก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ด้วยตนเอง โดยพิจารณาถึงความ อ�ำนาจดีขึ้น และมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น ซึ่งจะเห็นได้ว่า สามารถของแต่ละบุคคลในการแก้ปัญหาเหล่านั้นร่วมด้วย การศึกษาส่วนใหญ่เป็นการศึกษาชนิดกึ่งทดลอง น่าจะช่วยให้ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือด โดยกลุ่มตัวอย่างในแต่ละรายจะได้รับแผนกิจกรรมใน หัวใจได้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้นและเหมาะสม ลักษณะเดียวกัน ซึ่งวิธีการนั้นก็คือ การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ อย่างไรก็ตาม บุคคลแต่ละบุคคลย่อมมีความ การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ (empowerment) แตกต่างกันทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ บริบททาง ตามแนวคิดของ Gibson (1993) เป็นกระบวนการที่ส่งเสริม สังคม รวมไปถึงการกระท�ำและพฤติกรรม ดังนั้นในการ ให้บุคคลมีส่วนร่วมในการควบคุมองค์ประกอบต่าง ๆ ศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาแบบรายกรณี ที่มีผลต่อสุขภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการในการ ที่มีการจัดกระท�ำ (interventive case study) เพื่อให้ ดูแลสุขภาพของตนเอง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน เข้าใจถึงสภาพความเป็นจริงของบุคคล เจาะลึกถึงข้อมูล

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 245 การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: กรณีศึกษา

ของแต่ละบุคคลได้อย่างชัดเจน และเพื่อให้ทราบถึง เกิดมุมมองใหม่ ๆ ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอด กระบวนการในการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจและผลลัพธ์ เลือดหัวใจจะเกิดการรับรู้ว่าตนเองมีศักยภาพพอที่จะ ของกระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ สามารถดูแลตนเองและจัดการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการด�ำรงชีวิตได้อย่าง วัตถุประสงค์การวิจัย เหมาะและเกิดการคงไว้ซึ่งการปฏิบัติพฤติกรรมอย่าง 1. เพื่อศึกษากระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจใน ต่อเนื่อง เพื่อป้องกันและลดการกลับเป็นซ�้ำของโรค ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดหัวใจตีบได้ 2. เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ วิธีการด�ำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบกรณีศึกษาที่มี ค�ำถามการวิจัย การจัดกระท�ำ (interventive case study) กลุ่มตัวอย่าง 1. กระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับ คือ ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และได้รับการผ่าตัดท�ำ การผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจเป็นอย่างไร ทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจที่โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 2. ผลลัพธ์ของการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และมารับบริการที่ห้องตรวจโรค รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจเป็นอย่างไร หัวใจและหลอดเลือด แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาล โดยผลลัพธ์แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการรับรู้พลัง สุราษฎร์ธานี โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจ�ำนวน อ�ำนาจและด้านพฤติกรรมสุขภาพ 5 ราย มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังนี้ เป็นผู้ที่ได้รับการ ผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้น กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ไปหลังผ่าตัดไปแล้ว 2 สัปดาห์ สามารถอ่านพูด ถามตอบ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบกรณีศึกษา รู้เรื่อง และเขียนภาษาไทยได้ เป็นผู้ที่มีคะแนนการรับรู้ โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของ พลังอ�ำนาจต�่ำกว่าร้อยละ 50 (48 คะแนน) ยินดีในการ Gibson (1993) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การ เข้าร่วมการศึกษาและได้รับอนุญาตจากแพทย์ในการเข้า ค้นพบสถานการณ์ที่เป็นจริง 2) การสะท้อนคิดอย่างมี ร่วมการศึกษา อยู่ในสถานที่ที่สามารถไปเยี่ยมบ้านได้ วิจารณญาณ 3) การลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสม สะดวก หรือมีระยะทางจากบ้านกับโรงพยาบาลห่างกัน และ 4) การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เมื่อผู้ที่ได้ ไม่เกิน 60 กิโลเมตร และสามารถติดต่อสื่อสารทาง รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจได้ผ่าน โทรศัพท์ได้ ผู้วิจัยด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วย กระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจใน 3 ขั้นตอนแรกแล้ว ตนเองตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2559 ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจจะ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ สามารถยอมรับกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตนเองตาม 1. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล สภาพที่เป็นจริง เกิดการรับรู้ถึงปัญหาในการปฏิบัติ 1.1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมสุขภาพในด้านการรับประทานยา การออก 1.2 แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่ได้รับ ก�ำลังกาย การรับประทานอาหาร และการจัดการ การผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ผู้วิจัยดัดแปลง ความเครียด สามารถทบทวนเหตุการณ์และสถานการณ์ ของ Yamsribua (2009) ประกอบด้วยรายละเอียดทั้ง ต่าง ๆ ได้อย่างรอบคอบ แล้วตัดสินใจจัดการกับปัญหา 4 ด้าน ดังนี้ การรับประทานยา การออกก�ำลังกาย การ เหล่านั้นได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นการท�ำความเข้าใจกับ รับประทานอาหาร และการจัดการความเครียด สถานการณ์ปัญหา พิจารณาอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ 1.3 แบบวัดการรับรู้พลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการ

246 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Empowerment in Persons Undergone Coronary Artery Bypass Grafting: A Case Study

ผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ผู้วิจัยดัดแปลงของ หัวใจ ผู้วิจัยน�ำไปตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจาก Jantiya (2004) แบบประเมินนี้ประกอบด้วย 4 ด้าน ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 5 ท่าน แล้วน�ำข้อคิดเห็นและข้อ ด้านละ 6 ข้อ ได้แก่ การรู้สึกถึงความ ส�ำเร็จใน เสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ สถานการณ์ของตนเอง การพัฒนาตนเอง ความพอใจ คู่มือส�ำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจและคู่มือ ในตนเอง และมีเป้าหมายและ ความหมายในชีวิต ผู้วิจัย ส�ำหรับผู้ป่วยผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ได้ผ่าน ใช้ส�ำหรับติดตามและประเมินความก้าวหน้าของการ การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ เสริมสร้างพลังอ�ำนาจตลอดการศึกษา จ�ำนวน 6 ท่าน เรียบร้อยแล้วจึงไม่จ�ำเป็นต้องตรวจสอบ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการด�ำเนินการวิจัย ความตรงเชิงเนื้อหาซ�้ำ 2.1 แนวทางการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ผู้วิจัยสร้าง ผู้วิจัยฝึกการใช้แนวทางการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของ กับผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ Gibson (1993) จ�ำนวน 2 ราย เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ภายใต้การดูแล 2.2 คู่มือส�ำหรับผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยง ของอาจารย์พยาบาลผู้มีความช�ำนาญในการเสริมสร้าง หลอดเลือดหัวใจ ผู้วิจัยใช้จากคู่มือส�ำหรับผู้ป่วยโรค พลังอ�ำนาจ เพื่อให้ผู้วิจัยมีความเชี่ยวชาญในการใช้ หลอดเลือดหัวใจและคู่มือส�ำหรับผู้ป่วยผ่าตัดท�ำทาง แนวทางการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ รวมไปถึงการดูความ เบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ หออภิบาลผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ เป็นไปได้ในทางปฏิบัติและเป็นการประเมินความเข้าใจ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ในเนื้อหาของคู่มือและแบบบันทึกพฤติกรรมก่อนน�ำไป 2.3 แบบบันทึกพฤติกรรมของผู้ที่ได้รับการ ใช้กับกลุ่มตัวอย่างจริงจ�ำนวน 5 ราย ผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง 2.4 เครื่องบันทึกเสียง ที่ใช้บันทึกขณะด�ำเนิน การศึกษาครั้งนี้ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เชียงใหม่ และคณะกรรมการจริยธรรมโรงพยาบาล แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่ได้รับผ่าตัด สุราษฎร์ธานี ผู้วิจัยได้ชี้แจงวัตถุประสงค์และขั้นตอนของ ท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจและแบบวัดการรับรู้พลัง การท�ำวิจัย รวมถึงระยะเวลาในการศึกษา ชี้แจงให้ทราบ อ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือด ถึงสิทธิของกลุ่มตัวอย่างในการตอบรับหรือปฏิเสธการ หัวใจ ผู้วิจัยน�ำไปตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา จาก เข้าร่วมการวิจัย โดยไม่มีผลต่อการรับบริการพยาบาล ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงกันตาม หรือการบ�ำบัดรักษาที่จะได้รับแต่อย่างใด นอกจากนี้ เนื้อหาของแบบวัดทั้งชุดเท่ากับ .83 และ .88 ตามล�ำดับ หากกลุ่มตัวอย่างไม่ต้องการเข้าร่วมต่อจนครบตาม จากนั้นน�ำไปทดลองใช้กับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ก�ำหนดเวลา สามารถบอกเลิกได้ทันที โดยไม่มีผลต่อการ ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจจ�ำนวน บ�ำบัดรักษา การบริการหรือการพยาบาลที่ได้รับข้อมูล 10 ราย แบบวัดการรับรู้พลังอ�ำนาจได้ค่าความเชื่อมั่น ที่ได้จากการศึกษาจะถูกเก็บไว้เป็นความลับ การน�ำเสนอ ของเครื่องมือเท่ากับ .92 แบบสอบถามพฤติกรรม ข้อมูลจะท�ำในภาพรวมของผลการศึกษาเท่านั้น และการ สุขภาพได้ค่าค่าความคงที่ของเครื่องมือเท่ากับ .83 บันทึกเสียงจะถูกท�ำลายภายหลังส�ำเร็จการศึกษา เมื่อ แนวทางการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการ กลุ่มตัวอย่างยินยอมเข้าร่วมการศึกษาให้ลงนามใน ผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจและแบบบันทึก เอกสารยินยอมเข้าร่วมการศึกษา พฤติกรรมของผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือด การด�ำเนินการวิจัยผู้วิจัยท�ำการนัดหมายผู้ที่ได้รับ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 247 การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: กรณีศึกษา

การผ่าตัดท �ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจแต่ละราย เพื่อ หลอดเลือดหัวใจ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และผลลัพธ์ ติดตามเยี่ยมบ้านจ�ำนวน 6 ครั้ง ในระยะเวลา 8 สัปดาห์ ของการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำ โดยการติดตามเยี่ยมบ้านแต่ละครั้งผู้วิจัยใช้เวลาเฉลี่ย ทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ใช้การน�ำเสนอเป็นคะแนนดิบ ประมาณ 20-60 นาที โดยในสัปดาห์ที่ 1 และ 2 ผู้วิจัย ติดตามเยี่ยมบ้านสัปดาห์ละ 2 ครั้ง โดยขณะสัมภาษณ์ ผลการวิจัย ผู้วิจัยขออนุญาตกรณีศึกษาใช้เครื่องบันทึกเสียงเพื่อน�ำ 1. กรณีศึกษาทั้ง 5 รายเป็นเพศชาย มีอายุอยู่ใน มาวิเคราะห์ข้อมูล วันแรกของการเยี่ยมบ้าน ผู้วิจัยให้ ช่วง 56-65 ปี (= 62.60, S.D.= 6.35) ส่วนใหญ่มี กรณีศึกษาตอบแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและ สถานภาพสมรสคู่ (จ�ำนวน 4 ราย) ระดับการศึกษาอยู่ แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำ ในช่วงประถมศึกษา (จ�ำนวน 3 ราย) มีอาชีพเกษตรกรรม ทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ หลังจากนั้นกรณีศึกษาได้รับ (จ�ำนวน 3 ราย) มีรายได้อยู่ในช่วงต�่ำกว่า 10,000 บาท การสัมภาษณ์ พูดคุยเกี่ยวกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และอยู่ในช่วง 20,001-30,000 บาท จ�ำนวนช่วงละ 2 ราย เพื่อให้กรณีศึกษาได้ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรม กรณีศึกษา 2 รายมีโรคไขมันในเลือดร่วมกับโรคความดัน สุขภาพที่เสี่ยงต่อการกลับมาเป็นซำ�้ ของโรคหลอดเลือด โลหิตสูง หัวใจตีบ และสามารถจัดการกับปัญหาเหล่านั้นได้ด้วย 2. กระบวนการที่ใช้ในการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ตัวเอง และในสัปดาห์ที่ 3 ผู้วิจัยติดตามเยี่ยมบ้าน 1 ครั้ง มีทั้งหมด 7 กระบวนการ ได้แก่ การสร้างและคงไว้ซึ่ง เพื่อดูการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง สัมพันธภาพที่ดี การใช้เทคนิคค�ำถาม การสอนรายบุคคล จากนั้นให้กรณีศึกษาตอบแบบวัดการรับรู้พลังอ�ำนาจ การฝึกทักษะโดยการสาธิตและสาธิตย้อนกลับของกลุ่ม ของผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ตัวอย่าง การทวนซ�้ำ การชื่นชมและให้ก�ำลังใจ และการ พบว่ากรณีศึกษาทั้ง 5 ราย มีคะแนนแบบวัดการรับรู้ เอาใจใส่อย่างสม�่ำเสมอ พลังอ�ำนาจมากกว่า 48 คะแนน ผู้วิจัยจึงด�ำเนินการต่อ 3. ผลลัพธ์จากการได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ในสัปดาห์ที่ 4, 5, 6 และ 7 ด้วยการโทรศัพท์ติดตาม แบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ เยี่ยมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และในสัปดาห์ที่ 8 ซึ่งเป็นการ 3.1 กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการรับรู้พลังอ�ำนาจ ติดตามเยี่ยมสัปดาห์สุดท้าย ผู้วิจัยเปิดโอกาสให้กรณี ในสัปดาห์ที่ 8 (= 76.80, S.D.= 5.81) สูงกว่าใน ศึกษาได้ซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติ สัปดาห์ที่ 3 (= 40.40, S.D.= 6.54) และก่อนการเสริม พฤติกรรมที่ผ่านมา จากนั้นผู้วิจัยแนะน�ำความรู้เพิ่มเติม สร้างพลังอ�ำนาจ (= 62.80, S.D.= 5.40) ตามล�ำดับ ตามคู่มือส�ำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจและคู่มือ ดังแสดงในตารางที่ 1 ส�ำหรับผู้ป่วยผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจที่ได้ให้ไว้ พร้อมทั้งส่งเสริมให้กรณีศึกษาได้ปฏิบัติพฤติกรรมอย่าง ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ จากนั้นให้กรณีศึกษาตอบ แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำ ทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจและแบบวัดการรับรู้พลัง อ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือด หัวใจ แล้วแจ้งสิ้นสุดการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลส่วนบุคคล ใช้สถิติเชิงพรรณนา กระบวนการ เสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยง

248 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Empowerment in Persons Undergone Coronary Artery Bypass Grafting: A Case Study

ตารางที่ 1 ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนแบบวัดการรับรู้พลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัด ท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ส่วนเบี่ยงเบน ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ระยะเวลาในการวัด มาตรฐาน (Range) (Mean) (S.D.) ก่อนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ 30-48 40.40 6.54 ระหว่างการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจสัปดาห์ที่ 3 55-69 62.80 5.40 หลังการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจสัปดาห์ที่ 8 71-84 76.80 5.81

3.2 ด้านพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนพฤติกรรมสุขภาพหลังได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ (= 60.80, S.D.= 0.84) มากกว่าก่อนได้รับการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ (= 48.40, S.D.= 2.19) ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่ได้รับการ ผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ส่วนเบี่ยงเบน ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย คะแนนพฤติกรรมสุขภาพ มาตรฐาน (Range) (Mean) (S.D.) ก่อนการศึกษา 45-51 48.40 2.19 หลังการศึกษา 60-62 60.80 0.84

การอภิปรายผล เป็นกระบวนการที่ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องในขั้นตอนที่ 2 1. กระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้ การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ ขั้นตอนที่ 3 การลงมือ รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจเป็นอย่างไร ปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสม และขั้นตอนที่ 4 การคงไว้ซึ่ง ผลของการศึกษาพบว่า ผู้วิจัยใช้กระบวนการทั้งหมด การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกระบวนการนี้จะช่วยให้กลุ่ม 7 กระบวนการในการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจเพื่อให้ผู้ที่ได้ ตัวอย่างเกิดการยอมรับในตัวผู้วิจัย เกิดความเชื่อใจ รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจบรรลุ 4 ขั้น ซึ่งกันและกัน และพร้อมที่จะบอกเล่าเกี่ยวกับความรู้ ตอนในการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของกิบสัน (Gibson, และการปฏิบัติของตนเอง รวมถึงซักถามในประเด็นที่ 1993) โดยในแต่ละขั้นตอนมีจ�ำนวนของกระบวนการ สงสัยได้มากขึ้น และจุดมุ่งเน้นของกระบวนการแตกต่างกันตามเป้า 2. การใช้เทคนิคค�ำถาม เป็นกระบวนการส�ำคัญที่ หมายของแต่ละขั้นตอน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ใช้ทั้ง 4 ขั้นตอน โดยการใช้เทคนิคค�ำถามมีจุดมุ่งเน้นที่ 1. การสร้างและคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดี กระบวนการ แตกต่างกันในแต่ละขั้นตอน โดย ในขั้นตอนที่ 1 เป็นการ นี้เป็นพื้นฐานส�ำคัญ การสร้างสัมพันธภาพที่ดีเป็นกระ ถามเพื่อประเมินความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและ บวนการแรกที่ใช้ในขั้นตอนที่ 1 เพื่อสนับสนุนให้ผู้ที่ได้ อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ผ่านมา ในขั้น รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจค้นพบ ตอนที่ 2 เป็นการถามเพื่อกระตุ้นให้คิด ทบทวนตนเอง สถานการณ์ที่เป็นจริง จากนั้นการคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ผ่านมาด้านการ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 249 การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: กรณีศึกษา

รับประทานยา การออกก�ำลังกาย การรับประทานอาหาร ตนเอง ส่วนในขั้นตอนที่ 2 3 และ 4 เป็นสิ่งส�ำคัญที่จะ และการจัดการความเครียด เพื่อให้เกิดการสะท้อนคิด เป็นแรงผลักดันให้กลุ่มตัวอย่างสามารถปฏิบัติพฤติกรรม และท�ำความเข้าใจอย่างแท้จริงว่า พฤติกรรมสุขภาพ สุขภาพที่ดีได้อย่างต่อเนื่อง ที่ปฏิบัติอยู่นั้นมีพฤติกรรมใดบ้างที่ท�ำได้และท�ำไม่ได้ 7. การเอาใส่ใจอย่างสม�่ำเสมอ กระบวนการนี้ใช้ ในขั้นตอนที่3 เป็นการถามเพื่อให้กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจ ในขั้นตอนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจทั้ง 4 ขั้นตอน และ พิจารณาถึงพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติให้เหมาะสมใน เป็นส่วนส�ำคัญในการโทรศัพท์ติดตามเยี่ยมในทุก ๆ แต่ละราย และในขั้นตอนที่ 4 การซักถามเพื่อการทบทวน สัปดาห์ ที่แสดงให้เห็นว่าผู้วิจัยมีความเอาใจใส่กลุ่ม และสนับสนุนให้ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอด ตัวอย่างรายนั้น ๆ ซึ่งจะช่วยให้กลุ่มตัวอย่างมีก�ำลังใจใน เลือดหัวใจคงไว้ซึ่งการปฏิบัติพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง การปฏิบัติพฤติกรรมที่ดีต่อไปได้ 3. การสอนรายบุคคล เป็นกระบวนการที่ใช้ในขั้น จากการศึกษาในครั้งนี้จะเห็นได้ว่า จากกระบวนการ ตอนที่ 3 และ 4 เพื่อสนับสนุนให้ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำ ทั้งหมดได้มีความคล้ายคลึงกับการศึกษาในกลุ่มผู้ป่วย ทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจมีความรู้และการปฏิบัติที่มี โรคเรื้อรังอื่น ๆ ดังเช่นการศึกษาของ Janejob (1999) ความถูกต้องเหมาะสมกับบริบทของผู้ป่วยในแต่ละราย เรื่องการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในขั้นตอนที่ 2 รูมาตอยด์ ซึ่งผลการศึกษาพบว่า กิจกรรมที่ใช้ในขั้นตอน 4. การฝึกทักษะโดยการสาธิตและสาธิตย้อนกลับ การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจมีทั้งหมด 12 กิจกรรม ได้แก่ ของกลุ่มตัวอย่าง โดยมีคู่มือที่ผู้วิจัยให้ไว้ประกอบการฝึก การสร้างและคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพอันดี การยอมรับความ ซึ่งกระบวนการนี้จะเกิดขึ้นในขั้นตอนที่ 3 และมีการ เป็นบุคคล การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้ ทบทวนการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อคงไว้ซึ่งการปฏิบัติอย่าง เหมาะสม เทคนิคการใช้ค�ำถาม การสนับสนุนความรู้ ต่อเนื่องตามขั้นตอนที่ 4 ความเข้าใจที่ถูกต้อง การอภิปรายปัญหาร่วมกัน การ 5. การทวนเนื้อหาซ�้ำเป็นการให้กลุ่มตัวอย่างสรุป กระตุ้นให้มีการติดตามและประเมินผลตนเองอย่าง ถึงสิ่งที่ได้พูดอีกครั้ง เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างเข้าใจและ ต่อเนื่อง การร่วมกันหาทางเลือกเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ สามารถปฏิบัติพฤติกรรมนั้น ๆ ได้อย่างถูกต้อง โดย การให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และการประเมินผล กระบวนการนี้จะเริ่มขึ้นตั้งแต่ขั้นตอนที่ 2 และต่อเนื่อง ย้อนกลับเชิงบวก การสาธิตและสาธิตย้อนกลับ และการ ไปจนถึงขั้นตอนที่ 4 โดยในขั้นตอนที่ 2 การทวนเนื้อหา ยกตัวอย่างผู้ป่วยรายอื่นในการควบคุมโรค ซำ�้ กระท�ำเพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้คิด ทบทวนตนเอง เกี่ยว นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับการศึกษาของของ On กับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ของตนเอง ในขณะที่ non (2004) เรื่องการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจแบบกลุ่ม ในขั้นตอนที่3 จะกระท�ำเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถตัดสินใจ ต่อความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้อย่างถูกต้องถึงพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติให้เหมาะสมใน พบว่ามีกลยุทธ์ที่ส่งเสริมกระบวนการสร้างเสริมพลัง แต่ละราย และในขั้นตอนที่ 4 การทวนเนื้อหาซ�้ำจะมี อ�ำนาจประกอบด้วย การสร้างสัมพันธภาพที่ดี การยอมรับ เป้าหมายเพื่อการทบทวนให้ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทาง ความเป็นบุคคล การสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศ เบี่ยงหลอดเลือดหัวใจเข้าใจและคงไว้ซึ่งการปฏิบัติ ที่เป็นกันเอง เทคนิคการใช้ค�ำถาม การส่งเสริมความเข้าใจ พฤติกรรมที่ถูกต้องและต่อเนื่อง การอภิปรายกลุ่ม การประเมินตนเองและการให้ข้อมูล 6. การชื่นชมและให้ก�ำลังใจ กระบวนการนี้ใช้ใน ย้อนกลับ ซึ่งภายหลังกระบวนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ขั้นตอนการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจทั้ง 4 ขั้นตอน ซึ่งใน ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความสามารถในการดูแลตนเองเพิ่มมากขึ้น ขั้นตอนแรกการชื่นชมและให้ก�ำลังใจ จะเป็นสิ่งที่ช่วย แม้ว่ากระบวนการที่ได้จากการเสริมสร้างพลัง กระตุ้นให้กลุ่มตัวอย่างกล้าพูดถึงปัญหาสุขภาพของ อ�ำนาจจะมีความคล้ายคลึงกับการศึกษาที่ผ่านมา

250 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Empowerment in Persons Undergone Coronary Artery Bypass Grafting: A Case Study

แต่อย่างไรก็ตามในการศึกษาครั้งนี้ ได้มีกระบวนการ สภาพของร่างกายหลังผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือด ทวนซำ�้ การชื่นชมและให้ก�ำลังใจ และการเอาใจใส่อย่าง หัวใจดีขึ้น สม�่ำเสมอเพิ่มเข้ามา ที่จะช่วยให้กลุ่มตัวอย่างได้เข้าใจ 3. มีการพัฒนาตนเอง ในการปฏิบัติพฤติกรรม ถึงปัญหาของตนเอง เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติจนท�ำให้การ สุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง เมื่อกลุ่มตัวอย่างเข้าใจถึงปัญหา ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และวิธีการในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง 2. ผลลัพธ์ของการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ จะเกิดการรับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง ผู้วิจัยได้กล่าวชื่นชม ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจเป็น และให้ก�ำลังใจ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้กลุ่มตัวอย่างได้มีการ อย่างไร ปฏิบัติและพัฒนาตนเองให้มีการปฏิบัติพฤติกรรมที่ดี ภายหลังจากที่กลุ่มตัวอย่างได้รับการเสริมสร้าง ยิ่งขึ้น และผู้วิจัยได้แสดงถึงการเอาใจใส่อย่างสม�่ำเสมอ พลังอ�ำนาจเป็นรายบุคคลโดยการติดตามเยี่ยมบ้าน ด้วยการโทรศัพท์ติดตามเยี่ยมกลุ่มตัวอย่างทุกราย ซึ่ง พบว่ากลุ่มตัวอย่างทุกรายมีการรับรู้พลังอ�ำนาจเพิ่มขึ้น พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีก�ำลังใจและมีความมั่นใจในความ ซึ่งการรับรู้พลังอ�ำนาจจะมีอยู่ 4 ด้าน คือ มีความรู้สึก สามารถของตนเองมากขึ้น จนท�ำให้กลุ่มตัวอย่างได้มี ถึงความสามารถในการควบคุมสถานการณ์ของตนเอง การพัฒนาตนเองเพื่อให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและ มีความพึงพอใจในตนเอง มีการพัฒนาตนเอง มีเป้าหมาย สามารถคงไว้ซึ่งการปฏิบัติพฤติกรรมที่ดีต่อไป และความหมายในชีวิต สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้ 4. มีเป้าหมายและความหมายในชีวิต เมื่อกลุ่ม 1. มีความรู้สึกถึงความสามารถในการควบคุม ตัวอย่างมีการปฏิบัติพฤติกรรสุขภาพที่ถูกต้องแล้ว กลุ่ม สถานการณ์ของตนเอง ผู้วิจัยได้ใช้เทคนิคค�ำถาม ด้วย ตัวอย่างรู้สึกเห็นคุณค่าในตัวเอง เชื่อมั่นและมองเห็นถึง การถามและซักถามให้กลุ่มตัวอย่างได้มีการสะท้อนคิด ความส�ำคัญในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ จนความ ทบทวนถึงปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการปฏิบัติ ภาคภูมิใจในตนเอง และมีเป้าหมายในชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างได้เกิดการรับรู้ใน อย่างไรก็ตาม การศึกษาเกี่ยวกับการเสริมสร้าง ความสามารถของตนเอง นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ใช้ พลังอ�ำนาจในกลุ่มผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอด กระบวนการสอนรายบุคคล การทวนเนื้อหาซ�้ำ การฝึก เลือดหัวใจ ยังไม่ค่อยมีการศึกษามากนัก แต่ได้มีการ ทักษะโดยการสาธิตและสาธิตย้อนกลับของกลุ่มตัวอย่าง ศึกษาในกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายกัน ดังการศึกษาของ เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างได้เข้าใจ เกิดความมั่นใจในการ Jantiya (2004) ที่ศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้าง ปฏิบัติ และสามารถค้นพบวิธีการปฏิบัติพฤติกรรม พลังอ�ำนาจต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุด สุขภาพที่เหมาะสมกับตนเองได้ ซึ่งพบว่ากลุ่มตัวอย่าง กั้นเรื้อรัง ซึ่งเป็นโรคเรื้อรังและต้องมีการปรับพฤติกรรม ทุกรายมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติพฤติกรรม เหมือนกัน ผลการศึกษาพบว่า โปรแกรมการเสริมสร้าง สุขภาพมากขึ้น มีการพูดคุยต่อรองกับผู้วิจัย กล้าซักถาม พลังอ�ำนาจสามารถส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วย เมื่อมีข้อสงสัย ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างเกิดความตระหนักใน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้และมีคะแนนการรับรู้พลัง ความสามารถของตนเอง น�ำไปสู่ความรู้สึกถึงความ อ�ำนาจในสัปดาห์ที่ 3, 4, 6 สูงขึ้นตามล�ำดับ สามารถในการควบคุมสถานการณ์ของตนเองได้ เมื่อกรณีศึกษาเกิดการรับรู้ถึงพลังอ�ำนาจในตนเอง 2. มีความพึงพอใจในตนเอง เมื่อกลุ่มตัวอย่างทุก แล้ว ส่งผลให้กรณีศึกษาเข้าใจในปัญหาเกี่ยวกับการ รายสามารถเลือกวิธีปฏิบัติพฤติกรรมและสามารถปฏิบัติ ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพด้านการรับประทานยา การ พฤติกรรมต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองแล้ว พบว่ากลุ่มตัวอย่าง ออกก�ำลังกาย การรับประทานอาหาร เมื่อเกิดปัญหา ทุกรายเกิดความพึงพอใจในการตัดสินใจของตนเองและ กรณีศึกษาสามารถคิดย้อนกลับไปทบทวนได้ ท�ำให้กรณี พึงพอใจเมื่อรู้ว่าสิ่งที่ตนเองปฏิบัตินั้นส่งผลให้การฟื้น ศึกษามีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพดีกว่าก่อนการได้รับ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 251 การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: กรณีศึกษา

การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา พฤติกรรม จนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อลดอัตราการ ของ Mahavarakorn (2008) ที่ศึกษาผลของการเสริม กลับเป็นซำ�้ ของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบได้ สอดคล้องกับ สร้างพลังอ�ำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ การศึกษาของ Sanehwong (2005) ที่ศึกษาการ การควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน สนับสนุนของครอบครัวตามการรับรู้ของผู้ป่วยและ ชนิดที่ 2 ที่มีภาวะแทรกซ้อนโรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี พฤติกรรมการปรับตัวของผู้ป่วยหลังผ่าตัดท�ำทางเบี่ยง จังหวัดอุดรธานี พบว่าหลังได้รับโปรแกรมการเสริมสร้าง หลอดเลือดหัวใจ พบว่าการสนับสนุนของครอบครัวด้วย พลังอ�ำนาจ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีพฤติกรรมการ การให้การสนับสนุนและช่วยเหลือทางด้านกายภาพ ดูแลตนเองดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม และทั้งนี้ยัง ด้านจิตใจและอารมณ์ ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านการมีส่วน สอดคล้องกับการศึกษาของ Anderson and Funnell ร่วมในสังคม และด้านการสนับสนุนด้านจิตวิญญาณ (2002) ที่ศึกษาการใช้การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจช่วย ส่งผลให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการปรับตัวด้านต่าง ๆ ดังกล่าว ผู้ป่วยเบาหวานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พบว่าการเสริม ดีขึ้น สร้างพลังอ�ำนาจช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรม ที่ดีขึ้น ผู้ป่วยเกิดความพึงพอใจและรู้สึกว่าตนเองมี ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ความสามารถในการควบคุมระดับน�้ำตาลได้ ควรจัดอบรมหรือพัฒนาพยาบาลให้มีการเสริม นอกจากนี้ ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยพบว่ากรณี สร้างพลังอ�ำนาจให้แก่ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยง ศึกษาทั้ง 5 ราย ไม่มีปัญหาด้านการจัดการความเครียด หลอดเลือดหัวใจ โดยใช้กระบวนการทั้ง 7 กระบวนการ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากในบริบทของสังคมไทย การได้รับ เพื่อให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและน�ำไปสู่การพัฒนา การสนับสนุนจากคนในครอบครัวหรือคนในสังคม คุณภาพทางการพยาบาล ช่วยให้กรณีศึกษามีก�ำลังใจ ค่อย ๆ เรียนรู้และปรับเปลี่ยน เอกสารอ้างอิง Abu-Omar, Y., & Taggart, D. P. (2014). Coronary artery bypass surgery. Medicine, 42, 527-531. doi: 10.1016/j.mpmed.2014.06.008 Anderson, R. M., & Funnell, M. M. (2002). Using the empowerment approach to help patient change behavior. American Diabetes Association, 3-12. Aree, P., Wijit, S., Wongsuraprakit, S., & Punyosophan, O. (2013). Effect of Eating Behaviors Modification Model on Serum Lipid and Blood Glucose Level in Women with Hyperlipidemia. Nursing Journal, 40, 14-22. (In Thai). Gibson, C.H. (1993). A Study of empowerment in mothers of chronically ill children. Unpublished doctoral dissertation. Boston College: Boston. Janejob, P. (1999). Empowerment among Persons in Rheumatoid Arthritis. Study Master of Nursing Science Program in Adult Nursing, Graduated School Chiang Mai University. (In Thai). Jantiya, M. (2004). Effect of Empowerment Program on Health Behaviors among Persons in Chronic Obstructive Pulmonary Disease. Independent Study Master of Nursing Science Program in Adult Nursing, Graduated School Chiang Mai University. (In Thai).

252 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Empowerment in Persons Undergone Coronary Artery Bypass Grafting: A Case Study

Mahavarakorn, S. (2008). The Effect of Empowerment on Self-Care Behavior and Glycemic Control in Diabetes Type2 have Complications in Udonthani Hospital. Master of Public Health Program in Health Education and Health Promotion, Graduated school Khon Kaen University. (In Thai). Miller, A., & Miller, S. (2009). Coronary artery disease treatment guide. Heart & Vascular Institute [Electronic version]. Retrieved May 12, 2015, from www.clevalandclinic.org/heart. Noottaro, A. (2011). Angina in acute coronary syndrome patients. Royal Thai air force medical gazette, 57(2), 13-88. Ong, L. P., & Nair, S. K. (2015). Surgery for coronary artery disease. Surgery (Oxford), 33(2), 78-85. doi: 10.1016/j.mpsur.2014.12.006 On non, B. (2004). Effect of group empowerment on self-care agency among persons with diabetes mellitus. Independent Study Master of Nursing Science Program in Adult Nursing, Graduated School Chiang Mai University. (In Thai). Public Health Statistics Strategy and Planning division Ministry of Public Health. (2019). Numbers and Rates of Ischemic Heart Disease per 100,000 population. Retrieved November 7, 2019, from http://social.nesdb.go.th/SocialStat/StatReport_ Final.aspx?reportid=226& template=2R1C&yeartype=M&subcatid=17. (In Thai). Sabik, J. F., 3rd, Blackstone, E. H., Gillinov, A. M., Smedira, N. G., & Lytle, B. W. (2006). Occurrence and risk factors for reintervention after coronary artery bypass grafting. Circulation, 114(1 Suppl), I454-460. doi: 10.1161/CIRCULATIONAHA.105.001149 Sanehwong, J. (2005). Family Support as Perceived by Patients and Adaptation Behavior in Patients undergone Coronary Artery Bypass Grafting. Master of nursing thesis in family nursing, Graduated school Khon Kaen University. (In Thai). Sayasathid, J. (2012). common cardiac surgery (1st ed.). Phitsanulok: Global print (in Thai). Sithisuk, S. (2014). Guideline for the practice of care inpatients in ischemic heart disease, revised version 2014: The heart association of Thailand under the royal patronage of H.M. the King. (2nd ed.). Bangkok: Srimuang Printing. (In Thai). Stone, J. R. (2012). Pathology of myocardial infarction, coronary artery disease, plaque disruption, and the vulnerable atherosclerotic plaque. Diagnostic Histopathology, 18(11), 478-483. doi: 10.1016/j.mpdhp.2012.09.001 The Society of Thoracic Surgeons of Thailand. (2015). Heart Surgery Statistics in Thailand. Retrieved August 20, 2016, from http://thaists.org/news_detail.php?news_id=212. (In Thai). Wichitthongchai, C. (2012). Effects of Nutritional Education in Patients After Coronary Artery Bypass Graft Surgery at Queen Sirikit Heart Center of the Northeast, Faculty of Medicine, Khon Kaen University. Master of Public Health Program Department of Nutrition Faculty of Public Health, Graduated school Khon Kaen University. (In Thai).

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 253 การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดท�ำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: กรณีศึกษา

Yamsribua, T. (2009). Factors affecting self-care behaviors of coronary artery disease patients receiving coronary artery bypass graft at Phramongkutklao Hospital. Master of Science Program in Health Education, The graduate school, Kasetsart University. (In Thai).

254 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 การประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ* Evaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Care

พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์ ** Puangtip Chaiphibalsarisdi ** ปานตา อภิรักษ์นภานนท์*** Panta Apiruknapanond *** ดาเรศ ชูศรี *** Dares Chusri *** เรวดีทรรศน์ รอบคอบ **** Raywadeetas Robkob ***

บทคัดย่อ การวิจัย การประเมินผลโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ มีจุด มุ่งหมายเพื่อประเมินผล 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพและประชาชน ในการดูแล ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ และ 2)โครงการการบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อป้องกัน รักษา ฟื้นฟูโรคหลอดเลือดหัวใจ แบบครบวงจร การวิจัยยึดแนวคิด CIPP Model ด้วยวิธีการแบบผสมผสานวิธีเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ในเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ และจากการ วิเคราะห์เอกสาร ผลการวิจัยพบว่า 1) ได้ฝึกอบรมพยาบาลแกนน�ำ 570 คน 2) ได้จัดท�ำเอกสารคู่มือ และส่งให้กลุ่ม เป้าหมาย 3) การลงพื้นที่เยี่ยมให้ค�ำปรึกษา 6 จังหวัด 4) ได้จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่พยาบาลแกนน�ำและจิตอาสา ภาคประชาชน 187 คน และ5) ได้ประเมินผลโครงการทั้ง 2 โดยมีข้อเสนอแนะ คือ 1) ควรพัฒนาโครงการฝึกอบรม ให้ความรู้แก่พยาบาลและ อสม. โดยค้นหารูปแบบและวิธีการฝึกอบรมแบบเข้มแก่ อสม. ในการคัดกรองโรคหลอด เลือดหัวใจด้วย Rama egat และ 2) ส่งเสริมให้จัดองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้เกี่ยวกับการพยาบาล โรคหัวใจ รวมทั้งการถ่ายทอดและประยุกต์ใช้ความรู้อย่างเต็มที่

ค�ำส�ำคัญ: การประเมินผล พัฒนาศักยภาพ เครือข่ายวิชาชีพ การดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

Abstract The research, “Evaluation of the potential development project of the professional network in cardiovascular care” aimed to evaluate 2 projects 1) development of potential professional network and people in caring coronary disease patient, and 2) an integration of all stakeholder for prevention, cure and rehabilitation comprehensively in coronary artery diseases. The CIPP Model

* ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สปสช. กระทรวงสาธารณสุข ผ่านสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก * Funded by National Health Security Office through Cardiovascular-Thoracic Nurses Association of Thailand ** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ** Associated Professor, Faculty of Nursing, Saint Louis College *** อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ *** Lecturer, Faculty of Nursing, Saint Louis College **** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ **** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Saint Louis College

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 255 การประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

was applied in mixed methods. In qualitative method by using focused group interview and observation by participation. Quantitative method by using questionnaire and documentary analysis. The findings includes; 1) trained 570 core nurses, 2) developed hand books and sent to the target institutes, 3) site visited with providing consultation in 6 provinces, 4) sat up forum for sharing knowledge for 187 nurses and volunteers people, and 5) evaluated the 2 projects. The suggestions were; 1) to develop training programs for nurses and health volunteers, by searching intensive training for health volunteers to be able to screen with Rama egat, and 2) to support the learning organization and knowledge management in relation to nursing coronary disease patients, including transfer and fully apply the knowledge.

Key words: Evaluation, Potential Project, Professional network, Caring, Coronary disease patients

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากขึ้น เช่น โรคหัวใจ ในยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (พ.ศ. 2554- โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคสมองเสื่อม 2563) ได้ระบุถึงปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ท�ำให้รัฐต้องจ่ายงบประมาณในการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะ ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ใน ปี พ.ศ. 2555 พบว่าปัญหาสุขภาพ สม ขาดการออกก�ำลังกาย เกิดความเครียดหาทางออก ของคนไทย 5 อันดับแรก คือ 1) โรคความดันโลหิตสูง โดยการรับประทานอาหาร สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ท�ำให้มีภาวะ มีจ�ำนวน 1,570.600 คน 2) โรคหัวใจ มีจ�ำนวน น�้ำหนักเกิน อ้วน และมีความเสี่ยงจากการสูบบุหรี่ และ 1,172.400 คน 3) โรคเบาหวาน มีจ�ำนวน 1,050,000 คน ดื่มสุรา มีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพโดยตรง วิถีการ 4) โรค มะเร็ง มีจ�ำนวน 759.800 คน และ 5) โรคหลอด ด�ำเนินชีวิตที่ไม่เหมาะสม และขาดความสมดุลนี้ พร้อม เลือดสมอง มีจ�ำนวน 354.500คน ในการเตรียมบุคลากร สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย ขาดการใส่ใจดูแลควบคุม ทางการพยาบาล ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ป้องกันสาเหตุหลักส�ำคัญท�ำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จึงได้เริ่มโครงการพัฒนาพยาบาลแกยย�ำในการดูแล หรือ เรียกว่า โรควิถีชีวิตแพร่ระบาดไปทั่วโลก และมีแนว ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจในพื้นที่ ปี พ.ศ. โน้มรุนแรงมากขึ้น ท�ำให้เกิดการเจ็บป่วย พิการ เสียชีวิต 2557 ซึ่งเป็นระยะที่ 1แต่ไม่ได้มีการประเมินผลโครงการ มีภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพและการสูญเสียทาง แต่อย่างไร เศรษฐกิจอย่างมาก ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่ง ที่ก�ำลัง ในการพัฒนาโครงการและการด�ำเนินโครงการ เผชิญกับปัญหาจากโรคที่ป้องกันได้ คือโรคเบาหวาน พบว่าการประเมินผลโครงการ ดูเหมือนเป็นหัวข้อที่ให้ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ความส�ำคัญน้อยทั้งด้านเวลา กิจกรรม และสิ่งสนับสนุน และโรคมะเร็ง ต่าง ๆ นอกจากนั้นการประเมินผลจะถูกก�ำหนดให้เป็น ผลกระทบด้านสุขภาพ จากโครงสร้างประชากร กิจกรรมท้าย ๆ ท�ำให้เกิดความน่าเสียดายที่พบว่า ที่จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2568 โครงการนั้น ๆ หากมีการศึกษาอย่างระมัดระวังในระยะ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ แรกของกิจกรรมในโครงการ ก็อาจท�ำให้เกิดผลดีกว่า การจัดบริการสุขภาพ การเตรียมบุคลากรทางการแพทย์ ที่เป็นอยู่ ดังนั้นแนวคิดในเรื่องของการประเมินผล และสาธารณสุขที่มีความเฉพาะทาง และภาระรายจ่าย ก่อนการปฏิบัติการ ระหว่างการปฏิบัติการ และหลัง สุขภาพของภาครัฐที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากการเจ็บป่วยของ เสร็จสิ้นการปฏิบัติการ จึงเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการ

256 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Evaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Care

พัฒนาคุณค่าของสิ่งนั้นหรือการปฏิบัติงานนั้น ๆ วัตถุประสงค์การวิจัย (Smithikrai, 2013) เพื่อประเมินผลการด�ำเนินงานใน 2 โครงการ คือ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาล 1) โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบลและอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด และ 2) โครงการการ ประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นบุคลากรสาธารณสุขที่ใกล้ชิด บูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อป้องกัน รักษา ฟื้นฟูโรคหลอด กับประชาชนการให้ค�ำแนะน�ำและช่วยเหลือให้ผู้ป่วย เลือดหัวใจแบบครบวงจร ระยะที่ 2 ปีพ.ศ. 2558 โรคหลอดเลือดหัวใจ และ การค้นหากลุ่มเสี่ยงให้เข้าถึง (1 ตุลาคม 2557-30 กันยายน 2558) ประกอบด้วย 5 การบริการที่มีคุณภาพ โดยช่วยให้ผู้มีปัจจัยเสี่ยงลด กิจกรรม คือ 1) การฝึกอบรมพยาบาลแกนน�ำ 2) การ ความเสี่ยงให้น้อยลง โดยการให้ค�ำแนะน�ำ ช่วยเหลือ ให้ จัดท�ำเอกสารคู่มือ 3) การลงพื้นที่เยี่ยมให้ค�ำปรึกษา 4) ก�ำลังใจแก่ ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 5) ประเมินผล ใน 4 ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงให้ลดน้อยลง เพื่อหวังผลต่อการลด กิจกรรม (1-4) ข้างต้น ความรุนแรง และเฝ้าระวังเมื่อมีอาการระยะเริ่มต้น โดย ความร่วมมือขององค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) ซึ่งเป็น กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ที่ใกล้ชิดกับ อสม. และ การประเมินผลโครงการฯ ครั้งนี้ยึด CIPP model ประชาชนมากที่สุด ความร่วมมือระหว่างพยาบาลที่ เป็นพื้นฐาน ค�ำว่า Model หมายถึง รูปแบบ หรือ แบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล (รพสต.) อสม. จ�ำลอง หรือ วิธีการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้ถ่ายทอด และผู้บริหารของ อบต. จึงเป็นความร่วมมือภายในท้องถิ่น ความคิด ความเข้าใจ ตลอดจนจินตนาการที่มีต่อ ที่สามารถติดตามดูแลช่วยเหลือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือด ปรากฏการณ์หรือเรื่องราวใด ๆ ให้ปรากฏโดยใช้การ หัวใจ และกลุ่มเสี่ยงจากปัจจัยต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน สื่อสารในลักษณะต่าง ๆ เช่น ภาพวาด ภาพเหมือน โรคความดันโลหิตสูง ภาวะนำ�้ หนักตัวเกิน โรคอ้วน และ แผนภูมิ แผนผัง เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย และสามารถน�ำเสนอ อื่นๆ ท�ำให้ประชาชนในท้องถิ่นมีสุขภาพดี จากการมี เรื่องราวได้อย่างมีระบบ (เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี, ส่วนร่วมอย่างดีของทุกภาคส่วน 2542: 27) ในการประเมินผลแบบซิป หรือ CIPP การประเมินเป็นกระบวนการ ให้คุณค่า การกระท�ำ Model ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) ได้ก�ำหนด หรือกิจกรรม ว่ามีคุณภาพเพียงใด การประเมิน เป็นการ ประเด็นการประเมินออกเป็น 4 ประเภท ตามอักษรภาษา พัฒนาคุณภาพเพื่อรับรู้ตนเองในกิจกรรม หรือการกระท�ำ อังกฤษตัวแรก ของ CIPP Model มีรายละเอียดดังนี้ นั้น ๆ ว่าดีแล้วยัง ท�ำให้ดีกว่านี้ได้หรือไม่ จึงถือเป็นกระ 1. การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation: บวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง น�ำสู่การพัฒนา C) เป็นการประเมินก่อนการด�ำเนินการโครงการ เพื่อ องค์กรอย่างยั่งยืน การประเมินโครงการการฝึกอบรม พิจารณาหลักการและเหตุผล ความจ�ำเป็นที่ต้องด�ำเนิน ด้านสุขภาพ ต้องประเมินอย่างรอบด้าน เพื่อประโยชน์ โครงการ ประเด็นปัญหา และความเหมาะสมของเป้าหมาย แก่ผู้รับบริการสุขภาพและผู้ดูแลสุขภาพ โครงการ การประเมินผลครั้งนี้เป็นการประเมินผลโครงการ 2. การประเมินปัจจัยน�ำเข้า (Input Evaluation: I) ที่ สปสช. กระทรวงสาธารณสุข ได้สนับสนุนงบประมาณ เป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ ความ ในการด�ำเนินโครงการของสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและ เหมาะสม และความพอเพียงของทรัพยากรที่ใช้ในการ ทรวงอก ประเทศไทย ด�ำเนินโครงการ เช่น งบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ เวลา ฯลฯ รวมทั้งเทคโนโลยีและแผนการด�ำเนินงาน 3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation:

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 257 การประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

P) เป็นการประเมินเพื่อหาข้อบกพร่องของการด�ำเนิน 2. การตัดสินใจเพื่อก�ำหนดโครงสร้างของโครงการ โครงการ ที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง (Structuring decisions) เป็นการตัดสินใจที่ใช้ข้อมูล ให้การด�ำเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ จากปัจจัยน�ำเข้าที่ได้น�ำไปใช้ในการก�ำหนดโครงสร้าง เป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรที่ใช้ใน ของแผนงาน และขั้นตอนของการด�ำเนินการของโครงการ โครงการ ภาวะผู้น�ำ การมีส่วนร่วมในโครงการโดยมีการ 3. การตัดสินใจเพื่อน�ำโครงการไปปฏิบัติ บันทึกไว้เป็นหลักฐานทุกขั้นตอน การประเมิน (Implementation decisions) เป็นการตัดสินใจที่ใช้ กระบวนการนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการค้นหา ข้อมูลจากการประเมินกระบวนการ เพื่อพิจารณา จุดเด่น หรือจุดแข็ง (Strengths) และจุดด้อย ควบคุมการด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผน และปรับปรุง (Weakness) ของนโยบาย และ/หรือ แผนงาน แก้ไขการด�ำเนินการให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด 4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation: 4. การตัดสินใจเพื่อทบทวนโครงการ (Recycling P) เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขี้นกับ decisions) เป็นการตัดสินใจเพื่อใช้ข้อมูลการประเมิน วัตถุประสงค์ของโครงการ หรือมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ ผลผลิต (Output) เพื่อพิจารณาการยุติ / ล้มเลิก หรือ นอกจากน ี้ Stufflebeam ได้น�ำเสนอประเภทของ ขยายโครงการที่จะน�ำไปใช้ในโอกาสต่อไป การตัดสินใจที่สอดคล้องกับประเด็นที่ประเมินดังนี้ 1. การตัดสินใจเพื่อการวางแผน (Planning ขอบเขตการวิจัย decisions) เป็นการตัดสินใจที่ใช้ข้อมูลจากการประเมิน กระทรวงสาธารณสุขได้ก�ำหนดเขตบริการสุขภาพ สภาพแวดล้อมที่ได้น�ำไปใช้ในการก�ำหนดจุดประสงค์ เพื่อการพัฒนา แผนการบริการ และผู้เชี่ยวชาญโรค ของโครงการ ให้สอดคล้องกับแผนการด�ำเนินงาน หลอดเลือดหัวใจใน 12 เขต ดังภาพ

การวิจัยครั้งนี้มีกลุ่มเป้าหมาย คือ 1) พยาบาล ขอบเขตของการวิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูล ใน วิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 2)โรงพยาบาล กิจกรรมที่ 1 และกิจกรรมที่ 3 ในพื้นที่เขต/จังหวัด ส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล (รพ.สต.) 2) อาสาสมัคร ตามวัน/เดือน/ปี ดังปรากฏในตาราง 1 สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) 3) คณะกรรมการ อ�ำนวยการสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก และ4) วิทยากรในการฝึกอบรมพยาบาลแกนน�ำ

258 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Evaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Care

ตาราง 1 ก�ำหนดการของกิจกรรมที่ 1 และกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพพยาบาลแกนน�ำ กิจกรรมที่ 3 การลงพื้นที่เยี่ยมให้ค�ำปรึกษา (ฝึกอบรม) เขต/จังหวัด วัน/เดือน/ปี เขต/จังหวัด วัน/เดือน/ปี เขต 1 จังหวัดล�ำปาง 19-21 ม.ค. 2558 เขต 1 จังหวัดล�ำปาง 28-29 เม.ย. 2558 เขต 4 จังหวัดปทุมธานี 27-29 ม.ค. 2558 เขต 4 จังหวัดปทุมธานี 11-12 มิ.ย. 2558 เขต 5 จังหวัดเพ็ชรบุรี 26-28 พ.ย. 2557 เขต 5 จังหวัดเพชรบุรี 7-8 เม.ย. 2558 เขต 7 จังหวัดขอนแก่น 1-3 ก.ย. 2557 เขต 7 จังหวัดขอนแก่น 24-25 พ.ย. 2557 จังหวัดร้อยเอ็ด 23-25 ก.พ. 2558 จังหวัดร้อยเอ็ด 13-14 ส.ค. 2558 เขต 12 จังหวัดสงขลา 28-30 ต.ค. 2557 เขต 12 จังหวัดสงขลา 30-31 มี.ค. 2558

วิธีด�ำเนินการวิจัย และพยาบาลเข้าร่วม จ�ำนวน 222 คน รวม 570 คน รูปแบบการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีการ 5) เอกสารการรายงานผลการลงพื้นที่เยี่ยมให้ วิจัยแบบผสมผสาน การวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ค�ำปรึกษา 6 จังหวัด จากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้ใช้วิธีการสนทนากลุ่มและ 6) เอกสารการประเมินผล การจัดเวทีแลกเปลี่ยน การสังเกตแบบมีส่วนร่วมในการวิจัยเชิงคุณภาพ และ เรียนรู้ของพยาบาลแกนน�ำและจิตอาสาประชาชน ได้ใช้แบบสอบถามและแบบวิเคราะห์เอกสารในการวิจัย เป็นพยาบาลแกนน�ำ จ�ำนวน 98 คน และ จิตอาสา เชิงปริมาณ ภาคประชาชน จ�ำนวน 89 คน รวม 187 คน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วย 1) แนวค�ำถามการสนทนากลุ่ม จ�ำนวน 4 ชุด 1) การสนทนากลุ่มจ�ำนวน 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 2) แบบสังเกตการฝึกอบรม ส�ำหรับกิจกรรมที่ 1 พยาบาลแกนน�ำ จ�ำนวน 12 คน กลุ่มที่ 2 อาสาสมัคร และ กิจกรรมที่ 3 สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) จ�ำนวน 14 คน 3) แบบวิเคราะห์เอกสาร ส�ำหรับกิจกรรมที่ 1, 2, กลุ่มที่ 3 พยาบาล รพสต. และ อสม. จ�ำนวน 12 คน 3 และ 4 กลุ่มที่ 4 คณะกรรมการอ�ำนวยการสมาคมพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทั้งหมด ได้ผ่านการตรวจ โรคหัวใจและทรวงอก (ประเทศไทย) จ�ำนวน 14 คน สอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 รวม 52 คน ท่าน พร้อมได้มีการทดลองใช้ ในสภาพที่ใกล้เคียงกับ 2) วิทยากร 7 คน ในการฝึกอบรมพยาบาลแกนน�ำ สภาพจริงในพื้นที่ 6 จังหวัด การเก็บรวบรวมข้อมูล 3) เอกสารคู่มือ ได้แก่ หนังสือ “การแปลผลคลื่น ภายหลังคณะกรรมการจริยธรรมเพื่อการวิจัย ไฟฟ้าหัวใจและการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ” จ�ำนวน สมาคมโรคหัวใจและทรวงอก ได้พิจารณารับรองจริยธรรม 3,000 เล่ม และ “คู่มือ ประชาชน และเครือข่ายจิตอาสา คือ IRB/001/2557 วันที่ 19 กันยายน 2557 คณะวิจัย ดูแลโรคหัวใจและหลอดเลือด” จ�ำนวน 9,000 เล่ม จึงได้วางแผนด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 4) เอกสารการประเมินผล การฝึกอบรมพยาบาล 1. การจัดสนทนากลุ่ม จ�ำนวน 4 กลุ่ม พร้อมมีการ แกนน�ำ 6 จังหวัด เป็นพยาบาลแกนน�ำ จ�ำนวน 348 คน อัดเทปเสียง ในกลุ่มที่ 1 วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 259 การประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

กลุ่มที่ 2 วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มที่ 3 วันที่ 8 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพและประชาชนใน เมษายน พ.ศ. 2558 และกลุ่มที่ 4 วันที่ 27 กันยายน การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด” ได้ระบุ พ.ศ. 2558 ในกิจกรรมที่ 2 การจัดท�ำเอกสารคู่มือ คือ 1) คู่มือ 2. การสังเกตแบบมีส่วนร่วมใน กิจกรรมที่ 1 และ พยาบาล: การอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจส�ำหรับพยาบาล กิจกรรมที่ 3 ในกิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรม “การพัฒนา จ�ำนวน 3,000 เล่ม และ 2) คู่มือประชาชน: เสริมพลัง ศักยภาพพยาบาลแกนน�ำฯ” และกิจกรรมที่ 3 การ รักหัวใจ จ�ำนวน 9,000 เล่ม ลงพื้นที่เยี่ยมให้ค�ำปรึกษา ดังปรากฏในตาราง 1 จากการวิเคราะห์ คู่มือพยาบาล ฯ พบว่า ได้มีการ 3. การวิเคราะห์เอกสาร ในกิจกรรมที่ 1 การ จัดพิมพ์ เรื่อง “การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการ ประเมินผลการเข้าฝึกอบรม ใน 6 จังหวัด กิจกรรมที่ 2 พยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ” มี 7 บท 384 หน้า พิมพ์โดย การจัดท�ำเอกสาร คู่มือ กิจกรรมที่ 3 สรุปรายงานผล บริษัท สุขุมวิทการพิมพ์ จ�ำกัด จ�ำนวน 3,000 เล่ม การลงพื้นที่เยี่ยมให้ค�ำปรึกษา จ�ำนวน 6 ครั้ง และใน มีขอบเขตของเนื้อหาที่ครอบคลุม มีการจัดตั้งคณะ กิจกรรมที่ 4 การประเมินผล การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กรรมการจัดท�ำเอกสารคู่มือการพยาบาลประกอบด้วย วันที่ 14-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ ผู้แทนจากส�ำนักงาน สปสช. และ การวิเคราะห์ข้อมูล จิตอาสา จากนั้นได้มีการสัมมนาวางกรอบและเนื้อหา 1. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ จากการจัดสนทนา ของเอกสาร มอบหมายงานค้นคว้าเอกสารการท�ำ กลุ่มด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ต้นฉบับแบบร่าง มีผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง 2. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนา สัมมนาสรุปเนื้อหา ส่งต้นฉบับแก่บริษัทพิมพ์ และส่ง หนังสือให้กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ โรงพยาบาลในโครงการ ผลการวิจัย ทุกแห่ง ห้องสมุดวิทยาลัยพยาบาลและคณะพยาบาล ผลการประเมินโครงการ ทั้ง 5 กิจกรรม ดังนี้ ศาสตร์และพยาบาลวิชาชีพในพื้นที่ 1. การฝึกอบรมพยาบาลแกนน�ำ จากการวิเคราะห์ คู่มือประชาชน พบว่าได้มีการ จากการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ 1 จัดพิมพ์ เรื่อง “เสริมพลังรักหัวใจ” มี 3 ตอน 80 หน้า ฝึกอบรมพยาบาลแกนน�ำฯ ใน 6 จังหวัด ได้แก่จังหวัด พิมพ์โดยบริษัท สุขุมวิทการพิมพ์ จ�ำกัด จ�ำนวน 9,200 ขอนแก่น สงขลา เพชรบุรี ล�ำปาง นนทบุรีและร้อยเอ็ด เล่ม มีขอบเขตของเนื้อหาที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย พบว่าวิทยากรทั้ง 7 คน ได้มีการประสานงานกัน มีการ มีการตั้งคณะกรรมการจัดท�ำเอกสารคู่มือประชาชน เตรียมตัวและท�ำการบรรยายได้อย่างครอบคลุมตาม ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ ผู้แทนจากส�ำนักงาน โครงการฯ มีคุณสมบัติและประสบการณ์ในหัวข้อที่ สปสช. และจิตอาสา จากนั้นได้มีการสัมมนาวางกรอบ บรรยาย สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย และ และเนื้อหาของเอกสาร มอบหมายงานค้นคว้าเอกสาร ระยะเวลา มีการอภิปราย แสดงความคิดเห็น สาธิต การท�ำต้นฉบับแบบร่าง มีผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง ทดลองฝึกปฏิบัติ และแสดงบทบาทสมมุติ และสื่อ สัมมนาสรุปเนื้อหาของเอกสาร ส่งต้นฉบับแก่บริษัทพิมพ์ การอบรมที่สมบูรณ์ มีความเสียสละทุ่มเทอย่างมาก และส่งคู่มือให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ โรงพยาบาลใน ซึ่งสอดคล้องกับการประเมินผลของพยาบาลแกนน�ำที่ โครงการทุกแห่ง ห้องสมุดวิทยาลัยพยาบาลและคณะ เข้ารับการอบรมรวม 6 จังหวัด จ�ำนวนทั้งสิ้น 570 คน พยาบาลศาสตร์และพยาบาลวิชาชีพในพื้นที่ ประชาชน ว่ามีความพึงพอใจในระดับดี-ดีมาก ร้อยละ 92.77 ผู้ป่วย จิตอาสาภาคประชาชน เป็นคู่มือให้แก่ประชาชน 2. การจัดท�ำเอกสารคู่มือ และเครือข่ายจิตอาสาดูแลโรคหัวใจและหลอดเลือด การจัดท�ำเอกสารคู่มือ เป็นส่วนของ “โครงการ มีรูปเล่มที่กะทัดรัด เหมาะแก่การพกพา

260 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Evaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Care

3. การลงพื้นที่เยี่ยมให้ค�ำปรึกษา กลายเป็นว่าคนไข้กลับมา เป็น Normal sinus ค่ะ จากการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในการลงพื้นที่เยี่ยม ตอนนี้เขาก็พักอยู่ที่บ้านเป็นปกติค่ะ ให้ค�ำปรึกษา ใน 6 จังหวัด คณะผู้วิจัยได้ท�ำการสนทนา 2) บทบาทของพยาบาล รพสต. กลุ่ม จ�ำนวน 4 กลุ่ม ได้ผลดังนี้ พยาบาลประจ�ำ รพสต. คนหนึ่งพูดว่า “โชคดีที่มี กลุ่มที่ 1 การสนทนากลุ่มกับพยาบาลแกนน�ำ แม่ข่ายที่ดี ที่เก่งและมีความรู้อยู่แล้ว” และ จ�ำนวน 12 คน วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 โรงพยาบาลมีโครงการเกี่ยวกับการอบรมฟื้นฟูให้ โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น พบ 3 ประเด็น ดังนี้ แก่กลุ่ม รพสต. สามารถคัดกรองผู้ป่วยในระยะแรก ๆ 1) ความทรงจ�ำที่ได้ช่วยผู้ป่วยฟื้นคืนชีพ ได้และสามารถให้ค�ำแนะน�ำได้ บทบาทหน้าที่ของ ความทรงจ�ำของพยาบาลเล่าว่า ประมาณวันที่ 7 รพสต. จะเป็นผู้ติดตาม เยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง ให้ความรู้ พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 วันนั้นคนไข้ของโคกสง่า เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อที่จะไม่เป็นโรคความ เกี่ยวข้าวอยู่ตอนเช้า บอกว่าแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก ดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ รพ.สต. อาจจะไม่รู้ หลังเกี่ยวข้าวกลับมาที่บ้าน หุงข้าวเสร็จแล้วก็ฟุบไป ทั้งหมด หน้าที่ของ โรงพยาบาลพล ต้องลงไปให้ความรู้ STEMI ติดลบ อาการบอกได้เลยค่ะ ว่าเจ็บแน่นหน้าอก อสม. เพราะว่าโรคนี้มีสถิติเพิ่มขึ้น มี อสม. คอยช่วยคอย ญาติก็เลยโทรไปที่ 1669 หากู้ชีพ กู้ชีพได้ขับรถ Advance รายงาน โทรเรียกกู้ชีพ แต่ว่าส่วนมากเขาจะไปที่ รพ.พล ต้องออกรถภายใน 2 นาที ต้องไปถึงผู้ป่วยโดยเร็ว ในการอบรม อสม. ของเมืองพลเป็น อสม. กลุ่มใหญ่ 125 ประมาณบ่าย 2 พอกู้ชีพไปเห็นบอกว่าคนไข้หมดสติ คน จากการสังเกตการอบรม เขาจะมีความวิตกกังวล ไม่รู้สึกตัว ถ้าเกิดเหตุการณ์แบบนี้ ก็ขอความช่วยเหลือ เพราะนี่เป็นการปั๊มหุ่น แต่ถ้าไปปั๊มคนจริง ๆ จะเป็น ก็ช่วยฟื้นคืนชีพ เพราะรถ Advance ของเรา ถ้ามีคนไข้ อย่างไร การอบรมนี้เป็นครั้งแรก ยังไม่ต่อเนื่อง ได้รับค�ำ หมดสติไม่รู้สึกตัว หัวใจหยุดเต้น เราจะท�ำแบบของเรา แนะน�ำว่า “ต้องท�ำโครงการของตัวน้องเอง” “มีการ คือ กู้ชีพต้องเรียกทีม Advance ออกไป พบกันครึ่งทาง กระตุ้นบ่อย ๆ และมีการปฏิบัติบ่อย ๆ จึงจะได้ผล ที่หน้าโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม ห่างจากบ้านคนไข้ ส่วนการกระจาย ความรู้ไปสู่ชุมชนก็ต้องมีการติดตาม ประมาณ 10 กิโลเมตรกว่า Work กันกลางถนนเลย อีกครั้งหนึ่ง” เราจะสื่อสารกันตลอดทางวิทยุว่าเราถึงไหนแล้ว บนรถ ในการน�ำส่งของหน่วยกู้ชีพ มีค่าใช้จ่าย 350 บาท/ เขาก็เปิดเส้นแล้วให้ Adrenaline พอมาถึง รพ. มาถึง ราย การใช้บริการของ EMS เดือนหนึ่งได้ประมาณ 25- เราก็บ่าย 3 แล้วคนไข้ไม่มีอะไร กระตุ้นหัวใจไปทั้งหมด 30 ราย แล้วแต่หน่วย ที่นี่เราจะพัฒนาระบบ EMS จะ 6 ครั้ง เข้าตามไกด์ไลน์ มีเกณฑ์ว่าถ้าครบตามไกด์ไลน์ ครอบคลุมหมดทุกต�ำบล มีกู้ชีพฉุกเฉินทุกต�ำบล แล้วเรา คือ 30 นาที ให้หยุด ดังนั้นพอเราจะถอด Tube แต่คนไข้ ก็ไปให้ความรู้ ทบทวนความรู้ทุกปีในกลุ่มกู้ชีพกลุ่มนี้ ยังหายใจแบบ Air hunger คนไข้ไม่รู้สึกตัว คล�ำ Pulse 3) คุณค่าของโครงการฯ ไม่พบเราจึงให้ Adrenaline ไปทั้งหมด 6 แอมป์ และ การพัฒนาในโรงพยาบาลของเรา เชิงรุกของเรา ไบคาร์บ หลังจากนั้นคล�ำ Pulse คนไข้อีกครั้ง คนไข้เริ่มมี ยังไม่ไปถึงดวงดาว ก็คือคนไข้ยังมียอดเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ Pulse มา มีทีมงานให้ข้อคิดว่า “ให้หยุดเถอะเพราะว่า เพราะว่าเรารับจริง แต่เราก็สามารถดูแลได้ ในเรื่องของ ได้ช่วย เกิน 30 นาที มันไม่ไหวแล้ว” พยาบาลผู้นี้ก็เลย ความเร็ว ความช้า เรายังการันตีไม่ได้ ว่าคนไข้รู้ตัวไหม ยกตัวอย่างให้ดูว่าพ่อของพยาบาลคนหนึ่ง เขาปั๊มชั่วโมง ว่าเมื่อมีอาการใดจะต้องรีบมาโรงพยาบาล ถ้ามีโครงการ หนึ่ง ยังคืนชีพมาเลยนะ เราไม่ยอมแพ้ เราไม่ยอม และ นี้เกิดขึ้น มีมุมมองว่าเราจะท�ำให้คนไข้ในกลุ่มเข้าถึง บอกทีมงานว่า “อย่าถอดเลยนะคะ ช่วยปั๊มต่ออีกนิดนึง” บริการได้เร็ว ด้วยระบบ โทรเบอร์ 1669 ระบบ วอ. เพื่อ ปั๊มต่อไปจนเกือบ 50 นาที ปั๊มสลับกันหลายคน ประสานงานกับเครือข่ายโดยทันที ถ้าผู้ป่วยมาเร็วมาไว

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 261 การประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

โอกาสที่ผู้ป่วยจะรอดชีวิตก็สูง ยินดี ที่ได้เป็นส่วนหนึ่ง การจัดฝึกอบรม และให้ค�ำแนะน�ำแก่พยาบาลแกนน�ำ ของโครงการนี้ ที่จะมีการต่อเนื่อง เพราะรู้สึกว่าตนเอง พยาบาล รพสต. อสม. และประชาชนได้ ไม่มีความรู้ เราต้องรู้ให้ได้ เพื่อจะช่วยคนไข้ แม่ข่าย 2) พยาบาลประจ�ำ รพช. เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่การ เขาจะดูแลเรื่องระบบส่งต่อ ก็เลยเกิดการเรียนรู้ว่า ดูแล อ่าน EKG, SK หลังจากที่ได้รับการฝึกอบรมไปแล้ว เราต้องรู้ศักยภาพของพยาบาล ER ต้องอ่าน EKG ได้ ได้วางแผนเพื่อน�ำความรู้ไปถ่ายทอดต่อ ต้องวินิจฉัย ที่แม่นย�ำและรวดเร็ว 3) พยาบาลระดับ รพ.สต. ท�ำงานร่วมกับ อสม. น้อง ๆ พยาบาลที่อยู่ รพ.สต. เปรยว่า ความรู้ก็คืน ให้การนิเทศ อสม. และให้บริการพยาบาลในการส่งเสริม อาจารย์ไปหมดแล้ว พอมีโครงการฯ นี้ น้อง ๆ ใน สุขภาพ ป้องกันโรคหัวใจในกลุ่มเสี่ยง ให้ค�ำแนะฟื้นฟู โรงพยาบาลพล ก็มารับการอบรม ได้ความรู้คืนมาไม่มาก สุขภาพและก�ำลังใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว ก็น้อย หลังจากนั้นทางทีมของ รพ.พล ก็ได้น�ำความรู้ไป 4) อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่ (อสม.) เป็น ประสานกับทีมงานในพื้นที่ จัดอบรม อสม. ก็เป็นความรู้ ผู้เฝ้าระวังผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงในชุมชน ตรวจวัดความ ที่ใหม่ที่ อสม. ได้รับ หลังจากที่ได้มีการอบรมแล้ว จาก ดันโลหิต สังเกตและซักประวัติ ให้ค�ำแนะน�ำ ในการ อสม. ที่ไม่เคยพูด ไม่เคยคล�ำ บางคนอาจจะคล�ำแต่ไม่รู้ ปฏิบัติตน ศึกษาหาความรู้อย่างต่อเนื่อง และน�ำผู้ป่วย ว่าเป็นอะไร แล้วเขาต้องคล�ำชีพจรเป็น ตรงนี้เขาต้องท�ำ ส่งโรงพยาบาล อยู่แล้ว เพราะว่าเขาวัดความดันโลหิต สอน CPR ว่า 5) มีการประสานงานที่ดี ท�ำงานกันเป็นทีมด้วย ตรงนี้คือชีพจร ทาง รพ. ก็เอาหุ่นไปสาธิตการปั๊ม แปลก ความรับผิดชอบ ทุกคนมีความสุขที่ได้ท�ำงานเพื่อส่วนรวม ใหม่ เพราะว่าเขาไม่เคยเจอหุ่นสาธิต เขาก็กระตือรือร้น และดีใจที่ได้เป็นเครือข่ายของโครงการฯ ที่จะเรียนรู้ ถ้าประเมินว่าเขาได้ความรู้ไหม ก็ได้ระดับนึง กลุ่มที่ 2 การสนทนากลุ่มกับ อสม. จ�ำนวน 14 คน แต่ส�ำหรับ อสม. เราต้องกระตุ้นบ่อย ๆ และมีการปฎิบัติ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558 ณ จังหวัดสงขลา พบ 3 บ่อย ๆ จึงจะได้ผล ส่วนการกระจาย ความรู้ไปสู่ชุมชน ประเด็น ดังนี้ ก็ต้องมีการติดตามอีกครั้งหนึ่ง ว่ากระจายจริงหรือเปล่า 1) การปฏิบัติงานนอกเวลา มี อสม. ที่ต้องดูแล 125 คน สถิติกู้ชีพที่ไปเก็บตามต�ำบล รพสต. และอสม. ได้ปฏิบัติงานนอกเวลา โดยการ ที่น�ำส่ง รพ. เดือนหนึ่งก็มี 50 คนขึ้นไป เชิญชวนคนไข้ต้นแบบ 2 คน ร่วมกับเทศบาล และ พยาบาล อีกคน กล่าวว่า “คิดว่าต้องมีการพัฒนา รพสต. ในการคัดกรองโรคหัวใจ ในวันเสาร์ ด้วยแบบ ตนเอง จากการอ่าน EKG ก็ต้องขอหัวหน้ามาในการเรียนรู้ คัดกรองของสมาคม ฯ พร้อมให้สุขศึกษา และก�ำลังใจ เพื่อเพิ่มทักษะ กลับมาก็เหมือนฟังไม่รู้เรื่อง ก็เลยมีการ ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยในชุมชน นอกจากนั้นจะต้องร่วม สอนเคสต่อเคส สอนเป็นกลุ่ม ๆ พยาบาล ER ทุกคน งานบุญต่าง ๆ ของชุมชน เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพอันดี ต้องผ่านการอ่าน EKG เขาดีใจ อ่านได้เขาก็ดีใจค่ะ กับชุมชน หมอที่โรงพยาบาลหนึ่งไม่ คอนเฟิร์มว่าพยาบาล ER อสม. ชายวัยกลางคน น�ำตัวอย่างสมุดบันทึกการ อ่าน EKG ได้จริงเหรอ เราก็เลย ท้าทายตัวเอง โดยการ เยี่ยมและติดตามชุมชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง เพื่อหารือและ ที่แข่งขันให้ได้ที่ 1” พยาบาล รพสต. อีกผู้หนึ่งกล่าวว่า ขอค�ำแนะน�ำจากพยาบาล รพสต. ท�ำให้ อสม. ผู้นี้มีความรู้ “รู้สึกดี เพราะโครงการนี้ท�ำให้ อสม. มีความรู้มากขึ้น ความเข้าใจในอาการของโรค การให้ค�ำแนะน�ำช่วยเหลือ เขาอยู่ในชุมชน สามารถดูแลคนไข้ได้ ถ้าเขาไปเจอเคสใหม่” และให้ก�ำลังใจกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง โดยสรุปบทบาท พยาบาล รพสต.ให้สุขศึกษา และร่วมงานกับชุมชน 1) พยาบาลแม่ข่ายเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ได้แก่งานผ้าป่า งานบุญ ก็ต้องลงไปหน้างาน ในชุมชน มีประสบการณ์พร้อมที่จะให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ด�ำเนิน ก็ดูแลกันเองมากกว่าการสอนโดยบุคลากรด้านสุขภาพ

262 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Evaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Care

คณะผู้ตรวจเยี่ยมได้แนะน�ำ Service plan เพื่อป้องกัน โรงพยาบาลจ�ำนวน 55 แห่งและจิตอาสาภาคประชาชน ให้เกิดโรคหัวใจน้อยลง คณะผู้ตรวจเยี่ยมได้ยกตัวอย่าง ของชมรมโรคหัวใจ มาร่วมประชุมการจัดเวทีแลกเปลี่ยน การด�ำเนินงาน ของ อสม. ในจังหวัดอื่นในการปลูกผักกิน เรียนรู้ ในวันที่ 14-15 พฤษภาคม 2558 (กิจกรรมที่ 4) กันเอง และใช้แบบประเมินวัดความเสี่ยงของสมาคมฯ และยกตัวอย่างให้ อสม. ว่า คนไข้นอนติดเตียงในจังหวัด แต่พบว่าชาวบ้านยังคงกินยาดอง สูบบุหรี่ และมี แห่งหนึ่ง อสม. ได้พยายามหาวิธีจูงใจพูดคุยให้ก�ำลังใจ โรคความดันโลหิตสูงมากกว่า โรคเบาหวาน ในชุมชนจึง เพื่อไม่ให้ท้อแท้ ซึ่งสอดคล้องกับเรื่องของชายคนหนึ่ง จัดให้มีวิทยุชุมชน เวลา 11-12 น. และแจกสติกเกอร์ให้ ที่บอกว่าตนเป็นโรคความดันโลหิตสูง อสม. จึงแนะน�ำ ความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อแปะไว้ที่ฝาบ้าน ให้รู้ว่า ให้กินยาและให้ก�ำลังใจอยู่เรื่อย ๆ ตอนนี้ชายคนนั้นได้ ขั้นตอนท�ำอย่างไร นอกจากนี้แพทย์ดูแลผู้ป่วยอย่าง เลิกดื่มเหล้า เลิกสูบบุหรี่ได้แล้ว อสม. อีกรายเล่าให้ฟังว่า ใกล้ชิดและมีการแนะน�ำให้งดสูบบุหรี่ สามีเป็นโรคหัวใจหมดสติ เขาได้นวดหัวใจและส่ง 2) การส่งเสริมสุขภาพในระดับชุมชน โรงพยาบาล อีกรายรักษาตัวอยู่ต่อเนื่องที่โรงพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพในระดับชุมชน รวมถึงการให้ ระโนด ผู้ป่วยกลัวบอกว่านอนไม่ได้ ซึมเศร้า ได้มี อสม. สุขศึกษา และได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับ คนหนึ่งใส่เสื้อสีแดงบอกว่าจะพาคนไข้ไปใส่บอลลูน โภชนาการ เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง โดยมีการปลูก เพื่อผ่าตัดตอนนี้อาการของคนไข้ก็ปกติดี แต่ก็มีสมอง ผักไว้กินเอง มีการแลกเปลี่ยนกันด้วย เช่น แลกเปลี่ยน เสื่อมเล็กน้อย อสม. ก็ได้แนะน�ำให้ทานผักนึ่ง ยอดมัน และการท�ำน�้ำสลัดโดยใช้น�้ำเสาวรส ประชาชน คณะผู้ลงพื้นที่เยี่อมฯ ได้เยี่ยมชมโรงพยาบาล ได้สารอาหารและวิตามินเพิ่มขึ้นและเป็นการลดค่าใช้จ่าย รพสต. แห่งหนึ่ง ที่มีพยาบาลแกนน�ำ 3 คน เล่าว่าได้ ได้อีกด้วย เยี่ยมบ้าน ใน 3 ต�ำบล เคยได้เยี่ยมเดือนละ 1 ครั้ง ก็เพิ่ม ในด้านการออกก�ำลังกายมีตัวอย่างที่หลากหลาย เป็นเดือนละ 2 ครั้ง ในคลินิกแห่งซึ่งเปิดบริการในปี ได้แก่ รพสต. และ อสม. เป็นพี่เลี้ยงชวนชาวบ้านออก พ.ศ. 2555 มีผู้ป่วยค่อนข้างมาก จึงได้ขยายไปต�ำบลอื่น ๆ ก�ำลังกายในแบบต่าง ๆ เช่น การออกก�ำลังกายใช้ไม้พลอง ปีนี้ขยายไปแล้ว 3 ต�ำบล ยังมีการจัดกิจกรรมที่เป็น การขี่จักรยานเพื่อการออกก�ำลังกาย โดยโรงไฟฟ้าจะ ประโยชน์ เช่น มีการให้ความรู้เรื่องสุขภาพและการ สนับสนุนให้งบประมาณมากอยู่ บุคลากรสาธารณสุข ป้องกันโรคให้แก่ประชาชน และกิจกรรมส่งเสริมการถัก ร่วมกับประชาชน ออกก�ำลังกายอาทิตย์ 3 วัน วันละ ผ้าถุง ถักโคเช ประมาณ 30 นาทีต่อครั้ง ได้แก่ การเดิน รวมกลุ่มปั่น รพสต. อีกแห่งหนึ่ง มีพยาบาลตรวจคนไข้และสอน จักรยานช่วงเย็น กลุ่มฟิตเนส มีเครื่องออกก�ำลังกาย อสม. ยกตัวอย่าง เช่นโรงพยาบาลจะนะ มีหลังคาให้ มีการเจาะเลือด เลี้ยงสัตว์ เลี้ยง เป็ด ไก่ เป็นต้น มีคนแนะน�ำและให้ก�ำลังใจท�ำให้รู้สึกมีความมั่นใจ 3) การสนับสนุนของเครือข่าย เพิ่มขึ้น มีผู้ป่วย 50 คน มีจิตอาสา 7 คน จิตอาสาได้ โรงพยาบาลระโนดมี 60 เตียง ในจังหวัดสงขลา แนะน�ำประชาชนให้ออกก�ำลังกาย ให้ปลูกผักปลอดสารพิษ หัวหน้าพยาบาล รพ.สต. เล่าว่า อบต. ให้รถ 4 คัน แก่ และเลี้ยงสัตว์ โรงพยาบาลจะนะมี 2 CPU ท�ำ 2 อย่าง ชุมชนเพื่อที่จะได้ส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาลให้ทันการณ์ คู่ขนานกัน ได้ผล คือผู้ใหญ่บ้านมีความดันโลหิตลดลง เมื่อมีกรณีฉุกเฉินเพื่อป้องกันโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ท�ำ 2 อย่าง คือ เยี่ยมบ้าน และให้บริการในส�ำนักงาน เฉียบพลัน คณะวิทยาการขณะที่ลงพื้นที่เยี่ยมฯ ติดตาม ส่งเสริมหมู่บ้านดูแลในครอบครัว คือ ปลูกผัก ออกก�ำลัง ให้ข้อมูล ยกตัวอย่างและให้ก�ำลังใจการด�ำเนินงานของ กาย มีคณะกรรมการบริหาร รพสต. มีการประชุมทุก 2 พยาบาลแกนน�ำ พยาบาล รพสต. และ อสม. ได้มีการ เดือน ในการวางแผนแก้ไข ประเมิน ป้องกันความเสี่ยง เชิญชวนให้พยาบาลแกนน�ำที่อยู่ในโครงการเครือข่าย ฟื้นฟู ประชุมให้หมู่ 2 หมู่ 3 ให้เสียงตามสายเวลา 12 โมง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 263 การประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

จัดล�ำดับความส�ำคัญ คือโรคความดันโลหิตสูง และโรค 1) การอบรมพยาบาลแกนน�ำเพื่อดูแลสุขภาพใน เบาหวาน คู่ขนานกันไป ชุมชน พยาบาล รพสต. ลงพื้นที่เยี่ยมประชาชน ที่นับถือ ในการการเยี่ยมชมโรงพยาบาลไร่หวาน ได้มีการ ศาสนาอิสลาม 100% ที่อาศัยอยู่ติดชายแดน แจ้งเกี่ยวกับ เรื่อง การแนะน�ำการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ใช้ภาษามาลายู น้อง มีการบรรยายให้ อสม. อสม. ก็ตั้งประเด็นว่าได้ยาแค่ พยาบาลได้ไปตรวจร่างกายผู้หญิง จ�ำนวน 50 คน พบว่า พารากับเกลือแร่ก็อาจจะไม่พอใจกับการรักษา ไปคลินิก อ้วนและเสี่ยง 34 คน แล้วก็มารวมตัว 3 หมู่ ได้ จ�ำนวน ก็ได้แจ้งว่าเป็นโรคกระเพาะปัสสาวะ ไปโรงพยาบาล 81 คน ในหมู่ที่ 13 มี อสม. 15 คน ซึ่งเทรนลงหมู่พร้อมกัน ที่ไม่เสียเงินเลยก็ให้การดูแลที่ไม่ดี มี อสม. เข้ามาร่วมฟัง 35 คน ประชาชนอ่านหนังสือไม่ได้ต้องมีล่าม มีโต๊ะอีหม่าม 10 คน มีการเสนอให้พัฒนาเป็นศูนย์หัวใจเพราะต้อง เป็นแกน ผู้ใหญ่บ้านด้วย 2 คน ต่อมาโต๊ะอีหม่าม เสียชีวิต ดูแลอีก 7 โรงพยาบาล รพสต. สามารถใช้ แบบประเมิน ลูกจะไม่ได้เป็นโต๊ะอีหม่าม จะต้องเลือกตั้งอีกที ในการ ความเสี่ยง (Rama egat) ได้มากขึ้น อสม. ยังมีปัญหา ตรวจสุขภาพประชาชน จ�ำนวน 80 คน โดยการใช้แบบ ในการใช้แบบประเมินความเสี่ยง (Rama egat) และยัง ประเมินความเสี่ยง (Rama egat) พบว่า ประชนมีความ มีปัญหาเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์ ในระบบ Home เสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง health care โดยมีเครือข่ายกับสหสาขาวิชาชีพ โครงการ พยาบาลยังใช้แบบประเมินความเสี่ยง (Rama egat) บูรณาการกับผู้ป่วย ในการดูแลผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ ไม่ค่อยคล่อง พยาบาลแกนน�ำได้ให้ค�ำแนะน�ำตัวต่อตัว ในจังหวัดเพรชบุรี มี 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การป้องกัน กับประชาชนที่มีความเสี่ยง พยาบาลแม่ข่ายลงไปเยี่ยมบ้าน ระยะเริ่มแรกโดยการค้นหากลุ่มเสี่ยง (เพื่อนช่วยเพื่อน) พบกลุ่มเสี่ยง ผู้หญิง 13 คน และผู้ชาย 10 คน ส่วนมาก ร่วมมือกับ รพท. และ 8 อ�ำเภอ ที่ดอนยางโดยมีพยาบาล จะไม่ส่งโรงพยาบาลไกลบ้าน จึงต้องช่วยดูแลกันเอง แกนน�ำจิตอาสาใช้ วันหยุดในการดูแลผู้ป่วยเยี่ยมบ้าน ผู้ที่เคยป่วยเป็นโรค ก็ดูแลคนที่เริ่มเป็นโรค พยาบาลมา โดยให้รุ่นน้องเป็นผู้น�ำกลุ่มและเรียนรู้จากรุ่นพี่ ๆ ในการ ให้ก�ำลังใจจัดชมรมมัสยิด สอนท�ำ CPR นอกจากนี้ ช่วยฝึก CPR พยาบาลเล่าว่า ชายคนหนึ่งไม่เคยไปโรงพยาบาล เพราะ 2) ความสามารถในการใช้แบบประเมินความเสี่ยง มีความโรคดันโลหิตสูง กินยา มารับยาที่ รพสต. พร้อม (Rama egat score) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และมีผู้ชายอีกคนหนึ่ง จากการรายงานของ อสม. ในการใช้ Rama egat เสียชีวิตเนื่องจากนอนหลับไปอายุ 80 ปี ส่วนอีกคนหนึ่ง score ที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งยังต้องการค�ำแนะน�ำวิธีการใช้ เป็นโรคหัวใจไปอยู่โรงพยาบาลหาดใหญ่ 16 วัน ไม่กลัวตาย อย่างถูกต้อง มีโครงการตรวจวัดไขมันในเส้นเลือดให้แก่ ตอนนั้นก็แน่นหน้าอกหายใจไม่ออก มีอาการแน่นหน้าอก ประชาชนจ�ำนวน 200 คน มีการวัด EKG และการส่งต่อ บ่อย ๆ หมดแรงก็จะอมยาใต้ลิ้น บีบแขนซ้าย 5 นาที ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงโรคหัวใจ มีการให้ความรู้ผู้ป่วยใน ก็ไปท�ำงานได้ ปัจจุบันมีอาการแน่นหน้าอกหมดแรง ทีม โดย ให้ความรู้ทุกวันพุธ ณ ตึกอายุรกรรม ให้ความรู้ น้อยลง มีบัตรทอง บางรายไปสวนหัวใจกลับมาก็แข็งแรงดี รายบุคคลและรายกลุ่ม มีการทดสอบความรู้ และให้ค�ำ ขับรถมอเตอร์ไซต์ได้เอง ประธานผู้ชายอายุ 60 ปี เป็น ปรึกษาให้ความรู้ผ่านเสียงตามสายแก่ อสม. จ�ำนวน 190 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 3 เคยใส่บอลลูน 2 เส้น ที่โรงพยาบาล คน สอนผู้ป่วย 94 คน เยี่ยมบ้าน 14 คน เลิกบุหรี่ได้ 6 คน หาดใหญ่ ยังทานยาขยายลิ่มเลือดและยาลดความดัน มีการส่งเสริมโภชนาการ มีการออกก�ำลังกาย เยี่ยมบ้าน กลุ่มที่ 3 การสนทนากลุ่มกับ พยาบาล รพสต. และ พุธ-พฤหัสฯ โรงพยาบาลโพธิ์ไร่หวานดูแลผู้ป่วย NCD อสม. จ�ำนวน 12 คน ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 กลุ่มเสี่ยงพบว่า ไม่เพิ่มขึ้น เยี่ยม 1 ครั้งและโทรศัพท์ 1 ในการลงพื้นที่เยี่ยม ณ จังหวัดเพชรบุรี พบ 2 ประเด็นดังนี้ ครั้ง ภาคีเครือข่ายเข้มแข็งโดยไปที่วัดออกก�ำลังกาย 5 วัน

264 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Evaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Care

วันละ 45 นาที มีแปลงผักชุมชน ถนนคนกินได้ และศูนย์ ช่วงการละหมาด และถือศีลอดอาหาร” เมื่อกรรมการ ปรับสุขภาพ 3อ 2ส ได้ให้ความรู้แก่ประชาชนชาวอิสลามผู้นั้น ท�ำให้พยาบาล กลุ่มที่ 4 การสนทนากลุ่ม กับคณะกรรมการ แกนน�ำและ อสม. ที่ร่วมลงพื้นที่ในครั้งนั้นได้มีโอกาส อ�ำนวยการสมาคมฯ จ�ำนวน 14 คน วันที่ 27 กันยายน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ก�ำลังใจซึ่งกันและกัน อีก 1 2558 ได้ค้นพบ 4 ประเด็น ดังนี้ ตัวอย่างคือ การได้เห็น และการปรับตัวเชิงนวตกรรมใน 1) วิสัยทัศน์ของสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและ ชุมชน ได้แก่ การพัฒนานวัตกรรมการออกก�ำลังกาย ทรวงอก (ประเทศไทย) “ท�ำรองเท้าส�ำหรับรองในการขี่จักรยาน และสามารถ จากประวัติความเป็นมา และภาระกิจของสมาคมฯ ช่วยในการนวดฝ่าเท้าได้ด้วย” แสดงถึงความรับผิดชอบต่อวิชาชีพด้านสุขภาพอนามัย 3) สมรรถนะของพยาบาลแกนน�ำ ประชาชน และสังคม ในการส่งเสริมสุขภาพการป้องกัน สมาคมฯ ได้พัฒนาองค์ความรู้ในการพยาบาล โรคหัวใจแก่ประชนและในกลุ่มเสี่ยง การดูแลรักษาและ โรคหัวใจ โดยการประยุกต์ 3 ทฤษฏี คือ Holistic care ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยโรคหัวใจอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ทฤษฎีระบบ และทฤษฏีของ Wagner จากนั้นก็เพิ่มองค์ เป็นแรงบันดาลใจคณะกรรมการฯ ทุกคน ยึดยุทธศาสตร์ ความรู้ด้านคุณภาพในการดูแล เพื่อให้พยาบาลแกนน�ำ ทั้ง 4 ประการ และ 5 Modules ของสมาคม ฯ ในการ ในระดับ รพศ. รพช. รพสต. ได้น�ำความรู้และ วางแผนด�ำเนินงาน ร่วมกับ สปสช อย่างจริงจังและ ประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้ค�ำแนะน�ำสนับสนุนพร้อม แน่วแน่ เพื่อยกระดับพยาบาลสู่ความเป็นเลิศ ในด้าน ให้ก�ำลังใจแก่ อสม. ในด้านภาวะผู้น�ำนั้น กรรมการ 1 ท่าน ยุทธศาสตร์ของสมาคม ฯ ได้แก่ 1) โครงการต่างประเทศ ได้ยกตัวอย่างว่า “พยาบาลแกนน�ำที่เข้ามารับการอบรม และ 2) ท�ำหลักสูตรร่วมกับ สปสช ในส่วนของ 5 Modules เป็นหัวหน้าพยาบาล ท�ำให้ได้รับความรู้ และสามารถ คือ 1) ได้พยาบาลแกนน�ำที่มีศักยภาพ 2) สร้างเครือข่าย ช่วยพยาบาลในทีมประสบผลส�ำเร็จจะด�ำเนินงานร่วม กับโรงพยาบาลต่าง ๆ และชมรมหลากหลายจังหวัด 3) กับโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง แบบไร้รอยต่อ การเสริมพลังอ�ำนาจ ให้แก่บุคลากรพยาบาล อสม. และ (Seemless) อย่างมีคุณภาพ และต้องส่งเสริมให้ ประชาชน 4) การสร้างกลุ่มชุมชน และจิตอาสา และ5) พยาบาลน�ำความรู้ไปบูรณาการในชีวิตการท�ำงานด้วย” สร้างกลุ่มสหสาขาวิชาชีพ 4) สมรรถนะของ อสม. 2) ปัจจัยความส�ำเร็จของสมาคมฯ มีสตรี อสม.วัยประมาณ 30 ปี เล่าให้ฟังว่า “ได้ ความส�ำเร็จของสมาคมฯ จะต้องด�ำเนินงานให้ ประเมินประชาชนคนหนึ่งที่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ครบวงจร หมายถึง การสร้างความตระหนักในการ จึงได้ให้การดูแลเบื้องต้น คือ วัดความดันโลหิต จับชีพจร ส่งเสริมสุขภาพของประชาชน การป้องกันโรคหัวใจใน และปลอบโยนให้ก�ำลังใจและรีบน�ำส่งโรงพยาบาลทันที กลุ่มเสี่ยง การดูแลรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ปรากฏว่าผู้ป่วยได้รับการรักษาในโรงพยาบาลนั้นจน โดยการเยี่ยมและให้ค�ำแนะน�ำ ให้ก�ำลังใจแก่ผู้ป่วยและ อาการหายดีและกลับมาอยู่ที่บ้านได้ตามปกติ” ญาติในการดูแลตนเอง ตลอดจนการฟื้นฟูสุขภาพของ 4. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้ป่วยทั้งด้าน กาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และจิตวิญญาณ การจัดเวทีแลกเปลี่ยน ในวันที่ 14-15 พฤษภาคม จากการบอกของคณะกรรมการอ�ำนวยการฯ คนหนึ่ง พ.ศ. 2558 เรื่อง “การจัดการความรู้ การดูแลผู้ป่วยโรค ที่ลงพื้นที่เยี่ยมให้ค�ำปรึกษา อสม. และประชาชน เล่าถึง หลอดเลือดหัวใจ: การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน” ความกังวลของประชาชนชาวอิสลาม ในด้าน “วัฒนธรรม จากการวิเคราะห์การประเมินผลของพยาบาลแกนน�ำ ศาสนากับการรับประทานยาไม่สม�่ำเสมอ การกินยา จ�ำนวน 98 คน พบว่า อยู่ในเกณฑ์ดี-ดีมาก ร้อยละ 95.42 ผลของยา ผลข้างเคียงของยา จะกินก่อนอาหาร หลังอาหาร โดยสิ่งที่ชอบมากที่สุด คือ การถ่ายทอดความรู้ที่ฟัง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 265 การประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

เข้าใจง่าย ส่วนสิ่งที่ควรปรับปรุงคือ ความสะอาดของ สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้านที่เป็นผู้ช่วยนักวิจัย จ�ำนวน ห้องนำ�้ แอร์ไม่เย็นและมีกลิ่นอับในห้อง จากการวิเคราะห์ 33 คน ผลการวิจัย พบว่า ตัวแปรที่สามารถร่วมกัน การประเมินผลของจิตอาสาภาคประชาชนจ�ำนวน 89 คน ท�ำนายความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจประกอบด้วย พบว่า อยู่ในเกณฑ์ดี-ดีมาก ร้อยละ 95.12 โดยสิ่งที่ชอบ 1) การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง 2) การออกก�ำลัง มากที่สุด คือ อาหารมีรสชาติจัดเกินไป และห้องประชุม กายแต่ละครั้งให้เหนื่อยพอสมควร 3) การรับประทาน มีเวทีเตี้ยไป อาหาร/ขนมที่ปรุงด้วยกะทิ 4) การปรับวิธีการออกก�ำลัง กายให้เหมาะสม อย่างน้อย 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน การอภิปรายผล 5) การควบคุมอารมณ์ตนเองได้เมื่อรู้สึกโกรธ 6) การ ผลการวิจัยครั้งนี้ แสดงถึง การประเมินสภาวะ คลายเครียดด้วยการสูบบุหรี่ และ 7) รับประทานอาหาร แวดล้อม (Context Evaluation: C) เป็นการประเมิน ปิ้งย่างที่ไหม้เกรียม หลักการและเหตุผลความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องด�ำเนิน ในด้านการดูแลตนเองของผู้ป่วย (Kotphakdi โครงการนี้ต่อไป ที่ต้องพัฒนาศักยภาพให้กลุ่ม เป้าหมาย &Uaikit, 2014)ได้รายงานผลการวิจัยเรื่อง ปัจจัยท�ำนาย ทั้ง 4 คือ 1) พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) ความสามารถในการดูแลอาการเจ็บหน้าอกด้วยตนเอง 2) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำ ต�ำบล (รพ.สต.) ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) และ 4) ตอนบน การวิจัยสหสัมพันธ์เชิงท�ำนายน ี้ มีวัตถุประสงค์ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจและกลุ่มที่ มีปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่ เพื่อศึกษาความสามารถในการดูแลอาการเจ็บหน้าอก ส่วนในด้านปัจจัยน�ำเข้าที่ส�ำคัญคือ บุคลากร ด้วยตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ จ�ำนวน 110 คน กล่าวคือแม้ว่าวิทยากรทั้ง 7 คนจะเป็นผู้มีความรู้และ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความสามารถในการ ประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ แต่มีจ�ำนวนน้อย ดูแลอาการเจ็บหน้าอกด้วยตนเองของผู้ป่วยโรคหลอด มากจ�ำเป็นต้องเพิ่มวิทยากรโดยการพัฒนาพยาบาลแกน เลือดหัวใจโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 11.55, น�ำให้เป็นวิทยากรในอนาคต ทั้งนี้สิ่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ คือ SD = 3.17) ความรู้ในการดูแลอาการเจ็บหน้าอกด้วย งบประมาณ และทรัพยากรที่จ�ำเป็นอื่น ๆ ตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และความเข้มแข็งอดทน ในด้านกระบวนการนั้น พบว่ามีส่วนร่วมของ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสามารถในการดูแล พยาบาลและบุคลากรในพื้นที่อย่างมาก ในด้านเวลา อาการเจ็บหน้าอกด้วยตนเอง (r = .746, r = .253 และ ควรเพิ่มการฝึกปฏิบัติการเรื่อง CPR และ Rama egat .202 ตามล�ำดับ) แต่การรับรู้ภาวะสุขภาพไม่มีความ มากขึ้น ควรพัฒนายกระดับพยาบาลแกนน�ำให้มีความ สัมพันธ์กับความสามารถในการดูแลอาการเจ็บหน้าอก สามารถในการสอนและบรรยาย เพื่อเพิ่มจ�ำนวนพยาบาล ด้วยตนเอง รวมทั้งการรับรู้ภาวะสุขภาพ ความเข้มแข็ง ที่มีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจที่มี อดทน ความรู้ในการดูแลอาการเจ็บหน้าอกด้วยตนเอง จ�ำนวนมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ Chueybudda, และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันท�ำนาย (2015) ที่ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความเสี่ยงการเกิดโรค ความสามารถในการดูแลอาการเจ็บหน้าอกด้วยตนเอง หลอดเลือดหัวใจของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ต�ำบล ของกลุ่มตัวอย่าง ได้ร้อยละ 55.90 หนองบัว อาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น และความคิด ผลการศึกษาครั้งนี้ท�ำให้พยาบาลเกิดความเข้าใจ เห็นของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน ต่อการ ในการส่งเสริมความสามารถผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ใช้แบบประเมินการคัดกรองความเสี่ยงกับกลุ่มตัวอย่าง โดยการให้ความรู้ในการดูแลตนเองเมื่อมีอาการเจ็บ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หน้าอกได้ จ�ำนวน 418 คน จากประชากร 3,325 คน และอาสาสมัคร จะเห็นได้ว่า มีรายงานการวิจัยที่เกี่ยวกับการ

266 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Evaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Care

พยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจที่พยาบาลต้องศึกษาหาความรู้ โรคความดันโลหิต และโรคหลอดเลือดหัวใจ และค้นคว้าอย่างสม�่ำเสมอ โดยพยาบาลอาจใช้ความรู้ 2. พัฒนาโครงการให้ความรู้แก่ อสม. เรื่องโรค ที่ได้มีการจัดการความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจไว้แล้วและ หลอดเลือดหัวใจ การคัดกรองโรคและการจดบันทึก พัฒนาต่อยอดต่อไป เช่น Sanprasan (2015) ได้พัฒนา อาการแสดงเริ่มแรกของโรคหลอดเลือดหัวใจ รูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจใน โรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง และ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป Jamsomboon, (2015) ได้พัฒนารูปแบบการจัดการ 1. ค้นหารูปแบบและวิธีการฝึกอบรมแบบเข้ม แก่ ความรู้พยาบาลโรคหัวใจในระบบออนไลน์ของศูนย์โรค อสม. เรื่อง การคัดกรองโรคหลอดเลือดหัวใจด้วย Rama หัวใจเครือข่ายภาคกลางตอนบน ซึ่งทั้งสองโครงการ มี egat ประโยชน์อย่างยิ่ง หากได้มีการน�ำองค์ความรู้ข้างต้นไป 2. ฝึกอบรม อสม. เพื่อให้มีความสามารถในการ ถ่ายทอดและประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่เหมาะสมและ ส�ำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลพร้อมมีการบันทึกใน ต่อเนื่องน่าจะเป็นแนวทางในการป้องกัน รักษาพยาบาล เบื้องต้น เกี่ยวกับปัญหาในการคัดกรองโรค การดูแล และฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยโรคหัวใจได้เป็นอย่างดียิ่ง ตนเองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 3. ส่งเสริมให้พยาบาลได้พัฒนาองค์กรพยาบาล ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ 1. พัฒนาโครงการฝึกอบรมให้ความรู้แก่พยาบาล เกี่ยวกับการพยาบาลโรคหัวใจ รวมทั้งการน�ำความรู้มา ในการฝึกอบรม อสม.ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ถ่ายทอดและประยุกต์ใช้อย่างเต็มที่ ปัจจัยเสี่ยง สาเหตุ อาการเริ่มแรกของโรคเบาหวาน เอกสารอ้างอิง Jamsomboon, K. (2015). The development of knowledge management model of online cardiac nurse for the Network Heart Center, Upper Central Region. (Philosophy thesis). Faculty of Human Resources Development, Ramkhamhaeng University. (In Thai) Smithikrai, C. (2013). Personnel training in organizations. Bangkok: The Publisher of Chulalongkorn university. (In Thai) Sanprasan, P. (2015). Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals. (Philosophy thesis). Faculty of Business Administration, Shinawatra University. (In Thai) Stufflebeam, D. L. & Shinkfield, A. J. (1985).Systematic evaluation. Boston: Kluwer-Nijhoff. http://bps.ops.moph.go.th/THLSP2011-2020/cabinet8march2011/index.html ค้นวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558. http://thaipublica.org/2014/07/narong-sahametapat-health-care-system-in-thailand/ ค้น วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558. Chueybudda, S. (2015). Factors affected to risk of cardiovascular disease among people aged over 35 year old in Nong Bua subdistrict, Ban Fang district, Khon Khan. Journal of Community Health Development, 3(4), 547-560. (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 267 ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process

รัญชนา หน่อค�ำ * Ranchana Nokham * จุฑามาศ กิติศรี ** Chutamat Kitisri ** พรรณี ไชยวงค์ * Punnee Chaiwong * กรรณิกา อุ่นอ้าย * Kannika Unuai * นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช *** Nongyao Mongkhonittivech ***

บทคัดย่อ ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น และมีความต้องการการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน การให้บริการสุขภาพจึงขยายขอบเขตสู่ชุมชนมากขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของระบบ การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง 22 คน ผู้ดูแลผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง 22 คน และจิตอาสา 22 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบประเมินความสุขของกรมสุขภาพจิต 2) แบบประเมินคุณภาพชีวิตของ องค์การอนามัยโรค และ 3) แบบ ประเมินความพึงพอใจต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรนาและ สถิติทดสอบค่าเฉลี่ยชนิด 2 กลุ่มสัมพันธ์กัน (Paired t-test) ผลการวิจัยพบว่าภายหลังการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา ผู้สูงอายุมี คุณภาพชีวิต ความสุข และความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความ พึงพอใจเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) และจิตอาสามีความสุข และความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้นอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าสามารถน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสาไปใช้ใน การดูแลผู้สูงอายุในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถด�ำเนินชีวิตได้ตามศักยภาพ มีความสุขและ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นแนวทางส�ำหรับการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังไปปรับใช้ในชุมชนอื่น

ค�ำส�ำคัญ: ระบบการดูแล ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง กระบวนการจิตอาสา

* อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเชียงราย * Lecturer, Faculty of Nursing, Chiang Rai Collage ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเชียงราย ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Rai Collage *** อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง *** Lecturer, Faculty of Nursing, Mae Fah Luang University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 268 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process

Abstract The older people with chronic disease tend to increase and need continuing care at home. The Health care service has expanded therefor more into communities. This research aimed to study the outcome of care system for older people with chronic disease through volunteer process. The samples selected by purposive sampling were 22 older persons, 22 caregivers, and 22 volunteers. The instruments of this study composed of 1) The short format Thai Mental Health Indicators (TMHI) 2) The quality WHO of life assessment instrument (WHOQOL-Brief) 3) The satisfaction evaluation form on the care system for older people with chronic was developed by the researcher. Data were analyzed using descriptive statistics and paired t-test. The result of this research showed that after the development of a care system for older people with chronic disease through volunteers. The quality of life, happiness and satisfaction of the elderly were significantly higher (p<0.001). Elderly caregivers were significantly more satisfied (p <0.05). The happiness and satisfaction of the volunteers were significantly higher (p<0.001). The results of this study can be used to provide a care system of elderly with chronic disease through volunteers in the community. To enhance the elderly, do activity daily living according to their potential. Having a happiness and good quality of life. And a guideline for use a chronic care system for older people in other community.

Keywords: care system, older people with chronic disease, volunteer process

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา และด้านการดูแลสุขภาพเป็นอย่างมาก เนื่องจากวัย ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะและระบบของ (Ageing Society) เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยมี ร่างกายไปในทางที่เสื่อมลง จึงส่งผลให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังอย่างน้อย 1 โรค โรคเรื้อรังที่พบ ซึ่งจากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559 มี บ่อยและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น คือ โรคเบาหวาน ไขมัน จ�ำนวนผู้สูงอายุไทยทั้งสิ้นประมาณ 11 ล้านคน หรือคิด ในเลือดสูง อัมพฤกษ์/อัมพาต โรคปอดอุดกั้นเรื้องรัง เป็นร้อยละ 16.50 ของประชากรทั้งประเทศ และ และไตวายเรื้อรัง (Foundation of Thai Gerontology คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2563 และปี พ.ศ. 2568 จะมี Research and Development Institute, 2013) ผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นเป็นร้อยละ 19.13 และ 22.93 ของ ซึ่งโรคเรื้อรังเป็นโรคที่รักษาไม่หาย และต้องใช้เวลาใน ประชากรทั้งประเทศ (Foundation of Thai Gerontology การดูแลรักษายาวนานไปจนตลอดชีวิตผู้สูงอายุ เมื่ออายุ Research and Development Institute, 2016) จาก เพิ่มมากขึ้นปัญหาก็ยิ่งซับซ้อนรุนแรงมากขึ้น ผลตามมา จ�ำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วนี้เป็นประเด็น ท�ำให้ผู้สูงอายุอยู่ในภาวะพึ่งพิงและต้องการการดูแล ที่ทุกภาคส่วนต้องตระหนักและเตรียมการด้านต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุรวมทั้งผู้ดูแล เพื่อพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ นอกจากนี้รัฐบาลจ�ำเป็นต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายทางด้าน ด้านสังคม การจัดสวัสดิการ การคุ้มครองดูแลผู้สูงอายุ สาธารณสุขการแพทย์ บริการสังคมแก่ผู้สูงอายุมากขึ้น การส่งเสริมคุณภาพชีวิต การสร้างหลักประกันทางสังคม ซึ่งหากมีการช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่เหมาะสม จะช่วย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 269 ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา

ให้ผู้สูงอายุสามารถด�ำรงอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้ พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุจึงมีความส�ำคัญที่จะต้อง อย่างมีความสุข มีการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ระบบการดูแลที่สอดคล้อง การดูแลผู้สูงอายุในชุมชนประกอบด้วย 1) เครือ กับความต้องการของผู้สูงอายุในแต่ละพื้นที่ โดยให้ทุก ข่ายเป็นทางการ (formal network) เช่น บริการสุขภาพ ภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดหาแนวทางการดูแล ที่บ้าน (home health care) โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ผู้สูงอายุในชุมชนของตนเอง 2) เครือข่ายไม่เป็นทางการ (informal network) ได้แก่ เทศบาลต�ำบลแม่เงิน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัด ครอบครัวและเครือญาติซึ่งเป็นบรรทัดฐานทางสังคม เชียงราย มีประชากรวัยสูงอายุ 1,107 คน จากการศึกษา ที่ยึดถือปฏิบัติกันมา แต่เนื่องจากภาวะสังคมในปัจจุบัน เกี่ยวกับสถานการณ์การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในเขต ได้เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของครอบครัวเป็นครอบครัว เทศบาลต�ำบลแม่เงิน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เดี่ยวมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงอาชีพด้านการเกษตรไปสู่ ร่วมกับสถิติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลแม่เงิน อุตสาหกรรม มีการขยายตัวของเขตเมือง ท�ำให้เกิดการ พบว่าผู้สูงอายุในชุมชนร้อยละ 68.6 เจ็บป่วยด้วยโรค เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต สมาชิกในครอบครัวจ�ำเป็นต้องออก เรื้อรังมากกว่า 1 โรค และเจ็บป่วยเพียงโรคเดียว ร้อยละ ไปท�ำงานนอกบ้าน จึงท�ำให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 31.4 โรคที่พบมากที่สุด คือ โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ จ�ำนวนหนึ่งไม่ได้รับการดูแลหรือได้รับการดูแลที่ไม่มี 46.6 โรคเบาหวาน ร้อยละ 28.3 และกระดูกเสื่อม ร้อยละ คุณภาพ อาจน�ำไปสู่การเพิกเฉย ทอดทิ้ง หรือท�ำร้าย 25.1 ที่ผ่านมาพบว่าผู้สูงอายุโรคเรื้อรังยังได้รับการดูแล ผู้สูงอายุได้ (Srithamrongsawat, Bundhamcharoen, ช่วยเหลือจากสังคมค่อนข้างน้อย จึงเกิดการรวมตัวของ Sasat, & Amnatsatsue , 2009) ดังนั้นเครือข่ายไม่เป็น กลุ่มคนในชุมชนที่เรียกว่าจิตอาสาในการดูแลผู้สูงอายุ ทางการในระดับชุมชน ได้แก่ เพื่อนบ้าน อาสาสมัคร แต่อย่างไรก็ตามจิตอาสาส่วนใหญ่ยังขาดทักษะในการ ผู้น�ำชุมชน และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จึงมีบทบาท ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ท�ำให้ขาดความมั่นใจเมื่อต้อง มากขึ้นเพื่อช่วยเหลือทั้งผู้สูงอายุและครอบครัวหรือ ให้การดูแลผู้สูงอายุ (Matrakul & Mongkhonittivech, ผู้ดูแลที่มีข้อจ�ำกัดในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 2018) จากสถานการณ์ดังกล่าวจึงได้มีการพัฒนาระบบ ซึ่งเป็นแนวคิดของการดูแลโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ด้วยกระบวนการจิตอาสา (community-based care) ท�ำให้ผู้สูงอายุได้รับการ โดยการสนับสนุนของภาควิชาการและภาครัฐบาลเพื่อ ดูแลที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของ พัฒนาศักยภาพให้แก่ จิตอาสา จนได้เป็นรูปแบบการ Danyuthasilpe & Kalampakorn (2011) จากการ ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่เรียกว่า “แม่เงินจิตอาสาสร้างสุข ศึกษาที่ผ่านมามีการน�ำรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ต้อง (สุขภาวะทางปัญญา)” ที่มีรูปแบบการด�ำเนินกิจกรรม พึ่งพาผู้อื่นโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มีอาสาสมัครเป็น ทุกอย่างด้วยจิตอาสา มีการบูรณาการความรู้จากการฝึก ผู้ประสานความร่วมมือในการดูแลผู้สูงอายุ ระหว่าง อบรมการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังเข้ากับภูมิปัญญาท้อง ครอบครัว ชุมชนและศูนย์บริการสาธารณสุข ผลการวิจัย ถิ่น และเน้นการส่งเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณของ พบว่าผู้สูงอายุมีความพึงพอใจสูงกว่าก่อนให้บริการอย่าง จิตอาสาผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ KM with มีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผู้สูงอายุและผู้ดูแลเข้าถึงบริการได้ spiritual reflection การวิจัยในครั้งนี้เป็นการติดตาม สูงขึ้นกว่าก่อนให้บริการอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ประเมินผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง อย่างไรก็ตามภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุและความ ด้วยกระบวนการจิตอาสาที่พัฒนาขึ้น ซึ่งเมื่อผู้สูงอายุโรค พึงพอใจในบริการของผู้ดูแลไม่มีความแตกต่างกันอย่าง เรื้อรังและครอบครัวได้รับการดูแลด้วยจิตอาสาและ มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (Wirojratana, Amnatsatsue, มีการพัฒนาระบบที่ดี จะช่วยให้จิตอาสา มีศักยภาพใน Sasat, Malathum, & Narongsak, 2014) ดังนั้นการ การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังได้อย่างมีคุณภาพ ผู้สูงอายุ

270 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process

มีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทุกฝ่ายเกิดความ ระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ผ่านกระบวนการของ พึงพอใจต่อระบบบริการสุขภาพที่มีจิตอาสาเป็นหลัก การเป็นจิตอาสาซึ่งเป็นแนวคิดของบริการดูแลโดยใช้ ส�ำคัญในการขับเคลื่อน ชุมชนเกิดเครือข่ายจิตอาสา ชุมชนเป็นฐาน (community based care) ซึ่งเป็น ในการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน บริการที่ใกล้บ้านเน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ท�ำให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงได้ สามารถตอบสนองความ วัตถุประสงค์การวิจัย ต้องการและสอดคล้องกับวิถีชุมชนแบบดั้งเดิม ร่วมกับ เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุ แนวคิดการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (chronic care โรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา โดย model) ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) 1. เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ทรัพยากร และนโยบายชุมชน 2) หน่วยงานบริการ ก่อนและหลังการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง สุขภาพ 3) การสนับสนุนการดูแลตนเอง 4) การออกแบบ ด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ ระบบการให้บริการ 5) การสนับสนุนการตัดสินใจ และ 2. เปรียบเทียบความสุขของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง 6) ระบบข้อมูลทางคลินิก โดยการด�ำเนินงานของ และจิตอาสา ก่อนและหลังการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุ โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วย โรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ กระบวนการจิตอาสาเพื่อส่งเสริมความผาสุกทางจิต 3. เปรียบเทียบเปรียบเทียบความพึงพอใจของ วิญญาณ แบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และจิตอาสา ก่อน วิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ และหลังการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วย โรคเรื้อรัง ความต้องการการดูแลและปัจจัยส�ำคัญที่ช่วย กระบวนการจิตอาสามาใช้ ให้เกิดความผาสุกทางจิตวิญญาณ การให้บริการของรัฐ และเครือข่ายในชุมชน และสถานการณ์จิตอาสา ปัญหา สมมติฐานการวิจัย อุปสรรค รวมทั้งสิ่งที่เป็นปัญหาและความต้องการ ระยะ 1. ภายหลังการวิจัยคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรค ที่ 2 เป็นการพัฒนาศักยภาพจิตอาสาและสร้างระบบ เรื้อรังดีขึ้นกว่าก่อนน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา ด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ โดยในการพัฒนาระบบจิตอาสาจะเป็นผู้ริเริ่มและมีส่วน 2. ภายหลังการวิจัยความสุขของผู้สูงอายุโรค เกี่ยวข้องในการด�ำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน มีพี่เลี้ยง เรื้อรัง และจิตอาสาเพิ่มขึ้นกว่าก่อนน�ำระบบการดูแล (coaching) คือทีมผู้วิจัยในการให้ค�ำแนะน�ำและค�ำ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ ปรึกษาตลอดระยะเวลาในการดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริม 3. ภายหลังการวิจัยความพึงพอใจของผู้สูงอายุโรค ให้มีการรวมกันของจิตอาสาหรือที่เรียกว่าชุมชนนัก เรื้อรัง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และจิตอาสาเพิ่มขึ้นกว่าก่อนน�ำ ปฏิบัติ (Community of Practice) เพื่อสามารถขับ ระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิต เคลื่อนระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนได้อย่าง อาสามาใช้ เข้มแข็งยั่งยืน จิตอาสาจะได้รับการพัฒนาศักยภาพใน การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย และการดูแลมิติด้านจิตวิญญาณโดยผ่านการเข้าร่วมวง งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มีการสะท้อนคิดด้านจิตวิญญาณ (participatory action research: PAR) บนหลักคิด (KM with spiritual reflection) เพื่อบูรณาการความรู้ ของสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขาที่มีภาครัฐ องค์กรบริหาร เดิมหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นกับความรู้ทางวิชาการในการ ส่วนท้องถิ่น และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ให้มีความเหมาะสมสอดคล้อง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 271 ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา

กับความต้องการกับสภาวะของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังใน กระทรวงสาธารณสุข ที่พัฒนาโดย Mongkol et al. ชุมชน ซึ่งจะช่วยให้ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังได้รับการดูแล (2003) จ�ำนวน 15 ข้อ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า แบบเป็นองค์รวมโดยเฉพาะด้านจิตวิญญาณ การวิจัยใน 4 ระดับ คือ ไม่เลย เล็กน้อย มาก มากที่สุด เกณฑ์การ ครั้งนี้อยู่ในระยะที่ 3 และ 4 ซึ่งเป็นการทดลองใช้ระบบ ให้คะแนนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ข้อค�ำถามทางบวกให้ค่า การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสากับ คะแนน 1 2 3 และ 4 เมื่อตอบไม่เลย เล็กน้อยมาก กลุ่มผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง และติดตามประเมินผลลัพธ์ของ มากที่สุด ตามล�ำดับ ส่วนข้อค�ำถามทางลบ (ได้แก่ ข้อ ระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา 3 4 และ 5) ให้ค่าคะแนน 4 3 2 และ 1 เมื่อตอบไม่เลย เล็กน้อยมาก มากที่สุด ตามล�ำดับ การแปลผลคะแนน วิธีด�ำเนินการวิจัย รวมมี 3 ระดับ คือ 51-60 คะแนน หมายถึงมีความสุข รูปแบบการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง มากกว่าคนทั่วไป (good) 44-50 คะแนน หมายถึง มี (quasi-experimental research design) แบบหนึ่ง ความสุขเท่ากับคนทั่วไป (fair) และคะแนนน้อยกว่าหรือ กลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง (one group pre- เท่ากับ 43 คะแนน หมายถึง มีความสุขน้อยกว่าคนทั่วไป post test design) (poor) (Mongkol, Vongpiromsan, Tangseree, ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง Huttapanom, Romsai, & Chutha, 2013) ผ่านการ ประชากร คือ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร สัมประสิทธ์ โรคเรื้อรัง และจิตอาสาที่ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนเทศบาล แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ต�ำบลแม่เงิน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 กลุ่มตัวอย่าง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะ 2. แบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุด เจาะจง (purposive sampling) จ�ำนวน 66 คน ย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOl_ BREF_THAI) ซึ่งแปล ประกอบด้วย และปรับปรุงโดย mongkon et al. (1997) ประกอบ 1. ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปทั้งเพศชายและ ด้วยข้อค�ำถามจ�ำนวน 26 ข้อ โดยแบ่งออกเป็น 4 องค์ หญิงในชุมชนเทศบาลต�ำบลแม่เงิน และได้รับการวินิจฉัย ประกอบ คือ 1) ด้านร่างกาย จ�ำนวน 7 ข้อ 2) ด้านจิตใจ จากแพทย์ว่าเป็นโรคเรื้อรัง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็น จ�ำนวน 6 ข้อ 3) ด้านสัมพันธภาพทางสังคม จ�ำนวน 3 อันตรายโรคเรื้อรัง มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ ยินดีและ ข้อ และ 4) ด้านสิ่งแวดล้อม จ�ำนวน 8 ข้อ ส่วนข้อค�ำถาม เต็มใจเข้าร่วมการศึกษา จ�ำนวน 22 คน อีก 2 ข้อ เป็นตัวชี้วัดที่อยู่ในหมวดคุณภาพชีวิตและ 2. ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังประกอบด้วยญาติหรือ สุขภาพโดยรวม ซึ่งไม่รวมอยู่ในองค์ประกอบคุณภาพ ผู้ใกล้ชิดที่ยินดีและเต็มใจเข้าร่วมการศึกษา จ�ำนวน 22 คน ชีวิตทั้ง 4 ด้าน แบบวัดคุณภาพชีวิตจะมีข้อค�ำถามที่มี 3. จิตอาสาทั้งเพศชายและเพศหญิงในชุมชน ความหมายทางบวก 23 ข้อ และข้อค�ำถามที่มีความ เทศบาลต�ำบลแม่เงิน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย หมายทางลบ 3 ข้อ แต่ละข้อจะมีค�ำตอบเป็นตราส่วน ที่ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาจิต ประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ให้ผู้ตอบค�ำถาม วิญญาณ การอบรมภาคทฤษฎีและปฏิบัติจากทีมนักวิจัย เลือกตอบ ซึ่งการแปลผลคะแนนแบ่งระดับคุณภาพชีวิต ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลผู้สูงอายุ และมีความยินดี ออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับไม่ดี ปานกลางและดี และเต็มใจเข้าร่วมการศึกษา จ�ำนวน 22 คน (Mahatnirunkul et al., 1998) ผ่านการทดสอบหาค่า เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธ์แอลฟาของครอ 1. แบบวัดความสุขของคนไทยฉบับสั้น 15 ข้อ นบาค (Cronbach’s alpha coefficient) มีค่าความ (Thai Happiness Indicators) ของกรมสุขภาพจิต เชื่อมั่นเท่ากับ 0.87

272 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process

3. แบบประเมินความพึงพอใจต่อระบบการดูแลผู้ 2) ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่ติดบ้าน จิตอาสาท�ำการค้นหา สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา ผู้วิจัยสร้าง ผู้ป่วยรายใหม่และแจ้งให้กับ รพ.สต. หรือหากมีผู้ป่วย ขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม มีข้อค�ำถามจ�ำนวน 13 ที่จ�ำหน่ายจาก รพช. จิตอาสาท�ำการเยี่ยมบ้าน คัดกรอง ข้อ แต่ละข้อจะมีค�ำตอบเป็นตราส่วนประมาณค่า (rat- ภาวะสุขภาพ ให้ความรู้ค�ำปรึกษาในการดูแลตนเอง ing scale) 5 ระดับ ผ่านการทดสอบหาค่าความตรงของ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน รับส่งไปตรวจตามนัดหรือเมื่อ เนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 ท่าน ได้ค่าความตรง กรณีฉุกเฉิน รับยาแทน ช่วยเหลืองานบ้าน จัดกิจกรรม ของเนื้อหาเท่ากับ 0.89 และผ่านการทดสอบหาค่าความ ส่งเสริมความสุข ให้ก�ำลังใจ ค้นหาคุณค่า ความหมาย เชื่อมั่นโดยใช้สูตร สัมประสิทธ์แอลฟาของครอนบาค ของการเจ็บป่วย ประสานความช่วยเหลือกับภาคีต่าง ๆ (Cronbach’s alpha coefficient) มีค่าความเชื่อมั่น ตามปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ และ 3) ผู้สูง เท่ากับ 0.82 อายุที่เจ็บป่วยพิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้หรืออยู่ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะสุดท้าย จิตอาสาท�ำการเยี่ยมบ้าน ประเมินสุขภาพ จิตอาสาด�ำเนินการให้บริการสุขภาพตามระบบ ประเมินภาวะแทรกซ้อน ให้การช่วยเหลือในการฟื้นฟู การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสาเพื่อ สภาพ ช่วยดูแลเฝ้าไข้ (day care) ดูแลกิจวัตรประจ�ำ ส่งเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณที่ร่วมกันพัฒนาขึ้น วัน เช่น การรับประทานอาหาร ท�ำความสะอาดร่างกาย ซึ่งเรียกว่ารูปแบบ “แม่เงิน จิตอาสาสร้างสุข (สุขภาวะ การขับถ่ายปัสสาวะอุจจาระ เป็นต้น ดูแลสิ่งแวดล้อมใน ทางปัญญา)” ซึ่งเป็นระบบที่มีการด�ำเนินกิจกรรมทุกอย่าง บ้าน ให้ความรู้ ให้ค�ำปรึกษาในการดูแลผู้ป่วยให้กับญาติ ด้วยจิตอาสา โดยการบูรณาการความรู้จากการฝึกอบรม คอยช่วยเหลือให้ก�ำลังใจญาติ รับส่งไปตรวจตามนัด หรือ การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังเข้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่น และ ภาวะฉุกเฉิน รับยาแทน ดูแลการรับประทานยา ช่วยใน เน้นการส่งเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณ ซึ่งจิตอาสา การค้นหาคุณค่าความหมายของการเจ็บป่วยและความ ได้เรียนรู้จากการเข้าวงแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาจิต ตาย ดูแลความโศกเศร้าของญาติ ประกอบกิจกรรมตาม (KM with spiritual reflection) มีการเพิ่มพูนความรู้ ความเชื่อทางศาสนาและประสานความช่วยเหลือ การ และทักษะโดยการจัดวงแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเพื่อนจิต ศึกษาน�ำร่องนี้ใช้เวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม ถึง อาสาด้วยกันอย่างสม�่ำเสมอ (CoP จิตอาสา) และมีการ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 โดยมีผู้ช่วยนักวิจัยท�ำการเก็บ ประสานกับภาคีเครือข่ายจิตอาสา เช่น อสม รพ.สต. ข้อมูลเกี่ยวกับความสุขและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ รพช. เทศบาล พมจ. กศน. เป็นต้น โดยจิตอาสาได้แบ่ง การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานและความสุขของจิต กิจกรรมในการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังตามศักยภาพของ อาสา ความพึงพอใจของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุและจิต ผู้สูงอายุเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังและ อาสา ก่อนและหลังการน�ำระบบไปทดลองใช้ และมีการ ผู้สูงอายุทั่วไปที่ช่วยเหลือตัวเองและผู้อื่นได้จิตอาสา สะท้อนคิดภายหลังด�ำเนินการให้บริการ 3 เดือน เพื่อ ท�ำการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชนและส่งต่อข้อมูลให้ น�ำมาปรับรูปแบบระบบบริการให้มีความสมบูรณ์มาก กับอสม รพ.สต. คัดกรองภาวะสุขภาพให้ความรู้ให้ค�ำ ขึ้น ซึ่งน�ำไปสู่การดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนอย่าง ปรึกษาในการดูแลตนเอง ป้องกันโรค บริการรับส่งไป มีคุณภาพในอนาคตต่อไป ตรวจตามนัด รับยาแทน และจัดท�ำกิจกรรมส่งเสริม การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง ความสุข (สุขภาวะทางปัญญา) เกิดโครงการ/กิจกรรม การศึกษาครั้งนี้ได้รับหนังสืออนุญาตให้เก็บข้อมูล ในแต่ละหมู่บ้าน รวมทั้งหมด 36 โครงการ เช่น ธรรมสัญจร เลขที่ REH-59125 จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ท�ำตุง ยาสมุนไพร นวด ออกก�ำลังกาย ร�ำวงย้อนยุค ในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง คณะผู้วิจัยมีการ ปลูกผัก ปุ๋ยหมัก ไม้กวาดดอกหญ้า นำ�้ ยาล้างจาน เป็นต้น พิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่างโดยการอธิบายวัตถุประสงค์ของ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 273 ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา

การท �ำวิจัยแก่ผู้เข้าร่วมโครงการพร้อมเซ็นใบยินยอมใน ส่วนใหญ่มีโรคประจ�ำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ การเข้าร่วมโครงการวิจัย ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ 57.70 และโรคเบาหวาน ร้อยละ 25.80 มีผู้สูงอายุ ปฏิเสธหรือถอนตัวจากโครงการวิจัยได้ทุกเมื่อ โดยจะ ที่สามารถด�ำเนินกิจวัตรได้ด้วยตนเอง ร้อยละ 93.9 ผู้สูงอายุ ไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลของผู้เข้าร่วม ที่ติดเตียง ร้อยละ 6.10 ส�ำหรับ กลุ่มจิตอาสาส่วนใหญ่ โครงการวิจัยจะถูกเป็นเก็บรักษาไว้เป็นความลับและ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 57.69 อายุเฉลี่ย 55.65 ปี ข้อมูลจะน�ำเสนอในภาพรวมเท่านั้น (SD=11.57) โดยจิตอาสาส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการ การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นจิตอาสาตั้งแต่ 6 เดือน ขึ้นไป จนถึงมากที่สุด 4 ปี 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างน�ำมาวิเคราะห์โดย 2. ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ใช้สถิติบรรยายด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ด้วยกระบวนการจิตอาสา และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.1 คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุก่อนการด�ำเนิน 2. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพชีวิต การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วย ของผู้สูงอายุ, ความสุขของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ผู้ดูแลผู้สูง กระบวนการจิตอาสา ภายหลังการน�ำระบบการดูแลผู้ อายุโรคเรื้อรัง และจิตอาสา, ความพึงพอใจของผู้สูงอายุ สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ มีค่า โรคเรื้อรัง ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง และจิตอาสา ก่อน เฉลี่ยคะแนน 81.55 (S.D.=11.50) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากก่อน และหลังการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วย การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วย กระบวนการจิตอาสาไปใช้ โดยใช้สถิติทดสอบค่าเฉลี่ย กระบวนการจิตอาสาอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ชนิด 2 กลุ่มสัมพันธ์กัน (Paired t-test) (p<0.001) และเมื่อแยกตามองค์ประกอบของคุณภาพ ชีวิต 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความ ผลการวิจัย สัมพันธ์ทางสิ่งแวดล้อม และด้านสังคม พบว่าค่าเฉลี่ย 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง คะแนนของทุกด้านเพิ่มขึ้นจากก่อนการพัฒนาระบบการ ผลการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสาอย่างมี คิดเป็นร้อยละ 63.64 อายุเฉลี่ย 81.00 ปี (SD=7.57) นัยส�ำคัญทางสถิติ ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางท ี่ 1 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ก่อนและหลังการน�ำระบบการดูแลผู้สูง อายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ ก่อน หลัง ตัวแปร t p-value Mean SD Mean SD คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรค 71.73 11.98 81.55 11.50 -11.228 .000 เรื้อรังโดยรวม ด้านร่างกาย 17.64 3.89 21.82 2.24 -9.209 .000 ด้านจิตใจ 14.64 2.11 18.95 4.03 -8.055 .000 ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม 9.32 2.46 9.50 2.26 -2.160 .021 ด้านสิ่งแวดล้อม 25.50 5.64 26.36 5.38 -3.743 .000

274 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process

2.2 ภายหลังการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรค (S.D.=5.13) เพิ่มขึ้นจากก่อนการน�ำระบบการดูแลผู้ เรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ ผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ย สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ อย่างมี คะแนนความสุขเท่ากับ 45.86 (S.D.=5.02) และจิต นัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.001) ดังแสดงในตารางที่ 2 อาสามีค่าเฉลี่ยคะแนนความสุขเท่ากับ 51.08

ตารางท ี่ 2 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความสุขของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง จิตอาสา ก่อนและหลังการน�ำระบบการดูแล ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ ก่อน หลัง ตัวแปร t p-value Mean SD Mean SD ความสุขของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง 43.00 5.31 45.86 5.02 -4.713 .000 ความสุขของจิตอาสา 37.19 4.78 51.08 5.13 -17.597 .000

2.3 ภายหลังการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรค มีค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจเท่ากับ 52.50 เรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ ผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง (S.D.=8.99) เพิ่มขึ้นจากก่อนการพัฒนาระบบการดูแล มีค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจเท่ากับ 48.68 ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสาอย่างมีนัย (S.D.=6.52) ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง มีค่าเฉลี่ยคะแนน ส�ำคัญทางสถิติ (p<0.001) ดังแสดงในตารางที่ 3 ความพึงพอใจเท่ากับ 46.86 (S.D.=8.39) และจิตอาสา

ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ผู้ดูแล และจิตอาสา ก่อนและหลัง การน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ ก่อน หลัง ตัวแปร t p-value Mean SD Mean SD ความพึงพอใจของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง 43.00 5.31 45.86 5.02 -4.713 .000 ความพึงพอใจของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง 44.32 6.93 46.86 8.39 -2.504 .011 ความพึงพอใจของจิตอาสา 39.88 8.30 52.50 8.99 -5.909 .000

การอภิปรายผล ขึ้น โดยจิตอาสาจะเป็นผู้ที่ช่วยท�ำการค้นหาผู้ป่วยราย การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยต้องการศึกษาผลลัพธ์การ ใหม่ในชุมชนและส่งต่อข้อมูลให้กับอสม รพ.สต. ในกลุ่ม พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ที่ช่วยเหลือตนเองได้ จะได้รับการคัด จิตอาสา โดยมีประเด็นการอภิปรายผลดังนี้ กรองภาวะสุขภาพ การให้ความรู้ในการดูแลตนเอง การ 1) คะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรค ป้องกันโรค บริการรับส่งไปตรวจตามนัด รับยาแทน ซึ่ง เรื้อรังเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.001) ถ้าหากผู้สูงอายุมีการเจ็บป่วย และสามารถเข้าถึงบริการ สามารถอธิบายผลการศึกษาได้ว่าระบบการดูแลผู้สูงอายุ สุขภาพได้ จะท�ำให้ผู้สูงอายุได้รับการรักษาอาการเจ็บ โรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา ที่พัฒนาขึ้นท�ำให้ผู้ ป่วย ซึ่งส่งผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่ดีและส่งผล สูงอายุโรคเรื้อรังสามารถเข้าถึงระบบการบริการได้มาก ท�ำให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป และผู้สูงอายุที่ติดบ้าน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 275 ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา

ติดเตียงจะได้รับการเยี่ยมเยียนจากจิตอาสาเป็นประจ�ำ & Chaiwu, 2000) ซึ่งการที่จิตอาสาไปเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุอย่างสม�่ำเสมอ 2) ภายหลังการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรค เป็นการเชื่อมโยงปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการแสดงความ เรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสามาใช้ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง เอื้ออาทรต่อกัน ท�ำให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและ และจิตอาสามีค่าเฉลี่ยคะแนนความสุขเพิ่มขึ้นอย่างมีนัย รู้สึกได้รับความรักความเอาใจใส่ ซึ่งถือว่าเป็นการ ส�ำคัญทางสถิติ (p<0.001) อาจอธิบายได้ว่าการจัด สนับสนุนทางอารมณ์ (Emotional support) ให้กับผู้ กิจกรรมส่งเสริมความสุข (สุขภาวะทางปัญญา) เช่น สูงอายุ นอกจากนั้นจิตอาสายังท�ำหน้าที่ในการสนับสนุน ธรรมสัญจร ท�ำตุง ยาสมุนไพร นวด ออกก�ำลังกาย ร�ำวง ด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support) ในการดูแล ย้อนยุค ปลูกผัก ปุ๋ยหมัก ไม้กวาดดอกหญ้า นำ�้ ยาล้างจาน สุขภาพที่เหมาะสมให้กับผู้สูงอายุ และคอยให้การดูแล เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ ท�ำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสพบปะ ช่วยเหลือผู้สูงอายุและญาติเมื่อมีปัญหา ซึ่งจิตอาสาเอง พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งเป็นการสนับสนุนทาง ได้รับการพัฒนาศักยภาพตนเองจากการฝึกอบรมโดยทีม ด้านอารมณ์และ ด้านข้อมูลข่าวสารที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุ นักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลผู้สูงอายุ ท�ำให้จิต ปรับตัวได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้ผู้สูงอายุโรค อาสาสามารถดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังได้อย่างครอบคลุม เรื้อรัง มีความสุขเพิ่มขึ้น และผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่ติดบ้าน ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ส่งผลให้ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ติดเตียงได้รับการเยี่ยมเยียน พบปะ พูดคุยให้ก�ำลังใจ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี การสนับสนุนทางสังคม และได้รับความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาจากจิตอาสา ซึ่ง จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ นับว่าเป็นแรงสนับสนุนทางด้านสังคมที่มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับการศึกษาของ Kandee, Sukwong, & โดยตรงต่อความสุขของผู้สูงอายุ ท�ำให้ผู้สูงอายุรู้สึก Weiangkham (2016) พบว่าการสนับสนุนจากเพื่อน สบายใจและรู้สึกว่าตนเองไม่ถูกทอดทิ้ง จึงเป็นการ และเพื่อนบ้าน การสนับสนุนทางสังคมจากชุมชนและ พัฒนาภาวะทางอารมณ์ของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังให้ดีขึ้น สังคม ยิ่งมีมากยิ่งท�ำให้ความสามารถในการดูแลตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Chuadee Prachapiphat ของผู้สูงอายุดีขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ และ การที่ & Pechmanee (2016) พบว่าการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง ผู้สูงอายุดูแลตนเองได้ดีขึ้น ท�ำให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรม คุณค่าในตนเองให้กับผู้สูงอายุ เช่น กิจกรรมการบ�ำเพ็ญ สุขภาพและสุขภาพที่ดี ส่งผลให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ประโยชน์ การผลิตสิ่งประดิษฐ์ และการใช้แรงสนับสนุน (Kandee, Sukwong, & Weiangkham,2016) เช่น ทางสังคม เช่น การเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย ท�ำให้ เดียวกันกับการศึกษาของ Lasuka, Wonghongkul, ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ Klinkajorn, & Chaiwu (2000) ที่ศึกษาความสัมพันธ์ (Chuadee, Prachapiphat, & Pechmanee, 2016) ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมโดยเครือญาติ ความ และการที่จิตอาสามีความสุขเพิ่มมากขึ้น อาจอธิบายได้ สามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ว่าจิตอาสาที่เข้าร่วมทุกคนมาด้วยความเต็มใจ เพราะ ที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง พบว่าการสนับสนุนทางสังคมโดย เป็นบุคคลในพื้นที่และมีประสบการณ์ในการดูแลผู้สูง เครือญาติ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสามารถใน อายุที่อยู่ใกล้บ้าน โดยจิตอาสาที่เข้าร่วมโครงการมี การดูแลตนเองอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .001) การ ประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุอย่างน้อย 6 เดือนขึ้น สนับสนุนทางสังคมโดยเครือญาติ มีความ สัมพันธ์ทาง ไป และมากที่สุดถึง 4 ปี ทุกคนมีใจรัก มีความมุ่งมั่นและ บวกกับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < ตั้งใจ มีความสนใจในการดูแลผู้สูงอายุแม้ว่าจะไม่ถนัด .001) และความสามารถในการดูแลตนเองมีความ แต่ยินดีที่จะเรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อให้สามารถดูแลผู้สูงอายุ สัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยส�ำคัญทาง ได้ และมีความพร้อมในการสละเวลาส่วนตนมาปฏิบัติ สถิติ (p < .001) (Lasuka, Wonghongkul, Klinkajorn, งานจิตอาสาได้ จากการสัมภาษณ์และการแลกเปลี่ยน

276 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process

เรียนรู้กลุ่มจิตอาสาภายหลังการพัฒนาระบบ พบว่าจิต Narongsak, 2014) และจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่ม อาสามีความรู้และมีความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ จิตอาสาภายหลังการพัฒนาระบบ พบว่าจิตอาสา มี ท�ำให้กล้าที่จะเข้าไปดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น และได้รับการ ความรู้และมีความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ ท�ำให้กล้า ยอมรับจากผู้สูงอายุและผู้ดูแลเพิ่มขึ้น จิตอาสาจึงมี ที่จะเข้าไปดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น และได้รับการยอมรับ ความสุขจากการที่ได้รับการยอมรับและเกิดความภาค จากผู้สูงอายุและผู้ดูแล ท�ำให้จิตอาสามีความพึงพอใจ ภูมิใจที่สามารถท�ำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นได้ ใกล้เคียงกัน มากขึ้น กับการศึกษาของ Supapoj (2018) พบว่าจิตอาสาได้ การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังโดย รับความสุขและความภูมิใจภายหลังจากการท�ำกิจกรรม กระบวนการจิตอาสาถือเป็นการพัฒนาเครือข่ายเกื้อ จิตอาสา ท�ำให้มีพลังในการที่จะร่วมท�ำกิจกรรมจิตอาสา หนุนผู้สูงอายุที่ส�ำคัญในชุมชน เป็นการเปิดโอกาสให้ ต่อไป (Supapoj, 2018) บุคคลและองค์กรต่าง ๆ มีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล 3) ผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ข่าวสารและประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อช่วย และจิตอาสา มีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจเพิ่มขึ้นอย่าง ลดความซำ�้ ซ้อนในการด�ำเนินงาน เกิดความร่วมมือและ มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) ทั้งนี้อาจอธิบายได้ว่าผู้สูง การท�ำงานในลักษณะที่เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน อายุมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่เสื่อมลงและมี ระหว่างหน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุทั้งหน่วยงาน ภาวะของโรคเรื้อรัง ท�ำให้ผู้สูงอายุมีข้อจ�ำกัดในการตอบ ภาครัฐ ภาคเอกชน ครอบครัว และชุมชน ซึ่งส่งผลดีต่อ สนองความต้องการการดูแลตนเอง และต้องพึ่งพา การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ สอดคล้องกับงาน ครอบครัวในการดูแลเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการดูแลผู้สูงอายุ วิจัยของUdomvong et al. (2012) ที่พบว่าการพัฒนา ระยะยาวก่อให้เกิดภาระ และผลกระทบกับผู้ดูแลทั้งทาง ระบบสุขภาพชุมชน ปัจจัยที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จ คือ การ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและเศรษฐกิจ น�ำไปสู่ มีผู้น�ำที่ดี การน�ำต้นทุนทางสังคมมาใช้ประโยชน์ การ ความเครียดของผู้ดูแล จากกลุ่มตัวอย่างพบว่ามีทั้งผู้สูง ท�ำงานแบบภาคีเครือข่ายโดยต้องอาศัยองค์กรหลักใน อายุโรคเรื้อรังที่สามารถช่วยเหลือตนเองในการท�ำ ชุมชนเป็นส�ำคัญ และบุคลากรทางสาธารณสุขยังเป็นผู้ กิจวัตรประจ�ำวันเองได้ และบางส่วนเป็นผู้สูงอายุโรค มีอิทธิพลอย่างมากต่อการประสานงานระหว่างภาคีเครือ เรื้อรังติดบ้านติดเตียงที่ต้องการการดูแล การที่มีจิตอาสา ข่าย การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนต้องมีการท�ำงาน เข้าไปดูแลช่วยเหลือในการท�ำกิจวัตรประจ�ำวันให้กับผู้ แบบหุ้นส่วนจึงเกิดผลส�ำเร็จ (Udomvong et al., สูงอายุ พูดคุยให้ก�ำลังใจกับผู้ดูแล และช่วยติดต่อ 2012) และนอกจากนั้นยังเป็นการส่งเสริมให้จิตอาสาได้ ประสานงานให้กับผู้ดูแลเมื่อผู้สูงอายุมีปัญหา จึงท�ำให้ผู้ เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนเพิ่มมากขึ้น ดูแลได้รับการแบ่งเบาภาระหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุ ท�ำให้ชุมชนมีเครือข่ายเกื้อหนุนผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง และ ซึ่งการได้รับแรงสนับสนุนนี้ส่งผลให้ผู้ดูแลมีความเครียด ในกระบวนการพัฒนาระบบนี้ได้เน้นการแลกเปลี่ยน ลงลงและรู้สึกพึงพอใจต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุโรค เรียนรู้ซึ่งกันและกันระหว่างกลุ่มจิตอาสา ท�ำให้จิตอาสา เรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสาเพิ่มขึ้น ใกล้เคียงกันกับ ได้เห็นเหตุและปัจจัยของความสุข ความทุกข์มากขึ้น จึง งานวิจัยของ Wirojratana, Amnatsatsue, Sasat, เป็นกระบวนการที่ช่วยให้จิตอาสาได้ขัดเกลาตนเอง เกิด Malathum, & Narongsak (2014) ที่ศึกษาการพัฒนา ความรู้สึกร่วม ความเห็นอกเห็นใจ เอาใจผู้อื่นมาใส่ใจ ระบบบริการสุขภาพส�ำหรับผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่น ผล ตนเอง เพื่อรับรู้ความรู้สึกและตอบสนองโดยแสดง การศึกษาพบว่าผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีความพึงพอใจสูง พฤติกรรมจิตอาสาอย่างถูกต้องเหมาะสมทั้งภาษาพูด กว่าก่อนให้บริการอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) และภาษากาย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นการเปิดโอกาส (Wirojratana, Amnatsatsue, Sasat, Malathum, & ให้จิตอาสาได้สะท้อนตนเองมุ่งให้เห็นความคิดและความ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 277 ผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังด้วยกระบวนการจิตอาสา

รู้สึกของตนเองเมื่อได้ช่วยเหลือผู้สูงอายุ การปรับเปลี่ยน อุปกรณ์ในการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและ ความคิดและมุมมองดังกล่าวจะท�ำให้จิตอาสาเกิดความ ยั่งยืน มีจิตอาสาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน และเป็นแนวทาง 3. ควรมีการน�ำระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ส�ำหรับพัฒนาตนเองให้กับจิตอาสาคนอื่นต่อไป ด้วยกระบวนการจิตอาสาไปปรับใช้ให้เหมาะสมตาม บริบทของชุมชนอื่น เพื่อรองรับกับจ�ำนวนผู้สูงอายุที่มี ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ เพิ่มมากขึ้น และสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต 1. ควรมีการพัฒนาศักยภาพในการด�ำเนินงานดูแล ของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังให้กับกลุ่มจิตอาสาอย่างต่อเนื่อง เพื่อ ให้สามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้อย่าง กิตติกรรมประกาศ ครอบคลุมทั้งกาย จิตใจ และสังคม ขอขอบคุณส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง 2. หน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทในการดูแลผู้สูง เสริมสุขภาพ (สสส.) ที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย ครั้งนี้ อายุ ควรมีบทบาทในการสนับสนุนด้านวิชาการ และวัสดุ เอกสารอ้างอิง Chuadee S., Prachapiphat C., & Pechmanee S. (2016). The Effect of Social Support and Promoting Self-Esteem on the mental health of the elderly in Pang karn Sub-district, Phanom District, Surat Thani Province. Community Health Development Quarterly Khon Kaen University. 4(1), 67-82. Danyuthasilpe C. & Kalampakorn S. (2011). Caring for Elderly with Chronic Illness in the Community. Journal of Public Health Special Issue on the 84th Birthday Celebration of King Bhumibol Adulyadej, 99-108. Retrieved from https://www.tci-thaijo.org/index.php/jph/ article/download/8184/7006/ Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2013). Situation of The Thai elderly 2013. Bangkok: Amarin Printing & Publishing Public Company Limited. Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2016). Situation of The Thai elderly 2016. Nakhon Pathom: Printery Co.,Ltd. Kandee, P., Sukwong, P., & Weiangkham, D. (2016). Perceived social support of community- dwelling rural elderly in northern Thailand. Journal of Mental Health of Thailand, 24(1), 40-51. Retrieved from https://www.tci-thaijo.org/index.php/jmht/article/view/63588/52202 Lasuka D., Wonghongkul T., Klinkajorn Y., & Chaiwut. S. (2000). Family social support Self-care agency and Quality of life of the Elderly with Chronic illness. Nursing Journal, 27(2), 97-106. Mahatnirunkul S, Tuntipivatanaskul W, Pum-pisanchai W, et al. (1998). Comparison of the WHOQOL-100 and the WHOQOL-BREF (26 items). J Ment Health Thai, 5, 4-15. Mongkol, A., Vongpiromsan, Y., Tangseree, T., Huttapanom, W., Romsai, P., & Chutha, W. (2013). The Development and Testing of Thai Mental Health Indicator Version 2007. Journal of the Psychiatric Association of Thailand, 54(3), 299-316.

278 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Outcomes of the care system for older people with chronic disease by volunteer process

Mullika Matrakul & Nongyao Mongkhonittivech. (2018). Situation analysis of care by volunteers for elders with chronic diseases in Mae-Ngoen municipality, Chiang Saen District, Chiang Rai Province. Journal of Nursing Science & Health, 41(2), 69-77. Retrieved from https://www.tci-thaijo.org/index.php/nah/article/view/114779/109316 Srithamrongsawat S., Bundhamcharoen K., Sasat S., & Amnatsatsue K. (2009). Community Care Model for Older People in Thailand. The Thai Journal of Primary Care and Family Medicine, 22-31. Supapoj N. (2018). Volunteer Mind of Undergraduate Students of Rajabhat Universities in Bangkok Metropolitan Area. Chandrakasem Rajabhat University Journal of Graduate School, 13(1), 78-88. Udomvong N., Subpaiboongid P., Juntasopeepun P., Sawasdisingha P., Chairad J., Chitreecheur J., Woottiluk P. (2012). Development of Community Health System of Chompoo: Sub-District Sarapee District Chiang Mai Province. Nursing Journal, 39, 97-106. Retrieved from https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/download/33326/28271/ Wirojratana V., Amnatsatsue K., Sasat S., Malathum P., & Narongsak J. (2014). Improvement of Healthcare Services for Dependent Elders. Thai Journal of Nursing Council, 29(3), 104-115. Retrieved from https://tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/down load/27082/23008/

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 279 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล ส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Pong Hospital, Phayao Province

อัจฉราภรณ์ จ�ำรัส * Atcharaporn Chamrat * ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ ** Taweeluk Vannarit **

บทคัดย่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 มีความส�ำคัญ เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะ แทรกซ้อน การศึกษาปฏิบัติการ (operations study) นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติ การจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่างในการ ศึกษานี้คือ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา ก่อนมีการ ใช้แนวปฏิบัติ จ�ำนวน 66 คน และหลังมีการใช้แนวปฏิบัติจ�ำนวน 58 คน กระบวนการใช้แนวปฏิบัติอ้างอิงจากกรอบ แนวคิดที่เสนอโดยสภาวิจัยด้านสุขภาพและการแพทย์แห่งชาติ ประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, 1999, 2000) เครื่องมือ ที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่ เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 3) คู่มือประกอบการสอนสุขศึกษาแก่ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 4) แบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่อง การดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับนำ�้ ตาล 5)แบบสัมภาษณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน และ 6) เครื่องวิเคราะห์ระดับน�้ำตาลในเลือดแบบอัตโนมัติ ยี่ห้อมินเดรย์ รุ่นบีเอส400 (MINDRAY รุ่นBS-400) เครื่องมือ ที่ใช้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเชื่อมั่นแล้ว วิเคราะห์ข้อมูลผลลัพธ์ด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแล ตนเอง พฤติกรรมการดูแลตนเอง และระดับน�้ำตาลในเลือด โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า 1. ระดับความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองในระดับดีพบในกลุ่มก่อนการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 37.88 และกลุ่มหลัง การใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 70.69 2. ระดับพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับดี พบ ในกลุ่มก่อนการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 21.21 และกลุ่มหลัง การใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 79.31 3. กลุ่มตัวอย่างที่สามารถควบคุมระดับนำ�้ ตาลในเลือดได้ พบในกลุ่มก่อนการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 24.24 และ กลุ่มหลังการใช้แนวปฏิบัติ ร้อยละ 67.24 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การใช้แนวปฏิบัติสามารถช่วยให้การควบคุมโรคเบาหวานดีขึ้น ดังนั้นควร เสนอแก่ทีมผู้บริหารเพื่อส่งเสริมให้มีการน�ำแนวปฏิบัตินี้มาใช้อย่างต่อเนื่องต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล, ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 * พยาบาลวิชาชีพ * Professional nurse ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chaing Mai University พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 280 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Pong Hospital, Phayao Province

Abstract Behavior modification in patients with type 2 diabetes is important to prevent and delay the complications. The operational study aimed to determine the effectiveness of implementing nursing management guidelines for people with type 2 diabetes in Pong Hospital, Phayao Province. Subjects in this study were people with type 2 diabetes attending the diabetes clinic at Pong Hospital, Phayao Province. 66 people were in the group before implementing the guideline. and 58 were in the group after implementing guideline. The process use guidelines based on the conceptual framework proposed by the National Council for Health and Medical Research. Australia (NHMRC, 1999, 2000). The research instruments consisted of 1) demographic data recording form, 2) the nursing guideline of people with type 2 diabetes, 3) health education handbook for people with type 2 diabetes, 4) Interview form regarding knowledge of self-care for controlling sugar levels, 5) Self-care interview form for non-insulin dependent diabetic patients, and 6) Automatic blood glucose analyzer Mindray brand version BS 400. All instruments were tested for content validity and reliability. Data were analyzed in the knowledge of self-care, self-care behavior, and blood sugar levels by using descriptive statistics. The study found that: 1. Good level of knowledge about self-care was found in the group before implementing the guidelines as 37.88% and the group after implementing the guidelines as 70.69%. 2. The level of self-care behavior at a good level was found in the group before implementing the guidelines as 21.21% and group after implementing the guidelines as 79.31 %. 3. The sample group that could control blood sugar level was found in the groups before implementing the guidelines as 24.24 % and groups after implementing the guidelines as 67.24 %. The results indicated that the guidelines implementation improves diabetes control. Therefore, the guidelines should be proposed to the administration team in order to enhance continuously the guidelines implementation.

Key word: Nursing Management Guidelines, Type 2 Diabetes

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา (American Diabetes Associations [ADA], 2012; โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษา Munden, 2007) ในปัจจุบันโรคเบาหวานเป็นปัญหา ให้หายขาดได้ สาเหตุจากการเกิดความผิดปกติด้านการ ที่ส�ำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี เผาผลาญของร่างกาย ท�ำให้มีความผิดปกติในการหลั่ง จากรายงานขององค์การอนามัยโลกพบว่า ในปี ค.ศ. 2000 หรือการออกฤทธิ์ของอินซูลิน หรือทั้ง 2 อย่างร่วมกัน ประชากรโลกเป็นโรคเบาหวาน 171 ล้านคน และมีแนวโน้ม ท�ำให้ระดับนำ�้ ตาลในกระแสเลือดสูง การที่ระดับนำ�้ ตาลสูง เพิ่มขึ้นประมาณ 366 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2030 (World เป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนแบบ Health Organization [WHO], 2012) ส�ำหรับ เฉียบพลันและเรื้อรัง ซึ่งท�ำให้พิการและเสียชีวิตได้ ประเทศไทย จากการส�ำรวจสถานพยาบาลสาธารณสุข

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 281 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา

ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่าในปี 2553-2555 เลือดส่วนปลาย (Benchasuratwong, & Kanjanavanich, มีจ�ำนวนผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น เท่ากับ 16, 20, และ 2008) 22 ล้านคนตามล�ำดับ อัตราการตายด้วยโรคเบาหวาน นอกจากมีผลกระทบทางด้านร่างกายแล้วยังส่ง ในปีพ.ศ. 2553-2555 เท่ากับ 10.76, 11.88 และ 12.06 ผลกระทบต่อสภาพจิตใจ พบว่าผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเกิด รายต่อแสนประชากรตามล�ำดับ (Office of Policy and ความกังวลจากการที่ต้องควบคุมระดับนำ�้ ตาล การปรับ Strategy Office of the Permanent Secretary, เปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับ Ministry of Public Health, 2012; Bureau of นำ�้ ตาล (Suttisarn, Pattanaporn, & Chittaisong, 2007) Non-Communicable Diseases Department of ส�ำหรับผลกระทบทางสังคม และครอบครัวพบว่า ผู้ที่เป็น Disease Control, 2011) จะเห็นได้ว่าโรคเบาหวาน โรคเบาหวานบางคน มีการแยกตัว และเข้าร่วมกิจกรรม เป็นปัญหาทางสาธารณสุขทั่วโลก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น กับสังคมน้อย เนื่องจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง เกิดภาวะ ต้องได้รับการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เครียดกับโรคตนเอง (Chaichanan, Udomvong, & การควบคุมระดับนำ�้ ตาลเป็นสิ่งส�ำคัญเพื่อป้องกัน Suthagorn, 2009) ผลกระทบทางเศรษฐกิจของตนเอง และชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งระยะเฉียบพลัน และครอบครัว ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานต้องใช้ระยะเวลาใน และระยะเรื้อรัง ซึ่งสามารถท�ำได้โดย การควบคุมโดย การรักษาตลอด มีข้อจ�ำกัดในการประกอบอาชีพเกิดการ การใช้ยา ได้แก่ การใช้ยาเม็ดควบคุมระดับนำ�้ ตาลในเลือด สูญเสียรายได้ เป็นภาระกับครอบครัวในการดูแล (WHO, และการใช้อินซูลิน การควบคุมระดับน�้ำตาลโดยการ 2012) ไม่ใช้ยา ได้แก่ การควบคุมอาหาร การออกก�ำลังกายอย่าง โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา เป็นโรงพยาบาลชุมชน สม�่ำเสมอ และการจัดการความเครียด (Oba,2012); ขนาด 30 เตียง มีผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมารับบริการที่คลินิก Khongruangrat, Vannari, & Lukkahata. 2012) เบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 เป้าหมายในการดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานคือ การควบคุม ถึงปี พ.ศ. 2555 มีผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเข้ารับบริการใน ระดับน�้ำตาลให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติ เกณฑ์มาตรฐาน คลินิกเบาหวาน จ�ำนวน 720, 787 และ 980 รายตามล�ำดับ ในการวัดระดับน�้ำตาลในเลือดหลังการงดน�้ำงดอาหาร (Medical Record Unit, Pong Hospital, 2012) และ อย่างน้อย 8 ชั่วโมงอยู่ในช่วง 70-130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร มีสถิติเข้ามารับบริการติดอันดับ 1 ใน 5 ของผู้ป่วยนอก ระดับนำ�้ ตาลฮีโมโกบินเอวันซีน้อยกว่าร้อยละ 7 ถ้าไม่ ปัจจุบันมีผู้ที่เป็นโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับนำ�้ ตาล สามารถควบคุมระดับน�้ำตาลได้ตามเป้าหมาย ส่งผล ในเลือดได้ตามเกณฑ์มาตรฐานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย กระทบในด้านต่าง ๆ เช่น ผลกระทบต่อร่างกายเกิดภาวะ โดยมีเพียงร้อยละ 40.12 ที่สามารถควบคุมระดับนำ�้ ตาล แทรกซ้อนเฉียบพลัน ได้แก่ภาวะน�้ำตาลในเลือดต�่ำ ในเลือดได้ (เกณฑ์เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ 60) และ (hypoglycemia) ภาวะน�้ำตาลในเลือดสูงและมีกรดคี ร้อยละ 20.1 มีระดับฮีโมโกบินเอวันซี (glycated โตนคั่งในกระแสเลือด (diabetic ketoacidosis [DKA]) hemoglobin หรือ glycosylated hemoglobin ภาวะน�้ำตาลในเลือดสูงโดยไม่มีการคั่งของกรดคีโตน [HbA1c]) ตามเป้าหมาย (เกณฑ์เป้าหมาย ต้องมีมากกว่า (hyperosmolar hyperglycemic state [HHS]) และ ร้อยละ 40) ร้อยละ 58.41 มีระดับไขมันโคเรสเตอรอล ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ แอล ดี แอล น้อยกว่า 100 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (เกณฑ์ หลอดเลือดขนาดเล็ก ได้แก่ ภาวะแทรกซ้อนตา เป้าหมาย ต้องมีมากกว่า ร้อยละ 70 เปอร์เซ็นต์) ภาวะ (retinopathy) ภาวะแทรกซ้อนทางไต (nephropathy) แทรกซ้อนทางไตร้อยละ 21.46 (เกณฑ์เป้าหมายน้อยกว่า และการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดขนาดใหญ่ได้แก่ 5 เปอร์เซ็นต์) (Medical Record Unit, Pong Hospital, โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอด 2012) ปัจจุบันโรงพยาบาลปง ให้บริการผู้ที่เป็นโรค

282 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Pong Hospital, Phayao Province

เบาหวาน ที่คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก เปิดบริการ ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ทุกวันพุธ ส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่รับการรักษา โดยยาเม็ดชนิดรับประทาน พยาบาลมีบทบาทในการ ค�ำถามการวิจัย จัดระบบบริการในการดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่มา ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการ รับริการในคลินิกเบาหวาน และให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ที่เป็น ทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรคเบาหวานในการปฏิบัติตัว รูปแบบการให้ค�ำแนะน�ำ โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา เป็นอย่างไร โดยมีค�ำถาม และเนื้อหาขึ้นกับความรู้ที่ได้รับจากการเรียน การฝึกอบรม เฉพาะคือ และประสบการณ์ของพยาบาลแต่ละคน ยังขาดการ 1. ร้อยละของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มา ปฏิบัติโดยอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งผลให้แนวทาง รับบริการก่อน และหลังการใช้แนวปฏิบัติ การจัดการ ในการให้ความรู้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีความหลากหลาย ทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ดังนั้นเพื่อให้การดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีประสิทธิภาพ มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองที่ถูกต้องใน พยาบาลควรมีแนวปฏิบัติเพื่อช่วยเป็นแนวทางในการ ระดับดี เป็นอย่างไร จัดการทางการพยาบาลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานอย่างมี 2. ร้อยละของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มา ประสิทธิภาพ รับบริการก่อน และหลังการใช้แนวปฏิบัติ การจัดการ จากการทบทวนวรรณกรรมที่ผ่านมาพบว่ามีการ ทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 พัฒนาแนวปฏิบัติขึ้นหลายแนวปฏิบัติที่เผยแพร่ใน มีคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องในระดับดี ประเทศไทยและระดับนานาชาติ ผู้ศึกษาจึงได้น�ำแนว เป็นอย่างไร ปฏิบัติที่สืบค้นดังกล่าวน�ำเสนอแก่บุคลากรทีมสุขภาพที่ 3. ร้อยละของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มา ปฏิบัติงานในคลินิกเบาหวานได้พิจารณาถึงความเหมาะสม รับบริการก่อน และหลังการใช้แนวปฏิบัติ การจัดการ และความเป็นไปได้ในการเลือกแนวปฏิบัติมาใช้ และได้ ทางการพยาบาลในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีระดับ ลงฉันทามติร่วมกัน ในการน�ำแนวปฏิบัติการจัดการทาง น�้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับที่ควบคุมได้ เป็นอย่างไร การพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลแพร่ (Jamrus et al., 2011) มาใช้ในคลินิก กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย เบาหวานโรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา และท�ำการประเมิน การศึกษาครั้งนี้ใช้แนวคิดจากการใช้แนวปฏิบัติ คุณภาพแนวปฏิบัติ อยู่ในเกณฑ์คุณภาพดี และได้น�ำไป ตามกรอบการใช้แนวปฏิบัติของสภาวิจัยด้านการแพทย์ ศึกษาน�ำร่องในกลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานจ�ำนวน 10 คน และสุขภาพแห่งชาติประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, พบว่าทุกข้อเสนอแนะสามารถน�ำไปใช้ได้จริงในการดูแล 1999, 2000) ประกอบด้วย 1) การจัดพิมพ์ และการ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เผยแพร่แนวปฏิบัติทางคลินิกไปสู่ผู้ปฏิบัติ และผู้ที่ เกี่ยวข้อง 2) การน�ำแนวปฏิบัติไปสู่การปฏิบัติ 3) การ วัตถุประสงค์การวิจัย ประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก การศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการ เป็นการประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการน�ำแนวปฏิบัติไปใช้ จัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน คือ ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง พฤติกรรมการดูแล ชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา โดยศึกษาผลลัพธ์ ตนเอง และระดับนำ�้ ตาลในเลือดของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ดังต่อไปนี้คือ 1) ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองที่ถูกต้อง ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 2) พฤติกรรมการดูแลตนเอง วิธีด�ำเนินการวิจัย ที่ถูกต้องของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 3) ระดับนำ�้ ตาลในเลือด การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาปฏิบัติการ (oper-

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 283 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา

ational study) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนว โรคเบาหวาน จ�ำนวน 8 เล่ม 3) เครื่องมือวิเคราะห์ ปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรค อัตโนมัติ เคมีคลินิก ยี่ห้อมินเดรย์ รุ่นบีเอส 400 เบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการคลินิกเบาหวาน แผนก (MINDRAY รุ่น BS-400) ใช้ส�ำหรับตรวจระดับน�้ำตาล ผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลปง โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ในเลือดของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เป็นระยะเวลา 5 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ถึงเดือน 2. เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ชนิดที่ 2 พัฒนาโดย Chamrat et al. (2011) 2) แบบ ประชากรกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้คือ 1) สัมภาษณ์ความรู้เรื่องการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับ น�้ำตาล สร้างขึ้นโดย Sansingchai (2007) 3) แบบ บริการที่คลินิกเบาหวานแผนก ผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลปง สัมภาษณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่ง จังหวัดพะเยา 2) กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ แบ่ง อินซูลินสร้างขึ้นโดย Chatimongkol et al. (1998) ออกเป็น 2 กลุ่มได้แก่กลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการก่อน การเก็บรวบรวมข้อมูล การใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ การศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาด�ำเนินการเก็บรวบรวม ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 1-31 เดือน ข้อมูลทั้งก่อน และหลังใช้แนว เป็นระยะเวลา 5 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2556 จ�ำนวน 66 คน และกลุ่มตัวอย่าง ตั้งแต่ กรกฎาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ที่มารับบริการหลังการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการ ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ พยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ตั้งแต่ 1. ระยะเตรียมการด�ำเนินการตั้งแต่ วันที่ 1-31 วันที่ 1-30 เดือน พฤศจิกายน 2556 จ�ำนวน 58 คน เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง 1) ผู้ศึกษาท�ำหนังสือผ่านคณบดี คณะพยาบาล ผู้ศึกษาด�ำเนินการพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ถึง ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล น�ำโครงร่างการค้นคว้าอิสระเสนอขอรับการพิจารณา ปง หัวหน้ากลุ่มการพยาบาล เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ รับรองจริยธรรม จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย การศึกษา และขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากได้ 2) แต่งตั้งคณะท�ำงานในการใช้แนวปฏิบัติการ รับการอนุมัติแล้ว ผู้ศึกษาท�ำเอกสารชี้แจงวัตถุประสงค์ จัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ของการศึกษา และเข้าพบกลุ่มตัวอย่างแนะน�ำตัวชี้แจง 3) จัดพิมพ์ และเผยแพร่แนวปฏิบัติ 2 รูปแบบ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ระยะเวลาในการศึกษา เพื่อให้ง่ายส�ำหรับผู้ปฏิบัติงาน ฉบับสมบูรณ์ จัดวางไว้ ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมทั้งชี้แจงสิทธิ์ของ ประจ�ำที่คลินิกเบาหวาน และฉบับย่อแจกให้แก่ทีม กลุ่มตัวอย่างในการตอบรับหรือปฏิเสธที่จะเข้าร่วมการ ผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานทุกคน ศึกษาครั้งนี้ เมื่อกลุ่มตัวอย่างยินดีเข้าร่วมการศึกษาให้ 4) เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนการน�ำแนวไปใช้ ลงนามในเอกสารยินยอมเข้ารับการศึกษา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวการดูแลตนเอง พฤติกรรมการดูตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และระดับน�้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร 8 ชั่วโมงตั้งแต่ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย วันที่ 1-31 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 1. เครื่องมือที่ใช้ด�ำเนินการศึกษา ประกอบด้วย 2. ระยะด�ำเนินการด�ำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 เดือน 1) แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็น สิงหาคม ถึงวันที่ 30 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 โรคเบาหวานชนิดที่ 2 พัฒนาโดย Chamrat et al. ขั้นตอนดังต่อไปนี้ (2011) 2) คู่มือประกอบการสอนสุขศึกษา แก่ผู้ที่เป็น 1) ขั้นที่ 1 เผยแพร่ และสร้างความเข้าใจเกี่ยว

284 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Pong Hospital, Phayao Province

กับแนวปฏิบัติแก่ผู้ที่ใช้แนวปฏิบัติ ด�ำเนินการตั้งแต่ 2.3) กระตุ้นและส่งเสริมให้บุคลากรทีม วันที่ 1-14 เดือนสิงหาคม 2556 โดยจัดกิจกรรมดังนี้ สุขภาพปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล 1.1) จัดประชุมทีมน�ำทางคลินิก และ ส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยให้ค�ำชมเชย บุคลากรทีมผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เพื่อชี้แจง เมื่อมีการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ การน�ำแนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ 2.4) ประชุมทีมผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มาใช้ในหน่วยงาน ทุกวันพุธ เพื่อการเรียนรู้ร่วมกันในใช้แนวปฏิบัติ อภิปราย 1.2) จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ ร่วมกันในการวางแนวทางแก้ไขปัญหา และน�ำข้อเสนอ เกี่ยวกับแนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ แนะไปปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ณ บริเวณคลินิกเบาหวาน 3. ขั้นที่ 3 ประเมินประสิทธิผลของการใช้แนว และเผยแพร่ในระบบคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติด�ำเนินการตั้งแต่วันที่ 1-30 เดือนพฤศจิกายน 1.3) จัดท�ำผังขั้นตอนการด�ำเนินงาน พ.ศ. 2556 โดยรวบรวมข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างภายหลัง (algorithm) ติดตั้งหน้าจอคอมพิวเตอร์ประจ�ำคลินิก การใช้แนวปฏิบัติครบ 3 เดือนโดยผู้ศึกษาท�ำการเก็บ เบาหวานเพื่อให้เจ้าหน้าที่อ่านทบทวนได้ง่าย และเตือน รวบรวมข้อมูลผลลัพธ์ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวการดูแลตนเอง ความจ�ำในขั้นตอนต่าง ๆ และพฤติกรรมการดูตนเอง ระดับน�้ำตาลในเลือดหลัง 2) ขั้นที่ 2 การน�ำแนวปฏิบัติไปใช้ ผู้ศึกษา อดอาหาร 8 ชั่วโมง ด�ำเนินการก�ำกับติดตามให้มีด�ำเนินการตามแนวปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วันที่ 19 เดือนสิงหาคม 2556 ถึง ผลการวิจัย วันที่ 30 เดือนพฤศจิกายน 2556 ตามขั้นตอน ดังนี้ ผลการศึกษาสามารถตอบค�ำถามของการศึกษา ได้ 2.1) ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการใช้แนว ดังนี้ ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องทุกวันพุธ ที่คลินิกเบาหวาน 1. ร้อยละ 37.88 ของกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการ 2.2) ระหว่างมีการใช้แนวปฏิบัติ ผู้ศึกษา ก่อนการใช้แนวปฏิบัติ มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการดูแล ติดตามนิเทศการปฏิบัติของบุคลกรทีมสุขภาพ ร่วมกัน ตนเองที่ถูกต้องในระดับดี ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มารับ แก้ไขปัญหา และสร้างความมั่นใจให้กับบุคลากรในการ บริการหลังการใช้แนวปฏิบัติมีร้อยละ 70.69 ดังแสดง ใช้แนวปฏิบัติ ตารางที่1

ตารางที่ 1 จ�ำนวน และร้อยละของกลุ่มตัวอย่างก่อน และหลังการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จ�ำแนกตามระดับคะแนนความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลตนเอง ก่อนการใช้แนวปฏิบัติ หลังการใช้แนวปฏิบัติ ระดับคะแนนความรู้ (n = 66) (n = 58) จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ ระดับดี 25 37.88 41 70.69 ระดับไม่ดี 41 62.12 17 29.31

2. ร้อยละ 21.21 ของกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการ บริการหลังการใช้แนวปฏิบัติ มีร้อยละ 79.31 ดังที่แสดง ก่อนการใช้แนวปฏิบัติ มีคะแนนพฤติกรรมการดูแล ในตารางที่ 2 ตนเองที่ถูกต้องในระดับดี ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มารับ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 285 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา

ตารางที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จ�ำแนกตามระดับคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง ก่อนการใช้แนวปฏิบัติ หลังการใช้แนวปฏิบัติ ระดับคะแนนพฤติกรรม (n = 66) (n = 58) จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ ระดับดี 14 21.21 46 79.31 ระดับไม่ดี 52 78.79 12 20.69

3. ร้อยละ 24.24 ของกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการก่อนการใช้แนวปฏิบัติ มีระดับน�้ำตาลในเลือดที่ควบคุมได้ ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการหลังการใช้แนวปฏิบัติ มีร้อยละ 67.24 ดังที่แสดงในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 จ�ำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างก่อน และหลังการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จ�ำแนกตามการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด ก่อนการใช้แนวปฏิบัติ หลังการใช้แนวปฏิบัติ ระดับระดับน�้ำตาลในเลือด (n = 66) (n = 58) จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ ควบคุมได้ 16 24.24 39 67.24 ควบคุมไม่ได้ 50 75.76 19 32.76

การอภิปรายผล ในส่วนเรื่องที่สงสัย มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความ ผลการศึกษาสามารถอภิปรายผลโดยรวมได้ดังนี้ คิดความเชื่อ เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง นอกจากนี้ ผลลัพธ์ด้านความรู้ในการดูแลตนเอง จะเห็นได้ ยังมีการบันทึกในสมุดประจ�ำตัวผู้ป่วยเกี่ยวกับความรู้ที่ จากกลุ่มตัวอย่างหลังการใช้แนวปฏิบัติ มีคะแนนความรู้ ได้รับ และทุกครั้งที่กลุ่มตัวอย่างมารับบริการ มีการ ในการดูแลตนเองในระดับดี มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นกว่ากลุ่ม สอบถามทบทวนความรู้ที่เคยได้รับ เพื่อตรวจสอบความ ตัวอย่างก่อนการใช้แนวปฏิบัติ เนื่องจากผู้ศึกษาและ เข้าใจของกลุ่มตัวอย่าง และเพิ่มเติมส่วนขาดให้กับกลุ่ม ทีมบุคลากรผู้ใช้แนวปฏิบัติ ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค ตัวอย่าง เป็นผลให้กลุ่มตัวอย่างหลังการใช้แนวปฏิบัติมี เบาหวาน การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเหมาะสม และการ คะแนนความรู้ในการดูแลตนเองในระดับดี มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น ควบคุมโรคเบาหวาน โดยใช้รูปแบบที่หลากหลาย เพื่อ ผลลัพธ์ด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง จะ ดึงดูดความสนใจให้กับกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โปสเตอร์ เห็นได้ว่ากลุ่มตัวอย่างหลังการใช้แนวปฏิบัติ มีคะแนน การบรรยายพร้อมภาพประกอบ การใช้โมเดลอาหาร พฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องในระดับดี มีจ�ำนวน และตัวอย่างอาหารจากนักโภชนากร สร้างความสนใจ เพิ่มขึ้น เป็นผลเนื่องมาจากกลุ่มตัวอย่างหลังการใช้แนว ให้กลุ่มตัวอย่าง และเห็นภาพเสมือนจริงเพื่อน�ำไปใช้ใน ปฏิบัติ มีคะแนนความรู้ในการดูแลตนเองในระดับดี ชีวิตประจ�ำ นอกจากนี้ยังมีการปรับเปลี่ยนวิธีการให้ มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น และน�ำความรู้ที่ได้มาปรับเปลี่ยนแนว ความรู้ ให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างแต่ละคน ทั้งราย ความคิด และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง บุคคล และรายกลุ่ม เปิดโอกาสให้กลุ่มตัวอย่างได้ซักถาม นอกจากนี้รูปแบบการให้ความรู้ที่หลากหลายยังเปิดโอกาส

286 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Pong Hospital, Phayao Province

ให้กลุ่มตัวอย่าง มีการพูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตัวอย่างยังไม่สามารถควบคุมระดับนำ�้ ตาลในเลือดให้ได้ ในการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดของตนเองที่ผ่านมา ตามเป้าหมายได้ มีการตั้งเป้าหมายร่วมกันในการควบคุม เปิดโอกาสให้กลุ่มตัวอย่างได้ซักถามเกี่ยวกับข้อสงสัย ระดับน�้ำตาลในเลือด ซึ่งพบว่ามีกลุ่มตัวอย่างหลังการ ในการควบคุมระดับน�้ำตาลที่ไม่ประสบผลส�ำเร็จ ร่วม ใช้แนวปฏิบัติร้อยละ 32.76 ไม่สามารถควบคุมน�้ำตาล วางแผนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น ในเลือดได้ตามเกณฑ์ แต่มีแนวโน้มลดลง อาจเนื่องจาก จากการสัมภาษณ์เพิ่มเติมพบว่า กลุ่มตัวอย่าง จากเดิม กลุ่มตัวอย่างมีระดับนำ�้ ตาลในเลือดที่สูง ต้องใช้ระยะเวลา ที่รับประทานข้าวเหนียวเป็นประจ�ำ ปรับเป็นรับประทาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการควบคุมระดับนำ�้ ตาล ข้าวสวยสลับเป็นบางมื้อ รับประทานอาหารตรงเวลาหรือ ในเลือดให้ได้ตามเป้าหมาย และการศึกษาครั้งนี้ใช้ระยะ ปรับให้ใกล้เคียงเวลาเดิม มีการควบคุมการรับประทาน เวลาในการใช้แนวปฏิบัติเพียง 3 เดือน ต้องมีการติดตาม อาหาร เลือกรับประทานผัก และผลไม้ตามสัดส่วนที่ อย่างต่อเนื่องในระยะยาว เหมาะสม รับประทานยาตามแผนการรักษา และมีการ จัดเตรียมยามื้อกลางวันไปท�ำงานด้วย ซึ่งจากเดิมที่กลุ่ม ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ตัวอย่างจะงดยามื้อกลางวันเองเพราะไม่ได้จัดเตรียมยา 1. ควรน�ำเสนอผลการศึกษาแก่ผู้บริหาร เพื่อเป็น ไปด้วย เปลี่ยนจากนิยมดื่มนมเปรี้ยวมาเป็นนมจืดแทน แนวทางในการพิจารณา และก�ำหนดเป็นนโยบายใน เป็นต้น นอกจากนี้การการติดตามอย่างต่อเนื่อง ยังเป็น การน�ำแนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลมาใช้ใน ตัวกระตุ้นให้กลุ่มตัวอย่างกระตือรือร้นในการปรับเปลี่ยน การดูแลผู้ป่วย พฤติกรรมโดยเปรียบเทียบกับระดับน�้ำตาลที่กลุ่ม 2. ควรสนับสนุนให้มีการสืบค้นหาหลักฐานเชิง ตัวอย่างสามารถควบคุมได้ มีการชื่นชมให้ก�ำลังใจ ส่งผล ประจักษ์เพื่อปรับสาระส�ำคัญของแนวปฏิบัติให้ทันสมัย ให้กลุ่มตัวอย่างหลังใช้แนวปฏิบัติมีคะแนนพฤติกรรม อยู่เสมอ ทุก 3-5 ปีหรือทุกครั้งที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ การดูแลตนเองที่ถูกต้องในระดับดี มีจ�ำนวนเพิ่ม มากกว่า ใหม่ และจัดท�ำแนวปฏิบัติที่เหมาะสมกับบริบท กลุ่มตัวอย่างก่อนการใช้แนวปฏิบัติ ผลลัพธ์ด้านระดับน�้ำตาลในเลือดที่ควบคุมได้ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างหลังมีการใช้แนวปฏิบัติ 1. ควรศึกษาประสิทธิผลของแนวปฏิบัติโดยการ มีระดับน�้ำตาลในเลือดที่ควบคุมได้มีจ�ำนวนเพิ่มสูงกว่า ประเมินผลลัพธ์ คือ ระดับฮีโมโกลบิน เอ วัน ซี เพื่อดู กลุ่มตัวอย่างกลุ่มก่อนมีการใช้แนวปฏิบัติ เนื่องจากภายหลัง คุณภาพการควบคุมระดับน�้ำตาล มีการใช้แนวปฏิบัติ กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ในการดูแลตนเอง 2. ควรมีการติดตามผลลัพธ์ในระยะยาว โดยการ ที่ถูกต้อง ส่งผลให้มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ติดตามผลลัพธ์ในด้านอื่น ๆ เช่น คุณภาพชีวิต อัตราการ ท�ำให้สามารถควบคุมระดับนำ�้ ตาลได้ นอกจากนี้ยังมีการ เกิดภาวะแทรกซ้อน ค่าใช้จ่ายในการรักษา เป็นต้น สร้างแรงจูงใจในการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด โดยการติดสติ๊กเกอร์สี ตามระดับน�้ำตาลในเลือดที่กลุ่ม ตัวอย่างสามารถควบคุมได้ในสมุดประจ�ำตัวผู้ป่วย เพื่อ แสดงให้เห็นถึงแนวโน้ม ของการควบคุมระดับน�้ำตาล ในเลือด ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีความกระตือรือร้น ในการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดให้ได้ตามเป้าหมาย นอกจากนี้ยังมีการชื่นชมกลุ่มตัวอย่างที่มีแนวโน้ม ในการควบคุมระดับน�้ำตาลดีขึ้น และในกรณีที่กลุ่ม

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 287 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลปง จังหวัดพะเยา

เอกสารอ้างอิง American Diabetes Association. (2012). Standard of medical care in diabetes-2012. Diabetes Care, 35(Suppl. 1), s11-s63. doi:10.2337/dc12-s011 Benchasuratwong, Y., & Kanjanavanich, K. (2008). General knowledge about diabetes. (4th edition). Bangkok: Graphic 1 Advertising. (In Thai) Bureau of Non-Communicable Diseases Department of Disease Control. (2011). Data and statistics. Retrieved from http://www.thaincd.com/ information-statistic/links.php (In Thai) Chaichanan, V., Udomvong, N., & Suthagorn, W. (2009). Health problems and health needs of diabetic patients at Saghaban Health Center, Doi Saket District, Chiang Mai Province. (Independent Study, Master of Public Health). Graduate school, Chiang Mai University. (In Thai) Jamrus, C., Soivong, P., & Nantachaipan, P. (2012). Effectiveness of implementing nursing management guidelines for persons with diabetes type 2, Phrae hospital. (Thesis of Master of Nursing Science, Adult Nursing). Graduate school, Chiang Mai University. (In Thai) Khongruangrat, Y., Vannari, T., & Lukkahata, N. (2012). Effect of Fawn Mor Lum Klorn Exercise on hemoglobin A1C level among persons with type 2 diabetes. Nursing Journal, 39(3), 105-116. (In Thai) Munden, J.(2007). Diabetes mellitus: A guide to patient care. Philadelphia: Lippincott Williams&Wklkins. Medical Record Unit, Pong Hospital. (2012). Annual statistics report. Phayao: Medical Record Job, Pong Hospital Phayao Province. (In Thai) Nongnut Oba. (2012). Health promotion and diabetes prevention. Phitsanulok: Textbook Project, Faculty of Nursing, Naresuan University. (In Thai) Office of Policy and Strategy Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health. (2012). Public health statistics. Retrieved from http://bps.ops.moph.go.th/Healthinformation/index2.htm (In Thai) Sansingchai, C., Soivong, P., & Upalabut, S. (2007). Factors associated with glycemic control among persons with uncontrolled diabetes mellitus in Maetha Hospital Lamphun Province. (Thesis of Master of Nursing Science, Adult Nursing). Graduate school, Chiang Mai University. (In Thai) Suttisarn, P., Pattanaporn, K., & Chittaisong, C. (2007). Depression and context of life of diabetes mellitus patients in diabetes mellitus clinic, Nong Khai hospital. (Master of Public Health). Graduate school, Chiang Mai University. (In Thai) World Health Organization. (2012). Diabetes. Retrieved from http://www.who.int/mediacentre/ factsheets/fs312/en/

288 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล ส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Tron Hospital, Uttaradit Province

วัลลภา ทองศรีอ้น * Wanlapa Thongsrion * ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ ** Taweeluk Vannarit **

บทคัดย่อ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นปัญหาสุขภาพที่ส�ำคัญทั่วโลก การสนับสนุนให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานสามารถควบคุม ระดับนำ�้ ตาลในเลือดเป็นสิ่งส�ำคัญเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผล ของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการ ณ คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่มารับบริการก่อนการใช้ แนวปฏิบัติ จ�ำนวน 67 คน และผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่มารับบริการหลังการใช้แนวปฏิบัติ จ�ำนวน 62 คน กระบวนการ ใช้แนวปฏิบัติ อิงกรอบแนวคิดที่เสนอโดยสภาวิจัยด้านสุขภาพและการแพทย์แห่งชาติประเทศออสเตรเลีย (National Health and Medical Research Counsil [NHMRC], 1990, 2000) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล ส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 2) คู่มือประกอบการสอนสุขศึกษา แก่ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 3) เครื่องฮิวมาไลเซอร์ รุ่นเอ็มโอหนึ่งซีเจ็ดอีเอเอห้าแปดแปดเก้า ที่ใช้ส�ำหรับตรวจระดับ น�้ำตาลในเลือด เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสัมภาษณ์ ความรู้เรื่องการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน�้ำตาล 3) แบบสัมภาษณ์การดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิด พึ่งอินไม่สุลิน เครื่องมือที่ใช้ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และความเชื่อมั่นก่อนน�ำมาใช้ในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการก่อนการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองอยู่ในระดับดี ร้อยละ 38.81 และกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการหลังการใช้ แนวปฏิบัติ มีร้อยละ 67.74 2) กลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการก่อนการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่มีพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดับดี พบร้อยละ 40.30 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการหลังการ ใช้แนวปฏิบัติ พบร้อยละ 64.52 3) กลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการก่อนการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่มีระดับน�้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับที่ควบคุมได้ พบร้อยละ 37.30 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการ

* พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ * Professional nurse, Tron Hospital, Uttaradit Province ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chaing Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 289 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

หลังการใช้แนวปฏิบัติ พบร้อยละ 59.70 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ จึงเสนอให้มีการใช้แนวปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพในการ ดูแลประชากรกลุ่มนี้ต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล, ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2

Abstract Type 2 diabetes is a major health problem worldwide. Supporting people with diabetes is important to control blood sugar levels to prevent the occurrence of complications. This study aimed to determine the effectiveness of implementing nursing management guidelines for persons with diabetes type 2 attending diabetic clinic, Tron Hospital, Uttaradit Province. Subjects were 67 persons with type 2 diabetes mellitus in the guideline pre-implementation group and 62 in post-implmentation group. The guidelines implementation process was based on the framework proposed by the Australian National Health and Medical Research Council (NHMRC, 1999, 2000). The study instruments consisted of 1) the nursing management guidelines for persons with type 2 diabetes mellitus, 2) health education handbooks for persons with diabetes mellitus, and 3) humalyzer series number M01C7EAA5889 chemistry analyzer. The outcomes assessment instruments consisted of 1) demographic data recordings form, 2) the interviewing form regarding knowledge for blood control self-care, and 3) the interviewing form regarding self-care among persons with non-insulin dependent diabetes. The content validity and reliability of all instruments were tested. Descriptive statistics was employed to analyze data. The study found that: 1. Subjects in the pre-guidelines implementation group had good self-care knowledge level as 38.81%, whereas there were 67.74% in the post-implementation group. 2. Subjects in the pre-guidelines implementation group had good self-care behaviors level as 40.30%, whereas there were 64.52% in the post-implementation group. 3. Subjects in the pre-guidelines implementation group could control their blood sugar level as 37.30%, whereas there were 59.70% in the post-implementation group. The results of this study demonstrated the effectiveness of nursing management guidelines for persons with type 2 diabetes mellitus at Tron hospital, Uttaradit province. Further implementation is recommended to enhance quality of care in this population.

Key word: Nursing Management Guidelines, Type 2 Diabetes

290 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Tron Hospital, Uttaradit Province

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ในเลือด (Nathan, 2007) จากรายงานการศึกษาใน โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) เป็นโรค ประเทศอังกฤษ (United Kingdom Prospective ไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีจ�ำนวนผู้ที่เป็นโรคเพิ่มขึ้นอย่าง Diabetes Study [UKPDS]) พบว่าการลดระดับไกล ต่อเนื่อง และเป็นปัญหาที่ส�ำคัญทางด้านสาธารณสุขของ โคไซเลทฮีโมโกลบินได้ร้อยละ 1 จะลดภาวะกล้ามเนื้อ ทุกประเทศทั่ว ปัจจัยที่ส่งเสริมการ เกิดโรคคือ พฤติกรรม หัวใจตายเฉียบพลันลงได้ ร้อยละ 14 ลดการตัดขาหรือ และวิถีการด�ำเนินชีวิตของบุคคล มีการคาดการณ์ว่า การตายจากหลอดเลือดส่วนปลายได้ร้อยละ 43 และ จะมีจ�ำนวนผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นมากกว่า 500 ลดภาวะหลอดเลือดสมองตีบได้ถึง ร้อยละ 12 (Stratton ล้านคน ในปี พ.ศ. 2573 (Abbasuwan, & Phanthawet, et al., 2000) 2013) ส�ำหรับประเทศไทย จากการส�ำรวจสุขภาพ การเป็นโรคเบาหวานนอกจากจะกระทบต่อสุขภาพ ประชากรไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551- โดยตรงแล้วยังมีผลกระทบต่อจิตใจของผู้ที่เป็นโรคอีกด้วย 2552 พบความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทย เนื่องจากโรคเบาหวานมีช่วงการรักษาระยะยาว ผู้ที่เป็น ถึงร้อยละ 6.9 หรือคิดเป็นจ�ำนวน 3,185,639 ล้านคน โรคเบาหวานจะเกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายท้อแท้ต่อการดูแล เมื่อเปรียบเทียบกับสถิติในปี 2547 พบว่ามีจ�ำนวนผู้ที่เป็น ตนเอง และมีโอกาสเกิดปัญหาด้านอารมณ์และจิตใจ โรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้นถึง 1.5 เท่า (Ekkapakorn et ได้บ่อยโดยเฉพาะภาวะซึมเศร้า (Tangwongchai, 2012) al ,.2009) ส�ำหรับสถิติของอ�ำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้ที่ไม่สามารถปรับพฤติกรรมให้เข้ากับแบบแผนในชีวิตได้ พบผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะแก้ปัญหาโดยการแยกตัวออกจากสังคมไม่เข้าร่วม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553-2555 มีจ�ำนวนผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน กิจกรรมกับผู้อื่น ในด้านเศรษฐกิจหากผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 1,052, 1,160 และ 1,270 คน ตามล�ำดับ (Information ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจะท�ำให้มีค่าใช้จ่าย and Information, Work Medical Record and ในการรักษาพยาบาลเกิดปัญหาการสูญเสียรายได้ของ Statistics Section, Tron Hospital, 2013-2015) ครอบครัวตามมา ส�ำหรับประเทศไทยมีภาระค่าใช้จ่าย จากข้อมูลสถานการณ์โรคดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานในปี 2551 โรคเบาหวานมีอุบัติการณ์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และ สูงถึง 3,984 ล้านบาทต่อปี คิดเป็นค่าเฉลี่ยต่อรายในการ เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่ส�ำคัญยิ่ง ดูแลเมื่อมารับบริการผู้ป่วยนอกเท่ากับ 1,172 บาทต่อคน จุดมุ่งหมายของรักษาโรคเบาหวานคือ การควบคุม และค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเมื่อเข้ารับบริการผู้ป่วยใน นำ�้ ตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติหรือใกล้เคียงปกติมาก คิดเป็น 10,217 บาทต่อครั้ง (Office of Policy and ที่สุด และลดปัจจัยเสี่ยงที่จะส่งเสริมการเกิดโรคแทรกซ้อน Strategy Office of the Permanent Secretary, ต่าง ๆ (ADA, 2014) ซึ่งการควบคุมโรคเบาหวานแบ่งออก Ministry of Public Health, 2008) เป็น 2 วิธีคือ การควบคุมโดยไม่ใช้ยาได้แก่ การควบคุม โรงพยาบาลตรอนเป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด อาหาร การออกก�ำลังกาย การจัดการความเครียด และ 30 เตียงในจังหวัดอุตรดิตถ์ พบสถิติของผู้ที่เป็นโรค การควบคุมโรคเบาหวานโดยการใช้ยาได้แก่ ยารับประทาน เบาหวานที่มารับบริการในคลินิกเบาหวานแผนกผู้ป่วย ลดระดับนำ�้ ตาลในเลือด และยาฉีดอินสุลิน (Kosunhunan, นอก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2553-2555 2008) การมีระดับนำ�้ ตาลในเลือดสูงต่อเนื่องเป็นเวลานาน มีจ�ำนวน 736, 806 และ 895 คน ตามล�ำดับ (Information จะท�ำให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน and Information, Work Medical Record and ในระบบต่าง ๆ เช่น ตา ไต เส้นประสาท หลอดเลือด และ Statistics Section, Tron Hospital, 2013-2015) ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อน ในจ�ำนวนดังกล่าวมีผู้ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน�้ำตาล ขึ้นอยู่กับระยะเวลาของการเป็นโรคและระดับน�้ำตาล ในเลือดได้ตามเกณฑ์ ปี 2554 มีจ�ำนวน 623 คน คิดเป็น

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 291 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

ร้อยละ 77.29 และปี 2555 มีจ�ำนวน 630 คน คิดเป็น แพทย์เพื่อตรวจรักษาและส่งไปรับยาซึ่งเป็นขั้นตอน ร้อยละ 70.39 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุข สุดท้ายในการให้บริการ จากการทบทวนการดูแลผู้ที่เป็น ก�ำหนดไว้ให้มีผู้ที่ควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดได้ดีมี โรคเบาหวานของทีมสหสาขาวิชาชีพของโรงพยาบาลตรอน จ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 (Office of Policy and พบว่าลักษณะการจัดบริการให้ความรู้เพื่อควบคุมโรคแก่ Strategy Office of the Permanent Secretary, ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานของพยาบาลประจ�ำคลินิกเบาหวาน Ministry of Public Health, 2011) นอกจากนี้ในปี ยังไม่มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติที่มีรูปแบบการสอนที่ 2555 ยังพบสถิติผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อน ชัดเจน พยาบาลมีการปฏิบัติตามพื้นฐานความรู้ที่ได้รับ ทางไต จ�ำนวนถึง 301 คน คิดเป็นร้อยละ 33.63 ทาง การศึกษาอบรมของแต่ละบุคคลจึงมีรูปแบบการสอน ระบบประสาทจ�ำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 4.24 เกิด ที่หลากหลาย และไม่ได้มีการประเมินผลลัพธ์หลังจาก แผลเรื้อรังที่ต้องถูกตัดเท้า จ�ำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ การให้ความรู้ไปแล้ว จึงท�ำให้มีผลผลลัพธ์ในการดูแล 0.22 และมีผู้ที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจาก ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากนำ�้ ตาลในเลือดตำ�่ ภาวะ จากการส�ำรวจข้อมูลเบื้องต้นของผู้ศึกษาในผู้ที่ หมดสติจากมีน�้ำตาลในเลือดสูงโดยไม่มีกรดคั่งในเลือด ในเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 โดยใช้แบบสัมภาษณ์ความรู้ (hyperosmolar hyperglycemic state [HHS]) และ เรื่องโรคเบาหวานและพฤติกรรมในการดูแลตนเองของ ภาวะน�้ำตาลในเลือดสูงและมีกรดคีโตนคั่ง (diabetic ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน พบว่ามีผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีความ ketoacidosis [DKA]) มีจ�ำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ พร่องด้านความรู้ในการดูแลตนเองจ�ำนวน 5 คน และมี 9.83 (Information and Information, Work Medical พฤติกรรมการดูแลตนเองที่ไม่ถูกต้องจ�ำนวนถึง 10 คน Record and Statistics Section, Tron Hospital, 2012) โดยมีปัญหาด้านการควบคุมอาหารจ�ำนวน 9 คน มีปัญหา การเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวนั้นมีอัตราสูงกว่าเกณฑ์ ด้านการใช้ยาจ�ำนวน 5 คน และขาดการออกก�ำลังกาย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ด้านคุณภาพการดูแลควบคุมป้องกัน จ�ำนวน 7 คน จากผลการส�ำรวจดังกล่าวทีมสุขภาพที่ดูแล ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานที่ส�ำนักงานหลัก ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานของโรงพยาบาลตรอน มีความ ประกันสุขภาพแห่งชาติก�ำหนดไว้ คือ ให้อัตราผู้ที่เป็น ตระหนักกับปัญหาที่เกิดขึ้นจึงได้มีฉันทามิติที่จะน�ำแนว เบาหวานเข้านอนโรงพยาบาลจากภาวะแทรกซ้อน ปฏิบัติทางคลินิกที่เหมาะสมกับการดูแลผู้ที่เป็นโรค เฉียบพลันในรอบปีไม่เกินร้อยละ 5 เบาหวานของโรงพยาบาลตรอนมาใช้เพื่อช่วยส่งเสริมให้ ลักษณะการดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่มารับบริการ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานสามารถควบคุมโรคได้ตามเป้าหมาย ในคลินิกเบาหวานแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลตรอน และน�ำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาการดูแลให้มี ในปัจจุบันมีขั้นตอนคือ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานจะได้รับการ คุณภาพดียิ่งขึ้น ซักประวัติให้ค�ำแนะน�ำ ตรวจวัดสัญญาณชีพ ส่งตรวจ จากฉันทามติของทีมดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานของ เลือดและตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์ โรงพยาบาลตรอนดังกล่าว ผู้ศึกษาจึงได้ร่วมกันกับทีมดูแล ก่อนส่งพบแพทย์เพื่อการตรวจรักษา ส�ำหรับผู้ที่เป็น ผู้ป่วยโรงพยาบาลตรอนท�ำการสืบค้นหาแนวปฏิบัติที่มา โรคเบาหวานรายใหม่และผู้ที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ จากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีความน่าเชื่อถือมีการจัดท�ำ จะมีการจัดบริการให้ค�ำแนะน�ำให้ความรู้เพื่อควบคุมโรค ขึ้นอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับแนวทางการดูแลผู้ที่เป็น ได้แก่ การควบคุมอาหาร การออกก�ำลังกาย การใช้ยา โรคเบาหวานและได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีคุณภาพที่ดี การจัดการความเครียด การดูแลเท้า และการดูแลสุขภาพ เพื่อที่จะน�ำมาใช้พัฒนาการดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานใน ทั่วไปโดยพยาบาลวิชาชีพประจ�ำคลินิกเบาหวานจะเป็น คลินิกของโรงพยาบาล และมีฉันทามติคัดเลือกแนวปฏิบัติ ผู้สอนให้ความรู้ทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ก่อนจะส่งพบ การจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน

292 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Tron Hospital, Uttaradit Province

ชนิดที่ 2 จัดท�ำขึ้นโดย Jamrus et al,.(2011) มาใช้ใน ได้คะแนนรวมร้อยละ 88.35 หมายความว่า คุณภาพ คลินิกเบาหวานของโรงพยาบาลตรอน เนื่องจากพิจารณา ของแนวปฏิบัตินี้อยู่ในเกณฑ์ดี ดังนั้นจึงได้น�ำแนวปฏิบัติ แล้วเห็นว่าแนวปฏิบัติมีข้อแนะน�ำที่เหมาะสมสามารถ การจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน น�ำมาใช้พัฒนาการดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเพื่อให้ ชนิดที่ 2 นี้มาใช้ศึกษาน�ำร่องในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่มา สามารถควบคุมโรคได้ แนวปฏิบัติการจัดการทางการ รับบริการในคลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาล พยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 นี้ พัฒนาขึ้น ตรอน จ�ำนวน 10 คน พบว่าทุกข้อเสนอแนะสามารถน�ำ โดยประยุกต์ตามหลักฐานเชิงประจักษ์ มีการทบทวน ไปใช้ได้ในสถานการณ์จริง และสอบถามความคิดเห็น และน�ำข้อมูลมาจากข้อเสนอแนะการปฏิบัติที่พัฒนาเผย ของทีมสุขภาพในคลินิกเบาหวานทุกคนพบว่าส่วนใหญ่ แพร่โดยสมาคมโรคเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกา (ADA, มีความพึงพอใจ ดังนั้นทีมสุขภาพที่ดูแลผู้ที่เป็นโรค 2011) ร่วมกับการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์จาก เบาหวานของโรงพยาบาลตรอนจึงเห็นควรให้มีการน�ำแนว แหล่งอื่น ๆ ใช้กรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติทาง ปฏิบัตินี้มาใช้ในหน่วยงาน ตามขั้นตอนในกรอบแนวคิด คลินิกของสภาวิจัยด้านสุขภาพและการแพทย์แห่งชาติ การใช้และการเผยแพร่แนวปฏิบัติทางคลินิกที่เสนอโดย ประเทศออสเตรเลีย (National Health and Medical สภาวิจัยด้านสุขภาพและการแพทย์แห่งชาติประเทศ Reseach Council [NHMRC], 1999) โดยมีสาระส�ำคัญ ออสเตรเลีย (NHMRC, 1999, 2000) ซึ่งประกอบด้วย ขององค์ประกอบการปฏิบัติ 5 หมวด ตามแนวการตรวจ 1) การจัดพิมพ์และเผยแพร่แนวปฏิบัติทางคลินิก 2) สอบและรับรองคุณภาพด้านการให้บริการของคณะ การน�ำแนวปฏิบัติทางคลินิกไปสู่การปฏิบัติ และ 3) การ กรรมการการรับรองมาตรฐานขององค์กรด้านการดูแล ประเมินการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก โดยประเมินผลลัพธ์ สุขภาพ (The Joint Commission on Accreditation ของใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่ of Healthcare Organizations [JCAHO], 2003) เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2นี้ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการ ประกอบด้วย 1) การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยและจริยธรรม 2) ดูแลตนเองที่ถูกต้องของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน พฤติกรรม การประเมินผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 3) การจัดการกับ การดูแลตนเองที่ถูกต้องของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน และ โรคเบาหวาน 4) การให้ความรู้ในการจัดการตนเองเกี่ยวกับ ระดับนำ�้ ตาลในเลือดของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีค่าระหว่าง โรคเบาหวาน การดูแลและการส่งต่อ 5) การติดตามการ 70-130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและการพัฒนาคุณภาพ แนวปฏิบัตินี้ ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ วัตถุประสงค์การวิจัย 4 ท่าน และมีการน�ำไปทดลองใช้จนครบทุกข้อเสนอแนะ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการ พบว่าผู้ใช้แนวปฏิบัติส่วนใหญ่มีความพึงพอใจลงความ จัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เห็นว่าสามารถน�ำแนวปฏิบัตินี้ไปใช้ได้จริง (Jamrus et ชนิดที่ 2 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยศึกษา al,. 2011) และแนวปฏิบัติดังกล่าวได้เคยน�ำไปใช้แล้ว ในผลลัพธ์ดังต่อไปนี้ 1) ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีในคลินิกเบาหวานของโรงพยาบาลแพร่ ที่ถูกต้องของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 2) พฤติกรรมการดูแล (Jamrus, 2012) ตนเองที่ถูกต้องของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 3) ระดับ ก่อนน�ำแนวปฏิบัติมาใช้ครั้งนี้ ได้ประเมินคุณภาพ น�้ำตาลในเลือดของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ของแนวปฏิบัติ โดยใช้แบบประเมินคุณภาพของแนว ปฏิบัติทางคลินิก (The Apprasial of Guideline for ค�ำถามการวิจัย Research and Evaluation [AGREE] Instrument) ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการ (AGREE Collaboration, 2009) ผลการประเมินพบว่า ทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 293 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ภายหลังการใช้แนว ก่อน และหลังการใช้แนวปฏิบัติที่มารับบริการในคลินิก ปฏิบัติเป็นอย่างไร โดยมีค�ำถามเฉพาะ คือ เบาหวานแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลตรอน จังหวัด 1. ร้อยละของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มา อุตรดิตถ์ โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นระยะเวลา 5 รับบริการก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติ การจัดการ เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือนพฤศจิกายน ทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 พ.ศ. 2556 มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองที่ถูกต้องใน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ระดับดี เป็นอย่างไร ประชากรเป้าหมายของการศึกษาในครั้งนี้ คือ 1) 2. ร้อยละของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มา ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มา รับบริการก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติ การจัดการ รับบริการในคลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาล ทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) กลุ่มตัวอย่างผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน มีคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องในระดับดี ชนิดที่ 2 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่มารับ เป็นอย่างไร บริการก่อนการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล 3. ร้อยละของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มา ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. รับบริการก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติ การจัดการ 2556 จ�ำนวน 67 คน และกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการ ทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หลังการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล มีระดับนำ�้ ตาลในเลือดอยู่ในระดับที่ควบคุมได้ เป็นอย่างไร ส�ำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน ชนิดที่ 2ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 จ�ำนวน 62 คน โดยคัดเลือกตามเกณฑ์ที่ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ก�ำหนด ดังนี้ เป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 21–65 ปี ได้รับการ ในการศึกษาในครั้งนี้ใช้แนวคิดจากการใช้แนว รักษาโดยยาเม็ดลดระดับนำ�้ ตาลในเลือดชนิดรับประทาน ปฏิบัติตามกรอบของสภาพวิจัยด้านสุขภาพและการ มีการรับรู้และสติสัมปชัญญะดี และสามารถสื่อสารด้วย แพทย์แห่งชาติ ประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, 1999, ภาษาไทยได้ดี และไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางสมองหรือ 2000) ซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนคือ 1) การเผยแพร่ ทางจิตใจมาก่อน แนวปฏิบัติไปสู่ผู้ปฏิบัติและผู้ที่เกี่ยวข้อง 2) การน�ำแนว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ปฏิบัติทางคลินิกไปใช้ 3) การประเมินผลการใช้แนว 1. เครื่องมือที่ใช้ในการด�ำเนินการศึกษา ประกอบ ปฏิบัติทางคลินิก โดยประเมินผลลัพธ์คือ ความรู้เกี่ยว ด้วย 1) แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ กับการดูแลตนเองที่ถูกต้องของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 พัฒนาขึ้นโดย Jamrus et พฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน al. (2011) ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และระดับน�้ำตาลในเลือดของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ผล โดยผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ในการศึกษาครั้งนี้จึงไม่ได้ตรวจ การศึกษาในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับในการพัฒนา สอบความตรงของเนื้อหาอีก 2) คู่มือประกอบการสอน คุณภาพการดูแลผู้ที่เป็นโรคเบาหวานในระยะยาวต่อไป สุขศึกษาแก่ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน จ�ำนวน 8 เล่ม ที่จัดพิมพ์ ขึ้นโดยสมาคมผู้ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ในการ วิธีด�ำเนินการวิจัย ศึกษาครั้งนี้จึงไม่ได้ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาอีก การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาปฏิบัติการ (opera- 3) เครื่องตรวจระดับน�้ำตาลในเลือด ฮิวมาไลเซอร์ รุ่น tions study) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้ แนวปฏิบัติ เอ็มโอหนึ่งซีเจ็ดอีเอเอห้าแปดแปดเก้า (Humalyzer การจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน Series number MO1C7EAA5889) ผลิตโดยบริษัทเฮล ชนิดที่ 2 ศึกษาในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 กลุ่ม เลนนา แลบบอลาทอรี (Helena Laboratories) มีการ

294 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Tron Hospital, Uttaradit Province

ติดตามดูแลสภาพเครื่องโดยเจ้าหน้าที่ของบริษัททุก 1 1. ระยะเตรียมการ ใช้เวลา 4 สัปดาห์ ตั้งแต่วันที่ 1 เดือน และท�ำการควบคุมคุณภาพตรวจวิเคราะห์ก่อนใช้ ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 งานประจ�ำวันทุกครั้ง 1) ผู้ศึกษาท�ำหนังสือจากคณบดีคณะพยาบาล 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ถึงผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ประเมินผลลัพธ์ ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วน ตรอนเพื่อขออนุญาตท�ำการศึกษาในโรงพยาบาลตรอน บุคคลประกอบด้วย อายุ เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพ อ�ำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ และขอความร่วมมือ สมรส อาชีพ รายได้ ระยะเวลาที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น บุคลากรทีมสุขภาพ ในการเข้าร่วมการศึกษารวมทั้งการ โรคเบาหวาน โรคแทรกซ้อน การรักษาที่ได้รับ น�้ำหนัก เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นระยะเวลา 5 เดือน ตั้งแต่เดือน ระดับน�้ำตาลในเลือด น�้ำหนัก ส่วนสูง และค่าดัชนี กรกฎาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 มวลกาย พัฒนาขึ้นโดย Jamrus et al. (2011) 2) แบบ 2) แต่งตั้งคณะท�ำงานในการด�ำเนินการใช้ สัมภาษณ์ความรู้เรื่องการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับ แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็น น�้ำตาล ที่สร้างขึ้นโดย Sansingchai (2007) ผ่านการ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนี (CVI) เท่ากับ ตรอน โดยผู้ศึกษาเป็นหัวหน้าทีม และเสนอแต่งตั้งคณะ 0.88 ผู้ศึกษาน�ำแบบสัมภาษณ์ไปทดสอบความเชื่อมั่น กรรมการที่ปรึกษาการใช้แนวปฏิบัติไปพร้อมกัน ได้ค่าในระดับที่ยอมรับได้ เท่ากับ 0.80 3) แบบสัมภาษณ์ 3) รวบรวมข้อมูลก่อนน�ำแนวปฏิบัติไปใช้ การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน ประกอบด้วย 1) ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2) สร้างขึ้นโดย Chotamongkol et al. (1998) ผ่านการ พฤติกรรมการดูแลตนเอง 3) ระดับนำ�้ ตาลในเลือด ตั้งแต่ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนี (CVI) เท่ากับ วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 0.81 ผู้ศึกษาน�ำแบบสัมภาษณ์ไปทดสอบความเชื่อมั่น 4) จัดพิมพ์เผยแพร่แนวปฏิบัติเป็น 2 รูปแบบ ได้ค่าในระดับที่ยอมรับได้ เท่ากับ 0.89 ด�ำเนินการ คือ แบบที่ 1 ฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วยเนื้อหาครบทุกส่วน รวบรวมข้อมูลภายหลังการรับรองของคณะกรรมการ และแบบที่ 2 ฉบับย่อ เพื่อสะดวกในการอ่านและพกพา จริยธรรมการวิจัยคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัย โดยจัดวางไว้ที่โต๊ะให้ค�ำแนะน�ำผู้ที่เป็นโรคเบาหวานใน เชียงใหม่ รวมทั้งมีการพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ คลินิกเบาหวาน และจัดท�ำเป็นแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์น�ำไป ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการก่อน ไว้ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ของหน่วยงาน และจัดเตรียม และหลังการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาล คู่มือประกอบการสอนสุขศึกษาแก่ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ด้วยสถิติเชิง เพื่อแจกให้กับบุคลากรผู้ใช้แนวปฏิบัติ พรรณนาโดยการแจกแจงค่าความถี่ และร้อยละ ส�ำหรับ 2. ระยะด�ำเนินการ ตั้งแต่เดือนสิงหาคม ถึงเดือน ข้อมูลผลลัพธ์ เปรียบเทียบร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่มี พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองที่ถูกต้องในระดับดี 1) ขั้นที่ 1 เผยแพร่และสร้างความเข้าใจเกี่ยว พฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง และระดับนำ�้ ตาลใน กับแนวปฏิบัติ เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์โดยมีกิจกรรม เลือดอยู่ในระดับที่ควบคุมได้ ดังนี้ 1.1) จัดประชุมบุคลากรทีมสุขภาพทุกคนในคลินิก การเก็บรวบรวมข้อมูล เบาหวานเพื่อน�ำเสนอแนวปฏิบัติ พร้อมทั้งแจกคู่มือ การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาด�ำเนินการรวบรวมข้อมูล ประกอบการใช้แนวปฏิบัติให้กับผู้ใช้แนวปฏิบัติทุกคน ด้วยตนเอง ทั้งก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติเป็นระยะ 1.2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ใช้ แนวปฏิบัติเพื่อฝึก เวลาทั้งหมด 5 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ถึงเดือน ทักษะในการน�ำแนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลนี้ พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ตามขั้นตอนดังนี้ ไปใช้ ฝึกทักษะและเทคนิคการใช้คู่มือประกอบการสอน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 295 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

สุขศึกษาแก่ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 1.3) จัดบอร์ด ร้อยละ 70.10 และร้อยละ 71.00 ตามล�ำดับ ทั้งสอง ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับแนวปฏิบัติการจัดการทางการ กลุ่มมีอายุระหว่าง 51-60 ปีคิดเป็น ร้อยละ 41.79 มี พยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในคลินิก สถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 68.66 และร้อยละ 95.16 เบาหวาน และจัดบอร์ดแสดงความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ตามล�ำดับ ทั้งสองกลุ่มมีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา 1.4) จัดประชุมบุคลากรทีมสุขภาพ เพื่อก�ำหนดแผนการ คิดเป็นร้อยละ 91.00 และ ร้อยละ 93.55 ตามล�ำดับ ใช้แนวปฏิบัติ แนวทางการก�ำกับติดตามกระบวนการใช้ ทั้งสองกลุ่มส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็น แนวปฏิบัติร่วมกันการประเมินปัญหาและอุปสรรคใน ร้อยละ 59.70 และร้อยละ 50.00 ตามล�ำดับ กลุ่มตัวอย่าง การปฏิบัติตลอดจนทบทวนความรู้ที่จะใช้ในแนวปฏิบัติ ทั้งสองกลุ่มมีรายได้อยู่ระหว่าง 5,000-10,000 บาท โดยจัดประชุม 1 ครั้งในสัปดาห์ที่สองของเดือนสิงหาคม คิดเป็นร้อยละ 47.76 และร้อยละ 54.84 ตามล�ำดับ 1.5) แจ้งแพทย์ประจ�ำคลินิกเบาหวานได้รับทราบถึงแนว ค่าดัชนีมวลกายทั้งสองกลุ่มอยู่ในระดับเกินเกณฑ์ ปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรค มาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 56.71 และร้อยละ 56.46 เบาหวานชนิดที่ 2 เมื่อมีการเปลี่ยนหมุนเวียนกันออกตรวจ ตามล�ำดับ กลุ่มตัวอย่างก่อนการใช้แนวปฏิบัติมีระยะ 2) ขั้นที่ 2 การน�ำแนวปฏิบัติไปใช้ ผู้ศึกษาได้ เวลาที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานน้อยกว่า 5 ปี ท�ำการก�ำกับติดตามให้มีการด�ำเนินการตาม แนวปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 56.72 และกลุ่มตัวอย่าง หลังการใช้แนว โดยใช้กลยุทธ์ ดังนี้ 2.1) ตรวจเยี่ยมการปฏิบัติของผู้ใช้ ปฏิบัติ มีระยะเวลาที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน แนวปฏิบัติ โดยการให้ข้อมูลย้อนกลับทั้งการปฏิบัติที่ถูกต้อง 5-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 51.61 กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม และไม่ถูกต้อง รวมทั้งได้มีการสาธิตให้ค�ำแนะน�ำทันที ที่ไม่มีโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 91.00 เมื่อผู้ใช้แนวปฏิบัติพบปัญหาในการใช้แนวปฏิบัติ 2.2) และ ร้อยละ 80.60 ตามล�ำดับ และมีโรคแทรกซ้อนจาก ติดตามการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติของผู้ใช้แนวปฏิบัติ เบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 9.00 และร้อยละ 19.40 ตาม เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง 2.3) ประชุมปรึกษากับบุคลากร ล�ำดับ ทั้งสองกลุ่มได้รับการรักษาด้วยยา 2 ชนิด คือ ทีมผู้ใช้แนวปฏิบัติเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติ ยากลุ่มไบกัวไนด์ และยากลุ่มซัลโฟนีลยูเรีย ร้อยละ และทักษะการน�ำแนวปฏิบัติไปใช้ เพื่อสร้างความเข้าใจ 82.09 และ ร้อยละ 75.81 ตามล�ำดับ รอง ลงมาได้รับ ที่ตรงกัน และน�ำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแก้ไข 2.4) การรักษาด้วยยากลุ่มไบกัวไนด์ ร้อยละ 11.94 และร้อยละ ให้ค�ำชมเชยเมื่อมีการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติถูกต้อง ทั้งนี้ 17.74 ตามล�ำดับ และยากลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย ร้อยละ 5.97 เพื่อส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง และร้อยละ 6.45 ตามล�ำดับ ต่อไป 3) ขั้นที่ 3 ประเมินประสิทธิผลของการใช้แนว ข้อมูลประสิทธิผลการน�ำแนวปฏิบัติการจัดการ ปฏิบัติ เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ โดยรวบรวมผลลัพธ์ ทางการพยาบาลไปใช้ ที่เกิดจากการใช้แนวปฏิบัติ ได้แก่ 1) ความรู้เกี่ยวกับการ ผลการศึกษาสามารถตอบค�ำถามของการศึกษาได้ ดูแลตนเอง 2) พฤติกรรมการดูแลตนเอง 3) ระดับนำ�้ ตาล ดังนี้ 1) ร้อยละ 38.81 ของกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการ ในเลือด ก่อนการใช้แนวปฏิบัติมีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการดูแล ตนเองที่ถูกต้องในระดับดี ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่มารับ ผลการวิจัย บริการหลังการใช้แนวปฏิบัติมี ร้อยละ 67.74 2) ร้อยละ ข้อมูลทั่วไป 40.30 ของกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการก่อนการใช้แนว กลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติ มีข้อมูล ปฏิบัติมีคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องใน ทั่วไปส่วนใหญ่ใกล้เคียงกัน คือ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ระดับดี ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการหลังการใช้

296 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Tron Hospital, Uttaradit Province

แนวปฏิบัติมี ร้อยละ 64.52 3) ร้อยละ 37.30 ของกลุ่ม พื้นฐานในการไตร่ตรองและตัดสินใจน�ำมาปฏิบัติ ตัวอย่างที่มารับบริการก่อนการใช้แนวปฏิบัติมีระดับนำ�้ ตาล พฤติกรรมดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง และจากการน�ำ ในเลือดอยู่ในระดับที่ควบคุมได้ ในขณะที่กลุ่มตัวอย่าง ข้อเสนอแนะในแนวปฏิบัติมาใช้โดยมีการประสาน ที่มารับบริการหลังการใช้แนวปฏิบัติมี ร้อยละ 59.70 งานการดูแลกลุ่มตัวอย่างเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพท�ำให้ สามารถแก้ปัญหาที่พบกับกลุ่มตัวอย่างแต่ละคนได้อย่าง การอภิปรายผล เหมาะสม ส�ำหรับปัจจัยส่งเสริมที่ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างมี จากผลการศึกษา สามารถอภิปรายโดยรวมได้ดังนี้ พฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องเพิ่มขึ้นเนื่องจากผู้ใช้ 1. ผลลัพธ์ด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองที่ถูก แนวปฏิบัติมีการประเมิน และติดตามดูแลกลุ่มตัวอย่าง ต้องเพิ่มขึ้น เป็นผลมาจากกลุ่มตัวอย่างได้รับการดูแล ต่อเนื่องสมำ�่ เสมอทุกครั้งที่กลุ่มตัวอย่างมารับบริการ ให้ ตามข้อแนะน�ำในแนวปฏิบัติจากผู้ใช้แนวปฏิบัติแบบ ค�ำแนะน�ำพร้อมทั้งเปิดโอกาสให้กลุ่มตัวอย่างได้ซักถาม สหสาขาวิชาชีพ โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสอนให้มี ในข้อสงสัยที่ยังไม่เข้าใจและมีการย�้ำเตือนถึงวิธีการ ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองที่ถูกต้องในการควบคุม ปฏิบัติตัวที่ถูกต้องจึงท�ำให้กลุ่มตัวอย่างเกิดความ โรคเบาหวาน ในขณะที่มารับบริการจะได้รับการประเมิน ตระหนักและตื่นตัวที่จะปฏิบัติตัวให้ถูกต้องมากขึ้น จากผู้ใช้แนวปฏิบัติอย่างครอบคลุมตั้งแต่ประวัติการ 3. ผลลัพธ์ต่อระดับน�้ำตาลในเลือด ผลจากการน�ำ รักษา ภาวะแทรกซ้อน และการควบคุมระดับน�้ำตาลใน ข้อเสนอแนะจากแนวปฏิบัติมาใช้ในครั้งนี้ พบว่ามีผล เลือด เมื่อพบความพร่องจะได้รับการสอนให้ความรู้ใน ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างมีระดับน�้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับที่ ส่วนที่ขาดโดยพยาบาลวิชาชีพผู้ใช้ แนวปฏิบัติ และหาก ควบคุมได้มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น เป็นผลมาจากได้รับการดูแล พบกลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาซับซ้อนจะมีการส่งต่อให้ทีม ตามแนวปฏิบัติโดย กลุ่มตัวอย่างจะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับ สหสาขาวิชาชีพสอนให้ความรู้เฉพาะเรื่อง ข้อแนะน�ำใน โรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อน และได้รับการสอนให้ แนวปฏิบัติเสนอรูปแบบการสอนให้ความรู้ทั้งแบบราย ความรู้จากผู้ใช้แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลตนเองที่ บุคคล และรายกลุ่มโดยจะจัดให้ตามความเหมาะสม ถูกต้องจนท�ำให้เกิดทักษะในการปฏิบัติตัวสามารถ การที่ผู้ใช้แนวปฏิบัติมีรูปแบบการสอนที่มีมาตรฐานเป็น ควบคุมระดับนำ�้ ตาลในเลือดได้เพิ่มมากขึ้น และผู้ใช้แนว ไปในแนวทางเดียวกันตามข้อเสนอแนะในแนวปฏิบัติ ปฏิบัติได้มีการส่งต่อผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่ไม่สามารถ และมีคู่มือประกอบการสอนที่จัดท�ำโดยสมาคมผู้ให้ ควบคุมระดับนำ�้ ตาลให้อยู่ในเกณฑ์ได้พบแพทย์เพื่อปรับ ความรู้โรคเบาหวาน มีการใช้สื่อประกอบการสอนต่าง ๆ เพิ่มยาเม็ดลดระดับน�้ำตาลในเลือด เป็นผลท�ำให้กลุ่ม เช่น การใช้ภาพพลิก โมเดลอาหารตัวอย่างเพื่อสาธิต ตัวอย่างสามารถควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดบรรลุ เลือกอาหารเบาหวานที่เหมาะสม เป็นผลท�ำให้กลุ่มตัว เป้าหมายที่ตั้งไว้ได้เพิ่มมากขึ้น ปัจจัยส่งเสริมให้กลุ่ม อย่าเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น และได้รับความรู้ที่ถูกต้อง ตัวอย่างสามารถควบคุมนำ�้ ตาลในเลือดได้อีกประการคือ เพิ่มมากขึ้น การส่งต่อทีมสหสาขาวิชาชีพติดตามเยี่ยมบ้าน การดูแล 2. ผลลัพธ์ด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง อย่างต่อเนื่องที่บ้านตามสภาพปัญหาที่แท้จริงท�ำให้กลุ่ม พบว่ากลุ่มตัวอย่างหลังการใช้แนวปฏิบัติมีพฤติกรรม ตัวอย่างสามารถจัดการปัญหาและอุปสรรคได้อย่างมี การดูแลตนเองที่ถูกต้องอยู่ในระดับดีเพิ่มขึ้น เป็นผลหลัง ประสิทธิภาพ จากที่ได้รับการสอนตามสาระของแนวปฏิบัติท�ำให้กลุ่ม อย่างไรก็ตามยังมีกลุ่มตัวอย่างหลังการใช้แนว ตัวอย่างที่มารับบริการหลังการใช้แนวปฏิบัติสามารถน�ำ ปฏิบัติบางส่วนที่มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองที่ถูกต้อง ความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแล ในระดับไม่ดี มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องอยู่ ตนเองที่ถูกต้องมากขึ้น เนื่องจากความรู้ที่ได้รับจะเป็น ในระดับไม่ดี และยังไม่สามารถควบคุมระดับน�้ำตาลใน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 297 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

เลือดให้อยู่ในระดับที่ควบคุมได้ แม้ว่ากลุ่มตัวอย่างจะได้ มีส่วนร่วมและมีทัศนคติที่ดีให้ความร่วมมือในการใช้แนว รับการสอนให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อควบคุม ปฏิบัติเพื่อการพัฒนาหน่วยงานเป็นอย่างดี โรคเบาหวานตามแนวปฏิบัติแล้วก็ตาม ในการปรับเปลี่ยน กล่าวโดยสรุป การใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการ พฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคเบาหวานนั้นมีปัจจัยหลาย พยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาล อย่างที่ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างยังไม่สามารถปฏิบัติตัวเพื่อ ตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ในครั้งนี้ท�ำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อ ควบคุมโรคได้ เนื่องมาจากวิถีชีวิตและความแตกต่างกัน ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ควรจะสนับสนุนให้มีการใช้แนว ตามลักษณะของบุคคล จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เพิ่มเติมพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ได้น�ำความรู้ที่ได้รับ สามารถดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคได้ตามเป้าหมาย จากการสอนไปปฏิบัติ แต่บางส่วนมีปัญหาในเรื่องการ อย่างยั่งยืนต่อไป ควบคุมอาหาร เนื่องจากอาชีพหลักของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นชาวนาหลังจากการท�ำงานในตอนเย็นจะมี ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ การจัดเลี้ยงอาหาร และเครื่องดื่มก่อนกลับบ้านหาก ควรจัดท�ำบทสรุปเพื่อเสนอผลการศึกษาในครั้งนี้ ปฏิเสธจะเกิดความแตกต่าง และไม่ได้รับการยอมรับจาก ต่อผู้บริหาร เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้แนวปฏิบัติ การจัดการ สังคมท�ำให้การปฏิบัติในเรื่องการควบคุมอาหารเป็นไป ทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ค่อนข้างยาก ดังนั้นการที่จะท�ำให้กลุ่มตัวอย่างเกิด เพื่อน�ำไปสู่นโยบายในการปรับปรุงระบบบริการแก่ผู้ที่ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องเพื่อ เป็นโรคเบาหวานต่อไป ควบคุมระดับนำ�้ ตาลในเลือดได้นั้นจะต้องมีลักษณะค่อย เป็นค่อยไปโดยต้องมีการสอน และดูแลติดตามอย่าง ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป สม�่ำเสมอ โดยอาจจะต้องใช้เวลานานขึ้นจึงจะสามารถ 1. ควรมีการประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติการ ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างกระท�ำพฤติกรรมใหม่นั้นอย่างต่อเนื่อง จัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน การน�ำแนวปฏิบัติมาใช้กับกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้มีระยะ ชนิดที่ 2 ในระยะยาวโดยการส่งเสริมให้มีการใช้แนว เวลาเพียง 3 เดือน ซึ่งอาจจะยังไม่สามารถท�ำให้กลุ่ม ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องเพื่อติดตามความยั่งยืนของความรู้ ตัวอย่างทั้งหมดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองให้ และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ถูกต้อง เพื่อควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับ และควรเพิ่มการประเมินผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่ควบคุมได้ กับการควบคุมโรคเบาหวาน เช่น ค่าความดันโลหิต การน�ำแนวปฏิบัติมาใช้ในครั้งนี้พบปัญหาและ ค่าระดับไขมันในเลือด เพื่อเป็นการป้องกันปัจจัยเสี่ยง อุปสรรคในระยะแรกจากการที่ผู้ใช้แนวปฏิบัติยัง ของการเกิดโรคแทรกซ้อนในระบบหัวใจ และหลอดเลือด ไม่เข้าใจและไม่เห็นประโยชน์ของการใช้แนวปฏิบัติ ในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ผู้ศึกษาต้องอธิบายและปฏิบัติเป็นแบบอย่างจนท�ำให้ 2. ควรมีการปรับปรุงสาระส�ำคัญของแนวปฏิบัติ ผู้ใช้แนวปฏิบัติเกิดการยอมรับและเข้าใจให้ความร่วมมือ การจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน เป็นอย่างดี ส�ำหรับปัจจัยเอื้ออ�ำนวยที่ท�ำให้เกิดการ ชนิดที่ 2 ในการน�ำไปใช้ในครั้งต่อไป โดยการศึกษา เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติไปในทางที่ดีขึ้นคือ ได้รับการ หลักฐานเชิงประจักษ์ใหม่เพิ่มเติม หรือ ทุก ๆ 3 ปี เพื่อ สนับสนุนจากทีมดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาล (patient ให้มีความทันสมัยต่อการน�ำมาใช้พัฒนาระบบการดูแล care team) และหัวหน้าแผนกผู้ป่วยนอกในการน�ำแนว ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานของหน่วยงาน ปฏิบัติมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ที่เป็นโรค เบาหวาน และผู้ใช้แนวปฏิบัติมีความเข้าใจเกิดความรู้สึก

298 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Implementing Nursing Management Guidelines for Persons with Type 2 Diabetes Mellitus, Tron Hospital, Uttaradit Province

เอกสารอ้างอิง Appraisal of Guidelines for Research and Evaluation Collaboration. (2009). Appraisal of guideline for research and evaluation (AGREE) Instrument. Retrieved from http://www.agreecollaboration.org American Diabetes Association. (2011). Standards of medical care in diabetes-2011. Diabetes Care, 34(Suppl. 1), s11-s61. doi:10.2337/dc11-s011 Abbasuwan, N., & Phanthawet, N. (2013). Campaign substance issues World Diabetes Day (Budget 2014). Retrieved from www.dpck5.com/SRRTcenter/7Nov56.pdf (In Thai) American Diabetes Association. (2014). Standards of medical care in diabetes-2014. Diabetes Care, 37(Supp1), s14-s80. doi:10.2337/dc14-s014 Chotamongkol, R., Panthiranut, A., & Suwanna Boonyaliphan, S. (1998). Self care behavior report of non-insulin dependent diabetic patients in outpatient department, Srinagarind Hospital. Retrieved from http://www.thailis.or.th (In Thai) Ekkapakorn, W., Prapakkam, Y., Thananiphanitsakul, S., Phajaroen, H., Sathiennopkao, W., & Kanittha Thaikla, K. (Editor). (2009). Report of the 4th public health survey by physical examination 2008-2009. Bangkok: The Graphic Systems. (In Thai) Information and Information, Work Medical Record and Statistics Section, Tron Hospital. (2013). Annual report: Disease statistics. Uttaradit: Tron Hospital. (In Thai) Information and Information, Work Medical Record and Statistics Section, Tron Hospital. (2014). Annual report: Disease statistics. Uttaradit: Tron Hospital. (In Thai) Information and Information, Work Medical Record and Statistics Section, Tron Hospital. (2015). Annual report: Disease statistics. Uttaradit: Tron Hospital. (In Thai) Jamrus, C. (2012). Effectiveness of implementing nursing management guidelines for persons with diabetes type 2, Phrae Hospital. (Independent Study, Master of Nursing Science, Adult Nursing). Graduate School, Chiang Mai University. (In Thai) Jamrus, C., Kaewtanthum, K., Chanthapun, C., Supawarodom, R., Ongartboon, T., & Meklom, A. (2011). Nursing management guidelines for people with type 2 diabetes. Phrae Hospital. Chiang Mai: Adult Nursing Program, Faculty of Nursing Chiang Mai University. (In Thai) Joint Commission on Accreditation of Healthcare Organizations. (2003). 2003 Hospital accreditation standards: Accreditation policies standards intent statements. Illinois: Oakbrook terrace. Kosunhunan, N. (2008). Medication guidelines for blood sugar control in type 2 diabetic patients. In Chiewchitwit, S., Chiwasakulyong, B., Chareontham, C., Noppakhun, K., & Pornphonphatkun, M. (Editors), Applied Internal Medicine, Book 6 (Page 139-154). Department of Internal Medicine Faculty of Medicine Chiang Mai University. Chiang Mai: Trick Thing Printing. (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 299 ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลส�ำหรับ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

Nathan, D. M. (2007). Diabetes: A plan for living. Boston: Harvard Health Publications. National Health and Medical Reseach Council. (1999). A guide to the development implementation and evaluation of clinical practice guidelines. Retived from http://www.nhmrc.gov.au/ publications/synopses/_files/cp30.pdf National Health and Medical Reseach Council. (2000). How to put the evidence into practice: Implementation and dissemination strategies. Retrieved from http://www.nhmrc.gov.au/_files_nhmrc/file/publications/synopses/cp71.pdf Office of Policy and Strategy Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health. (2008). Public health statistics year 2008. Bangkok: Veterans Organization.(In Thai) Office of Policy and Strategy Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health. (2011). NCD Report 1, Budget 2011 (according to the report form 1, periods 1-2). In the Royal Responsibility Project: He cares about the people. Retrieved from http://www.udo.moph.go.th/work_staff/r2r/ data/VIGAI0137.doc (In Thai) Stratton, I. M., Adler, A. L., Neil, H. A., Matthews, D. R., Manley, S. E., Cull, C. A., . . . Holman, R. R. (2000). Association of glycemic with macrovascular and microvascular complications of type 2 diabetes (UKPDS 35): prospective observational study. British Medical Journal, 321(7258), 405-412. doi:10.1136/bmj.321.7258.405 Sansingchai, C. (2007). Factors associated with glycemic control among persons with uncontrolled diabetes mellitus in Maetha Hospital. (Independent Study, Master of Nursing Science, Adult Nursing). Graduate School, Chiang Mai University. (In Thai) Tangchaiwong, S. (2012). Behavioral therapy and psychological care. In Sunthornyothin, S., & Buranasapkhachon, P. (Editors). Diabetes textbook (pages 74-81). Bangkok: Chulalongkorn University. (In Thai)

300 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Effect of Problem Solving Therapy Program on Depression among Patients with End Stage Renal Disease Receiving Hemodialysis.

นัฎกานต์ มันตะสูตร * Natkan Montasud * สมบัติ สกุลพรรณ์ ** Sombat Skulphan ** ดาราวรรณ ต๊ะปินตา *** Darawan Thapinta ***

บทคัดย่อ ภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาทางสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ โปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม ผู้ร่วมวิจัย 32 คน เป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการ ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมและเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราช โรงพยาบาลรวมแพทย์และโรงพยาบาล อินเตอร์เวชการ เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามสุขภาพผู้ป่วย ฉบับภาษาไทย และโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าทีชนิด 2 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ�้ำ ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้ามีภาวะซึมเศร้าใน ระยะติดตามผลการทดลอง 2 สัปดาห์ (= 5.68, SD=2.38) ลดลงกว่าในระยะหลังสิ้นสุดการทดลองทันที (=7.00, SD=2.00) และลดลงกว่าในระยะก่อนการทดลอง (=10.87, SD=3.59) อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p< .05) กลุ่ม ทดลองที่ได้รับโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้ามีภาวะซึมเศร้า (= 5.68, SD = 2.38) ลดลง กว่ากลุ่มควบคุมในระยะติดตามผลการทดลอง 2 สัปดาห์ (= 9.25, SD = 3.76) อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p< .05) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าเป็นอีกทางเลือกหนึ่งให้ส�ำหรับ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลที่จะสามารถน�ำไปใช้ลดภาวะซึมเศร้าในระดับเล็กน้อยและปานกลาง ในผู้ป่วย โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

ค�ำส�ำคัญ: การบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหา, ภาวะซึมเศร้า, ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย

* พยาบาลวิชาชีพ * Registered Nurse, [email protected] ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, [email protected] *** ศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, [email protected]

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 301 ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

Abstract Depression is a common mental health problem for patients with end-stage renal disease receiving hemodialysis. The study was a randomized controlled trial experimental research that aimed to investigate the effects of a problem-solving therapy program on depression among patients with end-stage renal disease receiving hemodialysis. Thirty two participants were patients who had been diagnosed with chronic kidney disease receiving hemodialysis and received services from Buddhachinaraj Hospital, Ruamphat Hospital and Inter Vejchakan Hospital from January to June 2017. The instruments consisted of Patient Health Questionnaire (PHQ-9) Thai version and Problem Solving Therapy Program. Data were analyzed by descriptive statistics means, t-test independent and one-way repeated measure analysis of variance. Result: Participants in the experimental group right after receiving the problem-solving therapy program had a post-test depression score of = 7.00, SD = 2.00. Two weeks later they had a lower depression score of = 5.68, SD = 2.38. Both these scores were statistically significantly (p< .05) lower than their pre-test depression score of = 10.87, SD = 3.59. Participants in the experimental group two weeks after receiving the problem-solving therapy program had a depression score of =5.68, SD=2.38 which is statistically significantly (p< .05) lower than the depression score of the control group which was = 9.25, SD = 3.76. The results of the study indicated that problem-solving therapy program could be used as an alternative way for hospital personnel to reduce mild and moderate depression among patients with end stage renal disease receiving hemodialysis.

Keywords: Problem Solving Therapy, Depression, Patients with End Stage Renal Disease

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การด�ำเนินไปของโรคไตเองหรือผลกระทบที่เกิดจากการ โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายเป็นปัญหาสาธารณสุข ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เช่น อาการปวดกระดูก ที่ส�ำคัญในระดับโลกรวมถึงประเทศไทยด้วยในปี พ.ศ. ซีด อ่อนเพลียไม่มีแรง หน้ามืด เวียนศีรษะ เป็นตะคริว 2553 ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังประมาณ 8 หัวใจเต้นเร็ว เจ็บแน่นหน้าอก การมีข้อจ�ำกัดในการ ล้านคน ในจ�ำนวนนี้เป็นผู้ที่ต้องได้รับการฟอกเลือดด้วย รับประทานอาหารและนำ�้ ความจ�ำเป็นในการต้องได้รับ เครื่องไตเทียมมีประมาณ 30,835 รายหรือ 482.6 ราย/ การรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษ การต้องเดินทางเข้าออก ล้านประชากร และแต่ละปีมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นประมาณ โรงพยาบาลบ่อย ๆ การต้องเสียค่าใช้จ่ายในแต่ละครั้งที่ 6,244 รายหรือ 97.73 ราย /ล้านประชากร (Chayakul, เดินทางมาฟอกเลือด เป็นต้น 2014) จะเห็นได้ว่าจ�ำนวนผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ เมื่อต้องเผชิญกับเหตุการณ์ปัญหาที่ท�ำให้เกิด สุดท้ายยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีอีกด้วย ความเครียดในชีวิตที่เกิดขึ้นซ�้ำ ๆ เป็นเวลานาน และไม่ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นอีกหนึ่งวิธี สามารถควบคุมหรือแก้ไขเหตุการณ์นั้นได้ เช่น การต้อง ที่สามารถช่วยยืดชีวิตของผู้ป่วยได้ แต่ผู้ป่วยก็ต้องเผชิญ สูญเสียบทบาทหน้าที่ในครอบครัวหรือบทบาททางสังคม กับเหตุการณ์ปัญหาในชีวิตประจ�ำวันมากมาย ที่เกิดจาก การไม่สามารถท�ำงานหรือท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ตามปกติ

302 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Problem Solving Therapy Program on Depression among Patients with End Stage Renal Disease Receiving Hemodialysis.

จากความอ่อนแอทางด้านร่างกาย หรือจากภาพลักษณ์ ซึมเศร้าอยู่ในระดับปานกลางและรุนแรงที่ต้องได้ยาต้าน ที่เปลี่ยนแปลงไป รวมไปถึงการต้องเปลี่ยนแปลงของวิถี เศร้าและจิตบ�ำบัด (McCool, Johnstone, Sledge, การด�ำเนินชีวิตอย่างมาก และหากมีการประเมินเหตุการณ์ Witten, Contillo, Aebel-Groesch & Hafner, 2011; ต่าง ๆ เหล่านี้ว่า คือ เรื่องเดือดร้อน เป็นสิ่งคุกคามต่อ Khamphakdi, 2012) คุณภาพชีวิต มองไม่เห็นประโยชน์ที่จะแก้ปัญหา รับรู้ว่า การช่วยเหลือที่ดีที่สุดก็คือการรักษาทางการ ตนเองเป็นผู้ป่วยตลอดเวลาไม่สามารถจัดการกับปัญหา แพทย์ร่วมกับการรักษาทางจิตใจ ได้แก่ การให้ค�ำปรึกษา ที่เกิดขึ้นได้ หรือไม่สามารถท�ำอะไรไปได้มากกว่าน ี้เป็นการ การให้สุขภาพจิตศึกษา ให้เรียนรู้ทักษะจัดการความเครียด มองปัญหาไปในทางลบ ซึ่งความคิด ความเชื่อเหล่านี้ การออกก�ำลังกาย การท�ำจิตบ�ำบัด และการให้ยาต้าน ส่งผลขัดขวางต่อความพยายามที่จะแก้ปัญหาและรูปแบบ เศร้า ในรายที่มีอาการประสาทหลอน หลงผิดอาจมีการ ในการแก้ปัญหา โดยปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงที่จะแก้ปัญหา รักษาด้วยไฟฟ้า หรือให้ยาต้านโรคจิตร่วมด้วย หรือแก้ปัญหาโดยขาดการไตร่ตรองให้รอบคอบ ท�ำให้ (Department of Mental Health, 2010; Erdley, เกิดผลเสียมากกว่าผลดีจากการแก้ปัญหาในรูปแบบนี้ 2013) ระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้าได้เป็น 4 ระดับ ซึ่งเป็นรูปแบบการแก้ปัญหาที่ไม่เหมาะสม และเมื่อไม่ คือไม่มีภาวะซึมเศร้า มีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อย มี สามารถจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้กลายเป็นปัญหา ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง และมีภาวะซึมเศร้าระดับ เรื้อรังที่ติดอยู่ในใจท�ำให้เกิดความเครียด ความรู้สึกมี รุนแรง โดยหากมีภาวะซึมเศร้าในระดับเล็กน้อยบุคคล คุณค่าลดลง ความสุขในชีวิตลดลงจนส่งผลให้เกิดภาวะ จะยังคงสามารถท�ำงาน เรียนหนังสือ หรือใช้ชีวิตได้ตาม ซึมเศร้าขึ้นได้ ปกติหรือใกล้เคียงปกติ แต่หากมีอาการมากขึ้นจนอยู่ใน ภาวะซึมเศร้า (Depression) หมายถึง ความรู้สึก ระดับรุนแรงอาจส่งผลต่อการท�ำงาน การใช้ชีวิตหรือ เศร้า เสียใจ ท้อแท้ เมื่อบุคคลต้องเผชิญกับสถานการณ์ อาจมีอาการทางจิตร่วมด้วย (Beck, 1967) กรมสุขภาพจิต ที่ท�ำให้ไม่สบายใจ ซึ่งเป็นอารมณ์ปกติที่พบได้ในคนทั่วไป ได้คัดเลือกการท�ำจิตบ�ำบัดที่เป็นมาตรฐานมาใช้ในการ โดยจะเกิดขึ้นชั่วคราวแล้วหายไป หรือกลายเป็นโรค ดูแลรักษาภาวะซึมเศร้าที่มีความรุนแรงในระดับต่าง ๆ ซึมเศร้า (Major Depressive Disorder: MDD) ซึ่งเป็น อยู่ 3 ประเภท คือ การบ�ำบัดความคิดและพฤติกรรม ความผิดปกติทางอารมณ์ (Mood disorder) หรือเป็น (Cognitive Behavioral Therapy [CBT]) จิตบ�ำบัด โรคทางจิตเวชชนิดหนึ่งซึ่งจะแสดงออกเป็นกลุ่มอาการ สัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Psycho- ที่ซับซ้อนในด้านอารมณ์ ความคิด แรงจูงใจและพฤติกรรม therapy [IPT]) และการบ�ำบัดด้วยการแก้ไขปัญหา จนส่งผลกระทบท�ำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง ผู้ที่ (Problem Solving Therapy [PST]) (Department มีภาวะซึมเศร้าจะสูญเสียการเชื่อมโยงกับความเป็นจริง of Mental Health, 2010) หรือเป็นการคิดเอาเอง และใช้กลไกทางจิตแบบโทษตัวเอง ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายต้องเผชิญกับ โกรธ เกลียดตัวเอง (Kongsuk, 2007; Lortraklu & เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในทางลบหลายอย่างในชีวิตประจ�ำวัน Sukhanit, 2012; Sadock, Sadock, & Ruiz, 2015) เช่น อาการปวดกระดูก อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า ไม่มีแรง ซึ่งหากปล่อยไว้ไม่ได้รับการช่วยเหลือหรือแก้ไขจะเกิด หน้ามืดเวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ฯลฯ รวมถึงการ ผลกระทบที่รุนแรงที่สุดคืออาจท�ำให้มีความคิดและ ไม่สามารถแสดงบทบาทหน้าที่ได้เหมือนเดิม การต้อง พฤติกรรมการฆ่าตัวตายได้ (Teles et al., 2014) โดย ออกจากงาน เปลี่ยนงานหรือการต้องหยุดงานเพื่อมารับ พบอุบัติการณ์ความเสี่ยงการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วย การรักษา การต้องพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น เมื่อผู้ป่วยสามารถ โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วย จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นเหล่านี้ได้ประสบผลส�ำเร็จ เครื่องไตเทียมร้อยละ 35 และร้อยละ 21.2 มีภาวะ เหตุการณ์ปัญหาคลี่คลายลงส่งผลให้ภาวะซึมเศร้าลดลง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 303 ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

ด้วยและสามารถปรับตัวอยู่กับปัญหาได้ แต่บุคคลมี (maladjustment) และเพิ่มการปรับตัวเชิงบวก ความสามารถในการแก้ปัญหาแตกต่างกันใน ซึ่งสอดคล้อง (positive adjustment) (D’Zulilla et al., 2007) กับแนวคิดการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาของ D’Zurilla การบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาสามารถท�ำได้ทั้งใน & Nezu (2007) ที่ได้อธิบายว่า พฤติกรรมหรืออารมณ์ แบบกลุ่มและแบบรายบุคคล ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัย ที่ไม่พึงประสงค์ของบุคคลเกิดจากความบกพร่องในการ พิจารณาในด้านข้อดีและข้อจ�ำกัดของแต่ละรูปแบบ แก้ปัญหา ที่เชื่อมโยงกับการมีมุมมองต่อปัญหาในทาง โดยการบ�ำบัดแบบกลุ่ม มีข้อจ�ำกัดหรือปัญหาที่อาจพบได้ ลบ (Negative Problem Oriented [NPO]) และการ คือ การมุ่งเน้นที่ปัญหาในแนวลึกค่อนข้างเป็นไปได้ยาก มีวิธีการแก้ปัญหาที่ไม่มีประสิทธิภาพ มีหลายการศึกษา ผู้ป่วยอาจไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการหรือ ที่พบว่าผู้ที่มีภาวะซึมเศร้ามักเกี่ยวข้องกับการมีมุมมอง ปัญหาอย่างทั่วถึง บางคนขี้อายพูดน้อยหรือไม่ยอมพูด ต่อปัญหาในทางลบและการใช้วิธีแก้ปัญหาที่ไม่เหมาะสม และบางคนพูดเกี่ยวกับปัญหาของตนเองมากเกินไป (Thongyu, Kongsuriyawin, Phornchaikeu-oyong ท�ำให้คนอื่น ๆ ในกลุ่มรู้สึกเบื่อหน่ายและไม่สนใจกลุ่ม & Unanapirak; 2011) ดังนั้นหากมีการช่วยเหลือให้ผู้ป่วย จนอาจท�ำให้ไม่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการบ�ำบัดแบบ มีมุมมองต่อปัญหาในทางบวกร่วมกับการช่วยให้ผู้ป่วย กลุ่ม (Thongchai, 2012; Thung Khampan, 2014) มีกลวิธีในการเผชิญปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมจะ ข้อดีที่ส�ำคัญของการบ�ำบัดแบบรายบุคคล คือ ผู้บ�ำบัด สามารถช่วยลดภาวะซึมเศร้าให้กับผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้ สามารถสังเกตอารมณ์ จิตใจและพฤติกรรมที่เป็นปัญหา การบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาเป็นการช่วยเหลือใน แล้วตอบสนองที่มีความเฉพาะของบุคคลได้ดีกว่า ผู้ป่วย รูปแบบการให้การปรึกษาภายใต้สัมพันธภาพและการ สามารถเปิดเผยตนเองอย่างอิสระกับผู้บ�ำบัด ไม่ต้อง สื่อสารเชิงบ�ำบัด ท�ำให้เกิดความไว้วางใจและการยอมรับ กังวลถึงความคิดเห็นหรือความรู้สึกของผู้อื่น อีกทั้ง เพื่อให้บุคคลเข้าสู่กระบวนการแก้ปัญหา (focus on ผู้ป่วยมารับบริการเป็นช่วงเวลาที่ไม่พร้อมกัน จึงอาจ problem solving) ช่วยให้เข้าใจปัญหาของตนเองได้ ท�ำให้ไม่สะดวกในการบ�ำบัดแบบกลุ่ม ชัดเจน ร่วมกันพิจารณาว่าปัญหาส่วนใดสามารถแก้ไข ดังนั้นด้วยข้อดีของการบ�ำบัดแบบรายบุคคล และ ได้และลงมือแก้ปัญหาในส่วนนั้น วิธีการที่จะแก้ปัญหา จุดเด่นของการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาดังที่กล่าวมา และอยู่กับปัญหาที่อาจจะยังแก้ไขไม่ได้ (Tapinta, ข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของโปรแกรม 2015) โดยท�ำให้บุคคลมีมุมมองต่อปัญหาในทางบวก การบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบราย บุคคลที่ผู้วิจัย (Positive Problem Oriented [PPO]) ที่เป็นการรับรู้ พัฒนาขึ้นว่าจะสามารถช่วยลดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วย ปัญหาตามความเป็นจริง คิดว่าปัญหาเป็นเหตุการณ์ โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วย ธรรมดาของชีวิต ปัญหาเป็นสิ่งท้าทาย ยอมรับว่าการ เครื่องไตเทียมได้หรือไม่ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการช่วยเหลือ แก้ปัญหาต้องใช้เวลาและความพยายามและช่วยให้มี ผู้ป่วยต่อไปได้ ทักษะในการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น จากการ ใช้วิธีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล (Rational Problem วัตถุประสงค์การวิจัย Solving [RPS]) และลดวิธีการแก้ปัญหาแบบหุนหัน 1. เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของกลุ่มทดลอง พลันแล่น ขาดความระมัดระวัง หรือหลีกหนีปัญหา ในระยะก่อนทดลอง ระยะหลังทดลองทันที และระยะ (D’Zurilla, 1988; D’Zurilla et al., 2002; Erdley, ติดตามผล 2 สัปดาห์ หลังสิ้นสุดโปรแกรม 2013) ซึ่งจะช่วยให้เกิดผลลัพธ์เชิงบวกจากการแก้ปัญหา 2. เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าระหว่างกลุ่มทดลอง และช่วยให้สามารถปรับตัวอยู่กับปัญหาได้และเมื่อสามารถ และกลุ่มควบคุม ในระยะก่อนทดลอง ระยะหลังทดลอง แก้ไขปัญหาได้ส�ำเร็จจะช่วยลดปัญหาในการปรับตัวไม่ได้ ทันที และระยะติดตามผล 2 สัปดาห์ หลังสิ้นสุดโปรแกรม

304 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Problem Solving Therapy Program on Depression among Patients with End Stage Renal Disease Receiving Hemodialysis.

สมมติฐานการวิจัย วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. ผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและ ซึมเศร้าระยะหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันทีและระยะติดตาม มีกลุ่มควบคุม เปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าก่อนทดลอง หลัง ผล 2 สัปดาห์ หลังสิ้นสุดโปรแกรม น้อยกว่าระยะก่อน ทดลองและระยะติดตามผลหลังการทดลองสิ้นสุดลง 2 ได้รับโปรแกรม สัปดาห์ โดยกลุ่มกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมการบ�ำบัด 2. ผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึม ด้วยการแก้ปัญหา ส่วนควบคุมจะได้รับการดูแลตามปกติ เศร้าระยะหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที และระยะติดตามผล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วย 2 สัปดาห์ หลังสิ้นสุดโปรแกรม น้อยกว่ากลุ่มควบคุม การแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย และเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราช โรงพยาบาล การศึกษาผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ รวมแพทย์และโรงพยาบาลอินเตอร์เวชการ จังหวัด ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ พิษณุโลก ระหว่างเดือน มกราคม-มิถุนายน พ.ศ.2560 สุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ใช้กรอบ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แนวคิดของการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้า ที่ใช้ส�ำหรับการศึกษาครั้งนี้คือผู้ที่ได้รับการวินิจฉัย ของ D’Zurilla et al.(2002) และ Nezu & Nezu ว่าเป็นโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือด (2008) ที่อธิบายว่าภาวะซึมเศร้าของบุคคลเกิดจาก ด้วยเครื่องไตเทียมที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป และเข้ารับ ความบกพร่องในการแก้ปัญหาจากการมีมุมมองต่อปัญหา การรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราช โรงพยาบาลรวมแพทย์ ในทางลบ ประกอบกับการเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่ไม่มี และโรงพยาบาลอินเตอร์เวชการ รวมทั้งหมดจ�ำนวน ประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้พัฒนาโปรแกรมการ 204 คน ในปี 2559 บ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวาย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค เรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไต ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือด ด้วย เทียมขึ้น ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การท�ำความ เครื่องไตเทียมที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จ�ำนวน 58 คน เข้าใจปัญหา 2) การค้นหาและระบุปัญหา 3) การสร้าง และเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราช โรง หรือหาทางเลือกในการแก้ปัญหา 4) การตัดสินใจเลือก พยาบาลรวมแพทย์และโรงพยาบาลอินเตอร์เวชการ โดย ทางเลือกในการ 5) การลงมือแก้ปัญหาและการตรวจ สอบ มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ในการคัดเข้าร่วมการศึกษา ดังนี้ ผลการแก้ปัญหา 6) การคงไว้ซึ่งทักษะการแก้ปัญหาและ 1) มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป 2)มีคะแนนของอาการซึมเศร้า การขยายผล เพื่อสนับสนุนให้ผู้ป่วยมีมุมมองต่อปัญหา อยู่ในช่วง 5-19 คะแนน (ระดับเล็กน้อยไม่ผิดปกติ ถึงระดับ ทางบวก และเพิ่มทักษะการแก้ปัญหาแบบมีเหตุผล ปานกลาง) 3) สามารถสื่อสารหรือตอบโต้ได้ไม่มีปัญหา ลดการแก้ปัญหาแบบหุนหันพลันแล่น/ขาดความ ด้านการรู้คิด ความจ�ำ 4) เป็นผู้ที่ไม่ได้รับจิตบ�ำบัดอื่น ๆ ระมัดระวังและลดการแก้ปัญหาแบบหลีกหนีปัญหา ร่วมด้วยและไม่ได้รับยาต้านเศร้า จากกระบวนการดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยค�ำนวณขนาดกลุ่ม ในการเผชิญปัญหาและมีวิธีการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ ตัวอย่างโดยใช้วิธีเปิดตาราง eta-squared ก�ำหนด รวมถึงมีวิธีจัดการกับปัญหาทางอารมณ์ในขณะแก้ปัญหา อ�ำนาจการทดสอบ 0.8 ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ .01 ได้อีกด้วย ส่งผลให้สถานการณ์ปัญหาคลี่คลายลง ขนาดอิทธิพลระดับกลาง 0.25 จากนั้นน�ำไปเปิดตาราง สามารถปรับตัวอยู่กับปัญหาได้และภาวะซึมเศร้าลดลง ได้จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวนกลุ่มละ 15 คน เพื่อป้องกัน การขาดหายไปของกลุ่มตัวอย่างจึงได้เพิ่มขนาดของกลุ่ม

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 305 ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

ตัวอย่างอีกร้อยละ 10 ดังนั้นขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ (Specificity) = 0.77 ในการศึกษาครั้งนี้มีจ�ำนวนกลุ่มละ 17 คนรวมกลุ่ม 2.3 โปรแกรมการบ�ำบัดโดยการแก้ปัญหา ตัวอย่างทั้งหมด 34 คน (Polit &Hungler, 1987) ประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2.3.1 โปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ 1. เครื่องมือในการคัดกรองกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ปัญหา ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามแนวคิดของ D’Zurilla et 1.1 แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับ al. (2002) และ Nezu & Nezu (2008) ร่วมกับการ ภาษาไทย (MMSE-Thai 2002) ของเวชศาสตร์ ผู้สูงอายุ ทบทวนวรรณ กรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า กรมการแพทย์ ผู้วิจัยน�ำมาใช้เพื่อประเมินระดับการรู้สึก ประกอบด้วย สื่อประกอบกิจกรรม ใบงาน แบบบันทึก ตัว ความสามารถในการสื่อสารหรือตอบโต้ กระบวนการ กิจกรรม มีขั้นตอนในการบ�ำบัด 6 ขั้นตอน คือ 1) การ คิด การรับรู้ วัน เวลา และสถานที่ มีค่าความเชื่อมั่น ท�ำความเข้าใจกับปัญหา 2) การค้นหาและระบุปัญหา เท่ากับ .90 ประกอบด้วย 11 ข้อค�ำถามใหญ่และข้อ 3) การสร้างหรือหาทางเลือกในการแก้ปัญหา 4) การ ค�ำถามย่อยรวม 30 ข้อ มีคะแนน 0-30 คะแนน คะแนน ตัดสินใจ 5) การลงมือแก้ปัญหาและการตรวจสอบผล ที่ได้มีค่าไม่เท่ากันเมื่อใช้ทดสอบบุคคลที่มีระดับการ การแก้ปัญหา 6) การคงไว้ซึ่งทักษะการแก้ปัญหาและ ศึกษาแตกต่างกัน ดังนี้ ไม่ได้เรียนหนังสือ คะแนนเต็ม การขยายผล ใช้ระยะเวลาในการบ�ำบัด ครั้งละ 60-90 = 23 คะแนน >14 คะแนน (ไม่มีภาวะสมองเสื่อม) 0-14 นาที โดยให้การบ�ำบัดวันเว้นวัน รวม 6 ครั้ง ใช้ระยะ คะแนน (มีภาวะสมองเสื่อม) เรียนระดับประถมศึกษา เวลาในการบ�ำบัดทั้งหมด 2 สัปดาห์ คะแนนเต็ม= 30 คะแนน >17คะแนน(ไม่มีภาวะสมอง 2.3.2 แบบวัดการแก้ปัญหา (Problem เสื่อม) 0-17คะแนน (มีภาวะสมองเสื่อม) เรียนสูงกว่า Solving Inventory [PSI]) ผู้วิจัยน�ำมาใช้เพื่อประเมิน ระดับประถมศึกษา คะแนนเต็ม= 30 คะแนน >22 (ไม่มี ทักษะการแก้ปัญหา ซึ่ง Siwiset (2013) พัฒนาขึ้นตาม ภาวะสมองเสื่อม) 0-22 คะแนน (มีภาวะสมองเสื่อม) กรอบแนวคิดของ (D’Zurilla, 2007) และได้ผ่านการ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการด�ำเนินการวิจัย ได้แก่ ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 2.1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ได้แก่ อายุ เพศ หาความสอดคล้องภายในของเครื่องมือโดยวิธีการหาค่า สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา แหล่งรายได้ ความ สัมประสิทธิ์ Cronbach’s alpha ได้ = 0.86 ประกอบ เพียงพอของรายได้ ระยะเวลาที่เป็นโรคไตวายเรื้อรัง ด้วยข้อค�ำถาม 23 ข้อ เป็นค�ำถามด้านบวกมี 13 ข้อ และช่วงเวลาในการฟอกเลือด ค�ำถามด้านลบ 10 ข้อ คะแนนมี 4 ระดับ คือเห็นด้วย 2.2 แบบสอบถามสุขภาพผู้ป่วย (Patient อย่างยิ่ง = 4 คะแนน เห็นด้วย = 3 คะแนน ไม่เห็น Health Questionnaire-9 [PHQ-9]) ที่แปลและพัฒนา ด้วย = 2 คะแนน ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง = 1 คะแนน โดย Lotrakul et al.(2008) ผู้วิจัยน�ำมาใช้เพื่อประเมิน ข้อค�ำถามที่เป็นลบจะให้คะแนนกลับกัน คะแนนเต็ม 92 ภาวะซึมเศร้า มีข้อค�ำถาม 9 ข้อ มีค่าคะแนนรวม 0-27 คะแนน การแปลผลโดยคะแนนรวมยิ่งมากแสดงถึง คะแนน แบ่งระดับของภาวะซึมเศร้าเป็น 5 ระดับ คือ ทักษะการแก้ปัญหาที่ดี 0-4 คะแนน =ไม่มีภาวะซึมเศร้าเลย 5-8 คะแนน=มี ผู้วิจัยน�ำแบบสอบถามทั้งหมดมาใช้โดยไม่ได้ อาการซึมเศร้าระดับเล็กน้อย(ไม่ผิดปกติ) 9-14 ดัดแปลงและแบบสอบถามนี้เป็นเครื่องมือที่ได้ผ่านการ คะแนน=มีอาการของโรคซึมเศร้าระดับเล็กน้อย 15-19 ตรวจสอบคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้ผ่านการ คะแนน =มีอาการของโรคซึมเศร้าระดับปานกลาง ≥ 20 หาความตรงด้านเนื้อหา (content validity) รวมถึงเป็น คะแนน มีอาการของโรคซึมเศร้าระดับรุนแรง ซึ่งมีค่า ที่ยอมรับในการน�ำไปใช้ จึงไม่ได้น�ำไปหาความตรงด้าน ความไว (Sensitivity)=0.84 และความจ�ำเพาะ เนื้อหาซ�้ำอีก ผู้วิจัยหาความเชื่อมั่น (reliability) โดยน�ำ

306 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Problem Solving Therapy Program on Depression among Patients with End Stage Renal Disease Receiving Hemodialysis.

แบบสอบถามไปทดลองใช้กับผู้ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถึงผู้อ�ำนวยการ รพ.พุทธชินราช กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 15 คน ณ หน่วยไตเทียม โรง รพ.รวมแพทย์ และรพ.อินเตอร์เวชการ เพื่อชี้แจง พยาบาลรังสีรักษา จังหวัดพิษณุโลก แล้วน�ำข้อมูลที่ได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัยและขออนุญาตใช้พื้นที่ จากนั้น มาวิเคราะห์หาความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ PHQ-9 แบบทดสอบ แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficieney) MMSE-Thai2002 ดังในแผนภาพที่ 1 (Polit & Hungler, 1987) ได้ค่าความเชื่อมั่นดังนี้ PHQ- 9 = 0.80, MMSE-Thai 2002=0.80 และ PSI= 0.83 โปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหา ประกอบ ด้วยสื่อ ใบงาน น�ำไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 ท่าน พิจารณาความถูกต้องเหมาะสมของข้อความ เนื้อหา การใช้ภาษา กิจกรรมและเวลาในแต่ละกิจกรรม จากนั้น ได้มาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์แล้วน�ำไปทดลองใช้ กับผู้ ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างมากที่สุด จ�ำนวน 1 คน ก่อนน�ำไปใช้จริง ใช้ระยะเวลาในการบ�ำบัด ครั้ง ละ 60-90 นาที ท�ำการบ�ำบัดวันเว้นวัน รวม 6 ครั้ง ใช้ ระยะเวลาทั้งหมด 2 สัปดาห์ การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง โครงการวิจัยและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้ผ่าน การพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Research ID: 070-2559 /Study Code: EXP-042-2559) ผู้วิจัยเข้า พบกลุ่มตัวอย่างด้วยตัวเองเพื่อแนะน�ำตัว ชี้แจง วัตถุประสงค์ ขั้นตอน วิธีการด�ำเนินการวิจัย ประโยชน์ ของการวิจัยพร้อมทั้งสิทธิที่จะปฏิเสธหรือถอนตัวออก จากโครงการวิจัยได้โดยไม่ต้องแจ้งเหตุผล ถ้ารู้สึกไม่ สะดวกที่จะตอบค�ำถามใดก็สามารถเว้นว่างไว้ได้ ข้อมูล ที่ได้จะน�ำไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยเท่านั้น ใน การวิเคราะห์ผลการวิจัยและการน�ำเสนอข้อมูลนั้นจะ เป็นในลักษณะภาพรวมของกลุ่มตัวอย่าง ระหว่างท�ำการ วิจัยหากกลุ่มตัวอย่างต้องการความช่วยเหลือหรือ ต้องการค�ำปรึกษาอื่น ๆ ผู้วิจัยได้ให้ค�ำปรึกษาหรือส่งต่อ เพื่อให้ได้ รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและ มีกลุ่มควบคุม ได้ด�ำเนินการวิจัยด้วยตนเอง ดังนี้ ผู้วิจัย น�ำหนังสือแนะน�ำตัวจาก คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 307 ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

ประชากร (N=204) - รพ.พุทธชินราช (N=32 คน), รพ.รวมแพทย์ (N=90 คน), รพ.อินเตอร์เวชการ (N=82 คน) inclusion criteria (PHQ-9:pre-test, MMSE) กลุ่มตัวอย่าง (N=58) - รพ.พุทธชินราช (N=12คน), รพ.รวมแพทย์ (N=23คน), รพ.อินเตอร์เวชการ (N=23คน) matched pairs/สุ่มจับฉลากเลือกคู่ (อายุ เพศ และระดับของภาวะซึมเศร้า) กลุ่มตัวอย่าง (N=34) - รพ.พุทธชินราช (N=5 คู่), รพ.รวมแพทย์ (N=5 คู่), รพ.อินเตอร์เวชการ (N=7คู่) (drop out 1 คู่) ------สุ่มจับฉลากชื่อ จับได้ก่อน จับได้ภายหลัง ไม่สามารถจับคูได้และ กลุ่มทดลอง (N=16 คน) กลุ่มควบคุม (N=16 คน) ไม่ได้รับการจับฉลาก (N=24) ได้รับการดูแลตามปกติ pre-test (PSI) post-test (PHQ-9) พูดคุยรับฟังปัญหา ให้กำ�ลังใจ ได้รับโปรแกรม PST ให้คำ�แนะนำ� ส่งต่อข้อมูลกับ Post-test (PHQ-9, PSI) F/U 2 wke. (PHQ-9) พยาบาลประจำ�หน่วยไตเทียม F/U 2 wke (PHQ-9, PSI) แผนภาพที่ 1 ภาพแสดงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย ผู้วิจัยน�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ ดังนี้ จากการจ�ำแนกข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ข้อมูลทั่วไป ใช้สถิติเชิงพรรณนา ด้วยการหาค่าความถี่ อายุ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา แหล่งราย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบ ได้ ความเพียงพอของรายได้ ระยะเวลาที่เป็นโรคไตวาย คุณลักษณะข้อมูลทั่วไปของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เรื้อรัง ช่วงเวลาในการฟอกเลือด พบว่า กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สถิติสถิติไคสแคว์ (Chi-Square Test) เปรียบเทียบ มีอายุตำ�่ สุด = 31 ปี, สูงสุด 78 ปี (อายุเฉลี่ย = 53.30, ภาวะซึมเศร้าภายในกลุ่มทดลองในระยะก่อนการ SD =13.73) ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 64.70 ทดลอง ระยะหลังสิ้นสุดการทดลองทันที และระยะ สถานภาพสมรส คู่ ร้อยละ 52.94 ระดับการศึกษาอยู่ ติดตามผลการทดลอง 2 สัปดาห์ โดยใช้สถิติ One-way ในระดับประถมศึกษา ร้อยละ 41.17 แหล่งรายได้มา repeated ANOVA และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้า จาก บุตรหลาน/คู่สมรส ร้อยละ 47.05 มีความพอเพียง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในระยะก่อนการ พอของรายได้ ร้อยละ 70.58 ระยะเวลาที่เป็นโรคไตวาย ทดลองระยะหลังสิ้นสุดการทดลองทันที และระยะ เรื้อรัง อยู่ในช่วง 1-5 ปี ร้อยละ 38.23 (ระยะเวลาที่เป็น ติดตามผลการทดลอง 2 สัปดาห์โดยใช้สถิติ t-test โรคไตวายเรื้อรังเฉลี่ย = 5.62, SD = 4.27 ต�่ำสุด= 4 independent เดือน, สูงสุด 17 ปี) และช่วงเวลาในการฟอกเลือดเป็น ช่วงเช้า ร้อยละ 64.71 ท�ำการเปรียบเทียบความแตก ต่างลักษณะข้อมูลทั่วไปของกลุ่มทดลองและกลุ่ม

308 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Problem Solving Therapy Program on Depression among Patients with End Stage Renal Disease Receiving Hemodialysis.

ควบคุมโดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-square) พบว่าไม่มี อยู่ในระดับเล็กน้อย(ไม่ผิดปกติ) (=5.68, SD=2.38) ความแตกต่างกันทางสถิติที่ .05 ซึ่งน้อยกว่าในระยะหลังสิ้นสุดการทดลองทันทีที่มี เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ย คะแนนภาวะซึมเศร้าอยู่ในระดับเล็กน้อย(ไม่ผิดปกติ) ของภาวะซึมเศร้าภายในกลุ่มทดลองโดยใช้สถิติ (=7.00, SD= 2.00) และน้อยกว่าในระยะก่อนการ วิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ�้ำ (One- ทดลองที่มีอาการของโรคซึมเศร้าอยู่ในระดับเล็กน้อย way repeated ANOVA) พบว่ากลุ่มทดลองในระยะ (=10.87, SD=3.59)อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ(p<.05) ติดตามผลการทดลอง 2 สัปดาห์ มีคะแนนภาวะซึมเศร้า ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าเป็นรายคู่ของกลุ่มทดลองทั้ง 3 ระยะ (n=16 คน) (1) (2) (3) ระยะของการทดลอง  (SD) 10.87 (3.59) 7.00 (2.00) 5.68 (2.38) (1) ระยะก่อนการทดลอง 10.87 (3.59) - 0.001* < 0.001* (2) ระยะหลังสิ้นสุดทันที 7.00 (2.00) 0.001* - 0.029* (3) ระยะติดตามผล 2 สัปดาห์ 5.68 (2.38) < 0.001* 0.029* - *หมายถึง ค่า p-value; α ≤ 0.05

เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้า ว่า ในกลุ่มทดลองมีภาวะซึมเศร้าอยู่ในระดับเล็กน้อย ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในระยะก่อนการ (ไม่ผิดปกติ) (=5.68, SD=2.38) ซึ่งน้อยกว่ากลุ่ม ทดลอง ระยะหลังสิ้นสุดการทดลองทันที และในระยะ ควบคุมในระยะติดตามผลการทดลอง 2 สัปดาห์ที่มี ติดตามผลการทดลอง 2 สัปดาห์โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ยและ อาการของโรคซึมเศร้าเล็กน้อย (= 9.25, SD=3.76) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test independent พบ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p< .05) ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมใน ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังสิ้นสุดการทดลองทันที และในระยะติดตามผลการทดลอง 2 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง (n=16) กลุ่มควบคุม (n=16) ระยะของการทดลอง t p-value  SD Min Max  SD Min Max ก่อนการทดลอง 10.87 3.59 5.00 17.00 11.43 4.32 6.00 19.00 -.400 .382 หลังสิ้นสุดการทดลองทันที 7.00 2.00 4.00 11.00 9.93 4.65 4.00 18.00 -2.319 .003 ติดตามผล 2 สัปดาห์ 5.68 2.38 2.00 9.00 9.25 3.76 3.00 15.00 -3.195 .016

การอภิปรายผล ซึมเศร้าน้อยกว่ากลุ่มควบคุมในระยะติดตามผลการ กลุ่มทดลองมีภาวะซึมเศร้าในระยะติดตามผลการ ทดลอง 2 สัปดาห์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p< .05) ทดลอง 2 สัปดาห์ น้อยกว่าในระยะหลังสิ้นสุดการ เนื่องมาจากโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาช่วย ทดลองทันที และน้อยกว่าในระยะก่อนการทดลองอย่าง ให้ผู้ป่วยสามารถน�ำตัวเองเข้าไปแก้ปัญหา ไม่หลีกหนี มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p< .05) และกลุ่มทดลองมีภาวะ ปัญหาหรือแก้ปัญหาแบบหุนหันพลันแล่น เป็นผลมาจาก

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 309 ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนอย่างเป็นกระ จริงเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวันได้มากขึ้น บวนการที่ต่อเนื่องช่วยให้ผู้ป่วยมีการรับรู้หรือมุมมองต่อ ผู้ป่วยมีทักษะในการแก้ปัญหาแบบใช้เหตุผลมาก ปัญหาในทางบวกเพิ่มขึ้น มีทักษะในการแก้ปัญหาที่เป็น ขึ้น จากการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย การพูดคุยถึงเป้าหมาย แบบมีเหตุผล โดยเริ่มต้นจากการให้ความรู้และสร้าง ที่ต้องการและการระดมความคิด (Brain storming) ร่วม ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าถึงอาการ สาเหตุ การ กันระหว่างผู้ป่วยและผู้วิจัย ส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถค้นหา ป้องกันและการรักษา ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้กลวิธี และระบุปัญหาของตนเองได้อย่างชัดเจน ไม่มองผ่าน ที่จะดูแลตนเองเพื่อป้องกันหรือลดผลกระทบของภาวะ ปัญหา สามารถค้นหาวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลายและ ซึมเศร้า มีผลการวิจัยที่สนับสนุนว่าการให้ความรู้ที่ สร้างสรรค์ และตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการ สอดคล้องกับการเจ็บป่วยจะท�ำให้ผู้ป่วยมีความตระหนัก แก้ปัญหาได้ พิจารณาข้อดีข้อเสีย รวมถึงวิเคราะห์ รู้ในความเจ็บป่วยของตนเอง ผลกระทบของการเจ็บป่วย ผลลัพธ์ที่จะตามมาและแหล่งสนับสนุนทางสังคมที่จะ ทางจิตที่มีต่อการด�ำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่น ช่วยให้การแก้ปัญหานี้ส�ำเร็จ ตัวอย่าง เช่น “กังวลใจว่า นอกจากนี้ยังท�ำให้อัตราการกลับเป็นซ�้ำ ความรุนแรง เงินเก็บที่มีอยู่ก�ำลังจะหมด ผมมีที่ดินอยู่คิดว่าจะแบ่งท�ำ ของอาการป่วยและระยะเวลาเจ็บป่วยลดลงด้วย สวนมะนาว ผมไม่มีประสบการณ์ แต่มีญาติที่จะให้ค�ำ (Department of Mental Health, 2014) ดังงานวิจัย แนะน�ำได้” เป็นต้น มีงานวิจัยที่สนับสนุนถึงการเพิ่ม ของ De Souza Tursi et al. (2013) ที่พบว่าการให้ ทักษะการแก้ปัญหาสามารถช่วยลดภาวะซึมเศร้าได้ เช่น ความรู้เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าและการรักษามีความ การศึกษาของ Siwiset et al. (2013) ที่พบว่า หลังการ สัมพันธ์กับการพยากรณ์โรคที่ดีขึ้น ฝึกทักษะในการแก้ปัญหาให้กับผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้า กลุ่มทดลองแสดงให้เห็นถึงการปรับเปลี่ยนความ ระดับเล็กน้อยและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ส่วนใหญ่ไม่มี คิดใหม่ในทิศทางก่อประโยชน์แก่ตนเอง ตัวอย่างเช่น ภาวะซึมเศร้าภายหลังการทดลองในระยะติดตามผล 1 ปัญหาการต้องนอนโรงพยาบาล “มันจะช่วยให้เราดีขึ้น” เดือน และ 3 เดือน และจากการศึกษาของ Erdley “โชคดีที่เบิกได้” ปัญหาหนี้สิน “ถ้าเราขยันสักวันก็ใช้ (2013) ที่พบว่า การเพิ่มทักษะในการแก้ปัญหาสามารถ หนี้หมด” “อย่างน้อยก็มีบ้านมีที่ดินอยู่” เป็นต้น จาก ช่วยลดอาการของภาวะซึมเศร้าให้แก่ผู้สูงอายุโรคไตวาย การฝึกหยุดคิดและฝึกทักษะความคิดเชิงบวก (positive เรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไต thinking) เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้ป่วยมีความคิดด้านลบ เทียมได้ ให้น้อยลงและคิดด้านบวกให้มากขึ้น ช่วยให้เกิดความ ดังนั้นโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาแบบ คิดที่สมเหตุสมผล อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง รวมถึง รายบุคคลสามารถน�ำไปใช้ลดภาวะซึมเศร้าในระดับเล็ก สามารถควบคุมอารมณ์ขณะแก้ปัญหาจากการฝึกการ น้อยและปานกลางของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ หายใจเพื่อผ่อนคลาย อีกทั้งการเสริมแรงทางบวกให้กับ สุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมได้ ด้วย ตนเองในการแก้ปัญหา โดยให้ผู้ป่วยจินตนาการถึงภาพ การช่วยให้ผู้ป่วยมีการรับรู้หรือมีมุมมองต่อปัญหาในทาง ตัวเองในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไรหากปัญหานี้ได้รับการ บวกและมีทักษะในการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ และ แก้ไข จะชื่นชมตัวเองหรือจะสร้างก�ำลังใจให้กับตัวเอง เหมาะสม อย่างไรกับการแก้ปัญหา และการติดตามผลจากการ ลงมือแก้ปัญหา สอบถามอุปสรรค และวิธีแก้ไขอุปสรรค ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ที่เกิดขึ้น รวมถึงการท�ำการบ้านจะช่วยให้ผู้ป่วยมีการฝึก บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสามารถน�ำ ทักษะต่าง ๆ ซ�้ำ ๆ ในขั้นตอนเดิมอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ผู้ โปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาไปใช้ ส�ำหรับช่วย ป่วยมีความมั่นใจในการน�ำทักษะต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้ไปใช้ ลดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย

310 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effect of Problem Solving Therapy Program on Depression among Patients with End Stage Renal Disease Receiving Hemodialysis.

ที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมได้ตามเงื่อนไข ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ของการใช้โปรแกรม คือ เป็นผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าอยู่ใน การวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการ ระดับเล็กน้อยถึงระดับปานกลาง (5-19 คะแนน) ไม่มี ช่วยลดภาวะซึมเศร้าในระยะ 2 สัปดาห์จึงควรมีการวิจัย ปัญหาด้านการรู้คิดและผู้ใช้โปรแกรมนี้ควรเป็นพยาบาล ติดตามผลของการให้โปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ วิชาชีพ หรือนักจิตวิทยาที่ผ่านการอบรมการใช้โปรแกรม ปัญหาอย่างต่อเนื่องในระยะยาวที่ 1, 3 และ 6 เดือน การบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหา มีความรู้และมีประสบ เพื่อประเมินความคงทนของการใช้โปรแกรมการบ�ำบัด การณ์ในการดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายฯ ด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้า และควรมีศึกษาผล และภาวะซึมเศร้า และควรด�ำเนินกิจกรรมตามโปรแกรม การใช้โปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึม ในช่วงก่อนท�ำการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมประมาณ เศร้าในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรง ควร 60-90 นาที เพื่อความสะดวกในการด�ำเนินกิจกรรม มีการเปรียบเทียบถึงระดับภาวะซึมเศร้าที่ลดลงมีความ สัมพันธ์หรือมีส่วนช่วยให้อาการทางกายดีขึ้นหรือไม่ เอกสารอ้างอิง Chayakul, C. (2014). Medical Guidelines for Hemodialysis in 2014. Bangkok: Duantula Printing. (In Thai) Department of Mental Health. (2010). Clinical practice guidelines for social-psychological therapy for disease patients depression for general practitioners in tertiary care facilities [Manual]. Retrieved from http://www.thaidepression.com/www/news54 /CPG-MDD-GP.pdf. (In Thai) De Souza Tursi, M.F., von Werne Baes, C., De Barros Camacho, F.R., De Carvalho Tofoli, S.M., & Juruena, M.F. (2013). Effectiveness of psychoeducation for depression: a systematic review. Australian and New Zealand Journal of Psychiatry; 47(11): 1019-1031. D’Zurilla, T. J. (1988). Problem-solving therapies. In Dobson, K. S. (Ed.), Handbook of cognition behavioral therapies (pp. 85-135). London: Hutchinson. D’Zurilla, T. J., Nezu, A. M., & Maydeu-Olivares, A. (2002). Social Problem-Solving Inventory- Revised (SPSI-R) : Technical manual. North Tonawanda. NY: Multi-Health Systems. D’ Zurilla, T.J., & Nezu, A. M. (2007). Problem-solving therapy: a positive approach to clinical intervention. New york: Springer. Erdley, S. D. (2013). Problem-Solving Therapy for Depressed Older Hemodialysis Patients: A pilot Randomized Trial. Retrieved from http://repository.upenn.edu/edissertations_sp2. Khamphakdi, S. (2012). The prevalence of major depressive disorder in chronic disease patients. Medical Journal of Sisaket Hospital Surin Buri Ram, 27(2), 108-112. (In Thai) Kongsuk, T. (2007). Depression. Ubon Ratchathani: Siritham Offset. (In Thai) Lotrakul, M., Sumrithe, S., & Saipanish, R. (2008). Reliabilityand validity of the Thai version of the PHQ-9. BMC Psychiatry, 8(46).

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 311 ผลของโปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

McCool, M., Johnstone, S., Sledge, R., Witten, B., Contillo, M., Aebel-Groesch, K. & Hafner, J. (2011). The promise of symptom-targeted intervention to manage depression in dialysis patients. Retrieved from http://www.nephrologynews.com Nezu, A. M., & Nezu, C. M. (2008). Problem Solving Therapy for depression: PST for depression. workshop 2nd Asian CBT conference- 2008. Bangkok. Polit, D. F., & Hungler, B. P. (1987). Nursing research: Principles and methods (3rd ed.) Philadelphia: Lippincott. Sadock, B. J., Sadock, V. A., & Ruiz, P. (2015). Kaplan and Sandock’s synopsis of psychiatry: behavioral sciences/clinical psychiatry (11th ed.). New York: Aptara. Siwiset, S., Hathompanom, W., Yubunpan, S., Bangsaeng, S., & kotnara, I. (2013).Problems solving therapy group in patients depression and risk of suicide. Journal of Mental Health of Thailand, 21(2), 98-109. (In Thai) Tapinta, D. (2015). Depression: Cognitive Behavior Counseling, Nursing Journal, 42(4), 205-213. (In Thai) Teles, F., de Azevedo, V.F., Miranda, C.T., Miranda, M.P., Teixeira, M.C., Elias, R.M. (2014). Depression in hemodialysis patients: the role of dialysis shift. Clinics, 69(3), 198-202. Thongyu, R., Kongsuriyawin, W., Phornchaikeu-oyong, A., & Unanapirak, L. (2011). The result of Problem-solving group therapy for depression in the elderly with type 2 diabetes. Journal of the Nursing Council, 26(3), 78-92. (In Thai) Thung Khampan, P. (2014). Psychotherapy group for Health Personnel, Concepts and Applications (2nd edition). Chiang Mai: Klongchung Printing. (In Thai)

312 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ Head Nurses’ Transformational Leadership and Registered Nurses’ Voice Behaviors, University Hospitals, Northern Region

ชไมพร ปินใจ * Chamaiporn Pinjai * เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล ** Petsunee Thungjaroenkul ** ทรียาพรรณ สุภามณี *** Treeyaphan Supamanee ***

บทคัดย่อ พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นเป็นปัจจัยส�ำคัญในการท�ำให้องค์การเกิดการเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์ นวัตกรรม ดังนั้นหัวหน้าหอผู้ป่วยจึงควรมีการส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพมีพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น การวิจัย เชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ และความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของ หัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพจ�ำนวน 352 คน ที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 1 ปีและสุ่มเลือกมา ด้วยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และ 3) แบบประเมินการปฏิบัติภาวะผู้น�ำ ซึ่ง แบบสอบถามพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และแบบประเมินการปฏิบัติภาวะผู้น�ำมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของค รอนบาค เท่ากับ .89 และ .88 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปีย ร์แมน ผลการวิจัยพบว่า 1. พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยมีภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปอยู่ในระดับสูง (=3.63, SD=.77) พยาบาล วิชาชีพร้อยละ 88 มีพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นในระดับสูงและร้อยละ 12 มีพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ที่ต้องมีการปรับปรุงให้ดีขึ้นในระดับปานกลางถึงระดับต�่ำ 2. การรับรู้ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ของพยาบาลวิชาชีพ (rs = .239, p < .01) ผลการศึกษานี้ท�ำให้ผู้บริหารทางการพยาบาลมีความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูป ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมแสดงความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ และมีข้อเสนอแนะให้หัวหน้าหอผู้ป่วย ควรต้องมีภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปเพื่อจะได้น�ำไปใช้ในการจูงใจให้ผู้ตามมีการแสดงความคิดเห็นที่น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลง

* พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ * Professional Nurse, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, Chiang Mai ** ผู้เขียนหลัก, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Corresponding Author, Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand *** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 313 ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ

ค�ำส�ำคัญ: ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูป พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย หัวหน้า หอผู้ป่วย

Abstract Voice behavior of employees is a vital factor to facilitate changes and to create innovation in an organization. Therefore, head nurses should motivate Registered Nurses to have voice behavior. The purposes of this descriptive correlational study were to explore the perceived transformational leadership of head nurses, the level of voice behavior among nurses and the relationship between perceived transformational leadership and voice behavior among nurses in University Hospitals Northern Region. The sample consisted of 352 Registered Nurses who have at least one year of experience were chosen by stratified random sampling. The study instrument used was a questionnaire that included three parts: 1) demographic data questionnaire, 2) voice behaviors questionnaire, and 3) Leadership Practices Inventory. The Cronbach’ alpha coefficients of the voice behaviors questionnaire and the Leadership Practices Inventory were .89 and .88, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman’s rank-order correlation. The study results were as follows 1. Registered Nurses perceived the transformational leadership of head nurses at a high level (= 3.63, SD = .77). About 88 % of registered nurses had a high level of voice behavior, whereas approximately 12% of the nurses had to improve their voice behavior. 2. Perceived head nurses’ transformational leadership had a positive correlation with voice behaviors (rs = .239, p < .01) The results of this study could help nurse managers to understand the association between perceived head nurses’ transformational leadership and voice behavior among registered nurses. It is recommended that transformational leadership should be a requirement of head nurses to practice in order to motivate followers to voice their suggestions for changes.

Key words: Transformational Leadership, Voice Behaviors, Registered Nurses, University Hospitals, Head Nurses

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา องค์การสุขภาพก็เช่นเดียวกัน โรงพยาบาลทุกแห่ง มีการ การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ พัฒนาและผลักดันตัวเองเข้าสู่การรับรองคุณภาพโรง เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ก่อให้เกิด พยาบาล (Hospital Accreditation) ดังนั้นทุกโรง ความไม่แน่นอน ส่งผลท�ำให้ทุกองค์การต้องมีการ พยาบาลจึงต้องมีการพัฒนาการท�ำงานอย่างเป็นระบบ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ก้าวทันกับสถานการณ์อยู่ตลอด ทั่วทั้งองค์การ (Suphachutikul, 2013) ซึ่งการพัฒนา เวลาเพื่อให้องค์การอยู่รอด มีความมั่นคง และมีการ องค์การต้องอาศัยความคิดเห็นจากบุคลากรทุกระดับ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง (Sungsombati, 2007) ใน แนวทางการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการท�ำงาน

314 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Transformational Leadership and Registered Nurses’ Voice Behaviors, University Hospitals, Northern Region

และรูปแบบการบริการให้สอดคล้องกับความต้องการ ก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและพิจารณาความดีความ ของผู้รับบริการทางด้านสุขภาพและศักยภาพของ ชอบของผู้ปฏิบัติงาน ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานจะมีการ องค์การ พิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบถึงผลได้ ผลเสียที่จะ พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น หมายถึงการน�ำ เกิดขึ้นในการแสดงความคิดเห็นของตนต่อผู้บริหาร เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงงาน ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ (Morrison et al., 2011) และนอกจากนั้นผู้น�ำที่มีภาวะ ไม่ได้ก�ำหนดให้บุคลากรต้องท�ำ แต่เกิดจากความสมัคร ผู้น�ำเชิงปฏิรูปจะส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานมีพฤติกรรมการ ใจของบุคคลที่จะแสดงออกถึงความท้าทายที่จะท�ำให้ แสดงความคิดเห็นมากขึ้น (Detert & Burris, 2007) ซึ่ง องค์การมีการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วยพฤติกรรม 2 คูซส์และโพสต์เนอร์ (Kouzes & Posner, 1995) ได้ระบุ ประเภทคือ พฤติกรรมเชิงรุกในการท�ำงานและ คุณลักษณะของผู้น�ำเชิงปฏิรูปไว้ 5 ประการคือ1) การ พฤติกรรมเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา (Van Dyne & สร้างกระบวนการแบบท้าทาย (challenging the pro- LePine, 1998) พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของ cess) 2) การสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วมกัน บุคลากรในองค์การมีความส�ำคัญต่อการบริหารงานใน (inspiring a shared vision) 3) การท�ำให้ผู้อื่นได้แสดง องค์การอย่างมาก ทั้งนี้เพราะการที่บุคลากรมีการพูด ความสามารถ (enabling others to act) 4) การเป็น แสดงความคิดเห็นในงานจะท�ำให้ผู้บริหารได้ข้อเสนอ แบบอย่าง (modeling the way) 5) การเสริมสร้างก�ำลัง แนะ แนวคิด ทางเลือกใหม่ ๆ ที่หลากหลายในการตัดสิน ใจ(encouraging the heart) ดังนั้นหากหัวหน้าหอผู้ ใจแก้ไขปัญหาในองค์การ (Detert & Burris, 2007) และ ป่วยมีการแสดงภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปย่อมส่งผลให้ ช่วยให้บุคลากรได้ระบายความรู้สึก ลดความเครียด รวม บุคลากรมีความกล้าแสดงความคิดเห็น ส่งผลให้การ ทั้งผู้บริหารได้ทราบปัญหาที่ท�ำให้พนักงานเกิดความไม่ บริหารงานบรรลุตามเป้าหมายขององค์การ พึงพอใจในการท�ำงานและการบริหารงานในองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ให้การดูแลรักษาการ (Zhou & George, 2001) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแสดง เจ็บป่วยที่มีความซับซ้อน พยาบาลวิชาชีพมีบทบาท พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานแยก ส�ำคัญที่จะได้มีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจและวางแผน เป็นปัจจัยภายใน เช่น ความรู้สึกพึงพอใจ ความยึดมั่น การให้บริการทางด้านสุขภาพแก่ผู้รับบริการ โดย ผูกพันต่อวิชาชีพ ความรู้สึกที่ต้องการทดแทนบุญคุณต่อ พยาบาลวิชาชีพจะได้รับมอบหมายให้เข้าไปมีส่วนร่วม คนหรือองค์การ ความรู้สึกว่าได้รับความยุติธรรมมีผลต่อ ในทีมรักษาพยาบาลผู้ป่วย (patient care team) เพื่อ การแสดงความคิดเห็นหรือการไม่แสดงความคิดเห็นของ ร่วมวางแผนการรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่มีความเจ็บป่วย ผู้ปฏิบัติงาน และปัจจัยภายนอก เช่น ลักษณะองค์การ ซับซ้อน และมอบหมายให้มีส่วนร่วมในทีมพยาบาลเพื่อ ที่มีช่องทางในการสื่อสารระหว่างกันและระบบการ วางแผนการให้บริการทางด้านการพยาบาลแก่ผู้ป่วยใน รายงานปัญหาในการท�ำงานที่ดี (Van Dyne & LePine, หอผู้ป่วย นอกจากนี้ยังมีส่วนร่วมในการบริหารงานทีม 1998; Morrison & Milliken, 2000; Morrison, พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล โดยท�ำหน้าที่ในการน�ำเสนอ Wheeler-Smith & Kamdar, 2011) ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ ข้อมูลผลการปฏิบัติงาน ข้อผิดพลาดและแนวทางในการ จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีภาวะผู้น�ำที่ ปรับปรุงการท�ำงานที่เหมาะสมกับศักยภาพขององค์การ เหมาะสม (Thailand Nursing and Midwifery Council, 2011) นอกจากหัวหน้าหอผู้ป่วยจะมีส่วนส�ำคัญในการจัด ซึ่งในการมีส่วนร่วมดังกล่าวจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่พยาบาล สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการแสดงออก วิชาชีพ ควรมีการกล้าแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ ของบุคลากรในองค์การแล้ว หัวหน้าหอผู้ป่วยยังเป็น เพื่อประโยชน์ต่อองค์การและต่อคุณภาพในการดูแลของ บุคคลที่มีอ�ำนาจเหนือกว่าผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจากเป็นผู้ ผู้รับบริการ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 315 ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ

จากการทบทวนงานวิจัยที่ผ่านยังไม่พบว่ามีการ 2. พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของของ ศึกษาวิจัยว่าพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาค มหาวิทยาลัยมีพฤติกรรมแสดงความคิดเห็นมากน้อย เหนือเป็นอย่างไร เพียงใด นอกจากนี้จากการทบทวนงานวิจัยที่ผ่านมาพบ 3. ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยมี ว่ามีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูป ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของ กับพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพนักงานที่ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาค ท�ำงานในโรงงานประเทศจีน (Liu & Yang, 2010) เหนือหรือไม่ อย่างไร พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพนักงานร้าน อาหาร (Detert & Burris, 2007) ซึ่งเป็นการศึกษาความ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย สัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้างานกับ การวิจัยนี้อาศัยแนวคิดภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของ พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของบุคลากรในหน่วย หัวหน้าหอผู้ป่วย ของ Kouzes & Posner (1995) งานที่ไม่ใช่ด้านสุขภาพ ในขณะที่ยังไม่พบว่ามีการศึกษา แนวคิดพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปกับพฤติกรรม วิชาชีพ ตามแนวคิดของ Van Dyne & LePine (1998) การแสดงความคิดเห็นของบุคลากรทางด้านสุขภาพ ด้วย โดยภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปเป็นพฤติกรรมของผู้น�ำในการ เหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความสัมพันธ์ โน้มน้าวให้ผู้ตามท�ำตาม ประกอบด้วย 5 ด้านคือ การ ระหว่างภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและ สร้างกระบวนการแบบท้าทาย การสร้างแรงบันดาลใจ พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ ให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วมกัน การท�ำให้ผู้อื่นได้แสดงความ ผลที่ได้จากการศึกษานี้จะมีประโยชน์ในการส่งเสริมให้ สามารถ การเป็นแบบอย่าง และการเสริมสร้างก�ำลังใจ พยาบาลมีพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นอันจะก่อให้ ซึ่งผู้น�ำที่มีภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปจะมีการปฏิบัติที่เป็นแบบ เกิดการพัฒนางานบริการพยาบาลให้มีคุณภาพต่อไป อย่าง มีการกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้บุคคลเกิดความ คิดสร้างสรรค์ในการลงมือท�ำสิ่งใหม่ๆ จึงท�ำให้พนักงาน วัตถุประสงค์การวิจัย ซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชามีการแสดงความคิดเห็นใน 2 1. เพื่อศึกษาภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอ ลักษณะคือ พฤติกรรมเชิงรุกในการท�ำงานและ ผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล พฤติกรรมเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา มหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของ วิธีด�ำเนินการวิจัย พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาเพื่อหาความ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำเชิง สัมพันธ์ (descriptive correlational study) โดยมี ปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดง วัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของ ความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของ มหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ พยาบาลวิชาชีพ และหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำ เชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพฤติกรรมการแสดง ค�ำถามการวิจัย ความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาล 1. ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยตาม มหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ การรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง มหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือเป็นอย่างไร ประชากรในการวิจัย คือพยาบาลวิชาชีพ ระดับ

316 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Transformational Leadership and Registered Nurses’ Voice Behaviors, University Hospitals, Northern Region

ปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขต Posner (1995) ฉบับภาษาไทยของChitonnom, ภาคเหนือ รวมทั้งสิ้น 1,489 คน กลุ่มตัวอย่างคือ (1999) ซึ่งมีข้อค�ำถาม 30 ข้อ แยกเป็น 5 ด้าน คือการ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการในสังกัดงานการ สร้างกระบวนการแบบท้าทาย การสร้างแรงบันดาลใจ พยาบาลในโรงพยาบาล 2 แห่งคือ โรงพยาบาลโรง ให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วมกัน การท�ำให้ผู้อื่นได้แสดงความ พยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาล สามารถ การเป็นแบบอย่าง และการเสริมสร้างก�ำลังใจ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่มีประสบการณ์ในการท�ำงาน ลักษณะค�ำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 1-5 อย่างน้อย 1 ปีและยินดีให้ความร่วมมือในการตอบ และแปลผลออกมาเป็น 5 ระดับคือ ระดับสูง ระดับค่อน แบบสอบถาม ค�ำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามสูตร ข้างสูง ระดับปานกลาง ระดับค่อนข้างต�่ำและระดับต�่ำ ของ Yamane(1976) as cited in (Srisatitnarakul, เท่ากับ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.21-5.00 ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2007) โดยก�ำหนดค่าความคาดเคลื่อนในการสุ่ม .05 ที่ 3.41-4.20 ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.61-3.40 ค่าเฉลี่ยระหว่าง ระดับความเชื่อมั่น .95 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 316 1.81-2.60 และค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00-1.80 ตามล�ำดับ คน แต่เนื่องจากใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม คณะผู้วิจัยได้ท�ำการทดสอบความเชื่อมั่นของ อาจได้กลับคืนไม่ครบ จึงเพิ่มจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างอีกร้อย แบบสอบถาม โดยน�ำไปทดลองใช้กับพยาบาลวิชาชีพ ละ 20 (Srisatitnarakul, 2007) ท�ำให้ขนาดตัวอย่าง ระดับปฏิบัติการจ�ำนวน 10 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จาก เท่ากับ 379 คน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ นั้นน�ำมาวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าของครอ ตามสัดส่วนของพยาบาลในแต่ละแผนกของแต่ละโรง นบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ได้ค่าความ พยาบาล เชื่อมั่นของแบบสอบถามประเมินพฤติกรรมการแสดง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ความคิดเห็นและแบบสอบถามประเมินภาวะผู้น�ำเชิง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม ปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาล ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วน วิชาชีพเท่ากับ .89 และ .88 ตามล�ำดับ บุคคล 2) แบบประเมินพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น การเก็บรวบรวมข้อมูล ของ Van Dyne & LePine (1998) ที่คณะผู้วิจัยแปล โครงร่างวิจัยได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ เป็นภาษาไทย โดยคณะผู้วิจัยแปลแบบประเมินเป็น จริยธรรมการวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย ภาษาไทยและให้ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษ 2 ท่าน เชียงใหม่และโรงพยาบาลทั้งสองแห่ง การเก็บรวบรวม แปลกลับเป็นภาษาไทย จากนั้นมีการเปรียบเทียบแบบ ข้อมูล ผู้วิจัยได้ขออนุญาตเก็บข้อมูลจากผู้อ�ำนวยการโรง ประเมินที่มาจากผู้เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษกับแบบ พยาบาลและหัวหน้าฝ่ายการพยาบาลของโรงพยาบาล ประเมินต้นฉบับและได้มีการปรับแก้จนมีความ ทั้ง 2 แห่ง เมื่อได้รับอนุญาตแล้วคณะผู้วิจัยท�ำการแจก คล้ายคลึงกันมากที่สุด แบบประเมินนี้มีข้อค�ำถาม 6 ข้อ แบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างในโรงพยาบาลมหาราช เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 1-7 และแปลผลออก นครเชียงใหม่ และส่งคืนแบบสอบถามในกล่องที่วางไว้ มาเป็น 5 ระดับคือ ระดับสูง ระดับค่อนข้างสูง ระดับ ในหอผู้ป่วยภายใน 2 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มตัวอย่างในโรง ปานกลาง ระดับค่อนข้างต�่ำและระดับต�่ำ เท่ากับ ค่า พยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะผู้วิจัยได้มอบให้ผู้ เฉลี่ยระหว่าง 5.81-7.00 ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.61-5.80 ประสานงานซึ่งผ่านการอบรมการเก็บข้อมูลจากผู้วิจัย ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.41-4.60 ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.21-3.40 ท�ำหน้าที่ในการแจกแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างในโรง และค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00-2.20 ตามล�ำดับ และ3) พยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร และส่งคืนแบบสอบถาม แบบสอบถามภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูป (Leadership Prac- ในกล่องที่วางไว้ในหอผู้ป่วยภายใน 2 สัปดาห์ เก็บ tice Inventory (LPI- observer)) ของ Kouzes & รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนธันวาคม 2559 ถึง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 317 ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ

กุมภาพันธ์ 2560 ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามกลับมาจาก ผลการวิจัย โรงพยาบาลทั้ง 2 แห่งรวมทั้งหมดจ�ำนวน 360 ฉบับคิด ข้อมูลส่วนบุคคล พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น เป็นร้อยละ 94.9 จากนั้นผู้วิจัยน�ำแบบสอบถามมาตรวจ เพศหญิงร้อยละ 93.18 โดยอยู่ในช่วงอายุ 23-37 ปี ร้อย สอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ก่อนการบันทึก ละ 51.70 และมีสถานภาพโสดร้อยละ 53.41 ระดับการ ข้อมูล ซึ่งจากการตรวจสอบแบบสอบถามที่มีความ ศึกษาส่วนใหญ่จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่าร้อยละ สมบูรณ์จ�ำนวน 352 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 92.8 84.09 และส่วนใหญ่เป็นพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการที่ การวิเคราะห์ข้อมูล ไม่ใช่ช�ำนาญการ/ช�ำนาญการพิเศษร้อยละ 79.55 มี ข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้า ระยะเวลาในการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลน้อยกว่า 10 หอผู้ป่วย และพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของ ปี ร้อยละ 46.02 สถานการณ์จ้างงานส่วนใหญ่เป็น พยาบาลวิชาชีพได้น�ำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติบรรยาย พนักงานมหาวิทยาลัยประจ�ำร้อยละ 59.10 และส่วน ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน ใหญ่ไม่เคยและ/หรือไม่เป็นคณะกรรมการในทีมพัฒนา มาตรฐาน และท�ำการหาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม คุณภาพร้อยละ 71.02 การแสดงความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพกับภาวะผู้น�ำ ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผลการ เชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยใช้สถิติสหสัมพันธ์ส ศึกษาพบว่าภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วย เปียร์แมน เนื่องจากข้อมูลทั้งพฤติกรรมการแสองความ ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับ คิดเห็นและข้อมูลภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ ค่อนข้างสูงโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.66 และในแต่ละด้าน ป่วยมีการแจกแจงแบบไม่ปกติ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.57-3.71 (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวม และรายด้าน (n =352) ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วย  SD ระดับ การสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วมกัน 3.60 .75 ค่อนข้างสูง การสร้างกระบวนการแบบท้าทาย 3.57 .78 ค่อนข้างสูง การเป็นแบบอย่าง 3.71 .82 ค่อนข้างสูง การเสริมสร้างก�ำลังใจ 3.61 .82 ค่อนข้างสูง การท�ำให้ผู้อื่นได้แสดงความสามารถ 3.66 .81 ค่อนข้างสูง โดยรวม 3.63 .77 ค่อนข้างสูง

3. พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาล พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาพบว่าพยาบาลวิชาชีพมีพฤติกรรมการ และร้อยละ 1.1 ของพยาบาลวิชาชีพมีพฤติกรรมการ แสดงความคิดเห็นในระดับสูงร้อยละ 51.7 และร้อยละ แสดงความคิดเห็นอยู่ในระดับค่อนข้างต�่ำและระดับต�่ำ 36.4 ของพยาบาลวิชาชีพมีพฤติกรรมการแสดงความ ตามล�ำดับ (ตารางที่ 2) คิดเห็นค่อนข้างสูง ร้อยละ 9.7 ของพยาบาลวิชาชีพมี

318 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Transformational Leadership and Registered Nurses’ Voice Behaviors, University Hospitals, Northern Region

ตารางที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละระดับพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น จ�ำแนกตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ (n =352) พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น จ�ำนวน ร้อยละ ระดับต�่ำ 4 1.1 ระดับค่อนข้างต�่ำ 4 1.1 ระดับปานกลาง 34 9.7 ระดับค่อนข้างสูง 128 36.4 ระดับสูง 182 51.7

4. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการแสดงความ ความคิดเห็นมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต�่ำกับภาวะ คิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพกับภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของ ผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมและทุกด้าน หัวหน้าหอผู้ป่วย ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมการแสดง (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนระหว่างภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการ แสดงความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ (n =352) ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าผู้ป่วย พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น การสร้างกระบวนการแบบท้าทาย .252** การสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วมกัน .246** การท�ำให้ผู้อื่นได้แสดงความสามารถ .242** การเป็นแบบอย่าง .205** การเสริมสร้างก�ำลังใจ .231** โดยรวม .239** **p < .01

การอภิปรายผล แสดงให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาล 1. การศึกษาภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ มหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือมีการแสดงภาวะผู้น�ำเชิง ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล ปฏิรูปมากขึ้นกว่าในอดีต มหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ พบว่าภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูป เมื่อพิจารณาภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ ของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ป่วยทั้ง 5 ด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับค่อนข้างสูง กับอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (=3.66, SD=.85) เมื่อ คือ ด้านการเป็นแบบอย่าง ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ เปรียบเทียบผลการศึกษาของงานวิจัยที่ผ่านมาของ ให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วมกันและ ด้านการสร้างกระบวนการ เมทินี จิตรอ่อนน้อม (Chitonnom,1999) ซึ่งท�ำการ แบบท้าทาย ผลการศึกษานี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ ศึกษาภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการ Kraisree (2013) ที่พบว่าพยาบาลโรงพยาบาลชุมชนมี รับรู้ของพยาบาลประจ�ำการ โรงพยาบาลมหาราชนคร การรับรู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยมีภาวะผู้น�ำในทั้งสามด้านดัง เชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยมีภาวะ กล่าวอยู่ในระดับสูง แต่ขัดแย้งกับผลการศึกษาของ ผู้น�ำเชิงปฏิรูปในระดับปานกลาง (=3.44, SD=.0.67) Chitonnom (1999) และการศึกษาของ Danket

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 319 ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ

(2000) ที่พบว่าพยาบาลในโรงพยาบาลมหาราชนคร Chiang Mai Hospital, 2016) ท�ำให้ภาระงานของ เชียงใหม่และโรงพยาบาลชุมชนมีการรับรู้ว่าหัวหน้าหอ พยาบาลวิชาชีพมีมากขึ้น หัวหน้าหอผู้ป่วยจึงต้องมีการ ผู้ป่วยมีภาวะผู้น�ำในทั้งสามด้านดังกล่าวอยู่ในระดับปาน เสริมสร้างแรงจูงใจในการท�ำงาน ทั้งนี้เพราะแรงจูงใจจะ กลาง ความแตกต่างของผลการศึกษาในประเด็นนี้อาจ เป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะส่งเสริมให้เกิดก�ำลังใจในการปฏิบัติ เกิดจากบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปของการบริหารงาน งาน (Herzberg, Mausner, & Snyderman, 1959) ปัจจุบันโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยมีการใช้การบริหาร ด้านการท�ำให้ผู้อื่นได้แสดงความสามารถระดับค่อนข้างสูง เชิงกลยุทธ์ ซึ่งการบริหารรูปแบบนี้ต้องมีการก�ำหนด เนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยไม่สามารถท�ำงานให้ส�ำเร็จ ทิศทางองค์กร วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจและความ ด้วยตนเองได้ และลักษณะการให้บริการทางด้านสุขภาพ ส�ำเร็จขององค์กรที่คาดหวังไว้อย่างชัดเจนและต้องอาศัย ที่ต้องอาศัยการท�ำงานเป็นทีมจึงจะประสบความส�ำเร็จ ความร่วมมือของบุคลากรทุกคนในองค์การ (Srisatit- หัวหน้าหอผู้ป่วยจึงต้องแสดงบทบาทในการพัฒนาความ narakul, 2007) ส�ำหรับด้านการสร้างเสริมก�ำลังใจ ซึ่ง สามารถในการปฏิบัติงานแก่บุคลากรพยาบาลและมีการ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับค่อนข้างสูง ผลการศึกษานี้ เสริมสร้างพลังอ�ำนาจด้วยการมอบหมายงานที่ท้าทาย สอดคล้องกับงานวิจัยของ Kraisree (2013) ที่พบว่า ความสามารถ จึงท�ำให้พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าหัวหน้า พยาบาลโรงพยาบาลชุมชนมีการรับรู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วย หอผู้ป่วยมีภาวะผู้น�ำในการท�ำให้ผู้อื่นได้แสดงความ มีภาวะผู้น�ำในด้านการสร้างเสริมก�ำลังใจในระดับสูง แต่ สามารถในการท�ำงาน สอดคล้องกับหลายงานวิจัยที่ผ่าน ขัดแย้งกับผลการศึกษาของ Chitonnom (1999) และ มา (Chitonnom, 1999); Danket, 2000; Kraisree, การศึกษาของ Danket (2000) ที่พบว่าพยาบาลในโรง 2013) ซึ่งพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วย พยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่และโรงพยาบาลชุมชนมี มีภาวะผู้น�ำในการท�ำให้ผู้อื่นได้แสดงความสามารถอยู่ใน การรับรู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยมีภาวะผู้น�ำในด้านการสร้าง ระดับสูง เสริมก�ำลังใจในระดับปานกลาง ความแตกต่างของผล 2. การศึกษาพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของ การศึกษาในประเด็นนี้อาจเกิดจากบริบทที่เปลี่ยนแปลง พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาค ไปของการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในโรง เหนือ พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 36.4และ ร้อยละ 51.7 พยาบาลมหาวิทยาลัยที่ต้องดูแลผู้ป่วยที่มีความซับซ้อน มีพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาลอยู่ใน ด้วยการพัฒนาองค์ความรู้วิชาการให้ทันสมัย มีการใช้ ระดับค่อนข้างสูงและระดับสูงตามล�ำดับ มีความ เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย ตลอดจนการน�ำ สอดคล้องกับการศึกษาของ Rueangjiraurai (2010) นวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ในการให้การพยาบาล นอกจาก ที่ท�ำการศึกษาในพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลตติยภูมิ ภาระงานหลักในการให้การบริการทางการพยาบาลแล้ว ภาคใต้ ที่พบว่าพยาบาลประจ�ำการรับรู้ว่าได้รับโอกาส ปัจจุบันพยาบาลวิชาชีพต้องรับผิดชอบงานนอกเหนือ ให้แสดงความคิดเห็นอยู่ในระดับสูง (=3.71, SD=.82) จากการให้การบริการทางการพยาบาล เช่น การเป็น อย่างไรก็ตาม ผล การศึกษานี้มีความแตกต่างจากผลการ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาล คณะ ศึกษาของSanghon (2016) ที่พบว่า พยาบาลวิชาชีพ กรรมการวิชาการ เป็นต้น มีการจัดกิจกรรมที่เสริมสร้าง ในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือจ�ำนวนร้อยละ 56.8 แรงจูงใจในการท�ำงานของบุคลากร เช่น มีการสนับสนุน มีการน�ำเสนอความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง การที่ ให้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น การให้ทุนไปศึกษาดูงานที่ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาค ต่างประเทศ การส่งเสริมให้มีการน�ำเสนอผลงานทาง เหนือมีพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาลอยู่ วิชาการ การมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ (ca- ในระดับค่อนข้างสูงจนถึงระดับสูงเป็นส่วนใหญ่ อธิบาย reer path) (Nursing Department Maharaj Nakorn ได้จากคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้ ซึ่ง

320 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Transformational Leadership and Registered Nurses’ Voice Behaviors, University Hospitals, Northern Region

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ก็มีประสบการณ์ในการท�ำงาน กับพฤติกรรมแสดงความคิดได้โดยอาศัยกลไกการเกิด ที่มากกว่า 10 ปีอยู่ที่ร้อยละ 53.92 (ตารางที่ 1) การที่ พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ซึ่งมีนักวิชาการกล่าว พยาบาลส่วนใหญ่มีประสบการณ์มากจะสามารถตัดสิน ว่าการแสดงความคิดเห็นของคนท�ำงานจะเกิดขึ้นเมื่อคน ใจและเลือกวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง มี นั้นเกิดแรงขับที่อยากจะต้องการให้องค์การเกิดการ ความเหมาะสมและรวดเร็ว มากกว่ากลุ่มพยาบาลที่ เปลี่ยนแปลงและมีความก้าวหน้า ทั้งนี้ก่อนที่จะแสดง ประสบการณ์น้อย (Benner, 1984) จากคุณลักษณะดัง ความคิดเห็นออกไปจะมีการพิจารณาไตร่ตรองผลได้ กล่าวอาจท�ำให้พยาบาลวิชาชีพมีความกล้าที่จะแสดง และผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการแสดงพฤติกรรมการ ความคิดเห็น ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่อการ แสดงความคิดเห็น และเลือกที่จะแสดงความคิดเห็นเมื่อ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับองค์การ นอกจากนี้กลุ่ม ผลได้มากกว่าผลเสีย และเลือกที่จะไม่แสดงความคิดเห็น ตัวอย่างที่ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 23-37 ปี ร้อยละ เมื่อผลเสียมากกว่าผลได้ (Van Dyne et al, 1998; 51.70 ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่อยู่ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (คน Morrison, 2011) ดังนั้นการที่หัวหน้าหอผู้ป่วยโน้มน้าว ที่เกิดระหว่างปี พ.ศ.2523-2543) โดยบุคลิกภาพและ ผู้ตามด้วยการสร้างกระบวนการที่ท้าทาย การสร้างแรง ลักษณะของกลุ่มบุคคลเหล่านี้จะมีความมั่นใจในตัวเอง บันดาลใจให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วมกัน การท�ำให้ผู้อื่นได้แสดง สูง กล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็น มีความคิดเป็น ความสามารถ การเป็นแบบอย่างและการเสริมสร้าง ของตนเอง ชอบความท้าทาย และไม่ชอบการบังคับ ก�ำลังใจ จะจูงใจให้ผู้ตามเกิดแรงขับที่อยากจะต้องการ ขู่เข็ญ บุคคลในกลุ่มนี้จะเน้นการท�ำงานเชิงรุก มีการใช้ ให้องค์การเกิดการเปลี่ยนแปลง มีความมั่นใจในตัวผู้น�ำ ทักษะทางความคิด มีระบบการจัดการที่ดีไม่ชอบการ และกล้าแสดงความคิดเห็นกับตัวผู้น�ำและเพื่อนร่วมงาน ท�ำงานหนัก ต้องการความก้าวหน้า และชอบท�ำกิจกร สอดคล้องกับ (Bowles, & Bowles, 2000) ที่พบว่าผู้น�ำ รมหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน (Boychuk & Cowin, ที่มีภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปจะมีการแสดงออกถึงบทบาทที่มี 2004; Weingarte, 2009) ประกอบกับปัจจุบันโรง ความเข้มแข็งและมีการประเมินเป้าหมายของผู้ตาม พยาบาลในประเทศไทย รวมทั้งโรงพยาบาลระดับ และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้ผู้ตามได้เห็น เมื่อผู้ตาม มหาวิทยาลัย มีการส่งเสริมให้พยาบาล แพทย์และ ได้เห็นก็จะเกิดความมั่นใจในตัวผู้น�ำ และหลายงานวิจัย บุคลากรสุขภาพอื่น ๆ มีส่วนร่วมในการพัฒนาและเสนอ ที่สนับสนุนว่าภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปมีความสัมพันธ์กับ แนวทางในการแก้ไขและปรับปรุงงานในหลายช่องทาง พฤติกรรมแสดงความคิดเห็น (Liu, Renhong, & Yong- เช่น การประชุมร่วมก่อนท�ำงานในทุกวัน การประชุม kang, 2010; Aranzamendez, 2014) ประจ�ำเดือน การเป็นตัวแทนในคณะกรรมการพัฒนา ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูป คุณภาพโรงพยาบาล เป็นต้น (Nursing Department ของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลมีความ Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, 2016) สัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ดัง 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของ นั้นผู้บริหารทางการพยาบาลจึงควรท�ำให้พยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยกับพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น วิชาชีพเกิดการรับรู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยมีการแสดงออก ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขต ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปซึ่งจะน�ำสู่พฤติกรรมการแสดงความ ภาคเหนือ ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของ คิดเห็นที่อยู่ในระดับของการเสนอแนวทางในการ หัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลมีความ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแนวทางในการปฏิบัติ ได้ สัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของ นวัตกรรมใหม่ ๆ เกิดขึ้น พยาบาลวิชาชีพ (rs = .239, p < .01) (ตารางที่ 3) สามารถอภิปรายความสัมพันธ์ของภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูป

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 321 ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เขตภาคเหนือ

ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. หัวหน้าฝ่ายการพยาบาลควรมีการส่งเสริมให้ 1. ควรมีการศึกษาการรับรู้ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูป หัวหน้าหอผู้ป่วยมีการใช้ภาวะผู้น�ำเชิงปฏิรูปในทุกด้าน ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิด ให้อยู่ในระดับนี้อย่างต่อเนื่อง อันจะส่งผลให้เกิดการ เห็นของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยกับ สร้างสรรค์นวัตกรรมและแนวทางในการปรับปรุงและ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลอื่น ๆ เพื่อให้ทราบ พัฒนาการให้บริการพยาบาลให้ดียิ่งขึ้น สถานการณ์ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผู้น�ำของหัวหน้า 2. หัวหน้าหอผู้ป่วยควรมีการประเมินพฤติกรรม หอผู้ป่วยและพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของ การแสดงความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วย พยาบาลวิชาชีพในประเทศ และส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพได้แสดงความคิดเห็นมาก 2. ควรมีการศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริมหรืออุปสรรค ขึ้นด้วยการให้พยาบาลทุกคนมีโอกาสเป็นตัวแทนของ ของพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของพยาบาล หน่วยงานในการท�ำงานร่วมกับบุคลากรพยาบาลนอก วิชาชีพในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน เพื่อให้ได้ หน่วยงาน สหวิชาชีพ หรือการจัดให้มีช่องทางในการ แนวทางในการส่งเสริมให้พยาบาลมีพฤติกรรมการแสดง แสดงความคิดเห็นที่หลากหลายมากขึ้น เป็นต้น ความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพต่อไป เอกสารอ้างอิง Aranzamendez, G. (2014). Relationship of perceived direct supervisor affiliation, direct supervisor leadership style, and nurses’ voice behavior. Doctoral dissertation, Texas Woman’s University, United States. Benner, P. (1984). From novice to expert. Menlo Park, CA: Addison-Wesley. Bowles, A., & Bowles, N. B. (2000). A comparative study of transformational leadership in nursing Development unit and conventional clinical setting. Journal of Nursing Management, 8(2), 69-76. Boychuk, E. J., & Cowin, L. (2004). Multigenerational nurses in the workplace. Journal of Nursing Administration. 34(11), 439-501. Chitonnom, M. (1999). Leadership of Head Nurses and Organizational Commitment of Staff Nurses in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. (Master’s thesis, Chiang Mai University, Chiang Mai). Retrieved from http://library.cmu.ac.th (In Thai) Danket, J. (2000). Leadership Behaviors of Head Nurses and Productivity of Staff Nurses in Community Hospitals Region 10. (Master’s thesis, Chiang Mai University, Chiang Mai) Retrieved from http://library.cmu.ac.th (In Thai) Detert, J.R., & Burris, E.R. (2007). Leadership behavior and employee voice: Is the door really open?. Academy of Management Journal, 50(4), 869–884. Herzberg, F., Mausner, B., & Snyderman. B. B. (1959). The Motivation to Work. New York: John Wiley and Sons, lnc. Kouzes, J. M., & Posner, B. Z. (1995). The leadership challenge. (2nd ed.). San Francisco, CA: Jossey-Bass.

322 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Transformational Leadership and Registered Nurses’ Voice Behaviors, University Hospitals, Northern Region

Kraisree, N. (2013). Transformational leadership, organizational culture and organizational effectiveness as perceived by professional nurses in community hospitals, Northern region. (Master’s thesis, Chiang Mai University, Chiang Mai). Retrieved from http://library.cmu.ac.th (In Thai) Liu, W., Zhu, R., & Yang, Y. (2010). I warn you because I like you: Voice behavior, employee identifications, and transformational leadership.The Leadership Quarterly. 21, 189–202. Morrison, E.W., & Milliken, F.J. (Eds.). (2000). Organizational silence: A barrier to change and development in a pluralistic world. Academy of Management Review, 25(4), 706–725. Morrison, E. W., Wheeler-Smith, S. L., & Kamdar, D. (2011). Speaking up in group: A cross-level study of group voice climate and voice. Journal of Applied Psychology, 96(1), 183-191. Nursing Department Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. (2016). Meeting schedule Nursing Department Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital 2016. Chiang Mai: Author. (In Thai) Rueangjiraurai, R. (2010). Building organization Climate by Head Nurses , Proactive Habit and Team Learning of Nurses in Tertiary Hospitals, Southern Thailand. (Master’s thesis, Prince of Songkla University, Songkla) (In Thai) Sanghon, K. (2016). Perceived Organizational Support and Proactive Work Behavior Among Registered Nurses. (Master’s thesis, Chiang Mai University, Chiang Mai). Retrieved from http://library.cmu.ac.th (In Thai) Srisatitnarakul, B. (2007). The methodology in nursing research (4th ed.). Bangkok: U&I Intermedia. (In Thai) Srisatitnarakul, B. (2007). Leadership and strategic management in nursing organization for the 21st century. Bangkok: Faculty of Nursing, Chulalongkorn University (2nd ed.). (In Thai) Sungsombati, K. (2007). Modern Management Techiques. Rajamangala University of Technology Phra Nakhon. Retrieved from http://uhost.rmutp.ac.th/kanlayanee.so/index.htm (In Thai) Suphachutikul, A. (2013). HA Update 2013. Nonthaburi: Wandee Books Company Limited. (In Thai) Thailand Nursing and Midwifery Council. (2011). Strategic plan Thailand Nursing and Midwifery Council 2012-2016 (1st ed). Retrieved from http://www.tnc.or.th/files/2009/12/page-27/_25473.pdf (In Thai) Van Dyne, L., & LePine, J. A. (1998). Helping and voice extra-role behaviors: Evidence of construct and predictive validity. Academy of Management Journal, 41, 108-119. Zhou, J., & George, J. M. (2001). When job dissatisfaction leads to creativity: Encouraging the expression of voice. The Academy of Management Journal. 44, 682-696.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 323 เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม และคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย Professional Autonomy, Team Climate, and Quality Nursing Care Among Registered Nurses in Hospitals Under the Foundation of the Church of Christ in Thailand

ธัญญ์นลิน ภัทรธันยโรจน์ * Thannarin Pattarathanyaroj * ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ ** Thitinut Akkadechanunt .** รัตนาวดี ชอนตะวัน *** Ratanawadee Chontawan ***

บทคัดย่อ เอกสิทธิ์วิชาชีพ และบรรยากาศของทีมเป็นปัจจัยในองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการพยาบาล การศึกษา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระดับคุณภาพการพยาบาลและหาความสัมพันธ์ระหว่างเอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศ ของทีมและคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยพยาบาลจ�ำนวน 223 ราย ที่เลือกโดยการสุ่มจากโรงพยาบาลแมคคอร์มิค โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค และโรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถาม คุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาล (Quality of Nursing Care Scale for Nurses: QNCS-N) 2) แบบ วัดบรรยากาศของทีม (Team Climate Inventory: TCI) และ 3) แบบวัดเอกสิทธิ์วิชาชีพ (The Professional Nursing Activity Scale (PNAS) และค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาร์คอัลฟ่าของเครื่องมือ GNCS-N, TCI and PNAS เท่ากับ 0.89, 0.98, และ 0.87 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. เอกสิทธิ์วิชาชีพตามการรับรู้ของพยาบาลอยู่ในระดับสูง 2. บรรยากาศของทีมตามการรับรู้ของพยาบาลด้านวัตถุประสงค์ของทีม ด้านมุ่งงานและด้านการสนับสนุน ความคิดใหม่อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนความร่วมมือในทีมอยู่ในระดับสูง 3. คุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย โดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับสูงมาก 4. เอกสิทธิ์วิชาชีพตามการรับรู้ของพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพการพยาบาลในระดับปานกลาง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ 5. บรรยากาศของทีมในด้านวัตถุประสงค์ของทีมและด้านการสนับสนุนความคิดใหม่มีความสัมพันธ์ทางบวก ในระดับปานกลางกับคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาล ส่วนด้านความร่วมมือในทีมและด้านมุ่งงานมี

* พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลแมคคอร์มิค จังหวัดเชียงใหม่ * Professional Nurse, McCormick Hospital, Chiang Mai ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 324 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Professional Autonomy, Team Climate, and Quality Nursing Care Among Registered Nurses in Hospitals Under the Foundation of the Church of Christ in Thailand

ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต�่ำกับคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส�ำหรับผู้บริหารทางการพยาบาลในการธ�ำรงรักษาระดับคุณภาพ การพยาบาล โดยส่งเสริมเอกสิทธิ์วิชาชีพและบรรยากาศของทีมในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน ประเทศไทย

ค�ำส�ำคัญ: เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม คุณภาพการพยาบาล พยาบาล

Abstract Professional autonomy and team climate are organizational factors related to quality nursing care. The aim of this study were to describe the quality nursing care, professional autonomy and team climate and to explore the relationship between professional autonomy, team climate and quality nursing care as perceived by registered nurses in hospitals under the Foundation of the Church of Christ in Thailand. Subjects were 223 registered nurses randomly selected from McCormick Hospital, Overbrook Hospital and Bangkok Christian Hospital. Research instruments included: 1) Quality Nursing Care Scale for Nurses (QNCS-N), 2) Team Climate Inventory (TCI), and 3) Professional Nursing Activity Scale (PNAS), with validity confirmed by the developers. Cronbach’s alpha coefficient of the QNCS-N, the TCI and PNAS were 0.89, 0.98 and 0.87 respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation coefficient. The results of the study were as follows: 1. Professional autonomy, as perceived by the nurses, was at a high level. 2. Team Climate in the dimension of team objective, task orientation and support for new ideas, were perceived at a moderate level, whereas the dimension of participation in the team was perceived at a high level. 3. Quality nursing care, as perceived by nurses in hospitals under the Foundation of the Church of Christ in Thailand was at a high level. 4. There was significant positive relationship between professional autonomy and quality nursing care as perceived by nurses at a moderate level. 5. There were significant positive relationship between the subscales of team objective, support for new ideas and quality of nursing care as perceived by nurses at a moderate level. The subscales of participation in the team and task orientation showed a significant positive related with quality of nursing care as perceived by nurses at a low level. The results from this study could be used as baseline information for nursing administrators to maintain quality of nursing care by promoting professional autonomy and team climate in hospitals under the Foundation of the Church of Christ in Thailand.

Key words: Professional Autonomy, Team Climate, Quality Nursing Care, Nurse

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 325 เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม และคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา สามารถสนับสนุน ส่งเสริมหรือพัฒนาให้เกิดขึ้นในการ ท่ามกลางยุคสมัยที่การติดต่อสื่อสารระหว่าง ท�ำงาน (Mrayyan, 2004; Varjus et al., 2010; ประเทศเจริญถึงที่สุดในศตวรรษที่ 19 ส่งผลให้ปัญหา Schutzenhofer, 1988) ได้ให้ความหมายเอกสิทธ์ สุขภาพระหว่างประเทศข้ามพรมแดนได้อย่างรวดเร็ว วิชาชีพว่าเป็นการที่พยาบาลวิชาชีพมีความสามารถใน ปัญหาสุขภาพจึงแตกต่างไปจากเดิมที่เคยจ�ำกัดอยู่แต่ใน การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบ ประเทศ ประชาชนจึงมีความคาดหวังที่จะได้รับบริการ ที่มีความสอดคล้องกับหลักวิชาชีพที่ได้เรียนรู้มา โดยการ ที่มีประสิทธิภาพ (efficientcy) เสมอภาค (equity) และ ปฏิบัตินั้นอยู่ภายใต้การปกครองและขอบเขตของ มีคุณภาพ (quality) คุณภาพของการบริการด้านสุขภาพ กฎหมายวิชาชีพที่มีการก�ำหนดและควบคุมโดยสมาชิก ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ คุณภาพตามความเป็นจริง ในวิชาชีพโดยปราศจากการควบคุมจากบุคคลภายนอก (quality in fact) เป็นสิ่งที่ผู้ให้บริการได้ให้การดูแลผู้รับ เมื่อพยาบาลมีเอกสิทธิ์วิชาชีพจะมีความสามารถในการ บริการตามมาตรฐานที่กลุ่มวิชาชีพก�ำหนดขึ้น และ ให้การดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีคุณภาพ (Hogston, 1995) คุณภาพตามการรับรู้ (quality in perception) เกิดจาก ได้ท�ำการสัมภาษณ์พยาบาลจ�ำนวน 18 คนในโรงพยาบาล การที่ผู้รับบริการรับรู้ว่าบริการที่ได้รับนั้นเป็นไปตาม ทางใต้ของประเทศอังกฤษเกี่ยวกับการรับรู้คุณภาพ ความคาดหวัง ซึ่งทั้ง 2 ส่วนนี้ต้องผสมผสานกันอย่าง การพยาบาล ผลการศึกษาพบว่าเอกสิทธิ์วิชาชีพเป็น เหมาะสมจึงจะท�ำให้เกิดคุณภาพบริการได้ (Omachonu, ปัจจัยหนึ่งที่บ่งชี้คุณภาพการพยาบาล ส่วนการศึกษา 1990) คุณภาพการพยาบาลเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญ แบบผสมผสานทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณใน ของคุณภาพบริการด้ายสุขภาพเนื่องจากพยาบาลเป็นผู้ ประเทศไอร์แลนด์โดย Murhy (2007) ซึ่งศึกษาในกลุ่ม ที่ให้การดูแลผู้รับบริหารอย่างใกล้ชิดตลอด 24 ชั่วโมง ตัวอย่างพยาบาลจ�ำนวน 498 คนที่ให้การดูแลผู้สูงอายุ (quality of nursing care) ซึ่งคุณภาพการพยาบาลนั้น พบว่าเอกสิทธิ์ในวิชาชีพเป็นปัจจัยสนับสนุนอย่างหนึ่ง หมายถึง ความเป็นเลิศของการปฏิบัติการพยาบาลที่ ของคุณภาพการดูแล นอกจากนี้ผลการศึกษาในกลุ่ม สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยทั้งด้าน ตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพจ�ำนวน 266 คนของโรง ร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ สังคมและสิ่งแวดล้อมตาม พยาบาลทั่วไป 4 แห่งในนครย่างกุ้ง ประเทศสหภาพพม่า การรับรู้ของพยาบาล (Leinonen, Leino-Kilpi, โดย Myint (2010) พบว่า เอกสิทธิ์วิชาชีพมีความ Stahlberg & Lertola, 2001) ซึ่งคุณภาพการพยาบาล สัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพการพยาบาล (r = 0.233, p นั้นสามารถประเมินได้จาก 1) ลักษณะของพยาบาล < 0.01) จะเห็นว่างานวิจัยที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง (staff characteristics) 2) กิจกรรมที่สัมพันธ์กับการ เอกสิทธิ์วิชาชีพและคุณภาพการพยาบาลหรือคุณภาพ ดูแลผู้ป่วย (care-related activities) 3) ความพร้อม การดูแลงานวิจัยมีจ�ำนวนไม่มาก นอกจากนี้งานวิจัยที่ ของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย (preconditions for ระบุค่าความสัมพันธ์ยังมีจ�ำนวนจ�ำกัด จึงมีความจ�ำเป็น care) 4) ด้านสิ่งแวดล้อม (environment) ทางกายภาพ ต้องท�ำการวิจัยเพื่อยืนยันความสัมพันธ์ของสองตัวแปรนี้ และทางสังคม 5) ความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย นอกจากเอกสิทธิ์วิชาชีพแล้วการมีบรรยากาศของ (progress of nursing process) ทีมที่ดีจะเป็นส่วนส�ำคัญที่ช่วยท�ำให้พยาบาลสามารถ จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ปัจจัยที่ ให้การพยาบาลที่มีคุณภาพแก่ผู้ป่วย (Ouwens et al., เกี่ยวข้องกับคุณภาพการพยาบาลนั้นมีหลายปัจจัย 2008) บรรยากาศของทีมเป็นลักษณะเฉพาะของทีมที่ ซึ่งเอกสิทธิ์วิชาชีพและบรรยากาศของทีมในองค์กรเป็น ประสบความส�ำเร็จไม่ว่าจะเป็นทีมขนาดใหญ่ เช่น ทีม ปัจจัยที่ผู้บริหารทางการพยาบาลให้ความส�ำคัญเป็น บุคลากรทั้งโรงพยาบาลหรือ ทีมขนาดเล็ก เช่น ทีมการ อันดับแรก เพราะเป็นปัจจัยที่ผู้บริหารทางการพยาบาล พยาบาล (Nelson et al., 2002) เมื่อทีมมีบรรยากาศ

326 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Professional Autonomy, Team Climate, and Quality Nursing Care Among Registered Nurses in Hospitals Under the Foundation of the Church of Christ in Thailand

ที่ดีสมาชิกทีมจะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ ให้ผู้รับบริการพึงพอใจ ตลอดจนท�ำให้ผู้ให้บริการเกิด ประสบการณ์จากผู้เชี่ยวชาญและสมาชิกทีมด้วยกัน ความตระหนักในการให้บริการที่มีคุณภาพและพึงพอใจ ท�ำให้สามารถปฏิบัติงานในการบริการสุขภาพได้ดีขึ้น ในงาน แต่ยังพบว่าโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งมูลนิธิ (Nembhard, 2006; Anderson & West, 1998) ให้ สภาคริสตจักรในประเทศไทยยังมีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับ ความหมายบรรยากาศของทีมว่า เป็นการรับรู้ร่วมกัน พฤติกรรมของบุคลากร และการบริการ ผู้วิจัยในฐานะ ของทีมงานเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติและรูปแบบการ พยาบาลวิชาชีพซึ่งปฏิบัติงานในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งใน ท�ำงานขององค์กร ซึ่งประกอบด้วย 4 ด้านได้แก่ 1) ด้าน สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยจึงสนใจ วัตถุประสงค์ของทีม 2) ด้านความร่วมมือในทีม 3) ด้าน ศึกษาและผลการศึกษาคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ การมุ่งงาน 4) ด้านการสนับสนุนความคิดใหม่ จากการ บริหารโรงพยาบาล ผู้บริหารทางการพยาบาลและ ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของ พยาบาลวิชาชีพ ในการน�ำผลการศึกษาครั้งนี้ไปเป็น บรรยากาศของทีมและคุณภาพการพยาบาล พบว่าการ ข้อมูลพื้นฐานในการก�ำหนดแนวทางในการพัฒนา ศึกษาเดียวที่พบความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศของทีม คุณภาพการพยาบาล ส่งเสริมเอกสิทธิ์วิชาชีพและ กับคุณภาพการพยาบาลโดยตรง (Tsogbadrakh, 2014) บรรยากาศของทีม อันจะส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับ และการศึกษาของ Poulton & West (1999) พบว่า บริการต่อไป วัตถุประสงค์ของทีมมีความสัมพันธ์กับคุณภาพการดูแล ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งของประสิทธิภาพของทีม (r = วัตถุประสงค์การวิจัย 0.26, p = 0.05) นอกจากนี้ยังพบว่ามีงานวิจัยจ�ำนวน 1. เพื่อศึกษาเอกสิทธิ์วิชาชีพตามการรับรู้ของ หนึ่งที่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศของทีม พยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร และคุณภาพการดูแลหรือคุณภาพการพยาบาล (Hann, ในประเทศไทย Bower, Campbell, Marshall, & Reeves, 2007; 2. เพื่อศึกษาบรรยากาศของทีมตามการรับรู้ของ Goh, Eccles, & Steen, 2009) ท�ำให้ไม่สามารถสรุป พยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ความสัมพันธ์ของสองตัวแปรได้ จึงมีความจ�ำเป็นที่จะ ในประเทศไทย ศึกษาความสัมพันธ์ของสองตัวแปรนี้เพื่อสนับสนุนหรือ 3. เพื่อศึกษาคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ ยืนยันความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรดังกล่าว ของพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสต โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน จักรในประเทศไทย ประเทศไทยได้ก่อตั้งขึ้นเพื่อด�ำเนินพันธกิจของพระเจ้า 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเอกสิทธิ์วิชาชีพ ได้พัฒนาขีดความสามารถในการให้บริการจนปัจจุบันให้ และคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่ง บริการรักษาผู้ป่วยระดับตติยภูมิ ประกอบด้วย โรง สภาคริสตจักรในประเทศไทย พยาบาลกรุงเทพคริสเตียน โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊คและ 5. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศของ โรงพยาบาลแมคคอร์มิค เนื่องจากโรงพยาบาลทั้งสาม ทีมในแต่ละด้านและคุณภาพการพยาบาลในโรง แห่งนี้เป็นโรงพยาบาลเอกชนที่ไม่มุ่งหวังผลก�ำไร ดังนั้น พยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ผู้ใช้บริการต้องช�ำระค่ารักษาพยาบาลด้วยตนเอง จึงมี ความต้องการได้รับการบริการทางพยาบาลที่มีมาตรฐาน กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย และมีคุณภาพตามความคาดหวัง ด้วยเหตุนี้ผู้บริหาร กรอบแนวคิดในการศึกษาคุณภาพการพยาบาลใน ทางการพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพจึงต้องมีการ การศึกษาครั้งนี้ ได้แก่แนวคิดการพยาบาลที่ดีของ พัฒนาคุณภาพการบริการด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อ Leinonen et al. (2001) ซึ่งประกอบด้วยคุณภาพการ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 327 เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม และคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย

พยาบาล 5 ด้าน คือ 1) ด้านคุณลักษณะพยาบาล 2) ส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบสอบถามคุณภาพการพยาบาล ด้านกิจกรรมที่สัมพันธ์กับการดูแลผู้ป่วย3) ด้านความ ตามการรับรู้ของพยาบาลของ Akkadechanunt et al. พร้อมของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย 4) ด้านสิ่งแวดล้อม (2007) ส่วนที่ 3แบบวัดบรรยากาศของทีม (Team 5) ด้านความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย และเอกสิทธิ์ Climate Inventory: TCI) พัฒนาโดยแอนเดอร์สันและ วิชาชีพตามแนวคิดของ Schutzenhofer (1987) ซึ่ง เวสต์ (Anderson & West, 1998) และแปลเป็นภาษา เป็นความสามารถในการปฏิบัติงานของพยาบาลตาม ไทยโดยใช้วิธีแปลย้อนกลับ (back translation) และ บทบาทหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบที่มีความสอดคล้องกับ ส่วนที่ 4 แบบวัดเอกสิทธิ์วิชาชีพ (The Professional หลักวิชาชีพที่ได้เรียนรู้มา โดยการปฏิบัตินั้นอยู่ภายใต้ Nursing Activity Scale (PNAS) ที่สร้างโดย (Schut- การปกครองและขอบเขตของกฎหมายวิชาชีพที่มีการ zenhofer, 1987) และแปลเป็นภาษาไทยโดย Tieng- ก�ำหนดและควบคุมโดยสมาชิกในวิชาชีพโดยปราศจาก chanya (1996) ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามที่น�ำ การควบคุมจากบุคคลภายนอก ส่วนบรรยากาศของทีม ไปทดสอบกับพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลแมคคอร์มิค ตามแนวคิดของ Anderson & West (1998) ประกอบ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 15 คน แบบสอบถามคุณภาพ ด้วย 4 ด้านได้แก่ 1) ด้านวัตถุประสงค์ของทีม 2) ด้าน การพยาบาล แบบวัดเอกสิทธิ์วิชาชีพ แบบวัดบรรยากาศ ความร่วมมือในทีม 3) ด้านการมุ่งงาน 4) ด้านการ ของทีมมีค่าเท่ากับ 0.89, 0.87 และ0.98 สนับสนุนความคิดใหม่ เมื่อพยาบาลวิชาชีพมีการรับรู้ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง เอกสิทธิ์วิชาชีพในระดับที่ดีจะท�ำให้พยาบาลสามารถให้ ผู้วิจัยเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์ต่อคณะกรรมการ บริการทางการพยาบาลที่มีคุณภาพแก่ผู้รับบริการ ส่วน จริยธรรมการวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย การรับรู้บรรยากาศของทีมที่ดีนั้นจะท�ำให้พยาบาลให้ เชียงใหม่ เพื่อขอรับการรับรอง จากนั้นท�ำหนังสือขอ บริการโดยมุ่งเน้นความส�ำเร็จตามเป้าหมายของทีม อนุญาตด�ำเนินการศึกษาไปถึงผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ในเครือมูลนิธิสภาคริสตจักรแห่งประเทศไทยทั้ง 3 แห่ง วิธีด�ำเนินการวิจัย เมื่อได้รับอนุญาตด�ำเนินการศึกษา ผู้วิจัยท�ำหนังสือชี้แจง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบ วัตถุประสงค์ของการศึกษา และขอความร่วมมือในการ หาความสัมพันธ์ (descriptive correlational research) ตอบแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง พร้อมทั้งจัดท�ำ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พยาบาลวิชาชีพ เอกสารชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่างทราบว่าการเข้าร่วมการ ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน โรงพยาบาล วิจัยครั้งนี้เป็นไปด้วยความสมัครใจ ข้อมูลที่ได้จากการ โอเวอร์บรุ๊ค และโรงพยาบาลแมคคอร์มิค เป็นเวลาอย่าง วิจัยในครั้งนี้จะไม่มีการเปิดเผยให้เกิดความเสียหายแก่ น้อย 1 ปี ไม่ด�ำรงต�ำแหน่งบริหารจ�ำนวน 192 คน ที่ กลุ่มตัวอย่างโดยจะน�ำเสนอในภาพรวมและน�ำไปใช้ ค�ำนวณจากสูตรของ Srisatidnarakul (2010) ได้จ�ำนวน ประโยชน์ในการศึกษาเท่านั้น กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 230 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายและสุ่มแบบไม่แทนที่จากราย การรวบรวมข้อมูลในการวิจัยนี้ หลังจากโครงการ ชื่อพยาบาลวิชาชีพในแต่ละโรงพยาบาลที่มีคุณสมบัติ วิจัยผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรม คณะ ตามที่ก�ำหนดและยินดีให้ความร่วมมือในการตอบ พยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะกรรมการ แบบสอบถาม จริยธรรมการวิจัยโรงพยาบาล และได้รับอนุญาตให้เก็บ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ข้อมูลจากผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลที่จะเก็บข้อมูลแล้ว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม ผู้วิจัยเข้าพบหัวหน้าฝ่ายการพยาบาลแมคคอร์มิคด้วย ประกอบด้วย 4 ส่วน คือส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูล ตัวเอง และโทรศัพท์ไปยังหัวหน้าฝ่ายการพยาบาลโรง

328 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Professional Autonomy, Team Climate, and Quality Nursing Care Among Registered Nurses in Hospitals Under the Foundation of the Church of Christ in Thailand

พยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน เพื่อ ของทีม ท�ำการวิเคราะห์โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แนะน�ำตัว ชี้แจงวัตถุประสงค์ในท�ำการวิจัย รายละเอียด ของเพียร์สัน (Pearson’s product moment วิธีการเก็บข้อมูล จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างและคุณสมบัติของ correlation coefficient) กลุ่มตัวอย่างที่ต้องการและขอความอนุเคราะห์ในการ เก็บข้อมูล และขอรายชื่อผู้ประสานงานในการเก็บข้อมูล ผลการวิจัย โรงพยาบาลละหนึ่งคน เพื่อแจกและส่งแบบสอบถาม 1. ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็น กลับมายังผู้วิจัย และได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาทั้ง พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานอยู่ในงานการพยาบาลผู้ป่วย สามโรงพยาบาลจ�ำนวน 228 ฉบับภายในเวลา 4 สัปดาห์ ในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน (ร้อยละ 99.13) เมื่อผู้วิจัยท�ำการตรวจสอบความครบ ประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 99.10 มี ถ้วนของข้อมูลในแบบสอบถามพบว่าจ�ำนวน สถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 60.10 และมีวุฒิการศึกษา แบบสอบถามที่สมบูรณ์จ�ำนวน 223 ฉบับ (ร้อยละ 96.96) ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ร้อยละ 95.10 ระยะเวลาการ การวิเคราะห์ข้อมูล ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งพยาบาลวิชาชีพเฉลี่ย ร้อยละ ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล เอกสิทธิ์ 10.85 ปี ต�ำแหน่งที่ปฏิบัติงานในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็น วิชาชีพ บรรยากาศของทีมและคุณภาพการพยาบาลตาม พยาบาลวิชาชีพ ร้อยละ 94.20 และปฏิบัติงานในหอ การรับรู้ของพยาบาลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และ ผู้ป่วยศัลยกรรมมากที่สุด ร้อยละ 22.42 วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการพยาบาล 2. เอกสิทธิ์วิชาชีพตามการรับรู้ของพยาบาลอยู่ใน กับเอกสิทธิ์วิชาชีพ และความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพ ระดับสูง (= 189.96, SD = 20.54) (ตารางที่ 1) การพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลกับบรรยากาศ

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับเอกสิทธิ์วิชาชีพของกลุ่มตัวอย่าง (n = 223) เอกสิทธิ์วิชาชีพ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ โดยรวม 189.96 20.54 สูง

3. บรรยากาศของทีมตามการรับรู้ของพยาบาลด้านความร่วมมือในทีมอยู่ในระดับสูง (= 50.84, SD = 6.58) ส่วนด้านวัตถุประสงค์ของทีม (= 56.88, SD =11.46) ด้านมุ่งงาน (= 30.04, SD = 7.25) และด้านการสนับสนุน ความคิดใหม่ (= 31.08, SD = 5.09) อยู่ในระดับปานกลาง (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับของบรรยากาศของทีมตามการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง (n = 223) บรรยากาศของทีม Range () (SD) ระดับ ด้านวัตถุประสงค์ทีม 11-77 56.88 11.46 ปานกลาง ด้านความร่วมมือในทีม 12-60 50.84 6.58 สูง ด้านมุ่งงาน 7-49 30.04 7.25 ปานกลาง ด้านการสนับสนุนความคิดใหม่ 8-40 31.08 5.09 ปานกลาง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 329 เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม และคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย

4. คุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาล 2.55) ด้านกิจกรรมที่สัมพันธ์กับการดูแลผู้ป่วย (= 83 ในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน .43, SD = 8.45 )ด้านความพร้อมของพยาบาลการดูแล ประเทศไทยโดยรวมอยู่ในระดับสูงมาก (= 214.50, ผู้ป่วย (= 32.30, SD = 4.89) ด้านสิ่งแวดล้อม (= SD = 20.88) และรายด้านอยู่ในระดับสูงมากเช่นกัน 29.14, SD = 4.11) ด้านความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย ได้แก่ ด้านคุณลักษณะของพยาบาล (= 31.84, SD = (= 37.74, SD = 4.54) ตามล�ำดับ (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างและระดับการรับรู้คุณภาพการพยาบาลโดยรวม และรายด้าน (n = 223) คุณภาพการพยาบาลตาม ระดับการรับรู้ () SD การรับรู้ของพยาบาล คุณภาพการพยาบาล โดยรวม 214.50 20.88 สูงมาก ด้านคุณลักษณะของพยาบาล 31.84 2.55 สูงมาก ด้านกิจกรรมที่สัมพันธ์กับการดูแลผู้ป่วย 83.43 8.45 สูงมาก ด้านความพร้อมของพยาบาลการดูแลผู้ป่วย 32.30 4.89 สูงมาก ด้านสิ่งแวดล้อม 29.14 4.11 สูงมาก ด้านความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย 37.74 4.54 สูงมาก

5. เอกสิทธิ์วิชาชีพตามการรับรู้ของพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพการพยาบาลในระดับปานกลาง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (r = 0.33, p < 0.01) (ตารางที่ 4)

ตารางที่ 4 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันระหว่างเอกสิทธิ์วิชาชีพกับคุณภาพการพยาบาล (n = 223) ตัวแปร คุณภาพการพยาบาล ระดับความสัมพันธ์ เอกสิทธิ์วิชาชีพ 0.33** ปานกลาง **p 0.01

6. บรรยากาศของทีมในด้านวัตถุประสงค์ของทีม พยาบาล ส่วนด้านความร่วมมือในทีม (r = 0.26, p < (r = 0.32, p < 0.01) และด้านการสนับสนุนความคิดใหม่ 0.01) และด้านมุ่งงาน (r = 0.29, p < 0.01) มีความ (r = 0.36, p < 0.01) มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับ สัมพันธ์ทางบวกในระดับตำ�่ กับคุณภาพการพยาบาลตาม ปานกลางกับคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของ การรับรู้ของพยาบาลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5)

ตารางที่ 5 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันระหว่างบรรยากาศของทีมกับคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ ของพยาบาล (n = 223) ด้าน ด้าน ด้าน ด้าน วัตถุประสงค์ทีม ความร่วมมือ มุ่งงาน สนับสนุนความคิดใหม่ คุณภาพการพยาบาล 0.32** 0.26** 0.29** 0.36** **p 0.01 330 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Professional Autonomy, Team Climate, and Quality Nursing Care Among Registered Nurses in Hospitals Under the Foundation of the Church of Christ in Thailand

การอภิปรายผล (Tiengchanya, 1996) เนื่องจากการสั่งการพยาบาล ผลการศึกษาระดับเอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศ เป็นสิทธิ หน้าที่อันชอบธรรมที่สามารถปฏิบัติได้ และ ของทีม คุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาล เป็นการแสดงให้เห็นถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็น และความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการพยาบาลกับ ส�ำคัญในการปฏิบัติตามสิทธิของผู้ป่วยที่พึงจะได้รับการ เอกสิทธิ์วิชาชีพ และบรรยากาศของทีมของพยาบาล ดูแลสุขภาพโดยเฉพาะผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตราย วิชาชีพโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน ถึงแก่ชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ ประเทศไทยในครั้งนี้ ผู้ศึกษาขอเสนอการอภิปรายผล ประกอบวิชาชีพทันทีตามความจ�ำเป็นแก่กรณี โดยไม่ ตามค�ำถามการวิจัยดังนี้ ค�ำนึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอความช่วยเหลือหรือไม่ ซึ่งเป็น 1. เอกสิทธิ์วิชาชีพตามการรับรู้ของพยาบาลใน บทบาทที่แสดงถึงเอกสิทธิ์ในวิชาชีพโดยไม่ต้องมีค�ำสั่ง โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน การรักษาจากแพทย์ และในปัจจุบันพยาบาลวิชาชีพยัง ประเทศไทยอยู่ในระดับใด เป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการจัดซื้อเครื่องมือใหม่ๆ ที่ จากผลการศึกษาที่พบว่า เอกสิทธิ์วิชาชีพของกลุ่ม จ�ำเป็นในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อเข้าไปมีส่วนร่วม ตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 189.96, ในการปรับปรุง เสนอความคิดเห็นตามความเป็นจริง SD = 20.54) (ตารางที่ 1) ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้อง และความต้องการทางการพยาบาลได้มากขึ้น (The กับการศึกษาในรัฐไอโอวา สหรัฐอเมริกา ที่พบว่า พยาบาล Quality Center, 2015) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการมี มีการรับรู้เอกสิทธิ์วิชาชีพอยู่ในระดับสูง (Kumar, 2008) เอกสิทธิ์ของพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิสภาค อย่างไรก็ตามผลการศึกษาครั้งนี้ไม่สอดคล้องกับการ ริสตจักร จึงท�ำให้พยาบาลสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการ ศึกษาในประเทศกรีซ และในประเทศพม่า ซึ่งพบว่า พยาบาลที่มีคุณภาพแก่ผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องและความ พยาบาลมีการรับรู้เอกสิทธิ์วิชาชีพอยู่ในระดับปานกลาง เหมาะสม เท่านั้น (Iliopoulou & While, 2010; Myint, 2010) 2. บรรยากาศของทีมตามการรับรู้ของพยาบาล การที่พยาบาลมีการรับรู้เอกสิทธิ์ในระดับสูงนั้น แสดง ในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน ให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างที่เป็นพยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่า ประเทศไทยเป็นอย่างไร สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบตาม จากการศึกษาองค์ประกอบบรรยากาศของทีม หลักวิชาที่ได้เรียนรู้และเป็นไปตามขอบเขตของ ตามการรับรู้ของพยาบาลในครั้งนี้พบว่า ด้านความร่วม กฎหมายของวิชาชีพได้อย่างดียิ่ง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก มือในทีมอยู่ในระดับสูง ส่วนด้านวัตถุประสงค์ของทีม ลักษณะงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลสังกัด ด้านมุ่งงานและด้านการสนับสนุนความคิดใหม่พยาบาล มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรเป็นการดูแลและมีระยะเวลาที่ รับรู้อยู่ในระดับปานกลาง แสดงเห็นได้ว่าพยาบาลรับรู้ ใกล้ชิดผู้ป่วยมากกว่าแพทย์เจ้าของไข้ จึงท�ำให้มีการ ร่วมกัน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติ จัดการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจในการให้การดูแลแก่ นโยบายและขั้นตอนการด�ำเนินงานต่างๆขององค์กร ผู้ป่วยในภาวะปกติและฉุกเฉินก่อนที่จะพบแพทย์ การที่พยาบาลมีการรับรู้บรรยากาศของทีมด้านความ (Assembly of the Church of Christ in Thailand, ร่วมมือในทีมอยู่ในระดับสูง (= 50.84, SD = 6.58) 2014) ซึ่งภาวะดังกล่าวพยาบาลประจ�ำการเป็นก�ำลัง (ตารางที่ 2) อาจเนื่องจากพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัด หลักส�ำคัญในการให้การบริการจะต้องมีความรับผิดชอบสูง มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยมีการรับรู้และ มีความรู้ความสามารถในการตัดสินในการประเมินสภาพ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันอย่างทั่วถึง โดยผ่าน ปัญหาของผู้ป่วย การสั่งการพยาบาล ในการให้การช่วย ทางระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล และมีการจัดตั้ง เหลือชีวิตผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว และมีคุณภาพ ทีมสหวิชาชีพที่ให้การดูแลผู้ป่วยเฉพาะโรค มีการตั้งโค้ด

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 331 เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม และคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย

ส�ำหรับประกาศเรียกทีมเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะ 2014) แต่ไม่สอดคล้องกับการศึกษาในประเทศ วิกฤตอันตรายถึงแก่ชีวิต จึงเป็นปัจจัยที่ท�ำให้บุคลากร เนเธอร์แลนด์ ซึ่งพบว่าพยาบาลมีการรับรู้บรรยากาศ ในทีมมีวิธีการท�ำงานร่วมกันเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อ ของทีมด้านการสนับสนุนความคิดใหม่อยู่ในระดับสูง องค์กร ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้ไม่สอดคล้องกับการศึกษา (Poulton & West, 1999) ในประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศอังกฤษและประเทศ 3. คุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของ มองโกเลีย ที่พบว่า พยาบาลมีการรับรู้บรรยากาศของ พยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสต ทีมด้านความร่วมมือในทีมอยู่ในระดับปานกลาง จักรในประเทศไทยรับรู้คุณภาพการพยาบาลโดยรวม (Poulton & West, 1999; Ouwens et al., 2008; และรายด้านอยู่ในระดับใด Tsogbadrakh, 2014) ทั้งนี้อาจเนื่องจากบริบทการ ผลการศึกษาในครั้งนี้ พบว่าระดับคุณภาพการ ท�ำงานเป็นทีมที่แตกต่างกัน พยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับ ส่วนผลการศึกษาการรับรู้ของพยาบาลด้าน สูงมาก (= 214.50, SD = 20.88) (ตารางที่ 3) ทั้งนี้ วัตถุประสงค์ของทีม ด้านมุ่งงาน และด้านการสนับสนุน อาจเนื่องจากโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ความคิดใหม่ พบว่าอยู่ในระดับปานกลาง (ตารางที่2) ในประเทศไทยเป็นโรงพยาบาลเอกชน ที่มุ่งเน้นการให้ ทั้งนี้อธิบายได้ว่าพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่ง บริการแก่ผู้รับบริการได้รับความรวดเร็ว มีความ สภาคริสตจักรในประเทศไทยมีการรับรู้วิสัยทัศน์ ปลอดภัยและประทับใจในการให้การพยาบาล นอกจาก นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของโรงพยาบาลอย่างทั่วถึง นี้โรงพยาบาลได้ด�ำเนินการและพยายามพัฒนาคุณภาพ ผ่านการสื่อสารสู่ผู้ปฏิบัติโดยหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล การบริการอย่างต่อเนื่อง มีการด�ำเนินงาน 5 ส. การ สู่กลุ่มงานและสู่หัวหน้าตึก ถึงแม้ว่าพยาบาลที่เข้าไปมี พัฒนาพฤติกรรมบริการสู่ความเป็นเลิศ การบริหาร ส่วนร่วมในการก�ำหนดนโยบายหรือจัดท�ำแผนกลยุทธ์ ความเสี่ยง การปฏิรูปสิ่งแวดล้อมภายในโรงพยาบาล จะมีจ�ำนวนไม่มากนัก แต่พยาบาลก็มุ่งมั่น ตั้งใจในการ อย่างต่อเนื่อง จนได้รับรองมาตรฐานคุณภาพจากสถาบัน ท�ำงานปฏิบัติงานตามแผนและปฏิบัติตามกฎระเบียบ พัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลทั้งสามแห่ง ซึ่ง ของโรงพยาบาลเพื่อให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ที่ได้ ฝ่ายการพยาบาลของโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาค ก�ำหนดไว้ นอกจากนี้โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาค ริสตจักรในประเทศไทยได้ด�ำเนินการปรับปรุงและ ริสตจักรในประเทศไทยทั้งสามแห่งมีการสนับสนุนความ พัฒนาคุณภาพการพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง คิดใหม่ ๆ หรือวิธีการท�ำงานใหม่ ๆ และการท�ำวิจัยจาก ส่งผลท�ำให้บริการพยาบาลมีคุณภาพได้มาตรฐาน ซึ่งผล งานประจ�ำ โดยประกาศเป็นนโยบายของโรงพยาบาล การศึกษาครั้งนี้ สอดคล้องกับการศึกษาคุณภาพการ (Assembly of the Church of Christ in Thailand, พยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลพบว่า ระดับคุณภาพ 2014) แต่อย่างไรก็ตามการน�ำไปนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลโดยรวมอยู่ใน อาจจะยังไม่ต่อเนื่อง มีอุปสรรคในเรื่องของเวลา ขาด ระดับสูง (Zhao et al., 2006; Zhao et al., 2008; บุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านงานวิจัย การสนับสนุนด้านเงิน Myint, 2010; Chimi, 2014; Tsogbadrakh, 2014; ทุน จึงยังไม่มีงานวิจัยเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ผลการ Akkadechanunt et al., 2007) แต่อย่างไรก็ตามยังพบ ศึกษาครั้งนี้พบความสอดคล้องกับการศึกษาในประเทศ ความแตกต่างจากการศึกษาในประเทศสหภาพพม่า พบ อังกฤษและประเทศมองโกเลียที่พบว่า พยาบาลมีการ ว่าคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลโดย รับรู้บรรยากาศของทีม ด้านวัตถุประสงค์ของทีม ด้าน รวมอยู่ในระดับปานกลาง (Maung, 2012) และใน มุ่งงาน และด้านการสนับสนุนความคิดใหม่อยู่ในระดับ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พบว่า ปานกลาง (Ouwens et al., 2008; Tsogbadrakh, คุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลโดยรวม

332 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Professional Autonomy, Team Climate, and Quality Nursing Care Among Registered Nurses in Hospitals Under the Foundation of the Church of Christ in Thailand

อยู่ในระดับต �่ำ (Mouioudomdeth, 2012) เมื่อ ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ พิจารณาระดับคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของ จากการศึกษา พบว่า เอกสิทธิ์วิชาชีพและคุณภาพ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสต การพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลมีความสัมพันธ์ จักรในประเทศไทยรายด้าน พบว่า คุณภาพการพยาบาล กันทางบวกในระดับปานกลาง (r = 0.33, p < 0.01) ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพทั้ง 5 ด้าน คือ 1) ด้าน (ตารางที่ 4) ซึ่งผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าเมื่อ คุณลักษณะของพยาบาล 2) ด้านกิจกรรมที่สัมพันธ์กับ พยาบาลพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาค การดูแลผู้ป่วย 3) ด้านความพร้อมของพยาบาลการดูแล ริสตจักรในประเทศไทยสามารถปฏิบัติงานตามบทบาท ผู้ป่วย 4) ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม 5) หน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบ ที่มีความสอดคล้องกับหลัก ด้านความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย อยู่ในระดับสูงมาก วิชาชีพที่ได้เรียนรู้มา โดยปฏิบัติอยู่ภายใต้การปกครอง (ตารางที่ 3) แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นพยาบาล และขอบเขตของกฎหมายวิชาชีพที่มีการก�ำหนดและ วิชาชีพในโรงพยาบาลมีบุคลิกที่เหมาะสม ทั้งนี้เนื่องมา ควบคุมโดยสมาชิกในวิชาชีพ โดยปราศจากการควบคุม จากโรงพยาบาลมีการจัดอบรมพฤติกรรมบริการสู่ความ จากบุคคลภายนอกแล้ว จะท�ำให้พยาบาลสามารถ เป็นเลิศเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง และอาจเป็นผลมา ให้การพยาบาลอย่างมีคุณภาพต่อผู้ป่วย (Schutzen- จากการที่ฝ่ายการพยาบาลได้ก�ำหนดระเบียบข้อปฏิบัติ hofer, 1987) ผลการศึกษาครั้งนี้สนับสนุนผลการศึกษา ต่างๆ เรื่องการแต่งกายและการพยาบาลเพื่อตอบสนอง ในโรงพยาบาลทางใต้ของประเทศอังกฤษที่พบว่า ความต้องการของผู้ป่วยเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล การ เอกสิทธิ์วิชาชีพเป็นปัจจัยหนึ่งที่บ่งชี้คุณภาพการ ยอมรับในความเป็นบุคคลและให้เกียรติ การพิทักษ์สิทธิ พยาบาล (Hogston, 1995) และสอดคล้องกับผลการ ของผู้ป่วย นอกจากนี้การปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล ศึกษาของ (Rafferty et al., 2001) ที่พบว่าเอกสิทธิ์ของ ตามกระบวนการพยาบาล การวางแผนการจ�ำหน่าย วิชาชีพมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับ ตั้งแต่แรกรับถึงจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้ การรับรู้คุณภาพการดูแล และการศึกษาในนครย่างกุ้ง ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้ ประเทศสหภาพพม่าที่พบว่าเอกสิทธิ์วิชาชีพมีความ สอดคล้องกับการศึกษาคุณภาพการพยาบาลตามการรับ สัมพันธ์ทางบวกแต่อยู่ในระดับต�่ำกับคุณภาพการ รู้ของพยาบาลโดยรวมและรายด้านพบว่าอยู่ในระดับสูง พยาบาล (r = 0.233, p < 0.01) (Myint, 2010) (Zhao et al., 2006; Zhao et al., 2008; Myint, 2010; 5. บรรยากาศของทีมในแต่ละด้านและคุณภาพ Chimi, 2014; Tsogbadrakh, 2014; Akkadechanunt การพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสต et al., 2007) อย่างไรก็ตามพบการศึกษาที่ไม่สอดคล้อง จักรในประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ กันประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและ จากการศึกษา พบว่า คุณภาพการพยาบาลตาม ประเทศพม่า พบว่า พยาบาลรับรู้ด้านคุณลักษณะของ การรับรู้ของพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับ พยาบาล ด้านกิจกรรมที่สัมพันธ์กับการดูแลผู้ป่วย ด้าน ปานกลางกับบรรยากาศของทีมด้านวัตถุประสงค์ของทีม สิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับต�่ำ (Mouioudomdeth, 2012) และด้านสนับสนุนความคิดใหม่ (r = 0.32, p < 0.01; r ด้านความพร้อมของพยาบาลการดูแลผู้ป่วย และด้าน = 0.36, p < 0.01) ด้านความร่วมมือในทีมและด้านมุ่ง ความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย อยู่ในระดับปานกลาง งานมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต�่ำ (r = 0.26, p < (Maung, 2012; Mouioudomdeth, 2012) และด้าน 0.01; r = 0.29, p < 0.01) (ตารางที่ 5) ซึ่งแสดงให้เห็น สิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับปานกลาง (Maung, 2012) ว่าการที่บุคลากรมีการรับรู้บรรยากาศของทีมดีจะมี 4. เอกสิทธิ์วิชาชีพและคุณภาพการพยาบาลใน ความสามารถในการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจใน โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน องค์กร ร่วมคิดเกี่ยวกับการปฏิบัติใหม่ ๆ เพื่อที่จะเพิ่ม

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 333 เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม และคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย

คุณภาพการปฏิบัติงานร่วมกัน เมื่อทีมมีบรรยากาศที่ดี สอนให้หลากหลายรูปแบบ สมาชิกทีมจะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้และ 2. ส่งเสริมและติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประสบการณ์จากผู้เชี่ยวชาญและสมาชิกทีมด้วยกัน บริการสู่ความเป็นเลิศอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท�ำให้สามารถปฏิบัติงานในการให้บริการสุขภาพได้ดีขึ้น เรื่องการสื่อสารระหว่างบุคลากรพยาบาลในขณะให้การ (Nembhard, 2006)ผลการศึกษาครั้งนี้สนับสนุนการ พยาบาล ศึกษาที่พบว่าองค์กรมีความจ�ำเป็นจะต้องปรับปรุง 3. สนับสนุน ส่งเสริมให้พยาบาลมีการศึกษาต่อ บรรยากาศของทีมในโรงพยาบาลเพื่อให้การดูแลของ เนื่องในระดับต่างๆ ทั้งในระดับปริญญาโท เอก และการ พยาบาลมีคุณภาพสูงขึ้น (Bower et al, 2003; Poulton อบรมฟื้นฟูวิชาการเพื่อให้พยาบาลมีความรู้และทักษะที่ & West, 1999) และผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับ ทันสมัยอยู่เสมอ มีความมั่นใจ สามารถตัดสินใจปฏิบัติ การศึกษาของพูลตันและเวสต์ (Poulton & West, การพยาบาลอย่างมีเอกสิทธิ์ได้อย่างต่อเนื่อง 1999) เบาเวอร์และคณะในปี ค.ศ. 2003 (Bower et 4. ส่งเสริมการท�ำงานเป็นทีมของสหสาขา al, 2003)และบาสบิช ท๊อกบัดหรา (Tsogbadrakh, สนับสนุนความคิดใหม่ในการสร้างนวัตกรรมในหน่วย 2014) ที่พบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้บรรยากาศ งาน และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการท�ำวิจัยจาก ของทีมกับคุณภาพการพยาบาล งานประจ�ำอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ผู้บริหารทางการพยาบาลในโรงพยาบาลในเครือค 1. ศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้คุณภาพการ ริสตจักรสามารถน�ำผลการศึกษาไปพัฒนาคุณภาพการ พยาบาลระหว่างผู้ป่วยและพยาบาลในโรงพยาบาล พยาบาลดังนี้ สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย 1.จัดเตรียมเอกสารค�ำแนะน�ำหรือคู่มือเกี่ยวกับ 2. ศึกษาปัจจัยอื่น ๆ ที่มีความสัมพันธ์หรือมี การดูแลรักษาให้ครอบคลุมทุกโรคและมีจ�ำนวนเพียงพอ อิทธิพลต่อคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัด ส�ำหรับผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษา และควรจัดท�ำสื่อการ มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เอกสารอ้างอิง Akkadechanunt, T., Chontawan, R., & Singhakhumfu, L. (2007). Nursing care quality as perceived by Nurses at Maharaj Nakorn Chiang Mai: National Nursing Conference 13th November 5-9 at Royal Thai Navy Convention Hall in Bangkok. (In Thai) Anderson, N. R., & West, M. A. (1998). Measuring climate for work group innovation: Development and validation of the team climate inventory. Journal of Organizational Behavior, 19(3), 235-258.doi:10.1002(SICI)1099-1379(199805)19:3<235::AID-JOB837>3.0.CO;2-C Assembly of the Church of Christ in Thailand. (2014). Report from Institute of Medicine Bangkok Christian Hospital. Retrieved from http://www.cct.or.th/cctweb/ (In Thai) Assembly of the Church of Christ in Thailand. (2014). Report from Institute of Medicine McCormick Hospital. Retrieved from http://www.cct.or.th/cctweb/ (In Thai) Assembly of the Church of Christ in Thailand. (2014). Report from Institute of Medicine Overbrook Hospital. Retrieved from http://www.cct.or.th/cctweb/ (In Thai)

334 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Professional Autonomy, Team Climate, and Quality Nursing Care Among Registered Nurses in Hospitals Under the Foundation of the Church of Christ in Thailand

Bower, P., Campbell, S., Bojke, C., & Sibbald, B. (2003). Team structure, climate and quality of primary care. Quality Staff Health Care, 2003; 12, 273–279. Chimi, K. (2014). Factors related to quality nursing care in tertiary care hospitals, The kingdom of Bhutan (Unpublished master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. Goh, T. T., Eccles, M. P., & Steen, N. (2009). Factors predicting team climate, and its relationship with quality of care in BMC Health Services Research, 9, 138. doi: 10.1186/1472-6963-9-138 Hogston, R. (1995). Quality nursing care: Qualitative enquiry. Journal of Advanced Nursing, 21, 116-124. Iliopoulou, K. K., & While, A. E. (2010). Professional autonomy and job satisfaction: Survey of critical care nurses in mainland Greece. Journal of Advanced Nursing, 66(11), 2520-2531. Kumar, M. K. (2008). Relationships among professional nursing autonomy and perceived organizational support and clinical nursing expertise (Doctoral dissertation). Available from ProQuest Dissertations and Theses database. (UMI No. 3347229) Leinonen, T., Leino-Kilpi, H., Stahlberg, M. R., & Lertola, K. (2001). The quality of perioperative care: Development of a tool for the perceptions of patients. Journal of Advanced Nursing, 35(2), 294-306. Mouioudomdeth, P. (2012). Professional practice environment and quality nursing care in central hospitals, The Lao people’s democratic republic. (Unpublished master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. Mrayyan, M. T. (2004). Nurses’ autonomy: Influence of nurse managers’ actions. Journal of Advanced Nursing, 45(3), 326-336. Murphy, K. (2007). Nurses’ perceptions of quality and the factors that affect quality care for older people living in long-term care setting in Ireland. Journal of Clinical Nursing, 16, 873-884. Myint, L. L., (2010). Factors related to quality nursing care in general hospitals, the union of Myanmar (Unpublished master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. Nelson, E. C., Batalden, P. B., Huber, T. P., Mohr, J. J., Godfrey, M. M., Headrick, L. A., & Wasson, J. H. (2002). Microsystems in health care: Part 1. Learning from high-performing front-line clinical units. The Joint Commission Journal on Quality Improvement, 28(9), 472-493. Nembhard, I. M. (2006). When do organizations learn from each other: Interorganizational learning in health care. Retrieved from http://web.mit.edu/is08/pdf/Nembhard.pdf Omachonu, V.K. (1990). Quality of care and the patient: New criteria for evaluation. ProQuest Nursing Journal, 15(4), 43-50. Ouwens, M., Hulscher, M., Akkermans, R., Hermens, R., Grol, R., & Wollersheim, H. (2008). The Team Climate Inventory: application in hospital teams and methodological. Quality & Safety Health Care, 17(4), 275-280. doi:10.1136/qshc.2006.021543

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 335 เอกสิทธิ์วิชาชีพ บรรยากาศของทีม และคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย

Poulton, B,C, & West, M. A. (1999). The determinants of effectiveness in primary health care teams. Journal of Inter Professional Care, 13(1), 7-18. Schutzenhofer, K.K. (1987). The measurement of professional autonomy. Journal of Professional Nursing, 3, 278-283. Schutzenhofer, K.K. (1988). The problem of professional autonomy in nursing. Health Care in Women International, 9, 93-106. Srisatidnarakul, B. (2010). The Methodology in Nursing Research. Bangkok: U & I Media Co.,Ltd. (In Thai) Tiengchanya, P. (1996). Relationships between personal, Internal locus of control, Caring behavior Of nursing in structures and professional autonomy of nursing students. (Master of Nursing Science Nursing Education Program Graduate School), Chulalongkorn University Acedemic. (In Thai) Tsogbadrakh, B. (2014). Team climate and quality nursing care among nurses in tertiary care hospitals, Mongolia (Unpublished master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. Zhao, S. H. (2006). Quality nursing care as perceived by nurses and patients in the second teaching hospital of Harbin Medical University in the People’s Republic of China (Unpublished master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. Zhao, S. H., Akkadechanunt, T. & Xue, X. L. (2008). Quality of nursing care as perceived by nurses and patients in a Chinese hospital. Journal Clinical Nursing, 18(12), 1722-1728.

336 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 การวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ Situational Analysis of Incident Reporting in Medical Intensive Care Unit 1 Nakornping Hospital, Chiang Mai Province

บังอร เขื่อนค�ำ * Bangon khuenkum * สมใจ ศิระกมล ** Somjai Sirakamon ** บุญพิชชา จิตต์ภักดี ** Bunpitcha Chitpakdee **

บทคัดย่อ การบริหารความเสี่ยงเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการจัดการบริการสุขภาพให้มีคุณภาพและมีความปลอดภัยซึ่งการ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงเป็นขั้นตอนหนึ่งของการบริหารความเสี่ยง เพื่อการเรียนรู้และหาแนวทางในการจัดการ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นนั้นรวมทั้งป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นซ�้ำอีกการศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบาย สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงและน�ำเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ประชากรที่ศึกษาเป็นบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง จ�ำนวน 21ราย รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง การสนทนากลุ่ม และการทบทวนเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาตามกรอบแนวคิดของ Donabedian (2003) ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านโครงสร้าง 2) ด้านกระบวนการ และ 3) ด้านผลลัพธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านโครงสร้าง หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 มีนโยบายเกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่สอดคล้อง กับนโยบายของโรงพยาบาลซึ่งสอดแทรกอยู่ในนโยบายการบริหารความเสี่ยงโรงพยาบาล ในระดับโรงพยาบาล มีคณะกรรมบริหารความเสี่ยงท�ำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรายงานอุบัติการณ์ ส่วนในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 หัวหน้า หอผู้ป่วย พยาบาลผู้ประสานงานด้านคุณภาพและบุคลากรทุกคนในหอผู้ป่วยมีหน้าที่ในการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยง มีสิ่งสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงได้แก่ เอกสารแบบฟอร์มบันทึกรายงานอุบัติการณ์ และ ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ ช่องทางการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง 3 ช่องทางได้แก่ ทางวาจา ทางแบบฟอร์มการรายงานอุบัติการณ์ของโรงพยาบาล และทางโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปัญหาด้านโครงสร้างที่พบ คือ มีการสื่อสารนโยบายเกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงน้อยเกินไป หัวหน้า หอผู้ป่วยมีภาระงานมากบุคลากรขาดทักษะและประสบการณ์ในการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และการจัดเก็บ เอกสารไม่เอื้อต่อการใช้ ข้อเสนอแนะคือ ควรมีการทบทวนและพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับนโยบายการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงให้มากขึ้นบุคลากรควรได้รับการอบรมเกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และควรมีระบบจัดเก็บ เอกสารให้เป็นระเบียบ สะดวกใช้

* หัวหน้าหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ * Head nurse of Medical Intensive care Unit 1, Nakornping Hospital, Chiang Mai Province ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 337 การวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่

2. ด้านกระบวนการ พบขั้นตอนการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงของหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 ที่สอดคล้อง กับแนวทางของโรงพยาบาล ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ1) ขั้นตอนการประเมินความระดับรุนแรงของอุบัติการณ์ ความเสี่ยง 2) ขั้นตอนการรายงาน 3) ขั้นตอนการบันทึกรายงานและ4) ขั้นตอนการส่งรายงาน ปัญหาที่พบ คือ บุคลากรประเมินระดับความรุนแรง และบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงไม่ถูกต้องครบถ้วน การส่งรายงาน อุบัติการณ์ความเสี่ยงไม่เป็นไปตามเส้นทางเดินของรายงาน และเวลาที่ก�ำหนด ทั้งนี้หัวหน้าหอผู้ป่วย ควรมีการนิเทศ ติดตามและตรวจสอบเกี่ยวกับกระบวนการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงอย่างใกล้ชิด สมำ�่ เสมอ ผู้บริหารการพยาบาล ควรส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการพยาบาลในด้านความรู้และทักษะในการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง 3. ด้านผลลัพธ์ พบว่า ร้อยละของจ�ำนวนการบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และร้อยละของจ�ำนวน รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่มีความถูกต้องสมบูรณ์ต�่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถเป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงของหอผู้ป่วยหนัก อายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งผู้บริหารของโรงพยาบาล และผู้บริหารทางการพยาบาลควร น�ำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนากลยุทธ์ในการพัฒนาการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงของหอผู้ป่วย และโรงพยาบาลต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: การวิเคราะห์สถานการณ์ การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง

Abstract Risk management is an important tool for managing the quality and safety of healthcare service. Incident reporting is a step of risk management process for gaining lessons learned and ways to address and prevent risks. This descriptive study sought to describe the situation of incident reporting and to propose ways to solve incident reporting problems at the Medical Intensive Care Unit 1 at Nakornping Hospital, Chiang Mai Province. The study population included 21 registered nurses involved in reporting incidence. The data were collected using semi-structured interviewing, focus group discussion, and document review. Data were analyzed using content analysis according to the conceptual framework of Donabedian (2003)’s quality assessment which includes:1) structural aspect, 2) processing aspect, and 3) outcome aspect. The study results were as follows: 1. Structure. The Medical Intensive Care Unit (ICU) had policies regarding incident reporting which were consistent with those of the hospital that were integrated into the hospital risk policies. At the hospital level, the hospital risk management committee was responsible for incident reporting. However, for the Medical ICU, the head nurse, nurse coordinator for quality assurance at the unit, and all personnel were responsible for reporting risk incidents. Items that supported incident reporting were the incident report recording form, a computer, as well as an information technology system for incident reporting. Ways to report incidents included verbal reports, submitting the form, and reporting through the computer program. Problems identified were: insufficient communication regarding the incidence reporting policy; overwork load for the head nurse; lack of skills and experience in incident reporting among the personnel; and the filing system was not

338 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Situational Analysis of Incident Reporting in Medical Intensive Care Unit 1 Nakornping Hospital, Chiang Mai Province convenient to use. Suggestion included: discussion and sharing experiences regarding the incident reporting policy; personnel should be trained on incident reporting; and the unit should organize the filing system. 2. Process. It was revealed that the incident reporting process corresponded to the hospital’s process which consisting of 4 steps: 1) assessing the severity of the incident; 2) reporting incidents; 3) recording; and 4) submitting the report. The following problems were found: nursing personnel assessed the severity of incidents incorrectly and incident reporting was incomplete and inaccurate. Submitting the incident report was not in accordance with the guide to submit the report in both paths and the time frame. Therefore, the head nurse should monitor and supervise her staff about the incident reporting process closely. Nurse administrators should support the development of personnel’s competencies regarding their knowledge and skills of incident reporting. 3. Outcome. It was found that the percentage of incident reporting and of reports that were recorded correctly were low. The results of this study could provide the hospital and nurse administrators with basic information about incident reporting in Medical Intensive Care Unit 1 at Nakornping Hospital, Chiang Mai Province. They could apply these findings to generate the strategies for improving incident reporting in the Medical Intensive Care Unit 1 and in the hospital, accordingly.

Key words: Situational Analysis, Incident reporting

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา สถาบันการแพทย์ในประเทศสหรัฐอเมริกา (Institute ความปลอดภัยของผู้ป่วย (patient safety) of Medicine: IOM) ได้ตีพิมพ์รายงานครั้งแรกถึงข้อผิด เป็นหลักพื้นฐานที่ส�ำคัญในระบบบริการสุขภาพ โดย พลาดของมนุษย์ พบว่ามีผู้ป่วยได้รับผลกระทบจากความ องค์การอนามัยโลกได้ส่งเสริมให้นานาประเทศทั่วโลก ผิดพลาดทางการแพทย์ ในสหรัฐอเมริกาจ�ำนวนถึง ร่วมกันพัฒนาและก�ำหนดมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วย ประมาณ 98,000 คนในแต่ละปี (Connie & Mary, อย่างปลอดภัยในสถานบริการสุขภาพ (World Health 2010) ส่วนในประเทศไทยพบความเสี่ยงที่เกิดขึ้นด้าน Organization [WHO], 2005) ส�ำหรับประเทศไทย ความคลาดเคลื่อนทางยา ร้อยละ 68.89 และความเสี่ยง ในแผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 12 กระทรวงสาธารณสุข ทางคลินิก ร้อยละ 38.12 (Thaidamrong, 2015) และ มีเป้าหมายในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการ จากการศึกษาการวิเคราะห์สถานการณ์การบริหารความ สุขภาพโดยมุ่งพัฒนาระบบให้มีคุณภาพและเกิดความ เสี่ยงในโรงพยาบาล พบว่ามีความเสี่ยงเกิดขึ้นในหลาย ปลอดภัย(Ministry of Public Health, 2017) อีกทั้ง ลักษณะทั้งอุบัติการณ์ทางคลินิก (Wiboonma, 2013; ก�ำหนดให้การบริหารความเสี่ยงเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดผล Srivichai, 2014) และอุบัติการณ์ที่ไม่ใช่ด้านคลินิก ลัพธ์การด�ำเนินงานของโรงพยาบาลเพื่อบรรลุตามเป้า (Photikul, 2014) หมายของการเป็นโรงพยาบาลคุณภาพ(Healthcare การบริหารความเสี่ยงเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการ Accreditation Institute, 2015; Nursing Division, บริหารจัดการองค์กรให้มีคุณภาพ กระบวนการบริหาร Ministry of Public Health, 2008) อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยงประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การค้นหา

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 339 การวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่

ความเสี่ยง 2) การประเมินความเสี่ยง 3)การจัดการความ ให้มีประสิทธิภาพจึงมีความส�ำคัญและควรอยู่บนพื้นฐาน เสี่ยง และ4) การประเมินผลการบริหารความเสี่ยง ทั้งนี้ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์การรายงานอุบัติ การค้นหาความเสี่ยงเป็นกิจกรรมเชิงรุกเพื่อน�ำไปสู่การ การณ์ความเสี่ยงอย่างแท้จริง การวิเคราะห์สถานการณ์ ป้องกันไม่ให้ความเสี่ยงเกิดขึ้นซ�้ำอีก และการรายงาน นับว่าเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจใน อุบัติการณ์ความเสี่ยง(incident report) เป็นวิธีการ สถานการณ์ได้อย่างลึกซึ้ง ส�ำคัญในขั้นตอนนี้ (Suphachutikul, 2000) การ การวิเคราะห์สถานการณ์ หมายถึง การประเมิน รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง หมายถึงการรายงานด้วย เกี่ยวกับสถานการณ์ของระบบนั้น ๆ ซึ่งจะต้องท�ำอย่าง การเขียนและการรายงานด้วยวาจาเกี่ยวกับเหตุการณ์ ลึกซึ้งและครอบคลุมในปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (WHO, ใด ๆ ที่ไม่สอดคล้องกับกระบวนการดูแลผู้ป่วยตามปรกติ 2017) การศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับการรายงานอุบัติ หรือผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้ป่วย (Mccloskey การณ์ความเสี่ยงควรศึกษาให้ครอบคลุมทั้งระบบ หรือ & Bulechek, 2000) ซึ่งรวมถึงการด�ำเนินการที่ ไม่เป็น ประเมินให้ครบองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน คือด้าน ไปตามนโยบาย ขั้นตอน หรือมาตรฐานของโรงพยาบาล โครงสร้าง ด้านกระบวนการ และด้านผลลัพธ์ ตาม หรืออาจเป็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของ แนวคิดการประเมินคุณภาพของ Donabedian (2003) ผู้ป่วย ผู้ปฏิบัติงาน ผู้เยี่ยม และทรัพย์สินของโรง ซึ่งจะน�ำไปสู่การหาข้อสรุปหรือการตัดสินแก้ไขปัญหา พยาบาลก็ได้ (Winship, 1989)ขั้นตอนการรายงานอุบัติ หรือปรับปรุง องค์ประกอบในระบบนั้น ๆ ทั้งนี้การศึกษา การณ์ความเสี่ยงประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ๆ คือ การ ที่ผ่านมาพบปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการรายงานอุบัติ เขียนรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และ การส่งรายงาน การณ์ความเสี่ยงหลายประการด้านโครงสร้าง เช่น พบ (WHO, 2005; Victorian Government, 2011) รวม ว่าน โยบายในการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงไม่ ถึงการรายงานต่อผู้บังคับบัญชาในระดับต่อไป และส่ง ชัดเจน ไม่มีระบบการนิเทศติดตามของผู้บังคับบัญชา รายงานภายในเวลาก�ำหนด(Victorian Government, บุคลากรขาดความรู้ ประสบการณ์ และไม่เข้าใจในระบบ 2013) การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง (Wiboonma, 2013; การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงเป็นเครื่องมือที่ Photikul, 2014; Srivichai, 2014) นอกจากนี้ยังเกิด จะท�ำให้ทราบขนาดและแนวโน้มปัญหาของระบบ จากการขาดความเข้าใจของพยาบาลเกี่ยวกับความ เป็นการกระตุ้นให้ท�ำงานด้วยความระมัดระวัง รวมทั้ง ปลอดภัยของผู้ป่วย (Hwang et al., 2012) การประเมิน ท�ำให้ได้รู้มาตรการป้องกัน และพยายามป้องกันไม่ให้ ระดับความรุนแรงไม่ถูกต้อง การเขียนล�ำดับของ เกิดขึ้นอีก (Suphachutikul, 2000) เป็นข้อมูลที่คณะ เหตุการณ์ไม่ถูกต้อง รวมถึงมีการรายงานอุบัติการณ์ผิด กรรมการบริหารความเสี่ยง สามารถตรวจสอบ และ ช่องทางหรือเส้นทางเดินของการรายงานและการ วิเคราะห์หาข้อบกพร่องเพื่อน�ำมาใช้ปรับปรุงการบริหาร รายงานไม่เป็นไปตามเวลาที่ก�ำหนด (Wiboonma, ความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพ (Nurse Ausmed, 2014) 2013; Photikul, 2014; Srivichai, 2014) ซึ่งปัญหา เป็นการช่วยให้เกิดการป้องกัน และปรับปรุงการท�ำงาน อุปสรรคดังกล่าวกระทบต่อด้านผลลัพธ์ คือมีการ ก่อนที่จะส่งผลกระทบให้เกิดเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์ รายงานน้อยกว่าจ�ำนวนอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นจริง การ ตลอดจนช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของหน่วยงานได้ เขียนรายงานเหตุการณ์ไม่ตรงกับความเป็นจริง ตลอด (Pham,Girard, & Pronovost, 2013) เป็นตัวชี้วัดน�ำ จนไม่สามารถน�ำข้อมูลที่เก็บได้มาใช้ประโยชน์ในการ ไปสู่การบรรลุวัฒนธรรมความปลอดภัย สามารถช่วยให้ วิเคราะห์ปัญหาได้อย่างครอบคลุม (Tansirisittikul et เกิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลง (WHO, 2005) ดัง al.,2012) อย่างไรก็ตาม ผลจากการวิเคราะห์สถานการณ์ นั้นการพัฒนาระบบการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ยังท�ำให้พบกลยุทธ์ที่มีผลต่ออัตราการเขียนรายงาน คือ

340 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Situational Analysis of Incident Reporting in Medical Intensive Care Unit 1 Nakornping Hospital, Chiang Mai Province

การให้ข้อเสนอแนะและการตอบสนองต่อการรายงาน ฝ่ายการพยาบาล จากผลการด�ำเนินงานในปีงบประมาณ อุบัติการณ์ของผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้อง การมีช่องทางใน 2558 พบอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย การรายงานอุบัติการณ์ที่หลากหลายและง่ายต่อการ ตัวชี้วัดของหน่วยงาน (Medical Intensive Care Unit ปฏิบัติ(Hwang et al., 2012) การให้ความรู้เกี่ยวกับ 1, 2016) ผู้ศึกษาได้น�ำข้อมูลอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่มี ความปลอดภัยของผู้ป่วย และการให้ความส�ำคัญของ การบันทึกในแบบบันทึกประจ�ำวันของหอผู้ป่วย เปรียบ การเขียนรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง เป็นต้น (Na- เทียบกับข้อมูลจากงานความเสี่ยงของโรงพยาบาล พบ kamura, Yamashita, Tanihara, & Maeda, 2014) ว่าจ�ำนวนบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงน้อยกว่า โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ได้น�ำระบบ อุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นจริง และพบการรายงานอุบัติการณ์ การพัฒนาการดูแลและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ความเสี่ยงในปีงบประมาณ 2557, 2558 และ2559 มี (Hospital Accreditation [HA]) มาปรับใช้ ในระบบ จ�ำนวนลดลงคือ 50, 16 และ 9 ฉบับ(Nakornping การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง โดยใช้กลยุทธ์ Hospital Risk Management Team, 2016) และจาก “SIMPLE” ฝ่ายการพยาบาลรับผิดชอบในการน�ำ การวิเคราะห์รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่มีความ นโยบายและกลยุทธ์ของโรงพยาบาลด้านการบริหาร รุนแรงระดับสูงจ�ำนวน 3 ฉบับ พบปัญหาอุปสรรคของ ความเสี่ยงมาก�ำหนดเป็นแผนการด�ำเนินงานเพื่อน�ำสู่ การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงในทุกขั้นตอนของ การปฏิบัติ ส�ำหรับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงได้ กระบวนการรายงานอุบัติการณ์ ซึ่งไม่เป็นไปตาม มีการก�ำหนดให้บุคลากรทุกคนทุกหน่วยงานมีหน้าที่ใน แนวทางการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง (Medical การรายงานอุบัติการณ์ที่พบโดยระบุความรุนแรงของ Intensive Care Unit 1, 2016) อุบัติการณ์ตามแนวทางการจัดระดับความรุนแรงของ จากที่กล่าวมา ประกอบกับยังไม่มีผู้ศึกษาวิเคราะห์ สภาการประสานการรายงานและการป้องกันข้อผิด สถานการณ์เกี่ยวกับระบบการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง พลาดด้านยาแห่งชาติ (The National Coordinating ดังนั้นผู้ศึกษาในฐานะหัวหน้าหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม Council for Medication Error Reporting and 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ จึงมีความสนใจ Prevention: NCCMERP) ตามแนวทางของสถาบัน ที่จะศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาอุปสรรคในการ รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) โดยมีการจัดล�ำดับ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงของหอผู้ป่วยแห่งนี้ ความรุนแรงของการเกิดอุบัติการณ์ 9 ระดับ ก�ำหนด โดยประยุกต์ใช้ กรอบแนวคิดในการศึกษาของ บุคลากรผู้รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงตามแนวทาง Donabedian (2003) ซึ่งมีองค์ประกอบ3 ด้านได้แก่ ของโรงพยาบาล รวมถึงมีนโยบายให้ทุกหน่วยงาน ด้านโครงสร้าง (structure) ด้านกระบวนการ (process) ติดตามประเมินผลลัพธ์ของการรายงาน อย่างไรก็ตาม และด้านผลลัพธ์ (outcome) ซึ่งคาดว่าผลการศึกษา ในระดับฝ่ายการพยาบาล และในระดับโรงพยาบาลไม่ จะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับหอผู้ป่วย พบการบันทึกสถิติข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างเหตุการณ์ ฝ่ายการพยาบาล และโรงพยาบาลนครพิงค์ ในการ ที่เกิดขึ้นจริงกับข้อมูลการไม่ได้รายงานอุบัติการณ์ความ พัฒนาระบบการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงต่อไป เสี่ยงที่ชัดเจน (Nakornping Hospital Chiang Mai, 2014) วัตถุประสงค์การวิจัย หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ จังหวัดเชียงใหม่ ให้บริการการดูแลผู้ป่วยวิกฤตด้าน ความเสี่ยง ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไขปัญหา อายุรกรรม ตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป รับนโยบายการบริหาร ในด้านโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ในหอผู้ป่วย ความเสี่ยงที่สอดคล้องกับนโยบายของโรงพยาบาลและ อายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 341 การวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่

ค�ำถามการวิจัย กรรมการ งานความเสี่ยงโรงพยาบาลจ�ำนวน 1 คน และ โครงสร้าง กระบวนการ ผลลัพธ์ ปัญหาอุปสรรค บุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยหนัก และแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการรายงาน อายุรกรรม 1 จ�ำนวนทั้งหมด 16 คน อุบัติการณ์ความเสี่ยงในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย โรงพยาบาลนครพิงค์ประกอบด้วยอะไรบ้าง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยแนว ค�ำถามจ�ำนวน 3 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 แนวค�ำถามที่ใช้ในการ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย สัมภาษณ์รายบุคคลของผู้บริหารทางการพยาบาล ชุดที่ ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ 2 แนวค�ำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ประธานกรรมการงาน การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงในหอผู้ป่วยหนัก ความเสี่ยงของโรงพยาบาล ชุดที่ 3 แนวค�ำถามที่ใช้ใน อายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ เพื่อศึกษา การประชุมกลุ่มบุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงาน กระบวนการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ศึกษาปัญหา ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 ซึ่งแนวค�ำถามแต่ละชุดมี อุปสรรค และการแก้ไขปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการ รายละเอียดดังนี้ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับผู้ตอบ 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ โดยการใช้กรอบแนวคิดการ แบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ ต�ำแหน่ง ประสบการณ์ ประเมินคุณภาพของ Donabedian (2003) ซึ่งประกอบ การท�ำงานและการได้รับการอบรมเกี่ยวกับระบบการ ด้วยด้านโครงสร้าง (structure) ด้านกระบวนการ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง (process) และด้านผลลัพธ์ (outcome) ส่วนที่ 2 เป็นแนวค�ำถามเกี่ยวกับสถานการณ์การ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ประกอบด้วยด้าน วิธีด�ำเนินการวิจัย โครงสร้าง (structure) ด้านกระบวนการ (process) การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (de- และด้านผลลัพธ์(outcome)ซึ่งด้านโครงสร้าง จะ scriptive study) เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การรายงาน ประกอบด้วยค�ำถามเกี่ยวกับ นโยบายการรายงานอุบัติ อุบัติการณ์ความเสี่ยงในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 การณ์ความเสี่ยง คณะท�ำงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่รวบรวมข้อมูล กับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง การสนับสนุนการ จากการทบทวนวรรณกรรมข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง เช่นแบบฟอร์มการ การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง การสัมภาษณ์ราย รายงาน คอมพิวเตอร์ คู่มือการรายงานอุบัติการณ์ความ บุคคลและการสนทนากลุ่มบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการ เสี่ยง และช่องทางการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ระหว่างเดือน กันยายน ด้านกระบวนการ ประกอบด้วยแนวค�ำถามเกี่ยวกับ ถึง ธันวาคมพ.ศ.2559 ล�ำดับขั้นตอนในการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ด้านผลลัพธ์ ประกอบด้วยแนวค�ำถามเกี่ยวกับ ตัวชี้วัด ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คุณภาพของการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง เช่น คือ1) เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการรายงานอุบัติการณ์ความ อัตราการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง จ�ำนวนรายงาน เสี่ยงของโรงพยาบาลและของหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม อุบัติการณ์ความเสี่ยง ที่มีความถูกต้อง สมบูรณ์ รวมทั้ง 1 รวมทั้งข้อมูลการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และ ข้อค�ำถามเกี่ยวกับ ข้อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไข 2) บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการรายงานอุบัติการณ์ความ ปัญหาที่เกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง โดย เสี่ยง เลือกแบบเฉพาะเจาะจง จ�ำนวน 21คน ประกอบ ผู้ศึกษาใช้ค�ำถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้ให้ข้อมูล มีอิสระใน ด้วยผู้บริหารทางการพยาบาล จ�ำนวน 4 คน ประธาน การตอบค�ำถาม และผู้ศึกษาได้ปรับเนื้อหาค�ำถามให้

342 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Situational Analysis of Incident Reporting in Medical Intensive Care Unit 1 Nakornping Hospital, Chiang Mai Province

เหมาะสมกับกลุ่มผู้ตอบในแนวค�ำถามทั้ง 3 ชุดซึ่งผู้ศึกษา 1และด�ำเนินการสัมภาษณ์รายบุคคล และสนทนากลุ่ม พัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการประเมินคุณภาพของ โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มตามวัน เวลาที่นัดหมายจากนั้นน�ำ Donabedian (2003) ข้อมูลที่ได้ มาท�ำการวิเคราะห์เนื้อหา จัดเป็นหมวดหมู่ การควบคุมคุณภาพของเครื่องมือ ข้อมูลส่วนบุคคลน�ำมาวิเคราะห์ด้วยการแจกแจงความถี่ ตรวจสอบความเป็นปรนัยของแนวค�ำถามที่ใช้ หาค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ส�ำหรับการสัมภาษณ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล จ�ำนวน 3 ท่าน เกี่ยวกับความชัดเจนของค�ำถาม (clarity) ผลการวิจัย ความเหมาะสมของค�ำถาม (appropriateness) และ ข้อมูลส่วนบุคคล กลุ่มผู้บริหารมีอายุระหว่าง 46- ความเหมาะสมของการจัดล�ำดับค�ำถามในการสัมภาษณ์ 56 ปีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60 มีระยะเวลาที่ปฏิบัติ (sequence the question) ผู้ศึกษาได้ปรับปรุงแก้ไข งานในโรงพยาบาล นครพิงค์ ในช่วง 21-30ปี และใน ตามความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ช่วง 31-40 ปี ร้อยละ 40 เท่ากัน กลุ่มประชากรพยาบาล ท่านก่อนน�ำไปใช้จริง ผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 93.75 การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง มีอายุระหว่าง 20-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 62.50 และมี โครงร่างการค้นคว้าอิสระได้รับการรับรองจาก ประสบการณ์ในการท�ำงานเฉลี่ย 7.68 ปี โดยอยู่ระหว่าง คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ 1-10 ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 62.50 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในการรวบรวมข้อมูล ได้ขอ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์การ อนุญาตและขอความร่วมมือในการศึกษา อธิบายถึง รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ พร้อมทั้ง ด้านโครงสร้าง ชี้แจงถึงสิทธิในการตอบรับหรือปฏิเสธในการเข้าร่วม สถานการณ์ด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการ การศึกษาครั้งนี้ โดยไม่มีการบังคับการตอบรับหรือ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง มีความสอดคล้องกันทั้ง ปฏิเสธ ในส่วนการสนทนากลุ่มก่อนเริ่มการสนทนาผู้ ในระดับโรงพยาบาล ฝ่ายการพยาบาล และระดับหอผู้ ศึกษาชี้แจงและให้ความมั่นใจว่าการให้ข้อมูลจะไม่มีผล ป่วยหนักอายุรกรรม 1 มีนโยบายเกี่ยวกับการรายงาน ต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้เข้าร่วมการศึกษา ความเสี่ยงโดยพบว่าเป็นส่วนหนึ่งในนโยบายการบริหาร แต่อย่างใด จะไม่มีการบันทึกชื่อในข้อมูลที่รวบรวมได้ ความเสี่ยงของโรงพยาบาล มีการน�ำนโยบายการรายงาน และในรายงานการศึกษา และผู้เข้าร่วมการศึกษามีสิทธิ อุบัติการณ์ความเสี่ยงสู่การปฏิบัติผ่าน 3 ช่องทาง คือ ที่จะไม่ตอบค�ำถามที่รู้สึกว่าไม่สบายใจที่จะตอบ สามารถ การสื่อสารผ่านโครงสร้างงานพัฒนาคุณภาพ การสื่อสาร ขอยุติการศึกษาได้ตลอดเวลาที่ต้องการ รวมทั้งสามารถ ผ่านโครงสร้างตามสายบังคับบัญชา และการ ขอข้อมูลกลับคืนได้ทั้งหมด โดยไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ ผู้เข้าร่วมการศึกษา การน�ำเสนอข้อมูลของการศึกษาใน ปัญหาอุปสรรคด้านนี้คือ มีการสื่อสารนโยบาย รายงานการศึกษาจะน�ำเสนอเป็นภาพรวม จากนั้นผู้เข้า เกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงน้อยเกินไป มี ร่วมการศึกษาลงนามยินยอมเข้าร่วมการศึกษา การชี้แจงเกี่ยวนโยบายการรายงานอุบัติการณ์ความ การเก็บรวบรวมข้อมูล เสี่ยงไม่ละเอียด ชัดเจน และทั่วถึง ภายหลังได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการศึกษาจากผู้ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรมีการพูดซ�้ำ ทบทวนและ อ�ำนวยการโรงพยาบาล ผู้ศึกษาท�ำการศึกษาข้อมูล พูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับนโยบายการรายงานอุบัติ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง การณ์ความเสี่ยง และขั้นตอนในการรายงานอุบัติการณ์ ของโรงพยาบาลนครพิงค์ หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม ความเสี่ยงให้มากขึ้น

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 343 การวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่

สถานการณ์ด้านคณะกรรมการและบุคลากรที่ คอมพิวเตอร์ ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่มีกลไกตรวจสอบการ เกี่ยวข้องกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงพบว่าใน ได้รับข้อมูลการรายงาน โปรแกรมรายงานทาง ระดับโรงพยาบาลและฝ่ายการพยาบาลเป็นคณะ คอมพิวเตอร์ ใช้ประโยชน์ได้น้อย ไม่พร้อมใช้ มีการปรับ กรรมการเดียวกับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ เปลี่ยนบ่อย รวมถึงสัญญาณระบบอินเตอร์เน็ตช้า ข้อ โรงพยาบาลส่วนในระดับหอผู้ป่วยได้แก่ หัวหน้าหอผู้ เสนอแนะคือควรปรับปรุงโปรแกรมให้สามารถเข้าถึง ป่วย พยาบาลผู้ประสานงานด้านคุณภาพประจ�ำหอผู้ และใช้งานง่าย สามารถน�ำข้อมูลที่รายงานมาใช้ ป่วยและบุคลากรทุกคนในหอผู้ป่วยท�ำหน้าที่รับผิดชอบ ประโยชน์ให้ได้มากขึ้นและควรจัดอบรมเกี่ยวกับการ เกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงทางคอมพิวเตอร์แก่ ปัญหาอุปสรรคได้แก่ การที่หัวหน้าหอผู้ป่วยมี บุคลากรให้ทั่วถึง ภาระงานมาก ไม่มีผู้ช่วยหัวหน้าหอผู้ป่วย ช่วยนิเทศ ด้านกระบวนการ เกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงรวมถึง สถานการณ์ด้านกระบวนการ พบว่าโรงพยาบาล บุคลากรขาดทักษะและประสบการณ์ในการรายงาน มีขั้นตอนในการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่เป็น อุบัติการณ์ความเสี่ยง แนวทางเดียวกันทั้งในระดับโรงพยาบาล ระดับฝ่ายการ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ หัวหน้าหอผู้ป่วยต้องให้ความ พยาบาล และระดับหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 ประกอบ ส�ำคัญในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเกี่ยวกับการ ด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรกต้องมีการประเมินระดับ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง สื่อสารข้อมูลพื้นฐานต่อ ความรุนแรงของอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นโดยใช้ ฝ่ายการพยาบาลเพื่อพิจารณาให้มีผู้ช่วยหัวหน้าหอผู้ เกณฑ์การประเมินระดับความรุนแรงของเอ็น ซี ซี เอ็ม ป่วยเพื่อช่วยนิเทศเกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความ อี อาร์ พี (NCCMERP) ซึ่งมี 9 ระดับ ขั้นตอนที่ 2 ต้อง เสี่ยง รายงานอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น หรือสื่อสารให้ผู้บังคับบัญชา สถานการณ์ด้านสิ่งสนับสนุนการรายงานอุบัติ และผู้เกี่ยวข้องทราบถึงเหตุการณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น การณ์ความเสี่ยง พบว่ามีสิ่งสนับสนุนทั้งด้านเอกสาร โดยการรายงานด้วยวาจา หรือการรายงานทางโทรศัพท์ และด้านระบบคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีทาง ซึ่งต้องพิจารณาความเร่งด่วนในการรายงานตามระดับ สารสนเทศ ความรุนแรงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในระดับฝ่ายการ ปัญหาอุปสรรค คือ ระบบจัดเก็บเอกสารในหอผู้ พยาบาลและหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 มีการก�ำหนด ป่วยไม่เอื้อต่อการค้นหาเมื่อจ�ำเป็นต้องใช้ โดยเฉพาะใน ขั้นตอนการรายงาน กรณีการรายงานอุบัติการณ์ความ สถานการณ์ที่เร่งรีบ เสี่ยงที่เกิดขึ้นนอกเวลาราชการ โดยต้องรายงานผ่านผู้ ข้อเสนอแนะคือควรมีระบบจัดเก็บเอกสารให้เป็น ตรวจการนอกเวลาราชการก่อน ขั้นตอนที่ 3 ต้องมีการ ระเบียบ หาง่าย หยิบใช้สะดวกรวมถึงมีผู้รับผิดชอบจัด บันทึกรายงาน โดยบันทึกในเอกสารตามแบบฟอร์ม เตรียมเอกสารให้พร้อมใช้งาน รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงของโรงพยาบาล ซึ่งได้ สถานการณ์ด้านช่องทางในการรายงานอุบัติการณ์ ก�ำหนดให้ทุกหน่วยงานใช้แบบฟอร์มเดียวกันและการ ความเสี่ยง พบว่าประกอบด้วย 3 ช่องทาง คือการ บันทึกรายงานต้องให้ครบทั้ง 5 ส่วนได้แก่ ข้อมูลทั่วไป รายงานทางวาจา การรายงานทางเอกสารแบบฟอร์ม ชนิดของอุบัติการณ์ความเสี่ยง การเขียนบรรยาย การรายงานของโรงพยาบาลและการรายงานทาง เหตุการณ์การสรุปข้อบกพร่องรวมถึงผลกระทบที่เกิด โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ขึ้น และการด�ำเนินการแก้ไขปัญหา ขั้นตอนที่ 4 การส่ง ปัญหาอุปสรรคด้านนี้คือ ระบบการใช้งาน แบบฟอร์มบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงไปยังงาน โปรแกรมการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงทาง ความเสี่ยงโรงพยาบาล โดยพิจารณาความเร่งด่วนในการ

344 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Situational Analysis of Incident Reporting in Medical Intensive Care Unit 1 Nakornping Hospital, Chiang Mai Province

ส่งรายงานจากระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จากการสื่อสารนโยบายสู่การปฏิบัติของหอผู้ป่วยหนัก คืออุบัติการณ์ความเสี่ยงระดับไม่รุนแรง เอถึงดี (A-D) อายุรกรรม 1 ส่วนใหญ่จะถูกถ่ายทอดจากหัวหน้าหน่วย ให้ส่งรายงานได้ภายในเวลา 7 วัน อุบัติการณ์ความเสี่ยง งานในที่ประชุมประจ�ำเดือน และเป็นการสื่อสารแบบ ระดับรุนแรงปานกลางระดับอี ถึง เอฟ (E-F ) ส่งรายงาน เป็นทางการโดยไม่มีการเน้นยำ�้ เป็นการสื่อสารทางเดียว ภายใน 3 วัน อุบัติการณ์ความเสี่ยงระดับรุนแรง จี เอช และลักษณะงานที่ต้องสับเปลี่ยน หมุนเวียนกันขึ้นปฏิบัติ ไอ (G,H,I) ต้องส่งรายงานภายในเวลา 24 ชั่วโมงอย่างไร งานท�ำให้บุคลากรไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ครบถ้วน ก็ตาม ซึ่งการสื่อสารนโยบายที่ชัดเจน แก่บุคลากรให้ครบทุก ปัญหาและอุปสรรค คือ บุคลากรขาดทักษะและ คน และการอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการรายงานอุบัติ ประสบการณ์ในการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ท�ำให้ การณ์ความเสี่ยงจะท�ำให้บุคลากรทุกคนรับทราบ มีการเขียนรายงานน้อยกว่าความเป็นจริง และการ นโยบายเกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และ บันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงไม่ถูกต้องครบถ้วน เกิดความเข้าใจระบบการรายงานได้มากขึ้น ด้าน ผิดเส้นทางเดินของรายงาน และไม่เป็นไปตามก�ำหนด โครงสร้างกรรมการพบว่ามีคณะกรรมการเกี่ยวกับการ เวลา รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงเป็นคณะเดียวกันกับคณะ ข้อเสนอแนะ คือ หัวหน้าหอผู้ป่วย ควรมีการนิเทศ กรรมการบริหารความเสี่ยง ทั้งนี้เนื่องจากโรงพยาบาล ติดตาม ตรวจสอบเกี่ยวกับกระบวนการรายงานอุบัติ นครพิงค์เป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ซึ่งจ�ำเป็นต้องมี การณ์ความเสี่ยงอย่างใกล้ชิด สมำ�่ เสมอ ควรปรับรูปแบบ การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของโรง การเขียนบันทึกการรายงานเป็นแบบ S-BARและควรมี พยาบาลเพื่อท�ำหน้าที่ก�ำหนดนโยบาย และหาแนวทาง ตัวอย่างเส้นทางเดินการรายงานที่ชัดเจนให้บุคลากรดู ป้องกันความเสี่ยง มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือ เป็นตัวอย่าง คณะท�ำงาน เพื่อดูแลควบคุม งานด้านการบริหารความ ด้านผลลัพธ์ เสี่ยงซึ่งรวมถึงการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ส่วนใน ด้านผลลัพธ์ พบว่าร้อยละของจ�ำนวนการบันทึก ระดับหอผู้ป่วย บุคลากรทุกคนมีท�ำหน้าที่รับผิดชอบ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่ส่งไปยังงานความเสี่ยง เกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงของหอผู้ป่วย โรงพยาบาล และร้อยละของจ�ำนวนรายงานอุบัติการณ์ สอดคล้องกับค�ำกล่าวที่ว่ากิจกรรมที่เป็นการจัดการกับ ความเสี่ยงที่มีความถูกต้องสมบูรณ์ตำ�่ กว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ความเสี่ยงถือเป็นความรับผิดชอบของบุคลากรทุกคน (Suphachutikul, 2000) จากการศึกษายังพบว่าหัวหน้า การอภิปรายผล หอผู้ป่วยมีภาระงานมาก ท�ำให้การนิเทศติดตามเกี่ยวกับ ด้านโครงสร้างของระบบการรายงานอุบัติการณ์ การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงไม่ทั่วถึง เนื่องจาก ความเสี่ยงของโรงพยาบาลนครพิงค์ จากการศึกษาพบ ลักษณะงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยนั้นจะต้องปฏิบัติ ว่านโยบายเกี่ยวกับการรายงานความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่ง ภารกิจที่หลากหลาย เช่น การบริหารและการน�ำองค์กร ในนโยบายการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาล ทั้งนี้ การบริหารและฟื้นฟูด้านวิชาการ การวิเคราะห์ปัญหา เนื่องจากการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงเป็นวิธีการ ต่าง ๆ และการให้ค�ำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน หนึ่งในขั้นตอนการค้นหาความเสี่ยงในกระบวนการ (Nursing Organization of Nakornping Hospital, บริหารความเสี่ยง ดังนั้นนโยบายดังกล่าวจึงเป็นส่วน 2014)ซึ่งมีข้อเสนอแนะว่าควรมีผู้ช่วยหัวหน้าหอผู้ป่วย หนึ่งในนโยบายระบบบริหารความเสี่ยง (Suphachuti- ในการช่วยนิเทศ ติดตาม ด้านการสื่อสารนโยบาย มีการ kul, 2000) ในด้านนี้พบปัญหาอุปสรรคคือ มีการชี้แจง สื่อสารนโยบายสู่ผู้ปฏิบัติ 3 ช่องทาง คือการสื่อสารผ่าน เกี่ยวนโยบายไม่ละเอียด ชัดเจนและทั่วถึง อาจเนื่องมา สายการบังคับบัญชาเนื่องจากเป็นรูปแบบการสื่อสาร

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 345 การวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่

หลักในองค์กรของรัฐซึ่งมีโครงสร้างการสื่อสารโดยทั่วไป ทางโทรศัพท์ ซึ่งพิจารณาตามความเร่งด่วนของอุบัติ เป็นการสื่อสารจากผู้บังคับบัญชาไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา การณ์ที่เกิดขึ้น ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากตามนโยบายระบบ เป็นช่องทางที่บุคลากรจะได้ทราบนโยบายได้อย่างทั่วถึง บริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลนครพิงค์ ก�ำหนดให้มี (Srisatidnarakul, 2008) ส่วนการสื่อสารนโยบาย ผ่าน การประเมินระดับความรุนแรงของอุบัติการณ์ความเสี่ยง ช่องทางโครงสร้างงานพัฒนาคุณภาพ เนื่องจากโรง ที่เกิดขึ้น เพื่อให้หน่วยงานทราบแนวโน้มของการเกิด พยาบาลนครพิงค์ มีระบบการบริหารความเสี่ยงอยู่ภาย ความเสี่ยง และทราบล�ำดับความส�ำคัญของความเสี่ยง ใต้การพัฒนาคุณภาพบริการ ดังนั้นการสื่อสารนโยบาย ในหน่วยงาน รวมทั้งทราบจุดเริ่มต้นของการวางแนวทาง ที่เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงโดยอาศัยโครงสร้างงาน ป้องกัน หรือแก้ไขปัญหา และสามารถตอบสนองต่อ พัฒนาคุณภาพจึงนับว่าเป็นช่องทางการสื่อสารที่มี ความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม (Nakornping Hospital ประสิทธิภาพและเหมาะสม(Healthcare Accredita- Chiangmai, 2014) เพื่อวางแผนในการจัดการได้อย่าง tion Institute, 2015)และการสื่อสารโดยการ ถูกต้องโดยมีมาตรฐานเดียวกัน (Suphachutikul, ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ รวมถึงสารสนเทศของโรง 2000) คล้ายคลึงกับการศึกษาที่พบว่าฝ่ายการพยาบาล พยาบาล นับว่าเป็นช่องทางการสื่อสารที่รวดเร็ว ทัน ของโรงพยาบาลล�ำพูนได้มีนโยบายให้ทุกหน่วยงานมี เวลา สามารถช่วยให้การด�ำเนินงานขององค์กรบรรลุ การประเมินความรุนแรงของอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมี ผลอย่างมีประสิทธิภาพ (Srisatidnarakul, 2008) ส่วน การก�ำหนดเกณฑ์การแบ่งระดับความรุนแรงของการ สิ่งสนับสนุนเพื่อให้เกิดการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง เกิดอุบัติการณ์ไว้อย่างชัดเจนตั้งแต่ระดับ A ถึง I ขั้นตอน มากขึ้นได้แก่การปรับปรุงด้านเอกสารและระบบ ต่อจากนั้นส่งแบบฟอร์มที่บันทึกรายงานอุบัติการณ์ คอมพิวเตอร์เพื่อให้ง่าย สะดวกต่อการรายงาน มีช่อง ความเสี่ยงไปยังงานความเสี่ยงโรงพยาบาลตามเวลาที่ ทางการรายงาน 3 ช่องทางท�ำให้บุคลากรสามารถมีทาง ก�ำหนด ตามนโยบายระบบบริหารความเสี่ยงของโรง เลือกในการรายงานได้หลายช่องทาง (Atchalee & พยาบาล (Wiboonma, 2013) ทั้งนี้เนื่องจากบุคลากร Tosing, 2003) สอดคล้องกับ NPSA (2004) ที่แนะน�ำ ได้ปฏิบัติขั้นตอนการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงตาม ว่าควรมีการวางระบบการรายงานความเสี่ยงทั้งขั้นตอน นโยบายการรายงานความเสี่ยงของโรงพยาบาล ซึ่งมี วิธีการรายงาน รวมถึงมีการสนับสนุนด้านเอกสารที่ แนวทางและก�ำหนดเวลาในการส่งการรายงานใน เกี่ยวข้องคล้ายคลึงกับการศึกษาเรื่องการพัฒนาระบบ ลักษณะเดียวกัน (Nakornping Hospital Chiangmai, รายงานอุบัติการณ์ออนไลน์เพื่อสนับสนุนการบริหาร 2014) อย่างไรก็ตาม พบว่าบุคลากรยังขาดทักษะและ ความเสี่ยงในโรงพยาบาลบ้านตาก พบว่าการพัฒนา ประสบการณ์ในการประเมินระดับความรุนแรง และการ ระบบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงโดยใช้โปรแกรมทาง บันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง โดยอาจเนื่องมา คอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการ (Maak- จากบุคลากรดังกล่าวไม่ได้เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับ choo, 2014) ระบบการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง จึงขาดความรู้ ในด้านกระบวนการของการรายงานอุบัติการณ์ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ความเสี่ยงของโรงพยาบาลนครพิงค์ โรงพยาบาลก�ำหนด คล้ายคลึงกับการศึกษาของจีรกูล ตันวัฒนากูล และศรี ให้ทุกหน่วยงานและบุคลากรทุกคน มีการรายงานอุบัติ ทวน วิบูลย์มา ที่พบว่าบุคลากรทางการพยาบาลใน การณ์ความเสี่ยงตามขั้นตอนในการรายงานของโรง หน่วยงานบางคนขาดความรู้ ทักษะและประสบการณ์ พยาบาล โดยใช้แบบฟอร์มในการบันทึกรายงานแบบ ในการประเมินระดับความรุนแรงของอุบัติการณ์ เดียวกัน โดยมีการประเมินระดับความรุนแรงของอุบัติ เนื่องจากบุคลากรไม่ได้รับการอบรมเกี่ยวกับการบริหาร การณ์ 9 ระดับ และมีการรายงานด้วยวาจา หรือรายงาน ความเสี่ยง และการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง รวม

346 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Situational Analysis of Incident Reporting in Medical Intensive Care Unit 1 Nakornping Hospital, Chiang Mai Province

ถึงไม่มีตัวอย่างการประเมิน ซึ่งควรได้รับการอบรมเกี่ยว พัฒนาและปรับปรุงระบบการรายงานอุบัติการณ์ความ กับการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงอย่างทั่วถึง (Tan- เสี่ยง ให้เข้าถึงและใช้งานได้ง่าย wattanakun, 2012; Wiboonma, 2013) 4. ส่งเสริมและสร้างบรรยากาศความปลอดภัยใน ส่วนด้านผลลัพธ์ จากการเก็บรวบรวมและ การรายงานอุบัติการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผลลัพธ์ของการรายงานอุบัติการณ์ 5. ติดตามมาตรการกระตุ้นการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงไม่เป็นไปตามเป้าหมาย คือ รายงานน้อยกว่า ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ความเป็นจริง และบันทึกการรายงานมีความไม่ถูกต้อง ด้านกระบวนการ สมบูรณ์ น่าจะเป็นผลมาจากด�ำเนินการและปัญหา 1. เสนอปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรคทั้งด้านโครงสร้าง และด้านกระบวนการ ดังที่ อุปสรรค เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพิจารณาปรับแบบ ปรากฏในเนื้อหาที่ผ่านมา ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการ ฟอร์มการรายงานโดยไม่ระบุชื่อผู้รายงาน ประเมินคุณภาพของ Donabedian (2003)ที่กล่าวว่า 2. ให้ข้อเสนอแนะต่อฝ่ายการพยาบาลเพื่อ คุณภาพด้านโครงสร้างการให้บริการที่ดีจะส่งผลต่อ พิจารณาจัดท�ำคู่มือเกี่ยวกับ กระบวนการรายงานอุบัติ กระบวนการให้บริการมีคุณภาพและเมื่อกระบวนการให้ การณ์ความเสี่ยง พร้อมตัวอย่างที่ชัดเจน และเข้าใจได้ บริการมีคุณภาพจะส่งผลให้ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีคุณภาพ ง่ายและแจกจ่ายให้ทั่วถึง ตามไปด้วย ด้านผลลัพธ์ หัวหน้าหอผู้ป่วยควรมีการทบทวน ติดตามข้อมูลจ�ำนวนรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลการรายงานอุบัติการณ์ความ จากผลการศึกษามีข้อเสนอแนะในการน�ำผลการ เสี่ยงกับหน่วยงานอื่น เพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ในการ ศึกษาไปใช้ในแต่ละด้านดังนี้ พัฒนาระบบการรายงานของฝ่ายการพยาบาลและโรง ด้านโครงสร้าง พยาบาล 1.หัวหน้าหอผู้ป่วยควรส่งเสริมการรับรู้และการ ปฏิบัติเกี่ยวกับรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงแก่บุคลากร ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ให้มากยิ่งขึ้น โดยเน้นย�้ำ รณรงค์ สนับสนุนการปฏิบัติ 1. ควรมีการศึกษาการรับรู้ต่อการรายงานอุบัติ และติดตามประเมินผล การณ์ความเสี่ยงในบุคลากรทางการพยาบาล ในหน่วย 2. ควรส่งเสริมให้บุคลากรมีการพัฒนาความรู้ งานอื่น ๆ โรงพยาบาล ทักษะ ประสบการณ์ในการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง 2. ควรมีการศึกษาการพัฒนาระบบการรายงาน 3. น�ำเสนอปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข อุบัติการณ์ความเสี่ยงเพื่อให้ใช้ประโยชน์จากการ ปัญหาอุปสรรค ต่อผู้บริหารเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงได้มากขึ้น เอกสารอ้างอิง Atchalee, R, & Tosing. A. (2003). Nurses with risk management in surgical patients. Bangkok: LT Press. (In Thai) Connie R. C., & Mary K. T. (2010). Quality, Patient safety and the Board. Nursing Economic. 28(4), 273 Donabedian,A. (2003). An Introduction Quality Assurance in Health Care. Oxford university. Healthcare Accreditation Institute. (2015). Hospital and Healthcare Standard (60th Anniversary Honors Celebration. Nonthaburi: Healthcare Accreditation Institute. (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 347 การวิเคราะห์สถานการณ์การรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม 1 โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่

Hwang,J.I.(2012).Barriers to the Operation of Patient Safety Incident Reporting Systems in Korean General Hospitals. Healthcare Informatics Research, 18(4),279-286. Maakchoo, P. (2014). The Development of online incidence reporting system to support Ban-Tak Hospital risk management. Master degree of Computer Engineering. Graduate School of Chiangmai University. (In Thai) Mccloskey, J.C., & Bulechek,G.M. (2000). Nursing Interventions Classification: Incident reporting. (3rded). Toronto: A Harcourt Health Sciences company. Medical Intensive Care Unit 1. (2016). The unit performance with service profile in 2016. Nakornping Hospital, Chiang Mai. (In Thai) Ministry of Public Health. (n.d.). National Health Development Plan (12th ed) (2017-2021). Retrieved from http://wops.moph.go.th/ops/oic/data/20161115144754_1_.pdf Nakamura,N.,Yamashita,Y., Tanihara,S., & Maeda,C.(2014). Effectiveness and Sustainability of Education about Incident Reporting at a University Hospital in Japan. Healthcare Informatics Research, 203, 209-215. Retrieved from http://dx.doi.org/10.4258/ hir.2014.20.3.209 Nakornping Hospital, Chiangmai. (2014). Risk Management System Policy. Chiangmai. Nakornping Hospital. (In Thai) Nakornping Hospital Risk Management Team. (2016). The result of Nakornping Hospital Risk Management. Department of quality development in Nakornping Hospital, Chiangmai. (In Thai) National Patient Safety Agency (NPSA). (2004). Seven steps to patient safety. Retrieved from http://www.nrls.npsa.nhs.uk/resources/collections. Nurse Ausmed. (2014). How to Write an Incident Report. Retrieved from http://www.ausmed.com.au/blog/entry/how-to-writean-incident-report. Nursing Division, Ministry of Public Health. (2008). The development of nursing quality for worthiness (2nd printed). Bangkok: Sam Charoen Panit Company. (In Thai) Nursing Organization of Nakornping Hospital. (2014). Administration guidelines for Nursing Organization, Nakornping Hospital, Chiangmai. (In Thai) Pham, J.C., Girard,T., & Pronovost, P.J. (2013). What to do with healthcare Incident Reporting Systems. Journal of Public Health Research, 2(e27),154-159. Photikul, R. (2014). The Analysis of risk management in Medical unit: Maharaj Nakorn Chiang mai Hospital. Independent Study, Master degree of Nursing Administration. Graduate School of Chiangmai University. (In Thai) Srisatidnarakul, B. (2008). Leadership and Strategy for the 21st Century of Nursing Organization Management. Bangkok: Chulalongkorn University. (In Thai)

348 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Situational Analysis of Incident Reporting in Medical Intensive Care Unit 1 Nakornping Hospital, Chiang Mai Province

Srivichai, S. (2014). The Analysis of risk management in Sub-NICU: Nakornping Hospital. Independent Study, Master degree of Nursing Administration. Graduate School of Chiangmai University. (In Thai) Suphachutikul, A. (2000). Hospital Risk Management System. Bangkok: Design. (In Thai) Tansirisittikul, R(et al). (2012). The Report of Patient safety system development review. Retrieved from http://www.shi.or.th. (In Thai) Tanwattanakun, J. (2012). The Analysis of risk management in Outpatient chemotherapy units: Maharaj-Nakorn-Chiangmai Hospital. Independent Study, Master degree of Nursing Administration. Graduate School of Chiangmai University. (In Thai) Thaidamrong, P. (2015). The development of risk management strategy in regional and general hospitals, 17th inspection areas. Master degree of Educational Administration, Kamphaeng Phet Rajabhat University. Retrieved from http://www.thailis.or.th/tdc/(In Thai) Victorian Government. (2011). Victorian health incident management policy guide. Department of Health, Melbourne, Victoria. Retrieved from http://www.health.vic.gov.au/clinrisk/vhims Victorian Government. (2013). Incident reporting instruction. Retrieved from http://www.dhs.vic.gov.au/funded-agency-channel Wiboonma, S. (2013). The Analysis of risk management in Outpatient Medical unit: Lamphun Hospital. Independent Study, Master degree of Nursing Administration. Graduate School of Chiangmai University. (In Thai) Winship, D. (1989). Nurses’s perception of incident reporting. Department of Educational administration. Reproduction infull or in part of this film is governed by Canadian copyright act.R.S.C.1970, c.C30. World Health Organization. (2005). WHO draft guidelines for adverse event reporting and learning systems. Retrieved from https://www.jeder-fehler-zaehlt.de/lit/further World Health Organization.(2017). Situation analysis and priority setting. Retrieved from http://www.who.int/nationalpolicies/processes/priorities/en

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 349 การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปาง Perceived Patient Safety Management Among Nursing Personnel in Fort Surasakmontri Hospital,

วราภรณ์ ศรีรัตนา * Waraporn Sriruttana * เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล ** Petsunee Thungjaroenkul ** อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์ ** Apiradee Nantsupawat **

บทคัดย่อ ผู้ป่วยทุกคนที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลย่อมคาดหวังว่าตนเองจะได้รับการดูแลที่ปลอดภัย ดังนั้น การจัดการความปลอดภัยจึงเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้ป่วยพึงได้รับและเป็นหน้าที่หลักของบุคลากรทางการพยาบาล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพรวมของการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากร ทางการพยาบาลในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปางและเปรียบเทียบความแตกต่างของการจัดการ ความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพ 26 คน ผู้ช่วยพยาบาล 37 คนและพนักงานช่วยการพยาบาล 40 คน รวมทั้งหมด 103 คน ซึ่งมีประสบการณ์ในการท�ำงานอย่างน้อย 1 ปีในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี สุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย โรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตาม กรอบแนวคิดการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยของหน่วยงานความปลอดภัยของผู้ป่วยแห่งชาติ มีค่าดัชนีความ ตรงตามเนื้อหา (Content Validity Index: CVI) เท่ากับ 0.94 และค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิแอลฟ่า ของครอนบาค เท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยายและสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับสูง (=3.22, S.D.=0.39) การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่าการสร้าง วัฒนธรรมความปลอดภัย การน�ำและสนับสนุนส่งเสริมบุคลากร การบูรณาการกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง การสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ การสื่อสารและส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วนร่วม การวิเคราะห์ สาเหตุรากของปัญหา และการลงมือเพื่อป้องกันอันตรายอยู่ในระดับสูง (=3.39, S.D.=0.38; =3.25, S.D.=0.39; =3.31, S.D.=0.43; =3.19, S.D.=0.50; =3.16, S.D.=0.48; =3.10, S.D.=0.56; and =3.15, S.D.=0.46 ตามล�ำดับ) 2. พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาล มีการรับรู้การจัดการความปลอดภัยโดยรวม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามพบว่าระหว่างพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรที่ไม่ใช่

* พยาบาลวิชาชีพคลินิกเบาหวาน-ไทรอยด์ ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ * Registered nurse of Diabetes-Thyroid Clinic, Tambol Watgate, Amphur Muang, Chiang Mai Province ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai Universit

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 350 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Perceived Patient Safety Management Among Nursing Personnel in Fort Surasakmontri Hospital, Lampang Province

พยาบาลวิชาชีพมีการรับรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติในขั้นตอนการสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ (F = 4.623, p<0.05) และการสื่อสารและส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วนร่วม (F = 6.844, p<0.05) ผลการศึกษานี้ท�ำให้ผู้บริหารทางการพยาบาลและผู้บริหารโรงพยาบาลได้ทราบความก้าวหน้าของการจัดการ ความปลอดภัยของผู้ป่วยของโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีและข้อเสนอแนะให้ท�ำการประเมินผลการจัดการความ ปลอดภัยของผู้ป่วยอย่างสม�่ำเสมอเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ามีการจัดบริการทางด้านสุขภาพที่ปลอดภัยแก่ผู้ป่วย

ค�ำส�ำคัญ: การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วย บุคลากรทางการพยาบาล โรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี

Abstract Patients expect safe care during hospitalization. Accordingly, patient safety management is a basic patient right and a major duty of hospital employees. This descriptive study was to examine overall patient safety management as perceived by nursing personnel in Fort Surasakmontri Hospital, Lampang Province and to explore the differences in perceived patient safety management among registered nurses, practical nurses and nurse aides. The study sample includes 26 registered nurses, 37 practical nurses and 40 nurse aides, all of whomhave had experience in nursing for at least one year in Fort Surasakmontri Hospital. The sampling techniques were stratified random sampling. The study instrument was a questionnaire which was developed based on the conceptual framework of the National Patient Safety Agency (2004). The content validity index was 0.94 and the reliability was 0.93. Data were analyzed using descriptive statistics and One Way ANOVA. The study results were as follows: 1. The overall of the perceived patient safety management among nursing personnel was at a high level (=3.22, S.D.=0.39). Patient safety management consisted of seven steps. Results illustrated that nursing personnel perceived the steps of building a safety culture, leading and supporting staff, integrating risk management activity, promoting incident report, involving and communicating with patients and the public, learning and sharing safety lessons and implementing solutions to prevent harm were at the high level (=3.39, S.D.=0.38; =3.25, S.D.=0.39; =3.31, S.D.=0.43; =3.19, S.D.=0.50; =3.16, S.D.=0.48; =3.10, S.D.=0.56; and =3.15, S.D.=0.46 respectively). 2. There was no statistical difference in the overall of the perceived patient safety management among registered nurses, practical nurses and nurse aides. However, there were statistical differences in perception of registered nurses and non-registered nurses regarding the steps of promoting incident report (F = 4.623, p<0.05) and involving and communicating with patients and the public (F = 6.844, p<0.05). The results of this study could contribute nurse managers and hospital administrators to understanding the progress of patient safety management in Fort Surasakmontri Hospital. It was

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 351 การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปาง

recommended that nurse managers and hospital administrators should regularly measure performance in patient safety management in order to ensure that the care provided is as safe as possible for patients.

Key words: patient safety management, patient safety culture, Nursing Personnel Fort Surasakmontri Hospital

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา (Suphachutikul, 2008) ความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหัวใจส�ำคัญของการ การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นส่วนหนึ่ง ให้บริการสุขภาพในโรงพยาบาล เนื่องจากเป็นคุณภาพ ของการประเมินและการรับรองคุณภาพและมาตรฐาน ของการบริการในระบบสาธารณสุข (Tansirisithikul et ของโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความปลอดภัย al, 2012) จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกพบว่า มีผู้ป่วย (Suphachutikul, 2008) ซึ่งรูปแบบการจัดการความ เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ร้อยละ 18 (WHO, 2016) ปลอดภัยมีหลากหลาย แต่รูปแบบการจัดการความ และมีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ถึง 251, ปลอดภัยของผู้ป่วยโดยหน่วยงานความปลอดภัยของ 454 ราย (Makary & Daniel, 2016) ในประเทศไทย ผู้ป่วยแห่งชาติของประเทศอังกฤษ มีขั้นตอนที่ชัดเจน พบว่ามีแนวโน้มเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสถิติในปี ค.ศ. ซึ่งประกอบด้วย 7 ขั้นตอนคือ 1) การสร้างวัฒนธรรม 2014 พบว่ามีอัตราการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์อยู่ ความปลอดภัย 2) การน�ำและสนับสนุนส่งเสริมบุคลากร ที่ร้อยละ 9.1 (Khunthar, 2014) ท�ำให้ส่งผลกระทบต่อ 3) การบูรณาการกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง 4) การ ผู้ป่วยและครอบครัว บุคลากรทีมสหสาขาวิชาชีพและ สนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ 5) การสื่อสารและ ระบบบริการสุขภาพ (Chaleoykitti, Kamprow, & ส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วนร่วม 6) การ Promdet, 2014) วิเคราะห์สาเหตุรากของปัญหา และ 7) การลงมือเพื่อ อันตรายจากความผิดพลาดในการให้บริการ ป้องกันอันตราย ซึ่งหากโรงพยาบาลมีการด�ำเนินการทั้ง สุขภาพท�ำให้องค์การอนามัยโลกก�ำหนดให้ทุกประเทศ 7 ขั้นตอนได้อย่างเหมาะสมจะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติ มีการพัฒนาระบบมาตรฐานและแนวทางส�ำหรับการ การณ์หรือความเสี่ยงเกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้ (NPSA, 2004) ดูแลผู้ป่วยให้เกิดความปลอดภัย (World Health ที่ผ่านมาได้เคยมีการส�ำรวจประสิทธิผลของการจัดการ Organization, 2006) เช่นเดียวกับคณะกรรมการเฉพาะ ความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัด กิจเพื่อการรับรองคุณภาพของสถาบันสุขภาพ (The Joint นครสวรรค์ โดย Nowneow (2007) ผลการศึกษาพบ Commissions on Accreditation of Healthcare ว่าโรงพยาบาลชุมชนมีการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย Organization: JCAHO) ได้วางกรอบการบริหารจัดการ ในองค์กร การสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ การแลก ให้เกิดความปลอดภัยและก�ำหนดให้โรงพยาบาลที่ เปลี่ยนเรียนรู้จากบทเรียนของความปลอดภัย และการ ต้องการรับการประกันคุณภาพจาก JCAHO ต้องด�ำเนิน บูรณาการกิจกรรมการจัดการความเสี่ยงอยู่ในระดับสูง การตามกรอบนี้ (JCAHO, 2008) ในประเทศไทย แต่มีการน�ำแนวทางการแก้ปัญหาไปใช้ในการป้องกัน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลก�ำหนด อันตรายที่ต่อผู้ป่วย การน�ำและการสนับสนุนการท�ำงาน เกณฑ์เป้าหมายความปลอดภัยของผู้ป่วย (Thai Patient ที่ปลอดภัยของบุคลากรพยาบาล และการสื่อสารให้ผู้ใช้ Safety Goals) และใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินและ บริการและชุมชนมีส่วนร่วมในระบบความปลอดภัยอยู่ ให้การรับรองคุณภาพและมาตรฐานของโรงพยาบาล ในระดับปานกลาง ถึงแม้ว่าจะเคยมีการศึกษาการจัดการ

352 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Patient Safety Management Among Nursing Personnel in Fort Surasakmontri Hospital, Lampang Province

ความปลอดภัยของผู้ป่วยมาแล้ว แต่ที่ผ่านมายังมีการ บุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์ ศึกษาวิจัยเรื่องการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยใน มนตรี และท�ำการเปรียบเทียบการรับรู้การจัดการความ ประเทศไทยน้อย และยังไม่พบว่ามีการศึกษาการจัดการ ปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการ ความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกองทัพ พยาบาล 3 ระดับคือ พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาล บกมาก่อน และพนักงานช่วยการพยาบาล เนื่องจากแต่ละระดับมี โรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี จังหวัดล�ำปาง โอกาสในการเข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ เป็นหนึ่งในโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบกมีการพัฒนา ความปลอดภัยของผู้ป่วยแตกต่างกัน ผลที่ได้จากการ ระบบการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยมาอย่าง วิจัยนี้จะท�ำให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงการ ต่อเนื่อง แต่ยังพบว่ามีการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง จัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยของโรงพยาบาลค่าย ในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในปี พ.ศ. 2557 สุรศักดิ์มนตรีต่อไป ที่ผ่านมา ผู้บริหารโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีได้มี การกระตุ้นให้ทุกหน่วยงานท�ำการส่งเสริมให้เกิด วัตถุประสงค์การวิจัย วัฒนธรรมความปลอดภัย ได้มีการก�ำหนดให้บุคลากร 1.เพื่อศึกษาระดับการรับรู้การจัดการความ ทางการพยาบาลทุกคน ร่วมมือกันค้นหาความเสี่ยงที่ ปลอดภัยของผู้ป่วยของบุคลากรทางการพยาบาล ส่งผลต่อความไม่ปลอดภัยของผู้ป่วยภายในหน่วยงาน โรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี ของตนเอง และให้รายงานความเสี่ยงเข้ามาตามช่องทาง 2.เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้การ ต่าง ๆ ของทางโรงพยาบาล มีการสร้างแรงจูงใจโดยการ จัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยระหว่างพยาบาลวิชาชีพ ให้รางวัลแก่หน่วยงานที่มีการรายงานอุบัติการณ์มากที่สุด ผู้ช่วยพยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาลในโรง (Risk Management Department of Fort Surasak- พยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี montri Hospital, 2014) และเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 โรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี ได้มีการประเมิน ค�ำถามของการวิจัย การรับรู้วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยจากบุคลากร 1. การรับรู้การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย ทางแพทย์ บุคลากรทางการพยาบาลและบุคลากร ของบุคลากรทางการพยาบาลโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์ สนับสนุนการรักษาพยาบาล เช่น รังสีเทคนิค เป็นต้น มนตรี โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับใด โดยใช้แบบการประเมินวัฒนธรรมความปลอดภัยของ 2. การรับรู้การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ผลการ ของพยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาล และพนักงานช่วย ประเมินพบว่าคะแนนวัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วย การพยาบาล โรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี แตกต่างกัน โดยภาพรวมมีค่าเท่าตำ�่ กว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ร้อยละ 80 หรือไม่ (Fort Surasakmontri Hospital, 2014) แต่ยังขาดการ ประเมินการจัดการความปลอดภัยด้านอื่น ๆ เช่น การ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ส่งเสริมบุคลากรด้านความปลอดภัย การบูรณาการ การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการจัดการความ กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง การวิเคราะห์สาเหตุของ ปลอดภัยของผู้ป่วยของหน่วยงานความปลอดภัยของ ปัญหา และการป้องกันอันตราย ซึ่งเป็นองค์ประกอบ ผู้ป่วยแห่งชาติ (NPSA, 2004) ที่ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ที่ส�ำคัญในการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย คือ 1) การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย 2) การน�ำและ ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะท�ำการศึกษา สนับสนุนส่งเสริมบุคลากร 3) การบูรณาการกิจกรรมการ การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของ บริหารความเสี่ยง 4) การสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 353 การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปาง

5) การสื่อสารและส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชน อบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย (ความเสี่ยง) ของผู้ป่วย มีส่วนร่วม 6) การวิเคราะห์สาเหตุรากของปัญหา และ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามการจัดการความปลอดภัย 7) การลงมือเพื่อป้องกันอันตรายมาเป็นแนวทางในการ ของผู้ป่วย จ�ำนวน 51 ข้อ ที่คณะผู้วิจัยสร้างขึ้นตาม ประเมินการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย โดยท�ำการ กรอบแนวคิดการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยของ ศึกษาระดับและความแตกต่างของคะแนนการรับรู้การ หน่วยงานความปลอดภัยของผู้ป่วยแห่งชาติ (NPSA, จัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ 2004) โดยลักษณะค�ำถามเป็นค�ำถามปลายปิด แบบ ผู้ช่วยพยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาล ของโรง มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (rating scale) ก�ำหนด พยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี เกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีคะแนน เท่ากับ 4 คะแนน เห็นด้วย มีคะแนนเท่ากับ 3 คะแนน วิธีด�ำเนินการวิจัย ไม่แน่ใจ มีคะแนนเท่ากับ 2 คะแนน ไม่เห็นด้วย มี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนา (descriptive คะแนนเท่ากับ 1 คะแนน และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง มี study) ประชากรในการวิจัย คือ บุคลากรทางการ คะแนนเท่ากับ 0 คะแนน แบบสอบถามนี้ตรวจสอบ พยาบาล ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาล ความตรงตามเนื้อหา (content validity index) โดย และพนักงานช่วยการพยาบาลในโรงพยาบาลค่าย ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 3 ท่านได้ค่า CVI เท่ากับ 0.94 สุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปาง จ�ำนวน 139 คน ค�ำนวณ และหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิแอลฟ่า ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางส�ำเร็จรูปของ ของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) Burns & Grove (1997) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเป็น (Srisatitnarakul, 2007) ของแบบสอบถามทั้งชุด บุคลากรพยาบาลโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี จ�ำนวน เท่ากับ 0.93 103 คน ประกอบด้วย พยาบาลจ�ำนวน 26 คน ผู้ช่วย การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ได้ผ่านการ พยาบาลจ�ำนวน 37 คน และพนักงานช่วยการพยาบาล รับรองของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะ จ�ำนวน 40 คน เกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รหัสเลขที่ 056- พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาล หรือพนักงานช่วยการ 2559 และได้ท�ำการเก็บข้อมูลภายหลังได้รับอนุญาตจาก พยาบาลที่ให้การพยาบาลหรือให้บริการแก่ผู้รับบริการ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี โดยใน ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และมีประสบการณ์ในการ แบบสอบถามได้ขอความร่วมมือกลุ่มตัวอย่างในการท�ำ ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีไม่น้อยกว่า 1 แบบสอบถามด้วยความสมัครใจ ไม่มีการบังคับ นอกจาก ปี สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบชั้นภูมิตามแผนกงานและ นี้ผู้ตอบแบบสอบถามสามารถตอบรับหรือปฏิเสธการ สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่ายตามสัดส่วนของบุคลากรการ เข้าร่วมการศึกษาครั้งนี้ได้ทุกเมื่อ โดยไม่ต้องชี้แจง พยาบาลในแต่ละระดับ เหตุผล ไม่มีผลกระทบต่อผู้ตอบแบบสอบถาม ไม่มีผล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน การเก็บข้อมูลและผล คือแบบสอบถามประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ของข้อมูลที่ได้จากการศึกษาถูกเก็บไว้เป็นความลับ ไม่มี ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ การระบุชื่อผู้ตอบแบบสอบถาม แต่ใช้วิธีการใส่รหัสแทน สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุด ต�ำแหน่ง ระยะ และน�ำข้อมูลมาท�ำลายทิ้งทั้งหมดหลังการศึกษาเสร็จ เวลาการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี ผลการศึกษาได้น�ำมาสรุปในลักษณะภาพรวม เพื่อน�ำมา ประสบการณ์การเป็น คณะกรรมการในงานด้านความ ใช้ประโยชน์ทางการศึกษาในครั้งนี้เท่านั้น พร้อมทั้งขอ ปลอดภัยของผู้ป่วยในระดับโรงพยาบาลหรือระดับ ความร่วมมือในการท�ำการศึกษา และให้ผู้เข้าร่วมศึกษา หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน และประสบการณ์ในการประชุม/ ลงนามในใบยินยอมเข้าร่วมการศึกษา

354 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Patient Safety Management Among Nursing Personnel in Fort Surasakmontri Hospital, Lampang Province

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างและข้อมูลการจัดการ ข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วย ความปลอดภัยของผู้ป่วยท�ำการวิเคราะห์ด้วยสถิติ พยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล บรรยาย และเปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้การ มีอายุเฉลี่ย 30.81 ปี 36.95 ปี และ 32.65 ปี ตามล�ำดับ จัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ ผู้ มีค่าเฉลี่ยของระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 5.96 ปี 10 ปี ช่วยพยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาลโดยใช้การ และ 12.89ปี ตามล�ำดับ พยาบาลวิชาชีพเคยเป็นคณะ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one way ANOVA) กรรมการความปลอดภัยของโรงพยาบาลคิดเป็นร้อยละ เนื่องจากข้อมูลมีการแจกแจงแบบโค้งปกติ 53.85 ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาลคิด การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นร้อยละ 27.03 และร้อยละ 12.50 ตามล�ำดับ คณะผู้วิจัยท�ำการแจกแบบสอบถามด้วยตนเอง ข้อมูลการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตาม และให้กลุ่มตัวอย่างท�ำการตอบแบบสอบถามและส่งคืน การรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาล คณะผู้วิจัยโดยใส่ซองปิดผนึกและใส่ในกล่องที่จัดไว้ให้ ค่ายสุรศักดิ์มนตรี พบว่าบุคลากรพยาบาลรับรู้ว่าโรง ตามหอผู้ป่วยภายใน 2 สัปดาห์ ใช้เวลาในการเก็บข้อมูล พยาบาลมีการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยรวม ตั้งแต่เดือน กันยายน ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 คณะ อยู่ในระดับสูง (=3.22, S.D.=0.39) และเมื่อแยกเป็น ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามกลับคืนจ�ำนวน 103 ฉบับ คิด แต่ละรายขั้นตอนของการจัดการความปลอดภัยของผู้ เป็นร้อยละ 100 ของแบบสอบถามที่แจกไป ป่วย พบว่า ค่าเฉลี่ยของการจัดการความปลอดภัยของ ผู้ป่วยอยู่ในระดับสูงทั้ง 7 ขั้นตอน (=3.39, S.D.=0.38; =3.25, S.D.=0.39; =3.31, S.D.=0.43; =3.19, S.D.=0.50; =3.16, S.D.=0.48; =3.10, S.D.=0.56; and =3.15, S.D.=0.46 ตามล�ำดับ) (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับคะแนนของการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยรวมและ แต่ละขั้นตอนตามการรับรู้ของบุคลากรพยาบาลโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี (n=103) การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย  S.D. ระดับ แต่ละขั้นตอน 1.การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย 3.39 0.38 สูง 2.การน�ำและสนับสนุนส่งเสริมบุคลากร 3.25 0.39 สูง 3.การบูรณาการกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง 3.31 0.43 สูง 4.การสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ 3.19 0.50 สูง 5.การสื่อสารและส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วนร่วม 3.16 0.48 สูง 6.การวิเคราะห์สาเหตุรากของปัญหา 3.10 0.56 สูง 7.การลงมือเพื่อป้องกันอันตราย 3.15 0.46 สูง โดยรวม 3.22 0.39 สูง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 355 การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปาง

เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการจัดการ 4.623, p-value=.012) และทั้งสามกลุ่มมีการรับรู้ในขั้น ความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาล ผู้ การสื่อสารและส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมี ช่วยพยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาล โรง ส่วนร่วมที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ พยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี พบว่า พยาบาล พนักงาน .05 (F= 6.844, p-value=.002) ในขณะที่ในขั้นตอน ช่วยการพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล มีการรับรู้โดยภาพ อื่น ๆ ได้แก่ การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย การน�ำ รวมของการจัดการความปลอดภัยไม่แตกต่างกันอย่างมี และสนับสนุนส่งเสริมบุคลากร การบูรณาการกิจกรรม นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F= 2.854, p-val- การบริหารความเสี่ยง การวิเคราะห์สาเหตุรากของ ue=.062) แต่เมื่อพิจารณาในแต่ละขั้นตอนพบว่า ปัญหา และการลงมือเพื่อป้องกันอันตรายมีการรับรู้ไม่ พยาบาล พนักงานช่วยการพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (ตาราง มีการรับรู้ในขั้นการสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ ที่ 2) แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F=

ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของคะแนนการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากร พยาบาลโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี (n=103) RN PN NA การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย (n=26) (n=37) (n=40) F Sig.  (S.D)  (S.D)  (S.D) แต่ละขั้นตอน 1. การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย 3.29 (0.34) 3.40 (0.41) 3.45 (0.37) 1.402 .251 2. การน�ำและสนับสนุนส่งเสริมบุคลากร 3.11 (0.40) 3.29 (0.36) 3.31 (0.39) 2.278 .108 3. การบูรณาการ กิจกรรมการบริหาร ความเสี่ยง 3.23 (0.43) 3.36 (0.44) 3.31 (0.44) 0.652 .523 4. การสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ 2.95 (0.45) 3.30 (0.43) 3.25 (0.55) 4.623 .012** 5. การสื่อสารและส่งเสริมให้ผู้รับบริการ 2.88 (0.40) 3.23 (0.47) 3.29 (0.47) 6.844 .002** และประชาชนมีส่วนร่วม 6. การวิเคราะห์สาเหตุรากของปัญหา 3.04 (0.54) 3.20 (0.60) 3.05 (0.54) 0.864 .425 7. การลงมือเพื่อป้องกันอันตราย 2.97 (0.44) 3.21 (0.44) 3.21 (0.47) 2.718 .071 โดยรวม 3.06 (0.34) 3.28 (0.39) 3.26 (0.40) 2.854 .062 หมายเหตุ: ** p-value < .05 RN = พยาบาลวิชาชีพ PN = ผู้ช่วยพยาบาล และ NA = พนักงานช่วยการพยาบาล

การอภิปรายผล โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครสวรรค์ที่พบว่าในขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่าการจัดการความปลอดภัยของ การน�ำแนวทางการแก้ปัญหาไปใช้ในการป้องกันอันตราย ผู้ป่วยของบุคลากรการพยาบาลโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์ ที่ต่อผู้ป่วย การน�ำและการสนับสนุนการท�ำงานที่ปลอดภัย มนตรีโดยภาพรวมและในแต่ละขั้นตอนอยู่ในระดับสูง ของบุคลากรพยาบาล และการสื่อสารให้ผู้ใช้บริการและ แตกต่างจากการศึกษาของ Nowneow, (2007) ที่ได้ ชุมชนมีส่วนร่วมในระบบความปลอดภัยอยู่ในระดับปาน ท�ำการศึกษาการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยใน กลางเท่านั้น ทั้งนี้อาจเนื่องจากโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์

356 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Patient Safety Management Among Nursing Personnel in Fort Surasakmontri Hospital, Lampang Province

มนตรี ได้ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลจากสถาบัน p-value=.012) ทั้งนี้อาจเนื่องจากผู้ช่วยพยาบาลและ รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ตั้งแต่ พนักงานช่วยการพยาบาลมีบทบาทในการค้นหาและ ปี พ.ศ. 2555 และได้มีการได้มีปรับเปลี่ยนเจตคติและ แจ้งให้กับพยาบาลวิชาชีพในขั้นตอนการรายงานอุบัติการณ์ เตรียมความพร้อมบุคลากรต่อการพัฒนาคุณภาพ มีการ หรือเหตุการณ์ความผิดพลาดของโรงพยาบาล จึงเป็นไป ก�ำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกัน ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ในส่วน ได้ที่จะท�ำให้รับรู้ว่าระบบขั้นตอนการรายงานอุบัติการณ์ ของกองการพยาบาลโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีได้ ของโรงพยาบาลง่ายและรวดเร็ว แตกต่างจากพยาบาล พัฒนาคุณภาพการให้บริการพยาบาลและค�ำนึงความ วิชาชีพที่ต้องท�ำหน้าที่หลักในการรายงานให้ครบถ้วน ปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นส�ำคัญเช่นกันและผ่านการ ตามขั้นตอนต่าง ๆ อย่างถูกต้องและทันเวลา จึงท�ำให้ รับรองมาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์จากสภา รู้สึกว่าระบบขั้นตอนการรายงานอุบัติการณ์ของโรงพยาบาล การพยาบาลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 (Nursing organization มีค่อนข้างมากและอาจต้องใช้เวลาด�ำเนินการให้ครบทุก of Fort Surasakmontri Hospital, 2016) จากการที่ ขั้นตอน นอกจากนี้ถึงแม้ว่าโรงพยาบาลจะมีนโยบายที่ โรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ไม่ระบุชื่อผู้กระท�ำผิดในใบรายงานอุบัติการณ์ของโรง สะท้อนว่าโรงพยาบาลได้มีการจัดการความปลอดภัย พยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรี (Risk Management ของผู้ป่วยตามมาตรฐานเนื่องจากกระบวนการได้มาซึ่ง Department of Fort Surasakmontri Hospital, การประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลนั้น จ�ำเป็น 2016) แต่ในทางปฏิบัติยังคงมีการให้ระบุชื่อผู้ที่ให้ยาผิด ต้องมีการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยให้ได้ตาม แก่ผู้ป่วยในแบบฟอร์มการรายงานความคลาดเคลื่อน เกณฑ์มาตรฐานด้วย สอดคล้องกับการศึกษาของ ทางยา ซึ่งอาจท�ำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่สบายใจหรือ Padungsak (2009) ที่กล่าวว่าการที่โรงพยาบาลศูนย์ กลัวการถูกต�ำหนิจากผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน ในเขตภาคเหนือได้มีการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตาม สอดคล้องกับการศึกษาของ (Mayo & Duncan, 2004) กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ศึกษาการรับรู้ของพยาบาลในสมาคมพยาบาลรัฐ ท�ำให้พยาบาลรับรู้ว่าโรงพยาบาลมีวัฒนธรรมความ แคลิฟอร์เนีย ในเรื่องความปลอดภัยจากความคลาด ปลอดภัยผู้ป่วยอยู่ในระดับสูง เคลื่อนทางยา ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลร้อยละ 46.60 ผลการศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ของพยาบาล เชื่อว่าความคลาดเคลื่อนทางยาที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล วิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาล ไม่ถูกรายงานเพราะกลัวผู้บริหารลงโทษและกลัว ในเรื่องการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาล ปฏิกิริยาจากเพื่อนร่วมงาน รวมทั้งการศึกษาของ Wolf ค่ายสุรศักดิ์มนตรี พบว่าทั้งสามกลุ่มมีการรับรู้การ & Serembus (2004) ที่ศึกษาเกี่ยวกับบรรยากาศความ จัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยรวมไม่มีความ ปลอดภัยในการท�ำงานพบว่าสาเหตุที่พยาบาลไม่ แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 รายงานอุบัติการณ์เพราะกลัวปฏิกิริยาจากผู้บริหารและ สะท้อนได้ว่าบุคลากรพยาบาลในระดับปฏิบัติการไม่ว่า ผู้ร่วมงาน อยู่ในต�ำแหน่งใดต่างก็มีการรับรู้การจัดการความปลอดภัย นอกจากนี้ยังพบว่าบุคลากรทั้ง 3 กลุ่มมีการรับรู้ ของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในแนวทางเดียวกันทั่วทั้ง ที่แตกต่างกันในขั้นตอนที่ 5 การสื่อสารและส่งเสริมให้ องค์การ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบความ ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วนร่วม (F= 6.844, แตกต่างของคะแนนการรับรู้ของบุคลากรทั้ง 3 กลุ่มใน p-value=.002) ทั้งนี้อาจเนื่องจากพยาบาลวิชาชีพ แต่ละขั้นตอนของการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย ที่ให้การดูแลผู้ป่วยท�ำหน้าที่ในการสื่อสารกับผู้ป่วยและ พบว่า บุคลากรทั้ง 3 กลุ่มมีการรับรู้ที่แตกต่างกันในขั้นตอน ครอบครัวเมื่อเกิดความผิดพลาด ในขณะที่ผู้ช่วยพยาบาล ที่ 4 การสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ (F= 4.623, หรือพนักงานช่วยการพยาบาลมีบทบาทในการให้ข้อมูล

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 357 การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปาง

แก่ผู้ป่วยและญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ความผิดพลาดน้อย การวิเคราะห์สาเหตุรากของปัญหา และ 7) การลงมือ มาก พยาบาลวิชาชีพจึงอาจประสบกับขั้นตอนที่ยุ่งยาก เพื่อป้องกันอันตรายมาเป็นแนวทางในการประเมินการ ในการสื่อสารเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และส่ง จัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยอยู่ในระดับสูงเช่นกัน เสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วนร่วมในการ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการจัดการความ จัดการให้เกิดความปลอดภัยในการรักษาพยาบาล ปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาล ผู้ช่วย มากกว่า ซึ่งการสื่อสารเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ พยาบาล และพนักงานช่วยการพยาบาล โรงพยาบาล หรือการส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วนร่วม ค่ายสุรศักดิ์มนตรี โดยแยกเป็นรายด้าน พบว่าพยาบาล ในการจัดการให้เกิดความปลอดภัยของผู้ป่วยนั้น วิชาชีพมีคะแนนการรับรู้ในขั้นการสนับสนุนการรายงาน พยาบาลจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีทักษะเฉพาะในการ อุบัติการณ์และขั้นการสื่อสารและส่งเสริมให้ผู้รับบริการ สื่อสารกับผู้รับบริการและญาติ ซึ่งรูปแบบการสื่อสารที่ และประชาชนมีส่วนร่วมน้อยกว่าบุคลากรพยาบาลอื่น ๆ น่าจะเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดเกิดเหตุการณ์ไม่พึง ประสงค์และส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วน ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการศึกษาไปใช้ ร่วมในการจัดการให้เกิดความปลอดภัยในการรักษา 1. ผู้บริหารโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก ควรมีการ พยาบาล คือ การใช้แนวทางสไปคส์ 6 ขั้นตอนที่ประกอบ ด�ำเนินการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามกรอบ ด้วย การเตรียมความพร้อมก่อน การสนทนา การ แนวคิดการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยของหน่วย ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วย การประเมินความต้องการ งานความปลอดภัยของผู้ป่วยแห่งชาติ (NPSA, 2004) การรับทราบข้อมูล การให้ความรู้ การสนใจความรู้สึก อย่างต่อเนื่องและมีการติดตามประเมินผลเป็นระยะ ๆ ของผู้ป่วย และการสรุปวิธีเผชิญปัญหาและวางแผนใน เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าและปัญหาในการด�ำเนินการ อนาคต (Boonnun & Chayaput, 2009) เนื่องจากวิธี จัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย การสื่อสารแบบนี้จะช่วยให้พยาบาลสามารถรวบรวม 2. ถึงแม้ว่าโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีจะมีการ ข้อมูลจากการใช้ค�ำถามที่เหมาะสมและ สังเกตปฏิกิริยา จัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยอยู่ในระดับสูง แต่มี การแสดงออกของผู้ป่วย ท�ำการตอบสนองต่อปฏิกิริยา โอกาสพัฒนาโดยการพัฒนาการจัดการความปลอดภัย ดังกล่าวและให้ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมได้อย่างถูกต้อง ของผู้ป่วยทั้ง 7 ขั้นตอน ให้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะการปรับ ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการ ระบบการรายงานอุบัติการณ์ให้สอดคล้องกับนโยบาย วางแผน การดูแลรักษาโรคของตนในอนาคตได้ ของโรงพยาบาลที่ไม่ระบุชื่อผู้กระท�ำผิดในใบรายงาน อุบัติการณ์ ปรับปรุงแนวปฏิบัติในการสื่อสารกับผู้ป่วย ผลการวิจัย และญาติเมื่อมีความผิดพลาดเกิดขึ้นกับผู้ป่วย และเพิ่ม งานวิจัยนี้พบว่าการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย การอบรมให้พยาบาลวิชาชีพมีทักษะในการสื่อสารกับ ตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ผู้ป่วยและญาติเพิ่มขึ้น ค่ายสุรศักดิ์มนตรีโดยรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อแยก เป็นรายขั้นตอนพบว่าค่าเฉลี่ยของการจัดการความ ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป ปลอดภัยของผู้ป่วยใน 7 ขั้นตอน คือ 1) การสร้าง เนื่องจากงานวิจัยนี้ท�ำการศึกษาเพียงโรงพยาบาล วัฒนธรรมความปลอดภัย 2) การน�ำและสนับสนุนส่งเสริม แห่งเดียว จึงมีข้อจ�ำกัดในการขยายผลการศึกษาไปยัง บุคลากร 3) การบูรณาการกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบกโดยรวม ดังนั้นจึงควรมีการ 4) การสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ 5) การสื่อสาร ส�ำรวจการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาล และส่งเสริมให้ผู้รับบริการและประชาชนมีส่วนร่วม 6) สังกัดกองทัพบกอื่น ๆ

358 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Patient Safety Management Among Nursing Personnel in Fort Surasakmontri Hospital, Lampang Province

เอกสารอ้างอิง Boonnun, J., & Chayaput, P. (2009). Nurse’s role in unfavorable information “breaking bad news” communication to cancer patients. Thai Journal of Nursing Council 2009, 24(3), 7-19. (In Thai). Burns, N., & Grove, S.K. (1997). The practice of nursing research: Conduct, critique & utilization. 3rd ed. Philadelphia: W.B. Saunders. Chaleoykitti, S., Kamprow, P., & Promdet, S. (2014). Patient safety and quality of nursing service. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 15(2), 66-70. (In Thai) Fort Surasakmontri Hospital. (2014). Self Assessment Report SAR 2014. Lampang: Quality of Fort Surasakmontri Hospital. (In Thai) Khunthar, A. (2014). The impacts and solutions to nursing workforce shortage in Thailand. Journal of Nursing Science, 32(1), 81-90. (In Thai) Makary, M.A., & Daniel, M. (2016). Medical error the third leading cause of death in the US. British Medical Journal, 353(i2139), 1-5. Mayo, A.M., & Duncan, D. (2004). Nurse perceptions of medication errors: What we need to know for patient safety. Journal of Nursing Care Quality, 19(3), 209-217. National Patient Safety Agency (NPSA). (2004). Seven steps to patient safety. The full reference guide. National patient safety agency. Retrieved from http://www.npsa.nhs.uk/seven steps. Nowneow, P. (2007). The relationships Between the Effectiveness of Safety Management in Nursing Care Delivery System and Patient Safety at Community Hospitals in Nakhon Sawan Province. (Master’s thesis, Sukhothai Thammathirat Open University, Nonthaburi). (In Thai) Nursing organization of Fort Surasakmontri Hospital. (2016). Self Assessment Report SAR 2016. Lampang: Quality of Fort Surasakmontri Hospital. (In Thai) Padungsak, S. (2009). Nurse’s perception on patient safety culture and incidence of adverse events in Northern Regional Hospitals. (Master’s thesis, Chiang Mai University, Chiang Mai). Retrieved from http://library.cmu.ac.th (In Thai) Risk Management Department of Fort Surasakmontri Hospital. (2016). Risk Management Policy 2016. Lampang: Fort Surasakmontri Hospital. (In Thai) Risk Management Department of Fort Surasakmontri Hospital. (2014). Risk Management Policy 2014. Lampang: Fort Surasakmontri Hospital. (In Thai) Srisatitnarakul, B. (2007). The methodology in nursing research (4th ed.). Bangkok: U&I Intermedia. (In Thai) Suphachutikul, A. (2008). Thai patient safety goals: SIMPLE. Bangkok: Paramartha. (In Thai) Tansirisithikul, R., Wannasil, N., Theppang, K., Limpanylert, P., & Winyawat, C. (2012). Knowledge review report developing a patient safety system. Retrieved from https://www.shi.or.th. (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 359 การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของบุคลากรทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลค่ายสุรศักดิ์มนตรีจังหวัดล�ำปาง

The Joint Commission on Accreditation of Healthcare Organizations. (2008). JCI Accreditation Standards for Hospitals (3rded.). Retrieved from http://www.jointcommissioninternational.org/Programs-Hospitals/ The World Health Organization World Alliance for Patient safety to develop and international Patient Safety Event Classification. (2006).The concept framework an international patient safety event classification. Retrieved from http://whoicps.org/resources/IPSEC%20Conceptual/%20Framework%20Document.Pdf. Wolf, Z.R., & Serembus, J.F. (2004). Medication error: ending the blame-game. Nursing management, 35(8), 41-2,44,47-8.

360 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ Head Nurses’ Servant Leadership and Registered Nurses’ Work Engagement, Regional Hospital, Northern Region

วิรวรรณ ฉิมพลี * Wirawan Chimplee * กุลวดี อภิชาติบุตร ** Kulwadee Abhicharttibutra ** บุญพิชชา จิตต์ภักดี ** Bunpitcha Chitpakdee **

บทคัดย่อ ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือของประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานใน โรงพยาบาลศูนย์เขตภาคเหนือของประเทศไทย 3 แห่งคือ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ โรงพยาบาลล�ำปาง และโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ จ�ำนวน 410 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1) แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของ Dennis & Bocarnea (2005) ที่แปลเป็นภาษาไทยโดย ผู้วิจัย และ 3) แบบวัดความผูกพันในงานยูเทรชของSchaufeli & Bakker, (2003) ที่ดัดแปลงโดย Muanlamai (2012) แบบประเมินภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ และแบบวัดความผูกพันในงานมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 และ 0.88 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนแรงค์ ผลการวิจัยพบว่าภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (= 4.71, S.D. = 0.87) ความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (= 3.80, S.D. = 0.49) และภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ (r = .401, p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็น ข้อมูลส�ำหรับผู้บริหารการพยาบาลในการพัฒนาและคงไว้ซึ่ง คุณลักษณะภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ เพื่อที่จะพัฒนาพยาบาลวิชาชีพให้เกิดความผูกพันในงานและให้การดูแลที่มีคุณภาพ

ค�ำส�ำคัญ: ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ ความผูกพันในงาน หัวหน้าหอผู้ป่วย พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์

Abstract The servant leadership of head nurses is an important factor for work engagement of registered nurses. The purpose of this research was to determine the relationship between servant leadership of head nurses and work engagement of registered nurses in regional hospitals, in the Northern

* พยาบาลวิชาชีพคลินิกเบาหวาน-ไทรอยด์ ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ * Registered nurse of Diabetes-Thyroid Clinic, Tambol Watgate, Amphur Muang, Chiang Mai Province ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 361 ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ

Region of Thailand. The study samples were 410 registered nurses who were working in three regional hospitals of Northern Thailand including Chiangrai Prachanukroh Hospital, Lampang Hospital and . The research instrument used for data collection consisted of three parts: 1) demographic data form, 2) Servant Leadership Assessment Instrument (SLAI) by Dennis and Bocarnea (2005) that was translated into Thai by the researcher, and 3) the Utrecht Work Engagement Scale (UWES) by Schaufeli and Bakker (2003) that was modified by Suphaporn Muanlamai (2012). The reliability coefficient of the UWES and the SLAI were 0.97 and 0.88 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistic and Spearman’s rank-order correlation coefficient. Study results revealed that the servant leadership of head nurses as perceived by registered nurses was at an almost high level (= 4.71, S.D. = 0.87), the work engagement of registered nurses was at an almost high level (= 3.80, S.D. = 0.49), and the servant leadership of head nurses was positively related to work engagement of registered nurses (r = .401, p < .001). The results of this study can be used for nurse managers in developing and maintaining their servant leadership in order to improve work engagement among registered nurses for good quality of care.

Key words: Servant Leadership, Work Engagement, Head Nurse, Registered Nurse, Regional Hospital

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา Murry, 2002) ส่งผลให้พยาบาลที่เหลืออยู่ในโรง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งด้านเทคโนโลยี สิ่ง พยาบาลต้องท�ำงานหนักขึ้น (Kimball & O’Neil, 2002) แวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม ท�ำให้ระบบบริการสุขภาพ ซึ่งจะท�ำให้ความผูกพันในงานของพยาบาลลดลง (Tom- เกิดความยุ่งยากซับซ้อนมากขึ้น (Rogal & Young, ic & Tomic, 2010) จึงจ�ำเป็นต้องแก้ปัญหานี้โดยการ 2008) ประกอบกับการแข่งขันในด้านคุณภาพการ ส่งเสริมให้พยาบาลเกิดความผูกพันในงานให้มากขึ้น บริการที่มีการพัฒนาระบบบริการและยกระดับคุณภาพ เพื่อให้มีการคงอยู่ในงานและให้การบริการที่มีคุณภาพ การพยาบาลให้ได้มาตรฐานเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับ ความผูกพันในงาน (work engagement) เป็น ผู้รับบริการว่าสถานพยาบาลนั้นมีการบริการที่มีคุณภาพ ความรู้สึกทางด้านจิตใจในแง่บวกที่สัมพันธ์กับการ ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด มีความปลอดภัยและเชื่อถือได้ ท�ำงาน (Schaufeli, Bakker, & Rhenen, 2009) เป็น (Office of Permanent Secretary Ministry of Pub- แรงบันดาลใจในการท�ำงาน ผู้ปฏิบัติงานที่มีความผูกพัน lic Health, Nursing Division, 2001) ท�ำให้องค์การ ในงานจะรู้สึกมีพลังในการท�ำงาน และสามารถจัดการ ในระบบสุขภาพต้องการพยาบาลที่มีความผูกพันในงาน กับงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้ปฏิบัติงานที่มีความ (work engagement) เนื่องจากการที่พยาบาลมีความ ผูกพันในงานจะมีคุณลักษณะ 3 ประการ คือ 1) มีพลัง ผูกพันในงานจะมีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นตั้งใจที่จะ ในการท�ำงาน (vigor) 2) อุทิศตนให้กับงาน (dedica- ปฏิบัติงานอย่างเต็มพลังความสามารถ ท�ำให้มีการปฏิบัติ tion) และ 3) รู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับงาน (ab- งานที่ดี ส่งผลให้เกิดคุณภาพการพยาบาลได้ (Bogaert, sorption) (Schaufeli & Bakker, 2003) ผู้ปฏิบัติงาน Wouters, Willems, Mondelaers, & Clarke, 2013) ที่มีความรู้สึกผูกพันในงานจะมีความกระตือรือร้นในการ นอกจากนี้การเกิดภาวะขาดแคลนพยาบาลในโรง ท�ำงาน ท�ำงานดีขึ้น ท�ำงานมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ผลผลิตเพิ่ม พยาบาลทั่วโลก (Cox, Willis & Coustasse, 2014; ขึ้น และท�ำให้องค์การประสบความส�ำเร็จ (Freeney &

362 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Servant Leadership and Registered Nurses’ Work Engagement, Regional Hospital, Northern Region

Fellenz, 2013) ผู้ที่มีความผูกพันในงานจะเกิดความพึง ความผาสุกทางด้านร่างกาย อารมณ์ และความคิดใน พอใจในงาน เกิดความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ และช่วย การท�ำงานแต่ละวันของผู้ตามแต่ละคน (De Clercq, ลดความตั้งใจลาออกจากงาน (Demerouti, Bakker, Bouckenooghe, Raja & Matsyborska, 2014) ช่วย De Jonge, Janssen, & Schaufeli, 2001; Schaufe- เหลือเพื่อให้ผู้ตามได้รับในสิ่งที่จ�ำเป็นที่สุด และมุ่งเน้น li, Taris, & Rhenen, 2008) พยาบาลวิชาชีพที่มีความ การพัฒนาผู้ตามแต่ละคนให้มีความเจริญก้าวหน้าในการ ผูกพันในงานจะมีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการท�ำงาน ท�ำงาน ท�ำให้ผู้ตามมีความสุขกับการท�ำงานมากขึ้น ท�ำให้มีผลการปฏิบัติงานที่ดี และให้การดูแลผู้ป่วยอย่าง เฉลียวฉลาดขึ้น และมีอิสระในการท�ำงานมากขึ้น มีคุณภาพ (Bogaert, et al., 2013; Freeney & Fel- (Greenleaf, 1977) เมื่อผู้น�ำมุ่งเน้นการให้บริการผู้อื่น lenz, 2013) เพื่อให้เกิดความสุขในการท�ำงาน ก็จะท�ำให้เกิดผลดีต่อ จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การท�ำงานของผู้ปฏิบัติงานและท�ำให้เกิดความผูกพันใน กับความผูกพันในงานมีหลายปัจจัยด้วยกัน เช่น ลักษณะ งาน (De Clerck et al., 2014) งาน (job characteristics) ที่เป็นแหล่งทรัพยากรให้เกิด โรงพยาบาลศูนย์เป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ แรงจูงใจ เกิดความกระตือรือร้นในการท�ำงาน เช่น งาน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมุ่งเน้นการให้บริการที่มี ที่ได้รับการสนับสนุนจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงาน งาน คุณภาพและความเป็นเลิศ (Uttaradit Hospital, 2015; ที่มีอิสระในการท�ำงาน(Demerouti et al., 2001; Lampang Hospital, 2015; Chiang Rai Prachanukroh Salanova, Schaufeli, Llorens, Piero, & Grau, 2001; Hospital, 2015) ซึ่งการด�ำเนินการให้บรรลุตามวิสัย Schaufeli et al., 2008) สมรรถนะแห่งตนของผู้ปฏิบัติ ทัศน์ในเรื่องคุณภาพและความเป็นเลิศนั้น จ�ำเป็นต้อง งาน (self-efficacy) (Salanova, Lorente, Chambel, อาศัยพยาบาลวิชาชีพซึ่งเป็นบุคลากรสุขภาพกลุ่มใหญ่ & Martinez, 2011) การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ (em- ของโรงพยาบาลที่มีความผูกพันในงาน เพราะจะเป็นผู้ powerment) (Greco, Laschinger, & Wong, 2006) มีพลัง มีความกระตือรือร้นในการท�ำงาน และอุทิศตน ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุและเพศของผู้ปฏิบัติงาน มี ให้แก่งานได้อย่างเต็มที่จนบรรลุเป้าหมายได้ แต่ปัจจุบัน ผลต่อความผูกพันในงาน (Schaufeli & Bakker, 2003) โรงพยาบาลศูนย์ประสบปัญหาการขาดแคลนของ และอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความส�ำคัญต่อความผูกพันในงาน พยาบาลวิชาชีพเนื่องจากการลาออก โอนย้ายของ คือภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ (servant leadership) ซึ่งเป็น พยาบาลวิชาชีพ (Watanapa, 2013) ซึ่งการขาดแคลน คุณลักษณะของผู้น�ำที่เกิดจากการที่ผู้น�ำเลือกที่จะให้ นี้ท�ำให้พยาบาลวิชาชีพที่เหลืออยู่ในระบบต้องท�ำงาน บริการผู้อื่นก่อน มุ่งมั่นท�ำเพื่อผู้อื่น ไม่ใช่เพื่อตนเอง ให้ หนักขึ้น ในขณะเดียวกันยังต้องให้การดูแลผู้ป่วยที่มี ความส�ำคัญและค�ำนึงถึงผู้ใต้บังคับบัญชาอยู่ตลอดเวลา ความซับซ้อนของโรคและระดับความรุนแรงของความ (Greenleaf, 1977) โดยภาวะผู้น�ำใฝ่บริการมีองค์ เจ็บป่วยมากขึ้น รวมทั้งท�ำงานด้านอื่น ๆ เพิ่มขึ้น เช่น ประกอบอยู่ 7 ด้าน คือ 1) ความรักอย่างไม่มีขีดจ�ำกัด งานประกันคุณภาพ งานป้องกันการติดเชื้อ งาน (agapao love) 2) ความอ่อนน้อมถ่อมตน (humility) สารสนเทศ งานเอกสารต่าง ๆ เป็นต้น ยิ่งท�ำให้พยาบาล 3) ความไม่เห็นแก่ตัว (altruism) 4) ความมีวิสัยทัศน์ โรงพยาบาลศูนย์มีภาระงานหนักยิ่งขึ้นและอาจส่งผลให้ (vision) 5) ความไว้วางใจ (trust) 6) การเสริมสร้างพลัง พยาบาลวิชาชีพมีความผูกพันในงานลดลงได้ ดังนั้นจึงมี อ�ำนาจ (empowerment) และ 7) การให้บริการ (ser- ความจ�ำเป็นที่หัวหน้าหอผู้ป่วยของโรงพยาบาลศูนย์ ซึ่ง vice) (Patterson, 2003) ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการที่มี เป็นผู้บริหารระดับต้นและเป็นผู้บังคับบัญชาที่ใกล้ชิดกับ ประสิทธิภาพ สามารถเพิ่มความผูกพันในงานได้มากขึ้น พยาบาลมากที่สุดต้องแสดงบทบาทผู้น�ำใฝ่บริการเพื่อ โดยผู้น�ำใฝ่บริการจะมุ่งพัฒนาความเจริญก้าวหน้าและ ให้บริการตามความต้องการพื้นฐานด้านการท�ำงานของ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 363 ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ

พยาบาลวิชาชีพ มุ่งมั่นพัฒนาสนับสนุนพยาบาลวิชาชีพ ให้เกิดการเรียนรู้ และ 7) การให้บริการ คือการที่ผู้น�ำ ซึ่งจะท�ำให้พยาบาลวิชาชีพเกิดความกระตือรือร้น มุ่งมั่น ให้บริการผู้ตาม สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้ตามแต่ละคนได้ และเกิดความรู้สึกผูกพันในงาน ซึ่งจะส่งผลถึงคุณภาพ รับในสิ่งที่ดีกว่าเดิม (Patterson, 2003) และแนวคิด ของการบริการ และการคงอยู่ในงานของพยาบาล ความผูกพันในงานมีการแสดงออกใน 3 ลักษณะคือ 1) วิชาชีพต่อไป ความมีพลังในการท�ำงาน (vigor) คือการเต็มเปี่ยมไป ด้วยพลังในการท�ำงาน ไม่เหนื่อยล้าง่าย ๆ 2) การอุทิศ วัตถุประสงค์การวิจัย ตนให้กับงาน (dedication) คือการมีความรู้สึกร่วมใน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานอย่างเต็มที่ มีความ ผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของ กระตือรือร้นในการท�ำงาน มีแรงบันดาลใจในการ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ 2) สร้างสรรค์ผลงานที่ดี และ 3) ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอัน ศึกษาความผูกพันในงานตามการรับรู้ของพยาบาล เดียวกันกับงาน (absorption) คือการมีสมาธิจดจ่ออยู่ วิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ และ 3) ศึกษา กับงาน มีความสุขกับการท�ำงานของตน รู้สึกว่าขณะ ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอ ท�ำงานเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว และไม่สามารถผละจาก ผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพในโรง งานที่ท�ำอยู่ได้ (Schaufeli & Bakker, 2003) ซึ่งหาก พยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ หัวหน้าหอผู้ป่วยมีภาวะผู้น�ำแบบใฝ่บริการ โดยให้ความ รักความเอาใจใส่ ให้บริการความต้องการพื้นฐานด้าน กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย การท�ำงานแก่พยาบาล ไม่เห็นแก่ตัว สนับสนุนให้ การวิจัยครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิดภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ พยาบาลมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน จะท�ำให้ ของPatterson (2003) และแนวคิดความผูกพันในงาน พยาบาลวิชาชีพท�ำงานได้อย่างมีความสุข มีความ ของ Schaufeli & Bakker (2003) ซึ่งแนวคิดภาวะผู้น�ำ กระตือรือร้น มุ่งมั่นตั้งใจท�ำงานและเกิดความผูกพันใน ใฝ่บริการประกอบด้วย 7 ด้าน คือ 1) ความรักอย่างไม่มี งานของตน (De Clercq et al, 2014) ขีดจ�ำกัด คือการที่ผู้น�ำให้การดูแล ให้ความรัก ความ เมตตา และให้ความสนใจ เอาใจใส่ในชีวิตความเป็นอยู่ วิธีด�ำเนินการวิจัย ของผู้ตามอย่างจริงใจ 2) ความอ่อนน้อมถ่อมตน คือการ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความ ที่ผู้น�ำไม่ประเมินตนเองว่ามีคุณความดี มีคุณค่า มี สัมพันธ์ (descriptive correlational research) คุณธรรมสูงกว่าผู้ตาม เคารพความคิดเห็น และรับฟัง รวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม จากพยาบาล ความคิดเห็นของผู้ตาม 3) ความไม่เห็นแก่ตัว คือการที่ วิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ ระหว่างเดือน ผู้น�ำให้ความช่วยเหลือผู้ตามอย่างเต็มใจโดยไม่หวังสิ่งใด กันยายน ถึง พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ตอบแทน เสียสละไม่เห็นแก่ความต้องการของตนเอง 4) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ความมีวิสัยทัศน์ คือการมองไปข้างหน้าของผู้น�ำและการ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นพยาบาล ช่วยผู้ตามให้เห็นภาพในปัจจุบันและในอนาคต 5) ความ วิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ ไว้วางใจ คือการที่ผู้น�ำสร้างสิ่งแวดล้อมที่ท�ำให้เกิดความ จ�ำนวน 6 แห่งประกอบด้วย โรงพยาบาลนครพิงค์ โรง ไว้วางใจแก่ผู้ตามด้วยความซื่อสัตย์ ปรารถนาดี ท�ำให้ผู้ พยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ โรงพยาบาลล�ำปาง ตามรู้สึกสบายใจที่จะสื่อสารอย่างเปิดเผย 6) การเสริม โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก สร้างพลังอ�ำนาจ คือการที่ผู้น�ำมอบอ�ำนาจให้กับผู้ตาม และโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ รวมทั้งหมดจ�ำนวน ท�ำให้ผู้ตามรู้สึกเป็นบุคคลส�ำคัญ สอนและพัฒนาผู้ตาม 4544 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติ

364 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Servant Leadership and Registered Nurses’ Work Engagement, Regional Hospital, Northern Region

การที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ มี พยาบาลอุตรดิตถ์ ผู้วิจัยพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่างโดยขอ ประสบการณ์การท�ำงานมาเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี และ ความร่วมมือจากกลุ่มตัวอย่างในการเข้าร่วมวิจัยด้วย ปฏิบัติงานร่วมกับหัวหน้าหอผู้ป่วยคนปัจจุบันมาเป็น ความสมัครใจ ไม่มีการบังคับ สามารถขอถอนตัวออก เวลาอย่างน้อย 1 ปี ค�ำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ จากการวิจัยเมื่อใดก็ได้ โดยไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อผล Srisatidnarakul (2007) และเพิ่มกลุ่มตัวอย่างอีกร้อย การปฏิบัติงาน ข้อมูลทุกอย่างที่ได้จะถูกเก็บเป็นความ ละ 20 เพื่อป้องกันโอกาสที่ข้อมูลจะสูญหาย (Burns & ลับ และจะถูกท�ำลายทิ้งทั้งหมดเมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการ Grove, 2009) ได้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 442 คน วิธีการ วิจัย สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage random การเก็บรวบรวมข้อมูล sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างจากโรงพยาบาล 3 แห่งคือ ผู้วิจัยติดต่อผู้ประสานงานการเก็บข้อมูลโรง โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์จ�ำนวน 175 คน พยาบาลละ 1 คน โดยผู้วิจัยได้ชี้แจงผู้ประสานงานเกี่ยว โรงพยาบาลล�ำปางจ�ำนวน 168 คน และโรงพยาบาล กับบทบาทหน้าที่ของผู้ประสานงานในการเก็บข้อมูล อุตรดิตถ์จ�ำนวน 99 คน จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่างที่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ต้องการ วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการแจกแบบสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) การรวบรวมแบบสอบถาม และวิธีการส่งแบบสอบถาม แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้ กลับ จากนั้นผู้ประสานงานแจกแบบสอบถามให้กลุ่ม วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วยข้อค�ำถามเกี่ยวกับ อายุ เพศ ตัวอย่างโดยก�ำหนดเวลาให้ท�ำ 2 สัปดาห์และส่งคืนให้ผู้ สถานภาพสมรส วุฒิการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ประสานงานโดยใส่ซองปิดผนึก ผู้ประสานงานรวบรวม แผนกที่ปฏิบัติงาน และลักษณะการจ้างงาน ซึ่งลักษณะ แบบสอบถามและส่งให้ผู้วิจัยทางไปรษณีย์ ผู้วิจัยน�ำ ข้อค�ำถามเป็นปลายปิดและปลายเปิด 2) แบบประเมิน แบบสอบถามที่ได้รับคืนมาตรวจสอบความถูกต้องและ ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ ที่ผู้วิจัยแปลมาจากเครื่องมือ สมบูรณ์ของข้อมูล พบว่าแบบสอบถามได้รับคืนมา ของDennis & Bocarnea (2005) ตามแนวคิดของ จ�ำนวน 438 ชุด (ร้อยละ 99.10) มีความถูกต้องสมบูรณ์ Patterson (2003) และ 3) แบบวัดความผูกพันในงาน จ�ำนวน 410 ชุด (ร้อยละ 92.76) ผู้วิจัยน�ำข้อมูลมา ยูเทรช (The Utrecht Work Engagement Scale– วิเคราะห์ โดยใช้สถิติหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ UWES) ของ Schaufeli & Bakker (2003) ที่ดัดแปลง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาความสัมพันธ์โดยหาค่า โดย สุภาพร เหมือนละม้าย (Muanlamai, 2012) ตรวจ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สปียร์แมนเนื่องจากข้อมูลมีการ สอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์ แจกแจงแบบโค้งไม่ปกติ อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) พบว่าแบบประเมินภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ และแบบวัด ผลการวิจัย ความผูกพันในงานมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .97 และ .88 ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล ตามล�ำดับ ศูนย์ เขตภาคเหนือมีอายุเฉลี่ย 38.80 ปี (SD = 9.02) การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง โดยส่วนใหญ่มีอายุ 34 ปีขึ้นไป ร้อยละ 69.03 เป็นเพศ โครงการวิจัยนี้ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ หญิงร้อยละ 97.32 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 53.90 จริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย มีการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าร้อยละ เชียงใหม่ (เอกสารรับรองโครงการวิจัยเลขที่ 060/2559) 91.54 มีระยะเวลาการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเฉลี่ย และคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยโรงพยาบาล 14.97 ปี (SD = 9.18) โดยปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วย เชียงรายประชานุเคราะห์ โรงพยาบาลล�ำปาง และโรง วิกฤตมากที่สุดร้อยละ 16.10 และลักษณะการจ้างงาน

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 365 ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ

ของพยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่เป็นข้าราชการร้อยละ ความรักอย่างไม่มีขีดจ�ำกัด ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความ 90.97 มีวิสัยทัศน์ และความไม่เห็นแก่ตัว (ตารางที่ 1) ส่วนค่า ค่าเฉลี่ยภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วย เฉลี่ยความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับ ในระดับค่อนข้างสูง และรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับ ค่อนข้างสูง และค่าเฉลี่ยรายด้านของภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ ค่อนข้างสูง (ตารางที่ 2) และผลการศึกษาพบว่าภาวะ พบว่าด้านการให้บริการมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง นอกนั้น ผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับค่อนข้างสูง โดยด้านความไว้วางใจ บวกระดับปานกลางกับความผูกพันในงานของพยาบาล มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ วิชาชีพอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือโดยรวมและรายด้าน (n =410) ส่วนเบี่ยงเบน ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ ค่าเฉลี่ย ระดับ มาตรฐาน โดยรวม 4.71 0.87 ค่อนข้างสูง รายด้าน การให้บริการ 5.01 0.79 สูง ความไว้วางใจ 4.78 0.87 ค่อนข้างสูง การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ 4.74 0.90 ค่อนข้างสูง ความรักอย่างไม่มีขีดจ�ำกัด 4.71 0.94 ค่อนข้างสูง ความอ่อนน้อมถ่อมตน 4.65 0.96 ค่อนข้างสูง ความมีวิสัยทัศน์ 4.58 1.01 ค่อนข้างสูง ความไม่เห็นแก่ตัว 4.52 1.03 ค่อนข้างสูง

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือโดยรวมและรายด้าน (n =410) ส่วนเบี่ยงเบน ความผูกพันในงาน ค่าเฉลี่ย ระดับ มาตรฐาน โดยรวม 3.80 0.49 ค่อนข้างสูง รายด้าน อุทิศตนให้กับการท�ำงาน 4.18 0.46 ค่อนข้างสูง ขยันขันแข็งมีพลังในการท�ำงาน 3.70 0.57 ค่อนข้างสูง ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับงาน 3.53 0.63 ค่อนข้างสูง

366 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Servant Leadership and Registered Nurses’ Work Engagement, Regional Hospital, Northern Region

ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และระดับของความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ และภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความผูกพันในงาน ตัวแปร ค่าสัมประสิทธิ์ ระดับ p-value สหสัมพันธ์ (rs) ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ .401 .000 ปานกลาง

การอภิปรายผล แต่ละบุคคล ท�ำให้พยาบาลที่ได้รับมอบหมายงานรับรู้ว่า 1. ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยตาม ตนเองมีความรู้ความสามารถและมีความส�ำคัญ และรับ การรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขต รู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความรักความเอาใจใส่ในตัว ภาคเหนือ พยาบาลอย่างแท้จริง ผลการศึกษาพบว่าภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้า ประการที่ 2 อาจเนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยมีการ หอผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (ตารางที่ 1) แสดงความอ่อนน้อมถ่อมตน โดยเมื่อหัวหน้าหอผู้ป่วยมี อภิปรายได้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยแสดงคุณลักษณะภาวะ การบริหารในรูปคณะกรรมการและมีการท�ำงานเป็นทีม ผู้น�ำใฝ่บริการหลายประการให้พยาบาลวิชาชีพรับรู้ หัวหน้าหอผู้ป่วยจะมีการรับฟังปัญหาที่เกิดขึ้นในการ ประการที่ 1 อาจเนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยมีการแสดง ปฏิบัติงาน รับฟังความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานและร่วม ความรักอย่างไม่มีขีดจ�ำกัด ซึ่งหมายถึงหัวหน้าหอผู้ป่วย กันหาทางแก้ไขปัญหา ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่าหัวหน้า มีการแสดงความรัก ความเมตตา ให้ความสนใจ ให้การ หอผู้ป่วยยอมรับและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่คิด ดูแลเอาใจใส่พยาบาลวิชาชีพอย่างจริงใจ หัวหน้าหอผู้ ว่าตนเองเก่งและฉลาดกว่าผู้อื่นซึ่งแสดงถึงการมีความ ป่วยเป็นผู้บริหารระดับต้นที่มีบทบาทหน้าที่ในการ อ่อนน้อมถ่อมตน ดังที่ Patterson (2003) กล่าวว่า ควบคุมดูแลหอผู้ป่วยทั้งด้านบริหาร บริการ และวิชาการ ความอ่อนน้อมถ่อมตน เป็นการยอมรับในคุณค่าและตัว โดยการให้ค�ำแนะน�ำ ให้ค�ำปรึกษา ให้ความช่วยเหลือแก่ ตนของผู้อื่นโดยที่ไม่ประเมินว่าตนเองมีคุณความดีเกิน พยาบาลวิชาชีพทั้งด้านการปฏิบัติงาน ด้านวิชาการ และ กว่าความเป็นจริง ด้านอื่น ๆ (Uttaradit Hospital, Nursing Depart- ประการที่ 3 อาจเนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยแสดง ment, 2011) ในการแสดงบทบาทดังกล่าว หัวหน้าหอ ความไม่เห็นแก่ตัว โดยแสดงบทบาทในการดูแลทุกข์สุข ผู้ป่วยได้แสดงความรักความเอาใจใส่ แสดงความห่วงใย ของบุคลากรในหน่วยงาน เช่นจัดตารางการปฏิบัติงาน ดูแล กระตุ้นให้ก�ำลังใจ และแสดงความเห็นอกเห็นใจแก่ ที่ไม่ท�ำให้พยาบาลวิชาชีพมีความเหนื่อยล้าเกินไป ช่วย พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เหลือในการปฏิบัติงานเมื่อพยาบาลมีอัตราก�ำลังไม่เพียง หัวหน้าหอผู้ป่วยยังมีการมอบหมายหน้าที่ความรับผิด พอ ช่วยเหลือดูแลเรื่องสวัสดิการที่พักอาศัย ดูแล จัดหา ชอบให้แก่พยาบาลทั้งงานด้านการพยาบาล และงาน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่จ�ำเป็นในการท�ำงาน ด้านอื่น ๆ เช่น งานคุณภาพ งานพัฒนาบุคลากร งาน (Uttaradit Hospital, Nursing Department, 2011) ควบคุมการติดเชื้อตามความรู้ความสามารถของ ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยคิดถึง พยาบาล ดังที่ Marthaler & Kelly (2012) กล่าวไว้ว่า ประโยชน์ของพยาบาลวิชาชีพก่อน การมอบหมายงานจะต้องค�ำนึงถึงความรู้ความสามารถ ประการที่ 4 อาจเนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยแสดง จุดแข็ง จุดอ่อน ทักษะการท�ำงาน และสมรรถนะของ ความมีวิสัยทัศน์ โดยตามบทบาทของหัวหน้าหอผู้ป่วย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 367 ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ

จะต้องเป็นผู้น�ำในการก�ำหนดและพัฒนาวิสัยทัศน์/ ด้านวิชาการและการปฏิบัติการพยาบาล (Uttaradit พันธะกิจของหน่วยงาน จัดท�ำวิสัยทัศน์ของหอผู้ป่วยที่ Hospital, Nursing Department, 2011) และอาจ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์การพยาบาล (Uttaradit เนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยมีการมอบหมายให้พยาบาล Hospital, Nursing Department, 2011) ซึ่งใน วิชาชีพมีโอกาสในการตัดสินใจในการท�ำงาน เช่น การ กระบวนการก�ำหนดวิสัยทัศน์ของหน่วยงานนั้นหัวหน้า ดูแลผู้ป่วย การเป็นหัวหน้าเวร การเข้าร่วมการเป็นคณะ หอผู้ป่วยมีการประชุมกับพยาบาลวิชาชีพเพื่อร่วมกัน กรรมการฝ่ายต่าง ๆ การท�ำงานร่วมกับทีมสหสาขา ก�ำหนดวิสัยทัศน์และแนวทางการด�ำเนินงาน จึงท�ำให้ วิชาชีพ ซึ่งวิธีการดังกล่าวเป็นการเสริมพลังอ�ำนาจให้แก่ พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ พยาบาลวิชาชีพ ประการที่ 5 อาจเนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยแสดง และประการที่ 7 อาจเนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วย ความไว้วางใจต่อพยาบาลวิชาชีพ จากการที่หัวหน้าหอ แสดงคุณลักษณะในการให้บริการ ได้แก่การให้บริการ ผู้ป่วยมีบทบาทในการมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ แก่พยาบาลวิชาชีพ ซึ่งเป็นบุคลากรในความรับผิดชอบ ให้พยาบาลวิชาชีพในด้านต่าง ๆ เช่น การมอบหมายงาน โดยการจัดสรรเวลา ให้การดูแลเอาใจใส่ ให้การ แก่บุคลากรหรือทีมการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย (Ut- สนับสนุน แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแก่พยาบาลวิชาชีพ taradit Hospital, Nursing Department, 2011) มอบ รวมถึงการมีจิตให้บริการแก่ผู้มารับบริการทุกคน โดย หมายงานประจ�ำวันให้แก่บุคลากร ตามความรู้ความ การให้ค�ำแนะน�ำ ให้ข้อมูล และให้ความช่วยเหลือแก่ สามารถและหน้าที่รับผิดชอบ (Chiang Rai Pracha- ผู้รับบริการ (Chiang Rai Prachanukroh Hospital, nukroh Hospital, Nursing Department, n.d.) ซึ่ง Nursing Department, n.d.) จึงท�ำให้พยาบาลวิชาชีพ การมอบหมายงานท�ำให้พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าหัวหน้า รับรู้ว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยมีคุณลักษณะในการให้บริการ หอผู้ป่วยมีความไว้วางใจตน นอกจากนี้อาจเนื่องจาก การที่หัวหน้าหอผู้ป่วยแสดงคุณลักษณะภาวะผู้น�ำ การที่หัวหน้าหอผู้ป่วยมีการสื่อสารเกี่ยวกับการประเมิน ใฝ่บริการทั้ง 7 ประการ ท�ำให้พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่า ผลการปฏิบัติงานรวมทั้งให้ข้อมูลย้อนกลับที่เป็น ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมอยู่ใน ประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติงาน จึงท�ำให้พยาบาลเกิดความไว้ ระดับค่อนข้างสูง ผลการศึกษาครั้งนี้ใกล้เคียงกับผลการ วางใจ ดังที่ O’Reilly & Anderson (1980) กล่าวไว้ว่า ศึกษาของTehoprakarn (2009) ที่พบว่าภาวะผู้น�ำแบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานจะต้องให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ให้บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์สังกัด และเป็นประโยชน์ ซึ่งการให้ข้อมูลดังกล่าวจะท�ำให้เกิด กระทรวงสาธารณสุข เขตภาคใต้อยู่ในระดับสูง และการ ความไว้วางใจต่อทั้งผู้ให้และผู้รับข้อมูล ศึกษาของAhmed (2013) ที่พบว่าภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ ประการที่ 6 อาจเนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยมีการ ของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลปฏิบัติ เสริมสร้างพลังอ�ำนาจแก่พยาบาลวิชาชีพ โดยการ การ โรงพยาบาลวิทยาลัยการแพทย์ กรุงธาร์การ์ สนับสนุนเพิ่มพูนความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ประเทศบังคลาเทศอยู่ในระดับสูง ให้แก่พยาบาลวิชาชีพ เพื่อให้เกิดความรู้ความสามารถ 2. ความผูกพันในงานตามการรับรู้ของพยาบาล ในการท�ำงาน เช่น สนับสนุนบุคลากรในหน่วยงานใน วิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ การศึกษา วิจัย คิดค้นหาความรู้หรือวิธีการใหม่ ๆ ที่เป็น ผลการศึกษาพบว่าความผูกพันในงานของ ประโยชน์ในการพยาบาล รับผิดชอบ (Chiang Rai พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ โดย Prachanukroh Hospital, Nursing Department, รวมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง อาจเนื่องจากอายุของ n.d.) พัฒนาและฟื้นฟูความรู้แก่บุคลากรทางการ พยาบาลวิชาชีพมีผลต่อความผูกพันในงาน จากการ พยาบาล และเป็นที่ปรึกษาของบุคลากรในหน่วยงานทั้ง ศึกษาพบว่าพยาบาลวิชาชีพที่อายุมากกว่า 34 ปี มีถึง

368 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Servant Leadership and Registered Nurses’ Work Engagement, Regional Hospital, Northern Region

ร้อยละ 69.03 ซึ่งการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าพยาบาล ท�ำงานอย่างเต็มความสามารถ และเกิดความผูกพันใน วิชาชีพที่มีอายุมากจะมีความผูกพันในงานสูงมากกว่าผู้ งาน ดังที่ (Bakker & Demerouti, 2008) กล่าวว่าความ ที่มีอายุน้อย (Schaufeli & Bakker, 2003; Muanlamai, สัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ 2012) ทั้งนี้อาจเนื่องจากการที่พยาบาลวิชาชีพมีอายุที่ ความผูกพันในงาน มีพลังในการท�ำงาน อีกทั้งอาจ มากขึ้นมักจะมีต�ำแหน่งงานที่สูงขึ้นและมีหน้าที่รับผิด เนื่องจากพยาบาลวิชาชีพมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอัน ชอบต่องานเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้พยาบาลวิชาชีพเป็น เดียวกันกับงาน เนื่องจากการพยาบาลเป็นการบริการ ข้าราชการถึงร้อยละ 90.97 อาจส่งผลต่อความผูกพันใน ทางด้านสุขภาพแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยให้หายหรือ งานของพยาบาลวิชาชีพ เนื่องจากการเป็นข้าราชการ ทุเลาจากอาการเจ็บป่วยที่เป็นอยู่ เมื่อพยาบาลวิชาชีพ เป็นอาชีพที่มีความมั่นคง และมีสวัสดิการที่ดี (Disakul ให้การดูแลผู้ป่วยแล้ว ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นหรือหายจาก & Sonkraikitikul, 2018) ซึ่งอาจส่งผลถึงความผูกพัน โรค พยาบาลจึงเกิดความสุข มีความพึงพอใจในการ ในงานและความต้องการคงอยู่ในงานของพยาบาล ปฏิบัติงานและรู้สึกว่างานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ซึ่งการ วิชาชีพได้ เห็นผู้ป่วยหายหรือบรรเทาจากความเจ็บป่วยที่เป็นอยู่ การที่ความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพใน จากการให้การพยาบาล เป็นรางวัลที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ โดยรวมอยู่ในระดับค่อน ของพยาบาลผู้ปฏิบัติงานและส่งผลต่อความผูกพันใน ข้างสูง อาจเนื่องจากลักษณะงานการพยาบาลเป็น งานของพยาบาล (Freeney & Tiernan, 2009) งานการให้บริการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสภาพแก่ ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับการศึกษาของ ผู้มารับบริการทั้งในภาวะเจ็บป่วยและในภาวะปกติ Muanlamai (2012) ที่ศึกษาความผูกพันในงานของ พยาบาลวิชาชีพจึงรับรู้ว่างานบริการพยาบาลเป็นงานที่ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง พบว่า มีความส�ำคัญต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน พยาบาลวิชาชีพมีความผูกพันในงานอยู่ในระดับค่อนข้าง ที่มารับบริการ เป็นงานที่มีความส�ำคัญและคุณค่าต่อผู้ สูง และใกล้เคียงกับผลการศึกษาของ Preamsri (2014) อื่น เป็นงานที่มีโอกาสได้ท�ำบุญอย่างสม�่ำเสมอ จึงท�ำให้ ที่ศึกษาความผูกพันในงานของพยาบาลสถาบัน พยาบาลวิชาชีพมีความภาคภูมิใจในงานของตน มีความ จิตเวชศาสตร์ ที่พบว่าพยาบาลสถาบันจิตเวชศาสตร์มี สุขกับการท�ำงาน มีพลังในการท�ำงาน ท�ำงานด้วยความ ความผูกพันในงานอยู่ในระดับสูง มุ่งมั่นทุ่มเท กระตือรือร้น ซึ่งเป็นการอุทิศตนให้กับการ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของ ท�ำงาน เพราะงานที่มีคุณค่าและมีความหมายสามารถ หัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานตามการรับรู้ เพิ่มความพึงพอใจในงานและมีความสัมพันธ์กับความ ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ ผูกพันในงานของพยาบาลผู้ปฏิบัติงาน (Freeney & จากการศึกษาพบว่าภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของ Tiernan, 2009) นอกจากนี้ยังอาจเนื่องจากพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปาน วิชาชีพมีการท�ำงานกันแบบเป็นทีม ทั้งในลักษณะที่เป็น กลางกับความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพในโรง ทีมการพยาบาลที่ประกอบด้วยบุคลากรในวิชาชีพการ พยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนืออย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ พยาบาล และทีมสุขภาพซึ่งประกอบด้วยสหสาขา อาจเนื่องมาจากหัวหน้าหอผู้ป่วยมีการให้บริการความ วิชาชีพ ซึ่งในการท�ำงานเป็นทีมจะมีการช่วยเหลือ และ ต้องการด้านการท�ำงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยการมี ประสานงานกันเพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดความราบรื่น ความเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว ดูแลเอาใจใส่ ให้ความช่วย เพราะในการท�ำงานนั้นการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน เหลือ ส่งเสริมพยาบาลวิชาชีพให้มีความผาสุก เจริญ ร่วมงานจะท�ำให้พยาบาลวิชาชีพท�ำงานการพยาบาล ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ตอบสนองความต้องการของ ด้วยความขยันขันแข็ง ทุ่มเทให้กับการท�ำงาน พยายาม พยาบาลวิชาชีพในเรื่องต่างๆ เช่น ความต้องการพัฒนา

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 369 ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ

ความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ความต้องการวัสดุอุปกรณ์ ในงานได้ ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับการศึกษาของ อย่างเพียงพอในการปฏิบัติงาน เมื่อพยาบาลวิชาชีพได้ De Clercq et al.(2014) ที่พบว่าภาวะผู้น�ำใฝ่บริการมี รับการตอบสนองความต้องการด้านต่าง ๆ จึงเกิดความ ความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในงาน (r = .50, พึงพอใจและผูกพันกับงานที่ท�ำ นอกจากนั้นอาจ P < .01) และการศึกษาของ Sousa & Dierendonck, เนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความอ่อนน้อมถ่อมตน โดย (2015) ที่พบว่าภาวะผู้น�ำใฝ่บริการมีความสัมพันธ์ทาง มีความสามารถในการยอมรับความคิดเห็นด้านการ บวกกับความผูกพันในงาน (r = .55, p < .01) ท�ำงานของพยาบาลวิชาชีพ และน�ำความคิดเห็นของ พยาบาลวิชาชีพไปปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้เกิด ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ประสิทธิภาพการท�ำงานของหอผู้ป่วย ท�ำให้พยาบาล 1. หัวหน้าหอผู้ป่วยควรแสดงภาวะผู้น�ำใฝ่บริการ วิชาชีพรู้สึกว่าตนเองมีความส�ำคัญมีส่วนท�ำให้หอผู้ป่วย ในการปฏิบัติงานอย่างสมำ�่ เสมอ เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพ มีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น และท�ำให้พยาบาลวิชาชีพ เกิดความผูกพันในงานอย่างต่อเนื่อง เกิดความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย และมีความสัมพันธ์ 2. จากผลการศึกษาที่พบว่าพยาบาลวิชาชีพยังไม่ ที่ดีต่อกัน ดังที่ Sousa & Dierendonck (2015) กล่าว เห็นด้วยกับคุณลักษณะภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของ หัวหน้า ว่าผู้น�ำใฝ่บริการที่มีความอ่อนน้อมถ่อมตน จะท�ำให้ หอผู้ป่วยในบางประการ ดังนั้นหัวหน้าหอผู้ป่วยจึงควร ความสัมพันธ์ระหว่างผู้น�ำและผู้ตามมีการพัฒนาขึ้น โดย มีการปรับปรุงภาวะผู้น�ำใฝ่บริการให้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับ การเพิ่มความไว้วางใจระหว่างผู้น�ำและผู้ตาม ซึ่งความ การกระตุ้นให้ก�ำลังใจและการแสดงความห่วงใยแก่ ไว้วางใจของผู้น�ำจะท�ำให้ผู้ตามเกิดความมั่นใจในการ พยาบาลวิชาชีพ การขอค�ำปรึกษาจากผู้อื่นเมื่อไม่ ท�ำงานของตนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น อีกทั้ง สามารถหาค�ำตอบได้ การปกป้องและเสียสละเพื่อ อาจเนื่องจากหัวหน้าหอผู้ป่วยมีการเสริมพลังอ�ำนาจให้ พยาบาลวิชาชีพ การเปิดรับความคิดเห็นหรือข้อเสนอ แก่พยาบาลวิชาชีพ โดยการเปิดโอกาสในการพัฒนา แนะ การลดบทบาทการควบคุม และการแสดงความ ตนเองให้เกิดการเรียนรู้ มีความก้าวหน้าในอาชีพการ ปรารถนาที่จะให้บริการผู้อื่น งาน โดยการส่งไปอบรม ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก เพื่อให้มีความรู้ในด้านการท�ำงานเพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ส่งเสริมสนับสนุนให้พยาบาลวิชาชีพมีความมั่นใจในการ 1. ศึกษาภาวะผู้น�ำใฝ่บริการตามการรับรู้ของ วางแผนการท�ำงาน การตัดสินใจในงานของตน (Chiang หัวหน้าหอผู้ป่วย เพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ทราบถึง Rai Prachanukroh Hospital, Nursing Department, ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของตนเองในการส่งเสริมความ n.d.) ท�ำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า เกิด ผูกพันในงานในพยาบาลวิชาชีพ ความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน มีอิสระในการตัดสิน 2. ศึกษาโปรแกรมในการพัฒนาภาวะผู้น�ำใฝ่ ใจ มีพลังอ�ำนาจในการจัดการกับงาน สามารถควบคุม บริการในผู้บริหารที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของ การท�ำงานได้ จึงท�ำให้เกิดความรักในงาน และก่อให้เกิด พยาบาลวิชาชีพ ความรู้สึกผูกพันในงานของตน ซึ่งสอดคล้องกับ Cho, Laschinger, & Wong (2006) ที่กล่าวว่า การเสริมพลัง อ�ำนาจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน โดยการเปิดโอกาสในการ พัฒนาตนเองโดยการศึกษาเพิ่มเติม การให้ข้อมูลที่ จ�ำเป็นในการท�ำงาน การติดต่อสื่อสารที่ดี การให้ค�ำ แนะน�ำ ช่วยเหลือในการท�ำงาน ท�ำให้เพิ่มความผูกพัน

370 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Servant Leadership and Registered Nurses’ Work Engagement, Regional Hospital, Northern Region

เอกสารอ้างอิง Ahmed, S. (2013). Servant leadership of head nurses and job satisfaction among staff nurses in medical college hospitals, Dhaka, the People’s Republic of Bangladesh. (Master’s Thesis). Chiang Mai, Chiang Mai University. Bakker, A.B., & Demerouti, E. (2008). Towards a model of work engagement. Career Development International, 3(3), 209-223. Bogaert, P., Wouters, K., Willems, R., Mondelaers, M., & Clarke, S. (2013). Work engagement supports nurse workforce stability and quality of care: Nursing team-level analysis in psychiatric hospitals. Journal of Psychiatric and Mental Health Nursing, 20, 679-686. Burns, N., & Grove, S. K. (2009). The practice of nursing research: appraisal, synthesis, and generation of evidence. St. Louis, Missouri: Saunder Elsevier. Chiang Rai Prachanukroh Hospital. (2015). Vision. Retrieved December 5, 2015, from http://www.crhospital.org/home/index1.php?group=1&topic=3 (In Thai) Chiang Rai Prachanukroh Hospital, Nursing Department. (n.d.). Job description. Chiang Rai: Author. (In Thai) Cho, J., Laschinger, H.K.S., & Wong, C. (2006). Workplace empowerment, work engagement and organization commitment of new graduate nurses. Nursing Leadership, 19(3), 43-60. Cox, P., Willis, K., & Coustasse, A. (2014). The American epidemic: The U.S. nursing shortage and turnover problem. Paper presented at BHAA 2014, Chicago, IL. Retrieved from http://mds.marshall.edu/mgmt_faculty De Clercq, D., Bouckenooghe, D., Raja, U., & Matsyborska, G. (2014). Servant leadership and work engagement: the contingency effects of leader-follower social capital. Human Resource Development Quarterly, 25(2), 183-212. Demerouti, E., Bakker, A. B., De Jonge, J., Janssen, P. P. M., & Schaufeli, W. B. (2001). Burnout and engagement at work as a function of demands and control. Scandinavian Journal of Work, Environment & Health, 27(4), 279-286. Dennis, R. S., & Bocarnea, M. (2005). Development of the servant leadership assessment instrument. Leadership & Organization Development Journal, 26(8), 600-615. DOI 10.1108/01437730510633692 Disakul, B., & Sonkraikitikul, M. (2018). Insights into civil servants: Motivation for public services and welfare. Business review, 10(1), 55-71. (In Thai) Freeney, Y., & Fellenz, M. R. (2013). Work engagement as a key driver of quality of care: A study with midwives. Journal of Health Organization and Management, 27(3), 330-349. Freeney, Y.M., & Tiernan, J. (2009). Exploration of the facilitators of and barriers to work engagement in nursing. International Journal of Nursing Studies, 46, 1557-1565.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 371 ภาวะผู้น�ำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ

Greco, P., Laschinger, H., & Wong, C. (2006). Leader empowering behaviors, staff nurse empowerment and work engagement/burnout. Canadian Journal of Nursing Leadership, 19(4), 41-56. Greenleaf, R. K. (1977). Servant Leadership. New Jersey: Paulist Press. Kimball, B., & O’Neil, E. (2002). Health care’s human crisis: The American nursing shortage. Princeton, New Jersey: The Robert Wood Johnson Foundation. Lampang Hospital. (2015). Vision. Retrieved December 5, 2015, from http://www.lph.go.th/lampang/index.php/2014-05-25-09-05-50 (In Thai) Marthaler, M.T., & Kelly, P. (2012). In Kelly, P. (2012). Nursing leadership & management. Australia: Cengage Learning. Muanlamai, S. (2012). Self-efficiency, job characteristics, and organizational climate affecting work engagement of registered nurses at a private hospital. (Master’s thesis, Ramkhamhaeng University, Bangkok). Retrieved from https://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php (In Thai) Murry, M. K. (2002). The nursing shortage, past, present, and future. The Journal of Nursing Administration, 32(2), 79-84. Office of Permanent Secretary Ministry of Public Health, Nursing Division. (2001). Nursing quality assurance in hospitals: Inpatient Nursing Services. Pathum Thani: Thammasat University Press. (In Thai) O’Reilly, C.A., & Anderson, J.C. (1980). Trust and the communication of performance appraisal information: the effect of feedback on performance and job satisfaction. Human Communication Research, 6(4), 290-298. Patterson, K. A. (2003). Servant leadership: A theoretical model. Retrieved from https://www.regent.edu/acad/global/publications/sl_proceedings/2003/patterson_ servant_leadership.pdf Preamsri, S. (2014). The relationship between work engagement, perceptions of career success and organizational climate affecting the self-development of nurses at the instituted of psychiatry. (Master’s thesis, Ramkhamhaeng University, Bangkok). Retrieved from https://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php (In Thai) Rogal, S.M., & Young, J. (2008). Exploring Critical Thinking in Critical Care Nursing: A Pilot Study. Journal of Continuing Education in Nursing, 39(1), 28-33. Salanova, M., Lorente, L., Chambel, M. J., & Martinez, I. M. (2011). Linking transformational leadership to nurses’ extra-role performance: The mediating role of self-efficacy and work engagement. Journal of Advanced Nursing, 67(10), 2256-2266. doi:10.1111/j.1365-2648.2011.05652.x

372 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Head Nurses’ Servant Leadership and Registered Nurses’ Work Engagement, Regional Hospital, Northern Region

Schaufeli, W., & Bakker, A. (2003). Utrecht work engagement scale: Preliminary manual. Retrieved from http://www.beanmanaged.com/doc/pdf/arnoldbakker/articles/articles_ arnold_bakker_87.pdf Schaufeli, W., & Bakker, A., & Rhenen, W. (2009). How changes in job demands and resources predict burnout, work engagement, and sickness absenteeism. Journal of Organizational Behavior, 30, 893-917. DOI: 10.1002/job.595 Schaufeli, W., Taris, T., & Rhenen, W. (2008). Workaholism, burnout, and work engagement: three of a kind or three different kinds of employee well-being?. Applied Psychology: An International Review, 57(2), 173-203. Sousa, M., & Dierendonck, D. (2015). Servant leadership and the effect of the interaction between humility, action, and hierarchical power on follower engagement. Journal of Business Ethics. DOI 10.1007/s10551-015-2725-y Srisatidnarakul, B. (2007). The methodology in nursing research. U&I Inter media. (In Thai) Tehoprakarn, N. (2009). Relationships between servant leadership of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient unit as perceived by professional nurses, regional hospital under the jurisdiction of Ministry of Public Health, Southern Region. (Master’s thesis, Chulalongkorn University, Bangkok). Retrieved from https://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php (In Thai) Tomic, M., & Tomic, E. (2010). Existential fulfillment, workload and work engagement among nurses. Journal of Research in nursing, 1-12. DOI: 10.1177/1744987110383353 Uttaradit Hospital. (2015). Vision. Retrieved from http://www.uttaradit-hosp.go.th/NEW2012_SOI/newlot2/history.htm (In Thai) Uttaradit Hospital, Nursing Department. (2011). Roles and responsibilities of personnel. Uttaradit: Author. (In Thai) Watanapa, P. (2013). Situation of resignation from nursing: The crisis and Remedies. Retrieved from http://www.nci.go.th/tons/active/ac2/final/ สถานการณ์การลาออกจากวิชาชีพพยาบาล.pdf (In Thai)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 373 ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review

สุปราณี ค�ำมา * Supranee Khamma * ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ ** Thitinut Akkadechanunt ** พิกุล พรพิบูลย์ ** Pikul Phornphibul **

บทคัดย่อ ในคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ พยาบาลเป็นผู้ท�ำหน้าที่ให้และจัดการบริการเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการดูแลผู้ป่วย การทบทวนอย่างเป็นระบบครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่ มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน จากการสืบค้นรายงานการวิจัยปฐมภูมิ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ถึงปี พ.ศ. 2558 โดยใช้แนวทางการทบทวนอย่างเป็นระบบของสถาบันโจแอนนาบริกส์ (2014) พบรายงานการวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับ ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานผ่านเกณฑ์การคัดเลือกตามคุณสมบัติ ที่ก�ำหนด จ�ำนวน 11 เรื่อง แบ่งเป็นรายงานการวิจัยเชิงทดลองที่มีการออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่าง เข้ารับการทดลอง จ�ำนวน 9 เรื่อง และรายงานการวิจัยแบบกึ่งทดลอง จ�ำนวน 2 เรื่อง แต่ไม่สามารถน�ำมาวิเคราะห์ เมต้าได้เนื่องจากความแตกต่างของวิธีการบริการและผลลัพธ์ของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ดังนั้น การทบทวนอย่างเป็นระบบในครั้งนี้จึงใช้วิธีการสรุปเชิงเนื้อหา ผลการทบทวนอย่างเป็นระบบครั้งนี้ พบว่า 1. วิธีการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน สรุปได้ 4 วิธี ได้แก่ 1) การจัดการรายกรณี โดยพยาบาลเป็นผู้จัดการการดูแลผู้ป่วย ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดและความดัน โลหิต ได้แก่ วิธีการโทรศัพท์ติดตามการปรับพฤติกรรมผู้ป่วยทุก 2 เดือน จ�ำนวนทั้งหมด 12 ครั้ง 2) การจัดโปรแกรม ส�ำหรับผู้ป่วย ซึ่งลักษณะของกิจกรรมในโปรแกรมประกอบด้วย การให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง การติดตามพฤติกรรม สุขภาพ และการติดตามผู้ป่วยให้มาตรวจตามนัด 3) การวางแผนจ�ำหน่าย โดยพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้าน เบาหวาน ตั้งแต่เข้ารับไว้ในการดูแลจนกระทั่งจ�ำหน่าย และ 4) การบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก ประกอบด้วย การดูแล ผู้ป่วยโดยตรง การจัดการอย่างเป็นระบบและการประสานการดูแลผู้ป่วยแต่ละราย การให้ค�ำปรึกษา การพัฒนาความ เชี่ยวชาญของตนเอง และบุคลากรที่ให้การดูแล 2. ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ 1) ผลลัพธ์ด้านคลินิก ได้แก่ การควบคุมระดับนำ�้ ตาลในเลือดและนำ�้ ตาลสะสมที่เกาะติดเม็ดเลือดแดง ความดันโลหิต และระดับไขมันในเลือด 2) ผลลัพธ์ด้านการเงิน ได้แก่ ต้นทุนประสิทธิผลของการลดระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาล และลดระยะเวลาในการรอพบแพทย์อายุรกรรม 3) ผลลัพธ์ด้านการรับรู้ ได้แก่ ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการบริการ * พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลกรุงเทพ พิษณุโลก * Professional Nurse, Bangkok Hospital Phitsanulok ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of nursing, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 374 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review

จากผลการทบทวนอย่างเป็นระบบครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพของวิธีการบริการในคลินิกที่มีพยาบาล เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผลลัพธ์ด้านคลินิก ด้านการเงิน และด้านการรับรู้ นอกจากนี้ผลการทบทวน อย่างเป็นระบบยังสะท้อนให้เห็นความจ�ำเป็นในการท�ำวิจัยแบบทดลองหรือกึ่งทดลองซ�้ำ เพื่อยืนยันผลการวิจัย โดยวิธีการวิเคราะห์เมต้า

ค�ำส�ำคัญ: ประสิทธิผล การบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ผู้ป่วยเบาหวาน การทบทวนอย่างเป็นระบบ

Abstract In a nurse-led clinic nurses provide and manage services to improve the effectiveness of patient care. This systematic review aimed to summarize the best available evidence related to effectiveness of nurse-led clinics for diabetic patients. The primary research published between 2001 and 2015 were searched using a systematic guideline developed by Joanna Briggs Institute (2014). A total of 11 studies met the review inclusion criteria which included 9 randomized controlled trials and 2 quasi-experimental studies. Meta-analysis could not be applied because of the heterogeneous nature of the interventions and their outcomes. Instead, a narrative summarization was used in this systematic review. The results of this systematic review were: 1. There were four types of interventions of nurse-led clinic for diabetic patients: 1) case management in which the nurse manages patient care. An effective method for controlling blood sugar and blood pressure levels were telephone calls to monitor and modify patients’ behavioral every 2 months for a total of 12 calls; 2) program development for patients which included continued education, monitoring health behaviors and reminding patients of their follow up appointments; 3) discharge planning by a diabetes nurse specialist who plans care from admission through discharge; and 4) outpatient services which included direct patient care, organization and co-ordination of care for individual patients, consultation, and advancement of expertise. 2. The nurse-led clinics for diabetic patients were found to be effective in 3 domains: 1) clinical outcomes including the controlling of blood sugar and glycohemoglobin (HbA1c), blood pressure, and lipid profile; 2) financial outcomes including improved cost-effectiveness of hospital length of stay and reduce waiting time to see medical doctor; and 3) perceptual outcomes including patient satisfaction with services. This systematic review suggests that 4 effective services in nurse-led clinic for diabetic patients which representing in clinical, financial and perceptual outcomes. In addition, the systematic review reflects the necessity of replication of experimental and quasi-experimental research to confirm the results of the study by using meta-analysis.

Key words: effectiveness, nurse-led clinic, diabetic patient, systematic review

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 375 ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา เฉียบพลันและเรื้อรัง (Diabetes Association of Thai- โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่พบได้บ่อยและเป็น land, The Endocrine Society of Thailand, & ปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่ส�ำคัญของทุกประเทศทั่ว National Health Security office, 2014) ผลกระทบ โลก โรคเบาหวานเกิดจากความผิดปกติของตับอ่อนใน ด้านจิตใจพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานจะมีความวิตกกังวล การหลั่งฮอร์โมนอินซูลินจึงท�ำให้ร่างกายไม่สามารถน�ำ เครียด หงุดหงิดง่าย หรือหมดก�ำลังใจเนื่องจากเป็นโรค กลูโคสไปใช้เป็นพลังงานได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีระดับนำ�้ ตาล เรื้อรัง กลัวอันตรายที่อาจเกิดจากภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในเลือดสูงและมีน�้ำตาลมากในปัสสาวะ (American จนเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะซึมเศร้า และอาจคิดฆ่าตัวตาย Diabetes Association [ADA], 2015) โรคเบาหวาน ได้ (Devlin, 2009) ส่วนผลกระทบด้านสังคมและ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือโรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type เศรษฐกิจ หากผู้ป่วยเกิดความพิการหรือความสามารถ 1 diabetes) โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes) ในการท�ำงานลดลงจะเป็นภาระของผู้ดูแล สูญเสียค่าใช้ โรคเบาหวานในระยะตั้งครรภ์ (gestational diabetes จ่ายในการรักษา โดยค่าใช้จ่ายในการรักษาและค่าใช้จ่าย mellitus [GDM]) และโรคเบาหวานชนิดอื่น ๆ แต่โรค ในการดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานจะเพิ่มขึ้น เบาหวานที่พบมากคือโรคเบาหวานชนิดที่ 1 และโรคเบา อย่างไม่สามารถควบคุมได้ ซึ่งประเทศสหรัฐอเมริกามี หวานชนิดที่ 2 โดยอุบัติการณ์ของคนที่เป็นโรคเบาหวาน ภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลโรคเบาหวานมากที่สุด คิดเป็น ทั่วโลกในปี ค.ศ. 2014 มีจ�ำนวน 347 ล้านคน (World ร้อยละ 52.7 ของภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลโรคเบา Health Organization [WHO], 2014) และสมาพันธ์ หวานทั่วโลก (IDF, 2009) จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยเบา เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Feder- หวานที่มีภาวะแทรกซ้อนจะมีค่าใช้จ่ายมากกว่าผู้ป่วย ation [IDF], 2014) มีการคาดการณ์ว่าในปี ค. ศ. 2035 เบาหวานที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนถึง 2 เท่า (Chaikled- จะมีจ�ำนวนเพิ่มสูงขึ้นถึง 592 ล้านคน ส่วนใน kaew, Pongchareonsuk, Chaiyakunapruk, & ประเทศไทยจ�ำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานก็เพิ่มสูงขึ้นทุกปี Ongphiphadhanakul, 2008) จากผลกระทบของการ เช่นกัน จากการประมาณการจ�ำนวนประชากรที่เป็นโรค เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานดังกล่าว บุคลากรที่ให้การดูแล เบาหวานในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2554-2563 จ�ำนวน ผู้ป่วยเหล่านี้จ�ำเป็นที่จะต้องส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคเบาหวานจะเพิ่มขึ้น 501,299 - 553,941 คน มีความสามารถในการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด ลด ต่อปี โดยปี พ.ศ. 2563 จะมีผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงถึง การเกิดภาวะแทรกซ้อน และพัฒนาวิธีการดูแลผู้ป่วย 8.2 ล้านคน (Bureau of Non Communicable Dis- เบาหวานให้ครอบคลุมทุกด้านเพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพ eases Department of Disease Control, 2010) ชีวิตที่ดี อีกทั้งยังเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษา เนื่องจากโรคเบาหวานมีผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อ พยาบาลอีกด้วย หลายระบบของร่างกายจึงส่งผลให้โรคเบาหวานเป็น พยาบาลเริ่มให้ความส�ำคัญกับผลลัพธ์ของการ สาเหตุการตายอันดับ 7 ของประชากรในประเทศ พยาบาลภายหลังจากการน�ำแนวคิดการประกันคุณภาพ สหรัฐอเมริกา (ADA, 2014) การพยาบาลมาใช้เป็นกรอบในการด�ำเนินงานพัฒนา การรักษาผู้ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานประกอบด้วย คุณภาพการพยาบาล โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพการ การรักษาด้วยยาและการรักษาด้วยการไม่ใช้ยา และต้อง พยาบาลในด้านโครงสร้าง และกระบวนการ ซึ่งเริ่มจาก ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต หากไม่ได้รับการ การสนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลตาม บริการทางด้านสุขภาพที่ดี จะส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้ง มาตรฐานที่ก�ำหนด รวมทั้งพัฒนาระบบการตรวจสอบ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ ผลกระทบด้าน และควบคุมคุณภาพภายใน ต่อมาได้มีการก�ำหนดตัวชี้ ร่างกายส่วนใหญ่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของโรคแบบ วัดผลลัพธ์คุณภาพการพยาบาลและมีการปรับปรุง

376 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review

คุณภาพการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ ผู้น�ำ เป็นคลินิกที่ให้การดูแลผู้ป่วยซึ่งมีการจัดการและ ประกันคุณภาพการพยาบาลตามตัวชี้วัด เป็นการยก ด�ำเนินงานโดยพยาบาลที่มีความสามารถในการประเมิน ระดับผลลัพธ์ให้ดีมากยิ่งขึ้น (Bureau of Nursing De- การรักษา การให้ค�ำแนะน�ำ หรือการส่งต่อผู้ป่วยให้กับ partment of Medicine Ministry of Public Health, เจ้าหน้าที่ในทีมสหสาขาวิชาชีพด้านสุขภาพตามความ 2008) เนื่องจากการปฏิบัติการพยาบาลจะต้องมีการ ต้องการของผู้ป่วย (JBI, 2010) ซึ่งโปรแกรมการดูแลผู้ ประเมินประสิทธิผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดจากการดูแล และ ป่วยที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ (nurse led program) การปฏิบัติการพยาบาล ซึ่งประสิทธิผลหรือผลลัพธ์ ประกอบด้วย การวางแผนการติดตามผู้ป่วย การสื่อสาร หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นภายหลังการปฏิบัติการพยาบาล ที่มีประสิทธิภาพ การใช้กลวิธีและฝึกทักษะในการปรับ (Hegyvary, 1991) โดยผลลัพธ์ทางการพยาบาล หมาย เปลี่ยนพฤติกรรม (Bodenheimer, McGregor, & ถึง ผลสุดท้ายของการบ�ำบัดรักษาหรือการปฏิบัติการ Stothart, 2005) การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม และการ พยาบาล (Jennings, Staggers, & Brosch, 1999) ส่วน ส่งต่อผู้ป่วยเพื่อได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องจากทีม ผลลัพธ์ทางสุขภาพ คือ ผลสุดท้ายของการดูแล เป็น สหสาขาวิชาชีพ (Hatchett, 2003) จากการทบทวน ความเปลี่ยนแปลงในภาวะสุขภาพ หรือพฤติกรรมของ วรรณกรรมที่ผ่านมาพบว่าประสิทธิผลของการบริการ ผู้ป่วยที่สามารถวัดได้ (Harris, 1991) ประกอบด้วย ทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ได้แก่ การควบคุมหรือ ผลลัพธ์ด้านคลินิก เช่น ระดับน�้ำตาลในเลือด ระดับ ลดต้นทุนได้ ท�ำให้ผลลัพธ์ในการดูแลผู้ป่วยดีขึ้น สามารถ น�้ำตาลสะสมที่เกาะติดเม็ดเลือดแดง ความดันโลหิต ไข ป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคและท�ำให้ความพึงพอใจ มันในเลือด น�้ำหนักตัว ระดับดัชนีมวลกาย ผลลัพธ์ด้าน ของผู้ป่วยที่มีต่อการดูแลเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถ การท�ำหน้าที่ เช่น การท�ำงานของไต ผลลัพธ์ด้านการ ท�ำให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการได้มากขึ้นอีกด้วย (Wong, & เงิน เช่น การควบคุมค่าใช้จ่าย และผลลัพธ์ด้านการรับ Chung, 2006) รู้ เช่น ความพึงพอใจในการบริการ (Hegyvary, 1991) Carey & Courtenay (2007) ได้ท�ำการทบทวน การศึกษาประสิทธิผลของการดูแลหรือการบริการเป็น กิจกรรมและผลของการดูแลที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ประโยชน์ต่อผู้ป่วย ผู้ให้บริการ และองค์การที่รับผิดชอบ ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 ถึงปี ค.ศ. หรือมีหน้าที่ในการดูแลสุขภาพของประชาชน ซึ่ง 2006 จ�ำนวนทั้งหมด 22 เรื่อง โดยการสืบค้นงานวิจัย ประสิทธิผลของการบริการพยาบาลจะสะท้อนให้เห็นถึง จากฐานข้อมูล CINAHL, MEDLINE, และ British Nurs- ความปลอดภัยที่ได้รับจากการบริการ เลือกรูปแบบการ ing Index พบว่ามีวิธีการหรือกิจกรรมที่พยาบาลใช้ใน พยาบาลที่เหมาะสมกับผู้ป่วย ทราบแนวทางในการ การดูแลผู้ป่วยเบาหวานได้แก่ การให้ความรู้ การดูแลผู้ ปรับปรุงคุณภาพการพยาบาล ตลอดจนแสดงให้เห็นถึง ป่วยรายบุคคล การสนับสนุนให้ผู้ป่วยมีความสามารถใน ความเป็นวิชาชีพ (Nantsupawat, 2015) การดูแลตนเอง การพัฒนาทักษะทางกายภาพ และการ การบริการผู้ป่วยโรคเบาหวานที่บุคลากรด้าน สนับสนุนทางจิตสังคม ผลที่เกิดขึ้นหรือผลลัพธ์ของการ สุขภาพพัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วย ดูแลประเมินจาก การควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด การ มีหลายรูปแบบ การบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็น ลดอาการแสดงของเบาหวาน ต้นทุนประสิทธิผล ลด ผู้น�ำ (nurse-led clinic) เป็นรูปแบบหนึ่งของการบริการ ระยะเวลานอนโรงพยาบาล ความรู้เกี่ยวกับโรค ความ พยาบาลที่พัฒนาขึ้นเพื่อจัดบริการส�ำหรับผู้สูงอายุและ สามารถในการดูแลตนเอง คุณภาพชีวิต ตลอดจนการ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีจ�ำนวนมากขึ้น (The Joanna Briggs เพิ่มความพึงพอใจของผู้ป่วย แต่อย่างไรก็ตามการ Institute for Evidence Based Nursing & Midwife- ทบทวนและการสังเคราะห์ข้อค้นพบจากงานวิจัยที่ท�ำ ry [JBI], 2010) การบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็น นั้นยังไม่ได้ทบทวนอย่างเป็นระบบ ซึ่งการทบทวนอย่าง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 377 ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

เป็นระบบ (systematic review) หมายถึง การสรุปองค์ 2006 ผู้วิจัยยังไม่พบการทบทวนอย่างเป็นระบบเกี่ยว ความรู้จากรายงานการวิจัยปฐมภูมิ ประกอบด้วย กับประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล กระบวนการในการรวบรวม การวิเคราะห์ และประเมิน เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน และยังไม่พบการวิ คุณค่างานวิจัยอย่างมีวิจารณญาณ และสังเคราะห์ด้วย เคราะห์เมต้า (meta-analysis) ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะ วิธีการที่เป็นระบบ (JBI, 2014a) ซึ่งการทบทวนอย่าง ท�ำการทบทวนอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับประสิทธิผลของ เป็นระบบจากงานวิจัยที่ได้ข้อสรุปที่ชัดเจนนั้น เชื่อกัน การบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วย ว่ามีความน่าเชื่อถือและมีการควบคุมอคติในการทบทวน เบาหวานโดยใช้วิธีการทบทวนอย่างเป็นระบบของ จะช่วยลดความซำ�้ ซ้อนของการท�ำวิจัยที่หาค�ำตอบอย่าง สถาบันโจแอนนาบริกส์ (JBI, 2014a) เนื่องจากมีการ เดียวกันได้ ส�ำหรับงานวิจัยที่ยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้ วิเคราะห์ และประเมินคุณภาพงานวิจัยที่ลดการเกิดอคติ ผลจากการทบทวนอย่างเป็นระบบจะสามารถใช้เป็น ตรวจสอบได้ เพื่อสรุปองค์ความรู้ให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับ แนวทางในการท�ำวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนั้นต่อไป ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็น จากการสืบค้นเบื้องต้นโดยใช้ค�ำสืบค้นที่เกี่ยวกับ ผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ข้อมูลที่ได้จากการทบทวน ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็น อย่างเป็นระบบนี้จะน�ำไปสู่การพัฒนารูปแบบการ ผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ผู้วิจัยพบงานวิจัยที่ศึกษา บริการและผลลัพธ์ของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล เกี่ยวกับต้นทุนประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มี เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานต่อไป พยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานจ�ำนวน 48 เรื่อง เป็นงานวิจัยเชิงทดลองที่ออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและ วัตถุประสงค์การวิจัย มีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลอง และงานวิจัยกึ่ง เพื่อสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับประสิทธิผลของการ ทดลอง โดยการใช้วิธีการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล บริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบา เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานหลายรูปแบบ เช่น การ หวาน จัดโปรแกรม การวางแผนจ�ำหน่าย และการบริการผู้ป่วย นอก วัดผลลัพธ์เป็นผลลัพธ์ด้านคลินิก เช่น ระดับนำ�้ ตาล ค�ำถามการวิจัย ในเลือด ระดับน�้ำตาลสะสมที่เกาะติดเม็ดเลือดแดง 1. วิธีการหรือการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล (HbA1c) ระดับไขมันในเลือด ระดับความดันโลหิต น�้ำ เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานประกอบด้วยอะไรบ้าง หนักตัว ผลลัพธ์ด้านการท�ำหน้าที่ (functional out- 2. ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มี comes) เช่น การท�ำงานของไต ผลลัพธ์ด้านการเงิน เช่น พยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานเป็นอย่างไร การลดค่าใช้จ่าย ผลลัพธ์ด้านการรับรู้ เช่น ความพึง พอใจของผู้ป่วยและญาติ นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยเชิง กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย คุณภาพ และงานวิจัยแบบศึกษาไปข้างหน้า ผลการ การทบทวนอย่างเป็นระบบในครั้งนี้เป็นการศึกษา ศึกษาพบว่าการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว เพื่อหาข้อสรุปความรู้เกี่ยวกับประสิทธิผลของกิจกรรม ของผู้ป่วยเบาหวานจากพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง หรือการจัดกระท�ำในคลินิกหรือสถานบริการที่พยาบาล ด้านเบาหวานนั้น มีส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งในการควบคุม เป็นผู้ริเริ่ม จัดการและด�ำเนินการให้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ระดับน�้ำตาลในเลือดและป้องกันการเกิดภาวะ โดยคัดเลือกงานวิจัยปฐมภูมิเชิงทดลองที่ออกแบบโดย แทรกซ้อนของโรคเบาหวาน มีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลอง นอกจากงานวิจัยของ Carey& Courtenay และงานวิจัยกึ่งทดลอง จากผลการวิจัยที่เป็นภาษา (2007) ที่รวบรวมข้อมูล จากปี ค.ศ. 1996 ถึงปี ค.ศ. อังกฤษที่รายงานไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ถึงปี พ.ศ. 2558

378 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review

และท�ำการทบทวนงานวิจัยตามขั้นตอนการทบทวน appraisal form) และ3) แบบบันทึกผลการสกัดข้อมูล อย่างเป็นระบบของสถาบันโจแอนนาบริกส์ (JBI, 2014a) (data extraction form) ที่พัฒนาโดยสถาบันโจแอน ใช้เครื่องมือของสถาบันในการประเมิน และรวบรวม นาบริกส์ ในกระบวนการรวบรวมข้อมูลมีการควบคุม ข้อมูลทั้งหมด ซึ่งการทบทวนประกอบด้วย 7 ขั้นตอน คุณภาพ โดยผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษาแยกกันประเมิน ได้แก่ 1) การก�ำหนดวัตถุประสงค์ และค�ำถามส�ำหรับ โดยใช้แบบคัดกรองรายงานการวิจัยที่สร้างขึ้นตาม การทบทวน 2) การก�ำหนดเกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย เกณฑ์ในการคัดเลือกงานวิจัยเข้าสู่การทบทวน แบบ 3) การสืบค้นงานวิจัย 4) การคัดเลือกงานวิจัยที่มี ประเมินคุณภาพการวิจัย และแบบบันทึกผลการสกัด คุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 5) การประเมินคุณภาพ ข้อมูลจากรายงานการวิจัยและน�ำข้อมูลจากการทบทวน งานวิจัย 6) การรวบรวมและการสกัดข้อมูล 7) การ มาเปรียบเทียบกันเพื่อตรวจสอบความตรงของเนื้อหาที่ วิเคราะห์และการสังเคราะห์ข้อมูล รวบรวมได้ เมื่อมีความคิดเห็นไม่ตรงกันในการสรุปผู้วิจัย และอาจารย์ที่ปรึกษาหลักได้ท�ำการปรึกษาเพื่อหาข้อ วิธีด�ำเนินการวิจัย สรุปร่วมกัน หากไม่สามารถตกลงกันได้ให้อาจารย์ที่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการทบทวนอย่างเป็นระบบจาก ปรึกษาร่วมเป็นผู้ลงมติ รายงานการวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของการ การทบทวนอย่างเป็นระบบมีรายละเอียดดังนี้ บริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบา 1. ผู้วิจัยได้ก�ำหนดวัตถุประสงค์และค�ำถามส�ำหรับ หวาน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ดังนี้ การทบทวน เพื่อให้การทบทวนอย่างเป็นระบบในครั้งนี้ 1) เป็นรายงานการวิจัยที่มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรค มีทิศทางและได้ค�ำตอบที่ตรงประเด็น เบาหวาน 2) เป็นรายงานการวิจัยที่เป็นการบริการทาง 2. การก�ำหนดเกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย ผู้วิจัย คลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ 3) เป็นรายงานการวิจัยที่มี ได้ศึกษาเอกสาร ต�ำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับ ผลลัพธ์ คือ ประสิทธิผล โดยประเมินจากผลลัพธ์ด้าน อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก เพื่อก�ำหนดเกณฑ์การคัดเลือก คลินิก ผลลัพธ์ด้านการท�ำหน้าที่ ผลลัพธ์ด้านการเงิน งานวิจัย และผลลัพธ์ด้านการรับรู้ 4) เป็นรายงานการวิจัยเชิง 3. การสืบค้นรายงานการวิจัย โดยผู้วิจัยด�ำเนินการ ทดลองที่ออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่ม สืบค้นงานวิจัยปฐมภูมิตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด จากฐาน ตัวอย่างเข้ารับการทดลอง หรือการวิจัยกึ่งทดลองที่มี ข้อมูลตามค�ำส�ำคัญ และค�ำที่เกี่ยวข้อง ที่ครอบคลุมการ ความสมบูรณ์ในการวิจัยทุกขั้นตอน และมีการรายงาน ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มี ค่าสถิติที่จ�ำเป็นเพียงพอส�ำหรับการวิเคราะห์ทางสถิติ พยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน จากรายงาน 5) เป็นรายงานการวิจัยทั้งที่ตีพิมพ์และไม่ได้ตีพิมพ์ ทั้ง การวิจัยทั้งที่ตีพิมพ์และไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ ทั้งที่เป็น ที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 6) เป็นรายงานการ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทบทวนอย่างเป็นระบบตาม วิจัยที่ตีพิมพ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ถึงปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. ขั้นตอนของสถาบันโจแอนนาบริกส์ (JBI, 2014a) ดังนี้ 2001 ถึงปี ค.ศ. 2015) 1) ก�ำหนดค�ำส�ำคัญ (key word) ในการสืบค้นทั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการทบทวนอย่างเป็นระบบครั้งนี้ 1.1) กลุ่มประชากร ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้ มี 3 ประเภท ได้แก่ 1) แบบคัดกรองรายงานการวิจัย ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1, ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2, ผู้ป่วย (inclusion criteria form) ที่ผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษา เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน, ผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่ง สร้างขึ้นเพื่อก�ำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกงานวิจัยที่ อินซูลิน, DM, diabetes mellitus patient, diabetic ครอบคลุม 2) แบบประเมินคุณภาพงานวิจัย (critical patient, type 1 diabetes mellitus, type 2 diabe-

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 379 ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

tes mellitus, NIDDM อาจารย์ที่ปรึกษาหลักได้แยกกันอ่านรายงานการวิจัย 1.2) วิธีการจัดกระท�ำ ได้แก่ การบริการทาง เพื่อประเมินคุณภาพงานวิจัย แล้วสรุปลงในแบบฟอร์ม คลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ, nurse-led clinic, nurse การประเมินคุณภาพงานวิจัยที่พัฒนาโดยสถาบันโจแอน led นาบริกส์ จากนั้นน�ำข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน 1.3) ตัวแปรผลลัพธ์ ได้แก่ ประสิทธิผล, ผลลัพธ์ 6. การสกัดข้อมูล ผู้วิจัยใช้การสกัดข้อมูลโดยเลือก ด้านคลินิก, ผลลัพธ์ด้านการท�ำหน้าที่, ผลลัพธ์ด้านการ งานวิจัยที่มีคุณภาพ และบันทึกโดยใช้แบบบันทึกการ เงิน, ผลลัพธ์ด้านการรับรู้, effectiveness, clinical สกัดข้อมูลส�ำหรับงานวิจัยเชิงทดลองและสังเกต ของ outcomes, functional outcomes, financial out- สถาบันโจแอนนาบริกส์ และใช้การสกัดข้อมูลแบบ comes, perceptual outcomes ปกปิด (blinding extraction before conferring) ร่วม 2) ก�ำหนดแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ฐานข้อมูล กับอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก จากนั้นน�ำข้อมูลมาเปรียบ วิทยานิพนธ์จากการสืบค้นผ่านคอมพิวเตอร์ และห้อง เทียบกัน สมุด ผู้วิจัยท�ำการสืบค้นงานวิจัยด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้ 7. ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสกัดข้อมูล 2.1) การสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ โดยสืบค้น งานวิจัยปฐมภูมิ โดยท�ำการวิเคราะห์ลักษณะทั่วไปและ จากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือสืบค้นจากฐานข้อมูล ระเบียบวิธีวิจัยของงานวิจัยปฐมภูมิ วิเคราะห์โดยใช้สถิติ วิทยานิพนธ์ออนไลน์ โดยครอบคลุมฐานข้อมูลที่สืบค้น พรรณนา วิธีการของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล งานวิจัยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีบริการใน เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ใช้วิธีการสรุปเชิงเนื้อหา ระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้แก่ CI- ส่วนประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล NAHL, PubMed, ProQuest, Science Direct, Wiley เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน เนื่องจากรายงานการ online library, Cochrane systematic review da- วิจัยที่น�ำมาทบทวนอย่างเป็นระบบในครั้งนี้มีราย tabase, ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ในประเทศไทย ได้แก่ ละเอียดเกี่ยวกับประสิทธิผลที่แตกต่างกัน รวมทั้ง Thailis (TDC) รายงานการวิจัยบางเรื่องมีข้อจ�ำกัดในการรายงานผล 2.2) การสืบค้นด้วยมือ โดยการสืบค้นจาก ทางสถิติ จากข้อจ�ำกัดดังกล่าวจึงไม่สามารถใช้การวิ วารสารทางการแพทย์และการพยาบาลในห้องสมุดโดย เคราะห์เมต้าได้ ผู้วิจัยจึงน�ำเสนอผลโดยการสรุปเชิง เลือกตามชื่อเรื่อง และค�ำส�ำคัญย้อนหลังตั้งแต่ปี พ.ศ. เนื้อหา 2544 ถึงปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2001 ถึงปี ค.ศ. 2015) การวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อพบผู้วิจัยจะอ่านแปลความ หากตรงตามเกณฑ์ที่ รายงานการวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของ ต้องการจะคัดเข้าเพื่อน�ำมาศึกษา นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ การบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วย ท�ำการสืบค้นจากรายงานเอกสารอ้างอิงและ เบาหวาน ที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกและประเมินคุณภาพ บรรณานุกรมของงานวิจัยที่สืบค้นได้ งานวิจัยจ�ำนวน 11 เรื่อง พบว่ารายงานการวิจัยทั้งหมด 4. การคัดเลือกงานวิจัยตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด โดย ท�ำการศึกษาในต่างประเทศและตีพิมพ์เผยแพร่เป็น ผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษาหลักแยกกันอ่านรายงานการ ภาษาอังกฤษ เป็นรายงานการวิจัยเชิงทดลองที่มีการ วิจัยที่สืบค้นได้ โดยดูจากชื่อเรื่อง บทคัดย่อ แล้วท�ำการ ออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับ คัดเลือกลงแบบคัดกรองรายงานการวิจัยตามเกณฑ์ที่ การทดลองจ�ำนวน 9 เรื่อง และรายงานการวิจัยกึ่ง ก�ำหนดที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา ทดลองจ�ำนวน 2 เรื่อง ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ หลัก จากนั้นจึงน�ำข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบกัน ทั้งหมด โดยวิธีการของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล 5. การประเมินคุณภาพงานวิจัย โดยผู้วิจัยและ เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วยการจัดการ

380 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review

รายกรณีจ �ำนวน 1 เรื่อง การจัดโปรแกรมจ�ำนวน 3 เรื่อง ผู้ป่วยนอกจ�ำนวน 3 เรื่อง ดังแสดงรายละเอียดไว้ใน การวางแผนจ�ำหน่ายจ�ำนวน 4 เรื่อง การบริการที่แผนก ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 จ�ำนวนของรายงานวิจัยจ�ำแนกตามลักษณะทั่วไปของรายงานการวิจัย (n = 11) ลักษณะทั่วไปของรายงานวิจัย จ�ำนวน ระเบียบวิธีวิจัย รายงานการวิจัยเชิงทดลองที่มีการออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่าง 9 เข้ารับการทดลอง (RCTs) รายงานการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental) 2 การตีพิมพ์ รายงานการวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ 11 สถานที่ท�ำวิจัย ต่างประเทศ 11 ปีที่ได้รับการตีพิมพ์ ปี พ.ศ. 2544 ถึงปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2001 ถึง 2005) 8 ปี พ.ศ. 2549 ถึงปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2006 ถึง 2010) 1 ปี พ.ศ. 2554 ถึงปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2011 ถึง 2015) 2 จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง 30-100 ราย 2 101-200 ราย 5 201-300 ราย 2 301-400 ราย 1 มากกว่า 400 ราย 1 วิธีการของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน การจัดการรายกรณี 1 การจัดโปรแกรม 3 การวางแผนจ�ำหน่าย 4 การบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก 3

อย่างไรก็ตามรายงานการวิจัยมีความแตกต่างทั้ง เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน เป็นการให้บริการผู้ป่วย วิธีการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ เบาหวานชนิดที่ 1 และเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้วิธีการ ป่วยเบาหวาน และการวัดประสิทธิผลจึงไม่สามารถน�ำ ที่สะดวกและเหมาะสมในการดูแลผู้ป่วยแต่ละราย ซึ่งมี ข้อมูลมาวิเคราะห์เมต้าได้ การทบทวนอย่างเป็นระบบ จุดเน้นที่คล้ายคลึงกันคือ การดูแลตนเอง การควบคุม ครั้งนี้ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์และสรุปเชิงเนื้อหา โรค การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การลดการเข้าใช้ 1. วิธีการของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล บริการในโรงพยาบาล ความต่อเนื่องของการดูแลผู้ป่วย

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 381 ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

และการลดค่าใช้จ่าย ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการดูแลผู้ป่วย โทรศัพท์เป็นการใช้โทรศัพท์เพื่อเป็นสื่อกลางในการ เบาหวานนั้นไม่ได้จ�ำกัดอยู่ในโรงพยาบาลเท่านั้น แต่ต้อง สื่อสารกับผู้ป่วยภายหลังที่ผู้ป่วยได้รับการจ�ำหน่ายออก ให้การดูแลต่อเนื่องภายหลังการจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจาก จากโรงพยาบาล เป็นวิธีการสื่อสารที่ได้รับความนิยม โรงพยาบาลอีกด้วย โดยให้การดูแลผู้ป่วยครอบคลุมทุก เพราะมีความสะดวกรวดเร็ว เนื่องจากปัจจุบันโทรศัพท์ มิติของปัญหา คือ ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ได้กลายเป็นอุปกรณ์ทางการสื่อสารที่มีการใช้กันอย่าง และจิตวิญญาณ ซึ่งสามารถสรุปสาระส�ำคัญของวิธีการ ทั่วถึง และช่วยให้ผู้ป่วยเข้าถึงการบริการสุขภาพได้ง่าย ของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ ขึ้น ผู้ป่วยจะได้รับข้อมูลในการดูแลสุขภาพที่ส�ำคัญ อีก ป่วยเบาหวานได้ ดังนี้ ทั้งยังส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับปัญหาขณะที่ 1.1 การจัดการรายกรณี (Edelman et al., 2015) ออกจากโรงพยาบาล เป็นวิธีการในการดูแลผู้ป่วยที่พยาบาลเป็นผู้รับผิดชอบ 1.3 การวางแผนจ�ำหน่าย (Arts, Landewe- ในการจัดการการดูแลผู้ป่วย โดยการใช้โทรศัพท์ติดตาม Cleuren, Schaper, & Vrijhoef, 2012; Davies, การปรับพฤติกรรมของผู้ป่วย ซึ่งเนื้อหาของการปรับ Dixon, Currient, Davis, & Peters, 2001; Danver, เปลี่ยนพฤติกรรมจะมีความเฉพาะเจาะจงกับผู้ป่วย Bernard, Woolfson, & Earle, 2003; New et al., แต่ละราย มุ่งเน้นการส่งเสริมความรู้ ความตระหนักใน 2003) เป็นกระบวนการในการก�ำหนดกิจกรรมทางด้าน การดูแลตนเองและการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาที่มีผล สุขภาพจากพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเบา ต่อการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต หวานให้กับผู้ป่วยตั้งแต่การเข้ารับไว้ในการดูแลจน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อการป้องกันภาวะ กระทั่งจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ซึ่งลักษณะของ แทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นตามมา จากการทบทวนอย่างเป็น กิจกรรมในการบริการส่วนใหญ่จะคล้ายคลึงกัน ระบบพบว่า การจัดการรายกรณีเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ประกอบด้วย การให้ความรู้เกี่ยวกับโรค ค�ำแนะน�ำใน เพื่อน�ำมาใช้เป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่ง การปฏิบัติตัว การรักษาและผลข้างเคียงของการรักษา ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่าการจัดการรายกรณีไม่เหมาะ ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน การปรับเปลี่ยนการ สมในการน�ำไปใช้ในหน่วยงานบริการสุขภาพชุมชน แต่ ด�ำเนินชีวิต การเตรียมความพร้อมและส่งเสริมให้ผู้ป่วย ควรมีการปฏิบัติในหน่วยงานที่มีการร่วมมือทางวิชาการ มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องที่บ้าน อย่างแข็งแกร่ง (Elderman et al., 2015) ทั้งนี้เป็นการ 1.4 การบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก (Chan, Yee, สรุปจากรายงานการวิจัยเพียง 1 เรื่องเท่านั้น Leung, & Day, 2005; Houweling et al., 2009; 1.2 การจัดโปรแกรม (Kim, & Oh, 2003; Piette, Vrijhoef, Diederiks, Spreeuwenberg, & Wolffen- Weinberger, Kraemer, & Mcphee, 2001; Wong, buttel, 2001) เป็นการนัดผู้ป่วยมารับบริการที่แผนก Mok, Chan, & Tsang, 2005) แต่ละรายงานการวิจัยมี ผู้ป่วยนอกหรือคลินิกส�ำหรับให้บริการผู้ป่วยเบาหวาน ความคล้ายคลึงกันในเรื่อง เนื้อหา และการจัดกิจกรรม โดยเฉพาะ โดยมีพยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญด้านการ ลักษณะของโปรแกรมจะประกอบด้วย การให้ความรู้ ดูแลผู้ป่วยเบาหวานเป็นผู้ด�ำเนินการหลัก ประกอบด้วย การติดตามผู้ป่วยให้มาตรวจตามนัด โดยการติดตามทาง การให้การดูแลผู้ป่วยโดยตรง การตรวจติดตามความ โทรศัพท์ ซึ่งความรู้ที่ให้จะมีเนื้อหาครอบคลุมเกี่ยวกับ ก้าวหน้าของโรค การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ผู้ให้การดูแล การรับประทานอาหาร การออกก�ำลังกาย การดูแล และพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการประสานการดูแลของ สุขภาพทั่วไปและการดูแลทางด้านจิตใจ การใช้ยาและ ผู้ป่วยแต่ละราย หากผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนหรือปัญหา ผลข้างเคียงจากการใช้ยา การติดตามระดับน�้ำตาลของ เกิดขึ้นพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเบาหวานจะ ตนเอง และการมาตรวจตามนัด ซึ่งการติดตามทาง ปรึกษาแพทย์ทั่วไปหรืออายุรแพทย์เพื่อให้การดูแลผู้

382 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review

ป่วยอย่างครอบคลุม ซึ่งการมารับบริการของผู้ป่วยจะมี รายกรณีเพียง 1 เรื่อง (Edelman et al., 2015) ที่มีค่า ระยะเวลาและความถี่ที่แตกต่างกันตามภาวะสุขภาพ เฉลี่ยของระดับนำ�้ ตาลสะสมที่เกาะติดเม็ดเลือดแดงและ ของผู้ป่วย ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวคล้ายคลึงกันระหว่าง จากการสรุปเนื้อหาของรายงานการวิจัยจะเห็นว่า กลุ่มที่ได้รับความรู้ทั่วไปจากพยาบาลทางโทรศัพท์และ วิธีการของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ กลุ่มที่ได้รับการจัดการดูแลจากพยาบาลที่มี ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานมีวิธีการที่หลากหลายที่เป็นทาง ประสบการณ์ในการจัดการรายกรณี เลือกในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน แม้จะแตกต่างในรูป 2.2 ผลลัพธ์ด้านการเงิน แสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่ แบบของการให้บริการระยะเวลาในการด�ำเนินการ แต่ ดีต่อการลดต้นทุนโดยการลดระยะเวลาในการนอนโรง มีจุดเน้นที่คล้ายคลึงกันคือ มีพยาบาลเป็นผู้ด�ำเนินการ พยาบาลและลดระยะเวลาในการพบอายุรแพทย์ ในการดูแลและประสานการดูแล โดยภาพรวมของการ ประกอบด้วย รายงานการวิจัยที่ใช้วิธีการจัดโปรแกรม บริการจะให้ความส�ำคัญกับภาวะสุขภาพของผู้ป่วย การ การให้ความรู้และการติดตามทางโทรศัพท์ จ�ำนวน 1 ให้ความรู้ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคร่วม เรื่อง การวางแผนจ�ำหน่าย จ�ำนวน 1 เรื่อง และการ อื่น ๆ ตลอดจนการจัดการปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น ซึ่ง บริการที่แผนกผู้ป่วยนอก จ�ำนวน 1 เรื่อง ซึ่งยังมีรายงาน การน�ำวิธีการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำไป การวิจัยที่ใช้วิธีการวางแผนจ�ำหน่าย จ�ำนวน 1 เรื่อง ที่ ใช้ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานนั้นสามารถเลือกใช้ตาม ผลการศึกษารายงานว่ามีความแตกต่างทางด้านต้นทุน ความเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย โดยค�ำนึงถึงระยะ เพียงเล็กน้อย แต่ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่าควรมีการพัฒนา เวลาในการเจ็บป่วย การรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ ระดับ วิธีการให้การบริการจากพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง นำ�้ ตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือด ความดันโลหิต และ ด้านเบาหวานโดยมุ่งเน้นการป้องกันภาวะแทรกซ้อน ระยะเวลาในการจัดกระท�ำ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยเบา เนื่องจากจะสามารถลดต้นทุนขององค์การในระยะยาว หวานมีประสิทธิภาพมากที่สุด ได้ (Arts et al., 2012) 2. ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มี 2.3 ผลลัพธ์ด้านการรับรู้ แสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่ พยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ที่พบในการ ดีต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการบริการของพยาบาล ทบทวนอย่างเป็นระบบในครั้งนี้ สามารถวัดผลลัพธ์หรือ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเบาหวาน ประกอบด้วย ประสิทธิผลของการบริการได้เป็น 3 ด้าน ได้แก่ ผลลัพธ์ รายงานการวิจัยที่ใช้การวางแผนจ�ำหน่าย จ�ำนวน 1 ด้านคลินิก ผลลัพธ์ด้านการเงิน และผลลัพธ์ด้านการรับรู้ เรื่อง และรายงานการวิจัยที่ใช้การบริการที่แผนกผู้ป่วย ดังนี้ นอก 1 เรื่อง ส่วนรายงานการวิจัยที่ใช้การบริการที่แผนก 2.1 ผลลัพธ์ด้านคลินิก แสดงให้เห็นถึง ผลลัพธ์ที่ ผู้ป่วยนอก 1 เรื่อง ผลการศึกษาพบว่าความพึงพอใจของ ดีต่อการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด ระดับน�้ำตาล ผู้ป่วยต่อการให้การบริการของพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ สะสมที่เกาะติดเม็ดเลือดแดง ความดันโลหิต และไขมัน เฉพาะทางด้านเบาหวานและการดูแลจากอายุรแพทย์มี ในเลือด ประกอบด้วยรายงานการวิจัยที่ใช้วิธีการจัดการ ผลลัพธ์ที่เท่ากัน รายกรณี 1 เรื่อง การจัดโปรแกรมการให้ความรู้และการ จากการสรุปเนื้อหาของรายงานการวิจัยจะเห็นได้ ติดตามทางโทรศัพท์ จ�ำนวน 3 เรื่อง การวางแผน ว่าประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็น จ�ำหน่าย จ�ำนวน 2 เรื่อง และการบริการที่แผนกผู้ป่วย ผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานมีผลการศึกษาเป็นไปในทาง นอก จ�ำนวน 3 เรื่อง ซึ่งรายงานการวิจัยส่วนใหญ่ให้ เดียวกันคือ เกิดผลลัพธ์ที่ดีทั้งผลลัพธ์ด้านคลินิก ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ที่ดีต่อการควบคุมระดับน�้ำตาลสะสมที่เกาะติด ด้านการเงิน และผลลัพธ์ด้านการรับรู้ แต่อย่างไรก็ตาม เม็ดเลือดแดง แต่มีรายงานการวิจัยที่ใช้วิธีการจัดการ ในรายงานการวิจัยส่วนใหญ่ผู้วิจัยจะมุ่งเน้นและให้ความ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 383 ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

ส �ำคัญต่อผลลัพธ์ด้านคลินิกมากกว่าผลลัพธ์ด้านการเงิน โดยพยาบาลว่า“การบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็น และด้านการรับรู้ ผู้น�ำ” และ “nurse led clinic” จากการสืบค้นพบว่ารายงานการวิจัยที่น�ำมาทบท การอภิปรายผล วนส่วนใหญ่มีระเบียบวิธีวิจัยเป็นการศึกษาเชิงทดลองที่ ลักษณะทั่วไปของรายงานการวิจัยที่ได้รับคัดเลือก ออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับ มาทบทวนอย่างเป็นระบบในครั้งนี้ เป็นรายงานการวิจัย การทดลองจ�ำนวน 9 เรื่อง เป็นรายงานการวิจัยแบบกึ่ง ที่ท�ำในต่างประเทศและตีพิมพ์เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษ ทดลอง จ�ำนวน 2 เรื่อง ทุกรายงานการวิจัยใช้กลุ่ม ทั้งหมด จ�ำนวน 11 เรื่อง ซึ่งไม่พบรายงานการวิจัยที่ ตัวอย่างขนาดใหญ่ (มากกว่า 30) เครื่องมือที่ใช้ใน ศึกษาในประเทศไทย แม้ว่าผู้วิจัยได้ท�ำการสืบค้นข้อมูล รายงานการวิจัยทุกเรื่องมีการทดสอบคุณภาพของเครื่อง ครอบคลุมตามค�ำส�ำคัญ และฐานข้อมูลที่ก�ำหนดไว้แล้ว มือ และได้รับการยอมรับทั้งในด้านความเที่ยงตรง ความ ก็ตาม ซึ่งการสืบค้นข้อมูลในครั้งนี้ผู้วิจัยใช้คณะพยาบาล เชื่อมั่น และการด�ำเนินการวิจัยถูกต้องตามระเบียบวิธี ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางในการ วิจัย การใช้สถิติในรายงานการวิจัยเหล่านั้นส่วนใหญ่ใช้ สืบค้นข้อมูล การสืบค้นจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สถิติพรรณนาเปรียบเทียบ และผลการวิจัยพบความแตก อาจไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทั้งหมด เนื่องจากมีข้อ ต่างของผลลัพธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ซึ่งถือว่างาน จ�ำกัดในการสืบค้น กล่าวคือ การสืบค้นจากฐานข้อมูล วิจัยที่ทบทวนทั้งหมดมีคุณภาพในเชิงระเบียบวิธีวิจัย ต่าง ๆ นั้นได้มีการด�ำเนินการอย่างเป็นระบบ แต่ไม่ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทั้งหมด เนื่องจากบางฐานข้อมูล ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ให้รายงานการวิจัยในรูปแบบบทคัดย่อเท่านั้น และไม่ พยาบาลวิชาชีพหรือผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สามารถติดต่อผู้วิจัยได้ ส่วนการสืบค้นรายงานการวิจัย สามารถน�ำวิธีการของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาล ในต่างประเทศนั้น จะสืบค้นเฉพาะรายงานการวิจัยที่ได้ เป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานทั้ง 4 วิธี ที่ประกอบด้วย รับการตีพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น อาจท�ำให้มี การจัดการรายกรณี การจัดโปรแกรม การวางแผน รายงานการวิจัยอีกจ�ำนวนหนึ่งที่ไม่ได้รับการตีพิมพ์เผย จ�ำหน่าย และการบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก ไปใช้ในการ แพร่เป็นภาษาอังกฤษ หรือไม่ได้ถูกบรรจุในฐานข้อมูลที่ ให้บริการส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี ผู้วิจัยท�ำการสืบค้น จึงไม่ได้รับการพิจารณาเข้าสู่การ ด้านคลินิก ด้านการเงิน และด้านการรับรู้ ทบทวน ซึ่งปัจจัยด้านงานวิจัยดังกล่าวท�ำให้มีผลต่อการ สรุปองค์ความรู้ ส่วนข้อจ�ำกัดในด้านภาษาที่ใช้นั้น ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป เนื่องจากการทบทวนครั้งนี้ได้ก�ำหนดเกณฑ์ในการคัด ควรมีการท�ำวิจัยซ�้ำเกี่ยวกับประสิทธิผลของการ เลือกรายงานการวิจัยที่มีรายงานเป็นภาษาไทยและ บริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำส�ำหรับผู้ป่วยเบา ภาษาอังกฤษเท่านั้น อาจท�ำให้การเข้าถึงข้อมูลไม่ หวาน โดยใช้รูปแบบงานวิจัยเชิงทดลองที่ออกแบบโดย ครอบคลุมรายงานการวิจัยที่มีรายงานเป็นภาษาอื่นได้ มีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลอง ทั้งหมด ส่วนการก�ำหนดค�ำส�ำคัญที่เกี่ยวกับการจัด และงานวิจัยแบบกึ่งทดลอง เพื่อน�ำมาใช้เป็นหลักฐาน กระท�ำโดยการใช้ค�ำว่า “การบริการทางคลินิกที่มี เชิงประจักษ์ที่น่าเชื่อถือ และเพียงพอในการน�ำข้อมูลมา พยาบาลเป็นผู้น�ำ” และ “nurse led clinic” นั้นอาจ วิเคราะห์เมต้า ท�ำให้รายงานการวิจัยที่เป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย บางส่วนไม่ได้รับการพิจารณาเข้าสู่การทบทวน เนื่องจาก ในบริบทของบางประเทศไม่ได้เรียกคลินิกที่ด�ำเนินการ

384 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review

เอกสารอ้างอิง Arts, E. E. A., Landewe-Cleuren, S. A. N. T., Schaper, N. C., & Vrijhoef, H. J. M. (2012). The cost-effectiveness of substituting physicians with diabetes nurse specialists: A randomized controlled trial with 2-year follow-up. Journal of Advanced Nursing, 68(6). 1224-1234. doi: 10.1111/j.1365-2648.2011.05797.x American Diabetes Association. (2014). Statistic about Diabetes. The national diabetes statistic. Retrieved from http://www.diabetes.org/diabetes-basics/statistics/ American Diabetes Association. (2015). Standard of Medical care of Diabetes-2015. Diabetes Care, 38(Suppl.1). Retrieved from http://care.diabetesjournals.org/content/ suppl/2014/12/23/38.Supplement_1.DC1/January_Supplement_Combined_Final.6-99.pdf Bureau of Non Communicable Diseases Department of Disease Control. (2010). Prediction of Type 2 Diabetes Population in Thailand 2011-2020. Retrieved from www.thaincd.com Bureau of Nursing Department of Medicine Ministry of Public Health. (2008). Development of nursing service quality for cost effectiveness. Bangkok: Bureau of Nursing Department of Medicine. Bodenheimer, T., McGregor, K., & Stothart, N. (2005). Nurses as leaders in chronic care. British Medical Journal, 330(7492), 612-613. Doi:10.1136/bmj.330.7492 Chan, M. F., Yee, A. S. W., Leung, E. L. Y., & Day, M. C. (2006). The effectiveness of a diabetes nurse clinic in treating older patients with type 2 diabetes for their glycemic control. Journal of Clinical Nursing, 15(6), 770-781. Carey, N., & Courtenay, M. (2007). A review of the activity and effects of nurse-led care in diabetes. Journal of Nursing and Healthcare of Chronic Illness in association with Journal of Clinical Nursing, 16(11c). 296-304. doi: 10.1111/j.1365-2702.2007.01969.x Chaikledkeaw, U., Pongchareonsuk, P., Chaiyakunapruk, N., & Ongphiphadhanakul, B. (2008). Factor affecting health-care cost and hospitalization among diabetic patients in Thai public hospital. Value in Health, 11(Suppl. 1), s69-s74. doi:10.1111/j.1524-4733.2008.00369.x Danver, E. A., Barnard, M., Woolfson, R. G., & Earle, K. A. (2003). Management of uncontrolled hypertension in a nurse-led clinic compared with conventional care for patient with type 2 diabetes. Diabetic Care, 26(8), 2256-2260. Doi:10.2337/diacare.26.8.2256 Davies, M., Dixon, S., Currient, C. J., Davis, R. E., & Peters, J. R. (2001). Evaluation of a hospital diabetes specialist nursing service: a randomized controlled trial. Diabetic Medicine, 18(4), 301-307. Devlin, K. (2009). Millions with chronic illnesses should be checked for signs of depression. Retrieved from http://www.telegraph.co.th/healthnews/6447105 Milions-with-chronic- illness-should-be-chacked-for-signs-of-depression.html

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 385 ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้น�ำ ส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ

Diabetes Association of Thailand, The Endocrine Society of Thailand, & National Health Security office. (2014).Clinical Practice Guideline for Diabetes 2014. Bangkok: Aroonkarnpim Ltd. Edelman, D., Dolor, R. J., Coffman, C. J., Periera, K. H., Granger, B., Lindquist, J. H.,…Boswort, H. B. (2015). Nurse-led behavioral management of diabetes and hypertension in community practices: A randomized trial. Journal of General International Medicine, 30(5), 626-633. Harris, M.D. (1991). Clinical and financial outcomes in patient care in home healthcare agency. Journal of Nursing Quality Assurance, 5(2), 41-49. Hatchett, R. (2003). Nurse-led clinics: Practice Issues. London: Routledge. Hegyvary, S.T. (1991). Issues in outcomes research. Journal of Nursing Quality Assurance, 5(2), 1-6. Houweling, S. T., Kleefstra, N., Hateren, K. J. J., Kooy, A., Groenier, K. H., Verger, E., …Bilo, H. J. G. (2009). Diabetes specialist nurse as main care provider for patients with type 2 diabetes. The Natherlands Journal of Medicine. 67(7), 279-284. International Diabetes Federation. (2009). Diabetic atlas (4th ed.). Retrieved from www.diabetisatlas.org International Diabetes Federation. (2014). World diabetes day 2014. Retrieved from http://www.idf.org/worlddiabetesday/current-campaign Jennings, B.M., Staggers, N., & Brosch, L. R. (1999). A classification scheme for outcome indicators. Image Journal of Nursing Scholarship, 31(4), 381-388. doi:10.1111/j.1547-5069.1999.tb00524.x Joanna Briggs Institute. (2010). Nurse-led clinics to reduce modifiable cardiac risk factors in adults. Best Practice: Evidence-based information sheets for health professional, 14(2), 1-4. Joanna Briggs Institute. (2014a). Joanna Briggs Institute reviewers’ manual 2014 edition. Retrieved from http://www.joannabriggs.org /assets/docs/sumari/ReviewersManual-2014.pdf Kim, H. –S., & Oh, J. –A. (2003). Adherence to diabetes control recommendations: Impact of nurse telephone calls. Journal of Advanced Nursing, 44(3), 256-261. doi:10.1046/j.1365-2648.2003.02800.x Nantsupawat, R. (2015). Nursing Outcomes to Standard and International competition. Retrieved from http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nis/nurse_day/file/2012_10_17/std_outcome.pdf New, J. P., Mason, J. M., Freemantle, N., Teasdale, S., Wong, L. M., Bruce, N. J., & Gibson, J. M. (2003). Specialist nurse-led intervention to treat and control hypertension and hyperlipidemia in diabetes (SPLINT). Diabetes Care, 26, 2250-2255. Piette, J. D., Weinberger, M., Kraemer, F. B., & McPhee, S. J. (2001). Impact of automated calls with nurse follow-up on diabetes treatment outcomes in a department of veterans affairs health care system. Diabetes Care, 24(2), 202-208. Vrijhoef, H. J. M., Diederiks, J. P. M., Spreeuwenberg, C., & Wolffenbuttel, B. H. R. (2001) Substitution model with central role for nurse specialist is justified in the care for stable type 2 diabetic outpatient. Journal of Advanced Nursing, 36(4), 546-555.

386 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Effectiveness of Nurse-led Clinic for Diabetes Mellitus Patients: A Systematic Review

Wong, F. K. Y., & Chung, L. C. Y. (2006). Establishing a definition for a nurse-led clinic: structure, process, and outcome. Journal of Advanced Nursing, 53(3), 358-369. Wong, F. K. Y., Mok, M. P. H., Chan, T., & Tsang, M. W. (2005). Nurse follow-up of patients with diabetes: Randomized controlled trial. Journal of Advanced Nursing, 50(4), 391-402. World Health Organization. (2014). 10 facts on diabetes. Retrieved from http://www.who.int/ features/factfiles/diabetes/en/

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 387 Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers การปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะแห่งตนของมารดา ชาวบังคลาเทศ

บิวตี้ อาคเคอร์ * Beauty Akther * พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น ** Pimpaporn Klunklin ** มาลี เอื้ออ�ำนวย ** Malee Urharmnuay **

บทคัดย่อ การดูแลทารกแรกเกิดของมารดาเป็นการปฏิบัติที่ส�ำคัญในการดูแลสุขภาพทารก ป้องกันการเจ็บป่วยและ ลดอัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด การศึกษาเชิงพรรณาแบบหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับ ของการปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะแห่งตนในการดูแลทารกแรกเกิดในมารดาชาวบังคลาเทศ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 105 คน เป็นมารดาที่ให้การดูแลทารกแรกเกิดที่บ้านและน�ำทารกมารับบริการวัคซีนที่ศูนย์ การให้ภูมิคุ้มกันในโรงพยาบาลวิทยาลัยแพทย์โคมิลา เมื่อทารกอายุ 6-8 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน พฤษภาคมถึงมิถุนายน 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามการปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิด ของมารดาและสมรรถนะแห่งตนในการดูแลทารกแรกเกิดของมารดาซึ่งแปลเป็นภาษาบังคลาเทศโดยผู้วิจัย ผ่านการ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา และได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .87 และ .81 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ พรรณนาและสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิด อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 88.57 โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 83.20 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 6.55 และ ร้อยละ 68.57 มีคะแนนสมรรถนะ แห่งตนในการดูแลทารกแรกเกิดอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 57.15 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 5.88 สมรรถนะแห่งตนในการดูแลทารกแรกเกิดของมารดามีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ กับการปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดของมารดา (r =.55, p < 0.000) ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานให้พยาบาลน�ำไปใช้ส่งเสริมการปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะ แห่งตนในการดูแลทารกแรกเกิดของมารดาชาวบังคลาเทศต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: แนวทางปฏิบัติในการดูแลทารกแรกเกิด, สมรรถนะแห่งตน, แม่

Abstract The newborn care practice of mothers is a crucial issue for a newborn’s health status in order to reduce newborn morbidity and mortality. This descriptive correlational study aimed to examine the level of newborn care practices and self-efficacy, and the relationship between newborn care practices and self-efficacy among Bangladeshi mothers. The subjects were 105 mothers who * Staff Nurse, Comilla Medical College Hospital, Bangladesh * พยาบาล, โรงพยาบาลวิทยาลัยแพทย์โคมิลา, บังกลาเทศ ** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand ** รองศาสตราจารย์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 388 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers provided newborn care at home and took their baby to receive vaccinations at an immunization center in Comilla Medical College Hospital when their baby was 6-8 weeks old. Data collection was carried out from May to June, 2015. The research instruments included the Newborn Care Practices of Mothers (NCPM) questionnaire and the Perceived Maternal Parenting Self-Efficacy (PMP S-E) tool, which were translated into Bangla by the researcher and were confirmed for validity by the experts. Their reliability coefficient was .87 and .81 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics and Spearman correlation coefficient. The findings revealed that: all of sample showed newborn care practices at a moderate level (88.57%) with a mean score of 83.20 (SD = 6.55). Self-efficacy on newborn care score was at a moderate level (68.57%) with a mean score of 57.15 (SD = 5.88). Self-efficacy on newborn care had a statistically significant positive relationship with newborn care practices (r = .55, p <0.000). The results of this study can be used by nurses in order to promote newborn care practices and self-efficacy regarding newborn care among Bangladeshi mothers.

Keywords: newborn care practices, self-efficacy, mother.

Background and Significance initiation of breastfeeding, started prelacteal The first four weeks of life of an infant are feeding, and using oil massage, affect newborn’s considered the neonatal period. Appropriate health (Hoque, Khan, Begum, Chowdhury, & newborn care is unique important for healthy Person, 2011). To reduce neonatal mortality life and development of a newborn, especially rate, and achieve Millennium Development for saving newborn life. Globally, about 4.5 Goals 4 (MDG4) for reduce child mortality, million or 75% of all under five deaths occurred Bangladesh government had taken various within the first year of life (World Health Orga- strategies since 1990. The strategies which nization [WHO], 2015). Most of the newborns contribute in neonatal care included antenatal died occurred in developing countries where care coverage, intrapartum care, postnatal care, delivery conducted at home and by unskilled and newborn care. In these aspects, women health workers (WHO, 2012). In Bangladesh, counsel about essential newborn care, postnatal neonatal mortality rate was reported 27/1,000 care, and early initiation of breast feeding. live births (The World Bank, 2016). Newborn Prepare trained skill birth attendants to ensure care in Bangladesh is fully dependent on new- skill hand delivery (Chowdhury, Banu, Chowdhury, born family especially on mother, and other Rubayet, & Khatoon, 2011). female relatives (Darmstadt, Syed, Patel, & Kabir, Newborn care practices contribute to reduce 2006). However their harmful practices of moth- neonatal morbidity and mortality. This care ers/relatives on newborn care such as improp- include five essential aspects as follows: 1) erly wrapped immediately after birth, delayed Keeping the newborn warm, 2) Breastfeeding,

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 389 การปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะแห่งตนของมารดา ชาวบังคลาเทศ

3) Caring of the newborn hygiene, 4) Taking the reading behaviors, and (4) situational beliefs. newborn to get immunization and 5) caring The study by Shorey, Chan, Chong, & He (2015) during illness (Hoque et al., 2011). The study in found that mothers perceived moderate level Bangladesh showed that all home delivery of self-efficacy. Moreover, self-efficacy of mothers places were not heated and 56% of newborns has been shown as a direct effect on the quality wrapped within 10 minutes after birth. Regarding of newborn care. High self-efficacy of mother is breastfeeding, 52% of mothers who had home related to their sensitivity, warmth (Teti & Gelfand, deliveries took initiation of breast feeding within 1991) and responsiveness of the mothers (Stifter one hour of birth. In the aspect of caring of the & Bono 1998). In addition, self-efficacy was newborn hygiene there is limited information found significant positive related with parenting about Bangladeshi mothers. In term of caring practice (r = .62, p <0.01) on infant and toddler during illness, Bangladeshi mothers have poor care (Chaisom, Yenbut, Chontawan, Soivong, & ability to identification of newborn signs of Patumanond, 2010). sickness and provided inappropriate care for Health care system in Bangladesh is mainly sick newborn (Hoque et al., 2011). Concerning curative. Preventive aspect is not yet fully es- immunization, about 91% of Bangladeshi tablished; as a result some inappropriate mothers completed newborns recommended newborn care practices were observed. There vaccination (Government of the People’s Republic is not clear evidence on self-efficacy and of Bangladesh, 2014). newborn care practices of Bangladesh mothers. Mother’s newborn care practices were Therefore, it is needed to explore self-efficacy influenced by their self-efficacy (Marsh et al., and newborn care practices among the mothers. 2002). Self-efficacy is an individual’s idea about Information from the study may provide better his or her ability to complete a particular task understanding and contribute to nursing (Bandura, 1997). In context of newborn care, practice in order to improve newborn care self-efficacy of mothers is the important factors practices of the mothers. to pursue newborn care practices of mothers. Some mothers may feel capable to perform Objectives of the study complex of maternal tasks, others may have The study aimed to examine the level of weak expectations of their ability on newborn newborn care practices and self-efficacy, and care (Barnes & Andamson-Macedo, 2007). Thus, the relationship between newborn care practices self-efficacy is one of direct predictors of specific and self-efficacy on newborn care among positive parenting practices (Coleman & Karraker, Bangladesh mothers. 1998), including maternal newborn care. Barnes and Adamson-Macedo (2007) stated Conceptual framework four aspects of maternal self-efficacy: (1) care The conceptual framework of this study is taking procedures (2) evoking behaviors (3) based on literature review regarding newborn

390 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers care practices and self-efficacy among Bangladesh Research instrument mothers. Newborn care practices of mothers The research instruments of this study are consisted (1) keeping the newborn warm, included: (2) breastfeeding, (3) caring of the newborn 1) The Demographic Data Profile was used hygiene, (4) taking the newborn to get immuni- to collect mother’s personal information. zation, and (5) caring during illness (Hoque, et 2) Newborn Care Practices of Mothers al., 2011). Self-efficacy is an estimation of the (NCPM) questionnaire contains 30 items in the degree to which mothers perceive themselves following five domains: (1) keeping the newborn as capable of performing the varied tasks warm, (2) breastfeeding, (3) caring of the newborn associated with newborn care includes (1) care hygiene, (4) taking the newborn to get immuni- taking procedures, (2) evoking behaviors, (3) zation and (5) caring during illness. Each item reading behaviors, and (4) situational beliefs has scored 4-point Likert scale from (1) Never (Barnes & Adamson-Macedo, 2007). Newborn practice to (4) Always practice. care practices and self-efficacy among mothers 3) The Perceived Maternal Parenting are interrelated and influence each other. Self-Efficacy (PMP S-E) questionnaire consists of 4 domains with 20 items: (1) care taking Methodology procedures, (2) evoking behaviors, (3) reading This study is descriptive correlational re- behaviors, and (4) situational beliefs. Each item search. has 4-point Likert scale from (1) Strongly Population and sample disagree to (4) Strongly agree. The population was postpartum mothers Validity and Reliability of the instruments who provide care for their newborn at home or The NCPM and PMP S-E questionnaires hospital. Sample was 88. It was estimated by were assessed by 5 experts with validity index power analysis used significance level (α) of (CVI) .86 and .85. The internal consistency .05, medium effect size .30, and power of .80. reliability of both NCPM and PMP S-E were (Polit & Beck, 2008). In consideration of the tested with 10 mothers whose were excluded possible loss of subjects, deliberate additional from the study sample and Cronbach’s alpha (20%) sample was added (Burns & Grove, 2005). were reported at .87 and .81 respectively. Therefore, sample size was 105 postpartum Translation of the instruments mothers. The original of Demographic Data Profile, Purposive sampling was used to recruit the NCPM, and PMP S-E questionnaires were sample with inclusion criteria including; mothers translated from English to Bangla and back of newborn infant, able to read-write and translated from Bangla to English by 3 experts communicate in Bangla language, normal of English-Bangla language. cognitive perception and none of serious Data Collection Procedure disease(s). Data collection was conducted after

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 391 การปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะแห่งตนของมารดา ชาวบังคลาเทศ

receiving approval from the Research Ethics between newborn care practices and self- Review Committee of the Faculty of Nursing, efficacy on newborn care among Bangladeshi Chiang Mai University, and the Director and mothers. Nursing Superintendent at Camilla Medical Ethical considerations College Hospital, Bangladesh. The procedures The study protocol was approved by the for data collection were as follows: Research Ethics Committee of the Faculty of The researcher contacted the nurse direc- Nursing, Chiang Mai University, Thailand. tor of the hospital, the head nurse of the Results well-baby clinic for introducing herself, and The study sample consisted of mothers explained the purpose of the study and the whose age ranged from 20-34 years with the data collection procedure. The researcher mean age of 27.26 years. The largest groups of recruited mothers of newborn from the list of the mothers were primiparas (52.39%). Most of appointments. After taking consent the instru- the mothers were Islam (84.76%). About 63.81% ments were given to the mothers. The researcher of the mothers hold primary education. The explained to the mothers how to answer the majority of the mothers were housewives questionnaires and return as well as provided (86.67%). More than half of the mothers all necessary information related to data collection. (63.81%) attended antenatal clinic 2 times Each questionnaires was checked for completion. during the pregnancy, and almost all of the Data collection was carried out during May to mothers (90.48%) gave birth by normal vaginal June, 2015. delivery. About 57.14% of the mothers delivered Data analysis at home. Around 47.61% of the mother’s delivery Data were analyzed by using a statistical was conducted by untrained birth attendants. software package (SPSS). Descriptive statistic Almost half of the mothers did not learn about was used to analyze demographic data profile. newborn care practices before delivery (49.52%). Spearman’s rank order correlation coefficient Sources of information on newborn care were analysis was used to examine the relationship from nurse (24.77%) and doctors (17.14%).

Table 1 Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation and Level of Overall Newborn Care Practices of Mothers (n= 105) Practices level Score Frequency (n) Percentage (%) Low 30-60 - - Moderate 61-90 93 88.57 High 91-120 12 11.43

392 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers

Table 1 showed that most of the mothers (82.86%) of mothers did not wash their hands 88.57% rated moderate level of newborn care before handling their baby and feeding their practices. Concerning newborn care practices, baby respectively. On the aspect of immunization, the aspect of breastfeeding, it was found that 80 – 87% of the mothers always brought their 68.58% of mothers never burped newborns baby to receive vaccinations according to the during and after breastfeeding. Mothers vaccine schedule. In caring during illness, the sometimes fed supplementary food (67.62%). mother sometime sponged her baby with warm Concerning caring for the newborn’s hygiene, it water when she or he got fever (75.24%) as was found that the majority (83.81%) and shown in Table 2.

Table 2. Frequency and Percentage of Newborn Care Practices of Mother (n=105) Never Sometimes Often Always Items practice practice practice practice Keeping the newborn warm 1. The mother had her baby wrapped in dry clean 0 (0) 14 (13.33) 23 (21.90) 68 (64.77) clothes immediately after birth 2. The mother performed skin to skin contact to 1 (0.95) 76 (72.39) 27 (25.71) 1 (0.95) her baby immediately after birth 3. The mother delayed the initial bathing of her 0 (0) 11 (10.48) 83 (79.04) 11 (10.48) baby at least 6 hours after birth 4. The mother changed the diaper for her baby 0 (0) 38 (36.19) 63 (60.00) 4 (3.81) immediately after urination or defecation 5. The mother recognized her baby’s body 1 (0.95) 75 (71.43) 28 (26.67) 1 (0.95) temperature by touching the feet and body of her baby Breastfeeding 1. The mother breastfed her baby initially within 0 (0) 9 (8.58) 54 (51.42) 42 (40.00) 1 hour after birth 2. The mother breastfed her baby according to 0 (0) 13 (12.38) 62 (59.04) 30 (28.58) the baby’s demand 3. The mother fed her baby with colostrum 0 (0) 3 (2.85) 64 (60.95) 38 (36.20) 4. The mother burped her baby during and after 72 (68.58) 13 (12.38) 17 (16.19) 3 (2.85) breastfeeding 5. The mother recognized the hunger and satiation 4 (3.81) 67 (63.81) 33 (31.43) 1 (0.95) cues of her baby

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 393 การปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะแห่งตนของมารดา ชาวบังคลาเทศ

Never Sometimes Often Always Items practice practice practice practice 6. The mother had provided only breast milk to 0 (0) 8 (7.62) 87 (82.86) 10 (9.52) her baby since birth 7. The mother fed her baby formula milk 101 (96.20) 3 (2.85) 1 (0.95) 0 (0) 8. The mother fed supplementary food such as 11 (10.48) 71 (67.62) 23 (21.90) 0 (0) honey or sugar water to her baby 9. The mother fed supplementary food such as 103 (98.10) 2 (1.90) 0 (0) 0 (0) cooked rice powder, ripe mashed banana or fruits to her baby Caring of the newborn’s hygiene 1. The mother washed her hands before handling 88 (83.81) 12 (11.43) 5 (4.76) 0 (0) her baby 2. The mother washed her hands before feeding 87 (82.86) 12 (11.43) 6 (5.71) 0 (0) her baby 3. The mother bathed her baby once a day 8 (7.62) 25 (23.81) 71 (67.62) 1 (0.95) 4. The mother cleaned the baby’s umbilical 0(0) 69 (65.72) 35 (33.33) 1 (0.95) stump with an antiseptic solution cotton ball at least once a day 5. The mother assessed the umbilical stump for 0 (0) 63 (60.00) 42 (40.00) 0 (0) any bleeding or discharge when she changed the diaper 6. The mother kept her baby’s umbilical stump 0 (0) 51 (48.58) 51 (48.58) 3 (2.86) clean and dry without applying any substances Immunization 1. The mother brought her baby to receive 0 (0) 0 (0) 18 (17.14) 87 (82.86) vaccination to prevent tuberculosis 2. The mother brought her baby to receive 0 (0) 0 (0) 25 (23.81) 80 (76.19) vaccination to prevent diphtheria, pertussis, tetanus, hepatitis-B, and Haemophilus influenzae-type B diseases 3. The mother brought her baby to receive 0 (0) 0 (0) 28 (26.67) 77 (73.33) vaccination to prevent pneumococcal pneumonia disease

394 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers

Never Sometimes Often Always Items practice practice practice practice 4. The mother brought her baby to receive 0(0) 0(0) 22 (20.95) 83 (79.05) vaccination to prevent poliomyelitis 5. The mother kept the BCG injected area clean 0 (0) 0 (0) 23 (21.90) 82 (78.10) and dry Caring during illness 1. The mother recognized when her baby got fever 0 (0) 49 (46.67) 52 (49.52) 4 (3.81) 2. The mother sponged her baby with warm water 0 (0) 79 (75.24) 24 (22.86) 2 (1.90) when she or he got fever 3. The mother turned her baby’s face on the 0 (0) 63 (60.00) 40 (38.10) 2 (1.90) lateral side when she or he was vomiting to prevent aspiration 4. The mother recognized when her baby had 0 (0) 16 (15.23) 78 (74.29) 11 (10.48) diarrhea 5. The mother breastfed her baby more often 0 (0) 3 (2.86) 65 (61.90) 37 (35.24) when she or he had jaundice

Table 3 Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, and level of Overall Self-Efficacy on Newborn Care of Mothers (n= 105) Self-efficacy level Score Frequency (n) Percentage (%) Low 20 - 40 - - Moderate 41 - 60 72 68.57 High 61 - 80 33 31.43

Table 3 showed that majority of the mothers they were good at getting the newborn’s (68.57%) rated moderate level of self-efficacy attention, 52.38 % disagreed that they could on newborn care. There were 35.24% of the read newborns cues, and 45.72% disagreed that mothers disagreed that they were good at they could tell when the baby sick (Table 4). feeding the newborn, 33.33% disagreed that

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 395 การปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะแห่งตนของมารดา ชาวบังคลาเทศ

Table 4 Frequency and Percentage of Self-Efficacy on Newborn Care of Mother (n=105) Strongly Strongly Items Disagree Agree disagree agree Care taking procedures The mother believe that: 1. I am good at keeping my baby occupied 0 (0) 19 (18.09) 65 (61.91) 21 (20.00) 2. I am good at feeding my baby 1 (0.95) 37 (35.24) 56 (53.33) 11 (10.48) 3. I am good at changing my baby 0 (0) 15 (14.29) 81 (77.14) 9 (8.57) 4. I am good at bathing my baby 0 (0) 32 (30.48) 60 (57.14) 13 (12.38) Evoking behavior (s) 1. I can make my baby happy 0 (0) 34 (32.38) 58 (55.24) 13 (12.38) 2. I can make my baby calm when he/she has 0 (0) 23 (21.90) 70 (66.67) 12 (11.43) been crying 3. I am good at soothing my baby when he/she 0 (0) 34 (32.38) 60 (57.14) 11 (10.48) becomes upset 4. I am good at soothing my baby when he/she 0 (0) 30 (28.58) 65 (61.90) 10 (9.52) becomes fussy 5. I am good at soothing my baby when he/she 0 (0) 20 (19.05) 68 (64.76) 17 (16.19) continually cries 6. I am good at soothing my baby when he/she 1 (0.95) 29 (27.61) 63 (60.00) 12 (11.43) becomes more restless 7. I am good at getting my baby’s attention 2 (1.90) 35 (33.33) 57 (54.28) 11 (10.48) Reading behavior (s) 1. I believe that I can tell when my baby is tired 0 (0) 15 (14.28) 60 (57.14) 30 (28.58) and needs to sleep 2. I believe that I have control over my baby 0 (0.0) 32 (30.48) 71 (67.61) 2 (1.90) 3. I can tell when my baby is sick 1 (0.95) 48 (45.72) 48 (45.72) 8 (7.61) 4. I can read my baby’s cues 4 (3.81) 55 (52.38) 42 (40.00) 4 (3.81) 5. I am good at understanding what my baby wants 2 (1.90) 28 (26.67) 69 (65.72) 6 (5.71) 6. I am good at knowing what activities my baby 0 (0.0) 13 (12.38) 70 (66.67) 22 (20.95) does not enjoy

396 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers

Strongly Strongly Items Disagree Agree disagree agree Situational beliefs 1. I believe that my baby responds well to me 0 (0) 24 (22.86) 55 (52.38) 26 (24.76) 2. I believe that my baby and I have a good 0 (0) 12 (11.43) 70 (66.67) 23 (21.90) interaction with each other 3. I can show affection to my baby 0 (0) 17 (16.19) 74 (70.48) 14 (13.33)

Table 5 showed that self-efficacy on newborn care had a statistically significant positive correlation (r = .55, p< 0.000) with newborn care practices. Newborn care practices r- value p- value Self-efficacy on newborn care .55** .000 **p < 0.000

Discussion education means that they have lack of knowl- This study found 88.57% of mothers rated edge regarding hand washing. their newborn care practices at a moderate On the aspect of self-efficacy of mothers level. The study by Jiji, Wankhede and Benjamin this study found that the mothers (68.57%) (2014) also found 43% of mothers reported perceived moderate level of self-efficacy on newborn care practice at moderate level. The newborn care. This result is similar to the study possible reasons are to achieve MDG 4, conducted by Hashmi, Nawi, Seok and Halik Bangladesh government given special attention (2014). They found that mothers perceived on maternal and child health through various self-efficacy at moderate to higher levels. The activities such as antenatal care coverage, possible explanation of mothers’ moderate intrapartum care by skilled hand delivery, level of self-efficacy was due to their maturity, postnatal care, and newborn care (Chowdhury antenatal visits, parity, and hospital delivery. et al, 2011), as well as providing information for On the other hand, their low socio-economic mothers how to care the newborn. The present condition, primiparity, home delivery may study found that majority (83.81%) and (82.86%) negatively contribute in their self-efficacy. The of mothers were practices inappropriate present study found that 45.72% and 52.38% newborn care that means mothers did not wash of mothers were disagree in terms of being able their hands before handling their baby and to tell when their baby is sick and read their feeding their baby. The possible reason that baby’s cues. The possible reason that there are there are 63.81% mothers were primary level 86.67% mothers were housewife means that

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 397 การปฏิบัติการดูแลทารกแรกเกิดและสมรรถนะแห่งตนของมารดา ชาวบังคลาเทศ

they had always busy with their household work. develop strategies to enhance newborn care Regarding relationship between mothers’ practices and self-efficacy on newborn care self-efficacy and newborn care practices this among Bangladeshi mothers. study showed that there was a positive correlation (r = .55, p< 0.000) between self- Implications of Research Findings efficacy and newborn care practices of mothers. The results of this study can contribute to This result was congruent with the study by enhance newborn care practices and self-efficacy Chaisom et al. (2010), found that mother’s on newborn care in mothers through providing self-efficacy on infant and toddler care was essential information regarding newborn care significant positive association with parenting practices. Policy maker can use these results to practice (r = .62, p < 0.01). Additionally, self- increase mother’s newborn care practices and efficacy induces the mothers to interpret self-efficacy using proper information by various newborn signals correctly and respond appro- mass media. priately (Coleman & Karraker, 1998). Recommendations Conclusion Further study should conduct in other This descriptive correlational study showed settings including hospital and community level that majority of mothers (88.57%) rated their both in rural and urban areas with large sample newborn care practices at moderate level, and size. Mother’s newborn care practices highest percentage of mothers (68.57) perceived questionnaire should develop considering the at moderate level of self-efficacy. Mothers’ cultural context of each country. In addition, self-efficacy was significant and positively (r = study should conduct to identify predicting .55, p <0.000) related to their newborn care factors of newborn care and self-efficacy. practices. Nurses can use this result in order to References Bandura, A. (1997). Self-Efficacy: The Exercise of Control. Freeman and Co, New York. Barnes, C. R., & Adamson-Macedo, E. (2007). Perceived Maternal Parenting Self Efficacy (PMP S-E) tool: development and validation with mothers of hospitalized preterm neonates. Journal of Advanced Nursing, 60, 550–560. Burns, N. & Grove, S.K. (2005). The practice of nursing research: Conduct, critique and utilization (5th Ed.). Missouri: Elsevier Saunders. Chaisom, P., Yenbut, J., Chontawan, R., Soivong, P.,& Patumanond, J. (2010). Predicting factors of dependent care behaviors among mothers of toddlers with congenital heart disease. Chiang Mai University. Journal of Nursing Science.9(2).193-200. Chowdhury, S., Banu, L. A., Chowdhury, T. A., Rubayet, S., & Khatoon, S. (2011). Achieving

398 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Newborn Care Practices and Self-Efficacy among Bangladeshi Mothers

Millennium Development Goals 4 and 5 in Bangladesh. Journal of Obstetrics and Gynecology, 118(2), 36-46. Coleman, P. K., & Karraker, K. H. (1998). Self-efficacy and parenting quality: Findings and future applications. Developmental Review, 18, 47-85. Darmstadt, G. L., Syed, U., Patel, Z., & Kabir, N. (2006). Review of domiciliary newborn-care practices in Bangladesh. Journal of Health Population and Nutrition, 24(4), 380-393. Government of the People’s Republic of Bangladesh. (2014). Health Bulletin. Management Information System, Directorate General of Health Services, Ministry of Health and Family Welfare, Dhaka. Hashmi, S. I., Nawi, N. H. M., Seok, C. B., & Halik, M. H. (2014). Am I a super mom, Malaysian working mothers believes about their parenting self-efficacy. In proceedings of the conference held in University Malaysia Sabah. Hoque, M. M., Khan, H, F,. M., Begum, J., Chowdhury, M., & Person, L. (2011). Newborn care practices by the mother / care givers’ and their knowledge about signs of sickness of neonates. Bangladesh Journal of Child Health, 35, 90-96. Jiji, D., Wankhede, R.S., & Benjamin, B.A. (2014). A descriptive study on newborn care among postpartum mothers inselected maternity centersin Madurai, Tamilnadu. International Journal of Allied Medical Sciences and Clinical Research, (2), 119-124. Marsh, D. R, Darmstadt, G. L, Moore, J., Daly, P., Oot, D., & Tinker, A. (2002). Advancing newborn health and survival in developing countries: A conceptual framework. Journal of Perinatology, 22, 572–576. Polit, D.F. & Beck, C.T. (2008). Nursing research: Generating and assessing evidence for nursing practice (8th Ed.). Philadelphia: Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins. Shorey, S., Chan, S. W., Chong, Y. S., & He, H. (2015). Predictors of maternal parental self-efficacy among primiparas in the early postnatal period. Western Journal of Nursing Research, 37(12), 1604–1622. Stifter, C.A., & Bono, M.A. (1998). The effect of infant colic on maternal self- perceptions and mother-infant attachment. Child: Care, Health and Development, 24(5), 339-351. Teti, D.M., & Gelfand, D.M. (1991). Behavioral competence among mothers of infants in the first year: The mediational role of maternal self-efficacy.Child Development, 62, 918-929. The World Bank. (2016). Mortality rate, neonatal (per 1,000 live births) - Bangladesh. Retrieved from https://data.worldbank.org/indicator/SH.DYN.NMRT?locations=BD World Health Organization [WHO].( 2015). Global health observatory(GHO) data. Retrieved from http://www. who.int/ gho/child.health/mortality/neonatal-infant text/en/ WHO. (2012). Newborns: reducing mortality. Retrieved from http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs333/en/

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 399 Political Eff icacyficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya สมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า

คาเลบ คิแทกวา อะโฮยา * Caleb Kitagwa Ahoya * กุลวดี อภิชาตบุตร ** Kulwadee Abhichartibuttra ** อรอนงค์ วิชัยค�ำ *** Orn-anong Wichaikhum ***

บทคัดย่อ พยาบาลเป็นบุคลากรทางด้านสุขภาพที่มีความรู้ความช�ำนาญจากประสบการณ์ตรงและความเชี่ยวชาญ ที่สามารถในการมีอิทธิพลต่อนโยบายสุขภาพ การศึกษาเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะ ทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพยาบาลในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า กลุ่มตัวอย่าง ที่ศึกษาเป็นพยาบาลจ�ำนวน 347 คนจากโรงพยาบาลตติยภูมิ 2 แห่ง คัดเลือกโดยใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดสมรรถนะทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมือง ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาคของทั้งแบบวัดสมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองเท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติพรรณนาวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่าพยาบาลมีสมรรถนะทางการเมืองและ การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สมรรถนะทางการเมืองมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับ ปานกลางกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส�ำหรับ ผู้บริหารการพยาบาลในการพัฒนากลยุทธ์เพื่อปรับปรุงสมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ พยาบาล

ค�ำส�ำคัญ: สมรรถนะทางการเมือง, การมีส่วนร่วมทางการเมือง, พยาบาล, โรงพยาบาลตติยภูมิ

Abstract Nurses are health professionals with firsthand knowledge and expertise to influence health policy. This correlational descriptive study aimed to determine political efficacy, political participation, and the relationship between political efficacy and political participation among nurses at the tertiary level hospitals, the Republic of Kenya. The sample consisted of 347 nurses from two tertiary

* Professional nurse, the Republic of Kenya * พยาบาล, สาธารณรัฐเคนย่า ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Lecturer, Faculty of Nursing, Chiang Mai University *** อาจารย์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 400 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya level hospitals, selected using the stratified random sampling method. Research instruments were the Political Efficacy (PE) Scale, and the Political Participation (PP) Scale. The Cronbach’s alpha coefficient of both the PE and PP Scales were 0.82. Data was analyzed using descriptive statistics and Spearman’s Rank Correlation Coefficient. The results revealed that the overall scores for PE and PP were at moderate levels. There was a statistically significant positive correlation between PP and PE. The study results can be used by nurse administrators to develop strategies to improve nurse’s political efficacy and political participation.

Key words: Political efficacy, Political Participation, Nurse, Tertiary Hospitals

Background and significance government officials, and 8) membership in an In any democratic system, nurses as citizens organization (Verba, Schlozman, & Braddy, 1995). have the right to express their views and attitudes According to Moran (2014), political participation towards almost everything happening in the activities are grouped into two main dimensions: public domain or concerning health care and voting and non-voting activities. Nurse’s the profession at large (Short, 2008). Furthermore, participation in the political process that impacts public policy reforms require nurses to have practice regulations is crucial if nurses are to the capacity to voice their health problems to guide their professional evolution and make policy makers as well as generate alternatives significant strides in directing the structure and to existing policies in healthcare (Croucher, operation of the health care system (Hewlett, 2014). Additionally, in times of rapid change and 2008). However, study findings in Canada by fundamental restructuring of the health care Avolio (2014), found that the majority of nurses system, nurses’ professional contribution at the agreed that health policy issues should be of policy table can be recognized if they participate concern to nurses and that it is their duty to be more in political activities (Herman, 2011). Political politically active. Despite these findings, nurses participation is therefore important for nurses were only moderately active. Furthermore, a at all levels of healthcare. study by Chan and Cheng (1999) revealed that Political participation refers to actions-formal Hong Kong nurses had low levels of political or informal, mainstream or unconventional, participation. These studies indicate the need collective or individual-that seek to influence for nurses to participate more in politics. (either directly or indirectly) on what the One of the factors that affect political government does. Political activities include 1) participation is political efficacy; the belief that voting, 2) protesting, 3) campaigning, 4) volun- an individual’s political action can influence the teering for a local government board, 5) con- political process (Campbell, Gurin, & Miller, tributing money to a candidate, 6) engaging in 1954). Political efficacy contains two separate community work, 7) initiating contact with components: (1) internal political efficacy (IPE),

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 401 สมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า

that refers to the individual’s belief about their (Ministry of Health, 2013). There are two national ability to understand and to make a difference referral hospitals in Kenya, which serve to in political matters, and (2) external political provide tertiary care to all Kenyans as well as efficacy (EPE), that refers to the individual’s those from across its borders. These tertiary belief that decision makers will listen to citizens’ hospitals encounter nursing shortages, in that, opinions that the political system is responsive while a basic certified nurse is supposed to be (Balch, 1974; Lane, 1959). According to Levy assigned to not more than six patients at a time, (2011), IPE is further divided into two dimensions; nurses in these hospitals are responsible for up IPE/knowledge and IPE/skills. IPE/knowledge to eight times that number, and sometimes refers to an individual’s self-efficacy for must care for three or more patients sharing a understanding and knowing facts, concepts, and single bed (Ojwang, Ogutu & Matu, 2010). Apart theories relevant to politics, whereas IPE/skills from patient care, nurses at these tertiary refer to a person’s self-efficacy for competently hospitals engage in teaching and mentoring performing politically relevant tasks, such as students while on placement. The current public speaking and constructing reasoned shortage of nurses as well as increased work- arguments. Additionally, EPE is also divided into load, results in nurses’ lack of adequate time two dimensions: EPE/local, which refers to an and interest in public policy activities that are individual’s belief that he/she can influence of concern to their profession (Mbindyo, Gilson, community or local governmental institutions Blaauw, & English, 2009). while EPE/distal refers to one’s external political Although nurses in Kenya have some level efficacy at the state and national level. of participation in political activities, more A study in the USA by McDaniels (1991) engagement is required. For instance, nurses showed that the feeling of political efficacy was have participated in the public protest against a powerful determinant of political participation certain policies such as the decentralization of among 56 nurses that were sampled. A high healthcare services and the free maternal care, positive correlation was found between political which were perceived to be the cause of 1) efficacy and political participation (r=0.79; poor remuneration, 2) lack of recognition, 3) p<0.01). Additionally, Vandenhouten, Malakar, poor working conditions and selective promotions Kubsch, Block, and Gallagher-Lepak (2011) among other core issues related to their work- found a high significant correlation between place activities (Muchui, 2014). Nurses through political efficacy and political participation their vibrant organizations (Kenya National Union (r=0.59; p<0.01), in a study on the political of Nurses and National Nurses Association of participation of 468 registered nurses in the USA. Kenya), will seldom hold back from participating The health care system in the Republic of in countrywide strikes and demonstrations Kenya is based on a four-tier system: community, geared towards seeking government response primary care, county referral and national referral to their impending demands. However, there

402 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya were frequent waves of unsuccessful strikes and nurses in Kenya. In this regard, the researcher boycotts by nurses through their organizations found it necessary to revisit and determine the KNUN and NNAK. The challenges encouraged levels of nurse’s political efficacy and political nurses to enhance their participation efforts in participation as well as explore the relationship the political arena. between political efficacy and political participation From the review of previous literature, two among nurses in tertiary hospitals, the Republic studies were found investigating nurses of Kenya. involvement in health policy issues. In the study on the extent of East African (Kenya, Uganda Objectives of study and Tanzania) nurses’ participation in health The study aimed to determine the levels policy development by Shariff (2014), 78 nurse of political efficacy and political participation. leaders were purposively selected for inclusion. Additionally, the study explored the relationship Findings indicated that the nurse leaders’ perceived between political efficacy and political participation involvement in the policy arena as limited. In among nurses in tertiary hospitals, the Republic the other study on Kenyan nurses’ participation of Kenya. in national policy development by Juma, Edwards and Spitzer (2014), findings revealed that the Conceptual Framework reason why there’s low participation of Kenyan This study was based on the concept of nurses in policy development is that the political efficacy by Levy (2011) and concept of policymaking process primarily followed a political participation from the review of top-down approach, which denied nurses at the literature. Political efficacy is the feeling that an lower levels opportunities for direct involvement individual’s political action can influence the in national policy decisions. political process. The concept of political In summary, previous studies indicated that efficacy has four domains: external political nurses have minimal opportunities to participate efficacy/distal, external political efficacy/local, in health policy activities. Moreover, from the internal political efficacy/skills, internal political review of previous studies in Kenya, on political efficacy/knowledge (Levy, 2011). Political participation, the subjects were nurse leaders. participation refers to any activity, formal or Additionally, a majority of previous studies informal, mainstream or unconventional, indicating the relationship between political collective or individual that seeks to influence efficacy and political participation were conducted either directly or indirectly on what the in developed democracies/countries (McDaniels, government does. Activities of political participation 1991; Oden, Price, Alteneder, Boardley, & include (1) voting, and (2) Non-voting activities Ubokudom, 2000; Vandenhouten et al., 2011; (Moran, 2014; Verba et al., 1995). Evidence from Jun et al., 2014). These studies show that little the reviewed literature indicates that political is known about political participation among efficacies are fostered in individuals who

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 403 สมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า

participated in politics; hence the need to Likert-type scale of 1 (strongly disagree) to 6 explore the relationship between political (strongly agree). The possible score for the efficacy and political participation among instrument ranged from a minimum of 15 to a nurses in this study. maximum of 90, and the scores were interpreted into three levels (low=15.00-40.99; moderate Methodology =41.00-66.99; high=67.00-90.00). 3) The Political Population and sampling Participation Scale modified from Moran (2014), This descriptive correlational study was which measured political participation as a designed to study a population of 2600 nurses two dimensional concept had 19 items of which who worked in the two national tertiary level the first item was dichotomous and was not hospitals in Kenya (Kenyatta National Hospital, included in the final scoring of the scale. The 2016; Moi Teaching and Referral Hospital, 2016). other 18 items were measured on a four-point The sample size was 347 nurses, calculated Likert-type scale of increasing frequency from based on the Yamane (1967) formula. In con- 1 (Never) to 4 (frequently). The possible scores sideration of loss of subjects, 20% of samples ranged from a minimum of 18 to a maximum were added so that 416 questionnaires were of 72 (low=18-36.99; moderate=37.00-55.99; distributed to collect data. Proportional stratified high=56.00-72.00). Content validity index of the random sampling method was used to determine Political Participation Scale was 0.92. The the number of nurses from each tertiary hospital reliabilities of both scales (PE and PP scales) on units. Nurses who had worked at the hospitals Cronbach’s alpha were found to be 0.82. for three years or more were included in the Data Collection Procedure study. However, nurses who were away on sick Data collection was carried out using a leave or study leave during data collection were self-administered questionnaire. The assigned excluded from the final study. coordinators distributed and collected the research Research Instrument package that contained an information sheet, Instruments used in this study included consent form and the questionnaire, with an the following: 1) the Demographic Data Form, envelope. The research package was submitted which was developed by the researcher and to the participants. The subjects responded to comprised the age, gender, marital status, level the questionnaires within two weeks and returned of education, salary per month, working experience it sealed in the envelopes provided, to the in years, membership in organizations, the job coordinator. Out of the 416 questionnaires titles as well as the unit in which the nurse submitted, 347 were returned and checked for worked. 2) The Political Efficacy Scale adopted completeness. An 80% response rate was from Levy (2011) which measured political efficacy achieved for data analysis. as a four dimensional concept, with a total of Protection of human rights 15 items that were measured on a six-point The study was approved by the Research

404 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya

Ethics Review Committee of the Faculty of political efficacy and political participation Nursing, Chiang Mai University, in Thailand (No. among nurses was analyzed using Spearman 003/2016). Permission and approvals to collect Rho correlation since the data was not normally data from the two tertiary level hospitals was distributed. The magnitude of the correlation obtained from the respective Ethics and Research coefficient and direction of the relationship were committees (KNH-P68/02/2016; MTRH-0001590). interpreted according to Burns and Grove (2010). Subjects were informed of the purpose of the study and method of data collection; voluntary Results participation was assured through signing the 1. Demographic characteristics of the subjects consent form, as well as free choice to withdraw Among the 347 nurses that participated in from the study at any time without having any the study, 75.50% of the subjects were females effect on their performance evaluation or lose while 78.39% were married. Over half (66.28%) benefits entitled to them. Anonymity and of the nurses were in the age group of not more confidentiality of all the information was than 40 years old, with 60.52% of the respon- maintained by using numerical codes in the dents being diploma holders. Furthermore, questionnaires instead of using subjects’ names. 94.24% were members of some organization, Data Analysis while 56.77% of the nurses were nursing officers Data analysis was done after data collection, (general staff nurses). 83.29% of the nurses using a computer program. The statistical earned less than or equal to Kshs.150,000 (less significance alpha (α) value was set at 0.05. than or equal to 1,500 /month USD) Descriptive statistics were used to analyze 2. Political Efficacy demographic characteristics as well as the levels The overall as well as the levels of all four of political efficacy and political participation. dimensions of political efficacy were at moderate The relationship between the overall scores for level (Table 1).

Table 1 Mean, Standard deviation and the level of overall and each dimensions of political efficacy as perceived by the subjects (n=347) Standard Political Efficacy Actual range Mean Level Deviation Overall Political Efficacy 15-90 61.57 12.79 Moderate EPE/distal 3-18 11.19 3.98 Moderate EPE/local 4-24 16.40 4.33 Moderate IPE/knowledge 3-18 12.19 3.66 Moderate IPE/skills 5-30 21.79 5.43 Moderate Note EPE= external political efficacy, IPE= internal political efficacy

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 405 สมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า

3. Political Participation The results for the overall political participation as well as the levels of two dimensions were at moderate level (Table 2).

Table 2 Mean, Standard deviation and the level of overall and each dimensions of political participation as perceived by the subjects (n=347) Political Efficacy Actual range Mean SD Level Overall Political Participation 18-72 46.28 10.22 Moderate Voting Scale 4-16 11.68 3.25 Moderate Non-Voting Scale 14-56 34.62 8.54 Moderate

4. Relationship between PE and PP There was a statistically significant moderate positive correlation between political efficacy and political participation (r=.312, p<.01)(Table 3).

Table 3 Relationship between political efficacy and political participation of the subjects (n=347) Political Participation Variable r p-value Political Efficacy 0.312 <.01

Discussion young age group of less than 40 years old, while Political efficacy 56.77% of the nurses were merely nurse officers This study found that the overall score for (general staff nurses); the minimum entry level political efficacy as perceived by nurses in the at the workplace. In Kenya, this young age group tertiary hospitals was at moderate level (less than 40 years old) nurses were not in the (=61.57; SD=12.79). This finding is consistent influential positions of management, since they with previous study by Salvado (2010) in which are perceived to be less equipped with the nurses generally rated themselves in the moderate experience to handle policy issues within their range in terms of political efficacy (median score facilities. This finding is consistent with previous = 40 on a scale of 0-80). The possible explanations studies which indicated that the older people for the moderate level of political efficacy will be more involved in politics than the young among nurses in these tertiary hospitals can be (Caprara, Vecchione, Capanna, & Mebane, linked to factors such as age and work experience. 2009). Additionally, the findings indicated that In this study, 66.28% of the nurses were in the 75.50% of the nurses were females; which

406 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya meant that they seldom participate in politics explanation would be that nurses had an due to their reluctance to exhibit the masculine opportunity to learn and discuss about political trait typically associated with politics as identified activities in their organizations. In this study in previous studies by Boswell, Cannon and 94.24% of the nurses were members of some Miller (2005). In this regard age, minimum work organization which conducted many political experience as well as gender issue, contributed activities such as organizing for strikes, to nurses’ moderate levels of political efficacy. demonstrations and protests against the The four dimensions of political efficacy government. An example of the professional were also at the moderate level. In this study, nursing organization is the Kenya National Union results for the internal political efficacy/knowledge of Nurses, which mobilizes nurses to attend which relates to an individual’s self-efficacy court or legal proceedings that pertain to nurses for understanding and knowing facts, concepts grievances with a view to improve the working and theories relevant to politics was at moderate conditions for nurses (KNUN, 2014). Membership level. Possible explanation would be that some in nursing organizations, gives nurses a competitive nurses had little knowledge about politics. The edge to get involved by coming together to study findings showed that 39.48% of the nurses voice their concerns as a group (Banschbach, graduated from bachelor, masters, and doctoral 2008), engage in constructive legal battles to degrees. These category of nurses had a chance gain an upper hand on certain policy issues of to attend, voice their concerns and discuss concern, express their dissatisfaction during the policy issues during the managerial meetings, demonstrations and collectively boycott duty, thereby granting them firsthand knowledge and until their demands are adhered to (Nation skills related to politics. However, 60.52% of the Media Group, 2014; Angote, 2013). It is in this respondents were at the diploma level of regard that nurses believed that they had education which meant that they were least adequate internal political efficacy/skills to exposed to adequate knowledge to articulate construct good arguments about political issues. issues in the political field. This is because the This finding is supported by Morrell (2005) who diploma program focuses on nursing care claimed that discussing political issues with practice with little or no exposure on key peers has a positive effect on individual’s management skills necessary in influencing political efficacy. policy. Study findings for the external political Results for the internal political efficacy/ efficacy/distal which relates to an individual’s skill which relates to a person’s self-efficacy for belief that they can influence political activities competently performing politically relevant at the state and national levels were at the tasks such as public speaking and constructing moderate level. The study also revealed that reasoned arguments were at moderate level. the external political efficacy/local which relates However, the score was moderately high. The to an individual’s belief that they can influence

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 407 สมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า

community or local governmental institutions findings showed that 82.42% of the nurses was at a moderate level. Possible explanations voted in the presidential elections in 2013. As would be that there were many political activities Muchui (2014) and Nation Media Group (2014) nurses got involved in at the national level, found that nurses believed that through voting such as voting into office the national officials in a new government administration, certain for the organizations and attending legal policy issues of concern to their profession proceedings at the national labor courts for a could be amended in their favor. collective bargaining agreement with the The study also found a moderate level of government. In this regard, nurses believed that the non-voting dimension. The explanation they could influence political activities at the could be that nurses’ have an interest in the national level. At the local level, nurses had socio-political issues that can only be changed some interest in the local politics that seemed through engaging in politics, such as pay increase, much easier and less intimidating for them to promotions, shortage of staff and recognition participate. However, nurses found that only a among other grievances at their workplaces. few issues were taken into consideration by the These socio-political interests motivate the National and County governments, hence the nurses to pile pressure on the government to frequent waves of unsuccessful strikes. Ultimately, respond to their agenda through many activities; this contributed to the moderate levels of EPE/ for example, nurses organize protests and distal and EPE/local. demonstrations, boycott duty and campaign for Political participation or against certain political leaders to spearhead The study found that political participation the realization of their impending demands. as perceived by the nurses in the tertiary level Moreover, in this study, 94.24% of the respondents hospitals was at moderate level (=46.28; were members of some professional nursing SD=10.22). This findings are consistent with a organization, which gave them a competitive previous study by Avolio (2014) among 201 edge in voicing their concerns to influence what Canadian nurses, in which nurses were only the government will do with regards to attending moderately active and just 30% of the to their demands, as a study by Vandenhouten respondents stated that they were motivated et al. (2011) reported that sources of encour- to become more involved. agement to engage in political activities included The study found a moderate level of the nursing organizations (27%) and voluntary voting dimension. The possible explanation organizations (22%). would be that nurses as citizens of the country, However, both voting and non-voting have an individual responsibility of voting into activities require having a sufficient amount of office the government officials to run key issues time to participate as claimed by Verba et al. at the ministries of health and other allied (1995) that people with more free time would ministries of concern to health care, as the study be more politically active than those with less

408 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya free time. In this regard, some of the nurses positive correlation between political efficacy cannot leave their duties to vote since they and political participation (r=0.797, p<0.01). have the responsibility for 24 hours caring of Possible explanation for the statistically patients. Moreover, in this study, 83.29% of the significant moderate positive correlation could nurses earned less than or equal to Kshs.150,000 be that, political efficacy which refers to (approximately 1500 USD) which made them individual’s belief that they can understand and less capable of contributing monetarily in support influence political issues, builds people’s of the political activities in their organizations. confidence to participate in the political arena. This is consistent with Vandenhouten et al. According to Bandura’s (1977) theory, self- (2011) who indicated that 9 out of 10 (92%) of efficacy refers to whether people believe that the respondents perceived an inability to they have the skills to influence the political contribute monetarily to political candidates, system. This study found that 43.22% of the parties or courses, as well as to nursing organizations nurses were in the higher rank of senior nurses, for political purposes. clinical educators and nurse managers, which The relationship between political gave them the chance and confidence to efficacy and political participation articulate issues related to policy. Furthermore, The study found a statistically significant 39.48% of the nurses were bachelors, master’s moderate positive correlation between political or doctoral degree holders; 24.50% had a work efficacy and political participation (r=0.31; experience of more than or equal to 15 years, p<0.01). In this view, the more politically which meant that they were experienced efficacious an individual is, the more they will enough to engage in policy issues at their participate in other political activities (voting or facilities. This is consistent with study findings non-voting) that have an influence on what the by Caprara et al. (2009) who inferred that, active government does. Similar results were obtained participation requires citizens to believe in their in previous studies by Jun et al. (2014), among own ability to influence the course of politics, 286 nurses in North Korea, who found that in other words, to feel politically efficacious. political efficacy had a moderate positive Furthermore, previous studies indicated correlation with political participation (r=0.32; that political efficacy, the belief that individuals’ p<0.001); Vandenhouten et al. (2011) found a action can influence governmental processes, strong significant correlation between political increases when individuals have opportunities efficacy and political participation (r=0.59; to; discuss public issues, participate in small- p<0.01); McDaniels (1991), in a study on the scale democratic processes, and develop political participation of 56 registered nurses, connections with others who are politically showed that the feelings of political efficacy engaged (Sohl, 2014). In this study, 94.24% of were a powerful determinant of political the respondents belonged to some professional participation among nurses and there was a high nursing organizations which gave them a platform

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 409 สมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า

to develop connections with others as well as by encouraging them to become members of participate more in political as well as the both institutional as well as national nursing organizational activities such as contributing organizations that take stands for nurses in the money, voting and participate in protests and political arena. In addition, nurses should attend demonstrations. In this regard, nurses perceived leadership training program as offer by external having some level of political efficacy that governmental or private organization to learn enabled them participate in political activities, among external leader and other professionals. hence the statistically significant positive correlation between political efficacy and Implication of this study political participation. Based on the study findings, the researcher proposes the need to conduct the same study Study Limitations at different levels of health care institutions Since the study was conducted in two (secondary and primary levels) among nurses national tertiary level hospitals, the findings in the Republic of Kenya. Moreover, conducting cannot be generalized to the whole population a predictive study on the factors related to of nurses countrywide. political participation among nurses in tertiary care hospitals would be imperative. Results of Conclusion of the study this study should be proposed to national The study findings revealed that, the overall nursing organizations to build capacity for new level of political efficacy as well as political nurse leaders. participation as perceived by nurses were at a moderate level. Additionally, a statistically Acknowledgement significant moderate correlation between A sincere appreciation is extended to the political efficacy and political participation was Thailand International Cooperation Agency found in this study. The findings of this study (TICA) for the research grant and scholarship, can provide valuable information to academic Chiang Mai University, especially faculty members administrators on the need to introduce within who provided assistance in making my research the curriculum to equip nurses with knowledge possibility and guided my study to complete and skills necessary for effective participation my master’s degree. in the political field. Nurse leaders in professional nursing organizations can initiate fellowship as well as internship programs for nurses to learn and experience firsthand opportunity of participating in political activities geared towards changing policy in health care. Nurse administrators can help develop nurse’s participation in politics

410 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya

References Angote, J. (2013). Nurses at KNH strike over allowances. Nairobi: Nation Media Group. Avolio, C. D. (2014). Political advocacy: Beliefs and practices of registered nurses. (Electronic Thesis and Dissertation Paper, 5061. University of Windsor). Retrieved from: http://scholar.uwindsor.ca/etd Balch, G. I. (1974). Multiple indicators in survey research: The concept sense of political efficacy. Political Methodology, 1-43. Bandura, A. (1977). Self-efficacy: toward a unifying theory of behavioral change.Psychological review, 84(2), 191. Banschbach, S. K. (2008). Finding the voice of nursing. Association of perioperative registered nurses (AORN) journal, 88(3), 347-349. Boswell, C., Cannon, S., & Miller, J. (2005). Nurses’ political involvement: Responsibility versus privilege. Journal of professional nursing, 21(1), 5-8. Burns, N., & Grove, S. K. (2010). Understanding nursing research: Building an evidence-based practice. St. Louis, Missourri: Elsevier Health Sciences. Campbell, A., Gurin, G., & Miller, W. E. (1954). The voter decides. New York: Harper & Row. Caprara, G. V., Vecchione, M., Capanna, C., & Mebane, M. (2009). Perceived political self-efficacy: Theory, assessment, and applications. European Journal of Social Psychology, 39(6), 1002-1020. Chan, S. W. C., & Cheng, B. S. (1999). Political participation in Hong Kong. Journal of Nursing Management, 7, 167-175. Croucher, R. (2014). Defending independence. Legal Studies, 34(3), 515-535. Herman, D. W. (2011). Nurse State Legislators: The Journey to State Capitols. (Doctoral dissertation). Retrieved from http://scholarcommons.sc.edu/etd/2588 Hewlett, C. L. (2008). Political participation of nurses (Doctoral Dissertation). Available from ProQuest Dissertations and Theses database. (UMI No. 3315131) Juma, P. A., Edwards, N., & Spitzer, D. (2014). Kenyan nurses involvement in national policy development processes. Nursing research and practice. Retrieved from: http://dx.doi.org/10.1155/2014/236573 Jun, S.Y., Ko, I.S., & Bae, K.R. (2014). Political interest, political efficacy, and media usage factors influencing political participation in hospital nurses.Journal of Korean Academy of Nursing Administration, 20(3), 342-352. Kenya National Union of Nurses (2014). Functions of trade unions. Retrieved from http://www.knun.org/homepage/about us. Kenyatta National Hospital (2016). Management at Kenyatta National Hospital. Retrieved from http://www.knh.or.ke/homepage/about us.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 411 สมรรถนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐเคนย่า

Lane, R. E. (1959). Political life: Why people get involved in politics. Glencoe, Illinois: Free Press Publishers. Levy, B. L. (2011). I could make a difference: Research and theory on educating adolescents for political engagement. Unpublished doctoral dissertation. University of Michigan, Ann Arbor. Mbindyo, P., Gilson, L., Blaauw, D., & English, M. (2009). Contextual influences on health worker motivation in district hospitals in Kenya. Implementation Science, 4(1), 43. doi:10.1186/1748-5908-4-43 McDaniels, O. (1991). Political participation of registered nurses: A correlational study. [Abstract] Dissertation Abstracts International, 52(04), 1957B. (UMI No. 9125235) Ministry of Health Kenya. (2013). Kenya Health Policy 2012–2030. Sessional Paper No. 6. Retrieved from: https://www.afidep.org/?wpfb_dl=86. Moi Teaching and Referral Hospital (2016). The hospital administration, Retrieved from: http://www.mtrh.or.ke/administrator/index.php?option=com_content. Moran, V. J. (2014). Political participation among Louisiana advanced practice nurses (Doctoral dissertation). Available from ProQuest Dissertations and Theses database. (UMI No. 3583255). University of Phoenix. Morrell, M. E. (2005). Survey and experimental evidence for a reliable and valid measure of internal political efficacy.Public Opinion Quarterly, 589-602. Muchui, D. (2014, November 16). Nurses threaten to strike over devolution. Nairobi: Kenya. Retrieved from:http://www.businessdailyafrica.com/Nurses-threaten-to-strike-over- devolution/-/539546/2524452/-/1g2ihwz/-/in Nation Media Group (2014). Nurses’ union wants government to address demands to avert looming strike. Retrieved from: http://www.nation.co.ke/counties/meru/health-workers- strike-threat/-/1183302/2528720/-/b7htkw/-/index.html. Oden, L. S., Price, J. H., Alteneder, R., Boardley, D., & Ubokudom, S. E. (2000). Public policy involvement by nurse practitioners. Journal of Community Health, 25(2), 139-155. Ojwang, B. O., Ogutu, E. A., & Matu, P. M. (2010). Nurses’ impoliteness as an impediment to patient’s rights in selected Kenyan hospitals. Health and human rights, 12(2), 101-117. Salvador, D. (2010). Registered nurses perceptions and practices related to health policy (Doctoral dissertation). University of Toledo. Shariff, N. (2014). Factors that act as facilitators and barriers to nurse leaders’ participation in health policy development. BMC nursing, 13(1), 20. Short, N. M. (2008). Influencing health policy: Strategies for nursing education to partner with nursing practice. Journal of Professional Nursing, 24(5), 264-269.

412 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Political Efficacy and Political Participation Among Nurses in Tertiary Hospitals, the Republic of Kenya

Sohl, S. (2014). Pathways to political efficacy: theoretical considerations and empirical illustrations on youths’ acquisition of political efficacy. Politics, Culture and Socialization, 2(4), 389-417. Vandenhouten, C. L., Malakar, C. L., Kubsch, S., Block, D. E., & Gallagher-Lepak, S. (2011). Political participation of registered nurses. Policy, Politics, & Nursing Practice, 12(3):159-67. doi: 10.1177/1527154411425189. Verba, S., Schlozman, K., & Brady, H. (1995). Voice and equality: Civic voluntarism in American politics. Cambridge, MA: Harvard University Press. Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. (3rd Ed). New York: Harper and Row.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 413 Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ และความผูกพันในงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

ดวน จินเหมย * Duan Jinmei * สมใจ ศิระกมล ** Somjai Sirakamon ** ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ ** Thitinut Akkadechanunt **

บทคัดย่อ ความผูกพันในงานเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการส่งเสริมท�ำให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพการดูแล ในบริการสุขภาพและบริการพยาบาล งานวิจัยแบบพรรณนาเชิงสหสัมพันธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับความพึง พอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำและความผูกพันในงาน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความผูกพันในงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องสองปัจจัยคือความพึงพอใจในงานและพฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ ของผู้น�ำ ในพยาบาลโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ คุณหมิง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน จ�ำนวน 7 แห่ง เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ แบบฟอร์มเก็บข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความผูกพันในงาน ซึ่งพัฒนาโดย Schaufeli, Salanova, González-Romá and Bakker, 2002 แบบวัดดัชนีความพึงพอใจในงาน พัฒนาโดย Stamps (1997) และแบบสอบถามพฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ พัฒนาโดย Konczak, Stelly, and Trusty, 2000 ค่าความตรงของเครื่องมือทั้งสามชนิดได้รับการตรวจสอบโดยผู้พัฒนาเครื่องมือ ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคของแบบวัดความผูกพันในงาน แบบวัดดัชนีความพึงพอใจในงานและแบบสอบถาม พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำมีค่าเท่ากับ .94, .85, และ.96 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ล�ำดับที่ของเสปียร์แมน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า: 1) ระดับความพึงพอใจในงานในภาพรวมของพยาบาลอยู่ในระดับควอไทล์ที่ 2 ของ คะแนนรวม 2) ระดับพฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำของหัวหน้าหอผู้ป่วยในภาพรวมและรายด้านตาม การรับรู้ของพยาบาลอยู่ในระดับสูง 3) ระดับความผูกพันในงานในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับต�่ำ 4) ความพึง พอใจในงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยส�ำคัญระดับสูงกับความผูกพันในงาน 5) พฤติกรรมการเสริมสร้างพลัง อ�ำนาจของผู้น�ำมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยส�ำคัญระดับปานกลางกับความพึงพอใจในงาน ผลจากการวิจัยในครั้งนี้ เป็นข้อมูลเบื้องต้นส�ำหรับผู้บริหารการพยาบาลในการน�ำไปพัฒนากลยุทธ์เพื่อคงไว้ซึ่ง พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำในหัวหน้าหอผู้ป่วยและเพื่อปรับปรุงความพึงพอใจในงานและความ ผูกพันในงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิทั้ง 7 แห่งในคุณหมิง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: ความผูกพันในงาน ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ พยาบาล, จีน * Staff Nurse, the Third People’s hospital of Yunnan Province, China * พยาบาลประจ�ำการ โรงพยาบาลของประชาชนแห่งที่ 3 ในจังหวัดยูนนานประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 414 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China

Abstract Work engagement is very helpful to optimize effective outcomes and quality of care in healthcare and nursing services. This descriptive correlational research aimed to examine the level of job satisfaction, leader empowering behaviors and work engagement, and to identify the relationships between work engagement and its two related factors including job satisfaction and leader empowering behaviors among nurses in seven tertiary hospitals of Kunming, the People’s Republic of China. The sample was 418 nurses having worked at least one year in these seven tertiary hospitals in Kunming. Data were collected using a questionnaire consisting of four parts: demographic data form; Utrecht Work Engagement Scale (UWES) developed by Schaufeli, Salanova, González-Romá and Bakker (2002); Index of Work Satisfaction Scale (IWS) developed by Stamps (1997); and Leader Empowering Behavior Questionnaire (LEBQ) developed by Konczak, Stelly, and Trusty (2000). The validity of the three instruments was confirmed by the developers. The Cronbach’s alpha of UWES, IWS, and LEBQ were .94, .85, and .96, respectively. Descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient, and Spearman’s rank-order correlation coefficient were used for data analysis. The results of this study showed as follows: 1) the overall job satisfaction was at the second quartiles of the possible total score; 2) the overall head nurses’ leader empowering behaviors and its six dimensions as perceived by nurses were at a high level; 3)the overall work engagement and its three dimensions among nurses were at a low level; 4) there was a strong positive relationship between job satisfaction and work engagement; and 5) there was a moderate positive relationship between leader empowering behaviors and work engagement. The findings of this research presented basic information for nursing administrators to develop strategies to maintain leader empowering behaviors of head nurses and improve job satisfaction in order to increase work engagement among nurses in seven tertiary hospitals of Kunming, the People’s Republic of China.

Keywords: work engagement, job satisfaction, leader empowering behaviors, nurse, tertiary hospital, China

Background and Significance linked to nursing turnover (Stone, Clarke, Nursing plays an important role to better Cimiotti, & Correa-de-Araujo, 2006). In Kunming, the quality of care and patient outcomes (You the P.R. China, a researcher found that 32.38% & Aiken, 2013). However, the People’s Republic of the surveyed nurses would probably leave of China (PRC) is contending with a very serious their job if they have a suitable choice (Li, 2011). nursing shortage compared to other countries According to the Chinese nursing employment (Cai & Zhou, 2009). There are some clear reasons system, there are two categories of nurse for this problem. First, nursing shortage has been employees: permanent nurses and temporary

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 415 ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ และความผูกพันในงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

nurses (Shang, You, & Ma, 2014). Huang, Luo, teem and optimism) (Bakker & Demerouti, 2008), and Chen (2014) revealed that 136 nurses quit leader empowering behaviors (LEB) (Veitamana, from one hospital in Guangzhou, the P.R. China, 2014), and job satisfaction (JS) (Simpson, 2009). and 94.60% of them were temporary nurses. A Based on the theories of Herzberg and variety of factors predict nurses’ turnover intention Mausner (1959) and Maslow (1943), in 1997, including group cohesion, job stress, work Stamps defined Job Satisfaction (JS) as the schedule (Asegid, Belachew, & Yimam, 2014), extent to which employees simply like their and work engagement (WE) (De Langea, De jobs. Stamps (1997) developed Index of Work Witte, & Notelaers, 2008). Satisfaction (IWS) instrument to measure JS, and Engaged workers have a lot of energy, are it has been used in a number of previous studies. very enthusiastic about their job, and are absorbed Konczak, Stelly, and Trusty (2000) defined LEB by their work (Van Bogaert, Wouters, Willems, as an approach of leaders to delegate respon- Mondelaers, & Clarke, 2013). Thus, the positive sibility and share information and knowledge outcomes of WE include increased in-role with their followers in order to contribute to performance, extra-role performance, and the organization, and the followers are also personal creativity (Bakker & Demerouti, 2008). enabled to make decisions which can influence Similarly, Van Bogaert, Heusden, Timmermans, the organization.The Leader Empowering and Frank (2014) presented that WE had a direct Behaviors Questionnaire (LEBQ) was developed positive effect on job outcomes and quality of based on Konczak et al. ’s concept to measure care. It has also been found that disengagement LEB (Konczak et al., 2000). Several studies was the cause of employees leaving from their confirmed relationships between JS and WE, as job and increasing overall turnover rate (Fasoli, well as LEB and WE. Job satisfaction had a strong 2010). relationship with and impact on WE among Work engagement (WE) has been defined registered nurses in the US (Simpson, 2009); as a positive, fulfilling, work-related state of Veitamana (2014) also showed that there was mind. It includes three dimensions: vigor, a significant weak association between LEB and dedication, and absorption (Schaufeli, Salanova, WE among nurses in Fiji. González-Romá, & Bakker, 2002). The Utrecht Yunnan is a moderate-to-low economical- Work Engagement Scale (UWES) was developed ly-developed province of the P.R. China, and by Schaufeli et al. (2002) to measure WE. There Kunming is the capital city of Yunnan. The Bureau are several factors that are related to WE, such of Health of Yunnan (2015) reported that there as job demands (workload, role stress, and job were 110,000 registered nurses at the end of insecurity), job resources (autonomy, social 2014, and nurse-to-population ratio was support, performance feedback and relationship 2.05:1,000, which was lower than the country’s with supervisor) (Schaufeli & Bakker, 2004), standard of 2.20:1,000 (Ministry of Health of personal resources (organizational-based self-es- China, 2015). There are seven tertiary hospitals

416 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China in Kunming (Bureau of Health of Yunnan, 2014). 2016, there were 35 head nurses in this hospital, The tertiary hospital in the P.R. China has a but no one was a temporary nurse. The mission to provide high quality health care inequalities of payment, benefits, and career services, research, education and health advancement, therefore, might affect WE and promotion to the population (Ministry of Health JS among these nurses (Shang et al., 2014). The of China, 1989). The Ministry of Health of China aim of this study was to study JS, LEB and WE (2010) reported that, the average number of among nurses in Kunming, the P.R. China. working hours of nurses was 41.48±3.68 per week in tertiary hospitals of Kunming, which Objectives of the study was more than the standard of national labor’s This descriptive correlational research was regulation of 40 hours. Obviously, nurses conducted to: (1) examine the levels of JS and working in tertiary hospitals face heavy WE among nurses and head nurses’ LEB as workloads and high job demands whereas job perceived by nurses; and (2) identify the demand including excessive workload can relationships between WE and its two related decrease employees’ WE (Bakker, Schaufeli, factors including JS and LEB among nurses. Leiter, & Taris, 2008). According to the regulation of the Ministry Conceptual Framework of Health of China (2011), all hospitals must be The theoretical framework of this study is audited by the national Hospital Assurance (HA) based on three main concepts. Job satisfaction every four years while Tertiary HA has high comprises six components including pay, standard requirements. To deal with HA, all professional status, task requirements, autonomy, tertiary hospitals in Kunming have extended organizational policies, and interaction (Stamps, working hour regulations. Many nurses feel 1997). Leader empowering behaviors includes exhausted and have less vigor to work six dimensions: delegation of authority, (anonymous communication, July 15, 2015). accountability, information sharing, self-directed Reportedly, 63.70% of the nurses had decision making, skill development, and coaching temporary employment in the seven tertiary for innovative performance (Konczak et al., hospitals of Kunming, which was a higher 2000). Work engagement is characterized by percentage than that of the permanent nurses vigor, dedication, and absorption (Schaufeli et at the end of 2015. The temporary nurses get al., 2002). According to the literature review, less base salary and benefits than permanent nurses who have higher JS or are more supported nurses (Shang et al., 2014). Additionally, with LEB would likely be more motivated and temporary nurses have less chance to be have higher WE in their work. The relationships selected as a head nurse in Kunming. According between WE and its related factors including JS to the Human Resources Statistics of the Third and LEB were examined in this study. People’s hospital of Yunnan province on June,

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 417 ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ และความผูกพันในงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

Methodology The responses of each question range from “1 A descriptive correlational research was = strongly disagree” to “7 = strongly agree”. conducted. 4. The 17-item Leader Empowering Behavior Population and Sample Questionnaire (LEBQ) includes six components: The population of this study was 4,897 (1) delegation of authority (3 items), (2) account- temporary nurses in seven tertiary hospitals in ability (3 items), (3) self-directed decision making Kunming. The multistage sampling (LoBiondo- (3 items), (4) information sharing (2 items), (5) Wood & Haber, 2010) was used to select skill development (3 items), and (6) coaching departments from hospitals, then clinical units for innovative performance (3 items). The items were randomly chosen from the departments, are measured on a 7-point Likert-type scale Afterward, to select the sample, 444 temporary ranging from “1= strongly disagree” to “7 = nurses who had worked at least for one year at strongly agree”. The LEBQ was translated into the current unit were chosen from clinical units. the Chinese version by the researcher using After the questionnaires were distributed, finally, translation and back-translation methods 426 questionnaires were returned (95.95%), and (Waltz, Strickland, & Lenz, 2005) without any 418 (94.14%) of them were completed for data modification. analysis. Validity and Reliability of instruments Research Instruments The validity of the UWES, IWS, and LEBQ The following instruments were used in was confirmed by the developers. The three this study: factor model of the UWES-9 in Chinese version 1. Demographic data form includes working showed an acceptable fit to the data with χ2 department, gender, age, marital status, =172.27, df = 24, p < .01, CFI = .93, TLI = .90 , educational level, work duration, work hours RMSEA = .08, SRMR = .05, and AIC = 28,401.57 per week, and income per month. (Fong, 2012). The content validity of Chinese 2. Chinese version of the 9-item Utrecht version IWS has been tested by Wu (2007), and Work Engagement Scale (UWES) includes three the result was .92. Last, the results of confirma- dimensions: (1) vigor (3 items), (2) dedication tory factor analysis on the LEBQ revealed that (3 items), and (3) absorption (3 items). The items the six-factor model was fit based on large are scored on a 7-point Likert scale ranging from sample size (CFI = .96, GFI = .94, AGFI = .91, “0 = never” to “6 = always”. RMSR = .10, χ2 =564.92, df = 104, p < .05) 3. Chinese version of the 44-item Index of (Konczak et al., 2000). The internal consistency Work Satisfaction Scale (IWS) (Part B) consists of reliabilities of the UWES, IWS, and LEBQ were six dimensions: (1) pay (6 items), (2) professional tested and the Cronbach’s alpha coefficients status (7 items), (3) interaction (10 items), (4) were .94, .85, and .96, respectively. task requirements (6 items), (5) organizational policies (7 items), and (6) autonomy (8 items).

418 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China

Data Collection Procedures A statement was included in a cover letter to Data were collected using questionnaires guarantee confidentiality and anonymity of during February to April, 2016 in seven tertiary individual responses. Information provided by hospitals in Kunming, the P. R. China. The the subjects was only used for study and kept researcher select departments from hospitals, confidential. The results of the study were then randomly choose clinical units from presented as a group. departments while the temporary nurses were selected from clinical units. The researcher Results asked for four coordinators and provided them The results showed that 418 subjects were relevant research information. After the subjects from eight main clinical departments and the completed the questionnaires, the researcher largest group of subjects was working in medical or the coordinators went to each unit and departments (34.22%). Most of the subjects collected the questionnaires with sealed were female (96.42%), and over half of them envelopes within two weeks. were married (59.09%). The age of the subjects ranged from 21 to 52 years old with average Data Analysis Procedures age of 29.79 (SD = 6.27), and the majority of Descriptive and inferential statistics were them (66.99%) were aged between 21 – 30 years used to analyze the data in this study. (1) The old. More than half of the subjects held a demographic data, the levels of JS, LEB, and bachelor’s degree (57.18%). Most of the subjects WE were analyzed using frequency, percentage, (74.16%) had worked less than 10 years with mean, and standard deviation. (2) Pearson’s work durations ranging from 1 to 36 years, with Correlation was used to test the correlation a mean of 8.14 years (SD = 6.90). The majority between JS and WE, and Spearman’s rank-order of the subjects (67.70%) worked 40 – 50 hours correlation was used to analyze the relationship per week. The incomes of 55.01% of the between LEB and WE. subjects were between 3,000 – 5,000 RMB/ month. Ethical considerations The research proposal and data collection were approved by the Research Ethical Committee of the Faculty of Nursing, Chiang Mai University. Before data collection, a research consent form was sent to the subjects. They were informed that participation in the study was voluntary and they had the right to refuse, stop or withdraw from this study at any time without being punished or losing any benefits.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 419 ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ และความผูกพันในงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

Table 1 Means of Total Scale Score, Standard Deviations and the Quartiles of Job Satisfaction as Perceived by the Subjects (n = 418) Job satisfaction Range Mean SD Quartiles Level Overall job satisfaction 44-308 174.77 26.35 Second Low Pay 6-42 18.11 6.39 Second Low Autonomy 8-56 34.02 6.48 Third Moderate Task requirements 6-42 19.44 4.13 Second Low Organizational policies 7-49 27.64 6.84 Second Low Professional status 7-49 31.72 5.48 Third Moderate Interaction 10-70 43.84 6.43 Third Moderate The overall job satisfaction as perceived by the subject was low ( = 174.77, SD = 26.35), showed in Table 1.

Table 2 Means, Standard Deviations and the Level of Leader Empowering Behaviors as Perceived by the Subjects (n = 418) Leader empowering behaviors Range Mean SD Level Overall leader empowering behaviors 1-7 5.81 1.00 High Delegation of authority 1-7 5.57 1.32 High Accountability 1-7 6.33 .84 High Self-directed decision making 1-7 5.72 1.20 High Information sharing 1-7 5.97 1.14 High Skill development 1-7 5.78 1.19 High Coaching for innovative performance 1-7 5.56 1.33 High All leader empowering behaviors as perceived by the subject was high ( ranged from 5.56- 633, SD ranged from 0.83-1.33) in Table 2.

Table 3 Means, Standard Deviations, and the Level of Overall Work Engagement as Perceived by the Subjects (n = 418) Work engagement Range Mean SD Level Work engagement 0-6 2.46 1.31 Low Vigor 0-6 2.40 1.43 Low Dedication 0-6 2.85 1.45 Low Absorption 0-6 2.13 1.45 Low In Table 3 showed that work engagement as perceived by the subject was low at  = 2.46 and SD = 1.31.

420 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China

Table 4 Relationships between Job Satisfaction and Work Engagement and Leader Empowering Behaviors and Work Engagement (n = 418) Factors Work Engagement Job satisfaction .50** Leader empowering behaviors .30** ** p < .01 There was a strong significant positive relationship between work engagement and job satisfaction (r = 0.50, p < 0.01) (Table 4). of Jin, Shi, and Cui (2014) in the P.R. China. Discussion However, it is incongruent with the study of Job satisfaction: This study showed that Veitamana (2014) which presented at moderate the subjects perceived the total scale score of level among general nurses in Fiji. The first JS at the second quartile, which represents a possible explanation for the above finding is low level. The total scale score of JS in this that in order to improve staff satisfaction and study is lower than previous studies in Canada quality of health care, the nursing administrators (Glallonardo et al., 2010) and in the US (Adwan, at the seven tertiary hospitals in Kunming were 2014). However, it is higher than two studies in struggling in changing the management style, Bangladesh (Latif et al., 2010) and in the US such as providing lots of courses for head (McGlynn et al., 2012). The first explanation of nurses to update their management knowledge low JS is high workload among nurses in the and skills. On the other hand, many head P.R. China. The second possible explanation is nurses were promoted from staff nurses via that nurses have a high level of burnout in the competition instead of being assigned by P.R. China (Lu et al., 2015). According to the hospital administrators and this competition statement of Laschinger, Leiter, Day, and Gilin base on their great management skills and (2009), burnout negatively predicted nurses’ JS. educational degree. These two reasons may The third reason is that temporary nurses lack indicate greater managerial competence and opportunities to participate in the three- or six- better empowering awareness with current head month training of the hospital in comparison nurses in Kunming. with permanent nurses. The unequal and Work engagement: In this study, the discriminatory decisions from head nurses to subjects perceived the overall WE at a low temporary nurses could be the fourth reason level. This result is similar to Lu et al.’s finding of low JS in this study. (2011) in the P.R. China. However, it is lower Leader empowering behaviors: In this than those findings which were reported by study, LEB as perceived by respondents was at Othman et al. (2011) and Krishnan et al. (2013) a high level. This finding is similar to the study in Malaysia, Bamford et al. (2013) in Canada,

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 421 ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ และความผูกพันในงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

and Wang et al. (2015) and Feng (2012) in the subjects. This finding implies that when the P.R. China. The first consideration of this finding subjects are satisfied with their job, they will is nurses’ heavy workload in tertiary hospitals engage in their work. This result is similar to the of Kunming. When nurses have work overload, findings of Glallonardo et al. (2010) and Simpson they would feel exhausted and less engagement (2009). According to the Job Resources-Demand with work (Bakker et al., 2008). The next possible model (Bakker & Demerouti, 2008), job resources reason is insufficient rewards from managers is an antecedent of WE. Bargagliotti (2012) among nurses in Kunming. The scholars defined nursing job autonomy as one kind of summarized that one of the predictors for WE job resources. It means that high job resources among nurses was insufficient rewards (Thian, including job autonomy positive predict WE. Kannusamy, & Klainin-yobas, 2013). Next, social Contrarily, in this study, the findings showed support has been found to be an antecedent that only 31.60% of the subjects agreed with to engagement (Schaufeli & Bakker, 2004). Feng the statement that they had the freedom in (2012) indicated that nurses’ organizational their work to make decisions. This finding may support was at a moderate level in Kunming. It link to low WE in this study. In addition, according means that low organizational support could to Worf (1970)’s definition, JS is fulfillment of have affected low WE in this study. The next needs. It means that if nurses are satisfied with barrier of WE is unequal chance to be selected their job, their needs are fulfilled from their job. as a head nurse and unequal payment between Schaufeli and Bakker (2004) stated that the temporary nurses and permanent nurses in satisfaction with basic needs results in positive tertiary hospitals of Kunming. Moreover, another engagement likely occurring. Furthermore, in possible explanation of low WE in this study is this study, 71.50% of the subjects agreed (level the high level of stress in the nurses’ roles. 5 to level 7) that physicians generally cooperated Many roles with high stress make most female with nursing staff. This finding implies that when nurses somewhat disengage in their work. In the nurses are satisfied with great cooperative addition, medical violence may be the next relationships between physicians and other explanation of low WE in this study. In recent nurses, they will feel relaxed and happy at the years, medical violence from patients or patients’ workplace and feel their job becomes more relatives frequently happens in Chinese hospitals, interesting, and they would like to go to work which leads to nurses’ physical and mental daily. harm. As a result, they feel insecure at the Relationship between LEB and WE: The workplace, and this decreases nurses’ WE in findings of this study presented moderate Kunming. positive correlation between LEB and WE among Relationship between JS and WE: The the subjects. It indicates that the subjects will findings of this study showed a strong positive be engaged in their work when they perceive correlation between JS and WE among the empowering behaviors from their head nurse.

422 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China

This result is supported by the study of Veitamana statistically significant strong positive relationship (2014) which was conducted among nurses in between JS and WE. Similarly, there was a Fiji. Based on the Job Demands–Resources statistically significant moderate positive model, job resources include decision involvement relationship between LEB and WE. which can positively predict the experience of WE (Bakker & Demerouti, 2008). Likewise, Implications through leadership empowerment behaviors, The findings of this research present basic employees’ responsibility and decision-making information for nursing administrators regarding authority are increased (Johnson, 1994). This the current situations on JS, LEB, and WE. Firstly, may imply that if a head nurse empowers staff based on the findings, the hospital and nursing nurses to be involved in making self-decisions administrators may have evidence to improve and encourages them to try out new ideas, they temporary nurses’ JS, especially to improve the will feel inspired and contribute more valuable satisfaction with pay, organizational policies, opinions, as well as become more dedicated and task requirements. Secondly, head nurses to their work. In addition, leader empowerment ought to continue to empower their subordinates. behaviors allow employees freedom to choose These solutions could be helpful to enhance the way in which tasks are executed and encourage temporary nurses’ WE. Finally, nursing admin- them to care about the work they deliver while istrators need to establish other strategies to instilling a sense of competence, ensuring that enhance temporary nurses’ WE. their ideas are considered (Appelbaum, Hébert, & Leroux, 1999), and making them feel that their Recommendations for future research work is significant. According to the findings of this study, the researcher proposed the following recommen- Conclusion dations: (1) Replicate this study among permanent The results of this study indicated that nurses in seven tertiary hospitals in Kunming. overall JS was at the second quartile, which (2) Replicate this study among temporary nurses represents a low level of JS, and overall head in secondary hospitals in Yunnan province, the nurses’ LEB was at a high level. However, the P.R. China. (3) Conduct predictive research of overall WE was at a low level. There was a WE among nurses in the P.R. China. References Adwan, J. Z. (2014). Pediatric Nurses’ Grief Experience, Burnout and Job Satisfaction. Journal of Pediatric Nursing, 29,329-336. Asegid, A., Belachew, T., & Yimam, E. (2014). Factors Influencing Job Satisfaction and Anticipated Turnover among Nurses in Sidama Zone Public Health Facilities, South Ethiopia. Nursing Research and Practice, 1-26.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 423 ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ และความผูกพันในงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

Appelbaum, S., Hébert , D., & Leroux, S. (1999). Empowerment: Power, culture and leadership: A strategy or fad for the millennium? Journal of Workplace Learning: Employee Counselling Today, 11, 233-254. Bakker, A., & Demerouti, E. (2008). Towards a model of work engagement. Career Development International, 13(3), 209-223. Bakker, A., Schaufeli, W., Leiter, M., & Taris, T. (2008). Work engagement: an emerging concept in occupational health psychology. Work & Stress, 22(3), 187-200. Bamford, M., Wong, C., & Laschinger, H. (2013). The influence of authentic leadership and areas of worklife on work engagement of registered nurses. Journal of Nursing Management, 21, 529-540. Bargagliotti, L. A. (2012). Work engagement in nursing: a concept analysis. Journal of Advanced Nursing, 68(6),1414-1428. Bureau of Health of Yunnan. (2015). There are two Nurses in 1000 People [in Chinese]. Retrieved from http://www.zbenews.com/gzjy/2197.html. Bureau of Health of Yunnan. (2014). The report of tertiary hospitals of Yunnan [in Chinese]. China: Author. Burns, N., & Grove,, S. K. (2012). The practice of nursing research: Appraisal, synthesis, and generation of evidence (7th ed.). St Louis, Missouri, Sauders Elsevier. Cai, C., & Zhou, Z. (2009). Structural empowerment, job satisfaction, and turnover intention of Chinese clinical nurses. Nursing and Health Sciences, 11, 397-403. De Langea, A. H., De Witte, H., & Notelaers, G. (2008). Should I stay or should I go? Examining longitudinal relations among job resources and work engagement for stayers versus movers. Work & Stress, 22(3),201-223. Fasoli, D. (2010). The Culture of Nursing Engagement: A Historical Perspective. Nursing Administration, 34(1), 18-29. Feng, L. (2012). Perceived organizational support and work engagement among nurses in university hospitals of Kunming Medical University, The People’s Republic of China (Unpublished master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. Fong, T. (2012). Measuring engagement at work: Validation of the Chinese version of the Utrecht Work Engagement Scale. International Journal of Behaviour Medical, 19(3), 391-397. Glallonardo, L., Wong, C., & Iwasiw, C. (2010). Authentic leadership of preceptors: Predictor of new graduate nurses’ work engagement and job satisfaction. Journal of Nursing Management, 18(8), 993-1003. Herzberg, F., & Mausner, B. (1959). The Motivation to Work second ed. NewYork: Wiley. Huang, S., Luo, C., & Chen, M., (2014). Analysis of Turnover among Temporary Nurses [in Chinese]. China Health Care & Nutrition, 4, 2572.

424 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China

Jin, R., Shi, S., & Cui, W. (2014). The effect of head nurses’empowerment behavior on clinical nurses’self-efficacy and seuse of job control.Journal of Chinese Nursing, 49(1),104-106. Johnson, P. (1994). Brains, heart and courage: Keys to empowerment and self-directed leadership. Journal of Managerial Psychology, 9(2), 17-21. Konczak, L. J., Stelly, D. J., & Trusty, M. L. (2000). Defining and measuring empowering leader behaviors: development of an upward feedback instrument. Educational and Psychological Measurement, 60(2), 301-313. Krishnan, R., Ismail, I. R., Samuel, R., & Kanchymalay, K. (2013). The Mediating Role of Work Engagement in the Relationship between Job Autonomy and Citizenship Performance. World Journal of Social Sciences, 3(3), 120-131. Latif, A., Thiangchanya, P., & Nasae, T. (2010). Relationship between organizational climate and nurses’ job satisfaction in Bangladesh. Paper presented at the 2nd International Conference on Humanities and Social Sciences, Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University. Laschinger, H. S., Leiter, M., Day, A., & Gilin, D. (2009). Workplace empowerment, incivility, and burnout: impact on staff nurse recruitment and retention outcomes. Journal of Nursing Management, 17(3), 302-311. Li, L. (2011). Professional practive environment and turnover intension among nurses in the general university hospitals, Yunnan Province, China (Unpublished master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. LoBiondo-Wood, G., & Haber, J. (2010). Nursing Research:Methods and Critical Appraisal for Evidence-Based Practice (7th Edition). New York: Mosby Elsevier. Lu, M., Ruan, H., Xing, W., Hu, Y. (2015). Nurse burnout in China: a questionnaire survey on staffing, job satisfaction, and quality of care.Journal of Nursing Management, 23(4),440-447. Lu, C., Siu, O., Chen, W., & Wang, H. (2011). Family mastery enhance work engagement in Chinese nurses: A cross-lagged analysis. Journal of Vacational Behaviour, 78, 100-109. Maslow, A. H. (1943). A theory of human motivation. Psychological Review, 50, 370-396. McGlynn, K., Griffin, M. Q., Donnahue, M., & Fitzpatrick, J. (2012). Registered nurse job satisfaction and satisfaction with the professional practice model. Journal of Nursing Management, 20(2), 260-265. Ministry of Health of China. (1989). The trial draft of general hospital classifaction management standards [in Chinese]. Retrieved from http://www.hudong.com. Ministry of Health of China. (2010). Health statistics summary 2009 [in Chinese]. Retrieved from http://www.moh.gov.cn/publicfiles//business/htmlfiles/zwgkzt/. Ministry of Health of China. (2011). Chinese Hospital Assurence Protocol [in Chinese]. Ministry of Health of China. (2015). The health care organization statistic in China [in Chinese].

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 425 ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของผู้น�ำ และความผูกพันในงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

Othman, N., & Nasurdin, A. M. (2011). Work Engagement of Malaysian Nurses: Exploring the Impact of Hope and Resilience. International Journal of Social, Behavioral, Educational, Economic, Business and Industrial Engineering, 5(12),1990-1994. Schaufeli, W. B., & Bakker, A. B. (2004). Job demands, jobresources and their relationship with burnout and engagement: A multisample study. Journal of Organizational Behavior, 25, 293-315. Schaufeli, W., Salanova, M., González-Romá, V., & Bakker, A. (2002). The measurement of engagement and burnout: a two sample confirmatory factor analytic approach. Journal of Happiness studies, 3, 71-92. Shang, J., You, L., & Ma, C. (2014). Nurse employment contracts in Chinese hospitals: impact of inequitable benefit structures on nurse and patient satisfaction [in Chinese]. Human Resources for Health, 12(1). Simpson, M. (2009). Predictors of Work Engagement Among Medical-Surgical Registered Nurses. Western Journal of Nursing Research, 31(1), 44-65. Stamps, P. (1997). Nurses and work satisfaction: An index for measurement (2nd ed.). Chicago: Health Administration Press. Stone, P., Clarke , S., Cimiotti, J., & Correa-de-Araujo, R. (2006). Nurses’ working conditions: implications for infectious disease. Emerging Infectious Diseases, 10(11), 1984-1989. Thian, J. H., Kannusamy, P., & Klainin-yobas, P. (2013). Stress, positive affectivity, and work engagement among nurses: An integrative literature review. Singapore Nursing Journal, 40(1), 24-33. Veitamana, E. (2014). Leader empowering behaviors and work engagement among nurses in divisional hospital, the Republic of the Fiji Island (Unpublished master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. Van Bogaert, P., Heusden, D., Timmermans, O., & Franck, E. (2014). Nurse work engagement impacts job outcome and nurse-assessed quality of care: Model testing with nurse practice environment and nurse work characteristics as predictors. Frontiers in Psychology, 5, 1261. Van Bogaert, P.,Wouters, K., Willems, R., Mondelaers, M., & Clarke, S. (2013). Work engagement supports nurse workforce stability and quality of care: Nursing team-level analysis in psychiatric hospitals. Journal of Psychiatric and Mental Health Nursing, 20(8), 679-686. Waltz, C. F., Strickland, D. L., & Lenz, E. R. (2005). Measurement in Nursing and Health Research (3rd ed). New York : Spring. Wang, S., & Liu, Y. (2015). Impact of professional nursing practice environment and psychological empowerment on nurses’ work engagement: test of structural equation modelling. Journal of Nursing Management, 23, 287-296.

426 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Job Satisfaction, Leader Empowering Behaviors and Work Engagement Among Nurses in Tertiary Hospitals, Kunming, the People’s Republic of China

Wu, L. (2007). Job satisfaction and turnover intension among nurses in Changsha, China [in Chinese] (Unpublished master’s thesis). Zhong Nan University, Changsha, China. Worf, M. (1970). Need gratification theory: a theoretical reformulation of job satisfaction/ dissatisfaction and job motivation. Journal of Applied Psychology, 54, 87-94. You, L., & Aiken, L. (2013). Hospital nursing, care quality, and patient satisfaction: Cross-sectional surveys of nurses and patients in hospitals in China and Europe. International Journal of Nursing Studies, 50, 154-161.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 427 Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, Republic of The Gambia. บรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาล ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐแกมเบีย

แฟนตา แซคกา จอว์ * Fanta Secka Jaw * ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ ** Thitinut Akkadechanunt ** อรอนงค์ วิชัยค�ำ *** Orn-Anong Wichaikhum ***

บทคัดย่อ บรรยากาศการท�ำงานเป็นปัจจัยส�ำคัญในการท�ำนายการลาออกจากงานของพยาบาลซึ่งสามารถประเมิน ได้จากความตั้งใจในการลาออกจากงาน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของบรรยากาศการท�ำงาน ความตั้งใจลาออก และหาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาลใน โรงพยาบาลระดับตติยภูมิจ�ำนวน 6 แห่ง สาธารณรัฐแกมเบีย กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพจ�ำนวน 201 คน ที่ได้รับการคัดเลือกแบบสุ่มจากแผนกต่าง ๆ ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 6 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศทางจิตวิทยา CRISO (CRISO-PCQ) และแบบ วัดความตั้งใจในการลาออกจากงาน (Turnover Intention Scale: TIS) ค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม CRISO และแบบสอบถาม TIS ได้รับการยืนยันจากผู้พัฒนาเครื่องมือ ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามบรรยากาศทางจิตวิทยา CRISO เท่ากับ 0.92 และแบบวัดถามความตั้งใจในการลาออกจากงานเท่ากับ 0.80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนาและสถิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาในครั้งนี้มีดังนี้ 1. ระดับของบรรยากาศการท�ำงานตามการรับรู้ของพยาบาลโดยรวมพบว่าเป็นบวก และระดับของมิติ 15 ด้าน ของบรรยากาศการท�ำงาน พบว่าเป็นผลบวก 9 ด้าน และเป็นลบ 6 ด้าน 2. ระดับของความตั้งใจลาออกโดยรวมตามการรับรู้ของพยาบาลพบว่าอยู่ในระดับสูง 3. บรรยากาศการท�ำงานโดยรวมและ 13 ด้านมีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับความตั้งใจ ลาออก แต่พบว่าบรรยากาศการท�ำงาน 2 ด้านไม่พบความสัมพันธ์กับความตั้งใจลาออก ผลการศึกษาในครั้งนี้ ผู้บริหารทางการพยาบาลในสาธารณรัฐแกมเบียสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนากลยุทธ์ ในการปรับปรุงบรรยากาศการท�ำงานในด้านลบเพื่อที่จะช่วยลดความตั้งใจลาออกในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิทั้ง 6 แห่งในการศึกษาครั้งนี้

* Hospital Administrator, Jammmeh Foundation for Peace Hospital, Gambia * ผู้บริหารโรงพยาบาล โรงพยาบาลมูลนิธิเจมเหมฟอร์พีส ประเทศแกมเบีย ** Corresponding Author, Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand ** ผู้เขียน, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand *** ผู้ช่วยศาสตราจารย์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 428 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, Republic of The Gambia.

ค�ำส�ำคัญ: บรรยากาศการท�ำงาน, ความตั้งใจลาออก, พยาบาล, โรงพยาบาลระดับอุดมศึกษา, แกมเบีย

Abstract Work climate is a significant predictor of nurse turnover, which can be evaluated by turnover intention. The purposes of this study were to examine levels of work climate and turnover intention, and to explore the relationship between them among nurses in six tertiary level hospitals in the Republic of The Gambia. Participants included 201 nurses who were randomly selected from different departments of these six tertiary level hospitals. Research instruments used in this study were the demographic data form, CRISO Psychological Climate Questionnaire (CRISO-PCQ), and Turnover Intention Scale (TIS). The validity of the CRISO-PCQ and TIS were confirmed by the developer. The reliability of the CRISO-PCQ was 0.92, and TIS was 0.80. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson product moment correlation. The results of the study are as follows: 1. The level of overall work climate as perceived by nurses was positive. Among the 15 dimensions of work climate, 9 were positive and 6 were negative. 2. The overall level of turnover intention as perceived by the nurses was at a high level. 3. There were significant negative relationships between the overall and 13 dimensions of work climate and overall turnover intention. However, two dimensions of work climate were not related to overall turnover intention. The results of this study could be used by nursing administrators in the Republic of The Gambia to develop strategies for improving a negative work climate in order to minimize turnover intention in the six tertiary level hospitals included in this study.

Keywords: work climate, turnover intention, nurse, tertiary level hospital, Gambia

Background and Significance to fill vacant positions nationwide equivalent Nursing shortage evidence has been widely to 8.1% registered nurses’ vacancy rate. In 2006, documented globally, according to the American the World Health Organization (WHO) estimated Bureau of Labor Statistics (2010), despite the that 57 countries, mostly in sub-Sahara Africa, increment in the number of US-trained licensed were estimated to have critical shortages of nurses, the projected nursing demand growth doctors, nurses and midwives equivalent to 2.4 rate from 2010 to 2018 is projected at 22% (or million. An International Council of Nurses (ICN) 2.12% annually). The American Association of Report (2004) revealed that there were more Colleges of Nursing (2010) revealed that the than 600,000 nursing vacancies compared to American Hospital Association in July 2007 the estimated number wanted to scale up needed approximately 116,000 registered nurses priority interventions as recommended by the

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 429 บรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาล ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐแกมเบีย

Commission on Macroeconomics and Health. intention (TI) and has a direct causal impact on In Africa the total health workforce is estimated turnover (Arnold & Feldman, 1982). An employee’s at 1,640,000 with an average of 2.3 health intentions mark the most immediate motivator workers per 1,000 people (World Bank Report, of task performance and an individual’s choice 2006). In the Gambia, a report revealed that of behavior is influenced by their intentions there is a severe nursing shortage in the country, (Mishra & Bhatnagar, 2010). The term TI was first evident by the average national nurse-to- introduced by Mobley (1977) as the voluntary population ratio of 0.11 per 1000 population- intention of an employee leaving his/her job at equivalent to 1.1 nurses per 10,000 populations some point in the near future. Mobley, Horner, which is very low compared to the 2.3 per 1000 and Hollingsworth (1978) defined TI as a conscious population recommended by WHO (Ministry of and deliberate desire to leave the organization Health and Social Welfare, 2013). within the near future and considered it as the High turnover rate among nurses is regarded last part in the sequence of the withdrawal as a big problem leading to shortage, which cognition process. Based on Mobley’s withdrawal does not only affect the quality of patient care cognition model, Roodt (2004) defined TI as the (Sullivan & Decker, 2005; Roussel Swansburg, & voluntary intention of an employee to leave Swansburg, 2006) but also the cost of recruitment an organization, which includes three elements: and training new staff, which ranged from US$ 1) thinking of quitting, which refers to an employee 1,280 to US$ 50,000 (Waldman, Kelly, Aurora, who considers leaving the organization; 2) intention & Smith, 2004; Roussel et al., 2006). Employee to search, which refers to an employee who turnover is defined as the cessation of membership decides to go about looking for a job outside in an organization by an individual who received of the organization; and 3) intention to quit, monetary compensation from the organization which refers to an employee who decides to (Mobley, 1982). The high nurse turnover rate leave the organization at some unspecified point has resulted in less effective working relationships in the future. between nurses and other healthcare profes- From the literature reviewed, factors related sionals, which ultimately affect patient care to TI were numerous, including unfavorable quality. Staff turnover is one of the recent work climate, heavy workload, work engagement, crucial managerial issues for the health sector burnout, organizational citizenship behavior, globally (Gemma , 2006). In the Gambia, a study work alienation, job dissatisfaction, organizational conducted by the Planning Unit Ministry of commitment, role ambiguity, lack of job autonomy, Health within the health sector estimated the job challenge, lack of justice and support, turnover rate was between 30% to 50%, which leadership styles, job stress, lack of promotion is high, and majority were said to be nurses opportunities, organizational support, organiza- (Human Resource for Health, 2009). tional justice, knowledge sharing, co-worker Actual turnover is predicted by turnover trust/support, work environment variables, and

430 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, Republic of The Gambia. work role balance (Biswas, 2010; Du Plooy & Health and Social Welfare, 2012c). The Ministry Roodt, 2013; Dywili, 2015; Gormley & Kennerly, of Health and Social Welfare (MOH&SW) is 2011; Hwang & Chang, 2009; Jacobs & Roodt, responsible for overall policy formulation, 2011; Kim & Kao, 2014; Martin, 2007; Martin & planning, organization, and coordination of the Roodt, 2008; Masemola, 2011). Among the health sector at the national, regional, district above factors, work climate (WC) was most and community levels. The Gambia Nurses and prominent-justifying its selection by the researcher Midwives Council is responsible for issuing for the present study. The field of WC is organized licenses and maintaining a register of all nurses into various conceptual approaches like structural, and midwives eligible to practice within the interactional, cultural and perceptual approaches Gambia (Human Resource for Health, 2009). The (Verbeke et al., 1998). This study was based on health system in the Gambia has three tiers, the perceptual approach because it identified which include the primary, secondary and tertiary WC as “psychological WC” and conceptualized levels. The tertiary level includes seven public it as an individual characteristic rather than an hospitals (one teaching, one specialized, and organizational one. Jones and James (1979) five general public hospitals) which provide defined WC as the cognitive perception of health services to the population at the tertiary various features of work environment in terms level (Ministry of Health and Social Welfare, of their meaning and significance for individual 2012c; Human Resource for Health, 2009). Six employees in an organization, and it has tertiary hospitals were included in this study commonly been considered to mean psycho- because they offered variety of services, were logical climate. Gagnon et al. (2009) developed overcrowded, and had the highest number of an instrument, the Psychological Climate the trained nurses in the country. There are Questionnaire (CRISO-PCQ), based on the three levels of trained nurses in the country: 1) framework initially proposed by Jones and Registered Nurses (RNs), 2) Enrolled Nurses (ENs), James to measure work climate. This instrument and 3) Community Health Nurses (CHNs). measured work climate in 15 dimensions. Several The Human Resources for Health (HRH) studies found relationship between WC and TI. situation in the Ministry has been very critical For example, Hwang and Chang (2009) conducted due to the complexities and challenges a study on WC and TI among Korean hospital associated with human resources such as high staff members and found out that a positive attrition rates, unconducive work climate and WC influenced TI inversely. shortage of skilled health professionals. The WC Republic of The Gambia is located on the of nurses in the Gambia faced lots of challenges. West African coast, has a land area of 10,689 There is some degree of freedom with regards km2, with a population of 1,882,450 (Gambia to task performance but not on decision making Bureau of Statistics, 2006). The country is divided inside each nurse’s own job area. The work into seven administrative regions (Ministry of environment of nurses does not allow the use

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 431 บรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาล ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐแกมเบีย

of a variety of competencies and knowledge as various features of work environment in terms nurses are overloaded; there is inadequate time, of their meaning and significance for individual manpower, training and/or resources in employees in an organization, including fifteen accomplishing tasks. There is also ambiguity dimensions. Nurses who perceived their WC about responsibilities, decisional structure, and positively will be satisfied with their job, which objectives due to the shortage of healthcare will lower TI. The conceptual framework of TI professionals in the country. Nurses are challenged was based on the withdrawal cognition model with heavy workload due to the high attrition, by Mobley (1977), who considered turnover inadequate competent and skilled health workers, intention as the last part of a sequence in the and low staff production from health training withdrawal cognition process. The withdrawal institutions (World Bank, Africa Region, 2010). cognition process included three elements: 1) There is unfairness in the decisions that directly thinking of quitting, 2) intention to search, and impact one’s job such as the promotions, postings, 1) intention to quit. In this study, the correlation and selection of staff for further education between WC and TI was tested. (Human Resource for Health, 2009). Moreover, nurses are not motivated or assisted by the Methodology organizations to conduct research for evidence- A descriptive correlational research design based practice as the directorate of planning was used to examine the levels of WC and TI and information lacks material resources that and identify the relationship between them would enable effective and efficient running of among nurses in six tertiary level hospitals in the health system research and documentation the Republic of The Gambia. unit (Ministry of Health and Social Welfare, Population and Sample 2009). The target population of this study was 347 Gambian registered and enrolled nurses Objectives who were in active service and had at least one The objectives of this study were to year’s work experience post qualification from examine levels of work climate and turnover the six tertiary level hospitals in the Republic intention, and to explore the relationship of The Gambia. The Yamane formula was used between them among nurses in six tertiary to calculate the sample size, which was 186. level hospitals in the Republic of The Gambia. Considering the likelihood of losing some subjects, 20% of the sample size (38 subjects) was added Conceptual Framework into the sample (Burns & Grove, 2005). Therefore, The conceptual framework used in this the final sample size was 224 registered and study for WC was based on the perceptual enrolled nurses. Of these, 205 questionnaires climate theory by Jones & James (1979). They were returned, and 201 were completed. Thus, consider WC as the cognitive perception of the return rate was 91.52%.

432 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, Republic of The Gambia.

Research Instruments Francis Small Teaching Hospital were invited to The research instrument used in this study test the internal consistency reliability of the was a set of questionnaires which included the two instruments. A Cronbach’s alpha of 0.92 following: was obtained for CRISO-PCQ and 0.8 for TIS. 1. The Demographic Data Form was designed to collect the study participants’ information Data Collection Including gender, age, marital status, religion, Self-administered questionnaires were level of nursing education, years of work used to collect data from December 2015 to experience, hospital, and department. February 2016 at the six tertiary level hospitals, 2. The CRISO Psychological Climate Republic of The Gambia. Simple random sampling Questionnaire (CRISO-PCQ) consisted of 60 items was used to select nurses from the list of nurses with 15 dimensions with each dimension who met the inclusion criteria in each department. consisting of four items. Each item was placed After taking consent, the instruments were on a five-point Likert scale of 1 (strongly disagree), distributed to the nurses by research coordinators. 2 (disagree), 3 (neutral), 4 (agree), and 5 (strongly After two weeks, the research coordinators agree) for participants’ responses. The 15 collected all the returned questionnaires in dimensions included 1) job importance, 2) job sealed envelopes and submitted them to the autonomy, 3) job challenge, 4) role clarity, 5) researcher. The data were cleaned and checked role conflict, 6) role workload, 7) leadership by the researcher prior to entering them into trust & support, 8) leadership goal emphasis, 9) the computer for analysis. leadership work facilitation, 10) work group warmth, 11) work group pride, 12) work group Data Analysis Procedures cooperation, 13) organizational innovation, 14) Statistical software was used to analyze organizational justice, and 15) organizational the descriptive and inferential statistics in this support. study. Demographic data, level of WC, and TI 3. The Turnover Intention Scale (TIS) were analyzed using descriptive analysis consisted of 15 items, measured on a five-point frequency, percentage, mean, and standard intensity response scale anchored at extreme deviation. Pearson product moment was used poles (e.g. “never” 1 [low intensity], to “always” to examine the relationship between overall 5 [high intensity]). and each dimension of WC and overall TI. Validity and Reliability of the Instrument According to Burns and Grove (2005), r < 0.3 With the permission from the authors, the was considered as a weak positive relationship, researcher used the CRISO-PCQ and TIS without r = 0.3 - ≤ 0.5 was considered a moderate positive any modification; therefore, the researcher did relationship, and r = > 0.5 was considered a not test for validity prior to the study. Twenty strong positive relationship, whereas negative registered and enrolled nurses from Edward correlation results were interpreted in the

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 433 บรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาล ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐแกมเบีย

opposite way. The significant alpha level was Results set at 0.05. The study sample consisted of 201 Registered and Enrolled Nurses. The ages of the Ethical considerations participants ranged from 22 to 60 years. The Prior to data collection, the research age group with the highest number of proposal was approved by the graduate school, participants in this study was 26 – 30 years Chiang Mai University, and the Research Ethics (33.83%). The majority of the study participants Committee of the Faculty of Nursing, Chiang were female and Muslims (56.72% and 87.56%, Mai University, Thailand. In the Gambia, respectively), and more than half of the permission was obtained from the Ministry of participants (67.66%) were married. Nearly half Health and Social Welfare, Gambia government/ of the study participants held the Enroll Nurse MRC Joint Ethics Committee, University of the Certificate (44.28%), and 39.30% of the study Gambia Ethics Committee, and each tertiary participants had work experience between 1 to level hospital’s Chief Executive Officer (CEO). 5 years. Furthermore, most of the study All participants were informed about the participants (45.77%) came from the Teaching purpose and benefits of the study before data Hospital (EFSTH). However, study participants collection. They were informed that participation came from 11 different departments. The in the study was voluntary, so they could refuse department with the highest number of to participate or withdraw anytime. Lastly, the participants (21.89%) in this study was the participants who agreed to participate in the maternity department. study were asked to sign a written consent.

Table 1 Mean, Standard Deviation and Level of Work Climate as Perceived by Study Participants (n = 201) Work Climate Mean SD Level Overall Work Climate 3.26 0.40 Positive Job Importance 4.10 0.50 Positive Job Autonomy 3.24 0.76 Positive Job Challenge 2.75 0.37 Negative Role Clarity 2.89 0.72 Negative Role Conflict 3.33 0.80 Positive Role Workload 2.53 0.66 Negative Leadership Trust & Support 3.60 0.79 Positive Leadership Goal Emphasis 3.55 0.76 Positive

434 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, Republic of The Gambia.

Work Climate Mean SD Level Leadership Work Facilitation 3.49 0.87 Positive Work Group Warmth 3.57 0.67 Positive Work Group Pride 3.35 0.61 Positive Work Group Cooperation 3.66 0.73 Positive Organizational Innovation 2.88 0.75 Negative Organizational Justice 2.99 0.80 Negative Organizational Support 3.00 0.95 Negative

As illustrated in Table 1, the overall mean work facilitation, work group warmth, work group score of WC as perceived by the study pride, and work group cooperation. On the participants was positive (= 3.26, SD 0.40). other hand, six dimensions were negative, which Among the fifteen dimensions of WC, nine includes role clarity, job challenge, role workload, dimensions were positive including job importance, organizational innovation, organizational justice, job autonomy, role conflict, leadership trust and organizational support. and support, leadership goal emphasis, leadership

Table 2 Mean, Standard Deviation and Level of Overall TI and Each Item as Perceived by Study Participants (n = 201) Turnover Intension Mean SD Level Overall turnover intention 3.19 0.52 High Table 2 illustrates that the overall turnover intention as perceived by study participants was high (= 3.19 & SD 0.52).

Table 3 Relationship between Overall and Each Dimension of Work Climate and Overall Turnover Intention as Perceived by Study Participants (n = 201) Overall Turnover Intention Work Climate Dimensions r Overall Work Climate -0.54 ** Job importance -0.17 * Job autonomy -0.15 * Job challenge -0.07 Role clarity -0.12

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 435 บรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาล ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐแกมเบีย

Overall Turnover Intention Work Climate Dimensions r Role conflict -0.28 ** Role workload -0.37 ** Leadership trust & support -0.39 ** Leadership goal emphasis -0.29 ** Leadership work facilitation -0.39 ** Work group warmth -0.27 ** Work group pride -0.16 * Work group cooperation -0.26 ** Organizational innovation -0.37 ** Organizational justice -0.51** Organizational support -0.53** ** P < 0.01. * P < 0.05.

Table 3 illustrates that there was a strong Discussions significant negative relationship between overall Work Climate (WC): The results of this WC and TI (r = -0.54, p < .01) (Table 3). Regarding study showed that the overall mean of work the WC dimensions, 13 had a significant negative climate as perceived by the study participants relationship with overall TI, but the strength of was positive (=3.26, SD 0.40) (Table 1). The the relationships varies among dimensions. finding was congruent with prior studies in There was a strong negative correlation between Canada, Gagnon et al. (2009); Bedi et al. (2012); organizational justice, organizational support, Paquet et al. (2013); in Korea, Hwang and Chang and overall TI. There was a moderate negative (2009); and Biswas (2010) in India. The mean WC relationship between role workload, leadership dimensions scores in this study ranged from trust & support, organizational innovation, and 2.53 to 3.66. The results of this study showed leadership work facilitation and overall TI. that among the fifteen dimensions of WC, nine Furthermore, there was a weak negative were perceived positive, namely job importance, correlation between overall TI and job importance, job autonomy, role conflict, leadership trust & job autonomy, role conflict, leadership goal support, leadership goal emphasis, leadership emphasis, work group pride, work group work facilitation, work group warmth, work group cooperation, and work group warmth. Finally, pride, and work group cooperation (Table 2). there was no significant relationship between However, six dimensions, namely job challenge, two dimensions of WC—job challenge and role role clarity, workload, organizational innovation, clarify—and overall TI. organizational support and organizational justice,

436 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, Republic of The Gambia. were perceived negatively by study participants. this study showed that the overall TI as perceived One possible explanation why overall WC by the study participants in the tertiary level and nine dimensions were positive as perceived hospital, Republic of The Gambia was at a high by Gambian nurses is that WC is the cognitive level (=3.19, SD 0.52) (Table 2). The level of perception of various features of work environment this result corroborated with previous studies in terms of their meaning and significance for of Yousef, Abo El-Maged & El-Houfey, (2014); individual employees in an organization (Jones and Masemola (2011). This result could be & James, 1979). A second possible explanation explained by the Mobley’s withdrawal cognition could be the culture of silence and non-resilience model (1977), which represents a mental decision of nurses in general as most nurses generally intervening between an individual’s attitude feel shy or uncomfortable expressing themselves regarding the job and the stay or leave decision or their real feelings, especially with regards to (Sager et al., 1998). Another possible explanation organizations and their leadership (Clark & Clark, is the fact that there are inadequate motivational 2006; Anonymous Personal Communication, and retention strategies for nurses working in July 10, 2014). Furthermore, one possible reason Gambia (Africa Health Observatory, 2012). Further why six work climate dimensions were negative possible explanation why turnover intention could be explained by the fact that the work was high could be that the majority of nurses environment of nurses in the Gambia does not were thinking about starting their own business allow the use of variety of competencies and due to the low salaries and benefits, unfriendly knowledge as nurses are overloaded; there is work environment, heavy work load, strict posting inadequate time, manpower, training and/or rules, poor quality of work life, and unfair resources for accomplishing tasks. Nurses’ roles promotions and selection of staff for further are not clearly specified, and there is ambiguity training (Fochsen, Sjofgren, Josephson, & Lager- about responsibilities, decisional structure, and strom, 2005; Human Resource for Health, 2009). objectives. Gambian nurses are not conducting Relationship between WC and TI: There research for evidence-based practice compared was a strong significant negative relationship to other nurses around the world, probably due between overall WC and overall TI (r = - 0.54, to the heavy workload in combination with lack p < 0.01) (Table 3). The findings indicated that of encouragement, free time, funding, support the high level of WC was related to low level for new ideas, and the fact that the directorate of TI as perceived by the study participants. The of planning and information lacks material results supported the conceptual framework, resources that will enable effective and efficient in that it showed a negative linear relationship running of the health system research and between WC and TI; that is, nurses who perceived documentation unit (Ministry of Health and their WC positively will be satisfied with their Social Welfare, 2009). job, which will lower TI in the tertiary level Turnover Intention (TI): The results of hospitals Republic of the Gambia. This result

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 437 บรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาล ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐแกมเบีย

was congruent with prior studies of Aiken et al. clarity, role workload, organizational innovation, (2008); Hwang and Chang (2009); Biswas (2010); organizational justice and organizational support Meeusen et al. (2011); and Trembley et al. —by establishing a participatory approach which (2010). This result could be explained by Fishbein involves “all” teams at “all” levels of the and Ajzen’s Theory of Reasoned Action (TRA) organization and setting up an internal strategic (1975), which states that the more favorable a watch to maintain conditions promoting person’s attitude towards some object, the continuous improvement of the WC in tertiary more he will intend to perform positive behavior level hospitals, Republic of The Gambia so that and the less he will intend to perform negative TI can be minimized and nurses retained. behavior with respect to that object. Therefore, when nurses are not satisfied with their WC, Recommendations for future research their TI will be high. Future research is needed to replicate this study in other health facilities for country wide Implications generalizability. Secondly, managers should The results of this study will provide develop practical strategies and actions for considerations for both the nurse and hospital improving the six negative work climate dimensions administrators in order to maintain the nine by establishing a participatory approach to positive WC dimensions. Moreover, these decrease turnover intentions or retain nurses in practitioners can develop strategies of improving tertiary hospitals in the Gambia. the six negative dimensions–job challenge, role References Africa Health Observatory. (2012). The Gambia country profile: Analytical summaries. Banjul: Author. American Association of Colleges of Nursing. (2010). Nursing shortage fact sheet. Washington, DC: Author. American Bureau of Labor Statistics. (2010). Nursing shortage fact sheet. New York: The Center for Health Workforce Studies. Arnold, J. H., & Feldman, A. D. (1982). Multivariate analysis of the determinants of job turnover. Journal of Applied Psychology, 67(3), 350-360. doi:10.1037/0021-9010.67.3.350 Bedi, A., Courcy, F., Paquet, M., & Harvey, S. (2012). Interpersonal aggression and burnout: The mediating role of psychological climate. Stress and Health, 29(5), 350-359. doi:10.1002/smi.2476 Biswas, S. (2010). Relationship between psychological climate and turnover intentions and its impact on organisational effectiveness: A study in Indian organisations. IIMB Management Review, 22(3), 102-110. doi:10.1016/j.iimb.2010.04.013

438 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Work Climate and Turnover Intention Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, Republic of The Gambia.

Burns, N., & Grove, K. S. (2005). The practice of nursing research conduct, critique, and utilization. Philadelphia: W. B. Saunders. Clark, P. F., & Clark, D. A. (2006). Union strategies for improving patient care: The key to nurse unionism. Labor Studies Journal, 31(1), 51-70. doi:10.1353/lab.2006.0003. Du Plooy, J., & Roodt, G. (2013). Biographical and demographical variables as moderators in the prediction of turnover intentions. SA Journal of Industrial Psychology, 39(1), 1-12. doi:10.4102/sajip.v39i1.1070 Dywili, M. (2015). The relationship between occupational stress and intentions to quit among employees at Nkonkobe Municipality, South Africa. Business and Economics Journal, 6, 146-156. doi:10.4172/2151-6219.1000146. Fishbein, M., & Ajzen, I. (1975). Belief, attitude, intention, and behavior: An introduction to theory and research. Reading, MA: Addison-Wesley. Gagnon, S., Paquet, M., Courcy, F., & Parker, C. P. (2009). Measurement and management of work climate: Cross-validation of the CRISO Psychological Climate Questionnaire. Healthcare Management Forum, 22(1), 57-65. Gemma, C. (2006). Psychological climat: what is it and what does it look like. Monash University Department of management, working paper, 2-11. Gormley, D. K., & Kennerly, S. (2011). Predictors of turnover intention in nurse faculty. Journal of Nursing Education, 50(4), 190-196. doi:10.3928/01484834-20110214-05. Human Resource for Health. (2009). Human Resources for Health country profile: The Gambia. Banjul: Author. Hwang, J. I., & Chang, H. (2009). Work climate perception and turnover intention among Korean hospital staff. International Nursing Review, 56(1), 73-79. doi:10.1111/j.1466-7657.2008.00641.x Jacobs, E., & Roodt, G. (2011). The mediating effects of knowledge sharing between organizational culture and turnover intentions of professional nurses. South African Journal of Information Management, 13, 1-6. doi:10.4102/sajim.v13i1.425 Jones, A. P., & James, L. R. (1979). Psychological climate dimensions and relationships of individual and aggregated work environment perception. Organizational Behavior and Human Performance, 23(2), 201-250. doi:10.1016/0030-5073(79)90056-4 Martin, A., & Roodt, G. (2008). Perception of organisational commitment, job satisfaction and turnover intentions in a post-merger South African tertiary institution. SA Journal of Industrial Psychology, 34(1), 23-31. doi:10.4102/sajip.v34i1.415.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 439 บรรยากาศการท�ำงานและความตั้งใจลาออกของพยาบาล ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สาธารณรัฐแกมเบีย

Masemola, S. E. (2011). Employee turnover intentions, organizational commitment, and job satisfaction in post-merger tertiary institutions (Master’s thesis, University of Lumpopo, South Africa). Retrieved from http://ulspace.ul.ac.za/bitstream/handle/ 10386/484/SE%20 Masemola%20(200405486)%20Mini%20-dissertation_ Redacted.pdf?sequence=3 Ministry of Health and Social Welfare. (2009). National health research policy 2010-2014. Banjul: Author. Ministry of Health and Social Welfare. (2012c). The Gambia national health strategic plan 2014-2020. Banjul: Author. Mishra, S., & Bhatnagar, D. (2010). Linking emotional dissonance and organisational identification to turnover intention and emotional well-being: A study of medical representatives in India. Human Resource Management, 49(3), 401-419. doi:10.1002/hrm.20362 Mobley, W. H. (1982). Employee turnover: Causes, consequences and control. Reading, MA: Addison-Wesley. Mobley, W. H., Griffeth, R. W., Hand, H. H., & Meglino, B. M. (1979). Review and conceptual analysis of the employee turnover process. Psychological Bulletin, 86(3), 493-522. O’Brien-Pallas, L., Murphy, G. T., Shamian, J., Li, X., & Hayes, L. T. (2010). Impact and determinants of nurse turnover: A pan-Canadian study. Journal of Nursing Management, 18(8), 1073-1086. doi:10.1111/j.1365-2834.2010.01167.x Raphael, T. (2015). Nurse turnover in hospitals. Retrieved from http://www.ere.net/nurse-turnover-in-hospitals.html Roodt, G. (2004). Turnover intentions. Unpublished document, University of Johannesburg, South Africa. Roussel, L., Swansburg, R. C., & Swansburg, R. L. (2006). Management and Leadership for nurse administrators. Boston: Jones and Bartlett. Sullivan, E. J., & Decker, P. J. (2005). Reducing turnover, retaining staff, effective leadership & management in nursing (6th ed.). New Jersey: Person Education. Verbeke, W., Volgering, M., & Hessels, M. (1998). Exploring the conceptual expansion within the field of organizational behaviour: Organizational climate and organizational culture. Journal of Management Studies, 35(3), 303-329. doi:10.1111/1467-6486.00095 World Bank. (2006). World Bank annual report. Washington, DC: World Bank Press Kid. World Bank. (2010). World Bank annual report. Washington DC: World Bank Press Kid. World Bank, Africa Region. (2010). The Gambia Improving Civil Service Performance. Department for International Development. World Health Organization. (2006). Working together for health. Geneva: Author. Yousef, H. R., Abo El-Maged, N. S., & El-Houfey, A. A. (2014). Organizational climate correlates nurses’ intention to leave. Public Policy and Administration Research, 4(4), 14-21.

440 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้และความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาล ในสถาบันการศึกษาพยาบาล สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

รินา รานิ บาราล * Rina Rani Baral * สมใจ ศิระกมล ** Somjai Sirakamon ** รัตนาวดี ชอนตะวัน *** Ratanawadee Chontawan ***

บทคัดย่อ ความพึงพอใจในงานมีความส�ำคัญยิ่งส�ำหรับการคงอยู่ในงานของอาจารย์พยาบาล การศึกษาพบว่าการสนับสนุน ขององค์กรตามการรับรู้ส่งผลต่อความพึงพอใจในงาน การศึกษาเชิงพรรณาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ อธิบายการสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้ ความพึงพอใจในงานและเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุน ขององค์กรตามการรับรู้กับความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาล กลุ่มตัวอย่างคืออาจารย์พยาบาลจ�ำนวน 186 คน ที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถาบันการศึกษาพยาบาล 43 แห่ง ของสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบส�ำรวจการสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้ (SPOS) และแบบ วัดดรรชนีการพรรณนางาน (aJDI) ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นของแบบวัด SPOS และ aJDI เท่ากับ0.90 และ 0.82 ตามล�ำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบ สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า 1. การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้ของอาจารย์พยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง 2. ความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง 3. การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับความพึงพอใจในงานอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาครั้งนี้ผู้บริหารของสถาบันการศึกษาพยาบาลสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนากลยุทธ์ในการปรับปรุง การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้อันจะส่งผลให้มีการเพิ่มความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาลต่อไป

ค�ำส�ำคัญ: ความพึงพอใจในงาน การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้

* อาจารย์พยาบาลสถาบันการศึกษาพยาบาล Patuakhali สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ * Nursing instructor, Patuakhali Nursing Educational Institute, People’s Republic of Bangladesh ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand *** รองศาสตราจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 441 การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้และความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาล ในสถาบันการศึกษาพยาบาล สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

Abstract Job satisfaction is crucial for the retention of nursing instructors. Studies indicated that perceived organizational support influences job satisfaction. This descriptive correlational study aimed to describe perceived organizational support and job satisfaction, and to examine the relationship between perceived organizational support and job satisfaction among nursing instructors. The sample consisted of 186 nursing instructors working in 43 nursing educational institutes in the People’s Republic of Bangladesh. The research instruments used were the Demographic Data Form, the Survey of Perceived Organizational Support (SPOS), and the abridged Job Descriptive Index (aJDI). The reliabilities of the SPOS; and the aJDI were 0.90 and 0.82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman’s rank-order correlation coefficient. The results of this study indicated as follows: 1. Perceived organizational support among nursing instructors was at a moderate level. 2. Job satisfaction among nursing instructors was at a moderate level. 3. There was a statistically significant moderate positive relationship between perceived organizational support and job satisfaction. The findings of this study could be used by the administrators of nursing educational institutes in developing strategies to improve perceived organizational support; thereby, job satisfaction of nursing instructors would be increased.

Keywords: job satisfaction, perceived organizational support

Background and Significance salaries, and lack of funds to create permanent According to the World Health Organization positions (CAN & CASN, 2012). Nursing instructors (WHO), there have been shortages of nursing have an important responsibility to prepare instructors in both developed and developing future nurses. (Gormley, 2003). As a result, countries; critical shortages have been reported insufficient numbers of nursing faculties limit in at least 57 developed and developing countries the ability to admit and educate nurses (CNA & (Christmas & Hart, 2007). The difficulties in retaining CASN, 2012). Studies have shown that employee qualified and experienced nursing faculty are retention is related to job satisfaction (Hinshaw due to an increase in retirement and faculty & Atwood, 1983; Christian, 1986). Further, low leaving for higher paying positions in the private job satisfaction has been linked to the leaving sector (The National League for Nursing Board of nursing instructors from the profession (Tang of Governors position statement, 2006). Other & Ghani, 2012). Job satisfaction is defined as main factors limiting the ability to recruit new persistent feelings toward discriminable aspects faculty include the following: a shortage of of the job situation (Stanton, Balzer, Smith, adequately prepared nurses, non-competitive Parra, & Ironson, 2001). Herzberg’s two-factor

442 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh theory proposed that there are many factors satisfaction is influenced by perceived organi- that are related to job satisfaction (Herzberg’s zational support (Rhoades & Eisenberger, 2002), et al., 1959). Those factors are divided into two and several studies found the relationships categories: 1) hygiene factors (salary, supervision, between the two variables (Eisenberger, et al., interpersonal relations, working conditions, 1997; Burke, 2003; Gutierrez, Candela, & Carver, organization policy, and administration), and 2) 2012; Aung, 2014; Miao, 2011). Perceived motivating factors (achievement, work itself, organizational support refers to employees’ responsibility, recognition, and advancement or perceptions concerning the degree to which the opportunity for growth). Job satisfaction is very organization cares about their well-being and important for retaining nurses. The nursing values their contribution (Eisenberger et al., faculty vacancy rate has increased at the national 1986). Organizational support theory has three and international levels in many countries forms of favorable treatment: fairness, supervisor across the world. The unfilled faculty positions support, and as well as organizational rewards directly affect the supply and demand of the and job conditions (Rhoades & Eisenberger, nursing workforce (Derby-Davis, 2013). This 2002). Eisenberger et al. applied the social phenomenon creates greater and greater exchange theory developed by Blau (1964, as pressure on nursing faculty according to increased cited in Tanksky & Cohen, 2001) to explain workload as they are burdened with the respon- employee-organization relationships. Social sibility of preparing future nurses (Barrett & exchanges involve reciprocity (Tanksky & Cohen, Goldenberg cited in Barrett, Goldenberg, & Faux, 2001), whereby each party has perceptions and 1992). Job satisfaction is important as satisfied expectations regarding the behavior of the employees tend to have higher productivity. other party. Perceived organizational support According to the study of Embuldeniya (2017), was developed for satisfying employees’ socio- findings revealed that employee job satisfaction emotional needs and showing readiness to give is significantly related to productivity. On the help and reward their extra efforts (Eisenberger other hand, job dissatisfaction or low job et.al, 1986). Lack of organizational support can satisfaction can affect work outcomes. For example, cause dissatisfaction and burnout among nursing low job satisfaction among nurses can have an instructors. (Patrick & Laschinger, 2006). impact on patient outcomes including quality Bangladesh is facing a severe shortage of of care (Kwak et al., 2010) and patient satisfaction nursing instructors due to rapid increases in class (Szecsenyi et al., 2011). Job dissatisfaction is size and the rising number of nursing educational related with dysfunctional outcomes, including institutions, without corresponding increases in increased turnover, absenteeism, and reduced number of nursing instructors (Lund, Huda, & job performance (Ivancevich, Konopaske, & Berland, 2013). The ratio of nursing instructors Matteson, 2008). to students is 1:27 whereas the international Literature reviews have shown that job standard ratio is 1:8 (HRD, 2011). Nursing

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 443 การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้และความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาล ในสถาบันการศึกษาพยาบาล สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

instructors are important people who are in organizational support and job satisfaction of close contact with nursing students. They assume nursing instructors have not been found in the their responsibilities in an unfavorable People’s Republic of Bangladesh. This study environment with a discrepancy between the aims to examine the POS, JS, and the relationship supply and demand resources (Lund et al., 2013; between both variables among nursing instructors WHO, 2003). Most of the nursing educational in Bangladesh. institutions are operated by the senior staff nurses who lack teaching experience. Large Objectives student groups and a variety of administrative 1. To describe perceived organizational duties have been found to be a cause of support among nursing instructors in nursing dissatisfaction among nursing instructors. educational institutes, People’s Republic of Insufficient and out-of-date protocols/guidelines; Bangladesh an increase of class size; time pressure; work 2. To describe job satisfaction among overload and tension; and insufficient support nursing instructors in nursing educational institutes, also cause nursing instructors not to feel satisfied People’s Republic of Bangladesh with their job (Lund et al., 2013). Furthermore, 3. To examine the relationship between low income and insufficient support for residential perceived organizational support and job facilities are also causes of dissatisfaction among satisfaction among nursing instructors in nursing nurse instructors. Nursing instructors’ job educational institutes, People’s Republic of dissatisfaction has appeared as a red-hot issue Bangladesh for the nursing education sector (Issah, 2013). Literature review shows that only one Conceptual Framework study researching about POS has been found The concept of perceived organizational among nursing instructors (Gutierrez, Candela, support was based on Eisenberger et al. (1986). & Carver, 2012). Likewise, although investigation According to literature review, when employees of job satisfaction in the nursing profession has have access to support from the organization, been extensive, it has been primarily concerned their job satisfaction would likely to be increased. with the satisfaction of nurses working in the The concept of job satisfaction was based on clinical setting; few research studies have Stanton et al. (2001) which comprises 5 facets: focused on nursing instructors. Also, inconsistent (1) work on present job, (2) present pay, (3) findings have been found among those studies. opportunities for promotion, (4) supervision, and Several studies explored the relationship (5) people at work. The relationship between between POS and JS among the nursing perceived organizational support and job population; however, only one study was found satisfaction was examined in this study. among nursing instructors (Gutierrez, Candela, & Carver, 2012). Studies related to perceived

444 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh

Methodology Best and Kahn (2003), the interpretations of the This is a descriptive correlational study scores of both instruments were identified as conducted among nursing instructors in 43 high, moderate or low levels. nursing educational institutes in seven divisions The original instruments of SPOS and aJDI of Bangladesh. Proportionate stratified random were translated from English to Bengali language sampling method was used to select the sample by the researcher. One nursing instructor who from each nursing educational institute. In this had high English proficiency back-translated this study, a total of 188 questionnaires were Bengali version into English. Another bilingual distributed to the sample of the nursing instructors. professional translator checked to find any The response rate was 186 (98.93%) questionnaires discrepancies between the back-translated that were complete and used for data analysis. English version and the original instrument. There was no significant discrepancy between Research instruments the two versions. The researcher had sent this The research instruments consisted of version with original one to her advisors for three parts: 1) Demographic data form, 2) the approval before collecting data. The construct 17-item Survey of Perceived Organizational validity of SPOS was 0.90 (Shore & Tetrick, 1991) Support (SPOS), developed by Eisenberger et while the aJDI was validated by the developer al. (1986), which rates on a 7-point Likert scale of the instruments (Stanton et al., 2001). In this (0 = strongly disagree to 6 = strongly agree). This study, the Cronbach’s alpha reliabilities of the questionnaire consists of both positive and SPOS and the aJDI were .90 and .82, respectively. negative items; thus, all negative items include 2, 3, 5, 6, 10, 13, and 14 were reversed. 3) The Protection of Human subjects Abridge Job Descriptive Index (aJDI); 25 items Prior to data collection, the study protocol developed by Stanton et al. (2001). This tool was approved by the Research Ethical Committee consists of five facets of job satisfaction: work of the Faculty of Nursing, Chiang Mai University, on present job, present pay, opportunities for Thailand, and the Directorate of Nursing Service, promotion, supervision, and people at work. Bangladesh. All participants were informed Each facet contains 5 items that require about the purpose and the methods of the responses of “yes”, “question mark”, and “No” study. They were informed that their participation (“Yes” for “3” if it describes; “No” for “0” if it in this study was voluntary. Hence, they could does not describe, and “?” for “1” if it cannot refuse to participate or withdraw from the study describe). Each facet includes 3 positive and 2 at any time without any negative consequences negative items. All negative items (dull, or losing any benefits. They were also reassured uninteresting, underpaid, insecure, dead-end that their responses would be kept confidential job, unfair promotion policy, annoying, bad, and that their identities would not be revealed boring, and lazy) were reversed. According to in research reports or publications of the study.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 445 การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้และความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาล ในสถาบันการศึกษาพยาบาล สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

The participants who agreed to participate in as a nurse, the mean number was 15.54 and the study were asked to sign a written consent, the range was between 5 and 34. The average and no gift that might be interpreted as coercive years of working experience as a nursing instructor was given. was 6.38, with the highest percentage of them (55.90%) working for 1-5 years. Most of the Data analysis procedures nursing instructors earned 15,001-25,000 Data were analyzed using a computer Bangladeshi Taka per month (60.70%). software package. Descriptive statistics were 2. The overall mean score of POS as perceived employed to describe demographic data, POS, by the subjects was at moderate level (=3.29, and JS. Spearman’s rank-order correlation test SD=0.80) (Table1). was used to explore the relationship between 3. The overall job satisfaction as perceived POS and JS as the data were not normally by the subjects was at moderate level (= distributed after Kolmogorov-Smirnov test. 31.14, SD = 17.12). Likewise, four dimensions of job satisfaction (work on present job, present Results pay, supervision, and people at work) were at 1. The mean age of the subjects was 44 moderate (=7.23, SD=2.52; =5.64, SD=2.32; years with the age ranging from 29 to 59. Among =7.01, SD=2.55; and =7.41, SD=2.41, them, the majority were female (84.9%), married respectively) while the dimension of job (83.9%), and held master’s degrees (61.80%). opportunities for promotion was low (=3.83, With regards to the years of working experience SD=2.82). (Table1).

Table 1 Mean, standard deviation, and levels of perceived organizational support and job satisfaction among the subjects (n = 186) Variables  SD Level Overall perceived organizational support 3.29 .80 Moderate Overall job satisfaction 31.14 7.12 Moderate work on present job 7.23 2.52 Moderate present pay 5.64 2.32 Moderate opportunities for promotion 3.83 2.82 Low supervision 7.01 2.55 Moderate people at work 7.41 2.41 Moderate

4. There was a moderate positive relationship between perceived organizational support and job satisfaction (r = .44, p < 0.0001) (Table 2).

446 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh

Table 2 Spearman’s Rank-order correlation of coefficients between nursing instructors’ perceived organizational support and job satisfaction as perceived by the subjects (n = 186) Job Satisfaction r P Perceived Organizational Support .44 < 0.0001

Discussion from nursing institutes and the government. 1: Perceived organizational support According to the regulation regarding leave rules Nursing instructors in Bangladesh perceived in Bangladesh, the government provides all overall organizational support at a moderate public employees (including nursing instructors) level (Table 1). This means that nursing instructors sick leave, maternity leave, and family and who worked at nursing educational institutes medical leave support (Daily Star News, 2011). perceived that their organization cared about However, there was insufficient accommodation their well-being nicely in some ways while provided. Thus, most of the nursing instructors unpleasantly in some points. lived outside the campus and had to spend The possible reasons can be explained in time travelling from home, which affects daily relation to organizational support theory. Firstly, work. fairness concerns the ways used to determine Thirdly, organizational rewards and favorable the distribution of resources, both material and job conditions includes things such as recognition, interpersonal, among employees (Rhode & pay, promotion, job security, autonomy, stressors Eisenberger, 2002). Material supply facilities such and training (Rhode & Eisenberger, 2002). The as overhead projectors, computers, multimedia Directorate of Nursing Services in Bangladesh and stationery were not sufficiently available in provided a variety of training programs for nursing each nursing educational institute. For example, instructors, supported nursing instructors for at Patuakhali (Barisal province) nursing educational higher education both in the country and overseas, institute, there were 9 nursing instructors and and encouraged nursing research (Lund et al., 240 students while only 10 desktop computers 2013). This could have led nursing instructors and one LCD projector were provided. Likewise, to feel that working in nursing institutes is some of the nursing institutes had limited challenging. internet access. In Bangladesh, the reward system for the Secondly, supervisor support is the general nursing profession started in 1977, with five degree to which employees perceive their committee members. Among nursing educational well-being (Rhode & Eisenberger, 2002). The institutes, local authorities selected the persons possible reasons for perceiving somewhat with excellent performance each year to be support could be due to the welfare received rewarded. Regarding nursing instructors, the best

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 447 การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้และความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาล ในสถาบันการศึกษาพยาบาล สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

is nominated for a Florence Nightingale “Lady 2009) while inconsistent with the study by Fain of the Lamp” award. However, there has been (1987). The latter found a low level of job only one nursing instructor working at Midfort satisfaction among nursing teachers in the Nursing Institute, Dhaka, who has earned this United States. award (DNS, 2010-2012). The findings of each dimension of job Another possible reason for the moderate satisfaction are discussed in detail as follows. level of POS in this study is the work experience 1. Work itself: Nursing instructors perceived of the subjects. Rhoades, Eisenberger and Armeli the facet of work on present job at a moderate (2001) stated that work experience can have an level (Table 1). This might be due to high workload. influence on POS. In the present study, 55.90% In this study, the results showed that 47.80% and 29.00% of the subjects had worked as of nursing instructors reported that the average nursing instructors for 1-5 years and 6-10 years, number of students in the classroom was 40-50 respectively. The less experienced instructors (Table 2). Regarding the ratio of nursing instructor might perceive less favorable treatment from to students in clinical practice, 68.80% of the their nursing institutes. subjects reported that it was 1:21-30 even This result, the perceived moderate level though the Human Resource Development of POS, was similar to the findings of a study in under the Ministry of Health and Family Welfare Egypt among nursing academic staff (Mohammed stated that the international standard is 1:8 & El-Shaer, 2013). The authors found that more (HRD, 2011). According to Lund, (2013) in than half of the subjects were very satisfied with Bangladesh there was an insufficient number of POS whereas around 40% of them were instructors for increasing class sizes and number unsatisfied. of institutions. 2: Job satisfaction However, in recent years, a remarkable The results of this study showed that development has taken place through several nursing instructors’ perceived overall score of initiatives with financial assistance from the JS at a moderate level (Table 1). Four dimensions government, the WHO, and the Department for of job satisfaction including work on present International Development (BNC, 2013). Nursing job, present pay, supervision, and people at instructors had more opportunities to improve work were also at moderate levels; however, their working conditions. For example, they were the dimension of opportunity for promotion provided with chances to improve their work was at a low level (Table 1). These findings and career through continuing education or indicate that nursing instructors who worked at training. the 43 nursing institutes did not appreciate their 2. Pay: The results of this study indicate job highly. that the perception of nursing instructors on The results of this study are in line with a the dimension of pay was at a moderate level study in Afghanistan (Gui, Barriball, & While, (Table 1). This means that nursing instructors

448 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh felt somewhat dissatisfied with the payment the mean score of the item ‘Up to date’ was they received. The findings of this study showed at low level (=1.18, SD=1.44). Some of nursing that 34.40% and 26.30% of the subjects got instructor incharges did not know how to operate average salaries of 15,001 – 20,000 and 20,001 the computer; thus, they lacked skills to update – 25,000 Taka, respectively. On the other hand, information through information technology. in Bangladesh monthly average expenditure is Therefore, updated information was not regularly 20,000 – 35,000 Taka (Cost living, 2014). This conveyed to their subordinates (DNS, 2013). amount of salary is not enough to live on. These 5. People at work: The perception of may influence nursing instructors’ to have nursing instructors on the dimension of people moderate satisfaction regarding pay. at work or co-workers was at a moderate level 3. Opportunity for promotion: The per- (Table 1). The possible explanation could be ception of nursing instructors on the dimension due to the organizational characteristics of a of opportunity for promotion was at a low female-dominated society. This stereotype level (Table 1). The possible reason may be the helped to make nursing instructors feel difficulty to reach the promotion criteria while comfortable to contact, relate, and help each the better promotion opportunity helped enhance other in their institutes. This study also found the higher salary, benefits, and prestige (Rubel that co-workers were perceived as helpful & Kee, 2014). Further, the findings indicate that people. The mean score of the item ‘helpful’ more than half of the nursing instructors was 2.64 (SD = 0.95). However, they might feel (61.80%) had completed a master’s degree; unhappy with their co-workers in some situations however, promotion was based primarily on such as inadequate sharing about information seniority not on education (DNS, 2013). or knowledge according to their workload and 4. Supervision: The perception of nursing insufficient time. instructors on the dimension of supervision was 3: Relationship between perceived at a moderate level (Table 1). In each nursing organizational support and job satisfaction educational institute, nursing instructor incharges The findings presented that perceived had their duties to teach in class, laboratory, organizational support had a moderate positive and clinical settings. Moreover, they acted as correlation with job satisfaction (r = .44, p < the head and supervisor responsible for admin- 0.0001) (Table 2). This finding indicates that if istrative duties. They usually also worked closely POS increased, the JS increased. The nursing with nursing instructors through assigning duties, instructors in the nursing educational institutes checking class attendance, and evaluating might fairly believe that their organization valued teaching/learning. However, some nursing their contribution and cared about their well- instructors felt that they had less chance to being, and this led them to feel satisfied in their attend training programs and teaching assignments job to some extent as presented above. Perceived were distributed unfairly. It was also found that organizational support affects the worker’s

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 449 การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้และความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาล ในสถาบันการศึกษาพยาบาล สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

understanding of the way that the organization favorable treatment by providing technical motivates their personnel. This infers what the training, short course training, and workshops workers would expect of the organization in a for nursing instructors. Nursing instructors’ wide variety of conditions. Perceived satisfaction with work should be enhanced by organizational support raises their expectations providing an educational environment. As well, that the organization would provide more nursing instructors-in-charge should establish rewards if they could achieve the organizational strategies to decrease workload, increase salary, goals. (Eisenberger et al., 1986). The results of and provide accommodation support to reduce this study were similar to the finding of Aung job dissatisfaction. (2014) which revealed that there was a positive moderate relationship between POS and JS Recommendations among Myanmar nurses. The findings were also Based on the results of the study, the consistent with the study of Burke (2003) in recommendations for future research are as Canada, Ahmad and Yekta (2010) in Iran, Kwak follows: 1) replicate this study in private nursing et al. (2010) in Korea, and Miao (2011) in China. educational institutes in Bangladesh or other The only study finding that there was no types of educational institutes; 2) conduct a relationship between POS and JS was conducted research study to compare POS and JS across in the USA (Gutierrez, Candela, & Carver, 2012). regions as well as between different levels of educational institutes, healthcare setting and Implications for Nursing Administration other organizations; and 3) examine other The results could provide baseline data factors such as organizational commitment, for administrators of nursing educational institutes organizational climate, and organizational regarding perceived organizational support and benefit that are related to POS and JS among job satisfaction that they can use for improving nursing instructors in nursing educational their work or furthering research. Directors of institutes, People’s Republic of Bangladesh. nursing and nursing instructors–in-charge, in collaboration with the Department of Ministry Acknowledgements of Health and Family Welfare (MOH & FW) can The researcher would like to express deep maintain Bangladesh nursing institutional gratitude to the Directorate of Nursing Service education policy that increases supervisor and Ministry of Health & Family Welfare in support, organizational rewards, and job Bangladesh for providing the scholarship to conditions such as recognition and promotion continue this master’s degree at Chiang Mai opportunities which lead to increased University. organizational support. Nursing administrators, in collaboration with the Director of General Health (DGH), can develop and improve

450 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh

References Ahmad, Z. A., & Yekta, Z. A. (2010). Relationship between perceived organizational support, leadership behavior, and job satisfaction: An empirical study in Iran. Intangible Capital, 6(2), 162-184. doi:10.3926/ic.2,16-184 American Association of Colleges of Nursing. (2012). Nursing Faculty Shortage Fact Sheet. Retrieved from: http://www.aacn.nche.edu/media-relations/fact-sheets/nursing- faculty-shortage. Aung, M. L., Akkadechanunt, T., & Chontawan, R. (2014). Factors related to job satisfaction among nurses in general hospitals, Yangon, The Republic of the Union of Myanmar. Nursing Journal, 41, 108-112. Bangladesh Nursing Council. (2013). Under Ministry of Health & Family Welfare. Government of the People’s Republic of Bangladesh. Barrett, C. M., Goldenberg, D., & Faux, S. (1992). Career pattern and job satisfaction of Canadian nurse educators. Journal of Advanced Nursing, 17, 1002-1011. Best, J. W., & Kahn, J. V. (2003). Research in education (9th Ed.). Boston: Pearson Education. Burke, R. J. (2003). Nursing staff attitudes following restructuring: The role of perceived organizational support, restructuring processes and stressors. International Journal of Sociology and Social Policy, 23, 129-157. Christmas, K., & Hart, K. A. (2007). Workforce shortages are a global issue. Nursing Economics, 25, 175–177. Christian, P.C. (1986). The impact of expectations on faculty job satisfaction. Journal of Nursing Education, 25, 378-383. Daily Star news. (2011, Jan.12). South Asian for Human Rights. Bangladesh: Maternity leave now 6 months. Retrieve from http://www.southasianrights.org/?p=2233 Derby-Davis, M. J. (2013). Predictor of nursing faculty’s job satisfaction and intent to stay in academia. University, College of Health Sciences, Department of Nursing, 3200 South University Drive, Fort Lauderdale. Retrieve from http://dx.doi.org/10.1016/j.profnurs.04.001 Director of Nursing Services. (2013). Nursing Education Program. Government of the People’s Republic of Bangladesh. Retrieve from http://www.dns.gov.bd/Nursing Education Program.html. Directorate of Nursing Services. (2010-2012). Annual report. Seba Poridoptor. Motizil ba/a, Espahani building, Dhaka, 1000, 14-15. Retrieve from www.dns.gov.bd. Eisenberger, R., Huntington, R., Hutchison, S., & Sowa, D. (1986). Perceived organizational support. Journal of Applied Psychology, 71, 500-507. Eisenberger, R., Cummings, J., Armeli, S., & Lynch, P. (1997). Perceived organizational support, discretionary treatment, and job satisfaction. Journal of Applied Psychology, 82, 812-820.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 451 การสนับสนุนขององค์กรตามการรับรู้และความพึงพอใจในงานของอาจารย์พยาบาล ในสถาบันการศึกษาพยาบาล สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

Embuldeniya, A. (2017). The impact of employee job satisfaction on employee productivity in apparel industry of Sri Lanka. International Journal of Multidisciplinary Research, 3(12), 2455-3662. Fain, J. A. (1987). Perceived role conflict, role ambiguity, and job satisfaction among nurse educators. Journal of Nursing Education, 233. Gormley, D. K. (2003). Factors affecting job satisfaction in nurse faculty: A meta-analysis. Journal of Nursing Education, 42, 174-178. Gui, L., Barriball, K. L., & While, A. E. (2009). Job satisfaction of nurse teachers: A literature review. Part I: Measurement, levels components. Journal of Nurse Education Today, 29, 469-476. Gutierrez, A. P., Candela, L. L., & Carver, L. (2012). The structural relationships between organizational commitment, global job satisfaction, developmental experiences, work values, organizational support, and person-organization fit among nursing faculty. Journal of advanced nursing.doi:10.1111/j.1365-2648. Herzberg, F., Mausner, B., & Snyderman, B. B. (1959). The motivation to work. New York: John Wiley & Sons. Hinshaw, A. S., & Atwood, J .R. (1983). Nursing staff turnover, stress and satisfaction: Models, measures and management. In H. H. Werley, J. J. Fitzpatrick, (Eds.), Annual Review of Nursing Research, 133–153. New York. Human Resources Development. (2011). Government of the People’s Republic of Bangladesh. Human Resources Development Unit, Data sheet. Ministry of Health & Family Welfare. Issah, M. (2013). The relationship between perceptions of fit and job satisfaction among administrative staff in a Midwestern University, Ohio. Partial fulfillment dissertation. Ivancevich, J. M., Konopaske, R., & Matteson, M. T. (2008). Organizational Behavior and Management. (8th ed). Newyork: McGraw-Hill/Irwin. Kwak, C., Chung, B. Y., Xu, Y., & Eun-Jung, C. (2010). Relationship of job satisfaction with perceived organizational support and quality of care among South Korean nurses: A questionnaire survey. International of Nursing studies, 47, 1292-1298. Lund, D. K., Huda, N., & Berland, A. (2013). Proceedings cooperative Dialogue on advanced Nursing education in Bangladesh. Alliance for Nursing Development in Asia project of partners in population and development (PPD). Dhaka-1212, Bangladesh. Miao, R-T. (2011). Perceived organizational support, job satisfaction, task performance and organizational citizenship behavior in China. Institute of Behavioral and Applied Management. Retrieved from www.ibam.com/pubs/jbam.html

452 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Perceived Organizational Support and Job Satisfaction Among Nursing Instructors in Nursing Educational Institutes, People’s Republic of Bangladesh

Mohamed, L. K., & El-Shaer, A. M. (2013). Professional commitment and perceived organizational support among nursing academic staff: A comparative study. Faculty of nursing, Tanta University and Mansoura University. Medical Journal of Cairo University, 81, 235-243. National League for Nursing [NLN] Board of Governors. (2006). Statement: Mentoring of nurse faculty. Nursing Education Perspectives, 27, 110-113. Rhoades, L., & Eisenberger, R. (2002). Perceived organizational support: A review of the literature. Journal of Applied Psychology, 87, 698-714. Rhoades, L., Eisenberger, & Armeli, S. (2001). Affective commitment to the organization: The contribution of perceived organizational support. Journal of Applied Psychology, 86, 825-836. Rubel, M. R. B., & Kee, D. M. H. (2014). Quality of work life and employee performance: Antecedent and outcome of job satisfaction in Partial Least Square (PLS). World Applied Sciences Journal, 31, 456-467. Shore, L. M., & Tetrick, L. E. (1991). A construct validity study of the survey of perceived organizational support. Journal of Applied Psychology, 76, 637-645. Stanton, J. M., Balzer, W. K., Smith, P. C., Parra, L. F., & Ironson, G. (2001).A general measure of work stress: The Stress in General scale. Educational and psychological Measurement, 61, 866-888. Szecsenyi, J., et al. (2011) Is the job satisfaction of primary care team members associated with patient satisfaction?. BMJ Quality and Safety, 20 (6), 508–514. Tang, W. M., & Ghani, M. F. A. (2012). Job satisfaction among nurse educators in the Klang Valley, Malaysia. International Journal of Nursing Science, 2, 29-33.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 453 การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ Palliative Care Nursing for Older Persons

ศิริรัตน์ ปานอุทัย * Sirirat Panuthai *

บทคัดย่อ การเสียชีวิตของคนส่วนใหญ่เกิดในวัยสูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังหลายโรคร่วม แต่พบว่าผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่เข้า ไม่ถึงบริการการดูแลแบบประคับประคองมากที่สุดเนื่องจากกลุ่มเป้าหมายหลักของการดูแลแบบประคับประคอง ยังคงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งซึ่งผู้ป่วยโรคมะเร็งเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นที่เป็นผู้สูงอายุ โดยสาเหตุหลักของการเสียชีวิตใน ผู้สูงอายุมิใช่แค่โรคมะเร็งเท่านั้นแต่ยังมีสาเหตุจากโรคเรื้อรังอื่น ๆ เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคไตวายเรื้อรังระยะ สุดท้าย ภาวะหัวใจล้มเหลว โดยส่วนใหญ่ผู้สูงอายุมีความเจ็บป่วยเรื้อรังมากกว่า 1 โรค นอกจากนั้นผู้สูงอายุส่วนหนึ่ง ยังต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากความเสื่อมของร่างกายที่อาจเป็นอุปสรรคที่ท�ำให้ไม่ได้รับการดูแล แบบประคับประคอง เช่น ภาวะสมองเสื่อม โดยเป็นภาวะที่ท�ำให้ผู้ให้บริการมีความยากในการประเมินเพื่อจัดบริการ การดูแลแบบประคับประคอง ดังนั้นจึงความจ�ำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนารูปแบบการดูแลแบบประคับประคองส�ำหรับ ผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงระบบการดูแลแบบประคับประคองและเพื่อมั่นใจว่าการดูแลผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังร่วม หลายโรคมีความต่อเนื่องตลอดช่วงระยะเวลาของการเจ็บป่วยจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตบรรลุจนน�ำมาสู่การบรรลุ เป้าหมายคือการจากไปอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ค�ำส�ำคัญ: การดูแลแบบประคับประคอง ผู้สูงอายุ

Abstract Most deaths occur among people who are old and experiencing multiple chronic illnesses. Older people are the vulnerable group who have been left out from the palliative care system since this system was originally designed to meet the needs of cancer patients. Not only cancer, but other chronic diseases such as chronic obstructive pulmonary disease, end stage chronic kidney disease and heart failure were also major causes of death among older people. Moreover, older people are experiencing multiple diseases and geriatric syndromes such as dementia caused by degenerative changes and being barriers for health care providers to assess palliative care needs and decide for services. To achieve the ultimate goal of quality of life at the end of life, palliative care system should be urgently developed to ensure that older people suffering from multiple chronic diseases will receive continuity of care throughout the course of illness.

Key word: palliative care nursing, older person

* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 454 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Palliative Care Nursing for Older Persons

บทน�ำ การดูแลแบบประคับประคอง ดังนี้ ภาวะสูงอายุจะเป็นภาวะที่การเติบโตในทาง 1. การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว กายภาพไม่สามารถเจริญได้อีกแล้ว แต่ในมิติด้านจิตใจ และต่อเนื่องท�ำให้สัดส่วนของผู้ที่ต้องการการดูแลแบบ สังคมและจิตวิญญาณยังสามารถเติบโตได้อย่างไม่มีที่สิ้น ประคับประคองที่เป็นผู้สูงอายุจะมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น สุด เป็นเวลาที่มีประโยชน์ที่สามารถทบทวนถึงคุณค่า ตามไปด้วย ดังแสดงจากข้อมูลในปี 2011 มีประชากร ของชีวิต การฟื้นฟูความสัมพันธ์ที่ร้าวฉาน เป็นวัยที่ ทั่วโลก 20.4 ล้านคนที่ต้องการการดูแลแบบประคับ สะท้อนภูมิปัญญาจากประสบการณ์ชีวิต เป็นวัยส่อง ประคอง (Worldwide Palliative Care Alliance, ตะเกียงให้กับคนวัยอื่น ๆ ตลอดจนเป็นวัยเพื่อการเตรี World Health Organization, 2014) โดยในจ�ำนวน ยมตัวและท�ำวาระสุดท้ายของชีวิตให้สมบูรณ์ (Cheng- ดังกล่าวเป็นผู้สูงอายุร้อยละ 69 และอาศัยอยู่ในประเทศ satiansup, 2012) ถึงแม้ว่าคนส่วนใหญ่จะเสียชีวิตใน ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟิกตะวันตก วัยสูงอายุ (World Health Organization [WHO], ร้อยละ 51 (Chan, Menon, & Goh, 2015) 2011) แต่กลับพบว่าผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่ไม่ได้รับการดูแล 2. สาเหตุของการเสียชีวิตในผู้สูงอายุแตกต่างจาก ในระยะสุดท้ายของชีวิตอย่างถูกต้องเหมาะสมและเข้า กลุ่มวัยอื่น ซึ่งมักเกิดจากโรคเรื้อรังเช่นโรคหัวใจและ ไม่ถึงบริการการดูแลแบบประคับประคอง (Kite, 2006) หลอดเลือดมากกว่าโรคมะเร็ง (WHO, 2011) จากการ ด้วยเหตุผลที่ว่าการดูแลแบบประคับประคองส่วนใหญ่ ส�ำรวจประชากรสูงอายุของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติในปี เน้นกลุ่มเป้าหมายคือผู้ป่วยมะเร็งที่ไม่ครอบคลุมผู้สูง 2554 พบว่าโรคเรื้อรังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้แก่ โรค อายุทั้งหมด เนื่องจากส่วนหนึ่งของผู้สูงอายุที่ต้องการ ความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูงพบร้อยละ 33.69 การดูแลแบบประคับประคองคือผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรค (National Statistical Health Office, 2014) เช่นเดียว เรื้อรังอื่น ๆ ที่มิใช่โรคมะเร็ง นอกจากนั้นอาจมีปัจจัยที่ กับข้อมูลจากการส�ำรวจสุขภาวะของผู้สูงอายุไทย ปี ท�ำให้ผู้สูงอายุเข้าไม่ถึงบริการด้านการดูแลแบบประคับ 2556 ของกลุ่มอนามัย ส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรม ประคอง ได้แก่ แบบแผนการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง อนามัย กระทรวงสาธารณสุข (Department of หลายโรคและเป็นโรคที่ไม่สามารถก�ำหนดระยะเวลา Health, Ministry of Public Health, 2013) พบว่าผู้ ความก้าวหน้าของโรคที่เข้าสู่ระยะสุดท้าย (O-Leary & สูงอายุเป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 41.4 โรคเบา Tiernan, 2008) ทัศนคติเกี่ยวกับความตาย (Walshe, หวานร้อยละ 18.2 และข้อเข่าเสื่อมร้อยละ 8.6 ส่วน Todd, Caress, & Chew-Graham, 2009) หรือความ ข้อมูลจากการส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการ รู้ความสามารถด้านการดูแลแบบประคับประคองของผู้ สัมภาษณ์และตรวจร่างกายครั้งที่ 5 ของส�ำนักงาน ให้บริการ (Hanratty et al, 2002) ส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข พ.ศ. 2557 พบความชุกของโรคเบาหวาน ความจ�ำเป็นของการดูแลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ ร้อยละ 19.2, 18.8, 11.8 ของผู้ที่อายุ 60-69, 70-79 ระบบการดูแลแบบประคับประคองที่พัฒนาขึ้น และ 80 ปีขึ้นไปตามล�ำดับ ในขณะที่ความชุกของโรค ส่วนใหญ่เป็นระบบที่ไม่เฉพาะเจาะจงส�ำหรับผู้ป่วยกลุ่ม ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้นตามอายุที่มากขึ้น โดยพบร้อย ใดกลุ่มหนึ่ง แต่เป็นระบบส�ำหรับผู้ที่อยู่ในระยะท้ายหรือ ละ 44.0, 51.7 และ 55.9 ของผู้ที่อายุ 60-69, 70-79 ระยะสุดท้ายของชีวิตในทุกกลุ่มอายุ ในขณะที่ผู้สูงอายุ และ 8 ปีขึ้นไปตามล�ำดับ (Aekplakorn, 2009) มีลักษณะที่แตกต่างจากผู้ที่อยู่ในระยะท้ายหรือระยะ 3. การเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรค สุดท้ายในกลุ่มอื่น ๆ น�ำมาซึ่งปัญหาและความต้องการ เรื้อรังหลายโรครวมถึงความพิการ ในขณะที่ผู้สูงอายุไม่ ที่แตกต่างออกไปซึ่งควรน�ำมาพิจารณาในการวางแผน ได้รับการประเมินและการจัดการปัญหาและเข้าไม่ถึง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 455 การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ

บริการการดูแลแบบประคับประคอง โดยเฉพาะผู้ที่อายุ ชีวิต ซึ่งมีตัวอย่างในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่คาด มากกว่า 80 ปี มีรายงานว่าได้รับการจัดการอาการที่ ว่าจะมีอยู่ชีวิตอยู่เฉลี่ย 2 ปี แต่ในความเป็นจริงผู้ป่วย สร้างความทุกข์ทรมานน้อยมาก รวมถึงได้รับการส่งต่อ สามารถมีชีวิตอยู่ได้เพียง 21 วันเท่านั้น (Borbasi, 2017) เพื่อการจัดการอาการปวด คลื่นไส้อาเจียน และอาการ 2. การเจ็บป่วยหลายโรคร่วม (multimorbidity) อื่น ๆ ค่อนข้างน้อยมาก ส่งผลให้ผู้ที่อยู่ในระยะสุดท้าย ในต่างประเทศพบอุบัติการณ์ระหว่างร้อยละ 49.4-89.0 ที่เป็นผู้สูงอายุมีแนวโน้มจะทุกข์ทรมานและเสียชีวิตจาก (Afshar, Roderick, Kowal, Dimitrov, & Hill, 2015; โรคเรื้อรัง โดยมีระยะเวลาที่อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย Barnett et al., 2012; Gu et al., 2017; Harrison, เสื่อมการท�ำหน้าที่เป็นระยะเวลานาน (Evers, Meier, Henderson, Miller, & Britt, 2017; Violán et al., & Morrison, 2002) ดังนั้นการตอบสนองความต้องการ 2014) ส�ำหรับในประเทศไทยถึงแม้จะยังไม่มีข้อมูลที่เด่น ของผู้ที่อยู่ในระยะสุดท้ายที่เป็นผู้สูงอายุจ�ำเป็นต้อง ชัดแต่จากผลการส�ำรวจสถานการณ์การเจ็บป่วยหลาย ขยายขอบเขตของการดูแลแบบประคับประคองให้ โรคร่วมในผู้สูงอายุ อ�ำเภอศรีประจันต์ ในจังหวัด ครอบคลุมผู้ที่ป่วยหลายโรคและผู้ที่เสียชีวิตด้วยโรคที่ สุพรรณบุรีพบอุบัติการณ์ร้อยละ 34.7 (Baoiam, Ja- ไม่ใช่โรคมะเร็ง roenpitak, Sukhontha, Satitvipawee, 2018) การ 4. ความต้องการที่ซับซ้อนของผู้ป่วยสูงอายุ การ เจ็บป่วยหลายโรคร่วมส่งผลให้ผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงเพิ่ม เจ็บป่วยในผู้สูงอายุเป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมร่วมกับ ขึ้นและอายุขัยสั้นลง (Nunes, Flores, Mielke, Thume ลักษณะของโรคท�ำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับการเจ็บป่วย & Facchini 2016) โดยรูปแบบของการเจ็บป่วยหลาย ยาวนาน ท�ำให้มีความต้องการการดูแลแบบประคับ โรคร่วมมีหลายรูปแบบ ทั้งโรคเรื้อรังทางกายหลายโรค ประคองในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ไม่แค่เฉพาะช่วงเวลา ร่วมกัน (physical-only multimorbidity) ซึ่งพบมาก สุดท้ายของชีวิต ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องมีการบู ที่สุดโดยเฉพาะผู้ที่อายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไปซึ่งพบสูงถึงร้อย รณาการการดูแลแบบประคับประคองไว้ในการจัดการ ละ 56 รูปแบบที่พบบ่อยรองลงมาได้แก่ โรคทางกายร่วม ความเจ็บป่วยเรื้อรัง (WHO, 2011) กับโรคทางจิต (mixed physical and mental multi- morbidity) โดยพบในกลุ่มที่อายุน้อยกว่า 55 ปี โรค ลักษณะของการเจ็บป่วยของผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะ เรื้อรังทางจิตร่วมกัน (mental-only multimorbidity) สุดท้าย ที่พบได้น้อยเพียงร้อยละ 4 เท่านั้น ส�ำหรับโรคร่วมใน ผู้สูงอายุมีลักษณะเฉพาะที่อาจแตกต่างจากผู้ป่วย 10 โรคที่พบบ่อยในทุกกลุ่มอายุเป็นโรคทางกายจ�ำนวน กลุ่มวัยอื่น ดังนี้ 7 โรคและโรคทางจิตจ�ำนวน 3 โรค (McLean et al., 1. ส่วนใหญ่ของผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะสุดท้ายมี 2014) ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิต เช่น 3. การเจ็บป่วยในผู้สูงอายุเป็นโรคที่เกิดจากความ ภาวะหัวใจล้มเหลว โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย หรือ เสื่อมร่วมด้วยที่ลักษณะของโรคท�ำให้ผู้ป่วยต้องเผชิญกับ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ซึ่งการที่ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับการ แบบแผนการเจ็บป่วยยาวนาน ไม่มีระยะความรุนแรง เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังส่งผลให้เกิดกลุ่มอาการที่สร้าง ของโรคที่ชัดเจนท�ำให้ผู้ดูแลไม่สามารถก�ำหนดช่วงเวลา ความทุกข์ทรมาน เช่น เจ็บอก อ่อนล้า และเหนื่อย ของการให้การดูแลแบบประคับประคองได้ชัดเจน ดังนั้น (Vliet, Antunes, Higginson, 2015) นอกจากนั้นการ จึงมีความจ�ำเป็นในการบูรณาการการดูแลแบบประคับ ที่โรคอาจไม่สามารถพยากรณ์ได้ ท�ำให้ผู้ป่วยมีโอกาสได้ ประคองไว้ในการจัดการความเจ็บป่วยเรื้อรัง (WHO, รับการสื่อสารกับแพทย์เกี่ยวกับการพยากรณ์โรคน้อย 2011) เนื่องจากความยากในการคาดการณ์เกี่ยวกับการเสีย 4. ปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุเกิดจากการ

456 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Palliative Care Nursing for Older Persons

เปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลงจากอายุที่มากขึ้น ได้แก่ เกณฑ์ที่ใช้ทั่ว ๆ ไป ดังนี้ ปัญหากลั้นปัสสาวะไม่ได้ ภาวะสมองเสื่อม ท้องผูก ภาวะ 1. ผู้สูงอายุที่มีการท�ำหน้าที่ด้านร่างกายลดลง น�้ำ สับสนเฉียบพลัน (Vliet, Antunes, Higginson, 2015) หนักลด มีโรคร่วมหลายโรค ระดับอัลบูมินในเลือดต่อ ส่งผลให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับความทุกข์ทรมาน ซึ่งหาก กว่า 2.5 กรัมต่อเดซิลิตร มีภาวะพึ่งพิงบุคคลอื่นในการ มีความเจ็บป่วยเรื้อรังร่วมด้วย จะยากส�ำหรับทีมดูแลใน ท�ำกิจวัตรประจ�ำวันระดับมาก และมีคะแนนจาก Kar- การประเมินความต้องการและการจัดบริการ โดยทีม nofsky Performance ต�่ำกว่าร้อยละ 50 (Matzo, ดูแลต้องมาจากหลายภาคส่วน เช่น แพทย์เฉพาะ 2004) ทางการดูแลแบบประคับประคอง แพทย์ผู้สูงอายุ และ 2. ผู้สูงอายุที่ไม่มีโรคประจ�ำตัว มีตัวชี้วัดได้แก่ ภาคส่วนสังคม เนื่องจากความต้องการของผู้สูงอายุที่อยู่ ภาวะหง่อมซึ่งมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดความเจ็บป่วย ในระยะสุดท้ายต้องการบริการทั้งด้านสุขภาพและสังคม และเสียชีวิต มีการหกล้มบ่อยครั้ง มีความพิการ เสี่ยงสูง และเนื่องจากผู้สูงอายุมีปัญหาเฉพาะด้านสูง ต่อการเจ็บป่วยเฉียบพลันและการฟื้นสภาพลดลง (Gat- 5. ภาวะหง่อม (Frailty) เป็นการท�ำงานของระบบ to & Zwicker, 2013) ต่าง ๆ ของร่างกายที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้เสี่ยงต่อ 3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในการท�ำกิจกรรม การเจ็บป่วยและการเสียชีวิต รวมถึงเกิดผลลัพธ์ด้าน (functional dependence) ไม่สามารถท�ำกิจวัตร สุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ ได้แก่ ภาวะสับสนเฉียบพลัน ประจ�ำวันได้ด้วยตนเองต้องพึ่งพิงบุคคลอื่นในการท�ำ หกล้ม การเคลื่อนไหวร่างกายลดลง การร่วมกิจกรรม กิจวัตรประจ�ำวันเป็นส่วนใหญ่ (Gatto & Zwicker, ทางสังคมลดลง การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล โดย 2013) ภาวะหง่อมพบได้บ่อยในผู้สูงอายุและผู้ที่มีการเจ็บป่วย 4. ผู้สูงอายุที่มีระดับสติปัญญาและการรับรู้ลดลง หลายโรคร่วม (Pal & Manning, 2014) โดยการมีอาการ (cognitive impairment) ความจ�ำลดลง ความตั้งใจ ตั้งแต่ 3 อาการขึ้นไปที่บ่งบอกถึงภาวะหง่อม ได้แก่ การ และสมาธิลดลง มีการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิด เดินช้าลงมาก กล้ามเนื้ออ่อนแรง นำ�้ หนักลดโดยไม่ตั้งใจ การใช้ภาษา และความสามารถด้านการบริหารจัดการ กิจกรรมทางกายลดลงหรือมีการใช้พลังงานลดลง และ (Gatto & Zwicker, 2013) เหนื่อยล้าหรืออ่อนล้า (exhaustion) (Pal & Manning, 5. ผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังที่มีลักษณะเฉพาะ ได้แก่ 2014) โดยผู้สูงอายุที่มีภาวะหง่อมที่รุนแรงจะไม่ตอบ ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะสมองเสื่อม โรคหลอดเลือด สนองต่อการรักษาหรือจะไม่ได้รับประโยชน์จากการ สมอง มะเร็ง การติดเชื้อซ�้ำบ่อยครั้ง และโรคข้อเสื่อมที่ ฟื้นฟูสภาพและอาจน�ำมาซึ่งอันตราย ดังนั้นการดูแล ท�ำให้อาจมีข้อบกพร่องในการท�ำหน้าที่และอาการปวด แบบประคับประคองจึงมีความจ�ำเป็นส�ำหรับผู้สูงอายุ เรื้อรัง (Gatto & Zwicker, 2013) กลุ่มที่มีภาวะหง่อมรุนแรงเนื่องจากอาจมีชีวิตอยู่ได้ไม่ เกิน 6 เดือน โดยผู้สูงอายุที่มีหลายโรคร่วมมีโอกาสที่จะ ความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้สูง เกิดภาวะหง่อมได้ง่าย (Tatum, Talebreza, Ross, & อายุระยะสุดท้าย Widera, 2017) ผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะสุดท้ายมีความต้องการที่ หลากหลายและซับซ้อน ที่ จ�ำเป็นต้องให้การดูแลตาม กลุ่มเป้าหมายของการดูแลแบบประคับประคองในผู้ ปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว (Da- สูงอายุ vies, 2004) ดังนี้ เกณฑ์ในการก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายของการดูแล 1. การควบคุมอาการปวดและอาการอื่น ๆ คงไว้ แบบประคับประคองในผู้สูงอายุอาจมีความแตกต่างจาก ซึ่งความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง โดยอาการที่

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 457 การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ

รบกวนในระยะสุดท้าย เช่น เหนื่อย คลื่นไส้อาเจียน ท้อง 4. ความต่อเนื่องและการประสานการดูแล ผูก สะอึก โดยเฉพาะอาการปวด ซึ่งสร้างความทุกข์ เนื่องจากผู้ป่วยสูงอายุในระยะสุดท้ายจะมีการเจ็บป่วย ทรมานกับผู้ป่วยเป็นอย่างมาก และส่งผลกระทบท�ำให้ ที่มีอาการขึ้นๆ ลง อาจต้องเปลี่ยนสถานที่ดูแลระหว่าง เกิดการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร รับประทานอาหารลด บ้านและโรงพยาบาล ดังนั้นความต่อเนื่อง รวมถึงการ ลง ท้องผูก การเคลื่อนไหวร่างกายลดลง จากการทบทวน ประสานการดูแลระหว่างบุคลากรทีมสุขภาพในแต่ละ งานวิจัยพบว่าเพียงประมาณครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุได้รับ สถานดูแล นอกจากนั้นการประสานการดูแลยังช่วยให้ การจัดการอาการปวด (Davies, 2004) นอกจากนั้นใน ผู้ป่วยเข้าถึงและได้รับการช่วยเหลือจากแหล่งต่าง ๆ ได้ ผู้ป่วยโรคมะเร็งมักพบอาการหลายอาการร่วมกัน เช่น อย่างเหมาะสม (Higginson & Davies, 2004; Gatto อาการทางระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ เบื่ออาหาร & Zwicker, 2013) คลื่นไส้อาเจียน ร่วมกับอาการผิดปกติด้านอารมณ์ เช่น 5. การดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลแบบประ เดียวกับผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมที่พบหลายอาการ คับประคอง มีหลักฐานยืนยันได้ว่าผู้สูงอายุในระยะ เช่นกัน เช่น อาการหลงลืม ปัญหาการนอนหลับ ร่วมกับ สุดท้ายเข้าถึงระบบการดูแลแบบประคับประคองที่น้อย อาการทางจิตประสาทอื่น ๆ เช่น ประสาทหลอน หลง กว่าผู้ที่อยู่ในระยะสุดท้ายในกลุ่มที่อายุน้อยกว่า โดย ผิด ซึมเศร้า (Davies, 2004) ดังนั้นผู้สูงอายุจึงมีความ เฉพาะผู้สูงอายุที่มีภาวะหง่อม (frailty older people) ต้องการในการได้รับการจัดการอาการรบกวนอื่น ๆ ที่มีความยากในการวินิจฉัยระยะสุดท้ายของการเจ็บ 2. การจัดการโรคเรื้อรังหลายโรคร่วม โดยการยึด ป่วย (Lloyd, Kendall, Carduff, Cavers, Kimbell & ผู้ป่วยสูงอายุเป็นศูนย์กลาง ได้แก่ การจัดการที่ค�ำนึงถึง Murray, 2016) นอกจากนั้นผู้สูงอายุที่มีภาะสมองเสื่อม ความชอบของผู้สูงอายุและการให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมใน ก็เป็นอีกหนึ่งกลุ่มที่เข้าไม่ถึงระบบการดูแลแบบประคับ การตัดสินใจเกี่ยวกับแผนการรักษา การใช้หลักฐานเชิง ประคอง โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในระยะสุดท้ายของภาวะ ประจักษ์ และผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับผู้ป่วย การให้ข้อมูล สมองเสื่อมที่มีอาการแสดงทางด้านจิตสังคมและ เกี่ยวกับการพยากรณ์โรคเพื่อประกอบการตัดสินใจใน พฤติกรรม (behavioral and psychological symp- การรักษา การจัดการที่ค�ำนึงถึงความซับซ้อนและความ toms of dementia) หลายอาการที่ซับซ้อน ร่วมกับอา เป็นไปได้ของวิธีการจัดการ รวมถึงการเลือกวิธีการ การอื่นๆ เช่น แบบแผนการนอนและการรับประทาน จัดการที่จะเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้สูงอายุ มีความเสี่ยง อาหารผิดปกติ หวาดระแวง ประสาทหลอนและประสาท น้อย และมีแนวโน้มที่ผู้สูงอายุจะยอมปฏิบัติตามทั้งการ ลวง เหนื่อย ปวด หายใจล�ำบาก ดังนั้นจึงจ�ำเป็นที่จะ จัดการด้วยยาและไม่ใช้ยา (Tatum, Talebreza, Ross, ต้องอาศัยแพทย์ด้านผู้สูงอายุในการระบุว่าผู้สูงอายุที่มี & Widera, 2017) ภาวะสมองเสื่อมรายใดที่ควรได้รับการดูแลแบบประคับ 3. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแล ประคอง และร่วมในการวางแผนการใช้ยาที่เหมาะสม และการรักษา ทราบถึงอันตราย ความเสี่ยง และ และการจัดการปัญหาด้านพฤติกรรมในผู้สูงอายุที่มี ประโยชน์ของการรักษาเพื่อน�ำมาสู่การตัดสินใจได้อย่าง ภาวะสมองเสื่อม ในการท�ำงานประสานกับแพทย์ผู้ เหมาะสม มีหลายการศึกษาที่พบว่าผู้ป่วยโรคมะเร็ง เชี่ยวชาญด้านการดูแลประคับประคอง (Tatum, Tale- ต้องการข้อมูลและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ซึ่งถ้า breza, Ross, & Widera, 2017) มีการสื่อสารที่ดีระหว่างบุคลากรสุขภาพและผู้ป่วยและ ครอบครัวตั้งแต่ระยะเริ่มแรกที่ได้รับการวินิจฉัยจะท�ำให้ เป้าหมายของการดูแลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถปรับตัวด้านจิตสังคมได้ดี แผนยุทธศาสตร์ระดับชาติว่าด้วยการสร้าง (Davies, 2004; Gatto & Zwicker, 2013) เสริมสุขภาวะในระยะท้ายของชีวิต พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙

458 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Palliative Care Nursing for Older Persons

ได้มีการก�ำหนดเป้าหมายของการสร้างเสริมสุขภาวะใน หลังตาย ดังนั้นการบรรลุเป้าหมายของการดูแลแบบประ ระยะท้ายของชีวิตคือมีคุณภาพชีวิตที่ดี (Quality of คับประคองทั้งคุณภาพชีวิตในระยะท้ายของชีวิตและ Life) และสามารถเผชิญความตายอย่างสมศักดิ์ศรีความ การตายดีส�ำหรับผู้สูงอายุนั้นบุคลากรสุขภาพรวมถึง เป็นมนุษย์และตายดี (Quality of Death) ซึ่งการตาย พยาบาลควรยึดหลักการดูแลแบบประคับประคองร่วม ดี หมายถึง การตายที่ก่อนผู้ป่วยจะเสียชีวิต ได้รับการ กับหลักการพยาบาบาลผู้สูงอายุ เพื่อให้สามารถตอบ บรรเทาอาการและความทุกข์ทรมานทางด้านร่างกาย สนองปัญหาและความต้องการได้อย่างครอบคลุม และจิตใจอย่างเพียงพอเหมาะสม ได้รับการดูแลทางด้าน จิตวิญญาณตรงกับความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรมของ การพยาบาลแบบประคับประคองส�ำหรับผู้สูงอายุ ตนเอง รวมถึงได้ท�ำในสิ่งที่คั่งค้าง สามารถแสดงความ การพยาบาลแบบประคับประคอง (palliative ปรารถนาของตนเองว่าต้องการให้มีการดูแลอย่างไรใน care nursing) เน้นการดูแลแบบองค์รวม ครอบคลุมมิติ ระยะท้ายเพื่อให้เสียชีวิตอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีของความ ทั้งกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณของทั้งผู้ป่วย เป็นมนุษย์ (National Health Commission Office, ครอบครัวและผู้ดูแล (European Association for 2014) ส�ำหรับประเทศไทยได้มีการศึกษาคุณลักษณะ Palliative Care, 2009) ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO, ของการตายดีในประชากรกลุ่มอายุ 40-79 ปี จ�ำนวน 2011) ได้ให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องในการก�ำหนด 207 ราย ในเขตกรุงเทพมหานครและนนทบุรี ซึ่งการ นโยบายและการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลแบบประคับ ตายดีประกอบด้วย ความสุขสบายด้านร่างกายและจิตใจ ประคองส�ำหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 1) การตระหนัก ตายในที่ที่ต้องการ มีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคลากรสุขภาพ ถึงความต้องการด้านการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่มี ยังคงความหวังและความพึงพอใจ ไม่เป็นภาระของ ความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง และ บุคคลอื่น สัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว สภาพร่างกาย ตระหนักว่าการดูแลระยะสุดท้ายที่ตำ�่ กว่ามาตรฐานเป็น และสติปัญญายังดี สุขสบายด้านสิ่งแวดล้อม ได้รับการ ปัญหาสุขภาพ 2) การระบุและตอบสนองความต้องการ ยอมรับในความเป็นบุคคล เป้าหมายในชีวิตบรรลุ ตาย ด้านการดูแลแบบประคับประคองแก่ผู้สูงอายุในทุก ตามธรรมชาติ เตรียมตัวตาย ได้ยังประโยชน์กับบุคคล สถานบริการ 3) การพัฒนากลยุทธ์การดูแลแบบประคับ อื่น บรรลุทุกบทบาท ตายสวยงามหรือสง่างาม ควบคุม ประคองที่เน้นการแก้ปัญหาเฉพาะของผู้สูงอายุที่เกิด อนาคตได้ สุขสบายด้านจิตวิญญาณและด้านศาสนา จากความเจ็บป่วยในทุกโรคและน�ำแนวปฏิบัติใหม่ ๆ ทั้ง (Ando, Somchit, Miyashita & Jamjan, 2016) ด้านการแพทย์ (geriatric medicine) การพยาบาลผู้สูง ส�ำหรับการศึกษาของ Panuthai et al. (2016) เกี่ยว อายุ (geriatric nursing) จิตเวช และการดูแลผู้ที่มีภาวะ กับความหมายของการตายดีทั้งจากผู้ป่วย ครอบครัว สมองเสื่อม 4) การติดตามประเมินความส�ำเร็จของ และผู้ให้บริการ โดยการสัมภาษณ์ผู้ที่อยู่ในระยะท้ายใน การน�ำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ 5) การพัฒนารูปแบบการ วัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุทั้งที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งและโรค ดูแลแบบประคับประคองที่บูรณาการเข้าเป็นส่วนหนึ่ง เรื้อรังอื่นที่มิใช่มะเร็ง ผู้ปกครองเด็กป่วย ผู้ให้บริการคือ ของระบบสุขภาพใหญ่โดยเฉพาะระบบการดูแลระยะ ทีมดูแลแบบประคับประคองของโรงพยาบาลระดับตติย ยาว (long term care system) 6) การตอบสนองความ ภูมิและโรงพยาบาลทุติยภูมิ และในชุมชน ผลการศึกษา ต้องการของผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยด้วยโรคอื่น ๆ นอกเหนือ พบว่าการรับรู้เกี่ยวกับการตายดีมีคุณลักษณะ ได้แก่ 1) จากโรคมะเร็ง และตระหนักถึงประเด็นการมีโรคร่วม การปราศจากความทุกข์ทรมานด้านร่างกาย 2) ความ และการดูแลระยะยาว 7) การพัฒนาทักษะด้านการดูแล สงบด้านจิตใจและจิตวิญญาณ 3) การเตรียมตัวตาย 4) แบบประคับประคองแก่บุคลากรทุกแหล่งบริการ และ การก�ำหนดสถานที่ตาย และ 5) การได้รับการดูแลภาย ทุกกลุ่มบุคลากร เพื่อจัดบริการทั้งบริการทางการแพทย์

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 459 การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ

การพยาบาล จิตวิทยาส�ำหรับผู้สูงอายุ 8) การดูแลทั้ง ได้มีการระบุความต้องการหรือความปรารถนาในวาระ ครอบครัวและผู้ดูแล 9) การจัดบริการเพื่อการจัดการ สุดท้ายของชีวิต (living will) ในขณะที่ตนเองยังมีความ อาการโดยค�ำนึงถึงบริการที่มีคุณภาพ 10) การสอบถาม สามารถในการตัดสินใจเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่ง เมื่อถึง ความต้องการของผู้ป่วยและตอบสนองความต้องการ เวลาที่ผู้สูงอายุจะจากไปผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถด�ำเนินการ เช่น สถานที่เสียชีวิต 11) การประเมินผลลัพธ์ของการ ตามความปรารถนาที่ผู้สูงอายุได้ระบุไว้ (Davies & ดูแลอย่างสมำ�่ เสมอ ดังนั้นการดูแลแบบประคับประคอง Higginson, 2004) 5) การดูแลเชิงรุก (timely proac- ส�ำหรับผู้สูงอายุยึดหลักการ 1) การประเมินผู้สูงอายุแบบ tive approach) เพื่อป้องกันความล่าช้าของการจัดการ ครอบคลุม (Comprehensive geriatric assessment) ความทุกข์ทรมานของผู้สูงอายุ โดยการดูแลแบบประคับ เพื่อท�ำความเข้าใจทั้งผู้สูงอายุและผู้ดูแล โดยทีมสห ประคองไม่ควรรอจนถึงวาระสุดท้ายหรือระยะสุดท้าย สาขาวิชาชีพที่อาศัยทักษะการสังเกต และการฟังอย่าง เนื่องจากถ้าการจัดบริการการดูแลเมื่อผู้ป่วยอยู่ในระยะ ใส่ใจและตั้งใจ เพื่อร่วมกันวางแผนในการตอบสนอง สุดท้ายอาจส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับความทุกข์ทรมานเป็น ความต้องการของผู้ป่วยและผู้ดูแลได้อย่างเหมาะสม ระยะเวลานาน นอกจากนั้นการดูแลแบบประคับ (Jerant, 2004) 2) การประสานงานและการบูรณาการ ประคองควรมีลักษณะการท�ำงานเป็นทีมเพื่อการส่ง การดูแล (Coordination and integration of care) เสริมสัมพันธภาพเชิงบ�ำบัด โดยในขณะที่ผู้ป่วยมารับ เพื่อการส่งต่อข้อมูลระหว่างผู้รับผิดชอบจัดบริการในโรง บริการในโรงพยาบาล ทีมดูแลประกอบด้วยพยาบาล นัก พยาบาลและในชุมชน ซึ่งผลการวิจัยพบว่าเป็นกลไกที่ สังคมสงเคราะห์ บุคคลที่ผ่านการอบรม และบุคคลอื่นๆ ท�ำให้ผู้สูงอายุที่อยู่นะรยะสุดท้ายสามารถเสียชีวิตใน ที่เกี่ยวข้องควรมีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมความ สถานที่ที่ต้องการ โดยเฉพาะการเสียชีวิตที่บ้าน นอกจาก สามารถในการดูแลของผู้ดูแลในครอบครัวและการ นั้นยังช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้ดูและดีขึ้นด้วย (Davies, ให้การดูแลตามแผนการดูแลแบบประคับประคอง 2004) 3) ผู้ให้บริการโดยบุคลากรสหวิชาชีพที่มีความ (team oriented working) (Jerant, Azari Nesbitt, เชี่ยวชาญทั้งด้านผู้สูงอายุและด้านการดูแลแบบประคับ Meyers, 2004) 6) ความสมดุลระหว่างการดูแลแบบ ประคอง(Specialist Palliative Care) ที่ผ่านการอบรม ประคับประคองและการรักษาในระยะเวลายาวนาน การ ด้านการดูแลผู้สูงอายุและการดูแลแบบประคับประคอง ดูแลแบบประคับประคองควรยึดหลักการการดูแลตาม เนื่องจากผู้สูงอายุมีปัญหาที่ซับซ้อนที่เป็นผลจากการ ระยะ (trajectory) และดูแลต่อเนื่องยาวนาน (longitu- เสื่อมด้านร่างกายที่ไม่ได้เป็นอาการที่ปรากฎในต�ำราการ dinal chronic illness care) โดยการสร้างความสมดุล ดูแลแบบประคับประคอง ซึ่งผู้ให้บริการมีความจ�ำเป็น ระหว่างการดูแลแบบประคับประคองและการรักษา โดย ที่จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงด้านเภสัชจล หลักการนี้ใช้ทดแทนหลักการดูแลเฉียบพลันที่เน้นการ ศาสตร์ของยาแก้ปวดกลุ่มมอร์ฟีนในการจัดการอาการ จัดการการก�ำเริบของโรค (Jerant, Azari, Nesbitt, & ปวด รวมถึงการใช้ยาหลายชนิดที่ใช้รักษาโรคร่วม Meyers, 2004) 7) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ นอกจากนั้นแพทย์มีความจ�ำเป็นต้องท�ำความคุ้นเคยกับ ระหว่างผู้สูงอายุ บุคคลในครอบครัว และทีมผู้ให้บริการ เรื่องการดูแลระยะยาวทั้งด้านการบริหารจัดการและ โดยทุกกลุ่มจะต้องมีข้อมูลอย่างเพียงพอในการตัดสินใจ การจัดบริการส�ำหรับผู้สูงอายุที่ใช้ชีวิตช่วงสุดท้ายที่บ้าน ซึ่งมีหลักฐานที่แสดงว่าถ้ามีการตัดสินใจร่วมกันของทุก หรือสถานดูแลระยะยาวหรือระยะสุดท้าย (Morrison & ฝ่ายจะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแล Meier, 2003) 4) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และการ สุขภาพโดยมีหลักฐานอ้างอิงประกอบที่เป็นประโยชน์ พยากรณ์โรคตามความเป็นจริง เพื่อการจัดท�ำแผนการ (Voumard, 2018) และ 8)ครอบคลุมทุกองค์ประกอบ ดูแลล่วงหน้า (advanced care plan) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ของการดูแลแบบประคับประคองตามหลักฐานเชิง

460 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Palliative Care Nursing for Older Persons

ประจักษ์ (Voumard, 2018) แต่ละราย ตัวอย่างของการประเมินอาการในผู้สูงอายุ พยาบาลมีบทบาทส�ำคัญในการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ ประเทศญี่ปุ่นด้วยการใช้การ์ตูน ซึ่งเป็นวิธีการถ่ายทอด ในระยะท้ายของชีวิต ซึ่งกิจกรรมการพยาบาลแบบประ ข้อมูลที่มีการใช้อารมณ์ขันและเป็นรูปแบบที่สร้างความ คับประคองส�ำหรับผู้สูงอายุควรครอบคลุมกิจกรรมดัง พึงพอใจให้กับผู้สูงอายุ (Hirakawa & Uemura., 2010c) ต่อไปนี้ 3. การวางแผนการดูแลโดยทีมสหสขาวิชาชีพ เพื่อ 1. การประเมินการดูแลแบบประคับประคอง การดูแลครอบคลุมดูแลในทุกมิติ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ พยาบาลควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับการมีโรคร่วม ภาวะ ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมเนื่องจากการรับรู้และการ หง่อม และความพิการด้านร่างกายของผู้ป่วยสูงอายุ ตอบสนองของผู้ที่อยู่ในระยะสุดท้ายและครอบครัวมี ระยะสุดท้าย (Bell, et.al., 2015) ซึ่งการจัดการโรคร่วม ปัจจัยด้านสังคม วัฒนธรรมและความเชื่อเข้ามา ประกอบด้วยการประเมินโรคร่วมเพื่อระบุปัญหาและ เกี่ยวข้อง (Bridge, 2008) โดยแผนการดูแลควรมีความ ความต้องการที่เฉพาะของแต่ละโรคในผู้ที่มีอาการ สอดคล้องและมีความไวต่อวัฒนธรรมของผู้ป่วย (cul- ก�ำเริบของโรค และระบุระยะของการเสียชีวิต (Hopp, turally-sensitive care) และเป็นแผนการดูแลที่ทีมสห et.al., 2016) นอกจากนั้นผู้สูงอายุในระยะสุดท้ายควร วิชาชีพ ร่วมกันวางแผนเพื่อจัดบริการที่ครอบคลุมและ ได้รับการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองต่อความตายใน 4 ตอบสนองความต้องการทุกด้านของผู้ที่อยู่ในระยะ ระยะ หรือการประเมินภาวะเศร้าโศกจากการสูญเสีย สุดท้าย แผนการดูแลประกอบด้วย เป้าหมายของการ ได้แก่ ระยะไม่เชื่อหรือช็อค (shock or disbelief) ระยะ ดูแล แผนการสนับสนุนครอบครัว แผนการดูแลด้านจิต ต่อรอง ระยะซึมเศร้า และระยะยอมรับ การประเมิน วิญญาณ แผนการสนับสนุนช่วยเหลือด้านการเงิน ความต้องการด้านจิตใจและจิตวิญญาณเพื่อจัดบริการ แผนการฟื้นฟูสภาพและการจัดการความเจ็บป่วยร่วม การส่งเสริมความผาสุกด้านจิตจิตใจและจิตวิญญาณ การวางแผนการดูแลล่วงหน้า (advanced care plan- อย่างเป็นองค์รวม โดยมุ่งเน้นการประเมินความเชื่อด้าน ning) รวมถึงแผนการจัดการอาการ อย่างไรก็ตาม ศาสนา ความแข็งแกร่งด้านจิตวิญญาณ การค้นหาความ แผนการดูแลจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงปัจจัยด้านผู้สูงอายุที่ หมายต่อชีวิต นอกจากนั้นการประเมินการได้รับการ เกี่ยวข้อง เช่น แบบแผนการเจ็บป่วย (illness/disease สนับสนุนจากครอบครัวเพื่อวางแผนการจัดบริการที่เน้น trajectory) รูปแบบการแสดงอาการ (symptom pre- ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ซึ่งความล่าช้าของการประเมิน sentation) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจ และ จะท�ำให้การจัดบริการการดูแลแบบประคับประคอง เภสัชวิทยา นอกจากนั้นแผนการดูแลควรเป็นแผนการ ล่าช้าตามไปด้วย (Garcia, Rodrigues, & Lima, 2014) ดูแลแบบสหสาขาวิชาชีพที่เน้นความเป็นองค์รวมและ 2. การประเมินอาการรบกวนในผู้สูงอายุ ควร ความเชี่ยวชาญของแต่ละสาขาวิชาชีพเพื่อการจัดการที่ ค�ำนึงถึงข้อจ�ำกัดด้านการสื่อสาร เนื่องจากการได้ยิน เหมาะสมและครอบคลุมโดยบทบาทส�ำคัญของพยาบาล บกพร่องหรือความบกพร่อง ด้านสติปัญญาที่เกิดจาก คือการประสานการดูแลกับสหวิชาชีพเพื่อส่งเสริมสุข ภาวะสมองเสื่อม จึงควรเลือกใช้วิธีการประเมินที่เหมาะ ภาวะของผู้สูงอายุในระยะสุดท้ายและครอบครัว (Guer- สม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง นอกจากนั้นควรค�ำนึงถึง rero, 2019) ความเชื่อเฉพาะส่วนบุคคลของผู้สูงอายุที่เชื่อว่าผู้สูงอายุ 4. การตอบสนองความต้องการอย่างเป็นองค์รวม ต้องมีความอดทน และความอดทนเป็นคุณสมบัติของผู้ ประกอบด้วยการจัดการอาการที่สร้างความทุกข์ทรมาน สูงอายุที่ดีท�ำให้ผู้สูงอายุไม่รายงานอาการรบกวนให้กับ และการส่งเสริมความสุขสบาย ซึ่งอาการที่สร้างความ ผู้ประเมินที่เป็นบุคลากรสุขภาพ ดังนั้นอาจต้องใช้ ทุกข์ทรมานที่พบบ่อย ได้แก่ เหนื่อย ภาวะซึมเศร้า แนวทางการประเมินอาการที่เหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ อาการอ่อนล้า อาการรบกวนทางระบบทางเดินอาหาร

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 461 การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ

ได้แก่ ท้องผูก เบื่ออาหารและกลืนล�ำบาก และอาการ มีภาวะสมองเสื่อมและเริ่มท�ำ advanced care plan ปวด (Gatto & Zwicker, 2013) การดูแลช่วยเหลือ ตั้งแต่ที่ภาวะของโรคยังไม่รุนแรง ผู้ป่วยสามารถตัดสิน สนับสนุนให้ผู้ป่วยได้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองในระดับ ใจหรือบอกความปรารถนาของตนเองได้ ที่ส�ำคัญคือการ ที่ผู้ป่วยสามารถท�ำได้ (Hopp, et.al., 2016) การบรรเทา พัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานทั้งในโรงพยาบาล ในสถาน ความทุกข์ทรมานด้านจิตใจและจิตวิญญาณโดยการ สงเคราะห์ และในชุมชน เนื่องจากส่วนใหญ่ขาดความรู้ สนับสนุนด้านจิตใจและส่งเสริมความผาสุกด้านจิต และประสบการณ์ในการดูแบบประคับประคองส�ำหรับ วิญญาณ การวางแผนการดูแลล่วงหน้า (advance ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม จึงกล่าวได้ว่าการดูแลแบบ planning) ซึ่งพยาบาลควรส่งต่อเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการ ประคับประคองส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม ช่วยเหลือที่เหมาะสมในแต่ละระยะ เช่น การส่งต่อให้ อาศัยการท�ำงานร่วมกันระหว่างการดูแลภาวะสมอง เข้ากลุ่มช่วยเหลือสนับสนุน ส่งต่อนักจิตวิทยาหรือ เสื่อม การดูแลผู้สูงอายุ ดังนั้นจึงมีการพัฒนารูปแบบการ จิตแพทย์ ส่งต่อเพื่อให้ได้รับบริการด้านจิตเวช หรือการ ดูแลที่ผสมผสานการดูแลแบบประคับประคองกับการ ส่งต่อเพื่อให้เข้ากลุ่มสนับสนุนในชุมชน (Bridge, 2008) ดูแลปฐมภูมิส�ำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อมตลอด 5. การสนับสนุนครอบครัวโดยค�ำนึงถึงปัญหาและ ระยะเวลาการเจ็บป่วย ประกอบด้วยการวางแผนการ ความต้องการของครอบครัว ภาระในการดูแลที่มากอาจ ดูแลล่วงหน้า การดูแลโดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง การ ส่งผลให้ผู้ดูแลเกิดความรู้สึกของการเป็นภาระ (burden) จัดการอาการ การให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการของ และด้วยวัฒนธรรมไทยที่ถูกก�ำหนดให้บุตรเป็นผู้ที่มีหน้า โรค การสนับสนุนครอบครัว การส่งเสริมการใช้แหล่ง ที่ในการตอบแทนบุญคุณบุพการี โดยต้องดูแลโดยเฉพาะ ประโยชน์ในชุมชน การประสานการดูแล และการดูแล ในวาระสุดท้ายให้ดีที่สุด ซึ่งอาจส่งผลให้ผู้ดูแลมีความ แบบประคับประคองโดยเริ่มตั้งแต่ระยะแรกของโรคจน ยากล�ำบากในการที่จะต้องรับบทบาทในการตัดสินใจ ระยะสุดท้าย โดยมีพยาบาลเป็นผู้ประสานงาน ทบทวน แทนผู้สูงอายุ ซึ่งครอบครัวควรได้รับข้อมูลจากบุคลากร ข้อมูลจากผู้ป่วยและให้ข้อมูลแก่แพทย์ตอนผู้ป่วยมา สุขภาพอย่างเพียงพอเพื่อให้สามารถปรับตัวกับความ ติดตามการรักษา และให้ข้อมูลแก่ผู้ดูแล รวมถึงเป็นผู้ที่ เศร้าโศกจากการสูญเสีย ซึ่งการที่ผู้ดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ ประสานให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ดีจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในระยะสุดท้าย ด้วย ส�ำหรับพยาบาลประคับประคอง จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ สรุป จะต้องสร้างสัมพันธภาพกับครอบครัวเพื่อสื่อสารข้อมูล ผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต ประกอบ ที่จ�ำเป็นเพื่อช่วยให้ครอบครัวจัดการกับความต้องการ ด้วยผู้สูงอายุโรคมะเร็งและผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง การดูแล ช่วยเหลือสนับสนุนการตัดสินใจด้านสุขภาพ โดยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีหลายโรคร่วม ผู้สูงอายุที่มี และเผชิญกับกระบวนการตายอย่างเหมาะสม การมี ภาวะหง่อม รวมถึงผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม โดย ข้อมูลเพียงพอจะช่วยให้ครอบครัวรับรู้ถึงการได้รับความ เป็นกลุ่มที่มีปัญหาและความต้องการที่ซับซ้อนทั้งปัญหา ช่วยเหลือสนับสนุนและจะส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการ จากความเจ็บป่วยและปัญหาที่เกิดจากความบกพร่อง ดูแลผู้ป่วย (Maureen, Constance, Todd, & Edward, ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา โดยการพยาบาลแบบประ 2011) คับประคองส�ำหรับผู้สูงอายุยึดหลักการและเป้าหมาย 6. การพัฒนารูปแบบการดูแลแบบประคับ เดียวกับการพยาบาลแบบประคับประคองในกลุ่มเป้า ประคองส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น ผู้สูงอายุ หมายทั่วไปคือ การดูแลแบบองค์รวมโดยใช้หลักฐานเชิง ที่มีภาวะสมองเสื่อม โดยใช้แนวคิดเชิงรุกคือให้การดูแล ประจักษ์ การมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและครอบครัว การ แบบประคับประคองตั้งแต่เริ่มต้นที่ได้รับการวินิจฉัยว่า ประสานงานและการบูรณาการการดูแล การสื่อสาร

462 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Palliative Care Nursing for Older Persons

อย่างมีประสิทธิภาพ และการดูแลโดยทีมสหวิชาชีพ เพื่อ ตายอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และตายดี เป้าหมายคือคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถเผชิญความ เอกสารอ้างอิง Aekplakorn, W. (2009). Thai National Health Examination Survey IV 2008-2009. Nonthaburi: The Graphic System. Afshar, S., Roderick, P. J., Kowal, P., Dimitrov, B. D., & Hill, A. G. (2015). Multimorbidity and the inequalities of global ageing: a cross-sectional study of 28 countries using the World Health Surveys. BMC Public Health, 15, 776. doi: 10.1186/s12889-015-2008-7. Ando, M., Somchit, S., Miyashita, M., & Jamjan, L. (2016). The perception for good death of community dwelling Japanese and Thailand respondents. Asian/Pacific Island Nursing Journal, 1(3), 91-96. Barnett, K., Mercer, S. W., Norbury, M., Watt, G., Wyke, S., & Guthrie, B. (2012). Epidemiology of multimorbidity and implications for health care, research, and medical education: a cross-sectional study. Lancet, 380(9836), 37-43. doi:10.1016/s0140-6736(12)60240-2 Baoiam, P., Jaroenpitak, S., Sukhontha, S., Satitvipawee, P. (2018). Prevalence and related factors of multimorbidity in the elderly, Si Prachan sub-district, Sri Suphan Buri Province. Bangkok: 16th May 31st -June, 1st 2018 National Public Health Conference. Bell, S. P., Orr, N. M., Dodson, J. A., Rich, M. W., Wenger, N. K., Blum, K., . . . Forman, D. E. (2015). What to Expect From the Evolving Field of Geriatric Cardiology. J Am Coll Cardiol, 66(11), 1286-1299. doi:10.1016/j.jacc.2015.07.048 Borbasi, J. (2017). Life before death: Improving palliative care for older Australians. Research Report 34 (RR34). The Centre for Independent Studies. Retrieved from www.cis.org.au. Bridge, D. T. (2008). Curing diseases and healing suffering: Inspiration from developments in palliative medicine. International Journal of Gerontology, 2, 29-32. Chan, N., Menon, S., & Goh, C.R. (2015). Policies on palliative care for older people in Asia. In L., Van den Block, G. Albers, Pereira, S.M., B. Onwuteaka-Philipsen, R Pasman, & L Deliens (Eds.), Palliative care for older people: A public health perspective. Oxford Scholarship Online, DOI: 10.1093/acprof:iso/9780198717614.003.0012 Chengsatiansup, K. (2012). Learning to aging society. Lecture on Siriraj Palliative Care Day. October, 17-19, 2012. Retrieved from https://www.healthyliving.in.th/content/207064/%20 Davies, E. (2004). What are the palliative care needs of older people and how might they be met? Copenhagen, WHO Regional Office for Europe. Davies, E. & Higginson, I. L. (2004). Better Palliative Care for Older People. Denmark: WHO Regional Office for Europe.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 463 การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ

Department of Health, Ministry of Public Health. (2013). Report on Health Status of the Thai Elderly. Bangkok: Department of Health, Ministry of Public Health. European Association for Palliative Care, (2009). White Paper on standards and norms for hospice and palliative care in Europe: part 1. European Journal of Palliative Care, 16(6), 278-289. Evers, M. M., Meier, D. E. & Morrison, R. S. (2002). Assessing differences in care needs and service utilization in geriatric palliative care patients. Journal of Pain Symptom Management, 23(5), 424-32. Garcia, J. B., Rodrigues, R. F., Lima, S. F. (2014). Structuring a palliative care services in Brazil: experience report. Brazilian Society of Anesthesiology, 64, 286-291. Gatto, M., & Zwicker, DeAnne (2013). Nursing Standard of Practice Protocol: Palliative Care. Evidence-Based Geriatric Nursing Protocols for Best Practice, (4th Ed.) Springer Publishing Company Gu, J., Chao, J., Chen, W., Xu, H., Wu, Z., Chen, H., . . . Zhang, R. (2017). Multimorbidity in the community-dwelling elderly in urban China. Arch Gerontol Geriatr, 68, 62-67. doi:10.1016/j.archger.2016.09.001 Guerrero, J. G. (2019). Palliative nursing care as applied to geriatric: An integrative literature review. Nursing and Palliative Care, 4, 1-6. doi: 10.15761/NPC.1000199 Hanratty, B., Hibbert, D., Mair, F., May, C., Ward, C., Capewell, S., . . . Corcoran, G. (2002). Doctors’ perceptions of palliative care for heart failure: focus group study. Bmj, 325(7364), 581-585. doi:10.1136/bmj.325.7364.581 Harrison, C., Henderson, J., Miller, G., & Britt, H. (2017). The prevalence of diagnosed chronic conditions and multimorbidity in Australia: A method for estimating population prevalence from general practice patient encounter data. PLoS One, 12(3), e0172935. doi: 10.1371/journal.pone.0172935 Higginson, I. J. & Davies, E. (2004). The solid facts: Palliative care. Denmark: WHO Regional Office for Europe. Hirakawa, Y. & Uemura, K. (2010c). Development of the Nagoya Graphical Symptom Scale for Elderly (NGSSE)]. Nippon Ronen Igakkai Zasshi, 47(3), 264. Hopp, F. P., Zalenski, R. J., Waselewsky, D., Burn, J., Camp, J., Welch, R. D., & Levy, P. (2016). Results of a Hospital-Based Palliative Care Intervention for Patients With an Acute Exacerbation of Chronic Heart Failure. J Card Fail, 22(12), 1033-1036. doi:10.1016/j.cardfail.2016.04.004 Jerant, A. F., Azari, R. H., Nesbitt, T. S., Meyers, F. J. (2004). The TLC model of palliative care in the elderly: Preliminary application in the assisted living setting. Annals of Family Medicine, 2(1), 54-60.

464 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Palliative Care Nursing for Older Persons

Kite, S. (2006). Palliative care for older people. Age Ageing, 35(5), 459-460. Lloyd, A., Kendall, M., Carduff, E., Cavers, D., Kimbell, B., & Murray, S. A. (2016). Why do older people getless palliative care than younger people? European Journal of Palliative Care, 23(3), 132-137. Matzo, M. L. (2004). Palliative care: Prognostication and the chronically ill. American Journal of Nursing, 104(9), 40-49. Maureen, L., Constance, D., Todd, H., & Edward, C. (2011). Palliative Care Nursing: Defining the Discipline? Journal of Hospice & Palliative Nursing, 13(2), 106-111. DOI: 10.1097/NJH.0b013e3182075b6e McLean, G., Gunn, J., Wyke, S., Guthrie, B., Watt, G. C., Blane, D. N., & Mercer, S. W. (2014). The influence of socioeconomic deprivation on multimorbidity at different ages: a cross-sectional study. Br J Gen Pract, 64(624), e440-447. doi:10.3399/bjgp14X680545 Morrison, R. S., Meier, D. E., eds. (2003). Geriatric palliative care. New York: Oxford University Press. National Statistical Health Office. (2014).Report on the 2007 survey of the older persons in Thailand. Bangkok: Text and General Publication Limited. Nunes, B. P., Flores, T. R., Mielke, G. I., Thume, E., & Facchini, L. A. (2016). Multimorbidity and mortality in older adults: A systematic review and meta-analysis. Arch Gerontol Geriatr, 67, 130-138. doi:10.1016/j.archger.2016.07.008 O’Leary, N., & Tiernan, E. (2008). Survey of specialist palliative care services for noncancer patients in Ireland and perceived barriers. Palliative Medicine, 22(1), 77-83. Pal, L. M. & Manning, L. (2014). Palliative care for frail older people. Clinical Medicine, 14(3), 292–5. Panuthai, S., Srirat, C., Wonghongkul, T., Mesukko, J., Niyomkar, S., Gomutbutra, P., . . . Popjunad, P. (2016). Development of Good Death Index in upper northern Thai context: Research report. Chiang Mai: Faculty of Nursing, Chiang Mai University. Tatum, P., Talebreza, S., Ross, J. S., & Widera, E. (2017). Palliative care and special management issues. In J. B. Halter, J. G. Ouslander, S., Studenski, K. P. High, S., Asthana, M. A. Supiano, & C. Ritchie (Eds.), Hazzard’s geriatric medicine (7th ed.). New York, NY: McGraw-Hill Education. Violan, C., Foguet-Boreu, Q., Flores-Mateo, G., Salisbury, C., Blom, J., Freitag, M., . . . Valderas, J. M. (2014). Prevalence, determinants and patterns of multimorbidity in primary care: a systematic review of observational studies. PLoS One, 9(7), e102149. doi:10.1371/journal.pone.0102149 Vliet, L.V., Antunes, B., & Higginson, I.J. (2015). Symptoms and trajectories experienced by older people approaching and at the end of life: implications for care. In L.V. den Block, G. Albers, S.M. Pereira, B. Onwuteaka-Phillipsen, R. Pasman & L. Deliens (Eds.), Palliative care for older people: A public health perspective. Oxford Scholarship Online, DOI: 10.1093/acprof:iso/9780198717614.003.0012

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 465 การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ

Voumard, R., Rubli Truchard, E., Benaroyo, L., Borasio, G. D., Büla, C., & Jox, R. J. (2018). Geriatric palliative care: a view of its concept, challenges and strategies. BMC Geriatrics, 18(1), 220. doi:10.1186/s12877-018-0914-0 Walshe, C., Todd, C., Caress, A., & Chew-Graham, C. (2009). Patterns of access to community palliative care services: a literature review. Journal of Pain and Symptom Management, 37(5), 884-912. World Health Organiztion. (2011). Palliative care for older people: Better Practices. Denmark: WHO Regional Office for Europe. Worldwide Palliative Care Alliance, World Health Organization. (2014). Global Atlas of Palliative Care at the End of Life. Retrieved from http://www.who.int/nmh/Global_Atlas_of_Palliative_Care.pdf?ua=1

466 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา: ผู้น�ำทางการพยาบาลสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพ Associate Professor Praneet Sawasdiraksa: Nursing Leader Building Professional Advance

วิจิตร ศรีสุพรรณ * Wichit Srisuphan * ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ ** Chawapornpan Chanprasit ** อุดมรัตน์ สงวนศิริธรรม *** Udomrat Sngounsiritham ***

บทคัดย่อ การพัฒนาวิชาชีพพยาบาลขึ้นกับผู้น�ำองค์กรที่ดี ตระหนักถึงความส�ำคัญของวิชาชีพพยาบาล ทั้งมุ่งมั่นตั้งใจ ที่จะสร้างความก้าวหน้าให้วิชาชีพ ในอดีตที่ผ่านมามีผู้น�ำในวิชาชีพการพยาบาลที่เสียสละ อุทิศตน เพื่อพัฒนาวิชาชีพ ให้เป็นที่ยอมรับของสังคม การเรียนรู้ประสบการณ์ในอดีตของผู้น�ำ จะเป็นหนึ่งบทเรียนรู้ของการพัฒนาวิชาชีพ ส่งเสริมคุณภาพการพยาบาลอย่างเป็นรูปธรรม

ค�ำส�ำคัญ: ผู้น�ำทางการพยาบาล การพัฒนาวิชาชีพ ผู้บริหารการพยาบาล

Abstract Professional nursing development is relied on a good organization leader, who recognizes the significance of nursing profession and strongly intends to create the profession advancement. In the previous time, there are nursing leaders devoting themselves to develop the profession for social acceptance. Learning previous experiences of a leader will be a lesson learnt of professional development, contributing precisely to nursing quality.

Keywords: Nursing leader, Professional development, Nursing Administrator

* ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ข้าราชการบ�ำนาญ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Professor Emerita, Pension Official, Chiang Mai University ** ผู้เขียนหลัก, รองศาสตราจารย์ ข้าราชการบ�ำนาญ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Corresponding Author, Associate Professor, Pension Official, Chiang Mai University *** รองศาสตราจารย์ ข้าราชการบ�ำนาญ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Associate Professor, Pension Official, Chiang Mai University

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 467 รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา: ผู้น�ำทางการพยาบาลสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพ

บทน�ำ ผู้น�ำทางการพยาบาล ที่สามารถน�ำพาวิชาชีพให้มีความ ‘Let us never consider ourselves finished เจริญก้าวหน้าเป็นล�ำดับ ทัดเทียมกับวิชาชีพอื่น การ nurse. We must be learning all of our lives’ เรียนรู้ประสบการณ์การท�ำงานในการพัฒนาวิชาชีพของ ‘เราจะไม่พิจารณาหยุดยั้งการเป็นพยาบาล ผู้น�ำทางการพยาบาลจึงมีความส�ำคัญ โดยเฉพาะในช่วง หากเราต้องเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต’ ระยะแรกของการบุกเบิกพัฒนาวิชาชีพพยาบาลใน (Florence Nightingale, 1800s) ประเทศไทยและเขตภูมิภาคเหนือ ซึ่งในช่วงนั้นรอง ศาสตราจารย์ปราณีต สวัสดิรักษา เป็นหนึ่งผู้น�ำการ ฟลอเรนซ์ ไนติงเกลให้ความส�ำคัญต่อการเรียนรู้ พยาบาลด้านบริหารการพยาบาลที่มีความส�ำคัญยิ่ง ด้วย ตลอดชีวิต เป็นนัยยะที่บ่งบอกถึง วิชาชีพพยาบาลมี ความมุ่งมั่นบุกเบิกพัฒนาวิชาชีพการพยาบาลและ ความจ�ำเป็นที่จะต้องพัฒนาความแข็งแกร่งทางวิชาการ ผดุงครรภ์ สร้างความก้าวหน้าต่อวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง อย่างต่อเนื่อง ตามสถานการณ์ความต้องการและการ เป็นล�ำดับ ปรับเปลี่ยนทางสังคม การพัฒนาวิชาชีพที่ส�ำคัญจักต้อง จากการประมวลสังเคราะห์หลักฐานทางวิชาการ ด�ำเนินการให้ครอบคลุมรอบด้าน ทั้งด้านการศึกษา และงานวิทยานิพนธ์ ‘การศึกษาชีวประวัติ แนวความคิด พยาบาล การบริการพยาบาล การบริหารการพยาบาล และการพัฒนาฝ่ายบริการพยาบาล ของ รอง และการวิจัยทางการพยาบาล (Singhanetr, Jaisit, & ศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา’ (Boonrubpayap, Henkeaw, 2017; Sripakho, 2014) การพัฒนาดังกล่าว 1996) กล่าวได้ว่าท่านเป็นหนึ่งผู้น�ำที่ริเริ่มจากการ ต้องการผู้น�ำทางการพยาบาลที่มีความรู้ ความสามารถ พัฒนาพยาบาลวิชาชีพให้พร้อมด้วยความรู้และศักยภาพ มีประสิทธิภาพการท�ำงานที่เป็นเลิศ กอร์ปด้วยวิสัยทัศน์ แห่งการดูแล สู่การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและการ ที่กว้างไกล เพื่อสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพการพยาบาล ผดุงครรภ์ น�ำมาซึ่งความก้าวหน้าทัดเทียมกับวิชาชีพอื่น อย่างเป็นรูปธรรม ต่อเนื่องและรอบด้าน จากหลักฐาน อย่างเป็นรูปธรรม อีกนัยหนึ่ง คือ การสร้างให้พยาบาล เชิงประจักษ์ หนึ่งในผู้น�ำทางการพยาบาลที่มีบทบาท วิชาชีพ ‘มีที่ยืน’ เป็นที่ยอมรับทางสังคม เป็นผู้น�ำ ส�ำคัญในการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ทางการพยาบาลที่มีคุณลักษณะเด่น โดยเฉพาะภาวะ ได้เน้นความส�ำคัญต่อการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล 3 การเป็นผู้น�ำที่เข้มแข็ง การมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ยึดมั่น ประเด็น คือ 1) การพัฒนาการศึกษาพยาบาล เป็นการ ในหลักการท�ำงานที่มีคุณภาพ รับผิดชอบสูง แน่วแน่ต่อ สร้างคนให้รอบรู้ ทันต่อเหตุการณ์ เพิ่มศักยภาพในการ พันธะสัญญาในฐานะพยาบาลวิชาชีพที่มุ่งผลลัพธ์ที่เป็น ท�ำงานส่งผลต่อคุณภาพการพยาบาล 2) การพัฒนาวิจัย เลิศจากการพยาบาล ริเริ่มบุกเบิก สร้างความก้าวหน้า ทางการพยาบาลทั้งระดับบุคคลและนโยบาย เพื่อสร้าง ทางการพยาบาลอย่างต่อเนื่องนับแต่อดีต ด้วยการ องค์ความรู้ด้านการศึกษา ด้านบริการสุขภาพ เพื่อ พัฒนาระบบบริการสุขภาพในโรงพยาบาลนครเชียงใหม่ พัฒนาการเรียนการสอน นวัตกรรม ได้หลักฐานเชิง (ปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่) ให้ วิทยาศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ตลอด พร้อมต่อการรองรับสถานการณ์การดูแลรักษาที่ตอบ จนข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อผลักดัน ‘พลังอ�ำนาจ สนองความต้องการทางสังคม และความต้องการของผู้ ทางวิชาการ’ และ 3) การพัฒนาองค์กรวิชาชีพเป็นการ ใช้บริการ ด้วยความรู้ ประสบการณ์ และความเพียร สร้างเอกภาพและเอกสิทธิ์ของวิชาชีพจากการมีส่วนร่วม พยายาม อุตสาหะ ร่วมกับจิตสาธารณะที่มุ่งประโยชน์ ในการด�ำเนินกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพ (Phimuk, ส่วนรวมเป็นส�ำคัญ การเรียนรู้ประสบการณ์การท�ำงาน Sngounsiritham & Chanprasit, 2009) การพัฒนา ในยุคเริ่มแรกของการบุกเบิกพัฒนาวิชาชีพของท่านจึง วิชาชีพการพยาบาลจึงเกิดจากมุมมองที่กว้างไกลของ มีความส�ำคัญ เพื่อเป็นต้นแบบการศึกษาวิธีคิดและการ

468 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Associate Professor Praneet Sawasdiraksa: Nursing Leader Building Professional Advance

ท�ำงานที่ให้คุณค่าการพยาบาลเป็นส�ำคัญ พัฒนาภาวะผู้น�ำและวิชาชีพการพยาบาลใน 3 ประเด็น ผลการประมวลสังเคราะห์หลักฐานทางวิชาการ หลัก กล่าวคือ 1) ภาวะผู้น�ำผ่านระบบการศึกษา 2) ของ รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา (Boonrub- บุกเบิกพัฒนา สร้างความแกร่งวิชาชีพ และ 3) ต้นแบบ payap, 1996) ที่เป็นผู้บริหารทางการพยาบาลและมี การท�ำงาน อุทิศตน เพื่อสุขภาวะประชาชน รวมทั้ง ภาวะผู้น�ำที่เข้มแข็ง สามารถสรุปสาระที่เกี่ยวกับการ ประเด็นย่อยตามตาราง 1

ตาราง 1 ประเด็นหลักและประเด็นย่อยการสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพของ รศ. ปราณีต สวัสดิรักษา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย ภาวะผู้น�ำผ่านระบบการศึกษา - การศึกษาหล่อหลอม มุ่งมั่นอดทน - สร้างความแกร่งวิชาการ เรียนรู้ต่อเนื่อง บุกเบิกพัฒนา สร้างความแกร่งวิชาชีพ - วิสัยทัศน์กว้างไกล ริเริ่มพัฒนางาน - ผู้บริหารเข้มแข็ง สร้างความก้าวหน้า ต้นแบบคุณธรรม - ใส่ใจการพยาบาลที่ไวต่อวัฒนธรรม - สร้างรากฐานการศึกษา ริเริ่มหลักสูตรนานาชาติ ต้นแบบการท�ำงาน อุทิศตน เพื่อสุขภาวะ ประชาชน - ร่วมงาน พอ.สว.และ รพช. เพื่อสุขภาวะประชาชน - ใส่ใจงานสุขภาพเด็กและประชาชน - พัฒนาวิชาชีพและชุมชนผ่านสมาคมพยาบาล

ภาวะผู้น�ำผ่านระบบการศึกษา ระเบียบวินัยงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ประกอบกับ การศึกษาหล่อหลอม มุ่งมั่นอดทน การเรียนอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ท�ำให้ต้องฝึก ความเป็นผู้น�ำของรองศาสตราจารย์ปราณีต สวัส ปฏิบัติการพยาบาลอย่างเข้มแข็งและเรียนหนัก ร่วมกับ ดิรักษา ได้แสดงอย่างเด่นชัดนับแต่การเข้ารับการศึกษา การช่วยเหลือผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากสงครามและผู้ร่วม ในโรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์ของสมเด็จพระศรีพัชริน งาน ท่านจึงเป็นหนึ่งแบบอย่างของการท�ำงานที่มีความ ทราบรมราชินีนาถ คณะแพทยศาสตร์และศิริราช รับผิดชอบสูง เสียสละ อุทิศตน (self devotion) เพื่อ พยาบาล มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ปี พ.ศ. 2485) โดย ประโยชน์ส่วนรวมหรือสาธารณชนอย่างแท้จริง ประการ เริ่มจากคุณสมบัติพื้นฐานของผู้น�ำในด้านการศึกษา ส�ำคัญท่านเป็นคนเรียนรู้จากประสบการณ์ สามารถชี้น�ำ อบรมที่ดี (จากการศึกษาพยาบาล) ร่วมกับ ความมุ่งมั่น ตนเองในการแสวงหาความรู้ (self-directed learner) อดทน เสียสละ รับผิดชอบสูง และชี้น�ำตนเอง (Na- ทั้งคิดประยุกต์ความรู้สู่การท�ำงานในชีวิตประจ�ำวันเพื่อ kasem & Siritarungsri, 2014; Sripakho, 2014) ภูมิ สร้างคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง นับแต่ช่วงการศึกษา หลังการศึกษาทางการพยาบาล ได้หล่อหลอมและปลูก จนถึงการท�ำงานทั้งในฐานะนักการศึกษาและนักบริหาร ฝังความเป็นวิชาชีพการพยาบาลว่าเป็นงานที่เป็น ด้วยจิตที่เปี่ยมด้วยคุณธรรมพร้อมความกตัญญูและ ประโยชน์ต่อประเทศชาติ เสริมความแกร่งต่อความมุ่ง อ่อนน้อมถ่อมตน ท่านยกคุณงามความดีของความส�ำเร็จ มั่นในการช่วยเหลือผู้อื่น ด้วยธรรมชาติของการศึกษา อย่างงดงามในชีวิตให้กับ ‘คุรุ’ คุณครู อบทิพย์ แดงสว่าง พยาบาลวิชาชีพที่มีทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดยเฉพาะ และคุณครู อังคณา เหมินทร์ ผู้ให้การสอนสั่งอบรมอย่าง การฝึกปฏิบัติการพยาบาลสร้างความเคร่งครัดต่อ เข้มงวด กล่อมเกลาปลูกฝังแนวคิดพื้นฐานที่ควรจารจ�ำ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 469 รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา: ผู้น�ำทางการพยาบาลสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพ

ส �ำหรับการปฏิบัติการพยาบาล จากความอุตสาหะ บุกเบิกพัฒนา สร้างความแกร่งวิชาชีพ ผนวกกับสติปัญญาที่เฉียบแหลม ต่อการเรียน ร่วมกับ วิสัยทัศน์กว้างไกล ริเริ่มพัฒนางาน ความมุ่งมั่นและตั้งใจฝึกปฏิบัติทางการพยาบาล ยังผล รองศาสตราจารย์ ประณีต สวัสดิรักษา เป็นทั้งนัก ให้ท่านได้รับรางวัลเรียนดีตลอดหลักสูตรเมื่อส�ำเร็จการ บริหารและนักการศึกษาที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มุ่งมั่น ศึกษาการพยาบาลและ ผดุงครรภ์ ในปี พ.ศ. 2489 พัฒนาวิชาชีพ โดยถ่ายทอดกล่อมเกลาให้พยาบาล สร้างความแกร่งวิชาการ เรียนรู้ต่อเนื่อง วิชาชีพมีความมุ่งมั่น อดทน เสียสละ ให้คุณค่าต่อการ ภายหลังส�ำเร็จการศึกษาทางการพยาบาล (พ.ศ. ท�ำงานเพื่อสร้างคุณภาพการดูแล ท่านเน้นให้พยาบาล 2489) รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา ได้เริ่ม วิชาชีพใช้หลักวิชาและคุณธรรมควบคู่กันในการดูแลผู้ ประกอบวิชาชีพพยาบาล และปฏิบัติงานในวิชาชีพนี้ ป่วย เน้น 3H คือ Head เป็นวิชาความรู้ที่รำ�่ เรียน Heart ตลอดชีวิตการท�ำงาน (พ.ศ.2489-2527) เริ่มแรกได้เข้า มีน�้ำใจที่เมตตา และ Hand สู่น�้ำมือที่นุ่มนวล ก่อให้เกิด รับราชการเป็นพยาบาลที่โรงพยาบาลศิริราช เป็นช่วง การพยาบาลที่เปี่ยมด้วยความรู้ ให้การดูแลด้วยความ เวลาที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่สอง มีความ เมตตา เหมาะสมกับกาลเทศะ (Nantajit, 2010) ขาดแคลนทั้งอุปกรณ์การแพทย์และการสอน ส่งผลต่อ ประการส�ำคัญท่านมีแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพอย่างเป็น คุณภาพการพยาบาลอย่างมาก ต้องใช้เวลาในการ รูปธรรม ทั้งด้านการศึกษาพยาบาลและบริการพยาบาล ปรับปรุงฟื้นฟู ทั้งด้านบริการพยาบาลและการศึกษา จึงให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพทั้งสองด้าน พยาบาล รวมทั้งการขอรับทุนจากองค์กรต่างประเทศ ควบคู่กัน ร่วมกับการสร้างความแกร่งด้านความรู้ เพื่อการศึกษาต่อในต่างประเทศส�ำหรับครูพยาบาล ซึ่ง วิชาการและทักษะที่จ�ำเป็นในการดูแลผู้ป่วย จาก รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา ในขณะที่ด�ำรง ประวัติการท�ำงานของท่านทั้งในฐานะนักปฏิบัติการ ครู ต�ำแหน่งครูพยาบาลได้รับทุนโคลัมโบไปศึกษาหลักสูตร ผู้สอนและผู้บริหาร ท่านเป็นต้นแบบการท�ำงานที่มีความ ประกาศนียบัตรครูพยาบาลสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา รับผิดชอบสูง ให้ความส�ำคัญของคุณค่างาน ริเริ่มบุกเบิก ที่ Royal Melbourne College of Nursing เป็นระยะ พัฒนาการพยาบาล ใส่ใจต่อผู้ใช้บริการ ตลอดจนสร้าง เวลา 1 ปี นับเป็นการศึกษาดูงานต่างประเทศครั้งแรก ความร่วมมือประสานท�ำงานระหว่างทีมสุขภาพเพื่อ เป็นการสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการ ร่วมกับการ ประสิทธิภาพของงานสู่ผลลัพธ์การรักษาพยาบาลที่พึง สร้างความคิดที่กว้างไกลให้ความส�ำคัญต่อการศึกษา ประสงค์ อันเป็นลักษณะส�ำคัญของผู้น�ำองค์กรที่มีทักษะ เรียนรู้ ด้วยคุณลักษณะที่เป็นผู้ใฝ่รู้ รักความก้าวหน้า ด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่จะสร้างความสัมพันธ์ แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ในเวลาต่อมาได้รับ ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน และทีมงานเพื่อประสิทธิภาพของ การคัดเลือกไปศึกษาต่อจนจบปริญญาตรีวิทยาศาสตร งาน (Mencl, Welfald, Ittersum, & Kansas, 2016) บัณฑิต (Bachelor of Science in Nursing) และ ในช่วงระยะเวลาที่ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลศิริราช ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตการบริหารการ รองศาสตราจารย์ ประณีต สวัสดิรักษา ได้รับแต่งตั้งให้ พยาบาล (Master of Science in Nursing Service ด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญ อาทิ หัวหน้าหอผู้ป่วยติดเชื้อ Administration) จากมหาวิทยาลัยบอสตัน รัฐแมทซา แผนกสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา (พ.ศ. 2495) ท่าน ซูเซท ประเทศสหรัฐอเมริกา ความรู้และประสบการณ์ ท�ำงานด้วยความเข้มแข็ง เสียสละความสุขส่วนตัว บาง จากการศึกษาต่างประเทศมีส่วนในการหล่อหลอม กรณีต้องท�ำงานติดต่อกัน 16 ชั่วโมง บ่งบอกการแสดง พัฒนารูปแบบ แนวคิดในการท�ำงาน ทั้งเป็นพื้นฐาน บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในต�ำแหน่งหน้าที่ ส�ำคัญต่อการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาลในระยะต่อมา ควบคุมงานภายในหอผู้ป่วยให้ด�ำเนินไปด้วยดี สะท้อน คุณสมบัติการเป็นผู้บริหารที่ดี ผู้น�ำที่เข้มแข็ง กล้าตัดสิน

470 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Associate Professor Praneet Sawasdiraksa: Nursing Leader Building Professional Advance

ใจ สามารถการท�ำงานอย่างต่อเนื่องกัน ทนต่อความยาก พัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลควบคู่ไปกับการศึกษา ล�ำบากได้ (Nakasem & Siritarungsri, 2014; Stogdill, พยาบาล (Turale, Klunklin, & Chontawa, 2010) 1974) ช่วงที่ท่านท�ำหน้าที่เป็นทั้งครูและผู้ตรวจการ นับเป็นการวางรากฐานการท�ำงานร่วมกันในอดีตจนถึง ประจ�ำแผนกสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา (พ.ศ. 2497) ได้ ปัจจุบัน สร้างความร่วมมือที่ดีในการท�ำงานระหว่างผู้ ท�ำงานด้วยความวิริยะอุตสาหะ ให้ความรัก ความเมตตา ปฏิบัติงานที่มีทักษะความช�ำนาญและผู้สอนที่เข้มแข็ง ต่อผู้ใต้บังคับบัญชา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่จะ ทางวิชาการ นอกจากนี้ท่านยังร่วมจัดหน่วยแพทย์ พัฒนาคนให้มีความรู้ความสามารถ มีความรับผิดชอบ เคลื่อนที่เพื่อเอื้อการเข้าถึงบริการสุขภาพส�ำหรับกลุ่มผู้ แสดงภาวะผู้น�ำและการเป็น ‘คุรุ’ ครูที่ดี ‘ริเริ่มระบบติว ด้อยโอกาสด้วยระยะทางและเศรษฐฐานะ บ่งบอกความ สร้างคน เสริมศักยภาพ’ จัดระบบติวส�ำหรับนักเรียน มุ่งมั่นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร บนพื้นฐาน พยาบาลที่มีผลการเรียนยังไม่เป็นที่พอใจ ท�ำให้นักเรียน ความเสมอภาคในการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพอย่าง พยาบาลสามารถสอบผ่านโดยไม่ตกซ�้ำชั้น ด้วยความรู้ เท่าเทียม (equity) และทั่วถึง (coverage) จัดให้มีครู ความสามารถสูงเป็นที่ประจักษ์ ท่านจึงเป็นที่ยอมรับ พยาบาลและผู้ตรวจการพยาบาลขึ้นปฏิบัติงานในวัน ของอาจารย์แพทย์ ผู้ร่วมงานและนักเรียนพยาบาลที่ขึ้น หยุด ด้วยส�ำเหนียกในความรับผิดชอบการดูแลผู้ป่วย ฝึกปฏิบัติงานในแผนกสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา 0.1ต่อ อย่างต่อเนื่อง หรือการจัดการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น มาได้ด�ำรงต�ำแหน่งอาจารย์โท (พ.ศ. 2499) แผนก สะท้อนการคาดการณ์ปัญหา เพื่อการช่วยเหลืออย่าง สูติศาสตร์นรีเวชวิทยา โรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์และ ‘ทันการณ์’ และ ‘ทันกาล’ เป็นการรับภาระงานหนักทั้ง อนามัย คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล ท่านยัง สองด้านไปพร้อมกันเป็นระยะเวลายาวนานถึง 16 ปี คงสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติในวิชาการพยาบาล สะท้อนความมุ่งมั่น อุตสาหะ และทุ่มเทในการสร้างงาน สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ที่มีคุณภาพทั้งการศึกษาและบริการพยาบาลอย่าง ภายหลังส�ำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ (พ.ศ. ยาวนาน (long term contribution and commit- 2505) รองศาสตราจารย์ปราณีต สวัสดิรักษา ได้โอนมา ment) รับราชการในต�ำแหน่งอาจารย์โท แผนกพยาบาลและ ในปี พ.ศ. 2511 รองศาสตราจารย์ปราณีต สวัสดิ ผดุงครรภ์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ รักษา ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้อ�ำนวย (ซึ่งเป็นโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดได้พัฒนาเป็นโรง การฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ พยาบาลมหาวิทยาลัยมีการผลิตบัณฑิตแพทยศาสตร์ พร้อมกับการด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาการ และพยาบาลศาสตร์) ปฏิบัติงานเป็นผู้ช่วยหัวหน้าฯ รับ พยาบาลฝ่ายบริการพยาบาล นับเป็นอาจารย์พยาบาล ผิดชอบทั้งการศึกษาและบริหารการพยาบาล ริเริ่มจัด คนแรกที่ด�ำรงต�ำแหน่งนี้ เพื่อสืบสานให้กิจการของโรง ระบบบริการการรักษาพยาบาลผู้ป่วยของโรงพยาบาล พยาบาลนครเชียงใหม่ด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ใน ให้เอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพทั้ง ช่วงเวลานั้นท่านได้สร้างประโยชน์สูงสุดต่อการบริการผู้ ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ท่านได้ทุ่มเทก�ำลังกาย ก�ำลังใจ ป่วย ท�ำงานอย่างเสียสละ อุทิศตน มีแนวคิดในการ ก�ำลังความคิด ท�ำงานจริงจัง เต็มความสามารถ ด้วย ปรับปรุงงานที่ทันสมัย พัฒนางานบริการพยาบาลอย่าง ความรับผิดชอบด้านการเรียนการสอน และการบริการ เต็มความสามารถ ผลงานที่โดดเด่นและเป็นที่ยอมรับ พยาบาลควบคู่กัน ท�ำให้การท�ำงานทั้งฝ่ายการศึกษา อย่างกว้างขวาง คือ การจัดวางระบบงานและปรับปรุง และบริการพยาบาลมิได้แยกจากกัน เป็นแนวคิดการ การปฏิบัติการพยาบาลจนได้มาตรฐานของโรงพยาบาล ท�ำงานที่ยังคงทันสมัยเป็นปัจจุบัน ล้อรับกับแนวคิด มหาวิทยาลัย เพื่อรองรับทั้งการศึกษาพยาบาลและ นักการศึกษาทางการพยาบาลในปัจจุบัน ที่ต้องเน้นการ แพทยศาสตรศึกษา (ในสมัยนั้น) สะท้อนการมองการณ์

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 471 รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา: ผู้น�ำทางการพยาบาลสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพ

ไกล ริเริ่มพัฒนา (vision and initiatives) ปรับระบบ พัฒนาหน่วยอาหารของโรงพยาบาลให้สะอาดและทัน บริการด้านสุขภาพเพื่อรองรับระบบการศึกษา ให้พร้อม สมัยเพื่อบริการผู้ป่วย จัดตั้งศูนย์พยาบาลพิเศษเพื่อ ต่อการเรียนการสอน มีความเหมาะสมเป็นแหล่งฝึกงาน ให้การดูแลผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมงทั้งภายในและ ในการน�ำความรู้สู่การปฏิบัติ เอื้อประโยชน์การเรียนรู้ ภายนอกโรงพยาบาล จากความมุ่งมั่นในการพัฒนาการ อย่างมีประสิทธิภาพ อ�ำนวยประโยชน์สุขต่อผู้ใช้บริการ/ พยาบาลอย่างต่อเนื่อง ยังผลให้ท่านได้รับประกาศ ผู้ป่วยและทีมสหวิชาชีพ ช่วงระยะเวลาการด�ำเนินงาน เกียรติคุณในฐานะพยาบาลดีเด่นแห่งชาติ สาขาการ ดังกล่าวมีความไม่พร้อมทั้งบุคลากร และอาคารสถานที่ บริหารการพยาบาล จากสภาการพยาบาลแห่ง รวมทั้งอุปกรณ์ วัสดุครุภัณฑ์ แต่ด้วยความสามารถที่โดด ประเทศไทยเป็นคนแรก ในปี พ.ศ. 2533 เด่นของท่านในความเป็นผู้น�ำที่แข็งแกร่ง ความสามารถ ผู้บริหารเข้มแข็ง สร้างความก้าวหน้า ต้นแบบ ในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ร่วมกับทัศนะที่ คุณธรรม เห็นความ ส�ำคัญของการบุกเบิกพัฒนาระบบบริการ ในปี พ.ศ. 2516 รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัส สุขภาพ สร้างการท�ำงานร่วมกันอย่างแท้จริงในลักษณะ ดิรักษาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยคณบดีคณะพยาบาล สหสาขาวิชาชีพ ทั้งเปี่ยมด้วยคุณลักษณะผู้น�ำในด้าน ศาสตร์ ฝ่ายปฏิบัติการพยาบาล ท่านจึงรับผิดชอบงาน ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ มีการประสานงานและสร้าง ฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ คณะ ความร่วมมือการท�ำงานเพื่อคุณภาพการรักษาพยาบาล แพทยศาสตร ควบคู่กับงานบริหารด้านการศึกษาของ ประกอบกับท่านมีแนวคิด ‘คนที่จะเป็นผู้น�ำต้องเป็นคน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้วย ที่มีบทบาทส�ำคัญยิ่งในการน�ำกลุ่มท�ำงาน เป็นผู้สร้างทีม ธรรมชาติที่เป็นทั้งนักวิชาการและนักปฏิบัติการที่มี งานให้แกร่ง พัฒนาองค์การให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้ง ความรับผิดชอบสูง ท่านได้เชื่อมโยงงานวิชาการและงาน รักษาสภาพนั้นให้คงอยู่ตลอดไป’ ส่งผลให้การท�ำงาน ปฏิบัติการเข้าด้วยกัน น�ำหลักวิชาการความรู้ประยุกต์ ของท่านทั้งในฐานะนักบริหารและนักการศึกษาประสบ ในการท�ำงานด้วยความมุ่งมั่น เพียรพยายามในการ ความส�ำเร็จอย่างดียิ่ง ได้ความร่วมมือในการท�ำงานอย่าง พัฒนาการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ด้วยการส่งเสริมและ ดีจากผู้ร่วมงานทุกฝ่ายเพื่อคุณภาพการรักษาพยาบาล มอบหมายงาน ให้มีการจัดการประชุม สัมมนา อบรม อย่างแท้จริง ทางวิชาการในฝ่ายบริการพยาบาลอย่างสมำ�่ เสมอสืบมา นอกจากนี้ท่านยังได้ปรับปรุงระบบการพยาบาล จนปัจจุบัน ทั้งสนับสนุนการศึกษา ดูงานของบุคลากร โดยการน�ำระบบคาร์เด็กซ์มาใช้ร่วมกับระบบการนิเทศ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเสริมให้บุคลากรมีความรู้ การพยาบาลที่เข้มงวด จัดให้มีพยาบาลผู้นิเทศงานทุก ประสบการณ์และทักษะที่ทันสมัย ล้อรับแนวคิดของไน เวร จัดการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถ ติงเกล (Florence Nightingale, 1800s) ‘การเรียนรู้ ในการปฏิบัติการพยาบาล ด้วยตระหนักถึงการพัฒนา อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต We must be learning all of วิชาชีพ ต้องให้ความส�ำคัญกับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง our lives’ (McDonald, 2009) เพื่อให้เหมาะสมกับ พร้อมปรับค่าตอบแทนและสวัสดิการให้ดีขึ้น จัดสร้าง การเป็นบุคลากรในสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย หอพักและตึกนอนก่อนขึ้นเวรหรือลงจากเวรของ ส่งผลลัพธ์โดยปริยายต่อการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล บุคลากร จัดปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ทุกประเภท นอกจากนี้รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วย ปรับระบบการจัดเวร ยังสาธิตให้เห็นเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ผู้บริหารการ และปรับเปลี่ยนเวลาขึ้นปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับ พยาบาลต้องมีภาวะผู้น�ำที่ใช้หลักวิชาการในการท�ำงาน ฤดูกาล ริเริ่มให้มีการตรวจร่างกายประจ�ำป ี พร้อมจัดตั้ง เพื่อความส�ำเร็จขององค์กร เพราะผู้น�ำมีความส�ำคัญมาก หน่วยจ่ายกลาง ท�ำให้ประหยัดการใช้วัสดุอุปกรณ์ ต่อการก�ำหนดนโยบาย การวางแผนงาน และด�ำเนินการ

472 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Associate Professor Praneet Sawasdiraksa: Nursing Leader Building Professional Advance

พัฒนาตามแผน (Frandsen, 2014) ผู้น�ำทางการ ต่อการบรรลุสุขภาวะของผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ ท่านให้ พยาบาลจึงต้องมีความรู้ดียิ่งเชิงวิชาการ เพื่อเสริมทักษะ ความส�ำคัญกับการพยาบาลที่ต้องตอบสนองต่อความ ศักยภาพการดูแลสู่บริการการพยาบาลที่มีคุณภาพ ท่าน ต้องการขั้นพื้นฐานของผู้ป่วย จากภูมิหลังของท่านที่เป็น จึงเป็นผู้น�ำทางการพยาบาลที่พร้อมด้วยความรู้เชิง ชาวภาคกลาง ท่านค�ำนึงความต่างทางวัฒนธรรมของ วิชาการและส�ำนึกในหน้าที่รับผิดชอบสูง เป็นผู้น�ำทั้ง ปัจเจกบุคคล โดยเฉพาะศาสนา วัฒนธรรมประเพณีท้อง ความคิดและการท�ำงาน ท�ำหน้าที่ได้อย่างมี ถิ่นภาคเหนือที่มีผลต่อความเชื่อในการบ�ำบัดเยียวยา ประสิทธิภาพสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและ รักษาของบุคคล กล่าวได้ว่า ในยุคนั้นท่านเป็นพยาบาล ภายนอกโรงพยาบาล อีกทั้งให้คุณค่าผู้ปฏิบัติงานเป็น ที่ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการพยาบาลข้าม ส�ำคัญ ประดุจทรัพยากรที่ทรงคุณค่า เปิดโอกาสให้แสดง วัฒนธรรม เน้นการดูแลที่ไวต่อวัฒนธรรม (cultural ความคิดเห็น ร่วมตัดสินใจในการท�ำงาน สร้างอิสระการ sensitive care) โดยการยอมรับ ปรับผสานความเชื่อ ท�ำงานเพื่อบรรลุเป้าหมาย สะท้อนให้เห็นคุณธรรมใน ดั้งเดิมกับการพยาบาลสมัยใหม่ที่อยู่บนพื้นฐานทาง การบริหารงานที่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมในการท�ำงาน การ วิทยาศาสตร์ ท่านใช้หลักการดูแลที่สอดคล้องกับ พัฒนางานอย่างเป็นรูปธรรรมระหว่างผู้น�ำและผู้ใต้ วัฒนธรรม (cultural congruent care) สร้างการ บังคับบัญชา น�ำไปสู่การสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของงาน พยาบาลที่เป็นที่ยอมรับโดยผู้ป่วย เกิดการยอมรับเคารพ (sense of belongings) อย่างแท้จริง นอกจากนี้ท่าน ซึ่งกันและกัน (mutual respect) ระหว่างพยาบาลและ ยังให้การดูแลช่วยเหลือทุกข์สุขของผู้ใต้บังคับบัญชาเป็น ผู้ป่วย ความเข้าใจผู้ป่วยในฐานะ ‘ปัจเจกบุคคล’ ที่มี อย่างดีทั้งในเรื่องราชการและส่วนตัว สะท้อนภาวะผู้น�ำ ลักษณะเฉพาะที่มีความเชื่อหรือวัฒนธรรมที่ต่างจาก ที่เอาใจใส่ (caring leadership) (Tomkins & Simpson, บุคคลอื่น (individual difference) ซึ่งเป็นหลักการดูแล 2015) เป็นแบบอย่างของผู้ดูแลเอาใจใส่ผู้อื่นและสร้าง ที่มีศักยภาพทางวัฒนธรรม (Leininger, 2002) ท�ำให้ วัฒนธรรมการดูแลเอาใจใส่ในหน่วยงาน ทั้งสะท้อนการ เกิดประโยชน์และผลลัพธ์ที่ดีในการรักษาพยาบาล จาก ประยุกต์หลักจริยธรรมและทฤษฎีการดูแลในการ การสร้างเสริมการดูแลที่มีคุณภาพ มีความหมาย ส่งผล ท�ำความเข้าใจและความต้องการผู้อื่น (Sharma & Jain, ต่อสุขภาวะผู้ป่วย อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของการ 2013; Singhanetr, Jaisit, & Henkeaw, 2017) จึง พยาบาล กล่าวได้ว่า ท่านเป็นผู้น�ำที่ครองตน ครองคนและครอง สร้างรากฐานการศึกษา ริเริ่มหลักสูตรนานาชาติ งานได้อย่างดียิ่ง ในฐานะนักการศึกษา รองศาสตราจารย์ ประณีต ใส่ใจการพยาบาลที่ไวต่อวัฒนธรรม สวัสดิรักษา เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทส�ำคัญยิ่งในการ ช่วงที่ช่วยราชการที่ฝ่ายบริการพยาบาล โรง พัฒนาการเรียนการสอน ดังเห็นได้จากการปรับปรุงการ พยาบาลนครเชียงใหม่ (พ.ศ. 2508-2524) แนวคิดที่เด่น จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีของคณะพยาบาล ชัดในการพัฒนาฝ่ายบริการพยาบาลของ รอง ศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งได้เริ่มจัดการศึกษานับ ศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา คือ ให้ความส�ำคัญ แต่ปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมา ใช้ระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน ทั้งต่อ ผู้ป่วย พยาบาลและการพยาบาล ในประเด็นผู้ ประกอบด้วยหลักสูตรการพยาบาลและอนามัย 4 ปี ป่วย ท่านค�ำนึงถึงความเป็นมนุษย์ในลักษณะความเชื่อม หลักสูตรผดุงครรภ์ อีก 6 เดือน เนื่องจาก ก.พ. ไม่คิดค่า โยงสุขภาพกายและจิตใจ โดยพยาบาลต้องให้การ วิชากรณีหลักสูตรที่ใช้เวลาเรียนไม่ถึง 1 ปี ท�ำให้บัณฑิต พยาบาลที่เป็นทั้งศาสตร์และศิลปะประยุกต์สหศาสตร์ พยาบาลจะเป็นฝ่ายเสียเปรียบ ท่านจึงช่วยคิดปรับปรุง ที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วย ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม โดยการบูรณาการสองหลักสูตรเข้าด้วยกันเป็นหลักสูตร เปี่ยมด้วยเมตตา กรุณา เพื่อเป้าหมายทางการพยาบาล เดียว คือ วิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาลและผดุงครรภ์)

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 473 รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา: ผู้น�ำทางการพยาบาลสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพ

ระยะเวลาเรียน 4 ปี (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517) โดยปรับการ เป็นพยาบาล ที่ต้องเสียสละ มีความรู้ มีไหวพริบปฏิภาน เรียนการสอน ตัดทอนหน่วยกิตใน กลุ่มวิชาที่เกี่ยวกับ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าอย่างชาญฉลาด ซื่อสัตย์ สามารถ การผดุงครรภ์ ให้คงไว้ซึ่งสาระส�ำคัญอย่างยิ่งยวดที่ ติดต่อประสานงานกับผู้อื่นหรือหน่วยงานอื่น ๆได้อย่าง นักศึกษาจ�ำเป็นต้องรู้ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่ท�ำให้ มีประสิทธิภาพ นอกเหนือจากความรับผิดชอบสูงต่อ คณาจารย์ต้องท�ำงานหนักตลอดปี ทั้งภาคการศึกษาที่ หน้าที่การงาน เพราะต้องรับผิดชอบดูแล (caring) ให้ผู้ 1 ที่ 2 และภาคฤดูร้อน ส่งผลดีต่อบัณฑิตพยาบาลที่ต้อง ป่วยสุขสบาย (comfort) ปลอดภัย (safety) อยู่ใน มีอุตสาหะ มุมานะในการศึกษา สร้างความรอบรู้ใน สภาพแวดล้อมที่สะอาด (clean) เพื่อให้กลับคืนสู่ภาวะ แต่ละวิชา ในระยะเวลา 4 ปี ปกติโดยเร็ว ท่านยังด�ำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีงามด้าน ในปี พ.ศ. 2520 ขณะด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าภาค ความประพฤติศีลธรรมจรรยา มีส่วนร่วมช่วยเหลือสังคม วิชาการพยาบาลสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา รอง ในฐานะประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะการให้บริการและ ศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา มีบทบาทส�ำคัญใน ร่วมเป็นคณะกรรมการในงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา การจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สุขภาพประชาชน บ่งบอกการท�ำงานเพื่อมวลชนอย่าง ได้ริเริ่มจัดท�ำหลักสูตรนานาชาติขึ้นเป็นหลักสูตรแรก แท้จริง ทางการศึกษาพยาบาลในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2521 ร่วมงาน พอ.สว.และ รพช. เพื่อสุขภาวะประชาชน เป็นโครงการอบรมหลักสูตรพยาบาลผดุงครรภ์ระยะสั้น รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา เป็น ให้แก่พยาบาลนานาชาติที่ได้รับทุนรัฐบาลไทยภายใต้ พยาบาลคนแรกที่เข้าร่วมโครงการที่พัฒนาขึ้นโดย แผนโคลัมโบ โครงการดังกล่าวจัดท�ำร่วมกับกรมวิเทศ ราชวงศ์ โดยเข้าร่วมงานหน่วยแพทย์อาสาสมเด็จ สหการ กระทรวงการต่างประเทศ จุดเริ่มต้นนี้นับเป็น พระบรมราชชนนี (พอ.สว.) จังหวัดเชียงใหม่ ท�ำหน้าที่ ประโยชน์และรากฐานส�ำคัญต่อการพัฒนาการศึกษา เป็นเลขานุการคณะอนุกรรมการฝ่ายแพทย์ นับแต่ ปี อบรมหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรอื่น ๆ ของสาขา พ.ศ. 2512 ซึ่งเป็นปีก่อตั้งมูลนิธิพอ.สว.จังหวัดเชียงใหม่ พยาบาลศาสตร์ ทั้งในระดับปริญญาโทและเอก ในระยะ จวบจนเกษียณอายุราชการ สะท้อนความเสียสละ เวลาต่อมาจวบจนปัจจุบัน ท�ำงานเพื่อส่วนรวม (public mind) มุ่งมั่นพันธะสัญญา (commitment) ต่อการท�ำงานเพื่อวิชาชีพ พัฒนา ต้นแบบการท�ำงาน อุทิศตน เพื่อสุขภาวะประชาชน วิชาชีพในทุกรูปแบบ โดยค�ำนึงถึงสุขภาวะประชาชน การท�ำงานของรองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิ เป็นส�ำคัญ นอกจากนี้ท่านยังเข้าร่วมงานเร่งรัดพัฒนา รักษา เป็นต้นแบบ (role model) ที่งดงามต่อทั้งผู้ใต้ ชนบท (รพช.) ของกรมการเร่งรัดพัฒนาชุมชน กระทรวง บังคับบัญชาทุกระดับและนักศึกษาพยาบาลในด้านการ มหาดไทย ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ.2506 เพื่อรักษาความ ปฏิบัติการพยาบาล และการท�ำงานด้วยความมุ่งมั่นที่มี มั่นคงของชาติ เอื้อชาวชนบทให้ช่วยเหลือตนเอง ท่านมี การพัฒนาตนเองอย่างสม�่ำเสมอ ด้วยการลงมือปฏิบัติ ส่วนร่วมในการจัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ คณะ ให้เห็นเป็นตัวอย่างทั้งการดูแลผู้ป่วยที่มีคุณภาพและการ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประกอบด้วย บริหารงาน ท�ำงานอย่างผู้รู้จริงบนพื้นฐานประโยชน์ส่วน แพทย์ พยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล ให้บริการแก่ รวมเป็นที่ตั้ง มีจิตแห่งความเอื้ออาทรต่อประชาชน ตาม ประชาชนในเขตชายแดนหมุนเวียนไปหลายจังหวัดใน เป้าหมายสูงสุดของการพยาบาล นั่นคือ สุขภาวะ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นประธานโครงการอบรมผู้ ประชาชน ท่านอุทิศตนในการพัฒนางานบริการสุขภาพ ช่วยพยาบาลชนบท โดยรับเยาวชนจากภาคตะวันออก เพื่อคุณภาพการพยาบาลที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้ใช้บริการ เฉียงเหนือในจังหวัดที่มีความรุนแรงรุ่นละประมาณ 100 หรือความผาสุกของผู้ใช้บริการ ให้ความส�ำคัญกับการ คน เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรของคณะพยาบาล

474 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Associate Professor Praneet Sawasdiraksa: Nursing Leader Building Professional Advance

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 จนถึง หนึ่งในอ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ (ซึ่งประชาชน พ.ศ.2523 งาน รพช. จึงสะท้อนการท�ำงานร่วมกันของ ส่วนใหญ่มีอาชีพขอทาน) ท่านให้การช่วยเหลือด้านการ ทีมสุขภาพ และการสร้างศักยภาพให้ประชาชนในพื้นที่ สร้างงาน สร้างอาชีพ ดูแลสุขภาพประชาชน ให้ทุนการ สามารถช่วยเหลือชุมชนของตนในลักษณะการพึ่งตนเอง ศึกษานักเรียน สนับสนุนการจัดอาหารกลางวันส�ำหรับ ของชุมชน (community reliance) นักเรียน พัฒนาที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม จนประชาชน ใส่ใจงานสุขภาพเด็กและประชาชน ในหมู่บ้านมีสุขภาพดีขึ้นและเลิกอาชีพขอทาน เป็นผล รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา ให้ความ งานที่สะท้อนการบุกเบิกริเริ่มพัฒนา สร้างความเท่า ส�ำคัญกับงานสังคมสงเคราะห์เพื่อสุขภาพเด็ก โดยร่วม เทียมเข้าถึงบริการ (Initiative creating equity) เพื่อ เป็นคณะกรรมการก่อตั้งมูลนิธิเด็กก�ำพร้าบ้านกิ่งแก้ว สุขภาวะของประชาชน ยังผลให้ท่านได้รับรางวัล วิบุลสันติเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2507 ให้ความช่วยเหลือใน พยาบาลดีเด่นสาขาผู้น�ำในการพัฒนาวิชาชีพ จาก การจัดระบบงานการดูแลเด็ก ให้ความรู้จัดอบรมผู้ดูแล สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2542 เด็ก จัดหาอาสาสมัครเพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ชาว ท่านเกษียณอายุราชการเมื่อ ปี พ.ศ. 2527 ซึ่งเป็น ต่างชาติรวมทั้งชาวไทยที่เข้าเยี่ยมมูลนิธิและบริจาคเงิน ปีที่ท่านได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น คณะพยาบาลศาสตร์ หรือสิ่งของ ผลงานดังกล่าวท�ำให้ท่านได้รับรางวัล นัก ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล อันเป็นผลจากความส�ำเร็จ สังคมสงเคราะห์ดีเด่น ประเภทนักสังคมสงเคราะห์อาสา ในการพัฒนางาน สร้างความก้าวหน้าต่อวิชาชีพการ สมัคร จากสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยฯในปี พยาบาล ภายหลังเกษียณอายุราชการ ท่านยังคงร่วม พ.ศ. 2537 ท่านยังช่วยจัดหาทุนในการด�ำเนินการ กิจกรรมทางวิชาการ ศาสนาและวัฒนธรรมกับคณะ กิจกรรมช่วยเหลือชุมชน และจัดอาหารกลางวันส�ำหรับ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่อย่างสม�่ำเสมอ เด็กวัยเรียนในช่วงที่ด�ำรงต�ำแหน่งนายกสโมสรไลอ้อน เป็นอาจารย์พิเศษให้กับสถาบันการศึกษาในเขตภาค สตรีค�ำดาราเชียงใหม่หลายวาระ ด้วยความมุ่งมั่นพัฒนา เหนือจนถึงปี พ.ศ. 2534 รวมทั้งสนับสนุนทุนการศึกษา คุณภาพชีวิตของประชาชนร่วมกับพัฒนาวิชาชีพการ ให้แก่นักศึกษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง มีส่วนร่วมในงาน พยาบาล บนพื้นฐานความเสมอภาค ในการเข้าถึงระบบ บริการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ บริการสุขภาพอย่างเท่าเทียม(equity) และทั่วถึง (cov- วิริยะอุตสาหะ จนเป็นที่ประจักษ์และยอมรับของวง erage) ทั้งให้ความส�ำคัญต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นตัวก�ำหนด วิชาการพยาบาลไทยและต่างประเทศ เกียรติคุณดีเด่น สุขภาพ (health determinant) โดยสนับสนุนให้ครัว ดังกล่าว ส่งผลให้สภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีมติให้ได้ เรือนจัดท�ำรางระบายนำ�้ รอบหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมความ รับพระราชทานปริญญาพยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต สะอาดที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม ท�ำให้ท่านได้รับรางวัล กิตติมศักดิ์ เมื่อ วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2534 เพื่อเป็น ไลอ้อนผู้ปฏิบัติกิจกรรมดีเด่นจากสโมสรไลอ้อนสากล เกียรติประวัติสืบไป (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2534 หน้า ประเทศไทย ภาค 310 เอ ในปี พ.ศ. 2528 18) พัฒนาวิชาชีพและชุมชนผ่านสมาคมพยาบาล ระหว่างปี พ.ศ.2525-2526 ท่านเป็นนายกสมาคม บทสรุป พยาบาลแห่งประเทศไทย สาขาภาคเหนือ (ก่อตั้งขึ้นเมื่อ รองศาสตราจารย์ ประณีต สวัสดิรักษา เป็นหนึ่ง ปี พ.ศ.2507 เป็นสมาคมสาขาแห่งแรกของสมาคม ตัวอย่างของผู้น�ำทางการพยาบาลที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล พยาบาลแห่งประเทศไทย) ด้วยเป้าหมายการสร้างความ มุ่งพัฒนาระบบการศึกษาทางการพยาบาล ควบคู่กับการ สามัคคี พัฒนาวิชาชีพ พร้อมกับการบ�ำเพ็ญประโยชน์ พัฒนางานบริการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพสู่การ เพื่อสังคม ผลงานที่ประจักษ์ คือ การพัฒนาหมู่บ้านแห่ง พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ใช้บริการเป็นส�ำคัญ สร้างระบอบ

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 475 รองศาสตราจารย์ ปราณีต สวัสดิรักษา: ผู้น�ำทางการพยาบาลสร้างความก้าวหน้าวิชาชีพ

การท�ำงานในลักษณะสหสาขาวิชาชีพ เป็นต้นแบบการ ดีในการปฏิบัติงาน ท่านนับเป็นทรัพยากรบุคคลทางการ ท�ำงานด้วยความมุ่งมั่น เสียสละ มีจิตสาธารณะ ช่วย พยาบาลที่มีคุณค่ายิ่ง สร้างคุณประโยชน์ทั้งในระดับชาติ เหลือประชาชนทุกเพศทุกวัยทั้งในและนอกโรงพยาบาล และนานาชาติ สมควรต่อการยกย่องด้วยคุณูปการที่ท่าน มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ สร้างคุณประโยชน์อย่างกว้าง มีต่อวิชาชีพการพยาบาล ขวางต่อการพัฒนาสุขภาวะประชาชน เป็นแบบอย่างที่ เอกสารอ้างอิง Boonrubpayap, B. (1996). Biography thought and development of nursing service department of Associate Professor Praneet Swasdiraksa. Master Thesis in Nursing Administration, Graduate School, Chiang Mai University. Frandsen, B. (2014). Nursing leadership: Management & leadership styles. Retrieved from https://www.aanac.org/docs/white-papers/2013-nursing-leadership---management- leadership-styles.pdf?sfvrsn=4 McDonald, L. (2009). Florence Nightingale: Extending nursing. Canada: Wilfrid Laurier University Press. Leininger, M. (2002). Culture care theory: A major contribution to advance transcultural nursing knowledge and practices. Journal of Transcultural Nursing, 13(3), 189-192. Phimuk, T., Sngounsiritham, U., & Chanprasit, C. (2009). Perspectives of a nurse leader in professional development: A case study of Professor Emerita Dr. Wichit Srisuphan. Nursing Journal, 36(4), 1-9. Mencl, J., Welfald, A. J., Ittersum, K. W., & Kansas, M. (2016). Transformational leader attributes: I0nterpersonal skills, engagement, and well-being. Leadership & Organization Development Journal, 37(5), 635-657. Nantajit, N. (2010). A good nurse consists of a heart head and hand. In Faculty of Nursing, Chiang Mai University (Eds.), 50 years CMU nurse. Chiang Mai: Faculty of Nursing, Chiang Mai University. (Thai) Nakasem, S., & Siritarungsri, B. (2014). Leadership characteristics: A case study of a registered nurse received the nursing service excellence award for a tertiary care level from the Thailand nursing and midwifery council. Journal of Boromarajonani College of Nursing, Bangkok, 30(2), 58-67. Sharma, M. K., & Jain, S. (2013). Leadership management: principle, models and theories. Global Journal of Management and Business Studies, 3(3), 309-318. Singhanetr, S., Jaisit, J., & Henkeaw, W. (2017). Nursing leadership in the 21st century. Naresuan Phayao Journal, 10(1), 17-22. Sripakho, P. (2014). Professional nursing development: Developing nursing leadership. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 15(3), 1-8.

476 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Associate Professor Praneet Sawasdiraksa: Nursing Leader Building Professional Advance

Stogdill, R. M. (1974). Handbook of leadership: A survey of theory and research. New York: Free Press. Tomkins, L., & Simpson, P. (2015). Caring leadership: A Heideggerian perspective. Organization Studies, 36(8), http://dx.doi.org/10.1177/0170840615580008 Turale, S., Klunklin, A., & Chontawa, R. (2010). Growing together: A qualitative study of leading nurse scholars in Thailand. International Nursing Review, 57, 202-210.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 477 การจัดการกับอาการวัยทอง The Management of Menopausal Symptoms

ประวีดา ค�ำแดง * Praveda Kamdaeng *

บทคัดย่อ วัยทองเป็นช่วงวัยของชีวิตที่สตรีไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ สตรีวัยเจริญพันธุ์โดยทั่วไปร่างกายจะสร้างฮอร์โมนเพศ ที่เรียกว่า เอสโตรเจน ซึ่งท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาลักษณะทางเพศจากเด็กหญิงเป็นหญิงสาว และมีบทบาทร่วมกับ ฮอร์โมนอื่น ๆ ในการควบคุมวงจรของการมีประจ�ำเดือนและการตั้งครรภ์ แต่เมื่อย่างเข้าสู่วัยทองการท�ำงานของ ต่อมไร้ท่อของระบบสืบพันธุ์ลดลงส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย และเกิดอาการ ต่าง ๆ ที่รบกวนความรู้สึกและจิตใจอันเป็นผลมาจากฮอร์โมนเพศที่ลดลง อาการไม่พึงประสงค์ดังกล่าวเหล่านั้นอาจ ส่งผลให้เกิดความไม่สุขสบาย และกระทบต่อคุณภาพชีวิตของสตรีวัยทองต่อเนื่องไปจนถึงวัยผู้สูงอายุได้ ภาวะหมด ประจ�ำเดือนจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพหรือไม่ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์แข็งแรงและภาวะสุขภาพของสตรี รวมไปถึง การเตรียมพร้อมในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง การแสวงหาการจัดการกับอาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้น ทั้งการดูแลตนเอง ได้แก่ การดูแลด้านอาหาร การออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ การบริหารกล้ามเนื้อช่องคลอด กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตใจ การสนับสนุนจากครอบครัวและสังคม และการใช้ยาฮอร์โมนทดแทน การจัดการกับ อาการวัยทองเหล่านี้เพื่อบรรเทาความไม่สุขสบายที่กระทบต่อการด�ำเนินชีวิตของสตรีวัยทอง ซึ่งเป็นช่วงชีวิตของ การประสบความส�ำเร็จทั้งในด้านสถาบันครอบครัวและหน้าที่การงานของสตรีส่วนใหญ่

ค�ำส�ำคัญ: การจัดการ อาการวัยทอง

Abstract Golden age is the period of life that women cannot avoid. Women of reproductive age in general, the body produces sex hormones called estrogen, which acts as a sexual development from girls as young women and its play a role with other hormones to control the cycle of menstruation and pregnancy. But when entering the golden age, the endocrine function of reproductive system decreases, resulting in changes in the structure and function of the body. And various symptoms that disturbs feelings and the mind as a result of reduced sex hormones. Such menopausal symptoms may result in discomfort and affect the quality of life of postmenopausal women until the elderly. Menopause will cause health problems or not, depending on the fertility and health of women. Including preparation for dealing with change. Seek to deal with adverse reactions that may occur, including self-care, such as food care, regular exercise, vaginal muscle exercise, mental health promotion activities, support from family and

* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ * Assistant professor, McCormick Faculty of Nursing, Payap University.

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 478 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 The Management of Menopausal Symptoms society, and the use of hormone replacement drugs. The management of these menopausal symptoms is to alleviate the discomfort that affects the lives of menopause women. Which was a period of success in both the family institution and the work of most women.

Keywords: Management, Menopausal symptoms

สตรีวัยทอง ระยะของการหมดประจ�ำเดือน วัยทอง ถือเป็นช่วงวัยของการเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ การเปลี่ยนแปลงของสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ ดี ๆ ที่ได้ท�ำมา หลายคนประสบความส�ำเร็จในสิ่งที่เคย และต่อเนื่องของสตรีวัยเจริญพันธุ์ตอนปลายไปจน ฝันไว้ ลูกเรียนจบได้รับปริญญา มีโอกาสได้พักผ่อนดูแล กระทั่งการหมดประจ�ำเดือน สามารถแบ่งออกเป็น 3 สุขภาพ มีเวลาได้หันกลับไปทบทวนอดีต สรุปบทเรียน ระยะ ได้แก่ (Soontarpa, 2011) เพื่อเตรียมพร้อมในอนาคต (Srisukho, 2018) โดยสตรี 1. ระยะก่อนหมดประจ�ำเดือน (pre-menopause) วัยทองเป็นช่วงวัยที่อยู่ระหว่างวัยเจริญพันธุ์กับวัยหลัง หมายถึง ระยะที่สตรีอยู่ในช่วงหลังอายุ 40 ปี โดยเฉพาะ เจริญพันธุ์ คือช่วงอายุระหว่าง 40-59 ปี จะมีการ ช่วง 40 ปีตอนปลาย ซึ่งยังอยู่ในช่วงวัยเจริญพันธุ์ และ เปลี่ยนแปลงของภาวะร่างกายมากมาย โดยเฉพาะการ มีประจ�ำเดือนมาปกติ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการลดลงของฮอร์โมน การท�ำงาน เลือดประจ�ำเดือน แต่การท�ำงานของรังไข่เริ่มเสื่อมถอย ของรังไข่ที่ลดลง ส่งผลให้ประจ�ำเดือนมาไม่สม�่ำเสมอ ลง ทิ้งระยะห่างมากขึ้นและมีปริมาณลดลงเรื่อย ๆ โดยเกิด 2. ระยะใกล้หมดประจ�ำเดือน (peri-menopause) ขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปจนรังไข่หยุดท�ำงานและประจ�ำ หมายถึง ระยะที่สตรีเริ่มมีประจ�ำเดือนมาไม่ปกติ เช่น เดือนขาดหายไปอย่างถาวร คือ ไม่มีประจ�ำเดือนติดต่อ มีปริมาณเลือดประจ�ำเดือนมากหรือน้อยกว่าปกติ กันอย่างน้อย 12 เดือนหรือ 1 ปี ช่วงอายุการหมดประจ�ำ มีประจ�ำเดือนไม่สม�่ำเสมอคลาดเคลื่อนจากเดิมตั้งแต่ เดือนตามธรรมชาติอยู่ระหว่าง 45-55 ปี หรือค่าเฉลี่ย 7 วันขึ้นไปอาจถี่ขึ้นหรือห่างออกไป ขาดหายบ่อยแต่ 51.3 ปี (Pongsatha, 2011) ไม่เกิน 12 เดือนและหมายถึงช่วงเวลา 1 ปีแรกหลังจาก ประชากรวัยท�ำงานที่มีอายุ 40-59 ปี หรือที่เรียกว่า มีประจ�ำเดือนครั้งสุดท้ายด้วย ซึ่งเกิดจากการท�ำงานของ ช่วงวัยทอง เป็นประชากรประมาณร้อยละ 28 ของประชากร รังไข่เสื่อมถอยลงอย่างมาก ท�ำให้มีการตกไข่ไม่สมำ�่ เสมอ ทั้งหมด เป็นวัยที่เป็นก�ำลังส�ำคัญของประเทศชาติ จนไม่มีการตกไข่ และร่างกายก็จะค่อย ๆ มีอาการขาด เนื่องจากอยู่ในช่วงของการท�ำงาน เป็นทั้งก�ำลังส�ำคัญ ฮอร์โมนเอสโตรเจนเพิ่มขึ้น อาการดังกล่าวสามารถพบ ในการท�ำงานไปจนถึงการบริหารงานในระดับต่าง ๆ เป็น ได้เป็นเวลา 10 ปีหรือมากกว่านั้นขึ้นอยู่กับระดับการ ที่พึ่งพิงของประชากรวัยเด็ก และผู้สูงอายุ (Srisukho, เปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน (Crowther, 2019) 2018) ในขณะเดียวกันเป็นช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลง 3. ระยะหลังหมดประจ�ำเดือน (post-menopause) ของร่างกาย จิตใจและอารมณ์ ที่มีผลจากความเสื่อมของ หมายถึง ระยะเวลาหลังจากที่สตรีไม่มีประจ�ำเดือนมา ร่างกาย บทบาท ภาระหน้าที่ และการลดลงของฮอร์โมน ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือนหรือ 1 ปี ขึ้นไป ซึ่งเป็นระยะ เพศ ซึ่งการลดลงของฮอร์โมนเพศในสตรีวัยทองเป็นผล ที่รังไข่หยุดการท�ำงาน ร่างกายอยู่ในสภาพขาดฮอร์โมนเพศ มาจากการที่รังไข่หยุดการท�ำงาน ไม่มีการตกไข่ เกิดการ โดยเฉพาะฮอร์โมนเอสโตรเจน เปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน โดยเฉพาะฮอร์โมนเอสโตรเจน จะลดระดับลง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 479 การจัดการกับอาการวัยทอง

บทบาทของฮอร์โมนเพศหญิง ฮอร์โมน follicle stimulation hormone (FSH) และ เมื่อเข้าวัยสาวไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองจะ เอสโตรเจน โดยฮอร์โมน FSH จะเป็นฮอร์โมนตัวแรก สร้าง Gonadotropin Releasing Hormone หรือที่ ที่มีการเปลี่ยนแปลงก่อนการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนอื่น ๆ เรียกว่า GnRH ฮอร์โมนนี้จะไปกระตุ้นต่อมใต้สมอง (Crowther, 2019) หากตรวจพบระดับเอสโตรเจนอยู่ ส่วนหน้าในการหลั่งฮอร์โมน FSH และ LH มีผลกระตุ้น ในช่วงปกติและ FSH ยังอยู่ในระดับตํ่า แสดงว่ารังไข่ยัง ให้รังไข่สร้างฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน สร้างฮอร์โมนเอสโตรเจนอยู่ แต่หากพบระดับเอสโตรเจน และมีผลย้อนกลับไปควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของ ลดลงและ FSH สูงกว่าระดับ 30 ng/dl แสดงว่าเข้า ไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมอง สู่วัยหมดประจ�ำเดือน (Bureau of Health Promotion: ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเป็นฮอร์โมนที่สร้างขึ้นที่ Department of Health, 2016) รังไข่ จะส่งผลท�ำให้เลือดไปเลี้ยงเยื่อบุมดลูกเพิ่มมากขึ้น ท�ำให้เยื่อบุมดลูกหนาตัว เตรียมรองรับการฝังตัวของไข่ การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของสตรีวัยทอง หากไข่ไม่ถูกผสม รังไข่ก็จะหยุดสร้างฮอร์โมนตัวนี้ เมื่อเข้าสู่วัยทองรังไข่เริ่มท�ำงานลดลง การผลิต เมื่อระดับฮอร์โมนลดลง เยื่อบุมดลูกก็จะลอกตัวเป็น FSH เพิ่มขึ้น ไปกระตุ้นให้ไข่ตกเร็วขึ้นเนื่องจากระยะ ประจ�ำเดือน แต่หากมีการฝังตัวของไข่ระดับฮอร์โมน follicular phase สั้นลง จึงท�ำให้เลือดออก โปรเจสเตอโรนก็จะสูงตลอด 9 เดือน กะปริดกะปรอยและมีประจ�ำเดือนมาผิดปกติ จนกระทั่ง ฮอร์โมนเอสโตรเจน มีสูตรโครงสร้างทางเคมีแบบ ไม่มีไข่ตก และรังไข่สร้างฮอร์โมนได้น้อยมาก จึงท�ำให้ สเตียรอยด์ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor เฉพาะใน ร่างกายมีเอสโตรเจนอยู่ในระดับตำ�่ จนไม่สามารถกระตุ้น เนื้อเยื่อเป้าหมายเช่นเดียวกับฮอร์โมนสเตียรอยด์อื่น การสร้างเยื่อบุโพรงมดลูกได้ และหมดประจ�ำเดือนใน ผลของฮอร์โมนจึงเกิดเฉพาะในเนื้อเยื่อเป้าหมายซึ่งมี ที่สุด ซึ่งการลดลงของฮอร์โมนเอสโตรเจนดังกล่าวส่งผล receptor อยู่ในเนื้อเยื่อทั่วไป สามารถผ่านเข้าออกตาม ต่อการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่าง ๆ ที่เห็นได้ชัด ได้แก่ ความเข้มข้นของพลาสมา ฮอร์โมนเอสโตรเจนจะเสริม 1. ระบบสืบพันธุ์ โดยอวัยวะสืบพันธุ์จะมีการ ให้มีการท�ำงานของสมองและระบบประสาท กระตุ้น เปลี่ยนแปลงทั้งรูปร่าง และหน้าที่ ดังนี้ (Limpaphayom ระบบสืบพันธุ์เพื่อการด�ำรงเผ่าพันธุ์ กระตุ้นการสร้าง & Chaikittisilpa, 2000) กระดูกให้แข็งแรง หากเอสโตรเจนลดลง การสร้าง 1.1 อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก เกิดการเปลี่ยนแปลง กระดูกก็จะลดลง แต่กระบวนการสลายกระดูกก็จะเกิด รูปร่างและหน้าที่ของเซลล์อวัยวะสืบพันธุ์ มีการฝ่อลง ขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน ทั้งอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและภายใน ไขมันบริเวณ ระดับเอสโตรเจนเมื่ออยู่ในวัยเจริญพันธุ์โดยเฉลี่ยจะมี อวัยวะสืบพันธุ์ลดลงท�ำให้ผิวหนังบาง เหี่ยวย่น มีความ อยู่ประมาณ 300 ng/dl และเมื่อใกล้เข้าสู่วัยหมดประจ�ำ ยืดหยุ่นน้อยลง โดยเฉพาะแคมใหญ่ (labia majora) เดือนจะลดลงเหลือ ประมาณ 200 ng/dl จนรังไข่หยุด จะเหี่ยวย่นมาก ขนาดของคลิตอริส (clitoris) และ สร้างฮอร์โมนเอสโตรเจนก็จะลดลงเข้าสู่ระดับ 10-20 แคมเล็ก (labia minora) จะเล็กลงและลีบ ในบางคน ng/dl โปรเจสเตอโรนแทบไม่มีเลย FSH สูงขึ้น 10-20 แคมเล็กไม่สามารถแยกให้เห็นได้อย่างชัดเจน ขนบริเวณ เท่า LH สูงขึ้น 3 เท่าเมื่อเทียบกับวัยเจริญพันธุ์ หัวเหน่าลดลง ผิวหนังแห้ง จึงท�ำให้เกิดอาการคันหรือ (Pongsatha, 2011) รู้สึกแห้งบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก 1.2 ช่องคลอด การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนท�ำให้ การวินิจฉัยภาวะวัยทอง ปากช่องคลอดหดและหย่อน เยื่อบุช่องคลอดบางลงและ การวินิจฉัยภาวะวัยทอง จะท�ำโดยการตรวจระดับ ขาดความยืดหยุ่น ลอน (rugae) ภายในช่องคลอดหายไป

480 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 The Management of Menopausal Symptoms

การที่เยื่อบุผิวช่องคลอดบางและไม่ยืดหยุ่น ประกอบกับ 1997) ระยะหมดประจ�ำเดือนคอมดลูกจะสั้นลง มดลูก ต่อมบาร์โทลิน (bartholin grand) ซึ่งท�ำหน้าที่ผลิตสาร มีขนาดเล็กลง เนื่องจากกล้ามเนื้อมดลูก และเยื่อบุโพรง คัดหลั่งท�ำงานลดลง จึงท�ำให้เกิดการระคายเคืองและ มดลูกฝ่อ เอ็นและกล้ามเนื้อต่าง ๆ ใน อุ้งเชิงกรานที่ท�ำ เป็นแผลได้ง่ายขณะมีเพศสัมพันธ์ เกิดอาการเลือดออก หน้าที่ในการช่วยพยุงมดลูกไว้มีการลีบเหี่ยว มดลูกจึง ง่าย จ�ำนวนไกลโคเจน (glycogen) ในเซลล์ของเยื่อบุ เกิดการเคลื่อนตัวต�่ำลง (genital prolapse) ท่อน�ำไข่ ช่องคลอดลดลง ท�ำให้แบคทีเรียชนิดโดเดอร์ลีน ขนาดเล็กลง เยื่อบุท่อน�ำไข่บางลง รังไข่ ขนาดเล็กลง (doderlein’s bacilli) มีจ�ำนวนน้อยลง การสร้างกรด ผิวของรังไข่เหี่ยวย่น และมีสีขาวขุ่น แลคติคลดลง จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดด่าง 1.4 เต้านมมีขนาดเล็กลง เหี่ยวย่นและเหลว ในช่องคลอด ซึ่งพบว่า ช่องคลอดมีความเป็นด่างมากขึ้น เนื่องจากส่วนประกอบของเต้านม ได้แก่ ไขมัน ต่อม และ จาก pH 4.0-5.5 เป็น 6.0-8.0 ท�ำให้กลไกในการป้องกัน ท่อนำ�้ นมน้อยลงมาก หัวนมมีขนาดเล็กลง ความสามารถ เชื้อโรคเสียไป จึงเกิดช่องคลอดอักเสบ (atrophic ในการแข็งตัวของหัวนมหายไปซึ่งเป็นผลมาจากฮอร์โมน vaginitis) ได้ง่าย และเมื่อหมดประจ�ำเดือนไปนาน ๆ เอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนที่ลดลงและหายไป ช่องคลอดส่วนบนมักตีบ จึงท�ำให้ช่องคลอดหดสั้นลง 2. ระบบประสาทอัตโนมัติ ในช่วงใกล้หมดประจ�ำ และแคบ ความยืดหยุ่นลดลงท�ำให้ช่องคลอดขยายตัว เดือนต่อเนื่องไปจนหลังหมดประจ�ำเดือน สตรีมักมี ได้น้อยลง อาการร้อนวูบวาบ (hot flush) เกิดจากการขยายของ 1.3 มดลูก ท่อน�ำไข่ รังไข่ และปากมดลูก เอส หลอดเลือดส่วนปลาย มีเหงื่อออกบริเวณใบหน้า ศีรษะ โตรเจนมีบทบาทท�ำให้เยื่อบุโพรงมดลูกเพิ่มจ�ำนวน ล�ำคอและหน้าอกโดยเฉพาะตอนกลางคืน โดยรู้สึกร้อน เซลล์หนาตัวขึ้น และกระตุ้นตัวรับโปรเจสเตอโรน ขึ้นมาทันทีที่ผิวหน้า ล�ำคอ และหน้าอกแดงร่วมกับมี เพื่อรองรับฤทธิ์ของโปรเจสเตอโรนซึ่งจะหลั่งจาก เหงื่อท่วม อาจเกิดอาการวันละหลายครั้งทั้งยามตื่นและ คอร์ปัสลูเตียมในครึ่งหลังของรอบประจ�ำเดือนหลังจาก ยามหลับท�ำให้ต้องตื่นกลางดึก จากกลไกการระบาย ที่ไข่ตกแล้วโปรเจสเตอรโรนจะต้านฤทธิ์ของเอสโตรเจน ความร้อนของร่างกายทั้ง ๆ ที่ไม่ได้ร้อนจริง หลอดเลือด ในการเพิ่มจ�ำนวนเซลล์เยื่อบุโพรงมดลูก แต่กระตุ้นให้ ที่ผิวขยายตัวท�ำให้หน้าแดง อุณหภูมิที่ผิวหนังสูงขึ้น เกิดพัฒนาการเปลี่ยนแปลงในระยะหลังไข่ตก (secretory แต่อุณหภูมิร่างกายคงเดิมหรือลดลงเล็กน้อย หัวใจเต้น phase) เมื่อโปรเจสเตอรโรนลดระดับจากการเสื่อมของ เร็วขึ้น ความดันโลหิตปกติ ซึ่งยังไม่สามารถอธิบาย คอร์ปัสลูเตียมเยื่อบุมดลูกก็จะลอกหลุดออกเป็นประจ�ำ สาเหตุและล�ำดับของปรากฎการณ์นี้ได้กระจ่างชัดนัก เดือน ระยะก่อนหมดประจ�ำเดือนรังไข่เริ่มท�ำงานผิดปกติ (Nakornchai, 1997) จะเกิดความผิดปกติของรอบประจ�ำเดือน เช่น ถ้าการ 3. สภาวะอารมณ์และจิตใจ ฮอร์โมนเอสโตรเจน สร้างโปรเจสเตอโรนลดลงเยื่อบุโพรงมดลูกจะลอกหลุด ที่ลดลงมีความสัมพันธ์กับกลุ่มอาการทางจิตใจ โดยกลุ่ม เร็วขึ้นท�ำให้รอบประจ�ำเดือนสั้นหรือมีเลือดออกกะปริบ อาการที่พบบ่อย คือ หงุดหงิดง่าย กระสับกระส่าย ตื่นเต้น กะปรอยก่อนมีประจ�ำเดือน ถ้าการสร้างเอสโตรเจน ไม่มีสมาธิ หลงลืมง่าย ขาดความมั่นใจ ตัดสินใจล�ำบาก มีไม่มากพอที่จะกระตุ้นต่อมใต้สมองแบบย้อนกลับ ใจร้อน อ่อนเพลีย รู้สึกไม่มีคุณค่า ซึมเศร้า ซึ่งพบว่า (positive feedback) เพื่อหลังฮอร์โมนลูติไนซิง อาการเหล่านี้มักสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม การ (luteinizing hormone) ให้อยู่ในปริมาณที่สูงตามกลไก เปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาวะโภชนาการ หรือการ ปกติของการตกไข่ (normal ovulatory cycle) ไข่จะ เปลี่ยนแปลงของร่างกายอื่น ๆ (Lichtman, 1991) และ ไม่ตก คอร์ปัสลูเตียมจะไม่เกิด และไม่มีโปรเจสเตอโรน การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของสตรี ท�ำให้สตรีรู้สึกว่า ส่งผลให้ไม่เกิดการมีประจ�ำเดือน เป็นต้น (Nakornchai, ความสวยงามของตนเองหมดไป ไม่ชวนมอง ไม่ดึงดูด

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 481 การจัดการกับอาการวัยทอง

ความสนใจทางเพศและความต้องการทางเพศลดลง ตีบตัน โดย HDL มีบทบาทในการขนส่งคลอเลสเตอรอล เริ่มเข้าสู่วัยสูงอายุ สูญเสียภาวะการเจริญพันธุ์ (Phillips, จากเนื่อเยื่อต่าง ๆ ไปยังตับ ในขณะที่เอสโตรเจนมีฤทธิ์ & Rosen, 1999) เกิดผลต่อจิตใจของสตรี อาจน�ำไปสู่ ยับยั้ง hepatic lipase ที่ตับซึ่งเกี่ยวข้องในการก�ำจัด ภาวะซึมเศร้า และสูญเสียความภาคภูมิใจในตนเอง HDL ซึ่งเป็นกลไกที่ท�ำให้ HDL ในเลือดเพิ่มขึ้น และ (Thavichachart, & Suppapitiporn, 2000) สตรีบาง เอสโตรเจนยังเพิ่มการขับคลอเลสเตอรอลออกทางน�้ำดี รายที่มีอาการซึมเศร้า ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม หงุดหงิดง่าย อีกด้วย สตรีวัยทองที่มีการเปลี่ยนแปลงของระดับ ท�ำให้เกิดสัมพันธภาพที่ไม่ดีกับคนรอบข้าง อาจน�ำมาซึ่ง ฮอร์โมนเอสโตรเจนในร่างกายลดลงจึงเสี่ยงต่อปัญหา การทะเลาะวิวาท ก่อให้เกิดปัญหาในครอบครัว และคน สุขภาพที่มีสาเหตุมาจากไขมันในเลือดสูง (Nakornchai, ใกล้ชิดได้ (Potaros, 1998) 1997) 4. ระบบทางเดินปัสสาวะ มีพัฒนาการในขณะเป็น สตรีเมื่อเข้าสู่วัยทองจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของ ตัวอ่อนในครรภ์จากต้นตอเดียวกันและต่างก็มี estrogen ร่างกายหลายอย่างที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ส่งผลให้เกิด receptor ในปริมาณใกล้เคียงกัน เมื่อขาดฮอร์โมนเอส อาการต่าง ๆ อันเป็นผลมาร่างกายขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน โตรเจนพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นจึงคล้ายคลึงกัน คือเซลล์ สตรีบางคนอาจไม่มีอาการเลยหรือมีอาการเพียงเล็กน้อย เยื่อบุฝ่อลง หลอดเลือดมาเลี้ยงน้อยลง เนื่อเยื่อขาด หรือเพียงระยะเวลาสั้น ๆ ในขณะที่บางคนอาจมีอาการ ความความยืดหยุ่น ส่งผลท�ำให้ท่อปัสสาวะมีขนาดเล็ก ที่รุนแรงจนรบกวนคุณภาพชีวิต และสั้นลง ประกอบกับปริมาณเชื้อแบคทีเรียพวก แลคโตบาซิไล (lactobacilli) ซึ่งเป็นเชื้อประจ�ำถิ่นลดลง อาการไม่พึงประสงค์ของสตรีวัยทอง ความเป็นกรดในปัสสาวะลดลง ท�ำให้เชื้อจากทวารหนัก อาการไม่พึงประสงค์ที่พบในสตรีวัยทองเกิดจาก รุกลำ�้ เข้าไปได้ง่ายจึงท�ำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อได้ง่ายขึ้น กระบวนการเปลี่ยนแปลงการท�ำงานของฮอร์โมนเพศ กล้ามเนื้อของผนังกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะเริ่ม ที่รังไข่ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะของการหมด บางลง หย่อน และเสื่อมสมรรถภาพ การควบคุมการขับ ประจ�ำเดือนดังกล่าวข้างต้น สามารถแบ่งได้ตามระยะ ถ่ายปัสสาวะเสื่อมสมรรถภาพ ท�ำให้กลั้นปัสสาวะไม่ได้ เวลาที่เกิดอาการเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ มีอาการปัสสาวะเล็ด และอาจมีการอักเสบของกระเพาะ 1. อาการที่เกิดระยะสั้นหลังหมดประจ�ำเดือนไม่นาน ปัสสาวะเรื้อรัง (Nakornchai, 1997) (early) เป็นอาการจากความผิดปกติของระบบประสาท 5. ระบบโครงสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อ ความ ที่พบบ่อยได้แก่ (Sun, Shao, Li, & Tao, 2014; Yang, สมบูรณ์ของมวลกระดูกเกิดจากการสร้างกระดูกใหม่ Kenney, Chang, & Chang, 2016) ด้วยเซลล์ osteoblast และการท�ำลายด้วยเซลล์ 1.1 ประจ�ำเดือนมาไม่ปกติ เช่น มาบ่อย มาน้อย osteoclast การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนท�ำให้เซลล์ ลง นาน ๆ มาครั้ง แต่มามากกว่าเดิมหรือขาดหายไป osteoclast สลายกระดูกมากขึ้น เมื่ออายุมากขึ้นมวล 1.2 ร้อนวูบวาบซู่ขึ้นตามเนื้อตัว เหงื่อไหล กระดูกจึงลดลงไปตามวัย (Nakornchai, 1997) อาการนี้จะมีลักษณะพิเศษคือ ร้อนซู่ขึ้นมาทันทีทันใด 6. ไขมันและหลอดเลือด เอสโตรเจนท�ำให้ระดับ เป็นมากที่ใบหน้าและร่างกายส่วนบน ตามมาด้วยอาการ ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ในเลือดสูงขึ้นเล็กน้อย เหงื่อไหลย้อยในตอนกลางคืน เหงื่อจะไหลมากและร้อน ท�ำให้ระดับคลอเลสเตอรอลลดลง ไขมันชนิด high จนนอนไม่หลับ density lipoprotein (HDL) สูงขึ้น ส่วนไขมันชนิด low 1.3 ใจเต้นเร็ว แรง ใจสั่น มักเกิดขึ้นทันทีทันใด density lipoprotein (LDL) ลดลง การที่สัดส่วนของ ไม่อาจห้ามได้ด้วยตนเอง ท�ำให้กลัว วิตกกังวล ยิ่งกลัว HDL:LDL สูงขึ้นมีผลดีในการป้องกันโรคหลอดเลือด ยิ่งเป็นมาก บางครั้งรู้สึกหัวใจจะหยุดเต้น มักสัมพันธ์กับ

482 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 The Management of Menopausal Symptoms

อาการนอนไม่หลับ คลื่นไส้เวลารับประทานอาหาร บางคนมีกรดหรือแก๊ส 1.4 นอนไม่หลับ มักเกิดขึ้น 5-7 ปี ก่อนจะหมด ในกระเพาะอาหารและล�ำไส้มาก ท�ำให้ผายลมทั้งวันแต่ ประจ�ำเดือนจริง ๆ บางคนอาจท้องผูก 1.5 อารมณ์ไม่แน่ไม่นอน เดี๋ยวขึ้นเดี๋ยวลง 2. อาการที่เกิดระยะกลางหลังหมดประจ�ำเดือน ร้องไห้ง่าย สตรีวัยทองที่ตกอยู่ในอารมณ์นี้มักใจน้อย ไปเป็นปี (intermediate) ได้แก่ ผิวหนังเหี่ยวย่น มีริ้วรอย ร้องไห้ฟูมฟายง่าย ทั้ง ๆ ที่ไม่มีเรื่องที่ควรจะเศร้าเสียใจ ช่องคลอดแห้งและบางลง ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะ อาการนี้ท�ำให้ซึมเศร้า กังวล กลัวใครไม่เข้าใจ น้อยใจ ไม่ได้ เป็นต้น เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ลดลงท�ำให้ ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ จนอาจคิดฆ่าตัวตายได้ในบางราย เส้นเลือดที่มาหล่อเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อของอวัยวะดัง 1.6 ความสนใจทางเพศลดลง จากผลของการ กล่าวลดลง ท�ำให้การแบ่งตัวของเซลล์เยื่อบุผิว ที่ฮอร์โมนเพศลดลงส่งผลให้ผนังช่องคลอดบางลง ต่อม (epithelium) เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) น�้ำหล่อลื่นไม่ท�ำงาน ท�ำให้คัน เจ็บแสบช่องคลอด และ กล้ามเนื้อ (muscle) ในระบบทางเดินปัสสาวะลดลง มีโอกาสติดเชื้อโรคได้ง่ายขึ้น ช่องคลอดแห้งและบางลง การเปลี่ยนแปลงของท่อปัสสาวะและการหดของกล้าม ส่งผลให้สตรีวัยทองมีอาการปวดขณะร่วมเพศซึ่งเป็น เนื้อหูรูดที่เปลี่ยนแปลงส่งผลต่อการกลั้นปัสสาวะ ความทุกข์ทรมานอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อบทบาทใน ควบคุมปัสสาวะได้ไม่ดี และการเปลี่ยนแปลงของช่อง ครอบครัว เพราะท�ำให้เกิดความไม่มั่นใจในการท�ำตาม คลอดที่แคบและสั้นลงท�ำให้รูเปิดของท่อปัสสาวะ บทบาทหน้าที่ของภรรยา เช่น กลัวว่าตนให้ความสุขแก่ เปลี่ยนมุมลดต�่ำลงหันเข้าสู่ช่องคลอดมากขึ้นจึงท�ำให้ สามีไม่ได้เหมือนเดิม สามีอาจนอกใจ เป็นต้น ประกอบ สตรีมีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะได้ กับสตรีวัยนี้อยู่ในสภาพอารมณ์ที่ไม่มั่นคง อ่อนไหวง่าย ง่ายขึ้นอีกด้วย บางครั้งมีการใช้ความรู้สึกไม่สบายมาเป็นเหตุผลในการ 3. อาการที่เกิดระยะยาวหลังหมดประจ�ำเดือนไป ปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ (Yang et al., 2016) ซึ่งบุคคล เป็นสิบปี (late) ได้แก่ กระดูกพรุน โรคหัวใจและหลอด ใกล้ชิด เช่นสามีซึ่งอยู่ในช่วงวัยที่ไล่เลี่ยกัน และตกอยู่ใน เลือด โรคสมองเสื่อม อัลไซเมอร์ เป็นต้น สภาพปัญหาต่างๆ ที่รุมเล้าอยู่เช่นกันซึ่งเมื่อสตรีต้องเผชิญ อาการวัยทองที่เป็นผลมาจากการหมดประจ�ำเดือน กับสถานการณ์ต่างๆ เหล่านี้อาจท�ำให้เกิดความเครียด (menopause) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงตาม และวิตกกังวลได้ (Peng, Adams, Hickman, & Sibbritt, ธรรมชาติที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของสตรีที่อยู่ในช่วง 2016) รอยต่อระหว่างวัยเจริญพันธุ์กับวัยหลังการเจริญพันธุ์ 1.7 ขี้ลืม ไม่มีสมาธิ อาการเหล่านี้เป็นความ โดยเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป จากการที่รังไข่ท�ำ เสื่อมของสมอง เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนมีผลต่อ หน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง ส่งผลให้ เลือดที่ไปเลี้ยงสมอง เมื่อขาดฮอร์โมนดังกล่าวส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย และ เกิดอาการหลงลืม และขาดสมาธิได้ สภาพจิตใจ รวมไปถึงคุณภาพชีวิตที่ลดลงในระยะเริ่มต้น 1.8 ปวดศีรษะ โดยเฉพาะสตรีที่มีอาการปวด และน�ำไปสู่การมีภาวะสุขภาพที่ไม่ดีต่อไปในระยะยาว ศีรษะจากภาวะไมเกรน ความผิดปกติของฮอร์โมนเอส โดยจะมีความรุนแรงแตกต่างกันไปในแต่ละคน บางคน โตรเจนจะเป็นตัวกระตุ้นท�ำให้อาการดังกล่าวรุนแรงมาก เกิดผลกระทบมากจนท�ำให้คุณภาพชีวิตลดลงและต้อง ขึ้น (Martin et al., 2016) แต่เมื่อเข้าสู่วัยทองนานขึ้น ได้รับการรักษาด้วยยาหรือฮอร์โมน ในขณะที่บางคนอาจ อาการปวดศีรษะจะบรรเทาลงได้ เพราะฮอร์โมนเอสโตรเจน ไม่เกิดผลกระทบเลยหรือไม่จ�ำเป็นต้องได้รับฮอร์โมน ลดระดับลงจนไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงอีก หรือยาใด ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขึ้นกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 1.9 ระบบย่อยอาหารผิดปกติ ท้องอืด แน่นท้อง และการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 483 การจัดการกับอาการวัยทอง

การจัดการกับอาการวัยทอง อิ่มตัวสูง จ�ำกัดพลังงานจากไขมันให้อยู่ระหว่างร้อยละ อาการวัยทองควรมีการป้องกันตั้งแต่ก่อนอายุ 20-25 ของพลังงานทั้งหมด ใช้น�้ำมันพืชเพราะมีกรด 45 ปี เพราะนอกจากจะเป็นการลดความเสี่ยงในการเกิด ไขมันไม่อิ่มตัว งดใช้นำ�้ มันสัตว์และกะทิ รับประทานปลา โรคแล้วยังเป็นการดูแลรักษาสุขภาพตั้งแต่เบื้องต้น และ ทะเลเพิ่มเนื่องจากมีไขมันไม่อิ่มตัวและอาร์จินีนสูงเพื่อ ยังสามารถป้องกันโรคอื่น ๆ อันเป็นปัญหาสุขภาพระยะยาว ไปกระตุ้นการสร้าง HDL-C เช่น ภาวะกระดูกพรุน น�้ำหนักเกินหรืออ้วน โรคหัวใจ 3) ควรกินอาหารประเภทที่ให้สารโปรตีน และหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และ ที่มีกรดอมิโนอาร์จินิน เพื่อกระตุ้นให้มีการหลั่ง growth เบาหวาน ซึ่งนับว่ามีความส�ำคัญเช่นเดียวกัน ดังนั้น hormone ช่วยในการเจริญเติบโตของเซลล์และใช้ ในบทบาทของพยาบาลจึงต้องให้ความใส่ใจอย่างจริงจัง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่วยให้หลับสบาย เช่น ถั่วเหลือง ทั้งในด้านการให้ความรู้ความเข้าใจแก่สตรีเกี่ยวกับการ งาขาว กุ้งแห้ง ปลาป่น ปลาทะเล ถั่วแดง ถั่วเขียว ไข่ นม เปลี่ยนแปลงทางสรีระที่เกิดขึ้น และการแสวงหาวิธีการ เป็นต้น จัดการกับอาการไม่พึงประสงค์ด้วยตนเอง โดยแนวทาง 4) กินอาหารประเภทผักผลไม้ และข้าว การดูแลตนเองของสตรีวัยทองเพื่อส่งเสริมสุขภาพตาม ไม่ขัดสีเพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้เส้นใยอาหารมาก ช่วยดูดซับ วัยและบรรเทาอาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้น มีดังนี้ สารอาหารไขมันและน�้ำดีไว้ในล�ำไส้ ท�ำให้ได้รับสาร 1. การดูแลตนเองเพื่อรักษาสุขภาพในวัยทองมีค�ำ อาหารไขมันลดลง และช่วยป้องกันท้องผูก ท�ำให้ผิวพรรณ แนะน�ำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวดังนี้ ผ่องใส ลดการเกิดมะเร็งล�ำไส้ ป้องกันท้องอืด วันหนึ่ง 1.1 การดูแลด้านอาหาร สตรีเมื่อเข้าสู่วัยหมด ควรรับประทานอาหารที่มีกากใย 25-35 กรัม (Srisukho, ประจ�ำเดือน การท�ำงานของระบบทางเดินอาหาร 2018) อาหารที่มีเส้นใยมาก เช่น ผัก ผลไม้ที่ไม่หวาน กระเพาะอาหารและล�ำไส้ มีน�้ำย่อยอาหารลดลง ท�ำให้ ธัญพืชต่าง ๆ เป็นต้น การย่อยและการดูดซึมไม่ดี อาหารที่ย่อยไม่ได้เมื่อผ่าน 5) กินอาหารที่มีแคลเซียมสูง เพื่อเก็บ ล�ำไส้จะถูกแบคทีเรียในล�ำไส้ย่อยแทน จึงปล่อยก๊าซออก รักษาระดับแคลเซียมและการสูญเสียแคลเซียมของ มาท�ำให้เกิดอาการแน่นท้องและท้องอึดได้ นอกจากนี้ ร่างกาย เพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยรับประทาน การเคลื่อนไหวของล�ำไส้มีน้อย จึงท�ำให้เกิดอาการท้อง แคลเซียมให้เพียงพอในปริมาณ 1,000 มิลลิกรัมต่อวัน ผูกได้ สตรีวัยทองจึงควรมีหลักในการรับประทานอาหาร ในสตรีระยะก่อนหมดประจ�ำเดือน 1,500 มิลลิกรัม ดังนี้ (Nutrition Division, Department of Health: ต่อวันในสตรีระยะหลังหมดประจ�ำเดือน อาหารที่มี Ministry of Public Health, 2015) แคลเซียมสูง เช่น ปลาตัวเล็กตัวน้อย นม โยเกิร์ต ผักใบ 1) การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เขียว เมล็ดงา สาหร่ายทะเล กุ้งฝอย กุ้งแห้งตัวเล็ก กะปิ ทุกวันและมีสัดส่วนที่เหมาะสม หลากหลายชนิดจะช่วย ใบชะพลู ใบยอ เห็ดหอม มะขามฝักสด เป็นต้น และควร บรรเทาอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ได้รับวิตามินดี 400 IU ต่อวันในสตรีที่อายุน้อยกว่า 50 ปี 2) ผู้ที่มีนำ�้ หนักเกินมาตรฐาน เป็นโรคอ้วน และ 800 UI ต่อวันในสตรีอายุมากกว่า 50 ปี โดยวิตามิน หรือมีไขมันในเลือดสูงกว่า 220 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ดีสามารถได้จากการรับประทานอาหาร หรือจากแสงแดด จ�ำเป็นต้องมีการจัดการตนเองเพื่อปรับพฤติกรรมการ วันละ 15-20 นาที บริโภคอาหาร รวมไปถึงการออกก�ำล�ำกายเพื่อควบคุม 6) กินอาหารจ�ำพวกพืชที่ให้ไฟโตเอส ภาวะอ้วนลงพุง (Jantima & Sritaratikul, 2017) โดย โตรเจนสูง ซึ่งฮอร์โมนตัวนี้สามารถใช้แทนฮอร์โมนที่ เปลี่ยนแปลงแบบแผนการบริโภคเพื่อลดโคเลสเตอรอล สังเคราะห์ แม้ว่าความสามารถอาจไม่ดีเท่า โดยเฉพาะ ในเลือด งดอาหารที่มีคลอเลสเตอรอล และกรดไขมัน กับผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านมหรือมะเร็งมดลูก

484 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 The Management of Menopausal Symptoms

สารไฟโตเอสโตรเจนจะมีในถั่วเหลือง ถั่วแดง ถั่วเขียว ภาวะกระดูกบาง กระดูกพรุน (Anek, 2010) ลดการเกิด ถั่วด�ำ งา ฟักทอง กะหลำ�่ ปล ี บล็อคโคลี แครอท ข้าวโพด ภาวะ metabolic syndrome โดยการออกก�ำลังกาย มะละกอ มันฝรั่ง ข้าวกล้อง เป็นต้น โดยถั่วเหลืองและ ควรเป็นประเภทลงนำ�้ หนัก (weight bearing exercise) ผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจากถั่วเหลืองจะมีสารไอโซฟาลวอน ซึ่งมี มีแรงกระแทกน้อย (low impact) และท�ำให้กระดูก อนุพันธ์หนึ่งของไฟโตเอสโตรเจน ที่มีลักษณะคล้ายกับ ได้รับนำ�้ หนักหรือถูกดึงรั้งเพื่อช่วยเสริมสร้างมวลกระดูก ฮอร์โมนเอสโตรเจน ของเพศหญิง ไฟโตเอสโตรเจนจะ เพราะสตรีวัยนี้เริ่มมีการเสื่อมถอยของกระดูกและ ท�ำให้เยื่อบุของทางเดินปัสสาวะไม่เสื่อมง่าย อาจช่วย ข้อแล้วและได้มีการศึกษาวิจัยโดยน�ำการออกก�ำลังกาย ป้องกันโรคหัวใจ ภาวะกระดูกพรุน โรคมะเร็ง และกลุ่ม ที่ผสมผสานจิตกับกาย (mind-body exercise) ได้แก่ อาการวัยทองได้ (Srisukho, 2018) โยคะ ที่เป็นศาสตร์ของอินเดียมาใช้เป็นรูปแบบการออก 7) หลีกเลี่ยงอาหารประเภทโซเดียมหรือ ก�ำลังกายในสตรีวัยทองพบว่า สตรีที่ฝึกโยคะต่อเนื่อง เกลือ แอลกอฮอล์ น�้ำตาล คาเฟอีน โดยเฉพาะสตรี ประมาณ 8-12 สัปดาห์ ๆ ละ 3 ครั้ง ๆ ละ 50-60 นาที วัยทองที่มีอาการนอนไม่หลับ และอาหารประเภทรสหวาน มีอาการหมดประจ�ำเดือน เช่น อาการร้อนวูบวาบลดลง หรือเค็มเกินไปมีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ ระคายเคือง และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น กระเพาะปัสสาวะและกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ 1.3 การบริหารกล้ามเนื้อช่องคลอด (kegel 8) งดสูบบุหรี่เพราะท�ำให้สูญเสียเนื้อ exercise) โดยการฝึกขมิบก้น เพื่อให้กล้ามเนื้อบริเวณ กระดูกมากขึ้น และเป็นการลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ อุ้งเชิงกรานแข็งแรง ป้องกันและแก้ไขอาการปัสสาวะ และหลอดเลือด รวมไปถึงการช่วยท�ำให้อุณหภูมิใน เล็ดหรือกลั้นปัสสาวะไม่ได้ รวมทั้งการใช้สารหล่อลื่นที่ ร่างกายและอาการร้อนวูบวาบลดลง ให้ความชุ่มชื้น มีค่า pH ที่เหมาะสม และมีความเป็น 9) รับประทานอาหารธรรมชาติที่มีวิตามิน ธรรมชาติกับปากมดลูกมากที่สุด เพื่อลดการระคายเคือง สูงโดยเฉพาะ วิตามินเอ ดี อี เค และซี ซึ่งมีความ และรู้สึกเจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์ (Edwards, & Panay, เกี่ยวข้องกับการเสื่อมสภาพของเซลล์ นอกจากนี้วัยทอง 2016) ควรเสริมวิตามินบีเกือบทุกตัวเพราะการดูดซึมวิตามินบี 1.4 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตใจ โดยการฝึก ของล�ำไส้ลดลงในช่วงวัยนี้ และการเสริมวิตามินบี 1 6 สมาธิ การฝึกการหายใจเข้าออกลึก ๆ ช้า ๆ เพื่อจัดการ 12 และกรดโฟลิกจะมีผลลดระดับกรดอะมิโนที่ชื่อ กับอารมณ์และความเครียด การฝึกหายใจพร้อมกับการ homocysteine จึงช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรค ออกก�ำลังกายที่ผสมผสานจิตกับกายแบบไทยด้วยฤาษี หัวใจและลดการเสื่อมของเซลล์ประสาทสมองได้ ดัดตน (Ngowsiri, 2013) (Srisukho, 2018) 1.5 การสนับสนุนจากครอบครัวและสังคมใน 10) ดื่มน�้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว การกระตุ้นการส่งเสริมสุขภาพ เพราะเซลล์ในร่างกายของสตรีวัยทองจะมีปริมาณ 2. การใช้ยาฮอร์โมนทดแทน สมาคมวัยหมดระดู น�้ำน้อยลงจึงต้องเพิ่มการดื่มน�้ำเพื่อชดเชยปริมาณน�้ำ แห่งประเทศไทยได้เสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการน�ำ ในร่างกาย ถ้าได้รับน�้ำไม่เพียงพออาจท�ำให้เกิดโรคหรือ ออร์โมนทดแทนมาใช้ในสตรีวัยหมดระดู ดังนี้ (Soon- สภาวะผิดปกติบางอย่างได้ เช่น กระเพาะปัสสาวะอักเสบ tarpa, 2014) ระบบสมองเสื่อมหน้าที่ หลงลืม ความคิดความอ่าน 2.1 เพื่อการรักษาอาการขาดฮอร์โมนวัยทอง สับสน และน�้ำยังช่วยขับของเสียออกจากร่างกายด้วย เช่น อาการร้อนวูบวาบ ยังคงสามารถใช้ฮอร์โมนทดแทน 1.2 การออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอมีผลต่อ ได้ตามปกติ ประโยชน์จากการใช้มีมากกว่าความเสี่ยง การลดอาการของภาวะหมดประจ�ำเดือน ลดการเกิด 2.2 ควรใช้ฮอร์โมนทดแทนในขนาดต�่ำสุดที่ยัง

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 485 การจัดการกับอาการวัยทอง

คงประสิทธิภาพ 2.9 ในการสรุปผลจาก WHI พึงระมัดระวังใน 2.3 การใช้ยาฮอร์โมนเอสโตรเจนอย่างเดียวใน การขยายผลไปสู่ฮอร์โมนทดแทนในขนาดสูตร รูปแบบ รายที่ได้รับการผ่าตัดมดลูกแล้ว ยังใช้ได้ต่อเนื่องตามปกติ หรือวิธีการให้ที่แตกต่างกันออกไป 2.4 ในรายที่ใช้ฮอร์โมนทดแทนชนิด CEE ร่วม กับ MPA ระยะยาว เช่น เพื่อป้องกันกระดูกพรุนหรือ บทสรุป กระดูกหักในรายที่ความเสี่ยงสูงเมื่อใช้ไปนาน 5 ปี ควร วัยทองแม้จะเป็นการเปลี่ยนแปลงของช่วงวัยตาม กลับมาทบทวนถึงประโยชน์และความเสี่ยงในการใช้ ธรรมชาติที่สตรีทุกคนไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ จากผลการ ฮอร์โมนทดแทนก่อนที่จะใช้ฮอร์โมนทดแทนต่อไป เปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศที่ลดลง ส่งผลกระทบต่อ 2.5 ไม่แนะน�ำให้ใช้ฮอร์โมนทดแทนชนิด CEE ร่างกายและจิตใจ ตลอดจนถึงการด�ำเนินชีวิตของสตรี ร่วมกับ MPA เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจ อาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ 2.6 สตรีที่ได้รับฮอร์โมนทดแทนควรได้รับทราบ ฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ลดลงจากการเสื่อมสภาพการ ข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์และความเสี่ยงอย่างถูกต้องและ ท�ำงานของรังไข่ส่งผลต่อความไม่สุขสบายของสตรี เหมาะสมและร่วมพิจารณาในการเลือกการรักษา ซึ่งอาการดังกล่าวจะมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดขึ้น 2.7 ในรายที่ไม่สามารถหรือไม่ต้องการใช้ อยู่กับการดูแลสุขภาพ และการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ฮอร์โมนทดแทน (hormone replacement therapy) การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ในบทบาทของพยาบาลจึง ควรได้รับทราบว่ายังมีทางเลือกอื่นที่จะช่วยรักษา ต้องให้ความเอาใจใส่อย่างจริงจังในการประเมินอาการ คุณภาพชีวิตของสตรีในช่วงวัยทอง วัยทองของสตรี การให้ความรู้ให้ค�ำแนะน�ำในการดูแล 2.8 แนะน�ำให้สตรีที่ก�ำลังใช้ฮอร์โมนทดแทน สุขภาพด้วยตนเองเพื่อบรรเทาอาการไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ หรือก�ำลังจะใช้ไม่ต้องกังวลกับรายงานของ WHI มาก ที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมทั้งการเฝ้าระวังและส่งต่อในรายที่ จนเกินไป มีอาการของวัยทองรุนแรงจนกระทบต่อคุณภาพชีวิต เอกสารอ้างอิง Anek, A. (2010). Effects of circuit box jumping on bone resorption, health-related physical fitness and balance in premenopausal women. Master of Science Faculty of Sport Science, Chulalongkorn University. (In Thai). Bureau of Health Promotion, Department of Health (2016). Guidelines for training of public health personnel in health promotion for the golden age population. Bureau of Health Promotion, Department of Health: Ministry of Public Health. (In Thai). Crowther, P. (2019). What Every Woman Ought to Know about the Menopause. Positive Health, 251, 17. Retrieved from http://search.ebscohost.com Edwards, D., & Panay, N. (2016) Treating vulvovaginal atrophy/genitourinary syndrome of Menopause: How important is vaginal lubricant and moisturizer composition. Climacteric, 19(2),151-161. Jantima, P., & Sritaratikul, S. (2017). The Effect of Promoting Self-management for Health Behavior Modification of Metabolic Syndrome Risk Group.Nursing Journal, 44(2), 162-171. (In Thai) Lichtman, R. (1991). Perimenopausal hormone replacement therapy: Review of the literature. Journal of Nurse-Midwifery, 36(1), 30-48.

486 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 The Management of Menopausal Symptoms

Limpaphayom, K., & Chaikittisilpa, S. (2000). Changes in the urinary system and reproductive organs. In K. Limpaphayom (Eds.), Menopause (pp. 53-57). Bangkok: Department of Obstetrics-Gynecology Faculty of Medicine Chulalongkorn University. (In Thai). Martin, V.T., Pavlovic, J., Fanning, K. M., Buse, D. C., Reed, M. L., & Lipton, R. B. (2016). Perimenopause and menopause are associated with high frequency headache in women with migraine: results of the American migraine prevalence and prevention study. Headache, 56(2), 292-305. Nakornchai, S. (1997). Physiology and pharmacology of sex hormones in menopause. In B. Chindavijak & S. Chulavatnatol (Eds.), Female and male golden age health problems (pp. 1-20). Faculty of Pharmacy Mahidol University. (In Thai). Ngowsiri, K. (2013). The effects of holistic health promotion program on quality of life in peri and postmenopausal women. Doctor of Science in Sports Science, Chulalongkorn University. (In Thai). Nutrition Division, Department of Health: Ministry of Public Health. (2015). Food for menopausal women. Retrieved from http://nutrition.anamai.moph.go.th. (In Thai). Peng, W., Adams, J., Hickman, L., & Sibbritt, D. (2016). Longitudinal analysis of associations between women’s consultations with complementary and alternative medicine practitioners/use of self-prescribed complementary and alternative medicine and menopause-related symptoms, 2007-2010. Menopause, 23(1), 74-80. Phillips, N. A. & Rosen, R. C. (1999). Menopause and sexuality In R. A. Lobo (Ed.), Treatment of the postmenopausal women: Basic and clinical aspects (2nd ed., pp.437-443). Philadelphia: J. B. Lippincott. Pongsatha, S. (2011). Menopause. Retrieved from http://www.med.cmu.ac.th. (In Thai). Potaros, D. (1998). Lacking me (Menstruation) then you will feel. The Journal of Faculty of Nursing Burapha University, 5(2), 35-45. (In Thai). Soontarpa, S. (2011). Guidelines for health care for menopausal women Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Khonkaen University. Srinagarind Medical Journal, 16 (Special edition), 267-275. (In Thai). Soontarpa, S. (2014). Golden age women. Srinagarind Medical Journal, 29, 50-55. (In Thai). Srisukho, C. (2018). Golden age (Revised edition 6th). Bangkok: amarinhealth. (In Thai). Sun, D., Shao, H., Li, C., & Tao, M. (2014). Sleep disturbance and correlates in menopausal women in Shanghai, Journal Psychosomatic Research, 76(3), 237-41. Thavichachart, N., & Suppapitiporn, S. (2000). Psycho-social conditions in menopause. Yang, C. F., Kenney, N. J., Chang, T. C., & Chang, S. R. (2016). Sex life and role identity in Taiwanese women during menopause: a qualitative study. Journal of Advanced Nursing, 72(4), 770-781.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 487 การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia

ศิริรัตน์ ปานอุทัย * Sririrat Panuthai * โรจนี จินตนาวัฒน์ ** Rojanee Chintanawat ** ฐิตินันท์ ดวงจินา *** Thitinan Duangjina ***

บทคัดย่อ ผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบากมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ รูปแบบอาหารควรปรับเนื้อสัมผัสให้ อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับของผู้สูงอายุด้วย การวิจัยแบบทดลองกลุ่มเดียววัดหลังการทดลอง (one-group posttest only experimental research design) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหาร ส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่ก�ำหนด จ�ำนวน 32 คน จากผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก ในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมบ้านธรรมปกรณ์ เชียงใหม่ และบ้านพักคน ชราวัยทองนิเวศน์ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2561 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 กลุ่มตัวอย่างรับประทานผลิตภัณฑ์ อาหาร 5 เมนู ได้แก่ 1) ข้าวผสมหุงสุก 2) ลูกชิ้นปลาย่างรมควัน 3) กระเพาะปลานำ�้ แดงเจลล ี่ 4) กล้วยบวชชีเจล และ 5) สละลอยแก้วเจล วันละ 1 มื้อ เป็นเวลา 3 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบบันทึก ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความสามารถในการกลืน แบบประเมิน Functional Oral Intake (FOIS) แบบประเมิน การยอมรับผลิตภัณฑ์ และแบบบันทึกปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา (descriptive statistics) ผลการวิจัยภายหลังการทดลองรับประทานผลิตภัณฑ์อาหารระยะเวลา 3 เดือน พบว่า 1. การยอมรับผลิตภัณฑ์ทุกเมนูตามคุณลักษณะสี กลิ่น ความแข็ง ความหนืด และรสชาติโดยรวม อยู่ในระดับ ชอบปานกลาง ถึงชอบมากที่สุด โดยความชอบรวมและความชอบด้านสี กลิ่น ความแข็งและความหนืดมากที่สุด ได้แก่ ขนมหวานคือกล้วยบวชชีเจล ( = 8.69, SD.= 0.74) และสละลอยแก้วเจล ( = 8.63, SD.= 0.79) รองลงมา ได้แก่ ข้าวผสมหุงสุก ( = 8.31, SD.=1.0) และกระเพาะปลานำ�้ แดงเจลล ี่ ( = 8.16, SD.= 1.02) แต่ลูกชิ้นปลาย่าง รมควันมีความชอบน้อยที่สุด ( = 7.78, SD 1.21) จากคะแนนเต็ม 9 คะแนน 2. ความยากง่ายในการเคี้ยวและการกลืนอยู่ในระดับง่ายมากที่สุดในทุกผลิตภัณฑ์ โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 8.59-8.84 (SD 0.37-0.67) จากคะแนนเต็ม 9 คะแนน 3. ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่บริโภค พบว่า ผู้สูงอายุรับประทานกล้วยบวชชีและสละลอยแก้วเจลหมดทุกมื้อ รองลงมา คือข้าวผสมหุงสุกที่กลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดรับประทานหมดในทุกมื้อ (ร้อยละ 90.63) ส่วนกระเพาะปลาน�้ำแดง เจลลี่และลูกชิ้นปลาย่างรมควันเป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มตัวอย่างประมาณสองในสาม (ร้อยละ 68.75-71.88) รับประทาน หมดทุกมื้อ

* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ * Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, [email protected] ** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ** Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, [email protected] *** อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** Lecture, Faculty of Nursing, Chiang Mai University.

พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 488 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia

ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์อาหารทุกผลิตภัณฑ์ได้รับการยอมรับจากผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืน ล�ำบากในคุณลักษณะด้านสี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และความง่ายในการเคี้ยวและการกลืน โดยผู้สูงอายุส่วนใหญ่ สามารถรับประทานผลิตภัณฑ์ทุกชนิดได้หมดในแต่ละมื้อ ดังนั้นผลิตภัณฑ์อาหารที่พัฒนาขึ้นสามารถน�ำไปใช้ในผู้สูงอายุ ที่มีภาวะกลืนล�ำบากเพื่อเพิ่มปริมาณอาหารที่บริโภค

ค�ำส�ำคัญ: การทดสอบการยอมรับ อาหาร ผู้สูงอายุ ภาวะกลืนล�ำบาก

Abstract Older persons with dysphagia are at risk of malnutrition. Food products developed for this group of persons should have appropriate texture and acceptable for older persons. This one-group posttest only experimental research study aimed to investigate the acceptance of food products among older persons with dysphagia. Thirty-two subjects with dysphagia were purposively selected from Thammapakorn Social Welfare Development Center for Older Person Chiang Mai and Wai Thong Niwet Home for the Aged between November 2018 and March 2019. Subjects were assigned to eat five food products, including 1) cooked mixed rice, 2) smoked grilled fish ball, 3) fish maw soup jelly, 4) banana in coconut milk puree, and 5) snake fruit in syrup puree, once a day for three months in addition to main meals. Instruments used for data collection consisted of the Demographic Data Recording Form, Swallowing Readiness Evaluation Form, Functional Oral Intake (FOIS), 9-point Hedonic Scale, and Amount of Food Product Consumption Recording Form. Data were analyzed using descriptive statistics. The results after three months of food product testing revealed that: 1. The overall acceptance of all food products in terms of color, smell, solidity, viscosity, and taste was at a moderate to high levels. The products with the highest level of acceptance were banana in coconut milk puree ( = 8.69, SD.= 0.74), followed by snake fruit in syrup puree (= 8.63, SD.= 0.79), cooked mixed rice ( = 8.31, SD.=1.0) and fish maw soup jelly ( = 8.16, SD.= 1.02). Smoked grilled fish ball gained the least acceptance ( = 7.78, SD 1.21) from a total score of 9. 2. The level of chewing and swallowing difficulty was the easiest for all food products, with a mean ranging between 8.59 and 8.84 (SD. 0.37-0.67) from the total score of 9. 3. The products consumed in whole amount in each meal were banana in coconut milk puree and snake fruit in syrup puree, followed by cooked mixed rice that was consumed in whole amount by almost all of the subjects (90.63%) in each meal. Fish maw soup jelly and smoked grilled fish ball were consumed in whole amount by approximately two-third of the subjects (68.75-71.88%) in each meal. The result of this study indicated that all food products were accepted by older persons with dysphagia in terms of color, smell, taste, texture and ease of chewing and swallowing. Most of the

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 489 การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก

older persons could consume the whole amount of all food products in each meal. Therefore, the developed food products can be used to improve the amount of food intake of older persons with dysphagia.

Keywords: acceptance testing, food innovation, older person, dysphagia

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา Wattanapan, 2018) ซึ่งภาวะกลืนล�ำบากส่งผลกระทบ การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงอายุในประเทศไทย ต่อตัวผู้สูงอายุโดยน�ำมาสู่ภาวะแทรกซ้อนคือภาวะปอด เป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยมีการเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 14.9 อักเสบจากการส�ำลัก ภาวะขาดนำ�้ และผลกระทบที่ส�ำคัญ ในปี พ.ศ. 2557 เป็นร้อยละ 17.6 ในปี พ.ศ. 2561 คือ ภาวะขาดสารอาหาร (Sura, Madhavan, Carnaby, (Foundation of Thai Gerontology Research and & Crary, 2012) Development Institute [TGRI], 2019) และคาดว่า ภาวะกลืนล�ำบาก คือ ภาวะที่มีความยากล�ำบาก ในปี พ.ศ. 2573 จะมีประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย ในการกลืนหรือความไม่สุขสบายในการกลืนของผู้สูงอายุ ถึงร้อยละ 25 (National Statistical Office, 2014) (Hall, 2017; Heart and Stroke Foundation of ผลจากการมีจ�ำนวนประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นท�ำให้เกิด Ontario [HSFO], 2002) ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ปัญหาด้านความเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรค จากกระบวนการสูงอายุ ได้แก่ การมีจ�ำนวนฟัน แรงดันลิ้น สมองเสื่อม โรคพาร์กินสัน และโรคหลอดเลือดสมอง และการผลิตน�้ำลายลดลงร่วมกับความสามารถในการ เป็นต้น (World Health Organization[WHO], 2015) เคี้ยวและการกลืนลดลงจากการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ อีกทั้งผู้สูงอายุยังต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงด้าน รวมถึงหลอดอาหาร (Raats, De Groot, & Van Staveren, ร่างกายในทางเสื่อมลงโดยเฉพาะระบบที่เกี่ยวข้องกับ 2009) หรืออาจเกิดจากความเจ็บป่วยร่วมด้วย เช่น โรค การเคี้ยวและกลืน จึงท�ำให้เกิดปัญหาซึ่งพบได้บ่อยคือ สมองเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง และโรคพาร์กินสัน การมีภาวะกลืนล�ำบาก (Raats, De Groot, & Van ที่ท�ำให้มีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อร่วมกับการท�ำงาน Staveren, 2009) จากสถานการณ์ในต่างประเทศพบ ไม่ประสานกันของกล้ามเนื้อ (Hall, 2017) นอกจากนั้น ภาวะกลืนล�ำบากในกลุ่มผู้ป่วยสมองเสื่อม ร้อยละ 60-80 การใช้ยาบางชนิดในผู้สูงอายุก็ส่งผลให้เกิดภาวะนำ�้ ลาย (Cabre et al., 2009) ในโรคพาร์กินสันร้อยละ 82 (Kalf, แห้งเกิดภาวะกลืนล�ำบากได้เช่นกัน เช่น ยาต้านโคลิเนอร์จิก De Swart, Bloem, & Munneke, 2012) และกลุ่มโรค (anticholinergic drug) ยาต้านเบต้า (beta antagonist) หลอดเลือดสมองพบ ร้อยละ 51-55 (Martino et al., ยาต้านฮีสตามีน (anti-histamine) เป็นต้น (Leslie, 2005) หากจ�ำแนกตามสถานที่อยู่อาศัยพบว่าในสถาน Drinnan, Ford & Wilson, 2005) จนอาจส่งผลกระทบ บริบาล (nursing home) มีผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก ท�ำให้บริโภคอาหารในปริมาณที่ลดลง หรือชนิดอาหาร มากถึงร้อยละ 68 รองลงมาคือโรงพยาบาลร้อยละ 30 ที่บริโภคไม่เหมาะสมกับความต้องการ จนท�ำให้เกิด และชุมชนร้อยละ 13-38 สถานการณ์ภาวะกลืนล�ำบาก ภาวะขาดสารอาหารได้ ในผู้สูงอายุของประเทศไทยยังไม่รายงาน แต่เป็นการ ภาวะขาดสารอาหารเกิดจากการที่ร่างกายได้รับ ส�ำรวจภาวะกลืนล�ำบากในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง สารอาหารในปริมาณที่ไม่เพียงพอกับความต้องการของ ระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ โดยมีอายุ ร่างกาย (Mitprasart & Surit, 2011) ในกลุ่มผู้สูงอายุ เฉลี่ย 62.7 ปี พบว่ามีเพียงพร้อยละ 3 เท่านั้น (Benja- กลืนล�ำบากนั้นจากการศึกษาของ Sriraksa, Panuthai, pornlert, Arayavichanont , Manimmanakorn & & Tamdee (2016) พบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก

490 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia

มีภาวะขาดสารอาหารร้อยละ 33.5 และผลการประเมิน ในประเทศไทยได้มีการผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ภาวะโภชนาการด้วยความหนาของชั้นไขมันไตรเซบ ส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีความยากล�ำบากในการเคี้ยวและกลืน พบว่ามีค่าต�่ำกว่าเกณฑ์ถึงร้อยละ 32.0 ภาวะขาดสาร เช่น กุยช่ายส�ำหรับผู้สูงอายุกลืนล�ำบาก อาหารข้นหนืด อาหารจะส่งผลกระทบต่อตัวผู้สูงอายุเองแล้ว เช่น ท�ำให้ ต�ำรับไทยส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก นมถั่ว เกิดแผลหายช้า เกิดแผลกดทับได้ง่าย ภูมิคุ้มกันตำ�่ ยังส่งผล เหลืองกึ่งแข็งกึ่งเหลวส�ำหรับผู้ป่วยกลืนล�ำบาก ข้าวไรซ์ เสียที่เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดในผู้ป่วยสูงอายุเนื่องจากอาจท�ำให้ เบอร์รี่ต้มข่าไก่ข้นหนืด ข้าวเหนียวมะม่วงพร้อมบริโภค ต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลนานขึ้น อีกทั้งยังเพิ่ม ส�ำหรับผู้ที่มีภาวะกลืนล�ำบาก เจลลี่โภชนา บีมูลเจล ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาบาลอีกด้วย (Soenen & (Bmune jel) มะม่วงเพียวเร่ (mango puree) เยลลี่ Chapman, 2013) ดังนั้นการป้องกันภาวะขาดสาร ข้าวไรซ์เบอรี่มังสวิรัติ (Riceberry Rice Vegan Jelly) อาหารในกลุ่มผู้สูงอายุมีภาวะกลืนล�ำบากจึงควรเน้นการ ที่มีโปรตีนและพลังงานสูงส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืน ปรับรูปแบบอาหารให้เหมาะสม อย่างไรก็ตามจากข้อมูล ล�ำบาก เป็นต้น อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์อาหารที่พัฒนา ของ National Food Institute (2013) พบว่าการตอบ ขึ้นถึงแม้จะเน้นกลุ่มผู้บริโภคคือผู้สูงอายุที่มีความยาก สนองความต้องการด้านอาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะ ล�ำบากในการกลืน แต่ยังมีจ�ำนวนไม่มาก โดยเฉพาะข้าว กลืนล�ำบากยังไม่ดีเท่าที่ควร โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์อาหาร ที่เป็นอาหารหลักที่มีเนื้อสัมผัสที่เหมาะสม รวมถึงขนม ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุกลืนล�ำบาก ซึ่งยังไม่มีความหลาก หวานที่เป็นที่คุ้นเคยกับผู้สูงอายุ และอาหารคาวที่เป็น หลาย และไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุ ทางเลือกใหม่ส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีความยากล�ำบากในการ ในประเทศญี่ปุ่นมีการผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้ เคี้ยวและกลืน สูงอายุที่มีปัญหาการเคี้ยวและกลืนทั้งผลิตภัณฑ์อาหาร คณะพยาบาลศาสตร์ ร่วมกับคณะอุตสาหกรรม ที่มีความอ่อนนุ่ม อาหารลักษณะเจลหรืออาหารเหลว เกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการผลิตอาหารต้นแบบ รวมถึงอาหารมีสารเพิ่มความหนืด ซึ่งผ่านการค�ำนวณ ส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก โดยการเลือกประเภท สารอาหาร และพลังงาน รวมถึงลักษณะทางกายภาพ กลิ่น ของอาหารพิจารณาจากคุณค่าทางโภชนาการและสาร และรสชาติ (National Food Institute, 2013) แต่ใน อาหาร และความชอบรวมถึงความนิยมในการบริโภค ประเทศไทยนั้นผลิตภัณฑ์อาหารส่วนใหญ่มุ่งเน้นการ ของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 1) ข้าวผสมหุงสุกที่มีเนื้อสัมผัส ป้องกันโรค และมีความจ�ำเพาะกลุ่ม เช่น กลุ่มผู้ป่วย เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก ผ่านการ มะเร็งช่องปากที่เคี้ยวและกลืนล�ำบาก ซึ่งไม่ได้จ�ำเพาะ ค�ำนวณปริมาณแร่ธาตุ และพลังงานที่ผู้สูงอายุจะได้รับ กับกลุ่มผู้สูงอายุ อีกทั้งพลังงานและสารอาหารอาจยังไม่ พัฒนาขึ้นจากข้าว 3 พันธุ์ ได้แก่ ข้าวกล้องหอมมะลิ 105 เหมาะสมกับผู้สูงอายุ เช่น ปริมาณสารอาหาร วิตามิน ข้าวหอมนิล และข้าวกำ�่ ดอยสะเก็ด 2) กระเพาะปลานำ�้ โปรตีน และพลังงานที่ผู้สูงอายุควรได้รับ เป็นต้น โดยหาก แดงเจลลี ่ 3) ลูกชิ้นเนื้อปลาย่างรมควันโดยใช้ปลานิล 4) จะกล่าวถึงประเภทของอาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะ กล้วยบวชชี และ 5) สละลอยแก้วเจล ผลิตภัณฑ์ขนม กลืนล�ำบากนั้นควรเป็นอาหารที่ผ่านการดัดแปลงให้มี หวานประกอบไปด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนของเจลผลไม้ เนื้อสัมผัสหนืดข้นและละเอียด (puree) หรืออาหารที่มี และส่วนของของเหลว แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ผลิตภัณฑ์ ลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลวคล้ายแป้งเปียก (semi-solid) อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบากนี้จะได้ผ่าน และต้องปลอดภัยไม่ก่อให้เกิดการไอและส�ำลัก ควรหลีก การตรวจสอบคุณภาพ และวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ เลี่ยงอาหารที่มีเนื้ออาหาร (texture) หลายรูปแบบและ แล้วแต่ก็ต้องเป็นที่ยอมรับของผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืน อาหารเหลวเนื่องจากอาจท�ำให้ผู้สูงอายุส�ำลักได้ง่าย ล�ำบากด้วย ดังนั้นทีมวิจัยจึงมีความสนใจในการประเมิน (Sammasut, 2000; Dajpratham, 2013) ซึ่งปัจจุบัน การยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารที่มีต่อผู้สูงอายุที่มีความยาก

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 491 การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก

ล �ำบากในการกลืน ได้แก่ การยอมรับด้านรสชาติ สี กลิ่น วิธีด�ำเนินการวิจัย ความยากง่ายในการเคี้ยวและกลืน และปริมาณการ การวิจัยทดลองแบบกลุ่มเดียววัดหลังการทดลอง บริโภค เพื่อเป็นต้นแบบอาหารส�ำหรับผู้สูงอายุกลุ่มที่มี (one-group posttest only experimental research ความยากล�ำบากในการเคี้ยวกลืนและน�ำมาสู่การน�ำไป design) เพื่อทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับ ใช้เพื่อการส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุต่อไป ผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นผู้ที่อายุ 60 วัตถุประสงค์การวิจัย ปีขึ้นไปที่มีภาวะกลืนล�ำบากที่อาศัยอยู่ในสถานบริบาล 1. เพื่อประเมินการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารของผู้ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ที่อายุ 60 ปีขึ้นไป สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก ที่มีภาวะกลืนล�ำบาก ที่อาศัยอยู่ในสถานบริบาลในจังหวัด 2. เพื่อประเมินความยากง่ายในการเคี้ยวและการ เชียงใหม่และจังหวัดล�ำปาง คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง กลืนผลิตภัณฑ์อาหารของผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก (Purposive sampling) ตามคุณสมบัติดังนี้ 1) มีภาวะ 3. เพื่อประเมินปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑ์ กลืนล�ำบากเล็กน้อย ประเมินด้วยแบบประเมิน Func- อาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก tional Oral Intake Scale อยู่ในระดับ 5-6 2) รับประทาน อาหารทางปาก 3) ไม่มีความผิดปกติที่ท�ำให้ระดับ กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย อัลบูมินในเลือดต�่ำ ได้แก่ Nephrotic syndrome และ การวิจัยครั้งนี้ใช้แนวคิดการการยอมรับผลิตภัณฑ์ โรคตับ 4) ไม่มีความผิดปกติที่ท�ำให้ซีด ได้แก่ Aplastic ใหม่ (adoption process) (Roger & Shoemaker, 1968, anemia มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือได้รับยากดไขกระดูก in Satheintaworawong, 2015) ซึ่งเป็นกระบวนการ 5) ไม่มีประวัติการแพ้อาหาร 6) ไม่มีโรคร่วมที่ท�ำให้มี ทางจิตที่เริ่มต้นตั้งแต่การเรียนรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ ภาวะเสี่ยงต่อการสูดส�ำลัก ได้แก่ โรคพาร์กินสัน หรือ ผ่านขั้นตอนต่าง ๆ เรื่อยมาจนถึงการยอมรับมาใช้ Myasthenia gravis 7) ไม่มีโรคประจ�ำตัวที่จ�ำกัดการ ประกอบด้วย 1) การตระหนักในผลิตภัณฑ์ (awareness) รับประทานอาหาร ได้แก่ โรคเบาหวานที่ควบคุมระดับ เป็นระยะที่ผู้บริโภคยังไม่มีข้อมูลรายละเอียดของสินค้า น�้ำตาลไม่ได้ 8) เมื่อทดสอบการกลืนน�้ำ 2 ครั้ง ภายใน เป็นเพียงแต่ทราบว่ามีสินค้าใหม่เกิดขึ้น และยังไม่มีแรง 30 วินาที แล้วไม่มีอาการไอเสียงเปลี่ยน หายใจเร็ว หรือ จูงใจในการค้นหาข้อมูล 2) ความสนใจในผลิตภัณฑ์ ค่าความอิ่มตัวออกซิเจนลดลงมากกว่าหรือเท่ากับ 2 % (interest) เป็นระยะที่ผู้บริโภคเริ่มให้ความสนใจต่อ และ 9) ไม่อยู่ระหว่างการเข้าร่วมการวิจัยหรือหลังเข้าร่วม ผลิตภัณฑ์ใหม่ เนื่องจากมีสิ่งกระตุ้นเพื่อให้เกิดการค้นหา วิจัยด้านอาหารอื่นน้อยกว่า 1 เดือน และ เกณฑ์การยุติ ข้อมูล แต่ยังไม่ได้พิจารณาผลิตภัณฑ์นั้น 3) การประเมิน การเข้าร่วมการวิจัย คือ เสียชีวิต หรือ เข้ารับการรักษาใน ผลิตภัณฑ์ (evaluation) โดยผู้บริโภคมีการเปรียบเทียบ โรงพยาบาล หรือขอยุติการรับประทานผลิตภัณฑ์อาหาร ระหว่างผลิตภัณฑ์ใหม่กับผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิมหรือ การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ Power ผลิตภัณฑ์ที่มีความใกล้เคียง 4) การทดลองบริโภค (trial) analysis ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ (α) ที่ .05 อ�ำนาจ เป็นขั้นตอนที่ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ เพื่อพิสูจน์ ทดสอบ (power) ที่ .80 และค่าขนาดความสัมพันธ์ คุณค่าของผลิตภัณฑ์ตามที่ประเมิน และ 5) การยอมรับ ระหว่างตัวแปร (effect size) ที่ .70 เมื่อเปิดตารางได้ ผลิตภัณฑ์ (adoption) เป็นขั้นตอนภายหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง 32 คน คัดเลือกตามสะดวก (convenient ใช้และได้รับผลเป็นที่พอใจ น�ำมาสู่การซื้อซ�้ำและใช้ sampling) โดยคัดเลือกจากศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการ ประจ�ำ ทางสังคมบ้านธรรมปกรณ์ เชียงใหม่ 28 คน บ้านพักคน ชราวัยทองนิเวศน์ 4 คน

492 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia

เครื่องมือที่ใช้ในการด�ำเนินการวิจัย ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ กับสารละลายไฮโดรคอยลอยด์ โดยแยกน�้ำกะทิชอง อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่ปัญหาด้านการเคี้ยวและการกลืน กล้วยบวชชีและน�้ำเชื่อมของสละลอยแก้ว ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ 5 ชนิด ได้แก่ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยเครื่องมือ 1. ข้าวผสมหุงสุก พัฒนาโดย Utama-ang et ดังต่อไปนี้ al. (2017) โดยใช้ข้าว 3 พันธุ์ที่มีสัดส่วนแตกต่างกัน 1. แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วย ได้แก่ ข้าวกล้องหอมมะลิ 105 32.63% ข้าวหอมนิล ข้อมูลเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาศาสนา 51.17% และข้าวกำ�่ ดอยสะเก็ด 16.20% มีลักษณะเนื้อ โรคประจ�ำตัว การใช้ยา สิทธิในการรักษาพยาบาล และ สัมผัสของความแข็งที่อยู่ในระดับอาหารที่ 1 บรรจุในถุง โรงพยาบาลหรือสถานบริการที่ใช้บริการเป็นประจ�ำ รีทอร์ตเพาช์แล้วปิดผนึกภายใต้สภาวะสุญญากาศ ซึ่งมี 2. แบบประเมิน Functional Oral Intake การค�ำนวณปริมาณพลังงานที่ได้รับและปริมาณแร่ธาตุ (FOIS) ของ Crary, Mann, & Groher (2005) ใช้ส�ำหรับ ที่ผ่านการทดสอบทั้งเชิงกายภาพและเคมี การประเมินระดับของการกลืนจากชนิดหรือประเภท 2. ลูกชิ้นเนื้อปลาย่างรมควัน พัฒนาโดย Jong- ของอาหารที่กลืนได้ จ�ำแนกเป็น 7 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ jareonrak et al. (2018) เป็นเจลที่ขึ้นรูปเป็นเนื้อปลา 1-3 ได้รับอาหารทางสายยาง ระดับที่ 4-7 รับประทาน และบรรจุในถุงบรรจุภัณฑ์ชนิด Nylon/LLDPE แล้ว ทางปาก โดยระดับ 4 คือ รับประทานทางปากด้วย ปิดผนึกภายใต้สภาวะสุญญากาศ โดยใช้เนื้อปลานิล อาหารอ่อนเป็นเนื้อเดียว ระดับ 5 คือ รับประทานทาง ที่ผสมกับเนื้อกุ้งขาว ท�ำการบดปั่นให้ละเอียดโดยเติม ปากที่ต้องบด/สับก่อน ระดับ 6 คือ รับประทานทางปาก สารละลายของเจลาตินในนำ�้ เกลือ เติมเครื่องปรุงรสและ ได้แต่หลีกเลี่ยงอาหารแข็ง และระดับ 7 คือ รับประทาง สารละลายกลิ่น ผ่านการตรวจสอบคุณลักษณะเนื้อ ทางปากได้ปกติ สัมผัส คุณสมบัติการไหลของผลิตภัณฑ์ ค่า Water 3. แบบประเมินการยอมรับผลิตภัณฑ์ 9-point activity ความเป็นกรด-ด่าง องค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ Hedonic scale เป็นแบบเลือกตอบ โดยให้คะแนนความ ปริมาณความชื้น ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต เถ้า ชอบผลิตภัณฑ์ในลักษณะที่ปรากฏด้านสี กลิ่น รสชาติ พลังงาน และปริมาณจุลินทรีย์ ลักษณะเนื้อสัมผัส และความชอบโดยรวม ลักษณะค�ำ 3. กระเพาะปลานำ�้ แดงเจลล ี่ พัฒนาโดย Jong- ตอบเป็น 9 ระดับ ตั้งแต่ 1 คะแนนคือไม่ชอบมากที่สุด jareonrak et al. (2018) โดใช้กระเพาะปลาทะเลแบบ จนถึง 9 คะแนนคือชอบมากที่สุด แบ่งออกเป็น 2 ส่วน แห้งที่ผ่านการท�ำให้นิ่มเละเติมสารละลายของเจลาติน คือ 1) ส่วนของคะแนนความชอบในแต่ละคุณลักษณะ ปรับค่าความเป็นกรด-ด่างด้วยกรดแลกติกแล้วน�ำไป ของผลิตภัณฑ์ และ 2) ส่วนของคะแนนความง่ายในการ บรรจุในถุงรีทอร์ตเพาช์แล้วปิดผนึกภายใต้สภาวะ เคี้ยวและการกลืน สุญญากาศ ผ่านการวิเคราะห์ลักษณะเนื้อสัมผัส 4. แบบบันทึกปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ผู้ คุณสมบัติการไหล ค่า Water activity ความเป็นกรด- วิจัยพัฒนาขึ้น เป็นแบบบันทึกปริมาณผลิตภัณฑ์อาหาร ด่าง องค์ประกอบทางเคมี และปริมาณจุลินทรีย์ แต่ละชนิด โดยผู้บันทึกคือผู้ดูแลประจ�ำอาคาร ในส่วน 4. ขนมหวาน ได้แก่ กล้วยบวชชีเจลและสละ ของปริมาณมีการบันทึก 3 รูปแบบคือ รับประทานได้หมด ลอยแก้วเจล พัฒนาโดย Laokuldilok et al. (2018) รับประทานได้ 3 ใน 4 ส่วน หรือรับประทานได้ครึ่งหนึ่ง เป็นขนมหวานในรูปของเจลที่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อ การตรวจสอบความเหมาะสมของอาหาร ด้วยนำ�้ และด้วย Overpressure retort โดยการน�ำเนื้อ ผู้วิจัยได้น�ำผลิตภัณฑ์อาหารที่พัฒนาขึ้นไปตรวจ กล้วยและสละมาบดและเติมวิตามินซีความเข้มข้น สอบสอบความเหมาะสมของเนื้อสัมผัสซึ่งประกอบด้วย ร้อยละ 0.05 และแคลเซียมแลคเตต ร้อยละ 0.1 ผสม ความแข็ง-ความอ่อนนุ่ม ความหยาบ-ความละเอียด

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 493 การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก

คุณสมบัติการไหล รสชาติ และส่วนประกอบที่ใช้ โดย เมื่อกลุ่มตัวอย่างยินยอมเข้าร่วมการวิจัย ผู้วิจัยขอให้ ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่านคือ นักโภชนาการช�ำนาญการพิเศษ กลุ่มตัวอย่างเซ็นต์ใบยินยอม และเก็บรวบรวมข้อมูลส่วน และนักกิจกรรมบ�ำบัดช�ำนาญการพิเศษ พบว่าผลิตภัณฑ์ บุคคล และให้กลุ่มตัวอย่างรับประทานผลิตภัณฑ์อาหาร ทั้งหมดมีลักษณะทางกายภาพเหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ วันละ 1 มื้อ ได้แก่ มื้อกลางวัน เป็นระยะเวลา 3 เดือน ที่มีปัญหาการเคี้ยวและการกลืน และเมื่อน�ำผลิตภัณฑ์ โดยลูกชิ้นปลาย่างรมควันและกระเพาะปลานำ�้ แดงเจลลี่ ไปทดสอบภายใต้การดูแลของนักกิจกรรมบ�ำบัดช�ำนาญ รับประทานสลับวันกันเช่นเดียวกับกล้วยบวชชีเจลและ การพิเศษในกลุ่มตัวอย่างที่มีภาวะกลืนล�ำบากเล็กน้อย สละลอยแก้วเจล ส่วนข้าวผสมหุงสุกรับประทานทุกวัน แล้วพบว่ากลุ่มตัวอย่างสามารถกลืนผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ การรับรองจริยธรรมการวิจัย 4.1 การจัดเตรียมอาหารโดยคณะอุตสาหกรรม การวิจัยครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งการโครงการวิจัย เกษตร โดยผลิตภัณฑ์อาหารจัดเก็บในบรรจุภัณฑ์ ทดสอบประสิทธิผลของนวัตกรรมอาหารส�ำหรับผู้ สุญญากาศที่ผ่านการฆ่าเชื้อ สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบากที่ได้ผ่านการพิจารณาจาก 4.2 การจัดส่งอาหาร ข้าวผสมหุงสุกถูกส่งไปให้ คณะกรรมการประเมินด้านจริยธรรมคณะพยาบาล ยังสถานสงเคราะห์และบ้านพักคนชราแต่ละแห่งเดือนละ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รหัสโครงการ 2560- 1 ครั้ง พร้อมค�ำแนะน�ำในการจัดเก็บและการเตรียมเพื่อ FULL071 ตามเอกสารรับรองเลขที่ 090/2018 อนุมัติ รับประทาน ส่วนลูกชิ้นปลาย่างรมควัน กระเพาะปลา วันที่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561 นำ�้ แดงเจลลี่ และขนมหวานจะจัดส่งไปยังสถานสงเคราะห์ ขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัย วันเว้นวัน เนื่องจากข้อจ�ำกัดด้านสถานที่เก็บเนื่องจาก 1. ผู้วิจัยท�ำหนังสือจากคณบดีคณะพยาบาล ต้องเก็บรักษาไว้ในตู้เย็น ศาสตร์ ถึงผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการ 4.3 ในแต่ละมื้อที่รับประทาน ผู้ดูแลประจ�ำ สังคมผู้สูงอายุบ้านธรรมปกรณ์ เชียงใหม่ และ บ้านพัก สถานสงเคราะห์จัดเตรียมอาหารมื้อกลางวันโดยผู้ดูแล คนชราวัยทองนิเวศน์ อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จะเป็นผู้สอบถามความสมัครใจของกลุ่มตัวอย่างเพื่อให้ เพื่อขออนุญาตในการด�ำเนินการวิจัย ระบุความต้องการในการรับประทานผลิตภัณฑ์อาหาร 2. เมื่อได้รับอนุญาตในการด�ำเนินการวิจัย ผู้วิจัย คือ ข้าวผสม ลูกชิ้นปลาย่างรมควัน กระเพาะปลานำ�้ แดง เข้าพบพยาบาลประจ�ำศูนย์ฯ และผู้ดูแลผู้สูงอายุประจ�ำ เจลล ี่ สละลอยแก้วเจล และกล้วยบวชชีเจลโดยผู้สูงอายุ อาคาร เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ และขั้นตอนการวิจัย สามารถเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารหรืออาหารของ 3. คัดกรองภาวะกลืนล�ำบากในผู้สูงอายุโดยนัก สถานสงเคราะห์ ได้โดยความสมัครใจ กิจกรรมบ�ำบัดช�ำนาญการพิเศษ โดยใช้แบบประเมิน 4.4 ขณะที่กลุ่มตัวอย่างบริโภคผลิตภัณฑ์ อาการทางคลินิกของภาวะกลืนล�ำบาก เมื่อได้ผู้สูงอายุ อาหารจะมีผู้ดูแลประจ�ำอาคารเป็นผู้ช่วยเหลือดูแล และ ที่ผ่านการคัดกรองเบื้องต้น ท�ำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ผู้ดูแลประจ�ำอาคารจะเป็นผู้บันทึกชนิดและปริมาณของ ตามเกณฑ์คือ ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะกลืน ผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มตัวอย่างแต่ละรายเลือกและบริโภค ล�ำบาก ประเมินความพร้อมในการกลืนและความสามารถ 5. เมื่อสิ้นสุดเดือนที่ 3 ประเมินการยอมรับผลิตภัณฑ์ ในการกลืนอย่างปลอดภัย โดยนักกิจกรรมบ�ำบัดช�ำนาญ ความสามารถในการกลืน และปริมาณการบริโภค การพิเศษ การวิเคราะห์ข้อมูล 4. เมื่อกลุ่มตัวอย่างผ่านเกณฑ์ทั้งหมดผู้วิจัยสร้าง ข้อมูลส่วนบุคคล คะแนนการยอมรับผลิตภัณฑ์ สัมพันธภาพกับกลุ่มตัวอย่าง อธิบายวัตถุประสงค์และ ความสามารถในการกลืนและปริมาณการบริโภค ขั้นตอนการวิจัย พร้อมการพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา

494 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia

ผลการวิจัย บวชชีเจลและสละลอยแก้วเจล ตามคุณลักษณะสี กลิ่น ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ความแข็ง ความหนืด และรสชาติโดยรวม อยู่ในระดับ 1. ข้อมูลส่วนบุคคล กลุ่มทดลองจ�ำนวน 32 คน มากถึงมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 8.09-8.97 ประมาณครึ่งหนึ่งเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 53.12) มีอายุ (SD.0.18-1.72) จากคะแนนเต็ม 9 คะแนน แต่ลูกชิ้น เฉลี่ย 75.88 ปี (SD. =8.05) ประมาณสองในสามมี เนื้อปลาย่างรมควันความชอบโดยรวมอยู่ในระดับปาน สถานภาพหม้าย/หย่าร้าง (ร้อยละ 67.19) และจบการ กลาง (=7.78, SD.1,21) เมื่อเปรียบเทียบทุกผลิตภัณฑ์ ศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 65.63) เกือบทุกคน อาหารกลุ่มตัวอย่างชอบขนมหวานได้แก่ กล้วยบวชชีเจล นับถือศาสนาพุทธ (ร้อยละ 98.4) และมีโรคประจ�ำตัว และสละลอยแก้วเจล ทั้งสี กลิ่น ความแข็ง ความหนืด (ร้อยละ 92.19) โดยพบโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด และรสชาติโดยรวม มากที่สุด (ตารางที่ 1) ร้อยละ 71.88 รองลงมาได้แก่โรคเบาหวาน ร้อยละ 3. ความง่ายในการเคี้ยวและการกลืนผลิตภัณฑ์ 15.63 ส่วนใหญ่มีประวัติใช้ยารักษาโรคประจ�ำตัว อาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก (ร้อยละ 93.75) กลุ่มตัวอย่างมีฟันแท้เหลืออยู่เฉลี่ย ทุกผลิตภัณฑ์อาหารมีคะแนนเฉลี่ยความง่ายใน 8 ซี่ต่อคน ใช้ฟันปลอมร้อยละ 21.88 เมื่อประเมินระดับ การเคี้ยวและการกลืนอยู่ในระดับเคี้ยวและกลืนง่ายมาก การกลืนโดยใช้แบบประเมิน Functional Oral Intake ( ระหว่าง 8.59-8.84 จากคะแนนเต็ม 9 คะแนน, SD. Scale (FOIS) พบว่ากลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 100 มีค่าเฉลี่ย ระหว่าง 0.37-0.67) โดยกระเพาะปลาน�้ำแดงเจลลี่ ของระดับการกลืนอยู่ที่ 5.48 ถือว่า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 5 คือ มีความง่ายในการเคี้ยวมากที่สุด รองลงมาได้แก่สละลอย ผู้สูงอายุกลุ่มตัวอย่างสามารถรับประทานอาหารทาง แก้วเจล ข้าวผสมหุงสุกและกล้วยบวชชีเจล โดยลูกชิ้น ปากที่ต้องบดหรือสับก่อน ปลายย่างรมควันมีความง่ายในการเคี้ยวน้อยที่สุด ในส่วน 2. การยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารของผู้สูงอายุที่มี ของความง่ายในการกลืนพบว่าข้าวผสมหุงสุกเคี้ยวง่าย ภาวะกลืนล�ำบาก ที่สุด รองลงมาได้แก่ กระเพาะปลานำ�้ แดงเจลล ี่ สละลอย คะแนนเฉลี่ยการยอมรับผลิตภัณฑ์ข้าวผสมหุงสุก แก้วเจล กล้วยบวชชีเจล โดยลูกชิ้นปลาย่างรมควันมี ลูกชิ้นปลาย่างรมควัน กระเพาะปลาน�้ำแดงเจลลี่ กล้วย ความง่ายในการกลืนน้อยที่สุด (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารจ�ำแนกตามคุณลักษณะและ ความง่ายในการเคี้ยวและการกลืนของผลิตภัณฑ์อาหาร (n = 32)

ผลิตภัณฑ์อาหาร ลูกชิ้นปลาย่าง กระเพาะปลา คุณลักษณะ ข้าวผสมหุงสุก กล้วยบวชชีเจล สละลอยแก้วเจล รมควัน น�้ำแดงเจลลี่ (, SD.) (, SD.) (, SD.) (, SD.) (, SD.) สี 8.19±1.47 7.72±1.40 8.00±1.24 8.84±0.37 8.84±0.37 กลิ่น 8.09±1.35 7.41±1.79 7.78±1.72 8.84±0.37 8.84±0.37 ความแข็ง 8.41±1.21 8.25±0.84 8.50±0.67 8.97±0.18 8.94±0.25 ความหนืด 8.38±1.01 8.22±0.87 8.47±0.72 8.91±0.30 8.97±0.18

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 495 การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก

ผลิตภัณฑ์อาหาร ลูกชิ้นปลาย่าง กระเพาะปลา คุณลักษณะ ข้าวผสมหุงสุก กล้วยบวชชีเจล สละลอยแก้วเจล รมควัน น�้ำแดงเจลลี่ (, SD.) (, SD.) (, SD.) (, SD.) (, SD.) ความชอบโดยรวม 8.31±1.00 7.78±1.21 8.16±1.02 8.69±0.74 8.63±0.79 ความง่ายในการเคี้ยว 8.75±0.51 8.59±0.67 8.81±0.40 8.72±0.52 8.78±0.42 ความง่ายในการกลืน 8.84±0.37 8.63±0.66 8.81±0.40 8.72±0.52 8.75±0.51

4. ปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารในผู้สูงอายุ ในสาม (ร้อยละ 68.75) สามารถบริโภคผลิตภัณฑ์ ที่มีภาวะกลืนล�ำบาก กระเพาะปลาน�้ำแดงเจลลี่หมดทุกมื้อ ส่วนลูกชิ้นเนื้อ จากการให้กลุ่มตัวอย่างบริโภคผลิตภัณฑ์อาหาร ปลาย่างรมควันกลุ่มตัวอย่างเกือบสามในสี่รับประทาน แต่ละชนิดวันละ 1 มื้อ เป็นระยะเวลา 3 เดือน พบว่า ได้หมดทุกมื้อ (ร้อยละ 71.88) ส่วนผลิตภัณฑ์ขนมหวาน กลุ่มตัวอย่างสามารถบริโภคผลิตภัณฑ์ข้าวผสมหุงสุก ทั้งกล้วยบวชชีเจลและสละลอยแก้วเจลกลุ่มตัวอย่าง หมดทุกมื้อเป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 90.63) มากกว่าสอง ทั้งหมดรับประทานได้หมดทุกมื้อ ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ความถี่และร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ�ำแนกตามประเภทและปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหาร (n = 32)

ปริมาณอาหารที่รับประทานต่อมื้อ ประเภทของผลิตภัณฑ์อาหาร หมด 3/4 1/2 ข้าวผสมหุงสุก 29 (90.63) 2 (6.25) 1 (3.12) กระเพาะปลาน�้ำแดงเจลลี่ 22 (68.75) 6 (18.75) 4 (12.50) ลูกชิ้นปลาย่างรมควัน 23 (71.88) 5 (15.62) 4 (12.50) กล้วยบวชชีเจล 32 (100.00) - - สละลอยแก้วเจล 32 (100.00) - -

อภิปรายผล เป็นส่วนประกอบ และมีความหอมของกล้วยที่ผสมอยู่ 1. การยอมรับผลิตภัณฑ์ของผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืน ในขนมและในนำ�้ เชื่อม ท�ำให้รสชาติกลมกล่อม เช่นเดียว ล�ำบาก ได้แก่ สี กลิ่น ความแข็งและความหนืด และ กับสละลอยแก้วเจลที่มีความเปรี้ยวและหวานกลมกล่อม รสชาติ กลุ่มตัวอย่างมีการยอมรับผลิตภัณฑ์กล้วยบวช และมีกลิ่นหอมของสละ ดังนั้นกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงอายุ ชีเจล และสละลอยแก้วเจลมากที่สุด ซึ่งสามารถอธิบาย เมื่อรับประทานแล้วรับรู้ได้เปรียบเสมือนได้รับประทาน ได้จากกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์อาหารที่ใช้วัตถุดิบ อาหารกล้วยบวชชีและสละลอยแก้วตามรูปแบบที่ผู้สูงอายุ ตามธรรมชาติ ได้แก่ กล้วยและสละ การผลิตคงไว้ทั้ง สี มีความคุ้นเคยอยู่เดิม จึงท�ำให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืน กลิ่น และ รสชาติของวัตถุดิบเดิม โดยกล้วยบวชชีเจล ล�ำบากมีการยอมรับผลิตภัณฑ์ในระดับมากถึงมากที่สุด จะมีความหวานและมันจากนำ�้ เชื่อมที่มีนำ�้ ตาลและกะทิ ดังผลจากการศึกษาของ Trakoontivakorn, et.al., (2015)

496 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia

พบว่าผู้สูงอายุต้องการอาหารที่มีกลิ่นเหมือนเดิมที่ ข้าวที่มีเมล็ดข้าวเรียวยาว มีสีม่วงเข้ม เมื่อหุงสุกจะนุ่ม ตนเองคุ้นเคย และส่วนใหญ่ชอบรับประทานอาหาร เหนียว ซึ่งเมื่อน�ำมาผสมกันจะได้ข้าวหุงสุกที่มีคุณลักษณะ รสชาติอ่อน และมีครบทุกรสตามชนิดอาหารนั้น ๆ ทั้งด้านกลิ่น สีและเนื้อสัมผัส ท�ำให้ผู้สูงอายุชอบรับ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องกับผลการส�ำรวจพฤติกรรม ประทาน ซึ่งผลจากการศึกษาคุณลักษณะอาหารส�ำหรับ บริโภคอาหารของกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป ที่พบว่า ผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครของ Eungprasert, รสชาติอาหารที่ผู้สูงอายุบริโภคคือ จืด ร้อยละ 64.5 Sirisupalak & Sanglestsawai (2018) พบว่าผู้สูงอายุ (National Statistical Office, 2014) นอกจากนี้รสชาติ ให้ความส�ำคัญกับคุณลักษณะของอาหารในด้านรสชาติ ของผลิตภัณฑ์อาหารนั้นยังเป็นการช่วยกระตุ้นการรับ ของอาหารเป็นอันดับแรก ความส�ำคัญรองลงมาคือ ความรู้สึก (sensory facilitation) ของผู้สูงอายุได้ ความยากง่ายในการย่อยอาหาร ความนุ่มของอาหาร เนื่องจากรีเฟล็กซ์การกลืนในผู้สูงอายุจะเกิดขึ้นได้ช้า และคุณค่าทางโภชนาการ อย่างไรก็ตามส�ำหรับการ ทั้งนี้การกระตุ้นการรับความรู้สึกโดยใช้รสชาติจะช่วย ยอมรับของผลิตภัณฑ์อาหารที่เป็นแหล่งของโปรตีนคือ กระตุ้นให้เกิดรีเฟล็กซ์การกลืนในผู้สูงอายุได้ดีขึ้น ลูกชิ้นปลาย่างรมควันเป็นที่ยอมรับปานกลางทั้งด้านสี (Dajpratham, 2013) โดยในการศึกษานี้มีวิธีการกระตุ้น กลิ่นและรสชาติ อาจเนื่องจากเป็นลูกชิ้นที่ท�ำด้วยปลา โดยใช้รสชาติของผลิตภัณฑ์ของอาหาร โดยเฉพาะรส นิลที่ท�ำให้ยังมีกลิ่นของปลาที่ผู้สูงอายุรู้สึกคาว โดยเฉพาะ เปรี้ยวของสละลอยแก้วเจล และรสชาติขนมหวานจะมี เมื่อน�ำมารับประทานกับข้าว ซึ่งกลุ่มตัวอย่างให้ความ ความเข้มกว่ารสชาติของกระเพาะปลานำ�้ แดงเจลลี่และ เห็นว่าถ้าน�ำไปใส่กับอาหาร เช่น ต้มจืดหรือก๋วยเตี๋ยว ลูกชิ้นปลาย่างรมควันจึงท�ำให้ผู้สูงอายุชอบได้มากกว่า จะรับประทานได้ดีขึ้น ในส่วนของกระเพาะปลาน�้ำแดง ในส่วนของผลิตภัณฑ์อาหาร คือข้าวผสมหุงสุก เจลลี่กลุ่มตัวอย่างยอมรับในด้านกลิ่นในระดับปานกลาง ที่มีส่วนประกอบของข้าว 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ข้าวกล้อง อาจเนื่องจากเป็นกลิ่นที่ไม่คุ้นเคยเพราะไม่ใช่อาหารที่ หอมมะลิ 105 ข้าวหอมนิล และข้าวกำ�่ ดอยสะเก็ด โดยใช้ รับประทานประจ�ำ กระบวนการท�ำให้เนื้อสัมผัสนิ่มเหมาะแก่การเคี้ยวและ 2. ความยากง่ายในการเคี้ยวและการกลืนในผู้สูง กลืนส�ำหรับผู้ที่มีความยากล�ำบากในการกลืนระดับน้อย อายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก กลุ่มตัวอย่างมีการประเมิน จึงส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุมีการยอมรับในด้าน ความง่ายในการเคี้ยวและกลืนผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับ ความนิ่มอยู่ในระดับมาก ในส่วนของสีและกลิ่นกลุ่ม เคี้ยวและกลืนง่ายมากทุกผลิตภัณฑ์ โดยกระเพาะปลา ตัวอย่างยอมรับในระดับมากเช่นกันซึ่งสามารถอธิบาย นำ�้ แดงเจลลี่และข้าวผสมหุงสุกจะเคี้ยวและกลืนง่ายกว่า ได้ว่าข้าวนิ่มผสมใช้ข้าวกล้องหอมมะลิที่มีกลิ่นหอมซึ่ง ผลิตภัณฑ์อื่น ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าผลิตภัณฑ์อาหาร เป็นข้าวพันธุ์ที่ผู้สูงอายุนิยมบริโภคมากที่สุด ดังข้อมูล ทั้งกล้วยบวชชีเจลและสละลอยแก้วเจล กระเพาะปลา จากการส�ำรวจของสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม น�้ำแดงเจลลี่และลูกชิ้นปลาย่างรมควันที่ผลิตขึ้นมีการ (National Food Institute, 2013) ที่พบว่าข้าวที่ผู้สูงอายุ ปรับปรุงปรุงลักษณะเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์อาหารให้ ชอบคือข้าวหอมมะลิผสมข้าวกล้อง และใช้เทคนิคการหุง มีลักษณะเนื้อสัมผัสอ่อนนุ่มลงเพื่อให้เหมาะสมกับผู้สูง ที่ท�ำให้ข้าวมีความนุ่มพอดี ไม่เละหรือแฉะ ส่วนของ อายุที่มีปัญหาการเคี้ยวและการกลืน โดยการเติม ข้าวก�่ำ เป็นข้าวอีกชนิดหนึ่งที่คนไทยนิยมบริโภคโดย สารละลายของเจลาติน ในสัดส่วนที่เหมาะสมที่ไม่ท�ำให้ ปลูกมากในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ผลิตภัณฑ์อาหารเหลวเกินไปที่จะท�ำให้อาหารไหลผ่าน ประเทศไทย ส่วนข้าวหอมนิลเป็นสายพันธุ์ข้าวเจ้าที่เป็น จากระยะช่องปากเข้าสู่ระยะคอหอยอย่างรวดเร็วก่อน พันธุ์ผสมระหว่างข้าวหอมมะลิ105 และข้าวเหนียวด�ำ ที่จะเกิดการกลืนซึ่งจะท�ำให้เกิดการส�ำลักได้ง่าย (Nicole, สายพันธุ์จีนที่ได้รับการคัดเลือก และพัฒนาพันธุ์จนได้ Steven, & JoAnne, 2017) ดังนั้นอาหารที่เหมาะสม

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 497 การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก

ควรจะต้องมีลักษณะที่สามารถบดได้ง่ายด้วยลิ้น ซึ่งจะ เหมาะสมคือ ข้าวนิ่มผสม ½ ถุง จ�ำนวน 125 กรัม หรือ ท�ำให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาในการกลืนสามารถที่จะรับ ประมาณ 2 ทัพพี คิดเป็นพลังงาน 82 กิโลแคลอรี่ ซึ่งเป็น ประทานอาหารได้ง่าย และไม่เกิดการส�ำลัก (Da- ปริมาณที่ผู้สูงอายุควรรับประทานต่อมื้อ (Bureau of jpratham, 2013) ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้กลุ่มตัวอย่างมี Nutrition, Department of Health, Ministry of ระดับการกลืนล�ำบากอยู่ในระดับ 4-6 คือสามารถรับ Public Health, 2020) นอกจากนั้นในส่วนของข้าวนิ่ม ประทานอาหารทางปากได้ โดยระดับ 4 รับประทานทาง ผสมมีความนิ่มในระดับที่ท�ำให้ผู้สูงอายุที่มีความยาก ปากด้วยอาหารอ่อนเป็นเนื้อเดียว ระดับ 5 คือ รับประทาน ล�ำบากในการกลืนสามารถเคี้ยวและกลืนได้ง่าย และ ทางปากที่ต้องบด/สับก่อน ระดับ 6 คือ รับประทานทาง เป็นข้าวที่มีความอร่อยจากการผสมข้าว 3 สายพันธุ์ ปากได้แต่หลีกเลี่ยงอาหารแข็ง มีค่าเฉลี่ยของระดับการ ซึ่งเมื่อน�ำมาเป็นอาหารมื้อหลักของผู้สูงอายุที่นิยม กลืนอยู่ที่ 5.48 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 5 คือ ผู้สูงอายุกลุ่มตัวอย่าง บริโภคข้าวจึงสามารถรับประทานได้หมด แต่ส�ำหรับ สามารถรับประทานอาหารทางปากที่ต้องบดหรือสับก่อน กระเพาะปลาน�้ำแดงเจลลี่และลูกชิ้นปลาย่างรมควัน ซึ่งการปรับเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์อาหารสอดคล้อง ยังมีกลุ่มตัวอย่างบางคนที่รับประทานไม่หมดในแต่ละมื้อ กับค�ำแนะน�ำของสมาคมนักโภชนาการแห่งประเทศ ซึ่งปริมาณที่ก�ำหนดให้บริโภคต่อมื้อคือ 100 กรัม อาจ สหรัฐอเมริกา แนะน�ำว่าลักษณะอาหารที่เหมาะกับผู้ที่ เนื่องจากความไม่ชอบรสชาติของอาหาร ซึ่งจากข้อมูล มีภาวะกลืนล�ำบาก คือ อาหารอ่อน เคี้ยวง่าย ย่อยง่าย ความชอบในรสชาติพบว่าลูกชิ้นปลาย่างรมควันกลุ่ม (soft-solid) เหมาะส�ำหรับผู้ที่มีภาวะกลืนล�ำบากเล็กน้อย ตัวอย่างมีความชอบปานกลางท�ำให้ในแต่ละมื้อจึงรับ และอาหารปั่นข้นปานกลาง ถึงมาก เนื้อนุ่ม เกาะกันเป็น ประทานได้ไม่หมด และในส่วนของกระเพาะปลานำ�้ แดง ก้อนได้ง่าย และต้องการการบดเคี้ยว (semi-solid) เจลลี่ยังมีผู้สูงอายุส่วนน้อยที่ไม่คุ้นเคยกับกระเพาะปลา เหมาะส�ำหรับผู้ที่มีภาวะกลืนล�ำบากปานกลาง (Clayton, น�้ำแดงเจลลี่ท�ำให้รับประทานได้ไม่หมดในแต่ละมื้อ 2002) นอกจากนี้ความแข็งและความหนืดของผลิตภัณฑ์ ส่วนผลิตภัณฑ์ขนมหวานเป็นสิ่งที่ผู้สูงอายุชอบมากและ อาหารนั้นยังเป็นการช่วยกระตุ้นการรับความรู้สึกของผู้ มีปริมาณไม่มากคือ 100 กรัม ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างรับ สูงอายุได้ เนื่องจากในผู้สูงอายุรีเฟล็กซ์การกลืนจะเกิด ประทานต่อจากอาหารมื้อหลักได้หมด ซึ่งผู้สูงอายุบาง ขึ้นได้ช้า ทั้งนี้การกระตุ้นการรับความรู้สึกโดยใช้แรงกล รายไม่ได้รับประทานขนมหวานทันทีภายหลังรับประทาน เป็นการช่วยกระตุ้นให้เกิดรีเฟล็กซ์การกลืนในผู้สูงอายุ อาหารมื้อหลัก แต่จะเก็บไว้ตอนบ่ายเพื่อเป็นอาหารว่าง ได้ดีขึ้น (Dajpratham, 2013) โดยในการศึกษานี้มีวิธี ผลการศึกษาที่พบว่าผู้สูงอายุรับประทานผลิตภัณฑ์ การกระตุ้นโดยการใช้แรงกลจากความแข็งและความหนืด อาหารทุกชนิดได้ในปริมาณมากด้วยการผลิตที่เลือกใช้ ของผลิตภัณฑ์อาหารที่มีลักษณะเนื้อสัมผัสเหมาะสมอยู่ วัตถุดิบที่ผู้สูงอายุชอบ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ ปลาน�้ำจืด ในระดับ 2 คือเคี้ยวง่าย จึงท�ำให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืน ขนมหวานที่เป็นขนมไทย สอดคล้องกับข้อมูลจากผลการ ล�ำบากมีความง่ายในการเคี้ยวและกลืนผลิตภัณฑ์อยู่ใน ส�ำรวจของสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม (Na- ระดับชอบมากถึงมากที่สุด tional Food Institute, 2013) พบว่าอาหารประเภท 3. ปริมาณอาหารที่รับประทาน ผลิตภัณฑ์อาหาร โปรตีนที่ผู้สูงอายุชอบรับประทานได้แก่ ปลานำ�้ จืด ส่วน ที่เป็นขนมหวานคือกล้วยบวชชีเจลและสละลอยแก้วเจล อาหารว่างชอบรับประทานขนมหวานโดยเฉพาะขนมไทย กลุ่มตัวอย่างรับประทานได้หมดทุกมื้อ เช่นเดียวกับข้าว ในส่วนของข้าวที่ผู้สูงอายุชอบคือข้าวหอมมะลิผสมข้าว ผสมหุงสุกที่กลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดรับประทานได้ กล้อง โดยมีเทคนิคการหุงให้ข้าวมีระดับความนุ่ม พิเศษ หมดในทุกมื้อ ซึ่งสามารถอธิบายได้จากปริมาณของ แต่ไม่เละหรือแฉะ ส่วนเนื้อสัตว์ที่ผู้บริโภคสูงอายุชอบ ผลิตภัณฑ์อาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อในปริมาณที่ ได้แก่ เนื้อปลาอ่อนนุ่ม ใช้เทคนิคการผลิตโดยการบดและ

498 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia

ขึ้นรูปใหม่ สามารถเคี้ยวได้ง่าย ไม่เหนียว ชิ้นพอดีคํา ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ไม่มีก้าง 1. การศึกษาการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารในผู้สูง อายุที่มีภาวะกลืนล�ำบากที่อยู่ในชุมชนเพื่อเป็นข้อมูล ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ประกอบการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเข้าสู่ ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการดูแล ภาคอุตสาหกรรมต่อไป ผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบากและผู้ดูแลควรพิจารณาน�ำ 2. การศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อไปใช้ในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ อาหารเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการทดสอบประสิทธิผล ในผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก ต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก เอกสารอ้างอิง Benjapornlert, P., Arayavichanont, P. , Manimmanakorn, N. & Wattanapan, P. (2018). The prevalence of oropharyngeal dysphagia in acute stroke patients at Srinagarind Hospital. Journal of Thai Rehabilitation, 28(2), 49-53. Bureau of Nutrition, Department of Health, Ministry of Public Health. (2020). Food pyramid for elderly. Retrieved from http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/files/ Cabre, M., Serra-Prat, M., Palomera, E., Almirall, J., Pallares, R., & Clavé, P. (2009). Prevalence and prognostic implications of dysphagia in elderly patients with pneumonia. Age and Ageing, 39(1), 39-45. Clayton, J. (2002). The national dysphagia diet: standardization for optimal care. Chicago, IL: American Dietetic Association. Crary, M. A., Mann, G. D. C., & Groher, M. E. (2005). Initial psychometric assessment of a functional oral intake scale for dysphagia in stroke patients. Archives of Physical Medicine and Rehabilitation, 86(8), 1516-1520. doi:https://doi.org/10.1016/j.apmr.2004.11.049 Dajpratham, P. (2013). Dysphagia in elderly. Journal of Thai Rehabilitation Medicine, 23(3), 73-80. Ekplakorn, W. (2016). Thai National Health Examination Survey, NHES V. Nonthaburi: Health Systems Research Institute. Eungprasert, P., Sirisupalak, P. & Sanglestsawai, S. (2018). Attribute of foods for elderly persons in Bangkok. Proceedings of University of the Thai Chamber of Commerce, The Second Academic Day. (pp.736-747). University of the Thai Chamber of Commerce. Retrieved from http://utcc2.utcc.ac.th/academicday/proceeding_aca... Hall, K. E. (2017). Aging of the Gastrointestinal System. In J. B. Halter, J. G. Ouslander, S. Studenski, K. P. High, S. Asthana, M. A. Supiano, & C. Ritchie (Eds.), Hazzard’s geriatric medicine and gerontology, (7th ed.) (pp.1333-1422). New York, NY: McGraw-Hill Education. Heart and Stroke Foundation of Ontario [HSFO]. (2002). Improving recognition and management of dysphagia in acute stroke. Toronto: The Medicine Group.

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 499 การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนล�ำบาก

Jongjareonrak, A., Panuthai, S., Lerttrakarnnon, P. & Attawong, T. (2018). Development of protein food products prototype from fish for older persons with dysphagia for industrial scale application. Chiang Mai, Chiang Mai University. Jongjareonrak, A., Panuthai, S., Lerttrakarnnon, P. & Attawong, T. (2018). Development of surimi gel product for promoting the nutritional status in elderly with dysphagia. Chiang Mai, Chiang Mai University. Kalf, J. G., De Swart, B. J. M., Bloem, B. R., & Munneke, M. (2012). Prevalence of oropharyngeal dysphagia in Parkinson’s disease: A meta-analysis. Parkinsonism & Related Disorders, 18(4), 311-315. Leslie, P., Drinnan, M. J., Ford, G. A., & Wilson, J. A. (2005). Swallow respiratory patterns and aging: presbyphagia or dysphagia?. The Journals of Gerontology Series A: Biological Sciences and Medical Sciences, 60(3), 391-395. Laokuldilok, T., Surawang, S., Suksatit, B., Lerttrakarnnon, P. & Attawong, T. (2561). Modification of textural and rheological properties of dessert products for elderly with dysphagia. Chiang Mai, Chiang Mai University. Martino, R., Foley, N., Bhogal, S., Diamant, N., Speechley, M., & Teasell, R. (2005). Dysphagia after stroke: incidence, diagnosis, and pulmonary complications. Stroke, 36(12), 2756-2763. Mitprasart U, Surit P. (2011). Nutritional status and as¬sociated factors among oder adults in the hospital. Journal of Nurses’ Association of Thailand North-eastern Division, 29(3), 46-55. National Food Institute. (2013). Guideline to develop healthy food innovation to support aging society: Project report. Bangkok: The Office of Industrial Economics. National Statistical Office. (2014).Statistical yearbook Thailand. Bangkok: National Statistical Office. Nicole, R. P., Steven, B., & JoAnne, R. (2017). Chapter 36: Disorders of Swallowing. In J. B. Halter, J. G. Ouslander, S. Studenski, K. P. High, S. Asthana, M. A. Supiano, & C. Ritchie (Eds.), Hazzard’s geriatric medicine and gerontology. (7th Ed). New York: McGraw-Hill. Raats, M., De Groot, L., & Van Staveren, W. (2009). Food for the ageing population. Cambridge: Woodhead. Sammasut, R. (2000). Food Modified for elderly.Klaimor, 24(9), 44-46. Satheintaworawong, V. (2015). New product adoption process case study: Betagro low fat sausage. (Independent Study Master of Business Administration) Faculty of Commerce and Accounting. Thammasat University. Soenen, S., & Chapman, I. M. (2013). Body weight, anorexia, and undernutrition in older people. Journal of the American Medical Directors Association, 14(9), 642-648. Sriraksa, L., Panuthai, S., & Tamdee, D. (2016). Food consumption behaviors and nutritional status in older persons with dysphagia. (Master’ s thesis). Graduated School, Chiang Mai University.

500 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 Acceptance Testing of Food Products for Older Persons with Dysphagia

Sura, L., Madhavan, A., Carnaby, G., & Crary, M. A. (2012). Dysphagia in the elderly: management and nutritional considerations. Clin Interv Aging, 7, 287-298. doi:10.2147/cia.S23404 Trakoontivakorn, K., Tangkanakul, P., Treesuwan, W., Narasri, W., Pakkaew, W. & sawatdichaikul, O. (2015). Ready-to-eat products with reconstructed concept for chewing problem elderly and with low sugar, fat and sodium concept for metabolic syndrome elderly. Bangkok: Kasetsart University. Utama-ang, N., Sangpimpa, W., Chintanawat, R., Lerttrakarnnon, P., Attawong, T., Sucamvang K. (2017). Development of rice texture for older persons with dysphagia. Chiang Mai: Chiang Mai University. World Health Organization [WHO]. (2015). Ageing and health. Retrieved from http://www.who.int/ mediacentre/factsheets /fs404/en/

Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020 501 พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2563 502 Nursing Journal volume 47 No.1 January-March 2020