วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ Huachiew Chalermprakiet Science and Technology Journal

ปที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562 ISSN 2408-266X Volume 5 No.1 January-June 2019

บทความวิจัย ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของแผนแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลต และเมนทอลเพื่อบรรเทาอาการปวดในอาสาสมัครปวดเมื่อย ประสิทธิผลและผลขางเคียงของยาธรณีสัณฑะฆาตเทียบกับยานาพรอกเซนในการลดภาวะเครียด ออกซิเดชันในผูปวยที่มีอาการปวดกลามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรัง คุณสมบัติการตานอนุมูลอิสระและการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลมะเร็งทอน้ำดีของสารสกัด หยาบจากใบตนจำปและจำปา ผลของกระบวนการผลิตตอฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระของเรวหอมผง ผลของความแตกตางทางเพศและบุคลิกภาพในผูใหญตอนตนที่มีตอรูปภาพที่เราอารมณดานการ มีอิทธิพล การศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซมแอลฟาอะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดสของอาหารพื้นบาน อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม การจัดลำดับปจจัยในการสรางความไดเปรียบในการแขงขันของผูประกอบการผลิตภัณฑชุมชน และทองถิ่นดวยกระบวนการโครงขายเชิงวิเคราะหแบบฟซซี่ บทความวิชาการ Mobile interaction and security issues

ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 1

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ISSN 2408-266X วัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่บทความวิจัยและบทความวิชาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบด้วยสาขาวิชา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร วิทยาการ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ทางวิชาการแก่สังคมทั่วไป และสนับสนุนให้คณาจารย์ นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และนักศึกษาเสนอผลงานวิชาการ

ก�ำหนดเผยแพร่ ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม

เจ้าของ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.อุไรพรรณ เจนวาณิชยานนท์ อาจารย์ ดร.จ�ำรูญศรี พุ่มเทียน

หัวหน้ากองบรรณาธิการ อาจารย์ ดร.ปิยาภรณ์ สุภัคด�ำรงกุล

กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.บังอร ฉางทรัพย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ รองศาสตราจารย์ ดร.ประยูรศักดิ์ เปลื้องผล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อาจารย์ ดร.สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อาจารย์ ดร.ชัชวาลย์ ช่างท�ำ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อาจารย์ ดร.นพมาศ อัครจันทโชติ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ศาสตราจารย์ ดร.อภิชาต สุขส�ำราญ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ศาสตราจารย์ ดร.ศิริรัตน์ เร่งพิพัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.พีรพรรณ ตันอารีย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ ดร.อรษา สุตเธียรกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.วราวุฒิ ครูส่ง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ศาสตราจารย์ ดร.วิไล รังสาดทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รองศาสตราจารย์ ดร.วิมลยุตต์ วรรณสว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ภวสันต์ สถาบันวิทยสิริเมธี 2 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

รองศาสตราจารย์ ดร.จันทร์เพ็ญ วิวัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.เบญจภรณ์ ประภักดี มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.โกสุม จันทร์ศิริ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองศาสตราจารย์ ดร.สิริธร สโมสร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองศาสตราจารย์ ดร.สมฤดี สายหยุดทอง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองศาสตราจารย์ ดร.มาลินี พงศ์เสวี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.กิดาการ สายธนู มหาวิทยาลัยบูรพา รองศาสตราจารย์ ดร.จันทนา จันทราพรชัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุธาทิพย์ ศิริไพศาลพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธิติมา รุกขไชยศิริกุล มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง รองศาสตราจารย์ ดร.อุดมศิลป์ ปิ่นสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ นพ.สมพล สงวนรังศิริกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา จูอนูวัฒนกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภา มหากาญจนกุล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงศ์ ไชยนอก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ฝ่ายพิสูจน์อักษรและตรวจการเขียนรายการอ้างอิง ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัญชลี ชุ่มบัวทอง อาจารย์ ดร.สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชรี ภคกษมา อาจารย์ ดร.นพมาศ อัครจันทโชติ อาจารย์ ดร.พรสิริ คงแจ้ง อาจารย์ ดร.สุกัญญา เพชรศิริเวทย์ อาจารย์ยุคลธร สถาปนศิริ

ฝ่ายเว็บไซต์และศิลปกรรมวารสาร คุณเทพสุรีย์ จันสามารถ คุณอาคม สิมโสม

ฝ่ายการเงิน อาจารย์อุมา รัตนเทพี

ฝ่ายสมาชิกวารสารและประชาสัมพันธ์ อาจารย์ ดร.สุกัญญา เพชรศิริเวทย์ อาจารย์ตติภรณ์ ภัทรานุรักษ์โยธิน

เลขานุการกองบรรณาธิการ อาจารย์ยุคลธร สถาปนศิริ อาจารย์วัลวิภา เสืออุดม อาจารย์อุมา รัตนเทพี

บทความในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนโดยเฉพาะ กองบรรณาธิการไม่มีส่วนกับความคิดเห็นในข้อเขียนเหล่านั้น พิมพ์ที่: ประกายโฆษณา เลขที่ 48/1 หมู่ที่ 5 ต�ำบลบ้านหม้อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี โทร. 086-995-9575 อีเมล: [email protected] ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 3

รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ (peer review)

ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความภายนอก ศาสตราจารย์ ดร.บุษบา ยงสมิทธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.เอกสิทธิ์ สมสุข มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.ดลินา ตันหยง มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองศาสตราจารย์ ดร.จิตบรรจง ตั้งปอง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ อนุชปรีดา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.นุชนิภา นันทะวงศ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.นคร ไพศาลกิตติสกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร.สฤณี กลันทกานนท์ ทองทรง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.นงนุช เศรษฐเสถียร มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.พรพรม ย่อยสูงเนิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.อรพินท์ จินตสถาพร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.บังอร กุมพล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล วัฒนพงศกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.ละออ บุญเกษม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รองศาสตราจารย์พรรนิภา ศิริเพิ่มพูล มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุรุษา แทนข�ำ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธิติ บวรรัตนารักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ บุญรัตนกรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราพรรณ สุนทรโชติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พบสิทธิ์ กมลเวชช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชคชัย วิริยะพงษ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นงลักษณ์ วิริยะพงษ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นราทิพย์ จั่นสกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวัฒน์ มีวาสนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์ ชัยสุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญอร ไหมสุทธิสกุล มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทศนัย ชุ่มวัฒนะ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไวพจน์ งามสอาด มหาวิทยาลัยพะเยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนาพร โชคชัยสิริ มหาวิทยาลัยพะเยา 4 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุปราณี มนูรักษ์ชินากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เจียมพานิชยกุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐจีรา อินต๊ะใส มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัชฌา อระวีพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนาวุฒิ ประกอบผล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรัณย์ อินทโกสุม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพิศ สอนโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล อภิรติกุล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนากรณ์ ด�ำสุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร มัชฌิมะปุระ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เตมีย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุมาพร ทาไธสง มหาวิทยาลัยบูรพา อาจารย์ ดร.อนันต์ อธิพรชัย มหาวิทยาลัยบูรพา อาจารย์ ดร.พิมพ์ใจ แสงความสว่าง มหาวิทยาลัยพะเยา อาจารย์ ดร.กุลวดี ดลโสภณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.วรัญญา วรดุลยพินิจ ส�ำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง คุณจักรพงษ์ แย้มยิ้ม องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความภายใน ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัญชลี ชุ่มบัวทอง อาจารย์ ดร.พนนา กิติไพศาลนนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมตตา โพธิ์กลิ่น อาจารย์นฤดี บูรณะจรรยากุล อาจารย์ ดร.กิตติพัฒน์ โสภิตธรรมคุณ อาจารย์เนรมิธ จิรกาญจน์ไพศาล อาจารย์ ดร.มธุรส อ่อนไทย ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 5

บรรณาธิการแถลง วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ได้ผ่านการรับรองคุณภาพอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 จากการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index-TCI) เพื่อเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 กองบรรณาธิการวารสารจะยังคงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของวารสาร เพื่อ เป็นสื่อกลางส�ำคัญในการแลกเปลี่ยนความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่บทความ วิจัย บทความวิชาการของคณาจารย์ นักศึกษา นักวิจัย และนักวิชาการ เพื่อก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการทั้งทาง ด้านการศึกษาและการวิจัยให้ก้าวหน้าต่อไป

วารสารฉบับนี้ ประกอบด้วยบทความวิจัย จ�ำนวน 8 เรื่อง และบทความวิชาการ จ�ำนวน 1 เรื่อง โดยมีเนื้อหา สาระที่ครอบคลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมทั้งวิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งบทความเหล่านี้ได้ผ่านกระบวนการกลั่นกรองทางวิชาการจากผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละสาขาวิชา เพื่อให้ได้คุณภาพและถูกต้องทางวิชาการ ตามเกณฑ์มาตรฐานของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) พร้อมกันนี้กอง บรรณาธิการวารสารได้พัฒนางานวารสาร โดยปรับปรุงการด�ำเนินงานของกองบรรณาธิการวารสารในทุกฝ่าย เพื่อให้ สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI รอบที่ 4 (ประจ�ำปี พ.ศ. 2563-2567)

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากทั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิใน การประเมินบทความ (peer review) ที่กรุณาให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อควบคุมคุณภาพบทความ และวารสารให้ได้มาตรฐานระดับสูง และผู้เขียนบทความในการแก้ไขบทความจนส�ำเร็จได้ด้วยดี จึงขอขอบคุณเป็นอย่างสูง มา ณ โอกาสนี้ กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าวารสารฉบับนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อ่านและผู้สนใจ เพื่อน�ำประโยชน์ ไปใช้ในการอ้างอิง พัฒนางานวิจัย ตลอดจนสามารถน�ำมาปรับปรุงเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวัน ทั้งนี้กองบรรณาธิการ ใคร่ขอเชิญชวนท่านผู้สนใจส่งบทความมาตีพิมพ์ที่วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยสามารถ ส่งต้นฉบับตามรายละเอียดที่อยู่ท้ายเล่มของวารสาร ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

อาจารย์ ดร.ปิยาภรณ์ สุภัคด�ำรงกุล หัวหน้ากองบรรณาธิการ 6 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 สารบัญ บทความวิจัย หน้า

= ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอล………...... 7 เพื่อบรรเทาอาการปวดในอาสาสมัครปวดเมื่อย Efficacy and safety of sericin hydrogel patch containing methyl salicylate and menthol for analgesic in muscle pain volunteers อาริญา สาริกะภูติ ศุภมาส นภาวิชยานันท์ และ พรอนงค์ อร่ามวิทย์ = ประสิทธิผลและผลข้างเคียงของยาธรณีสัณฑะฆาตเทียบกับยานาพรอกเซนในการลดภาวะเครียดออกซิเดชันในผู้ป่วยที่มีอาการ...... 17 ปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรัง The effectiveness and side effects of Ya Thor-Ra-Nee-San-Tha-Kat compared to naproxen tablets for the reduction of oxidative stress in patients with myofascial pain syndromes อมลวัทน์ แท่นค�ำ และ ธนิสร์ ปทุมานนท์ = คุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีของสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและจ�ำปา...... 30 Antioxidant properties and the inhibition of cholangiocarcinoma cell proliferation from leaf extracts of Michelia alba and Michelia champaca ศรมน สุทิน พัชรี ภคกษมา กิตติพัฒน์ โสภิตธรรมคุณ ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ และ นพวัฒน์ เพ็งค�ำศรี = ผลของกระบวนการผลิตต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเร่วหอมผง………………………………………..………………………………...... 41 Effect of processing on antioxidant activity of bustard cardamom powder สิริมา ชินสาร วิชมณี ยืนยงพุทธกาล นิสานารถ กระแสร์ชล มุทิตา แคนมั่น และ อาภาพรรณ ฉลองจันทร์ = ผลของความแตกต่างทางเพศและบุคลิกภาพในผู้ใหญ่ตอนต้นที่มีต่อรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล……………...... 52 The effects of gender and personality differences in young adults on the emotional dominance of pictures จิระนันท์ อนันต์ไทย สุชาดา กรเพชรปาณี ปรัชญา แก้วแก่น และ สิริกรานต์ จันทเปรมจิตต์ = การศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดสของอาหารพื้นบ้าน อ�ำเภอชัยบาดาลจังหวัดลพบุรี...... 73 Study on the inhibiting effect of α- Amylase and α- glucosidase by local cuisine in Chaibadan district, Lopburi province รัศมี แสงศิริมงคลยิ่ง ดุษณี ศุภวรรธนะกุล และ พรชนก ชโลปกรณ์ = การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม...... 88 Technology and innovation development of digital technology to support the technology digital model for small and medium enterprises แสงเพ็ชร พระฉาย ศรายุทธ เนียนกระโทก สุระ วรรณแสง และ ประภานุช ถีสูงเนิน = การจัดล�ำดับปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นด้วยกระบวนการ...... 101 โครงข่ายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ Prioritization of competitive advantage factors of community enterprise using analytical network process วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์

บทความวิชาการ = Mobile interaction and security issues…………………………………………………………………………………………………...... 113 Pornsak Preelakha ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 7

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสม เมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลเพื่อบรรเทาอาการปวดในอาสาสมัครปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ Efficacy and safety of sericin hydrogel patch containing methyl salicylate and menthol for analgesic in muscle pain volunteers

อาริญา สาริกะภูติ1 ศุภมาส นภาวิชยานันท์2 และ พรอนงค์ อร่ามวิทย์2* 1 ส�ำนักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กรุงเทพมหานคร 10110 2 ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 10330 Ariya Sarikaphuti1, Supamas Napavichayanun2 and Pornanong Aramwit2* 1 School of Anti Aging and Regenerative Medicine, Mae FahLuang University, Bangkok 10110 2 Department of Pharmacy Practice, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Chulalongkorn University, Bangkok 10330 Received: 15 February 2019/ Revised: 9 June 2019/ Accepted: 22 June 2019

บทคัดย่อ การใช้แผ่นแปะบรรเทาอาการปวดนอกจากจะช่วยลดความเจ็บปวดของผู้ป่วย ยังสามารถลดอาการข้างเคียง จากการรับประทานยาแก้ปวดอักเสบด้วย แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมเป็นแผ่นที่มีความนุ่ม ยืดหยุ่นสูง และให้ ความรู้สึกเย็นสบายขณะใช้ โดยแผ่นที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยโปรตีนกาวไหมที่มีคุณสมบัติในการลดการอักเสบ เมทิลซาลิ ซิเลตและเมนทอล ซึ่งมีคุณสมบัติในการลดอาการปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษานี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพและ ความปลอดภัยของแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลส�ำหรับอาการปวดในอาสาสมัคร ปวดกล้ามเนื้อ จ�ำนวน 47 ราย โดยให้ปิดแผ่นแปะบริเวณที่ปวดวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน เปรียบเทียบกับแผ่นแปะแก้ ปวดทางการค้าที่ประกอบด้วยเมนทอล ร้อยละ 0.4 ผลการศึกษาพบว่า คะแนนความเจ็บปวดของอาสาสมัครหลังใช้แผ่น แปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมลดลงต�่ำกว่าก่อนใช้แผ่นแปะอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่ไม่แตกต่างจากแผ่น แปะทางการค้า อย่างไรก็ตามไม่พบอาการข้างเคียงจากการใช้แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหม ดังนั้นแผ่นแปะ ไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมจึงมีประสิทธิภาพในการลดความเจ็บปวดได้ใกล้เคียงกับแผ่นแปะทางการค้า มีความปลอดภัย อาจใช้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งส�ำหรับลดอาการปวดกล้ามเนื้อ ค�ำส�ำคัญ: แผ่นแปะแก้ปวด ไฮโดรเจล โปรตีนกาวไหม ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย

Corresponding author: [email protected] 8 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

Abstract The use of an analgesic patch is not only to alleviate pain but also to avoid adverse events of drug administration. Sericin hydrogel patch is soft and flexible. It also has a cooling effect resulting in comfortable feeling. Moreover, the hydrogel is composed of sericin which provides an anti-inflammatory activity. It also contains methyl salicylate and menthol which have an analgesic activity. The objectives of this study were to investigate efficacy and safety of sericin hydrogel patch containing methyl salicylate and menthol for its analgesic effect in 47 muscle pain volunteers. The hydrogel was covered on pain area for 3 days (2 times a day) comparing to commercial available patch containing 0.4% menthol. The result showed that mean pain score after receiving sericin hydrogel patch significantly decreased comparing to mean pain score before applying the hydrogel (p < 0.05). However, the pain score after receiving sericin hydrogel patch and commercial patch were not significant difference. In addition, side effect of sericin hydrogel patch was not found. In conclusion, sericin hydrogel patch had analgesic effect similar to commercial available pain relief patch. It was safe and might be an alternative product for muscle pain relief. Keywords: Analgesic patch, Hydrogel, Sericin, Efficacy, Safety

บทน�ำ เป็นทางเลือกที่ดีส�ำหรับผู้บริโภคอีกทางหนึ่งเนื่องจาก เนื่องจากวิถีการด�ำรงชีวิตในปัจจุบันโดยเฉพาะ คุณสมบัติของแผ่นไฮโดรเจลที่สามารถดูดซับสารออกฤทธิ์ได้ กลุ่มคนวัยท�ำงาน ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ดี แนบสนิทกับผิวหนัง มีความหนานุ่ม ยืดหยุ่นสูง ไม่ติดผิว อิเล็คทรอนิคต่าง ๆ เป็นเวลานานส่งผลให้เกิดความปวดเมื่อย ขณะลอกออก ประกอบกับคุณสมบัติของโปรตีนกาวไหม และอักเสบของกล้ามเนื้อ [1, 2] การรับประทานยาแก้ปวด เซริซินซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่มีคุณสมบัติใน แก้อักเสบ แม้จะมีประสิทธิภาพสูงแต่หากรับประทานต่อ การกระตุ้นการซ่อมสร้างผ่านกระบวนการสร้างคอลลาเจน เนื่องเป็นเวลานาน อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อการท�ำงานของ [7, 8] มีคุณสมบัติในการลดการอักเสบ [9, 10] อีกทั้งยังมี ตับ [3, 4] และไต [5, 6] อีกทั้งภาวะปวด อักเสบยังมักเป็น คุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ [11, 12] ท�ำให้เกิดการ ภาวะเรื้อรังท�ำให้การรับประทานยาอาจไม่ใช่หนทางการ พัฒนาเป็นแผ่นไฮโดรเจลที่ประกอบด้วยโปรตีนกาวไหมที่มี รักษาที่ปลอดภัยมากนัก นอกจากนี้ยังมีการใช้ครีม คุณสมบัติแก้ปวด แก้อักเสบสามารถปลดปล่อยสารออกฤทธิ์ บรรเทาปวด ซึ่งแม้จะได้รับความนิยมในระยะแรก แต่ อย่างต่อเนื่องและเนิ่นนาน และเนื่องมาจากโปรตีนกาวไหม เนื่องจากระยะเวลาในการออกฤทธิ์ของครีมที่สั้นและมี เป็นสารจากธรรมชาติจึงท�ำให้มีโอกาสก่อการระคายเคืองต�่ำ โอกาสเปรอะเปื้อนเสื้อผ้าสูงท�ำให้ความนิยมในการใช้ลดลง นอกจากนี้แผ่นไฮโดรเจลที่พัฒนาขึ้นยังประกอบด้วยสาร และเปลี่ยนมาใช้แผ่นแปะแก้ปวด แก้อักเสบมากขึ้น แต่ เมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลที่มีคุณสมบัติในการลดอาการ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวที่มีในท้องตลาดปัจจุบันยังมีข้อจ�ำกัด ปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย [13] วัตถุประสงค์ของ อีกมาก เช่น ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้เนิ่นนาน วัสดุมักท�ำจาก การศึกษานี้คือ การศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัย ผ้า กระดาษหรือพลาสติกท�ำให้ไม่แนบสนิทกับผิวหนัง ของแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซา ขาดความยืดหยุ่น นอกจากนี้ยังอาจก่อให้เกิดการระคายเคือง ลิซิเลตและเมนทอลเพื่อบรรเทาอาการปวดในอาสาสมัคร เนื่องจากวัสดุส่วนใหญ่ ท�ำมาจากสารสังเคราะห์ ดังนั้น ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ การพัฒนาแผ่นแปะแก้ปวดที่ช่วยลดข้อจ�ำกัดเหล่านี้จึงอาจ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 9

วิธีด�ำเนินการวิจัย มนุษย์มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง (REH 61016) โดยเป็นการ 1. การเตรียมแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสม ศึกษาเปรียบเทียบความเจ็บปวดของกล้ามเนื้อก่อนและหลัง เมทิลซาลิซิเลตและเมนทอล การใช้แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซา สกัดโปรตีนกาวไหม โดยน�ำรังไหมสีขาว (จังหวัด ลิซิเลตและเมนทอลในอาสาสมัครปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เพชรบูรณ์, ประเทศไทย) มาสกัดด้วยความร้อนภายใต้ เทียบกับแผ่นแปะแก้ปวด ทางการค้ากลุ่มควบคุม (แผ่นแปะ ความดัน [14] หลังจากนั้นน�ำสารละลายโปรตีนกาวไหมมา แก้ปวดที่ประกอบด้วยเมนทอล ร้อยละ 0.4) โดยคัดเลือก ผสมร่วมกับโพลิไวนิลแอลกอฮอล์ (LOBA Chemie, ประเทศ อาสาสมัครอายุระหว่าง 18-60 ปี ที่มีอาการปวดเมื่อยบริเวณ อินเดีย) และกลีเซอรีน (Sigma Aldrich, สหรัฐอเมริกา) ไหล่หรือหลังรวมถึงมีคะแนนความเจ็บปวดโดยใช้มาตรวัด หลังจากผสมจนสารละลายเข้ากันดีแล้ว น�ำมาผสมร่วมกับ ความเจ็บปวด (Visual Analogue Scale; VAS) ≥ 5 คะแนน เมทิลซาลิซิเลต (Sigma Aldrich, สหรัฐอเมริกา) และ และผ่านการลงชื่อยินยอมเข้าร่วมการวิจัย จะถูกคัดเข้าร่วม เมนทอล (Sigma Aldrich, สหรัฐอเมริกา) ได้เป็นสารละลาย การวิจัย อย่างไรก็ตามผู้ที่มีประวัติการแพ้โปรตีนกาวไหม ที่มีความเข้มข้นของ โพลิไวนิลแอลกอฮอล์ ร้อยละ 5.76 โพลิไวนิลแอลกอฮอล์ กลีเซอรีน เมทิลซาลิซิเลตและเมนทอล โปรตีนกาวไหม ร้อยละ 1.44 กลีเซอรีน ร้อยละ 1 เมทิลซา หรืออาสาสมัครที่รับประทานหรือปิดแผ่นแปะแก้ปวดอักเสบ ลิซิเลต ร้อยละ 1 และเมนทอล ร้อยละ 0.5 จากนั้นน�ำมาท�ำ ภายใน 2 สัปดาห์ก่อนเข้าการศึกษา อาสาสมัครที่เป็นโรค เป็นแผ่นไฮโดรเจลโดยใช้กระบวนการ freeze-thaw โดย ผิวหนังเรื้อรัง หรือโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องจะถูกคัดออกจาก การใช้อุณหภูมิร้อนสลับเย็นกล่าวคือ น�ำสารละลายมาใส่ใน การวิจัย หลังจากนั้นอาสาสมัครที่ถูกคัดเข้าร่วมการวิจัยจะ ถาดและน�ำไปแช่แข็งที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส เป็นเวลา ถูกสุ่มเพื่อแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้ Block randomization 48 ชั่วโมง จากนั้นน�ำมาละลายที่อุณหภูมิห้อง (25 องศา (Block size 4) คือกลุ่มที่จะได้รับแผ่นแปะไฮโดรเจลจาก เซลเซียส) เป็นเวลา 24 ชั่วโมง โดยนับเป็น 1 รอบ ท�ำซ�้ำจน โปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลและกลุ่มที่ ครบ 8 รอบจะได้แผ่นที่มีความคงตัวดี [15] แล้วน�ำแผ่น จะได้รับแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม โดยท�ำการปิดแผ่นแปะ ไฮโรเจลที่ได้มาผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยรังสีแกมมา บริเวณไหล่หรือหลังที่ปวดแล้วปิดทับด้วยแผ่นกาว เป็นเวลา (25 kGy) โดยสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การ 3 ชั่วโมงต่อครั้ง วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ทุกวัน เป็นเวลา มหาชน) (จังหวัดนครนายก ประเทศไทย) 3 วัน แล้วจึงหยุดใช้ อาสาสมัครต้องบันทึกคะแนนความเจ็บ ปวดโดยใช้มาตรวัดความเจ็บปวด (VAS; 0-10 คะแนน) ก่อน 2. การศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของแผ่นแปะ และหลังการปิดแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสม ไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมในอาสาสมัครปวดเมื่อย เมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลหรือแผ่นปิดแก้ปวดควบคุม กล้ามเนื้อ ทุกครั้ง (รวม 6 ครั้ง) พร้อมทั้งบันทึกอาการไม่พึงประสงค์ การศึกษานี้ค�ำนวณขนาดตัวอย่างโดยอ้างอิงจาก ทางผิวหนังที่อาจเกิดขึ้นได้ ได้แก่ ผื่นแดง บวม ตุ่มน�้ำใส และ ข้อมูลจากบทความทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทดสอบ อาการคัน นอกจากนี้ผู้วิจัยจะท�ำการประเมินอาการไม่พึง ประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของแผ่นแปะไดโคลฟีแนค ประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นได้ซ�้ำอีกครั้งก่อนและหลังการใช้แผ่น เปรียบเทียบกับแผ่นเมนทอล (กลุ่มควบคุม) ในผู้ป่วยที่มี แปะ โดยประเมินการเกิดผื่นแดง (0-3 คะแนน) บวม (0-4 อาการปวดกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืดบริเวณส่วนต้นของ คะแนน) ตุ่มนูน (พบหรือไม่พบ) ตุ่มพอง (พบหรือไม่พบ) หรือ กล้ามเนื้อ ของ Hsieh และคณะ ในปี 2010 [16] พบว่าต้อง ตุ่มน�้ำใสขนาดใหญ่ (พบหรือไม่พบ) ในอาสาสมัครทุกท่านที่ มีผู้ป่วยในการศึกษาทั้งหมด 48 คน ผ่านการรับรองการ เข้าร่วมโครงการ พิจารณาจริยธรรมจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยใน 10 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

3. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย การทดสอบสมมุติฐานก�ำหนดระดับนัยส�ำคัญที่ ผลการศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ 0.05 โดยใช้โปรแกรมสถิติ SPSS (version 17.0, SPSS Inc.) แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลต เปรียบเทียบคะแนนความเจ็บปวดก่อน และหลังการใช้แผ่น และเมนทอลในอาสาสมัครปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มีอาสาสมัคร แปะแต่ละชนิดโดยใช้สถิติ Pair T-test เปรียบเทียบค่าความ เข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 48 คน แบ่งแบบสุ่มออกเป็น กลุ่ม แตกต่างของคะแนนความเจ็บปวดจากการใช้แผ่นแปะ ที่ได้รับแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิ ไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและ ซิเลตและเมนทอลจ�ำนวน 24 ราย และกลุ่มที่ได้รับแผ่นแปะ เมนทอลเทียบกับแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม โดยใช้สถิติ แก้ปวดที่มีจ�ำหน่ายในท้องตลาดหรือแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม Independent T-test รายงานอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิด จ�ำนวน 24 ราย อย่างไรก็ตามพบว่ามีอาการข้างเคียงคือผื่น ขึ้นโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาคือร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และ แพ้ คัน บวม แดงจากการใช้แผ่นแปะแก้ปวดกลุ่มควบคุม 1 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คนจนต้องออกจากการศึกษา ดังนั้นจะเหลืออาสาสมัครปวด เมื่อยกล้ามเนื้อเข้าร่วมโครงการ 47 คน โดยมีข้อมูลพื้นฐาน ของอาสาสมัครดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของอาสาสมัครปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ข้อมูล จ�ำนวนตัวอย่าง (คน) เปอร์เซ็นต์ อาสาสมัคร 47 100 - หญิง 46 97.87 - ชาย 1 2.13 อายุ (ปี) (ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (สูงสุด, ต�่ำสุด)) 47.83 ± 7.73 (23.25, 60) ดัชนีมวลกาย (kg/m2) 23.13 ± 3.38 (17.57, 30.80) (ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (สูงสุด, ต�่ำสุด)) บริเวณที่มีอาการปวด - ไหล่หรือหลังด้านขวา 27 57.45 - ไหล่หรือหลังด้านซ้าย 20 42.55 1. ผลการศึกษาคะแนนความเจ็บปวดจากการใช้แผ่นแปะ 3.4, 3.9 VS 2.7, 2.7 VS 2.6, 3.3 VS 2.2; p<0.05 ตาม ในอาสาสมัครปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ล�ำดับ) นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบคะแนนความเจ็บปวดก่อน ผลการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการปิด แปะครั้งที่ 1-6 ยังพบว่าคะแนนความเจ็บปวดของอาสาสมัคร แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลต ลดลงอย่างต่อเนื่อง ดังแสดงในภาพที่ 1 นอกจากนี้เมื่อ และเมนทอลแต่ละครั้ง พบว่าคะแนนความเจ็บปวดของ เปรียบเทียบก่อนและหลังการปิดแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม อาสาสมัครปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหลังการปิดแผ่นแปะไฮโดรเจล แต่ละครั้ง พบว่าคะแนนความเจ็บปวดของอาสาสมัครปวด จากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลลดลง เมื่อยกล้ามเนื้อหลังการปิดแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม ลดลง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (5.6 VS 4.1, 4.7 VS 3.5, 2.5 VS อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ เฉพาะในการปิดแผ่นแปะครั้งที่ 1, ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 11

2, 4, และ 6 (5.6 VS 4.4, 4.9 VS 3.7, 4.1 VS 3.1, 3.4 VS ผลต่างของคะแนนความเจ็บปวดก่อนและหลังการปิดแผ่น 2.3; p < 0.05 ตามล�ำดับ) ดังแสดงในภาพที่ 2 อย่างไรก็ตาม แปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและ เมื่อเปรียบเทียบผลต่างของคะแนนความเจ็บปวดก่อนและ เมนทอลสูงกว่าแผ่นแปะแก้ปวดควบคุมอย่างไม่มีนัยส�ำคัญ หลังการปิดแผ่นแปะแต่ละครั้งระหว่างแผ่นแปะไฮโดรเจล ทางสถิต (p>0.05) ดังนั้น แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีน จากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลและ กาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลสามารถลดความ แผ่นแปะแก้ปวดควบคุม ซึ่งหากมีค่าผลต่างสูงแสดงว่าแผ่น เจ็บปวดจากการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ใกล้เคียงกับแผ่นแปะ แปะสามารถลดอาการปวดได้มากกว่าค่าผลต่างต�่ำ พบว่าค่า แก้ปวดควบคุม ดังแสดงในภาพที่ 3

ครั้งที่

ภาพที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนความเจ็บปวดก่อนและหลังการปิดแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลต

และเมนทอล 6 ครั้ง (* p < 0.05); ก่อนปิดแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอล,

หลังปิดแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอล

ครั้งที่

ภาพที่ 2 เปรียบเทียบคะแนนความเจ็บปวดก่อนและหลังการปิดแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม 6 ครั้ง (* p<0.05); ก่อน

ปิดแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม, หลังปิดแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม

12 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ครั้งที่

ภาพที่ 3 เปรียบเทียบค่าผลต่างของคะแนนความเจ็บปวดก่อนและหลังการปิดแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสม

เมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลและแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม 6 ครั้ง; ค่าผลต่างของคะแนนความเจ็บปวดก่อนและหลังการ

ปิดแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอล, ค่าผลต่างของคะแนนความเจ็บปวดก่อน และหลังการปิดแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม

2. อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้แผ่นแปะในอาสาสมัคร ซิเลตและเมนทอล แต่อย่างไรก็ตามจากการประเมินโดย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อาสาสมัครและผู้วิจัย พบผื่นแดงเล็กน้อย 1 ราย (ร้อยละ 4) หลังการใช้แผ่นแปะในอาสาสมัครปวดเมื่อย หลังการใช้แผ่นแปะแก้ปวดควบคุม และมีอาการคันระหว่าง กล้ามเนื้อ ไม่พบอาการไม่พึงประสงค์ (ผื่นแดง บวม ตุ่มน�้ำใส และหลังการใช้แผ่นแปะแก้ปวดควบคุม 3 ราย (ร้อยละ 13) คัน) เกิดขึ้นในอาสาสมัครที่มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อกลุ่ม (ตารางที่ 2 และ 3) ที่ได้รับแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิ

ตารางที่ 2 อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังประเมินโดยอาสาสมัคร ก่อนใช้แผ่นแปะ (ร้อยละ) ระหว่างใช้แผ่นแปะ (ร้อยละ) หลังใช้แผ่นแปะ (ร้อยละ) อาการไม่พึงประสงค์ ไฮโดรเจลจาก ไฮโดรเจลจาก ไฮโดรเจลจาก โปรตีนกาวไหม ควบคุม โปรตีนกาวไหม ควบคุม โปรตีนกาวไหม ควบคุม ผื่นแดง 0 0 0 0 0 4 บวม 0 0 0 0 0 0 ตุ่มน�้ำใส 0 0 0 0 0 0 คัน 0 0 0 13 0 13 ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 13

ตารางที่ 3 อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังประเมินโดยผู้วิจัย ก่อนใช้แผ่นแปะ (ร้อยละ) หลังใช้แผ่นแปะ (ร้อยละ) อาการไม่พึงประสงค์ ไฮโดรเจลจาก ไฮโดรเจลจาก ควบคุม ควบคุม โปรตีนกาวไหม โปรตีนกาวไหม ผื่นแดง (erythema) 0 0 0 4 (grade 1) บวม (edema) 0 0 0 0 ตุ่มนูน (papules) 0 0 0 0 ตุ่มพอง (vesicles) 0 0 0 0 ตุ่มน�้ำใสขนาดใหญ่ (bullae) 0 0 0 0

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย ในกระบวการอักเสบได้ [9] และยังมีคุณสมบัติเป็น gumming ปัจจุบันอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการท�ำงาน protein กล่าวคือ สามารถท�ำให้แผ่นไฮโดรเจลมีความ หรือการออกก�ำลังกายมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นเนื่องมาจาก ยืดหยุ่นดีส่งผลให้แผ่นสามารถแนบสนิทกับผิวหนังและ วิถีชีวิตในปัจจุบันที่เปลี่ยนไป มีการใช้เทคโนโลยีหรือ สามารถส่งสารออกฤทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย คอมพิวเตอร์มากขึ้น โดยอาการดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการ จากการศึกษาก่อนหน้านี้ที่แสดงให้เห็นว่า การใช้ครีมโปรตีน ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ดังนั้นผู้ที่มีอาการดังกล่าวมักจะต้อง กาวไหมร้อยละ 8 ในการรักษาบาดแผลในหนูเปรียบเทียบ รับประทานยาแก้ปวดอักเสบปริมาณมาก ส่งผลให้เกิดอาการ กับครีมที่ไม่มีส่วนประกอบของโปรตีนกาวไหม พบว่า ข้างเคียงต่อระบบการท�ำงานต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น บาดแผลที่รักษาด้วยด้วยครีมโปรตีนกาวไหมมีขนาดบาดแผล กระเพาะอาหาร ตับ และไต เป็นต้น ดังนั้นการพัฒนา และเกิดการอักเสบน้อยกว่าครีมที่ไม่มีส่วนประกอบของ แผ่นแปะแก้ปวดจึงน่าจะเป็นทางเลือกในการรักษา โปรตีนกาวไหม [17] จากผลการศึกษานี้ยังสอดคล้องกับการ อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ โดยลดอาการข้างเคียง ศึกษาของ Siritientong และคณะ [18] ที่พบว่าผู้ป่วยที่มี จากการรับประทานยา จากการศึกษาประสิทธิภาพและ บาดแผลที่ถูกตัดผิวหนังบางส่วนเพื่อการปลูกถ่ายที่ได้รับการ ความปลอดภัยของแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหม รักษาด้วยแผ่นปิดแผลที่มีส่วนประกอบของโปรตีนกาวไหม ผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลในอาสาสมัครปวดเมื่อย มีคะแนนความเจ็บปวดน้อยกว่าผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยแผ่น กล้ามเนื้อบริเวณไหล่หรือหลัง พบว่าแผ่นแปะไฮโดรเจลจาก ปิดแผลกลุ่มควบคุม (Bactigras®) อย่างมีนัยส�ำคัญ นอกจากนี้ โปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลสามารถลด แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมที่ใช้ในการศึกษานี้ยัง อาการปวดเมื่อยได้อย่างมีนัยส�ำคัญ เมื่อเทียบกับก่อนปิด ประกอบไปด้วยเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลที่สามารถลด แผ่นดังกล่าว และยังสามารถลดอาการปวดลงได้อย่าง อาการปวดเมื่อยและเพิ่มประสิทธิภาพในการลดการอักเสบ ต่อเนื่องจากการใช้แผ่นที่พัฒนาขึ้นในตั้งแต่ครั้งที่ 1-6 ของ ซึ่งสอดคล้องกับผลจากการศึกษาของ Higashi และคณะ [13] การใช้ (ภาพที่ 1) เนื่องจากในแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีน พบว่าแผ่นแปะที่ประกอบด้วยเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอล กาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลประกอบด้วย สามารถลดอาการปวดของ ผู้ที่มีกล้ามเนื้อตึงได้มากกว่าแผ่น โปรตีนกาวไหมที่มีคุณสมบัติในการลดการอักเสบ โดย แปะหลอก โดยมีอาการข้างเคียงไม่แตกต่างจากแผ่นแปะ สามารถลด cyclooxygenase 2 (COX-2) และ nitric oxide หลอกและไม่พบอาการข้างเคียงที่รุนแรง อย่างไรก็ตามจาก 14 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

การศึกษานี้พบว่า แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหม โปรตีนกาวไหมเซริซินและกลีเซอรีนในการรักษาบาดแผล ผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลสามารถลดอาการปวดได้ไม่ ผู้ป่วยที่ถูกตัดผิวหนังบางส่วนเพื่อปลูกถ่าย นอกจากนี้ส่วน แตกต่างจากแผ่นแปะแก้ปวดควบคุม (ที่มีเมนทอล ร้อยละ ประกอบอื่น ๆ ของแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหม 0.4 เป็นองค์ประกอบ) เนื่องจากแผ่นดังกล่าวยังมีสารส�ำคัญ ผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลก็มีความปลอดภัย ในการบรรเทาอาการปวดอื่น ๆ อันประกอบด้วย การบูร และเป็นสารที่เป็นส่วนประกอบในแผ่นแปะทาง ร้อยละ 1.2 [19] น�้ำมันจากสะระแหน่ ร้อยละ 0.7 [20] และ การค้า เช่น เมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลเป็นส่วนประกอบ น�้ำมันยูคาลิปตัส ร้อยละ 0.5 [21] ในแผ่นแปะแก้ปวดหลายชนิด เช่น แผ่นแปะนีโอบันเจล ในด้านผลข้างเคียงจากการปิดแผ่นแปะไฮโดรเจล (เมนทอล ร้อยละ 0.4) แผ่นแปะตราเสือ (เมนทอล ร้อยละ จากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลพบว่า 0.5) ซาลลอนพาส (เมทิลซาลิซิเลต ร้อยละ 7.18 และ ไม่พบอาการข้างเคียงแต่อย่างใด ซึ่งเป็นข้อดีเมื่อเทียบกับ เมนทอล ร้อยละ 5.66) เป็นต้น ซึ่งมีความเข้มข้นสูงกว่าแผ่น แผ่นปิดแผลทางการค้าที่พบผลข้างเคียงจากการใช้อยู่บ้าง แปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหม (เมทิลซาลิซิเลต ร้อยละ 1 ทั้งนี้เนื่องจากแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผลิตจาก และเมนทอล ร้อยละ 0.5) โดยจุดเด่นของแผ่นแปะไฮโดรเจล โพลิไวนิลแอลกอฮอล์ และโปรตีนกาวไหมเซริซินเป็นหลัก จากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลที่พัฒนา โดยโพลิไวนิลแอลกอฮอล์เป็นสารที่ใช้เป็นส่วนประกอบหลัก ขึ้นคือมีความยืดหยุ่นดี แนบสนิทกับพื้นผิว ท�ำให้สารส�ำคัญ ของแผ่นปิดแผลทางการค้า อุปกรณ์น�ำส่งยา และอุปกรณ์ ออกฤทธิ์ได้เต็มที่ อีกทั้งกระบวนการผลิตยังไม่ซับซ้อน ใช้ ทางการแพทย์ มาเป็นเวลานาน มีความปลอดภัย และไม่ก่อ เพียงอุปกรณ์ทั่วไปในการผลิต นอกจากนี้ยังไม่มีความเป็น ให้เกิดผลข้างเคียง [22, 23] โปรตีนกาวไหมเซริซินเป็นสาร พิษของสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการเชื่อมขวาง (cross- สกัดจากรังไหมที่ได้จากธรรมชาติ มีความปลอดภัย และไม่ linking) ที่มักพบทั่วไปในกระบวนการผลิตแผ่นไฮโดรเจล ก่อให้เกิดผลข้างเคียงต่อเซลล์สัตว์และมนุษย์ [24, 25] ซึ่ง ดังนั้นแผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซา สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Siriteintong และคณะ [18] ลิซิเลตและเมนทอลที่ใช้ในการศึกษานี้มีความปลอดภัยและ ที่ระบุว่าแผ่น scaffold ที่ประกอบด้วยโพลิไวนิลแอลกอฮอล์ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรือผลข้างเคียง อย่างไรก็ตาม ใน (ร้อยละ 2) โปรตีนกาวไหมเซริซิน (ร้อยละ 3) และกลีเซอรีน ระหว่างการศึกษายังพบอาการผื่นแดง บวม และคันเกิดขึ้น (ร้อยละ 1) เป็นแผ่นที่มีความปลอดภัยในสัตว์และมนุษย์ ในอาสาสมัคร จ�ำนวน 1 ราย จากการใช้แผ่นแปะแก้ปวด แผ่นตัวอย่างไม่ก่อให้เกิดการอักเสบ ไม่มีอาการบวม แดง ควบคุมจนต้องออกจากการศึกษา นอกจากนี้ยังพบผื่นแดง และร้อนของผิวหนังบริเวณที่ฝัง เมื่อย้อมสีเนื้อเยื่อพบว่า เล็กน้อย จ�ำนวน 1 ราย (ร้อยละ 4) และมีอาการคันระหว่าง ค่าตัวแปรด้านการอักเสบ เช่น จ�ำนวนเม็ดเลือดขาว จ�ำนวน และการใช้ 3 ราย (ร้อยละ 13) ในผู้ที่ใช้แผ่นแปะควบคุมทั้งนี้ หลอดเลือดที่สร้างใหม่ และการเกิดพังผืดน้อยกว่าแผ่น อาจเนื่องมาจากแผ่นแปะแก้ปวดทั่วไปที่มีอยู่ในท้องตลาด ควบคุม อีกทั้งเมื่อท�ำการศึกษาในอาสาสมัครสุขภาพดี มักมีส่วนประกอบของยางเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่น ซึ่งมีผู้ป่วย จ�ำนวน 110 คน พบว่าค่าความแดง (erythema levels) จ�ำนวนไม่น้อยที่มีความไวต่อโปรตีนที่อยู่ในยาง อันอาจก่อ และค่าความด�ำ (melanin levels) ที่แสดงถึงการอักเสบของ ให้เกิดการแพ้ [26] นอกจากนี้แผ่นแปะแก้ปวดส่วนใหญ่ ผิวหนังและการเปลี่ยนแปลงของเม็ดสีของผิวหนังที่แปะด้วย มักจะมีความเข้มข้นของสารออกฤทธิ์ในปริมาณสูงซึ่งอาจก่อ แผ่นแปะที่ประกอบด้วยโพลิไวนิลแอลกอฮอล์ โปรตีนกาว ให้เกิดความระคายเคืองได้เช่นกัน ไหมเซริซินและกลีเซอรีนไม่แตกต่างจากแผ่นปิดแผลทางการ แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิล ค้าอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังไม่พบผลข้างเคียง ซาลิซิเลตและเมนทอลผลิตจากวัตถุดิบจากทางธรรมชาติ จากการใช้แผ่นแปะที่ประกอบด้วยโพลิไวนิลแอลกอฮอล์ ประกอบกับมีวิธีการผลิตค่อนข้างง่าย โดยใช้กระบวนการ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 15 freeze-thaw โดยการใช้อุณหภูมิร้อนสลับเย็น ไม่จ�ำเป็นต้อง Dis Child 2006;91(7):598-603. ใช้เครื่องมือจ�ำเพาะในการผลิตเหมือนการผลิตทางการค้า 4. Yoon E, Babar A, Choudhary M, Kutner M, ทั่วไป ดังนั้นจึงมีราคาต้นทุนการผลิตค่อนข้างต�่ำเมื่อเทียบ Pyrsopoulos N. Acetaminophen-Induced กับแผ่นแปะทางการค้าทั่วไป นอกจากนี้โปรตีนกาวไหมที่เป็น Hepatotoxicity: a Comprehensive Update. J ส่วนประกอบหลักของแผ่นแปะดังกล่าวยังมีคุณสมบัติใน Clin Transl Hepatol 2016;4(2):131-42. การกระตุ้นการสร้างคลอลาเจนซึ่งมีส่วนส�ำคัญต่อกระบวน 5. Ejaz P, Bhojani K, Joshi VR. NSAIDs and kidney. การหายของบาดแผล [7] จึงอาจน�ำข้อมูลการพัฒนาแผ่น J Assoc Physicians India 2004;52:632-40. แปะนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาแผ่นแปะแผลชนิดอื่น ๆ ต่อ 6. Murray MD, Brater DC. Renal toxicity of the ไปได้ จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า แผ่นแปะไฮโดรเจลจาก nonsteroidal anti-inflammatory drugs. Annu โปรตีนกาวไหมผสมเมทิลซาลิซิเลตและเมนทอลสามารถลด Rev Pharmacol Toxicol 1993;33:435-65. ความเจ็บปวดในอาสาสมัครปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้อย่างมีนัย 7. Aramwit P, Palapinyo S, Srichana T, ส�ำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับก่อนใช้ และยังสามารถลดอาการ Chottanapund S, Muangman P. Silk sericin ปวดลงได้อย่างต่อเนื่องจากการใช้แผ่นแปะครั้งที่ 1-6 ameliorates wound healing and its clinical นอกจากนี้แผ่นแปะไฮโดรเจลจากโปรตีนกาวไหมผสมเมทิล efficacy in burn wounds. Arch Dermatol Res ซาลิซิเลตและเมนทอลยังสามารถลดความเจ็บปวดจากการ 2013;305(7):585-94. ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ใกล้เคียงกับแผ่นทางการค้าโดยไม่พบ 8. Ersel M, Uyanikgil Y, Akarca FKl. Effects of silk อาการข้างเคียงต่อระบบผิวหนัง sericin on incision wound healing in a dorsal skin flap wound healing rat model. Med Sci กิตติกรรมประกาศ Monit 2016;22:1064-78. การวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก โครงการ 9. Aramwit P, Towiwat P, Srichana T. Anti- ทุนหลังปริญญาเอก กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ inflammatory potential of silk sericin. Nat Prod มหาวิทยาลัย Commun 2013;8(4):501-4. 10. Khampieng T, Aramwit P, Supaphol P. Silk เอกสารอ้างอิง sericin loaded alginate nanoparticles: 1. Szeto GP, Straker LM, O’Sullivan PB. A preparation and anti-inflammatory efficacy. comparison of symptomatic and asymptomatic Int J Biol Macromol 2015;80:636-43. office workers performing monotonous 11. Takechi T, Wada R, Fukuda T, Harada K, keyboard work-2: neck and shoulder Takamura H. Antioxidant activities of two kinematics. Man Ther 2005;10(4):281-91. sericin proteins extracted from cocoon of 2. Yuk Szeto GP, Straker LM, O’Sullivan PB. Neck– silkworm (Bombyx mori) measured by DPPH, shoulder muscle activity in general and task- chemiluminescence, ORAC and ESR methods. specific resting postures of symptomatic Biomed Rep 2014;2(3):364-9. computer users with chronic neck pain. Man 12. Fan JB, Wu LP, Chen LS, Mao XY, Ren FZ. Ther 2009;14(3):338-45. Antioxidant activities of silk sericin from 3. Mahadevan SBK, McKiernan PJ, Davies P, Kelly silkworm Bombyx Mori. J Food Biochem DA. Paracetamol induced hepatotoxicity. Arch 2009;33(1):74-88. 16 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

13. Higashi Y, Kiuchi T, Furuta K. Efficacy and safety in a vanilloid-independent mechanism. profile of a topical methyl salicylate and J Neurosci 2005;25(39):8924-37. menthol patch in adult patients with mild to 20. Gobel H, Schmidt G, Dworschak M, Stolze H, moderate muscle strain: a randomized, Heuss D. Essential plant oils and headache double-blind, parallel-group, placebo- mechanisms. Phytomedicine 1995;2(2):93-102. controlled, multicenter study. Clin Ther 21. Silva J, Abebe W, Sousa SM. Analgesic and 2010;32(1):34-43. anti-inflammatory effects of essential oils of 14. Aramwit P, Kanokpanont S, Nakpheng T, Eucalyptus. J Ethnopharmacol 2003;89 Srichana T. The effect of sericin from various (2-3):277-83. extraction methods on cell viability and 22. Kamoun EA, Chen X, Mohy EMS, Kenawy ERS. collagen production. Int J Mol Sci Crosslinked poly(vinyl alcohol) hydrogels for 2010;11(5):2200-11. wound dressing applications: a review of 15. Aramwit P, Sereemaspun A, Yamdech R. Sericin remarkably blended polymers. Arab J Chem ameliorates the properties of poly(vinyl 2015;8(1):1-14. alcohol) hydrogel prepared by simple 23. Kamoun EA, Kenawy ERS, Chen X. A review repeated freeze-thaw process without the use on polymeric hydrogel membranes for wound of chemical crosslinking. Int J Res Sci dressing applications: PVA-based hydrogel 2018;4(3):6-11. dressings. J Adv Res 2017;8(3):217-33. 16. Hsieh LF, Hong CZ, Chern SH, Chen CC. Efficacy 24. Hasatsri S, Angspatt A, Aramwit P. Randomized and side effects of diclofenac patch in clinical trial of the innovative bilayered wound treatment of patients with myofascial pain dressing made of silk and gelatin: safety and syndrome of the upper trapezius. J Pain efficacy tests using a split-thickness skin graft Symptom Manage 2010;39(1):116-25. model. Evid Based Complement Alternat Med 17. Aramwit P, Sangcakul A. The effects of sericin 2015;2015:8. cream on wound healing in rats. Biosci 25. Aramwit P, Kanokpanont S, De-Eknamkul W, Biotechnol Biochem 2007;71(10):2473-7. Kamei K, Srichana T. The effect of sericin with 18. Siritientong T, Angspatt A, Ratanavaraporn J, variable amino-acid content from different silk Aramwit P. Clinical potential of a silk sericin- strains on the production of collagen and nitric releasing bioactive wound dressing for the oxide. J Biomater Sci Polym Ed 2009;20(9):1295- treatment of split-thickness skin graft donor 306. sites. Pharm Res 2014;31(1):104-16. 26. Kanerva L, Estlander T, Jolanki R. Allergic patch 19. Xu H, Blair NT, Clapham DE. Camphor activates test reactions caused by the rubber chemical and strongly desensitizes the transient cyclohexyl thiophthalimide. Contact Dermatitis receptor potential vanilloid subtype 1 channel 1996;34(1):23-6. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 17

ประสิทธิผลและผลข้างเคียงของยาธรณีสัณฑะฆาตเทียบกับยานาพรอกเซน ในการลดภาวะเครียดออกซิเดชันในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรัง The effectiveness and side effects of Ya Thor-Ra-Nee-San-Tha-Kat compared to naproxen tablets for the reduction of oxidative stress in patients with myofascial pain syndromes

อมลวัทน์ แท่นค�ำ1 และ ธนิสร์ ปทุมานนท์2 1 สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อุดรธานี 41000 2 สาขาวิชาเภสัชเวทและพิษวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น 40002 Amonwat Thaenkham1 and Tanit Padumanonda2 1 Department of Thai Traditional Medicine, Faculty of Science, Udonthani Rajabhat University, Udonthani 41000 2 Department of Pharmacognosy and Toxicology, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002

Received: 23 November 2018/ Revised: 11 June 2019/ Accepted: 21 June 2019

บทคัดย่อ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการทดลองแบบอ�ำพรางฝ่ายเดียวเพื่อประเมินประสิทธิผลของยาธรณีสัณฑะฆาตเทียบกับ ยานาพรอกเซนในการลดภาวะเครียดออกซิเดชันในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่าง อายุ ระหว่าง 22-55 ปี จ�ำนวน 82 คน โดยสุ่มเป็น 2 กลุ่ม เพื่อรับยาธรณีสัณฑะฆาตและยานาพรอกเซน เป็นเวลา 14 วัน ดังนี้ ยาธรณีสัณฑะฆาต ขนาด 500 มิลลิกรัม ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ1 ครั้งก่อนนอน และกลุ่มที่ได้รับยานาพรอกเซน ขนาด 250 มิลลิกรัม ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้าและเย็น ในวันที่ 0 และวันที่ 15 (ก่อนและหลังการได้รับยา) มี การวัดระดับ isoprostane ในปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะเครียดออกซิเดชันร่วมกับการประเมินคุณภาพการนอนหลับ ผลข้างเคียงจากการรับประทานยาและความพึงพอใจจากการใช้ยา ผลการศึกษาพบว่า ระดับ isoprostane ของทั้ง 2 กลุ่ม อยู่ในเกณฑ์ปกติ มีคุณภาพการนอนหลับดีขึ้น อย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.05) กลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตพบว่า มีอาการถ่ายเหลวมากสุด ร้อยละ 47.37 ส่วนกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนพบว่ามีอาการท้องผูกมากสุด ร้อยละ 24.39 ในภาพรวมพบว่าอาสาสมัคร มีความพึงพอใจในการได้รับยาในเกณฑ์สูงถึงสูงมากในทุกเกณฑ์การประเมินและไม่พบ อันตรายจากการใช้ยา

ค�ำส�ำคัญ: ยาธรณีสัณฑะฆาต ภาวะเครียดออกซิเดชัน อาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรัง คุณภาพการนอนหลับ

Corresponding author: [email protected] 18 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

Abstract The current study employs a single-blind randomized controlled trial to evaluate the effectiveness of ya-thor-ra-nee-san-tha-kat (TRK) compared with naproxen for the reduction of oxidative stress in patients with myofascial pain syndromes. Eighty-two participants, ages ranged from 22 to 55, were randomly allocated to the TRK and naproxen groups as follows: TRK 500 mg, two capsules once daily at bedtime and naproxen tablets 250 mg, twice a day after breakfast and dinner. The oxidative stress measured by the ELISA kit, the sleep quality index, adverse drug reactions and levels of satisfaction were measured at day 0 and day 15 (before and after experiments). The results revealed that the isoprostane level of both groups were still within the normal limit. The sleep quality index of both groups were significantly improved (p<0.05). The survey of adverse drug reactions of TRK group revealed the highest incidence related to watery stool (47.37%) and group 2 revealed the highest incidence related to constipation (24.39%). The overall satisfactions of the participants in both groups regarding the treatments were high and very high in all criteria without the harmful side effects.

Keywords: Ya-thor-ra-nee-san-tha-kat, oxidative stress, myofascial pain syndromes, Sleep Quality

บทน�ำ และการท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน ผู้ป่วยที่มีอาการป่วยเรื้อรังต้อง ภาวะเครียดออกซิเดชันเป็นที่รู้จักดีว่ามีส่วน มีชีวิตอยู่กับอาการป่วยเป็นระยะเวลานาน ท�ำให้คุณภาพ เกี่ยวข้องที่ท�ำให้เกิดโรคต่าง ๆ ในปัจจุบัน เป็นภาวะที่มีอนุมูล และวิถีการด�ำเนินชีวิตเปลี่ยนไป ต้องแสวงหาแนวทางในการ อิสระมากเกิน แต่ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระมีไม่เพียงพอ รักษาอาการป่วยเรื้อรังที่เกิดขึ้นกับตนเอง ปัจจุบันนี้มีการ ส่งผลให้เกิดการท�ำลายดีเอ็นเอ โปรตีน ไขมัน และโมเลกุล ศึกษาวิจัยพืชสมุนไพร ยาไทย หรืออาหารที่มีความสามารถ อื่น ๆ ซึ่งเป็นการท�ำลายแบบออกซิเดชัน (oxidative ในการต้านอนุมูลอิสระ ต้านออกซิเดชัน และปกป้องอวัยวะ damage) ผลเสียหายต่อโมเลกุลเป้าหมายและเซลล์จะขึ้น ต่าง ๆ ในร่างกาย เป็นการช่วยลดความเสี่ยงที่จะท�ำให้เกิด กับลักษณะของโครงสร้างโมเลกุล ชนิดเซลล์ ชนิดอวัยวะ การบาดเจ็บ และอักเสบของร่างกายจากการท�ำลายของ และความรุนแรงของภาวะเครียดออกซิเดชันที่เกิดขึ้น อนุมูลอิสระ เช่น ว่านพญาวานร [2] และข้าวหมากจาก หากเกิดประจ�ำต่อเนื่องก็จะท�ำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ข้าวเหนียวด�ำพันธุ์ลืมผัว [3] เป็นต้น แต่ยังไม่มีการวิจัยของ ต่าง ๆ โรคมะเร็ง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคความ ยาในรูปแบบต�ำรับยาแผนไทยในการลดภาวะเครียด ดันโลหิตสูง โรคทางระบบประสาท ภาวะเสื่อมสภาพของ ออกซิเดชัน ร่างกาย และแก่ก่อนวัย [1] ซึ่งการเจ็บป่วยเรื้อรัง การ ยาธรณีสัณฑะฆาตเป็นต�ำรับยาที่ใช้รักษาโรคมา รับประทานยาบางชนิดต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ๆ การ ตั้งแต่สมัยโบราณ พบมีการบันทึกไว้ในต�ำราเวชศึกษาของ ออกก�ำลังกายแบบหักโหม การท�ำงานหนัก ความเครียด การ พระยาพิศณุ ประสาตรเวช ตามต�ำราบันทึกสรรพคุณไว้ว่า สูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รวมถึงสิ่งแวดล้อมรอบ เป็นยาแก้โรคในกลุ่มกษัยกล่อน ซึ่งอาการดังกล่าวเกิดจาก ตัว มลพิษต่าง ๆ เป็นเหตุส่งเสริมให้ร่างกายมีสารอนุมูลอิสระ เส้นเอ็นเป็นต้นเหตุท�ำให้เกิดโรค ได้รับคัดเลือกเข้าเป็นต�ำรับ ที่เพิ่มขึ้น เมื่อเกิดการเจ็บป่วยแล้วนอกจากจะมีผลกระทบ ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ถึง ต่อร่างกายแล้วยังมีผลต่ออารมณ์ จิตใจ การประกอบอาชีพ ปัจจุบัน มีส่วนประกอบของสมุนไพรทั้งหมด 26 ชนิด ได้แก่ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 19

พริกไทยล่อน ยาด�ำ เนื้อลูกสมอไทย มหาหิงคุ์ การบูร รงทอง วิธีด�ำเนินการวิจัย ผักแพวแดง เนื้อลูกมะขามป้อม ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบสุ่มมีกลุ่มควบคุม ลูกกระวาน ดอกกานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว หัวดองดึง หัวบุก (randomized controlled trial) เพื่อประเมินประสิทธิผล หัวกลอย หัวกระดาดขาว หัวกระดาดแดง ลูกเร่ว เหง้าขิง ของยาธรณีสัณฑะฆาตเปรียบเทียบกับยานาพรอกเซนในการ รากชะเอมเทศ รากเจตมูลเพลิงแดง โกษฐ์กระดูก โกษฐ์เขมา รักษาอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่าง และโกษฐ์น�้ำเต้า มีสรรพคุณแก้กษัยเส้น [4] จากการศึกษา เป็นผู้ป่วยเพศชายหรือเพศหญิง อายุระหว่าง 20-60 ปี ที่มี วิจัยในสมุนไพรเดี่ยวที่เป็นส่วนในประกอบในต�ำรับพบว่า อาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณคอ หรือบ่า หรือไหล่ หรือสะบัก สมุนไพรส่วนใหญ่มีฤทธิ์ลดอาการปวด ลดไข้ ฤทธิ์ต้านการ หรือหลังส่วนบน ไม่ต�่ำกว่า 3 เดือน มารับการตรวจรักษาที่ อักเสบ มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ลดความเครียดออกซิเดชัน ห้องตรวจผู้ป่วยนอกเวชศาสตร์ฟื้นฟู (OPD10) โรงพยาบาล เช่น พริกไทย [5] มะขามป้อม [6, 7] ลูกจันทน์และดอกจันทน์ ศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น [8] กานพลู [9] ยาด�ำ [10] สมอไทย [11] และการบูร [12] จ�ำนวน 82 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆกัน กลุ่มที่ 1 เป็นต้น ปัจจุบันมีการผลิตเพื่อใช้ในโรงพยาบาล เพื่อรักษา รักษาด้วยยาธรณีสัณฑะฆาต ขนาด 500 มิลลิกรัม รับประทาน อาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง อาการท้องผูก รวมทั้งผลิตเพื่อ ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ติดต่อกันเป็นเวลา จ�ำหน่ายในระบบโรงงานอุตสาหกรรม ผู้ป่วยสามารถซื้อได้ 14 วัน และกลุ่มที่ 2 รักษาด้วยยานาพรอกเซน ขนาด 250 ตามร้านขายยาทั่วไป มีการศึกษาความปลอดภัยของต�ำรับ มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร ยาธรณีสัณฑะฆาตโดยมีการทดสอบพิษเฉียบพลันและพิษ เช้าและหลังอาหารเย็นทันที ติดต่อกันเป็นเวลา 14 วัน

เรื้อรังในหนูทดลอง พบว่ามีความปลอดภัย LD50 มากกว่า 10 กรัมต่อกิโลกรัม ขนาดที่ใช้ในหนูทดลองสูงกว่าขนาดใช้ 1. เกณฑ์การคัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ ในคน 1,600 เท่า [13] และมีงานวิจัยทางคลินิกของยาธรณีสั 1.1 เป็นเพศชายหรือเพศหญิง อายุระหว่าง 20-60 ปีที่มารับ ณฑะฆาตในการลดอาการปวด ผู้ป่วยที่ได้รับยามีระดับ การตรวจรักษาที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอกเวชศาสตร์ฟื้นฟู (OPD อาการปวดลดลง องศาการเคลื่อนไหวของข้อได้มากขึ้น 10) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สามารถทนต่อแรงกดบนกล้ามเนื้อได้มากขึ้น [14] ขอนแก่น ดังนั้นงานวิจัยในครั้งนี้จึงสนใจศึกษาประสิทธิผล 1.2 มีอาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณคอ หรือบ่า หรือไหล่ หรือ ของยาธรณีสัณฑะฆาตในการลดภาวะเครียดออกซิเดชันใน สะบัก หรือหลังส่วนบน ผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรัง 1.3 ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและ ประสิทธิผลของยาธรณีสัณฑะฆาตต่อคุณภาพการนอนหลับ เยื่อพังผืดที่เข้าได้ตามเกณฑ์การวินิจฉัยของแนวทางเวช อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา และความพึงพอใจหลัง ปฏิบัติกลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อซึ่ง การใช้ยา เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนในการสั่งจ่ายยาของแพทย์ ประกอบด้วย แพทย์แผนไทยและบุคลากรสาธารณสุข มีประโยชน์ต่อผู้ป่วย - มีจุดปวดที่ไวต่อการกระตุ้น (active trigger ในการเป็นทางเลือกใช้ยาเมื่อเกิดอาการปวด ลดความเสี่ยง point) อย่างน้อย 1 ต�ำแหน่ง ในการเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาแผนปัจจุบัน และยัง - มีอาการนานมากกว่าหรือเท่ากับ 3 เดือน เป็นการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการแพทย์แผนไทยให้เป็น 1.4 ไม่มีโรคประจ�ำตัว โรคเรื้อรัง หรือโรคอ้วน ที่ยอมรับ เห็นผลเชิงประจักษ์ ตามนโยบายและแผนพัฒนา 1.5 ไม่มีประวัติการแพ้ยาสมุนไพรทุกชนิด และไม่มี เศรษฐกิจแห่งชาติ น�ำการแพทย์แผนไทยให้เป็นการแพทย์ ประวัติการแพ้ยานาพรอกเซนหรือยาแก้ปวดกลุ่มยาต้านการ ผสมผสานที่มีคุณภาพในอนาคต อักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ 20 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

1.6 ไม่ได้รับการผ่าตัดบริเวณคอ หรือบ่า หรือไหล่ หรือหลัง ตัวในโรงพยาบาลเป็นเวลานาน หรือเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องจาก ส่วนบน ในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้าร่วมโครงการวิจัย การใช้ยาธรณีสัณฑะฆาตหรือยานาพรอกเซนในโครงการวิจัย 1.7 ไม่ได้อยู่ในระหว่างการรักษาด้วยวิธีอื่น เช่น การนวด เท่านั้น ตั้งแต่ 1 คน ขึ้นไป การฝังเข็ม กายภาพบ�ำบัด ประคบสมุนไพร อบสมุนไพร และ รวมทั้งไม่ได้รับการรักษาที่อื่นร่วมด้วย 5. การบริหารยา 1.8 ไม่มีไข้ อุณหภูมิในร่างกายต�่ำกว่า 37.5 องศาเซลเซียส 5.1 กลุ่มที่ 1 จะได้รับการรักษาด้วยยาธรณีสัณฑะฆาต ขนาด 1.9 ผู้ป่วยยินยอมเข้าร่วมโครงการ แคปซูลละ 500 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ติดต่อกันเป็นเวลา 14 วัน 2. เกณฑ์การคัดเลือกอาสาสมัครออกจากโครงการ 5.2 กลุ่มที่ 2 จะได้รับการรักษาด้วยยานาพรอกเซน 2.1 สตรีในระหว่างตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร ขนาดเม็ดละ 250 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2.2 ปวดจากสาเหตุอื่นๆที่ท�ำให้มีอาการใกล้เคียงกับกลุ่ม 2 ครั้ง หลังอาหารเช้าและเย็นทันที ติดต่อกันเป็นเวลา 14 วัน อาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด ได้แก่ radiculopathy, myelopathy, disc herniation และ osteoarthritis 6. การประเมินประสิทธิผลในการรักษาของยา เป็นต้น 6.1 วัดปริมาณ 8-isoprostane และตรวจ urine creatinine 2.3 ผู้ที่มีประวัติเกี่ยวกับโรคติดเชื้อเรื้อรัง โรควัณโรค โรค ในปัสสาวะโดยให้อาสาสมัครเก็บปัสสาวะปริมาณ 30 มะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคผิวหนัง มิลลิลิตร หรือ 6 ช้อนชา แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนละ 15 แผลในกระเพาะอาหาร โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต มิลลิลิตร เพื่อตรวจปริมาณ 8-isoprostane โดยใช้ โรคตับ โรคลมชัก หรือร่างกายพิการ เป็นต้น 8-Isoprostane Elisa Kit ซึ่งเป็นตัวชี้วัดของภาวะเครียด 2.4 ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือ ออกซิเดชันในร่างกาย และตรวจ urine creatinine ใน ตัวเองได้ ปัสสาวะ ในวันที่ 1 และ วันที่ 15 2.5 ผู้ที่ใช้ยา antiplatelet และ anticoagulant 6.2 ประเมินคุณภาพการนอนหลับ ในวันที่ 1, 8 และวันที่ 15 แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับเป็นแบบสัมภาษณ์ที่ 3. เกณฑ์การให้เลิกจากการศึกษา ดัดแปลงมาจาก The Pittsburgh Sleep Quality Index 3.1 ผู้ป่วยที่มีอาการแพ้ยาธรณีสัณฑะฆาตหรือยา (PSQI) มีค�ำถามทั้งหมด 9 ข้อ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ นาพรอกเซน เช่น มีผื่นคัน ผิวหนังบวม เป็นต้น หรือมี 6.3 ประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา โดยอาสา ผลข้างเคียงอื่น ๆ ที่รุนแรงจากการใช้ยาธรณีสัณฑะฆาตหรือ สมัครจะได้รับแบบสอบถามเพื่อประเมินอาการข้างเคียงที่ ยานาพรอกเซน เช่น วิงเวียน ตาพร่า อาเจียน ท้องเสีย และ เกิดขึ้นทุกวัน เป็นเวลา 14 วัน ปวดศีรษะ เป็นต้น 6.4 ประเมินความพึงพอใจจากการใช้ยา โดยอาสาสมัครจะ 3.2 ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาหรือบ�ำบัดด้วยวิธีอื่นที่นอกเหนือ ต้องท�ำการประเมินตามแบบสอบถามที่ได้ ในวันที่ 15 คือ จากการใช้ยาในโครงการ เช่น นวดประคบสมุนไพร วันสุดท้ายของการเข้าร่วมโครงการ อบสมุนไพร ฝังเข็ม และกายภาพบ�ำบัด เป็นต้น 3.3 อาสาสมัครไม่ต้องการเข้าร่วมโครงการวิจัยต่อ 7. สถิติที่ใช้ในงานวิจัย 7.1 สถิติเชิงพรรณนา ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับ เพศ อาชีพ อายุ 4. เกณฑ์การพิจารณาเลิกหรือยุติการศึกษาทั้งโครงการ การศึกษา รายได้ ลักษณะการเจ็บป่วยต่าง ๆ น�ำมาแจกแจง ในระหว่างการเข้าร่วมโครงการผู้ป่วยมีอาการแพ้ เป็นร้อยละ (percent) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบน และมีภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรงถึงขั้นต้องนอนพักรักษา มาตรฐาน (standard division) ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 21

7.2 สถิติเชิงอนุมาน โดยก�ำหนดนัยส�ำคัญทางสถิติ (α = โดยการสุ่มอาสาสมัครเข้ากลุ่ม เก็บข้อมูลที่ห้องตรวจผู้ป่วย 0.05) การประเมินประสิทธิผลในการรักษา ได้แก่ ระดับ นอกเวชศาสตร์ฟื้นฟู (OPD10) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะ isoprostane ประเมินคุณภาพการนอนหลับ ก่อนการรักษา แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น มีผู้ และหลังการรักษาด้วยยาธรณีสัณฑะฆาตและยานาพรอก ป่วยเข้ามารับการคัดกรองเข้าร่วมโครงการวิจัยทั้งหมด เซน ของผู้ป่วยแต่ละรายโดยข้อมูลที่มีการกระจายแบบปกติ จ�ำนวน 125 คน มีผู้ป่วยที่ไม่ผ่านการคัดกรองเข้าร่วม (normal distribution) เปรียบเทียบค่าผลต่างภายในกลุ่ม โครงการวิจัยทั้งหมด จ�ำนวน 43 คน สาเหตุที่ไม่สามารถเข้า เดียวกัน โดยใช้สถิติ paired t-test และเปรียบเทียบระดับ ร่วมโครงการวิจัยได้เนื่องจาก มีโรคประจ�ำตัว ได้แก่ ความ อาการปวดกล้ามเนื้อระหว่างกลุ่ม โดยใช้สถิติ unpaired ดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน การท�ำงานของตับ และการกรอง t-test ข้อมูลที่มีการกระจายแบบไม่ปกติ (non-normal ของไตไม่ดี มีประวัติแพ้ยากลุ่ม NSAIDs อยู่ในระหว่างการ distribution) ใช้สถิติ nonparametric test ตั้งครรภ์ อายุน้อยกว่า 20 ปี เป็นต้น โดยมีอาสาสมัครที่ผ่าน เกณฑ์เข้าร่วมโครงการวิจัยทั้งสิ้น จ�ำนวน 82 คน โดยแบ่ง ผลการวิจัย เป็นกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซน จ�ำนวน 41 คน การศึกษาวิจัยทางคลินิกเกี่ยวกับการลดภาวะ และกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาต จ�ำนวน 41 เครียดออกซิเดชันในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อ คน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติได้ผลดังตารางต่อไปนี้ พังผืดเรื้อรังของยาธรณีสัณฑะฆาตเทียบกับยานาพรอกเซน

ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปอาสาสมัครที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรังของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะ ฆาต และกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซน ลักษณะทั่วไป ธรณีสัณฑะฆาต นาพรอกเซน p-value จ�ำนวน (%) จ�ำนวน (%) เพศ (n=41) (n=41) 0.556 ชาย 2 (4.88%) 1 (2.44%) 0.813 หญิง 39 (95.12%) 40 (97.56%) อายุเฉลี่ย (ปี) 38.17±9.354 37.66±10.133 ช่วงอายุ (ปี) 24-55 22-53 ระดับการศึกษา (n=41) (n=41) 0.612 ต�่ำกว่าประถมศึกษา 1 (2.44%) 1 (2.44%) ประถมศึกษา 1 (2.44%) 6 (14.63%) มัธยมศึกษาตอนต้น 6 (14.63%) 5 (12.20%) มัธยมศึกษาตอนปลายหรือปวช. 8 (19.51%) 6 (14.63%) อนุปริญญาหรือปวส. 6 (14.63%) 8 (19.51%) ปริญญาตรี 17 (41.47%) 12 (29.27%) สูงกว่าปริญญาตรี 2 (4.88%) 3 (7.32%) 22 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ลักษณะทั่วไป ธรณีสัณฑะฆาต นาพรอกเซน p-value จ�ำนวน (%) จ�ำนวน (%) สถานภาพ (n=41) (n=41) 0.876 โสด 15 (36.58%) 12 (29.27%) คู่ 23 (56.10%) 24 (58.53%) ม่าย 0 (0.00%) 1 (2.44%) แยกกันอยู่ 1 (2.44%) 1 (2.44%) หย่าร้าง 2 (4.88%) 3 (7.32%) อาชีพ (n=41) (n=41) 0.392 รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 11 (26.83%) 5 (12.20%) ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 2 (4.88%) 2 (4.88%) รับจ้างทั่วไป 12 (29.27%) 13 (31.70%) ลูกจ้าง รพ./แม่บ้าน 5 (12.19%) 8 (19.51%) พนักงานราชการ 3 (7.32%) 4 (9.76%) นักศึกษา 8 (19.51%) 9 (21.95%)

รายได้ (n=41) (n=41) 0.374 10,000 บาทหรือน้อยกว่า 23 (56.10%) 24 (58.54%) มากกว่า 10,000-20,000 บาท 9 (21.95%) 11 (26.83%) มากกว่า 20,000-30,000 บาท 6 (14.63%) 2 (4.88%) มากกว่า 30,000 บาทขึ้นไป 3 (7.32%) 4 (9.75%)

จากตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยา กลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนส่วนใหญ่เป็น ธรณีสัณฑะฆาตส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 95.12 มีอายุตั้งแต่ เพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 97.56 มีอายุตั้งแต่ 22-53 ปี อายุเฉลี่ย 24-55 ปี และอายุเฉลี่ยเท่ากับ 38.17±9.354 ปี ระดับการศึกษา เท่ากับ 37.66±10.133 ปี การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี จ�ำนวน อยู่ในระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 41.47 12 คน คิดเป็นร้อยละ 29.27 รองลงมาคือ ระดับอนุปริญญา/ปวส. รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. จ�ำนวน 8 คน จ�ำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.51 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ คิดเป็นร้อยละ 19.51 ระดับอนุปริญญา/ปวส. และมัธยมศึกษา ปวช. และประถมศึกษา จ�ำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.63 ตอนต้น จ�ำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.63 สถานภาพส่วนใหญ่ สถานภาพส่วนใหญ่อยู่ในสถานะคู่ จ�ำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ อยู่ในสถานะคู่ จ�ำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 56.10 รองลงมา 58.53 และสถานภาพโสด จ�ำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 29.27 สถานะโสด จ�ำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 36.58 ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป จ�ำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 31.70 รับจ้างทั่วไป จ�ำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 29.27 รองลงมาคือ รองลงมาคือ นักศึกษา จ�ำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.95 ลูกจ้าง รับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ จ�ำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ รพ./แม่บ้าน จ�ำนวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 19.51 และ รับราชการ/ 26.38 และนักศึกษา จ�ำนวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 19.51 รายได้ พนักงานรัฐวิสาหกิจ จ�ำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.20 รายได้ ส่วนใหญ่อยู่ที่ 10,000 บาทหรือน้อยกว่า จ�ำนวน 23 คน คิดเป็น ส่วนใหญ่อยู่ที่ 10,000 บาทหรือน้อยกว่า จ�ำนวน 24 คน คิดเป็น ร้อยละ 56.10 รองลงมาคือ มากกว่า 10,000-20,000 บาท ร้อยละ 58.54 รองลงมาคือ มากกว่า 10,000-20,000 บาท จ�ำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.29 และมากกว่า 20,000-30,000 จ�ำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.83 และมากกว่า 30,000 บาท จ�ำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.63 จ�ำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.75 ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 23

ตารางที่ 2 ระดับ isoprostane ของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตและกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซน

กลุ่ม ผลการศึกษา วันที่รักษา Median Median ค่าเฉลี่ย p-value วันที่ 0 วันที่ 15 วันที่ 0 วันที่ 15 df. ผลต่าง Urine isoprostane 780.90±578.794 1074.38± 715.75 955.30 -239.55 -293.47 <0.001* (pg/ml)1 785.511 Urine creatinine 77.45± 86.47± 60.60 77.90 -17.30 -9.02 <0.001* (mg/dl)1 62.612 58.207 Urine isoprostane 1.25± 1.34± 0.96 1.15 -0.19 -0.09 0.530 /creatinine 1.224 0.697 ยาธรณีสัณฑะฆาต (n=38) (pg/mg creatinine)1 Urine isoprostane 672.11±752.905 619.30± 371.50 398.70 -27.20 52.81 0.326 (pg/ml)1 696.029 Urine creatinine 111.03±82.372 100.60± 101.40 85.80 15.60 10.43 0.005* (mg/dl)1 65.449 Urine isoprostane 0.64± 0.67± 0.57 0.62 -0.05 -0.03 0.137

ยานาพรอกเซน (n=41) /creatinine 0.517 0.635 (pg/mg creatinine)1 หมายเหตุ 1Nonparametric test, ค่าเฉลี่ย±ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน * มีนัยส�ำคัญ (p<0.05)

จากตารางที่ 2 ระดับ isoprostane ของกลุ่มอาสา 3000 pg/mg urinary creatinine) [10] ค่า urine creatinine สมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตและกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานา เพิ่มขึ้นหลังรับประทานยาค่าเฉลี่ยผลต่างเท่ากับ -9.02 แตกต่าง พรอกเซนการวัด isoprostane ในการวิจัยครั้งนี้ใช้ ชุดทดสอบ อย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.05) แต่ยังอยู่ในเกณฑ์ปกติ ส่วนกลุ่มอาสา 8-isoprostane elisa kit โดยมีค่า validation curve ของ สมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนมีแนวโน้มลดลงของ isoprostane standard มีค่า R² = 0.9935 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มอาสาสมัคร ค่าเฉลี่ยผลต่างเท่ากับ 52.81 แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญ ที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตหลังรับประทานยาในวันที่ 15 มี (p<0.05) ค่า urine creatinine ลดลงหลังรับประทานยาค่าเฉลี่ย แนวโน้มเพิ่มขึ้นของ isoprostane ค่าเฉลี่ยผลต่างเท่ากับ -293.47 ผลต่างเท่ากับ 10.43 แตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.05) แตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญ(p<0.05) แต่ก็ยังอยู่ในช่วงปกติ (500- 24 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 3 คุณภาพการนอนหลับเปรียบเทียบภายในกลุ่มของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตและกลุ่มอาสา สมัครที่ได้รับยานาพรอกเซน กลุ่มอาสาสมัคร วันที่รักษา ค่าเฉลี่ยผลต่าง p-value วันที่ 0 วันที่ 8 วันที่ 15 ยาธรณีสัณฑะฆาต (n=38) 5.85±2.297 4.54±2.156 3.95±2.156 1.90±2.518 <0.001* ยานาพรอกเซน (n=41) 5.76±1.923 4.24±1.852 3.66±1.864 2.111±1.928 <0.001*

ตารางที่ 4 คุณภาพการนอนหลับเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตและกลุ่มอาสา สมัครที่ได้รับยานาพรอกเซน วันที่ กลุ่มอาสาสมัคร p-value ยาธรณีสัณฑะฆาต (n=38) ยานาพรอกเซน (n=41) วันที่ 0 (n=41) 5.76±1.923 (n=41) 5.85±2.297 0.851 วันที่ 8 (n=39) 4.24±1.852 (n=41) 4.54±1.598 0.443 วันที่ 15 (n=38) 3.66±1.864 (n=41) 3.95±2.156 0.521

ค่าคะแนนจากแบบสอบถามคุณภาพการนอนหลับ คะแนนการนอนหลับลดลง อย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.05) แสดง อาสาสมัครประเมินตัวเองถ้าได้คะแนนระดับ 5 ขึ้นไป หมาย ว่าคุณภาพการนอนหลับดีขึ้น เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ถึงว่าคุณภาพการนอนหลับไม่ดี จากตารางที่ 3 การวิจัย จากตารางที่ 4 พบว่าคุณภาพการนอนหลับเมื่อเปรียบเทียบ เปรียบเทียบภายในกลุ่มของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสั ระหว่างกลุ่มของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาต ณฑะฆาตและกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนพบว่า และกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนพบว่าหลังการ อาสาสมัครทั้งสองกลุ่มหลังรับประทานยาในวันที่ 15 มีค่า รักษาในวันที่ 15 ไม่แตกต่างกัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 25

ตารางที่ 5 อาการไม่พึงประสงค์หลังจากได้รับประทานยาของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตและกลุ่มอาสาสมัคร ที่ได้รับยานาพรอกเซน อาการข้างเคียง ยาธรณีสัณฑะฆาต ยานาพรอกเซน p-value จ�ำนวน (%) จ�ำนวน (%) ผู้ป่วยที่มีอาการข้างเคียง (n=38) (n=41) คลื่นไส้ 9 (23.68%) 6 (14.63%) 0.305 อาเจียน 1 (2.63%) 0 (0.00%) 0.296 ท้องอืด 6 (15.79%) 7 (17.07%) 0.878 ปวดท้อง 2 (5.26%) 3 (7.32%) 0.708 ท้องผูก 2 (5.26%) 10 (24.39%) 0.018* ปวดศีรษะ 8 (21.05%) 8 (19.51%) 0.865 มึนงง 8 (21.05%) 5 (12.20%) 0.289 ถ่ายเหลว 18 (47.37%) 7 (17.07%) 0.004* บวม 0 (0.00%) 1 (2.44%) 0.333 ผื่น 1 (2.63%) 0 (0.00%) 0.296 คัน 2 (5.26%) 0 (0.00%) 0.137 ใจสั่น 5 (13.16%) 2 (4.88%) 0.196 สับสน 1 (2.63%) 2 (4.88%) 0.602 วิตกกังวล 1 (2.63%) 2 (4.88%) 0.602 แผลในปาก 1 (2.63%) 1 (2.44%) 0.957 ชา 1 (2.63%) 4 (9.76%) 0.194 ชัก 0 (0.00%) 0 (0.00%) - ซีด 0 (0.00%) 0 (0.00%) - อื่นๆ 2 (5.26%) 8 (19.51%) 0.057 หมายเหตุ ข้อค�ำถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ ทดสอบด้วย Chi-square test * มีนัยส�ำคัญ (p<0.05) จากตารางที่ 5 อาการไม่พึงประสงค์หลังจากได้รับ สรรพคุณช่วยแก้ เถาดาน พรรดึก (ท้องผูก) ได้แก่ ยาด�ำ ประทานยาของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาต รงทอง และโกษฐ์น�้ำเต้า เป็นต้น รองลงมาคือ อาการคลื่นไส้ และกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนพบว่ากลุ่มอาสา จ�ำนวน 9 คน คิดเป็น ร้อยละ 23.68 อาการปวดศีรษะและ สมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตมีอาการไม่พึงประสงค์ที่พบ อาการมึนงงอย่างละเท่ากัน จ�ำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ มากที่สุดคือ ถ่ายเหลว จ�ำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 47.37 21.05 ส่วนกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนมีอาการ ซึ่งแตกต่างจากกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนอย่าง ไม่พึงประสงค์ที่พบมากที่สุดคือ ท้องผูก จ�ำนวน 10 คน มีนัยส�ำคัญ (p<0.05) แต่ไม่ใช่อาการข้างเคียงที่เกิดจากยา คิดเป็นร้อยละ 24.39 ซึ่งแตกต่างจากกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับ ในต�ำรับยาธรณีสัณฑะฆาตมีสมุนไพรที่ช่วยในการระบาย มี ธรณีสัณฑะฆาตอย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.05) 26 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 6 ความพึงพอใจหลังรับประทานยาของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตและกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยา นาพรอกเซน ความพึงพอใจ ยาธรณีสัณฑะฆาต จ�ำนวน (%) ยานาพรอกเซน จ�ำนวน (%) p-value (n=38) (n=41) รูปลักษณ์ของยา ชอบมาก 6 (15.79%) 4 (9.76%) 0.420 ชอบ 27 (71.05%) 26 (63.41%) 0.470 ปานกลาง 5 (13.16%) 10 (24.39%) 0.203 ไม่ชอบ 0 (0.00%) 1 (2.44%) 0.333 ไม่ชอบมาก 0 (0.00%) 0 (0.00%) - การนอนหลับ ชอบมาก 14 (36.84%) 10 (24.39%) 0.229 ชอบ 16 (42.11%) 22 (53.66%) 0.304 ปานกลาง 7 (18.42%) 8 (19.51%) 0.902 ไม่ชอบ 0 (0.00%) 1 (2.44%) 0.333 ไม่ชอบมาก 1 (2.63%) 0 (0.00%) 0.296 การระบาย ชอบมาก 18 (47.37%) 6 (14.63%) 0.002* ชอบ 14 (36.84%) 15 (36.59%) 0.981 ปานกลาง 6 (15.79%) 16 (39.02%) 0.021* ไม่ชอบ 0 (0.00%) 3 (7.32%) 0.089 ไม่ชอบมาก 0 (0.00%) 1 (2.44%) 0.333

ความปลอดภัย ชอบมาก 14 (36.84%) 8 (19.51%) 0.086 ชอบ 19 (50.00%) 22 (53.66%) 0.745 ปานกลาง 4 (10.53%) 7 (17.07%) 0.401 ไม่ชอบ 1 (2.63%) 3 (7.32%) 0.343 ไม่ชอบมาก 0 (0.00%) 1 (2.44%) 0.333

ลดความเครียด ชอบมาก 11 (28.95%) 10 (24.39%) 0.647 ชอบ 20 (52.63%) 23 (56.10%) 0.757 ปานกลาง 5 (13.16%) 8 (19.51%) 0.447 ไม่ชอบ 2 (5.26%) 0 (0.00%) 0.137 ไม่ชอบมาก 0 (0.00%) 0 (0.00%) - ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 27

ความพึงพอใจ ยาธรณีสัณฑะฆาต จ�ำนวน (%) ยานาพรอกเซน จ�ำนวน (%) p-value (n=38) (n=41) ภาพรวมทั้งหมด ชอบมาก 17 (44.74%) 15 (36.58%) 0.461 ชอบ 20 (52.63%) 24 (58.54%) 0.598 ปานกลาง 1 (2.63%) 2 (4.88%) 0.602 ไม่ชอบ 0 (0.00%) 0 (0.00%) - ไม่ชอบมาก 0 (0.00%) 0 (0.00%) - จากตารางที่ 6 ความพึงพอใจของอาสาสมัครหลัง จ�ำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 53.66 ลดความเครียดอยู่ใน เข้าร่วมโครงการวิจัยของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยา ระดับชอบ จ�ำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 56.10 และภาพ ธรณีสัณฑะฆาตและกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซน รวมทั้งหมดของการเข้าร่วมโครงการวิจัยพึงพอใจอยู่ในระดับ พบว่า กลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตส่วนใหญ่ ชอบมาก จ�ำนวน 15 คน ระดับชอบ จ�ำนวน 24 คน คิดเป็น พึงพอใจในประเด็นรูปลักษณ์ของยาที่ได้รับประทานอยู่ใน ร้อยละ 36.58 และ 58.54 ตามล�ำดับ ระดับชอบ จ�ำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 71.05 คุณภาพ การนอนหลับอยู่ในระดับชอบมาก จ�ำนวน 14 คน ระดับชอบ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย จ�ำนวน 16 คน คิด เป็นร้อยละ 36.84 และ 42.11 ตามล�ำดับ การศึกษาวิจัยทางคลินิกของยาธรณีสัณฑะฆาตซึ่ง การระบายอยู่ในระดับชอบมาก จ�ำนวน 18 คน คิดเป็นร้อย เป็นต�ำรับยาไทยที่บรรจุเป็นต�ำรับยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ละ 47.37 แตกต่างจากลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยานาพรอกเซน มีสรรพคุณในการรักษากษัยเส้น เถาดาน พรรดึก ซึ่งเป็น อย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.05) อยู่ในระดับชอบ จ�ำนวน 14 คน ลักษณะของโรคเรื้อรังอย่างหนึ่งที่มีอาการเส้นเอ็นตึง แข็ง คิดเป็นร้อยละ 36.84 ความปลอดภัยจากการใช้ยาอยู่ใน พันกันเป็นเกลียว อาการท้องผูกเรื้อรัง จนแข็งเป็นเถาดาน ระดับชอบมาก จ�ำนวน 14 คน ระดับชอบ จ�ำนวน 19 คน เป็นหิน ยาธรณีสัณฑะฆาตนี้จึงมีหน้าที่ในการระบายของเสีย คิดเป็นร้อยละ 36.84 และ 50.00 ตามล�ำดับ ลดความเครียด และสิ่งสกปรกสะสมในล�ำไส้ ขับลมในท้อง ในล�ำไส้ ใน อยู่ในระดับชอบ จ�ำนวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ 52.63 และ เส้นเอ็น โดยอุจจาระที่ขับออกมาจะเป็นรูปของเหลว เมื่อ ภาพรวมทั้งหมดของการเข้าร่วมโครงการวิจัยพึงพอใจอยู่ใน สิ้นสุดโครงการวิจัยแล้วในวันที่ 15 อาสาสมัครไม่มาติดตาม ระดับชอบมาก จ�ำนวน 17 คน ระดับชอบ จ�ำนวน 20 คน ผลการรักษาจ�ำนวน 3 ราย จึงเหลืออาสาสมัครเพียง 79 คน คิดเป็นร้อยละ 44.74 และ 52.63 ตามล�ำดับ ส่วนกลุ่มอาสา เป็นกลุ่มที่ได้รับยานาพรอกเซน 41 คน และกลุ่มที่ได้รับยา สมัครที่ได้รับยานาพรอกเซนส่วนใหญ่พึงพอใจในประเด็นรูป ธรณีสัณฑะฆาต 38 คน ผลการศึกษาพบว่าการรับประทาน ลักษณ์ของยาที่ได้รับประทานอยู่ในระดับชอบ จ�ำนวน 26 ยาธรณีสัณฑะฆาต ขนาด 500 มก. ครั้งละ 2 แคปซูล คน คิดเป็นร้อยละ 63.41 คุณภาพการนอนหลับอยู่ในระดับ ก่อนนอน ติดต่อกันเป็นเวลานาน 14 วัน ไม่มีผลในการลด ระดับชอบ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 53.66 การระบายอยู่ใน ภาวะเครียดออกซิเดชัน ซึ่งอาจมีปัจจัยอื่น ๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง ระดับชอบ จ�ำนวน 15 คน อยู่ในระดับปานกลาง จ�ำนวน 16 เช่น ระยะเวลาที่รับประทานยา ขนาดยาที่รับประทาน ซึ่งยัง คนแตกต่างจากลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาต ไม่มีข้อสรุปของประสิทธิผลของยาที่ชัดเจน ทั้งนี้ควรจะวัด อย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.05) คิดเป็นร้อยละ 36.59 และ 39.02 ประสิทธิผลในการลดภาวะเครียดออกซิเดชันในวิธีอื่น ๆ เพิ่ม ตามล�ำดับ ความปลอดภัยจากการใช้ยาอยู่ในระดับชอบ เติม เช่น FRAB และ MDA เพื่อยืนยันประสิทธิผลใน หลาย ๆ 28 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

วิธี ส่วนการประเมินคุณภาพการนอนหลับของอาสาสมัครที่ ภก.อรรถพล คนต�่ำ ภญ.ฉัตรชนก นุกูลกิจ และภญ.พิมพิชญา ได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตหลังได้รับยา พบว่ามีคุณภาพการ แสงชาติ ที่ให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำ อนุเคราะห์อุปกรณ์ ช่วยเหลือ นอนหลับดีขึ้นอย่างชัดเจน ซึ่งสาเหตุที่ท�ำให้การนอนหลับได้ เกี่ยวกับงานวิจัยจนสามารถส�ำเร็จผลได้อย่างสมบูรณ์ ดีขึ้นนั้นมีความเชื่อมโยงมาจากการเจ็บป่วย เมื่ออาสาสมัคร ขอขอบคุณทุนวิจัยส�ำหรับคณาจารย์บัณฑิตศึกษา บัณฑิต มีอาการปวดเรื้อรัง ในทางแพทย์แผนไทยอาการปวดนี้เกิด วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอขอบคุณกองทุน จากลมในเส้นเดินไม่สะดวก ท�ำให้เส้นเอ็นรัด พัน กันเป็น ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและ เกรียว ท�ำให้เกิดกล้ามเนื้อแข็งเกร็งบริเวณส่วนต่าง ๆ เช่น แพทย์ทางเลือก ที่สนับสนุนทุนศึกษาวิจัย และขอขอบคุณ คอ บ่า ไหล่ และหลัง รวมไปถึงท้องซึ่งเป็นสาเหตุท�ำให้ นางนวลฉวี แท่นค�ำ มารดาผู้อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จทุก ท้องผูกร่วมด้วย อาการไม่สบายดังกล่าวท�ำให้อาสาสมัครเกิด อย่าง ให้ความเอาใจใส่ผู้วิจัยเป็นอย่างดีเยี่ยมสนับสนุนการ ความเครียดและวิตกกังวล เป็นผลให้เกิดการนอนไม่หลับ ศึกษาอย่างเต็มที่ เมื่อได้รับยาธรณีสัณฑะฆาตเข้าไป ยาจะไปช่วยขับลม ลดอาการปวด และระบาย ท�ำให้อาการเจ็บป่วยลดน้อยลง เอกสารอ้างอิง ความวิตกกังวลลดลงจึงท�ำให้อาสาสมัครนอนหลับได้ดีขึ้น 1. สมาคมเพื่อการวิจัยอนุมูลอิสระไทย. อนุมูลอิสระและ [14, 15] อาการหลังรับประทานยาธรณีสัณฑะฆาตที่พบคือ สารต้านอนุมูลอิสระ. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: สมาร์ท อาการถ่ายเหลวซึ่งหากเป็นยาตัวอื่นอาจจะเป็นอาการไม่พึง โคตรติ้ง แอนด์ เซอร์วิส; 2555. ประสงค์ได้ แต่ในยาธรณีสัณฑะฆาตไม่ใช่สิ่งที่ผิดปกติ 2. สุภาภรณ์ อุดมทรัพย์. ฤทธิ์ปกป้องเซลล์ตับและต้าน เนื่องจากสรรพคุณของยาธรณีสัณฑะฆาตนั้นมีสรพพคุณใน ออกซิเดชันของว่านพญาวานร (Pseuderanthemum การระบาย จะท�ำให้เกิดการถ่ายเหลว จากการสอบถามอาสา palatiferum) ต่อความเสียหายจากปฏิกิริยา สมัครที่ได้รับยาถึงอาการถ่ายเหลว พบว่าอาสาสมัครมีความ ออกซิเดชันที่เหนี่ยวน�ำด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ พึงพอใจในสรรพคุณการระบายของยาธรณีสัณฑะฆาต ไม่มี ในเซลล์ HepG2. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร อาการปวดมวนท้องก่อนการขับถ่ายและขับถ่ายครั้งเดียวก็ มหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยาทางสัตว หยุด ไม่เรื้อรัง ความพึงพอใจหลังการได้รับยาในภาพรวมอยู่ แพทยศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ ในระดับชอบถึงชอบมาก ส่วนค่า Urine creatinine เพิ่มขึ้น มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ; 2554. นั้นไม่มีผลต่อไต เนื่องจากยังอยู่ในเกณฑ์ปกติ เพศชาย (40- 3. ยศพร พลายโถ. ฤทธิ์การป้องกันภาวะเครียดจาก 278 mg/dL) เพศหญิง (29-226 mg/dL) [16] ดังนั้นสรุป ออกซิเดชันในเซลล์ล�ำไส้มนุษย์ของข้าวหมากจากข้าว ได้ว่ายาธรณีสัณฑะฆาตมีประโยชน์ในการช่วยให้นอนหลับ เหนียวด�ำพันธุ์ลืมผัว. วารสารวิทยาศาสตร์และ ได้ดีขึ้น ผลข้างเคียงน้อย และช่วยในการระบายได้ดี จึงเหมาะ เทคโนโลยี 2559; 24(5):813-30. ส�ำหรับผู้ป่วยที่ต้องการรักษาด้วยสมุนไพรหรือแผนทางเลือก 4. คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ. บัญชียาหลัก ในการรักษา นับเป็นทางเลือกของบุคลากรสาธารณสุขในการ แห่งชาติ. [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 20 ม.ค. เลือกใช้ยาได้ 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.fda.moph. go.th/sites/drug/Shared%20Documents/New/ กิตติกรรมประกาศ nlem2561.PDF ผู้วิจัยขอขอบคุณ รศ.ดร.นุจรี ประทีปะวณิช 5. Wang B, Zhang Y, Huang J, Dong L, Li T, Fu X. จอห์นส ผศ.พญ.รัตนา วิเชียรศิริ รศ.นพ.ณัฐเศรษฐ มนิมนากร Anti-inflammatory activity and chemical ผศ.ดร. สุพัตรา ปรศุพัฒนา รศ.ดร.วงศ์วิวัฒน์ ทัศนียกุล composition of dichloromethane extract from ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 29

Piper nigrum and Piper longum on permanent 11. Saha S, Verma RJ. Antioxidant activity of focal cerebral ischemia injury in rats. Rev Bras polyphenolic extract of Terminalia chebula Farmacogn 2017;27:369-74. Retzius fruits. Integr Med Res 2016;10(6):805- 6. Liu X, Zhao M, Wang J, Yang B, Jiang Y. 12. Antioxidant activity of methanolic extract of 12. Su J, Chen J, Liao S, Li L, Zhu L, Chen L. emblica fruit (Phyllanthus emblica L.) from Composition and biological activities of the six regions in China. J Food Compos Anal essential oil extracted from a novel plant of 2008;21(3):219-28. Cinnamomum camphora Chvar. Borneol J 7. Chatterjee UR, Bandyopadhyay SS, Ghosh D, Med Plants Res 2012;6:3487-94. Ghosal PK, Ray B. In vitro anti-oxidant activity 13. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. ยาธรณีสัณฑะฆาต: fluorescence quenching study and structural คุณภาพวัตถุดิบและความปลอดภัยของต�ำรับ. พิมพ์ features of carbohydrate polymers from ครั้งที่ 1. นนทบุรี: บริษัท 1241 มิราคูลัส จ�ำกัด; 2555. Phyllanthus emblica. Int J Biol Macromol 14. อมลวัทน์ แท่นค�ำ. ประสิทธิผลของยาธรณีสัณฑะฆาต 2011;49(4):637-42. เทียบกับยานาพรอกเซนในการรักษาอาการปวดกล้าม 8. Cao GY, Xu W, Yang XW, Gonzalez FJ, Li F. เนื้อและเยื่อพังพืดเรื้อรัง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ New neolignans from the seeds of Myristica มหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมแผนไทย, บัณฑิต fragrans that inhibit nitric oxide production. วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น; 2560. Food Chem 2015;173:231-7. 15. Jason D, Morrow L, Jackson R. Quantification 9. Baghshahi H, Riasi A, Mahdavi AH, Shirazi A. of noncyclooxygenase derived prostanoids as Antioxidant effects of clove bud (Syzygium a marker of oxidative stress. Free Radic Biol aromaticum) extract used with different Med 1991;10(3-4):195-200. extenders on ram spermatozoa during 16. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. คู่มือการส่งตรวจ cryopreservation. Cryobiology 2014;69(3):482- ทางห้องปฏิบัติการ [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 87. 17 มิ.ย. 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://www.si. 10. Kumar S, Yadav A, Yadav M, Yadav J.P. Effect mahidol.ac.th/th/manual/Project/pdf/ of climate change on phytochemical diversity, creatinine.pdf total phenolic content and in vitro antioxidant activity of Aloe vera (L.) Burm.f. BMC Res Notes 2017;10(1):60. 30 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

คุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดี ของสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและจ�ำปา Antioxidant properties and the inhibition of cholangiocarcinoma cell proliferation from leaf extracts of Michelia alba and Michelia champaca

ศรมน สุทิน1* พัชรี ภคกษมา1 กิตติพัฒน์ โสภิตธรรมคุณ1 ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ2 และ นพวัฒน์ เพ็งค�ำศรี3 1 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สมุทรปราการ 10540 2 กลุ่มวิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สมุทรปราการ 10540 3 กลุ่มวิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สมุทรปราการ 10540 Soramon Sutin1*, Patcharee Pakakatsama1, Kittipat Sopitthummakhun1, Panthip Rattanasinganchan2 and Noppawat Pengkumsri3 1 Division of Physical Science, Faculty of Science and Technology, Huachiew Chalermprakiet University, Samutprakarn 10540 2 Division of Clinical Chemistry, Faculty of Medical Technology, Huachiew Chalermprakiet University, Samutprakarn 10540 3 Division of Pharmaceutical Chemistry, Faculty of Pharmacy, Huachiew Chalermprakiet University, Samutprakarn 10540 Received: 17 April 2019/ Revised: 7 June 2019/ Accepted: 21 June 2019

บทคัดย่อ กลุ่มผู้วิจัยได้ศึกษาคุณสมบัติของสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปี (Michelia alba) และจ�ำปา (Michelia champaca) ด้วยวิธีการสกัดด้วยตัวท�ำละลายอินทรีย์ คือ เฮกเซน เอทิลอะซิเตท และเมทานอล ตัวอย่างในการวิเคราะห์ คือ ใบจากต้นจ�ำปีและจ�ำปาที่เก็บได้จากช่วงเดือนมกราคม เมษายน และมิถุนายน ในปี พ.ศ. 2559 โดยน�ำมาทดสอบการ ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH scavenging assay ผลการทดสอบพบว่า สารสกัดหยาบในเมทานอลจากใบต้นจ�ำปีและ จ�ำปาที่เก็บใบทั้ง 3 ช่วงเวลา มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระดีกว่าสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและจ�ำปาในเฮกเซนและเอทิล อะซิเตท เมื่อเปรียบเทียบกับสารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐาน BHT พบว่า สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปาที่เก็บในเดือนมกราคม

และมิถุนายนมีค่า IC50 เท่ากับ 0.018+0.001 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ซึ่งมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระดีกว่าสารต้าน

อนุมูลอิสระมาตรฐาน BHT ที่มีค่า IC50 เท่ากับ 0.048 + 0.002 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร นอกจากนี้พบว่าสารสกัดหยาบใน เอทิลอะซิเตทของใบต้นจ�ำปาที่เก็บในเดือนมกราคมมีฤทธิ์การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด RMCCA-1

ซึ่งวัดได้ด้วยวิธีทดสอบ MTT มีค่าการยั้ง IC50 เท่ากับ 13.51+1.12 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร โดยสารสกัดจากใบต้นจ�ำปีและ จ�ำปาที่ความเข้มข้นในช่วงเดียวกับที่ใช้ทดสอบเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด RMCCA-1 ไม่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ท่อ

Corresponding author: [email protected] ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 31

น�้ำดีปกติชนิด MMNK-1 จากผลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าสารสกัดจ�ำปีและจ�ำปามีความสามารถต้านอนุมูลอิสระและยับยั้ง การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง การศึกษานี้มีประโยชน์ในการเป็นทางเลือกในการพัฒนายาต้านมะเร็งในอนาคต อย่างไร ก็ตามกลไกในการต้านการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดียังคงต้องศึกษาต่อไปในอนาคต

ค�ำส�ำคัญ: มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด RMCCA-1 การต้านอนุมูลอิสระ บิวทิเลต ไฮดรอกซิลโทลูอีน จ�ำปี จ�ำปา

Abstract Our research group studied the properties of crude extracts from Michelia alba and Michelia champaca leaves using the extraction method in the organic solvent i.e. hexane, ethyl acetate and methanol. The subjects of analysis were the collection of M. alba and M. champaca leaves from different time in January, April and June in 2016 which compared the antioxidant properties via DPPH scavenging assay. The results shown that the extraction of M. alba and M. champaca in methanol from all three periods composed of antioxidant properties more than the extraction M. alba and M. champaca in hexane and ethyl acetate. Additionally, the comparing of antioxidant properties with BHT, standard antioxidant agent, were found that the extraction of M. champaca in methanol from January and June can determine the IC50 to be 0.018+0.001 mg/mL. These results suggested the better antioxidant values

than the standard antioxidant BHT which can determine the IC50 to be 0.048+0.002 mg/mL. Moreover, the extraction of M. champaca in ethyl acetate in January inhibited cell proliferation of Cholangiocarcinoma

RMCCA-1 with IC50 of 13.51 + 1.12 µg/mL using the MTT assay method for detection. The range in the concentration of M. alba and M. champaca leaves extracts were applied to determine the effect against the cell proliferation in Cholangiocyte MMNK-1. The results shown that there is not significant affect the cell proliferation in MMNK-1. Together, results of this study show that crude extract of M. alba and M. champaca have antioxidant properties and anti-cancer cell proliferation. This study may be useful for the development of some alternative anti-cancer drug in the future. However, mechanism of inhibition of cholangiocarcinoma cell proliferation may be further elucidate.

Keywords: Cholangiocarcinoma RMCCA-1, antioxidant, Butylated hydroxyltoluene (BHT), Michelia alba, Michelia champaca

บทน�ำ ก�ำเนิดทางจีนตอนใต้และมาเลเซีย ใบต้มกับน�้ำระงับไอ และ จ�ำปี (Michelia alba) และจ�ำปา (Michelia แก้หลอดลมอักเสบ ส่วนจ�ำปาเป็นไม้ต้น สูงกว่าจ�ำปี champaca) เป็นไม้ยืนต้นอยู่ในวงศ์ Magnoliaceae จ�ำปี ยอดอ่อน ใบอ่อนมีขน ใบแก่เกลี้ยง ใบเดี่ยวออกเรียงสลับ เป็นไม้ต้นสูงถึง 20 เมตร ใบเดี่ยว ออกเวียนสลับ รูปใบหอก รูปรี รูปไข่ ปลายแหลม โคนกลมมน ดอกสีเหลืองอมส้ม แกมขอบขนาน ดอกมีกลีบยาวสีขาวนวล กลีบอ่อน ออกเดี่ยวตามซอกใบ กลีบดอกรูปใบหอกค่อนข้างยาว มีกลิ่นหอม ออกเดี่ยว ตามซอกใบ ดอกตูมรูปกระสวย มีถิ่น กลิ่นหอมแรง จ�ำปาเป็นไม้ที่มีประโยชน์ทางด้านสมุนไพร เช่น 32 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

เปลือก แก้ไข้ ใบแก้โรคประสาท ดอกเป็นยาบ�ำรุงหัวใจ อุบัติการณ์ของโรคมะเร็งท่อน�้ำดีพบมากที่สุดในประเทศไทย ประสาท และโลหิต มีถิ่นก�ำเนิดอินเดีย [1] จากการศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาเหตุการเกิดโรคยังไม่ทราบ วิจัยที่ผ่านมาพบว่าจ�ำปีและจ�ำปาเป็นสมุนไพรที่มีสารออก แน่ชัดแต่มีความสัมพันธ์กับการอักเสบเรื้อรังและยังพบว่ามี ฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคต่างๆ ซึ่ง ความสัมพันธ์ในการติดเชื้อพยาธิใบไม้ในตับ (Opisthorchis มีสาเหตุมาจากสารอนุมูลอิสระ เช่น การต้านต่อการ viverrini) [11, 12] มะเร็งท่อน�้ำดีเป็นปัญหาทางสาธารณสุข กลายพันธุ์ที่เกิดจากแสงอาทิตย์ การต้านแบคทีเรีย ดังเช่น ของคนไทย เนื่องจากการตรวจพบได้น้อยในระยะแรกและ ชนเผ่าคาโร อยู่ทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศ การรักษาที่มีประสิทธิภาพของโรคในปัจจุบันยังคงต้องใช้วิธี อินโดนีเซีย มีพิธีกรรมดั้งเดิมในการใช้ดอกจ�ำปีเป็นส่วน การผ่าตัด แต่คนไข้ที่สามารถผ่าตัดได้มีจ�ำนวนน้อยเนื่องจาก ประกอบของสมุนไพรใช้ในการอบซาวน่าและอาบน�้ำหลัง ต�ำแหน่งของอวัยวะที่เป็นโรคมะเร็งท�ำให้ไม่สามารถผ่าตัดได้ คลอด เพื่อการผ่อนคลาย [2] ในการศึกษาสารสกัดจากใบ อีกทั้งยังพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่จะอยู่ในระยะของโรคมะเร็งที่ จ�ำปีพบว่ามีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและสามารถยับยั้งการ ลุกลาม การใช้รังสีและยาเคมีบ�ำบัดยังประสบปัญหาต่อการ ท�ำงานของเอนไซม์ matrix metalloproteinases (MMPs) รักษาหรือเกิดผลข้างเคียงต่อผู้ป่วย [13] การหาสารธรรมชาติ ที่ย่อยสลายคอลลาเจนที่ท�ำให้เกิดความแก่ของผิวหนังจาก ที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง แสง UVB [3] สารสกัดจากดอกและใบจ�ำปาในชั้นของเอทา ท่อน�้ำดีได้จึงเป็นที่มาของงานวิจัยในครั้งนี้ กลุ่มวิจัยมีความ นอลสามารถลดการเกิดแผลที่กระเพาะอาหารที่เกิดจากยา สนใจในการสกัดสารที่มีอยู่ในใบต้นจ�ำปีและจ�ำปาเพื่อที่จะ แอสไพรินในหนู [4] และพบว่า β-sitosterol เป็นสารส�ำคัญ ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญ ในใบและเปลือกของจ�ำปามีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ จากการ ของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด RMCCA-1 ซึ่งเป็นเซลล์มะเร็ง ทดสอบด้วยเทคนิค HPTLC พบ β-sitosterol ในใบเป็น เพาะเลี้ยงที่ได้จากชิ้นเนื้อของคนไทย [14] โดยใช้สารสกัด ปริมาณมาก [5] จากการศึกษาสารสกัดจากดอกจ�ำปาในชั้น จากส่วนใบของต้นจ�ำปีและจ�ำปาที่เก็บในช่วงฤดูที่แตกต่าง ของเอทิลอะซิเตท และเฮกเซน พบว่ามีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ กัน ตัวอย่างใบจ�ำปี จ�ำปาที่เก็บมาในเดือนมกราคม (อยู่ใน และมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรค เช่น Bacillus subtilis, ช่วงปลายฤดูหนาว) เมษายน (เข้าสู่ฤดูร้อน) และมิถุนายน Staphylococcus aureus, Salmonella typhi และ (เข้าสู่หน้าฝน) ซึ่งในแต่ละช่วงฤดูที่ต่างกันน่าจะมีผลต่อ Shigella dysenteriae ในชั้นเอทิลอะซิเตทดีที่สุด [6] ปริมาณสารสกัดที่ได้จากใบต้นจ�ำปีและจ�ำปาและงานวิจัย นอกจากนี้ยังพบว่าสารสกัดจากเปลือกต้นจ�ำปาในชั้นของ ส่วนใหญ่ไม่ได้ระบุถึงช่วงเวลาที่เก็บตัวอย่างมาท�ำการทดลอง เมทานอลยังมีฤทธิ์ป้องกันและรักษาโรคมะเร็งผิวหนังที่เกิด การสกัดด้วยการใช้ตัวท�ำละลายที่มีความมีขั้วต่างกัน ได้แก่ จากแสง UV [7] สารสกัดจากกิ่งต้นจ�ำปามีความสามารถใน เฮกเซน เอทิลอะซิเตท และเมทานอล โดยมีสมมติฐานว่าสาร การยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยง (cell line) เช่น ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระน่าจะมีคุณสมบัติที่มีขั้ว ทดสอบ เซลล์มะเร็งเต้านม (breast cancer) เซลล์มะเร็งปอด (lung ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH cancer) และเซลล์มะเร็งผิวหนัง (human melanoma) [8, scavenging assay ร่วมกับวิธีทางสเปคโตรโฟโตเมทรี การ 9] สารสกัดจากดอกจ�ำปียังพบว่ามีผลยับยั้งต่อเซลล์เพาะ ทดสอบความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ เลี้ยงของกลุ่มเซลล์ที่พัฒนาไปเป็นเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งท่อน�้ำดีด้วยวิธี MTT assay เพื่อที่จะส�ำรวจว่าการเก็บ (leukemia) และมะเร็งเต้านม (breast cancer) [10] แต่ ตัวอย่างพืชในช่วงเวลาที่ต่างกันมีผลสอดคล้องกับปริมาณ อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาสารสกัดจากใบจ�ำปีจ�ำปาใน สารออกฤทธิ์ที่มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระและ เซลล์มะเร็งท่อน�้ำดี การยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดี ท�ำให้ได้ข้อมูลใน มะเร็งท่อน�้ำดีเป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นที่อิพิทีเรียลเซลล์ การเก็บพืชตัวอย่างใช้ในทางเภสัชวิทยาต่อไปในอนาคต บริเวณท่อน�้ำดีทั้งภายนอกและภายในตับ โดยพบว่า ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 33

วิธีด�ำเนินการวิจัย ส่วนสารตัวอย่างใบจ�ำปีและจ�ำปาที่เก็บมาทั้ง 3 1. การเตรียมวัตถุดิบ ช่วงเวลาน�ำมาสกัดตามวิธีข้างต้น จะได้ส่วนสกัดทั้งหมด 18 เก็บใบต้นจ�ำปีและจ�ำปาจากพื้นที่ อ�ำเภอกุยบุรี ตัวอย่าง ชั่งสารสกัดหยาบที่ได้ เพื่อค�ำนวณร้อยละของ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยสุ่มเก็บใบทั้งใบอ่อนและใบแก่ น�้ำหนักสารสกัดหยาบ (% yield) เก็บใสในขวดสีชาและ แบ่งการเก็บเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ช่วงที่ 1 เดือนมกราคม ช่วงที่ เก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ส�ำหรับการทดสอบ 2 เดือนเมษายน และช่วงที่ 3 เดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 2559 ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระและทดสอบฤทธิ์ในการ น�ำใบสดของจ�ำปีและจ�ำปามาล้างท�ำความสะอาดด้วยน�้ำ ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดี ผึ่งให้สะเด็ดน�้ำแล้วน�ำไปหั่นเป็นชิ้นหยาบ ๆ แล้วน�ำไปอบที่ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จนแห้ง บดให้ละเอียดจากนั้น 3. ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีการ DPPH จึงน�ำไปสกัดด้วยตัวท�ำละลายในขั้นตอนต่อไป scavenging assay การทดสอบความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ 2. การสกัดสารด้วยตัวท�ำละลาย (extraction) ด้วยวิธี DPPH scavenging assay [15] เปรียบเทียบระหว่าง น�ำใบจ�ำปาที่แห้งและบดละเอียด หนัก 200 กรัม สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและจ�ำปา กับสารต้านอนุมูล แช่ในตัวท�ำละลายเฮกเซน ในอัตราส่วนน�้ำหนักแห้งตัวอย่าง อิสระมาตรฐานคือ BHT (Butylated hydroxy toluene) 1 ส่วนต่อตัวท�ำละลาย 5 ส่วน ปิดปากภาชนะให้สนิท แช่ทิ้ง มีวิธีการคือ สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปี และจ�ำปา ไว้ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 5 วัน กรองกากออกด้วยกระดาษ ความเข้มข้นเท่ากับ 0.00625 - 1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และ กรอง Whatman® เบอร์ 1 สกัดซ�้ำด้วยตัวท�ำละลายเฮกเซน ความเข้มข้นของ BHT เท่ากับ 0.00625 - 1 มิลลิกรัมต่อ อีก 2 ครั้ง น�ำสารละลายที่ได้จากการกรองไประเหยเอาตัว มิลลิลิตร การทดสอบจะใช้ความเข้มข้นของ DPPH เท่ากับ ท�ำละลายออกด้วยเครื่องระเหยตัวท�ำละลาย (rotary 0.04 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ท�ำการบันทึกค่าการดูดกลืนคลื่น evaporator) ท�ำให้แห้งด้วยเครื่องอบแห้งเยือกแข็ง (freeze แสงของ DPPH ที่ความยาวคลื่น 517 นาโนเมตร (OD517) dryer) จะได้สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปาในชั้นเฮกเซน ด้วยเครื่องสเปคโตโฟโตมิเตอร์ หลังจากที่บ่ม (incubate) หลังจากนั้นน�ำกากที่เหลือมาแช่ต่อด้วยตัวละลายเอทิล สารทดสอบกับ DPPH ที่อุณหภูมิห้อง ในที่มืด เป็นเวลา 30 อะซิเตท ในอัตราส่วน 1 ต่อ 5 แช่ทิ้งไว้ 5 วันแล้วน�ำไประเหย นาที จากนั้นน�ำค่าที่วัดได้ไปค�ำนวณค่าเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง

ตัวท�ำละลายออกและท�ำให้แห้งจะได้ส่วนสกัดชั้นเอทิล อนุมูลอิสระ DPPH (% inhibitory) ค่า OD517 ที่ได้มาจาก อะซิเตท ต่อมาน�ำกากที่เหลือไปแช่ด้วยตัวท�ำละลาย การทดลองท�ำซ�้ำ 3 ครั้ง (triplicate) เพื่อใช้ค�ำนวณและ เมทานอล โดยใช้อัตราส่วน ระยะเวลา ในการสกัดเหมือนกับ รายงานเป็นค่าเฉลี่ย (mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิธีข้างต้นจะได้ส่วนสกัดชั้นเมทานอล (standard deviation, SD) วิธีการค�ำนวณค่า เปอร์เซ็นต์ การยับยั้งอนุมูลอิสระ DPPH ในสมการที่ 1

% การยับยั้งอนุมูลอิสระ DPPH = [(A0 - (AS - BS)/ A0] x 100 สมการที่ 1

จากสมการที่ 1 เมื่อ A0 คือ ค่า OD517 ของสารละลาย DPPH; AS คือ ค่า OD517 ของสารละลาย DPPH ผสมกับ

สารทดสอบ (สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปี หรือจ�ำปา หรือสารต้านอนุมูลอิสรมาตรฐาน BHT) BS คือ ค่า OD517 ของสาร ทดสอบ

จากนั้นค่า OD517 แต่ละค่าที่ค�ำนวณได้จากสมการที่ 1 จะใช้ค�ำนวณหาค่า inhibitory concentration at 50%

(IC50) ต่ออนุมูลอิสระ DPPH ดังสมการที่ 2 คือ 34 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

Y = mX + c สมการที่ 2

จาก สมการที่ 2 เมื่อก�ำหนดให้ค่าแกน Y คือ %การยับยั้งอนุมูลอิสระ DPPH; ค่าแกน X คือ ความเข้มข้นของสาร ทดสอบ (สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปี หรือจ�ำปา หรือสารต้านอนุมูลอิสรมาตรฐาน BHT) มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม/มิลลิลิตร; ค่า m คือค่าความชันของกราฟ (slope); ค่า c คือจุดตัดบนแกน Y

3 ในการค�ำนวณค่า IC50 สามารถหาได้จากการเขียน โดยให้มีความหนาแน่นของเซลล์ (cell density) 5 x 10

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลของ % การยับยั้งอนุมูล เซลล์ต่อหลุม จากนั้นบ่มใน CO2 incubator เป็นเวลา อิสระ DPPH กับความเข้มข้นของสารทดสอบที่ค่าต่างๆ เพื่อ 24 ชั่วโมง เติมสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีหรือจ�ำปา ท�ำการค�ำนวณหาค่าความชันของกราฟ จากนั้นในสมการที่ ความเข้มข้นที่ 0-100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร จากนั้นจึงบ่ม

2 แทนค่า Y=50 (% การยับยั้งอนุมูลอิสระที่ 50% หรือ IC50) ต่อใน CO2 incubator เป็นเวลา 48 ชั่วโมง น�ำไปวัดการรอด และค่าความชันที่ได้จากการค�ำนวณข้างต้น ซึ่งจะสามารถ ชีวิตของเซลล์ (cell survive) ด้วยวิธี MTT assay [16] วิธี

ค�ำนวณค่าความเข้มข้น (X) ของสารทดสอบที่มีค่า IC50 ได้ การคือเติมสารละลาย MTT ให้มีความเข้มข้นสุดท้ายที่ 5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ใน 96-well microplate บ่มต่อใน

4. การยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดี ชนิด CO2 incubator เป็นเวลา 3 ชั่วโมง จะเกิดผลึก Formazan RMCCA-1 เซลล์ท่อน�้ำดีปกติชนิด MMNK-1 ของสารสกัด จากนั้นละลายผลึกด้วย DMSO แล้ว น�ำไปวัดค่าการดูดกลืน

หยาบจากใบ ต้นจ�ำปีและจ�ำปา แสงที่ความยาวคลื่น 540 นาโนเมตร (OD540) เปรียบเทียบ การทดสอบความสามารถในการยับยั้งการเจริญ กลุ่มที่เป็นตัวแปรควบคุม (solvent control) กับกลุ่ม เติบโตของเซลล์ด้วยการใช้สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและ ทดสอบที่ใส่สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีหรือจ�ำปา ค�ำนวณ จ�ำปาโดยการเปรียบเทียบกันระหว่างเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด ค่า % การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ (% inhibition of RMCCA-1 และเซลล์ท่อน�้ำดีปกติ (cholangiocyte ชนิด cell proliferation) ดังสมการที่ 3 MMNK-1) เลี้ยงเซลล์ทั้งสองชนิดใน 96-well microplate

% การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ = 100 – {AControl / ATreatment) x 100} สมการที่ 3

จากสมการที่ 3 เมื่อ AControl คือ ค่า OD540 ของสารละลายเซลล์ที่เป็น solvent control; ATreatment คือ ค่า OD540 ของสารละลายเซลล์ที่เติมสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีหรือจ�ำปา

ค่า % การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ได้จาก ด้วยการใช้สมการหาความสัมพันธ์แบบ Sigmoidal curve สมการที่ 3 น�ำไปเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล % ด้วยโปรแกรม KaleidaGraph (Synergy Software. การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์กับความเข้มข้นของสาร Copyright 1995-2004; Version 4.0) ด้วยหลักการ สกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีหรือจ�ำปาที่ค่าต่าง ๆ ชุดข้อมูลที่ได้ วิเคราะห์ข้อมูลที่เรียกว่า non-linear fitting algorithm ของ นี้น�ำไปหาค่าการยับยั้งการเจริญเติบโตที่ 50% (inhibitory ตัวโปรแกรม ดังสมการที่ 4

concentration of cell proliferation at 50% หรือ IC50) ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 35

Y = {C1+(C11-C2)} / {1+(X/C3)^C4} สมการที่ 4

จากสมการที่ 4 เมื่อชุดข้อมูลถูกน�ำไปค�ำนวณในสมการดังกล่าวด้วยวิธี non-linear fitting algorithm ค่า Y คือ

% การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ โดยการหาค่านี้จะแทนค่า Y=50 (IC50); C1 คือค่า % การยั้บยั้งการเจริญเติบโตของ

เซลล์ที่มีค่าต�่ำสุดของชุดข้อมูลทั้งหมด; C2 คือค่า % การยั้บยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ที่มีค่าสูงที่สุดของชุดข้อมูลทั้งหมด;

C3 คือ ค่าประมาณ % การยับยั้งการเจริญเติบโตที่ 50% โดยโปรแกรมจะท�ำการค�ำนวณโดยยึดเอาจ�ำนวนชุดข้อมูลที่มี

ทั้งหมด; C4 คือ ค่าความชันของสมการ (slope) บริเวณชุดข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง

5. วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติ 2559 ที่แช่ด้วยตัวท�ำละลายอินทรีย์ เฮกเซน เอทิลอะซิเตท ในการวิเคราะห์ค่าความแตกต่างของการยับยั้ง และเมทานอล ตามล�ำดับ เมื่อน�ำไประเหยตัวท�ำละลายออก อนุมูลอิสระ DPPH ที่ 50% หรือการยับยั้งการเจริญเติบโต แล้วท�ำให้แห้ง จะได้ลักษณะสารสกัดหยาบใบจ�ำปีและจ�ำปา ของเซลล์ที่ 50% เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มการทดลอง ในชั้นของเฮกเซนมีสีด�ำเแห้ง ในชั้นของเอทิลอะซิเตทและ ควบคุม และกลุ่มทดสอบในการทดลองนี้ วิเคราะห์ผลความ เมทานอลมีลักษณะคล้ายกันคือ มีสีด�ำและเหนียว และ % ต่างอย่างมีนัยส�ำคัญด้วยการก�ำหนดความต่างอย่างมีนัย สารสกัดหยาบต่อน�้ำหนักแห้งของสารสกัดหยาบจ�ำปีและ ส�ำคัญที่ P-value < 0.05 ด้วย one-way ANOVA ด้วย จ�ำปาพบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับช่วงเดือนที่เก็บใบตัวอย่าง ซอฟท์แวร์ SPSS (Version 16, SPSS Inc. Chicago, IL, แต่จะขึ้นอยู่กับตัวท�ำละลายที่ใช้ในการสกัดโดยพบว่า ในตัว USA) ท�ำละลายเมทานอลจะสกัดสารจากใบตันจ�ำปีและจ�ำปามีค่า เฉลี่ย 43.13 กรัม% และ 63.23 กรัม% ตามล�ำดับ ซึ่งมากกว่า ผลการวิจัย ตัวท�ำละลายเฮกเซนและเอทิลอะซิเตท แสดงดังตารางที่ 1 1. ปริมาณสารสกัดหยาบจากใบจ�ำปีและใบจ�ำปา สารตัวอย่างจากใบจ�ำปีและจ�ำปาที่เก็บใบในช่วง เดือนมกราคม เดือนเมษายน และเดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 36 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 1 ความเข้มข้นของสารสกัดหยาบ กรัม% และความสามารถในการต้านสารอนุมูลอิสระ DPPH ที่ 50% (IC50) ของ สารสกัดหยาบใบต้นจ�ำปีและจ�ำปา ใบจ�ำปี ใบจ�ำปา * * สาร/ เดือน สารสกัด **IC50 สาร/ เดือน สารสกัด **IC50 ตัวท�ำละลาย หยาบ มิลลิกรัม/ ตัวท�ำละลาย หยาบ มิลลิกรัม/ กรัม% มิลลิลิตร กรัม% มิลลิลิตร BHT 0.048 ± 0.002 BHT 0.048 ± 0.002 Hexane มกราคม 42.62 0.300 ± 0.015 Hexane มกราคม 63.54 0.768 ± 0.088 เมษายน 54.5 0.379 ± 0.033 เมษายน 33.01 0.484 ± 0.039 มิถุนายน 18.73 0.434 ± 0.014 มิถุนายน 20.36 0.346 ± 0.030 เฉลี่ย 38.16 เฉลี่ย 38.97 Ethyl acetate มกราคม 3.22 0.464 ± 0.012 Ethyl acetate มกราคม 36.75 0.131 ± 0.002 เมษายน 20.80 0.305 ± 0.010 เมษายน 23.66 0.176 ± 0.005 มิถุนายน 42.42 0.157 ± 0.004 มิถุนายน 21.08 0.129 ± 0.028 เฉลี่ย 22.14 เฉลี่ย 27.16 Methanol มกราคม 39.89 0.079 ± 0.001 Methanol มกราคม 41.52 0.018 ± 0.001 เมษายน 46.36 0.054 ± 0.0004 เมษายน 51.21 0.064 ± 0.001 มิถุนายน 43.14 0.055 ± 0.001 มิถุนายน 96.96 0.018 ± 0.001 เฉลี่ย 43.13 เฉลี่ย 63.23 หมายเหตุ *% น�้ำหนักแห้งของสารสกัดในแต่ละช่วงเดือนของสารสกัดในแต่ละตัวท�ำละลายอินทรีย์ **ข้อมูลที่ได้จากการท�ำซ�้ำ 3 ครั้งแล้วหาค่าเฉลี่ย (mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation; SD)

2. การต้านสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจาก ในเมทานอลมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH เท่ากับ ใบต้นจ�ำปีและจ�ำปี 0.018±0.001 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร มีค่าการต้านอนุมูลอิสระ

น�ำสารสกัดหยาบใบจ�ำปีและจ�ำปามาทดสอบฤทธิ์ DPPH ดีกว่าสารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐาน BHT ซึ่งมีค่า IC50 ต้านสารอนุมูลอิสระ โดยเปรียบเทียบกับสารต้านอนุมูลอิสระ เท่ากับ 0.048±0.002 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร (ตารางที่ 1) มาตรฐาน BHT พบว่า สารสกัดหยาบจากตัวท�ำลายอินทรีย์ ที่มีขั้วมากที่สุดในการทดลองนี้ คือ เมทานอล สามารถสกัด 3. การยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด สารที่ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีกว่าตัวท�ำละลายอินทรีย์ RMCCA-1 และเซลล์ท่อน�้ำดีปกติชนิด MMNK-1 ที่ไม่มีขั้ว คือ เฮกเซน สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและจ�ำปา การทดสอบการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์

ในเมทานอลมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH ดีที่สุดมีค่า IC50 มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด RMCCA-1 และเซลล์ท่อน�้ำดีปกติ ชนิด เท่ากับ 0.054±0.0004 และ 0.018±0.001 มิลลิกรัมต่อ MMNK-1 พบว่าการใช้ความเข้มข้นของสารสกัดหยาบจาก มิลลิลิตร ตามล�ำดับ และพบว่าสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปา ใบต้นจ�ำปีและจ�ำปาในตัวท�ำละลายอินทรีย์แต่ละชนิด ที่ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 37

ความเข้มข้นของสารสกัดหยาบความเข้มข้น 50 ไมโครกรัม จ�ำปา ที่เก็บได้จากเดือนมกราคม โดยสกัดในตัวท�ำละลาย ต่อมิลลิลิตร โดยท�ำการทดสอบเปรียบเทียบตัวท�ำละลายที่ เอทิล อะซิเตท (01MC-E) จากนั้นน�ำสารสกัดหยาบชั้นเอทิล ใช้ในการสกัด (solvent control) เกณฑ์ในการพิจารณาการ อะซิเตท (01MC-E) มาทดสอบหาค่าการยับยั้งการเจริญ

เลือกสารที่จะศึกษาต่อไปคือ สารสกัดหยาบที่ยับยั้งการเจริญ เติบโตของเซลล์ที่ 50% (IC50) ของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด เติบโตของเซลล์ RMCCA-1 ได้มากกว่า 80% ขึ้นไป และมี RMCCA-1 มีค่าเท่ากับ 13.55+0.91 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ความแตกต่างในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ท่อน�้ำดี (ภาพที่ 2) เมื่อเปรียบเทียบกับเซลล์ท่อน�้ำดีปกติ MMNK-1

ปกติ MMNK-1 อย่างมีนัยยะส�ำคัญ (P-value < 0.05) พบว่ามีค่า IC50 ที่มากกว่า 400 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร (ภาพที่ 1) ผลการทดลองพบว่ามีเพียงสารสกัดจากใบต้น

สารสกัดจากตัวอย่างที่ 1 (เดือนมกราคม)

สารสกัดจากตัวอย่างที่ 2 (เดือนเมษายน)

สารสกัดจากตัวอย่างที่ 3 (เดือนมิถุนายน)

ภาพที่ 1 % การยับยั้งการเจริญเติบโตระหว่างเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด RMCCA-1 และเซลล์ท่อน�้ำดีปกติ MMNK-1 โดย ใช้ความเข้มข้นของสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและจ�ำปา โดย 01-ตัวอย่างเดือนมกราคม 02-ตัวอย่างเดือนเมษายน 03-ตัวอย่าง เดือนมิถุนายน สารสกัดหยาบจากจ�ำปี (MA) และจ�ำปา (MC) ตัวท�ำละลายที่ใช้ในการสกัด H-เฮกเซน E-เอทิลอะซิเตท และ M-เมทานอล และ * แสดงความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญ โดย P-value < 0.05 ด้วย one-way ANOVA ด้วยซอฟท์แวร์ SPSS (Version 16, SPSS Inc. Chicago, IL, USA) 38 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ภาพที่ 2 ค่าการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีที่ 50% (IC50) เท่ากับ 13.55 + 0.91 ไมโครกรัมต่อ มิลลิลิตร (triplicate) เมื่อทดสอบกับสารสกัดหยาบที่ได้จากใบต้นจ�ำปา ตัวอย่างที่ 1 เดือนมกราคมในตัวท�ำละลายเอทิล

อะซิเตท (ผลการทดลองจากการท�ำ triplicate (n=3) ค�ำนวณค่า IC50 ด้วยวิธี non-linear algorithm ด้วยโปรแกรม KaleidaGraph (Synergy Software. Copyright 1995-2004; Version 4.0

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย ดังกล่าวพบว่าสารสกัดหยาบ ใบต้นจ�ำปีและจ�ำปาจากในชั้น 1. ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH ของสาร เมทานอลมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระดีที่สุด สกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและจ�ำปา รองลงมาคือ เอทิลอะซิเตทและเฮกเซน ตามล�ำดับ โดยเฉพาะ จากการทดสอบสารสกัดหยาบจากใบจ�ำปีและ สารสกัดหยาบใบต้นจ�ำปาในชั้นเมทานอลมีฤทธิ์ในการต้าน

จ�ำปาที่ได้เก็บใบตัวอย่างในช่วงเวลา 3 ช่วง คือ ช่วงเวลาที่ อนุมูลอิสระ DPPH ที่ความเข้มข้น 50% (IC50) ดีที่สุดคือ 1 เดือนมกราคม ช่วงเวลาที่ 2 เดือนเมษายน และช่วงเดือน 0.018 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร เมื่อเทียบกับสารต้านอนุมูล ที่ 3 เดือนมิถุนายน ในแต่ละตัวท�ำละลายที่ใช้ในการสกัดคือ อิสระมาตรฐาน BHT มีฤทธิ์สูงกว่า 2 เท่า ซึ่งมีผลสอดคล้อง เฮกเซน เอทิล อะซิเตท และเมทานอล และสถิติที่ใช้ในการ กับการศึกษาหาความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของ วิเคราะห์ตัวอย่างที่ได้จากทั้งสามช่วงเวลา คือ One-way สารสกัดหยาบใบจ�ำปาในเมทานอล [18] และโดยภาพรวม ANOVA แบบ single factor โดยก�ำหนดค่าความเชื่อมั่นที่ ส่วนใหญ่ค่าความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH ได้ 95% (P-value = 0.05) พบว่าสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปี ดีที่สุด จะเป็นสารสกัดที่เก็บใบในช่วงเดือนมิถุนายน เมื่อ

และจ�ำปาในชั้นเฮกเซน มีค่าความสามารถในการต้านอนุมูล พิจารณาจากค่า IC50 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่พบว่าจ�ำปา

อิสระ DPPH ที่ความเข้มข้น 50% (IC50) ใกล้เคียงกัน อยู่ใน มีองค์ประกอบทางเคมีของน�้ำมันหอมระเหยที่แยกได้จาก ช่วง 0.300-0.768 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในชั้นเอทิลอะซิเต ดอก ใบ และผล ในชั้นเฮกเซนที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ β ทสารสกัดหยาบใบต้นจ�ำปีมีค่า IC50 ในช่วง 0.157-0.464 ประกอบด้วย -sitosterol, glucoside, parthenolide,

มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ส่วนสารสกัดหยาบใบต้นจ�ำปามีค่า IC50 dihydroparthenolide, micheliolide, germacranolide, ในช่วง 0.129-0.176 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร พบว่าสารสกัด constinolide, iriodenine, macheline A, urshinsunine, หยาบใบต้นจ�ำปามีความสามารถต้านอนุมูลอิสระได้ดีกว่า oxoushinsunine และ magnoflorine [19] มีรายงานพบ สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปี เพราะมีองค์ประกอบของสาร สารพฤกษเคมีที่แยกจากใบของจ�ำปีได้ 21 ชนิดเพื่อการรักษา ที่ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระแตกต่างกัน [17] และสารสกัด โรคมะเร็ง และต้านอนุมูลอิสระ [20] และพบสารประกอบ

หยาบใบต้นจ�ำปีและจ�ำปาในชั้นเมทานอลมีค่า IC50 ในช่วง 37 ชนิดที่สกัดได้จากใบต้นจ�ำปาในเมทานอล [21] จากการ 0.018-0.079 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร จากผลการทดลอง ทดลองนี้ท�ำให้ได้ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับระยะเวลาที่ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 39

เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างใบต้นจ�ำปีและจ�ำปา เพื่อสกัด 2. Silalahi M, Nisyawati W, Walujo EB, Supriatna J, สารน�ำไปทดสอบความสามารถทางชีวภาพด้านต่าง ๆ ซึ่งจะ Mangun W. The local knowledge of medicinal น�ำไปสู่การพัฒนาต่อยอด ในอนาคตอาจเป็นสมุนไพรที่ได้รับ plants trader and diversity of medicinal plants การยอมรับว่าการรักษาได้จริงในอนาคต in the Kabanjahe traditional market, North Sumatra, Indonesia. J Ethnopharmacol 2. การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด 2015;175:432-43. RMCCA-1 เปรียบเทียบกับเซลล์ท่อน�้ำดีปกติ MMNK-1 3. Chiang HM, Chen HC, Lin TJ, Shih IC, Wen KC. จากการทดสอบการยับยั้งการเจริญเติบโตของ Michelia alba extract attenuates UVB-induced เซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีโดยใช้สารสกัดหยาบจ�ำปีและจ�ำปา expression of matrix metalloproteinases via พบว่าสารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีมีความสามารถในการ MAP kinase pathway in human dermal ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด RMCCA-1 fibroblasts. Food Chem Toxicol 2012;50(12):4260- ได้ โดยเฉพาะสารสกัดจากใบจ�ำปีและจ�ำปาที่เก็บในช่วงเดือน 69. มกราคมในชั้นตัวท�ำละลายเอทิลอะซิเตท มีความสามารถใน 4. Mullaicharam B, Kumar MS. Effect of Michelia การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดีชนิด champaca Linn on pylorous ligated rats. J Appl RMCCA-1 ได้ดีที่สุดเมื่อเทียบกับสารสกัดตัวอื่น ๆ โดยพบว่า Pharm Sci 2011;1(2):60-4.

มี IC50 เท่ากับ 13.55 ± 0.91 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ช่วง 5. Ahmad H, Sehgal S, Mishra A, Gupta R, Saraf SA. เวลาในการเก็บตัวอย่างเพื่อการสกัดสารนั้นมีผลต่อสารที่มี TLC detection of β-sitosterol in Michelia ประสิทธิภาพ (active ingredient) ที่แตกต่างกัน ดังนั้น การ champaca L. leaves and stem bark and it’s ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์และช่วงเวลาที่มีการสังเคราะห์ใน determination by HPTLC. Phcog J 2012;(4):45- จ�ำปีและจ�ำปาที่มีฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง 55. ท่อน�้ำดีนั้นจึงควรศึกษาต่อไปในอนาคต 6. Parimi U, Kolli D. Antibacterial and free radical scavenging activity of Michelia champaca Linn. กิตติกรรมประกาศ flower extracts. Free Rad Antiox 2012;2(2):58- ขอบคุณ รศ.ดร.ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง คณะ 61. วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ส�ำหรับเซลล์มะเร็งท่อน�้ำดี 7. Silva MB, Tencomnao T. The protective effect ชนิด RMCCA-1 ขอบคุณ ผศ.ดร.วีระชัย ทิตภากร วิทยาลัย of some Thai plants and their bioactive แพทยศาสตร์ จุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ส�ำหรับ compounds in UV light-induced skin เซลล์ท่อน�้ำดีชนิด MMNK-1 ส�ำหรับการทดสอบการยับยั้ง carcinogenesis. J Photochem Photobiol การเจริญเติบโตด้วยการใช้สารสกัดหยาบจากใบต้นจ�ำปีและ 2018;185:80-9. จ�ำปาในงานวิจัยครั้งนี้ 8. Yeh YT, Huang JC, Kuo PL, Chen CY. Bioactive constituents from Michelia champaca. Nat Prod เอกสารอ้างอิง Commun. 2011;6(9):1251-2. 1. คณิตา เลขะกุล. ไม้ดอกและไม้ประดับ เฉลิมพระเกียรติ 9. Atjanasuppat K, Wongkham W, Meepowpan P, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ. พิมพ์ครั้ง Kittakoop P, Sobhon P, Bartlett A, et al. In vitro ที่ 1 กรุงเทพฯ: บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด; 2536 screening for anthelmintic and antitumour 40 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

activity of ethnomedicinal plants from . 16. Ferrari M, Fornasiero MC, Isetta AM. MTT J Ethnopharmacol 2009;123(3):475-82. colorimetric assay for testing macrophage 10. Noysang C, Mahringer A, Zeino M, Saeed M, cytotoxic activity in vitro. J Immunol Methods Luanratana O, Fricker G, et al. Cytotoxicity and 1990;131(2):165-72. inhibition of P-glycoprotein by selected 17. Dinesh K, Kumar S, Taprial S, Kashyap D, Kumar medicinal plants from Thailand. J A, Prakash O. A review of chemical and Ethnopharmacol. 2014;155(1):633-41. biological profile of genus Michelia. Chin J Integr 11. Sirica AE. Cholangiocarcinoma: molecular Med 2012;10(12):1336-41. targeting strategies for chemoprevention and 18. Hossain MDM, Jahangir R, Hasan SMR, Akter R, therapy. Hepatology 2005; 41:5-15. Ahmed T, Islam MDI, et al. Antioxidant, analgesic 12 de Groen PC, Gores GJ, LaRusso NF, Gunderson and Cytotoxic activity of Michelia champaca LL, Nagorney DM. Biliary tract cancers. N Engl J Linn. leaf. S J Pharm Sci. 2009;2(2):1-7. Med 1999;341:1368-78. 19. Rajshree S, Varma R. Michelia champaca L. 13. Vatanasapt V, Sriamporn S, Vatanasapt P. Cancer (Swarna Champa): a review. IJERSTE 2016;5(8):78- control in Thailand. Jpn J Clin Oncol 2002;32 82. Suppl:S82-S91. 20. Chen CY, Huang LY, Chen LJ, Lo WL, Kuo SY, 14. Rattanasinganchan P, Leelawat K, Wang YD, et al. Chemical constituents from the Treepongkaruna SA, Tocharoentanaphol C, leaves of Michelia alba. Chem Nat Compd. Subwongcharoen S, Suthiphongchai T, et al. 2008;44(1):137-39. Establishment and characterization of a 21. Wei LS, Wee W, Siong JYF, Syamsumir DF. cholangiocarcinoma cell line (RMCCA-1) from Characterization of antimicrobial, antioxidant, a Thai patient. World J Gastroenterol anticancer property and chemical composition 2006;12(40):6500-6. of Michelia champaca seed and flower extracts. 15. Molyneux P. The use of the stable free radical S J Pharm Sci. 2011;4(1):19-24. diphenylpicrylhydrazyl (DPPH) for estimating antioxidant activity. Songklanakarin J Sci Technol 2004;26(2):211-19. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 41

ผลของกระบวนการผลิตต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเร่วหอมผง Effect of processing on antioxidant activity of bustard cardamom powder

สิริมา ชินสาร* วิชมณี ยืนยงพุทธกาล นิสานารถ กระแสร์ชล มุทิตา แคนมั่น และ อาภาพรรณ ฉลองจันทร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 20131 Sirima Chinnasarn*, Wichamanee Yuenyongputtakal, Nisanarth Krasaechol, Muthita Khaenman and Arpapan Chalongjan Department of Food Science, Faculty of Science, Burapha University, Chonburi 20131

Received: 3 March 2019/ Revised: 12 June 2018/ Accepted: 20 June 2019

บทคัดย่อ เร่วหอมมีสรรพคุณทางยาและมีสารกลุ่มโพลีฟีนอลซึ่งมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ แต่ยังมีการใช้ประโยชน์จ�ำกัดเฉพาะ ในจังหวัดจันทบุรี การแปรรูปเป็นเร่วหอมผงพร้อมใช้งานสามารถช่วยขยายตลาดของเร่วหอมออกไปยังพื้นที่อื่นได้ งานวิจัย นี้ศึกษาผลของกระบวนการผลิตต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและลักษณะทางกายภาพของเร่วหอมผง โดยศึกษาผลของการลวก ต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและค่าสีของเร่วหอมผง พบว่าการลวกในสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์เร่วหอมผงมีปริมาณสาร ประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงกว่าการลวกในน�้ำและสารละลายโซเดียมคลอไรด์เมื่อทดสอบด้วยวิธี DPPH assay (p≤0.05) การศึกษาผลของอุณหภูมิในการท�ำแห้งต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและค่าสี พบว่าอุณหภูมิต�่ำสามารถรักษา ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกไว้ได้มากที่สุด เร่วหอมผงมีค่าสีแดงเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิในการท�ำแห้งเพิ่มขึ้น การศึกษาผลของ ขนาดอนุภาคของเร่วหอมผงต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและความสามารถในการละลายพบว่า ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ทั้งหมดมีแนวโน้มลดลงเมื่อขนาดอนุภาคเล็กลง โดยเร่วหอมผงที่ขนาดอนุภาค 300 ไมครอน มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงกว่า ขนาดอนุภาคอื่น ๆ (p≤0.05) ในขณะที่ค่าการละลายเพิ่มขึ้นเมื่อขนาดอนุภาคเล็กลง โดยผลิตภัณฑ์สุดท้ายเร่วหอมผงมี ความสามารถในการยับยั้งอนุมูลอิสระจากการทดสอบด้วยวิธี DPPH และ β-carotene bleaching สูงถึง 75.47 และ 92.64 เปอร์เซ็นต์ ตามล�ำดับ

ค�ำส�ำคัญ: เร่วหอมผง ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ การลวก ขนาดอนุภาค

Corresponding author: [email protected] 42 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

Abstract Bustard cardamom has medicinal properties and contains polyphenol compounds which have antioxidant activity. It still has limited use only in Chanthaburi province. The processing to be ready to use bustard cardamom powder can help to expand the market to other areas. This research was to study the effect of processing on antioxidant activity and physical characteristics of bustard cardamom powder. The effect of blanching on antioxidant activity and color value of bustard cardamom powder was studied. Results showed that blanching with sodium metabisulfite solution was higher amount of total phenolic content and antioxidant activity than blanching with water and sodium chloride solution for DPPH assay (p≤0.05). Subsequently, the effect of drying temperature on antioxidant activity and color value of the powder was investigated. Results revealed that low temperature could retain the highest total phenolic content and redness value increased when the drying temperature increased. Finally, the effect of particle size on antioxidant activity and solubility of the powder was observed. Results demonstrated that total phenolic content tended to decrease as the particle size decreased. The powder at 300 microns was higher antioxidant effect than other sizes, while the solubility of the powder increased with decreasing particle size. The final product has the ability to inhibit free radicals from DPPH and ß-carotene bleaching tests as high as 75.47 and 92.64%, respectively.

Keywords: Bustard cardamom powder, Antioxidant activity, Blanching, Particle size

บทน�ำ สารประกอบฟีนอลิกเป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เร่วหอมเป็นพืชในวงศ์ Zingiberaceae ชื่อ สามารถต้านอนุมูลอิสระได้ แต่สามารถเกิดการเสียสภาพใน วิทยาศาสตร์ คือ Etlingera punicea (Roxb.) R.M. Smith ขั้นตอนของการแปรรูป ซึ่งการท�ำผลิตภัณฑ์เร่วหอมผงใน เป็นพืชสมุนไพรที่พบมากในจังหวัดจันทบุรีและตราด มี ส่วนการเตรียมขั้นต้นของวัตถุดิบ เช่น การลวกและในส่วน รสเผ็ดร้อนและกลิ่นหอมเฉพาะตัว ชาวจันทบุรีจึงนิยมใช้ส่วน ของการผลิต ได้แก่ การอบแห้งและการบดลดขนาดจะส่งผล เหง้าของเร่วหอมเป็นส่วนประกอบของอาหาร เช่น การใช้ใน ต่อฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระและคุณภาพทางกายภาพของ แกงป่า แกงเผ็ด ผัดเผ็ด และก๋วยเตี๋ยวเลียง นอกจากนั้น ผลิตภัณฑ์ เร่วหอมผงได้ มีรายงานว่าการลวกด้วยน�้ำร้อน เร่วหอมยังมีสรรพคุณทางยา คือ สามารถใช้ปรุงเป็นยาขับลม สามารถท�ำลายเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดส จึงท�ำให้สาร แก้ท้องอืดเฟ้อ จุกเสียด [1] มีรายงานว่า ในน�้ำมันหอมระเหย ประกอบฟีนอลิกไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารอื่น และยัง ของเร่วหอมยังประกอบไปด้วยสารในกลุ่ม phenolic ether ลดการเกิดสีน�้ำตาลเนื่องจากเอนไซม์ [3] ในส่วนของอุณหภูมิ volatile oils ได้แก่ anethole จึงมีความเป็นไปได้ที่เร่วหอม ในการอบแห้งนั้นยังมีผลต่อปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระและ จะมีสมบัติการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระได้ด้วย และเมื่อ ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของพืชอีกด้วย มีงานวิจัยพบว่า ท�ำการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของน�้ำมันหอมระเหย อุณหภูมิที่ใช้ในการท�ำแห้งกระชายเหลืองมีผลต่อปริมาณสาร ด้วยวิธี DPPH (2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl) และ ประกอบฟีนอลิกทั้งหมดและสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ β-carotene bleaching method พบว่าสารสกัดสามารถ โดยการท�ำแห้งด้วยตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิต�่ำและการท�ำแห้ง เข้าท�ำปฏิกิริยากับอนุมูลอิสระและยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชัน แบบแช่เยือกแข็งสามารถรักษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ได้ดี [2] ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 43

ทั้งหมดและฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระไว้ได้มากกว่าการใช้ ตะแกรงขนาด 50 เมช (300 ไมครอน) บรรจุถุงอลูมิเนียม อุณหภูมิท�ำแห้งสูง [4] ในขณะที่ขนาดของอนุภาคก็เป็น ปิดผนึก และเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง คุณสมบัติหนึ่งที่ส่งผลกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์เร่วหอมผง เตรียมตัวอย่างส�ำหรับการวิเคราะห์ปริมาณสาร โดย Shegokar และ Müller [5] รายงานว่าการลดขนาด ประกอบฟีนอลิก ฤทธิ์การต้านสารอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH อนุภาคสามารถเพิ่มค่าการละลายของอนุภาคเนื่องจากพื้นที่ radical scavenging และ β-carotene bleaching ผิวจ�ำเพาะที่สูงขึ้นได้ นอกจากนี้ขนาดอนุภาคที่แตกต่างกัน method โดยการสกัดเร่วหอมผงด้วยตัวท�ำละลาย น�ำเร่ว อาจจะส่งผลให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์เร่วผงที่ได้แตกต่างไป หอมผง หนัก100 กรัม ใส่ลงในขวดรูปชมพู่ เติมปิโตรเลียม ด้วย ทั้งความสามารถในการละลาย สมบัติทางกายภาพ และ อีเทอร์ ปริมาตร 500 มิลลิลิตร (1: 5) พาราฟินเหลว ปริมาตร องค์ประกอบส�ำคัญในเร่วผง 40 มิลลิลิตร ปิดปากขวดรูปชมพู่ให้สนิท และหุ้มขวดรูป งานวิจัยนี้จึงสนใจศึกษาผลของการลวก การท�ำ ชมพู่ด้วยอลูมิเนียมฟอยล์ เขย่าด้วยเครื่องเขย่า (shaker) แห้ง และขนาดอนุภาคต่อคุณภาพของเร่วหอมผงทั้งในด้าน ความเร็ว 120 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 24 ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ สมบัติการต้านอนุมูลอิสระ และ ชั่วโมง จากนั้นกรองเอากากตัวอย่างออกด้วยกระดาษกรอง คุณภาพทางกายภาพของเร่วหอมผง ซึ่งผลที่ได้จากงานวิจัย Whatman เบอร์ 1 น�ำสารสกัดไประเหยเอาตัวท�ำละลาย นี้จะท�ำให้ได้กรรมวิธีการผลิตเร่วหอมผงพร้อมใช้งานที่มีฤทธิ์ ออกด้วยเครื่องระเหยแบบสุญญากาศ (rotary evaporator) ในการต้านอนุมูลอิสระสูง ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวยังสามารถน�ำ ที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส น�ำสารที่ผ่านการระเหยมาล้าง ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือใช้เป็น ด้วยเอทานอลจนกว่าไม่มีการตกตะกอน กรองแล้วระเหย ส่วนผสมของผลิตภัณฑ์อื่นได้ง่ายขึ้น มีอายุการเก็บรักษาที่ เอทานอลออกด้วยเครื่องระเหยแบบสุญญากาศ ที่อุณหภูมิ ยาวนานและเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายเร่วหอมในรูปแบบผง 50 องศาเซลเซียส [2] เก็บสารที่ได้ในขวดแก้วสีชาที่อุณหภูมิ แห้งไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ได้มากขึ้น 4 องศาเซลเซียส จากนั้นท�ำการวิเคราะห์ ดังนี้ 1.1 ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดโดยวิธี Folin- วิธีด�ำเนินการวิจัย Ciocalteu [6] โดยน�ำสารสกัดตัวอย่าง หนัก 1 มิลลิลิตร 1. การศึกษาผลของการลวกต่อคุณภาพของเร่วหอมผง ผสมกับ Folin-Ciocalteu reagent 0.5 มิลลิลิตร ผสมให้ เร่วหอมซื้อจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนพัฒนา เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นน�ำมาเติม ทรัพยากรชีวภาพ ต�ำบลวันยาว อ�ำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี สารละลายโซเดียม คาร์โบเนต ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ น�ำเร่วหอมส่วนเหนือดินมาล้างท�ำความสะอาด และผึ่งให้ (น�้ำหนักต่อปริมาตร) ปริมาตร 3 มิลลิลิตร ตั้งทิ้งไว้เป็นเวลา แห้ง จากนั้นหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ให้มีความหนา 0.2 เซนติเมตร 15 นาที เติมน�้ำกลั่น ปริมาตร 10 มิลลิลิตร กรองด้วยกระดาษ แล้วน�ำไปลวกในสารละลาย 3 ชนิด คือ น�้ำ สารละลาย กรอง Whatman เบอร์ 1 จากนั้นน�ำสารละลายที่ได้ไป โซเดียมคลอไรด์ ความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ และสารละลาย วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 760 นาโนเมตร โดยใช้กรดแกลลิก โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ ความเข้มข้น 0.05 เปอร์เซ็นต์ ใน (gallic acid) เป็นสารมาตรฐาน ขณะที่สารละลายเดือด เป็นเวลา 1 นาที โดยใช้เร่วหอมสด 1.2 การทดสอบฤทธิ์การต้านสารอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH เป็นตัวอย่างควบคุม ก�ำหนดอัตราส่วนเร่วหอม : สารละลาย radical scavenging (DPPH assay) [7] โดยน�ำสารสกัด ที่ใช้ลวก เท่ากับ 1: 12 หลังจากลวกแช่ในน�้ำเย็นทันที เป็น หนัก 0.1 มิลลิลิตร ผสมกับสารละลาย DPPH ปริมาตร 3 เวลา 5 นาที จากนั้นน�ำขึ้นมาพักบนตะแกรง เป็นเวลา 1 มิลลิลิตร เก็บไว้ในที่มืดเป็นเวลา 30 นาที จากนั้นน�ำไปวัด นาที ซับด้วยกระดาษซับอเนกประสงค์ แล้วน�ำไปบดให้ ค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 517 นาโนเมตร สามารถ ละเอียดและท�ำแห้งด้วยตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิ 60 องศา หาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระจากการคํานวณเป็น % เซลเซียส ใช้เวลา 90 นาที น�ำมาบดอีกครั้งและร่อนผ่าน inhibition ดังสมการ 44 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

% = × 100 𝐴𝐴𝐷𝐷𝐷𝐷𝐷𝐷𝐷𝐷 − 𝐴𝐴𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆 𝑖𝑖𝑖𝑖ℎ𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖 𝐴𝐴𝐷𝐷𝐷𝐷𝐷𝐷𝐷𝐷 เมื่อ ADPPH คือ ค่าการดูดกลืนแสงของสารละลาย DPPH ที่ไม่มีตัวอย่าง

ASAMPLE คือ ค่าการดูดกลืนแสงของสารตัวอย่าง

1.3 การทดสอบฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี มิลลิลิตร แล้วน�ำไปอุ่นใน water bath ที่อุณหภูมิ 50 องศา β-carotene bleaching [8] โดยชั่งสารสกัด หนัก 0.005 เซลเซียส วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 0 นาที (ก่อนอุ่นใน water กรัม ละลายในเอทานอล และปรับปริมาตรเป็น 10 มิลลิลิตร bath) และ 90 นาที ที่ความยาวคลื่น 470 นาโนเมตรเทียบ ด้วยเอทานอล จากนั้นน�ำสารละลายที่เตรียมไว้ปริมาตร 0.2 กับ blank บันทึกผล น�ำผลการทดลองที่ได้ค�ำนวณหา มิลลิลิตร เติมลงใน β-carotene reagent ปริมาตร 5 %antioxidant activity ดังสมการ

% = [1 ] × 100 𝐴𝐴0 − 𝐴𝐴𝑡𝑡 𝐴𝐴𝐴𝐴 − � � 𝐴𝐴́0 เมื่อ A0 และ A’0 คือ ค่าดูดกลืนแสงที่เวลาที่ 0 ของสารตัวอย่างและสารควบคุม (เอทานอล ปริมาตร 10 มิลลิลิตร ผสมกับ β-carotene reagent ปริมาตร 5 มิลลิลิตร)

At คือ ค่าดูดกลืนแสงที่เวลา 90 นาที ของสารตัวอย่าง

1.4 ค่าสีของเร่วหอมผง น�ำเร่วหอมผงบรรจุในถ้วยพลาสติก 3. การศึกษาขนาดอนุภาคที่มีผลต่อคุณภาพของเร่วหอมผง ส�ำหรับวัดค่าสีให้เต็มถ้วย เกลี่ยตัวอย่างให้เรียบเสมอกัน น�ำเร่วหอมผงที่ได้จากวิธีการท�ำแห้งที่เลือกได้ใน ปิดฝาถ้วย แล้ววัดด้วยเครื่องวัดสี (Hunter Lab) และรายงาน ข้อ 2 มาท�ำการบดลดขนาด และร่อนผ่านตะแกรงที่มีขนาด เป็นค่า L* a* และ b* รูตะแกรงเท่ากับ 50, 60, 70 และ 80 เมช ซึ่งจะได้เร่วหอมผง ที่มีขนาดอนุภาคเท่ากับ 300, 250, 212 และ 180 ไมครอน 2. การศึกษาผลของอุณหภูมิในการอบแห้งต่อคุณภาพของ ตามล�ำดับ แล้วน�ำมาวิเคราะห์คุณภาพด้านต่าง ๆ ได้แก่ เร่วหอมผง ค่าสี L*, a* และ b* ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด น�ำเร่วหอมที่ผ่านการลวกตามวิธีที่คัดเลือกได้จาก สมบัติการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH radical ข้อ 1 มาอบแห้งด้วยตู้อบลมร้อน ที่อุณหภูมิ 60, 70 และ 80 scavenging และ β-carotene bleaching และวัดความ องศาเซลเซียส เป็นเวลา 90, 85 และ 60 นาที แล้วน�ำมาบด สามารถในการละลายของเร่วหอมผง [9] โดยชั่งตัวอย่างผง และร่อนผ่านตะแกรงที่มีขนาดของรูตะแกรง 50 เมช บรรจุ เร่วหอม หนัก 0.5 กรัม ผสมกับน�้ำกลั่น ปริมาตร 50 มิลลิลิตร ถุงอลูมิเนียม และปิดผนึก เพื่อท�ำการวิเคราะห์คุณภาพ ได้แก่ (25 องศาเซลเซียส) ในบีกเกอร์ขนาด 100 มิลลิลิตร จากนั้น ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดโดยวิธี Folin- กวนโดยใช้แท่งแม่เหล็ก (magnetic stirrer) (ขนาด 2 Ciocalteu ฤทธิ์การต้านสารอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH มิลลิเมตร × 7 มิลลิเมตร) ที่ความเร็ว 600 รอบต่อนาที radical scavenging และ β-carotene bleaching และ เป็นเวลา 5 นาที กรองส่วนที่ไม่ละลายด้วยกระดาษกรอง วัดค่าสี L* (ค่าความสว่าง) a* (ค่าความเป็นสีแดง) และ b* Whatman เบอร์ 4 แล้วน�ำกระดาษกรองพร้อมส่วนที่ไม่ (ค่าความเป็นสีเหลือง) ละลายไปอบในตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิ 102±2 องศาเซลเซียส จนน�้ำหนักคงที่ ค�ำนวณ %solubility ดังสมการ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 45

(%) = 1 × 100 𝑚𝑚1 − 𝑚𝑚2 𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆𝑆 � − � �� โดย m1 คือ น�้ำหนักของกระดาษกรองและส่วนที่ไม่ละลายหลังจากการอบแห้ง𝑚𝑚

m2 คือ น�้ำหนักของกระดาษกรองแห้ง m คือ น�้ำหนักของตัวอย่างผง

4. การวิเคราะห์ข้อมูล กับผลการทดสอบสมบัติการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระโดยการ ผลการทดลองแสดงในรูป Mean ± SD และ One ทดสอบด้วยวิธี DPPH radical scavenging ที่พบว่าการลวก way ANOVA ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ในสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ ความเข้มข้น 0.05 เปอร์เซ็นต์ ท�ำให้ได้เร่วหอมผงที่มีสมบัติการเป็นสารต้าน ผลการวิจัย อนุมูลอิสระมากที่สุด (p≤0.05) แต่เมื่อทดสอบสมบัติการ 1. การศึกษาผลของการลวกต่อคุณภาพของเร่วหอมผง เป็นสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี β-carotene bleaching เนื่องจากการลวกมีผลต่อฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ กลับพบว่าการลวกแต่ละวิธีมีเปอร์เซ็นต์ antioxidant และคุณภาพทางกายภาพของผลิตภัณฑ์เร่วหอมผง ขั้นตอนนี้ activity ไม่แตกต่างกัน (p>0.05) โดยทุกตัวอย่างมี จึงสนใจศึกษาผลของการลวกในสารละลายชนิดต่าง ๆ ต่อ เปอร์เซ็นต์ antioxidant activity สูงกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อ คุณภาพของเร่วหอมผงในด้านปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ พิจารณาค่าสี L*, a* และ b* ของเร่วหอมผง (ตารางที่ 2) ในเร่วหอมผง (ตารางที่ 1) พบว่าการลวกในสารละลาย พบว่า สารละลายที่ใช้ในการลวกท�ำให้เร่วหอมผงมีค่าสี โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ ความเข้มข้น 0.05 เปอร์เซ็นต์ เป็น ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05) โดย เวลา 1 นาที สามารถรักษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกไว้ ผลิตภัณฑ์เร่วหอมผงที่ได้มีลักษณะเป็นผงละเอียดสี ได้มากที่สุดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ซึ่งสอดคล้อง เหลืองอ่อน

ตารางที่ 1 ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระของเร่วหอมผงที่ผ่านการลวกในสารละลายที่แตกต่างกัน สารละลายที่ใช้ในการลวก ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก DPPH β-carotene bleaching ทั้งหมด (mg GAE/g) (%inhibition) (%antioxidant activity)ns ตัวอย่างควบคุม 17.06±0.16b 39.53±0.63c 93.09±0.92 น�้ำ 17.17±1.35b 36.83±10.51c 94.31±4.43 โซเดียมคลอไรด์ (1%) 19.83±3.40ab 47.21±2.96b 94.25±5.67 โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ (0.05%) 24.90±0.22a 74.57±2.13a 94.69±4.44 หมายเหตุ a, b, c หมายถึง ค่าในแนวตั้งแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ns หมายถึง ค่าในแนวตั้งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05) 46 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 2 ค่าสี (L*, a* และ b*) ของเร่วหอมผงที่ผ่านการลวกในสารละลายที่แตกต่างกัน สารละลายที่ใช้ในการลวก L*ns a*ns b*ns ตัวอย่างควบคุม 77.74±0.90 3.86±0.34 18.31±0.71 น�้ำ 75.21±0.33 3.81±0.34 18.31±0.94 โซเดียมคลอไรด์ (1%) 75.47±0.04 3.80±0.25 17.78±0.93 โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ (0.05%) 75.83±0.92 3.58±0.43 19.05±0.77 หมายเหตุ ns หมายถึง ค่าในแนวตั้งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05)

จากผลการทดลองดังกล่าว สามารถเลือก ประกอบฟีนอลิกทั้งหมดมีแนวโน้มลดลงเมื่ออุณหภูมิในการ สารละลายที่ใช้ในการลวกเร่วหอมก่อนการท�ำแห้งที่ อบแห้งเพิ่มขึ้น ซึ่งแนวโน้มการลดลงของสารประกอบ เหมาะสม คือ การลวกในสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ ฟีนอลิกมีแนวโน้มเช่นเดียวกับการลดลงของฤทธิ์ต้านอนุมูล ความเข้มข้น 0.05 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 1 นาที ส�ำหรับใช้ อิสระเมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธี DPPH radical scavenging และ ในการทดลองขั้นต่อไป ซึ่งจะท�ำให้ได้เร่วหอมผงที่มีปริมาณ ß-carotene bleaching ที่มีแนวโน้มลดลงเมื่ออุณหภูมิการ สารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง อบแห้งเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตามพบว่า ผลที่ได้ไม่มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อน�ำเร่ว 2. การศึกษาผลของอุณหภูมิในการอบแห้งต่อคุณภาพของ หอมผงที่ได้จากการอบแห้งที่อุณหภูมิ 60, 70 และ 80 องศา เร่วหอมผง เซลเซียส มาท�ำการวิเคราะห์คุณภาพด้านสี (L*, a* และ b*) อุณหภูมิที่ใช้ในการอบแห้งจะส่งผลถึงคุณภาพของ (ตารางที่ 4) พบว่าอุณหภูมิในการอบแห้งเร่วหอมผงท�ำให้ค่า ผลิตภัณฑ์ที่สัมผัสกับอุณหภูมินั้น ๆ โดยตรง จากการ ความเป็นสีแดง (a*) แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ วิเคราะห์ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในเร่วหอมที่ผ่านการ (p≤0.05) แต่ค่าความสว่าง (L*) และค่าความเป็นสีเหลือง อบแห้งที่อุณหภูมิต่าง ๆ (ตารางที่ 3) พบว่า อุณหภูมิในการ (b*) ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) อบแห้งเร่วหอมผงมีผลต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิก โดยค่าความเป็นสีแดงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิในการ ทั้งหมดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) โดยปริมาณสาร อบสูงขึ้น

ตารางที่ 3 ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระของเร่วหอมผงที่ผ่านการอบแห้งที่อุณหภูมิแตกต่างกัน อุณหภูมิ ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก DPPH (%inhibition)ns β-carotene bleaching (องศาเซลเซียส) ทั้งหมด (mg GAE/g) (%antioxidant activity)ns 60 27.87±0.69a 75.56±0.32 93.56±4.21 70 20.31±0.25b 74.21±4.26 93.23±3.16 80 16.35±0.07c 70.76±3.11 90.15±4.56 หมายเหตุ a, b, c หมายถึง ค่าในแนวตั้งแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ns หมายถึง ค่าในแนวตั้งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05) ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 47

ตารางที่ 4 ค่าสี (L*, a* และ b*) ของเร่วหอมผงที่ผ่านการอบแห้งที่อุณหภูมิแตกต่างกัน อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) L*ns a* b*ns 60 76.08±0.34 3.24±0.02c 19.35±0.99 70 76.49±0.15 3.39±0.01b 18.79±0.20 80 76.34±0.62 3.65±0.01a 19.71±0.90 หมายเหตุ a,b,c หมายถึง ค่าในแนวตั้งแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ns หมายถึง ค่าในแนวตั้งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05)

เมื่อพิจารณาจากปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ไมครอนมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด นอกจากนั้นยังพบว่า ทั้งหมดและค่าความเป็นสีแดงจึงเลือกอุณหภูมิในการท�ำแห้ง ขนาดของอนุภาคไม่มีผลต่อค่าความสว่างและค่าความเป็น ที่ 60 องศาเซลเซียส ส�ำหรับใช้ในการทดลองขั้นต่อไป สีแดง (p>0.05) แต่มีผลต่อค่าความเป็นสีเหลือง (p≤0.05) โดยค่าความเป็นสีเหลืองมีแนวโน้มลดลงเมื่อขนาดอนุภาค 3. การศึกษาขนาดอนุภาคที่มีผลต่อคุณภาพของเร่วหอมผง เล็กลง เมื่อพิจารณาค่าความสามารถในการละลาย พบว่า จากการวิเคราะห์ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระของ ขนาดอนุภาคมีผลต่อความสามารถในการละลายของ เร่วหอมผงที่ขนาดอนุภาคแตกต่างกัน (300-180 ไมครอน) เร่วหอมผง (p≤0.05) โดยค่าการละลายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อ (ตารางที่ 5) พบว่าขนาดอนุภาคมีผลต่อปริมาณสารประกอบ ขนาดอนุภาคเล็กลง (ตารางที่ 6) ฟีนอลิกทั้งหมด และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเร่วหอมผง เมื่อพิจารณาจากปริมาณสารประกอบฟีนอลิก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) โดยปริมาณสารประกอบ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ สามารถเลือกขนาดอนุภาคของ ฟีนอลิกมีแนวโน้มลดลงเมื่อขนาดอนุภาคเล็กลง โดยอนุภาค เร่วหอมผงที่เหมาะสม ได้แก่ ขนาดอนุภาค 300 ไมครอน ซึ่ง ขนาด 300 ไมครอน มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกสูงที่สุด ท�ำให้ได้ผลิตภัณฑ์เร่วหอมผงที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ โดยเมื่อ อีกทั้งยังคงมีค่าความเป็นสีเหลืองสูง ผงเร่วหอมมีสีเหลืองสด วิเคราะห์ด้วยวิธี DPPH radical scavenging และ ไม่ซีดจาง ถึงแม้จะมีแนวโน้มของการละลายต�่ำกว่าตัวอย่าง β-carotene bleaching ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระมีแนวโน้ม อื่น ๆ แต่ความสามารถในการละลายไม่แตกต่างจากขนาด ลดลงเมื่อขนาดอนุภาคเล็กลง กล่าวคือ ที่ขนาดอนุภาค 300 อนุภาค 250 และ 212 ไมครอน

ตารางที่ 5 ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระของเร่วหอมผงที่มีขนาดอนุภาคแตกต่างกัน ขนาดอนุภาค ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก DPPH (%inhibition) β-carotene bleaching (ไมครอน; µm) ทั้งหมด (mg GAE/g) (%antioxidant activity) 300 27.95±0.62a 75.47±0.18a 92.64±1.83a 250 19.69±2.13b 41.63±1.43b 87.00±1.56b 212 16.85±1.32b 39.31±1.29b 86.85±1.21b 180 16.44±0.11b 38.27±2.43b 86.82±1.31b หมายเหตุ a, b, c หมายถึง ค่าในแนวตั้งแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) 48 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 6 ค่าสี (L*, a* และ b*) และความสามารถในการละลายของเร่วหอมผงที่มีขนาดอนุภาคแตกต่างกัน ขนาดอนุภาค (ไมครอน; µm) L*ns a* ns b* Solubility (%) 300 76.29±0.22 3.44±0.12 22.60±0.13a 25±1.41b 250 76.18±0.40 3.63±0.37 22.3±0.06ab 28±0.00ab 212 76.44±0.74 3.61±0.19 22.19±0.12ab 29±0.00ab 180 75.87±0.75 4.02±0.69 21.46±0.49b 31±1.41a หมายเหตุ a, b, c หมายถึง ค่าในแนวตั้งแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ns หมายถึง ค่าในแนวตั้งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05)

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย 0.05 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 1 นาที ซึ่งเป็นเวลาในการลวกที่ การใช้ประโยชน์จากพืชผักสมุนไพรพื้นบ้านได้รับ ได้จากการท�ำการทดสอบเบื้องต้นแล้วว่าสารละลายจะ ความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งผักพื้นบ้านหลายชนิดไม่เพียง สามารถยับยั้งปฏิกิริยาของเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดสใน แต่น�ำมาใช้บริโภคในรูปอาหารหรือใช้เป็นเครื่องเทศประกอบ เร่วหอมได้ทั้งหมด การลวกในสภาวะนี้สามารถรักษาปริมาณ อาหารเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้เป็นยารักษาหรือป้องกันโรค สารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระจากการ ได้อีกทางหนึ่งด้วย เร่วหอมเป็นพืชพื้นบ้านที่นิยมน�ำมาใช้ใน ทดสอบด้วยวิธี DPPH radical scavenging ไว้ได้มากที่สุด รูปของเครื่องเทศเพื่อประกอบอาหาร และมีสรรพคุณในการ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ทั้งนี้เนื่องมาจากโซเดียม ต้านอนุมูลอิสระจากน�้ำมันหอมระเหยที่เป็นส่วนประกอบอยู่ เมตาไบซัลไฟต์มีสมบัติในการยับยั้งกิจกรรมเอนไซม์โพ ถึงแม้เร่วหอมจะมีคุณค่าทั้งในการบริโภคและสรรพคุณทาง ลีฟีนอลออกซิเดสโดยท�ำปฏิกิริยากับสารประกอบตัวกลางใน ยาแต่การใช้ประโยชน์จากเร่วหอมยังคงจ�ำกัดอยู่ในพื้นที่ ระหว่างปฏิกิริยาการเกิดรงควัตถุสีน�้ำตาล หรืออาจจะท�ำ จังหวัดจันทบุรีหรือจังหวัดใกล้เคียงเท่านั้น เนื่องจากการใช้ ปฏิกิริยากับเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดสโดยตรงหรือ ประโยชน์จากเร่วหอมยังใช้ในรูปของเหง้าสดซึ่งท�ำให้อายุ ท�ำหน้าที่เป็นตัวรีดิวซ์สารประกอบควิโนนกลับไปเป็นสาร การเก็บรักษาค่อนข้างสั้น และการส่งขายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ประกอบฟีนอลที่ไม่มีสี [10] จึงท�ำให้สามารถรักษาปริมาณ ยังท�ำได้ยาก ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการแปรรูปเร่วหอม ของสารประกอบฟีนอลิกไว้ได้มาก แต่เมื่อทดสอบสมบัติการ เป็นเร่วหอมผงพร้อมใช้เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและง่ายต่อ เป็นสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี β-carotene bleaching การขนส่ง อีกทั้งการท�ำในรูปผงพร้อมใช้จะท�ำให้สามารถใช้ กลับพบว่า การลวกแต่ละวิธีมีเปอร์เซ็นต์ antioxidant ประโยชน์ในรูปแบบหรือเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ได้ activity ไม่แตกต่างกัน (p>0.05) แต่อย่างไรก็ตามทุก ง่ายขึ้น แต่อย่างไรก็ตามขั้นตอนของการแปรรูปมักส่งผลต่อ ตัวอย่างมีเปอร์เซ็นต์ antioxidant activity สูงกว่า 90 สมบัติทางกายภาพและเคมีของพืชอาจส่งผลให้ฤทธิ์การต้าน เปอร์เซ็นต์ การที่ผลการประเมินฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระทั้ง 2 อนุมูลอิสระและสารประกอบฟีนอลิกลดลง งานวิจัยนี้จึง วิธีให้ผลที่ต่างกันนั้นอาจเป็นเพราะความแตกต่างของหลัก ท�ำการตรวจติดตามลักษณะส�ำคัญดังกล่าวในระหว่างขั้น การในการทดสอบแต่ละวิธี ซึ่งวิธี DPPH วัดความสามารถ ตอนการแปรรูปเร่วหอมผง ของสารสกัดในการเข้าจับกับอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นในขั้นต้น ในขั้นตอนแรกของกระบวนการผลิตเร่วหอมผงได้ ของปฏิกิริยาออกซิเดชัน ซึ่งการลวกที่แตกต่างกันอาจจะส่ง ศึกษาผลของการลวกเร่วหอมต่อคุณภาพของเร่วหอมผง โดย ผลต่อความไวในการเข้าจับกับอนุมูลอิสระในขั้นต้นของการ ท�ำการลวกเร่วหอมในสารละลายชนิดต่าง ๆ พบว่าการลวก เกิดปฏิกิริยา แต่ส�ำหรับวิธี β-carotene bleaching นั้น เร่วหอมในสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ ความเข้มข้น ติดตามผลการยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันในขั้นต่อเนื่องหรือ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 49

ในขั้นการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ [2] ที่พบว่าเมื่อเข้าสู่ปฏิกิริยาใน หอมผงลดลงแต่กลับท�ำให้ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและ ขั้นต่อมาวิธีการลวกไม่ส่งผลต่อฤทฺธิ์การต้านอนุมูลอิสระของ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระลดลงนั้นอาจเนื่องจากเร่วหอมมีปริมาณ เร่วหอมผง ผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าวิธีการประเมิน เส้นใยสูงจึงท�ำให้ขั้นตอนของการบดลดขนาดอนุภาคท�ำได้ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระมีความจ�ำเพาะเจาะจงและมีความ ยาก เมื่อต้องการขนาดอนุภาคที่เล็กลงจึงจ�ำเป็นต้องใช้เวลา ส�ำคัญต่อผลการทดสอบ ในการบดมากขึ้น และในระหว่างการบดจะเกิดความร้อน ส�ำหรับขั้นตอนของการอบแห้งพบว่า อุณหภูมิใน จากการเสียดสีกันระหว่างใบมีดและอนุภาคของเร่วหอม การอบแห้งเร่วหอมมีผลต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ความร้อนที่เกิดขึ้นในปริมาณมากและเป็นเวลานานจะส่งผล ทั้งหมด โดยปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดรวมถึงฤทธิ์ ต่อการสลายตัวของสารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์ต้าน การต้านอนุมูลอิสระมีแนวโน้มลดลงเมื่ออุณหภูมิในการอบ อนุมูลอิสระได้ [11] แห้งเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากสารประกอบฟีนอลิกเสื่อมสลาย เมื่อพิจารณาค่าสีของเร่วหอมผงพบว่า ค่าความ ได้ง่ายด้วยความร้อน [11] ดังนั้นการที่น�้ำในอาหารกลายเป็น เป็นสีเหลืองของเร่วหอมผงมีแนวโน้มลดลงเมื่อขนาดอนุภาค ไอที่อุณหภูมิต�่ำกว่าเป็นเหตุผลส�ำคัญที่สามารถคงคุณภาพ เล็กลง จากที่อธิบายข้างต้นการลดขนาดเร่วหอมผงซึ่งมีความ ทางเคมีของอาหารได้ และยังช่วยรักษาปริมาณสารที่สามารถ เป็นเส้นใยมากท�ำให้ได้รับความร้อนจากการบดมากกว่า ซึ่ง ระเหยง่ายให้ยังคงอยู่ในผลิตภัณฑ์ส่งผลให้เร่วหอมผงยังคงมี จะส่งผลถึงคุณภาพทางเคมีและการสลายตัวหรือเปลี่ยน คุณภาพทางเคมีที่ดีและกลิ่นรสคงเดิม [12-14] เมื่อพิจารณา โครงสร้างของสารประกอบที่ให้สีเหลือง เช่น เบต้าแคโรทีน ผลในด้านค่าสีของเร่วหอมผง พบว่า อุณหภูมิในการอบแห้ง โดยเบต้าแคโรทีนที่พบในอาหารส่วนใหญ่จะอยู่ในรูป trans- เร่วหอมผงท�ำให้ค่าความเป็นสีแดง (a*) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น form ซึ่งจะมีสีเข้มกว่า cis-form ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยน เมื่ออุณหภูมิในการอบสูงขึ้น ค่าสีที่เปลี่ยนแปลงไปของเร่ว โครงสร้างจาก trans-form ไปเป็น cis-form คือ แสง หอมผงอาจเกิดจากปฏิกิริยาการเกิดสีน�้ำตาลโดยไม่ใช้ ความร้อน และกรด [3] เมื่อขนาดอนุภาคที่เล็กลงท�ำให้ต้อง เอนไซม์ ได้แก่ ปฏิกิริยาเมลลาร์ดที่เกิดจากปฏิกิริยาที่น�้ำตาล ใช้เวลาในการบดนานขึ้นเร่วหอมจึงมีโอกาสสัมผัสกับ รีดิวซ์มีหมู่ที่เป็นอัลดีไฮด์และคีโตนท�ำปฏิกิริยากับ ความร้อนที่เกิดจากการเสียดสีกันระหว่างการบดมากขึ้น สารประกอบไนโตรเจน อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นส่งผลท�ำให้ความ ส่งผลให้เบต้าแคโรทีนเปลี่ยนโครงสร้างไปเป็น cis-form เร่ว ว่องไวในการท�ำปฏิกิริยาของน�้ำตาลรีดิวซ์และสารประกอบ หอมผงจึงมีค่าความเป็นสีเหลืองลดลงเมื่อขนาดอนุภาคลดลง ไนโตรเจนเพิ่มสูงขึ้นจึงท�ำให้อัตราการเกิดสีน�้ำตาลเพิ่มขึ้น แต่เมื่อพิจารณาค่าความสามารถในการละลาย ซึ่งหมายถึง [15] ผลที่ได้สอดคล้องกับการศึกษาของเทวรัตน์ [16] อัตราส่วนระหว่างปริมาณตัวถูกละลายต่อปริมาณตัวท�ำ ที่พบว่าเมื่ออุณหภูมิในการอบแห้งเพิ่มขึ้นค่าความเป็นสีแดง ละลายในสารละลายอิ่มตัว พบว่า ค่าการละลายของเร่วหอม ของหอมสดมีค่าเพิ่มมากขึ้นจากค่าอ้างอิง โดยการอบแห้งที่ ผงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อขนาดอนุภาคเล็กลง แสดงให้เห็นว่า อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส สีของหอมสดมีแนวโน้มเปลี่ยน เร่วหอมผงที่มีอนุภาคขนาดเล็กมีการกระจายตัวของอนุภาค ไปเป็นสีแดงได้มากที่สุด ในน�้ำดีกว่า เนื่องจากเร่วหอมผงที่มีอนุภาคขนาดเล็กมีพื้นที่ ส�ำหรับขั้นตอนสุดท้าย คือ การบดลดขนาดเร่ว ผิวสัมผัสมากกว่าอนุภาคขนาดใหญ่ ท�ำให้เร่วหอมผงที่มี หอมผงให้มีขนาดอนุภาคแตกต่างกันในระหว่าง 300-180 ขนาดเล็กสัมผัสกับตัวท�ำละลายและดูดซับตัวท�ำละลายไว้ที่ ไมครอน พบว่า ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์ต้าน ผิวได้มากกว่าจึงท�ำให้ความสามารถในการละลายสูงกว่าเร่ว อนุมูลอิสระมีแนวโน้มลดลงเมื่อขนาดอนุภาคเล็กลง โดย หอมผงที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ อนุภาคขนาด 300 ไมครอน มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิก กระบวนการในการผลิตเร่วหอมผงที่ประกอบไป และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด การที่ขนาดอนุภาคของเร่ว ด้วยขั้นตอนของการลวก การอบแห้ง และการบดลดขนาด 50 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ล้วนส่งผลต่อฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและคุณภาพของเร่ว 4. ธนศักดิ์ แซ่เลี่ยว. ผลของการท�ำแห้งต่อสารประกอบ หอมผงที่ได้ โดยจากผลการศึกษาข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า ฟีนอลิกและความสามารถต้านออกซิเดชันของกระชาย กระบวนการผลิตเร่วหอมผงที่เหมาะสม คือ การลวกเร่วหอม เหลือง (Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schltr.). ในสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ ความเข้มข้น 0.05 วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เปอร์เซ็นต์ ที่อุณหภูมิสารละลายเดือด เป็นเวลา 1 นาที วิทยาศาสตร์การอาหาร, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย จากนั้นอบแห้งด้วยตู้อบลมร้อนอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ; 2552. เป็นเวลา 90 นาที แล้วบดลดขนาดจนมีขนาดอนุภาค 300 5. Shegokar R, Müller RH. Nanocrystals: industrially ไมครอน ผลิตภัณฑ์ที่ได้ยังคงมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง มีรูป feasible multifunctional formulation technology แบบผลิตภัณฑ์ที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้งานง่าย มีอายุการ for poorly soluble actives. Int J Pharm เก็บนาน เก็บรักษาและขนส่งได้ง่าย สามารถส่งเสริมให้มีการ 2010;399(1):129-39. ผลิตเพื่อจัดจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ นอกจากนี้ข้อมูลจากงาน 6. Zhou K, Yu L. Total phenolic contents and วิจัยยังใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษากระบวนการแปรรูปและ antioxidant properties of commonly consumed การศึกษาเกี่ยวกับสารที่มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระในพืช vegetables grown in Colorado. LWT - Food Sci สมุนไพรพื้นบ้านชนิดอื่นได้ Technol 2006;39(10):1155-62. 7. Brand WW, Cuvelier ME, Berset C. Use of a free กิตติกรรมประกาศ radical method to evaluate antioxidant activity. งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบ Lebenson Wiss Technol 1995;28(1):25-30. ประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่น 8. Siddhuraju P, Becker K. Antioxidant properties ดิน) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยบูรพา of various solvent extracts of total phenolic ผ่านส�ำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ constituents from three different agroclimatic origins of drumstick tree (Moringa oleifera Lam.) เอกสารอ้างอิง leaves. J Agric Food Chem 2003;51(8):2144-55. 1. นรินทร์ พันธุ์ครู. เร่วหอมพืชสมุนไพรมากสรรพคุณ. 9. Sanphakdee U. Caffeine and catechins analysis [อินเตอร์เน็ต]. 2553 [เข้าถึงเมื่อ 12 ก.ย. 2559]. product recovery sanphakdee, 2007. [Internet]. เข้าถึงได้จาก: http://www.sahavicha.com/? 2007 [cited 2016 September 12]. Available name=article&file=readarticle&id=1503 from: https://text-id.123dok.com/document/ 2. กฤติกา นรจิตร. คุณสมบัติของสารสกัดจากพืชวงศ์ขิง: ky6xovk4y-caffeine-and-catechins-analysis- อิทธิพลของวิธีการสกัดต่อการยับยั้งการเจริญเติบโต product-recovery-sanphakdee-2007.html ของเชื้อแบคทีเรียและการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ. 10. Lambrecht HS. Sulfite substitutes for the วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา prevention of enzymatic browning in foods เทคโนโลยีชีวเคมี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย enzymatic browning and its prevention. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. กรุงเทพฯ; 2548. Washington DC: American Chemical Society; 3. นิธิยา รัตนาปนนท์. เคมีอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. 1995. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์; 2549. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 51

11. พัชรี สิริตระกูลศักดิ์, สกุลกานต์ สิมลา. ผลของกรรมวิธี วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัญฑิต สาขาวิชา การประกอบอาหารต่อปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระใน เคมีศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี; ดอกชมจันทร์. วารสารแก่นเกษตร 2558;43(1):875-80. 2556. 12. Rahman MS. Hand book of food preservation. 15. นิธิยา รัตนาปนนท์. เคมีอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 1. New York: Marcel Dekker; 1999. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์; 2545. 13. รัตนา อัตตปัญโญ, อัจฉรา เทียมภักดี. วิธีการยืดอายุ 16. เทวรัตน์ ทิพยวิมล. การคงคุณภาพผักอบแห้งกึ่ง การเก็บรักษาล�ำไยสดเพื่อการแปรรูปเป็นเนื้อล�ำไยอบ ส�ำเร็จรูปด้วยเทคนิคการอบแห้งแบบปั๊มความร้อน. แห้งในเชิงพาณิชย์. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เสนอต่อ นครราชสีมา: สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร ส�ำนักวิชา ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. กรุงเทพฯ; 2540. วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2555. 14. วัชรพงษ์ ทสะสังคินทร์. องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ ทางชีวภาพของเหง้าเร่วหอมและเมล็ดกระวาน. 52 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ผลของความแตกต่างทางเพศและบุคลิกภาพในผู้ใหญ่ตอนต้นที่มีต่อรูปภาพ ที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล The effects of gender and personality differences in young adults on the emotional dominance of pictures

จิระนันท์ อนันต์ไทย* สุชาดา กรเพชรปาณี ปรัชญา แก้วแก่น และ สิริกรานต์ จันทเปรมจิตต์ วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 20131 Jeeranun Anunthai*, Suchada Kornpetpanee, Patchaya Kankaew and Sirikran Juntapermjit College of Research Methodology and Cognitive Science, Burapha University, Chonburi 20131

Received: 27 March 2019/ Revised: 9 June 2019/ Accepted: 21 June 2019

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น และศึกษาอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลเชิงพฤติกรรมและคลื่นไฟฟ้าสมองขณะท�ำกิจกรรมการมองรูปภาพ จ�ำแนกตามเพศและ บุคลิกภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา จ�ำนวน 80 คน ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ กิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล เครื่องบันทึกไฟฟ้าสมองระบบ Neuroscan และ มาตรวัดอารมณ์ความรู้สึกด้านการมีอิทธิพล (SAM) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง จาก ผลการวัดด้านพฤติกรรมแสดงให้เห็นว่า การมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะกลัว มีค่าคะแนนเฉลี่ย แตกต่างกันระหว่างบุคลิกภาพเปิดเผยและกลาง ๆ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส�ำหรับผลการวัดด้านคลื่นไฟฟ้า สมองพบว่า ขณะมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะไม่กลัว คลื่นไฟฟ้าสมอง P100 มีความแตกต่างกัน ระหว่างบุคลิกภาพเปิดเผยและกลาง ๆ ที่ต�ำแหน่ง FC4 ในขณะที่คลื่นไฟฟ้าสมอง N170 พบความแตกต่างระหว่างเพศชาย และเพศหญิงที่ต�ำแหน่ง PO7 ส่วนการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะกลัวพบความแตกต่างของคลื่น ไฟฟ้าสมอง P100 ที่ต�ำแหน่ง O1 ในขณะที่คลื่นไฟฟ้าสมอง N170 พบความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิงที่ต�ำแหน่ง FCz

ค�ำส�ำคัญ: อารมณ์ด้านการมีอิทธิพล รูปภาพ คลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับเหตุการณ์

Corresponding author: [email protected] ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 53

Abstract The purposes of this research were to design the dominance emotional pictures activities in young adults and investigate the emotional dominance in terms of behavioral and brain wave patterns, as they responded to the activities, classified by gender and personality. The participants were 80 undergraduate students in 2017 academic year from Burapha University. The research instruments were the dominance emotional pictures activities, the EEG Neuroscan systems, and Self-Assessment Manikin (SAM). Data were analyzed using mean, standard deviation, and 2-way ANOVA. The results demonstrated that: the dominance emotional pictures activities consisted of three activities depend on the emotional dominance, including, neutral, control and uncontrol. The behavioral evaluation revealed that there was difference in the average scores of emotional dominance on uncontrol between extravert and ambivert (p<0.05). The electroencephalography data revealed that during they responded to the emotional dominance pictures on Control, there were differences in P100 brainwave at FC4 position between extravert and ambivert whereas in N170 brainwave there were differences at PO7 positions between genders. In addition, the emotional dominance pictures on uncontrol, found in P100 between personality brainwave there were differences at O1 position between gender whereas in N170 brainwave at FCz position.

Keywords: Dominance, Pictures, Event-related potential

บทน�ำ สภาวะของร่างกาย ซึ่งถูกกระตุ้นจนเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง อารมณ์ (emotion) มีสาเหตุมาจากอิทธิพลภายใน สรีรวิทยา [1] และสิ่งแวดล้อม มีการเปลี่ยนแปลง ทางจิตใจและสรีรวิทยา การศึกษาอารมณ์ มีการสร้างคลังรูปภาพที่สื่อ ที่ซับซ้อนและเกี่ยวข้องกับปัจจัยที่แตกต่างกันมากมาย และ ความหมายทางด้านอารมณ์ในบริบทของคนไทย (The Thai มนุษย์ยังมีความแตกต่างกันในวัฒนธรรม และภาษาชัดเจน Affective Picture Bank System: Thai APBS) โดยธวัชชัย ระหว่างเผ่าพันธุ์ ชาติ ศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกี่ยวกับ และคณะ [2] พัฒนาขึ้นมีลักษณะเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อารมณ์ความรู้สึก เนื่องจากอารมณ์มีปริมาณที่เพิ่มขึ้นหรือ ระบบคลังรูปภาพที่พัฒนาในรูปแบบเว็บแอพพลิเคชัน ที่เก็บ ลดลงเกิดขึ้นจากสภาวะภายนอกและภายในทางจิตใจที่เกิด รวบรวมรูปภาพที่สื่อความหมายทางด้านอารมณ์ในบริบท จากการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกายและสภาวะทางจิตใจที่ ของคนไทย จ�ำแนกรูปแบบอารมณ์ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) เกิดจากอารมณ์ ความรู้สึก โดยไม่ค�ำนึงถึงวัฒนธรรมและ ด้านความประทับใจ (valence) จ�ำแนกเป็น 3 ลักษณะ คือ ภาษาและสามารถมองเห็นได้ เช่น ความสุข ความกลัว ลักษณะไม่ประทับใจ (unpleasured) เฉย ๆ (neutral) และ ความโกรธ และความโศกเศร้า ดังนั้นการวิเคราะห์อารมณ์ ลักษณะประทับใจ (pleasure) 2) ด้านการตื่นตัว (arousal) และการแบ่งประเภทของอารมณ์ที่เกิดจากการเห็นสิ่งเร้า จ�ำแนกเป็น 3 ลักษณะ คือ ลักษณะสงบ (calm) ลักษณะเฉย ๆ โดยเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นซึ่งจะเกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันที โดย (neutral) และลักษณะตื่นเต้น (excited) และ 3) ด้านการ จะไม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรงแต่จะสังเกตเห็นได้ทาง มีอิทธิพล (dominance) จ�ำแนกเป็น 3 ลักษณะ คือ ลักษณะ อ้อม เช่น ดูจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านพฤติกรรมต่าง ๆ การมีอิทธิพลที่ด้อยกว่ากลัว (uncontrol) ลักษณะเฉย ๆ ที่มิได้แสดงออกเป็นค�ำพูด เช่น การแสดงออกทางสีหน้าและ (neutral) และลักษณะการมีอิทธิพลที่เหนือกว่าคือ ไม่กลัว กิริยาท่าทาง เป็นต้น นอกจากนี้ อารมณ์ความรู้สึกเกิดจาก (control) ต่อมาได้คัดเลือกรูปภาพที่อยู่ในคลังภาพ เพื่อน�ำ 54 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

มาเป็นสิ่งเร้าในการกระตุ้นอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ซึ่ง รูปแบบการศึกษาอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลนั้นมี รูปภาพเป็นรูปแบบของการสื่อสารที่ใช้ทักษะการมองเห็น หลากหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาด้วย Functional สามารถกระตุ้นประสาทสัมผัสก่อให้เกิดความหมายและมี Magnetic Resonance Imaging (FMRI), อิทธิพลต่อการรับรู้ (perception) ความคิด (cognition) Electroencephalogram (EEG) หรือคลื่นไฟฟ้าสมอง และยังสามารถส่งผลท�ำให้บุคคลแสดงอารมณ์ความรู้สึก สัมพันธ์กับเหตุการณ์ (Event-Related Potential: ERP) (affection) ได้หลากหลาย [3] เนื่องจากรูปภาพมีผลต่อ เนื่องจากอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลจะเป็นอารมณ์แรกที่เกิด การกระตุ้นการรับรู้ การมองเห็นซึ่งมีประสิทธิผลดีกว่าการ ขึ้นเมื่อได้รับการกระตุ้น โดยจะเกิดขึ้นใน 3 ช่วงเวลา คือ 1) รับรู้ด้วยการฟัง และสามารถก่อให้เกิดผลกระทบทาง ในช่วงแรกของการกระตุ้นหรือที่เรียกว่า Early Posterior จิตวิทยาต่อผู้พบเห็นได้มาก เช่น ช่วยดึงดูดความสนใจ และ Negativity (EPN) ซึ่งจะอยู่ในช่วงเวลา 50-250 มิลลิวินาที ช่วยให้เกิดความทรงจ�ำในภาพถ่ายที่พบเห็นได้นาน [4] ได้ 2) หลังจากได้รับการกระตุ้น P300 หรือช่วงเวลา 250-350 ศึกษามิติอารมณ์ความรู้สึก ได้แก่ ความพึงพอใจ (pleasure) มิลลิวินาที และ 3) Late Positive Potential (LPP) หรือ ความตื่นตัว (arousal) และความมีอิทธิพล (dominance) ช่วงเวลาที่นานกว่า 400 มิลลิวินาที หลังจากได้รับการกระตุ้น เพื่อประเมินการรับรู้ (perception) ประสบการณ์ [6] (experience) และ การตอบสนองทางด้านจิตวิทยา ความแตกต่างระหว่างเพศ เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผล (psychological responses) ซึ่งมิติอารมณ์ที่พิจารณาขึ้นนี้ ต่อการรับรู้อารมณ์หรือการแสดงออกทางอารมณ์ เช่น ประโยชน์ในวงการจิตวิทยา เพื่อใช้วิเคราะห์อารมณ์ต่าง ๆ เพศหญิงมีการแสดงออกทางอารมณ์ผ่านทางสีหน้าหรือ รวมทั้งกลไกที่ท�ำให้เกิดอารมณ์ความรู้สึก นอกจากนี้ยังพบว่า ค�ำพูด ในขณะที่เพศชายมีการแสดงออกทางพฤติกรรม เช่น มิติอารมณ์ 3 ส่วน นั้นเชื่อมโยงกับความรู้สึก (feeling) พฤติกรรมก้าวร้าว ในการศึกษาของ Bradley และคณะ [7] ความคิด (thinking) และการกระท�ำ (acting) ซึ่งสามารถ พบว่าเพศหญิงมีการรับรู้อารมณ์สูงกว่าเพศชาย และมีการ ช่วยในการท�ำความเข้าใจ วิเคราะห์ และวัดอารมณ์ความรู้สึก แสดงออกทางสรีรวิทยามากกว่า เช่น การแสดงออกทาง ทั้ง 3 มิติได้ในการมองภาพที่เร้าอารมณ์ ข้อมูลที่ผ่านการมอง กล้ามเนื้อบนใบหน้า อัตราการเต้นของหัวใจ เป็นต้น จะถูกส่งไปยัง primary visual cortex ที่สมองส่วน นอกจากนี้ยังพบว่า เพศหญิงมีการรับรู้อารมณ์ต่อรูปภาพที่ occipital lobe จากนั้นจะส่งไปยัง ventral occipital และ มีอิทธิพลหรือรูปภาพเชิงลบสูงกว่าเพศชาย [8] นอกจาก temporal lobe เพื่อตรวจสอบว่าภาพที่เห็นอยู่ที่ไหน ปัจจัยเรื่องเพศแล้ว ลักษณะของความแตกต่างทางบุคลิกภาพ อย่างไร แล้วส่งไปที่ dorsal occipital และ parietal lobe ยังมีความส�ำคัญต่อการแสดงออกทางอารมณ์เช่นกัน จาก แล้ว ส่งต่อไปยังสมองส่วน thalamus และส่วน corpus การศึกษาของ Beauducel และคณะ [9] ค้นพบคลื่นไฟฟ้า callosum หลังจากนั้นจะประมวลผลที่สมองบริเวณ frontal สมองระดับอัลฟ่า และคลื่นไฟฟ้าสมอง P300 ส�ำหรับ lobe [5] จากนั้นข้อมูลจะถูกส่งต่อไปยังสมองส่วนความจ�ำ บุคลิกภาพเปิดเผย ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Cai และ คือ limbic system และ hippocampus เพื่อทบทวนว่า คณะ [10] ที่ศึกษาเชิงพฤติกรรมและคลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์ เคยรับรู้มาก่อนหรือเป็นสิ่งใหม่ จากนั้นจะส่งกลับมายังสมอง กับเหตุการณ์ ผลปรากฏว่ากลุ่มตัวอย่างให้คะแนนรูปภาพไม่ ส่วน orbitofrontal cortex ต�ำแหน่ง medial prefrontal กลัวต�่ำกว่าค่ากลางของเพศชายที่มีบุคลิกภาพแบบกลาง ๆ cortex ต�ำแหน่ง ventromedial prefrontal cortex สูงกว่าขณะมองภาพที่มีลักษณะกลัว ต�ำแหน่ง Posterior Superior Temporal Sulcus (PSTS) บุคลิกภาพที่แตกต่างกันส่งผลต่ออารมณ์ด้านการ ต�ำแหน่ง temporal poles และต�ำแหน่ง anterior มีอิทธิพล หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่ใช้สะท้อนความรู้สึก cingulate cortex เพื่อประมวลผลและสั่งการต่อไป ความคิดทั้งภายในและภายนอก จนกลายมาเป็นคุณลักษณะ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 55

เฉพาะของบุคคลในการปฏิสัมพันธ์สิ่งแวดล้อมของบุคคลนั้น เกี่ยวกับความรู้สึกทางอารมณ์ เพื่อเลือกแบบแผนของ งานวิจัยนี้ศึกษาบุคลิกภาพเปิดเผย (extravert) ซึ่งเป็น พฤติกรรม ลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลที่สนใจสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และ การศึกษาที่ผ่านมาได้พบคลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์ สิ่งต่าง ๆ ภายในตัวบุคคลอื่น จะเป็นคนที่มีเสน่ห์ สนุกสนาน กับเหตุการณ์ที่หลากหลาย มีนักวิจัยค้นพบคลื่นไฟฟ้าสมอง ร่าเริง ช่างพูด ชอบเข้าสังคม มีอารมณ์ขัน มองโลกในแง่ดี ช่วง larger late positive ERP ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่สื่อ และบุคลิกภาพกลาง ๆ (ambivert) ซึ่งเป็นบุคคลที่มี อารมณ์การตื่นตัว ระดับสูงเมื่อเทียบกับสิ่งเร้าที่สื่ออารมณ์ บุคลิกภาพที่ไม่ชัดเจน ในทฤษฎีอารมณ์ด้านการตื่นตัวของ การตื่นตัวระดับต�่ำ ความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมองที่เกิดขึ้น Eysenck [11] ได้อธิบายว่าบุคลิกภาพเก็บตัว (introvert) มี อยู่ที่ 300-400 มิลลิวินาที [13] และมีนักวิจัยอีกหลายคนได้ ระดับอารมณ์ด้านการตื่นตัวสูงกว่าบุคลิกภาพเปิดเผย ค้นพบของคลื่นที่ 2 ของ P300 ที่ช่วงเวลา 250-550 Campisi และ La [12] ได้ค้นพบคลื่นไฟฟ้าสมองระดับอัลฟ่า มิลลิวินาที ซึ่งเกี่ยวข้องกับการท�ำงานของสมองในด้าน และคลื่นไฟฟ้าสมอง P300 ส�ำหรับบุคลิกภาพกลาง ๆ ซึ่ง กระบวนการทางปัญญา (cognitive process) ร่วมกับความจ�ำ สัมพันธ์กับอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลระดับต�่ำ อารมณ์ด้าน ขณะท�ำงาน (working memory) และการดึงข้อมูลมาจาก การมีอิทธิพลเกิดจากการกระตุ้นจากสิ่งเร้าผ่านระบบรับ ความจ�ำระยะยาว (long-term memory) ของการคิด สัมผัสทางการมองเห็นหรือการได้ยิน เกิดกระบวนการรับรู้ ประมวลผลในการตัดสินใจ (decision making) การประเมิน และตีความ ท�ำให้เกิดการตอบสนองทางอารมณ์ด้านการมี (evaluation) การจัดหมวดหมู่ (categoriazation) และการ อิทธิพล โดยสามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ 1) ลักษณะกลัว แก้ปัญหา (problem solving) คลื่น P3b ปรากฏการท�ำงาน (uncontrol) 2) ลักษณะเฉย ๆ (neutral) และ 3) ลักษณะ ที่ชัดเจนบริเวณสมองส่วนหน้า (frontal lobe) ร่วมกับสมอง ไม่กลัว (control) โดยสิ่งเร้ากระทบกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 ส่วนกลาง (parietal lobe) และสมองส่วนข้าง (temporal ได้แก่ 1) ตา (รูป) 2) ลิ้น (รส) 3) จมูก (กลิ่น) หู 4) (เสียง) lobe) แสดงให้เห็นถึงการท�ำงานร่วมกันระหว่างกระบวนการ และ 5) ผิวกาย (สัมผัส) ท�ำให้เกิดการรับรู้จากการมีกระแส ทางปัญญากับกระบวนการด้านความจ�ำ (memory ประสาทรับความรู้สึกเป็นหน้าที่ของ neocortex ความรู้สึก process) [14] งานวิจัยของ Lee และ Lucey [15] ได้ค้น ที่เกิดจากการกระตุ้นโดยกระแสประสาทรับความรู้สึกเป็น พบลักษณะที่คล้ายกัน คือผลของสิ่งเร้าที่สื่อถึงอารมณ์ด้าน หน้าที่ของระบบลิมบิก ความรู้สึกทั้งภายในและภายนอก การมีอิทธิพลท�ำให้เกิดความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมองที่ ร่างกายจะส่งไปผสานที่ระบบลิมบิก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ระดับ 600-1,200 มิลลิวินาที สมองที่เกี่ยวข้องกับการเลือกพฤติกรรมของความรู้สึกทาง จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะ อารมณ์ และส่งไปที่ไฮโปธาลามัสและก้านสมองเพื่อการ เห็นว่า ปัจจัยทางด้านเพศและบุคลิกภาพมีความสัมพันธ์ต่อ แสดงออกผ่านที่อวัยวะภายในหรือทางกล้ามเนื้อหรือทาง การรับรู้อารมณ์ โดยเฉพาะด้านการมีอิทธิพล ซึ่งการศึกษา ระบบต่อมไร้ท่อ ดังนั้นไฮโปธาลามัสจึงเกี่ยวข้องกับการ เกี่ยวกับรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในบริบทของ แสดงออกทางภายนอกของอารมณ์ ซึ่งระบบลิมบิกมีหน้าที่ คนไทย ยังไม่พบว่ามีนักวิชาการศึกษามาก่อน ผู้วิจัยจึงมี ท�ำให้เกิดความรู้สึกทางอารมณ์ เมื่อรับสัมผัสจากระบบรับ ความสนใจที่จะศึกษาอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล โดยศึกษา ความรู้สึกทั้ง 5 ส่วน ธาลามัสและซีรีบรัลคอร์เท็กซ์ ปัจจัยทางด้านเพศ และบุคลิกภาพในเชิงพฤติกรรมและคลื่น (thalamocortical system) ท�ำหน้าที่ทางด้าน sensory ไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับเหตุการณ์ โดยใช้รูปภาพจากระบบ motor mechanism ซึ่งท�ำให้คนเราปรับตัวให้เข้ากับสิ่ง คลังรูปภาพที่สื่อความหมายทางด้านอารมณ์ในบริบทของคน แวดล้อมในขณะที่ไฮโปธาลามัสระบบลิมบิก (hypothalamo ไทย (The Thai Affective Picture Bank System: Thai -limbic system) ให้ sensory-motor experiences APBS) เป็นตัวกระตุ้น เพื่อให้เหมาะกับการศึกษาด้าน 56 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

วิทยาศาสตร์อารมณ์ในบริบทของคนไทย ซึ่งผลที่ได้จากการ (Positive and Negative Affect Schedule: PANAS) ทั้งนี้ ศึกษาสามารถน�ำไปใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์อารมณ์ กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมการทดลองต้องมีความเต็มใจเข้าร่วมการ รวมทั้งเป็นแนวทางในการวางแผนและส่งเสริมการพัฒนา ทดลองตามเวลาที่ก�ำหนดและลงชื่อในใบยินยอมเข้าร่วมการ ทางด้านอารมณ์ได้ ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีวุตถุประสงค์ของ ทดลอง ส่วนเกณฑ์การคัดออก (exclusion criteria) มี การวิจัย คือ เพื่อออกแบบกิจกรรมการทดลองการมอง รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพหรือการเจ็บป่วย สุขภาพจิต รูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น เพื่อ การมองเห็น ความถนัดการใช้มือ ภาวะซึมเศร้า และสภาพของ ศึกษาอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น และเพื่อ สมอง โดยงานวิจัยนี้ ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ ศึกษาคลื่นไฟฟ้าสมองของผู้ใหญ่ตอนต้น พิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน วิทยาลัยการวิจัยและ วิทยาการทางปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา วิธีด�ำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย ขั้นตอนการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ บูรพา จังหวัดชลบุรี อายุระหว่าง 20-25 ปี ที่มีสุขภาพดี ปีการ ระยะที่ 1 การพัฒนากิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้า ศึกษา 2560 จ�ำนวน 80 คน ประกอบด้วย เพศชาย จ�ำนวน อารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น 40 คน และเพศหญิง จ�ำนวน 40 คน ค�ำนวณขนาดของกลุ่ม คัดเลือกรูปภาพจากระบบคลังรูปภาพที่สื่อ ตัวอย่างจากโปรแกรม G*Power [16] โดยให้อาสาสมัครบันทึก ความหมายทางด้านอารมณ์ความรู้สึกในบริบทของคนไทย ข้อมูลส่วนบุคคลลงในแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และ โดยเลือกภาพลักษณะไม่กลัว เฉยๆ และกลัว แต่ละชุด พิจารณาตามเกณฑ์การคัดเลือกเข้า (inclusion criteria) ได้แก่ รูปภาพใช้จ�ำนวน 12 ภาพ จากนั้นก�ำหนดขั้นตอน การเป็นผู้มีสุขภาพดี ไม่มีโรคประจ�ำตัว ไม่มีการติดตั้งเครื่อง การน�ำเสนอภาพแต่ละชุด เริ่มต้นที่จุดคงที่ (fixation point) กระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ที่ใช้การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า ที่ปรากฏบนหน้าจอ เป็นเวลานาน 2,000 มิลลิวินาที หลังจาก ภายในร่างกาย มีภาวะการได้ยินเป็นปกติ โดยไม่ติดตั้งเครื่อง นั้นบนหน้าจอจะปรากฏหน้าจอสีด�ำ เป็นเวลานาน 1,000 ช่วยในการได้ยิน มีภาวะการมองเห็นปกติ หรือแก้ไขให้เป็น มิลลิวินาที ต่อมาแสดงภาพเร้าอารมณ์แต่ละภาพเป็น ปกติด้วยการสวมแว่นสายตา เป็นผู้ถนัดมือขวา มีภาวะสุขภาพ เวลานาน 6,000 มิลลิวินาที และก�ำหนดช่วงการพักสายตา จิตปกติ ไม่มีภาวะความจ�ำเสื่อม ภาวะซึมเศร้า และภาวะเครียด แต่ละช่วงของการมองภาพแต่ละชุด ชุดละ 12 ภาพ เป็นเวลา ตลอดจนเป็นผู้มีบุคลิกภาพเปิดเผยหรือบุคลิกภาพกลาง ๆ โดย 5 นาที โดยล�ำดับขั้นตอนกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่ ใช้แบบส�ำรวจบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ มีคะแนนเฉลี่ย เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น มีการพัฒนา ร้อยละ 50 และมีอารมณ์ความรู้สึกอยู่ในเกณฑ์ปกติ โดย กิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ประเมินจากตารางอารมณ์ความรู้สึกเชิงบวกและเชิงลบ ในผู้ใหญ่ตอนต้น (ภาพที่ 1) ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 57

ภาพที่ 1 ขั้นตอนกิจกรรมทดลองมองรูปภาพด้านการมีอิทธิพล ระยะที่ 2 การศึกษาผลการใช้กิจกรรมทดลองมองรูปภาพ 3. เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลตัวแปรตาม ได้แก่ 1) ที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล มาตรวัดอารมณ์ความรู้สึก Self-Assessment Manikin เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จ�ำแนกเป็น 3 ประเภท (SAM) เป็นแบบวัดส�ำหรับประเมินอารมณ์ความรู้สึกของ ได้แก่ เครื่องมือคัดกรองกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการ ตนเองที่เกิดจากรูปภาพที่ปรากฏให้เห็น ซึ่งพัฒนามาจาก ทดลอง และเครื่องมือวัดผลตัวแปรตาม ดังรายละเอียดต่อ มาตรวัดอารมณ์ความรู้สึก Self-Assessment Manikin ไปนี้ (SAM) ของ Bradley และ Lang [17] ในการวัดความรู้สึก ของ SAM ในลักษณะภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล 1. เครื่องมือที่ใช้ในการคัดกรอง ได้แก่ 1) แบบสอบถาม เป็นตัวใช้เครื่องวัดบ่งชี้ คือ ภาพลักษณ์ของผู้คนที่เริ่มต้นด้วย ข้อมูลทั่วไป 2) แบบประเมินสายตาระยะใกล้ 3) แบบส�ำรวจ ร่างกายตัวใหญ่ที่ระบุแรงกระตุ้นที่เห็นจะต�่ำและลดลงเรื่อย ๆ ความถนัดในการใช้มือของเอดินเบิร์ก 4) แบบวัดสุขภาพจิต กับตัวเล็ก ๆ ที่บ่งบอกถึงสิ่งกระตุ้นที่พบ หากคุณรู้สึกแย่กว่า คนไทยแบบสั้น 5) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้น ฉบับภาษา เมื่อดูภาพ ให้ท�ำเครื่องหมาย “กด” ที่ด้านซ้ายมือของ ไทย 6) แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า 7) แบบส�ำรวจบุคลิกภาพ เครื่องวัด ถ้าคุณมีอารมณ์รู้สึกว่ามีพลังที่จะดูรูปถ่ายตรวจ ห้าองค์ประกอบ 8) แบบประเมินสภาวะอารมณ์ 9) เครื่องวัด สอบให้ “กดปุ่ม” บนภาพด้านขวาของเครื่องวัด ให้ท�ำ ความดันโลหิตใช้เป็นเครื่องวัดความดันแบบดิจิตอล และ 10) เครื่องหมาย “กด” ที่กึ่งกลางของเครื่องวัด ดังภาพที่ 2 การวัดความเครียด

2. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ กิจกรรมทดลองเพื่อ ดูภาพที่เร้าอารมณ์ในช่วงเริ่มต้น ลักษณะภาพลักษณ์ของสื่อ อารมณ์ 3 ลักษณะ คือ ลักษณะไม่กลัว ลักษณะเฉย ๆ และ ลักษณะกลัว 58 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

1 2 13 2 43 4 5 5 6 6 7 87 9 8 9

ภาพที่ 2 มาตรวัดอารมณ์ความรู้สึกด้านการมีอิทธิพล (SAM) เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับเหตุการณ์ กับเพศหญิง และบุคลิกภาพเปิดเผยกับบุคลิกภาพกลาง ๆ เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองรุ่น Neuroscan โปรแกรม ด้วยสถิติ 2-way ANOVA และวิเคราะห์เปรียบเทียบคลื่น Curry neuroimaging suite 7.0 และหมวกอิเล็กโทรดที่ ไฟฟ้าสมองขณะท�ำกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ อ้างอิงระบบมาตรฐานสากล 10-20 (electro-cap) 64 ช่อง ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น ระหว่างเพศชายกับเพศ สัญญาณ (channel) ใช้ mastoid ด้านขวาและซ้ายที่ หญิง และบุคลิกภาพเปิดเผยกับบุคลิกภาพกลาง ๆ ด้วยสถิติ ต�ำแหน่ง M1 M2 เป็นจุดอ้างอิง ใช้เพื่อวัดขั้ว ทั้งสองขั้ว 2-way ANOVA สังเกตความแตกต่างระหว่างขั้วไฟฟ้าบนหนังศีรษะและขั้ว ไฟฟ้าอ้างอิงในกระดูกด้านขวาและด้านซ้าย ความต้านทาน ผลการวิจัย ของแต่ละขั้ว น้อยกว่า 10 kHz (กิโลวัตต์) ความถี่สุ่ม 250 ผลของการใช้กิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่ เฮิรตซ์ (Hz) ในห้องปฏิบัติการศูนย์ความเป็นเลิศด้าน เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น แบ่งออกเป็น วิทยาการปัญญา วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา 2 ส่วนคือ ผลการเปรียบเทียบข้อมูลด้านพฤติกรรมและผล มหาวิทยาลัยบูรพา การเปรียบเทียบข้อมูลด้านคลื่นไฟฟ้าสมองจากการทดลอง

การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1 ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมจากการทดลองการมอง วิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ จ�ำนวน ร้อยละ รูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น คะแนนสูงสุด คะแนนต�่ำสุด ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน การศึกษาอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอน มาตรฐาน ด้วยโปรแกรม SPSS วิเคราะห์ความแปรปรวนของ ต้นเป็นการศึกษาพฤติกรรม จากมาตรวัดอารมณ์ความรู้สึก ตัวแปรตาม คือ อารมณ์ด้านการมีอิทธิพลระหว่างเพศชาย (SAM) ด้านการมีอิทธิพล แสดงดังตารางที่ 1-5

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล จ�ำแนกตามเพศ เพศ ลักษณะอารมณ์ ชาย (n=40) หญิง (n=40) Mean SD Mean SD กลัว 2.08 0.49 1.91 0.45 ไม่กลัว 8.08 0.57 8.13 0.52 ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 59

จากตารางที่ 1 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างเพศชายให้ กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงให้คะแนนเฉลี่ยรูปภาพที่ คะแนนเฉลี่ยรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลใน เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะกลัว เท่ากับ 1.91 ลักษณะกลัวเท่ากับ 2.08 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.45 และรูปภาพที่ 0.49 และรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะ เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะไม่กลัว ค่าเฉลี่ย ไม่กลัว ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.08 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ เท่ากับ 8.13 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.52 0.57

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล จ�ำแนกตามบุคลิกภาพ บุคลิกภาพ ลักษณะอารมณ์ เปิดเผย (n=40) กลาง ๆ (n=40) Mean SD Mean SD กลัว 1.89 0.48 2.10 0.45 ไม่กลัว 8.20 0.57 8.01 0.50

จากตารางที่ 2 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีบุคลิกภาพ กลุ่มตัวอย่างที่มีบุคลิกภาพแบบกลาง ๆ ให้คะแนน แบบเปิดเผยให้คะแนนเฉลี่ยรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมี เฉลี่ยรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะกลัว อิทธิพลในลักษณะกลัว เท่ากับ 1.89 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.10 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.45 และ เท่ากับ 0.48 และรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลใน รูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะไม่กลัว ลักษณะไม่กลัว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.20 ส่วนเบี่ยงเบน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.01 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.50 มาตรฐาน เท่ากับ 0.57

ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล จ�ำแนกตามเพศและบุคลิกภาพ ชาย หญิง ลักษณะอารมณ์ เปิดเผย (n=40) กลาง ๆ (n=40) เปิดเผย (n=40) กลาง ๆ (n=40) Mean SD Mean SD Mean SD Mean SD กลัว 1.79 0.43 2.38 0.25 1.99 0.51 1.83 0.37 ไม่กลัว 4.89 0.49 5.09 0.35 8.24 0.59 8.01 0.43

จากตารางที่ 3 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างเพศชายที่มี กลุ่มตัวอย่างเพศชายที่มีบุคลิกภาพแบบกลาง ๆ บุคลิกภาพแบบเปิดเผยให้คะแนนเฉลี่ยรูปภาพที่เร้าอารมณ์ ให้คะแนนเฉลี่ยรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลใน ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะกลัวเท่ากับ 1.79 ส่วนเบี่ยงเบน ลักษณะกลัว เท่ากับ 2.38 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ มาตรฐานเท่ากับ 0.43 และรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมี 0.35 และรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะ อิทธิพลในลักษณะไม่กลัว ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.16 ส่วนเบี่ยงเบน ไม่กลัว ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.01 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ มาตรฐาน เท่ากับ 0.57 0.58 60 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงที่มีบุคลิกภาพแบบเปิดเผย กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงที่มีบุคลิกภาพแบบกลาง ๆ ให้คะแนนเฉลี่ยรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลใน ให้คะแนนเฉลี่ยรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลใน ลักษณะกลัว เท่ากับ 1.99 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ ลักษณะกลัว เท่ากับ 1.83 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.51 และรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะ 0.37 และรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะ ไม่กลัว ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.24 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ ไม่กลัว ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.43 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.59 0.43

ตารางที่ 4 การทดสอบความแตกต่างอารมณ์การมีอิทธิพล ลักษณะกลัว ของกลุ่มตัวอย่าง จ�ำแนกตามเพศและบุคลิกภาพ ตัวแปรที่ศึกษา SS df MS F p เพศ 0.04 1 0.04 0.13 0.72 บุคลิกภาพ 0.72 1 0.72 2.43 0.12 เพศ*บุคลิกภาพ 0.03 1 0.03 0.11 0.75 จากตารางที่ 4 แสดงว่าความแตกต่างระหว่างเพศกับบุคลิกภาพไม่มีผลต่อการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมี อิทธิพลลักษณะกลัว และไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศกับบุคลิกภาพจากการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว

ตารางที่ 5 การทดสอบความแตกต่างอารมณ์การมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ของกลุ่มตัวอย่าจ�ำแนกตามเพศและบุคลิกภาพ ตัวแปรที่ศึกษา SS df MS F p เพศ 0.04 1 0.04 0.13 0.72 บุคลิกภาพ 0.72 1 0.72 2.43 0.12 เพศ*บุคลิกภาพ 0.03 1 0.03 0.11 0.75 จากตารางที่ 5 แสดงว่า ความแตกต่างระหว่าง อิทธิพลลักษณะกลัว และลักษณะไม่กลัว ไม่มีปฏิสัมพันธ์ เพศกับบุคลิกภาพไม่มีผลต่อการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ ระหว่างเพศกับบุคลิกภาพต่ออารมณ์ด้านการมีอิทธิพลของ ด้านการมีอิทธิพลลักษณะไม่กลัว และไม่พบปฏิสัมพันธ์ ผู้ใหญ่ตอนต้น ขณะมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมี ระหว่างเพศกับบุคลิกภาพจากการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ อิทธิพลลักษณะกลัวและลักษณะไม่กลัว ด้านการมีอิทธิพลลักษณะไม่กลัว ผลการเปรียบเทียบอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลของ ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับ ผู้ใหญ่ตอนต้น ระหว่างเพศ บุคลิกภาพ และปฏิสัมพันธ์ เหตุการณ์ ขณะมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ระหว่างเพศกับบุคลิกภาพ พบว่าความแตกต่างระหว่างเพศ ในผู้ใหญ่ตอนต้น ไม่มีผลต่อการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ผลการวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับ ลักษณะกลัว และลักษณะไม่กลัว ความแตกต่างระหว่าง เหตุการณ์ขณะมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลใน บุคลิกภาพไม่มีผลต่อการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมี ผู้ใหญ่ตอนต้น ช่วง P100 และ N170 แสดงดังตารางที่ 6-8 ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 61

ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความสูงและความกว้าง ของคลื่นไฟฟ้าสมอง P100 ขณะมองรูปภาพที่ เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว และลักษณะไม่กลัว จ�ำแนกตามเพศ ความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง ความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมอง อิเล็ก ลักษณะ ชาย (n=40) หญิง (n=40) ชาย (n=40) หญิง (n=40) โทรด อารมณ์ Mean SD Mean SD Mean SD Mean SD AF3 กลัว -5.35 15.81 -4.42 20.30 95.90 20.98 105.10 21.61 ไม่กลัว 3.60 17.04 -0.45 17.72 100.40 20.61 99.50 20.80 AF4 กลัว -24.73 116.44 -2.69 16.64 104.40 18.25 99.90 22.07 ไม่กลัว 4.38 16.11 -0.65 20.71 101.60 17.47 101.30 20.84 FZ กลัว -12.09 49.99 -0.63 16.33 95.90 19.65 101.90 21.40 ไม่กลัว 2.93 12.33 -0.32 17.57 101.20 20.74 99.70 19.54 F3 กลัว -0.88 16.87 0.14 13.69 98.40 19.40 101.30 20.16 ไม่กลัว -7.06 33.06 0.13 10.50 102.50 21.64 99.30 21.07 F4 กลัว -10.73 46.33 -2.29 15.22 96.80 18.72 100.90 22.44 ไม่กลัว -14.37 80.04 1.52 12.58 104.80 20.60 100.40 21.55 F7 กลัว -2.76 12.22 0.55 14.93 99.70 21.17 104.00 22.43 ไม่กลัว 2.12 18.55 -0.28 9.22 101.50 19.10 99.10 20.28 F8 กลัว -1.30 9.84 -0.35 11.25 101.00 19.21 100.60 20.57 ไม่กลัว 3.43 12.72 -0.55 11.53 100.60 18.20 105.70 19.82 FC3 กลัว -2.03 12.08 -0.94 11.69 99.30 19.78 104.80 21.23 ไม่กลัว 1.40 15.74 -2.11 11.99 103.40 20.71 97.00 20.65 FC4 กลัว -1.45 13.32 -0.03 11.65 99.80 19.99 104.30 21.77 ไม่กลัว 3.14 10.55 -2.26 12.63 103.50 21.89 100.60 19.71 FT7 กลัว 0.14 10.73 1.75 16.98 101.40 20.49 101.90 21.66 ไม่กลัว 2.25 13.93 0.46 12.43 98.90 21.51 103.90 19.77 FT8 กลัว 0.18 9.18 0.35 9.73 99.90 22.62 98.60 19.59 ไม่กลัว 2.77 15.31 -1.79 12.02 97.40 19.42 101.40 20.12 C3 กลัว -0.44 10.08 0.51 10.54 94.70 19.73 101.40 20.73 ไม่กลัว 1.66 11.87 -0.97 9.96 99.60 21.41 98.70 19.85 62 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง ความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมอง อิเล็ก ลักษณะ ชาย (n=40) หญิง (n=40) ชาย (n=40) หญิง (n=40) โทรด อารมณ์ Mean SD Mean SD Mean SD Mean SD C4 กลัว -1.01 9.41 -5.60 60.95 103.10 19.75 100.40 20.71 ไม่กลัว 1.56 8.88 -0.25 18.28 102.60 19.46 98.70 18.06 T7 กลัว -0.96 9.27 5.99 36.39 101.80 20.87 100.00 20.93 ไม่กลัว 2.66 13.03 -0.82 20.47 99.90 20.14 104.40 20.99 T8 กลัว 0.46 8.78 3.84 15.34 95.90 19.44 100.00 21.49 ไม่กลัว 0.28 15.24 -3.15 17.20 98.40 19.17 99.70 20.10 CP3 กลัว 3.85 21.09 -4.18 58.60 96.90 18.64 103.70 19.75 ไม่กลัว -11.47 46.70 -3.76 21.34 98.40 18.56 101.90 19.93 CP4 กลัว -1.29 9.47 2.04 10.37 105.00 19.67 104.10 20.71 ไม่กลัว 0.78 10.90 -1.43 15.06 98.70 20.92 99.00 20.35 TP7 กลัว -0.46 8.90 4.94 42.75 102.00 20.34 98.60 22.18 ไม่กลัว 2.11 11.78 -0.57 27.61 99.20 20.18 101.70 20.93 TP8 กลัว -2.33 12.13 1.57 19.53 101.20 19.18 99.50 21.15 ไม่กลัว 2.88 12.77 -5.70 24.14 96.10 19.54 109.20 18.66 POZ กลัว -2.60 18.49 2.71 22.15 100.20 16.68 105.60 21.47 ไม่กลัว 5.71 20.89 -3.92 14.65 98.40 17.21 101.50 20.31 PO3 กลัว -4.77 23.20 3.18 26.14 98.80 18.08 98.00 20.62 ไม่กลัว 2.71 14.76 -3.51 18.68 95.70 17.12 102.80 18.48 PO4 กลัว -1.43 10.48 2.72 20.55 96.50 19.93 97.80 19.57 ไม่กลัว 0.72 10.86 -4.11 18.21 93.80 16.45 101.50 18.75 PO7 กลัว -1.54 12.56 4.54 28.60 103.50 19.20 103.10 20.80 ไม่กลัว -0.38 19.02 -0.93 20.28 93.50 18.80 109.20 19.52 PO8 กลัว 0.37 10.56 1.63 18.91 101.50 20.17 101.90 20.40 ไม่กลัว 2.12 12.54 -3.28 17.47 91.00 17.95 106.10 21.34 OZ กลัว -4.37 23.85 6.01 28.77 97.70 18.61 101.60 21.68 ไม่กลัว 6.08 25.10 -4.90 23.01 95.00 17.93 99.90 19.69 ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 63

จากตารางที่ 6 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างเพศชายมีค่า กลุ่มตัวอย่างเพศชายมีค่าเฉลี่ยความต่างศักย์ไฟฟ้า เฉลี่ยความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้า สูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้าช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรม ช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองรูปภาพที่เร้า การทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล อารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ AF3, AF4, Fz, F3, F4, F7, F8, FC3, FC4, FT7, FT8, C3, ระหว่าง -14.37 ถึง 6.08 และกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงมีค่าเฉลี่ย C4, T7, T8, CP3, CP4, TP7, TP8, POZ, PO3, PO4, PO7, ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้าช่วง PO8 และ OZ อยู่ระหว่าง -24.73 ถึง 3.85 ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่าง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองมองรูปภาพที่ เพศหญิงมีค่าเฉลี่ยความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด จากความสูง เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรด ของคลื่นไฟฟ้าช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมอง ต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง -5.70 ถึง 1.52 รูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว ที่ (ตารางที่ 6) อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง -5.60 ถึง 6.01 กลุ่มตัวอย่างเพศชายใช้เวลาเฉลี่ยในการท�ำงาน กลุ่มตัวอย่างเพศชายใช้เวลาเฉลี่ยในการท�ำงาน ของสมอง จากความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมองช่วง P100 ของสมอง จากความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมองช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการ ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่าง มีอิทธิพล ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 91.00 ถึง 104.80 และกลุ่มตัวอย่าง (ตารางที่ 4-8) อยู่ระหว่าง 94.70 ถึง 105.00 และ เพศหญิงใช้เวลาเฉลี่ยในการท�ำงานของสมอง จากความกว้าง กลุ่มตัวอย่างเพศหญิงใช้เวลาเฉลี่ยในการท�ำงานของสมอง ของคลื่นไฟฟ้าสมองช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลอง จากความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมองช่วง P100 ขณะท�ำ มองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะไม่ กิจกรรมการทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมี กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 99.50 อิทธิพล ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้า ถึง 109.20 (ตารางที่ 6) อยู่ระหว่าง 97.80 ถึง 105.60 (ตารางที่ 6) 64 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความสูงและความกว้าง ของคลื่นไฟฟ้าสมอง P100 ขณะมองรูปภาพที่เร้า อารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว และลักษณะไม่กลัว จ�ำแนกตามบุคลิกภาพ ความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง ความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมอง อิเล็ก ลักษณะ เปิดเผย (n=40) กลาง ๆ (n=40) เปิดเผย (n=40) กลาง ๆ (n=40) โทรด อารมณ์ Mean SD Mean SD Mean SD Mean SD AF3 กลัว -1.49 15.55 -8.28 19.92 100.00 23.43 101.00 20.03 ไม่กลัว 2.69 15.91 0.46 18.90 100.30 20.40 99.60 21.01 AF4 กลัว -1.50 13.33 -25.92 116.62 100.30 20.36 104.00 20.21 ไม่กลัว 1.49 15.73 2.24 21.30 100.10 18.79 102.80 19.56 FZ กลัว -1.41 10.56 -11.32 51.68 102.50 20.59 95.30 20.29 ไม่กลัว 2.80 12.04 -0.19 17.79 101.20 19.87 99.70 20.42 F3 กลัว 1.17 14.52 -1.91 16.03 102.60 19.92 97.10 19.36 ไม่กลัว -2.34 22.59 -4.59 26.77 100.00 21.70 101.80 21.09 F4 กลัว 1.45 11.94 -14.47 46.29 102.30 21.09 95.40 19.84 ไม่กลัว 3.15 14.07 -16.01 79.42 99.70 21.46 105.50 20.51 F7 กลัว 0.54 10.12 -2.75 16.43 102.60 22.05 101.10 21.76 ไม่กลัว 0.71 16.23 1.13 12.97 97.50 20.65 103.10 18.35 F8 กลัว 1.02 8.69 -2.68 11.89 102.90 20.17 98.70 19.39 ไม่กลัว 1.51 9.94 1.37 14.28 102.00 19.72 104.30 18.59 FC3 กลัว -0.73 12.53 -2.24 11.19 105.10 19.41 99.00 21.49 ไม่กลัว -0.78 12.87 0.06 15.22 100.40 20.91 100.00 20.95 FC4 กลัว 2.21 9.52 -3.69 14.34 104.80 20.48 99.30 21.18 ไม่กลัว 1.77 9.45 -0.89 13.89 101.30 21.92 102.80 19.77 FT7 กลัว 2.43 8.86 -0.53 17.94 105.50 21.75 97.80 19.64 ไม่กลัว 0.48 11.88 2.23 14.40 100.10 21.33 102.70 20.20 FT8 กลัว 1.09 7.02 -0.56 11.32 102.90 22.50 95.60 19.04 ไม่กลัว 2.50 11.31 -1.52 15.91 98.10 20.05 100.70 19.61 C3 กลัว 0.24 8.56 -0.17 11.83 102.60 20.21 93.50 19.78 ไม่กลัว 0.48 10.13 0.21 11.87 99.50 20.80 98.80 20.50 ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 65

ความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง ความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมอง อิเล็ก ลักษณะ เปิดเผย (n=40) กลาง ๆ (n=40) เปิดเผย (n=40) กลาง ๆ (n=40) โทรด อารมณ์ Mean SD Mean SD Mean SD Mean SD C4 กลัว 4.83 21.81 -11.43 56.59 103.40 18.99 100.10 21.37 ไม่กลัว 1.44 10.21 -0.13 17.59 97.40 19.86 103.90 17.22 T7 กลัว 4.22 17.15 0.81 33.69 104.70 21.76 97.10 19.30 ไม่กลัว -0.71 15.38 2.55 18.79 99.80 21.40 104.50 19.68 T8 กลัว 4.12 12.59 0.18 12.31 100.60 22.87 95.30 17.63 ไม่กลัว -0.56 16.35 -2.30 16.28 100.70 20.35 97.40 18.77 CP3 กลัว 8.02 21.17 -8.35 57.67 106.20 18.05 94.40 19.08 ไม่กลัว -1.98 18.47 -13.25 47.55 101.40 19.50 98.90 19.09 CP4 กลัว 1.39 10.69 -0.64 9.30 104.20 20.27 104.90 20.12 ไม่กลัว 0.72 10.94 -1.38 15.04 97.60 20.49 100.10 20.71 TP7 กลัว 2.09 21.53 2.38 38.18 104.40 20.63 96.20 21.24 ไม่กลัว -0.34 15.48 1.88 25.74 99.00 21.06 101.90 20.01 TP8 กลัว 1.70 14.60 -2.46 17.73 103.80 21.09 96.90 18.64 ไม่กลัว -0.92 9.38 -1.90 26.37 103.90 20.37 101.40 20.00 POZ กลัว 4.87 16.79 -4.76 22.75 105.20 19.30 100.60 19.25 ไม่กลัว -0.96 12.66 2.76 23.05 100.50 20.74 99.40 16.81 PO3 กลัว -0.67 27.54 -0.93 22.26 102.10 20.01 94.70 17.99 ไม่กลัว -0.63 10.33 -0.17 21.91 98.20 19.32 100.30 16.88 PO4 กลัว 1.97 19.46 -0.68 12.60 101.90 21.20 92.40 16.89 ไม่กลัว -0.56 11.44 -2.83 18.10 95.20 18.77 100.10 16.98 PO7 กลัว 4.36 19.33 -1.35 24.58 107.20 18.46 99.40 20.73 ไม่กลัว 1.45 9.07 -2.76 26.11 99.30 21.76 103.40 19.46 PO8 กลัว 2.82 12.78 -0.82 17.31 102.10 19.91 101.30 20.64 ไม่กลัว -0.81 10.99 -0.35 18.89 98.50 22.71 98.60 19.46 OZ กลัว 5.19 21.35 -3.55 30.93 103.30 20.55 96.00 19.34 ไม่กลัว -1.27 14.37 2.44 31.74 95.40 19.40 99.50 18.35 66 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

จากตารางที่ 7 แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างบุคลิกภาพ กลุ่มตัวอย่างบุคลิกภาพเปิดเผยมีค่าเฉลี่ยความต่าง เปิดเผยมีค่าเฉลี่ยความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของ ศักย์ไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้าช่วง P100 ขณะ คลื่นไฟฟ้าช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองรูปภาพ ท�ำกิจกรรมการทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมี ที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรด อิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่งต่างศักย์ไฟฟ้า ต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง -1.50 ถึง 8.02 และกลุ่ม อยู่ระหว่าง -2.34 ถึง 3.15 และกลุ่มตัวอย่างบุคลิกภาพกลาง ตัวอย่างบุคลิกภาพกลาง ๆ มีค่าเฉลี่ยความต่างศักย์ไฟฟ้า ๆ มีค่าเฉลี่ยความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่น สูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้าช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรม ไฟฟ้าช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองมองรูปภาพ การทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรด ลักษณะกลัวที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง ต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 16.01 ถึง 2.76 25.92 ถึง 2.38 (ตารางที่ 7) กลุ่มตัวอย่างบุคลิกภาพเปิดเผยใช้เวลาเฉลี่ยในการ กลุ่มตัวอย่างบุคลิกภาพเปิดเผยใช้เวลาเฉลี่ยในการ ท�ำงานของสมอง จากความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมอง ท�ำงานของสมอง จากความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมอง ช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองรูปภาพที่ ช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองมองรูปภาพที่ เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรด เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรด ต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 100.00 ถึง 107.20 และ ต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 95.20 ถึง 103.90 และ กลุ่มตัวอย่างบุคลิกภาพกลาง ๆ ใช้เวลาเฉลี่ยในการท�ำงาน กลุ่มตัวอย่างบุคลิกภาพกลาง ๆ ใช้เวลาเฉลี่ยในการท�ำงาน ของสมอง จากความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมองช่วง P100 ของสมอง จากความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมอง ช่วง P100 ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการ ขณะท�ำกิจกรรมการทดลองมองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้าน มีอิทธิพล ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้า การมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ อยู่ระหว่าง 92.40 ถึง 104.90 (ตารางที่ 7) ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 97.40 ถึง 105.50 (ตารางที่ 7) ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 67

ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความสูงและความกว้าง ของคลื่นไฟฟ้าสมอง N170 ขณะมองรูปภาพที่เร้า อารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว และลักษณะไม่กลัว จ�ำแนกตามเพศ ชาย หญิง อิเล็ก ลักษณะ เปิดเผย (n=20) กลาง ๆ (n=20) เปิดเผย (n=20) กลาง ๆ (n=20) โทรด อารมณ์ Mean SD Mean SD Mean SD Mean SD AF3 กลัว -2.17 7.88 -8.53 20.72 -0.81 20.82 -8.03 19.62 ไม่กลัว 3.48 19.50 3.72 14.67 1.90 11.73 -2.80 22.26 AF4 กลัว -2.46 7.64 -46.99 163.49 -0.53 17.45 -4.85 15.95 ไม่กลัว 4.68 16.18 4.08 16.46 -1.70 14.98 0.40 25.56 FZ กลัว -1.74 5.27 -22.45 69.83 -1.08 14.17 -0.19 18.60 ไม่กลัว 4.26 14.35 1.60 10.11 1.34 9.33 -1.99 23.26 F3 กลัว -2.92 15.16 1.15 18.60 5.27 12.95 -4.98 12.73 ไม่กลัว -5.54 30.27 -8.57 36.36 0.87 10.45 -0.61 10.77 F4 กลัว 2.13 11.52 -23.60 62.65 0.76 12.60 -5.34 17.24 ไม่กลัว 2.95 16.28 -31.70 110.69 3.35 11.88 -0.31 13.28 F7 กลัว -2.14 6.25 -3.39 16.33 3.21 12.49 -2.12 16.92 ไม่กลัว 2.10 21.07 2.13 16.19 -0.68 9.63 0.13 9.02 F8 กลัว -0.52 6.11 -2.08 12.66 2.57 10.62 -3.27 11.36 ไม่กลัว 2.57 11.23 4.28 14.30 0.44 8.62 -1.53 14.01 FC3 กลัว -2.54 11.30 -1.51 13.09 1.07 13.69 -2.96 9.19 ไม่กลัว -0.97 17.75 3.76 13.47 -0.59 4.98 -3.63 16.28 FC4 กลัว 0.30 7.98 -3.21 17.15 4.13 10.70 -4.18 11.30 ไม่กลัว 3.29 10.48 2.99 10.88 0.25 8.29 -4.78 15.67 FT7 กลัว 0.88 8.27 -0.60 12.91 3.97 9.36 -0.47 22.23 ไม่กลัว -0.05 12.74 4.54 14.99 1.00 11.27 -0.08 13.77 FT8 กลัว -0.65 5.63 1.00 11.82 2.84 7.94 -2.13 10.87 ไม่กลัว 5.34 13.24 0.19 17.08 -0.34 8.40 -3.24 14.89 C3 กลัว -1.70 4.84 0.82 13.48 2.19 10.91 -1.17 10.16 ไม่กลัว 0.84 12.04 2.47 11.94 0.12 8.08 -2.05 11.66 68 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ชาย หญิง อิเล็ก ลักษณะ เปิดเผย (n=20) กลาง ๆ (n=20) เปิดเผย (n=20) กลาง ๆ (n=20) โทรด อารมณ์ Mean SD Mean SD Mean SD Mean SD C4 กลัว -0.38 3.36 1.30 12.06 8.62 16.48 -0.94 12.78 ไม่กลัว -0.99 19.91 1.55 8.77 -0.13 12.32 -6.16 20.88 T7 กลัว 4.25 20.33 3.45 22.34 11.80 21.82 -20.16 77.68 ไม่กลัว -2.88 23.60 -20.06 61.36 -1.08 11.89 -6.45 27.90 T8 กลัว -3.32 7.56 0.74 10.87 6.10 11.43 -2.03 7.44 ไม่กลัว -1.14 8.31 2.70 12.92 2.59 13.01 -5.45 16.20 CP3 กลัว -1.64 3.55 0.72 12.13 5.83 30.16 4.04 53.29 ไม่กลัว 1.21 8.82 3.01 14.33 -1.89 20.23 0.75 33.94 CP4 กลัว -1.41 3.28 -3.24 17.02 4.82 20.16 -1.68 18.83 ไม่กลัว 0.68 7.41 5.08 16.41 -2.53 10.97 -8.88 32.48 TP7 กลัว -1.80 3.16 -3.40 26.27 11.54 21.79 -6.13 19.19 ไม่กลัว 0.64 9.87 10.79 27.28 -2.56 15.03 -5.28 14.51 TP8 กลัว -8.90 27.96 -0.64 16.93 7.57 25.13 -1.22 27.02 ไม่กลัว 0.06 10.12 5.35 18.16 -1.33 10.75 -5.69 24.31 POZ กลัว -3.11 5.59 0.26 13.72 7.04 26.31 -1.61 11.65 ไม่กลัว 0.45 8.97 0.99 12.70 -1.57 13.64 -6.64 21.93 PO3 กลัว -2.27 4.41 -0.81 17.41 10.99 25.60 -1.90 30.59 ไม่กลัว 2.32 10.45 -3.09 24.86 0.58 7.63 -2.44 27.94 PO4 กลัว -0.34 8.78 1.08 12.28 5.98 15.41 -2.72 21.37 ไม่กลัว -0.19 6.75 4.44 16.31 -1.44 14.19 -5.13 20.45 PO7 กลัว -3.61 8.68 -5.13 33.02 14.00 26.41 -1.98 29.45 ไม่กลัว 0.24 11.82 11.92 32.90 -2.77 16.72 -7.03 28.23 PO8 กลัว -0.38 3.36 1.30 12.06 8.62 16.48 -0.94 12.78 ไม่กลัว -0.99 19.91 1.55 8.77 -0.13 12.32 -6.16 20.88 OZ กลัว 4.25 20.33 3.45 22.34 11.80 21.82 -20.16 77.68 ไม่กลัว -2.88 23.60 -20.06 61.36 -1.08 11.89 -6.45 27.90 ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 69

จากตารางที่ 8 แสดงว่ากลุ่มทดลองเพศชาย และกลุ่มทดลองเพศหญิง บุคลิกภาพกลาง ๆ มีค่าเฉลี่ยความ บุคลิกภาพเปิดเผย มีค่าเฉลี่ยความต่างศักย์ของไฟฟ้าสูงสุด ต่างศักย์ของไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง จากความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง P100 ขณะท�ำกิจกรรม P100 ขณะท�ำกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้าน ทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะ การมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่งต่างศักย์ กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง -8.90 ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง -8.88 ถึง 0.95 (ตารางที่ 8) ถึง 4.25 และกลุ่มทดลองเพศชาย บุคลิกภาพกลาง ๆ มีค่า เฉลี่ยความต่างศักย์ของไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่น อภิปรายและสรุปผลการวิจัย ไฟฟ้าสมอง P100 ขณะท�ำกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่ การศึกษาผลของความแตกต่างทางเพศและ เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรด บุคลิกภาพที่มีต่อการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมี ต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง -46.99 ถึง 3.45 อิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้นสามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้ กลุ่มทดลองเพศหญิง บุคลิกภาพเปิดเผย มีค่าเฉลี่ย ความต่างศักย์ของไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้า 1. ด้านพฤติกรรม สมอง P100 ขณะท�ำกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ ผลจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ความแตกต่าง ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ระหว่างเพศไม่มีผลต่อการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการ ต่างศักย์ไฟฟ้า อยู่ระหว่าง -1.08 ถึง 14.00 และกลุ่มทดลอง มีอิทธิพล ลักษณะกลัวและลักษณะไม่กลัว ทั้งนี้อาจเป็น เพศหญิง บุคลิกภาพกลาง ๆ มีค่าเฉลี่ยความต่างศักย์ของ เพราะเพศชายและเพศหญิงตอบสนองต่อสิ่งเร้าเสียงใน ไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง P100 ขณะท�ำ ลักษณะกลัวและไม่กลัว คล้าย ๆ กัน มีอายุระหว่าง 20-25 ปี กิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล และเป็นนักศึกษา มีบริบทที่คล้ายคลึงกัน ได้รับอิทธิพลของ ลักษณะกลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมเดียวกัน มีวิถีชีวิต -20.66 ถึง 4.04 (ตารางที่ 8) ประสบการณ์ การเลี้ยงดู และการอยู่ในสิ่งแวดล้อมแบบไทย กลุ่มทดลองเพศชาย บุคลิกภาพเปิดเผย มีค่าเฉลี่ย ดังนั้นจึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่อาจส่งผลให้ความแตกต่างทางเพศ ความต่างศักย์ของไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้า ไม่มีอิทธิพลต่อการมองรูปภาพ ซึ่งการรับรู้ในอารมณ์กลัวและ สมอง P100 ขณะท�ำกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ ไม่กลัวจะต้องอาศัยพื้นฐานประสบการณ์ในการรับรู้ภาพ ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง เหล่านั้นก่อน จึงจะสามารถแปลผลการรับรู้ภาพออกมาว่า ต่างศักย์ไฟฟ้า ตามตารางที่ 8 อยู่ระหว่าง -5.54 ถึง 5.34 เป็นภาพที่กลัวหรือไม่กลัว สอดคล้องกับแนวคิดของ Bradley และกลุ่มทดลองเพศชาย บุคลิกภาพกลาง ๆ มีค่าเฉลี่ยความ และ Lang [17] จ�ำแนกอารมณ์ความรู้สึกด้านการมีอิทธิพล ต่างศักย์ของไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่ออารมณ์ความรู้สึกของ P100 ขณะท�ำกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้าน แต่ละบุคคล ที่ส่งผลต่อความสามารถในการควบคุมอารมณ์ การมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง ต่างศักย์ ความรู้สึกกลัวหรือไม่กลัวต่อสิ่งแวดล้อมนั้น ๆ ดังนั้นเมื่อ ไฟฟ้าอยู่ระหว่าง -31.70 ถึง 11.92 (ตารางที่ 8) กระตุ้นสิ่งเร้าที่เป็นภาพ ผ่านระบบรับสัมผัสทางการมองเห็น กลุ่มทดลองเพศหญิง บุคลิกภาพเปิดเผย มีค่าเฉลี่ย เกิดกระบวนการรับรู้ตีความ และตอบสนองออกมา Domes ความต่างศักย์ของไฟฟ้าสูงสุด จากความสูงของคลื่นไฟฟ้า และคณะ [18] ศึกษาปฏิกิริยาการตอบสนองต่อรูปภาพ สมอง P100 ขณะท�ำกิจกรรมทดลองมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ อารมณ์ด้านลบด้วยภาพถ่ายสมอง โดยเปรียบเทียบระหว่าง ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว ที่อิเล็กโทรดต�ำแหน่ง เพศชายและเพศหญิง พบว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างเพศ ต่างศักย์ไฟฟ้า ตามตารางที่ 8 อยู่ระหว่าง -2.77 ถึง 3.35 ในการรับรู้อารมณ์ทั้งด้านประทับใจหรือการตื่นตัว 70 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ความแตกต่างระหว่างบุคลิกภาพไม่มีอิทธิพลต่อ สิ่งเร้า ผ่านระบบรับสัมผัส แล้วเกิดกระบวนการรับรู้ตีความ การมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในลักษณะ ซึ่งภาพที่เห็นอาจเกิดกระบวนการรับรู้ตีความแตกต่างกัน กลัวและไม่กลัว เนื่องจากบุคลิกภาพที่ศึกษาในงานวิจัยนี้ คือ ออกไป แล้วแต่ประสบการณ์ ขนบธรรมเนียม และประเพณี บุคลิกภาพเปิดเผยซึ่งมีพฤติกรรมที่ชอบสนุก จะมีกิจกรรม ที่ได้ผ่านประสบการณ์ของแต่ละบุคคล จากนั้นจะตอบสนอง การเข้าสังคมคนจ�ำนวนมาก ชอบใช้เวลากับผู้คน และ ออกมาเป็น 3 ลักษณะอารมณ์ความรู้สึก คือ อารมณ์ความรู้สึก บุคลิกภาพกลาง ๆ ซึ่งมีพฤติกรรมก�้ำกึ่งระหว่างบุคลิกภาพ การมีอ�ำนาจที่เหนือกว่า (control) อารมณ์ความรู้สึกเฉย ๆ แบบเก็บตัวและแบบเปิดเผย เป็นบุคคลที่พูดพอควร (neutral) อารมณ์รู้สึกการมีอ�ำนาจที่ด้อยกว่า (uncontrol) เดินสายกลาง มีชีวิตที่เรียบง่าย อยู่คนเดียวก็มีความสุข Whittle และคณะ [20] ได้สรุปจากงานวิจัย คบหากับคนทั่วไปได้ดี สามารถเข้ากันได้ดีกับคนหลากหลาย หลาย ๆ ฉบับ ผลปรากฏว่าเพศหญิงและเพศชายมีการรับรู้ ประเภท บางครั้งอาจจะมีลักษณะโน้มเอียงไปในทางแบบ อารมณ์ที่แตกต่างกันทั้งในการศึกษาระดับพฤติกรรมและ เก็บตัว หรือบางครั้งมีแนวโน้มเอียงไปในทางแบบเปิดเผยได้ ระดับประสาท ซึ่งในระดับประสาทพบว่า สมองของเพศหญิง หากแต่ระดับของความเป็นบุคลิกภาพแบบเก็บตัวและ บริเวณลิมบิก ได้แก่ อะมิกดาลา แอนทีเรียร์ซิงกูเลท บุคลิกภาพเปิดเผยจะมากน้อยต่างกันไปตามลักษณะบุคคล คอร์เท็กซ์ และทาลามัสมีการท�ำงานมากกว่าเพศชาย ใน ซึ่งจะสามารถแปรเปลี่ยนไปได้ในแต่ละสถานการณ์ ขณะที่สมองของเพศชายบริเวณกลีบสมองส่วนหน้าผาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ Cai และคณะ [19] ได้ศึกษาความ (prefrontal cortex) และกลีบสมองด้านข้าง (parietal แตกต่างระหว่างเพศและบุคลิกภาพ โดยจากการมองภาพผล cortex) มีการท�ำงานมากกว่าเพศหญิง การที่เพศหญิงและ การศึกษาพบว่า บุคลิกภาพแบบเก็บตัว (introvert) จะมี เพศชายมีการรับรู้อารมณ์แตกต่างกันอาจมาการประมวลผล ระดับความตื่นตัวสูงกว่าบุคลิกภาพแบบเปิดเผย (extrovert) อารมณ์ในระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิที่แตกต่างกัน ขณะที่งาน และมีผู้ที่มีบุคลิกภาพเชิงลบ คือ แบบเก็บตัวแบบกลาง ๆ วิจัยของ Filkowski และคณะ [21] ได้ศึกษาความแตกต่าง (ambivert) จะสามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ดี ระหว่างเพศในการรับรู้อารมณ์โดยให้ อาสาสมัครดูรูปภาพ คุกคามที่ชี้น�ำไปสู่เหตุการณ์อันตราย ผลปรากฏว่า เพศหญิง 2. ด้านคลื่นไฟฟ้าสมอง มีการตอบสนองเร็วกว่าเพศชายในระดับพฤติกรรมแต่ใน ผลการเปรียบเทียบคลื่นไฟฟ้าสมองในผู้ใหญ่ตอน ระดับเซลล์ประสาท ผลปรากฏว่า สมองของเพศชายบริเวณ ต้นระหว่างเพศชายกับเพศหญิง ขณะมองรูปภาพที่ posterior parietal cortex มีการท�ำงานมากกว่าเพศหญิง เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ลักษณะไม่กลัว และลักษณะกลัว อีกทั้งสมองบริเวณนี้ยังเพิ่มการเชื่อมต่อกับสมองบริเวณ ความสูงของคลื่นไฟฟ้าสมอง P100 และ N170 ความแตกต่าง medial prefrontal cortex มากกว่าเพศหญิง งานวิจัยของ ระหว่างเพศและบุคลิกภาพมีผลต่อคลื่นไฟฟ้าสมอง Rozenkrants และ Polich [22] ได้ศึกษาคลื่นไฟฟ้าสมอง ขณะที่ความกว้างของคลื่นไฟฟ้าสมอง P100 และ N170 สัมพันธ์กับเหตุการณ์จากการดูรูปภาพสื่ออารมณ์พบว่า กลุ่ม ความแตกต่างระหว่างเพศและบุคลิกภาพมีผลต่อคลื่นไฟฟ้า ตัวอย่างให้คะแนนรูปภาพแตกต่างจากคะแนนมาตรฐาน สมอง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะอารมณ์ความรู้สึกด้านการมีอิทธิพล อย่างมีนัยส�ำคัญและมีความแตกต่างของคลื่นไฟฟ้าสมอง เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่ออารมณ์ความรู้สึกของ สัมพันธ์กับเหตุการณ์ขณะดูรูปภาพที่มีลักษณะไม่กลัว เปรียบ แต่ละบุคคล ที่ส่งผลต่อความสามารถในการควบคุมอารมณ์ เทียบกับรูปภาพที่มีลักษณะเฉย ๆ หรือรูปภาพที่มีลักษณะ ความรู้สึกได้หรือไม่ได้ มีอารมณ์ความรู้สึกที่มีพลังหรือไม่มี กลัวในส่วนของ frontal lobe จะมีคลื่นไฟฟ้าสมองสั้นกว่า พลัง มีอารมณ์ความรู้สึกกลัวหรือไม่กลัวต่อสิ่งแวดล้อมนั้น ๆ เมื่อเทียบกับบริเวณของสมองส่วนอื่น ๆ และคลื่นไฟฟ้าสมอง อารมณ์ความรู้สึกด้านการมีอิทธิพลเกิดจากการกระตุ้นของ ในบริเวณ temporal lobe จะกว้างกว่าเมื่อเทียบกับบริเวณ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 71

สมองส่วนอื่น ๆ Domes และคณะ [18] ได้ศึกษาปฏิกิริยา 2. ธวัชชัย ศรีพรงาม, เสรี ชัดแข้ม, สมพร สุทัศนีย์. ตอบสนองระหว่างเพศชายและเพศหญิงต่อรูปภาพอารมณ์ การพัฒนาระบบคลังรูปภาพที่สื่อความหมายทางด้าน ด้านลบด้วยภาพถ่ายสมองพบว่า สมองของเพศชายมีการ อารมณ์ความรู้สึกในบริบทของคนไทย. วิทยาการวิจัย ท�ำงานมากกว่าเพศหญิงต่อสิ่งเร้าอารมณ์ด้านลบ และ และวิทยาการปัญญา 2558;13(2):57-70. Sabatinelli และคณะ [23] ศึกษาปฏิกิริยาตอบสนอง 3. ประไพพรรณ ศรีปาน. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ระหว่างเพศชายและเพศหญิงต่อรูปภาพที่น่าขยะแขยงและ 5 องค์ประกอบกับประสิทธิผลในการทํางานของ น่ากลัว ผลปรากฏว่าแม้เพศหญิงมีการรับรู้อารมณ์ต่อรูปภาพ พนักงาน ธนาคารทิสโก้ จํากัด (มหาชน) ส่วนงาน ที่น่ากลัว รูปภาพด้านลบ และการตื่นตัวสูงกว่าเพศชายแต่ ควบคุมและบริหารสินเชื่อรายย่อย. วิทยานิพนธ์ เมื่อให้อาสาสมัครมองรูปภาพที่ถูกจู่โจม โดยมนุษย์หรือสัตว์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ, สมองของเพศชายบริเวณอะมิกดาลาและ left fusiform บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. gyrus มีการท�ำงานมากกว่าเพศหญิง กรุงเทพฯ; 2555. ทั้งนี้ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยครั้งนี้เพื่อน�ำไปสู่การ 4. Aluja A, Blanch A, Blanco E, Balada F. Affective ประยุกต์ใช้ คือ 1) นักวิชาการ สามารถน�ำกิจกรรมการ modulation of the startle reflex and the ทดลองการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลไปใช้ reinforcement sensitivity theory of personality: ในการกระตุ้นความสนใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการ The role of sensitivity to reward. Physiol Behav สอนได้ 2) นักโฆษณา สามารถน�ำมาประชาสัมพันธ์และน�ำ 2015;138:332-9. ไปประยุกต์และ พัฒนาเป็นสื่อในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ 5. Aluja A, Rossier J, Blanch Á, Blanco E, Martí- หรือน�ำไปเป็นสิ่งเร้าเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้บริโภค และ Guiu M, Balada F. Personality effects and sex 3) บุคลากรทางการแพทย์ สามารถน�ำไปประกอบการสอน differences on the the International Affective การวิจัย และการบริการวิชาการ อบรม สัมมนาประชุมเชิง Picture System (IAPS): a Spanish and Swiss ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการรับรู้ทางอารมณ์ได้ นอกจากนี้ study. Pers Individ Dif 2015;77:143-8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย คือ 1) ได้กิจกรรม 6. Aydin SG, Kaya T, Guler H. Wavelet-based study การวิเคราะห์อารมณ์ความรู้สึกด้านการมีอิทธิพล ใช้จากแบบ of valence-arousal model of emotions on EEG วัด SAM น�ำไปใช้เป็นเครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์อารมณ์ signals with LabVIEW. Brain Inform 2016;3(2):109- และเป็นแนวทางในการพัฒนาสื่อสิ่งเร้าในรูปแบบต่าง ๆ ใน 17. บริบทของคนไทยต่อไป 2) ได้รูปแบบคลื่นไฟฟ้าสมองขณะ 7. Bradley MM, Cuthbert BN, Lang PJ. Affect and ที่มีอารมณ์ความรู้สึกด้านการมีอิทธิพล ที่สามารถน�ำไปใช้ the startle reflex. New York: Cambridge Univer- เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในการอ้างอิงการวิเคราะห์อารมณ์ได้ sity Press; 1999. และ 3) สามารถน�ำผลที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบ 8. Bakker AB, Demerouti E, Sanz-Vergel, AI. (2014). คลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับเหตุการณ์ มาเป็นแนวทางในการ Burnout and work engagement: The JD–R ap- วางแผนและส่งเสริมการพัฒนาทางด้านอารมณ์ความรู้สึก proach. Annu Rev Organ Psychol Organ Behav 2014;1(1):389-411. เอกสารอ้างอิง 9. Beauducel A, Brocke B, Leue A. (2006). Ener- 1. จิราภรณ์ ตั้งกิตติภาภรณ์. จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: getical bases of extraversion: effort, arousal, ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2556. 72 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

EEG, and performance. Int J Psychophysiol differential. J Behav Ther Exp Psychiatry 2006;62(2):212-23. 1994;25:49-59. 10. Cai K, Li Y, Qin Q, Yin H. Gradientless temperature- 18. Domes G, Lischke A, Berger C, Grossmann A, driven rotating motor from a double-walled Hauenstein K, Heinrichs M, et al. Effects of carbon nanotube . Nanotechnology 2014; intranasal oxytocin on emotional face processing 27(5):1-5. in women. Psychoneuroendocrinology 2010; 11. Eysenck HJ. The classification of depressive 35(1):83-93. illnesses. Br J Psychiatry 1970;117(538):241-50. 19. Cai A, Lou Y, Long Q, Yuan J. The sex differences 12. Campisi P, La RD. Brain waves for automatic in regulating unpleasant emotion by expressive biometric-based user recognition. IEEE Trans Inf suppression: extraversion matters. Front Forensics Secur 2014;9(5):782-800. Psychol 2016;7:Article 1011. 13. Briggs KE, Martin FH. Affective picture processing 20. Whittle S, Yücel M, Yap MB, Allen NB. Sex and motivational relevance: arousal and differences in the neural correlates of emotion: valence effects on ERPs in an oddball task. Int evidence from neuroimaging. Biol Psychol J Psychophysiol 2009;72(3):299-306 2011;87(3):319-33. 14. Dennis TA, Hajcak G. The late positive potential: 21. Filkowski MM, Olsen RM, Duda B, Wanger a neurophysiological marker for emotion TJ, Sabatinelli D. Sex differences in emotional regulation in children. J Child Psychol Psychiatry perception: meta analysis of divergent 2009;50(11):1373-83. activation. Neuroimage 2017;15(147):925-33. 15. Lee W, Lucey J. (2010). Formation and physical 22. Rozenkrants B, Polich J. Affective ERP processing properties of yogurt. Asian-Australas J Anim Sci in a visual oddball task: Arousal, valence and 2010;23(9):1127-36. gender. Clin Neurophysiol 2008;119(10):2260- 16. Faul F, Erdfelder E, Buchner A, Lang AG. 65. Statistical power analyses using G* Power 3.1: 23. Sabatinelli D, Flaisch T, Bradley MM, Fitzsimmons tests for correlation and regression JR, Lang PJ. Affective picture perception: gender analyses. Behav Res Methods 2009;41(4):1149- differences in visual cortex?. Neuroreport 60. 2004;15(7):1109-12. 17. Bradley MM, Lang PJ. Measuring emotion: the self-assessment manikin and the semantic ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 73

การศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดสของอาหาร พื้นบ้าน อ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี Study on the inhibiting effect of α-amylase and α-glucosidase by local cuisine in Chaibadan district, Lopburi province

รัศมี แสงศิริมงคลยิ่ง1* ดุษณี ศุภวรรธนะกุล2 และ พรชนก ชโลปกรณ์1 1 สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร 10220 2 สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร 10220 Ratsamee Sangsirimongkolying1*, Dusanee Supawantanakul2 and Pornchanok Chalopagorn1 1 Department of Chemistry, Faculty of Science and Technology, Rajabhat Phranakorn University, Bangkok 10220 2 Department of Technology Management, Faculty of Industrial Technology, Rajabhat Phranakorn University, Bangkok 10220 Received: 18 December 2018/ Revised: 7 June 2019/ Accepted: 15 June 2019

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดและส่วนประกอบของอาหารพื้นบ้านในอ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี และ เพื่อศึกษาอาหารพื้นบ้านที่มีสารออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดส โดยการสัมภาษณ์ ปราชญ์ชาวบ้านที่เชี่ยวชาญเรื่องอาหารพื้นบ้านสูตรดั้งเดิม จ�ำนวน 7 คน น�ำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาสรุปเป็นผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ งานวิจัยนี้เลือกตัวอย่างอาหารพื้นบ้าน จ�ำนวน 6 ตัวอย่าง ได้แก่ แกงขี้เหล็ก แกงส้มผักรวม แกงเลียงใส่ กะทิ แกงบอน แกงเลียงป่า และแกงป่ามะเขือ และน�ำไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสและแอลฟา กลูโคซิเดสด้วยวิธี Colorimetric ผลการวิจัยจากการสัมภาษณ์พบว่า อาหารพื้นบ้านในอ�ำเภอชัยบาดาลมีหลากหลายชนิด มีลักษณะเหมือนกับอาหารพื้นบ้านภาคกลาง ได้แก่ แกงเลียงผักหวานป่า แกงเลียงใส่กะทิ แกงป่า แกงส้ม แกงขี้เหล็ก แกงบอน แกงต้มย�ำหัวปลี แกงหมูเทโพ แกงคั่วหอยขมใบชะพลู ต้มกะทิสายบัวใส่ปลา แกงปลากดหน่อไม้ดอง ปลาร้าสับ ทรงเครื่อง และน�้ำพริกประเภทต่าง ๆ เช่น น�้ำพริกปลาร้า น�้ำพริกขี้กา น�้ำพริกกะปิ น�้ำพริกนรก น�้ำพริกตาแดง น�้ำพริกเผา ส่วนประกอบของอาหารพื้นบ้านส่วนใหญ่ประกอบด้วยผักพื้นบ้านตามฤดูกาล เช่น ผักปลั่ง ผักหวานป่า ผักหวานบ้าน มันเหน็บ ใบต�ำลึง สายบัว หน่อไม้ หัวปลี บอน ขี้เหล็ก ส่วนประกอบในเครื่องแกง ได้แก่ พริกขี้หนู พริกแห้ง ตะไคร้ หัวหอม กระเทียม กระชาย ข่า ผิวมะกรูด เกลือ และกะปิขึ้นอยู่กับชนิดของแกง ปัจจุบันอาหารพื้นบ้านส่วนใหญ่เป็นสูตรแบบ

Corresponding author: [email protected] 74 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ดัดแปลงตามวัตถุดิบที่มีในพื้นที่ ฤดูกาล และสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป ผลการทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งโรคเบาหวานของอาหาร พื้นบ้านพบว่าแกงบอน แกงป่ามะเขือ แกงเลียงป่า และแกงเลียงใส่กะทิ สามารถออกฤทธิ์ยับยั้งแอลฟาอะไมเลสได้ไม่ แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง คือ 37.17±9.25, 36.69±3.29, 34.53±10.07 และ 33.57±9.82 ตามล�ำดับ ส�ำหรับแกงเลียงป่า แกงเลียงใส่กะทิ และแกงบอนสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งแอลฟากลูโคซิเดสได้ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญ โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง คือ 10.50±0.24, 9.82±0.28 และ 9.50±0.03 ตามล�ำดับ

ค�ำส�ำคัญ: อาหารพื้นบ้าน แอลฟาอะไมเลส แอลฟากลูโคซิเดส อ�ำเภอชัยบาดาล

Abstract This research aims to study the type and composition of local cuisine in Chaibadan district, Lopburi province and study local cuisine that consisting of active chemical to inhibit α-amylase and α- glucosidase. The 7 local experts in authentic cuisine were an interview and the obtained information was summarized to the analytical result of qualitative data. In this research, the examples of local cuisines were chosen from 6 types as follow; Gaeng Keelek, Gaeng Som Phak Luam, Gaeng Liang Kati, Gaeng Bon, Gaeng Liang Pa, and Gaeng Pa Makhue for testing the inhibiting effect of α-amylase and α-glucosidase by using colorimetric method. The result from interview showed that the many types of local cuisines in Chaibadan district had resembled with the local cuisine in central region such as such as Gaeng Liang Phak Wan Pa, Gaeng Liang Kati, Gaeng Som, Gaeng Keelek, Gaeng Bon, Gaeng Tom Yam Hua Plee, Gaeng Moo Te-po, Gaeng Khua Hoi-khom Baishaphlu, Tom Kati Saibua Sai Pla, Gaeng Pla God Nomai Dong, Minced pickled fish chilli paste, Pickled fish chilli paste, Cassia chilli paste, Spicy shrimp paste, Nalok chilli paste, and Smoked chilli paste. The most of local cuisine composition consisted of seasonal vegetables, such as vine spinach, Phak Wan Pa, Phak Wan Ban, Man Heb jicama, ivy gourd, lotus stem, bamboo shoot, banana blossom, spadix, cassia, chilli, dried chilli, lemongrass, onion, garlic, Chinese keys, bergamot zest, galanga, salt, variety of shrimp paste, and pickled fish. Currently, most of the local cuisine was modified recipe based on raw materials in each area, seasons and changing conditions. From the inhibited result of diabetes, the Gaeng Bon, Gaeng Pa Makhue, Gaeng Liang Pa and Gaeng Liang Kati could inhibited α-amylase, not significantly difference with the percentage values as follows; 37.17±9.25, 36.69±3.29 34.53±10.07 and 33.57±9.82, respectively. In the case of α-glucosidase testing result, it was found that the Gaeng Liang Pa, Gaeng Liang Kati, and Gaeng Bon could inhibit α-glucosidase with not significantly different at the percentage values as follows; 10.50±0.24, 9.82±0.28 and 9.50±0.03 respectively.

Keywords: Local Cuisine, α-Amylase, α- Glucosidase, Chaibadan district ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 75

บทน�ำ จะเพิ่มขึ้นเป็น 642 ล้านคน [2] ส�ำหรับประเทศไทย ส�ำนัก จากแผนบูรณาการการวิจัยและนวัตกรรมได้ให้ โรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้คาด ความส�ำคัญกับการเพิ่มความสามารถในการประยุกต์ใช้ ประมาณจ�ำนวนประชากรที่เป็นโรคเบาหวานอายุ 35 ปีขึ้น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อยกระดับความ ไประหว่าง พ.ศ. 2554-2563 ว่า ในปี 2554 จะพบผู้ป่วย สามารถการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ และ เบาหวานรายใหม่เกิดขึ้น 501,299 คน ระหว่าง พ.ศ.2554- คุณภาพชีวิตของประชาชนเพื่อสะสมองค์ความรู้ด้านการวิจัย 2563 จะเพิ่มขึ้นในช่วง 501,299-553,941 คนต่อปี ทั้งนี้จะ และพัฒนา เพื่อสร้างและสะสมองค์ความรู้ที่มีศักยภาพ โดย มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้น 2 เท่า ภายใน 6 ปี ดังนั้น ในปี 2563 จะมี สังคมไทยในปัจจุบันเป็นสังคมที่มีการอพยพย้ายถิ่นฐานเข้า ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่สูงถึง 8,200,200 คน [3] ซึ่งจะมีแต่ สู่เมือง ท�ำให้เกิดความหลากหลายในกลุ่มชาติพันธุ์ โดยมีการ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากงานวิจัยการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมและมีการเรียนรู้ในการอยู่ร่วมกัน สาธารณสุขในการดูแลอาหารส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ต�ำบล ท�ำให้เกิดการสะสมภูมิปัญญาและองค์ความรู้ของชุมชนใน ท่าดินด�ำ อ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี [4] โดยการบันทึก พื้นที่ เกิดเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นทั้งทางด้านวัฒนธรรมและ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานตาม ประเพณี รวมถึงประเภทของอาหาร ซึ่งประเทศไทยเป็น ค�ำแนะน�ำของอาสาสมัครสาธารณสุข พบว่าผู้ป่วยเบาหวาน แหล่งพื้นที่ที่มีความหลากหลายของพันธุ์พืชสูง ท�ำให้เกิดการ ที่สามารถควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดให้ลดลงอยู่ในระดับ สร้างสรรค์กลายเป็นอาหารท้องถิ่นหลายรายการ อีกทั้งยัง ปกติส่วนใหญ่อาหารที่บริโภคเป็นอาหารพื้นบ้านที่ประกอบ ให้ประโยชน์ทางคุณค่าอาหาร สามารถพัฒนาให้เป็นโภชน ขึ้นเฉพาะในท้องถิ่น มีส่วนประกอบเป็นผักพื้นบ้าน เภสัชได้ จากภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนไทยได้มีการบันทึกไว้ หลากหลายรายการ ตัวอย่างเช่น น�้ำพริกอีกา ผักต้ม แกงส้ม เกี่ยวกับการดูแลรักษาโรคเบาหวาน โดยเน้นพืชผักสมุนไพร มะละกอ ต้มไก่ใบมะขาม แกงผักหวานป่า เป็นต้น และจาก พื้นบ้านที่หาง่ายในท้องถิ่น และส่วนใหญ่มักใช้มาประกอบ การค้นคว้าเอกสารเพิ่มเติมพบว่าจังหวัดลพบุรีมีกลุ่มชนพื้น เป็นอาหารกินเป็นประจ�ำ เป็นที่น่าสังเกตว่าคนไทยในสมัย ถิ่นที่ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณลุ่มน�้ำป่าสักในพื้นที่อ�ำเภอ โบราณ “กินปลาเป็นหลัก กินผักเป็นพื้น” มีสุขภาพร่างกาย พัฒนานิคม โคกส�ำโรง สระโบสถ์ และชัยบาดาล จังหวัด แข็งแรง สมุนไพรที่สามารถลดระดับน�้ำตาลในเลือดที่ใช้กิน ลพบุรี เรียกว่า ไทยเบิ้งหรือไทยโคราช ชาวไทยเบิ้งมี ได้แก่ มะระขี้นก ต�ำลึง และเตยหอม ปัจจุบันมีการศึกษาฤทธิ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมคล้ายกลุ่มชนไทย เภสัชวิทยาพบว่า เตยหอมมีฤทธิ์ลดน�้ำตาลในเลือด ลดความ ภาคกลาง แต่ยังมีภาษา ความเชื่อ เพลงพื้นบ้าน การละเล่น ดันโลหิต ลดอัตราการเต้นหัวใจ นอกจากนี้ควรรับประทาน การทอผ้า ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชนอยู่ อาหารชาวไทย ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ เพราะได้คาร์โบไฮเดรทช่วยย่อยสลาย เบิ้งใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติน�ำมาผลิต และใช้ปรุงอาหารเป็น อย่างช้า ๆ ให้เวลาตับอ่อนขับอินซูลิน วิตามินบีในข้าวกล้อง วิธีการปรุงอาหารแบบง่าย ๆ และกินง่าย นิยมกินอาหารที่ ช่วยเผาผลาญน�้ำตาลให้หมด ถ้ากินเป็นพวกปลาหรือถั่วต่าง สดใหม่ อาหารสุกแล้ว อาหารประเภทเนื้อปลา ผักพื้นเมือง ๆ ได้ก็จะท�ำให้ได้รับโปรตีนที่เพียงพอ และไม่ท�ำให้น�้ำตาลใน และข้าวเจ้า [5] ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาชนิดและส่วน เลือดสูง [1] ปัจจุบันผู้บริโภคได้ให้ความส�ำคัญในการบริโภค ประกอบของอาหารพื้นบ้านที่มีสารออกฤทธิ์ยับยั้งโรค อาหารเพื่อสุขภาพมากขึ้น ท�ำให้อาหารที่ประกอบด้วยพืชผัก เบาหวานในอ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เพื่อใช้เป็น สมุนไพรกลายเป็นที่นิยมส�ำหรับผู้ต้องการดูแลสุขภาพโดย แนวทางในการพัฒนาสูตรอาหารที่มีฤทธิ์ยับยั้งโรคเบาหวาน เฉพาะผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งจากการรายงานสถิติของโรค และเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านอาหารพื้นบ้านในอ�ำเภอ เบาหวาน พบว่าในปี พ.ศ. 2558 ทั่วโลกมีจ�ำนวนผู้ป่วย ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เบาหวานจ�ำนวน 415 ล้านคน ท�ำนายว่าในปี 2588 เบาหวาน 76 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

วิธีด�ำเนินการวิจัย 2.1 การวิเคราะห์ฤทธิ์การยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์ 1. ศึกษาชนิดและส่วนประกอบของอาหารพื้นบ้านโดยการ แอลฟาอะไมเลส (α-amylase) สัมภาษณ์แบบเชิงลึก (in-depth interview) ด้วยค�ำถาม ชั่งแป้งหนัก 100 มิลลิกรัม เติมลงในฟอสเฟต ปลายเปิด โดยการเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง บัฟเฟอร์ pH 7.0 ปริมาตร 5 มิลลิลิตร จากนั้นต้มให้ละลาย (purposive sampling) ซึ่งเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างเฉพาะ รอให้เย็นที่อุณหภูมิห้อง น�ำแป้งใส่ในหลอดทดลอง ปริมาตร คนที่เกิดในพื้นที่เหรือปราชญ์ชาวบ้านที่มีบิดาหรือมารดาที่ 300 ไมโครลิตร ใส่ตัวอย่างอาหาร ปริมาตร 50 ไมโครลิตร เกิดในอ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี และมีประสบการณ์การ และเอนไซม์แอลฟาอะไมเลส ปริมาตร 200 ไมโครลิตร ประกอบอาหารอย่างน้อย 10 ปีขึ้นไป จ�ำนวน 7 คน สังเคราะห์ น�ำไปบ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และเอกสาร ถอดต�ำหรับอาหาร เติมไดไนโตรซาลิไซลิค (Dinitrosalicylic acid, DNS) พื้นบ้าน โดยการวิเคราะห์ชนิด องค์ประกอบ และสัดส่วนชนิด ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร น�ำไปต้มในน�้ำเดือด เป็นเวลา 5 นาที ของวัตถุดิบที่ปรุงเป็นอาหารพื้นบ้าน และน�ำมาเติมน�้ำกลั่น ปริมาตร 5 มิลลิลิตร จากนั้นปิเปตต์ ลงเพลท ปริมาตร 200 ไมโครลิตร น�ำไปวัดด้วยเครื่อง 2. น�ำตัวอย่างอาหารพื้นบ้านที่ปรุงเสร็จในหม้อคนให้เข้ากัน microplate Reader ที่ความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร จากนั้นตักเฉพาะส่วนที่เป็นน�้ำเก็บในหลอดตัวอย่างขนาด 50 2.2 การวิเคราะห์ฤทธิ์การยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์ มิลลิลิตร จ�ำนวน 3 หลอด ปิดให้สนิทและเก็บไว้ในช่อง แอลฟากลูโคซิเดส (α-glucosidase) แช่แข็งของตู้เย็นที่อุณหภูมิประมาณ -18 องศาเซลเซียส เตรียมสารละลายตัวอย่างอาหาร ปริมาตร 50 ก่อนน�ำไปวิเคราะห์ จากนั้นละลายอาหารตัวอย่างที่อุณหภูมิ ไมโครลิตร ในโซเดียมฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH 6.9 ความเข้มข้น ห้องแล้วน�ำมาปั่นจนละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน น�ำไปปั่น 100 มิลลิโมลาร์ เติมสารละลายไนโตรฟีนิล-แอลฟา-ดี-กลูโค เหวี่ยงที่ความเร็ว 2500 รอบต่อนาที เป็นเวลา 10 นาที ไพราโนไซด์ (p-nitrophenyl-α-D-glucopyranoside, อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส น�ำมากรองเพื่อเก็บส่วนที่ใส PNPG) ในโซเดียมฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH 6.9 ความเข้มข้น 5 น�ำสารละลายตัวอย่างที่ได้ไปทดสอบฤทธิ์เพื่อยับยั้งกิจกรรม มิลลิโมลาร์ ปริมาตร 200 ไมโครลิตร จากนั้นท�ำการบ่มที่ ของแอลฟาอะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดส ด้วยวิธี อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 นาที เติมสารละลาย colorimetric เทียบกับสารมาตรฐาน อะคาร์โบสที่ แอลฟากลูโคซิเดส 0.1 ยูนิตต่อมิลลิลิตร น�ำไปบ่มที่อุณหภูมิ ความยาวคลื่น 650 และ 405 นาโนเมตร ตามล�ำดับ ตามวิธี 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที และน�ำมาเติม การที่ดัดแปลงจาก Hemalatha และคณะ [6] และ โซเดียมคาร์บอเนต ปริมาตร 400 ไมโครลิตร จากนั้นปิเปตต์ Adefegha และคณะ [7] มีรายละเอียดดังนี้ ลงเพลท ปริมาตร 200 ไมโครลิตร ท�ำการวัดค่าการดูดกลืน แสงด้วยเครื่อง microplate Reader ที่ความยาวคลื่น 405 นาโนเมตร [8] ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 77

ค�ำนวณร้อยละการยับยั้งเอนไซม์ (%inhibition) ดังสมการที่ 1 (Ablank − Asample ) (1) % inhibition = x 100 Ablank

ผลการวิจัย “สะเดาลวก จิ้มน�้ำพริกหน้าหนาว ผัดเผ็ดคั่วเนื้อ 1. ผลจากการสัมภาษณ์ข้อมูลพบว่า ประชากรส่วน ปลาของป่าใส่ หน่อไม้ต้มใบย่านาง ปลาร้า หอมแดง ต้นฝน ใหญ่ในอ�ำเภอชัยบาดาลเป็นคนอพยพย้ายถิ่นมาจากจังหวัด กระชายต้มกินน�้ำพริก แกงส้มปลาผักตามฤดูกาล” อื่น เช่น สิงห์บุรี เพชรบูรณ์ โคราช ขอนแก่น อยุธยา และ (ผู้ให้ข้อมูลหลัก 16 ธันวาคม 2560) สมุทรสาคร เป็นต้น อาหารจึงมีความหลากหลายและ “2531 ขายขนม ขายกับข้าว เรียนกันเอง ยังท�ำ ดัดแปลงผสมผสาน ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกสัมภาษณ์แบบเฉพาะ ขนมและกับข้าวขายอยู่ ขี่มอเตอร์ไซด์ขายแกงขี้เหล็ก เจาะจงผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นคนที่เกิดในอ�ำเภอชัยบาดาล แกงบอน” (ผู้ให้ข้อมูลหลัก 3 เมษายน 2561) จังหวัดลพบุรี โดยอาหารพื้นบ้านที่มีประวัติความเป็นมาที่มี ส่วนประกอบของอาหารพื้นบ้านส่วนใหญ่ประกอบ การสืบทอดวิธีการปรุงหรือการปรุงอาหารจากประสบการณ์ ด้วยผักพื้นบ้านตามฤดูกาล เช่น ผักปลั่ง ผักหวานป่า ตั้งแต่เด็กของคนที่เกิดในพื้นที่อ�ำเภอชัยบาดาล ซึ่งพบว่า ผักหวานบ้าน มันเหน็บ ใบต�ำลึง สายบัว หน่อไม้ หัวปลี บอน อาหารพื้นบ้านในอ�ำเภอชัยบาดาลมีหลากหลายชนิด ขี้เหล็ก บุก ส่วนประกอบในเครื่องแกง ได้แก่ พริกขี้หนู มีลักษณะเหมือนกับอาหารพื้นบ้านภาคกลาง ได้แก่ แกงเลียง พริกแห้ง ตะไคร้ หัวหอม กระเทียม กระชาย ข่า ผิวมะกรูด ผักหวานป่า แกงเลียงใส่กะทิ แกงป่า แกงส้ม แกงขี้เหล็ก เกลือ และกะปิ ขึ้นอยู่กับชนิดของแกง ผู้วิจัยได้เลือกตัวอย่าง แกงบอน แกงต้มย�ำหัวปลี แกงหมูเทโพ แกงคั่วหอยขม อาหารพื้นบ้านที่มีการสืบทอดวิธีการปรุงด้วยผักพื้นบ้านหรือ ใบชะพลู ต้มกะทิสายบัวใส่ปลา แกงปลากดหน่อไม้ดอง เครื่องประกอบอาหารที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่คาดว่าจะมีฤทธิ์ใน ปลาร้าสับทรงเครื่อง คั่วหนูนา และน�้ำพริกประเภทต่าง ๆ การยับยั้งโรคเบาหวานได้ 6 ตัวอย่าง ดังนี้ แกงเลียงป่า เช่น น�้ำพริกปลาร้า น�้ำพริกขี้กา น�้ำพริกกะปิ น�้ำพริกนรก แกงเลียงใส่กะทิ แกงขี้เหล็ก แกงป่ามะเขือ แกงส้มผักรวม น�้ำพริกตาแดง และน�้ำพริกเผา และแกงบอน เพื่อน�ำมาถอดต�ำหรับและสาธิตการท�ำอาหาร “ไม่มีอาหารพื้นถิ่น เป็นคนอพยพย้ายถิ่น เน้น พื้นบ้านโดยผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นคนที่เกิดในพื้นที่หรือปราชญ์ ปลาร้า ต�ำย�ำก็ใส่ปลาร้า แกงส้มปลาร้า ปลาร้าสับทรงเครื่อง ชาวบ้านอ�ำเภอชัยบาดาล อาหารพื้นบ้านในอ�ำเภอชัยบาดาล มีทั้งแบบผัดและไม่ผัด” (ผู้ให้ข้อมูลหลัก ตลาดในเมือง มีส่วนประกอบ สัดส่วนชนิดของวัตถุดิบ และขั้นตอนวิธีการ ชัยบาดาล 16 ธันวาคม 2560) ปรุงอาหารพื้นบ้านแต่ละชนิด ดังนี้ 78 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

1. แกงเลียงผักพื้นบ้านตามฤดูกาล ที่ได้จากการสัมภาษณ์แบ่งเป็นสูตรที่ไม่ใส่กะทิเรียก แกงเลียงป่า และสูตรใส่กะทิ สูตรที่ 1 แกงเลียงป่าโบราณดั้งเดิมของคนในพื้นที่ต�ำบลหนองยายโต๊ะ อ�ำเภอชัยบาดาล ดังแสดงในภาพที่ 1 วัตถุดิบที่ใช้มีดังนี้ 1. บวบ 1 กิโลกรัม 6. ข้าวโพด ½ กิโลกรัม 2. เห็ดนางฟ้า ½ กิโลกรัม 7. กระชาย 100 กรัม 3. ยอดฟักทอง 300 กรัม 8. หัวหอม 100 กรัม 4. ผักหวานบ้าน 200 กรัม 9. ปลาช่อนย่าง ½ กิโลกรัม 5. ฟักทอง 1½ กิโลกรัม เครื่องแกงเลียง 1. กระชาย 200 กรัม 4. พริกไทย 1 ช้อนชา 2. หัวหอม 200 กรัม 5. ปลาช่อนย่าง ½ กิโลกรัม 3. กะปิ 1 ช้อนชา เทคนิคเครื่องแกง ต�ำข้าวโพดดิบและฟักทองต้มสุก เพื่อให้น�้ำข้นและหวาน วิธีการปรุง ต้มน�้ำ 2 ลิตร ให้เดือด จากนั้นใส่ฟักทอง พอฟักทองใกล้สุกให้ใส่น�้ำพริกแกง กระชาย หัวหอม ข้าวโพดผสมฟักทอง ต�ำ และบวบ รอเดือดจึงใส่ยอดฟักทอง ผักหวานป่า เมล็ดข้าวโพด รอเดือด ใส่ใบแมงลัก พริกขี้หนูสวน และใส่น�้ำปลา 4 ทัพพี (ไม่ใส่น�้ำตาล)

ภาพที่ 1 แกงเลียงป่าโบราณ ภาพที่ 2 แกงเลียงใส่กะทิแบบโบราณ สูตรที่ 2 แกงเลียงใส่กะทิแบบโบราณของคนในพื้นที่ต�ำบลชัยบาดาลใหม่ อ�ำเภอชัยบาดาล ดังแสดงในภาพที่ 2 วัตถุดิบที่ใช้มีดังนี้ 1. บวบ 1 กิโลกรัม 4. ฟักทองลูกเล็ก 1 กิโลกรัม 2. ยอดฟักทอง 300 กรัม 5. เห็ด 300 กรัม 3. ต�ำลึง 200 กรัม 6. ใบแมงลัก 100 กรัม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 79

เครื่องแกงเลียง 1. พริกแห้ง 100 กรัม 5. หอมแดง 200 กรัม 2. ตะไคร้ 50 กรัม 6. กระเทียม 50 กรัม 3. กระชาย 200 กรัม 7. เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ 4. ข่า 50 กรัม 8. กะปิ ½ ช้อนโต๊ะ วิธีการปรุง ต้มหัวกะทิกับหางกะทิ 2 กิโลกรัม ให้ร้อน ใส่พริกแกงเลียง 400 กรัม รอให้เดือด ใส่ปลาแห้งป่น ต้มให้เดือด ใส่ฟักทอง ใส่น�้ำปลาร้า 2 ทัพพี ต้มจนฟักทองนิ่ม ใส่เห็ด บวบ รอเดือด ใส่ต�ำลึง ยอดฟักทอง และใบแมงลัก ยกขึ้น ใส่น�้ำปลา 1 ทัพพี และเกลือ 1 ช้อนโต๊ะ เคล็ดลับ การปอกเปลือกฟักทองและบวบให้เหลือเปลือกไว้บ้างจะได้ไม่นิ่มเกินไป

ภาพที่ 3 แกงขึ้เหล็ก 2. แกงขี้เหล็กสูตรของคนในพื้นที่ต�ำบลชัยบาดาลใหม่ อ�ำเภอชัยบาดาล ดังแสดงในภาพที่ 3 วัตถุดิบที่ใช้มีดังนี้ 1. หัวกะทิผสมหางกะทิ 2 กิโลกรัม 4. น�้ำใบย่านาง 2 ถ้วยตวง 2. ขาหมู 800 กรัม 5. น�้ำปลาร้า 3 ทัพพี 3. ใบขี้เหล็ก 2 กิโลกรัม 6. น�้ำปลา 1 ทัพพี เครื่องแกงขี้เหล็ก 1. ตะไคร้ 200 กรัม 6. ข่า 100 กรัม 2. กระชาย 100 กรัม 7. พริกแห้ง 100 กรัม 3. หัวหอม 200 กรัม 8. เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ 4. กระเทียม 200 กรัม 9. กะปิ 1 ช้อนโต๊ะ 5. ผิวมะกรูด 1 ลูกเล็ก น�้ำพริกตลาดไม่ค่อยใส่กะปิเนื่องจากปัจจุบันนิยมรับประทานมังสวิรัติมากขึ้น วิธีการปรุง ต้มใบขี้เหล็กให้เปื่อย รินน�้ำทิ้ง 1 ครั้ง และต้มกับน�้ำใหม่ประมาณ 1 ชั่วโมง ใส่ใบย่านางเพื่อให้รสชาติกลมกล่อม มีกลิ่นหอม เป็นสูตรโบราณ น�ำหัวกะทิผสมหางกะทิ ใส่น�้ำพริก ต้มให้เดือด ใส่ขาหมูเคี่ยวให้นิ่ม คนเป็นพัก ๆ ต้มให้เดือด ใส่ใบขี้เหล็กต้ม น�้ำใบย่านาง 2 ถ้วยตวง น�้ำปลาร้าต้ม 3 ทัพพี น�้ำปลา 1 ทัพพี และเกลือ 80 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ภาพที่ 4 แกงป่ามะเขือ 3. แกงป่ามะเขือที่ได้จากการสัมภาษณ์ของคนในพื้นที่ต�ำบลชัยบาดาลใหม่ อ�ำเภอชัยบาดาล ดังแสดงในภาพที่ 4 วัตถุดิบ ที่ใช้มีดังนี้ 1. ขาหมูเผา 1 กิโลกรัม 6. ใบกะเพรา 100 กรัม 2. มะเขือเปราะ 1½ กิโลกรัม 7. น�้ำปลาร้าต้มสุก 2 ทัพพี 3. มะเขือพวง ½ กิโลกรัม 8. น�้ำปลา 1 ทัพพี 4. ข้าวคั่ว 2 ช้อนโต๊ะ 9. เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ 5. ใบมะกรูด 10 ใบ เครื่องแกงเผ็ด 1. ตะไคร้1 200 กรัม 5. หัวหอม 200 กรัม 2. ข่า1.241.2 200 กรัม 6. กระเทียม 200 กรัม 3. พริกแห้ง1 100 กรัม 7. เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ 4. ผิวมะกรูด 1 4 ลูกเล็ก 8. กะปิ 1 ช้อนโต๊ะ เทคนิค ใส่เกลือต�ำพร้อมกัน จะท�ำให้ละเอียดง่าย วิธีการปรุง เติมน�้ำ 2 ลิตร ใส่น�้ำพริกแกงเผ็ด ½ กิโลกรัม ต้มให้เดือด ใส่ขาหมูเผา เคี่ยวให้นุ่ม ใส่มะเขือเปราะ มะเขือพวง พอเดือด ใส่น�้ำปลา 1 ทัพพี น�้ำปลาร้าต้มสุก 2 ทัพพี เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ ต้มให้เดือด ใส่ข้าวคั่ว ใบมะกรูด และใบกะเพรา เทคนิค ข้าวคั่วต้องหอม และต้องใส่ปลาร้า ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 81

ภาพที่ 5 แกงส้มผักรวม 4. แกงส้มผักรวมที่ได้จากการสัมภาษณ์ของคนในพื้นที่ต�ำบลชัยบาดาลใหม่ อ�ำเภอชัยบาดาล ดังแสงในภาพที่ 5 วัตถุดิบ ที่ใช้มีดังนี้ 1. มะละกอ 1½ กิโลกรัม 3. ปลานิล 1½ กิโลกรัม 2. ผักกวางตุ้ง ½ กิโลกรัม 4. น�้ำมะขามเปียก 200 กรัม เครื่องแกงส้ม 1. พริกแห้งเม็ดใหญ่ 100 กรัม 4. เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ 2. หัวหอม 200 กรัม 5. กะปิ 1 ช้อนโต๊ะ 3. กระชาย 150 กรัม วิธีการปรุง น�ำน�้ำที่ใช้ต้มปลานิลประมาณ 2 ลิตร ใส่น�้ำพริกแกงส้ม 300 กรัม ต้มให้เดือด ใส่มะละกอ 1½ กิโลกรัม ต้มให้เดือด ใส่ปลาชิ้น ต้มให้เดือด ใส่ผักใบเขียวตามฤดูกาล เช่น ผักกวางตุ้ง ½ กิโลกรัม ใส่น�้ำปลา 1 ทัพพี น�้ำปลาร้า 2 ทัพพี ต้มให้ เดือด จากนั้นใส่น�้ำตาล 2 ช้อนโต๊ะ และน�้ำมะขามเปียก 200 กรัม เทคนิค ให้ใส่น�้ำมะขามเปียกสุดท้าย เพราะจะท�ำให้ผักไม่นิ่ม น�้ำที่ใช้ต้มปลาให้ต้มปลานิล แกะปลานิล แกงส้ม ปลานิล กลิ่นคาวน้อยกว่า 82 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ภาพที่ 6 แกงบอน

5. แกงบอนที่ได้จากการสัมภาษณ์ของคนในพื้นที่ต�ำบลหนองยายโต๊ะ อ�ำเภอชัยบาดาล ดังแสดงในภาพที่ 6 วัตถุดิบที่ ใช้มีดังนี้ 1. หัวกะทิ 1 กิโลกรัม 2. มะขามเปียก 50 กรัม 3. บอนสด 1 กิโลกรัม เครื่องแกงบอน 1. พริกแห้ง 100 กรัม 5. กระชาย 100 กรัม 2. ใบมะกรูด 20 ใบ 6. หัวหอม 100 กรัม 3. ตะไคร้ 50 กรัม 7. กระเทียม 100 กรัม 4. ข่า 50 กรัม วิธีการปรุง เคี่ยวหัวกะทิ 1 กิโลกรัม น�้ำพริกแกง ½ กิโลกรัม จนขึ้นมันและไม่มีกลิ่นกะทิ เหมือนแกงป่า คนจนเกือบแห้ง ใส่บอนสด (บอนพื้นบ้านหนองยายโต๊ะ) 1 กิโลกรัม ค่อย ๆ ใส่เรื่อย ๆ ใส่บอนหมด ใส่เกลือ 5 ช้อนชา ปิดฝาหม้อ อะคาร์โบส ต้มให้เดือด ใส่น�้ำมะขาม 1 ทัพพี น�้ำตาลทราย 5 ทัพพี ต้มให้เดือด และใส่กากหมู 100 กรัม

2. ผลการทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งโรคเบาหวานของ การยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสของอาหารพื้นบ้าน อาหารพื้นบ้านจ�ำนวน 6 ตัวอย่าง ได้ผลการวิเคราะห์ดังนี้ คือ แกงบอน แกงป่ามะเขือ แกงเลียงป่า แกงเลียงใส่กะทิ 2.1 ผลการทดสอบฤทธิ์การยับยั้งกิจกรรมของ แกงขี้เหล็ก แกงป่ามะเขือ และแกงส้ม (ภาพที่ 7) แอลฟาอะไมเลสด้วยอาหารพื้นบ้าน พบว่ามีล�ำดับของฤทธิ์

ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 83

เปอรเซ็นตการยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลส

แกงบอน แกงขี้เหล็ก อะคารโบส แกงเลียงปา แกงปามะเขือ แกงสมผักรวม แกงเลียงใสกะทิ ภาพที่ 7 แสดงเปอร์เซ็นต์การยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสด้วยอาหารพื้นบ้าน 2.2 ผลการทดสอบฤทธิ์การยับยั้งกิจกรรมของแอลฟากลู แกงเลียงป่า แกงเลียงใส่กะทิ แกงบอน แกงป่ามะเขือ แกงส้ม โคซิเดสด้วยอาหารพื้นบ้าน พบว่ามีล�ำดับของฤทธิ์การยับยั้ง ผักรวม แกงขี้เหล็ก แสดงดังภาพที่ 8 กิจกรรมของแอลฟากลูโคซิเดสของอาหารพื้นบ้าน คือ

เปอรเซ็นตการยับยั้งกิจกรรมของแอลฟากลูโคซิเดส

อะคาร์โบส แกงบอน แกงบอน แกงขี้เหล็ก อะคาร์โบส แกงเลียงป่า อะคารโบส แกงขี้เหล็ก แกงเลียงปา แกงป่ามะเขือ แกงส้มผักรวม แกงปามะเขือ แกงสมผักรวม แกงเลียงใส่กะทิ แกงเลียงใสกะทิ ภาพที่ 8 แสดงเปอร์เซ็นต์การยับยั้งกิจกรรมของแอลฟากลูโคซิเดสด้วยอาหารพื้นบ้าน การยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสของอาหารพื้นบ้าน คือ แกงบอน แกงป่ามะเขือ แกงเลียงป่า แกงเลียงใส่กะทิ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย ประเภทต่าง ๆ เช่น น�้ำพริกปลาร้า น�้ำพริกขี้กา น�้ำพริกกะปิ แกงขี้เหล็ก แกงป่ามะเขือ และแกงส้ม (ภาพที่ 7) 1. จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นคนที่ น�้ำพริกนรก น�้ำพริกตาแดง และน�้ำพริกเผา ส่วนประกอบ เกิดในพื้นที่อ�ำเภอชัยบาดาลหรือปราชญ์ชาวบ้าน จ�ำนวน ของอาหารพื้นบ้านส่วนใหญ่ประกอบด้วยผักพื้นบ้านตาม 7 คน สามารถสรุปได้ว่า อาหารพื้นบ้านในอ�ำเภอชัยบาดาล ฤดูกาล เช่น ผักปลั่ง ผักหวานป่า ผักหวานบ้าน มันเหน็บ มีหลากหลายชนิดมีลักษณะเหมือนกับอาหารพื้นบ้าน ใบต�ำลึง สายบัว หน่อไม้ หัวปลี บอน และขี้เหล็ก ส่วน ภาคกลาง ได้แก่ แกงเลียงผักหวานป่า แกงเลียงใส่กะทิ ประกอบในเครื่องแกง ได้แก่ พริกแห้ง ตะไคร้ หัวหอม แกงป่า แกงส้ม แกงขี้เหล็ก แกงบอน แกงต้มย�ำหัวปลี กระเทียม กระชาย ข่า ผิวมะกรูด เกลือ และกะปิ ขึ้นอยู่กับ แกงหมูเทโพ แกงคั่วหอยขมใบชะพลู ต้มกะทิสายบัวใส่ปลา ชนิดของแกง อาหารพื้นบ้านในอ�ำเภอชัยบาดาลมีเครื่องแกง แกงปลากดหน่อไม้ดอง ปลาร้าสับทรงเครื่อง และน�้ำพริก เป็นส่วนประกอบและสัดส่วนที่แตกต่างกัน (ตารางที่ 1) 84 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 1 ส่วนประกอบและสัดส่วนของเครื่องแกงในอาหารพื้นบ้าน ส่วนประกอบ อาหารพื้นบ้านและสัดส่วนเครื่องแกง เครื่องแกง แกงเลียงใส่กะทิ แกงเลียงป่า แกงขี้เหล็ก แกงป่ามะเขือ แกงส้มผักรวม แกงบอน พริกแห้ง 100 กรัม - 100 กรัม 100 กรัม - 100 กรัม พริกแห้งเม็ดใหญ่ - - - - 100 กรัม - ตะไคร้ 100 กรัม - 200 กรัม 200 กรัม - 150 กรัม กระชาย 200 กรัม 200 กรัม 100 กรัม - 150 กรัม 100 กรัม ข่า 50 กรัม - 100 กรัม 200 กรัม - 100 กรัม หอมแดง 200 กรัม 200 กรัม 200 กรัม 200 กรัม 200 กรัม 100 กรัม กระเทียม 50 กรัม - 2 00 กรัม 200 กรัม - 100 กรัม ผิวมะกรูด - - 1 ลูกเล็ก 4 ลูกเล็ก - - ใบมะกรูด - - - - - 20 ใบ เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ - 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ - กะปิ ½ ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนชา 1 ช้อนโต๊ะ - 1 ช้อนโต๊ะ - พริกไทย - 1 ช้อนชา - - - - ปลาช่อนย่าง - ½ กิโลกรัม - - - -

อาหารพื้นบ้านในอ�ำเภอชัยบาดาลมีส่วนประกอบเป็นพืช ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง สมุนไพรที่น่าสนใจหลายชนิดที่มีฤทธิ์ในการรักษาโรค ดังนี้ 10.50±0.24, 9.82±0.28 และ 9.50±0.03 ตามล�ำดับ เบาหวานได้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่พบว่าพริกมีฤทธิ์ใน ซึ่งอาหารพื้นบ้านทั้ง 6 ตัวอย่างมีค่าการยับยั้งแอลฟา การยับยั้งกิจกรรมเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสและแอลฟา- อะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดสได้น้อยกว่าอะคาร์โบส คือ กลูโคซิเดสได้ และงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับน�้ำพริกเครื่องแกง 87.84±2.18 และ 69.96±1.85 ตามล�ำดับ ที่มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ น�้ำพริกตาแดงที่มีฤทธิ์ในการ จากการศึกษาการยับยั้งกิจกรรมของแอลฟา รักษาโรคเบาหวานในหนูทดลองได้ [9] อะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดสด้วยอาหารพื้นบ้าน ซึ่ง 2. จากผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการยับยั้ง เอนไซม์ทั้งสองชนิดมีกลไกในการออกฤทธิ์ที่แตกต่างกัน โดย กิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสและกลูโคซิเดสระหว่างอาหาร ความสามารถในการยับยั้งแอลฟาอะไมเลสส่งผลให้สามารถ พื้นบ้าน 6 ตัวอย่างกับตัวควบคุมบวก ได้แก่ อะคาร์โบส ซึ่ง ลดระดับน�้ำตาลกลูโคสหลังรับประทานอาหาร ส่วนแอลฟา เป็นยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน พบว่า 1) กลูโคซิเดสนั้นเป็นเอนไซม์ในล�ำไส้เล็ก ท�ำหน้าที่ย่อยสาร แกงบอน แกงป่ามะเขือ แกงเลียงป่า และแกงเลียงใส่กะทิ จ�ำพวกไดแซคคาไรด์เป็นน�้ำตาลกลูโคส [10] ซึ่งสอดคล้อง สามารถออกฤทธิ์ยับยั้งแอลฟาอะไมเลสได้ไม่แตกต่างกัน กับงานวิจัยที่ศึกษาการควบคุมอาหารเป็นปัจจัยที่มีความ อย่างมีนัยส�ำคัญ โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งดังนี้ สัมพันธ์กับการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดของผู้ป่วย 37.17±9.25, 36.69±3.29, 34.53±10.07 และ เบาหวานชนิดที่ 2 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ [11] จากการ 33.57±9.82 ตามล�ำดับ 2) แกงเลียงป่า แกงเลียงใส่กะทิ ศึกษางานวิจัยนี้พบว่า แกงเลียงป่าและแกงเลียงใส่กะทิมี และแกงบอน สามารถออกฤทธิ์ยับยั้งแอลฟากลูโคซิเดสได้ เปอร์เซ็นต์การยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสและ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 85

แอลฟากลูโคซิเดสได้ดี ส่วนประกอบในแกงเลียงป่าและ อะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดสสูงสุด 72 เปอร์เซ็นต์ และ แกงเลียงใส่กะทิมีผักพื้นบ้านเป็นองค์ประกอบหลายชนิดที่ 63 เปอร์เซ็นต์ ตามล�ำดับ และจากการทบทวนผลการศึกษา ลดน�้ำตาลในเลือดได้ เช่น ฟักทอง กระชาย ใบต�ำลึง จากงาน วิจัยของ Jaiswal [18] พบว่าหนูเบาหวานที่ได้รับสารสกัด วิจัยของนักวิทยาศาสตร์ชาวจีนพบว่า น�้ำตาลโพลีแซคคาไรด์ methyl caffeate จากมะเขือพวงขนาด 40 มิลลิกรัมต่อ ที่ตรึงกับโปรตีนในเนื้อฟักทองมีฤทธิ์ลดน�้ำตาลในเลือด เมื่อ กิโลกรัม เป็นเวลา 60 นาที สามารถป้องกันการเพิ่มขึ้นระดับ ทดสอบกับหนูที่เป็นเบาหวานจากสารอัลล็อกซาน พบว่า น้าตาลในเลือดของหนูเบาหวานได้อย่างมีนัยส�ำคัญ และมี น�้ำตาลโปรตีนดังกล่าวเพิ่มระดับอินซูลินในซีรั่ม ลดระดับ งานวิจัยที่พบว่ามะเขือพวงสามารถยับยั้งกิจกรรมแอลฟา น�้ำตาลในเลือด และเพิ่มการทนกลูโคส [12] สุธาทิพ [13] กลูโคซิเดสได้อีกด้วย นอกจากนี้พบว่าแกงบอนสามารถออก รายงานว่า ผงกระชายทั้งเปลือกบดตากแห้งปั้นลูกกลอนกับ ฤทธิ์ยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสและแอลฟา น�้ำผึ้ง กินวันละ 3 ลูกก่อนเข้านอน และต�ำรับนี้เคยมีผู้รายงาน กลูโคซิเดสได้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญเมื่อเทียบกับแกง ว่าใช้ลดน�้ำตาลในเลือดได้ ส�ำหรับต�ำลึงเป็นยาพื้นบ้านใช้ เลียงป่าและแกงเลียงใส่กะทิซึ่งส่วนประกอบหลักในแกงคือ รักษาเบาหวาน ทั้งราก เถา ใบ ใช้ได้หมด มีสูตรต�ำรับ บอน แต่จากการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสรรพคุณและประโยชน์ หลากหลาย และในต�ำราอายุรเวทก็มีการใช้เป็นยารักษา ของบอนยังไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวเรื่องของการลดน�้ำตาลใน เบาหวานมานาน ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับต�ำลึง เลือดได้ ซึ่งอาจจะมีผลมาจากสมุนไพรที่ใช้ในเครื่องแกง เช่น จ�ำนวนมากและเป็นสมุนไพรที่น่าเชื่อถือได้มากตัวหนึ่ง [14] ใบมะกรูด น�้ำมันผิวมะกรูดมีสารไลโมนีน แกมมา- เทอร์พีน จากการทบทวนผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ อัลฟ่า และบีตาไพนีน การทดสอบสารสกัดผลส้มชนิดหนึ่งที่ สรรพคุณของสมุนไพรลดน�้ำตาลในเลือดของทีมนักวิชาการ ไต้หวันพบมีสารเหล่านี้เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ ในปี จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด พบว่าต�ำลึงและโสมมีหลักฐาน พ.ศ. 2552 พบว่าสารสกัดเปลือกส้มดังกล่าวมีผลช่วยกระตุ้น สนับสนุนประสิทธิผลการลดน�้ำตาลดีที่สุด ต�ำลึงแสดงผลการ การหลั่งอินซูลินในหนูทดลอง จึงคาดการณ์ได้ว่าน�้ำมันผิว ลดน�้ำตาลทั้งในคนและสัตว์ทดลอง ในประเทศบังกลาเทศ มะกรูดน่าจะมีฤทธิ์ดังกล่าวเช่นกัน การกินอาหารที่ใส่ผิว พบว่า เมื่อให้ผงแช่แข็งแห้งของใบต�ำลึงวันละ 1.8 กรัมกับ มะกรูด หรือต้มมะกรูดทั้งใบก็น่าจะช่วยกระตุ้นการหลั่ง ผู้ป่วยเบาหวาน ชนิด 2 นาน 6 เดือนประกอบกับการควบคุม อินซูลินในผู้ป่วยเบาหวานได้บ้าง [19] ส�ำหรับในงานวิจัยนี้ อาหาร พบว่า ค่าน�้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารของกลุ่มผู้ป่วย พบว่าแกงขี้เหล็กที่มีส่วนประกอบหลักคือใบขี้เหล็ก ซึ่งจาก ลดลง จาก 178.8 เป็น 122.1 และค่าน�้ำตาลในเลือดแบบสุ่ม การศึกษาในงานวิจัยของรุ่งฤดี [20] พบว่าสารสกัดจากใบ จาก 245.4 เป็น 186.9 โดยกลุ่มควบคุมไม่พบความแตกต่าง ขี้เหล็ก สามารถยับยั้งการท�ำงานของเอนไซม์อะไมเลสได้ อย่างมีนัยส�ำคัญ [15] จากงานวิจัยนี้ยังพบว่าแกงป่ามะเขือ ยาอะคาร์โบสความเข้มข้น 10 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถ มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสได้ดี ยับยั้งการท�ำงานของเอนไซม์ อะไมเลสได้มากกว่าสารสกัด ส่วนประกอบในแกงป่ามะเขือมีมะเขือเปราะและมะเขือพวง จากใบขี้เหล็ก (98.22 เปอร์เซ็นต์) และสารสกัดจากใบขี้เหล็ก เป็นองค์ประกอบหลักที่สามารถลดน�้ำตาลในเลือดได้ จาก ที่ความเข้มข้น 34 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งการ งานวิจัยของ Kwon และคณะ [16] พบว่ามะเขือเปราะ ท�ำงานของเอนไซม์อะไมเลสได้สูงสุดคือ 97.79 เปอร์เซ็นต์ สามารถยับยั้งกิจกรรมแอลฟากลูโคซิเดสได้สูง สามารถ ขณะที่การยับยั้งการท�ำงานของเอนไซม์กลูโคซิเดส พบว่าสาร ควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ สกัดจากใบขี้เหล็กที่ความเข้มข้น 0.66 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร จากงานวิจัย Manikandaselvi และคณะ [17] สามารถยับยั้งการทางานของเอนไซม์ กลูโคซิเดสได้สูงสุดคือ พบว่าสารสกัดน�้ำของผลมะเขือพวงความเข้มข้น 1000 98.37 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นสารสกัดจากใบขี้เหล็กมีศักยภาพใน ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งกิจกรรมแอลฟา การควบคุมน�้ำหนักได้ โดยการยับยั้งการย่อยและการดูดซึม 86 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ของคาร์โบไฮเดรตในอาหารได้เช่นเดียวกับอะคาร์โบส สาร แพร่[อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 25 พ.ค. 2560]. สกัดจากใบขี้เหล็กมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการย่อยและ เข้าถึงได้จาก: http://pr.prd.go.th/ phrae/ewt_ การดูดซึมของคาร์โบไฮเดรตในอาหารที่สูงกว่าอะคาร์โบส news.php?nid=672&filename=index แต่เมื่อน�ำมาประกอบอาหารฤทธิ์การยับยั้งกิจกรรมของ 2. สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. สถิติโรค แอลฟาอะไมเลสและแอลฟากลูโคซิเดสน้อยกว่าอาหารพื้น เบาหวานในประเทศไทย. [อินเตอร์เน็ต]. 2558 บ้านชนิดอื่นโดยเฉพาะแกงบอน แสดงให้เห็นว่าเมื่อน�ำ [เข้าถึงเมื่อ 18 มี.ค. 2560]. เข้าถึงได้จาก: http:// ส่วนประกอบต่าง ๆ มาปรุงอาหารแล้วอาจจะมีผลท�ำให้ฤทธิ์ www.diabassocthai.org ในการยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสและแอลฟา 3. นิพา ศรีช้าง. การคาดประมาณจ�ำนวนประชากรที่เป็น กลูโคซิเดสเกิดการปลี่ยนแปลงได้ โรคเบาหวานในประเทศ ในปี พ.ศ. 2554-2563. ใน: ดังนั้นผลจากงานวิจัยนี้สามารถน�ำมาเป็นข้อมูล รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจ�ำสัปดาห์ เบื้องต้นในการสนับสนุนถึงอาหารพื้นบ้านที่มีส่วนประกอบ ปที่ 41 ฉบับที่ 39 วันที่ 8 ตุลาคม 2553. ส�ำนักโรค ของพืชสมุนไพรที่ยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสและ ไม่ติดต่อ. กรุงเทพฯ; 2553. หน้า 623. แอลฟากลูโคซิเดสได้ และควรมีการศึกษาถึงการเก็บตัวอย่าง 4. ดุษณี ศุภวรรธนะกุล, รัศมี แสงศิริมงคลยิ่ง, อาหารพื้นบ้านมาทดสอบเพิ่ม เพื่อศึกษาปริมาณการบริโภค ละอองทิพย์ มัทธุรศ, คงเอก ศิริงาม, สมคิด สุทธิธาร ที่มีผลต่อฤทธิ์ที่ทดสอบและคิดเทียบการออกฤทธิ์ของอาหาร ธวัช. การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข แต่ละสูตรเป็นต่อหน่วยบริโภค การศึกษาชนิดของอาหารใน (อสม.) ในการดูแลอาหารส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน. แต่ละฤดูลกาลเพิ่มเติม เพื่อศึกษาความหลากหลายของ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และ อาหารที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งกิจกรรมของแอลฟาอะไมเลสและ เทคโนโลยี 2559;11(1):1-12. แอลฟากลูโคซิเดส รวมทั้งการศึกษาในสัตว์ทดลอง เพื่อ 5. กระทรวงมหาดไทย ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหาร พัฒนาอาหารพื้นบ้านเป็นยาจากธรรมชาติที่ใช้ในการป้องกัน และพัฒนางานปกครอง. อ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัด รักษาโรคเบาหวานประเภทที่ 2 ต่อไป และเพื่อให้เกิดความ ลพบุรี. [อินเตอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 25 พ.ค. ตระหนัก การถ่ายทอดองค์ความรู้อาหารพื้นบ้านในการเลือก 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://www.amphoe.com บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางยาที่ช่วยในการป้องกันรักษาโรค 6. Hemalatha P, Bomzan DP, Rao BVS, Sreerama เบาหวานได้ YN. Distribution of phenolic antioxidants in whole and milled fractions of quinoa and their กิตติกรรมประกาศ inhibitory effects on α-amylase and ขอขอบคุณ ผศ.ศิริวัฒน์ สุนทรโรทก (ผู้อ�ำนวยการ α-glucosidase activities. Food Chem วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์) ปลัดประมาณ ศรีวิไล และคนใน 2016;199:330-38. พื้นที่อ�ำเภอชัยบาดาลที่อนุเคราะห์ให้ความช่วยเหลือจนงาน 7. Adefegha SA, Oboh G, Omojokun OS, Jimoh ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก TOM, Oyeleye SI. In vitro antioxidant activities กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร of African birch (Anogeissus leiocarpus) leaf and its effect on the α-amylase and เอกสารอ้างอิง α-glucosidase inhibitory properties of 1. ฉัตรชัย พวงขจร. ผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง ช่วยลด acarbose. J Taibah Univ Med Sci 2016;11(3):236- เบาหวาน ความดัน. ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด 42. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 87

8. Wongsa P, Chaiwarit J, Zamaludien A. In vitro grandis aqueous leaf and stem extracts. J screening of phenolic compounds, potential Biol Sci 2017;17(2):61-8. inhibition against α-amylase and α-glucosidase 15. สุธาทิพ ภมรประวัติ. ผักต�ำลึง: อาหารสมุนไพรริมรั้ว. of culinary herbs in Thailand. Food Chem นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่มที่ 330 [อินเตอร์เน็ต]. 2012;131(3):964-71. 2549 [เข้าถึงเมื่อ 25 พ.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: 9. Prangthip P, Charoenkiatkul S, Kettawan A, https://www.doctor.or.th/article/detail/1556 Okuno M, Okamoto T. Thai red curry paste 16. Kwon YI, Apostolidis E, Shetty K. In vitro studies lowers glucose, oxidative stress and insulin of eggplant (Solanum melongena) phenolics levels in type II diabetic rats. Int Food Res J as inhibitors of key enzymes relevant to type 2012;9(2):623-7. 2 diabetes and hypertension. Bioresour 10. Chelladurai GRM, Chinnachamy C. Alpha Technol 2008; 99(8):2981-8. amylase and alpha glucosidase inhibitory 17. Manikandaselvi S, Divya RS, Thinagarbabu R. effects of aqueous stem extract of Salacia In vitro antidiabetic activity of aqueous fruit oblonga and its GC-MS analysis. Braz J Pharm extract of Solanum torvum Sw. Int Res J Sci 2018;54(1):e17151. Pharm 2018;9(9):145-51. 11. อุสา พุทธรักษ์, เสาวนันท์ บําเรอราช. ปัจจัยที่มีความ 18. Jaiswal BS. Solanum torvum: a review of its สัมพันธ์กับการควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดของผู้ป่วย traditional uses, phytochemistry and เบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลส่ง pharmacology. Int J Pharm Bio Sci เสริมสุขภาพต�ำบลก้างปลา จังหวัดเลย. ใน: เอกสาร 2012;3(4):104-11. ประกอบการประชุมวิชาการ เสนอผลงานวิจัยระดับ 19. กรณ์กาญจน์ ภมรประวัติธนะ. มะกรูดสมุนไพรบ�ำรุง บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 34 วันที่ 27 มีนาคม ผม. นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่มที่ 378 [อินเตอร์เน็ต]. 2558. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2553 [เข้าถึงเมื่อ 18 ต.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: ขอนแก่น; 2558. http://www.doctor.or.th/article/detail/10914 12. สุธาทิพ ภมรประวัติ. ฟักทองลดน�้ำตาลในเลือด. 20. รุ่งฤดี ศรีสวัสดิ์. ผลของสารสกัดจากพืชสมุนไพรบาง นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่มที่ 348 [อินเตอร์เน็ต]. ชนิดในเขตพื้นที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีที่มี 2551 [เข้าถึงเมื่อ 18 พ.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: ต่อการท�ำงาน ของเอนไซม์ไลเปส เอนไซม์อะไมเลส http:// www.doctor.or.th/article/detail/1207 และเอนไซม์กลูโคซิเดส. รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัย 13. สุธาทิพ ภมรประวัติ. กระชาย: ชะลอความแก่ และ เทคโนโลยีสุรนารี. นครราชสีมา; 2555. บ�ำรุงก�ำลัง. นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่มที่ 315 [อินเตอร์เน็ต]. 2548 [เข้าถึงเมื่อ 18 พ.ค. 2561]. เข้า ถึงได้จาก: https://www.doctor.or.th/article/ detail/1321 14. Pawitra P, Natcha S, Thitiworada I, Hattaya I, Achida J, Benjamart C. In vitro α-amylase and α-glucosidase inhibitory activities of Coccinia 88 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Technology and innovation development of digital technology to support the technology digital model for small and medium enterprises

แสงเพ็ชร พระฉาย1 ศรายุทธ เนียนกระโทก2 สุระ วรรณแสง2 และ ประภานุช ถีสูงเนิน3* 1 สาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นครราชสีมา 30000 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นครราชสีมา 30000 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นครราชสีมา 30000 Saengpetch Prachai1, Sarayut Neankratok2, Sura Wannasaeng2 and Prapanush Teesungnoen3* 1 Information System and Digital Innovation, Faculty of Science and Technology, Rajabhat University, Nakhon Ratchasima 30000 2 Information Technology, Faculty of Science and Technology, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima 30000 3 Computer Science, Faculty of Science and Technology, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima 30000

Received: 13 January 2019/ Revised: 9 June 2019/ Accepted: 20 June 2019

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลที่ใช้ส่งเสริมและสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับ ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน และประเมินคุณภาพของนวัตกรรมดิจิทัลที่ใช้ส่งเสริมสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับ ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน การวิจัยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสภาพการณ์ของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน ซึ่งภาพ รวมมีความต้องการองค์ประกอบอยู่ในระดับมาก ( X =3.83, S.D.=1.24) ทั้งความสามารถในการสืบค้นและติดต่อกับ ผู้ประกอบการ การสืบค้นและน�ำเสนอสินค้าและบริการ การสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์ และการแสดงสินค้าที่ได้รับ ความนิยม 2) การพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลแบ่งออกเป็น 8 ฟังก์ชัน ประกอบด้วยฟังก์ชันเผยแพร่สินค้าฟังก์ชันเผยแพร่ ร้านค้าและธุรกิจ ฟังก์ชันเผยแพร่สินค้ายอดนิยม ฟังก์ชันเผยแพร่ข่าว/จดหมายของชุมชน ฟังก์ชันซื้อขายสินค้า ฟังก์ชัน

Corresponding author: [email protected] ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 89

ปฏิทินประชาสัมพันธ์ ฟังก์ชันห้องเรียนออนไลน์ และฟังก์ชันประวัติค�ำถามและค�ำตอบที่น่าสนใจ 3) การประเมินนวัตกรรม ดิจิทัล ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาประกอบด้วย กลุ่มประชากรผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนในจังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 141 ราย และกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนในเขตพื้นที่อ�ำเภอโชคชัย อ�ำเภอห้วยแถลง อ�ำเภอปักธงชัย จ�ำนวน 60 ราย โดยใช้วิธีการสุ่ม โดยใช้แบบส�ำรวจสภาพการณ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน ร่วมกับการพัฒนาเว็บไซต์ตามรูปแบบวงจรพัฒนาซอฟต์แวร์ (SDLC) และความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการทดลอง ใช้งานและประเมินคุณภาพในการท�ำงานของนวัตกรรมดิจิทัลพบว่า ภาพรวมของระบบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( X =4.18, S.D.=0.72) ทั้งในด้านความทันสมัยของเว็บไซต์ เนื้อหาครอบคลุมและถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ความยืดหยุ่น ในการใช้งานและการติดต่อประสานงาน ความสวยงาม และความสะดวกในการใช้งาน ความเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจ

ค�ำส�ำคัญ: เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การพัฒนาเว็บไซต์

Abstract The purposes of this research was to develop a digital innovation to promote and support the technology digital model for Small and Medium Enterprises and to evaluate the quality of digital innovation to support the technology digital model for Small and Medium Enterprises. The research was divided into 3 stages including: 1) the study of the situation of Small and Medium Enterprises about information. In general, the demand for components is high ( X =3.83, S.D.=1.24). The ability to search and contact with entrepreneurs. Searching and presenting of products and services. Online ordering and popular showing. 2) the Development of Digital Innovation for Small and Medium Enterprises should be divided into 8 functions: product distribution function, publish function and business function, popular product dissemination function, community news/mailing function, product trading function, publicity function, online classroom function and an interesting question function. 3) the trial and evaluation of digital innovation. Population were 141 persons, consisted of Small and Medium Enterprises in Nakhon Ratchasima province and the sample were 60 persons using random methods, consisted of Small and Medium Enterprises in and . By using the survey on the use of information technology to conduct business at present together with website development according to the software development cycle (SDLC) model. Sample group opinions on quality of system design, it was found that overall design of the technology digital model was in the good level of appropriateness ( X =4.18, S.D.= 0.72) on date of publication, objective, easy of use and usability.

Keywords: Technology and innovation, Small and medium enterprises, Website development 90 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

บทน�ำ ความรู้ และค�ำปรึกษาเพื่อประกอบธุรกิจแก่ชุมชนแบบ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร [1] ครบวงจร ณ จุดเดียว และควรสนับสนุนระบบเทคโนโลยี ได้ร่างแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี สารสนเทศให้ผู้ประกอบการใช้ประกอบธุรกิจได้อย่างมี โดยรัฐบาลไทยได้ก�ำหนดแนวทางให้มีการขับเคลื่อน ประสิทธิภาพเพื่อยกระดับศักยภาพของชุมชนให้มีความ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy หรือ DE) หรือเป็น สามารถในการแข่งขันของประเทศโดยรวม กลยุทธ์ที่เศรษฐกิจและสังคมต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสินค้าออนไลน์ (E-commerce) เป็นระบบ และการสื่อสาร หรือเรียกว่าเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้ทัน ช่วยแนะน�ำสินค้าและช่วยวิเคราะห์ข้อมูลสินค้าที่มีอยู่จ�ำนวน ยุคสมัย อีกทั้งเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนการปฏิรูป มากบนอินเทอร์เน็ตให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า ซึ่งใน กระบวนการผลิต การด�ำเนินธุรกิจ การค้า การบริการ บางระบบสามารถน�ำมาใช้วิเคราะห์ความชอบเฉพาะของ การศึกษา การสาธารณสุข การบริหารราชการแผ่นดิน แต่ละบุคคล รวมถึงอุปนิสัยในการเลือกซื้อสินค้าของแต่ละ รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการ บุคคลได้ โดยทั่วไประบบจะมีหลักการท�ำงานที่ส�ำคัญ ได้แก่ พัฒนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะเด่นของสินค้าลงใน และการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น โดยแผนพัฒนานี้ได้น�ำไปสู่การ ฐานข้อมูล การเก็บรวบรวมประวัติพฤติกรรมของลูกค้า พัฒนาเป็นรัฐบาลดิจิทัล (E-government agency) ที่ต้อง การวิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างประวัติของลูกค้ากับ เพิ่มขีดความสามารถของรัฐบาลใน 26 ด้าน โดยแบ่งเป็นงาน พฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้า โดยระบบจะประมวลผลด้วย ย่อย ๆ ในด้านการบริการเพื่อเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม การน�ำข้อมูลทางสถิติ ความน่าจะเป็น หรือขั้นตอนวิธี จ�ำนวน 12 ด้าน ได้แก่ สวัสดิการประชาชน การลงทุน ภาษี อัจฉริยะแบบต่าง ๆ ที่ผู้ประกอบธุรกิจน�ำมาประยุกต์ใช้ให้ และรายได้ การศึกษา การค้า(น�ำเข้า/ส่งออก) การให้ ตรงกับธุรกิจของตนเอง [2] จึงท�ำให้นวัตกรรมดิจิทัลในรูป ความช่วยเหลือสาธารณสุข วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด แบบดังกล่าวนี้ เป็นนวัตกรรมที่ได้รับความนิยมในการน�ำมา ย่อม การเพิ่มประสิทธิภาพแรงงาน สาธารณูปโภค ประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ และโอกาสในการ การท่องเที่ยว การเพิ่มประสิทธิภาพภาคการเกษตร และการ ขายสินค้าของผู้ประกอบการมากขึ้น นอกจากนี้สื่อสังคม คมนาคม ดังนั้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาของ ออนไลน์ (social media) ซึ่งเป็นสื่อที่ท�ำให้บุคคลต่าง ๆ จาก รัฐบาลดิจิทัล จึงต้องมีการศึกษาเพื่อรับฟังความคิดเห็นจาก ทั่วโลกสามารถเชื่อมโยงและรู้จักกันได้อย่างไร้พรมแดน โดย ภาคส่วนต่าง ๆ ตามแผนพัฒนาของรัฐบาลดิจิทัล และน�ำไป บุคคลที่มีจุดมุ่งหมายเดียวกันสามารถรวมกลุ่มอยู่ในสังคม สู่การพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อก่อให้เกิดนวัตกรรม เดียวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความรู้ หรือสิ่งดี ๆ ดิจิทัลส�ำหรับเพิ่มขีดความสามารถขององค์กร ซึ่งจะช่วย ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น Facebook หรือ Twitter สนับสนุนให้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นไปในทิศทาง เป็นต้น [3] ปัจจุบันสื่อต่าง ๆ เหล่านี้ได้เพิ่มฟังก์ชันพิเศษเพื่อ ที่ดีขึ้น โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาขีดความสามารถของ สนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่ และแลกเปลี่ยนข่าวสารเพื่อ ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการหนึ่งต�ำบลหนึ่ง สั่งซื้อสินค้าของผู้ประกอบการธุรกิจได้โดยตรง และเป็นอีก ผลิตภัณฑ์ หรือผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ช่องทางหนึ่งที่ได้รับความนิยมมาก ดังนั้นเว็บไซต์ส่วนใหญ่ ย่อม ส�ำหรับประเทศไทยพบว่าจ�ำนวนและการผลิตผลงาน จึงมีการผสมผสานเครื่องมือต่าง ๆ ของสื่อออนไลน์ร่วมกับ นั้น มีปริมาณมากแต่ทว่าศักยภาพแรงงานของไทยในด้าน ระบบสินค้าออนไลน์ เช่น การใช้บล็อก (blog) การสร้าง การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลยังต�่ำกว่าประเทศคู่แข่งอย่างมาก การ เครือข่ายเพื่อนธุรกิจ การแลกเปลี่ยนภาพถ่ายสินค้า และการ พัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการจึงกลายเป็นปัญหาส�ำคัญ จูงใจด้วยเกมที่แฝงการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้า เป็นต้น ส�ำหรับภาครัฐ ดังนั้นจึงต้องมีระบบบูรณาการเพื่อให้ข้อมูล จึงท�ำให้เกิดช่องทางการจัดจ�ำหน่ายสินค้าที่แตกต่างไปจาก ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 91

รูปแบบเดิม คือ การน�ำสินค้าจากผู้ผลิตผ่านพ่อค้าคนกลาง (system development life cycle) เพื่อแก้ปัญหาหรือ หรือตัวแทนจ�ำหน่ายเปลี่ยนไปเป็นการเข้าถึงผู้บริโภคได้ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ โดยกระบวนการพัฒนานวัตกรรม โดยตรง ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนที่ส�ำคัญ ได้แก่ การวางแผน ดังนั้นในการเสริมศักยภาพของผู้ประกอบการ (planning) การออกแบบระบบ (design) การปรับปรุงและ ธุรกิจ จึงต้องส่งเสริมความรู้ทั้งในด้านรูปแบบการด�ำเนิน พัฒนาระบบ (improvement and development) ธุรกิจสมัยใหม่ การใช้นวัตกรรมดิจิทัล และทักษะในการใช้ การน�ำไปใช้ (implement) และการประเมินผลระบบ สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อประกอบธุรกิจ ซึ่งนวัตกรรมดิจิทัลที่ (evaluation) [7] ประกอบด้วยระบบสินค้าออนไลน์ร่วมกับการใช้สื่อสังคม จากหลักการเหตุผลดังกล่าว คณะผู้วิจัยจึงมี ออนไลน์นั้น ต้องเป็นนวัตกรรมที่สนับสนุนให้รูปแบบการ แนวคิดที่จะพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อส่ง ด�ำเนินธุรกิจ สามารถสร้างโอกาสทางการตลาดให้กับ เสริมและสนับสนุนรูปแบบการท�ำธุรกิจโดยใช้นวัตกรรม ผู้ประกอบการธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องใช้กลยุทธ์ ดิจิทัลของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนธุรกิจขนาดกลางและ ในการท�ำงานด้วยส่วนประสมทางการตลาดมาเป็นบทบาท ขนาดย่อมอ�ำเภอโชคชัย อ�ำเภอห้วยแถลง และอ�ำเภอ ส�ำคัญในการวางแผนที่ดี รวมทั้งเป็นการน�ำการตลาดที่หลาก ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยอาศัยนวัตกรรมดิจิทัล หลายและเหมาะสมกับลูกค้ามาผสมผสานกัน โดยเน้นไปที่ ท�ำหน้าที่เป็นบทบาทส�ำคัญที่จะช่วยสนับสนุนให้เกิดกลยุทธ์ บุคลากร (people) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (physical) และ ทางการตลาดที่หลากหลายและเหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าของ กระบวนการ (process) โดยมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญได้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจ เช่น ร้านค้าเผยแพร่สินค้าและข้อมูล ผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจ�ำหน่าย การส่งเสริมการขาย ธุรกิจ ลูกค้าค้นหาสินค้ายอดนิยม ติดตามข่าว/จดหมาย บุคลากร สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และกระบวนการ [4] ด้วย ปฏิทินประชาสัมพันธ์ของชุมชน รวมทั้งสามารถซื้อขายสินค้า เหตุนี้การพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลจึงต้องมีคุณสมบัติที่จ�ำเป็น ถาม-ตอบค�ำถามที่น่าสนใจ การติดต่อผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ มีความเที่ยงตรง มีความถูกต้อง สะดวกใช้งานและเป็น และศึกษาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ภายในระบบ สอดคล้องกับ ประโยชน์ มีความปลอดภัย ทันต่อเหตุการณ์ สอดคล้องกับ นโยบายรัฐบาลดิจิทัลที่ต้องการผลักดันให้เกิดการเติบโตทาง ความต้องการ ตรวจสอบได้ ประหยัด ชัดเจน และมีความน่า ด้านเศรษฐกิจสมัยใหม่ต่อไป เชื่อถือ [5] ซึ่งสอดคล้องกับ Ralph และคณะ [6] ที่กล่าวว่า ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นต้องรับส่งสารสนเทศได้อย่างถูก วิธีด�ำเนินการวิจัย ต้องสมบูรณ์และไม่มีความผิดพลาด สามารถเข้าถึงได้ตาม การวิจัยด�ำเนินงานนี้เป็นแบบวิจัยและพัฒนาเพื่อ สิทธิ์มีรูปแบบเหมาะสมกับผู้ใช้งาน ตรงกับความต้องการของ ศึกษาความต้องการจ�ำเป็นในด้านต่าง ๆ ที่จะน�ำไปสู่การ ผู้ใช้งาน มีความปลอดภัย (secure) และผลลัพธ์มีความน่า พัฒนานวัตกรรมดิจิทัลที่เหมาะสมกับการส่งเสริมส่วน เชื่อถือ (reliable) ทั้งนี้ระบบจะถูกพัฒนาขึ้นได้ตาม ประสมทางการตลาดของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนโดยที่ คุณสมบัติเหล่านี้จ�ำเป็นต้องใช้วงจรการพัฒนาที่ดีและมี กรอบการวิจัยมีลักษณะ ดังนี้ ความเหมาะสม เช่น การใช้วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ

92 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

นโยบายรัฐบาลดิจิทัล สวนประสมจําเปนทางการตลาด ความตองการนวัตกรรมดิจิทัล

นวัตกรรมดิจิทัลที่ใชสงเสริมการตลาดของผูประกอบการธุรกิจดิจิทัล

คุณภาพของนวัตกรรมดิจิทัลที่ใชสงเสริมการตลาดของ ผูประกอบการธุรกิจดิจิทัล

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย จากภาพที่ 1 องค์ประกอบในด้านความต้องการ สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ในการสนับสนุนรูปแบบ จ�ำเป็นเพื่อน�ำสู่การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลที่ใช้ส่ง เทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน โดยที่ เสริมการตลาดของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน ประกอบด้วย 1.1 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ การศึกษาสภาพการณ์ปัจจุบันเกี่ยวนโยบายของรัฐบาล จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 141 ราย ดิจิทัล การใช้ส่วนประสมทางการตลาดในปัจจุบัน และ 1.2 เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบส�ำรวจสภาพ ความต้องการของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน โดยที่ผลด�ำเนิน การณ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อด�ำเนินธุรกิจใน การวิจัยจะน�ำไปสู่การประเมินนวัตกรรมดิจิทัลที่มีคุณภาพ ปัจจุบัน เพื่อศึกษาลักษณะของสารสนเทศที่ใช้สนับสนุน ส�ำหรับน�ำไปใช้ส่งเสริมการตลาดได้ตรงกับความต้องการของ กลยุทธ์ในการท�ำงานที่ครอบคลุมส่วนประสมทางการตลาด ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน นอกจากนี้ผู้ประกอบการธุรกิจ ของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน ชุมชนยังได้รับองค์ความรู้เพื่อเสริมศักยภาพในการใช้ 1.3 เครื่องมือวิเคราะห์ ใช้สถิติขั้นพื้นฐานวิเคราะห์สภาพ นวัตกรรมดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการตลาดสินค้าของตน การณ์จ�ำเป็นในปัจจุบัน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการ ธุรกิจชุมชน องค์ความรู้ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัย องค์ประกอบจ�ำเป็นของเว็บไซต์เพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจ การวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลที่ใช้ส่ง 1.4 ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ตัวแปรต้น คือ สภาพการณ์และ เสริมและสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับ ความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อด�ำเนินธุรกิจใน ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนในท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบัน และตัวแปรตาม คือ คุณลักษณะจ�ำเป็นของ โดยรูปแบบการด�ำเนินงานวิจัยเป็นแบบวิจัยและพัฒนา สารสนเทศที่ใช้สนับสนุนกลยุทธ์ในการท�ำงานที่ครอบคลุม (research and development) เพื่อน�ำไปสู่การสร้าง ส่วนประสมทางการตลาดของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน นวัตกรรมดิจิทัลส�ำหรับจัดเก็บ ประมวลผล และจัดท�ำ 1.5 ระยะเวลาด�ำเนินงาน 2 เดือน ผลลัพธ์ข้อมูลให้สะท้อนกลยุทธ์ในการสร้างโอกาสทางการ ตลาดของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนด้วยระบบส่งเสริมและ 2. ขั้นตอนพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล ประชาสัมพันธ์สินค้าแบบออนไลน์ โดยแบ่งขั้นตอนด�ำเนิน เป็นขั้นตอนพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล และเก็บ งานวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ รวบรวมข้อมูลพื้นฐานการประกอบธุรกิจชุมชนของผู้ 1. ขั้นตอนศึกษาสภาพการณ์ของผู้ประกอบการธุรกิจ ประกอบการ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะน�ำไปใช้พัฒนานวัตกรรม ชุมชน ดิจิทัลที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ในการสนับสนุนรูปแบบ เป็นขั้นตอนศึกษาสภาพการณ์ และความต้องการ เทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน โดยที่ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะน�ำไปใช้พัฒนานวัตกรรมดิจิทัลที่ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 93

2.1 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนในจังหวัด การท�ำงานที่ครอบคลุมส่วนประสมทางการตลาดของผู้ นครราชสีมา จ�ำนวน 60 ราย ประกอบการธุรกิจชุมชน และประเมินคุณภาพในการท�ำงาน 2.2 เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบส�ำรวจข้อมูล ของนวัตกรรมดิจิทัลที่ใช้สนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัล ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน และแบบทดสอบความสอดคล้อง ส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน ของนวัตกรรมดิจิทัลที่มีต่อความต้องการของผู้ประกอบการ 3.3 เครื่องมือวิเคราะห์ ใช้สถิติขั้นพื้นฐานวิเคราะห์คุณภาพ ธุรกิจชุมชน ในการท�ำงานของนวัตกรรมดิจิทัลที่ใช้สนับสนุนรูปแบบ 2.3 เครื่องมือวิเคราะห์ ใช้สถิติขั้นพื้นฐานวิเคราะห์ดัชนีวัด เทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจขุมชน ความสอดคล้องของนวัตกรรมดิจิทัลที่มีต่อความต้องการของ 3.4 ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ตัวแปรต้น คือ นวัตกรรมดิจิทัลที่ ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน ใช้สนับสนุนกลยุทธ์ในการท�ำงานที่ครอบคลุมส่วนประสม 2.4 ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ตัวแปรต้น คือ องค์ประกอบและ ทางการตลาดของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน และตัวแปรตาม คุณลักษณะของนวัตกรรมดิจิทัลที่ใช้สนับสนุนกลยุทธ์ในการ คือ ผลการประเมินคุณภาพการท�ำงานของนวัตกรรมดิจิทัล ท�ำงานที่ครอบคลุมส่วนประสมทางการตลาดของผู้ประกอบ ที่ใช้สนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับผู้ประกอบการ การธุรกิจชุมชน และตัวแปรตาม คือ การทดสอบวัดความ ธุรกิจชุมชน สอดคล้องของนวัตกรรมดิจิทัลที่มีต่อความต้องการของ 3.5 ระยะเวลาด�ำเนินงาน 4 เดือน ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน 2.5 ระยะเวลาด�ำเนินงาน 6 เดือน ผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาสภาพการณ์ของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน 3. ขั้นตอนการประเมินนวัตกรรมดิจิทัล ผลการศึกษาสภาพการณ์ และความ ขั้นตอนการประเมินนวัตกรรม เป็นขั้นตอนศึกษา ต้องการจ�ำเป็นในด้านต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะน�ำไปใช้ คุณภาพของนวัตกรรมดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะน�ำไปใช้ พัฒนานวัตกรรมดิจิทัลที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ในการ ปรับปรุงแก้ไขการท�ำงานของนวัตกรรมดิจิทัลให้สอดคล้อง สนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับผู้ประกอบการ กับบทบาทหน้าที่ในการสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัล ธุรกิจชุมชน โดยใช้แบบส�ำรวจสภาพการณ์การใช้เทคโนโลยี ส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน โดยที่ สารสนเทศเพื่อด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน พบว่าผลส�ำรวจเป็น 3.1 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนที่อยู่ในเขต ดังตารางที่ 1-3 ดังนี้ พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 60 ราย 3.2 เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ จัดฝึกอบรมกลุ่มเป้า หมายเพื่อทดสอบการใช้นวัตกรรมดิจิทัลสนับสนุนกลยุทธ์ใน 94 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 1 เพศของผู้ตอบแบบศึกษาสภาพการณ์ และความต้องการจ�ำเป็นในด้านต่าง ๆ ชาย หญิง เพศ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 23 16.30 118 83.70 จากตารางที่ 1 จ�ำนวนผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนที่ตอบแบบส�ำรวจมีทั้งสิ้น 141 คน แบ่งเป็นชายจ�ำนวน 23 คน (ร้อยละ 16.30) และหญิงจ�ำนวน 118 คน (ร้อยละ 83.70)

ตารางที่ 2 อายุของผู้ตอบแบบศึกษาสภาพการณ์ และความต้องการจ�ำเป็นในด้านต่าง ๆ อายุ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ ต�่ำกว่า 20 ปี 4 2.80 20-30 ปี 9 6.40 30-60 ปี 95 67.40 60 ปีขึ้นไป 33 23.40

ตารางที่ 3 ความต้องการสื่อออนไลน์มาใช้ส่งเสริมการตลาดและขายสินค้าออนไลน์ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ความต้องการสื่อออนไลน์มาใช้ส่งเสริมการตลาด ( X ) มาตรฐาน (S.D.) 1. สามารถสืบค้นลักษณะการด�ำเนินธุรกิจ โดยมีชื่อร้านค้าหรือธุรกิจของท่านปรากฏอยู่ในกลุ่ม 3.84 1.23 หรือประเภทธุรกิจเหล่านั้นเสมอ 2. สามารถสืบค้นข้อมูลที่สามารถติดต่อท่านได้ตลอดเวลา 3.86 1.23 3. สามารถแสดงข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินค้า/บริการของท่านได้ตลอดเวลา 3.80 1.23 4. สามารถสืบค้นสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ โดยให้ปรากฏสินค้าของท่านแก่ผู้อ่านเสมอ 3.83 1.25 5. สามารถสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ โดยติดต่อกับท่านได้ตลอดเวลา 3.90 1.26 6. สามารถวิเคราะห์สินค้าที่ได้รับความนิยม หรือมีความถี่สูงสุดในการค้นหาสินค้า 3.77 1.24 7. สามารถฝากข้อความผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อให้ท่านติดต่อกับผู้ที่ให้ความสนใจสินค้า/ 3.82 1.25 บริการของท่านได้ตลอดเวลา รวม 3.83 1.24

2. ผลการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล ข่าว/จดหมายของชุมชน ฟังก์ชันซื้อขายสินค้า ฟังก์ชันปฏิทิน การพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลแบ่งออกเป็น 8 ฟังก์ชัน ประชาสัมพันธ์ ฟังก์ชันห้องเรียนออนไลน์ และฟังก์ชันประวัติ ประกอบด้วยฟังก์ชันเผยแพร่สินค้า ฟังก์ชันเผยแพร่ร้านค้า ค�ำถามและค�ำตอบที่น่าสนใจ ดังภาพที่ 2 ดังนี้ และธุรกิจ ฟังก์ชันเผยแพร่สินค้ายอดนิยม ฟังก์ชันเผยแพร่ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 95

จดหมายอิเลคทรอนิกส เว็บเพจประชาสัมพันธ Responsive Mobile ไลนกลุม ความสนใจ ฟงกชันเผยแพรสินคา /ความตองการ ฟงกชันเผยแพรรานคาและธุรกิจ ฟงกชันเผยแพรสินคายอดนิยม

สินคา/บริการ ฟงกชันเผยแพรขาวของชุมชน ผูบริโภค ผูประกอบการธุรกิจชุมชน ฟงกชันซื้อขายสินคา ฟงกชันปฏิทินประชาสัมพันธ ฟงกชันหองเรียนออนไลน พี่เลี้ยงผลิตสื่อ ฟงกชันประวัติถามตอบสินคาที่นาสนใจ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เฟสบุค ทวิตเตอร กูเกิลพลัส

ภาพที่ 2 รูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการธุรกิจ

ภาพที่ 3 การแสดงสินค้ายอดนิยม จากภาพที่ 3 การแสดงสินค้ายอดนิยม จัดเรียงตามจ�ำนวนการเข้าชมวิดีโอแนะน�ำสินค้าและการให้บริการของคน ต้นแบบและเจ้าของธุรกิจจากมากไปน้อยตามล�ำดับ

ภาพที่ 4 การเผยแพร่ข้อมูลวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จากภาพที่ 4 ข้อมูลวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ประกอบด้วย ชื่อกลุ่มวิสาหกิจ ชื่อประธานกลุ่ม รหัส ทะเบียน ชื่อสมาชิก ชื่อเล่นสมาชิก รายละเอียดธุรกิจ โทรศัพท์บ้าน เบอร์แฟกซ์ ไอดีไลน์ ชื่อบัญชีทวิตเตอร์ ภาพถ่ายคน ต้นแบบและเจ้าของธุรกิจ ที่อยู่ โทรศัพท์มือถือ อีเมล์ และชื่อบัญชีเฟสบุ๊ค 96 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

3. ผลการประเมินนวัตกรรมดิจิทัล มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( X =4.18, S.D.=0.72) การประเมินนวัตกรรมดิจิทัล ประชากรและกลุ่ม ทั้งในด้านความทันสมัยของเว็บไซต์ เนื้อหาครอบคลุมและ ตัวอย่างที่ศึกษาประกอบด้วย ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนใน ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ความยืดหยุ่นในการใช้งานและ จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 60 ราย โดยความคิดเห็นของ การติดต่อประสานงาน ความสวยงาม และความสะดวกใน กลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการทดลองใช้งานและประเมินคุณภาพ การใช้งาน ความเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจ แสดงดังตารางที่ 4-5 ในการท�ำงานของนวัตกรรมดิจิทัลพบว่า ภาพรวมของระบบ ดังต่อไปนี้

ตารางที่ 4 การประเมินลักษณะองคประกอบและความถูกตองของนวัตกรรมดิจิทัล คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน ลักษณะองคประกอบ ( X ) มาตรฐาน (S.D.) 1. ความทันสมัยของเว็บไซต 1.1 การแนะนําสินคาใหมในเว็บไซต (กําหนดระยะเวลา 30 วัน) 4.26 0.64 1.2 การแสดงสินคา โดยเรียงตามสถิติของผูเขาเยี่ยมชมจากมากไปหานอย 4.13 0.69 1.3 การแสดงขอมูลสมาชิกชุมชน โดยเรียงตามสถิติของผูเขาเยี่ยมชมจากมากไปหานอย 4.08 0.76 1.4 การแสดงปฏิทินเวลาและรายละเอียดในการจัดกิจกรรมขายสินคาของชุมชน 4.16 0.73 1.5 สามารถบอกตอโดยเผยแพรสินคา และขอมูลของสมาชิกไปยังสื่อสังคมออนไลนได 4.24 0.71 (Facebook, Google+, Twitter) รวม 4.17 0.71 2. เนื้อหาครอบคลุมและถูกตองตรงตามวัตถุประสงค 2.1 การแสดงรายละเอียดของสินคา (คุณสมบัติ ราคา ภาพถาย และวีดิทัศน) 4.16 0.70 2.2 การแสดงขอมูลสมาชิก (รายละเอียดของธุรกิจ ภาพถายที่ตั้ง ที่อยู แผนที่ตั้ง 4.22 0.71 รานคา สินคาที่จําหนวย และวีดิทัศน) 2.3 การเก็บขอมูลความตองการสั่งซื้อสินคาไปยังผูประกอบการ (รายละเอียดลูกคา 4.06 0.69 สินคา และจํานวนที่ตองการ) 2.4 การเขาถึงขอมูล โดยเลือกแสดงสินคาได จากการแบงกลุมชุมชน ประเภท และ 4.13 0.73 ชนิดของสินคา หรือคนหาจากคําสําคัญตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสินคา 2.5 การนําเสนอจดหมายขาว บทความขอคําถามและคําตอบที่เกี่ยวของกับ 4.09 0.78 ผูประกอบการและสินคาของชุมชน รวม 4.13 0.72 3. ความยืดหยุนในการใชงานและการติดตอประสานงาน 3.1 ความสามารถในการแสดงผลขอมูลสินคา บริการ และสมาชิกไดในรูปแบบเว็บไซต 4.24 0.67 และโทรศัพทเคลื่อนที่แบบสมารทโฟน 3.2 การนําเสนอขอมูลที่สามารถติดตอกับผูประกอบการไดในหลายชองทาง ไดแก 4.37 0.67 อีเมล เฟสบุค ไลน ทวิตเตอร และเบอรโทรศัพท

ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 97 2

คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน ลักษณะองคประกอบ ( X ) มาตรฐาน (S.D.) 34.3 การสงขอความสนทนากับผูประกอบการไดตลอดเวลาผานทางหองสนทนาเฟสบุสีตัวอักษร และสีพื้นในการนําเสนอขอมูล ค 4.16 0.73 4.15 0.70 4 . 4 (การจัดเรียงองคประกอบหรือรายละเอียดเนื้อหาตางFacebook Chart) ๆ ในหนาหลักของเว็บไซต 4.13 0.72 34.45 การนําเสนอแผนที่ตั้งรานคาการจัดเรียงเมนูและการเชื่อมโยงเมนูกับขอมูลที่ตองการสืบคน และสามารถใชนําทางในการเดินทางมารานคาได 4.11 0.77 4.25 0.73 โดยผานโปรแกรมนําทาง Google Mapรวม 4.15 0.74 35..5 ความเปนประโยชนตอธุรกิจ การแจงเตือนผูประกอบการผานอีเมล เมื่อมีการสั่งซื้อสินคาผานระบบ 4.01 0.81 5.1 ความจูงใจในการสั่งซื้อสินคาและบริการของชุมชนรวม 4.204.27 0.720.75 45. 2ความสวยงาม ความสามารถในการย้ําเตือนกลุมลูกคาใหจดจําตราสินคาและบริการของชุมชน และความสะดวกในการใชงาน 4.12 0.76 45.13 ขนาดการสรางโอกาสหรือชองทางการรับรูขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของกับสินคาและบริการ และลักษณะของตัวอักษรในการนําเสนอขอมูล 4.18 0.79 4.22 0.65 4.2 ความรวดเร็วในการแสดงขอมูลของชุมชน 4.19 0.69 45.34 สีตัวอักษรความสามารถในการสรางภาพลักษณที่ดีและมีความนาเชื่อถือตอสินคาและบริการ และสีพื้นในการนําเสนอขอมูล 4.16 0.73 4.32 0.64 4 . 4 การจัดเรียงองคประกอบหรือรายละเอียดเนื้อหาตางของชุมชน ๆ ในหนาหลักของเว็บไซต 4.13 0.72 45.5 การจัดเรียงเมนูและการเชื่อมโยงเมนูกับขอมูลที่ตองการสืบคนความสามารถในการลดคาใชจายจากการเผยแพรสินคาและบริการของชุมชน 4.114.29 0.770.66 รวม 4.154.24 0.740.69 5. ความเปนประโยชนตอธุรกิจ 5.1 ความจูงใจในการสั่งซื้อสินคาและบริการของชุมชน 4.27 0.75 5.2 ความสามารถในการย้ําเตือนกลุมลูกคาใหจดจําตราสินคาและบริการของชุมชน 4.12 0.76 5.3 การสรางโอกาสหรือชองทางการรับรูขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของกับสินคาและบริการ 4.22 0.65 ของชุมชน 5.4 ความสามารถในการสรางภาพลักษณที่ดีและมีความนาเชื่อถือตอสินคาและบริการ 4.32 0.64 ของชุมชน 5.5 ความสามารถในการลดคาใชจายจากการเผยแพรสินคาและบริการของชุมชน 4.29 0.66 รวม 4.24 0.69

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย ขนาดย่อม การวิจัยแบ่งขั้นตอนการด�ำเนินงานออกเป็น 3 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อ ขั้นตอน ดังนี้ สนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับวิสาหกิจขนาด ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพการณ์ของผู้ประกอบ กลางและขนาดย่อม เป็นการวิจัยที่ด�ำเนินงานพัฒนา การธุรกิจชุมชนเกี่ยวกับข้อมูลที่จะน�ำไปใช้พัฒนานวัตกรรม ซอฟต์แวร์ตามรูปแบบวงจรการพัฒนาระบบ และใช้สถิติเชิง ดิจิทัลที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ในการสนับสนุนรูปแบบ พรรณาในการวิเคราะห์คุณภาพผลการพัฒนาซอฟต์แวร์โดย เทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ที่เกี่ยวข้องกับวิสาหกิจขนาดกลางและ ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนมีความรู้ในด้านเทคโนโลยี 98 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

สารสนเทศ ในภาพรวมมีความรู้อยู่ในระดับน้อย ( X =2.04, ออนไลน์ และฟังก์ชันประวัติค�ำถามและค�ำตอบที่น่าสนใจ S.D.=1.32) ประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ต โดยความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ พบว่านวัตกรรมดิจิทัลมี การใช้สื่อสังคมออนไลน์ กฎหมายการขายสินค้าออนไลน์ ความสอคคล้องต่อความต้องการของผู้ประกอบการธุรกิจ การวางแผนเพื่อสร้างผลก�ำไรทางธุรกิจออนไลน์ การถ่ายภาพ ชุมชน ทั้งนี้เนื่องจากระบบมีองค์ประกอบตามความต้องการ เพื่อเผยแพร่สินค้าผ่านสื่อออนไลน์ การจัดท�ำบัญชีรับจ่าย ของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน จึงส่งผลให้ค่าดัชนี และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีเพียงการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ความถูกต้องขององค์ประกอบเว็บไซต์ที่ตรงตามวัตถุประสงค์ เช่น เฟสบุ๊คและไลน์เท่านั้นที่ผู้ประกอบการมีความรู้อยู่ใน อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับสมศักดิ์​ และ ชลิดา [9] ได้วิจัย ระดับปานกลาง จึงส่งผลให้ผู้วิจัยมีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ เรื่อง การพัฒนาระบบฐานข้อมูลผ้าไหมทอมือของกลุ่ม เพิ่มเติมในนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยี วิสาหกิจชุมชน จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่าข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ดิจิทัลส�ำหรับวิสาหกิจชุมชุน ทั้งหมด 5 หัวข้อใหญ่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าไหมทอมือระบบฐานข้อมูลต้องมี ได้แก่ กฎหมาย การถ่ายภาพสินค้าและการตกแต่งภาพ รายละเอียดหลักประกอบด้วย (1) รหัสผลิตภัณฑ์ (2) ขายออนไลน์อย่างไรให้ได้ผลก�ำไร บัญชี และพาณิชย์ ผลิตภัณฑ์ (3) ราคา/หน่วย (4) รายละเอียดผลิตภัณฑ์ (5) อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ประเภทผลิตภัณฑ์ (6) ได้รับรางวัล (7) ระดับดาว (8) สอดคล้องกับ สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ และคณะ [8] ได้ให้ สถานที่จ�ำหน่ายติดต่อ (9) ชื่อเจ้าของผลิตภัณฑ์ (10) ประวัติ ลักษณะส�ำคัญของนวัตกรรมไว้ 3 ข้อ ได้แก่ 1) ความใหม่ ความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ (11) วัตถุดิบที่ใช้ จากข้อมูล (newness) คือ สิ่งใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจจะมีลักษณะ ดังกล่าว จึงน�ำมาพัฒนาเว็บไซต์ผ้าไหมทอมือของกลุ่ม เป็นตัวผลิตภัณฑ์ บริการ หรือกระบวนการ โดยจะเป็นการ วิสาหกิจชุมชนผ้าไหมทอมือ จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ปรับปรุงจากของเดิม หรือพัฒนาขึ้นใหม่เลย 2) ประโยชน์ใน เข้าถึงข้อมูลในรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เชื่อมกับระบบ เชิงเศรษฐกิจ (economic benefits) คือ สามารถท�ำให้เกิด ฐานข้อมูลผ้าไหมทอมือ ประกอบด้วยสมุดเยี่ยม กระดานข่าว มูลค่าเพิ่มขึ้นได้จากการพัฒนาสิ่งใหม่นั้น ๆ ซึ่งผลประโยชน์ แบบส�ำรวจ จ�ำนวนผู้เข้าชม ห้องสนทนา และเนื้อหาโฆษณา ที่จะเกิดขึ้นสามารถวัดได้เป็นตัวเงินโดยตรง หรือไม่เป็นตัว โดยมีผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบฐานข้อมูลผ้า เงินโดยตรง และ 3) การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ ไหมทอมือของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดบุรีรัมย์โดยรวมอยู่ (knowledge and creativity idea) คือ การใช้ความรู้และ ในระดับมาก ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐานของการพัฒนาให้เกิดขึ้นใหม่ ขั้นตอนที่ 3 การประเมินนวัตกรรมดิจิทัล จากการ ไม่ใช่เกิดจากการลอกเลียนแบบ การท�ำซ�้ำ เป็นต้น ฝึกอบรมและทดลองใช้งานเว็บไซต์ส่งเสริมการขายสินค้า ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล จากผล ออนไลน์ ผลการประเมินคุณภาพในการท�ำงานของนวัตกรรม การส�ำรวจความต้องการสื่อออนไลน์มาใช้ส่งเสริมการตลาด ดิจิทัลที่ใช้สนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับ และขายสินค้าออนไลน์ของผู้ประกอบการ พบว่า ภาพรวมมี ผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน พบว่า ความทันสมัยของเว็บไซต์ ความต้องการองค์ประกอบทุกด้านอยู่ในระดับมาก (X =3.83, ( X =4.17, S.D.=0.71) เนื้อหาครอบคลุมและถูกต้องตรง S.D.=1.24) จึงส่งผลให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลเพื่อ ตามวัตถุประสงค์ ( X =4.13, S.D.=0.72) ความยืดหยุ่น สนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับวิสาหกิจชุมชุน ในการใช้งานและการติดต่อประสานงาน ( X =4.20, ประกอบด้วยการท�ำงาน 8 ฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชันเผยแพร่สินค้า S.D.=0.72) ความสวยงามและความสะดวกในการใช้งาน ฟังก์ชันเผยแพร่ร้านค้าและธุรกิจ ฟังก์ชันเผยแพร่สินค้ายอด ( X =4.15, S.D.=0.74) และความเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจ นิยม ฟังก์ชันเผยแพร่ข่าว/จดหมายของชุมชน ฟังก์ชันซื้อขาย ( X =4.24, S.D.=0.69) มีค่าระดับความเหมาะสมอยู่ใน สินค้า ฟังก์ชันปฏิทินประชาสัมพันธ์ ฟังก์ชันห้องเรียน ระดับมากทั้งหมด และผลการประเมินลักษณะองค์ประกอบ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 99

และความถูกต้องของสื่อการเรียนรู้ พบว่าความเป็นประโยชน์ ความสนใจให้กับผู้เข้าชมด้วย 7) การให้ข้อมูล (treatment) (usability) ความถูกต้อง/เที่ยงตรง (accuracy) ความตรง ควรเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว โดยไม่มีความสลับซับซ้อน ต่อวัตถุประสงค์ (objective) ระดับความยากง่าย และความ การน�ำเสนอข้อมูลควรมีการจัดรูปแบบและหมวดหมู่ของ ทันสมัย (level and date of publication) และความ ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบและการ สะดวกใช้งาน (easy of use) มีค่าระดับความเหมาะสม อยู่ ใช้งานข้อมูล 8) การเข้าถึงข้อมูล (access) ควรแสดงผล ในระดับมากทั้งหมดเช่นกัน สอดคล้องกับ Danny และคณะ รวดเร็วและสามารถค้นหาเว็บไซต์ได้สะดวกจากเว็บไซต์ [10] ได้กล่าวถึง หัวข้อที่ใช้ในการประเมินเว็บไซต์ หรือ Web ประเภทสืบค้นข้อมูล (Search Engine) เช่น Google Yahoo Page Evaluation Worksheet ของ Dr.Nancy Everhart หรือ Sanook เป็นต้น 9) ความหลากหลายของข้อมูล ประกอบด้วย 9 ด้าน ดังนี้ [11] 1) ความทันสมัย (currency) (Miscellaneous) ควรมีความหลากหลายและมีเรื่องที่เป็น เป็นหัวข้อส�ำคัญของการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบ ประโยชน์หลายๆ เรื่อง มีความน่าเชื่อถือและตรวจสอบข้อมูล อินเทอร์เน็ต เนื่องจากข้อมูลสารสนเทศที่ปรากฏอยู่ใน ได้ ข้อมูลนั้นก็จะได้ความนิยมและแนะน�ำกันให้เข้ามาชมอีก เว็บไซต์จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน เมื่อข้อมูลนั้นเป็นข้อมูล จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า เทคโนโลยีและ ที่ใหม่ทันต่อสถานการณ์ และได้รับการปรับปรุงแก้ไขตาม นวัตกรรมดิจิทัลเพื่อสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัล ระยะเวลาอย่างเหมาะสม 2) เนื้อหาและข้อมูล (content ส�ำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็นระบบที่ and information) เว็บไซต์ต้องมีเนื้อหาและข้อมูลที่เป็น พัฒนาขึ้นเพื่อให้กลุ่มผู้บริโภคที่ต้องการซื้อสินค้า สามารถรับ ประโยชน์ เป็นสิ่งที่ตรวจสอบและวัดความเป็นเว็บไซต์ที่ดี รู้ข่าวสารเกี่ยวกับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ได้ง่าย รวมทั้งสามารถประเมินคุณค่าของเว็บไซต์ได้ ขนาดย่อมและสินค้าที่มีจ�ำหน่ายในเขตอ�ำเภอโชคชัย อย่างชัดเจน 3) ความน่าเชื่อถือ (authority) เป็นเรื่องส�ำคัญ (ด่านเกวียน) อ�ำเภอห้วยแถลง และอ�ำเภอปักธงชัย จังหวัด ในการน�ำข้อมูลไปอ้างอิงหรือใช้ประโยชน์ โดยผู้จัดท�ำ นครราชสีมา ข้อมูลต่าง ๆ ได้ผ่านการประมวลผลข้อเท็จจริง เว็บไซต์ควรเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเนื้อหา หรือเป็น แล้วจากผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นข้อมูลที่แสดงถึงรายละเอียด องค์กรที่รับผิดชอบด้านนั้นโดยตรง โดยแสดงความรับ ของสินค้า ชื่อสินค้า ภาพถ่ายสินค้า ราคา ภาพโลโก้ร้าน ผิดชอบในเว็บไซต์อย่างชัดเจนจากส่วนที่สงวนลิขสิทธิ์และ ภายในแสดงข้อมูลชื่อร้าน ชื่อคนต้นแบบและเจ้าของธุรกิจ ผู้รับผิดชอบภายในเว็บไซต์ ซึ่งนิยมแสดงไว้ด้านล่างของ เบอร์โทรศัพท์ ภาพถ่ายตัวอย่างสินค้า และ ภาพถ่ายคน เว็บไซต์ 4) การเชื่อมโยงข้อมูล (navigation) ควรแสดงการ ต้นแบบและเจ้าของธุรกิจ โดยผู้ใช้งานระบบสามารถใช้งาน เชื่อมโยงไปยังส่วนต่าง ๆ ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย และอ่านได้ ผ่านทาง http://esmce.nrru.ac.th/smce/ ได้ตลอดเวลา อย่างชัดเจน อาจจะประกอบด้วย ลิงค์ (link) หรือ แผนภูมิ อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อ เว็บไซต์ (site map) 5) การปฏิบัติจริง (experience) ควร สนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลส�ำหรับวิสาหกิจขนาด มีเนื้อหาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ และมีการแสดง กลางและขนาดย่อมปัจจุบันท�ำงานได้ดีกับระบบปฏิบัติการ ผลอย่างรวดเร็ว ในเว็บเพจต้องท�ำให้ผู้เข้าชมรู้สึกว่าไม่เสีย Windows 10 เท่านั้น ยังไม่ครอบคลุมการใช้งานกับโทรศัพท์ เวลาหรือไม่ไร้ประโยชน์ เว็บเพจต้องดึงดูดสายตาของ ระบบปฏิบัติการ IOS และระบบปฏิบัติการ Android ดังนั้น ผู้เข้าชม ท�ำให้เกิดความน่าสนใจตลอดเวลา และดึงดูดให้ผู้ จึงควรพัฒนาซอฟต์แวร์ให้มีความสามารถท�ำงานได้กับ เข้าชมใช้เวลานานในการค้นหาข้อมูล ชวนติดตามอยู่ตลอด เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่หลากหลาย เพื่อคลอบคลุมทุก เวลา 6) ความเป็นมัลติมีเดีย (multimedia) ภายในเว็บไซต์ กลุ่มเป้าหมาย คือ เสียง ภาพ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหวควรสอดคล้องกับ เนื้อหาภายในเว็บไซต์ นอกจากนี้ควรเป็นมัลติมีเดียที่เพิ่ม 100 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

กิตติกรรมประกาศ 6. Ralph MS, George WR. Fundamentals of การวิจัยครั้งนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนทุนการ information systems. 8th ed. Australia: Cengage วิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2560 จาก Learning; 2016. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาและส�ำนักงานกองทุน 7. เพ็ญศรี ศรีสวัสดิ์, กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์, กานดา พูน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ลาภทวี. การพัฒนาระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บนโทรศัพท์เคลื่อนที่. วารสารวิชาการครุศาสตร์ เอกสารอ้างอิง อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2558; 1. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. แผน 6(1):78-87. พัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. วารสารแผน 8. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, พักตร์ผจง วัฒนสินธุ์, อัจฉรา พัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม [อินเทอร์เน็ต]. จันทร์ฉาย, ประกอบ คุปรัตน์. นวัตกรรม: ความหมาย 2559 [เข้าถึงเมื่อ 30 ม.ค. 2560]. เข้าถึงได้จาก: ประเภท และความส�ำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการ. http://www.mdes.go.th/ assets/portals/1/ วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ files/590613_4Digital_Economy_Plan-Book.pdf 2553;33(128):49-65. 2. สรัญญา มณีโรจน์. ระบบแนะน�ำสินค้าอัตโนมัติบน 9. สมศักดิ์​ จีวัฒนา​, ชลิดา ​ภัทรศรีจิรากุล​. การพัฒนา ธุรกิจออนไลน์. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ระบบฐานข้อมูลผ้าไหมทอมือของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2550;6(1-2):83-9. จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย 3. สิรินทรา ตันติวุฒิไกร. แนวทางสงเสริมการจัดจ าหนํ าย ราชภัฎบุรีรัมย์ 2558;10(1):59. เครื่องยนตมือสองผานสื่อสังคมออนไลนในเขต 10. Danny PW, Connie VF. Web Page Evaluation พระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัย Worksheet. Library Evaluation: A casebook and ราชภัฏพระนคร 2560;8(2):134-43. Can-Do guide [Internet]. 2001 [cited 2017 May 4. กมลทิพย์ กล้าดี. ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มี 25]. Available from: https://epdf.tips/library- ผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว: กรณีศึกษา evaluation-a-casebook-and-can-do-guide.html อุทยานแห่งชาติเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์ 11. ปรัชญนันท์ นิลสุข. การประเมินคุณภาพเว็บข้อมูล ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ สารสนเทศ. วารสารรังสิตสารสนเทศ มหาวิทยาลัย โรงแรมและการท่องเที่ยว, บัณฑิตวิทยาลัย รังสิต 2546; 9(1):17. มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก; 2554. 5. ยืน ภู่วรวรรณ, สมชาย น�ำประเสริฐชัย. ไอซีทีเพื่อการ ศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น; 2546. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 101

การจัดล�ำดับปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นด้วยกระบวนการโครงข่ายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ Prioritization of competitive advantage factors of community enterprise using analytical network process

วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 Walailak Atthirawong Department of Statistics, Faculty of Science, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok 10520

Received: 6 September 2018/ Revised: 21 November 2018/ Accepted: 6 December 2018

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะจัดล�ำดับความส�ำคัญของปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันโดย ใชกระบวนการโครงข่ายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (Fuzzy Analytic Network Process: FANP) โดยผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ ชุมชนและท้องถิ่น จ�ำนวน 5 ราย ถูกคัดเลือกมาเพื่อประเมินความส�ำคัญของปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ซึ่งประกอบด้วย 5 ปัจจัยหลัก และ 21 ปัจจัยรองด้วยการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยย่อยที่ผู้ประกอบ การผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นให้ความส�ำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน 2) มีราคาที่เหมาะสม 3) มีจ�ำนวนพนักงานที่เพียงพอเหมาะสม 4) ส่งสินค้าได้ตามเวลาที่ตกลงกับลูกค้า และ 5) มีผลิตภัณฑ์หรือบริการที่แตกต่าง จากคู่แข่ง ตามล�ำดับ

ค�ำส�ำคัญ: การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น กระบวนการโครงข่ายเชิง วิเคราะห์แบบฟัซซี่

Corresponding author: [email protected] 102 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

Abstract This research aims to prioritize factors affecting competitive advantage using Fuzzy Analytical Network Process (FANP). Five OTOP Enterprises were selected for evaluating factors affecting competitive advantage which comprised of 5 main factors and 21 sub-factors via making pair-wise comparison. The results of the study revealed that five factors which these OTOP enterprises had ranked to be important were 1) having specific target customers, 2) having suitable price, 3) having suitable number of employees, 4) ability in sending products to customers on time, and5 ) having differentiate feature from competitors, respectively.

Keywords: Competitive Advantage, OTOP Enterprises, Fuzzy Analytical Network Process

บทน�ำ ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นมีส่วน ความได้เปรียบทางการแข่งขัน (competitive ส�ำคัญที่จะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สร้าง advantage) เป็นความสามารถที่องค์การด�ำเนินธุรกิจของ รายได้ให้แก่ผู้ผลิตและผู้จ�ำหน่าย อย่างไรก็ตามผู้ประกอบ ตนได้ดีกว่าองค์การอื่นหรือท�ำก�ำไรได้สูงกว่ามาตรฐานของ การดังกล่าวยังมีปัญหาที่ส�ำคัญในหลายด้าน เช่น ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมโดยสามารถสร้างให้เกิดคุณค่าให้กับองค์กร ไม่มีความแตกต่างจากคู่แข่งขัน ยังไม่ได้มาตรฐาน และไม่มี มากกว่าคู่แข่งขัน โดยมีการปรับใช้กลยุทธ์ทางการแข่งขันที่ สัญลักษณ์ติดผลิตภัณฑ์ เป็นต้น [2] ปัญหาต่างๆ ดังกล่าวมี เหมาะสมเพื่อให้เกิดผลการด�ำเนินงานที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน ทั้งผลทางตรงและทางอ้อมกับผลส�ำเร็จของโครงการ ซึ่งจะไปสู่การเป็นผู้น�ำทางการตลาดท�ำให้องค์กรอื่นไม่ หนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาในด้านการสร้าง สามารถลอกเลียนแบบได้หรือไม่สามารถท�ำได้ทัดเทียมเท่า ความได้เปรียบในการแข่งขันของประเทศ โดยการสร้างความ [1] ได้เปรียบทางการแข่งขันนั้นมีเป้าหมายที่จะท�ำให้ธุรกิจ ภายใต้สภาวการณ์ของโลกในปัจจุบันที่ สามารถได้ก�ำไรได้อย่างยั่งยืนและเหนือกว่าคู่แข่งขัน [3] จึง เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกระแสของโลกาภิวัตน์รวมทั้ง เป็นภารกิจที่ส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจในระยะยาว ดังนั้น ความก้าวหน้าในด้านข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีท�ำให้เกิด หากผู้ประกอบการสามารถก�ำหนด กลยุทธ์การสร้างความได้ ความรวดเร็วในการด�ำเนินธุรกิจ ผู้ประกอบการต่างๆ โดย เปรียบทางการแข่งขันที่ชัดเจนแล้วก็จะช่วยสร้างความ เฉพาะผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นและ แตกต่างและสร้างความได้เปรียบที่เหนือคู่แข่งได้ ซึ่งจะท�ำให้ วิสาหกิจชุมชนต้องเผชิญกับความท้าทายและอุปสรรคที่เพิ่ม ธุรกิจสามารถด�ำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายและสามารถ ขึ้นทั้งจากปัจจัยภายในประเทศ การด�ำเนินนโยบายของภาค ตอบสนองความต้องการของตลาดที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ รัฐ รวมทั้งปัจจัยภายนอกประเทศที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น เกิด อย่างต่อเนื่อง [4] การแข่งขันอย่างเสรีในทุกด้านทั้งด้านการค้า การลงทุน ปัจจัยที่ส�ำคัญในการน�ำมาก�ำหนดกลยุทธ์ในการ บริการ การเคลื่อนย้ายแรงงานและเงินลงทุน ส่งผลให้เกิด สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจนั้นมีหลายปัจจัย การแข่งขันที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การปรับตัวเข้า ด้วยกันและอาจมีความส�ำคัญต่างกันไปตามประเภทของ กับภัยคุกคามในด้านต่างๆ จะเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้ธุรกิจ ธุรกิจ ดังนั้นงานวิจัยจึงมีวัตถุประสงค์ที่จะจัดล�ำดับความ สามารถที่จะแข่งขันในตลาดโลกได้ ส�ำคัญของปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 103

ของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นโดยใช้ จ่ายเงินซื้อสินค้าเหล่านั้นในราคาที่สูงกว่าสินค้าอื่น ส�ำหรับ กระบวนการโครงขายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (Fuzzy การขายสินค้าที่ถูกกว่าจะต้องผลิตด้วยต้นทุนต�่ำกว่าเพื่อ Analytic Network Process: FANP) [5-7] ซึ่งเป็นวิธีการ สร้างความผู้น�ำด้านต้นทุน โดยจะต้องสามารถตอบสนองต่อ ตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ (Multi-criteria Decision ลูกค้าได้เร็วกว่าหรือมีความสามารถในการตอบสนองได้ Making) สามารถน�ำมาใช้จัดการกับความสัมพันธของ อย่างรวดเร็ว พัชสิรี [10] กล่าวว่าการจัดการเพื่อเพิ่มความ อิทธิพลขององคประกอบต่างๆ ที่มีผลต่อกันทั้งภายในกลุม ได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อให้กิจการสามารถเอาชนะคู่แข่ง ขององคประกอบ (clusters) และระหว่างองค์ประกอบ และอยู่รอดได้นั้นองค์กรต้องสร้างความได้เปรียบทางการ (elements) ซึ่งผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้จะท�ำให้ผู้ที่ แข่งขันให้เหนือกว่าคู่แข่ง ซึ่งหมายความว่าองค์กรจะต้อง เกี่ยวข้องทราบถึงปัจจัยอันดับต้นๆ ที่ผู้ประกอบการให้ความ สร้างสรรค์สิ่งที่มีคุณค่าให้กับลูกค้าได้ดีกว่าคู่แข่งขันประกอบ ส�ำคัญในการสร้างความสามารถในการแข่งขันในธุรกิจของ ด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความได้เปรียบในเรื่องต้นทุน ตน เพื่อที่จะน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดกลยุทธ์ (Cost Competitiveness) ธุรกิจใดที่สามารถน�ำเสนอสินค้า ส�ำหรับส่งเสริมผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นให้ ดีในราคาที่ต�่ำจะมีความได้เปรียบทางการแข่งขันมากกว่า สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความ ด้วยการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์มากที่สุดและเกิดของ เข้มแข็งให้กับชุมชนรวมทั้งสร้างรายได้ให้แก่ผู้ผลิตและ เสียหรือความเสียหายน้อย 2) คุณภาพ (Quality) ปัจจุบัน ผู้จ�ำหน่าย สร้างธุรกิจให้เจริญเติบโตมีความได้เปรียบในการ การควบคุมคุณภาพจะเป็นแนวทางป้องกันเพื่อไม่ให้ความ แข่งขันอย่างยั่งยืนต่อไป เสียหายหรือของเสียเกิดขึ้นโดยการใช้แนวคิดของการพัฒนา ความได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive อย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) ในทุกด้านของ Advantage) หมายถึงความสามารถขององค์กรจากการน�ำ การด�ำเนินงาน 3) นวัตกรรม (Innovation) เป็นการคิดสิ่ง กลยุทธ์การสร้างมูลค่าเพิ่มไปใช้ในการด�ำเนินธุรกิจโดย ใหม่ๆ ขึ้นมาโดยไม่ใช่เพียงสินค้าหรือบริการใหม่เท่านั้นแต่ การน�ำเสนอคุณค่าแก่ลูกค้าอย่างสม�่ำเสมอสามารถท�ำก�ำไร ยังรวมถึงกระบวนการใหม่ในการท�ำงานเพื่อสร้างความ ได้สูงกว่า มีผลประกอบการที่สูงกว่าและเกิดคุณค่าที่มากก แตกต่างให้เกิดขึ้นในธุรกิจ และ 4) ความรวดเร็ว (Speed) ว่าคู่แข่ง [1] เป็นความสามารถพิเศษที่คู่แข่งขันไม่สามารถ องค์กรใดที่ด�ำเนินการได้รวดเร็วกว่าย่อมเป็นผู้ได้เปรียบใน เลียนแบบได้หรืออาจจะต้องใช้เวลาในการปรับตัวมากในการ การแข่งขันมากกว่า ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าความได้เปรียบ ที่จะเลียนแบบความสามารถได้ ทางการแข่งขัน หมายถึงการที่องค์กรมีความสามารถที่ ศิริวรรณ และคณะ [8] กล่าวว่าเพื่อความอยู่รอด แตกต่างจากผู้อื่นโดยมีการปรับใช้กลยุทธ์ทางการแข่งขันที่ และความส�ำเร็จแล้วองค์กรจ�ำเป็นต้องสร้างข้อได้เปรียบใน เหมาะสมแก่องค์กรเพื่อให้เกิดผลการด�ำเนินงานที่เหนือกว่า การแข่งขันโดยการผลิตสินค้าหรือให้บริการที่มีคุณค่าเพื่อ คู่แข่งขัน ซึ่งจะไปสู่การเป็นผู้น�ำทางการตลาดท�ำให้องค์กร ตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดย Porter [9] ได้กล่าว อื่นไม่สามารถลอกเลียนแบบได้หรือไม่สามารถท�ำได้ ไว้ว่าองค์กรจะต้องสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขันใน 3 ด้าน ทัดเทียมเท่า ได้แก่ การขายสินค้าและให้บริการที่ดีกว่า (Differentiate) จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องพบว่า การขายสินค้าที่ถูกกว่า (Cost Leadership) และตอบสนอง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันนั้น ต่อลูกค้าได้รวดเร็วกว่าคู่แข่งขัน (Quick Response) การ ประกอบด้วยปัจจัยหลายปัจจัยและแต่ละปัจจัยก็จะมีปัจจัย ขายสินค้าหรือให้บริการที่แตกต่างนั้น หมายถึง สินค้าและ ย่อยประกอบด้วย ส�ำหรับการศึกษานี้ผู้วิจัยได้น�ำปัจจัยที่ บริการที่พิเศษไปจากสินค้าและบริการขององค์กรอื่นไม่ทาง เกี่ยวข้องที่ได้จากการศึกษาของ วลัยลักษณ์ และ วริยา [11] ใดก็ทางหนึ่งซึ่งจะท�ำให้ผู้ซื้ออยากใช้สินค้านั้นและยินดีที่จะ ซึ่งได้ศึกษาถึง “การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่าง 104 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ยั่งยืนในโซ่อุปทานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการ แสดงดังภาพที่ 1 ดังนั้นในงานวิจัยนี้จะน�ำกระบวนการ เข้าสู่ตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” โดยได้จ�ำแนกปัจจัย โครงขายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่มาประยุกต์ใช้เพื่อจัดล�ำดับ หลักออกเป็น 5 ปัจจัย ได้แก่ การเป็นผู้น�ำด้านต้นทุน การ ความส�ำคัญของปัจจัยต่างๆ ที่ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ ตอบสนองอย่างรวดเร็ว การส่งมอบที่เชื่อถือได้ การมุ่งตลาด ชุมชนและท้องถิ่นให้ความส�ำคัญในการสร้างความได้เปรียบ เฉพาะส่วน และการสร้างความแตกต่าง ซึ่งปัจจัยหลักทั้ง 5 ในการแข่งขันในธุรกิจของตน นั้นประกอบด้วยปัจจัยย่อยที่ส� ำคัญรวม 21 ปัจจัยด้วยกัน ปจจัยในการสรางความไดเปรียบในการแขงขันของผูประกอบการผลิตภัณฑชุมชนและ

ตนทุน การตอบสนองอยาง การสงมอบที่เชื่อถือได การมุงตลาดเฉพาะสวน ความแตกตาง (C) รวดเร็ว (R) (D) (F) (DI)

• ราคาที่เหมาะสม • ความตอเนื่องและรวดเร็ว • ตอบสนองความ • มีกลุมเปาหมายที่ชัดเจน • มีผลิตภัณฑหรือ • ราคาต่ํากวาคูแขง • ตามเวลาที่นัดหมายและ ตองการที่เปลี่ยนแปลง • ตอบสนองความตองการ บริการที่แตกตางจาก • ผลิตสินคาอยางมี เกิดความผิดพลาดนอยที่สุด ของลูกคาอยางรวดเร็ว ของลูกคากลุมเปาหมาย คูแขง • ประสิทธิภาพ • มีจํานวนพนักงานที่เพียงพอ สงสินคาไดตามเวลาที่ เฉพาะไดดี • มีผลิตภัณฑหรือ ตกลงกับลูกคา เมื่อเทียบกับคูแขง และเหมาะสม • มุงเนนลูกคาเฉพาะกลุม บริการมากกวาคูแขง • • สามารถสงมอบสินคา มีตนทุนการผลิตที่ • นําสินคาสูตลาดไดอยาง • มีความสัมพันธที่ดีและ • นําเสนอนวัตกรรม แขงขันได ที่เชื่อถือได รวดเร็ว ใกลชิดกับลูกคา • มีรูปลักษณที่แตกตาง • ใชทรัพยากรอยาง • มีการจัดอบรมความรูใน จากคูแขง คุมคา ดานตางๆ อยางตอเนื่อง

ภาพที่ 1 องค์ประกอบของความได้เปรียบในการแข่งขัน [11] วลัยลักษณ์ และ วริยา [11] ได้ท�ำการศึกษาถึง ย่อยรวม 21 ปัจจัย ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่าตัวแบบ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดย อย่างยั่งยืนในโซ่อุปทานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ปัจจัยภายนอกองค์กรมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการสร้าง ย่อมในการเข้าสู่ตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมทั้ง ความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืนโดยมีค่าสัมประสิทธิ์ ศึกษาถึงอุปสรรคของผู้ประกอบการในการสร้างความได้ อิทธิพลเท่ากับ 0.824 นอกจากนั้นยังพบว่าปัจจัยภายนอก เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ด�ำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้ ยังมีอิทธิพลทางอ้อมต่อการสร้างความได้เปรียบในการ แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาด แข่งขันอย่างยั่งยืนผ่านปัจจัยภายในองค์กรโดยมีค่า กลางและขนาดย่อมในประเทศไทยจ�ำนวน 460 ราย และ สัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.856 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ทั้งสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ณภัทร และคณะ [12] ได้ท�ำการศึกษาถึงความได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความโด่งและ เปรียบทางการแข่งขันด้วยการจัดการตลาดเชิงกลยุทธ์ในยุค ความเบ้ และสถิติอนุมานด้วยการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง เศรษฐกิจแห่งการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจหนึ่งต�ำบลหนึ่ง (Structural Equation Modeling: SEM) ผลการวิจัยพบว่า ผลิตภัณฑ์ในจังหวัดเชียงราย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา มีปัจจัยหลัก 5 ปัจจัยที่ผู้ประกอบการพิจารณาให้ความส�ำคัญ ผลกระทบของการจัดการตลาดเชิงกลยุทธ์ในยุคเศรษฐกิจ ได้แก่ การเป็นผู้น�ำด้านต้นทุน การตอบสนองอย่างรวดเร็ว แห่งการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน การส่งมอบที่เชื่อถือได้ การมุ่งตลาดเฉพาะส่วน และการสร้าง ของธุรกิจหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดเชียงราย ความแตกต่าง โดยปัจจัยหลักเหล่านั้นประกอบด้วยปัจจัย ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ประกอบการธุรกิจหนึ่ง

ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 105

ต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์จ�ำนวน 288 ราย เครื่องมือที่ใช้คือ เป็นชาวต่างชาติ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าความ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สามารถของผู้ประกอบการมีอิทธิพลทางตรงต่อความส�ำเร็จ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุ ผล ทางการตลาดท่องเที่ยวของประเทศไทยเท่ากับ 0.336 และ การศึกษาพบว่าการจัดการตลาดเชิงกลยุทธ์ทั้ง 4 ด้าน ทางอ้อมโดยผ่านความได้เปรียบทางการแข่งขัน ส่วนความ เรียงตามล�ำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้าน ได้เปรียบทางการแข่งขันส่งผลทางตรงต่อความส�ำเร็จ การจัดจ�ำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านราคา ทางการตลาดธุรกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทยเท่ากับ มีผลกระทบทางบวกต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันใน 0.237 และความสามารถของผู้ประกอบการส่งผลความได้ เศรษฐกิจยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจหนึ่งต�ำบลหนึ่ง เปรียบทางการแข่งขันเท่ากับ 0.873 ผลิตภัณฑ์ในจังหวัดเชียงราย สรวิศ [13] ได้ท�ำการศึกษาถึงความได้เปรียบใน วิธีด�ำเนินงานวิจัย การแข่งขันและความสามารถของผู้ประกอบการต่อความ 1. คัดเลือกผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและ ส�ำเร็จทางการตลาดธุรกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทย โดย ท้องถิ่นทั้ง 5 ประเภท ได้แก่ 1) อาหาร 2) เครื่องดื่ม 3) ผ้า มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความได้เปรียบทางในแข่งขันและ และเครื่องแต่งกาย 4) ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก และ ความสามารถของผู้ประกอบการมีผลต่อความส�ำเร็จทางการ 5) สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร โดยเลือกตัวแทนประเภทละ 1 ราย ตลาดธุรกิจท่องเที่ยวของประเทศไทย ประชากรที่ใช้ในการ รวมทั้งสิ้น 5 ราย เพื่อเป็นตัวแทนของกรณีศึกษาในงานวิจัยนี้ วิจัยคือผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวที่จดทะเบียนเป็น 2. ผู้ประกอบการแต่ละรายประเมินค่าน�้ำหนัก นิติบุคคลในประเทศไทยจ�ำนวน 4,516 องค์กร โดยสุ่ม ความส�ำคัญของปัจจัยต่างๆ โดยใช้การเปรียบเทียบรายคู่ ตัวอย่างได้ขนาดตัวอย่าง 356 องค์กร เครื่องมือที่ใช้ในการ (Pair-wise Comparison) ระหว่างแต่ละปัจจัยหลักและ เก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการ แต่ละปัจจัยย่อย [6] ด้วยระดับความส�ำคัญตั้งแต่ 1 (หมายถึง แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปัจจัยทั้ง 2 ปัจจัยที่น�ำมาเปรียบเทียบมีความส�ำคัญเท่ากัน) และทดสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์เส้นทาง (Path ถึง 9 (หมายถึง ปัจจัยแรกมีความส�ำคัญมากกว่าปัจจัยที่น�ำ Analysis) ผลการวิจัยพบว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็น มาเปรียบเทียบในระดับมากที่สุด) จากนั้นน�ำค่าที่ได้มาแปลง ผู้ประกอบการที่เป็นห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดที่มีทุนจดทะเบียนสูง ค่าสเกลน�้ำหนักความส�ำคัญเป็นตัวเลขแบบฟัซซี่ ดังแสดง กว่า 5,000,000 บาท มีระยะเวลาในการด�ำเนินธุรกิจอยู่ ตารางที่ 1 ระหว่าง 5-10 ปี มีพนักงานมากกว่า 15 คน กลุ่มลูกค้าหลัก 106 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 1 ค่าสเกลน�้ำหนักความส�ำคัญแบบฟัซซี่ ระดับความส�ำคัญ Triangular Fuzzy Scale Triangular Fuzzy Reciprocal Scale 1 (1, 1, 1) (1, 1, 1) 2 (1,2,3) (1/3,1/2,1) 3 (2,3,4) (1/4,1/3,1/2) 4 (3,4,5) (1/5,1/4,1/3) 5 (4,5,6) (1/6,1/5,1/4) 6 (5,6,7) (1/7,1/6,1/5) 7 (6,7,8) (1/8,1/7,1/6) 8 (7,8,9) (1/9,1/8,1/7) 9 (9,9,9) (1/9,1/9,1/9) 3. น�ำผลที่ได้จากผู้ประกอบการทั้งหมดมาหาค่าเฉลี่ยของค่าน�้ำหนักส�ำคัญของแต่ละปัจจัยโดยสมการที่ (1) = ( ( …). ) / (1) = ( 1) 1 𝑘𝑘 𝑟𝑟𝑖𝑖𝑖𝑖̃ 𝑎𝑎�𝑖𝑖𝑖𝑖1 ⊗𝜆𝜆𝑎𝑎𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚�𝑖𝑖𝑖𝑖2 ⊗− 𝑛𝑛 ⊗ 𝑎𝑎�𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖 𝐶𝐶𝐶𝐶 j k เมื่อ คือค่าน�้ำหนักความส�ำคัญของการเปรียบเทียบแถว𝑛𝑛 − i และหลัก โดยที่ คือ จ�ำนวนผู้ประกอบ การทั้งหมดเท่ากับ 5 ราย 𝑎𝑎�𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖 = 𝑛𝑛 𝑛𝑛 4. ค�ำนวณหาค่าความสอดคล้อง (Consistency ratio: CR) โดยใช้สมการที่ (2) 𝜆𝜆𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 � �� 𝑎𝑎𝑖𝑖𝑖𝑖𝑊𝑊𝑗𝑗� 𝑖𝑖=1 𝑗𝑗=1 = (2) 𝐶𝐶𝐶𝐶 𝐶𝐶𝐶𝐶 ( ) = ( ( ), ( (),𝑅𝑅𝑅𝑅… , ( )) ) = ( ) 𝑇𝑇 เมื่อค่า =( 1) 𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚( 1) 𝐹𝐹 1 = 2 𝑛𝑛 𝜆𝜆 𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚− 𝑛𝑛 𝑊𝑊 =𝑑𝑑 (𝑃𝑃 ( 𝑑𝑑),𝑃𝑃 ( ),𝑑𝑑… 𝑃𝑃( )) 𝐶𝐶𝐶𝐶 𝜆𝜆 − 𝑛𝑛 ( (𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 1)) 𝐶𝐶𝐶𝐶 𝑛𝑛 − 𝜆𝜆 − 𝑛𝑛 𝑇𝑇 𝑛𝑛 − 𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿 = 1 2 𝑛𝑛 = 𝑊𝑊 𝑑𝑑 𝑃𝑃 …𝑑𝑑 𝑃𝑃 𝑑𝑑 𝑃𝑃 โดยค่า 𝑛𝑛= 𝑛𝑛𝑛𝑛 𝑛𝑛 𝐶𝐶𝐶𝐶 ( 1) …𝜆𝜆𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑛𝑛 −− 𝑛𝑛 𝜆𝜆𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 𝜆𝜆𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚� �����𝑎𝑎𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑎𝑎𝑊𝑊11𝑖𝑖𝑖𝑖𝑗𝑗𝑊𝑊�𝑗𝑗� 𝑖𝑖21 𝑖𝑖31 𝑖𝑖𝑖𝑖1 𝐹𝐹1 𝑖𝑖=1 𝑗𝑗=𝑤𝑤1 𝑤𝑤 𝑤𝑤 … 𝑤𝑤 𝑙𝑙1 𝑖𝑖=1 𝑗𝑗=1 𝐶𝐶𝐶𝐶 = 𝑛𝑛 𝑛𝑛 × 𝑤𝑤 = 𝑤𝑤 =⎡ 𝑖𝑖 12 𝑖𝑖22 𝑖𝑖32 𝑖𝑖𝑖𝑖2 ⎤ 𝑙𝑙2 𝐹𝐹2 โดยค่า CR ต้องน้อยกว่า= 𝑤𝑤 0.1 ถ้าค่า𝑤𝑤 CR 𝑤𝑤มากกว่า … 0.1𝑛𝑛 𝑤𝑤แสดงว่าการให้น�้− ⎡𝑤𝑤 ⎤ ำหนักไม่มีความสอดคล้อง⎡𝑤𝑤 ⎤ ผู้กอบการซึ่งเป็น ⎢ 𝐶𝐶𝐶𝐶𝑖𝑖13 𝑖𝑖23 𝑖𝑖33 𝑖𝑖𝑖𝑖3 ⎥ 𝑙𝑙3 ⎢ 𝐹𝐹3⎥ 𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝑤𝑤 𝑤𝑤 𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑤𝑤 … 𝑤𝑤 𝑖𝑖𝑖𝑖⎢𝑤𝑤 𝑗𝑗⎥ 𝑤𝑤 ผู้ประเมินจะต้องด� ำเนินการทบทวนประเมินในล�= ( 𝐶𝐶𝐶𝐶( ), ( ⎢),𝑅𝑅𝑅𝑅… , ( )) 𝜆𝜆 ำดับขั้นตอนที่= 𝑛𝑛� �𝑛𝑛1� ใหม่⎥ 𝑎𝑎 𝑊𝑊 � ⎢ ⎥ = ( ( ), ( ), … , ⋮( )) 𝑇𝑇 ⋮ 𝑖𝑖=1 𝑗𝑗=1 ⎢ ⎥ ⋮ 𝐹𝐹 1 𝑅𝑅𝑅𝑅2⎢ 𝑛𝑛 ⋮ ⋮ ⎥ ⋮𝑙𝑙𝑙𝑙 ⎢ ⎥ 𝑊𝑊 =𝑑𝑑 (𝑃𝑃 ( 𝑑𝑑),𝑃𝑃 1( .000𝑖𝑖)1,𝑑𝑑…𝑛𝑛𝑃𝑃(𝑇𝑇0.)2334) 𝑖𝑖 2𝑛𝑛 0.2405𝑖𝑖3𝑛𝑛 0.1915 0𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖.1804 ⎣𝑤𝑤0.170⎦ 0.1𝐹𝐹714𝐹𝐹 𝐹𝐹 51 จากข้อมูลการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ของปัจจัยความได้เปรียบในการแข่งขันของปัจจัยหลักและปัจจัย2 ⎣𝑤𝑤 𝑛𝑛 𝑤𝑤 𝑤𝑤 𝑤𝑤 ⎦ ⎣𝑤𝑤 ⎦ 𝑊𝑊 =𝑑𝑑 (𝑃𝑃. ( 𝑑𝑑),𝑃𝑃 ( 0).,2357𝑑𝑑… 𝑃𝑃( )1).000𝑇𝑇 0.2164 0.2845 0.2916 0.204 0.2065 𝑊𝑊𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿 𝑑𝑑 𝑃𝑃1…𝑑𝑑 𝑃𝑃2 𝑑𝑑 𝑃𝑃𝑛𝑛 𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 = 𝑖𝑖𝑖𝑖 𝑗𝑗 0.1161 0.2207𝑇𝑇𝜆𝜆 1.000 �0.2197��0.2176𝑎𝑎 ×𝑊𝑊0.160� = 0.1633 ย่อยจากผู้ประกอบการแต่ละราย𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿 1 …⎡2 ท�ำการค�𝑛𝑛 ำนวณน�้ำหนัก Local Weight⎤ ⎡โดยใช้สมการที่⎤ ⎡ ⎤(3) 𝑖𝑖11𝑊𝑊 𝑖𝑖21 𝑑𝑑 𝑃𝑃𝑖𝑖31…𝑑𝑑 𝑃𝑃 𝑖𝑖𝑖𝑖𝑑𝑑1 𝑃𝑃 𝐹𝐹1 𝑖𝑖=1 𝑗𝑗=1 𝑤𝑤 𝑤𝑤 𝑤𝑤 …⎢0.𝑤𝑤3262× 0𝑤𝑤.2821𝑙𝑙1 = 𝑤𝑤0.2721 1.000 0.3103𝐶𝐶𝐶𝐶⎥ ⎢0.236⎥ ⎢0.2320⎥ 𝑖𝑖12 𝑖𝑖22 𝑖𝑖32 𝑖𝑖𝑖𝑖2 ⎡𝑤𝑤 𝑤𝑤 𝑤𝑤 … …⎢0.𝑤𝑤3221⎤ ⎡0𝑤𝑤.2637𝑙𝑙2⎤ ⎡𝑤𝑤0𝐹𝐹.27092⎤ 0.3044𝐶𝐶𝐶𝐶 1.000 ⎥ ⎢0.230⎥ ⎢0.2269⎥ 𝑖𝑖11 ⎢ 𝑖𝑖𝑖𝑖1321 𝑖𝑖23𝑖𝑖31 𝑖𝑖33 𝑖𝑖𝑖𝑖1𝑖𝑖 𝑖𝑖 3 ⎥ =𝐹𝐹(31 ( ), ( ), … , ( )) (3) 𝑤𝑤 𝑤𝑤 𝑤𝑤𝑤𝑤 𝑤𝑤 … …𝑤𝑤⎢ 𝑤𝑤 × 𝑤𝑤⎢𝑤𝑤𝑙𝑙1𝑙𝑙3⎥= ⎢𝑤𝑤 ⎥ = 𝑅𝑅𝑅𝑅 ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ 𝑖𝑖12 ⎢ 𝑖𝑖22 𝑖𝑖32 𝑖𝑖𝑖𝑖2 ⎥ 𝑙𝑙2 ⎢ 𝐹𝐹2⎥ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎡𝑤𝑤 ⎢𝑤𝑤⋮ 𝑤𝑤⋮ ⋮ 𝑤𝑤⎣ ⋮ ⎤ ⎥ ⎡𝑤𝑤⎢ ⋮⎤⎥ ⎡⎢𝑤𝑤⋮ ⎥⎤ ⎦ 𝑇𝑇 𝑖𝑖3 …𝑛𝑛 𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖 𝑙𝑙𝑙𝑙 𝐹𝐹𝐹𝐹 ⎢ 𝑖𝑖13( ⎣1𝑤𝑤=.000𝑖𝑖𝑖𝑖123𝑛𝑛 10,𝑤𝑤.23342𝑤𝑤𝑖𝑖2,𝑛𝑛𝑖𝑖33…0.𝑤𝑤2405, ) 0.1915𝑤𝑤𝑖𝑖𝑖𝑖𝑤𝑤30⎥.1804⎦ ⎢ ⎣𝑤𝑤𝑙𝑙30.170⎥⎦ 𝐹𝐹 ⎢⎣0𝑤𝑤.1𝐹𝐹7143⎦⎥ 1 2 𝑛𝑛 ⎢𝑤𝑤 0.𝑤𝑤2357 1.000 0.2164… 0.2845 0⎥.2916 𝑤𝑤 0𝑊𝑊.204 ⎢0.2065=𝑑𝑑⎥ (𝑃𝑃 ( 𝑑𝑑),𝑃𝑃𝐶𝐶𝐶𝐶( ),𝑑𝑑… 𝑃𝑃( )) 0.1161 0.(2207 =1.000 1, 20.2197, … , 0.2176) × 0.160 = 0.1633 n ⎢ ⋮ เมื่อ⎡ ⋮ ⋮ ⋮ ⎥ ⎢⎤เป็นองค์ประกอบ⋮⎡ ⎥ ⎤ ⎢⎡ ⋮ ⎥⎤ 𝐶𝐶𝐶𝐶 1.000𝑖𝑖1𝑖𝑖𝑛𝑛 ⎢0.32622334𝑖𝑖2𝑛𝑛 0.02821.2405𝑖𝑖3𝑛𝑛0.27210.1915 1 . 000 0𝑖𝑖 𝑖𝑖𝑖𝑖.1804 0 . 3103⎣⎥𝑤𝑤0𝑙𝑙⎢.170𝑙𝑙0=.236⎦ ⎥( ⎢00..12320(𝐹𝐹714𝐹𝐹 ⎥ ), ( ), … , ( )) 𝑇𝑇 ⎣𝑤𝑤𝑃𝑃 𝑖𝑖⎢0𝑤𝑤.3221 0.2637𝑤𝑤 0.2709𝑛𝑛 0.3044𝑤𝑤 ⎦1.000 ⎥ ⎢0.230⎥ ⎣⎢𝑤𝑤0.2269⎦⎥ 𝑅𝑅𝑅𝑅 0.2357 ⎢ 1 .000 𝑖𝑖 0 . 2164 เป็นค่าน�้0.2845ำหนักเวกเตอร์0.2916 ⎥ 0⎢.204 ⎥ และท�𝐿𝐿⎢0𝐿𝐿𝐿𝐿.2065ำ⎥ การ Normalization1 2 ของค่าน�้𝑛𝑛 ำหนักได้ตามสมการที่ (4) 0.1161 ⎣0.2207𝑃𝑃 1𝑖𝑖.000 0.2197 0.2176𝑛𝑛 ×⎦ 0⎣.160 𝑊𝑊⎦= ⎣0.1633⎦ 𝑑𝑑 𝑃𝑃 …𝑑𝑑 𝑃𝑃 𝑑𝑑 𝑃𝑃𝑇𝑇 ⎡ ⎤ 𝐹𝐹⎡ ⎤ ⎡ 1⎤ 2 𝑛𝑛 ⎢0.3262 0 .2821 𝐹𝐹0.2721 1.000 0.3103𝑊𝑊⎥ ⎢0.236⎥ 𝑑𝑑⎢0.2320𝑃𝑃⎥ 𝑑𝑑 𝑃𝑃… 𝑑𝑑 𝑃𝑃 (4) ⎢0.3221 0.2637𝑊𝑊0.2709 0.3044𝐹𝐹 1.000 ⎥ ⎢0.230⎥ =⎢0.2269( ⎥ ( ), ( ), … ( )) ⎢ 𝑊𝑊 𝑖𝑖11⎥ ⎢ 𝑖𝑖⎥21⎢ ⎥ 𝑖𝑖31 … 𝑖𝑖𝑖𝑖1 𝑙𝑙1 𝐹𝐹1 ⎣ 𝑤𝑤 ⎦ ⎣ 𝑤𝑤⎦ ⎣ 𝑤𝑤⎦ 𝑤𝑤 × 𝑤𝑤 𝑇𝑇 = 𝑤𝑤 𝑖𝑖12 𝑖𝑖22 𝑖𝑖32 𝑖𝑖𝑖𝑖2 ⎡𝑤𝑤 𝑊𝑊𝑤𝑤𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿 𝑑𝑑𝑤𝑤 𝑃𝑃1… 𝑑𝑑… 𝑃𝑃2𝑤𝑤 ⎤𝑑𝑑 𝑃𝑃⎡𝑛𝑛𝑤𝑤𝑙𝑙2⎤ ⎡𝑤𝑤𝐹𝐹2⎤ ⎢ 𝑖𝑖13 𝑖𝑖23 𝑤𝑤𝑖𝑖33 𝑤𝑤𝑖𝑖𝑖𝑖3 ⎥ ⎢ 𝑙𝑙3⎥ ⎢𝑤𝑤𝐹𝐹3⎥ ⎢𝑤𝑤 𝑤𝑤 …… ⎥ 𝑤𝑤 ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ 𝑤𝑤𝑖𝑖11⎢ ⋮𝑤𝑤𝑖𝑖21 ⋮ 𝑤𝑤𝑖𝑖31 ⋮… 𝑤𝑤𝑖𝑖⋮𝑖𝑖1 ⎥ ⋮𝑙𝑙1 ⎢ ⋮𝐹𝐹1⎥ 1.000𝑖𝑖1𝑛𝑛 0.2334𝑖𝑖2𝑛𝑛 0.2405𝑖𝑖3𝑛𝑛 0.1915 0𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖.1804× ⎣𝑤𝑤𝑤𝑤0𝑙𝑙.170𝑙𝑙⎦ = 0𝑤𝑤.1𝐹𝐹714𝐹𝐹 𝑖𝑖12⎣𝑤𝑤 𝑖𝑖22𝑤𝑤 𝑖𝑖32𝑤𝑤 𝑤𝑤𝑖𝑖𝑖𝑖2 ⎦ ⎣𝑤𝑤 𝐹𝐹2⎦ ⎡𝑤𝑤 0.2357𝑤𝑤 1.000𝑤𝑤0.2164 …0.2845𝑤𝑤 0.2916⎤ ⎡𝑤𝑤0𝑙𝑙.2204⎤ ⎡0𝑤𝑤.2065 ⎤ ⎢ 𝑖𝑖130.1161 𝑖𝑖230.2207 𝑖𝑖133.000 0.2197𝑖𝑖𝑖𝑖03.2176⎥ × 0.160 = ⎢0.1633𝐹𝐹3⎥ 𝑤𝑤 ⎡ 𝑤𝑤 𝑤𝑤 … 𝑤𝑤 ⎤⎢𝑤𝑤⎡ 𝑙𝑙3⎥ ⎤ ⎡ 𝑤𝑤 ⎤ ⎢ ⎢0.3262 0.2821 0.2721 1.000 0.3103⎥ ⎥ ⎢0.236⎥ ⎢⎢0.2320⎥⎥ ⎢ ⋮ ⎢0.3221 ⋮0.2637 0.2709⋮ 0.3044⋮ 1.000⎥ ⎥⎢ ⎢0⋮.230⎥ ⎥ ⎢⎢0.2269⋮ ⎥⎥ 1.000𝑖𝑖1⎢𝑛𝑛 0.2334𝑖𝑖2𝑛𝑛 0.2405𝑖𝑖3𝑛𝑛 0.1915 0𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖.1804 ⎥ ⎢0𝑙𝑙.170𝑙𝑙 ⎥ ⎢ 0.1𝐹𝐹714𝐹𝐹⎥ ⎣𝑤𝑤 ⎣ 𝑤𝑤 𝑤𝑤 𝑤𝑤 ⎦ ⎦⎣𝑤𝑤⎣ ⎦ ⎦ ⎣⎣𝑤𝑤 ⎦⎦ 0.2357 1.000 0.2164 0.2845 0.2916 0.204 0.2065 0.1161 0.2207 1.000 0.2197 0.2176 × 0.160 = 0.1633 ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎢0.3262 0.2821 0.2721 1.000 0.3103⎥ ⎢0.236⎥ ⎢0.2320⎥ ⎢0.3221 0.2637 0.2709 0.3044 1.000 ⎥ ⎢0.230⎥ ⎢0.2269⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ( ) = ( 1) ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 𝜆𝜆𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 − 𝑛𝑛ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 107 𝐶𝐶𝐶𝐶 𝑛𝑛 − = 𝑛𝑛 𝑛𝑛

6. ค�ำนวณหาน�้ำหนัก Inner Dependence𝜆𝜆𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 �Weight�� 𝑎𝑎 𝑖𝑖𝑖𝑖เป็นการพิจารณาหาค่าน�้𝑊𝑊𝑗𝑗� ำหนักของปัจจัยหลัก เมื่อได้ค่า 𝑖𝑖=1 𝑗𝑗=1 Inner Dependence Weight ของปัจจัยที่ 1 ถึงปัจจัยที่ n= น�ำค่าน�้ ำหนักความส�ำคัญที่ได้มาใส่ในต�ำแหน่งหลักของปัจจัย นั้นๆ 𝐶𝐶𝐶𝐶 𝐶𝐶𝐶𝐶 = ( ( ), ( ),𝑅𝑅𝑅𝑅… , ( )) 7. ค�ำนวณหาค่าน�้ำหนัก Inter Dependence Weights ของปัจจัยหลัก𝑇𝑇 โดยการน�ำค่า Inner Dependence 𝐹𝐹 1 2 𝑛𝑛 Weights เมตริกซ์คูณด้วยค่าน�้ำหนักของปัจจัยหลัก𝑊𝑊 =𝑑𝑑 (𝑃𝑃(Local( 𝑑𝑑),𝑃𝑃 Weights)( ),𝑑𝑑… 𝑃𝑃( โดยใช้สมการที่)) (5) 𝑇𝑇 𝑊𝑊𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿 𝑑𝑑 𝑃𝑃1…𝑑𝑑 𝑃𝑃2 𝑑𝑑 𝑃𝑃𝑛𝑛 … 𝑖𝑖11 𝑖𝑖21 𝑖𝑖31 𝑖𝑖𝑖𝑖1 𝐹𝐹1 𝑤𝑤 𝑤𝑤 𝑤𝑤 … 𝑤𝑤 × 𝑤𝑤𝑙𝑙1 = 𝑤𝑤 (5) 𝑖𝑖12 𝑖𝑖22 𝑖𝑖32 𝑖𝑖𝑖𝑖2 ⎡𝑤𝑤 𝑤𝑤 𝑤𝑤 … 𝑤𝑤 ⎤ ⎡𝑤𝑤𝑙𝑙2⎤ ⎡𝑤𝑤𝐹𝐹2⎤ ⎢ 𝑖𝑖13 𝑖𝑖23 𝑤𝑤𝑖𝑖33 𝑤𝑤𝑖𝑖𝑖𝑖3 ⎥ ⎢ 𝑙𝑙3⎥ ⎢𝑤𝑤𝐹𝐹3⎥ ⎢𝑤𝑤 𝑤𝑤 … ⎥ 𝑤𝑤 ⎢ ⎥ ⋮ ⋮ ⎢ ⎥ ⋮ ⎢ ⋮ ⋮ ⎥ ⋮𝑙𝑙𝑙𝑙 ⎢ ⎥ ⎣1𝑤𝑤.000𝑖𝑖1𝑛𝑛 0𝑤𝑤.2334𝑖𝑖2𝑛𝑛 0.𝑤𝑤2405𝑖𝑖3𝑛𝑛 0.1915𝑤𝑤0𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖.1804⎦ ⎣𝑤𝑤0.170⎦ ⎣0𝑤𝑤.1𝐹𝐹714𝐹𝐹⎦ 8. ค�ำนวณหาน�้ำหนัก Global0.2357 Weights1.000 0 .2164โดยการน�0.2845ำค่าน�้0.2916ำหนักของปัจจัยหลักที่ได้ในขั้นตอนที่0.204 0.2065 6 มาท�ำการคูณกับ 0.1161 0.2207 1.000 0.2197 0.2176 × 0.160 = 0.1633 ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ค่าน�้ำหนัก Local Weights ของปัจจัยย่อยของแต่ละปัจจัยหลัก⎢0.3262 0.2821 0.2721 1.000 0 .3103⎥ ⎢0.236⎥ ⎢0.2320⎥ ⎢0.3221 0.2637 0.2709 0.3044 1.000 ⎥ ⎢0.230⎥ ⎢0.2269⎥ 9. สรุปผลการจัดล�ำดับปัจจัย⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

ผลการวิจัย เมื่อพิจารณาค่าน�้ำหนักของปัจจัยหลักของการ จากการประเมินค่าความส�ำคัญของปัจจัยในการ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของผู้ประกอบการ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันเป็นรายคู่ (Pair-wise ผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นในตารางที่ 2 พบว่าปัจจัยด้าน Comparison) ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยหลัก 5 ปัจจัยและปัจจัย การมุ่งตลาดเฉพาะส่วน (F) มีความส�ำคัญมากที่สุดคิดเป็น ย่อย 21 ปัจจัย โดยผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้อง ร้อยละ 23.20 รองลงมาเป็นปัจจัยด้านความแตกต่าง (DI) ถิ่น 5 ราย ผู้วิจัยได้น�ำผลการเปรียบเทียบเป็นรายคู่เหล่านั้น คิดเป็นร้อยละ 22.69 และปัจจัยที่มีความส�ำคัญน้อยสุดคือ มาค�ำนวณหาค่าน�้ำหนักของปัจจัยต่างๆ ด้วยเทคนิค ปัจจัยด้านการส่งมอบที่เชื่อถือได้ (D) คิดเป็นร้อยละ 16.33 กระบวนการโครงข่ายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ด้วยโปรแกรม ตามล�ำดับ MATLAB ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงได้ดังตารางที่ 2-4 ต่อไปนี้ 108 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยของผลการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ของปัจจัยหลัก ปัจจัย C R D F DI Local Weights ต้นทุน (C) (1.000, 1.000, (0.668, 0.725, (0.425, 0.693, (0.815, 1.084, (0.822, 1.000) 0.803) 0.967) 1.409) 1.191, 0.1714 1.565) การตอบสนองอย่าง (1.246, 1.380, (1.000, 1.000, (1.201, (0.506, 0.725, (0.467, รวดเร็ว (R) 1.496) 1.000) 1.623, 1.994) 1.000) 0.654, 0.2065 0.871) การส่งมอบที่เชื่อถือได้ (1.035, 1.443, (0.502, 0.616, (1.000, 1.000, (0.407, 0.603, (0.467, (D) 2.352) 0.833 ) 1.000) 0.822) 0.654, 0.1633 0.871) การมุ่งตลาดเฉพาะ (0.710, 0.922, (1.000, 1.380, (1.217, 1.657, (1.000, 1.000, (0.762, ส่วน (F) 1.227) 1.974) 2.460) 1.000) 1.000, 0.232 1.272) ความแตกต่าง (DI) (0.639, 0.839, (1.149, 1.528, (1.149, 1.528, (0.710, 0.922, (1.000, 1.217) 2.141 ) 2.141) 1.227) 1.000, 0.2269 1.000) จากนั้นท�ำการค�ำนวณค่าน�้ำหนักของปัจจัยย่อย สนองอย่างรวดเร็ว (R) การส่งมอบที่เชื่อถือได้ (D) การมุ่ง ของการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันในแต่ละด้าน( ตลาดเฉพาะส่วน) (F) และความแตกต่าง (DI) โดยตารางที่ 3 = (Local Weight) และค�ำนวณหาค่าน�้ำหนัก Inner ( แสดงค่าน�้1) ำหนัก Inner Dependence Weight ของปัจจัย 𝜆𝜆𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 − 𝑛𝑛 Dependence Weight ของปัจจัยด้านต้นทุน (C)𝐶𝐶𝐶𝐶 การตอบ หลักดังนี้ 𝑛𝑛 − ตารางที่ 3 ค่าน�้ำหนัก Inner Dependence Weight= ของปัจจัยหลัก𝑛𝑛 𝑛𝑛 ปัจจัย 𝜆𝜆𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚C � ��R 𝑎𝑎𝑖𝑖𝑖𝑖𝑊𝑊𝑗𝑗� D F DI 𝑖𝑖=1 𝑗𝑗=1 ต้นทุน (C) 1.000 =0.2334 0.2405 0.1915 0.1804 การตอบสนองอย่างรวดเร็ว (R) 0.2357 1.000𝐶𝐶𝐶𝐶 0.2164 0.2845 0.2916 𝐶𝐶𝐶𝐶 = ( ( ), ( ),𝑅𝑅𝑅𝑅… , ( )) การส่งมอบที่เชื่อถือได้ (D) 0.1161 0.2207 𝑇𝑇 1.000 0.2197 0.2176 𝐹𝐹 1 2 𝑛𝑛 การมุ่งตลาดเฉพาะส่วน (F) 𝑊𝑊 0.3262=𝑑𝑑 (𝑃𝑃 ( 𝑑𝑑),𝑃𝑃0.2821( ),𝑑𝑑… 𝑃𝑃( )0.2721) 1.000 0.3103 𝑇𝑇 ความแตกต่าง (DI) 𝑊𝑊0.3221𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿𝐿 𝑑𝑑 𝑃𝑃1…𝑑𝑑0.2637𝑃𝑃2 𝑑𝑑 𝑃𝑃𝑛𝑛0.2709 0.3044 1.000 … 𝑖𝑖11 𝑖𝑖21 𝑖𝑖31 𝑖𝑖𝑖𝑖1 𝐹𝐹1 ในการค�ำนวณหาค่าน�้𝑤𝑤ำหนัก Inter𝑤𝑤 Dependence𝑤𝑤 … ตารางที่𝑤𝑤 × 3 ด้วยค่าน�้𝑤𝑤𝑙𝑙1 =ำหนักของปัจจัยหลัก 𝑤𝑤 (Local Weights) 𝑖𝑖12 𝑖𝑖22 𝑖𝑖32 𝑖𝑖𝑖𝑖2 Weights ซึ่งเป็นค่าน�้ำหนักของปัจจัยหลัก⎡𝑤𝑤 𝑤𝑤 สามารถค�𝑤𝑤 ำนวณ … จากตารางที่𝑤𝑤 ⎤ ⎡𝑤𝑤 𝑙𝑙22 ⎤จะได้ค่าน�้⎡𝑤𝑤𝐹𝐹2ำ⎤หนัก Inter Dependence ⎢ 𝑖𝑖13 𝑖𝑖23 𝑤𝑤𝑖𝑖33 𝑤𝑤𝑖𝑖𝑖𝑖3 ⎥ ⎢ 𝑙𝑙3⎥ ⎢𝑤𝑤𝐹𝐹3⎥ ได้โดยการคูณกับค่า Inner ⎢Dependence𝑤𝑤 𝑤𝑤 Weights ใน… Weights⎥ ดังนี้𝑤𝑤 ⎢ ⎥ ⋮ ⋮ ⎢ ⎥ ⋮ ⎢ ⋮ ⋮ ⎥ ⋮𝑙𝑙𝑙𝑙 ⎢ ⎥ ⎣1𝑤𝑤.000𝑖𝑖1𝑛𝑛 0𝑤𝑤.2334𝑖𝑖2𝑛𝑛 0.𝑤𝑤2405𝑖𝑖3𝑛𝑛 0.1915𝑤𝑤0𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖𝑖.1804⎦ ⎣𝑤𝑤0.170⎦ ⎣0𝑤𝑤.1𝐹𝐹714𝐹𝐹⎦ 0.2357 1.000 0.2164 0.2845 0.2916 0.204 0.2065 0.1161 0.2207 1.000 0.2197 0.2176 × 0.160 = 0.1633 ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎢0.3262 0.2821 0.2721 1.000 0.3103⎥ ⎢0.236⎥ ⎢0.2320⎥ ⎢0.3221 0.2637 0.2709 0.3044 1.000 ⎥ ⎢0.230⎥ ⎢0.2269⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 109

จากนั้นจะท�ำการค�ำนวณหาค่าน�้ำหนัก Global ซึ่งจากตารางที่ 4 พบว่าปัจจัยย่อยที่ผู้ประกอบการ Weights ของปัจจัยย่อยโดยการน�ำค่าน�้ำหนัก Inter ผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นพิจารณาให้ความส�ำคัญว่าเป็น Dependence Weights ของปัจจัยหลักคูณด้วยค่าน�้ำหนัก ปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน 5 อันดับแรก ของปัจจัยย่อย (Local Weights) ที่ค�ำนวณได้ จะได้ค่า ได้แก่ 1) มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน 2) มีราคาที่เหมาะสม Global Weights ของปัจจัยย่อยทั้ง 21 ปัจจัย ดังแสดงใน 3) มีจ�ำนวนพนักงานที่เพียงพอเหมาะสม 4) ส่งสินค้าได้ตาม ตารางที่ 4 เวลาที่ตกลงกับลูกค้า และ 5) มีผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ แตกต่างจากคู่แข่ง ตามล�ำดับ

ตารางที่ 4 ค่าน�้ำหนักของความได้เปรียบในการแข่งขันของปัจจัยหลักและปัจจัยย่อย Inter Local Global ปัจจัยหลัก dependent ปัจจัยย่อย อันดับที่ Weights Weights Weights ราคาที่เหมาะสม (C1) 0.375 0.0642 2 ราคาต�่ำกว่าคู่แข่ง (C2) 0.271 0.0465 13 ต้นทุน (C) 0.1714 ผลิตสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับคู่แข่ง (C3) 0.066 0.0113 21 มีต้นทุนการผลิตที่แข่งขันได้ (C4) 0.156 0.0268 19 ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า (C5) 0.132 0.0226 20 การตอบ ความต่อเนื่องและรวดเร็ว (R1) 0.154 0.0318 17 สนองอย่าง ตามเวลาที่นัดหมายและเกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด (R2) 0.243 0.0501 11 รวดเร็ว (R) 0.2065 มีจ�ำนวนพนักงานที่เพียงพอเหมาะสม (R3) 0.307 0.0634 3 น�ำสินค้าสู่ตลาดได้อย่างรวดเร็ว (R4) 0.165 0.0341 16 การจัดอบรมความรู้ในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง (R5) 0.131 0.0271 18 การส่งมอบ ตอบสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของลูกค้าอย่างรวดเร็ว 15 0.258 ที่เชื่อถือได้ 0.1633 (D1) 0.0421 (D) ส่งสินค้าได้ตามเวลาที่ตกลงกับลูกค้า (D2) 0.380 0.0621 4 สามารถส่งมอบสินค้าที่เชื่อถือได้ (D3) 0.362 0.0.592 6 การมุ่ง มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน (F1) 0.351 0.0815 1 ตลาด ตอบสนองความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายเฉพาะได้ดี (F2) 0.200 0.0463 14 เฉพาะส่วน 0.232 มุ่งเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่ม (F3) 0.210 0.0488 12 (F) ความสัมพันธ์ที่ดีและใกล้ชิดกับลูกค้า (F4) 0.239 0.0555 9 ความ มีผลิตภัณฑ์หรือบริการที่แตกต่างจากคู่แข่ง (DI1) 0.265 0.0600 5 แตกต่าง 0.2269 มีผลิตภัณฑ์หรือบริการมากกว่าคู่แข่ง (DI2) 0.246 0.0557 8 (DI) น�ำเสนอนวัตกรรม (DI3) 0.230 0.0522 10 มีรูปลักษณ์ที่แตกต่างจากคู่แข่ง (DI4) 0.260 0.0590 7 110 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย นอกจากนั้นจากการศึกษาพบว่าผู้ประกอบการจะ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะจัดล�ำดับความ ต้องมีการตั้งราคาของสินค้าที่เหมาะสม ดังนั้นกิจการจะต้อง ส�ำคัญของปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันโดย มีการก�ำหนดราคาโดยการอิงราคา คุณภาพ และขั้นตอนการ ใชกระบวนการโครงข่ายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (Fuzzy ผลิตเป็นส�ำคัญ โดยจะต้องรวมค่าขนส่งไปยังลูกค้าหรือ Analytic Network Process: FANP) โดยในงานวิจัยนี้ได้ใช้ ศูนย์จ�ำหน่ายด้วยซึ่งจะขึ้นอยู่กับระยะทางในการขนส่ง ซึ่ง กรณีศึกษาซึ่งเป็นผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น การตั้งราคาจะเป็นการค�ำนวณต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่างๆ จ�ำนวน 5 ราย ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยหลักด้านการมุ่งตลาด รวมกับผลก�ำไร [15] ทั้งนี้จะต้องรวมค่าจ้างแรงงานของผู้น�ำ เฉพาะส่วน (F) มีความส�ำคัญมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 23.20 ชุมชนและสมาชิกกลุ่มที่มาช่วยด�ำเนินการผลิตในการค�ำนวณ รองลงมาเป็นปัจจัยหลักด้านความแตกต่าง คิดเป็นร้อยละ ต้นทุนการด้วย ซึ่งพบว่ามีผู้ประกอบการจ�ำนวนมากที่ไม่ได้ 22.69 ปัจจัยหลักด้านการตอบสนองอย่างรวดเร็ว คิดเป็น พิจารณาในประเด็นเหล่านี้ในการน�ำมาค�ำนวณต้นทุน ร้อยละ 20.65 ปัจจัยหลักด้านต้นทุน คิดเป็นร้อยละ 17.14 การมีจ�ำนวนพนักงานที่เพียงพอเหมาะสมเป็นอีก และปัจจัยหลักด้านการส่งมอบที่เชื่อถือได้ คิดเป็นร้อยละ ปัจจัยหนึ่งที่มีความส�ำคัญเพราะหากมีจ�ำนวนพนักงานที่ไม่ 16.33 ตามล�ำดับ เพียงพอก็จะท�ำให้ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ตามเวลาที่ก�ำหนด ส�ำหรับปัจจัยย่อย 5 อันดับแรกเรียงตามความ ตามที่ตกลงไว้กับลูกค้า ซึ่งเป็นประเด็นที่มีความส�ำคัญ ส�ำคัญที่ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นได้ให้ ส�ำหรับผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นเนื่องจาก ความส�ำคัญ ได้แก่ 1) มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน 2) ราคาที่ มีจ�ำนวนพนักงานที่ไม่แน่นอน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ เหมาะสม 3) มีจ�ำนวนพนักงานที่เพียงพอเหมาะสม 4) [16] ที่พบว่าปัญหาหนึ่งของผู้ประกอบการคือ การขาดแคลน ส่งสินค้าได้ตามเวลาที่ ตกลงกับลูกค้า และ 5) มีผลิตภัณฑ์ แรงงาน บางกลุ่มก็จะท�ำการผลิตสินค้าเมื่อสมาชิกในกลุ่ม หรือบริการที่แตกต่างจากคู่แข่ง ตามล�ำดับ ของตนว่างจากงานประจ�ำของตนเท่านั้นท�ำให้ไม่สามารถ ผลจากการวิจัยพบว่าในการสร้างความได้เปรียบ รับค�ำสั่งซื้อจ�ำนวนมากได้รวมทั้งอาจไม่สามารถส่งมอบสินค้า ในการแข่งขันนั้นปัจจัยย่อยที่ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้ตามเวลาที่ตกลงไว้กับลูกค้า ก็จะเป็นปัจจัยหนึ่งที่มี และท้องถิ่นได้ให้ความส�ำคัญมากที่สุดคือ ผู้ประกอบการจะ ความส�ำคัญอย่างยิ่งเพราะหากไม่สามารถด�ำเนินการได้บ่อย ต้องรู้กลุ่มเป้าหมายลูกค้าที่ชัดเจนหรือใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย ครั้งก็จะส่งผลให้ลูกค้าขาดความเชื่อถือและสูญเสียลูกค้าไป ที่ต้องการให้เป็นลูกค้าเพื่อที่จะพัฒนาตลาดเป้าหมายให้ ในที่สุดหรือผู้ประกอบการอาจจะต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมใน เฉพาะเจาะจงให้ได้มากที่สุด ดังนั้นผู้น�ำชุมชนหรือผู้น�ำกลุ่ม การเร่งผลิตหรือการส่งมอบที่ล่าช้า ชุมชนจะต้องวิเคราะห์และก�ำหนดว่าลูกค้าเป้าหมายของ นอกจากนั้นผู้ประกอบการต่างให้ความส�ำคัญ ผลิตภัณฑ์ที่ชุมชนผลิตขึ้นนั้นเป็นใคร ลูกค้าเหล่านั้นต้องการ ว่าการสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการที่แตกต่างจากคู่แข่งซึ่ง ผลิตภัณฑ์อะไร [14] เพื่อที่จะสามารถผลิตสินค้าได้ตรงกับ สอดคล้องกับการศึกษาของ Nussbaum [17] และ ศรวณะ ความต้องการของลูกค้าโดยจะต้องท�ำความเข้าใจกลุ่มลูกค้า และคณะ [18] เนื่องจากความแตกต่างของสินค้าเป็นสิ่งที่ เหล่านั้นก่อนที่จะด�ำเนินธุรกิจซึ่งถือว่าเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการ ผู้บริโภคพิจารณาให้ความสนใจในการตัดสินใจเลือกซื้อ การ มุ่งตลาดเฉพาะส่วน เมื่อทราบถึงกลุ่มเป้าหมายลูกค้าที่ พัฒนารูปแบบมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาดอยู่เสมอจะมีผล ชัดเจนก็อาจน�ำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการเข้าถึงและ ต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค ท�ำให้ผู้บริโภคเกิดความ ประชาสัมพันธ์ถึงลูกค้าเหล่านั้นได้โดยตรง ซึ่งถือว่าปัจจัยที่ ประทับใจและจะกลายเป็นความภักดีต่อสินค้านั้น นอกจาก ส�ำคัญที่จะสร้างความแข็งแกร่งและได้เปรียบในเชิงการ นั้นยังเป็นการเพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภคอีกด้วย ดังนั้น แข่งขันทางธุรกิจให้กับผู้ประกอบการในปัจจุบัน ผู้ประกอบการจ�ำเป็นต้องใส่ใจในรายละเอียดของผู้บริโภค ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 111

และศึกษาแนวทางใหม่ๆ ในการพัฒนาสินค้าเพื่อให้มี ครั้งนี้ ขอขอบคุณคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี ความน่าสนใจ ดึงดูดลูกค้าเพื่อน�ำมาต่อยอดผลิตภัณฑ์ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังที่ให้ทุนสนับสนุนการ วิจัย รวมทั้ง ดร.สิทธิโชค สินรัตน์ ที่ช่วยวิเคราะห์ข้อมูล ข้อเสนอแนะ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรจะให้การส่งเสริม เอกสารอ้างอิง และสนับสนุนผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นใน 1. เรวัฒน์ ชาตรีวิศิษฎ์, ศิรินทร ภู่จินดา, อาทิตา ประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้ ชูตระกูล, นันท์นภัส จินานุรักษ์, พิมพ์ชนก พ่วงกระแส, 1. ส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการในการผลิต วรพจน์ นิลจู. Strategic Management. กรุงเทพฯ: สินค้าหรือบริการที่มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งต้องมีการแบ่ง ถังทรัพย์การพิมพ์; 2553. ประเภทของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่ชัดเจนเพื่อผลิตสินค้าให้ 2. สถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ. การติดตาม ตรงกับความต้องการท�ำให้สามารถเจาะตลาดลูกค้าเป้าหมาย ประเมินผลโครงการหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ โดยตรงได้ ปีงบประมาณ 2548. กรุงเทพฯ: สถาบันรับรอง 2. จัดหาที่ปรึกษาหรือจัดอบรม เพื่อเป็นการ มาตรฐาน ไอเอสโอ; 2548. กระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดความร่วมมือและเห็นความ 3. สมยศ นาวีการ. การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ส�ำคัญในการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ผลการปฏิบัติงานมี บรรณกิจ; 2548. ประสิทธิภาพเพื่อส่งผลให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขัน 4. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร, สุรชัย อุตมอ่าง. การบริหาร และความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานของกิจการ โดยมุ่งเน้นทั้ง ความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อความส�ำเร็จในการ ให้การส่งเสริมด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างความแตกต่าง ด�ำเนินงานของ ธุรกิจ SMEs ในเขตภาคเหนือของ การตั้งราคาที่เหมาะสมและแนะน�ำให้สถานประกอบการ ประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ 2554;28(1): มุ่งเน้นการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร เพิ่มผลิตภาพการผลิต 49-63. ลดต้นทุนการผลิตเพื่อความอยู่รอดและสร้างขีดความ 5. Saaty TL. Decision making with dependence สามารถทางการแข่งขันต่อไป and feedback: the analytic network process. 3. ส่งเสริมสนับสนุนการผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ Pittsburgh: RWS Publications; 1996. ชุมชนและท้องถิ่นในสร้างกลยุทธ์นวัตกรรมด้านกระบวนการ 6. Saaty TL. Making with dependence and ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้แนวคิด วิธีการ หรือกระบวนการใหม่ๆ feedback. 2nd ed. Pittsburgh: RWS Publications; โดยปรับปรุงนวัตกรรมให้สอดคล้องกับรสนิยมของผู้บริโภค 2001. รวมถึงการสนับสนุนการพัฒนาสินค้าหรือบริการให้มีความ 7. Chang D. Application of the extent analytic โดดเด่น มีความแตกต่างและมีเอกลักษณ์ให้ต่างจาก method on Fuzzy AHP. Eur J Oper Res ผู้ประกอบการรายอื่น รวมถึงการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ 1996;95:649-55. สร้างจุดเด่นให้ผลิตภัณฑ์ด้วยแนวความคิดแปลกใหม่ ที่ช่วย 8. ศิริวรรณ เสรีรัตน์. การบริหารเชิงกลยุทธ์และกรณี ท�ำให้ลูกค้าเกิดความสนใจในผลิตภัณฑ์นั้นๆ ศึกษา. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กส์; 2542. 9. Porter ME. Competitive advantage of nation: กิตติกรรมประกาศ with a new introduction. London: Macmillan; ผู้วิจัยขอขอบคุณผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน 1990. และท้องถิ่นที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลส�ำหรับการศึกษาวิจัย 112 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

10. พัชสิรี ชมพูค�ำ. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: 14. ThaiFranchiseCenter. ก�ำหนดลูกค้าเป้าหมายให้ แมคกรอ-ฮิล; 2553. ชัดเจนก่อนท�ำการตลาด. [อินเตอร์เน็ต]. 2556 11. วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์, วริยา ปานปรุง.การสร้างความ [เข้าถึงเมื่อ 13 พ.ย. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http:// ได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืนในโซ่อุปทาน www.thaifranchisecenter.com/document/ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาด show.php?docuID=674 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. รายงานการวิจัยเสนอ 15. วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์, วัลยา ก�่ำรารามัญ. กลยุทธ์การ ต่อสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของโครงการ ลาดกระบัง. กรุงเทพฯ; 2559. หนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา: บ้านลูกประคบ 12. ณภัทร ทิพย์ศรี, พินิจ บ�ำรุง, สิริพร กุแสนใจ, สุภาวดี สมุนไพร อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. เตชะยอด. ความได้เปรียบทางการแข่งขันด้วยการ Veridian E-J Silpakorn Uni 2560;10(3):2007-14. จัดการตลาด เชิงกลยุทธ์ในยุคเศรษฐกิจแห่งการ 16. ภูเมศ จําปาวงค์. ศักยภาพของชุมชนด้านผลิตภัณฑ์ เปลี่ยนแปลงของธุรกิจหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ใน โครงการ “หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ จังหวัดจันทบุรี. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2547. 2558;8(1):153-66. 17. Nussbaum B. The power of design. Bus Week 13. สรวิศ ปิ่นรัตนานนท์. ความได้เปรียบทางการแข่งขัน 2004;96:3883. และความสามารถของผู้ประกอบการต่อความส�ำเร็จ 18. ศรวณะ แสงสุข, บัณฑิต ผังนิรันดร์, บุญเชิด ภิญโญ ทางการตลาดธุรกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทย. อนันตพงศ์. กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างเพื่อ วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา ความได้เปรียบในการแข่งขันของสินค้าหนึ่งต�ำบล บริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี หนึ่งผลิตภัณฑ์ประเภทเซรามิกในเขตภาคเหนือ ราชมงคลอีสาน. นครราชสีมา; 2555. ตอนล่างของประเทศไทย. วารสารวิชาการและวิจัย สังคมศาสตร์ 2557;9(26):43-60. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 113

Mobile interaction and security issues

Pornsak Preelakha Department of Information and Technology, Faculty of Engineering and Technology, Panyapiwat Institute of Management, Nonthaburi 11120 Received: 6 September 2018/ Revised: 21 November 2018/ Accepted: 6 December 2018

Abstract People once witnessed an interaction method between a user and mobile devices where buttons used to play a prominent role in interacting with the device. However, such interaction has been developed from the past in a variety of ways as we can see from the advancement of smartphones, tablets, and smart devices. Buttons were replaced with a touch screen system, along with many new methods to interact with a mobile device such as voice, camera, and fingerprint. These novel methods have a lot of input, saying the Virtual Reality and Augmented Reality that already has been taken in by the mobile devices. The modern interaction methods aim to give its users the best experience in the areas of communication and interaction. They are expected to have a great ability to access and simple to use. Regardless of the positive light, the new interaction methods may provide, they arguably have a shortcoming for its safety of use. Seeing that the security issues of advanced interaction methods should be explored further, this article has been conducted on the pattern of interaction, both direct and indirect way, between devices and users in different methods to see the potentiality of the security issues that may harm its users.

Keywords: Mobile, HCI, Security, Interaction, Mobile security

Corresponding author: [email protected] 114 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

Introduction from an array of issues, threats, risks in order to Nowadays, mobile devices have become provide security. Moreover, some security measures a must-have item for everyone. The number of cause uncomfortable and inconvenient experience smartphone users worldwide is estimated to surpass where users might decide to disable those measures 2 billion by the end of 2016 [1]. Meanwhile, tablet and expose themselves to even more risks. shipments from 1st quarter to 2nd quarter 2016 From the reasons given above, this paper stood at 78.3 million units [2]. The reason behind aims to explore current methods of mobile the popularity of mobile devices is its interaction interaction and its possible security threats upon with humans. Its user-friendly feature allowing users. The paper will be divided into five parts. The people at all ages to be able to use is proved to first part will explain the basic knowledge of the be a key factor for wide adoption of mobile devices. mobile device. The second part will be about the Given the rising popularity of mobile exploitation of mobile security threats. The third devices, major manufacturers and researchers have part will focus on security challenges related to been finding new methods to interact with mobile mobile interaction method. The fourth part is devices shifting their interest from the traditional guideline aimed to mitigate mobile security risk, touchscreen which was considered as a standard and the final part will provide a conclusion and feature installed in any mobile devices. Samsung interesting topics for further study. Electronics released its first smartphone, Samsung Galaxy Note Series which introduced a pressure- General knowledge of mobile technology sensitive digitizer and a stylus pen developed by Mobile interaction is a study of the Wacom Co., Ltd in October 2011. In 2015, Apple interaction between mobile users. Mobile devices Inc. launched iPhone6s with 3D touch enabling are a pervasive part of people’s everyday lives. pressure-sensitive touch inputs. In the following These devices are the first truly pervasive interaction year, they removed the physical home button from devices that are currently used for a huge variety iPhone7 and replaced it with a touch-sensitive of services and applications. button with haptic feedback. As we all know, the mobile device is a However, the progress of mobile devices computer that comes into a size of the pocket and stirs the questions in regards to their security. can be held in one hand, although some models Several weaknesses have been found in both long- are large and require both hands to hold. Major standing and newly-invented approaches to mobile mobile devices can be separated into two types, device technology where hackers and cyber- smartphones and tablet computers. criminals benefit from. They are able to intercept sensitive information from data transmitted A. Smartphone between smart watches and smartphones. The The smartphone combines the idea of security issues of mobile devices must be protected computers and mobile phones together. It is able ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 115 to perform computer operations made it outstanding Samsung, Nokia, Motorola, and Sony Ericson. A from the traditional mobile phones which provide turning point of smartphone technology took place mostly voice calling and text messaging functionality in 2007 when Apple Inc. revealed the iPhone to the with limited multimedia and internet capabilities world for the first time. The smartphone introduced [3] [4]. in that period of time combined powerful Even though a term “smartphone” was multimedia functions with the same features seen coined in 1997, a mobile phone considered as the in previous models of the smartphone with a first smartphone was Simon Personal Communicator consumer-friendly design. This marked as the introduced in 1992. Simon was developed by beginning of an era for a modern smartphone. International Business Machines (IBM) and BellSouth Presently, two major smartphones’ operating Corporation with approximately 50,000 units being systems are iOS and Android which overwhelm the sold. Since then, smartphones’ popularity has been market with a 99.3% share by the second quarter increased gradually from the 1990s to 2010s. Some of 2016 with an insignificant share of other operating well-known manufacturers from this period were systems such as Windows Phone at 0.7%.

Figure1. Android and iOS Operating System [5]

B. Tablet computer C. Summarized characteristics of mobile device The tablet computer is a portable wireless 1. Screen display computer where its distinction stands between The majority of the mobile devices has a smartphone and personal computer. Tablet very large touchscreen occupying over 80% of the computers provide much greater processing power front side along with the high-definition resolution. and battery than a smartphone but are lighter than 2. Hardware sensors a personal computer. Four general types of tablet Various types of sensors are incorporated computers found in markets are Slate Tablet, in mobile devices which enhance their capabilities Convertible Tablet, Hybrid Tablets, and Rugged to handle the physical world. Tablet. 116 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

3. Connectivity card details, personal contacts, emails, as well as Mobile devices’ ability to send and receive users’ social media accounts saying Facebook, a large amount of data is provided and supplemented Google, Microsoft, Apple, or Twitter. by numerous technologies of the wireless data Threats to mobile devices can be grouped network and wireless data connection such as 2G, into three major categories: data confidentiality, 3G, and 4G technologies, Bluetooth, Wi-Fi, Infrared data integrity, and system availability. These threats and Near Field Communication. are more likely to attack the functionality of mobile 4. Battery life devices rather than a user. The power consumption rate of mobile devices is noticeably high. Therefore, most of the A. Eavesdropping manufacturers would install a powerful battery with Eavesdropping also known as a man-in-the- ample capacities to ensure that general usage can middle attack is a technique which two parties are last long throughout a day. communicating with each other and there are third parties rely on or alter data sent between them Exploiting mobile security threats secretly [6]. The way to steal information is Mobile devices are identified with several intercepted conversation such as listening to people security issues similar to those found in Personal while talking or other voice communication Computers. With rapid growth of mobile device including an attack by interception data on the consumption and a lack of knowledge regarding network, steal personal information. The computer security among users, mobile devices eavesdropping attack will most effective when thus become an attractive target for all kinds of the detecting data without encryption service. But malefactor. Security threats can be even more sometimes eavesdropping was applying to detect harmful when mobile devices generally store the unusual behavior on the network. A concept of sensitive and confidential information such as credit eavesdropping is illustrated in the following figure 2.

Figure 2. An Illustration of Eavesdropping ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 117

B. Smudge attacks smartphone screen, editing the picture contrast and Smudge Attack is a technique for predicting then inferring the pattern used to unlock the passcode from oily residues left on the touchscreen smartphone. An attack is performed by spotting device using the pattern tracing method. When a residues marks on the touchscreen and analyzing user unlocks the screen, the oily smudges are the pattern of those marks [7]. normally left on the screen as shown in figure 3. With most modern mobile devices rely on These smudges can be detected by spotting the touchscreen as the main method to interact residues marks on the touchscreen and analyzing with users, smudge attack is considered as a serious the pattern of those marks. An entire operation only threat. The security of mobile devices can be more requires easy-to-find tools such as a camera and a vulnerable when they are stolen and a robber tries computer and an image processing software. This to access the devices to take away some sensitive way, hackers can access into a smartphone’s information or reset devices for reselling. passcode by taking pictures from a victim’s

Figure 3. Oily residues (Smudge) on touchscreen [7]

C. Shoulder surfing carry them around in the public, unlike the desktop Shoulder Surfing is a relatively computers that most of the time remain immobile. straightforward technique for stealing sensitive These characteristics of the mobile device make information. The attacker will simply observe targets them an excellent target for shoulder surfing. The via physical eyes when they are filling a form or example of the event should look like this: an keyring password [8]. A process could be performed attacker stands behind the victim and watches at at a distance using vision-enhancing devices like their smartphone when they are filling in a password binoculars. Additionally, an attacker may utilize for e-mail account. By this way, an attacker is able small low-cost camera by concealing them inside to access a target’s e-mail account and reset the ceilings, walls or fixtures to record data entry. password and steal an account as a result. Shoulder The attackers take advantage of a portable surfing requires a physical observation that is very large screen mobile device allowing the users to hard for a victim and people in the crowd to notice, 118 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 hence it is recommended that the users of the stating that an infection rate of a mobile device mobile device should search for a quiet location increased by 96% in the first half of 2016 with 78% before opening personal accounts on mobile phone of the infected device being found in smartphones. staying away from the crowd as much as possible. In addition, Malware also has been found to be more tricky and complicated resulted in greater D. Malware difficulty in protecting or repairing [10, 11]. Among a countless number of mobile applications, there are applications embedded with E. Phishing attack malevolent purposes such as tampering smartphone The general concept of phishing attack is operations, acquiring sensitive information, gain that malefactors will send text messages or contents access to smartphone systems or display undesired including link connecting to a website page that advertisement. Attackers run this threat either by convinces the users to enter personal data or employing the phishing technique, disguise malware malware via SMS, MMS, or e-mail. The intention is into completely normal applications then and to steal sensitive information including usernames uploading them to digital distribution platforms and passwords [12]. The examples of phishing (App Store, Google Play, Windows Store), or having messages can be seen from the text claiming that smartphone download malware automatically users have won a contest or inviting users to join when users visit infected websites [9]. events is illustrated in figure 4. Recently, several In another word, malware is performed to attackers have turned to the spoofed messages disrupt the device to gather private information and claiming themselves to be from legitimate and show unwanted advertisers without users’ well-known organizations such as Apple, Google, knowledge. Sometimes, malware can be found in Microsoft or any other big companies. These another kind of software or automatic download messages usually ask for an account validation from websites. aiming to deceive users to enter their sensitive The amount of those applications with a information. malware found has been rising at an astounding rate. On September 1, 2016, Nokia releases a report ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 119

Figure 4. Example of Phishing Message [13]

F. Data leak G. Unsecured Wi-Fi Data leak or data breach involves a Unsecured Wi-Fi refers to any Wi-Fi hotspot situation where a confidential information was which lacks adequate security measures such as disclosed to the untrusted environment both having user authentication, enabling security intentionally and unintentionally. A cause of leakage protocols (WPA, WPA2) and disabling wireless ranges from simple mental recollection and careless administrating. Weak security could be exploited discarding of data storage media to a large-scale easily by cybercriminals to attack mobile devices attack performed by cyber criminals or national having access to Wi-Fi by intercepting and recording institutions. Based on the Breach Level Index, there transmitted package by packet analyzer software are 5,329,418,398 data records that have been [15]. leaked since 2013 and only 4% of those leaked The majority of free Access Point or Wi-Fi data were encrypted [14]. connection offered by mobile operators is Mobile devices have a high possibility of unsecured. Most of them lack the encryption for having their data inside leaked given that there is transmitted data attempting to provide a enormous information circulated in and out at every convenience for users to connect an access point. single minute. Users who have little or no knowledge Unsecured Wi-Fi may rely on the spoofed access regarding a security protocol of mobile device may claiming to be a legit and reliable source. Those unknowingly expose their devices to threats and fake access points aim to trick users to believe they leak data themselves. An example of a situation gain access to a trustworthy connection entering would be that an employee sent a new product’s their username and password exposing the design to his boss over an unencrypted Wi-Fi important information to criminals resulted from a resulted in his work being stolen by a rival company. lack of knowledge regarding security issues. 120 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

H. Broken cryptography Security challenges related to mobile interaction While the encryption is necessary and method recommended feature of modern mobile devices, There are numerous methods to interact inappropriate activities performed by developers with mobile devices nowadays. Each method still leave the encrypted data vulnerable for hackers possesses issues regarding its security which need to take advantage of. That means the encrypted to be explored and learned further. Most of the data can be as vulnerable as the unencrypted one interaction requires specific hardware to detect and if taken control by malicious developers. Broken communicate with Biometrics or metrics related to Cryptography involves a situation where hackers human features usually to enable identification and manage to uncover sensitive information due to access control. Biometrics have been seen as the improper use of encryption. There are two major interesting major manufacturers for years, and contributors which usually lead to Broken several types of Biometric are already integrated Cryptography as follows [16]. with flagship mobile devices. There is three well- known Biometrics which are Iris, Face, and 1. Poor Key Management Processes. fingerprint. This paper will explore some notable Many developers lack expertise in the examples including Touchscreen, Voice-Based security field and tend to mishandle the encryption Interaction, Iris Recognition, Face Recognition, process and leak important information to the Fingerprint Recognition, and Mobile Device attacker unintentionally. Peripherals.

2. Use of Insecure and/or Deprecated Algorithms. A. Touchscreen Some cryptographic algorithms like MD5 The most prominent interaction method and RC4 are considered as outdated ones since is touchscreens. Its basis was found in the music they could be broken into easily by high-performance industry around 1948 and its concept, which is still computers. Broken Cryptography found in mobile used until present time, was proposed in 1965 by devices typically is a consequence of applications E. A Johnson [17]. Touchscreen technology adopted that are developed with the insufficient security widely by mobile device vendors is capacitive standard. For example, novice programmers may touchscreen which is a grid of tiny, transparent make use of weak encryption algorithms (MD5, electrodes with its ability to detect user’s touches SHA1) due to the fact that they consume less CPU via the change in the electrostatic field [18]. resources than heavy encryption algorithms. In Touchscreen technology definitely comes another case, an application may send out with advantages. As simple and straightforward as username and password in plain text instead of it may seem, it allows users to interact directly with encrypted form to save time and shorten the work the object appearing on the screen. Thus, mobile procedures. devices become less complexed and many users who might rarely experience any electronic devices ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 121 so far are encouraged and convinced to use it. especially if the voice user interface can support Moreover, an interaction operated on the basis of natural input language [19]. the touchscreen is very easy for users to understand Currently, a capability to control mobile with little effort needed. While touchscreens are devices with speech-based interaction is constrained an essential part of the modern mobile device, they by its systems having a limitation to define are also a weak point that could be exploited by commands. For example, Google Now and Siri rely hackers. Two main threats to the touchscreen which on pre-defined keywords or phrases to select were already mentioned previously are mainly appropriate functions. If they fail to detect any Shoulder Surfing and Smudge Attack. keywords, the entire input will be treated as a web search query [20]. Main security threat for Voiced- B. Voice-based interaction based Interaction is voice impersonation. A hacker Voice-based interaction has become a expertise in speech synthesis is capable of mimicking widely-adopted feature among mobile devices as voice of valid users to bypass authentication system. well. It allows users to communicate with devices A challenge to a voice-based interaction is how it without the use of the touchscreen, physical button can provide voice recognition system a legit ability or other interaction devices. Voice-based interactions to distinguish real human voice from artificial voice can be classified into several types. Speech output generated by third-parties’ computers. systems which only utilize speech for output while receiving inputs via other technologies. Google C. Iris recognition Text-to-speech and Voice-over by Apple fall into Iris Recognition is an identification method this category. Speech recognition systems which that distinguishes each person by detecting unique utilize speech for input and other techniques for formats within the ring-shaped region surrounding output, such as Google Voice Search, Bing Speech the pupil of the eye called Iris. It is categorized as API. Spoken dialogue systems which utilize speech one type of Ocular-based identification which based for both input and output. Some well-known on unshared patterns in the human eye. Other systems that are available for smartphones include examples of Ocular-based identification such as Siri, Cortana, Google Voice Search, and Google retina recognition and Eye vein verification [21]. Assistant. Using Iris for recognition provides several Voice-based interaction enables users to advantages to users. First, humans’ eyes are internal interact with mobile devices via their voice. It is organs which have rarely changed from childhood beneficial particularly for elderly people with to adulthood except for particular circumstances. physical challenges who are hindered from using Second, Iris patterns are unique that even left and mobile devices conveniently and effectively. In fact, right eye having different patterns. Third, the widely- past research indicated that elderly people accepted Iris recognition algorithms like John generally prefer voice user interface over graphical Daugman’s IrisCode have a very low false match user interface or traditional physical interaction rate which indicates accuracy of this method. 122 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

Regardless of the mentioned benefits, Iris technology and one of the most developed recognition still has many shortcomings. The biometrics. Third, it is easy to use by users who may necessary equipment is particularly costlier than be unaccustomed with modern technologies. Forth, some other forms of biometrics. The lower grade it provides a high security standard since fingerprints of iris scanners could be deceived by a high-quality are hard to be copied or spoofed and modern image of an iris. Users are required to hold their fingerprints scanners are very accurate in processing, head steady at very close range from the camera although they are still affected by dryness or dirty resulted in difficulty in using among users. In another of the finger’s skin as well as the age of users [23]. case, ocular surgery may cause changes in iris Therefore, using biometrics has several patterns and the recognition might not be advantages. First, they are easy to use by users who functioned as a result. may be unaccustomed with modern technologies. Two, they are hard to be lost in normal situations. D. Face recognition Third, current biometric scanners have been Face Recognition or Facial Recognition is developed well and their accuracy is in satisfied an identification method by analyzing determined level for large-scale deployment. facial features such as the relative position, size, However, there are still some security and shape of a nose, eyes, jaw, and cheekbones. challenges to biometric which need to be taken Currently, it is used for a variety of purposes ranging seriously. Unlike text password, it is nearly from security, gaming, and photography. A major impossible to change an individual’s biometrics company like Facebook also uses facial recognition except under some special circumstances. If copies technology to help tag user in photographs of biometrics are made, there are no effective automatically [22]. means to disable a falsification allowing further misuse to be taken place. While biometrics are E. Fingerprint recognition difficult to lose, they still can be stolen rather easily. Fingerprint recognition is an identification For instance, human facial features could be method using human fingerprints. It works by captured from the users being unaware and a trail detecting and comparing unique patterns found in of fingerprints can be left everywhere in everyday fingerprints like arch, loop and whorl. It is one of life. Although they have been developed for a long the widespread techniques that many mobile time, current biometrics sensors still can be devices already integrated with fingerprint recognition deceived in many ways. Fake fingerprints which are such as Apple Touch ID. made from various materials to replica human skin Fingerprint has several advantages can probably get the pass through smartphone’s comparing to other biometrics. First, it is considerably fingerprint scanners. In another example, a low-tier cheaper than some methods like iris recognition of iris scanner can be tricked by high-quality images thus more economical for large-scale deployment. of iris. Second, fingerprint recognition is a standardized ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 123

F. Mobile device peripherals usage and increasing numbers of wireless peripherals Mobile Device Peripherals refer to any also create new opportunities for hackers since the hardware that can receive inputs, send output and characteristics of wireless connection make it easier store data in mobile devices. In this paper, other to be attacked than the connection busing wires. types of computer like a desktop computer, laptop Peripherals themselves can be used to initiate an computer are also studied as well. A purpose of attack as well. Security concerns regarding Mobile Peripherals is to enhance mobile device capabilities. Device Peripherals mostly are from technologies To give examples, external speakers can generate used to connect them to mobile devices. Mainstream better quality sound compared to embedded connection methods are Bluetooth and Wi-Fi which speakers. Wireless mobile hard drive offers are analyzed by various researches in regards to additional storages to smartphone. Desktop their vulnerabilities. Connection over Wi-Fi exposes computers are capable of processing high-end game mobile devices to have eavesdropped and and stream it to tablet [24]. unnecessarily Bluetooth enabling could increase Peripheral also introduces the user to the possibility of devices being harmed from handle their device in new ways other than the hackers’ threat. experience in using touchscreen and buttons. Some sample cases are as follows. Most users think that G. Measurable metrics using stylus pen give them better results for drawing When developers designed interfaces for images on a tablet, using the external keyboard is modern application making use of human-computer much quicker and more comfortable than small interaction. However, each method also has security virtual keyboard, using a Bluetooth headphone issues that come with its new technology. From the allowing users to continue their current activities table below, the measurable metrics are summarized during conversations with a partner, etc. into different interaction methods and their possible Security issues might not be a worthy topic mobile security issues. to be discussed in the past when most of the The relation between the security peripherals still were connected to computer via challenges and mobile interaction as shown in cables. Nevertheless, the growth of mobile device Table 1. 124 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

Table 1 security challenges related to mobile interaction method Interaction method Security Issues Touch Screen smudge attack, shoulder surfing Voice-based eavesdropping, voice impersonation Iris Recognition data leak, uncomfortable Face Recognition photograph, spoofing attack Fingerprint Recognition smudge attack, data leak Mobile Device unsecured wi-fi, broken peripherals cryptography

Conclusion References The main purpose of HCI is designed to the 1. Statista. Number of smartphone users interface is easy to use, easy to understand, make worldwide (in millions). [Internet]. 2016 [cited it attractive and make the difference for modern 2019 February 11]. Available from: http://www. application. But most of the interaction method statista.com/statistics/330695/number-of- was designed by without security concern. The smartphone-users-worldwide/ currently various mobile application falls in risk and 2. Statista. Worldwide tablet shipments from 2nd may cause the mobile device is not safety. This quarter 2010 to 2nd quarter 2016 (in million article proposed a mobile interaction method and units). [Internet]. 2016 [cited 2019 February their security threats in measurable metric to 11]. Available from: https://www.statista.com/ minimize the possible vulnerabilities that could be statistics/272070/global-tablet-shipments-by- exploited by the attackers when designing human- quarter/ computer interaction in a modern application for 3. Techopedia. Mobile Device. [Internet]. [cited the mobile device. The security issues of mobile 2019 January 15]. Available from: https://www. devices must be protected from an array of issues, techopedia.com/definition/23586/mobile- threats, risks in order to provide security. device In the future work, we will study the 4. Dictionary.com. Mobile device. [Internet]. proposed data trace method to detect mobile [cited 2018 December 10]. Available from: security threats with the analysis of the noncompliant http://www.dictionary.com/browse/mobile- coding styles and collection of the attacking device patterns by exploiting the vulnerability to prevent data leakage and unauthorized access. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 125

5. IDC Research. Smartphone OS Market Share, 11. Nokia. A mobile device infections surge in 2016. 2016 Q2. [Internet]. 2016 [cited 2018 December [Internet]. 2016 [cited 2017 September 1]. 11]. Available from: http://www.idc.com/ Available from: https://www.msn.com/en-za/ prodserv/smartphone-os-market-share.jsp news/techandscience/mobile-device- 6. Tran H, Zepernick HJ. Proactive attack: a infections-surge-in-2016-nokia strategy for legitimate eavesdropping.in 2016. 12. Ahmed AA, Abdullah NA. Real time detection In: IEEE Sixth International Conference on of phishing websites in 2016. In: IEEE 7th Communications and Electronics (ICCE), 2016. Annual Information Technology, Electronics pp. 457-61. and Mobile Communication Conference 7. Aviv AJ, Gibson K, Mossop E, Blaze M, Smith (IEMCON), 2016. pp. 1-6. JM. Smudge attacks on smartphone touch 13. Julie JCH, Ryan C, Cade K. Predicting screens. In proceedings of the 4th USENIX susceptibility to social influence in phishing Conference on Offensive Technologies, emails. Int J Hum Comput Stud 2019;(128):17- Berkeley, CA, USA; 2010. pp. 1-7. 26. 8. Mali YK, Mohanpurkar A. Advanced pin entry 14. Gemalto NV. Data breach statistics. [Internet]. method by resisting shoulder surfing attacks 2016 [cited 2018 August 30]. Available from: in 2015. In: International Conference on http://breachlevelindex.com/ Information Processing (ICIP), 2015. pp. 37–42. 15. Chen Y, Trappe W, Martin RP. Detecting and 9. Chang WL, Sun HM, Wu W. An android localizing wireless spoofing attacks in 2007. In: behavior-based malware detection method 4th Annual IEEE Communications Society using machine learning in 2016. In: IEEE Conference on Sensor, Mesh and Ad Hoc International Conference on Signal Processing, Communications and Networks, 2007. pp. 193- Communications and Computing (ICSPCC), 202. 2016. pp. 1-4. 16. TechTarget. Broken cryptography and data 10. Nokia. Nokia malware report shows surge in security. [Internet]. 2015 [cited 2018 August mobile device infections in 2016. [Internet]. 20]. Available from: http:// 2016 [cited 2017 September 1]. Available from: searchsoftwarequality.techtarget.com/ http://company.nokia.com/en/news/press- photostory/2240177848/Top-ten-threats-to- releases/2016/09/01/nokia-malware-report- mobile-enterprise-security/10/Broken- shows-surge-in-mobile-device-infections- cryptography-and-data-security in-2016 126 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

17. Banks R. The origin of the touchscreen. Optimization Techniques (ICEEOT), 2016. pp. [Internet]. 2015 [cited 2018 August 23]. 2207-10. Available from: http://www. 22. Khan N, Gupta M. Face recognition system mobileindustryreview.com/2015/04/ using improved artificial bee colony algorithm touchscreen-inventors.html in 2016. In: International Conference on 18. Baanto. History of touch screen technology. Electrical, Electronics, and Optimization [Internet]. 2016 [cited 2018 September 11]. Techniques (ICEEOT), 2016. pp. 3731-5. Available from: http://baanto.com/touch- 23. Priya R, Tamilselvi V, Rameshkumar GP. A novel screen-technology-history algorithm for secure Internet Banking with 19. Schlogl GCGMTLS. Exploring voice user finger print recognition in 2014. In: International interfaces for seniors. In: Pervasive Technologies Conference on Embedded Systems (ICES), Related to Assistive Environments (PETRA), 2014. pp. 104-9. Rhodes, 2013. 24. Farooq A, Evreinov G, Raisamo R. Enhancing 20. University of Rochester, Google Research, mobile device peripheral controls using Visible Carnegie Mellon University. Just speak: Light Communication (VLC) in 2015. In: 9th enabling universal voice control on android. International Conference on Sensing In: The International Cross-Disciplinary Technology (ICST), 2015. pp. 623-8. Conference on Web Accessibility, Seoul, 2014. 21. Patil S, Gudasalamani S, Lyer N. A survey on Iris recognition system in 2016. In: International Conference on Electrical, Electronics, and ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 127

ค�ำแนะน�ำในการเตรียมต้นฉบับบทความเพื่อตีพิมพ์ใน วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (Huachiew Chalermprakiet Science and Technology Journal) วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ผลงานวิชาการทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบด้วยสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนี้ 1. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ได้แก่ จุลชีววิทยา ชีววิทยา พันธุศาสตร์ และเทคโนโลยีชีวภาพ เป็นต้น 2. วิทยาศาสตร์กายภาพ ได้แก่ เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ และสถิติ เป็นต้น 3. วิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ แพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ กายภาพบ�ำบัด พยาบาลศาสตร์ และสาธารณสุขศาสตร์ เป็นต้น 4. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 5. วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรับพิจารณาตีพิมพ์บทความวิจัย (research article) และบทความวิชาการ (review article) ทั้งรูปแบบภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ ทั้งนี้ผลงานวิชาการที่ส่งมาจะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการรอพิจารณาตีพิมพ์จากวารสาร วิชาการอื่น วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีก�ำหนดออกวารสารปีละ 2 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม-เดือนมิถุนายน และฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม-เดือนธันวาคม ซึ่งจะรับพิจารณาตีพิมพ์ผลงานวิชาการทั้งจากบุคคล ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

หลักเกณฑ์การพิจารณาบทความ บทความที่ส่งมาพิจารณาควรมีคุณค่าทางวิชาการ โดยผู้เขียนเป็นผู้ท�ำการทดลอง สร้างสรรค์ หรือเกี่ยวข้องกับงาน โดยปราศจากการคัดลอกผลงานวิจัยหรือบทความของผู้อื่น น�ำเสนอถึงแนวความคิดหรือหลักการใหม่ที่เป็นไปได้ซึ่งสอดคล้อง กับทฤษฎี และน�ำไปสู่การพัฒนาหรือเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและการวิจัย มีความสมบูรณ์ในเนื้อหา ภาษา ตลอดจน ความชัดเจนของสมมติฐานหรือวัตถุประสงค์ บทความจะได้รับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น ๆ จ�ำนวน 2-3 คน ซึ่งกองบรรณาธิการ สงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขบทความ และอาจส่งกลับคืนให้ผู้เขียนแก้ไขเพิ่มเติมหรือพิมพ์ต้นฉบับใหม่ แล้วแต่กรณี เพื่อ ปรับปรุงบทความให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นก่อนการตีพิมพ์ ทั้งนี้ต้นฉบับที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของการเขียนที่ก�ำหนดเท่านั้นจึงจะ ได้รับการพิจารณา และด�ำเนินการประเมินบทความก่อนการตีพิมพ์ การยอมรับบทความที่จะตีพิมพ์เป็นสิทธิของกองบรรณาธิการ และกองบรรณาธิการไม่รับผิดชอบความถูกต้องของ เนื้อหา หรือความถูกต้องของบทความที่ส่งมาตีพิมพ์ทุกเรื่อง

ข้อก�ำหนดทั่วไปของการพิมพ์บทความ 1. พิมพ์ด้วยโปรแกรม Microsoft Word for Windows 2. พิมพ์บนกระดาษ A4 หน้าเดียว โดยมีระยะห่างจากขอบกระดาษด้านละ 1 นิ้ว (2.54 เซนติเมตร) และจัดพิมพ์เป็น 1 คอลัมน์ 3. ใช้ตัวอักษรแบบ TH Sarabun New 128 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

4. ระยะห่างของการพิมพ์แบบ 1.5 line space พิมพ์แบบเสมอหน้า-หลัง (justified) 5. การก�ำหนดขนาดและชนิดตัวอักษร

การจัดหน้า ข้อความ ขนาด ชนิด กระดาษ ชื่อเรื่อง (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 18 ตัวหนา กึ่งกลาง ชื่อผู้เขียน 16 ตัวปกติ กึ่งกลาง ที่อยู่หรือหน่วยงานสังกัดของผู้เขียน 14 ตัวปกติ กึ่งกลาง อีเมลติดต่อเฉพาะผู้เขียนประสานงาน (corresponding author) 14 ตัวปกติ กึ่งกลาง หัวข้อบทคัดย่อ (abstract) 16 ตัวหนา กึ่งกลาง หัวข้อเรื่องใหญ่ 14 ตัวหนา ชิดซ้าย หัวข้อเรื่องย่อย 14 ตัวหนา ชิดซ้าย บทคัดย่อ คำ�สำ�คัญ เนื้อเรื่อง (วิธีดำ�เนินการวิจัย ผลการวิจัย อภิปราย 14 ตัวปกติ ชิดซ้ายขวา และสรุปผลการวิจัย กิตติกรรมประกาศ และเอกสารอ้างอิง) คำ�บรรยายรูปภาพ 14 ตัวปกติ กึ่งกลาง คำ�บรรยายตาราง 14 ตัวปกติ ชิดซ้าย

รายละเอียดการจัดเตรียมต้นฉบับ 1. ชื่อเรื่อง มีทั้งชื่อเรื่องภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรสั้น กระชับ และสื่อความหมายตรงกับเรื่องที่ท�ำ ส�ำหรับชื่อ ภาษาอังกฤษนั้น อักษรตัวแรกของภาษาอังกฤษให้พิมพ์ด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ 2. ชื่อผู้เขียนและสถานที่ท�ำงาน ชื่อผู้เขียนใช้ชื่อ-นามสกุลเต็ม ไม่ต้องระบุค�ำน�ำหน้าชื่อ ต�ำแหน่งทางวิชาการ และ คุณวุฒิ โดยให้มีการก�ำกับเลขยกก�ำลังต่อท้ายชื่อ ส�ำหรับผู้เขียนประสานงาน (corresponding author) ให้ท�ำเครื่องหมาย ดอกจันทร์ไว้ท้ายชื่อ พร้อมระบุหมายเลขโทรศัพท์และอีเมล ส�ำหรับชื่อสถานที่ท�ำงานควรพิมพ์ให้ตรงกับตัวเลขยกก�ำลังที่ ก�ำกับไว้ท้ายชื่อผู้เขียน กรณีมีผู้เขียน จ�ำนวน 2 คน ให้ใช้ “และ/and” คั่น ส�ำหรับผู้เขียนมากกว่า 2 คน ขึ้นไป กรณีภาษา ไทยให้เว้นวรรค 2 ครั้งคั่น กรณีภาษาอังกฤษให้ใส่จุลภาค (,) คั่น และเว้นวรรค 1 ครั้ง ระหว่างแต่ละคน 3. บทคัดย่อ มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยน�ำเสนอสาระส�ำคัญของเรื่อง ครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์ บทน�ำ วิธี ด�ำเนินการวิจัย ผลการวิจัย อภิปรายและสรุปผลการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 250 ค�ำ กรณีบทความเป็นรูปแบบภาษาไทย ให้จัดล�ำดับบทคัดย่อภาษาไทยขึ้นต้น และกรณีบทความเป็นรูปแบบภาษาอังกฤษ ให้จัดล�ำดับบทคัดย่อภาษาอังกฤษขึ้นต้น 4. ค�ำส�ำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างละ 3-5 ค�ำ ทั้งนี้ควรเลือกค�ำส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับบทความ 5. เนื้อหา รายละเอียดของการเตรียมต้นฉบับบทความแต่ละประเภทมีดังนี้ 5.1 บทความวิจัย (research article) ความยาวไม่เกิน 12 หน้า (รวมเอกสารอ้างอิง ตาราง รูปภาพ และแผนภูมิ) - บทน�ำ น�ำเสนอความส�ำคัญหรือที่มาของปัญหาวิจัย สาระส�ำคัญจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และส�ำหรับ วัตถุประสงค์ของการวิจัยให้น�ำเสนอไว้ตอนท้ายของบทน�ำ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 129

- วิธีด�ำเนินการวิจัย น�ำเสนอรายละเอียดที่จ�ำเป็นของการทดลองและการวิเคราะห์ข้อมูล - ผลการวิจัย น�ำเสนอผลการวิจัยที่สมบูรณ์ ชัดเจน โดยอาจน�ำเสนอด้วยตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพ พร้อม มีการบรรยายประกอบ - อภิปรายและสรุปผลการวิจัย เป็นการวิเคราะห์ ประเมิน และตีความผลการวิจัยว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หรือไม่ มีการเทียบเคียงผลการวิจัยกับงานวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมการอ้างอิงหลักวิชาการหรือทฤษฎี และอาจมี ข้อเสนอแนะประเด็นที่ควรท�ำวิจัยต่อไป - กิตติกรรมประกาศ แสดงความขอบคุณต่อองค์กรหรือบุคคลที่ให้การสนับสนุนทุนวิจัยหรือให้ความ ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ - เอกสารอ้างอิง ควรเป็นบทความที่ได้รับการตีพิมพ์หรือก�ำลังจะได้รับการตีพิมพ์ และระบุรายการเอกสาร ที่น�ำมาใช้อ้างอิงให้ครบถ้วน โดยใช้ Vancouver style 5.2 บทความวิชาการ (review article) ความยาวไม่เกิน 12 หน้า (รวมเอกสารอ้างอิง ตาราง รูปภาพ และแผนภูมิ) น�ำเสนอเนื้อหาทางวิชาการที่ได้จากเอกสารวิชาการทั่วไป สามารถสอดแทรกความคิดเห็นของผู้เขียนที่มีการ อ้างอิงจากหลักวิชาการประกอบบทความได้ ประกอบไปด้วย บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทน�ำ เนื้อหา บทสรุป และเอกสารอ้างอิง 6. รูปภาพและตาราง รูปภาพ ความละเอียดของรูปภาพไม่น้อยกว่า 600 dpi ส�ำหรับภาพขาว-ด�ำ และไม่น้อยกว่า 300 dpi ส�ำหรับภาพสี ระบุ ล�ำดับที่ของรูปภาพ โดยใช้ค�ำว่า “ภาพที่...... ” (Figure...... ) และค�ำบรรยายใต้ภาพอยู่ส่วนล่างกึ่งกลางของภาพ ส่วนที่เป็น สัญลักษณ์ให้น�ำเสนอในส่วนของค�ำบรรยายใต้ภาพ พร้อมทั้งแนบไฟล์รูปภาพที่ประกอบในเนื้อหาร่วมกับไฟล์เอกสารปกติด้วย ตาราง ระบุล�ำดับที่ของตาราง โดยใช้ค�ำว่า “ตารางที่...... ” (Table...... ) และค�ำบรรยายตารางอยู่ส่วนบนชิดขอบซ้าย ของตาราง การน�ำรูปภาพ แผนภูมิ หรือตารางมาอ้างอิงประกอบในบทความจะต้องมีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ ถูกต้อง ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น

การเขียนเอกสารอ้างอิง 1. การอ้างอิงในเนื้อหา การอ้างอิงในเนื้อหาใช้ระบบ Vancouver style ให้อ้างเลขล�ำดับที่ที่ก�ำกับชื่อผู้แต่ง โดยระบุเลขล�ำดับที่ไว้ใน วงเล็บท้ายข้อความตามล�ำดับการอ้างอิงก่อน-หลัง เช่น จิราวรรณ และคณะ [1] พบว่า Geobacillus stearothermophilus PTL38 ผลิตเอนไซม์ไลเปสที่สามารถท�ำงานได้ดีที่ค่าพีเอชเท่ากับ 6.0 และอุณหภูมิที่เหมาะสม คือ 60 องศาเซลเซียส หรือ มีการค้นพบว่าน�้ำมันหอมระเหยจากเปลือกมะกรูดและกระชายมีฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียก่อโรคแกรมบวกดีที่สุด [2] 2. การอ้างอิงเอกสารท้ายบทความ การอ้างอิงท้ายบทความใช้ระบบ Vancouver style โดยเรียงล�ำดับให้ตรงกับหมายเลขในเอกสารอ้างอิงที่ได้ ท�ำการอ้างอิงในเนื้อหา 130 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

ตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิง 1. หนังสือหรือต�ำรา ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. พิมพ์ครั้งที่. เมืองหรือสถานที่พิมพ์: ส�ำนักพิมพ์; ปีที่พิมพ์. 1. สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์; 2548. 2. Watson JD, Baker TA, Bell SP, Gann A, Levine M, Losick R. Molecular biology of the gene. 5th ed. San Francisco: Pearson Education, Inc.; 2004.

2. วารสาร ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่องหรือชื่อบทความ. ชื่อย่อวารสาร ปีที่พิมพ์;ปีที่(ฉบับที่):หน้า. 1. วรางคณา วิเศษมณี, กาญจนา หริ่มเพ็ง. ความเป็นพิษเฉียบพลันและการกลายพันธุ์จากสารมลพิษรวมใน น�้ำและตะกอนดิน กรณีศึกษาคลองชวดหมัน จังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก. วิชาการ 2554;14(28):153-73. 2. Supakdamrongkul P, Bhumiratana A, Wiwat C. Characterization of an extracellular lipase from the biocontrol fungus, Nomuraea rileyi MJ and its toxicity toward Spodoptera litura. J Invertebr Pathol 2010;105(3):228-35.

3. รายงานจากการประชุมวิชาการ ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. ใน: ชื่อคณะบรรณาธิการ, editors. ชื่อเอกสารรายงานการสัมมนา วันที่ เดือน ปี; เมืองที่ สัมมนา, ประเทศ. เมืองที่พิมพ์: ส�ำนักพิมพ์; ปีที่พิมพ์. หน้า. 1. วรรณา ศักดิ์สงค์, หิรัญญา จันทร์เกลี้ยง, ปิยาภรณ์ สุภัคด�ำรงกุล. การศึกษาประสิทธิภาพของเจลล้างมือ ผสมสารสกัดจากธรรมชาติในการยับยั้งแบคทีเรียก่อโรค. ใน: เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับ ชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 2 วันที่ 21 มีนาคม 2557. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. กรุงเทพฯ; 2557. หน้า 289-97. 2. Supakdamrongkul P, Wongthong A, Komkaew S. Production and characterization of a novel high-alkaline and thermal stable lipase from Bacillus sp. HCU3-2 and potential application as detergent formulation. In: proceedings of the 7th AOHUPO Congress and 9th International Symposium of the Protein Society of Thailand, August 6-8, 2014; Bangkok, Thailand; 2014. p. 259-68. 3. Deci EL, Ryan RM. A motivational approach to self: Integration in personality. In Dienstbier R, editor. Nebraska Symposium on Motivation: Vol. 38. Perspectives on Motivation. Lincoln: University of Nebraska Press; 1991. p. 237-88. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 131

4. พจนานุกรม ชื่อพจนานุกรม. พิมพ์ครั้งที่. เมืองหรือสถานที่พิมพ์: ส�ำนักพิมพ์; ปีที่พิมพ์. ค�ำศัพท์; หน้า. 1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คพับลิเคชัน; 2546. หน้า 1488. 2. Stedmin’s medical dictionary. 26th ed. Baltimore: Williams & Wilkins; 1995. Apraxia; p. 119-20.

5. วิทยานิพนธ์ ชื่อผู้แต่ง. ชื่อวิทยานิพนธ์. ระดับปริญญาของวิทยานิพนธ์, ชื่อมหาวิทยาลัย. จังหวัด; ปีที่พิมพ์. 1. อัจฉรา คอประเสริฐศักดิ์. การศึกษาแบคทีเรียผลิตเอนไซม์ไลเปสที่มีผลต่อการย่อยสลายน�้ำมันและน�้ำเสีย ประเภทไขมันสูง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ; 2542. 2. Darling CW. Giver of due regard: the poetry of Richard Wilbur. Ph.D. Thesis, University of Conecticut. USA; 1976.

6. หนังสือพิมพ์ ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. ชื่อหนังสือพิมพ์ วัน เดือน ปี; หน้า. 1. สายใจ ดวงมาลี. มาลาเรียลาม 3 จว.ใต้ตอนบน สธ.เร่งคุมเข้มกันเชื้อแพร่หนัก. คม-ชัด-ลึก 7 มิถุนายน 2548; 25. 2. Di Rado A. Trekking through college: Classes explore modern society using the world of Star Trek. Los Angeles Time March 15, 1995; p. A3

7. เว็บไซต์ ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. ชื่อวารสาร [ประเภทของสื่อ]. ปีที่พิมพ์ [เข้าถึงเมื่อ]; ปีที่:[หน้า]. เข้าถึงได้จาก: URL ของ เว็บไซต์ที่อ้างอิงข้อมูล 1. ธีรเกียรติ เกิดเจริญ. นาโนเทคโนโลยีความเป็นไปได้และทิศทางในอนาคต. วารสารเทคโนโลยีวัสดุ [อินเทอร์เน็ต]. 2542 [เข้าถึงเมื่อ 13 ก.ค. 2558]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nanotech.sc.mahidol. ac.th/index.html 2. Macia E, Paris S, Chabre M. Binding of the pH and polybasic C-terminal domains of ARNO to phosphoinositides and to acidic lipids. Biochemistry [Internet]. 2001 [cited 2004 May 19]. Available from: http://pubs.acs.org/cgibin/article.cgi/bichaw/2001/40/05pdf/ bi005123a.pdf 132 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562

การส่งบทความ การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสาร ให้ผู้เสนอจัดเตรียมต้นฉบับบทความและแบบเสนอบทความ โดยด�ำเนิน การจัดส่งเอกสารดังกล่าวแบบออนไลน์ทางเว็บไซต์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ที่ http://scijournal.hcu.ac.th/ojs ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ก�ำหนดไฟล์เอกสารที่ต้องส่งทั้งแบบ MS Document และ PDF ไฟล์ ประกอบด้วย 1. แบบเสนอบทความ 2. ต้นฉบับบทความ 3. ไฟล์ภาพประกอบบทความ ทั้งนี้หากพบปัญหาในการส่งเอกสารแบบออนไลน์ โปรดติดต่อสอบถามมายังกองบรรณาธิการวารสารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ดังรายละเอียดด้านล่างนี้

การติดต่อสอบถามข้อมูล สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เลขที่ 18/18 ถนนบางนา-ตราด กม.18 ต�ำบลบางโฉลง อ�ำเภอบางพลี สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ 02-312-6300 ต่อ 1180, 1256 โทรศัพท์มือถือ 081-849-2561 อีเมล [email protected]

เว็บไซต์วารสาร : http://scijournal.hcu.ac.th/ojs ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 133

ขั้นตอนการส่งบทความลงวารสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

รับบทความผ่าน http://scijournal.hcu.ac.th/ojs

ไม่ผ่านเกณฑ์ กลั่นกรองบทความเบื้องต้น (1-3 วัน) ส่งกลับผู้เขียนเพื่อแก้ไข ผ่านเกณฑ์ คัดเลือกผู้ประเมินบทความ (1-2 วัน)

ส่งบทความให้ผู้ประเมิน (2 สัปดาห์)

ปฏิเสธ รับบทความและข้อเสนอแนะจาก แจ้งผู้เขียน ผู้ประเมิน (2-3 คน)

ยอมรับ

ผู้เขียนแก้ไขตามค�ำแนะน�ำของผู้ประเมิน (1-2 สัปดาห์)

พิจารณาบทความที่ผู้เขียนแก้ไข (1-3 วัน)

ไม่ผ่าน ปรับแก้ไขบทความ (2 สัปดาห์) ผ่าน ออกหนังสือตอบรับตีพิมพ์ลงวารสาร แบบเสนอบทความเพื่อพิจารณาพิมพใน วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (Huachiew Chalermprakiet Science and Technology Journal)

วันที่...... เดือน...... พ.ศ. ……………… ขาพเจา [นาย/นาง/น.ส./ดร./ผศ./รศ./ศ./อื่น ๆ (ระบุ)]…………………………...... ขอสง  บทความวิจัย  บทความวิชาการ สาขา  วิทยาศาสตรชีวภาพ  วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร  วิทยาศาสตรสุขภาพ  วิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

 วิทยาศาสตรกายภาพ ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย)…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ)…………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... คําสําคัญ (ภาษาไทย)……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (ภาษาอังกฤษ)……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ผูเขียนทั้งหมด (ภาษาไทย)…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ผูเขียนทั้งหมด (ภาษาอังกฤษ)………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...... ที่อยูที่สามารถติดตอได...... โทรศัพท...... โทรศัพทมือถือ...... โทรสาร...... ชื่อ-นามสกุลของผูประสานงาน (corresponding author)...... อีเมล…………………..………..…… ขาพเจาขอรับรองวาบทความนี้  เปนผลงานของขาพเจาแตเพียงผูเดียว  เปนผลงานของขาพเจาและผูรวมงานตามที่ระบุในบทความ โดยบทความนี้ยังไมเคยไดรับการตีพิมพและไมไดอยูระหวางการพิจารณาลงตีพิมพในวารสารอื่นใด ขาพเจาและ ผูเขียนรวมยอมรับหลักเกณฑการพิจารณาตนฉบับ ทั้งยินยอมใหกองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแกไขตนฉบับได ตามที่เห็นสมควร พรอมทั้งมอบลิขสิทธิ์บทความที่ไดรับการตีพิมพใหแกคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติ และหากมีการฟองรองในเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับสวนหนึ่งหรือสวนใด ๆ ในบทความ ใหถือเปนความ รับผิดชอบของขาพเจาและผูเขียนรวมแตเพียงฝายเดียว ลงชื่อ...... (...... )

วันที่...... ใบสมัครสมาชิก วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (Huachiew Chalermprakiet Science and Technology Journal)

เรียน กองบรรณาธิการวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)...... ที่อยู่ปัจจุบันเลขที่...... ซอย...... ถนน...... ตำ�บล/แขวง...... อำ�เภอ/เขต...... จังหวัด...... รหัสไปรษณีย์...... โทรศัพท์...... โทรสาร...... อีเมล…………………………………………………………………………………....…………………………………………………………………………….. สถานที่ทำ�งานเลขที่...... ซอย...... ถนน...... ตำ�บล/แขวง...... อำ�เภอ/เขต...... จังหวัด...... รหัสไปรษณีย์...... โทรศัพท์...... โทรสาร...... มีความประสงค์ [ ] สมัครสมาชิกใหม่ [ ] ต่ออายุการเป็นสมาชิก เลขที่สมาชิก…………………………………………….….. [ ] รับวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 1 ปี จำ�นวน 2 ฉบับ 200 บาท ตั้งแต่ฉบับที่……….ถึง…….. โดยขอให้จัดส่งวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ไปยัง [ ] ที่อยู่ปัจจุบัน [ ] สถานที่ทำ�งาน การชำ�ระเงิน ข้าพเจ้าได้ชำ�ระเงิน จำ�นวน……………………..….……บาท (…………………..…………………………………….....……………………..) โดย [ ] เงินสด (ชำ�ระเงินกับสำ�นักงานเลขานุการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) [ ] โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ธนาคารธนชาต สาขามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เลขที่ 168-2-00999-7 [ ] ธนาณัติสั่งจ่าย ปณ. บางพลี เลขที่………………………………………………………………………………....………………………………..

ในนามมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ทั้งนี้ท่านประสงค์ให้ออกใบเสร็จรับเงินในนาม [ ] บุคคล ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว)...... [ ] สถาบัน...... ตาม [ ] ที่อยู่ปัจจุบัน [ ] สถานที่ทำ�งาน

ลงชื่อ...... (...... ) วันที่...... หมายเหตุ : กรุณาส่งใบสมัครสมาชิกวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และเอกสารการชำ�ระเงินถึง กองบรรณาธิการวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เลขที่ 18/18 ถนนบางนา-ตราด กม.18 ตำ�บลบางโฉลง อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 02-312-6300 ต่อ 1180, 1256 อีเมล : [email protected] คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หลักสูตรที่เปิดสอน

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

มุ่งเน้นการศึกษาที่มีความทันสมัยด้านเทคโนโลยี บนพื้นฐานภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติจากการทำ�งานจริง

โอกาสในการประกอบอาชีพ - โปรแกรมเมอร์ - ผู้ดูแลฐานข้อมูล - นักพัฒนาเว็บไซต์ - นักวิจัยและพัฒนา - นักพัฒนาซอฟต์แวร์ - นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ - สามารถประกอบกิจการธุรกิจอาชีพ อิสระและธุรกิจส่วนตัว เช่น การเปิดร้าน จ�ำหน่ายอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ การเปิดบริษัทรับ วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาซอฟต์แวร์ รวม ถึงการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์ เคลื่อนที่เพื่อสร้างรายได้เพิ่มเติม เป็นต้น

เว็บไซต์หลักสูตร: http://project.cs.hcu.ac.th/index.php สาขาวิชาจุลชีววิทยาอุตสาหกรรม มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีความรู้และทักษะ ทางจุลชีววิทยาพื้นฐานและประยุกต์ เพื่อนำ�จุลินทรีย์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในระดับอุตสาหกรรม

โอกาสในการประกอบอาชีพ - เจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฝ่ายควบคุมการ ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง กับอาหาร เครื่องดื่ม ยา เครื่องส�ำอาง และสิ่งแวดล้อม - นักวิชาการ นักวิจัย ผู้ช่วยวิจัยในหน่วย งานภาครัฐและเอกชน เช่น กรมประมง สถาบันอาหาร และกรมวิทยาศาสตร์ บริการ - เจ้าของธุรกิจส่วนตัวผลิตผลิตภัณฑ์ อาหารจากจุลินทรีย์ เช่น แหนม โยเกิร์ต ไวน์

เว็บไซต์หลักสูตร: https://mi.hcu.ac.th/ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ มุ่งเน้นความรู้ในศาสตร์ที่ครอบคลุมเกือบทุกด้าน ของพื้นฐานวิชาทางการแพทย์ และแขนงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับสุขภาพมนุษย์ โอกาสในการประกอบอาชีพ - นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ - นักวิชาการ นักวิจัย ผู้ช่วยวิจัย ในหน่วยงานต่าง ๆ - ครูและอาจารย์ - พนักงานหน่วยงานภาคเอกชนด้านธุรกิจการแพทย์ - ธุรกิจส่วนตัวด้านการน�ำเข้าและขายผลิตภัณฑ์ทาง ด้านการแพทย์

เว็บไซต์หลักสูตร: http://www.ms.hcu.ac.th/ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มุ้งเน้นผลิตบัณฑิตในสายวิชาชีพ นักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร โอกาสในการประกอบอาชีพ - นักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร - นักวิชาการ นักวิจัย ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน - นักพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร - เจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและอุตสาหกรรม แช่แข็ง เจ้าหน้าที่ควบคุมฝ่ายผลิตในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและ อุตสาหกรรมแช่แข็ง - ผู้ประกอบการและเจ้าของกิจการที่เกี่ยวข้องกับการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร หรือเป็นผู้น�ำเข้าวัตถุดิบที่เกี่ยวกับการแปรรูปอาหาร หรือธุรกิจส่งออก อาหารและอาหารแปรรูป

เว็บไซต์หลักสูตร: https://fs.hcu.ac.th/ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หลักสูตรที่เปดสอน 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร Bachelor of Science Program in Computer Science

ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร) Bachelor of Science (Computer Science) B.S. (Computer Science)

2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาอุตสาหกรรม ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาอุตสาหกรรม Bachelor of Science Program in Industrial Microbiology

ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาอุตสาหกรรม วท.บ. (จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม) Bachelor of Science (Industrial Microbiology) B.S. (Industrial Microbiology)

3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย Bachelor of Science Program in Medical Science

ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรการแพทย) วท.บ. (วิทยาศาสตรการแพทย) Bachelor of Science (Medical Science) B.Sc. (Medical Science)

4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร Bachelor of Science Program in Food Science and Technology

ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร) วท.บ. (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร) Bachelor of Science (Food Science and Technology) B.Sc. (Food Science and Technology)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ Contact คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ Faculty of Science and Technology, Huachiew Chalermprakiet University เลขที่ 18/18 ถนนบางนา-ตราด กม.18 ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 18/18 Bangna-Trad Road k.m. 18 Samutprakarn 10540 Thailand โทรศัพท 0-2312-6300-79 ตอ 1180 เว็บไซต : http://sci.hcu.ac.th Tel : +662-312-6300-79 ext. 1180 Website : http://sci.hcu.ac.th http://scijournal.hcu.ac.th/ojs http://scijournal.hcu.ac.th/ojs