(1)

หัวขอดุษฎีนิพนธ การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระ วิหาร: ศึกษาในหวงเวลาตั้งแตค.ศ.2008 ถึง 2013 ชื่อผูเขียน นางทรงพร ทาเจริญศักดิ์ ชื่อปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา/คณะ/มหาวิทยาลัย วิทยาลัยสื่อสารการเมือง รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก อาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ ดร.นันทนา นันทนวโรภาส ปการศึกษา 2559

บทคัดยอ

ดุษฎีนิพนธเลมนี้มุงหมายศึกษาใน 2 ประเด็น คือ 1).บริบทความขัดแยงทางการเมือง ระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารที่ดําเนินมาตั้งแต ค.ศ.1962-2013 และ 2).การสื่อสาร ทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008- 2013 การศึกษานี้เปนงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใชกรอบแนวคิดทฤษฎี ภายใตแบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของแนวคิดของ Brian McNair และ ‘ทฤษฎีประตู ขาว’(Gatekeeping Theory) การศึกษานี้ใชเทคนิคการการวิเคราะหเนื้อความ(content analysis) การวิเคราะหตัวบท (text analysis) และการสัมภาษณเจาะลึก(In-depth Interview) ผลการวิจัยในประเด็นแรกผูวิจัยพบวา บริบทความขัดแยงทางการเมืองในกรณีพระวิหาร ระหวางไทยและกัมพูชาที่ดําเนินมาตั้งแตค.ศ.1962-2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของ สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวนั้น สามารถแบงออกเปนสามชวง คือ ชวงแรก ค.ศ. 1962-1972 ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ เมื่อ 15 มิถุนายน ค.ศ.1962 ไดตัดสินใหปราสาทพระ วิหารเปนของกัมพูชาแตศาลไมไดพิพากษาชี้ขาดเรื่องเสนเขตแดนระหวางไทย-กัมพูชา ชวงที่สอง ค.ศ. 1973-2007 ปราสาทพระวิหารเปน“สัญญลักษณของมิตรภาพและความรวมมือระหวางไทย และกัมพูชา มีการเจรจาที่จะเปดปราสาทพระวิหารเปนแหลงทองเที่ยว โดยไทยสนับสนุนเงินใน การปรับปรุงถนนที่ขึ้นสูตัวปราสาทพระวิหาร ตลอดจนมีการลงนาม ใน “บันทึกความเขาใจวา ดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก”(‘MoU2000’) และ“บันทึกความเขาใจเกี่ยวกับพื้นที่ ทับซอนทางทะเล” (‘MOU2001’) และการจะ“รวมมือพัฒนาเขาพระวิหารและบูรณะปฏิสังขรณ

(1) (2)

ปราสาทพระวิหาร” อยางไรก็ตามในสมัยรัฐบาลทักษิณกัมพูชาไดยื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนครั้งแรกเมื่อ 10 ตุลาคม ค.ศ.2001 ครั้งที่สองเมื่อวันที่ 30 มกราคมค.ศ. 2006 และครั้งที่สามเมื่อกรกฎาคมค.ศ. 2007 ซึ่งรัฐบาลสุรยุทธไมคัดคานการขึ้น ทะเบียนตัวปราสาท เพียงแตไดคัดคานไมใหเอา‘พื้นที่ทับซอน’ ไปขึ้นทะเบียน ชวงที่สามระหวางป ค.ศ. 2008-2013 ปราสาทพระวิหารไดกลายเปน“สัญญลักษณของความเกลียดชัง”(symbol of hatred) ระหวางไทย-กัมพูชา เมื่อมีการลงนามใน“ขอตกลงรวม”(joint communiqué )ในสมัย รัฐบาลสมัคร ซึ่งสนับสนุนใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนใหตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตามแผนที่ ประกอบซึ่งไมรุกล้ํา‘พื้นที่ทับซอน’ แตฝายตอตานรัฐบาลในไทยไดปลุกกระแสชาตินิยมและทําการ ประทวงจนตองยกเลิกขอตกลงนี้ อยางไรก็ตามองคการยูเนสโกก็ไดมีมติใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนให ตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกในวันที่ 8 กรกฎาคม 2008 หลังจากนั้นเกิดมีการตรึงกําลัง ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชาในสมัยรัฐบาลสมัคร และเริ่มมีการปะทะดวยกําลังอาวุธในสมัย รัฐบาลสมชาย โดยเฉพาะในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์มีการปะทะกันรุนแรงหลายครั้ง จนกัมพูชาไดนํา ประเด็นพิพาทนี้ไปรองเรียนตอคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ(UNSC) และ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) เพื่อใหตีความคําพิพากษาในป 1962 ในประเทศไทยมีการ ปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อกําจัดรัฐบาลยิ่งลักษณเชนเดียวกับที่เคยกําจัดรัฐบาลสมัครและรัฐบาล สมชายมาแลว โดยกลุมนี้อางวาไทยเสียดินแดนตามมติของศาลโลกเมื่อ 11พฤศจิกายน ค.ศ. 2013 แตเนื่องจากรัฐบาลยิ่งลักษณมีการสื่อสารการเมืองที่เตรียมการมาอยางดี กลุมตอตานจึงไม สามารถใชกรณีปราสาทพระวิหารมากําจัดรัฐบาลยิ่งลักษณ เชนที่ทําไดสําเร็จกับรัฐบาลสมัคร และรัฐบาลสมชาย ผลการวิจัยในประเด็นที่สองผูวิจัยพบวา สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวแสดง บทบาทสื่อมวลชนที่เผยแพรขอมูลกรณีพระวิหารตามแบบจําลองสื่อสารทางการเมือง แตสํานัก ขาวรอยและเตอรสสํานักขาวสํานักขาวซินหัวนั้น เปนตัวแทนของอุดมการทางการเมืองที่แตกตาง กัน กลาวคือ สํานักขาวรอยเตอรสเปนบรรษัทเงินทุนขามชาติดานสื่อภายใตระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยมเสรี จึงเปนองคกรธุรกิจที่มุงแสวงหากําไร ในขณะที่สํานักขาวซินหัวนั้นอยูภายใตระบบ เศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม เปนหนวยงานของรัฐบาลจีน มีรายไดจากรัฐ ดวยเหตุนี้สํานัก ขาวซินหัวไดเลือก“เปดประตู”ใหขาว “กรณีพระวิหาร”เพราะจีนใหความสําคัญกับประเทศในกลุม อาเซียนมากกวาสํานักขาวรอยเตอรส ดังจะเห็นวาในหวงเวลา 6 ปตั้งแตป 2008-2013 สํานักขาว

(2) (3)

รอยเตอรสมีการคัดเลือกขาวมารายงานเพียง 108 ขาว แตสํานักขาวซินหัวคัดเลือกขาวมารายงาน 622 ขาว ซึ่งมากกวาสํานักขาวรอยเตอรสถึงเกือบ 6 เทา

ขอสังเคราะหจากงานวิจัย มี 5 ประการ คือ ประการที่ 1 ความขัดแยงระหวางประเทศนั้น จะมีความรุนแรงขึ้นเมื่อแตละประเทศปลุกกระแสชาตินิยมใหเกิดแกคนในชาติ ประการที่ 2.ความ เหนือกวาดานวิเทโศบายตางประเทศ สรางความไดเปรียบในเชิงการสื่อสารการเมืองบนเวทีโลกใน กรณีพระวิหาร ประการที่ 3.รัฐบาลไทยเพลี่ยงพล้ําในเชิงวิเทโศบายและการสื่อสารการเมืองใน กรณีพระวิหาร ประการที่ 4.กรณีพระวิหารนี้จะกลายเปนอุปสรรคตอการรวมตัวเปนประชาคม อาเซียน และ ประการที่ 5. รัฐบาลไทยและกัมพูชาตางตีความคําตัดสินของศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ เปนบวกตอประเทศตน ปญหาจึงยุติลงชั่วคราว นอกจากนี้มีขอเสนอแนะ ดังนี้คือ ประการที่ 1 นักการเมืองทั้งสองประเทศไมควรใชกรณี พระวิหารมาปลุกปนความรูสึกชาตินิยม ประการที่ 2 รัฐบาลไทยควรมีโครงการปรับทัศนคติของ คนไทยตอประเทศเพื่อนบาน ประการที่ 3 รัฐบาลไทยและกัมพูชาควรเรงรัดการปกปนเขตแดน ระหวางไทยและกัมพูชาที่ยังไมแลวเสร็จ ประการที่ 4 รัฐบาลไทยควรจะใชคําวา ‘’ แทนคําวา ‘Phra Viharn’ ในการเรียกชื่อ ‘ปราสาทพระวิหาร’ ในภาษาอังกฤษ เนื่องจากปราสาท พระวิหารเปนของกัมพูชาตามคําพิพากษาของศาลโลก ประการที่ 5 ในแผนจัดการปราสาทพระ วิหารใหเปนมรดกโลกนั้น ควรมี“สวนสันติภาพนานาชาติ” ที่ทั้งรัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชา รวมกันกับชุมชนทองถิ่นทั้งสองดานของพรมแดนในการจัดการ

(3) (4)

Dissertation Title Political Communication of International News Agencies in the Preah Vihear Dispute From 2008-2013. Author Ms. Songphorn Tajaroensuk Degree Doctor of Philosophy Department/Faculty/University Political Communication Political Science Krirk University Dissertation Advisor Dr. Nanatana Nantanavaropart Academic Year 2559

ABSTRACT

The aim of this dissertation is twofold. One is to study the political contexts related to the Preah Vihear dispute from 1962 to 2013; and the other is to study the political communication of international News agencies in the Preah Vihear dispute from 2008 to 2013. This is a qualitative research under the theoretical frameworks of Brian McNair’s Political Communication Model and the Gatekeeping theory by Pamela Shoemaker and Vos. The research techniques employed are content analysis, text analysis as well as in-depth Interviews. It was found that the political contexts of the Thai-Cambodian dispute concerning Preah Vihear from 1962-2013 can be divided into 3 phases. Phase I (1962- 1972) was highlighted by the decision of the International Court of Justice (ICJ) to give sovereignty over Preah Vihear but its vicinity was left undecided. During Phase II (1973-2007), Preah Vihear became a symbol of friendship and cooperation between and Cambodia. Mutual attempts were made to make Preah Vihear Temple a tourist site facilitated by a Thai-funded road. Other cooperations include the Thai-Cambodian Memorandum of Understanding related to the Survey and Boundary Demarcation (‘MOU2000’) and the Memorandum of Understanding Between Thailand and Cambodia regarding the Area of their Overlapping Maritime Claims to the Continental Shelf (‘MOU2001’) as well as the pledge to jointly develop and renovate Preah Vihear Temple. Despite these efforts, Cambodia filed a separate request with

(4) (5)

UNESCO on October 10, 2001 to register Preah Vihear as a World Heritage Site (WHS), followed by the second and third applications on January 30, 2006 and July 2007 respectively. In theory, the Suraydh government of the time did not oppose Cambodia’s attempts but raised the issue of the overlapping area of 4.6 square kms. Unfortunately, during Phase III (2008-2013) Preah Vihear was portrayed as a symbol of hatred between Thailand and Cambodia. Even though the new map produced by Cambodia to be submitted to UNESCO did not overlap the area of 4.6 square kms., the signing of the joint communiqué during the Samak Administration ended up in protests by nationalists and later its revocation. Surprisingly, UNESCO unanimously approved Cambodia’s request on July 8, 2008 amidst protests from Thailand. This sparked troops build-up on both sides of the Thai-Cambodian border during the Samak’s administration, followed by clashes during the Somchai’s and more severe ones during the Apisit’s, which prompted Cambodia to file complaints in 2011 with the UNSC and with the ICJ to reinterpret the ICJ’s judgement in 1962. The ICJ’s verdict in November 11, 2013 confirmed Cambodia’s sovereignty over Preah Vihear and the whole promontory. Anti- government protestors claimed Thailand suffered a loss of territories. Thanks to the political communication skills of the Yingluck’s administration, however, the effort to mobilize nationalism to overthrow the Yingluck’s administration was not as successful as with the Samak’s and Somchai’s. As for the political communication of international news agencies in the Preah Vihear dispute from 2008 to 2013, it was found that international news agencies, in this case, Reuters and Xinhua, have fulfilled their roles as global mass media in disseminating news reports concerning the Preah Vihear dispute in accordance with ‘Brian McNair’s Political Communication Model’. Since they represent two different political ideologies and economic systems, Reuters is a profit-making multinational media corporation in a free-market economy whereas Xinhua is a state-run and state- funded news agency in a socialist -market economy. It is evident that Xinhua has a policy of ‘opening the gate’ for news reports concerning the Preah Vihear dispute because Xinhua, as a state news agency, has adopted the Chinese government‘s foreign policy of focusing on ASEAN. In the course of 6 years from 2008 to 2013, Xinhua has made 622 news reports which is 6 times more than those by Reuters, a professional global news agency, which produced only 108 news reports.

(5) (6)

There are 5 points that can be synthesized from these research findings. Firstly, conflicts between nations are likely to become violent if nationalism is stirred within the nation. Secondly, superior foreign affairs strategies enable one to have an edge in political communication in the Preah Vihear dispute. Thirdly, the Thai government was outperformed in terms of foreign affairs strategies and political communication skills in the Preah Vihear dispute. Fourthly, the Preah Vihear dispute has become an obstacle in ASEAN Community integration. Lastly, the Thai and Cambodian governments have positively interpreted the ICJ’s verdict in 2013 so as to put a temporary end to turbulent domestic politics. It is recommended that politicians from both countries be refrained from nationalist mobilization in the Preah Vihear dispute. In addition, positive attitudes towards one’s neighbor should be promoted. Furthermore, it is advised that the process of demarcation of the Thai-Cambodian border be accelerated by both Thai and Cambodian governments. Besides, since the Preah Vihear Temple belongs to Cambodia, the name ‘Preah Vihear’ should be used in English by the Thai government instead of ‘Phra Viharn’. Last but not least, it is hoped that the idea of an international peace park should be included in the Preah Vihear World Heritage Site Management Plan and be realized with the participation of both governments and the local communities on both sides of the Thai-Cambodian border.

(6) (7)

กิตติกรรมประกาศ

ดุษฎีนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี เนื่องจากไดรับความกรุณาและคําชี้แนะที่เปน ประโยชนจากกรรมการดุษฎีนิพนธทุกทาน ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารยชูศักดิ์ ศิรินิล ประธานกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ รองศาสตราจารย ดร.โคริน เฟองเกษม ผูชวยศาสตราจารย ดร.โอฬาร ถิ่นบางเตย และอาจารย ดร.วิโชติ วรรโณ กรรมการดุษฎีนิพนธ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ดร.นันทนา นันทนวโรภาส กรรมการและอาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ ที่คอยแนะนํา แกไข ขอบกพรองตางๆและชี้แนะใหคําปรึกษา ขอขอบพระคุณศาสตราจารย ดร.สุรชาติ บํารุงสุข ผูเปนแรงบันดาลใจใหขาพเจาสนใจ ศึกษามุมมองของสํานักขาวตางประเทศในกรณีพระวิหาร คุณนพดล ปทมะและเพื่อนๆในวงการ สื่อสารมวลชนที่ใหขอมูลที่เปนประโยชน อาทิ คุณสงวน คุมรุงโรจน คุณสุภลักษณ กาญจนขุนดี คุณนพพร วงษอนันต คุณอนุรัชช มณีพันธุ คุณสุรศักดิ์ ตุมเจริญ และคุณ Grant Peck ตลอดจน คุณสุพัตรา ภูมิประภาส จาก Media Inside Out คุณกุลนันท คันธิก จากโครงการความมั่นคง ศึกษา ที่ไดชวยชี้แนะและประสานงานการสัมภาษณ ขอขอบพระคุณคณาจารยทุกทานในวิทยาลัยสื่อสารการเมืองที่ไดประสิทธิประสาท ความรูความเขาใจใหมๆใหแกขาพเจา เพื่อนๆพี่ๆนองๆในหลักสูตรนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ดร.สุ เนตร มาทอง ดร.สุวิทย ประภาโส ดร.มณฑาทิพย ชินวัตร อาจารยจักรี กษัตรีย ดร.แสงชัย อัฑฒป ภาวิน คุณยุทธศาสตรฤทธิ์รอย ตลอดจนเจาหนาที่ทุกคนที่ไดใหความอนุเคราะหในการทําดุษฎี นิพนธเรื่องนี้ ในทายที่สุด ขาพเจาเปนหนี้บุญคุณสมาชิกในครอบครัว โดยเฉพาะอยางยิ่ง คุณเมืองชัย- ทองไร ทาเจริญศักดิ์ บิดามารดาที่สอนใหขาพเจารูจักการเรียนรูตลอดชีวิต คุณไพสิทธิ์ พุฒพนา ทรัพยคูชีวิต และคุณจิราภรณ วิญญรัตน มิตรทางปญญา

(7) (5)

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย (1) บทคัดยอภาษาอังกฤษ (2) กิตติกรรมประกาศ (3) สารบัญตาราง (5) (7) สารบัญภาพ (6) รายการสัญญลักษณและคํายอ (8) บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญของปญหา 1 ปญหานําการวิจัย 5 วัตถุประสงคการวิจัย 7 นิยามศัพท 7 ขอบเขตการวิจัย 7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 8 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 9 ทฤษฎีการสื่อสารและการสื่อสารการเมือง 9 แนวคิดเกี่ยวกับขาว 18 แนวคิดเกี่ยวกับสํานักขาว 20 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 24 กรอบแนวคิดของการวิจัย 26 บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 28 แนวทางการศึกษาวิจัย 28 เครื่องมือการศึกษา 29 กลุมผูใหขอมูล 29 การจัดกระทําขอมูล 30 การวิเคราะหขอมูล 34 ขอจํากัดงานวิจัย 36

(5) (6)

สารบัญ (ตอ)

หนา บทที่ 4 บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชา ในกรณีพระวิหารในหวง ค.ศ.1962-2013 40 บริบทความขัดแยงระหวางกัมพูชาและไทยกอนป 1962 40 บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาใน กรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1962-1972 47 บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณี พระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1973-2007 53 บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาใน กรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.2008-2013 66 สรุปทางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณี พระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1962-2013 105 บทที่ 5 การสื่อสารการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรส (Reuters) ในกรณีพระวิหารใน หวงป ค.ศ.2008-2013 111 การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป ค.ศ.2008 111 การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป ค.ศ.2009 127 การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป ค.ศ.2010 131 การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2011 132 การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2012 137 การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2013 138 บทความเชิงวิเคราะหที่เกี่ยวของกับกรณีพระวิหารของสํานักขาว 141 รอยเตอรสในหวงป ค.ศ.2008-2013 วิเคราะหการสื่อสารการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสในกรณีพระวิหาร ในหวงป ค.ศ.2008-2013 147 สรุป การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรส ในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008-2013 152

(6) (7)

สารบัญ (ตอ)

หนา บทที่ 6 การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวซินหัว(Xinhua)ในกรณีพระวิหาร ในหวงปค.ศ.2008-2013 155 การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหารกอนปค.ศ. 2008 159 การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2008 160 การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2009 178 การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป ค.ศ.2010 190 การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2011 206 การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2012 245 การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2013 255 วิเคราะหการสื่อสารการเมืองของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหารในหวง 271 ป 2008-2013 สรุปการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวซินหัวกรณีพระวิหารในหวงป 277 2008-2013 บทที่ 7 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 280 บทสรุป 280 บริบทความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1962-2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอย เต 281 อรสและสํานักขาวซินหัว การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระวิหาร : ศึกษาในหวงเวลาตั้งแตค.ศ.2008 ถึง 2013 283 เปรียบเทียบบทวิเคราะหขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว 292 อภิปรายผลการวิจัย 296 ขอสังเคราะหจากการวิจัย 300 ขอเสนอแนะ 308 บรรณานุกรม 310 ภาคผนวก 320 ผนวก ก.ลําดับเหตุการณที่มีผลตอความขัดแยงไทย-กัมพูชากอนป 1962 321

(7) (8)

สารบัญ (ตอ)

หนา ผนวก ข. บริบททางการเมืองของรัฐบาลตางๆของไทยที่มีผลตอความ ขัดแยงไทย-กัมพูชา ค.ศ. 1962-2013 324 ผนวก ค. ภาพปราสาทพระวิหารบนธนบัตรกัมพูชา 333 ผนวก ง. ภาพบริเวณพื้นที่ทับซอนไทย-กัมพูชา 335 ผนวก จ. ภาพแผนที่ ที่กัมพูชาไดปรับแกแลว และไมล้ําเขามาในพื้นที่ทับ ซอน ที่ไดแนบมาใน “แถลงการณรวม” (joint communiqué ) ที่ ลงนามโดยนายนพดล ปทมะ ในเดือนมิถุนายน 2008 336

(8) (9)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 5.1 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2008 111 5.2 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2009 128 5.3 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2010 132 5.4 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2011 132 5.5 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2012 138 5.6 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2013 139 5.7 จํานวนขาวที่รายงานโดยสํานักขาวรอยเตอรสแบงตามรัฐบาล ค.ศ.2008-2013 148 5.8 ความถี่ในการรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในแตละเดือน ในหวง เวลาค.ศ. 2008-2013 149 5.9 การวิเคราะหพาดหัวขาวของสํานักขาวรอยเตอรส 151 5.10 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2008 160 6.1 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2009 178 6.2 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2010 190 6.3 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2011 206 6.4 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2012 246 6.5 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2013 256 6.6 จํานวนขาวที่รายงานโดยสํานักขาวซินหัวแบงตามรัฐบาล 272 6.7 แสดงความถี่ในการรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหารค.ศ. 2008-2013 273 7.1 เปรียบเทียบจํานวนขาวที่รายงานโดยสํานักขาวรอยเตอรและสํานักขาวซิน 284 หัวแบงตามรัฐบาล 7.2 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวใน 285 ป 2008 7.3 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวใน 286 ป 2009 7.4 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวใน 287 ป 2010

(9) (10)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา 7.6 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว 288 ในป 2012 7.7 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ในป 2013 290 7.9 วิเคราะห “ผูกระทําทางการเมือง”ในพาดหัวขาวของสํานักขาว รอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว 291

(10) (11)

สารบัญภาพ

ภาพประกอบที่ หนา 2.1 แบบจําลองการสื่อสารของ Lasswell (1948) 11 2.2 แบบจําลองการสื่อสารของ David Berlo (1960) 12 2.3 แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของ McNair (2003) 13 2.4 แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศใน การรายงานขาวกรณีพระวิหาร 28

(11) (12)

รายการสัญญลักษณและคํายอ

ฉก.กรม ทพ.23 หนวยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 23 ..คายอุทุมพรพิทักษเขต อ.กันทรลักษ จ.ต. หนองหญาลาด อ.กันทรลักษ จ.ศรีสะเกษ 33110 สมช. สภาความมั่นคงแหงชาติ AC ASEAN Community (ประชาคมอาเซียน) AEC ASEAN Economic Community (ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) AFP Agence Presse (สํานักขาวเอเอฟพี) AP (สํานักขาวเอพี) ASEAN Association of South East Asian Nations (อาเซียน-สมาคมประชาชาติเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต) ASEM Asia-Europe Meeting (การประชุมเอเชียยุโรป) AP Associated Press (สํานักขาวเอพี) AFP Agence France Presse (สํานักขาวเอเอฟพี) BBC British Broadcasting Corporation (สถานีวิทยุโทรทัศนของประเทศสหราช อาณาจักร) BOI Board of Investment (สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน) BPKC คณะกรรมการรักษาความสงบตามชายแดน (Border Peace Keeping committee) CCTV China Central Television (สถานีโทรทัศนกลางของจีน) CMC Cluster Munition Coalition (กลุมเครือขายความรวมมือตอตานระเบิดลูกปราย) CNN Cable News Network (เครือขายขาวทางเคเบิ้ลของสหรัฐอเมริกา) DPA Deutsche Presse Agentur (สํานักขาวจากเยอรมันนี) DPICM Dual-Purpose Conventional Munition (ระเบิดดาวกระจาย) Ex-PM Former Prime Minister (อดีตนายกรัฐมนตรี) GBC คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Commission) ซึ่งมี รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ของทั้งสองประเทศเปนประธานรวม ICJ International Court of Justice (ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ) IMF International Monetary Fund (องคกรการเงินระหวางประเทศ) JBC คณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (Joint Border Commission) ไทย-กัมพูชา ซึ่งมี หนาที่สํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกระหวางประเทศทั้ง สองใหชัดเจน

(12) (13)

ภายใตกรอบ “บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาล กัมพูชาวาดวยการ สํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก” หรือ ‘MOU 2000’ รายการสัญญลักษณและคํายอ (ตอ)

JC คณะกรรมาธิการรวมวาดวยความรวมมือทวิภาคี (Joint Commission) ไทย - กัมพูชา ซึ่งมี รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของสองประเทศเปน ประธานรวม เปนกลไกหลักกํากับดูแลความสัมพันธในทุกมิติการประชุม JC ครั้ง ลาสุด ไดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 3 - 4 กุมภาพันธ 2554 ที่เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา JDA Joint Development Area (การสํารวจน้ํามันและกาซธรรมชาติในสวนกลางของ เขตพัฒนารวม) JTC คณะกรรมการเทคนิครวม (Joint Technical Committee-JTC) JWG Joint working Group คณะทํางานรวม (เพื่อหารือกันตอเรื่องการถอนทหาร) MoU Memorandum of Understanding (บันทึกความเขาใจ) NHK Nippon Hōsō Kyōkai สถานีวิทยุโทรทัศนของประเทศญี่ปุน NWICO New World Information and Communication Order (การจัดระเบียบโลกใหม ดานขอมูลและขาวสาร) PAD People’s Alliance for Democracy (กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย- พธม.) PDZ Provisional (เขตปลอดทหารชั่วคราว) PM Prime Minister (นายกรัฐมนตรี) RBC Regional Border Committee (คณะกรรมการชายแดนสวนภูมิภาค) ซึ่งมีแมทัพ ภาคที่รับผิดชอบพื้นที่บริเวณชายแดนทั้งสอง ประเทศเปนประธานรวม ซึ่งมี ทั้งหมด 3 คณะกรรมการ โดยแบงพื้นที่ตาม ภูมิภาคชายแดน 3 ดาน ไดแก กองทัพภาคที่ 1 ของไทยกับภูมิภาคทหารที่ 5 ของกัมพูชา กองทัพภาคที่ 2 ของ ไทยกับภูมิภาคทหารที่ 4 ของกัมพูชา และ กองบัญชาการปองกันชายแดนจันทบุรี - ตราด ของไทยกับภูมิภาคทหารที่ 3 ของกัมพูชา SEATO The South East Asia Treaty Organization (สปอ.-องคการสนธิสัญญาปองกัน เอเวียตะวันออกเฉียงใต) UN/UNO United Nations Organization (องคการสหประชาชาติ) UNESCO United Nations Education, Science and Culture Organization (องคการ การศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ) UNSC United Nations Security Council (สภาความมั่นคงแหงองคการสหประชาชาติ)

(13) (14)

UNTAC United Nations Transitional Authority in Cambodia (องคการบริหารชั่วคราว ในกัมพูชาของสหประชาชาติ) UPI United Press International (สํานักขาวยูพีไอ)

(14) บทที่ 1

บทนํา

ที่มาและความสําคัญของปญหา

กรณีพระวิหารเปนกรณีพิพาทระหวางไทยกับกัมพูชาที่สื่อสารมวลชนทั่วโลกตางใหความ สนใจ นับตั้งแตกรณีไดถูกนําขึ้นพิจารณาในศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (International court of Justice-ICJ) ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด ในปค.ศ. 1962 ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตโดย ศาลไดตัดสินใหไทยแพคดี และกัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารแตผูเดียว กรณีพิพาทนี้ ไดกลับปะทุรุนแรงขึ้นมาอีกเกือบ 50 ปผานไปในปค.ศ. 2008 หลังจากที่กัมพูชาไดรับอนุมัติจาก องคการยูเนสโกใหขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกแตผูเดียว เกิดกระแสความโกรธ แคนในประเทศไทยวาทําใหไทยเสียดินแดน สงผลใหเกิดความตึงเครียดที่ชายแดนไทย-กัมพูชา มี การปะทะกันรุนแรงหลายครั้งและบาดเจ็บลมตายกันทั้งสองฝาย จนเปนขาวโดงดังไปทั่วโลก สื่อสารมวลชนในทุกประเทศตางใหความสนใจ โดยเฉพาะสํานักขาวตางประเทศ (international news agencies) ซึ่งทําหนาที่กระจาย”ขาวตางประเทศ" ความเคลื่อนไหวกรณีพระวิหารนี้ออกไป ในขอบเขตทั่วโลก ดวยเหตุนี้เมื่อกัมพูชาไดนํากรณีพระวิหารนี้ขึ้นสูการพิจารณาของศาลโลกอีก ครั้งในป ค.ศ.2011เพื่อใหศาลตีความคําพิพากษาในป 1962 อีกครั้ง ดังนั้นในชวงปค.ศ. 2008- 2013 ประชาคมโลกจึงไดรับทราบการรายงานขาวกรณีพระวิหารระหวางไทย-กัมพูชา โดยผาน ทัศนะ มุมมอง และจุดยืนของสํานักขาวตางประเทศ สํานักขาวตางประเทศจากโลกตะวันตกนั้นกอตั้งมานานแลว ในอดีตมี 4 สํานักขาวที่มี อิทธิพลควบคุมการรายงานขาวรอยละ 90 ของโลก จนไดฉายาวา “สี่ยักษใหญ”(“The Big Four”) คือ สํานักขาวเอเอฟพี (AFP-Agence France Presse) จากฝรั่งเศส สํานักขาวรอยเตอรส(Reuters) จากของสหราชอาณาจักร สํานักขาวยูพีไอ (UPI-United Press International) และสํานักขาวเอพี (AP-Associated Press) จากสหรัฐอเมริกา1 ในตอนเริ่มตนสํานักขาวเหลานี้ขยายบทบาทโดยผาน ทางอดีตประเทศอาณานิคมของตน สํานักขาวแหงแรกของโลกกอตั้งในปค.ศ.1835 คือ Agence

1 Oliver Boyd-Barrett. “National and International News Agencies : Issues of Crisis and Realignment”, Gazette, 2000, Vol. 62, pp. 5-18. 2

Havas ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนสํานักขาวเอเอฟพี มีอิทธิพลในประเทศอดีตอาณานิคมของฝรั่งเศสใน เอเชีย ลาตินอเมริกาและในอัฟริกา สวนสํานักขาวรอยเตอรสกอตั้งในปค.ศ. 1851 มีอิทธิพลใน อดีตอาณานิคมและประเทศเครือจักรภพของสหราชอาณาจักรอังกฤษ สองสํานักขาวจาก สหรัฐอเมริกา คือสํานักขาวเอพีกอตั้งในปค.ศ. 1846 และสํานักขาวยูพีไอกอตั้งในปค.ศ. 1907 มี อิทธิพลในญี่ปุน เกาหลี ลาตินอเมริกา ฟลิปปนส หมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟกที่เคยอยูภายใต อิทธิพลของสหรัฐอเมริกา 2 อยางไรก็ตามในชวงทศวรรษ 1980 ไดมีขบวนการเคลื่อนไหวตอตานสํานักขาวจากโลก ตะวันตกเหลานี้ นําโดยประเทศสมาชิกจากโลกที่สามที่เปนสมาชิกขององคการยูเนสโก ซึ่งได รวมตัวกันออก “คําประกาศเกี่ยวกับสื่อสารมวลชนของยูเนสโกปค.ศ. 1978” (the 1978 UNESCO Mass Media Declaration) ซึ่งมีเนื้อหาตองการทวงคืนสิทธิในการควบคุมการรายงานขาวภายใน ขอบเขตอธิปไตยของชาติตน คําประกาศนี้มีนัยวาจะมี “การจัดระเบียบโลกใหมดานขอมูลและ ขาวสาร” (New World Information and Communication Order -NWICO) ดังมีรายละเอียดใน รายงานของ The McBride Report 3 ผลของการจัดระเบียบโลกใหมดานขอมูลและขาวสารนั้นมี ผลใหนับตั้งแตทศวรรษ 1980 เปนตนมา มีเพียงสองสํานักขาวจากโลกตะวันตก คือ สํานักขาวเอพี จากสหรัฐ และสํานักขาว รอยเตอรสจากอังกฤษ เทานั้นที่ขึ้นมาเปนผูนําของบรรดาสํานักขาวที่ทํา หนาที่ “ขายสง” ขาวในระดับโลก 4 สวนสํานักขาวในทวีปเอเชียที่มีศักยภาพในการขึ้นมาเปน สํานักขาวระดับโลกได คือ สํานักขาวซินหัวของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ไดไปตั้ง สํานักงานที่ไทมสแควรในนิวยอรก 5 และไดติดตั้งปายบิลบอรดขนาดยักษเพื่อประชาสัมพันธ สํานักขาวซินหัว 6 ในการศึกษาวิจัยเรื่อง “การสื่อสารการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในกรณีพระวิหารใน หวงป ค.ศ. 2008-2013 นี้ ผูวิจัยไดเลือกสํานักขาวรอยเตอรสใหเปนตัวแทนของสํานักขาวจากคาย

2 “The Big Four”, New Internationalist Magazine (June 1981). 3 Sean McBride et al., The MacBride Report. (: Unesco, 1980). 4 Jonathan Fenby, The International News Services. A Twentieth Century Fund Report. (New York: Schocken Books, 1986). 5 Anton Troianovski,“China Agency Nears Times Square”. The Wall Street Journal (30 June 2010). 6 Stuart Elliott,“Sign of Arrival, for Xinhua, Is 60 Feet Tall”. New York Times (25 July 2011). 3

ทุนนิยมเสรีจากโลกตะวันตก เนื่องจากไดควบรวมกิจการกับบรรษัททอมสันในปค.ศ. 2008 และ ใชชื่อใหมวา ‘Thomson Reuters’ ซึ่งนอกจากจะทําธุรกิจสํานักขาวแลว ยังเปนผูใหบริการขาว การเงินรายใหญใหแกบริษัทธุรกิจ หนวยงานรัฐบาลและบุคคลทั่วไปในขอบเขตทั่วโลก ดังจะเห็น วาสื่อสารมวลชนในปจจุบันในขอบเขตทั่วโลกตางไดสมัครเปนสมาชิกขาวจากสํานักขาวรอยเต อรสซึ่งใชภาษาในการรายงานขาวเกือบ 20 ภาษา 7 มีผูสื่อขาวและพนักงานกวา 55,000 คนใน 200 เมืองในกวา 100 ประเทศ ทั้งยังมีฐานะการเงินมั่นคง มีรายรับประจําปกวา 12.9 พันลาน เหรียญสหรัฐในปค.ศ. 2011 8 สวนสํานักขาวจากโลกตะวันออกนั้น ผูวิจัยไดเลือกสํานักขาวซินหัวซึ่งเปนสํานักขาวที่ ใหญที่สุดของประเทศสาธารณรัฐประชาชน ซึ่งมีการปกครองระบอบสังคมนิยม และมีเศรษฐกิจ แบบการตลาดสังคมนิยม สํานักขาวซินหัวนั้นมีสถานะเทียบเทากระทรวงขึ้นตรงตอสภาแหงรัฐ ยิ่งไปกวานั้นประธานของสํานักขาวซินหัวนั้นมีฐานะเปนสมาชิกของคณะกรรมการกลางของพรรค คอมมูนิสตจีน และในบางกรณีสํานักขาวซินหัวไดทําหนาที่เปนผูแทนพรรคคอมมูนิสตจีนใน ประเทศและดินแดนที่ยังไมมีตัวแทนทางการทูตกับจีน 9 ในฐานะที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชน จีนเปนมหาอํานาจในเอเซียที่กําลังมีบทบาททั้งทางเศรษฐกิจและทางการเมืองในเวทีสากล สํานัก ขาวซินหัวจึงขยายตัวอยางรวดเร็วในระดับนานาชาติ ในปจจุบันสํานักขาวซินหัวมีพนักงาน มากกวา 10,000 คนปฏิบัติงานอยูในสํานักงานตางประเทศ 107 แหงทั่วโลกและมีสํานักงานอยูใน ทุกมณฑลของจีน 31แหง นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวนั้นยังทําหนาที่เปนสํานักพิมพดวยโดยเปน เจาของหนังสือพิมพมากกวา 20 ฉบับและนิตยสารกวา 12 ฉบับ ทั้งยังมีการตีพิมพจําหนายใน 6 ภาษา คือ :ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาสเปญ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาอาหรับ ยิ่งไป กวานั้นสํานักขาวซินหัวยังไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนขาวและภาพขาวกับสํานักขาวตางประเทศหรือ แผนกขาวการเมืองมากกวา 80 แหงทั่วโลก นอกเหนือจากการนําเสนอขาวตอสังคมโลกแลว

7 “Reuters a Brief History”, The Guardian (4 May 2007). 8 Magaret Christoph Griessner, “News Agencies and Social Media: A Relationship with a Future?”. Reuters Institute Fellowship Paper University of Oxford. Retrieved on 31 July 2016 from https://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/ 9 Susan Pares, A political and economic dictionary of East Asia. (London : Routledge, 2005). 4

สํานักขาวซินหัวยังมีหนาที่คัดกรองและเซนเซอรขาวจากตางประเทศกอนที่จะมีการเผยแพรในสื่อ ตางๆในประเทศจีนอีกดวย 10 ในสวนที่เกี่ยวกับประเด็นของความขัดแยงกรณีพระวิหารระหวางไทยและกัมพูชานั้น “ศาลยุติธรรมระหวางประเทศไดตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชาในปค.ศ. 1962 แต สถานะของพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตรรอบตัวปราสาทยังไมชัดเจนวาเปนของใคร เนื่องจากทั้งไทย และกัมพูชาตางยึดแผนที่คนละฉบับ ดังนั้นหลังจากที่ปราสาทพระวิหารไดรับการขึ้นทะเบียนเปน มรดกโลกโดยยูเนสโกในเดือนกรกฎาคม ปค.ศ.2008 ไดเกิดมีการปะทะกันตามชายแดนระหวาง ไทยและกัมพูชา โดยเฉพาะในชวงเดือนตุลาคมปเดียวกันและเดือนเมษายน-พฤษภาคมค.ศ. 2011 ทําใหมีผูเสียชีวิตทั้งกัมพูชาและไทยอยางนอย 34 คน”11 จนกัมพูชาไดขอใหศาลโลกตีความคํา ตัดสินในปค.ศ.1962 อีกครั้ง และศาลไดตัดสินเมื่อ 11 พฤศจิกายนค.ศ. 2013 ยืนยันวาปราสาท พระวิหารเปนของกัมพูชา แตยังคงไมชี้ขาดเกี่ยวกับพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกิโลเมตร แตทวาคํา ตัดสินนี้ยังไมเปนที่พอใจของนักชาตินิยมไทย ซึ่งอางวาปราสาทพระวิหารนั้นเปนสัญลักษณ ของอัตตลักษณของชาติ บูรณภาพแหงดินแดนและอธิปไตยของชาติ 12 ในเรื่องนี้ ชาญวิทย เกษตรศิริและ กาญจนี ละอองศรีไดวิเคราะหวานักการเมืองจากทั้งไทยและกัมพูชาไดใชประเด็น พระวิหารมาปลุกกระแสชาตินิยมในประเทศเพื่อประโยชนทางการเมืองของตน เมื่อใดที่ผูนํา ทางการเมืองมีปญหาภายในเกี่ยวกับวิกฤตความชอบธรรมในการขึ้นสูอํานาจ ก็จะมีการปนกระแส ชาตินิยมเพื่อเบนความสนใจของประชาชนจากปญหาที่รุมเราในประเทศ 13 ในการนี้จึงมีการปลุก กระแสอดีตอันขมขื่นเพื่อสรางความชอบธรรมใหกับนโยบายตางประเทศตอเพื่อนบานของตน กรณีความขัดแยงเรื่องพระวิหาร จึงเปนตัวอยางของความเกี่ยวพันระหวาง การนําประวัติศาสตรมา

10 Chris Glasser & Matthew Winkler, International Libel and Privacy Handbook: A Global Reference for Journalists, Publishers, Webmasters, and Lawyers. (New York : Bloomberg Press, 2009). 11 Martin Wagener, “Lessons from Preah Vihear: Thailand, Cambodia and the Nature of Low-Intensity Border Conflicts”. Journal of Current Southeast Asian Affairs, 2004, Vol.30, No.3, pp.27-59. 12 Bertil Lintner, “Few clear lines in Preah Vihear ruling”, Asia Times Online (15 November 2013). 13 ชาญวิทย เกษตรศิริและ กาญจนี ละอองศรี, รัฐชาติ-พรมแดน : ความขัดแยงและขอยุติบน เสนทางสันติภาพอาเซียน. (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย, 2553). 5

เปนเครื่องมือในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศ โดยมีการยกตัวอยาง “ตํานานเรื่องการ เสียดินแดน” ที่ปรากฎในตําราเรียนประวัติศาสตรไทยที่บิดเบือน และที่ถูกปนกระแสโดย สื่อมวลชนที่เลือกขาง 14 ในประเทศไทยกรณีปราสาทพระวิหารนั้น ไดสงผลสะเทือนตอความมั่นคงของรัฐบาล ไทยมาหลายรัฐบาล หลังจากยูเนสโกไดอนุมัติการเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกแตฝายเดียว ของกัมพูชาในปค.ศ.2008 ก็เกิดกระแสตอตานจนมีผลใหนายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศในสมัยรัฐบาลสมัคร สุนทรเวชไดถูกกดดันใหลาออกจากตําแหนง เนื่องจากไดลงนามในแถลงการณรวม(joint communiqué ) ใหกัมพูชาเสนอขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลก 15 และตอมานายสมัคร สุนทรเวชก็ถูกศาลรัฐธรรมนูญพิพากษาใหพนจาก ตําแหนงนายกรัฐมนตรีในปค.ศ.2008 เพียงสามเดือนตอมารัฐบาลของนายสมชาย วงศสวัสดิ์ก็ ตองพนจากตําแหนงหลังจากมีผูประทวงยึดทําเนียบยึดสนามบินและศาลรัฐธรรมนูญสั่งใหยุบ พรรคพลังประชาชน ดานนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ แมวาจะพยายาม “โหน”กระแสชาตินิยมในกรณี พระวิหารเพื่อสรางคะแนนนิยม แตก็พายแพในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อประกาศยุบสภากอนครบ วาระ16 จนมาถึงรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตรก็ยังมีความพยายามที่จะใชประเด็นการที่ กัมพูชาขอใหศาลโลกตีความคําพิพากษาในป ค.ศ. 1962 มาโคนลมรัฐบาลยิ่งลักษณโดยเฉพาะ อยางยิ่งในชวงกอนและหลังวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.2013 ซึ่งเปนวันอานคําพิพากษาของศาลโลก ที่ศาลไดยืนยันคําตัดสินเดิมที่ใหกัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหาร17 ในสวนของประเทศกัมพูชา ประเด็นการชนะคดีในศาลโลกในปค.ศ.1962 และไดปราสาท พระวิหารคืนจากไทย ตลอดจนการที่ปราสาทพระวิหารไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกในป ค.ศ.2008 ไดถูกพรรคฝายรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นนําไปเปนประเด็นในการสรางกระแส ลัทธิชาตินิยมเพื่อเสริมความมั่นคงของฐานอํานาจทางการเมืองของตน ผลจากกรณีนี้ทําใหประเทศ กัมพูชามีความเปนเอกภาพ ประชาชนเกิดความภาคภูมิใจในรากเหงาทางประวัติศาสตรของชนชาติ

14 Pavin Chachavalpongpun.“Embedding Embittered History: Unending Conflicts in Thai- Cambodian Relations”. Asian Affiars, Vol.43 ,No.1.pp,81-102. 15 ชาญวิทย เกษตรศิริ. ปราสาทเขาพระวิหาร-กรณีศึกษาประวัติศาสตรการเมือง-ลัทธิชาตินิยม. (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2551). 16 “Waging Peace: ASEAN and the Thai-Cambodian Border Conflict”, Crisis Group (6 December 2011). 17 “Will protests overthrow the Thai government?”, Al Jazeera (4 December 2013). 6

เขมรอยางไมเคยมีมากอน อยางไรก็ตามในอดีตกระแสชาตินิยมในกัมพูชาไดเคยถูกปนจน กลายเปนลัทธิคลั่งชาตินําไปสูความรุนแรง ดังเชน กรณีการปลุกกระแสความไมพอใจตอดารา ภาพยนตรไทย “กบ” สุวนันท คงยิ่ง อันนําไปสูการเผาสถานทูตไทยในพนมเปญในวันที่ 29 มกราคม 2003 18 การศึกษาเปรียบเทียบการสื่อสารทางการเมืองเรื่องพระวิหารโดยสํานักขาวซินหัวจากคาย สังคมนิยมในโลกตะวันออก และสํานักขาวรอยเตอรสจากประเทศมหาอํานาจอดีตเจาอาณานิคม อังกฤษคายทุนนิยมเสรีโลกตะวันตก ในบริบทที่ประเทศสมาชิกอาเซียนกําลังจะรวมกันเปน ประชาคมอาเซียนในปค.ศ. 2015 จึงเปนประเด็นวิจัยที่มีความสําคัญยิ่ง เพราะจะทําใหคนไทยได ทราบทัศนะมุมมองตลอดจนจุดยืนของสํานักขาวตางประเทศผูทรงอิทธิพล เกี่ยวกับภาพลักษณของ รัฐบาลและประชาชนไทยและกัมพูชาตอกรณีพระวิหาร ทั้งนี้เพื่อแสวงหาแนวทางในอนาคตใน การอยูรวมกันอยางสันติสุข ดังคําแนะนําของ สุรชาติ บํารุงสุข ที่วา“ถาเราฝาขามเรื่องราวเกา ๆ เชนที่กลาวแลวในขางตน และมองไปสูโลกขางหนาในอนาคต เรากับกัมพูชาควรจะตองจับมือกัน เพื่อพัฒนาปราสาทเขาพระวิหารใหชาวโลกไดรับรูถึงอดีตอันยิ่งใหญของคนในภูมิภาคนี้ และอยาง นอยปราสาทนี้ก็เปนสวนหนึ่งของ ‘บออารยธรรม’ ของบรรพบุรุษสยามในอดีต” 19

ปญหานําวิจัย

1. กรณีพระวิหารเปนกรณีพิพาทระหวางไทยกับกัมพูชามาหลายสิบปและกําลังอยูใน ความสนใจของสื่อสารมวลชนทั้งในและตางประเทศโดยเฉพาะสํานักขาวตางประเทศ นอกจากนี้ ปญหาความขัดแยงในเรื่องอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารที่เกิดขึ้นระหวางไทยและกัมพูชายัง เปนตัวแบบของกรณีพิพาทเรื่องเสนเขตแดนซึ่งเปนผลผลิตโดยตรงของลัทธิลาอาณานิคม ดังจะ เห็นวาในประเทศไทยการที่ศาลโลกตัดสินใหไทยแพและตองคืนปราสาทพระวิหารใหแกกัมพูชา ในป ค.ศ. 1962 นั้น ไดมีการปลุกกระแสชาตินิยมจนสงผลสะเทือนตอสถานะของรัฐบาลไทยมา หลายรัฐบาลโดยเฉพาะในหวงเวลาค.ศ. 2008-2013 ในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช รัฐบาลสมชาย วงษสวัสดิ์ รัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะและรัฐบาลยิ่งลักษณ ชินวัตร ในสวนของประเทศกัมพูชา ประเด็นการชนะคดีในศาลโลกและไดปราสาทพระวิหารคืนจากไทยไดถูกนําไปเปนประเด็นใน

18 K.Munthit,“Cambodian rioters burn Thai embassy”, The Independent (30 January 2013). 19 สุรชาติ บํารุงสุข, “รําลึก 50 ปกรณีพระวิหาร (พ.ศ.2505-2555)”. จุลสารความมั่นคงศึกษา. กรกฎาคม 2555. ฉบับที่ 111-112. 7

การสรางกระแสลัทธิชาตินิยมเพื่อเสริมฐานอํานาจทางการเมืองของรัฐบาลฮุนเซ็น สงผลใหกัมพูชา มีความเปนเอกภาพ ความภาคภูมิใจในรากเหงาทางประวัติศาสตรของชนชาติเขมรอยางไมเคยมีมา กอน เหลานี้ทําใหผูวิจัยตองการหาคําตอบวา บริบททางการเมืองในกรณีพระวิหารระหวางไทย และกัมพูชาที่ดําเนินมาตั้งแต ค.ศ.1962 – 2013 นั้น สงผลอยางไรตอการสื่อสารทางการเมืองของ สํานักขาวตางประเทศ ซึ่งในที่นี้ คือ สํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัว

2. สํานักขาวตางประเทศไดเริ่มใหความสําคัญตอภูมิภาคเอเชียอาคเนย นับตั้งแตหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งโลกตกอยูในยุคสงครามเย็น อันเนื่องมาจากความขัดแยงทางอุดมการ ระหวางคายสังคมนิยมที่มีสหภาพโซเวียตและสาธารณประชาชนจีนเปนผูนํา กับคายโลกเสรีที่มี สหรัฐอเมริกาและอดีตเจาอาณานิคมอังกฤษและฝรั่งเศส เปนผูนํา ความขัดแยงทางอุดมการ ระหวางคายสังคมนิยมกับคายโลกเสรี ผนวกกับกระแสชาตินิยมที่ตองการปลดแอกจากการเปน อาณานิคมของฝรั่งเศสในอินโดจีนกอใหเกิดสงครามเวียดนาม สงครามนี้ไดลุกลามเขาไปใน ประเทศกัมพูชาและลาว สวนประเทศไทยถูกดึงเขาไปเปนหนวยสนับสนุนดานฐานทัพของ สหรัฐอเมริกา แมสงครามเวียดนามจะยุติดวยความพายแพของเวียดนามใตและสหรัฐในป ค.ศ. 1975 แตประเด็นปญหาผูลี้ภัยที่ทะลักเขามายังประเทศไทยทั้งจากลาวกัมพูชาและเวียดนาม ตลอดจนปญหาสงครามกลางเมืองในกัมพูชา ความโหดรายของการปกครองภายใตกลุมเขมรแดง จึงทําใหสํานักขาวตางประเทศใหความสนใจกับภูมิภาคนี้มาโดยตลอด แมวาจะดูเหมือนวา ความขัดแยงกรณีพระวิหารไดยุติลงแลวเมื่อศาลโลกไดตัดสินในป ค.ศ.1962 ใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา แตปญหานี้ไดกลับคุกรุนขึ้นมาอีกหลังจากที่ ปราสาทพระวิหารไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกโดยองคการศึกษาวิทยาศาสตรสังคมและ วัฒนธรรมของสหประชาชาติ หรือชื่อยอวา ยูเนสโก (UNESCO) ในป ค.ศ. 2008 หลังจากนั้นได เกิดการปะทะกันที่ชายแดนมีทหารและประชาชนของทั้งสองฝายบาดเจ็บลมตาย จนกัมพูชาไดนํา คดีนี้ขึ้นสูศาลโลกอีกครั้งเพื่อใหศาลโลกตัดสินเกี่ยวพื้นที่บริเวณรอบปราสาท ซึ่งศาลโลกไดมีคํา ตัดสินแลวในวันที่ 11 เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2013 ใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา 20

20 C.J.Williams. “Preah Vihear temple grounds belong to Cambodia, UN court rules”, Los Angeles Times (11 November 2013). 8

ในสถานการณที่โลกไดเขาสูยุคของการรวมมือระหวางนานาชาติและการยึดมั่นใน ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน และความสันติสุขในภูมิภาค โดยเฉพาะอยางยิ่งการที่ประเทศใน ภูมิภาคเอเชียอาคเณยกําลังกาวเขาสูการรวมตัวกันเปน “ประชาคมอาเซียน”(ASEAN Community) ซึ่งจะกอใหเกิด “ตลาด”ขนาดใหญ ประเด็นนี้จึงทําใหประเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจเชน สหรัฐอเมริกา จีน รัสเซีย ญี่ปุน สหภาพยุโรปและออสเตรเลีย เปนตน สนใจเขามารวมประชุมกับ สมาชิกอาเซียนในลักษณะของ ASEAN+3 หรือ ASEAN+10 เปนตน จึงจะเห็นไดวา สํานักขาว ตางประเทศไดเกาะติดสถานการณความเคลื่อนไหวของอาเซียนมาโดยตลอด ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงสนใจเปนอยางยิ่งในการศึกษา การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาว รอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ในการรายงานขาวกรณีพระวิหาร ในชวงปค.ศ.2008 ถึง 2013 วา ทั้งสองสํานักขาวนั้นมีทัศนะ มุมมอง และจุดยืนอยางไร

วัตถุประสงคการวิจัย

1. เพื่อศึกษาบริบททางการเมืองระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารที่ดําเนินมา ตั้งแต ค.ศ.1962-2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาว ซินหัว 2. เพื่อศึกษาการสื่อสารทางการเมือง ทัศนะจุดยืนและมุมมองของสํานักขาว ของสํานัก ขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008-2013

นิยามศัพท

บริบททางการเมือง ในที่นี้หมายถึง เหตุการณทางการเมือง ระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระ วิหารที่ดําเนินมาตั้งแต ค.ศ.1962-2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเต อรสและสํานักขาวซินหัว

การสื่อสารทางการเมือง ในที่นี้หมายถึง การสื่อสารทุกรูปแบบผานสื่อมวลชนที่ดําเนินการโดย นักการเมือง และผูที่เกี่ยวของทางการเมือง โดยผานทั้งวจนะภาษา และอวจนะภาษา ในที่นี้หมายถึง การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว 9

สํานักขาว ในที่นี้หมายถึง องคกรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อทําการผลิตขาว ‘ขายสงขาว’ใหแกผูเปนสมาชิกและ องคกรสื่อสารมวลชนอื่นๆ เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร วิทยุและโทรทัศน

ขาวออนไลน ในที่นี้หมายถึง รายงานขาวทางอินเตอรเนทของสํานักขาวหรือสื่อนั้นๆ

กรณีพระวิหาร ในที่นี้หมายถึง กรณีความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาเกี่ยวกรรมสิทธิ์ในตัว ปราสาทพระวิหารและบริเวณพื้นที่รอบปราสาท ซึ่งฝายกัมพูชา เรียกวา “เปรี๊ยะวิเฮียร” (Preah Vihear)

ขอบเขตการวิจัย.

การศึกษาวิจัยครั้งนี้อยูในขอบเขตของวิชา “การสื่อสารทางการเมือง” ซึ่งเปนการศึกษาเพื่อ อธิบายการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการรายงานขาวกรณีพระวิหารสูสายตา คนทั่วโลก ภายใตแบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของแนวคิดของไบรอัน แมกแนร (Brian McNair)21 และ ทฤษฎีนายประตู (Gatekeeping Theory) ของชูเมกเกอรและฟวอส (Shoemaker & Vos) 22 ทั้งนี้เพื่อสรุปภาพรวมของ การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศ จํานวน 2 แหง คือ สํานักขาวรอยเตอรส ซึ่งมีสํานักงานใหญตั้งอยูประเทศสหราชอาณาจักร และ สํานักขาวซินหัว ซึ่งมีสํานักงานใหญตั้งอยูประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในการรายงานขาวกรณีพระวิหารได อยางเปนระบบ (ก) การศึกษาวิจัยครั้งนี้ศึกษาเฉพาะการรายงาน ‘ขาวออนไลน’ ที่เปนของ สํานักขาว ตางประเทศสองสํานักขาว คือ สํานักขาวสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัว ในการรายงาน ขาวกรณีพระวิหารในหวงปค.ศ.2008-2013 (ข) ในการศึกษาเกี่ยวกับ การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในกรณีพระ วิหารนี้จะทําการศึกษาเฉพาะในหวงเวลาตั้งแตเดือนมกราคม 2008 ถึง เดือนธันวาคม 2013 เปน ระยะเวลารวม 6 ป ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศสวัสดิ์ นายอภิสิทธิ์ เวชชา ชีวะ และ นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

21 Brian McNair, An Introduction to Political Communication. (London: Routledge, 2003). 22 Pamela J. Shoemaker & Timothy P. Vos, Gatekeeping. (New York : Routledge, 2009). 10

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

ก) ผลการศึกษาทําใหทราบถึงบริบททางการเมืองระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระ วิหารที่ดําเนินมาตั้งแต ค.ศ.1962 ถึง 2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเต อรสและสํานักขาวซินหัว ข) ผลการศึกษาทําใหทราบถึงการสื่อสารทางการเมืองทัศนะจุดยืนและมุมมองของสํานัก ขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงปค.ศ.2008-2013 ค) ผลการศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวสํานักขาวรอยเตอรสและ สํานักขาวซินหัวในการรายงานขาวกรณีพระวิหารนี้ จะทําใหสามารถทําความเขาใจการสื่อสารทาง การเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการรายงานขาวความขัดแยงทางการเมืองในกรณีอื่นๆ ง) ผลการศึกษาจะทําใหทราบถึงแนวทางในใชการสื่อสารทางการเมืองผานสื่อ ตางประเทศในการดําเนินวิเทโศบายตางประเทศไดอยางมีประสิทธิผล จ) ผลการศึกษาจะชวยเสริมสรางองคความรูใหมเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมืองของ สํานักขาวตางประเทศในกรณีความขัดแยงระหวางประเทศ บทที่ 2

แนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในบทที่ 2 ของงานวิจัยเรื่อง “การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระ วิหาร ศึกษาในหวงเวลาตั้งแต ค.ศ. 2008 ถึง 2013” นี้จะไดนําเสนอกรอบแนวคิดทฤษฏี อันไดแก ทฤษฎีการสื่อสารและการสื่อสารการเมือง แนวคิดเกี่ยวกับขาว แนวคิดเกี่ยวกับสํานักขาว งานวิจัยที่ เกี่ยวของ และกรอบแนวคิดของการวิจัย

ทฤษฎีการสื่อสารและการสื่อสารการเมือง

คารล ดับบลิว ดอยทช (Karl W. Deutsch) ไดชี้ใหเห็นวา การสื่อสารนั้นเปรียบเสมือน เปน“เสนประสาท”ของระบบการเมือง ดังนั้น การสื่อสารทางการเมืองจึงเปนทั้งเรื่องของ “การ แสดงออกซึ่งความตองการของประชาชน”ไปยังรัฐบาลและ“การตอบสนองของรัฐบาล”กลับมายัง ประชาชน ดวยเหตุนี้ระบบการเมืองจะสามารถดํารงอยูมีเสถียรภาพและมีบูรณภาพไดขึ้นอยูกับ ความสามารถของรัฐที่จะตอบสนองตอการเรียกรองตองการทางการเมืองของประชาชนไดดี เพียงใดนั่นเอง การสื่อสารทางการเมืองจึงเปนการถายทอดขาวสารที่เกี่ยวกับการเมือง จากสวน หนึ่งของระบบการเมืองไปยังอีกสวนหนึ่งของระบบการเมือง ทําใหบุคคล กลุมบุคคล องคกร หรือ สถาบันตางๆเกิดความสัมพันธกันอยางเหนียวแนน เชนเดียวกับการปฏิบัติงานของอวัยวะตางๆใน รางกาย กลาวโดยสรุปโครงสรางการสื่อสารของระบบการเมืองจะประกอบดวย (ก) ระบบการรับ ขอมูลขาวสาร (ข) การประมวลขอมูล (ค) ระบบความจําและคานิยม (ง) ศูนยกลางการตัดสินใจ (จ) กลไกการนําเอาผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ (ฉ) การปอนขาวสารยอนกลับ 19 ดานโรเบอรต อี เดนตัน และ แกรี่ ซี วูดเวอรด (Robert E. Denton & Gary C. Woodward) ไดใหความหมายของคําวา การสื่อสารทางการเมือง คือ วิธีการและเจตนาของผูสงสาร ที่จะมีอิทธิพลเหนือสภาวะแวดลอมทางการเมือง อันหมายรวมถึงการอภิปรายในที่สาธารณะ เชน การกลาวสุนทรพจนทางการเมือง การนําเสนอขาวของสื่อ และการพูดของพลเมืองธรรมดา ซึ่ง

19 Karl W. Deutsch, Nationalism and Social Communication: An Inquiry into the Foundations of Nationality. ( Cambridge : MIT Press, 1966). 12

สะทอนวาใครเปนผูมีอํานาจในการตัดสินใจ ใครเปนผูมีอํานาจที่จะจัดสรรทรัพยากรสาธารณะ เปนตน ปจจัยชี้ขาดวาการสื่อสารใดเปนการเมืองไมไดอยูที่“แหลงที่มาของสาร” แตอยูที่ “เนื้อหา” และ “เจตนา” ของผูสงสาร 20 ในขณะที่ เดวิด แอล สวอนสัน และ แดน นิมโม (David L. Swanson & Dan Nimmo) ไดใหความสําคัญกับ การใชการสื่อสารอยางมียุทธศาสตรเพื่อมีอิทธิพล ตอการรับรู ความเชื่อตลอดจนการกระทําของสาธารณชนในเรื่องที่เกี่ยวกับการเมือง ทั้งสองทานได เนน ความสําคัญในแงยุทธศาสตรของการสื่อสารทางการเมือง โดยเฉพาะบทบาทของการใช“วาท กรรมทางการเมือง”เพื่อโนมนาวสาธารณชนใหคลอยตาม 21 สวน ไบรอัน แมกแนร (Brian McNair) เสนอวาคุณลักษณะของการสื่อสารการเมือง คือ (ก) การสื่อสารทุกรูปแบบทดําเนินการโดย “นักการเมือง”และ “ผูเกี่ยวของทางการเมือง”โดยมี วัตถุประสงคทางการเมืองที่เฉพาะเจาะจง (ข) การสื่อสารที่สื่อมวลชนและผูเลือกตั้งสงถึง นักการเมือง (ค) การสื่อสารที่สื่อมวลชนนําเสนอเกี่ยวกับการเมือง ดังนั้นในทัศนะของไบรอัน แมก แนร แลวการสื่อสารการเมือง มีความหมายที่ครอบคลุมกวางขวางทั้ง การสื่อสารดวยวจนะภาษา และอวจนะภาษา อันหมายรวมถึง สิ่งที่มองเห็นไดดวยตา เชน การแตงกาย การแตงหนา การแตง ผม หรือแมแตการออกแบบโลโก การสื่อสารทางการเมืองนั้นจึงครอบคลุมทุกอยางที่มุงไปสู “เอกลักษณทางการเมือง” หรือ “ภาพลักษณ” ของผูสงสาร 22 ดานวิลเบอร ชแรมม (Wilbur Schramm) ย้ําวาการสื่อสารจะตองประกอบดวย สาม องคประกอบคือ (ก) ตนตอของขอมูล (ข) สารที่ตองการสื่อ และ (ค) จุดหมายปลายทางของสารนั้น ในแงหลักการแลว ผูที่เปนตนตอของขอมูลจะ “แปลงรหัส” ของสาร และสงสารนั้นตอไปใหกับ จุดหมายปลายทางโดยผาน “ชองทาง” บางชองทาง ซึ่งเมื่อไดรับสารนั้นแลวก็จะทําการ “ถอดรหัส ของสารนั้นตอไป 23 นักวิชาการทานตอมาที่ไดมีบทบาทพัฒนาแบบจําลองทางดานสื่อสารการเมือง คือ ฮา โรลด ดี ลาสเวล (Harold D. Lasswell) นักวิชาการชาวอเมริกันผูมีชื่อเสียงทั้งทางดานรัฐศาสตร

20 Robert E.Denton and Gary C.Woodward, Political Communication in America. (New York: Praeger, 1998). 21 David L. Swanson and Dan Nimmo, New Directions in Political Communication: A Resource Book. (Thousand Oaks: Sage, 1990). 22 Brian McNair , An Introduction to Political Communication. (London: Routledge, 2003). 23 Wilbur Schramm,“How communication works”. In W. Schramm (ed.), The Process and Effects of Communication. (Urbana, Illinois : University of Illinois Press, 1954), pp. 3-26. 13

และดานทฤษฎีการสื่อสาร เขามีทัศนะวา“การเมือง”คือ“ใคร ไดอะไร ไดเมื่อไร และไดอยางไร” และเสนอวา การสื่อสาร คือ “ใคร (พูด) อะไร กับใคร โดยผานชองทางใด และมีผลอยางไร” โดย เขาเนนวา ถาหากผูรับสารไมทราบวาจะเกิดผลอยางไรแลวก็ถือวา การสื่อสารยังไมเกิดขึ้น เพราะ เวลาที่เราสื่อสาร เราจะมีแรงจูงใจที่จะสื่อสารใหไดผล จุดเนนของรูปแบบการสื่อสารแบบนี้ อยูที่ การแบงกระบวนการสื่อสารออกเปนสวนยอยแตละสวน จึงถือไดวารูปแบบการสื่อสารแบบนี้ ได ชวยจัดระบบของกระบวนการสื่อสารใหเปนวิทยาศาสตร ดังจะเห็นไดจากแบบจําลองของ ฮาโรลด ดี ลาสเวล 24 ตาม ภาพที่ 2.1 ขางลางนี้

ภาพที่ 2.1 แบบจําลองการสื่อสารของ ฮาโรลด ดี ลาสเวล (Harold D. Lasswell)(1948)

ใคร กลาวอะไร ผานสื่อใด กับใคร เกิดผลอยางไร

ผูสงสาร สาร สื่อ ผูรับ ผลของการ สื่อสาร

แมวาจะมีผูวิจารณวา แบบจําลองการสื่อสารแบบนี้เปนกระบวนการแนวระนาบเพียงแนว เดียว แตแบบจําลองการสื่อสารของ ฮาโรลด ดี ลาสเวล นั้น ไดรับยกยองวาเปน รูปแบบการ สื่อสารที่ยังมีอิทธิพลที่สุด 25 นักวิชาการทานตอมาที่ไดพัฒนาแบบจําลองการสื่อสาร คือ เดวิด เบลโล (David Berlo) 26 ซึ่งไดแบงใหเห็นองคประกอบตางๆอยางชัดเจน ดังนี้

24 Harold Lasswell & L. Bryson, eds., The Structure and Function of Communication in Society. The Communication of Ideas. (New York: Institute for Religious and Social Studies, 1948). 25 Bradley S. Greenberg ; Malcolm Salwen & Don W.Stacks.eds.,“Mass communication theory and research: Concepts and models”. In An integrated approach to communication theory and research. (Mahwah: Erlbaum, 2008), pp.61–74 [69]. 26 David Berlo, The Process of Communication. (New York : Holt, Rinehart, & Winston, 1960). 14

ภาพที่ 2.2 แบบจําลองการสื่อสารของ เดวิด เบลโล (David Bello)

S M C R Senderผูสงสาร Message สาร Channel ชองทางการสื่อสาร Receiverผูรับสาร Combination skills message codes seeing communication skills knowledge message content hearing knowledge attitudes message treatments touching attitudes social and culture elements smelling social and culture systems structure tasting systems

ในการนี้ผูสงสาร (Sender) จะตองมีทักษะหลายๆดาน (combination skills) มีความรู (knowledge) มีทัศนคติ(attitudes) ที่สะทอนระบบทางสังคมและวัฒนธรรม (social and culture systems) ของผูสงสาร ในสวนของ “สาร”(message) จะประกอบดวย รหัสขอความ (message Codes) เนื้อหา ของรหัส (message content) การปฏิบัติตอสาร (message treatments) ตลอดจนองคประกอบ (elements) และโครงสราง (structure)ของสารนั้น ในสวนที่เกี่ยวกับชองทางการสื่อสาร(channel) นั้นจะเห็นวามีการใชประสาทสัมผัสทั้งหา ของมนุษย กลาวคือ การเห็น (seeing) การไดยิน (hearing) การสัมผัส (touching) การดมกลิ่น (smelling) การลิ้มรส(tasting) ที่สุดปลายทางของกระบวนการสื่อสาร คือ ผูรับสาร (Receiver) ซึ่งจะมีองคประกอบ คลายๆกับผูสงสาร (Sender) กลาวคือจะตองมี ทักษะหลายๆดาน(combination skills) มีความรู (knowledge) มีทัศนคติ(attitudes) ที่สะทอนระบบทางสังคมและวัฒนธรรม (social and culture systems) เพื่อจะไดมีความสามารถรับสารที่สงมาโดยผูสงสารได ตอมาไบรอัน แมกแนร (Brian McNair) ไดพัฒนาแบบจําลองที่เนนเปนแบบจําลองใน การสื่อสารทางการเมืองโดยเฉพาะวา (ก) .เปนการสื่อสารทุกรูปแบบที่ดําเนินการโดยนักการเมือง และผูที่เกี่ยวของทางการเมืองโดยมีวัตถุประสงคที่เฉพาะเจาะจง (ข) เปนการสื่อสารที่สื่อมวลชน นําเสนอเกี่ยวกับการเมือง (ค) เปนกิจกรรมการสื่อสารที่สื่อมวลชนนําเสนอเกี่ยวกับการเมือง เชน การรายงานขาว บทบรรณาธิการ ฯลฯทั้งนี้ ไบรอัน แมกแนร (Brian McNair) 27 ไดนําเสนอ แบบจําลองของการสื่อสารทางการเมือง ไวดังนี้

27 Brian McNair, An Introduction to Political Communication. (London: Routledge, 2003). 15

ภาพที่ 2.3 แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของไบรอัน แมกแนร (Brian McNair) (2003)

องคกรทางการเมือง

สื่อมวลชน

ประชาชน

แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของ ไบรอัน แมกแนร นี้ แบงผูเกี่ยวของเปน 3 กลุม ดังนี้ (ก). กลุมองคกรทางการเมือง ไดแก พรรคการเมือง รัฐบาล องคกรสาธารณะ กลุมพลังทาง การเมือง กลุมกอการราย ในแบบจําลองนี้ กลุมองคกรทางการเมืองโดยเฉพาะพรรคการเมือง คือ กลุมคนที่รวมกันโดยมีอุดมการณเหมือนกัน ตกลงที่จะนําองคกรไปสูเปาหมายเดียวกัน โดย นําเสนอแนวนโยบายสูประชาชน และหาวิธีการที่จะสรางความเชื่อมั่นใหแกประชาชน (ข) กลุมสื่อสารมวลชน ทําหนาที่ทั้งการเปนตัวสงผานขอมูลจากพรรคการเมืองและสงสาร ที่ออกแบบผลิตขึ้นเอง เชน บทบรรณาธิการ บทวิเคราะห วิจารณตางๆไปยังกลุมที่สาม คือ ประชาชน (ค) กลุมประชาชน การสื่อสารทางการเมืองทุกประเภทก็จะมุงที่จะบรรลุผลสําเร็จจากการ สงสารนั้น ๆไปสูประชาชน ไมวาจะเปนการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง สมาชิกวุฒิสภา จนถึงสภา ผูแทนราษฎร นักการเมืองเหลานี้พยายามที่จะสรางภาพเชิงบวกใหเกิดขึ้นในใจ และสงผลตอ พฤติกรรมทางการเมืองของผูเลือกตั้ง ทั้งนี้เพราะการสราง “ภาพ” ในทางการเมืองนั้น มีอยู 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 นักการเมืองกําหนดวัตถุประสงคที่กอใหเกิดปรากฏการณทางการเมืองขึ้น ขั้นตอนที่ 2 สื่อมวลชนเปนผูกําหนด “ภาพ” ความจริงนั้น ขั้นตอนที่ 3 “ภาพ” ที่เกิดขึ้นจะถูกรับรูโดยอัตตวิสัยของแตละบุคคล 16

ในหัวขอนี้ผูวิจัยไดนําเสนอพัฒนาการของทฤษฎีและแบบจําลองการสื่อสารการเมือง แบบจําลองเหลานี้สะทอนใหเห็นวาไดมีการพัฒนากระบวนการสื่อสารการเมือง จนพัฒนามาเปน แบบจําลองการสื่อสารตามแนวคิดของ ไบรอัน แมกแนร จะเห็นไดวาแบบจําลองการสื่อสารทาง การเมืองของนักคิดเหลานี้ ไมมีแบบจําลองใดที่สมบูรณที่สุด และไมมีแบบจําลองใดที่ถูกหรือผิด โดยสิ้นเชิง ความสําคัญของแบบจําลองอยูที่แบบจําลองนั้นสามารถนําไปใชตอไดมากนอยแคไหน เพียงไรและในบริบทใด ใน‘ทฤษฎีเทคโนโลยีสื่อสารเปนตัวกําหนด’นั้น แฮโรลด แอดัมส อินนิส (Harold Adams Innis) นักวิชาการชาวแคนาดาแหงสํานักโทรอนโท (Toronto) ไดศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของสื่อใน การกําหนดวัฒนธรรมและพัฒนาอารยะธรรมของโลก และไดพบวาแบบวิถีของการสื่อสารมี ความสัมพันธกับโครงสรางอํานาจทางสังคม 28 โดยเขาไดยกตัวอยาง วาการเปลี่ยนแปลงการ บันทึก จากบนแผนหินมาเปนกระดาษปาปรุสในอียิปตยุคโบราณนั้น แสดงวาไดมีการเปลี่ยนถาย อํานาจจากกษัตริยมาเปนพระนักบวช ตอมาเมื่อมีเทคโนโลยีการพิมพอํานาจก็ตกมาอยูในมือ ประชาชน 29 อยางไรก็ตาม ยิ่งเมื่อระบบการสื่อสารขยายวงกวางเทาใด กลุมคนนอกขอบศูนยกลาง อํานาจ หรือ คนชายขอบก็จะยิ่งถูกครอบงํามากขึ้น ทั้งนี้เพราะอํานาจในการใชและควบคุม เทคโนโลยีอยูในมือของชนชั้นนํากลุมเล็กๆเทานั้น 30 จะเห็นวาแนวคิดของแฮโรลด แอดัมส อินนิส นี้มีอิทธิพลตอแนวคิดของมารแชล แมกลูฮาน (Marshall McLuhan) ผูที่ไดนําเสนอวลีที่มีชื่อเสียงวา“รูปแบบของการสื่อสารมีความสําคัญไม นอยกวาเนื้อหาของสาร”(the medium is the message) อันมีนัยยะวา “รูปแบบของสื่อนั้นจะฝง ตัวอยูในสาร จึงทําใหเกิดความสัมพันธที่พึ่งพากันในลักษณะที่สื่อจะมีอิทธิพลตอกระบวนการรับ สารนั้น” เขาไดเสนอวาในการศึกษาวิจัยเราควรจะเนน “สื่อ”(medium) มากกวาเนน“เนื้อหา” (content) เนื่องจากสื่อนั้นมีบทบาทในการควบคุมการกระทําตลอดจนความสัมพันธระหวาง มนุษย นอกจากนี้มารแชล แมกลูฮาน ยังย้ําวา สื่อสมัยใหมไดแผอิทธิพลครอบงํามนุษยชาติใหอยู

28 Robert E.Babe,"The Communication Thought of Harold Adams Innis". In Canadian Communication Thought: Ten Foundational Writers. (Toronto: University of Toronto Press, 2000), pp. 51–88. 29 Paul Heyer, Harold Innis. (Lanham, MD: Rowman & Littlefield Publishers Inc., 2003), p. 66. 30 Harold Adam Innis, Changing Concepts of Time. (Toronto: University of Toronto Press, 1952), p. 15. 17

ภายใตหมูบานเดียวกันกลายเปน“หมูบานโลก” (global village) ทั้งยังไดทํานาย เกี่ยวกับบทบาท ของ World Wide Web วาเปนเทคโนโลยีการสื่อสารที่ไดขยายประสบการณมนุษยใหกวางขวาง ออกไป ทําใหมนุษยสามารถกาวขามไดทั้งอุปสรรคดานระยะทางและกาลเวลา เหลานี้สะทอน แนวคิดเกี่ยวกับโลกาภิวัตนดานสื่อ (Media globalization) 31 ยุคโลกาภิวัตนทางดานขาว ไดกอกําเนิดขึ้นมาในศตวรรษที่ 19 พรอมๆกับการกอตั้ง ‘สํานักขาวนานาชาติ’ จึงกลาวไดวา “ขาว” เปน “ผลิตภัณฑที่เปนสื่อชิ้นแรก” ที่ไดนําไปจําหนาย เปน ‘สินคา’ (news as a commodity) ในตลาดการคาระหวางประเทศ 32 ในระยะแรกขาว ตางประเทศในระดับนานาชาติมักจะเนนขาวการเมือง สงคราม การทูต และการคา 33 ตอมาในป 1961 ไดเกิดปฏิกิริยาจากกลุมประเทศกําลังพัฒนา ซึ่งไดรวมตัวกัน เปนพันธมิตรกันและประกาศ ตัว “เปนกลาง” ไมฝกใฝฝายใดเพื่อใหประเทศของตนปลอดจากอิทธิพลของมหาอํานาจ โดยเรียก องคกรของตนเองวา “ขบวนการที่ไมฝกใฝฝายใด”(NAM-the Non-Aligned Movement) กลุมนี้ได โตแยงวาการที่คายตะวันตกอางวา “การคาเสรี” นั้นหาใชการคาเสรีอยางแทจริงไม แตเปนเพียง การคาที่ไหลมาทางเดียวจาก “โลกที่พัฒนาแลว”มาสู “โลกดอยพัฒนา” เชนเดียวกับ การไหลของ ขอมูลขาวสารก็มักจะ “เดินทางเดียว” คือ จากโลกที่พัฒนาแลวมาสูโลกดอยพัฒนา กลุมประเทศ เปนกลางเหลานี้ไดระบุวารูปแบบการไหลของขอมูลขาวสารในโลกนี้ถูกกําหนดโดย “กลุมผูกขาด ของสํานักขาวขามชาติ” ที่ดําเนินการโดยประเทศตะวันตกเพื่อรับใชผลประโยชนทางการเมือง เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมของประเทศตะวันตก34 ดังนั้นสวนใหญจึงเปนการไหลของขอมูล ขาวสารแบบ “ดานเดียว” และ “จากบนสูลาง” –ขาวจากประเทศดอยพัฒนาที่รายงานโดยสํานักขาว

31 Marshall McLuhan, Understanding Media: The Extensions of Man. (Corte Madera, California: Gingko Press), 2003. 32 Oliver Boyd-Barrett & Terhi Rantanen, The Globalization of News. (London : Sage Publications, 1988). 33 Denis McQuail, McQuail’s Mass Communication Theory. 4th ed. (London : Sage Publications, 2000). 34 Keval J. Kumar & W.E. Biertmatzki, S.J. “International News Flow”, Communication Research Trends, 1990, Vol.10, No.4. 18

ขามชาติเหลานี้มักนําเสนอความจริงที่ถูกบิดเบือน และมักเนนนําเสนอขาวดานลบโดยขาดบริบท อาทิเชนขาวที่เกี่ยวกับความยากจน ความอดอยาก ภัยพิบัติเชนน้ําทวมและการปฏิวัติรัฐประหาร 35 ในประเด็นเรื่อง ‘การไหลเวียนของขาวในระดับนานาชาติ’ นั้น มีปญหาเรื่อง ความไม สมดุลในการไหลของขอมูลขาวสาร ในชวงทศวรรษ 1970 นี้ไดกอใหเกิดแนวคิดที่ขัดแยงกันเปน สองกลุมเนื่องมาจากทั้งสองกลุมมีผลประโยชนและพันธกรณีที่แตกตางกัน อันไดแก (ก) “กลุม อุตสาหกรรมขาว” ซึ่งมักจะตอตานอะไรก็ตามที่จะเปนอุปสรรคตอการทํางานของผูสื่อขาว หรือ ตลาดคาขาว โดยใชขออาง “เสรีภาพของสื่อมวลชน” (ข) อีกกลุมหนึ่งที่เปนฝายตรงขาม ประกอบดวยประเทศในโลกที่สามที่ตองขึ้นตอคนอื่นในดานขาวซึ่งไดรวมตัวกันออก“คําประกาศ เกี่ยวกับสื่อสารมวลชนของยูเนสโกป 1978” (The 1978 UNESCO Mass Media Declaration) ซึ่งทวงคืนสิทธิในการควบคุมการรายงานขาวภายในขอบเขตอธิปไตยของชาติตน คําประกาศนี้มี นัยยะวาจะมี‘การจัดระเบียบโลกใหมดานขอมูลและขาวสาร’ (New World Information and Communication Order -NWICO) ดังมีรายละเอียดในรายงานของ The McBride Report 36 อยางไรก็ตาม แมวา“การจัดระเบียบโลกใหมในดานขอมูลและขาวสาร” หรือ NWICO จะไดรับการ สนับสนุนจากประเทศสมาชิกสวนใหญขององคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมขององคการ สหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization - UNESCO) แตก็ถูกคัดคานจากสองมหาอํานาจสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ วา การจัด ระเบียบโลกใหมในดานขอมูลและขาวสาร” หรือ NWICO นี้ไดละเมิดเสรีภาพของสื่อสารมวลชน และทั้งสหรัฐอเมริกาและอังกฤษไดถอนตัวออกจากการเปนสมาชิกขององคการ ยูเนสโก ในป 1984 และ 1985 ตามลําดับ 37 สวน‘ทฤษฎีการกําหนดวาระของสื่อ’ (Agenda Setting Theory) ไดรับการพัฒนาขึ้นจาก ผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในปโดย 1968 โดย ดร.แมกซ แมก คูมบส (Dr. Max McCombs) และ ดร.โดแนลด ชอว (Dr. Donald Shaw) แนวคิดของทฤษฎีการ กําหนดวาระของสื่อตั้งอยูบนสมมติฐานที่วา “สื่อไมอาจทําใหคนติดตามสื่อได แตสามารถทําให

35 Annabelle Sreberny-Mohammadi & Robert Louis Stevenson.,“Comparative analysis of international news flow: An example of global media monitoring”. In K. Nordenstreng & M. Griffith (eds.), International Monitoring. (Cresskill, NJ: Hampton Press, 1999), pp. 59-72. 36 Sean McBride et al., The MacBride Report. (Paris: Unesco, 1980). 37 C. Anthony Giffard, UNESCO and the Media. (New York : Longman, 1989). 19

คน “คิดเกี่ยวกับ”เรื่องที่สื่อนําเสนอได ทฤษฎีนี้จึงเกี่ยวของกับการที่สื่อมวลชนสามารถมีอิทธิพล ในการกําหนดประเด็นใหแกสังคม ที่เรียกวา “วาระทางสังคม-การเมือง” 38 ตอมาทฤษฎีนี้ไดรับ การพัฒนาเพิ่มเติมในดานที่เกี่ยวกับ “ผูที่มีบทบาท” ในการกําหนดวาระของสื่อโดย แมกเควล และวินดาหล (McQuail & Windahl) 39 ซึ่งไดเสนอวา การกําหนดวาระของสื่อนั้นมี “ปจจัย” มา จาก 2 แหลงคือ (ก) วาระที่ถูกนําเสนอโดย สถาบัน องคกรทางการเมือง กลุมธุรกิจ หรือ กลุมชน ชั้นนําในสังคมเพื่อสรางสาธารณะมติในเรื่องที่ตองการ (ข) วาระที่ถูกนําเสนอจาก “กลุมพลเมือง” หรือ “ปจเจกบุคคล” อันถือวาเปนการกําหนดวาระเพื่อสื่อสารจากชนชั้นลางไปสูชนชั้นนํา และ นักการเมือง ดาน ‘ทฤษฎีประตูขาว’ (Gatekeeping Theory) นั้น ประกอบดวยแนวความคิดเกี่ยวกับ "ผู เฝาประตู" (Gatekeeper) ซึ่งมีที่มาจากผลงานที่เกี่ยวกับ “ทฤษฎีสนาม” (Field Theory) ของ เคอรท เลวิน (Kurt Lewin) 40 อยางไรก็ตามเขามิไดระบุชัดเจนวา “ประตู”นี้เกี่ยวของกับขาว เขา เพียงแตพูดถึง “ชองทางการเดินทางของอาหาร” จากรานของชํามายังโตะอาหาร ตอมา เดวิด แมน นิ่ง ไวท (David Manning White) ไดพัฒนาแนวความคิดเรื่อง "ผูเฝาประตู" จากการเฝาสังเกตการ ทํางานของบรรณาธิการขาวโทรพิมพของหนังสือพิมพทองถิ่นฉบับหนึ่งในสหรัฐซึ่งตองตัดสินใจ คัดเลือกขาวที่สงเขามายังสํานักงานเพื่อตีพิมพหรือออกอากาศ หรือถูก“โยนทิ้งตะกรา” หลังจากนั้น ขาวสารที่ถูกคัดเลือกแลวนี้จะถูก “ปรับแตง”ใหเหมาะสม กอนสงไปยังรับสาร41 นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการดานการสื่อสารอีกหลายทานที่ไดพัฒนาทฤษฎีประตูขาว ซึ่งได เพิ่มเติมวา “นายประตู” ไมไดมีเพียง บรรณาธิการขาว แตยังมีอีกหลายปจจัย เชน นโยบายของสื่อ นั้นๆ ทัศนะของผูอาน คานิยมของกองบรรณาธิการ การแขงขันกันในธุรกิจนี้ ตลอดจน

38 Max McCombs,"A look at agenda-setting: Past, present and future.".Journalism Studies,2005,Vol.6 (4). 39 Denis McQuail & Sven Windahl, Communication Models for the Study of Mass Communications (2nd ed.). (New York: Longman, 1993). 40 Kurt Lewin, Field Theory in Social Science: Selected Theoretical Papers. (New York: Harper, 1951). 41 David Manning White (1964). "The 'Gatekeeper': A Case Study In the Selection of News”, In: Lewis A. Dexter / David M. White (Hrsg.): People, Society and Mass Communications. London S. pp.160 - 172. " 20

บรรณาธิการดานจัดวางหนา บรรณาธิการดานโฆษณา เปนตนโดยเฉพาะอยางยิ่ง พาเมลา เจ ชูเมก เกอร และทิโมธี ฟวอส (Pamela J. Shoemaker & Timothy Vos) ไดเสนอหลักการในการทํา วิจัยในอนาคตเกี่ยวกับทฤษฎีประตูขาววา (ก) ตองมีการศึกษาสภาวะแวดลอมทางสังคม ตลอดจนศึกษาระบบสังคมและขาม วัฒนธรรมอื่นๆดวย เนื่องจากผูที่ทําหนาที่ “นายประตู” มิไดมีเฉพาะบรรณาธิการเทานั้น (ข) ควรมีการทําการ “วิเคราะหเนื้อหา” ของขาวสารเพื่อทราบถึงอิทธิพลของ “นายประตู” ตอเนื้อหาของขาวสาร 42

แนวคิดเกี่ยวกับขาว

ในสวนที่เกี่ยวกับนิยามของ “ขาว” นั้น ยังไมเปนฉันทามติวา คํานิยามของขาวคืออะไร ใครสรางขาว และควบคุมการผลิต และควบคุมเนื้อหาของขาว เอกชนที่เปนเจาของสื่อ หรือรัฐบาล หรือ ผูสนใจ หรือ ชนชั้นนําทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมที่ครอบงําสังคม นั้นๆ หนวยงานประชาสัมพันธ โฆษกของกลุมธุรกิจ กลุมผูโฆษณา ผูสื่อขาว/บรรณาธิการ ผูชม หรือ สาธารณชน 43 งานวิจัยชิ้นแรกๆที่พยายามตอบคําถามวา ขาวคืออะไร คือ งานของ วอลเตอร ลิปแมน (Walter Lippmann) ที่ไดพบวา “ขาว” คือ “ปรากฏการณธรรมชาติ” แตเขาเชื่อวาขาวมี คุณลักษณะบางอยางที่ทําใหเปนขาว ดังนั้นขาวจึงแตกตางจากปรากฏการณธรรมชาติอื่นๆ ดังนั้น จึงอาจนิยามไดวา“เหตุการณ”ก็ถือไดวาเปน“ขาว”ดวย เนื่องจาก “เหตุการณ”มีองคประกอบของ “ปจจัยเกี่ยวกับขาว” (news factors) และ“คุณคาของขาว” (news values) 44 ตอมา โจฮัน กัลตุง (Johan Galtung) และ มารี โฮลมโบ รูจ (Marie Holmboe Ruge) ได ศึกษาการรายงานขาวของขาวตางประเทศ และบทบาทของสํานักขาว ตลอดจนกระบวนการที่

42 Pamela J. Shoemaker and TimothyVos, Gatekeeping. (New York: Routledge, 2009). 43 Hillel Nossek, “News”. In Johnston. , D.H., ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3219-3226. 44 Walter Lippmann, The Nature of News: Public Opinion. (New York: Harcourt Brace, 1922). 21

กอใหเกิด“เหตุการณ” เชนวานี้ และไดสรุปปจจัยของคุณคาขาว หรือปจจัยในการคัดเลือกขาววา มี ทั้งหมด 12 ปจจัย นอกจากนี้ยังมีการแบง “คุณคาขาว” ทั้ง12 ปจจัย 45 ดังนี้ คือ  ปจจัยดานผลกระทบ คือ (1) เหตุการณที่จะเปนขาวตองเปนเหตุการณใหญพอสมควร (2) เกิดขึ้นในระยะเวลาอันสั้นหรือทันทีทันใด (3) เปนเหตุการณดานลบ (4) ไมคาดคิดวาจะเกิด (5) เปนเหตุการณที่กํากวมตีความไดหลายอยาง  ปจจัยดานผูรับสาร คือ (6) เปนขาวเกี่ยวกับบุคคลที่เปนที่รูจักกวางขวาง (7) ขาวที่มี ความหมายตอผูรับสาร (8) ขาวที่เกี่ยวของกับประเทศระดับแถวหนาในโลก (9) เกี่ยวของกับ บุคคลชั้นนํา  และปจจัยดานสื่อ คือ (10) เหตุการณที่ตรงกับความคาดหมายของสื่อ (11) เหตุการณที่ ตอเนื่อง (12) มีความสมดุลในการนําเสนอขาวประเภทตางๆ นอกจากนี้ ฮารคัพและโอนีล (Harcup and O’Neil) ไดศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก ทําขาว และพบวามี 10 ปจจัย ยกตัวอยางเชน ตองเปนขาวดานลบ ขาวเกี่ยวกับผูมีชื่อเสียง ขาวที่มี ผูติดตาม ขาวที่มีความเกี่ยวของ และตองมีการติดตามผล 46 สวน ชูเมกเกอรและโคเฮน (Shoemaker and Cohen) ก็ไดทําการศึกษาวิจัยในแนวนี้ แตขยายไปถึงปจจัยระหวางวัฒนธรรม โดยไดระบุ 2 เกณฑที่จะแสดงวา ขาวมีคุณคา คือ (ก) การที่เหตุการณนั้นมักจะฉีกออกจากแนว ปกติในทางลบ และ (ข) ความสําคัญทางสังคมของขาวนั้น 47 ดังนั้น “ขาว” ในทัศนะของตะวันตก คือ ขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณที่รายงานโดยเฉพาะอยางยิ่งโดยสื่อสารมวลชนผานทางสื่อสารมวลชน พิมพทุกชนิด ขาวนั้นจะตองเปนเหตุการณใหญ เกี่ยวของกับบุคคลชั้นนํา เปนขาวที่มีผูติดตาม เปน สิ่งที่ใหม ที่มักจะฉีกออกจากแนวปกติในทางลบ และ ความสําคัญที่สังคมใหแกขาวนั้นๆ ผลการศึกษาวิจัยขององคการยูเนสโกในป 1970 ไดคนพบประเด็นสําคัญ 2 ประการ (ก) การทําขาวตางประเทศสวนใหญเนนขาวที่เกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจและความมั่นคง ซึ่งถือวาเปน

45 Johan Galtung, J. & Mari Holmboe Ruge, “The structure of foreign news”. In J. Tunstall (ed.) Media Sociology : A Reader. (Urbana, IL. : University of Illinois Press, 1970), pp.259-298. 46 Harcup, T., & O’Neill, D., “What is news? Galtung and Ruge revisited”. Journalism Studies, 2001, Vol. 2, pp. 261-280. 47 Shoemaker, P.J. & Cohen, A.A., News around the world: Content, practitioners and the public. (New York: Routledge, 2006). 22

“ขาวหนัก” (hard news) และผูอยูในขาวมักเปนผูมีชื่อเสียงทางการเมือง (ข) การทําขาวเนนซีก โลกตะวันตก งานวิจัยชิ้นนี้ไดชี้ใหเห็นถึงความไมสมดุลในการนําเสนอขาวตางประเทศ ที่มีสหรัฐและยุโรปตะวันตกเปนผูผลิตขาวรายใหญ สวนประเทศกําลังพัฒนานั้นจะปรากฏเปนขาว เฉพาะในกรณีที่เกิดมีสถานการณตึงเครียดและเขาขั้นวิกฤต หลังจากรายงานของยูเนสโกใน ป 1970 ไดมีการศึกษาของสมาคมนานาชาติเพื่อการวิจัยดานสื่อและการสื่อสาร (International Association for Media and Communication Research - IAMCR) ในป 1985 ใน 40 ประเทศ เพื่อศึกษาวาไดเกิดมีการเปลี่ยนแปลงหรือไมในดานการไหลของขอมูลขาวสารในโลกนี้หลังจากที่ มี“คําประกาศเกี่ยวกับสื่อสารมวลชนขององคการยูเนสโกป 1978” (The 1978 UNESCO Mass Media Declaration) จากการศึกษาเปรียบเทียบของ IAMCR นี้ทําใหไดพบวา แมวาเทคโนโลยี การสื่อสารสมัยใหมในยุคโลกาภิวัฒนจะทําใหมีแหลงขอมูลมากมาย แตการนําเสนอขาวของสื่อก็ ยังไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งนี้เพราะยังเนนการนําเสนอขาวจากโลกตะวันตกเปนหลัก 48

แนวคิดเกี่ยวกับสํานักขาว

สํานักขาว คือ องคกรดานสื่อที่เขียนขาวและทําการเผยแพรทั้งตัวขาวและสวนที่เกี่ยวของ กับขาว เชน ภาพ และการสัมภาษณ เพื่อสงใหแกสื่อสารมวลชนดานตางๆ ผูอานมักเห็นชื่อของ สํานักขาวเหลานี้กํากับอยูตามขาวในหนาหนังสือพิมพ สํานักขาวแตละแหงจะมีสํานักงานทั่วโลก ประมาณกวา 100 แหงสํานักขาวเหลานี้จะทําหนาที่สงขอมูลและภาพอยางเร็วที่สุดไปใหแก “ศูนย ประมวลและกระจายขาว” ที่กรุงลอนดอน หรือนิวยอรก หรือปารีส และอาจมีการสงรายละเอียด เพิ่มเติมและบทสัมภาษณตามมาใหอีกดวสํานักขาวใหญๆเหลานี้สามารถ “กําหนดวาระขาว” ดวย วิธีพิจารณาวาขาวใดเปน “ขาวดวน” ขาวใดที่สํานักขาวเห็นวาไมมีคุณคาก็จะไมไดรับการนําเสนอ ในระดับทั่วโลก 49

48 Annabelle Sreberny-Mohammadi et al., Foreign News in the Media: International Reporting in 29 Countries : Reports and Papers on Mass Communication, 93/1985. (Paris: UNESCO). 49 Chris Paterson, “News Agencies”. In Johnston. , D.H., ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3229- 3231. 23

สํานักขาวทั้งหมดที่มีอยูในโลกนี้ ไมวาจะในระดับชาติหรือในระดับทองถิ่น มักไดรับ เงินทุนจากรัฐบาล หรือจากกลุมธุรกิจ แตทวาในธุรกิจการผลิตและกระจายขาวในระดับโลกแบบ “ขายสง” (wholesale) ในปจจุบันนั้นมีเพียง 2 สํานักขาวเทานั้นที่มีบทบาทระดับนําของการสื่อสาร ในโลกนี้ คือ สํานักขาวรอยเตอรส (Reuters) ซึ่งตั้งอยูในสหราชอาณาจักรและ สํานักขาว เอพี (AP-Associated Press) ซึ่งตั้งอยูในสหรัฐอเมริกา สวนสํานักขาวเอเอฟพี (AFP-Agence France-Presse) นั้นแมในอดีตจะเคยเปนหนึ่งใน “สี่ยักษใหญ” (The Big Four) แตทวาปจจุบัน ขนาดของธุรกิจในขาวออนไลนและในโทรทัศน ของสํานักขาวเอเอฟพีนั้น ยังถือวามีขนาดเล็ก สวนสํานักขาว UPI ของสหรัฐซึ่งก็เคยเปน หนึ่งใน“สี่ยักษใหญ” ของสํานักขาวในโลก แตปจจุบัน มีการเปลี่ยนเจาของหลายครั้ง จนสุดทายอยูในมือขององคการศาสนาชื่อ ยูนิฟเคชั่นเชิรช (Unification Church) จึงทําใหอิทธิพลและความนาเชื่อถือตอสํานักขาว UPI ในหมูผูสื่อขาวทั่วไป ลดนอยลง 50

สํานักขาวนั้นกอกําเนิดขึ้นเปนครั้งแรกในโลกในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือระหวางป 1835-1850 เพื่อตอบสนองความตองการของอุตสาหกรรมหนังสือพิมพที่จะตองการนําเสนอขาว และภาพ ตอมาไดผนวกรวมกับบริษัทภาพยนตรขาว และการกระจายภาพขาวทางโทรทัศนดวย เชนกัน 51 สํานักขาวระดับนานาชาติแหงแรกของโลกชื่อ สํานักขาว Havas ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนชื่อ เปนสํานักขาวเอเอฟพี (AFP-Agence France-Presse) ไดกอกําเนิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศสในป 1835 สิบเอ็ดปตอมาจึงมีการกอตั้งสํานักขาวเอพี (AP-Associated Press) ขึ้นในสหรัฐอเมริกาใน ป 1846 ตามมาดวยสํานักขาว วูลฟ (Wolff) จากเยอรมันในป 1849 สํานักขาวทูโวรา (Tuwora) จากออสเตรียในป 1850 และสํานักขาว รอยเตอรส (Reuters)จากอังกฤษในป 1851 หลังจากนั้น ไมนานไดมีการกอตั้งสํานักขาวระดับชาติขึ้นมาในเกือบทุกประเทศในทวีปยุโรป เชน สํานักขาว ทาส (TASS) ของอดีตสหภาพโซเวียตในป1902 สํานักขาว EFE ของของสเปญในป1939 สํานัก ขาว Deutsche Presses Agentur (DPA)ของเยอรมันในป1949 รวมทั้งสํานักขาวนอกทวีปยุโรป

50 Oliver Boyd-Barrett , “National and International News Agencies : Issues of crisis and realignment”. Gazette, 2000, Vol. 62, pp. 5-18. 51 Chris Paterson, “News Agencies”. In Johnston. , D.H., ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3229- 3231. 24

เชน สํานักขาวซินหัว (Xinhua) ของจีนในป1931 สํานักขาวเกียวโด (Kyodo) ของญี่ปุนในป1945 เปนตน นอกจากนี้ในระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สองมีการกอตั้งสํานักขาวระดับภูมิภาค เชน ในป 1979 กลุมประเทศกําลังพัฒนาไดกอตั้ง สํานักขาวแพนอัฟริกัน (Pan-African News Agency - PANA) ในภูมิภาคอัฟริกา และ สํานักขาวอินเตอรเพรสเซอรวิส (Inter Press Service - IPS) ใน ภูมิภาคลาตินและอเมริกาใตเพื่อเปนสํานักขาวทางเลือกที่จะมาคานอิทธิพลของสํานักขาวระดับ ยักษจากโลกตะวันตก 52 ประวัติการพัฒนาการของสํานักขาวนั้นสามารถแบงออกเปน 4 ยุค กลาวคือ ยุคที่ 1 คือ ในชวงระหวางปค.ศ. 1870-1917 ยุคที่มีการครอบงําระดับโลกในดานการไหลของขาวสารระดับ นานาชาติโดยกลุมสํานักขาวยักษใหญในยุโรปสามสํานักขาวที่ไดทําขอตกลงจะรวมมือกันคุมการ สื่อสารของโลก คือ สํานักขาวรอยเตอรส (Reuters) จากสหราชอาณาจักร สํานักขาวฮาวาส (Agence Havas) จากฝรั่งเศส และสํานักขาว วูลฟ(Wolff) จากเยอรมัน ตอมาในยุคที่ 2 คือ ในชวงปค.ศ. 1918-1934 เปนยุคที่มีการยกเลิกขอตกลงระหวางสํานักขาวยักษใหญทั้งสามจาก อังกฤษ ฝรั่งเศสและเยอรมัน กรณีนี้จึงเปดชองให สํานักขาวอเมริกันสองสํานักขาว คือ สํานักขาวเอ พี (AP-Associated Press) และ สํานักขาวยูพีไอ (UPI-United Press International) ไดเติบโตขึ้น สวนยุคที่ 3 คือในชวงระหวางทศวรรษ 1980’s ถึง 1990’s เปนยุคที่มีการครองตลาดของสํานัก ขาวยักษใหญทั้งสี่ (The Big Four) อันไดแก สํานักขาวAP จากสหรัฐ สํานักขาวAFP จากฝรั่งเศส สํานักขาวรอยเตอรสจากอังกฤษ และสํานักขาวUPI จากสหรัฐ ในขณะที่ยุคปจจุบัน คือ ยุคที่ 4 คือ นับตั้งแตทศวรรษ 1980’s เปนตนมา เปนยุคที่มีการสลายตัวของสํานักขาวยักษใหญทั้งสี่ คงเหลือแต สํานักขาวเอพีจากสหรัฐ และสํานักขาวรอยเตอรสจากอังกฤษ เพียงสองสํานักขาวจาก โลกตะวันตกเทานั้น ที่กาวขึ้นมาผูนําในการ “ขายสง” ขาวใหเผยแพรไปในระดับโลก ดัง จะเห็นวาสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวเอพี นั้น ครอบงําการกระจายขาวในระดับโลก โดย ใหบริการขาย“ขาว”อยางเต็มรูปแบบ ตลอดจน “รายงานขาว” และเหตุการณจากแหลงขาวในทุก

52 Oliver Boyd-Barrett , “National and International News Agencies : Issues of crisis and realignment”. Gazette, 2000, Vol. 62, pp. 5-18. 25

แหงในโลก (ก) ในรูปแบบ “ขาว” (ในหนังสือพิมพ และในเวปไซต) (ข) ในรูปแบบ“ภาพนิ่ง” (ค) ในรูปแบบวิดิทัศน 53 สําหรับสํานักขาวรอยเตอรสนั้น เจาของเดิมคือหนังสือพิมพรายวันในอังกฤษและ ไอรแลนด แตนับตั้งแตป 1980 เปนตนมาไดปรับเปลี่ยนตนเองเปน สํานักขาวที่เนนดานการเงิน โดยรับใชตลาดการเงินและธุรกิจ จนไดรับการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยลอนดอน และเปน คูแขงสําคัญของบริษัทสื่อการเงินบลูมเบอรก (Bloomberg) และบริษัทดาวโจนส (Dow Jones) ซึ่งเปนสํานักขาวที่เนนดานการเงินของสหรัฐ สวนสํานักขาว AP นั้นเปนสํานักขาวที่ดําเนินการ ในลักษณะสหกรณที่ไมมุงคากําไรโดยมีสื่อที่เปนหนังสือพิมพรายวันและสื่อกระจายเสียงในสหรัฐ ที่เปนสมาชิก นอกจากนี้ยังมีสมาชิกสมทบที่อยูในตางประเทศ สํานักขาว AP ไดปรับองคกรให เปนสื่อดานขาวยุคใหม เนนดานสื่อโสตเพื่อกาวสูตลาดระดับโลก 54 ในดานสํานักขาวAFP นั้นเปน องคกรสาธารณะอยูภายใตกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส และควบคุมโดยสภาบริหารซึ่งในจํานวนนี้ มีทั้งหนวยงานรัฐบาลและสื่อที่รัฐเปนเจาของหรือ อยูภายใตการควบคุมของรัฐดวย รายไดที่มาจาก ลูกคาที่เปนหนวยงานรัฐนั้นคิดเปนประมาณครึ่งหนึ่งของรายไดทั้งหมด 55 จึงจะเห็นวาในบรรดา สํานักขาวจากโลกตะวันตกนั้น สํานักขาวรอยเตอรสจากอังกฤษ มีการดําเนินการในรูปแบบธุรกิจ ในระบบทุนนิยมเสรีอยางเต็มรูปแบบ ในดานสํานักขาวที่อยูนอกโลกตะวันตกนั้น จะเห็นวาสํานักขาวซินหัวของจีนนั้นมี ศักยภาพสูงที่จะกาวขึ้นมาเทียบชั้นกับสํานักขาวตะวันตก โดยไดเริ่มใหบริการสถานีขาวภาค ภาษาอังกฤษตลอด24 ชั่วโมง ทั้งมีแผนการกอตั้งสํานักงานจํานวน 120-200 แหงในหลายประเทศ รวมทั้งที่ไทมสแควร นิวยอรก และไดจางผูสื่อขาวจํานวนกวา 6,000 คนประจําในตางประเทศ ทั้งนี้จีนมีนโยบายที่ตองการจะเปน“ผูเลนในระดับโลก”เพื่อลดการผูกขาดดานสื่อโดยสื่อตะวันตก

53 Chris Paterson, “News Agencies”. In Johnston. , D.H., ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3229- 3231. 54 Chris Paterson, “News Agencies”. In Johnston. , D.H., ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3229- 3231. 55 Oliver Boyd-Barrett , “National and International News Agencies : Issues of crisis and realignment”. Gazette, 2000, Vol. 62, pp. 5-18. 26

จึงพยายามทุกวิถีทางใหสํานักขาวซินหัวขึ้นมาแขงขันไดในตลาดโลกในระดับเดียวกับสํานัก ขาวบลูมเบอรกและสํานักขาวรอยเตอรส ในการนี้ สํานักขาวซินหัวไดเรียกเก็บคาใชจายในการ ใหบริการในอัตราที่ต่ํากวาสํานักขาวใหญจากโลกตะวันตกมาก จึงทําใหเริ่มเปนที่นิยมมากขึ้น 56 กลาวโดยสรุปในทัศนะของนักวิชาการดานการสื่อสารมวลชนในระดับโลก ในปจจุบันมี สํานักขาวเอพี จากสหรัฐ และสํานักขาวรอยเตอรสจากอังกฤษ เพียงสองสํานักขาวเทานั้นที่ทรง อิทธิพลสูงสุดในระดับนานาชาติ แตสํานักขาวรอยเตอรสจะมีขอบขายทางธุรกิจที่กวางขวางกวา สํานักขาวเอพี สวนในโลกตะวันออกนั้นสํานักขาวซินหัวของจีนกําลังกาวขึ้นมาเทียบชั้นสํานัก ขาวระดับนําจากโลกตะวันตก

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในทศวรรษ 1970 นักวิชาการในวงการ สื่อสารนานาชาติไดทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ “สํานักขาว” และไดพบวาสํานักขาวมีแนวโนมที่จะเปนตัวแทนของลัทธิจักรวรรดินิยมทาง วัฒนธรรม 57 และลัทธิอาณานิคมใหม 58 และไดเนนวามี“การขาดสมดุลในการไหลเวียนของ ขาวสารในระดับนานาชาติ” ตลอดจนอิทธิพลของสํานักขาวในการครอบงําการรับรูของผูคนจาก วัฒนธรรมอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งจากประเทศกําลังพัฒนา ดังจะเห็นไดจากการศึกษาวิจัยของ องคการยูเนสโก ซึ่งไดคนพบวา (ก) การทําขาวตางประเทศสวนใหญเนนขาวที่เกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจและความมั่นคง ซึ่งถือวาเปน “ขาวหนัก” (hard news) และผูอยูในขาวมักเปนผูมีชื่อเสียง ทางการเมือง (ข) การทําขาวเนนซีกโลกตะวันตก งานวิจัยนี้ไดใหเห็นถึงเผยความ ไม สมดุลในการนําเสนอขาวตางประเทศ ที่มีสหรัฐและยุโรปตะวันตกเปนผูผลิตขาวรายใหญ สวน ประเทศกําลังพัฒนานั้นจะปรากฏเปนขาวเฉพาะในปริบทที่มีความตึงเครียดและในยามวิกฤต ตอมาในป 1985ไดมีการศึกษาของสมาคมนานาชาติเพื่อการวิจัยดานสื่อและการสื่อสาร (International Association for Media and Communication Research - IAMCR) เพื่อศึกษาวา

56 Isaac Stone Fish & Tony Dokoupil, "Is China's Xinhua the Future of Journalism?". Newsweek (3 September 2010). 57 Denis McQuail, McQuail’s Mass Communication Theory. 4th ed. (London : Sage Publications, 2000). 58 Herbert I. Schiller, Mass Communications and American Empire. (New York: Augustus M. Keeley Publishers, 1969). 27

ไดเกิดมีการเปลี่ยนแปลงหรือไมในดานการไหลของขอมูลขาวสารใน 40 ประเทศในโลกนี้ จาก การศึกษาไดพบวา แมวาจะมีเทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหมในยุคโลกาภิวัฒน แตก็ยังไมมีการ เปลี่ยนแปลงมากนักในดานการนําเสนอขาว เพราะการนําเสนอขาวยังเนนขาวในคายตะวันตกเปน หลัก 59 นอกจากนี้ งานวิจัยเรื่อง Structures of International News: A Case Study of the World Press ที่สนับสนุนโดยองคการยูเนสโก ไดทําการศึกษาโครงสรางของขาวตางประเทศและ “วิเคราะหวรรณกรรม” (discourse analysis) โดยไดทําการวิเคราะหเปรียบเทียบหนังสือพิมพ 252 ฉบับในเกือบรอยประเทศที่รายงานขาวการลอบสังหารประธานาธิบดีบายีร กามาเยล (Bayir Gamayel) ของประเทศเลบานอนที่ชนะการเลือกตั้ง และไดพบวามีความแตกตางในการนําเสนอ ขาวจากประเทศที่พัฒนาแลวและกําลังพัฒนา 60 สวนอัมโบรจิ-ยานซัน (Ambrogi-Yanson) ได ทําการศึกษาการรายงานขาวออนไลนของสามสํานักขาวที่ครอบงําการนําเสนอขาวของทั้งโลกไว คือ สํานักขาวเอพี สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวเอเอฟพี และไดพบวาการนําเสนอขาวของทั้ง สามสํานักขาวนี้ สะทอนโลกทัศนและอุดมการแบบตะวันตก 61 ในสวนของงานวิจัยที่เกี่ยวของกับสํานักขาวตางประเทศในประเทศไทยนั้น ปารณีย จันทร กุล ในวิทยานิพนธ เรื่อง “การเสนอขาวโลกตะวันตก และขาวโลกตะวันออกของสํานักขาว ตางประเทศ” ไดเปรียบเทียบการรายงานขาวจากประเทศตะวันตก 2 แหง คือ สํานักขาวเอเอฟพี และ สํานักขาวรอยเตอรสและจากประเทศตะวันออก2 แหง คือ สํานักขาวเกียวโด และ สํานักขาว ซินหัว ผลการวิจัยพบวาสํานักขาวตะวันตก โดยทั่วไปมักจะรายงานขาวในทิศทางลบมากกวาสํานัก ขาวตะวันออก โดยเฉพาะอยางยิ่งสํานักขาวซินหัว จากสาธารณรัฐประชาชนจีนนั้นมีการปกครอง แบบสังคมนิยมจึงมีทิศทางและการนําเสนอขาวที่แตกตางจากสํานักขาวอื่นๆที่อยูในโลกเสรีนิยม

59 Annabelle Sreberny-Mohammadi et al., Foreign News in the Media: International Reporting in 29 Countries : Reports and Papers on Mass Communication, 93/1985. (Paris: UNESCO). 60 Teun Adrianus van Dijk, News analysis: Case studies of international and national news in the press. (Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum, 1988). 61 Molly Ambrogi-Yanson, International news coverage online as presented by three news agencies. Unpublished MS thesis, Rochester Institute of Technology, 2000. 28

ประชาธิปไตย 62 ดานกฤติยา รุจิโชคไดศึกษากระบวนการทําขาวของผูสื่อขาวจากสํานักขาว ตางประเทศสามสํานักขาวในประเทศไทยตอกรณีวิกฤตการณการเมืองไทย พ.ศ. 2552-2553 คือ สํานักขาวเอพี สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว งานวิจัยนี้ไดพบวา ปจจัยที่เขามามีอิทธิพล ตอการคัดเลือกประเด็นขาวไดแก คุณคาขาว (ความสด ความสําคัญ ความจําเปน ผลกระทบ ความ ขัดแยง กระแสเหตุการณที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ความไมปกติและความใกลชิด) ปจจัยบุคคล อิทธิพลเจาของกิจการ ความกดดันทางเศรษฐกิจ กลุมเปาหมาย สภาพการแขงขันในธุรกิจ 63 ในสวนที่เกี่ยวของกับสื่อสารมวลชนของจีนนั้น วิภา และนิรันดร อุตมฉันท ไดสรุป ลักษณะพิเศษของสื่อจีนในปจจุบันไวดังนี้ คือ (ก) สื่อมวลชนจีนเปนสื่อในระบอบสังคมนิยมที่มี ลักษณะเฉพาะแบบจีน โดยสื่อมวลชนเปนของรัฐ อยูภายใตการควบคุมของรัฐอยางเขมงวด เนื่องจากมีทัศนะวา สื่อเปนองคประกอบสําคัญในโครงสรางสวนบนของสังคม ซึ่งไดแก ระบบคิด จิตสํานึก และระบอบการเมืองใน ดวยเหตุนี้ “ปนและปากกา จึงเปนสองสิ่งที่ผูนําจะคลายการยึดกุม มิได” (ข) เสรีภาพของสื่อตองคูกับภาระหนาที่และความรับผิดชอบ โดยสื่อมวลชนจีนตอง ตระหนักวาสิ่งที่ตนนําเสนอจะกอใหเกิดผลดีหรือผลเสียตอสังคมหรือไมอยางไร หากเปนผลเสีย ก็ไมควรจะเอาเสรีภาพมาเปนขออางในการพูด เขียน หรือ แสดงออกตอสาธารณะ ทั้งนี้ผลดีผลเสีย มีนโยบายของพรรคคอมมิวนิสตจีนและรัฐเปนผูชั่งน้ําหนัก โดยอยูบนเงื่อนไขวา ตองไมสวนทาง กับแนวนโยบายของพรรคฯ และของรัฐ ตองยึดถือผลประโยชนของชาติเปนที่ตั้ง และตองยึดหลัก กระชับมิตรกับทุกประเทศ 64 ในดานงานวิจัยที่เกี่ยวของกับสื่อสารมวลชนในกรณีพระวิหารนั้น นิติพงศ พิเชฐพันธุได ทําการศึกษา ความสัมพันธระหวางภาษาและอุดมการณเกี่ยวกับ "ไทย" และ "เขมร" ในวาทกรรม เหตุการณพิพาทเขาพระวิหาร พ.ศ. 2551 จากหนังสือพิมพรายวันภาษาไทยวา มีการนําเสนอชุด ความคิดเกี่ยวกับ "ไทย" และ "เขมร" ประการใดบาง และมีการใชกลวิธีทางภาษาใดเพื่อนําเสนอชุด ความคิดเหลานั้น โดยศึกษาจากหนังสือพิมพรายวันภาษาไทยจํานวน 9 ชื่อฉบับ ไดแก กรุงเทพ

62 ปารณีย จันทรกุล, การเสนอขาวโลกตะวันตก และขาวโลกตะวันออกของสํานักขาวตางประเทศ. วิทยานิพนธปริญญาโท. กรุงเทพ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2000. 63 กฤติยา รุจิโชค, กระบวนการทําขาวของนักขาวสํานักขาวตางประเทศในประเทศไทยตอกรณี วิกฤตการณการเมืองไทย พ.ศ. 2552-2553. วิทยานิพนธปริญญาเอก. กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2553 64 วิภา อุตมฉันท และนิรันดร อุตมฉันท, เจาะลึกสื่อจีน. (กรุงเทพ : ศูนยจีนศึกษา สถาบันเอเชีย ศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549). 29

ธุรกิจ คมชัดลึก ไทยรัฐ ไทยโพสต เดลินิวส แนวหนา ผูจัดการรายวัน โพสตทูเดย และมติชน ผล การศึกษาพบวา มีการใชกลวิธีทางภาษาที่นําเสนอชุดความคิดที่วา ""เขมร" มักสรางปญหาใหแก "ไทย"" ""เขมร" ใชเลหเพทุบาย"" ในขณะที่ "ไทย" ดําเนินการตามกฎเกณฑ"จนทําให ""ไทย" เพลี่ยงพล้ําใหแก "เขมร"" 65 สวนในดุษฎีนิพนธ เรื่อง “การประกอบสรางความจริงทางสังคม กรณี การขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของประเทศกัมพูชาของหนังสือพิมพมติชนกับ หนังสือพิมพผูจัดการ ในชวงเวลา พ.ศ. 2548 – 2553” สุเนตร มาทอง ไดพบวาในการรายงานขาว กรณีการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนั้น หนังสือพิมพมติชนกับหนังสือพิมพ ผูจัดการตางไดประกอบสรางความจริง ไปตามแนวคิดและอุดมการของตน ที่แตกตางกันระหวาง สื่อสองฉบับนี้ 66 ดานสุวิทย ประภาโส ในดุษฎีนิพนธ เรื่อง การสื่อสารทางการเมืองเรื่อง ประสาท พระวิหาร : ศึกษากรณีสื่อสิ่งพิมพในหวงเวลา พ.ศ. 2551 - 2556 นั้น ไดทําการศึกษาศึกษาถึง บริบททางการเมือง ที่สงผลตอกระบวนการสื่อสารทางการเมืองเรื่อง ประสาทพระวิหาร และศึกษา ถึงจุดยืน และมุมมองการสื่อสารทางการเมืองของคอลัมนิสตในหนังสือพิมพ มติชน ไทยรัฐ และ เอเอสทีวีผูจัดการรายวัน เกี่ยวกับเรื่อง ประสาทพระวิหาร ในชวงดังกลาว 67 อยางไรก็ตาม ที่ผานมายังไมมีงานวิจัยเรื่องใดทั้งในประเทศไทยหรือในตางประเทศที่ เกี่ยวของการรายงานขาวของสํานักขาวตางประเทศในกรณีพระวิหาร งานวิจัยเรื่องนี้จึงถือเปน งานวิจัยเรื่องแรกที่ไดทําการศึกษาในแนวทางดังกลาว

สรุปกรอบแนวคิดของการวิจัย

65 นิติพงศ พิเชฐพันธุ. “วาทกรรมเหตุการณพิพาทเขาพระวิหาร พ.ศ. 2551 จากหนังสือพิมพรายวัน ภาษาไทย:การศึกษาความสัมพันธระหวางภาษาและอุดมการณ.” วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2553. 66 สุเนตร มาทอง “การประกอบสรางความจริงทางสังคม กรณีการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลก ของประเทศกัมพูชา ผานการเลาเรื่องของหนังสือพิมพผูจัดการ และ หนังสือพิมพมติชน ในหวงเวลา พ.ศ.2548- 2553”. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต , มหาวิทยาลัยเกริก, 2554. 67 สุวิทย ประภาโส “การสื่อสารทางการเมืองเรื่องปราสาทพระวิหาร : ศึกษากรณีสื่อสิ่งพิมพในหวง เวลาป พ.ศ. 2551 – 2556”. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต , มหาวิทยาลัยเกริก, 2558. 30

ในการทําการศึกษาเกี่ยวกับ “การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการ รายงานขาวกรณีพระวิหาร” ผูวิจัยไดสรุปกรอบแนวคิดของการวิจัยและออกแบบจัดทํา แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองขึ้นโดยไดประยุกตจากแบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของ ไบรอัน แมกแนร (Brian McNair) 68 มาใชในการอธิบายการสื่อสารทางการเมืองของ ผูเลน ทางการเมือง 3 ฝาย คือ (ก) องคกรทางการเมืองอันประกอบดวยรัฐบาลไทยและกัมพูชา ตลอดจนองคกรทางการ เมืองระหวางประเทศ เชน ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (International Court of Justice – ICJ) องคการสหประชาชาติ (United Nations–UN) คณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (United Nations Security Council-UNSC) องคการอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations-ASEAN) และองคการยูเนสโก (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization-UNESCO) (ข) สื่อมวลชนอันประกอบดวยสํานักขาวตางประเทศ ที่ไดทําหนาที่ “ขายสง” ขาวสารใน กรณีพระวิหารไปยังสื่อสารมวลชนตางๆทั่วโลกที่ “ขายปลีก” ขาวสารนั้นๆไปในประเทศของตน (ค) ประชาคมโลกผูรับขาวสารตลอดจนประชาชนผูเลือกตั้งในประเทศไทยและกัมพูชา ดังแสดง ในภาพที่ 2.4

ภาพที่ 2.4 แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการรายงานขาวกรณี พระวิหาร องคกรทางการเมือง :รัฐบาล ไทยและกัมพูชา องคกรระหวางประเทศ สํานักขาวรอยเตอรส สํานักขาวซินหัวในกรณี พระวิหาร ประชาชนทั่วไป และ ประชาคมโลก/ผูเลือกตั้ง

68 Brian McNair., An Introduction to Political Communication. (London: Routledge, 2003). 31

แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการรายงานขาวกรณีพระ วิหารนี้ไดนําแบบจําลองของ Brian McNair มาประยุกตเพื่ออธิบายการไหลเวียนของขาววา เริ่มตน จาก (ก) รัฐบาลไทยและกัมพูชาทํากิจกรรมสื่อสารการเมือง เชน การแลงขาว การแสดงสุนทร พจน การโฆษณาประชาสัมพันธ แนวทางนโยบายและกิจกรรมของตนผานทางสื่อมวลชน (ข) สื่อมวลชน ซึ่งในที่นี้ คือสํานักขาวตางประเทศไดทําหนาที่ “ขายสง” ขาวสาร ให สื่อสารมวลชนตางๆทั่วโลก เมื่อไดรับขาวสารจากสํานักขาวตางประเทศแลว สื่อสารมวลชนตางๆ ทั่วโลกทําหนาที่เลือกนําเสนอหรือไมนําเสนอขาวในกรณีพระวิหาร จนมีผลทําใหประชาคมโลก และสาธารณชนเกิดความคิดเห็นคลอยตามเรื่องนั้นๆ สํานักขาวตางประเทศ จึงไดรับการสถาปนา ใหเปนสถาบันทางการเมือง ดวยบทบาทในการครอบครองการสงผานขาวสารในทางการเมือง นอกจากจะทําหนาที่ถายทอดขอมูลจากฝายการเมืองมาสูประชาคมโลกและสาธารณชนแลว ยังทํา หนาที่แปลงสารจากกระบวนการทําขาวสูการตีความอีกดวย บทบาทของสื่อมวลชน คือ สํานักขาวตางประเทศนั้น จึงโดดเดนอยางยิ่งในกระบวนการ สื่อสารทางการเมืองเพราะไมเพียงแตเปนผูกําหนดความสําคัญของขาวสารที่สงไปยังประชาคมโลก และประชาชนไทยและกัมพูชา แตยังอธิบายบทบาทของสื่อในการเปนชองทางในการนําเสนอ ความคิดเห็นของประชาชน ในรูปแบบ “การทําตัวใหเปนขาว” หรือการรองเรียนตาง ๆ ตลอดจน การหยั่งเสียงประชามติ อันเปนการสงขอมูลยอนกลับไปยังรัฐบาลไทยและกัมพูชาดวย บทที่ 3

ระเบียบวิธีวิจัย

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระวิหาร ศึกษาในหวงเวลาตั้งแต ค.ศ. 2008-2013 ผูวิจัยเนนการศึกษาเปรียบเทียบ“การรายงานขาว”ของ สํานักขาวตางประเทศที่มีบทบาทในการรายงานความขัดแยงกรณีพระวิหารระหวางไทยกับกัมพูชา คือ สํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัว โดยใชระเบียบการศึกษาวิธีวิจัย ดังตอไปนี้ 1. แนวทางการศึกษาวิจัย 2. เครื่องมือการศึกษา 3. กลุมผูใหขอมูล 4. การจัดกระทําขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล

แนวทางการศึกษาวิจัย

การศึกษาวิจัยเรื่อง “การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการรายงานขาว กรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ. 2008-2013 เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช การวิเคราะหเนื้อความ (content analysis) ซึ่งหนวยในการวิเคราะห (unit of analysis) ของ การศึกษาจะเปน“รายงานขาว” ในรูปแบบของ “ตัวบท” (texts) ที่ไดมาจากเว็บไซตตางๆในรูปของ “ขาวออนไลน” ในชวงเวลาตั้งแตเดือนมกราคม ค.ศ.2008 ถึง ธันวาคม ค.ศ.2013 ของสํานักขาว จากโลกตะวันตก คือ สํานักขาวรอยเตอรส ของประเทศสหราชอาณาจักร จํานวน 108 ขาว และ สํานักขาวจากโลกตะวันออกจากสํานักขาวซินหัวของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน จํานวน 622 ขาว เพื่อจะทําใหทราบจุดยืนมุมมองทัศนะของทั้งสองสํานักขาว ตอวิกฤตการณทางการเมือง กรณีพระวิหารระหวางไทยและกัมพูชา ในชวงเวลาดังกลาว นอกจากนี้ยังมีการสัมภาษณเจาะลึก (In-depth Interview) ดวยคําถามสัมภาษณแบบมีโครงสราง กึ่งโครงสราง และ ไมมีโครงสราง กับ บุคคลที่เกี่ยวของ และนําเสนอดวยวิธีพรรณนา โดยมีกรอบแนวคิดเรื่องการสื่อสารทางการเมือง ของไบรอัน แมกแนร (Brian McNair) 66 ตลอดจน‘ทฤษฎีประตูขาว’(Gatekeeping Theory) ของ พาเมลา เจ ชูเมกเกอร และทิโมธี ฟวอส (Pamela J. Shoemaker & Timothy P. Vos) 67

66 Brian McNair, An Introduction to Political Communication. (London: Routledge, 2003). 67 Pamela J. Shoemaker & Timothy P. Vos, Gatekeeping. (New York : Routledge, 2009). 33

เครื่องมือการศึกษา

(ก) การวิเคราะหเนื้อความ ของ“รายงานขาว” ในรูปแบบของ “ตัวบท” ที่ไดมาจาก เว็บไซตตางๆในรูปของ “ขาวออนไลน” ในชวงเวลาตั้งแต เดือนมกราคม ค.ศ.2008 ถึง ธันวาคม ค.ศ.2013 ของสํานักขาวยักษใหญในปจจุบันจากประเทศในโลกตะวันตก คือ สํานักขาวรอยเตอรส ของประเทศสหราชอาณาจักร จํานวน 108 ขาว และสํานักขาวซินหัวของประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีนจากโลกตะวันออก จํานวน 622 ขาว (ข) การสัมภาษณเจาะลึกโดยกลุมผูใหขอมูล คือ ผูสื่อขาวของสํานักขาวตางประเทศที่ เกี่ยวของกับสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัว และติดตามกรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร ระหวางไทยและกัมพูชา

กลุมผูใหขอมูล

กลุมผูใหขอมูล (Key Informants) ในการใหสัมภาษณ มีดังนี้ คือ สงวน คุมรุงโรจน ผูบริหารสํานักขาวอิสระ อดีตที่ปรึกษาพิเศษของ CCTV ในไทย และอดีตผูสื่อขาวของสื่อชั้นนําในหลาย ประเทศ เชน สิงคโปร ฮองกง กัมพูชา เวียตนาม นพพร วงศอนันต อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวรอยเตอรส รองบรรณาธิการ นสพ.บางกอกโพสต สุภลักษณ กาญจนขุนดี บรรณาธิการอาวุโส นสพ.เดอะเนชั่น นพดล ปทมะ อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศในสมัย รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช อนุรัชช มณีพันธุ. อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวเอเอฟพี. รองคณบดี วิทยาลัย นานาชาติปรีดี พนมยงค

ในการนี้ผูวิจัยไดจัดทําประเด็นคําถามที่จะสัมภาษณสงใหผูใหขอมูลหลักไดเตรียมตัว ลวงหนาในการสัมภาษณผูวิจัยใชการบันทึกเทปผสมกับการบันทึกรายงานเนื่องจากผูใหขอมูลหลัก บางทานไมประสงคจะใหมีการบันทึก หลังจากนั้นผูวิจัยไดนําขอมูลที่ไดมาจัดทํา 34

“ขอความจากการสัมภาษณที่จะนํามาอางอิง” แลวสงให ผูใหขอมูล เห็นชอบกอนนํามาใชอางอิงใน งานวิจัยนี้ การจัดกระทําขอมูล

ผูวิจัยตองการขอมูลที่ชัดเจนลุมลึกและรอบดานกอนที่จะวิเคราะหเนื้อหาในเชิงลึก ตอไปดังนั้นในสวนของการวิจัยเอกสารในดานกรอบโครงสรางดานเนื้อหาผูวิจัยไดกําหนด โครงสรางหรือประเด็นที่เปนจุดเนนในการศึกษาในเบื้องตน ดังนี้

ประเด็นที่ 1. บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาใน กรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1962-2013 อันมีระยะเวลายาวนานถึง 51 ปนั้น ผูวิจัยได แบงออกเปน 3 ชวง คือ ชวงที่ 1 บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณี พระวิหารในหวงเวลา ค.ศ. 1962-1972 ระยะเวลานาน 10 ป ชวงที่ 2 บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณี พระวิหารในหวงเวลา ค.ศ. 1973-2007 ระยะเวลานาน 34 ป ชวงที่ 3 บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณี พระวิหาร ในหวงเวลา ค.ศ. 2008-2013.

ประเด็นที่ 2. การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรส ในกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ. 2008-2013 - การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2008 - ยูเนสโกอนุมัติใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก - ทหารไทยรุกเขาพื้นที่ทับซอน - เจรจาทวิภาคีลมเหลว : แผนที่คนละฉบับ - กัมพูชารองเรียน UNSC ใหเขามาแทรกแซง - เจรจาทวิภาคีลมเหลว: การถอนทหาร - การปะทะวันที่ 3 ตุลาคม 2008 - การปะทะวันที่ 15 ตุลาคม 2008 - การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2009 - การปะทะวันที่ 3 เมษายน 2009 35

- เจรจาทวิภาคีลมเหลว : ไทยไมยอมถอนทหาร - การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2010 - กัมพูชาประทวง ‘แผนที่กูเกิ้ล’ - การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2011 - การปะทะวันที่ 4-7 กุมภาพันธ 2011 - ไทย-กัมพูชารบกันไปทําไม - การเมืองแบงขั้วในไทย - จีนชวยกัมพูชาดานการทหาร - UNSC มอบให ASEAN ไกลเกลี่ย - การปะทะวันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011 - ฮุนเซ็นเดินแตมเหนือชั้นกวาอภิสิทธิ์ - ศาลโลกสั่งใหกัมพูชาและไทยถอนออกจากเขตปลอดทหาร - การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2012 - กัมพูชาขึ้นตอจีนมากเกินไป - การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2013 - คําตัดสินของศาลโลก11 พฤศจิกายน 2013 - แผนโคนยิ่งลักษณ - ใครอยูเบื้องหลัง

ประเด็นที่ 3. การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในการรายงานขาวกรณีพระวิหารใน หวงป ค.ศ.2008-2013 - การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหารกอนป 2008 - การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2008 - ปราสาทพระวิหารสําคัญสําหรับกัมพูชา - แผนที่ที่กัมพูชาจะขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกล้ํามาในเขตไทย - ครม.สมัครรับรอง‘แผนที่ใหม’ ของปราสาทพระวิหาร - กัมพูชาฉลองใหญมรดกโลก - ทหารไทยรุกเขาพื้นที่ทับซอน 36

- อาเซียนเสนอชวยไกลเกลี่ย - ตรึงกําลังแยงชิงปราสาทตาเมือนธม - การปะทะวันที่ 3 ตุลาคม 2008 - ฮุนเซ็นยื่นคําขาดใหไทยถอนจาก‘ลานอินทรี’ภายใน 24 ชั่วโมง - การปะทะวันที่ 15 ตุลาคม 2008 - กัมพูชาฟอง UNSC - จีนเรียกรองใหเจรจา - หนึ่งในสิบเหตุการณที่“ช็อก”โลกของซินหัว - การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2009 - การปะทะวันที่ 3 เมษายน 2009 - ญี่ปุนบริจาคเงินสรางพิพิธภัณฑเปรี๊ยะวิเฮียรสมเด็จเตโช - อภิสิทธิ์เรียกรองขึ้นทะเบียนรวมปราสาทพระวิหารมรดกโลก - กลุมชาตินิยมกดดันอภิสิทธิ์ยกเลิก“ขัอตกลงรวม” - การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2010 - การปะทะวันที่ 24 มกราคม 2010 - การปะทะวันที่ 17 เมษายน 2010 - การปะทะวันที่ 8 มิถุนายน 2010 - อิตาลีชวยซอมแซมโบราณสถานเพื่อการทองเที่ยว - อภิสิทธิ์คัดคานแผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหาร - กลุมพธม.กดดันรัฐบาลยกเลิก ‘MoU 2000’ - ฮุนเซ็นฟอง UNSC ขอบันคีมุนและอาเซียน ชวยไกลเกลี่ย - กลุมเสื้อเหลืองกดดันรัฐสภามิใหเห็นชอบรายงานการประชุม JBC - คนไทย 7 คนถูกจับฐานเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย - การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2011 - อภิสิทธิ์กดดันกัมพูชาใหยายปายหินและธงที่วัดแกวสิกขาคีรีสวารา - การปะทะวันที่ 4-7 กุมภาพันธ 2011 - การปะทะวันที่ 15 กุมภาพันธ 2011 - มติ UNSC ใหอาเซียนมีบทบาทไกลเกลี่ย - อินโดนีเซียจะสงผูสังเกตุการณมาดูแลการหยุดยิงที่ชายแดนไทย-กัมพูชา - การปะทะวันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011 37

- ประชุมอาเซียนซัมมิทที่กรุงจาการตา - กัมพูชายื่นขอศาลโลกตีความคําพิพากษาป 1962 - ศาลโลกสั่งใหกัมพูชาและไทยถอนออกจากเขตปลอดทหาร - ไทย-กัมพูชาฟนฟูความสัมพันธ - การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2012 - ยิ่งลักษณ-ฮุนเซ็นรวมลงนามถอนทหารตามคําสั่งของศาลโลก - การประทวงของกลุมชาตินิยมไทยและการกระทบกระทั่งกันที่ชายแดน - การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2013 - การเตรียมรับมือการใหปากคําเพิ่มเติมตอศาลโลกในวันที่ 15-19 และ 17 เมษายน 2013 - รัฐบาลกัมพูชาและไทยพอใจกับคําตัดสินของศาลโลก11 พฤศจิกายน 2013 ประเด็นที่ 4. การเปรียบเทียบการสื่อสารการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาว ซินหัว - การเปรียบเทียบรายงานขาวจากสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ในดาน ตางๆ ดังนี้ - ดานจํานวนขาว - ดานความถี่และประเด็นในการนําเสนอขาว - ดานการพาดหัวขาว (headlines) - การเปรียบเทียบบทความเชิงวิเคราะหจากสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว

ดังนั้น วัตถุประสงคในแตละขอไดใชระเบียบวิธีวิจัยและการจัดกระทําขอมูลการวิจัย ดังตอไปนี้ วัตถุประสงคขอที่ 1. การศึกษาบริบทความขัดแยงทางการเมืองระหวางไทยและกัมพูชาใน กรณีพระวิหารที่ดําเนินมาตั้งแต ค.ศ.1962-2013 ผูวิจัยใชระเบียบวิธีการศึกษาจากการวิจัยเอกสาร จากขาว บทความ หนังสือ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยใชขอมูลจากประเด็นที่ 1 วัตถุประสงคขอที่ 2. การศึกษาการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการ รายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008-2013 ผูวิจัยใชระเบียบวิธีการศึกษาจากการวิเคราะห 38

เนื้อหาของรายงานขาวจากสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว และการสัมภาษณแบบ เจาะลึก โดยใชขอมูลจากประเด็นที่ 2, 3 และ 4 สวนดานการจัดกระทําขอมูล ผูวิจัยตองการใหไดขอมูลที่จําเปนและเพียงพอสําหรับการ ตอบวัตถุประสงคในแตละขอ ซึ่งขอมูลที่ไดจะตองมีความเชื่อถือได (Credibility) สูง ผูวิจัยจึงใช การตรวจสอบความนาเชื่อถือ (Reliability) และความถูกตองแมนยํา(Validity)ของขอมูล ดวย วิธีการตรวจสอบแบบสามเสา (Triangulation) 68 อันไดแก 1. แหลงขอมูลที่ไดนํามาจากหลายแหลงที่เชื่อถือได สวนการวิเคราะหเนื้อหาของขาวนั้น เปนการวิเคราะหเปรียบเทียบรายงานขาวของสองสํานักขาวชั้นนําในโลกยุคปจจุบัน โดยสํานักขาว รอยเตอรสเปนตัวแทนของสํานักขาวจากคายเสรีนิยมตะวันตก และสํานักขาวซินหัวเปนตัวแทน ของสํานักขาวจากคายสังคมนิยมตะวันอออก 2. นอกจากการสัมภาษณผูสื่อขาวจากสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัวแลวยังมี ผูใหขอมูลที่มีประสบการณจากสํานักตางประเทศอื่นๆ และนักการเมือง 3. การวิจัยครั้งนี้ ใชมุมมองจากหลายทฤษฎี กลาวคือ แนวคิดทฤษฎีภายใตแบบจําลอง การสื่อสารทางการเมือง และ‘ทฤษฎีประตูขาว’

การวิเคราะหขอมูล

การวิจัยครั้งนี้แบงการวิเคราะหขอมูล ดังนี้ (1) “การจัดระเบียบขอมูล” หรือ “การยอขอมูล”(Data Reduction) 69 เมื่อผูวิจัยไดขอมูล มาแลวไดใชกระบวนการจัดการดวยกรรมวิธีตางๆ เพื่อใหขอมูลที่ไดเปนระเบียบ นาสนใจ เขาใจ งายพรอมที่จะแสดงและนําเสนออยางเปนระบบ เนื่องจากขอมูลจากการรวบรวมที่มีการรายงาน ขาวไปทั่วโลกนั้นมีจํานวนมาก ทั้งยังมีขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึกจากผูใหขอมูลคนสําคัญอีก ดวย

68 สุภางค จันทวานิช, การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542), น.32. 69 Matthew B Miles & A M Huberman, Qualitative Data Analysis. An Expanded Sourcebook (2ed). (Thousand Oaks, CA: Sage, 1994). 39

(2) การแสดงขอมูล (Data Display) เปนกระบวนการนําขอมูลมาจัดโครงสรางในการ นําเสนอในรูปของการพรรณนา และการแสดงดวย ตาราง อันเปนผลมาจากการเชื่อมโยงขอมูลที่ได จัดระเบียบจากขั้นตอนที่ 1 แลว ภายใตกรอบแนวคิดในการวิเคราะหที่กําหนดไวกอนหนา เพื่อ บอก “เรื่องราว” ของสิ่งที่ศึกษาตามความหมายขอมูลซึ่งไดถูกจัดระเบียบไวดีแลว (3) การสรางขอสรุปและยืนยันผลสรุป (Conclusion and Verification) เปนขั้นตอนของ การหาขอสรุปและการตีความหมายของผลหรือขอคนพบที่ไดจากการแสดงขอมูล รวมถึงการ ตรวจสอบวา ขอสรุปหรือความหมายที่ไดนั้นมีความถูกตองตรงประเด็น และนาเชื่อถือเพียงใด และเพื่อใหแนใจวาบทสรุปนาเชื่อถือผูวิจัยไดวิเคราะหตรวจสอบอีกครั้งกับผูใหขอมูลหลัก ขอสรุปและสิ่งที่ตีความออกมานั้นอาจเปนในรูปของคําอธิบาย กรอบแนวคิด หรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับ เรื่องที่ทําการวิเคราะหนั้น 70

ทั้งนี้เพื่อใหผลการศึกษาสอดคลองกับวัตถุประสงคทั้ง 2 ขอของการวิจัยครั้งนี้ คือ ก) เพื่อศึกษาบริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระ วิหารที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ข) เพื่อศึกษาการสื่อสารทางการเมือง ทัศนะจุดยืนและมุมมองของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัว ในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008-2013

เพื่อใหผลการศึกษาสอดคลองกับวัตถุประสงคทั้ง 2 ขอ จึงขอกําหนดแนวทางการศึกษาไวดังนี้ (ก) ใชการวิจัยเอกสาร เพื่อทําการวิเคราะหและสังเคราะหขอความรูใหมจากเอกสารตางๆ เปนการวิจัยที่มุงคนหาขอเท็จจริง หรืออธิบายปรากฏการณที่ปรากฏวา มีสภาพความเปนจริง อยางไร ทั้งนี้เพื่อตอบ “คําถามขอที่ 1 ที่เกี่ยวของกับ บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยง ระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารตั้งแต ค.ศ.1962 ถึง 2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทาง การเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว (ข) ใชการศึกษาวิเคราะหเนื้อหา ของ “รายงานขาว” ที่เปน “เอกสาร” ที่ไดมาจากเวปไซต ตางๆในรูปของ “ขาวออนไลน” ที่เกี่ยวของกับ “การสื่อสารทางการเมือง ทัศนะจุดยืนและมุมมอง ของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.

70 Matthew B. Miles & A M Huberman Matthew B Miles & A M Huberman, Qualitative Data Analysis. An Expanded Sourcebook (2ed). (Thousand Oaks, CA: Sage, 1994). 40

2008-2013” อันเปนชวงระยะเวลาการบริหารของรัฐบาลไทย 4 รัฐบาล คือ รัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศสวัสดิ์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร ในขณะที่ ในประเทศกัมพูชาเปนการบริหารประเทศของรัฐบาลนายฮุนเซ็นแตเพียงรัฐบาลเดียว (ค) ในการวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณ มีทั้งกลุมผูใหขอมูลหลัก (Key Informants) จากสํานักขาวตางประเทศ และ ผูมีสวนไดเสีย อันไดแก สงวน คุมรุงโรจน (อดีตผูสื่อขาวตางประเทศจากหลายสํานักขาว) นพพร วงศอนันต (อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวรอยเตอรส / รองบรรณาธิการ นสพ. บางกอกโพสต) สุภลักษณ กาญจนขุนดี (บรรณาธิการอาวุโส นสพ.เดอะเนชั่น) อนุรัชช มณีพันธุ. อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวเอเอฟพี. และนพดล ปทมะ อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ทั้งนี้ เพื่อใหไดขอมูลเชิงลึกในการตอบ “คําถามการวิจัยขอที่ 2 ที่เกี่ยวกับ “การสื่อสารทาง การเมือง ทัศนะจุดยืนและมุมมองของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ในการรายงานขาว กรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008-2013”

ขอจํากัดงานวิจัย

การศึกษาวิจัยเรื่อง การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระวิหาร ศึกษา ในหวงเวลาตั้งแต ค.ศ. 2008-2013 นี้ ซึ่งกระทําการเริ่มศึกษาและเก็บขอมูลในชวงปลายป ค.ศ. 2013 ในชวงกอนที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศจะมีคําตัดสินในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2013 ในคดี ที่กัมพูชาฟองตอศาลใหมีการตีความคําพิพากษากรณีพระวิหารในปค.ศ. 1962 การ ศึกษาวิจัยเรื่องนี้จึงมีขอจํากัดบางประการ ดังนี้ - ผูใหขอมูล (Key Informants) บางทานตองระมัดระวังในการใหขอมูลเนื่องจากเปน ความลับทางธุรกิจ - ผูใหขอมูล (Key Informants) บางทานยินดีใหขอมูล แตขอใหปกปดนาม บทที่ 4

บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชา ในกรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1962-2013

ประเด็นของความขัดแยงกรณีพระวิหารระหวางไทยและกัมพูชานั้น เริ่มขึ้นประมาณป ค.ศ.1959 จากปญหาการที่ทั้งสองประเทศอางอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารซึ่งตั้งอยูที่ชายแดน ไทยและกัมพูชาดานอําเภอกันทราลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องมาจากทั้งไทยและกัมพูชาตาง ยึดถือแผนที่ปกปนเขตแดนคนละฉบับ ตอมาในปค.ศ. 1962 ศาลยุติธรรมระหวางประเทศได ตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา แตสถานะของพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกิโลเมตร รอบตัวปราสาทยังไมชัดเจนวาเปนของใคร หลังจากที่ปราสาทพระวิหารไดรับการ ขึ้นทะเบียนเปน มรดกโลกโดยยูเนสโกในเดือนกรกฎาคม ปค.ศ.2008 ไดเกิดการปะทะกันตามชายแดนระหวาง ไทยและกัมพูชา โดยเฉพาะในชวงเดือนตุลาคมปเดียวกันและเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2011 ทํา ใหมีผูเสียชีวิตจํานวนมากทั้งกัมพูชาและไทย 71 ในบทนี้จะนําเสนอบริบททางการเมืองระหวาง ไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารในหวงเวลาค.ศ.1962-2013 ซึ่งเปนระยะเวลายาวนานถึง 51 ป ที่มีผลตอการรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว โดยแบงการนําเสนอ เปน สามชวง คือ ชวงแรก ค.ศ. 1962-1972 ชวงที่สอง ค.ศ. 1973-2007 ชวงที่สาม ค.ศ. 2008-2013 ปราสาทหินนั้นมีความสําคัญมากสําหรับชาวกัมพูชา ที่สําคัญที่สุดก็คือ “ปราสาทหินเปน ศูนยกลางชาตินิยมและความเปนเอกภาพของกัมพูชา”72 เปนตัวแทนของความรุงเรืองในอดีต สังเกตไดจากการที่ปราสาทหินปรากฏอยูในทุกที่ไมวาจะเปน“ธนบัตร”หรือแมแต“ธงชาติ กัมพูชา”73 โดยเฉพาะในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ.2008 ธนาคารชาติของกัมพูชาไดออกธนบัตรใหม ราคา 2,000 เรียล ซึ่งมีคาประมาณครึ่งดอลลารสหรัฐ ในธนบัตรรุนนี้ ดานหนึ่งจะเปนภาพของ

71 Martin Wagener, “Lessons from Preah Vihear : Thailand, Cambodia and the Nature of Low-Intensity Border Conflicts”. In Journal of Current Southeast Asian Affairs, Vol.30, No.3, 2004, pp.27-59. 72 Tom Blass, “Preah Vihear temple dispute”, Diplomat Magazine (28 December2015). 73 ชาญวิทย เกษตรศิริ, กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554. (กรุงเทพมหานครฯ:โพสตพับ ลิชชิ่ง, 2555). 42

ปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียร 74 ดังจะเห็นวากัมพูชาไดพยายามตลอดมาเพื่อใหปราสาทพระวิหารไดรับ การขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกจากUNESCO จนประสบความสําเร็จเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคมค.ศ. 2008 75 ปราสาทพระวิหารนี้มีหลายชื่อ ชื่อที่เกาที่สุด คือ “ภวาลัย” และมีชื่ออื่น ไดแก “ศรีศิขรีศวร , วีราศรม และตปสวีนทราศรม”76 ในปจจุบันชื่อในภาษาอังกฤษที่ใชกันอยางเปนทางการใน เอกสารของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (ICJ) และองคการสหประชาชาติ (UN) คือ ‘Preah Vihear’ (เปรี๊ยะวิเฮียร) แตรัฐบาลไทยยืนยันจะใชชื่อ ‘Pra Viharn’ (พระวิหาร) ตามการออกเสียง ในภาษาไทยและปฏิเสธที่จะใช ‘Preah Vihear’แมวาชื่อ ‘Preah Vihear’ จะเปนชื่อที่ไดรับการ ยอมรับและใชในเอกสารทางการของนานาชาติ ก็ตาม 77 ดังนั้นประเด็นเรื่องชื่อ ปราสาทพระวิหาร ในเอกสารทางการระหวางไทย-กัมพูชาจึงยังเปนประเด็นที่ตกลงกันไมได 78 ปจจุบันปราสาทพระวิหารตั้งอยูในเขตจังหวัดเปรี๊ยะวิเฮียร (Preah Vihear) ของกัมพูชา บนผาเปยตาดีของเทือกเขาพนมดงรักซึ่งเปนเสนเขตแดนระหวางไทยกับกัมพูชา ตรงขามกับ หมูบานภูมิซรอล ตําบลบึงมะลู อําเภอกันทราลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ79 ปราสาทพระวิหารนั้นใช เวลากอสรางนานกวา 300 ป ตั้งแตปลายคริสตศตวรรษที่ 9 ในยุครุงเรืองของยุคเมืองพระนคร ตั้งแตสมัยกษัตริยยโสวรมันที่ 1 จนกระทั่งทายสุดกษัตริยสุริยวรมันที่ 2 เรื่อยมาจนถึง ชัยวรมันที่ 2 ในกลางคริสตศตวรรษที่ 12 (กอนสมัยสุโขทัย 300 ป) ตัวปราสาทสรางไปตามความลาดชันของ หนาผา และไดรับการยกยองวา “มีความโดดเดนและความงดงามเปนที่สุด” 80 เชื่อวาปราสาท พระวิหารคงจะถูกทิ้งรางไปหลังป ค.ศ.1431 เมื่อกรุงยโสธรปุระ(นครวัต นครธม)พายแพตอ

74 “Cambodian National Bank issues 2,000-riel note”, Xinhuanet (8 January 2008). 75 กระทรวงการตางประเทศ, ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร, มีนาคม 2552. 76 ธิดา สาระยา, ปราสาทเขาพระวิหาร (กรุงเทพมหานครฯ:เมืองโบราณ, 2552), น.46. 77 “สภาที่ปรึกษาไมยอมใหออกเสียง "เพรียะวีเหียะ" ตามกัมพูชา ยันตองเรียก "ปราสาทพระ วิหาร", ประชาไท (18 November 2008). 78 “การเจรจาปญหาพิพาทชายแดนไทย-กัมพูชา ยังหาขอสรุปรวมกันไมได”, เกาะสันติภาพ (4 กุมภาพันธ 2009) ในโตะขาวกัมพูชา (กุมภาพันธ 2552):24. 79 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2556). รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร: จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความ ขัดแยง (กรุงเทพมหานคร: สี่พระยาการพิมพ, 2552), น.15. 80 ศรีศักร วัลลิโภดมและคณะ, เขาพระวิหาร : ระเบิดเวลาจากยุคอาณานิคม (กรุงเทพมหานคร : มติชน, 2551), น.104. 43

กองทัพอยุธยาของเจาสามพระยาจึงไดยายเมืองหลวงไปอยูเมืองละแวก ตอมายายไปที่เมืองอุดร มีชัยและกรุงพนมเปญตามลําดับ 81 ตราบจนถึงค.ศ.1899 พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงสรรพ สิทธิประสงค ทรงคนพบปราสาทพระวิหาร 82

บริบทความขัดแยงระหวางกัมพูชาและไทยกอนปค.ศ. 1962

ความขัดแยงระหวางกัมพูชาและไทยนั้นมีรากเหงามาจากความเปนมาทางประวัติศาสตร ที่เมื่ออาณาจักรขอมโบราณอันยิ่งใหญไดลมสลายจนพื้นที่ประเทศกัมพูชาปจจุบันหดเล็กลง หลังจากกัมพูชาไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศสมีการปลุกกระแสชาตินิยมในทั้งสองประเทศ ทําให กัมพูชากับไทยขัดแยงกันเรื่องเขตแดนในกรณีพระวิหาร เนื่องจากประเด็น“ปราสาทพระวิหาร”มี ผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศไทย-กัมพูชา ตลอดจนประเทศในอาเซียนดวย จึงมี ความจําเปนที่เราจะตองทําความเขาใจบริบททางประวัติศาสตรดวย 83 ดังจะเห็นวา เมื่ออาณาจักรขอมโบราณลมสลายไดมีการแตกออกเปนรัฐเล็กๆ เชน อาณาจักรทวาราวดี อาณาจักรลานนา อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรอยุธยาเปนตน 84 อาณาจักรของ ชาวสยามนั้นมีความเขมแข็ง จึงเปนรัฐสืบทอดของนครวัต ไมใชผูรุกรานที่ตั้งใจจะทําลาย วัฒนธรรมเขมร 85 ดังจะเห็นวาในสมัยอยุธยามีการนําเอาภาษาและวัฒนธรรมเขมรเขามาในราช สํานัก 86 อยางไรก็ตาม การบันทึกประวัติศาสตรจากมุมมองที่ตางกันทําใหสยามถูกกัมพูชามองวา

81 ชาญวิทย เกษตรศิริและ กาญจนี ละอองศรี .2551. รัฐชาติ-พรมแดน : ความขัดแยงและขอยุติ บนเสนทางสันติภาพอาเซียน. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย. 82 กระทรวงการตางประเทศไทย, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและ การเจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, (กรุงเทพมหานคร 2554), น.40. 83 Charnvit Kasetsiri, Cambodia-Thailand: Love-Hate Relationship (Khom–Khamen flawed history) Kyoto Review of South East Asia, No.3 (March 2003). 84 เดวิด เค.วัยอาจ, ประวัติศาสตรไทย ฉบับสังเขป. (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการตํารา สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2556), น.52. 85 Charles F. Keyes, “Cambodia and the Legacy of ”, Cultural Survival Quarterly, Vol 10, No.3, 1990, p.14. 86 ศานติ ภักดีคํา, “ปราสาทเขาพระวิหาร : จาก "ศรีศิขเรศวร" ถึง "เปรียะฮวิเฮียร" (ศิลปวัฒนธรรม ปที่ 1ฉบับที่ 30, 2 (ธันวาคม 2551), น.181 44

เปน“ผูรุกราน”โดยสยามไดแผอิทธิพลมายึดครองดินแดนขอมจนสามารถตั้งอาณาจักรสุโขทัยและ อยุธยาไดสําเร็จ 87 ในการวิเคราะหเปรียบเทียบเนื้อหาประวัติศาสตรในหนังสือแบบเรียนวิชาสังคมศึกษาของ ทั้งกัมพูชาและไทย มัทนียา พงศสุวรรณไดพบวา“มีเนื้อหาทางดานการสงครามมากที่สุด 88 โดยเฉพาะในสมัยอยุธยามีการทําสงครามใหญกับเขมรถึง 3 ครั้ง คือ ในสมัยของพระเจาอูทอง พระราเมศวร และพระเจาสามพระยา จนมีผลใหอาณาจักรเขมรลมสลายในปค.ศ.1431 89 เปนที่ นาสังเกตวา “เหตุการณพระนเรศวรตีกรุงละแวกแลวที่มีการทําพิธีปฐมกรรมพญาละแวกนั้นไมมี ปรากฎในพงศาวดารของกัมพูชาเลย” 90 นอกจากนี้ในงานวิจัยของคิมลี โงอุน (Kimly Ngoun) เรื่อง“ตํานานเรื่องพระโคพระแกวและอิทธิพลที่มีตอการรับรูของชาวกัมพูชาตอชาวไทย”ไดพบวา มี การเสนอภาพคนไทยวา“มีนิสัยชอบรุกรานทะเยอทะยานและมีเลหเหลี่ยม” 91 ยิ่งไปกวานั้นไทยยัง ถูกกลาวหาวา เปนตนเหตุของความเสื่อมของกัมพูชาเนื่องจาก“ไทยไดนําพระโคพระแกวซึ่งเปน สัญลักษณของสันติภาพและความเจริญมั่งคั่งไปจากกัมพูชา” 92 สวนหนังสือแบบเรียนของไทยก็ ใหภาพเชิงลบวา “เมื่อใดที่ไทยออนแอหรือพมายกทัพมาตีไทย กัมพูชามักจะฉวยโอกาสสงกองทัพ เขาตีหัวเมืองทางตะวันออกของไทยเสมอ” 93

87 ศานติ ภักดีคํา, “ปราสาทเขาพระวิหาร : จาก "ศรีศิขเรศวร" ถึง "เปรียะฮวิเฮียร" ศิลปวัฒนธรรมป ที่ 1ฉบับที่ 30, 2 (ธ.ค. 2551), น. 62-63. 88 มัทนียา พงศสุวรรณ, “การเสนอแนวทางการสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางประเทศไทยกับ ราชอาณาจักรกัมพูชา จากการวิเคราะหเนื้อหาประวัติศาสตรในหนังสือแบบเรียนวิชาสังคมศึกษา” (วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547). 89 สุรชาติ บํารุงสุข, “กรณีเขาพระวิหาร”, จุลสารความมั่นคงศึกษา, ฉบับที่ 38, 2551. 90 ดวงธิดา ราเมศวร, ปราสาทพระวิหาร, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแพรธรรม, 2537). 91 Kimly Ngoun, “Thai Cambodian conflict rooted in history”, East Asia Forum Quarterly (27 January 2012). 92 ศานติ ภักดีคํา, “ปราสาทเขาพระวิหาร : ศรีศิขเรศวร เทวสถานแหงพนมดงรัก” ใน พิเชษฐ แสงทอง, 2551, บก. พรมแดนบนแผนกระดาษ ปราสาทเขาพระวิหาร, (กรุงเทพมหานคร : เคล็ด ไทย, 2551), น.194. 93 มัทนียา พงศสุวรรณ, “การเสนอแนวทางการสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางประเทศไทยกับ ราชอาณาจักรกัมพูชา จากการวิเคราะหเนื้อหาประวัติศาสตรในหนังสือแบบเรียนวิชาสังคมศึกษา” (วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547). 45

เมื่อฝรั่งเศสไดขยายอิทธิพลเขามาในอินโดจีนเพื่อครอบครองลาวเวียดนามและกัมพูชา เพื่อถวงดุลกับอํานาจอังกฤษในอินเดียนั้น ไดกอใหเกิดปญหาเรื่องพรมแดน เนื่องจากประเทศเล็ก ในเอเชียไมไดระบุพรมแดนของตนไวอยางชัดเจน 94 ในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงมีเหตุการณที่ทําใหคน ไทยเชื่อวามีการเสียดินแดนใหฝรั่งเศส 5 ครั้ง โดยเฉพาะในค.ศ.1904 มีการเสียดินแดนครั้งที่ 4 95 อันมีผลจากการทําอนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศสฉบับวันที่ 13 กุมภาพันธ ค.ศ. 1904 โดยสยามยอม สละดินแดนประเทศราช“ไซยะบูลี”(ตรงขามหลวงพระบาง)“จําปาศักดิ์”(รวมทั้งปราสาทวัดพู)และ “เมืองมโนไพร”ทางดานฝงขวาของแมน้ําโขง สุดเทือกเขาพนมดงรัก โดยอนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 นี้ไดกําหนดวา เขตแดนสยาม-อินโดจีนฝรั่งเศสใหแบงโดยใช “สันปนน้ํา” กับใหมีการ ตั้งขาหลวงผสม (สยาม-อินโดจีนฝรั่งเศส) เพื่อทําหนาที่กําหนดเขตแดนหรือแผนที่โดยอนุสัญญานี้ ไดกําหนดเขตแดนบริเวณปราสาทพระวิหารดวย96 ตามมาดวยการเสียดินแดนครั้งที่ 5 ตาม สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.1907 เมื่อ 23 มีนาคม สืบเนื่องจากอนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 ที่สยามยอมยกเสียมราฐ พระตะบอง ศรีโสภณใหกับอินโดจีน ฝรั่งเศส เพื่อแลกกับ เมืองดานซายและเมืองตราดตลอดจนเกาะทั้งหลาย ใตแหลมสิงหจนถึงเกาะกูด 97 ตอมามีปญหาเกิดขึ้นเนื่องจากในคณะกรรมการปกปนผสมตามอนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 นี้ “ฝายฝรั่งเศสนําโดยพันตรีแบรนารด”และ“ฝายสยามนําโดย พลตรีหมอมหลวงชาติ เดชอุดม” ไดมีการพบกันครั้งสุดทาย เมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1907 โดยขณะนั้นเจาหนาที่ จัดทําแผนที่ยังดําเนินการไมเสร็จสิ้น โดยเมื่อฝายฝรั่งเศสไดนําผลสํารวจกลับไปจัดทําแผนที่ที่ ประเทศฝรั่งเศสแลว ฝายฝรั่งเศสไดสงแผนที่ (แผนที่ มาตราสวน 1 : 200,000) ใหประเทศไทยใน เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1908 จํานวน 11 ระวางนั้น แผนที่ดังกลาวไมไดรับการรับรองโดย คณะกรรมการปกปนผสมตามอนุสัญญา ค.ศ.1904 เพราะคณะกรรมการปกปนผสมชุดนี้

94 ศิริวร แกวกาญจน “ภูมิทัศนภูมิศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต กอนการมาถึงของพรมแดนบน แผนกระดาษ” . ใน พรมแดนบนแผนกระดาษปราสาทพระวิหาร โดย ศานติ ภักดีคํา และคณะ. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพเคล็ดไทย, 2551), น. 80. 95 เพ็ญศรี ดุก, การตางประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย. (กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, 2546), น.144. 96 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 97 เพ็ญศรี ดุก, การตางประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย. (กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, 2546), น.144. 46

ไดสลายตัวไปกอนที่แผนที่ชุดดังกลาวจะจัดพิมพเสร็จ 98 จึงเห็นไดชัดวาคณะกรรมการผสมปกปน เขตแดนสยาม-ฝรั่งเศสชุดนี้ไดจัดทําแผนที่ซึ่งไมไดใชสันปนน้ําปกปนเขตแดนในบริเวณพระวิหาร แตคณะกรรมการฝายไทยก็ไมไดทําการประทวงใหแกไขแผนที่นี้ หรือ ไมยอมรับแผนที่ตาม สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศสค.ศ.1904 นี้แตอยางใด 99 ที่สําคัญคือแผนที่นี้ทําใหไทยแพคดีในศาล โลก 100 นอกจากนี้ยังมีหลักฐานวาไทยไดยอมรับอธิปไตยของฝรั่งเศสเหนือดินแดนปราสาทพระ วิหาร ดังจะเห็นจากภาพถายทางประวัติศาสตรวา เมื่อ ค.ศ.1930 การเสด็จเยือนปราสาทพระ วิหารของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ โดยมีขาหลวงฝรั่งเศสใหการตอนรับ 101 อยางไรก็ตามหลังสงครามโลกครั้งที่สองจอมพลป.พิบูลสงคราม ไดนําไทยเขาสูยุค สงครามเย็น รัฐบาลไดสงเสริมลัทธิชาตินิยมทําใหไทยไดครอบครองปราสาทพระวิหารในชวงสั้นๆ ในชวงสงครามโลกครั้งที่สองโดยญี่ปุนไดจัดการใหมีการลงนามใน“สนธิสัญญาโตเกียวค.ศ.1941” ที่ใหปราสาทพระวิหารกลับมาเปนของไทย แตเมื่อญี่ปุนพายแพในสงครามโลกครั้งที่สองไดมีการ ลงนามในสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศสเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ.1946 และยกเลิกสนธิสัญญา โตเกียวค.ศ.1941 มีผลใหไทยตองคืนดินแดน 4 จังหวัด คือ พระตะบอง พิบูลสงคราม จําปาศักดิ์ และลานชางใหฝรั่งเศส มีผลทําใหปราสาทพระวิหารกลับไปเปนของกัมพูชา 102 อยางไรก็ตามแมจะมีการยกเลิกสนธิสัญญาโตเกียวค.ศ.1941 แลวแตฝรั่งเศสกลาวหาวา ไทยยังคงสงกองกําลังไปประจําที่ปราสาทพระวิหารและไดมีหนังสือประทวงไทยหลายครั้งในป ค.ศ.1949 ในหนังสือประทวงนี้ ฝรั่งเศสอางชัดเจนวาปราสาทพระวิหารอยูในเขตกัมพูชา 103 ตอมาเมื่อ 19 ธันวาคม ค.ศ.1953 กัมพูชาไดรับเอกราชจากฝรั่งเศสตามขอตกลงเจนีวาค.ศ.1954

98 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 99 “Tranquil temple at centre of a storm”, BBC NEWS (22 May 2008). 100 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.16. 101 กระทรวงการตางประเทศ, ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร, มีนาคม 2552. 102 สุรชาติ บํารุงสุขและประสิทธิ์ ปวาวัฒนพานิช, “เสนเขตแดนไทย-กัมพูชา : บททบทวน”. จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 88.(กุมภาพันธ 2554).น.4-5. 103 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร: สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.43. 47

(The Geneva Agreements) ไทยประกาศรับรองกัมพูชาทันที 104 หนึ่งปหลังจากไดรับเอกราช “กัมพูชาไดประทวงไทยถึงสี่ครั้งวาไดสงกองกําลังไปยึดครองปราสาทพระวิหาร” 105 ทั้งยังจัด“ตั้ง ปอมตํารวจบนเทือกเขาดงรัก ชักธงชาติไทยเหนือปราสาทพระวิหาร และขับไลเจาหนาที่ของ กัมพูชาที่รัฐบาลสงไปประจําการออกไป” 106 กรณีนี้ทําใหเจาสีหนุกลาวหาไทยวา“ไทยโกงเอาเขา พระวิหารของเขมรไป” ดังนั้นเขมรจึงควรทวงเขาพระวิหารกลับคืนมา 107 ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมีการโหมกระพือปลุกกระแสชาตินิยมโดยสื่อทั้งกัมพูชา และไทยเกี่ยวกับประเด็นปราสาทพระวิหาร 108 โดยในเดือนมีนาคม ค.ศ.1958 ไดมีผูเขียน บทความเรื่อง“ใครเปนผูกูชาติกัมพูชา”ลงในหนังสือพิมพในประเทศไทยฉบับหนึ่ง โดยผูเขียนไมได ยกยองเจานโรดมสีหนุ สงผลใหขาราชการและตํารวจในเครื่องแบบชาวกัมพูชาไมพอใจและ เดินขบวนประทวง109 ตอมาในเดือนเมษายน ค.ศ.1958 นายซัม ซารี องคมนตรีและเอกอัครขา ราชทูตกัมพูชาประจํากรุงลอนดอนไดเขียนบทความลงใน ‘วารสารกัมพูชาวันนี้’(Le Combodge d'Aujourd'hui) วิจารณการที่ไทยใชกําลังทหารเขายึดเอาปราสาทพระวิหารวาเปน ‘การกระทํา แบบฮิตเลอร’ 110 ทําใหเกิดปฏิกิริยาตอบโตในหนาหนังสือพิมพไทย เชน บทความเรื่อง “เสียงจาก กัมพูชา” โดย ผูใชนามปากกา“แฟนสยามรัฐ” หรือบทความเรื่อง “ขะแมเมามัน” โดย ผูใช

104 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.18. 105 พวงทอง ภวัครพันธุ, รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร, (กรุงเทพมหานคร :โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น.68. 106 Julio Jeldres, “Letter from Amb. Julio Jeldres to the PPP regarding Preah Vihear temple”, The Post (25 July 2008). 107 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.18. 108 นิติพงศ พิเชฐพันธุ,วาทกรรมเหตุการณพิพาทเขาพระวิหาร พ.ศ. 2551 จากหนังสือพิมพรายวัน ภาษาไทย: การศึกษาความสัมพันธระหวางภาษาและอุดมการณ, วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2553. 109 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.18 110 ประหยัด ศ. นาคะนาทและจํารัส ดวงธิสาร, ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร, (พระนคร : สาสน สวรรค, 2505.) 48

นามปากกาวา“พเนจร” ตลอดจนบทกลอน “สัปดาหจร” โดย มรว.คึกฤทธิ์ ปราโมชในหนังสือพิมพ สยามรัฐสัปดาหวิจารณฉบับวันอาทิตยที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1959 111 ในชวงนี้มีการพยายามเจรจาระหวางไทย-กัมพูชาหลายครั้ง ดังรายละเอียดวาเมื่อ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1958 เจาสีหนุไดเสด็จมาเยือนประเทศไทยเปนเวลาครึ่งวัน และประกาศวาจะ“ตั้ง คณะกรรมการสองฝายโดยมีนายซอนซาน รองนายกรัฐมนตรีเปนประธานฝายกัมพูชาและฝาย ไทยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเปนประธาน” ตอมา 11 สิงหาคม ถึง 4 กันยายน ค.ศ.1958 เจาสีหนุและนายกรัฐมนตรีซอนซานไดเดินทางมาเจรจาในกรุงเทพอีก แตลมเหลวทั้ง สองครั้ง 112 ทั้งนี้กัมพูชาอางวาได“ยื่นขอเสนอ 2 ขอใหไทยพิจารณาเพื่อหาทางออกจากความ ขัดแยง คือ (ก) ใหกัมพูชาและไทยมีการบริหารจัดการปราสาทพระวิหารรวมกัน (ข) กัมพูชาจะนํา เรื่องนี้ขึ้นสูการพิจารณาของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) แตประเทศไทยก็ไมใหคําตอบ” 113 หนึ่งเดือนตอมาในไทยมีการประทวงที่สนามหลวง และมีการปะทะระหวางผูประทวงกับตํารวจ ที่สถานทูตกัมพูชาในไทความขัดแยงระหวางกัมพูชาและไทยลุกลามจนในวันที่ 24 พฤศจิกายน ค.ศ.1958 กัมพูชาก็ไดประกาศ“ตัดสัมพันธทางการทูตกับไทย” และหนึ่งสัปดาหตอมาไทยจึงปด พรมแดนและเสริมกําลังตํารวจตระเวณชายแดนบริเวณปราสาทพระวิหาร”114 หนึ่งเดือนตอมา สถานการณเลวรายลงถึงขั้น เจาสีหนุประกาศในเดือนมกราคม 1959 กลาวหาวา“ไทยมีแผนการ โคนลมระบอบการปกครองของสีหนุ” เนื่องจากในกัมพูชาเกิดกบถแบงแยกดินแดนโดยกลุมแซม ซารีซึ่งไดหลบหนีเขาไทยหลังจากถูกทางการปราบปราม กัมพูชาจึง“กลาวหาไทยตลอดจน เวียดนามใตและสหรัฐวาหนุนหลังกลุมกบถ” โดยเฉพาะระหวางการประชุมสมัชชาใหญของ สหประชาชาติ ไทยและกัมพูชาไดโตเถียงกันอยางรุนแรง ตอมาผูแทนองคการสหประชาชาติชื่อ

111 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.18-19. 112 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.20-21 113 Julio Jeldres, “Letter from Amb. Julio Jeldres to the PPP regarding Preah Vihear temple”, The Phnom Penh Post (25 July 2008). 114 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.20-22. 49

บารอน โจฮาน เบค ฟรีส (Baron Johan Beck-Friss) ไดเขามาไกลเกลี่ยและไดเดินทางเขาไปดู พื้นที่พิพาทดวยตนเองเมื่อ 20 กุมภาพันธ 1959115 เนื่องจากความขัดแยงที่กลาวมาขางตน กัมพูชาจึงถือเปนขออางที่จะยื่นฟองไทยตอศาล ยุติธรรมระหวางประเทศเมื่อ 6 ตุลาคม 1959 โดยขอให“ศาลวินิจฉัยเขตแดนไทย-กัมพูชา ในสอง ประเด็น ประเด็นที่หนึ่ง ใหอธิปไตยแหงดินแดนเหนือปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา และ ประเด็นที่สอง ใหไทยถอนกําลังทหารออกจากบริเวณปราสาทพระวิหาร”116 ตอมากัมพูชาขอให ศาลโลกวินิจฉัยเพิ่มเติม อีก 3 ประเด็น คือ ประเด็นที่หนึ่ง ขอใหตัดสินชี้ขาดเขตแดนไทย-กัมพูชา ประเด็นที่สอง ใหสถานะของแผนที่มาตราสวน 1:200,000 ระวางดงรักที่ผนวกทายคําฟองของ กัมพูชามีผลผูกพันกับประเทศไทย และประเด็นที่สาม ขอใหรัฐบาลไทยสงคืน สิ่งประติมากรรม แผนศิลาใหกัมพูชา จะเห็นไดวาสิ่งสลักหักพังจากโบราณสถาน เทวรูปหินทราย และ เครื่องปนดินเผาโบราณนั้นไดถูกโยกยายไปจากปราสาทพระวิหารโดยเจาหนาที่ไทย นับแต ค.ศ. 1954 117 เกือบสองปตอมาคือในวันที่ 26 พฤษภาคม ค.ศ.1961 ศาลศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศไดมีมติเอกฉันทยกคําคัดคานของไทย(ชั้นการคัดคานเบื้องตน) โดยตัดสินวาศาลมีอํานาจ พิจารณาคดี 118 ในที่สุดไทยจึงยอมผูกพันที่จะตอสูในศาลยุติธรรมระหวางประเทศ กัมพูชาโดย เจานโรดมสีหนุไดตัดสัมพันธทางการทูตกับไทยในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตอีกเปนครั้งที่สอง เมื่อ 23 ตุลาคม ค.ศ.1961 โดยอางวาถูกไทยดูหมิ่นเกียรติและไมพอใจที่ รัฐบาลนายควง อภัยวงศ และรัฐบาลนายปรีดี พนมยงคเคย“สนับสนุนขบวนการเขมรอิสสระ”เพื่อใหมีอิทธิพลในพระตะบอง และเสียมราฐ 119 ในขณะที่ไทยก็ไมพอใจที่กัมพูชายอมใหกองกําลังคอมมูนิสตเวียดนามตั้งฐาน ทัพในดินแดนกัมพูชา โดยโจมตีนโยบายเปนกลางของกัมพูชาและประกาศตัวเปนพันธมิตรกับ

115 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ , (กรุงเทพมหานคร: ธัญญาพับลิเคชั่น, 2536) น.120. 116 สุรชาติ บํารุงสุข, “รําลึก 50 ป คดีพระวิหาร (พ.ศ.2505-2555)”. จุลสารความมั่นคงศึกษา, ฉบับที่ 111-112, กรกฎาคม 2555) น.4. 117 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 118 สุรชาติ บํารุงสุข. “คําตัดสินศาลโลกคดีพระวิหาร 2505”. จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 123-124 (เมษายน-พฤษภาคม 2556).น.1. 119 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลก: บทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ (กรุงเทพมหานคร: ธัญญา พับลิเคชั่น, 2536), น. 124. 50

สหรัฐอเมริกาดวยการลงนามเมื่อ 6 มีนาคม 2505 ค.ศ.1962 ในแถลงการณรวมถนัด-รัสก (Thanat-Rusk Communique) 120 กลาวโดยสรุป ความขัดแยงระหวางกัมพูชาและไทยกอนปค.ศ. 1962 นั้นมีรากเหงามา จากความเปนมาทางประวัติศาสตรที่เมื่ออาณาจักรขอมโบราณอันยิ่งใหญไดลมสลายและเกิด อาณาจักรใหมๆขึ้นจนพื้นที่ประเทศกัมพูชาปจจุบันหดเล็กลง หลังจากกัมพูชาไดรับอิสรภาพจาก ฝรั่งเศสมีการปลุกกระแสชาตินิยมทําใหมีการขัดแยงกันเรื่องเขตแดน ดังในกรณีของไทยและ กัมพูชา จะเห็นวานักการเมืองทั้งไทยและกัมพูชาไดใชกรณีปราสาทพระวิหารมาปลุกกระแส ชาตินิยมในประเทศของตน นอกจากนี้ยังใชสื่อสารมวลชนปนกระแสความเกลียดชังฝายตรงขาม จนความขัดแยงลุกลามเปนความรุนแรงที่มาจากลัทธิคลั่งชาติ ฝายกัมพูชานั้นเปนประเทศเล็ก และยากจนที่เพิ่งไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศส ประกอบกับเจานโรดมสีหนุมีความจัดเจนในการ สื่อสารการเมืองในเวทีโลก จึงทําใหไดรับความเห็นอกเห็นใจจากนานาชาติมากกวาไทย จน ประเด็นนี้ถูกกัมพูชายกระดับขึ้นเปนความขัดแยงที่ตองนําขึ้นสูการพิจารณาของศาลยุติธรรม ระหวางประเทศในที่สุด นอกจากนี้กัมพูชายังมีการเตรียมหลักฐานทางประวัติศาสตรมาเปนอยาง ดีจนทําใหศาลโลกเมื่อ 15 มิถุนายน ค.ศ.1962 ตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา นาสนใจที่มีการบันทึกไววา “กอนที่กัมพูชาจะยื่นฟองไทยตอศาลโลก เจานโรดม สีหนุ ไดเสนอ ขอใหไทยลงนามในขอตกลงรวมจัดการปราสาทพระวิหารรวมกัน แตไทยไมสนใจที่จะเจรจา”121

บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาใน กรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ. 1962-1972

ตามที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (ICJ) ที่กรุงเฮกในวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1962 มีคําตัดสินดวยคะแนน 9 ตอ 3 ใหกัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหาร นอกจากนี้ประเทศ ไทยมีพันธะที่จะตองถอนกําลังทหารหรือตํารวจ ผูเฝารักษาหรือผูดูแลซึ่งประเทศไทยสงไปประจํา อยูที่ปราสาทพระวิหารหรือในบริเวณใกลเคียงอาณาเขตของกัมพูชา ตลอดจนมีพันธกรณีที่ จะตองคืนใหแกกัมพูชา บรรดาวัตถุชนิดที่ไดระบุไวในคําแถลงสรุปขอกลาวหาของกัมพูชา ซึ่ง

120 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554). น. 6. 121 Julio Jeldres, “Letter from Amb. Julio Jeldres to the PPP regarding Preah Vihear temple”, The Phnom Penh Post (25 July 2008). 51

เจาหนาที่ไทยอาจจะไดโยกยายออกไปจากปราสาทหรือ พื้นที่ปราสาทนับแตวันที่ประเทศไทยเขา ครอบครองปราสาทเมื่อค.ศ.1954 ดวยคะแนน 7 ตอ 5” ทั้งนี้ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ “ไมได พิพากษาชี้ขาดเรื่องเสนเขตแดนระหวางประเทศทั้งสองโดยเฉพาะอยางยิ่งไมไดพิพากษาวาเขต แดนจะตองเปนไปตามแผนที่มาตราสวน 1:200,000” 122 กรณีนี้ทําใหเกิด“พื้นที่ทับซอน”และศาล โลกก็ไมไดชี้วา“บริเวณใกลเคียงปราสาทพระวิหาร”มีพื้นที่และอาณาบริเวณเพียงใด 123 ศาลยุติธรรมระหวางประเทศระบุวา การที่ศาลมีคําตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของ กัมพูชา เนื่องจากประเทศไทยในป ค.ศ.1908-1909 ไดยอมรับแผนที่ในภาคผนวก 1 (Annex 1) วาเปนผลงานของการปกปนเขตแดนและไดรับรองเสนบนแผนที่วาเปนเสนเขตแดน อันเปนผลให พระวิหารตกอยูในดินแดนกัมพูชา 124 นอกจากนี้กัมพูชายังไดนําหลักฐานจากฝรั่งเศสมายืนยันวา ในค.ศ.1930 การเสด็จเยือนปราสาทพระวิหารของสมเด็จฯกรมพระยาดํารงราชานุภาพ โดยมี ขาหลวงฝรั่งเศสใหการตอนรับ125 การที่ทรงขออนุญาตฝรั่งเศสอยางเปนทางการที่จะขึ้นไป ทอดพระเนตรปราสาทเขาพระวิหารที่อยูภายใตธงไตรรงคของฝรั่งเศสนั้นก็คือ“หลักฐานอยางดีที่ ทําใหฝายไทยตองแพคดีปราสาทเขาพระวิหาร” 126 ในเรื่องนี้ชาญวิทย เกษตรศิริไดใหขอสังเกตวา ความพายแพของไทยในกรณีพระวิหาร สรางความโกรธแคนไมพอใจใหกับประชาชนไทยอยางมาก ดวยเหตุวาพวกเขาถูกดึงเขามารวมใน กระบวนการกระตุนความรักชาติเพื่อตอสูแยงชิงสิทธิเหนือปราสาทพระวิหารมาตั้งแตตน 127 ดังจะเห็นวาหลังจากที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศมีคําตัดสินใหกัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาท พระวิหาร ประชาชนในจังหวัดจันทบุรีไดเริ่มประทวงกอน แลวจึงตามมาดวยนักศึกษาจาก 5

122 กระทรวงการตางประเทศ, 50 ป 50 ประเด็น ถาม-ตอบ กรณีปราสาทพระวิหาร, (กพ. 2556). 123 สุรชาติ บํารุงสุข. คําตัดสินศาลโลกคดีพระวิหาร 2505. จุลสารความมั่นคงศึกษา, ฉบับที่ 123- 124 (เมษายน-พฤษภาคม 2556), น.7. 124 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.44. 125 กระทรวงการตางประเทศ, 50 ป 50 ประเด็น ถาม-ตอบ กรณีปราสาทพระวิหาร, กพ. 2556. 126 ชาญวิทย เกษตรศิริและ กาญจนี ละอองศรี . รัฐชาติ-พรมแดน : ความขัดแยงและขอยุติบน เสนทางสันติภาพอาเซียน. กรุงเทพมหานครมหานคร : มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย, 2551. 127 ชาญวิทย เกษตรศิริ, ลัทธิชาตินิยมไทย/สยามกับกัมพูชา: และกรณีศึกษาปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโตโยตาและโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2552), น. 137. 52

มหาวิทยาลัย คือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและมหาวิทยาลัยศิลปากร 128 แตรัฐบาลไทยขณะนั้นกลับใชเวลาถึง สองสัปดาหในการออกแถลงการณ โดยจอมพลสฤษดิ์ไดกลาวปราศรัยเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1962 วา “สะเทือนใจแทนคนไทยทั้งชาติ กัมพูชาจะไดแตซากปรักหักพังและแผนดินที่รองรับ แต วิญญาณของปราสาทพระวิหารจะอยูกับคนไทยตลอดไป”.129 ตามมาดวยวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1962 นายถนัด คอมันตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศมีหนังสือถึงนายอูถั่นรักษาการ เลขาธิการสหประชาชาติ แจงวา ไทยไมเห็นดวยตอผลคําพิพากษาของศาลโลก แตไทยก็จะปฏิบัติ ตามคําพิพากษาในฐานะไทยเปนสมาชิกขององคการสหประชาชาติ และไทยพรอมสงวนสิทธิใน การทวงคืนปราสาทพระวิหารโดยวิธีทางกฎหมาย อยางไรก็ คําขอใหแกไขนั้นจะตองกระทํา ภายในหกเดือนเปนอยางชา และไมอาจจะขอใหมีการแกไขได ภายหลังจากสิบปนับแตวันที่ศาลมี คําพิพากษา ทั้งนี้กําหนดเวลาของการขอแกไขคําพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารตามขอ 61 ได สิ้นสุดลงแลวตั้งแตป 2515 130 สอดคลองกับความเห็นของบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ที่วา ตาม ธรรมนูญของศาลยุติธรรมระหวางประเทศแลว คําตัดสินของศาลยุติธรรมระหวางประเทศถือเปน ที่สุด ไมมีอุทธรณ แตศาลอาจรื้อฟนคดีนี้ขึ้นมาพิจารณาทบทวนคําพิพากษาใหมได หากมีการ คนพบหลักฐานใหม แตจะตองกระทําภายใน 10 ป แตในขณะนั้นเวลาไดผานไปแลว 47 ป โดย ฝายไทยไมไดดําเนินการขอทบทวน 131 นอกจากนี้คณะรัฐมนตรีไทยสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ในการประชุมเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ.1962 ไดมีมติใหกําหนดเขตบริเวณปราสาทพระวิหาร และจัดทําปายแสดงเขต ตามขอเสนอกระทรวงมหาดไทย คือ กําหนดเปนรูปพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผาครอบปราสาทพระวิหาร มี แนวเขตจากปกขวาของตัวปราสาทพระวิหาร ตั้งแตชองบันไดหัก ลากเสนตรงผานชิดบันไดนาค ตรงไปจนถึงตัวปราสาทพระวิหาร แลวลากเสนตรงขนานกับตัวปราสาทพระวิหาร ไปสุดที่หนาผา

128 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.44. 129 สุรชาติ บํารุงสุข, ภูมิศาสตรแหงความขัดแยง. ทฤษฎีและกรณีไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: โครงการความมั่นคงศึกษา, 2557), น. 173. 130 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 131 กระทรวงการตางประเทศ,“กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก”,มิถุนายน 2551,หนา ก. 53

ชัน ดานหลังปราสาทพระวิหาร จะเปนเนื้อที่บริเวณปราสาทพระวิหารประมาณ 1/4 ตาราง กิโลเมตร โดยไดแนบ“แผนที่”กําหนดเขตบริเวณปราสาทพระวิหารวาทางทิศเหนือที่ระยะ 20 เมตร จากบันไดนาค ไปทางทิศตะวันออกจนถึงชองบันไดหัก และทางทิศตะวันตกที่ระยะ 100 เมตร จากแกนของตัวปราสาทไปทางทิศใตจนจรดขอบหนา132 ในการนี้ประเทศไทยไดถอนทหารและ ตํารวจออกจากปราสาทพระวิหาร และเคลื่อนยายเสาธงออกจากพื้นที่โดยไมไดเชิญธงชาติไทยลง จากยอดเสาเมื่อ 15 กรกฎาคม ค.ศ.1962 133 นาสังเกตวา เมื่อสมเด็จพระนโรดมสีหนุไดเสด็จฯเยือนปราสาทพระวิหารในพิธีเขา ครอบครองปราสาทพระวิหารอยางเปนทางการเมื่อ 5 มกราคม ค.ศ.1963 โดยขึ้นทางชองบันได หัก ไดทรงรับสั่งถึงรั้วลวดหนามนี้วา เปนการรุกล้ําของประเทศไทยเขามาหลายเมตรในดินแดน กัมพูชา...อยางไรก็ตามพระองคจะไมทําใหเรื่องนี้ใหเปนประเด็น เนื่องจากระยะทางไมกี่เมตรนี้ไม มีความสําคัญ 134 นอกจากนี้พระองคยังประกาศวา นักทองเที่ยวและผูแสวงบุญชาวไทยทุกคน สามารถเขามาเยี่ยมชมปราสาทพระวิหารไดโดยไมตองใชพาสปอรตหรือวีซา กัมพูชาจะให เสรีภาพเต็มที่โดยไมมีตํารวจตรวจคนตัวดวย 135 ในเรื่องนี้ สุรชาติ บํารุงสุขระบุวา ถือวาประเด็น เรื่องเสนเขตแดนไดยุติแลวอยางชัดเจน หลังจากรัฐบาลไทยไดลากเสนเขตแดนกํากับรอบตัว ปราสาทพระวิหาร และเรียกวาเปน“เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรีป 1962”136 เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรีไทยป 1962 นี้ ยังเปนเสนเขตแดนที่หนวยราชการตางๆ ของไทยยึดถือมาจนปจจุบันนี้ ในขณะที่ฝายกัมพูชาก็ยึดถือเสนเขตแดนตามแผนที่ที่จัดทําโดย

132 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 133 กระทรวงการตางประเทศ,“กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก”, มิถุนายน 2551. 134 กระทรวงการตางประเทศ, 50 ป 50 ประเด็น ถาม-ตอบ กรณีปราสาทพระวิหาร, กพ. 2556, น.103. 135 ดู ANNEX 7, AKP press release of 7 January 1963, “The national pilgrimage to Preah Vihear”in Case Concerning the Request for Interpretation of the Judgement of 15 June 1962 in the Case Concerning the Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand) (Cambodia v. Thailand) Response of the Kingdom of Cambodia อางถึงใน The New York Times, (8 January 1963), p. 7. 136 สุรชาติ บํารุงสุข, ภูมิศาสตรแหงความขัดแยง. ทฤษฎีและกรณีไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: โครงการความมั่นคงศึกษา, 2557), หนา 225. 54

คณะกรรมการปกปนเขตแดนสยาม-อินโดจีนฝรั่งเศส ตามมาตราสวน 1:200,000 137 สุรชาติ บํารุง สุขไดระบุ วานี่คือ สาเหตุของความขัดแยงไทย-กัมพูชา เนื่องจากไทยและกัมพูชาตางยึดถือแผน ที่ที่มีการตีความในรายละเอียดที่แตกตางกัน โดยไทยยึดถือแผนที่มาตราสวน 1: 50,000 ลําดับชุด L 7017 ที่กรมแผนที่ทหารจัดทํา ขณะที่กัมพูชาใชแผนที่มาตราสวน 1: 50,000 ที่จัดพิมพโดย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สงผลใหแนวเขตแดนบนแผนที่ทับซอนกัน กอใหเกิดปญหาขอ พิพาทที่กระทบตอความสัมพันธไทย-กัมพูชามาจนถึงปจจุบัน”138 ในสถานการณเชนนี้ ไทยและ กัมพูชาจึงมีความเห็นตางกันในเรื่องแนวเสนเขตแดนในบริเวณดังกลาว ซึ่งทําใหเกิดพื้นที่ทับซอน ทางทิศตะวันตกและทิศเหนือของตัวปราสาทเปนพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตร139 ดังนั้นประเด็นการ ยึดถือแผนที่คนละฉบับ ตั้งแตในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตนี้แหละ ที่ทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับ การตีความวาเสนเขตแดนไทยกัมพูชา ในสมัยตอมา ในชวงป ค.ศ.1964-1969 รัฐบาลทหารของจอมพลถนอม กิตติขจรไดนําไทยเขาสูสงคราม เวียดนามอยางเต็มตัวโดยไดสงทหารไทย 1 กองพลไปรบในเวียดนาม และยินยอมใหสหรัฐมาตั้ง ฐานทัพในไทย 140 ในเรื่องนี้ สุรชาติ บํารุงสุขตั้งขอสังเกตุวา ในสถานการณที่เกิดสงครามเย็นใน ภูมิภาค ปญหาความมั่นคงไทยในขณะนั้นไมใชเรื่องดินแดน เสนเขตแดน แตเปนปญหา คอมมิวนิสต กรณีปราสาทพระวิหารจึงหายเงียบ “ถูกเก็บเขากรุ” ราวกับวารัฐบาลไทยไดตัดสินใจ จะ“ลืม” เรื่องปราสาทพระวิหาร ดังจะเห็นวา 20 กรกฎาคม ค.ศ.1966 รัฐบาลถนอม กิตติขจรได รื้อฟนความสัมพันธทางการทูตกับกัมพูชาอีกครั้ง ถือเปนการยืนยันวา ความสัมพันธทางการทูต กับกัมพูชาจากกรณีปราสาทพระวิหารค.ศ. 1962 ไดกลับเขาสูสภาวะปกติแลว 141 อยางไรก็ตาม ตอมาความสัมพันธไทย-กัมพูชาเสื่อมทรามลงอีก ดังจะเห็นวา รัฐบาล กัมพูชาไดทําการปราบปรามคอมมิวนิสตที่จังหวัดเกาะกง และยึดหลักฐานเอกสารของ

137 กระทรวงการตางประเทศ,“กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก”,มิถุนายน 2551,หนา ก. 138 สุรชาติ บํารุงสุข, “กรณีเขาพระวิหาร”, จุลสารความมั่นคงศึกษา (ฉบับที่ 38, 2551). 139 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 140 วัชรินทร ยงศิริ, มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา.(กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 6-7. 141 สุรชาติ บํารุงสุข, ภูมิศาสตรแหงความขัดแยง. ทฤษฎีและกรณีไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: โครงการความมั่นคงศึกษา, 2557), หนา 226. 55

คอมมิวนิสตเขียนเปนภาษาไทย ทําใหไทยถูกโจมตีวาแทรกแซงในกิจการของกัมพูชา 142 ในชวง นี้ยังมีการปะทะกันหลายแหงตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชารวมถึงบริเวณปราสาทพระวิหาร เปน สาเหตุใหกัมพูชาทําเรื่องรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติ (UNSC) โดย ผูแทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติพยายามไกลเกลี่ยใหมีการสถาปนาทางการทูต โดย กัมพูชาขอใหไทยถอนขอสงวนที่ตั้งไวเกี่ยวกับปราสาท แตไทยไมยอม 143 ตอมาเกิดรัฐประหารใน ประเทศกัมพูชาเมื่อ18 มีนาคมค.ศ. 1973 โดยนายพลลอนนอลที่สหรัฐอเมริกาหนุนหลังเปน หัวหนา เจาสีหนุจึงตัดสินใจหนีไปลี้ภัยในจีน 144 เมื่อสิ้นรัฐบาลเจาสีหนุ ไทยไดเปดสัมพันธกับ กัมพูชาอีกครั้งในสมัยลอนนอล 145 มีการฟนฟูความสัมพันธและแลกเปลี่ยนทูต มีการเปดเขา พระวิหารใหนักทองเที่ยวเขาชมในชวงสั้นๆ แตตอมาตองปดปราสาทพระวิหารอีกครั้งในป ค.ศ. 1975 เนื่องจากเขมรแดงเขายึดอํานาจการปกครองกัมพูชาจากนายพลลอนนอล 146 ในสวนของประเทศไทยไดเกิดเหตุการณ 14 ตุลาคม ค.ศ.1973 ทําใหสิ้นสุดยุคเผด็จ การทหาร ที่ไดนําประเทศไทยเขาไปเปนคูขัดแยงในสงครามเวียดนามและกัมพูชา 147 พวงทอง ภวัครพันธุไดใหขอสังเกตุวา “คนไทยที่มีอายุต่ํากวา 50 ปลงมา ไมไดมีความเจ็บปวดจากความ พายแพกรณีพระวิหารเลย ดานรัฐบาลไทยก็ไมเคยพยายามรื้อฟนหรืออุทธรณคําพิพากษาแมแต ครั้งเดียว อีกทั้งแบบเรียนประวัติศาสตรไทยรุนแรกๆก็ไมไดบรรจุเนื้อหาความพายแพนี้ไวใน ประวัติศาสตรการเสียดินแดนแตอยางใด” 148

142 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ (กรุงเทพมหานคร: ธัญญาพับลิเคชั่น, 2536), น.135. 143 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.62. 144 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 10. 145 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ . (กรุงเทพมหานคร: ธัญญา พับลิเคชั่น, 2536), น. 135. 146 นาวิน บุญเสรฐ, ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร: ปราชญสํานักพิมพ, 2556) , น. 44-46. 147 ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2554), น.202. 148 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น. 3. 56

กลาวโดยสรุป ในหัวขอบริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชา ในหวงเวลา ค.ศ. 1962-1972 นี้ ผูวิจัยไดนําเสนอบริบททางการเมืองตั้งแตศาลโลกมีคําตัดสินให กัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารในวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1962 แตทั้งนี้ศาลยุติธรรม ระหวางประเทศไมไดพิพากษาชี้ขาดเรื่องเสนเขตแดนระหวางประเทศทั้งสอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ไมไดพิพากษาวา เขตแดนจะตองเปนไปตามแผนที่มาตราสวน 1: 200,000 จนเปนสาเหตุใหเกิดมี การกระทบกระทั่งตามชายแดนในยุคตอมา เนื่องจากไทยและกัมพูชายึดแผนที่คนละฉบับ จะเห็น วาในยุคของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและจอมพลถนอม กิตติขจร นี้ทางการไทยมิไดมีการพยายาม ที่จะทวงคืนปราสาทพระวิหารภายในเวลาสิบปแตอยางใด

บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชา ในกรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ. 1973-2007

ในยุคที่ยาวนานถึง 34 ปนี้เปนยุคของการพยายามฟนฟูความสัมพันธกับกัมพูชาเพื่อ ประโยชนดานการคาและการทองเที่ยว เริ่มจากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง อาทิรัฐบาลมรว. คึกฤทธิ์ ปราโมช รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ รัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน รัฐบาลนาย ชวน หลีกภัย(1) รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา รัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐบาลนาย ชวน หลีกภัย(2) ที่พยายามสงเสริมใหปราสาทพระวิหารเปนศูนยกลางการทองเที่ยว จนถึงรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตรและรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ จุลานนทที่มีเจตนาจะสนับสนุนกัมพูชาใหขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ในฐานะนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งมรว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ไดเดินทางไปปกกิ่งเพื่อ ขอใหจีนชวยเหลือในการเปดสัมพันธกับเวียดนามและกัมพูชาตลอดจนขอใหสหรัฐยายฐานทัพ สําหรับการทําสงครามเวียดนามและกัมพูชาออกจากดินแดนไทย 149 ดังนั้นในวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1975 รัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของเขมรแดงไดมีการเจรจาตกลงเพื่อแกไขปญหา

149 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ. (กรุงเทพมหานคร: ธัญญาพับลิเคชั่น, 2536), น. 191. 57

พรมแดน ตลอดจนการจัดตั้งคณะทํางานเพื่อศึกษาปญหาการปกปนชายแดน 150 และตอมาใน เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1976 ไทย-กัมพูชาได ลงนามใน “ขอตกลงทางการคา” 151 อยางไรก็ตามในสมัยรัฐบาลนายธานินทร กรัยวิเชียร ความสัมพันธไทยกับกัมพูชาเสื่อม ทรามลง สงผลใหเกิดกรณีพิพาทตามแนวชายแดนจากการปะทะกันดวยกําลังอาวุธ 152 ระหวาง กําลังทหารไทยและเขมรแดงบริเวณชายแดนดานจังหวัดตราดทั้งทางบกและทางเรือ 153 นอกจากนี้ยังมีกลุมชาวเขมรขามแดนมาปลนสดมภที่ อําเภออรัญประเทศ 154 ตลอดจนกองกําลัง เขมรแดงขามแดนเขามาโจมตีที่ อําเภอตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี ในสมัยรัฐบาลพลเอกเกรียง ศักดิ์ ชมนันทน กองกําลังเวียดนามบุกยึดกรุงพนมเปญได สงผลใหนายพลพตและกองกําลังเขมร แดงหลบหนีเวียดนามมาซองสุมกองกําลังแนวชายแดนไทย-กัมพูชา 155 มีการเปลี่ยนชื่อประเทศ เปน สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาที่นิยมเวียดนามโดยมีนายเฮงสัมรินเปนประธานาธิบดีและมี นายฮุน เซน เปนนายกรัฐมนตรี 156 อยางไรก็ตามสหประชาชาติยังยืนยันรับรองรัฐบาลพลัดถิ่น ของเขมรแดงวาเปนรัฐบาลโดยชอบธรรมของกัมพูชา ทั้งนี้ กลุมเขมรแดงไดตั้งฐานอยูบริเวณ ชายแดนไทย-กัมพูชาโดยเฉพาะบริเวณดานปราสาทพระวิหาร 157 จึงเกิดการสูรบบริเวณนี้ ระหวางเขมรแดงและกลุมเฮงสัมริน ผลที่ตามมาก็คือ ผูอพยพกัมพูชาจํานวนมากไดอพยพสู

150 วัชรินทร ยงศิริ, มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.12. 151 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ , (กรุงเทพมหานคร: ธัญญา พับลิเคชั่น, 2536), น.192. 152 วัชรินทร ยงศิริ, มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.13. 153 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ , (กรุงเทพมหานคร: ธัญญาพับลิเคชั่น, 2536), น. 193. 154 อภิญญา ตะวันออก, เขียว สัมพัน. ประวัติศาสตรกัมพูชากับจุดยืนที่ผานมาของขาพเจา. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ มติชน, 2549). 155 รุงมณี เมฆโสภณ, ถกแขมร แลเขมร. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพบานพระอาทิตย, 2552). 156 วัชรินทร ยงศิริ, มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 14. 157 “Tranquil temple at centre of a storm”, BBC News (22 May 2008) p.2. 58

ชายแดนไทยดานปราสาทพระวิหาร 158 เชนเดียวกับในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท ไทยยังไมรับรองรัฐบาลเฮง สัมรินที่เวียดนามสนับสนุน ดวยเหตุนี้จึงมีการปะทะกันระหวางทหาร ไทยและเวียดนามที่บานโนนหมากมุน อําเภอตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี (ปจจุบันอยูในจังหวัด สระแกว) การปะทะกันครั้งนี้ไดผลักดันผูอพยพจํานวนกวา 300,000 คน เขามาลี้ภัยในไทยโดยมี การตั้งคายรับรองผูอพยพ เชนคายเขาอีดาง 159 นอกจากนี้กองกําลังเวียดนามยังเขามายึดบาน โนนหมากมุนของไทยเปนเวลา 2 วัน 160 ในระหวางชวงสงครามกลางเมืองนี้มีการปดพรมแดนหามเดินทาง หามคาขาย จึงกอใหเกิด การลักลอบที่เรียกวา “ตลาดมืด” 161 มีการลักลอบขนวัตถุโบราณผานเขามาทางฝงไทย โดยสํานัก ขาวเอพีไดอางรายงานจากหนังสือพิมพรัสเมยกัมปูเจีย (Rasmei Kampuchea) วา ตํารวจกัมพูชา ไดดักจับรถบรรทุกที่ติดปายของทางการทหาร ที่ไดลักลอบขนงานแกะสลักหินจากปราสาทพระ วิหารออกจากกัมพูชาเขามายังประเทศไทย วัตถุโบราณทั้งหมดที่ซุกซอนมาในกองอิฐในรถมี น้ําหนักสามตัน ประกอบดวยรูปปนนางอัปสราเปลือยหนาอกในลักษณะเดียวกับที่นครวัต รูปสลัก หินเปนหัวสิงโต และเศียรพระพุทธรูปจํานวน 14 เศียร 162 ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ไทยมีการปรับนโยบายตางประเทศมาเปน “เปลี่ยนสนามรบ เปนสนามการคา”163 จึงทําใหแนวชายแดนระหวางไทยและกัมพูชาเริ่มเปด และ ดึงดูดนักทองเที่ยวมากขึ้นเปนลําดับ ในระหวางการจัดประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรที่ขอนแกนเมื่อ 8 เมษายน ค.ศ. 1989 คณะสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไทยจากภาคอีสานไดเสนอคณะรัฐมนตรีให

158 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ , (กรุงเทพมหานคร: ธัญญา พับลิเคชั่น, 2536), น. 209. 159 วัชรินทร ยงศิริ, มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.15-16. 160 ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ , (กรุงเทพมหานคร: ธัญญา พับลิเคชั่น, 2536), น. 214. 161 วัชรินทร ยงศิริ, มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.16. 162 “Cambodians seize cache of ancient statues bound for Thailand”, Associated Press (17 May 1998). 163 คริส เบเคอร และผาสุก พงษไพจิตร, ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมติชน, 2557) น.366. 59

อนุญาตใหนักทองเที่ยวขึ้นชมปราสาทพระวิหารเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที่ภาคอีสาน การ ทองเที่ยวแหงประเทศไทยรายงานวารัฐบาลกัมพูชาเห็นดวยและพรอมจะเปดปราสาทพระวิหาร แตขอความรวมมือรัฐบาลทั้งสองในการกําจัดระเบิดที่ฝงอยูรอบปราสาท164 อยางไรก็ตาม รัฐบาล พลเรือนของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ถูกรัฐประหารเมื่อ 23 กุมภาพันธ ค.ศ.1991165 ผลงานที่ โดดเดนของรัฐบาลชาติชายคือการเปดกวางในความสัมพันธ ไมมองประเทศกลุมสังคมนิยม โดยเฉพาะในอินโดจีนวาเปนศัตรู แตเปนโอกาสขยายตลาดการคาการลงทุนและแหลงทรัพยากร 166 สอดคลองกับสถานการณในกัมพูชาที่หลังจากระบอบสังคมนิยมของเขมรแดงไดลมสลายในป ค.ศ.1989 นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นไดทําการปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมือง ตลอดจนพยายามลาง ภาพพจนการครอบงําของเวียดนามโดยหันมาพึ่งตนเอง และเปดประเทศ ยังผลใหกัมพูชามีการคา ขายกับกลุมประเทศทุนนิยม เปดรับการลงทุนจากภายนอก จนมีผลใหมีการเปดพรมแดน ฟนฟู การคาชายแดน 167 รัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน ไดสานตอนโยบายรัฐบาลชาติชายในการสงเสริมพอคาและ นักธุรกิจไทยใหเขาไปคาขายและลงทุนในกัมพูชา 168ดังจะเห็นวาในวันที่ 23 ตุลาคมค.ศ.1991 กัมพูชา 4 ฝายไดลงนามใน“สนธิสัญญาสันติภาพปารีส” 169 มีผลใหมีการกอตั้ง“องคการบริหาร ชั่วคราวในกัมพูชาของสหประชาชาติ” (United Nations Transitional Authority in Cambodia- UNTAC) 170 เพียงสองสัปดาหตอมา มีการเจรจาระดับทองถิ่นระหวางผูวาราชการจังหวัดศรีสะ

164 นาวิน บุญเสรฐ, ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร: ปราชญ สํานักพิมพ, 2556),น. 44-46. 165 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554, น. 17. 166 คริส เบเคอร และผาสุก พงษไพจิตร, ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมติชน, 2557), น. 366. 167 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.17-18. 168 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.18. 169 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.63. 170 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสืจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 18. 60

เกษและจังหวัดเปรียะวิเฮียร เพื่อใหกัมพูชาและไทยรวมกันบริหารปราสาทพระวิหารโดยไดมีการ ทํา“ขอตกลงชั่วคราวทางปฏิบัติ”กําหนดใหขึ้นปราสาทจากฝงไทยตรงเชิงบันไดดานเหนือ และไทย เปนผูคุมทางขึ้นโดยผานสะพานเหล็กขามหวยตะขบ/ตานี ซึ่งหางเพียง 100 เมตร จากทางเหนือ ของปราสาท สะพานนี้สรางและบํารุงรักษาโดยฝายไทย มีปายเปนภาษาไทยและใชเปน ทางเขาออกหลักของปราสาท 171 และตอมาเมื่อ 9 มกราคม ค.ศ.1992 ก็มีการเปดเขาพระวิหารให นักทองเที่ยวเขาชม 172 แตก็สามารถเปดไดในชวงสั้นๆเพียงหนึ่งป 7 เดือน เนื่องจากฝายเขมรแดง ไมยอมทําตามสนธิสัญญาสันติภาพ และเขายึดปราสาทพระวิหารเอาไวเมื่อ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1993 เพื่อเอาไวตอรองกับรัฐบาลฮุนเซ็น 173 ในสมัยรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย(1) องคการบริหารชั่วคราวในกัมพูชาของ สหประชาชาติ (United Nations Transitional Authority in Cambodia-UNTAC)ไดจัดใหมีการ เลือกตั้งทั่วไปในกัมพูชาในป ค.ศ. 1993 ผลการเลือกตั้งทําใหมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก ระบอบสังคมนิยมภายใตเขมรแดงกลับมาเปนระบอบประชาธิปไตยมีพระมหากษัตริยอีกครั้งหนึ่ง และทําใหไทยและกัมพูชามีการขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจ การคา การลงทุน วิชาการ และ วัฒนธรรมแกประเทศดอยโอกาสในอินโดจีนโดยเฉพาะกัมพูชา อยางไรก็ตามปลายปค.ศ.1993 ความสัมพันธระหวางกัมพูชา-ไทยเสื่อมถอยหลังจากที่ทางการกัมพูชาไดตรวจพบคลังแสงอาวุธ ขนาดใหญใกลชายแดนไทย-กัมพูชาที่ อําเภอมะขาม จันทบุรี ทําใหรัฐบาลกัมพูชาที่มีเจารณฤทธิ์ และฮุนเซ็นเปนนายกรัฐมนตรีรวม ทําใหกัมพูชาหวาดระแวงไทยวายังคงใหความชวยเหลือเขมร แดงดานอาวุธ 174 จนกระทั่งเมื่อ 7 กรกฎาคมค.ศ. 1994 เขมรแดงไดสงกําลังเขายึดปราสาทพระ วิหารจึงทําใหตองปดใหนักทองเที่ยวเขาชม 175 จึงทําใหการสัมพันธดานการทองเที่ยวและการคา ชายแดนกับกัมพูชาในสมัยรัฐบาลชวน หลีกภัยตองยุติลง

171 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.63. 172 นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556, น.46. 173 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.63. 174 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.19-20. 175 นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556), น. 47. 61

ในสมัยรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชาไทยมีนโยบายเปนมิตรกับทุกประเทศ โดยมรว.เกษม สโมสร เกษมศรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ไดหารือกัมพูชาและเห็นพองใหจัดตั้ง คณะกรรมการ 3 คณะ คือ คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee หรือ GBC) โดยมีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ รมว. กลาโหม ประธานฝายไทยคนแรก นอกจากนี้ยังมี คณะกรรมการรักษาความสงบตามชายแดน (Border Peace Keeping committee หรือ BPKC) และ คณะกรรมการชายแดนภูมิภาค (Regional Border Committee หรือ RBC)176 จะเห็นวาใน ยุคนี้รัฐบาลไทยเริ่มผลักดันโครงการที่ทองเที่ยวของปราสาทพระวิหาร มีการอนุมัติสนับสนุนดาน การเงินสําหรับปรับปรุงถนนที่ขึ้นสูตัวปราสาท177 ตอมารัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ไดสานตอ นโยบายของรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา ในการชวยเหลือกัมพูชาทําถนนขึ้นสูปราสาทพระ วิหาร ตลอดจนบูรณะปรับปรุงทางหลวงแผนดินไทยหมายเลข 221 ชวงอําเภอกันทราลักษ-เขา พระวิหาร ตลอดจนสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางของไทยกับ จังหวัดพระวิหารของกัมพูชาเมื่อสถานการณเอื้ออํานวย 178 ในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย(2) หลังจากกลุมเขมรแดงสวนหนึ่งบนเขาพระวิหารไดแปร พักตรหันไปเขารวมกับฝายรัฐบาลกัมพูชา จึงไดมีการเจรจา “จุดผอนปรน”เพื่อการคาชายแดน ระหวางกัมพูชาและไทยที่โอวเสม็ดกับดานชองจอมและที่อันลองเวงกับดานชองสะงําที่จังหวัดศรี สะเกษ 179 ตอมาไดมีการรวม “ทดลองเปดจุดผานแดน ณ เขาพระวิหาร” โดยอนุญาตให นักทองเที่ยวเขาชมได โดยฝายกัมพูชาเก็บคาผานแดนและกองกําลังสุรนารีชวยดําเนินการเก็บกู ระเบิด 180 ทั้งนี้เปนผลจากการที่นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย ไดตกลงกับนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็น ใน หลักการที่จะ “รวมพัฒนาเขาพระวิหารใหเปนสถานที่ทองเที่ยวที่มีความปลอดภัยและสะดวกตอ

176 วัชรินทร ยงศิริ, มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.20. 177 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น. 253-254. 178 นาวิน บุญเสรฐ, ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ), 2556, น.47. 179 วัชรินทร ยงศิริ, มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.23. 180 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น.47. 62

การเดินทางเขาถึงโดยแบงผลประโยชนรวมกัน”181 ที่สําคัญคือไทยและกัมพูชายังไดลงนามใน “บันทึกความเขาใจวาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก” ที่รูจักกันชื่อ ‘MOU2000’ ลง นามเมื่อ 14 มิถุนายนค.ศ. 2000 โดย มรว สุขุมพันธ บริพัตร รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการ ตางประเทศ182 สาระสําคัญของ‘MOU2000’ นี้คือ “การสํารวจและปกหลักเขตแดนทางบกจะ ดําเนินการโดยใชเอกสารหลักฐานที่ผูกพันไทยและกัมพูชาตามกฎหมายระหวางประเทศ คือ ‘อนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศสฉบับลงวันที่ 13 กุมภาพันธ ค.ศ.1904’ และ ‘สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ฉบับลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907’ ตลอดจน ‘พิธีสารแนบทาย’ และ ‘แผนที่แสดงเสนเขตแดน ระหวางไทยกับกัมพูชามาตราสวน 1: 200,000’ ซึ่งจัดทําขึ้นตามผลงานของ คณะกรรมการปกปน เขตแดนระหวางสยามกับอินโดจีน”183 พวงทอง ภวัครพันธุ ไดใหขอมูลเพิ่มเติมวา รัฐบาลไทยหลายรัฐบาล อาทิรัฐบาลชาติชาย ชุณหะวัณ ไดมีการลงนามในความรวมมือดานการทองเที่ยวกับกัมพูชาหลายฉบับ 184 นอกจากนี้ หนวยงานราชการไทยหลายหนวยงานยังไดชวยกัมพูชาจัดทําแผนแมบทแหลงทองเที่ยวใหกับ กัมพูชาโดยครอบคลุม 7 จังหวัดชายแดนของไทย และ 9 จังหวัดชายแดนของกัมพูชา อันมีจังหวัด พระวิหาร (เปรี๊ยะวิเฮียร) ดวย พื้นที่เหลานี้รวมเรียกวา “เสี้ยววงเดือนแหงโอกาส” (Crescent of Opportunity) 185 แผนการจัดการทองเที่ยวเปนวงรอบ (loop)ในพื้นที่รอบอารยธรรมเขมรนี้ไดรวม ปราสาทพระวิหารและปราสาทหินอื่นๆในไทยดวย มีอาทิ เชน“บุรีรัมย/สุรินทร-ศรีขรภูมิ-ศรีสะเกษ/ เขาพระวิหาร-เกาะแคร-เสียมเรียบ” และ“จําปาสัก-กําปงธม-เกาะแคร-ศรีสะเกษ/เขาพระวิหาร เปนตน 186 ตอมารัฐบาลทักษิณ ชินวัตรไดสานตอนโยบายการกระชับสัมพันธและความรวมมือ

181 นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556), น.48. 182 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554. 183 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556), น. 64. 184 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น.84-85. 185 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.169-170. 186 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนา สามเหลี่ยมทองเที่ยวเชื่อมโยง ไทย ลาว กัมพูชา เสนอตอการทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2542, น. 8-18. 63

กับกัมพูชาในทุกๆดาน เชน มีการลงนามใน “MOU 2001 เกี่ยวกับพื้นที่ทับซอนทางทะเล” เนื่องจากไดพบวามีกาซธรรมชาติและน้ํามันจํานวนมากในอาวไทยโดยตกลงกันวา ทิศเหนือจะ กําหนดเขตแดนทางทะเลตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ สวนทิศใตจะเปนเขตพัฒนารวม” นอกจากนี้เมื่อนายฮุนเซ็นไดเยือนไทยตอบแทน ไทยก็เสนอชวยเรื่องการเงินเพื่อพัฒนาเสนทาง คมนาคมเพื่อการคาและการทองเที่ยวระหวางจ.ศรีสะเกษ และ จ.เสียมราฐ 187 แตมีรองรอยของความขัดแยงระหวางไทย-กัมพูชา อาทิ เชน กอนการมาเยือนกัมพูชาของ นายกรัฐมนตรีทักษิณ มีนักศึกษากัมพูชา 30 คนมาประทวงที่หนาอาคารรัฐสภากัมพูชา กลาวหา ไทยวารุกล้ําดินแดนกัมพูชา 188 ตอมากัมพูชาไดขอใหไทยชะลอการสรางศาลาที่พักบริเวณสุด ถนนลาดยางบริเวณทางขึ้นปราสาทไวกอน แมวามีการประชุมหารือการแกปญหาน้ําเสียบริเวณ ปราสาทพระวิหารระหวาง ผูวาราชการจังหวัดศรีสะเกษกับนายวาร คิม ฮง ที่ปรึกษารัฐบาล กัมพูชาแลว แตก็ไมสามารถตกลงกันได จนกระทั่ง เมื่อ14 ธันวาคม ค.ศ. 2001 ฝายไทยขอให ระงับการใหประชาชนเขาชมปราสาทพระวิหารเปนการชั่วคราว เนื่องจากประชาชนกัมพูชาบริเวณ ตลาดเชิงเขาพระวิหารไดเพิ่มจํานวนขึ้น จนเกิดปญหาน้ําเนาเสียไหลลงสูเขตไทยบริเวณสระตราว และนาสังเกตวากัมพูชาไดมีการเปลี่ยนทาทีเกี่ยวกับการจะใหไทยมีสวนรวมจัดการปราสาทพระ วิหาร ดังรายงานวา ปลัดกระทรวงทองเที่ยวกัมพูชา และประธานคณะกรรมการเพื่อดูแลและ พัฒนาการทองเที่ยวปราสาทพระวิหารของฝายกัมพูชาไดถูกปลดออกจากตําแหนง เนื่องจากได เปนผูลงนามใน “บันทึกการประชุมความรวมมือในการพัฒนาเขาพระวิหารใหเปนแหลงทองเที่ยว ระดับนานาชาติระหวางไทย-กัมพูชา” เมื่อ 1 มิถุนายน ค.ศ.2001 189 เหลานี้คือรองรอยของความขัดแยงกอนวันที่ 29 มกราคมค.ศ. 2003 ซึ่งเปนเหตุการณที่มี การบุกทําลายและเผาสถานทูต และธุรกิจของคนไทยในกรุงพนมเปญ 190 ดังรายงานจาก The

187 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 26-27. 188 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.26. 189 นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556), น. 50. 190 Charnvit Kasetsiri, “Cambodia-Thailand: Love Hate Relationship (Khom – Khamen flawed history).” Kyoto Review of Southeast Asia, No.3 (March 2003). 64

Phnom Penh Post วาฝูงชนตกอยูในอารมณโกรธแคนเกลียดชังคนไทย 191 ตอมารัฐบาลทักษิณ ไดสงเครื่องบินลําเลียง C130 ไปรับคนไทยกวา 500 คนกลับประเทศ มีการปดดานชายแดน ลด ระดับความสัมพันธทางการทูต และเรียกรองใหกัมพูชาชี้แจงเหตุการณที่เกิดขึ้น พรอมทั้งชดใช คาเสียหาย 192 สาเหตุที่นําไปสูเหตุการณเผาสถานทูตและธุรกิจของคนไทยในกรุงพนมเปญนั้นพอสรุปได วา ชาวกัมพูชาไมพอใจบทความในหนังสือพิมพรัศมีอังกอรที่อางวาดาราไทยชื่อ สุวนันท คงยิ่ง หรือ “กบ” ไดใหสัมภาษณเมื่อ 18 มกราคม ค.ศ.2003 วา“กัมพูชาขโมยนครวัตไปจากไทย” 193 อยางไรก็ตามสุวนันท คงยิ่งไดปฏิเสธขาวนี้วาไมเปนความจริง แตนาเสียดายวาไมมีสื่อใดใน กัมพูชาสนใจที่จะเผยแพรยกเวนแตเพียงหนังสือพิมพภาษาอังกฤษ Cambodian Daily 194 สอง สัปดาหตอมานายกฮุนเซ็นไดนําประเด็นการใหสัมภาษณของสุวนันท คงยิ่งไปโจมตีในการหาเสียง กอนการเลือกตั้งทั่วไปเพื่อปลุกกระแสชาตินิยม และเพื่อเบนความสนใจไมใหฝายคานโจมตี ความสัมพันธระหวางตัวเขากับเวียดนาม 195 นอกจากนี้ชาวกัมพูชาไมพอใจที่ฝายไทยมัก ไดเปรียบดุลการคาในการคาชายแดนระหวางไทยกับกัมพูชาและกลัววาไทยจะครอบงําทาง เศรษฐกิจจนมีการปนกระแสการตอตานสินคาไทย 196 หลังเหตุการณไมสงบในกรุงพนมเปญเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ.2003 รัฐบาลทักษิณตัด ความสัมพันธทางการทูตกับกัมพูชา 197 ตอมารัฐบาลกัมพูชายอมชดใชคาเสียหายกรณีเผา สถานทูตไทยประมาณ 250 ลานบาท และไดมีความพยายามฟนความสัมพันธไทย-กัมพูชาใน

191 “Mobs go berserk in anti-Thai frenzy Thai embassy torched; businesses gutted”, The Phnom Penh Post (31 January 2003) 192 “Can the dispute between Thailand and Cambodia be resolved?”, BBC News (3 February 2003). 193 Jonathan Manthorpe “Cambodia’s provokes new diplomatic row with Thailand”, Vancouver Sun (8 November 2009). 194 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 27. 195 เนชั่นสุดสัปดาห, 10 กุมภาพันธ 2546:11-12 196 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 27-28. 197 “Thais cut links with Cambodia after riots”, The Guardian (31 January 2003) 65

ระดับรัฐ 198 กลาวคือ มีการประชุมคณะรัฐมนตรีรวมไทย-กัมพูชา ที่เมืองเสียมราฐและจังหวัด อุบลราชธานีระหวาง 30 พฤษภาคม-1 มิถุนายน ค.ศ.2003 ไดตกลงใหจัดตั้ง“กรรมาธิการรวมเพื่อ พัฒนาปราสาทพระวิหาร” และตั้งคณะกรรมการยอยขึ้นสองคณะ คณะแรกทําหนาที่ราง แผนพัฒนารวมไทย-กัมพูชา อีกคณะหนึ่งทําหนาที่พัฒนาแผนการฟนฟูและอนุรักษปราสาทพระ วิหาร 199 นอกจากนี้กัมพูชาและไทยได‘ยกระดับความรวมมือ’ขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง กลาวคือ ไดมี การลงนามเมื่อ 25 มีนาคม ค.ศ.2004 ระหวางนายสุรเกียรติ เสถียรไทยและนายสก อาน ใน “ขอตกลงที่จะรวมพัฒนาปราสาทพระวิหารเปนแหลงทองเที่ยว 7 ขอ”และแกไขปญหาตางๆที่ ดํารงอยู 200 พวงทอง ภวัครพันธุไดวิเคราะหวา แนวคิดที่จะผลักดันใหปราสาทพระวิหารเปนมรดก โลกเริ่มเปนรูปเปนรางขึ้นในชวงตนของรัฐบาลทักษิณนี้เองในรูปของ“คณะกรรมการรวมเพื่อ พัฒนาปราสาทพระวิหาร” 201 แมจะมีการลงนามใน“ขอตกลงที่จะรวมพัฒนาปราสาทพระวิหารเปนแหลงทองเที่ยว 7 ขอ” แตสถานการณกลับรุนแรงขึ้นโดยฝายทหารทั้งไทยและกัมพูชาเริ่มใชมาตรการที่แข็งกราวขึ้น ตอกัน กลาวคือเมื่อ 10 พฤษภาคม ค.ศ.2005 ผูบัญชาการทหารบกไทยไดประกาศวา หากฝาย กัมพูชายังไมดําเนินการใดๆ ฝายไทยอาจใชกําลังผลักดันชาวกัมพูชาออกไป 202 สัปดาหตอมา ทั้ง สองฝายมีการเสริมกําลังที่ชายแดน โดยกัมพูชาไดปดประตูทางขึ้นปราสาทพระวิหารเพราะมีขาว ลือวาทหารไทยสังหารประชาชนกัมพูชา 203 อยางไรก็ตามผูรับผิดชอบภาคทหารที่ 4 ของกัมพูชา และ กองกําลังสุรนารีของไทยไดมีการเจรจากัน ทั้งสองฝายยอมถอนกองกําลังเพื่อใหสถานการณ เขาสูภาวะปกติและฝายกัมพูชาไดเปดประตูทางขึ้นปราสาท พระวิหารใหประชาชนเขาชมปราสาท พระวิหารไดอีกครั้ง 204

198 “Cambodia Apologizes To Thailand Over Riot”, New York Times (31 January 2003). 199 นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556), น. 50. 200 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น.31 201 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น. 88. 202 นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556), น. 53. 203 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 30. 204 นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556), น. 53 66

ในทามกลางสถานการณตึงเครียดนี้กัมพูชาไดยื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลกเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ.2006 205 แตเปนการยื่นขอขึ้นทะเบียนเพียงฝาย เดียวโดยไมแจงใหฝายไทยทราบ 206 ในขณะที่ฝายไทยเขาใจมาตลอดวาการเสนอขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกจะกระทํารวมกันในนามของทั้งสองประเทศไมใชฝายกัมพูชาเสนอ แตเพียงฝายเดียว 207 ยิ่งไปกวานั้นในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีรวมไทย–กัมพูชาระหวาง 30 พฤษภาคม ถึง 1 มิถุนายนค.ศ.2003 ไดตกลงกันที่จะรวมมือพัฒนาเขาพระวิหารและ บูรณะปฏิสังขรณปราสาทพระวิหาร 208 เกี่ยวกับสาเหตุที่ทําใหกัมพูชาตัดสินใจขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนั้น พวงทอง ภวัครพันธุ วิเคราะหวา “กัมพูชาทําเชนนี้ เพราะ (ก) ในแงกฎหมาย ปราสาทเปนของ กัมพูชาอยางไมมีขอสงสัย (ข) กัมพูชาไมไวใจไทย เพราะเชื่อวาคนไทยยังปรารถนาอยากได ดินแดนของกัมพูชามาโดยตลอด (ค) ขณะนั้นกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในไทย กําลังรณรงคกดดันรัฐบาลทักษิณใหนําปราสาทพระวิหารกลับเปนของไทย ทั้งยังใหยึดพระ ตะบอง เสียมราฐ และใหบุกยึดนครวัต (ง) ที่สําคัญ กัมพูชามองวาการขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลกนั้น ไทยอาจจะมีสิทธิในเชิงสัญญลักษณเหนือปราสาทพระวิหาร 209 ในเรื่องนี้ นายนพดล ปทมะ อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศในสมัยรัฐบาลสมัครไดใหขอมูลวา ไทยในสมัยรัฐบาลทักษิณไดเคยเสนอหลายครั้งใหกัมพูชาถอนคําขอขึ้นทะเบียนที่ยื่นไปแลวในป ค.ศ. 2006 เพื่อมาขึ้นทะเบียนมรดกโลกรวมกัน โดยใหรวมพื้นที่ในดินแดนไทยดวยแตกัมพูชา ปฏิเสธ 210 สถานการณในประเทศไทยเริ่มวุนวายเมื่อมีการประทวงของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตย(พธม.) เพื่อขับไลนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรออกจากตําแหนง และเริ่มขยายเปน

205 กระทรวงการตางประเทศ,“กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก”, มิถุนายน 2551. 206 นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556), น. 51 207 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น. 89. 208 กระทรวงการตางประเทศ, ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร, มีนาคม 2552. 209 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น. 90. 210 นพดล ปทมะ. บันทึกประวัติศาสตร "มหากาพยเขาพระวิหาร". (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ มติชน, 2559), น. 55. 67

วงกวางขึ้นเมื่อถึงปลายป 2005 จนนําไปสูการยุบสภาและเลือกตั้ง แตการเลือกตั้งครั้งนี้ก็ถูกศาล รัฐธรรมนูญพิพากษาวา “ชนะโดยผิดกฎหมายเลือกตั้ง” 211 ตอมาในวันที่ 19 กันยายน 2006 พล เอกสนธิ บุญยรัตกลินไดทําการรัฐประหาร 212 และไดแตงตั้งพลเอกสุรยุทธ จุลานนทเปน นายกรัฐมนตรี รัฐบาลสุรยุทธไดยืนยันกับรัฐบาลกัมพูชาวา จะยังยึดมั่นสัญญาทางการคาและ การปกปนเขตแดน ที่เริ่มตนมาในสมัยรัฐบาลทักษิณ และไทยจะรวมมือกับกัมพูชาในการสํารวจ แหลงสํารองน้ํามันและกาซธรรมชาติ แตยังตกลงกันไมไดเรื่องผลประโยชนการสํารวจน้ํามันและ กาซธรรมชาติในสวนกลางของเขตพัฒนารวม (JDA) ตอมาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2007 กัมพูชา ไดยื่นขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกเปนครั้งที่สองกับยูเนสโก ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้ง ที่ 31 ที่ประเทศนิวซีแลนด 213 โดยไดแนบแผนที่กําหนดเขตหลัก (core zone) เขตกันชน (buffer zone) และเขตพัฒนา (development zone) ของปราสาทพระวิหารซึ่งเรียกวา ‘แผนที่เชอ มา’(Schema Directeur Pour Le Zonage de Preah Vihear) ล้ําเขามาในพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม. 214 ฝายไทยไดประทวงคําขอขึ้นทะเบียน (เฉพาะแผนที่) อยางเปนทางการ จนคณะกรรมการมรดกโลก มีมติใหเลื่อนการประชุมไปในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้ง ที่ 32 ที่ประเทศแคนาดาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.2008 215 จะเห็นวาในสมัยรัฐบาลพลเอกสุรยุทธนี้ไทยไมคัดคานการขึ้นทะเบียนตัวปราสาท เพียงแตรัฐบาลพลเอกสุรยุทธคัดคานไมใหเอาพื้นที่ทับซอนไปขึ้นทะเบียน ดังมีรายงานวา คณะกรรมการมรดกโลกเห็นชอบในหลักการตอขอเสนอของกัมพูชาในปค.ศ. 2007 และใหกัมพูชา

211 คริส เบเคอร และผาสุก พงษไพจิตร. ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมติชน, 2557),น.393. 212 “สัมภาษณพิเศษ "พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน" ในโอกาสครบ 7 ป รัฐประหาร 19 ก.ย.49”, สํานัก ขาวไทย (19 ก.ย.2556). 213 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554), น. 40. 214 นพดล ปทมะ. บันทึกประวัติศาสตร "มหากาพยเขาพระวิหาร". (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ มติชน, 2559), น. 53. 215 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น 91. 68

เริ่มเตรียมการสําหรับการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก 216 และผูแทนรัฐบาลไทย สมัยสุรยุทธ ในขณะนั้นไดเห็นชอบในหลักการในการสนับสนุนการขึ้นทะเบียนดังกลาวแลว 217 ดัง รายงานการประชุม ขอ ๒ ที่ระบุวา รัฐภาคีไทยและกัมพูชาเห็นพองกันอยางเต็มที่วาปราสาทพระ วิหารมีคุณคาสากลที่โดดเดน และจะตองไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกโดยเร็วที่สุด ดังนั้น กัมพูชาและไทยตกลงกันวา กัมพูชาจะเสนอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกอยางเปน ทางการ ในสมัยประชุมที่ 32 ของคณะกรรมการมรดกโลกในป ค.ศ.2008 โดยการสนับสนุนอยาง แข็งขันจากไทย 218 ที่นาสนใจคือสํานักขาวซินหัวไดรายงานวาในเดือนกรกฎาคมค.ศ. 2007 สหรัฐอเมริกาไดแสดงทาทีอยางชัดแจงที่จะสนับสนุนกัมพูชาในการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลก 219 อีกประเด็นที่มีความสําคัญเกี่ยวของกับความขัดแยงกรณีปราสาทพระวิหารในสมัยรัฐบาล สุรยุทธ คือ การประกาศใชรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย ค.ศ. 2007 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ซึ่งถือวาเปนรัฐธรรมนูญที่รางโดยคณะรัฐประหาร รัฐธรรมนูญฉบับนี้ระบุวา ในการเจรจาปกปน เขตแดนกับกัมพูชานั้นรัฐบาลตองไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภาตามมาตรา 190 วรรคสอง และ รัฐบาลตองดําเนินการตามมาตรา 190 วรรคสาม กลาวคือ รัฐบาลตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับ ฟงความคิดเห็นของประชาชน และตองชี้แจงตอรัฐสภาเกี่ยวกับหนังสือสัญญา นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรีตองเสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบกอนดําเนินการเจรจาดวย ดังจะเห็นวาการที่รัฐบาลไทยจะตองเสนอกรอบการเจรจาเรื่องเขตแดนตอรัฐสภาเพื่อขอความ เห็นชอบกอนดําเนินการเจรจา นั้นไดกลายมาเปนอุปสรรคสําคัญในการเจรจากันในระดับทวิภาคี ระหวางไทย-กัมพูชาในสมัยตอมา 220

216 “Waging Peace: ASEAN and the Thai-Cambodian Border Conflict”, Asia Report No.215, International Crisis Group (6 December 2011), p.7. 217 นพดล ปทมะ. บันทึกประวัติศาสตร "มหากาพยเขาพระวิหาร". (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ มติชน, 2559), น. 53. 218 กระทรวงการตางประเทศไทย, ขอมติการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยที่ 31 ในเดือน มิถุนายน 2550. พรอมคําแปลภาษาไทย. 219 “U.S.supports Cambodia's bid to list Preah Vihear Temple as world heritage site”, Xinhua (19 July 2007). 220 กระทรวงการตางประเทศ, แผนพับ สรุปขอมูลสถานะของคดีตีความคําพิพากษาคดีปราสาท พระวิหาร ป 2505, ตุลาคม 2555. 69

บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชา ในกรณีพระวิหาร ในหวงปค.ศ. 2008-2013

แมวาในหวงเวลาค.ศ. 1973-2007 ที่มีระยะเวลายาวนาน 34 ปนั้นจะเปนชวงของความ พยายามของหลายรัฐบาลที่จะพยามยามใหปราสาทพระวิหารเปน“สัญญลักษณของมิตรภาพและ ความรวมมือ”221 และรัฐบาลไทยหลายรัฐบาลไดพยายามจะเสนอใหกัมพูชาและไทยขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกรวมกัน แตทวาระหวางปค.ศ. 2008-2013 ปราสาทพระวิหารได กลายเปน“สัญญลักษณของความเกลียดชัง” ระหวางสองประเทศ ซึ่งพวงทอง ภวัคพันธุ ไดระบุวา เปนผลงานของ “กลุมชาตินิยมสุดขั้ว”(ultra-nationalists) ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากกลุมประชา สังคมและสถาบันตางๆในสังคมไทย 222 บริบททางการเมืองในหวงปค.ศ. 2008-2013 นั้น เกี่ยวของกับรัฐบาลนายฮุนเซ็นของกัมพูชาเพียงรัฐบาลเดียว แตเกี่ยวของนายกรัฐมนตรีไทยถึง 4 คน คือ นายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศสวัสดิ์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ นางสาวยิ่ง ลักษณ ชินวัตร ตลอดจน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอีกถึง 6 คน จึงจะขอแบงการนําเสนอในชวงนี้ ตามรัฐบาลไทยที่เกี่ยวของดังนี้

ในสมัยรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช (29 มกราคม ถึง 17 กันยายน ค.ศ.2008)

ดังไดกลาวแลววาหลังศาลโลกไดตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชาเมื่อป ค.ศ.1962 สถานการณสงบมาเกือบ 50 ปแตในสมัยรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวชความขัดแยง ระหวางไทย-กัมพูชาไดลุกลามมาสูการสูรบ ทั้งนี้เปนผลมาจากสองเหตุการณคือ (ก) ความขัดแยง ระหวางกลุมเสื้อเหลืองที่สนับสนุนฝายชนชั้นนํากับ ฝายเสื้อแดงซึ่งสนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ อันเปนผลมาจากการรัฐประหารเพื่อขับไลทักษิณออกจากอํานาจ เมื่อเดือนกันยายนค.ศ. 2006 และ (ข) การที่กัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกแตเพียงฝายเดียว 223 ขอพิพาทชายแดนไทย-กัมพูชาลวนถูกจุดชนวนขึ้นโดยกลุมชาตินิยมสุดขั้วซึ่งใชประเด็นปราสาท

221 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น.168. 222 Puangthong R. Pawakapan, State and Uncivil Society in Thailand at the Temple of Preah Vihear (Singapore: Institute of Southeast Asian Studies), 2013 223 “Waging Peace: ASEAN and the Thai-Cambodian Border Conflict”, Crisis Group (6 December 2011), p. 3. 70

พระวิหารเปนเครื่องมือทางการเมือง ในการพยายามโคนลมรัฐบาลที่ทักษิณสนับสนุน กลุม ชาตินิยมสุดขั้วกลุมนี้ เคลื่อนไหวอยูบนมายาคติที่วาประเทศไทยยังคงเปนเจาของปราสาทพระ วิหาร ดังนั้นกัมพูชาจึงไมมีสิทธิที่จะขึ้นทะเบียนปราสาทเปนมรดกโลก 224 ดังจะเห็นวาการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชานี้กอใหเกิดเปน ขอพิพาทระหวางไทย–กัมพูชา เนื่องจากในเอกสารประกอบคํารองยื่นจดทะเบียนของกัมพูชานั้น กัมพูชาไดแนบแผนที่กําหนดเขตแดน เขตกันชน และเขตพัฒนา ของปราสาทพระวิหารซึ่งล้ําเขา มาในดินแดนไทย 225 เมื่อนายสมัคร สุนทรเวชเริ่มวาระดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี กลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดกลาวหารัฐบาลสมัครมีพฤติการณที่สอถึงความทุจริตหลายอยาง เชน การยกปราสาทเขาพระวิหารใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกแตเพียงฝายเดียว นอกจากนี้ยังมีการปลุกกระแสชาตินิยมจากนักการเมืองทั้งฝายกัมพูชาและไทย ดังจะเห็นไดจาก พาดหัวขาวหนังสือพิมพในกัมพูชา เชน หนังสือพิมพรัศมีกัมพูชา 226 เมื่อนายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวช เยือนกัมพูชาระหวาง 3-4 มีนาคม ค.ศ.2008 สถานการณดูเหมือนจะดีขึ้นโดยกัมพูชาใหคํายืนยันกับไทยวาจะยื่นขึ้นทะเบียนเฉพาะตัวปราสาท 227 และรัฐบาลสมัครไดอนุมัติใหรัฐบาลกัมพูชากูเงิน 1,400 ลานบาท สําหรับกอสรางถนนจาก จังหวัดตราดไปยังกัมพูชาเพื่อสนับสนุนการทองเที่ยว 228 แตเพียงหนึ่งเดือนตอมา เกิดมีกรณีที่ กัมพูชาไดนํากําลังทหารและหนวยเก็บกูระเบิดเขามาในพื้นที่ดานทิศตะวันตกของตัวปราสาทพระ วิหาร ทั้งยังสรางถนน ตั้งชุมชน สรางวัดและที่ทําการหนวยงานราชการในพื้นที่ ดานทิศเหนือและ ตะวันตกของตัวของตัวปราสาท ซึ่งพื้นที่ดังกลาวเปน พื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกิโลเมตร ที่ทั้งไทย

224 “Waging Peace: ASEAN and the Thai-Cambodian Border Conflict”, Crisis Group (6 December 2011), p.5. 225 กระทรวงการตางประเทศ,“กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก”,มิถุนายน 2551, น.5. 226 “ไทยกลาวหาเขมรสรางหลักฐานเท็จเพื่อหวังฮุบปราสาทพระวิหาร”, รัศมีกัมพูชา (25 มกราคม 2008) ในโตะขาวกัมพูชา (มกราคม 2551:116.),อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 227 “ไทยไมขวางหากเขมรจะจดทะเบียนปราสาทพระวิหาร”, รัศมีกัมพูชา (4 มีนาคม 2008),อาง ใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 228 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 มีนาคม 2551, น. 308 71

และกัมพูชาตางอางสิทธิ 229 ซึ่งในเรื่องนี้ นายวีรชัย พลาดิศรัย จากกระทรวงการตางประเทศได ยื่นหนังสือประทวงกัมพูชาเปนครั้งที่ 4 ตอนายอึงฮวด เอกอัครขาราชทูตกัมพูชาประจําไทย 230 ทามกลางการกดดันของฝายตอตานนายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศของไทยไดพยายามจะเจรจากับนายสก อาน(Sok An) ที่จังหวัดเกาะกง (Koh Kong) ประเทศกัมพูชา ตั้งแตเมื่อ14 พฤษภาคม ค.ศ.2008 จนฝายกัมพูชาไดยอมตกลงที่จะเปลี่ยนแผนที่ ที่จะแนบใน เอกสารคําขอยื่นขึ้นทะเบียนมรดกโลก และยอมที่จะยื่นจดทะเบียนเฉพาะตัวปราสาท ประวิหารเทานั้น 231 นอกจากนี้ยังมีการประชุมหารือกันที่สํานักงานใหญขององคการยูเนสโกใน กรุงปารีสโดยมีนางฟรองซัวส ริวิแยร (Francoise Riviere) ผูชวยผูอํานวยการใหญฝายวัฒนธรรม เขารวมประชุมดวย ที่ประชุมมีมติวา ไทยจะสนับสนุนการขึ้นทะเบียนประสาทพระวิหารเขาไวใน บัญชีมรดกโลกของกัมพูชา แตจะตองไมรวมพื้นที่กันชนทางดานเหนือและดานตะวันตกของ ปราสาท และจะตองไมกระทบตอการกําหนดปกปนเขตแดนของคณะกรรมการรวมเพื่อการปกปน เขตแดนทางบก (JBC) ของประเทศทั้งสอง ตอมาเมื่อ 5 มิถุนายน ค.ศ.2008 ทางกัมพูชาสงแผน ที่ที่ไดรับการปรับแกไขใหมมาใหฝงไทย กรมแผนที่ทหารไดตรวจสอบแลวและเห็นวา แผนที่ใหมที่ สงมานั้นไมมีการล้ําเขามาในเขตไทย 232 ในเอกสารของรัฐบาลกัมพูชาไดแสดงแผนที่ฉบับแกไขที่ ยื่นตอที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 32 และระบุชัดเจนวา ไดมีการปรับปรุงพื้นที่ของ ทรัพยสินที่เสนอขอขึ้นทะเบียน ตาม zone 1 มีขนาดลดลง เหลือเพียง 11 เฮกแตรเทานั้น(จากเดิม 154.70 เฮกแตรที่เคยยื่น เมื่อการประชุมครั้งที่ 31 2008) สวนตาม zone 2 มีขนาดลดลง เหลือ เพียง 644.13 เฮกแตรเทานั้น (จากเดิม 2642.50 เฮกแตร) 233 แผนผังใหมที่กัมพูชาเสนอมานี้ เรียกวา ‘แผนผังลายเสนฉบับแกไข’(Revised Graphic Plan of the Property-‘R.G.P.P.’) มี ขอบเขตล้ําเขามาในเขตไทยเล็กนอยประมาณ 38 ตารางวา ไทยจึงเจรจาใหปรับแกเปนครั้งที่

229 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 เมษายน 2551, น. 462. 230 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554), หนา 43. 231 นพดล ปทมะ. บันทึกประวัติศาสตร"มหากาพยเขาพระวิหาร"(กรุงเทพมหานครฯ:สํานักพิมพมติ ชน,2559, น.66. 232 กระทรวงการตางประเทศ.“สมุดปกขาวชี้แจงการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก, 2555. 233 “การเขียนแผนที่บริเวณปราสาทพระวิหารไมมีสวนเกี่ยวของกับพรมแดน”, รัศมีกัมพูชา (13มิถุนายน 2008), อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 72

สอง 234 กรมแผนที่ทหารไทยไดตรวสอบแลวและเห็นชอบแผนที่ที่ฝายกัมพูชาเสนอมา ตอมาที่ ประชุมคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ (สมช.) จึงไดใหความเห็นชอบรางแถลงการณรวมและแผน ที่ที่กัมพูชารางขึ้นใหม 235 ในวันรุงขึ้นคณะรัฐมนตรีไทย จึงไดเห็นชอบ “รางแถลงการณรวม”นี้ใน วันที่ 16 มิถุนายน และไดมอบหมายใหนายนพดล ปทมะ รัฐมนตรี วาการกระทรวงการ ตางประเทศเปนผูลงนามในแถลงการณรวมกับกัมพูชา 236 ในวันเดียวกันนายสนธิ ลิ้มทองกุล จากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได กลาวหาวา รัฐบาลไทยปกปดไมเปดเผยรางแถลงการณรวมและแผนที่ใหมซึ่งจะทําใหเสียดินแดน เพิ่ม เพื่อแลกกับการไปทําธุรกิจของอดีตนายกทักษิณที่เกาะกงและพื้นที่ทับซอนในอาวไทย 237 แนวรวมของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังประกอบดวยกลุมนักวิชาการ เชน สมปอง สุจริตกุล ซึ่งวิจารณวาแถลงการณรวมจะทําใหไทยเสียสิทธิ์ที่จะทวงคืนปราสาทพระวิหาร ในอนาคต เพราะไทยไมเคยยอมรับทั้งคําตัดสินศาลโลกและแผนที่ที่ฝรั่งเศสทํา.ดังนั้นไทยยังมีสิทธิ์ อุทธรณ นอกจากนี้อดุล วิเชียรเจริญไดระบุวาแถลงการณรวมจะทําใหไทยตองสละสิทธิ์ในพื้นที่ ทับซอน 4.6 ตารางกม. และศรีศักดิ์ วัลลิโภดม ระบุวา “การยอมใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหาร เทากับไทยเสียคาโงครั้งที่สาม” 238 ตอมากลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได เคลื่อนขบวนไปชุมนุมหนากระทรวงการตางประเทศเพื่อขับไลนายนพดล ปทมะใหออกจาก ตําแหนง ดังรายงานจาก หนังสือพิมพเดอะเนชั่น 239 ทั้งนี้คณะกรรมาธิการตางประเทศของ วุฒิสภาโดยมรว.ปรียนันทนา รังสิต แถลงวา“จะยื่นขอเสนอใหยูเนสโกชะลอการขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหาร” และยื่นหนังสือ“คัดคานการลงนามแถลงการณรวม”นี้ 240 ยิ่งไปกวานั้นผล

234 นพดล ปทมะ. บันทึกประวัติศาสตร "มหากาพยเขาพระวิหาร". (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ มติชน, 2559), น. 81. 235 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 มิถุนายน 2551, น.763. 236 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 มิถุนายน 2551,น.764. 237 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 มิถุนายน 2551, น. 765. 238 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น.110-111. 239 “PAD begins rallying in front of MFA building to protest Preah Vihear Temple map”, The Nation (18 June 2008). 240 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 มิถุนายน 2551, น. 767 73

การลงนามในแถลงการณรวมนี้ทําใหพรรคประชาธิปตยไดโอกาสเขาชื่อขอเปดอภิปรายไม ไววางใจนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี 7 คน 241 สํานักขาวเอพีระบุวาแมวานายสมัครจะชนะญัตติอภิปรายไมไววางใจครั้งนี้เนื่องจาก พรรครวมรัฐบาลของเขาครองเสียงถึงสองในสามของจํานวน 480 ที่นั่งในสภาผูแทนราษฎร แตก็มี การอภิปรายโจมตีรัฐบาลในถนนโดยกลุมผูประทวงดวยโดยเฉพาะในกรณีปราสาทพระวิหาร 242 และในวันเดียวกัน กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดปดลอมทําเนียบรัฐบาล243 นอกจากนี้ยังมีการประทวงที่ อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อเรียกรองใหรัฐบาลผลักดัน ชาวกัมพูชา 500 คนที่บริเวณปราสาทพระวิหารออกไป และกดดันรัฐบาลใหยกเลิกแถลงการณ รวมที่ไดลงนามแลวกับกัมพูชา 244 ตลอดจนมีการเดินขบวนธรรมยาตราไปที่อุทยานแหงชาติเขา พระวิหาร ฝายกัมพูชาจึงไมยอมเปดประตูเหล็กเขา-ออกบริเวณปราสาทพระวิหาร 245 นอกจากนี้ ที่ผามออีแดงมีกลุมผูชุมนุมหามบานทรงไทยเพื่อจะนําไปตั้งที่สุดแผนดินไทยหนาประตูปราสาท พระวิหารและเรียกรองใหผลักดันชาวกัมพูชาที่ตั้งชุมชนและรานคารุกล้ําออกไปภายใน 30 วัน 246 ซึ่งสอดคลองกับการรายงานของสํานักขาวเอพี 247 ที่รายไปกวานั้นคือ ศาลปกครองกลางไดมี คําสั่งคุมครองชั่วคราวใหรัฐบาลยุติการ ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีที่รับรองการออกแถลงการณรวมไทย-กัมพูชาสนับสนุนใหกัมพูชา จดทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก จนกวาคดีจะเปนที่สิ้นสุด หรือจนกวาศาลจะมีคําสั่ง เปนอยางอื่น 248 และตอมาศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 8–1 วา คําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชาที่ลงนาม

241 “Apisit slams Samak for conceding territory”, The Nation (25 June 2008). 242 “Thailand's embattled prime minister faces no-confidence debate, more street protests”, Associated Press (24 June 2008). 243 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 มิถุนายน 2551, น. 769. 244 “Thousands of anti-government protesters rally over Thai-Cambodia boundary dispute”, Associated Press (18 June 2008). 245 “ทางการกัมพูชาปดประตูทางขึ้นเขาพระวิหารชั่วคราว”, รัศมีกัมพูชา(24 มิถุนายน 2008),อาง ใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 246 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 มิถุนายน 2551, น. 880 247 “Ancient temple at center of debate in Thailand”, Associated Press (26 June 2008). 248 “Court issues in junction in temple row”, Post (29 June 2008) 74

โดยนายนพดล ปทมะ นั้นขัดกับรัฐธรรมนูญ 249 และมีการเตรียมการจะขับนายนพดลออกจาก ตําแหนง 250 อยางไรก็ตามมีกระแสทวงติงคําสั่งของศาลปกครองจากนักวิชาการ เชน วรเจตน ภาคี รัตน ที่ระบุวา ศาลปกครองไมมีเขตอํานาจเหนือคดีเขาพระวิหาร251 และ บวรศักดิ์ อุวรรโณ ที่ เตือนศาลปกครองใหยึดหลักกฎหมายมหาชน 252 ปรากฎการณเชนนี้สงสัญญาณวากรณีปราสาท พระวิหารไดกลายเปน “วิกฤต” การเมืองไปทันที.253 ดังจะเห็นวานายฮอรนัมฮง รัฐมนตรี วาการ กระทรวงการตางประเทศกัมพูชากลาวพาดพิงพรรคฝายคานของไทยวาพยายามใชกรณีกัมพูชา ยื่นขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก เพื่อประโยชนทางการเมืองจนอาจทําลาย ความสัมพันธระหวางประเทศ 254 สํานักขาวเอพีรายงานวา ผลจากมติศาลรัฐธรรมนูญทําใหนายนพดล ปทมะตัดสินใจ ลาออก 255 เขากลาววากรณีนี้ไดถูกนําไปปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อหวังผลทางการเมือง 256 คําสั่ง ของศาลปกครองนี้มีผลใหรัฐบาลไทยตองยุติการสนับสนุนรัฐบาลกัมพูชาในการขอขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหาร 257 แตสํานักขาวเอพีระบุวา คําสั่งของศาลปกครองของไทยจะไมมีผลกระทบ

249 "Thai Court rules Thai-Cambodian communique in breach of charter", MCOT English News (20 July 2008) 250 “Impeachment Action, Opposition to target Noppadol over the temple”, The Nation (10 July 2008) 251 “วรเจตน ยันหลักวิชาศาลปกครองไมมีเขตอํานาจเหนือคดีเขาพระวิหาร”,ประชาไท (1 กรกฎาคม 2551) 252 “บวรศักดิ์ เตือนศาลปกครองยึดหลักกฎหมายมหาชน แนะรัฐยื่นอุทธรณสูงสุด”,ประชาไท (4 กรกฎาคม 2551) 253 สุรชาติ บํารุงสุข, ภูมิศาสตรแหงความขัดแยง. ทฤษฎีและกรณีไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพ: โครงการความมั่นคงศึกษา, 2557), น.174. 254 “นักการเมืองไทยไมควรเอาเรื่องปราสาทพระวิหารมาใชเปนอาชีพ”, รัศมีกัมพูชา (28 มิถุนายน 2008), อางแลว วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 255 “Thailand’s foreign minister resigns as battering of government continues”, Associated Press (10 July 2008) 256 "Political tensions driving temple row", BBC News (15 July 2008). 257 “Verdict hammers government”, The Bangkok Post (9 July2008). 75

มากนักตอการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา 258 ในเรื่องนี้พวงทอง ภวัครพันธุ วิเคราะหวา สื่อมวลชนกระแสหลักของไทย ตกอยูภายใตวาทกรรมการสูญเสียดินแดน และความรักชาติเชนกัน จึงโจมตีผูนํากัมพูชาอยางไมยับยั้งชั่งใจ ...สื่อกระแสหลักของไทยที่ เหยียดหยามฮุนเซ็น มี เครือผูจัดการ คมชัดลึก ไทยโพสต The Nation โพสตทูเดย เดลี่นิวส แนว หนา และ กรุงเทพธุรกิจ...แตผลกลับตรงกันขาม กลาวคือ ความเปนปฏิปกษของไทยในกรณีพระ วิหาร กลับทําใหกลุมตางๆสนับสนุนฮุนเซ็น 259 ดังจะเห็นวา รัฐบาลกัมพูชาไดสงกองกําลังไป คุมครองสถานทูตไทยในกัมพูชา ดวยเกรงจะเกิดเหตุการณซ้ํารอยเผาสถานทูตอีก 260 ในทามกลางกระแสคัดคานนี้ สํานักขาวเอพีรายงานวาในวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ.2008 องคการยูเนสโกไดมีมติเอกฉันทประกาศขึ้นทะเบียนใหตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก(World Heritage Site) ตามคําขอของกัมพูชา 261 ทั้งๆที่ฝายไทยมองวาปราสาทพระวิหารผานเกณฑการ พิจารณาเพียงขอเดียว 262 หนังสือพิมพ The Independent ในอังกฤษระบุวากรณีนี้สงผลใหคนใน ประเทศไทยเกิดอารมณโกรธแคน 263 ในขณะที่ในกัมพูชามีการเฉลิมฉลองในกรุงพนมเปญทันทีที่ ทราบผลการตัดสินของยูเนสโก ดวยการจัดแสดงดนตรีที่สนามกีฬาโอลิมปกมีการตอนรับคณะ ผูแทนกัมพูชาที่เดินทางกลับกรุงพนมเปญ จากที่ประชุมมรดกโลกเยี่ยงวีรบุรุษ มีการแตงเพลง รําลึกการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร 264 และในปลายเดือนนั้นเองพรรคประชาชนกัมพูชาของ นายฮุนเซ็นก็ชนะการเลือกตั้งทั่วไปอยางถลมทลาย 265

258 “Thai cabinet suspends cooperation with Cambodia on temple issue”, Associated Press (1 July 2008). 259 พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556), น. 120-121. 260 “Riot Police Deployed to Guard Thai Embassy”, VOA Cambodia (3 July 2008). 261 “Temple on disputed Cambodia border a heritagesite”, Associated Press (8 July 2008) 262 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 กรกฎาคม 2551, น. 882 263 “Thai anger as disputed Cambodian temple wins heritage”, The Independent (8 July 2008). 264 สยามจดหมายเหตุ ปที่ 33 กรกฎาคม 2551, น. 886 265 “Waging Peace: ASEAN and the Thai-Cambodian Border Conflict”, International Crisis Group (6 December 2011), p.8. 76

สํานักขาวเอพีรายงานวาการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกไดกลายเปน “จุดเริ่มตนของความขัดแยง” ทางการเมืองระหวางสองประเทศ ทั้งนี้กลุมชาตินิยมสุดขั้วอยางกลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดฉกฉวยเอาขอพิพาทเขตแดนมาเปนประเด็นในการ เคลื่อนไหวตอตานรัฐบาลสงผลใหสถานการณตามแนวชายแดนมีความตึงเครียดยิ่งขึ้นไปอีก266 สวนสํานักขาวบีบีซีก็พาดหัวขาวระบุชัดเจนวา ทหารไทยไดกาวล้ําไปในแดนกัมพูชา สาเหตุคือ หลังจากการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกไดมี คนไทย 3 คนจงใจกระโดดขามรั้ว ลวดหนามเขาไปใน“พื้นที่ทับซอน”เพื่อพยายามไปปกธงชาติใกลปราสาทพระวิหารและเพื่อสราง เงื่อนไขใหถูกกัมพูชาจับ ตอมาทหารไทยสวนหนึ่งไดขามพรมแดนเขาไปในกัมพูชา“พื้นที่ทับซอน” (overlapping area) เพื่อไปชวยเจรจากับทหารกัมพูชาจนถูกกับระเบิดขาขาด 1 นาย 267 อยางไรก็ตามในจดหมายที่สงถึงนายเลอ ลอง มินห(Le Long Minh) ประธานคณะมนตรี ความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ(UNSC) นั้นนายนายสี โกสัล (Sea Kosal)เอกอัครขา ราชทูตและผูแทนถาวรของกัมพูชาประจําองคการสหประชาชาติไดรองเรียนวา ในวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ.2008 มีทหารไทยประมาณ 50 คนไดขามพรมแดนเขามาที่วัดแกวสิกขาคีรีสวารา (Keo Sikha Kiri Svara Pagoda)ซึ่งตั้งอยูในแดนกัมพูชาและหางจากปราสาทพระวิหารประมาณ 300 เมตร ตอมาทหารไทยก็ไดเพิ่มจํานวนเปน 480 นาย 268 สอดคลองกับรายงานของสํานักขาว บีบีซี ที่วาไทยและกัมพูชามีการเสริมกําลังทหารขึ้นเปน 1,000 นายเปนทหารไทย 400 คน ในพื้นที่ ใกลวัดแกวสิกขาคีรีสวารา ที่กัมพูชาสรางขึ้นและอางความเปนเจาของ แตฝายไทยไมยอมรับ 269 สวนสํานักขาว AFP อางวาทั้งสองฝายเริ่มใชอาวุธแลว 270 อยางไรก็ตาม สํานักขาวเอพีรายงานวาหลังจากที่นายฮุนเซ็นกับนายสมัครไดพูดคุยกัน ทางโทรศัพท กัมพูชาแจงวายินดีเจรจากับไทยเพื่อปองกันมิใหมีการปะทะอีก และตกลงวา

266 “Controversy over 11th century temple inflames Thai politics”, Associated Press (27 June 2008). 267 "Thai troops 'cross into Cambodia' , BBC News (15 July 2008) 268 "Preah-Vihear.com - Unesco's World Heritage site".Retrieved on 27 March 2016 from Preah-vihear.com. 269 “Troop build-up at hill-top temple”, BBC News (17 July 2008). 270 “Cambodian, Thai soldiers reportedly draw weapons", AFP. Jul 17, 2008. 77

รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมของสองประเทศจะมีการประชุมกัน 271 ในการนี้นายฮุนเซ็นของ กัมพูชาไดทําบันทึกดวนถึงนายสมัครใหไทยถอนทหารจากพื้นที่ทับซอน ตามรายงานของสํานัก ขาวรอยเตอรสที่ไดระบุตอมาวา นายสมัครโตตอบวาทหารไทยปฏิบัติการในดินแดนไทย 272 และ ยืนยันวา การที่ทหารกัมพูชาไดเขามาประจําการและกอสรางอาคารบนพื้นที่ทับซอนเปนการ ละเมิดอธิปไตยไทย 273 ซึ่งสอดคลองกับรายงานจากหนังสือพมพThe Irish Times 274 ที่นาสนใจ คือสํานักขาวเอพีไดขอมูลจาก นายพลจัตวาเจียแกว(Chea Keo) ของกัมพูชาซึ่งระบุวา ทหาร กัมพูชาและไทยใกลถุงจุดจะปะทะกันแลวหลังจากตรึงกําลังและเผชิญหนากันมาเปนวันที่ 4 กอนหนานี้ทหารไทยไดเขามาตั้งฐานในวัดแกวสิกขาคีรีสวราตั้งแตวันอังคาร ตอมาในวันพฤหัสบดี ก็มีทหารกัมพูชาอีกกลุมหนึ่งไดเขาไปในวัดเพื่อจะหาที่นอนพักผอน ทหารไทยจึงเขาไปไลทหาร กัมพูชากลุมนั้น มีผลใหทั้งสองฝายชักปนยาวเล็งใสกัน แตสักสิบนาทีตอมาทหารกัมพูชาก็ยอม ถอยออกไป 275 นอกจากนี้นายพลจัตวาเจียแกวยังระบุวา เขารูสึกผิดหวังที่นายสมัครระบุวา พื้นที่รอบวัดแกวสิกขาคีรีสวราเปนดินแดนไทย ดังนั้นการที่ชาวบานกัมพูชามาตั้งบานเรือนบริเวณ วัดแกวสิกขาคีรีสวรานั้นจึงเปนการละเมิดอธิปไตยของไทย 276 ตามรายงานของสํานักขาวเอพี จะเห็นไดวาทั้งสองฝายมีการเสริมกําลังทหารและอาวุธ หนักตามชายแดน กอนที่จะมีการเจรจาระดับสูงระหวาง รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมกัมพูชา และผูบัญชาการทหารสูงสุดของไทย ซึ่งเปนการประชุมสมัยวิสามัญของคณะกรรมการชายแดน ทั่วไปไทย-กัมพูชา(GBC) ที่จังหวัดสระแกว ฝายไทยมีพลเอกบุญสราง เนียมประดิษฐ ผูบัญชาการ ทหารสูงสุดไทย ฝายกัมพูชามีพลเอกเตีย บันห(Tea Banh) รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม

271 “Cambodia says it will meet with Thailand to avert clash over disputed border near temple”, Associated Press (16 July 2008). 272 “Cambodia PM says Thai border getting worse”, Reuters (17 July 2008). 273 “More troops, rhetoric in Thai-Cambodia temple row”, Reuters (19 July 2008). 274 "More troops sent in Thai-Cambodia temple dispute", The Irish Times (19 July 2008). 275 “Cambodian general: Cambodia, Thai come close to shoot-out in Thai-Cambodian border dispute”, Associated Press (18 July 2008). 276 “Cambodian general says little hope for upcoming talks to resolve standoff with Thailand”, Associated Press (18 July 2008). 78

กัมพูชา 277 แมการประชุมครั้งนี้จะไมสามารถออกมติที่สําคัญได เพราะติดขัดขอกฎหมายที่วา ตองใหรัฐบาลตัดสินใจกอน แตที่ประชุมไดตกลงที่จะลดการเผชิญหนา และกําชับทหารใหอยูใน ความสงบ ทั้งหามเสริมกําลังเขาไปในพื้นที่ ใหคงกําลังใหเหลือฝายละ 30 นาย และหามนําผล ประชุมไปเปนประเด็นการเมือง 278 อยางไรก็ตามสํานักขาวเอพีถือวาการเจรจาระหวางไทย- กัมพูชาลมเหลว เพราะกองทหารหลายพันยังคงเผชิญหนากันอยูที่ชายแดน 279 เมื่อการเผชิญหนายางเขาสัปดาหที่สอง สํานักขาวเอพีระบุวาฝายไทยเริ่มโตกลับโดยนาย ดอน ปริมัตถวินัย เอกอัครขาราชทูตไทยประจํา องคการสหประชาชาติระบุวา สาเหตุที่กัมพูชา รองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ(UNSC) เพราะกัมพูชาไม ตองการเฉพาะแตปราสาทพระวิหารเพียงอยางเดียว แตตองการจะได‘พื้นที่ทับซอน’ดวย โดยจะ บีบไทยใหยอมรับแผนที่ฝรั่งเศสมาใชในการปกปนเขตแดน 280 ดานคณะมนตรีความมั่นคงของ องคการสหประชาชาติ ก็ไดรับที่จะนํากรณีพิพาทระหวางไทย-กัมพูชาเขาสูวาระพิจารณา เพื่อ ปองกันมิใหลุกลามกลายเปนสงคราม กอนหนานี้นายดอน ปริมัตถวินัย เอกอัครขาราชทูตไทย ประจํา องคการสหประชาชาติระบุวาขอเรียกรองที่จะใชแผนที่ฝรั่งเศสมากําหนดเขตแดนไมมี กฎหมายรองรับและไมมีในคําตัดสินป ค.ศ.1962 ของศาลโลกเพราะศาลไดตัดสินเฉพาะเรื่อง อธิปไตยเหนือปราสาทเทานั้น สวนนายสี โกสาล (Si Kosal) เอกอัครขาราชทูตกัมพูชาประจํา องคการสหประชาชาติก็โตแยงวาในทางกฎหมายกัมพูชาแลวถือวาไมถือวามี “พื้นที่ทับซอน” ไทย คงจะจินตนาการเอาเอง 281 อยางไรก็ตาม สํานักขาวเอพีรายงานวาทั้งนี้ หลังจากนายสมัครได หารือกับนายฮุนเซ็น กัมพูชาก็ยอม เจรจาทวิภาคีกับไทยในระดับ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศที่เมืองเสียมเรียบ แทนที่จะนําเรื่องนี้เขาสูการพิจารณาของคณะมนตรีความมั่นคง ขององคการสหประชาชาติ สํานักขาวเอพีระบุวานี่เปนชัยชนะทางการทูตเล็กๆของฝายไทย

277 “Thailand, Cambodia hold talks on standoff over disputed territory at ancient temple site”, Associated Press (21 July 2008). 278 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 52. 279 “Thailand, Cambodia fail to resolve temple dispute; thousands of troops to remain on border”, Associated Press (21 July 2008). 280 “Thailand says Cambodia wants even more of its territory as land dispute enters 2nd week”, Associated Press (23 July 2008). 281 “UN to take up Thai-Cambodian border dispute”, Associated Press (24 July 2008). 79

เพราะไทยไมตองการใหคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติเขามายุงเกี่ยว 282 ใน วันรุงขึ้นกัมพูชาก็ยอมไดทําการถอนคํารองที่จะใหคณะมนตรีความมั่นคงขององคการ สหประชาชาติ เขามาแทรกแซงในกรณีพิพาทไทย-กัมพูชา 283 ที่เปนขาวใหญในไทย คือ ขาวที่ นางบุน รานี (Bun Rany) ภรรยานายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นไป ทําพิธีทางพุทธศาสนาที่วัดแกวสิกขาคีรีสวราโดยมีประชาชนกัมพูชานับพันรวมดวย ในคืนวัน เดียวกันกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยก็ไดทําพิธีสวดในประเทศไทยโดยอางวา พิธีนี้ จะชวยปดเปาผลรายจากพิธีกรรม“มนตดํา”ของกัมพูชาที่จองทําลายไทย 284 นอกจากนี้มีการโหม กระแสความไมพอใจรุนแรง โดยสื่อมวลชนไทย ดังจะเห็นวา หนังสือพิมพ The Nation ตีพิมพบท บรรณาธิการวิจารณกัมพูชาวากําลังทําตัวเปน ‘เด็กเลี้ยงแกะ’โดยเรียกรองใหประชาคมนานาชาติ ชวยกัมพูชาในกรณีพระวิหาร 285 สถานการณคุกรุนที่ชายแดนไทย-กัมพูชาดําเนินตอไป จนกระทั่งในวันที่ 3 สิงหาคม 2008 สํานักขาวบีบีซีรายงานวา มีการ “ปะทะกันเล็กนอย”ที่บานหนองคันนาสามัคคี ตําบลตาเมียง อําเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร บนชายแดนติดตอกับจังหวัดโอดดารเมียนเจย (Oddar Meancheay)ของกัมพูชาโดยฝายกัมพูชาบาดเจ็บ 1 คน ฝายกัมพูชากลาวหาไทยวาเขายึดครอง ปราสาทตาเมือนธม(Prasat Ta Muen Thom)และปราสาทตาเมือนโตด (Prasat Ta Muen Touch) 286 ดานสํานักขาวเอพีอางขอมูลจากกัมพูชาวาทหารไทยจํานวน 70 คนไดเขาไปยึด ปราสาทตาโมน ซึ่งเปนปราสาทขอมสรางในคริสตศตวรรษที่ 13 287.สวนหนังสือพิมพ The Nation ก็ออกบทบรรณาธิการยืนยันวา ปราสาทตาเมือนธมนั้นตั้งอยูในดินแดนไทย แตหางจากพรมแดน เพียง 100 เมตรและกรมศิลปากรไดขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานของไทยมาตั้งแตป1935 288 วัน

282 “Thailand says it has agreed to discuss issue with Cambodia on Monday”, Associated Press (24 July 2008). 283 “Cambodia suspends call for UN intervention on border dispute pending Thai talks”, Associated Press (25 July 2008). 284 "Peace vigil, black magic and sabre-rattling over a temple", The Star Online (9August 2008). 285 "When Cambodia cries wolf", The Nation (1August 2008). 286 "Thais accused over new temple row", BBC News (03August2008). 287 “Thai troops occupy 2nd temple on Cambodian border”, Associated Press (3 August 2008). 288 “Editorial”, The Nation (5 August 2008), Volume 33, No 51950. 80

ตอมาสํานักขาวเอพีระบุวา กัมพูชาไดยื่นขอเรียกรองใหไทยถอนทหารออกจากปราสาทตาโมนธม แตฝายไทย โดยพลเอกอนุพงษ เผาจินดายืนยันวาปราสาทนี้ตั้งอยูในเขตไทย อยางไรก็ตามในวัน ตอมามีรายงานวาทั้งไทยและกัมพูชาไดถอนกําลังออกจากปราสาทตาเมือนธมแลว 289 สวนใน การประชุมที่จังหวัดสุรินทร ทหารกัมพูชาและไทยไดตกลงกันวาจะเริ่มถอนทหารที่ตรึงกําลังที่ ชายแดนดานปราสาทพระวิหารอยางเปนขั้นเปนตอน โดยจะเริ่มจากกองกําลังที่ประจําในวัดแกว สิกขาคีรีสวรากอน 290 แตก็ยังระบุไมไดวาจะถอนออกมาหมดเมื่อไร 291 ดานนายฮุนเซ็นได ออกมาปรามผูที่เผยแพรใบปลิวตอตานสินคาไทยในกัมพูชา วาจะกระทบตอเศรษฐกิจเพราะไทย และกัมพูชาจะตองอยูรวมกันอีกยาวเปนพันเปนหมื่นปตามรายงานของสํานักขาวเอพี 292 ซึ่งสอดคลองกับรายงานของสํานักขาวรอยเตอรส:293 หนังสือพิมพThe Nation ไดตั้งขอสังเกตวาวานายสมัคร สุนทรเวชเริ่มวาระดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรีหลังจากพรรคพลังประชาชนชนะการเลือกตั้ง อยางไรก็ตามรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวชอยูในตําแหนงไดเพียง 6 เดือน 19 วัน แตนาสังเกตวา“มีผูดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศถึง 3 คน คือนายนพดล ปทมะ นายเตช บุนนาค และนายสาโรจน ชวนะวิรัช” 294 ยิ่งไปกวานั้น ธงชัย วินิจจกูล ไดวิเคราะหวา กรณีนี้สะทอนถึงความไมมีเสถียรภาพ ของรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งแตตองมาเผชิญกับความขัดแยงอยางรุนแรงทางการเมือง แมวา รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช ไดพยายามใชนโยบายทางการทูตฟนฟูความสัมพันธกับกัมพูชาโดย อนุมัติใหกัมพูชากูเงินเพื่อสรางถนนเพื่อสนับสนุนการทองเที่ยว และใหโอกาสกัมพูชาขึ้นทะเบียน เฉพาะตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก แตกลับถูกกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กลาวหารัฐบาลนายสมัครวามีพฤติการณที่สอทุจริตหลายอยาง โดยเฉพาะอยางยิ่งการยอมให กัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเปนมรดกโลกแตเพียงฝายเดียว295 นอกจากนี้การที่ ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันทใหนายสมัครพนจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีเนื่องจากไปจัดรายการ ‘ทําอาหารทางโทรทัศน’ นั้นไดกลายเปนขาวพาดหัวไปทั่วโลก กอใหเกิดกระแสวิพาษวิจารณอยาง

289 "Thai-Cambodia troops withdraw from second disputed temple", AFP (7 August 2008). 290 “Cambodia and Thailand to begin troop redeployment”, Associated Press (14 August 2008) 291 “Thai, Cambodian troops leaving disputed territory”, Associated Press (16 August 2008) 292 “Cambodia stresses peaceful solution with Thailand”, Associated Press (6 August 2008) 293 “Cambodian PM says Thai temple row must be resolved”, Reuters (6 August 2008) 294 “Foreign Minister Tej resigns”, The Nation (4 September 2008) 295 Tongchai Winichakul, “Preah Vihear Can Be Time Bomb”, The Nation (30 June 2008). 81

กวางขวาง เชน จากนิตยสาร TIME 296 ตลอดจนจากหนังสือพิมพ The Gurdian 297 และจาก หนังสือพิมพ Nation New York Times 298 เปนตน นอกจากนี้มีการวิเคราะหวา ฝายตอตาน รัฐบาลนายสมัครสามารถใชประเด็นการใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารแตผูเดียว มา ปลุกกระแสชาตินิยม เพื่อโคนลมรัฐบาลสมัคร 299 สอดคลองกับขอสังเกตุของพวงทอง ภวัครพันธุ ที่วา การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกไดกลายมาเปนประเด็นใหกลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยใชโคนลมรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช ซึ่งถูกกลาวหาเปนตัวแทน นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ผูซึ่งกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดเคลื่อนไหวตอตาน เรียกรองใหทหารทํารัฐประหารโคนในปค.ศ. 2006 300

ในสมัยรัฐบาลของนายสมชาย วงศสวัสดิ์ (18 กันยายน ถึง 16 ธันวาคม ค.ศ.2008)

สํานักขาวบีบีซีรายงานวา เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท วินิจฉัยใหนายสมัคร สุนทร เวชพนจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีพรรคพลังประชาชนซึ่งเปนพรรครัฐบาลจึงได“นายสมชาย วงศ สวัสดิ์”เปนนายกรัฐมนตรีคนใหม 301 หลังจากนั้นไมนานใน วันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 2008 ก็ไดเกิด การปะทะกันขึ้น บริเวณเขาพระวิหารดานภูมะเขือ(พนมทรับ)ทางดานตะวันตกของปราสาทพระ วิหารมีผลใหทหารไทยบาดเจ็บ 2 คน ทหารกัมพูชาบาดเจ็บ1 คน โดยตางฝายตางกลาวหาวาแต ละฝายรุกล้ําแดนของตน302 อีกสามวันตอมาสํานักขาวเอพีรายงานวาในวันที่ 6 ตุลาคม มีทหาร

296 Hannah Beech, “Thai PM Ousted over Cookery Shows”, TIME (9 September 2008). 297 Ian MacKinnon,“Court rules Thai prime minister must resign over cookery show”, The Guardian (9 September 2008). 298 Seth Mydans, “Thai Court Forces Premier From Office Over TV Cooking Show”, New York Times (9 September 2008). 299“Waging Peace: ASEAN and the Thai-Cambodian Border Conflict”, Crisis Group (6 December 2011), p.2. 300 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 3. 301 “Thai MPs elect new prime minister”, BBC News (17 September 2008). 302 “Cambodian, Thai troops said hurt in border clash”, Associated Press (3 October 2008). 82

ไทยจํานวน 2 คนเหยียบทุนระเบิดทําใหขาขาดและบาดเจ็บสาหัส303 ระหวางวันที่ 7 ตุลาคม ถึง 13 ตุลาคม นายสมพงษ อมรวิวัฒน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไดพยายามหารือ นายกฮุนเซ็นซึ่งยื่นคําขาดใหไทยถอนทหารภายใน 13 ตุลาคม หรืออยางชาในวันรุงขึ้น ฝายไทย ตองรับประกันวาจะไมใหกองกําลังเผชิญหนากันและยุติการปรับเปลี่ยนกําลังภายในพื้นที่วัดแกว สิกขาคีรีสวาระและพื้นที่ดานลางโดยใหคงกําลังไว 10-20 นายเทานั้น ดานนาย ฮอรนัมฮง รอง นายกรัฐมนตรีก็ขูวา หากหาทางออกระดับทวิภาคีไมได จะหาทางออกกับศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ 304 ตอมาสํานักขาวเอพีรายงานวานายฮุนเซ็นไดเลื่อนกําหนดเสนตายเปนภายในเที่ยง วันของวันที่14 ตุลาคมโดยอางวาทหารไทยไดรุกล้ําเขาไปลานอินทรีย (Veal Entry) และประกาศ กราววาลานอินทรียจะกลายเปนสนามรบหากไทยไมถอนกําลังออกจากพื้นที่305 คําขูของนายฮุนเซ็นไรผลโดยในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 2008 สํานักขาวรอยเตอรสรายงาน วากองกําลังไทย-กัมพูชามีการปะทะกันอีกที่บริเวณพื้นที่ทับซอนใกลชายแดนดานปราสาทพระ วิหาร306 สํานักขาวเอพีย้ําวาการปะทะครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจากนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นไดยื่นคําขาดให ไทยถอนทหารออกจากพื้นที่พิพาท307 ทั้งนี้นายฮอรนัมฮงแถลงวาทหารกัมพูชาตาย 2 นาย บาดเจ็บ 2 นาย308 ตอมา ฝายกัมพูชาอางวาจับทหารไทยได 10 นายแตฝายไทยปฏิเสธ อยางไรก็ 309 นอกจากนี้กระทรวงการตางประเทศไทยไดจัดเตรียมเครื่องบิน C-130 สําหรับอพยบชาวไทย 1,000 คนในกรุงพนมเปญและ 500 ในเสียมเรียบ ออกจากกัมพูชาและมีการเตรียมพรอม เครื่องบินตอสูอากาศยานเพื่อสนับสนุนทหารบก เครื่องบินตอสูอากาศยานของไทยเตรียมพรอม หากกรณีพิพาทรุนแรงขึ้น 310 ดานนายกรัฐมนตรีสมชายของไทยเนนวาไทยจะใชวิธีการสันติวิธี

303 “Landmines wound Thai soldiers on Cambodian border”, Reuters (6 October 2008) 304 “ฮอรนัมฮงชี้กัมพูชาจะยื่นฟองตอศาลโลกหาก“หากการเจรจาระดับทวิภาคีลมเหลว”, วิทยุเอเชียเสรี (14 ตุลาคม 2008) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554 305 “Thai troops deployed to cope with Cambodian threat”, AP (14 August 2008). 306 “Fighting breaks out on Thai-Cambodian border”, Reuters (15 October 2008). 307 “War rhetoric heats up in Thailand-Cambodia spat”, Associated Press (15 October 2008). 308 “Thai, Cambodian troops clash on border, two killed”, Reuters (15 October 2008). 309 “Cambodia says it has captured 10 Thai soldiers”, Reuters (15 October 2008) 310 “Thai puts jet fighters on alert in Cambodia spat”, Associated Press (15 October 2008). 83

และการเจรจาตอรองกับกัมพูชา แตสํานักขาวเอพีใหขอมูลวานายกรัฐมนตรีสมชายก็กําลังถูก กดดันอยางหนักจากฝายตอตานในไทยที่กําลังบีบใหเขาลาออก311 หลังจากมีการปะทะกันที่ภูมะเขือเมื่อ 15 ตุลาคม ค.ศ.2008 ไดมีการหารือเพื่อปองกันการ ปะทะกัน อาทิ เชน การประชุมระดับกองกําลังสวนหนาโดยผบ.กองกําลังสุรนารีฝายไทย และผบ. กองพลนอยที่ 43 ของกัมพูชา312 ในวันเดียวกันก็มีการประชุมระดับสูงโดย พลโทวิบูลศักดิ์ หนี พาล แมทัพกองทัพภาคที่ 2 ของไทยเจรจากับ พลโท เจียมอน ผูบัญชาการภูมิภาคทหารที่ 4 ของ กัมพูชาที่หองประชุมศูนยบริการนักทองเที่ยวอุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร313 ทั้งสองฝายยืนกราน จะตรึงกําลังไวเหมือนเดิม314 โดยไทยจะคงกําลัง 10 นายประจําการอยูในวัดแกวสิกขาคีรีสวาระ และอีก 20 นายประจําการอยูดานลางตามเดิม ฝายกัมพูชาก็อางวาจะถอนออกจากพื้นที่ไดอีก เพียงเล็กนอย 315 แตไดตกลงกันวาจะมีการลาดตระเวณรวมกันที่ลานอินทรีย ภูมะเขือและวัดแกว สิกขาคีรีสวาระ 316 ซึ่งแมการประชุมจะไมคืบหนาแตการประชุมระดับสูงโดย พลโทวิบูลศักดิ์ หนี พาล แมทัพกองทัพภาคที่ 2 ของไทย และ พลโท เจียมอน ผบ.ภูมิภาคทหารที่ 4 ของกัมพูชาก็ สามารถหยุดยั้งการปะทะไดในระดับหนึ่ง 317 โดยเฉพาะนายฮุนเซ็นไดเปลี่ยนทาทีมาปลุกปลอบ ประชาชนใหสบายใจวาจะไมเกิดสงครามอยางแนนอนตามรายงานของหนังสือพิมพภาษาอังกฤษ The Cambodian Daily 318 นอกจากนี้มีรายงานวาพลโทเสรย เดิก และ พันเอก ชยันต หวยสูงเนิน

311 “Thai troops deployed to cope with Cambodian threat”, Associated Press (14 October 2008). 312 “Small step in Thai-Cambodia talks”, BBC News (16 October 2008). 313 สยามจดหมายเหตุ 33, ตุลาคม พ.ศ. 2551, น.1305. 314 “ทหารกัมพูชา-ไทยจะไมถอนกําลังออกจากพื้นที่พิพาทชายแดน”, วิทยุเอเชียเสรี (17 ตุลาคม 2008), อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554, 315 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554), น. 55. 316 “การเจรจาระดับภูมิภาคระหวางไทย-กัมพูชา ไดรับผลคอนขางนาพอใจ”, กัมพูชาใหม (17 ตุลาคม 2008) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554 317 “Thai Cambodian armies keep guns drawn”, Reuters (17 October 2008) 318 “Hun Sen Moves To Ease Fears Over Preah Vihear Conflict”, Cambodian Daily (22 October 2008). 84

ไดรวมกันตรวจแถวทหารและหารือกันอีกเพื่อใหมีการหยุดยิงอยางแทจริง ตลอดจนรับประทาน อาหารรวมกันบนโตะไมไผ 319 นอกจากนี้นายสมชาย วงศสวัสดิ์ยังไดหารือกับนายกรัฐมนตรีฮุน เซนของกัมพูชาที่กรุง ปกกิ่ง ในระหวางการประชุมสุดยอดเอเชีย-ยุโรป(ASEM Summit)) ครั้งที่ 7 320 ทั้งนี้ไทยเห็นดวย กับขอเสนอของกัมพูชา 4 ขอ321 คือ จะลดการเผชิญหนาและจะใชกลไกทวิภาคีในการแกปญหา ตลอดจนจะสานตอความรวมมือและพัฒนาความรวมมือใหมๆและจะรวมมือกันในกรอบอนุ ภูมิภาคและกรอบภูมิภาคตางๆ322 อยางไรก็ตามสถานการณยังไมดีขึ้น ดังจะเห็นวากระทรวงการ ตางประเทศไทยไดทําการประทวงกัมพูชาอีก ดังนี้ กรณีชาวกัมพูชาและเจาหนาที่ยูเนสโก เดิน ทางผานไทยเพื่อเขารวมพิธีปกธงบริเวณปราสาทพระวิหารและพื้นที่ใกลเคียงโดยมิไดขออนุญาต ทางการไทย ตลอดจนการตั้งเสาธงชาติกัมพูชาและธงยูเนสโกและ การติดตั้งปายบริเวณแนว บันไดปราสาทพระวิหาร รวมทั้งกรณีกัมพูชานําพระสงฆ เณร และประชาชนชาวกัมพูชา เขารวม พิธีทอดกฐิน ณ วัดแกวสิกขาคีรีสวารา323 ในสวนของการเมืองภายในกัมพูชามีรายงานวา หลังจากปะทะกับไทย รัฐบาลกัมพูชาไดถือโอกาส “เพิ่มงบประมาณทหาร” ในปค.ศ. 2009 ขึ้นอีก สองเทาเปน 500 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งคิดเปนรอยละ 25 ของงบประมาณทั้งหมดของประเทศ กัมพูชา สํานักขาวรอยเตอรสไดคาดการณวา การเพิ่มงบประมาณทหารของรัฐบาลฮุนเซ็นใน ลักษณะนี้ อาจมีผลทําใหประเทศผูบริจาคเงินใหแกกัมพูชาจะเกิดความไมพอใจขึ้นได 324 ในประเทศไทยหนังสือพิมพ The Guardian ระบุวา กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยไดบุกยึดทาอากาศยานดอนเมืองและสุวรรณภูมิ ตั้งแต 25 พฤศจิกายนถึง 3 ธันวาคม ค.ศ.2008 ดวยความหวังวาจะยั่วยุทหารใหทํารัฐประหาร325 ระหวางการบุกยึดทา อากาศยานสุวรรณภูมินายกษิต ภิรมยไดกลาวปราศรัยวา“จะเอาเลือดฮุนเซ็นมาลางเทา”ซึ่งเปน

319 “Thai, Cambodian army officers discuss border truce”, Associated Press (18 October 2008). 320 “Thai PM seeks direct talks over Cambodia border row”, Reuters (18 October 2008). 321 สยามจดหมายเหตุ 33, ตุลาคม พ.ศ.2551:1306 322 “Thai PM seeks direct talks over Cambodia border row”, Reuters (18 October 2008) 323 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554), หนา 44. 324 “Cambodian doubles military budget after Thai clash”, Reuters (29 October 2008). 325 “Rioting protesters close Bangkok airport”, The Guardian (26 November 2008). 85

การฟนประวัติศาสตรที่พระนเรศวรของสยามเอาเลือดของพระยาละแวกมาลางพระบาท”326 ตอมาในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ.2008 ศาลรัฐธรรมนูญไดมีคําวินิจฉัยคดียุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย ในบทบรรณาธิการของ TheWashington Post ก็ได สรุปวาในที่สุดกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยก็สามารถโคนรัฐบาลสมชายไดเพิ่มอีก หนึ่งรัฐบาล หลังจากที่ไดโคนรัฐบาลนายสมัครมาแลวเมื่อ 3 เดือนกอน 327

ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (17 ธันวาคม 2008 ถึง 4 สิงหาคมค.ศ. 2011)

รัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะขึ้นสูอํานาจโดยไมไดชนะการเลือกตั้ง เนื่องจากพรรค การเมืองที่เคยรวมรัฐบาลเดิมไดเปลี่ยนขั้วมาสนับสนุนพรรคประชาธิปตยขึ้นเปนแกนนําในการ จัดตั้งรัฐบาล328 ทั้งนี้พรรคประชาธิปตยมิไดปกปดวามีความสัมพันธใกลชิดกับกลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยซี่งเปนแกนนําในการโคนรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตรจนนําไปสูการ รัฐประหารโดยเฉพาะอยางยิ่งการแตงตั้ง นายกษิต ภิรมย ผูสนับสนุนการยึดสนามบินอยางออก หนาออกตา 329 จึงมีผลใหกลุมที่สนับสนุนรัฐบาลสมัคร และรัฐบาลสมชายจากพรรคพลัง ประชาชน ทําการชุมนุมประทวงตอตานรัฐบาลอภิสิทธิ์ ทันทีที่ขึ้นสูตําแหนง ทั้งนี้ กองทัพไทยก็ถูก กลาวหาวาอยูเบื้องหลังการยุบพรรคพลังประชาชน และการจัดตั้งรัฐบาลผสมที่นําโดยพรรค ประชาธิปตย 330 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะที่มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ชื่อ นาย กษิต ภิรมยนั้น ความสัมพันธระหวางไทยกับกัมพูชาไดตกต่ําถึงขีดสุด ดังจะเห็นวาในโอกาสมา เปนประธานในพิธีเปดอาคารศาลากลางจังหวัดอุดรเมียนเจย นายฮุนเซ็นประกาศวาตองการพบ

326 Pavin Chachavalpongpun, "Glorifying the Inglorious Past: Historical Overhangs in Thai-Cambodian Relations", paper presented at Historical Overhangs in East Asian International Relations Workshop, Jeju Peace Institute, April 21–22, 2010. 327 “Thailand's People's Alliance for Democracy Ousts Another Government”, The Washington Post (4 December 2008). 328 Emma Chanlett-Avery, “Thailand: Background and U.S. Relations”, Congressional Research Service (8 February 2011). 329 “Profile ”, BBC (17 March 2010) 330 “State of emergency in Thailand as second airport stormed”, The Telegraph (27 Nov 2008). 86

นายกรัฐมนตรีคนใหมของไทย 331 อยางไรก็ตามมีการเจรจาในระดับทวิภาคีระหวางนายกษิต ภิรมย และนายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ332 ทั้งนี้ทั้งสองฝายเห็นชอบให มีการปรับลดกําลังทหารอยางเรงดวนที่บริเวณวัดแกวสิกขาคีรีสวาระและใหมีการกําหนดกรอบ การประชุมรวมไทย-กัมพูชาระหวางการประชุมอาเซียนครั้งที่ 14 ที่ไทยเปนเจาภาพ 333 นอกจากนี้ยังจัดใหมีการประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย-กัมพูชา (JBC) ที่กรุงเทพโดยประธานฝายไทย คือ นายวศิน เวชธีรญาณ สวนฝายกัมพูชาคือ นายวา กึมฮง แต การประชุมไมมีความคืบหนาเนื่องจากไมอาจตกลงกันไดในเรื่อง ชื่อปราสาท โดยฝายไทยเสนอให ใชชื่อ ปราสาทพระวิหาร(Phra Viharn) ตามการออกเสียงในภาษาไทย สวนกัมพูชาก็ยึดมั่นใน จุดยืนของตนที่จะรับเฉพาะชื่อตามภาษาเขมร คือ Preah Vihear 334 ยิ่งไปกวานั้นการประชุมครั้ง นี้ยังไมมีขอสรุปที่จะปรับลดกําลังทหารออกจากพื้นที่ 4.6 ตารางกม. นาสังเกตวาตอมา นายวศิน เวชธีรญาณได “ถูกบีบใหลาออก”จากตําแหนงประธาน JBC ฝายไทย 335 สวนการ หารือระหวางพลเอกประวิตร วงศสุวรรณ รัฐมนตรีกลาโหม กับพลเอก เตียบัญ รองนายก และ รัฐมนตรีกลาโหม ก็ไมมีความคืบหนา เพียงแตไดมีมติเห็นชอบใหมีการผลักดันกลไกระดับทวิภาคี เพื่อหาทางออกปญหาชายแดนไดพียงประเด็นเดียวเทานั้น 336 ดานนายอภิสิทธิ์และนายฮุนเซ็นได หารือนอกรอบในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนและตกลงรวมกันที่จะยึดหลักการใน“ขอตกลง MOU ป 2000”และจะใชกลไกที่มีอยูเดิมนี้เปนกรอบในการเจรจา 337

331 “ฮุนเซ็นประกาศลั่นอยากพบนายกใหมของไทยเพื่อถกปญหาชายแดน”, รัศมีกัมพูชา (21 มกราคม 2009), อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 332 “รัฐมนตรีตางประเทศกัมพูชา-ไทย พบเจรจาปญหาชายแดน”, วิทยุเอเชียเสรี (26 มกราคม 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554 333 สยามจดหมายเหตุ 34, มกราคม พ.ศ. 2552 : 17 334 “การเจรจาปญหาพิพาทชายแดนไทย-กัมพูชา ยังหาขอสรุปรวมกันไมได”, เกาะสันติภาพ (4 กุมภาพันธ 2009), อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 335 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554), น. 58. 336 “รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชา-ไทยทําไดเพียงแคผลักดันใหสานตอกลไกระดับทวิภาคีเพื่อหาทาง ออกปญหาชายแดน”, วิทยุเอเชียเสรี (7 กุมภาพันธ 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554 . 337 “ ผูนํากัมพูชา-ไทยเห็นชอบรวมกันใหในการหาทางออกปญหาพิพาทชายแดนโดยใชขอตกลงป 2543”, รัศมีกัมพูชา (1 มีนาคม 2009), อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554 . 87

กอนการปะทะในวันที่ 3 เมษายน ค.ศ.2009 นั้น ฝายไทยไดประทวงการกอสรางและ พัฒนาถนนจากฝงกัมพูชาขึ้นสูปราสาทพระวิหารถึงบริเวณวัดแกวสิขาคีรีสะวารา และประทวง การกอสรางหองน้ําและอาคารบริเวณวัดแกวสิขาคีรีสะวารา 338 สวนกัมพูชากลาวหาวาทหารไทย จํานวน 100 นายไดรุกล้ําเขามาในแดนกัมพูชาใกลกับพื้นที่ทับซอนใกลปราสาทพระวิหารซึ่งเคยมี การปะทะกันเมื่อปที่แลว ทั้งนี้นายพาย สีพัน (Phay Siphan)โฆษกคณะรัฐมนตรีกัมพูชาอางวา ทหารไทยอาวุธครบมือจํานวน 100 นายไดรุกล้ําเขามาในแดนกัมพูชาประมาณครึ่งไมล (1 กม.) ทางตะวันตกของปราสาทพระวิหาร ทหารกัมพูชาจึงไดตรึงกําลังขัดขวาง แตไมมีการปะทะ 339 อยางไรก็ตามในวันเดียวกัน พันเอกพิชิต นาคอรุณ ไดแจงผูสื่อขาวเอพีปฏิเสธวาทหารไทยไดขาม พรมแดนและรุกล้ําดินแดนตามคํากลาวหาของกัมพูชา 340 แมจะมีการพยายามเจรจาระดับสูงเพื่อ จะคลี่คลายสถานการณ แตทวาก็มีเหตุการณปะทะตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชาในพื้นที่ใกล ปราสาทพระวิหาร 341 สํานักขาวเอพีรายงานวาทั้งสองฝายไดมีการปะทะกันอีกโดยตางกลาวหากันวาเปนฝาย เปดฉากกอนและตางยิงจรวดเขาใสกันจนบาดเจ็บลมตายทั้งสองฝาย ฝายกัมพูชาโดยนายเขียว กันหาริท รัฐมนตรีกระทรวงขาวสารของกัมพูชาอางวามีทหารไทยตาย 4 คน และอีก 10 นายถูก กัมพูชาจับเปนเชลย 342 สํานักขาวรอยเตอรสรายงานวานายฮุนเซ็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชาไดย้ําวา การปะทะกันครั้งนี้เปนเพียงเหตุการณธรรมดาที่จะไมลุกลามกลายเปนสงครามอยางแนนอน 343 สํานักขาวเอพีรายงานวา เหตุเกิดเพราะทหารไทยไดรุกเขามาในพื้นที่กัมพูชาที่มีกับระเบิดฝงอยู หนาแนน และเมื่อทหารกัมพูชาเตือนใหระวังก็ไมยอมถอนกลับ ดานทหารไทยปฏิเสธวาไมไดรุกล้ํา แดนและกัมพูชาเปนฝายเปดฉากยิงกอน ทั้งนี้พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร รองแมทัพภาคระบุวา ทหารไทยตาย 3 บาดเจ็บ 12 คน 344 กอนหนานี้หนึ่งวัน คือ เมื่อ 2 เมษายน มีทหารไทยเหยียบกับ ระเบิดขณะออกไปลาดตระเวณในเสนทางประจําที่ หวยตามาเรีย บริเวณภูมะเขือ เมื่อกลุมทหาร

338 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554),หนา 44. 339 “Thai soldiers enter Cambodia near disputed temple”, Associated Press (25 March 2009). 340 “Cambodia: Thai troops crossed border; Thais deny”, Associated Press (25 March 2009). 341 “Thai, Cambodia troops exchange fire on disputed border”, Reuters (2 April 2009) 342 “Cambodian, Thai troops exchange fire at border”, Associated Press (3 April 2009) 343 “Cambodia PM says Thai border conflict“not a war” ”, Reuters (4 April 2009) 344 “Cambodian PM downplays clashes on Thai border”, Associated Press (4 April 2009) 88

ไทยจะเขาไปชวยเหลือจึงถูกทหารกัมพูชายิงใส หลังจากนั้นจึงมีการยิงตอสูกัน345 สงผลให ทหารไทยเสียชีวิต 2 คน และบาดเจ็บ 7 คน สวน ฝายกัมพูชาเสียชีวิต 2 คนและบาดเจ็บอีก จํานวนหนึ่ง ทั้งนี้ ทั้งสองฝายได ยื่นหนังสือประทวงตอเหตุการณที่เกิดขึ้นตอกัน 346 ทั้งนี้ทางการ กัมพูชาอางวาทหารไทยกวา 100 นายไดรุกล้ําเขามาในดินแดนกัมพูชา ในวันเดียวกันนายฮุนเซ็น ไดขูไทยเปนครั้งที่ 2 วา หากไทยบุกรุกเขามาอีกในดินแดนกัมพูชา กัมพูชาจะตอบโตทันที 347 นอกจากนั้นกัมพูชายังอางวา หินจํานวน 66 กอนที่ตัวปราสาทพระวิหารไดรับความเสียหายจาก อาวุธที่ฝายไทยยิงเขามา 348 และอางคําพูดของพลเอกประวิตร วงษสุวรรณวา การปะทะกันครั้งนี้ เปนเพียง “อุบัติเหตุไมใชสงคราม” 349 สืบเนื่องจากการปะทะครั้งนี้ ฝายกัมพูชายังไดมีหนังสือถึงสํานักงานใหญยูเนสโก (UNESCO) กรุงปารีส โดยรองเรียนวา ฝายไทยได กระทําการอันกอใหเกิดความเสียหายตอตัว ปราสาทพระวิหารและทําใหเกิดไฟไหม ชุมชน ตลาด ในพื้นที่ดานลางของปราสาทพระวิหารอีก ดวย และขอใหยูเนสโกเขามา แกไขปญหาในเรื่องนี้อยางเรงดวนในฐานะที่ปราสาทพระวิหารเปน มรดกโลก350 นอกจากนี้กัมพูชาโดยนายวากึมฮง (Var Kimhong) ไดกลาวหาไทยวาไมเคารพ MOU ปค.ศ. 2000 ที่วาไมใหกองกําลังทั้งสองฝายอยูบริเวณรอบปราสาท 351 อนึ่ง MOU ปค.ศ. 2000 นี้เปนชื่อยอของบันทึกความเขาใจระหวางไทยกับกัมพูชาวาดวยการสํารวจและจัดทําหลัก เขตแดนทางบก ซึ่งลงนามโดย มรว.สุขุมพันธ บริพัตร รัฐมนตรีวาชวยการกระทรวงการ ตางประเทศในสมัยรัฐบาลชวน หลีกภัย 352 อนึ่งในการประชุมคณะกรรมาธิการชายแดนทั่วไป ไทย-กัมพูชา (GBC) ที่มีพลเอกประวิตร วงศสุวรรณ รัฐมนตรีกลาโหม กับพลเอก เตียบัญ

345 สยามจดหมายเหตุ 34, เมษายน 2552:383 346 กระทรวงการตางประเทศ, ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร, มีนาคม 2552. 347 “Troops from Thailand and Cambodia fight on border”, TheTelegraph (3 April 2009). 348 "Preah Vihear Damage Significant", The Phnom Penh Post (8 April 2009). 349 “ประวิตร วงษสุวรรณวา ‘เปนเพียงอุบัติเหตุ ไมใชสงคราม’, เกาะสันติภาพ (3 เมษายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 350 กระทรวงการตางประเทศ, ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร, มีนาคม 2552. 351 “การประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมกัมพูชา-ไทย”, เกาะสันติภาพ (7 เมษายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 352 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556) , น.64. 89

รองนายก และรัฐมนตรีกลาโหมรวมเปนประธาน เมื่อ 28-29 เมษายนที่จังหวัดเสียมราฐก็ยังไมมี ฝายใดยอมถอนกําลังออกจากวัดแกวสิกขาคีรีสวาราจนกวาจะชัดเจนวา พื้นที่บริเวณวัดเปนของ ฝายใด ดังนั้นจึงจะตองรอผลการเจรจาของคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย-กัมพูชา(JBC) เสียกอนเพื่อสามารถกําหนดไดวา “เขตแดนไทยและกัมพูชาอยูที่ไหน”353 ทามกลางสถานการณ ตึงเครียด นายกอภิสิทธิ์เยือนกัมพูชาเมื่อ 12 มิถุนายนค.ศ. 2009 เพื่อหารือทวิภาคีกับนายฮุนเซ็น โดยไดตกลงรวมมือกับไทยหลายดาน อาทิ การสรางถนนเชื่อมกัมพูชา-ไทยซึ่งไทยจะสนับสนุนเงิน ชวยเหลือ การเจรจาพื้นที่ทับซอนทางทะเล โครงการสรางเขื่อนสะตึงนัมในกัมพูชา การทองเที่ยว และการแกปญหาชายแดนอยางสันติวิธี ตลอดจนการที่นายอภิสิทธิ์กับนายฮุนเซ็นรวมกันเปนสักขี พยานในการสงมอบวัตถุโบราณคืนใหกัมพูชาจํานวน 7 ชิ้น ประกอบดวยเศียรเทวดา 1 ชิ้น และ เศียรอสูร 6 ชิ้น 354 ในปค.ศ. 2009 นี้ยังมีกรณีที่ไทยไดขูจะถอนตัวจากคณะกรรมการมรดกโลก สมัยที่ 33 ที่ เมืองเซวีญาประเทศสเปนระหวาง 22-30 มิถุนายน ค.ศ.2009 ฝายประเทศไทยซึ่งมีนายสุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนหัวหนาคณะผูแทนไทย ไดยื่นหนังสือคัดคานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการมรดกโลก วาไมเปนไปตามธรรมนูญของ สหประชาชาติ 355 ประเด็นนี้ทําใหสถานการณความขัดแยงระหวางกัมพูชาและไทยมีแนวโนมวา จะรุนแรง นายกฮุนเซ็นมีทาทีแข็งกราวทั้งไดขูวาจะยิงเครื่องบินไทยหากบินล้ําเขามาในดินแดน กัมพูชา356 สวนฝายไทยคัดคานการที่มี คนกัมพูชาเขามาสรางตลาดใกลบริเวณพื้นที่ทับซอน 4.6 ตร.กม.โดยไทยกลาวหากัมพูชาวาละเมิดขอตกลง แตกัมพูชาโตกลับวา ตลาดแหงนี้ไดเกิดขึ้น กอนที่จะมีขอตกลง 357 ทั้งสองฝายมีการเสริมกําลังทหารและอาวุธตามแนวชายแดน358 ผูวิจัยได

353 “การประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมกัมพูชา-ไทย เสร็จสิ้นแลว”, รัศมีกัมพูชา (30 เมษายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 354 สยามจดหมายเหตุ 34, มิถุนายน 2552 : 661 355 “สุวิทยของขึ้นจวกบัวแกว ปูดถอนตัว กก.มรดกโลก”, ไทยรัฐออนไลน (28 มิถุนายน 2554). 356 “Hun Sen warned that he’ll have Thai airplanes trespassing into Cambodian airspace shot down”, Rasmei Kampuchea Newspaper (1 July 2009). 357 “ถาจะเจรจาใหเลิกสรางตลาดแลวก็ไมจําเปนตองคุย”, รัศมีกัมพูชา (5 สิงหาคม 2009) , อาง ใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 358 “ไทย-กัมพูชาเสริมกําลังตามแนวชายแดน”, กัมพูชาใหม (12 สิงหาคม 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 90

พบวาประเด็นความขัดแยงอันหนึ่งคือ“ปญหาการตีความวาพรมแดนของตนอยูที่ไหน” ในขณะที่ ฝายไทยตีความวามีพื้นที่ทับซอน 4.6 ตร.กม. แตกัมพูชากลับมองวาพื้นที่ทับซอนทั้งหมดเปนของ กัมพูชา โดยเฉพาะนายกฮุนเซ็นปฏิเสธกราววาไมมีพื้นที่ทับซอน 4.6 ตร.กม.กับสยาม 359 นอกจากนี้ยังมีขาวการปะทะกันที่อําเภอกันทราลักษณจังหวัดศรีสะเกษระหวางชาวบาน ซึ่งไมเห็นดวยกับกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่เดินทางมาทวงปราสาทพระวิหารคืน จากกัมพูชา สวนที่อําเภอภูมิซรอลจังหวัดศรีสะเกษใกลปราสาทพระวิหาร ในวันที่19 กันยายน ค.ศ.2009 กลุมผูชุมนุมพยายามฝาดานเจาหนาที่ขึ้นไปอานแถลงการณบนผามออีแดง เพื่อทวง คืนที่ดินบริเวณโดยรอบพระวิหารใหได ซึ่งลาสุดมีรายงานวาทหารเตรียมประกาศกฎอัยการศึก รอบพื้นที่ 360 ทั้งนี้นายวีระ สมความคิดผูนํากลุม ไดอานแถลงการณวา จะอยูจนกวารัฐบาลมี มาตรการที่ชัดเจนออกมาผลักดันชาวกัมพูชาที่รุกล้ํา อธิปไตยออกไป เมื่อนั้นผูชุมนุมจึงจะยอม กลับ 361 ตอมามีรายงานวา กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเปดศึกปะทะกับ ชาวบาน ซึ่งระดมยิงหนังสติ๊กจนทําใหกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดรับบาดเจ็บ 1 ราย ตา ขวาแตก ขณะที่กลุมชาวบานถูกตีเขาใบหนา-ลําตัว ฟนหัก 362 นอกจากนี้ยังมีการรณรงคตอตาน นายอภิสิทธิ์ของกลุมเสื้อแดงในไทยซึ่งสนับสนุนทักษิณ ชินวัตร กลุมนี้ตอตานการรัฐประหารที่โคน รัฐบาลทักษิณ และตอตานการขึ้นสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีของนายนายอภิสิทธิ์มีทหารหนุน หลัง363 บริบททางการเมืองอีกประการหนึ่งที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทย-กัมพูชาในกรณีพระ วิหารในสมัยนายอภิสิทธิ์ คือ “กรณีที่กัมพูชาแตงตั้งพตท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีเปนที่ ปรึกษาดานเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา” 364 สํานักขาวเอพีระบุวาการตอสูขับเคี่ยวทางการเมือง ระหวางทักษิณและรัฐบาลอภิสิทธิ์ที่เพิ่งขึ้นสูอํานาจหลังจากการประทวงตอตานจนโคนรัฐบาล

359 “ฮุนเซ็นปฏิเสธกราววาไมมีพื้นที่ทับซอน 4.6 ตร.กม.กับสยาม”,รัศมีกัมพูชา (29 กันยายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 360 “ทหารเตรียมงัดกฎอัยการศึกตรึงพื้นที่เขาพระวิหาร”, กรุงเทพมหานครธุรกิจ (19 กันยายน 2009), อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 361 “วีระอยากประกาศเจตนารมณที่ผามออีแดง ลั่นปกหลักจนรบ.ไลเขมร”, มติชนออนไลน (19 กันยายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 362 “Thai leader calls for peace after activists’ clash”, Associated Press (20 September 2009). 363 “Thai leader calls for peace after activists’ clash”, Associated Press (20 September 2009) 364 “Ousted Thai PM rallies supporters to Cambodia”, Associated Press (13 November 2009). 91

สองรัฐบาลที่เปนพันธมิตรกับทักษิณทําใหประเทศไทยแตกแยกกันอยางราวลึก365 นอกจากนี้ กัมพูชายังยืนยันจะไมสงตัวพตท.ทักษิณ ชินวัตรคืนใหทางการไทย 366 คณะรัฐมนตรีไทยสมัยนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจึงมีมาตรการตอบโตกัมพูชาดวยการ เรียกเอกอัครราชทูตไทยประจําประเทศ กัมพูชากลับประเทศ เมื่อ 6 พฤศจิกายน ค.ศ.2009 367 อีกทั้งยังประทวงการที่กัมพูชาปฏิเสธการ สงตัวพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรใหทางการไทยในฐานะผูรายขามแดนที่หลบหนีคดีอาญาตาม หมายจับของศาล 368 นอกจากนี้ไทยยังตอบโตดวยการ ประกาศยกเลิกบันทึกความเขาใจไทย- กัมพูชา วาดวยพื้นที่อางสิทธิทับซอนทางทะเลในไหลทวีปหรือ MOU ป ค.ศ.2001 369 ซึ่งไดมีการ ลงนามโดยนายสุรเกียรติ เสถียรไทย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศในสมัยรัฐบาล ทักษิณ กรณีนี้ทําใหกัมพูชาไมพอใจเปนอยางมาก 370 โดยอางวา ไทยไมมีสิทธิแตผูเดียวในการ ยกเลิก MOU ป ค.ศ.2001 371 สถานการณความขัดแยงระหวางทั้งสองรัฐบาลในป ค.ศ.2009 ได รุนแรงถึงขั้นจะไมยอมพบปะหารือกันในการประชุมสุดยอดอาเซียน-สหรัฐที่สิงคโปร 372 มีรายงานวาศาลกัมพูชาไดตัดสินลงโทษจําคุกชายไทย 7 ปและปรับเปนเงิน 10ลานเรียล ($2,500 เหรียญสหรัฐ) ในขอหาจารกรรม กอนหนานี้ทางการกัมพูชาไดจับกุม นายศิวรักษ โชติ พงษ อายุ 31 ป เจาหนาที่ของศูนยบริการจราจรทางอากาศกัมพูชาเมื่อวันที่12 พฤศจิกายน ใน ขอหาขโมยขอมูลการบินของทักษิณไปใหกับสถานทูตไทย 373 ทั้งนี้พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีต

365 “Thailand Cambodia dispute Key points”, BBC (11 November 2009) 366 “เขมรย้ําชัด. ไมสงแมวใหไทย”, กัมพูชาใหม (4 พฤศจิกายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554 367 “Diplomatic spat over Thaksin role”, BBC (10 November 2009) 368 วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554). 369 “ไทยละเมิดกฎหมายระหวางประเทศ”, รัศมีกัมพูชา (7 พฤศจิกายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 370 “ไทยไมมีสิทธิแตผูเดียวในการยกเลิก MOU ป 2001”, เกาะสันติภาพ (9 พฤศจิกายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 371 “นักกฎหมายและนักประวัติศาสตรตางมึนงงกรณีไทยฉีก MOU ไทยไมมีสิทธิแตผูเดียวในการ ยกเลิก MOU ป 2544”, กัมพูชาใหม (9 พฤศจิกายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 372 “ไมนาจะมีโอกาสพบปะหารือกันระหวางฮุนเซ็น-มารคในการประชุมสุดยอดอาเซียน-สหรัฐที่ เมืองลอดชอง”, รัศมีกัมพูชา (12 พฤศจิกายน 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 373 “Cambodain court convicts Thai man of spying”, Associated Press (8 December 2009). 92

นายกรัฐมนตรีที่มีสัมพันธแนนแฟนกับกัมพูชาและพตท.ทักษิณ ชินวัตรสามารถเจรจาใหวิศวกรผูนี้ พนโทษได ในขณะที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะและนายกษิต ภิรมยไมสามารถทําได 374 เริ่มตนปค.ศ. 2010 ความขัดแยงระหวางไทย-กัมพูชาในกรณีพระวิหารในสมัยนาย อภิสิทธิ์ในป 2010 ยังคงดําเนินตอไป ทั้งนี้พลเอกเจีย ดาลา ผูบัญชาการสูงสุดที่รับผิดชอบ ชายแดนดานปราสาทพระวิหาร ไดยืนยันวา ทหารไทยล้ําแดนกัมพูชาเขาไปราว 200 เมตร ในเขต ชองเขาแหงหนึ่งหางจากปราสาทพระวิหารไปประมาณ 20 กิโลเมตร การปะทะกินเวลาสั้นๆฝาย กัมพูชาไมมีผูใดไดรับบาดเจ็บ ซึ่งกรณีนี้สํานักขาวซินหัวรายงานวา เนื่องจากเกิดการเขาใจผิดจึง ทําใหฝายกัมพูชารุกเขามาในแดนไทย และยิงระเบิดM79 และปนกลใสจนทหารไทยบาดเจ็บ 2 คน375 แตนาสังเกตวาไมมีรายงานเกี่ยวกับปฏิกิริยาจากฝายไทย นอกจากนี้ในเดือนกุมภาพันธ กัมพูชายังไดทําการประทวงกูเกิ้ลยักษใหญอินเตอรเนทวา แผนที่ของกูเกิ้ลระบุวาเกือบครึ่งของปราสาทพระวิหารตั้งอยูในเขตแดนไทย 376 ตอมากูเกิ้ลได ยอมรับในขอผิดพลาดและสัญญาวาจะแกไขแผนที่ตั้งปราสาทพระวิหาร ตามการประทวงของ ฝายกัมพูชาเนื่องจากเดิม กูเกิ้ลไดทําแผนที่ที่ยึดสันปนน้ํา แทนที่จะใช แผนที่ค.ศ.1907 ที่ศาลโลก ใชในการพิพากษาคดีใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา 377 กรณีนี้สะทอนถึงความชาญฉลาด ของฝายกัมพูชาในดานสื่อสารการเมืองเนื่องจากแผนที่ของกูเกิ้ลมีผูใชงานอยางกวางขวาง มีรายงานวาทหารไทยและกัมพูชาไดปะทะกันอีกในบริเวณพื้นที่ทับซอนทั้งสองฝาย กลาวหาวาอีกฝายหนึ่งเปนฝายเริ่มกอน แตไมมีรายงานวามีผูบาดเจ็บ ในการนี้นายเพช โสคิน ผูวาการจังหวัดโอดดารเมียนเจยระบุวามีการปะทะใกลจุดผานแดนที่โอสมัค เปนเวลา 15 นาที มี การใชอาวุธหนักรวมทั้งปนกลและจรวด ทั้งนี้นายพลเจีย ทารา รองผบ.สส.ระบุวาผบ.ทั้งสองฝาย ไดหารือกันและเจรจายุติการสูรบแลว 378 มีรายงานวา คณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโก ไดรับ “เอกสารแผนบริหารจัดการปราสาทพระวิหาร” จากรัฐบาลกัมพูชา และไดบรรจุเรื่องนี้เขาวาระการ ประชุมแลว กรณีนี้ทําใหกัมพูชาประกาศชัยชนะอีกครั้งในกรณีพระวิหาร แมวายูเนสโกจะไดเลื่อน การพิจารณาเรื่องนี้ไปประชุมในคราวตอไปก็ตาม 379 ตอมากลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ

374 “แมวและผูใหญจิ๋วจะตบหนารัฐบาลไทยในคดีวิศวกรไทย”, รัศมีกัมพูชา (8 ธันวาคม 2009) , อางใน วัชรินทร ยงศิริ, 2554. 375 Misunderstanding leads to Thai-Cambodian border clash: Thai, Cambodian armies", Xinhua (25 January 2010). 376 “Google enters fray in Thai-Cambodia border dispute”, Associated Press (10 February 2010) 377 “Google to review Cambodian map over Preah Vihear Temple”, Xinhua(10 February 2010). 378 “Cambodia, Thai soldiers exchange gunfire at border”, Associated Press (17 April 2010). 379 “Cambodia claims win in UNESCO tussle over temple”, Associated Press (30 July 2008) 93

ประชาธิปไตยขวาจัด ประมาณ 1,500 คนก็ไดออกมาทําการประทวงรัฐบาลนายอภิสิทธิ์อีก เพื่อ กดดันรัฐบาลไทยใหเรียกรองสิทธิ์เหนือพื้นที่รอบปราสาทใหได ดานนายฮอรนัมฮงไดออกมาตอบ โตวา“สายเกินไปแลวที่ไทยจะมายับยั้งการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก”และได ออกมา“ดับฝน”ของนายอภิสิทธิ์ที่จะมาเรียกรอง “ขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารรวมกับ กัมพูชา” ในเวลานี้ เขาย้ําวาขอใหไทย “หยุดเพอฝน” ไดแลว” 380 ในขณะที่กัมพูชาประกาศชัยชนะ ฝายไทยกลับเปนฝายเพลี่ยงพล้ําทางการเมือง เนื่องจากวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ.2010 เกิดกรณีนายพนิช วิกิตเศรษฐ พรอมกับพวกจํานวน 6 คน ถูกกัมพูชาจับในขอหาเดินทางขามพรมแดนโดยผิดกฎหมาย และรุกล้ําเขตพื้นที่ทับซอนไทย- กัมพูชา บริเวณหลักเขตแดนที่ 46 บานภูมิโจกเจย ตําบลโอเบยเจือน อําเภอโจรว จังหวัดบันเตีย เมียนเจย กรณีดังกลาวมีรายงานวานายพนิชไดรับมอบหมายจากอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีใหไปทําความเขาใจกับกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย แตการกระทํา ดังกลาวปราศจากการประสานความรวมมือกับฝายกัมพูชาจึงทําใหถูกจับกุมในที่สุด381 กรณีนี้ สะทอนถึงความออนหัดทางทางการเมือง”ของทีมงานนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และเปนชนวนความ ขัดแยง อีกประเด็นหนึ่งระหวางไทยและกัมพูชา ดังจะเห็นวารัฐบาลอภิสิทธิ์ไดพยายามใหรัฐบาล กัมพูชาปลอยตัว 7 คน ไทยเปนอิสรภาพแตไมสําเร็จ เนื่องจากรัฐบาลและกลุมพันธมิตรประชาชน เพื่อประชาธิปไตยไดเคยโจมตีกัมพูชาในหลายประเด็นรวมถึงประเด็นที่กัมพูชาแตงตั้งอดีต นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรเปนที่ปรึกษาทางดานเศรษฐกิจเเละประเด็นที่กัมพูชาไมสงตัวอดีต นายกรัฐมนตรีทักษิณใหไทยในฐานะผูรายขามเเดน 382 เริ่มตนปค.ศ. 2011 เมื่อวันที่ 21 ม.ค.ศาลกัมพูชาปลอยตัว 5 คนไทยประกอบดวยนาย พนิช วิกิตเศรษฐ นายตายแน มุงมาจน นายกิจพลธรณ ชุสนะเสวี ร.ต.เเซมดิน เลิศบุศย และนาง นฤมล จิตรวะรัตนา เปนอิสรภาพ ในคําพิพากษาระบุวามีพยานหลักฐานวาบุคคลทั้ง 5 มีเจตนา เขาเขตแดนกัมพูชาจริงจึงมีความผิดฐาน "ล้ําแดน" ศาลกัมพูชาตัดสินใหปรับเปนเงินคนละ 1 ลาน เรียล หรือประมาณ 10,000 บาท และโทษจําคุก 9 เดือนโดยใหรอลงอาญาไวกอน สวนนางสาว ราตรี พิพัฒนาไพบูลย และนายวีระ สมความคิดนั้นยังถูกจําคุกตอไป เนื่องจากศาลยังไมอานคํา พิพากษา กรณีนี้ไดตอเนื่องมาถึงรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ 383

380 “Thai right-wing group demonstrates in capital”, Associated Press (6 August 2010) 381 สยามจดหมายเหตุ (ธันวาคม 2553) 382 ไทยรัฐออนไลน (22 ม.ค.2557) 383 ไทยรัฐออนไลน (22 ม.ค. 2557) 94

แมกัมพูชาจะปลอยตัวคนไทยกลับมา 5 คน แตนายอภิสิทธิ์ ก็ยังเผชิญการประทวงจาก กลุมเสื้อเหลือง ซึ่งเปนกลุมที่เคยยึดสนามบินและขับไลนายกรัฐมนตรีออกจากตําแหนงมาแลว สองคนติดตอกัน ครั้งนี้กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยตองการกดดันใหรัฐบาลไทย “ยกเลิกแถลงการณรวม” กับกัมพูชา ตลอดจนถอนตัวออกจากคณะกรรมการมรดกโลก ของ ยูเนสโก และใหขับไลชาวกัมพูชาออกจากพื้นที่ทับซอน 384 ดานนายอภิสิทธิ์ก็เคยปฏิเสธขอ เรียกรองของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และยืนยันวา “จะทําดีที่สุด” 385 ตอมาระหวางวันที่ 4-7 กุมภาพันธ ไดมีการปะทะกันอยางหนักระหวางกองกําลังไทยและ กัมพูชาจนมีทหารตาย 6 คน พลเรือน 1 คน 386 สืบเนื่องจากการปะทะครั้งนี้กัมพูชาไดทําบันทึกถึง UNSC 2 ฉบับ ฉบับแรกซึ่งลงนามโดยนายฮอรนัมฮงเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ ไดรายงานการปะทะ ในสองวันที่ผานมา และฉบับที่สองลงนามโดยนายฮุนเซ็นเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ เรียกรองให UNSC เรียกประชุมฉุกเฉิน 387 กัมพูชาระบุวาการปะทะครั้งนี้ไดกอความเสียหายตอตัวปราสาท พระวิหาร388 โดยเฉพาะบางสวนของปราสาทดานหนาไดพังทลายลงมา 389 อยางไรก็ตามผูสื่อขาว เอพีที่ไดเขาไปสํารวจรายงานวา ปราสาทพระวิหารไดรับความเสียหายเพียงเล็กนอยเทานั้น 390 และยังพบวากองกําลังกัมพูชาไดตั้งบังเกอรที่ยอดหนาผาของปราสาทพระวิหาร และมีทหาร กัมพูชาประจําการที่นี้ประมาณกวาหนึ่งรอยคน 391 ทําใหปราสาทพระวิหารตกอยูในทามกลางวิถี กระสุนที่ยิงมาจากทั้งฝงไทยและกัมพูชา 392 ในกรณีนี้ยูเนสโกจะไดสงคณะทํางานมาประเมิน ความเสียหายบริเวณปราสาทพระวิหารและระบุวาความเสียหายเกิดจากการยิงตอสูกันของทั้ง

384 “Thailand faces street protests from Associated Press Yellows”, (25 January 2011). 385 “Thai PM: I'll do what's best regarding Cambodia”, Associated Press (28 January 2011). 386 “Thai Cambodian conflict-Temple trouble-Warning: old stone temples can start wars”, The Economist (10 February 2011). 387 Bangkok Pundit, “Cambodia calls for the Security Council to intervene over clashes”, Asian Correspondent (7 February 2011). 388 “Cambodia says battle damaged ancient site”, Associated Press (7 February 2011). 389 “Part of historic temple collapses.(Front) ”, Associated Press (7 February 2011). 390 “Damage to temple on Thai-Cambodian border mimnimal.”, Associated Press (8 February 2011). 391 “Cambodia troops bunkered at cliff-top Khmer temple”, Associated Press (9 February 2011). 392 “Historic temple caught in Thai-Cambodia crossfire”, Associated Press (10 February 2011). 95

ไทยและกัมพูชา 393 การปะทะกันครั้งนี้ยังมีผลใหมีการอพยบชาวกัมพูชาที่อาศัยตามบริเวณ ชายแดนออกไปใหพนอันตราย 394 ดานนายบันคีมุน เลขาธิการองคการสหประชาชาติไดออกมาเรียกรองทั้ง 2 ฝายใหยับยั้งชั่ง ใจขั้นสูงสุด สวนนายฮุนเซ็นเรียกการปะทะ 4 วันนี้วา ‘สงคราม’ และจะไมยอมเปดการเจรจาหาก ไมมีประเทศที่ ๓ รวมดวย 395 นอกจากนี้ในวันที่ 14 กุมภาพันธ ค.ศ. 2011 คณะมนตรีความ มั่นคงของสหประชาชาติเรียกรองใหทั้งสองฝายใชความอดทนอดกลั้นและยุติการปะทะอยางถาวร โดยเร็ว และใหมีการเจรจาโดยใหอาเซียนมีบทบาทสนับสนุน 396 ในวันเดียวกัน นายอภิสิทธิ์ นายกรัฐมนตรีไทยไดออกมาเรียกรองใหยูเนสโกยกเลิกการที่กัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลก 397 อยางไรก็ตามยังมีการปะทะและบาดเจ็บกันอีกที่บริเวณชายแดนระหวาง วันที่ 15-16 กุมภาพันธ ค.ศ. 2011- แมวาสื่อทองถิ่นจะรายงานวาทหารไทยไดรับบาดเจ็บ 5 นาย แตกองทัพไทยออกมาระบุวามีทหารไดรับบาดเจ็บ 1 นายจากการสูรบ 398 สืบเนื่องจากมติของคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ (UNSC) ที่ใหไทยและ กัมพูชามีการเจรจาโดยใหอาเซียนมีบทบาทไกลเกลี่ย ดังนั้นในวันที่ 22 กุมภาพันธ ค.ศ.2011 จึง มีการประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนอยางไมเปนทางการที่ประเทศอินโดนีเซีย ในฐานะเปน ประธานอาเซียนในขณะนั้น 399 ทั้งนี้“อินโดนีเซียไดออกแถลงการณเรียกรองใหไทยและกัมพูชา กลับมาเจรจาทวิภาคีกันตอไปตามกลไกที่มีอยู โดยอินโดนีเซียจะมี“บทบาทสนับสนุนตามความ เหมาะสม” 400 ตอมาไทยและกัมพูชาจึงไดยอมรับหลักการวาจะมี“ผูสังเกตการณจากอินโดนีเซีย” มาในบริเวณพิพาท 401 อยางไรก็ตามพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบก ไทยกลับ

393 “Director-General expresses alarms over escalation of violence between Thailand and Cambodia, UNESCO (6 February 2011). 394 “Cambodians are evacuated in temple feud with Thais”, New York Times (7 February 2011). 395 “Cambodia, Thailand at ‘war’:PM”, Phnompenh Post (9 February 2011). 396 “UN council leaves Thai-Cambodia conflict to ASEAN”, Reuters (15 February 2011) 397 Bangkok Pundit,“Thai PM to UNESCO: Delist Preah Vihear as World Heritage Site”, Asian Correspondent (14 February 2011). 398 “Cambodia makes border mountain a strategic point”, The Nation (19 February 2011). 399 “ASEAN ministers discuss Thai-Cambodia conflict”, Associated Press (22 February 2011). 400 กระทรวงการตางประเทศ, ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร, มีนาคม 2552. 401 “ASEAN to send monitors to Thai-Cambodia border”, Associated Press (22 February 2011). 96

“ประกาศไมรับการที่จะมีผูสังเกตการณจากอินโดนีเซีย” เขามายังบริเวณพิพาททั้งๆที่ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศตกลงเมื่อเดือนกุมภาพันธวาจะรับ402 ซึ่งจะเห็นวาทาที ของพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบกนั้น‘สวนทาง’กับการทํางานของกระทรวงการ ตางประเทศไทยเปนอยางยิ่ง403 อยางไรก็ตาม สืบเนื่องจากทาทีที่แข็งกราวของกองทัพไทย กระทรวงการตางประเทศไทย จึงไดทําการประทวงกัมพูชาที่ไดจัดใหผูชวยทูตทหารตางประเทศดู พื้นที่ปราสาทพระวิหารโดยเดินทางผานพื้นที่ที่ไทยอางสิทธิ 404 นอกจากนี้พลเอกประวิตร รัฐมนตรี กลาโหมยังระบุวาจะไมเขารวมการประชุม GBC ที่อินโดนีเซียเนื่องจากเปนประเทศที่สาม ไทย ยืนยันตองการเจรจาทิภาคีกับกัมพูชาเทานั้น 405 ดวยเหตุนี้ การประชุมที่เมืองโบกอร อินโดนีเซีย ระหวางเจาหนาที่อาวุโสของไทยและกัมพูชา นั้นจําเปนตองยุติลง โดยไมมีลงมติ จึงมีผลให อาเซียนตองระงับแผนการสงผูสังเกตการณจากอินโดนีเซีย 406 กรณีเหลานี้สะทอน “ทาทีที่ กาวราว”ของไทยและ “ภาพลักษณ” วา ไทยไมยอมรวมมือกับอาเซียนในการแกปญหาความ ขัดแยงกับกัมพูชา เนื่องจากรัฐบาลและกองทัพไทยนั้นมีความขัดแยงกัน 407 ในขณะที่กัมพูชามี “ภาพในทางบวก” วาไดพยายามอยางเต็มที่ที่จะใชกลไกของคณะมนตรีความมั่นคงของ สหประชาชาติ เพื่อรณรงคกรณีพระวิหารในประชาคมโลก 408 อีกกรณีหนึ่งที่กระทบภาพลักษณของไทย คือ องคกร Cluster Munition Coalition (CMC) ที่ตั้งอยูที่ประเทศสหราชอาณาจักรไดประณามประเทศไทยวาใช“ระเบิดลูกปราย” ที่ชายแดนไทย-

402 “Thai soldier killed in Cambodia clashes”, Al Jazeera (22 April 2011). 403 “Thai Army Chief:Indonesian Observer Will Make Situation More Difficult”,AFP (23March2011). 404 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554), หนา 44. 405 “Prawit rejects GBC meeting in Indonesia”, The Bangkok Post (22 March 2011). 406 “Cambodia disappointed with Thailand in border row”, AFP (9 April 2011). 407 “Thai govt and military disagree on Indonesian observers”, Asian Correspondent (23 March 2011). 408 “Thailand Going Rogue ; Bangkok's Political Turmoil is Damaging Regional Stability”, Wall Street Jounal (26 April 2011). 97

กัมพูชา 409 โดยระบุวาไทยยอมรับวาไดใช DPICM (Dual-Purpose Conventional Munition) ระหวางการปะทะกับกัมพูชาในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2011 410 ทั้งนี้ DPICM เปนระเบิดประเภท “ระเบิดลูกปราย” ซึ่งเปนอาวุธที่สามารถปลอยระเบิดลูกเล็กๆออกมาเปนจํานวนมากเพื่อใชสําหรับ สังหารมนุษยและทําลายยานยนตของฝายศัตรู ทั้งนี้ DPICM มีความสามารถในการทําลายพื้นที่ เปนบริเวณกวาง อนึ่งองคกร CMC ไดระบุวา ประเทศไทยเปนประเทศแรกที่ใชระเบิดลูกปราย ชนิดนี้ ในปจจุบันมีกวา 190 ประเทศไดรวมลงสัตยาบันในอนุสัญญาวาดวยระเบิดลูกปราย (Convention on Cluster Munitions) ที่กรุงดับลิน ประเทศไอรแลนดเมื่อวันที่ 30พฤษภาคม ค.ศ. 2008 ซึ่งมีการลงนามใน “อนุสัญญาสากลวาดวยการหามใช มีไวครอบครอง ผลิต ขนยาย และ กักตุนซึ่งอาวุธยุทธภัณฑประเภทระเบิดลูกปราย” อยางไรก็ตามประเทศไทยยังมิไดรวมลง สัตยาบันในอนุสัญญานี้ 411 อยางไรก็ตาม ในการปะทะครั้งนี้ สํานักขาวเอพีเพียงแตรายงานวา กัมพูชาอางวาไทยใช อาวุธเคมี”ระหวางการปะทะ 412 สถานการณความขัดแยงที่คุกรุนไดนําไปสูเหตุการณปะทะที่บริเวณปราสาทตาเมือนและ ปราสาทตาควายเมื่อ 22 เมษายน ค.ศ.2011 บริเวณจังหวัดสุรินทร 413 โดยกัมพูชาใชอาวุธหลาย ประเภทรวมทั้งอาวุธหนัก อาทิ เครื่องยิง ลูกระเบิด ปนใหญสนาม และปนใหญรถถัง รวมถึงจรวด หลายลํากลอง BM-21 ทําใหทหารไทยเสียชีวิต 4 นาย ทั้งนี้มีการพบลูกกระสุนปนใหญของฝาย ทหารเขมรที่ถูกยิงเขามาตกยังฝงไทย ที่บริเวณฝายน้ําลน อ.บานกรวด จ.บุรีรัมย 1 ลูก ทําใหตอง อพยพ ชาวบาน ราว 2,500 คน ออกจากพื้นที่ 414 ตอมามีการปะทะติดตอกันเปนวันที่สามเมื่อ 24 เมษายน ทําใหมีทหารไทยเสียชีวิต 1 นาย บาดเจ็บ 6 นาย และในวันที่ 25 เมษายนไดมีการปะทะ กันเปนวันที่สี่ มีผลใหอาสาสมัครทหารพรานเสียชีวิต 1 นาย 415 ทั้งนี้กระทรวงการตางประเทศไทย ไดสงหนังสือประทวงกัมพูชาอยางรุนแรงที่สุด ดานพลเอกทรงกิตติ จักกาบาตร ผูบัญชาการทหาร

409 “CMC condemns Thai use of cluster munitions in Cambodia”, Cluster Munition Coalition (05 April 2011). 410 "Thailand admits controversial weapon use", Agence France-Presse (7 April 2011). 411 “Is it a cluster bomb or not?”, Bangkok Post Learning (7 April 2011). 412 “Cambodia claims Thai used chemical weapon in clash”, Associated Press (22 April 2011). 413 “Fighting resumes along Thai-Cambodian border”, Associated Press (23 April 2011). 414 กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 415 สยามจดหมายเหตุ, เมษายน, 2554 98

สูงสุดไทยแถลงวาพรอมที่จะใชกําลังตอบโตจนถึงที่สุด สวนพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผู บัญชาการทหารบกชี้วา การจะประกาศสงครามกับประเทศกัมพูชาจําเปนตองใหคณะรัฐมนตรี เห็นชอบกอน และนายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของไทย ประกาศจะ ทบทวนนโยบายตอประเทศกัมพูชาโดยอางวากัมพูชาไมตองการเจรจาจึงจําเปนตองมีการ ประกาศสงคราม 416 ในสวนของกัมพูชานั้นทางฝายรัฐมนตรีกลาโหมของกัมพูชาไดกลาวหาไทย วาในการปะทะกันเมื่อวันที่ 24 เมษายน ไทยไดยิงระเบิดกาซพิษใสกัมพูชาและเครื่องบินของไทย ไดบินล้ําแดนเขาไปในกัมพูชา 417 นอกจากนี้ กัมพูชายังกลาวหาวาไทยทําใหปราสาทตาเมือนและ ปราสาทตาควายไดรับความสียหาย 418 ฝายไทยอางวาทหารไทยไดทําการตอบโตฝายกัมพูชา ตามความเหมาะสม โดยเนนโจมตีเฉพาะเปาหมายทางการทหารเทานั้นและไมมีการใชกาซพิษ อาวุธเคมี หรือเครื่องบินรบ ตามที่ฝายกัมพูชากลาวหา ทั้งนี้การปะทะไดเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ตั้งแต 22 เมษายน จนกระทั่งวันที่ 3 พฤษภาคม 2011 โดยฝายไทยมียอดผูเสียชีวิตรวม 10 คน เปนทหาร 8 คน พลเรือน 2 คน และไดรับบาดเจ็บ 137 คน เปนทหาร 123 คน และพลเรือน 14 คน 419 การปะทะครั้งนี้มีผลดานลบตอภาพพจนของประเทศไทย ดังจะเห็นไดจากทัศนะของ ศาสตราจารยดันแคน แมกคาโก ผูเชี่ยวชาญดานการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จาก มหาวิทยาลัยลีดสที่รายงานโดย นสพ. The Independent วา ประเทศไทยไดสูญเสียความ นาเชื่อถือในสายตาของนานาชาติ และไดสรางความปวดเศียรเวียนเกลาแกยูเอ็นและอาเซียน 420 ดังมีรายงานวารัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงตางประเทศของมาเลยเซีย นายRichard Ripot Jaem ไดวิจารณไทยวาไมทําตามมติที่ประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียน จนนําไปสูการปะทะกันอีกครั้งหนึ่งเมื่อ 22 เมษายน 421

416 สยามจดหมายเหตุ, เมษายน, 2554 417 “Who does the Preah Vihear temple belong to?”, Associated Press (25 April 2011) 418 “Cambodians say Thai shells damaged ancient temple”, Associated Press (25 April 2011) 419 กระทรวงการตางประเทศ, ธันวาคม 2554, อางแลว.กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการเจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 420 “What is the goal of the Thai army in the border clashes?”, Asian Correspondent (26 April 2011. 421 Bangkok Pundit,“ Malaysia blames Thailand over Cambodia border clash?”, Asian Correspondent (26 April 2011). 99

เปนที่นาสังเกตวา ในวันที่ 27 เมษายน ค.ศ.2011 หลังจากเกิดการปะทะเปนเวลาหนึ่ง สัปดาห รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมของไทยเดินทางไปเยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน โดยเปนไปตามคําเชิญของรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมจีน ทั้งนี้คาดวาเปนการหารือเรื่อง ความขัดแยงไทย-กัมพูชา เนื่องจากกองทัพกัมพูชาไดรับการสนับสนุนจากประเทศจีน ซึ่งจาก เหตุการณดังกลาวไดมีสื่อสารมวลชนกัมพูชาบางสื่อไดรายงานวาไทยไดยอมรับความพายแพใน การปะทะทางทหารที่เกิดขึ้น 422 นอกจากนี้สหรัฐอเมริกาโดยนางฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศไดเรียกรองใหทั้งสองฝายยับยั้งชั่งใจและสหรัฐสนับสนุนใหอาเซียนเปน ตัวกลางในการไกลเกลี่ย จนมีการสงบศึกไดในที่สุด 423 อยางไรก็ตามในวันรุงขึ้น ทั้งสองฝายก็ กลับมาปะทะกันอีก แมจะสงบศึกแลว 424 ในวันเดียวกันนี้ คือ วันที่ 28 เมษายน ค.ศ.2011 กัมพูชาไดยื่น“คํารองขอใหศาลโลก ตีความคําพิพากษาเมื่อปค.ศ. 1962” ในคดีปราสาทพระวิหาร และ “ขอใหศาลโลกออกคําสั่ง มาตรการชั่วคราว” โดยระบุวา “ไทยกับกัมพูชามีความเห็นที่ขัดแยงกัน” เกี่ยวกับ “ความหมาย” หรือ “ขอบเขตของคําพิพากษา”ดังกลาว โดยฝายกัมพูชาอางวา “ขอบเขตบริเวณปราสาทและ พื้นที่ใกลเคียงไดถูกกําหนดไวแลวตามแผนที่สัดสวน 1:200,000 ระวางดงรัก ซึ่งศาลยุติธรรม ระหวางประเทศใชเปนพื้นฐานของคําตัดสินเมื่อค.ศ.1962”และขอใหศาลออกมาตรการชั่วคราวให ไทยถอนกําลังออกจากพื้นที่ทับซอน 425 ในขณะเดียวกันกัมพูชากลาวหาไทยวายิงระเบิดเขาไปใน กัมพูชากวา 50,000 ลูก 426 ตอมาในวันที่ 2 พฤษภาคม ศาลโลกก็ไดจัดทําเอกสารแถลงขาวเกี่ยวกับคํารองของกัมพูชา ที่ใหตีความคําพิพากษาในปค.ศ.1962 และในวันที่ 19 พฤษภาคม ก็ไดนัดหมายทั้งสองฝาย มารวมฟงการพิจารณาคําขอของกัมพูชาในระหวางวันจันทรที่ 30 และวันอังคารที่ 31 พฤษภาคม ที่พระราชวังสันติภาพ กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด 427 ในชวงเวลาดังกลาวไทยและกัมพูชาก็ได

422 กระทรวงตางประเทศของไทย, ธันวาคม 2554, อางแลว.กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูล ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการเจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, 2554). 423 “Thailand, Cambodia reach truce after deadly week”, Associated Press (27 April 2011) 424 “Thai,Cambodian clashes continue despite cease-fire”, Associated Press (29 April 2011) 425 กระทรวงการตางประเทศ, ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร, มีนาคม 2552. 426 “Cambodia says Thailand shot 50,000 shells in clash”, Associated Press (3 May 2011). 427 Bangkok Pundit,“Thailand to the ICJ: You have no authority over Thailand”, Asian Correspondent (6 June 2011). 100

รวมนั่งฟงการพิจารณาคําขอของกัมพูชาที่จะใหศาลโลกออกคําสั่ง มาตรการชั่วคราวที่ศาลโลก ณ กรุงเฮก และตอบโตขอกลาวหาของกันและกันอยางเผ็ดรอน ขอแกตางขอหนึ่งของฝายไทยคือ ศาลโลกไมมีอํานาจจะพิจารณาคดีนี้ 428 จนกระทั่ง 18 กรกฎาคม ค.ศ.2011 ศาลโลกจึงมี“มาตรการชั่วคราว 4 ประการ”รวมถึงการ กําหนด“เขตปลอดทหารชั่วคราว”(‘provisional demilitarized zone-PDZ.’) ใหถอนทหารและ บุคคลากรออกจากออกรอบปราสาทพระวิหารเนื้อที่ประมาณ 17.3 ตารางกิโลเมตรในทันที ดวย มติ 11 ตอ 5 429 โดยเฉพาะคําสั่งขอ B2.ที่มีมติ 15 ตอ 1 ที่“หามไทยปดเสนทางคมนาคม”หรือ “ขัดขวางการลําเลียงขนสงสิ่งจําเปนตอการดํารงชีพ”รวมไปถึง“การขึ้นลงของพลเรือนชาวกัมพูชา ที่จะไปยังปราสาทพระวิหาร” ตลอดจนใหไทยและกัมพูชาดําเนินความ“รวมมือกันตอไปในกรอบ ของอาเซียน”ดวยมติ 15 ตอ 1 โดยเฉพาะอยางยิ่ง การอนุญาตใหคณะผูสังเกตการณของอาเซียน สามารถเขาไปยังเขตปลอดทหารชั่วคราวดังกลาวได นอกจากนี้ทั้งฝายไทยและกัมพูชาจะตอง แจงตอศาลโลกถึงการปฏิบัติตามมาตรการชั่วคราวดังกลาว 430 ในการนี้ศาลยังไดแสดงแผนที่ แสดงเขตปลอดทหารชั่วคราว ซึ่งเห็นไดชัดมีขอบเขตกวางขวางกวาพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.431 ปฏิกิริยาของทั้งสองรัฐบาลโดยสื่อตางๆ พอสรุปได ดังนี้ สํานักขาวซินหัวของจีนไดระบุวารัฐบาล กัมพูชาไดออกแถลงการแสดงความยินดีกับมติของศาลโลกวันที่ 18 กรกฎาคม 432 สํานักขาว รอยเตอรส ของสหราชอาณาจักรรายงานวานายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศพอใจที่จะมีสันติภาพถาวรและการมีแผนที่เขตปลอดทหารชั่วคราวของศาลโลก จะ ยับยั้งมิใหฝายไทยมารุกรานกัมพูชาอีก433 ดานสํานักขาว AFP ของฝรั่งเศสรายงานวานายกษิต ภิรมยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศก็พอใจกับคําตัดสิน434 หนังสือพิมพนิวยอรกไทมได ตั้งขอสังเกตวา ฝายไทยมีผูไมเห็นดวยกับคําตัดสินนี้ คือ นายสุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีกระทรวง

428 “Cambodian-Thai border dispute at UN court”, Associated Press (30 May 2011). 429 “UN court orders Cambodia and Thailand to remove troops from around temple site”, UN News Centre (18 July 2011). 430 Albeiro Rodas, “Thailand and Cambodia must immediately withdraw their troops, ruled the International Court today”, Asian Correspondent (18 July 2011). 431 Bangkok Pundit, “ICJ decision creates temporary demilitarized zone around Preah Vihear temple UPDATE: Map added”, Asian Correspondent (18 July 2011). 432 “Cambodia says to honor UN Court's order on troop pull-out”, Xinhua (18 July 2011). 433 “U.N. court orders Thai, Cambodian troops from temple area”, Reuters (18 July 2011). 434 “UN orders Thai, Cambodian troops away from Preah Vihear temple”, AFP (18 July 2011). 101

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ซึ่งประกาศวาไทยไมจําเปนตองปฏิบัติตามศาลโลก435 ดานสํานักขาว MCOT ก็รายงานดานกองทัพไทยวาคงตองใชเวลาในการเตรียมการถอนทหารและคงตองรอรับ บาลใหมดวย ดานหนังสือพิมพ The Nation ก็รายงานวานายอภิสิทธิ์ระบุวาตองใชเวลาหารือกับ หนวยงานตางๆรวมทั้งรัฐบาลกัมพูชากอน และย้ําวาเขาพอใจกับคําตัดสินเพราะไทยไมเสีย ดินแดน และขอใหรอการปกปนเขตแดนของคณะกรรมาธิการพรมแดนรวมเสียกอน 436 ดานนาย ฮุนเซ็นไดออกมาตอบโตนายอภิสิทธิ์วากองกําลังไทยและกัมพูชาจะตองถอนออกมาจากเขตปลอด ทหารชั่วคราวของศาลโลก 437 ในสวนของการเมืองในประเทศไทย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไดประกาศจะยุบสภาเพื่อใหมี การเลือกตั้งใหมในวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 438 กอนหนาที่นายอภิสิทธิ์ จะเดินทางไปประชุม สุดยอดอาเซียนที่อินโดนีเซีย แตผลการประชุมไมมีความคืบหนา 439 หนึ่งเดือนตอมามีกรณีผูแทน ไทย คือ นายสุวิทย คุณกิตติ ไดประทวงโดยเดินออกจากหองประชุมของคณะกรรมการมรดกโลก ที่กําลังประชุมอยู 440 นายอภิสิทธิ์ไดโทษวาการที่ยูเนสโกใหกัมพูชาเสนอแผนจัดการปราสาทพระ วิหารแตเพียงผูเดียวมีแตจะทําใหสถานการณเลวรายลง 441 กลาวโดยสรุปจะเห็นวาในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะที่มีรัฐมนตรีตางประเทศ คือ นายกษิต ภิรมยความสัมพันธระหวางไทยกับกัมพูชาตกต่ําถึงขีดสุด แมวาในชวงแรกไดมีความ พยายามจะแกปญหานี้ แตก็เกิดการปะทะกันถึง 6 ครั้งโดยเฉพาะการปะทะระหวาง 4-7 กุมภาพันธ ค.ศ. 2011 และเหตุการณปะทะบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา เมื่อวันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม ค.ศ.2011 สงผลใหเลขาธิการสหประชาชาติตองเขามาไกลเกลี่ย นอกจากนี้คณะ มนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติยังเรียกรองใหมีการหยุดยิง ในขณะที่อาเซียนพยายามเจรจา ใหไทยและกัมพูชายอมรับหลักการวาจะมีผูสังเกตการณจากอินโดนีเซียมาในบริเวณพิพาท อยางไรก็ตามผูบัญชาการทหารบกของไทยกลับประกาศไมรับหลักการนี้ อันแสดงถึงอิทธิพลของ

435 “U.N. Court Orders Troops From Temple on Thai-Cambodian Border”, The New York Times (18 July 2011). 436 Bangkok Pundit, “Thailand and Cambodian govt responses to the ICJ ruling”, Asian Correspondent (19 July 2011). 437 “Hun Sen: Thai troops must also leave border DMZ”, Associated Press News (22 July 2011). 438 “Thai PM announces plans for house dissolution”, Associated Press (6 May 2011). 439 “Thai-Cambodian border tension clouds ASEAN Summit”, Associated Press (7 May 2011). 440 "Thailand quits heritage body amid temple row", AFP (26 June 2011). 441 “Thailand pulls out of UNESCO”, Associated Press (26 June 2011). 102

ฝายทหารไทยที่มีอิทธิพลเหนือรัฐบาล 442 สถานการณเลวรายลงจนกัมพูชาไดยื่นคํารองเมื่อ 28 เมษายน 2011 ขอใหศาลโลกตีความคําพิพากษาเมื่อป 1962ในคดีปราสาทพระวิหารที่ศาลโลกได ตัดสินไปแลวเสียใหม จนกระทั่ง 18 กรกฎาคม ค.ศ.2011 ศาลโลกจึงมีคําสั่งออกมาตรการ ชั่วคราว 4 ประการ รวมถึงการกําหนดเขตปลอดทหารชั่วคราวรอบปราสาทพระวิหาร เนื้อที่ ประมาณ 17.3 ตารางกิโลเมตร 443 ประเด็นความขัดแยงที่เปนผลจากนโยบายชาตินิยมสุดขั้วใน กรณีปราสาทพระวิหารของนายอภิสิทธิ์ที่ถูกกดดันจากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และอิทธิพลกลุมทหาร ทําใหประเทศไทยมีภาพลักษณคอนขางลบในสายตาประชาคมโลก 444 ดานนายสุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ซึ่งประกาศวาไทยไม จําเปนตองปฏิบัติตามศาลโลกและประทวงยูเนสโกก็ไมไดรับความนิยมและไมไดรับเลือกตั้งใน วันที่ 3 กรกฎาคม เพื่อกลับมาเปน สส.อีก 445

ในสมัยรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร ( 5 สิงหาคม 2011 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2013)

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตรขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของไทยหลังจากพรรคเพื่อไทย ชนะการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคมค.ศ.2011ไดที่นั่งในสภาผูแทนราษฎรจํานวน 265 ที่นั่ง ในขณะที่พรรคประชาธิปตยของนายอภิสิทธิ์ได เพียง 159 ที่นั่ง446 ในสมัยรัฐบาลของนางสาว ยิ่งลักษณ ชินวัตรไดมีความพยายามจะคลี่คลายความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณี พระวิหาร โดยทันทีที่รับตําแหนง คณะรัฐมนตรีมีมติใหไทยปฏิบัติตามคําสั่งฯเมื่อ18 กรกฎาคม ค.ศ.2011ของศาลโลก ดังจะเห็นวาในเดือนธันวาคมปเดียวกันไดมีการประชุมคณะกรรมการ ชายแดนทั่วไปไทย -กัมพูชา ครั้งที่ 8 ทั้งสองฝายตกลงที่จะจัดตั้งคณะทํางานรวมเพื่อหารือ เกี่ยวกับการปฏิบัติตามคําสั่งมาตรการชั่วคราวของศาลโลกอยางโปรงใส เทาเทียม และตรวจสอบ

442 Todd Pitman, “Domestic politics fuel Thai-Cambodian dispute”, The Washington Times (28 April 28 2011). 443 "UN orders troops away from temple", The Independent (18 July 2011). 444“Thai military's political past looms over elections”, BBC News (2 June 2011) 445 Bangkok Pundit, “Thailand and Cambodian govt responses to the ICJ ruling”, Asian Correspondent (19 July 2011). 446 "กกต.แถลงผลการเลือกตั้ง อยางเปนทางการ คาดประกาศรับรองสมาชิกสภาผูแทนราษฎรได ภายในวันที่ 12 ก.ค.นี้". คณะกรรมการการเลือกตั้ง. (5 กรกฎาคม 2011). 103

ได 447 และเห็นชอบใหดําเนินการ “เก็บกูทุนระเบิดรวมใน PDZ” เพื่อความปลอดภัยของคณะผู สังเกตการณรวมและอํานวยความสะดวกใหกับกระบวนการปรับกําลังทหาร (Redeployment) ซึ่ง ทั้งสองฝายไดปรับกําลังทหารบางสวนไปแลวเมื่อ 18 กรกฎาคม 448 ทั้งนี้ทางการไทยไดนําตํารวจ ตระเวนชายแดนประมาณ 300 นายไปวางกําลังเพื่อเตรียมทดแทน กองกําลังทหารซึ่งประจําการ อยูใน PDZ สวนกัมพูชาก็ไดใหเจาหนาที่ตํารวจตระเวนชายแดน 255 คนและตํารวจทองเที่ยว 100 คนเขาปฏิบัติหนาที่แทนทหาร เพื่อเปนการเตรียมถอนทหารออกจากพื้นที่ 449 เริ่มตนปค.ศ. 2013 มีการปลอยตัวนางสาวราตรี พิพัฒนาไพบูลย ในวันที่ 1 กุมภาพันธ จาก การถูกจําคุกที่ประเทศกัมพูชาในขอหารุกล้ําเขตแดนและโจรกรรมขอมูลทางทหาร ซึ่งศาลกัมพูชา ตัดสินใหมีโทษจําคุก 6 ป และรับโทษไปแลว 2 ปจึงไดรับพระราชทานอภัยโทษ สวนนายวีระ สม ความคิดไดลดโทษจากเดิมใหเหลือเพียง 6 เดือน ทั้งนี้เนื่องจากความสัมพันธระหวางไทย-กัมพูชา ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณดีขึ้น 450 ในการนี้น.ส.ราตรี ย้ําวา“ไมไดทําผิด” และมองวาการที่ถูกปลอย ตัวกอนกําหนด นาจะเปนเพราะมีเหตุผลเรื่องการสูคดีปราสาทพระวิหาร ระหวางไทยกับกัมพูชา เกี่ยวของดวย การที่ไดรับการปลอยตัวกอน ทั้งที่ความจริงแลวตองไดรับโทษ 2 ใน 3 จึงจะขอ พระราชทานอภัยโทษไดนั้นเชื่อวามีเรื่องของผลประโยชนตางตอบแทนกันระหวางรัฐบาลไทยกับ กัมพูชา วิเคราะหไดวารัฐบาลยิ่งลักษณตองการคลี่คลายสถานการณใหลดความตึงเครียดลงกอน จะมีการอธิบายทางวาจาเพิ่มเติมที่ศาลโลก ณ กรุงเฮก ในเดือนเมษายนค.ศ. 2013 451 ศาลโลกไดนัดแถลงดวยวาจาระหวางวันที่ 15-19 เมษายน ค.ศ.2013 ณ กรุงเฮก ประเทศ เนเธอรแลนดสืบเนื่องจากการที่กัมพูชาไดยื่นคํารองในวันที่ 28 เมษายน ค.ศ.2011 ขอใหศาลโลก ตีความคําพิพากษาเมื่อป ค.ศ.1962ในคดีปราสาทพระวิหาร และตอมาศาลโลกไดออกคําสั่ง มาตรการชั่วคราวเมื่อ 18 กรกฎาคม ปเดียวกันนั้น452 ในการเตรียมเดินทางไปแถลงดวยวาจาของ ฝายไทยนั้น นายวีรชัย พลาศรัย ในฐานะหัวหนาทีมกฎหมายของไทยไดชี้ใหเห็นถึง ปญหาของ

447 กระทรวงการตางประเทศ, ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร, มีนาคม 2552. 448 กระทรวงการตางประเทศ, ตุลาคม 2555, อางแลว.กระทรวงการตางประเทศ, แผนพับ สรุป ขอมูลสถานะของคดีตีความคําพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร ป 2505, ต.ค. 2555. 449 “Thai, Cambodian troops withdraw from Preah Vihear”, Associated Press (18 July 2012). 450 “วีระ-ราตรี'ตัวประกันการเมือง!”, คมชัดลึก (1 กุมภาพันธ 2013). 451 “มิติโลกาภิวัตน:กับความซื่อบื้อ กรณีเขาพระวิหาร”, ไทยโพสต (4 กพ 2013). 452 “UN court reopens case on ancient temple at core of Thai-Cambodian border dispute”, UN News Centre (15 April 2013). 104

กัมพูชาในเรื่องการกําหนดเสนเขตแดน ในแผนที่ภาคผนวก 1 วา “มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก”และ “แผนที่ดังกลาวขัดตอหลักภูมิศาสตร ไมสามารถถายทอดลงแผนที่ในโลกปจจุบันได” นอกจากนี้ แผนที่ภาคผนวก 1 ที่กัมพูชาอางถึงนั้น ไมไดมีแคฉบับเดียว แตทีมทนายฝายไทยไดพบวามีถึง 6 ฉบับ 453 หลังจากการแถลงดวยวาจาระหวาง 15-17 เมษายน ศาลไดใหทั้งสองฝายสงเอกสาร เพิ่มเติม กอนที่ศาลจะนัดมาฟงคําตัดสินในปลายปค.ศ. 2013 นี้ สถานการณการเมืองในไทยจึง ยังตึงเครียด เพราะหากคําตัดสินของศาลเขาขางกัมพูชากลุมพันธมิตรเสื้อเหลืองก็อาจมีการปลุก กระแสรักชาติจนเกิดการปะทะที่ชายแดนไทย-กัมพูชาอีก และอาจมีการปลุกกระแสเพื่อกําจัด รัฐบาลยิ่งลักษณ เชนเดียวกับที่เคยทํามาแลวกับรัฐบาลสมัคร และรัฐบาลสมชาย 454 ระหวางที่ไทยกําลังรอลุนคําตัดสินของศาลโลก ในปลายเดือนเมษายนค.ศ. 2013 มีกรณี ที่ดังไปทั่วโลก แตกระทบภาพลักษณของไทยในทางสากล กลาวคือ คณะกรรมการเซ็นเซอรไทย ไดมีคําสั่ง “หามฉาย” ภาพยนตสารคดีเรื่อง ‘Boundary’ ทั้งนี้ นายนันทวัฒน นําเบญจพล ผูกํากับ ไดรับการแจงจากคณะกรรมการเซ็นเซอรวา ภาพยนตรเรื่องนี้เกี่ยวกับความขัดแยงระหวาง ไทย-กัมพูชาจึงเปนภัยตอความมั่นคงของชาติและ ความสัมพันธระหวางประเทศ ทั้งยังอางวาคดี นี้ยังอยูในการพิจารณาของศาลโลก 455 สํานักขาวเอพีรายงานวา ภาพยนตเรื่อง‘Boundary’ นี้มี การนําออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตที่กรุงเบอรลิน เมื่อเดือนกุมภาพันธที่ผานมา การหาม ฉายภาพยนตเรื่อง‘Boundary’ นี้จึงเปนขาวใหญไปทั่วโลก 456 อยางไรก็ตามวันรุงขึ้น คณะกรรมการเซ็นเซอรไดยกเลิกคําสั่งหามฉายภาพยนต ‘Boundary’ อยางกระทันหัน 457 แตเปน

453 “เปดประวัติ'เขาพระวิหาร'ชนวนแหงความขัดแยงไมสิ้นสุด'ไทย-กัมพูชา”, ไทยรัฐออนไลน (11 พฤศจิกายน 2556) 454“Dispute over Preah Vihear Temple is taken up, threatening to revive Thai nationalistic fervor”, The Japan Times”, (28 April 2013) 455 “Thailand bans film about Thai-Cambodian border row”, Associated Press (24 April 2013). 456 Thailand bans documentary about Thai-Cambodia boundary dispute”, The Guardian (24 April 2013). 457“Thailand lifts ban on Preah Vihear border conflict documentary”, Asian Correspondent (26 April 2013). 105

ที่นาเสียดาย ขาวนี้กลับมิไดรับการรายงานอยางแพรหลาย เชนเดียวกับกับขาวการเซ็นเซอรที่ เกิดขึ้นเพียงหนึ่งวันกอนหนานี้ แตอยางใด 458 ในที่สุดศาลโลกไดมีมติเอกฉันทเมื่อวันที่ 11พฤศจิกายน ค.ศ.2013 เกี่ยวกับการขอ ตีความคดีของกัมพูชา วา ศาลมีอํานาจรับฟองในคดีนี้และใหกัมพูชามีอธิปไตยในดินแดนทั้งหมด เหนือปราสาทพระวิหาร ทั้งนี้ไทยตองถอนกําลังทหารตํารวจและกองกําลังอื่นๆ ทั้งหมดออกจาก บริเวณดังกลาว 459 สื่อตางประเทศสวนใหญตางก็พาดหัวขาวในทํานองวา“ศาลโลกตัดสินให กัมพูชามีอธิปไตยเหนือดินแดนรอบปราสาทพระวิหาร 460 เชน สํานักขาว BBC พาดหัวขาววา "Preah Vihear temple: Disputed land Cambodian, court rules" 461 สํานักขาวเอพีพาดหัวขาว วา “UN: Cambodia wins temple dispute over Thailand”, 462 และหนังสือพิมพนิวยอรกไทมส ที่พาดหัวขาววา “UN Court Rules for Cambodia in Temple Dispute With Thailand”, 463 ตลอดจน สํานักขาว Aljazeera ที่พาดหัวขาววา “UN court rules for Cambodia in Thai border row” เปน ตน 464 ทั้งนี้ศาลชี้วาในคําพิพากษาเมื่อป 1962 ไดตัดสินใหกัมพูชาเปนเจาของ ‘ชะงอน ผา’(promontory) ซึ่งปราสาทพระวิหารตั้งอยูดวย และระบุวา“ประเทศไทยตองถอนกําลังทหาร ตํารวจของตนออกไปจากบริเวณตรงนั้น แตศาลไมไดระบุอยางชัดเจนเกี่ยวกับเสนพรมแดนของ ทั้งสองประเทศ จึงเปนการปฏิเสธขออางของฝายกัมพูชาที่วา กัมพูชาเปนผูมีอํานาจอธิปไตย เหนือ “ภูเขาพนมทรับ” (หรือ “ภูมะเขือ”)ที่อยูใกลๆกับปราสาทพระวิหาร 465 ทามกลางกระแสฝายตอตานที่ตองการใชคําตัดสินของศาลโลกเพื่อโจมตีรัฐบาล น.ส.ยิ่ง ลักษณ ชินวัตรแสดงความเห็นในทางบวกวา ศาลรับฟงขอตอสูของไทยและไมรับพิจารณาขอ เรียกรองของกัมพูชาเหนือพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตรและที่สําคัญศาลไมไดตัดสินวาแผนที่มาตรา สวน 1: 200,000 ผูกพันกับไทยโดยผลของคําพิพากษาเมื่อปค.ศ.1962 ดังนั้นศาลจึงรับตีความ

458 Saksith Saiyasombut,“Thailand lifts ban on Preah Vihear border conflict documentary”, Asian Correspondent (26 April 2013) 459 “UN court rules for Cambodia in Preah Vihear temple dispute with Thailand”, UN News Centre (11 November 2013) 460 “สรุปคําตัดสินศาลโลก”, เดลี่นิวส (11พ.ย.56) 461 "Preah Vihear temple: Disputed land Cambodian, court rules", BBC News (11 November 2013). 462 “UN: Cambodia wins temple dispute over Thailand”, Associated Press (11 November 2013). 463 “UN Court Rules for Cambodia in Temple Dispute With Thailand”, New York Times (11 November 2013). 464 “UN rules for Cambodia in Thai border row”, Aljazeera (11 November 2013). 465 “UN court awards temple site to Cambodia”, Radio Free Asia (13 November 2013). 106

เฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับพื้นที่บริเวณใกลเคียงปราสาทตามคําพิพากษาเดิมเมื่อปค.ศ.1962 ศาลเห็นวาพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตรนี้เปนพื้นที่ขนาดเล็กมากซึ่งกําหนดขึ้นตามสภาพภูมิศาสตร ของยอดเขาพระวิหารโดยไมไดกําหนดเสนเขตแดน และที่สําคัญไมรวมพื้นที่ภูมะเขือ ทั้งสอง ประเทศจึงจําเปนตองหารือกันในรายละเอียดตอไปโดยอาศัยกลไกทวิภาคีที่มีอยู นอกจากนี้ ศาลยังไดแนะนําใหทั้งสองฝายรวมมือกันอนุรักษและพัฒนาปราสาทพระวิหารในฐานะที่เปน มรดกโลก 466 ดังจะเห็นวาขาวเกี่ยวกับคําตัดสินของศาลโลกเมื่อ 11พฤศจิกายน ค.ศ.2013 นั้นไดเปน ขาวสําคัญในสื่อตางๆในเกือบทุกภูมิภาคของโลกโดยเฉพาะในสื่อตะวันตกนอกเหนือจากใน ประเทศกัมพูชาและประเทศไทยทั้งที่เปนการตีพิมพและออนไลนซึ่งสวนใหญจะมีทัศนะที่เปน กลาง ตัวอยางหนึ่งคือ บทความของนิตยสาร The Economist ชื่อ “Thailand and Cambodia: Once more, with feeling.” ผูเขียนไดแสดงทัศนะที่เปนกลางวา แมวาศาลจะยืนยันวาปราสาท พระวิหารและพื้นที่รอบๆเปนของกัมพูชา แตศาลไดปฏิเสธวาพื้นที่ 4.6 ตารางกม.นั้นเปนของ กัมพูชาและไดยืนยันวาศาลมิไดเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง ทั้งนี้รัฐบาลทั้งไทยและกัมพูชาก็ไดยอม รับคําตัดสินนี้วายุติธรรม ในบทความนี้ยังไดระบุวาไทยและกัมพูชานั้นขัดแยงกันมานานแลว แต ปะทุขึ้นระหวางปค.ศ. 2008-2011 เมื่อกัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทเปนมรดกโลก รัฐบาลพรรค ประชาธิปตยขณะนั้นไดใชกรณีพระวิหารในการหาเสียงเพื่อเพิ่มแตมตอทางการเมืองจนเกิดการ ปะทะกันหลายครั้ง 467 อยางไรก็ตามในประเทศไทย รัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ ชินวัตร มีผูวิพากษวิจารณวารัฐบาล ยังปกปองผลประโยชนของประเทศชาติไทยไมเต็มที่ แตแนะนําใหโตเถียงและเดินหนาขัดแยงกับ กัมพูชาตอไปโดยไมตองมีขอยุติ อีก 50 ป เพื่อยื้อตอศาลโลกใหตีความใหม 468 เปนที่นาสังเกตวา แนวคิดนี้ไมไดรับการตอบสนองมากนัก แตในเดือนพฤศจิกายนปเดียวกันในประเทศไทยก็มีการ ประทวงรางพรบ.นิรโทษกรรมโดยฝายคานอางวาจะเปนการลางผิดใหอดีตนายกทักษิณพี่ชายของ นายกยิ่งลักษณ รัฐบาลยิ่งลักษณจึงประกาศยุบสภาใหมีการเลือกตั้งใหมในเดือนกุมภาพันธ

466 “มติเอกฉันท “ศาลโลก”ใหไทยแพคดีพระวิหาร รับมีอํานาจวินิจฉัยคําพิพากษาป 2505”, เดลี่ นิวส (12 พฤศจิกายน 2556) 467 “Thailand and Cambodia: Once more, with feeling”, The Economist (12 November 2013). 468 สมเกียรติ ออนวิมล, “อยารีบยอมรับคําตัดสิน:คําตัดสินคดีปราสาทพระวิหารขึ้นอยูกับการ ตีความพื้นที่แคบๆ”, เดลี่นิวส (13 พฤศจิกายน 2556). 107

ค.ศ. 2014 469 แตหลังจากนั้นสถานการณการเมืองไทยยุงเหยิงมีการประทวงใหการเลือกตั้งจน ในที่สุดมีการรัฐประหารเมื่อ 22 พฤษภาคม ค.ศ.2014 470 นําโดยพลเอกประยุทธ จันทรโอชา อดีต ผูบัญชาการทหารบกและนายทหารระดับสูงที่มีสวนเกี่ยวของในความขัดแยงกรณีปราสาทพระ วิหารกับกัมพูชาแทบทั้งสิ้น

สรุป บริบททางการเมืองที่มีผลตอความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชา ในกรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1962-2013

ความขัดแยงระหวางกัมพูชาและไทย นั้นมีรากเหงามาจากความเปนมาทางประวัติศาสตร ที่เมื่ออาณาจักรขอมโบราณอันยิ่งใหญไดลมสลายจนพื้นที่ประเทศกัมพูชาปจจุบันหดเล็กลง หลังจากกัมพูชาไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศสมีการปลุกกระแสชาตินิยมในทั้งสองประเทศ ทําให กัมพูชากับไทยขัดแยงกันเรื่องเขตแดนในกรณีพระวิหาร 471 บริบททางการเมืองที่มีผลตอความ ขัดแยงไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1962-2013 ที่ยาวนานถึง 51 ป 472 นี้สามารถแบงออกเปนสามชวง คือ 1.ชวงแรก ค.ศ. 1962-1972 เปนยุคที่มีความขัดแยงทางอุดมการระหวางไทยและกัมพูชา โดยไทยมีรัฐบาลเผด็จการทหารที่ถูกสหรัฐดึงเขาไปเกี่ยวของกับสงครามเวียดนาม แตเจาสีหนุของ กัมพูชาตองการวางตัวเปนกลาง หลังจากที่กัมพูชาไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศสมีการปลุกกระแส ชาตินิยมทําใหมีการขัดแยงกันเรื่องเขตแดนโดยเฉพาะกรณีปราสาทพระวิหาร ฝายกัมพูชานั้นเปน ประเทศเล็กและยากจนที่เพิ่งไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศส ประกอบกับเจานโรดมสีหนุมีความจัดเจน ในการสื่อสารการเมืองในเวทีโลก จึงทําใหไดรับความเห็นอกเห็นใจจากนานาชาติมากกวาไทย ประเด็นนี้จึงไดถูกกัมพูชายกระดับขึ้นเปนความขัดแยงที่ตองนําขึ้นสูการพิจารณาของศาลยุติธรรม ระหวางประเทศ นอกจากนี้กัมพูชายังมีการเตรียมหลักฐานทางประวัติศาสตรมาเปนอยางดีจนทํา ใหศาลโลกเมื่อ 15 มิถุนายน ค.ศ.1962 ตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชาแตทั้งนี้ศาล

469 “แถลงยุบสภารัฐบาล'ยิ่งลักษณ' ฉบับเต็ม!”, ไทยรัฐออนไลน (9 ธ.ค. 2556) 470 “US cancels military exercises with Thailand following coup”, The Guardian (24 May 2014). 471 ดูผนวก ก. ลําดับเหตุการณที่มีผลตอความขัดแยงไทย-กัมพูชากอนป 1962 472 ดูผนวก ข.บริบททางการเมืองของรัฐบาลตางๆของไทยที่มีผลตอความขัดแยงไทย-กัมพูชา ค.ศ. 1962-2013. 108

ไมไดพิพากษาชี้ขาดเรื่องเสนเขตแดนระหวางประเทศวา จะตองเปนไปตามแผนที่มาตราสวน 1: 200,000 แมจะไมเห็นดวยกับคําตัดสินของศาลโลกแตรัฐบาลสฤษดิ์ ธนะรัชตจําเปนตองยอมรับที่ จะทําตามคําตัดสินและไทยยอมถอนกําลังออกมาจากปราสาทพระวิหาร แตไดขีดเสนเขตปราสาท พระวิหารและกั้นรั้วลวดหนามรอบปราสาทตามมติคณะรัฐมนตรีไทย โดยที่เจาสีหนุแมจะไมเห็น ดวยกับแนวเขตตามรั้วลวดหนามแตมิไดคัดคาน นาสังเกตวาในชวง 10 ปนี้ไมปรากฎวารัฐบาล ไทยไดใชสิทธิที่จะอุทธรณตอคําพิพากษาของศาลโลกในกรณีพระวิหารนี้แตอยางใด การที่ไทย และกัมพูชาไดยึดแผนที่คนละฉบับนี้ไดเปนสาเหตุใหเกิดมีการกระทบกระทั่งตามชายแดนในยุค ตอมา 2.ชวงที่สอง ค.ศ. 1973-2007 มีระยะเวลายาวนาน 34 ป เริ่มจากเหตุการณ 14 ตุลาคม ค.ศ.1973 ที่ไดโคนรัฐบาลเผด็จการถนอม-ประภาส เกิดการตื่นตัวดานประชาธิปไตย นอกจากนี้ สงครามเวียตนามที่มีผลใหประเทศลาวเวียตนามและกัมพูชากลายเปนประเทศสังคมนิยมไดยุติ ลง ชวงนี้ถือวาเปนชวงของความพยายามของรัฐบาลไทยหลายรัฐบาลที่จะฟนฟูการคาและการ ทองเที่ยว โดยใชปราสาทพระวิหารเปน“สัญญลักษณของมิตรภาพและความรวมมือระหวางไทย และกัมพูชา ดังจะเห็นวา ในสมัยรัฐบาลชาติชายมีการเจรจาที่จะเปดปราสาทพระวิหารเปน แหลงทองเที่ยว ตอมาในสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา มีการจัดตั้งคณะกรรมการ 3 คณะ คือ คณะกรรมการชายแดนทั่วไป(GBC) คณะกรรมการรักษาความสงบตามชายแดน(BPKC) และ คณะกรรมการชายแดนภูมิภาค(RBC) ตลอดจนสนับสนุนเงินในการปรับปรุงถนนที่ขึ้นสูตัว ปราสาทพระวิหารซึ่งเสร็จสมบูรณในสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ตอมาในสมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย(2) มีการลงนาม ใน “บันทึกความเขาใจวาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขต แดนทางบก”(‘MOU2000’) ซึ่งไดนําไปสูความขัดแยงในสมัยตอมา ในสมัยรัฐบาลชวนนี้เริ่มมี สัญญาณของความขัดแยงโดยฝายกัมพูชาไดสรางตลาดหนาบันไดประวัติศาสตรและสรางวัดแกว สิกขาคีรีสวาระ และพัฒนาเสนทางจากบานโกมุยขึ้นสูเขาพระวิหาร ซึ่งฝายไทยอางวาเปนพื้นที่ ของไทยตามมติคณะรัฐมนตรีสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ค.ศ.1962 ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตรมีการลงนามใน “บันทึกความเขาใจเกี่ยวกับพื้นที่ทับซอนทาง ทะเล” (‘MOU2001’) นอกจากนี้ไทยยังไดเสนอชวยเรื่องการเงินเพื่อพัฒนาเสนทางคมนาคมเพื่อ การคาและการทองเที่ยวระหวางจ.ศรีสะเกษ และ จ.เสียมราฐ ตลอดจนมีการลงนามใน“บันทึก การประชุมความรวมมือในการพัฒนาเขาพระวิหารใหเปนแหลงทองเที่ยวระดับนานาชาติระหวาง ไทย-กัมพูชา” และที่ประชุมคณะรัฐมนตรีรวมไทย–กัมพูชา ในปค.ศ. 2003ไดตกลงกันที่จะ “รวมมือพัฒนาเขาพระวิหารและบูรณะปฏิสังขรณปราสาทพระวิหาร” อยางไรก็ตามเกิดในสมัย 109

รัฐบาลทักษิณนี้มีปญหาขึ้นเมื่อกัมพูชาไดยื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดก โลกเปนครั้งแรกเมื่อ 10 ตุลาคม ค.ศ.2001 ครั้งที่สองเมื่อวันที่ 30 มกราคมค.ศ. 2006 และครั้งที่ สามเมื่อกรกฎาคมค.ศ. 2007 ในสมัยรัฐบาลสุรยุทธซึ่งรัฐบาลสุรยุทธไมคัดคานการขึ้นทะเบียนตัว ปราสาท เพียงแตไดคัดคานไมใหเอา‘พื้นที่ทับซอน’ไปขึ้นทะเบียน

3.ชวงที่สามระหวางปค.ศ. 2008-2013 ปราสาทพระวิหารไดกลายเปน“สัญญลักษณของ ความเกลียดชัง”(symbol of hatred) ระหวางสองประเทศ เมื่อมีการลงนามใน“ขอตกลงรวม”(joint communiqué )ในสมัยรัฐบาลสมัคร ซึ่งสนับสนุนใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนใหตัวปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลกตามแผนที่ประกอบซึ่งไมรุกล้ํา‘พื้นที่ทับซอน’ แตฝายตอตานรัฐบาลในไทยไดปลุก กระแสชาตินิยมและทําการประทวงจนตองยกเลิกขอตกลงนี้ อยางไรก็ตามองคการยูเนสโกก็ไดมี มติเอกฉันทใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนใหตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกในวันที่ 8 กรกฎาคม 2008 กรณีนี้ไดกลายเปน“จุดเริ่มตนของความขัดแยง”ทางการเมืองระหวางสองประเทศ จนเกิดมีการ ตรึงกําลังตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชาในสมัยรัฐบาลสมัคร และเริ่มมีการปะทะดวยกําลังอาวุธ ในสมัยรัฐบาลสมชาย โดยเฉพาะในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์มีการปะทะกันรุนแรงหลายครั้ง จน กัมพูชาไดนําประเด็นพิพาทนี้ไปรองเรียนตอคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) และศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) เพื่อใหตีความคําพิพากษาในป 1962 ในประเทศ ไทยมีการปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อกําจัดรัฐบาลยิ่งลักษณเชนเดียวกับที่เคยกําจัดรัฐบาลสมัครและ รัฐบาลสมชายมาแลว โดยกลุมนี้อางวาไทยเสียดินแดนตามมติของศาลโลกเมื่อ 11พฤศจิกายน ค.ศ.2013 ที่ใหกัมพูชาเปนเจาของ‘ชะงอนผา’(promontory)ซึ่งปราสาทพระวิหารตั้งอยู แต เนื่องจากรัฐบาลยิ่งลักษณมีการสื่อสารการเมืองที่เตรียมการมาอยางดี กลุมตอตานทักษิณในชวง นี้จึงไมสามารถใชกรณีปราสาทพระวิหารมากําจัดรัฐบาลยิ่งลักษณ เชนที่ทําไดสําเร็จกับรัฐบาล สมัครและรัฐบาลสมชาย บทที่ 5

การสื่อสารการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรส (Reuters) ในกรณีพระวิหารในหวงปค.ศ.2008-2013

การศึกษาในบทนี้เกี่ยวกับ การสื่อสารการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรส: ศึกษากรณี พระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.2008-2013 เพื่อเปนสวนหนึ่งของการตอบคําถามการวิจัยขอที่ 2 ทั้งนี้ ผูวิจัยไดเลือกสํานักขาวรอยเตอรสใหเปนตัวแทนของสํานักขาวจากโลกตะวันตก และสํานักขาว ซินหัวใหเปนตัวแทนของสํานักขาวจากโลกตะวันออก ซึ่งจะไดนําเสนอในบทที่ 5 และ 6 ของงาน ศึกษาวิจัยเรื่องนี้ หลังจากนั้นจึงจะนําขอสรุปของบทบทที่ 5 และบทที่ 6 มาเปรียบเทียบเพื่อจะได ภาพรวมของ การศึกษาการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการรายงานขาวกรณี พระวิหาร อันเปนคําถามการวิจัยขอที่ 2 กอนอื่นจะกลาวถึงประวัติความเปนมาของสํานักขาวรอยเตอรสในฐานะที่เปนหนึ่งในสอง ของสํานักขาวนานาชาติที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลกปจจุบัน ตอจากนั้นจะทําการศึกษาเกี่ยวกับ “การ สื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรส ในกรณีพระวิหารในหวงเวลาตั้งแตค.ศ.2008-2013” ในแงที่เปนการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใชการวิเคราะหเนื้อความ สวน“หนวยในการวิเคราะห”ของ การศึกษานี้จะเปน“รายงานขาวเปนภาษาอังกฤษ”ในรูปแบบของ“ตัวบท”ที่ไดมาจากเว็บไซต ทางการของสํานักขาวรอยเตอรสในรูปของ“ขาวออนไลน”ที่สืบคนจาก http://www.reuters.com/ และปดทายบทนี้ดวยการสรุปวิเคราะหการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสในกรณี พระวิหารในหวงเวลาตั้งแต ค.ศ.2008-2013

ความเปนมาของสํานักขาวรอยเตอรส

สํานักขาวรอยเตอรสเปนสํานักขาวที่กอตั้งในประเทศอังกฤษ หรือ สหราชอาณาจักรโดย นายพอล จูเลียส รอยเตอรส (Paul Julius Reuter) ในป ค.ศ.1851อันตรงกับยุครุงเรืองของ จักรวรรดินิยมอังกฤษของพระนางเจาวิคตอเรีย เดิมเขาเปนชาวยิวเกิดในเยอรมัน กอนที่จะมาทํา สํานักขาวเขาไดกอตั้งสํานักพิมพขึ้นในกรุงเบอรลิน ชื่อ ‘Reuter and Stargardt’ แตตอมานาย รอยเตอรไดหนีภัยการเมืองจากเยอรมันไปอยูปารีสซึ่งเปนเวลาที่กระแสปฏิวัติสังคมนิยมแพรไปทั่ว ยุโรป และไดริเริ่มทําธุรกิจใหบริการขาวสารโดยใชโทรเลขและนกพิราบสื่อสาร เมื่อเขายาย กลับมายังประเทศอังกฤษจึงไดกอตั้ง ‘บริษัทรอยเตอรสโทรเลข’ (Reuters Telegraph Company ) 111

ขึ้นในกรุงลอนดอนเพื่อใหบริการขาวในเชิงพาณิชยแกธนาคาร นายหนาผูซื้อขายหุนและบริษัท ธุรกิจระดับนํา เจ็ดปตอมาในปค.ศ. 1858 จึงเริ่มใหบริการขาวแกหนังสือพิมพจนไดรับการยกยอง วา มีชื่อเสียงในดานการรายงานขาวการเงิน และฉับไวในการรายงานขาวที่มีความสําคัญระดับ นานาชาติไดอยางรวดเร็วกอนสํานักขาวอื่น เชน ในกรณีการลอบสังหารประธานาธิบดีลินคอลน ของสหรัฐอเมริกาในปค.ศ.1865 ตอมานายรอยเตอรสไดกอตั้งสมาคมนักหนังสือพิมพซึ่งเปน เครือขายของผูสื่อขาวจากทั่วโลกและไดขายหุนครึ่งหนึ่งของสํานักขาวรอยเตอรสใหแกสมาคม ผูประกอบการหนังสือพิมพซึ่งเปนองคกรระดับชาติใหมาเปนเจาของรวม และในปค.ศ. 1947 ก็ได ใหสมาคมนักหนังสือพิมพรายวันจากออสเตรเลียและนิวซีแลนดมาเปนเจาของรวมดวย กรณีนี้จึง สงผลใหเครือขายและธุรกิจของสํานักขาวของรอยเตอรสขยายตัวออกไปอยางกวางขวางในขอบเขต ทั่วโลก475 ในชวงทศวรรษ1960s สํานักขาวรอยเตอรสเปนสํานักขาวระดับแถวหนาที่เริ่มใช คอมพิวเตอรในการสงขอมูลทางการเงินไปยังลูกคาโพนทะเล และเริ่มสงขอมูลอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราระหวางประเทศใหกับลูกคาผานจอคอมพิวเตอรไดในปค.ศ.1973 จนกระทั่งในปค.ศ. 1981 สํานักขาวรอยเตอรสก็สามารถใหบริการซื้อขายทางอีเลคโทรนิคผานเครือขายได ในอีกสาม ปตอมาก็ไดเปนบริษัทมหาชนเขาตลาดหุนลอนดอน (LSE) และเขาตลาดหุน NASDAQ. แตเมื่อ สํานักขาวรอยเตอรสไดควบรวมกิจการกับบรรษัททอมสัน (Thomson Corporation) ในปค.ศ. 2008 และใชชื่อใหมวา ‘Thomson Reuters’ แลว ก็ไดถอนตัวในปค.ศ.2009 ออกจากตลาดหุน ลอนดอนและ NASDAQ และไปเขาตลาดหุนโทรอนโรในแคนาดาและตลาดหุนนิวยอรก 476 ดังนั้นนอกจากจะทําธุรกิจสํานักขาวแลว ในปจจุบันสํานักขาวรอยเตอรสยังเปนผูใหบริการขาว การเงินรายใหญใหแกบริษัทธุรกิจ หนวยงานรัฐบาลและบุคคลทั่วไปในขอบเขตทั่วโลก ดังจะเห็น วาสื่อสารมวลชนในปจจุบันสวนใหญในโลกตางไดสมัครเปนสมาชิกขาวจากสํานักขาวรอยเตอรส ซึ่งใชภาษาในการรายงานขาวเกือบ 20 ภาษา 477 มีผูสื่อขาวและพนักงานกวา 55,000 คนใน 200 เมืองในกวา 100 ประเทศ ทั้งยังมีฐานะการเงินมั่นคง มีรายรับประจําปกวา 12.9 พันลานเหรียญ สหรัฐในปค.ศ. 2011 478

475 Encyclopæ dia Britannica, 2014. http://www.britannica.com/biography/Paul-Julius- Freiherr-von-Reuter 476 “Thomson Reuters Files 2013 Annual Report”, Reuters (12 March 2014). 477 “Reuters a Brief History”, The Guardian (4 May 2007). 478 Magaret Christoph Griessner, “News Agencies and Social Media: A Relationship with a Future?”. Reuters Institute Fellowship Paper University of Oxford. Retrieved on 31 July 2016 from https://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/ 112

ในดานคุณภาพ สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํา“คูมือสื่อสารมวลชน”(Handbook of Journalism) เพื่อใหผูสื่อขาวของสํานักขาวรอยเตอรสทุกคนในขอบเขตทั่วโลกปฏิบัติงานอยางเปน อิสระ(independence) ปลอดจากอคติ(freedom from bias) และดวยความซื่อตรงสูงสุด (integrity) โดยผูสื่อขาวตองยึด“หลักการความนาเชื่อถือของรอยเตอรส”(Reuters’ Trust Principles) ซึ่งไดจัดทําขึ้นตั้งแตปค.ศ.1941 แมแตในกรณีที่ตองทํางานในสถานการณที่ ยากลําบาก ผูสื่อขาวของสํานักขาวรอยเตอรสทุกคนก็จะตองยึดหลัก ความนาเชื่อถือ ความถูกตอง ความเร็วและความพิเศษของรายงานขาวตามหลัก“จรรยาบรรณของรอยเตอรส”(Reuters Code of Conduct) 479 ในประเทศไทยสํานักขาวรอยเตอรสไดจัดตั้งสํานักงานในกรุงเทพ ซึ่งดูแลประเทศอื่นๆใน อินโดจีน และเมียนมารดวย”ดวย 480 โดยเฉพาะสํานักงานในกรุงเทพไดรับรางวัลองคกรดีที่สุดดาน ทรัพยากรมนุษยและผลประโยชนจากกระทรวงแรงงานของประเทศไทยเปนปที่ 3 นอกจากนี้ ผูสื่อขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในกรุงเทพ คือ นายเจสัน เซพ (Jason Szep) และ นายแอนดรู อาร ซี มารแชล (Andrew R C Marshall) และทีมงาน ยังไดรับรางวัลพูลิตเซอรประจําปค.ศ. 2014 ในดานการรายงานขาวระดับนานาชาติ อันเปนผลมาจากการรายงานขาวหลายชิ้นเกี่ยวกับการกดขี่ ขมเหงชาวมุสลิมโรฮิงยาจากเมียนมาร 481 อนึ่งกอนหนานี้นายฮิโรยูกิ มูราโมโต ชางภาพชาวญี่ปุน อายุ 43 ปจากสํานักขาวรอยเตอรสก็ถูกยิงเสียชีวิตขณะปฏิบัติหนาที่ถายภาพในเหตุการณสลายการ ชุมนุมที่อนุสาวรียประชาธิปไตยในวันที่ 10 เมษายน ค.ศ.2010ในสมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชา ชีวะ 482 จึงจะเห็นวาสํานักขาวรอยเตอรสมีบทบาทสําคัญในการรายงานขาวในประเทศไทยและ ภูมิภาคนี้เชนเดียวกับในภูมิภาคอื่นๆของโลก

479 “Handbook of Journalism”, Reuters (2014) , Retrieved on 31 May 2016 from http://www.reuters.com/) 480 นพพร วงศอนันต. อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวรอยเตอรส ปจจุบันรองบรรณาธิการ นสพ.บางกอก โพสต. สัมภาษณ. 20 มิถุนายน 2016. 481 “Special Report:Thailand secretly dumps Myanmar refugees into trafficking rings”, Reuters (5 December 2013) 482 “Thai court rules troops responsible for Italian reporter's death”, Reuters (29 May 2013) 113

การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2008

สํานักขาวรอยเตอรสใหความสําคัญกับการปูพื้นใหผูอานทั่วโลกเกิดความเขาใจการ เมืองไทย จึงไดจัดทํา“TIMELINE Thailand since 2006 coup ousted Thaksin” โดยได เริ่มลําดับ เหตุการณการเมืองในไทยตั้งแตเกิดรัฐประหารโคนนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรในปค.ศ. 2006 วา หลังจากที่รัฐบาลทักษิณ ไดยุบสภาและชนะการเลือกตั้งอยางถลมทลายเปนครั้งที่สอง กลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.)ไดเริ่มประทวงขับไลรัฐบาลทักษิณจนตามมาดวยการ รัฐประหาร เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 ในขณะที่ทักษิณกําลังเตรียมจะขึ้นปราศรัยตอที่ ประชุมสมัชชาใหญสหประชาชาติ ณ นครนิยอรกในวันรุงขึ้น ตอมาคณะรัฐประหารไดแตงตั้งพล เอกสุรยุทธ จุลานนทเปนนายกรัฐมนตรีและมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับปค.ศ. 2007 อยางไรก็ตาม พรรคพลังประชาชนที่นิยมทักษิณไดชนะการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ 23 ธันวาคม ค.ศ. 2007 และนายสมัคร สุนทรเวชหัวหนาพรรคพลังประชาชนไดเปนนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลผสม 5 พรรคเมื่อ 29 มกราคม ค.ศ.2008 483 ในปค.ศ. 2008 นั้น จะเห็นวาในเวลาเพียงปเดียวประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีถึงสองคน คือ นายสมัคร สุนทรเวช (29 มกราคม-17 กันยายน ค.ศ.2008) และนายสมชาย วงศสวัสดิ์ (18 กันยายน-16 ธันวาคม ค.ศ.2008) ในการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2008นั้นจะ เห็นวา สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํารายงานขาวจํานวน 40 ขาว ดังแสดงในตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2008

2008 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวน ปะทะ ขาว Reuters 0 0 0 0 0 0 20 3 1 16 0 0 40

จะเห็นวาสํานักขาวรอยเตอรสนั้นสนใจรายงานขาวกรณีพิพาทปราสาทพระวิหารอยาง คึกคัก ตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2008 เปนตนมาในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยเฉพาะใน ประเด็นที่วาการที่ ยูเนสโกมีมติเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคมใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปน

483 “TIMELINE Thailand since 2006 coup ousted Thaksin”, Reuters (28 February 2008) 114

มรดกโลกนั้นทําใหกลุมชาตินิยมในไทยโกรธแคนจนกดดันใหทหารไทยรุกเขาพื้นที่ทับซอนใกล พรมแดนไทย-กัมพูชา แมจะมีการเจรจาทวิภาคีเพื่อใหมีการถอนทหาร แตการเจรจาก็ลมเหลว เนื่องจากไทย-กัมพูชาตางถือแผนที่คนละฉบับ ในไทยมีการปลุกกระแสชาตินิยมจนลมรัฐบาล สมัครไดสําเร็จ สํานักขาวรอยเตอรส ไดรายงานกรณีการปะทะวันที่ 3 และ 15 ตุลาคมและการที่ กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยึดสนามบินเพื่อไลรัฐบาลสมชาย จึงเห็นไดวาในเดือน ตุลาคมเดือนเดียวสํานักขาวรอยเตอรส มีการรายงานขาวถึง 16 ขาว ซึ่งถือเปนจํานวนขาวสูงสุดใน ปค.ศ. 2008 ดังรายละเอียดในประเด็นขาวตอไปนี้

ยูเนสโกอนุมัติใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก

ในเดือนกุมภาพันธนายสมัคร สุนทรเวชไดไปเยือนกัมพูชาเพื่อแนะนําตัวเองในฐานะ นายกรัฐมนตรีและแนะนํารัฐบาลใหมของไทยในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียน 484 อีกหกเดือน ตอมาในเดือนกรกฎาคม สํานักขาวรอยเตอรสจึงไดเริ่มนําเสนอรายงานขาวกรณีปราสาทพระ วิหาร ซึ่งเปนเดือนที่องคการ UNESCO ไดมีมติใหขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเมื่อ 7 กรกฎาคม ค.ศ.2008 ตามขอเสนอของกัมพูชา ซึ่งตอกย้ําวากรณีปราสาทพระวิหารไดกอใหเกิด ความโกรธแคนขึ้นในหมูชาวไทย ในรายงานเดียวกันนี้ สํานักขาวรอยเตอรสระบุวา การที่ศาล รัฐธรรมนูญไดมีมติ 8-1 มีคําสั่งให “ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี” ของรัฐบาลสมัครที่อนุมัติใหนาย นพดล ปทมะ ลงนามใน “ขอตกลงรวม” (joint communiqué ) ที่จะ ‘เปดทาง’ ใหกัมพูชาเสนอขอ ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตอยูเนสโกไดโดยสะดวก เนื่องจากศาลเห็นวา การลง นามในขอตกลงรวมจะตองผานการเห็นชอบของรัฐสภากอน คําสั่งนี้ของศาลรัฐธรรมนูญไดทําให พรรคประชาธิปตยซึ่งเปนพรรคฝายคานไดฉวยโอกาสใชประเด็นนี้มาโจมตีเพื่อโคนลมรัฐบาลนาย สมัคร ดังจะเห็นวานายสาธิต วงศหนองเตย จากพรรคประชาธิปตยไดบอกกับผูสื่อขาวรอยเตอรส วา "We are aiming to terminate Noppadon first" (เราจะตองกําจัดนายนภดลกอน) และตอไป จะเปนรัฐบาลทั้งคณะ สํานักขาวรอยเตอรสระบุวา พรรคประชาธิปตยและฝายตอตานอดีตนายก ทักษิณนั้นได ‘ฉวยโอกาส’ ที่จะใชคําสั่งของศาลปกครองนี้เพื่อ ‘โหมกระแสคลั่งชาติ’ เนื่องจากคน ไทยจํานวนมากยังเชื่อวาปราสาทพระวิหารยังเปนของไทย ยิ่งไปกวานั้นนายปานเทพ วงศพัว พันธ โฆษกของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยระบุอยางชัดเจนวา "We won't mobilise people to protest against the UNESCO decision, but we will look for ways to

484 “Thai Prime Minister official visit to Cambodia”, Reuters (3 March 2008) 115

oust this government" (เราไมไดประทวงมติของยูเนสโก แตกําลังหาวิธีกําจัดรัฐบาลสมัคร เพราะรัฐบาลนี้นําปราสาทพระวิหารไปแลกกับผลประโยชนของทักษิณในกัมพูชา) อยางไรก็ตาม ผูแทนองคการยูเนสโกในกรุงเทพไดโตแยงวา แผนการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารของกัมพูชา ที่เสนอตอยูเนสโกนั้น เปนคนละอันกับแผนการที่ระบุไวใน “ขอตกลงรวม”ที่กัมพูชาไดลงนามไวกับ ไทย ดังนั้นมติของศาลปกครองไทยจึงจะไมเปนอุปสรรคตอการที่กัมพูชาจะขอขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก สํานักขาวรอยเตอรสไดอางนายชาญวิทย เกษตรศิริที่ระบุวา “ฝายตอตานทักษิณไดขยายประเด็นปราสาทพระวิหารใหเปนประเด็นการเมือง เรื่องนี้จึงมิใช ความขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชา แตเปนความขัดแยงระหวางไทยกับไทยดวยกัน” ในทาง กลับกันในประเทศกัมพูชามีการเฉลิมฉลองใหญตามทองถนนในกรุงพนมเปญ หลังจากที่ยูเนสโก ไดมีมติใหมีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก โดยนายฮุนเซ็นระบุวา “นี่เปนการ ยอมรับวาปราสาทพระวิหารนั้นเปนสถาปตยกรรมขอมที่งดงามที่สุดนั้น เปนความภาคภูมิใจของ คนในภูมิภาคนี้และของคนทั้งโลกดวย” 485 ในวันรุงขึ้น สํานักขาวรอยเตอรสพาดหัวอยางหวือหวา อันมีนัยวา มติ 8–1 ของศาล รัฐธรรมนูญ ที่วาคําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชาที่ลงนามโดยนายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศนั้นขัดกับรัฐธรรมนูญ และอาจทําใหมีการเลือกตั้งเพื่อใหไดรัฐบาลใหม แตกระนั้นนายสมัครไมรูสึกหวั่นไหว ทั้งนี้ สํานักขาวรอยเตอรสไดรายงานวากรณีความตึงเครียด ทางการเมืองนี้ไดกระทบตอเศรษฐกิจไทย นับตั้งแตมีการปดถนนประทวงมาตั้งแต 25 พฤษภาคม ไดมีผลใหตลาดหุนไทยตกลงไปรอยละ 16 นอกจากนี้ บริษัทโกลดแมนแซกซ (Goldman Sachs) ไดเตือนลูกคาใหระมัดระวังการลงทุนในตลาดหุนไทย 486 ในวันตอมา มีพาดหัวขาววา สส.ฝายคาน 4 คนจากพรรคประชาธิปตยกําลังหาทางที่จะขับนายนพดล ปทมะ พนจากตําแหนง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ นักวิเคราะหระบุวาการขับเคี่ยวกันทางการเมือง ระหวาง กลุมผูสนับสนุนทักษิณ และฝายตรงขามทักษิณที่เปนขุนทหารและผูนิยมกษัตริย โดยใช กระบวนการทางศาลเปนเครื่องมือในประเทศไทยนั้น จะหนักหนวงรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้สํานัก ขาวรอยเตอรสใหขอมูลวา นายนพดลนั้นจบกฎหมายจากมหาวิทยาลัยออกซฟอรดและเปนอดีต ทนายความของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ระหวางที่นายนพดลเดินทางกลับไทยจากการประชุม

485 Nopporn Wong-Anan.“Temple spat rages in Thailand after UNESCO listing”, Reuters (8 July 2008) 486 Pracha Hariraksapitak. “Thai rulings fuel election talk, PM not worried”, Reuters (9 July 2008) 116

ยูเนสโกที่แคนาดาไดมีผูประทวงประมาณ 150 คนไปยกปายและตะโกนวา “นพดล ขายชาติ” ("Noppadon: The Traitor.") ที่สนามบิน 487 ตอมาในวันเดียวกัน มีรายงานวานายนพดล ปทมะ ไดตัดสินใจลาออกจากตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ดังพาดหัวขาว“Thai foreign minister quits over temple row” ตามแรงกดดันของฝายตอตานที่อางวาเขาจงใจลงนาม ใน “ขอตกลงรวมกับกัมพูชา”ซึ่งเปนการขัดรัฐธรรมนูญไทย นายนพดลย้ําวาเขา“ไมไดขายชาติ” แต สาเหตุที่จําใจลาออกเพื่อใหเกิด“เอกภาพและความปรองดองในชาติ” 488

ทหารไทยรุกเขาพื้นที่ทับซอน

สถานการณการเมืองไทยที่ตึงเครียดขึ้นไปอีก ตามพาดหัว“Thailand reinforces border over temple row” วามีการเสริมกําลังทหารที่ชายแดน ทั้งนี้เนื่องจาก เมื่อ 15 กรกฎาคม 2008 ไดมี คนไทย 3 คน จากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือ กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตย(People's Alliance for Democracy-PAD) ไดพยายามจะเขาไป ‘ปกธงไทย’ บน พื้นที่ทับซอนที่คนไทยอางวาเปนของประเทศไทย จึงมีผลใหทั้ง 3 คนถูกกัมพูชาจับตัวไป และ ทหารไทยสวนหนึ่งไดรุกเขาไปพื้นที่ทับซอนเพื่อนําคนไทยทั้งสามคนนี้ออกมาแตกองทหารไทย มิไดถอนกําลังกลับมา ผลจากการนี้ทําใหทหารไทยและกัมพูชาตองเผชิญหนากันเปนครั้งแรก โดย ฝายทหารไทยมีกําลังประมาณ 200 นาย และกัมพูชาประมาณ 380 นาย แมจะยังไมมีการปะทะ แต มีทหารไทยไดรับบาดเจ็บจากการเหยียบกับระเบิดจนแขนขาขาด ทั้งนี้เนื่องจากบริเวณพื้นที่รอบ ปราสาทพระวิหารแตเดิมมานั้น เต็มไปดวยกับระเบิดที่ฝงไวตั้งแตครั้งเขมรแดง 489 ดานกองทัพไทยและกัมพูชาก็ไดหารือกันโดยดวน โดยพลเอกบุญสราง เนียมประดิษฐ ผบ.สส.ไทย ไดเรียกรองใหประชาชนไทยให “สงบสติอารมณและตั้งมั่นอยูในสันติ” ดังพาดหัววา“Thai general calls for calm over temple row” ทั้งนี้เพราะฝายทหารไทยและกัมพูชากําลังหาทาง คลี่คลายสถานการณนี้อยูอยางเรงดวน 490

487 “4 Thai opposition seeks to impeach foreign minister”, Reuters (10 July 2008) 488 Nopporn Wong-Anan.“Thai foreign minister quits over temple row”, Reuters (10 July 2008) 489 “Thailand reinforces border over temple row,”Reuters (16 July 2008). 490 Nopporn Wong-Anan.“Thai general calls for calm over temple row”,Reuters (16 July 2008) 117

อยางไรก็ตาม ในวันรุงขึ้นมีรายงานวา ตํารวจไทยและชาวบานประมาณ 300 คนได พยายามปดกั้นมิให ‘กลุมชาวไทยผูรักชาติ’ ประมาณ 2,000 คนที่เดินทางมาจากกรุงเทพโดย รถยนตและรถบรรทุกเล็กประมาณ 20 คันเขาไปใกลพรมแดนดานปราสาทพระวิหาร และตอมา คนกลุมนี้ก็ไดเกิดปะทะกับชาวบาน จนตางไดรับบาดเจ็บกันทั้งสองฝาย ทั้งนี้ชาวบานที่อาศัยอยู ตามชายแดนตางโกรธแคนและไดตะโกนไลกลุมผูประทวงวา “กลับบานไปไป พวกชอบหาเรื่อง” (‘Go home, go home, you troublemakers!) ดานนายวีระ สมความคิด แกนนําผูประทวง อาง วาชาวบานเหลานี้ถูกยุยงสงเสริมโดยนักธุรกิจทองถิ่นชาวไทยที่เสียผลประโยชนจากการคาขายกับ กัมพูชา สํานักขาวรอยเตอรสระบุวา กอนหนานี้ทั้งไทยและกัมพูชาตางกลาวหากันไปมาวา ตาง ฝายเปนฝายบุกรุกกอนและตางเสริมกําลังพลและยุทโธปกรณที่ชายแดน แตในขณะเดียวกันทั้ง สองฝายตางก็ตองการแสดงวา ตนมีความพยายามที่จะใชการทูตแกไขสถานการณโดย ผาน คณะกรรมการรวมชายแดน (JBC) ซึ่งไดนัดหมายแลวที่จะประชุมกัน 491 ดานนายฮุนเซ็นระบุวาสถานการณที่ชายแดนไทย-กัมพูชา “เลวรายลงเรื่อยๆ” จึงขอ เรียกรองใหทหารไทยและคนไทยถอนกําลังออกจากดินแดนกัมพูชา ทั้งนี้ทหารกัมพูชาและไทยได เผชิญหนากันมานานถึงสามวันแลว ทั้งนี้สํานักขาวรอยเตอรสไดใหขอมูลวาเนื่องจากมีผูประทวง จากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยกวา 2,000 คน ที่ตองการบุกเขาไปในบริเวณ ปราสาทพระวิหาร มีผลใหชาวบานไมพอใจและตะโกนขับไลกลุม ดานนายสมัครไดกลาวหากลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย)วา เปนพวก “เสียสติ”(insane) และตองการ “ยั่วยุ”ใหทหารทหารกัมพูชาและไทย ตองประจัญหนากันที่ ชายแดน 492 ในขณะเดียวกันมีรายงานวา มีการตรึงกําลังที่ชายแดนไทย-กัมพูชาเปนวันที่ 4 แลว แมวากําลังจะมีการเจรจากัน แตฝายทหารกัมพูชากลับเสริมกําลังทัพดวยรถบรรทุกหนัก 4 คัน มี จรวด ปนกลและปนอัตโนมัติ กรณีนี้ทําใหสํานักขาวรอยเตอรสแสดงความวิตกวาสถานการณ อาจรุนแรงขึ้นจนควบคุมไมไดเหมือนกับเหตุการณเมื่อป 2003 ที่มีการปลุกกระแสตอตานดารา สาวไทย จนมีการเผาสถานทูตและธุรกิจของคนไทยในกรุงพนมเปญ 493

491 “Thai protesters blocked from disputed temple”, Reuters (17 July 2008) 492 Nopporn Wong-Anan.“Cambodia PM says Thai border getting worse”, Reuters (17 July 2008) 493 “Cambodia sends more troops ahead of temple row talks”, Reuters (18 July 2008) 118

เมื่อการตรึงกําลังกันยางเขาสูวันที่ 5 สํานักขาวรอยเตอรสไดพาดหัวขาวมีนัยวา ไทย- กัมพูชามีแตกลาวหากันไปมา วาเปนฝายละเมิดอธิปไตยของอีกฝายหนึ่งในพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.(1.8 ตารางไมล) ในขณะที่ไทยไดเสริมกําลังทหารที่พรมแดนเปน 400 นาย พรรค รัฐบาลกัมพูชาก็กําลังปลุกกระแสชาตินิยมตอตานไทยและสินคาไทยในชวงการหาเสียงเลือกตั้ง ทั่วไป สงผลใหตลาดหุนในไทยตกลงไปถึงรอยละ 23 นับตั้งแตกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยไดทําการปดถนนประทวงรัฐบาลสมัครในกรุงเทพ โดย นักวิเคราะหจาก Asia Plus Securities ระบุวาประเด็นปราสาทพระวิหารจะสงผลดานลบตอตลาดหุนอยางแนนอน 494 จนเมื่อ การตรึงกําลังทหารกันที่บริเวณปราสาทพระวิหารเขาสูวันที่ 6

เจรจาลมเหลว : แผนที่คนละฉบับ

วันรุงขึ้นฝายไทยและกัมพูชาไดจัดใหมีการประชุมเจาหนาที่ระดับสูงที่อรัญประเทศ ระหวางพลเอกบุญสราง เนียมประดิษฐ ผบ.สส.ของไทยและพลเอกเตียบันรัฐมนตรีวาการกระทรวง การตางประเทศกลาโหมกัมพูชา อยางไรก็ตามผลการประชุมยังไมมีความคืบหนา และทั้งสองฝาย ยังคงตรึงกําลังทหาร และเสริมสรรพกําลังกันอยางหนาแนน นอกจากนี้เอกอัครขาราชทูตกัมพูชา ประจําองคการสหประชาชาติ ยังไดกลาวหาไทยวา“คิดไปเอง” วามี “พื้นที่ทับซอน” อยูที่พรมแดน ระหวางสองประเทศ ทั้งนี้สํานักขาวรอยเตอรสอางนักวิเคราะหการเมืองวา ความขัดแยงทาง การเมืองภายในของไทยเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหกรณีพระวิหารระเบิดขึ้นมาอีกครั้ง 495 สํานักขาวรอยเตอรสเกาะติดการประชุมทวิภาคีที่อรัญประเทศ แตทวาการประชุมที่กิน ระยะเวลานานถึง 8 ชั่วโมงนั้นกลับลมเหลว ทั้งไทยและกัมพูชายังไมอาจจะตกลงกันได เนื่องจาก ทั้งสองฝายตาง “ไมยอมถอนทหาร” แตยังคง “ตรึงกําลังกันอยางไมลดราวาศอก” ทั้งนี้พลเอกบุญ สราง เนียมประดิษฐ เรียกรองวาทางออกที่ดีที่สุดในสถานการณที่เลวรายขณะนี้ คือ ขอใหกองกําลัง ทั้งสองฝายจงอยูในที่ตั้งและหลีกเลี่ยงการใชอาวุธ แตพลเอกเตีย บัน (Tea Banh) รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศกลาโหมกัมพูชากลับกลาววา เปนไปไมไดที่ปญหานี้จะมีทางออก ทั้งนี้ สํานักขาวรอยเตอรสไดขอมูลจากเจาหนาที่กัมพูชาวา ปญหาที่ไทยและกัมพูชาตกลงกันไมได ก็คือ

494 Nopporn Wong-Anan.“More troops, rhetoric in Thai-Cambodia temple row”, Reuters (19 July 2008) 495 “Thailand, Cambodia hold talks on temple row”, Reuters (21 July 2008) 119

“จะใชแผนที่ฉบับไหน” เพื่อที่จะกําหนดอาณาเขตของปราสาทพระวิหารและพื้นที่ทับซอน เนื่องจากทั้งไทยและกัมพูชาตางยึดถือแผนที่กันคนละฉบับ 496

กัมพูชารองเรียน UNSC ใหเขามาแทรกแซง

เนื่องจากการประชุมทวิภาคีที่อรัญประเทศลมเหลว ดวยเหตุนี้กัมพูชาจึงไดหันไปใชเวที ทางการทูตในระดับสากล โดยกัมพูชาไดรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงขององคการ สหประชาชาติ (UNSC) ตั้งแตวันที่ 18 กรกฎาคม และยังจะไดนําประเด็นนี้เขาสูการพิจารณาของ การประชุมความมั่นคงของเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่สิงคโปรอีกดวย ซึ่งที่ประชุมรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศอาเซียนซึ่งกําลังประชุมอยูที่สิงคโปรไดเสนอตัวจะชวยเจรจาไกลเกลี่ย และอํานวยความสะดวกในการจัดประชุม แมวานายสุรินทร พิศสุวรรณเลขาธิการอาเซียนจะได ปฏิเสธขาวที่วา“กัมพูชาไดขอให UNSC เขามาแทรกแซง” 497 แตสํานักขาวรอยเตอรส ไดพาดหัว ขาวยืนยันวา“กัมพูชากําลังแสวงหาความชวยเหลือจาก UNSC “498 ในขณะที่ประชาชนไทยที่อาศัยอยูตามชายแดนเริ่มไมมั่นใจในสถานการณจึงได เตรียมการอพยบ หากมีการปะทะกันอีก แตทวานายสมัครนั้นกลับมองวาสถานการณจะตองดีขึ้น หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในกัมพูชาสิ้นสุดลงในวันที่ 27 กรกฎาคมที่จะถึงนี้ ในรายงานนี้สํานัก ขาวรอยเตอรสวิจารณวานายสมัครนั้น“ประมาทกัมพูชา” และ “ประเมินการรุกทางการทูตของ กัมพูชาที่ขอใหองคการสหประชาชาติเขามาไกลเกลี่ยต่ําเกินไป” สวนนายดอน ปริมัตถวินัย เอก อัครขาราชทูตไทยประจําองคการสหประชาชาติ นั้นรูเทาทันวา กัมพูชากําลังเดินเกม“การทูตเชิง รุก”และใช“ยุทธวิธีแบบกองโจร” เพื่อหวังจะไดดินแดนเพิ่มขึ้นหลังจากที่ศาลโลกไดตัดสินให กัมพูชาไดแตตัวปราสาทพระวิหารไป ดังนั้นกัมพูชาจึงตองการจะรณรงคใหนําแผนที่ในสมัยที่ กัมพูชายังเปนอาณานิคมของฝรั่งเศสมาใชในการปกปนเขตแดนกับไทย 499 สํานักขาวรอยเตอรสรายงานวา นายสมัครอางวานายฮุนเซ็นได“ยอมที่จะถอนคํารอง” ตอคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติแลว แตทวากัมพูชากลับตอบโตนายสมัครวา “ไมเปนความจริง” กัมพูชาเพียงแตขอรองใหประธานคณะมนตรีความมั่นคงขององคการ

496 “Talk fails to endThai-Cambodia temple row”, Reuters (21 July 2008) 497 “ASEAN ministers offer help in Thai-Cambodia dispute”, Reuters (21 July 2008) 498 “Cambodia seeks U.N. help in Thai temple row”, Reuters (22 July 2008) 499 “Thai brace for border clashes with Cambodia”, Reuters (23 July 2008) 120

สหประชาชาติ “ชะลอการพิจารณาคํารอง” ไปกอนเพื่อรอดูทาทีของฝายไทยและผลของการหารือ ในระดับทวิภาคีเสียกอน ดังนั้นจึงถือวากัมพูชา “ยังไมไดถอน” หรือยกเลิกคํารองนั้นแตอยางใด ดังจะเห็นวานายสี โกสัล (Si Kosal) เอกอัครขาราชทูตกัมพูชาประจําองคการสหประชาชาติ ไดสง จดหมายไปถึงนายเลอลองมินห (Le Luong Minh) เอกอัครขาราชทูตเวียดนามประจําองคการ สหประชาชาติและดํารงตําแหนงประธานคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ ในขณะนั้นเพื่อขอใหมีการเลื่อนการประชุมฉุกเฉินที่เดิมไดกําหนดไวในสัปดาหที่จะถึงนี้ออกไป กอน เนื่องจากคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติตองการรอผลของการหารือ ระหวางรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยและกัมพูชา ซึ่งจะประชุมกันในวันจันทรที่จะ ถึงนี้ที่เมืองเสียมเรียบเสียกอน500 กอนหนานี้นายฌ็อง-มอริส ริแปร (Jean-Maurice Ripert) เอกอัครขาราชทูตฝรั่งเศส ประจําองคการสหประชาชาติและนายเลอลองมินหไดแถลงวา คณะมนตรีความมั่นคงขององคการ สหประชาชาติ ไดมีการประชุมวาระพิเศษไปแลวเพื่อพิจารณาวาจะรับเรื่องนี้ของกัมพูชาเขาสูวาระ การประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติหรือไม ซึ่งผลการประชุมปรากฎ วา ที่ประชุมตองการใหอาเซียนเขามามีบทบาทไกลเกลี่ย และเรียกรองใหทั้งสองฝาย เจรจากันในระดับทวิภาคีตอไป 501 สวนฝายไทยนั้นก็อางวาจีน รัสเซีย สหรัฐ เวียดนามและ อินโดนีเซียสนับสนุนไทยที่ใหอาเซียนมีบทบาท เพราะไมตองการใหคณะมนตรีความมั่นคงของ องคการสหประชาชาติเขาไปแทรกแซง ในเรื่องนี้สํานักขาวรอยเตอรสแสดงความไมแนใจวา ใน ฐานะประธานคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาตินั้นจะมีอํานาจอื่นใดไดอีกนอกจาก การสงแถลงการณเรียกรองใหทั้งสองฝายยุติปญหา นอกจากนี้นายจอรช เยียว (George Yeo) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศสิงคโปรในฐานะประธานอาเซียนก็ไมเห็นดวยวา คณะ มนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติควรจะเขามาเกี่ยวของในความขัดแยงระหวางสอง ประเทศในอาเซียน เขาย้ําวาอาเซียน “ไมควรทําเรื่องเล็กหรือเรื่องที่ไมเปนเรื่องใหเปนเรื่องใหญ ขึ้นมา” 502 ในดานการเมืองภายในกัมพูชา จะเห็นวาผลการเลือกตั้งทั่วไปในกัมพูชาในวันอาทิตยที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ.2008 เปนไปตามคาด กลาวคือ พรรคประชาชนกัมพูชา (Cambodian People’s Party-CPP) ของนายฮุนเซ็นซึ่งได 80 ที่นั่ง จาก123 ที่นั่งไดรับชัยชนะในการเลือกตั้ง ชัยชนะครั้งนี้

500 “Cambodia-Thailand agree more temple talks”, Reuters (24 July 2008) 501 “UN council to take up Cambodia-Thai dispute”, Reuters (24 July 2008) 502 “Cambodia-Thailand agree more temple talks”, Reuters (24 July 2008) 121

ทําใหนายฮุนเซ็นไดเปนนายกรัฐมนตรีตอไปอีก 5 ปหลังจากอยูในตําแหนงนี้มานานถึง 23 ปแลว สํานักขาวรอยเตอรสใหขอมูลวานายฮุนเซ็นนั้นอายุ 57 ป เขาเลนหมากรุกเกงและเปนอดีตนักรบ เขมรแดงที่สูญเสียดวงตาไปขางหนึ่งระหวางการทําศึกยึดกรุงพนมเปญ และวิเคราะหวาสาเหตุที่ นายฮุนเซ็นชนะการเลือกตั้งทั่วไปครั้งนี้เนื่องจากเศรษฐกิจกัมพูชาในสมัยนายฮุนเซ็นนั้นดีขึ้นมาก ทั้งยังไดคะแนนเสียงสนับสนุนเปนกรณีพิเศษจากการที่พรรครัฐบาลไดปลุกกระแสชาตินิยมใน กรณีปราสาทพระวิหารไดสําเร็จ ชัยชนะในการเลือกตั้งครั้งนี้ของพรรครัฐบาลทําใหกัมพูชามีความ มั่นใจที่จะกลับเขามาสูโตะเจรจากับไทยในวันจันทรที่ 28 กรกฎาคม ที่เมืองเสียมเรียบ สํานักขาว รอยเตอรสตั้งขอสังเกตวาแมวาทั้งสองฝายจะเสริมกําลังกันที่ชายแดนแตยังไมมีการปะทะกันทาง ทหาร มีแตการปะทะคารมและขับเคี่ยวกันในเวทีการทูตมากกวา 503

เจรจาทวิภาคีลมเหลว : เรื่องถอนทหาร

ที่นาสนใจคือ กอนเขาประชุมกับนายฮอรนัมฮง (Hor Namhong) รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศกัมพูชาที่เมืองเสียมเรียบ นายเตช บุนนาค รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศไทย คนใหม ไดออกแถลงการณเรียกรองกัมพูชาไมใหนําประเด็นพิพาทไทย-กัมพูชานี้ เขาสูการวาระพิจารณาของประธานคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ แตสํานักขาว รอยเตอรสก็วิจารณวา ไทยเองก็ไมคาดหวังเชนกันวาการประชุมทวิภาคีแบบนี้จะไดผลอะไร มากมายนัก 504 ดังจะเห็นจากรายงานของสํานักขาวรอยเตอรสในวันตอมาวา กอนจะเริ่มการ ประชุมที่เมืองเสียมเรียบ ซึ่งเปนการหารือครั้งที่สองในระดับรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศเพื่อคลี่คลายสภาวะการตรึงกําลังที่ชายแดนนั้น ทั้งนายเตช บุนนาคและนายฮอรนัมฮง ไดปฎิเสธที่จะใหสัมภาษณกับผูสื่อขาว 505 มีรายงานเพิ่มเติมวา การประชุมครั้งนี้ใชเวลาถึง 12 ชั่วโมง ทั้งสองฝายตกลงกันวาจะแกไขวิกฤตการณนี้ดวยสันติวิธี โดยไทยและกัมพูชาจะยอมถอน ทหารออกจากพื้นที่พิพาท อยางไรก็ตามในการประชุมคณะรัฐมนตรีไทยในวันอังคารกลับไมมีการ บรรจุวาระพิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการถอนทหารไทยแตอยางใด ดานพลเอกอนุพงษ เหลาจินดา ผู บัญชาการทหารบกก็อางวา ทหารไทยกําลังรอคําสั่งจากรัฐบาลวาจะใหถอนทหารไดเมื่อใด สํานัก ขาวรอยเตอรสวิเคราะหวา รัฐบาลกัมพูชาของนายฮุนเซ็นนั้นเพิ่งไดรับชัยชนะจากการเลือกตั้งจึง

503 “Cambodian ruling party claims election victory”, Reuters (27 July 2008) 504 “Thailand wants to keep UN out of Cambodian row”, Reuters (27 July 2008) 505 “Thailand and Cambodia try again to defuse temple row”, Reuters (28 July 2008) 122

“ยังฮึกเหิม” และ “ไมอยากเปนฝายยอมถอนทหารกอน” สวนรัฐบาลไทยนั้นก็กําลัง “ถูกแรงกดดัน จากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยจึงยังไมอยากถอยเชนกัน” สํานักขาวรอยเตอรสจึง พาดหัวขาววา ทั้งกัมพูชา และไทยตางอยูในสภาวะ “ขิงก็ราขาก็แรง” คือ ตางฝายยังคงตรึงกําลังกัน อยางไมลดราวาศอกและตางเกี่ยงกันวาใครจะเปนฝายถอนทหารกอน 506 ในเดือนสิงหาคมมีขาวครึกโครมในสื่อมวลชนไทย และสํานักขาวรอยเตอรสก็สนใจจะ “เลน”ขาวนี้ นั่นคือ การที่นางบุนรานี (Bun Rany) ภรรยานายกรัฐมนตรีกัมพูชาไดเดินทางไปทําพิธี ทางศาสนา และเพื่อ “ขอบคุณทหาร”กัมพูชาที่ประจําอยูที่ปราสาทพระวิหารซึ่งสวนใหญเปนอดีต นักรบเขมรแดง และเพื่อ “ขอใหสิ่งศักดิ์สิทธคุมครองปราสาทพระวิหารจากการรุกรานของไทย” ในขณะที่กลุมคนไทยที่ตองการใหปราสาทพระวิหารกลับมาเปนของไทยกลาวหานางบุนรานีวา กําลังทํา “พิธีมนตดํา” (‘a black-magic ritual) เพื่อใหโชครายตกแกฝายไทย สํานักขาวรอยเตอรส วิเคราะหวาการเดินทางมาปราสาทพระวิหารของนางบุนรานีสตรีหมายเลขหนึ่ง ภรรยาของ นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นโดยเฮลิคอปเตอรและมีการรักษาความปลอดภัยอยางแนนหนานั้น เปน เครื่องบงชี้วา “สามีของเธอคงไมอยูในอารมณที่จะประนีประนอมกับไทยอยางแนนอน” 507 อยางไรก็ตามหลังจากไดรับชัยชนะในการเลือกตั้งทั่วไปในกัมพูชาแลว นายฮุนเซ็นกลับลด ความกราวลง และเรียกรองทั้งสองประเทศ “ใหลืมอดีตอันขมขื่น” เพราะ “ไทยและกัมพูชาจะตอง เปนเพื่อนบานที่ดีกันไปอีกเปนพันเปนหมื่นป” ดังนั้นไทยและกัมพูชาจึงตองพยายามลดความ ขัดแยงและเพิ่มขอบเขตความรวมมือรวมทั้งการคา นายฮุนเซ็นย้ําวากัมพูชาพรอมแลวที่จะถอนกอง กําลังออกมา 508 มีรายงานวาในที่สุด กองทหารกัมพูชาและไทยตางก็ไดเริ่มถอนกําลังออกจาก บริเวณพิพาทแลวตาม หลังจากที่มีการตรึงกําลังกันมาเปนเวลานานถึงหนึ่งเดือน คาดวาจะมีการ ถอนทหารกัมพูชาและไทยในวันนี้ออกไปฝายละประมาณ 1,000 คน ในเวลากอนพระอาทิตยตก ดิน นอกจากนี้ตามขอตกลงทั้งสองฝายจะคงทหารไวที่วัดแกวสิกขาคีรีสวรา จํานวนฝายละ 10 นาย เทานั้น 509

ลมรัฐบาลสมัคร

506 “Cambodia, Thailand loath to blink”, Reuters (29 July 2008) 507 “Cambodian PM’s wife prays at disputed temple”, Reuters (1 August 2008) 508 “Cambodian PM says Thai temple row must be resolved”, Reuters (6 August 2008) 509 “Cambodian, Thai troops pull back from disputed area”, Reuters (16 August 2008) 123

ขณะที่สถานการณที่พรมแดนไทยและกัมพูชา กําลังจะคลี่คลายเนื่องจากกําลังจะมีการถอน ทหาร แตสํานักขาวรอยเตอรสระบุวา รัฐบาลไทยของนายสมัคร สุนทรเวชกําลังตกอยูใน “สถานการณลําบาก” เพราะนอกจากจะเผชิญหนากับการประทวงโดยกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยแลวคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ของไทยยังไดมีมติใหยุบพรรคพลังประชาชน ของนายสมัครโดยตั้งขอหาวา พรรคไดโกงการเลือกตั้งเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ.2007 ซึ่งหากยึดตาม รัฐธรรมนูญที่รางหลังการรัฐประหารในปค.ศ. 2006 แลวพรรคการเมืองทั้งพรรคจะถูกยุบทันที ถา หากกรรมการบริหารพรรคคนใดคนหนึ่งถูกตัดสินวาซื้อเสียง อยางไรก็ตามจะตองมีการสงเรื่องนี้ ไปใหศาลสูงสุดพิจารณาในขั้นสุดทายซึ่งคงจะตองใชเวลาอีกหลายเดือน และถาหากศาลเห็นวา ตองยุบพรรคแลว สมาชิกพรรคกวา 33 คนรวมทั้งนายสมัครจะตองพนจากตําแหนงและถูกหาม เลนการเมืองเปนเวลา 5 ป สํานักขาวรอยเตอรสไดใหขอมูลวา พรรคพลังประชาชนไดคะแนนนํา สูงสุดในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อเดือนธันวาคมที่ผานมา เนื่องจากมีฐานเสียงจากกลุมผูที่ยังสนับสนุน อดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรซึ่งถูกรัฐประหารในปค.ศ. 2006 510 ขาวรายอีกขาวหนึ่งสําหรับรัฐบาลสมัคร คือเพียงหนึ่งวันหลังจากที่มีการประกาศภาวะ ฉุกเฉิน นายเตช บุนนาค รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศก็ไดประกาศลาออก สํานักขาว รอยเตอรสระบุวานายเตช บุนนาคเปนนักการทูตมืออาชีพมายาวนาน เขาไดขอลาออกโดยอางวาได บรรลุภารกิจในการฟนฟูสัมพันธภาพกับกัมพูชาเสร็จสิ้นแลว กอนหนาที่เขาจะมารับตําแหนง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศแทนนายนพดล ปทมะนั้น นายเตช บุนนาคเคยถวายงาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในฐานะราชเลขานุการสวนพระองค การที่เขาลาออกจากตําแหนง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศจึงถูกมองไดวามีสาเหตุที่เกี่ยวของกับการบริหารงานของ รัฐบาลสมัคร ทั้งนี้สํานักขาวรอยเตอรสไดใหขอมูลวากลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นั้นอางวาตนเองคือ ‘ผูพิทักษราชบัลลังก’ และกลาวหาทักษิณและสมัครวาตองการเปลี่ยนประเทศ ไทยใหเปน ‘สาธารณรัฐ’ 511 ในวันเดียวกันกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดเพิ่มการกดดันใหรัฐบาลสมัคร ลาออกโดยไดขูวาสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจะมีการนัดหยุดงานทั่วประเทศ ฝายทหารก็ปฏิเสธที่ จะใชกําลังสลายผูชุมนุม ในที่สุดนายสนธิ ลิ้มทองกุลผูนําของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยก็ไดทําในสิ่งที่หนังสือพิมพบางกอกโพสตเรียกวาเปนการ “ยอมประนีประนอม” โดยเรียกรองใหมีการเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีจากนายสมัครเปนนายสมชาย วงศสวัสดิ์ หรือนายสุ รพงษ สืบวงศลี และใหรัฐบาลยอมรับขอเสนอ 4 ประการของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ

510 “Thai poll body urges disbanding ruling party”, Reuters (2 September 2008) 511 “Thai foreign minister quits as Bangkok protests drag on”, Reuters (3 September 2008) 124

ประชาธิปไตย คือ รัฐบาลตองไมแกรัฐธรรมนูญ ตองยุติโครงการขนาดยักษ ตองปฏิรูปการเมือง และตองปฏิบัติตามคําสั่งศาลรัฐธรรมนูญที่วาการยอมใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปน มรดกโลกนั้นเปนการขัดรัฐธรรมนูญ 512 ในที่สุดความพยายามของฝายตอตานก็ประสบ ความสําเร็จเมื่อ ศาลรัฐธรรมนูญมีมติในวันที่ 9 กันยายนใหนายสมัครพนจากการเปน นายกรัฐมนตรีดวย “ขอหาทํารายการอาหารทางโทรทัศน” (…’guilty of violating constitution by hosting TV cooking shows while in office’..) สํานักขาวรอยเตอรสระบุวาผลจากความวุนวาย ทางการเมืองในไทยในชวงนี้มีผลใหตลาดหุนตกลงถึงรอยละ 24 513 ในฐานะที่มีเสียงขางมากในสภา พรรคพลังประชาชนไดเสนอนายสมชาย วงศสวัสดิ์ ใหรับ ตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนตอไป แตเขาอยูในตําแหนงไดเพียง 3 เดือน 28 วัน(18 ก.ย.-16 ธ.ค. 2008) ในอดีตนายสมชาย เคยดํารงตําแหนงรองนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช สํานักขาวรอยเตอรสไดใหขอมูลวา นายสมชาย วงศสวัสดิ์ อายุ 61 ป มีศักดิ์เปนนองเขยของอดีต นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรซึ่งถูกรัฐประหารไปเมื่อสองปกอน เขาเปนนักกฎหมาย เคยเปนอดีตผู พิพากษาศาลอุทธรณและเปนปลัดกระทรวงยุติธรรมระหวางป 1999 ถึง 2006 ในระหวางการ แถลงขาว เมื่อขึ้นเปนหัวหนาพรรคพลังประชาชนคนใหม นายสมชายนั้นมีทาทาง “กระวนกระวาย และดูไมคอยมั่นใจในตัวเอง” (…appeared nervous and unsure of himself.’)514

การปะทะวันที่ 3 ตุลาคม 2008

ดังจะเห็นวา ทันทีที่นายสมชาย วงศสวัสดิ์ไดเขารับตําแหนงนายกรัฐมนตรี ก็เกิดการปะทะ กันเล็กนอยระหวางไทยและกัมพูชาเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2008 มีผลใหทหารไทยไดรับบาดเจ็บ 2 คน กัมพูชา 1 คน ทั้งนี้พลโทวิบูลศักดิ์ หนีพาล ผบ.กองกําลังบูรพา ยอมรับวา “ทหารไทยเปนฝาย ยิงกอน แตดวยเจตนาที่จะเตือนมิใหหนวยลาดตระเวณของกัมพูชารุกล้ําเขามาในดินแดนไทย” แต พลเอกเจียมอน (Chea Mon) ผบ.กองกําลังที่ปราสาทพระวิหารของกัมพูชาโตแยงวา “ฝายทหาร ไทยทําเกินกวาเหตุ เพราะยิงกระสุนปนไรเฟลไปถึงสองชุด” 515 วันรุงขึ้นกัมพูชาไดยื่นหนังสือ ประทวงไทย ตอเอกอัครขาราชทูตไทยประจํากัมพูชา กรณีนี้ทําใหมีการพยายามเจรจาในระดับสูง

512 “Thailand faces public sector strikes as protest continues”, Reuters (3 September 2008) 513 “TIMELINE - Thailand's political crisis”, Reuters (2 December 2008) 514 “FACTBOX - Somchai Wongsawat, Thailand's new PM”, Reuters (17 September 2008) 515 “Thai-Cambodian clash wounds 3 near disputed temple”, Reuters (3 October 2008) 125

โดยกัมพูชายินยอมจะสอบสวนหาสาเหตุขอเท็จจริงของการปะทะอีกครั้งหนึ่ง 516 อยางไรก็ตาม สถานการณเลวรายลง เมื่ออีกสองวันตอมามีรายงานวาทหารไทยไดรับบาดเจ็บจากการเหยียบกับ ระเบิดที่ชายแดนกัมพูชา โดยฝายกัมพูชาอางวาเปน “กับระเบิดของเขมรแดง” ที่ฝงไวนานแลว ใน เรื่องนี้นายสมพงษ อมรวิวัฒน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ รับปากวาจะนําประเด็นนี้ ไปหารือกับฝายกัมพูชาอยางจริงจัง ในชวงที่นายกรัฐมนตรีสมชายจะไปยืนกัมพูชาเร็วๆนี้ 517 ในสัปดาหตอมาสํานักขาวรอยเตอรสก็รายงานวาฝายไทยไดสงกําลังทหารไปเพิ่มเติมที่ ชายแดน โดยพลโทวิบูลศักดิ์ หนีพาล ผบ.กองกําลังบูรพาอางวา“ขณะที่ฝายไทยกําลังจะถอนกําลัง ออกมา แตทวากลับเผชิญหนากับทหารกัมพูชาที่อยูหางออกไปเพียง 100 เมตร” ในขณะที่พลเอก เจีย มอน ไดแถลงตอบโตวา “ทหารไทยกวา 100 คนไดรุกล้ําเขาไปในแดนกัมพูชา” และนายฮุน เซ็นไดยื่นคําขาด โดยขูไทยใหถอนกองกําลังออกไปภายในเที่ยงวันของวันรุงขึ้น อยางไรก็ตามฝาย ไทยก็มิไดลดราวาศอก และตอบโตวา“ไทยพรอมจะทําสงคราม” ทั้งกระทรวงการตางประเทศก็ได เตือนคนไทยไมใหเดินทางไปกัมพูชา 518 แตในวันเดียวกันสํานักขาวรอยเตอรสก็อางแหลงขาว กัมพูชาวา “กองกําลังของไทยไดถอยออกจากบริเวณพิพาทแลว กอนที่จะถึง “เสนตาย” ที่นายฮุน เซ็นระบุไวในเวลาเที่ยงวัน” 519

การปะทะวันที่ 15 ตค 2008

ทามกลางการเมืองคุกรุนในไทยที่ฝายตอตานรัฐบาลนายสมชาย วงศสวัสดิ์กําลังเรียกรอง ใหกองทัพทําการ “ทํารัฐประหาร” ก็มีรายงานขาวดวนวาได “เกิดการสูรบกันแลวที่ชายแดนไทย- กัมพูชา”ในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 2008 520 ตามมาดวยขาววามีการ “ยิงจรวดใสกัน” โดยทั้งสอง ฝายตางกลาวหาวาอีกฝายหนึ่งวาเปนฝายยิงกอน มีผลใหมีทหารตายสองนายระหวางการปะทะ 521 ฝายกัมพูชาอางวาไดจับทหารไทยเปนเชลยได 10 นาย ทั้งนี้สํานักขาวรอยเตอรสไดนําภาพทหาร ไทยที่ถูกกัมพูชาจับไปมาเผยแพรดวย แตทางการไทยไดออกมาปฏิเสธเรื่องนี้ นอกจากนี้นาย

516 “Cambodia warns Thailand after border clash”, Reuters (4 October 2008) 517 “Landmines wound Thai soldiers on Cambodian border”, Reuters (6 October 2008) 518 “Thailand sends more troops to Cambodian border”, Reuters (14 October 2008) 519 “Cambodia:Thai troops retreat from disputed border”, Reuters (14 October 2008) 520 “Fighting breaks out on Thai-Cambodian border”, Reuters (15 October 2008) 521 “Thai, Cambodian troops clash on border, two killed”, Reuters (15 October 2008) 126

สมพงษ อมรวิวัฒน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไดออกมาประกาศเตือนนักธุรกิจไทย ที่ไปทําธุรกิจในกัมพูชาใหรีบอพยบออกจากกัมพูชาโดยดวน กอนที่สถานการณจะลุกลาม เหมือนกับการเผาสถานทูตไทยในป 2003 ขาวนี้มีผลใหตลาดหุนไทยตกลงไปรอยละ 3.8 522 อยางไรก็ตามในวันรุงขึ้นก็ไดมีความพยายามจะยุติปญหาจากทั้งสองฝายโดยทหารไทยและกัมพูชา ไดเจรจากัน 523 และกองกําลังทั้งสองฝายได “ตกลงที่จะทําการลาดตระเวณรวมกัน”เพื่อปองกันมิ ใหเกิดอุบัติเหตุหรือความเขาใจผิดกันอีก 524 สํานักขาวรอยเตอรสไดทํารายงานสรุปการปะทะ เมื่อวันพุธที่ 15 ตุลาคมวา มีการปะทะกันเปนเวลา 40 นาทีโดยมีการยิงปนและจรวดใสกันมีผลให ทหารกัมพูชาตายไป 2 นาย ซึ่งถือวาเปนการปะทะที่เสียหายหนักที่สุดในรอบหลายปที่ผานมา มี การเปดเจรจาระหวางระดับผูบัญชาการทหารของทั้งสองฝายซึ่งใชเวลากวา 5 ชั่วโมง แตก็ยังตกลง กันไมไดวาจะมีการถอนทหาร กองกําลังแตละฝายจะยังคงอยูในที่ตั้ง แตไดตกลงกันวาจะจัดหนวย ออกตระเวณรวมกันเพื่อลดความตึงเครียด” อยางไรก็ตามพลเอกสเรย เดิก (Srey Dek) ผูแทนฝาย กัมพูชากลับแถลงวา “ไมไดมีการตกลงใดใดระหวางกัน”ในการเจรจาครั้งนี้ 525

ใครไดประโยชนจากการปะทะ

บทวิเคราะหชื่อ “ถาม-ตอบ กรณีพิพาทพรมแดนกัมพูชาไทย –จะไปถึงขั้นไหน” สํานัก ขาวรอยเตอรสใชวิธีตั้งคําถามวาใครเปนตัวการอยูเบื้องหลังใหเกิดการยิงใสกัน และใครเปนผูได ประโยชนจากสถานการณเชนนี้ โดยไดพยายามหาคําตอบจากการสัมภาษณนักการทูตและ นักวิเคราะหสถานการณ ดังนี้ นายโทนี่ เควิน (Tony Kevin) อดีตเอกอัครขาราชทูตออสเตรเลีย ประจํากัมพูชาวา กัมพูชานั้นคงไมไดประโยชนอะไร แต “ผูไดประโยชน คือ ประเทศไทย” ทั้งนี้ เพราะกลุมชนชั้นนําของไทย คือ ทหารและรัฐบาลตองการ ‘เบนความสนใจ’ (distraction)ของ ประชาชนจากการเมืองไทยที่ยุงเหยิง (the very tense and riven state of Thai politics) และหาก จะรบกันหนักกวานี้ก็ไมแนวาไทยจะชนะ เพราะกัมพูชามีอดีตนักรบเขมรแดงที่ชํานาญภูมิประเทศ กวาและฝงกับระเบิดไวนับเปนลานๆจุด ซ้ําภายนอกก็จะมองวาไทยเปน ผูรุกราน (aggessor) ประเทศเล็กที่ยากจนกวา การปะทะคงไมจบงายๆเนื่องจากในประเทศไทยกลุมผูประทวงกลาวหา

522 “Cambodia says it has captured 10 Thai soldiers”, Reuters (15 October 2008) 523 “Thai, Cambodia armies to Meet After Border Battle”, Reuters (16 October 2008) 524 “Thai –Cambodian armies agree to join border patrols”, Reuters (16 October 2008) 525 “Thai Cambodian armies keep guns drawn”, Reuters (17 October 2008) 127

รัฐบาลวา “ขายชาติขายแผนดิน” (selling off Thai soil) และวิพากษวิจารณกองทัพที่ยังไมยอมกอ รัฐประหารเพื่อโคนรัฐบาล ดานนายฮุนเซ็นนั้นก็ตองแสดงทาทีแข็งกราวเพื่อรักษาฐานเสียงที่ทําให ชนะการเลือกตั้งมาอยางถลมทลาย สํานักขาวรอยเตอรสตั้งคําถามวา แลวใครเลาจะมาเปน กรรมการ (referee) หามทัพ อาเซียนอาจถูกมองวาไมเปนกลาง เนื่องจากนายสุรินทร พิศสุวรรณ เลขาธิการเปนคนไทย สวนจะไปถึงขั้นคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) หรือไมคงตองรอดูอีกระยะหนึ่ง สํานักขาวรอยเตอรสแสดงทาทีวาตองการจะใหสหรัฐและจีนเขา มาชวยไกลเกลี่ย แตใหขอมูลวาสหรัฐยังมีวิกฤตการคลังและกําลังจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดี สวนจีนนั้นยังไมชัดเจนวาอยากจะเขามาหรือไม 526

ลมรัฐบาลสมชาย

จะเห็นวานอกจากรายงานขาวการสูรบแลว สํานักขาวรอยเตอรสไดรายงานวิกฤตการณ การเมืองในไทยที่วา นายกรัฐมนตรีไทย“ตกอยูภายใตอิทธิพลของทหาร” และถูกทหารกดดันให ลาออกโดยพาดหัวขาววานายสมชาย วงศสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีปฏิเสธขาวที่วาจะยุบสภาหรือ ลาออก เนื่องมาจาก จากการที่พลเอกอนุพงศ เหลาจินดาผูบัญชาการทหารบกไดออกโทรทัศน พรอมผบ.ทุกเหลาทัพ พลเอกอนุพงศ ประกาศวา “ถาผมเปนนายกรัฐมนตรีผมคงลาออกแลว”และ วาทหารคงจะไมทํารัฐประหารอีกหลังจากโคนทักษิณไปเพียงสองป สํานักขาวรอยเตอรสไดอาง บุญเกียรติ การเวกพันธุ (Boonkiat Karavekpan) จากมหาวิทยาลัยรามคําแหงที่วิเคราะหวา กองทัพ กําลังถูกกดดันจากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยใหโคนรัฐบาลสมชาย ทหารจึงออก โทรทัศนกดดันใหรับบาลลาออกโดยไมตองทํารัฐประหาร เพราะทหารไมตองการใหโลกประณาม นอกจากนี้ยังไดอางนายดีเรก ทอนกิน (Derek Tonkin) อดีตเอกอัครขาราชทูตสหราชอาณาจักร ประจําไทยที่วิเคราะหวา กองทัพไทยตองทําตามความแรงของกระแสชาตินิยม (intense nationalism) เพื่อใหทหารเปนที่นิยมของประชาชน 527 ตอมามีขาววานายสมชาย วงศสวัสดิ์ได เรียก “ประชุมดวน” กับพรรครวมรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเปนแกนนํา เพื่อหารือ เกี่ยวกับกรณีที่กองทัพไทยไดออกโทรทัศนเรียกรองใหรัฐบาลลาออก 528

526 “Q+A Cambodia Thailand border dispute –what next? ”, Reuters (16 October 2008) 527 “Thai PM scotches resignation talk”, Reuters (17 October 2008) 528 “Cambodian PM says Thai border clash won't get worse”, Reuters (17 October 2008) 128

ในทามกลางกระแสกดดันทางการเมืองทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ สํานักขาวรอย เตอรสรายงานวานายสมชาย วงศสวัสดิ์ยัง “ไมมีทีทาวาจะทอถอย” เขายังคงปฏิบัติหนาที่ นายกรัฐมนตรีตอไปโดยออกไปตรวจเยี่ยมทหารไทยที่ชายแดนและระบุจะขอ ‘หารือตัวตอตัว’ (face-to-face talks) กับนายฮุนเซ็นเพื่อคลี่คลายกรณีพิพาทชายแดน 529 ดังจะเห็นวา สัปดาห ตอมาเขาไดเดินทางพบกับนายฮุนเซ็นที่กรุงปกกิ่งในชวงที่มีการประชุมสุดยอดเอเชีย-ยุโรป (ASEM Summit) เขาย้ําวาจะรัฐบาลไทยจะแสวงหาทางแกปญหากรณีพิพาทชายแดนกับกัมพูชาอยางฉันท มิตรและเห็นดวยกับนายฮุนเซ็นวาไมจําเปนตองใหองคการสหประชาชาติ (UN) หรืออาเซียน (ASEAN) เขามาเกี่ยวของในกรณีนี้ 530

กัมพูชาเพิ่มงบประมาณทหาร

ในสวนของการเมืองภายในกัมพูชา สํานักขาวรอยเตอรสรายงานวา หลังจากปะทะกับไทย รัฐบาลกัมพูชาไดถือโอกาส “เพิ่มประมาณทหาร” ในปค.ศ. 2009 ขึ้นอีกสองเทาเปน 500 ลาน เหรียญสหรัฐ ซึ่งคิดเปนรอยละ 25 ของงบประมาณทั้งหมดของประเทศซึ่งยากจนเชนกัมพูชา ทั้งนี้ นายเจียม เยียพ (Cheam Yeap) ประธานกรรมาธิการดานการคลังของรัฐสภากัมพูชา ไดชี้แจงวา “ทหารกัมพูชาไมมีอาวุธดีๆ เราทนไมไดที่จะนั่งมองทหารไทยรุกล้ําผืนแผนดินของเรา เราตองจัดระบบกองทัพเราใหม ตองฝกทหารใหดีกวานี้ ตองมีฐานที่ตั้ง มีอาหารกินเต็มที่” สํานัก ขาวรอยเตอรสใหขอมูลวากองทัพกัมพูชามีกําลังพลประมาณ 100,000 นายคิดเปนประมาณ 1 ใน 3 ของกําลังพลกองทัพไทย แตถีอวามีจํานวนสูงเมื่อเทียบกับประเทศที่ยากจนที่สุดในเอเชียอยาง กัมพูชา และไดคาดการณวา การเพิ่มงบประมาณทหารของรัฐบาลฮุนเซ็นในลักษณะนี้ อาจทํา ใหประเทศผูบริจาคเงินใหแกกัมพูชาไมพอใจขึ้นได เนื่องจากตลอดหลายปที่ผานมาประเทศผู บริจาคเหลานี้พยายามผลักดันใหรัฐบาลฮุนเซ็นปลดประจําการทหารเขมรแดงที่สูงอายุ เพื่อลด งบประมาณดานทหารและนํามาใชเพื่อการศึกษาและสาธารณสุขแทน แตทวา เมื่อสองสัปดาห กอนมีรายงานวา มีการเพิ่มจํานวนทหารอีก 3,000 นาย 531

การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2009

529 “Thai PM seeks direct talks over Cambodia border row”, Reuters (18 October 2008) 530 “Thailand seeks "amicable" resolution of border dispute”, Reuters (24 October 2008) 531 “Cambodian doubles military budget after Thai clash”, Reuters (29 October 2008) 129

หลังจากพรรคพลังประชาชนถูกยุบ นายสมชาย วงศสวัสดิ์ตองพนตําแหนง นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหนาพรรคประชาธิปตยไดขึ้นสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี โดยการสนับสนุนของกลุม ทหารที่อยูในอํานาจในขณะนั้นและกลุมชนชั้นนําที่ตอตานพตท.ทักษิณ ชินวัตร รัฐบาลของนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งอยูในตําแหนงระหวาง 17 ธันวาคม 2008 ถึง 4 สิงหาคม 2011 เปนเวลา 2 ป 7 เดือน 18 วัน 532 หลังจากที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะเขารับตําแหนงก็ไดไปเยือนกัมพูชาในเดือน กุมภาพันธ สํานักขาวรอยเตอรสรายงานวาไดมีการทําขอตกลงที่จะ“ตั้งคณะผูเชี่ยวชาญมาจัดทําเสน เขตแดนในทะเลที่อุดมดวยกาซธรรมชาติ” ทั้งนี้กัมพูชานั้นมีพื้นที่ทางทะเล 37,000 ตารางกม.ใน ขณะที่อีก 27,000 ตารางกม.นั้นเปนพื้นที่พิพาทกับไทย สํานักขาวรอยเตอรสใหภาพในทางบวกวา ในตนสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะสถานการณที่ชายแดนไทยและกัมพูชายังสงบ 533 ในการเสนอขาวในป 2009 ของสํานักขาวรอยเตอรสในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์นั้น สํานักขาว รอยเตอรสไดจัดทํารายงานจํานวนเพียง 15 ขาว เมื่อพิจารณาจากจํานวนขาวในเดือนเมษายน เห็น ไดชัดวาสํานักขาวรอยเตอรสใหความสนใจรายงานขาววิกฤตการณที่เกี่ยวของกับการปะทะกันใน วันที่ 3 เมษายน 2009 ซึ่งมีรายงานขาวการปะทะจํานวน 5 ขาวจากทั้งหมด 15 ขาว ซึ่งเปนจํานวน ขาวสูงสุดของป 2009 ดังแสดงในตารางที่ 5.2 ขางลางนี้

ตารางที่ 5.2 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2009

2009 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวน ปะทะ ขาว Reuters 0 1 1 5 0 3 1 1 1 2 0 0 15

การปะทะวันที่ 3 เมษายน 2009

อยางไรก็ตาม ตอมาในเดือนมีนาคมกลับมีการเผชิญหนาโดยสํานักขาวรอยเตอรสรายงาน วาทหารทั้งสองฝายไดตรึงกําลังกันในบริเวณใกลปราสาทพระวิหารตามพาดหัว ทั้งนี้กัมพูชาได กลาวหาวา ทหารไทยจํานวน 100 นายไดเขามาในพื้นที่ทับซอน แตไมไดรุกล้ําเขามาในแดน

532 “As election looms, Thai generals go on offensive”, Reuters (28 April 2011) 533 “Thai, Cambodian PMs meet as border tension eases”, Reuters (28 February 2009) 130

กัมพูชา ทหารกัมพูชาจึงไดตรึงกําลังขัดขวาง ฝายไทยไดปฏิเสธโดยอางวา เปนเรื่องปกติที่ทหาร ไทยจะมีการสับเปลี่ยนกองกําลัง 534 ในวันรุงขึ้นสถานการณเขาสูสภาวะปกติโดยฝายกัมพูชาอาง วา ไทยเปนฝายยอมถอนทหารจํานวน 100 นายออกไป 535 เพียงหนึ่งสัปดาหตอมามีการรายงาน การปะทะกันที่ชายแดนพระวิหาร แตยังไมมีรายงานความเสียหาย ทั้งนี้โฆษกรัฐบาลกัมพูชาอางวา ฝายไทยเปนฝายรุกล้ําเขามายังดินแดนกัมพูชากอน กัมพูชาจึงยิงจรวดใส แตสํานักขาวรอยเตอรส อางวา “ไมสามารถติดตอขอขอมูลจากผูรับผิดชอบในฝายไทยได” กอนหนานี้หนึ่งวันสํานักขาว รอยเตอรสรายงานวา ทหารไทยไดเหยียบถูกกับระเบิดจนไดรับบาดเจ็บ 536 .ในวันรุงขึ้นทั้งสอง ฝายตางกลาวหากันไปมาวาเปนฝายเปดฉากยิงกอน และตางยิงจรวดเขาใสกันจนบาดเจ็บลมตายทั้ง สองฝาย ทั้งนี้พลโทธวัชชัย สมุทรสาคร รองแมทัพภาคที่ 2 สรุปความเสียหายของฝายไทยวา “มี ทหารไทยตาย 2 คน บาดเจ็บ 6 คน” สวนฝายกัมพูชาโดยนายเขียว กันหาริท (Khieu Kanharith ) รัฐมนตรีวาการกระทรวงขาวสารของกัมพูชาไดใหตัวเลขความเสียหายที่แตกตางไปวามี “ทหาร ไทยตาย 4 คน และอีก 10 นายถูกกัมพูชาจับเปนเชลย” อยางไรก็ตามกระทรวงการตางประเทศได “ปฏิเสธ” เรื่องที่วามีทหารไทย 10 นาย ไดถูกกัมพูชาจับตัวไป 537

เจรจาทวิภาคีลมเหลว : ไทยไมยอมถอนทหาร

สํานักขาวรอยเตอรสเนนวา ทันทีที่เกิดมีการปะทะเมื่อ 3 เมษายน ระดับผูนําของทั้งไทย และกัมพูชายังมีความพยายามที่จะแกปญหาระดับทวิภาคี โดยไดพบปะหารือกันระหวางการ ประชุมนอกรอบของการประชุมอาเซียนซัมมิทที่พัทยา นอกจากนี้นายอภิสิทธิ์ยังไดคืนวัตถุขอม โบราณของกัมพูชาใหแกนายฮุนเซ็นดวย 538 โดยเฉพาะอยางยิ่ง นายฮุนเซ็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชา ไดย้ําวา การปะทะกันครั้งนี้จะไมลุกลามกลายเปนสงคราม อยางแนนอน ทั้งนี้เพราะไทยไดยอมรับ วาการปะทะกันครั้งนี้เกิดจาก “ความเขาใจผิด”539 ในอีกสองเดือนตอมานายอภิสิทธิ์ไดมีแผนการ จะสงนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีไปกัมพูชาเพื่อลดความตึงเครียดในกรณีพิพาท

534 “Thai, Cambodian troops face off again near temple”, Reuters (25 March 2009) 535 “Thai-Cambodia border calm after temple stand-off. ”, Reuters (26 March 2009) 536 “Thai, Cambodia troops exchange fire on disputed border”, Reuters (2 April 2009) 537 “Thai, Cambodian troops clash near disputed temple”, Reuters (3 April 2009) 538 “Thai, Cambodian leaders meet in wake of clash”, Reuters (10 April 2009) 539 “Cambodia PM says Thai border conflict “not a war” , Reuters (4 April 2009) 131

ปราสาทพระวิหาร โดยนายอภิสิทธิ์ระบุวา นายสุเทพจะไปอธิบายใหนายฮุนเซ็น นายกรัฐมนตรี กัมพูชาฟงวาไทยนั้นมิไดตองการมีปญหากับกัมพูชา แตไทยมีปญหากับองคการยูเนสโก 540 นา สังเกตวาการพบปะระหวางนายฮุนเซ็นและนายสุเทพเปนการ “ประชุมลับ” ใชเวลากวาสองชั่วโมง ทั้งนี้สาเหตุที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะไดมอบหมายใหนายสุเทพ เทือกสุบรรณซึ่งรูจักกับนายฮุนเซ็น เปนการสวนตัว ก็เพื่อตองการใหนายสุเทพไปอธิบายใหนายฮุนเซ็นฟงวา“ทําไมไทยจึงทาทายคํา ตัดสินของยูเนสโก” นอกจากนี้นายอภิสิทธิ์ยังตองการใหนายสุเทพไป “เกลี้ยกลอม” นายฮุนเซ็นให ยอมให ไทยรวมพัฒนาปราสาทพระวิหารกับกัมพูชา แตนาสังเกตวา หลังจากการประชุมลับเสร็จ สิ้นลง นายฮุนเซ็นกลับเผยวา นายสุเทพไดมาเจรจาเรื่องการปะทะกันที่ชายแดนเพียงเรื่องเดียว เทานั้น 541 นาสังเกตวาสองเดือนหลังจากการไปกัมพูชาของนายสุเทพ ฝายกัมพูชาไดยอมถอน ทหารบางสวนออกจากปราสาทที่เปนขอพิพาท อยางไรก็ตามฝายทหารของไทยกลับระบุวา “ยัง ไมมีแผนการถอนทหารใดใด”542

ประเด็นทักษิณ

ในประเทศไทยมีขาวการชุมนุมของกลุมเสื้อแดงจํานวนหลายพันคนในโอกาสครบครอบ 3 ปที่อดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตรถูกโคนโดยการรัฐประหาร การชุทนุมครั้งนี้มีจุดมุงหมาย เพื่อเปนสัญญลักษณตอตานการที่ทหารกระทํารัฐประหารโคนรัฐบาลทักษิณ ตลอดจนตอตานการ ขึ้นสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีของนายอภิสิทธิ์ดวยวิธีการที่มีทหารหนุนหลัง สํานักขาวรอยเตอรส ไดวิจารณประเทศไทยวา เปนเวลาสี่ปมาแลวที่การเมืองในประเทศไทยตกอยูใน “มุมอับ” (stalemate) มีการชุมนุมประทวงจนมีผูบาดเจ็บลมตาย มีการลอบสังหาร มีการยุบพรรคการเมือง มี การบุกยึดสนามบินหลักของประเทศ จนสงผลใหประชาชนไทยแตกแยกทางการเมืองอยางราวลึก และขมขื่น (deeply and bitterly divided) สํานักขาวรอยเตอรสไดอางวาจะมีการ “ลดเครดิตความ นาเชื่อถือ”ในระยะยาวของประเทศไทยเนื่องจากมีความเสี่ยงทางการเมืองที่สูง ทั้งๆที่เศรษฐกิจ ของไทยนั้นใหญเปนอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดังจะเห็นวามีการประกาศกฎอัยการศึก ใน อําเภอกันทราลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องจากมีการปะทะกันระหวางชาวบานในพื้นที่กับกลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือ กลุมเสื้อเหลืองที่ตอตานทักษิณ คนกลุมนี้ไดเดินทางมา

540 “Thai deputy PM to visit Cambodia as temple row flares”, Reuters (23 June 2009) 541 “Cambodia, Thailand meet as temple tensions simmer”, Reuters (27 June 2009) 542 “Cambodia pulls back troops from disputed temple”, Reuters (27 August 2009) 132

ที่จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อทวงปราสาทพระวิหารคืนจากกัมพูชา แตถูกชาวบานในพื้นที่ปากอนหิน และยิงหนังสะติ๊กใส ตามรายงานขาวของสถานีโทรทัศนชอง 9 ของไทย 543 นอกจากนี้สํานักขาวรอยเตอรสไดอางรายงานจากสถานีโทรทัศน TVK ของรัฐบาลกัมพูชา เกี่ยวกับขาวการที่นายฮุนเซ็นไดเสนอ “ใหที่ลี้ภัย” แกอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ผูที่นายฮุน เซ็นถือวาเปนเสมือน “มิตรนิรันดร” (eternal friend) และแตงตั้งเปน “ที่ปรึกษา”ของรัฐบาลดวย นายฮุนเซ็นย้ําวาอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณนั้น ตกเปน “เหยื่อทางการเมือง” กรณีนี้จึงเทากับเปน การ “ทาทาย” รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะซึ่งกําลังจะปนเจาภาพจัดการประชุมอาเซียนที่หัวหิน กอนหนานี้นายฮุนเซ็นไดเคยขูวาจะไมไปรวมการประชุมอาเซียนครั้งนี้ 544 เมื่อนายฮุนเซ็นเดินทาง มาถึงไทยเพื่อเขาประชุมที่หัวหิน ก็ไดใหสัมภาษณผูสัมภาษณผูสื่อขาวตางประเทศเกี่ยวกับอดีต นายกรัฐมนตรีทักษิณวา “เขาควรไดรับการยกยองเชนเดียวกับ นางอองซานซูจี ผูถูกจองจําโดย รัฐบาลทหารในพมา” ดานนายอภิสิทธิ์ไดตอบโตวา นายฮุนเซ็นไดขอมูลผิดพลาดเกี่ยวกับทักษิณ สถานการณจึงตึงเครียด545 สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํา “ถาม-ตอบ เบื้องหลังการที่นายฮุนเซ็นใหแหลงลี้ภัยทาง การเมืองแกอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ”โดยไมสนใจวาการกระทําเชนนี้ จะกระทบกระเทือน ความสัมพันธกับไทยหรือไม เนื่องจากอยูในชวงที่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์กําลังจะเปนเจาภาพการ ประชุมสุดยอดเอเชีย-แปซิฟกครั้งที่ 16 ซึ่งจะมีผูนํากวา 16 ประเทศมาเขารวมและที่ผานมามีการ เลื่อนประชุมมาแลวหลายครั้งเนื่องจากความวุนวายทางการเมืองในประเทศไทย สํานักขาวรอยเต อรสใหขอมูลวา นายฮุนเซ็นนั้นมองวาทักษิณตกเปน “เหยื่อของการแกแคนทางการเมือง” (victim of political vendetta) ในประเทศไทยและแสดงทาทีชัดเจนวา “ไมชอบหนา” นายอภิสิทธิ์เทาใด นัก สํานักขาวรอยเตอรสระบุวานายฮุนเซ็นเปนนักการเมืองที่เต็มไปดวย “เหลี่ยมคู” และมักใช ประวัติศาสตรที่กัมพูชาและไทยเคยเปนศัตรูกันมาเปนเครื่องมือในการปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อ สรางคะแนนนิยม นอกจากนี้นายฮุนเซ็นยังขุนเคืองที่มีรายงานวานายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศไทย เรียกเขาวา “กุย”( "gangster".) แมวานายกษิตไดปฏิเสธวาเขาได กลาวเชนนั้น 546

543 “Thai “red shirts” rally to mark coup anniversary”, Reuters (19 September 2009) 544 “Cambodian PM offers to host fugitive Thai Ex-PM”, Reuters (21 October 2009) 545 “Cambodia, Thai row over Thaksin erupts at summit”, Reuters (23 October 2009) 546 “Q&A What’s behind Cambodia's offer to give Thaksin a home? ”, Reuters (22 October 2009) 133

สรุปภาพรวมการรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2009 วามีจํานวน 15 ขาว โดยเฉพาะในเดือนเมษายน เพียงเดือนเดียวมีถึง 5 ขาว เนื่องจากมีการปะทะ ตอมาในเดือน มิถุนายนมีการพยามเจรจาทวิภาคีแตลมเหลว และในเดือนตุลาคมมีการปะทะคารมระหวางนายฮุน เซ็นและนายอภิสิทธิ์ระหวางการประชุมอาเซียนซัมมิทในประเทศไทย การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2010

ในการเสนอขาวในปค.ศ. 2010 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ของสํานักขาวรอยเตอรนั้น จะเห็น วาสํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํารายงานเพียง 4 ขาว ในประที่วาเด็นกัมพูชาได“ประทวง”กูเกิ้ลวา แผนที่ที่กูเกิ้ลไดจัดทําขึ้นนั้นแสดงวา ตัวปราสาทพระวิหารเกือบครึ่งหนึ่งตั้งอยูในเขตแดนไทย นอกจากรายงานชิ้นนี้แลวสํานักขาวรอยเตอรสไมสนใจประเด็นขาวอื่นๆที่เกี่ยวของกับกรณีพระ วิหารเนื่องจากไมมีการปะทะที่รุนแรงที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ดังแสดงในตารางที่ 5.3 และประเด็น ขาว เพียงประเด็นเดียว คือการที่กัมพูชาประทวง‘แผนที่กูเกิ้ล’ดังตอไปนี้

ตารางที่ 5.3 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2010

2010 ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค จํานวน ขาว Reuters 0 1 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 4

ตลอดปค.ศ.2010 ไมมีเหตุการณตึงเครียดที่ชายแดนในกรณีปราสาทพระวิหาร สาเหตุ หนึ่งอาจเปนเพราะนายอภิสิทธิ์ตองรับมือกับการประทวงของกลุมเสื้อแดง อยางไรก็ตามในเดือน กุมภาพันธกัมพูชาได “ประทวง” กูเกิ้ลวาแผนที่ของกูเกิ้ลแสดงวาตัวปราสาทพระวิหารเกือบ ครึ่งหนึ่งตั้งอยูในเขตแดนไทย และกลาวหากูเกิ้ลวา “ไมรับผิดชอบในวิชาชีพ” ซึ่งตอมากูเกิ้ลก็ ยอมรับวา “ผิดพลาด” และตอมาไดดําเนินการแกไขแผนที่ใหปราสาทพระวิหารตั้งอยูในดินแดน กัมพูชาแลว สํานักขาวรอยเตอรสใหขอมูลวา “คนไทยจํานวนมากยัง ‘ทําใจไมได’ ที่จะยอมรับมติ ศาลโลกที่ตัดสินวาปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา” 547

การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2011

547 “Cambodia blasts Google map of disputed Thai border”, Reuters (5 February 2010) 134

ในการเสนอขาวในปค.ศ. 2011 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ซึ่งถือวาเปนชวงที่กรณีพิพาท ปราสาทพระวิหารอยูในจุดที่อันตรายที่สุด โดยมีการรายงานขาวในป 2011จํานวน 32 ขาว ดัง แสดงในตารางที่ 5.4 และประเด็นขาวในรายละเอียด ดังตอไปนี้ ตารางที่ 5.4 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในปค.ศ. 2011

2011 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. มิ.ย. ธ.ค. จํานวน ปะทะ ปะทะ ปะทะ ขาว Reuters 0 13 0 11 3 1 3 1 0 0 0 0 32

จะเห็นวาสํานักขาวรอยเตอรสใหความสําคัญกับการรายงานขาวในชวงนี้อยางเต็มที่โดยให ความสําคัญกับประเด็นการปะทะใหญที่กินระยะเวลายาวนาน คือ การปะทะในชวง 4-7 กุมภาพันธ และการปะทะในชวง 22 เมษายน-3 พฤษภาคม และประเด็นที่ศาลโลกสั่งเมื่อ 18 กรกฎาคมให กัมพูชาและไทยถอนออกจากเขตปลอดทหาร ดังรายละเอียดของประเด็นขาว

การปะทะวันที่ 4-7 กุมภาพันธ 2011

สํานักขาวรอยเตอรสรายงานวา กองกําลังไทยและกัมพูชาไดปะทะกันเปนเวลานานกวา สองชั่วโมงในบริเวณใกลปราสาทพระวิหาร มีผลทําใหมีทหารกัมพูชาตาย 3 คนและชาวบานไทย ตาย 1 คน ทั้งนี้นายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาแจงวา กัมพูชาจะ ทําเรื่องรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ นาสังเกตวาในวันที่ 4 กุมภาพันธนายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยกําลังประชุมกับนายฮอร นัมฮงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของกัมพูชา 548 ในขณะที่พลเอกประยุทธ จันทร โอชา ผูบัญชาการทหารบกไทยระบุวา “สาเหตุที่มีการปะทะกันอาจจะเกิดจากความเขาใจผิด” ใน การนี้ผูบัญชาการทหารบกไทยไดพยายามแสวงหาหนทางที่จะยุติการปะทะกันที่ชายแดนกัมพูชา 549 แตความพยายามของผูบัญชาการทหารบกไทยไมเปนผล ดังจะเห็นวาในวันรุงขึ้น ไทยกับ กัมพูชาไดมีการปะทะกันอีกเปนวันที่สองในบริเวณใกลปราสาทพระวิหาร มีผลใหทหารไทยตาย 1

548 “Thai, Cambodian troops in deadly clash near temple”, Reuters (4 February 2011) 549 “Thai army chief seeks end to Cambodia border clash”, Reuters (4 February 2011) 135

คน ฝายกัมพูชามีนักทองเที่ยวตายหนึ่งและทหารบาดเจ็บ 10 คน 550 สํานักขาวรอยเตอรสตั้ง ขอสังเกตวาเหตุปะทะครั้งนี้เกิดขึ้นเพียง สามวันหลังจากที่ศาลกัมพูชาไดตัดสินจําคุกนายวีระ สม ความคิดและนางสาวราตรี พิพัฒนไพบูลย เปนเวลา 6 ปและ 8 ปตามลําดับ ในขอหาจารกรรม กรณีนี้ทําใหกลุมเสื้อเหลืองมีการเคลื่อนไหวคึกคักขึ้น เพราะทําใหกลุมเสื้อเหลืองสามารถออกมา โจมตีกลาวหานายอภิสิทธิ์วาออนขอใหกัมพูชาและเรียกรองใหรัฐบาลลาออก 551 ตอมามีการ ปะทะกันอีกเปนวันที่สามนานกวา 3 ชั่วโมง ฝายไทยอางวากัมพูชาไดยิงอาวุธจรวด BM21 มายังฝง ไทย ทหารไทยจึงตอบโตดวยจรวดเชนกัน ในการนี้สหรัฐและอาเซียนไดเรียกรองใหทั้งไทยและ กัมพูชายับยั้งชั่งใจ สวนไทยนั้นก็ไดรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงขององคการ สหประชาชาติ เชนเดียวกับที่กัมพูชาไดรองเรียนไปกอนหนานี้ 552 เมื่อการปะทะกันยางเขาเปน วันที่สี่ มียอดผูเสียชีวิตรวม 5 คน นายฮุนเซ็นอางวา ปกดานหนึ่งของตัวปราสาทพระวิหารไดรับ ความเสียหาย 553 สํานักขาวรอยเตอรสรายงานวากัมพูชาไดเชิญผูสื่อขาวใหเขาไปยังบริเวณที่มีการ ปะทะกัน แตผูสื่อขาวกลับไดพบวาตัวปราสาทพระวิหารนั้นเสียหายแตเพียงเล็กนอยเทานั้น และ ทั้งยังมิไดถูกทําลายไปทั้งปกของปราสาท ตามคํากลาวหาของนายฮุนเซ็นแตอยางใด 554

คณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติมอบใหอาเซียนไกลเกลี่ย

จากที่มีการปะทะกันอยางหนักนานถึง 4 วัน ไดกอใหเกิดกระแสกดดันทางการทูตตอไทย และกัมพูชาใหยุติการสูรบ โดยมีรายงานวานายบันคีมุน (Ban Ki-moon) เลขาธิการองคการ สหประชาชาติ ก็ไดเรียกรองใหทั้งสองฝายยุติการสูรบ ตามมาดวยสหรัฐ จีน และอาเซียน รวมทั้ง คณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ ซึ่งรับหนังสือรองเรียนจากกัมพูชา และรับปาก วาจะหารือกันในวันจันทรที่ 14 กุมภาพันธ ในขณะที่ไทยยังไมละความพยายามที่จะไมใหคณะ มนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ เขามายุงเกี่ยว และขอเจรจาระดับทวิภาคีกับกัมพูชาที่ นิวยอรกในวันจันทร เนื่องจากทั้งนายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทย และนายฮอรนัมฮงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชา ตองเขาไปใหขอมูลตอที่

550 “Thai, Cambodia troops clash again near temple, 1 killed”, Reuters (5 February 2011) 551 “Thai, Cambodian troops in deadly clash near temple”, Reuters (4 February 2011) 552 “Thai-Cambodia troops clash again on disputed border”, Reuters (6 February 2011) 553 “Thai, Cambodia troops clash for fourth day on border”, Reuters (7 February 2011) 554 “Uneasy peace holds after Thai, Cambodian troops clash”, Reuters (8 February 2011) 136

ประชุมคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติที่นิวยอรกดวย อยางไรก็ตามนายฮุนเซ็น ปฏิเสธขอเสนอของไทยและย้ําวา ขณะนี้กัมพูชากําลังอยูในสถาวะสงครามกับไทย และกลาวหา นายอภิสิทธิ์วา “ขี้โกง” (‘cheat’) ในขณะที่นายกษิต ภิรมยก็เรียกนายฮุนเซ็นวาเปน “เด็กเกเร” (a naughty boy) ที่กําลัง “ไลเหา” (hounding) ประเทศไทย 555 อยางไรก็ตาม ที่ประชุมคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ ไดมีมติ มอบหมายใหอาเซียนเปนผูจัดการปญหาความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาแทน และย้ําวา ใน การแกปญหาไทย-กัมพูชานี้ขอใหจํากัดวงใหอยูในระดับทวิภาคีและในระดับภูมิภาคเทานั้น มตินี้ จึงทําใหกัมพูชาผิดหวังเนื่องจากกัมพูชาเคยเรียกรองใหสหประชาชาติสง “กองกําลังรักษา สันติภาพ” (UN peacekeepers) เขามายังชายแดนไทย-กัมพูชา อยางไรก็ตามนายฮอรนัมฮงยังไม ละความพยายามที่จะใหสหประชาชาติเขามามีบทบาท โดยเสนอวา หากสหประชาชาติสงกองกําลัง รักษาสันติภาพมาไมไดก็ขอใหสง “ผูสังเกตการณ”(observers) หรือมาสืบหาขอเท็จจริง(fact- finding)แทนได 556 ในการนี้อินโดนีเซียในฐานะประธานอาเซียน ไดขานรับมติของคณะมนตรี ความมั่นคงขององคการสหประชาชาติอยางแข็งขัน โดยไดเชิญใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศอาเซียนมาประชุมกันที่อินโดนีเซีย เมื่อ 22 กุมภาพันธ ที่ประชุมตกลงที่จะใหมีการสง ผูสังเกตุการณอินโดนีเซียเขามาประจําที่บริเวณพรมแดนไทย-กัมพูชา สํานักขาวรอยเตอรสตั้งขอ กังขาวาอาเซียนจะสามารถชวยยุติปญหาไทย-กัมพูชาไดจริงหรือ เนื่องจากที่ผานมาอาเซียนไดยึด หลักการ “ไมยุงเกี่ยว” (non-interference) ในกิจการภายในของประเทศสมาชิก ดังนั้นที่ประชุม อาเซียนนาจะเปนไดเพียง “เวทีน้ําลาย” (‘talking-shop’) เทานั้น 557

การปะทะวันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม ค.ศ.2011

อยางไรก็ตามเพียงสองเดือนหลังจากที่ไทยและกัมพูชาไดหยุดยิงและคณะมนตรีความ มั่นคงของสหประชาชาติไดมีมติใหอาเซียนเปนผูจัดการปญหาความขัดแยงนี้ ก็ไดเกิดมีการปะทะ กันขึ้นอีก ทําใหทหารไทยเสียชีวิต ที่บริเวณปราสาทตาโมนและตากระเบย (Ta Moan and Ta Krabei temples) และตอมาสํานักขาวรอยเตอรสไดรายงานวามีทหารเสียชีวิตอีก 6 นาย แตไมระบุ

555 “Thais, Cambodia face diplomatic pressure to end dispute”, Reuters (9 February 2011) 556 “UN council leaves Thai-Cambodia conflict to ASEAN”, Reuters (15 February 2011) 557 “ASEAN seeks peaceful end to Thai-Cambodian conflict”, Reuters (22 February 2011) 137

วาผูเสียชีวิตเปนทหารไทยหรือกัมพูชา 558 และในวันรุงขึ้นก็มีการปะทะกันอีกทําใหทหารตายอีก 4 นาย รวมผูเสียชีวิตในสองวันนี้ 11 คน ในการปะทะกันครั้งนี้ฝายกัมพูชาไดกลาวหาทหารไทยวา ใชระเบิดลูกปราย(cluster munitions) และอาวุธสังหารบุคคล (anti-personnel weapons) ซึ่งถูก หามใชในหลายประเทศ ตลอดจนใชระเบิดกาซพิษขนาด 75 และ 105 มม.ดวย สํานักขาวรอยเต อรสไดใหขอมูลวาทั้งไทยและกัมพูชาตางอางสิทธิ์ในตัวปราสาทตาโมนและปราสาทตากระเบย โดยฝายไทยไดเคยทําการประทวงการที่ทหารกัมพูชาไดใชกําลังบุกเขายึดปราสาททั้งสองแหงนี้ใน ปค.ศ. 2008 เพื่อใชเปนที่ตั้งทางทหาร 559 การปะทะในชวงปลายเดือนเมษายนนี้คอนขางรุนแรงและนานหลายวันทําใหสํานักขาว รอยเตอรสะทอนทัศนะวาคงจะหมดหวังที่จะมีสันติภาพ 560 กองกําลังไทยและกัมพูชายังคงยิง โตตอบกันอีกบริเวณใกลปราสาทตาโมนและตากระเบย ตลอดจนมีรายงานวามีเครื่องบินตอสู อากาศยาน F-16 ของไทยบินวนอยูเหนือปราสาททั้งสองแหงดวย และมีการยกระดับการปะทะกัน ใหรุนแรงขึ้น 561 จนเมื่อเผชิญหนากันเปนวันที่ 5 ทําใหพบวามีผูเสียชีวิตรวมทั้งหมด 13 คน 562 และตอมาคนตายไดเพิ่มเปน 16 คน แมวาไทย-กัมพูชาไดตกลงที่จะหยุดยิงกันแลวก็ตาม 563 สํานักขาวรอยเตอรสรุปวา ขณะนี้ไทยและกัมพูชามีกรณีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิ์เหนือปราสาท 3 แหง คือ ปราสาทพระวิหาร ปราสาทตาโมนและปราสาทตากระเบย รวมทั้งพื้นที่บริเวณเทือกเขาพนมดง รักดวย 564 นับตั้งแตการปะทะในเดือนเมษายนที่ผานมามีผูเสียชีวิตแลวถึง 18 คน สํานักขาวรอยเต อรสจึงใหความสําคัญกับการประชุมครั้งที่ 18 ระดับผูนําอาเซียนที่อินโดนีเซีย( the 18th ASEAN summit)วาจะชวยยุติปญหาได แตก็ตองผิดหวัง เนื่องจากอาเซียนไมสามารถมีมติใดใดที่จะยุติ ปญหาความขัดแยงไทย-กัมพูชาได สํานักขาวรอยเตอรสระบุสาเหตุที่อาเซียนลมเหลว วาเนื่องจาก อาเซียนไมตองการใหฝายใดรูสึกเสียหนา โดยเฉพาะไทยที่ไมแสดงความกระตือรือลนที่จะรวมมือ กับอาเซียน เนื่องจากนายอภิสิทธิ์ไดยุบสภาและไทยจะมีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคม ในการนี้นายอภิสิทธิ์ไดพยายามใชประเด็นปราสาทพระวิหารมาสรางคะแนนนิยมในหมูประชาชน

558 “Thai, Cambodian troops clash on disputed border, 6 dead”, Reuters (22 April 2011) 559 “Fresh fighting on Thai-Cambodia border kills 4 soldiers”, Reuters (23 April 2011) 560 “Thai, Cambodia troops clash again; peace hopes fade”, Reuters (25 April 2011) 561 “Thai and Cambodian troops exchange fire near ancient temple”, Reuters (26 April 2011) 562 “Thailand and Cambodia Escalate Clashes Across Their Border”, Reuters (27 April 2011) 563 “Thai soldier dies as ceasefire with Cambodia breached”, Reuters (29 April 2011) 564 “Thai and Cambodian troops exchange fire near ancient temple”, Reuters (26 April 2011) 138

ใหได เขาจึงจะไมยอมอยางเด็ดขาดหากตองสูญเสียฐานคะแนนเสียงจากฝายชาตินิยมที่สนับสนุน พรรคประชาธิปตยอยู นอกจากนี้สํานักขาวรอยเตอรสยังไดอางทัศนะของ Enrico Tanuwidjaja นักวิเคราะหของ OSK DMG Group ที่สิงคโปรวา ถาหากครั้งนี้อาเซียนแกปญหาระหวางไทย- กัมพูชาไมสําเร็จ ก็อาจมีผลทําใหการรวมตัวเปน “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ในปค.ศ.2015 ตอง ลาชาออกไปเปนป ค.ศ.2020 565

ศาลโลกสั่งใหกัมพูชาและไทยถอนออกจากเขตปลอดทหาร

ตอมาในวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (International Court of Justice-ICJ)ไดปฏิเสธคํารองของไทยที่วาศาลไมมีสิทธิพิจารณาคดีนี้ ทั้งยังมีมติ 11 ตอ 5 สั่งให จัดตั้ง ‘เขตปลอดทหารที่ไดกําหนดขึ้นใหม’ (a newly defined demilitarized zone) ตามแนว ชายแดน และสั่งใหทั้งกองกําลังไทยและกัมพูชาออกจากบริเวณปราสาทตลอดจน ใหไทยเปดทาง ใหมีการสงเสบียงใหกับเจาหนาที่พลเรือนของกัมพูชา นอกจากนี้ศาลยังไดสั่งใหทั้งสองประเทศ อนุญาตใหผูสังเกตุการณจากอาเซียน (ASEAN observers) เขาไปในพื้นที่พิพาทได ในเรื่องนี้ ผูสื่อขาวรอยเตอรสไดแสดงทัศนะในเชิงบวกวา ผูแทนกัมพูชาคือ นายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศและผูแทนไทยคือ พลเอกประวิตร วงศสุวรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวง การตางประเทศกลาโหม ตางก็ยินดีที่จะยอมใหมีผูสังเกตุการณอาเซียนเขามาบริเวณพิพาท ทั้งๆที่ กอนหนานี้ทั้งรัฐบาลและกองทัพไทยเคยปฏิเสธไมยอมรับ และยืนกรานจะแกปญหาในระดับทวิ ภาคีเทานั้น ผูสื่อขาวรอยเตอรสมีความหวังวาสถานการณจะดีขึ้นหลังจากพรรคเพื่อไทยชนะ พรรคประชาธิปตยของนายอภิสิทธิ์ในการเลือกตั้ง และนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นองสาวของ อดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณจะขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีในกลางเดือนสิงหาคม 566 สํานักขาวรอยเตอรสรายงานวานางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร จากพรรคเพื่อไทย ไดรับชัยชนะ การเลือกตั้งทั่วไปแบบถลมทลายเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ.2011โดยไดที่นั่งถึง 265 ที่นั่ง 567 สํานักขาวรอยเตอรสวิเคราะหวา การที่พรรคเพื่อไทยไดรับชัยชนะสัญญาณวาเสียงสวนใหญของ ประชาชน‘ปฏิเสธระเบียบการเมืองแบบเกา’ (a rejection of old political order) แตก็ย้ําวารัฐบาล

565 “ASEAN summit fails to resolve Thai-Cambodia conflict”, Reuters (8 May 2011) 566 “U.N. court orders Thai, Cambodian troops from temple area”, Reuters (18 July 2011) 567 “Thailand set to elect populist newcomer”, Reuters (3 July 2011) 139

ยิ่งลักษณนาจะมีความมั่นคงในชวงระยะสั้นๆเทานั้น 568 นับตั้งแตนางสาวยิ่งลักษณรับตําแหนง นายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคม คนไทยสวนใหญหวังวาบานเมืองจะเกิดความสงบ ไมมีการปด ถนนประทวงเหมือนในปค.ศ. 2010 อีก แตทวาการเมืองไทยนั้นยังมี “ความแตกแยกทางอุดมการ” ระหวางกลุมเสื้อเหลืองและกลุมเสื้อแดง สํานักขาวรอยเตอรสย้ําวา ประเด็นอะไรก็ตามที่คิด แตกตางกันอาจเปนชนวนระเบิดที่ปะทุไดทุกเมื่อ 569 การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2012

ในการเสนอขาวในป 2012 ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณของสํานักขาวรอยเตอรสนั้น จะเห็นวา สํานักขาวรอยเตอรสไดรายงานเพียง 4 ขาว เกี่ยวกับประเด็นบทบาทของจีนในการใหความ ชวยเหลือกัมพูชา เนื่องจากสํานักขาวรอยเตอรสเกรงวากัมพูชาจะขึ้นตอจีนมากเกินไป ดังแสดงใน ตารางที่ 5.5

ตารางที่ 5.5 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2012

2012 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวน ขาว Reuters 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 0 0 4

แมวาสถานการณการสูรบระหวางไทยและกัมพูชาจะดูเหมือนสงบนิ่ง แตสํานักขาวรอยเต อรสก็รายงานขาววากัมพูชาไดพยายามเสริมสมรรถนะของกองทัพโดยไดขอกูยืมเงินจํานวน 195 ลานเหรียญสหรัฐ จากจีนเพื่อซื้อเฮลิคอปเตอรที่ผลิตในจีนรุน Zhi-9 (Z-9)ไมทราบจํานวน สํานัก ขาวรอยเตอรสไดใหขอมูลวาเฮลิคอปเตอรรุน Z-9 นี้ จีนไดลิขสิทธิ์จากฝรั่งเศสมาผลิตตามแบบ Eurocopter AS 365 Dauphin II มาตั้งแตป 1960 ทั้งนี้สํานักขาวรอยเตอรสไดวิจารณวา กรณีนี้ จะทําใหกัมพูชาตองพึ่งพาและขึ้นตอจีนมากจนเกินไป 570 สํานักขาวรอยเตอรสไดใหรายละเอียดวา ในฐานะที่กัมพูชาเปนประธานในการประชุมอาเซียนในเดือนกรกฎาคมป 2012 ที่ผานมา กัมพูชา

568 “Analysis: Thai election unlikely to end battle for power”, Reuters (4 July 2011) 569 “FACTBOX: Key political risks to watch in Thailand”, Reuters (10 October 2012) 570 “China to lend Cambodia $195 mln to buy its helicopters”, Reuters (22 August 2011) 140

ถูกกลาวหาวาไดชวยเหลือจีนโดยกัมพูชาทําตัวเปนอุปสรรคไมใหอาเซียนสามารถออก“แถลงการณ รวม”ในประเด็นขอพิพาทเรื่องดินแดนในทะเลจีนใตที่มีจีนเกี่ยวของดวย 571

การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2013

ในการเสนอขาวในป 2013 ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณนั้น จะเห็นวา สํานักขาวรอยเตอรสมี การรายงานเพียง 9 ขาว แมจะมีรายงานเพียง 9 ขาว แตสํานักขาวรอยเตอรสก็ติดตามประเด็น สถานการณในชวงวิกฤตกอนศาลโลกมีคําตัดสินในวันที่ 11 พฤศจิกายนอยางเขมขนในประเด็น ที่วามีกลุมผูประทวงพยายามขับไลรัฐบาลยิ่งลักษณออกจากตําแหนง ดังตารางที่ 5.6 ขางลางนี้ ตารางที่ 5.6 การเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในป 2013

2013 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวน ขาว Reuters 2 1 0 2 0 0 0 0 1 2 3 2 13

ในชวงปลายป 2013 สํานักขาวรอยเตอรส ไดรายงานความขัดแยงในการเมืองไทยในชวง เดียวกับที่ศาลโลกจะมีคําพิพากษาเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร นั่นคือ กรณีรางพระราชบัญญัตินิร โทษกรรมที่เสนอโดยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร โดยราง พระราชบัญญัติฉบับนี้มีทั้งผูเห็น ดวยและคัดคาน ทั้งนี้ผูที่คัดคานรางพระราชบัญญัตินี้อางวาจะทําใหอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชิน วัตรไมตองรับโทษในคดีทุจริต ยิ่งไปกวานั้นฝายตอตานทักษิณยังกลาวหาทักษิณวามีความใกลชิด สนิทสนมกับกลุมฮุนเซ็น รัฐบาลพรรคเพื่อไทยจึงเขาขางกัมพูชาและมีผลทําใหไทยเสียดินแดนใน กรณีปราสาทพระวิหาร ในประเด็นนี้นักวิเคราะหการเมืองคาดการณวา ศัตรูทางการเมืองของ ทักษิณอาจนําเอาประเด็นที่ไทยอาจแพคดีอีกครั้งในศาลโลก มาปลุกกระแสรักชาติและขับไล รัฐบาลยิ่งลักษณออกจากตําแหนง โดยเฉพาะอยางยิ่งชวงเวลาที่รัฐสภาไทยจะมีการพิจารณาราง พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมนี้อยูในหวงเวลาเดียวกันกับการที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศจะมีคํา ตัดสิน จึงเกิดมีความวิตกกังวลกันวากรณีนี้จะทําใหสถานการณการเมืองในประเทศไทยเลวรายลง 572

571 “China gives Cambodia aid and thanks for ASEAN help”, Reuters (4 September 2012) 572 “Thai Senate delays debate on controversial amnesty bill”, Reuters (8 November 2013) 141

ในวันที่ 11 พฤศจิกายน ศาลยุติธรรมระหวางประเทศก็ไดมีคําตัดสิน วาปราสาทพระ วิหารอยูภายใตอธิปไตยของกัมพูชาและไทยตองถอนทหารออกจากบริเวณพื้นที่รอบปราสาท โดยเฉพาะอยางยิ่งดานเหนือของเนินที่เปนชะงอนผายื่นออกไป แตทั้งนี้ศาลไมมีอํานาจที่จะตัดสิน วาบริเวณพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.นั้นเปนของใคร แมวาผลการตัดสินนี้จะเปนที่พอใจของทั้ง รัฐบาลไทยและกัมพูชาก็ตาม แตสํานักขาวรอยเตอรสก็คาดการณวา ยังจะตองมีความวุนวาย เกิดขึ้นอยางแนนอนโดยเฉพาะในประเทศไทย ตามพาดหัวขาวที่วาฝายตอตานรัฐบาลยิ่งลักษณ ประมาณ 1,000 คนไดไปประทวงที่หนากระทรวงกลาโหมเพื่อเรียกรองใหกองทัพสงกําลังทหาร ไปปกปองดินแดนไทย สํานักขาวรอยเตอรสเรียกกลุมผูประทวงเหลานี้วา “กลุมชาตินิยมสุดโตง” (ultra-nationalists) และเรียกกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยวา “พวกนิยมกษัตริย สุดโตง” (ultra-royalist) ซึ่งไมยอมรับคําตัดสินของศาลโลก ทั้งนี้สํานักขาวรอยเตอรสไดอาง คําพูดของพลตรีจําลอง ศรีเมืองที่กลาวหารัฐบาลยิ่งลักษณวา “ขายชาติขายดินแดน”และไดให ขอสังเกตวา แมวาทั้งรัฐบาลไทยและกัมพูชายืนตางยืนยันหนักแนนวา จะยอมรับคําตัดสินของศาล โลก แตทั้งสองฝายก็เสริมกําลังทหารตามชายแดนเพื่อเตรียมพรอมไวดวย 573

แผนโคนยิ่งลักษณ

มีรายงานวาผูประทวงจํานวนประมาณ 160,000 คนไดไปลอมทําเนียบรัฐบาลเพื่อบีบให นางสาวยิ่งลักษณลาออก สํานักขาวรอยเตอรสไดตั้งขอสังเกตวา การที่ผูประทวงไปปดลอมทําเนียบ รัฐบาลนั้นเปนสิ่งที่เคยเกิดขึ้นเมื่อ 5 ปมาแลวในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศสวัสดิ์ โดยมีเปาหมายเพื่อกดดันใหรัฐบาลลาออก 574 นาสังเกตวา ผูนําในการประทวงครั้งนี้ คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ ทั้งนี้ผูประทวงอาง วาเพื่อกําจัดอิทธิพลของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณผูถูกโคนโดยการรัฐประหารเมื่อป 2006 และ เลือกจะลี้ภัยอยูในนอกประเทศแทนที่จะกลับมารับโทษจากคดีคอรัปชั่น ตอมาเมื่อการประทวง ยืดเยื้อ นางสาวยิ่งลักษณจึงประกาศยุบสภาเพื่อใหมีการเลือกตั้งทั่วไปใหมในวันที่ 2 กุมภาพันธ 2014 แตทวาผูประทวงยังไมยอมยุติจนกวาจะไดรัฐบาลที่ไมไดมาจากการเลือกตั้ง อยางไรก็ตาม

573 “Thailand braces for trouble as U.N. court backs Cambodia in border row”, Reuters (11 November 2013) 574 “Analysis: Dé jà vu with a difference as Thai PM faces down protesters”, Reuters (29 November 2013) 142

นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณไดปฏิเสธที่จะลาออก ดวยเหตุผลวาเพื่อรักษาระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากรัฐบาลนี้เปนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง 575 นอกจากนี้สํานักขาวรอยเตอรสไดตั้งคําถามวา “ใครเปนผูมีอิทธิพลอยูเบื้องหลังกลุมผู ประทวง” โดยไดระบุวา บุคคลผูทรงอิทธิพลนี้ ก็คือ พลเอกประวิตร วงศสุวรรณ อดีต รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมและ พลเอกอนุพงศ เผาจินดา อดีตผูบัญชาการทหารบกซึ่งมีความ ใกลชิดกับพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบกในขณะนั้น สํานักขาวรอยเตอรสให ขอมูลวาพลเอกประวิตร วงศสุวรรณนั้นเปนอดีตผูบัญชาการทหารบกและอดีตรัฐมนตรีวาการ กระทรวงกลาโหมในชวงที่เกิดกรณีพิพาทไทย-กัมพูชาในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สวน พลเอกอนุพงศ เผาจินดา นั้นเปนอดีตผูบัญชาการทหารบกผูนําทหารบกยึดอํานาจในการปฏิวัติโคน รัฐบาลทักษิณในป 2006 นอกจากนี้พลเอกอนุพงศ ก็เคยออกโทรทัศนแนะนําใหอดีต นายกรัฐมนตรีสมชาย วงศสวัสดิ์ลาออก และเมื่อพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ขึ้นมาเปนผู บัญชาการทหารบกสืบตอจากพลเอกอนุพงศ นั้นก็มีบทบาทนําในกรณีพระวิหารดวย 576 จึงไมนา แปลกใจที่วาในปลายเดือนธันวาคม 2013 มีขาวลือวาจะเกิดการรัฐประหารโดยอดีตผูบัญชาการ ทหารบกกอนหนาพลเอกประยุทธผูบัญชาการทหารบกคนปจจุบัน .577 ดังจะเห็นวา ในที่สุดรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตรก็ประสบชะตากรรมเดียวกับรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร กลาวคือ ถูก รัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 โดยคณะทหารที่นําโดย พลเอกประยุทธ จันทรโอชา อดีตผูบัญชาการทหารบกผูปฏิเสธไมยอมรับใหผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียเขามาในบริเวณพิพาท ตามแนวพรมแดนไทย-กัมพูชาใกลปราสาทพระวิหาร 578

บทความเชิงวิเคราะหที่เกี่ยวของกับกรณีพระวิหารของสํานักขาวรอยเตอรส ในหวงป ค.ศ.2008-2013

สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทําบทความเชิงวิเคราะหในรูปแบบตางๆจํานวน 9 บท ถือไดวา บทความเหลานี้สะทอนทัศนะมุมมองจุดยืนและการสื่อสารการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสตอ กรณีพิพาทปราสาทพระวิหารระหวางไทยและกัมพูชาไดเปนอยางดี

575 “Thai PM calls snap election, protesters want power now”, Reuters (9 December 2013) 576 “Powerful forces behind Thai protest movement”, Reuters (13 December 2013) 577 “Thai crisis deepens as army chief hints at intervention”, Reuters (27 December 2013). 578 “Opposition to Thai coup simmers, ex-PM in 'safe place.'”, Reuters (24 May 2014) 143

บทความเหลานี้มีตางประเภทกัน อาทิ เชน (ก) Factbox ซึ่งเปนการปูพื้นฐานใหผูอานเขา ใจความเปนมาขัดแยงไทย-กัมพูชา (ข) Q & A ซึ่งเปนการไขขอของใจของผูอานในประเด็นพระ วิหารในรูปแบบของ คําถาม-คําตอบ ใหชัดเจนยิ่งขึ้น (ค) TIMELINE ซึ่งเปนการจัดทําลําดับ เหตุการณทางการเมืองเพื่อใหผูอานเขาใจความเปนมาทางประวัติศาสตรที่เกี่ยวกับประเด็นพระ วิหาร และ (จ) Analysis ซึ่งเปนการจัดทําบทวิเคราะหสถานการณที่มีความสําคัญตอเนื่อง ผูวิจัย ไดพบวาสํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทําบทความเชิงวิเคราะห โดยใหความสําคัญกับเหตุการณตรึง กําลังและการปะทะที่ชายแดนไทย-กัมพูชาวา ใครอยูเบื้องหลังการปะทะ ใครคือผูไดประโยชนและ อะไรคือสาเหตุการปะทะ ตลอดจนไดวิจารณรัฐบาลกัมพูชา รัฐบาลไทย ตลอดจนตอกองทัพไทย และกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยดวย ทั้งนี้ถือเปนการสื่อสารทางการเมืองที่สํานัก ขาวรอยเตอรตองการสื่อสารออกไปสูประชาคมโลก ในบทความเรื่อง “FACTBOX Disputes between Thailand and Cambodia” สํานักขาว รอยเตอรสไดตั้งคําถามวา เหตุใดปราสาทพระวิหารนี้ซึ่งมีอายุกวา 900 ปจึงไดกลายเปนตนตอของ ความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชามาโดยตลอดนับตั้งแตศาลโลกไดตัดสินวากัมพูชาเปนเจาของ ตั้งแตป 1962 คําตอบ คือ ไทยและกัมพูชานั้นมีความผูกพันทางวัฒนธรรมมาตั้งแตศตวรรษที่ 9 เมื่อชาวมอญและเขมรไดอพยบลงมาจากทางตอนใตของจีนเขาสูที่ราบภาคกลางและที่ราบสูงทาง ภาคเหนือของประเทศไทยในปจจุบัน ตอมาอาณาจักรขอมโบราณไดแผอิทธิพล จากศูนยกลางที่ นครวัตไปเหนือดินแดนที่เปนประเทศไทยในปจจุบัน แตทวาเกิดสงครามแยงชิงอํานาจกันหลาย ครั้ง จนตอมาในป 1431 อาณาจักรขอมโบราณไดลมสลายลงดวยฝมือของกษัตริยไทย นับแตนั้น มากัมพูชาจึงตกอยูใตอิทธิพลของกษัตริยไทยและเวียตนามสลับกันไปมา ในป 1863 กษัตริย นโรดม ยอมอยูใตอารักขาของฝรั่งเศส ทําใหกัมพูชาไดจังหวัดพระตะบอง (Battambang) และ เสียมเรียบ () คืนจากไทยในป 1907 ดานฝรั่งเศสนั้นปกครองกัมพูชา ลาวและเวียตนาม ในฐานะอาณานิคม แตยังรักษาความสัมพันธที่ดีกับไทยตราบจนกระทั่งกัมพูชาไดเอกราชในป 1954 อยางไรก็ตามเกิดมีปญหาขึ้น เนื่องจากปราสาทพระวิหารนั้นตั้งอยูบนพรมแดนไทย-กัมพูชา ซึ่งยาวถึง 798 กิโลเมตร (500ไมล) ซึ่งเจาอาณานิคมฝรั่งเศสเปนผูกําหนดเสนเขตแดน เมื่อมีคํา ตัดสินของศาลโลกในป 1962 ที่ใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชาไดทําใหคนไทยสวนใหญเกิด ความ‘เจ็บแคน’ (rankles) มาตราบจนทุกวันนี้ สวนในกัมพูชานั้นกระแสชาตินิยมไดระเบิดออกมา เปนความรุนแรง ดังกรณีที่ฝูงชนกัมพูชาบุกเผาสถานทูตไทยและธุรกิจคนไทยในกรุงพนมเปญใน ป 2003 อันมีสาเหตุมาจากการรายงานเท็จในหนังสือพิมพฉบับหนึ่งในกัมพูชาที่อางวา ดาราทีวีสาว ชาวไทยไดอางวา ปราสาทนครวัต ( temple) นั้นเปนของไทย นาสังเกตุวา สํานักขาว 144

รอยเตอรสก็ไดตีพิมพบทความนี้ซ้ําอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากสถานการณที่ชายแดนไทยกัมพูชาตึง เตรียดหลังจากคณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโกไดอนุมัติใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลก 579 สํานักขาวรอยเตอรสย้ําในบทวิเคราะห “FACTBOX:Preah Vihear, a lightning rod for Thai-Cambodia tension” วาปราสาทพระวิหารนั้นเปนเสมือน‘สายลอฟา’ที่จะทําใหวิกฤตการณ ระหวางไทย-กัมพูชาปะทุไดทุกเมื่อ ดังขอมูลในอดีตวายอนไปในป 1979 ทหารไทยไดบังคับใหผู ลี้ภัยกัมพูชาจํานวน 45,000 คน ที่ขามพรมแดนบริเวณปราสาทพระวิหารหนีตายจาก “ทุงสังหาร” เขามาในเขตไทยใหขามกลับเขาไปยังฝงกัมพูชา จนมีผลใหผูลี้ภัยเหลานี้บาดเจ็บลมตายไปหลาย พันคน จากการที่ถูกทหารไทยยิงขับไลเพื่อขมขูไมใหกลับเขามายังฝงไทยอีก หรือเหยียบถูกกับ ระเบิดที่เขมรแดงฝงไวนานแลว 580 หลังจากที่ยูเนสโกไดอนุมัติขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารใหเปนมรดกโลก สํานักขาวรอย เตอรสไดสรุปสถานการณในบทวิเคราะห“Temple tantrums stalk Thai-Cambodia relations”วา “เหตุรุนแรงไดปะทุขึ้น โดยกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดโหมปลุกกระแสชาตินิยมวา คนไทยมี‘ภารกิจศักดิ์สิทธิ์’(sacred mission) ที่จะตองปกปองผืนแผนดินไทย” สํานักขาวรอยเต อรสตั้งขอสังเกตวา นักการเมืองกัมพูชาตางก็โหมกระแสรักชาติปลุกใจใหใชความรุนแรง เชนเดียวกับในไทย เนื่องจากขณะนี้กัมพูชากําลังจะมีการเลือกตั้งทั่วไปอีกครั้ง ดังจะเห็นวาพรรค สม รังสี (The Sam Rainsy Party) พรรคฝายคานกัมพูชา ก็ไดหาเสียงโจมตีนายฮุนเซ็นวายังใช มาตรการที่ไมเด็ดขาดพอในการจัดการปญหาพระวิหารกับไทยและ แนะนําวากัมพูชาควรประทวง ไทยดวยการเรียกทูตกลับ สํานักขาวรอยเตอรสระบุวาที่ผานมากัมพูชามั่นใจวา “กัมพูชานั้น เหนือกวาไทยทั้งดานการทูตและกฎหมาย” แตก็ไดเตรียม “แผนสํารอง” เอาไวแลววาหากการ ประชุมคณะกรรมการวมชายแดน (JBC) ไมมีความคืบหนา ฝายกัมพูชาก็จะใชเวทีการทูตระดับ นานาชาติเรียกรองใหองคการสหประชาชาติมากดดันประเทศไทย 581 เมื่อเกิดการปะทะกันขึ้น สํานักขาวรอยเตอรสใชวิธีตั้งคําถามวา ใครเปนตัวการอยูเบื้องหลัง ใหเกิดการยิงใสกัน และใครเปนผูไดประโยชนจากสถานการณเชนนี้ ในบทวิเคราะหชื่อ “Q+A Cambodia Thailand border dispute –what next ?” (ถาม-ตอบ กรณีพิพาทพรมแดนกัมพูชาไทย –จะไปถึงขั้นไหน) โดยไดพยายามหาคําตอบจากการสัมภาษณนักการทูตและนักวิเคราะห

579 “FACTBOX: Disputes between Thailand and Cambodia.”, Reuters (16 July 2008). 580 “FACTBOX:Preah Vihear, a lightning rod for Thai-Cambodia tension”, Reuters (18 June 2011) 581 “Temple tantrums stalk Thai-Cambodia relations”, Reuters (20 July 2008) 145

สถานการณ ดังนี้ นายโทนี่ เควิน (Tony Kevin) อดีตเอกอัครขาราชทูตออสเตรเลียประจํากัมพูชาวา กัมพูชานั้นคงไมไดประโยชนอะไร แต “ผูไดประโยชน คือ ประเทศไทย” ทั้งนี้เพราะกลุมชนชั้น นําของไทย คือ ทหารและรัฐบาลตองการ ‘เบนความสนใจ’ของประชาชนจากการเมืองไทยที่ยุงเหยิง และหากจะรบกันหนักกวานี้ก็ไมแนวาไทยจะชนะ เพราะกัมพูชามีอดีตนักรบเขมรแดงที่ชํานาญภูมิ ประเทศกวาและฝงกับระเบิดไวนับเปนลานๆจุด ซ้ําภายนอกก็จะมองวาไทยเปน ผูรุกรานประเทศ เล็กที่ยากจนกวา การปะทะคงไมจบงายๆเนื่องจากในประเทศไทยกลุมผูประทวงกลาวหารัฐบาลวา “ขายชาติขายแผนดิน” (selling off Thai soil) และวิพากษวิจารณกองทัพที่ยังไมยอมกอรัฐประหาร เพื่อโคนรัฐบาล ดานนายฮุนเซ็นนั้นก็ตองแสดงทาทีแข็งกราวเพื่อรักษาฐานเสียงที่ทําใหชนะการ เลือกตั้งมาอยางถลมทลาย สํานักขาวรอยเตอรสตั้งคําถามวา แลวใครเลาจะมาเปนกรรมการหาม ทัพ เนื่องจากอาเซียนอาจถูกมองวาไมเปนกลาง เนื่องจากนายสุรินทร พิศสุวรรณ เลขาธิการเปนคน ไทย สวนจะไปถึงขั้นคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) หรือไมคงตองรอ ดูอีกระยะหนึ่ง สํานักขาวรอยเตอรสแสดงทาทีวาตองการจะใหสหรัฐและจีนเขามาชวยไกลเกลี่ย แตใหขอมูลวาสหรัฐยังมีวิกฤตการคลังและกําลังจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดี สวนจีนนั้นยังไม ชัดเจนวาอยากจะเขามาหรือไม 582 เมื่อสถานการณเลวรายลง สํานักขาวรอยเตอรสไดเสนอบทวิเคราะห “Q+A: How bad is the Thai-Cambodian spat” (ถาม-ตอบ กรณีพิพาทไทย-กัมพูชารายแรงแคไหน) โดยระบุวาการที่ ไทยและกัมพูชาไดมีการตัดความสัมพันธทางการทูตเนื่องจากกรณีการแตงตั้งอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณผูซึ่งหลบหนีคดีเปนที่ปรึกษาของรัฐบาลกัมพูชานั้นถือเปนการ ‘ตบหนา’ รัฐบาลไทย แตที่ รายคือ การที่กัมพูชาปฏิเสธที่จะสงตัวทักษิณใหไทยในฐานะผูรายขามแดน’ ซึ่งถือไดวาเปนการ โจมตีระบบตุลาการของไทย สํานักขาวรอยเตอรสไดย้ําวา ไทยและกัมพูชานั้นมีความขัดแยงกันมา ยาวนานโดยเฉพาะตั้งแตปค.ศ. 1962 เปนตนมาคนไทยยังเจ็บแคนไมหายที่ศาลโลกตัดสินให ปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา 583 เมื่อการปะทะยังไมยุติ สํานักขาวรอยเตอรสไดเสนอบทวิเคราะห “Q+A: Why are Thai and Cambodian troops fighting?” (ถาม+ตอบ กองกําลังไทยและกัมพูชาสูรบกันไปทําไม) โดย ระบุวา คําตอบยังไมชัดเพราะทั้งสองฝายมักจะโทษอีกฝายหนึ่งวาเปนฝายเริ่มโจมตีกอน เชน เมื่อ การปะทะเมื่อสี่วันที่ผานมา และกลาวหาอีกฝายหนึ่งวาละเมิดขอตกลงหยุดยิง จึงยังไมชัดเจนวา การยิงกันและทิ้งระเบิดใสกันนั้นเปนมาตรการปองกันตนเองหรือเปนมาตรการรุกรานผูอื่นกันแน

582 “Q+A Cambodia Thailand border dispute –what next? ”, Reuters (16 October 2008) 583 “Q+A: How bad is the Thai-Cambodian spat?”, Reuters (27 November 2009) 146

ดังนั้น สาเหตุที่ทหารไทย-กัมพูชาปะทะกันอาจเกิดจากการเขาใจผิด หรือ ไมมีชองทางการสื่อสารที่ ดีพอ ยกตัวอยาง เชน บางครั้งแตละฝายอาจยิงปนขึ้นฟาเพื่อเตือน เมื่ออีกฝายหนึ่งไดทําการลาด ตระเวณเขามาลึกเกินไป ก็อาจทําใหเขาใจผิดจนเกิดเหตุการณลุกลามไดนอกจากนี้ทหารไทยยัง โกรธแคนที่ทหารกัมพูชาชักธงชาติกัมพูชาที่วัดแกวสิกขาคีรีสวราและเขียนจารึกบนแผนหินวา “นี่ คือดินแดนกัมพูชา” สวนคําถามอีกขอที่วา“แลวรัฐบาลไทยและกัมพูชาไดจัดการปญหานี้อยางไร” คําตอบคือ ที่ผานมารัฐบาลไทยและกัมพูชาพยายามยับยั้งชั่งใจมาโดยตลอด แตเมื่อมาถึงสมัย รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะนั้นสถานการณไดเปลี่ยนไป นายอภิสิทธิ์ถูกนายฮุนเซ็นวิจารณวา “กระหายสงคราม” สวนกระทรวงการตางประเทศไทยก็กลาวหากัมพูชาวา มีพฤติกรรมที่คุกคาม และละเมิดอธิปไตยและเอกภาพเหนือดินแดนของไทย ดานรัฐบาลกัมพูชานั้นไดพยายามทุก วิถีทางที่จะยกระดับใหกรณีพระวิหารนั้นขึ้นเปนประเด็นนานาชาติ กัมพูชาจึงเรียกรองใหคณะ มนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติเขามาแทรกแซง โดยไมสนใจวาไทยจะยินยอมหรือไมก็ตาม ในขณะที่นายอภิสิทธิ์ไดมอบสิทธิขาดใหกับกองทัพที่จะพิทักษอธิปไตยของไทย นอกจากนี้ทั้ง สองฝายตางปะทะคารมกันกันอยางไมลดราวาศอกทําใหเงื่อนไขที่จะนั่งโตะเจรจายากลําบากขึ้น ทั้งๆที่สมาคมอาเซียนไดพยายามที่จะเขามาชวยไกลเกลี่ยเพื่อหาขอยุติโดยเร็ว เกี่ยวกับคําถามที่วา “แลวกรณีนี้จะกระทบกระเทือนเศรษฐกิจมากนอยเพียงไร” คําตอบ คือ แนนอน ในระยะสั้นการคา ระหวางสองประเทศตองไดรับความกระทบกระเทือนอยางแนนอน แตธนาคารแหงประเทศไทย อางวา ตัวเลขการสงออกของสินคาไทยไปประเทศกัมพูชานั้นมีจํานวนนอยกวารอยละ 1 ของ ตัวเลขการสงออกทั้งปของไทยดังนั้นจึงไมนาจะกอความเสียหายใหกับเศรษฐกิจไทยในระดับกวาง ได แตนาสนใจที่วาตลาดหุนไทยไดรับผลกระทบจากการปะทะที่ชายแดน มีผลใหหุนตกไปรอย ละ 1 โดยเฉพาะหุนที่ตกลงไปเปนหุนของบริษัทไทยที่เกี่ยวกับโทรคมนาคม น้ําตาลและ อุตสาหกรรมที่ไปลงทุนในกัมพูชา นอกจากนี้ยังมีการกลัวกันวาจะเกิดเหตุวุนวายในกรุงเทพ เนื่องจากการประทวงที่ยืดเยื้อมานานของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเสื้อเหลืองที่ โจมตีรัฐบาลอภิสิทธิ์เรื่องการจัดการปญหาชายแดนกับกัมพูชาและการที่รัฐบาลไมสามารถยับยั้งมิ ใหศาลกัมพูชาลงโทษสองคนไทยที่ถูกกัมพูชาจับไปเมื่อสัปดาหกอนในขอหาขามแดนโดยผิด กฎหมายและขอหาจารกรรม อีกประเด็นที่นาหวงก็คือ ฝายกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยอาจใชประเด็นนี้มาปลุกระดมผูคนใหออกมานอกถนนเพื่อมาขับไลรัฐบาลนาย อภิสิทธิ์ เชนเดียวกับที่กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนี้ไดเคยโคนรัฐบาลมาแลวสอง รัฐบาลกอนหนานี้ นอกจากนี้ยังมีคําถามขอสุดทายที่วา แลวการสูรบกันที่ชายแดนไทย-กัมพูชา เกี่ยวของกับการประทวงของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยอยางไร คําตอบ คือ ระหวางการประทวงในกรุงเทพไดมีการปราศรัยโจมตีรัฐบาลอยางรุนแรงจนกอใหเกิดความตรึง 147

เครียดที่ชายแดนและทหารไทยเกิดอารมณคลอยตาม กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได หันมากดดันรัฐบาลอภิสิทธิ์ และพยายามทดสอบวารัฐบาลอภิสิทธิ์ยังมีความสัมพันธแนนแฟนกับก องทัพหรือไม 584 สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทําบทวิเคราะห “Analysis Chinese investment galvanizes Cambodia's fiery premier” ที่สรุปวาการลงทุนจากจีนไดทําใหนายฮุนเซ็นมีทาทีแข็งกราวขึ้น ทั้งนี้เพราะการปะทะกันที่รุนแรงขึ้นที่ชายแดนนั้น ไดมีผลทําใหสถานการณการเมืองในไทยยุง เหยิงขึ้นมาก ในขณะที่กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดเรียกรองใหนายอภิสิทธิ์ ลาออกดวยขอหา“ออนขอ”เกินไปใหกับกัมพูชา แตในประเทศกัมพูชา นายฮุนเซ็นกลับไดคะแนน นิยมเพิ่มขึ้น ทุกครั้งที่เขาแสดงทาทีที่แข็งกราวไมตองการพึ่งพาไทยดานการคาการลงทุนอีกตอไป ทาทีที่เปลี่ยนไปของนายฮุนเซ็นนั้นเนื่องจากกัมพูชาไดรับการสนับสนุนจากจีนทั้งทางดานการคา และการลงทุนตลอดจนการใหเงินกู และที่สําคัญสํานักขาวรอยเตอรระบุวา การคาระหวางไทย- กัมพูชามีปริมาณลดลง แตทดแทนดวยการคากับจีน เกาหลีใตและเวียดนาม ทั้งนี้ Michael Montesano นักวิจัยจาก (Institute of Southeast Asian Studies-ISS) ที่สิงคโปรระบุวา กัมพูชา นั้นมีความสัมพันธแนนแฟนกับจีนและนักลงทุนจากเอเชียตะวันออกทั้งยังมีสัมพันธที่ดีกับ สิงคโปร จึงทําใหฮุนเซ็น “เดินเกมรุกทางสากลไดโดยไมตองพะวงหลัง.. เขาคุมเกมไดดีและ เอาชนะไทยไดในแทบจะทุกเวที เขาทําคะแนนนิยมไดทุกครั้งที่มีการปะทะในขณะที่รัฐบาลไทยทุก รัฐบาลรวมทั้งนายอภิสิทธิ์ดวยก็กําลังถูกกดดันใหลาออก”585 สํานักขาวรอยเตอรสไดใหความสําคัญกับการปะทะกันครั้งนี้และไดจัดทําบทวิเคราะห “Analysis : Cambodian PM reaps gains from Thai border battles”586 โดยระบุวา“กัมพูชาเปน ผูเก็บเกี่ยวไดผลประโยชนจากการปะทะกับไทยกันที่ชายแดน” โดยไดอาง Ian Bryson นักวิเคราะหเอเชียตะวันออกเฉียงใตจากบริษัทที่ปรึกษา Control Risks วา การที่นายฮุนเซ็นเลือกที่ จะ“เลนไมแข็ง”กับไทยในกรณีพระวิหารนั้น ชวยทําใหเขาไดแตมตอเหนือพรรคฝานคานใน กัมพูชาและไดรับคะแนนนิยมในประเทศเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ‘อาจหาญลุกขึ้นมาตอกร’ กับ ‘ศัตรู คูอาฆาต’เชนไทยได นอกจากนี้การปะทะกันยังทําใหนายฮุนเซ็นใชสถานการณนี้รณรงคทางสากล เรียกรองใหองคกรระหวางประเทศมาชวยกัมพูชาที่กําลังถูกประเทศใหญเชนไทยรังแก ทั้งนี้นาย ฮุนเซ็นแสดงออกชัดเจนวาไมพอใจนายอภิสิทธิ์เปนอยางมากที่‘ดึงเกม’การปกปนเขตแดนทั้งบนบก

584 “Q+A: Why are Thai and Cambodian troops fighting? ”, Reuters (7 February 2011) 585 “Analysis : Chinese investment galvanizes Cambodia's fiery premier”, Reuters (10 February 2011) 586 “Analysis : Cambodian PM reaps gains from Thai border battles”, Reuters (4 May 2011) 148

และในทะเลซึ่งเชื่อกันวามีแหลงน้ํามัน และยังเรียกนายอภิสิทธิ์วาเปน“ขโมย” และเปน “ผูกอการราย” เนื่องจากนายอภิสิทธิ์พยายามจะขัดขวางมิใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลก และไมยอมใหอาณาบริเวณรอบปราสาทเปนของกัมพูชา จนนําไปสูการปะทะหลาย ครั้ง ในบทวิเคราะห“Analysis: Dé jà vu with a difference as Thai PM faces down protesters” สํานักขาวรอยเตอรสรายงานวาผูประทวงจํานวนประมาณ 160,000 คนไดไปลอม ทําเนียบรัฐบาลเพื่อบีบใหนางสาวยิ่งลักษณลาออก โดยอางวาสาเหตุหนึ่งมาจากคําตัดสินของศาล โลกในกรณีพระวิหารดวย สํานักขาวรอยเตอรสไดตั้งขอสังเกตวา การที่ผูประทวงไปปดลอม ทําเนียบรัฐบาลสมัยยิ่งลักษณนั้นเปนสิ่งที่เคยเกิดขึ้นเมื่อ 5 ปมาแลวในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทร เวช และนายสมชาย วงศสวัสดิ์มาแลว โดยมีเปาหมายเพื่อกดดันใหรัฐบาลลาออก แต สํานักขาวรอยเตอรสมั่นใจวารัฐบาลยิ่งลักษณจะรับมือกับผูประทวงได 587

วิเคราะหการสื่อสารการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสในกรณีพระวิหาร ในหวงป ค.ศ.2008-2013

ดังไดกลาวแลววา สํานักขาวรอยเตอรสนั้น ในดานอุดมการทางการเมืองและเศรษฐกิจนั้น สํานักขาวรอยเตอรสนั้นมีอุดมการทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่มีกษัตริยอยูภายใต รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) และมีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี(capitalism) ใน ดานรูปแบบองคกร สํานักขาวรอยเตอรสเปนองคกรธุรกิจที่มุงแสวงหากําไร ในปจจุบันเปนสํานัก ขาวระดับแถวหนาของโลก ทําธุรกิจในดาน“ขายสง”ขาวใหแกลูกคาที่เปนสื่อสารมวลชน นอกจากนี้ยังใหบริการขาวการเงินรายใหญแกบริษัทธุรกิจ หนวยงานรัฐบาลและบุคคลทั่วไปใน ขอบเขตทั่วโลก ในปจจุบันสื่อสารมวลชนทั่วโลกไดสมัครเปนสมาชิกขาวจากสํานักขาวรอยเตอรส ซึ่งมีผูสื่อขาวในกวา 200 เมืองใน 94 ประเทศ สํานักขาวรอยเตอรสมีบทบาทสําคัญในการรายงาน ขาวในประเทศไทยและภูมิภาคนี้ สํานักขาวรอยเตอรสไดใหความสําคัญกับการนําเสนอขาวกรณีพระวิหารเนื่องจากเปนกรณี ที่เปนความขัดแยงทางพรมแดนระหวางประเทศที่ดําเนินมายาวนานถึง 51 ป คูขัดแยงคือ ประเทศ ไทยและ ประเทศกัมพูชา สมาชิกของสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือ อาเซียน (ASEAN) ซึ่งภายในปค.ศ.2015 นี้จะรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน กรณีความขัดแยงนี้ยังมีการเขา มาเกี่ยวของขององคกรระหวางประเทศกลาวคือ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) องคการ สหประชาชาติ(UN) องคการการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ(UNESCO)

587 “Analysis: Dé jà vu with a difference as Thai PM faces down protesters”, Reuters (29 November 2013) 149

และคณะมนตรีความมั่นคงแหงองคการสหประชาชาติ(UNSC) นอกจากนี้ความขัดแยงนี้ไดลุกลาม จนเกิดการปะทะดวยกําลังทหารนําไปสูการบาดเจ็บลมตายสูญเสียมากมาย นอกจากนี้สภาวะ สงครามยังเปนมีผลตอการขึ้นลงของตลาดหุน ซึ่งกระทบตอการลงทุนของลูกคาของสํานักขาวรอย เตอรส เพื่อใหเห็นภาพชัดเจน ผูวิจัยไดทําการสรุปวิเคราะหการรายงานขาวสํานักขาวรอยเตอรส ในดานตางๆ ดังนี้ (ก) ดานจํานวน (ข) ดานความถี่และประเด็นในการนําเนอขาว (ค) การพาดหัว ขาว (headlines) (ก) ดานจํานวน ตลอดระยะเวลา 6 ปตั้งแตค.ศ.2008 ถึง 2013 ผูวิจัยพบวา สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํา รายงานจํานวน 108 ขาว ดังตารางที่ 5.7 ตอไปนี้

ตารางที่ 5.7 จํานวนขาวที่รายงานโดยสํานักขาวรอยเตอรสแบงตามรัฐบาลค.ศ.2008-2013

จํานวนขาวที่รายงานโดยสํานักขาวรอยเตอรสแบงตามรัฐบาลค.ศ.2008-2013 จํานวน นายสมัคร สุนทรเวช (29 มกราคม ถึง 17 กันยายน 2008) 31 นายสมชาย วงศสวัสดิ์ (18 กันยายน ถึง 16 ธันวาคม 2008) 19 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (17 ธันวาคม 2008 ถึง 4 สิงหาคม 2011) 45 นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร (5 สิงหาคม 2011 ถึง 31 ธันวาคม 2013) 13 รวมจํานวนขาว 108

จากตารางนี้จะเห็นวาตลอดระยะเวลา 6 ปตั้งแตค.ศ.2008 ถึง 2013 สํานักขาวรอยเตอรส มีจํานวนการรายงานขาว 108 ขาว ทั้งนี้สํานักขาวรอยเตอรสเปนสํานักขาวจากโลกตะวันตก จึง เลือกที่จะรายงานขาวที่เกี่ยวกับกรณีปราสาทพระวิหารเฉพาะในชวงเวลาที่เกิดวิกฤตการณซึ่งถือวา เปน‘ขาวดานลบ’ เชน การมีวิวาทกรรมโตตอบกลาวหากันไปมา การประทวง การใชความรุนแรง และ การสูรบ โดยเฉพาะในหวงป 2008-2011 ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศ สวัสดิ์ และนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สวนในสมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตรสํานักขาวรอยเต อรสมีรายงานเพียง 13 ขาว แสดงวาไมใหความสําคัญมากนักเนื่องจากไมมีเหตุการณรุนแรง อันมี สาเหตุมาจากการที่รัฐบาลยิ่งลักษณไดพยายามปรับความสัมพันธไทย-กัมพูชาในชวงรอคําพิพากษา จากศาลยุติธรรมระหวางประเทศ อีกประการหนึ่งคือ กรณีพระวิหารนี้เกิดในกลุมประเทศอาเซียน ซึ่งอยูหางไกลจากผูรับสารจากสํานักขาวรอยเตอรสในซีกโลกตะวันตกซึ่งอาจไมสนใจขาวนี้ ดวย 150

เหตุนี้สํานักขาวรอยเตอรสจึงเนนรายงานขาวในกรณีพระวิหารระยะเวลา 6 ป เฉพาะชวงที่เกิด วิกฤตทางการเมือง (ข) ความถี่และประเด็นในการนําเสนอขาว ผูวิจัยจึงไดจัดทําตารางแสดงความถี่ในการนําเสนอขาวโดยสํานักขาวรอยเตอรในแตละป ตั้งแตป 2008-2013 เพื่อที่จะไดขอมูลเกี่ยวกับ “ประเด็นขาว” ของสํานักขาวรอยเตอร ดังแสดงใน ตารางที่ 5.8

ตารางที่ 5.8 ความถี่ในการรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในแตละเดือนในหวง เวลา 2008-2013

เดือน/จํานวนขาว 2008 2009 2010 2011 2012 2013 มกราคม 0 0 0 0 0 2 กุมภาพันธ 0 1 1 13 ขาว 0 1 มีนาคม 0 1 0 0 0 0 เมษายน 0 5 ขาว 1 11 ขาว 0 2 พฤษภาคม 0 0 1 3 ขาว 0 1 มิถุนายน 0 3 0 1 1 0 กรกฎาคม 20 ขาว 1 0 3 1 0 สิงหาคม 3 1 0 1 1 0 กันยายน 1 1 1 0 1 1 ตุลาคม 16 ขาว 2 0 0 0 2 พฤศจิกายน 0 0 0 0 0 3 ธันวาคม 0 0 0 0 0 2 รวม 108 ขาว 40 ขาว 15 ขาว 4 ขาว 32 ขาว 4 ขาว 13 ขาว 151

จากตารางที่ 5.8 นี้จะเห็นไดวา สํานักขาวรอยเตอรส เนนการรายงานขาวเฉพาะในชวงเวลา ที่เกิดวิกฤตการณ เชน การขัดแยง การใชความรุนแรง การสูรบ เนื่องจากวิกฤตการณเหลานี้มี ผลกระทบตอการขึ้นลงของตลาดหุน สํานักขาวรอยเตอรส จึงตองการแจงเตือนใหสมาชิกขาวที่มี อยูทั่วโลกไดรับทราบ ดังจะเห็นวาในเดือนกรกฎาคมป ค.ศ. 2008 สํานักขาวรอยเตอรสเริ่มรายงาน การเกิดวิกฤตการณหลังจากการที่ยูเนสโกในวันที่ 7 กรกฎาคม มีมติใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลก กรณีนี้ทําใหกลุมชาตินิยมในไทยโกรธแคนจนกดดันใหทหารไทยรุกเขา พื้นที่ทับซอน สวนการเจรจาทวิภาคีเพื่อใหไทยถอนทหารนั้นก็ลมเหลวเนื่องจากไทย-กัมพูชาตาง ถือแผนที่คนละฉบับ มีการปลุกกระแสชาตินิยมจนลมรัฐบาลสมัครไดสําเร็จ สํานักขาวรอยเต อรสยังไดรายงานกรณีการปะทะวันที่ 3 และ 15 ตุลาคมและการยึดสนามบินเพื่อไลรัฐบาลสมชาย อันเปนเหตุการณที่ช็อกโลก ในป ค.ศ. 2009 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ สํานักขาวรอยเตอรสใหความ สนใจรายงานขาววิกฤตการณในประเด็นการปะทะกันในวันที่ 3 เมษายน 2009 และวันที่ 3 เมษายน 2009 ประเด็นการเจรจาทวิภาคีลมเหลว และวิวาทะระหวางนายฮุนเซ็นและนายอภิสิทธิ์ใน ประเด็นทักษิณ ในการเสนอขาวในป 2010 สํานักขาวรอยเตอรสนใจ ประเด็นที่วากัมพูชาได “ประทวง” แผนที่ของกูเกิ้ลที่แสดงวาตัวปราสาทพระวิหารเกือบครึ่งหนึ่งนั้นตั้งอยูในเขตแดนไทย นอกจากนี้แลวสํานักขาวรอยเตอรสไมสนใจรายงานขาวอื่นๆที่เกี่ยวของกับกรณีพระวิหาร โดยทั่วไป ในการเสนอขาวในป 2011 จะเห็นวาสํานักขาวรอยเตอรสใหความสําคัญกับการปะทะ ใหญที่กินระยะเวลายาวนาน คือ การปะทะใหญสองครั้ง คือ ในชวง 4-7 กุมภาพันธ 2011 และชวง 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011 และการที่ศาลโลกสั่งเมื่อ 18 กรกฎาคมใหกัมพูชาและไทยถอน ออกจากเขตปลอดทหารกัมพูชา ในการเสนอขาวในป 2012 จะเห็นวา สํานักขาวรอยเตอรสมีการ รายงานเพียง 3 ขาว เปนบทวิเคราะหบทบาทของจีนในกัมพูชา และวิจารณวากัมพูชาขึ้นตอจีนมาก เกินไป ในการเสนอขาวในป 2013 ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณจะเห็นวา แมสํานักขาวรอยเตอรสมี การรายงานเพียง 13 ขาว แตเปนการวิเคราะหเจาะลึกสถานการณในชวงวิกฤตกอนศาลโลกมีคํา ตัดสินอยางเขมขน จึงสรุปไดวา สํานักขาวรอยเตอรส เนนการรายงานขาวเฉพาะในชวงเวลาที่เกิด วิกฤตการณ เชน การขัดแยงทางการเมือง การใชความรุนแรง การตรึงกําลัง ตลอดจนการปะทะกันที่ ชายแดนไทย-กัมพูชา อันถือวาเปน “ขาวดานลบ” (ค) การพาดหัวขาว (headlines) ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหพาดหัวขาวของสํานักขาวรอยเตอรส เพื่อใหไดขอมูลวา สํานักขาว รอยเตอรสไดใหความสําคัญกับบทบาทของ “ผูกระทําทางการเมือง” (Political Actors) แตละฝาย ในกรณีพระวิหารแตกตางกันอยางไร อันจะสะทอนทัศนะ มุมมองและทาทีของสํานักขาวรอยเต 152

อรสตอกรณีพระวิหารไดชัดเจนขึ้น ในตารางที่ 5.11 ผูวิจัยไดวิเคราะหบทบาทของ“ผูกระทําทาง การเมือง” (Political Actors) ในกรณีพระวิหารในพาดหัวขาว (headlines) ของสํานักขาวรอยเต อรส ดังตอไปนี้

ตารางที่ 5.9 การวิเคราะห“ผูกระทําทางการเมือง”(poltical actors)ในพาดหัวขาวของ สํานักขาวรอยเตอรส

สํานักขาวรอย ไทย-กัมพูชา เปน ฝายไทยเปนผูกระทํา ฝายกัมพูชาเปน ฝายที่สามเปน เตอรส ผูกระทําทาง ทางการเมือง ผูกระทําทาง ผูกระทําทาง การเมือง การเมือง การเมือง จํานวนพาดหัว จํานวนพาดหัวขาว จํานวนพาดหัวขาว จํานวนพาดหัวขาว จํานวนพาดหัว ขาว 39 (36.12%) 35 23 ขาว 11(10.19%) 108 (100%) (32.41%) (21.30%) (จีน=5) (ASEAN=3) (UNSC=2) (ICJ=1)

ผูวิจัยไดพบวา (ก) สํานักขาวรอยเตอรส ใหความสําคัญกับเหตุการณความตรึงเครียดที่ ชายแดนไทยและกัมพูชา เนื่องจากในจํานวน 39 พาดหัวขาว (36.12%) โดยสํานักขาวรอยเตอรส นั้น มีทั้งไทย-กัมพูชา เปนผูกระทําทางการเมือง (ข) สํานักขาวรอยเตอรส ใหความสําคัญกับ การเมืองภายในประเทศไทย ซึ่งมีจํานวน 35 พาดหัวขาว (32.41%) มากกวาผูกระทําทางการเมือง ฝายกัมพูชาซึ่งมีจํานวน 23 พาดหัวขาว (21.30%) (ค) ในบรรดาผูกระทําทางการเมืองฝายที่สามนั้น 153

สํานักขาวรอยเตอรสใหความสนใจกับบทบาทของจีนมากที่สุด รองลงมาคือ อาเซียน คณะมนตรี ความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) และศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) ดังนั้นขัอ มูลจากตารางนี้จึงสอดคลองกับการวิเคราะหเนื้อหารายงานขาว ที่วา สํานักขาวรอยเตอรสนั้นเนน รายงานเหตุการณการปะทะระหวางไทย-กัมพูชา ตลอดจนวิกฤตการณความขัดแยงภายในการ เมืองไทย และตลอดจนบทบาทของจีนในกัมพูชา

สรุป การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรส (Reuters) ในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008-2013

สํานักขาวรอยเตอรสในฐานะสํานักขาวนานาชาติชั้นนําของโลก ไดจัดทํารายงานขาว เกี่ยวกับกรณีพระวิหาร ในเดือนกรกฎาคม.ค.ศ. 2008 ซึ่งองคการยูเนสโกไดตัดสินใหมีการขึ้น ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตามขอเสนอของกัมพูชานั้นไดกอใหเกิดความโกรธแคน ในหมูนักชาตินิยมชาวไทย พรรคฝายคานและกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ไดฉวย โอกาสใชกรณีนี้มาเปนเครื่องมือในการพยายามโคนรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช มีการสราง สถานการณใหตึงเครียดจนมีการตรึงกําลังของทั้งสองฝายที่ชายแดนไทย-กัมพูชา สํานักขาวรอยเต อรสไดเสนอภาพลักษณนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นของกัมพูชาวามีความมุงมั่นจะยุติขอขัดแยงนี้อยาง สันติวิธีโดยอาศัยกลไกทางสากลที่นานาชาติยอมรับ ในทางตรงขามสํานักขาวรอยเตอรสใหภาพวา รัฐบาลไทยของนายสมัคร สุนทรเวชกําลังอยูในสถานการณลําบากถูกรุมเราจากฝายตอตานที่จะใช กรณีพระวิหารมาโคนรัฐบาลจึงไมสามารถดําเนินการใดใดที่จะยุติกรณีพิพาทกับกัมพูชาได ตอมาในสมัยรัฐบาลของนายสมชาย วงศสวัสดิ์ สํานักขาวรอยเตอรสไดเนนการรายงานขาว การปะทะกันระหวางกองกําลังไทยและกัมพูชาจนมีการบาดเจ็บลมตายกันทั้งสองฝาย นอกจากนี้มี การวิจารณวา กองทัพไทยมีอิทธิพลเหนือรัฐบาลพลเรือนของนายสมชาย วงศสวัสดิ์ สํานักขาวรอย เตอรสวิเคราะหวา ผูที่ไดประโยชนจากสถานการณตึงเครียดที่ชายแดน คือไทย ทั้งนี้เพราะไทย ตองการเบนความสนใจของประชาชนจากสถานการณการเมืองที่ยุงเหยิงภายในประเทศ นอกจาก ขาวการสูรบแลวสํานักขาวรอยเตอรสไดสะทอนภาพวานายสมชาย วงศสวัสดิ์นั้นออนแอไม สามารถตานทานอิทธิพลของกองทัพที่ออกมากดดันใหนายกรัฐมนตรีลาออก ในสวนของการเมือง 154

ภายในกัมพูชานั้นสํานักขาวรอยเตอรสรายงานวาหลังจากเหตุการณปะทะกับไทย รัฐบาลกัมพูชาได ถือโอกาสเพิ่มประมาณทหารขึ้นเปนสองเทา สถานการณเลวรายลงในสมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะเนื่องจากมีการปะทะกันหลายครั้ง สํานักขาวรอยเตอรสไดวิเคราะหสาเหตุที่มีการปะทะ กันวา อาจเกิดจากความเขาใจผิดของทหารทั้งสองฝาย แตอางนายฮุนเซ็นที่กลาวหานายอภิสิทธิ์วา “กระหายสงคราม”เนื่องจากปฏิเสธไมยอมถอนทหารและไมยอมรับผูสังเกตุการณจากอาเซียน ในทางตรงขามสํานักขาวรอยเตอรสไดสื่อสารการเมืองในทางบวกวา กัมพูชาไดพยายามทุกวิถีทาง ที่จะทําใหกรณีพระวิหารเขาสูเวทีนานาชาติ และเรียกรองใหคณะมนตรีความมั่นคงของ สหประชาชาติเขามาแทรกแซง สํานักขาวรอยเตอรสไดแสดงความหวงใยวา ถาหากอาเซียน แกปญหาพิพาทระหวางไทย-กัมพูชาไมสําเร็จอาจทําใหการรวมตัวเปน“ประชาคมอาเซียน”ในป ค.ศ.2015 ตองลาชาออกไปเปนปค.ศ.2020 สํานักขาวรอยเตอรสมีความหวังวาสถานการณจะดีขึ้น หลังจากพรรคเพื่อไทยชนะพรรคประชาธิปตยในการเลือกตั้งทั่วไป ในสมัยรัฐบาลของนางสาวยิ่ง ลักษณ ชินวัตร แมตัดสินศาลยุติธรรมระหวางประเทศไดมีคําตัดสินเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 สํานักขาวรอยเตอรสคาดการณวาจะมีความวุนวายเกิดขึ้นแน เนื่องจากยังมีผูไมยอมรับคํา ตัดสินของศาลโลก กลาวในภาพรวมของประเทศไทย สํานักขาวรอยเตอรสไดสื่อสารการเมืองวากรณีพิพาท ปราสาทพระวิหารกับกัมพูชานี้ไดกระทบความนาเชื่อถือตอประเทศไทยซึ่งมีเศรษฐกิจที่ใหญเปน อันดับอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใตเนื่องจากทหารยังมีอิทธิพลอยางสูงในการเมืองไทย สํานักขาวรอยเตอรสยังไดสื่อสารการเมืองโดยแสดงทัศนะวา ไทยนั้นเปน“ชาติที่แตกแยกอยางราว ลึกและขมขื่น” และสะทอนมุมมองวา ประเด็นพิพาทกรณีพระวิหารนี้มิใชความขัดแยงระหวางไทย กับกัมพูชา แตเปนความขัดแยงระหวางไทยกับไทยดวยกัน ดังนั้นกรณีพิพาทชายแดนระหวางไทย- กัมพูชานั้นคงยากที่จะยุติในเร็ววัน ตอบทบาทของฝายกัมพูชา สํานักขาวรอยเตอรสไดสื่อสารการเมืองวา รัฐบาลกัมพูชาไดมี สวนทําใหสถานการณความขัดแยงเลวรายลง โดยเฉพาะการปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อแตมตอทาง การเมืองโดยเฉพาะในชวงที่จะมีการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง ดังจะเห็นวาสาเหตุที่นายฮุนเซ็นชนะ การเลือกตั้งทั่วไปครั้งนี้เนื่องจากไดคะแนนเสียงสนับสนุนเปนกรณีพิเศษจากการที่พรรครัฐบาลได รณรงคปลุกกระแสชาตินิยมในกรณีปราสาทพระวิหาร สํานักขาวรอยเตอรสมีทัศนะวา นายฮุนเซ็น เปนนักการเมืองที่เต็มไปดวย“เหลี่ยมคู” และมักใชประวัติศาสตรที่กัมพูชาและไทยเคยเปนศัตรูกัน มาเปนเครื่องมือในการปลุกกระแสชาตินิยมในกรณีพระวิหารเพื่อสรางคะแนนนิยม จึงดูเหมือนวา สํานักขาวรอยเตอรสจะเชื่อมั่นวาสถานการณความขัดแยงไทย-กัมพูชาจะยังคงไมยุติงายๆ ทั้งนี้โดย พิจารณาจากสถานการณความขัดแยงทางการเมืองในทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะในประเทศไทย 155

นอกจากนี้ในฐานะสํานักขาวจากโลกตะวันตก สํานักขาวรอยเตอรสไดแสดงความกังวลเกี่ยวกับ บทบาทที่เพิ่มมากขึ้นของจีนในกัมพูชา ในบทที่ 5 นี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาเกี่ยวกับ การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเต อรสในกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008-2013 ในบทตอไป คือบทที่ 6 จะนําเสนอเกี่ยวกับ การ สื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวซินหัว ทั้งนี้เพื่อใหไดขอมูลครบถวนในการตอบคําถามวิจัยขอที่ สอง “การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศ : ศึกษากรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ. 2008-2013” บทที่ 6

การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวซินหัว(Xinhua) ในกรณีพระวิหารในหวงปค.ศ.2008-2013

ในบทนี้จะกลาวถึงของสํานักขาวซินหัว ในฐานะที่เปนสํานักขาวที่ใหญที่สุดของประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีนและเปนสํานักขาวที่กําลังขยายตัวอยางรวดเร็วในระดับนานาชาติ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนนั้นเปนมหาอํานาจในเอเซียที่กําลังมีบทบาททั้งทางเศรษฐกิจและ ทางการเมืองในเวทีสากล อีกทั้งยังมีความสัมพันธที่ดีมายาวนานกับทั้งประเทศกัมพูชาและประเทศ ไทย โดยเฉพาะนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นแหงประเทศกัมพูชาไดยกยองประเทศสาธารณรัฐประชาชน จีน วาเปน “มิตรที่ไววางใจไดมากที่สุด”ของประเทศกัมพูชา 588 การศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหารในหวง เวลาตั้งแต ค.ศ.2008-2013 เปนการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใชการวิเคราะหเนื้อความของ“รายงาน ขาว”ในรูปของ“ขาวออนไลน”ของสํานักขาวซินหัวของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ใน รูปแบบของ“ตัวบท”(texts) ที่สืบคนจาก http://www.xinhua.org/english/ โดยเปนฐานขอมูลที่ ใหบริการโดยไมคิดคาใชจาย ในชวงเวลาตั้งแตเดือนมกราคม 2008 ถึง เดือนธันวาคม 2013 ใน สมัยของนายกรัฐมนตรีไทย 4 คน คือ นายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศสวัสดิ์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร ในการนี้ผูวิจัยไดพิมพวลีวา “preah vihear” ลงไปในชองสืบคน ขอความของ http://www.xinhua.org/english และผล คือ ไดรายงานขาวภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของกับกรณี พร ะ วิหา ร จํา นว นป ระ ม าณ 622 ขา ว ตอ มา เวป นี้ ไดเปลี่ย นชื่ อเป น http://www.xinhuanet.com/english/ และยังเปนฐานขอมูลที่ใหบริการโดยไมคิดคาใชจาย นอกจากนี้ผูสนใจยังสามารถติดตามขาวจากสํานักขาวซินหัวได จากเวปไซต http://english.cri.cn และ http://www.chinaview.cn

ความเปนมาของสํานักขาวซินหัว

588 "China gives Cambodia $600m in aid", BBC News (8 April 2006). 156

สํานักขาวซินหัวเปนสํานักขาวระดับนานาชาติที่ใหญที่สุดของประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีนกอตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1931 เพื่อเปนชองทางเผยแพรขาวสารของพรรค คอมมิวนิสตจีนโดยเดิมใชชื่อวา Red China News Agency แตตอมาไดเปลี่ยนเปนชื่อสํานักขาว ซินหัวในปค.ศ.1937 589 ในระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา สํานักขาว ซินหัวไดจัดตั้งสํานักงานในตางประเทศเปนครั้งแรกและในปค.ศ.1944 ก็เริ่มเผยแพรขาวเปน ภาษาอังกฤษ หลังจากการปฏิวัติเปลี่ยนการปกครองเปนระบอบสังคมนิยมในปค.ศ.1949 สํานัก ขาวซินหัวมีสถานะเปนสํานักขาวทางการของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ทําหนาที่ “เปนหู เปนตา”ใหกับรัฐบาล 590 มีสถานะเทียบเทากระทรวงขึ้นตรงตอสภาแหงรัฐ ยิ่งไปกวานั้นประธาน ของสํานักขาวซินหัวนั้นมีฐานะเปนสมาชิกของคณะกรรมการกลางของพรรคคอมมูนิสตจีน และ ในบางกรณีสํานักขาวซินหัวไดทําหนาที่เปนผูแทนพรรคคอมมูนิสตจีนในประเทศและดินแดนที่ยัง ไมมีตัวแทนทางการทูตกับจีน 591 สํานักขาวซินหัวมีสํานักงานใหญอยูในกรุงปกกิ่งและมีสํานักงาน ทั่วโลกโดยใหบริการขาวทั้งในประเทศจีนและนานาชาติแกสื่อสารมวลชนทั่วโลก ที่แตกตางจาก สํานักขาวในโลกตะวันตก คือ สํานักขาวซินหัวอยูภายใตการควบคุมของรัฐบาลเชนเดียวกับ สื่อสารมวลชนอื่นๆของจีน ขาวสารที่เผยแพรออกมาโดยสื่อสารมวลชนจึงถือไดวาสะทอน นโยบายและโครงการของรัฐ โดยเฉพาะในชวงการปฏิวัติวัฒนธรรมในทศวรรษ1960 นั้น การ ปฏิบัติงานของสํานักขาวซินหัวถูกควบคุมอยางเขมงวด ผูสื่อขาวจํานวนมากถูกจับกุมคุมขัง แตหลังจากที่“แกงค 4 คน” ถูกโคนอํานาจลง สํานักขาวซินหัวก็ยืดหยุนมากขึ้นในการนําเสนอ ขาว 592 ในปจจุบันสํานักขาวซินหัวมีพนักงานมากกวา 10,000 คนปฏิบัติงานอยูในสํานักงาน ตางประเทศ 107 แหงทั่วโลกและมีสํานักงานอยูในทุกมณฑลของจีน 31แหง หนังสือพิมพทองถิ่น สวนใหญในจีนจึงตองอาศัยการปอนขาวจากสํานักขาวซินหัว นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวนั้นยังทํา หนาที่เปนสํานักพิมพดวยโดยเปนเจาของหนังสือพิมพมากกวา 20 ฉบับและนิตยสารกวา 12 ฉบับ

589 Susan Pares, A political and economic dictionary of East Asia. (London :Routledge, 2005). 590 Abbas Malek & Ananadam Kavoori, The Global Dynamics of News : Studies in International News Coverage and News Agenda. (Portsmouth : Greenwood Publishing Group, 1999). p. 346. 591 Susan Pares, A Political and Economic Dictionary of East Asia. (London: Routledge, 2005). 592 The Encyclopæ dia Britannica, (2014). Retrieved from http://global.britannica.com/topic/Encyclopaedia-Britannica-English-language-reference-work. 157

ทั้งยังมีการตีพิมพจําหนายใน 6 ภาษา คือ :ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาสเปญ ภาษาฝรั่งเศส ภาษา รัสเซีย และภาษาอาหรับ ยิ่งไปกวานั้นสํานักขาวซินหัวยังไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนขาวและภาพขาว กับสํานักขาวตางประเทศหรือแผนกขาวการเมืองมากกวา 80 แหงทั่วโลก นอกเหนือจากการ นําเสนอขาวตอสังคมโลกแลวสํานักขาวซินหัวยังมีหนาที่คัดกรองและเซนเซอรขาวจากตางประเทศ กอนที่จะมีการเผยแพรในสื่อตางๆในประเทศจีนอีกดวย 593 ในดานที่เกี่ยวกับลักษณะพิเศษของสื่อมวลชนจีน วิภา-นิรันดร อุตมฉันท ในหนังสือ “เจาะลึกสื่อจีน”ไดสรุปลักษณะพิเศษของสื่อมวลชนจีนในปจจุบันไววา สื่อเปนองคประกอบสําคัญ ในโครงสรางสวนบนของสังคมซึ่งไดแก ระบบคิด จิตสํานึก และระบอบการเมืองซึ่งจําเปนในการ ยึดอํานาจรัฐรวมถึงการสรางอํานาจรัฐใหมั่นคง ดวยเหตุนี้“ปนและปากกา”จึงเปนสองสิ่งที่ผูนําจีน จะคลายการยึดกุมมิได ดังนั้นเสรีภาพของสื่อตองคูกับภาระหนาที่และความรับผิดชอบ กลาวคือ สื่อตองไมสวนทางกับแนวนโยบายของพรรคฯ และของรัฐ ทั้งยังตองยึดถือผลประโยชนของชาติ เปนที่ตั้ง และยึดหลักกระชับมิตรกับทุกประเทศ นอกจากนี้สื่อจีนตองเปนทั้ง“สื่อเพื่อสาธารณะ” และ“สื่อเพื่อการคา” 594 ดวยเหตุนี้เมื่อมีการเปดสํานักงานของสํานักขาวซินหัวขึ้นในประเทศ ฝรั่งเศส จึงมีเสียงวิจารณในแงของความนาเชื่อถือ เนื่องจากชื่อ“ซินหัว”นั้นถูกมองวาเปน กระบอกเสียงทางการของรัฐบาลจีนที่หาญ‘กลามาเทียบชั้น’ กับสํานักขาวระดับโลกดานธุรกิจอยาง “บลูมเบอรก” หรือ “รอยเตอรส” 595 แมแตหัวหนาของสํานักงานของสํานักขาวซินหัวในอินเดียก็ ยังยอมรับวา สํานักขาวซินหัวยังมีปญหาดานความนาเชื่อถือ 596 ในทัศนะของตะวันตกนั้น การที่สํานักขาวซินหัวไปตั้งสํานักงานที่ชั้นบนสุดของอาคาร เลขที่ 1540 ถนนบรอดเวยในยานไทมสแควรนครนิวยอรกนั้น แสดงวารัฐบาลจีนตองการที่จะกาว ขึ้นมาเปน“ผูเลนในระดับโลก”(global player) ใหได ทั้งนี้รัสเซล เลียง(Russell Leong) ผูเชี่ยวชาญดานสื่อจีนจากมหาวิทยาลัย UCLAไดแสดงทัศนะวา จีนตระหนักวา‘soft power’นั้น

593 Chris Glasser & Matthew Winkler, International Libel and Privacy Handbook: A Global Reference for Journalists, Publishers, Webmasters, and Lawyers. (New York : Bloomberg Press, 2009). 594 วิภา อุตมฉันท และนิรันดร อุตมฉันท. เจาะลึกสื่อจีน. (กรุงเทพ : ศูนยจีนศึกษา สถาบันเอเชีย ศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2006). 595 “Bloomberg, Reuters—and Xinhua?”, Business Week (17 February 2003). 596 “Q&A: 'Our credibility is doubted to a certain degree'”, Times of India (28 September 2007) 158

สําคัญเทาๆกับ‘hard power’597 ดังจะเห็นวาในบทความชื่อ “ซินหัวนั้นเปนอนาคตของวิชาการ สื่อสารมวลชนใชไหม?” ในนิตยสารนิวสวีกนั้น ผูเขียนไดย้ําวาที่ผานมานั้นจีนถูกดูแคลนและมอง ดานลบจากสื่อตะวันตกมาเปนเวลาชานานแลว จีนจึงไดนิยามบทบาทตนเองใหม ดวยการ ออกอากาศขาวภาคภาษาอังกฤษตลอด 24 ชั่วโมง ตลอดจนมีแผนการจะขยายสํานักงานใน ตางประเทศ นอกจากนี้ยังมีการใชชองทาง iPhone app เพื่อเผยแพรขาวสาร การตูน ขอมูล ทางการเงินและรายการบันเทิงตลอด 24 ชั่วโมง การสมัครสมาชิกขาวก็มีราคาถูกกวาสํานักขาวเอพี หรือสํานักขาวรอยเตอรสหรือสํานักขาวเอเอฟพี ซึ่งคาสมัครสมาชิกขาวนั้นมีราคาสูงกวาของ สํานักขาวซินหัวมาก โดยเฉพาะสําหรับลูกคาสื่อที่ไมมีเงินจายคาสมาชิกนั้น สํานักขาวซินหัวก็ได จัดโครงการสนับสนุนทั้งดานเนื้อหาขาวอุปกรณและสนับสนุนทางเทคนิคโดยไมมีคาใชจาย 598 โดยสํานักขาวซินหัวไดรับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลจีนประมาณรอยละ 66 ตอป 599 ในดานคุณภาพขาวนั้นสํานักขาวซินหัวไดจัดทํา“คูมือบรรณาธิการสําหรับผูสื่อขาวซินหัว” (Editorial Handbook for Xinhua Journalists)600 ดังจะเห็นวานายดาเนียล เบทตินี (Daniel Bettini) บรรณาธิการขาวตางประเทศของหนังสือพิมพที่ใหญที่สุดในอิสราเอลชื่อ Yedioth Ahronoth มีทัศนะทางบวกวา“ขาวของสํานักขาวซินหัวนั้นมีคุณภาพดีเชื่อถือได ถาหากวาการ รายงานขาวชิ้นนั้นไมเกี่ยวของกับเรื่องการเมืองภายในของจีน” นอกจากนี้บรรณาธิการจาก ปากีสถานและตุรกีก็ยอมรับวา การใชภาษาของสํานักขาวซินหัวนั้น“เรียบงาย”และ“มีการปรับปรุง คุณภาพดีขึ้น” โดยเฉพาะการรายงานขาวการสูรบในตะวันออกกลาง สวนคามิล เออรด็อกดู (Kamil Erdogdu) ผูสื่อขาวภาษาจีนของสํานักขาวตุรกีมีความเห็นวาสํานักขาวซินหัวนั้นรายงาน ขาวได“รวดเร็วกวา” สํานักขาวอื่น เหลานี้แสดงวาสํานักขาวซินหัวไดใชความพยายามตลอดระยะ เวลานานกวา 80 ปที่จะทําใหไดรับการยอมรับจากสื่อมวลชนตะวันตกและสื่อมวลชนอื่นๆใน ประเทศกําลังพัฒนา ทั้งนี้เพื่อขึ้นมาเปน“ผูเลน”ในระดับโลกใหได 601

597 Anton Troianovski, "China Agency Nears Times Square", The Wall Street Journal. (June 30, 2010). 598 Isaac S. Fish, "Is China's Xinhua the Future of Journalism?", Newsweek(3 September 2010). 599 Xin Xin,“A developing market in news: Xinhua News Agency and Chinese newspapers”, Media Culture Society (January 2006) Vol. 28 No. 1 pp. 45-66. 600 Xinhua (Xinhua News Agency), Editorial Handbook for Xinhua Journalists, 1st edn. (Beijing: Xinhua, 2002). 601 Xin Xin, (January 2006) Vol. 28, No. 1, pp. 45-66, อางแลว. 159

สํานักขาวซินหัวใหความสําคัญกับประเทศไทย มาเปนเวลานานแลว โดยเริ่มมาตั้ง สํานักงานที่ประเทศไทยหลังปค.ศ.1975 เล็กนอย สํานักขาวซินหัวเนนการรักษาสัมพันธกับ ประเทศเจาบาน และมีความเกรงใจสื่อรัฐของประเทศนั้นๆแตระมัดระวังเรื่องความปลอดภัย จึงไม มีนโยบายสงผูสื่อขาวลงไปรายงานขาวในพื้นที่วิกฤต แตเพื่อความรอบคอบจะใชวิธีอางรายงาน ขาวจากแหลงขาวอื่นกอน ผูสื่อขาวซินหัวมีสถานะเปนเจาหนาที่ของรัฐจึงมีฐานะการงานมั่นคง หากเปนเจาหนาที่ระดับสูงจะมีฐานะเปนสมาชิกพรรคคอมมิวนิสตจีน นอกจากนี้ในการรายขาว เกี่ยวกับประทศไทย สํานักขาวซินหัวจะจัดทําประเด็นเพื่อแนะนําผูสื่อขาววาประเด็นใดควรเลน หรือไมเลน โดยหลักการแลวจะไมเลนขาวที่เปนดานลบตอประเทศจีน จะเห็นวาในระยะหลัง ผูสื่อขาวซินหัวที่สงมาประจําประเทศไทย มักเปนคนหนุม การศึกษาสูงและภาษาอังกฤษดีมา ประจําที่สํานักงานในประเทศไทย 602 ในปจจุบัน สํานักขาวซินหัวในประเทศไทยมีผูสื่อขาวประมาณ 5 คน มีหัวหนาสํานักขาว ซึ่งขึ้นตรงตอสํานักงานใหญที่กรุงปกกิ่ง และในการจัดทํารายงานขาวก็จะขึ้นตรงตอบรรณาธิการ ขาวของภูมิภาคเอเชียอาคเณยที่กรุงปกกิ่งเชนกัน ในการรายงานขาวนั้นผูสื่อขาวสํานักขาวซินหัว จะจัดทํารายงานในรูปแบบขาวสั้นๆ ใชภาษาเรียบงาย ไมพาดหัวขาวหวือหวา นอกจากขาวแลว ยัง มีบทความ หรือ บทวิเคราะห แทรกเขามาเปนระยะตามสถานการณ603 กลาวโดยสรุปสํานักขาวซินหัวเปนสํานักขาวระดับนานาชาติที่ใหญที่สุดของประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยหลักการแลวการทํางานของสํานักขาวซินหัวตองไมสวนทางกับ แนวนโยบายของพรรคคอมมิวนิสตจีนและของรัฐ ทั้งตองยึดถือผลประโยชนของชาติเปนที่ตั้งและ ยึดหลักกระชับมิตรกับทุกประเทศ จีนมีนโยบายที่ตองการจะเปน“ผูเลนในระดับโลก”เพื่อลดการ ผูกขาดดานสื่อโดยสื่อตะวันตกจึงพยายามทุกวิถีทางใหสํานักขาวซินหัวขึ้นมาแขงขันไดใน ตลาดโลกในระดับเดียวกับสํานักขาวบลูมเบอรกและสํานักขาวรอยเตอรส แตยังมีอุปสรรคที่สํานัก ขาวซินหัวยังถูกมองอยูบางวาเปน“กระบอกเสียง”ของรัฐบาลจีน ดวยเหตุนี้การสื่อสารทาง การเมืองของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหารจึงเปนประเด็นที่นาศึกษาอยางยิ่ง

การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหารกอนปค.ศ. 2008

602 สงวน คุมรุงโรจน, อดีตผูสื่อขาวหลายสํานักขาวตางประเทศ,สัมภาษณ, 13 มิถุนายน 2016. 603 สุภลักษณ กาญจนขุนดี, บรรณาธิการอาวุโสนสพ.เดอะเนชั่น, สัมภาษณ, 24 มิถุนายน 2016. 160

กอนป ค.ศ.2008 อันเปนปเริ่มตนของหวงเวลาการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ ผูวิจัยไดพบวาสํานัก ขาวซินหัวมีการรายงานเกี่ยวกับกรณีปราสาทพระวิหารมาแลวกอนหนานี้ ดังจะเห็นวาใน ฐานขอมูลขาวภาษาอังกฤษของสํานักขาวซินหัวนี้เริ่มใหบริการฐานขาวขอมูลมาตั้งแตค.ศ.2001 โดยเฉพาะอยางยิ่งในปค.ศ.2003 สํานักขาวซินหัวไดทํารายงานสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธจีนกับ ไทย 604 และความสัมพันธจีนกับกัมพูชา 605 นาสังเกตวาในทั้งสองรายงานนี้มีประเด็นที่ตรงกันโดย ไดระบุดวยขอความเดียวกันวา กัมพูชาไดกลาวหาไทยวาได “ยาย”หรือ“ทําลาย”หมุดเขตแดนและ ไทยไดรุกล้ําแดนกัมพูชา ไทยไมเคารพการอางสิทธิของกัมพูชาไทยโดยไดปดทางเขาออกปราสาท พระวิหารทั้งๆที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศไดมอบใหสิทธิครอบครองนี้แกกัมพูชาในปค.ศ.1962 นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังไดอางรายงานขาวจากหนังสือพิมพรายวันรัศมีกัมพูชาวา กัมพูชาไดยื่นขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ( World Heritage Site) มาตั้งแต เดือนกรกฎาคม.ค.ศ. 2007 แตคณะกรรรมการมรดกโลก() ขอให กัมพูชารอฟงมติที่ประชุม.คณะกรรมการมรดกโลกไปอีกหนึ่งป เนื่องจากทางการไทยไดเสนอวา ขอเวลาที่จะปกปนเขตแดนระหวางไทยและกัมพูชาใหชัดเจนเสียกอน นอกจากนี้กัมพูชาก็ยอมรับ วาในขณะนั้น กัมพูชามีปญหาทางเทคนิคที่ยังไมพรอม เชน สิ่งกอสราง หอวิทยุ และระบบการ ระบายน้ํา 606 สํานักขาวซินหัวยังมีรายงานเกี่ยวกับบทบาทของสหรัฐอเมริกาในกรณีพระวิหาร โดยอางแหลงขาวจากหนังสือพิมพรายวันภาษาอังกฤษในกัมพูชาวา นายโจเซฟ เอ มุสโซเมลิ (Joseph A. Mussomeli) เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจํากัมพูชาในขณะนั้น ไดแจงแกนายสก อาน (Sok An) รองนายกรัฐมนตรีกัมพูชาวา สหรัฐอเมริกาเห็นวากัมพูชาควรจะขอขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกอยางเปนทางการ แมวาจะมี ‘ฝายที่สาม’ มาคัดคานก็ตาม ทั้งนี้ สหรัฐจะใหความชวยเหลือในการจัดทําแผนพัฒนาและจัดการปราสาท ตลอดจนสนับสนุนดาน เงินทุนในการจัดทําแผนดวย”607 ซึ่งในทัศนะของผูวิจัยเห็นวา‘ฝายที่สาม’หมายความถึงประเทศ ไทย และขอมูลที่วาสหรัฐเสนอจะชวยกัมพูชานี้เปนที่รับทราบกันนอยมากในประเทศไทย

การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2008

604 “Thailand” , Xinhuanet (16 October 2003). 605 “Cambodia”, Xinhuanet (28 March 2003). 606 “Preah Vihear temple to wait a year for World Heritage Site decision”, Xinhua (2 July 2007) 607 “U.S.supports Cambodia's bid to list Preah Vihear Temple as world heritage site”, Xinhua (19 July 2007) 161

สํานักขาวซินหัวไดจัดทํารายงานขาวในปค.ศ. 2008 จํานวน 61 ขาว ในดานประเด็นขาว นั้นสํานักขาวซินหัว เริ่มประเด็นขาวตั้งแตเดือนมกราคมในประเด็นที่วากัมพูชาใหความสําคัญใน การพิมพธนบัตรที่มีรูปปราสาทพระวิหาร และในเดือนพฤษภาคม กัมพูชาไดสงกองกําลังเพิ่มเติม มาคุม.ครองปราสาทพระวิหาร ตอมาในเดือนมิถุนายนกัมพูชาไดขอใหรัฐบาลสมัครสนับสนุนการ ขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก มีการเจรจาหลายครั้ง จนนําไปสูการลงนามใน “ขอตกลงรวม”(joint communiqué ) ทามกลางการประทวงตอตานของฝายชาตินิยมจนกดดันให นายนพดลรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศตองลาออก นาสังเกตวาสํานักขาวซินหัวหยุด การรายงานขาวในเดือนกรกฎาคมทั้งเดือนทั้งๆที่สถานการณตึงเครียด แตไดรายงานกรณีการ ปะทะวันที่ 3 และ 15 ตุลาคมและการที่กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย(พธม.) ยึด สนามบินเพื่อไลรัฐบาลสมชาย อันเปนเหตุการณที่ช็อกโลก จึงเห็นไดวาในเดือนตุลาคมเปนเดือนที่ ทั้งสํานักขาวซินหัว(36 ขาว) มีจํานวนขาวสูงสุดในปค.ศ.2008 ดังแสดงในตารางที่ 6.1 และ ประเด็นขาวในรายละเอียด

ตารางที่ 6.1 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2008

2008 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวน ปะทะ ขาว Xinhua 1 0 0 0 1 9 1 4 1 36 8 0 61

ปราสาทพระวิหารสําคัญสําหรับกัมพูชา

ปราสาทพระวิหารนั้นมีความสําคัญตอประชาชนและประเทศกัมพูชาเปนอยางสูง ดังจะ เห็นวาสํานักขาวซินหัวไดอางหนังสือพิมพรายวันภาษาอังกฤษ ชื่อ Cambodia Daily วา “ธนาคาร ชาติของกัมพูชาไดออกธนบัตรใหมราคา 2,000 เรียล ซึ่งมีคาประมาณครึ่งดอลลารสหรัฐ ใน ธนบัตรรุนนี้ดานหนึ่งจะเปนภาพของปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียร(Preah Vihear) สวนอีกดานหนึ่งจะเปน รูปสตรีกําลังเกี่ยวขาว 608 ในเดือนพฤษภาคมสํานักขาวซินหัวไดพาดหัวขาววา รัฐบาลกัมพูชาได จัดตั้งหนวยงาน ชื่อ Preah Vihear National Authority (PVNA) และจะสงยามรักษาการณจํานวน

608 “Cambodian National Bank issues 2,000-riel note”, Xinhuanet (8 January 2008) 162

22 คน ไปประจําที่ปราสาทพระวิหารนับเปนครั้งแรก ยามรักษาการณชุดแรกนี้เปนหญิง 11 คน และชาย 11 คน ทั้งนี้กัมพูชาอางวาเพื่อปองกันมิใหมีผูมาขโมยหินจากตัวปราสาท และเพื่อรักษา ความปลอดภัยแกนักทองเที่ยว สํานักขาวซินหัวย้ําวาแตเดิมมีกองกําลังของไทยประจําอยูที่ปราสาท พระวิหารระหวางปค.ศ.1949-1952 แตหลังจากที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (ICJ) มี คําตัดสินเมื่อ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1962 ใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา กัมพูชาก็สงกองกําลัง มาประจํา บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชาดานนี้จึงยังตึงเครียดอยู เนื่องจากยังไมมีความชัดเจนเกี่ยวกับ ประเด็นเสนเขตแดน 609 สํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา ในวันที่ 15 มิถุนายนมีการฉลองวัน ครบรอบ 46 ปที่ศาลโลกมีคําพิพากษาใหปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียรเปนของกัมพูชาเมื่อ ค.ศ. 1962 โดยไดอางรายงานขาวจาก Mekong Times วา“งานเฉลิมฉลองครั้งนี้จัดโดยสมาคมสงเสริม อารยธรรมเขมร (The Khmer Civilization Support Association - KCSA) เพื่อสํานึกตอบุญคุณ ผูสรางปราสาทและอุทิศสวนกุศลตออดีตกษัตริยนโรดมสีหนุ ผูมีบทบาทใหกัมพูชาชนะคดีในศาล โลก ตลอดจนขอบคุณรัฐบาลกัมพูชาที่ไดขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารตอคณะกรรมการมรดก โลกของยูเนสโกซึ่งกําลังจะมีการประชุมที่เมืองควีเบก ประเทศแคนาดา” 610

แผนที่ที่กัมพูชาจะขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกล้ํามาในเขตไทย

ในการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารตอคณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโก สํานัก ขาวซินหัวไดอางหนังสือพิมพบางกอกโพสตที่ระบุวานายธาริต จรุงวัฒน โฆษกกระทรวงการ ตางประเทศไดแถลงวาแผนที่ที่กัมพูชาจะเสนอตอยูเนสโกนั้น มีความแตกตางจากแผนที่ฉบับที่ ประเทศไทยใช และเรียกรองใหกัมพูชาตองมาเจรจากับไทย กอนที่กัมพูชาจะเสนอขอขึ้นทะเบียน มรดกโลกกับยูเนสโก สวนนายพาย สีพัน(Phay Siphan) โฆษกคณะรัฐมนตรีกัมพูชาไดอางวา กัมพูชาไดเสนอเฉพาะ‘ภาพวาด’(drawing) ซึ่งไมใช‘แผนที่’(map) ตอยูเนสโกแลว ทั้งยังอางวา รัฐบาลไทยไดใหความเห็นชอบ ‘ภาพวาด’ นี้แลว นอกจากนี้ ในรายงานเดียวกัน นายพายสีพัน โฆษกของสภารัฐมนตรีกัมพูชายังไดระบุวา ไมเห็นดวยที่รัฐบาลไทยในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะ รัชตไดลอมรั้วลวดหนามไวรอบปราสาทพระวิหาร เนื่องจากรั้วลวดหนามนั้นอยูใกลกับตัว ปราสาทมากเกินไป ซึ่งตามกฎหมายของกัมพูชาแลว ขอบเขตของที่ตั้งปราสาทใดใดก็ตาม คือ ระยะทาง 30 เมตรหางจากขอบนอกของตัวปราสาท ดังนั้นกัมพูชาจึงอางวา นี่เปนหลักฐานที่

609 “Cambodian guards to protect Preah Vihear temple”, Xinhua (13 May 2008) 610 “Anniversary of Preah Vihear ruling to be held at in Cambodia”, Xinhua (12 June 2008) 163

ชี้ชัดวาไทยไดรุกล้ําเขามาในดินแดนกัมพูชาตั้งแตสมัยจอมพลสฤษดิ์ แมวาศาลโลกจะมีคําตัดสิน เมื่อป 1962 แลวก็ตาม 611

คณะรัฐมนตรีสมัครรับรอง‘แผนที่ใหม’ ของปราสาทพระวิหาร

สํานักขาวซินหัวไดอางสํานักขาวไทยและพาดหัวขาววา คณะรัฐมนตรีไทยในสมัยนาย สมัคร สุนทรเวช ไดมีมติรับรอง ‘แผนที่ใหม’ ของปราสาทพระวิหาร เนื่องจากกัมพูชาไดแกไข แผนที่ใหมนี้เรียบรอยแลว ตามคําทวงติงของฝายไทย ทั้งนี้นายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศระบุวา แผนที่ใหมนี้ไมไดผนวกรวมพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางก.ม. เขาไป ดวย โดยรัฐบาลไทยพรอมจะเปดเผยรายละเอียดทุกอยางหลังจากที่การประชุมคณะกรรมการ มรดกโลกที่เมืองควีเบกประเทศแคนาดาในวันที่ 2 กรกฎาคมไดเสร็จสิ้นลง กรณีที่คณะรัฐมนตรี สมัครใหการรับรอง‘แผนที่ใหม’ที่กัมพูชาจะนําเสนอตอคณะกรรมการมรดกโลกนั้น ทําใหนาย นพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ถูกฝายตอตานรัฐบาลที่นําขบวนโดยกลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย(พธม.) กลาวหานายนพดลวา‘ขายชาติ’โดยกลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดอานแถลงการณระหวางประทวงที่หนากระทรวงการตางประเทศ เรียกรองใหเอกอัครขาราชทูต อุปทูต กงศุล และเจาหนาที่ของกระทรวงการตางประเทศทุกคนให ออกมารักษาอธิปไตยของไทย 612 ดวยเหตุนี้ สํานักขาวซินหัวจึงพาดหัวขาววา กัมพูชาตองปด พรมแดนดานปราสาทพระวิหาร สาเหตุเนื่องจากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดเขา ยึดทําเนียบรัฐบาล และเคลื่อนขบวนรุกเขามาใกลจนประชิดจุดตรวจผานแดนดานนี้ ทั้งนี้นายวาร กิมฮง ประธานคณะกรรมการพรมแดนของกัมพูชาไดใหเหตุผลการปดดานวา กัมพูชาเกรงวาจะ เปนอันตรายตอนักทองเที่ยวที่มาเยี่ยมชมปราสาทพระวิหาร 613 สํานักขาวซินหัวยังคงเกาะติดความขัดแยงทางการเมืองในไทย และพาดหัวขาววา “พรรค ประชาธิปตยไดเดินหนายื่นคํารองตอศาลรัฐธรรมนูญ” เพื่อใหปลดนายนพดล ปทมะ

611 “Anniversary of Preah Vihear ruling to be held at in Cambodia”, Xinhua (12 June 2008) 612 “Thailand endorses Cambodia map of disputed temple”, Xinhua (17 June 2008) 613 “Cambodia shuts border with Thailand at Preah Vihear temple”, Xinhua (24 June 2008) 164

รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศออกจากตําแหนง ทั้งนี้พรรคประชาธิปตยอางวาเมื่อ ปราสาทพระวิหารไดขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกแลวจะทําใหไทยเสียเปรียบในการเจรจาเกี่ยวกับ พื้นที่ทับซอน 614 ติดตามดวยพาดหัวขาวในดานบวกตอรัฐบาลนายสมัครที่วา “นายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีของไทย 7 คน รอดพนจากการลงมติไมไววางใจในสภาผูแทนราษฎร” สํานักขาวซินหัว ระบุวา กรณีนี้สงผลใหราคาหุนในตลาดหุนสูงขึ้น 615 แตตอมาในวันรุงขึ้นก็มีขาวรายวา ศาล ปกครองของไทยไดมีคําสั่งใหรัฐบาลไทย เพิกถอนมติคณะรัฐมนตรีที่สนับสนุนกัมพูชาในการขอ ขึ้นทะเบียนปราสาทเปนมรดกโลกดวยมติ 9 ตอ 3 ในการนี้สํานักขาวซินหัวไดอางหนังสือพิมพ เดอะเนชั่นที่ระบุวากระทรวงการตางประเทศอาจยื่นอุทธรณในกรณีนี้ได และกลาววาคําสั่งของศาล ปกครองจะไมมีผลใดใดตอกัมพูชา ในขณะเดียวกันตัวแทนของสมาชิกวุฒิสภา นักวิชาการและ ภาคประชาสังคมไดยื่นอุทธรณตอยูเนสโกใหเลื่อนการพิจารณาการขึ้นทะเบียนมรดกโลกไปกอน เนื่องจากปราสาทพระวิหารนั้นตั้งอยูบนพื้นที่รวมบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ประเด็นนี้ กลายเปนประเด็นรอนที่กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดนํามาโคนรัฐบาลสมัคร อยางไรก็ตามนายสมัครและนายนพดลไดโตแยงวา ประเทศไทยนั้นไดสูญเสียสิทธิในปราสาทพระ วิหารไปตั้งแตศาลโลกมีคําตัดสินเมื่อปค.ศ. 1962 แลววาเปนของกัมพูชา และแผนที่ที่ คณะรัฐมนตรีสมัครไดใหความเห็นชอบในครั้งนี้ ไมไดครอบคลุมพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.แต อยางใด 616 สถานการณในประเทศไทยเลวรายลง สํานักขาวซินหัวไดพาดหัวขาว ตามการรายงาน ของสํานักขาวไทยที่วา นายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทย ได ตัดสินใจลาออกจากตําแหนงเพื่อแสดงความรับผิดชอบ สืบเนื่องจากกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน วา ‘ขอตกลงรวม’ที่เขาไดลงนามในฐานะรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกับกัมพูชาใน กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเมื่อ 18 มิถุนายนค.ศ. 2008 นั้น ขัดกับรัฐธรรมนูญไทยฉบับ ปค.ศ. 2007” ที่วา‘ขอตกลงรวม’นี้จึงจะตองผานการเห็นชอบของรัฐสภาเสียกอน 617

กัมพูชาฉลองใหญมรดกโลก

614 “Thailand's Democrat party to file impeachment against FM”, Xinhua (26 June 2008) 615 “Thai PM, seven ministers survive no-confidence vote”, Xinhua (27 June 2008) 616 “Thai court orders government suspends support for Cambodia's world heritage bid on disputed temple”, Xinhua (28 June 2008) 617 “Thai Foreign Minister resigns over temple dispute”, Xinhua (10 July 2008). 165

สํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา “ในกัมพูชามีการฉลองใหญที่ยูเนสโกขึ้นทะเบียนมรดก โลกปราสาทพระวิหาร” เนื่องจากที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลกทั้งหมด 21 คน ก็ไดมี“มติเอก ฉันทเห็นชอบการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกโดยกัมพูชาแตผูเดียว”ในการ ประชุมที่เมืองควีเบก ประเทศแคนาดาเมื่อ 7 กรกฎาคม ค.ศ.2008 ทั้งๆที่ผูแทนฝายไทยได พยายามอยางเต็มที่ที่จะขอใหคณะกรรมการมรดกโลกชะลอการลงมติ เพื่อใหฝายไทยไดมีสวนใน การจัดการปราสาทพระวิหารรวมแตก็ไมเปนผล ในงานเฉลิมฉลองนี้มีการโบกธงชาติกัมพูชาและ รองเพลงเชิดชูประวัติศาสตรเขมรตลอดจนเพลงเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารโดยนักรองชาวกัมพูชา ระดับแถวหนาทุกคนมารวมกัน ซึ่งสํานักขาวซินหัวไดแสดงความเห็นวา นี่เปนการปลุกกระแส ชาตินิยมโดย พรรครัฐบาลในกัมพูชาเนื่องจากกําลังอยูในชวงหาเสียงเลือกตั้ง และวิเคราะหวาใน ประเทศไทยก็เชนกันมี กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและพรรคฝายคานคือพรรค ประชาธิปตยกําลังใชกรณีพระวิหารมาปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อโคนลมรัฐบาลพรรคเพื่อไทยที่มี นายสมัคร สุทรเวชเปนนายกรัฐมนตรี 618

ทหารไทยรุกเขาพื้นที่ทับซอน

สํานักขาวซินหัวรายงานวา มีการตรึงกําลังที่ชายแดนไทย-กัมพูชา“เนื่องมาจากมี.ค.นไทย สาม.คน หนึ่งในสามนี้เปนพระสงฆไดเขาไปในพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.ซึ่งเปนพื้นที่ติดตอกับ ตัวปราสาทพระวิหาร จึงถูกทหารกัมพูชากักตัวไวชั่วคราว ตอมาในวันเดียวกันทั้งสาม.คนไดรับ การปลอยตัว แตทวาทหารไทยกลับไมยอมที่จะถอนกองกําลังออกมาจากพื้นที่ทับซอน4.6 ตาราง กม.นี้” สํานักขาวซินหัวใหรายละเอียดวา“ทางการไทยไดหามมิใหมีผูใดเขาไปในบริเวณปราสาท และตอมาไดปดกั้นทางเขาออกในรัศมี 10 กม.จากตัวปราสาท” และอางรายงานจากเวปไซต เดอะเนชั่นวา “ในขณะที่การตรึงกําลังระหวางไทย-กัมพูชาที่ชายแดนไดยางเขาวันที่ 6 จึงมีการ ประชุมนัดพิเศษของคณะกรรมการชายแดนทั่วไป(GBC)ที่จังหวัดสระแกวของไทย ระหวางพล เอกบุญสราง เนียมประดิษฐ และพลเอกเตียบันห ที่ประชุมไดตกลงที่จะไมใชกําลังหรืออาวุธใน บริเวณพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม. อยางไรก็ตามสํานักขาวซินหัวไดพาดหัวขาววา ที่ประชุมไม

618 “Cambodia holds big concert to hail Preah Vihear temple as world heritage”, Xinhua (15 July 2008). 166

สามารถตกลงกันไดในประเด็นกฎหมายที่เกี่ยวของกับพื้นที่ทับซอน 619 และในวันรุงขึ้นก็พาดหัว ขาววา “กัมพูชาไมยอมรับขอเสนอของฝายไทยที่จะขอใหกัมพูชาทบทวนแผนที่” ทั้งนี้พลเอกเตีย บันห รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชาไดแถลงหลังการประชุมคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) วา สาเหตุที่กัมพูชาไมยอมรับขอเสนอของฝายไทยนั้น ก็เพราะวาสนธิสัญญาระหวางฝรั่งเศสและ สยามในปค.ศ.1904 และ1907 ไดกําหนดเสนเขตแดนระหวางไทย-กัมพูชาไวแลว 620 อาเซียนเสนอชวยไกลเกลี่ย

ในวันเดียวกันสํานักขาวซินหัวไดพาดหัวขาววา “ที่ประชุม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศอาเซียนที่สิงคโปรไดเสนอตัวจะชวยไทยและกัมพูชายุติความขัดแยง” ทั้งนี้นายฮอร นัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาไดเสนอ ใหอาเซียนจัดตั้งกลุม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียนเพื่อชวยยุติกรณีพิพาท นอกจากนี้นายสุรินทร พิศสุวรรณเลขาธิการอาเซียนได เรียกรองใหทั้งสองฝายยังยั้งชั่งใจ 621 สํานักขาวซินหัวไดย้ําวา การตรึงกําลังกันไดยางเขาสูสัปดาหที่สองแลว นายฮุนเซ็นและนายสมัครยังมีการตอบโตกันอยู ตลอดเวลา และไดพาดหัวขาวตามขอมูลจากหนังสือพิมพเดอะเนชั่นที่วา ชวงนี้ไทยจะยังไมตอบ โตนายฮุนเซ็น เนื่องจากนายฮุนเซ็นกําลังอยูระหวางหาเสียงเลือกตั้งในวันที่ 27 กรกฎาคม ไทยจะ รอใหรูผลการเลือกตั้งในกัมพูชากอน 622 สํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา “ประชาชนกัมพูชาตามชายแดนเตรียมจะลี้ภัย”เนื่องจาก ทหารไดตรึงกําลังกันยางเขาวันที่ 8 แลว ชาวบานกัมพูชาอางวาฝายทหารไทยไดตั้งบังเกอรและ ปดทางเขาออกปราสาทพระวิหาร และวาทหารกัมพูชาไดสื่อสารไปยังญาติพี่นองไมใหซื้อสินคาที่ นําเขามาจากไทย” นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังวิจารณทั้งรัฐบาลไทยและกัมพูชาวาไมสนใจที่จะ ดูแลความปลอดถัยของประชาชน และใหขอมูลวากองกําลังฝายไทยที่ชายแดนนั้นมีจํานวน มากกวา 500 นายพรอมรถถังและอาวุธยุทโธปกรณ สวนกัมพูชามีประมาณ 1,000 นาย นอกจากนี้ทั้งสองฝายยังสงกองกําลังฝายละ 100 นายไปประจําที่วัดแกวสิกขาคีรีสวรา อยางไรก็

619 “Thai-Cambodia border meeting fails to meet breakthrough, but both promise no force”, Xinhua (21 July 2008) 620 “Cambodia turns down Thai request to review border lines”, Xinhua (22 July 2008) 621 “ASEAN to help resolve Thai-Cambodian border dispute”, Xinhua (22 July 2008) 622 “Thai: No more response to Cambodia on border dispute”, Xinhua (23 July 2008) 167

ตามสถานการณภายในบริเวณวัดแกวสิกขาคีรีสวรายังสงบ ทั้งสองฝายไมไดพกอาวุธในวัดซึ่ง เปนไปตามขอตกลง 623 สํานักขาวซินหัวไดแสดงความหวงใยสถานการณที่กําลังจะเลวรายลง เนื่องจากกัมพูชา ไดรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) เพื่อ‘ขอใหมีการ ประชุมวาระฉุกเฉิน’เพื่อพิจารณาเกี่ยวกับกรณีพิพาทนี้ในวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ.2008 แตฝาย ไทยโดยนายดอน ปริมัตถวินัย เอกอัครขาราชทูตไทยประจําองคการสหประชาชาติ และ นางคอนโดลีซา ไรซ (Condoleeza Rice) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของสหรัฐ ได คัดคานและเสนอใหแกปญหาแบบทวิภาคีแทน เนื่องจากในขณะนั้นรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศอาเซียนก็กําลังประชุมกันอยูที่สิงคโปร ในที่สุดที่ประชุม UNSC ก็ยอมมีมติใหเลื่อน การพิจารณาวาระฉุกเฉินนี้ไปกอนตามขอเสนอของฝายไทย ซึ่งเรื่องนี้สํานักขาวซินหัวไดสะทอน ภาพวา “ในขณะที่ฝายกัมพูชาตองการฟองชาวโลกวาสถานการณกําลังจะลุกลามกลายเปน สงคราม แตฝายไทยเรียกรองที่จะขอเจรจาระดับทวิภาคีเทานั้น” 624 อยางไรก็ตาม สํานักขาวซิน หัวไดรายงานวา“หลังจากที่นายสมัครไดตอโทรศัพทสายตรงกับนายฮุนเซ็น กัมพูชาก็ไดยอมที่จะ เจรจาทวิภาคีที่เมืองเสียมเรียบกับไทย และตกลงที่จะมีการประชุมระดับรัฐมนตรีเพื่อเจรจา เกี่ยวกับปญหาพื้นที่ทับซอนบริเวณปราสาทพระวิหาร ในการนี้กัมพูชายอมถอนจดหมาย รองเรียนที่กัมพูชาไดเรียกรองให UNSC เขามาไกลเกลี่ยออกไปกอน” 625 สํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา“รัฐบาลไทยไดขอขึ้นทะเบียนปราสาทตาเมือนธม (Ta Muen Thom temple) เปนมรดกโลก” โดยอางวา “ปราสาทตาเมือนธมอยูในดินแดนไทยที่จังหวัด สุรินทรหางจาก.พ.รมแดนไทย-กัมพูชาเพียง 100 เมตร และกรมศิลปากรของไทยไดขึ้นทะเบียน ปราสาทนี้วาเปนสมบัติของชาติตั้งแตป1935” และไดตั้งขอสังเกตวา กรณีนี้เปนเหมือนการตอบ โตกัน ‘แบบตาตอตาฟนตอฟน’ ทั้งนี้ฝายไทยอางวา “ไดเขาไปบูรณะปราสาทตาเมือนธมและได เปดใหนักทองเที่ยวเขาไปเยือนมาเปนเวลานานแลว ซึ่งเรื่องนี้รัฐบาลกัมพูชาไดรับรูรับทราบมา

623 “Cambodian residents leave home amid military buildup at border area with Thailand”, Xinhua (23 July 2008) 624 “Where is the Thai-Cambodian border dispute to go?”, Xinhua (24 July 2008) 625 “Thailand, Cambodia to talk Monday on border dispute, not to bother UN”, Xinhua (25 July 2008) 168

ตลอด”626 ในวันเดียวกันไดพาดหัวขาวอีกวา “ไทยกับกัมพูชากําลังแยงชิงปราสาทแหงที่สอง” ซึ่งก็ คือปราสาทตาเมือนธมซึ่งตั้งอยูที่พรมแดนระหวางจังหวัดสุรินทรและจังหวัดบันเทียชเมย (Banteay Meanchey) ของกัมพูชา ทั้งนี้กัมพูชากลาวหาไทยวา “ไดสงกําลังเขาไปยึดครอง ปราสาทนี้” ดานพลเอกบุญสราง เนียมประดิษฐ ผูบัญชาการสส.ของไทยก็ไดสงบันทึกถึงกัมพูชา ระบุวา “ปราสาทตาเมือนธมนั้นเปนของไทย” 627 อยางไรก็ตามในสัปดาหตอมาสํานักขาวซินหัว ไดพาดหัวขาวในดานบวกวา“ไทย-กัมพูชาไดตกลงที่จะถอนกําลังทหารที่ชายแดนดานปราสาท ตาเมือนธมแลว” อันเปนผลจากการเจรจาทวิภาคีระหวางพลตรีสุจิต สิทธิประภา แมทัพภาคที่สอง และพลเอกเนียง พัท ผูชวยรัฐมนตรีกลาโหมของกัมพูชา 628 เกิดความตึงเครียดขึ้นมาอีกเมื่อ สํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา“นายกรัฐมนตรีและ ผูบัญชาการทหารบกไทยไดออกไปตรวจเยี่ยม ทหารชายแดนดานปราสาทพระวิหาร” ซึ่งเรื่องนี้โฆษกรัฐบาลกัมพูชาแจงวา“ไมทราบเรื่อง มากอน” 629 รายงานขาวครั้งสุดทายของสํานักขาวซินหัวในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช คือ รายงานที่วา “กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.)ไดบุกเขายึดทําเนียบรัฐบาลตั้งแต วันที่ 26 สิงหาคม และตั้งขอเรียกรอง 4 ประการ อาทิ เชน รัฐบาลสมัครตองไมแกรัฐธรรมนูญเพื่อ ผลประโยชนของพรรคพวก ทั้งยังตองปฏิบัติตามคําสั่งของศาลรัฐธรรมนูญในกรณีปราสาทพระ วิหาร”มีผลใหสํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา “คณะรัฐมนตรีสมัครพยายามจะฝาวิกฤตโดยจัดใหมี การทําประชามติ” ในประเด็นขอเรียกรอง 4 ประการ 630 อยางไรก็ตามไมมีการรายงานใดใดจาก สํานักขาวซินหัว จนกระทั่งนายสมัครพนจากตําแหนางนายกรัฐมนตรี เนื่องจากนายสมัครตองพนจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีอันเปนผลจากคําสั่งของศาล รัฐธรรมนูญ พรรคพลังประชาชนจึงเสนอใหนายสมชาย วงศสวัสดิ์ ขึ้นเปนหัวหนาพรรคและรับ

626 “Thailand nominates 2nd disputed border temple as World Heritage site”, Xinhua (4 August 2008) 627 “Thailand in wrangle with Cambodia over second disputed border temple”, Xinhua (4 August 2008) 628 “Thailand, Cambodia agree to reduce troops at border temple”, Xinhua (13 August 2008) 629 “Thai PM, army general inspect border area near Preah Vihear Temple”, Xinhua (18 August 2008) 630 “Thai cabinet to solve political turmoil through referendum”, Xinhua (4 September 2008) 169

ตําแหนงนายกรัฐมนตรีแทน 631 ดังจะเห็นวาในหวงเวลาประมาณ 3 เดือนในสมัยรัฐบาลของนาย สมชาย วงศสวัสดิ์ (18 กันยายน ถึง 16 ธันวาคม 2008) สํานักขาวซินหัวไดรายงานขาวจํานวน 44 ขาว เนื่องจากเริ่มมีการปะทะกันระหวางกองกําลังไทยและกัมพูชามีการบาดเจ็บลมตายทั้งสองฝาย นอกจากนี้มีการวิจารณวากองทัพไทยโดยเฉพาะกองทัพบกไดแสดงตนวามีอิทธิพลเหนือรัฐบาล พลเรือนของนายสมชาย วงศสวัสดิ์อยางเปดเผย

การปะทะวันที่ 3 ตุลาคม 2008

สํานักขาวซินหัวไดพาดหัวขาววา “มีการปะทะกันแลวระหวางไทยและกัมพูชา” เปนครั้ง แรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2008 มีผลใหทหารไทยบาดเจ็บ 3 นาย ทหารกัมพูชาเจ็บ 1 นาย” สํานัก ขาวซินหัวไดอางแหลงขาวหนังสือพิมพ The Nation ของไทยวา“เกิดเหตุปะทะกันเปนระยะเวลา สั้นๆประมาณไมถึง 10 นาที ที่บริเวณปราสาทพระวิหาร ซึ่งเหตุเกิดขึ้นหลังจากที่ทหารไทย 12 นายไดเขาไปในพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.” นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังอางเวปไซตไทยรัฐ วา “ทหารไทยเปนฝายยิงจรวด 79 mm เขาไปในดินแดนกัมพูชากอน” สวนสาเหตุการปะทะนั้น สํานักขาวซินหัวไดใหขอมูลวา “ เนื่องมาจากการปกปนเขตแดนยังไมเรียบรอย โดยที่กัมพูชายึด แผนที่ที่ฝรั่งเศสทําขึ้น แตฝายไทยเลือกใชแผนที่ที่ฝายอเมริกันไดชวยจัดทํา” สํานักขาวซินหัวย้ํา วา “สถานการณที่ชายแดนไดรุนแรงขึ้น เนื่องจากเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม กัมพูชาไดจับกุม.คนไทย 3 คนในขอหาบุกรุกเขาไปในบริเวณใกลปราสาทพระวิหาร” ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวระบุวา “กรณี การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนี้ไดรื้อฟนความหลังอันเจ็บปวดที่ไทยเคยแพคดี ในศาลโลกและสูญเสียปราสาทพระวิหารใหแกกัมพูชาในป 1962 ซึ่งคนไทยหลายคนยังทําใจ ยอมรับไมได” 632 ในวันรุงขึ้นฝายกัมพูชาจึงไดทําจดหมายประทวงผานสถานทูตไทยวา “ทหาร ไทยไดรุกล้ําเขาไปบริเวณเขาพนมทรับ (Phnom Trap Hill) และเปนฝายยิงใสทหารบานกัมพูชาที่ ประจําการอยูบริเวณลานอินทรี (Veal Intry) ที่เชิงเขาพนมทรับกอน” ทั้งนี้ลานอินทรีตั้งอยูหาง 2,000 เมตร ทางดานตะวันตกของวัดแกวสิกขาคีรีสวรา(Keo Sikha Kiri Svara Pagoda) กัมพูชา

631 "FACTBOX - Somchai Wongsawat", Reuters (15 September 2008). 632 “Thai, Cambodian soldiers exchange fire”, Xinhua (3 October 2008) 170

ย้ําวา“การรุกเขามาของทหารไทยนั้นเปนการละเมิดขอตกลงการประชุมวันที่ 28 กรกฎาคมที่เสียม เรียบในกัมพูชา และขอตกลงการประชุม 18-19 สิงหาคม 2008 ที่ชะอําในไทย” 633 ในวันเดียวกันสํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา “ไทยประทวงกัมพูชาวารุกล้ําเขามาในแดน ไทย” และใหรายละเอียดวาเมื่อเวลา 15.45 น. ทหารกัมพูชาเปนฝายยิงเขาใสทหารพรานจากกอง กําลังสุรนารีของไทยที่กําลังออกลาดตระเวณและไมมีอาวุธ จนทหารไทยไดรับบาดเจ็บไปสอง นาย อยางไรก็ตามสํานักขาวซินหัวไดติดตามไปสอบถามขอเท็จจริงจาก พลโทวิบูลศักดิ์ หนีพาล แมทัพกองทัพภาคที่สองซึ่งเปน ‘ขอมูลที่ตรงกันขาม’ กับการแถลงขาวของกระทรวงการ ตางประเทศไทย โดยพลโทวิบูลศักดิ์ หนีพาล ยอมรับวา “การปะทะกันนั้นเปนเพียง‘อุบัติเหตุ’ เนื่องจากทหารกัมพูชากําลังโยกยายผลัดเปลี่ยนกองกําลัง แตทหารไทยเขาใจผิดวาคิดวาทหาร กัมพูชาไดรุกล้ําเขามาในแดนไทย” 634 ทามกลางสถานการณคุกรุน แตสํานักขาวซินหัวพาดหัวขาวดวยน้ําเสียงเรียบวา“กัมพูชา และไทยตกลงจะเจรจาหาทางออก” โดยใหรายละเอียดวา“นายสมพงษ อมรวิวัฒน รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศไทยจะไปพบนายฮอรนัมฮง (Hor Namhong) รัฐมนตรีวาการกระทรวง การตางประเทศกัมพูชาเพื่อคลี่คลายสถานการณโดยนัดหมายวา จะประชุมกันระหวาง 21 และ 24 ตุลาคมที่เมืองเสียมเรียบ (Siem Reap)” สวนคณะกรรมการรวมชายแดน (Joint Border Committee-JBC) นั้นไดกําหนดที่จะประชุมกันในวันที่19-20 พฤศจิกายนในประเทศไทย เพื่อ หารือเรื่องการปกปนเขตแดนตามหลักการที่ระบุในบันทึกความเขาใจที่ไทยไดทํากับกัมพูชาในป 2000 (MOU2000) ทั้งนี้นายฮอรนัมฮงไดย้ําวา“หากการประชุมระหวางไทย-กัมพูชาไมเปนผล รัฐบาลกัมพูชาอาจสงเรื่องนี้ไปใหองคการระหวางประเทศพิจารณา” 635 แตในวันเดียวกันสํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา“นายกรัฐมนตรีกัมพูชาขอใหไทยถอน ทหารจากบริเวณ ‘ลานอินทรี’ภายใน 24 ชั่วโมง” โดยนายฮุนเซ็นระบุวา“ลานอินทรีนั้นเปน‘จุดเปน จุดตาย’ (the dead or alive point) สําหรับกัมพูชาเนื่องจากลานนี้อยูหางจากวัดแกวสิกขาคีรีสวรา ไปทางตะวันตกพียง 2,000 เมตรและเปนชองทางเดียวที่กัมพูชาจะสามารถเดินทางเขาสูปราสาท พระวิหารได” 636 ทั้งนี้นายฮุนเซ็นไดกลาวหาไทยวา “รุกล้ําเขาไปในบริเวณลานอินทรี เนื่องจาก

633 “Cambodia protests to Thailand over border gunfight”, Xinhua (4 October 2008) 634 “Thailand lodges protest against alleged Cambodian intrusion”, Xinhua (4 October 2008) 635 “Cambodia, Thailand set time frame to resolve border disputes”, Xinhua (13 October 2008) 636 “Cambodian PM asks Thai troops to withdraw from border area in 24 hours ”, Xinhua (13 October 2008) 171

ไทยตองการตัดถนนขึ้นไปยังปราสาทพระวิหาร” ดังพาดหัวขาวของสํานักขาวซินหัววา“ฮุนเซ็น กําหนดเสนตายใหไทยถอนทหารทั้ง 80 นายจาบริเวณลานอินทรี ภายในเที่ยงวันของวันรุงขึ้น” 637 คําขูของนายฮุนเซ็นไดผล เพราะวันรุงขึ้นมีพาดหัวขาววา “กองทหารไทยจํานวน 84 นายไดถอน กําลังออกมาจากบริเวณลานอินทรีกอนเสนตาย” 638 อยางไรก็ตามสํานักขาวซินหัวไดอางแหลงขาวจาก The Nation และพาดหัวขาววา นายกรัฐมนตรีไทยแถลงวายังถอนทหารออกจากบริเวณพื้นที่พิพาทไมได” ซึ่งเห็นไดชัดวารายงาน นี้ ‘ขัดแยง’ กับพาดหัวขาวของสํานักขาวซินหัวกอนหนานี้ เนื่องจากซินหัวไดแหลงขาวจากกัมพูชา ที่วา“ทหารไทยไดถอนทหารออกไปแลวจากลานอินทรีเมื่อเวลา 11.00 น.”639 อยางไรก็ตามซินหัว ไดยืนยันตอมาในพาดหัวขาววันเดียวกันวา “ทหารไทยยังคงกําลังอยูในพื้นที่พิพาท” 640 ในตอน เย็นมีพาดหัวขาววา“ไทยอาจใชสิทธิปองกันตัวเอง” เนื่อจากกระทรวงการตางประเทศไทยได ออกมาแถลงตอบโตกัมพูชา641 อยางไรก็ตามหลังจากประชุมกับผูบัญชาการเหลาทัพกวาสอง ชั่วโมงนายสมชาย วงศสวัสดิ์ ในฐานะรัฐมนตรีกลาโหมไดย้ํา ตามพาดหัวขาวของซินหัววา“ไทย จะใชสันติวิธีในการแกปญหา” โดยจะขอใหคณะกรรมการ JBC ซึ่งจะประชุมกันในวันที่ 21 ตุลาคมที่เสียมเรียบเปนผูคลี่คลายปมที่เปนสาเหตุทําใหเกิดการปะทะ” ในรายงานขาวเดียวกันนี้ สํานักขาวซินหัวระบุวา“คําขูของนายฮุนเซ็นที่ใหไทยถอนทหารออกมาจากบริเวณลานอินทรีนั้น ไมไดผล” เพราะนายสมพงษ อมรวิวัฒน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยประกาศวา “ไทยจะไมถอนกําลังออกมาเนื่องจากไทยไดดูแลพื้นที่ทับซอนนี้มากวา 20-30 ปแลว”และอางวา “ในจํานวนทหารไทยกวา 80 นายที่สงเขาไปในพื้นที่ทับซอนนี้ เปนเจาหนาที่กูกับระเบิด20 นาย สวนที่เหลือเขาไปเพื่อทําหนาที่คุมกันหนวยกูระเบิดเทานั้น”642

637 “Hun Sen sets Tuesday noon as ultimate time for Thai troops withdrawal from border area”, Xinhua (14 October 2008) 638 84 Thai troops withdraw from border after Cambodian PM issues deadline”, Xinhua (14 October 2008) 639 “Thai PM: Thailand cannot withdraw from border area now”, Xinhua (14 October 2008) 640 “Thai army to maintain troops indisputed area”, Xinhua (14 October 2008) 641 “Thailand to act in self-defense”, Xinhua (14 October 2008) 642 “Thailand to use peaceful means to resolve boundary issues with Cambodia”, Xinhua (14 October 2008) 172

การปะทะวันที่ 15 ตุลาคม 2008

ดังไดเห็นแลววาการเจรจาระหวางกัมพูชาและไทยนั้นไมไดผล เนื่องจากตางฝายตางไม ยอมออนขอใหแกกัน เพียงสัปดาหตอมาสํานักขาวซินหัวไดพาดหัวขาว วา “ทหารกัมพูชาปะทะ กัน ไทยตาย 2” ทั้งนี้ไดอางนายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาวา“มี การยิงปะทะกันอีกเปนเวลาสองชั่วโมงในบริเวณใกลกับพนมทรับ บริเวณลานอินทรี มีผลให ทหารกัมพูชา 2 นายเสียชีวิต และบาดเจ็บ 2 คน นอกจากนี้กัมพูชายังจับกุมทหารไทยได 10 คนซึ่ง กัมพูชาอางวาไดจัดอาหารมาเลี้ยงดูเปนอยางดีและพรอมจะสงเชลยคืนให หากฝายไทยรองขอ 643 หลังจากการปะทะ รัฐบาลไทยโดยนายสมพงษ อมรวิวัฒนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศไดขอใหคนไทยประมาณ 1,000 คนในพนมเปญและ 400-500 คนในเมืองเสียมเรียบ เตรียมอพยบกลับประเทศไทยโดยอางวาไดประสานกับเครื่องบินของสายการบินไทยแลว ทั้งยังมี การอพยบประชาชนไทยตามชายแดนใหเขามาอยูในที่ปลอดภัยหางจากบริเวณพิพาท ดังพาดหัว ขาวซินหัวที่วา “รัฐบาลเรียกรองใหคนไทยเตรียมอพยบกลับไทย” 644 ดานรัฐบาลกัมพูชาไดรีบ ออกมาสยบสถานการณ ตามพาดหัวขาวซินหัววา “รัฐบาลกัมพูชารับรองความปลอดภัยของคนไทย ในกัมพูชา” ดังรายงานของหนังสือพิมพรายวัน รักสเมย กัมปูเจีย (Raksmey Kampuchea Daily) ที่วา นายซาร เคง (Sar Kheng) รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมหาดไทยกัมพูชา ก็ไดมีคําสั่งให เจาหนาที่ตามจังหวัดตางๆดูแลความปลอดภัยของพลเรือนและนักธุรกิจไทยในกัมพูชา 645

กัมพูชาฟองคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ(UNSC)

กัมพูชาไดใชนโยบายการทูตเชิงรุก“เชิญทูตจากทุกประเทศยกเวนทูตจากประเทศไทย มา ประชุมเพื่อสรุปสถานการณใหฟง”ตามพาดหัวขาวซินหัววา “กัมพูชาโหมรณรงคทางการทูต หลังจากปะทะกับไทย” 646 นอกจากนี้กัมพูชาจะรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงของ

643 “2 Cambodian soldiers killed during gunfire exchange with Thai troops”, Xinhua (15 October 2008) 644 “Thai government urges Thais in Cambodia to evacuate”, Xinhua (15 October 2008) 645 “Gov’t to guarantee safety of Thais living in Cambodia”, Xinhua (16 October 2008) 646 “Cambodia wages diplomatic campaign after border dispute with Thailand”, Xinhua (15 October 2008) 173

องคการสหประชาชาติวา “กองกําลังไทยไดเขาโจมตีกองกําลังกัมพูชาในพื้นที่ 3 จุดซึ่งเปนจุดที่ลึก เขามาในแดนกัมพูชา”ตามพาดหัวขาวแบบเรียบๆของซินหัววา “กัมพูชาจะแจงยูเอ็นเรื่องการปะทะ กับไทย” 647 สํานักขาวซินหัวไดย้ําวา “การรณรงคทางการทูตในระดับสากลของกัมพูชานั้นไดผล อยางดียิ่ง ดังจะเห็นวา ประธานาธิบดีซูซิโล บัมบังยุทธโยโน (Susilo Bambang Yudhoyono) ได ขานรับขอเสนอของกัมพูชา ตามพาดหัวขาวของซินหัววา“อินโดนีเซียเสนอใหนํากรณีขัดแยงไทย- กัมพูชาเขาที่ประชุมสุดยอดของผูนําเอเชีย-ยุโรป (Asia-Europe Meeting - ASEM) ในสัปดาห หนา”ที่กรุงปกกิ่ง 648 สวนโฆษกของกระทรวงการตางประเทศของจีนก็ไดขานรับขอเรียกรองของ กัมพูชา ตามพาดหัวขาวของซินหัววา “จีนเรียกรองใหไทยและกัมพูชาแกปญหาพิพาทโดยการ เจรจา” 649 เนื่องจากกรณีพิพาทชายแดนอาจสงผลเสียตอการคา” ดังที่หนังสือพิมพ The Phnom Penh Post ระบุวา สินคานําเขาจากไทยมีจํานวนลดลงเนื่องจากนักธุรกิจไทยเกรงวาจะตามเก็บเงิน ไมได นอกจากนี้ยังมีผลกระทบตอบริษัทของคนไทยที่ไปลงทุนทําธุรกิจในกัมพูชาดวย 650 อยางไร ก็ตามในหนึ่งสัปดาหตอมา สํานักขาวซินหัวไดอางนายชาม ปราสิท (Cham Prasidh) รัฐมนตรี พาณิชยกัมพูชา ดังพาดหัวขาววา “การคาระหวางกัมพูชา-ไทยจะเปนปกติเร็วๆนี้” โดยให รายละเอียดวา “คนไทยคงไมบาพอที่จะทิ้งตลาดกัมพูชาซึ่งเปนตลาดสําคัญรองรับผลิตภัณฑจาก ไทย สวนกัมพูชานั้นไมมีปญหาสามารถคาขายกับประเทศอื่นๆได” 651การรายงานขาวเชนนี้ของ สํานักขาวซินหัวมีนัยวา ผูที่ไดรับความเสียหายและมีผลกระทบดานลบตอเศรษฐกิจจากการปะทะ ครั้งนี้นาจะเปนฝายไทยมากกวาฝายกัมพูชา

เจรจาทวิภาคีลมเหลว

ในขณะเดียวกัน เจาหนาที่กัมพูชาระบุวา มีแตความเขาใจกันซึ่งกันและกันเทานั้น จึงจะยุติ การปะทะกับไทยได” โดยไดอางขอมูลจาก อุค ปราโซ (Ouk Prasoeu) ผูบังคับการกองกําลัง

647 “Cambodia to inform UN about weapon clash with Thailand”, Xinhua(15 October 2008) 648 “Indonesia proposes to raise Thailand-Cambodia conflict in next ASEM Summit”, Xinhua (16 October 2008) 649 “China calls on Thailand, Cambodia to solve dispute through dialogue”, Xinhua (16 October 2008) 650 “Border dispute may hurt trade: Cambodian official”, Xinhua (16 October 2008) 651 “Minister: Cambodia-Thailand trade to be normal soon”, Xinhua (26 October 2008) 174

ชายแดนของกัมพูชา วา“จะตองเรงใหมีการวัดและปกปนเขตแดนโดยเร็ว”652 ตามดวยพาดหัวขาว วา “ไทยและกัมพูชาไดตกลงที่จะลาดตระเวณรวมกัน” เพื่อปองกันมิใหเกิดความเขาใจวา อีกฝายกําลังเคลื่อนยายกองกําลังเพื่อเขาโจมตีอีกฝายหนึ่ง แตทั้งนี้ไมไดมีการตกลงที่จะถอนทหาร และอาวุธหนัก 653 ในสวนของนายฮุนเซ็นไดปรับทาทีออนลง ตามพาดหัวขาววา“นายกรัฐมนตรี กัมพูชายืนยันจะไมมีการปะทะกับไทยอีก” ทั้งยังปฏิเสธวาจะใหมีประเทศอื่น หรือองคกร นานาชาติอื่นใดเขามาเกี่ยวของในการแกปญหาพิพาทระหวางไทยและกัมพูชา 654 สอดคลองกับ รายงานจากสํานักขาวไทยที่วา นายสมชาย วงศสวัสดิ์ ซึ่งอยูระหวางการเยี่ยมทหารไทยที่ไดรับ บาดเจ็บที่จังหวัดศรีสะเกษ ก็แถลงวา เห็นดวยที่จะไมตองใหอาเซียนมาไกลเกลี่ยในกรณีพิพาท ไทย-กัมพูชา ดังพาดหัวขาวซินหัววา “นายกรัฐมนตรีไทยระบุวาไทยและกัมพูชาจะยุติขอพิพาท ชายแดนดวยการเจรจา” 655 อยางไรก็ตาม วันรุงขึ้นสํานักขาวซินหัวก็พาดหัวขาววา “มีการเลื่อนการประชุมเพื่อหาทาง ออกกรณีชายแดนไทย-กัมพูชา” โดยใหรายละเอียดวา พลโทวิบูลศักดิ์ หนีพาล แมทัพภาคที่ 2 ของ ไทย เตรียมจะนําคณะไปประชุมทวิภาคีที่เมืองเสียมเรียบ แตกัมพูชาไดเปนฝายขอเลื่อนการประชุม โดยมิไดแจงเหตุผล ใน สาเหตุที่กัมพูชาขอเลื่อนการประชุมนาจะเปนเพราะกัมพูชาไมแนใจวา การ ประชุมจะไดผล เนื่องจากรัฐสภาไทยยังมิไดอนุมัติ กรอบการเจรจา 656 ดังนั้นสํานักขาวซินหัวจึงพาดหัวขาววา“สถานการณตึงเครียดที่ปราสาทพระวิหาร” 657 เนื่องมาจากขอเท็จจริงที่วา แมวากองกําลังไทยและกัมพูชามีทาทีเปนมิตรตอกัน หลังการปะทะที่มี ผูเสียชีวิต 658 แตจากภาพที่สํานักขาวซินหัวนําเสนอสะทอนวา ชีวิตของประชาชนทั้งไทยและ

652 “Cambodian official:Mutual understanding leads to end of border clash with Thailand”, Xinhua (16 October 2008) 653 “Thailand, Cambodia agree to joint border patrols”, Xinhua (16 October 2008) 654 “Cambodian PM assures of no escalation of clash with Thailand”, Xinhua(17 October 2008) 655 “Thai PM: Thailand, Cambodia can settle border dispute through talks”, Xinhua (18 October 2008) 656 “Thai-Cambidian border resolution meeting postponed”, Xinhua (19 October 2008) 657 “Tensions run high for Preah Vihear Temple”, Xinhua (20 October 2008) 658 “Cambodian, Thai troops friendly to each other after deadly border clash”, Xinhua (20 October 2008) 175

กัมพูชานั้นยังลําบาก 659 ประชาชนยังคงอพยบหนีภัยออกจากพื้นที่ดวยวิตกวาจะเกิดอันตรายหากมี การปะทะอีก 660 ในกัมพูชามีการเตรียมพรอมรบ โดยไดรับสมัคร ‘ทหารบาน’จํานวน 2,400 คน เพื่อมาอาสาพิทักษหมูบานในเขตจังหวัดโอดดารเมียนเจย (Oddar Meancheay)” 661 สํานักขาวซินหัวใหภาพวาฝายไทยไดพยายามจะแกไขสถานการณ โดยพาดหัวขาววา “นายกรัฐมนตรีไทยหวังวาจะไดหารือกับนายกรัฐมนตรีกัมพูชาระหวางการประชุมสุดยอดเอเชีย- ยุโรป”662 ซึ่งนายสมชายก็ไดย้ําวา “การประชุมเอเชีย-ยุโรปครั้งที่ 7 ที่กรุงปกกิ่งระหวาง 24-25 ตุลาคม ครั้งนี้มีความสําคัญมาก เพราะจะชวยกอบกูภาพพจนของประเทศไทยที่การเมืองมีแตความ วุนวายตลอดระยะเวลาสองปที่ผานมา 663 ในวันเดียวกันสํานักขาวซินหัว อางนายสู เพียสิน (Sou Pheasin) ผูวาการจังหวัดเสียมเรียบ วาคณะกรรมการชายแดนไทย-กัมพูชาในการประชุมครั้งที่ 11 ไดเริ่มประชุมกันแลว เพื่อขจัดขอที่เห็นตางและหารือในประเด็นการคา ความมั่นคง เศรษฐกิจและ การจัดระเบียบสังคมในบริเวณชายแดน 664 หลังการประชุม.ครั้งนี้สํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา “ไทย-กัมพูชาไดลงนามในขอตกลงเพื่อคลายความตึงเครียดบริเวณชายแดนแลว” โดยพลเอกเจีย มาน ฝายกัมพูชา และพลโทวิบูลศักดิ์ หนีพาลฝายไทย 665 ดานนายจาม ปราสิทธ รัฐมนตรีพาณิชย ไดระบุวา “การประทะกันดวยกําลังอาวุธมีแตจะทําใหเศรษฐกิจย่ําแยดวยกันทั้งสองฝาย ฝายไทย คงไมเสียสติพอที่จะหางหายไปจากตลาดการคากับกัมพูชา” ดังพาดหัวขาวของสํานักขาวซินหัว ที่วา “รัฐมนตรีกัมพูชาระบุการคาระหวางไทย-กัมพูชาจะตองเขาสูสภาวะปกติเร็วๆนี้” 666

ยูเนสโกเตรียมปกปายมรดกโลกเพื่อมิใหมีการสูรบที่ปราสาทพระวิหาร

659 “Thai-Cambodian border residents’ daily life”, Xinhua (20 October 2008) 660 “Local people flee amid concern of Cambodian-Thai armed confrontation”, Xinhua (20 October 2008) 661 “Cambodia recruiting militias on border with Thailand”, Xinhua (23 October 2008) 662 “Thai PM expects talks with Cambodian counterpart in ASEM Summit”, Xinhua (21 October 2008) 663 “Thai PM: ASEAN to restore Thailand’s international prestige”, Xinhua (23 October 2008) 664 “Cambodia, Thailand start annual regional border meeting”, Xinhua (23 October 2008) 665 “Cambodian, Thai border committees ink agreement to ease border tension”, Xinhua (24 October 2008) 666 “Minister: Cambodia-Thailand trade to be normal soon”, Xinhua (26 October 2008) 176

สถานการณตึงเครียดอีก เมื่อสํานักขาวซินหัวไดอางสื่อกัมพูชาแตไมระบุชื่อและพาดหัว ขาววา “ยูเนสโกจะทําการลากเสนแสดงเขตพื้นที่ปราสาทพระวิหาร” ทั้งนี้นายพาย สีพัน (Phay Siphan) เลขานุการสภาคณะรัฐมนตรีของกัมพูชาไดกลาวหาวา“ไทยไดละเมิดกฎหมายนานาชาติ และสอเจตนาวาจะสรางความเสียหายตอตัวปราสาท” โดยกัมพูชาไดแสดงหลักฐาน คือ “รูปปน เศียรนาคจํานวนสองเศียร และบันไดบางสวนซึ่งถูกกระทบจากแรงระเบิด M79 ในระหวางการ ปะทะกันในวันที่ 15 ตุลาคม” 667 นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังพาดหัวขาววา “ยูเนสโกยังได เตรียมจะปกปายมรดกโลกที่ปราสาทพระวิหาร” จํานวน 3 จุดบริเวณรอบตัวปราสาท โดยนาย ฮัง โสธ (Hang Soth) ผูอํานวยการใหญขององคการบริหารปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียรไดย้ําวา “ปายทั้งสาม ปายนี้จะแสดงเขตคุมครองเพื่อมิใหมีการสูรบกันในบริเวณปราสาทอีก” อยางไรก็ตาม สํานักขาวซิ นหัวกลับระบุวา“ความเสียหายจากการปะทะกับไทยนั้นไมไดรายแรงถึงกับทําใหรูปปนเศียรนาค ถูกทําลายจนหลนลงมากองกับพื้นตามคํากลาวหาของกัมพูชาแตอยางใด” 668 ดานนายธาริต จรุงวัฒน โฆษกกระทรวงการตางประเทศยังไดหักลางขอกลาวหาของ กัมพูชาโดยระบุวา “ไทยมี‘หลักฐาน’พรอมที่จะตอบโตขอกลาวหาของกัมพูชาที่อางวาอาวุธไทย จากฝงไทยไดทําลายตัวปราสาทพระวิหาร” นอกจากนี้ไทยยังมีหลักฐานวา“กับระเบิดที่ทหารไทย ไดเหยียบจนขาขาดนั้นเปน‘กับระเบิดใหม’ที่ไดกัมพูชาฝงลงไปใหม หาใชเปนกับระเบิดเดิมใน สมัยเขมรแดงที่ยังมิไดเก็บกูขึ้นมาแตอยางใด” นอกจากนี้ยังอางนายปองพล อดิเรกสาร ประธาน คณะกรรมการมรดกโลกของไทยที่ตั้งขอสังเกตวา “กัมพูชานั้นอาจพยายามใชประเด็นปราสาทพระ วิหารซึ่งมีอายุกวาพันปและมีสภาพทรุดโทรม ใหเปนประเด็นการเมืองเพื่อตองการใหองคการ สหประชาชาติเขามาแทรกแซง” 669

เจรจาทวิภาคีหลายครั้ง-ตกลงกันไมไดเรื่องถอนทหาร

สํานักขาวซินหัวใหความสําคัญกับการเจรจา ดังพาดหัวขาววา “ไทยและกัมพูชาพยายามจะ มีการประชุมพิเศษประเด็นชายแดน” โดยคณะกรรมการชายแดนรวมกัมพูชา-ไทยเพื่อปกปนเขต

667 “UNESCO to demarcate Preah Vihear temple UNESCO to demarcate Preah Vihear temple”, Xinhua (24 October 2008) 668 “UNESCO to demarcate Preah Vihear temple”, Xinhua (24 October 2008) (Op cit) 669 “Thailand ready to deal with Thai-Cambodian border dispute”, Xinhua(27 October 2008) 177

แดน(JBC) ที่เมืองเสียมเรียบ 670 โดยนายวาร กิมฮง (Var Kimhong) ประธานคณะกรรมการ พรมแดนฝายกัมพูชาระบุวา เรื่องดวนที่ตองหารือ คือ การปกปนเสนเขตแดนรอบปราสาทพระ วิหาร หลังจากที่ไดมีการเก็บกูระเบิดเสร็จเรียบรอย 671 นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังไดเกาะติดการ ประชุมรอบใหมระหวางรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาและไทย โดยเฉพาะที่ เกี่ยวกับอาณาบริเวณของตัวปราสาทพระวิหาร 672 แมจะมีการเจรจาหลายครั้ง แตก็ยังไมมีความ คืบหนา ดังพาดหัวขาววา “กัมพูชา-ไทยสามารถตกลงกันไดเฉพาะในบางประเด็นเทานั้น” เชนการ ทําลาย “กับระเบิด” และการปกปนเขตแดนกันที่บริเวณปราสาท แตยังตกลงกันไมไดในเรื่องการ ถอนทหารออกจากวัดแกวสิกขาคีรีสวราและบริเวณรอบปราสาทพระวิหาร ซึ่งเรื่องนี้นายสมพงษ อมรวิวัฒน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยไดระบุวา อุปสรรค คือ “รัฐบาลไทย จะตองขออนุมัติรัฐสภากอนทุกครั้งจึงจะสามารถลงนามในขอตกลงใดใดกับกัมพูชาได”673 สํานักขาวซินหัวไดสะทอนวาแมจะมีอุปสรรค แตนายสมชาย วงศสวัสดิ์ไมทอถอย ยังมี แผนจะปรับคณะรัฐมนตรี674 และมุงมั่นที่จะเดินทางไปประชุมสุดยอดเอเชียยุโรปที่ประเทศจีน เพื่อจะชวยกอบกูภาพพจนไทยในเวทีสากล” โดยสํานักขาวซินหัวอางสํานักขาวไทยวา นายสมชาย ตองการสรางความมั่นใจตอประชาคมโลกวา “เศรษฐกิจไทยยังไปได” จึงตองการจะไปประชุมเพื่อ เจรจากับสหภาพยุโรปและจีนดวย 675 ดานนายฮุนเซ็นมีทาทีดานบวกตอไทย ดังจะเห็นจาก.พ.าด หัวขาวของซินหัววา“นายกรัฐมนตรีกัมพูชาจะไมทําสงครามกับไทย” เขาย้ําวา “เราไมตองการทํา สงครามกับใครทั้งนั้น เรารูจักรสชาดของสงครามดี ประเทศเราเคยผานสงครามกลางเมืองมาแลว กวากัมพูชาจะมีสันติภาพไดก็ใชเวลาหลายป เราจึงไมอยากใหสภาพนั้นกลับมาอีก” และเสริมวา “ประวัติศาสตรที่ผานมาทําใหสถานการณความขัดแยงซับซอน ตองใหคนรุนใหมมาชวยแกปม ปญหานี้” 676 ตอมานายฮอร นัม ฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชา ไดให

670 “Cambodia, Thailand to convene special meeting for border issues”, Xinhua (2 November 2008) 671 “Cambodia, Thailand begin fresh talks on border issue”, Xinhua (11 November 2008) 672 “Cambodian, Thai foreign ministers hold new border talks”, Xinhua (12 November 2008) 673 “Cambodia, Thailand agree on provisional arrangements for border issue”, Xinhua (12 November 2008) 674 “Thai PM plans cabinet reshuffle after royal funeral”, Xinhua (14 November 2008) 675 “Thai PM : ASEM meet to restore Thailand's international prestige”, Xinhua (23 November 2008) 676 “PM: Cambodia not to wage war against Thailand”, Xinhua (20 November 2008) 178

สัมภาษณหนังสือพิมพรายวันภาษาจีนวา“กัมพูชาจะไมหยิบยกประเด็นปราสาทพระวิหารมาใหที่ ประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน (ASEAN Summit) พิจารณา” 677 ซึ่งแสดงวากัมพูชาไดยอมโอนออน ผอนตามที่จะรวมกับไทยแกปญหาแบบทวิภาคี

หนึ่งในสิบเหตุการณที่“ช็อก”โลกของซินหัว

ในปลายเดือนพฤศจิกายน 2008 สถานการณการเมืองเลวรายลง เนื่องจากกลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยตองการ ‘เผด็จศึก’ รัฐบาลนายสมชาย วงศสวัสดิ์ จนนายฮอร นัม ฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาตองออกมาแถลงวา“วิกฤตการณการเมืองในไทย เปนอุปสรรคอยางใหญหลวงจนทําใหการเจรจาเรื่องพรมแดนและการปกปนเขตแดนกับไทยตอง ชะงักงัน” สํานักขาวซินหัวใหขอมูลวา“พรมแดนไทย-กัมพูชานั้นมีความยาวถึง 790 กม.แตมีการ ปกหมุดเขตแดนไปแลวเพียง 73 หมุด (border posts) ซึ่งการปกหมุดนี้ไดเริ่มจัดทํามานานกวา รอยปแลวตั้งแตป 1907” 678 ที่นาสนใจคือสํานักขาวซินหัวไดจัดทํา‘10 อันดับแรกเหตุการณโลก ป 2008’ 679 ทั้งนี้เนื่องจากในประเทศไทยในป 2008 นั้นมีการปดลอมรัฐสภา ยึดทําเนียบรัฐบาล ยึดสนามบิน ขับไลนายกรัฐมนตรีไทยออกไดถึงสองคนในปเดียวกัน จึงนับวาเปนหนึ่งในสิบ เหตุการณที่“ช็อก”โลก ในทัศนะของสํานักขาวซินหัว 680

การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2009

ในการเสนอขาวในป 2009 ของสํานักขาวซินหัวในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์นั้น สํานักขาวซิน หัวไดจัดทํารายงานจํานวนถึง 81 ขาว โดยใหความสนใจรายงานขาววิกฤตการณที่เกี่ยวของกับการ ปะทะกันในวันที่ 3 เมษายน 2009 และติดตามรายงานขาวอยางตอเนื่องในทุกเดือนตลอดป 2009 โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับการเจรจาเพื่อคลี่คลายกรณีพิพาทไทย-กัมพูชา เชน การประชุม ระดับทวิภาคีของคณะกรรมการรวมชายแดน (JBC) และ คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC)

677 “Cambodia not to raise Preah Vihear issue at ASEAN Summit in Thailand”, Xinhua (21 November 2008) 678 “Official :Thai crisis adversely affects border talks with Cambodia”, Xinhua(28 November 2008) 679 “Xinhua top 10 world news events in 2008”, Xinhua (31 Deceember 2008) 680 “Thailand rocked by continued political turmoil”, Xinhua (31 Deceember 2008) 179

และการที่อภิสิทธิ์เรียกรองขอขึ้นทะเบียนรวมกับกัมพูชาใหปราสาทพระวิหารมรดกโลก หรือการ ที่กลุมชาตินิยมไทยกดดันอภิสิทธิ์ใหยกเลิก“ขอตก ลงรวม”(joint communiqué ) ที่ลงนามในสมัย รัฐบาลสมัคร ตลอดจนประเด็นที่กัมพูชาจะฟองเรียกรองคาเสียหายจากไทยโดยอางวา อาวุธหนักที่ ยิงเขามาจากฝงไทยทําใหปราสาทพระวิหารเสียหายและการที่ญี่ปุนบริจาคเงินสรางพิพิธภัณฑ เปรี๊ยะวิเฮียรสมเด็จเตโช ดังแสดงในตารางที่ 6.2 ขางลางนี้

ตารางที่ 6.2 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2009

2009 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวนขาว ปะทะ Xinhua 2 7 5 22 3 7 8 3 12 8 2 2 81 เมื่อเริ่มตนรับตําแหนงในป 2009 สํานักขาวซินหัวไดสะทอนทาทีในดานบวกตอรัฐบาล ใหมของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะวาไดพยายามที่จะคลี่คลายกรณีพิพาทกับกัมพูชา โดย นายกรัฐมนตรีกัมพูชาและไทยมีแผนการจะหารือกันในชวงที่มีการประชุมอาเซียนซัมมิท 681 หลาย ฝายตั้งความหวังวา รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจะสามารถยุติสถานการณขัดแยงระหวางไทย- กัมพูชาได 682 สอดคลองกับนายฮุนเซ็นที่ไดกลาวย้ําระหวาง‘การประชุมโตะกลมธุรกิจ’ที่จัดโดย นิตยสาร‘The Economist’วา“ทั้งไทยและกัมพูชาจะไมยอมใหการปะทะที่ชายแดนสงผลกระทบ ดานลบตอวัฒนธรรม การทองเที่ยว การคา เศรษฐกิจและการลงทุนระหวางสองประเทศ” โดยเฉพาะในป 2008 สํานักขาวซินหัวระบุวา กัมพูชาตองนําเขาสินคาจากไทย มีมูลคาถึง 1.8 ลาน เหรียญสหรัฐ 683

ประชุม JBC ประเด็นขัดแยงเรื่องชื่อ

681 “Cambodia, Thailand to discuss border dispute during ASEAN summit”, Xinhua (21 January 2009) 682 “Cambodia, Thailand pledge to continue peaceful deal on border issues”, Xinhua (26 January 2009) 683 “Cambodia, Thailand to contain border dispute”, Xinhua (16 February 2009) 180

อยางไรก็ตามเพียงหนึ่งเดือนตอมาก็เกิดมี ประเด็นขัดแยงเรื่องชื่อในภาษาอังกฤษของ ปราสาทพระวิหาร และชื่อของกองกําลังรวมที่จะลาดตระเวณบริเวณปราสาท ดังจะเห็นวามีการ ประชุมของ คณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (Joint Border Commission-JBC) ที่กรุงเทพโดยฝาย กัมพูชานําโดยนายวารกิมฮง รัฐมนตรีอาวุโสดานกิจการพรมแดน และฝายไทยมีนายวศิน ธีระเวช ญาณเปนประธานรวม แตการประชุม.ครั้งนี้ไมสามารถลงนามในขอตกลงรวม (MOU) กันได เนื่องจาก“นายวศินไดเสนอใหใชชื่อในภาษาอังกฤษคูกันทั้งแบบกัมพูชาและแบบไทยวา ‘Preah Vihear/ Phra Viharn’ แตทวา“ฝายกัมพูชาไมเห็นดวยและยืนยันจะใหใชชื่อ‘Preah Vihear’เพียงชื่อ เดียวในเอกสารที่ตองลงนามรวมกัน” นอกจากนี้ที่ประชุมยังตกลงกันไมไดเกี่ยวกับเรื่องชื่อของ “กองกําลังรวมลาดตระเวณ”โดยฝายไทยเสนอใหใชชื่อ‘the military monitoring groups’ แตทวา ฝายกัมพูชาไมเห็นดวยและยืนยันจะใหใชชื่อ‘the temporary coordinating teams’ แตเพียงชื่อ เดียวเทานั้น 684 สองวันตอมาไดมีการประชุมรวมกันของคณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (Joint Border Commission-JBC) อีกหลายครั้ง และเจาหนาที่เทคนิคของทั้งสองฝายไดทําการสํารวจ พื้นที่ใกลปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียรเพื่อปกปายเขตแดนใหชัดเจนขึ้น อยางไรก็ตามไดมีความขัดแยง เกิดขึ้นอีกในระหวางการประชุม JBC เมื่อวันที่ 8 เมษายน ซึ่งสํานักขาวซินหัวไดอางสํานักขาว ไทยวา ในระหวางการประชุม JBC ผูแทนไทยยืนยันที่จะเรียก“ปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียร”(‘Preah Vihear’) วา“ปราสาทพระวิหาร”(‘Phra Viharn’) ตามการออกเสียงในภาษาไทย 685

ไทยขอโทษกัมพูชา

สํานักขาวซินหัวไดรายงานวาพลเอกอนุพงศ เผาจินดา ผูบัญชาการทหารสูงสุดไทยไดลง นามในบันทึกวา“ทางการทหารไทย‘ขอโทษ’ที่ไดมีการยิงกระสุนปนใหญเขาไปตกในดินแดน กัมพูชา เนื่องจากมี ‘การคํานวณผิดพลาด’ระหวางการการซอมรบของทหารไทยเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2009” ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดอางหนังสือพิมพภาษาอังกฤษ The Phnom Penh Post วา แหลงขาวที่ไมประสงคจะออกนามระบุวา“มีการยิงกระสุนปนใหญ 8 ลูกจากฝงไทยไปตกใน ดินแดนกัมพูชาในระยะทาง 2 กม.จากพรมแดนใกลกับปราสาทตากระเบย (Ta Krabey Temple) และหมูบานโบสธม (Bos Thom Village) แตทั้งนี้ไมมีผูเสียชีวิตและบาดเจ็บและไมมีทรัพยสิน

684 “Thai-Cambodian joint meeting fails to agree on border demarcation, name of ancient temple”, Xinhua (4 February 2009) 685 “Thailand insists on calling Preah Vihear temple as Pra Viharn Thailand insists on calling Preah Vihear temple as Pra Viharn”, Xinhua (8 April 2009) 181

เสียหาย” 686 ในวันเดียวกันมีรายงานวาจะมี.ค.ณะผูแทนจากไทยเดินทางมาเยือนกรุงพนมเปญเพื่อ ‘ขอโทษรัฐบาลกัมพูชา’ เกี่ยวกับเหตุการณที่ไทยไดยิงกระสุนไปตกในเขตกัมพูชาอยางไมตั้งใจ และฝายไทยยินดีจะรับผิดชอบทุกอยางเกี่ยวกับขอผิดพลาดครั้งนี้ หนังสือพิมพ The Phnom Penh Post ไดอางแหลงขาวจากกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาที่ระบุวากัมพูชากําลังทําการสอบสวน เกี่ยวกับเหตุการณนี้อยู 687

กัมพูชาและไทยตกลงจะยึด MOU ป 2000

สํานักขาวซินหัวมีทัศนะทางบวกวา ความสัมพันธกัมพูชาและไทยสมัยนายอภิสิทธิ์จะ เริ่มตนดวยดี โดยนายฮุนเซ็นไดแถลงวา“จะเดินทางไปประชุมอาเซียนซัมมิทครั้งที่ 14 ที่ประเทศ ไทย และหวังวาจะไดพบปะหารือกับนายอภิสิทธิ์” 688 ตอมาสํานักขาวซินหัวก็ไดพาดหัวขาววา นายฮุนเซ็นไดออกเดินทางไปไทยแลว และไดนัดหมายจะหารือทวิภาคีกับนายอภิสิทธิ์เกี่ยวกับกรณี พิพาทปราสาทพระวิหารดวย” 689 สัปดาหตอมาสํานักขาวซินหัวพาดหัวขาวในเชิงบวกอีกวา“ไทย และกัมพูชาใกลจะหาทางออกตอกรณีพิพาทไดแลว” ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดอางรายงานจาก The Phnom Penh Post วา นายกรัฐมนตรีกัมพูชาและไทย ไดตกลงกันที่จะยึดหลักการใน‘บันทึกความ เขาใจ’ที่ลงนามกันในปค.ศ.2000 หรือที่รูจักกันในประเทศไทยวา‘MoU 2543’หรือในตางประเทศ วา‘the 2000 MoU’ สาระสําคัญก็คือ“คณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (Joint Border Commission- JBC) เห็นวาควรยึดแผนที่ตามสนธิสัญญาปค.ศ.1904 และค.ศ.1907 ซึ่งจัดทําขึ้นระหวางฝรั่งเศส ซึ่งเปนอดีตเจาอาณานิคมของกัมพูชากับประเทศไทยหรือสยามในขณะนั้น” 690 นอกจากนี้มีความเคลื่อนไหวของทางฝายสหรัฐอเมริกา โดยสํานักขาวซินหัวไดอางสํานัก ขาวAKP (Agence Kampuchea Presse) วา นายสตีเฟน เบลก (Stephen Blake) ผูอํานวยการ ของแผนกเอเชียตะวันออกเฉียงใตของกระทรวงการตางประเทศสหรัฐระบุวา “สหรัฐจะไมเขาไป

686 “Thailand says sorry for mortar shell landing in Cambodia Thailand says sorry for mortar shell landing in Cambodia”, Xinhua (20 February 2009). 687 “Cambodia says Thai delegation to apologize for artillery fire”, Xinhua (20 February 2009). 688 “Cambodian, Thai PMs to hold talks at ASEAN SUMMIT”, Xinhua (24 February 2009). 689 “Cambodian PM departs for 14th ASEAN SUMMIT in Thailand”, Xinhua (27 February 2009). 690 “Resolution of border dispute near for Cambodia, Thailand”, Xinhua (2 March 2009) 182

ยุงเกี่ยวในกรณีพิพาทกัมพูชา-ไทย แตตองการใหทั้งสองฝายแกปญหาโดยสันติวิธี” 691 ตามดวย ขาวดีตอกัมพูชาจากสํานักขาว AKP ของทางการกัมพูชาวา ผูแทนจากยูเนสโกไดมาเยือนปราสาท พระวิหารและสัญญาวาจะใหความชวยเหลือกัมพูชาในดานการเงินและเทคนิคในการอนุรักษ ปราสาท พระวิหาร 692

การปะทะวันที่ 3 เมษายน 2009

แมจะมีความพยายามจะคลี่คลายปญหาจากหลายฝาย มีรายงานจากโฆษกรัฐบาล กัมพูชาวา“ทหารไทยไมต่ํากวา 80 คนไดบุกรุกเขาไปในดินแดนกัมพูชา มีผลใหผูบัญชาการทหาร ทั้งกัมพูชา-ไทยในพื้นที่ไดรีบหารือกันโดยดวนเพื่อรวมกันยุติการปะทะแตไมเปนผล 693 มีการปะทะ กันเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2009 วา ทหารกัมพูชา-ไทยไดยิงอาวุธหนักเขาใสกันที่บริเวณชายแดนทํา ใหมี ทหารไทยตาย 4 คน” 694 ฝายกัมพูชาแถลงวา“ในการปะทะกันครั้งนี้มีทหารกัมพูชาตาย 2 คน” 695 หลังจากการปะทะกันสองครั้ง ในวันรุงขึ้นสํานักขาวซินหัวระบุวา “ฝายกัมพูชาไดออก แถลงการณเรียกรองใหไทยและกัมพูชาเจรจากัน แตกัมพูชาขอสงวนสิทธิ์ที่จะปองกันตัวเอง”696 ดานโฆษกกองทัพบกไทยแถลงวา“กอนเกิดเหตุปะทะกัน ทหารไทยไดเดินไปบอกทหารกัมพูชา 20 คนวาอยาเขามาในบริเวณลานอินทรี แตทหารกัมพูชากลับเปดฉากยิงใสกอน ฝายไทยจึงยิง โตตอบ” โดยไทยรัฐออนไลนระบุวา “กัมพูชายอมรับวาการปะทะกันครั้งนี้เปนอุบัติเหตุ”697 นาสังเกตวานสพ. The Nation ไดรายงานวา ทหารกัมพูชาไดยิงปน AK-47 ใสฐานที่ตั้งของทหาร

691 “Official: U.S. not to interfere in Cambodian-Thai border dispute”, Xinhua (18 March 2009) 692 “UN pledges efforts to conserve Preah Vihear temple of Cambodia”, Xinhua (16 March 2009) 693 “Cambodian spokesman: At least 80 Thai troops with arms enter border area of Cambodia”, Xinhua (25 March 2009) 694 “4 Thai soldiers killed in border gunfire exchange with Cambodian troops”, Xinhua (3 April 2009) 695 “Thai, Cambodian tropops exchange heavy gunfire at border area”, Xinhua (3 April 2009) 696 “Cambodia calls for negotiations to resolve border disputes with Thailand”, Xinhua (4 April 2009) 697 “Thai, Cambodian army officers hold talks after border gunfire”, Xinhua (3 April 2009) 183

ไทยที่มออีแดง 2 ครั้ง ทั้งนี้นายอภิสิทธิ์ระบุวา “สาเหตุมาจากการเขาใจผิด”698 ดาน“ผูบัญชาการ ทหารบกไทย พลเอกอนุพงษ เหลาจินดา ก็ยอมรับวาการปะทะที่ชายแดนไทย-กัมพูชาเกิดจาก ‘ความเขาใจผิด’ เนื่องจากตางฝายตางคิดวาอีกฝายหนึ่งบุกรุกเขามาในดินแดนของตน 699 หลังการปะทะกันที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ทั้งสองฝายพยายามจะคลี่คลายปญหา ดังจะ เห็นวานายฮุนเซ็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชาย้ําวา “นี่เปนเพียงการปะทะ ไมใชสงคราม”700 และยัง ยืนยันวา“จะเขารวมประชุมอาเซียน10+3 (ASEAN 10+3) ที่ประเทศไทยเปนเจาภาพ”701 ดานนายอภิสิทธิ์นายกรัฐมนตรีไทยระบุวา “ขณะนี้สถานการณที่ชายแดนไดคลี่คลายลงแลว” 702 และ“ตองการจะหารือกรณีขัดแยงกับนายกรัฐมนตรีกัมพูชาระหวางการประชุมอาเซียนซัมมิท 10+3 ที่พัทยาประเทศไทย” นายอภิสิทธิ์ย้ําวา ไทยนั้นยอมรับคําตัดสินของศาลโลกในป1962 ที่ให ปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา 703 แตการที่ยูเนสโกขึ้นทะเบียนตามคําขอของกัมพูชาแตผูดียว ใหปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนั้นทําใหสถานการณเลวรายลง 704 มีรายงานวามีการพยายามหารือกันในระดับผูบัญชาการกองกําลังของไทยและกัมพูชา ดวย โดยทั้งสองฝายตกลงกันวาจะไปกํากับดูแลทหารทั้งสองฝายเพื่อปองกันมิใหเกิดความเขาใจ ผิดและมีการปะทะกันที่ชายแดนอีก705 นอกจากนี้ยังมีการประชุม.คณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (Joint Border Commission-JBC)ไทย-กัมพูชา โดยนายวาร กิมฮง ประธานฝายกัมพูชาแถลงวา “จะเรงรัดการปกปนเขตแดนใหเร็วขึ้น 706 โดยที่ประชุม JBC ไดมีการตกลงจะเริ่มปกหมุดเขตแดน

698 “Thai press: Cambodian army fires twice at Thai troops, no injuries”, Xinhua (4 April 2009) 699 Thai Army chief: Thai-Cambodian border clashes caused by "misunderstanding”, Xinhua (4 April 2009) 700 “PM: Cambodia, Thailand only had clash, not war”, Xinhua (4 April 2009) 701 “Cambodian PM to attend ASEAN 10+3 meetings in Thailand despite border crossfire”, Xinhua (3 April 2009) 702 “Thai PM: Situation along Thai-Cambodian border eased”, Xinhua (4 April 2009) 703 Thai PM to discuss border dispute with Cambodian PM during ASEAN Plus Three summit”, Xinhua (5 April 2009) 704 “Thai, Cambodian PMs to confer on border tensions during ASEAN summit”, Xinhua (5 April 2009) 705 “Cambodia, Thailand agree to prevent new border clash”, Xinhua (5 April 2009) 706 “Cambodia, Thailand to speed up border demarcation”, Xinhua (6 April 2009) 184

บริเวณพื้นที่พิพาทรอบปราสาทพระวิหารในเดือนกรกฎาคมนี้ 707 ดานนายฮุนเซ็นและนายอภิสิทธิ์ ก็ไดกําหนดวันเวลาที่จะประชุมระดับทวิภาคี ระหวางการประชุมอาเซียนซัมมิท 10-12 เมษายนนี้ ที่ประเทศไทยแลว708 ทั้งนี้นายกรัฐมนตรีไทยและกัมพูชา ตกลงวาจะรวมมือกันใกลชิดมากขึ้น โดยเฉพาะการจัดหนวยลาดตระเวณเพื่อปองกันมิใหเกิดความเขาใจผิดจนเกิดปะทะกันอีก 709 สํานักขาวซินหัวไดอางหนังสือพิมพรายวันภาษาจีน Jian Hua Daily วา“นายฮุนเซ็นไดกําชับ นายทหารระหวางพิธีมอบประกาศนียบัตรวา หามขามพรมแดนและใชอาวุธนอกเขตกัมพูชา”710

กัมพูชาจะเรียกรองคาเสียหายจากการปะทะ 3 เมษายน

อยางไรก็ตามในกัมพูชามีความเคลื่อนไหวจากองคกรพัฒนาเอกชนที่จะใหมีมาตรการใช กฎหมายนานาชาติมาลงโทษผูทําลายโบราณสถาน ซึ่งรัฐบาลกัมพูชาก็เห็นชอบกับขอเสนอนี้ ตาม รายงานจากหนังสือพิมพรายวันภาษาจีนชื่อCommercial News 711 ตลอดจนเรียกรองคาเสียหาย จากไทย เนื่องจากในวันที่ 3 เมษายน 2009 มีการยิงอาวุธหนักสองครั้ง จนทําลายทรัพยสินของ ชาวบาน 147 ครอบครัว และบาน 260 หลังถูกไฟไหม ทั้งนี้องคกรพัฒนาเอกชนที่ชื่อ“กองทุนเพื่อ อารยธรรมเขมร” (Khmer Civilization Fund-KCF) เสนอรัฐบาลกัมพูชาวาควรฟองเรียกคา ทรัพยสินเสียหายจํานวน 9 ลานเหรียญสหรัฐจากรัฐบาลไทย” ซึ่งรายงานนี้ สํานักขาวซินหัวไดอาง หนังสือพิมพรายวันภาษาจีนในกัมพูชาฉบับเดียวกัน 712 สัปดาหตอมามีรายงานวา รัฐบาลกัมพูชา

707 “Cambodia, Thailand agree to plant border posts near Preah Vihear temple”, Xinhua (7 April 2009) 708 “Cambodia, Thai PMs to meet on border disputes”, Xinhua (7 April 2009) 709 “Thailand, Cambodia agree to work closely to prevent new border clash”, Xinhua (10 April 2009) 710 “Cambodian PM warns armuy not to cross border”, Xinhua (21 April 2009) 711 “Cambodian gov't agrees to contain temple vandalism with int'l intervention”, Xinhua (14 April 2009) 712 “NGO: Border families should ask Thailand to pay $9 mln for property damage”, Xinhua (23 April 2009). 185

จะสงบันทึกถึงรัฐบาลไทยเพื่อเรียกรองคาเสียหาย ที่ทหารไทยไดบุกเขาโจมตีและเผา‘ตลาด’ที่ตั้งอยู ที่หนาประตูทางเขาปราสาทพระวิหาร จนมีผลให‘แผงขายสินคา’จํานวน 264 แผง ไดรับความ เสียหายและและชาวกัมพูชา 319 ครอบครัวหมดโอกาสทํามาหากิน รวมความเสียหายเปนจํานวน เงิน 2,150,500 ดอลลารสหรัฐ 713

ญี่ปุนบริจาคเงินสรางพิพิธภัณฑเปรี๊ยะวิเฮียรสมเด็จเตโช

ในเดือนตอมา สํานักขาวซินหัวยังไดอางรายงานจากหนังสือพิมพรายวันภาษาจีนใน กัมพูชาชื่อ Commercial News วา“กัมพูชาไดเรงพัฒนาพื้นที่รอบปราสาทพระวิหาร ทั้งนี้กัมพูชา จะเริ่มกอสราง“พิพิธภัณฑเปรี๊ยะวิเฮียรสมเด็จเตโช”(Samdech Techo Preah Vihear Museum) ที่อําเภอชม กสาน (Chom Ksan) ในจังหวัดเปรี๊ยะวิเฮียร” โดยมีผูบริจาคจากญี่ปุนและกัมพูชาเปน จํานวนเงิน 145,000 เหรียญสหรัฐ นอกจากนี้รัฐบาลกัมพูชายังจะยายชาวบาน 600 ครอบครัว ออกไปจากที่ตั้งเดิม 20 กิโลเมตร714 สอดคลองกับรายงานจากสถานีโทรทัศนบายน () วา “นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นของกัมพูชามีดําริจะยายสองหมูบานคือ หมูบานกอรมุย (Kor Muy) และ หมูบานปราสาท (prasat) ที่อยูใกลปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียรไปตั้งในที่ใหม” 715 ในบริเวณรัศมี 10 กิโลเมตรรอบปราสาทพระวิหารนั้นจะถือวาเปน‘เขตเศรษฐกิจและการทองเที่ยวเชิงนิเวศน’ (Eco- tourism zone) หรือ‘เขตสีเขียว’ ตามแผนแมบทเพื่อการอนุรักษจัดการและ พัฒนา 716

อภิสิทธิ์เรียกรองขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกรวมกัน

713 “Cambodia demands compensation from Thailand for losses caused by Thai troops in Preah Vihear”, Xinhua (11 May 2009). 714 “Cambodia steps up conservation measures near Preah Vihear temple”, Xinhua (5 May 2009). 715 “Cambodia to relocate two villages near Preah Vihear temple”, Xinhua (5 May 2009)ใ 716 “Cambodia unveils plan for conservation, development of Preah Vihear temple”, Xinhua (7 May 2009). 186

กอนการไปเยือนกัมพูชาอยางเปนทางการในเดือนมิถุนายนของนายอภิสิทธิ์ สถานการณ เลวรายลงอีกเมื่อมีรายงานวา กองทหารไทยไดบุกเขาไปยึดครองบริเวณ‘Hill 600’ซึ่งตั้งอยูหางไป ทางตะวันออกของปราสาทพระวิหารไปประมาณ 7 กิโลเมตร ซึ่งพลโทวิบูลศักดิ์ หนีพาล แมทัพ ภาคที่ 2 ซึ่งได‘ปฏิเสธขาว’นี้ วาไมเปนความจริง แตหนังสือพิมพบางกอกโพสทรายงานวาอาจเกิด การปะทะอีกเพราะมีการเสริมกําลังทหารกัมพูชาเขาไปในบริเวณนั้น 717 อยางไรก็ตามเมื่อนาย อภิสิทธิ์ไดไปเยือนกัมพูชาอยางเปนทางการตามคําเชิญของนายฮุนเซ็นนั้น ทั้งสองฝายไดตกลงกัน วา“จะปองกันมิใหมีการปะทะกันอีกและจะใชกลไก ‘MOU2543’ (the 2000 MOU) ที่มีอยูมาชวย แกไขความขัดแยงระหวางกัน” 718 แตทวาเมื่อนายอภิสิทธิ์เสร็จสิ้นภารกิจการเยือนกัมพูชา มีรายงานในหนังสือพิมพบางกอก โพสทวา“นายอภิสิทธิ์ไดเรียกรองกัมพูชาใหขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกรวมกัน” ทําใหนายฮุนเซ็นไดตอบโตวา“รูสึกแปลกใจ”เพราะเมื่อวันศุกรที่ผานมาที่กรุงพนมเปญ นาย อภิสิทธิ์มิไดหยิบยกประเด็นนี้ขึ้นมาหารือเลย นายฮุนเซ็นยังระบุวา หากนายอภิสิทธิ์กลาวเชนนั้น จริงก็จะทําลายความสงบสุขของชาวกัมพูชาทั้งประเทศ เนื่องจากศาลโลกไดมีคําตัดสินไปแลวเมื่อ ป 1962 ที่ใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา และคณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโกก็ไดมี มติแลวเมื่อ7 กรกฎาคม 2008 ใหกัมพูชาไดขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกแตเพียงผู เดียว 719 ความสัมพันธไทย-กัมพูชาตึงเครียดอีก ดังพาดหัวขาววา นายฮอรนัมฮง (Hor Namhong) รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาระบุวา รัฐบาลไทยไดสง จดหมายที่มีเนื้อหาเชิงขมขูไปยังองคกรยูเนสโกกอนหนาที่คณะกรรมการมรดกโลกจะประชุมที่ ประเทศสเปญในวันที่ 23 กรกฎาคม นายฮอรนัมฮง ยังกลาวหาผูนําของไทยตั้งแตนายอภิสิทธิ์ นายกรัฐมนตรี นายสุเทพรองนายกรัฐมนตรีและนายกษิต รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ วา‘พูดแบบไมคิด’720 ที่รายไปกวานั้นนายฮุนเซ็นไดปฏิเสธที่จะพบกับนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รอง นายกรัฐมนตรีไทยที่จะไปกัมพูชา โดยระบุวา“จะไมรับฟงหากนายสุเทพจะมาเจรจาเรื่องการขึ้น ทะเบียนมรดกโลกรวมหรือพัฒนาปราสาทพระวิหารรวมกัน แตจะรับฟงหากนายสุเทพจะมาเจรจา

717 “Thai military officer denies invading border area with Cambodia”, Xinhua (1 June 2009) 718 “Cambodia, Thailand promise no armed clash on border”, Xinhua (12 June 2009) 719 “Cambodian PM expresses regret on Thai PM comment on Preah Vihear temple”, Xinhua (18 June 2009) 720 “Cambodia FM: Thailand threatens Cambodia and UNESCO over Preah Vihear temple”, Xinhua (20 June 2009) 187

เฉพาะเรื่องการถอนทหารไทยออกจากแดนกัมพูชา” นายฮุนเซ็นประกาศตัดเยื่อใยวา“ไทยไมมีสิทธิ ที่จะเปนเจาของปราสาทพระวิหารรวมกับกัมพูชา” 721

สุเทพ ประวิตรเจรจาลับฮุนเซ็น

อยางไรก็ตามนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีและพลเอกประวิตร วงศสุวรรณ รัฐมนตรีกลาโหมของไทยก็ไดเดินทางไปกัมพูชาเมื่อ 30 มิถุนายน ซึ่งนายฮุนเซ็นย้ําวา“ครั้งนี้เปน การประชุมลับ” แตสํานักขาวซินหัวกลับรายงานวา มีการหารือในโครงการสํารวจน้ํามันและกาซ ในพื้นที่ทับซอนทางทะเลดวย นอกจากนี้นายฮุนเซ็นยังไดเรียกรองใหไทยถอนทหารออกจาก บริเวณพื้นที่ทับซอนบริเวณปราสาทพระวิหารมิฉะนั้น ฉะนั้นกัมพูชาก็จะไมยอมถอนเชนกัน ทั้ง ยังกลาวหาวา เครื่องบินทหารของไทยไดบินล้ําเขาไปในแดนกัมพูชา และขูวากัมพูชามีอาวุธจรวดที่ มีสมรรถนะยิงอากาศยานจากพื้นดินได 722 เพียงสองสัปดาหตอมา หนังสือพิมพบางกอกโพสตระ บุวา นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีดานความมั่นคง จะเดินทางไปเยือนกัมพูชา เพื่อ รวมพิธีเปดทางหลวงหมายเลข 67 ซึ่งนายฮุนเซ็นจะเดินทางมาเปนประธาน สํานักขาวซินหัวตั้งขอ สังเกตุวา นี่เปนการไปกัมพูชาเปนครั้งที่สองของนายสุเทพ ภายในระยะเวลาอันสั้น 723 ดานพลเอก ประวิตร วงศสุวรรณ รัฐมนตรีกลาโหม ก็แถลงวา “แมทัพภาคที่ 2 ของไทยและ แมทัพภาคที่ 4 ของกัมพูชากําลังจะหารือกันเรื่องการถอนทหารบางสวน”724 สวนนายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศกัมพูชาแถลงขอบคุณที่ไทยไดอนุมัติงบประมาณ 41.2 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อซอมแซมถนนในกัมพูชาและสรางถนนสาย 68 ใกลกับชายแดนไทย”725 และเรียกรองไทยให เรงรัดการ‘ทํารังวัด’ พื้นที่บริเวณชายแดนเพื่อจะไดเริ่มการ ‘ปกหมุดเขตแดน’ โดยเร็ว 726 ดานนาย ฮุนเซ็นมีทาทีออนลงและไดแถลงวา “เนื่องจากขณะนี้การสูรบที่พรมแดนไดยุติลงแลว รัฐบาล

721 Cambodian PM refuses to talk with Thai DPM on Preah Vihear temple”, Xinhua (25 June 2009) 722 Cambodia-Thailand talks on border issue "fruitful": Cambodian PM”, Xinhua (30 June 2009) 723 “Thailand, Cambodia to reduce border military presence”, Xinhua (3 July 2009) 724 “Border dispute not lead to war with Cambodia: Thai defence minister”, Xinhua (4 July 2009) 725 “Cambodian FM to visit Thailand in early August on border issues”, Xinhua (30 July 2009) 726 “Cambodia, Thailand need to solve border issues with peaceful deal : PM”, Xinhua (5 August 2009) 188

กัมพูชาจึงจะลดจํานวนทหารประจําการที่ชายแดน” 727 และอนุญาตใหนาย กษิต ภิรมยในฐานะ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเขาไปในบริเวณใกลปราสาทเปนเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อศึกษาและทําความเขาใจสถานการณ” ทั้งนี้นายกษิตไดหารือกับนายพลเจีย ดารา(Gen.Chea Dara)รองผูบัญชาการทหารสูงสุดของกัมพูชา ทั้งสองฝายไดใหคํามั่นสัญญาตอกันวา“จะไมยอม ใหมีการปะทะกันขึ้นอีกและจะพยายามแกปญหาดวยสันติวิธี”728 สวนนายฮอรนัมฮงไดยืนยันวาจะ นําประเด็นปญหาพรมแดนไทย-กัมพูชาเขาสูการพิจารณาของที่ประชุมอาเซียนซัมมิทในวันที่ 23- 25 ตุลาคม 2009 ที่ประเทศไทยเปนเจาภาพใหได แมวานายกษิต ในฐานะเจาภาพ จะไม ยอมนําประเด็นปญหาพรมแดนไทย-กัมพูชานี้บรรจุในวาระการประชุม ก็ตาม 729

กลุมชาตินิยมกดดันอภิสิทธิ์ใหยกเลิก“ขัอตกลงรวม”

ในประเทศไทย สํานักขาวซินหัวติดตามการเคลื่อนไหวของกลุมชาตินิยม ที่กําลังกดดัน รัฐบาลอภิสิทธิ์ใหยกเลิก“ขัอตกลงรวม”(joint communiqué ) ที่นายนพดล ปทมะไดลงกับกัมพูชา เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2008 ในสมัยรัฐบาลสมัคร โดยอางอาจทําใหไทยสูญเสียอธิปไตยเหนือ พื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกิโลเมตร” ซึ่งหนังสือพิมพบางกอกโพสตรายงานวากลุมผูประทวงนําโดย ม.ล.วัลยวิภา จรูญโรจน จากสถาบันไทยคดีศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 730 นอกจากนี้กลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ซึ่งนําโดยนายวีระ สมความคิดและสมาชิกกวา 30 คนได กลาวหารัฐบาลไทยโดยเฉพาะในสมัยรัฐบาลสุรยุทธ และรัฐบาลอภิสิทธิ์วาไดปลอยใหชาวกัมพูชา เขามาสรางบานเรือนตั้งรานคาตลอดจนถางปาเพื่อสรางถนนจนรุกล้ําเขามาในแดนไทยกินพื้นที่ กวา3,000 ไร(4,800,000 ตารางเมตร) ทั้งนี้กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยจะยื่นฟอง ตอคณะกรรมการปราบปรามคอรัปชั่นแหงชาติ(ปปช.) พรอมกับหลักฐานที่แสดงวา“กัมพูชาไดรุก

727 “Cambodia to recall some troops at border: PM”, Xinhua (22 August 2009) 728 “Thai FM visits area near Preah Vihear temple”, Xinhua (14 September 2009) 729 “Cambodia to raise border issues with Thailand at ASEAN Summit: Cambodian FM”, Xinhua (14 September 2009) 730 “Thai protesters urge gov’t to withdraw from Thai-Cambodian statement on Preah Vihear”, Xinhua (27 July 2009) 189

ล้ําดินแดนไทย” 731 ในที่สุดการกดดันของกลุมชาตินิยมไดผล เมื่อศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งให ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวชเมื่อพฤษภาคม 2008 ที่ใหมีการลงนามใน ‘ขอตกลงรวม’ เพื่อเปดทางใหกัมพูชาจดทะเบียนปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียรเปนมรดกโลกได ตามที่ซินหัวไดอางสํานัก ขาวไทยเมื่อ30 ธันวาคม 2009 732 นอกจากนี้มีรายงานจากเวปไซทบางกอกโพสทวา“กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยไดเดินทางไปที่จังหวัดศรีสะเกษ และพยายามจะบุกเขาไปในบริเวณพื้นที่ทับซอน ใกลปราสาทพระวิหาร แตไมสามารถผานรั้วลวดหนามเขาไปได”733 กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยจํานวนประมาณ 4,000 คนนี้ นําโดยนายวีระ สมความคิด ไดไปที่ผามออีแดง บริเวณ อุทยานแหงชาติพระวิหาร ในอําเภอกันทราลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ ‘734 ในเวลาบายสองโมงผู ประทวงไดทําลายสิ่งกีดขวางที่หมูบานภูมิซรอลซึ่งอยูหางจากทางเขาอุทยานปราสาทพระวิหาร เพียง 3 กม. แตมีชาวบานในพื้นที่ประมาณ 500 คน ไดรวมตัวกันออกมาขับไลกลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ยังผลใหทั้งสองฝายมีการปะทะกันและมีผูบาดเจ็บ 7 คน735 ดานนายอภิสิทธิ์ไดสั่งใหมีการเจรจาโดยสันติกับผูประทวงกลุมเสื้อเหลืองที่ศรีสะเกษ 736 ในขณะ ที่ในกัมพูชา ประชาชนกําลังภาคภูมิใจที่กัมพูชาไดรับเลือกใหเปนสมาชิกถาวรของคณะกรรมการ มรดกโลก(World Heritage Committee) 737 นายฮุนเซ็นจึงมั่นใจเต็มเปยมวา ขณะนี้ประชาคมโลก สนับสนุนกัมพูชาได จึงแสดงความไมพอใจไทยที่ไมยอมบรรจุวาระกรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร เขาสูที่ประชุมสุดยอดASEM SUMMIT ที่ประเทศไทยเปนเจาภาพ 738 และไดประกาศเรียกทูต กัมพูชากลับประเทศเพื่อตอบโตการที่ไทยเรียกนายประศาสน ประศาสนวินิจฉัย เอกอัครราชทูต

731 “Thai gov't accused of neglecting border issue”, Xinhua (16 September 2009) 732 “Thai court cancels cabinet resolution on Preah Vihear temple”, Xinhua (30 December 2009) 733 “Thai protesters banned from disputed area around Preah Vihear temple: army official”, Xinhua (17 September 2009) 734 “4,000 yellow-shirts protest along Thai-Cambodian border”, Xinhua (19 September 2009) 735 “Thai protestors break blockage to march toward border”, Xinhua (19 September 2009) 736 “Thai PM orders peace talks with yellow-shirts protesters”, Xinhua (19 September 2009) 737 “Cambodia becomes permanent member of World Heritage Committee”, Xinhua (27 October 2009) 738 “Cambodia to raise border issues with Thailand at ASEAN Summit:Cambodian FM”, Xinhua (14 October 2009). 190

ไทยประจํากัมพูชากลับประเทศไทย เพื่อประทวงการที่นายฮุนเซ็นไดแตงตั้งทักษิณเปนที่ปรึกษา 739 สืบเนื่องจากกรณีนี้มีความเคลื่อนไหวที่นาสนใจจากกลุมนักวิชาการและนักประวัติศาสตร กัมพูชาที่ไดเรียกรองให‘กลุมเสื้อเหลือง’ ในไทยเคารพกฎหมายระหวางประเทศ และควรหยุดการ เรียกรองพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.”(Cambodian scholars ask Thai "Yellow Shirts" to respect international laws) ทั้งนี้นาย ไอวี จัน(IV Chan)รองประธานราชบัณฑิตยสถานของ กัมพูชา (Royal Academy of Cambodia-RAC)ไดวิจารณกลุมผูประทวงชาวไทยวา สับสนไม เขาใจประวัติศาสตรจึงเรียกรองในสิ่งที่ไมถูกตอง และไดเรียกรองใหมีการเคารพ สนธิสัญญา ระหวางสยามและฝรั่งเศสในป1904-1907 และคําตัดสินของศาลโลกในป1962” นอกจากนี้คิม สา รอน(Kim Saron)สมาชิกอาวุโสของราชบัณฑิตยสถานของกัมพูชาไดแจงวา“ขณะนี้ไดมี นักวิชาการกัมพูชาและไทยกลุมหนึ่งไดรวมกันจัดตั้ง ‘คณะกรรมการวัฒนธรรมขะแมร- ไทย’(Committee of Khmer-Thai Culture)ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้ไดประชุมกันมาแลวหลายครั้ง เพื่อรวมกันเขียนประวัติศาสตรของทั้งสองประเทศขึ้นมาใหม และเสริมวา “พวกที่มีแนวคิดสุดโตง จําเปนตองเรียนรูประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของประเทศตนและของประเทศเพื่อนบานเชน กัมพูชาดวย” 740 การเคลื่อนไหวของนักวิชาการนี้สอดคลองกับทัศนะนายกรัฐมนตรีกัมพูชาที่ ออกมาตอบโตไทยวา“พื้นที่กวา 4 ตารางกม.ใกลปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียรไมใชพื้นที่ทับซอน แตเปน ดินแดนของกัมพูชา”741

การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2010

ในการเสนอขาวในป 2010 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ของสํานักขาวซินหัวนั้น จะเห็นวา สํานักขาวซินหัวไดจัดทํารายงานจํานวน 63 ขาว ในประเด็นที่วา กัมพูชาได“ประทวง”กูเกิ้ลวาแผน ที่ที่กูเกิ้ลไดจัดทําขึ้นนั้นแสดงวา ตัวปราสาทพระวิหารเกือบครึ่งหนึ่งตั้งอยูในเขตแดนไทย สํานัก ขาวซินหัวยังไดรายงานขาวการปะทะยอยถึง 3 ครั้งคือ การปะทะวันที่ 24 มกราคม การปะทะวันที่

739 Thai-Cambodian border's situation worrying: Thai senior official”, Xinhua (6 November 2009) 740 “Cambodian scholars ask Thai "Yellow Shirts" to respect international laws”, Xinhua (21 September 2009). 741 “Over 4 square km land near Preah Vihear temple not overlapping land: Cambodian PM”, Xinhua (28 September 2009) 191

17 เมษายน และการปะทะวันที่ 8 มิถุนายน 2010 นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังรายงานในประเด็น ที่วานายฮุนเซ็นไดยื่นฟองคณะมนตรีความมั่นคงแหงองคการสหประชาชาติ(UNSC) วาไทยรุกราน และทําลายปราสาทพระวิหาร และในประเด็นที่วานายอภิสิทธิ์ยังคงเดินหนาคัดคานแผนการ บริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชาในที่ประชุมมรดกโลก ตลอดจนประเด็นที่กลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยบีบรัฐบาลใหยกเลิก‘MOU 2000’ และกดดันรัฐสภาไทยมิให เห็นชอบรายงานการประชุมของคณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (JBC) เพื่อขัดขวางมิใหการเจรจา ทวิภาคีไทย-กัมพูชามีความคืบหนา ในเดือนธันวาคมกอนสิ้นป 2010 สํานักขาวซินหัวยังได รายงานประเด็นที่มี.ค.นไทย 7 คนถูกจับฐานบุกรุกเขาไปในแดนกัมพูชา ดังประเด็นขาวและ ตาราง ที่ 6.3

ตารางที่ 6.3 เการเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2010

2010 ม.ค ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวน ขาว Xinhua 8 7 0 1 2 4 6 2 7 8 5 13 63

กอนการปะทะวันที่ 24 มกราคม 2010 มีการประชุม.คณะกรรมการทั่วไปชายแดน กัมพูชา-ไทย (GBC) โดยพลเอกประวิตร วงศสุวรรณ รัฐมนตรีกลาโหมไทย รวมกับพลเอกเตีย บันห(Tea Banh) รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชา ที่ประชุมตกลงที่จะไมใชกําลังเพื่อแกปญหาตลอดจน จะรวมกันใหความสะดวกแกการคาชายแดนและการทองเที่ยว”742 นอกจากนี้กองกําลังกัมพูชาและ ไทยยังไดเฉลิมฉลองปใหมรวมกันดวยการเลนวอลเลยบอลที่ชายแดน 743ทหารไทยประมาณ 30 คนและทหารกัมพูชา 50 คน ไดมารวมงานปใหมเมื่อวันที่ 1 มกราคม ในงานไดมีการแลกเปลี่ยน ของขวัญ แบงปนผลไม เครื่องดื่มและรองรําทําเพลงกัน เปนเวลานานกวาสองชั่วโมงที่จุดผานแดน ที่โชม เท (Choam Te) ซึ่งอยูหางจากปราสาทพระวิหารไป 18 กม.744

742 “Cambodian, Thai militaries not to use force to solve border issues: Thai minister”, Xinhua (27 November 2009) 743 Cambodia, Thai troops play volleyball at border”, Xinhua (2 December 2009) 744 “Cambodia, Thai soldiers enjoy New Year’s dance near border”, Xinhua (4 January 2010) 192

การปะทะวันที่ 24 มกราคม 2010

แมวากองกําลังไทย-กัมพูชาไดจัดงานปใหมรวมกัน แตทวาสถานการณตึงเครียดอีก ดังที่ สํานักขาวซินหัวไดอางรายงานจากหนังสือพิมพ The Phnom Penh Post และพาดหัวขาววา องคการยูเนสโกจะขึ้น‘ปายมรดกโลก’ที่ปราสาทพระวิหาร” ทั้งนี้เพื่อใหบริเวณปราสาทพระวิหาร เปน‘เขตคุมครอง’ โดยกัมพูชาอางวา“รูปปนและบันไดของตัวปราสาทนั้นไดรับความเสียหายจาก แรงระเบิด” ระหวางการปะทะกันเมื่อ 15 ตุลาคม 2009 ที่มีทหารกัมพูชาเสียชีวิต 3 นาย และทหาร ไทยเสียชีวิต 1 นาย ในการนี้นายพาย สีพาน(Phay Siphan) เลขานุการสภารัฐมนตรีไดกลาววา “จะมีการปกปายมรดกโลกอีก 3 ปายเพื่อปองกันไมใหตัวปราสาทเสียหายอีก” นอกจากนี้นายฮัง โสธ ผูอํานวยการของเขตปกครองเพรี๊ยะวิเฮียรระบุวา“ปายเหลานี้จะยับยั้งไมใหมีการสูรบบริเวณนี้ และเรียกรองใหทหารไทยเคารพ ‘เขตมรดกโลก’ นี้ 745 แมวายูเนสโกไดทําการปกปายมรดกโลก แตก็ไมสามารถยับยั้งใหเกิดการปะทะได ดังจะ เห็นวาเพียงสามสัปดาหตอมา สํานักขาวซินหัวรายงานวามีการปะทะกันสั้นๆประมาณ 2-3 นาที ทั้งนี้ไดอางพลเอกเจีย ดารา ผช.ผูบัญชาการสส.และผูบัญชาการกองกําลังที่ปราสาทพระวิหารของ กัมพูชาที่ไดแถลงวา “ทหารไทยไดบุกรุกเขามาในแดนกัมพูชาใกลที่จุดผานแดนที่ โชม เท (Choam Te) ซึ่งอยูหางจากปราสาทพระวิหารไปทางตะวันออกประมาณ 20 กม. และเปนฝายเปด ฉากยิงกอน ฝายกัมพูชาจึงยิงปองกันตัว แตไมมีผูใดบาดเจ็บหรือเสียชีวิต สํานักขาวซินหัวให ขอมูลวาการปะทะครั้งนี้เกิดขึ้น เพียงสองสัปดาหกอนที่นายฮุนเซ็นมีกําหนดจะมาเยี่ยมใหกําลัง ทหารที่ชายแดนไทย-กัมพูชา 746 หลังการปะทะสํานักขาวไทยรายงานวา พลเอกอนุพงศ เผาจินดากลาวอยางเรียบๆวา“สถานการณไดกลับสูสภาวะปกติแลว” และขณะนี้นายทหารระดับสูง ของทั้งสองฝายกําลังหารือกัน 747 ตอมาภายหลังมีรายงานสรุปการปะทะจากทั้งไทยและกัมพูชาวาในการปะทะเมื่อ 24 มกราคม 2010 นี้ “ทหารไทยไดรับบาดเจ็บ 2 นาย สาเหตุที่มีการปะทะกันหลายครั้งนั้นเนื่องมาจาก ความเขาใจผิด” โดยพันโทณัฐ ศรีอินทร จากกองกําลังสุรนารีใหขอมูลวา ขณะนั้นทหารไทยอยู ระหวางการลาดตระเวณ และไปพบกับทหารกัมพูชากําลังโคนตนไมในเขตอําเภอกันทราลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ ทหารไทยจึงตะโกนถามวา “ขามแดนมาทําไม” แตทหารกัมพูชากลับรัวปน

745 “UNESCO to post signs at Preah Vihear temple”, Xinhua (8 January 2010) 746 “Cambodia troops clash with Thai troops at border area”, Xinhua (24 January 2010) 747 “Thai army chief: situation on Thai-Cambodian border normal”, Xinhua (25 January 2010) 193

อัตโนมัติและยิงระเบิด M-79 ใสทหารไทย ทั้งสองฝายจึงยิงปะทะกันเปนเวลากวา 20 นาที 748 ดานพลโทชุม โสเชียต (Chhum Socheat) โฆษกกระทรวงกลาโหมกัมพูชาแถลง วา “การปะทะ ครั้งนี้เกิดขึ้นในเขตอําเภอวีล เวง (Veal Veng) ในจังหวัดเปอรสาท (Pursat) ของกัมพูชา มีทหาร ไทยเสียชีวิต 1 นายและบาดเจ็บสองสามนาย” นอกจากนี้นาย แกว โสคุนเธียร (Keo Sokunthear) รองผูบัญชาการตร.ประจําจังหวัดเปอรสาทของกัมพูชาอางวา“มีทหารไทยกวา 20 นาย พยายามจะ ขามแดนเขามายังกัมพูชา” 749 ขอมูลขางตนทําใหเห็นไดชัดวา ทางการไทยและกัมพูชาไดรายงาน ขอมูลการปะทะที่แตกตางกัน ทั้งในดานจํานวนผูบาดเจ็บและเสียชีวิต และสาเหตุของการปะทะ ในเดือนกุมภาพันธ 2010 มีรายงานวา นายฮุนเซ็นจะเดินทางไปเยี่ยมปลอบขวัญทหารและ ชาวบานที่อาศัยอยูใกลชายแดนไทย-กัมพูชา 750 สถานการณตึงเครียดขึ้นมาอีกเมื่อนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ของไทยไดกลาวทาทายนายฮุนเซ็นวา“ถาหากนายฮุนเซ็นประสงคจะเดินทางเขามาใน บริเวณพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางก.ม. นายฮุนเซ็นจะตองหารือกับทางการไทยกอน” คํากลาวเชนนี้ ของนายอภิสิทธิ์ทําใหโฆษกรัฐบาลกัมพูชาโตตอบวา กัมพูชารูสึกประหลาดใจและนึกไมถึงวา ประเทศไทยเตรียมการจะสงเจาหนาที่ระดับสูงเพื่อไปตอนรับสมเด็จเตโชฮุนเซ็น ทั้งๆที่พื้นที่ทับ ซอน 4.6 ตารางก.ม.นั้นตั้งอยูในเขตกัมพูชา ตามแผนที่ภาคผนวก 1 (Annex I Map) ที่ศาลยุติธรรม ระหวางประเทศไดใชในการตัดสินคดีพระวิหารในป 1962 ดังนั้นการไปครั้งนี้ของสมเด็จเตโชฮุน เซ็น จึงเปนการเดินทางภายในดินแดนของกัมพูชา ไมมีความจําเปนจําเปนตองขออนุญาตทางการ ไทยกอน 751 ขณะที่ ‘สงครามปาก’ ระหวางนายฮุนเซ็นและนายอภิสิทธิ์ยังไมยุติ ในวันรุงขึ้นนายฮุนเซ็น และนางบุน รานี ภริยา ในเครื่องแบบทหารและคณะกวารอยคนไดเดินทางไปถึงปราสาทพระวิหาร โดยมีการรักษาความปลอดภัยอยางเขมงวด ในพิธีมีพระสงฆมาสวดและมีคณะศิลปนมารําอวยพร 752 นายฮุนเซ็นไดแถลงวาจะเดินทางไปตรวจเยี่ยมทหารของกองทัพภาคที่ 5 ที่พรมแดนไทย-

748 “Misunderstanding leads to Thai-Cambodian border clash: Thai, Cambodian armies”, Xinhua (25 January 2010) 749 “Cambodian, Thai troops exchange second fire”, Xinhua (30 January 2010) 750 “PM Hun Sen to make visit to Cambodia-Thai border area”, Xinhua (5 February 2010) 751 “Cambodia rejects Thai's reaction on Hun Sen's visit to border area”, Xinhua (5 February 2010) 752 “Cambodia PM visits Preah Vihear temple on Cambodian-Thai border”, Xinhua (6 February 2010) 194

กัมพูชาทางดานตะวันตกเฉียงเหนืออีกเปนครั้งที่สองในวันที่ 27 กุมภาพันธ สํานักขาวซินหัวตั้ง ขอสังเกตวา นายฮุนเซ็นไดใชเวลากวาหนึ่งสัปดาหตรวจเยี่ยมหนวยทหารตางๆตามชายแดนไทย- กัมพูชา จนทําใหนายอภิสิทธิ์ออกมาวิพากษ นายฮุนเซ็นวามีจุดมุงหมายทางการเมืองแอบแฝง อยางไรหรือไม 753

กัมพูชาประทวงกูเกิ้ลใหทบทวนแผนที่ปราสาทพระวิหาร

กัมพูชาไดดําเนินการ“รุกในทางสากล” ตอไปในกรณีพระวิหาร ดังจะเห็นวารัฐบาล กัมพูชาไดเขียนจดหมายประทวงกูเกิ้ลใหทบทวนแกไขการเขียนแผนที่บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ดานปราสาทพระวิหาร เนื่องจากปราสาทพระวิหารนั้นตั้งอยูในดินแดนกัมพูชา แตในแผนที่ของกู เกิ้ลมีการ‘กําหนดจุดที่ตั้งผิดพลาด’ (very wrongly marked) จนมีผลใหเกิดการเขาใจผิดอยาง มหันต (radically misleading and totally misguiding) จึงขอเรียกรองใหกูเกิ้ลดําเนินการถอด ถอนแผนที่สวนนี้ออกจากระบบ ซึ่งตอมาในจดหมายถึงรัฐบาลกัมพูชาที่ลงนามโดย รอส ลาเจิน (Ross LaJeune) หัวหนาฝายนโยบายสาธารณะและกิจการรัฐบาลของกูเกิ้ลนั้น กูเกิ้ลไดยอมรับ ขอผิดพลาด และยินยอมที่จะนําขอโตแยงของกัมพูชาเกี่ยวกับภาพที่ชายแดนไทย-กัมพูชาของ‘กูเกิ้ล เอิรธ’(Google Earth) มาทบทวนแกไขอีกครั้ง ตามปกติแลว‘กูเกิ้ลเอิรธ’จะนําภาพจากดาวเทียมนั้น มาซอนทับกับพรมแดนและชื่อสถานที่ไดมาจากแหลงขอมูลจากภาครัฐและภาคเอกชนหลายแหลง จึงอาจทําใหไดภาพที่ไมถูกตอง 754

การปะทะวันที่ 17 เมษายน 2010

นาย ชฮุม โสเชียต (Chhum Socheat) โฆษกกระทรวงกลาโหมกัมพูชาแถลงวา เกิดการ ปะทะกันระหวางกองกําลังไทยและกัมพูชาสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อเวลา 8.05 น. และครั้งที่สองเมื่อ เวลา 9.30 น. แตไมมีรายงานการสูญเสียหรือบาดเจ็บ เขากลาววา การปะทะทั้งสองครั้งเกิดจาก‘การ เขาใจผิด’โดยฝายไทยเปนฝายยิงใสกัมพูชากอน สวนบริเวณที่เกิดการปะทะนั้นอยูหางจากเมืองโอ สมัค(O’Smach)ไปทางทิศตะวันออกประมาณสองสามกิโลเมตร ดานนายเตีย บันห รัฐมนตรี กลาโหมกัมพูชาก็ยอมรับวา สาเหตุเกิดจากการเขาใจผิด แตไมเปดเผยรายละเอียด 755 หลังการ

753 “Cambodian PM to make second trip to Cambodia-Thai border area this week”, Xinhua (24 February 2010) 754 “Google to review Cambodian map over Preah Vihear Temple”, Xinhua (10 February 2010) 755 “Cambodia, Thai troops clash at border”, Xinhua (17 April 2010) 195

ปะทะไดมีความพยายามจะลดความตึงเครียดของเหลาทหารทั้งสองฝาย โดยไดจัดใหทหารไทย- กัมพูชาเลนกีฬารวมกันระหวางวันที่ 17-21 พฤษภาคม ที่จุดผานแดนสามจุดโดยจะมีกีฬาสาม ประเภท คือ วอลเลยบอล โบวลิ่ง และเซปกตะกรอ 756 ดังจะเห็นจากรายงานในเดือนพฤษภาคม ที่วา ไดมีทหารทั้งสองฝายเริ่มเลนกีฬารวมกันแลว เพื่อสรางความเปนมิตรและความเขาใจระหวาง กัน.757.

การปะทะวันที่ 8 มิถุนายน 2010

แมจะมีความพยายามจะใชกีฬามาชวยปองกันมิใหเกิดการปะทะ แตก็เกิดมีการปะทะกันอีก ทั้งนี้นายนายชุม โสเชียต โฆษกของกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาไดแถลงวา “มีการปะทะกัน เปนเวลาสั้นๆเมื่อเชามืดวันนี้ประมาณ 10 นาที แตยังไมมีรายงานการสูญเสียหรือบาดเจ็บ ทั้งนี้ สาเหตุของการปะทะมาจากการเขาใจผิดของฝายไทย เนื่องจากทหารกัมพูชากําลังลาดตระเวณอยู ในแดนกัมพูชาที่อําเภอทราแปง ปราสาท (Trapaeng Prasat) ในจังหวัดโอดดารเมียนเจย ซึ่งอยู หางปราสาทพระวิหารประมาณ 70 กม.” สํานักขาวซินหัวตั้งขอสังเกตวา “ผูนําของทั้งสองประเทศ ไดใหคํามั่นสัญญามาหลายครั้งวา จะพยายาม.คลี่คลายความตึงเครียดและปองกันมิใหเกิดการปะทะ แตก็ไมเปนผล”758 อยางไรก็ตามผูวิจัยไมพบวามีการแถลงขาวการปะทะครั้งนี้จากทางการไทย

อิตาลีชวยซอมแซมโบราณสถานเพื่อการทองที่ยว

ในเดือนกรกฎาคม 2010 มีพาดหัวขาววา “รัฐบาลกัมพูชาได‘หมายตา’ที่จะพัฒนาแหลง ทองเที่ยวในจังหวัดเพรี๊ยะวิเฮียร ซึ่งมีปราสาทหินอีกกวา 200 แหงนอกเหนือจากปราสาทเพรี๊ยะวิ เฮียร ในขณะนี้รัฐบาลกัมพูชาไดทุมทุนกวา 100 ลานเหรียญสหรัฐที่จะปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน โดยเฉพาะถนนและสะพานที่จะเชื่อมจังหวัดใกลเคียงเขาดวยกัน”759 นอกจากนี้กัมพูชายังไดขอให รัฐบาลอิตาลีมาชวยกัมพูชาในการซอมแซมศิลปะโบราณวัตถุ ตลอดจนชวยทําการรณรงคระหวาง การประชุมนานาชาติใหนานาชาติชวยคุม.ครองมรดกทางวัฒนธรรมของกัมพูชา ดังจะเห็นวา นาย มิเกลแองเจโล พิพาน (Michelangelo Pipan) เอกอัครขาราชทูตอิตาลีประจํากัมพูชาไดเสนอตอ นายสกอานวา อิตาลีจะชวยกัมพูชาซอมแซมศิลปวัตถุโบราณ โดยมีโครงการจัดตั้งศูนย

756 “Cambodia, Thai troops to play sports, reduce tension”, Xinhua (11 May 2010) 757 “Cambodia, Thai troops to play sports, reduce tension”, Xinhua (19 May 2010) 758 “Cambodian, Thai soldiers make brief fighting”, Xinhua (8 June 2010) 759 “Cambodia eyes tourism sites in ”, Xinhua (1 July 2010) 196

หองปฏิบัติการขึ้นที่จังหวัดเสียมเรียบ เพื่อสงอาจารยชาวอิตาลีจากมหาวิทยาลัยพาเลอรโม (University of Palermo) มาฝกอบรมนักศึกษากัมพูชาจํานวน 20 คนที่มหาวิทยาลัยวิจิตรศิลป (University of Fine Atrs) ในหลักสูตรสามปเกี่ยวการซอมแซมวัตถุโบราณ ซึ่งเทียบเทากับ หลักสูตรปริญญาโทในมหาวิทยาลัยในอิตาลี ทั้งนี้นักศึกษากัมพูชาเหลานี้จะมีโอกาสไปศึกษาตอ ในประเทศอิตาลีดวย 760 นอกจากนี้นายฮิม ชเฮม (Him Chhem) รัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม และวิจิตรศิลปของกัมพูชาไดกลาวสุนทรพจนในการเปดการประชุมสมัชชารัฐสภาเอเชียน (The Asian Parliamentary Assembly-APA) โดยย้ําวา“กัมพูชานั้นแมจะเปนประเทศเล็กในเอเชียแต ร่ํารวยทางดานอารยธรรม” จึงปราถนาจะใหมี“การคุม.ครองมรดกทางวัฒนธรรม” อยางจริงจังโดย ตองรวมมือกันทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคีกับตางประเทศ 761

อภิสิทธิ์คัดคานแผนการบริหารจัดการปราสาท

ในทามกลาง“การรุกทางวัฒนธรรม”เพื่อสราง“ความชอบธรรมบนเวทีโลก”ของกัมพูชาใน ปลายเดือนกรกฎาคม 2010 หนังสือพิมพบางกอกโพสตอางสํานักขาวไทยวา ที่ประชุม คณะรัฐมนตรีไทยในสมัยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะไดมีมติใหคัดคานแผนการบริหารจัดการปราสาท เพรี๊ยะวิเฮียรที่คณะกรรมการมรดกโลกไดเห็นชอบแลว นอกจากนี้รัฐบาลอภิสิทธิ์จะ“ทบทวน สมาชิกภาพ”ของไทยในองคการยูเนสโก ถาหากคณะกรรมการมรดกโลกยังยืนยันที่จะมีมติ เห็นชอบแผนการนี้ของกัมพูชา 762 ดานนายสุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม แถลงหลังจากกลับจากการประชุม.คณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 24 ที่บราซิลวา “ที่ประชุมไดมีมติใหเลื่อนการพิจารณาบริหารจัดการปราสาทของกัมพูชาไปในการประชุมปหนาที่ ประเทศบาหเรนในป 2011 และเขาจะเจรจาทวิภาคีกับกัมพูชาเพื่อแกปญหาความขัดแยงในเร็วๆนี้” สํานักขาวซินหัวรายงานวา“กอนที่ที่ประชุมจะมีมติเลื่อนการพิจารณาในวาระนี้ นายสุวิทยได ประทวงดวยการเดินออกจากหองประชุมโดยอางวากัมพูชาไดสงเอกสารมาใหพิจารณาในเวลา จํากัด” สํานักขาวซินหัวระบุวา การคัดคานของนายสุวิทยดูเหมือนวาจะไดผล ดังจะเห็นวาในเดือน สิงหาคมป 2010 คณะกรรมการมรดกโลกที่ประเทศบาหเรนได“มีมติใหเลื่อนวาระการพิจารณารับ แผนบริหารจัดการของกัมพูชาออกไปกอน” แตนาสังเกตวาสํานักขาวซินหัวกลับพาดหัววานายสุ

760 “Italy to help fix Cambodian ancient artifacts”, Xinhua (1 July 2010) 761 “Cambodia needs enhancing protection of cultural heritage: official”, Xinhua (5 July 2010) 762 “Thailand resists approval for Cambodia's plan for 11th-century Hindu temple”, Xinhua (28 July 2010) 197

วิทยจะเดินหนาเจรจาระดับทวิภาคีกับกัมพูชาตอไปอีก 763 ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวใหขอมูลวา“แมวา ฝายไทยจะคัดคานแผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชาโดยอางวา การปกปนเขต แดนยังไมแลวเสร็จ แตคณะกรรมการมรดกโลกก็ไดรับมอบเอกสารแผนการบริหารจัดการปราสาท พระวิหารของกัมพูชาไวแลวและจะนําเขาสูวาระพิจารณาในการประชุมปหนาที่บาหเรน 764 ดาน กัมพูชาไดตอบโตไทยวา การที่ไทยขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกรวมกับกัมพูชาในขณะนี้นั้นเปนเรื่อง ‘ลาสมัย’ไปเสียแลว 765

กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยกดดันรัฐบาลยกเลิก‘MOU 2000’

ในวันรุงขึ้นสํานักขาวซินหัวไดพาดหัวขาววา“กรณีพิพาทชายแดนทําการเมืองไทยให รอนแรง” โดยรายงานวา มีกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย 2,500 คนไดฝาฝนกฎอัยการ ศึกหามชุมนุมเกิน 5 คน และออกมาประทวงที่หนาทําเนียบรัฐบาล ตลอดจนเรียกรองใหรัฐบาล ยกเลิก‘MoU 2000’ ที่ลงนามในสมัยของพรรคประชาธิปตยเปนรัฐบาล โดยอางวาจะทําใหไทย สูญเสียสิทธิเหนือพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.ใกลปราสาทพระวิหาร กรณีนี้มีผลใหนายอภิสิทธิ์ ตองจัดเวทีอภิปรายถายทอดสดทางโทรทัศนกับกลุมเสื้อเหลืองเปนเวลา 3 ชั่วโมงในประเด็นพระ วิหาร”766 ในการอภิปรายนี้นายอภิสิทธิ์ยืนยันวา‘MOU 2000’ นั้นยังมีประโยชน ทําใหไทยเปนตอ ในการปกปนเขตแดน และเปนเครื่องมือที่จะใชยับยั้งกัมพูชาไมใหเริ่มงานตามแผนจัดการปราสาท พระวิหารไดสําเร็จ โดยไทยจะใชเปนขออางวาเนื่องจากการปกปนเขตแดนไทย-กัมพูชายังไมแลว เสร็จ มีรายงานวา ผูชุมนุมพอใจกับคําชี้แจงและยอมสลายตัวไปกอน อยางไรก็ตามสํานักขาวซิน หัวอางรายงานจากบางกอกโพสทวา พรรคเพื่อไทยไดวิจารณวา นี่เปนเพียงเกมการเมืองของพรรค

763 “Bilateral talk with Cambodia may be held to resolve border conflict: Thai minister”, Xinhua (2 August 2010) 764 “Hun Sen tells people not to worry on border tension with Thailand”, Xinhua (4 August 2010) 765 “Cambodia says Thai demands for joint listing of temple is ‘out of date’”, Xinhua (7 August 2010) 766 Border dispute heats up politics in Thailand”, Xinhua (8 August 2010) 198

ประชาธิปตยและ‘พรรคการเมืองใหม’ที่กอตั้งโดยกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่ กําลังรณรงคหาเสียงในการเลือกตั้งสภากทม.ในวันที่ 29 สิงหาคมนี้ จึงมีการปลุกกระแสรักชาติ ขึ้นมาในชวงนี้ 767

ฮุนเซ็นฟอง UNSC - ขอ UN และอาเซียน ชวยไกลเกลี่ย

เพื่อตอบโตการเคลื่อนไหวของรัฐบาลอภิสิทธิ์ นายฮุนเซ็นไดเรียกรองใหมี“การประชุม นานาชาติเพื่อแกปญหาพรมแดนกับไทย” ทั้งนี้กัมพูชาไดทําหนังสือรองเรียนไปยังนายวิตาลี ชูรกิน (Vitaly Churkin) ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแหงองคการสหประชาชาติ(UNSC) และนายอาลี อับดุสซาลาม เตรกี (Ali Abdussalam Treki) ประธานของสมัชชาใหญขององคการสหประชาชาติ (UN General Assembly) วาไทยไดขมขูจะใชกําลังกับกัมพูชาและวา กัมพูชาไดพยายามแลวที่จะ ใชกลไกทวิภาคีที่มีอยูแตไมไดผล สํานักขาวซินหัวรายงานวาที่ผานมาไทยและกัมพูชาไดจัด ประชุมทวิภาคีมาแลวสามรอบหลังจากที่ไดมีการลงนามใน “MOU2000” โดยนายฮุนเซ็นกลาวหา รัฐบาลไทยวา ไมไดกระตือรือลนและพยายามเพียงพอที่จะผลักดันใหรัฐสภาไทยใหสัตยาบัน รับรอง จึงเปนผลให MoU2000 ยังคงไมมีอํานาจบังคับใชตามเจตนารมณดั้งเดิม”768 นอกจากนี้ นายฮุนเซ็นยังเดินหนาดวยการทูตเชิงรุกโดยระบุวา“กัมพูชาจะเชิญนายบันคีมุน (Ban Ki-moon) เลขาธิการองคการสหประชาชาติ ซึ่งจะมาเยือนกัมพูชาระหวาง 27-28 ตุลาคมนี้ ใหเปนผูไกลเกลี่ย ในกรณีพิพาทระหวางสองประเทศ”769 ตอมากัมพูชาไดรุกทางการทูตตอไปอีกขั้นหนึ่ง คือ การขอใหอาเซียนเขามายุงเกี่ยว โดย นายฮอรนัมฮง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาไดสง จดหมายถึงนายฟานเกียเคียม (Pham Gia Khiem) รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวง การตางประเทศเวียตนามซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงประธานของอาเซียน (ASEAN Chair)โดยอางวา “ที่ผานมากัมพูชาไดอดกลั้นอยางถึงที่สุดและไดพยายามหาทางออกอยางสันติในรูปแบบทวิภาคีมา

767 “Thai PM, yellow-shirts hold discussion over Preah Vihear issue”, Xinhua (8 August 2010) 768 “Cambodian PM calls for int'l conference to resolve border issue with Thailand”, Xinhua (9 August 2010) 769 “Cambodian PM to ask UN secretary-general to coordinate border issue with Thailand”, Xinhua (12 August 2010) 199

โดยตลอดแตก็ไมเปนผล” จึงตองขอใหอาเซียนเขามาไกลเกลี่ยภายใตกรอบอาเซียนโดยเฉพาะ “หลักการของกฎบัตรอาเซียน” (the Principles of the ASEAN Charter) มาตรา 2 (c)(d) 770 สองวันตอมานายสุรินทร พิศสุวรรณ ในฐานะเลขาธิการอาเซียนไดเขาพบนายฮอรนัมฮง และแสดงความหวังวากัมพูชากรณีพิพาทพรมแดนกัมพูชา-ไทยจะจบลงอยางสันติ 771 ดานนายสุ เทพ เทือกสุบรรณก็มีทาทีแข็งกราวโดยออกมาวิจารณนายสุรินทร พิศสุวรรณวา“รัฐบาลไทยไมได ขอรองใหนายสุรินทร เลขาธิการอาเซียนมาชวยเจรจากับกัมพูชาในเรื่องนี้แตอยางใด” ในวันรุงขึ้น นายสุเทพ เทือกสุบรรณ แถลงอีกวา“เขาไมทราบเรื่องมากอนวานายสุรินทร พิศสุวรรณ จะเขาพบ นายกฮุนเซ็นในฐานะเลขาธิการอาเซียน และยืนยันวารัฐบาลไทยตองการเจรจาระดับทวิภาคีเฉพาะ กับกัมพูชาเทานั้น” 772 สอดคลองกับนายอภิสิทธิ์ที่ออกมายืนยันวามีแผนการจะเจรจาระดับทวิภาคี กับนายฮุนเซ็นระหวางการประชุมเอเชีย-ยุโรป (Asia-Europe Meeting-ASEM)ที่กรุงบรัสเซลส ประเทศเบลเยี่ยม ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดอางรายงานจากเนชั่นออนไลน 773 ดาน นายฟาร ฮาน ฮัค (Farhan Haq) โฆษกขององคการสหประชาชาติไดออกมาขานรับขอเรียกรองของกัมพูชา โดยแถลงวา“เลขาธิการ UN พรอมเสมอที่จะชวยทั้งสองฝาย”.774 เหลานี้สะทอนวาฝายกัมพูชาได พยายามทุกวิถีทางที่จะใหองคการระหวางประเทศเขามายุงเกี่ยวในกรณีปราสาทพระวิหาร สวน ไทยก็พยายามทุกวิถีทางที่จะยับยั้งและยืนกรานที่จะเจรจาทวิภาคีเฉพาะกับกัมพูชาเทานั้น และจะ ไมยอมให‘มือที่สาม’ คือ องคระหวางประเทศเขามาเกี่ยวของอยางเด็ดขาด

ซินหัว: สัมพันธไทย-กัมพูชาดีขึ้นเมื่อทักษิณลาออกจากตําแหนงที่ปรึกษา

สํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา “ความสัมพันธระหวางไทย-กัมพูชาจะดีขึ้น หลังจากที่อดีต นายกรัฐมนตรีทักษิณไดยื่นในลาออกจากตําแหนงที่ปรึกษา” โดยใหขอมูลวา เมื่อปที่แลวไทยไดลด ระดับความสัมพันธทางการทูตกับกัมพูชาลง โดยเรียกทูตประศาสน ประศาสนวินิจฉัยกลับ

770 “Cambodia asks ASEAN to mediate border dispute with Thailand”, Xinhua (14 August 2010) 771 “ASEAN secretary general hopes Cambodia-Thai border dispute to peacefully end”, Xinhua (16 August 2010) 772 “Military ties of Cambodia, Thailand remain good: Thai Army Chief “, Xinhua(17 August 2010) 773 “Thai,Cambodian PM expected to meet during ASEM meeting in Brussels”, Xinhua (19 August 2010) 774 UN chief offers to help Thailand, Cambodia resolve border dispute”,Xinhua (21 August 2010) 200

ประเทศ” 775 แตตอมาเมื่ออดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณไดตัดสินใจลาออก จึงมีการสงทูตไทยประจํา กัมพูชาใหกลับมาปฏิบัติหนาที่ตามเดิม หลังจากไดเรียกทูตกลับเมื่อเกือบ 10 เดือนที่ผานมา ดาน นายกอย กวง (Koy Kuang)โฆษกกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาแถลงวา “มาดามยู เอ (Madame You Ay) ทูตกัมพูชาก็จะกลับไปปฏิบัติหนาที่ดังเดิม เนื่องจากทูตไทยไดกลับมาประจําที่ กรุงพนมเปญแลว”776 กรณีนี้มีผลใหไทยและกัมพูชาไดฟนฟูความสัมพันธทางการทูตกัน อีกครั้ง 777

กรณีพระวิหารทําใหสังคมไทยสามัคคีหรือแตกแยก

สํานักขาวซินหัวไดนําเสนอวา “ประเด็นขัดแยงพรมแดนระหวางไทยกับกัมพูชานั้นมี ความซับซอนมากขึ้นอันมีสาเหตุมาจากการปนกระแสลัทธิชาตินิยมและการเลนเกมการเมือง ภายในประเทศ” ทั้งนี้การที่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประทวงแผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหาร ของกัมพูชานั้นสะทอนใหเห็นวา “มีการปลุกพยายามกระแสชาตินิยมขึ้นในประเทศไทย”ซึ่งดร. กิตติ ประเสริฐสุข อาจารยคณะรัฐศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกลาววา“ที่ผานมาลัทธิรักชาติได สงผลเสีย ทําใหกรณีพิพาทพรมแดนกับกัมพูชาซับซอนและทําใหสังคมไทยแตกแยก” ดังที่สํานัก ขาวซินหัวไดอางหนังสือพิมพบางกอกโพสตวา นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ไดพยายามแกปญหาความ ขัดแยง จึงไดจัดใหมีการอภิปรายเพื่อพยายามชี้แจงจุดยืนของรัฐบาลไทยโดยการถายทอดสดทาง โทรทัศนดวย แตนายอภิสิทธิ์ยังอธิบายเรื่องปราสาทพระวิหารและ MOU 2000 ไดไมชัดเจน จึงทํา ใหเกิดความขัดแยงมากขึ้น สํานักขาวซินหัวย้ําวา “จริงๆแลวการแตกแยกในสังคมไทยนั้นไดเกิด ขึ้นมาตั้งแตมีการประทวงอยางยาวนานของกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการ(นปช.)ซึ่ง มีผลใหมีคนตาย 89 คนและบาดเจ็บกวา 2,000 คนในเดือนพฤษภาคมที่ผานมา นับจากนั้นมา สังคมไทยคาดหวังวารัฐบาลอภิสิทธิ์จะสมานความแตกแยกและสรางความปรองดองขึ้นมาใน สังคมไทยได” แตสํานักขาวซินหัวยังย้ําวา “กระแสชาตินิยมที่ถูกปลุกขึ้นมาในกรณีพระวิหารทําให ยากที่จะแกปญหานี้”778

775 “Thai-Cambodia ties expected to be improved after Thaksin's resignation”, Xinhua (24 August 2010) 776 “Cambodia, Thailand to resume diplomatic relations”, Xinhua (23 August 2010) 777 “Cambodia, Thai resume diplomatic ties helpful to relation improvement: official”, Xinhua (24 August 2010) 778 “Border dispute with Cambodia to bring social unification or division in Thailand?”, Xinhua (20 August 2010) 201

การที่ทักษิณลาออกเปนเรื่องดีตอกัมพูชา

ในรายงาน“Thaksin's quit marks good start for Thai-Cambodia ties” นายวรศักดิ์ มหัทโนบลไดใหสัมภาษณกับสํานักขาวซินหัววา การที่ทักษิณลาออกเปนเรื่องดีตอกัมพูชา ถาหากกัมพูชาสามารถรักษาสัมพันธที่ดีกับไทย กัมพูชาจะไดประโยชนในระยะยาว เขาย้ําวาที่ ความสัมพันธระหวางสองประเทศเลวรายลงมาจากหลายสาเหตุ อันไดแก กรณีพิพาทชายแดน ดานพระวิหาร ตลอดจนการแตงตั้งทักษิณเปนที่ปรึกษาดานเศรษฐกิจ และลาสุดที่ทําให ความสัมพันธดิ่งลงเหว คือ การที่รัฐบาลอภิสิทธิ์คัดคานแผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหาร ของกัมพูชาที่เสนอตอคณะกรรมการมรดกโลกแบบหัวชนฝา นายวรศักดิ์ไดแนะนํากัมพูชาตอไปวา เนื่องจากยังมีพื้นที่ที่ชายแดนไทย-กัมพูชาอีกมากที่ยังมิไดมีการปกปนเขตแดน เชน ในเขตอาวไทย ซึ่งเชื่อกันวาเต็มไปดวยน้ํามันดิบและกาซธรรมชาติ จึงอยากใหรัฐบาลกัมพูชาไตรตรองดูวาจะ ตองการผลประโยชนระยะสั้นหรือระยะยาว และเสริมวาในอดีตไทย-กัมพูชาขาดการสื่อสารที่ดี ทําใหมีหลายประเด็นที่ถูกบิดเบือนโดยสื่อสารมวลชนจนกอใหเกิดการเขาใจผิดระหวางสอง ประเทศ นายวรศักดิ์ไดชมเชยวาเปนการดีที่ทั้งสองฝายจะเนนปรับปรุงชองทางการสื่อสารระหวาง กัน เพื่อที่จะไดขอมูลมูลที่ถูกตองในการตัดสินใจ ไมใชรับฟงจากขาวลือ หากปรับปรุงไดจะทําให การเจรจาทวิภาคีดําเนินไปดวยดี เขาย้ําวาการแกปญหากรณีพิพาทไทยกัมพูชานั้นทําไดยาก และไมอาจสําเร็จไดในรัฐบาลเดียว เนื่องจากมีปจจัยหลายปจจัย คูเจรจาอาจตองยอมโอนออน ผอนตามอีกฝายหนึ่งบาง อยาคิดแตผลประโยชนของตนแตเพี่ยงฝายเดียว สํานักขาวซินหัวยังได รายงานวา หลังจากทักษิณลาออก ไทยไดสงเจาหนาที่ระดับสูงสองคน หนึ่งในนั้นคือ นายองอาจ คลามไพบูลย รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีไดเดินทางไปกัมพูชาเพื่อเจรจาความรวมมือทวิ ภาคีในดานการคาและการสื่อสารคมนาคม ทั้งไทยและกัมพูชาตกลงจะทําโครงการสื่อสารและ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ตลอดจนการตอ ‘สายดวน’ (hotline) ระหวางนายองอาจ และรัฐมนตรี สื่อสารของกัมพูชา นอกจากนี้นายองอาจยังไดเขาพบนายฮุนเซ็นดวย สวนนายอภิสิทธิ์ไดวางแผน จะพบกับนายฮุนเซ็นที่นิวยอรกระหวางการประชุมสมัชชาใหญสหประชาชาติ และการประชุมสุด ยอดเอเชีย-ยุโรป (ASEM)ที่กรุง Brussels ดวย แตจะเนนเจรจาเรื่องการคาและการทองเที่ยว ไมใชเรื่องกรณีพิพาทชายแดนกับไทย 779

กลุมเสื้อเหลืองกดดันสมาชิกรัฐสภามิใหเห็นชอบรายงานการประชุม JBC

779 “Thaksin's quit marks good start for Thai-Cambodia ties”, Xinhua (8 September2010) 202

สํานักขาวซินหัวพาดหัวขาววา นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นเรียกรองรัฐสภาไทยใหพิจารณา เห็นชอบ ‘รายงานการประชุม 3 ฉบับ’ ที่ใหมีการตั้งคณะกรรมการรวมไทย-กัมพูชา เพื่อดูแลการ ถอนกําลังทหารออกจากบริเวณวัดแกวสิกขาคีรีสวราและปราสาทพระวิหาร ตลอดจนการทําลาย กับระเบิดในพื้นดินบริเวณนั้นโดยเร็ว ความลาชานี้เนื่องมาจากรัฐธรรมนูญไทยฉบับปค.ศ.2007 ไดระบุวา “ขอตกลงใดใดที่ทํากับตางประเทศตองนํามาผานการพิจารณาของรัฐสภาไทยกอนทุก ครั้ง” 780 อยางไรก็ตามโฆษกรัฐบาลไทย‘มีทาทีบายเบี่ยง’โดยระบุวา“จะไมมีการเจรจาปญหา พรมแดนไทย-กัมพูชาระหวางนายฮุนเซ็นและนายอภิสิทธิ์ ในการประชุมเอเชียยุโรป” 781 แตตอมา โฆษกรัฐบาลไทยก็อางวาอาจไดพบกันที่นิวยอรกเนื่องจากนายอภิสิทธิ์จะเดินทางไปประชุม สหประชาชาติที่กรุงนิวยอรกดวยตนเอง” 782 ตอมาสํานักขาวซินหัวรายงานวา “นายกรัฐมนตรีไทย และกัมพูชาไดมีโอกาส“พบกัน”แลว เปนเวลาประมาณ 30 นาทีที่นครนิวยอรก 783 และระหวาง การประชุมเอเชียยุโรปที่กรุงบรัสเซลสประเทศเบลเยี่ยมดวย 784 ซึ่งตรงกับนายฮุนเซ็นที่ตองการ หารือกับนายอภิสิทธิ์ที่กรุงบรัสเซลส ประเทศเบลเยี่ยมเพื่อ“เรงรัดรัฐสภาไทยในการใหสัตยาบัน ขอตกลงสองฉบับและการถอนทหาร”785 786 นาสนใจที่สํานักขาวซินหัวตั้งขอสังเกตวา นายกรัฐมนตรีไทยไดพยายามเบี่ยงเบนประเด็น และหนวงเหนี่ยวไมยอมเจรจาในประเด็นเรื่องการถอนทหารไทยออกจากกัมพูชา แตกลับเสนอ ประเด็นใหม คือ ประเด็นที่วาไทยไมเห็นดวยกับแผนการบริหารจัดการพื้นที่บริเวณปราสาทพระ วิหารของกัมพูชา 787 สํานักขาวซินหัววิเคราะหวา สาเหตุที่นายอภิสิทธิ์เปลี่ยนทาทีก็เนื่องมาจาก กลุมเสื้อเหลืองไดกดดันและขูวาจะประทวงรัฐบาลอีกโดยอางวา“กรอบของคณะกรรมาธิการเขต

780“Cambodian PM Hun Sen appeals Thai parliament to approve agreements”, Xinhua (1 September 2010) 781“No talks over Thai-Cambodian border issue during ASEM:Thai gov't spokesman”, Xinhua (2 September 2010) 782 “Thai PM to explain Thai situation at UN meeting”, Xinhua (22 September 2010) 783 “Thai, Cambodian PMs share view on mutual relations”, Xinhua (26 September 2010) 784 Thai, Cambodia PMs to discuss border issues in ASEM”, Xinhua (3 October 2010) 785 Thailand, Cambodia to hold border talk in Hanoi: Thai PM”, Xinhua (5 October 2010) 786 “Cambodian, Thai PM to meet for third time in Hanoi: official”, Xinhua (6 October 2010) 787 “Thai PM elaborates stand on disputed border with Cambodia”, Xinhua (21 October 2010) 203

แดนรวม (JBC)”นั้นจะทําใหประเทศไทยเสียผลประโยชน 788 ดังจะเห็นวา ในวันที่ 2 พฤศจิกายน กลุมเสื้อเหลืองจํานวนหลายพันคนไดมาชุมนุมที่รัฐสภาเพื่อกดดันสมาชิกรัฐสภามิใหเห็นชอบ “รายงานการประชุมสองฉบับของคณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (JBC)”ซึ่งจะเปน“แนวทางในการ กําหนดการปกปนพรมแดนไทยกับกัมพูชา” 789 ทั้งนี้นายสนธิ ลิ้มทองกุลขูวาจะทําการประทวงอีก ในวันที่ 11 ธันวาคม หากรัฐสภาไทยไมทําตามขอเรียกรอง 790 ทามกลางการกดดันของกลุมผู ประทวง ในที่สุด รัฐสภาไทยมีมติใหชลอการมีมติตั้งคณะทํางานรวมเพื่อพิจารณา‘รายงานการ ประชุมสองฉบับ’นี้ 791 จึงมีผลทําใหการเจรจาเรื่องพรมแดนตองชะงักงันลงอีกครั้ง

กัมพูชาพรอมจะเปดประตูปราสาทพระวิหารถามีการถอนทหาร

นายฮัง โสธ (Hang Soth) ผูอํานวยการของสํานักงานบริหารปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียร (The Preah Vihear National Authority) แถลงวา“อาจมีการเปดประตูเขาออกปราสาท”เนื่องจากทหาร ไทย 10 คนที่ประจําอยูที่บริเวณวัดแกวสิกขาคีรีสวาราใกลปราสาทพระวิหารไดถอนกําลังออกไป แลว (ตามขอตกลงที่ใหมีการถอนทหารออกไปฝายละ 10 นายจากบริเวณวัด โดยฝายไทยขอคง ทหารไว 5 นายแตไมมีอาวุธ ใหประจําอยูที่ใหประจําอยูที่สถานีตํารวจ 795 ซึ่งตั้งอยูใกลกับตลาด กัมพูชาบริเวณใกลปราสาท) และทหารไทยยังชวยกันถมกลบหลุมหลบภัย ฝายกัมพูชาจึงเห็นชอบ ในหลักการที่จะเปดประตูปราสาทพระวิหารตั้งแตวันที่ 5 ธันวาคม ตามคําขอของผูบังคับการทหาร ฝายไทย แตยังตกลงกันไมไดเรื่องจะใหผูคาชาวไทยเขามาขายของในตลาดใกลกับปราสาทพระ

788 “Thai ‘yellow shirts’ to rally against endorsement of Joint Boundary Committee’ reports”, Xinhua (31 October 2010) 789 “Thai nationalists rally at parliament”, Xinhua (2 Novembber 2010) 790 “Thai ‘yellow-shirt’ threatens more protests if parliament presses demarcation report”, Xinhua (2 Novembber 2010) 791 “Thai PM elaborates stand on disputed border with Cambodia”, Xinhua(21 Novembber 2010) 204

วิหารหรือไม 792 แตทวากระทรวงการตางประเทศของไทยกลับไมยืนยันวาจะมีการเปดจุดผาน แดนที่ปราสาทพระวิหารหรือไม โดยอางวากองทัพไทยยังไมไดประสานกับกองทัพกัมพูชาเรื่อง การถอนทหาร” 793 ซึ่งนายฮัง โสธยอมรับวาอาจตองรอไปอีกหนึ่งเดือน เนื่องจากยังตกลงกัน ไมไดเรื่อง“การแบงผลประโยชน” จากการเก็บเงินคาผานประตู และประเด็นที่วาจะอนุญาตใหผูคา ชาวไทยเขามาขายของในตลาดกัมพูชาใกลกับบริเวณปราสาทหรือไม 794 ดานพลเอกประวิตร วงษ สุวรรณ รัฐมนตรีกลาโหมก็ปฏิเสธวาจะยังไมมีการถอนทหารและเปดดานที่ปราสาทพระวิหารโดย อางวากัมพูชาไดเสริมกําลังทหารเขาไปอีก 795 ดานนายฮุนเซ็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชากลับมีทัศนะในทางบวกตามพาดหัวขาววา ขณะนี้ ปญหาพรมแดนระหวางกัมพูชาและไทยแกตกแลว เนื่องจากสถานการณไดกลับไปสูสภาวะปกติ มี การประชุมระดับผูนํา คือ นายกรัฐมนตรีกัมพูชาและไทยไปแลว 4 ครั้ง ที่พรมแดนมีการเขาออก แลกเปลี่ยนสินคากันสะดวกขึ้น แตย้ําวา“ประเด็นที่ยังไมไดทํามีเพียง 3 ประเด็น คือ ประเด็นรังวัด พรมแดน ประเด็นการกอบกูทําลายระเบิด และประเด็นที่ตองเปดจํานวนดานใหมากขึ้น” ยิ่งไปกวา นั้นนายฮุนเซ็นยังชื่นชมการจัดแสดงดนตรีเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายนที่อินดอรสเตเดียมหัวหมากใน กรุงเทพ ซึ่งมีการถายทอดสดทั้งทางโทรทัศนกัมพูชาและโทรทัศนชอง 3 ของไทยดวย นายฮุน เซ็นย้ําวา“ในอนาคตจะมีการจัดแสดงดนตรีเชนนี้ในกัมพูชาและถายทอดสดมายังประเทศไทย” 796 ตอมาในเดือนธันวาคม มีการจัดแสดงดนตรีเชนนี้อีกเปนครั้งที่สอง ที่หอจักโตมุก (Chaktomuk) ในกรุงกัมพูชา เพื่อเฉลิมฉลอง 60 ป ของความสัมพันธไทย-กัมพูชา โดยมีศิลปนนักรองชื่อดังจาก ทั้งสองประเทศมารวมงาน ตลอดจนมีการถายทอดสดทางโทรทัศนแหงชาติกัมพูชาและทีวีชอง 3 ของไทยดวย 797 นอกจากนี้ที่สถานทูตไทยในพนมเปญก็ไดมีงานเฉลิมฉลอง 60 ป ของ

792 “Preah Vihear temple border gate with Thailand likely to open on weekend”, Xinhua (30 Novembber 2010) 793 “Reopening of border crossing at Preah Vihear Temple not confirmed:Thai authorities”, Xinhua (30 Novembber 2010) 794 “Cambodia, Thai border gate opening delays for another month”, Xinhua (1 Decembber 2010) 795 “Cambodia, Thai border gate opening delays for another month”, Xinhua (1 Decembber 2010) 796 “Border problem between Cambodia, Thailand solved out: Cambodian PM”, Xinhua (6 Decembber 2010) 797 “Joint concert held to mark 60th anniversary of Cambodia-Thailand diplomatic ties”, Xinhua (18 Decembber 2010) 205

ความสัมพันธไทย-กัมพูชา โดยมีนายกษิต ภิรมยและนายฮอรนัมฮงมารวมงานดวย 798 ดานพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบกก็ไดเดินทางไปเยือนกัมพูชาเปนเวลาสองวัน และไดให คํามั่นกับนายฮุนเซ็นวา“จะไมยอมใหใครมาใชแผนดินไทยมาปฏิบัติการที่เปนปฏิปกษแก กัมพูชา”799 อยางไรก็ตามพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบกไทยยังยืนยันวา “จะไม มีการถอนทหารออกจากปราสาทพระวิหาร โดยอางวาเปนเรื่องของรัฐบาลที่จะมีอํานาจ ตัดสินใจ”800

คนไทย 7 คนถูกจับฐานเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย

กอนสิ้นป 2010 สํานักขาวซินหัวรายงานวา “นายพนิช วิกิตเศรษฐ พรอมกับพวกจํานวน 6 คน ไดถูกกัมพูชาจับไปเมื่อ 29 ธันวาคม ในขอหาเดินทางขามพรมแดนเขากัมพูชาโดยผิดกฎหมาย และรุกล้ําเขตทหารเขาไปในพื้นที่ทับซอนไทย-กัมพูชา” ทั้งนี้นายฮุนเซ็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชา ระบุตามพาดหัวขาววา“คนไทย 7 คนที่เขาเมืองโดยผิดกฎหมายนี้จะตองถูกดําเนินคดีในศาล กัมพูชา”801 ในวันรุงขึ้นทั้ง 7 คนไดถูกนําตัวมาที่ศาลเพื่อรับทราบขอกลาวหาเขาเมืองโดยผิด กฎหมายที่บริเวณจังหวัดบันเทียเชมย ในขณะที่คนกลุมนี้อางวา พวกเขาไปสํารวจหาแนวเสนเขต แดนไทย-กัมพูชา 802 ดานนายฮอรนัมฮงแถลงวา “กัมพูชาจะยังไมปลอยตัว 7 คนที่เขาเมืองโดยผิด กฎหมาย แตจะใหเปนไปตามคัลลองของศาลกัมพูชา” สวนนายกษิต ภิรมย ยอมรับวา “คนไทยทั้ง 7 คนไดขามพรมแดนลึกเขามาในแดนกัมพูชามากทีเดียว” 803 ดานนายอภิสิทธิ์ไดเรียกประชุมดวน เพื่อหาทางชวยเหลือคนไทยทั้ง 7 คนที่ไดเขาไปในพื้นที่ทับซอนใกลชายแดนไทย-กัมพูชาที่

798 “Cambodia, Thailand mark 60th anniversary of diplomatic ties”, Xinhua (19 Decembber 2010) 799 “Thai army chief visits Cambodia to seek better relationship between the two countries”, Xinhua (20 Decembber 2010) 800 “No troop withdrawal from Preah Vihear temple:Thai army chief ”, Xinhua (20 Decembber 2010) 801 “7 Thais illegally entering Cambodia to be brought to justice: Cambodian PM”, Xinhua (29 Decembber 2010) 802 “7 Thai trespassers be charged with illegal entry : court source ”, Xinhua (30 December 2010) 803 “No release of seven Thais illegally entering Cambodian territory: Cambodia”, Xinhua (30 December 2010) 206

หมูบานหนองจาน อําเภอโคกสูง จังหวัดสระแกว 804 ขณะเดียวกันนายอภิสิทธิ์ได“เรียกรองกัมพูชา ใหปลอยตัวคนไทยทั้ง 7 คนอยางไมมีเงื่อนไข เนื่องจากเปนพื้นที่ทับซอน จึงไมจําเปนที่ทางการ กัมพูชาจะตองสงคนไทยทั้ง 7 คนฟองศาล” อยางไรก็ตามนายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศไทยก็ออกมาแถลงหลังจากนั้นวา ไทยยอมรับกระบวนการตุลาการของ กัมพูชาและจะไมยอมใหคดีนี้มากระทบกระเทือนความสัมพันธของทั้งสองประเทศ 805

การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2011

ในการเสนอขาวในป 2011 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ซึ่งถือวาเปนหวงเวลาที่กรณีพิพาท ปราสาทพระวิหารอยูในจุดที่อันตรายที่สุด จะเห็นวาสํานักขาวซินหัวใหความสําคัญกับการรายงาน ขาวในชวงนี้อยางเต็มที่ มีการรายงานจํานวนถึง 295 ขาว ดังแสดงในตารางที่ 6.4

ตารางที่ 6.4 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2011

2011 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. มิ.ย. ธ.ค. จํานวน ปะทะ ปะทะ ปะทะ ขาว Xinhua 10 97 18 68 26 16 17 16 14 3 4 6 295

สถานการณเดนตลอดเดือนมกราคมของป2011 ก็คือ“การที่มีญาติจากประเทศไทยมาเยี่ยม. คนไทย 7 คนที่ถูกควบคุมตัวที่เรือนจําเปรซาร สํานักขาวซินหัวใหรายละเอียดดานบวกเกี่ยวกับ เรือนจําเปรซาร เชน “ผูถูกคุมขังไดรับการปฏิบัติอยางดี โดยทุกวันจะอนุญาตใหเจาหนาที่จาก สถานทูตไทยนําอาหารมาใหวันละสองครั้ง คือมื้อเชาและมื้อเย็น น้ําดื่มและน้ําอาบก็สะอาด ครบถวนตามหลักสุขอนามัย ตลอดจนหองขังก็อยูในสภาพดี สวนญาติก็ไดรับสิทธิ์มาเยี่ยม

804 “Thai PM holds urgent meeting over arrest of 7 Thais by Cambodia”, Xinhua (30 December 2010) 805 “7 Thais charged with illegal entry into Cambodia”, Xinhua (31 December 2010) 207

ตามปกติ”806 อยางไรก็ตามหลังจากที่มีการสอบสวนคนไทยทั้ง 7 คนเพิ่มเติมอีกเปนเวลากวา 12 ชั่วโมง ศาลกัมพูชายังคงยืนยันในขอหาเดิม 807 ในประเทศไทยหลังจากที่คนไทย 7 คนถูกกัมพูชาจับ ไดเกิดความขัดแยงขึ้นระหวาง นายกรัฐมนตรีไทยและกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยซึ่งเคยสนับสนุนรัฐบาลนี้มากอน ทั้งนี้กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไมพอใจที่นายอภิสิทธิ์อางวา“การที่ศาลกัมพูชา ตัดสินลงโทษ 7 คนไทยนั้นไมกระทบเขตแดนและไมทําใหไทยตองเสียดินแดน”และวา “นายพนิช วิกิตเศรษฐ นั้นถูกจับเพียงเพราะเดินทางเขาไปรับฟงขอเรียกรองของชาวบาน” 808 นอกจากนี้มี รายงานวากลุมเสื้อเหลืองจากไทย 3 คนไดขอเขาเยี่ยม.คนไทยทั้ง 7 คน คนไทย 3 คนนี้ ประกอบดวยนายการุญ ใสงาม อดีตสส. นายณัฐพล โตประยูร ทนายความและ มล.วัลยวิภา จรูญ โรจน จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร809 ทามกลางขาวลือวา“อดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณกําลังวิ่งเตน ขอใหปลอยตัวทั้ง 7 คน” นายฮุนเซ็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชาไดมีทาทีที่แข็งกราวขึ้นโดยปฏิเสธวา “ไมมีใครหนาไหนจะเขาไปแทรกแซงในคดีนี้ได”810

อภิสิทธิ์กดดันกัมพูชาใหยายปายหินและธงที่วัดแกวสิกขาคีรีสวารา

ในดานที่เกี่ยวกับความสัมพันธกับกัมพูชา นายอภิสิทธิ์ไดใชทาทีที่แข็งกราวขึ้นโดย ประกาศวา เขาไดกดดันกัมพูชาใหยายปายหินที่ตั้งอยูที่หนาวัดแกวสิกขาคีรีสวาราออกไป ปายหิน นี้มีขอความวา “นี่คือสถานที่ที่กองทหารไทยไดรุกรานเขามาในดินแดนกัมพูชาเมื่อ15 กรกฎาคม 2008 และไดถอนกําลังออกไปเมื่อเวลา 10:30 น.ของวันที่ 1 ธันวาคม 2010” ("Here! is the place

806 “Seven Thai detainees visited by family members at Cambodia's Prey Sar prison”, Xinhua (3 January 2011) 807 “No decision made on 7 detained Thaisaafter questions by Cambodian court”, Xinhua (6 January 2011) 808 “Cambodian court decision over 7 Thais not affect Thai territory:Thai PM”, Xinhua (7 January 2011) 809 Thai's 'Yellow Shirt' group arrives Cambodia for 7 detained Thais”, Xinhua (9 January 2011) 810 “No one can intervene in case of 7 detained Thais: Cambodian PM”, Xinhua (10 January 2011) 208

where Thai troops invaded Cambodian territory on July 15, 2008, and withdrew at 10:30am on December 1, 2010.") ปายนี้กัมพูชาไดติดตั้งเมื่อทหารไทยไดถอนทหารออกจากวัด แกวสิกขาคีรีสวารา ตอมาทางการไทยไดขอรองใหกัมพูชาถอดถอนปายนี้ออกไป ทางกัมพูชาจึง ไดยอมถอน และติดตั้งปายใหมที่มีขอความวา “ที่นี่คือกัมพูชา”("Here! is Cambodia.") ขึ้นแทน 811 ซึ่งแหลงขาวทางทหารระบุวา กรณีนี้แสดงวานายฮุนเซ็นไดยอมโอนออนผอนตามรัฐบาล อภิสิทธิ์ในระดับหนึ่ง 812 ในอีกสองวันตอมาสํานักขาวซินหัวรายงานวา“กัมพูชามีทาทีแข็งกราวขึ้นอีก”โดยออก แถลงการณตอบโตวา การที่นายกรัฐมนตรีไทยเรียกรองใหปลดธงชาติกัมพูชาลงจากยอดเสาที่วัด แกวสิกขาคีรีสวารานั้นเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นพรอมๆกับการซอมรบของทหารไทยใกลพรมแดน กัมพูชา กรณีเชนนี้กัมพูชาถือเปน‘การยั่วยุอยางชัดแจง’เพราะเปนการ‘สรางเงื่อนไขใหเกิดสงคราม’ ทั้งนี้กัมพูชาได “อางแผนที่ที่จัดทําโดยฝรั่งเศสและไทยในป1905 และ1908 ซึ่งแสดงวาวัดแกว สิกขาคีรีสวารานั้น ตั้งอยูในดินแดนของกัมพูชาอยางชัดเจน วัดนี้สรางโดยประชาชนกัมพูชาเมื่อป 1998 จึงตั้งอยูในดินแดนของกัมพูชา ดังนั้นธงชาติกัมพูชาก็มีสิทธิชอบธรรมเหนือดินแดน กัมพูชา” ดังนั้นกัมพูชาจึงจะไมปลดธงชาติกัมพูชาลงจากยอดเสาที่วัดแกวสิกขาคีรีสวารา ทั้งนี้ สํานักขาวซินหัวไดอางคําพูดของนายเรธ สิทธา (Reth Sitha) ผูชวยหัวหนาหนวยเสนาธิการของ หนวยองครักษของนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นและผูบัญชาการหนวยรถถังวา กัมพูชาไดทําการเสริม กําลังทหารที่ชายแดนแลว 813 แมวานายฮอรนัมฮงและนายกษิต ภิรมยมีแผนการจะประชุม. คณะกรรมาธิการรวมเพื่อความรวมมือระดับทวิภาคีครั้งที่ 7 ในวันที่ 3-4 กุมภาพันธที่เสียมเรียบ 814 แตการเผชิญหนาระหวางกองกําลังกัมพูชาและไทยบริเวณใกลปราสาทยังไมยุติ ทหารทั้งสองฝาย ตางอยูในสภาวะ “เตรียมพรอมขั้นสูงสุด” โดยกัมพูชากลาวหาไทยวา “ไดเสริมกําลังเพื่อตองการ จะมาปกธงไทยที่วัดแกวสิกขาคีรีสวรา” สวนฝายกัมพูชาไดเสริมกําลังดวยรถถังและจรวดเพื่อ ตอตานไทย 815

811 “Controversial sign removed by Cambodia already: Thai PM”, Xinhua (26 January 2011) 812 “Tense between Cambodia and Thai troops eased, military sources”, Xinhua (26 January 2011) 813 “Cambodia rejects Thai PM's demand to remove flag at pagoda”, Xinhua (28 January 2011) 814 “Cambodia, Thai foreign ministers to meet next week on cooperation”, Xinhua (28 January 2011) 815 “Military confrontation between Cambodia, Thai near temple continues”, Xinhua 209

ในเดือนกุมภาพันธกระทรวงการตางประเทศไทยไดออกแถลงการณ “ประทวงและ เรียกรองใหกัมพูชาปลดธง” ที่ตั้งไวที่วัดแกวสิกขาคีรีสวาราลงโดยระบุวา “วัดนี้ตั้งอยูในดินแดน ไทย” นาสังเกตวา ประเด็นที่ขัดแยงกันระหวางกัมพูชาและไทยขณะนั้น คือ “โตเถียงกันเรื่องวัด และธง” 816 ในเรื่องนี้สํานักขาวซินหัวใชขอมูลจากกัมพูชาที่อางวา “วัดนี้ตั้งอยูในดินแดนกัมพูชา มาตั้งแตป1998” แตที่เปนประเด็นก็คือ “ที่ผานมาฝายไทยไมเคยโตแยงหรือประทวง จึงมีคําถาม วาเหตุใดไทยจึงมาเรียกรองใหชักธงกัมพูชาลงจากยอดเสาในตอนนี้” สํานักขาวซินหัวรายงานวา “สถานการณตึงเครียดจนทําใหตองมีการเสริมการรักษาความปลอดภัยที่สถานทูตกัมพูชาในไทย” 817 แตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาและไทยไดใหคํามั่นสัญญาตอกันวา “จะ หลีกเลี่ยงการปะทะที่ชายแดนและผลักดันใหมีความรวมมือระดับทวิภาคีมากขึ้น” 818

การปะทะวันที่ 4-7 กุมภาพันธ 2011

ทามกลางสถานการณตึงเครียดอันมีสาเหตุมาจากเรื่องธงที่วัดแกวสิกขาคีรีสวรา จนทั้ง ไทย-กัมพูชามีการเสริมกําลังที่ชายแดน ดังมีรายงานวาไดเกิด “การปะทะกันที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ในเวลาประมาณ 15.00 น.ของวันที่ 4 กุมภาพันธ 2011 มีผลใหทหารไทยบาดเจ็บ 5 นาย และ ชาวบานไทยตาย 1 คน” ทางการไทยระบุวา“อาจเกิดจากความเขาใจผิด” นาสังเกตวาการปะทะกัน ครั้งนี้เกิดขึ้นในชวงเวลาที่นายกษิต ภิรมยกําลังอยูระหวางการประชุมรวมกับนายฮอรนัมฮงที่ กัมพูชา 819 ในการนี้พันโทสรรเสริญ แกวกําเนิดโฆษกกองทัพบกไทยยืนยันวา“การปะทะเกิดขึ้น อยางไมตั้งใจ เนื่องจากฝายกัมพูชายอมรับวาไดทําปนใหญระเบิดขึ้นที่บริเวณภูมะเชือ(Phu Makhua mountain)820 ใกลกับที่ตั้งของทหารไทย ฝายไทยจึงยิงโตตอบ”821

(29 January 2011) 816 “Cambodia, Thai argue over diplomatic notes on pagoda and flag”, Xinhua (1 February 2011) 817 “Security stepped up at Cambodian embassy in Thailand”, Xinhua (1 February 2011) 818 Cambodia,Thai FMs pledge to avoid border clashes, push more bilateral cooperation”, Xinhua (4 February 2011) 819 Clashes break out on Thai-Cambodian border”, Xinhua (4 February 2011) 820 ภูมะเขือ (Phu Makhua mountain) หรือ พนมทรับ(Phnom Trap) หรือ พนมโตรป (Phnom Troap) 210

ตอมาในเวลา 20.32 น.นายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กัมพูชา ระบุวา กัมพูชาจะฟององคการสหประชาชาติวา‘ไทยเปนฝายรุกราน’โดยระบุวา มีทหารไทยกวา 300 นายบุกรุกเขามาในบริเวณ ‘รังผึ้ง’ (the Beehive area) ซึ่งหางจากบันไดขั้นที่ 1 ของปราสาท พระวิหารไปราวๆ 500 เมตรและอางวาไทยไดยิงระเบิดขนาด 105 mm และขนาด130 mm ตลอดจนขนาด 150 mm. เขามาในดินแดนกัมพูชาลึกประมาณ 18-20 กม. ทั้งนี้กัมพูชาไดจับคน ไทยไป 4 คน สํานักขาวซินหัวอางแหลงขาวที่เชื่อถือไดวา การปะทะกันดําเนินไปนานกวา 3 ชั่วโมง 822 ในเวลา 22.30 น.ของวันเดียวกัน นายกษิต ก็ไดตอบโตกัมพูชาวา ไมควรมีฝายที่สามเขา มาเกี่ยวของในเหตุการณปะทะระหวางไทย-กัมพูชาโดยเขาระบุวาเขาไดพยายามอยางถึงที่สุดแลวที่ จะติดตอทั้งฝายทหารไทยและกัมพูชาเพื่อใหยุติการปะทะ823 ในดานการบาดเจ็บลมตายในการ ปะทะวันแรกนี้ สํานักขาวซินหัวอางแหลงขาวเจาหนาที่กัมพูชาที่ระบุวา ทหารกัมพูชาตาย 1 บาดเจ็บ 4 ระหวางการปะทะกันที่ชายแดน 824 ในวันตอมาสถานการณเลวรายลงอีกเมื่อกองกําลังกัมพูชาและไทยยิงอาวุธใสกันอีกเปน ครั้งที่สองบริเวณ ‘รังผึ้ง’ใกลปราสาทเพรี๊ยะวิเฮียร เมื่อเวลา 6:15 น.นานกวาหนึ่งชั่วโมง มีการใช อาวุธหนัก ทั้งจรวด ปนกลและระเบิด 825 ทั้งนี้กัมพูชาอางวา จับทหารไทยไปอีกหนึ่งนาย รวมเปน 5 นาย” แตสํานักขาวซินหัว“ไมระบุวาใครเปนฝายเปดฉากยิงกอน” 826 อยางไรก็ตามสํานักขาวซิน หัวไดอางพันเอกสรรเสริญ แกวกําเนิด โฆษกกองทัพบกไทยที่ระบุวา ทหารไทยตาย 1 บาดเจ็บ 12 ในการปะทะระหวางเวลา 06.15-06.40 น.ที่ชายแดนใกลกับอําเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร 827

821 “Thai gov’t to try to avoid border clash from upgrading : Thai military spokesman”, Xinhua(4 February 2011) 822 “Cambodia to sue to UN over "Thai invasion": foreign minister”, Xinhua (4 February 2011) 823 “No intervention from third party in Cambodian-Thai border dispute: Thai FM”, Xinhua (4 February 2011) 824 “Cambodian soldier killed, 4 wounded in border clash: official”, Xinhua (5 February 2011) 825 “Cambodian, Thai troops exchange fire again near Preah Vihear temple”, Xinhua (5 February 2011) 826 “Thai, Cambodian troops exchange fire again”, Xinhua (5 February 2011) 827 “One Thai soldier killed, 12 injured in Thai-Cambodian border clashes”, Xinhua (5 February 2011) 211

ในเวลา 10.40 น.มีรายงานวา มีการหารือระหวางผูบัญชาการทหารของทั้งสองฝาย828 สํานักขาว ซินหัวระบุวา การปะทะครั้งที่สองนี้เกิดขึ้นเพราะทหารไทยไดกลับเขามาในบริเวณปะทะอีกครั้ง เพื่อเก็บศพของผูเสียชีวิต 829 ในการนี้กัมพูชาไดทําหนังสือรองเรียนไปยังประธานคณะมนตรี ความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) กลาวหาไทยวารุกรานและทําความเสียหายตอตัว ปราสาทพระวิหาร ทั้งยังไดสงสําเนาหนังสือฉบับนี้ไปใหสมาชิกทุกประเทศของ UNSC 830 กรณีการปะทะกันในสองวันแรกนี้ไดเปน ‘ขาวใหญไปทั่วโลก’ ดังจะเห็นวาสํานักขาว ซินหัวไดรายงานวา มีปฏิกิริยาจากสหรัฐ(US) คณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) ตลอดจนเลขาธิการองคการสหประชาชาติ(UN) และประธานอาเซียน(ASEAN) ทําให นายกษิต ภิรมยไดเปลี่ยนทาทีมาโอนออนผอนตามกระแสสากล อาทิเชน นายฟลลิป โครลี่ (Philip Crowley)โฆษกกระทรวงการตางประเทศสหรัฐแถลง เรียกรองใหทั้งกัมพูชาและไทยใชความยับยั้ง ชั่งใจขั้นสูงสุดในกรณีพิพาทไทย-กัมพูชา 831 ในรายงานของ The Nation on-line นายสุรินทร พิศ สุวรรณ เลขาธิการอาเซียนได สงจดหมายดวนถึงคูกรณีทั้งสองฝายและเรียกรองใหเจรจากัน เนื่องจากจะสงผลเสียหายตอฟนฟูเศรษฐกิจ การการทองเที่ยวและการลงทุน 832 ดานผูบัญชาการ ทหารทั้งสองฝายไดพยายามเจรจากันจนมีผลใหปลอยตัวไทย 4 คนและบรรลุขอตกลง 3 ขอ 833 และในที่สุดไดมีการไดตกลงหยุดยิงกันระหวางพลโทธวัชชัย สมุทรสาคร แมทัพภาคที่สองของ ไทย และพลเอกเจียมอน แมทัพภาคที่ 4 ของกัมพูชา 834 ผลจากการปะทะครั้งนี้ ทีวีชอง 9 อสมท.ของไทยรายงานวาทําใหชาวบานไทยกวาหนึ่ง หมื่นคนที่อาศัยอยูใกลชายแดนตองอพยบหนีภัย 835 และสองวันตอมาชาวบานเหลานี้ก็ไดรับ

828 “Cambodian, Thai military commanders meet to find way to end clashes”, Xinhua (5 February 2011) 829 “Thai army officers to meet Cambodians to stop clashes”, Xinhua (5 February 2011) 830 “Cambodia sends letter to UN Secretary Council on border clash”, Xinhua (5 February 2011) 831 “U.S. urges maximum restraint in Thailand-Cambodia border conflict”, Xinhua (5 February 2011) 832“ASEAN to mediate into remove its flag on Thai-Cambodian row”, Xinhua (5 February 2011) 833 “Thai military talks result in 4 Thai soldiers released, three agreements”, Xinhua (5 February 2011) 834 “Thailand, Cambodia reach ceasefire agreement”, Xinhua (5 February 2011) 835 “Nearly 10 thousands of Thai villagers at Thai-Cambodian border evacuated”, Xinhua 212

อนุญาตใหอพยบกลับไปยังบานเดิมของตนได 836 ดานนายอภิสิทธิ์ไดแถลงวา การปะทะครั้งนี้ เกิดขึ้นเพราะฝายไทยตองตอบโตเมื่ออธิปไตยของไทยถูกคุกคาม 837 เขาย้ําวา เราไดเตือน คณะกรรมการมรดกโลกแลววา ขอใหยุติการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก 838 สํานักขาวซินหัวไดใหความสําคัญกับสถานการณในชวงคับขันนี้ ดังจะเห็นจากรายงานวา มีการหารือกันเปนครั้งที่สองระหวางพลโทธวัชชัย สมุทรสาคร แมทัพภาคที่สองของไทย และพล เอกเสรย เดิก (Srey Dek) แมทัพภาคที่ 3 ของกัมพูชาเพื่อหาทางปองกันการปะทะ 839 แตทวา เหตุการณพลิกผัน จนเกิดมีการปะทะกันอีกเปนครั้งที่สามในวันที่ 6 กุมภาพันธ เวลา 16.30 น. ดัง จะเห็นวาในวันที่ 7 กุมภาพันธเพียงวันเดียว สํานักขาวซินหัวไดติดตามสถานการณอยางใกลชิด โดยไดจัดทํารายงานขาวถึง 15 ขาว เริ่มตั้งแตเวลา 9.09 น.จนถึงเวลา 23.26 น. 840 การปะทะครั้งนี้ ทําใหมีการปดดานศุลกากรที่ชองจอม จังหวัดสุรินทร 841 โดยนายฮุนเซ็นกลาวหาวา ไทยไดขยาย ขอบเขตการปะทะและยกระดับใหเปนสงครามยอยๆเนื่องจากไทยตองการยึดครองพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางก.ม. เขายืนยันวา กัมพูชาจะไมยอมปลดธงกัมพูชาลงจากวัดแกวสิกขาคีรีสวรา 842 สวนกัมพูชาไดใชกรณีการปะทะนี้ทําการรณรงคการทูตเชิงรุกเพื่อเรียกรองความเห็นใจใน เวทีโลกโดยสํานักขาวซินหัวไดรายงานวา นายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กัมพูชาไดสงหนังสือถึงประธานคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ(UNSC) เพื่อ ขอใหเขามาแทรกแซงในเหตุการณการปะทะที่ชายแดน843 นอกจากนี้กัมพูชายังเรียกรอง

(5 February 2011) 836 “Cambodia, Thailand commanders pledge to avoid further clash and send evacuees back home”, Xinhua (6 February 2011) 837 “Thai PM: troops protect country’s sovereignty”, Xinhua (5 February 2011) 838 “Thai PM: soldiers fire back at Cambodians to protect sovereignty”, Xinhua (6 February 2011) 839 “Combodian, Thai military commanders meet for second talks over border dispute”, Xinhua (6 February 2011) 840 “3rdmilitary clash breaks out between Cambodian, Thai troops”, Xinhua (7 February 2011) 841 “Customs checkpoint along Thai-Cambodian border closed due to clashes”, Xinhua (7 February 2011) 842 “Cambodia not to remove its flag on pagoda: Cambodian PM”, Xinhua (7 February 2011) 843 Cambodian PM calls UNSC to intervene in border dispute with Thaland”, Xinhua (7 February 2011) 213

องคการสหประชาชาติ(UN) “ใหสงกองกําลังเขามาในพื้นที่กันชน” เพื่อปองกันมิใหมีการปะทะ ระหวางไทย-กัมพูชา 844 อยางไรก็ตามเลขาธิการองคการสหประชาชาติ “มิไดตอบสนองขอ เรียกรอง” ของกัมพูชาที่จะใหสงกองกําลังสหประชาชาติเขามาเพียงแตออกแถลงการณ“ขอให กัมพูชาและไทยยุติการเปนปฏิปกษตอกันและใหยับยั้งชั่งใจขั้นสูงสุดเทานั้น”845 ดานนายสุรินทร พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียนก็เรียกรองใหทั้งสองฝายกลับไปสูโตะเจรจา โดยสมาชิกอาเซียนจะ รวมกันสนับสนุน 846 นอกจากนี้ประธานาธิบดีอินโดนีเซียในฐานะประธานอาเซียนไดเรียกรองให ยุติความรุนแรง ทั้งนี้รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอินโดนีเซียจะเดินทางไปยังกัมพูชา และไทย 847 สํานักขาวซินหัวรายงานวากัมพูชาไดเดินหนารุกทางการทูตตอไปโดยนายฮอรนัมฮง ไดเดินสายพบปะกับเอกอัครราชทูตประเทศที่เปนทั้งสมาชิกถาวรของ คณะมนตรีความมั่นคงของ องคการสหประชาชาติ(UNSC) อาทิ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และ สมาชิกไมถาวร เชน เยอรมันนีและอินเดีย ตลอดจนไดพบกับเอกอัครราชทูต และผูชวยทูตทหารอีก 14 ประเทศ 848 นอกจากนี้นายฮุนเซ็นยังไดเปดเผยวา “กัมพูชาจับทหารไทยไดหนึ่งคน แต ทางการไทยปฏิเสธวาไมมีทหารไทยถูกจับ”849 ในสวนของรัฐบาลอภิสิทธิ์ยังคงยืนกรานวา ไทยไมไดเปนฝายจุดชนวนใหเกิดการปะทะ แตการปะทะครั้งนี้เกิดจากความเขาใจผิดของทหารทั้งสองฝาย ทั้งยืนยันวาจะใชกลไกทวิภาคีใน การแกปญหากับกัมพูชาเทานั้น 850 โดยนายสุเทพเรียกรองขอเจรจาสงบศึกกับกัมพูชา 851 ดานนาย จุลินทร ลักษณวิศิษณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขไดรายงานการปะทะกันทั้งสามวันนี้วา

844 “Cambodia to ask UN to deploy forces in ‘buffer zone’”, Xinhua (7 February 2011) 845 “UN chief calls for end to hostilities, maximum restraint between Cambodia, Thailand”, Xinhua (7 February 2011) 846 “ASEAN urges Thailand, Cambodia to return to negotiation”, Xinhua (7 February 2011) 847 “Indonesia calls for Thailand, Cambodia to refrain from violence”, Xinhua (7 February 2011) 848 “Cambodia FM informs foreign diplomats about Thai invasions into Cambodia”, Xinhua (7 February 2011) 849 “Cambodia arrests Thai soldier in clash, but denied by Thailand”, Xinhua (7 February 2011) 850 “Thailand insists on not being the party starting crossfire with Cambodia”, Xinhua (7 February 2011) 851 “Thai gov’t wants peace talk with Cambodia : Deputy PM Suthep”, Xinhua (7 February 2011) 214

มีคนไทยตาย 2 คนและบาดเจ็บ 34 คน 852 ในขณะที่ผูวาราชการจังหวัดศรีสะเกษไดสั่งการใหมี การอพยบชาวบาน 15,654 คนออกจากพื้นที่เขามาอยูในศูนยผูอพยบ 40 ศูนย 853 สวนกัมพูชาได สงตัวทหารไทยที่ถูกจับไปคืนใหแกไทยแลว854 ในวันรุงขึ้นเอกอัครขาราชทูตบราซิลประจําสหประชาชาติซึ่งทําหนาที่ประธานคณะมนตรี ความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) ไดออกแถลงการณระบุวา ไดรับจดหมายรองเรียน จากทั้งกัมพูชาและไทยแลวดวยความหวงใย จึงไดทําการสงสําเนาใหแกสมาชิกUNSC ทั้ง 15 ประเทศแลว และขอเรียกรองใหทั้งไทยและกัมพูชา แกปญหาดวยสันติวิธี โดยกําหนดที่จะจัด ประชุมเพื่อพิจารณาเรื่องนี้ในวันที่ 14 ก.พ. 855 ทั้งนี้รัฐบาลบราซิลไดแสดงความหวงใยเกี่ยวกับ การปะทะครั้งนี้ดวย 856 ที่นาสนใจคือ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศฝรั่งเศสไดเสนอตัว เขาเปนตัวกลางเจรจาไกลเกลี่ย แตถูกนายอภิสิทธิ์ปฏิเสธโดยตอบโตวา หากฝรั่งเศสตองการจะ ชวยแกปญหานี้ ก็ขอใหฝรั่งเศสไปชวยเจรจาหามยูเนสโกใหยกเลิกการขึ้นทะเบียนปราสาทพระ วิหารแทน 857 สํานักขาวซินหัวไดแสดงความหวงใยวาการปะทะครั้งนี้คอนขางรุนแรง และดู เหมือนวาไมเห็นหนทางที่จะมีสันติภาพไดในเร็ววัน 858 ดานประเทศญี่ปุนก็แสดงความวิตกกังวล เกี่ยวกับการปะทะกันระหวางวันที่ 4-7 กุมภาพันธ ทั้งนี้ญี่ปุนไดเคยใหความชวยเหลือกัมพูชาใน การสรางสะพาน 859 สํานักขาวซินหัวอางหนังสือพิมพบางกอกโพสตวา รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ไดออกแถลงการณ ‘เตือนยูเนสโก’วา ไมควรเดินหนาอนุมัติแผนการจัดการปราสาทที่เสนอโดยกัมพูชา เนื่องจากการ

852 “2 Thais killed, 34 injured in border clashes: Thai Health Minister”, Xinhua (7 February 2011) 853 About 16,654 people vacuated after Thai-Cambodian border clash”, Xinhua (8 February 2011) 854 “Cambodia gives one Thai soldier captured in clash back to Thailand”, Xinhua (8 February 2011) 855 UN Security Council voices ‘grave concern’ at armed clashes between Cambodia, Thailand”, Xinhua (8 February 2011) 856 “Brazil voices concern over Thailand-Cambodia border”, Xinhua (8 February 2011) 857 “Thai PM rejects France’s mediation offer”, Xinhua (10 February 2011) 858 “Cambodian, Thai border rift sees no immediate settlement”, Xinhua (10 February 2011) 859 “Japan concerns over Cambodia-Thailand border clashes : official”, Xinhua (11 February 2011) 215

ปกปนเขตแดนตาม MOU ที่ลงนามโดยทั้งสองชาติในป 2000 นั้นยังไมแลวเสร็จ และการประชุม JCB ในระดับทวิภาคีก็กําลังประชุมกันอยู 860 เรื่องนี้ฝายกัมพูชาไดออกแถลงการณตอบโตนาย อภิสิทธิ์วา “ใหขอมูลที่เปนเท็จ”จากการที่เสนอยูเนสโกวา หากมีการยกเลิกการขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารแลว สถานการณจะดีขึ้นแนนอน แตกัมพูชาตอบโตวา ที่เกิดการปะทะ ก็เพราะไทย ตางหากที่เปนฝายตองการดินแดนของกัมพูชา 861 สํานักขาวซินหัวรายงานวา ประธานคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) ไดจัดใหมีการประชุมลับในวันที่ 14 กุมภาพันธ หลังการประชุมประธานได“เรียกรองให ไทยและกัมพูชาอดกลั้นอยางถึงที่สุด และใหหยุดยิงอยางถาวร” และย้ําวา “จะสนับสนุนบทบาท ของอาเซียนในการชวยคลี่คลายปญหานี้ เนื่องจากจะมีการประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศอาเซียนในวันที่ 22 ก.พ.ที่จะถึงนี้”862 นายฮอรนัมฮงไดออกมายืนยันวา “แมวา สถานการณที่ชายแดนจะเปราะบาง แตกัมพูชาจะพยายามอยางถึงที่สุดที่จะไมใหมีการปะทะ”863 สวนนายกษิต ภิรมยก็แถลงวาไทยไมมีเหตุที่จะตองสูรบกับกัมพูชาไทยมีแตตองการเห็นกัมพูชา พัฒนาและเจริญรุงเรือง864 และวาไทยนั้นพรอมที่จะหยุดยิงและหาทางออกโดยสันติวิธี 865

การปะทะวันที่ 15 กุมภาพันธ 2011

สํานักขาวซินหัวรายงานวา ทั้งๆที่คณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติกําลัง ประชุมกันในวันที่ 14 กุมภาพันธเพื่อพยายามยุติกรณีพิพาทไทย-กัมพูชา แตก็เกิดมีการปะทะกันอีก ในวันที่ 15 กุมภาพันธ มีผลใหทหารไทยบาดเจ็บ 5 นาย ทั้งนี้พลโทธวัชชัย สมุทรสาครระบุวา

860 “Thai PM : UNESCO shall not proceed with Cambodia’s temple plan”, Xinhua (13 February 2011)- 861 “Cambodia rejects Thai PM’s statement on Preah Vihear”, Xinhua (14 February 2011) 862 “Security Council urged Cambodia, Thailand to establish permanent cease-fire”, Xinhua (15 February 2011) 863 Cambodia hopes to avoid ‘any large military clash’ with Thailand”, Xinhua (15 February 2011) 864 There is no reason to continue border clash with Cambodia : Thai FM”, Xinhua (15 February 2011) 865 :Thailand ready for ceasefire, peaceful solution for border dispute”, Xinhua(15 February 2011) 216

ทหารกัมพูชาไดบุกเขามาโจมตีฐานที่มั่นของไทยที่ภูมะเขือจึงเกิดการปะทะกันขึ้น 866 อยางไรก็ ตามตอมาโฆษกกองทัพบกก็ออกมาแกขาววามีทหารไทยบาดเจ็บเพียง 1 นายเทานั้น 867 ดาน กัมพูชาก็ออกโรงกลาวหาไทยวาเปนฝายละเมิดคําแนะนําของคณะมนตรีความมั่นคงขององคการ สหประชาชาติโดยไทยเปนฝายโจมตีกัมพูชากอน868 ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดพาดหัวขาววา มีการ ปะทะกันอีก โดยทั้งไทยและกัมพูชาตางเปนฝายกลาวหากันไปมา 869 หนึ่งวันหลังการปะทะ มีความเคลื่อนไหวจากหลายฝาย มีอาทิ สส.พรรคประชาธิปตย และพรรครวมรัฐบาลจํานวน 120 คน นําโดยนายอรรถพร พลบุตรไดยื่นหนังสือถึงประธานรัฐสภา เพื่อสงจดหมายตอไปยังยูเนสโกคัดคานการที่กัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก 870 ดานกัมพูชาไดเรียกรองใหอาเซียนสงผูสังเกตุการณอินโดนีเซียเขามายังพื้นที่ 871 ดานโฆษก กระทรวงการตางประเทศไทยยังคงมีทาทีแข็งกราวโดยไดแจงกับสํานักขาวซินหัววา ไทยได ปฏิเสธขอเสนอ 4 ขอของกัมพูชาที่จะใหลงนามในขอตกลงหยุดยิง เนื่องจากไทยเห็นวาไมจําเปนที่ จะตองมีผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซีย 872 ในขณะที่นายสุวิทย คุณกิตติไดแถลงหลังจากประชุม กับยูเนสโกวา ยูเนสโกมีความเขาใจมากขึ้นวา การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของ กัมพูชานั้น เกิดปญหา เนื่องจากการปกปนพรมแดนระหวางไทยและกัมพูชายังไมแลวเสร็จ 873 สวนกองทัพไทยไดทําการรุกในทางสากลบางโดยไดเชิญทูตทหารจาก 14 ประเทศ ไปที่หมูบานภูมิ

866 “Five Thai soldiers injured infresh bordere clash”, Xinhua (15 February 2011) 867 “Thai army confirms one injury in fresh border clash”, Xinhua (15 February 2011) 868 “Cambodia, Thailand accuse each other of invading territories”, Xinhua (16 February 2011) 869 “Clashes along Thai-Cambodian border resume, both sides blame each other”, Xinhua (16 February 2011) 870 “120 Thai MPs oppose UNESCO listing of Preah Vihear temple”, Xinhua (16 February 2011) 871 “Cambodia to ask ASEAN to send observers to Cambodia-Thai disputed border area”, Xinhua (16 February 2011) 872 “Thai FM secretary dismisses Cambodia’s 4-point proposal”, Xinhua (17 February 2011) 873 “Talk with UNESCO show good sign : Thai minister”, Xinhua (17 February 2011) 217

สรอลในอําเภอกันทราลักษณ จังหวัดศรีสะเกษเพื่อสํารวจความเสียหายจากการปะทะเมื่อ 4-7. กุมภาพันธ 874

มติ UNSC ใหอาเซียนมีบทบาทไกลเกลี่ย

จากการที่คณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) ไดมีมติในการ ประชุมเมื่อ 14 กุมภาพันธ 2011 ใหอาเซียนมีหนาที่ในการคลี่คลายกรณีพิพาทระหวางไทย- กัมพูชา” มีผลใหที่ประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศที่อินโดนีเซียเมื่อ 22 กุมภาพันธ มีบรรยากาศคึกคักและทําให รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียนกระตือรือลนมากขึ้น ที่จะชวยกันหาทางออกตอกรณีพิพาทไทย-กัมพูชา 875 การประชุม3ครั้งนี้มีบรรยากาศที่ดีขึ้นโดย นายกษิต ภิรมยไดตกลงยินยอมที่จะใหอินโดนีเซียสงผูสังเกตุการณเขามาในบริเวณพิพาท 876 ดาน สํานักเลขาธิการอาเซียนยังไดออกแถลงการณ สรุปภารกิจที่อาเซียนไดรับมอบหมายจาก ประธาน คณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) และย้ําวา UNSC นั้นใหความไววางใจ และมีศรัทธาเชื่อมั่นในอาเซียน ดังนั้นที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียน จึงไดมีมติที่จะจัดประชุม คณะกรรมาธิการรวมชายแดน (JBC)ในประเทศที่สาม ซึ่งไมใชทั้งในประเทศไทยและกัมพูชา 877 สํานักขาวซินหัวไดตั้งขอสังเกตวา แตเดิมนั้นนายกษิต ภิรมย ยืนยันมาโดยตลอดวา ไทย ตองการจะเจรจาระดับทวิภาคีกับกัมพูชาเทานั้นและจะไมยอมใหอาเซียนเขามายุงเกี่ยว แตครั้งนี้ นายกษิตกลับ “เปลี่ยนทาที” มาเห็นดวยที่จะเชิญผูสังเกตการณจากอินโดนีเซียมาประจําการรวมกับ ทหารไทยที่ชายแดนไทย-กัมพูชา เพื่อจะไดเปนสักขีพยานวา ไทยนั้นเคารพมติใหหยุดยิง สวนนาย ฮอรนัมฮงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กัมพูชาก็ดําเนินการทูตเชิงรุกอีกโดยย้ําวา กัมพูชาจะขอรองใหไทยลงนามใน‘ขอตกลงหยุดยิงถาวร’ตอหนาประธานอาเซียน หรือ

874 “Military attaches from 14 countries visit Thai-Cambodia disputed border”, Xinhua (21 February 2011) 875 “ASEAN ministers to seek solution of Thailand-Cambodia dispute”, Xinhua (21 February 2011) 876 “Cambodian welcomes Thai intention to ask observers from Indonesia to border disputed area”, Xinhua (21 February 2011) 877 “ASEAN ministers meet for possible solution to Thai-Cambodian dispute”, Xinhua (21 February 2011) 218

ผูแทน 878 อยางไรก็ตามในวันรุงขึ้นนายฮุนเซ็นแถลงวาคงไมจําเปนแลว ที่ไทยตองลงนามใน ‘ขอตกลงหยุดยิงถาวร’ตอหนาประธานอาเซียนหรือผูแทน 879

อินโดนีเซียเตรียมสงผูสังเกตุการณมาดูแลการหยุดยิงที่ชายแดนไทย-กัมพูชา

ในวันเดียวกันสํานักขาวซินหัวก็ไดพาดหัวขาววา อินโดนีเซียจะสงผูสังเกตุการณมาดูแล การหยุดยิงที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ทั้งนี้นายมารตี นาทาเลกาวา (Marty Natalegawa) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอินโดนีเซียไดแถลงวา จํานวนผูสังเกตุการณจะไมเกิน 20 คน ประกอบดวยทั้งทหารและพลเรือน โดยในชั้นแรกผูสังเกตุการณกลุมนี้จะทําหนาที่เก็บขอมูล กอน 880 ในวันเดียวกัน นายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชา ไดระบุวา คณะผูสังเกตุการณ จากอินโดนีเซียจะมีจํานวน 30 คน และจากไทยและกัมพูชาฝายละ 15 คน 881 อยางไรก็ตามสํานักขาวซินหัวตั้งขอสังเกตวา การจะสงผูสังเกตุการณเขามาถือวาเปนชัยชนะ ทางการทูตของกัมพูชา แตคงจะไมสามารถยุติความขัดแยงระหวางไทย-กัมพูชาได 882 ดังจะเห็นวาในขณะที่อินโดนีเซียกําลังเตรียมการจะสงผูสังเกตุการณเขามา แตนายอภิสิทธิ์ นายกรัฐมนตรีไทยกลับแถลงวา ทหารไทยจะยังไมถอนกําลังออกมาจากพรมแดนไทย-กัมพูชา 883 ดานนายฮุนเซ็นไดเตือนทหารกัมพูชาที่ประจําอยูในแนวหนาใหเตรียมพรอมขั้นสูง และย้ํายั้งชั่งใจ

878 “Indonesian observers to make border situation better: Thai foreign ministry”, Xinhua (23 February 2011) 879 “Cambodia cancels plan to ask Thai to sign permanent ceasefire: PM”, Xinhua (22 February 2011) 880 “Indonesia to send observers to supervise Thai-Cambodian ceasefire”, Xinhua (23 February 2011) 881 “30 observers to be sent to Cambodia-Thai border dispute areas”, Xinhua (23 February 2011) 882 “Observers just to monitor ceasefir, not to end Cambodia-Thai border row”, Xinhua (23 February 2011) 883 “Thai PM: No troop withdrawal from Thai-Cambodian border”, Xinhua (23 February 2011) 219

ขั้นสูงสุด 884 และเรียกรองอินโดนีเซียใหเรงรัดการสง ผูสังเกตุการณมาประจําที่ชายแดนกัมพูชา โดยดวน แมวารัฐบาลไทยยังมีทาทีที่จะไมรับผูสังเกตุการณก็ตาม 885 นอกจากนี้นายฮุนเซ็นยัง เรียกรองอินโดนีเซีย ใหปฏิบัติหนาที่ผูสังเกตุการณตอไป แมวาจะหมดวาระในป 2011 เนื่องจาก กัมพูชาจะรับหนาที่เปนประธานของอาเซียนในป 2012 แตเนื่องจากกัมพูชาเปนคูพิพาทกับไทย จึงไมเหมาะสมที่กัมพูชาจะเปนทั้ง‘ผูเลน’และ‘กรรมการ’ 886 ในกัมพูชานางบุนรานี ภรรยานายฮุน เซ็นไดออกมาเรียกรองชาวกัมพูชา ที่ไดอพยบหนีภัยใหกลับบาน เนื่องจากผูสังเกตุการณจาก อินโดนีเซียกําลังจะเขามาดูแลการหยุดยิงแลว 887 มีรายงานวา รอยละ 90 ของจํานวนผูอพยบ ทั้งหมด 2,686 ครอบครัว ไดเดินทางกลับสูบานเดิมอยางปลอดภัยแลว แมวาจะยังมีขาววา อาจเกิด การปะทะอีกกอนที่ผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียจะเขามา 888

บทบาทผูแทนพิเศษของยูเนสโก

เนื่องจากหวงใยวาปราสาทพระวิหารจะไดรับความเสียหายจากการสูรบ ยูเนสโกได แตงตั้งนายโคอิชิ มัตสุอุระ (Koichiro Matsuura) อดีตผูอํานวยการใหญระหวางป 1999-2009 ให เปนผูแทนพิเศษของยูเนสโก ในกรณีปราสาทพระวิหาร ทั้งนี้นายมัตสุอุระจะเดินทางมาไทยและ กัมพูชา เพื่อหาหนทางจะคุม.ครองมิใหปราสาทพระวิหารไดรับความเสียหายจากอาวุธสงคราม 889

884 “Cambodian PM tells troops at border to be high alert and maximum restraints”, Xinhua (25 February 2011) 885 “Cambodian PM appeals ASEAN chair to send observers urgently to Cambodian border”, Xinhua (3 March 2011) 886 “Cambodia to ask Indonesia to continue to act as mediator in 2012: PM”, Xinhua (24 February 2011) 887 “Evacuees from Cambodia-Thai border urged to return home”, Xinhua (23 February 2011) 888 “Cambodian evacuees return home ahead of observers’ arrival”, Xinhua (25 February 2011) 889 “UNESCO names former director-general Koichiro Matsuura as special envoy on Preah Vihear”, Xinhua (12 February 2011) 220

ในการนี้นางอิรินา โบโกวา (Irina Bokova) ผูอํานวยการยูเนสโก แถลงตอมาวา นายโคอิชิ มัตสุ อุระ จะมาเยือนกรุงเทพและกรุงพนมเปญ เพื่อทําหนาที่ไกลเกลี่ย 890 โดยจะใชเวลาสามวัน ระหวาง 25 ก.พ.ถึง 1 มีนาคม 891 ในการนี้โฆษกกระทรวงการตางประเทศไทยไดออกมาแถลงวา การมาของนายโคอิชิ มัตสุอุระจะเปนประโยชนตอประเทศไทย 892 สํานักขาวซินหัวรายงานวา หลังการเดินทางมาไทยเพื่อหารือกับ นายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทย นายโคอิชิ มัตสุอุระ อดีตผูอํานวยการใหญยูเนสโก ไดยอมรับวา แผนบริหารจัดการปราสาทพระวิหารที่เสนอโดยกัมพูชานั้นยากที่จะเปนไปได 893 ซึ่งเรื่องนี้นายอภิสิทธิ์ไดตีความวา ยูเนสโกไมตองการใหกรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลกมาทําใหสถานการณเลวรายลงไปกวานี้ 894 หลังจากนั้นนายโคอิชิ มัตสุอุระได เดินทางถึงสนามบินพนมเปญเพื่อเยือนกัมพูชาเปนเวลาสามวัน 895 และไดเขาพบกับนายสก อัน รองนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้นายนายโคอิชิ มัตสุอุระไดแถลงวา หลังจากผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซีย เขามาในพื้นที่แลวยูเนสโกจะสงผูเชี่ยวชาญมาประเมินความเสียหายและบูรณะปราสาทพระวิหาร 896 นอกจากนี้นายนายโคอิชิ มัตสุอุระยังเปดเผยวา การที่จะใหยูเนสโกยกเลิกการขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารตามคําขอของนายอภิสิทธิ์นั้นเปนไปไมได เนื่องจากกระบานการขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกไดสิ้นสุดลงแลว กอนหนานี้หนังสือพิมพบางกอกโพสทรายงาน วา นายอภิสิทธิ์อางวานายโคอิชิ มัตสุอุระสนับสนุนจุดยืนของไทยที่จะใหเลื่อนการพิจารณาแผน

890 “UNESCO envoy to mediate on Preah Vihear temple in February”, Xinhua (23 February 2011) 891 “UNESCO envoy to make three-day visit to Cambodia”, Xinhua (24 February 2011) 892 “UNESCO envoy’s visit beneficial to Thailand”, Xinhua (25 February 2011) 893 “UNESCO admits management plan for Preah Vihear Temple difficult: Thai FM”, Xinhua (25 February 2011) 894 “Thai PM: UNESCO agrees not to let temple issue raise border tension”, Xinhua (27 February 2011) 895 “UNESCO special envoy arrives in Phnom Penh for talks on temple”, Xinhua (27 February 2011) 896 “UNESCO to send experts to evaluate, repair damaged temple: special envoy”, Xinhua (28 February 2011) 221

บริหารจัดการปราสาทไปกอน อยางไรก็ตามนายโคอิชิ มัตสุอุระย้ําวา“ยูเนสโกมิไดเขาขางใคร” 897 หลังจากสิ้นสุดภารกิจนายโคอิชิ มัตสุอุระไดสรุปวา การมาหารือกับผูนําไทยและกัมพูชาครั้งนี้ ประสบความสําเร็จ ไดผลเปนที่นาพอใจ898 เพราะไดพบและหารือกรณีปราสาทพระวิหารกับ นายกรัฐมนตรีของทั้งไทยและกัมพูชา 899 อยางไรก็ตามนายอภิสิทธิ์ไดออกมาตอบโตนายโคอิชิ มัตสุอุระวา ไทยไมเคยขอใหยูเนสโกยกเลิกการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก900 ทั้งนี้ยูเนสโกจะเชิญทั้งไทยและกัมพูชาไปหารือเพิ่มเติมที่สํานักงานใหญยูเนสโกที่กรุงปารีสใน วันที่ 25 พฤษภาคม เพื่อหามาตรการที่เปนรูปธรรมเพื่อยุติการสูรบและปกปองปราสาทพระ วิหาร901 หลังการปะทะในวันที่ 4-7 กุมภาพันธ 2011 รัฐบาลไทยก็ไดเชิญ ผูชวยทูตทหารชาติตางๆ ไปสํารวจสภาพชายแดนไทย-กัมพูชา 902 สวนฝายกัมพูชาก็ไดเชิญผูชวยทูตทหารจาก 12 ชาติ ไป สํารวจความเสียหายจากการปะทะที่ปราสาทพระวิหาร ทั้งนี้ผูชวยทูตทหารจาก 12 ชาติ ประกอบดวยสหรัฐ ฝรั่งเศส รัสเซีย จีน แคนาดา เมียนมาร ลาว เวียดนาม นิวซีแลนด มาเลยเซียและ ออสเตรเลีย ไดใชเวลาที่ปราสาทพระวิหารสองชั่วโมง 903 ซึ่งมีรายงานจากทางการกัมพูชาวา ใน เดือนกุมภาพันธนี้ไมมีนักทองเที่ยวมาเยือนปราสาทพระวิหารเลย แมแตคนเดียว อันเนื่องจากมีการ ปะทะระหวาง 4-7 ก.พ. 904

897 “De-listing of Preah Vihear temple is impossible: UNESCO special envoy”, Xinhua (28 February 2011) 898 “Mission on Preah Vihear temple concludes successfully: UNESCO special envoy”, Xinhua (1 March 2011) 899 “UNESCO envoy meets prime ministers of Thailand, Cambodia on temple”, Xinhua (3 March 2011) 900 “Thailand never asks UNESCO to delist temple as World Heritage”, Xinhua (3 March 2011) 901 “Cambodian, Thai authorities to talk about Preah Vihear at UNESCO”, Xinhua (12 March 2011) 902 “Cambodia takes military attaches of 12 countries to see damages of Preah Vihear temple”, Xinhua (3 March 2011) 903 “12 countries’ military attaches visit Preah Vihear temple”, Xinhua (4 March 2011) 904 “Cambodia’s Preah Vihear temple sees no tourists since recent deadly clashes”, Xinhua (2 March 2011) 222

ขัดแยงเรื่องการประชุมGBC และJBC

ในเดือนมีนาคม เริ่มมีเคาลางของความยุงยากอีกเมื่อโฆษกกระทรวงกลาโหมกัมพูชา แถลงตอบโตผูบัญชาการทหารบกไทยวา จะไมมีการจัดประชุม.คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC)ในเดือนมีนาคมตามที่ไทยขอเลื่อนเขามาจากที่ตกลงกันไวในเดือนเมษายน ทั้งนี้สํานัก ขาวซินหัวไดอางหนังสือพิมพบางกอกโพสต วากอนหนานี้พลเอกประวิตร วงษสุวรรณ รัฐมนตรี กลาโหมของไทยไดเชิญกัมพูชาใหมารวมประชุม GBC ครั้งที่ 8 และประชุม.คณะกรรมาธิการเขต แดนรวม (JBC) ในเดือนมีนาคมแทนที่จะเปนเดือนเมษายนตามที่ไดตกลงกับอาเซียน ทั้งนี้ฝาย ไทยอางวา ตองการหารือในระดับทวิภาคีเกี่ยวกับรายละเอียดของการเขามาของคณะผูสังเกตุ การณจากอินโดนีเซีย แตกัมพูชาปฏิเสธขอเสนอของไทยที่จะประชุมในเดือนมีนาคม โดยแจงวาจะ ไมยอมเจรจาระดับทวิภาคีกับไทย หากไมมีประธานอาเซียนเขารวม ทั้งนี้กัมพูชากลาวหาไทยวา พยายามหลบเลี่ยงไมใหคณะผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียเขามาเกี่ยวของ 905 ดาน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอินโดนีเซียมีทัศนะในดานบวกวา ไทยไดเห็นชอบใน หลักการของ ‘เงื่อนไขอางอิง’ (TOR) เกี่ยวกับการสงผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียแลว แตกําลัง พิจารณาในรายละเอียด สวนกัมพูชานั้นไดใหความเห็นชอบแลว 906 ดานนายธานี ทองภักดีโฆษกกระทรวงการตางประเทศไทยไดแถลงวา กัมพูชายังไมตอบ รับขอเสนอของไทยที่จะจัดประชุมคณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (JBC) ครั้งตอไปในวันที่ 7-8 มีนาคม โดยกัมพูชาอางวาจะขอรอฟงผลการพิจารณาใหสัตยาบันของรัฐสภาไทยเกี่ยวกับ ‘รายงานการประชุมของคณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (JBC) เสียกอน ทั้งนี้นายธานี ทองภักดีย้ํา วา การประชุมครั้งนี้ตองทําในระดับ ‘ทวิภาคี’ เทานั้น และไทยจะไมยอมใหเปนการประชุมระดับ ‘พหุภาคี’ตามขอเสนอของกัมพูชาโดยเด็ดขาด907 ดานนายฮุนเซ็นไดแถลงหลังจากไดรับจดหมาย เชิญประชุมจากอินโดนีเซียวา ขณะนี้อินโดนีเซียในฐานะประธานอาเซียนกําลังเตรียมการจะจัด

905 “No GBC talks with Thailand this month: Cambodian Defense Spokesman”, Xinhua (4 March 2011) 906 “Thailand principally agrees on observation TOR over dispute with Cambodia: minister”, Xinhua (4 March 2011) 907 “Cambodia waiting for Thai parliament’s endorsement before next boundary talks”, Xinhua (5 March 2011) 223

ประชุม คณะกรรมการทั่วไปชายแดน (GBC) และ คณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (JBC) ระหวาง ไทยและกัมพูชา ทั้งนี้นายฮุนเซ็นเสริมวา อินโดนีเซียจะเปนเจาภาพซึ่งจะทําหนาที่เปนเสมือน ‘กรรมการ’และจะบันทึกประเด็นที่ไทย-กัมพูชาเห็นชอบเพื่อนําไปปฏิบัติรวมกันตอไป 908 ทั้งนี้ อินโดนีเซียในฐานะประธานอาเซียนไดเสนอจะจัดประชุมในวันที่ 24 มีนาคม 909 ดานนายฮุนเซ็น ไดออกมาเรียกรองใหไทยเรงรัดการพิจารณาเห็นชอบ ‘เงื่อนไขอางอิง’ (Terms of References- TOR) เกี่ยวกับการสงผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซีย ตลอดจนใหไทยตอบรับที่จะเขาประชุมในวันที่ 24-25 มีนาคมตามคําเชิญของอินโดนีเซีย 910 แตกระทรวงการตางประเทศไทยไดออก แถลงการณระบุวา ไทยยังไมรับปากวาจะเขารวมการประชุมกับกัมพูชาตามขอเสนอของ อินโดนีเซียไดหรือไม เนื่องจากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือ กลุมเสื้อเหลืองได กดดันรัฐบาลอภิสิทธิ์และทําจดหมายประทวงการที่จะสงผูสังเกตุการณอินโดนีเซียเขามาในพื้นที่ พิพาท 911 ในทางตรงกันขาม นายฮุนเซ็นไดออกมาแถลงยืนยันวา กัมพูชาพรอมที่จะเขารวมการ ประชุมในวันที่ 24 มีนาคม ตามคําเชิญของประธานอาเซียนที่อินโดนีเซีย 912 อยางไรก็ตาม ยูเนสโกไดแถลงวาจะเชิญผูแทนไทยและกัมพูชามาประชุมที่กรุงปารีสในวันที่ 25 มีนาคมนี้ เพื่อ หารือในประเด็นที่นายโคอิชิโร มัตสุอุระไดทําการสรุปจากการไปเยือนไทยและกัมพูชา 913 ดังนั้น อินโดนีเซียจึงไดขอเลื่อนประชุมเปน 7-8 เมษายน ซึ่งโฆษกรัฐบาลกัมพูชา ก็แถลงวา กัมพูชายินดี จะเขาประชุมทั้งสองประชุม คือ คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) และคณะกรรมการ

908 “ASEAN chair to set up meetings for Cambodian-Thai border dispute”, Xinhua (5 March 2011) 909 “ASEAN chair proposes Cambodia-Thai border meeting on March 24”, Xinhua (8 March 2011) 910 “Cambodian PM urges Thai PM to respond to ASEAN proposals”, Xinhua (10 March 2011) 911 “Thailand non-committal to joining proposal border meeting with Cambodia: FM”, Xinhua (10 March 2011) 912 “Cambodia ready to join ASEAN-proposed meetings on border conflict with Thailand: PM”, Xinhua (14 March 2011) 913 “Cambodian, Thai authorities to talk about Preah Vihear at UNESCO”, Xinhua (12 March 2011) 224

ชายแดนรวม (JBC) ในวันที่ 24 มีนาคม เพื่อที่จะไดรวมปรึกษาหารือกันกับฝายไทย เพื่อปรับ แนวคิดใหเขาหากันกอนที่คณะผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียจะเขามา 914 สํานักขาวซินหัวไดอางรายงานจากหนังสือพิมพบางกอกโพสตวาฝายทหารไทยโดยผู บัญชาการทหารบก.พ.ลเอกประยุทธ จันทรโอชาก็ไดตอบโตดวยการ“ปฏิเสธ”ไมยอมเดินทางไป รวมประชุม.ครั้งที่ 8 ของคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) ที่อินโดนีเซียในวันที่ 7-8 เมษายน โดยใหเหตุผลวา “ไทยจะไมยอมใหมีการเจรจาเรื่องการถอนทหารในประเทศที่สาม” ซึ่งในที่นี้ คือ อินโดนีเซีย นอกจากนี้ไทยยังปฏิเสธขอเสนอของกัมพูชาที่จะตั้งจุดตรวจรวมระหวางทหารไทย และกัมพูชาขึ้นมา 15 จุดตรวจในพื้นที่ทับซอน4.6 ตารางกม.915 ดานนายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทย ไดแถลงตอมาวา“ไทยจะไปรวมประชุม คณะกรรมการชายแดนรวม (JBC) ที่อินโดนีเซียในวันที่ 7-8 เมษายน แตการประชุม คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC)นั้น นายกษิต อางวา เดิมตกลงกันวากัมพูชาจะเปนเจาภาพ การประชุมครั้งที่ 7 ที่กัมพูชา ดังนั้นไทยจึงยังรอการยืนยันจากกัมพูชาอยู 916 ดานกัมพูชาโดย นายฮอรนัมฮงเปนหัวหนาคณะไดออกเดินทางไปประชุมทั้งสองคณะที่อินโดนีเซีย แตสํานักขาวอ สมท.ออนไลนรายงานวา ฝายไทยโดยพลเอก ทรงกิตต จักรบาตรไดออกมาแถลงวา“ไทยจะเขาไม ประชุมคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) ที่อินโดนีเซีย และจะไมยอมให ผูสังเกตุการณ อินโดนีเซียเขามายังพื้นที่พิพาทไทย-กัมพูชา” 917 ซึ่งสอดคลองกับรายงานจากหนังสือพิมพจาการ ตาโพสทที่วา “แผนการของอินโดนีเซียที่จะสงผูสังเกตุการณมายังพรมแดนไทย-กัมพูชามี อุปสรรค” ทั้งนี้นายมารตี นาทาเลกาวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอินโดนีเซียแถลง วา “หากแผนการนี้ไมไดรับการตอบรับก็จะไมมีการสงผูสงเกตุการณไป” 918 เขาย้ําวากรณีพิพาท ไทย-กัมพูชานี้ หากยุติไมไดอาจมีผลดานลบตอการจัดตั้ง ‘ประชาคมอาเซียน’ 919

914 “Cambodia to attend meetings with Thailand in Indonesia on April 7-8”, Xinhua (16 March 2011) 915 “Thai military not to attend general boundary meeting in Indonesia”, Xinhua (22 March 2011) 916 “Cambodia ready to talk with Thailand on border row: PM”, Xinhua (1 April 2011) 917 “Cambodian officials leave for Indonesia to discuss border issue with Thailand”, Xinhua (6 April 2011) 918 “Indonesia’s plan of sending observers to Thai-Cambodia border to face setback: minister”, Xinhua (8 April 2011) 919 “Thai-Cambodian border dispute hinder ASEAN community: Chairman”, Xinhua (11 April 2011) 225

การปะทะระหวางวันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011

ในขณะที่แผนการของอินโดนีเซียที่จะสงผูสังเกตุการณมายังพรมแดนไทย-กัมพูชามี อุปสรรค สถานการณที่ชายแดนไดเลวรายลง จะเห็นไดวาในวันที่ 22 เมษายน สํานักขาวซินหัวได เริ่มรายงานขาวตั้งแตตอนเชาวา“เมื่อเวลา 8:40 น.มีการยิงปนใสกันที่บริเวณปราสาทตาโมน และ ตากระเบย”( Ta Mon Thom temple and Ta Krabek temple) ซึ่งสํานักขาวซินหัวระบุวาอยูใน จังหวัดโอดดาร เมียนเจย (Oddar Meanchey Province)ของกัมพูชา 920 การปะทะกันดําเนินไป จนถึงเวลา 9:10 น.921 อีกสามชั่วโมงตอมามีรายงานวา“ทหารไทยบาดเจ็บ 5 คนและชาวบาน 10,000 คนตองอพยบออกจากบริเวณที่มีการปะทะ” 922 สวนกัมพูชาเสียชีวิต 3 บาดเจ็บ 6 923 ฝายทหารกัมพูชาแจงวาการสูรบดําเนินไปจนถึงเวลา 12:34 น.จึงยุติ รวมเวลาในการปะทะทั้งหมด 4 ชั่วโมง 924 ดานรัฐบาลกัมพูชารายงานตอมาวา“มีการปะทะถึงตายและทําใหปราสาทตาโมนและ ตากระเบยไดรับความเสียหาย” 925 และมีทหารกัมพูชาตาย 3 คน926 สี่ชั่วโมงหลังจากการปะทะรัฐบาลกัมพูชาไดสงจดหมายรองเรียนไปยังคณะมนตรีความ มั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) กลาวหาประเทศไทยวาเปนฝายเริ่มตนโจมตีกัมพูชา อยางหนัก นอกจากนี้ยังกลาวหาไทยวาไดขยายขอบเขตการสูรบจนลุกลามทําใหตัวปราสาทพระ วิหารไดรับความเสียหาย 927 สามชั่วโมงหลังจากไดรับจดหมายรองเรียนจากกัมพูชา ผูแทน

920 “Cambodian, Thai troops exchange gunfire in border area”, Xinhua (22 April 2011) 921 “Cambodian, Thai military clashes still continues as battle at Preah Vihear temple on high alert”, Xinhua (22 April 2011) 922 “At least 5 Thai soldiers wounded, some 10,000 evacuated in new clashes with Cambodia”, Xinhua (22 April 2011) 923 “3 Cambodian soldiers killed, 6 injured in Cambodian, Thai border clash ”, Xinhua (22 April 2011) 924 “Clashes between Cambodian, Thai troops end: Cambodian military”, Xinhua (22 April 2011) 925 “Cambodian, Thai armed clashes cost lives, damage temples”, Xinhua (22 April 2011) 926 “3 Cambodian soldiers killed in clashes with Thai troops”, Xinhua (23 April 2011) 927 “Cambodia sends letter to UNSC accusing Thai’s “large-scale attack”, Xinhua (22 April 2011) 226

ยูเนสโกก็เรียกรองใหไทยและกัมพูชามานั่งโตะเจรจากัน 928 ตามมาดวยจีนที่ออกมาเรียกรองใหยุติ ปญหาดวยการเจรจา 929 ตลอดจนสิงคโปรที่ใหใชการเจรจาเชนกันเพื่อยุติภาวะวิกฤตนี้ 930 ในวันที่ 23 เมษายน มีรายงานวาการสูรบกันอีก 931 และยังดําเนินตอไปเปนวันที่สอง 932 โดยกัมพูชากลาวหาไทยวาเปนฝายใช‘ระเบิดลูกปราย’(cluster munitions)และ‘ควันพิษ’ ทั้งนี้ฝาย กัมพูชาประณามไทยวา“จงใจกระทําการขมขูคุกคามกัมพูชาครั้งแลวครั้งเลา” 933 กอนหนานี้มี รายงานวามีแถลงการณจาก ‘ศูนยปฏิบัติการกูระเบิด’ ของกัมพูชาวา ทหารไทยไดใชอาวุธหนัก หลายชนิด ซึ่งจากการตรวจสอบพบวา“ทหารไทยไดใชระเบิดลูกปราย ในระหวางการปะทะกันสี่ วันในสัปดาหที่ผานมา” ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดใหขอมูลมากอนหนานี้วา“ระเบิดลูกปราย คือ ระเบิดที่อาจหยอนลงมาจากอากาศ หรือยิงโดยเครื่องยิงระเบิด แลวจะแตกกระจายเปนระเบิดลูก เล็กที่มีอํานาจทําลายอยางไมเลือกหนา” 934 ดานกระทรวงกลาโหมกัมพูชาไดออกแถลงการณ ประณามพฤติกรรมที่กาวราวอยางจงใจซ้ําแลวซ้ําอีกของฝายไทย 935 ทั้งนี้นายแซม ปูนาเรีย (Saem Punareay) หัวหนาศูนยกูระเบิดของกัมพูชา (Cambodian Mine Action Center-CMAC) ไดแถลง ในเวลาตอมาวาระเบิดลูกปรายนี้ไดยิงเขามาจากฝงไทยและสรางความเสียหายแก 3 หมูบาน มี พลเรือน 1 คนและตํารวจ 3 นายเสียชีวิตและบาดเจ็บอีกกวา 10 ราย นับถึงปจจุบันมีการคนพบ ระเบิดลูกปรายที่ฝายไทยยิงเขามาในฝงกัมพูชาไดแลว 33 ลูก นอกจากนี้ยังมีระเบิดชนิดอื่นๆอีก

928 UNESCO envoy calls for dialogue between Thailand and Cambodia”, Xinhua (22 April 2011) 929 “China urges Cambodia, Thailand to settle disputes through dialogue”, Xinhua (22 April 2011) 930 “Singapore urges Thailand, Cambodia to resolve border dispute through talks”, Xinhua (22 April 2011) 931 “Cambodian, Thai troops exchange gunfire again”, Xinhua (23 April 2011) 932 “Cambodian, Thai border fighting still continues: spokesman”, Xinhua (23 April 2011) 933 “Cambodian commander says Thai troops use cluster bombs, poisonous smoke”, Xinhua (23 April 2011) 934 “Cambodian demining center says cluster bombs used in Cambodia-Thai border clash”, Xinhua (10 February 2011) 935 “Cambodia condemns Thailand’s ‘repeated acts of aggression’”, Xinhua (23 April 2011) 227

มากที่ยังอยูในพื้นดิน ในจํานวนระเบิดลูกปราย 33 ลูกที่คนพบไดนี้ กัมพูชาไดทําลายไปแลว 26 ลูก 936 ในวันที่ 24 เมษายน การสูรบดําเนินตอไปเปนวันที่สามและเปนการปะทะที่หนักหนวง กวาครั้งกอนๆ937 ทางฝายกัมพูชาระบุวาไมมีทหารกัมพูชาไดรับบาดเจ็บในการปะทะกับไทยใน ครั้งนี้ 938 และไดปฏิเสธขอกลาวหาของฝายไทยที่วากัมพูชาเปนผูจุดชนวนการปะทะบริเวณ ชายแดน 939 ในวันเดียวกับที่เกิดการปะทะ นายบันคีมุน เลขาธิการองคการสหประชาชาติได เรียกรองไทยและกัมพูชาใหหยุดยิง 940 ดานรัฐมนตรี ตางประเทศอินโดนีเซียในฐานะที่เปน ประธานอาเซียนก็ไดแถลงวาจะมาเยือนกัมพูชาและไทยเพื่อหาทางยุติวิกฤตการณนี้ 941 แตทวาความหวังของประชาคมโลกและอาเซียนตองดับลงเมื่อสํานักขาวซินหัวไดรายงาน วา นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะนายกรัฐมนตรีไทยไดออกมา“ยืนกราน”วา ไทยจะแกปญหาขัดแยง ชายแดนกับกัมพูชา “แบบทวิภาคี” เทานั้น ซึ่งหมายความวาจะไมยอมรับบทบาทขององคการ ระหวางประเทศ ไมวาจะเปนองคการสหประชาชาติ (UN) หรือ คณะมนตรีความมั่นคงแหงองคการ สหประชาชาติ (UNSC) หรือ อาเซียน (ASEAN) หรือ แมแตประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐอเมริกา 942 ซึ่งนับวาไทยมีทาทีที่แข็งกราวและสวนทางกับสิ่งที่ นายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการกระทรวง การตางประเทศไทยไดไปทําความตกลงไวแลวกับอาเซียน สวนสาเหตุของการที่นายกรัฐมนตรี ไทยเปลี่ยนทาทีนี้ นาจะเปนเพราะฝายทหารหรือกองทัพบกไทยที่มีพลเอกประยุทธ จันทรโอชา เปนผูบัญชาการทหารบกไมเห็นดวย ดังจะเห็นจากรายงานของสํานักขาวซินหัววา “นายกรัฐมนตรี ไทยยืนยันวาจะสนับสนุนกองทัพบกไทยในการปกปองผืนแผนดินไทย” ซึ่งแสดงวารัฐบาล อภิสิทธิ์จะใหกองทัพมีบทบาทนํารัฐบาลในกรณีพิพาทชายแดน 943 จึงไมนาประหลาดใจที่ใน วันรุงขึ้นรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอินโดนีเซียประเทศซึ่งกําลังปฏิบัติหนาที่เปน

936 “Cambodia destroys 10 rounds of cluster bombs”, Xinhua (7 July 2011) 937 “Cambodian, Thai border fighting bigger in 3rd day”, Xinhua (24 April 2011) 938 “No Cambodian soldier injured in 3rd day of clashes with Thailand”, Xinhua (24 April 2011) 939 “Cambodia rejects Thai accusation of triggering clashes at border area”, Xinhua (24 April 2011) 940 “UN chief calls for ceasefire between Cambodia, Thailand”, Xinhua (24 April 2011) 941 “Indonesian FM to visit Cambodia, Thailand”, Xinhua (24 April 2011) 942 “Thai PM reaffirms to solve border dispute with Cambodia bilaterally”, Xinhua (24 April 2011) 943 “Thai PM vows to back Army to defend territory”, Xinhua (24 April 201 228

ประธานอาเซียนจําตองประกาศยกเลิกแผนการมาเยือนกัมพูชาและไทย จึงเทากับเปนการ ‘ดับ ความหวัง’ ที่อาเซียนจะเขามาชวยยุติกรณีพิพาท 944 ซึ่งตอมาโฆษกรัฐบาลไทยก็อางวา การที่ ประธานอาเซียน‘ยกเลิกการมาเยือน’ไทยและกัมพูชาเนื่องจากไดรับ ‘ขอมูลไมชัดเจน’ 945 แมวานานาชาติจะเรียกรองใหหยุดยิงแตการสูรบก็ดําเนินตอไปเปนวันที่สี่ 946 สํานักขาว ซินหัวไดรายงานวาเกิดการยิงปะทะกันอีก947 ที่บริเวณปราสาทตาโมนและตากระเบย 948 ระหวาง ที่การปะทะเขาสูวันที่สี่นี้มีรายงานวา “ทหารกัมพูชาตาย 1 บาดเจ็บ 4”949 สาเหตุของการปะทะกัน เพราะกัมพูชา “เขาใจผิดวาทหารไทยที่กําลังซอมรบจะเขาโจมตี”950 ดานนางฮิลลารี คลินตัน (Hillary Clinton) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของสหรัฐไดแสดงความหวงใยใน เหตุการณที่มีการปะทะกันที่บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา และเรียกรองใหแกปญหาดวยสันติวิธี และยับยั้งชั่งใจสูงสุด 951 ในวันรุงขึ้นมีรายงานวามีการปะทะอีกติดตอกันเปนวันที่ 5 952 ทั้งนี้รัฐมนตรีวาการ กระทรวงกลาโหมของไทยจะเดินทางไปกัมพูชาเพื่อเจรจาเรื่องการหยุดยิง 953 สํานักขาวซินหัว รายงานวา นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นไดออกมาเรียกรองใหมีการสงผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียเขา

944 “Indonesian FM cancels visits to Cambodia, Thailand”, Xinhua (25 April 2011) 945 “ASEAN chairman's visit cancellation due to unclear info : Thai gov't spokesman”, Xinhua (25 April 2011) 946 “Gunfire exchanges broke out again at Cambodian, Thai border”, Xinhua (25 April 2011) 947 “Fourth day of armed clashes between Cambodian, Thai troops ends”, Xinhua (25 April 2011) 948 “Cambodian, Thai troops clash at Preah Vihear temple”, Xinhua (26 April 2011) 949 “One Cambodian soldier killed, one injured in 4th day of clashes with Thailand”, Xinhua (26 April 2011) 950 “Tuesday's fighting erupted as Cambodia misinterprets Thai force's exercise:official”, Xinhua (26 April 2011) 951 “Clinton expresses deep concern over Thailand-Cambodia border clashes”, Xinhua (26 April 2011) 952 “Gunfire exchange between Cambodian, Thai troops continues in fifth day”, Xinhua (26 April 2011) 953 “Thai Defense Minister to visit Cambodia for ceasefire talks”, Xinhua (26 April 2011) 229

มาในบริเวณที่เกิดการปะทะ954 ซึ่งนานถึง 4 วันแลว ที่ปราสาทตาโมนและตากระเบย ซึ่งนายฮุน เซ็นอางวาปราสาททั้งสองแหงนี้อยูในจังหวัดโอดดารเมียนเจยของกัมพูชา955 นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรีกัมพูชาไดเปลี่ยนทาทีโดยเสนอวา เฉพาะกรณีพิพาทที่ปราสาทตาโมนและ ตากระเบยในจังหวัดโอดดารเมียนเจยนั้น ไทยกับกัมพูชาสามารถเจรจากันแบบทวิภาคีได 956 ใน วันเดียวกันพลเอกประวิตร วงษสุวรรณ รัฐมนตรีรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมไทยไดยกเลิก การไปเยือนในกัมพูชาอยางกระทันหันเพื่อเจรจาเรื่องการหยุดยิงถาวร เนื่องมาจากมีการรายงานที่ “บิดเบือน”จากสื่อสารมวลชนกัมพูชาวา“ไทยยอมตกลงหยุดยิงเพราะพายแพและสูญเสียในการ รบ” และวาประเทศไทยนั้นไมไวใจวากัมพูชาจะมีความจริงใจหรือไมเพราะสื่อในกัมพูชาอยูใน ความ.ควบคุมของรัฐบาล 957 การปะทะกันครั้งนี้มีผลใหประชาชนกัมพูชากวา 23,745 คน ตองอพยบจากชายแดนไปอยูในที่ที่ปลอดภัย 958 และโรงเรียน 67 แหงตองปดตัวลง ระหวางการ ปะทะที่ชายแดนกัมพูชา-ไทย 959 ผลจากการปะทะเปนเวลาเกือบหนึ่งสัปดาหนี้ ทําใหทหารไทย ตาย 1 นาย และการปะทะยังคงไมยุติ 960 เมื่อการปะทะยางเขาวันที่ 7 ติดตอกัน 961 มีรายงานวาทหารไทยตายไปอีก 1 นาย 962 ผูบัญชาการทหารของทั้งไทยและกัมพูชาในทองถิ่นไดหารือกันที่จุดผานแดนโอสมัค เพื่อหาทางยุติ การปะทะ 963 ทั้งนี้ทั้งสองฝายใหคํามั่นสัญญาตอกันวา“จะหยุดยิง” 964 โฆษกกระทรวง

954 “Indonesia urged to send observers to monitor Cambodian-Thai border dispute”, Xinhua (27 April 2011) 955 “Thai-Cambodian border skirmishes continue for 6th day”, Xinhua (27 April 2011) 956 “Border dispute on 2 temples could negotiate bilaterally: Cambodian PM”, Xinhua (27 April 2011) 957 “Thai defense chief cancels trip to Cambodia”, Xinhua (27 April 2011) 958 “Cambodian, Thai clashes force 23,745 Cambodians to flee home ”, Xinhua (27 April 2011) 959 “34,000 Cambodians evacuated, 67 schools closed during Cambodian, Thai border clashes”, Xinhua (28 April 2011) 960 Border clash with Cambodia claims another Thai soldier life”, Xinhua (28 April 2011) 961 “Cambodian, Thai troops exchange gunfire for 7th straight day”, Xinhua (28 April 2011) 962 “Border clash with Cambodia claims another Thai soldier life”, Xinhua (28 April 2011) 963 “Cambodian, Thai military commanders meet as border fighting enters 7th day”, Xinhua (28 April 2011) 230

ตางประเทศไทยอางวา กําลังรอคํายืนยันอยางเปนทางการจากฝายกัมพูชาวาจะหยุดยิงอยางเปน ทางการหรือไม 965 ในวันรุงขึ้นเพียงวันเดียวหลังจากที่ทั้งสองฝายตกลงที่จะหยุดยิง ผูบัญชาการ กองกําลังกัมพูชาใหสัมภาษณสํานักขาวซินหัวทางโทรศัพทวา กองกําลังของไทยยังคงยิงอาวุธเขา ไปในแดนกัมพูชาที่ปราสาทตากระเบย โดยระบุวา“ทหารไทยไมเคารพผูบังคับบัญชาเพราะ ผูบัญชาการไทยบอกวาไดตกลงหยุดยิงแลวแตก็ยังยิงระเบิดใสเรา แตเราไมไดตอบโตเพราะเรายึด ขอตกลงหยุดยิง” 966 ในวันรุงขึ้นมีรายงานวาทั้งสองฝายไดละเมิดขอตกลงหยุดยิงและกลับมา ปะทะกันอีก 967 สํานักชาวซินหัวรายงานวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอินโดนีเซียในฐานะ ประธานอาเซียน แถลงวา จะนําประเด็นความขัดแยงไทยและกัมพูชาเขาพิจารณาที่ประชุมอาเซียน ซัมมิท ในวันที่ 7-8 พฤษภาคมนี้ ที่กรุงจาการตา อินโดนีเซีย 968 ในดานปฏิกิริยาจากสหรัฐอเมริกา นางคริสตี เคนนี่ (Kristie Kenney) ทูตสหรัฐประจําประเทศไทยตองการใหไทยและกัมพูชามีขันติ อดกลั้นและเจรจายุติการสูรบโดยเร็วเพราะมีพลเรือนบาดเจ็บลมตายตองอพยบหนีภัยและสูญเสีย ทรัพยสินมากมาย 969 นาสังเกตวา เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2011 กัมพูชาไดยื่นขอศาลโลกตีความคํา พิพากษาป 1962 จึงทําใหฝายไทยตองเตรียมตั้งทีมกฎหมายเพื่อตอสูใน คดีนี้ 970 ในชวงตนเดือนพฤษภาคมสํานักขาวซินหัวรายงานวากัมพูชาและไทยยังมีการปะทะกัน ประปราย 971 แตตอเนื่องจนยางเขาวันที่ 11 972 โดยมีทหารไทยตาย 1 คนขณะที่การปะทะกันที่ ชายแดนก็ยังไมมีทาทีวาจะยุติ 973 ในการนี้ผูบัญชาการกองทัพกัมพูชาและไทยตกลงที่จะหยุดยิง โดยพลโทเจียมอน (Chea Mon) แมทัพภาคที่ 4 ของกัมพูชาและพลตรีธวัชชัย สมุทรสาครแมทัพ

964 “Cambodian, Thai military commanders promise ceasefire”, Xinhua (28 April 2011) 965 “Thailand waiting for official confirmation of ceasefire from Cambodia”, Xinhua (28 April 2011) 966 “Thai troops continue firing into Cambodia: Cambodian commander”, Xinhua (29 April 2011) 967 “Cambodian, Thai troops break truce”, Xinhua (30 April 2011) 968 “Thailand-Cambodia conflict to be discussed at ASEAN summit”, Xinhua (28 April 2011) 969 “U.S. envoy encourages truce talks between Thailand, Cambodia”, Xinhua (28 April 2011) 970 “Thailand appoints head of legal team for Preah Vihear case”, Xinhua (4 May 2011) 971 “Sporadic clashes still continue between Cambodian, Thai troops”, Xinhua (1 May 2011) 972 “Cambodian, Thai sporadic clashes reach 11th day”, Xinhua (2 May 2011) 973 “One Thai soldier killed as border clash persists”, Xinhua (3 May 2011) 231

ภาคที่ 2 ของไทยโดยไดตกลงใน “หลักการ 6 ขอ” กลาวคือ (ก) การหยุดยิง (ข) การมีทหารสองฝาย ประจําการที่ปราสาทตาโมนและตากระเบย (ค) การไววางใจกัน (ง) การอนุญาตใหชาวบานที่ลี้ภัย กลับบานได (จ) การสัญญาวาจะเปดดานที่โอสมัค และ(ฉ) การสัญญาวาจะเปดดานที่อันลองเวง 974 นอกจากนี้ นายฮอรนัมฮงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาไดระบุวากัมพูชาและ ไทยไดตกลงขั้นสุดทายที่จะกําหนด“จุดประจําการตามชายแดน”(border station points) และเมื่อ 4 พฤษภาคม กัมพูชาไดเห็นชอบ “เงื่อนไขหรือขอกําหนดฉบับที่ 7” (the 7th terms of reference -TOR) สําหรับการที่อินโดนีเซียจะสงผูสังเกตการณมาปฏิบัติหนาที่ตามชายแดนไทย-กัมพูชา ทั้งนี้ สํานักขาวซินหัวไดระบุวา นายฮอรนัมฮงไดรับทราบขอมูลอยางไมเปนทางการวา “คณะรัฐมนตรี ไทยไดมีมติเห็นชอบการเขามาของผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซีย ตั้งแตเมื่อ 3 พฤษภาคม แลวนาย ฮอรนัมฮงจึงหวังวารัฐมนตรีอาเซียนจะลงนามเพื่อรับรอง “เงื่อนไขหรือขอกําหนดฉบับที่ 7” (the 7th terms of reference –TOR) นี้” 975 ในเดือนพฤษภาคมไดมีสัญญาณดานบวก เนื่องจากผูบัญชาการทหารของทั้งไทยและ กัมพูชาในพื้นที่ไดพยายามที่จะยุติการปะทะ นอกจากนี้ยังมีการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม ตอกัน ตลอดจนมีการเปดดานตามชายแดนใหชาวบานไดทํามาคาขายแลกเปลี่ยนสินคากันได ตามปกติ สํานักขาวซินหัวไดรายงานวาในไตรมาศที่ 1 กัมพูชารับรองนักทองเที่ยวจากนานาชาติ จํานวน 778,467 คน เพิ่มขึ้นกวารอยละ 14 976 และกัมพูชาไดมีบริษัทใหมจดทะเบียนจํานวน 813 บริษัท เพิ่มขึ้นรอยละ48 เปนบริษัทที่เปนเจาของโดยคนจีน 99 บริษัทโดยคนเวียดนาม 90บริษัท โดยคนเกาหลีใต 90 บริษัท โดยคนมาเลยเซีย 16 บริษัทและโดยคนไทย 12 บริษัท ทั้งนี้นายฮุม เฮียน(Hum Hean) อธิบดีกรมจดทะเบียนธุรกิจ ของกระทรวงพาณิชยกัมพูชาไดระบุวา “แมจะมี เหตุปะทะตามชายแดนแตบริษัทของคนไทยก็ยังทําธุรกิจตามปกติ นี่เปนเครื่องแสดงวาคนไทยมี

974 “Cambodian, Thai military commanders agree to ceasefire over border row”, Xinhua (4 May 2011) 975 “Cambodia, Thailand agree to border station points for deploying observers: Cambodian FM”, Xinhua (5 May 2011) 976 “Cambodia receives 778,467 int'l tourists in Q1, up 14% ”, Xinhua (3 May 2011) 232

ความเชื่อมั่นในกฎหมายและการทําธุรกิจในกัมพูชา” 977 มีการรายงานสถิติการคาระหวางไทย- กัมพูชา วาเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 36 ในไตรมาศแรก แมวาจะมีการสูรบกันก็ตาม 978

ประชุมอาเซียนซัมมิทที่กรุงจาการตา

หลังจากการปะทะ มีรายงานวา อินโดนีเซียในฐานะประธานอาเซียนไดพยายามเขามามี บทบาท โดยประธานาธิบดีซูซิโล บัมบัง ยุทธโยโน ของอินโดนีเซียไดเขามาไกลเกลี่ยใหนาย อภิสิทธิ์และนายฮุนเซ็นไดพบปะกัน ระหวางการประชุมอาเซียนซัมมิทที่กรุงจาการตา หลังจาก การประชุมนายฮุนเซ็นไดแถลงวา ที่ประชุมเห็นดวยกับขอเสนอของประธานาธิบดีซูซิโล บัมบัง ยุทธโยโนที่จะใหมีการประชุมกันอีกครั้งหนึ่ง รวมกับรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ อีกสามชาติ 979 ดานนายกษิต ภิรมย ไดแจงผลการประชุมผานทางทวิตเตอรวา“รัฐบาลไทยยืนยัน ใหทั้งสองฝายถอนทหาร กอนที่เชิญผูสังเกตุการณเขามาจากอินโดนีเซีย”980 แตทวาในวันที่ 9 พฤษภาคม นายอภิสิทธิ์นายกรัฐมนตรีไทยก็ไดประกาศ “ยุบสภา” เพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไปใหมใน วันที่ 3 กรกฎาคม 2011 981 อยางไรก็ตาม นายฮอรนัมฮงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กัมพูชาระบุวา “การยุบสภาของไทยจะไมกระทบการเจรจาเรื่องชายแดนที่กําลังดําเนินอยู” 982 ดังมีรายงานวา รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชาและไทยจะหารือกัน ระหวางที่มีการประชุม รัฐมนตรี อาเซียนครั้งที่ 5 ที่อินโดนีเซียเพื่อคลี่คลายกรณีพิพาท 983 อยางไรก็ตามมีรายงานวา พลเอกเตีย บันห ห รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชาปฏิเสธจะ‘ไมเขารวม’ ประชุมคณะกรรมการทั่วไปชายแดน (GBC) ถาหากทางการไทยไมยอมรับขอตกลงกันระหวางสามชาติ คือ ไทย กัมพูชาและ อินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคมที่กรุงจารกาตา สํานักขาวซินหัวใหขอมูลวา“ที่ผานมาการถอน

977 “Cambodia receives 813 new companies in Q1”, Xinhua (4 May 2011) 978 “Cambodian, Thai trades up 36 pct in Q1 despite border row”, Xinhua (22 May 2011) 979 “Indonesia mediates Thai-Cambodian border conflicts”, Xinhua (8 May 2011) 980 “Thai FM tweeted on result of tripartite talks on border issue”, Xinhua (3 May 2011) 981 “Thai PM announces House dissolution, election on July 3”, Xinhua (9 May 2011) 982 “Thai parliament dissolution not to affect ongoing border talks: Cambodian FM”, Xinhua (10 May 2011) 983 “Cambodian defense minister to meet Thai counterpart over border row in Indonesia”, Xinhua (17 May 2011) 233

ทหารลาชา เนื่องจากฝายไทยมักตั้งเงื่อนไขวาทหารกัมพูชาและชาวบานจะตองถอนออกจาก บริเวณพื้นที่ทับซอนกอน”984 นาสังเกตวากอนหนานี้ 10 วัน นายเตีย บันห รัฐมนตรีกลาโหม กัมพูชาไดรับปากวาจะเขารวมประชุมคณะกรรมการทั่วไปชายแดนที่อินโดนีเซียกับไทย 985

กัมพูชาเลื่อนการจัดงานแสดงสินคาไทย

แมวาสถานการณการเมืองหลังการปะทะกันยังอึม.ครึม แตนาแปลกที่มีรายงานวา สถานทูตไทยไดเตรียมการจะจัดงานแสดงสินคาขนาดใหญที่กัมพูชาระหวาง 19-22 พฤษภาคม 2011 986 อยางไรก็ตาม ตอมาทางการกัมพูชาก็ไดตัดสินใจเลื่อนการจัดงานแสดงสินคาไทยครั้งนี้ ที่พนมเปญ ทั้งนี้เพื่อตอบโตการที่ผูบัญชาการกองทัพภาคที่สองของไทยไดสั่งหามมิใหมีการสง น้ํามันและผลิตภัณฑอื่นๆเขาไปขายในกัมพูชา โดยหนังสือพิมพบางกอกโพสต อางวา“อาจมีการ นําสินคาเหลานี้ไปสนับสนุนกองกําลังของกัมพูชาที่ประจําที่ชายแดนไทย-กัมพูชา” อยางไรก็ตาม นายชาม ประสิธ (Cham Prasidh) รัฐมนตรีพาณิชยของกัมพูชาไดระบุแตเพียงวา“คงไมเหมาะสม ที่จะสงเสริมสินคาไทยในสถานการณเชนนี้” 987 กัมพูชายื่นขอศาลโลกตีความคําพิพากษาป 1962

เนื่องจากกัมพูชาไดยื่นคํารองเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2011 ขอใหศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ ตีความคําพิพากษาเมื่อป 1962 ในคดีปราสาทพระวิหาร รัฐบาลไทยจึงไดแตงตั้ง นายวีรชัย พลาดิศัย เอกอัครขาราชทูตไทยประจํากรุงเฮก และอดีตอธิบดีกรมสนธิสัญญา กระทรวง การตางประเทศ เปนหัวหนาทีมกฎหมายของไทย เพื่อตอสูในศาลโลกที่กรุงเฮก 988

984 “Cambodia says "no" to GBC meeting unless "package solution" complied”, Xinhua (27 May 2011) 985 “Cambodian defense minister to meet Thai counterpart over border row in Indonesia”, Xinhua (17 May 2011) 986 “Thailand to organize large-scale expo in Cambodia despite recent clashes”, Xinhua (11 May 2011) 987 “Cambodia to postpone Thai expo slated for next week in Phnom Penh ”, Xinhua (13 May 2011) 988 “Thailand appoints head of legal team for Preah Vihear case”, Xinhua (4 May 2011) 234

โดยนายกษิต ภิรมย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยก็จะเดินทางไปใหขอมูลกับศาล ยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) เกี่ยวกับกรณีพิพาทกับกัมพูชาในกรณีพระวิหารในวันที่ 30 พฤษภาคม 989 สวนนายฮอรนัมฮงไดนําคณะผูแทนกัมพูชาไปรวมฟงคําใหการตอสาธารณะที่ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศระหวางวันที่ 30-31 พฤษภาคม ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด เชนกัน 990 นายฮอรนัมฮงมั่นใจวา กัมพูชานั้นไดเปรียบไทยในคดีที่กัมพูชายื่นฟองใหตีความคํา ตัดสินของศาลโลก 991 ดานนายอภิสิทธิ์ก็แถลงอยางเชื่อมั่นวา ไทยพรอมเต็มที่ที่จะตอสูคดีกับ กัมพูชาที่ศาลโลก 992 สวนนายกษิต ภิรมยแสดงความพึงพอใจกับการใหการของทีมทนายความ ของไทย ที่มีนายวีรชัย พลาดิศัย เปนหัวหนาทีมกฎหมายของไทยในศาลโลกที่กรุงเฮก993 มีรายงานวา นายมูหยิดดิน ยัสซิน (Muhyiddin Yassin) รองนายกรัฐมนตรีมาเลยเซีย ไดกลาวชื่น ชมทั้งไทยและกัมพูชาวา ไดแสดงเจตนารมณที่จะแกปญหาความขัดแยงระหวางกันดวยหนทาง สันติในศาลโลก 994

ยูเนสโกผิดหวังทั้งไทยและกัมพูชา

ในเวลาเดียวกัน คณะผูแทนกัมพูชานําโดยนายสก อัน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศไดออกเดินทางไปสํานักงานยูเนสโกที่กรุงปารีส เพื่อรวมประชุมกับไทยในประเด็น การบริหารจัดการปราสาทพระวิหาร 995 ที่นาสนใจ คือ รายงานจากสํานักขาวซินหัวที่วา

989 “Thailand to elaborate temple row with World Court on May 30”, Xinhua (26 May 2011) 990 “Cambodian deputy PM to join ICJ’s hearing on Preah Voihear temple issue”, Xinhua (26 May 2011) 991 “Cambodia has advantage over Thailand on temple issues at ICJ: Deputy PM ”, Xinhua (2 June 2011) 992 “Thai PM confident in ICJ Thai-Cambodian border case”, Xinhua (30 May 2011) 993 “Thai FM satisfied with lawyers team’s performance at ICJ ”, Xinhua (2 June 2011) 994 “Malaysia lauds Cambodia, Thailand’s effort to solve border dispute in court”, Xinhua (30 May 2011) 995 “Cambodian officials head to UNESCO for talks with Thailand over temple issues”, Xinhua (23 May 2011) 235

นางอิรินา โบโกวา (Irina Bokova) เลขาธิการยูเนสโกแสดงความรูสึกผิดหวังที่ทั้งไทยและกัมพูชา ตางไมชวยกันหาทางออกในกรณีพิพาทเรื่องปราสาทพระวิหาร เนื่องจากยังไมสามารถบรรลุ ขอตกลงใดใดเลยที่เปนรูปธรรมเพียงพอที่เลขาธิการยูเนสโกจะนําไปรายงานใหการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกสมัยประชุมที่ 35 ที่กรุงปารีสระหวาง 19-29 มิถุนายนทราบไดเลย กอนหนานี้คณะผูแทนจากไทยและกัมพูชาไดใชเวลา 3 วันในการประชุมหารือกันเรื่องแผนการ จัดการปราสาทพระวิหาร แตกลับไมมีความคืบหนาใดใด 996 ปญหาคือ ที่ผานมาฝายไทยยืนกรานที่ จะ‘คัดคาน’แผนการจัดการปราสาทพระวิหารที่กัมพูชาจัดทําขึ้นแตผูเดียวอยางไมลดราวาศอก โดย นายสุวิทย คุณกิตติ รักษาการรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของไทย ไดกลาวหา นายสก อัน ผูแทนกัมพูชา วายังยืนกรานที่จะเสนอแผนการจัดการปราสาทตอที่ประชุม คณะกรรมการมรดกโลก 997 โดยไมฟง‘ขอทักทวง’จากยูเนสโกที่จะ“ขอเลื่อนการพิจารณาไปกอน จนกวาไทย และกัมพูชาจะปกปนพรมแดนแลวเสร็จ 998 ทั้งนี้เพราะกัมพูชามั่นใจวาแผนการจัดการ ปราสาท พระวิหารของตนจะตองไดรับการเห็นชอบจากยูเนสโกอยางแนนอน ระหวางการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกสมัยประชุมที่ 35 ที่กรุงปารีสระหวาง 19-29 มิถุนายน 2011 999 กัมพูชากลาวหาไทยละเมิดนานฟา

ในเดือนมิถุนายนสถานการณตึงเครียดขึ้นไปอีกเมื่อกระทรวงกลาโหมกัมพูชาไดออก แถลงการณกลาวหาไทยวา“ไดละเมิดนานฟากัมพูชา”โดยระบุวา เมื่อ 31 พฤษภาคมและ 1 มิถุนายน 2011 ‘เครื่องบินลาดตระเวณ L19’ ของไทยไดละเมิดนานฟากัมพูชาหลายครั้ง ตาม ชายแดนกัมพูชาที่จังหวัดบันเตยเมียนเจย(Banteay Meanchey) และในเชาวันที่ 3 มิถุนายนก็ไดมี “กลุมทหารไทยแตงชุดดําไดนั่งเครื่องรอนติดเครื่องยนตอันสอเจตนาที่จะสืบราชการลับ” ในบริเวณชายแดนจังหวัดพระตะบอง (Battambong) ของกัมพูชา กรณีนี้กัมพูชาถือวาเปนการ

996 “UNESCO disappointed at Thai, Cambodian deadlock over disputed temple”, Xinhua (28 May 2011) 997 “Cambodia insists to table temple's management plan at WHC meeting : Thai minister”, Xinhua (28 May 2011) 998 “Cambodia says UNESCO not postpone Preah Vihear temple’s management plan”, Xinhua (28 May 2011) 999 “Cambodia confident temple management plan to be accepted by UNESCO”, Xinhua (29 May 2011) 236

กระทําเพื่อยั่วยุใหเกิดการปะทะกันอีกดังนั้นกระทรวงกลาโหมกัมพูชาย้ําวา ตอจากนี้ไปทางการ ไทยจะตองรับผิดชอบหากจะมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นอีก 1000 อยางไรก็ตามนายสมพงษ สงวนบุญเอกอัคร ขาราชทูตไทยคนใหมประจํากัมพูชา ก็ไดใหคํามั่นสัญญาวา จะฟนฟูความสัมพันธกับกัมพูชาอีก ครั้ง 1001

ฮุนเซ็นฟองโลกยังถอนทหารไมไดเพราะไทยตั้งเงื่อนไข

มีขอมูลที่นาสนใจวา ระหวางการฉลอง 4 ปของวันทหารผานศึกของกัมพูชา นายฮุนเซ็น นายกรัฐมนตรีกัมพูชาไดกลาวปราศรัยวา ตั้งแตมีการปะทะกับไทยตั้งแตป 2008 มีการปะทะกัน 4 ครั้ง ทําใหมี “ชาวกัมพูชาเสียชีวิตทั้งหมด 24 คน” กลาวคือ ปะทะครั้งที่ 1 ในเดือนตุลาคม 2008 และครั้งที่ 2 เมื่อเมษายน 2009 มีทหารกัมพูชาตาย 3 นาย ตอมาเมื่อ 4 -7 กุมภาพันธ ป 2011ปะทะ ครั้งที่ 3 ฝายกัมพูชามีการเสียชีวิต 8นายเปนทหาร 4 นาย ตํารวจ 2 นาย พลเรือน 2 คน นอกจากนี้ การปะทะครั้งที่ 4 ลาสุด ระหวาง 22 เมษายน ถึง 3 พฤษภาคม ที่ปราสาทตาโมน และปราสาทตา กระเบย มีทหารถูกฆาตายอีก 13 นาย รวมทั้งสิ้น 24 คน ทั้งนี้กัมพูชาไดทําการรองเรียนประเด็นนี้ ไปยังคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ(UNSC) และเมื่อ 14 กุมภาพันธ คณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ ก็ไดมอบหมายใหอาเซียนเปนผูทําหนาที่ไกล เกลี่ย ดังนั้นในวันที่ 22กุมภาพันธไทยและกัมพูชาไดตกลงที่จะยอมใหผูสังเกตุการณอินโดนีเซีย เขามาดูแลการหยุดยิง แตการถอนทหารยังไมไดเกิดขึ้นพราะฝายไทยตั้งเงื่อนไขใหทหารและ ชาวบานกัมพูชาถอนออกไปจากบริเวณพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.เสียกอน 1002

จําลอง ศรีเมืองใหยูเนสโกยกเลิกการขึ้นทะเบียนปราสาท

ดานกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือ “กลุมเสื้อเหลือง”ในประเทศไทยกวา 1,000 คนไดไปชุมนุมประทวงที่หนาสํานักงานใหญขององคการยูเนสโกประจําประเทศไทย เพื่อ

1000 “Cambodia warns Thailand for airspace violations along border: defense statement”, Xinhua (3 June 2011) 1001 “Thai new diplomat pledges to ameliorate ties with Cambodia”, Xinhua (10 June 2011) 1002 “Cambodian PM says 24 Cambodians killed in border clashes with Thailand since 2008”, Xinhua (21 June 2011) 237

เรียกรองใหยกเลิกการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก 1003 ทั้งนี้พลตรีจําลอง ศรีเมือง ไดยื่นหนังสือเรียกรองใหยูเนสโกยกเลิกการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของ กัมพูชาและใหเลื่อนการพิจารณาแผนการจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชาไปกอน 1004 ดานรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยไดเรียกประชุมดวนเพื่อหารือเรื่อง ‘กาวตอไป’ ของไทย หลังจากนายสุวิทย คุณกิตติได ‘ลาออก’ จากที่ประชุม.คณะกรรมการมรดกโลกเพื่อ ประทวงที่คณะกรรมการนี้ไดรับพิจารณาแผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชา 1005 มีรายงานจากโฆษกกองทัพภาคที่สองของไทยวา กัมพูชาไดเสริมกําลังทหารที่ชายแดน ดานตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดสุรินทร หลังจากที่ไทยไดถอนตัวออกจากคณะกรรมการ มรดกโลก 1006 อยางไรก็ตาม กัมพูชาไดปฏิเสธวามิไดมีการเสริมกําลังแตอยางใด 1007 ขาวนี้มีผล ใหนักทองเที่ยวที่มาปราสาทพระวิหารมีจํานวนลดลงถึงรอยละ 40 1008 ในเดือนกรกฎาคมมี รายงานที่นาสนใจวา ฝรั่งเศสไดเสนอจะชวยกัมพูชาในกรณีพิพาทกับไทยไทย ทั้งนี้ระหวางการ เยือนกัมพูชาตามคําเชิญของนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็น ทั้งนี้นายฟรองซัวส ฟยยอง (Francois Fillon) นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส ไดใหคํามั่นตอกัมพูชาวา ฝรั่งเศสจะจัดหาแผนที่ที่ฝรั่งเศสไดจัดทําขึ้น ในชวงป 1905 ถึง 1908 ในสมัยที่อินโดจีนยังตกอยูใตอาณานิคมของฝรั่งเศส ใหแกกัมพูชา 1009

อภิสิทธิ์แพเลือกตั้ง-ทิ้งปญหาไวหลายอยาง

ในประเทศไทย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะไดยุบสภาและมีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคมปรากฎวาพรรคประชาธิปตยของนายอภิสิทธิ์ประสบความพายแพ กรณีนี้จึงเปดทางให พรรคเพื่อไทยขึ้นเปนรัฐบาล 1010 ดานนายฮุนเซ็นแสดงความยินดีที่พรรคเพื่อไทยไดรับชัยชนะ

1003 “Thai ‘yellow-shirts’ demand delisting Preah Vihear Temple as world heritage”, Xinhua (17 June 2011) 1004 “Thai nationalists rally, demanding UNESCO to delist Hindu temple”, Xinhua (22 June 2011) 1005 “Thai FM holds urgent meeting to ponder next move”, Xinhua (26 June 2011) 1006 “Cambodia reinforces troops at Thai-Cambodian border: Thai army”, Xinhua (27 June 2011) 1007 “Cambodia denies troop reinforcement along border with Thailand”, Xinhua (28 June 2011) 1008 “Tourists to Preah Vihear temple drop 40% due to border row”, Xinhua (30 June 2011) 1009 “France ready to help resolve Cambodian, Thai border dispute”, Xinhua (2 July 2011) 1010 “Cambodia congratulates Pheu Thai Party on election win”, Xinhua (4 July 2011) 238

และหวังวารัฐบาลใหมจะชวยยุติขอขัดแยงกับกัมพูชาไดโดยสันติวิธี 1011 สํานักขาวซินหัวไดพาด หัวขาวอยางมีความหวังวาหวังวา ชัยชนะของพรรคเพื่อไทยจะทําใหมีทางออกอยางสันติและจะ สรางความปรองดองภายในชาติไทยได อยางไรก็ตาม ดร.รส จันทราบุธ (Dr. Ros Chantrabuth) เห็นตางวา“รัฐบาลยิ่งลักษณจะตองเผชิญกับปญหาที่รัฐบาลอภิสิทธิ์ทิ้งไวใหหลายอยาง เชน ปญหา การที่ไทยลาออกจากคณะกรรมการมรดกโลก ตลอดจนการที่ตองเตรียมตอสูคดีในศาลยุติธรรม ระหวางประเทศที่กัมพูชาขอใหมีการตีความคําตัดสินในป 1962 ใหม 1012 สํานักขาวซินหัวระบุวา ทั้งไทยและกัมพูชามีการเตรียมการรับมือ กรณีศาลโลกจะมีคําตัดสินในวันที่ 18 กรกฎาคม ในคดีที่ กัมพูชาไดยื่นฟองตอศาลใหทหารไทยถอนออกจากพื้นที่รอบปราสาทพระวิหาร 1013 ในการนี้นาย ฮุนเซ็นไดสั่งใหทหารกัมพูชาที่ชายแดนให‘เตรียมพรอมแตอยูในความสงบ’ เพื่อหลีกเลี่ยงการ กระทําใดใดที่สอไปในทางยั่วยุอีกฝายหนึ่ง 1014

ศาลโลกสั่งใหกัมพูชาและไทยถอนออกจากเขตปลอดทหาร

ในคดีที่กัมพูชาไดยื่นฟองตอศาลเมื่อ 28 เมษายน 2011 ใหมีการตีความคําพิพากษากรณี พระวิหารในป 1962 นั้น ศาลยุติธรรมระหวางประเทศที่กรุงเฮก ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2011 ศาล ยุติธรรมระหวางประเทศก็ไดมีคําสั่งใหมีการถอนบุคคลากรทางทหารของทั้งไทยและกัมพูชาออก จากบริเวณเขตปลอดทหาร ใกลพื้นที่ปราสาทพระวิหาร นอกจากนี้ทั้งสองฝายจะตองรวมมือกัน ในกรอบของอาเซียนและอนุญาตใหผูสังเกตุการณอินโดนีเซียเขามาในพื้นที่ปลอดทหาร 1015 สํานักขาวซินหัวไดรายงานวา รัฐบาลกัมพูชาไดออกแถลงการณใหคํามั่นวา หากศาลโลกจะตัดสิน

1011 “Cambodia PM hails Pheu Thai for election win”, Xinhua (6 July 2011) 1012 “Pheu Thai victory gives hope for peaceful resolution on Cambodian, Thai border row”, Xinhua (4 July 2011) 1013 “Int’l court to order Thai-Cambodian border verdict on July 18”, Xinhua (8 July 2011) 1014 “Cambodian PM orders troops at border be ‘alert but calm’”, Xinhua (8 July 2011) 1015 “Cambodia says to honor UN Court's order on troop pull-out ”, Xinhua (19 July 2011) 239

ใหถอนทหาร กัมพูชาจะปฏิบัติตามคําสั่งของศาลโลกอยางเครงครัด 1016 นอกจากนี้กัมพูชายัง ยืนยันที่จะใหมีผูสังเกตุการณจากอาเซียนมาปฏิบัติการในพื้นที่รอบปราสาทพระวิหาร ตามคําสั่ง ของศาลโลก 1017 สวน คณะรัฐมนตรีไทยไดมอบหมายให รัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศไปเตรียมการจัดทํา‘กรอบการเจรจา’กับกัมพูชาในการที่จะปฏิบัติตาม คําสั่งของศาลโลกตอไป 1018 ดานนายฮอรนัมฮง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กัมพูชาซึ่งเพิ่งเดินทางกลับจากการฟงคําตัดสินของศาลโลกที่กรุงเฮก ไดแจงวากัมพูชาเต็มใจที่จะ ประชุมระดับคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) และ คณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (JBC) กับ เจาหนาที่ไทยกอนที่จะมีการถอนทหาร แตนายฮอรนัมฮงย้ําวา “คงจะไมมีการเจรจากับรัฐบาล อภิสิทธิ์เนื่องจากไทยกําลังจะมีรัฐบาลใหม”1019 จะเห็นวาแมจะใกลหมดวาระการเปนรัฐบาล แต นายอภิสิทธิ์ยังคงไมหยุดวิวาทะกับนายฮุนเซ็น ทั้งนี้นายอภิสิทธิ์ตั้งเงื่อนไขวาจะอนุญาตให ผูสังเกตการณอินโดนีเซียเขามา ก็ตอเมื่อกัมพูชาไดถอนทหารออกไปแลวเทานั้น 1020 ซึ่งนายฮุน เซ็นก็ตอบโตวาหากจะใหกัมพูชาถอนทหาร ไทยก็จะตองถอนทหารออกจากพื้นที่ปราสาทพรอมๆ กัน 1021 ทั้งนี้พรรคประชาชนกัมพูชา (CPP) ไดตั้งความหวังวา รัฐบาลใหมของไทยจะรวมมือกับ

1016 “Cambodia says to honor UN Court’s order on troop pull-out”, Xinhua (18 July 2011) 1017 “Cambodia insists deployment of ASEAN observers to temple area after UN Court’s order”, Xinhua (19 July 2011) 1018 “Thailand to set framework on ICJ’s order on Thai-Cambodia disputed border area”, Xinhua (19 July 2011) 1019 “Cambodia willing to meet with Thailand ahead of troop pullout”, Xinhua (20 July 2011) 1020 “Indonesian observers allowed after withdrawal of Cambodian troops: Thai PM”, Xinhua (20 July 2011) 1021 “Troop pullout from temple area must be simultaneous: Cambodian PM”, Xinhua (22 July 2011) 240

กัมพูชาอยางใกลชิดในกรณีปราสาทพระวิหาร 1022 ในการนี้กัมพูชาจะเปนฝายจัดทําขอตกลงกับ ฝายไทย ตามคําสั่งของศาลโลกที่จะใหกําหนด ‘เขตปลอดทหาร’ 1023

ไทย-กัมพูชาฟนฟูความสัมพันธ

ในสมัยรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร(5 สิงหาคม 2011 ถึง 31 ธันวาคม 2013) ระยะเวลา 2 ป 5 เดือน สํานักขาวซินหัวไดจัดทําขอมูลเกี่ยวกับภูมิหลังประวัติของนางสาวยิ่ง ลักษณและยกยองวาเปนนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของไทย ผูทําใหบรรยากาศทางการเมือง แตกตางจากในสมัยนายอภิสิทธิ์อยางสิ้นเชิง 1024 ดังจะเห็นจาก.พ.าดหัวขาววา “นายกรัฐมนตรี กัมพูชาแสดงความยินดีตอนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งคนใหม ของไทย” ทันทีที่ทราบผลการเลือกตั้งในวันที่ 5 สิงหาคม 1025 ไมกี่วันตอมานายฮุนเซ็นไดเชิญ นางสาวยิ่งลักษณไปเยือนกัมพูชาอยางเปนทางการ 1026 กัมพูชาแสดงออกอยางชัดเจนวามีทาทีที่ ‘ออนลง’ กับไทยมากที่สุดเทาที่จะมากได ทั้งนี้เพื่อคลี่คลายสถานการณที่ตึงเครียดและการ เผชิญหนาดวยกําลังทหารลง 1027 ดานนายสมพงษ สงวนบุญ เอกอัครขาราชทูตไทยประจํากัมพูชา ก็ ไดใหคํามั่นวาจะฟนฟูความรวมมือดานการทองเที่ยว หลังจากที่การสถานการณดีขึ้น 1028 นอกจากนี้นายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาก็ไดเชิญนายสมพงษ

1022 “Cambodia’s ruling party hopes new Thai gov’t tp build close co-operation on temple issue”, Xinhua (21 July 2011) 1023 “Cambodia initiates deal with Thailand to implement ICJ’s order on temple issue”, Xinhua (22 July 2011) 1024 “Profile:Yingluck Shinawatra-first female PM of Thailand”, Xinhua (5 August 2011) 1025 “Cambodian PM congratulates Thailand’s new-elected PM”, Xinhua (5 August 2011) 1026 “Cambodian FM invites new Thai counterpart for visit to restore bilateral ties”, Xinhua (10 August 2011) 1027 “Cambodia shows soft policy with Thailand”, Xinhua (9 August 2011) 1028 “Cambodia, Thailand pledge to restore tourism cooperation as military tension eased”, Xinhua (9 August 2011) 241

อมรวิวัฒน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยคนใหมไปเยือนกัมพูชา 1029 เชนเดียวกับ พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม.คนใหมของไทยก็ไดรับเชิญใหไป เยือนกัมพูชาอยางเปนทางการเชนกัน 1030 ดานนายฮุนเซ็นก็ไดเปลี่ยนทาทีโดยแถลงวา ยินดีจะ เจรจาระดับทวิภาคีกับไทยในเรื่องที่เกี่ยวกับการประชุม.คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) ยกเวนเฉพาะการหารือเกี่ยวกับ ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ ในพื้นที่ประมาณ 17 ตารางกม.รอบ ปราสาทพระวิหาร ที่ศาลโลกเปนผูกําหนดเทานั้น 1031 นอกจากนี้นายฮุนเซ็นยังแถลงวา “กัมพูชา จะไมนําประเด็นปราสาทพระวิหารเขาบรรจุในวาระการประชุมอาเซียนซัมมิทที่บาหลีในเดือน พฤศจิกายนที่จะถึงนี้ เนื่องจากไมใชประเด็นรอนอีกตอไป เนื่องจากไทยมีการเปลี่ยนรัฐบาล แลว 1032 ดานพลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีกลาโหมก็แถลงวาจะไปรวมการประชุม คณะกรรมการชายแดนทั่วไปครั้งที่ 8 (8th GBC) ที่กรุงพนมเปญในวันที่ 8 กันยายนที่จะถึงนี้ หลังจากไมมีการประชุมมาเปนเวลานานแลว 1033 อยางไรก็ตาม ในเรื่องการถอนทหารออกจาก เขตปลอดทหารนั้น พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภาไมเห็นดวยกับ พลเอกเตีย บันห รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชาที่วาจะตองใหผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียมาเปนสักขีพยานดวย 1034 ดานกัมพูชาไดยอมถอนทหารออกจากปราสาทตาโมนและตากระเบย ซึ่งหางปราสาทพระ วิหารไป 150 กม.แลว แตไมไดระบุจํานวนกําลังพลที่ถอนออกไป 1035 ตอมาสํานักขาวซินหัว

1029 “Cambodian FM invites new Thai counterpart to visit to restore bilateral ties”, Xinhua (10 August 2011) 1030 “Cambodia invites new Thai defense minister for official visit”, Xinhua (10 August 2011) 1031 “Cambodian PM: Cambodian, Thai GBC meeting to be held”, Xinhua (11 August 2011) 1032 “Border row with Thailand no longer hot topic in ASEAN meetings: Cambodian PM”, Xinhua (11 August 2011) 1033 “Thai-Cambodian general border meeting to be held next month”, Xinhua (16 August 2011) 1034 “Troop pullout from disputed area must be done with Indonesian presence: Cambodian DPM”, Xinhua (17 August 2011) 1035 “Cambodia withdraws more troops from border with Thailand”, Xinhua (18 August 2011) 242

ยืนยันวา กัมพูชาไดถอนทหารเปนจํานวนหลายรอยนาย ออกไปจากเขตปลอดทหาร ตามคําสั่งของ ศาลโลกแลว 1036

กัมพูชา-ไทยเนนการคาและการลงทุนมากกวาการทําสงคราม สํานักขาวซินหัวไดใหขอมูลวากรณีพิพาทชายแดนนั้นเปนอุปสรรคตอการคาในชวงแรก ของป 2011 ทําใหการคามีการเติบโตเพียงรอยละ1.4 1037 ในสวนของภาคธุรกิจนั้นบริษัททองเที่ยว ทั้งของไทยและกัมพูชาก็ไดเตรียมการฟนฟูธุรกิจ 1038 ดานจิรนันท วงศมงคล ผูอํานวยการ สํานักงานสงเสริมการคาตางประเทศประจําสถานทูตไทยในกัมพูชาก็ไดมีแผนการจะรื้อฟนการจัด งานนิทรรศการการคาอีกครั้ง หลังจากไดเลื่อนมาครั้งหนึ่ง คาดวาจะมีธุรกิจไทยประมาณ 200 บริษัทมาเขารวม 1039 ในสวนของรัฐบาลกัมพูชาก็ตองการมีรายไดจากการขุดเจาะน้ํามันในบริเวณพื้นที่ทับซอน ในอาวไทย ดังจะเห็นวาการปโตรเลียมแหงชาติกัมพูชาไดออกแถลงการณวา“รัฐบาลกัมพูชาจะ กลับมาเจรจาเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่ทับซอนในทะเลในอาวไทยกับรัฐบาลไทยอีกครั้งหนึ่ง” พรอม กับย้ําวา“ที่ผานมา รัฐบาลกัมพูชายังไมเคยทําความตกลงใดใดทั้งสิ้น ไมวาจะกับรัฐบาลยิ่งลักษณ หรือเอกชนรายใด ตามคํากลาวหาของ อนิก อมรานันทน สส.พรรคประชาธิปตย ใน แถลงการณนี้ยังระบุวา“ในอดีตไทยและกัมพูชาไดลงนามใน MOU เมื่อเดือนมิถุนายน 2001 เพื่อ จัดตั้ง คณะกรรมการเทคนิครวม (Joint Technical Committee-JTC) และคณะทํางานอีกสองคณะ ซึ่งผลการทํางานมีความคืบหนามากโดยเฉพาะในชวงระหวางป 2001-2007” ยิ่งไปกวานั้น แถลงการณนี้ยังอางถึง“การเจรจาสมัยนายอภิสิทธิ์ที่สงนายสุเทพ เทือกสุบรรณ และพลเอกประวิตร วงษสุวรรณมาประชุมลับกับนายฮุนเซ็นนั้น วายังไมมีความคืบหนาใดใด” 1040 เหลานี้สะทอนทาง ฝายกัมพูชามีความกระตือรือลนที่อยากจะพัฒนาเศรษฐกิจการคาและการลงทุนมากกวาการทํา

1036 “Cambodia pulls back troops from border with Thailand”, Xinhua (20 August 2011) 1037 “Border row hampers Cambodian, Thai trade growth in first half ”, Xinhua (16 August 2011) 1038 Cambodian, Thai travel agents to meet as border row eases”, Xinhua (23 August 2011) 1039 “Thailand replans trade expo in Cambodia after delay”, Xinhua (1 September 2011) 1040 “Cambodia seeks to resume oil deal talks with Thailand on overlapping area”, Xinhua (31 August 2011) 243

สงคราม เปนบรรยากาศที่พรอมจะหันหนาเขาหากัน เนื่องจากมีผลประโยชนรวมทางเศรษฐกิจ ฝายกัมพูชานั้นประกาศวา ไดถอนทหารออกจากพรมแดนติดกับไทยเปนครั้งที่ 7 แลว แตสํานัก ขาวซินหัวไมพบวามีขาวเกี่ยวกับการถอนของทหารไทย 1041 สํานักขาวซินหัวไดอางกระทรวงการตางประเทศไทยที่แถลงวานายกรัฐมนตรีไทยจะไป เยือนกัมพูชาอยางเปนทางการในวันที่ 15 กันยายน เพื่อแนะนําตนเองเนื่องในโอกาศรับตําแหนง ใหม 1042 นายสก อาน รองนายกรัฐมนตรีกัมพูชาย้ําวา “การมาเยือนครั้งนี้จะชวยปรับปรุง ความสัมพันธระหวางไทยและกัมพูชา” 1043 นอกจากนี้นายสก อานซึ่งเปนประธานของการ ปโตรเลียมแหงชาติของกัมพูชาไดย้ําเรื่องที่ควรจะมีการเจรจาเรื่อง ‘การขุดเจาะน้ํามันบริเวณพื้นที่ ทับซอนในอาวไทย’โดยเร็วที่สุด ทัศนะของนายสก อานเชนนี้สอดคลองกับรายงานของสํานักขาว ซินหัว เรื่อง“การเยือนกัมพูชาของนายกรัฐมนตรีไทยอาจชวยฟนฟูความไววางใจตอกันและการ ลงทุน” ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดอาง ดร.โสก ทัช (Dr. Sok Touch) นักวิชาการดานรัฐศาสตรและ รองอธิการมหาวิทยาลัยเขมารัก (Khemarak University) วา “การพบปะของทั้งสองนายกรัฐมนตรี จะเนนปรับปรุงความสัมพันธระดับทวิภาคีที่เสื่อมทรามลงตั้งแตป 2008” และที่สําคัญที่สุดคือ “ตองจูงใจนักลงทุนใหมีความเชื่อมั่นและหันมาไววางใจกันอีกครั้ง โดยเฉพาะในชวงเจ็ดเดือนแรก ของป 2011 นั้นไมมีนักลงทุนชาวไทยเขามาลงทุนเลย” ซึ่งตรงกับทัศนะของ ชเฮง กิมลอง (Chheng Kimlong) ผูบรรยายวิชาเศรษฐศาสตรจากมหาวิทยาลัยกัมพูชา (University of Cambodia) ที่วา “การมาเยือนของนายกรัฐมนตรีไทยจะทําใหนักลงทุนมีความมั่นใจขึ้น” นักวิชาการทั้งสองคนคาดการวา “จะตองมีการเจรจาเรื่องพรมแดนและการพัฒนาน้ํามันและกาซ รวมกันอยางแนนอน” แตดร.โสก ทัชเห็นวา “กรณีพรมแดนอาจไมใชประเด็นรอนอีกตอไป เนื่องจากศาลโลกไดมีคําตัดสินแลวและอาเซียนก็ไดเขามามีบทบาทมากขึ้น” 1044 ทัศนะขางตน ของนักวิชาการนี้สอดคลองกับรายงานของสํานักขาวซินหัวที่วา ทั้งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาและไทย

1041 “Cambodia makes 7th troop withdraw from border with Thailand”, Xinhua (5 September 2011) 1042 “Thai PM to visit Cambodia on September 15”, Xinhua (7 September 2011) 1043 “Yingluck's visit to improve relations: Cambodian deputy PM”, Xinhua (9 September 2011) 1044 “Thai PM's Cambodia visit may restore mutual trust, investment”, Xinhua (14 September 2011) 244

ไดตกลงจะ “ฟนฟูความรวมมือกันในทุกๆดาน” 1045 ในสวนของนายกรัฐมนตรีไทยก็แสดงออกวา “พึงพอใจกับการเยือนกัมพูชาในครั้งนี้ 1046 สํานักขาวซินหัวรายงานวา จํานวนนักทองเที่ยวที่ ปราสาทพระวิหารไดเพิ่มขึ้นแลวหลังจากสถานการณที่ชายแดนไทย-กัมพูชาไดคลี่คลาย 1047 ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ ชินวัตร ไทยไดดําเนินการทูตเชิงรุกในทุกระดับที่นาสนใจ คือ ไดริเริ่ม“การทูตดวยฟุตบอล”(football diplomacy) กับกัมพูชาโดยสํานักขาวซินหัวไดอางนายจตุ พร พรหมพันธวา มีเปาหมายเพื่อจะขอใหกัมพูชาปลอยตัวนายวีระ สม.ความคิดและนางสาวราตรี พิพัฒนไพบูลยที่ถูกตัดสินวาเปนจารชน 1048 ทั้งนี้ส.ส.พรรคเพื่อไทยและกลุมเสื้อแดง 35 คนนํา โดยนายเหวง โตจิราการและนายจตุพร พรหมพันธที่เดินทางมาในโครงการ “การทูตฟุตบอล”ก็ได ใหคํามั่นวาจะประสานรอยราวในความสัมพันธไทยกับกัมพูชาในชวงสามปที่ผานมาในสมัยนาย อภิสิทธิ์ ในรายงานนี้สํานักขาวซินหัวระบุวาอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณไดเดินทางเขามากัมพูชาใน ชวงเวลาดียวนี้ดวย 1049 นอกจากนี้นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนทประธานรัฐสภาไทยก็ไดเดินทางไป เยือนกัมพูชาและใหคํามั่นวาจะชวยรัฐบาลในการปรับปรุงความสัมพันธกับกัมพูชา 1050 ในสวน ของความมั่นคง พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมไทยก็ไดเริ่มการเยือน กัมพูชาเปนเวลา 2 วันเพื่อหารือเกี่ยวกับการประชุม.คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) 1051 หลังการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมของทั้งกัมพูชาและไทยไดตกลงที่จะปฏิบัติตาม คําสั่งของศาลโลกที่ใหมีการถอนทหาร 1052 ยิ่งกวานั้นในการเจรจาเพื่อขอใหปลอยตัว “วีระและ ราตรี”นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นไดหารือกับพลเอกยุทธศักดิ์วา “กัมพูชาตองการแลกเปลี่ยนนักโทษ

1045 “Cambodian, Thai PMs agree to restore cooperation in all fields.”, Xinhua (15 September 2011) 1046 “Thai PM satisfied with Cambodia visit”, Xinhua (16 September 2011) 1047 “Number of tourists to Preah Vihear temple bounces back as border tension eases”, Xinhua (8 September 2011) 1048 “Thai red shirts to initiate "football diplomacy" with Cambodia”, Xinhua (9 September 2011) 1049 “Pheu Thai's leaders pledge to mend ties with Cambodia”, Xinhua (17 September 2011) 1050 “Thai parliament chief pledges to help improve ties with Cambodia”, Xinhua (20 September 2011) 1051 “Thai defense minister starts 2-day visit in Cambodia”, Xinhua (23 September 2011) 1052 “Cambodian, Thai defense ministers agree to comply with World Court's order on troop pullout”, Xinhua (23 September 2011) 245

กับไทย” โดยสํานักขาวซินหัวไดระบุวา “มีนักโทษไทยอยูในกัมพูชา 37 คน และมีนักโทษกัมพูชา อยูในไทยจํานวนมากแตไมไดระบุจํานวน” 1053 นอกจากนี้ประชาชนไทยและกัมพูชายังไดทําบุญ รวมกันในงานประเพณี ที่จุดผานแดนถาวรที่ชองสะงึม โดยมีนายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ ผูชวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรมารวมงานดวย ทั้งนี้มีพระสงฆจํานวนกวาหนึ่งพันรูป และ ประชาชนจํานวนกวาสองพันคนจากทั้งสองประเทศมารวมงาน1054

ไทยยังเปนสมาชิกที่ประชุมมรดกโลกของยูเนสโก

ในเดือนตุลาคมสํานักขาวซินหัวรายงานวา นายสุรพงษ โตวิจักขณชัยกุล รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศไทยคนใหมแถลงวา “ไทยจะยังคงเปนสมาชิกที่ประชุมมรดกโลกของ ยูเนสโก” โดยไทยจะขอรองคณะกรรมการมรดกโลกให “รอฟงผลของคําพิพากษาของศาลโลก” กอนที่คณะกรรมการมรดกโลกจะพิจารณาลงมติเห็นชอบแผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหาร ที่เสนอโดยกัมพูชา สํานักขาวซินหัวไดใหขอมูลวา ยูเนสโกไดปรับทาทีตอประเทศไทยโดยเสนอ วา ยูเนสโกจะใหความชวยเหลือไทยในการบูรณะโบราณสถานที่ถูกน้ําทวมในจังหวัดอยุธยา ตลอดจนได “ชลอ” มิใหมีการลงมติเกี่ยวกับแผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหารที่เสนอโดย กัมพูชา เนื่องจากแตเดิมนายสุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรของไทยไดประทวงดวย การ“เดินออก”จากการประชุมครั้งที่ 35 ของยูเนสโกในเดือนมิถุนายน 2011 1055 กลาวโดยสรุปจะเห็นวา ในป 2011 มีการปะทะใหญที่กินระยะเวลายาวนาน คือ การปะทะ ในชวง 4-7 กุมภาพันธ และการปะทะในชวง 22 เมษายน-3 พฤษภาคม และประเด็นที่ศาลโลกสั่ง เมื่อ 18 กรกฎาคมใหกัมพูชาและไทยถอนออกจากเขตปลอดทหาร ตลอดจนประเด็นการปะทะ สั้นๆในวันที่ 15 กุมภาพันธ 2011 และเกาะติดแทบจะทุกประเด็นการเคลื่อนไหวทางการเมือง อาทิ เชน ประเด็นที่อภิสิทธิ์กดดันกัมพูชาใหยายปายหินและธงที่วัดแกวสิกขาคีรีสวารา จนนําไปสูการ ปะทะชวงวันที่ 4-7 และ 15 กุมภาพันธ 2011 และประเด็นที่กัมพูชาทําการยื่นฟองไทยตอคณะ

1053 “Cambodia calls for talks on exchange of prisoners with Thailand”, Xinhua (23 September 2011) 1054 “Thai-Cambodian people join merit making for tightening ties”, Xinhua (9 October 2011) 1055 “Thailand to remain as party to World Heritage Convention: FM”, Xinhua (13 October 2011) 246

มนตรีความมั่นคงแหงองคการสหประชาชาติ (UNSC) ซึ่งไดมีมติมอบหมายใหอาเซียนมีบทบาท ไกลเกลี่ยกรณีพิพาทระหวางไทย-กัมพูชา โดยอินโดนีเซียในฐานะประธานอาเซียนจะสงผูสังเกตุ การณมาดูแลการหยุดยิงที่ชายแดนไทย-กัมพูชา นอกจากนี้สํานักขาวซินหัว มีประเด็นเกี่ยวกับ บทบาทของผูแทนพิเศษของยูเนสโก ตลอดจนประเด็นที่ไทย-กัมพูชาขัดแยงกันเรื่องการประชุม. คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) และคณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (JBC) จนนําไปสูการ ปะทะอีกครั้งในชวงวันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011 หลังจากที่นายอภิสิทธิ์ไดยุบสภาและแพ การเลือกตั้งทั่วไปในเดือนกรกฎาคม สํานักขาวซินหัวไดรายงานวา เมื่อยิ่งลักษณเขารับตําแหนง นายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคม ไทย-กัมพูชาไดพยายามฟนฟูความสัมพันธระหวางกัน ดังจะเห็น วามีความคืบหนาในประเด็นการถอนทหารและประเด็นการสงผูสังเกตุการณมาตามคําสั่งของศาล โลก เชน มีการเตรียมประชุมคณะกรรมการชายแดนสวนภูมิภาค (Regional Border Committee- RBC) ในเดือนกันยายน และการประชุมคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Commission-GBC) ในเดือนธันวาคมป 2011

การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2012

ในการเสนอขาวในป 2012 ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณของสํานักขาวซินหัวนั้น จะเห็นวา สํานักขาวซินหัวมีการรายงานถึง 53 ขาว โดยเนนประเด็นการที่ไทย-กัมพูชาฟนฟูความสัมพันธกัน ประเด็นการปฏิบัติตามคําสั่งของศาลโลกโดยยิ่งลักษณและฮุนเซ็นไดรวมลงนามการถอนทหาร ตามคําสั่งของศาลโลก ประเด็นความคืบหนาการถอนทหาร และประเด็นการที่อินโดนีเซีย เตรียมการที่จะสงผูสังเกตุการณเขามา ตลอดจนประเด็นการประชุม‘คณะทํางานรวม’(Joint Working Group-JWG) ระหวาง‘ศูนยปฏิบัติการเก็บกูทุนระเบิดแหงชาติของรัฐบาลกัมพูชา (Cambodia Mine Action Centre—CMAC) และ ศูนยปฏิบัติการเก็บกูทุนระเบิดแหงชาติของ รัฐบาลไทย (Thailand Mine Action Centre—TMAC) อนึ่งแมวาสถานการณยังไมสงบนัก เพราะ ยังมีการประทวงของกลุมชาตินิยมไทยและการกระทบกระทั่งกันของทหารไทย-กัมพูชาที่ชายแดน แตสํานักขาวซินหัวก็สนใจประเด็นวา สํานักงานสงเสริมการลงทุน (BOI) ของไทยกําลังเดินหนา หารือกับกัมพูชาเกี่ยวกับการสงเสริมการลงทุนของไทยในกัมพูชาที่ไดซบเซาไป และนักทองเที่ยว ชาวตางประเทศที่มาเยือนกัมพูชามีจํานวนถึง 2.57 ลานคน ในเวลา 9 เดือนซึ่งเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 24 ดังตาราง 6.5

ตารางที่ 6.5 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2012 247

2012 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวน ขาว Xinhua 8 5 8 3 6 4 8 1 1 1 2 6 53

ดังจะเห็นวารัฐบาลยิ่งลักษณไดดําเนินการทูตเชิงรุกตอไปในป 2012 กลาวคือ จัดใหผูนํา ไทยในระดับตางๆไดเดินทางไปเยือนกัมพูชา ดังที่สํานักขาวซินหัวไดรายงานวา กรุงพนมเปญของ กัมพูชาและกรุงเทพมหานครของไทยไดเปน“เมืองพี่เมืองนอง”(sister cities)กันแลว โดยนายเกพ ชุคเตมา(Kep Chuktema) ผูวาการกรุงพนมเปญและมรว.สุขุมพันธ บริพัตรผูวากทม.ไดตกลงที่จะ ทําขอตกลงนี้ระหวางการเยือนกัมพูชาเปนเวลาสามวันของ มรว.สุขุมพันธ บริพัตร ผูวากทม. 1056 นอกจากนี้มีรายงานวา วุฒิสมาชิกจากไทย 6 คน นําโดยนายพายับ ทองชื่นไดไปเยือนกัมพูชาและ เขาเยี่ยม.คารวะนายเฮงสัมริน(Heng Samrin) ประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติกัมพูชาไดมีการ หารือเรื่องความรวมมือในอนาคต เนื่องจากจะมีการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2015 1057

อาเซียนจะตั้ง‘สถาบันเพื่อสันติภาพและการปรองดอง’

สํานักขาวซินหัวไดเสนอพัฒนาการในดานบวกเกี่ยวกับบทบาทของอาเซียน ดังจะเห็นวา ในการประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอาเซียนที่บาหลีอินโดนีเซียมีขอสรุปวา “อาเซียนจะพิจารณาจัดตั้ง‘สถาบันเพื่อสันติภาพและการปรองดอง’(ASEAN Institute for Peace and Reconciliation -AIPR) โดยจะเริ่มโครงการนี้ในป 2012 ทั้งนี้นายมารตี นาทาเลกาวา (Marty Natalegawa) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอินโดนีเซียไดย้ําวา“อาเซียนในขณะนี้ แตกตางจากในอดีต โดยอาเซียนไดทํางานที่เปนรูปธรรมมากขึ้นในการแกปญหา ดังจะเห็นไดจาก กรณีพิพาทไทย-กัมพูชา”1058 ทั้งนี้นายฮุนเซ็นได “ขอใหอินโดนีเซียยังคงชวยแกปญหาไทยกัมพูชา

1056 “Cambodia's Phnom Penh, Thailand's Bangkok to become sister cities”, Xinhua (8 May 2012) 1057 “Cambodian, Thai legislators hail improving ties after border conflict calms down”, Xinhua (28 September 2012) 1058 “ASEAN foreign ministers meeting concludes in Bali, Indonesia ”, Xinhua (15 November 2011) 248

ตอไป” แมวาอินโดนีเซียกําลังจะสิ้นสุดวาระการเปนประธานอาเซียน และกัมพูชาจะรับบทบาท เปนประธานคนใหมประจําป 2012 1059 ดานนายมารตี นาทาเลกาวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศของอินโดนีเซียซึ่งไดสิ้นสุดการเปนประธานประจําป 2011 ไดมาเยือนกัมพูชา และ หวังวากรณีพิพาทไทย-กัมพูชาจะยุติลงดวยดี 1060 เพื่อใหสอดคลองกับบรรยากาศเพื่อสันติภาพ และการปรองดองในอาเซียน มีรายงานวา กัมพูชาไดจัดประชุมบรรณาธิการและนักขาวอาวุโส โดยมีการหารือและ ออก‘กฎ’เกี่ยวกับการรายงานขาวความขัดแยงในกรณีพระวิหาร เพื่อหลีกเลี่ยง ความเขาใจผิดและการยั่วยุใหบาดหมางกันระหวางผูรับขาวสารจากทั้งไทยและกัมพูชา ทั้งนี้ ‘กฎ’นี้ ไดรับการเห็นชอบแลวจากบรรณาธิการบริหารจํานวน 32 คน และ นักขาวอาวุโสจากสื่อหลักทั้ง สื่อสิ่งพิมพและสื่ออีเลกโทรนิก ในกัมพูชา 1061 แนวโนมในทางบวกนี้ทําใหนายสุรินทร พิศ สุวรรณเลขาธิการอาเซียนระบุวา “สถานการณกรณีพิพาทที่ชายแดนกัมพูชาและไทยดีขึ้นมาก เนื่องจากไมมีการปะทะ” เขาย้ําวา“อาเซียนไมตองการความรุนแรง เพราะจะทําใหทั้งโลกมองวา อาเซียนนั้นไมมีความปลอดภัยและไมมีความมั่นคง” 1062

ความคืบหนาการถอนทหารและการสงผูสังเกตการณมาตามคําสั่งของศาลโลก

ตามที่ศาลโลกไดมีคําสั่งเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2011 ใหกัมพูชาและไทยถอนกองกําลัง ออกจากเขตปลอดทหาร นั้น ไดมีความพยายามรวมกันที่จะปฏิบัติตามคําสั่งของศาลโลก ดังมี รายงานวา กระทรวงกลาโหมกัมพูชาไดออกแถลงการณวา พรอมจะรวมมือกับไทยในเรื่องการถอน ทหาร 1063 โดยจะมีการหารือกันเรื่องนี้ในการประชุมคณะกรรมการชายแดนภูมิภาค (Regional

1059 “Cambodia asks Indonesia to continue its role in solving Cambodian, Thai border conflict”, Xinhua (20 November 2011) 1060 “Indonesia hopes Cambodian, Thai border dispute could end with World Court’s order”, Xinhua (5 March 2012) 1061 “Cambodian journalists approve rules for reporting border conflict with Thailand”, Xinhua (28 November 2011) 1062 “Cambodian, Thai disputed border situation much improving: ASEAN chief”, Xinhua (5 April 2012) 1063 “Cambodia ready to cooperate with Thailand on troop pullouts: defense spokesman”, Xinhua (23 August 2011) 249

Border Committee-RBC) ที่จังหวัดนครราชสีมา ระหวางพลโทธวัชชัย สมุทรสาคร แมทัพภาคที่ 2 และพลเอกเจียมอน (Chea Mon) แมทัพภาคที่ 4 ของกัมพูชา และผูชวย รัฐมนตรีกลาโหม เนียง พัท (Neang Phat) 1064 ตอมากัมพูชาอางวาไดถอนทหารออกไปในจํานวนกวา1,500 นายออกไป จากชายแดนไทย-กัมพูชา ซึ่งครั้งนี้เปนการถอนทหารเปนครั้งที่ 5 1065 ในการนี้เจาหนาที่ของ กระทรวงกลาโหมไทย-กัมพูชาก็ไดนัดหมายจะประชุมกันในวันที่ 7-8 กันยายน ที่กรุงพนมเปญ 1066 นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวไดอางรายงานจากสํานักขาวอสมท.วา จะมีการประชุม คณะกรรมการชายแดนทั่วไปครั้งที่ 8 (8th GBC) ในเดือนธันวาคมนี้ที่กัมพูชา เพื่อหารือกันใน รายละเอียดของการถอนทหาร ทั้งนี้พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีกลาโหมไทยแถลงวา รัฐสภาไดใหความเห็นชอบ ‘กรอบการเจรจา’แลว ตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฉบับป 2007 1067 ในการนี้รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชาไดสงจดหมายเชิญประชุมคณะกรรมการทั่วไปชายแดนครั้ง ที่ 8 ในวันที่ 20-25 ธันวาคม มายัง รัฐมนตรีกลาโหมไทย 1068 ซึ่งเปนที่นาสังเกตวาพลเอกประ ยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบกไทย ไดเปลี่ยนทาที ยินยอมจะเขารวมการประชุม GBC ครั้ง ที่ 8 นี้ดวย โดยสํานักขาวซินหัวไดระบุผูบัญชาการทหารบกไทยไดแถลงวา ไดเตรียมประเด็นที่จะ นํามาหารือกันในที่ประชุมถึง 17 ประเด็น 1069 ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดอางสํานักขาวอสมท.วา จะ

1064 “Thai-Cambodian regional border meeting begins”, Xinhua (24 August 2011) 1065 “Cambodia pulls back border other 1,500 troops from disputed border with Thailand”, Xinhua (31 August 2011) 1066 “Cambodian, Thai defense officials to discuss troop pullout”, Xinhua (1 September 2011) 1067 “Thailand, Cambodia to discuss troop deployment in December”, Xinhua (28 November 2011) 1068 “Cambodia invites Thailand for the 8th GBC meeting : defense spokesman ”, Xinhua (30 November 2011) 1069 “Thai army chief to attend Thai-Cambodia general border talks”, Xinhua (20 December 2011) 250

มีการหารือเรื่องการถอนทหาร 1070 สอดคลองกับพลเอกเตียบัน รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชาที่ยอมรับ “การเจรจากัมพูชาและไทยเกี่ยวกับการถอนทหารมีความคืบหนา”1071 สํานักขาวซินหัวไดอางหนังสือพิมพจาการตาโพสตของอินโดนีเซียที่ระบุวา นายปุรโนโม ยุสกิอาโทโร (Purnomo Yusgiatoro) รัฐมนตรีกลาโหมอินโดนีเซียไดเตรียมการที่จะสงผูสังเกตุ การณมากัมพูชาและไทย โดยขณะนี้กําลังมีการฝกอบรมผูสังเกตุการณที่‘ศูนยสันติภาพและความ มั่นคงอินโดนีเซีย’ (Indonesian Peace and Security Center-IPSC) ในเมืองเซนตุล(Sentul)บน เกาะชวาตะวันตก แตทั้งนี้จะตองมีการปรับปรุงแกไข‘ขั้นตอนปฏิบัติการตามมาตรฐาน’(the standard operational procedure-SOP) และ‘เงื่อนไขอางอิง’(Term of Reference-TOR) ขึ้นมา ใหม ตามที่ศาลโลกไดแนะนําใหมีการตั้ง‘ทีมผูสังเกตุการณรวมระหวางอินโดนีเซียกัมพูชาและ ไทย’1072 ในขณะเดียวกันสํานักขาวซินหัวก็ รายงานวาการปฏิบัติงานระดับเจาหนาที่ของไทยและ กัมพูชาที่เปนรูปธรรมมากขึ้น ดังจะเห็นวา คณะเจาหนาที่อาวุโสของกัมพูชาจํานวน 25 คน นําโดยนายวารกึมฮง (Var Kimhong) รัฐมนตรีอาวุโสดูแลกิจการชายแดนของกัมพูชา ไดเดินทาง มาไทยเพื่อรวมประชุม.ครั้งที่ 5 ของคณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (Joint Border Commission- JBC)ในวันที่ 13-14 กุมภาพันธ หลังจากไดมีการประชุม.ครั้งที่ 4 ไปในป 2009ในสมัยรัฐบาลนาย อภิสิทธิ์ ทั้งนี้นายวารกึมฮงระบุวาในเดือนมิถุนายนป 2006 คณะกรรมาธิการเขตแดนรวม (JBC) ชุดนี้ไดตรวจพบหมุดปกเขตแดนจํานวน 48 หมุดจากทั้งหมด 73 หมุด แตการปกหมุดไดชะงักไป เนื่องจากมีการปะทะกันในป2008 1073 ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดใหความสําคัญรายงานขาวการ ประชุมนี้เปนประจําทุกวัน โดยนายวารกึมฮงระบุวาการเจรจามีความคืบหนาอยางมาก แตยังไมมี ฝายใดทําการถอนทหารออกจากพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.1074 นอกจากนี้คณะกรรมาธิการเขต

1070 “Thailand, Cambodia to discuss troop redeployment in December”, Xinhua (28 December 2011) 1071 “Cambodian-Thai talks on troop pullout make headway”, Xinhua (17 January 2012) 1072 “Indonesia to send observers to Cambodia,Thailand”, Xinhua (17 January 2012) 1073 “Cambodian senior officials head to Thailand for border talks”, Xinhua (12 February 2012) 1074 “Cambodian official says border talks with Thailand make significant progress”, Xinhua (14 Feb ruary 2012) 251

แดนรวมไทย-กัมพูชา (JBC) ชุดนี้ไดตกลงที่จะจัดตั้ง “จุดตรวจถาวร” จุดใหมที่บานสะตึงบท (Stung Bot) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดสระแกว และบานนองเฮียน (Nong Hian) ใน จังหวัดบันเตยเมียนเจีย (Bantey Meancheay) ของกัมพูชาโดยย้ําวา การตั้ง ‘จุดตรวจถาวร’นี้จะไม มีผลใดใด ตอการปกปนเขตแดนทางบก 1075 ดานพลเอกสุกัมพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมไทยมีกําหนดจะไปเยือน กัมพูชาเพื่อเรงรัดใหมีการประชุม“คณะทํางานรวม” (Joint Working Group-JWG) เปนครั้งที่สอง หลังจากที่ไดประชุม.ครั้งแรกไปเมื่อเดือนเมษายนที่กรุงเทพ 1076 ทั้งนี้เพื่อนําไปสูการถอนทหาร จากพื้นที่ทับซอนโดยเร็ว ทั้งนี้ “คณะทํางานรวม” (JWG) นี้ไดกอตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2011 เพื่อมีภารกิจในการจัดการเรื่องการถอนทหารออกจาก ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ ตามคําสั่งของศาล โลก 1077 การจัดประชุม.คณะทํางานรวม (JWG) ครั้งที่สองนี้จัดขึ้น เพื่อหารือกันตอเรื่องการถอน ทหาร ทั้งนี้ประธานรวมฝายกัมพูชา คือ พลเอกเนียงพัท เลขานุการแหงรัฐประจํากระทรวงกลาโหม และพลเอกวรพงศ แสงเนตรา หัวหนาคณะเสนาธิการรวมของกองทัพบกไทยเปนประธานรวมฝาย ไทย1078 ในการนี้‘ศูนยปฏิบัติการเก็บกูทุนระเบิดแหงชาติของรัฐบาลกัมพูชา’(Cambodian Mine Action Center-CMAC) และ ‘ศูนยปฏิบัติการเก็บกูทุนระเบิดแหงชาติของรัฐบาลไทย’ (Thailand Mine Action Center-TMAC) จะประชุมกันในกรุงเทพในสัปดาหที่สามของเดือนกรกฎาคมเพื่อ หารือเกี่ยวกับ ‘มาตรการและการวางแผนการกูระเบิดรวมกัน’ ในบริเวณ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ (Provisional Demilitarized Zone-PDZ) ตลอดจน ‘การถอนทหารและการเตรียมการรับคณะผู

1075 “Thai-Cambodian boundary commission agree to resume demarcation”, Xinhua (14 Feb ruary 2012) 1076 “Thai defence minister to attend ASEAN Defence Ministers’ Meeting in Cambodia”, Xinhua (28 May 2012) 1077 “Cambodian, Thailand agree on troop pullout from disputed border”, Xinhua (28 May 2012) 1078 “Cambodian, Thai defense officials to continue talks on troop pullout next week”, Xinhua (22 June 2012) 252

สังเกตุการณจากอินโดนีเซีย’ ทั้งนี้จะเริ่มดําเนินการภายใน 30 วันหลังจากเจาหนาที่เก็นกูระเบิดจาก CMAC และ TMAC ไดเสร็จสิ้นภารกิจการกูระเบิดในเขตปลอดทหารชั่วคราวแลว 1079 ยิ่งลักษณ-ฮุนเซ็นรวมลงนามถอนทหารตามคําสั่งของศาลโลก

แมวาไทยและกัมพูชาไดหารือกันที่จะปฎิบัติตามคําสั่งของศาลโลกมาระยะหนึ่งแลว แตที่ ผานมายังไมมีฝายใดยอมถอนทหารออกจากพื้นที่ 17.3 ตารางกม.ซึ่งถือเปนเขตปลอดทหารที่ศาล โลกกําหนดขึ้นใหม โดยฝายกัมพูชาออกมาแถลงวา จะตองมีการถอนทหารกัมพูชาออกไปพรอมๆ กับการถอนทหารของไทย 1080 ตราบจนกระทั่ง วันที่ 13 กรกฎาคม 2012 จึงมีการลงนามเปน ลายลักษณอักษรในอันที่จะถอนทหารออกจากเขตปลอดทหารชั่วคราว ตามคําสั่งของศาลโลกเมื่อ วันที่ 18 กรกฎาคม2011 โดยนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นของกัมพูชาและนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณของ ไทย ที่จังหวัดเสียมเรียบในกัมพูชา 1081 ตามมาดวยรายงานขาวที่วากัมพูชาไดเปนฝาย เริ่มถอน ทหารจํานวน485 นาย ออกจากชายแดนที่เปนพื้นที่พิพาทกับไทยแลว 1082 ตลอดจนรายงานที่วา เจาหนาที่กระทรวงกลาโหมและผูเชี่ยวชาญกฎหมายของกัมพูชาไดเดินทางมาไทยเพื่อรวมประชุม JWG ครั้งที่สามระหวาง 17-19 ธันวาคมนี้ เพื่อวางแผนการถอนทหารออกจากเขตปลอดทหาร ชั่วคราว 1083 นอกจากนี้กัมพูชา-ไทย ไดเห็นชอบแผนการที่จะทําลายกับระเบิดในเขตเขตปลอด ทหารชั่วคราวใหแลวเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธ 2013 1084

1079 “Cambodia, Thailand see a step forward to troop pullout from disputed border”, Xinhua (28 June 2012) 1080 “Cambodia willing to withdraw troops from disputed area with Thailand”, Xinhua (9 July 2012) 1081 “Cambodian, Thai PMs agree to redeploy troops at disputed border”, Xinhua (14 July 2012) 1082 “Cambodia withdraws 485 troops from disputed border with Thailand”, Xinhua (18 July 2012) 1083 “Cambodian defense officials leave for Thailand to ralk on disputed border area”, Xinhua (17 December 2012) 1084 “Cambodia, Thailand agree to draw up mine clearance plan in demilitarized zone by February”, Xinhua (19 December 2012) 253

สํานักขาวซินหัว ชี้วาสถานการณในชวง 5 เดือนแรกของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นั้นไดสรางความพอใจใหกัมพูชา ดังจะเห็นวา นักทองเที่ยวที่ปราสาทพระวิหารในรอบ 11 เดือน ของป 2011 นั้นมีจํานวนเพิ่มถึงรอยละ 28 มีจํานวนถึง 49,740 คน 1085 หลังจากที่ในป 2011 มี สถานการณตึงเครียดที่ชายแดนจนมีผลใหนักทองเที่ยวที่ปราสาทพระวิหารลดลงถึงรอยละ 32 1086 ในเดือนกุมภาพันธ2012 สํานักขาวซินหัวไดใหขอมูลดานบวกเกี่ยวกับการคาระหวางกัมพูชาและ ไทยในป 2011 ที่ไดเติบโตขึ้นถึงรอยละ 21 เนื่องจากรัฐบาลยิ่งลักษณไดคลี่คลายสถานการณ มีผล ใหความตึงเครียดที่ชายแดนคลายตัวลง 1087 นายกฮุนเซ็นยังไดระบุวา “รัฐบาลยิ่งลักษณทําให ความสัมพันธระหวางกัมพูชาและไทยใกลชิดขึ้น” ดานรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กัมพูชาและไทยก็สัญญาวา “จะกระชับความสัมพันธแบบทวิภาคีใหแนนแฟนยิ่งขึ้น”1088 สวน รัฐบาลจีนก็ไดชวยพัฒนาการทองเที่ยวบริเวณปราสาทพระวิหาร ดังจะเห็นวา มีการทําพิธีเปดถนน สองสาย คือ ทางหลวงสายที่ 62 ยาว 110 กม.จาก ตะเบยเมียนเจย (Tabeay Meancheay)ไปจนถึง ตีนเขาที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยู และถนนยาว 34 กม.จากจังหวัดเปรี๊ยะวิเฮียรไปยังปราสาท Koh Ke 1089

การประทวงของกลุมชาตินิยมไทยและการกระทบกระทั่งกันที่ชายแดน

สถานการณระหวางไทยและกัมพูชากําลังจะไปดวยดี แตในเดือนมีนาคม 2012 ก็เกิดเหตุ ตึงเครียดขึ้นอีกโดยสํานักขาวซินหัวไดอาง นายยุนมิน (Yun Min) รองผูบัญชาการกองกําลังทหาร เขมรที่จังหวัดเกาะกง (Koh Kong province) ซึ่งไดแจงวา “กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยจํานวนประมาณ 200 คนไดชุมนุมกันที่จุดผานแดนนานาชาติจามเยียม (Cham

1085 “Cambodia’s Preah Vihear heritage site attracts 49,740 tourists in 11 months”, Xinhua (5 December 2011) 1086 “Visitors to Preah Vihear heritage site drop 32 pct in 2011”, Xinhua (4 January 2012) 1087 “Cambodia's trade with Thailand grows 21 pct in 2011 after border dispute eased”, Xinhua (8 Feb ruary 2012) 1088 “Yingluck's administration brings close ties for Cambodia,Thailand:Cambodia PM ”, Xinhua (29 December 2011) 1089 “Cambodia inaugurates China-funded roads in cultural province”, Xinhua (12 December 2011) 254

Yeam International Border Checkpoint) ที่ชายแดนดานจังหวัดตราดของไทยและจังหวัดเกาะกง ของกัมพูชาเพื่อเรียกรองดินแดนคืนจากกัมพูชา โดยผูชุมนุมกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยไดตะโกนวิจารณรัฐบาลไทยปจจุบันที่ทําใหไทยเสียดินแดนแกกัมพูชา” นายยุนมิน ระบุวา“คนพวกนี้เปนพวกหัวรุนแรง พวกเขามีสิทธิ์จะตะโกนประทวงในดินแดนของตัวเอง แต ตองไมเขามาในดินแดนกัมพูชา” สํานักขาวซินหัวระบุวาคนไทยกลุมนี้ยังไดเขาไปตรวจ‘หมุดที่ปก ปนพรมแดนหมายเลขที่ 73’ (the border marker No. 73) ในบริเวณนี้ดวย 1090 อยางไรก็ตาม ประเด็นการชุมนุมของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยที่จุดผาน แดนดานตราด-เกาะกงนี้ มิไดมีผลกระทบตอกองทัพทั้งสองฝายแตอยางใด ดังจะเห็นไดจาก รายงานของสํานักขาวซินหัวที่วาพลเอกธนศักดิ์ ปติมาประกรผูบัญชาการทหารสูงสุดไทยได เดินทางมากัมพูชา เพื่อเขารวม “การประชุมอยางไมเปนทางการครั้งที่ 9 ของผูบัญชาการทหาร สูงสุดในอาเซียน” (9th ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal Meeting - ACDFIM) ใน การนี้ไดพบกับพลเอก พล ซาเริน (Gen. Pol Saroeun) ผูบัญชาการทหารสูงสุดของกัมพูชาซึ่งทั้ง ผู บัญชาการสส.กัมพูชาและไทยตางสัญญาวาจะลืมอดีตอันขมขื่นและจะชวยกันปรับความสัมพันธ ระหวางทหารใหดีขึ้น 1091 แนวโนมในทางบวกนี้ทําใหนายสุรินทร พิศสุวรรณเลขาธิการอาเซียน ระบุวา “สถานการณกรณีพิพาทที่ชายแดนกัมพูชาและไทยดีขึ้นมากเนื่องจากไมมีการปะทะ”เขาย้ํา วา“อาเซียนไมตองการความรุนแรง เพราะจะทําใหทั้งโลกมองวาอาเซียนนั้นไมมีความปลอดภัยไม มีความมั่นคง” 1092 นอกจากนี้ในพิธีเปดทางหลวงแหงชาติสายที่ 68ในจังหวัดเสียมเรียบ นายฮุน เซ็นไดเรียกรองใหทั้งกัมพูชาและไทยชวยกัน “สงเสริมการคาชายแดน” และย้ําวา “การแลกเปลี่ยน สินคายอมดีกวาการแลกกระสุนปน” 1093 นอกจากนี้มีรายงานวา มีการปะทะกันสั้นๆประมาณ 10 นาที มีผลใหทหารกัมพูชาบาดเจ็บ 1 คน ในการนี้ ผูบัญชาการทหารของไทยนายหนึ่งไดแจงแกผูสื่อขาวซินหัววา สาเหตุการปะทะเกิด

1090 “Thai activists gather at border with Cambodia for territory demand”, Xinhua (2 March 2012) 1091 “Cambodian, Thai army chiefs pledge to improve military ties”, Xinhua (28 March 2012) 1092 “Cambodian, Thai disputed border situation much improving: ASEAN chief”, Xinhua (5 April 2012) 1093 “Cambodia, Thailand shall boost trade as border tension eases: Hun Sen”, Xinhua (9 April 2012) 255

จากการเขาใจผิด เนื่องจากทหารไทยคิดวาทหารกัมพูชาเปนพวกที่มาลักลอบตัดไม สํานักขาวซิน หัวใหขอมูลวา ตั้งแตตนป 2012 ทหารไทยไดสังหารชาวบานกัมพูชาที่ลักลอบเขามาตัดไมไปแลว อยางนอย 8 คน 1094 สัปดาหตอมา ในทามกลางความพยายามของรัฐบาลยิ่งลักษณที่จะฟนฟู ความสัมพันธกับกัมพูชา สํานักขาวซินหัวไดอางรายงานจากหนังสือพิมพบางกอกโพสตวา กระทรวงการตางประเทศไทยกลับออกแถลงการณโจมตีกัมพูชา วา“ไดวางกับระเบิดตามชายแดน กับไทยจนทําใหทหารไทยไดรับบาดเจ็บขาขาด” ฝายกัมพูชาไดปฏิเสธขอกลาวหานี้และตอบโต ไทยวา “บริเวณนี้เคยเปนสนามรบจึงเต็มไปดวยกับระเบิดและระเบิดที่ถูกฝงอยูในพื้นดินในยุค เขมรแดงในอดีต” ทั้งยังไดเตือนกระทรวงการตางประเทศของไทยวา“อยาไดออกแถลงการณ เชนนี้ออกมาอีก เพราะจะเปนการทําลายบรรยากาศการปรับความสัมพันธระหวางไทย-กัมพูชา” 1095 สํานักขาวซินหัวไดรายงานวา ในกัมพูชาไดมีการเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ป ของการที่ กัมพูชาชนะคดีในศาลโลก เมื่อวันที่15 มิถุนายน 1962 ซึ่งไดตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของ กัมพูชา 1096 ตอมาในวันที่ 4 กรกฎาคม 2012 กระทรวงการตางประเทศกัมพูชาไดสงบันทึกผาน สถานทูตไทยในกัมพูชา กลาวหาไทยวา ไดละเมิดคําสั่งของศาลโลกวันที่ 18 กรกฎาคม 2011 เนื่องจากไดมีทหารไทยในชุดดําไดนํารั้วลวดหนามมาลอมบริเวณเขตปลอดทหารชั่วคราว ณ บริเวณดานเหนือของประตูทางเขาปราสาทที่ทําดวยเหล็กกลาและบริเวณอื่นๆ” ทั้งนี้กัมพูชาอางวา ไดทําการประทวงมาแลว แตไมไดผล ตอมาในตอนกลางคืนไดมีกระสุนสองนัดยิงมาจากที่ตั้งของ ทหารไทย และในตอนเชาทหารไทยไดนํารั้วลวดหนามมากั้นเพิ่มเติมอีก” 1097 นอกจากนี้มีรายงาน ที่นาสนใจจากศํานักขาวซินหัว ที่อางคําแถลงของพลเอกเตียบัน รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี กลาโหมวา รถถังใหมเอี่ยมและรถหุมเกราะจํานวนมากกวา 100 คัน ไดเดินทางมาขึ้นฝงที่เมืองทา สีหนุวิลลแลวตั้งแตวันที่ 30 ตุลาคม และของนายฮุนเซ็นวา “อยาถามวาเราซื้อรถถังมาจากไหน

1094 “1 Cambodian soldier injured in brief fire exchange with Thai forces”, Xinhua (30 April 2012) 1095 “Cambodia denies planting landmines on border with Thailand”, Xinhua (5 May 2012) 1096 “Cambodia celebrates 50th anniversary of victory over Thailand in Preah Vihear case”, Xinhua (16 June 2012) 1097 Cambodia accuses Thailand of breaching World Court's order”, Xinhua (4 July 2012) 256

ไมตองอยากรู เปนความลับทางทหาร” สํานักขาวซินหัวใหขอมูลวา “กัมพูชาไดเริ่มเสริม สมรรถนะความแข็งแกรงทางทหารนับตั้งแตเริ่มมีความขัดแยงที่ชายแดนกับไทยในป 2008”1098 อยางไรก็ตามการประทวงของกลุมชาตินิยมไทยและการกระทบกระทั่งกันระหวางกอง กําลังไทย-กัมพูชาที่ชายแดนก็ไมไดมีผลกระทบทางลบตอความสัมพันธระหวางสองประเทศ ดังมี รายงานวา เจาหนาที่จากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ของไทยกําลังเดินหนาหารือกับ กัมพูชาเกี่ยวกับการสงเสริมการลงทุนของไทยในกัมพูชาที่ไดซบเซาไปตั้งแตป 2008 1099 ในสวน ของการทองเที่ยวก็สดใสขึ้น ดังจะเห็นวามีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศถึง 2.57 ลานคน ที่มาเยือนปราสาทพระวิหาร ในเวลา 9 เดือน ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 24 1100 และในเวลา 11 เดือน จํานวนนักทองเที่ยวไดเพิ่มเปน 93,340 คน 1101

การรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2013

ในการเสนอขาวในป 2013ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณของสํานักขาวซินหัวนั้นจะเห็นวา สํานักขาวซินหัวไดจัดทํารายงานถึง 60 ขาว ในประเด็นที่ทั้งไทยและกัมพูชาเตรียมรับมือการให ปากคําเพิ่มเติมตอศาลโลกในวันที่ 15-19 และ 17 เมษายน 2013 ตลอดจนประเด็นสถานการณตึง เครียดที่ชายแดนในเดือนตุลาคมวา ในประเด็นที่วาชาวบานมีการฝกซอมอพยบหนีภัย มีการเตรียม ปดโรงเรียนในวันที่ศาลโลกจะมีคําตัดสิน และมีการสงตํารวจจลาจลไปคม.ครองสถานทูตกัมพูชา ในไทย เมื่อศาลโลกมีคําตัดสินในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2013 สํานักขาวซินหัวไดรายงานประเด็น ขาวอยางละเอียดในประเด็นวาทั้งรัฐบาลกัมพูชาและไทยพอใจกับคําตัดสิน และในประเด็นที่วาแม พรรคฝายคานไดพยายามบีบรัฐบาลไทยใหยอมรับวา“ไทยเปนฝายพายแพกัมพูชา”และ “ไทยเสีย ดินแดน”แตก็ไมสามารถโคนรัฐบาลยิ่งลักษณออกจากตําแหนงโดยใชขออางกรณีพระวิหารเหมือน ที่ทํากับรัฐบาลสมัครและสมชายได ดังตารางที่ 6.6 และประเด็นขาวในรายละเอียด

1098 “Cambodian PM defends weapon imports”, Xinhua (12 November 2012) 1099 “Cambodian, Thai officials meet to re-boost investment ties”, Xinhua (26 July 2012) 1100 “Cambodia receives 2.57 mln foreign tourists in 9 months, up 24 pct”, Xinhua (31 October 2012) 1101 “Cambodia’s world heritage Preah Vihear temple greets 93,340 tourists in 11 months”, Xinhua (14 December 2012) 257

ตารางที่ 6.6 การเสนอขาวของสํานักขาวซินหัวในป 2013

2013 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. จํานวน ขาว Xinhua 8 3 4 3 4 0 0 0 1 31 5 1 60

กรณีพิพาทชายแดนไทย-กัมพูชาทําใหกองทัพบกไทยและสื่อเสื้อเหลืองขัดแยงกัน

สํานักขาวซินหัวระบุวาไดมี “นายทหารไทยประมาณ 50 นายไปประทวงที่หนาสํานักงาน หนังสือพิมพเอเอสทีวี ผูจัดการ (ASTV-Manager) เพื่อแสดงความไมพอใจที่วิจารณผูบัญชาการ ทหารบก.พ.ลเอกประยุทธ จันทรโอชา” กอนหนานี้หนังสือพิมพเอเอสทีวีผูจัดการไดเรียกรอง รัฐบาลยิ่งลักษณให“ขัดขืนตอคําพิพากษาของศาลโลก” โดยกลาวหาวา คําตัดสินของศาลโลกไมมี ความชอบธรรม ในเรื่องนี้พลเอกประยุทธ จันทรโอชาไดออกมาตอบโตหนังสือพิมพผูจัดการวา “ไทยควรเคารพคําพิพากษาของศาลโลก” ทั้งนี้หนังสือพิมพผูจัดการไดเขียนบทวิจารณตอบโตพล เอกประยุทธวา เปนเหมือน ‘ผูหญิงที่มักโกรธเกรี้ยวอารมณเสียเวลามีประจําเดือน’ ทั้งนี้สํานักขาว ซินหัวไดอางหนังสือพิมพบางกอกโพสตที่ระบุวา หนังสือพิมพผูจัดการมักจะ‘มีเนื้อหาที่ทําลาย ขวัญและกําลังใจของทหาร’ 1102

ฮุนเซ็นโจมตี อภิสิทธิ์วานํากัมพูชาเขาไปยุงเกี่ยวกับการเมืองภายในของไทย

สํานักขาวซินหัวไดวิเคราะหวา แมรัฐบาลนายอภิสิทธิ์จะปดฉากลงจากการที่เขาไดยุบสภา และพรรคประชาธิปตยพายแพในการเลือกตั้งทั่วไปในเดือนกรกฎาคมป 2011 แตทวาในชวงการ รณรงคหาเสียงการเลือกตั้งผูวากทม.เมื่อ 3 มีนาคม 2011 นั้น นายอภิสิทธิ์ไดกลาวหาอดีต นายกรัฐมนตรีทักษิณวาได‘ผลประโยชนลับๆ’จากเจรจาเกี่ยวกับ ‘พื้นที่ทับซอนใน ทะเล’(overlapping maritime claim.) กับกัมพูชา ซึ่งในเรื่องนี้นายฮุนเซ็นไดตอบโตวา“นาย

1102 “Thai-Cambodian border dispute sparks row between Thai army and yellow-shirt”, Xinhua (12 January 2013) 258

อภิสิทธิ์ คุณตองหาหลักฐานมาแสดงวาทักษิณไดผลประโยชนจากกัมพูชา หากคุณไมมีหลักฐานก็ แสดงวา คุณกําลังโกหกประชาชนไทย 60 ลานคนและคนกัมพูชากวา14 ลานคน”และระบุวา สิ่งที่นายอภิสิทธิ์ไดกระทํานั้นเปน “การเมืองสกปรก” นายฮุนเซ็นยังย้ําวา“การปะทะกันระหวาง กองทหารไทยและกัมพูชาบริเวณปราสาทพระวิหารก็เกิดขึ้นในสมัยนายอภิสิทธิ์ ดังนั้นนาย อภิสิทธิ์จึงตองรับผิดชอบตอการสูญเสียชีวิตและทรัพยสิน ขณะนี้รัฐบาลไทยและกัมพูชากําลัง ชวยกันสมานบาดแผลและแกไขปญหาที่นายอภิสิทธิ์ไดกอไว แตนายอภิสิทธิ์กลับมากอเรื่องอีก นายฮุนเซ็นย้ําวา“คนไทยตองเขาใจวาผูที่กอความไมสงบคือรัฐบาลอภิสิทธิ์ไมใชรัฐบาลยิ่งลักษณ” ดวยเหตุนี้กัมพูชาจึงจําเปนตองฟองศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (ICJ) และ คณะมนตรีความมั่นคง แหงองคการสหประชาชาติ (UNSC) ก็เนื่องมาจากปญหาที่รัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ได กอ ไว” 1103

การเตรียมรับมือการใหปากคําเพิ่มเติมตอศาลโลกในวันที่ 15-19 และ 17 เมษายน 2013

เนื่องจากในวันที่ 15-19 และ 17 เมษายน 2013 จะมีการใหปากคํา (oral statements) เพิ่มเติมตอศาล ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (ICJ) จึงมีการรายงานขาวที่แสดงถึง “ความวิตกกังวล ไมแนใจวาคําตัดสินจะจะมีผลอยางไรตอสถานการณที่ชายแดน” สํานักขาวซินหัวไดรายงานวา รัฐบาลยิ่งลักษณไดแตงตั้งทีมโฆษกเพื่อมาทําหนาที่เผยแพรความรูความเขาใจเกี่ยวกับกรณีพิพาท ปราสาทพระวิหาร ทีมโฆษกนี้ประกอบดวยสามสวน คือ พลเรือน ตํารวจและทหาร 1104 ดานพล เอกเตียบันห รัฐมนตรีกลาโหมของกัมพูชาและพลเอกสุกัมพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีกลาโหมของ ไทยไดพบปะและรับประทานอาหารกลางวันรวมกันที่บริเวณปราสาทพระวิหาร ทั้งนี้เพื่อใหเกิด ความใกลชิดและใหกําลังใจแกทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ และเพื่อใหความตึงเครียดที่ชายแดน พิพาทไดคลายตัวลง จนสามารถปองกันมิใหมีการปะทะกันอีก 1105 นอกจากนี้กัมพูชาไดปฏิเสธขอ

1103 “Cambodian PM blasts former Thai PM Abhisit for involving Cambodia in Thai internal conflict”, Xinhua (21 January 2013) 1104 “Thai gov't appoints spokesmen on disputed border issue with Cambodia”, Xinhua (3 January 2013). 1105 “Cambodian, Thai defense ministers meet to cool tensions over disputed border”, Xinhua (26 January 2013) 259

กลาวหาของไทยที่วาไดฝงกับระเบิดไวที่บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา 1106 ดานนายกอย กวง (Koy Kuang)โฆษกกระทรวงการตางประเทศกัมพูชาแถลงวา กัมพูชาตองการเพียง“ความยุติธรรม”จากศาล ยุติธรรมระหวางประเทศเทานั้น กัมพูชาไมตองการดินแดนของ ผูอื่น 1107 ในการนี้ทีม กฎหมายของกัมพูชาก็เตรียมจะออกเดินทางไปกรุงเฮก ทั้งนี้นายฮอรนัมฮง รองนายกและ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศจะเปนหัวหนาคณะฝายกัมพูชา 1108 ดาน นายกรัฐมนตรีกัมพูชาไดเรียกรองใหประชาชนกัมพูชาอยูในความสงบและไมหวั่นไหว แมวาจะมี เหตุการณที่มีพวกหัวรุนแรงชาวไทยไดเดินเทาไปที่ปราสาทพระวิหาร 1109 ยิ่งไปกวานั้นสํานักขาวซินหัวไดรายงานวาทาทีของผูนําไทยและกัมพูชาที่แสดงออกมาก็ คอนขางหนักแนนและมีทัศนคติทางบวกตอคําตัดสินของศาล ผูนํากัมพูชานั้นไดขอรองศาลโลก ใหมีคําตัดสินที่จะชวยยุติกรณีพิพาทพรมแดนกัมพูชา-ไทยไดอยางแทจริง.1110 สวนนายวีรชัย พลาดิศัย หัวหนาทีมกฎหมายของไทยนั้นก็พรอมที่จะขึ้นใหการในศาล1111 และรัฐบาลไทยยืนยัน วาจะดําเนินความสัมพันธที่ดีกับกัมพูชาตอไป แมวาจะมีขอขัดแยงเรื่องพรมแดน 1112 ดานนายชาม ปราสิธ รัฐมนตรีพาณิชยของกัมพูชาย้ําวาแมวาจะมีกรณีพิพาทตอกัน แตทั้งกัมพูชาและไทยให คํามั่นวาจะสงเสริม.ความสัมพันธทางการคา การลงทุนและการทองเที่ยว 1113 ในขณะที่ นายกรัฐมนตรีไทย-กัมพูชาไดหารือกันระหวางการประชุมอาเซียนซัมมิทครั้งที่ 22 วาตองการให

1106 “Cambodia rejects Thailand’s accusation of landmine plantation at border areas”, Xinhua (8 March 2013) 1107 “Cambodia wants "only justice" over border dispute with Thailand”, Xinhua (26 March 2013) 1108 “Cambodia's legal experts to leave for Hague for hearing over border row with Thailand”, Xinhua (8 April 2013) 1109 “Cambodian PM calls for calmness as hearing over border dispute with Thailand approaches”, Xinhua (11 April 2013) 1110 “ICJ's decision essential to end Cambodia-Thailand border row: Cambodian deputy PM”, Xinhua (16 April 2013) 1111 “Thailand says ready for final statement at ICJ”, Xinhua (19 April 2013) 1112 “Thailand to continue good ties with Cambodia despite border dispute”, Xinhua (20 April 2013) 1113 “Cambodia, Thailand vow to boost trade ties despite border spat”, Xinhua (22 April 2013) 260

ประชาชนตามชายแดนมีสันติสุขและคาขายตามปกติ 1114 นอกจากนี้มีการเตรียมการจะประชุม. คณะกรรมการชายแดนทั่วไปครั้งที่ 9 (9th GBC) ที่ประเทศไทยระหวางพลเอกเตีย บันห ห รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชา และพลอากาศเอก สุกัมพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีกลาโหมไทย เพื่อรวมมือ กันปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ การคายาเสพติด และอาชญากรรมอื่นๆ ทั้งนี้เพื่อเปนมาตรการ ปองกันมิใหมีการปะทะกันที่ชายแดนอีก รวมถึงการกวาดลางทุนระเบิดในบริเวณเขตปลอดทหาร ชั่วคราว (PDZ) ตามคําสั่งของศาลโลก 1115 ดังจะเห็นพาดหัวขาวขาววาพลเอกเตีย บันห ห รัฐมนตรีกลาโหมกัมพูชาเตรียมเดินทางไปประชุม.คณะกรรมการชายแดนทั่วไปครั้งที่ 9 (9th GBC) ที่อําเภอวังจันทร จังหวัดระยอง 1116 ในการนี้ไดมีการออกแถลงการณรวมมือกันปราบปราม อาชญากรรมขามชาติ 1117 นอกจากนี้สํานักขาวไทยรายงานวารัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยและ กัมพูชาไดวางแผนจะหารือกันวาจะทําการรวมมือกันหลายดานใน 5 ประเด็น โดยฝายไทยไดจัดทํา ขอเสนอ ดังนี้ (ก) จัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ (ข) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม โดยสราง ถนนสามสายจากไทยไปเชื่อมเกาะกง (ค) พัฒนาสาธารณูปโภคและพลังงานไฟฟาพลังน้ํา (ง) พัฒนาทรัพยากรมนุษย (จ) เพิ่มรายไดจากอุตสาหกรรมเกษตรและการทองเที่ยว ทั้งนี้นายสุรพงษ โตวิจักษณชัยกุล รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยย้ําวาโครงการเหลานี้สามารถลงมือ ทําไดเลยโดยไมตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภา 1118 หลังจากการประชุม.ครั้งแรกของ “คณะกรรมการรวมชายแดนเพื่อการพัฒนาและเชื่อมโยง” (Joint Committee on Border Area Development and Connectivity) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของไทยและกัมพูชา ก็ไดแถลงขาวรวมกัน วากัมพูชาและไทยตกลงจะจัดตั้ง “เขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่ชายแดนสอง แหง” ที่จังหวัดบันเทียเมียนเจย ติดกับพรมแดนไทยที่จังหวัดสระแกว อีกแหงหนึ่งที่จังหวัดเกาะกง ติดกับพรมแดนไทยดานจังหวัดตราดของไทย นอกจากนั้นจะผลักดันใหมีการจัดตั้งโรงไฟฟาถาน

1114 “Cambodian, Thai PMs talk on border issues on sidelines of 22nd ASEAN Summit”, Xinhua (25 April 2013) 1115 “Cambodian, Thai defense ministers to talk on border cooperation”, Xinhua (1 May 2013) 1116 “Cambodia defense minister heads for Thailand for talks on border cooperation”, Xinhua (16 May 2013) 1117 “Cambodia Thailand to enhance cooperation in fighting cross border crimes”, Xinhua (17 May 2013) 1118 “Thailand to propose multi-faceted cooperation with Cambodia”, Xinhua (28 May 2013) 261

หินขนาด1,800 เมกาวัตตในจังหวัดเกาะกง ตลอดจนโครงการสอนภาษาไทยและภาษาเขมร สําหรับผูที่จะเขามาทํางานในเขตเศรษฐกิจพิเศษนี้ดวย 1119 ในทามกลางความพยายามที่จะปรับปรุงความสัมพันธไทย-กัมพูชา สํานักขาวซินหัวพาด หัวขาววานายกรัฐมนตรียิ่งลักษณไดเชิญนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นมาเยือนไทยอยางเปนทางการเพื่อ กระชับความสัมพันธและความรวมมือแบบทวิภาคีซึ่งนายฮุนเซ็นไดตอบรับคําเชิญแลว แตยังไมได กําหนดวันเวลา 1120 ตอมาศาลโลกก็ไดแถลงวา จะมีคําตัดสินในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2011 นี้ ใน คดีที่กัมพูชาเรียกรองใหศาลตีความคําพิพากษาในการณีพระวิหารในป 1962 1121

สถานการณกอนศาลโลกจะมีคําตัดสิน

กอนศาลโลกมีคําตัดสิน มีรายงานที่นาสนใจวา นางอิรินา โบโกวา (Irina Bokova) เลขาธิการยูเนสโกไดเดินทางมากัมพูชาเพื่อเขาประชุม.คณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 17 ที่ พนมเปญ เธอแถลงวา รูสึกผิดที่การขึ้นทะเบียนปราสาทเปนมรดกโลกในเดือนกรกฏาคม 2008 เปนสาเหตุของกรณีพิพาทระหวางไทย-กัมพูชา” 1122 อยางไรก็ตามเธอพอใจที่ไดทราบวา “กัมพูชา และไทยจะหาทางออกอยางสันติไมวาผลการตัดสินของศาลโลกจะเปนอยางไร” 1123 ดานกลุมประทวงตอตานรัฐบาลยิ่งลักษณไดกอตัวขึ้นอีก โดยอางวาเพื่อกําจัด “ลัทธิทักษิณ นิยม”("Thaksinism") ออกจากประเทศไทย กลุมนี้ยังกลาวหาพรรคเพื่อไทยวา“ทุจริตและไม ปกปองดินแดนไทยในกรณีพระวิหาร” ในการนี้ รตอ.เฉลิม อยูบํารุง รองนายก รัฐมนตรี ระบุวา“ผู ประทวงรอยละ 95 เปนพวกเสื้อเหลืองเดิมที่ไดแปลงโฉมใหมหันมาใสหนากาก กลุมนี้เปนชนชั้น กลางที่ไมเขาใจการปกครองแบบประชาธิปไตย พวกเขาเพียงแตตองการโคนรัฐบาลที่มาจากการ

1119 “Cambodia, Thailand to establish special economic zones in border area”, Xinhua (11 June 2013) 1120 “Thai PM invites Cambodian counterpart for official visit”, Xinhua (11 June 2013) 1121 “World Court to issue verdict on Cambodia-Thailand border dispute on Nov.11”, Xinhua (16 June 2013) 1122 “Cambodian PM, UNESCO chief talk renovation of Preah Vihear temple”, Xinhua (17 June 2013) 1123 “Ex-UNESCO chief visits Cambodia's World Heritage Preah Vihear temple”, Xinhua (19 June 2013) 262

เลือกตั้ง” สํานักขาวซินหัวไดอางหลงขาวที่เชื่อถือไดวา “พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบกไดใหคํายืนยันกับนายกยิ่งลักษณวาจะไมมีการทํารัฐประหารตามที่ฝายผู ประทวงเรียกรองอยางแนนอน” สํานักขาวซินหัวไดระบุวา ฝายตอตานรัฐบาลที่เรียกตนเองวา “คน ไทยผูรักชาติรักแผนดิน” ("Country-Loving, Land-Keeping Thais") นั้นไดรับการสนับสนุนดาน เงินทุนจากนักการเมืองที่ทรงอิทธิพลและนักธุรกิจบางคนซึ่งเคยใกลชิดกับขบวนการเสื้อเหลือง (Yellow Shirt movement) มากอน 1124 ดานนายสุรพงษ โตวิจักษชัยกุล รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยแถลงวา รัฐบาลไทยจะถายทอดสดการพิจารณาคดีนี้ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2013 และจะมีการแปลเปน ภาษาไทยดวย 1125 นอกจากนี้ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทยและกัมพูชาได เตรียมการจะหารือกันที่เมืองปอยเปต (Poi pet City) ในเขตกัมพูชา1126 ในการพบกันที่ปอยเปตนี้ นายสุรพงษ โตวิจักษชัยกุล รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไทย และนายฮอรนัมฮง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศกัมพูชา ไดใหคํามั่นตอกันวา“ไมวาคําตัดสินของศาลโลก จะออกมาอยางไรแตทั้งไทยและกัมพูชาก็จะดํารงสันติภาพและความมั่นคงตามแนวชายแดน ใหได” 1127 ดานนายฮุนเซ็นก็ย้ําวา “ไมวาคําตัดสินของศาลโลกจะเขาขางไทยหรือกัมพูชาแตทั้ง ไทยและกัมพูชาก็จะดํารงความสัมพันธที่ดีตอกัน ตลอดทั้งรัฐบาล ทหารและประชาชนของทั้งสอง ประเทศจะยังรวมมือกันตอไป” 1128 สํานักขาวซินหัวเนนวา บรรยากาศบริเวณชายแดนไทย- กัมพูชายังดูเงียบสงบมีสันติสุข ทั้งนี้พลเอกเตียบันห รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีกลาโหม กัมพูชาย้ําวา “ประชาชนทั้งสองประเทศยังคงติดตอสัมพันธกันตามปกติ” 1129 ดานนายกรัฐมนตรี

1124 “Thai authorities monitoring anti-government protest movement”, Xinhua (20 June 2013) 1125 “ICJ to rule on Thailand-Cambodia border row next month: Thai FM”, Xinhua (16 October 2013) 1126 “Cambodian Thai FMs to meet ahead of World Court's verdict over border row”, Xinhua (24 October 2013) 1127 “Cambodia Thailand vow to maintain border peace regardless of ICJ's verdict: spokesman”, Xinhua (28 October 2013) 1128 “Cambodian top diplomat to leave for ICJ's verdict over border row with Thailand”, Xinhua (31 October 2013) 1129 “Cambodia-Thai border normal ahead of ICJ's verdict”, Xinhua (6 November 2013) 263

ฮุนเซ็นไดกลาวทางสถานีโทรทัศนทุกชองของกัมพูชา“เรียกรองใหกองกําลังกัมพูชาตามแนว ชายแดนใหอยูในความสงบ ทั้งยังขอใหยั้งชั่งใจขั้นสูงสุดและหลีกเลี่ยงกิจกรรมใดใดที่จะนําไปสู การปะทะกันอีก” เขาย้ําวาไดตกลงกับนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณของไทยแลววา“ไมวาผลการตัดสิน จะเปนอยางไรทั้งไทยและกัมพูชาก็จะดํารงสันติภาพและความมั่นคงตามแนวชายแดนใหได” 1130 จะเห็นวาสํานักขาวซินหัวไดใหความสําคัญกับผลกระทบที่จะตามมาจากการพิพากษาของ ศาลโลก จึงไดติดตามสถานการณที่ชายแดนอยางใกลชิด และใหขอสังเกตวา ที่ชายแดนไทย- กัมพูชานั้น ดูเหมือน’ ‘สงบนิ่งแตตึงเครียด’ ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดโทรศัพทถึงพลเอกคง จัน (Gen. Kong Chan ) นายทหารอาวุโสที่ประจําการอยูในแนวหนาใกลปราสาทพระวิหาร ไดความ วา“สถานการณฝงกัมพูชาสงบเรียบรอย ยังมีการเปดปราสาทพระวิหารใหนักทองเที่ยวเขาชม แมวาจะมี.ค.นนอยกวาทุกวัน ในฝงไทยมีการเสริมกําลังและมีการซอมอพยบหนีภัยในหมูชาวบาน 1131 เนื่องจากประชาชนไทยตามแนวชายแดนในจังหวัดศรีสะเกษยังไมวางใจวาจะเกิดการปะทะ อีกจึงไดมีการฝกซอมการวิ่งอพยบหนีภัยเขาไปในบังเกอร นอกจากนี้จะมีการปดโรงเรียนในวันที่ ศาลโลกจะมีคําตัดสินดวย ในกรุงเทพกลุมผูรักชาติไดไปประทวงที่หนาสถานทูตกัมพูชา และขูจะ ยกระดับการประทวง หากศาลโลกตัดสินเขาขางกัมพูชา ทั้งนี้รัฐบาลไทยไดสงตํารวจจลาจล 200 นายไปคม.ครองสถานทูตแลว 1132

รัฐบาลกัมพูชาและไทยพอใจกับคําตัดสินของศาลโลก11 พฤศจิกายน 2013

และแลวในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2013 สํานักขาวซินหัวพาดก็หัวขาววา รัฐบาลกัมพูชา และไทยพอใจกับคําตัดสินของศาลโลกซึ่ง“มีมติเอกฉันทใหกัมพูชามีอธิปไตยเหนือบริเวณชะงอน ผาทั้งหมดของปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชาและศาลไดสั่งใหประเทศไทยตองถอนทั้งทหาร ตํารวจหรือยามรักษาการณหรือผูดูแลที่ประจําการอยูออกไปจากบริเวณดังกลาว” ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นไดประกาศผานโทรทัศนแหงชาติกัมพูชาวา นี่เปนประวัติศาสตรหนาใหม

1130 Cambodian PM calls for troops to keep calm ahead of ICJ's verdict over border row with Thailand”, Xinhua (6 November 2013) 1131 “CambodiaThailand border 'calm but tense' as ICJ ruling approaches”, Xinhua (11 November 2013) 1132 “Thai border residents brace for ICJ decision on dispute, gov't optimistic”,Xinhua (11 November 2013) 264

ของประเทศกัมพูชาเพราะเปนเครื่องแสดงวารัฐบาลกัมพูชาไดใชความพยายามในการจัดการกรณี พิพาทกับไทยอยางสันติวิธีและยึดหลักการกฎหมายระหวางประเทศ ทั้งยังไดเรียกรองใหกองกําลัง ทุกเหลาทัพที่ประจําที่ชายแดนใหตั้งอยูในความสงบ เพื่อที่รัฐบาลทั้งสองฝายจะไดหารือกันวาจะ ปฏิบัติตามคําพิพากษานี้อยางไร และขอใหชาวกัมพูชาชวยกันสงเสริมมิตรภาพและความรวมมือใน หมูประชาชาติอาเซียน 1133 นอกจากนี้ยังมีรายงานวา เจาหนาที่ของรัฐตลอดจนนักวิชาการกัมพูชา ตางก็เห็นตรงกันวา“นี่เปนคําตัดสินที่ยุติธรรมและยอมรับได และเรียกรองใหคนไทยยอมรับคํา ตัดสินนี้”1134 ดานนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ ของไทยไดกลาวปราศรัยทางโทรทัศน วา รัฐบาลไทย “พอใจ” และเห็นวาคําตัดสินครั้งนี้ “เปนประโยชน”แกฝายไทย และย้ําวา ทั้งไทยและกัมพูชาจะ เจรจากันเพื่อยุติปญหานี้ใหได รัฐบาลไทยไดเรียกรองใหประชาชนไทยมีความยับยั้งชั่งใจเมื่อได ฟงคําตัดสินของศาลโลก นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณย้ําวาไทย “มิไดพายแพในการตอสู” ดังที่พรรค ฝายคานกลาวอางและพยายามจะใชคําตัดสินของศาลโลกนี้มาปลุกกระแสโคนลมรัฐบาล สํานัก ขาวซินหัวอางสํานักขาวไทยวา “นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณขอใหประชาชนไทยรอฟง ผลการ วิเคราะหคําพิพากษาของศาลโลกโดยคณะทํางานซึ่งประกอบดวยผูเชี่ยวชาญดานแผนที่ซึ่งสามารถ ใหรายละเอียดเรื่องเสนเขตแดนตามคําพิพากษาของศาลโลกได 1135 ดังจะเห็นวา พรรคฝายคาน และพวกหัวอนุรักษนิยมบางคนในไทย ไดพยายามกดดันรัฐบาลยิ่งลักษณใหยอมรับวา“ไทยเปน ฝายพายแพกัมพูชา”และเรียกรองใหประชาชนไทยอยายอมใหรัฐบาลยิ่งลักษณปดหูปดตา อาทิ นายศิริโชค โสภา สส.พรรคประชาธิปตยซึ่งเปนพรรคฝายคานไดอางวา“ไทยจะเสียดินแดน ประมาณ 0.3-2 ตารางกิโลเมตร” ซึ่งเรื่องนี้นายสีหศักดิ์ พวงเกตุแกว ปลัดกระทรวงการ ตางประเทศไดตอบโตวา“ศาลโลกไมไดตัดสินใหมีฝายใดแพหรือชนะ หากแตไดใหหลักการเพื่อที่ ทั้งสองประเทศจะไดไปหารือกันและแสวงหาทางออกที่พึงพอใจกันทั้งสองฝาย ที่ผานมาไทยและ กัมพูชายังเขาใจไมตรงกันเกี่ยวกับเรื่อง ‘บริเวณรอบ’ (vicinity) ตัวปราสาท โดยฝายกัมพูชาอาง สิทธิในพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.เนื่องจากยึดถือแผนที่ Annex 1 ซึ่งไดชี้ชัดแลววา‘บริเวณรอบ’ ตัวปราสาทนั้นมิใชพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม. นอกจากนี้ ศาลโลกยังไดใหรายละเอียดวา‘บริเวณ

1133 “Cambodian PM satisfied with ICJ's verdict over Preah Vihear temple disputed land with Thailand”, Xinhua (11 November 2013) 1134 “Cambodia hails ICJ's verdict over Cambodia-Thailand disputed land”, Xinhua (11 November 2013) 1135 “Thai gov't calls for restraint over border dispute with Cambodia”, Xinhua (15 November 2013) 265

รอบ’ตัวปราสาท นั้นใหยึด ‘ชะงอนผา’ (promontory) หรือ ภูมิประเทศแถบนั้นเปนหลัก ดังนั้นทั้ง ไทยและกัมพูชาตองหันหนามาปรึกษาหารือกันวาเสนแบงเขตแดนระหวางไทยและกัมพูชาควรจะ อยูตรงพื้นดินสวนใด”1136 ดานนายฮอรนัมฮง รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของ กัมพูชาไดออกไปเยี่ยมกองทหารกัมพูชากวา 1,000 นายที่ชายแดน ทั้งนี้เพื่อ “ถายทอด”คําตัดสิน ของศาลโลกใหทหารไดรับทราบวา“ศาลไดตัดสินใหบริเวณชะงอนผาทั้งหมดของปราสาทพระ วิหารเปนของกัมพูชา” และศาลไดสั่ง“ใหประเทศไทยถอนทั้งทหารตํารวจหรือยามรักษาการณหรือ ผูดูแลที่ประจําการอยูออกไป” ดังนั้นขั้นตอนแรกตอง“มีการเจรจาใหถอนทหารไทยออกจาก บริเวณที่ศาลโลกสั่ง” ขั้นตอนที่สองคือ“ตองเจรจาเกี่ยวกับพื้นที่ทับซอนบริเวณภูมะเขือ” แตทั้งนี้ นายฮอรนัมฮงยังไมไดกําหนดเงื่อนเวลาในการที่จะเจรจากับฝายไทย ตามพาดหัวขาววา กัมพูชา กําลังติดตามสถานการณในประเทศไทยอยางใกลชิด 1137 เนื่องจากนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณของ ไทยกําลังประสบปญหาทางการเมืองที่มี สส.จาก.พ.รรคฝายคานเรียกรองใหมาประทวงขับไล รัฐบาล 1138

บทความเชิงวิเคราะหของสํานักขาวซินหัวในหวงป 2008-2013

นอกจากการรายงานขาวในกรณีพระวิหารแลว ผูวิจัยไดพบวาสํานักขาวซินหัวไดจัดทํา บทความเชิงวิเคราะหในรูปแบบตางๆจํานวน 9 บทที่ไดเผยแพรในหวงป 2008-2013 ถือไดวา บทความเหลานี้สะทอนทัศนะ มุมมอง จุดยืนและการสื่อสารการเมืองของสํานักขาวซินหัวตอกรณี พิพาทปราสาทพระวิหารระหวางไทยและกัมพูชาไดเปนอยางดี ประเภทตางๆของบทความเหลานี้ มีอาทิ เชน (ก) Backgrounder และProfile ซึ่งเปนการปูพื้นฐานใหผูอานทราบภูมิหลังของบุคคล สําคัญในขาว (ข) Interview ซึ่งเปนการสัมภาษณบุคคลตางๆ และ (จ) In-depth และ Insight และ News Analysis ซึ่งเปนบทวิเคราะหสถานการณที่มีความสําคัญตอเนื่อง ทั้งหมดนี้ถือเปนสวน

1136 “Thailand ‘satisfied’ with world court's ruling on border dispute”, Xinhua (11 November 2013) 1137 “Cambodia closely watches Thai political turmoil: gov’t spokesman”, Xinhua (3 December 2013) 1138 “Thai opposition MP calls for nationwide anti-government strike”, Xinhua (21 November 2013) 266

หนึ่งการสื่อสารทางการเมืองที่สํานักขาวรอยเตอรตองการสื่อสารออกไปสูประชาคมโลก ดัง รายละเอียด เนื่องจากสถานการณเมืองไทยคุกรุนในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช สืบเนื่องมาจากมี การตอตานรัฐบาลที่ไดเห็นชอบใหมีการลงนามในแถลงการณรวมสนับสนุนใหกัมพูชาขอขึ้น ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก จนพรรคฝายคานไดเปดอภิปรายไมไววางใจรัฐบาลใน สภาผูแทนราษฎรในเด็นปราสาทพระวิหาร สํานักขาวซินหัวจึงจัดทําบทวิเคราะหสถานการณการ เมืองไทยในชวงนี้ชื่อ “Hard move from four months to four years” ซึ่งมีนัยวา นายสมัครอาจ เปนรัฐบาลไดไมครบวาระ 4 ป และไดแนะนําวา “แมนายสมัครจะชนะมติไมไววางใจในสภา ผูแทนราษฎร ที่มีประเด็นที่ฝายคานโจมตีรัฐบาลสมัครในการลงนามในแถลงการณรวมสนับสนุน ใหกัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกดวย ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวเห็นวา การ อภิปรายในสภาของฝายคานก็ทําใหมองเห็นขอออนหลายประการของนายสมัคร” บทวิเคราะหนี้ยัง ไดเตือนนายสมัครวา“จะตองสุขุมรอบคอบกวานี้และควรหลีกเลี่ยงประเด็นแหลม.คมที่จะทําใหคน ขาดความเชื่อถือในรัฐบาล” 1139 ในสถานการณที่พลิกผันมีปญหารุมเรารอบดาน สํานักขาวซินหัวไดจัดทําบทวาม“นายอภิ สิทธนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของไทยกําลัง‘ตกที่นั่งลําบาก’ (Backgrounder: Abhisit--Thailand's trouble-ridden PM) สาเหตุเนื่องจากเขากาวขึ้นสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีตั้งแตเดือนธันวาคม 2008 โดยพรรคประชาธิปตยไมไดรับชัยชนะในการเลือกตั้ง” สํานักขาวซินหัวไดใหขอมูลภูมิหลังของ นายอภิสิทธิ์วา “เขาเกิดที่เมืองนิวคาสเซิลในประเทศอังกฤษและจบการศึกษาจากวิทยาลัยอีตัน และ มหาวิทยาลัยออกซฟอรด จึงไมสามารถเขาถึงจิตใจชาวชนบทและผูใชแรงงานที่เปนเสียงสวนใหญ ได” ทั้งนี้สํานักขาวซินหัวไดอาง ธิตินันทน พงศสุทธิรักษ จากคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยที่ระบุวา “นายอภิสิทธิ์ ไมเปนที่นิยมมากนักเขามักทําตัวเปนขุนนางกรุงเทพ (Bangkok patrons)”1140 สํานักขาวซินหัวไดตีพิมพบทสัมภาษณเรื่อง “นักวิชาการกัมพูชาระบุอาเซียนในปจจุบันไม สามารถแกปญหาความขัดแยงเรื่องพรมแดนระหวางกัมพูชาและไทยได” (Interview: Current ASEAN not able to solve Cambodian, Thai border row: Cambodian academics)โดยไดอาง ทัศนะของ ดร.รส จันทราบุธ (Dr. Ros Chantrabuth) ที่ปรึกษาราชบัณฑิตยสถานของกัมพูชาวา “เรื่องนี้อาจเกินความสามารถของอาเซียนแมวาขณะนี้อาเซียนจะมีทาทีแข็งขันขึ้น แตตัวเขามั่นใจ

1139 “Hard move from four months to four years” ”, Xinhua (28 June 2008) 1140 “Backgrounder: Abhisit--Thailand's trouble-ridden PM”, Xinhua (7 January 2011) 267

ในบทบาทของคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) มากกวา วาจะชวยทํา ใหปญหานี้คลี่คลายได” และเตือนวา “ความขัดแยงครั้งนี้อาจนําไปสูการแตกแยกภายในกลุม อาเซียน หากยังไมมีการแทรกแซงจากประเทศที่สาม” นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังไดสัมภาษณ ชเฮียง วันนาริธ (Chheang Vannarith) ผูอํานวยการบริหารของสถาบันกัมพูชาเพื่อความรวมมือ และสันติภาพ(Cambodian Institute for Cooperation and Peace) ซึ่งก็วิจารณวา อาเซียนนั้นยัง ไมเขมแข็งพอ ทั้งไมมีอํานาจและขาดเอกภาพ สมาชิกอาเซียนทุกประเทศยังไมยอมใหอํานาจ อยางเปนเอกฉันทแกประธานอาเซียน หากประเทศสมาชิกไมยอมยึดมาตรฐานนานาชาติและ แกปญหาดวยสันติวิธี วิธีเดียวที่จะแกปญหาคือ “อินโดนีเซียตองรีบสงผูสังเกตุการณมาโดยเร็ว แมวาไทยจะไมเห็นดวยก็ตาม”1141 นาสังเกตุวาทัศนะของนักวิชาการกัมพูชาที่สํานักขาวซินหัว นําเสนอนี้มีทัศนะตรงกับขอเรียกรองของนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นที่ได “เรียกรองอินโดนีเซียใหสง ผูสังเกตุการณเพื่อติดตามและทําใหการหยุดยิงถาวรเปนจริงขึ้นมาตามชายแดนกัมพูชา-ไทยแมวา ไทยจะไมเห็นดวยก็ตาม”1142 ในบทความ“นักวิชาการระบุวาอาเซียนจําเปนตองมีกลไกที่มีประสิทธิผลในการจัดการ กรณีพิพาทกัมพูชา-ไทย” สํานักขาวซินหัวไดสัมภาษณนักวิชาการในอาเซียนหลายคนที่ไดมารวม ในการประชุมทางวิชาการเรื่อง “สรางความเขมแข็งใหประชาคมการเมือง-ความมั่นคงอาเซียนโดย ใชกลไลการทูตแบบกันไวดีกวาแกและกลไกการแกไขความขัดแยง” (Strengthening the ASEAN political-security community through preventive diplomacy and conflict resolution mechanism) อาทิ พูโสธิรัก(Pou Sothirak) นักวิจัยกัมพูชาอาวุโสประจําสถาบันอุษาคเณยศึกษา สิงคโปร(Singapore Institute of Southeast Asian Studies-ISS) ซึ่งไดเตือนวาอาเซียน จําเปนตองมีกลไกที่มีประสิทธิผลในการจัดการกรณีพิพาทกัมพูชา-ไทย มิฉะนั้นความนาเชื่อถือ และชื่อเสียงของอาเซียนจะตกต่ําลง ดังจะเห็นวากรณีพิพาทกัมพูชา-ไทยนั้นไมเพียงแตจะทําลาย ความสัมพันธระดับทวิภาคีเทานั้นแตยังไดคุกคามสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาคอีกดวย นอกจากนี้ พูโสธิรักยังไดวิจารณวา “หลักการไมยุงเกี่ยวและฉันทามติ” (The principles of non- interference and consensus) ของอาเซียนวาเปนอุปสรรคตอการจัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community) ในป 2015 ดังนั้นอาเซียนจึงควรทําในสิ่งที่ถูกตอง เพราะหากไมทําในสิ่ง

1141 “Interview: Current ASEAN not able to solve Cambodian, Thai border row: Cambodian academics”, Xinhua (26 April 2011). 1142 “Indonesia urged to send observers to monitor Cambodian-Thai border dispute”, Xinhua (27 April 2011) 268

ที่ถูกตอง อาเซียนอาจตกอยูในแดนอันตราย และเสี่ยงที่จะสูญเสียบทบาทผูนําดานการออกแบบ ความมั่นคงในภูมิภาคนี้” นอกจากนี้ เนม โสวัธ (Nem Sowath) กรรมการบริหารของสถาบันเพื่อ ความรวมมือและสันติภาพกัมพูชา (Cambodian Institute of Cooperation and Peace) ไดระบุ วา“โดยหลักการแลวอาเซียนมีบทบาทสําคัญ “แตอาเซียนไมมีกลไกในการจัดการกรณีพิพาท พรมแดนระหวางสมาชิก ดังนั้นกรณีนี้จึงเปนการทดสอบวาอาเซียนจะแกปญหาไดหรือไม” และ แนะนําวา“อาเซียนควรจัดตั้งคณะทํางานพิเศษหรือกลไกการแกไขขอขัดแยงในกรณีพิพาทไทย- กัมพูชา” สวนเยียว เล ฮวี (Yeo Lay Hwee) นักวิจัยอาวุโสจากสถาบันกิจการนานาชาติสิงคโปร (Singapore Institute of International Affairs) ระบุวา “อาเซียนยังไมมี ‘กลไกสรางความมั่นใจ’ (confidence building) ตลอดจน ‘กลไกการทูตแบบปองกันไวกอน (preventive diplomacy) และกลไกการแกไขขอขัดแยง’ (conflict resolution mechanism) อยางไรก็ตามสุจิต บุญบงการ ประธานสภาความรวมมือดานความมั่นคงในเอเชียแปซิฟกจากประเทศไทย (Council for Security Cooperation in Asia Pacific -Thailand) เสนอวา “ควรมีมาตรการหรือกลไกในการแกไขขอ ขัดแยง แตยังคงตองยึดหลักการอธิปไตยภายในและการไมยุงเกี่ยวกันของอาเซียน” 1143 ในบทวิเคราะห “Can ASEAN have bigger global role amid internal problems?” สํานักขาวซินหัวไดตั้งคําถามวาในทามกลางปญหาภายในมากมาย “อาเซียนจะสามารถมีบทบาท ในระดับโลกมากกวานี้ไดหรือไม” ขณะนี้อาเซียนมีปญหากรณีพิพาทกัมพูชา-ไทยและยังมีปญหา พรมแดนทางทะเลระหวางอินโดนีเซียและมาเลยเซีย ทั้งนี้นายไมเคิล เทเน (Michael Tene) โฆษก กระทรวงการตางประเทศอินโดนีเซียไดแถลงวา “ประเด็นเรื่องพรมแดนนั้นสมาชิกอาเซียนจะ จัดการกันเองไดดีกวาคนนอก แตทั้งนี้อาเซียนจะตองปรับปรุงตนเองใหทํางานรวมกัน ตลอดจน ตองมีทักษะในการจัดความสัมพันธกับมหาอํานาจรอบๆอาเซียน 1144 ในบทวิเคราะห “ตีดาบใหเปนคันไถ” (Beat swords into ploughshares) นี้เปนการ เปรียบเทียบวา “ดาบ”หมายถึง การสูรบ สวน“คันไถ”หมายถึง การปลูกขาวเพื่อกิน สํานักขาวซิน หัวย้ําวา ไทยและกัมพูชาไมควรจะสูรบกัน แตควรหันมาเนนเศรษฐกิจการทํามาหากินของ ประชาชน ทั้งควรตระหนักวา“การเปนศัตรูถาวร”และการปะทะกันนั้นกระทบตอการอยูดีกินดี เปนอยูของประชาชน ทั้งยังเปนอุปสรรคตอความสัมพันธทางเศรษฐกิจการคาและปฏิสัมพันธ ระหวางประชาชนไทยกับประชาชนกัมพูชา สํานักขาวซินหัวย้ําวา“ความขัดแยงระหวางกันนั้น

1143 “Effective mechanism needed for ASEAN to settle Cambodian, Thai border row: academics”, Xinhua (5 May 2011) 1144 “Can ASEAN have bigger global role amid internal problems? ”, Xinhua (6 May 2011) 269

เปนตนตอของความยากจนและความไมมั่นคงในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนทั้งไทยและ กัมพูชา” ทั้งนี้ไดอางนายสุรินทร พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียนที่ไดกลาววา“ประชาชนที่อาศัยอยู ในพื้นที่ที่มีความรุนแรงนั้นมีโอกาสตกอยูในสภาวะยากจนมากกวาคนอื่นถึง 3 เทา และมีโอกาสที่ จะไมไดรับการศึกษามากกวาถึง 3 เทา” สํานักขาวซินหัวย้ําวา ขณะนี้เริ่มมีสัญญาณของ ความกาวหนา ก็คือ จะมีการสงผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียมาประจําที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ดังนั้นทั้งไทยและกัมพูชาจึงไมควรปลอยใหกรณีความขัดแยงระหวางกันนี้เปนอุปสรรคตอการ รวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนในป 2015. บทวิเคราะหนี้ไดอางหนังสือพิมพทองถิ่นใน อินโดนีเซียซึ่งมีขอเสนอวา ถึงเวลาแลวที่อาเซียนจะพัฒนา กลไก’หรือ สราง‘แนวปฏิบัติ’ในการ แกปญหาความขัดแยง แลวใชกลไกนี้เปน‘พิมพเขียวของการกอตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน’ (ASEAN Political and Security Community Blueprint) ที่สําคัญกวาหลักการ ดังกลาวก็คือ“ทั้งสองฝายจะตองมีความไววางใจตอกันและ ตองชวยกันปรับปรุงความสัมพันธแบบ ทวิภาคีโดยเนนมิตรภาพและผลประโยชนของประชาชน” บทวิเคราะหนี้สรุปวา“ประชาคม นานาชาติหวังวาทั้งไทยและกัมพูชาจะใช‘ปญญาและขันติธรรม’ใหมากที่สุดเพื่อกาวขามอุปสรรค ทั้งปวง ดวยการ“ตีดาบ”ที่มักใชเปนอาวุธประหัตประหารกันใหเปน “คันไถ”ซึ่งเปนเครื่องมือที่ใช พรวนดินเพื่อเตรียมพรอมจะปลูกขาวใหทุกคนไดกิน 1145 ในทามกลางสถานการณที่ดูเหมือนจะดําเนินไปดวยดีสําหรับรัฐบาลยิ่งลักษณ สํานักขาว ซินหัวไดเสนอบทวิเคราะหขาวเกี่ยวกับ “พรรคเพื่อไทยซึ่งเปนรัฐบาลวากําลังกลืนไมเขาคายไม ออกในกรณีพิพาทพระวิหาร” (Ruling Puea Thai party faces dilemma over Preah Vihear dispute) นาสังเกตุที่สํานักขาวซินหัวระบุวา“ผูที่ทําใหกรณีพิพาทไทย-กัมพูชานั้นเลวรายลงไมใช ฝายกัมพูชา” ซึ่งยืนยันวาจะยึดแผนที่ที่จัดทําโดยฝรั่งเศสในการปกปนพรมแดน“แตคือกลุมตอตาน รัฐบาลที่มีชื่อวา‘กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย’หรือที่รูจักกันวาเปนพวก‘เสื้อเหลือง’ซึ่ง ยังคงตอตานอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ พี่ชายของนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณอยางไมลดราวาศอก” กลุมเสื้อเหลืองนี้มีแผนการจะจัดประทวงใหญถาหากศาลโลกตัดสินคดีนี้เขาขางกัมพูชาและสั่งให ไทยถอนทหารออกจากพื้นที่ทับซอนแลวปลอยใหกัมพูชายึดครองปราสาทแตฝายเดียว กลุมนี้ ตองการเรียกรองใหรัฐบาลยิ่งลักษณ‘เพิกเฉยอละไมยอมปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลโลก’ บท วิเคราะหนี้ระบุวา อดีตนายกอภิสิทธิ์ไดทําใหประเด็นพระวิหารนี้สับสนขึ้นไปอีก โดยนายอภิสิทธิ์ ไดกลาวหาพรรคเพื่อไทยวาไดแอบไปทํา“ขอตกลงลับๆ”กับนายกฮุนเซ็นโดยกัมพูชาจะแบง ผลประโยชนจากการสัมปทานการขุดเจาะทรัพยากรในอาวไทยใหแกรัฐบาลไทยเพื่อที่จะแลกกับ

1145 “Beat swords into ploughshares”, Xinhua (7 May 2011) 270

การยก“พื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.”ใหเปนของกัมพูชา อยางไรก็ตามนายนพดล ปทมะไดออกมา ปฏิเสธขอกลาวหานี้ 1146 สํานักขาวซินหัวชี้วา บทวิเคราะหนี้ทําใหเริ่มเห็นเคาลางวาการ บริหารงานของรัฐบาลพรรคเพื่อไทยเริ่มมีอุปสรรค ดังจะเห็นวาในวันรุงขึ้นกลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยประมาณ 100 คน นําโดยนายปานเทพ วงศพัวพันธ ไดยื่นจดหมาย เพื่อกดดันรัฐบาลยิ่งลักษณไมใหยอมรับคําตัดสินของศาลโลกเกี่ยวกับพื้นที่ทับซอน 1147 ในบทวิเคราะห “ความตึงเครียดที่ชายแดนไทย-กัมพูชาคลายลงหลังจากกัมพูชาลดโทษให วีระ-ราตรี”(News analysis:Tension on Thai-Cambodian border eases up after Phnom Penh reduces sentence of convicted Thai couple) สํานักขาวซินหัวไดใหขอมูลวา ตามที่ศาล กัมพูชาไดเคยตัดสินใหจําคุกนายวีระ สมความคิด และนางสาวราตรี พิพัฒนไพบูลย ซึ่งถูกจองจํา ตั้งแตตนป2011 ในขอหาจารกรรม (espionage) เปนเวลา 8 ป และ 6 ปตามลําดับนั้น บัดนี้ศาล กัมพูชาได“ลดโทษใหเหลือ 2 ป”โดยจะมีผลใหนายวีระจะไดรับการปลอยตัวในอีก 6 เดือน และ นางสาวราตรีจะไดรับการปลอยตัวในวันที่ 1 กุมภาพันธ2013 ในการนี้พลเอกประยุทธ จันทร โอชาผูบัญชาการทหารบกไดขานรับและชื่นชมวาจะทําใหความสัมพันธระหวางไทย-กัมพูชาดีขึ้น และชวยลดความตึงเครียดที่ชายแดน แมไทยจะพยายามไมไปยุงเกี่ยวอยางเปดเผยในคดีนี้ แตสํานัก ขาวซินหัวไดระบุวา“นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณนั้นไดดําเนินการขอลดโทษใหวีระและราตรีอยาง เงียบๆอยูเบื้องหลัง” 1148 ในบทวิเคราะหเจาะลึกเรื่อง “ไทยและกัมพูชาจะอยูรวมกันอยางสันติไมวาคําตัดสินของ ศาลโลกจะออกมาอยางไร”(Thailand, Cambodia to co-exist in peace regardless of ICJ ruling over Preah Vihear dispute) สํานักขาวซินหัวระบุวา ขณะนี้มีสิ่งบงชี้หลายอยางวา ถึง อยางไรกัมพูชาและไทยนาจะอยูรวมกันตอไปได เนื่องจากนายฮุนเซ็นและอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณพี่ชายของนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณมีความสัมพันธที่ดีมากตอกัน ทั้งสองฝายจึงนาจะรวมกัน สงเสริมปราสาทพระวิหารใหเปน‘แหลงทองเที่ยวที่ไดประโยชนแกทั้งสองฝาย’ นอกจากนี้พลเอกสุ กัมพลและพลเอกเตียบันห (Tea Banh) รัฐมนตรีกลาโหมของทั้งสองประเทศก็มีความสัมพันธ และเขาใจกันเปนอยางดี สํานักขาวซินหัวจึงหวังวาศาลโลกจะไมตัดสินเขาขางฝายใดฝายหนึ่งมาก

1146 “Ruling Puea Thai party faces dilemma over Preah Vihear dispute”, Xinhua (7 January 2013) 1147 “Thai Yellow Shirt urges gov’t to defy ICJ over disputed temple with Cambodia”, Xinhua (8 January 2013) 1148 “News analysis :Tension on Thai-Cambodian border eases up after Phnom Penh reduces sentence of convicted Thai couple”, Xinhua (15 January 2013) 271

จนเกินไป 1149 ยิ่งไปกวานั้นสํานักขาวซินหัวไดรายงานวาทาทีของผูนําไทยและกัมพูชาที่แสดง ออกมาก็คอนขางหนักแนนและมีทัศนคติทางบวกตอคําตัดสินของศาลโลก ผูนํากัมพูชานั้นได ขอรองศาลโลกใหมีคําตัดสินที่จะชวยยุติกรณีพิพาทพรมแดนกัมพูชา-ไทยไดอยางแทจริง1150 ในบทวิเคราะหเรื่อง“กัมพูชาเปนแหลงลงทุนที่ดีที่สุดของคนไทย” (News Analysis : Cambodia viewed as"best"investment venue for Thais) สํานักขาวซินหัวไดอางคําพูดของนาย รุงโรจน เบญจมสุทิน ผูอํานวยการศูนยธุรกิจและเศรษฐกิจอาเซียนของมหาวิทยาลัยหอการคาซึ่งได ระบุวา“กัมพูชาเปนแหลงลงทุนที่ดีที่สุดในประชาคมอาเซียนที่นักธุรกิจไทยสมควรจะเขาไป ลงทุน” ขณะนี้บริษัทขามชาติจากไทยทั้งบริษัทขนาดกลางและบริษัทขนาดเล็กไดแสดงความ สนใจจะเขาไปลงทุนในกัมพูชา ดังนั้นไทยจึงควร“ใชขอไดเปรียบทางภูมิศาสตรที่มีพรมแดน ใกลชิดติดกันกับกัมพูชาใหเปนประโยชน” ทั้งนี้เพราะรัฐบาลไทยไดวางแผนเชื่อมทั้งสองประเทศ ดวยถนนและรถไฟ แมวากรณีพิพาทชายแดนทางบกระหวางไทย-กัมพูชาจะยังไมยุติ แตไทยก็ควร เสนอจะลงทุนรวมกับกัมพูชาในการสํารวจและขุดเจาะน้ํามันและแกซธรรมชาติทะเลในดินแดน ของกัมพูชาในอาวไทย 1151

วิเคราะหการสื่อสารการเมืองของสํานักขาวซินหัวใน กรณีพระวิหารในหวงป 2008-2013

ดังไดกลาวแลววา สํานักขาวซินหัวนั้น กอตั้งในเดือนพฤศจิกายนค.ศ.1931โดยพรรค คอมมิวนิสตจีนของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีอุดมการสังคมนิยม(socialism) สํานักขาว ซินหัวนั้นมีสถานะเปนสํานักขาวทางการของประเทศ มีฐานะเทียบเทากระทรวงขึ้นตรงตอสภา แหงรัฐ ทําหนาที่เผยแพรขาวสารทางการของรัฐ ตลอดจนกลั่นกรองเซนเซอรขาวจากตางประเทศ กอนที่จะเผยแพรในสื่อตางๆในประเทศจีน ปจจุบันมีพนักงานกวา 10,000 คนในสํานักงาน ตางประเทศ 170 แหงทั่วโลกและในทุกมณฑลของจีน 31 แหง มีการใหบริการขาวใน 10 ภาษา

1149 “Thailand, Cambodia to co-exist in peace regardless of ICJ ruling over Preah Vihear dispute”, Xinhua (12 April 2013) 1150 “ICJ's decision essential to end Cambodia-Thailand border row: Cambodian deputy PM”, Xinhua (16 April 2013) 1151 “News Analysis: Cambodia viewed as"best"investment venue for Thais”, Xinhua (9 February 2013)- 272

คือ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาสเปญ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาญี่ปุน ภาษาเกาหลี ภาษา อาหรับ ภาษาธิเบตและภาษาอุยกูร นอกจากสํานักงานใหญตั้งอยูในกรุงปกกิ่งแลวยังมีสํานักงานใน ตางประเทศหลายแหงที่โดงดังคือ สํานักงานซินหัวที่ไทมสแควร นิวยอรก สหรัฐอเมริกาซึ่ง สะทอนพยายามที่จะกาวขึ้นมาเปนสํานักขาวระดับนําของโลกของสํานักงานซินหัว ในแงคุณคาของขาว สํานักขาวซินหัวไดใหความสําคัญกับการนําเสนอขาวกรณีพระวิหาร เนื่องจากเปนกรณีที่เปนความขัดแยงทางพรมแดนระหวางประเทศที่ดําเนินมายาวนานถึง 51 ป คู ขัดแยงคือ ประเทศไทยและ ประเทศกัมพูชา สมาชิกของสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือ อาเซียน ซึ่งภายในปค.ศ.2015 นี้จะรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน กรณีความขัดแยงนี้ยังมีการ เขามาเกี่ยวของขององคกรระหวางประเทศกลาวคือ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) องคการ สหประชาชาติ(UN) องคการการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ(UNESCO) และคณะมนตรีความมั่นคงแหงองคการสหประชาชาติ(UNSC) นอกจากนี้ความขัดแยงนี้ไดลุกลาม จนเกิดการปะทะดวยกําลังทหารนําไปสูการบาดเจ็บลมตายสูญเสียมากมาย ในฐานะที่จีนเปน ประเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจในเอเชียที่ใกลชิดกับทั้งไทยและกัมพูชา จีนจึงมีผลประโยชนที่ ตองการใหในภูมิภาคนี้มีความสงบสันติมากกวาสงคราม เพื่อใหเห็นภาพชัดเจน ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหการรายงานขาวสํานักขาวรอยเตอรสใน ดานตางๆ ดังนี้ (ก) ในดานจํานวน (ข) ในดานความถี่และประเด็นในการนําเนอขาว (ค) การพาดหัว ขาว (headlines) ดังรายละเอียด (ก) ดานจํานวน ในหวงเวลาระหวาง ค.ศ.2008-2013 นั้นสํานักขาวซินหัวไดนําเสนอขาวในกรณีพระวิหาร จํานวนทั้งหมด 622 ขาว โดยแบงตามรัฐบาลไทย 4 รัฐบาลที่ไดมาเกี่ยวของ กลาวคือ รัฐบาลนาย สมัคร สุนทรเวช รัฐบาลนายสมชาย วงศสวัสดิ์ รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรัฐบาลนางสาว ยิ่งลักษณ ชินวัตร ดังแสดงในตารางที่ 6.8 ตอไปนี้

ตารางที่ 6.8 จํานวนขาวที่รายงานโดยสํานักขาวซินหัวแบงตามรัฐบาล 273

รัฐบาล ซินหัว นายสมัคร สุนทรเวช (29 มกราคม ถึง 17 กันยายน 2008) 25 นายสมชาย วงศสวัสดิ์ (18 กันยายน ถึง 16 ธันวาคม 2008) 44 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (17 ธันวาคม 2008 ถึง 4 สิงหาคม 2011) 428 นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร (5 สิงหาคม 2011 ถึง 31 ธันวาคม 2013) 125

รวมจํานวนขาว 622

จากตารางนี้จะเห็นวาตลอดระยะเวลา 6 ปตั้งแตค.ศ.1962 ถึง 2013 สํานักขาวซินหัวไดให ความสําคัญกับกรณีพระวิหาร เนื่องจากสํานักขาวซินหัวนั้นมีสถานะเปนสํานักขาวทางการของ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนจึงเนนนโยบายสรางสัมพันธอันดีกับนานาชาติ โดยเฉพาะในกลุม ประเทศอาเซียนซึ่งหลายประเทศมีพรมแดนติดตอกับจีนทั้งทางบกและทางทะเล ดังนั้นสํานักขาว ซินหัวจึงระมัดระวังในการนําเสนอขาวที่มีความละเอียดออนและมีแนวโนมจะทําลาย ความสัมพันธระหวางประเทศกัมพูชาและไทยที่ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธอันดีกับจีนมาโดย ตลอด ดวยเหตุนี้สํานักขาวซินหัวจึงมีการรายงานขาวในกรณีพระวิหารอยางสม่ําเสมอตลอด ระยะเวลา 6 ป โดยไมเนนรายงานขาวเฉพาะชวงที่เกิดวิกฤตทางการเมือง จึงจะเห็นวาการที่สํานัก ขาวซินหัวมีจํานวนการรายงานขาวกวา 622 ขาว ซึ่งนับวาเปนจํานวนที่มากทีเดียว (ข) ความถี่และประเด็นในการนําเสนอขาว ในดานความถี่และประเด็นในการนําเสนอขาว ผูวิจัยจึงไดจัดทําตารางเปรียบเทียบความถี่ ในการนําเสนอขาวโดยสํานักขาวซินหัวในแตละป ตั้งแตป 2008-2013 เพื่อที่จะไดขอมูลเกี่ยวกับ “ประเด็นขาว” ของสํานักขาวซินหัว ดังแสดงในตารางที่ 6.9 ขางลางนี้

ตารางที่ 6.9 แสดงความถี่ในการรายงานขาวของสํานักขาวซินหัว 274

ในกรณีพระวิหาร 2008-2013 Xinhua 2008 2009 2010 2011 2012 2013 รัฐบาล สมัคร/สมชาย อภิสิทธิ์ อภิสิทธิ์ อภิสิทธิ์/ยิ่งลักษณ ยิ่งลักษณ ยิ่งลักษณ มกราคม 1 2 8 ปะทะ 12 8 8 กุมภาพันธ 0 7 7 99 ปะทะ 5 3 มีนาคม 0 5 0 20 8 4 เมษายน 0 22 ปะทะ 1 ปะทะ 70 ปะทะ 3 3 พฤษภาคม 1 3 2 28 6 4 มิถุนายน 9 7 4 ปะทะ 18 4 0 กรกฎาคม 9 8 6 19 8 0 สิงหาคม 4 3 20 18 1 0 กันยายน 2 12 7 16 1 0 ตุลาคม 35 8 8 3 1 0 พฤศจิกายน 8 2 5 4 2 0 ธันวาคม 1 2 13 8 6 1 รวม 622 69 81 81 315 53 23

ดังจะเห็นจากการเสนอขาวในป 2008 ของสํานักขาวซินหัวนั้นวา สํานักขาวซินหัวไดเริ่ม รายงานตั้งแตเดือนมกราคมวา กัมพูชาใหความสําคัญในการพิมพธนบัตรที่มีรูปปราสาทพระวิหาร และไดเพิ่มกองกําลังคุมครองปราสาทพระวิหารในเดือนพฤษภาคม ตอมาในเดือนมิถุนายนมีการ เจรจาหลายครั้งเพื่อขอใหรัฐบาลสมัครสนับสนุนการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดก โลก จนนําไปสูการลงนามใน “ขอตกลงรวม”(joint communiqué ) ทามกลางฝายตอตานจนนาย นพดลรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศตองลาออก นาสังเกตวาสํานักขาวซินหัวหยุดการ รายงานขาวในเดือนกรกฎาคม แตไดกลับมารายงานกรณีการปะทะวันที่ 3 และ 15 ตุลาคมและการ ยึดสนามบินเพื่อไลรัฐบาลสมชาย อันเปนเหตุการณที่ช็อกโลก ในการเสนอขาวในป2009 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ของสํานักขาวซินหัวนั้นจะเห็นวา ทั้ง สํานักขาวซินหัวใหความสนใจรายงานขาววิกฤตการณที่เกี่ยวของกับการปะทะกันในวันที่ 3 เมษายน 2009 แตสํานักขาวซินหัวยังเฝารายงานขาวอยางตอเนื่องเกี่ยวกับการเจรจาเพื่อคลี่คลาย ปญหา เชน การประชุมระดับทวิภาคของ JBC และ GBC การที่อภิสิทธิ์เรียกรองขึ้นทะเบียนรวม ปราสาทพระวิหารมรดกโลก การที่กลุมชาตินิยมกดดันอภิสิทธิ์ใหยกเลิก“ขัอตกลงรวม” ตลอดจน 275

การที่กัมพูชาจะเรียกรองคาเสียหายตอปราสาทพระวิหารจากการปะทะไทยและการที่ญี่ปุนบริจาค เงินสรางพิพิธภัณฑเปรี๊ยะวิเฮียรสมเด็จเตโช ในการเสนอขาวในป 2010 สํานักขาวซินหัวรายงานกรณีที่วากัมพูชาได“ประทวง” กูเกิ้ล วาแผนที่ของกูเกิ้ลแสดงวาตัวปราสาทพระวิหารเกือบครึ่งหนึ่งตั้งอยูในเขตแดนไทย สํานักขาวซิน หัวรายงานขาวการปะทะยอย 3 ครั้งคือ การปะทะวันที่ 24 มกราคม การปะทะ17 เมษายน 2010 และการปะทะวันที่ 8 มิถุนายน 2010 นอกจากนี้ยังมีรายงานวาอิตาลีไดเขามาชวยกัมพูชาซอมแซม โบราณสถาน และฮุนเซ็นไดยื่นฟอง UNSC วาไทยรุกรานและทําลายปราสาทพระวิหาร สวน อภิสิทธิ์เดินหนาคัดคานแผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชา ทามกลางการกดดัน ของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยที่จะบีบรัฐบาลใหยกเลิก ‘MoU 2000’ และกดดัน รัฐสภามิใหเห็นชอบรายงานการประชุม JBC เพื่อมิใหการเจรจาทวิภาคีมีความคืบหนา กอนสิ้นป 2010 มีรายงาน 7 คนไทยถูกจับฐานบุกรุกเขาไปในแดนกัมพูชา ในการเสนอขาวในป 2011 จะเห็นวาทั้งสํานักขาวซินหัวใหความสําคัญกับการปะทะใหญ ที่กินระยะเวลายาวนาน คือ การปะทะในชวง 4-7 กุมภาพันธ 2011 และการปะทะในชวง 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011 และการที่ศาลโลกสั่งเมื่อ 18 กรกฎาคมใหกัมพูชาและไทยถอนออก จากเขตปลอดทหาร แตสํานักขาวซินหัวมีการรายงานจํานวน 315 ขาว เนื่องจากไดรายงานการ ปะทะสั้นๆวันที่ 15 กุมภาพันธ 2011 ดวย และเกาะติดแทบจะทุกสถานการณ อาทิ เชน การที่ อภิสิทธิ์กดดันกัมพูชาใหยายปายหินและธงที่วัดแกวสิกขาคีรีสวารา จนนําไปสูการปะทะชวงวันที่ 4-7 และ 15 กุมภาพันธ 2011 จน UNSC มีมติใหอาเซียนมีบทบาทไกลเกลี่ยโดยอินโดนีเซียใน ฐานะประธานอาเซียนจะสงผูสังเกตุการณมาดูแลการหยุดยิงที่ชายแดนไทย-กัมพูชา นอกจากนี้ สํานักขาวซินหัวยังสนใจบทบาทของยูเนสโก และไทย-กัมพูชาขัดแยงเรื่องการประชุมGBC และ JBC จนนําไปสูการปะทะชวงวันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011 เมื่ออภิสิทธิ์แพเลือกตั้งใน เดือนกรกฎาคม และ ยิ่งลักษณรับตําแหนงในเดือนสิงหาคม สํานักขาวซินหัวรายงานวาไทย- กัมพูชาพยายามฟนฟูความสัมพันธ และมีความคืบหนาในการถอนทหารและการสงผูสังเกตุการณ มาตามคําสั่งของศาลโลก เชน มีการประชุม RBC ในเดือนกันยายน การประชุม GBC ในเดือน ธันวาคมป 2011 เปนตน ในการเสนอขาวในป 2012 สํานักขาวซินหัวมีการรายงานถึง 53 ขาว โดยใหความสําคัญ กับการที่ไทย-กัมพูชาฟนฟูความสัมพันธ การปฏิบัติตามคําสั่งของศาลโลกเพิ่มเติมจากป 2011โดย ยิ่งลักษณ-ฮุนเซ็นไดรวมลงนามการถอนทหารตามคําสั่งของศาลโลก ความคืบหนาการถอนทหาร และการที่อินโดนีเซียเตรียมการที่จะสงผูสังเกตุการณเขามา ตลอดจนการประชุม“คณะทํางานรวม” 276

(Joint Working Group-JWG) ระหวาง‘ศูนยปฏิบัติการกับระเบิดกัมพูชา’(Cambodian Mine Action Center-CMAC)และ‘ศูนยปฏิบัติการกับระเบิดไทย’(Thailand Mine Action Center- TMAC) แมวาจะมีการรายงานการประทวงของกลุมชาตินิยมไทยและการกระทบกระทั่งกันของ ทหารไทย-กัมพูชาที่ชายแดน แตสํานักขาวซินหัวก็รายงานวา BOI ของไทยกําลังเดินหนาหารือกับ กัมพูชาเกี่ยวกับการสงเสริมการลงทุนของไทยในกัมพูชาที่ไดซบเซาไปตั้งแตป 2008 และกัมพูชามี จํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศถึง 2.57 ลานคนที่มาเยือนปราสาทพระวิหาร ในเวลา 9 เดือน ซึ่งเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 24 ในการเสนอขาวในป 2013 สํานักขาวซินหัวก็ไดจัดทําบทวิเคราะหสถานการณหลาย บทความติดตอกันและมีรายงานขาวรวมถึง 60 ขาว ที่เนนการรายงานเกี่ยวกับการที่ทั้งไทยและ กัมพูชาเตรียมรับมือการใหปากคําเพิ่มเติมตอศาลโลกในวันที่ 15-19 และ 17 เมษายน 2013 อยางไรก็ตามมีการรายงานสถานการณตึงเครียดที่ชายแดนวาชาวบานฝกซอมอพยบหนีภัย มีการ เตรียมปดโรงเรียนในวันที่ศาลโลกจะมีคําตัดสิน และมีการสงตํารวจจลาจลไปคม.ครองสถานทูต กัมพูชาในไทย และเมื่อศาลโลกมีคําตัดสินในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2013 สํานักขาวซินหัวมีการ รายงานอยางละเอียดวาทั้งรัฐบาลกัมพูชาและไทยพอใจกับคําตัดสินของศาลโลก แมวาพรรคฝาย คานไดพยายามบีบรัฐบาลไทยใหยอมรับวา“ไทยเปนฝายพายแพกัมพูชา”และ“ไทยเสียดินแดน”แต ก็ไมสามารถโคนรัฐบาลยิ่งลักษณออกจากตําแหนงโดยใชขออางกรณีพระวิหารเหมือนที่ทํากับ รัฐบาลสมัครและสมชายได (ค)การพาดหัวขาว (headlines) ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหพาดหัวขาวของสํานักขาวซินหัว เพื่อใหไดขอมูลวา สํานักขาวซิน หัวไดใหความสําคัญกับบทบาทของ “ผูกระทําทางการเมือง” (Political Actors) แตละฝายในกรณี พระวิหารแตกตางกันอยางไร และใหน้ําหนักกับบทบาทของ ฝายไทย หรือ กัมพูชา หรือฝายที่สาม มากนอยแตกตางกันอยางไรนั้น ผูวิจัยไดพบวา (ก) สํานักขาวซินหัวใหความสําคัญกับเหตุการณ ความตรึงเครียดที่ชายแดนไทยและกัมพูชา เนื่องจากในจํานวน 249 พาดหัวขาว (40.04%) โดย สํานักขาวซินหัวนั้น มีทั้งไทย-กัมพูชา เปนผูกระทําทางการเมือง (ข) สํานักขาวซินหัวให ความสําคัญกับผูกระทําทางการเมืองฝายกัมพูชาซึ่งมีจํานวน 177 (28.46%) มากกวา การเมือง ภายในประเทศไทย ซึ่งมีจํานวน136 (21.87%) (ค) ในบรรดาผูกระทําทางการเมืองฝายที่สามนั้น สํานักขาวซินหัวใหความสนใจกับบทบาทของ UNESCO มากที่สุด รองลงมาคือ อินโดนีเซียใน ฐานะประธานอาเซียน ตามมาดวย อาเซียน สหรัฐ องคการสหประชาชาติ (UN) คณะมนตรีความ มั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC) และจีน ดังนั้นขัอมูลจากตารางนี้จึงสอดคลองกับการ 277

วิเคราะหเนื้อหารายงานขาว ที่วา สํานักขาวซินหัวนั้นเนนรายงานเหตุการณการปะทะระหวางไทย- กัมพูชา แตไมเนนรายงานวิกฤตการณความขัดแยงภายในการเมืองไทย แตสนใจบทบาทของ กัมพูชาในองคกรระหวางประเทศ เชน ยูเนสโก อาเซียนและองคการสหประชาชาติ ตลอดจน บทบาทของมหาอํานาจ เชนสหรัฐอเมริกา ดังแสดงในตารางที่ 6.11 ตอไปนี้

ตารางที่ 6.10 การวิเคราะห“ผูกระทําทางการเมือง”(poltical actors)ในพาดหัวขาว ของสํานักขาวซินหัว

สํานักขาว ไทย-กัมพูชา ฝายไทยเปน ฝายกัมพูชา ฝายที่สามเปนผูกระทําทาง ซินหัว เปนผูกระทํา ผูกระทําทาง เปนผูกระทํา การเมือง ทางการเมือง การเมือง ทางการเมือง จํานวนพาด จํานวนพาดหัว จํานวนพาด จํานวนพาด จํานวนพาดหัวขาว 60 (9.65%) หัว 622 ขาว 249 หัวขาว 136 หัวขาว 177 (UNESCO=16) ( (100%) (40.04%) (21.87%) (28.46%) Indonesia=12) (ASEAN=10) ( US=5) ( UN=4) (UNSC=2) ( China=2) (ICJ=1) (Brazil=1) (France=1) ( Italy=1) ( Japan=1) (Malaysia=1) (Singapore=1) (Google=1)

แมในภาพรวมสํานักขาวซินหัว ยังเปนสํานักขาวที่มีประสบการณนอยกวาสํานักขาว ตางประเทศจากโลกตะวันตก แตก็กําลังไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น โดยสงวน คุมรุงโรจนใหขอมูลวา “สื่อสารมวลชนในอาเซียนมีการรับเอาขาวของสํานักขาวซินหัวไปเผยแพรตอ เชน สื่อในประเทศ เวียตนาม เมียนมาร โดยเฉพาะอยางยิ่งในกัมพูชา ทั้งนี้เนื่องจากสื่อกัมพูชายังลาหลังไมมีสมรรถนะ ในการทําขาวกรณีพระวิหาร ดังนั้นการที่สํานักขาวซินหัวสนใจทําขาวกรณีพระวิหารไดมีสวนชวย ใหกรณีพระวิหารเปนที่สนใจของประชาคมโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งชวยใหกัมพูชาไดรับความเห็น ใจจากชาวโลก” 1152 สรุปการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวซินหัวกรณีพระวิหารในหวงป 2008-2013

1152 สงวน คุมรุงโรจน, อดีตผูสื่อขาวตางประเทศจากหลายสํานักขาว, สัมภาษณ, 13 มิถุนายน 2016. 278

ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช สํานักขาวซินหัวไดย้ําวา ปราสาทพระวิหารนั้นเปน สัญญลักษณความภูมิใจของชาวกัมพูชา แตเปนความสูญเสียที่ยิ่งใหญของคนไทย นักการเมืองของ ทั้งไทยและกัมพูชาตางไดนําประเด็นปราสาทพระวิหารมาปลุกเปนกระแสชาตินิยมเพื่อโคนฝาย ตรงขามของตน ในสวนของประเทศไทย เนื่องจากแผนที่ที่กัมพูชาจะขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกล้ํา มาในเขตไทย กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและพรรคฝายคานคือพรรคประชาธิปตย ไดใชประเด็นการที่ปราสาทพระวิหารไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกมารณรงคขับไลรัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวชที่ถูกกลาวหาวาเปนรัฐบาลตัวแทนของรัฐบาลทักษิณ สาเหตุเพราะ คณะรัฐมนตรีสมัครรับรอง‘แผนที่ใหม’ ของปราสาทพระวิหารและลงนามในแถลงการณรวม (joint communiqué ) การเมืองที่ขัดแยงกันของไทยนี้ ไดนําไปสูความรุนแรงที่ชายแดนและกระทบตอ ภาพลักษณของไทยในเวทีนานาชาติ เนื่องจากเกิดการตรึงกําลังกันที่ชายแดนไทย-กัมพูชา เพียง หนึ่งสัปดาหหลังจากคณะกรรมการมรดกโลกไดมีมติเอกฉันทเห็นชอบการขอขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลก ฝายกัมพูชากลาวหาทหารไทยวา ไดล้ําแดนเขามาเพื่อนําตัวคนไทย 3 คนที่ รุกล้ําเขาไปในแดนกัมพูชากลับออกมา แตทวากองกําลังไทยกลับไมยอมถอนกองกําลังกลับไปยัง ที่ตั้งเดิมในเขตไทย และไดรุกเขาไปยึดครองวัดแกวสิกขาคีรีสวราซึ่งเปนเสนทางเดียวที่กัมพูชาจะ เดินทางขึ้นสูปราสาทพระวิหารได ในขณะที่ในกัมพูชารัฐบาลนายฮุนเซ็นก็ไดใชประเด็นปราสาท พระวิหารมารณรงคหาเสียงเลือกตั้งจนชนะการเลือกตั้งและเปนรัฐบาลมาแลวหลายสมัย สํานัก ขาวซินหัวไดแสดงทาทีชัดเจนวาตองการใหมีการเจรจาเพื่อยุติกรณีพิพาท ทั้งยังวิจารณรัฐบาลไทย และกัมพูชาวาไมสนใจที่จะดูแลความปลอดภัยของประชาชนตามชายแดนทามกลางสถานการณที่ กําลังจะลุกลามกลายเปนสงคราม ในสมัยรัฐบาลนายสมชาย วงศสวัสดิ์นั้น สถานการณเลวรายลง สํานักขาวซินหัวได รายงาน การปะทะกันที่ชายแดนวาเกิดขึ้นถึงสองครั้ง ในวันที่ 3 และ 15 ตค 2008 ทําใหมีการ สูญเสียชีวิตและทรัพยสินตลอดจนการอพยบหนีภัย มีการกลาวหาตอบโตกันไปมา โดยกัมพูชาได ทําเรื่องฟอง UNSC- และนานาชาติเรียกรองใหเจรจา ซึ่งมีการเจรจาระดับทวิภาคีหลายครั้ง แตตก ลงกันไมไดเรื่องถอนทหารทามกลางการประทวงขับไลรัฐบาลนายสมชายของกลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีการยึดทําเนียบรัฐบาล ยึดสนามบิน จนเปน หนึ่งในสิบเหตุการณที่ “ช็อก”โลกของสํานักขาวซินหัว รัฐบาลนายสมชาย วงศสวัสดิ์ก็ประสบชะตากรรมเชนเดียวกับ รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช กลาวคือ ตองปดฉากลงดวยอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญที่ไดสั่งยุบ พรรคพลังประชาชนซึ่งเปนพรรครัฐบาล สํานักขาวซินหัวไดแสดงความเห็นอกเห็นใจที่รัฐบาลนี้ ตองเผชิญกับมรสุมทางการเมืองหลายดาน ทําใหรัฐบาลไมมีเสถียรภาพภายใน ไมสามารถควบคุม กองทัพใหปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาล ในสมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สํานักขาวซินหัวไดใหแสดงทัศนะวานายอภิ สิทธขึ้นสูอํานาจตั้งแตเดือนธันวาคม2008 โดยไมไดผานการเลือกตั้ง ในสวนที่เกี่ยวกับกรณีพระ 279

วิหารนั้น นายอภิสิทธิ์ใชทาทีแข็งกราวสอดคลองกับกลุมนักชาตินิยม จนมีการปะทะทางทหารถึง 7 ครั้งที่ชายแดนไทย-กัมพูชา(วันที่ 3 เมษายน 2009 /วันที่ 24 มกราคม 2010 /วันที่ 17 เมษายน 2010 / วันที่ 8 มิถุนายน 2010/ วันที่ 4-7 กุมภาพันธ 2011/ วันที่ 15 กุมภาพันธ 2011/ วันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011) ตลอดจนการปะทะคารมกับนายฮุนเซ็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชา จน กัมพูชาใชเปนเหตุยื่นฟองตอคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ ซินหัวถาม สังคมไทยสามัคคีหรือแตกแยกกรณีพระวิหาร สํานักขาวซินหัวสะทอนภาพวาซินหัววิเคราะหอภิ สิทธกําลัง‘ตกที่นั่งลําบากเนื่องจากอยูภายใตอิทธิพลทหารที่ยืนกรานวาไทยจะแกปญหาขัดแยง ชายแดนกับกัมพูชาแบบทวิภาคีเทานั้น แมวามติ UNSC จะใหอาเซียนมีบทบาทไกลเกลี่ยและสงผู สังเกตุการณมาดูแลการหยุดยิง ดังนั้นรัฐบาลอภิสิทธิ์ไดทิ้งปญหาไวใหรัฐบาลตอมา เชน ปญหาที่ ไทยถอนตัวออกจากคณะกรรมการมรดกโลก การที่ศาลโลกสั่งใหกัมพูชาและไทยถอนออกจาก เขตปลอดทหาร และการตองเตรียมตอสูคดีในศาลยุติธรรมระหวางประเทศในประเด็นที่กัมพูชายื่น ฟองใหศาลโลกตีความคําพิพากษาศาลโลกในป 1962 สํานักขาวซินหัววิจารณวาอาเซียน แกปญหากัมพูชาและไทยไมได และไดแสดงจุดยืนชัดเจนวา หากจะใหอาเซียนเปนดินแดน สันติภาพ อาเซียนจะตองมีกลไกในการจัดการกรณีพิพาทกัมพูชา-ไทย นอกจากนี้ยังแนะนําใหทั้ง ประชาชนกัมพูชาและไทยเลิกรบกันแตหันมาทํามาหาเลี้ยงชีพโดย“เปลี่ยนดาบใหเปนคันไถ” ในสมัยรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร สํานักขาวซินหัวไดสะทอนบทบาทดานบวก ของรัฐบาลยิ่งลักษณวาการที่พรรคเพื่อไทยชนะการเลือกตั้งทําใหมีความหวังที่จะมีทางออกอยาง สันติในกรณีพิพาทพรมแดนระหวางกัมพูชาและไทย รัฐบาลยิ่งลักษณไดดําเนินการการทูตเชิงรุก ทําใหความสัมพันธกัมพูชาและไทยดีขึ้น โดยจัดใหมีการประชุมรวมไทย-กัมพูชาหลายคณะ เชน คณะกรรมการชายแดนภูมิภาค (RBC) คณะกรรมการทั่วไปชายแดน (GBC) คณะกรรมาธิการรวม เพื่อปกปนเขตแดนทางบก’ (JBC) คณะทํางานรวม (Joint Working Group-JWG) ระหวางศูนย ปฏิบัติการกับระเบิดกัมพูชา(Cambodian Mine Action Center-CMAC)และศูนยปฏิบัติการกับ ระเบิดไทย(Thailand Mine Action Center -TMAC) จนในที่สุดทั้งยิ่งลักษณและฮุนเซ็นไดรวมลง นามถอนทหารตามคําสั่งของศาลโลก อยางไรก็ตามยังมีปญหาจากการประทวงของกลุมชาตินิยม ไทยและการกระทบกระทั่งกันที่ชายแดน สํานักขาวซินหัวระบุวาผูที่ทําใหกรณีพิพาทไทย-กัมพูชา เลวรายลงไมใชกัมพูชา แตเปนพวก‘เสื้อเหลือง’ ทั้งยังอางนายฮุนเซ็นวาผูที่กอความไมสงบ คือ รัฐบาลอภิสิทธิ์ไมใชรัฐบาลยิ่งลักษณ และเตือนคนไทยใหตระหนักวา กัมพูชานั้นเปนแหลงลงทุน ที่ดีที่สุดของคนไทย จะเห็นวากอนที่ศาลโลกจะมีคําพิพากษาของศาลโลกในกรณีที่กัมพูชายื่นให ศาลโลกตีความเกี่ยวกับพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2013 นั้น ทั้งรัฐบาล 280

ไทยและกัมพูชาไดเตรียมการรับมือมาเปนอยางดีฝายตอตานรัฐบาลจึงไมสามารถใชประเด็นพระ วิหารมาโคนรัฐบาลยิ่งลักษณไดเหมือนที่ทํากับรัฐบาลสมัครและรัฐบาลสมชายได แตทวาตอง พนจากตําแหนงเมื่อมีการรัฐประหารเมื่อ 22 พฤษภาคม 2014 โดยพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผู บัญชาการทหารบกในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์และยิ่งลักษณที่รับผิดชอบการปะทะกันที่ชายแดนไทย- กัมพูชา ในบทที่ 7 จะเปนขอสรุป อภิปรายและใหเสนอแนะเกี่ยวกับ การศึกษา เรื่อง การสื่อสาร ทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัว ในกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008- 2013 บทที่ 7

สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

บทสรุป

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง “การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระวิหาร: ศึกษาในหวงเวลา ค.ศ.2008-2013” ผูวิจัยมีจุดมุงหมายในการศึกษาประเด็นปญหาตาม วัตถุประสงค 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาบริบทความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระ วิหารที่ดําเนินมาตั้งแต ค.ศ.1962 ถึง 2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเต อรสและสํานักขาวซินหัว และ เพื่อศึกษาการสื่อสารทางการเมือง ทัศนะจุดยืนและมุมมองของ สํานักขาว ของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวง ป ค.ศ.2008-2013 การวิจัยครั้งนี้อาศัยกรอบแนวคิดทฤษฎีภายใตแบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองตาม แนวคิดของ ไบรอัน แมกแนร (Brian McNair)1153 ตลอดจนแนวคิดทฤษฎีประตูขาว (Gatekeeping Theory) ของพาเมลา ชูเมกเกอร (Pamela Shoemaker) และทิโมธี ฟวอส (Timothy Vos) 1154 การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใชการ วิเคราะหเนื้อความ (content analysis) ซึ่งหนวยในการวิเคราะห (unit of analysis) ของการศึกษา เรื่องนี้จะเปน“รายงานขาว”ในรูปแบบของ“ตัวบท” (texts) ในรูปของ“ขาวออนไลน”ที่ไดมาจาก เว็บไซตสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัว เพื่อจะทําใหทราบ จุดยืน มุมมองทัศนะของทั้ง สองสํานักขาวตอวิกฤตการณทางการเมืองในกรณีพระวิหารระหวางไทยและกัมพูชาในระยะเวลา รวม 6 ป ในหวงเวลา ค.ศ.2008-2013 นอกจากนี้ยังมีการสัมภาษณเจาะลึก (In-depth Interview) และการคนควาเอกสารจาก แหลงขอมูลตางๆ โดยมีผูวิจัยเปนเครื่องมือหลักในการศึกษา ซึ่งสามารถที่จะสรุปผลการวิจัย โดย นําเสนอใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัยไดดังนี้

1153 Brian McNair, An Introduction to Political Communication. (London : Routledge, 2003). 1154 Pamela J. Shoemaker & Timothy P. Vos, Gatekeeping. (New York : Routledge, 2009). 281

บริบทความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารในหวงเวลา ค.ศ.1962-2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว

ความขัดแยงระหวางกัมพูชาและไทย ประเทศเพื่อนบานที่มีพรมแดนติดตอกันนั้นมี รากเหงามาจากความเปนมาทางประวัติศาสตร เมื่ออาณาจักรขอมโบราณอันยิ่งใหญไดลมสลายเกิด มีอาณาจักรใหมๆมาแทนที่ซึ่งตอมากลายเปนสวนหนึ่งของประเทศลาว เวียดนามและไทย พื้นที่ ประเทศกัมพูชาปจจุบันจึงมีขนาดลดลงกวาสมัยอาณาจักรขอมโบราณมาก หลังจากกัมพูชาไดรับ อิสรภาพจากฝรั่งเศสมีการปลุกกระแสชาตินิยมในทั้งสองประเทศ กัมพูชากับไทยจึงขัดแยงกันเรื่อง เขตแดนในกรณีพระวิหาร 1155 บริบทความขัดแยงระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารใน หวงเวลา ค.ศ.1962-2013 ที่ยาวนานถึง 51 ป ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวรอย เตอรสและสํานักขาวซินหัว1156 นี้สามารถแบงออกเปนสามชวง คือ 1.ชวงแรก ค.ศ. 1962-1972 เปนยุคที่มีความขัดแยงทางอุดมการระหวางไทยและกัมพูชา โดยไทยมีรัฐบาลเผด็จการทหารสฤษดิ์-ถนอมที่ถูกดึงเขาไปสนับสนุนสหรัฐในสงครามเวียดนาม แตเจาสีหนุของกัมพูชาตองการวางตัวเปนกลาง หลังจากที่กัมพูชาไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศสมีการ ปลุกกระแสชาตินิยมทําใหมีการขัดแยงกันเรื่องเขตแดนโดยเฉพาะกรณีปราสาทพระวิหาร ฝาย กัมพูชานั้นเปนประเทศเล็กและยากจนที่เพิ่งไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศส ประกอบกับเจานโรดมสีหนุ มีความจัดเจนในการสื่อสารการเมืองในเวทีโลก จึงทําใหไดรับความเห็นอกเห็นใจจากนานาชาติ มากกวาไทย กัมพูชาไดยกระดับประเด็นนี้ขึ้นสูการพิจารณาของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ โดย มีการเตรียมหลักฐานทางประวัติศาสตรมาเปนอยางดีจนทําใหศาลโลกเมื่อ 15 มิถุนายน ค.ศ.1962 ตัดสินใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา แตทั้งนี้ศาลไมไดพิพากษาชี้ขาดเรื่องเสน เขตแดนระหวางประเทศวา จะตองเปนไปตามแผนที่มาตราสวน 1:200,000 ดานรัฐบาลสฤษดิ์แม จะไมเห็นดวยกับคําตัดสินของศาลโลกแตจําเปนตองยอมรับและถอนกําลังออกมาจากปราสาทพระ วิหาร แตคณะรัฐมนตรีสฤษดิ์ไดมีมติใหขีดเสนเขตปราสาทพระวิหารและกั้นรั้วลวดหนามรอบ ปราสาท ในขณะที่เจาสีหนุแมจะไมเห็นดวยกับแนวเขตตามรั้วลวดหนามนี้แตมิไดคัดคาน นา สังเกตวาในชวง 10 ปนี้ไมปรากฎวารัฐบาลไทยไดใชสิทธิที่จะอุทธรณตอคําพิพากษาของศาลโลก

1155 ดูผนวก ก. ลําดับเหตุการณที่มีผลตอความขัดแยงไทย-กัมพูชากอนป 1962. 1156 ดูผนวก ข.บริบททางการเมืองของรัฐบาลตางๆของไทยที่มีผลตอความขัดแยงไทย-กัมพูชา ค.ศ. 1962-2013. 282

ในกรณีพระวิหารนี้แตอยางใด การที่ไทยและกัมพูชาไดยึดแผนที่คนละฉบับนี้ไดเปนสาเหตุใหเกิด มีการกระทบกระทั่งตามชายแดนในยุคตอมา 2.ชวงที่สอง ค.ศ. 1973-2007 มีระยะเวลายาวนาน 34 ป เริ่มจากเหตุการณ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1973 ที่ไดโคนรัฐบาลเผด็จการถนอม กิตติขจร เกิดการตื่นตัวดานเสรีภาพและประชาธิปไตย นอกจากนี้สงครามเวียตนามที่มีผลใหประเทศลาวเวียตนามและกัมพูชากลายเปนประเทศสังคม นิยมก็ไดยุติลง ชวงนี้ถือวาเปนชวงของความพยายามของรัฐบาลไทยหลายรัฐบาลที่จะฟนฟูการคา และการทองเที่ยว โดยใชปราสาทพระวิหารเปน“สัญญลักษณของมิตรภาพและความรวมมือ ระหวางไทยและกัมพูชา ดังจะเห็นวา ในสมัยรัฐบาลชาติชาย ชุณหะวัณมีการเจรจาที่จะเปด ปราสาทพระวิหารเปนแหลงทองเที่ยว ต3อมาในสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา มีการจัดตั้ง คณะกรรมการ 3 คณะ คือ คณะกรรมการชายแดนทั่วไป(GBC) คณะกรรมการรักษาความสงบตาม ชายแดน(BPKC) และ คณะกรรมการชายแดนภูมิภาค(RBC) ตลอดจนสนับสนุนเงินในการ ปรับปรุงถนนที่ขึ้นสูตัวปราสาทพระวิหารซึ่งเสร็จสมบูรณในสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ตอมาในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย(2) มีการลงนาม ใน “บันทึกความเขาใจวาดวยการสํารวจและ จัดทําหลักเขตแดนทางบก”(‘MOU2000’) ซึ่งไดนําไปสูความขัดแยงในสมัยตอมา ในสมัยรัฐบาล ชวน(2)นี้เริ่มมีสัญญาณของความขัดแยงโดยฝายกัมพูชาไดสรางตลาดหนาบันไดประวัติศาสตรและ สรางวัดแกวสิกขาคีรีสวาระ และพัฒนาเสนทางจากบานโกมุยขึ้นสูเขาพระวิหาร ซึ่งฝายไทยอางวา เปนพื้นที่ของไทยตามมติคณะรัฐมนตรีสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ค.ศ.1962 ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตรมีการลงนามใน “บันทึกความเขาใจเกี่ยวกับพื้นที่ทับซอนทาง ทะเล” (‘MOU2001’) นอกจากนี้ไทยยังไดเสนอชวยเรื่องการเงินเพื่อพัฒนาเสนทางคมนาคมเพื่อ การคาและการทองเที่ยวระหวางจ.ศรีสะเกษ และ จ.เสียมราฐ ตลอดจนมีการลงนามใน“บันทึกการ ประชุมความรวมมือในการพัฒนาเขาพระวิหารใหเปนแหลงทองเที่ยวระดับนานาชาติระหวางไทย- กัมพูชา” และที่ประชุมคณะรัฐมนตรีรวมไทย–กัมพูชา ในปค.ศ. 2003 ไดตกลงกันที่จะ“รวมมือ พัฒนาเขาพระวิหารและบูรณะปฏิสังขรณปราสาทพระวิหาร” อยางไรก็ตามในสมัยรัฐบาลทักษิณ นี้มีปญหาขึ้นเมื่อกัมพูชาไดยื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนครั้งแรก เมื่อ 10 ตุลาคม ค.ศ.2001 ครั้งที่สองเมื่อวันที่ 30 มกราคมค.ศ. 2006 และครั้งที่สามเมื่อกรกฎาคม ค.ศ. 2007 ในสมัยรัฐบาลสุรยุทธ จุลานนทซึ่งรัฐบาลสุรยุทธไมคัดคานการขึ้นทะเบียนตัวปราสาท เพียงแตไดคัดคานไมใหเอา‘พื้นที่ทับซอน’ไปขึ้นทะเบียน 3. ชวงที่สามระหวางปค.ศ. 2008-2013 ปราสาทพระวิหารไดกลายเปน“สัญญลักษณของ ความเกลียดชัง”(symbol of hatred) ระหวางสองประเทศ เมื่อมีการลงนามใน“ขอตกลงรวม”(joint 283

communiqué )ในสมัยรัฐบาลสมัคร สุนทรเวชซึ่งสนับสนุนใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนใหตัวปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลกตามแผนที่ประกอบซึ่งไมรุกล้ํา‘พื้นที่ทับซอน’ แตฝายตอตานรัฐบาลใน ไทยไดปลุกกระแสชาตินิยมและทําการประทวงจนตองมีการยกเลิกขอตกลงนี้ อยางไรก็ตาม องคการยูเนสโกก็ไดมีมติเอกฉันทใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนใหตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกใน วันที่ 8 กรกฎาคม 2008 กรณีนี้ไดกลายเปน“จุดเริ่มตนของความขัดแยง”ทางการเมืองระหวางสอง ประเทศ จนเกิดมีการตรึงกําลังตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชาในสมัยรัฐบาลสมัคร และเริ่มมีการ ปะทะดวยกําลังอาวุธในสมัยรัฐบาลสมชาย วงศสวัสดิ์โดยเฉพาะในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีการปะทะกันรุนแรงหลายครั้ง จนกัมพูชาไดนําประเด็นพิพาทนี้ไปรองเรียนตอคณะมนตรี ความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ(UNSC) และศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) เพื่อให ตีความคําพิพากษาในป 1962 ในประเทศไทยมีการปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อกําจัดรัฐบาลยิ่งลักษณ ชินวัตรเชนเดียวกับที่เคยกําจัดรัฐบาลสมัครและรัฐบาลสมชายมาแลว โดยกลุมนี้อางวาไทยเสีย ดินแดนตามมติของศาลโลกเมื่อ 11พฤศจิกายน ค.ศ.2013 ที่ใหกัมพูชาเปนเจาของ‘ชะงอน ผา’(promontory)ซึ่งปราสาทพระวิหารตั้งอยู แตเนื่องจากรัฐบาลยิ่งลักษณมีการสื่อสารการเมืองที่ เตรียมการมาอยางดี กลุมตอตานทักษิณในชวงนี้จึงไมสามารถใชกรณีปราสาทพระวิหารมากําจัด รัฐบาลยิ่งลักษณ เชนที่ทําไดสําเร็จกับรัฐบาลสมัครและรัฐบาลสมชาย

การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระวิหาร : ศึกษาในหวงเวลาตั้งแตค.ศ.2008 ถึง 2013

ผูวิจัยจะแบงหัวขอนี้เปนสามสวนคือ เปรียบเทียบการรายงานขาวของสํานักขาวรอย เตอรสและสํานักขาวซินหัว เปรียบเทียบบทวิเคราะหขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาว ซินหัว และสรุปการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการกรณีพระวิหารศึกษาใน หวงเวลาตั้งแตค.ศ.2008-2013

เปรียบเทียบการรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว

แมทั้งสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวจะใหความสําคัญกับกรณีปราสาทพระ วิหารมาในตลอดระยะเวลา 6 ป ตั้งแต ค.ศ.2008 ถึง 2013 ผูวิจัยพบวา มีความแตกตางในดานการ รายงานขาว ดังนี้ (ก) ดานจํานวนขาว (ข) ดานความถี่และประเด็นในการนําเสนอขาว (ค) ดานการ พาดหัวขาว (Headlines) 284

(ก) ดานจํานวนขาว ในดานจํานวนขาว จะเห็นวาสํานักขาวซินหัวใหความสําคัญตอการรายงานขาวกรณีความ ขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชามากกวาสํานักขาวรอยเตอรส โดยสํานักขาวซินหัวไดจัดทํารายงาน ถึง 622 ขาว ในขณะที่สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํารายงานเพียง 108 ขาว ดังตาราง 7.1

ตารางที่ 7.1 เปรียบเทียบจํานวนขาวที่รายงานโดยสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัวแบงตามรัฐบาล

รัฐบาล รอยเตอรส ซินหัว นายสมัคร สุนทรเวช (29 มกราคม ถึง 17 กันยายน 2008) 31 25 นายสมชาย วงศสวัสดิ์ (18 กันยายน ถึง 16 ธันวาคม 2008) 19 44 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (17 ธันวาคม 2008 ถึง 4 สิงหาคม 2011) 45 428 นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร (5 สิงหาคม 2011 ถึง 31 ธันวาคม 2013) 13 125 รวมจํานวนขาว 108 622

สาเหตุหนึ่งที่สํานักขาวรอยเตอรสมีจํานวนขาวนอยกวาสํานักขาวซินหัว นาจะมาจาก การ ที่สํานักขาวรอยเตอรสเปนสํานักขาวจากคายทุนนิยมเสรีจากโลกตะวันตก จึงเลือกที่จะรายงานขาว ที่เกี่ยวกับกรณีปราสาทพระวิหารเฉพาะในชวงเวลาที่เกิดวิกฤตการณ เพื่อใหเปนจุดสนใจตอ ชาวโลกและนักลงทุนในตลาดหุน เชน การมีวิวาทกรรมโตตอบกลาวหากันไปมา การประทวง การ ใชความรุนแรงและการปะทะกันโดยเฉพาะในหวงป 2008-2011ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทร เวช นายสมชาย วงศสวัสดิ์ และนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ดังนั้นขาวจากสํานักขาวรอยเตอรสในกรณี พระวิหารจึงถือวาเปน‘ขาวดานลบ’ ตอทั้งไทยและกัมพูชา สํานักขาวรอยเตอรสยึดถือในเสรีภาพ ของสื่อมวลชน ซึ่งเปนอิสระจากรัฐ จึงไมสนใจวาขาวนั้นจะกระทบความสัมพันธระหวางประเทศ หรือไม ในขณะที่สํานักขาวซินหัวมีรายงานขาวมากกวาสํานักขาวรอยเตอรส ก็เนื่องจากสํานักขาว ซินหัวนั้นมีสถานะเปนสํานักขาวทางการของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนจึงทําหนาที่เหมือน เปนหนวยงานของรัฐบาลจีนในการสรางสัมพันธอันดีกับนานาชาติ โดยเฉพาะในกลุมประเทศ 285

อาเซียนซึ่งหลายประเทศมีพรมแดนติดตอกับจีนทั้งทางบกและทางทะเล ดังนั้นสํานักขาวซินหัวจึง ระมัดระวังในการนําเสนอขาวที่มีความละเอียดออนและมีแนวโนมจะทําลายความสัมพันธระหวาง ประเทศกัมพูชาและไทยที่มีความสัมพันธอันดีกับจีนมาโดยตลอด ดวยเหตุนี้สํานักขาวซินหัวจึง แสดงทัศนะ มุมมองและจุดยืนของตนอยางชัดเจน โดยไดรายงานขาวในกรณีพระวิหารอยาง สม่ําเสมอ โดยไมเนนรายงานขาวเฉพาะชวงวิกฤตการณทางการเมือง ดวยขอมูลในดานจํานวนขาวที่วา ตั้งแตปค.ศ.2008-2013 สํานักขาวซินหัวไดจัดทํา รายงานถึง 622 ขาว ในขณะที่สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํารายงานเพียง 108 ขาว ผูวิจัยจึงสรุป ไดวา สํานักขาวซินหัวใหความสําคัญตอการรายงานขาวกรณีความขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชา มากกวาสํานักขาวรอยเตอรส

(ข) ความถี่และประเด็นในการนําเสนอขาว ผูวิจัยไดจัดทําตารางเปรียบเทียบความถี่ในการนําเนอขาวโดยสํานักขาวรอยเตอรสและ สํานักขาวซินหัวในแตละป ตั้งแตปค.ศ. 2008-2013 เพื่อที่จะไดขอมูลเกี่ยวกับ “ประเด็นขาว” ของ สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว จะเห็นวา ในป ค.ศ.2008 สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํา รายงานขาวจํานวน 40 ขาว สวนสํานักขาวซินหัวไดจัดทํารายงานขาวจํานวน 61 ขาว โดยมี “ประเด็นขาว” ที่เหมือนและแตกตางกัน ดังรายละเอียดในตารางที่ 7.2

ตารางที่ 7.2 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัวในปค.ศ. 2008

2008 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. จํานวน ปะทะ ขาว Reuters 0 0 0 0 0 0 20 3 1 16 0 0 40 Xinhua 1 0 0 0 1 9 1 4 1 36 8 0 61

ในดานประเด็นขาวนั้น สํานักขาวซินหัว เปนฝายเริ่มรายงานขาวกอนตั้งแตเดือนมกราคม 2008 ในประเด็นที่วากัมพูชาใหความสําคัญในการพิมพธนบัตรที่มีรูปปราสาทพระวิหาร และใน เดือนพฤษภาคม กัมพูชาไดสงกองกําลังเพิ่มเติมมาคุมครองปราสาทพระวิหาร ตอมาในเดือน มิถุนายนกัมพูชาไดขอใหรัฐบาลสมัครสนับสนุนการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดก 286

โลก มีการเจรจาหลายครั้ง จนนําไปสูการลงนามใน “ขอตกลงรวม”(joint communiqué ) ทามกลาง การประทวงตอตานของฝายชาตินิยมจนกดดันใหนายนพดล ปทมะรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศตองลาออก สวนสํานักขาวรอยเตอรสนั้นสนใจประเด็นกรณีพระวิหารตั้งแตเดือน กรกฎาคมเปนตนมา โดยเฉพาะในประเด็นที่วาการที่ ยูเนสโกมีมติเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคมใหกัมพูชา ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนั้นทําใหกลุมชาตินิยมในไทยโกรธแคนจนกดดันให ทหารไทยรุกเขาไปในพื้นที่ทับซอนใกลพรมแดนไทย-กัมพูชา แมจะมีการเจรจาทวิภาคีเพื่อใหไทย ถอนทหาร แตทหารไทยไมยอมถอยออกมา เนื่องจากไทย-กัมพูชาตางถือแผนที่คนละฉบับ ใน ไทยมีการปลุกกระแสชาตินิยมจนลมรัฐบาลสมัครไดสําเร็จ นาสังเกตวาสํานักขาวซินหัวหยุดการ รายงานขาวในเดือนกรกฎาคมทั้งเดือนทั้งๆที่สถานการณตึงเครียด อยางไรก็ตามทั้งสองสํานักขาว ไดรายงานกรณีการปะทะวันที่ 3 และ 15 ตุลาคมและการที่กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยยึดสนามบินเพื่อไลรัฐบาลสมชาย อันเปนเหตุการณที่ช็อกโลก จึงเห็นไดวาในเดือน ตุลาคมเปนเดือนที่ทั้งสํานักขาวรอยเตอรส (16 ขาว) และสํานักขาวซินหัว(36 ขาว) มีจํานวนขาว สูงสุดในป 2008 ในการเปรียบเทียบความถี่และประเด็นในการเสนอขาวในป 2009 ของสํานักขาวรอยเตอร และสํานักขาวซินหัวในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์นั้น สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํารายงานจํานวนเพียง 15 ขาว แตสํานักขาวซินหัวไดจัดทํารายงานจํานวนถึง 81 ขาว ดังแสดงในตารางที่ 7.3 ขางลางนี้

ตารางที่ 7.3 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัวในป 2009

2009 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. จํานวน ปะทะ ขาว Reuters 0 1 1 5 0 3 1 1 1 2 0 0 15 Xinhua 2 7 5 22 3 7 8 3 12 8 2 2 81

เมื่อพิจารณาจากจํานวนขาวในเดือนเมษายน เห็นไดชัดวาทั้งสองสํานักขาวใหความสนใจ รายงานขาววิกฤตการณที่เกี่ยวของกับการปะทะกันในวันที่ 3 เมษายน 2009 แตสํานักขาวซินหัว ยังคงติดตามรายงานขาวอยางตอเนื่องมีการรายงานขาวในทุกเดือนตลอดป 2009 โดยเฉพาะใน ประเด็นที่เกี่ยวกับการเจรจาเพื่อคลี่คลายกรณีพิพาทไทย-กัมพูชา เชน การประชุมระดับทวิภาคีของ 287

คณะกรรมการรวมชายแดน (JBC) และ คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) และการที่อภิสิทธิ์ เรียกรองขอขึ้นทะเบียนรวมกับกัมพูชาใหปราสาทพระวิหารมรดกโลก หรือการที่กลุมชาตินิยมไทย กดดันอภิสิทธิ์ใหยกเลิก“ขอตก ลงรวม”(joint communiqué ) ที่ลงนามในสมัยรัฐบาลสมัคร ตลอดจนประเด็นที่กัมพูชาจะฟองเรียกรองคาเสียหายจากไทยโดยอางวา อาวุธหนักที่ยิงเขามาจาก ฝงไทยทําใหปราสาทพระวิหารเสียหายและการที่ญี่ปุนบริจาคเงินสรางพิพิธภัณฑเปรี๊ยะวิเฮียร สมเด็จเตโช ในการเปรียบเทียบความถี่และประเด็นในการเสนอขาวในป 2010 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ ของสํานักขาวรอยเตอรและสํานักขาวซินหัวนั้น จะเห็นวาสํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํารายงาน เพียง 4 ขาว แตสํานักขาวซินหัวไดจัดทํารายงานจํานวนถึง 63 ขาว อยางไรก็ตามในดานประเด็น ขาวทั้งสองสํานักขาวรายงานตรงกันวากัมพูชาได“ประทวง”กูเกิ้ลวาแผนที่ที่กูเกิ้ลไดจัดทําขึ้นนั้น แสดงวา ตัวปราสาทพระวิหารเกือบครึ่งหนึ่งตั้งอยูในเขตแดนไทย นอกจากรายงานชิ้นนี้แลว สํานักขาวรอยเตอรสไมสนใจประเด็นขาวอื่นๆที่เกี่ยวของกับกรณีพระวิหารเนื่องจากไมมีการ ปะทะที่รุนแรงที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ในทางตรงขามสํานักขาวซินหัวกลับรายงานขาวการปะทะ ยอยถึง 3 ครั้งคือ การปะทะวันที่ 24 มกราคม การปะทะวันที่ 17 เมษายน และการปะทะวันที่ 8 มิถุนายน 2010 นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังรายงานในประเด็นที่วานายฮุนเซ็นไดยื่นฟอง UNSC วาไทยรุกรานและทําลายปราสาทพระวิหาร และในประเด็นที่วานายอภิสิทธิ์ยังคงเดินหนาคัดคาน แผนการบริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชาในที่ประชุมมรดกโลก ตลอดจนประเด็นที่ กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยบีบรัฐบาลใหยกเลิก‘MoU 2000’ และกดดันรัฐสภาไทย มิใหเห็นชอบรายงานการประชุม JBC เพื่อขัดขวางมิใหการเจรจาทวิภาคีไทย-กัมพูชามีความ คืบหนา กอนสิ้นป 2010 สํานักขาวซินหัวยังไดรายงานประเด็นที่มีคนไทย 7 คนถูกจับฐานบุกรุก เขาไปในแดนกัมพูชา ดังแสดงใหเห็นชัดเจนขึ้นในตารางที่ 7.4 ขางลางนี้

ตารางที่ 7.4 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัวในป 2010

2010 มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค จํานวน ขาว Reuters 0 1 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 4 Xinhua 8 7 0 1 2 4 6 2 7 8 5 13 63 288

ในการเสนอขาวในป 2011 ในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ซึ่งถือวาเปนชวงที่กรณีพิพาทปราสาท พระวิหารอยูในจุดที่อันตรายที่สุด จะเห็นวาทั้งสองสํานักขาวใหความสําคัญกับการรายงานขาว ในชวงนี้อยางเต็มที่โดยใหความสําคัญกับประเด็นการปะทะใหญที่กินระยะเวลายาวนาน คือ การ ปะทะในชวง 4-7 กุมภาพันธ และการปะทะในชวง 22 เมษายน-3 พฤษภาคม และประเด็นที่ศาล โลกสั่งเมื่อ 18 กรกฎาคมใหกัมพูชาและไทยถอนออกจากเขตปลอดทหาร โดยสํานักขาวรอยเตอรส นั้นมีการรายงานขาวในป 2011จํานวน 32 ขาว แตสํานักขาวซินหัวมีการรายงานจํานวนถึง 295 ขาว โดยสนใจประเด็นการปะทะสั้นๆในวันที่ 15 กุมภาพันธ 2011 และเกาะติดแทบจะทุกประเด็น การเคลื่อนไหวทางการเมือง อาทิ เชน ประเด็นที่อภิสิทธิ์กดดันกัมพูชาใหยายปายหินและธงที่วัด แกวสิกขาคีรีสวารา จนนําไปสูการปะทะชวงวันที่ 4-7 และ 15 กุมภาพันธ 2011 และประเด็นที่ กัมพูชาทําการยื่นฟองไทยตอ UNSC ซึ่งตอมา UNSC ไดมีมติมอบหมายใหอาเซียนมีบทบาทไกล เกลี่ยกรณีพิพาทระหวางไทย-กัมพูชา โดยอินโดนีเซียในฐานะประธานอาเซียนจะสงผูสังเกตุการณ มาดูแลการหยุดยิงที่ชายแดนไทย-กัมพูชา นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังมีประเด็นเกี่ยวกับบทบาท ของผูแทนพิเศษของยูเนสโก ตลอดจนประเด็นที่ไทย-กัมพูชาขัดแยงกันเรื่องการประชุม GBC และ JBC จนนําไปสูการปะทะอีกครั้งในชวงวันที่ 22 เมษายน-3 พฤษภาคม 2011 หลังจากที่ อภิสิทธิ์แพเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคมสํานักขาวซินหัวไดรายงานวาเมื่อยิ่งลักษณเขารับตําแหนง นายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคม ไทย-กัมพูชาพยายามฟนฟูความสัมพันธระหวางกัน ดังจะเห็นวามี ความคืบหนาในประเด็นการถอนทหารและประเด็นการสงผูสังเกตุการณมาตามคําสั่งของศาลโลก เชน มีการเตรียมประชุม RBC ในเดือนกันยายน และการประชุม GBC ในเดือนธันวาคมป 2011 เปนตน ดังแสดงในตารางที่ 7.5 ขางลางนี้

ตารางที่ 7.5 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัวในป 2011

2011 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. มิย. ธค. จํานวน ปะทะ ปะทะ ปะทะ ขาว Reuters 0 13 0 11 3 1 3 1 0 0 0 0 32 Xinhua 10 97 18 68 26 16 17 16 14 3 4 6 295 289

ในการเสนอขาวในป 2012 ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณของสํานักขาวรอยเตอรและสํานักขาว ซินหัวนั้น จะเห็นวา สํานักขาวรอยเตอรสมีการรายงานเพียง 4 ขาว ในประเด็นบทบาทของจีนใน การใหความชวยเหลือกัมพูชา เนื่องจากสํานักขาวรอยเตอรสเกรงวากัมพูชาจะขึ้นตอจีนมากเกินไป ดังตารางที่ 7.6

ตารางที่ 7.6 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัวในป 2012

2012 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. จํานวน ขาว Reuters 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 0 0 4 Xinhua 8 5 8 3 6 4 8 1 1 1 2 6 53

สวนสํานักขาวซินหัวมีการรายงานในป 2012 ถึง 53 ขาว โดยเนนประเด็นการที่ ไทย-กัมพูชาฟนฟูความสัมพันธกัน ประเด็นการปฏิบัติตามคําสั่งของศาลโลกโดยยิ่งลักษณ-ฮุน เซ็นไดรวมลงนามการถอนทหารตามคําสั่งของศาลโลก ประเด็นความคืบหนาการถอนทหาร และ ประเด็นการที่อินโดนีเซียเตรียมการที่จะสงผูสังเกตุการณเขามา ตลอดจนประเด็นการประชุม ‘คณะทํางานรวม’(JWG) ระหวาง‘ศูนยปฏิบัติการกับระเบิดกัมพูชา’(CMAC) และ ‘ศูนยปฏิบัติการ กับระเบิดไทย’ (TMAC) อนึ่งแมวาสถานการณยังไมสงบนัก เพราะยังมีการประทวงของกลุม ชาตินิยมไทยและการกระทบกระทั่งกันของทหารไทย-กัมพูชาที่ชายแดน แตสํานักขาวซินหัวก็ สนใจประเด็นวา BOI ของไทยกําลังเดินหนาหารือกับกัมพูชาเกี่ยวกับการสงเสริมการลงทุนของ ไทยในกัมพูชาที่ไดซบเซาไป และนักทองเที่ยวชาวตางประเทศที่มาเยือนกัมพูชามีจํานวนถึง 2.57 ลานคน ในเวลา 9 เดือนซึ่งเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 24 ในการเสนอขาวในป 2013ในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานัก ขาวซินหัวนั้นจะเห็นวา สํานักขาวรอยเตอรสมีการรายงานเพียง 9 ขาว ในขณะที่สํานักขาวซินหัวมี รายงานขาวถึง 60 ขาว แมจะมีรายงานเพียง 9 ขาว แตสํานักขาวรอยเตอรสก็ติดตามประเด็น สถานการณในชวงวิกฤตกอนศาลโลกมีคําตัดสินในวันที่ 11 พฤศจิกายนอยางเขมขนในประเด็น ที่วามีกลุมผูประทวงพยายามขับไลรัฐบาลยิ่งลักษณออกจากตําแหนง ในขณะที่สํานักขาวซินหัวก็ ไดจัดทําบทวิเคราะหและมีรายงานขาวรวมถึง 60 ขาว ในประเด็นที่ทั้งไทยและกัมพูชาเตรียม รับมือการใหปากคําเพิ่มเติมตอศาลโลกในวันที่ 15-19 และ 17 เมษายน 2013 ประเด็น สถานการณตึงเครียดที่ชายแดนในเดือนตุลาคมวา ในประเด็นที่วาชาวบานมีการฝกซอมอพยบหนี 290

ภัย มีการเตรียมปดโรงเรียนในวันที่ศาลโลกจะมีคําตัดสิน และมีการสงตํารวจจลาจลไปคมครอง สถานทูตกัมพูชาในไทย เมื่อศาลโลกมีคําตัดสินในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2013 สํานักขาวซินหัวได รายงานประเด็นขาวอยางละเอียดในประเด็นวาทั้งรัฐบาลกัมพูชาและไทยพอใจกับคําตัดสิน และ ในประเด็นที่วาแมพรรคฝายคานไดพยายามบีบรัฐบาลไทยใหยอมรับวา“ไทยเปนฝายพายแพ กัมพูชา”และ “ไทยเสียดินแดน”แตก็ไมสามารถโคนรัฐบาลยิ่งลักษณออกจากตําแหนงโดยใช ขออางกรณีพระวิหารเหมือนที่ทํากับรัฐบาลสมัครและสมชายได ดังแสดงในตารางที่ 7.7 ตารางที่ 7.7 เปรียบเทียบการเสนอขาวของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัวในป 2013

2013 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. จํานวน ขาว Reuters 2 1 0 2 0 0 0 0 1 2 3 2 13 Xinhua 8 3 4 3 4 0 0 0 1 31 5 1 60

กลาวโดยสรุปจากตารางเปรียบเทียบความถี่ในการนําเนอขาวโดยสํานักขาวรอยเตอรสและ สํานักขาวซินหัวในแตละป ตั้งแตปค.ศ. 2008-2013 ทําใหไดขอมูลเกี่ยวกับ “ประเด็นขาว” ของ สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัววา ทั้งสองสํานักขาวมีความเหมือนกันในดาน“ประเด็น ขาว” เฉพาะในชวงที่มีการปะทะหรือในชวงที่เกิดวิกฤตการณทางการเมืองเทานั้น แตทวาในชวง ที่เหตุการณปกติสํานักขาวรอยเตอรสจะหยุดการรายงานขาวในบางเดือน ในขณะที่สํานักขาวซิน หัวจะมีความสม่ําเสมอกวาในการติดตามสถานการณอื่นๆที่สถานการณไมวิกฤตดวย ผูวิจัยจึงขอ สรุปในชั้นนี้วาสํานักขาวซินหัวใหความสําคัญกับการรายงานขาวในกรณีพระวิหารมากกวาสํานัก ขาวรอยเตอรส

(ค)ดานการพาดหัวขาว (headlines) ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหพาดหัวขาวของสํานักขาวรอยเตอรและสํานักขาวซินหัว เพื่อใหได ขอมูลวาทั้งสองสํานักขาวไดพาดหัวขาวที่เกี่ยวของกับ “ผูกระทําทางการเมือง” ในฝายไทยและ กัมพูชาแตกตางกันอยางไร ในการนี้ผูวิจัยไดพบวา ประเด็นที่ 1 สํานักขาวซินหัว (249 พาดหัวขาว = 40.04%) ใหความสําคัญกับขาวที่ทั้ง ไทย-กัมพูชา เปนผูกระทําทางการเมือง รวมกันในสัดสวนที่มากกวาสํานักขาวรอยเตอรส (39 พาด 291

หัวขาว = 36.12%) เล็กนอย กิจกรรมเหลานี้มีอาทิเชน การปะทะกันที่ชายแดน การเจรจาพยายาม หาขอยุติ เปนตน ประเด็นที่ 2 สํานักขาวรอยเตอรส (35 พาดหัวขาว = 32.41%) ไดจัดทําพาดหัวขาวที่ไทย เปนผูกระทําทางการเมือง ในสัดสวนที่มากกวาสํานักขาวซินหัว (136 พาดหัวขาว = 21.87%) อยางมีนัยยะสําคัญ แสดงวาสํานักขาวรอยเตอรสใหความสําคัญกับการรายงานขาวความขัดแยง ภายในการเมืองไทยมากกวาสํานักขาวซินหัว ประเด็นที่ 3 สํานักขาวซินหัว (177 พาดหัวขาว = 28.46%) ไดจัดทําพาดหัวขาว ที่ให กัมพูชา เปนผูกระทําทางการเมือง ในสัดสวนที่มากกวาสํานักขาวรอยเตอรส (23 พาดหัวขาว = 21.30%) แสดงวาสํานักขาวซินหัว ใหความสําคัญกับบทบาทความเคลื่อนไหวของฝายกัมพูชา มากกวาไทยในกรณีพระวิหาร ประเด็นที่ 4 สํานักขาวรอยเตอรส (11 พาดหัวขาว = 10.19%) ไดจัดทําพาดหัวขาว เกี่ยวกับ “ฝายที่สาม” มากกวาสํานักขาวซินหัว (60 พาดหัวขาว = 9.65%) อยางไมมีนัยยะสําคัญ แสดงวาทั้งสองสํานักขาวใหความสําคัญกับการรายงานขาวเกี่ยวกับบทบาทของ “ฝายที่สาม” คือ อาเซียน UNSC หรือ ICJ เปนตน ในการพยายามยุติความขัดแยงในกรณีพระวิหาร ดังตาราง 7.9

ตารางที่ 7.9 วิเคราะห“ผูกระทําทางการเมือง”ในพาดหัวขาวของสํานักขาวรอยเตอรส และสํานักขาวซินหัว

ไทย-กัมพูชา ไทย เปน กัมพูชา เปน ฝายที่สามเปนผูกระทํา เปนผูกระทํา ผูกระทําทาง ผูกระทําทาง ทางการเมือง ทางการเมือง การเมือง การเมือง Reuters= จํานวนพาดหัว จํานวนพาดหัว จํานวนพาดหัว จํานวนพาดหัว 108 ขาว 39 ขาว35 ขาว23 ขาว 11 (10.19%) (100%) (36.12%) (32.41%) (21.30%) (China=5)(ASEAN=3) (UNSC = 2) (ICJ = 1) Xinhua= จํานวนพาดหัว จํานวนพาดหัว จํานวนพาดหัว จํานวนพาดหัว 622 ขาว 249 ขาว 136 ขาว 177 ขาว 60 (9.65%) (100%) (40.04%) (21.87%) (28.46%) (UNESCO=16) ( Indonesia=12) (ASEAN=10)(US=5) 292

(UN=4) (UNSC=2) ( China=2) (ICJ=1) (Brazil=1) (France=1) ( Italy=1) (Japan=1) (Malaysia=1) (Singapore=1) (Google=1)

กลาวโดยสรุปในการเปรียบเทียบการรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาว ซินหัว ผูวิจัยพบวา แมทั้งสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวจะใหความสําคัญกับกรณี ปราสาทพระวิหารมาในตลอดระยะเวลา 6 ปตั้งแตค.ศ.1962 ถึง 2013 แตมีความแตกตางในดาน การรายงานขาว ดังนี้ (ก) ในดานจํานวน สํานักขาวซินหัวใหความสําคัญตอการรายงานขาวกรณี ความขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชามากกวาสํานักขาวรอยเตอรส โดยสํานักขาวซินหัวไดจัดทํา รายงานถึง 622 ขาว ในขณะที่สํานักขาวรอยเตอรสไดจัดทํารายงานเพียง 108 ขาว (ข) ในดาน ความถี่และประเด็นในการนําเสนอขาว ทั้งสองสํานักขาวมีความเหมือนกันในดาน“ประเด็นขาว” เฉพาะในชวงที่มีการปะทะหรือในชวงที่เกิดวิกฤตการณทางการเมืองเทานั้น แตทวาในชวงที่ เหตุการณปกติสํานักขาวรอยเตอรสจะหยุดการรายงานขาวในบางเดือน ในขณะที่สํานักขาวซินหัว จะมีความสม่ําเสมอกวาและไดนําเสนอประเด็นขาวอื่นๆดวย (ค) ในดานพาดหัวขาว สํานักขาวซิน หัวพาดหัวขาวเกี่ยวกับกัมพูชามากกวาไทย แสดงวาสํานักขาวซินหัวสนใจบทบาทของฝายกัมพูชา มากกวาฝายไทย ในขณะที่สํานักขาวรอยเตอรสพาดหัวขาวที่เกี่ยวกับไทย มากกวากัมพูชา แสดง วาสํานักขาวรอยเตอรสสนใจวิกฤตการณทางการเมืองในไทยมากกวาในกัมพูชา เหลานี้เปนหลักฐานสวนหนึ่งที่สะทอนใหเห็นถึงทัศนะมุมมองและจุดยืนทางการเมืองที่แตกตาง กันในการรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว

เปรียบเทียบบทวิเคราะหขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว

ในดานการเปรียบเทียบบทวิเคราะห ผูวิจัยไดพบวาตั้งแตค.ศ.1962 ถึง 2013 สํานักขาว รอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวไดจัดทําบทความเชิงวิเคราะห ในกรณีพระวิหาร จํานวน 9 บทความเทากัน ถือไดวาบทความเหลานี้ไดสะทอนทัศนะ มุมมองและการสื่อสารการเมืองของ 293

สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวตอกรณีพิพาทปราสาทพระวิหารระหวางไทยและกัมพูชา ไดเปนอยางดี (ก)สรุปบทความเชิงวิเคราะหของสํานักขาวรอยเตอรส จากบทความเชิงวิเคราะห 9 บท นี้สรุปไดวา สํานักขาวรอยเตอรสใหความสําคัญกับ เหตุการณตรึงกําลังและการปะทะที่ชายแดนไทย-กัมพูชาวา ใครอยูเบื้องหลังการปะทะ ใครคือ ผูไดประโยชนและอะไรคือสาเหตุการปะทะ ตลอดจนไดวิจารณรัฐบาลกัมพูชา รัฐบาลไทย ตลอดจนตอกองทัพไทยและกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย สํานักขาวรอยเตอรสมีทัศนะวาปราสาทพระวิหารไดกลายเปนตนตอของความขัดแยง ระหวางไทยและกัมพูชาเมื่อมีคําตัดสินของศาลโลกในป 1962 ที่ใหปราสาทพระวิหารเปนของ กัมพูชา ทําใหคนไทยสวนใหญยังรูสึก‘เจ็บแคน’ตราบจนทุกวันนี้ สํานักขาวรอยเตอรสได เปรียบเทียบ ปราสาทพระวิหารวาเปนเสมือน‘สายลอฟา’ที่พรอมจะปะทุไดทุกเมื่อ สํานักขาวรอยเต อรสไดทัศนะดานลบตอกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยวา เปนตนเหตุที่ทําใหเกิดความ รุนแรงเนื่องจาก ไดโหมปลุกกระแสชาตินิยมวา คนไทยมี‘ภารกิจศักดิ์สิทธิ์’ที่จะตองปกปองผืน แผนดินไทย” หลังจากที่ยูเนสโกไดอนุมัติใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารใหเปนมรดก โลก ในทํานองเดียวกันสํานักขาวรอยเตอรสก็วิจารณวา นักการเมืองกัมพูชาตางก็โหมกระแสรัก ชาติปลุกใจใหใชความรุนแรงเชนเดียวกับในไทย เนื่องจากขณะนี้กัมพูชากําลังจะมีการเลือกตั้ง ทั่วไปอีกครั้ง ดังจะเห็นวา พรรคฝายคานกัมพูชา ก็ไดหาเสียงโจมตีนายฮุนเซ็นวายังใชมาตรการที่ ไมเด็ดขาดพอในการจัดการปญหาพระวิหารกับไทย สํานักขาวรอยเตอรสวิเคราะหวา รัฐบาลกัมพูชานั้นไดดําเนินวิเทโศบายทางการทูตและ พยายามทุกวิถีทางที่จะยกระดับใหกรณีพระวิหารนั้นขึ้นเปนประเด็นนานาชาติ โดยกัมพูชากลาวหา นายอภิสิทธิ์วา พยายามจะขัดขวางมิใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก และทํา ใหทหารไทยและกัมพูชาปะทะกันหลายครั้ง สํานักขาวรอยเตอรสมีทัศนะวานายฮุนเซ็นนั้น สามารถ “คุมเกมไดดีและเอาชนะไทยไดในแทบจะทุกเวที ทั้งยังทําคะแนนนิยมในหมูชาวกัมพูชา ไดทุกครั้งที่มีการปะทะ” นายฮุนเซ็นสามารถใชกรณีพิพาทปราสาทพระวิหารนี้รณรงคทางสากล เรียกรองใหสภาความมั่นคงของสหประชาชาติ (UNSC) เขามาแทรกแซง ดังนั้นสํานักขาวรอยเต อรสจึงสรุปวา กัมพูชาเปนผูเก็บเกี่ยวไดผลประโยชนจากการปะทะกับไทยกันที่ชายแดน สํานัก ขาวรอยเตอรสวิเคราะหวา สาเหตุที่ทําใหนายฮุนเซ็นมีทาทีแข็งกราวขึ้นตอไทยเนื่องจากไดเงินกู จากจีน จึงเทากับสนับสนุนใหนายฮุนเซ็น“เดินเกมรุกทางสากลไดโดยไมตองพะวงหลัง เกี่ยวกับสาเหตุการปะทะ สํานักขาวรอยเตอรสไดวิเคราะหวา อาจเกิดจากการเขาใจผิด หรือไมมีชองทางการสื่อสารที่ดีพอ ที่ผานมารัฐบาลไทยและไดพยายามยับยั้งชั่งใจมาโดยตลอด แต เมื่อมาถึงสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์นั้น สํานักขาวรอยเตอรสอางคํากลาวของนายฮุนเซ็นที่วิจารณวานาย อภิสิทธิ์นั้น“กระหายสงคราม”และมอบสิทธิ์ขาดใหกองทัพมีอํานาจเหนือพรมแดนดานพระวิหาร 294

จึงเกิดการปะทะหลายครั้ง นอกจากนี้สํานักขาวรอยเตอรสไดวิจารณกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตย วาไดประทวงและโจมตีทุกรัฐบาลตั้งแตรัฐบาลสมัครถึงยิ่งลักษณ จนมีผลใหเกิด ความตรึงเครียดที่ชายแดนเนื่องจากทหารไทยเกิดอารมณคลอยตาม กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยมักกดดันรัฐบาลไทยใหลาออกดวยขอหา“ไมใชไมแข็ง” และ “ออนขอเกินไป”ใหกับ กัมพูชา นอกจากประเด็นการปะทะ สํานักขาวรอยเตอรสไดวิเคราะหวาประเด็นการแตงตั้งอดีต นายกรัฐมนตรีทักษิณผูซึ่งหลบหนีคดีเปนที่ปรึกษาของรัฐบาลกัมพูชานั้นถือเปนการ ‘ตบหนา’ รัฐบาลอภิสิทธิ์ แตที่รายกวานั้น ก็คือ การที่กัมพูชาปฏิเสธที่จะสงตัวทักษิณใหไทยในฐานะผูราย ขามแดน’ซึ่งถือไดวาเปนการโจมตีระบบตุลาการของไทย (ข)สรุปบทความเชิงวิเคราะหสํานักขาวซินหัว สํานักขาวซินหัวไดจัดทําบทความเชิงวิเคราะหจํานวน 9 บทเชนกันในหวงป 2008-2013 ถือไดวาบทความเหลานี้เปนการสรุปจุดยืน ทัศนะ มุมมองและการสื่อสารการเมืองของสํานักขาว ซินวา สํานักขาวซินหัวนั้นแสดงความหวงใยตอกรณีพิพาทปราสาทพระวิหารระหวางไทยและ กัมพูชาที่เลวรายลง และกลาวหา กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย วาเปนตนเหตุใหความ ขัดแยงลุกลาม สํานักขาวซินหัวมีความเห็นตรงกันกับกัมพูชาที่ตองการใหนานาชาติเขามาชวย คลี่คลายความขัดแยง แตวิจารณวา อาเซียนมีขอจํากัด ทั้งไดใหขอเสนอแนะที่จะปรับปรุงอาเซียน เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแยงกรณีพระวิหารนั้นสํานักขาวซินหัววิเคราะหในทํานอง เดียวกับสํานักขาวรอยเตอรสวา ประเด็นขัดแยงพรมแดนที่ปราสาทพระวิหารระหวางไทยกับ กัมพูชานั้นมีความซับซอนมากขึ้นอันมีสาเหตุมาจากการปนกระแสลัทธิชาตินิยมและการการเมือง ภายในประเทศ แตสํานักขาวซินหัวระบุอยางชัดเจนวา ผูที่ทําใหกรณีพิพาทไทย-กัมพูชานั้นเลวราย ลงไมใชฝายกัมพูชา แตคือ‘กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย’ หรือที่รูจักในชื่อ ‘กลุมเสื้อ เหลือง’ สํานักขาวซินหัวไดวิจารณ‘กลุมเสื้อเหลือง’วาไมเคารพกฎหมายระหวางประเทศ และไม ยอมหยุดเรียกรองพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.ทั้งยังไมเคารพ สนธิสัญญาระหวางสยามและฝรั่งเศส ในป1904 และ 1907 ตลอดจนคําตัดสินของศาลโลกในป1962 สํานักขาวซินหัวย้ําวา กลุมเสื้อ เหลืองนั้นกําลังกดดันใหรัฐบาลยิ่งลักษณเพิกเฉยไมปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลโลกในคดีที่ กัมพูชาฟองใหมีการตีความคําพิพากษาของศาลโลกในป1962 นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวแสดงความหวงใยวา กระแสชาตินิยมที่ถูกปลุกขึ้นมาในกรณี พระวิหารทําใหยากที่จะแกปญหานี้ และมีทัศนะตรงกับสํานักขาวรอยเตอรสวา ที่ผานมาทางการ ไทยและกัมพูชาขาดการสื่อสารที่ดีในกรณีพระวิหารจึงทําใหการเจรจาทวิภาคีดําเนินไปไมดีทั้งนี้ เพราะมีหลายประเด็นที่ถูกบิดเบือนโดยสื่อสารมวลชนจนกอใหเกิดการเขาใจผิดระหวางสอง ประเทศ ในขณะที่รัฐบาลอภิสิทธิ์เรียกรองใหเจรจาระดับทวิภาคีเทานั้นแตสํานักขาวซินหัวกลับ 295

เห็นตรงกับกัมพูชาที่ตองการใหประชาคมนานาชาติเขามาชวยคลี่คลายความขัดแยง อยางไรก็ตาม สํานักขาวซินหัววิจารณวา อาเซียนมีขอจํากัดคงไมสามารถแกปญหาความขัดแยงเรื่องพรมแดน ระหวางกัมพูชาและไทยได แตมั่นใจในบทบาทของสภาความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ (UNSC)มากกวา สํานักขาวซินหัวเสนอวา (ก) ประเด็นเรื่องพรมแดนนั้นสมาชิกอาเซียนจะจัดการกันเองได ดีกวาคนนอก แตทั้งนี้อาเซียนจะตองปรับปรุงตนเองใหทํางานรวมกัน ตลอดจนตองมีทักษะในการ จัดความสัมพันธกับมหาอํานาจรอบๆอาเซียน (ข) อาเซียนควรพัฒนา กลไก’หรือ สราง‘แนวปฏิบัติ’ ในการแกปญหาความขัดแยง แลวใชกลไกนี้เปน‘พิมพเขียวของการกอตั้งประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน’(ASEAN Political and Security Community Blueprint) นอกจากนี้สํานัก ขาวซินหัวยังแนะนําไทยและกัมพูชาวา (ก) ทั้งสองฝายจะตองมีความไววางใจตอกันและ ตอง ชวยกันปรับปรุงความสัมพันธแบบทวิภาคีโดยเนนมิตรภาพและผลประโยชนของประชาชน โดย ขอใชปญญาและขันติธรรม ดวยการ“ตีดาบ”ที่มักใชเปนอาวุธประหัตประหารกันใหกลายเปน“คัน ไถ”อันเปนเครื่องมือเพาะปลูก (ข) ไทย-กัมพูชาควรเนนปรับปรุงชองทางการสื่อสารระหวางกัน เพื่อที่จะไดขอมูลที่ถูกตองในการตัดสินใจ ไมใชรับฟงจากขาวลือ (ค) ควรใหการศึกษาแกพวกที่มี แนวคิดสุดโตงวาจําเปนตองเรียนรูประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของประเทศตนและของประเทศ เพื่อนบาน (ง) ไทยและกัมพูชาไมควรจะสูรบกัน เพราะ“การเปนศัตรูถาวร”และการปะทะกันนั้น กระทบตอความสัมพันธทางเศรษฐกิจการคาและปฏิสัมพันธระหวางประชาชนไทยกับประชาชน กัมพูชา (จ) ควรรวมกันสงเสริมปราสาทพระวิหารใหเปน‘แหลงทองเที่ยวที่ไดประโยชนแกทั้งสอง ฝาย’ (ฉ) ควรรวมลงทุนในการสํารวจและขุดเจาะน้ํามันและแกซธรรมชาติทะเลในดินแดนของ กัมพูชาในอาวไทย จากบทความเชิงวิเคราะหจํานวนสํานักขาวละ 9 บท เราจะเห็นไดชัดยิ่งขึ้นเกี่ยวกับทัศนะ มุมมองและจุดยืนของสํานักรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหาร สํานักขาวรอยเตอรส ใหความสําคัญกับเหตุการณตรึงกําลังและการปะทะที่ชายแดนไทย-กัมพูชาวา ใครอยูเบื้องหลังการ ปะทะ ใครคือ ผูไดประโยชนและอะไรคือสาเหตุการปะทะ ตลอดจนไดวิจารณรัฐบาลกัมพูชา รัฐบาลไทย ตลอดจนตอกองทัพไทยและกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย สํานักขาวซินหัวนั้นแสดงความหวงใยตอกรณีพิพาทปราสาทพระวิหารระหวางไทยและ กัมพูชาที่เลวรายลง และกลาวหา กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย วาเปนตนเหตุใหความ ขัดแยงลุกลาม สํานักขาวซินหัวมีความเห็นตรงกันกับกัมพูชาที่ตองการใหนานาชาติเขามาชวย คลี่คลายความขัดแยง แตวิจารณวา อาเซียนมีขอจํากัด ทั้งไดใหขอเสนอแนะที่จะปรับปรุงอาเซียน 296

จึงเห็นไดวาสํานักขาวซินหัวมีทัศนะมุมมองและจุดยืนทางการเมืองที่ชัดเจนกวาสํานักขาว รอยเตอรสในกรณีพระวิหาร เนื่องจากมีสถานะเปนสํานักขาวทางการของประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีนจึงมีจุดยืนเดียวกับรัฐบาลจีน ทําหนาที่เหมือนเปนหนวยงานของรัฐบาลจีนในการ สรางสัมพันธอันดีกับนานาชาติ โดยเฉพาะในกลุมประเทศอาเซียน สํานักขาวซินหัวแสดงความ ปราถนาอยางชัดเจนกวาสํานักขาวรอยเตอรสที่ตองการใหไทย-กัมพูชายุติกรณีพิพาทพระวิหาร โดยเร็ว และดวยสันติวิธีจึงสนับสนุนการเจรจาระหวางไทย-กัมพูชา แตเมื่อการเจรจาทวิภาคีไทย- กัมพูชาไมไดผล สํานักขาวซินหัวจึงสนับสนุนบทบาทของกัมพูชาทั้งในเวทีระดับภูมิภาคและใน ระดับสากล แตเห็นไดชัดวาสํานักขาวซินหัวยังไมมั่นใจในบทบาทของอาเซียนวาจะแกไขความ ขัดแยงได และไดเตือนสติทั้งรัฐบาลไทยและกัมพูชา เพื่อใหยุติการสูรบ และหันมาเนนทําใหชีวิต ประชาชนดีขึ้นทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม ทั้งเสนอแนะทางออกหลายประการในการแกปญหา กรณีพระวิหาร โดยใหทั้งไทยและกัมพูชาควรรวมกันสงเสริมปราสาทพระวิหารใหเปน‘แหลง ทองเที่ยวที่ไดประโยชนแกทั้งสองฝาย’ ดานสํานักขาวรอยเตอรสก็ไดแสดงจุดยืนชัดเจนวาเปนสํานักขาวจากโลกทุนนิยมเสรี ตะวันตกที่มีอุดมการทางการเมืองตรงกันขามกับอุดมการสังคมนิยมของสํานักขาวซินหัว แมวายุค สงครามเย็นจะสิ้นสุดลง แตประเทศมหาอํานาจโลกเสรีตะวันตกยังคงเฝามองบทบาทของประเทศ ในคายสังคมนิยมโดยเฉพาะประเทศจีนอยางใกลชิด ดังจะเห็นวาสํานักขาวรอยเตอรสไดติดตาม บทบาทของรัฐบาลจีนในกัมพูชาอยางใกลชิดทั้งการที่จีนใหเงินกูตลอดจนการรวมทุนในโครงการ ตางๆ และสํานักขาวรอยเตอรสไดแสดงชัดเจนวาวิตกเกี่ยวกับบทบาทที่มากขึ้นของจีนในกัมพูชา ในการประเมินการรายงานขาวของสํานักรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหาร นั้นผูวิจัยไดขอมูลจาก อดีตผูสื่อขาวชาวไทยที่มีประสบการณในการรายงานขาวระดับนานาชาติ อาทิเชน สงวน คุมรุงโรจน มีทัศนะดานบวกวา“การรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสนั้น คอนขางเปนกลาง ครอบคลุมประเด็นและเนื้อหาที่กวางขวาง” 1157 ซึ่งสอดคลองกับทัศนะของ นพ พร วงศอนันต ผูชวยบรรณาธิการหนังสือพิมพบางกอกโพสตที่วา “การรายงานขาวของสํานักขาว รอยเตอรสนั้นจะเนนการรายงานขาวแบบสืบสวน (investigative reporting) และเสริมดวยการ สืบคนขอมูลจากแหลงอื่นๆมาประกอบดวย” 1158 ดานสํานักขาวซินหัวนั้นแมจะยังเปนสํานักขาว ที่มีประสบการณนอยกวาสํานักขาวรอยเตอรส แตก็กําลังไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น โดยสงวน คุม

1157 สงวน คุมรุงโรจน, อดีตผูสื่อขาวจากหลายสํานักขาวตางประเทศ, สัมภาษณ, 13 มิถุนายน 2016. 1158 นพพร วงศอนันต,อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวรอยเตอรส ปจจุบันรองบรรณาธิการนสพ.บางกอก โพสต, สัมภาษณ, 20 มิถุนายน 2016. 297

รุงโรจนใหขอมูลวา “สื่อสารมวลชนในอาเซียนมีการรับเอาขาวของสํานักขาวซินหัวไปเผยแพรตอ เชน สื่อสารมวลชนในประเทศเวียตนาม เมียนมาร โดยเฉพาะอยางยิ่งในกัมพูชา ทั้งนี้เนื่องจากสื่อ กัมพูชายังลาหลังไมมีสมรรถนะในการทําขาวกรณีพระวิหาร ดังนั้นการที่สํานักขาวซินหัวสนใจทํา ขาวกรณีพระวิหารไดมีสวนชวยใหกรณีพระวิหารเปนที่สนใจของประชาคมโลก โดยเฉพาะอยาง ยิ่งชวยใหกัมพูชาไดรับความเห็นใจจากชาวโลก” 1159 สอดคลองกับทัศนะของสุภลักษณ กาญจน ขุนดี บรรณาธิการอาวุโสหนังสือพิมพเดะเนชั่นที่วา “ดูเหมือนวาในกรณีพระวิหาร ในขณะที่สื่อใน กัมพูชายังไมมีศักยภาพที่จะรายงานขาวออนไลนไดประเทศกัมพูชาไดประโยชนจากการรายงาน ขาวของสํานักขาวซินหัว ซึ่งไดเกาะติดสถานการณนี้มาโดยตลอดและมีจํานวนการรายงานขาวสู สายตาผูรับสารมากกวาสํานักขาวตางประเทศอื่นๆ นอกจากนี้การที่สํานักขาวซินหัวมีนโยบายที่ ชัดเจนในรายงานขาวนี้เองที่ทําใหมีขาวกรณีพระวิหาร เผยแพรไปทั่วโลกไดในสภาวการณที่ เกิดขึ้นจริง (real time)”1160

อภิปรายผลการวิจัย

จากผลการวิจัยพบวา สํานักขาวตางประเทศ คือสํานักขาวรอยเตอรสซึ่งเปนผูนําของบรรดา สํานักขาวจากโลกทุนนิยมเสรีตะวันตกที่ทําหนาที่“ขายสง” ขาวในระดับโลก และสํานักขาวซินหัว ซึ่งเปนสํานักขาวจากคายสังคมนิยมในทวีปเอเชียที่มีศักยภาพในการขึ้นมาเปนสํานักขาวระดับโลก นั้น ไดทําหนาที่สื่อสารการเมือง ภายใตแบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองตามแนวคิดของ ไบร อัน แมกแนร (Brian McNair) 1161 ตลอดจน ‘ทฤษฎีประตูขาว’ (Gatekeeping Theory) 1162 ผูวิจัย ขอเสนอการอภิปรายผลตามประเด็นที่ไดคนพบดังนี้

1. สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวแสดงบทบาทสื่อมวลชนที่เผยแพรขอมูลกรณี พระวิหารตามแบบจําลองสื่อสารทางการเมือง

1159 สงวน คุมรุงโรจน, อดีตผูสื่อขาวจากหลายสํานักขาวตางประเทศ, สัมภาษณ, 13 มิถุนายน 2016. 1160 สุภลักษณ กาญจนขุนดี, บรรณาธิการอาวุโสหนังสือพิมพเดอะเนชั่น, สัมภาษณ, 24 มิถุนายน 2016. 1161 Brian McNair, An Introduction to Political Communication. (London : Routledge, 2003). 1162 Pamela J. Shoemaker & Timothy P. Vos, Gatekeeping. (New York : Routledge, 2009). 298

ภายใตแบบจําลองการสื่อสารทางการเมือง ตามแนวคิดของ ไบรอัน แมกแนร (Brian McNair) 1163 ซึ่งเปนกรอบแนวคิดหลักของการวิจัย เรื่อง “การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาว ตางประเทศกรณีพระวิหาร: ศึกษาในหวงเวลา ค.ศ.2008-2013” นั้นจะเห็นวาสํานักขาว ตางประเทศ เชน สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวนั้นทําหนาที่เปนสื่อมวลชนที่ถายทอด ขาวสารไปสูประชาคมโลกที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนไหว“องคกรทางการเมือง”ที่เกี่ยวของกับผูเลน ทางการเมือง 3 ฝาย ในกรณีพระวิหาร ดังไดแสดงแลว ในภาพที่ 2.4 แบบจําลองการสื่อสารทาง การเมืองของ ไบรอัน แมกแนร (Brian McNair) ดังนี้ (ก) “องคกรทางการเมือง” อันประกอบดวยรัฐบาลไทยและกัมพูชา ตลอดจน องคกรทางการเมืองระหวางประเทศเชน ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ องคการสหประชาชาติ องคการอาเซียนและองคการยูเนสโก (ข) “สื่อมวลชน” คือ สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ที่ไดทําหนาที่ “ขายสง” ขาวสารในกรณีพระวิหารไปยังสื่อสารมวลชนตางๆทั่วโลกที่ “ขายปลีก” ขาวสารนั้นๆไป ในประเทศของตน (ค) ประชาคมโลกผูรับขาวสารตลอดจนประชาชนผูเลือกตั้งในประเทศไทยและ กัมพูชา

การไหลเวียนของขาวสารตามแบบจําลองนี้ เริ่มตนจาก (ก) รัฐบาลไทยและกัมพูชา ตลอดจนองคกรทางการเมืองระหวางประเทศเชน ศาลยุติธรรม ระหวางประเทศ องคการสหประชาชาติ องคการอาเซียนและองคการยูเนสโก ทํากิจกรรมสื่อสาร การเมือง เชน การแลงขาว การแสดงสุนทรพจน การโฆษณาประชาสัมพันธ แนวทางนโยบายและ กิจกรรมของตนผานทางสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว (ข) สื่อมวลชน ซึ่งในที่นี้ คือสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ทําหนาที่ “ขายสง” ขาวสาร ใหแกสื่อสารมวลชนตางๆทั่วโลก ดังนั้นสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวจึงมี อิทธิพลตอประชาคมโลก เนื่องจากสามารถทําใหสาธารณชนเกิดความคิดเห็นคลอยตามเรื่องนั้นๆ ได ในทัศนะของไบรอัน แมกแนร นั้นสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ไดรับการ สถาปนาใหเปนสถาบันทางการเมือง เนื่องจากบทบาทในการครอบครองการสงผานขาวสารใน กรณีพระวิหาร นอกจากสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว จะทําหนาที่ “ถายทอดขอมูล”

1163 Brian McNair, An Introduction to Political Communication. (London : Routledge, 2003). 299

จากไทยและกัมพูชา มาสูประชาคมโลกและสาธารณชนแลว สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาว ซินหัว ยังทําหนาที่ “แปลงสาร”จากกระบวนการทําขาวสูการตีความ (ค) ประชาชน เปนผูรับขาวสารในกรณีพระวิหารจากสื่อสารมวลชนในประเทศตางๆ ตางๆซึ่ง “ซื้อขาว”ตางประเทศ จากสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว ดังนั้นบทบาทของ สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวนั้น จึงโดดเดนอยางยิ่งในกระบวนการสื่อสารทางการ เมืองในกรณีพระวิหาร เพราะสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัว นั้นเปน “ผูกําหนด ความสําคัญของขาวสาร” ในกรณีพระวิหารที่สงไปยังประชาคมโลกและประชาชนไทยและกัมพูชา จึงสรุปไดวาสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวนั้นไดแสดงบทบาทครอบงําการ เผยแพรขอมูลขาวสารในกรณีพระวิหารตามแบบจําลองสื่อสารทางการเมือง

2. จาก‘ทฤษฎีประตูขาว’(Gatekeeping Theory) สํานักขาวซินหัวเลือก“เปดประตู”ใหขาว “กรณีพระวิหาร”เพราะใหความสําคัญกับประเทศในกลุมอาเซียนมากกวา สํานักขาว รอยเตอรส ในการศีกษาเรื่อง“การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระวิหาร: ศึกษาในหวงเวลา ค.ศ.2008-2013” นี้ผูวิจัยไดประยุกตใช‘ทฤษฎีประตูขาว’ (Gate Keeping Theory) 1164 และไดพบวา สํานักขาวซินหัวเลือก“เปดประตู”ในกรณีพระวิหารเพราะให ความสําคัญกับภูมิภาคเอเชียมากกวาสํานักขาวรอยเตอรส ในงานวิจัยเรื่องนี้ จะเห็นวาสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวสํานักขาวซินหัวนั้น เปน ตัวแทนของอุดมการทางการเมืองที่แตกตางกัน กลาวคือ สํานักขาวรอยเตอรสมีอุดมการทาง การเมืองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี จึงเปนองคกรธุรกิจที่มุง แสวงหากําไร ในขณะที่สํานักขาวซินหัวนั้นอยูภายใตอุดมการสังคมนิยม มีฐานะเทียบเทา กระทรวง มีรายไดจากรัฐบาลจึงมิไดมุงแสวงหากําไรแตเพียงอยางเดียวแตมุงเผยแพรขาวสาร ทางการของรัฐเปนหลัก ในยุคหลังรัฐบาลจีนมีนโยบายตองการใหสํานักขาวซินหัวขึ้นมาเปนผูเลน ในระดับโลก (global player) สํานักขาวซินหัวจึงไดลงทุนในการขยายสํานักงานในตางประเทศ เพิ่มบุคคลากร เพิ่มจํานวนภาษาและขอบเขตการใหบริการ ในสัดสวนที่ใกลเคียงกับสํานักขาวรอย เตอรส ผูวิจัยไดพบวา ความแตกตางกันในดานอุดมการทางการเมืองของสํานักขาวรอยเตอรสและ สํานักขาวซินหัวนั้น มีผลใหมีความแตกตางกันในดาน “จํานวนขาว” ในการทําหนาที่ “นายประตู” ในการรายงานขาวในกรณีพระวิหาร (ดูตารางที่ 7.1 เปรียบเทียบจํานวนขาวที่รายงานโดยสํานักขาว

1164 Pamela J. Shoemaker & Timothy P. Vos, Gatekeeping. (New York : Routledge, 2009). 300

รอยเตอรและสํานักขาวซินหัวแบงตามรัฐบาล) ดังจะเห็นวา สํานักขาวรอยเตอรสในหวงเวลา 6 ป ตั้งแตป 2008-2013 มีการคัดเลือกขาวมารายงานเพียง 108 ขาว แตสํานักขาวซินหัวคัดเลือกขาวมา รายงาน 622 ขาว ซึ่งมากกวาสํานักขาวรอยเตอรสถึงเกือบ 6 เทา สาเหตุที่ทําใหสํานักขาวรอยเตอรสเลือกที่จะทําหนาที่“นายประตู” โดยคัดเลือกขาวที่ เกี่ยวกับกรณีพระวิหารมานําเสนอในจํานวนที่นอยกวาสํานักขาวซินหัวนั้น เนื่องจากสํานักขาวรอย เตอรสเลือกที่จะรายงานขาวเฉพาะในชวงเวลาที่เกิดวิกฤตการณ เชน การขัดแยง การใชความ รุนแรง การสูรบ นอกจากนี้สํานักขาวรอยเตอรสในฐานะ “นายประตู” ยังพิจารณาวากรณีพระวิหาร นี้เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียอาคเณยซึ่งอยูหางไกลจากผูรับสารในโลกตะวันตก สํานักขาวรอยเตอรส จึงไมใหความสนใจขาวในกรณีพระวิหารนี้มากนัก ยกเวนในหวงเวลาที่เกิดสถานการณดานลบ คือ มีความวุนวายทางการเมือง มีความรุนแรง มีการสูรบและมีคนตาย (ดู ตารางที่ 5.9 ความถี่ในการ รายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสในแตละเดือน ในหวงเวลา 2008-2013) จึงกลาวไดวา “การ ทําหนาที่นายประตู”ของสํานักขาวรอยเตอรสตามทัศนะและจุดยืนของสํานักขาวจากโลกตะวันตก นั้น กําหนดใหสํานักขาวรอยเตอรส “เปดประตู”ใหความสําคัญตอการรายงานขาวกรณีความ ขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชานอยกวาสํานักขาวซินหัว โดยคัดเลือกขาวมารายงานเพียง 108 ขาว เทานั้น เนื่องจากตามทัศนะและจุดยืนของสํานักขาวจากโลกตะวันตกนั้น ขาวเกี่ยวกับกรณีพิพาท ปราสาทพระวิหารนั้นถือเปนเพียง “ขาวตางประเทศ” จากประเทศไทยและกัมพูชาซึ่งเปนเพียง ประเทศเล็กๆในทวีปเอเชีย ซึ่งตั้งอยูหางไกลจากผูรับสารในโลกตะวันตก” ในทางตรงกันขาม สํานักขาวซินหัวนั้นมีสถานะเปนสํานักขาวทางการของประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเนนเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม (socialist market economy) จีนเนนการสรางสัมพันธอันดีกับนานาชาติ โดยเฉพาะประเทศในกลุมประเทศอาเซียนซึ่งหลาย ประเทศมีพรมแดนติดตอกับจีนทั้งทางบกและทางทะเล สํานักขาวซินหัวจึงเลือกทําหนาที่“นาย ประตู” โดย”เปดประตู”ติดตามทุกความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับกรณีพระวิหาร ดวยความหวังที่จะ เห็นวาประเทศในภูมิภาคนี้มีความสุขสงบสันติมีบรรยากาศที่เอื้อตอการคาและการลงทุน ตลอดจน สนับสนุนใหจีนมีบทบาทมากขึ้นในภูมิภาคนี้ จนสามารถกาวขึ้นสูการเปนผูเลนระดับโลก ดวยเหตุนี้ สํานักขาวซินหัวจึงระมัดระวังในการนําเสนอขาวที่มีความละเอียดออนและมี แนวโนมจะทําลายความสัมพันธ ทั้งระหวางจีนกับกัมพูชา และระหวางจีนกับไทย ซึ่งทั้งไทยและ กัมพูชาตางมีความสัมพันธอันดีกับจีนมาโดยตลอด ดวยเหตุนี้สํานักขาวซินหัวจึงมีการรายงานขาว ในกรณีพระวิหารในทุกประเด็นขาวอยางสม่ําเสมอตลอดระยะเวลา 6 ป โดยไมเนนรายงานขาว เฉพาะชวงที่เกิดวิกฤตทางการเมือง ผลจากอุดมการณทางการเมืองที่แตกตางกันนี้ ทําใหสํานักขาว ซินหัวเปดประตูใหกับการรายงานขาวในกรณีพระวิหารจํานวน 622 ขาว ( ดูตารางที่ 6.9 แสดง 301

ความถี่ในการรายงานขาวของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหาร 2008-2013) นอกจากนี้ประเด็น ขาวของสํานักขาวซินหัวในกรณีพระวิหารก็เนน การที่จะพยายามหาทางออกตอความขัดแยงนี้ทั้ง ในระดับทวิภาคีและระดับนานาชาติ นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยังเปดประตูใหมีการ วิพากษวิจารณและเสนอแนะใหมีการปรับปรุงการทํางานของอาเซียนและยังแนะนํารัฐบาลไทย และ-กัมพูชาใหรูจักอยูรวมกันอยางสันติ ดังนั้นจากการนํา‘ทฤษฎีประตูขาว’(Gatekeeping Theory) มาประยุกตในการศึกษา เรื่อง “การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระวิหาร: ศึกษาในหวงเวลา ค.ศ.2008- 2013” นั้น จึงทําใหผูวิจัยสรุปไดวา สํานักขาวซินหัวเลือก“เปดประตู”ในกรณีพระวิหารเพราะให ความสําคัญกับประเทศในกลุมประเทศอาเซียนมากกวาสํานักขาวรอยเตอรส

ขอสังเคราะหจากการวิจัย

จากขอมูลและขอคนพบดังกลาวขางตน ผูวิจัยไดนํามาสังเคราะหเพื่อสรางขอสรุปเชิง แนวคิดในการศึกษา เรื่อง “การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระวิหาร: ศึกษาในหวงเวลา ค.ศ.2008-2013” อันเปนองคความรูใหมที่สกัดไดจากงานวิจัยนี้ โดยขอ สังเคราะหดังกลาวคือ

1. ความขัดแยงระหวางประเทศ จะมีความรุนแรงขึ้นเมื่อแตละประเทศปลุกกระแส ชาตินิยมใหเกิดแกคนในชาติ ขอสังเคราะหนี้ สามารถนํามาอธิบายความขัดแยงระหวางประเทศไทยและกัมพูชาใน กรณีพระวิหารไดเปนอยางดี ดังจะห็นวา สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวไดรายงาน ตรงกันวา เพียงหนึ่งสัปดาหหลังจากยูเนสโกไดอนุมัติใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปน มรดกโลกแตผูเดียวนั้น ไดมีคนไทย 3 คน จากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ได พยายามรุกจะเขาไป‘ปกธงไทย’บนพื้นที่ทับซอนที่คนไทยอางวาเปนของประเทศไทย แตกัมพูชาก็ ถือวาเปนดินแดนกัมพูชา จึงมีผลใหทั้ง 3 คนถูกกัมพูชาจับตัวไป และทหารไทยสวนหนึ่งไดรุกเขา ไปพื้นที่ทับซอนเพื่อนําคนไทยทั้งสามคนนี้ออกมา แตกองทหารไทยมิไดถอนกําลังกลับออกมา จากพื้นที่ทับซอน ผลจากการนี้ก็ คือ ทหารไทยและกัมพูชาตองเผชิญหนากันเปนครั้งแรก สํานักขาวรอยเตอรสไดวิจารณประเทศไทยวา มีความแตกแยกที่ราวลึก โดยกลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนั้น ไดโหมปลุกกระแสชาตินิยมวา คนไทยมี ‘ภารกิจ ศักดิ์สิทธิ์’ ที่จะตองปกปองผืนแผนดินไทย” ทั้งวิจารณบทบาทของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ 302

ประชาธิปไตย วาไดประทวงและโจมตีทุกรัฐบาล ตั้งแตรัฐบาลสมัครถึงยิ่งลักษณ จนมีผลใหเกิด ความตรึงเครียดที่ชายแดน เนื่องจากทหารไทยเกิดอารมณคลอยตาม กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตยมักกดดันรัฐบาลไทยใหลาออกดวยขอหา“ไมใชไมแข็ง” และ “ออนขอเกินไป”ใหกับ กัมพูชา สํานักขาวรอยเตอรสไดตั้งขอสังเกตในทํานองเดียวกันวา นักการเมืองกัมพูชาตางก็โหม กระแสรักชาติปลุกใจใหรัฐบาลใชความรุนแรงเชนเดียวกับฝายตอตานรัฐบาลในประเทศไทย เนื่องจากขณะนั้นกัมพูชากําลังจะมีการเลือกตั้งทั่วไป ดังจะเห็นวา พรรคฝายคานกัมพูชา ก็ ไดหาเสียงโจมตีนายฮุนเซ็นวายังใชมาตรการที่ไมเด็ดขาดพอในการจัดการปญหาพระวิหารกับไทย มีผลใหนายฮุนเซ็นใชทาทีที่แข็งกราวขึ้นตอไทยเพื่อแยงชิงคะแนนเสียง จนสามารถชนะการ เลือกตั้งไดเปนนายกรัฐมนตรีตอไปอีกหนึ่งสมัย ดานสํานักขาวซินหัวก็ไดระบุอยางชัดเจนเชนกันวา ผูที่ทําใหสถานการณกรณีพิพาทไทย- กัมพูชานั้นเลวรายลงคือ ‘กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย’หรือ‘กลุมเสื้อเหลือง’ ซึ่งสํานักขาวซินหัวไดวิจารณวา ไมเคารพกฎหมายระหวางประเทศ ไมยอมหยุดเรียกรองพื้นที่ทับ ซอน 4.6 ตารางกม. ทั้งยังไมเคารพ สนธิสัญญาระหวางสยามและฝรั่งเศสในป ค.ศ.1904 และ 1907 ตลอดจนไมยอมรับคําตัดสินของศาลโลกในป 1962 สํานักขาวซินหัวย้ําวา ‘กลุมเสื้อ เหลือง’นั้นกําลังพยายามกดดันรัฐบาลยิ่งลักษณ ใหเพิกเฉยไมปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลโลก ในคดีที่กัมพูชาฟองใหมีการตีความคําพิพากษาของศาลโลกในป 1962 สํานักขาวซินหัวมีทัศนะวา วิกฤตการณการเมืองในประเทศไทยเปนอุปสรรคอยางใหญ หลวง จนทําใหการเจรจาเรื่องพรมแดนและการปกปนเขตแดนกับไทยตองชะงักงัน โดยเฉพาะ พรมแดนไทย-กัมพูชานั้นมีความยาวถึง 790 กม. แตมีการปกหมุดเขตแดนไปแลวเพียง 73 หมุด (border posts) ที่รายกวานั้น คือ สํานักขาวซินหัวไดจัดทํา‘10 อันดับแรกเหตุการณโลกป 2008’ ซึ่งประเทศไทยในป 2008 นั้น มีการปดลอมรัฐสภา ยึดทําเนียบรัฐบาล ยึดสนามบิน ขับไล นายกรัฐมนตรีไทย คือ นายสมัครและนายสมชายออกจากตําแหนงไดถึงสองคนในปเดียวกัน จึง นับวาเปนหนึ่งในสิบเหตุการณที่“ช็อก”โลก ในทัศนะของสํานักขาวซินหัว จึงกลาวไดวา ขอสังเคราะหจากการศึกษารายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานัก ขาวซินหัวในกรณีพระวิหารที่วา “ความขัดแยงระหวางประเทศ จะมีความรุนแรงขึ้นเมื่อแตละ ประเทศปลุกกระแสชาตินิยมใหเกิดแกคนในชาติ” นั้นเปนความจริงอยางยิ่งในกรณีประเทศไทย และประเทศกัมพูชา ที่มีการใชกรณีพระวิหารมาปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อโคนลมคูตอสูทางการ เมืองของตน จนทําใหความขัดแยงระหวางประทศไทยและกัมพูชารุนแรงขึ้น 303

2. ความเหนือกวาดานวิเทโศบายตางประเทศ สรางความไดเปรียบในเชิงการสื่อสารการเมือง บนเวทีโลก ในการศีกษาเรื่องการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประทศในกรณีพระวิหารนี้ ผูวิจัยไดพบขอสังเคราะหวา “ความเหนือกวาดานวิเทโศบายตางประเทศ สรางความไดเปรียบใน เชิงการสื่อสารการเมืองบนเวทีโลก” สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวมีทัศนะตรงกันวา “ผูนํากัมพูชานั้นมี ความสามารถทางดานสื่อสารการเมืองและวิเทโศบายดานการตางประเทศ” โดยสํานักขาวรอยเต อรสไดวิเคราะหวา รัฐบาลกัมพูชานั้นไดดําเนินวิเทโศบายทางการทูตและพยายามทุกวิถีทางที่จะ ยกระดับใหกรณีพระวิหารนั้นขึ้นเปนประเด็นนานาชาติ โดยกัมพูชากลาวหานายอภิสิทธิ์วา พยายามจะขัดขวางมิใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก และไมยอมใหกัมพูชา ครอบครองอาณาบริเวณรอบปราสาทจนทําใหทหารไทยและกัมพูชาปะทะกันหลายครั้ง สํานักขาว รอยเตอรสยกยองวา นายฮุนเซ็นนั้นสามารถ “คุมเกมไดดีและเอาชนะไทยไดในแทบจะทุกเวที ทั้ง ยังทําคะแนนนิยมในหมูชาวกัมพูชาไดทุกครั้งที่มีการปะทะ” นายฮุนเซ็นสามารถใชกรณีพิพาท ปราสาทพระวิหารนี้รณรงคทางสากลเรียกรองใหสภาความมั่นคงของสหประชาชาติ (UNSC) เขา มาแทรกแซง กัมพูชาถึงกับเคยวางแผนเรียกรองใหสหประชาชาติสง “กองกําลังรักษาสันติภาพ” (UN peacekeepers) เขามายังชายแดนไทย-กัมพูชา แตเมื่อสหประชาชาติไมเห็นดวย กัมพูชาไดก็ ตอรองขอใหสหประชาชาติใหสง“ผูสังเกตการณ”(observers) หรือมี “การสืบหาขอเท็จจริง”(fact- finding) ซึ่งสภาความมั่นคงของสหประชาชาติ ไดมอบหมายใหอาเซียนเปนมีบทบาทแทน นอกจากนี้ยังมีประเด็นอื่นๆ ที่สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวไดรายงานตรงกัน วากัมพูชาไดดําเนินรุกทางสากลเพื่อเรียกรองความชอบธรรมแกตนในกรณีพระวิหาร อาทิ เชน การ ประทวง “แผนที่กูเกิ้ล” (Google Maps ) ที่ไดจัดทําแผนที่ใหเกือบครึ่งหนึ่งปราสาทพระวิหาร ตั้งอยูในแดนไทย จนกูเกิ้ลไดยอมแกไขเปลี่ยนแปลงใหตามคําขอ นอกจากนี้กัมพูชายังกลาวหา ในเวทีนานาชาติวา ไทยไดใช “ระเบิดลูกปราย” (cluster bombs)ในการปะทะที่ชายแดนไทย- กัมพูชา อันเปนการละเมิดอนุสัญญาวาดวยระเบิดลูกปราย (Convention on Cluster Munitions) ซึ่งเปนอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการหามใช มีไวครอบครอง ผลิต ขนยาย และกักตุนซึ่ง อาวุธยุทธภัณฑประเภทระเบิดลูกปรายซึ่งไดรับสัตยาบันจาก 119 ประเทศในโลก สํานักขาวซินหัวนั้นไดใหความสําคัญเปนพิเศษกับการรุกทางวัฒนธรรมของกัมพูชาในเวที สากล โดยไดรายงานวา กัมพูชาไดขอใหองคการยูเนสโกขึ้น‘ปายมรดกโลก’ที่ปราสาทพระวิหาร” ทั้งนี้เพื่อใหบริเวณปราสาทพระวิหารเปน‘เขตคุมครอง’ โดยกัมพูชาอางวา“รูปปนและบันไดของ 304

ตัวปราสาทนั้นไดรับความเสียหายจากแรงระเบิด” ระหวางการปะทะกันเมื่อ 15 ตุลาคม 2009 นอกจากนี้ กัมพูชายังขอความสนับสนุนจากประเทศญี่ปุนในการสราง “พิพิธภัณฑเปรี๊ยะวิเฮียร สมเด็จเตโช” (Samdech Techo Preah Vihear Museum) ที่อําเภอชม กสาน (Chom Ksan) ใน จังหวัดเปรี๊ยะวิเฮียร” และขอใหรัฐบาลอิตาลีมาชวยกัมพูชาในการซอมแซมศิลปะและโบราณวัตถุ ตลอดจนชวยทําการรณรงคระหวางการประชุมนานาชาติใหชวยคุมครองมรดกทางวัฒนธรรมของ กัมพูชา นอกจากนี้ ในกรณีที่คนไทย 7 คนถูกคุมขังในขอหาเขาเมืองโดยผิดกฎหมายนั้น สํานัก ขาวซินหัว ไดรายงานในดานบวกเกี่ยวกับเรือนจําเปรซารวา “ผูถูกคุมขังไดรับการปฏิบัติอยางดี โดยทุกวันจะอนุญาตใหเจาหนาที่จากสถานทูตไทยนําอาหารมาใหวันละสองครั้ง คือมื้อเชาและมื้อ เย็น น้ําดื่มและน้ําอาบก็สะอาดครบถวนตามหลักสุขอนามัย ตลอดจนหองขังก็อยูในสภาพดี สวน ญาติก็ไดรับสิทธิ์มาเยี่ยมตามปกติ” กลาวโดยสรุป สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวมีทัศนะตรงกันวา กัมพูชานั้นมี ความสามารถทางดานสื่อสารการเมืองและวิเทโศบายดานการตางประเทศ สามารถทําแตมชนะ ผูนําไทยไดในแทบจะทุกเวที และทําคะแนนนิยมในหมูชาวกัมพูชาไดทุกครั้งที่มีการปะทะ จนนาย ฮุนเซ็นชนะการเลือกตั้งทั่งไปอยางถลมทลาย ในเวทีโลกผูนํากัมพูชาสามารถสรางภาพตอชาวโลก วากัมพูชากําลังถูกไทยรุกราน (bullying Thailand) จนประเทศมหาอํานาจทุกประเทศ เชน จีนและ สหรัฐ และองคกรระหวางประเทศเชนสหประชาชาติ เห็นคลอยตามวากัมพูชาไดพยายามทุก วิถีทางแลวที่จะเจรจาโดยสันติวิธีกับไทย แตไรผลเพราะไทยไมรวมมือ ดังนั้นจึงเปนการสมควรที่ นานาชาติจะเขามาแทรกแซง ตามคํารองขอของกัมพูชาเพื่อหาทางออกตอกรณีพิพาทนี้ในที่สุด ในภาพรวม ประเด็นที่ประเทศกัมพูชาสามารถชนะคดีในศาลโลกและไดปราสาทพระ วิหารคืนจากไทยในป 1962 ตลอดจนการที่ปราสาทพระวิหารไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก ในป 2008 นั้นไดถูกรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นนําไปเปนประเด็น ในการสรางกระแสลัทธิ ชาตินิยมเพื่อเสริมความมั่นคงของฐานอํานาจทางการเมืองของตน ผลจากกรณีนี้ทําใหประเทศ กัมพูชามีความเปนเอกภาพ ประชาชนเกิดความภาคภูมิใจในรากเหงาทางประวัติศาสตรของชนชาติ เขมรอยางไมเคยมีมากอน ดังนั้นขอสังเคราะหที่วา “ความเหนือกวาดานวิเทโศบายตางประเทศ สรางความไดเปรียบในเชิงการสื่อสารการเมืองบนเวทีโลก” จึงสอดคลองเหมาะสม

3. กรณีพระวิหาร รัฐบาลไทยเพลี่ยงพล้ําในเชิงวิเทโศบายและการสื่อสารการเมือง 305

สืบเนื่องจากขอสังเคราะหที่วา“ความเหนือกวาดานวิเทโศบายตางประเทศ สรางความ ไดเปรียบในเชิงการสื่อสารการเมืองบนเวทีโลก” ทําใหสามารถสังเคราะหไดวา “ในกรณีพระวิหาร รัฐบาลไทยเพลี่ยงพล้ําในเชิงวิเทโศบายและการสื่อสารการเมือง” จากการศึกษาเปรียบเทียบรายงานขาวของสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวใน กรณีพระวิหารในชวงป 2008-2013 นั้นผูวิจัยไดพบวา สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวมี ทัศนะตรงกันวารัฐบาลอภิสิทธิ์ทําใหกรณีพระวิหารลุกลาม เนื่องจากในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์มี หลักฐานจากขอมูลการปะทะระหวางไทย-กัมพูชาในชวงป 2009-2011 วามีการตรึงกําลังและปะ ทํากันที่ชายแดน 6 ครั้ง ในจํานวนนี้การปะทะอยางหนักหนวงถึง 3 ครั้ง โดยเฉพาะอยางยิ่งสํานัก ขาวรอยเตอรสมีทัศนะทางลบตอรัฐบาลไทยในสมัยอภิสิทธิ์เปนนายกรัฐมนตรีวา รัฐบาลอภิสิทธิ์ ไดพยายามทุกวิถีทางที่จะขัดขวางมิใหแผนจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชาไดรับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการมรดกโลก ทั้งๆที่กัมพูชาไดรับอนุมัติใหขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลกจากยูเนสโกเรียบรอยแลวในสมัยรัฐบาลสมัคร สวนสํานักขาวซินหัวก็วิเคราะหในทํานองเดียวกันวา รัฐบาลอภิสิทธิ์ทําใหกรณีพระวิหาร ลุกลามและทําใหการเจรจาทวิภาคีกับกัมพูชาเพื่อยุติความขัดแยงและใหมีการถอนทหารออกจาก พื้นที่ทับซอนนั้นยืดเยื้อยาวนานและไมไดผล ยกตัวอยาง เชน การขัดขวางบทบาทอาเซียนในการ เจรจากับกัมพูชา การกีดกันมิใหกัมพูชานําประเด็นนี้ขึ้นสูระดับนานาชาติ ตลอดจนไม กระตือรือลนและพยายามเพียงพอที่จะผลักดันใหรัฐสภาไทยใหสัตยาบันรับรอง จึงเปนผลให MOU2000 ที่เกี่ยวของกับเขตแดนทางบกจึงยังคงไมมีอํานาจบังคับใชตามเจตนารมณดั้งเดิม และ ทําใหการเจรจาทวิภาคีกับกัมพูชาและการปกปนเขตแดนยืดเยื้อไมมีความคืบหนา เห็นไดชัดวา ทั้งสํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวเห็นตรงกันกับรัฐบาลกัมพูชาที่ เรียกรองใหนานาชาติเขามาชวยคลี่คลายความขัดแยง และไมเห็นดวยกับรัฐบาลอภิสิทธิ์ที่มี พฤติกรรมชัดเจนวาได จงใจขัดขวางการเจรจาระดับนานาชาติในกรณีพระวิหาร ดวยรูปแบบและ วิธีการตางๆ เชน ประเด็นที่ไทยไมยอมบรรจุวาระกรณีพิพาทปราสาทพระวิหารเขาสูที่ประชุมสุด ยอดASEM SUMMIT.ที่ไทยเปนเจาภาพ ประเด็นที่นายสุวิทย คุณกิตติ ประทวงโดย “เดินออก” จากที่ประชุมคณะกรรมการมรดกลก ประเด็นที่รัฐบาลอภิสิทธิ์จะ“ทบทวนสมาชิกภาพ”ของไทย ในองคการยูเนสโกถาหากคณะกรรมการมรดกโลกยังยืนยันที่จะมีมติเห็นชอบแผนการจัดการ ปราสาทพระวิหารของกัมพูชา ตลอดจนประเด็นที่จะใหยูเนสโกยกเลิกการขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารของกัมพูชา และใหไทยและกัมพูชาขึ้น“ทะเบียนรวม”ใหปราสาทพระวิหารเปนมรดก โลกรวมกัน ดวยเหตุนี้นานาชาติจึงมองวา คําขอของนายอภิสิทธิ์นั้นเปนไปไมได เนื่องจากกระ บานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกไดสิ้นสุดลงแลว” 306

เหลานี้สะทอนวา รัฐบาลไทยโดยเฉพาะรัฐบาลอภิสิทธิ์ไดพยายามทุกวิถีทางที่จะยับยั้งและ ยืนกรานที่จะเจรจาทวิภาคีเฉพาะกับกัมพูชาเทานั้น และจะไมยอมให‘มือที่สาม’ คือ องคการระหวาง ประเทศเขามาเกี่ยวของอยางเด็ดขาด ในขณะที่ฝายกัมพูชาไดพยายามทุกวิถีทางที่จะใหองคการ ระหวางประเทศเขามายุงเกี่ยวในกรณีปราสาทพระวิหาร ในที่สุดกัมพูชาก็ทําสําเร็จสามารถนํา ประเด็นกรณีพิพาทปราสาทพระวิหารเขาสูการพิจารณาระดับสภาความมั่นคงขององคการ สหประชาชาติ (UNSC) ระดับอาเซียน และระดับศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (ICJ) อันเปนระดับ นานาชาติไดอีกครั้งหนึ่งในที่สุด ดวยเหตุนี้เมื่อนายอภิสิทธิ์ประกาศยุบสภาและแพการเลือกตั้งทั่วไป จึงมีรายงานจากทั้ง สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวขาวแสดงความโลงใจวา คงจะถึงเวลาแลวที่กรณีความ ขัดแยงไทย-กัมพูชาจะคลี่คลายลงได จึงสรุปไดวาในกรณีพระวิหาร รัฐบาลไทยโดยเฉพาะรัฐบาล อภิสิทธ เวชชาชีวะเพลี่ยงพล้ํา ทั้งในเชิงวิเทโศบายและการสื่อสารการเมืองจนทําใหมีผลตอ ภาพลักษณของประเทศไทยในเวทีสากล และทั้งในเชิงการเมืองภายในประเทศ และสามารถ สังเคราะหไดวา “ความเหนือกวาดานวิเทโศบายตางประเทศ สรางความไดเปรียบในเชิงการสื่อสาร การเมืองบนเวทีโลก”

4. กรณีพระวิหารจะกลายเปนอุปสรรคตอการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ขอสังเคราะหที่วา “กรณีพระวิหารจะกลายเปนอุปสรรคตอการรวมตัวเปนประชาคม อาเซียน” ตั้งอยูบนขอคนพบที่วา สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวนั้นมีทัศนะตรงกันวา กรณีพระวิหารจะเปนอุปสรรคตอการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน(ASEAN Community)ในป 2015 โดยเฉพาะอยางยิ่ง สํานักขาวซินหัวไดวิพากษวา “อาเซียนนั้นมีขอจํากัดหลายประการ โดยเฉพาะขาดกลไกในการแกปญหาความขัดแยงในหมูประเทศสมาชิก” ซึ่งตรงกับสํานักขาวรอย เตอรสที่วิจารณนโยบายการไมแทรกแซงกิจการภายในของกันละกันของอาเซียน และยังตั้งคําถาม วา “แลวใครเลาจะมาเปนกรรมการ (referee) หามทัพ” เนื่องจากอาเซียนอาจถูกมองวาไมเปนกลาง เพราะนายสุรินทร พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียนขณะนั้นเปนคนไทย สํานักขาวรอยเตอรสแสดง ความผิดหวังที่อาเซียนลมเหลวเนื่องจากอาเซียนไมตองการใหฝายใดรูสึกเสียหนา โดยเฉพาะการที่ ไทยไมแสดงความกระตือรือลนที่จะรวมมือกับอาเซียน สํานักขาวรอยเตอรสยังไดอางทัศนะของ Enrico Tanuwidjaja นักวิเคราะหของ OSK DMG Group ที่สิงคโปรวา ถาหากครั้ง นี้อาเซียนแกปญหาระหวางไทย-กัมพูชาไมสําเร็จ ก็อาจมีผลทําใหการรวมตัวเปน “ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน” ในปค.ศ.2015 ตองลาชาออกไปเปนป ค.ศ.2020 307

ดานสํานักขาวซินหัวไดอางนักวิชาการกัมพูชาที่ระบุวา อาเซียนในปจจุบันไมสามารถ แกปญหาความขัดแยงเรื่องพรมแดนระหวางกัมพูชาและไทยได” โดยมีขอเสนอใหอาเซียนมี “กลไลการทูตแบบกันไวดีกวาแกและกลไกการแกไขความขัดแยง” นอกจากนี้สํานักขาวซินหัวยัง วิจารณในทํานองเดียวกันกับสํานักขาวรอยเตอรสวา“หลักการไมยุงเกี่ยวและฉันทามติ”ของอาเซียน นั้นเปนอุปสรรคตอการจัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน” จึงจะเห็นวาคํากลาวที่วา ขอสังเคราะหจากการวิจัยเรื่องนี้จากการวิเคราะหรายงานขาวของ สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวที่วา กรณีพระวิหารจะกลายเปนอุปสรรคตอการรวมตัว เปนประชาคมอาเซียนนั้น เปนสิ่งที่นาพิจารณาอยางยิ่ง

5. รัฐบาลไทยและกัมพูชาตางตีความคําตัดสินของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ เปนบวก ตอประเทศตน ปญหาจึงยุติลงชั่วคราว ตามที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศก็ไดมีคําตัดสินในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2013 วา “ปราสาทพระวิหารอยูภายใตอธิปไตยของกัมพูชาและไทยตองถอนทหารออกจากบริเวณพื้นที่รอบ ปราสาทโดยเฉพาะอยางยิ่งดานเหนือของเนินที่เปนชะงอนผายื่นออกไป แตทั้งนี้ศาลไมมีอํานาจที่ จะตัดสินวาบริเวณพื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกม.นั้นเปนของใคร” ผูวิจัยไดพบวา รัฐบาลไทยและกัมพูชาไดพยายามตีความคําตัดสินของศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศในทางที่เปนบวกตอประเทศตน เพื่อใหปญหากรณีพิพาทและการปนกระแสชาตินิยมใน ประเทศยุติลงชั่วคราว โดยเฉพาะสํานักขาวซินหัวไดรายงานวา ทั้งนางสาวยิ่งลักษณและ นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นไดประกาศผานโทรทัศนแหงชาติ วา“พอใจ” กับคําตัดสินครั้งนี้ของศาล ยุติธรรมระหวางประเทศ ในดานกัมพูชานั้น รัฐบาลกัมพูชาไดพยายามใชคําพิพากษาของศาลโลกเพื่อผอนคลาย ความตึงเครียดที่ชายแดน ดังรายงานจากสํานักขาวซินหัววา นายกรัฐมนตรีฮุนเซ็นไดประกาศผาน โทรทัศนแหงชาติกัมพูชาวา นี่เปนประวัติศาสตรหนาใหมของประเทศกัมพูชาเพราะเปนเครื่อง แสดงวารัฐบาลกัมพูชาไดใชความพยายามในการจัดการกรณีพิพาทกับไทยอยางสันติวิธีและยึด หลักการกฎหมายระหวางประเทศ ทั้งยังไดเรียกรองใหกองกําลังทุกเหลาทัพที่ประจําที่ชายแดนให ตั้งอยูในความสงบ เพื่อที่รัฐบาลทั้งสองฝายจะไดหารือกันวาจะปฏิบัติตามคําพิพากษานี้อยางไร และขอใหชาวกัมพูชาชวยกันสงเสริมมิตรภาพและความรวมมือในหมูประชาชาติอาเซียน ดานนาย ฮอรนัมฮง รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีตปท.ของกัมพูชาไดออกไปเยี่ยมกองทหารกัมพูชากวา 1,000 นายที่ชายแดน ทั้งนี้เพื่อ “ถายทอด”คําตัดสินของศาลโลกใหทหารไดรับทราบวา“ศาลได ตัดสินใหบริเวณชะงอนผาทั้งหมดของปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา” และศาลไดสั่ง“ให 308

ประเทศไทยถอนทั้งทหารตํารวจหรือยามรักษาการณหรือผูดูแลที่ประจําการอยูออกไป” ดังนั้น ขั้นตอนแรกตอง“มีการเจรจาใหถอนทหารไทยออกจากบริเวณที่ศาลโลกสั่ง” ขั้นตอนที่สองคือ “ตองเจรจาเกี่ยวกับพื้นที่ทับซอนบริเวณภูมะเขือ” แตทั้งนี้นายฮอรนัมฮงยังไมไดกําหนดเงื่อนเวลา ในการที่จะเจรจากับฝายไทย แมวาผลการตัดสินนี้จะเปนที่พอใจของทั้งรัฐบาลไทยและกัมพูชาก็ตาม แตทั้งสํานักขาว รอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวก็คาดการณวา ยังจะตองมีความวุนวายเกิดขึ้นอยางแนนอน โดยเฉพาะในประเทศไทย สํานักขาวซินหัวไดรายงานวา พรรคฝายคานและพวกหัวอนุรักษนิยม บางคนในไทย ไดพยายามกดดันรัฐบาลยิ่งลักษณใหยอมรับวา“ไทยเปนฝายพายแพกัมพูชา” โดยเฉพาะไดแสดงความสนใจเปนพิเศษตอวิกฤตการณการเมืองไทยในชวงนี้ สํานักขาวรอยเตอรส ระบุวาฝายตอตานรัฐบาลยิ่งลักษณกําลังพยายามบีบใหนางสาวยิ่งลักษณลาออก สํานักขาวรอยเต อรสเรียกกลุมผูประทวงเหลานี้วา “กลุมชาตินิยมสุดโตง” (ultra-nationalists) และเรียกกลุม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยวา “พวกนิยมกษัตริยสุดโตง” (ultra-royalist) ซึ่งไมยอม รับคําตัดสินของศาลโลก และอางคําพูดของพลตรีจําลอง ศรีเมืองที่กลาวหารัฐบาลยิ่งลักษณวา “ขายชาติขายดินแดน” เนื่องจากสํานักขาวรอยเตอรสคาดการณวาการประทวงครั้งนี้จะเปดทางใหมีการ รัฐประหาร จึงไดเสนอขอมูลเชิงลึกวา ผูนําในการประทวงครั้งนี้ คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ และไดระบุวา ผูมีอิทธิพลที่อยูเบื้องหลังกลุมผู ประทวงนี้ ก็คือ พลเอกประวิตร วงศสุวรรณ อดีตรัฐมนตรีกลาโหมและ พลเอกอนุพงศ เผาจินดา อดีตผูบัญชาการทหารบกซึ่งมีความใกลชิดกับพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบกใน ขณะนั้น สํานักขาวรอยเตอรสใหขอมูลวาพลเอกประวิตร วงศสุวรรณนั้นเปนอดีตผูบัญชาการ ทหารบกและอดีตรัฐมนตรีกลาโหมในชวงที่เกิดกรณีพิพาทไทย-กัมพูชาในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สวนพลเอกอนุพงศ เผาจินดา นั้นเปนอดีตผูบัญชาการทหารบกผูนําทหารบกยึดอํานาจ ในการปฏิวัติโคนรัฐบาลทักษิณในป 2006 นอกจากนี้พลเอกอนุพงศ ก็เคยออกโทรทัศนแนะนําให นายสมชาย วงศสวัสดิ์ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี และเมื่อพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ขึ้นมาเปนผูบัญชาการทหารบกสืบตอจากพลเอกอนุพงศ นั้นก็มีบทบาทใหเกิดมีการปะทะกันใน กรณีพระวิหารดวย จึงจะเห็นวารัฐบาลไทยและกัมพูชานั้นตระหนักดีวา มีฝายตอตานโดยเฉพาะในประเทศ ไทยที่พยายามจะปลุกกระแสชาตินิยมขึ้นมาอีกเพื่อโคนรัฐบาล ดังนั้นรัฐบาลไทยและกัมพูชาจึง แถลงวาคําตัดสินของศาลยุติธรรมระหวางประเทศเปนบวกตอประเทศของตน ทั้งนี้เพื่อยุติปญหา กรณีพิพาทลงชั่วคราว แตสําหรับสถานการณในประเทศไทยนั้นสํานักขาวทั้งสองเห็นตรงกันวา สถานะของรัฐบาลยิ่งลักษณในขณะนนั้นนาเปนหวงอยางยิ่ง. ดังจะเห็นวา ในที่สุดรัฐบาลนางสาว ยิ่งลักษณ ชินวัตรก็ประสบชะตากรรมเดียวกับรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร กลาวคือ ถูกรัฐประหารเมื่อ 309

วันที่ 22 พฤษภาคม 2014 โดยคณะทหารที่นําโดย พลเอกประยุทธ จันทรโอชา อดีตผูบัญชาการ ทหารบกผูปฏิเสธไมยอมรับใหผูสังเกตุการณจากอินโดนีเซียเขามาในบริเวณพิพาทตามแนว พรมแดนไทย-กัมพูชาใกลปราสาทพระวิหาร

ขอเสนอแนะ

1) นักการเมืองทั้งสองประเทศไมควรใชกรณีพระวิหารมาปลุกปนความรูสึกชาตินิยมเพื่อ โคนลมฝายตรงขามทางการเมืองของฝายตน เนื่องจากจะสรางผลลบมากมายใหแกประเทศชาติ จน เสียหายไปถึงความสัมพันธระหวางประเทศและภาพลักษณของประเทศตนในประชาคมโลก 2) ประชาชนไทยกับกัมพูชาควรลืมประวัติศาสตรอันขมขื่น โดยเฉพาะรัฐบาลไทยตองมี โครงการปรับทัศนคติของคนไทยตอประเทศเพื่อนบาน ทบทวนการใหการศึกษาดาน ประวัติศาสตร และยกเลิกการปลูกฝงทัศนคติใหเยาวชนดูถูก เกลียดชังหรือมีทัศนคติที่ไมดีตอ ประเทศเพื่อนบาน ใหการศึกษาแกพวกที่มีแนวคิดสุดโตงทั้งในไทยและกัมพูชา 3) รัฐบาลไทยและกัมพูชาควรเรงรัดการปกปนเขตแดนระหวางไทยและกัมพูชาที่ยังไมแลว เสร็จและชะงักงันไปอีกหลังการรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2014 ทั้งนี้เพราะกรณีพิพาทเรื่อง พรมแดนระหวางไทย-กัมพูชาอาจปะทุขึ้นมาอีกเมื่อไรก็ได รัฐบาลไทยควรจะใชคําวา ‘Preah Vihear’ ในการเรียกชื่อ ‘ปราสาทพระวิหาร’ ใน ภาษาอังกฤษ แทนคําวา ‘Phra Viharn’ ตามการออกเสียงในภาษาไทย เนื่องจากปราสาทพระวิหาร เปนของกัมพูชาตามคําพิพากษาของศาลโลกมาตั้งแตป 1962 กัมพูชาจึงมีสิทธิ์เต็มที่ที่จะเรียกชื่อ โบราณสถานในประเทศของตน ตามที่ตนเห็นสมควร 4) ในแผนจัดการปราสาทพระวิหารใหเปนมรดกโลกนั้นนาจะมีแผนเปลี่ยนใหบริเวณนี้เปน “สวนสันติภาพนานาชาติ”("international peace park") สวนนี้ควรจะเปนสวนที่ทั้งรัฐบาลไทย และรัฐบาลกัมพูชารวมกันกับชุมชนทองถิ่นในการจัดการ“สวนสันติภาพนานาชาติ”นี้

ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัย 310

1) ควรทบทวนการศึกษาวิจัยประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางไทยกับกัมพูชา เพื่อ ปลูกฝงทัศนคติใหเยาวชนไทยมิใหดูถูก เกลียดชัง หรือมีทัศนคติที่ไมดีตอเพื่อนบาน เพื่อสงเสริม ความสุขสงบสันติในหมูประเทศสมาชิกของอาเซียน 2) ควรมีการศึกษาวิจัยตอยอดเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศใน การรายงานขาวกรณีอื่นๆที่เกี่ยวของกับประเทศไทย 3) ควรมีการศึกษาวิจัยมากขึ้นเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมืองของประเทศไทยในเวทีสากล 4) ควรมีการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาว ตางประเทศที่มาจากโลกตะวันตกและโลกตะวันออก 5) ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธในอนาคตระหวางสํานักขาวตางประเทศกับสื่อ สังคม (social media) บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

คริส เบเคอร และผาสุก พงษไพจิตร. ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ มติชน, 2557). ชาญวิทย เกษตรศิริ. ลัทธิชาตินิยมไทย/สยามกับกัมพูชา: และกรณีศึกษาปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโตโยตาและโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2552). ชาญวิทย เกษตรศิริและ กาญจนี ละอองศรี . รัฐชาติ-พรมแดน : ความขัดแยงและขอยุติบน เสนทางสันติภาพอาเซียน. (กรุงเทพมหานครมหานคร : มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย, 2551). ชาญวิทย เกษตรศิริ, กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554. (กรุงเทพมหานคร:โพสต พับลิชชิ่ง, 2555). ชุมพล เลิศรัฐการ, กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ , (กรุงเทพมหานคร: ธัญญา พับลิเคชั่น, 2536). ดวงธิดา ราเมศวร, ปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพแพรธรรม, 2537). เดวิด เค.วัยอาจ, ประวัติศาสตรไทย ฉบับสังเขป (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตํารา สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2556). ธิดา สาระยา, ปราสาทเขาพระวิหาร (กรุงเทพมหานคร: เมืองโบราณ, 2552). บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร:สี่พระยาการพิมพ, 2556). ประหยัด ศ. นาคะนาทและจํารัส ดวงธิสาร. ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร. (พระนคร : สาสน สวรรค, 2505). พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556). เพ็ญศรี ดุก. การตางประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย. (กรุงเทพมหานคร: 2546). นพดล ปทมะ. บันทึกประวัติศาสตร "มหากาพยเขาพระวิหาร". (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมติ ชน, 2559). นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556). รุงมณี เมฆโสภณ. ถกแขมร แลเขมร. (กรุงเทพมหานครมหานคร:สํานักพิมพบานพระอาทิตย, 2552). 311

วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนยหนังสือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554). วิภา อุตมฉันท และนิรันดร อุตมฉันท . เจาะลึกสื่อจีน. (กรุงเทพมหานครมหานคร: ศูนยจีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549). สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนา สามเหลี่ยมทองเที่ยวเชื่อมโยง ไทย ลาว กัมพูชา เสนอตอการทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2542. สุรชาติ บํารุงสุข. ภูมิศาสตรแหงความขัดแยง. ทฤษฎีและกรณีไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพ: โครงการ ความมั่นคงศึกษา, 2557). สุรชาติ บํารุงสุข. คําตัดสินศาลโลกคดีพระวิหาร 2505. จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 123-124 (เมษายน-พฤษภาคม 2556). สุรชาติ บํารุงสุข. รําลึก 50 ป คดีพระวิหาร (พ.ศ.2505-2555).(จุลสารความมั่นคงศึกษา, ฉบับที่ 111-112, กรกฎาคม 2555) สุรชาติ บํารุงสุข. กรณีเขาพระวิหาร (จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 38, 2551). สุรชาติ บํารุงสุขและประสิทธิ์ ปวาวัฒนพานิช. เสนเขตแดนไทย-กัมพูชา : บททบทวน. จุลสาร ความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 88.(กุมภาพันธ 2554). ศรีศักร วัลลิโภดมและคณะ. เขาพระวิหาร:ระเบิดเวลาจากยุคอาณานิคม. (กรุงเทพมหานคร:มติ ชน, 2551). ศานติ ภักดีคํา. ปราสาทเขาพระวิหาร : จาก "ศรีศิขเรศวร" ถึง "เปรียะฮวิเฮียร", ศิลปวัฒนธรรม ปที่ 30 ฉบับที่ 2 (ธ.ค. 2551). ศานติ ภักดีคํา. ปราสาทเขาพระวิหาร:ศรีศิขเรศวร เทวสถานแหงพนมดงรัก ใน พิเชษฐ แสงทอง 2551 บก. พรมแดนบนแผนกระดาษ ปราสาทเขาพระวิหาร กรุงเทพมหานคร:เคล็ดไทย, 2551. ศิริวร แกวกาญจน. “ภูมิทัศนภูมิศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต กอนการมาถึงของพรมแดนบน แผนกระดาษ”, ใน พรมแดนบนแผนกระดาษปราสาทพระวิหาร โดย ศานติ ภักดีคํา และ คณะ. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพเคล็ดไทย, 2551), น. 80. อภิญญา ตะวันออก. เขียว สัมพัน. ประวัติศาสตรกัมพูชากับจุดยืนที่ผานมาของขาพเจา. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ มติชน, 2549). 312

วิทยานิพนธ

กฤติยา รุจิโชค. กระบวนการทําขาวของนักขาวสํานักขาวตางประเทศในประเทศไทยตอกรณี วิกฤตการณการเมืองไทยพ.ศ. 2552-2553. วิทยานิพนธปริญญาเอก. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.2553. ปารณีย จันทรกุล . การเสนอขาวโลกตะวันตก และขาวโลกตะวันออกของสํานักขาวตางประเทศ. วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540. มัทนียา พงศสุวรรณ. “การเสนอแนวทางการสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางประเทศไทยกับ ราชอาณาจักรกัมพูชา จากการวิเคราะหเนื้อหาประวัติศาสตรในหนังสือแบบเรียนวิชาสังคม ศึกษา.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547. นิติพงศ พิเชฐพันธุ. “วาทกรรมเหตุการณพิพาทเขาพระวิหาร พ.ศ. 2551 จากหนังสือพิมพรายวัน ภาษาไทย:การศึกษาความสัมพันธระหวางภาษาและอุดมการณ.” วิทยานิพนธอักษร ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2553. สุเนตร มาทอง “การประกอบสรางความจริงทางสังคม กรณีการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลก ของประเทศกัมพูชา ผานการเลาเรื่องของหนังสือพิมพผูจัดการ และ หนังสือพิมพมติชน ในหวงเวลา พ.ศ.2548- 2553”. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต , มหาวิทยาลัย เกริก, 2554. สุวิทย ประภาโส “การสื่อสารทางการเมืองเรื่องปราสาทพระวิหาร : ศึกษากรณีสื่อสิ่งพิมพในหวง เวลาป พ.ศ. 2551 – 2556”. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต , มหาวิทยาลัยเกริก, 2558.

สัมภาษณ นพดล ปทมะ, อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ, สัมภาษณ, 2 มิถุนายน 2016. นพพร วงศอนันต. อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวรอยเตอรส ปจจุบันรองบรรณาธิการนสพ.บางกอก โพสต. สัมภาษณ. 20 มิถุนายน 2016. สงวน คุมรุงโรจน. อดีตผูสื่อขาวตางประเทศจากหลายสํานักขาว. สัมภาษณ. 13 มิถุนายน 2016. สุภลักษณ กาญจนขุนดี. บรรณาธิการอาวุโสนสพ.เดอะเนชั่น. สัมภาษณ. 24 มิถุนายน 2016. อนุรัชช มณีพันธุ. อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวเอเอฟพี อดีตบรรณาธิการขาวนสพ.บางกอกโพสต. สัมภาษณ. 4 กันยายน 2016. 313

Books and Articles Ambrogi-Yanson, M., International news coverage online as presented by three news agencies. Unpublished MS thesis, Rochester Institute of Technology, 2010. Arterton,F.C., “Media Politics: The News Strategies of Presidential Campaigns”,. Journal of Advertising, Volume 15, (Lexington, MA:: Lexington Books, 1984). Babe, R. E.,"The Communication Thought of Harold Adams Innis". In Canadian Communication Thought: Ten Foundational Writers. (Toronto: University of Toronto Press, 2000). Bagdikian, B.H., The Media Monopoly, 6th ed. (Boston, MA: Beacon Press, 2004). Bass, A.Z., “Refining the ‘gatekeeper’ concept: A UN radio case study”. Journalism Quarterly, 1969, 46, 69-72. Berlo, D. K., The Process of Communication. (New York : Holt, Rinehart, & Winston, 1960). Blass, T. “Preah Vihear temple dispute”, Diplomat Magazine. Retrieved on 28 December 2015. Boyd-Barrett, O., The International News Agencies. (London : Constable, 1980). Boyd-Barrett, O. & Rantanen, T., The Globalization of News. (London : Sage Publications, 1988). Boyd-Barrett, O., National and International News Agencies : Issues of crisis and realignment. Gazette, 2000, Vol. 62, pp. 5-18. Chachavalpongpun, P., “Diplomacy under Siege: Thailand's Political Crisis and the Impact on Foreign Policy”. In Contemporary Southeast Asia: . Volume 31, Number 3, December 2009, pp. 447-467. Chachavalpongpun, P., “Embedding Embittered History: Unending Conflicts in Thai- Cambodian Relations”. In Asian Affiars, 2012, 43:1, 81-102. Chadha, K. & Kavoori, A., “Media imperialism revisited: some findings from the Asian case”, Media Culture & Society. July 2000, Vol. 22 , No. 4, pp. 415-432. 314

Chambers, P., Unruly Boots: Military Power and Security Sector Reform Efforts in Thailand. PRIF Report No. 121. Peace Research Institute Frankfurt (PRIF), 2013. Chambers, P.W. & Wolf, S.O., “Image-Formation at a Nation’s Edge : Thai Perception of its Border Dispute With Cambodia-Implications for Asia”. In Working Paper No.52, February, 2010., South Asia Institute, Department of Political Science, Heidelberg University. Ciorciari, J.D., “Thailand and Cambodia: the Battle for Preah Vihear”. In Choices in International Conflict: With a Focus on Security Issues in Asia. (Redwood City, CA : Stanford University Press, 2013). Cuasay, P. “Borders on the fantastic: Mimesis, violence, and landscape at the temple of Preah Vihear”, Modern Asian Studies 32, 4 (1998), pp. 849-890. Denton, R.E. & Woodward, G. C., Political Communication in America. (New York: Praeger, 1998). Deutsch, K., Nationalism and Social Communication: An Inquiry into the Foundations of Nationality. (Cambridge: MIT Press, 1966). Elliott, S., Sign of Arrival, for Xinhua, Is 60 Feet Tall. New York Times, July 25, 2011, page B3. Fenby, J., The International News Services: A Twentieth Century Fund Report. (New York: Schocken, 1986). Fish, I. S.& Dokoupil, T.,"Is China's Xinhua the Future of Journalism?". Newsweek. 3 September 2010. Galtung, J., “A Structural Theory of Imperialism”. Journal of Peace Research , 1971,Vol. 8, No. 2. Galtung, J. & Ruge. M.H., “The structure of foreign news”. In J. Tunstall (ed.) Media Sociology : A Reader. Urbana, IL. : University of Illinois Press, 1970. Giffard, C.A., UNESCO and the Media. (New York : Longman, 1989). 315

Greenberg, B. S.; Salwen, M. B., & Stacks, D. W., eds.,(2008). “Mass communication theory and research: Concepts and models”. In An integrated approach to communication theory and research. (Mahwah: Erlbaum, 2008), pp. 61–74. Griessner,M.C. “New Agencies and Social Media : A Relationship with a Future?”, Reuters Institute Fellowship Paper University of Oxford. Retrieved on 31 July 2016 from https://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/ Harcup, T., &O’Neill, D., “What is news? Galtung and Ruge revisited”. Journalism Studies, 2001, Vol. 2, pp. 261-280. Heyer, P., Harold Innis. (Lanham, MD: Rowman & Littlefield Publishers Inc., 2003). Hewes, D.E. &Graham, M.L., “Second-guessing theory Review and extension”. In J.A. Anderson (ed.), Communication Yearbook 1989. (Vol.12, pp.213-248). (Newbury Park, CA : Sage, 1989). Innis, H., Changing Concepts of Time. (Toronto: University of Toronto Press, 1952). Kasetsiri, C., “Cambodia-Thailand:Love Hate Relationship (Khom–Khamen flawed history)”, Kyoto Review of South East Asia, No.3, March 2003. Keyes, C.F., “Cambodia and the Legacy of Angkor”, Cultural Survival Quarterly, Vol 10, No.3, 1990. Kumar, K.J. & Biertmatzki, S.J., “International News Flow”. Communication Research Trends, 1990, Vol.10, No.4. Lee, R.L., "The Flow of Information to Disadvantaged Farmers." Unpublished Ph.D. dissertation, University of Iowa, 1967. Lewin, K., Field Theory in Social Science: Selected Theoretical Papers. (New York: Harper, 1951). Lintner, B., “Few clear lines in Preah Vihear ruling”. Asia Times Online , 15 November 2013. Lippmann, W., The Nature of News: Public Opinion. (New York: Harcourt Brace, 1922). Marshall, C. & Rossman, G.B., Designing Qualitative Research Approach. (SanFrancisco: Jessey-Bass, 1989). 316

Malek, A. & Kavoori, A., The global dynamics of news: studies in international news coverage and news agenda. (Portsmouth : Greenwood Publishing Group, 1999). McBride et al., The MacBride Report. Paris:Unesco, 1980. McCombs, M. & Shaw, D.,"The agenda-setting function of mass media". Public Opinion, 1972, Quarterly 36 (2) p.176. McCombs, M.,"A look at agenda-setting: Past, present and future". Journalism Studies, 2005, 6 (4). McCombs, M.E. & Shaw, D.L., “The Evolution of Agenda-Setting Research: Twenty-Five Years in the Marketplace of Ideas”. Journal of Communication., 1993, Vol. 43, No. 2, p. 58 – 67. McLuhan, M., & Fiore, Q., The Medium is the Massage: An Inventory of Effects. (New York: Random House, 1967). McLuhan, M., Understanding Media: The Extensions of Man. (Corte Madera, California: Gingko Press, 2003). McNair, B., An Introduction to Political Communication. (London: Routledge, 2003). McNelly, J.T., “Intermediary Communicators in the international flow of news”. Journalism Quaterly, 1959, Vol.36 (1), 23-26. McQuail, D.& Windahl, S., Communication Models for the Study of Mass Communications (2nd ed.). (New York: Longman, 1993). McQuail, D., McQuail’s Mass Communication Theory. 4th ed. (London : Sage Publications, 2000). Meyer, S., “Preah Vihear Reloaded – The Thai-Cambodian Border Dispute”. In Journal of Current Southeast Asian Affairs, 2009, Vol. 8, No.1. Merritt, R.L., Russett,B.M. and Dahl, R.A., “Karl Wolfgang Deutsch,1912–1992”, in Biographical Memoirs of the National Academy of Sciences, Volume 80. (Washington, DC: The National Academies Press, 2001). Miles, M.B. & Huberman, A.M., Qualitative Data Analysis. An Expanded Sourcebook (2ed). (Thousand Oaks, CA: Sage, 1994). Mowlana, H., International Flows of Information. Paris: UNESCO, 1985. 317

Munthit, K., “Cambodian rioters burn Thai embassy”. The Independent. 30 January 2013. Retrieved from http://www.independent.co.uk/news/world/asia/cambodian- rioters-burn-thai-embassy-607061.html. “The Big Four”. New Internationalist Magazine. (June 1981). Ngoun, K., “Thai Cambodian conflict rooted in history”, East Asia Forum Quarterly (27 January 2012). Nossek,H.,“News”.In Johnston.,D.H.,ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3219-3226. Nossek, H., Sreberny, A. & Sonwalker, P. eds., Media and Political Violence. (Creskill, NJ: Hampton Press, 2007). Pakdeekong, M., “Who Owns the Preah Vihear Temple? A Thai Position”. In Journal of East Asia & International Law › Nbr. 1-2009, April 2009. Pares, S., A political and economic dictionary of East Asia. (London:Routledge, 2005). Paterson, C.,“Global Battlefields”. In O.Boyd-Barrett & T. Rantanen (eds.). The Globalization of News. (London: Sage, 1988), pp. 79-103. Paterson, C.,“News Agencies”. In Johnston. , D.H., ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3229-3231. Paterson, C. & Sreberny, A. (eds.). International News in the Twenty-First Century. (Luton: John Libbey, 2004). Rantanen,T. & Boyd-Barrett,O.,“News agencies as news sources: a re-evaluation”. In: Sreberny, A. and Paterson, C., (eds.) International news in 21st century. Eastleigh, UK : John Libbey Publishing for University of Luton Press,2004), pp.31-46. Read, D., The Power of News : The History of Reuters. (Oxford : Oxford University Press, 1999). Reese, S.D. & Ballinger, J., “The Roots of Sociology of News : Remembering Mr.Gates and social control in the newsroom”, Journalism and Mass Communication Quarterly,2001,Vol.78 (4), pp.641-658. 318

Rivers, W.L. & Schramm, W., Responsibility in Mass Communication. (New York : Harper and Row Publishers, 1969). Schiller, H.I., Mass Communications and American Empire. (New York: Augustus M. Keeley Publishers), 1969. Schramm,W.,“How communication works”.In W.Schramm (ed.),The Process and Effects of Communication. (Urbana, Illinois: University of Illinois Press, 1954), pp. 3-26. Schramm,W.,“The Beginnings of Communication Study in the United States”. Communication,1980, Vol. 9 (2), 1-6. Shannon, C. E., & Weaver, W., The Mathematical Theory of Communication. (Urbana, Illinois: University of Illinois Press, 1949). Shoemaker, P.J.& Vos, T.P., Gatekeeping. (New York: Routledge, 2009). Shoemaker, P.J. & Cohen, A.A., News around the world: Content, practitioners and the public. (New York: Routledge, 2006). Sreberny-Mohammadi, A. et al., Foreign News in the Media: International Reporting in 29 Countries : Reports and Papers on Mass Communication, 93/1985. (Paris: Unesco). Sreberny, A. & Stevenson, R., (1999). “Comparative analysis of international news flow: An example of global media monitoring”. In K. Nordenstreng & M. Griffith (eds.), International Monitoring. (Cresskill, NJ: Hampton Press,1999). Stevenson, R.L., Communication, Development, and the Third World : The Global Politics of Information. (New York: Longman, 1988). Stevenson, R.L. & Gladdy, G.D.,“ ‘Bad News’ and the Third World”. In R.L. Stevenson, and D.L.Shaw (eds.) Foreign News and the New World Information Order, pp. 88-97. (Iowa : The Iowa State University Press, 1984, pp. 88-97. Swanson, D. & Nimmo, D., New Directions in Political Communication: A Resource Book. (Thousand Oaks: Sage, 1990). Touch, B., “Who Owns the Preah Vihear Temple? A Cambodian Position”. In Journal of East Asia & International Law › Nos. 1-2009, April 2009. 319

Traviss, A. C., “Temple of Preah Vihear: Lessons on Provisional Measures”. Chicago Journal of International Law, 2012, Vol. 13, No. 1. Troianovski, A., “China Agency Nears Times Square”. The Wall Street Journal.(30 June 30 2010). Tuchman, G., Making News. (New York: Free Press, 1978). Tun , K. M., “Towards a Peaceful Settlement of the Preah Vihear Temple Dispute”. ASIA PAPER, October 2011, p. 49. Van Dijk, T.A., Discourse and Communication: New Approaches to the analysis of mass media discourse and communication. (Berlin : de Gruyter, 1985). Van Dijk, T.A., News analysis: Case studies of international and national news in the press, (Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum, 1988). Van Dijk, T.A., News as discourse. (Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum, 1988). Van Dijk, T.A. & Kinsch, W., Strategies of discourse comprehension. (New York: Academic Press, 1983). Von Feigenblatt. O.F., “Coping with Violence in the Thai-Cambodian Border : The Silence of the Border” . In Journal of Contemporary Eastern Asia, 2011, Vol. 10, No. 2, pp. 35-40. Wagener, M., “Lessons from Preah Vihear : Thailand, Cambodia and the Nature of Low- Intensity Border Conflicts”. In Journal of Current Southeast Asian Affairs, 2004, Vol. 30, No.3, pp.27-59. Westley,B.H.& MacLean, J.S., Jr., “A conceptual model for communications research”. Journal Quarterly, 1957, 34, 31-38. White,D.M., “The 'Gatekeeper' : A Case Study In the Selection of News”, In Lewis A. Dexter /David M.White (Hrsg.) : People, Society and Mass Communications. (London S, 1964). Williams,C.J.,“Preah Vihear temple grounds belong to Cambodia,UN court rules”, Los Angeles Times. (11 November 2013). Xin Xin. “A developing market in news: Xinhua News Agency and Chinese newspapers”, Media Culture Society, January 2006, Vol. 28, No. 1, pp. 45-66. 320

Xinhua News Agency. Editorial Handbook for Xinhua Journalists, 1st edn. Beijing : Xinhua, 2002.

Websites. http://news.xinhuanet.com/english/ http://www.reuters.com/ http://thomsonreuters.com/ http://www.reuters.com/search?blob=preah+vihear http://www.mfa.go.th ภาคผนวก 322

ผนวก ก. ลําดับเหตุการณที่มีผลตอความขัดแยงไทย-กัมพูชากอนป 1962

วันเดือนป บริบททางการเมือง 13 กุมภาพันธ1904 อนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศสค.ศ.1904 กําหนดวา เขตแดนสยาม-อินโดจีน ฝรั่งเศสแบงโดยใช“สันปนน้ํา”และใหมีการตั้ง“ขาหลวงผสม (สยาม- อินโดจีนฝรั่งเศส)”เพื่อทําการกําหนดเขตแดนหรือแผนที่ โดย อนุสัญญานี้ไดกําหนดเขตแดนบริเวณปราสาทพระวิหารดวย 18 มกราคม 1907 คณะกรรมการปกปนผสมเขตแดนสยาม-ฝรั่งเศสพบกันครั้งสุดทาย “ฝายฝรั่งเศสนําโดยพันตรีแบรนารด”และ“ฝายสยามนําโดย พลตรี หมอมหลวงชาติ เดชอุดม” แตขณะนั้น เจาหนาที่ยังจัดทําแผนที่ยัง ดําเนินการไมเสร็จสิ้น 23 มีนาคม1907 อนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 สยามยอมยกเสียมราฐ พระ ตะบอง ศรีโสภณใหกับอินโดจีน ฝรั่งเศส เพื่อแลกกับเมืองดานซาย และเมืองตราดตลอดจนเกาะทั้งหลาย ใตแหลมสิงหจนถึงเกาะกูด สิงหาคม1908 ฝายฝรั่งเศสไดสงแผนที่ที่ไดนําผลสํารวจกลับไปจัดทําแผนที่ประเทศ ฝรั่งเศสแลว (แผนที่ มาตราสวน 1 : 200,000) ใหประเทศไทย จํานวน 11 ระวาง แผนที่นี้ไมไดรับการรับรองโดยคณะกรรมการปก ปนผสมตามอนุสัญญา ค.ศ. 1904 เพราะคณะกรรมการปกปนผสมชุด นี้ ไดสลายตัวไปกอนที่แผนที่ชุดดังกลาวจะจัดพิมพเสร็จ แผนที่นี้ ไมไดใชสันปนน้ําในการปกปนเขตแดนในบริเวณพระวิหาร แตฝาย ไทยก็ไมไดประทวงใหแกไขแผนที่นี้ หรือประทวงไมยอมรับแผนที่ สนธิสัญญาค.ศ.1904 นี้แตอยางใด” 1930 สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพเสด็จเยือนปราสาทพระวิหาร โดยมีขาหลวงฝรั่งเศสใหการตอนรับ มีภาพถายทางประวัติศาสตรเปน หลักฐานแสดงวาไทยไดยอมรับอธิปไตยของฝรั่งเศสเหนือดินแดน ปราสาทพระวิหารและทําใหไทยแพคดีในป 1962 1941 ญี่ปุนจัดการใหมีการลงนาม“อนุสนธิสัญญาโตเกียวค.ศ.1941” (Tokyo Convention)ที่ใหปราสาทพระวิหารกลับมาเปนของไทย 17 พฤศจิกายน 1946 ญี่ปุนพายแพในสงครามโลกครั้งที่สองไดมีการลงนามใน"ความตกลง ระงับกรณีระหวางไทยกับฝรั่งเศส" (Accord de rėglement Franco- 323

Siamois) หรือที่รูจักในชื่อ "Washington Accord" และ“ยกเลิก สนธิสัญญาโตเกียว ค.ศ.1941” ไทยตองคืนดินแดน 4 จังหวัด คือ พระ ตะบองพิบูลสงคราม จําปาศักดิ์และลานชางใหฝรั่งเศส มีผลให ปราสาทพระวิหารกลับไปเปนของกัมพูชา” 1949 ฝรั่งเศสกลาวหาวาไทยยังคงสงกองกําลังไปประจําที่ปราสาทพระ วิหาร และไดมีหนังสือประทวงไทยหลายครั้ง ในหนังสือประทวงนี้ ฝรั่งเศสอางชัดเจนวา “ปราสาทพระวิหารอยูในเขตกัมพูชา” 19 ธันวาคม 1953 กัมพูชาไดรับเอกราชจากฝรั่งเศสและประทวงไทยวาไดสงกองกําลัง ไปยึดครองปราสาทพระวิหาร จัดตั้งปอมตํารวจบนเทือกเขาดงรัก และชักธงชาติไทยเหนือปราสาทพระวิหาร ตลอดจนขับไลเจาหนาที่ ของกัมพูชาที่รัฐบาลสงไปประจําการออกไป” 1954 กัมพูชากลาวหาวาไทยโยกยายวัตถุโบราณออกจากปราสาท จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต (16 กันยายน 1957– 8 ธันวาคม 1963) มีนาคม 1958 มีผูเขียนบทความเรื่อง “ใครเปนผูกูชาติกัมพูชา”ลงในหนังสือพิมพใน ประเทศไทยฉบับหนึ่ง แต “ผูเขียนไมไดยกยองเจานโรดมสีหนุ” สงผลใหขาราชการและตํารวจในเครื่องแบบชาวกัมพูชาไมพอใจและ เดินขบวนประทวง เมษายน 1958 นายซัม ซารี องคมนตรีและเอกอัครขาราชทูตกัมพูชาประจํากรุง ลอนดอนไดเขียนบทความลงใน ‘วารสารกัมพูชาวันนี้’ โดยโจมตีไทย วาแยงดินแดนพระวิหารไปจากกัมพูชาและตําหนิ ไทยที่ไมยอมรับ สนธิสัญญา ค.ศ.1907 12 กรกฎาคม1958 เจาสีหนุเสด็จมาเยือนไทย ประกาศวาจะตั้งคณะกรรมการสองฝาย เพื่อใหมี “การจัดการปราสาทพระวิหารรวมกัน” ทั้งนี้มีนายซอนซาน รองนายกรมต.เปนประธานฝายกัมพูชาและฝายไทยมีรมต. ตางประเทศเปนประธาน 11 สิงหาคม - 4 กันยายน 1958 เจาสีหนุและนายกรัฐมนตรีซอนซานไดเดินทางมาเจรจาในกรุงเทพอีก แตลมเหลวทั้งสองครั้ง กัมพูชาอางวาไดยื่นขอเสนอ 2 ขอใหไทย คือ (ก) ใหกัมพูชาและไทยมีการบริหารจัดการปราสาทพระวิหารรวมกัน (ข) กัมพูชาจะนําเรื่องนี้ขึ้นสูการพิจารณาของศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ แตประเทศไทยก็ไมใหคําตอบ 324

24พฤศจิกาย1958 กัมพูชาประกาศตัดสัมพันธทางการทูตกับไทย 1 ธันวาคม 1958 ไทยปดพรมแดนและเสริมกําลังตํารวจตระเวณชายแดนบริเวณ ปราสาทพระวิหาร มกราคม1959 ไทยและกัมพูชาไดโตเถียงกันอยางรุนแรงระหวางการประชุมสมัชชา ใหญขององคการสหประชาชาติ 20 กุมภาพันธ 1959 ผูแทนองคการสหประชาชาติ ชื่อ บารอน โจฮาน เบค ฟรีส (Baron Johan Beck-Friss) ไดเขามาไกลเกลี่ยและไดเดินทางเขาไปดูพื้นที่ พิพาท 6 ตุลาคม 1959 กัมพูชายื่นฟองไทยตอศาลยุติธรรมระหวางประเทศโดยให ศาล วินิจฉัยเขตแดนไทย-กัมพูชาใน 2 ประเด็น ประเด็นที่ 1 ใหอธิปไตย แหงดินแดนเหนือปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชา และประเด็นที่ 2 ใหไทยถอนกําลังทหารออกจากบริเวณปราสาทพระวิหาร ในไทยมี การเรี่ยไรเงินบริจาคจากประชาชนคนละ 1 บาท เพื่อเปนคาใชจายใน การดําเนินคดีในศาลโลก 26 พฤษภาคม1961 ศาลยุติธรรมระหวางประเทศไดมีมติเอกฉันทยกคําคัดคานของไทย (ชั้นการคัดคานเบื้องตน) โดยตัดสินวาศาลโลกมีอํานาจพิจารณาคดี 23 ตุลาคม 1961 กัมพูชาโดยเจานโรดมสีหนุตัดสัมพันธทางการทูตกับไทยในสมัยจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต อีกเปนครั้งที่สอง โดยอางวาถูกไทยดูหมิ่นเกียรติ และไมพอใจที่รัฐบาลนายควง อภัยวงศและรัฐบาลนายปรีดี พนมยงค เคย“สนับสนุนขบวนการเขมรอิสสระ”เพื่อใหควบคุมพระตะบอง และเสียมราฐ 1962 กัมพูชาขอใหศาลโลกวินิจฉัยเพิ่มเติม อีก 3 ประเด็น คือ ประเด็นที่ 1 ขอใหตัดสินชี้ขาดเขตแดนไทย-กัมพูชา ประเด็นที่ 2. ขอใหตัดสินวา สถานะของแผนที่มาตราสวน 1 : 200,000 ระวางดงรักที่ผนวกทายคํา ฟองของกัมพูชา มีผลผูกพันประเทศไทย และประเด็นที่ 3. ขอให รัฐบาลไทยสงคืน สิ่งประติมากรรม แผนศิลา สวนสลักหักพังของ สิ่งกอสรางโบราณสถาน รูปหินทราย และเครื่องปนดินเผา โบราณ ซึ่งไดถูกโยกยายไปจากปราสาทพระวิหารโดยเจาหนาที่ไทยนับแต ค.ศ. 1954 ใหแกรัฐบาลแหงกัมพูชา 325

ผนวก ข. บริบททางการเมืองของรัฐบาลตางๆของไทยที่มีผลตอความขัดแยงไทย-กัมพูชา ค.ศ. 1962-2013

วันเดือนป บริบททางการเมือง 15 มิถุนายน 1962 ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ มีคําตัดสินใหกัมพูชามีอธิปไตยเหนือ ปราสาทพระวิหาร ดวยคะแนน 9 ตอ 3 โดยใหยึดแผนที่ ค.ศ.1907 แต ศาลมิไดกําหนดแนวเขตแดนระหวางกัมพูชากับประเทศไทยแตอยางใด 6 กรกฎาคม 1962 นายถนัด คอมันตร รมต.ตปท.มีหนังสือถึงนายอูถั่นรักษาการเลขาธิการ สหประชาชาติ วา “ไทยไมเห็นดวยตอผลคําพิพากษาของศาลโลก แตก็ จะปฏิบัติตามในฐานะสมาชิกองคการสหประชาชาติ และพรอมสงวน สิทธิในการทวงคืนปราสาทพระวิหารโดยวิธีทางกฎหมาย” 10 กรกฎาคม 1962 ครม.สฤษดิ์กําหนดเขตบริเวณปราสาทพระวิหารโดยทํารั้วสวดหนาม ตามขอเสนอกระทรวงมหาดไทย คือ“รูปพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผาครอบ ปราสาทพระวิหาร เปนเนื้อที่ 1/4 ตารางกิโลเมตร” 15 กรกฎาคม 1962 ไทยไดถอนทหารและตํารวจออกจากปราสาทพระวิหาร และเคลื่อนยาย เสาธงโดยไมไดเชิญธงชาติไทยลงจากยอดเสา 5 มกราคม 1963 สมเด็จพระนโรดม สีหนุ เยือนปราสาทพระวิหารโดยขึ้นทางชองบันได หัก ทรงรับสั่งถึงรั้วลวดหนามวาเปนการรุกล้ําของประเทศไทยเขามา หลายเมตรในดินแดนกัมพูชา แต พระองคจะไมทําใหเรื่องนี้เปนประเด็น เนื่องจากระยะทางไมกี่เมตรนี้ไมมีความสําคัญ จอมพลถนอม กิตติขจร (9 ธันวาคม 1963–14 ตุลาคม 1973) กัมพูชาทําเรื่องรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติ (UNSC) โดยผูแทนพิเศษของเลขาธิการUN พยายามไกลเกลี่ยใหมีการ สถาปนาทางการทูต โดยกัมพูชาขอใหไทยถอนขอสงวนที่ตั้งไว (เกี่ยวกับ การทวงคืนปราสาทพระวิหารโดยวิธีทางกฎหมาย) แตไทยไมยอม” 1973-1975 มีการเปดปราสาทพระวิหารใหนักทองเที่ยวเขาชม เนื่องจากมีการฟนฟู ความสัมพันธและแลกเปลี่ยนทูต หลังจากเจาสีหนุถูกรัฐประหารโดย ลอนนอล แตตองปดปราสาทพระวิหารอีกครั้งในป ค.ศ. 1975 เนื่องจาก เขมรแดงเขายึดอํานาจจากนายพลลอนนอล 326

มรว.คึกฤทธิ์ ปราโมช (14 มีนาคม 1975– 12 มกราคม 1976) 31 ตุลาคม 1975 รัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของกลุมเขมรแดงสถาปนาความสัมพันธ ทางการทูตกับไทย มีการเจรจาตกลงแกไขปญหาพรมแดน ตลอดจนการ จัดตั้งคณะทํางานเพื่อศึกษาปญหาการปกปนชายแดน มรว.เสนีย ปราโมช (20 เมษายน–6 ตุลาคม 1976) สิงหาคม 1976 ไทย-กัมพูชาไดลงนามใน “ขอตกลงทางการคา” ธานินทร กรัยวิเชียร(8 ตุลาคม 1976 ถึง 20 ตุลาคม 1977) ทหารไทยและเขมรแดงปะทะกัน บริเวณชายแดนดานจังหวัดตราดทั้ง ทางบกและทางเรือ มีกลุมชาวเขมรขามแดนมาปลนสดมภที่บานนอยปา ไร บานกกคอ และบานหนองดอ อําเภออรัญประเทศ ตลอดจนกองกําลัง เขมรแดงขามแดนเขามาโจมตีที่บานสันรอจะงันและบานสะแหง อําเภอ ตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมนะนันทน(11พฤศจิกายน 1977 ถึง 3 มีนาคม 1980) เวียดนามบุกยึดกรุงพนมเปญ สงผลใหนายพลพตและกองกําลังเขมรแดง หลบหนีมาซองสุมกองกําลังแนวชายแดนไทย-กัมพูชาดานปราสาทพระ วิหาร พลเอกเปรม ติณสูลานนท(3 มีนาคม 1980-4 สิงหาคม 1988) การปะทะกันระหวางทหารไทยและเวียดนาม กองกําลังเวียดนามยังเขา มายึดบานโนนหมากมุนอําเภอตาพระยา ของไทยเปนเวลา ๒ วัน ตํารวจกัมพูชาไดจับกุมรถบรรทุก มุงสูประเทศไทย พบรูปปนนางอัปส รา และรูปปนหัวสิงโต ตลอดจนเศียรพระพุทธรูปจํานวน 14 เศียร ซึ่งซุก ซอนมากับกองอิฐบนรถบรรทุกที่ติดปายทะเบียนทหาร พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (สิงหาคม 1988 -23กุมภาพันธ 1991) 8 เมษายน 1989 สส.ไทยจากภาคอีสานไดเสนอครม.อนุญาตใหนักทองเที่ยวขึ้นชม ปราสาทพระวิหารเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที่ภาคอีสาน รัฐบาล กัมพูชาเห็นดวยและพรอมจะเปดปราสาทพระวิหาร แตขอความรวมมือ ไทยในการกําจัดระเบิดที่ฝงอยูรอบปราสาท นายอานันท ปนยารชุน (2 มีนาคม 1991– 22 มีนาคม 1992) กันยายน 1991 มีการเจรจาระดับทองถิ่นระหวางผูวาราชการจังหวัดศรีสะเกษและ จังหวัดเปรียะวิเฮียรเพื่อใหกัมพูชาและไทยรวมกันบริหารปราสาทพระ 327

วิหาร มีการทํา“ขอตกลงชั่วคราวทางปฏิบัติ”กําหนดใหขึ้นปราสาทจาก ฝงไทยตรงเชิงบันไดดานเหนือ และไทยเปนผูคุมทางขึ้นโดยผานสะพาน เหล็กขามหวยตะขบ/ตานี ซึ่งสรางและบํารุงรักษาโดยฝายไทย มีปายเปน ภาษาไทยและใชเปนทางเขาออกหลักของปราสาท 9 มกราคม 1992 มีการเปดเขาพระวิหารใหนักทองเที่ยวเขาชม เปนเวลาหนึ่งป 7 เดือน เนื่องจากฝายเขมรแดงยึดปราสาทพระวิหารไว เพื่อตอรองกับรัฐบาลฮุน เซ็น นายชวน หลีกภัย (1) (23 กันยายน 1992 ถึง 13 กรกฎาคม 1995) 7 กรกฎาคม 1994 เขมรแดงไดสงกําลังเขายึดปราสาทพระวิหารจึงทําใหตองปดให นักทองเที่ยวเขาชม นายบรรหาร ศิลปอาชา(13 กรกฎาคม 1995 ถึง 25 พฤศจิกายน 1996) ครม.ไทยอนุมัติเงินสนับสนุนการปรับปรุงถนนที่ขึ้นสูตัวปราสาทพระ วิหาร จัดตั้งคณะกรรมการ 3 คณะ คือ (ก) คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) โดยมีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ รมว. กลาโหม เปนประธานฝายไทยคนแรก (ข) คณะกรรมการรักษาความสงบตามชายแดน (Border Peace Keeping committee หรือ BPKC) (ค) คณะกรรมการชายแดนภูมิภาค (Regional Border Committee หรือ RBC) พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (25 พฤศจิกายน 1996 ถึง 9 พฤศจิกายน 1997) ครม.ไทยอนุมัติเงินชวยเหลือกัมพูชาทําถนนขึ้นสูปราสาทพระวิหาร และ บูรณะทางหลวงแผนดินไทยหมายเลข 221 ชวงอําเภอกันทราลักษ-เขา พระวิหาร นายชวน หลีกภัย (2)(9 พฤศจิกายน 1997 ถึง17 กุมภาพันธ 2001) 21 มิถุนายน ค.ศ. 1997 รมต.ตปท.กัมพูชาและไทย เห็นชอบที่จะใหมีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการ จัดทําหลักเขตแดนทางบกรวมไทย-กัมพูชา ใหคณะกรรมาธิการรวมฯ ไดรับมอบภารกิจในการปกหลักหมายเพื่อเปนการแสดงเขตแดนทางบก ระหวางประเทศทั้งสอง มีการรวมทดลองเปดจุดผานแดน ณ เขาพระวิหาร อนุญาตให นักทองเที่ยวเขาชมได มีการตกลงหลักการจะรวมพัฒนาเขาพระวิหารใหเปนสถานที่ทองเที่ยว. 328

โดยแบงผลประโยชนรวมกัน ฝายกัมพูชาเปนฝายเก็บคาผานแดนและ กองกําลังสุรนารีชวยดําเนินการเก็บกูระเบิด 1 สิงหาคม 1998 ทดลองเปดปราสาทพระวิหารเปนแหลงทองเที่ยวแตมีปญหาขัดแยงกัน เนื่องจากกัมพูชาสรางตลาดหนาบันไดและสรางวัดแกวสิกขาคีรีสวาระ และพัฒนาเสนทางจากบานโกมุยขึ้นสูเขาพระวิหาร ฝายไทยอางวาอยูใน เขตไทย ตามแผนที่ที่ลากสมัยจอมพลสฤษดิ์ 14 มิถุนายน 2000 “บันทึกความเขาใจวาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก” (‘MoU2000’) ลงนาม โดย มรว สุขุมพันธ บริพัตร เปาหมาย คือ การ สํารวจและจัดทําหลักเขตแดน ใหมีการหาที่ตั้งของหลักเขตแดนทั้ง 73 หมุดที่ไดจัดทําขึ้นตั้งแตป ค.ศ. 1909 และ1919 ทักษิณ ชินวัตร (17 กุมภาพันธ 2001 ถึง 19 กันยายน 2006) 1 มิถุนายน 2001 “บันทึกการประชุมความรวมมือในการพัฒนาเขาพระวิหารใหเปนแหลง ทองเที่ยวระดับนานาชาติระหวางไทย-กัมพูชา” ไทยเสนอชวยเรื่อง การเงินเพื่อพัฒนาเสนทางคมนาคมเพื่อการคาและการทองเที่ยวระหวาง จ.ศรีสะเกษ และ จ.เสียมราฐ 18 มิถุนายน 2001 มีการลงนามใน “MoU ป 2001 เกี่ยวกับพื้นที่ทับซอนทางทะเล” โดยนาย สุรเกียรติ เสถียรไทยและนายฮอรนัมฮง รมต.ตปท. 2001 กัมพูชาไดยื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปน ครั้งแรกเพียงฝายเดียว เดิมไทยเขาใจวาจะพัฒนาเขาพระวิหารรวมกัน ฝายไทยจึงวีโต 14 ธันวาคม 2001 ฝายไทยขอใหระงับการใหประชาชนเขาชมปราสาทพระวิหารเปนการ ชั่วคราว เนื่องจากประชาชนกัมพูชาบริเวณตลาดเชิงเขาพระวิหารไดเพิ่ม จํานวนขึ้นอยางมากจนเกิดปญหาสิ่งแวดลอม น้ําเนาเสียไหลลงสูเขตไทย บริเวณสระตราว 18 มกราคม 2003 ชาวกัมพูชาไมพอใจบทความในหนังสือพิมพรัศมีอังกอรที่กลาวหาวา ดาราไทยชื่อสุวนันท คงยิ่ง หรือ ‘กบ’ไดใหสัมภาษณวา กัมพูชาขโมย นครวัตไปจากไทย 29 มกราคม 2003 มีการบุกทําลายและเผาสถานทูต และธุรกิจของคนไทยในกรุงพนมเปญ จนรัฐบาลทักษิณไดสงเครื่องบินลําเลียงซี130 ไปรับคนไทยกวา 500 คน กลับประเทศ มีการปดดานชายแดน ลดระดับความสัมพันธทางการทูต 329

และเรียกรองใหกัมพูชาชี้แจงเหตุการณที่เกิดขึ้น พรอมทั้งชดใช คาเสียหาย 30 พฤษภาคม-1 มิถุนายน มีการประชุมคณะรัฐมนตรีรวมไทย-กัมพูชา ที่เมืองเสียมราฐและจังหวัด 2003 อุบลราชธานี มีมติจัดตั้ง “กรรมาธิการรวมเพื่อพัฒนาปราสาทพระวิหาร” และตั้ง คณะกรรมการยอยขึ้นสองคณะ เพื่อทําหนาที่รางแผนพัฒนารวม และพัฒนาแผนการฟนฟูและอนุรักษปราสาท 25 มีนาคม 2004 มีการลงนามระหวางนายสุรเกียรติ เสถียรไทยและนายสก อาน ใน “ขอตกลงที่จะรวมพัฒนาปราสาทพระวิหารเปนแหลงทองเที่ยว 7 ขอ” โดยจะ“รวมกันพัฒนา”พื้นที่รอบปราสาท และแกไขปญหาเรื่องการเก็บ ทุนระเบิด และรานคาของชาวกัมพูชา พฤษภาคม2005 กัมพูชาปดประตูทางขึ้นปราสาทพระวิหาร 30 มกราคม 2006 กัมพูชายื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตอ ยูเนสโกเปนครั้งที่สอง โดยไมแจงใหฝายไทยทราบ แตเอกสารไมพรอม พลเอกสุรยุทธ จุลานนท (1 ตุลาคม 2006 ถึง 29 มกราคม 2008) กรกฎาคม 2007 กัมพูชายื่นขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกเปนครั้งที่สาม ยูเนสโกเห็นชอบใน หลักการ และใหกัมพูชาเตรียมการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปน มรดกโลก รัฐบาลไทยไมคัดคานหลักการ เพียงแต “ไมใหเอาพื้นที่ทับ ซอนไปขึ้นทะเบียน” 24 สิงหาคม2007 ประกาศใชรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย “ในการเจรจาปกปนเขต แดนกับกัมพูชานั้น (ก)รัฐบาลตองไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภาตาม มาตรา 190 วรรคสอง”(ข) รัฐบาลตองดําเนินการตามมาตรา 190 วรรค สาม คือตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของ ประชาชน และชี้แจงตอรัฐสภาเกี่ยวกับหนังสือสัญญา” (ค) คณะรัฐมนตรีตองเสนอ “กรอบการเจรจาตอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบกอนดําเนินการเจรจา” นายสมัคร สุนทรเวช (29 มกราคม ถึง 17 กันยายน 2008) 3-4 มีนาคม 2008 นายสมัคร สุนทรเวช เยือนกัมพูชา กัมพูชาใหคํา “ยืนยันกับไทยวาจะยื่น ขึ้นทะเบียนเฉพาะตัวปราสาท” เมษายน 2008 ไทยประทวงกัมพูชาที่นํากําลังทหารและหนวยเก็บกูระเบิดเขามาในพื้นที่ ดานทิศตะวันตกของตัวปราสาท ทั้งยังสรางถนน ตั้งชุมชน สรางวัดและ ที่ทําการหนวยงานราชการในพื้นที่ดานทิศเหนือและตะวันตกของตัวของ ตัวปราสาท”ซึ่งถือเปน“พื้นที่ทับซอน 4.6 ตารางกิโลเมตร”ที่ทั้งไทยและ 330

กัมพูชาตางอางสิทธิ 14 พฤษภาคม 2008 กัมพูชายอมตกลงที่จะเปลี่ยนแผนที่ ที่จะแนบใน เอกสารคําขอยื่นขึ้น ทะเบียนมรดกโลก และยอมที่จะยื่นจดทะเบียนเฉพาะตัวปราสาทประ วิหารเทานั้น 5 มิถุนายน 2008 ทางกัมพูชาสงแผนที่ที่ไดรับการปรับแกไขใหมมาใหไทย กรมแผนที่ ทหารตรวจสอบและเห็นวาแผนที่ใหมที่สงมานั้นไมมีการล้ําเขามาในเขต ไทย 15 มิถุนายน 2008 ที่ประชุมสภาความมั่นคงแหงชาติ (สมช.) ใหความเห็นชอบ “ราง แถลงการณรวมและแผนที่ที่กัมพูชารางขึ้นใหม” 16 มิถุนายน 2008 คณะรัฐมนตรีไทยเห็นชอบ “รางแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา” 18 มิถุนายน 2008 นายนพดล ปทมะ รมต. ตปท.ลงนามใน “แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา” 27 มิถุนายน 2008 ศาลปกครองกลางไดมี คําสั่งคุมครองชั่วคราวใหรัฐบาลยุติการดําเนินการ ตามมติครม.ที่รับรองการออกแถลงการณรวมไทย-กัมพูชาสนับสนุนให กัมพูชาจดทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก จนกวาคดีจะเปนที่ สิ้นสุด หรือจนกวาศาลจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น และตอมาศาลรัฐธรรมนูญ มีมติ 8–1 วา คําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชาที่ลงนามโดยนายนพดล ปทมะขัดรัฐธรรมนูญ 8 กรกฎาคม 2008 องคการยูเนสโกมีมติเอกฉันทประกาศขึ้นทะเบียนใหตัวปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลก ตามคําขอของกัมพูชา 15 กรกฎาคม 2008 คนไทย 3 คนจงใจกระโดดขามรั้วลวดหนามเขาไปใน“พื้นที่ทับซอน” เพื่อไปปกธงชาติใกลปราสาทพระวิหารและสรางเงื่อนไขใหถูกกัมพูชา จับ ทหารไทยสวนหนึ่งไดขามพรมแดนเขาไปใน“พื้นที่ทับซอน”เพื่อไป ชวยเจรจาจนถูกกับระเบิดขาขาด 1 นาย 19 กรกฎาคม 2008 กัมพูชาไดสงจดหมายรองเรียนไปยังประธาน UNSC วาไทยเปนฝายรุก ล้ําเขาไปในแดนกัมพูชาใกลปราสาทพระวิหาร ในบริเวณวัดแกวสิกขา คีรีสวาราซึ่งฝายกัมพูชาสรางขึ้นในป ค.ศ. 1998 และ กอนหนานี้ ประเทศไทยไมเคยประทวง 3 สิงหาคม 2008 มีการปะทะกันเล็กนอยที่บานหนองคันนาสามัคคี ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร บนชายแดนติดตอกับจังหวัดโอดดารเมียนเจยของกัมพูชา กัมพูชาบาดเจ็บ 1 คน ฝายกัมพูชากลาวหาไทยวาเขายึดครองปราสาท ตาเมือนธมและปราสาทตาเมือนทัช 331

นายสมชาย วงศสวัสดิ์ (18 กันยายน ถึง 16 ธันวาคม 2008) 3 ตุลาคม 2008 มีการปะทะกันบริเวณปราสาทพระวิหาร ดานภูมะเขือ มีผลใหทหารไทย บาดเจ็บ 2 คน ทหารกัมพูชาบาดเจ็บ1 คน ตางฝายตางกลาวหาวาแตละ ฝายรุกล้ําแดนของตน 13 ตุลาคม 2008 นายฮุนเซ็นยื่นคําขาดใหไทยถอนทหารออกจากพื้นที่ทับซอนภายในเที่ยง วันของวันที่14 ตุลาคม 2008โดยอางวาทหารไทยไดรุกล้ําเขาไปลาน อินทรี 15 ตุลาคม 2008 มีการปะทะกันที่บริเวณพื้นที่ทับซอนใกลชายแดนดานปราสาทพระ วิหาร ทหารกัมพูชาตาย 2 นาย บาดเจ็บ 2 นาย และกัมพูชาอางวาจับ ทหารไทยไวได 10 นาย มีการกลาวหาวากองกําลังไทยไดขามเขตแดน เขามาใน 3 พื้นที่ในกัมพูชา คือวัดแกวสิกขาคีรีสวารา บริเวณลานอินทรี และบริเวณพนมโตรป ซึ่งอยูหางจากเสนเขตแดนเขามาในดินแดน กัมพูชา 700 เมตร 1,120 เมตร และ 1,600 เมตร ตามลําดับ 25 พฤศจิกายน ถึง 3 ธันวาคม กลุมพธม.ไดบุกยึดทาอากาศยานดอนเมืองและสุวรรณภูมิ นายกษิต 2008 ภิรมยไดกลาวปราศรัยในที่ชุมนุมวา“จะเอาเลือดฮุนเซ็นมาลางเทา” นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ระหวาง 17 ธันวาคม 2008 ถึง 4 สิงหาคม 2011 3 เมษายน 2009 มีการปะทะตามแนวชายแดนไทย –กัมพูชาในพื้นที่ใกลปราสาทพระ วิหาร กัมพูชากลาวหาวากองกําลังทหารไทยไดขามเขตแดนไปจนถึง บริเวณภูมะเขือ ชองตาเฒา และลานอินทรี เกิดความเสียหายอยางหนักแก บันไดทางขึ้นปราสาทดวย 12 มิถุนายน 2009 นายกอภิสิทธิ์เยือนกัมพูชา ไทยจะสนับสนุนเงินสรางถนนเชื่อมกัมพูชา- ไทย มีการเจรจาพื้นที่ทับซอนทางทะเล โครงการสรางเขื่อนสตึงนัมใน กัมพูชา การทองเที่ยว และการแกปญหาชายแดนอยางสันติวิธี ตลอดจน รวมเปนสักขีพยานในการสงมอบวัตถุโบราณคืนใหกัมพูชาจํานวน 7 ชิ้น ประกอบดวยเศียรเทวดา 1 ชิ้น และเศียรอสูร 6 ชิ้น 22-30 มิถุนายน 2009 ไทยขูจะถอนตัวจากคณะกรรมการมรดกโลก สมัยที่ 33 ที่เมืองเซบีญา ประเทศสเปน ทําใหมีการเลื่อนพิจารณาแผนการบริหารจัดการปราสาท ของกัมพูชา 19 กันยายน 2009 มีการปะทะกันที่อําเภอกันทราลักษณจังหวัดศรีสะเกษระหวางชาวบาน ไทยซึ่งไมเห็นดวยกับกลุมพธม.ที่เดินทางมาทวงปราสาทพระวิหารคืน จากกัมพูชา 332

5 พฤศจิกายน2009 กัมพูชาแตงตั้งพตท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีเปนที่ปรึกษาดาน เศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา 6 พฤศจิกายน2009 ครม.อภิสิทธิ์ ตอบโตกัมพูชาดวยการเรียกเอกอัครราชทูตไทยประจํา ประเทศกัมพูชากลับประเทศ และประกาศยกเลิก“บันทึกความเขาใจไทย- กัมพูชา วาดวยพื้นที่อางสิทธิทับซอนทางทะเลในไหลทวีปหรือ MOU ป 2001” 29 ธันวาคม 2010 นายพนิช วิกิตเศรษฐ สส.พรรคประชาธิปตย พรอมกับพวก 6 คนถูก กัมพูชาจับในขอหาเดินทางขามพรมแดนโดยผิดกฎหมาย และรุกล้ําเขต พื้นที่ทับซอนไทย-กัมพูชา 4-7 กุมภาพันธ 2011 มีการปะทะกันอยางหนักเปนเวลา 4 วัน มีทหารตาย 6 คน พลเรือน 1 คน 14 กุมภาพันธ 2011 สภาความมั่นคงของสหประชาชาติ (UNSC) เรียกรองใหทั้งสองฝาย อดทนอดกลั้นและยุติการปะทะโดยเร็ว และใหมีการเจรจาโดยมอบหมาย ใหอาเซียนมีบทบาท 22 กุมภาพันธ 2011 รมต.ตปท.ไทยและกัมพูชายอมรับหลักการวาจะมี“ผูสังเกตการณจาก อินโดนีเซีย”มาในบริเวณพิพาท แตพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผบ.ทบ. กลับประกาศไมรับหลักการนี้ 22 เมษายน ถึง 3 พฤษภาคม มีการปะทะกันนานเกือบสองสัปดาห ฝายไทยมีผูเสียชีวิตรวม 10 คน 2011 เปนทหาร 8 คน พลเรือน 2 คน และไดรับบาดเจ็บ 137 คน เปนทหาร 123 คน และพลเรือน 14 คน 28 เมษายน 2011 กัมพูชายื่นคํารองขอใหศาลโลกตีความคําพิพากษาเมื่อป 1962 ในคดี ปราสาทพระวิหาร โดยอางวาคําพิพากษาเดิมไมชัดเจน และไทยยังไม ปฏิบัติตาม จึงขอใหศาลฯตัดสินวาขอบเขตของ บริเวณใกลเคียงปราสาท นั้นตองเปนไปตามเสนเขตแดนที่ปรากฏบน “แผนที่ภาคผนวก 1” แนบ ทายคําฟองเดิม 30-31 พฤษภาคม 2011 ไทยและกัมพูชารวมนั่งฟงการพิจารณาคําขอของกัมพูชาที่จะใหศาลโลก ออกคําสั่ง มาตรการชั่วคราวที่ศาลโลก ณ กรุงเฮก 18 กรกฎาคม 2011 ศาลโลกจึงมีคําสั่งออกมาตรการชั่วคราว 4 ประการ รวมถึงการกําหนด เขตปลอดทหารชั่วคราว รอบปราสาทพระวิหารเนื้อที่ 17.3 ตารางกม. 333

ยิ่งลักษณ ชินวัตร ( 5 สิงหาคม 2011 ถึง 31 ธันวาคม 2013) 1 กุมภาพันธ 2013 มีการปลอยตัวนางสาวราตรี พิพัฒนาไพบูลย ในขอหารุกล้ําเขตแดน กัมพูชาและโจรกรรมขอมูลทางทหาร สวนนายวีระ สมความคิดไดลด โทษเหลือ ๖ เดือน 15-19 เมษายน 2013 ศาลโลกนัดแถลงดวยวาจา ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด 11 พฤศจิกายน .2013 ศาลโลกมีมติเอกฉันท เกี่ยวกับการขอตีความคดีของกัมพูชาวา ศาลมี อํานาจรับฟองในคดีนี้ และใหกัมพูชามีอธิปไตยในดินแดนทั้งหมดเหนือ ปราสาทพระวิหาร

ผนวก ค. ภาพปราสาทพระวิหารบนธนบัตรกัมพูชา 334 335 336

ผนวก ง. ภาพบริเวณพื้นที่ทับซอนไทย-กัมพูชา 337

ผนวก จ. ภาพแผนที่ ที่กัมพูชาไดปรับแกแลวไมล้ําเขามาในพื้นที่ทับซอน และไดแนบมาใน “แถลงการณ รวม” (joint communiqué ) ที่ลงนามโดยนายนพดล ปทมะ ในเดือนมิถุนายน 2008 ในสมัยรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

คริส เบเคอร และผาสุก พงษไพจิตร. ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ มติชน, 2557). ชาญวิทย เกษตรศิริ. ลัทธิชาตินิยมไทย/สยามกับกัมพูชา : และกรณีศึกษาปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโตโยตาและโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2552). ชาญวิทย เกษตรศิริและ กาญจนี ละอองศรี. รัฐชาติ-พรมแดน : ความขัดแยงและขอยุติบน เสนทางสันติภาพอาเซียน. (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย, 2551). ชาญวิทย เกษตรศิริ. กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554. (กรุงเทพมหานคร: โพสต พับลิชชิ่ง, 2555). ชุมพล เลิศรัฐการ. กัมพูชาในการเมืองโลก บทบาทเจาสีหนุกับสงครามและสันติภาพ. (กรุงเทพมหานคร: ธัญญาพับลิเคชั่น, 2536). ดวงธิดา ราเมศวร. ปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพแพรธรรม, 2537). เดวิด เค.วัยอาจ. ประวัติศาสตรไทย ฉบับสังเขป. (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตํารา สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2556). ธิดา สาระยา. ปราสาทเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร: เมืองโบราณ, 2552). บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รูจริง รูลึก มหากาพยพระวิหาร : จุดจบ หรือจุดเริ่มตนความขัดแยง. (กรุงเทพมหานคร: สี่พระยาการพิมพ, 2556). ประหยัด ศ. นาคะนาทและจํารัส ดวงธิสาร. ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร. (พระนคร: สาสน สวรรค, 2505). พวงทอง ภวัครพันธุ. รัฐและขบวนการอนารยะสังคมไทยในกรณีปราสาทพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2556). เพ็ญศรี ดุก. การตางประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย. (กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, 2546). นพดล ปทมะ. บันทึกประวัติศาสตร "มหากาพยเขาพระวิหาร". (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมติ ชน, 2559). นาวิน บุญเสรฐ. ปมคดีเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานครมหานคร: สํานักพิมพปราชญ, 2556). รุงมณี เมฆโสภณ. ถกแขมร แลเขมร. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพบานพระอาทิตย, 2552). 311

วัชรินทร ยงศิริ. มองหนาแลหลังวิกฤตความสัมพันธไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนยหนังสือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554). วิภา อุตมฉันท และนิรันดร อุตมฉันท. เจาะลึกสื่อจีน. (กรุงเทพมหานคร: ศูนยจีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549). สุภางค จันทวานิช, การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542). สุรชาติ บํารุงสุข. ภูมิศาสตรแหงความขัดแยง. ทฤษฎีและกรณีไทย-กัมพูชา. (กรุงเทพมหานคร: โครงการความมั่นคงศึกษา, 2557). ศรีศักร วัลลิโภดมและคณะ. เขาพระวิหาร: ระเบิดเวลาจากยุคอาณานิคม. (กรุงเทพมหานคร: มติ ชน, 2551). ศานติ ภักดีคํา. ปราสาทเขาพระวิหาร: ศรีศิขเรศวร เทวสถานแหงพนมดงรัก ใน พิเชษฐ แสงทอง, บก. พรมแดนบนแผนกระดาษ ปราสาทเขาพระวิหาร. (กรุงเทพมหานคร: เคล็ดไทย, 2551). ศิริวร แกวกาญจน. “ภูมิทัศนภูมิศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต กอนการมาถึงของพรมแดนบน แผนกระดาษ”, ใน ศานติ ภักดีคํา และคณะ, พรมแดนบนแผนกระดาษ ปราสาทพระ วิหาร. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพเคล็ดไทย, 2551). อภิญญา ตะวันออก. เขียว สัมพัน ประวัติศาสตรกัมพูชากับจุดยืนที่ผานมาของขาพเจา. (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ มติชน, 2549).

บทความในวารสาร สุรชาติ บํารุงสุข. “คําตัดสินศาลโลกคดีพระวิหาร 2505”. จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 123- 124 (เมษายน-พฤษภาคม 2556). สุรชาติ บํารุงสุข. “รําลึก 50 ป คดีพระวิหาร”. จุลสารความมั่นคงศึกษา, ฉบับที่ 111-112 (กรกฎาคม 2555). สุรชาติ บํารุงสุข. “กรณีเขาพระวิหาร” จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 38 (2551). สุรชาติ บํารุงสุขและประสิทธิ์ ปวาวัฒนพานิช. “เสนเขตแดนไทย-กัมพูชา : บททบทวน”. จุลสาร ความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 88 (กุมภาพันธ 2554). ศานติ ภักดีคํา. “ปราสาทเขาพระวิหาร : จาก "ศรีศิขเรศวร" ถึง "เปรียะฮวิเฮียร"”, ศิลปวัฒนธรรม ป ที่ 30 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2551). วิทยานิพนธ 312

กฤติยา รุจิโชค. กระบวนการทําขาวของนักขาวสํานักขาวตางประเทศในประเทศไทยตอกรณี วิกฤตการณการเมืองไทย พ.ศ. 2552-2553. วิทยานิพนธปริญญาเอก. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2553. ปารณีย จันทรกุล . การเสนอขาวโลกตะวันตกและขาวโลกตะวันออกของสํานักขาวตางประเทศ. วิทยานิพนธนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540. มัทนียา พงศสุวรรณ. “การเสนอแนวทางการสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางประเทศไทยกับ ราชอาณาจักรกัมพูชา จากการวิเคราะหเนื้อหาประวัติศาสตรในหนังสือแบบเรียนวิชาสังคม ศึกษา.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547. นิติพงศ พิเชฐพันธุ. “วาทกรรมเหตุการณพิพาทเขาพระวิหาร พ.ศ. 2551 จากหนังสือพิมพรายวัน ภาษาไทย: การศึกษาความสัมพันธระหวางภาษาและอุดมการณ.” วิทยานิพนธอักษร ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2553. สุเนตร มาทอง. “การประกอบสรางความจริงทางสังคม กรณีการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลกของประเทศกัมพูชา ผานการเลาเรื่องของหนังสือพิมพผูจัดการ และหนังสือพิมพมติ ชน ในหวงเวลา พ.ศ.2548- 2553”. ดุษฎีนิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2554.

สุวิทย ประภาโส. “การสื่อสารทางการเมืองเรื่องปราสาทพระวิหาร : ศึกษากรณีสื่อสิ่งพิมพในหวง เวลาป พ.ศ. 2551 – 2556”. ดุษฎีนิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2558.

เอกสารอื่นๆ กระทรวงการตางประเทศ, 50 ป 50 ประเด็น ถาม-ตอบ กรณีปราสาทพระวิหาร, (กุมภาพันธ 2556). กระทรวงการตางประเทศ.“สมุดปกขาวชี้แจงการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก, (2555). กระทรวงการตางประเทศ, “แผนพับ สรุปขอมูลสถานะของคดีตีความคําพิพากษาคดีปราสาทพระ วิหาร ป 2505”, (ตุลาคม 2555). กระทรวงการตางประเทศ, “ขอมูลที่ประชาชนไทยควรทราบเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารและการ เจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา”, (2554). กระทรวงการตางประเทศ, “ลําดับเหตุการณที่สําคัญเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร”, (มีนาคม 2552). กระทรวงการตางประเทศ,“กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก”, (มิถุนายน 2551). 313

กระทรวงการตางประเทศไทย, ขอมติการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยที่ 31 ในเดือนมิถุนายน 2550. พรอมคําแปลภาษาไทย, (2550). สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนา สามเหลี่ยมทองเที่ยวเชื่อมโยง ไทย ลาว กัมพูชา เสนอตอการทองเที่ยวแหงประเทศไทย, (2542), น. 8-18.

สัมภาษณ นพดล ปทมะ. อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ. สัมภาษณ. 2 มิถุนายน 2016. นพพร วงศอนันต. อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวรอยเตอรส. รองบรรณาธิการนสพ.บางกอกโพสต. สัมภาษณ. 20 มิถุนายน 2016. สงวน คุมรุงโรจน. อดีตผูสื่อขาวจากหลายสํานักขาวตางประเทศ. สัมภาษณ. 13 มิถุนายน 2016. สุภลักษณ กาญจนขุนดี. บรรณาธิการอาวุโสนสพ.เดอะเนชั่น. สัมภาษณ. 24 มิถุนายน 2016. อนุรัชช มณีพันธุ. อดีตผูสื่อขาวสํานักขาวเอเอฟพี. อดีตบรรณาธิการขาวนสพ.บางกอกโพสต. สัมภาษณ. 4 กันยายน 2016.

Books and Articles

Ambrogi-Yanson, M., International news coverage online as presented by three news agencies. Unpublished MS thesis, Rochester Institute of Technology, 2010. Arterton, F.C., “Media Politics: The News Strategies of Presidential Campaigns”, Journal of Advertising, Vol. 15 (Lexington, MA: Lexington Books, 1984). Babe,R.E., "The Communication Thought of Harold Adams Innis". In Canadian Communication Thought: Ten Foundational Writers. (Toronto: University of Toronto Press, 2000). Berlo,D.K., The Process of Communication. (New York : Holt, Rinehart & Winston, 1960). Boyd-Barrett,O., The International News Agencies. (London : Constable, 1980). Boyd-Barrett,O. & Rantanen, T., The Globalization of News. (London: Sage Publications, 1988). Boyd-Barrett,O., “National and International News Agencies: Issues of crisis and realignment”. Gazette. (Vol. 62, 2000), pp. 5-18. 314

Chachavalpongpun, P., “Diplomacy under Siege: Thailand's Political Crisis and the Impact on Foreign Policy”. Contemporary Southeast Asia. (Vol. 31, No. 3, December 2009), pp. 447-467. Chachavalpongpun, P., “Embedding Embittered History: Unending Conflicts in Thai- Cambodian Relations”. Asian Affiars. (Vol.43, No.1, 2012), pp. 81-102. Chadha, K. & Kavoori, A., “Media imperialism revisited: some findings from the Asian case”, Media Culture & Society. (Vol. 22, No. 4, July 2000), pp. 415-432. Chambers, P., Unruly Boots: Military Power and Security Sector Reform Efforts in Thailand. PRIF Report No. 121. (Frankfurt: Peace Research Institute Frankfurt (PRIF), 2013). Chambers, P.W. & Wolf, S.O., “Image-Formation at a Nation’s Edge: Thai Perception of its Border Dispute With Cambodia-Implications for Asia”. In Working Paper No.52 (Heidelberg: South Asia Institute, Department of Political Science, Heidelberg University, 2010). Ciorciari, J.D., “Thailand and Cambodia: the Battle for Preah Vihear”. In Choices in International Conflict: With a Focus on Security Issues in Asia. (Redwood City, CA : Stanford University Press, 2013). Cuasay, P., “Borders on the fantastic: Mimesis, violence, and landscape at the temple of Preah Vihear”, Modern Asian Studies.Vol. 32, No.4, (1998), pp. 849-890. Denton,R.E.& Woodward,G.C., Political Communication in America.(New York: Praeger, 1998). Deutsch, K., Nationalism and Social Communication: An Inquiry into the Foundations of Nationality. (Cambridge: MIT Press, 1966). Fenby, J., The International News Services: A Twentieth Century Fund Report. (New York: Schocken, 1986). Galtung, J., “A Structural Theory of Imperialism”. Journal of Peace Research, Vol. 8, No. 2, (1971). Galtung, J. & Ruge. M.H., “The structure of foreign news”. In J. Tunstall (ed.) Media Sociology : A Reader. (Urbana, IL.: University of Illinois Press, 1970). 315

Giffard, C.A., UNESCO and the Media. (New York : Longman, 1989). Glasser, C.& Winkler, M., International Libel and Privacy Handbook: A Global Reference for Journalists, Publishers, Webmasters, and Lawyers. (New York : Bloomberg Press, 2009). Greenberg, B.S. & Salwen, M., “Mass communication theory and research: Concepts and models”. In Salwen, M. & Stacks, D.W. eds. An Integrated Approach to Communication Theory and Research. (Mahwah: Erlbaum, 2008), pp. 61–74 [69]. Harcup,T.,& O’Neill,D., “What is news? Galtung and Ruge revisited”. Journalism Studies. Vol. 2, (2001), pp. 261-280. Heyer, P., Harold Innis. (Lanham, MD: Rowman & Littlefield Publishers Inc., 2003). Innis, H., Changing Concepts of Time. (Toronto: University of Toronto Press, 1952). Kasetsiri,C., “Cambodia-Thailand: Love-Hate Relationship (Khom–Khamen flawed history)”, Kyoto Review of South East Asia. No.3, (March 2003). Keyes, C.F., “Cambodia and the Legacy of Angkor”, Cultural Survival Quarterly. Vol. 10, No.3, (1990). Kumar, K.J. & Biertmatzki, S.J., “International News Flow”. Communication Research Trends. Vol.10, No.4, (1990). Lasswell, H. & Bryson, L., eds., The Structure and Function of Communication in Society. The Communication of Ideas. (New York: Institute for Religious and Social Studies, 1948). Lewin, K., Field Theory in Social Science: Selected Theoretical Papers. (New York: Harper, 1951). Lippmann, W., The Nature of News: Public Opinion. (New York: Harcourt Brace, 1922). Malek, A. & Kavoori, A., The global dynamics of news: studies in international news coverage and news agenda. (Portsmouth : Greenwood Publishing Group, 1999). Marshall,C.& Rossman, G.B., Designing Qualitative Research Approach. (San Francisco: Jessey-Bass, 1989). McBride et al., The MacBride Report. (Paris: UNESCO, 1980). 316

McCombs, M.,"A look at agenda-setting: Past, present and future". Journalism Studies. Vol.6 , No.4, (2005). McLuhan, M., & Fiore, Q., The Medium is the Massage: An Inventory of Effects. (New York: Random House, 1967). McLuhan, M., Understanding Media: The Extensions of Man. (Corte Madera, California: Gingko Press, 2003). McNair, B., An Introduction to Political Communication. (London: Routledge, 2003). McQuail,D.& Windahl, S., Communication Models for the Study of Mass Communications (2nd ed.). (New York: Longman, 1993). McQuail,D.,McQuail’s Mass Communication Theory. 4th ed. (London : Sage Publications, 2000). Meyer, S., “Preah Vihear Reloaded – The Thai-Cambodian Border Dispute”. Journal of Current Southeast Asian Affairs. Vol. 8, No.1, (2009). Miles, M.B. & Huberman, A.M., Qualitative Data Analysis. An Expanded Sourcebook. (Thousand Oaks, CA: Sage, 1994). Mowlana, H., International Flows of Information. (Paris: UNESCO, 1985). Ngoun, K.,“Thai Cambodian conflict rooted in history”, East Asia Forum Quarterly (27 January 2012). Nossek,H.,“News”. In Johnston.,D.H.,ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3219-3226. Nossek,H., Sreberny,A. & Sonwalker,P.eds., Media and Political Violence. (Creskill, NJ: Hampton Press, 2007). Pakdeekong, M., “Who Owns the Preah Vihear Temple? A Thai Position”. Journal of East Asia & International Law. No. 1, (April 2009). Pares, S., A Political and Economic Dictionary of East Asia. (London: Routledge, 2005). Paterson, C.,“Global Battlefields”. In Boyd-Barrett,O. & Rantanen.T.(eds.). The Globalization of News. (London: Sage, 1988), pp. 79-103. Paterson, C.,“News Agencies”. In Johnston. , D.H., ed., Encyclopedia of International Media and Communications. (London : Academic Press, 2003), pp. 3229-3231. 317

Paterson, C. & Sreberny, A. (eds.). International News in the Twenty-First Century. (Luton: John Libbey, 2004). Pawakapan,P.R., State and Uncivil Society in Thailand at the Temple of Preah Vihear (Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2013). Rantanen,T. & Boyd-Barrett,O.,“News agencies as news sources: a re-evaluation”. In: Sreberny,A. and Paterson,C.,(eds.) International news in 21st century. (Eastleigh, UK : John Libbey Publishing for University of Luton Press, 2004), pp.31-46. Read, D., The Power of News: The History of Reuters. (Oxford: Oxford University Press, 1999). Schiller, H.I., Mass Communications and American Empire. (New York: Augustus M. Keeley Publishers, 1969). Schramm,W.,“How communication works”. In W.Schramm (ed.),The Process and Effects of Communication. (Urbana, Illinois: University of Illinois Press, 1954), pp. 3-26. Shoemaker, P.J.& Vos, T.P., Gatekeeping. (New York: Routledge, 2009). Shoemaker, P.J. & Cohen, A.A., News around the world: Content, practitioners and the public. (New York: Routledge, 2006). Sreberny-Mohammadi, A. et al., Foreign News in the Media: International Reporting in 29 Countries : Reports and Papers on Mass Communication, No.93/1985. (Paris: UNESCO, 1985). Sreberny, A. & Stevenson, R., “Comparative analysis of international news flow: An example of global media monitoring”. In K. Nordenstreng & M. Griffith (eds.), International Monitoring. (Cresskill, NJ: Hampton Press,1999). Stevenson, R.L., Communication, Development, and the Third World : The Global Politics of Information. (New York: Longman, 1988). Stevenson, R.L. & Gladdy, G.D.,“ ‘Bad News’ and the Third World”. In R.L. Stevenson, and D.L.Shaw (eds.) Foreign News and the New World Information Order, (Iowa : The Iowa State University Press, 1984), pp. 88-97. Swanson, D. & Nimmo, D., New Directions in Political Communication: A Resource Book. (Thousand Oaks: Sage, 1990). 318

Touch, B., “Who Owns the Preah Vihear Temple? A Cambodian Position”. Journal of East Asia & International Law. No. 1, (April 2009). Traviss, A. C., “Temple of Preah Vihear: Lessons on Provisional Measures”. Chicago Journal of International Law. Vol. 13, No. 1, (2012). Tun , K. M., “Towards a Peaceful Settlement of the Preah Vihear Temple Dispute”. ASIA PAPER. (October 2011), p. 49. Van Dijk, T.A., Discourse and Communication: New Approaches to the Analysis of Mass Media Discourse and Communication. (Berlin : de Gruyter, 1985). Van Dijk, T.A., News Analysis: Case Studies of International and National News in the Press, (Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum, 1988). Von Feigenblatt.O.F., “Coping with Violence in the Thai-Cambodian Border: The Silence of the Border”. Journal of Contemporary Eastern Asia. Vol. 10, No. 2, (2011), pp. 35-40. Wagener, M., “Lessons from Preah Vihear : Thailand, Cambodia and the Nature of Low- Intensity Border Conflicts”. Journal of Current Southeast Asian Affairs. Vol. 30, No.3, (2004), pp.27-59. White,D.M., “The 'Gatekeeper': A Case Study In the Selection of News”, In Lewis A. Dexter /David M. White(Hrsg.): People, Society and Mass Communications. (London S, 1964). Xin Xin. “A developing market in news: Xinhua News Agency and Chinese newspapers”, Media Culture Society. Vol. 28, No. 1, (January 2006), pp. 45-66. Xinhua News Agency. Editorial Handbook for Xinhua Journalists, 1st edn. (Beijing : Xinhua, 2002). Websites. http://news.xinhuanet.com/english/ http://www.reuters.com/ http://thomsonreuters.com/ http://www.reuters.com/search?blob=preah+vihear http://www.mfa.go.th. ประวัติการศึกษา

ชื่อ-นามสกุล นางทรงพร ทาเจริญศักดิ์ วันเดือนปเกิด 16 พฤษภาคม 2493 ประวัติการศึกษา อักษรศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 2 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2515 อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2517 MA (TEFL) Southern Illinois University (Carbondale) 2518