(1) หัวขอดุษฎีนิพนธ การสื่อสารทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศกรณีพระ วิหาร: ศึกษาในหวงเวลาตั้งแตค.ศ.2008 ถึง 2013 ชื่อผูเขียน นางทรงพร ทาเจริญศักดิ์ ชื่อปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา/คณะ/มหาวิทยาลัย วิทยาลัยสื่อสารการเมือง รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก อาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ ดร.นันทนา นันทนวโรภาส ปการศึกษา 2559 บทคัดยอ ดุษฎีนิพนธเลมนี้มุงหมายศึกษาใน 2 ประเด็น คือ 1).บริบทความขัดแยงทางการเมือง ระหวางไทยและกัมพูชาในกรณีพระวิหารที่ดําเนินมาตั้งแต ค.ศ.1962-2013 และ 2).การสื่อสาร ทางการเมืองของสํานักขาวตางประเทศในการรายงานขาวกรณีพระวิหารในหวงป ค.ศ.2008- 2013 การศึกษานี้เปนงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใชกรอบแนวคิดทฤษฎี ภายใตแบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของแนวคิดของ Brian McNair และ ‘ทฤษฎีประตู ขาว’(Gatekeeping Theory) การศึกษานี้ใชเทคนิคการการวิเคราะหเนื้อความ(content analysis) การวิเคราะหตัวบท (text analysis) และการสัมภาษณเจาะลึก(In-depth Interview) ผลการวิจัยในประเด็นแรกผูวิจัยพบวา บริบทความขัดแยงทางการเมืองในกรณีพระวิหาร ระหวางไทยและกัมพูชาที่ดําเนินมาตั้งแตค.ศ.1962-2013 ที่สงผลตอการสื่อสารทางการเมืองของ สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวนั้น สามารถแบงออกเปนสามชวง คือ ชวงแรก ค.ศ. 1962-1972 ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ เมื่อ 15 มิถุนายน ค.ศ.1962 ไดตัดสินใหปราสาทพระ วิหารเปนของกัมพูชาแตศาลไมไดพิพากษาชี้ขาดเรื่องเสนเขตแดนระหวางไทย-กัมพูชา ชวงที่สอง ค.ศ. 1973-2007 ปราสาทพระวิหารเปน“สัญญลักษณของมิตรภาพและความรวมมือระหวางไทย และกัมพูชา มีการเจรจาที่จะเปดปราสาทพระวิหารเปนแหลงทองเที่ยว โดยไทยสนับสนุนเงินใน การปรับปรุงถนนที่ขึ้นสูตัวปราสาทพระวิหาร ตลอดจนมีการลงนาม ใน “บันทึกความเขาใจวา ดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก”(‘MoU2000’) และ“บันทึกความเขาใจเกี่ยวกับพื้นที่ ทับซอนทางทะเล” (‘MOU2001’) และการจะ“รวมมือพัฒนาเขาพระวิหารและบูรณะปฏิสังขรณ (1) (2) ปราสาทพระวิหาร” อยางไรก็ตามในสมัยรัฐบาลทักษิณกัมพูชาไดยื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนครั้งแรกเมื่อ 10 ตุลาคม ค.ศ.2001 ครั้งที่สองเมื่อวันที่ 30 มกราคมค.ศ. 2006 และครั้งที่สามเมื่อกรกฎาคมค.ศ. 2007 ซึ่งรัฐบาลสุรยุทธไมคัดคานการขึ้น ทะเบียนตัวปราสาท เพียงแตไดคัดคานไมใหเอา‘พื้นที่ทับซอน’ ไปขึ้นทะเบียน ชวงที่สามระหวางป ค.ศ. 2008-2013 ปราสาทพระวิหารไดกลายเปน“สัญญลักษณของความเกลียดชัง”(symbol of hatred) ระหวางไทย-กัมพูชา เมื่อมีการลงนามใน“ขอตกลงรวม”(joint communiqué )ในสมัย รัฐบาลสมัคร ซึ่งสนับสนุนใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนใหตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตามแผนที่ ประกอบซึ่งไมรุกล้ํา‘พื้นที่ทับซอน’ แตฝายตอตานรัฐบาลในไทยไดปลุกกระแสชาตินิยมและทําการ ประทวงจนตองยกเลิกขอตกลงนี้ อยางไรก็ตามองคการยูเนสโกก็ไดมีมติใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนให ตัวปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกในวันที่ 8 กรกฎาคม 2008 หลังจากนั้นเกิดมีการตรึงกําลัง ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชาในสมัยรัฐบาลสมัคร และเริ่มมีการปะทะดวยกําลังอาวุธในสมัย รัฐบาลสมชาย โดยเฉพาะในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์มีการปะทะกันรุนแรงหลายครั้ง จนกัมพูชาไดนํา ประเด็นพิพาทนี้ไปรองเรียนตอคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ(UNSC) และ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(ICJ) เพื่อใหตีความคําพิพากษาในป 1962 ในประเทศไทยมีการ ปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อกําจัดรัฐบาลยิ่งลักษณเชนเดียวกับที่เคยกําจัดรัฐบาลสมัครและรัฐบาล สมชายมาแลว โดยกลุมนี้อางวาไทยเสียดินแดนตามมติของศาลโลกเมื่อ 11พฤศจิกายน ค.ศ. 2013 แตเนื่องจากรัฐบาลยิ่งลักษณมีการสื่อสารการเมืองที่เตรียมการมาอยางดี กลุมตอตานจึงไม สามารถใชกรณีปราสาทพระวิหารมากําจัดรัฐบาลยิ่งลักษณ เชนที่ทําไดสําเร็จกับรัฐบาลสมัคร และรัฐบาลสมชาย ผลการวิจัยในประเด็นที่สองผูวิจัยพบวา สํานักขาวรอยเตอรสและสํานักขาวซินหัวแสดง บทบาทสื่อมวลชนที่เผยแพรขอมูลกรณีพระวิหารตามแบบจําลองสื่อสารทางการเมือง แตสํานัก ขาวรอยและเตอรสสํานักขาวสํานักขาวซินหัวนั้น เปนตัวแทนของอุดมการทางการเมืองที่แตกตาง กัน กลาวคือ สํานักขาวรอยเตอรสเปนบรรษัทเงินทุนขามชาติดานสื่อภายใตระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยมเสรี จึงเปนองคกรธุรกิจที่มุงแสวงหากําไร ในขณะที่สํานักขาวซินหัวนั้นอยูภายใตระบบ เศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม เปนหนวยงานของรัฐบาลจีน มีรายไดจากรัฐ ดวยเหตุนี้สํานัก ขาวซินหัวไดเลือก“เปดประตู”ใหขาว “กรณีพระวิหาร”เพราะจีนใหความสําคัญกับประเทศในกลุม อาเซียนมากกวาสํานักขาวรอยเตอรส ดังจะเห็นวาในหวงเวลา 6 ปตั้งแตป 2008-2013 สํานักขาว (2) (3) รอยเตอรสมีการคัดเลือกขาวมารายงานเพียง 108 ขาว แตสํานักขาวซินหัวคัดเลือกขาวมารายงาน 622 ขาว ซึ่งมากกวาสํานักขาวรอยเตอรสถึงเกือบ 6 เทา ขอสังเคราะหจากงานวิจัย มี 5 ประการ คือ ประการที่ 1 ความขัดแยงระหวางประเทศนั้น จะมีความรุนแรงขึ้นเมื่อแตละประเทศปลุกกระแสชาตินิยมใหเกิดแกคนในชาติ ประการที่ 2.ความ เหนือกวาดานวิเทโศบายตางประเทศ สรางความไดเปรียบในเชิงการสื่อสารการเมืองบนเวทีโลกใน กรณีพระวิหาร ประการที่ 3.รัฐบาลไทยเพลี่ยงพล้ําในเชิงวิเทโศบายและการสื่อสารการเมืองใน กรณีพระวิหาร ประการที่ 4.กรณีพระวิหารนี้จะกลายเปนอุปสรรคตอการรวมตัวเปนประชาคม อาเซียน และ ประการที่ 5. รัฐบาลไทยและกัมพูชาตางตีความคําตัดสินของศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ เปนบวกตอประเทศตน ปญหาจึงยุติลงชั่วคราว นอกจากนี้มีขอเสนอแนะ ดังนี้คือ ประการที่ 1 นักการเมืองทั้งสองประเทศไมควรใชกรณี พระวิหารมาปลุกปนความรูสึกชาตินิยม ประการที่ 2 รัฐบาลไทยควรมีโครงการปรับทัศนคติของ คนไทยตอประเทศเพื่อนบาน ประการที่ 3 รัฐบาลไทยและกัมพูชาควรเรงรัดการปกปนเขตแดน ระหวางไทยและกัมพูชาที่ยังไมแลวเสร็จ ประการที่ 4 รัฐบาลไทยควรจะใชคําวา ‘Preah Vihear’ แทนคําวา ‘Phra Viharn’ ในการเรียกชื่อ ‘ปราสาทพระวิหาร’ ในภาษาอังกฤษ เนื่องจากปราสาท พระวิหารเปนของกัมพูชาตามคําพิพากษาของศาลโลก ประการที่ 5 ในแผนจัดการปราสาทพระ วิหารใหเปนมรดกโลกนั้น ควรมี“สวนสันติภาพนานาชาติ” ที่ทั้งรัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชา รวมกันกับชุมชนทองถิ่นทั้งสองดานของพรมแดนในการจัดการ (3) (4) Dissertation Title Political Communication of International News Agencies in the Preah Vihear Dispute From 2008-2013. Author Ms. Songphorn Tajaroensuk Degree Doctor of Philosophy Department/Faculty/University Political Communication Political Science Krirk University Dissertation Advisor Dr. Nanatana Nantanavaropart Academic Year 2559 ABSTRACT The aim of this dissertation is twofold. One is to study the political contexts related to the Preah Vihear dispute from 1962 to 2013; and the other is to study the political communication of international News agencies in the Preah Vihear dispute from 2008 to 2013. This is a qualitative research under the theoretical frameworks of Brian McNair’s Political Communication Model and the Gatekeeping theory by Pamela Shoemaker and Vos. The research techniques employed are content analysis, text analysis as well as in-depth Interviews. It was found that the political contexts of the Thai-Cambodian dispute concerning Preah Vihear from 1962-2013 can be divided into 3 phases. Phase I (1962- 1972) was highlighted by the decision of the International Court of Justice (ICJ) to give Cambodia sovereignty over Preah Vihear but its vicinity was left undecided. During Phase II (1973-2007), Preah Vihear became a symbol of friendship and cooperation between Thailand and Cambodia. Mutual attempts were made to make Preah Vihear Temple a tourist site facilitated by a Thai-funded road. Other cooperations include the Thai-Cambodian Memorandum of Understanding related to the Survey and Boundary Demarcation (‘MOU2000’) and the Memorandum of Understanding Between Thailand and Cambodia regarding the Area of their Overlapping Maritime Claims to the Continental Shelf (‘MOU2001’) as well as the pledge to jointly develop and renovate Preah Vihear Temple. Despite these efforts, Cambodia filed a separate request with (4) (5) UNESCO on October 10, 2001 to register Preah Vihear as a World Heritage Site (WHS), followed by the second and third applications on January 30, 2006 and July 2007 respectively. In theory, the Suraydh government of the time did not oppose Cambodia’s attempts but raised the issue of the overlapping area of 4.6 square kms. Unfortunately, during Phase III (2008-2013) Preah Vihear was portrayed as a symbol of hatred between Thailand and Cambodia. Even though the new map produced by Cambodia to be submitted to UNESCO did not overlap the area of 4.6 square kms., the signing of the joint communiqué during the Samak Administration ended up in protests by nationalists and later its revocation. Surprisingly, UNESCO unanimously approved Cambodia’s request on July 8, 2008 amidst protests from Thailand. This sparked troops build-up on both sides of the Thai-Cambodian border during the Samak’s administration, followed by clashes during the Somchai’s and more severe ones during the Apisit’s, which prompted Cambodia to file complaints in 2011 with the UNSC and with the ICJ to reinterpret the ICJ’s judgement in 1962. The ICJ’s verdict in November 11, 2013 confirmed Cambodia’s sovereignty over Preah Vihear and the whole promontory. Anti- government protestors claimed Thailand suffered a loss of territories. Thanks to the political communication skills of the Yingluck’s administration, however, the effort to mobilize nationalism to overthrow the Yingluck’s administration was not as successful as with the Samak’s and Somchai’s. As for the political communication of international news agencies in the Preah Vihear dispute from 2008 to 2013, it was found that international news agencies, in this case, Reuters and Xinhua, have fulfilled their roles as global mass media in disseminating news reports concerning the Preah Vihear dispute in accordance with ‘Brian McNair’s Political Communication Model’. Since they represent two different political ideologies and economic systems, Reuters is a profit-making multinational media corporation in a free-market economy whereas Xinhua is a state-run and state- funded news agency in a socialist -market economy. It is evident that Xinhua has a policy of ‘opening the gate’ for news reports concerning the Preah Vihear dispute because Xinhua, as a state news agency, has adopted the Chinese government‘s foreign policy of focusing on ASEAN. In the course of 6 years from 2008 to 2013, Xinhua has made 622 news reports which is 6 times more than those by Reuters, a professional global news agency, which produced only 108 news reports. (5) (6) There are 5 points
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages367 Page
-
File Size-