Trail Smelter (USA V Canada), Award RIAA 1911, 1965
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2561) วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ CMU Journal of Law and Social Sciences ISSN 1685-9723 (Print) และ ISSN 2586-9604 (Online) ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 2561 Volume 11 Issue 1 2018 ผ่านการรับรองคุณภาพของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย TCI จนถึง 31 ธันวาคม 2562 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เป็นวารสารวิชาการโดยเปิดโอกาสให้นักวิชาการ นักวิจัย นักนิติศาสตร์ และผู้สนใจทั่วไปทั้งภายในและ ภายนอกคณะนิติศาสตร์และมหาวิทยาลัย มีโอกาสได้เผยแพร่ผลงานวิชาการในรูปของบทความวิชาการ 2. เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการในสาขานิติศาสตร์ที่สัมพันธ์กับความรู้ ทางสังคมศาสตร์ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ด้วยการจัดตีพิมพ์เผยแพร่สู่สาธารณชนผู้สนใจทั่วไป 3. เพื่อยกระดับวารสารนิติสังคมศาสตร์ให้เป็นวารสารระดับชาติ ขอบเขต วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะครอบคลุม เนื้อหาเกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่าง ประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ ก าหนดออกตีพิมพ์เผยแพร่ วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัย จากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์รายปี ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม เจ้าของ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส านักงานกองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ต าบลสุเทพ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทร. 053-942921 โทรสาร. 053-942914 E-mail: [email protected] Website: https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS การพิจารณาบทความ กองบรรณาธิการจะท าหน้าที่พิจารณากลั่นกรองบทความและจะแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ส่งบทความ ทราบภายใน 1 เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับบทความ ทั้งนี้กองบรรณาธิการจะท าหน้าที่ประสานงานกับผู้ส่ง บทความในทุกขั้นตอน กองบรรณาธิการจะด าเนินการจัดรูปแบบของบทความให้เป็นระบบเดียวกันทุกบทความก่อนน าเสนอ ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review) พิจารณา จากนั้นจึงส่งบทความที่ได้รับการพิจารณาในเบื้องต้นให้กับผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review) จ านวน 2 ท่าน เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการตีพิมพ์เผยแพร่บทความ โดยใช้เวลา พิจารณาแต่ละบทความไม่เกิน 2 เดือน ผลการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าวถือเป็นสิ้นสุด จากนั้นจึงส่งผล การพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิให้ผู้ส่งบทความ หากมีการแก้ไขหรือปรับปรุงให้ผู้ส่งบทความแก้ไขและน าส่งกอง บรรณาธิการภายในระยะเวลา 15 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับผลการพิจารณา กองบรรณาธิการน าบทความที่ผ่านการพิจารณาและแก้ไขแล้ว เข้าสู่กระบวนการเรียบเรียงพิมพ์และ การตีพิมพ์ โดยใช้ระยะเวลาด าเนินการประมาณ 1-2 เดือน ผู้ส่งบทความจะได้รับ “วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” จ านวน 2 เล่มเป็นการตอบ แทนภายใน 1 เดือนนับตั้งแต่วารสารนิติสังคมศาสตร์ได้รับการเผยแพร่ และผู้ส่งบทความจะได้รับค่าตอบแทน ตามความเหมาะสม ข กองบรรณาธิการ ที่ปรึกษา ผศ. ดร. พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บรรณาธิการ รศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กองบรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิ ศ. ดร. วรเจตน์ ภาคีรัตน์ รศ. ดิเรก ควรสมาคม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ ผศ. ดร. มณทิชา ภักดีคง ศ. ดร. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ. ดร. ประภาส ปิ่นตบแต่ง นายช านาญ จันทร์เรือง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย นายวรดุลย์ ตุลารักษ์ นักวิจัยด้านแรงงาน กองบรรณาธิการ ดร. นัทมน คงเจริญ ดร. อุษณีย์ เอมศิรานันท์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์บุญชู ณ ป้อมเพ็ชร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฝ่ายจัดการ นายทินกฤต นุตวงษ์ นางสาววราลักษณ์ นาคเสน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ O บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จ านวน 2 ท่าน ต่อ 1 บทความ O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กอง บรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จ าเป็นต้องเห็นด้วย) O กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย ค บทบรรณาธิการ ถ้าหากประเทศเพื่อนบ้านของเราตัดสินใจจะตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในพื้นที่บริเวณชายแดนที่ใกล้ กับเขตของไทย เราจะสามารถท าอะไรได้บ้างหรือไม่ หรือต้องยอมรับให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นโดยไม่อาจโต้แย้งใดๆ ได้ เนื่องจากไม่ได้อยู่ในเขตอ านาจของรัฐไทย ในห้วงเวลาปัจจุบัน เป็นเรื่องไม่ยากล าบากที่จะสามารถพบเห็นการด าเนินโครงการต่างๆ ที่อยู่ภายใน เขตของอ านาจรัฐแห่งใดแห่งหนึ่งอย่างชัดเจน แต่ผลกระทบจากการด าเนินงานนั้นสามารถมีผลกระทบต่อชีวิต ชุมชน หรือสังคมหรืออีกประเทศหนึ่ง เฉพาะอย่างยิ่งในการด าเนินกิจกรรมที่มีผลเกี่ยวข้องกับด้านสิ่งแวดล้อม แม้ตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้นอาจจะยังไม่ได้ปรากฏขึ้นจริง แต่ประเด็นข้อขัดแย้งในลักษณะของการข้าม พรมแดนเป็นสิ่งที่ได้เกิดขึ้นให้เห็นอย่างชัดเจนในหลายกรณี ไม่ว่าควันไฟจากการเผาป่า การสร้างเขื่อนในแม่น้ า ระหว่างประเทศ การสร้างโรงไฟฟ้าในพื้นที่ชายแดนระหว่างสองประเทศ เป็นต้น ไม่ใช่เพียงเฉพาะการพิจารณาในปัญหาที่เกิดขึ้นเท่านั้น ในอีกแง่มุม จะเห็นได้ว่าการด าเนินกิจกรรม ต่างๆ เหล่านั้นก็ยังเป็นผลสืบเนื่องมาจากระบบเศรษฐกิจและการลงทุนที่เปลี่ยนไป การด าเนินการที่เป็นการ ลงทุนของต่างชาติหรือเป็นการประกอบกิจการร่วมจากต่างชาติก็เป็นประเด็นที่ท าให้เกิดค าถามถึงความสามารถ ในการก ากับต่อกิจกรรมที่สลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้นเช่นนี้ ตัวอย่างที่หยิบยกมาได้ท าให้เกิดค าถามอย่างส าคัญว่าอ านาจรัฐจะสามารถเผชิญหน้ากับความ เปลี่ยนแปลงนี้ได้อย่างไร เนื่องจากปัญหานี้มิได้เกิดอยู่ภายในเขตอ านาจแห่งรัฐที่จะสามารถบังคับใช้กฎหมายรัฐ ได้ทันทีบนหลักของอ านาจอธิปไตยเหนือดินแดน วารสารนิติสังคมศาสตร์ ฉบับข้ามรัฐ ลอดอธิปไตย จะชวน พิจารณาถึงความไม่ลงรอยระหว่างระบบกฎหมายของรัฐกับปมประเด็นความขัดแย้งอันเป็นผลมาจากความ เปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางในห้วงเวลาปัจจุบัน บรรณาธิการ ง สารบัญ ส ารวจความท้าทายและข้อจ ากัดบางประการของการปรับใช้กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยความรับผิดชอบของ 1 รัฐในบริบทของมลพิษข้ามพรมแดน - The Exploration of Some Challenges and Limitations of the Application of International Law on 27 State Responsibility in the Context of Transboundary Pollution กฤษฎากร ว่องวุฒิกุล Krisdakorn Wongwuthikun ความรับผิดชอบของรัฐและธุรกิจต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในบริบทของสิทธิมนุษยชน 28 The Responsibilities of State and Business for Climate Change in the Human Rights Aspects - อริศรา เหล็กค า 54 Arisara Lekkham กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: 55 กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว - Legal Mechanisms to Protect Right to Live in the Decent Environment from Transboundary Pollution: 86 A Case Study of Hong Sa Coal Mining and Coal Power Plant in Xayaburi Province, Lao PDR สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ Songkrant Pongboonjun มลพิษหมอกควันข้ามแดนอาเซียนกับการแก้ไขปัญหาด้วยข้อบังคับระดับท้องถิ่นไทย 87 ASEAN Transboundary Haze Pollution and the Resolution of Thai Local Administrative Regulation - ดามร ค าไตรย์ 109 Damorn Kumtrai การศึกษาแนวทางการพัฒนา นโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ เกี่ยวกับการส่งเสริมการค้าชายแดน 110 การลงทุน การท่องเที่ยว และการคมนาคมขนส่งภายใต้บริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: กรณีศึกษา ต าบลช่อง - เม็ก อ าเภอสิรินธร กับเมืองปากเซ แขวงจ าปาสัก 124 The Study of Trends of the Development of Policies, Laws, Regulations Regarding the Promotion of Cross-Border Trade, Investment, Tourism and Transportation under the AEC: A Case Study of Chongmek Sub-district Sirindhorn District and Pakse District Champasak Province ประพาฬรัตน์ สุขดิษฐ์ และ อภิชิต เอื้ออริยกุล Praphanrat Sukdit and Apichit Euariyakul กระบวนการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงรายให้กลายเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจ: มองผ่านกฎหมายและ 125 นโยบายเพื่อส่งเสริมการลงทุนในมิติประวัติศาสตร์ - Transformation of Chiang Rai’s borderland to be Economic Zone: Study of Law and Investment 155 Promotion Policies in Term of Historical Approach ปฐมพงศ์ มโนหาญ Pathompong Manohan Legal Culture, Perspective Reproductions, and the Thai Legal Professionals 156 Boonchoo Na Pomphet - 168 จ ฉ วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2561): 1-27 ส ารวจความท้าทายและข้อจ ากัดบางประการของการปรับใช้กฎหมายระหว่างประเทศ ว่าด้วยความรับผิดชอบของรัฐในบริบทของมลพิษข้ามพรมแดน The Exploration of Some Challenges and Limitations of the Application of International Law on State Responsibility in the Context of Transboundary Pollution กฤษฎากร ว่องวุฒิกุล Krisdakorn Wongwuthikun คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 10240 ประเทศไทย Graduate School of Law, National Institute of Development Administration (NIDA), Bangkok 10240, Thailand เมลล์ติดต่อ: [email protected] Email: [email protected] บทคัดย่อ กฎหมายว่าด้วยความรับผิดชอบระหว่างประเทศสามารถใช้ได้กับเรื่องความรับผิดชอบต่อความ เสียหายทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงเรื่องมลพิษข้ามพรมแดนด้วย แต่อย่างไรก็ตามคดีความที่ขึ้นสู่ศาล ระหว่างประเทศนั้นยังมีจ านวนจ ากัด ซึ่งยังคงสร้างความไม่แน่นอนในเรื่องการปรับใช้หลักกฎหมาย ดังกล่าว อีกทั้งเมื่อน ามาปรับใช้กับเรื่องในทางสิ่งแวดล้อมนั้น ท าให้เกิดปัญหาความยุ่งยากในทางทฤษฎี ขึ้นหลายประการ เพราะปัญหาเรื่องมลพิษหรือความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนนั้นมีลักษณะ พิเศษเฉพาะตัว ซึ่งแตกต่างไปจากเรื่องทั่ว ๆ ไป บทความฉบับนี้ต้องการน าเสนอปัญหาดังกล่าว อันได้แก่ ปัญหาเรื่องการกระท าที่กล่าวอ้างได้ว่าเป็นการกระท าของรัฐ ปัญหาเรื่องการละเมิดพันธกรณีระหว่าง ประเทศ ปัญหาการก าหนดนิยามเรื่องความเสียหาย ปัญหาเรื่องผลในทางกฎหมายหากสามารถพิสูจน์ได้ ว่ารัฐต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นปัญหาการพิสูจน์ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมที่ได้กระท า ลงและความเสียหายที่เกิดขึ้นและปัญหาเรื่องการฟ้องร้องคดีต่อศาลในกรณีการละเมิดพันธกรณีระหว่าง ประเทศที่มีลักษณะเป็น erga omnes ค าส าคัญ: ความรับผิดชอบของรัฐ, ความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม,