O-ST 022

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

รูปแบบการจดการองคั ์ความรู้เกษตรอนทริ ีย์ที่เหมาะสมในสถานศึกษาของสํานักงานเขตพนทื้ ี่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 Knowledge Management of Organic Agriculture Model in Organization of Mahasarakham Primary Education Service Area Office 2

ศุภชัย สุทธิเจริญ (Supachai Sutticharoen)* พหล ศักด์ิคะทศนั ์ (Phahol Sakkatat)** สมคิด แกวท้ ิพย(์ Somkit keawtip)*** สุรพล เศรษฐบุตร (Surapol Setabutra)****

บทคดยั ่อ

การวิจัยเชิงสารวจนํ ้ี มีวัตถุประสงคเพ์ ื่อศึกษา 1) การจดการองคั ความร์ ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษาของสานํ กงานั เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) ปัจจยทั ี่มีความสัมพนธั ์ต่อการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสม ของครูผู้สอนและสถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 3) เพื่อพฒนารั ูปแบบการจดการองคั ์ ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมของครูผู้สอนและสถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 4) เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางการจ่ ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ก่อนและหลงการพั ฒนาั กลุมต่ วอยั างค่ ือ ครูผู้สอน จํานวน 145 ราย และ ผู้บริหารสถานศึกษา จํานวน 145 ราย สังกดสั านํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2 ซึ่งไดจ้ ากการสุ่มตวอยั างแบบง่ ่าย เครื่องมือที่ในการวิจัยคร้ังน้ีไดแก้ ่ แบบสั มภาษณ์ ที่มีค่าความ เที่ยงเท่ากบั 0.90 ใชสถ้ ิติพรรณนาเป็นร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์ไดแก้ ่ t-test และการวิเคราะห์การ ถดถอยพหุและการจดการสนทนากลั ุม่ จากผลการวิจัยพบวา่ ครูผู้สอนมีการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย ์ทั้ง 4 ด้าน อยในระดู่ บปานกลางั ไดแก้ ่ การใชงาน้ องคควา์ มรู้ การสร้างสมองคความร์ ู้ การถ่ายทอดองคความร์ ู้ และการจดเกั บองค็ ความร์ ู้ส่วนสถานศึกษามีการจดการความรั ู้ด้าน เกษตรอินทรีย์ ทั้ง 4 ด้าน อยในระดู่ บปานกลางั เช่นเดียวกนั ต จาก วแปรทั ี่มีความสัมพนธั ์กบการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ของครูผู้สอน คือ ประสบการณ์การทางานํ การได้รับการฝึกอบรม และความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ที่ระดบนั ยสั าคํ ญทั ี่ .01 และอาย ุที่ ระดบนั ยสั าคํ ญทั ี่ .05 ตัวแปรที่มีความสัมพนธั ์กบการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของสถานศึกษา คือ จํานวนครูในโรงเรียนที่ ระดบนั ยสั ําคญทั ี่ .01 จํานวนนกเรั ียนในโรงเรียน และการมีเครือข่ายในชุมชน ที่ระดบนั ยสั ําคญทั ี่ .05 รูปแบบการจดการองคั ์ ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย ์ที่เหมาะสมในสถานศึกษาของสํานกงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2 คือ การ พัฒนาการจดการความรั ู้ของครูผู้สอนและผู้บริหารตลอดจนผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวของก้ บการพั ฒนาการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตร อินทรีย์ เช่น องคกรปกครองส์ ่วนทองถ้ ่ิน ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา ปราชญชาวบ์ าน้ ซึ่งจะตองม้ ีการบูรณาการทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวของ้ และเกิดจากปัจจยทั ี่ทําใหเก้ ิดการพฒนากระบวนการการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ มีส่วนร่วมในการระดมสมอง เสนอแนะและตดสั ินใจร่วมกนวางแผนั ติดตามและประเมินผล ส่วนการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ของครูผู้สอนและสถานศึกษา ซึ่งเปรียบเทียบระหวางก่ ่อนและหลงการพั ฒนาความรั ู้ พบวา่ การจดการความรั ู้เกษตรอินทรีย์ก่อน การพฒนาและหลั งการพั ฒนามั ีความแตกต่างกนอยั างม่ ีนัยสาคํ ญทั ี่ .01 ทั้ง 4 ด้าน คําสําคัญ การจดการองคั ความร์ ู้ เกษตรอินทรีย์ * นักศึกษาปริญญาเอก สาขาพฒนาทรั ัพยากรชนบท คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทยาลิ ัยแม่โจ ้ [email protected] ** ผู้ช่วยศาสตราจารย ์ ประจาหลํ กสั ูตรพฒนาทรั ัพยากรชนบท คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทยาลิ ัยแม่โจ ้ [email protected] *** อาจารย ์ ประจาหลํ กสั ูตรวทยาลิ ยบรั ิหารศาสตร์ มหาวทยาลิ ัยแม่โจ ้ [email protected] **** รองศาสตราจารย ์ ประจาหลํ กสั ูตรส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทยาลิ ยเชั ียงใหม่

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

Abstract

This objective of this research were: (1) to study management body of knowledge on organic agriculture in organization of Mahasarakham Primary Education Service Area Office 2; (2) to study factors associated with knowledge management in organic agriculture which is appropriate for teacher and school in organization of Mahasarakham Primary Education Service Area Office 2; (3) To develop a knowledge management model for organic farming which is appropriate for teacher and school in organization of Mahasarakham Primary Education Service Area Office; and (4) To compare the differences of knowledge management in organic agriculture before and after the development. The study population and study area were schools and teachers belong to Mahasarakham Primary Education Service Area Office 2; Na Chueak District, Phayakkhaphum Phisai District, Yang Sisurat District, , . There are 225 schools and total of 290 people was selected by using the simple random sampling method. The instrument for data collection was a questionnaire with the reliability of 0.90. Statistics used to data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, multiple regression analysis and group discussion. The results showed that: teachers had 4 knowledge managements moderately in organic agriculture; knowledge utilization, knowledge acquisition, knowledge sharing and knowledge storing. Schools also had 4 knowledge managements moderately in organic agriculture. The variables that correlated with teacher’s knowledge management in organic agriculture were work experience, training and agriculture knowledge all significant at .01 level, age all significant at .05 level. The variables that correlated with school’s knowledge management in organic agriculture were number of teacher in the school all significant at .01 level, number of student in the school and community network all significant at .05 level. Comparison of average of agriculture management of teacher and school that compare between before and after knowledge development found that agriculture knowledge management before and after knowledge development was different all significant at .01 level.

Keywords: Knowledge management, Organic agriculture

2

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

บทนํา

ระบบเกษตรไทยเป็นทุนทางสังคมและวฒนธรรมเพั ื่อสนบสนั ุนความมนคงทางเศรษฐก่ั ิจของประเทศ ระบบเกษตรไทยได้วิวัฒนาการควบคู่กบวั ิถีชีวิตของคนไทยมาตลอด ระบบการผลิตเพื่อยงชั ีพแสดงให้เห็นความ เชื่อมโยงระบบสังคมและระบบนิเวศและได้ถูกพฒนาบนฐานของการจั ดการใชั ประโยชน้ ์ทรัพยากรอยางม่ ีสติ จน สามารถเกิดดุลยภาพระหวางท่ ุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม และทุนทางธรรมชาติ องค์ความรู้ของการจดการั เหล่าน้ีได้ถูกถ่ายทอดผานกระบวนการเร่ ียนรู้ทางสังคมและวฒนธรรมั ดังเช่น ความสัมพนธั ์ระหวางระบบการ่ ผลิตทางการเกษตรกบอาหารทั องถ้ ่ิน ที่คํ้าจุนเศรษฐกิจชุมชนมาโดยตลอดในการพฒนาทางการเกษตรของั ประเทศ แต่ในขณะเดียวกนวั ิถีความเป็นอยของเกษตรกรไดู่ ปร้ ับเปลี่ยนไปจากเป ้ าหมายของการเกษตรเพื่อชีวิต เป็นเกษตรเพื่อธุรกิจ ส่งผลให้เกษตรกรขาดความเป็นอิสระในการผลิต จําเป็นตองพ้ ึ่งพิงระบบตลาดที่เกษตรกร ไม่มีส่วนในการตดสั ินใจและกาหนดเงํ ื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น นอกจากน้นั ผลพวงจากการพฒนาดั านการเกษตรย้ งพบั ปัญหาเกี่ยวกบสารเคมั ีทางการเกษตรที่ตกคางในผลผล้ ิตและแพร่กระจายไปในส่ิงแวดลอม้ มีการปนเป้ื อน ภายนอกในห่วงโซ่อาหาร (food chain) ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามยของทั ้งผั ู้ผลิต และผู้บริโภคในสังคม ปรากฏการณ์ดังกล่าวถือได้วาเป่ ็นส่วนหนึ่งตวชั ้ีวัดที่ระบุถึงผลของการเร่งรัดพฒนาดั านเศรษฐก้ ิจของประเทศที่ สนองตอบตอส่ ังคมเกินขีดความสามารถของธรรมชาติ รวมถึงการสะทอนถ้ ึงความไม่สมดุลของการพฒนาในมั ิติ ตางๆ่ ที่ไม่อาจจะนําพาประเทศไปสู่ความมนคงและย่ั งย่ั นในอนาคตไดื ้ อยางไรก่ ตามโรงเร็ ียนถือเป็นแหล่งเรียนรู้ เบ้ืองตนของเยาวชน้ โดยเฉพาะอยางย่ ่ิงโรงเรียนที่อยในชนบทู่ ส่วนใหญ่นักเรียนกเป็ ็นลูกหลานของเกษตรกร ดังน้นการถั ่ายทอดองคความร์ ู้ด้านการเกษตร โดยเฉพาะดานเกษตรอ้ ินทรีย์ จะเป็นการปลูกจิตสานึกการเรียนรู้ ให้แก่เยาวชนให้มีความรู้พื้นฐาน ด้านการเกษตรไดอย้ างถ่ ูกตอง้ และขยายผล ไปสู่ผู้ปกครองนกเรั ียน และ เกษตรกรทวไป่ั ที่สําคญจะไดั ้มีผลผลิตที่ไร้สารพิษ เป็นการสนบสนั ุนโครงการผลิตเพื่ออาหารกลางวนใหั ้กบเดั ็ก นักเรียน ต่อไปในอนาคตได ้ จากเหตุผลที่กล่าวมาท้งหมดนั ้นจะพบวั า่ ภาคการเกษตรนอกจากจะมีการจดการั ระบบมาตรฐานการเกษตรที่ดีแลวจะต้ องม้ ีการคานํ ึงถึงผลกระทบต่อส่ิงแวดลอมต้ ่อไปในอนาคต การจดการองคั ์ ความรู้เกษตรอินทรีย์ของสถานศึกษาและครูผู้สอนวิชาเกษตรกรรมจึงมีความสําคญในการทั ี่จะขบเคลั ื่อนและ ถายทอดองค่ ความร์ ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ใหเก้ ิดความตระหนกถั ึงการใชทร้ ัพยากรธรรมชาติอยางค่ ุ้มค่ามากที่สุดโดย การร่วมคิด ร่วมทาและรํ ่วมผลกดั นตามบทบาทความรั ับผิดชอบของแต่ละภาคส่วนที่มีความสัมพนธั ์ซึ่งกนและกั นั ตอไป่

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษาของสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2. เพื่อศึกษาปัจจยทั ี่มีความสัมพนธั ์ต่อการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมของ ครูผู้สอนและสถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

3

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

3. เพื่อพฒนารั ูปแบบการจดการองคั ความร์ ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมของครูผู้สอนและ สถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 4. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ก่อนและหลงการพั ฒนาั

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงสารวจํ (Survey reserch) ประชากร กลุ่มตวอยั างและพ่ ้ืนที่ในการศึกษาคือ ครูผู้สอน จํานวน 145 ราย และ ผู้บริหารสถานศึกษา จํานวน 145 ราย สังกดสั านํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษา มหาสารคาม เขต 2 ซึ่งไดจากการส้ ุ่มตวอยั างแบบง่ ่าย เครื่องมือที่ในการวิจัยคร้ังน้ีไดแก้ ่ แบบสัมภาษณ์ แบบสัมภาษณ์ผู้วิจัยสร้างข้ึน ประกอบดวย้ 3 ส่วนคือ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) การจดการความรั ู้ด้านเกษตร อินทรีย์ของครูผ้สอนและสถานศึกษา (3) ปัญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการจ้ ดการความรั ู้ แบบสัมภาษณ์ใน ส่วนที่ (2) มีค่าความสอดคลองของเน้ ้ือหาของแบบสัมภาษณ์ (Index of Item-Objective Congruence : IOC) สูงกวา่ 0.60 ทุกขอและม้ ีค่าความเที่ยงเท่ากบั 0.90 และ0.89 ตามลาดํ ับ และการเกบข็ อม้ ูลโดยการจดการสนทนาั กลุ่ม (focus group) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์หา ความสัมพนธั ์ใชสถ้ ิติการวิเคราะห์แบบถดถอยพหุ

ผลการวิจัย

1. ข้อมูลส่วนบุคคล ครูผู้สอนเป็นเพศชายมากกวาเพศหญ่ ิง มีอายเฉลุ ี่ย 52.39 ปี ส่วนใหญ่มีการศึกษา ระดบปรั ิญญาตรี มีสถานภาพสมรส และมรีตําแหน่งค ูชํานาญการพิเศษ มีประสบการณ์สอนหรือการทางานํ ตั้งแต ่ 30 ปีขึ้นไป มีรายไดเฉล้ ี่ยต่อปีเฉลี่ย 498,175.93 บาท ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเสริม ด้านเกษตรกรรม ได้รับขอม้ ูลข่าวสารดานการเกษตรต้ ้งแตั ่ 200 คร้ังข้ึนไป ต่อปี มากกว่าครึ่งเคยได้รับการฝึกอบรมดานเกษตร้ อินทรีย์ เฉลี่ย 1.48 คร้ัง/ปี มีประสบการณ์ในการทาการเกษตรกรรมํ หนึ่งในสามเป็นสมาชิกองคกรในช์ ุมชน ส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเขาใจในหล้ กการของการปฏั ิบัติตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของประเทศไทย คะแนนเฉลี่ย 15.20 คะแนน ผลการศึกษาขอม้ ูลทวไ ่ั ปของสถานศึกษา ที่สังกดสั ํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2 พบวา่ มีจํานวนครูในสถานศึกษา เฉลี่ย 9.16 คน จํานวนนกเรั ียนในสถานศึกษา เฉลี่ย 122.55 คน อายเฉลุ ี่ยของครูผู้สอนในสถานศึกษา เฉลี่ย 48.2 ปี จํานวนร้อยละระดบการศั ึกษาของครูผู้สอน ที่สูงกวาปร่ ิญญาตรี เฉลี่ย 25.97 จํานวนร้อยละของครูผู้สอนที่ได้รับตาแหนํ ่งทางวิชาการ เฉลี่ย ร้อยละ 81.76 งบประมาณสนบสนั ุนต่อปี เฉลี่ย 289,689.80 บาท ระยะเวลาการก่อต้งสถานศั ึกษา เฉลี่ย 65.68 ปี สถานศึกษา ส่วนใหญ่ยังไม่มีการต้งฝั ่ายที่เกี่ยวของก้ บการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ภายในโรงเรียน มีการมอบหมาย หนาท้ ี่ใหคร้ ูกบครั ูผู้สอนดานการเกษตร้ ส่วนใหญ่สถานศึกษาไม่เคยได้รับรางวลเกั ียรติบัตร/ชนะการประกวดใน ด้านการเกษตร มีการสร้างเครือขายร่ ่วมกบองคั กรในช์ ุมชนดานการเกษตรกรรม้ เฉลี่ย 1.53 องคกร์

4

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

ตารางที่ 1 สรุปผลรวมคาเฉล่ ี่ยการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของครูผู้สอนในแต่ละดาน้

บี่ยงเบน การจัดการความร้ดู้ านเกษตรอนทริ ีย์ เฉลี่ย ระดบการจั ัด มาตรฐาน การองค์ความรู้ การสร้างสมองคความร์ ู้ 2.68 1.10 ปานกลาง การจัดเกบองค็ ความร์ ู้ 2.52 1.09 ปานกลาง การถายทอดองค่ ความร์ ู้ 2.68 1.13 ปานกลาง การใชงานองค้ ความร์ ู้ 2.83 1.08 ปานกลาง เฉลี่ย 2.67 1.10 ปานกลาง

2. ผลการวิเคราะห์การจัดการความร้ดู้ านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษาของครูผู้สอน จากการศึกษา พบวา่ ครูผู้สอนมีการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ทั้ง 4 ด้านอยในระดู่ บปานกลางั มีค่าเฉลี่ยรวม 2.67 โดย แบ่งเป็นแต่ละดานได้ ้ดังน้ี การใชงานองค้ ความร์ ู้ ระดบปานกลางั มีค่าเฉลี่ย 2.83 การสร้างสมองคความร์ ู้ ระดับ ปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 2.68 การถ่ายทอดองค์ความรู้ ระดบปานกลางั มีค่าเฉลี่ย 2.68 และการจดเกั ็บองค์ความรู้ ระดบปานกลางั มีคาเฉล่ ี่ย 2.52 ตามลาดํ ับ (ดังแสดงในตารางที่ 1)

ตารางที่ 2 สรุปผลรวมคาเฉล่ ี่ยการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของสถานศึกษาในแต่ละดาน้ ส่วนเบี่ยงเบน ระดบการจั ัด การจัดการความร้ดู้ านเกษตรอนทริ ีย์ เฉลี่ย มาตรฐาน การองค์ความรู้ การสร้างสมองคความร์ ู้ 3.20 1.09 ปานกลาง การจัดเกบองค็ ความร์ ู้ 2.99 1.27 ปานกลาง

การถายทอดองค่ ความร์ ู้ 2.78 1.02 ปานกลาง การใชงานองค้ ความร์ ู้ 3.15 1.04 ปานกลาง เฉลี่ย 3.03 1.10 ปานกลาง

3. ผลการวเคราะหิ ์การจัดการความร้ดู้ านเกษตรอนทริ ีย์ของสถานศึกษา พบวา่ สถานศึกษามีการจดการั ความรู้ ด้านเกษตรอินทรีย์ ทั้ง 4 ด้านอยในระดู่ บปานกลางั มีคาเฉล่ ี่ยรวม 3.03 โดยแบ่งเป็นแตละด่ านได้ ้ดังน้ี การสร้างสมองคน ความรู้ ระดบปานกลางั มีค่าเฉลี่ย 3.20 การใชงานองค้ ์ความรู้ มีค่าเฉลี่ย 3.15 ระดบปานกลางั การจดเกั ็บองค์ความรู้ ระดบปานกลางั มีค่าเฉลี่ย 2.99 และ การถ่ายทอดองคความร์ ู้ ระดบปานกลางั มีค่าเฉลี่ย 2.78 ตามลาดํ ับ (ดังแสดงในตารางที่ 2)

5

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

ตารางที่ 3 การวิเคราะห์หาความสัมพนธั ์ปัจจยทั ี่มีความสัมพนธั ์ต่อการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของ ครูผู้สอนของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

ตัวแปรตาม การจัดการความร้ดู้ านเกษตร ตัวแปรอสระิ การวัด/รหัส อินทรีย์ b t sig เพศ ชาย = 1 หญิง = 0 -.031 -.165 .869 อาย ุ จํานวน (ปี) -.026 -1.142* .015 สถานภาพ สมรส =1 อื่นๆ =0 -.093 -.378 .706 การศึกษา สูงกวาปร่ ิญญาตรี =1 .214 1.214 .227 ปริญญาตรีหรือตากวํ่ า่ = 0 ตําแหน่งทางวิชาการ ครูชํานาญการพิเศษหรือสูงกวา่ = 1 -.041 -.136 .892 ตํ่ากวาคร่ ูชําน าญการพิเศษ = 0 ประสบการณ์ทํางาน จํานวน (ปี) .027 1.684** .002 รายไดเฉล้ ี่ยตอป่ ี จํานวน (บาท) 9.175E-9 .023 .982 อาชีพเสริม ทํา = 1 ไม่ทํา = 0 .157 .860 .391 การได้รับขอม้ ูลขาวสาร่ จํานวน (คร้ัง/ปี) .001 1.086 .280 การได้รับการฝึกอบรม จํานวน(คร้ัง/ปี) .095 1.466** .002 ประสบการณ์ด้านเกษตรกรรม มี = 1 ไม่มี = 0 .051 .158 .875 การเป็นสมาชิกองคกรในช์ ุมชน เป็น = 1 ไม่เป็น = 0 -.113 -.737 .462 ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ จํานวน (คะแนน) -.038 -1.542* .005 Constant = 3.674 F = 1.025 Sig F = 0.431 R = 0.304 R2 = 0.092 หมายเหตุ * p < . 05 ** p < .01

1. ปัจจัยที่มีความสัมพนธั ์ต่อการจัดการความร้ดู้ านเกษตรอนทริ ีย์ของครูผู้สอนและสถานศึกษาของ สํานักงานเขตพนทื้ การศี่ ึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ผลการศึกษาปัจจยทั ี่มีผลต่อการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของครูผู้สอนของสํานักงานเขต พื้นทศ ี่การ ึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 พบวา่ ประสบการณ์การทางานํ การได้รับการฝึกอบรม และ ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ มีความสัมพนธั ์กบการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ อยางม่ ีนัยสําคญทางสถั ิติที่ ระดับ .01 และอาย ุ มีความสัมพนธั ์กบการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ อยางม่ ีนัยสาคํ ญทางสถั ิติที่ระดับ .05 (ดังแสดงในตารางที่ 3)

6

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

ตารางที่ 4 การวิเคราะห์หาความสัมพนธั ์ปัจจัยที่มีความสัมพนธั ์ต่อการจัดการความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ใน สถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

ตัวแปรตาม ตัวแปรอสระิ การวัด/รหัส การจัดการความร้ดู้ านเกษตรอนทริ ีย์ b t sig จํานวนครูในสถานศึกษา จํานวน (คน) .089 2.710 .008** จํานวนนกเรั ียนในสถานศึกษา จํานวน (คน) -.004 -2.272 .025* สัดส่วน ครูผู้ชายตอคร่ ูผู้หญิง ครูผู้ชายมากกวา่ =1 .272 1.882 .062 อื่นๆ =0 ระยะเวลาที่ก่อต้งสถานศั ึกษา จํานวน (ปี) .001 .272 .786 อายเฉลุ ี่ยของครูทั้งหมด จํานวน (ปี) .008 .554 .581 ร้อยละของครูที่จบสูงกวาปร่ ิญญาตรี จํานวนร้อยละ .315 1.488 .139 ร้อยละของครูที่มีตําแหน่งชานาญการพํ ิเศษ จานวนรํ ้อยละ -.065 -.226 .822 งบประมาณ จํานวน (บาท) -4.038E-8 -.320 .749 การตั้งฝ่ายที่เก่ียวของ้ มี = 1 ไม่มี = 0 .025 .093 .926 การมอบหมายงาน มี = 1 ไม่มี = 0 -.095 -.287 .774 การได้รับรางวัล จํานวนที่รางวัล(ตอป่ ี) .109 .625 .533 การมีเครือขายในช่ ุมชน มี = 1 ไม่มี = 0 .310 2.011 .046* Constant = 2.040 F = 1.705 Sig F = 0.072 R = 0.366 R2 = 0.134 หมายเหตุ * p < . 05 ** p < .01

ผลการศึกษาปัจจยทั ี่มีผลต่อการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 พบวา่ จํานวนครูในสถานศึกษา มีความสัมพนธั ์กบการจั ดการความรั ู้ ด้านเกษตรอินทรีย์ อยางม่ ีนัยสําคญทางสถั ิติที่ระดับ .01 จํานวนนักเรียนในสถานศึกษา และการมีเครือข่ายใน ชุมชน มีความสัมพนธั ์กบการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ อยางม่ ีนัยสาคํ ญทางสถั ิติที่ระดับ .05 (ดังแสดงใน ตารางที่ 4)

7

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

ตารางที่ 5 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษาจาแนกเปํ ็นแต่ละดาน้ ระหวางก่ ่อนและหลงการจั ดการองคั ความร์ ู้ การจัดการองค์ความร้ดู้ านเกษตร ก่อนการพฒนาั หลงการพั ฒนาั t sig อินทรีย์ในสถานศึกษา X SD X SD 1. ด้านการสร้างสมองคความร์ ู้ 3.20 1.158 4.03 0.772 -5.467** 0.000 2. ด้านการจดเกั บองค็ ความร์ ู้ 2.92 1.161 4.12 0.753 -6.610** 0.000 3. ด้านการถายทอดองค่ ความร์ ู้ 2.92 1.023 4.29 0.714 -8.065** 0.000 4. ด้านการใชงานองค้ ความร์ ู้ 3.14 1.081 3.79 0.821 -4.298** 0.000 รวม 3.04 1.105 4.05 0.765 -6.110** 0.000 ** มีนัยสาคํ ญทางสถั ิติที่ระดับ 0.01 จากตารางที่ 5 ผลการศึกษาหลังจากนํารูปแบบที่ได้จากการสนทนากลุ่มแล้วนําไปทดลองใช้กับ สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2 ผลการ เปรียบเทียบการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษาของสํานกงานเขตพั ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2 ก่อนและหลงการพั ฒนั าเมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยแล้ว พบวา่ ผู้ให้ข้อมูลมีระดบการจั ดการความรั ู้ ด้านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษา แตกตางก่ นอยั างม่ ีนัยสาคํ ญทางสถั ิติที่ .01 ทุกดาน้

อภิปรายผลการวิจัย

จากผลการวิจัย รูปแบบการจดการองคั ความร์ ู้เกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมในสถานศึกษาของสานํ กงานั เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 พบวา่ ผู้ให้ข้อมูลมีการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ใน สถานศึกษาและครูผู้สอนรวมทุกดาน้ ในระดบปานกลางั โดย ด้านการสร้างสมองคความร์ ู้ การจดเกั บองค็ ความร์ ู้ ด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ และด้านการใช้งานองค์ความรู้ ระดับปานกลาง สอดคล้องกับ งานวิจัยของ ประภสสรั กาญจนประกร (2549:บทคดยั อ่ ) ศึกษาบทบาทที่ปฏิบัติจริงและบทบาทคาดหวงในการบรั ิหารงาน ความสัมพนธั ์ระหวางโรงเร่ ียนและชุมชน ของผบรู้ ิหารโรงเรี ยนมธยั มศึกษาขนาดใหญ่สังกดสั านํ กงานเขตพั ้ืนที่ การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 ผลการวิจัยเกี่ยวกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงและบทบาทที่คาดหวงในการั บริหารงาน ความสัมพนธั ์ระหวางโรงเร่ ียนและชุมชน ทั้ง 6 ด้าน ของผบรู้ ิหาร พบวา่ ในภาพรวม บทบาทที่มีการ ปฏิบัติจริงในระดับมาก ได้แก่ บทบาทดานการสร้ ้างและเผยแพร่เกียรติประวัติของโรงเรียน การได้รับการ สนบสนั ุนของชุมชนและการวางแผนงานสร้างความสัมพนธั ์ระหวางโรงเร่ ียนกบชั ุมชน บทบาทที่มีการปฏิบัติ จริงในระดบปานกลางั ไดแก้ ่บทบาทดานการประเม้ ินผลงานสร้างความสัมพนธั ์ระหวางโรงเร่ ียนกบชั ุมชน การมี ส่วนร่วมในการพฒนาชั ุมชน และการให้บริการชุมชน ส่วนบทบาทที่คาดหวงของผั บรู้ ิหาร พบวา่ อยในระดู่ ับ มากทุกดาน้ เมื่อศึกษาเปรียบเทียบบทบาทที่ปฏิบัติจริงและบทบาทคาดหวงในการบรั ิหาร งานความสัมพนธั ์ ระหว่างโรงเรียนและชุมชน ของผู้บริหารโรงเรียนมธยมศั ึกษาขนาดใหญ่ สังกดสั ํานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษา

8

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

กรุงเทพมหานคร เขต 1 ในภาพรวม พบว่า บทบาทที่ปฏิบัติจริงและบทบาทที่คาดหวัง ของผู้บริหารทุกดานม้ ี ความแตกตางก่ นั อยางม่ ีนัยสาคํ ญทางสถั ิติที่ระดับ 0.05 อีกท้งวสั ันต ์ ลาจนทั ึก (2548,หน้า 58-61) ยังได้ศึกษาการจดการความรั ู ้ในสถานศึกษาข้นพั ้ืนฐานสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาขอนแก่น เขต 4 และพบว่า การจดการความรั ู้มีการปฏิบัติอยในระดู่ ับ “มาก” ตาม ทัศนะของครูและผบรู้ ิหารซึ่งเรียงลาดํ บจากมาไปหานั อย้ คือ ภาวะผู้นําขององคการ์ ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ของหน่วยงาน เทคโนโลยีที่ใชในโรงเร้ ียน การสื่อสารในโรงเรียน กระบวนการจดการความรั ู้ ส่วนดานท้ ี่มีการ ปฏิบัติอันดบสั ุดทาย้ คือ การวดผลการจั ดความรั ู้ และสําหรับองค์กรประกอบที่ทําให้การจดการความรั ู้ประสบ ผลสําเร็จในส่วนของสถานศึกษา ไดแก้ ่ ส่งเสริมบุ คลากร โดยสนบสนั ุนงบประมาณ มีนโยบายแผนงานชดเจนั ตลอดจนระบบสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันดานบร้ ิหารตองเป้ ็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สร้างขวญและกั าลํ งใจั โดยใชหล้ ัก พรหมวิหาร 4 เป็นบุคคลที่รับผิดชอบสูง ด้านครูผู้สอนตองพร้ ้อมรับการเปลี่ยนแปลง นําเขาองคม้ ์ความรู้ให ่ บรรยากาศเป็นประชาธิปไตย ตระหนกในบทบาทหนั าท้ ี่ของตนเอง พัฒนาตนเองอยางต่ ่อเนื่อง ประสานสัมพนธั ์ กบเพั ื่อนร่วมงานและเขาใจหล้ กของการจั ัดการความรู้ นอกจากน้นโฆษั ิต เสตะจิต (2549,หน้า 106-108) ยังได้ศึกษาสภาพการเป็นองคการแห์ ่งการเรียนรู้ของ สถานศึกษาสังกดสั านํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 3 และเปรียบเทียบในการทางานเกํ ี่ยวกบสภาพการเปั ็น องค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกดสั ํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 3 จํานวน 5 ด้าน พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเกี่ยวกบสภาพการเปั ็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกดั สํานกงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 3 ในภาพรวม 5 ด้าน อยในระดู่ บมากั เพื่อพิจารณาเป็นรายดาน้ พบวา่ อยู่ ในระดบมากทั ุกดาน้ เรียงลาดํ บดั งนั ้ี ด้านการแปรรูป องค์การ ด้านพลวตการเรั ียนรู้การปฏิบัติงาน ด้านการใช้อํานาจ ด้านการจดการความรั ู้ ด้านการใชเทคโนโลย้ ี สมยใหมั ่ และเปรียบเทียบความคิดเห็นของผบรู้ ิหารและครูผู้สอนเกี่ยวกบสภาพการเปั ็นองคกรแห์ ่งการเรียนรู้ สังกดสั ํานกงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาชลบุรี เขต 3 ในภาพรวม 5 ด้าน แตกต่างกนั เมื่อพิจารณาเป็นรายดาน้ พบวา่ แตกต่างกนั 4 ด้าน คือ ด้านพลวตการเรั ียนรู้การปฏิบัติงาน ด้านการแปรรูปองคการ์ ด้านการใช้อํานาจ และการ จัดการความรู้ ส่วนดานการใช้ เทคโนโลย้ ีสมยใหมั ่ไม่แตกต่างกนั จําแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ใน การทางานไมํ ่แตกตางก่ นั นอกจากน้นั กนกนารถ ผดุงชัย (2550) ยังได้ศึกษาเกี่ยวกบการจั ดการความรั ู้ของบุคลากรกรมควบคุม โรค กระทรวงสาธารณสุข และพบวา่ การจดการความรั ู้ของบุคลากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป้ นรายกระบวนการ พบว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุก กระบวนการ โดยกระบวนการที่มีการปฏิบัติมากที่สุด คือกระบวนการใชความร้ ู้ รองลงมา คือ กระบวนการสร้าง ความรู้ และนอยท้ ี่สุดคือ กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ ส่วนคุณลกษณะทั ี่เอ้ือต่อการจดการความรั ู้ ไดแก้ ่ การมี ภาวะผู้นํา การมีแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธ์ิและการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อ พิจารณาเป็นรายดาน้ พบวา่ มีการปฏิบัติในระดบมากทั ุกดาน้ โดยดานท้ ี่มีคาเฉลี่่ ยมากที่สุด คือ ด้านการมีแรงจูงใจ ฝาสัมฤทธ์ิ รองลงมาคือ ด้านการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และนอยท้ ี่สุด คือ ด้านการมีภาวะผู้นําสาหรํ ับตวแปรทั ี่ ส่งผลต่อการจดการความรั ู้ของบุคลากรกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่า คุณลกษณะทั ี่เอ้ือต่อการ จัดการความรู้ทุกดาน้ ไดแก้ ่ การมีภาวะผู้นํา การมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิและการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ 9

การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference

ข้อเสนอแนะ

1. ควรมีการศึกษาเพื่อให้เกิดการพฒนาการจั ัดการความรู้ให้ครบทุกด้าน ตลอดจนการเชื่อมโยง เครือขาย่ องคกรหร์ ือหน่วยงานที่เกี่ยวของในพ้ ้ืนที่เขามาม้ ีส่วนร่วมในทุกกระบวนการพร้อมท้งกั าหนดรํ ูปแบบที่ ชัดเจนและนําไปปฏิบัติ ติดตามผลและนามาปรํ ับปรุงแกไขต้ อไป่ 2. ปัจจยทั ี่ทําใหการจ้ ดการความรั ู้ใหประสบความส้ าเรํ ็จและยงย่ั ืน กิจกรรมเดียวกนแตั ่ต่างพ้ืนที่กนบางั พื้นที่ปฏิบัติไม่สําเร็จ บางพ้ืนที่ปฏิบัติสําเร็จ กาหนดขนาดโรงเรํ ียนที่มีลักษณะที่ใกลเค้ ียงกนั และควรศึกษาปัจจัย ที่ทําให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาประสบความสําเร็จไวเป้ ็นตวอยั างและเป่ ็นแนวทางในการพฒนาตั อไป่

เอกสารอ้างอิง

กนกนารถ ผดุงชัย. (2550). การจัดการความรู้ของบุคลากรกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (วิทยานิพนธ์ ศิลปะศาสตรมหาบณฑั ิต) สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวทยาลิ ยมหั ิดล. โฆษิต เสตะจิต. (2549). ศึกษาสภาพความเป็นองคการแห์ ่งกาเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกดั สํานกงานเขตพั ้ืนที่ การศึกษาชลบุรี เขต 3. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณฑั ิต) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวทยาลิ ยราชภั ฏอั ุดรธานี. วสันต ์ ลาจนทั ึก. (2548). การจดการความรั ู้ในสถานศึกษาข้นพั ้ืนฐาน สังกดสานั กงานเขตั พื้นที่การศึกษา ขอนแก่น เขต 4 การศึกษาอิสระมหาบณฑั ิต, มหาวทยาลิ ยขอนแกั ่น. ประภสสรั กาญจนประกร. 2543. การศึกษาบทบาทที่ปฏิบัติจริงและบทบาทที่คาดหวงในการบรั ิหารงาน ความสัมพนธั ์ระหว่างโรงเรียนกบชั ุมชน ของผู้บริหารโรงเรียนมธยมศั ึกษา ขนาดใหญ่ สังกดั สํานกงานเขตพั ้นทื ี่ การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต) สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควชาิ นโยบาย การจัดการและความเป็นผนาทางการศู้ ึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทยาลิ ัย.

10