O-ST 022 การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference รูปแบบการจดการองคั ์ความรู้เกษตรอนทริ ีย์ที่เหมาะสมในสถานศึกษาของสํานักงานเขตพนทื้ ี่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 Knowledge Management of Organic Agriculture Model in Organization of Mahasarakham Primary Education Service Area Office 2 ศุภชัย สุทธิเจริญ (Supachai Sutticharoen)* พหล ศักด์ิคะทศนั ์ (Phahol Sakkatat)** สมคิด แกวท้ ิพย(์ Somkit keawtip)*** สุรพล เศรษฐบุตร (Surapol Setabutra)**** บทคดยั ่อ การวิจัยเชิงสารวจนํ ้ี มีวัตถุประสงคเพ์ ื่อศึกษา 1) การจดการองคั ความร์ ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษาของสานํ กงานั เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) ปัจจยทั ี่มีความสัมพนธั ์ต่อการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสม ของครูผู้สอนและสถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 3) เพื่อพฒนารั ูปแบบการจดการองคั ์ ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมของครูผู้สอนและสถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 4) เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางการจ่ ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ก่อนและหลงการพั ฒนาั กลุมต่ วอยั างค่ ือ ครูผู้สอน จํานวน 145 ราย และ ผู้บริหารสถานศึกษา จํานวน 145 ราย สังกดสั านํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2 ซึ่งไดจ้ ากการสุ่มตวอยั างแบบง่ ่าย เครื่องมือที่ในการวิจัยคร้ังน้ีไดแก้ ่ แบบสั มภาษณ์ ที่มีค่าความ เที่ยงเท่ากบั 0.90 ใชสถ้ ิติพรรณนาเป็นร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์ไดแก้ ่ t-test และการวิเคราะห์การ ถดถอยพหุและการจดการสนทนากลั ุม่ จากผลการวิจัยพบวา่ ครูผู้สอนมีการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย ์ทั้ง 4 ด้าน อยในระดู่ บปานกลางั ไดแก้ ่ การใชงาน้ องคควา์ มรู้ การสร้างสมองคความร์ ู้ การถ่ายทอดองคความร์ ู้ และการจดเกั บองค็ ความร์ ู้ส่วนสถานศึกษามีการจดการความรั ู้ด้าน เกษตรอินทรีย์ ทั้ง 4 ด้าน อยในระดู่ บปานกลางั เช่นเดียวกนั ต จาก วแปรทั ี่มีความสัมพนธั ์กบการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ของครูผู้สอน คือ ประสบการณ์การทางานํ การได้รับการฝึกอบรม และความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ที่ระดบนั ยสั าคํ ญทั ี่ .01 และอาย ุที่ ระดบนั ยสั าคํ ญทั ี่ .05 ตัวแปรที่มีความสัมพนธั ์กบการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของสถานศึกษา คือ จํานวนครูในโรงเรียนที่ ระดบนั ยสั ําคญทั ี่ .01 จํานวนนกเรั ียนในโรงเรียน และการมีเครือข่ายในชุมชน ที่ระดบนั ยสั ําคญทั ี่ .05 รูปแบบการจดการองคั ์ ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย ์ที่เหมาะสมในสถานศึกษาของสํานกงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2 คือ การ พัฒนาการจดการความรั ู้ของครูผู้สอนและผู้บริหารตลอดจนผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวของก้ บการพั ฒนาการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตร อินทรีย์ เช่น องคกรปกครองส์ ่วนทองถ้ ่ิน ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา ปราชญชาวบ์ าน้ ซึ่งจะตองม้ ีการบูรณาการทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวของ้ และเกิดจากปัจจยทั ี่ทําใหเก้ ิดการพฒนากระบวนการการจั ดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ มีส่วนร่วมในการระดมสมอง เสนอแนะและตดสั ินใจร่วมกนวางแผนั ติดตามและประเมินผล ส่วนการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ของครูผู้สอนและสถานศึกษา ซึ่งเปรียบเทียบระหวางก่ ่อนและหลงการพั ฒนาความรั ู้ พบวา่ การจดการความรั ู้เกษตรอินทรีย์ก่อน การพฒนาและหลั งการพั ฒนามั ีความแตกต่างกนอยั างม่ ีนัยสาคํ ญทั ี่ .01 ทั้ง 4 ด้าน คําสําคัญ การจดการองคั ความร์ ู้ เกษตรอินทรีย์ * นักศึกษาปริญญาเอก สาขาพฒนาทรั ัพยากรชนบท คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทยาลิ ัยแม่โจ ้ [email protected] ** ผู้ช่วยศาสตราจารย ์ ประจาหลํ กสั ูตรพฒนาทรั ัพยากรชนบท คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทยาลิ ัยแม่โจ ้ [email protected] *** อาจารย ์ ประจาหลํ กสั ูตรวทยาลิ ยบรั ิหารศาสตร์ มหาวทยาลิ ัยแม่โจ ้ [email protected] **** รองศาสตราจารย ์ ประจาหลํ กสั ูตรส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทยาลิ ยเชั ียงใหม่ การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference Abstract This objective of this research were: (1) to study management body of knowledge on organic agriculture in organization of Mahasarakham Primary Education Service Area Office 2; (2) to study factors associated with knowledge management in organic agriculture which is appropriate for teacher and school in organization of Mahasarakham Primary Education Service Area Office 2; (3) To develop a knowledge management model for organic farming which is appropriate for teacher and school in organization of Mahasarakham Primary Education Service Area Office; and (4) To compare the differences of knowledge management in organic agriculture before and after the development. The study population and study area were schools and teachers belong to Mahasarakham Primary Education Service Area Office 2; Na Chueak District, Phayakkhaphum Phisai District, Yang Sisurat District, Na Dun District, Wapi Pathum District. There are 225 schools and total of 290 people was selected by using the simple random sampling method. The instrument for data collection was a questionnaire with the reliability of 0.90. Statistics used to data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, multiple regression analysis and group discussion. The results showed that: teachers had 4 knowledge managements moderately in organic agriculture; knowledge utilization, knowledge acquisition, knowledge sharing and knowledge storing. Schools also had 4 knowledge managements moderately in organic agriculture. The variables that correlated with teacher’s knowledge management in organic agriculture were work experience, training and agriculture knowledge all significant at .01 level, age all significant at .05 level. The variables that correlated with school’s knowledge management in organic agriculture were number of teacher in the school all significant at .01 level, number of student in the school and community network all significant at .05 level. Comparison of average of agriculture management of teacher and school that compare between before and after knowledge development found that agriculture knowledge management before and after knowledge development was different all significant at .01 level. Keywords: Knowledge management, Organic agriculture 2 การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference บทนํา ระบบเกษตรไทยเป็นทุนทางสังคมและวฒนธรรมเพั ื่อสนบสนั ุนความมนคงทางเศรษฐก่ั ิจของประเทศ ระบบเกษตรไทยได้วิวัฒนาการควบคู่กบวั ิถีชีวิตของคนไทยมาตลอด ระบบการผลิตเพื่อยงชั ีพแสดงให้เห็นความ เชื่อมโยงระบบสังคมและระบบนิเวศและได้ถูกพฒนาบนฐานของการจั ดการใชั ประโยชน้ ์ทรัพยากรอยางม่ ีสติ จน สามารถเกิดดุลยภาพระหวางท่ ุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม และทุนทางธรรมชาติ องค์ความรู้ของการจดการั เหล่าน้ีได้ถูกถ่ายทอดผานกระบวนการเร่ ียนรู้ทางสังคมและวฒนธรรมั ดังเช่น ความสัมพนธั ์ระหวางระบบการ่ ผลิตทางการเกษตรกบอาหารทั องถ้ ่ิน ที่คํ้าจุนเศรษฐกิจชุมชนมาโดยตลอดในการพฒนาทางการเกษตรของั ประเทศ แต่ในขณะเดียวกนวั ิถีความเป็นอยของเกษตรกรไดู่ ปร้ ับเปลี่ยนไปจากเป ้ าหมายของการเกษตรเพื่อชีวิต เป็นเกษตรเพื่อธุรกิจ ส่งผลให้เกษตรกรขาดความเป็นอิสระในการผลิต จําเป็นตองพ้ ึ่งพิงระบบตลาดที่เกษตรกร ไม่มีส่วนในการตดสั ินใจและกาหนดเงํ ื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น นอกจากน้นั ผลพวงจากการพฒนาดั านการเกษตรย้ งพบั ปัญหาเกี่ยวกบสารเคมั ีทางการเกษตรที่ตกคางในผลผล้ ิตและแพร่กระจายไปในส่ิงแวดลอม้ มีการปนเป้ื อน ภายนอกในห่วงโซ่อาหาร (food chain) ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามยของทั ้งผั ู้ผลิต และผู้บริโภคในสังคม ปรากฏการณ์ดังกล่าวถือได้วาเป่ ็นส่วนหนึ่งตวชั ้ีวัดที่ระบุถึงผลของการเร่งรัดพฒนาดั านเศรษฐก้ ิจของประเทศที่ สนองตอบตอส่ ังคมเกินขีดความสามารถของธรรมชาติ รวมถึงการสะทอนถ้ ึงความไม่สมดุลของการพฒนาในมั ิติ ตางๆ่ ที่ไม่อาจจะนําพาประเทศไปสู่ความมนคงและย่ั งย่ั นในอนาคตไดื ้ อยางไรก่ ตามโรงเร็ ียนถือเป็นแหล่งเรียนรู้ เบ้ืองตนของเยาวชน้ โดยเฉพาะอยางย่ ่ิงโรงเรียนที่อยในชนบทู่ ส่วนใหญ่นักเรียนกเป็ ็นลูกหลานของเกษตรกร ดังน้นการถั ่ายทอดองคความร์ ู้ด้านการเกษตร โดยเฉพาะดานเกษตรอ้ ินทรีย์ จะเป็นการปลูกจิตสานึกการเรียนรู้ ให้แก่เยาวชนให้มีความรู้พื้นฐาน ด้านการเกษตรไดอย้ างถ่ ูกตอง้ และขยายผล ไปสู่ผู้ปกครองนกเรั ียน และ เกษตรกรทวไป่ั ที่สําคญจะไดั ้มีผลผลิตที่ไร้สารพิษ เป็นการสนบสนั ุนโครงการผลิตเพื่ออาหารกลางวนใหั ้กบเดั ็ก นักเรียน ต่อไปในอนาคตได ้ จากเหตุผลที่กล่าวมาท้งหมดนั ้นจะพบวั า่ ภาคการเกษตรนอกจากจะมีการจดการั ระบบมาตรฐานการเกษตรที่ดีแลวจะต้ องม้ ีการคานํ ึงถึงผลกระทบต่อส่ิงแวดลอมต้ ่อไปในอนาคต การจดการองคั ์ ความรู้เกษตรอินทรีย์ของสถานศึกษาและครูผู้สอนวิชาเกษตรกรรมจึงมีความสําคญในการทั ี่จะขบเคลั ื่อนและ ถายทอดองค่ ความร์ ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ใหเก้ ิดความตระหนกถั ึงการใชทร้ ัพยากรธรรมชาติอยางค่ ุ้มค่ามากที่สุดโดย การร่วมคิด ร่วมทาและรํ ่วมผลกดั นตามบทบาทความรั ับผิดชอบของแต่ละภาคส่วนที่มีความสัมพนธั ์ซึ่งกนและกั นั ตอไป่ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ในสถานศึกษาของสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2. เพื่อศึกษาปัจจยทั ี่มีความสัมพนธั ์ต่อการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมของ ครูผู้สอนและสถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 3 การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 The 4th STOU Graduate Research Conference 3. เพื่อพฒนารั ูปแบบการจดการองคั ความร์ ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมของครูผู้สอนและ สถานศึกษาของสานํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 4. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างการจดการความรั ู้ด้านเกษตรอินทรีย์ก่อนและหลงการพั ฒนาั วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงสารวจํ (Survey reserch) ประชากร กลุ่มตวอยั างและพ่ ้ืนที่ในการศึกษาคือ ครูผู้สอน จํานวน 145 ราย และ ผู้บริหารสถานศึกษา จํานวน 145 ราย สังกดสั านํ กงานเขตพั ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษา มหาสารคาม เขต 2 ซึ่งไดจากการส้ ุ่มตวอยั างแบบง่ ่าย เครื่องมือที่ในการวิจัยคร้ังน้ีไดแก้ ่ แบบสัมภาษณ์ แบบสัมภาษณ์ผู้วิจัยสร้างข้ึน ประกอบดวย้ 3 ส่วนคือ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) การจดการความรั ู้ด้านเกษตร อินทรีย์ของครูผ้สอนและสถานศึกษา (3) ปัญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการจ้ ดการความรั ู้ แบบสัมภาษณ์ใน ส่วนที่ (2) มีค่าความสอดคลองของเน้ ้ือหาของแบบสัมภาษณ์ (Index of Item-Objective Congruence : IOC) สูงกวา่
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages10 Page
-
File Size-