เอกสารวิชาการฉบับที่ ๖ /๒๕๕๑ Technical Paper No. 6 /2008

ชีววิทยาบางประการของปลาหมจู ุดในแมน้ําแควนอย จงหวั ัดพิษณุโลก Some Biological Aspects of Spotted loach, beauforti Smith, 1931 in the Khwaenoi River, Phitsanulok Province

ปาริฉตรั มูสิกธรรม Parichat Musikatham ปริญดา รัตนแดง Parinda Rattanadeang กฤษฎา ดีอนทริ  Gridsada Deein

สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด Inland Fisheries Research and Development Bureau กรมประมง Department of Fisheries กระทรวงเกษตรและสหกรณ Ministry of Agriculture and Cooperatives

เอกสารวิชาการฉบับที่ ๖ /๒๕๕๑ Technical Paper No. 6 /2008

ชีววิทยาบางประการของปลาหมจู ุดในแมน้ําแควนอย จงหวั ัดพิษณุโลก Some Biological Aspects of Spotted loach, Botia beauforti Smith, 1931 in the Khwaenoi River, Phitsanulok Province

ปาริฉตรั มูสิกธรรม Parichat Musikatham ปริญดา รัตนแดง Parinda Rattanadeang กฤษฎา ดีอินทร Gridsada Deein

สถานีประมงน้ําจืดจังหวัดสุโขทัย Sukhothai Inland Fisheries Station สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด Inland Fisheries Research and Development Bureau กรมประมง Department of Fisheries ๒๕๕๑ 2008 รหัสทะเบียนวิจัย 48-0566-48045

1 ซม.

ชื่อไทย ปลาหมูจุด หมูลายเสือ ชื่อสามัญ Spotted loach ชื่อวิทยาศาสตร Botia beauforti Smith, 1931

สารบาญ

หนา บทคัดยอ 1 Abstract 2 คํานํา 3 วัตถุประสงค 4 วิธีดําเนนการิ 4 1. วิธีเก็บตวอยั างและรวบรวมขอมูล 4 2. การศึกษาและการวิเคราะหขอมูล 6 ผลการศึกษา 10 1. ลักษณะทั่วไปและอนกรมวุ ิธาน 10 2. แหลงที่อยูอาศัย 11 3. อาหารและนิสัยการกินอาหาร 12 4. ความแตกตางระหว างเพศและสัดสวนเพศ 12 5. ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลา 14 6. ฤดูวางไข  17 7. ความดกไข และความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนกและความยาวตั ัวปลา 21 สรุปและวิจารณผล 24 เอกสารอางอิง 29 ภาคผนวก 31

ii สารบาญตาราง

ตารางที่ หนา 1 จุดเก็บตวอยั างปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพษณิ ุโลก จากการรวบรวมระหวาง 4 เดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 2 จํานวนและสัดสวนของลกษณะทางอนั กรมวุ ิธานที่สําคญของปลาหมั ูจุดในแมน้ําแควนอย 11 จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 3 พิสัยของคุณสมบัติน้ําบริเวณจุดสํารวจปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ิษณุโลก 11 จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 4 สัดสวนเพศของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก จากการรวบรวมระหวาง 13 เดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 5 พัฒนาการของอวัยวะสืบพนธั ุปลาหมูจุดเพศเมียในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก 18 จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 6 พัฒนาการของอวัยวะสืบพนธั ุปลาหมูจุดเพศผูในแมน้ําแควนอย จังหวัดพษณิ ุโลก จาก 19 การรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 7 ดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพันธุปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก 20 จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 8 น้ําหนกและความยาวตั ัวปลากับความดกไขของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัด 22 พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549

ตารางผนวกท ี่ 1 สัดสวนความยาวตวปลาเปรั ยบเที ียบกับความยาวลําไสและอาหารที่พบในกระเพาะของ 31 ปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณโลกุ จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549

iii สารบาญภาพ

ภาพท ี่ หนา 1 แผนที่สังเขปแสดงลักษณะแมน้ําและบริเวณจุดเก็บตวอยั างปลาหม ูจุดในแมน้ําแควนอย 5 จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 2 รอยละของปริมาณอาหารที่พบในกระเพาะของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัด 12 พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 3 ความสัมพันธระหวางน้ําหนกและความยาวตั ัวปลาหมูจุดแบบไมแยกเพศในแม น้ําแควนอย 14 จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 4 ความสัมพันธระหวางน้ําหนกและความยาวตั ัวปลาหมูจุดเพศผูในแมน้ําแควนอย จังหวัด 16 พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 5 ความสัมพันธระหวางน้ําหนกและความยาวตั ัวปลาหมูจุดเพศเมยในแมี น้ําแควนอย 16 จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 6 ปริมาณรอยละของระยะการเจริญพันธุของปลาหมูจุดเพศเมียในแมน้ําแควนอย จังหวัด 18 พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 7 ปริมาณรอยละของระยะการเจริญพันธุของปลาหมูจุดเพศผูในแมน้ําแควนอย จังหวัด 19 พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 8 การเปลี่ยนแปลงคาดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพนธั ุ (GSI) ของปลาหมูจุดในแมน้ํา 20 แควนอย จังหวัดพษณิ ุโลก จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 9 ความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนักของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัด 23 พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 10 ความสัมพันธระหวางความดกไขตอความยาวของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัด 23 พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549

ชีววิทยาบางประการของปลาหมจู ุดในแมน้ําแควนอย จงหวั ัดพิษณุโลก

ปาริฉตรั มูสิกธรรม๑ ปริญดา รัตนแดง๒ * และ กฤษฎา ดีอินทร๒ ๑ สถานีประมงน้ําจืดจังหวดสั ุโขทัย ๒ ศูนยว ิจยแลั ะพัฒนาประมงน้ําจืดพษณิ ุโลก

บทคัดยอ

การศึกษาชววี ทยาบางประการของปลาหมิ ูจุด Botia beauforti Smith, 1931 ในแมน ้ําแควนอย จังหวดพั ิษณุโลก มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปและอนุกรมวิธาน แหลงที่อยูอาศัย อาหารและนิสยั การกินอาหาร ความแตกตางระหวางเพศและสัดสวนเพศ ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตวปลาั ฤดูวางไข ความดกไขและความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนักและความยาวตวปลาั ไดดําเนนการิ ระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 โดยการรวบรวมตวอยั างจากชาวประมง จากเครื่องมือขาย ขนาดชองตา 1 เซนติเมตร และกระแสไฟฟา ทําการสุมตัวอยางทุกเดือน บริเวณ 11 จุดสํารวจ ในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ิษณุโลก ผลการศึกษาตวอยั างปลาหมจู ุดจํานวน 262 ตัว พบวาเปนปลาเพศผูจานวนํ 134 ตัว มีน้ําหนกั เฉลี่ย 3.89 + 1.94 กรัมและความยาวเฉลี่ย 7.71 + 1.38 เซนติเมตร ปลาเพศเมียจํานวน 128 ตัว นาหน้ํ ักเฉลยี่ 4.14 + 1.34 กรัมและความยาวเฉลี่ย 7.91 + 1.07 เซนติเมตร ปลาหมูจุดเปนปลาทมี่ ีลําตัวเรียวยาว ลําตัวมีสี น้ําตาลออนจนถ ึงน้ําตาลเขม สวนหวคั อนขางยาว ม ี spine แยกเปน 2 แฉก มหนวดี 3 คู ลําตัวมแถบสี ดี ําพาดขวาง 11 แถบ มีจุดสีดํากระจายตลอดลําตัว ครีบหลัง และครีบกน พบอาศัยอยูบริเวณทเปี่ นโขดหินทมี่ ีกระแสน้ํา ไหลเอื่อยๆ ผลการศึกษาอาหารและนิสัยการกินอาหาร พบวาปลาหม ูจุดเปนปลากินเนื้อ โดยอาหารในกระเพาะ ประกอบดวยต ัวออนแมลงรอยละ 55.98 หนอนตัวกลมรอยละ 8.78 หอยฝาเดียวรอยละ 2.25 กุงรอยละ 0.67 และซากเนาเปอยร อยละ 32.32 มีความยาวลําตัวตอความยาวลําไสเทากบั 1 : 0.44 สัดสวนเพศผู : เพศเมีย มีคา เทากับ 1 : 0.96 สมการความสัมพันธระหวางน้ําหนกและความยาวแบบไมั แยกเพศคือ W = 0.0218 L2.5079 (R2 = 0.8223, n = 262, p < 0.05) ฤดูวางไขอยูระหวางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน 2549 ไขแบบ ครึ่งจมครึ่งลอย ลกษณะเมั ดกลมส็ ีเขยวปนเทาี แมปลามความยาวเฉลี ี่ย 9.34 ± 1.31 เซนติเมตร น้ําหนกเฉลั ี่ย 6.27 ± 1.08 กรัม ปริมาณความดกไขเฉลี่ย 2,200 ± 582 ฟอง สมการความสัมพนธั ระหวางความดกไขกับ น้ําหนกแมั ปลา คือ F = 171.9607 W 1.3805 (R2 = 0.8260, n = 18, p < 0.05) สวนสมการความสัมพนธั ระหวาง ความดกไขกับความยาวตวปั ลา F = 55.7111 L 1.6363 (R2 = 0.6506, n= 18, p < 0.05) โดยพบวาความดกไขมี ความสัมพันธกับน้ําหนักมากกวาความยาวตัวปลา

คําสําคัญ : ปลาหมูจุด ชววี ิทยา แมน้ําแควนอย *ผูรับผิดชอบ : บริเวณเขื่อนนเรศวร อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก ๖๕๑๕๐ โทร. ๐ ๕๕๓๖ ๙๐๖๕ e-mail: [email protected] 2 Some Biological Aspests of Spotted loach, Botia beauforti Smith, 1931 in the Khwaenoi River, Phitsanulok Province

Parichat Musikatham1 Parinda Rattanadeang2 * and Gridsada Deein 2 1 Sukhothai Inland Fisheries Station 2 Phitsanulok Inland Fisheries Research and Development Center

Abstract

A study on some biological aspects of Spotted loach, Botia beauforti Smith, 1931 was conducted during October 2005 to September 2006 in the Khwaenoi River, Phitsanulok Province. The objectives of this study were characteristic and , habitat, food and feeding behavior, sex difference and sex ratio, length – weight relationship, spawning season, fecundity and relationship between fecundity to weight and length. Fish samples were monthly collected from fishers, gillnets and electro – fishing at 11 sites of the Khwaenoi River. The results showed that the total number of 262 fish specimens, 134 males and 128 females, the average sample sizes of male was 7.71 + 1.38 cm in total length and 3.89 + 1.94 g of body weight, and that of female was 7.91 + 1.07 cm in total length and 4.14 + 1.34 g of weight. The body shape of B. beauforti was elongate, brownish to dark brown in colour, with black oblique 11 bars and small black spots on its body, dorsal fin and anal fin. The head was long with bifid spine and 3 barbels. The habitat was rocky bottom with slowly water flow. The analysis of food and feeding showed that this fish was carnivorous. The stomach content consisted of 55.98 % insect larvae, 8.78 % worms, 2.25 % gastropods, 0.67 % shrimp and 32.32 % the detritus. The ratio between body length and intestine length was 1: 0.44. The sex ratio was 1 : 0.96. The exponential equation of length-weight relationship was W = 0.0218 L2.5079 (R2 = 0.8223, n = 262, p < 0.05). The study of spawning season from gonad development indicated that the spawning period of this fish started from July to September. The egg was semi-buoyant, round shape and grey greenish color. The average fecundity was 2,200 ± 582 eggs from the average spawner sizes of 9.34 ± 1.31 cm and 6.27 ± 1.08 g. The equations of relationship between fecundity to weight was F = 171.9607 W 1.3805 (R2 = 0.8260, n = 18, p < 0.05) and fecundity to length was F = 55.7111 L 1.6363 (R2 = 0.6506, n = 18, p < 0.05). The relationship between fecundity to weight was higher related than to length.

Key words: Botia beauforti, Spotted loach, fish biology, Khwaenoi River *Corresponding author: Nareasuan Dam’s area, Prompiram District, Phitsanulok 65150 Tel. 0 5536 9065 e-mail: [email protected] 3 คํานํา

ปลาหมูจุดหรอปลาหมื ูลายเสือ มีชื่อสามัญวา Spotted loach ชื่อวิทยาศาสตรคือ Botia beauforti Smith, 1931 เปนปลาในครอบครัวปลาหมู (Family Cobitidae) นิยมรวบรวมจากธรรมชาติแลวนํามาเลี้ยงเปน ปลาสวยงามเพื่อการสงออกตางประเทศ ลําตัวมีสีสะดุดตา โดยลําตัวและหัวเปนสีเขียวปนเทาออน ๆ ครีบหลัง และครีบหาง เปนสีสม มีจุดสีดํา มีถิ่นอาศัยในแมน้ําเจาพระยาและสาขาแมน้ําทาดี จังหวดนครศรั ีธรรมราช (สมโภชน และกาญจนรี, 2543) โดยพบปลาหมูจุดครั้งแรกที่บริเวณน้ําตกแถวบานคีรีวงศ จังหวดนครศรั ีธรรมราช (Smith, 1945) ปลาหมูจุดหรือปลาหมูลายเสือ เปนปลาทองถิ่นชนิดหนึ่งที่สามารถพบไดในระบบแมน้ําของ จังหวัดพิษณุโลก โดยเฉพาะในแมน้ําแควนอยตั้งแตบริเวณที่กําลังกอสรางเขื่อนแควนอยอันเนื่องมาจาก พระราชดําริขึ้นไปจนถึงตนน้ํา พบเฉพาะตามโขดหินที่มีกระแสน้ําไหลเอื่อยๆ ผลจากการสรางเขื่อนแควนอยฯ ปดกั้นแมน้ําแควนอยตอนกลางรวมถึงการเกิดอางเก็บกกนั ้ําขนาดประมาณ 38,000 ไร สงผลกระทบตอ ระบบนิเวศในน้ําและการเปลี่ยนแปลงของความหลากหลายของชนิดปลา ซึ่งการเกิดอางเก็บน้ําขนาดใหญ ทําใหบริเวณสนเขั ื่อนมีระดบความลั ึกของน้ําประมาณ 80 เมตร ปริมาณน้ําทาจะไหลเขาอางเก็บนาเฉล้ํ ี่ยปละ 1,449 ลานลูกบาศกเมตร ดวยอัตราไหลสูงสุดของปริมาณน้ําหลาก 8,252 ลูกบาศกเมตรตอวินาที (ซึ่งมีอัตรา การกัดเซาะหนาดินสูงสุด 0.11 มิลลิเมตรตอป) จะปะทะกับมวลน้ําในอางเก็บน้ํา ตั้งแตบริเวณปากอางลงมา จนหยุดนิ่งที่บริเวณกลางอางถึงหนาเขื่อน ผลจากความเรวกระแสน็ ้ําทลดลงอยี่ างรวดเร็ว ทําใหตะกอนดินจาก พื้นที่รับน้ําฝนทั้งบริเวณรอบอางและที่มากบนั ้ําทาเหนืออาง (คิดเปนปริมาณตะกอนทงสั้ ิ้น 468,000 ลูกบาศก เมตรตอป) ตกตะกอนทับถมพื้นทองน้ําบริเวณอาง ซึ่งจะสงผลถึงแหลงที่อยูอาศัยของปลาหมูจุด ทําใหปลามี แหลงที่อยอาศู ยคั อนขางจํากัด จึงอาจทําใหปลาหม ูจุดสูญพันธุไปจากแมน้ําแควนอยได (กฤษฎา และคณะ, 2549) ดังนั้นการศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณโลกุ จึงจําเปน อยางยิ่ง เพื่อนาไปใชํ เปนขอมูลพื้นฐานในการเพาะขยายพันธุเพื่อเพิ่มผลผลิตในแหลงน ้ํา และเปนขอมูลสําคัญ ในการเตรยมมาตรการวางแผนคี ุมครอง การอนุรักษฟนฟูพันธุ หรือการใชประโยชนเชิงพาณิชยในอนาคต 4 วัตถุประสงค 

เพื่อทราบขอมูลชีววิทยาบางประการของปลาหมูจุด ดังน ี้ 1. ลักษณะทั่วไปและอนุกรมวิธาน 2. แหลงที่อยูอาศัย 3. อาหารและนิสัยการกินอาหาร 4. ความแตกตางระหวางเพศและสัดสวนเพศ 5. ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลา 6. ฤดูวางไข  7. ความดกไขและความสัมพนธั ระหวางความดกไขตอน้ําหนักและความยาวตัวปลา

วิธีดําเนินการ

1. วิธีเก็บตัวอยางและรวบรวมขอมูล

รวบรวมปลาหมูจุดที่มีลักษณะภายนอกสมบูรณจากแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก ในบริเวณ พื้นที่ที่กําหนดรวม 11 จุดสํารวจ รายละเอยดแสดงในตารางที ี่ 1 และภาพที่ 1 รวบรวมตัวอยางปลาหมูจุดทุก เดือน ระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 เดือนละไมต่ํากวา 30 ตัวอยาง โดยการรับซื้อจาก ชาวประมง จากการใชเครื่องมือขายขนาดชองตา 1 เซนติเมตร และกระแสไฟฟา แลวนําปลาหมูจุดที่รวบรวม ไดมาศึกษาในรายละเอียดตาง ๆ ณ หองปฏิบัติการของศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจดพื ิษณุโลก

ตารางที่ 1 จุดเก็บตัวอยางปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือน ตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 จุดสํารวจ ชองตาราง จุดเก็บตัวอยางในแมน้ําแควนอย ลําดับ อักษรยอ 1 N2C2 8D ต. ทอแท  อ. วัดโบสถ 2 N2C3 8E ต. ทางาม อ. วัดโบสถ 3 N2C4 7E ต. บานยาง อ. วัดโบสถ 4 N2C5 6E ต. คันโชง อ. วัดโบสถ 5 N2C6 7F ต. คันโชง อ. วัดโบสถ 6 N2C7 7G ต. สวนเมี่ยง อ. ชาติตระการ 7 N2C8P1 6G ต. ปาแดง อ. ชาติตระการ 8 N2C9 6H ต. นครไทย อ. นครไทย 9 N2C10 7H ต. นครไทย อ. นครไทย 10 N2C11 7I ต. เนินเพิ่ม อ. นครไทย 11 N2C12 8I ต. บานแยง อ. นครไทย 5

100o 00'E 100o 30 'E101o 00'E A B C D E F G H I J K L

1 ลาว เลย 2 3

อตรดุ ิตถ 4 เพชรบูรณ แมน้ําภาค 17o 30'N 5

6

แมน้ํานาน 7 แมน้ําแควนอย แมน้ํา 8 สุโขทัย แควนอย 17o 00'N 9 แมน้ํานาน 10 แมน้ํายม

11

12 กําแพงเพชร 16o 30'N 13 พิจตริ

14

ภาพที่ 1 แผนที่สังเขปแสดงลักษณะแมน้ําและบริเวณจดเกุ ็บตัวอยางปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 6 2. การศึกษาและการวิเคราะหขอมูล

1. ลักษณะทั่วไปและอนกรมวุ ิธาน 1.1 ลักษณะทั่วไป นําตัวอยางปลาหมูจุดที่มีลักษณะภายนอกสมบูรณทั้งเพศผูและเพศเมียไป ศึกษาลักษณะรูปพรรณสัณฐานภายนอกทวไปดั่ วยการส ังเกต และพจารณาลิ ักษณะรูปราง ลักษณะสีและลาย ขางตัว รวมทั้งลักษณะและตาแหนํ งของอวยวะทั ี่สําคัญตาง ๆ เชน ครีบ ปาก และตา เปนตน แลวนําลักษณะที่ ไดไปประเมินลักษณะนิสัยและพฤติกรรมในการดํารงชีวิต โดยใชแนวคิดในการศึกษาจากทฤษฎีวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิต ที่กลาววา สิ่งมีชีวิตแตละชนิดตองผานกระบวนการวิวัฒนาการ และการเลือกสรรของธรรมชาติ เพื่อปรับเปลี่ยนลักษณะรูปรางของตนเองใหเหมาะสมตอการดํารงชีวิตตามสภาพนิเวศและสิ่งแวดลอมที่เปนอยู (Moyle, 1993; Wootton, 1998) 1.2 ลักษณะอนุกรมวิธาน นําตัวอยางปลาหมูจุดที่มีลักษณะภายนอกสมบูรณมาศึกษาลักษณะ ทางอนุกรมวิธาน เชน จํานวนกานครีบตาง ๆ การเปรียบเทียบสัดสวนของอวัยวะและจํานวนเกล็ด เปนตน ตามวิธีของสืบสิน (2524) และ Smith (1945) และจดลั ําดับทางอนุกรมวิธานตามระบบของ Nelson (1994)

2. แหลงที่อยอาศู ัย ตรวจสอบสภาพภูมิประเทศทางกายภาพ เชน ลักษณะพนทื้ องน้ํา และคุณสมบัติของน้ํา บริเวณจุดสํารวจปลาหมูจุดดังนี้ 2.1 อุณหภูมิ (temperature) ดวยเทอรโมมิเตอร มีหนวยเปนองศาเซลเซียส 2.2 ปริมาณออกซเจนละลายิ (dissolved oxygen) ดวยเครื่องมือวิเคราะหน้ํา (water quality checker) TOA รุน WQC-20 A มีหนวยเปนมิลลิกรัมตอลิตร 2.3 ความเปนกรดเปนดาง (pH) ดวยเครื่องมือวิเคราะหน้ํา (water quality checker) TOA รุน WQC-20 A 2.4 ความโปรงแสง (transparency) โดยใช secchi disc มีหนวยเปนเซนต ิเมตร 2.5 ความกระดาง (hardness) วิเคราะหโดยวิธีการไตรเตรท ตามวิธี standard method for the examination of water and waste water อางโดยไมตรีและจารุวรรณ (2528) มีหนวยเป นมิลลิกรัมตอลิตร 2.6 ความเปนดาง (alkalinity) วิเคราะหโดยวิธีการไตรเตรท ตามวิธี standard method for the examination of water and waste water อางโดยไมตรีและจารุวรรณ (2528) มีหนวยเป นมิลลิกรัมตอลิตร เก็บรวบรวมขอม ูลการจับปลาหมูจุดของชาวประมง พรอมท ั้งตรวจสอบและสอบถามขอมูล แหลงที่จับปลาหมูจุด

7 3. อาหารและนิสัยการกินอาหาร นําตัวอยางปลาหมูจุดที่รวบรวมไดจํานวน 40 ตัวอยาง มาศึกษาลักษณะนิสัยการกินอาหาร โดยการชั่งน้ําหนักและวัดความยาวรายตวดั วยเครื่องชั่งที่มีระดับความละเอียด 0.01 กรัม และไมวัดที่มีระดับ ความละเอียด 0.1 เซนติเมตร ทําการศึกษาชนดของอาหารทิ ี่พบในกระเพาะและบริเวณลําไสตอนตน โดย จําแนกกลุมของประเภทอาหารที่พบตามวิธีของ Hynes (1950) และประมาณชนิดของอาหารที่พบเปนรอยละ (estimating percentage by bulk) (Lagler, 1970) จากการตัดกระเพาะและลําไสตอนตนประมาณ 1 ใน 3 มาผา และลางดวยนาสะอาด้ํ นําอาหารทั้งหมดใสจานแกว แลวนําไปจําแนกชนิดของอาหารดวยกลองจุลทรรศน กําลังขยายต่ํา จําแนกกลุมของอาหารเปนกลุมตัวออนแมลง กลุมหนอนตัวกลม กลุมหอย กลุมกุง และ กลุมซากเนาเปอย จากนั้นบันทึกคาอาหารที่พบในแตละกลุมจากการประมาณดวยสายตาเปนรอยละโดยให ปริมาณอาหารทั้งหมดที่มีอยในขณะนู ั้นเปน 100 เปอรเซ็นต สวนนิสัยการกินอาหารนั้น พิจารณาจากชนิด ของอาหารที่ปลากินเปนหลัก สําหรับกระเพาะและลําไสที่วิเคราะหตัวอยางสดไมทันจะทําการเก็บรักษาใน สารละลายฟอรมาลินเขมขน 10 เปอรเซ็นต เพื่อสามารถวิเคราะหไดในภายหลัง สําหรับการศึกษาสัดสวนระหวางความยาวตัวปลาตอความยาวลําไสตามวิธีการของ Nikolsky (1963) ไดนําตัวอยางปลาที่ชั่งน้ําหนกและวั ัดความยาวแลวมาผาทอง ตัดแยกสวนระบบทางเดนอาหารออกิ ทําความสะอาดโดยตัดเนื้อเยอสื่ วนที่ไมเกยวขี่ องทิ้ง แยกคลี่กระเพาะและลําไสใหเปนเสน ใสถาดแชน้ําเพื่อ ปองกันการยดผื ิดปกติ วัดความยาวกระเพาะและลําไส เพื่อไปคํานวณหาสัดสวนระหวางความยาวตัวปลาตอ ความยาวลําไส เพื่อใชประกอบการพิจารณานิสัยการกนอาหารติ อไป

4. ความแตกตางระหวางเพศและสัดสวนเพศ นําตวอยั างปลาที่สมบูรณมาศึกษาลักษณะเพศจากอวัยวะภายนอก (secondary sexaul characteristics) ดวยการสัมผัสและดวยสายตา เชน การสงเกตลั ักษณะสี ลําตัว ติ่งเพศ ขนาด และความออนแข็งของทอง ตลอดจนการบีบและรีดทองเบา ๆ เพื่อดูไขและน้ําเชื้อ และลักษณะเพศจากอวยวะภายในั (primary sexaul characteristics) โดยการผาตดเพั ื่อตรวจดูอวัยวะภายใน นับจํานวนปลาเพศผูและเพศเมียที่ไดแล วนําไปศึกษา สัดสวนเพศและทดสอบความแตกตางทางสถิติโดยใชวิธี Chi-square test (Snedecor and Cochran, 1973) จากการตั้งสมมุติฐานวาปลาเพศผูและปลาเพศเมียมีสัดสวนเท ากันที่ 1 : 1 โดยทําการทดสอบสัดสวนเพศใน ภาพรวมทั้งปจากช ุดขอมูลที่สุมตัวอยางทั้งหมด และทดสอบสัดสวนเพศรายเดือน เพื่อตรวจสอบวาสัดสวน เพศมีการเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาลหรือไม โดยคํานวณจากสูตร X2 = Σ (O – E)2 / E 4.1 ในการทดสอบสัดสวนเพศในภาพรวมทั้งป ใชการเปรียบเทียบคา X2 ที่คํานวณไดกับคา 2 2 X ที่เปดจากตาราง X 0.05 ที่ df = (number of row – 1) x (number of column – 1) 4.2 ในการทดสอบสัดสวนเพศที่พบรายเดอนื ใชการเปรยบเที ียบคา X2 ที่คํานวณไดกับคา X2 2 ที่เปดจากตาราง X 0.05 ที่ df = (n – 1) เมื่อคา X2 ที่คํานวณไดมีคามากกวา X2 ที่เปดจากตาราง แสดงวาสัดสวนเพศทพบมี่ ีความ แตกตางไปจากสมมุติฐานที่ตั้งไว แตเม ื่อคา X2 ที่คํานวณไดมีคานอยกวา X2 ที่เปดจากตาราง แสดงวาสัดสวน เพศที่พบมีคาไมแตกตางไปจากสมมุติฐาน 8 5. ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตวปลาั วัดความยาวเหยียด (total length) ดวยไมบรรท ัดที่ระดบความละเอั ียด 0.1 เซนติเมตรและ ชั่งน้ําหนกดั วยเคร ื่องชั่งไฟฟาที่ระดับความละเอียด 0.01 กรัม แลวนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหความส ัมพันธ ระหวางความยาวตวปลาั (L) และน้ําหนกตั ัวปลา (W) ดวยวิธีการวิเคราะหการถดถอยแบบเสนตรงเชิงเดี่ยว (linear regression analysis) ตามวิธีของ Rounsefell and Everhart (1953) โดยใชสูตรสมการยกกําลัง คือ W = aLb ซึ่งคํานวณในรูปสมการ logarithm ดังน ี้

log W = log a + b log L โดย W = น้ําหนักตวปลาั (กรัม) L = ความยาวเหยยดี (เซนติเมตร) a และ b = คาคงที่

เมื่อคํานวณไดสมการแสดงความสัมพันธและคาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) แลวทําการ ตรวจสอบตอวา สมการดังกลาวสามารถอธิบายความผันแปรของตัวแปรตาม (คาแกน Y) ที่ไดอยางเหมาะสม หรือไมอยางไร โดยคํานวณคา t จากสูตร t = √(n-2)R2/(1-R2) แลวนําคา t ที่คํานวณไดไปเปรียบเทียบ

กับคา t ที่เปดจากตาราง t – distribution ที่ t0.05 (n-2) ถาคา t ที่คํานวณไดมีคามากกวาคา t ที่เปดจากตาราง แสดงวา เสนสมการแสดงความสัมพันธมีความสัมพันธหรือมีความเชื่อมั่นในการอธิบายความผันแปรของ ตัวแปรตามอยางม ีนัยสําคัญทางสถิติ

6. ฤดูวางไข  ทําการศึกษาโดยประเมินชวงเวลาการวางไขของปลาหมูจุด จากขอมูลการเปลี่ยนแปลง ของอวัยวะสืบพันธุ ซึ่งไดติดตามและประเมินการเปลี่ยนแปลงของระยะพัฒนาการของอวัยวะสืบพันธุปลา หมูจุดในรอบป รวม 2 วิธี คือ การตรวจสอบระยะการเจริญพันธุ (maturity stage) ดวยตาเปลา และการ ประเมินคาดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพันธุ (gonadosomatic index) แลวนาผลการศํ ึกษามาพิจารณา รวมกันเพื่อประเมินชวงเวลาที่แสดงแนวโนมการวางไขของปลาหมูจุดในแมนาแควน้ํ อย จังหวัดพิษณุโลก ในชวงเวลาทที่ ําการศึกษา 6.1 การตรวจสอบระยะการเจริญพันธุ (maturity stage) ดวยตาเปลา นําตัวอยางปลาหมูจุดที่รวบรวมไดในแตละเดือนมาทําการผาตัด เพื่อจําแนกพัฒนาการ ของอวัยวะสืบพันธุในแตละเดือน ยึดหลักการจําแนกขั้นตอนพัฒนาการของอวัยวะสืบพันธุตามวิธีการของ Kesteven (1960, อางตามสันทนาและคณะ, 2531) โดยแบงเปน 5 ระยะดังตอไปนี้ ระยะที่ 1 virgin เปนระยะที่อวัยวะสืบพันธุยังไมมีการพัฒนา อวัยวะสืบพันธุมีขนาด เล็กมาก มีตําแหนงอยูใกลหรือแนบติดกระดูกสันหลัง ระยะที่ 2 developing เปนระยะที่อวัยวะสืบพันธุเริ่มพัฒนา ถุงน้ําเชื้อมีสีขาวปนแดง ทั้งถุงน้ําเชื้อและรังไขมีความยาว 1/2 หรือ 2/3 ของชองทอง 9 ระยะที่ 3 gravid เปนระยะที่อวัยวะสืบพันธุขยายเต็มชองทอง ถุงน้ําเชื้อมีสีขาว ไขมี ลักษณะกลมมีเนื้อเยื่อติดกัน เมื่อรีดบริเวณทองยังไมมีเม็ดไขไหลออกมา ระยะที่ 4 spawning เปนระยะที่อวัยวะสืบพันธุเจริญเต็มที่ พรอมที่จะวางไข ถุงน้ําเชื้อ และรังไขขยายเต็มชองท อง ถารีดบริเวณทองจะมีไขและน้ําเชื้อไหลออกมา ไขมีลักษณะกลมและโปรงแสง ระยะที่ 5 spent เปนระยะที่ปลาวางไขแลว ถุงน้ําเชื้อและรังไขจะเหี่ยวแฟบมีสีแดง อาจมี ไขสีขุน ๆ เหลืออยูเล็กนอยในลักษณะที่ถูกดูดซึมไป 6.2 การประเมินคาดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพันธุ (gonadosomatic index, GSI) นําตัวอยางปลาหมูจุดที่รวบรวมไดในแตละเดือนมาชั่งน้ําหนัก วัดความยาวลําตัว และ ผาเอาอวัยวะสืบพันธุของปลา (gonads) ทั้งเพศผูและเพศเมียมาลางทําความสะอาด แลวนําไปชั่งน้ําหนัก จากนั้นคํานวณคาดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพนธั ุตามวิธีการของ Benfey and Sutterlin (1984) โดย น้ําหนกอวั ยวะสั ืบพันธุปลาจะมีน้ําหนักมากขึ้นเมื่อปลามีขนาดใหญขึ้น และเมื่อถึงฤดูสืบพันธุปลาจะมีอวยวะั สืบพันธุเจริญขึ้นมากกวาปกติ ทําใหสามารถประเมินฤดูสืบพันธุได โดยคํานวณจากสูตร

น้ําหนกอวั ยวะสั ืบพันธ ุ GSI (%) = X 100 น้ําหนกปลาั - น้ําหนกอวั ยวะสั ืบพันธ ุ

7. ความดกไข และความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนกและความยาวตั ัวปลา นํารังไขของปลาหมูจุดมาศึกษาความดกไข  ตามวิธีของ Siddiqui et al. (1976) โดยการชั่ง น้ําหนกไขั ทั้งหมดแลวส ุมตัวอยางไขตรงบริเวณสวนต น สวนกลาง และสวนปลายของรังไข รวม 3 จุด มาทํา การชั่งและนับจํานวนแลวจึงคํานวณหาจํานวนไขทั้งหมด พรอมทั้งหาคาความสัมพันธระหวางความดกไข (F) ตอน้ําหนัก (W) และความยาวตัวปลา (L) ดวยวิธีวิเคราะหการถดถอยแบบเสนตรงเชิงเดี่ยว (linear regression analysis) โดยใชสูตรสมการยกกําลังคือ F = aWb และ F = aLb ตามลําดับ ซึ่งคํานวณในรูป logarithm ดังนี้

log F = log a + b log W และ log F = log a + b log L โดย F = ความดกไข (ฟอง) W = น้ําหนักปลา (กรัม) L = ความยาวเหยยดี (เซนติเมตร) a และ b = คาคงที่

10 วิเคราะหความสัมพันธระหวางความดกไข ตอน้ําหนกและความยาวตั วปลาั โดยใชค าสัมประสิทธิ์ ตัวกําหนด (coefficient of determination, R2) และทดสอบความเชอมื่ ั่นของสมการทไดี่ โดยค ํานวณคา t จากสูตร t = √(n-2)R2/(1-R2) แลวนําคา t ที่คํานวณไดไปเปรียบเทียบกับคา t ที่เปดจากตาราง t – distribution

ที่ t0.05 (n-2) ถาคา t ที่คํานวณไดมีคามากกวาคา t ที่เปดจากตาราง แสดงวาเสนสมการแสดงความสัมพันธมี ความสัมพันธหรือมีความเชอมื่ ั่นในการอธบายความผิ ันแปรของตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ผลการศึกษา

1. ลักษณะทั่วไปและอนุกรมวิธาน

1.1 ลักษณะทวไปั่ ผลการศึกษาลักษณะภายนอกของปลาหมูจุด พบวาปลาหมูจุดเปนปลาที่มีลําตัวเรียวยาว (elongate) มีขนาดเล็ก ลําตัวมีสีน้ําตาลออนจนถึงน้ําตาลเขม มีเกล็ดขนาดเล็ก สวนหัวคอนขางยาว มี spine แยกเปน 2 แฉก (bifid spine) ฝงอยูในรองใตตา ตามีขนาดเล็กอยูคอนไปทางดานหลัง ไมมีหนังปดตา ปากอยู ในระดับที่ต่ํากวาจะงอยปาก (inferior mouth) มีหนวด 3 คู ครีบหางมีรูปรางแบบสอม (fork) ครีบหลังและ ครีบหางมีสีสม ครีบกนและครีบทองมีสีเหลืองออน สวนหัวมีแถบสีดําพาดยาวในแนวกลาง 2 แถบ และพาด เฉียงอีก 2 แถบที่บริเวณดานขางบนแผนปดเหงือก (operculum) ลําตัวมีแถบสีดําพาดขวาง 11 แถบ ครีบหางมี แถบสีดํา 3 แถบ มีจุดสีดํากระจายตลอดลําตัว ครีบหลังและครีบกน สวนทองมีสีขาว 1.2 ลักษณะอนุกรมวิธาน จากการศึกษาลักษณะอนุกรมวิธาน (ตารางที่ 2) พบวา ปลาหมูจุดมีลักษณะลําตัวเรียวยาว (elongate) แบนขาง เกล็ดมีขนาดเล็ก เปนเกล็ดแบบ cycloid ที่ฝงแนนอยูในผิวหนัง (embedded scale) สัดสวนความลึกลําตัวตอความยาวมาตรฐานเทากับ 1 : 4.9 – 5.4 ความยาวสวนหัวตอความยาวมาตรฐาน เทากับ 1 : 3.2 – 3.6 สวนหัวแหลมคอนขางยาว ความยาวหัวมากกวาความลึกลําตัว มีหนวด 3 คู ความยาว ใกลเคียงกัน อยูที่ปลายจะงอยปาก 2 คู และขากรรไกรบน 1 คู ปากมีขนาดเล็กตั้งอยูในระดับต่ํากวาจะงอยปาก (inferior mouth) ครีบหลังประกอบดวยกานครีบออน 9 กาน ครีบอกประกอบดวยกานครีบออน 14 กาน ครีบทองประกอบดวยกานครีบออน 8 กาน ครีบกนประกอบดวยกานครีบออน 5 กาน มีเสนขางตัวสมบูรณอยู ในแนวกลางลําตัว สามารถจัดลําดับทางอนุกรมวิธาน ตามระบบของ Nelson (1994) ไดดังนี้ Phylum Chordata Class Pisces Subclass Teleostomi Order Family Cobitidae Genus Botia Species beauforti Smith,1931 11 ตารางที่ 2 จํานวนและสัดสวนของลักษณะทางอนุกรมวธานทิ ี่สําคัญของปลาหมูจุด ในแมน้ําแควนอย จังหวัด พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตลาคมุ 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 หนวย การวัดสัดสวนและการนับจํานวน standard length เซนติเมตร 5.33 – 6.52 total length เซนติเมตร 6.77 – 7.80 snout length เซนติเมตร 0.75 – 0.97 head length เซนติเมตร 1.66 – 1.83 body depth เซนติเมตร 1.08 – 1.20 fork length เซนติเมตร 1.44 – 1.52 anal fin ray กาน 5 dorsal fin ray กาน 9 pectoral fin ray กาน 14 pelvic fin ray กาน 8 ความลึกลําตัวตอความยาวมาตรฐาน 1 : 4.9 – 5.4 ความยาวสวนหัวตอความยาวมาตรฐาน 1 : 3.2 – 3.6

2. แหลงที่อยูอาศัย

จากการรวบรวมตัวอยางปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย เขตจังหวัดพิษณุโลก พบวา ปลาหมูจุด ถูกจับไดมากในจุดสํารวจที่ N2C11 ชองตารางที่ 7I ในเขตตําบลเนินเพิ่ม อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก (ตารางที่ 1) ในบริเวณที่เรียกวาหวยน้ําไท ซึ่งเปนแหลงที่อยูอาศัยมีลักษณะเปนโขดหินและมีกระแสน้ําไหล เอื่อย ๆ จากการวิเคราะหคุณสมบัติของน้ํา พบวามีปริมาณออกซิเจนละลาย (DO) อยูระหวาง 6.5 – 8.3 มิลลิกรัมตอลิตร ความเปนกรดเปนดาง (pH) 6.7 – 7.8 ความเปนด าง (alkalinity) 103 – 150 มิลลิกรัมตอลิตร ความกระดาง (hardness) 106 – 142 มิลลิกรัมตอลิตร ความโปรงแสง (transparency) 25 – 36 เซนติเมตร และอุณหภูมิ (temperature) 23.0 – 32.5 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 พิสัยของคุณสมบัติน้ําบริเวณจุดสํารวจปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก จากการ รวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 คุณภาพน้ํา พิสัย ปริมาณออกซิเจนละลาย (มิลลิกรัมตอลิตร) 6.5 – 8.3 ความเปนกรดเปนดาง 6.7 – 7.8 ความเปนดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 103 – 150 ความกระดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 106 – 142 ความโปรงแสง (เซนติเมตร) 25 – 36 อุณหภูมิน้ํา (องศาเซลเซียส) 23.0 – 32.5

12 3. อาหารและนิสัยการกินอาหาร

จากการศึกษาองคประกอบของอาหารในกระเพาะของปลาหมูจุด จํานวน 40 ตัวอยาง พบวา ปลาหมูจุดมีความยาวระหวาง 5.3 – 9.7 เซนติเมตร น้ําหนกระหวั าง 1.23 – 6.91 กรัม กระเพาะมีรูปราง ลักษณะแบบตวเจั (J - shape) มีขนาดเล็ก ชนิดอาหารที่พบในกระเพาะประกอบดวย ตวอั อนแมลงรอยละ 55.98 หนอนตัวกลมรอยละ 8.78 หอยฝาเดียวรอยละ 2.25 กุงรอยละ 0.67 และซากเนาเปอยรอยละ 32.32 (ตารางผนวกที่ 1 และภาพท่ี 2) จากลักษณะดังกลาวทําใหทราบวา ปลาหมูจุดเปนปลาที่ชอบกินเนื้อสัตวเปน อาหาร โดยจะหากินอาหารบริเวณหนาดนิ และจากการศึกษาสัดสวนระหวางความยาวตวปลาตั อความยาว ลําไส พบวา ปลาหมูจุดมีความยาวตัวปลาเฉลี่ย 7.8 ± 1.12 เซนติเมตร ความยาวลําไสเฉลี่ย 3.4 ± 0.41 เซนติเมตร และสัดสวนความยาวตวปลาตั อความยาวล ําไสมีคาเทากับ 1 : 0.44

ซากเนาเปอย 32.32%

กุง 0.67% ตวอั อนแมล ง หอยฝาเดียว 55.98% 2.25%

หนอนตวกลมั

8.78%

ภาพที่ 2 รอยละของปรมาณอาหารทิ ี่พบในกระเพาะของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549

4. ความแตกตางระหว างเพศและสัดสวนเพศ 4.1 ความแตกตางระหวางเพศปลาหมูจุด ผลการศึกษาลักษณะภายนอก พบวาปลาเพศผูและเพศเมียไมสามารถแยกเพศไดอยางช ัดเจน เมื่อยังไมถึงฤดูผสมพันธุ เนื่องจากปลาหมจู ุดเปนปลาที่มขนาดเลี ็ก ติ่งเพศ (urogenital papillae) มีขนาดเล็กไม ยื่นยาวออกมา สีและลวดลายบนลําตัวของทั้งสองเพศมีลักษณะเหมอนกื ัน แตในชวงฤดูผสมพันธวางไขุ  พบวาสวนทองของปลาเพศเมียมีลักษณะอมู และมีผนังทองบางกวาปลาเพศผู และเมื่อศึกษาลักษณะอวัยวะ สืบพันธุภายใน พบวาปลาเพศเมียมีรังไขล ักษณะเปนฝก 2 ฝก เมื่อถึงฤดูผสมพันธุพบไขเปนจํานวนมากใน รังไข สวนอวยวะสั ืบพันธุเพศผูมีลักษณะคลายเสนดายสีขาวขุน 13 4.2 สัดสวนเพศ จากตัวอยางปลาหมูจุดที่รวบรวมไดในรอบปจํานวน 262 ตัวอยาง พบวาเปนปลาเพศผู จํานวน 134 ตัว และเพศเมียจํานวน 128 ตัว มีความยาวอยูระหวาง 5.3 – 12.1 เซนติเมตร น้ําหนักอยูระหวาง 1.23 – 7.52 กรัม สัดสวนเพศผูตอเพศเมียเทากับ 1 : 0.96 และเมื่อทดสอบความแตกตางทางสถิติของสัดสวนเพศ ในภาพรวมทั้งปที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % พบวาคา Chi-square ที่คํานวณไดมีคาเทากับ 1.69 ซึ่งมีคานอยกวา คา Chi-square ที่เปดจากตารางซึ่งมีคาเทากับ 19.68 ที่ degree of freedom = 11 แสดงวาสัดสวนเพศใน ภาพรวมทั้งปไมมีความแตกตางกันทางสถิติ และเมื่อทดสอบความแตกตางทางสถิติของสัดสวนเพศรายเดือน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % พบวาคา Chi-square ที่คํานวณไดมีคาอยูระหวาง 0 – 0.56 ซึ่งมีคานอยกวาคา Chi- square ที่เปดจากตารางซึ่งมีคาเทากับ 3.84 ที่ degree of freedom = 1 แสดงวาสัดสวนเพศรายเดือนไมมีความ แตกตางกันทางสถิติ (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 สัดสวนเพศของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือน ตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 เดือน/ป เพศผู(ตัว) เพศเมีย(ตัว) รวม(ตัว) คาที่คาดวาจะได  สัดสวนเพศผู:เมีย Chi - square ต.ค.48 6 5 11 5.5 1 : 0.83 0.09 พ.ย.48 19 17 36 18.0 1 : 0.89 0.11 ธ.ค.48 20 25 45 22.5 1 : 1.25 0.56 ม.ค.49 15 15 30 15.0 1 : 1.00 0.00 ก.พ.49 16 15 31 15.5 1 : 0.94 0.03 มี.ค.49 12 10 22 11.0 1 : 0.83 0.18 เม.ย.49 11 10 21 10.5 1 : 0.91 0.05 พ.ค.49 8 6 14 7.0 1 : 0.75 0.29 มิ.ย.49 8 7 15 7.5 1 : 0.88 0.07 ก.ค.49 8 9 17 8.5 1 : 1.13 0.06 ส.ค.49 5 5 10 5.0 1 : 1.00 0.00 ก.ย.49 6 4 10 5.0 1 : 0.67 0.40 134 128 262 131.0 1 : 0.96 1.69 หมายเหตุ คา Chi-square ที่ระดับความเชอมื่ ั่น 95 % เทากับ 3.84 ที่ df = 1 และ 19.68 ที่ df = 11 14 5. ความสัมพนธั ระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลา

5.1 ความสัมพันธระหวางน้ําหนกและคั วามยาวตัวปลาหมจู ดแบบไมุ แยกเพศ จากการศึกษาความสัมพันธระหวางน้ําหนกและคั วามยาวตัวปลาหมจู ดจุ ํานวน 262 ตัวอยาง พบวามีน้ําหนกเฉลั ี่ย 4.01 + 1.68 กรัม และความยาวเฉลยี่ 7.80 + 1.24 เซนติเมตร เมื่อวิเคราะหความสัมพันธ ระหวางน้ําหนกและคั วามยาวตัวปลา พบวา มีความสัมพันธดังสมการ (ภาพที่ 3)

W = 0.0218 L2.5079 หรือ log W = 2.5079 log L - 1.6609 มีคาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) = 0.8223 n = 262, p < 0.05

คาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) เทากับ 0.8223 แสดงวาน้ําหนักของปลาหมูจุดจะผันแปรไป ตามการเปลี่ยนแปลงของความยาวตัวปลารอยละ 82.23 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต เมื่อนําคา R2

ไปคํานวณหาคา t พบวาคา t จากการคํานวณมีคาเทากับ 34.69 ซึ่งมีคาที่มากกวาคา t 0.05 (262 - 2) ที่เปดจาก ตาราง t – distribution ที่มีคาเทากับ 1.645 แสดงวาสมการความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวของ ปลาหมูจุดแบบไมแยกเพศที่คํานวณได มีระดับความเชื่อมั่นในการยอมรับสูงอยางมีนัยสําคัญ (p < 0.05)

1.20 log W = 2.5079 log L - 1.6609 1.10 1.00 R2 = 0.8223 0.90 0.80 n = 262 ight 0.70 we 0.60 0.50 log of 0.40 0.30 0.20 0.10 0.00 0.70 0.72 0.74 0.76 0.78 0.80 0.82 0.84 0.86 0.88 0.90 0.92 0.94 0.96 0.98 1.00 log of length

ภาพที่ 3 ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตวปลาหมั ูจุดแบบไมแยกเพศในแมน้ําแควนอย จังหวัด พิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 15 5.2 ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลาหมูจุดเพศผู จากการศึกษาความสัมพันธระหวางน้ําหนกและความยาวตั วปลาหมั ูจุดเพศผูจํานวน 134 ตัวอยาง พบวา มีน้ําหนกเฉลั ี่ย 3.89 + 1.94 กรัม และความยาวเฉลี่ย 7.71 + 1.38 เซนติเมตร เมื่อวิเคราะหความสัมพันธ ระหวางน้ําหนกและความยาวตั ัวปลา พบวา มีความสัมพันธดังสมการ (ภาพที่ 4)

W = 0.0138 L2.7186 หรือ log W = 2.7186 log L – 1.8598 มีคาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) = 0.8638 n = 134, p < 0.05

คาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) เทากับ 0.8638 แสดงวาน้ําหนักของปลาหมูจุดเพศผูผันแปร ไปตามการเปลี่ยนแปลงของความยาวตัวปลารอยละ 86.38 เมื่อนําคา R2 ไปคํานวณหาคา t พบวาคา t จากการ

คํานวณมีคาเทากับ 28.93 ซึ่งมีคาที่มากกวาคา t 0.05 (134 - 2) ที่เปดจากตาราง t – distribution ที่มีคาเทากับ 1.645 ดังนั้น แสดงวาสมการความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวของปลาหมูจุดเพศผูที่คํานวณได มีระดับความเชื่อมั่นในการยอมรับสูงอยางมีนัยสําคัญ (p < 0.05)

5.3 ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลาหมูจุดเพศเมีย จากการศึกษาความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลาหมูจุดเพศเมียจํานวน 128 ตัวอยาง พบวา มีความยาวเฉลี่ย 7.91 + 1.07 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉลี่ย 4.14 + 1.34 กรัม เมื่อวิเคราะห ความสัมพันธระหวางน้ําหนกและความยาวตั ัวปลา พบวา มีความสัมพันธดังสมการ (ภาพที่ 5)

W = 0.0610 L 2.0251 หรือ log W = 2.0251 log L - 1.215 มีคาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) = 0.7532 n = 128, p < 0.05

คาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) เทากับ 0.7532 แสดงวา น้ําหนักของปลาหมูจุดเพศเมียผัน แปรไปตามการเปลี่ยนแปลงของความยาวตัวปลารอยละ 75.32 เมื่อนําคา R2 ไปคํานวณหาคา t พบวาคา t จาก

การคํานวณมีคาเทากับ 19.61 ซึ่งมีคาที่มากกวาคา t 0.05 (128 - 2) ที่เปดจากตาราง t – distribution ที่มีคาเทากับ 1.645 ดังนั้น แสดงวาสมการความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวของปลาหมูจุดเพศเมยที ี่คํานวณได  มี ระดับความเชอมื่ ั่นในการยอมรับสูงอยางมีนัยสําคัญ (p < 0.05)

16

14 W = 0.0138 L2.7186 12 R2 = 0.8638 10 n = 134 ) ัม

กร 8 ( ัก

น 6 ้ํ าห น 4 2 0 45678910111213 ความยาว (เซนติเมตร)

ภาพที่ 4 ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตวปลาหมั ูจุดเพศผูในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ษณิ ุโลก จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549

10 W = 0.0610 L2.0251 8 R2 = 0.7532 ) ัม 6 n = 128 กร ( ัก น 4 ้ํ าห น 2 0 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 ความยาว (เซนติเมตร)

ภาพที่ 5 ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตวปลาหมั ูจุดเพศเมียในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 17 6. ฤดูวางไข 

การศึกษาฤดูวางไขของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก ไดทําการประเมินและ ติดตามการเปลี่ยนแปลงของระยะพัฒนาการของอวัยวะสืบพันธุทั้งปลาเพศผูและเพศเมียจาก 2 วิธีการ แลวนํา ผลการศึกษาที่ไดมาวิเคราะหและพิจารณารวมกัน เพื่อประเมินชวงเวลาในการวางไขในรอบป โดย ผลการศึกษามีดังนี้

6.1 การตรวจสอบระยะการเจริญพันธุ (maturity stage) ดวยตาเปลา จากตัวอยางปลาหมูจุดที่รวบรวมได จํานวน 262 ตัว เปนเพศเมีย 128 ตัวและเพศผู 134 ตัว พบวาปลาหมูจุดเพศเมียที่รวบรวมไดตั้งแตเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนพฤษภาคม 2549 ไมมีพัฒนาการของ รังไขถึงระยะที่ 3 (gravid) แตในเดือนมิถุนายน 2549 รังไขมีการพัฒนาอยูในระยะที่ 3 (gravid) รอยละ 28.57 และระยะที่ 4 (spawning) รอยละ 57.14 สวนในระหวางเดือนกรกฎาคม 2549 ถึงเดือนกันยายน 2549 พบตัวอยางปลาหมูจุดอยูในระยะที่ 4 (spawning) ซึ่งเปนระยะที่พรอมวางไขถึงรอยละ 75.00 – 80.00 และ รังไขเริ่มพัฒนาถึงระยะที่ 5 (spent) ในเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนธันวาคม 2548 รอยละ 11.76 – 60.00 โดย ในเดือนตุลาคม 2548 เปนเดือนที่ปลาเพศเมียมีพัฒนาการของรังไขอยูในระยะที่ 5 (spent) มากที่สุด (ตารางที่ 5 และภาพที่ 6)

สวนการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการอวัยวะสืบพันธุของปลาหมูจุดเพศผูดวย ตาเปลา พบวาปลาหมูจุดเพศผูที่รวบรวมไดตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2548 ถึงเดือนพฤษภาคม 2549 ไมมี พัฒนาการของถุงน้ําเชื้อถึงระยะที่ 3 (gravid) หลังจากนั้นในเดือนมิถุนายน 2549 ถึงเดือนกันยายน 2549 ถุงน้ําเชื้อมีการพัฒนาอยูในระยะที่ 3 (gravid) ถึงระยะที่ 4 (spawning) รอยละ 50.00 – 100.00 โดยในระยะที่ 4 (spawning) ซึ่งเปนระยะสืบพันธุพบมากในเดือนสิงหาคมและกันยายน (ตารางที่ 6 และภาพที่ 7)

18 ตารางที่ 5 พฒนาการของอวั ัยวะสืบพนธั ุปลาหมูจุดเพศเมียในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ิษณุโลก จากการ รวบรวมระหวางเด ือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 จํานวน เดือน/ป virgin developing gravid spawning spent ตัวอยาง จํานวน % จํานวน % จํานวน % จํานวน % จํานวน % (ตัว) ต.ค.48 - - 2 40.00 - - - - 3 60.00 5 พ.ย.48 2 11.76 13 76.47 - - - - 2 11.76 17 ธ.ค.48 4 16.00 18 72.00 - - - - 3 12.00 25 ม.ค.49 3 20.00 12 80.00 ------15 ก.พ.49 - - 15 100.00 ------15 มี.ค.49 - - 10 100.00 ------10 เม.ย.49 - - 10 100.00 ------10 พ.ค.49 - - 6 100.00 ------6 มิ.ย.49 - - 1 14.29 2 28.57 4 57.14 - - 7 ก.ค.49 - - - - 2 22.22 7 77.78 - - 9 ส.ค.49 - - - - 1 20.00 4 80.00 - - 5 ก.ย.49 ------3 75.00 1 25.00 4

virgin developing gravid spawning spent 100 90

ุ (%) 80

ั นธ 70

ิ ญพ 60 ร จ เ

ร 50

กา 40 30 20 10 0 ต.ค.48 พ.ย.48 ธ.ค.48 ม.ค.49 ก.พ.49 ม.ีค.49 เม.ย.49 พ.ค.49 ม.ิย.49 ก.ค.49 ส.ค.49 ก.ย.49 เดือน

ภาพที่ 6 ปริมาณรอยละของระยะการเจริญพันธุของปลาหมูจุดเพศเมียในแมน ้ําแควนอย จังหวดพั ษณิ ุโลก จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549

19 ตารางที่ 6 พฒนาการของอวั ัยวะสืบพนธั ุปลาหมูจุดเพศผูในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ษณิ ุโลก จากการ รวบรวมระหวางเด ือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 จํานวน เดือน/ป virgin developing gravid spawning spent ตัวอยาง จํานวน % จํานวน % จํานวน % จํานวน % จํานวน % (ตัว) ต.ค.48 ------6 100.00 6 พ.ย.48 2 10.53 13 68.42 - - - - 4 21.05 19 ธ.ค.48 3 15.00 15 75.00 - - - - 2 10.00 20 ม.ค.49 2 13.33 13 86.67 ------15 ก.พ.49 - - 16 100.00 ------16 มี.ค.49 - - 12 100.00 ------12 เม.ย.49 - - 11 100.00 ------11 พ.ค.49 - - 8 100.00 ------8 มิ.ย.49 - - 5 62.50 3 37.50 - - 8 ก.ค.49 - - - - 4 50.00 4 50.00 - - 8 ส.ค.49 ------5 100.00 - - 5 ก.ย.49 ------6 100.00 - - 6

virgin developing gravid spawning spent 100 90 80 ุ (%)

ั นธ 70

ิ ญพ 60 ร จ

รเ 50

กา 40 30 20 10 0 ต.ค.48 พ.ย.48 ธ.ค.48 ม.ค.49 ก.พ.49 ม.ีค.49 เม.ย.49 พ.ค.49 ม.ิย.49 ก.ค.49 ส.ค.49 ก.ย.49 เดือน

ภาพที่ 7 ปริมาณรอยละของระยะการเจริญพันธุของปลาหมูจุดเพศผูในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณโลกุ จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 20 6.2 การประเมินคาดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพันธุ (gonadosomatic index, GSI) จากการศึกษาคาดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพนธั ุของปลาหมูจุด พบวาปลาเพศเมียมีคา GSI อยูระหวาง 0.50 – 5.96% โดยมีคาสูงในชวงเดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคม (3.08 – 5.96%) และมี คาสูงสุดในเดอนสื ิงหาคม 2549 (5.96%) สวนปลาหมูจดเพศผุ ูมีคา GSI อยูระหวาง 0.31 – 1.05% (โดยมีคา GSI สูงในชวงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกนยายนั (0.92 – 1.05%) และมีคาส ูงสุดในเดือนกรกฎาคม 2549 (1.05%) (ตารางที่ 7 และภาพที่ 8)

ตารางที่ 7 ดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพันธุปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก จากการ รวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 เดือน/ป เพศเมีย (ตัว) GSI (%) เพศผู (ตัว) GSI (%) ต.ค.48 5 5.38 6 0.88 พ.ย.48 17 4.66 19 0.54 ธ.ค.48 25 3.17 20 0.31 ม.ค.49 15 0.50 15 0.36 ก.พ.49 15 0.61 16 0.39 มี.ค.49 10 0.63 12 0.42 เม.ย.49 10 1.03 11 0.46 พ.ค.49 6 1.25 8 0.62 มิ.ย.49 7 3.08 8 0.92 ก.ค.49 9 5.84 8 1.05 ส.ค.49 5 5.96 5 0.99 ก.ย.49 4 5.70 6 0.97

7 6

5

) 4

% เพศผู ( I 3

GS 2 เพศเมยี 1 0 ต.ค.48 พ.ย.48 ธ.ค.48 ม.ค.49 ก.พ.49 มี.ค.49 เม.ย.49 พ.ค.49 มิ.ย.49 ก.ค.49 ส.ค.49 ก.ย.49 เดือน ภาพที่ 8 การเปลี่ยนแปลงคาด ัชนีความสมพั ันธของอวยวะสั ืบพันธุ (GSI) ของปลาหมูจุดในแมน าแควน้ํ อย จังหวดพั ิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549 21 7. ความดกไข และความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนักและความยาวตัวปลา

จากการศึกษาปลาหมูจุดเพศเมียจํานวน 18 ตัวอยาง พบวาม ีน้ําหนกอยั ระหวู าง 4.20 – 7.50 กรัม และความยาวระหวาง 7.4 – 12.0 เซนติเมตร น้ําหนกเฉลั ี่ย 6.27 ± 1.08 กรัม และความยาวเฉลี่ย 9.34 ± 1.31 เซนติเมตร น้ําหนักรังไขเฉลี่ย 0.366 ± 0.07 กรัม มีปริมาณไขเฉลี่ย 2,200 ± 582 ฟอง (ตารางที่ 8) ลักษณะไข ปลาหมูจุดเปนไขประเภทครึ่งจมครึ่งลอย เปนเม็ดกลมสีเขียวปนเทา เมื่อนํามาหาคาความสัมพันธระหวาง ความดกไขตอน้ําหนักและความยาวตัวปลา พบวามีความสัมพันธ ดังนี้

7.1 ความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนักตวปลาั มีความสัมพันธตามสมการ

F = 171.9607 W 1.3805 หรือ log F = 1.3805 log W + 2.2354 มีคาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) = 0.8260 n = 18, p < 0.05

คาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) เทากับ 0.8260 แสดงวาความดกไขปลาหมูจุดจะผันแปรไป ตามน้ําหนกของตั ัวปลารอยละ 82.60 เมื่อนําคา R2 ไปคํานวณหาคา t พบวาคา t จากการคํานวณมีคาเทากับ

8.715 ซึ่งมากกวาคา t 0.05 (18 - 2) ที่เปดจากตาราง t – distribution ที่มีคาเทากับ 1.746 ดังนั้น แสดงวาสมการ ความสัมพันธของความดกไขตอน้ําหนักตัวปลาที่คํานวณได มีระดับความเชื่อมั่นของการยอมรับสูงอยาง มีนัยสําคัญ (p < 0.05) (ภาพที่ 9)

7.2 ความสัมพันธระหวางความดกไขตอความยาวตวปลาั มีความสัมพันธตามสมการ

F = 55.7111 L 1.6363 หรือ log F = 1.6363 log L + 1.7459 มีคาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) = 0.6506 n = 18, p < 0.05

คาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R2) เทากับ 0.6506 แสดงวา ความดกไขปลาหมูจุดจะผันแปรไป ตามความยาวของตัวปลารอยละ 65.06 เมอนื่ ําคา R2 ไปคํานวณหาคา t พบวาคา t จากการคํานวณมีคาเทากับ

5.458 ซึ่งมากกวาคา t 0.05 (18 - 2) ที่เปดจากตาราง t – distribution ที่มีคาเทากับ 1.746 ดังนั้น แสดงวาสมการ ความสัมพันธของความดกไขตอความยาวตัวปลาที่คํานวณได มีระดบความเชั ื่อมั่นของการยอมรับสูงอยางมี นัยสําคัญ (p < 0.05) (ภาพที่ 10) 22 ตารางที่ 8 น้ําหนักและความยาวตัวปลากบความดกไขั ของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ษณิ ุโลก จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 ลําดับที่ ความยาว น้ําหนัก น้ําหนกรั ังไข  จํานวนไขทั้งหมด (ซม.) (กรัม) (กรัม) (ฟอง) 1 7.4 4.20 0.230 1,256 2 7.8 4.70 0.270 1,548 3 7.9 6.20 0.345 1,925 4 8.5 5.20 0.300 1,763 5 8.6 5.00 0.320 1,624 6 8.7 5.70 0.290 1,765 7 8.7 5.80 0.320 1,504 8 8.9 5.30 0.340 1,692 9 9.0 7.20 0.385 2,080 10 9.1 6.10 0.340 2,220 11 9.3 6.20 0.347 2,548 12 9.3 7.40 0.415 2,655 13 9.5 7.30 0.465 2,969 14 9.6 7.00 0.438 2,998 15 11.0 7.30 0.390 2,555 16 11.0 7.30 0.450 2,750 17 11.8 7.50 0.465 2,900 18 12.0 7.50 0.480 2,850 เฉลี่ย ± SD 9.34 ± 1.31 6.27 ± 1.08 0.366 ± 0.07 2,200 ± 582

23

3.50 log F = 1.3805 log W + 2.2354 3.45 R2 = 0.8260 3.40 n = 18 3.35 y t 3.30 undi

c 3.25 e f 3.20 og of l 3.15 3.10 3.05 0.60 0.62 0.64 0.66 0.68 0.70 0.72 0.74 0.76 0.78 0.80 0.82 0.84 0.86 0.88 0.90 log of weight

ภาพที่ 9 ความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนักของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก จากการรวบรวมระหวางเดอนตื ุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549

3.60 log F = 1.6363 log L + 1.7459 2 3.50 R = 0.6506 n = 18 3.40 ndity u c e 3.30 f

log of 3.20 3.10 3.00 0.80 0.82 0.84 0.86 0.88 0.90 0.92 0.94 0.96 0.98 1.00 1.02 1.04 1.06 1.08 1.10 log of length

ภาพที่ 10 ความสัมพันธระหวางความดกไขตอความยาวของปลาหมูจดในแมุ น้ําแควนอย จังหวดพั ษณิ ุโลก จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกนยายนั 2549

24 สรุปและวิจารณผล

จากการศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาหมูจุด ในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก จากการ รวบรวมในเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 สามารถสรุปและวิจารณผลไดดังนี้

1. ลักษณะทั่วไปและอนุกรมวิธาน

จากการศึกษาลักษณะทางอนุกรมวิธานของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอยจ ังหวัดพิษณุโลก พบวา ปลาหมูจุดมีชื่อวิทยาศาสตรวา Botia beauforti Smith, 1931 หรือ spotted loach จัดอยูในครอบครัวปลาหมู ปลาคอ (Family Cobitidae) ในประเทศไทยสามารถพบปลาหมูได 13 ชนิด คือ Botia rostrata (ปลาหมูฮองเต) Botia helodes (ปลาหมูขางลาย) Botia beauforti (ปลาหมูลายเสือ) Botia berdmorei (ปลาหมูลายสาละวิน) Botia sidthimunki (ปลาหมอารู ีย) Botia modesta (ปลาหมูขาว) Botia eos (ปลาหมครู ีบแดง) Botia lecontei (ปลา หมูสัก) Botia morleti (ปลาหมูคอก) Botia rubripinnis (ปลาหมูแดง) Botia caudipunctatus (ปลาหมูหางจุด) Botia longidorsalis (ปลาหมูหลังยาว) Sinibotia longiventralis (ปลาหมูทองยาว) (ชวลิต และคณะ, 2540) ซึ่ง Mohsin et al. (1983) ไดแยกปลาในสกุล Botia ออกจากสกุลอื่น ๆ ใน Family Cobitidae โดยอาศัยลักษณะการ มี bifid spine อยูที่หนาตา และบริเวณสวนห ัวทไมี่ มีเกล็ด

การศึกษาลักษณะทวไปและอนั่ ุกรมวิธานของปลาแตละชนิด แสดงใหเห็นถึงสิ่งมีชีวิตไดผาน กระบวนการวิวัฒนาการทางธรรมชาติ โดยเฉพาะทางดานนิเวศวิทยาและสิ่งแวดลอม ซึ่งไดมีการปรับตัวและ มีวิวัฒนาการมาแลวเปนเวลายาวนาน การมีวิวัฒนาการกเพ็ ื่อจะชวยให สิ่งมีชีวิตนั้น ๆ สามารถดารงอยํ ูไดใน สภาพแวดลอมดังกลาว โดยมีการปรับเปลี่ยนสภาพอวยวะั ซึ่งไดแก  รูปรางและการปรับพฤติกรรมตาง ๆ ดังนั้นลักษณะรูปพรรณสัณฐานภายนอกตาง ๆ จึงสามารถใชบงชี้ถึงแหลงที่อยูอาศัย ลักษณะการดํารงชีวิต พฤติกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของไดอยางมีนัยสาคํ ัญ (Wootton, 1998) จากลักษณะรูปรางปลาหมูจุดทใชี่ หลักการ เปรียบเทียบสดสั วนความยาวลําตัวและความลึกของลําตัว พบวามความยาวมาตรฐานประมาณี 4.9 - 5.4 เทา ของความลึกลําตัว จัดวาเปนปลาที่มีรูปรางแบบ elongate มีลําตัวเรียวยาว ซึ่งสอดคลองกับวิมล (2540) ที่กลาว ไววา การจัดรูปทรงของปลาโดยใชการวัดเทยบสี ัดสวน (morphometry) ระหวางความยาวและความลึกของ ตัวปลา ในปลาที่มีรูปรางแบบ elongate นั้น จะมีความยาวตอความลึกของตัวปลามากกวา 4 เทา สวนหัวมี ลักษณะแหลมคอนขางยาว เพราะจะชวยในการแทรกเขาไปในกรวดทรายได งายขึ้น ปากมีขนาดเล็กตั้งอยูใน ระดบทั ี่ต่ํากวาจะงอยปาก (inferior mouth) ลักษณะของปากดงกลั าวบ งบอกว าเปนปลาท ี่หากนอาหารพิ ื้นทองน้ํา เลือกกินอาหารที่มีขนาดไมใหญมากนัก มีหนวด 3 คูชวยในการสมผั ัส ตามีขนาดเลกท็ ําใหไม ตองการแสงมาก ครีบหางมีรูปรางเปนแบบสอมที่เวาลึกและมีแพนครีบหางเรียวยาว แสดงถึงความสามารถในการวายน้ําได คอนขางรวดเร็ว สวนขนาดของครีบเปนเครื่องบงชี้ของการทรงตัวไดดี ลําตัวมีลักษณะสีสันและลวดลายและ มีจุดสีดํา เพื่อชวยใหปลาหมูจุดกลมกลืนเขากับสภาพแวดลอมจนสังเกตไดยาก

25 2. แหลงที่อยูอาศัย

แหลงที่อยูอาศัยและการแพรกระจายของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณโลกุ โดยจะ พบปลาหมูจุดมากในหวยน้ําไท ตําบลเนินเพิ่ม อําเภอนครไทย จังหวดพั ิษณุโลก ซึ่งเปนบริเวณที่เปนโขดห ิน มีกระแสน้ําไหลเอื่อย ๆ สามารถรวบรวมไดตลอดทั้งป โดยในชวงท ี่จับปลาไดมากเดือนพฤศจิกายน 2548 ถึง เดือนกุมภาพนธั  2549 เปนชวงที่น้ําในแมน้ําแควนอยลด ระดับน้ําในบริเวณนี้ลึกประมาณ 30 – 50 เซนติเมตร ทําใหสามารถทําการประมงไดสะดวกและรวบรวมพันธปลาไดุ งาย ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ประวิทย (2546) ที่กลาววา การที่รวบรวมพันธุปลาหมูขางลายไดมากหรือนอยขึ้นกับปริมาณน้ําในแมน้ําและความขุน ของน้ํา ผลการศึกษาคุณสมบัติของน้ําในบริเวณจุดสํารวจ จัดไดวามีคุณภาพดีโดยเฉพาะปริมาณออกซิเจน ละลายคอนขางสูง ความเปนกรดเปนดาง ความกระดาง ความเปนดางและอุณหภูมิเหมาะสมตอการดํารงชีวิต ของปลาหมูจุดตามธรรมชาติ ตามคาเกณฑมาตรฐานของไมตรี และจารุวรรณ (2528)

3. อาหารและนิสัยการกินอาหาร

จากการศึกษาตัวอยางปลาหมูจุดจํานวน 40 ตัวอยาง พบวามีความยาวตัวปลาเฉลี่ย 7.8 ± 1.12 เซนติเมตร ความยาวลําไสเฉลี่ย 3.4 ± 0.41 เซนติเมตร สัดสวนความยาวตวปลาตั อความยาวลําไสมีคาเทากับ 1 : 0.44 ซึ่งจินดา (2506) กลาววา การที่จะพิจารณาวาปลาชนิดที่ศึกษาเปนปลากินพชหรื ือกินสัตวเป นอาหาร สามารถพิจารณาไดจากขนาดความส ั้นยาวของลําไสและสีสันของเยื่อบุผิวลําไส โดยสังเกตดูวาถาปลาชนิดใด มีลําไสสั้นและเหยียดตรงและมีเยื่อบุผนังลําไสสีขาว แสดงถึงปลาชนิดนั้นจะมีนิสัยชอบกินสัตวดวยกัน เปนอาหาร สวนปลาชนิดใดมีลําไสยาวและยืดจนขดงอทับกันและผนังลําไสมีสีดํา ก็จัดไดวาเปนประเภท กินพืชเปนอาหาร ซึ่งสอดคลองกับ Nikolsky (1963) ที่กลาววา ปลาที่มีลําไสสั้นกวาความยาวตวจั ัดเปนปลา จําพวกปลากนเนิ ื้อ (carnivore) ดังนั้นสามารถสรุปไดวา ปลาหมูจุดเปนปลากินเนื้อ (carnivore) มีกระเพาะ อาหารรูปรางแบบตัวเจ (J-shape) ผนังกระเพาะคอนขางหนา ผลการตรวจสอบชนิดและปริมาณอาหารใน กระเพาะประกอบดวย ตัวออนแมลง รอยละ 55.98 หนอนตัวกลม รอยละ 8.78 หอยฝาเดยวี รอยละ 2.25 กุง รอยละ 0.68 และซากเนาเป อย รอยละ 32.33 เมื่อวิเคราะหองคประกอบของอาหารปลาหมูจุดทําใหพบว า เปนปลาที่กินอาหารบริเวณผิวหนาดิน ซึ่งสอดคลองกับ Rainboth (1996) ที่กลาววา ปลาหมูจุดหากินบริเวณ ผิวหนาดินโดยชอบกินพวกหอย และกุง

26 4. ความแตกตางระหว างเพศและสัดสวนเพศ

จากการตรวจสอบลักษณะภายนอก พบวาเม ื่อยังไมถึงฤดผสมพู ันธจะไมุ สามารถแยกความแตกตาง ระหวางเพศได เพราะปลาหมูจุดเพศเมยและเพศผี ูมีติ่งเพศ (urogenital papillae) ที่มีลักษณะคลายกันมาก ไมมี ติ่งเพศยนยาวออกมาื่ สีของลําตัวทั้งสองเพศมีลักษณะเหมอนกื ัน แตในช วงฤด ูผสมพนธั ุวางไขพบวา ปลาเพศเมีย มีสวนทองอูมและผนังทองบางกวาเพศผู รังไขเปนฝก ภายในมเมี ็ดไขอยูเต็มชองทอง สวนปลาเพศผูถุงน้ําเชื้อ มีลักษณะคลายเสนดายสีขาวขุนแนบติดผนังดานกระดกสู ันหลัง การแยกเพศจากการตรวจสอบถุงน้ําเชื้อและ รังไขดวยตาเปลาที่มีพัฒนาการในระยะที่ 1 (virgin) และ 2 (developing) ไมชัดเจน จึงตรวจสอบภายใตกลอง จุลทรรศน และพบวาในรอบปทําการศึกษามีสัดสวนเพศผูตอเพศเมียเทากับ 1 : 0.96 (p > 0.05) แสดงใหเห็นวา ปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวดพั ษณิ โลกุ มีสัดสวนเพศผ ูตอเพศเมยใกลี เค ียงกัน ซึ่งสอดคลองกบการศั ึกษา ของประวิทย  (2546) ที่รายงานวา อัตราสวนระหวางเพศผูและเพศเมียของปลาหมูขางลาย มีคา 1 : 0.96 สําหรับผลการศึกษาสัดสวนเพศในแต ละเดอนพบวื า มีสัดสวนเพศผูตอเพศเมยใกลี เค ียงกันทกเดุ ือน ซึ่งสามารถ ใชเปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนการเพาะพันธุปลาหมูจุดได

5. ความสัมพนธั ระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลา

จากการศึกษาความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลาของปลาหมูจุดในรอบป จํานวน 262 ตัว เปนปลาหมูจุดเพศผู 134 ตัว ปลาหมูจุดเพศเมีย 128 ตัว พบวาความสมพั ันธระหวางน้ําหนกและั ความยาวตัวปลาของปลาหมูจุดสามารถแสดงความสัมพนธั ไดตามสมการ ดังนี้

สมการแบบไมแยกเพศ W = 0.0218 L2.5079 (R2 = 0.8223, n = 262, p < 0.05) สมการเพศผู W = 0.0138 L2.7186 (R2 = 0.8638, n = 134, p < 0.05) สมการเพศเมีย W = 0.0610 L 2.0251 (R2 = 0.7532, n = 128, p < 0.05)

จากสมการที่แสดงความสัมพันธทั้ง 3 สมการพบวา สมการแบบไมแยกเพศน ้ําหนกปลามั ีความ ผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงของความยาวตวปลารั อยละ 82.23 (p < 0.05) สวนปลาหมูจุดเพศผและเพศเมู ีย น้ําหนกปลามั ีความผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงของความยาวตัวปลารอยละ 86.38 และ 75.32 (p < 0.05) จากผลการศึกษาสมการความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวตัวปลาหมูจุดเพศผู แสดงใหเห็นวา น้ําหนกปลามั ีความผันแปรตามการเปลี่ยนแปลงของความยาวตัวปลามากกวาความสัมพันธที่พบในปลาหมูจุด เพศเมีย เชนเดียวกับการศึกษาของ ประวิทย (2546) ที่รายงานวา สมการความสัมพันธระหวางน้ําหนักตอ ความยาวตัวปลาหมูขางลายเพศผูน้ําหนักปลามีความผันแปรตามการเปลี่ยนแปลงของความยาวตัวปลามากกวา ความสัมพันธที่พบในปลาเพศเมีย 27 6. ฤดูวางไข 

การประเมินชวงฤด ูวางไขดวยวิธีการ 2 วิธีคือ การตรวจสอบระยะการเจริญพนธั ุ และการ ประเมินคาดัชนีความสัมพันธของอวัยวะสืบพันธุ พบวาปลาหมูจุดเพศเมียจะมีไขแกและเร ิ่มวางไขตั้งแตเดือน มิถุนายน 2549 ถึงเดือนกันยายน 2549 เพราะรังไขของปลาหมูจุดมีการพัฒนาการอยในระยะทู ี่ 3 และระยะที่ 4 และเมื่อดูคาดชนั ีความสัมพนธั ของอวัยวะสืบพันธุ (GSI) ของปลาเพศเมียพบวา จะมีคา GSI สูงตั้งแตเดือน มิถุนายนถึงเดอนธื ันวาคม โดยมีคาเฉลี่ยสูงสุดในเดอนสื ิงหาคม สวนในชวงเด ือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม พบวา รังไขของปลาหมูจุดไมมีพัฒนาการอยูในระยะที่ 3 และระยะที่ 4 เลย เปนเพราะวา ปลาหมูจุดที่รวบรวม ไดในชวงเด ือนนี้เปนปลาหมูจุดที่มีขนาดใหญจึงทําใหน้ําหนกของรั ังไขมากขึ้น สงผลใหคา GSI สูงขึ้นตาม สําหรับปลาหมูจุดเพศผูมีพัฒนาการของถงนุ ้ําเชื้อจนพรอมท ี่จะผสมพนธั ุอยูในชวงเด ือนกรกฎาคม 2549 ถึง เดือนกันยายน 2549 และเมอดื่ ูจากคา GSI พบวามีคา GSI เฉลี่ยสูงสุดในเดือนกรกฎาคม 2549 จึงอาจกลาวได วาฤดูวางไขของปลาหมูจุดอยูในชวงเด ือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน 2549 ซึ่งสอดคลองกับฤดูวางไขของ ปลาหมูขางลายที่อยูในชวงระหวางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน 2540 (ประวิทย, 2546)

7. ความดกไข และความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนักและความยาวตัวปลา

ความดกไขและความสัมพันธระหวางความดกไข ตอน้ําหนักและความยาวตัวปลาของปลาหมูจุด เพศเมียจํานวน 18 ตัว พบวามีปริมาณความดกไขอยูระหวาง 1,256 – 2,998 ฟอง โดยมีคาเฉลี่ย 2,200 ± 582 ฟอง ไขปลาหมูจุดเปนไข ประเภทครึ่งจมครึ่งลอย มีลักษณะเปนเมดกลมส็ ีเขียวปนเทา โดยมีสมการที่แสดง ความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนักและความยาวตัวปลา ตามสมการดังตอไปนี้

สมการแสดงความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนกตั ัวปลาตามสมการตอไปน ี้

F = 171.9607 W 1.3805 R2 = 0.8260, n = 18, p < 0.05

สมการความสัมพันธระหวางความดกไขตอความยาวตัวปลาตามสมการตอไปนี้

F = 55.7111 L 1.6363 R2 = 0.6506, n = 18, p < 0.05

28 จากสมการความสัมพันธระหวางความดกไขตอน้ําหนักและความยาวตัวปลา แสดงวาความดกไข จะผันแปรไปตามการเปลยนแปลงของนี่ ้ําหนักและความยาวตวปลาั รอยละ 82.60 และรอยละ 65.06 (p < 0.05) ตามลําดับ ซึ่งจากการศึกษาครั้งนี้พบวา จํานวนไขมีความสัมพันธกับนาหน้ํ ักตัวมากกวาความยาวตัวปลา ซึ่งสอดคลองกับรายงานของ Wootton (1990) ที่กลาวไววา ความดกไขจะผันแปรตามขนาด อาย ุ และความ สมบูรณของแมปลา และสอดคลองกับการศึกษาของประวิทย  (2546) ที่รายงานวา จํานวนไขของปลาหมูขางลาย มีความสัมพันธกับน้ําหนกตั วมากกวั าความยาวตวปลาั ซึ่งแตกตางกับสุจิตรา (2543) ที่กลาววา จํานวนไขของ ปลาหมูขาวมความสี ัมพันธกับความยาวตวปลามากกวั าน้ําหนกตั ัว

ผลการศกษาชึ ววี ิทยาบางประการของปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณุโลก ทําใหทราบถึง ลักษณะโดยทวไปและอนั่ กรมวุ ิธาน แหลงที่อยอาศู ัย อาหารและนิสัยการกนอาหาริ ความแตกตางระหวางเพศ และอัตราสวนเพศ ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักตัว ฤดูวางไข ความดกไขและความสัมพันธ ระหวางความดกไขตอน้ําหนักและความยาว สามารถนําไปใชเปนขอมูลเบื้องตนนําไปสูแนวทางในการอนุรักษ ปลาหมูจุดในแหลงน้ําใหสามารถดํารงอยูตอไปได เชนการงดจับปลาในฤดูปลาวางไข ควบคุมปริมาณการจับ และการกําหนดเขตพื้นที่ที่เปนแหล งที่อยูอาศัย ตลอดจนเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อนําไปใชในการเพาะขยายพันธุ เพื่อเพิ่มผลผลิตในแหลงน้ํา

29 เอกสารอางอิง

กฤษฎา ดีอินทร ปริญดา รัตนแดง ยงยทธุ อุนากรสวัสดิ์ ถาวร ทันใจ วิชาญ อิงศรีสวาง และ จุมพล สงวนสิน. 2549. รายงานผลการติดตามตรวจสอบระบบนิเวศในน้ําและการประมง โครงการเขื่อน แควนอยอันเนองมาจากพระราชดื่ ําริ. ศูนยวิจัยและพฒนาประมงนั าจ้ํ ืดพิษณุโลก, สํานักวิจัยและ พัฒนาประมงน้ําจืด, กรมประมง. 138 หนา. จินดา เทียมเมธ. 2506. มีนวทยาิ . คณะวิทยาศาสตรการประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 71 หนา. ชวลิต วิทยานนท จรัลธาดา กรรณสูต และ จารุจินต นภีตะภัฎ. 2540. ความหลากชนิดของปลาน้ําจืดใน ประเทศไทย. สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม. กรุงเทพ ฯ. 102 หนา. ประวิทย ละออบุตร. 2546. ชีววิทยาบางประการของปลาหมูขางลายในแมน้ํายม จังหวัดแพร. เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 13/2546. ศูนยวิจัยและพฒนาประมงนั ้ําจดพื ิจิตร, สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด, กรมประมง. 52 หนา. ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และ จารุวรรณ สมศิริ. 2528. คุณสมบัติของน้ําและการวิเคราะหสําหรับการวิจัยทางการ ประมง. ฝายสิ่งแวดลอมสัตวน้ํา, สถาบันวิจัยประมงน้ําจดแหื งชาต,ิ กรมประมง. 113 หนา. วิมล เหมะจันทร. 2540. ชีววิทยาปลา. สํานักพิมพแห งจฬาลงกรณุ มหาวิทยาลัย. 318 หนา. สมโภชน อัคคะทวีวัฒน  และ กาญจนรี พงษฉวี. 2543. อนุกรมวิธานของปลาสวยงาม เพื่อการสงออกของไทย. กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 214 หนา. สันทนา ดวงสวัสด ิ์ ชัยชนะ ชมเชย และ บุญเลิศ เกดโกมิ ุติ. 2531. ฤดูวางไข  แหลงวางไขของปลาในอางเก็บน้ํา เขื่อนกระเสียว จังหวดสั ุพรรณบุรี. เอกสารวิชาการฉบับท ี่ 113. สถาบันวิจัยประมงนาจ้ํ ืด, กรมประมง. 15 หนา. สืบสิน สนธิรัตน. 2524. ชีววิทยาของปลา. ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล, คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 193 หนา. สุจิตรา สรสิทธิ์. 2543. ชีววทยาบางประการของปลาหมิ ูขาวในแมน้ํานาน จังหวัดพิจิตร. เอกสารวชาการฉบิ ับ ที่ 1/2543. สถานีประมงน้ําจดจื ังหวดพั ิจิตร, กองประมงน้ําจืด, กรมประมง. 28 หนา. Benfey, T. J. and A. M. Sutterlin. 1984. Growth and Gonad Development in Triploid and Looked Atlantic Salmon (Salmo salas). Can. J. Fish. Aquat. Sci. 41: 1387 - 1392. Hynes, H. B. N. 1950. The food of freshwater sticklebacks (Gasterosteus aculeatus and Pygosteus punitius) with a review of methods used in studies of the food of fishes. Journal of Ecology 19: 36 – 58. Lagler, K. F. 1970. Freshwater Fishery Biology. 2 nd edition, WM. C. Brown Company publishers, Michigan. 421 pp. Mohsin, A., K. Mohammad and M. A. Ambak. 1983. Freshwater Fishes of Peninsular Malaysia. Penerbit University Pertanian, Malaysia. 284 pp. Moyle, P. B. 1993. Fish: An Enthusiast’s Guide. University of California Press. California. 272 pp. Nelson, J.S. 1994. Fishes of the World, 3th edition, John Wiley & Sons, Inch. New York. 600 pp. 30 Nikolsky, G. U. 1963. The Ecology of Fishes. Academic press, London. 352 pp. Rainboth, W. J. 1996. Fishes of The Cambodian Mekong. FAO Species Identification Field Guide for Fishery Purposes. FAO, Rome. 265 pp. Rounsefell, G. A. and W. H. Everhart. 1953. Fishery Science. John Wiley and Sons Inc., New york. 444 pp. Siddiqui, A. Q., A. Chatterjee and A. A. Khan. 1976. Reproductive Biology of the Carp, Lebeo bata (Ham) from the River kali, India. Aquaculture 7 (2): 181 - 191. Smith, H. M. 1945. The Freshwater Fishes of Siam. United States Government Printing Office, Washington. pp. 206 - 208. Snedecor, G. W. and W. G. Cochran. 1973. Statistical method 6th edition. The Iowa State Uni. Press, USA. 593 pp. Wootton, R. J. 1990. Ecology of Teleost Fishes. Chapman Hall, London. 404 pp. Wootton, R. J. 1998. Ecology of Teleost Fishes. 2nd edition, Kluwer Academic Publishers, London. 386 pp.

31 ภาคผนวก

ตารางผนวกที่ 1 สัดสวนความยาวตวปลาเปรั ียบเทียบกบความยาวลั ําไสและอาหารที่พบในกระเพาะของ ปลาหมูจุดในแมน้ําแควนอย จังหวัดพิษณโลกุ จากการรวบรวมระหวางเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 ตัว น้ําหนัก ความยาว ความยาวลําไส สัดสวน ชนิดอาหารที่พบในกระเพาะ(%) ที่ (กรัม) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร) ความยาว ตัวออน หนอน หอยฝา กุง ซากเนา ลําตัว:ลําไส แมลง ตัวกลม เดียว เปอย 1 5.1 8.4 3.6 1 : 0.43 65.0 5.0 3.0 - 27.0 2 5.7 9.0 3.9 1 : 0.43 55.0 5.0 1.0 1.0 38.0 3 6.4 9.3 3.7 1 : 0.40 50.0 3.0 - 1.0 46.0 4 2.9 7.2 3.5 1 : 0.49 54.0 8.0 - 1.0 37.0 5 2.8 6.8 3.1 1 : 0.46 48.0 11.0 2.0 39.0 6 5.6 9.0 3.9 1 : 0.43 64.0 8.0 - - 28.0 7 4.0 7.8 3.3 1 : 0.42 53.0 12.0 2.0 - 33.0 8 6.9 9.7 4.2 1 : 0.43 50.0 14.0 1.0 1.0 34.0 9 5.0 8.4 3.6 1 : 0.43 44.0 6.0 3.0 - 47.0 10 3.9 7.9 3.2 1 : 0.41 46.0 13.0 9.0 2.0 30.0 11 6.1 8.9 3.1 1 : 0.35 55.0 4.0 13.0 - 28.0 12 6.1 9.0 3.8 1 : 0.42 53.0 8.0 4.0 - 35.0 13 2.5 6.5 2.6 1 : 0.40 55.0 11.0 - 1.0 33.0 14 1.5 5.8 2.8 1 : 0.48 44.0 8.0 2.0 - 46.0 15 2.5 7.0 2.8 1 : 0.40 56.0 12.0 1.0 - 31.0 16 2.8 7.3 2.9 1 : 0.39 57.0 10.0 3.0 1.0 29.0 17 3.8 8.0 3.1 1 : 0.39 60.0 12.0 8.0 - 20.0 18 3.3 7.7 3.3 1 : 0.43 55.0 13.0 2.0 1.0 29.0 19 2.2 6.4 3.6 1 : 0.56 62.0 7.0 5.0 - 26.0 20 5.9 9.1 4.1 1 : 0.45 54.0 5.0 5.0 2.0 34.0 21 6.2 9.5 4.0 1 : 0.42 66.0 8.0 3.0 1.0 22.0 22 4.1 8.5 3.6 1 : 0.42 67.0 4.0 5.0 2.0 22.0 23 2.5 6.9 3.0 1 : 0.43 58.0 5.0 - 2.0 35.0 24 3.7 7.9 3.5 1 : 0.44 59.0 3.0 - - 38.0 25 2.5 6.9 3.1 1 : 0.45 54.0 3.0 - - 43.0

32 ตารางผนวกที่ 1 (ตอ)

ตัว น้ําหนัก ความยาว ความยาวลําไส สัดสวน ชนิดอาหารที่พบในกระเพาะ(%) ที่ (กรัม) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร) ความยาว ตัวออน หนอน หอยฝา กุง ซากเนา ลําตัว:ลําไส แมลง ตัวกลม เดียว เปอย 26 2.3 6.8 2.9 1 : 0.43 42.0 12.0 2.0 1.0 43.0 27 1.2 5.3 3.0 1 : 0.57 61.0 11.0 1.0 1.0 26.0 28 1.8 6.0 2.6 1 : 0.43 72.0 9.0 2.0 - 17.0 29 1.3 5.4 2.9 1 : 0.54 47.0 10.0 1.0 1.0 41.0 30 2.9 7.4 3.6 1 : 0.49 66.0 13.0 - - 21.0 31 3.0 7.5 3.5 1 : 0.47 55.0 9.0 2.0 2.0 32.0 32 3.3 8.3 3.5 1 : 0.42 57.0 8.0 1.0 1.0 33.0 33 3.7 8.4 3.5 1 : 0.42 52.0 7.0 - 1.0 40.0 34 3.4 8.2 3.4 1 : 0.41 48.0 14.0 1.0 1.0 36.0 35 2.4 7.4 3.4 1 : 0.46 53.0 11.0 2.0 1.0 33.0 36 4.1 9.1 3.9 1 : 0.43 55.0 8.0 2.0 1.0 34.0 37 3.5 8.5 3.4 1 : 0.40 58.0 7.0 1.0 - 34.0 38 3.1 7.7 3.2 1 : 0.42 61.0 12.0 2.0 - 25.0 39 3.8 8.3 3.8 1 : 0.46 65.0 9.0 1.0 1.0 24.0 40 2.3 7.3 3.5 1 : 0.48 63.0 13.0 - - 24.0 เฉลี่ย 3.7 7.8 3.4 1 : 0.44 55.98 8.78 2.25 0.68 32.33