ใบความรู Corel VideoStudio 11 หนวยที่ 1 ชนิดของไฟลภาพ . PEG ยอมาจาก ( Join Photographics Export Group ) สามารถบีบอัดขอมูลที่เปนรูปภาพประเภท Bitmap หรือ ภาพถายตางๆPDF ยอมาจาก ( Portable Document Format ) เปนรูปแบบไฟลที่ใชในการนําเสนอ ขอมูลบนอินเตอรเน็ต ขอดีก็คือ สามารถรักษารูปแบบของ หนากระดาษ ตัวอักษร รูปภาพ ใหเหมือนกับ ตนฉบับ . GIF ยอมากจาก ( Graphics Interchange Format ) เปนการบันทึกภาพที่สามารําบีบอัดไฟลใหมีขนาดเล็ก สวนมากจะนําไปใชบันทึกเปนภาพเคลื่อนไหว . PNG ยอมากจา ( Portable Network Graphics ) ใชในการบันทึกไฟลภาพประเภท Vector บันทึกสวนที่ โปรงใส และ สามารถเลือกระดับสีไดถึง 16.7 ลานสี . BMP ยอมาจาก ( Windows Bitmap ) เปนรูปแบบของไฟลมาตรฐานที่ใชกันในระบบปฏิบัติการ Windows และ DOS . TIFF ยอมาจาก ( Tagged Image File Format ) เปนการบันทึกรูปภาพซึ่งสามารถบีบอัดขอมูล ทําให คุณภาพของสีเหมือนตนฉบับ แตไฟลนั้นจะมีขนาดคอนขางใหญ และ สามารถนําไปใชรวมกับโปรแกรม PageMaker ได . EPS ยอมาจาก ( Encapsulated PostScript ) เปนรูปแบบไฟลที่สามรถบรรจุภาพแบบ Vector และ Bitmap ซึ่งนํารูปภาพไปใชใน Illustrator . PDF ยอมาจาก ( Portable Document Format ) เปนรูปแบบไฟลที่ใชในการนําเสนอขอมูลบนอินเตอรเน็ต ขอดีก็คือ สามารถรักษารูปแบบของ หนากระดาษ ตัวอักษร รูปภาพ ใหเหมือนกับตนฉบับ

ชนิดเครื่องบันทึกวีดีโอ

วิดีโอที่ใชงานอยูในปจจุบันสามารถแบงไดเปน 2 ชนิด คือ 1. วิดีโออนาลอก (Analog Video) เปนวีดีโอที่ทําการบันทึกขอมูลภาพและเสียงใหอยูในรูปของสัญญาณอนาลอก (รูปของคลื่น) สําหรับวีดีโอประเภทนี้ เชน VHS (Video Home System) ซึ่งเปนมวนเทปวีดีโอที่ใชดูกันตามบาน เมื่อทํา การตัดตอขอมูลของวีดีโอชนิดนี้ อาจจะทําใหคุณภาพลดนอยลง 2. วีดีโอดิจิตอล (Digital Video) เปนวีดีโอที่ทําการบันทึกขอมูลภาพและเสียงที่ไดมาจากกลองดิจิตอล ใหอยูในรูป ของสัญญาณดิจิตอล คือ 0 กับ 1 สวนการตัดตอขอมูลของภาพและเสียงที่ไดมาจากวีดีโอดิจิตอลนั้น จะแตกตางจาก วีดีโออนาลอก เพราะขอมูลที่ไดจะยังคงคุณภาพความคมชัดเหมือนกับขอมูลตนฉบับ การพัฒนาของวีดีโอดิจิตอลสงผล ใหวีดีโออนาลอกหายไปจากวงการมัลติมีเดีย เนื่องจากสัญญาณดิจิตอลสามารถที่จะบันทึกขอมูลลงบนฮารดดิสก ซีดีรอม ดีวีดี หรืออุปกรณบันทึกขอมูลอื่น ๆ และสามารถแสดงผลบนคอมพิวเตอรไดอยางมีประสิทธิภาพ ในการผลิต มัลติมีเดียบนคอมพิวเตอร สามารถเปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณอนาลอกเปนสัญญาณดิจิตอลได เพียงแตผูผลิตมี ทรัพยากรทางดานฮารดแวรและซอฟตแวรที่เหมาะสมเทานั้น ชนิดของไฟลวีดีโอ ไฟลวิดีโอที่นํามาใชงานกับนั้นมีหลายรูปแบบ โดยเราจะมาทําความรูจักกับไฟลวิดีโอแบบตาง ๆ เพื่อเปน แนวทางในการเลือกใชไดอยางถูกตองและตรงตามประเภทของงาน 1. MOV ไฟลวีดีโอรูปแบบหนึ่งที่พัฒนาโดยบริษัท Apple จะนํามาใชกับงานดานมัลติมีเดีย และเวปไซตเปนสวนใหญทั้งนี้ตอง ติดตั้ง Plug In ไวที่เวปเบราเซอร (IE , Netscape) กอนที่จะนําไฟลมัลติมีเดียประเภทนี้ (หาดาวนโหลดไดที่ www.apple.com) นอกจากนี้ยังเปนรูปแบบที่เครื่อง Macintosh สามารถนําเสนองานรูปแบบนี้ไดดีอีกดวยซึ่งสามา รพเปดผานโปรแกรม Quick Time

2. AVI ( ) เปนไฟลวีดีโอเชนเดียวกัน โดยฟอรแมตนี้จะถูกใชงานบนเครื่อง พีซี เชนเมื่อโหลดภาพจากกลองวีดีโอเขามาที่เครื่อง คอมก็จะตองทําเปนฟอรแมต AVI ขอเสียของมันก็คือขนาดใหญมากไฟลวีดีโอแค 1 นาที อาจจะตองใชพื้นที่เก็บ ประมาณ 5 – 10 MB มักจะนําไฟลรูปแบบนี้ไปใชหรือทําการแปลงเปนไฟลรูปแบบอื่นๆ เชน Quick Time , MPEG และอื่นๆ ไดอีกดวยคุณภาพของการแปลงไฟล ภาพและเสียงจะแตกตางกันเล็กนอย 3. MPEG ( Motion Picture Expert Group ) เปนรูปแบบของการบีบอัดไฟลขอมูลเสียงหรือไฟล วีดีโอใหมีขนาดเล็กลง มักจะใชในการสรางแผน VideoCD หรือ VCD SVCD DVD หรือ KaraOk(ไฟลที่มีนามสกุล *.mpg) จะตองเปดดวยโปรแกรมเฉพาะอยางเชน Power DVD, XingMpeg • MPEG-1 - ไฟลทีนําไปใชกับ VCD • MPEG-2 - ไฟลคุณภาพสูงมาก นิยมนําไปใชกับ DVD • MPEG-3 - ถูกพัฒนาไปในรูปแบบของเสียงที่รูจักกันดีคือ MP3 • MPEG-4 - ไฟลที่ไดรับความนิยมมาก เพราะมีความคมชัดใกลเคียงกับ DVD และขนาดเล็กกวามาก MPEG-4 - มีชื่อเรียกอีกอยางวา "DivX" หรือ "XviD" 4. RM,RPM เปนรูปแบบหนึ่งของไฟลมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นโดย RealNetwork Inc. จะมีรูปแบบเฉพาะตัวในการเลนไฟลมัลติมีเดีย ภาพและเสียงอยางตอเนื่องที่ เรียกวา Streaming โดยเฉพาะมีโปรแกรมสําหรับเปดไฟลปะเภทนี้ไดแก RealPlayer RealAudio สามารถนําเสนองานบนอินเตอรเน็ตไดเปนอยางดี

5. WMV () แคชื่อก็บอกแลววาเปนของ Microsoft เปนไฟลมาตราฐานสําหรับการใชงานรวมกับระบบปฏิบัติการ Windows ทุก เวอรชั่น สามารถเปดไดดวยโปรแกรม Windows Media Player (สําหรับปจจุบันมีหลายๆ โปรแกรมที่สามารถเปด ไฟลประเภทนี้ไดเชนกัน) 6. MOV ไฟลที่พัฒนาโดยบริษัท Apple ที่เรารูจักกันดี (ผูผลิต iPhone) เปนไฟลที่คอนขางเปนเอกลักษณ แบบสวนตัว สามารถ เปดไดดวยโปรแกรม "Quick Time" ใชงานไดทั้งเครื่องคอมพิวเตอร Mac และ Windows 7. DixV ไฟลวีดีโดรูปแบบใหมที่นิยมใชงานกันมาก เนื่องจากมีคุณภาพสูงในขณะที่ไฟลมีขนาดเล็กลง เรียกวาคุณภาพระดับ DVD เลย เปนไฟลประเภทเดียวกับ MPEG-4

ชนิดของไฟลเสียงในระบบคอมพิวเตอร

ในงานคอมพิวเตอรนั้น มีไฟลเสียงหลายประเภทดวยกัน แตละประเภทก็มีคุณสมบัติตางกันออกไป ทําใหเรา ควรรูจักกับไฟลเสียงประเภทตางๆ จะไดเลือกใชงานใหเหมาะสมกับงานของเราได ไฟลเสียงบางชนิดอาจใชงานไดกับ บางโปรแกรมเทานั้น หรือบางชนิดอาจใชงานไดกับหลายๆโปรแกรม ผมจะขออธิบายไฟลเสียงที่มักจะไดพบเห็นกัน บอยๆดังนี้ครับ MIDI (.mid) ยอมาจาก Musical Instrument Digital Interface เปนไฟลที่ไมสามารถบันทึกเสียงรองได เพราะเปนไฟลที่เก็บคําสั่งที่สงไปใหอุปกรณดนตรีแสดงเสียงออกมาตามขอมูลที่อยูขางในได ทําใหอุปกรณดนตรีที่ ตางกัน เมื่อไดทํางานกับไฟล midi อันเดียวกัน อาจทําเสียงออกมาไมเหมือนกันก็ได แตไฟลแบบนี้เปนที่นิยมมาก เพราะมีขนาดเล็ก และแกไขไดงาย สามารถประยุกตให midi เหลานี้ออกมาเปนเสียงดนตรีจริงๆได ดังนั้นคุณภาพเสียง ที่อานไดจาก midi จะดีแคไหน จึงขึ้นอยูกับ sound card (support midi) หรือ อุปกรณ+software ประเภท synthesizer WAVE (.) เปนไฟลเสียงที่ไดมาจากการบันทึกเสียง แลวเก็บไวในระบบดิจิตอล ทําใหเราสามารถนําไฟล เหลานี้ไปประยุกตใชงานตางๆตอไดอีก ไมวาจะเปนการปรับแตงเสียง ผสมเสียง หรือ convert ไปเปนไฟลเสียง ประเภทอื่นๆได (เมื่อทํางานรวมกับ software) ไฟลประเภทนี้มีขนาดใหญ เพราะสามารถเก็บความละเอียดไวไดมาก เทาที่เราตองการโดยไมมีการบีบอัดขอมูล (นอกจากวาจะมาปรับแตงทีหลัง) เปนไฟลเสียงประเภทหนึ่งที่มักจะพบใน วงการดนตรีมาก (อยางนอยที่สุดก็เปนเสียงของนักรอง) CD Audio (.cda) เปนไฟลเสียงที่บันทึกลงบนแผนซีดี ใชเลนกับเครื่องเสียงทั่วไป ไฟลประเภทนี้มีความ คมชัดของสัญญาณมาก เพราะไมมีการบีบอัดขอมูล เพียงเขารหัสในระบบ Linear PCM เปนไฟล .cda ที่มักจะตั้งคา การเก็บขอมูลเสียงโดยการสุมและแปลงสัญญาณไวที่ 44,100 ครั้งตอวินาที ปกติคอมพิวเตอรจะไมสามารถอานไฟลนี้ ไดโดยตรง ตองเลนผานอุปกรณอื่นๆ เชน เครื่องเสียง , ซีดีรอม หรือ software บางชนิด MP3 (.) เปนที่นิยมมากในหมูนักฟงเพลงทั่วไปในปจจุบัน เพราะเปนไฟลเสียงที่ถูกบีบขอมูลใหเล็กลง จากสัญญาณเสียงจริงไดถึง 10 เทา โดยเราสามารถเลือกความละเอียดของการเขารหัสได ทําใหคุณภาพเสียงของไฟล ประเภทนี้ที่บีบอัดขอมูลไมมากนัก มีคุณภาพดีใชไดเลยทีเดียว (bitrate 128 Kbps) และเนื่องจากความเล็กของไฟล ประเภทนี้ทําใหเปนที่นิยมในการสงไฟลนี้ผานระบบอินเตอรเน็ตกันดวย WMA (.wma) เปนไฟลเสียงที่ บ.ไมโครซอฟท คิดขึ้นมาใหทํางานรวมกับโปรแกรม Windows Media Player ของระบบวินโดว สามารถฟงเสียงผานระบบ streaming ได คือ ดาวนโหลดขอมูลไปดวย พรอมกับถอดรหัส เสียงใหฟงไปพรอมๆกันเลย โดยไมตองรอใหดาวนโหลดครบ 100% สวนคุณภาพเสียงนั้นมีความละเอียดสูงไมแพ mp3 128 Kbps เลย แตจะมีขนาดเล็กกวา mp3 ที่ความละเอียดเสียงพอๆกัน เพราะเขารหัสแบบ bitrate 64 Kbps (ครึ่งเดียว) ปจจุบันเครื่องเสียงบานและรถยนตไดหันมารองรับไฟลระบบนี้มากขึ้นแลว Real Audio (.ra) เปนไฟลเสียงที่ทํางานคูกับโปรแกรม Real Player เนนการทํางานแบบ Streaming สามารถฟงเสียงและดูภาพขณะกําลังดาวนโหลดขอมูลไดพรอมๆกันเลย มีหลายความละเอียดใหเลือกหลายระดับ เปน ที่นิยมในหมูนักดูหนังฟงเพลงในอินเตอรเน็ตมาก Audio Streaming Format (.asf) เปนไฟลเสียงหนึ่งที่มีรูปแบบ Streaming ที่เนนสงขอมูลเสียงแบบ real time ใชกันมากในการฟงวิทยุออนไลนบนอินเตอรเน็ต Audio Interchange File Format (.aif , .aiff) เปนไฟลลักษณะคลายไฟล Wave แตใชสําหรับเครื่อง Macintosh ACC (.acc) เปนไฟลเสียงที่มีคุณภาพสูงมาก สุมความถี่ไดถึง 96 kHz รองรับอัตราการเลนไฟลสูงถึง 576 Kbps สามารถแยกเสียงไดถึงระบบ 5.1ชอง เทียบเทา Dolby Digital หรือ AC-3

อุปกรณพื้นฐานที่ใชงานตัดตอวิดีโอ

1. เครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปนอุปกรณชิ้นแรกที่จําเปนตองมี ปจจุบันเทคโนโลยี กาวหนาไปไกล ทําใหเราสามารถมีเครื่องคอมพิวเตอรที่มี ประสิทธิภาพสูงในราคาประหยัด สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับ การตัดตอ 2. กลองถายวิดีโอ กลองถายวิดีโอ มีหลายประเภท หลายรูปแบบ แตในที่จะ กลาวถึงการใชงานเฉพาะกลองถายวิดีโอแบบดิจิตอล หรือ กลองดิจิตอลแบบ MiniDV หรือจะเปนโทรศัพทมือถือ ในปจจุบัน นิยมใชสําหรับงานตัดตอแบบงายๆ สะดวก 3. ไดรวสําหรับเขียนแผน CD หรือ DVD อุปกรณนี้จําเปนตองมีหากเราตองการสรางงานใหอยูในรูปแบบ VCD หรือ DVD ซึ่งในปจจุบันก็หาซื้อไดไมยาก ราคาก็ไมแพง

4. แผน CD สําหรับบันทึกขอมูล แผน CD-R (CD-ReWrite หรือ CD Record) ใชสําหรับบันทึกขอมูล ทั่วไป เชน ขอมูลตางๆ โปรแกรมเพลง รูปภาพ และภาพยนตร สามารถเขียนหรือบันทึกขอมูลไดเพียงครั้งเดียวจนกวาจะเต็มแผน 5. Flash drive เปนอุปกรณคอมพิวเตอรสําหรับเก็บขอมูลโดยใชหนวยความจําแบบ แฟลช ทํางานรวมกับยูเอสบี มีขนาดเล็ก น้ําหนักเบา ในปจจุบัน แฟลชไดรฟมีความจุตั้งแต 8 GB ถึง 2TB โดยทั่วไปไดรฟจะทํางานได ในหลายระบบปฏิบัติการซึ่งรวมถึง วินโดวส 2000/XP/Vista/10แมค อินทอช ลินุกซ และยูนิกซ

โปรแกรมที่ใชในการตัดตอในรายวิชา การตัดตอวิดิโอเบื้องตน 1. Free Youtube downloader

2. Format Faxtory

3. Corel VideoStudio 11

ใบงาน 1. ให นักเรียน บันทึกไฟล ภาพอยางละ 2 ชนิด 1.1 JPG 1.2 PNG 1.3 GIF 2. ให นักเรียน บันทึกไฟลเสียง MP3 จาก จํานวน 2 เพลง

หนวยที่ 2 การใชงานโปรแกรม ดาวโหลดวิดิโอและแปลงไฟล

วิธีการใช Free YouTube Downloader เครื่องมือฟรีดาวนโหลดวิดีโอ จาก YouTube เพื่อใหผูใชงานสามารถดูวิดีโอทั้งหมดที่จะทํางานแบบออฟไลน และที่ไปดาวนโหลด Free YouTube Downloader สําหรับ Windows คลิกสองครั้งแฟม .exe การติดตั้ง เมื่อติดตั้ง เสร็จสมบูรณ คลิกเพื่อเปดโปรแกรม Free YouTube Downloader หมายเหตุ: การดาวนโหลดวิดีโอจากเว็บไซตวิดีโออื่น ๆ 100 เชน Hulu, VEVO และ dailymotion ไมมี Free YouTube Downloader ดาวนโหลดวิดีโอจากเว็บไซตเหลานี้เพิ่มเติม ตองปรับรุนWondershare AllMyTube.

วิธีการดาวนโหลดวิดีโอ YouTube 1. เปดโปรแกรม Free YouTube Downloader และเปด YouTube

2. ปอนลิงกวิดีโอ Youtube โดยการ ใชคําสั่ง แปะ/Paste

3. คลิกที่ปุม "เริ่มตน" และรอสักครู

3. เลือกรูปแบบวิดีโอ /เสียงที่คุณตองการดาวนโหลดแลวคลิกปุม "ดาวนโหลด"

การแปลงไฟล ดวยโปรแกรม Format factory FormatFactory เปนโปรแกรมที่ใชงานงาย ที่ใหการแปลงรูปแบบของไฟลไดทั้งกลุมภายในครั้งเดียว ไมวาจะ เปนไฟลวิดีโอ เสียงหรือรูปภาพ FormatFactory สามารถจัดการไฟลเหลานั้นไดทั้งหมด และเปนสวนตอประสาน กราฟกกับผูใช (Graphic User Interface) สําหรับเครื่องมือแปลงไฟลอีก 3 ตัว ไดแก FFmpeg สําหรับวิดีโอ, Mencoder สําหรับเสียงและ CxImage สําหรับรูปภาพ การแปลงไฟลนั้นครอบคลุมรูปแบบตาง ๆ รวมถึงรูปแบบไฟล ที่ถูกใชมากที่สุดในปจจุบันและเปนที่แนะนําสําหรับ iPod iPhone หรือ PSP - แปลงไฟลวิดีโอใหอยูในรูปแบบ MP4, 3GP, MPG, AVI, WMV, FLV, SWF,.... - แปลงไฟลเสียงใหอยูในรูปแบบ MP3, WMA, MMF, AMR, , M4A, WAV.... - แปลงไฟลรูปภาพใหอยูในรูปแบบ JPG, BMP, PNG, TIF, ICO,... สุดทายนี้ตองบอกวา FormatFactory นั้นเปนมากกวาเครื่องมือแปลงไฟล ที่สามารถแปลงเสียงจากซีดีเสียง และวิดีโอตาง ๆ ได ซอมแซมไฟลวิดีโอและไฟลเสียง เชนเดียวกับการสรางอิมเมจของแผนดิสกตาง ๆ ลองเขาไปดูใน สวนของอุปกรณเคลื่อนที่ ซึ่งใชประโยชนไดอยางมากมาย และอยาลืมวาทั้งหมดนี้ใหใชไดฟรี วิธีการใชโปรแกรมแปลงไฟล Format Factory 1. ทําการดาวนโหลด Format Factory และติดตั้งโปรแกรม สําหรับ Windows คลิกสองครั้งแฟม .exe การติดตั้ง

2. จากนั้นทําการเปดโปรแกรมขึ้นมา > ทําการเลือกนามสกุล File ปลายทางที่เราจะใหเปน ตัวอยางเชน นําไฟล .wma และทําการแปลงเปน .mp4 ในขั้นตอนนี้ใหเลือกไฟลงาน * .mp4

3. ทําการคลิก Add File > และทําการเลือกไฟลที่เราตองการแปลง Output Folder : Folder ที่จะแปลงไฟลแลวจะ เก็บไวที่ไหน เพิ่มเติม : Output Settings สามารถปรับคาตางๆเพิ่มไดอีก

4. การตั้งคา Output Setting / การตั้งคาขาออก สามารถปรับคาตางๆเพิ่มไดอีก เมื่อปรับทั้งหมดก็ใหเลือก OK

5. จากนั้นเลือกไฟล และกด Open

5. กด ตกลง/ok

6. กด เริ่มตน/Start

7. จากนั้นรอทําการแปลงไฟล โดยนานหรือไมนานขึ้นอยูความยาวของหนังและความละเอียดในการแปลงไฟล แตละไฟล แคนี้เราก็สามารถทําการแปลงไฟลตางๆไดอยางงายดาย โดยใชโปรแกรม Format Factory

ใบงาน ทําการ download Youtube ไฟลวิดีโอ เปน mp4 จํานวน 1 ไฟล MV 1. แปลงไฟล เปน AVI ขนาดวิดิโอ 1024*768 pixxel 2. แปลงไฟล เปน MP3

หนวยที่ 3 การสรางสื่อวิดีโอดวย Corel VideoStudio 11 โปรแกรม Ulead Video Studio v.11 เปนโปรแกรมตัดตอในระดับมือสมัครเลน แตความสามารถและผลงานที่ออกมา นั้นเปนเหมือนอยางมืออาชีพทําเองที่เดียว และยังสามารถควบคุมการทํางานวิดีโอทั้งหมดตั้งแตขั้นตอนแรกจนถึง ขั้นตอนสุดทาย นั่นคือ การนําเขาวิดีโอ การตัดตอวิดีโอ การใสเทคนิคพิเศษ การแปลงเปนไฟลตาง ๆ และการเขียนเปน วิดีโอ และดีวีดี องคประกอบตาง ๆ ใน Ulead Video Studio v.11 เมื่อเปดเขามาในโปรแกรม Ulead Video Studio v.11 จะมีฟงกชันใหเรา เลือกทํางานดวย 3 สวนดวยกัน เพื่อความรวดเร็ว และความเหมาะสมในการใช งาน ไดแก

เลือกงานวิดีโอที่เราตองการทํางานดวย รูปที่ 3.1 หนาตางหลักเมื่อเปดเขามาที่ Ulead Video Studio 11 สวนวิดีโอ Video Studio Editor เปนสวนที่ใชในการตัดตอวิดีโอแบบ มืออาชีพมากขึ้น ซึ่งเราสามารถตัดตอ ใสเทคนิคพิเศษ เพิ่มดนตรี เชื่อมตอคลิป วิดีโอดวยฉากตาง ๆ ไดตามที่เราตองการ

รูปที่ 3.2 สวนของ DV-to-DVD Wizard ที่เราสามารถแปลงวิดีโอจากกลองวิดีโอเก็บลงแผนดีวีดีไดทันที

รูปที่ 3.3 สวนที่ใชในการตัดตอวิดีโอ สวนของ DV-to-DVD Wizard DV-to-DVD Wizard เปนสวนที่เพิ่มเติมขึ้นมาจากเวอรชั่นกอน ๆ อันเนื่องมาจากความนิยมในการบันทึก ขอมูลเปนดีวีดีกําลังแพรหลายมากขึ้น ซึ่งสามารถนําเขาวิดีโอจากกลองวิดีโอ และแปลงเปนไฟลวิดีโอในรูปแบบดีวีดีได ทันที

รูปที่ 3.4 Movie Wizard เปนสวนของการนําวิดีโอมาตัดตอ/สรางเปนภาพยนตรได อยางรวดเร็ว สวนของ Movie Wizard Movie Wizard คือสวนที่ชวยใหการสรางงานวิดีโอของเรางายขึ้น แมจะไมมีความรูเรื่องการทําวิดีโอ แตก็สามารถทําได งาย ๆ เพียงแคเลือกคลิปวิดีโอเขามาในโปรแกรม และเลือกรูปแบบใหกับงานวิดีโอ ก็สามารถไดงานในแบบมืออําชีพ เลยที่เดียว Video Studio Editor หนาตางหลักสําหรับตัดตอวิดีโอ ในสวนของ Video Studio Editor นั้นมีรายละเอียดปลีกยอยลงไปอีกมากพอสมควร ซึ่งเราสามารถแบงสวนประกอบ ตาง ๆ ในนี้ไดอีก ดังนี้

รูปที่ 3.5 สวนประกอบตาง ๆ ของ VideoStudio Editor

Step Panel: สวนเลือกการทางานกับไฟลวิดีโอตามลําดับ เปนสวนการทํางานหลักของโปรแกรม Ulead Video Studio v.11 จึงจะไลตามลําดับขั้นตอนการสรางวิดีโอ โดยเรา สามารถคลิกเลือกแท็บการทํางานที่เราตองการไดทันที เชน การแคปเจอรวิดีโอ การตัดตอวิดีโอ ใสเทคนิคพิเศษใหงาน วิดีโอ และการนําเสนองานวิดีโอในรูปแบบตาง ๆ แท็บ Capture : นําเขาวิดีโอจากอุปกรณอื่น ๆ สําหรับการเลือกนําเขาวิดีโอ หรือแคปเจอรวิดีโอจากอุปกรณตาง ๆ เชน จากกลองวิดีโอ (ทั้งแบบอนาล็อก และดิจิตอล) การดึงไฟลวิดีโอ มาจากแผนภาพยนตรดีวีดี เปนตน เพื่อนําไฟลเหลานี้ เขามาตัดตอ หรอแทรกเทคนิคพิเศษตอไป แท็บ Capture

แท็บ Edit : ตัดตอวิดีโอ เขาสูหนาตางหลักกํารตัดตอวิดีโอ ซึ่งจะประกอบดวยหนาตาง Preview window และเครื่องมือตาง ๆ สําหรับปรับแตง จัดลําดับการเลน และตัดตอวิดีโอ โดยสวนนี้จะเปนหนาตางหลักที่เราจะกลาวถึง แท็บ Edit

แท็บ Effect : แทรกเทคนิคพิเศษใหงานวิดีโอ สําหรับเลือกเทคนิคพิเศษตาง ๆ เขามาใช ในงานวิดีโอ โดยเขามา ที่แท็บ Effect และเลือกใช เทคนิคพิเศษ หรือที่เราเรียนวา วิดีโอ ฟลเตอร (Video Filter)

แท็บ Edit

แท็บ Overlay : ซอนงานวิดีโอ เลือกใชเทคนิคการซอนภาพวิดีโอ เมื่อตองการใหเลนวิดีโอ 2 ชุด พรอมกัน หรือการใชเทคนิค Blue Screen เปนตน

แท็บ Overlay

แท็บ Title : สรางไตเติ้ลใหงานวิดีโอ เลือกแทรกขอความแบบตาง ๆ ลงในงาน วิดีโอ เชน ใชเปนไตเติ้ล งานวิดีโอ หรืออธิบาย เหตุการณบางอยางในงานวิดีโอ เปนตน

แท็บ Title

แท็บ Audio : ปรับแตงคลิปเสียง แท็บ Audio สําหรับเลือกปรับแตงไฟลเสียง ที่เราเพิ่มเขามาในงานวิดีโอ เชน การปรับระดับ ความดังของวิดีโอ การ เลือกชวงของคลิปเสียงเปน เปนตน แท็บ Audio

แท็บ Share : แปลงวิดีโอเพื่อนําไปใชงาน แท็บ Share เปนสวน สําหรับการเลือกแปลง ไฟลวิดีโอที่เราตัดตอเสร็จเรียบรอย เปนไฟล วิดีโอ มาตรฐานตางๆ เชน บันทึกลงแผนวีซีดี หรือดีวีดี เพื่อนําไปใช นําเสนอตอไป

แท็บ Share

Media Library : หองสมุดเก็บไฟลมัลติมีเดีย ในสวนของ Media Library นั้นเปรียบเสมือนกับหองสมุด หรือคลังในการเก็บไฟลวิดีโอ รูปภาพ และไฟลเสียง ที่จะนํามาใชเพื่อการตัดตอ โดยมีหัวขออื่นๆ ที่นาสนใจอีกหลายอยาง ซึ่งมีการทํางานที่แตกตางกันออกไป ซึ่งเรา สามารถแบงได 2 กลุม ดังตอไปนี้ กลุมมัลติมีเดีย กลุมมัลติมีเดียนี้คือสวนที่เปนไฟลต่ํางๆ ที่เก็บไวเพื่อรอการใชงาน ไดแก ไฟลภาพ วิดีโอ เสียง และไฟลสีตาง ๆ ที่ นํามาใชสรางพื้นหลัง

รูปที่ 3.6 Video: เก็บไฟลคลิปวิดีโอตางๆ

รูปที่ 3.7 Image: เก็บไฟลภาพสําหรับ สรางสไลดหรือพื้นหลัง

รูปที่ 3.8 Color: เก็บสีตางๆ เพื่อใชเปนพื้นหลัง รูปที่

3.9 audio: เก็บไฟลเสียง เพื่อ ใชประกอบงานวิดีโอ กลุมเทคนิคพิเศษ กลุมเทคนิคพิเศษนี้ สําหรับสร้ํางสรรคงํานวิดีโอใหนาสนใจ ประกอบไปดวยสวนของเทคนิคการเชื่อมฉาก (Transition) เทคนิคภาพ (Video Filter) และขอความ (Text)

รูปที่ 3.10 Transition: เทคนิคเปลี่ยนฉาก

รูปที่ 3.11 Title: ขอความพิเศษ

รูปที่ 3.12 Video Filter: เทคนิคดานภาพ

รูปที่ 3.14 Decoration:กรอบรูสวยๆ

Preview Window : หนาตางแสดงผล Preview Window เปนเหมือนจอมอนิเตอรสําหรับแสดงผลงานทั้งหมดที่เราเลือกนํามาตัดตอ ไมวาจะเปน ภาพ วิดีโอ เสียง ดนตรี หรือตัวอักษร เพียงแคเราเลือกไฟลที่อยูใน Media Library หนาตาง Preview Window ก็จะ แสดงผลทันที เราสามารถเลือกเลนหรือหยุดไฟลวิดีโอหรือไฟลเสียงนั้นได โดยใชปุมควบคุมซึ่งมีลักษณะคลายกับเครื่อง เลนวิดีโอ ที่อยูบนหนาตาง Preview Window นี้ คลิกที่คลิปวิดีโอ เพื่อแสดง ภาพทางหนาตาง Preview Window

แผงควบคุมการเลนของคลิปวิดีโอ

รูปที่ 3.15 Preview Window : หนาตางแสดงผล

Option Panel : หนาตางรวบรวมคําสั่งตางๆ Option Panel เปนหนาตางที่ใชรวบรวมคําสั่งที่จัดการเกี่ยวกับงานวิดีโอของเรา ซึ่งจะเปลี่ยนหนาตาไปเรื่อยๆ ขึ้นอยูกับวาเรากําลังทํางานอยูกับคลิปของงานประเภทใด เชน ถาเรากําลังทํางานเกี่ยวกับคลิปวิดีโอ Option Panel ก็ จะเปนคําสั่งเกี่ยวกับวิดีโอ เปนตน ดังนั้นเราจะเห็นไดวา Option Panel จะเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะตาง ๆ ดังตอไปนี้

รูปที่ 3.16 Option Panel : หนาตางรวบรวมคําสั่งตาง ๆ

รูปที่ 3.17 ตัวอยางขอความที่ตกแตง Storyboard and Timeline : หนาตางตัดตอวิดีโอ หนาตาง Storyboard and Timeline คือหนาตางที่ใชในการตัดตอและเรียบเรียงวิดีโอ โดยการนําคลิปตาง ๆ มาวางเรียงตอกันตามลําดับ และตัดตอสวนที่ไมตองการ รวมทั้งการใสดนตรี เสียงบรรยาย และเทคนิคภาพตาง ๆ โดย เราสามารถแบงได 2 หมวด ไดแก หมวดของ Storyboard และหมวดของ Timeline

รูปที่ 3.18 โหมด Storyboar

รูปที่ 3.19 โหมด Timeline

Storyboard เหมาะกับผูเริ่มใชงาน เพราะมีความงาย ไมซับซอน แตความสามารถจํากัด ซึ่งผูเริ่มตนควรใช สลับกับหมวด Timeline Timeline เหมาะกับงานตัดตอที่มีความซับซอนมากขึ้น เพราะจะสามารถใสลูกเลนตาง ๆ ไดมาก ไมวาจะเปน เทคนิคภาพ การแทรกคลิปเสียง เปนตน

การนําไฟลตางๆ เขามาใน Media Library นอกจากไฟลวิดีโอที่เรานําเขามาจากอุปกรณดิจิตอล เชน กลอง วิดีโอที่กลาวถึงไปแลว เราสามารถนําไฟลจากแหลงอื่นและชนิดอื่น ๆ ที่ตองการเขามาเก็บไวใน Media Library เพื่อรอ ที่จะใชในการตัดตอ โดยประเภทหลักของคลิปที่เราสามารถเลือกนําเขามาได มีดังนี้ คลิปวิดีโอ : ไฟลวิดีโอประเภทตางๆ ที่เราเก็บไวบนเครื่อง เพื่อนํามาใช ในการตัดตอตอไป คลิปเสียง : ไฟลเสียงที่เราอัดไว หรือไฟลเพลงที่มีบนเครื่อง เพื่อใชเลนประกอบงาน วิดีโอที่เราตัดตอ ภาพนิ่ง : ไฟลภาพชนิดตาง ๆ ที่เรานําเขา เพื่อใชสรางวิดีโอแบบสไลดโชว หรือใช เปนพื้นหลังใหกับ งานวิดีโอของเรา

จากหนาตางหลักการตัดตอวิดีโอของ Ulead Video Studio มีวิธีการนําไฟลมีเดียเขามาดังตอไปนี้

รูปที่ 3.20 การนําคลิปเขาคลิป

รูปที่ 3.21 การเลือกคลิปวีดีโอมาใช

1. ไปที่ Media Library เลือกประเภทของไฟลวิดีโอที่ตองการนําเขา เชน Video : สําหรับนําเขาไฟลวิดีโอ Audio : สําหรับนําเขาไฟลเสียง Image : สําหรับนําเขาไฟลภาพ ในที่นี้เลือกเปน Image เพื่อจะนําเขาไฟลภาพ 2. คลิกเมาสที่ปุม (Load Image) เพื่อเขาไปเลือกไฟลรูปภาพที่เก็บไว ดังตัวอยาง เชน เราเลือกไฟล 02.jpg 3. โปรแกรมจะเปดหนาตาง Open Image File ขึ้นมา ที่ชอง Look in ใหเราเลือกไปยังโฟลเดอรที่เก็บไฟลวิดีโอ จากนั้นเลือกไฟลที่เราตองการ แลวคลิกเมาสที่ปุม ไฟลที่เราเลือก จะปรากฏเปนคลิปวิดีโอใน Media Library จะเปน การเชื่อมโยงไฟลตาง ๆ เทานั้นไมใชเปนการก็อปปขอมูลไฟลนั้นมาบันทึกไว (คือ หากเราเลือกลบไฟลออกจากหนาตาง นี้ ไฟลตัวจริงในเครื่องก็จะยังอยูเหมือนเดิม) โดยคลิปที่นําเขามาใชงานไดตลอดจากหนาตางนี้

รูปที่ 3.22 ภาพปรากฏใน Media Library

การตัดตอวิดีโอเบื้องตน หลังจากที่เรานําคลิปวิดีโอเขามาใน Ulead Video Studio v.11 เรียบรอยแลว ตอไปเราจะมาเรียนรูวิธีการตัดตอ และ การลําดับเรื่องราวเบื้องตน โดยทดลองใชเทคนิคพิเศษแทรกเขามาระหวางคลิปที่นํามาลําดับตอเนื่องกัน (ขณะเปลี่ยน ฉากไปคลิปวิดีโอใหม) มีตัวอยางงานที่เราจะสรางขึ้น ดังรูป

ภาพการเปลี่ยนฉากดวยทรานสิชันที่เราจะนามาใช

รูปที่ 3.23 ภาพการเปลี่ยนฉากดวยทรานสิชัน

เลือกคลิปวิดีโอเขามาตัดตอ กอนอื่นใหเราเลือกคลิปวิดีโอที่ตองการเขามากอน โดยเลือกจากคลิปใน Media Library ที่เรานํามาเก็บไวแลว ใน ตัวอยางเราเลือกคลิป 002.avi และ 007.avi เขามาใชงาน

รูปที่ 3.24 การเลือกคลิปวีดีโอมาตัดตอ 1. ลากคลิปวิดีโอที่ตองารจากหนาตาง Media Library มาวางไวที่หนาตาง Storyboardโดยนํามาวางในสวนที่ยังเปน ชองวาง ดังตัวอยางเราลากคลิปชื่อ 002.avi มาวางไวเปนคลิปแรก 2. เราสามารถลากคลิปวิดีโออื่นมาวางที่ชองวางถัดมาในหนาตาง Storyboard ซึ่งจะถูกเลนตอเนื่องกันไป เมื่อสราง เปนงานวิดีโอแลว ดังตัวอยางเราลากคลิป 007.avi มาเพิ่ม โดยวางตอจากคลิปวิดีโอแรกที่เราเลือกเขามากอน

ใสเทคนิคการเปลี่ยนฉาก (Transition) ตอไปเราจะมาลองใสเทคนิคการเปลี่ยนฉาก ระหวางที่คลิปแรกถูกเลนจบ และกอนเขาสูคลิปวิดีโอที่ 2 โดยใชเครื่องมือทรานสิชันเขามาชวย ดังนี้

รูปที่ 3.25ใสเทคนิคการเปลี่ยนฉาก (Transition) 3. ใหเราเลือกกําหนดเทคนิคการเปลี่ยนฉากใหกับคลิปวิดีโอทั้งสอง โดยคลิกเมาส ที่ Media Library เลือกโหมดทราน สิชัน ตามดวยกลุมรูปแบบทรานสิชันที่ตองการ ดังตัวอยางเราเลือกทรานสิชัน Turn Page 4. จะปรากฏรูปแบบการเปลี่ยนฉากแบบตางๆ ที่หนาตาง Media Library ใหเราคลิกเมาส ลากทรานสิชันที่ตองการมา วางไวตรงกลางระหวางคลิปวิดีโอทั้งสองบนหนาตาง Timeline

ลองดูงานวิดีโอที่ได หลังจากเลือกคลิปวิดีโอเขามา และกําหนดรูปแบบการเปลี่ยนฉากเรียนรอยแลว เมื่อเรา ตองการชมผลงํานทั้งหมด ใหเลือกคลิกเมาสไปที่ Project เสียกอน แลวคลิกเมาสที่ปุม(Play)โปรแกรมจะแสดงผลงาน รวมทั้งหมดใหเราดู

รูปที่ 3.26 ลองดูผลงานวีดีโอ และนอกจากการนําทรานสิชันมาวางระหวางคลิปใน Storyboard แลว เรายังสามารถนํามาวางระหวางคลิป ใน Timeline ไดดวย โดยใชวิธีการคลายๆ กัน นั่นคือลากทรานสิชันที่ตองการมําวางตรงรอยตอระหวางคลิปใน Timeline นั่นเอง

รูปที่ 3.27 การลากทรานสิชั่นมําใชในคลิป บันทึกงานวิดีโอที่สราง หลังจากที่เราทําการตัดตอวิดีโอเสร็จเรียบรอยแลว คราวนี้เราจะทําการบันทึกงาน โดยการ บันทึกงานนี้ไมใชการแปลงงานออกมาเปนภาพยนตร แตเปนการบันทึกงานวิดีโอที่เราตัดตอเอาไว เพื่อจะนํามาแกไข หรือแปลงออกมาเปนไฟลวิดีโอในภายหลัง โดยนามสกุลของไฟลที่บันทึกนั้นจะเปนนามสกุล .VSP (Ulead Video Studio 10 Project) ซึ่งวิธีการบันทึกมีดังนี้

รูปที่ 3.28 การบันทึกงานวีดีโอที่ตัดตอเสร็จ

1. เมื่อเราตัดตองานเสร็จแลว หรือตองการบันทึกงานไวทําตอภายหลัง ใหสั่งบันทึกงานตัดตอวิดีโอ โดยคลิกเมาสเลือก เมนู File>Save As… 2. ที่ชอง Save in ใหไปยังตําแหนงที่จะเก็บบันทึกไฟลงาน 3. ตั้งชื่อไฟลใหกับงานที่ชอง File name : 4. คลิกเมาสที่ปุม Save เปนอันบันทึกไฟลงานเรียบรอย เพื่อนํามาเปดเพื่อปรับแตงงานวิดีโอนี้ไดภายหลังไดทันที หลัง จํานั้นเมื่อเราตองการสั่งบันทึกงานวิดีโอนี้อีก ก็เพียงเลือกเมนู File>Save

รูปที่ 3.29 การเปดไฟลงานขึ้นมาทําตอ

รูปที่ 3.30 ไฟลงานที่เราตองการจะทําตอ Story board and Timeline เครื่องมือสาหรับตัดตอวิดีโอ Story board and Timeline ใน Video Studio เปน เครื่องมือสําหรับทํางานรวมกับคลิปวิดีโอไมวาจะเปนการลําดับเรื่องราว การตัดตอคลิปวิดีโอ รวมทั้งการทํางานกับคลิป เสียงในงานวิดีโอ หรือการแทรกเทคนิคพิเศษแบบตาง ๆ ดวย โดยหนาตางนี้จะแบงออกเปน 3 หมวดดวยกัน คือ หมวด Storyboard, หมวด Timeline และหมวด Audio Storyboard ใชสําหรับเปนมุมมองการวางโครงเรื่องและใสลูกเลนพื้นฐานเขาไป โดยมุมมองนี้จะใชงานงายกวามุมมอง Timeline แตการใชงานสามารถทําไดระดับพื้นฐานเทานั้น

รูปที่ 3.31 Storyboard Timeline จะเหมาะกับงานตัดตอที่มีความซับซอนเพิ่มขึ้น เชน การใสเสียงใหกับวิดีโอ และใสเทคนิคการซอนภาพ แบบ Overlay เปนตน

รูปที่ 3.32 Timeline Audio ในสวนนี้จะใชตัดตอเสียงที่มีความละเอียดลึกลงไปอีก

รูปที่ 3.33 Audio Story board : ลําดับการทํางานของคลิปวิดีโอ สําหรับการทํางานของ Story board นั้นไมยุงยากและเขาใจไดงาย โดยมีหลักการทํางานเพียงแคลากคลิปวิดีโอที่ ตองการมาวางที่ Story board และถ้ําตองกํารทรานสิชัน หรือเทคนิคการเปลี่ยนฉากมาเชื่อมคลิปวิดีโอ ก็สามารถ เลือกทรานสิชันมาวางระหวางคลิปไดทันที

รูปที่ 3.34 ลําดับการทํางานของคลิปวิดีโอ

Timeline : ตัดตอเสียง และเพิ่มเทคนิคพิเศษ ในสวนของ Timeline มีความยืดหยุนในการทํางานสูง เหมาะสําหรับงานที่ตองการใชเทคนิคมากขึ้น ไมวาจะเปนการ ทํางานกับ Title การนําเสียงมาประกอบกับคลิปวิดีโอ เชน เพลงหรือเสียงบรรยาย นอกจากนี้เราสามารถเพิ่มเทคนิค พิเศษแบบ Overlay หรือการซอนภาพไดอีกดวย ซึ่งองคประกอบของ Timeline มีดังนี้

รูปที่ 3.35 ตัดตอเสียง และเพิ่มเทคนิคพิเศษ ปุมคําสั่ง Fit project in Timeline window ใชปรับขนาดของคลิปวิดีโอใหมีขนาดพอดีกับ Timeline ที่แสดงบน จอ ไมวาคลิปทั้งหมดจะยาวเพียงไดก็ตาม

รูปที่ 3.36 ปุมคําสั่ง Fit project in Timeline window

รูปที่ 3.37 หนวยของเวลาเปลี่ยนไป ทําใหคลิปวิดีโอแสดงพอดีกับหนาตาง Fit project

ปุมคําสั่ง Automatically scroll Timeline เลือกใชเวลาที่เราแสดงโปรเจ็คงานวิดีโอจะทําให Timeline เลื่อนตามคลิปที่กําลังแสดงอัตโนมัติ

รูปที่ 3.38 ปุมคําสั่ง Automatically scroll Timeline

รูปที่ 3.39 Timeline จะเลื่อนตามคลิปที่อยูถัดไปโดยอัตโนมัติ ทํางานกับคลิปวิดีโอบน Story board และ Timeline สําหรับการใชงาน Story board นั้น เราไดกลาวมาแลวในบทที่ผานมา เพียงแคลากคลิปวิดีโอหรือภาพมาวางไวที่ Story board ก็สามารถลําดับเรื่องราวไดแลว ตอไปเราจะมาดูการใชงาน Story board ดานอื่นกัน Note

รูปที่ 3.40 Story board

ยายลําดับเรื่องราวใน Story board ในกรณีที่เราตองการยายหรือสลับตําแหนงคลิปตางๆ ที่อยูใน Story board ใหม เพื่อใหไดลําดับเรื่องราวที่เหมาะสมตามความตองการมากขึ้น ก็สามารถทําไดงาย ๆ ดังตอไปนี้

รูปที่ 3.41 การยายหรือสลับตําแหนงคลิป ที่อยูใน Story board ลบคลิปวิดีโอออกจาก Story board หากไมไดใชคลิปวิดีโอตัวใด หรือนําเขาคลิปวิดีโอตัวผิด เราก็สามรถเลือกลบ คลิปวิดีโอ ที่เราลากมาใสไวใน Story board ออกไปได

รูปที่ 3.42 คลิปวิดีโอถูกลบไป โดยมีคลิปที่อยูถัดไปเขามาแทนที่ ตัดคลิปวิดีโอใหสั้นลง เราสามารถใช Timeline เพื่อตัดคลิปวิดีโอใหสั้นลงได (ทําไดจากโหมด Story board เชนกัน) โดยใหเราเลือก คลิปวิดีโอที่ตองการตัด จากนั้นเราสามารถตัดไดทั้งสวนหัวและสวนทายของคลิป หรือเลือกตัดบริเวณไดๆ ของคลิปก็ได เชนกัน ในสวนนี้เปนการตัดคลิปวิดีโอใหเหลือเฉพาะสวนที่เราตองการ เชน เราตองการเฉพาะ แคชวงตนของคลิป วิดีโอเพียง 2 นาทีแรก ก็ทําการตัดคลิปวิดีโอ ดังนี้

รูปที่ 3.43 ขั้นตอนการตัดคลิปวีดีโอใหสั้นลง Story board และ Timeline เปนเรื่องสําคัญในการตัดตอวิดีโอ ในหัวขอนี้ถือเปนพื้นฐานการทําความเขาใจเกี่ยวกับ เรื่องนี้ เพื่อใชเปนพื้นฐานในการตัดตอวิดีโอตอไป

สรุป ในบทนี้เปนบทพื้นฐานที่สําคัญในการสรางงานวีดีโอ ทําใหเราเขาใจเกี่ยวกับรูปแบบของไฟลที่ใชในงานวีดีโอ และเรียนรูการใชเครื่องมือตาง ๆ เพื่อจะสามารถตัดตองานวีดีโอไดอยางมีประสิทธิภาพ

ใบงาน นําเสนองาน โดยใชรูปภาพ จํานวน 8 รูป และใช เวลาแสดง รูปละ 10 วินาที

หนวยที่ 4 การนําไฟลวิดีโอ(video)เขามาตัดตอในโปรแกรม Ulead VideoStudio 11 1.จะเขาสูหนาจอการทํางานในสวนของ Step panel ใหเลือก Edit 2.ในสวน Gallery ใหเลือกเปน video ตามรูป 3.คลิกที่ Load video รูปโฟลเดอร

รูปที่ 4.1 หนาจอการทํางานในสวนของ Step panel 4.จะมีหนาตางขึ้นมาใหเพื่อเลือกไฟลที่อยูในคอมพิวเตอร ตัวอยางเปนไฟลจากแผน VCD ไฟลแบบ DAT 5.เลือกที่ open ดังภาพ

รูปที่ 4.2 หนาตางใหเลือกไฟล 6.จะไดไฟลวิดีโอที่เราตองการนํามาตัดตอมาเก็บไวใน Library แลว ไฟลที่เพิ่มเขามาใหมจะถูกเก็บไวในสวน Library กอน หลังจากนั้น จึงนําไปใชงานทีหลังได

รูปที่ 4.3 ไฟลที่เพิ่มเขามาใหม เมื่อเราเพิ่มวิดีโอเขามาในโปรแกรม Ulead VideoStudio 11แลวตอไปเราก็จะลองเลนดูตัวอยางวิดีโอที่เรานําเขามา ดังนี้

รูปที่ 4.4 รายละเอียด หนาที่ของปุม 7.ปุม Play และ Pause ใชเลนและหยุดวิดีโอ 8.ปุม Home กลับไปยังจุดเริ่มตนของวิดีโอ 9.ปุม End ไปยังจุดสุดทายของวิดีโอ 10.ปุม Previous เลื่อนไปยังเฟรมกอนหนานี้ 1 เฟรม 11.ปุม Next เลื่อนไปยังเฟรมตอไป 1 เฟรม 10.ปุม Repeat ใชเลนวิดีโอซ้ําไปซ้ํามา 13.ปุม System volume ใชสําหรับปรับเสียงของวิดีโอ 14.ปุม Trim Handles ใชกําหนดจุดเริ่มตน และจุดสิ้นสุด จะใชสําหรับกําหนดชวงของวิดีโอที่เราตองการตัดเอา 15ปุม Mark-in ใชสําหรับเลื่อนปุม Trim Handles เขามาหาปุม Jog slider จากขวาไปทางซาย 16.ปุม Mark-out ใชสําหรับเลื่อนปุม Trim Handles เขามาหาปุม Jog slider จากซายไปทางขวา 17.ปุมCut ใชตัดวิดีโอออกเปน 2 สวน 18.ปุมเลนวิดีโอแบบเต็มจอ 19.แสดงเวลาของวิดีโอ เราสามารถใสเวลาที่เราตองการลงไปได เมื่ออยากดู ณ ชวงเวลาใด 20.ปุม Jog slider เปนปุมที่สําคัญมาก ใชเลื่อนดูวิดีโอตรงจุดใดก็ไดและยังใชในการกําหนดจุดในการตัดวิดีโออีกดวย ในบทความนี้เปนเพียงแคการแนะนําวิธีการนําวิดีโอที่มีอยูแลวในคอมพิวเตอรของเราเขามาเก็บไวในสวนของ Library และรูจักการควบคุมการแสดงผลเบื้องตน ยังไมตองกังวลวามีปุมที่ใชงานยากมากมาย สําหรับการนําไฟลอื่นเขามาไวใน Library ก็ทําเหมือนกันกับการนําวิดีโอเขามา แตตรง Gallery ใหเลือกเปน รูปแบบไฟลที่เราตองการไดเลย เชน Image ไฟลรูปภาพ Audio ไฟลเสียง เปนตน

รูปที่ 4.5 การนําไฟลอื่นเขามาไวใน Library การตัดวิดีโอ(video) ตัดเอาสวนที่ตองการ วิดีโอที่เรานํามาใชแนนอนมันตองมีสวนที่เราไมตองการอยูแลวหรือถาใครไมตองการตัดวิดีโออีกก็ขามบทความนี้ไปได เลย ผมขอยกตัวอยางเชน ผมมีวิดีโออันหนึ่งความยาว 30 นาทีแตผมวามันยาวไปอยากจะตัดใหเหลือสักประมาณ 15 นาทีตัดเอาชวงที่ดีที่สุด จากนั้นจะตัดเอาตอนไหนของวิดีโอก็ได เสร็จแลวจึงนํามาตอกันใหไดวิดีโอเรื่องใหมขึ้นมา เห็น ไดวาเราจําเปนตองตัดวิดีโอกอนแลวการตอวิดีโอก็จะมาทีหลัง 1.เมื่อเรามีวิดีโอที่เราตองการเก็บไวในสวน Library เรียบรอยแลว ดังรูปดานลาง ถาใครยังไมนําวิดีโอเขามาก็ใหกลับไป

รูปที่ 4.6 การนําไฟลวิดีโอเขามาไวใน Library 2.ลากวิดีโอที่อยูใน Library มาไวในสวนของ Timeline

รูปที่ 4.7 การนําไฟลวิดีโอไวในสวนของ Timeline 2.คลิกคางไวที่ Trim Handles แลวลากเพื่อกําหนดจุดสุดทายของวิดีโอที่เราตองการจะตัดเอาดังรูป

รูปที่ 4.8 การคลิกที่ Trim Handles 3.ใหคลิกคางไวที่ Jog slider แลวลากหาจุดเริ่มตนของวิดีโอที่เราตองการตัดเอา ดังรูป

รูปที่ 4.9 การคลิกที่ Jog slider 4.เมื่อกําหนดสวนตนและสวนทายของวิดีโอที่ตองการแลวใหคลิกที่รูปไกรกรรเพื่อตัดวิดีโอ 5.จะเปนการตัดเอาวิดีโอที่อยูหนาของ Jog slider ออก

รูปที่ 4.10 การตัดเอาวิดีโอที่อยูหนาของ Jog slider 6.เราก็จะไดสวนที่เราตองการ

7.ใหสังเกตดุที่ Timeline จะมีวิดีโอเพิ่มขึ้นมาตอนหนึ่ง นั่นคือวิดีโอที่เราตัดเอามา

รูปที่ 4.11 การตัดเอาวิดีโอที่ Timeline 8.เพื่อความสะดวกในการใชงานเราควรนําวิดีโอที่เราตัดเสร็จแลวคือสวนที่เราตองการไปเก็บไวใน Library โดยการคลิก คางแลวลากไปไวใน Library เพื่อเราการใชงานตอไป

รูปที่ 4.12 นําวิดีโอที่ตัดเสร็จแลวคือสวนที่เราตองการไปเก็บไวใน Library 9.วิดีโอตัวแรกของเราถาเราไมตองการแลวก็ลบมันออกไดนะครับ โดยคลิกขวาที่วิดีโอที่เราตองการลบ แลวเลือกที่ Delete การลบวิดีโอในสวน Timeline ไมมีผลกับวิดีโอที่อยูใน Library หรือการแกไขใดๆก็ลวนไมมีผลทั้งนั้น

รูปที่ 4.13 การลบวิดีโอในสวน Timeline 10.สุดทายก็จะเหลือแตวิดีโอที่ตองการแลว หากเราตองการตัดวิดีโออีกอีกเราก็ทําซ้ําตั้งแตขั้นตอนแรก

รูปที่ 4.14 วิดีโอ 11.ลองเลนดูวิดีโอที่เราตัดเสร็จเรียบรอยแลว สรุป นี่แคขั้นตอนการตัดวิดีโอในสวนที่เราตองการไวและเอาสวนที่เราไมตองการออกไป หัดเลนดูปุมตางๆ ใหทําความ รูจักใหมากขึ้น เราสามารถเรียนรูไดดวยตัวของเราเอง

การแปลงวิดีโอเพื่อนําไปใชงาน Share : แปลงวิดีโอเพื่อนําไปใชงาน แท็บ Share เปนสวนสําหรับการเลือกแปลง ไฟลวิดีโอที่เราตัดตอเสร็จ เรียบรอย เปนไฟลวิดีโอ มาตรฐานตางๆ เชน บันทึกลงแผนวีซีดี หรือดีวีดี เพื่อนําไปใชนําเสนอตอไป

รูปแบบของการนําไฟลวีดีโอออกไปใชงาน (Share)

Create Video File เปนการสรางไฟลวีดีโอในรูปแบบตางๆ เพื่อนํามาใชงาน เชน VCD, SVCD, DVD, WMV, หรือ MPEG-4 Create Sound File เปนการนําไฟลเสียงในคลิปวีดีโอที่ตัดเสร็จแลวออกมาใชงาน Create Disc เปนการสรางไฟลวีดีโอแบบเขียนลงแผนดิสกในรูปแบบ VCD, SVCD และ DVD (สามารถออกแบบเมนูในการเลนได) Export Mobile Device เปนการนําไฟลวีดีโอออกไปในรูปแบบ Mobile ที่กําลังเปนที่นิยมปจจุบัน เชน Pocket PC, Smart Phone, iPod, PSP, PDA และ Mobile Phone Project Playback เปนการดูตัวอยางของผลงานที่ตัดตอเสร็จแลว แลวพรอมที่จะนําไฟลวีดีโอ ออกไปใชงานในรูปแบบ DV Recording เปนการบันทึกไฟลวีดีโอที่ตัดเสร็จแลวนํากลับไปลงกลอง DV ตางๆ Share Video Online เปนการสรางไฟลวีดีโอรูปแบบไฟล WMV เพื่อนําไปใชงานบน อินเตอรเน็ต ซึ่งสามารถเลือกคุณภาพของไฟลวีดีโอที่จะนําไปใชได ไฟลวิดีโอที่เราตัดตอเสร็จเรียบรอย สามารถดําเนินการนําไปใชงานไดโดยทํางานแบบงาย รวดเร็ว คือ

ขั้นตอนการทําไฟลวิดีโอที่เราตัดตอเสร็จเรียบรอย สามารถดําเนินการนําไปใชงานไดโดยทํางานแบบงาย รวดเร็ว คือ

1. คลิก Export Mobile Device 2. เลือก Mobile Phone (640x480)

3. เมื่อกดคลิกเลือก แบบ Mobile Phone แลว จะปรากฏ รูป การบันทึกไฟลวิดีโอ พรอมใหตั้งชื่องาน 4. กด OK

5. การประมวลผลการทํางานในการบันทึก จะชาหรือเร็ว ขึ้นอยูกับขนาดและความละเอียดของงาน

ใบงาน นํา MV จํานวน 1 เพลง แลวเลือกชวงเพลงที่เพราะ ตัดมาใหเหลือประมาณ 30 วินาที

หนวยที่ 5 การใสขอความ การใสขอความในโปรแกรม Corel Video Studio 11 สามารถทําได 2 วิธี คือ

1.1 แทรกโดยคลิกที่ แถบ Title บน Step Panel

1.2. แทรกโดยคลิกเลือกจาก แถบไลบรารี่ (Library) เลือกคําวา Title ดังภาพ หลังจากเลือกเมนู Title แลว บนหนาตางไลบรารี่จะปรากฏรูปแบบของไตเติ้ล แบบตางๆ ขึ้นมาใหเลือกใช

การนํา Title มาใชสามารถทําไดโดยการนําเมาสมาคลิกที่รูปแบบตางๆ ที่ปรากฏขึ้น แลวสังเกตตัวอยางการ แสดงผลในหนาตาง Preview

เมื่อไดรูปแบบที่ตองการแลว คลิกเมาสซายคางไวและลากรูปแบบไตเติ้ลดังกลาวมาไวใน Track T1 หรือ T2 ก็ได

จากนั้นดับเบิ้ลคลิกที่ขอความที่นํามาวางใน Track จากนั้นไปดับเบิ้ลคลิกที่ขอความในหนาตาง Preview เพื่อ แกไขขอความ 

การแกไขและปรับแตงขอความสามารถปรับเปลี่ยนไดทั้งรูปแบบอักษร การเคลื่อนไหว และ สีตัวอักษรได โดยการคลิกที่ขอความในหนาจอ Preview ใหมีกรอบสีเหลืองขึ้นรอบๆ จะมีหนาตาง Option ของ Title ขึ้นมาดังรูป โชวคําสั่ง

หมายเลข 1.คือความยาวในการแสดงผล สามารถปรับไดโดยการคลิกที่ชองตัวเลขหนวยเวลาแลวกดลูกศรบนลางเพื่อ เพิ่มลดเวลา หรือ คลิกที่ Title Trackแลวนํามาชี้ที่ขอบสีเหลืองดานขวามือ โดยสังเกตที่ลูกศร คลิกเมาสคางไวแลวลาก ไป ชวงความกวางของเวลาจะมากขึ้น การแสดงผลของขอความจะยาวมากขึ้น

หมายเลข 2 เปลี่ยนรูปแบบอักษร (พิมพภาษาไทยใหเลือกรูปแบบที่ลงทาย ดวย UPC เชน AngsanaUPC ) หมายเลข 3. คือขนาดของตัวอักษร หมายเลข 4. คือเปลี่ยนสีตัวอักษร

B = ตัวหนา I = ตัวเอียง U = ขีดเสนใต

การทําภาพซอน สําหรับเทคนิคการทําภาพซอนเปนการเพิ่มลูกเลนใหวิดีโอดูนาสนใจมากยิ่งขึ้น โดยการทําใหรูปภาพ หรือ วิดีโอ อันหนึ่งเปนฉากหลัง และอีกอันหนึ่งอยูดานหนาฉากหลัง ซึ่งสามารถทําไดดังนี้ 1. คลิกที่ แถบ Overlay ใน Step Panel

2. จากนั้นไปเลือกรูปภาพ หรือ วิดีโอ ในหนาตาง ไลบรารี่ หากไมมีรูปภาพ หรือ วิดีโอที่ตองการให คลิกที่ รูป เพื่อทําการนํารูปภาพหรือวิดีโอเขามา ถามีไฟลที่ตองการอยูแลวใหคลิกเลือกรูปหรือวิดีโอนั้น แลวคลิกเมาส ซายคางไวแลวจากนั้นลากมาวางใน Overlay Track ดังรูป

3. ปรับขนาดของภาพซอน โดยการคลิกที่รูปหรือวิดีโอที่นํามาทําภาพซอนบน Overlay Track สังเกตกรอบสี เหลืองที่ปรากฏขึ้นบนหนาตางPreview ทําการปรับขนาดโดยนําเมาสมาชี้ที่กรอบสีเหลือง แลวคลิกลาก เพื่อปรับขนาด

2. คลิกที่กรอบสีเหลืองเพื่อ 1. คลิกที่รูปภาพหรือ ยายตําแหนงหรือขยายรูป วิดีโอบน Overlay

กําหนดการเคลื่อนไหวของภาพซอน สามารถทําไดโดย 1 คลิกเลือกรูปภาพ หรือ วิดีโอบน Overlay Track จะปรากฏหนาตาง Option ขึ้นมาดังรูป

ในหนาตาง Option จะมีกลุมลูกศรอยูในแถบ Attribute กลุมลูกศรมีสองกลุมคือ กลุม Enter (เขา) และ Exit (ออก) ใหคลิกเลือกที่ทิศทางของหัวลูกศรเพื่อกําหนดใหภาพซอนของเราเคลื่อนที่จากตําแหนง ไหน (Enter) ไปยังตําแหนงไหน (Exit)

กดหมุนภาพ Rotate 360° กดภาพแบบ Fade/in-out ตัวอยาง

จากตัวอยางหมายถึง ภาพซอนจะเคลื่อนที่จากตําแหนงซายมือของจอภาพ มาอยูตําแหนงที่กําหนด แลว เคลื่อนที่ออกไปดานลางของจอภาพและอีกแบบหนึ่งคือ ภาพซอนจะเคลื่อนที่จากตําแหนงซายมือโดยการหมุนของ จอภาพ มาอยูตําแหนงที่กําหนด ในหนาตาง Option จะมีกลุมลูกศรอยูในแถบ Edit กลุมลูกศรมีสองอัน คือ ทิศทางของหัวลูกศรเพื่อกําหนดให ภาพซอนของเราเปลี่ยนมุมหมุน 90 องศา

ใบงาน ตัดตอวิดิโอ 1ชุด แนะนําตัวเอง ความยาว 1 นาที

หนวยที่ 6 การบันทึกและปรับแตงเสียงบรรยาย ในการบันทึกเสียงบรรยายในโปรแกรม Corel Video Studio จําเปนตองมีไมโครโฟนเชื่อมในชองเสียบ ไมโครโฟนกอน แลวทําตามขั้นตอนดังนี้

1. เลือกเมนู Audio ใน step panel หรือ เลือกรายการ Audio ดังรูป ในหนาตาง ไลบรารี่จะปรากฏรูป ลําโพงขึ้นมา

2. เลื่อนเมาสมาคลิกที่แถบ Time Line ในชวงเวลาที่ตองการบันทึกเสียง

3. นักเรียนจะมองเห็นปุม ที่หนาตาง Option

4. คลิกที่ปุม Record Voice จะปรากฏหนาตางเตรียมพรอมบันทึกขึ้น ใหลองพูดใสไมคดูเพื่อตรวจสอบดูวามีเสียง เขาหรือเปลา โดยสังเกตที่แถบสีสมหากมีการเคลื่อนไหวแสดงวามีเสียงเขา หากพรอมแลวก็คลิกที่ปุม Start เพื่อ เริ่มบันทึก

5. ใหสังเกตที่เสนวิ่งไปบน Time Line แลวสังเกตที่แถบเวลาดังรูป

จะมีการเคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ และปุม Record Voice จะเปลี่ยนสถานะเปนปุม Stop โปรแกรมจะทําการบันทึกไป เรื่อยๆ จนกวาจะกดปุม Stop เพื่อหยุดการบันทึก 6. เมื่อกดปุม Stop บน Voice Track จะมีแถบเสียบปรากฏขึ้น โดยแถบเสียงจะมีชื่อไฟลที่โปรแกรมตั้งใหมีนามสกุล เปน .WAV ปรากฏขึ้นดวยดังรูป

7. หากตองการปรับระดับเสียงสามารถทําไดโดยการคลิกเปลี่ยนมุมมองแบบ Audio View

บน Voice Track จะมีเสนสีแดงปรากฏขึ้น

8. คลิกที่เสนสีแดงในตําแหนงที่ตองการใหเปนจุดเริ่มตน จุดสุดทาย และจุดปรับระดับเสียงตางๆ ดังรูป

คลิกเมาสคางไวที่กรอบสี่เหลี่ยมแลวลากขึ้นเพื่อปรับระดับเสียงใหดังขึ้น และ ลากลงเพื่อปรับระดับเสียงใหเบาลงทํา การปรับระดับเสียงให เหมาะสมแลวทดสอบดู

ใบงาน ใหนํา MV เพลง จํานวน 2 เพลง มาตัดใหเหลือ 20 วินาที มีเงื่อนไข ดังนี้ ใหสลับกันดังทุก 5 วินาที แลวในตอนทายเพลง เสียงจะคอยๆ เงียบลง

หนวยที่ 7 การสรางวีดีโอ Overlay ในรูปแบบตางๆ นอกจากการทําวีดีโอ Overlay กับคลิปวีดีโอแลว เรายังสามารถที่จะนํารูปวัตถุสิ่งของหรือเรียกกัน วา Object และกรอบภาพ หรือเรียกกันวา Frame จาก Library เขามาใชงานรวมกับคลิปวีดีโอ จะทําใหงานวีดีโอที่ตัด ตอมีความนาสนใจยิ่งขึ้น 1. การซอน Object การนําภาพสิ่งของ สัญลักษณ หรือวัตถุอื่นๆ ที่เรียกกันวา Object เขามาใชงานรวมกับคลิปวีดีโอ

2. การซอน Frame การนํากรอบภาพในรูปแบบตางๆ ที่เรียกกันวา Frame เขามาใชงานกับคลิปวีดีโอ ทําใหคลิปวีดีโอมีความโดด เดนยิ่งขึ้น

3.การเพิ่ม Overlay Track การเพิ่ม Overlay Track เขาไปซอนๆ กันนั้นไมควรเกิน 4 Overlay เพราะจะจัดยาก แลวทําใหงานตัดตอ วีดีโอแบบมี Overlay ออกมาไมดี ขอดีของการสราง Overlay 4 Track จะทําใหผูรับชมเห็นการแสดงไดพรอมๆ กันทั้ง 4 มุม เหมือนใชกลองวีดีโอถายจากกลอง 4 ตัว ดังภาพตัวอยางก็จะทําใหงานวีดีโอดูนาสนใจยิ่งขึ้น ♥ เพิ่ม Overlay Track เพิ่ม Track สําหรับใสวีดีโอแบบ Overlay เขาไปอีก Track 3 รวมเปน 4 Track ดวย Overlay Track Manager

4. นําวีดีโอมาสราง Overlay Track หลังจากที่ไดสราง Overlay Track เพิ่มเขาไปอีก 3 Track ทําใหพื้นที่บนTimeline view มี Overlay Track ถึง 4 Track แลวจึงนําไฟลวีดีโอมาสรางเปน Overlay Track

5. กําหนดชวงเวลาใหจบพรอมกัน ตอไปเปนการกําหนดชวงเวลาใหคลิปวีดีโอ Overlay ทั้ง 4 Track เพราะชวงเวลาของคลิปวีดีโอแตละคลิป จะมีความยาวไมเทากัน ดังนั้น จึงจบไมพรอมกันดวย

6. วิธีใส Filter ลงไปในคลิป หากตองการใหภาพดูแปลกตานาสนใจยิ่งขึ้น ก็ใหใส Filter ลงไปบนคลิปตามตองการ โดยจะมีรูปแบบของ Filter ใหเราไดเลือกใชงานมากมาย ทําไดดังนี้ 1.คลิกที่ Panel Edit

2.ที่ Gallery เลือกเปน Video Filter

3.จะมี Filter ตัวอยางใหเลือกใชงานมากมาย

4.เลือกแบบที่ตองการ แลวลากมาวางบน

5. Filter จะถูกใสลงบนคลิปตามตองการ

6. วิธีปรับแตง Filter เพิ่มเติม สามารถทําการปรับแตง Filter ที่ไดใสลงไปบนคลิปเพิ่มเติมได จากคลิปตัวอยาง เราไดใส Filter Vignete ลง ไปบนคลิป เมื่อเราตองการปรับแตง Filter Vignette เพิ่มเติมสามารถทําไดโดย 1.คลิกบนคลิปที่ไดใส Filter ลงไป 2.ที่ชอง Option Panel ใหคลิกเลือก Attribute 3.คลิกเลือกรูปแบบเพิ่มเติม ของ Filter Vignete

2

3

1

4.แบบ Filter Vignete และคลิกที่ Customize เพื่อเรียกหนาตาง Vignette ขึ้นมาเพื่อปรับแตงอยางละเอียดอีกครั้ง

7. วิธีเอา Video Filter ออก หากตองการเอา Video Filter ออกจากคลิป ก็สามารถทําไดดังนี้ 1.คลิกบนคลิปที่ไดใส Video Filter ลงไป 2.ที่ชอง Option Panel ใหคลิกเลือก Attribute 3. คลิกที่ปุม Delete Filter

2

3

1

8. การสราง Overlay แบบ Mask & Chroma Key Mask เปนการนําคลิปวีดีโอ Overlay มาวางทับซอนกับวีดีโอหลัก โดยการนําใสกรอบใหกับคลิปวีดีโอหลัก Overlay สวน Chroma Key เปนการนําคลิปวีดีโอ Overlayที่ถายแบบมีพื้นสีนํามาซอนทับกับวีดีโอหลักแลวตัดพื้นสี ออก เปนการผสมผสานจากสองแหลงใหเกิดเปนภาพเดียวกันแลวดูเหมือนจริง 1) นําไฟลวิดีโอวีดีโอหลัก เขามาใชงาน 2) หลังจากนําคลิปวิดีโอที่ถายแบบมีฉากหลังเปนสีพื้นที่ลากเขามา จากนั้นคลิกที่ปุม Mask & Chroma Key

3) หลังจากที่ไดดูดสีพื้นคลิปวิดีโอ Overlay ใหเปน Type Chroma Key

1.คลิกเลือก Overlay แบบ Mask & Chroma Key

2.เลือกสีที่ต้องการดูด

3.ปรับค่าความเข้ม

ของสีที่ดูดออก

9. ปรับแตงดวย Mask หลังจากที่ไดดูดสีพื้นคลิปวิดีโอ Overlay แลว เราสามารถที่จะกําหนดการใสกรอบใหวิดีโอ Overlay ได อาจจะดู แปลกตาไปจากคลิปวิดีโอ Overlay เดิมไปบางดังนี้ 1. นําไฟลวิดีโอวีดีโอหลัก เขามาใชงาน 2. หลังจากนําคลิปวิดีโอที่ถายแบบมีหรือภาพที่เปนวัตถุลากเขามา 3. จากนั้นคลิกที่ปุม Mask & Chroma Key 4. เลือก Type Mask Frame 5. คลิกเลือก Mask Frame ที่ตองการ

3

4

5

1

2