ค ำน ำ

ทรัพยากรป่าอนุรักษ์ของประเทศไทยจัดว่ามีความหลากหลายทางชีวภาพสูงทั้งด้านพืช สัตว์ รวมถึงเห็ดราต่างๆ แต่ในปัจจุบันฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์หลายแห่ง ยังขาดอยู่อีกมาก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงได้จัดท าโครงการส ารวจความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ขึ้น โดยให้หน่วยงานที่ตั้งอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ออกส ารวจใน พื้นที่ป่าอนุรักษ์ในความรับผิดชอบ ซึ่งส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 ได้ด าเนินการส ารวจความ หลากหลายในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่–เขาย่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อส ารวจและศึกษา ความหลากหลายของระดับถิ่นที่อยู่อาศัย ระบบนิเวศ โครงสร้าง องค์ประกอบของชนิดพันธุ์ในแต่ละ สังคม เพื่อน ามาจัดท าบัญชีรายชื่อพรรณพืช แมลง และเห็ดรา และรวบรวมข้อมูลพันธุ์พืชที่เป็นพืช ประจ าถิ่น พืชเฉพาะถิ่น พืชที่หายาก พืชที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เป็นต้น อุทยานแห่งชาติเขาปู่–เขาย่าในปัจจุบันยังเป็นผืนป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีความ หลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่แบคทีเรีย เห็ดรา แมลง พืชพรรณ สัตว์ป่า อยู่ร่วมกันเป็น สังคมได้อย่างกลมกลืน ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องท าการศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทาง ชีวภาพไว้ เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการด าเนินการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทาง ชีวภาพ รวมถึงน าไปพัฒนาการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ให้ยั่งยืนสืบไป การศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ คือ การศึกษาการมีความผิดแผกแตกต่าง ระหว่างสิ่งมีชีวิตจากทุกแหล่ง สามารถจ าแนกได้ 3 ระดับ คือ ระดับพันธุกรรม ระดับชนิดพันธุ์ และระดับ นิเวศ โดยโครงการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่–เขาย่า ในครั้งนี้เป็น การศึกษาความหลากหลายในระดับชนิดพันธุ์ ได้แก่ ความหลากหลายของพืช แมลง และ เห็ดรา ซึ่ง การส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในโครงการนี้จะมีการก าหนดพื้นที่ส ารวจ การก าหนดแปลง ตัวอย่างพืชพรรณเพื่อใช้เป็นตัวแทนส าหรับการส ารวจ และศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ การ คัดเลือกแปลงตัวอย่างดังกล่าวต้องเป็นไปตามหลักวิชาการและต้องเป็นตัวแทนที่ดีของพื้นที่นั้นๆ เพื่อ ให้ผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด รายงานฉบับนี้ เป็นผลการด าเนินงานโครงการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จังหวัดพัทลุง จังหวัดตรัง และจังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 หวังว่าจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าวิจัยด้านความหลากหลายทาง ชีวภาพ และเป็นข้อมูลในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

69

สรุปผลการศึกษา จากผลการส ารวจผีเสื้อกลางวันที่พบในพื้นที่ป่าดิบชื้นในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า พบผีเสื้อกลางวันทั้งหมด ทั้งหมด 973 ตัว 112 ชนิด 5 วงศ์ วงศ์ที่พบจ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันมากที่สุด คือ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (Nymphalidae) 65 ชนิด วงศ์ที่พบจ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันน้อยที่สุด คือ วงศ์ ผีเสื้อบินเร็ว (Hesperiidae) 6 ชนิด ผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด ได้แก่ ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเนโร (Appias nero galba) จ านวน 88 ตัว ความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวันพบในฤดูร้อน 98 ชนิด มากกว่าในฤดูฝนที่พบ 81 ชนิด ค่าดัชนีความหลากหลายชนิดพันธุ์ในพื้นที่เท่ากับ 4.124 ในฤดูฝนและฤดูร้อนเท่ากับ 3.6251 และ 4.1288ตามล าดับ ค่าความสม่ าเสมอรวมของพื้นที่เท่ากับ 0.8707 ในฤดูฝนและฤดูร้อนเท่ากับ 0.8249 และ 0.9005 ตามล าดับ และค่าดัชนีความคล้ายคลึงกันของผีเสื้อกลางวันในฤดูร้อนและฤดู ฝน เท่ากับ 74.86 ็ ค่าดัชนีความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในเส้นทางที่ 7 มีค่ามากที่สุด คือ 3.5708 และเส้นทางที่ 5 มีค่าน้อยสุด คือ 2.3009 ค่าความสม่ าเสมอของเส้นทางที่ 3 มีค่ามาก ที่สุด คือ 0.9590 และเส้นทางที่ 2 มีค่าความสม่ าเสมอน้อยสุด คือ 0.7910 ส่วนการใช้กับดักแสงไฟ พบผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด 307 ตัว 205 ชนิด 13 วงศ์ และพบด้วงทั้งหมด 84 ตัว 24 ชนิด 9 วงศ์ 70

4.3 ผลการส ารวจความหลากหลายของเห็ด จากการส ารวจความหลากหลายของชนิดเห็ดบริเวณป่าดิบชื้น อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า พบ เห็ดจ านวนรวมทั้งหมด 134 ตัวอย่าง สามารถจ าแนกได้จ านวน 103 ตัวอย่าง ซึ่งจัดอยู่ใน 17 วงศ์ 24 สกุล ในจ านวนนี้สามารถจ าแนกได้ถึงระดับชนิด (species) 17 ชนิด จ าแนกได้ถึงแค่ระดับสกุล (Genus) 48 ตัวอย่าง และจ าแนกได้ถึงแค่ระดับวงศ์ (Family) 38 ตัวอย่าง ส่วนเห็ดอีก 31 ตัวอย่าง ไม่สามารถ จ าแนกได้ โดยพบเห็ดในวงศ์ Marasmiaceae, Polyporaceae และวงศ์ Tricholomataceae มากที่สุด ตามล าดับ บัญชีรายชื่อเห็ดที่พบในป่าดิบชื้น อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า (ตารางที่ 6) จากการน าจ านวนเห็ดที่พบมาค านวณหาค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ โดยวิธี Shannon - Wiener index (H′) และค่าความสม่ าเสมอ Shannon Evenness (J′) มีค่าเท่ากับ 3.6653 และ 0.7484 ตามล าดับ และเมื่อคิดในแต่ละแปลงศึกษา ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิด พันธุ์ (H′) และค่าความสม่ าเสมอ (J′) จ าแนกตามรายแปลง พบว่า แปลงที่ 1 เท่ากับ 0.9850 และ 0.4108 ตามล าดับ แปลงที่ 2 เท่ากับ 1.5107 และ 0.5732 ตามล าดับ แปลงที่ 3 เท่ากับ 1.5178 และ 0.6330 ตามล าดับ แปลงที่ 4 เท่ากับ 2.1345 และ 0.7534 ตามล าดับ แปลงที่ 5 เท่ากับ 2.1451 และ 0.7422 ตามล าดับ แปลงที่ 6 เท่ากับ 2.1725 และ 0.6586 ตามล าดับ แปลงที่ 7 เท่ากับ 2.6518 และ 0.7290 ตามล าดับ แปลงที่ 8 เท่ากับ 2.1473 และ 0.6947 ตามล าดับ (ภาพที่ 15)

ภาพที่ 15 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ Shannon - Wiener index (H′) และค่า ความสม่ าเสมอ Shannon Evenness (J′) ของเห็ดที่พบในแต่ละแปลงส ารวจใน ป่าดิบชื้นอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ านวน 8 แปลง 71

A B C

D E F

G H I

ภาพชุดที่ 5 ตัวอย่างเห็ดที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า

วงศ์ Agaricaceae (A-B) A. เห็ดรังนก (Cyathus striatus),B. เห็ดดาวกระจาย (Leucocoprinus fragilissimus) ;วงศ์ Marasmiaceae (C) C. Marasmias ; วงศ์ Meruliaceae (D) D. Podoscypha sp. ; วงศ์ Mycenaceae (E) E. Favolaschia sp. ;วงศ์ Polyporaceae (F) F. เห็ดตงน้ าฝน (Lentinus giganteus) ; วงศ์ Sarcoscypphaceae (G-H) G.เห็ดถ้วยแชมเปญขนยาว(Cookeina tricholoma) , H.เห็ดถ้วยแดงอมชมพูขนสั้น (Cookeina sulcipes) ;วงศ์ Sclerodermataceae (I) I.เห็ดตาโปนตาโล่ (Calostoma sp.)

ตารางที่ 6 บัญชีรายชอื่ เห็ดที่ส ารวจพบในพื้นที่อทุ ยานแห่งชาตเิ ขาป-ู่ เขาย่า

วัสดอุ าศัย/ ล าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 1 เหด็ ดาวกระจาย Leucocoprinus fragilissimus Agaricaceae Agaricales ราก ปา่ ดบิ ชนื้ 1 2 Agaricaceae 1 - Agaricaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 3 Agaricaceae 2 - Agaricaceae Agaricales ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 4 - Anthracophyllum nigritum Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 14 5 - Marasmias coarctatus Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 15 6 ม่วงมณี Marasmias pulcherripes Peck Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 67 7 - Marasmias sp. 1 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 8 - Marasmias sp. 2 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 7 9 - Marasmias sp. 3 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 10 - Marasmias sp. 4 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 11 - Marasmias sp. 5 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 7 12 - Marasmias sp. 6 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 13 - Marasmias sp. 7 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 4 14 - Marasmias sp. 8 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 4 15 - Marasmias sp. 9 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 306 16 - Marasmias sp. 10 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 95 17 - Marasmias sp. 11 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 7 18 - Marasmias sp. 12 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 118 20 - Marasmias sp. 13 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 232

72 ตารางที่ 6 (ตอ่ )

วัสดอุ าศัย/ ล าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 21 - Marasmias sp. 14 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 22 - Marasmias sp. 15 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้/ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 37 23 - Marasmias sp. 16 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 20 24 - marasmias sp. 17 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 5 25 - Marasmias sp. 18 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 6 26 - Marasmias sp. 19 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 4 27 - Marasmias sp. 20 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 72 - Marasmias sp. 21 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 28 - Marasmias sp. 22 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 6 29 - Marasmias sp. 23 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 30 - Marasmias sp. 24 Marasmiaceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 5 31 - Marasmias sp. 25 Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้/ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 125 32 Marasmiaceae 1 - Marasmiaceae Agaricales บนดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 41 33 Marasmiaceae 2 - Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 34 Marasmiaceae 3 - Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 35 Marasmiaceae 4 - Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 4 36 Marasmiaceae 5 - Marasmiaceae Agaricales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 37 Marasmiaceae 6 - Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไม้/เปลือกไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 345 38 - Favolaschia sp. 1 Mycenaceae Agaricales ตน้ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 19 39 Favolaschia sp. 2 Mycenaceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 80 40 เห็ดรังนก Cyathus striatus Nidulariaceae Agaricales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 32

73 ตารางที่ 6 (ตอ่ )

วัสดอุ าศัย/ ล าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 41 - Psathyrella sp. 1 Psathyrellaceae Agaricales ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 42 - Psathyrella sp. 2 Psathyrellaceae Agaricles ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 46 - Crinipellis stipitaria (Fr.) Pat Tricholomataceae Agaricales เถาวลั ย/์ กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 25 47 เห็ดดาวลูดไก่ Filoboletus manipularis (Berk.) Sing Tricholomataceae Agaricales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 61 48 - Gymnopus sp.1 Tricholomataceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 4 49 - Gymnopus sp.2 Tricholomataceae Agaricales ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 50 Tricholomataceae 1 - Tricholomataceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 51 Tricholomataceae 2 - Tricholomataceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 52 Tricholomataceae 3 - Tricholomataceae Agaricales ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 45 Tricholomataceae 4 - Tricholmataceae Agaricales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 53 Tricholomataceae 5 - Tricholomataceae Agaricales ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 43 Tricholomataceae 6 - Trichodermaceae Agaricles ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 54 Tricholomataceae 7 - Tricholomataceae Agaricles ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 44 Trichodermaceae 8 - Trichodermaceae Agaricles ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 55 Coriolaceae 1 - Coriolaceae Aphyllophorales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 19 56 Coriolaceae 2 - Coriolaceae Aphyllophorales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 14 57 Coriolaceae 3 - Coriolaceae Aphyllophorales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 51 58 Coriolaceae 4 - Coriolaceae Aphyllophorales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 7 59 Coriolaceae 5 - Coriolaceae Aphyllophorales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 15 60 เห็ดหูหนู Auricularia sp. 1 Auriculariaceae Auriculariales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 15 61 เห็ดหูหนู Auricularia sp. 2 Auriculariaceae Auriculariales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 40

74 ตารางที่ 6 (ตอ่ )

วัสดอุ าศัย/ ล าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 62 เห็ดหูหนู Auricularia sp. 3 Auriculariaceae Auriculariales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 4 63 เห็ดลนิ้ พสุธา Trichoglossum hirsutum Geoglossaceae Geoglossales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 10 65 Hymenochaetaceae 1 - Hymenochetaceae Hymenochetales ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 7 66 Hymenochaetaceae 2 - Hymenochetaceae Hymenochetales ตน้ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 Hymenochaetal 64 hymenochaetaceae 3 - hymenochaetaceae ตน้ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 5 es 67 เหด็ ถ้วยแดงอมชมพูขนสนั้ Cookeina sulcipes Sarcoscypphaceae Pezizales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 102 68 เห็ดถ้วยแชมป์เปญขนยาว Cookeina tricholoma (Mont.) Kuntze Sarcoscypphaceae Pezizales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 12 69 เห็ดจวกั งู Amauroderma rugosum (Blume et Nees ex Fr.) Ganodermataceae Polyporales ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 70 - Lentinus sp.1 Lentinaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 71 - Lentinus sp.2 Lentinaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 73 - Podoscypha sp. 1 Meruliaceae Polyporales ตน้ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 74 - Podoscypha sp. 2 Meruliaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 8 75 Meruliaceae 1 - Meruliaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 29 76 Meruliaceae 2 - Meruliaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 81 เห็ดตงน้าฝน Lentinus giganteus Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 43 77 กาบหอยขาว Lenzites elegans Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 112 78 กรวยทองตากู Microporus xanthopus (Fr.) Kuntze Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 164 79 - Microporus sp.1 Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ตาย ปา่ ดบิ ชนื้ 6 80 พดั ใบลาน Polyporus grammocephalus polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 82 Polyporaceae 1 - Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 17 83 Polyporaceae 2 - Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 4

75 ตารางที่ 6 (ตอ่ )

วัสดอุ าศัย/ ล าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 84 Polyporaceae 3 - Polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 85 Polyporaceae 4 - Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 86 Polyporaceae 5 - Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 87 Polyporaceae 6 - polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 10 88 Polyporaceae 7 - polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 89 Polyporaceae 8 - Polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 36 90 Polyporaceae 9 - Polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 91 Polyporaceae 10 - Polypotaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 19 92 Polyporaceae 11 - Polyporaceae Polyporales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 9 93 Polyporaceae 12 - Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 8 94 - Russula sp.1 Russulaceae Russulales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 95 - Stereum ostrea Stereaceae Russulales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 10 96 - Stereum sp. 1 Stereaceae Russulales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 76 97 - Daldinia sp. Xylariaceae Xylariales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 400 98 - Entonaema sp. 1 Xylariaceae Xylariales ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 18 99 - Xylaria ianthino-velutina Xylariaceae Xylariales เปลือกผล ปา่ ดบิ ชนื้ 163 100 เหด็ นวิ้ มอื คนตาย Xylaria sp. 1 Xylariaceae Xylariales เปลือกผล ปา่ ดบิ ชนื้ 394 101 เหด็ นวิ้ มอื คนตาย Xylaria sp. 2 Xylariaceae Xylariales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 59 102 เหด็ นวิ้ มอื คนตาย Xylaria sp. 3 Xylariaceae Xylariales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 44 103 เหด็ นวิ้ มอื คนตาย Xylaria sp. 4 Xylariaceae Xylariales เปลือกผล/เปลือกไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 304 104 เหด็ นวิ้ มอื คนตาย Xylaria sp. 5 Xylariaceae Xylariales กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 13

76 ตารางที่ 6 (ตอ่ )

วัสดอุ าศัย/ ล าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 105 Unk 1 - - - ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 37 106 Unk 2 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 107 Unk 3 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 72 108 Unk 4 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 20 109 Unk 5 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 49 110 Unk 6 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 10 111 Unk 7 - - - เปลือกไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 8 112 Unk 8 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 113 Unk 9 - - - ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 114 Unk 10 - - - กงิ่ ไม้ตาย ปา่ ดบิ ชนื้ 7 115 Unk 11 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 116 Unk 12 - - - ท่อนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 117 Unk 13 - - - เปลือกผล/เปลือกไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 12 19 Unk 14 - - - เถาวลั ย์ตาย ปา่ ดบิ ชนื้ 1 118 Unk 15 - - - เถาวลั ย์ ปา่ ดบิ ชนื้ 6 119 Unk 16 - - - ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 120 Unk 17 - - - ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 121 Unk 18 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 7 122 Unk 19 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 13 123 Unk 20 - - - ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 124 Unk 21 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2

77 ตารางที่ 6 (ตอ่ )

วัสดอุ าศัย/ ล าดับที่ ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อันดับ ชนิดป่าที่พบ จ านวนดอก พืชอาศัย 125 UnK 22 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 13 126 Unk 23 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 3 127 Unk 24 - - - ซากใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 1 128 Unk 25 - - - ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 9 129 Unk 26 - - - รากไม้ กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 130 Unk 27 - - - ดนิ ปา่ ดบิ ชนื้ 44 131 Unk 28 - - - ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 5 132 Unk 29 - - - ใบไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 10 133 Unk 30 - - - กงิ่ ไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 2 134 Unk 31 - - - ขอนไม้ ปา่ ดบิ ชนื้ 50

ค้าอธบิ าย : 1. ประเภทป่า ตามการจัดจ้าแนกตามหนังสือป่าของประเทศไทย (ธวชั ชัย สันตสิ ุข, 2550) 2. การเรียงล้าดบั เรียงตามชอื่ อนั ดบั และวงศ์เป็นหลัก (A-Z)

78 79

บทที่ 5 สรุปและวิจารณ์ผลการส ารวจ ความหลากหลายของพรรณไม้ จากการศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้ป่าดิบชื้น จ านวน 8 แปลง ในพื้นที่รวม 0.8 เฮกแตร์ พบว่ามีความหลากหลายของพรรณพืชทั้งหมด 237 ชนิด เป็นชนิดที่มีขนาดเส้นรอบวงตั้งแต่ 15 เซนติเมตรขึ้น ไป จ านวน 184 ชนิด (รวมกับที่ไม่สามารถจ าแนกชนิดได้ 16 ชนิด) ใน 117 สกุล 54 วงศ์ มีจ านวนต้นไม้ ทั้งหมด 692 ต้น หรือความหนาแน่นเฉลี่ย 6,920 ต้น/เฮกแตร์ มีพื้นที่หน้าตัดเฉลี่ย 94.18 ตร.ม/เฮกแตร์ ในระดับวงศ์ พรรณไม้ในวงศ์ EBENACEAE มีจ านวนต้นที่สุด (61 ต้น) รองลงมาคือวงศ์ (58ต้น) และวงศ์ SAPINDACEAE ( 41 ต้น) ตามล าดับ พรรณไม้ในวงศ์ DIPTEROCARPACEAE มีความเด่น สูงสุด (15.64 ตร.ม /เฮกแตร์) รองลงมาคือ วงศ์ FABACEAE (10.29 ตร.ม/เฮกแตร์) และวงศ์ MORACEAE (6.04 ตร.ม/เฮกแตร์) ตามล าดับ พรรณไม้ในวงศ์ EUPHORBIACEAE มีความหลากชนิดมากที่สุด คือ 15 ชนิด รองลงมา คือ วงศ์ EBENACEAE จ านวน 12 ชนิด วงศ์ MALVACEAE จ านวน 11 ชนิด ตามล าดับ ในระดับชนิด ต้นยางกล่อง (Dipterocarpus dyeri) มีค่าความส าคัญ (IVI) สูงที่สุดคือ 11.03 รองลงมา คือ มังคาก (Cynometra malaccensis) 8.44 คอแลน (Nephelium hypoleucum) 7.73 ล าพูป่า (Duabanga grandiflora) 7.16 และแดงน้ า (Pometia pinnatalorus) 6.64 ตามล าดับ ชนิดที่มีความ หนาแน่นสูงสุดคือ คอแลน 220 ต้น/เฮกแตร์ รองลงมา ลักเคยลักเกลือ (Diospyros sumatrana) 210 ต้น/ เฮกแตร์ และ จิกนม (Barringtonia macrostachya) 200 ต้น/เฮกแตร์ (แตกนาง) ชนิดที่มีค่าความเด่นสูงสุด คือ ต้นยางกล่อง 7.84 ตร.ม/เฮกแตร์ รองลงมา คือ กะทังใบเล็ก (Litsea castanea) 4.42 ตร.ม/เฮกแตร์ และ ล าพูป่า 4.39 ตร.ม/เฮกแตร์ ตามล าดับ ไม้หนุ่มมีจ านวนทั้งหมด 156 ชนิด จ านวน 735 ต้น ชนิดที่มีค่าความส าคัญสูงที่สุดคือ สะเดาเทียม (Azadirachta excelsa) 10.31 รองลงมา ลางสาด (Lansium parasiticum) 5.62 และ เต้ยชะครู (Rinorea horneri) 4.70 ตามล าดับ ซึ่งเป็นการทดแทนตามธรรมชาติอย่างต่อเนื่องตาม ความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพรรณไม้ (Index of species diversity) ในแปลงตัวอย่างขนาด 20x50 ม. ทั้ง 8 แปลง โดยวิธี Shannon-Wiener index(H’) มีค่าเท่ากับ 6.852 และค่าความสม่ าเสมอ (Shannon Evenness) มีค่าเท่ากับ 0.726

80

ความหลากหลายของแมลง จากผลการส ารวจผีเสื้อกลางวันที่พบในพื้นที่ป่าดิบชื้นในอุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า พบผีเสื้อ กลางวันทั้งหมด 973 ตัว 114 ชนิด 5 วงศ์ วงศ์ที่พบจ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันมากที่สุด คือ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (Nymphalidae) พบจ านวน 67 ชนิด 406 ตัว วงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (Hesperiidae) พบจ านวนชนิดผีเสื้อกลางวัน น้อยที่สุด คือ 6 ชนิด ผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุดคือ ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเนโร(Appias nero galba) ที่อยู่ใน วงศ์ Pieridae พบจ านวน 88 ตัว ซึ่งพบเป็นกลุ่มใหญ่ บริเวณน้ าตกในหน่วยพิทักษ์ป่าอ่าววังเลน ความหลาก ชนิดของผีเสื้อกลางวันพบในฤดูร้อน 100 ชนิด พบในฤดูฝน 81 ชนิด และในฤดูร้อนจะพบจ านวนตัวมากกว่า ในฤดูฝน แต่ในฤดูฝนจะพบผีเสื้อกลุ่ม Lycaenidae บนมูลสัตว์ที่อยู่ตามด่านสัตว์ในพื้นที่อุทยาน บริเวณที่ท า การ ค่าดัชนีความหลากหลายชนิดพันธุ์ในพื้นที่เท่ากับ 4.1302 ในฤดูฝนและฤดูร้อนเท่ากับ 3.6388 และ 4.1393 ตามล าดับ ค่าความสม่ าเสมอรวมของพื้นที่เท่ากับ 0.8720 ในฤดูฝนและฤดูร้อนเท่ากับ 0.8280 และ 0.8988 ตามล าดับ ค่าดัชนีความคล้ายคลึงกันของผีเสื้อกลางวันในฤดูร้อนและฤดูฝน เท่ากับ 74.03 ็ ค่าดัชนีความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในเส้นทางที่ 7 ซึ่งอยู่บริเวณหน่วยพิทักษ์ป่าน้ าตกปาก แจ่มมีค่ามากที่สุด คือ 3.5708 เป็นเส้นทางขึ้นไปยังน้ าตก ในบริเวณหน่วย และระหว่างทางมีพืชอาหารหลาย ชนิด และเส้นทางที่ 5 ซึ่งอยู่ที่หน่วยพิทักษ์ป่าบ้านน้ าตกมีค่าน้อยสุด คือ 2.3009 เนื่องจากพื้นที่เข้าถึงได้ยาก มีฝนตกชุกท าให้ไม่สามารถส ารวจพบในฤดูฝน ค่าความสม่ าเสมอของเส้นทางที่ 3 ที่หน่วยพิทักษ์ป่าน้ าตก เหรียงทองมีค่ามากที่สุด คือ 0.9590 และเส้นทางที่ 2 หน่วยพิทักษ์ป่าอ่าววังเลนซึ่งพบจ านวนชนิดมากที่สุด มีค่าความสม่ าเสมอน้อยสุด คือ 0.7910 ส่วนการใช้กับดักแสงไฟ พบผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด 307 ตัว 205 ชนิด 13 วงศ์และ พบด้วงทั้งหมด 84 ตัว 24 ชนิด 9 วงศ์ ความหลากหลายของเห็ด จากการส ารวจความหลากหลายของชนิดเห็ดบริเวณป่าดิบชื้น อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า พบเห็ด จ านวนรวมทั้งหมด 134 ตัวอย่าง สามารถจ าแนกได้จ านวน 103 ตัวอย่าง ซึ่งจัดอยู่ใน 17 วงศ์ 24 สกุล ใน จ านวนนี้สามารถจ าแนกได้ถึงระดับชนิด (species) 17 ชนิด จ าแนกได้ถึงแค่ระดับสกุล (Genus) 48 ตัวอย่าง และจ าแนกได้ถึงแค่ระดับวงศ์ (Family) 38 ตัวอย่าง ส่วนเห็ดอีก 31 ตัวอย่าง ไม่สามารถจ าแนกได้ โดยพบเห็ด ในวงศ์ Marasmiaceae, Polyporaceae และวงศ์ Tricholomataceae มากที่สุด

81

บทที่ 6 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ปัญหาและอุปสรรค 1. ฤดูกาลมีความผันแปร มีฝนตกไม่ถูกต้องตามฤดูกาล บางพื้นที่ไม่สามารถเข้าถึงได้ใน เวลานั้น ท าให้ไม่สามารถออกส ารวจข้อมูลภาคสนามตามแผนที่ก าหนดได้ 2. การศึกษาในแต่ละด้านต้องอาศัยทักษะความช านาญเฉพาะ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานท างานได้ รวดเร็ว 3. ผู้รู้ด้านพรรณไม้ในป่าดิบชื้นมีน้อย ท าให้การปฏิบัติงานด้านการส ารวจพรรณไม้ล่าช้า 4. ในการจ าแนกชนิดผีเสื้อกลางคืนและด้วงจากกับดักแสงไฟ เนื่องจากระยะเวลาจ ากัด บางครั้งมีการถ่ายภาพมาไม่ชัด ท าให้ไม่สามารถจ าแนกชนิดได้หมด 5. คู่มือจ าแนกชนิดแมลงในกลุ่มด้วงบางเล่ม มีการมองข้ามวงศ์ของด้วงที่ไม่ค่อยส าคัญ หรือ วงศ์ที่แยกออกมาจากวงศ์ดั้งเดิม แต่ยังพบเจอในพื้นที่ที่ท าการศึกษา ท าให้บางครั้งไม่สามารถจ าแนก ชนิด หรือ วงศ์ได้หมด

ข้อเสนอแนะ 1. ควรที่จะมีช่องทางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ และสร้างเครือข่ายด้าน พฤกษศาสตร์ป่าไม้ แมลง และเห็ดรา ให้แก่คณะส ารวจ เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผล และมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2.มีการจัดท าคู่มือที่รวมรวมข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของแต่ละพื้นที่ เพื่อเป็น ฐานข้อมูลที่ส าคัญต่อไป

82

กิตติกรรมประกาศ คณะท างานโครงการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในอุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ของอุทยานที่อ านวยความสะดวกในเรื่องสถานที่และที่พัก ตลอดระยะเวลาใน การออกปฏิบัติงานโครงการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพ และขอขอบคุณ ส านักวิจัยการ อนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชที่ให้ทุนอุดหนุนในการด าเนินงาน และสมาชิก Facebook กลุ่ม Protected Area Biodiversity ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบ ชื่อวิทยาศาสตร์ของชนิดพันธุ์พืช แมลง และเห็ดรา ซึ่งคณะท างานไม่สามารถตรวจสอบได้ จนท าให้ งานโครงการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพนั้นส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

คณะท างานโครงการส ารวจฯ

83

เอกสารอ้างอิง กิตติมา ด้วงแค,วินันท์ดา หิมะมาน,จันจิรา อายะวงศ์ และกฤษณา พงษ์พาณิช. 2552. เห็ดและรา จากป่าดอยเชียงดาว. งานจุลชีววิทยาป่าไม้ กลุ่มงานกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้ ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.

เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. 2555. photographic guide to Moths in Thailand. ม.ป.ท., สมุทรปราการ.

เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์.2559. Thailand Insect Guide.ส านักพิมพ์สารคดี,กรุงเทพฯ.

โกวิทย์ หวังทวีทรัพย์ และคณะ. 2548. ผีเสื้อกลางวันในป่าฮาลา-บาลา. โรงพิมพ์มิตรภาพ, ปัตตานี.

ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. 2539. เห็ดกินได้และเห็ดมีพิษในประเทศไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. ราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพฯ.

ไซมอน การ์ดเนอร์,พินดา สิทธิสุนทร และวิไลวรรณ อนุสารสุนทร. 2549. คู่มือศึกษาพรรณไม้ยืน ต้น ในป่าภาคเหนือประเทศไทย. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, กรุงเทพฯ.

เต็ม สมิตินันท์. 2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. บริษัท ประชาชน จ ากัด, กรุงเทพฯ.

นิรัตน์ จินตนา ,ชัยณรงค์ วิทยาวงศรุจิ, วรดลต์ แจ่มจ ารูญ ,วัชรินทร์ นวลแก้ว และนพวรรณ เสวตานนท์. 2551. สถานภาพและการกระจายของชนิดพันธุ์พืชเฉพาะถิ่นหายากหรือใกล้สูญพันธุ์ บริเวณพื้นที่ทะเลสาบสงขลา จังหวัดพัทลุงและสงขลา, น. 71-75 ในการประเมินโครงการ บริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้และสัตว์ป่าแบบบูรณาการเพื่อการ อนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ระยะที่ 1 (2547-2550). กรุงเทพฯ

ธวัชชัย สันติสุข. 2549. ป่าของประเทศไทย. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ

นิวัฒ เสนาะเมือง. 2553. เห็ดป่าเมืองไทย : ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์. ยูนิเวอร์แซล กราฟฟิค แอนด์ เทรดดิ้ง, กรุงเทพฯ. 84

ปรมาศ รักษวงศ์. 2544. เห็ดและราในประเทศไทย. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีวิศวกรรม แห่งชาติ ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

พิสุทธิ์ เอกอ านวย. 2549. ผีเสื้อในประเทศไทย. อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ.

พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์, อุทัยวรรณ แสงวณิช, Morinaga T., Nishizawa Y. และ Murakami Y. 2551. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย. ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

______. 2551. แมลงปีกแข็งในประเทศไทย. อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. เห็ดในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. ทีฟิล์ม จ ากัด, กรุงเทพฯ.

ราชันย์ ภู่มา. 2551. พืชหายากของประเทศไทย. ส านักงานหอพรรณไม้ ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่า ไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.

วัฒนา ศักดิ์ชูวงษ์. 2552. วิธีการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง. ส านักวิจัย การอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.

สภาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.). 2550. เห็ดในป่าสะแกราช SAKAERAT MUSHROOMS ฝ่ายสิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยาและพลังงาน สภาบันวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กรุงเทพฯ.

สุรชัย ชลด ารงค์กุล. 2553. บันทึกผีเสื้อ. ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.

ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช. 2554. คู่มือการส ารวจความหลากหลายของพรรณไม้. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.

______. 2554. คู่มือการส ารวจความหลากหลายของแมลง. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช, กรุงเทพฯ. 85

______. 2554, คู่มือการส ารวจความหลากหลายของเห็ด. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.

อนงค์ จันทร์ศรีกุล. 2539. เห็ดเมืองไทย. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จ ากัด, กรุงเทพฯ.

อุทัยวรรณ แสงวนิช. ตีพิมพ์ใน ข่าวสารเพื่อผู้เพาะเห็ด (Newsletter for Mushroom Growers) ปีที่ 15 ฉบับที่ 13 (กันยายน-ธันวาคม 2553) หน้า 6-9 ISSN 085-7272

เอื้อมพร วีสมหมาย. 2547. ไม้ป่ายืนต้นของไทย 1. โรงพิมพ์ เอช เอ็น กรุ๊ป จ ากัด, กรุงเทพฯ.

Begon, M., J. L. Harper and C. R. Townsend. 1996. Ecology: Individuals, Populations and Communities. 3rd ed. Blackwell Science, Oxford, UK.

Chandrasrikul, A., P. Suwanarit, U. sangwanit, S. Lumyong, A. Payapanon, N. Sanoamuang, C. Pukahuta, V. Petcharat, U. sardsud, K. Duengkae, U. klinhom, S. Thongkantha and s. Thongklam. 2011. Checklist of Mushrooms (Basidiomycetes) in Thailand. First published. Scan-Media Corporation Ltd., Thailand.

Dokmai C., C. Hutacharern and N. Tubtim. 2007. Checklists of Insects and Mites in Thailand. Department of National Parks, Wildlife and Conservation Ministry of Natural Resources and Environment, Bangkok, Thailand.

Park, C. C. 1992. Tropical Rainforests. Routledge, New York , US.

Pooma R., S. Suddee, V. Chamchumroon, N. Koonkhunthod, K. Phattarahirankanok, S. Sirimongkol, M. Poopath. n.d. A Preliminary Check-list of Threatened in Thailand. The Agricultural Cooperate Federation of Thailand Ltd, Bangkok.

Reaka-Kudla M.L., D. E. Wilson and E. O. Wilson. Biodiversity II. Joseph Henry Press, Washington, DC, US.

86

Santisuk, T., K. Chayamarit, R. Pooma, and S. Suddee. 2006. THAILAND RED DATA : PLANTS. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (ONEP), Bangkok, Thailand.

Sutton, S.L., and P.J. Hudson. 1980. The vertical distribution of small flying insects in the lowland rain forest of Zaire. Zoological journal of the Linnean Society. 68:111-23

Triplehorn, C. A. and N. F. Johnson. 2005. Borror and DeLong’s Introduction to the Study of Insects, 7th Edition. Thompson Brooks/Cole. Belmont, California. Rep. 864.

87

คณะผู้ด ำเนินกำรศึกษำ

ที่ปรึกษำ นายธนิต หนูยิ้ม ผู้อ านวยการส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 นางกรภัทร์ ด ารงไทย ผู้อ านวยการส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช นายมนัส รวดเร็ว ผู้อ านวยการส่วนความหลากหลายทางชีวภาพ นายสมชัย แสงแก้ว หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า

คณะผู้ด ำเนินกำรศึกษำ นางนพวรรณ เสวตานนท์ นักวิชาการป่าไม้ช านาญการพิเศษ หัวหน้าคณะท างาน นายปรีชา มณีรักษ์ นักวิชาการป่าไม้ช านาญการ คณะท างาน นางสาวเกสรี รักชุมคง นักวิชาการป่าไม้ช านาญการ คณะท างาน นางสาวจินตนา สุดคิด นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ คณะท างาน นายเสกสรร ไกรทองสุข นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ คณะท างาน นายเกษม สาบวช นักวิชาการป่าไม้ คณะท างาน นางสาวสลิลลา บุญเทียม นักวิชาการป่าไม้ คณะท างาน นางสาวเสาวรส เมษสุวรรณ นักวิชาการป่าไม้ คณะท างาน นายธนิต เพ็ชรสัจจะ พนักงานขับรถยนต์ส 2 คณะท างาน

กลุ่มงานวิชาการ ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ภาคผนวก

สารบัญ หน้า ค าน า ...... ก สารบัญ ...... ข สารบัญภาพ ...... ค สารบัญตาราง ...... จ สารบัญภาคผนวก ...... ฉ บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ด าเนินการ ...... 1 บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม ...... 4 บทที่ 3 อุปกรณ์ และวิธีการส ารวจ ...... 6 บทที่ 4 ผลการส ารวจ ...... 20 ความหลากหลายของพรรณไม้ ...... 20 ความหลากหลายของแมลง ...... 33 ความหลากหลายของเห็ด ...... 70 บทที่ 5 สรุปและวิจารณ์ผลการส ารวจ ...... 79 บทที่ 6 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ...... 81 กิตติกรรมประกาศ ...... 82 เอกสารอ้างอิง ...... 83 คณะผู้ด าเนินการศึกษา ...... 87 ภาคผนวก ...... 89

สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 แผนที่แสดงพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่- เขาย่า...... 3 2 แผนที่แสดงแปลงส ารวจความหลากหลายของพรรณไม้ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 6 3 ภาพแสดงการวางแปลงตัวอย่างส ารวจความหลากชนิดของพรรณไม้...... 10 4 แผนที่แสดงแปลงส ารวจความหลากหลายของแมลง ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า...... 11 5 ภาพแสดงการวางแปลงตัวอย่างส ารวจความหลากชนิดของผีเสื้อ ...... 13 6 แผนที่แสดงแปลงส ารวจความหลากหลายของเห็ดในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 17 7 ภาพแสดงการวางแปลงตัวอย่างส ารวจความหลากชนิดของเห็ด ...... 19 8 ภาพ Profile Diagram แสดงโครงสร้างของป่าในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 32 9 ผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่–เขาย่า จ าแนกตามวงศ์ ...... 33 10 ผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในอุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า จ าแนกตามเส้นทาง ...... 35 11 ผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในอุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า จ าแนกตามฤดูกาล ...... 35 12 แสดงแผนผัง Venn diagram เปรียบเทียบข้อมูลของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจ พบในฤดูร้อนและฤดูฝนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า...... 36 13 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (H′) และค่าความสม่ าเสมอ (J′) ของผีเสื้อกลางวัน ที่ส ารวจพบในอุทยานแห่งชาติเขาปู่ - เขาย่าจ าแนกตามฤดู...... 47 14 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (H′) และค่าความสม่ าเสมอ (J′) ของผีเสื้อกลางวัน ที่พบในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่าจ าแนกตามเส้นทาง...... 48 15 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ Shannon- Wiener index (H′) และค่าความสม่ าเสมอ Shannon Evenness (J′) ของเห็ดที่พบในแต่ละแปลงส ารวจในป่าดิบชื้น อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ านวน 8 แปลง...... 70

สารบัญภาพ

ภาพชุดที่ หน้า 1 ตัวอย่างพรรณไม้ที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 21 2 ตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 37 3 ตัวอย่างผีเสื้อกลางคืนที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 50 4 ตัวอย่างด้วงที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 66 5 ตัวอย่างเห็ดที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 71

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า 1 บัญชีรายชื่อพรรณไม้ที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 28 2 ผีเสื้อกลางวันในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่าจ าแนกตามเส้นทางและฤดูกาลที่ส ารวจพบ ...... 34 3 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 39 4 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางคืนที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า...... 52 5 บัญชีรายชื่อด้วงที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 67 6 บัญชีรายชื่อเห็ดที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 72

สารบัญภาคผนวก

ตารางที่ หน้า 1 ค่าความส าคัญ (IV) ของไม้ต้น (tree) ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 89 2 ค่าความส าคัญ (IV) ของไม้หนุ่ม (Sapling) ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ...... 99

1

บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ด าเนินการ อุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ตั้งชื่อตามภูเขาที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ ซึ่งเป็นที่รู้จักของ ผู้คนในจังหวัดพัทลุง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “เขาปู่” ซึ่งถือว่าเป็นภูเขาอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สิงสถิตของดวง วิญญาณ “ตาปู่” เป็นเทพกึ่งคนธรรพ์ ซึ่งเป็นที่นับถือเคารพกราบไหว้ของชาวตําบลเขาปู่และ ประชาชนทั่วไป อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่อําเภอทุ่งสง อําเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช อําเภอรัษฎา อําเภอห้วยยอด อําเภอเมือง อําเภอนาโยง จังหวัดตรัง และ อําเภอศรีนครินทร์ อําเภอศรีบรรพต อําเภอป่าพะยอม อําเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง ตั้งอยู่ในบริเวณ เทือกเขาบรรทัด สลับซับซ้อนปกคลุมด้วยป่าดงดิบชื้นเขียวสะพรั่งทุกฤดูกาล จนได้รับสมญานามว่า “ป่าพรหมจรรย์” ในตอนกลางของพื้นที่เป็นที่ราบ ซึ่งมีบ้านพักแบบทาร์ซานสร้างเรียงรายอยู่ตามริม ห้วยธาร นับเป็นเอกลักษณ์ของอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้ดําเนินการสํารวจและได้นําเสนอคณะกรรมการอุทยาน แห่งชาติ มีมติในการประชุมครั้งที่ 2/2523 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2523 ให้กําหนดบริเวณดังกล่าวเป็น อุทยานแห่งชาติ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 72 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2525 เป็น อุทยานแห่งที่ 42 ของประเทศ อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 433,750 ไร่ (หรือ 694 ตาราง กิโลเมตร) โดยมีสํานักงานที่ทําการตั้งอยู่ หมู่ที่ 9 ต.เขาปู่ อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง อาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ จดอําเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ทิศใต้ จดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด และอําเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง ทิศตะวันออก จดอําเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช อําเภอป่าพะยอม อําเภอ ศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ทิศตะวันตก จดอําเภอนาโยง อําเภอเมือง อําเภอห้วยยอด อําเภอรัษฎา จังหวัดตรัง

ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาบรรทัด มีภูเขาสูงสลับซับซ้อน มากมายที่วางตัวตามแนวเหนือ-ใต้ ประกอบด้วยภูเขาบรรทัด ภูเขานครศรีธรรมราช เขาปู่-เขาย่า เขาป้าแหร้ เขาสามร้อยยอด เขาวัดถ้ํา เขาพระยากรุงจีน เขาป่าโฮ้ง มีเขาหินแท่นเป็นยอดเขาสูงสุด มีความสูงประมาณ 877 เมตรจากระดับน้ําทะเล พื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า เป็นต้นแม่น้ําตรัง และแม่น้ําปากพนัง โดยในฝั่งจังหวัดพัทลุงเป็นแหล่งกําเนิดคลองลาไม คลองไม้เสียบ คลองน้ําใส ซึ่งจะไหลรวมเป็นคลองชะอวดและแม่น้ําปากพนัง ส่วนในฝั่งจังหวัดตรังเป็นต้นกําเนิดของคลองลําภูรา คลองละมอ ซึ่งเป็นต้นน้ําแม่น้ําตรัง

2

ลักษณะภูมิอากาศ

สภาพภูมิอากาศ ฤดูฝนอยู่ระหว่างเดือนพฤษภาคม - ธันวาคม ฝนตกมากในช่วงเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน ปริมาณน้ําฝนที่วัดได้ที่บริเวณที่ทําการอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ประมาณ 2,000 - 2,500 มิลลิเมตร/ปี อุณหภูมิระหว่าง 20-35 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส

ทรัพยากรทางชีวภาพโดยทั่วไป

สภาพสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นสังคมพืชป่าดิบชื้น พันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ ตะเคียนทอง หลุมพอ ยาง กระบาก จําปาป่า พิกุล ไข่เขียว นากบุด พญาไม้ หลาวชะโอน หมากพน ฉก ฯลฯ พืชพื้นล่างได้แก่ ช้างร้องไห้ หวาย กล้วยไม้ป่า สมุนไพร และว่าน ชนิดต่างๆ เนื่องจากอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า มีอาณาเขตติดต่อกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด จึงมีสัตว์ป่าอพยพไปมาอยู่เสมอ จากการสํารวจชนิดของสัตว์ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติ พบสัตว์ ประเภทต่างๆ ประกอบด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ประมาณ 60 ชนิด เช่น เลียงผา สมเสร็จ หมีคน เสือปลา เก้ง กระจง ควาย ค่างแว่นถิ่นใต้ ชะมดแปลงลายแถบ หมาไม้ หนูผีจิ๋ว อีเห็นลายพาด พญากระรอกเหลือง พญา กระรอกดํา ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน ค้างคาวปีกถุงเคราดํา ฯลฯ นก พบประมาณ 286 ชนิด อาทิเช่น นกยางไฟหัวสีเทา นกคัดคูสีทองแดง นกบั้งรอกปากแดง นกกะเต็นแดง นกเงือกหัวหงอน นกจอกป่าหัวโต นกพญาปากกว้างเล็ก นกขมิ้นน้อยสีเขียว นกจาบดินหัวดํา นกกระจิบกระหม่อมแดง นกจับแมลงสีส้ม นกกินปลีกล้วยปากยาว นกกาฝากสีเลือดหมู ฯลฯ สัตว์เลื้อยคลาน พบประมาณ 67 ชนิด เช่น เต่าจักร ตะพาบน้ํา เห่าช้าง ตุ๊ดตู่ ตะกวด เหี้ย จิ้งเหลนน้อยหางยาว กิ้งก่าบินหัวสีฟ้า ตุ๊กแกป่าใต้ งูดินมลายู งูเห่าทองพ่นพิษ งูคงคาทอง งูใบ้ ฯลฯ สัตว์สะเทินน้ําสะเทินบก สํารวจพบ กบหงอนมลายู กบชะง่อนหินเมืองใต้ กบเขาหลังตอง กบตะนาวศรี กบว้าก อึ่งกรายลายจุด อึ่งกรายหัวแหลม อึ่งกรายมลายู คางคกแคระ กบหนอง เขียดบัว เป็นต้น ปลา ในบริเวณแหล่งน้ําพบ ประมาณ 15 ชนิด ได้แก่ ปลาตูหนา ปลามัด ปลาหวด ปลาหลด ปลาซิวควาย ปลาซิวใบไผ่ ปลาอีกอง และปลาชะโอนถ้ํา เป็นต้น แมลง ประมาณ 70 ชนิด อาทิเช่น ผึ้งหลวง ด้วงดีดหนวดไผ่ ด้วงกว่างห้าเขา จักจั่นงวงมวนแดง ผีเสื้อพ่อมด ผีเสื้อหางติ่งอิศวร ผีเสื้อดาราไพรปักษ์ใต้ ผีเสื้อเจ้าป่า ผีเสื้อกระทกรกสีคล้ํา ผีเสื้อถุงทอง ปักษ์ใต้ เป็นต้น

3

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่- เขาย่า 4

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม ประเทศไทย ตั้งอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อนและมีเทือกเขาสูงตามภูมิภาคต่างๆก่อให้เกิดความ แตกต่างของดินฟ้าอากาศเฉพาะแหล่ง (microclimate) นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างของสภาพดิน หิน และภูมิประเทศ เป็นปัจจัยร่วมที่ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพในอัตราสูงขึ้นได้ใน ประเทศ ได้แก่ ความหลากหลายของชนิด ความหลากหลายของสายพันธุ์ ตลอดจน ความหลากหลาย ของระบบนิเวศหรือถิ่นที่อยู่อาศัย หรือชนิดป่าที่หลากหลาย ป่าดิบชื้นหรือป่าฝน (tropical rainforest) เป็นระบบนิเวศที่มีความส าคัญแห่งหนึ่งของโลก (park,1992) บนพื้นที่มีฝนตกชุกเกือบตลอดปี และมีความชุ่มชื้นในดินค่อนข้างสูงสม่ าเสมอตลอดทั้งปี ป่าดิบชื้นมีลักษณะเป็นป่ารกทึบประกอบด้วยพรรณไม้หลายร้อยชนิด ไม้ต้นของเรือนยอดชั้นบน ส่วน ใหญ่เป็นไม้วงศ์ยาง-ตะเคียน (Dipterocarpaceae) มีล าต้นสูงใหญ่เปลาตรงตั้งแต่ 30-50 เมตร ถัดลง มา เป็นไม้ต้นขนาดกลางและขนาดเล็กซึ่งสามารถขึ้นอยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ได้ รวมทั้งต้นไม้ชนิด ต่างๆ ในวงศ์หมากหรือปาล์ม (Palmae) พื้นล่างของป่ารกทึบระเกะระกะไปด้วยไม้พุ่ม พืชล้มลุก ระก า หวาย ไผ่ต่างๆ เถาวัลย์หลากชนิด ตามล าต้นไม้และกิ่งไม้มักมีพืชอิงอาศัย(epiphyte) พวก เฟิร์น พวกมอส ขึ้นอยู่ทั่วไป พรรณไม้ที่ส าคัญในป่าดิบชื้น เช่น หลุมพอ (Intsia palembanica), สะตอ (Parkia speciosa), เหรียง (Parkia timoriana) , แซะ (Callerya atropurpurea) , เนียง (Archidendron jiringa), มะคะ (Cynometra malaccensis) , มังคะ (Cynometra ramiflora) , ยวน (Koompassia excels) , ยวนผึ้ง (Koompassia malaccensis) , หยี(Dialium indum) , หยีท้องบึ้ง (Dialium platysepalum) , โสกเหลือง ( thaipingensis) , มะคะขานาง (Sindora echinocalyx), ค้างคาวอีหลิด (Dysoxylum spp.), สังเครียด (Chisocheton spp.) (Meliaceae), อินทนิลน้ า (Lagerstroemia speciosa), ยางน่อง (Antiaris toxicaria), ขนุนปาน (Artocarpus lanceifolia), หาดรุม (A. dadah), เอาะ (A. elastricus), ขนุนป่า (A. rigidus) (Moraceae),เยลูตง (Dyera costulata),ทุ้งฟ้า(Alstonia macrophylla), สัตบรรณ (A. scholaris) (Apocynaceae), ทุเรียนดอน (Durio lowianus), ทุเรียนนก (D. griffithii), ช้างแหก (Neesia altissima) (Bombacaceae), รักป่า (Semecarpus curtisii), ก้านตอง (Swintonia floribunda), ชันรูจี (Parishia insignis), เตยนะ (Pentaspadon velutinus), พระเจ้า ห้าพระองค์ (Dracontomelon dao) (Anacardiaceae), ท้ายเภาขาว(Scaphium linearicarpum), พุงทะลาย (S. scaphigerum) (Sterculiaceae), และไม้ต้นหลายชนิดของสกุล (Syzygium spp.) (Myrtaceae), สกุล Goniothalamus spp., Polyalthia spp., Pseuduvaria spp. (Annonaceae) ปาล์มต้นที่ส าคัญ ได้แก่ ช้างไห้ (Borassodendron machadonis), ปาล์มบังสูรย์ (Johannesteijsmannia altifrons), หมากพน (Orania sylvicola), หลาวชะโอนเขา (Oncosperma horrida), ปาล์มเจ้าเมืองตรัง (Licuala elegans), ชิง (L. distans), หลังกับ (Arenga westerhoutii), ค้อ (Livistona speciosa), เต่าร้าง (Caryota spp.) และหวายอีก หลายชนิดของสกุล Calamus spp.,Daemonorops spp., Korthalsia spp. (Palmae) (ธวัชชัย, 2549) 5

แมลง เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง อยู่ใน Phylum Arthropoda ใน Class Hexapoda หรือ Insecta ที่มีความหลากหลายที่สุดในโลก เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี ท าให้ประสบความส าเร็จในการแพร่กระจายอยู่ในทุกแหล่งที่อยู่ต่างๆ ทั่วโลก ปัจจุบันสามารถจ าแนก ได้ 30 - 33 อันดับ โดยอันดับของด้วง (Coleoptera) มีมากที่สุด ซึ่งมีประมาณมากกว่า 300,000 ชนิด รองลงมาเป็นอันดับของแมลงวัน (Diptera) มีมากกว่า 150,000 ชนิด อันดับของผีเสื้อ (Lepidoptera) มีประมาณ 150,000 ชนิด อันดับของผึ้ง ต่อ แตน และมด (Hymenoptera) มีประมาณ 115,000 ชนิด และอันดับของมวน (Hemiptera) มีประมาณ 35,000 ชนิดตามล าดับ ผีเสื้อ เป็นแมลงในอันดับ Lepidoptera (Lepis หมายถึง เกล็ด และ pteron หมายถึง ปีก) ปีก มีลักษณะบางใสปกคลุมด้วยเกล็ด (Scale) มีสีสันสวยงาม ดึงดูดความสนใจ ท าให้มีการเก็บสะสม กันอย่างแพร่หลาย บทบาทหน้าที่ของผีเสื้อที่ส าคัญ คือ ช่วยผสมเกสร ท าให้พืชติดดอกออกผลมาก ขึ้น ช่วยขยายพันธุ์พืชป่า แต่ในระยะตัวหนอนเป็นศัตรูที่ส าคัญกับพรรณพืช ผีเสื้อแยกได้เป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ คือ ผีเสื้อกลางวัน (Butterflies) และผีเสื้อกลางคืน (Moths) ด้วง จัดอยู่ในอันดับ Coleoptera (มาจากศัพท์ภาษากรีก คือ koleos หมายถึง แผ่น และ pteron หมายถึง ปีก) เป็นอันดับที่มีความหลากหลายมากที่สุด ลักษณะที่เด่นชัดของแมลงในอันดับ นี้คือ มีปีกคู่หน้าที่แข็งเท่าหรือแข็งกว่าล าตัว และไม่มีเส้นปีก ส่วนปีกคู่หลังเป็นแผ่นบางใส เห็นเส้น ปีกชัดเจน พับซ่อนอยู่ใต้ปีกคู่หน้า แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มกินพืช กลุ่มกินเนื้อสัตว์ และกลุ่ม กินมูลสัตว์ หรือซากพืช ซากสัตว์ (Tripheorn and Johnson 2005) เห็ด จัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรรา (Kingdom of Fungi) เนื่องจากไม่มีคลอโรฟิลด์ และไม่สามารถสังเคราะห์อาหารได้ด้วยตนเอง ไม่มีระบบเส้นประสาทหรือประสาทสัมผัส ไม่มีอวัยวะ ส าหรับการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะ จึงท าให้แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืชและสัตว์ แต่เห็ดนั้นมี การพัฒนาจนกระทั่งสร้างโครงสร้างขนาดใหญ่หรือที่เรียกว่า ดอกเห็ด (Fungi body) ที่สามารถ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า สัมผัส และจับต้องได้ ดอกเห็ดมีรูปร่าง สี และลักษณะแตกต่างกันมากมาย หลายแบบ เมื่อดูวิธีการเกิดของเซลล์สืบพันธุ์แบบมีเพศของเห็ดพบว่าเห็ดจัดอยู่ในไฟลัม (Phylum) Ascomycota และ Basidiomycota (อนงค์ และคณะ, 2551) เห็ดมีบทบาทส าคัญในระบบนิเวศ คือ เป็นผู้ย่อยสลาย เป็นเห็ดที่ขึ้นอยู่บนซากพืช กิ่งไม้ ขอนไม้ผุ และบนมูลสัตว์ บทบาทที่ส าคัญอีก ประการหนึ่งคือการอยู่ร่วมกับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นแบบพึ่งพาอาศัยกัน ซึ่งเป็นเห็ดที่ขึ้นโดยตรงจากดิน นอกจากนี้เห็ดบางชนิดยังท าหน้าที่ควบคุมประชากรทั้งพืชและสัตว์เนื่องจากเป็นปรสิตและท าให้เกิด โรค (อุทัยวรรณ, 2553) 6

บทที่ 3 อุปกรณ์ และวิธีการส ารวจ 3.1.วิธีการส ารวจด้านพืช แปลงส ารวจพรรณไม้ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่ - เขาย่า

ค่าพิกัดแปลงตัวอย่าง E 596628 N 848804 E 587554 N 859553 E 588440 N 852125 E 585758 N 874814 E 584107 N 880125 E 580325 N 872667 E 580255 N 858314 E 585960 N 848056

ภาพที่ 2 แผนที่แสดงแปลงส ารวจความหลากหลายของพรรณไม้ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า

7

3.1.1 การวางแปลงตัวอย่าง อุปกรณ์ที่ใช้ในการด าเนินการ 1. อุปกรณ์การวางแปลงตัวอย่างศึกษาสังคมพืช 1.1 เข็มทิศ 1.2 เทปวัดระยะ 1.3 ท่อพีวีซี 1.4 เทปไฟเบอร์กลาส ความยาว 50 เมตร 3 เส้น ความยาว 20 เมตร 6 เส้น 2. อุปกรณ์เก็บข้อมูลพรรณไม้ 2.1 แผ่นอลูมิเนียมติดป้ายต้นไม้ (Tag) 2.2 ค้อน ตะปู 2.3 แบบบันทึกข้อมูล 2.4 ดินสอและปากกา 2.5 สายวัดตัว 2.6 อุปกรณ์จัดเก็บตัวอย่างพรรณไม้ 2.7 กล้องถ่ายรูป 2.8 กล้องส่องทางไกล (ส าหรับส่องดูพรรณไม้ที่มีขนาดสูง) 3. อุปกรณ์เก็บข้อมูลปัจจัยแวดล้อม 3.1 เครื่องมือหาค่าพิกัดด้วยดาวเทียม (GPS) 4. อุปกรณ์อื่น 4.1 คอมพิวเตอร์และโปรแกรมส าหรับวิเคราะห์ข้อมูล 4.2 อุปกรณ์ส านักงานและเครื่องเขียน

3.1.2 วิธีการด าเนินการ การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า ด าเนิน การศึกษาในระดับชนิดพันธุ์ของพรรณไม้ ใช้ระยะเวลาในการด าเนินการเป็นเวลา 1 ปี (ตุลาคม 2559–กันยายน 2560) โดยมีวิธีการศึกษาดังต่อไปนี้

1. เลือกพื้นที่ศึกษาที่จะใช้ในการส ารวจความหลากหลายของพรรณไม้ ให้กระจาย ครอบคลุมพื้นที่ ที่มีการปรากฏของสังคมพืชในบริเวณอุทยานแห่งชาติเขาปู่–เขาย่า 2. ออกส ารวจและเก็บตัวอย่างพรรณไม้ 3. วางแปลงส ารวจขนาด 20x50 เมตร ในพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติเขาปู่–เขาย่า จ านวน 8 แปลง ซึ่งในแต่ละแปลงแบ่งเป็นแปลงย่อยขนาด 10x10 เมตรจ านวน 10 แปลง 4. เก็บข้อมูลไม้ต้นในแปลงตัวอย่าง โดยการวัดความโตของต้นไม้ที่มีเส้นรอบวงตั้งแต่ 15 เซนติเมตร และระดับความสูง 1.3 เมตร ขึ้นไป รวมทั้งจ าแนกชนิด

8

ข้อสังเกต • ปาล์ม วัดความโตที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ตั้งแต่ 15 เซนติเมตร ระดับความสูง 1.3 เมตร ขึ้นไป • ไผ่ วัดความโตเฉลี่ย นับจ านวนล า และจ าแนกชนิด โดยจะถูกนับในแปลงขนาด 10x10 เมตร • ในขนาดดังกล่าวไม่ต้องวัดไม้เลื้อย • ต้นไม้ที่มีหลายนางจะต้องติดเบอร์แยกทุกนาง พร้อมวัดความโตและความสูงทุกนาง • หากจุดที่วัดความโตเป็นแผล ปุ่มปม ให้เลื่อนไปวัดจุดเหนือขึ้นไป 10 -20 เซนติเมตร • การติดเบอร์ให้ติดในทิศทางเดียวกัน และเรียงในแต่ละแปลงใหญ่

5. วางแปลงย่อยขนาด 5x5 เมตร ในมุมของแปลงด้านใดด้านหนึ่งของแปลงย่อย 10x10 เมตร ทั้ง 10 แปลงย่อย อย่างเป็นระบบโดยเก็บข้อมูลไม้หนุ่มที่มีเส้นรอบวงน้อยกว่า 15 เซนติเมตร และมีความสูงตั้งแต่ 1.30 เมตรขึ้นไปจ าแนกชนิดและนับจ านวนแต่ละชนิด 6. ค้นคว้าเอกสารอ้างอิง เพื่อตรวจสอบรายชื่อพรรณไม้ที่มีการส ารวจพบ 7. สรุปข้อมูลการส ารวจในหัวข้อดังนี้ คือ ชื่อพื้นเมือง ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า ความสูงจากระดับน้ าทะเล พิกัด ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ขนาดความสูง 8. รวบรวมภาพตัวอย่างพรรณไม้ พร้อมจัดท าบัญชีรายชื่อพรรณไม้ที่ส ารวจพบในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า

3.1.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ค่าความส าคัญ โดยใช้สูตรดังนี้ ความหนาแน่น (density, D) จ านวนต้นทั้งหมดของชนิด A ที่ปรากฏในแปลงตัวอย่าง DA = หน่วยพื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอย่างที่ส ารวจ

ความเด่น (dominance, Do) DoA = จ านวน พ.ท. หน้าตัดของไม้ชนิด A ที่ปรากฏในแปลง ความถี่ (frequency,หน่วยพื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอย่างที่ส F) ตัวอย่าง ารวจ

จ านวนแปลงตัวอย่างของไม้ชนิด A FA = X 100 จ านวนแปลงตัวอย่างทั้งหมดที่ส ารวจ ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative density, RD)

ความหนาแน่นของไม้ชนิด A RDA = x 100 ความหนาแน่นของไม้ทุกชนิดในสังคม

9

ค่าความถี่สัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative frequency, RF)

ความถี่ของไม้ชนิด A RFA = x ความถี่ของไม้ทุกชนิดในสังคม 100 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative dominance, RDoA)

ความถี่ของไม้ชนิด A RDoA = x 100 ความถี่ของไม้ทุกชนิดในสังคม

สูตรการหาค่าความส าคัญของชนิดไม้ (IV) IVA = RDA + RFA +RDoA สูตรการหาค่าความส าคัญ (IV) ของไม้หนุ่ม (Sapling) IV = RD + RF ค านวณหาค่าความคล้ายคลึงกันของ Sorensen (Indices of similarity or Community coefficients)

ISs = 2W x 100 (A+B) โดยให้ A เป็นจ านวนชนิดพันธุ์ หรือค่าวัดทั้งหมดในสังคม A B เป็นจ านวนชนิดพันธุ์ หรือค่าวัดทั้งหมดในสังคม B W เป็นค่าปรากฏร่วมกันทั้งในสังคม A และสังคม B

2. ค านวณค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ หาค่าดัชนีความหลากชนิดของพืชพันธุ์ Shannon – Wiener Diversity Index: H / s / H = -  (Pi) (lnPi) i=1 เมื่อ H / = ดัชนีความหลากหลาย S = จ านวนชนิด Pi = จ านวนชนิดใดชนิดหนึ่ง/จ านวนทั้งหมด หรือ ni/N (เมื่อ i = 1,2,3,...,s)

10

ค านวณหาค่าความสม่ าเสมอ J / = H / ln S เมื่อ J / H / = Shannon - Wiener Index S = จ านวนชนิดพันธุ์ทั้งหมด 3. การจัดท า profile ของแปลงให้เลือกท าจากแปลงใดแปลงหนึ่งจาก 8 แปลง โดยใช้ ขนาด 10x50 เมตร จ านวน 1 แปลง 4. จัดท าบัญชีรายชื่อพรรณพืชทั้งหมดที่ส ารวจพบลงในตารางข้อมูล การวางแปลงตัวอย่าง ลักษณะการวางแปลงตัวอย่าง

ภาพที่ 3 ภาพแสดงการวางแปลงตัวอย่างส ารวจความหลากชนิดของพรรณไม้

11

3.2 วิธีการส ารวจด้านแมลง เส้นทางการส ารวจแมลงในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า

ค่าพิกัดแปลงตัวอย่าง

E 596628 N 848804 E 587554 N 859553

E 588440 N 852125 E 585758 N 874814

E 584107 N 880125 E 580325 N 872667

E 580255 N 858314 E 585960 N 848056

ภาพที่ 4 แผนที่แสดงแปลงส ารวจความหลากหลายของแมลง ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า

12

.อุปกรณ์และวิธีการส ารวจ 3.2.1. อุปกรณ์ที่ใช้ในการส ารวจ 1. สวิงจับแมลง 2. ซองสามเหลี่ยมส าหรับเก็บแมลงที่จะเซ็ต 3. ดินสอ ปากกา 4. แบบบันทึกข้อมูล 5. กล้องถ่ายรูป 6. เข็มหมุดและเข็มปักแมลงเบอร์ 3 7. กระดาษทาบผีเสื้อส าหรับเซ็ต 8. รางโฟมเซ็ตแมลง 9. หลอดไฟแบล็คไลท์ หรือหลอดไฟแสงจันทร์ 10. ผ้าขาวบาง (เป็นฉากให้แมลงเกาะ) 11. ผ้าขาวบาง (ส าหรับรองแมลงที่ร่วงลงมา) 12. ที่อบแมลง 3.2.2. วิธีการศึกษา การศึกษาความหลากหลายของแมลงในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า ระยะเวลา ด าเนินการเป็นเวลา 1 ปี (ตุลาคม 2559 - กันยายน 2560) เนื่องจากแมลงมีความหลากหลาย มากกว่าสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ทั้งด้านรูปร่าง สีสัน และถิ่นที่อยู่อาศัย บางกลุ่มมีการหากินในเวลา กลางวัน และบางกลุ่มหากินในเวลากลางคืน ดังนั้น วิธีการส ารวจและเก็บตัวอย่างจึงมีความแตกต่าง กัน การส ารวจความหลากหลายของแมลงครั้งนี้ มุ่งเน้นถึงความส าคัญของผีเสื้อกลางวัน ด้วงและ ผีเสื้อกลางคืน โดยมีวิธีการศึกษาดังต่อไปนี้

วิธีการเก็บข้อมูลผีเสื้อกลางวัน

ผีเสื้อกลางวันเป็นแมลงที่มีผู้ให้ความสนใจมากกลุ่มหนึ่ง พบเห็นได้ง่าย มีสีสันสวยงาม และ สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้มาก โดยมีวิธีการศึกษาดังต่อไปนี้ 1.คัดเลือกพื้นที่ป่าเพื่อส ารวจเก็บข้อมูล จ านวน 4 เส้นทาง โดยในแต่ละเส้นทางให้เป็น ตัวแทนของพื้นที่ป่าชนิดนั้นๆ 2. ในแต่ละเส้นทาง เก็บตัวอย่างผีเสื้อกลางวัน โดยแต่ละเส้นทางอยู่ใกล้กับแปลงตัวอย่าง ส ารวจพรรณพืช และเป็นสังคมพืชเดียวกันกับแปลงตัวอย่างส ารวจพรรณพืช ทั้งนี้เพื่อให้ได้ชนิดผีเสื้อ ที่เป็นตัวแทนของสังคมพืชนั้น

13

ภาพที่ 5 ภาพแสดงเส้นทางแปลงตัวอย่างส ารวจความหลากชนิดของผีเสื้อ

3. ก าหนดให้แต่ละเส้นทางใช้ผู้ส ารวจ 2 คน ใช้สวิง 2 อัน และกล่องใส่ซองเก็บผีเสื้อ 1 กล่อง โดยท าการเก็บ 2 ซ้า 4. เมื่อก าหนดเส้นทางเสร็จแล้วให้บันทึกพิกัดจากเครื่อง GPS พร้อมบันทึกข้อมูลความสูง จากระดับน้ าทะเลปานกลาง 5. เก็บผีเสื้อกลางวัน 2 ช่วงเวลา คือ - ภาคเช้า ส ารวจเวลา 10.00–12.00 น. (ส ารวจแบบต่อเนื่องไม่หยุดพัก) - ภาคบ่าย ส ารวจเวลา 13.00-15.00 น. (ส ารวจแบบต่อเนื่องไม่หยุดพัก) 6. ให้ผู้ส ารวจเดินช้าๆ ในเส้นทาง ทั้งสองเส้นทาง สังเกตผีเสื้อที่บินผ่านมาในรัศมีด้านละ 5 เมตรของเส้นทาง เมื่อพบผีเสื้อกลางวันบินให้ใช้สวิงโฉบและน าผีเสื้อออกจากสวิง บีบบริเวณอกให้ ผีเสื้อสลบ (ในกรณีที่ผีเสื้อชนิดนั้นไม่มีในบัญชีรายชื่อของปีก่อนๆ) น าผีเสื้อที่ได้เก็บในซองผีเสื้อเขียน รายละเอียด เช่น สถานที่ ช่วงเวลาเก็บ วันที่เก็บ ชื่อผู้เก็บ ชนิดป่า เมื่อระบุรายละเอียดเรียบร้อยแล้ว ให้เก็บผีเสื้อใส่กล่อง เตรียมพร้อมส าหรับการจ าแนกตัวอย่างต่อไป และส าหรับผีเสื้อที่มีในบัญชี รายชื่อของปีก่อนๆ ให้ถ่ายรูปไว้เพื่อยืนยันความถูกต้องแล้วปล่อย พร้อมทั้งระบุรายละเอียดของ สถานที่ ช่วงเวลาเก็บ วันที่เก็บ ชื่อผู้เก็บ ชนิดป่า การศึกษาครั้งนี้จะเก็บผีเสื้อกลางวันทุกตัวที่บินเข้า มาในรัศมี แม้ว่าจะมั่นใจว่าเป็นชนิดเดียวกัน เพราะจ านวนของผีเสื้อแต่ละชนิดจะถูกน ามาค านวณค่า ความหลากหลายทางชีวภาพ 7. ท าการส ารวจ 4 เส้นทาง ส ารวจ 2 ฤดูกาล คือ ในฤดูร้อนและฤดูฝน โดยเส้นทางส ารวจ ทั้งในฤดูร้อนและฤดูฝน ก าหนดให้เป็นเส้นทางเดียวกัน หลีกเลี่ยงวันที่ฝนตก เพราะผีเสื้อจะไม่บิน ออกหาอาหาร 8. เมื่อส ารวจเสร็จในแต่ละวัน ให้น ารายละเอียดทั้งจ านวนและชนิดพันธุ์ผีเสื้อกลางวันไป กรอกข้อมูลลงตารางบันทึกข้อมูล 9. ผีเสื้อที่ต้องการเก็บตัวอย่าง จะมีการจัดรูปร่างผีเสื้อให้ได้รูปร่างสวยงามโดยใช้เข็มปักแมลง ขนาดเบอร์ 3 ปักให้ทะลุล าตัวและให้เหลือส่วนหัวของเข็มยาวประมาณ 1 เซนติเมตร หลังจากนั้นปัก

14

แมลงลงไปบนโฟมส าหรับเซ็ตแมลง กางปีกและให้ขอบล่างของปีกคู่หน้าตั้งฉากกับล าตัวและขอบบน ของปีกคู่หลังอยู่ใต้ขอบล่างของปีกคู่หน้าโดยใช้กระดาษตรึงปีกเอาไว้ แล้วน าผีเสื้อที่มีการจัดรูปร่าง เสร็จแล้วเข้าตู้อบ 10. สรุปข้อมูลการส ารวจในหัวข้อส าคัญดังนี้ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ อันดับและชนิด ป่าที่พบ 11. รวบรวมภาพตัวอย่างผีเสื้อที่ได้จากการส ารวจ พร้อมทั้งจัดท าบัญชีรายชื่อความหลากหลาย ของผีเสื้อที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า วิธีการเก็บตัวอย่างด้วงและผีเสื้อกลางคืน จากกับดักแสงไฟ 1. คัดเลือกพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลด้วงและผีเสื้อกลางคืนจ านวน 8 จุด ให้อยู่ใกล้บริเวณที่ท า การอุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า ซึ่งควรอยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่ที่เก็บตัวอย่างผีเสื้อกลางวัน 2. ขึงฉากผ้าสีขาวขนาด 2x2 เมตร ขึงให้ตึงในแนวดิ่งหรือแนวนอนแล้วแต่วัตถุประสงค์ และสภาพของพื้นที่ 3. น าหลอดไฟแขวนบนฉากผ้า ซึ่งหลอดไฟที่ใช้ในการเก็บข้อมูลจะเป็นหลอดแสงจันทร์ 125 วัตต์ หรือหลอดแบล็คไลท์ขนาด 40 วัตต์ 4. เปิดไฟตั้งแต่เวลา 18.00 น. เป็นต้นไป แต่เวลาที่เก็บตัวอย่างจะส ารวจทุกๆ 15 นาที จะ เริ่มส ารวจตั้งแต่เวลา 19.00 - 21.00 น. และเก็บข้อมูลอีก 1 ครั้งในเวลา 06.00 น. 5. บันทึกภาพผีเสื้อกลางคืนและด้วงขนาดใหญ่ที่เกาะบนจอผ้า และบริเวณใกล้เคียง เช่น พื้นดิน เสา และต้นไม้ ด้วยกล้องดิจิตอล และพร้อมใส่รหัสภาพ โดยบันทึกเฉพาะผีเสื้อกลางคืน และ ด้วงที่มีขนาดความยาวมากกว่า 2 เซนติเมตร รวมทั้งบันทึกข้อมูลแมลงและภาพทั้งหมดลงในตาราง การบันทึกภาพให้บันทึกจากมุมด้านบน และมุมด้านข้าง ในกรณีที่ผีเสื้อหุบปีกมองเห็นไม่ชัดเจน 6. ท าการส ารวจชนิดป่าละ 8 เส้นทาง ส ารวจ 2 ฤดูกาล คือ ในฤดูร้อนและฤดูฝน โดย เส้นทางส ารวจทั้งในฤดูร้อนและฤดูฝน ก าหนดให้เป็นเส้นทางเดียวกัน หลีกเลี่ยงวันที่ฝนตก เพราะ ผีเสื้อจะไม่บินออกหาอาหารควรมีการทดสอบการบันทึกภาพผีเสื้อกลางคืนและด้วง ในเวลากลางคืน ให้มีความคมชัดและถูกต้อง 7. สรุปข้อมูลการส ารวจ ในหัวข้อส าคัญดังนี้ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ อันดับ และ ชนิดป่าที่พบ 8. รวบรวมภาพตัวอย่างด้วงและผีเสื้อกลางคืนที่ได้จากการส ารวจ พร้อมทั้งจัดท าบัญชี รายชื่อความหลากหลายของด้วงและผีเสื้อกลางคืนที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า

15

3.2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 1.หาค่าความหลากหลายของพืชพันธุ์ (Shannon – Wiener Diversity Index:H ) ทั้ง 8 เส้นทางที่ส ารวจพบในฤดูร้อน ฤดูฝน และรวมทั้งหมด s / H = -  (PilnPi) i=1 เมื่อ H / = ดัชนีความหลากหลาย S = จ านวนชนิด Pi = จ านวนผีเสื้อชนิดใดชนิดหนึ่ง/จ านวนผีเสื้อทั้งหมด ni/N หาค่าความสม่ าเสมอ Shannon Evenness (J ) เพื่อใช้ประกอบค่า H / J / = H / ln S H = Shannon - Wiener Index S = จ านวนชนิด

2. ท าแผนผัง Venn diagram เปรียบเทียบข้อมูลของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในฤดูร้อน และฤดูฝน

A C B

A = เป็นจ านวนชนิดพันธุ์ของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในฤดูฝนเท่านั้น B = เป็นจ านวนชนิดพันธุ์ของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในฤดูร้อนเท่านั้น C = เป็นจ านวนชนิดพันธุ์ของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในทั้งสองฤดู

16

3. ค านวณหาค่าความคล้ายคลึงกันของ Sorensen (Indices of similarity or Community coefficients) ISs = 2W x 100 (A+B) โดยให้ A เป็นจ านวนชนิดพันธุ์ หรือค่าวัดทั้งหมดในสังคม A B เป็นจ านวนชนิดพันธุ์ หรือค่าวัดทั้งหมดในสังคม B W เป็นค่าปรากฏร่วมกันทั้งในสังคม A และสังคม B

4. จัดท าบัญชีรายชื่อแมลงที่ส ารวจพบ โดยแยกเป็นบัญชีรายชื่อ ผีเสื้อกลางวัน ผีเสื้อ กลางคืน และด้วง

17

3.3 วิธีการส ารวจด้านเห็ด

ค่าพิกัดแปลงตัวอย่าง E 596628 N 848804 E 587554 N 859553 E 588440 N 852125 E 585758 N 874814 E 584107 N 880125 E 580325 N 872667 E 580255 N 858314 E 585960 N 848056

ภาพที่ 6 แผนที่แสดงแปลงส ารวจความหลากหลายของเห็ด ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่ - เขาย่า

18

3.3.1 อุปกรณ์และวิธีการส ารวจ อุปกรณ์ที่ใช้ในการส ารวจ 1. อุปกรณ์ส าหรับใส่เห็ดที่มีโครงสร้างโปร่งและแข็ง เช่น ตะกร้า 2. กระดาษส าหรับห่อตัวอย่างเห็ด เช่น กระดาษไข หรือกระดาษหนังสือพิมพ์ 3. มีดและพลั่วสนาม 4. แว่นขยาย หรือ hand lens 5. เครื่องมือบันทึกภาพ เช่น กล้องถ่ายรูป พร้อมอุปกรณ์ต่างๆ 6. อุปกรณ์บันทึกข้อมูล ได้แก่ ดินสอ ปากกา สมุด และไม้บรรทัด 7. เครื่องมือระบุพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) วิธีการส ารวจ 1.วางแปลงส ารวจขนาด 20 x 50 เมตร (แปลงเดียวกันกับแปลงส ารวจพืช) ทั้งหมด 8 แปลง โดยครอบคลุมพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า 2. ส ารวจเห็ดที่พบในแปลง โดยเดินส ารวจทั่วทั้งแปลง และชนิดที่เจอบริเวณข้างแปลงหรอ ื ระหว่างทางเดิน 3. นับจ านวนดอกเห็ดที่พบทั้งหมด 4. ท าการบันทึกภาพ บันทึกสิ่งที่ดอกเห็ดขึ้นอยู่พร้อมรายละเอียดต่างๆ โดยรอบดอกเห็ด และท าการเก็บตัวอย่างเห็ดเพื่อน ามาท าการจ าแนกชนิดตามหลักอนุกรมวิธาน 5. การจ าแนกชนิดเห็ดราตามหลักอนุกรมวิธาน น าตัวอย่างเห็ดรามาท าการตรวจพิสูจน์ ลักษณะอย่างหยาบ (Macro-Identification) หรือลักษณะทางสัณฐานวิทยา เช่น ขนาด สี พิมพ์ สปอร์ กลิ่น รสชาติ การเป็นเงา การมียางไหล ลักษณะหมวกเห็ด ครีบ รูท่อ ก้านดอก ห่วงหรือวง แหวน ปลอกก้านดอก สิ่งประดับดอกเห็ด เป็นต้น เพื่อตรวจสอบหาชนิด

3.3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ค่าความหลากหลายของพืชพันธุ์ (Shannon – Wiener Diversity Index :H´) ของเห็ดในอุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า จากสูตร S H´ = - ∑ (Pi)(InPi) i=1 โดย H´ = ค่าดัชนีความหลากหลาย Pi = สัดส่วนระหว่างจ านวนชนิด i ต่อจ านวนชนิดทั้งหมด S = จ านวนชนิดทั้งหมด

19

ค่าดัชนีความหลากหลายของเห็ดของ Shannon จะใช้ log ฐาน e และหาค่าความ สม่ าเสมอ Shannon Evenness (J´)

J´ = H´ In S โดย H´ = Shannon - Wiener index S = จ านวนชนิดทั้งหมด

การวางแปลงตัวอย่าง ใช้แปลงส ารวจเดียวกับแปลงส ารวจพรรณไม้ (20 × 50 ตารางเมตร)

ภาพที่ 7 ภาพแสดงการวางแปลงตัวอย่างส ารวจความหลากชนิดของเห็ด

20

บทที่ 4 ผลการส ารวจ

4.1 ผลการส ารวจความหลากหลายของพรรณไม้ จากการศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้ป่าดิบชื้น จ านวน 8 แปลง ในพื้นที่รวม 0.8 เฮกแตร์ พบว่ามีความหลากหลายของพรรณพืชทั้งหมด 237 ชนิด เป็นชนิดที่มีความโตขนาดเส้น รอบวงตั้งแต่ 15 เซนติเมตรขึ้นไป จ านวน 184 ชนิด (รวมกับที่ไม่สามารถจ าแนกชนิดได้ 16 ชนิด) ใน 117 สกุล 54 วงศ์ มีจ านวนต้นไม้ทั้งหมด 692 ต้น หรือความหนาแน่นเฉลี่ย 6,920 ต้น/เฮกแตร์ มีพื้นที่หน้าตัดเฉลี่ย 94.18 ตร.ม/เฮกแตร์ ในระดับวงศ์ พรรณไม้ในวงศ์ EBENACEAE มีจ านวนต้นมากที่สุด (61 ต้น) รองลงมาคือวงศ์ FABACEAE (58ต้ น ) แ ล ะ ว ง ศ์ SAPINDACEAE (4 1 ต้ น ) ต า ม ล า ดั บ พ ร ร ณ ไ ม้ ใ น ว ง ศ์ DIPTEROCARPACEAE มีความเด่นสูงสุด (15.64 ตร.ม /เฮกแตร์) รองลงมาคือ วงศ์ FABACEAE (10.29 ตร.ม/เฮกแตร์) และวงศ์ MORACEAE (6.04 ตร.ม/เฮกแตร์) ตามล าดับ พรรณไม้ในวงศ์ EUPHORBIACEAE มีความหลากชนิดมากที่สุด คือ 15 ชนิด รองลงมา คือ วงศ์ EBENACEAE จ านวน 12 ชนิด วงศ์ MALVACEAE จ านวน 11 ชนิด ตามล าดับ ในระดับชนิด ต้นยางกล่อง (Dipterocarpus dyeri) มีค่าความส าคัญ (IV) สูงที่สุดคือ 11.03 รองลงมาคือ มังคาก (Cynometra malaccensis) 8.44 คอแลน (Nephelium hypoleucum) 7.73 ล าพูป่า (Duabanga grandiflora) 7.16 และแดงน้ า (Pometia pinnatalorus) 6.64 ตามล าดับ ชนิดที่มีความหนาแน่นสูงสุดคือ คอแลน 220 ต้น/เฮกแตร์ รองลงมา ลักเคยลักเกลือ (Diospyros sumatrana) 210 ต้น/เฮกแตร์ และ จิกนม (Barringtonia macrostachya) 200 ต้น/เฮกแตร์ (แตกนาง) ชนิดที่มีค่าความเด่นสูงสุดคือ ต้นยางกล่อง 7.84 ตร.ม/เฮกแตร์ รองลงมา คือ กะทังใบเล็ก (Litsea castanea) 4.42 ตร.ม/เฮกแตร์ และ ล าพูป่า 4.39 ตร.ม/เฮกแตร์ ตามล าดับ (ตารางผนวกที่1 ) ไม้หนุ่มมีจ านวนทั้งหมด 156 ชนิด จ านวน 735 ต้น ชนิดที่มีค่าความส าคัญสูงที่สุดคือ สะเดาเทียม (Azadirachta excelsa) 10.31 รองลงมา ลางสาด (Lansium parasiticum) 5.62 และ เต้ยชะครู (Rinorea horneri) 4.70 ตามล าดับ (ตารางผนวกที่ 2 ) ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพรรณไม้ (Index of species diversity) ในแปลงตัวอย่าง ขนาด 20x50 ม. ทั้ง 8 แปลง โดยวิธี Shannon-Wiener index (H’) มีค่าเท่ากับ 6.852 และค่า ความสม่ าเสมอ (Shannon Evenness) มีค่าเท่ากับ 0.726 21

ภาพชุดที่ 1 ตัวอย่างพรรณไม้ที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า วงศ์ ACTINIDIACEAE (A) A.ช้าสามแก้ว (Saurauia tristyla) วงศ์ ANACARDIACEAE (B) B. พระเจ้าห้าพระองค์ (Dracontomelon dao) ; วงศ์ ANNONACEAE (C) C. จ าปาขอม (Polyalthia cauliflora) ; วงศ์ CALOPHYLLACEAE (D) D. นากบุด (Mesua nervosa); วงศ์ DILLENIACEAE (E) E. ส้านด า (Dillenia excels); วงศ์ DIPTEROCARPACEAE (F) F. ยางกล่อง (Dipterocarpus dyeri) ; วงศ์ EBENACEAE (G) G.เท้าแสนปม (Diospyros cauliflora) ; วงศ์ MORACEAE (H) H.เดื่อดิน (Ficus ribes) ;วงศ์ MYRISTICACEAE (I) I.เลือดแรด (Knema globularia)

22

ภาพชุดที่ 1 (ต่อ) ตัวอย่างพรรณไม้ที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า วงศ์ MYRTACEAE (J) J. ชมพู่น้ า (Syzygium siamense) ; วงศ์ OXALIDACEAE (K) K. กาหยีสามใบ (Sarcotheca griffithii); วงศ์ PHYLLANTHACEAE (L) L.ส้มไฟดิน (Baccaurea ptychopyxis); วงศ์ PRIMULACEAE (M) M.มะจ้ าก้อง (Ardisia sanguinolenta) ;วงศ์ RHIZOPHORACEAE (N) N.ไอ้แกรก (Gynotroches axillaris); วงศ์ SALICACEAE (O) O.งวงช้าง(Osmelia maingayi) ; วงศ์ SIMAROUBACEAE (P) P. ปลาไหลเผือก (Eurycoma longifolia) ;วงศ์ TORRICELLIACEAE (Q) Q.คดนกกูด (Aralidium pinnatifidum) ;วงศ์ VIOLACEAE (R) R.กริม (Rinorea anguifera)

ตารางท ี่ 1 บัญชีรายชอื่ พรรณไม้ทสี่ ารวจพบในพนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติเขาป ู่ - เขายา่ ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 1 เฒ่าหลังลาย ร่องไม้ Pseuderanthemum graciliflorum (Nees) Ridl. ACANTHACEAE S - ป่าดิบชนื้ 2 สามแก้ว ช้าสามแก้ว Saurauia tristyla DC. ACTINIDIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 3 - Anacardiaceae - ANACARDIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 4 ขหี้ นอนพรุ ขหี้ นอนพรุ Campnosperma coriaceum (Jack) Hall. f. ex Steenis ANACARDIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 5 ชันรูจี ชันรูจี Parishia insignis Hook. f. ANACARDIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 6 ตะโก พระเจ้าห้าพระองค์ Dracontomelon dao (Blanco) Merr. & Rolfe ANACARDIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 7 มะปริง มะปริง Bouea oppositifolia (Roxb.) Meisn. ANACARDIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 8 ม่วงป่า มะม่วงคัน Mangifera quadrifida Jack ANACARDIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 9 รักเขา รักเขา Gluta elegans (Wall.) Hook. f. ANACARDIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 10 รักป่า รักป่า Semecarpus curtisii King ANACARDIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 11 - Annonaceae - ANNONACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 12 กระดังงาดง กระดังงาดง Cyathocalyx sumatrana Scheff. ANNONACEAE ST/T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 13 กระดังงาป่า กระดังงาป่า Monoon lateriflorum Blume ANNONACEAE ST - ป่าดิบชนื้

14 พริกนก กล้วยค่าง Orophea enterocarpa Maingay ex Hook. f. & Thomson ANNONACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 15 กะโมกเขา กะโมกเขา Sageraea elliptica (A. DC.) Hook. f. & Thomson ANNONACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 16 ง าเงาะ ง าเงาะ Winitia cauliflora (Scheff.) Chaowasku ANNONACEAE T - ป่าดิบชนื้ 17 จ าปาขอม จ าปาขอม Polyalthia cauliflora Hook. f. & Thomson ANNONACEAE ST Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 18 จ าปูน จ าปูน Anaxagorea javanica Blume ANNONACEAE S/ST Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 19 ใบเบยี้ ว ใบเบยี้ ว Miliusa amplexicaulis Ridl. ANNONACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 20 ปาหนันขแี้ มว ปาหนันขแี้ มว Goniothalamus tenuifolius King ANNONACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 21 พริกแดง พริกแดง Orophea brandisii Hook. f. & Thomson ANNONACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 22 พริกนกหมอคาร์ พริกนกหมอคาร์ Orophea kerrii Kessler ANNONACEAE S/ST Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 23 สังหยู สังหยู Hubera jenkinsii (Hook. f. & Thomson) Chaowasku ANNONACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 24 สังหยขู น สังหยขู น Pseuduvaria setosa (King) J.Sinclair ANNONACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้

23 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 25 สังหยดู า สังหยดู า Pseuduvaria rugosa (Blume) Merr. ANNONACEAE T - ป่าดิบชนื้ 26 บุหงาเซิง สาเหล้า Friesodielsia desmoides (Craib) Steenis ANNONACEAE ScanS - ป่าดิบชนื้ 27 หลังโก่ง หลังโก่ง Polyalthia bullata King ANNONACEAE T - ป่าดิบชนื้ 28 หัวเต่า หัวเต่า Mezzettia parviflora Becc. ANNONACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 29 ตีนเป็ด สัตบรรณ Alstonia scholaris (L.) R. Br. APOCYNACEAE T - ป่าดิบชนื้ 30 ทงุ้ ฟ้า ทงุ้ ฟ้า Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don APOCYNACEAE T - ป่าดิบชนื้ 31 ต้างหลวง ต้างหลวง Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis. ARALIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 32 - Arecaceae - ARECACEAE P - ป่าดิบชนื้ 33 หมากพน หมากพน Orania sylvicola (Griff.) H. E. Moore ARECACEAE P - ป่าดิบชนื้ 34 ต้นวาสนา วาสนา Dracaena fragrans (L.) Ker Gawl. ASPARAGACEAE ExS/ST - ป่าดิบชนื้ 35 เพกาผู้ แคชาญชัย Radermachera glandulosa (Blume) Miq. BIGNONIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 36 แคฝอย แคฝอย Stereospermum cylindricum Pierre ex Dop. BIGNONIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 37 แคหางค่าง แคหางค่าง Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis BIGNONIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 38 กอกเขา กอกเขา Dacryodes rostrata (Blume) H. J. Lam BURSERACEAE T - ป่าดิบชนื้ 39 สมอ แลนบาน Canarium denticulatum Blume BURSERACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 40 นากบุด นากบุด Mesua nervosa Planch. & Triana CALOPHYLLACEAE T - ป่าดิบชนื้ 41 ตังหน พะอง Calophyllum polyanthum Wall. ex Planch. & Triana CALOPHYLLACEAE T - ป่าดิบชนื้ 42 มะหาดน้ า แก้งขพี้ ระร่วง Celtis timorensis Span. CANNABACEAE T - ป่าดิบชนื้ 43 ขหี้ นอนควาย หนอนขคี้ วาย Gironniera subaequalis Planch. CANNABACEAE T - ป่าดิบชนื้ 44 กระจับนก กระจับนก Euonymus cochinchinensis Pierre CELASTRACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 45 ตูมพระ ตูมพระ Bhesa paniculata Arn. CELASTRACEAE T - ป่าดิบชนื้ 46 หูยาน หูยาน Bhesa indica (Bedd.) Ding Hou CELASTRACEAE T - ป่าดิบชนื้ 47 ชะมวง ชะมวง Garcinia cowa Roxb. ex Choisy CLUSIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 48 ชะมวงช้าง ส้มแขก Garcinia atroviridis Griff. ex T. Anderson CLUSIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 49 ชะมวงเล็ก ชะมวงเล็ก Garcinia parvifolia (Miq.) Miq. CLUSIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 50 พะวา พะวา Garcinia speciosa Wall. CLUSIACEAE T - ป่าดิบชนื้

24 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 51 สมอดีงู สมอดีงู Terminalia citrina (Gaertn.) Roxb. ex Fleming COMBRETACEAE T - ป่าดิบชนื้ 52 สมอไทย สมอไทย Terminalia chebula Retz. COMBRETACEAE T - ป่าดิบชนื้ 53 สมอแหน สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. COMBRETACEAE T - ป่าดิบชนื้ 54 ค ารอก ค ารอก Ellipanthus tomentosus Kurz CONNARACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 55 ผาเก ฝาละมี Alangium kurzii Craib CORNACEAE T - ป่าดิบชนื้ 56 แส้น ส้านด า Dillenia excelsa (Jack.) Martelli ex Gilg DILLENIACEAE T Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 57 ส้าน ส้านใหญ่ Dillenia obovata (Blume) Hoogland DILLENIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 58 กระบากด า กระบากด า Shorea farinosa C.E.C. Fisch. DIPTEROCARPACEAE T Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 59 ไข่เขียว ไข่เขียว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE T - ป่าดิบชนื้ 60 เคียน เคียนทราย Shorea gratissima (Wall. ex kurz) Dyer DIPTEROCARPACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 61 ตะเคียนราก ตะเคียนราก Hopea pierrei Hance DIPTEROCARPACEAE T Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 62 เต็งควน ตะเคียนสามพอน Shorea laevis Ridl. DIPTEROCARPACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 63 ยงู เหียง ยางกล่อง Dipterocarpus dyeri Pierre ex Laness. DIPTEROCARPACEAE T Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 64 ยางแคง ยางแดง Dipterocarpus turbinatus C. F. Gaertn. DIPTEROCARPACEAE T - ป่าดิบชนื้ 65 ยางกระเบอื้ งถ้วย ยางปาย Dipterocarpus costatus C. F. Gaertn. DIPTEROCARPACEAE T - ป่าดิบชนื้ 66 ยางมันข้น ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii King DIPTEROCARPACEAE T - ป่าดิบชนื้ 67 - Diospyros sp. Diospyros sp. EBENACEAE T - ป่าดิบชนื้ 68 - Ebenaceae - EBENACEAE T - ป่าดิบชนื้ 69 ไหม้ ด าตะโก Diospyros wallichii King & Gamble EBENACEAE T - ป่าดิบชนื้ 70 เท้าแสนปม เท้าแสนปม Diospyros cauliflora Blume EBENACEAE ST Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 71 เนียน เนียน Diospyros diepenhorstii Miq. EBENACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 72 พลับด า พญารากด า Diospyros variegata Kurz EBENACEAE T - ป่าดิบชนื้ 73 ค าดีควาย พลับเขา Diospyros undulata Wall. ex G. Don EBENACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 74 สาวด า พลับดง Diospyros bejaudii Lecomte EBENACEAE T - ป่าดิบชนื้ 75 พลับอันดา พลับอันดา Diospyros andamanica (Kurz) Bakh. EBENACEAE T Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 76 มะพลับ มะพลับ Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. EBENACEAE T - ป่าดิบชนื้

25 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 77 เม่าเหล็ก เม่าเหล็ก Diospyros toposia Buch.- Ham. EBENACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 78 นางด า โมรี Diospyros oblonga Wall. ex G. Don EBENACEAE T - ป่าดิบชนื้ 79 ด า ลักเคยลักเกลือ Diospyros sumatrana Miq. EBENACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 80 สงั่ ท า สงั่ ท า Diospyros buxifolia (Blume) Hiern EBENACEAE T - ป่าดิบชนื้ 81 กาลน กาลน Elaeocarpus floribundus Blume ELAEOCARPACEAE T - ป่าดิบชนื้ 82 สมัด มะมนุ่ Elaeocarpus stipularis Blume ELAEOCARPACEAE T - ป่าดิบชนื้ 83 - Euphorbiaceae - EUPHORBIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 84 - Mallotus sp. Mallotus sp. EUPHORBIACEAE - ป่าดิบชนื้ 85 ขางปอยน้ า ขางปอยน้ า Alchornea rugosa (Lour.) Mull. Arg. EUPHORBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 86 ข้าวเยน็ ปักษ์ใต้ ข้าวเยน็ ปักษ์ใต้ Trigonostemon aurantiacus (Kurz ex Teijsm. & Binn.) Boerl. EUPHORBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 87 ขุนแท่น ขุนแท่น Blumeodendron kurzii (Hook.f.) Sm. EUPHORBIACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 88 จาสนั้ จาสนั้ Paracroton pendulus (Hassk.) Miq. EUPHORBIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 89 ไฟเดือนห้า ตังตาบอด Excoecaria oppositifolia Griff. EUPHORBIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 90 จิกน้ า ตาไชย Agrostistachys gaudichaudii Baill. ex Mull. Arg. EUPHORBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 91 มะฮัง เต้าหลวง Macaranga gigantea (Rchb. f. & Zoll.) Mull. Arg. EUPHORBIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 92 เท้ายายม่อมป่า เท้ายายม่อมป่า Trigonostemon heteranthus Wight EUPHORBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 93 เปล้าเงิน เปล้าเงิน Croton argyratus Blume EUPHORBIACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 94 บับ เปล้าเถอื่ น Ptychopyxis javanica (J.J.Sm.) Croizat EUPHORBIACEAE ST/T - ป่าดิบชนื้ 95 เหยอื่ จง โพบาย Balakata baccata (Roxb.) Esser EUPHORBIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 96 มะฝ่อ มะฝ่อ Trewia nudiflora L. EUPHORBIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 97 เม็ก เม็ก Macaranga tanarius (L.) Mull. Arg. EUPHORBIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 98 ยางพารา ยางพารา Hevea brasiliensis (Kunth) Mull. Arg. EUPHORBIACEAE ExT - ป่าดิบชนื้ 99 สลัด สลัด Mallotus peltatus (Geisel.) Mull. Arg. EUPHORBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 100 หล่อง่าม หล่อง่าม Macaranga triloba (Thunb.) Mull. Arg. EUPHORBIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 101 กาแซะ แซะ Callerya atropurpurea (Wall.) Schot FABACEAE T - ป่าดิบชนื้ 102 เนียง เนียง Archidendron jiringa (Jack) I. C. Nielsen FABACEAE T - ป่าดิบชนื้

26 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 103 มังคาก มังคาก Cynometra malaccensis Meeuwen FABACEAE T - ป่าดิบชนื้ 104 สะตอ สะตอ Parkia speciosa Hassk. FABACEAE T - ป่าดิบชนื้ 105 โสก โสกน้ า Saraca indica L. FABACEAE T - ป่าดิบชนื้ 106 หลุมพอ หลุมพอ Intsia palembanica Miq. FABACEAE T - ป่าดิบชนื้ 107 เหรียง เหรียง Parkia timoriana (DC.) Merr. FABACEAE T - ป่าดิบชนื้ 108 - Lithocarpus sp. Lithocarpus sp. FAGACEAE T - ป่าดิบชนื้ 109 ก่อหมู ก่อหมู Castanopsis javanica (Blume) A.DC. FAGACEAE T - ป่าดิบชนื้ 110 ตับควาย มันหมู Platea latifolia Blume ICACINACEAE T - ป่าดิบชนื้ 111 กระบก กระบก Irvingia malayana Oliv. ex A. W. Benn. IRVINGIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 112 - Lamiaceae - LAMIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 113 - Lauraceae - LAURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 114 - Litsea sp. Litsea sp. LAURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 115 กะทังใบเล็ก กะทังใบเล็ก Litsea castanea Hook. f. LAURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 116 กะทังใบใหญ่ กะทังใบใหญ่ Litsea grandis (Wall. ex Nees) Hook.f. LAURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 117 เขียด เชียด Cinnamomum iners Reinw. ex Blume LAURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 118 นวลแป้ง ฟันปลา Litsea umbellata (Lour.) Merr. LAURACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 119 แหลทอง แหลช่อ Dehaasia kurzii King ex Hook. f. LAURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 120 แหลบุก แหลบุก Phoebe lanceolata (Wall.ex Nees) Nees LAURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 121 เอียน เอียน Neolitsea zeylanica (Nees & T. Nees) Merr. LAURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 122 นมยาน จิกนม Barringtonia macrostachya (Jack) Kurz LECYTHIDACEAE T - ป่าดิบชนื้ 123 ล าพูป่า ล าพูป่า Duabanga grandiflora (DC.) Walp. LYTHRACEAE T - ป่าดิบชนื้ 124 จ าปาป่า จ าปา Magnolia champaca (L.) Baill. ex Pierre MAGNOLIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 125 มณฑา มณฑา Magnolia liliifera (L.) Baill. MAGNOLIACEAE S/T - ป่าดิบชนื้ 126 เสียดช่อ ชุมแพรก Heritiera javanica (Blume) Kosterm. MALVACEAE T - ป่าดิบชนื้ 127 เท้ายายม่อมหลวง เท้ายายม่อมหลวง Melochia umbellata (Houtt.) Stapf MALVACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 128 มักลนิ้ อาง ปอขนุน Sterculia balanghas L. MALVACEAE T - ป่าดิบชนื้

27 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 129 ปง ปออีเก้ง Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. MALVACEAE T - ป่าดิบชนื้ 130 พลาลาย พลับพลา Microcos tomentosa Sm. MALVACEAE T - ป่าดิบชนื้ 131 พลาส้ม พลาส้ม Microcos laurifolia (Hook. ex Mast.) Burret MALVACEAE T - ป่าดิบชนื้ 132 พุงทะลาย ส ารองกะโหลก Scaphium scaphigerum (Wall. ex G. Don) G. Planch. MALVACEAE T - ป่าดิบชนื้ 133 เลือดนก เสียดเขา Pentace triptera Mast. MALVACEAE T - ป่าดิบชนื้ 134 หงอนไก่ หงอนไก่ Schoutenia kunstleri King MALVACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 135 โปรง โปรง Brownlowia peltata Benth. MALVACEAE T - ป่าดิบชนื้ 136 ผักหวานด า ผักหวานด า Leptonychia caudata (Wall. ex G. Don) Burret MALVACEAE S - ป่าดิบชนื้ 137 พลองใหญ่ พลองกินลูก Memecylon ovatum Sm. MELASTOMATACEAE S/T - ป่าดิบชนื้ 138 พลองแก้มอ้น พลองแก้มอ้น Pternandra caerulescens Jack MELASTOMATACEAE T - ป่าดิบชนื้ 139 กระดูกเขียด กระดูกเขียด Aglaia elaeagnoidea (A. Juss) Benth. MELIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 140 เตียน กระท้อน Sandoricum koetjape (Burm. f.) Merr. MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 141 ค้างคาวอีลิด ค้างคาวอีลิด Dysoxylum cyrtobotryum Miq. MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 142 ตาเสือ ตาเสือ Aphanamixis polystachya (Wall.) R. Parker MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 143 ลางสาด ลางสาด Lansium parasiticum (Osbeck) K. C. Sahni & Bennet MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 144 เทียม สะเดาเทียม Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 145 สังเครียด สังเครียด Chisocheton patens Blume MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 146 สังเครียดกล้อง สังเครียดกล้อง Aglaia argentea Blume MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 147 สังเครียดลางสาด สังเครียดลางสาด Aglaia tomentosa Teijsm. & Binn. MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 148 สุเหรียน สุเหรียน Toona sureni (Blume) Merr. MELIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 149 - Artocarpus sp. Artocarpus sp. MORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 150 กะเอาะ กะออก Artocarpus elasticus Reinw. ex Blume MORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 151 ขนุนป่า ขนุนปาน Artocarpus chama Buch.-Ham. MORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 152 ขแี้ รด ข่อยหนาม Streblus ilicifolius (S. Vidal) Corner MORACEAE S/T - ป่าดิบชนื้ 153 ผูก ผูก Ficus variegata Blume MORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 154 เดอื่ นก มะเดอื่ ขนี้ ก Ficus chartacea (Wall. ex Kurz) Wall. ex King MORACEAE S - ป่าดิบชนื้

28 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 155 เดอื่ ชงิ้ ชงิ้ ขาว Ficus fistulosa Reinw. ex Blume MORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 156 เดอื่ ดิน เดอื่ ดิน Ficus ribes Reinw. ex Blume MORACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 157 มะเดอื่ หอม มะเดอื่ หอม Ficus hirta Vahl MORACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 158 เดอื่ น้ า มะเดอื่ อุทุมพร Ficus racemosa L. MORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 159 อีโป้ หาดหนุน Artocarpus gomezianus Wall. ex Trecul MORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 160 เลือดควายใบควาย กรวยป่า Endocomia canarioides (King) W. J. de Wilde MYRISTICACEAE T - ป่าดิบชนื้ 161 เลือดควายแดง ขมี้ นิ่ Horsfieldia tomentosa (Hook. f. & Thomson) Warb. MYRISTICACEAE T - ป่าดิบชนื้ 162 เลือดควาย เลือดควายใบใหญ่ Knema furfuracea (Hook. f. & Thomson) Warb. MYRISTICACEAE T - ป่าดิบชนื้ 163 ลาหัน เลือดแรด Knema globularia (Lam.) Warb. MYRISTICACEAE T - ป่าดิบชนื้ 164 หันช้าง หันช้าง Knema laurina (Blume) Warb. MYRISTICACEAE T - ป่าดิบชนื้ 165 ขไี้ ต้ ขวาด Syzygium lineatum (DC.) Merr. & L.M.Perry MYRTACEAE ST/T - ป่าดิบชนื้ 166 ชมพนู่ กปักษ์ใต้ ชมพนู่ กปักษ์ใต้ Syzygium pseudoformosum (King) Merr. & L.M.Perry MYRTACEAE T - ป่าดิบชนื้ 167 ชมพนู่ ้ า ชมพนู่ ้ า Syzygium siamense (Craib) Chantar. & J.Parn. MYRTACEAE T - ป่าดิบชนื้ 168 สมัก สมัก Syzygium polyanthum (Wight) Walp. MYRTACEAE T - ป่าดิบชนื้ 169 หวา้ ขกี้ วาง หวา้ หิน Syzygium claviflorum (Roxb.) Wall. ex A. M. Cowan & Cowan MYRTACEAE T - ป่าดิบชนื้ 170 กาหยเี ขาสามใบ กาหยเี ขาสามใบ Sarcotheca griffithii Hallier f. OXALIDACEAE T - ป่าดิบชนื้ 171 ลนิ้ ควาย ลนิ้ ควาย Galearia fulva (Tul.) Miq. PANDACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 172 สลอดป่า สลอดป่า Microdesmis caseariifolia Planch. ex Hook. f. PANDACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 173 เตยเขา เตยเขา Pandanus monothecus Martelli PANDANACEAE S - ป่าดิบชนื้ 174 - Antidesma sp. Antidesma sp. PHYLLANTHACEAE T - ป่าดิบชนื้ 175 - Phyllanthaceae - PHYLLANTHACEAE T - ป่าดิบชนื้ 176 กระดุมผี กระดุมผี Glochidion rubrum Blume PHYLLANTHACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 177 ขหี้ นอน กระดูกค่าง Aporosa aurea Hook. f. PHYLLANTHACEAE S/T - ป่าดิบชนื้ 178 ส้มเม่า ครืน Aporosa frutescens Blume PHYLLANTHACEAE S/T - ป่าดิบชนื้ 179 จังไหร จ าปูนิง Baccaurea polyneura Hook.f. PHYLLANTHACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 180 ตะขบนก ตะขบนก Aporosa penangensis (Ridl.) Airy Shaw PHYLLANTHACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้

29 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 181 ทุเรียนดง ทุเรียนดง Cleistanthus oblongifolius (Roxb.) Müll. Arg. PHYLLANTHACEAE ST/T - ป่าดิบชนื้ 182 ผักหวาน ผักหวานดง Phyllanthus elegans Wall. ex Müll. Arg. PHYLLANTHACEAE H - ป่าดิบชนื้ 183 มะกาต้น มะกาต้น Bridelia insulana Hance PHYLLANTHACEAE T - ป่าดิบชนื้ 184 มะไฟกา มะไฟกา Baccaurea parviflora (Müll. Arg.) Müll. Arg. PHYLLANTHACEAE T - ป่าดิบชนื้ 185 ระไม มะไฟฝรงั่ Baccaurea motleyana (Müll. Arg.) Müll. Arg. PHYLLANTHACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 186 เม่าเปาโล มะเม่าขน Antidesma montanum Blume PHYLLANTHACEAE T - ป่าดิบชนื้ 187 เม่าเขา มะเม่าควาย Antidesma velutinosum Blume PHYLLANTHACEAE S/T - ป่าดิบชนื้ 188 ยายถีบหลาน ยายจูงหลาน Phyllanthus oxyphyllus Miq. PHYLLANTHACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 189 ส้มไฟดิน ส้มไฟดิน Baccaurea ptychopyxis Airy Shaw PHYLLANTHACEAE T Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 190 ชุมแสงไข่ ตับหลามใบเล็ก Xanthophyllum eurhychum Miq. POLYGALACEAE T - ป่าดิบชนื้ 191 อ้ายรามใบใหญ่ มะจ้ าก้อง Ardisia sanguinolenta Blume PRIMULACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 192 คอแห้ง เฉียงพร้านางแอ Carallia brachiata (Lour.) Merr. RHIZOPHORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 193 ไอ้แกรก ไอ้แกรก Gynotroches axillaris Blume RHIZOPHORACEAE T - ป่าดิบชนื้ 194 นูดต้น นูดต้น Prunus arborea (Blume) Kalkman ROSACEAE T - ป่าดิบชนื้ 195 - Rubiaceae - RUBIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 196 กระทมุ่ กระทมุ่ Anthocephalus chinensis (Lam.) A.Rich ex Walp. RUBIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 197 กระทมุ่ น้ า กระทมุ่ น้ า Nauclea orientalis (L.) L. RUBIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 198 เข็มเกลยี้ ง เข็มเกลยี้ ง Pavetta graciliflora Wall. ex Ridl. RUBIACEAE S - ป่าดิบชนื้ 199 เข็มดง เข็มดง Greenea corymbosa (Jack.) K. Schum. RUBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 200 เข็มแสด เข็มทอง Ixora javanica (Blume) DC. RUBIACEAE ExS - ป่าดิบชนื้ 201 เข็มน้ า เข็มน้ า Ixora nigricans R. Br. ex Wight & Arn. RUBIACEAE S - ป่าดิบชนื้ 202 ตมุ้ หูทอง เข็มป่า Timonius flavescens (Jacq.) Baker RUBIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 203 เข็มพวงขาว เข็มพวงขาว Ixora finlaysoniana Wall. ex G. Don RUBIACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 204 เข็มไอ้แกรก เข็มไอ้แกรก Urophyllum griffithianum Hook. f. RUBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 205 เคล็ดหนู เคล็ดหนู Canthium horridum Blume RUBIACEAE S - ป่าดิบชนื้ 206 แกงเลียงใบบาง คัดเค้าทอง Aidia densiflora (Wall.) Masam. RUBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้

30 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 207 ตาถีบขนี้ ก ตาถีบขนี้ ก Ixora brunonis Wall. ex G. Don RUBIACEAE S - ป่าดิบชนื้ 208 ตาเป็ดตาไก่ ตาเป็ดตาไก่ Psychotria asiatica L. RUBIACEAE S - ป่าดิบชนื้ 209 พาโหมต้น พาโหมต้น Saprosma brunnea Craib RUBIACEAE S - ป่าดิบชนื้ 210 พาโหมหิน พาโหมหิน Psychotria rhinocerotis Reinw.ex Blume RUBIACEAE S - ป่าดิบชนื้ 211 คันแหลน พุดป่า Rothmannia schoemanii (Teijsm. & Binn) Tirveng. RUBIACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 212 เข็มช่อยอ้ ย มาลัย Ixora pendula Jack RUBIACEAE S - ป่าดิบชนื้ 213 งวงช้าง งวงช้าง Osmelia maingayi King SALICACEAE ST/T - ป่าดิบชนื้ 214 คอแลน คอแลน Nephelium hypoleucum Kurz SAPINDACEAE T - ป่าดิบชนื้ 215 คอแลนเขา คอเหยี้ Xerospermum noronhianum (Blume) Blume SAPINDACEAE T - ป่าดิบชนื้ 216 เงาะป่า เงาะป่า Nephelium maingayi Hiern SAPINDACEAE T - ป่าดิบชนื้ 217 ช ามะเลียง ช ามะเลียง Lepisanthes fruticosa (Roxb.) Leenh. SAPINDACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 218 สาย แดงน้ า Pometia pinnata J.R. & G. Forst. SAPINDACEAE T - ป่าดิบชนื้ 219 ก าซ า มะหวด Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. SAPINDACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 220 ขนุนนก ขนุนนก Palaquium obovatum (Griff.) Engl. SAPOTACEAE T - ป่าดิบชนื้ 221 พิกุลนก พิกุลเถอื่ น Payena lucida A. DC. SAPOTACEAE ST - ป่าดิบชนื้ 222 พิกุลดง พิกุลป่า Payena acuminata (Blume) Pierre SAPOTACEAE T - ป่าดิบชนื้ 223 ปลาไหลเผือก ปลาไหลเผือก Eurycoma longifolia Jack SIMAROUBACEAE S - ป่าดิบชนื้ 224 อ้ายบ่าว อ้ายบ่าว Stemonurus malaccensis (Mast.) Sleumer STEMONURACEAE T - ป่าดิบชนื้ 225 สมพง สมพง Tetrameles nudiflora R.Br. TETRAMELACEAE T - ป่าดิบชนื้ 226 พังตาน มังตาน Schima wallichii (DC.) Korth. THEACEAE T - ป่าดิบชนื้ 227 ไม้หอม กฤษณา Aquilaria malaccensis Lam. THYMELAEACEAE T Rare, Threatened Plant ป่าดิบชนื้ 228 พรมคด คดนกกูด Aralidium pinnatifidum (Jungh. & de Vriese) Miq. TORRICELLIACEAE T - ป่าดิบชนื้ 229 กริม เงาะป่า Rinorea anguifera Kuntze VIOLACEAE S - ป่าดิบชนื้ 230 เต้ยชะครู เต้ยชะครู Rinorea horneri (Korth.) Kuntze. VIOLACEAE S - ป่าดิบชนื้ 231 บังบายต้น กะตังใบ Leea indica (Burm. f.) Merr. VITACEAE S/ST - ป่าดิบชนื้ 232 - Unknown1 - - T - ป่าดิบชนื้

31 ตารางท ี่ 1 (ต่อ) ล าดับที่ ชอื่ พื้นเมือง ชอื่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสัย สถานภาพ ประเภทป่า (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (scientific name) (Family) (habits) (status) (forest type) 233 - Unknown2 - - T - ป่าดิบชนื้ 234 - Unknown3 - - T - ป่าดิบชนื้ 235 - Unknown4 - - T - ป่าดิบชนื้ 236 - Unknown5 - - T - ป่าดิบชนื้ 237 - Unknown6 - - T - ป่าดิบชนื้

32 32

ภาพที่ 8 ภาพ Profile Diagram แสดงโครงสร้างของป่าในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า (ป่าดิบชื้น) 33

4.2 ผลการส ารวจความหลากหลายของแมลง 1. การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันป่าดิบชื้นในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในป่าดิบชื้นอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ านวน 8 เส้นทาง ท าการส ารวจในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝน ผลการส ารวจครั้งนี้ พบผีเสื้อกลางวัน ทั้งหมด 973 ตัว 112 ชนิด 5 วงศ์ ประกอบด้วย วงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (Hesperiidae) 6 ชนิด 49 ตัว วงศ์ผีเสื้อน้ า เงิน(Lycaenidae) 13 ชนิด 125 ตัว วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (Nymphalidae) 65 ชนิด 406 ตัว วงศ์ผีเสื้อหาง ติ่ง (Papilionidae) 13 ชนิด 137 ตัว วงศ์ผีเสื้อขาวเหลือง (Pieridae) 15 ชนิด 256 ตัว (ภาพที่ 9) ผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด ได้แก่ ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเนโร (Appias nero galba) จ านวน 88 ตัว รองลงมา คือ ผีเสื้อเณรยอดไม้ (Gandaca harina harina) จ านวน 49 ตัว และ ผีเสื้อฟ้าวาวสีต่างฤดู (Jamides celeno celeno) จ านวน 43 ตัว

ภาพที่ 9 ผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ าแนกตามวงศ์

34

จากผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบทั้งหมด 973 ตัว 114 ชนิด เมื่อจ าแนกเป็นเส้นทางทั้ง 2 ฤดูกาลที่ส ารวจ พบว่า เส้นทางที่ส ารวจพบผีเสื้อกลางวันมากที่สุด ได้แก่เส้นทางที่ 2 ที่ส ารวจในฤดู ฝนส ารวจพบผีเสื้อกลางวันจ านวน 158 ตัว รองลงมาคือ เส้นทางที่ 2 ที่ส ารวจในฤดูร้อน ส ารวจพบ ผีเสื้อกลางวันจ านวน 103 ตัว ส่วนเส้นทางที่ส ารวจพบน้อยที่สุด คือ เส้นทางที่ 5 ที่ส ารวจในฤดูฝน ส ารวจพบผีเสื้อกลางวันจ านวน 0 ตัว เส้นทางที่ส ารวจพบชนิดผีเสื้อกลางวันมากที่สุด ได้แก่เส้นทางที่ 2 ที่ส ารวจ ในฤดูร้อน ส ารวจพบผีเสื้อกลางวันจ านวน 48 ชนิด รองลงมาคือ เส้นทางที่ 7 ที่ส ารวจใน ฤดูฝน ส ารวจพบผีเสื้อกลางวันจ านวน 42 ชนิด ส่วนเส้นทางที่ส ารวจพบน้อยที่สุดคือ เส้นทางที่ 5 และ 6 ที่ส ารวจในฤดูฝน ส ารวจพบผีเสื้อกลางวันจ านวน 0 และ 9 ชนิด(ตารางที่2)

ตารางที่ 2 ผีเสื้อกลางวันในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ าแนกตามเส้นทางและฤดูกาลที่ส ารวจพบ

ฤดูร้อน ฤดูฝน รวม เส้นทางที่ จ านวน จ านวน จ านวน จ านวน จ านวน จ านวน (ชนิด) (ตัว) (ชนิด) (ตัว) (ชนิด) (ตัว) 1 33 74 25 85 46 159 2 48 103 35 158 61 261 3 40 100 16 27 41 127 4 26 42 17 29 33 71 5 14 27 0 0 14 27 6 25 42 9 12 33 54 7 31 102 42 101 51 203 8 15 41 17 30 28 71 รวม 531 442 973

การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันเปรียบเทียบในแต่ละเส้นทางส ารวจ พบชนิด ของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในแต่ละเส้นทางเป็นดังนี้ (ภาพที่ 10) 35

ภาพที่ 10 ผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ าแนกตามเส้นทาง จ านวนชนิดและจ านวนตัวของผีเสื้อกลางวันใน 2 ฤดูกาล คือ ฤดูร้อน และฤดูฝน ผลการ ส ารวจผีเสื้อกลางวัน ดังภาพที่ 11

ภาพที่ 11 ผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ าแนกตามฤดูกาล 36

เปรียบเทียบข้อมูลผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในฤดูร้อน และฤดูฝน โดยใช้แผนภาพ Venn diagram จากชนิดของผีเสื้อกลางวันในฤดูร้อน 100 ชนิด และในฤดูฝน 81 ชนิด พบว่ามีชนิดของ ผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบทั้ง 2 ฤดูกาล จ านวน 67 ชนิด พบเฉพาะในฤดูร้อน 31 ชนิด และพบเฉพาะ ในฤดูฝน 14 ชนิด (ดังภาพที่ 12) และค านวณหาค่าความคล้ายคลึงกัน โดยวิธีของ Sorensen (Indices of similarity or Community coefficients) ของทั้ง 2 ฤดูกาล เท่ากับ 74.86%

14 ชนิด 67 ชนิด 31 ชนิด

ฤดูฝน ฤดูร้อน ภาพที่ 12 แสดงแผนผัง Venn diagram เปรียบเทียบข้อมูลของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในฤดูร้อน และฤดูฝนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า

เมื่อน าผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบ มาจ าแนกตาม วงศ์ สกุล และชนิด มาจัดท าบัญชีรายชื่อ ผีเสื้อกลางวัน ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ าแนกตามฤดูกาลที่ส ารวจ พบว่าจากผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบ เฉพาะในฤดูร้อนเพียงฤดูเดียว ชนิดที่พบมากที่สุด ได้แก่ ผีเสื้อเณรทัลบอต (Eurema ada indosinica) พบ จ านวน 16 ตัว ส่วนที่ส ารวจพบเฉพาะในฤดูฝนเพียงฤดูเดียว ชนิดที่พบมากที่สุด ได้แก่ ผีเสื้อหนอน ใบกุ่มธรรมดา (Appias albina darada) พบจ านวน 12ตัว (ตารางที่ 3)

37

A B C

D E F

G H I

ภาพชุดที่ 2 ตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า วงศ์ Hesperiidae (A-B) A. ผีเสื้อนิลวรรณแถบกระบอง (Notocrypta clavata clavata) , B. ผีเสื้อหน้าเข็มปีกมนส้มใหญ่(Burara etelka etelka) ; วงศ์Lycaenidae (C-E) C. ผีเสื้อหนอน พุทราแถบตรง (Caleta roxus pothus) , D. ผีเสื้อหางริ้วอมฤตธรรมดา (Neocheritra amrita amrita) , E. ผีเสื้อบินตลกธรรมดา(Zemeros flegyas allica) ;วงศ์ Nymphalidae (F-N) F.ผีเสื้อจ่ากระบอง (Athyma pravara indosinica) ,G. ผีเสื้อแผนที่แดงลายประ(Chersonesia intermedia intermeder) ,H. ผีเสื้อแพนซีตาลไหม้ (Junonia iphita iphita) , I. ผีเสื้อแถบข้างขาวมลายู(Neorina lowii neophyte) 38

J K L

M N O

P Q R

ภาพชุดที่ 2 (ต่อ) วงศ์ Nymphalidae (ต่อ) J. ผีเสื้อเสือดาวเล็ก(Phalanta alcippe alcippoides) , K. ผีเสื้อม้าเขียวธรรมดา (Polyura athamas athamas) , L.. ผีเสื้อพ่อมด (Rhinopalpa polynice eudoxia) ,M. ผีเสื้อพเนจร (Vagrans sinha sinha) , N. ผีเสื้อตาลหางแหลมมลายู (Vindula dejone erotella) ; วงศ์ Papilioniidae (O-Q) O. ผีเสื้อหางติ่งธรรมดา(Papilio polytes Romulus), P.ผีเสื้อหางตุ้มจุด ชมพู (Pachliopta aristolochiae goniopeltis) , Q. ผีเสื้อถุงทองภูเขา (Troides cuneifera paeninsulae) ;วงศ์ Pieridae (R) R. ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเนโร (Appias nero galba)

ตารางท ี่ 3 บัญชรี ายชื่อผีเสื้อกลางวันทสี่ ารวจพบในอุทยานแห่งชาตเิ ขาปเู่ ขาย่า

ชื่อสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จ านวน(ตวั ) ล าดบั (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 1 ผีเสื้อนิลวรรณแถบกระบอง Notocrypta clavata clavata(Staudinger,1889) Hesperiidae 2 6 2 ผีเสื้อนิลวรรณธรรมดา Notocrypta paralysos asawa (Fruhstorfer,1911) Hesperiidae 1 3 ผีเสื้อนิลกายสีตาล Ancistroides nigrita othonias (Hewitson,1878) Hesperiidae 4 7 4 ผีเสื้อหน้าเข็มปีกมนส้มใหญ่ Burara etelka etelka (Hewitson,1867) Hesperiidae 1 5 ผีเสื้อคาดแสดแถบกว้างยาว Koruthaialos sindu sindu (C.&R.Felder,1860) Hesperiidae 6 12 6 ผีเสื้อจิ๋วหนอนมะพร้าว lambrix salsala salsala (Moore,1866) Hesperiidae 7 3 7 ผีเสื้อฟ้าไม้ก่อมดเลี้ยง Arhopala centaurus nakula (C.&R.Felder,1860) Lycaenidae 7 8 ผีเสื้อฟ้าไม้ก่อกระขาว Arhopala democritus lycaenaria(C.&R.Felder,1860) Lycaenidae 1 10 9 ผีเสื้อฟ้าไม้ก่อลายขีด Arhopala fulla ignara (Riley&Godfrey,1921) Lycaenidae 2 10 ผีเสื้อหนอนพุทราแถบตรง Caleta roxus pothus(Fruhstorfer,1918) Lycaenidae 13 2 11 ผีเสื้อหนอนพุทธาธรรมดา Castalius rosimon rosimon (Fabricius) Lycaenidae 10 12 12 ผีเสื้อแต้มแสดธรรมดา Drupadia ravindra moorei (Distant,1882) Lycaenidae 9 2 13 ผีเสื้อหางพลิ้ว Hypolycaena amasa amasa(Hewitson,1865) Lycaenidae 2 1 14 ผีเสื้อฟ้าวาวโลหะ Jamides caeruleus caeruleus (H.Druce,1873) Lycaenidae 3 39 ตารางท ี่ 3 (ต่อ)

ชื่อสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จ านวน(ตวั ) ล าดบั (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 15 ผีเสื้อฟ้าวาวสีต่างฤดู Jamides celeno celeno (Cramer,1775) Lycaenidae 41 2 16 ผีเสื้อแสดหางยาว Loxura atymnus (Stoll) Lycaenidae 1 17 ผีเสื้อหางริ้วอมฤตธรรมดา Neocheritra amrita amrita(C.&R.Felder,1860) Lycaenidae 2 18 ผีเสื้อชาดจุดขาวมลายู Paralaxita damajanti damajanti (C.&R.Felder,1860) Lycaenidae 1 2 19 ผีเสื้อบินตลกธรรมดา Zemeros flegyas allica (Fabricius,1787) Lycaenidae 2 20 ผีเสื้อลายเสือฟ้าสีจาง Ideopsis similis persimilis (Moore) Nymphalidae 1 1 21 ผีเสื้อลายเสือฟ้าขีดเรียว Ideopsis vulgaris macrina (Fruhstorfer) Nymphalidae 5 3 22 ผีเสื้อหนอนหนามกระทกรก Acraea violae (Fabricius, 1793) Nymphalidae 3 23 ผีเสื้อโคอินัวร์ Amathuxidia amythaon(Doubleday,1847) Nymphalidae 2 24 ผีเสื้อจ่ากระบอง Athyma pravara indosinica (Fruhstorfer,1906) Nymphalidae 1 10 25 ผีเสื้อม้าแดงธรรมดา Charaxes bernardus (Fabricius,1793) Nymphalidae 1 26 ผีเสื้อแผนทแี่ ดงลายประ Chersonesia intermedia intermedia Nymphalidae 1 4 27 ผีเสื้อแผนทแี่ ดงธรรมดา Chersonesia risa risa (Doubleday,1848) Nymphalidae 6 7 28 ผีเสื้อตาแมวมลายู Coelites epiminthia epiminthia(Westwood,1851) Nymphalidae 3 2 29 ผีเสื้อลายขี้เมี่ยง Cupha erymanthis erymanthis (Drury) Nymphalidae 8 25 30 ผีเสื้อบารอนฮอสฟิลด์ Cynitia cocytina puseda(Moore,1858) Nymphalidae 3 10 40 ตารางท ี่ 3 (ต่อ)

ชื่อสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จ านวน(ตวั ) ล าดบั (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 31 ผีเสื้อเคาท์มลายู Cynthia godartii asoka (C.&R.Felder,1867) Nymphalidae 1 1 32 ผีเสื้อแผนทลี่ ายหินอ่อน Cyrestis cocles earli (Distant, 1883) Nymphalidae 5 4 33 ผีเสื้อแผนทเี่ ส้นตรง Cyrestis nivea nivalis (C.&R.Felder,1867) Nymphalidae 2 34 ผีเสื้อแผนทเี่ ล็ก Cyrestis themire themire Nymphalidae 2 5 35 ผีเสื้อหนอนใบรักลายเสือ Danaus genutia genutia (Cramer) Nymphalidae 1 36 ผีเสื้อใบไม้เล็ก Doleschallia bisaltide Nymphalidae 2 3 37 ผีเสื้อจูเลีย Dryas julia (Fabricius,1775) Nymphalidae 2 1 38 ผีเสื้อหนอนมะพร้าวธรรมดา Elymnias hypermnestra agina Nymphalidae 1 39 ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ Euploea core graminifera (Moore,1883) Nymphalidae 3 40 ผีเสื้อจรกาเมียลาย Euploea mulciber mulciber (Cramer) Nymphalidae 5 3 41 ผีเสื้อจรกาจันท์ Euploea orontobates (Fruhstorfer,1910) Nymphalidae 1 42 ผีเสื้อจรกาด าขาว Euploea radamanthus radamanthus Nymphalidae 1 43 ผีเสื้อจรกาแคระ Euploea tulliolus ledereri (C.&R.Felder,1860) Nymphalidae 6 1 44 ผีเสื้อมาคีใหญ่ Euthalia dunya dunya (Doubleday, 1848) Nymphalidae 5 3 45 ผีเสื้อดุ๊คจุดแดง Euthalia evelina vallona (Fruhstorfer,1913) Nymphalidae 2 46 ผีเสื้อมาคีแถบโค้ง Euthalia teuta gupta (de Nicéville, 1886) Nymphalidae 2 41 ตารางท ี่ 3 (ต่อ)

ชื่อสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จ านวน(ตวั ) ล าดบั (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 47 ผีเสื้อป่าสีตาลไหม้ Faunis canens arcesilas (Stichel,1933) Nymphalidae 1 48 ผีเสื้อปีกไข่ใหญ่ Hypolimnas bolina jacintha (Drury) Nymphalidae 3 5 49 ผีเสื้อร่อนลมน้อย Ideopsis gaura perakana Nymphalidae 1 50 ผีเสื้อแพนซีสีตาล J. lemonias lemonias (Linnaeus) Nymphalidae 1 13 51 ผีเสื้อแพนซีเทา Junonia atlites atlites (Linnaeus,1763) Nymphalidae 1 52 ผีเสื้อแพนซีตาลไหม้ Junonia iphita iphita (Cramer,1779) Nymphalidae 14 20 53 ผีเสื้อสะพายขาวปีกโค้ง Lebadea martha (Fabricius, 1787) Nymphalidae 3 17 54 ผีเสื้ออ๊าชดุ๊คธรรมดา Lexias pardalis jadeitina (Fruhstorfer, 1913) Nymphalidae 1 1 55 ผีเสื้อดงปีกใส Melanocyma faunula faunula (Westwood,1850) Nymphalidae 1 4 56 ผีเสื้อแถบขาวเรียงธรรมดา Moduza procris procris (Cramer, 1777) Nymphalidae 1 3 57 ผีเสื้อตาลพมุ่ คั่นกลาง Mycalesis intermedia (Moore,1892) Nymphalidae 3 58 ผีเสื้อตาลพมุ่ สีอิฐ Mycalesis anapita anapita (Moore,1858) Nymphalidae 2 5 59 ผีเสื้อตาลพมุ่ มลายู Mycalesis fusca fusca(C.&R.Felder,1860) Nymphalidae 1 60 ผีเสื้อตาลพมุ่ พม่า Mycalesis perseoides (Moore, 1892) Nymphalidae 2 9 61 ผีเสื้อแถบข้างขาวมลายู Neorina lowii neophyta (Fruhstorfer,1911) Nymphalidae 1 2 62 ผีเสื้อกะลาสีมัวเข้ม Neptis ilira cindia (Eliot,1969) Nymphalidae 5 42 ตารางท ี่ 3 (ต่อ)

ชื่อสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จ านวน(ตวั ) ล าดบั (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 63 ผีเสื้อกะลาสีมลายู Neptis duryodana nesia (Fruhstorfer,1908) Nymphalidae 1 64 ผีเสื้อกะลาสีธรรมดา Neptis hylas kamarupa (Moore,1874) Nymphalidae 3 7 65 ผีเสื้อลายเสือเหลือง Parantica aspasia aspasia (Fabricius, 1787) Nymphalidae 8 4 66 ผีเสื้อช่างร่อน Parthenos sylvia gambrisius Nymphalidae 8 9 67 ผีเสื้อเสือดาวเล็ก Phalanta alcippe alcippoides Nymphalidae 4 9 68 ผีเสื้อม้าเขียวธรรมดา Polyura athamas athamas (Drury, 1773) Nymphalidae 1 2 69 ผีเสื้อพ่อมด Rhinopalpa polynice eudoxia(Guerin-Menevill,1840) Nymphalidae 1 70 ผีเสื้อไวท์เคาท์มลายู Tanaecia godartii asoka (C. & R. Felder) Nymphalidae 1 5 71 ผีเสื้อไวส์เคาท์แถบสั้น Tanaecia aruna aruna (C.&R.Felder,1860) Nymphalidae 1 72 ผีเสื้อไวส์เคาท์ขอบฟ้า Tanaecia julii mansori (Yokochi,1993) Nymphalidae 1 73 ผีเสื้อไวท์เคาท์ขีดยาว Tanaecia palguna consanguinea (Distant,1886) Nymphalidae 4 74 ผีเสื้ออะซีเรียนมลายู Terinos clarrissa malayana (Fruhstorfer,1906) Nymphalidae 11 1 75 ผีเสื้อดาราไพรธรรมดา Thaumantis diores splendes (Tytler,1939) Nymphalidae 1 1 76 ผีเสื้อดาราไพรสีคล้ า Thaumantis klugius lucipor (Westwood,1851) Nymphalidae 1 77 ผีเสื้อเจ้าป่าปีกพู่ Thauria aliris pseudaliris(Crowley,1896) Nymphalidae 1 2 78 ผีเสื้อพเนจร Vagrans sinha sinha (Kollar,1844) Nymphalidae 1 43 ตารางท ี่ 3 (ต่อ)

ชื่อสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จ านวน(ตวั ) ล าดบั (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 79 ผีเสื้อตาลหางแหลมมลายู Vindula dejone erotella Nymphalidae 5 10 80 ผีเสื้อตาลแถบเหลือง Xanthotaenia busiris busiris(Westwood,1858) Nymphalidae 4 2 81 ผีเสื้อสีตาลจุดตาห้ามาเลย์ Ypthima nebulosa (Aoki & Uemura,1982) Nymphalidae 3 10 82 ผีเสื้อสีตาลจุดตาห้าธรรมดา Ypthima baldus newboldi (Distant,1882) Nymphalidae 1 83 ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา Ypthima huebneri (Kirby,1871) Nymphalidae 2 84 ผีเสื้อตาลจุดตาห้ามาเลย์ Ypthima nebulosa (Aoki&Ue'mura,1892) Nymphalidae 3 85 ผีเสื้อสะพายฟ้า Graphium sarpedon luctatius (Fruhstorfer, 1907) Papilionidae 2 5 86 ผีเสื้อหนอนจ าปีธรรมดา Graphium agamemnon (Linnaeus) Papilionidae 2 87 ผีเสื้อหางดาบใหญ่ Graphium antiphates pompilius (Fabricius, 1787) Papilionidae 1 1 88 ผีเสื้อหนอนจ าปีจุดแดงต่อ Graphium arycles sphinx (Fruhstorfer, 1899) Papilionidae 3 89 ผีเสื้อหางดาบลายจุด Graphium nomius swinhoei(Moore,1878) Papilionidae 2 2 90 ผีเสื้อหางตุ้มหางกิ่ว Losaria coon doubledayi (Wallace,1865) Papilionidae 1 6 91 ผีเสื้อหางตุ้มจุดชมพุ Pachliopta aristolochiae goniopeltis (Rothschild,1908) Papilionidae 7 8 92 ผีเสื้อหางติ่งนางละเวง Pachliopta memnon agenor (Linnaeus,1758) Papilionidae 15 21 93 ผีเสื้อหางติ่งเฮเลน Papilio helenus helenus (Linnaeus,1758) Papilionidae 1 94 ผีเสื้อหางติ่งชะอ้อน Papilio nephelus chaon(Westwood,1845) Papilionidae 11 22 44 ตารางท ี่ 3 (ต่อ)

ชื่อสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จ านวน(ตวั ) ล าดบั (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 95 ผีเสื้อหางติ่งธรรมดา Papilio polytes romulus (Cramer,1775) Papilionidae 4 8 96 ผีเสื้อถุงทองธรรมดา Troides aeacus malaiianus (Frustorfer,1902) Papilionidae 3 2 97 ผีเสื้อถุงทองภูเขา Troides cuneifera paeninsulae(Pendlebury,1936) Papilionidae 5 5 98 ผีเสื้อหนอนใบกุ่มธรรมดา Appias albina darada (C. & R. Felder) Pieridae 12 99 ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเนโร Appias nero galba(Wallace,1867) Pieridae 83 5 100 ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเส้นด า Appias olferna olferna (Swinhoe,1890) Pieridae 1 101 ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเล็ก Appias paulina admsoni Pieridae 1 102 ผีเสื้อหนอนใบกุ่มขอบตาลไหม้ Appias lyncida vasava (Fruhstorfer,1910) Pieridae 2 103 ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา Catopsilia pomona pomona (Fabricius) Pieridae 2 5 104 ผีเสื้อเหลืองสยามธรรมดา Cepora iudith malaya (Fabricius,1787) Pieridae 1 1 105 ผีเสื้อหนอนกาฝากธรรมดา Delias hyparete metarete Butler Pieridae 1 106 ผีเสื้อเณรทัลบอต Eurema ada indosinica(Yata,1991) Pieridae 16 107 ผีเสื้อเณรธรรมดา Eurema hecabe hecabe (Linnaeus) Pieridae 11 12 108 ผีเสื้อเณรภูเขา Eurema simulatrix tecmessa (de Niceville) Pieridae 5 15 109 ผีเสื้อเณรยอดไม้ Gandaca harina harina (Moore, 1906) Pieridae 19 30 110 ผีเสื้อปลายปีกส้มใหญ่ Hebomoia glaucippe glaucippe (Linnaeus) Pieridae 1 16 45 ตารางท ี่ 3 (ต่อ)

ชื่อสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จ านวน(ตวั ) ล าดบั (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 111 ผีเสื้อปลายปีกส้มเล็ก Ixias pyrene (Linnaeus,1764) Pieridae 1 112 ผีเสื้อขาวแคระ Leptosia nina malayana (Fruhstorfer) Pieridae 6 10 รวม 442 531

46 47

เมื่อน าจ านวนตัวและจ านวนชนิดของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบมาค านวณหาค่าดัชนีความ หลากหลายของชนิดพันธุ์ตามสูตรของ Shannon - Wiener Index (H′) และค่าความสม่ าเสมอตาม สูตรของ Shannon Evenness (J′) ในฤดูร้อนรวมทั้ง 8 เส้นทาง มีค่า เท่ากับ 4.1288 และ 0.9005 ตามล าดับ ในฤดูฝน มีค่า เท่ากับ 3.6251 และ 0.8249 ตามล าดับ และเมื่อรวมทั้งสองฤดู มีค่าเท่ากับ 4.124 และ 0.8707 ตามล าดับ (ภาพที่ 13)

ภาพที่ 13 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (H′) และค่าความสม่ าเสมอ (J′) ของผีเสื้อกลางวัน ที่ส ารวจพบในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ าแนกตามฤดู

48

ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (H′) และค่าความสม่ าเสมอ (J′) จ าแนกตามราย เส้นทาง ทั้ง 8 เส้นทาง พบว่า เส้นทางที่ 1 เท่ากับ 3.2426 และ 0.8469 เส้นทางที่ 2 เท่ากับ 3.2519 และ 0.7910 เส้นทางที่ 3 เท่ากับ 3.5615 และ 0.9590 เส้นทางที่ 4 เท่ากับ 3.2757 และ 0.9368 เส้นทางที่ 5 เท่ากับ 2.3009 และ 0.8719 เส้นทางที่ 6 เท่ากับ 3.3087 และ 0.9463 เส้นทางที่ 7 เท่ากับ3.5708 และ 0.9082 เส้นทางที่ 8 เท่ากับ 2.8792 และ 0.8641 (ภาพที่ 14)

ภาพที่ 14 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (H′) และค่าความสม่ าเสมอ (J′) ของผีเสื้อกลางวัน ที่พบในอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ าแนกตามเส้นทาง

49

2. การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางคืนในสังคมป่าดิบชื้นอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางคืนในสังคมป่าดิบชื้นอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า จ านวน 8 จุด ท าการส ารวจในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝน ผลการส ารวจครั้งนี้ พบผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด 307 ตัว 205 ชนิด 13 วงศ์ ประกอบด้วย วงศ์ผีเสื้อลายเสือ (Arctiidae) 32 ตัว 22 ชนิด วงศ์ผีเสื้อไหม (Bombycidae) 2 ตัว 2 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหนอนเจาะไม้ (Cossidae) 4 ตัว 4 ชนิด วงศ์ผีเสื้อมอทหญ้า (Crambidae) 26 ตัว 24 ชนิด วงศ์ผีเสื้อ Eribidae 1 ตัว 1 ชนิด วงศ์ผีเสื้อยักษ์ขนปุย (Eupterotidae) 2 ตัว 2 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหนอนคืบ (Geometridae) 61 ตัว 49 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหางเหลือง (Lymantriidae) 15 ตัว 11 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหนอนกระทู้ (Noctuidae) 72 ตัว 55 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหนอนมังกร (Notodontidae) 22 ตัว 17 ชนิด วงศ์ผีเสื้อเหยี่ยว (Sphingidae) 6 ตัว 6 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหางยาว (Uranidae) 2 ตัว 1 ชนิด วงศ์ผีเสื้อ หนอนมะไฟ (Zygaenidae) 15 ตัว 1 ชนิด และ ผีเสื้อที่ไม่ทราบชนิด 47 ตัว 10 ชนิด ผีเสื้อกลางคืนที่พบ มากที่สุด ได้แก่ Unk 7 พบจ านวน 38 ตัว

50

C A B

D E F

G H I

ภาพชุดที่ 3 ตัวอย่างผีเสื้อกลางคืนD ที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่า วงศ์ Arctiidae (A-D) A. มอทลายเสือเหลืองเส้นด าคู่ Baresine euprepioides, B. มอทลายเสือแดง ขีดขวาง Barsine lineatus, C. มอทลายเสือครีมท้องหลือง Creatonotos transiens , D. มอทชีแต้มจุดเดียว Cyana perornata ; วงศ์ Crambidae (E) E. Glyphodes bivitralis ; วงศ์ Geometridae (F-D) F. มอทหนอนคืบตอสนิม Abraxas lugubris, G. มอทหนอนคืบขาววงศ์จุดตาใหญ่ Problepsis crassinotata, H. มอทนาซ่าลายจุด Naxa kerangatis ; วงศ์ Noctuidae (I-L) I. ผีเสื้อมะเดื่อขาวจุดเล็ก Asota caricae

51

J K L

M N O

P Q R

ภาพชุดที่ 3 (ต่อ) D วงศ์ Noctuidae (ต่อ) J. มอทสร้อยอินทนิลท้องส้ม Tinolius eburneigutta, K. มอท สิมพลีสีอิฐ Sympis rufibasis , L. Noctuidae 10. ; วงศ์ Notodontidae (M-O) M. มอทโล่จุดตา ขาว Gangarides rosea , N. มอทโล่จุดตาด า Gangarides vardena, O. Tarsolepis sp1 ; วงศ์ Sphingidae (P-Q) P. มอทเหยี่ยวมารุมไซซู Marumba sp. , Q. มอทเหยี่ยวบอนปีกหลังด า Theretra sp. ; วงศ์ Uraniidae (R) R. ผีเสื้อค้างคาวธรรมดา Lyssa menoetius

ตำรำงท ี่ 4 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางคืนทสี่ ารวจพบในพนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติเขาป-ู่ เขาย่า

ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 1 มอทแต้มตาล Adites frigida ARCTIIDAE - 2 2 มอทหญ้า Amata sp1 ARCTIIDAE - 1 3 มอทหญ้า Amata sp2 ARCTIIDAE - 1 4 มอทหญ้า Amata sp3. ARCTIIDAE 1 - 5 มอทลายเสือท้ายส้ม Areas galactina ARCTIIDAE - 1 6 มอทลายเสือเหลืองเส้นด าคู่ Barsine euprepioides ARCTIIDAE 2 1 7 มอทลายเสือแดงขีดขวาง Barsine lineatus ARCTIIDAE - 2 8 มอทลายเสือ Barsine sp1 ARCTIIDAE - 1 9 มอทลายเสือ Barsine sp2 ARCTIIDAE - 1 10 มอทลายเสือครีมท้องหลือง Creatonotos transiens ARCTIIDAE 2 3 11 มอทชีแต้มสามจุด Cyana dudgeoni ARCTIIDAE - 2 12 มอทชีแต้มจุดเดียว Cyana perornata ARCTIIDAE 1 1 13 - Cyana sp1 ARCTIIDAE 1 - 14 - Cyana sp2 ARCTIIDAE 1 - 15 Arctiidae 1 - ARCTIIDAE - 1

52 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 16 มอทหญ้า - ARCTIIDAE - 1 17 Arctiidae 3 - ARCTIIDAE - 1 18 Arctiidae 4 - ARCTIIDAE - 1 19 Arctiidae 5 - ARCTIIDAE - 1 20 มอทหญ้า - ARCTIIDAE - 1 21 Arctiidae 7 - ARCTIIDAE 1 - 22 Arctiidae 8 - ARCTIIDAE 1 - 23 Bombycidae 1 - BOMBYCIDAE - 1 24 Bombycidae 2 - BOMBYCIDAE - 1 25 Cossidae 1 - COSSIDAE - 1 26 Cossidae 2 - COSSIDAE - 1 27 Cossidae 3 - COSSIDAE - 1 28 Cossidae 4 - COSSIDAE 1 - 29 - Glyphodes bivitralis CRAMBIDAE - 1 30 Crambidae 1 - CRAMBIDAE - 1 31 Crambidae 2 - CRAMBIDAE - 1

53 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 32 Crambidae 3 - CRAMBIDAE - 1 33 Crambidae 4 - CRAMBIDAE - 1 34 Crambidae 5 - CRAMBIDAE - 1 35 Crambidae 6 - CRAMBIDAE - 1 36 Crambidae 7 - CRAMBIDAE - 1 37 Crambidae 8 - CRAMBIDAE 1 1 38 Crambidae 9 - CRAMBIDAE - 1 39 Crambidae 10 - CRAMBIDAE - 1 40 Crambidae 11 - CRAMBIDAE - 1 41 Crambidae 12 - CRAMBIDAE - 1 42 Crambidae 13 - CRAMBIDAE - 1 43 Crambidae 14 - CRAMBIDAE - 1 44 Crambidae 15 - CRAMBIDAE - 1 45 Crambidae 16 - CRAMBIDAE - 1 46 Crambidae 17 - CRAMBIDAE 1 1 47 Crambidae 18 - CRAMBIDAE - 1

54 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 48 Crambidae 19 - CRAMBIDAE 1 - 49 Crambidae 20 - CRAMBIDAE 1 - 50 Crambidae 21 - CRAMBIDAE 1 - 51 Crambidae 22 - CRAMBIDAE 1 - 52 Crambidae 23 - CRAMBIDAE 1 - 53 - Eudocima homaena ERIBIDAE - 1 54 Euoterotidae 1 - EUPTEROTIDAE - 1 55 Eupterotidae 2 - EUPTEROTIDAE 1 - 56 มอทหนอนคืบตอสนิม Abraxas lugubris GEOMETRIDAE - 2 57 - Chloristola setosa GEOMETRIDAE - 2 58 มอทเปลือกไม้ลายเลือน Cleora pupillata GEOMETRIDAE - 2 59 - Comostola chlorargyra GEOMETRIDAE - 1 60 - Cusiala boarmoides GEOMETRIDAE - 2 61 - lacriphaga sp1 GEOMETRIDAE - 1 62 มอทราบ Micronia sp. GEOMETRIDAE 1 - 63 มอทราบ Micronia sp1 GEOMETRIDAE - 1

55 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 64 - Pelagodes antiquadraria GEOMETRIDAE - 2 65 มอทนาซ่าลายจุด Pelagodes antiquadraria GEOMETRIDAE - 1 66 มอทหนอนคืบเขียวล าไย Pelagodes falsaria GEOMETRIDAE - 2 67 - Peratophyga beta GEOMETRIDAE - 1 68 มอทปิงกาสาเส้นโค้ง Pingasa ruginaria GEOMETRIDAE - 1 69 มอทแต้มสี่ Plutodes flavescens GEOMETRIDAE - 1 70 มอทหนอนคืบขาววงศ์จุดตาใหญ่ Problepsis crassinotata GEOMETRIDAE - 1 71 - Scopula sp. GEOMETRIDAE 1 - 72 มอทลายไม้ขอบหยัก Semiothisa avitusaria GEOMETRIDAE - 1 73 Geometridae 1 - GEOMETRIDAE - 1 74 Geometridae 2 - GEOMETRIDAE - 2 75 Geometridae 3 - GEOMETRIDAE - 1 76 Geometridae 4 - GEOMETRIDAE - 1 77 Geometridae 5 - GEOMETRIDAE - 2 78 Geometridae 6 - GEOMETRIDAE - 1 79 Geometridae 7 - GEOMETRIDAE - 1

56 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 80 Geometridae 8 - GEOMETRIDAE - 1 81 Geometridae 9 - GEOMETRIDAE - 1 82 Geometridae 10 - GEOMETRIDAE - 2 83 Geometridae 11 - GEOMETRIDAE - 1 84 Geometridae 12 - GEOMETRIDAE - 1 85 Geometridae 13 - GEOMETRIDAE - 1 86 Geometridae 14 - GEOMETRIDAE - 1 87 Geometridae 15 - GEOMETRIDAE - 1 88 Geometridae 16 - GEOMETRIDAE - 1 89 Geometridae 17 - GEOMETRIDAE - 1 90 Geometridae 18 - GEOMETRIDAE - 1 91 Geometridae 19 - GEOMETRIDAE - 1 92 Geometridae 20 - GEOMETRIDAE - 1 93 Geometridae 21 - GEOMETRIDAE - 1 94 Geometridae 22 - GEOMETRIDAE - 1 95 Geometridae 23 - GEOMETRIDAE - 1

57 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 96 Geometridae 24 - GEOMETRIDAE 1 - 97 Geometridae 25 - GEOMETRIDAE 1 - 98 Geometridae 26 - GEOMETRIDAE 1 - 99 Geometridae 27 - GEOMETRIDAE 1 - 100 Geometridae 28 - GEOMETRIDAE 1 - 101 Geometridae 29 - GEOMETRIDAE 4 - 102 Geometridae 30 - GEOMETRIDAE 1 - 103 Geometridae 31 - GEOMETRIDAE 1 - 104 Geometridae 32 - GEOMETRIDAE 1 - 105 - Nygmia sp1 LYMANTRIIDAE - 1 106 มอทหนอนหอยหลังเต่า Thosea siamica LYMANTRIIDAE 1 - 107 มอทเหลืองทรายล้อมตาล Toxoproctis cosmia LYMANTRIIDAE - 1 108 Lymantriidae 1 - LYMANTRIIDAE - 1 109 Lymantriidae 2 - LYMANTRIIDAE - 1 110 Lymantriidae 3 - LYMANTRIIDAE - 1 111 Lymantriidae 4 - LYMANTRIIDAE - 1

58 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 112 Lymantriidae 5 - LYMANTRIIDAE - 1 113 Lymantriidae 6 - LYMANTRIIDAE - 1 114 Lymantriidae 7 - LYMANTRIIDAE 2 2 115 Lymantriidae 8 - LYMANTRIIDAE - 2 116 - Asota caricae NOCTUIDAE - 2 117 - Hulodes caranea NOCTUIDAE - 1 118 มอทสิมพลีสีอิฐ Sympis rufibasis NOCTUIDAE - 1 119 มอทสร้อยอินทนิลท้องส้ม Tinolius eburneigutta NOCTUIDAE - 1 120 Noctuidae 1 - NOCTUIDAE - 1 121 Noctuidae 2 - NOCTUIDAE - 2 122 Noctuidae 3 - NOCTUIDAE - 1 123 Noctuidae 4 - NOCTUIDAE - 2 124 Noctuidae 5 - NOCTUIDAE - 1 125 Noctuidae 6 - NOCTUIDAE - 1 126 Noctuidae 7 - NOCTUIDAE - 1 127 Noctuidae 8 - NOCTUIDAE - 1

59 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 128 Noctuidae 10 - NOCTUIDAE - 4 129 Noctuidae 11 - NOCTUIDAE - 2 130 Noctuidae 12 - NOCTUIDAE - 1 131 Noctuidae 13 - NOCTUIDAE - 1 132 Noctuidae 14 - NOCTUIDAE - 1 133 Noctuidae 15 - NOCTUIDAE - 1 134 Noctuidae 16 - NOCTUIDAE - 2 135 Noctuidae 18 - NOCTUIDAE - 1 136 Noctuidae 19 - NOCTUIDAE - 1 137 Noctuidae 20 - NOCTUIDAE - 1 138 Noctuidae 21 - NOCTUIDAE - 1 139 Noctuidae 22 - NOCTUIDAE - 1 140 Noctuidae 23 - NOCTUIDAE - 1 141 Noctuidae 24 - NOCTUIDAE - 1 142 Noctuidae 25 - NOCTUIDAE 3 1 143 Noctuidae 26 - NOCTUIDAE - 1

60 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 144 Noctuidae 27 - NOCTUIDAE - 1 145 Noctuidae 28 - NOCTUIDAE - 1 146 Noctuidae 29 - NOCTUIDAE - 1 147 Noctuidae 30 - NOCTUIDAE - 1 148 Noctuidae 31 - NOCTUIDAE - 1 149 Noctuidae 32 - NOCTUIDAE - 1 150 Noctuidae 33 - NOCTUIDAE - 1 151 Noctuidae 34 - NOCTUIDAE - 1 152 Noctuidae 35 - NOCTUIDAE - 1 153 Noctuidae 36 - NOCTUIDAE - 1 154 Noctuidae 37 - NOCTUIDAE 1 - 155 Noctuidae 38 - NOCTUIDAE 1 - 156 Noctuidae 39 - NOCTUIDAE 1 - 157 Noctuidae 40 - NOCTUIDAE 1 - 158 Noctuidae 41 - NOCTUIDAE 2 - 159 Noctuidae 42 - NOCTUIDAE 1 -

61 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 160 Noctuidae 43 - NOCTUIDAE 2 - 161 Noctuidae 44 - NOCTUIDAE 1 - 162 Noctuidae 45 - NOCTUIDAE 1 - 163 Noctuidae 46 - NOCTUIDAE 3 - 164 Noctuidae 47 - NOCTUIDAE 3 - 165 Noctuidae 48 - NOCTUIDAE 1 - 166 Noctuidae 49 - NOCTUIDAE 1 - 167 Noctuidae 50 - NOCTUIDAE 1 - 168 Noctuidae 51 - NOCTUIDAE 1 - 169 Noctuidae 52 - NOCTUIDAE 1 - 170 Noctuidae 53 - NOCTUIDAE 1 - 171 มอทโล่จุดตาขาว Gangarides vardena NOTODONTIDAE 1 4 172 - Gangarides sp1 NOTODONTIDAE - 1 173 มอทหนอนมังกรกิ่งไม้ Phalera sp1 NOTODONTIDAE 1 - 174 มอทหนอนมังกรกิ่งไม้ Phalera sp2 NOTODONTIDAE 1 - 175 - Tarsolepis sp1 NOTODONTIDAE - 1

62 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 176 Notodontidae 1 - NOTODONTIDAE - 1 177 Notodontidae 2 - NOTODONTIDAE - 1 178 Notodontidae 3 - NOTODONTIDAE - 1 179 Notodontidae 4 - NOTODONTIDAE - 1 180 Notodontidae 5 - NOTODONTIDAE 2 - 181 Notodontidae 6 - NOTODONTIDAE 1 - 182 Notodontidae 7 - NOTODONTIDAE 1 - 183 Notodontidae 8 - NOTODONTIDAE 1 - 184 Notodontidae 9 - NOTODONTIDAE 1 - 185 Notodontidae 10 - NOTODONTIDAE 1 - 186 Notodontidae 11 - NOTODONTIDAE 1 - 187 Notodontidae 12 - NOTODONTIDAE 1 - 188 มอทเหยี่ยวเหลือง Ambulyx sp. SPHINGIDAE - 1 189 มอทเหยี่ยวลายใบไผ่แห้ง Elibia dolichus SPHINGIDAE 1 - 190 มอทเหยี่ยวมารุมไซซู Marumba sp. SPHINGIDAE - 1 191 มอทเหยี่ยวบอนปีกหลังด า Theretra sp. SPHINGIDAE - 1

63 ตำรำงท ี่ 4 (ต่อ) ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 192 Sphingidae 1 - SPHINGIDAE 1 - 193 Sphingidae 2 - SPHINGIDAE 1 - 194 ผีเสื้อค้างคาวธรรมดา Lyssa menoetius URANIDAE - 2 195 Zygenidae1 Zygenidae1 ZYGEANIDAE 5 10 196 Unk 1 - - 1 - 197 Unk 2 - - 1 - 198 Unk 3 - - 1 - 199 Unk 4 - - 1 - 200 Unk 5 - - 1 - 201 Unk 6 - - 1 - 202 Unk 7 - - 38 - 203 Unk 8 - - 1 - 204 Unk 9 - - 1 - 205 Unk 10 - - 1 - รวม 129 178

64 65 3. การศึกษาความหลากหลายของด้วงในสังคมป่าดิบชื้นอุทยานแห่งชาติเขาปู่–เขาย่า

การศึกษาความหลากหลายของด้วงในป่าดิบชื้นอุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า จ านวน 8 จุด ท าการส ารวจ ในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝน ผลการส ารวจครั้งนี้ พบด้วงทั้งหมด 84 ตัว 24 ชนิด 9 วงศ์ ได้แก่ วงศ์แมลงทับ (Buprestidae) , วงศ์ด้วงหนวดยาว (Cerambycidae) , วงศ์ด้วงเสือ (Cicindelidae) , วงศ์ด้วงคีม(Lucanidae) , วงศ์แมลงนูน (Scarabaeidae) และวงศ์ที่มีการข้ามไปจากหนังสือคู่มือ แมลงปีกแข็งในประเทศไทย ปี 2551ท าให้ส่วนใหญ่จ าแนกชนิด ไม่ได้ ได้แก่ วงศ์แมลงค่อม (Curculionidae) , วงศ์ด้วงงวง (Brenidae) , วงศ์ด้วงดีด (Elateridae) และวงศ์ด้วงที่กินเชื้อรา เป็นอาหารจะอาศัยตามเปลือกไม้ (Endomychidae) ด้วงที่พบมากที่สุด ได้แก่ ด้วงเสือสามจุดเหลืองธรรมดา (Cosmodela aurulenta juxtata) พบจ านวน 30 ตัว ในฤดูร้อนจะพบด้วงมากกว่าในฤดูฝนคือ 66 ตัวและ 18 ตัว ตามล าดับ (ตารางที่ 5)

66

A B C

D E F

G H I

ภาพชุดที่ 4 ตัวอย่างด้วงที่ส ารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า วงศ์ BUPRESTIDAE (A) A. แมลงทับทองสมุทร (Chrysochroa purpureiventris marinae) ;วงศ์ BRENTIDAE (B) B. ด้วงงวง sp. ( Eutrachelus sp.) ; วงศ์ CERAMBYCIDAE(C) C. ด้วงหนวดกระบอกลายเด่น (Olenecamptus dominus) ; วงศ์ CICINDELIDAE (D-E) D. ด้วงเสือสามจุดเหลืองธรรมดา (Cosmodela aurulenta juxtata), E. ด้วงเสือปีกหลอมค่อม (Tricondyla annulicornis) ;วงศ์ ELATERIDAE (F) F.ด้วงดีด (Oxynopterus audouini Cand) ;วงศ์ LUCANIDAE (G) G. ด้วงคีมกวางซิวา (Odontolabis siva siva) ;วงศ์ SCARABAEIDAE (H-I) H.แมลงนูนเขียวธรรมดา (Anomala grandis Hope), I.แมลงนูนหลวง (Lepidiota stigma)

ตำรำงท ี่ 5 บัญชรี ำยชื่อดว้ งทสี่ ำรวจพบในพื้นทอี่ ุทยำนแห่งชำตเิ ขำป-ู่ เขำย่ำ

ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 1 ด้วงงวงsp. Eutrachelus sp. BRENTIDAE 1 2 แมลงทับทองสมุทร Chrysochroa purpureiventris marinae BUPRESTIDAE 1 3 ด้วงหนวดกระบอกลายเด่น Olenecamptus dominus CERAMBYCIDAE 1 4 ด้วงหนวดยาวจุดขาวคู่บาง Gnatholea ebrurifera CERAMBYCIDAE 1 5 ด้วงบ่าหนามหลังจุดขาว Batocera rubus Linnaeus CERAMBYCIDAE 1 6 ด้วงหนวดยาว sp.1 CERAMBYCIDAE 1 7 ด้วงเสือปีกหลอมค่อม Tricondyla annulicornis CICINDELIDAE 1 8 ด้วงเสือสามจุดเหลืองธรรมดา Cosmodela aurulenta juxtata CICINDELIDAE 10 20 9 แมลงค่อม sp. Hypomeces sp. CURCULIONIDAE 1 10 ด้วงดีด Oxynopterus audouini Cand ELATERIDAE 1 3 11 ด้วงดีดอีเลเตอร์ Elater sp. ELATERIDAE 1 12 ด้วงรา sp. ENDOMYCHIDAE 1 13 ด้วงคีมกวางซิว่า Odontolabis siva siva LUCANIDAE 2 14 SCARABAEIDAE sp.1 SCARABAEIDAE 1

67 ตารางที่ 5(ต่อ)

ล ำดบั ชื่อสำมญั ชื่อวิทยำศำสตร์ วงศ์ จ ำนวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 15 SCARABAEIDAE sp.2 SCARABAEIDAE 1 16 กว่างชน Xylotrupes gideon SCARABAEIDAE 4 17 ด้วงดอกไม้ Protaetia sp. SCARABAEIDAE 1 18 ด้วงแรดหน่อไม้ Pachyoryctes solidus SCARABAEIDAE 1 19 แมลงนูน Anomala sp. SCARABAEIDAE 1 20 แมลงนูนปากเคียวเขียว Fruhstorferia sexmaculata SCARABAEIDAE 1 21 แมลงนูนเขียวธรรมดา Anomala grandis Hope SCARABAEIDAE 1 22 แมลงนูนแดงพม่า Fruhstorferia birmanica SCARABAEIDAE 6 23 แมลงนูนนวลแดง Parastasia sulcipennis SCARABAEIDAE 1 24 แมลงนูนหลวง Lepidiota stigma SCARABAEIDAE 3 17 รวม 18 66

68 ตารางภาคผนวกที1 ตารางแสดงค่าความส าคัญของชนิดพนั ธพุ์ ชื (IV) ของไม้ต้น (tree) ในพนื้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติเขาปู่-เขายา่

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 1 ยางกล่อง 9 8 7836.08 0.7836 1.8 90 10 7.8361 10.4046 1.4060 8.3211 20.1317 2 กะทังใบเล็ก 2 2 4422.09 0.4422 0.4 20 2.5 4.4221 2.3121 0.3515 4.6958 7.3594 3 ล าพปู ่า 10 6 4393.31 0.4393 2 100 7.5 4.3933 11.5607 1.0545 4.6652 17.2804 4 เหรียง 2 2 3916.4 0.3916 0.4 20 2.5 3.9164 2.3121 0.3515 4.1588 6.8225 5 มังคาก 18 13 3342.82 0.3343 3.6 180 16.25 3.3428 20.8092 2.2847 3.5497 26.6437 6 แดงน้ า 12 10 2963.82 0.2964 2.4 120 12.5 2.9638 13.8728 1.7575 3.1473 18.7776 7 หาดหนุน 5 4 2913.25 0.2913 1 50 5 2.9133 5.7803 0.7030 3.0936 9.5769 8 ไขเ่ ขยี ว 11 8 2870.21 0.2870 2.2 110 10 2.8702 12.7168 1.4060 3.0479 17.1706 9 ส้านด า 7 3 2564.61 0.2565 1.4 70 3.75 2.5646 8.0925 0.5272 2.7234 11.3431 10 เม่าเหล็ก 9 7 2553.21 0.2553 1.8 90 8.75 2.5532 10.4046 1.2302 2.7112 14.3461 11 ตะเคียนสามพอน 2 1 2421.22 0.2421 0.4 20 1.25 2.4212 2.3121 0.1757 2.5711 5.0590 12 มังตาน 4 3 2387.92 0.2388 0.8 40 3.75 2.3879 4.6243 0.5272 2.5357 7.6872 13 โปรง 2 2 2196.03 0.2196 0.4 20 2.5 2.1960 2.3121 0.3515 2.3320 4.9956 14 พกิ ลุ ป่า 3 3 1954.62 0.1955 0.6 30 3.75 1.9546 3.4682 0.5272 2.0756 6.0711 15 ส้านใหญ่ 3 3 1869.25 0.1869 0.6 30 3.75 1.8693 3.4682 0.5272 1.9850 5.9804 16 คอแลน 22 16 1632.96 0.1633 4.4 220 20 1.6330 25.4335 2.8120 1.7340 29.9795

89 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 17 รักเขา 11 7 1587.89 0.1588 2.2 110 8.75 1.5879 12.7168 1.2302 1.6862 15.6332 18 มะเดื่ออทุ ุมพร 3 3 1585 0.1585 0.6 30 3.75 1.5850 3.4682 0.5272 1.6831 5.6786 19 กาลน 2 2 1532.13 0.1532 0.4 20 2.5 1.5321 2.3121 0.3515 1.6270 4.2906 20 ตาเสือ 5 5 1468.79 0.1469 1 50 6.25 1.4688 5.7803 0.8787 1.5597 8.2188 21 หมากพน 14 12 1393.41 0.1393 2.8 140 15 1.3934 16.1850 2.1090 1.4797 19.7736 22 มะปริง 10 9 1251.85 0.1252 2 100 11.25 1.2519 11.5607 1.5817 1.3293 14.4718 23 โพบาย 3 3 1229.52 0.1230 0.6 30 3.75 1.2295 3.4682 0.5272 1.3056 5.3011 24 สังเครียดลางสาด 5 5 1219.12 0.1219 1 50 6.25 1.2191 5.7803 0.8787 1.2946 7.9537 25 ยางปาย 1 1 1172.08 0.1172 0.2 10 1.25 1.1721 1.1561 0.1757 1.2446 2.5764 26 มะมุ่น 3 3 1151.13 0.1151 0.6 30 3.75 1.1511 3.4682 0.5272 1.2224 5.2178 27 สมอไทย 1 1 1139.6 0.1140 0.2 10 1.25 1.1396 1.1561 0.1757 1.2101 2.5420 28 ยางแดง 1 1 1128.87 0.1129 0.2 10 1.25 1.1289 1.1561 0.1757 1.1987 2.5306 29 แซะ 17 13 1060.09 0.1060 3.4 170 16.25 1.0601 19.6532 2.2847 1.1257 23.0636 30 หันช้าง 12 9 937.21 0.0937 2.4 120 11.25 0.9372 13.8728 1.5817 0.9952 16.4498 31 ขี้หนอนพรุ 2 2 916.35 0.0916 0.4 20 2.5 0.9164 2.3121 0.3515 0.9731 3.6367 32 ขนุนปาน 3 3 890.25 0.0890 0.6 30 3.75 0.8903 3.4682 0.5272 0.9454 4.9408 33 ขี้มิ่น 2 2 888.98 0.0889 0.4 20 2.5 0.8890 2.3121 0.3515 0.9440 3.6076 34 เลือดควายใบใหญ่ 19 14 886.15 0.0886 3.8 190 17.5 0.8862 21.9653 2.4605 0.9410 25.3668 35 มันหมู 18 16 862.23 0.0862 3.6 180 20 0.8622 20.8092 2.8120 0.9156 24.5368

90 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 36 กอกเขา 13 12 835.46 0.0835 2.6 130 15 0.8355 15.0289 2.1090 0.8872 18.0250 37 หลุมพอ 10 8 828.54 0.0829 2 100 10 0.8285 11.5607 1.4060 0.8798 13.8465 38 Lauraceae 1 1 767.68 0.0768 0.2 10 1.25 0.7677 1.1561 0.1757 0.8152 2.1470 39 กรวยป่า 1 1 698.71 0.0699 0.2 10 1.25 0.6987 1.1561 0.1757 0.7420 2.0738 40 เนียง 2 2 687.76 0.0688 0.4 20 2.5 0.6878 2.3121 0.3515 0.7303 3.3940 41 จกิ นม 20 15 683.37 0.0683 4 200 18.75 0.6834 23.1214 2.6362 0.7257 26.4833 42 ฝาละมี 4 3 666.32 0.0666 0.8 40 3.75 0.6663 4.6243 0.5272 0.7076 5.8591 43 ส ารองกะโหลก 9 7 662.99 0.0663 1.8 90 8.75 0.6630 10.4046 1.2302 0.7040 12.3389 44 คอเหยี้ 4 3 648.13 0.0648 0.8 40 3.75 0.6481 4.6243 0.5272 0.6882 5.8398 45 พกิ ลุ เถื่อน 2 2 574.04 0.0574 0.4 20 2.5 0.5740 2.3121 0.3515 0.6096 3.2732 46 สมอพเิ ภก 2 2 546.18 0.0546 0.4 20 2.5 0.5462 2.3121 0.3515 0.5800 3.2436 47 เฉยี งพร้านางแอ 4 3 484.6 0.0485 0.8 40 3.75 0.4846 4.6243 0.5272 0.5146 5.6661 48 กะออก 2 2 477.58 0.0478 0.4 20 2.5 0.4776 2.3121 0.3515 0.5071 3.1708 49 มณฑา 5 4 457.04 0.0457 1 50 5 0.4570 5.7803 0.7030 0.4853 6.9687 50 มะไฟกา 7 6 454.67 0.0455 1.4 70 7.5 0.4547 8.0925 1.0545 0.4828 9.6298 51 ลักเคยลักเกลือ 21 14 451.52 0.0452 4.2 210 17.5 0.4515 24.2775 2.4605 0.4795 27.2174 52 สะตอ 3 2 418.79 0.0419 0.6 30 2.5 0.4188 3.4682 0.3515 0.4447 4.2644 53 หูยาน 7 7 399.32 0.0399 1.4 70 8.75 0.3993 8.0925 1.2302 0.4240 9.7468 54 แคชาญชัย 2 2 381.3 0.0381 0.4 20 2.5 0.3813 2.3121 0.3515 0.4049 3.0685

91 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 55 ตะขบนก 4 4 356.72 0.0357 0.8 40 5 0.3567 4.6243 0.7030 0.3788 5.7061 56 เท้ายายม่อมหลวง 1 1 350.07 0.0350 0.2 10 1.25 0.3501 1.1561 0.1757 0.3717 1.7036 57 ชันรูจี 12 7 347.2 0.0347 2.4 120 8.75 0.3472 13.8728 1.2302 0.3687 15.4718 58 กระดังงาป่า 10 9 342.45 0.0342 2 100 11.25 0.3425 11.5607 1.5817 0.3636 13.5061 59 เชียด 1 1 335.33 0.0335 0.2 10 1.25 0.3353 1.1561 0.1757 0.3561 1.6879 60 กฤษณา 4 3 331.71 0.0332 0.8 40 3.75 0.3317 4.6243 0.5272 0.3522 5.5038 61 กระดังงาดง 2 2 321.62 0.0322 0.4 20 2.5 0.3216 2.3121 0.3515 0.3415 3.0052 62 จาสั้น 1 1 307.2 0.0307 0.2 10 1.25 0.3072 1.1561 0.1757 0.3262 1.6580 63 กอ่ หมู 3 3 306.97 0.0307 0.6 30 3.75 0.3070 3.4682 0.5272 0.3260 4.3214 64 คัดเค้าทอง 2 2 286.33 0.0286 0.4 20 2.5 0.2863 2.3121 0.3515 0.3041 2.9677 65 พลับพลา 1 1 266.4 0.0266 0.2 10 1.25 0.2664 1.1561 0.1757 0.2829 1.6147 66 สังหยู 11 7 254.92 0.0255 2.2 110 8.75 0.2549 12.7168 1.2302 0.2707 14.2177 67 มะพลับ 3 2 252.08 0.0252 0.6 30 2.5 0.2521 3.4682 0.3515 0.2677 4.0874 68 ทงุ้ ฟา้ 1 1 216.95 0.0217 0.2 10 1.25 0.2170 1.1561 0.1757 0.2304 1.5622 69 งวงช้าง 8 7 206.02 0.0206 1.6 80 8.75 0.2060 9.2486 1.2302 0.2188 10.6976 70 ชะมวงเล็ก 1 1 204.46 0.0204 0.2 10 1.25 0.2045 1.1561 0.1757 0.2171 1.5489 71 ยางมันหมู 1 1 192.8 0.0193 0.2 10 1.25 0.1928 1.1561 0.1757 0.2047 1.5366 72 ปออเี กง้ 5 3 188.79 0.0189 1 50 3.75 0.1888 5.7803 0.5272 0.2005 6.5081 73 เปล้าเถื่อน 11 6 184.85 0.0185 2.2 110 7.5 0.1849 12.7168 1.0545 0.1963 13.9675

92 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 74 กระทมุ่ 1 1 166.36 0.0166 0.2 10 1.25 0.1664 1.1561 0.1757 0.1767 1.5085 75 พดุ ป่า 2 2 155.7 0.0156 0.4 20 2.5 0.1557 2.3121 0.3515 0.1653 2.8290 76 เต้าหลวง 2 1 151.25 0.0151 0.4 20 1.25 0.1513 2.3121 0.1757 0.1606 2.6485 77 พลับอนั ดา 4 3 146.54 0.0147 0.8 40 3.75 0.1465 4.6243 0.5272 0.1556 5.3071 78 Unk6 1 1 146.46 0.0146 0.2 10 1.25 0.1465 1.1561 0.1757 0.1555 1.4873 79 ลิ้นควาย 8 7 139.39 0.0139 1.6 80 8.75 0.1394 9.2486 1.2302 0.1480 10.6268 80 ส้มแขก 1 1 136.98 0.0137 0.2 10 1.25 0.1370 1.1561 0.1757 0.1455 1.4773 81 เท้าแสนปม 5 5 132.41 0.0132 1 50 6.25 0.1324 5.7803 0.8787 0.1406 6.7997 82 กระจบั นก 1 1 129.63 0.0130 0.2 10 1.25 0.1296 1.1561 0.1757 0.1377 1.4695 83 มาลัย 4 3 125.07 0.0125 0.8 40 3.75 0.1251 4.6243 0.5272 0.1328 5.2843 84 มะไฟฝรงั่ 1 1 124.24 0.0124 0.2 10 1.25 0.1242 1.1561 0.1757 0.1319 1.4637 85 ลางสาด 5 4 120.58 0.0121 1 50 5 0.1206 5.7803 0.7030 0.1280 6.6114 86 สมพง 2 1 118.1 0.0118 0.4 20 1.25 0.1181 2.3121 0.1757 0.1254 2.6133 87 ชุมแพรก 1 1 115.53 0.0116 0.2 10 1.25 0.1155 1.1561 0.1757 0.1227 1.4545 88 ปอขนุน 3 3 112.54 0.0113 0.6 30 3.75 0.1125 3.4682 0.5272 0.1195 4.1150 89 หนอนขี้ควาย 2 2 106.73 0.0107 0.4 20 2.5 0.1067 2.3121 0.3515 0.1133 2.7770 90 ส้มไฟดิน 3 3 105.32 0.0105 0.6 30 3.75 0.1053 3.4682 0.5272 0.1118 4.1073 91 กระบก 1 1 103.86 0.0104 0.2 10 1.25 0.1039 1.1561 0.1757 0.1103 1.4421 92 สัตบรรณ 4 3 103.81 0.0104 0.8 40 3.75 0.1038 4.6243 0.5272 0.1102 5.2618

93 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 93 อา้ ยบ่าว 8 6 99.43 0.0099 1.6 80 7.5 0.0994 9.2486 1.0545 0.1056 10.4086 94 พลับเขา 8 5 99.35 0.0099 1.6 80 6.25 0.0994 9.2486 0.8787 0.1055 10.2328 95 หล่อง่าม 1 1 97.47 0.0097 0.2 10 1.25 0.0975 1.1561 0.1757 0.1035 1.4353 96 เท้ายายม่อมป่า 4 2 96.48 0.0096 0.8 40 2.5 0.0965 4.6243 0.3515 0.1025 5.0782 97 สมอดีงู 1 1 92.81 0.0093 0.2 10 1.25 0.0928 1.1561 0.1757 0.0986 1.4304 98 ตับหลามใบเล็ก 2 2 88.78 0.0089 0.4 20 2.5 0.0888 2.3121 0.3515 0.0943 2.7579 99 มะเดื่อชิ้ง 5 3 85.79 0.0086 1 50 3.75 0.0858 5.7803 0.5272 0.0911 6.3987 100 หว้าหิน 5 5 77.98 0.0078 1 50 6.25 0.0780 5.7803 0.8787 0.0828 6.7419 101 กระดูกค่าง 4 3 75.08 0.0075 0.8 40 3.75 0.0751 4.6243 0.5272 0.0797 5.2312 102 ด าตะโก 4 4 73.97 0.0074 0.8 40 5 0.0740 4.6243 0.7030 0.0785 5.4058 103 สลัด 8 7 72.85 0.0073 1.6 80 8.75 0.0729 9.2486 1.2302 0.0774 10.5561 104 แหลช่อ 3 3 68.36 0.0068 0.6 30 3.75 0.0684 3.4682 0.5272 0.0726 4.0680 105 กระท้อน 1 1 65.95 0.0066 0.2 10 1.25 0.0660 1.1561 0.1757 0.0700 1.4018 106 มะเม่าขน 6 6 64.89 0.0065 1.2 60 7.5 0.0649 6.9364 1.0545 0.0689 8.0598 107 พญารากด า 2 2 63.94 0.0064 0.4 20 2.5 0.0639 2.3121 0.3515 0.0679 2.7315 108 นาคบุด 2 2 62.11 0.0062 0.4 20 2.5 0.0621 2.3121 0.3515 0.0660 2.7296 109 ขวาด 3 3 59.52 0.0060 0.6 30 3.75 0.0595 3.4682 0.5272 0.0632 4.0587 110 เลือดแรด 2 2 59.48 0.0059 0.4 20 2.5 0.0595 2.3121 0.3515 0.0632 2.7268 111 เงาะป่า 2 1 57.52 0.0058 0.4 20 1.25 0.0575 2.3121 0.1757 0.0611 2.5490

94 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 112 ทุเรียนดง 3 3 57.41 0.0057 0.6 30 3.75 0.0574 3.4682 0.5272 0.0610 4.0564 113 เปล้าเงิน 1 1 54.83 0.0055 0.2 10 1.25 0.0548 1.1561 0.1757 0.0582 1.3900 114 มะจ้ ากอ้ ง 3 3 54.31 0.0054 0.6 30 3.75 0.0543 3.4682 0.5272 0.0577 4.0531 115 พลาส้ม 2 2 52.5 0.0053 0.4 20 2.5 0.0525 2.3121 0.3515 0.0557 2.7194 116 สังเครียด 1 1 49.09 0.0049 0.2 10 1.25 0.0491 1.1561 0.1757 0.0521 1.3839 117 เขม็ พวงขาว 2 2 46.98 0.0047 0.4 20 2.5 0.0470 2.3121 0.3515 0.0499 2.7135 118 ยางพารา 3 1 45 0.0045 0.6 30 1.25 0.0450 3.4682 0.1757 0.0478 3.6917 119 สุเหรียน 3 2 43.54 0.0044 0.6 30 2.5 0.0435 3.4682 0.3515 0.0462 3.8659 120 พลับดง 1 1 42.62 0.0043 0.2 10 1.25 0.0426 1.1561 0.1757 0.0453 1.3771 121 ขอ่ ยหนาม 3 2 38.12 0.0038 0.6 30 2.5 0.0381 3.4682 0.3515 0.0405 3.8602 122 สังเครียดกอ้ ง 2 2 36.99 0.0037 0.4 20 2.5 0.0370 2.3121 0.3515 0.0393 2.7029 123 ง าเงาะ 2 2 34.55 0.0035 0.4 20 2.5 0.0346 2.3121 0.3515 0.0367 2.7003 124 โสกน้ า 6 3 34.24 0.0034 1.2 60 3.75 0.0342 6.9364 0.5272 0.0364 7.5000 125 พลองกนิ ลูก 1 1 31.06 0.0031 0.2 10 1.25 0.0311 1.1561 0.1757 0.0330 1.3648 126 โมรี 2 2 30.22 0.0030 0.4 20 2.5 0.0302 2.3121 0.3515 0.0321 2.6957 127 มะฝ่อ 1 1 30.18 0.0030 0.2 10 1.25 0.0302 1.1561 0.1757 0.0320 1.3639 128 พริกนกหมอคา 4 2 28.01 0.0028 0.8 40 2.5 0.0280 4.6243 0.3515 0.0297 5.0055 129 หงอนไกใ่ บใหญ่ 6 5 26.19 0.0026 1.2 60 6.25 0.0262 6.9364 0.8787 0.0278 7.8430 130 พะอง 3 3 25.97 0.0026 0.6 30 3.75 0.0260 3.4682 0.5272 0.0276 4.0230

95 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 131 กระดูกเขยี ด 1 1 25.96 0.0026 0.2 10 1.25 0.0260 1.1561 0.1757 0.0276 1.3594 132 ฟนั ปลา 2 2 25.36 0.0025 0.4 20 2.5 0.0254 2.3121 0.3515 0.0269 2.6906 133 วาสนา 2 2 25.27 0.0025 0.4 20 2.5 0.0253 2.3121 0.3515 0.0268 2.6905 134 ขนุ แท่น 1 1 22.82 0.0023 0.2 10 1.25 0.0228 1.1561 0.1757 0.0242 1.3560 135 ชมพนู่ ้ า 2 2 21.33 0.0021 0.4 20 2.5 0.0213 2.3121 0.3515 0.0227 2.6863 136 นูดต้น 2 2 20.17 0.0020 0.4 20 2.5 0.0202 2.3121 0.3515 0.0214 2.6851 137 สลอดป่า 1 1 19.88 0.0020 0.2 10 1.25 0.0199 1.1561 0.1757 0.0211 1.3529 138 จ าปูนิง 1 1 19.88 0.0020 0.2 10 1.25 0.0199 1.1561 0.1757 0.0211 1.3529 139 มะเดื่อขี้นก 1 1 18.48 0.0018 0.2 10 1.25 0.0185 1.1561 0.1757 0.0196 1.3514 140 กะทังใบใหญ่ 3 3 18.44 0.0018 0.6 30 3.75 0.0184 3.4682 0.5272 0.0196 4.0150 141 Unk5 1 1 17.81 0.0018 0.2 10 1.25 0.0178 1.1561 0.1757 0.0189 1.3507 142 รักป่า 1 1 17.81 0.0018 0.2 10 1.25 0.0178 1.1561 0.1757 0.0189 1.3507 143 เสียดเขา 1 1 17.41 0.0017 0.2 10 1.25 0.0174 1.1561 0.1757 0.0185 1.3503 144 Diospyros sp. 1 1 17.14 0.0017 0.2 10 1.25 0.0171 1.1561 0.1757 0.0182 1.3500 145 ผูก 1 1 17.12 0.0017 0.2 10 1.25 0.0171 1.1561 0.1757 0.0182 1.3500 146 ปาหนันขี้แมว 2 2 16.37 0.0016 0.4 20 2.5 0.0164 2.3121 0.3515 0.0174 2.6810 147 กระดุมผี 1 1 15.85 0.0016 0.2 10 1.25 0.0159 1.1561 0.1757 0.0168 1.3486 148 กล้วยค่าง 4 4 15.04 0.0015 0.8 40 5 0.0150 4.6243 0.7030 0.0160 5.3432 149 ตูมพระ 1 1 14.61 0.0015 0.2 10 1.25 0.0146 1.1561 0.1757 0.0155 1.3473

96 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 150 Artocarpus sp. 2 2 13.49 0.0013 0.4 20 2.5 0.0135 2.3121 0.3515 0.0143 2.6780 151 Anacardia sp. 1 1 12.84 0.0013 0.2 10 1.25 0.0128 1.1561 0.1757 0.0136 1.3455 152 เขม็ น้ า 1 1 12.84 0.0013 0.2 10 1.25 0.0128 1.1561 0.1757 0.0136 1.3455 153 Lithocarpus sp. 1 1 11.54 0.0012 0.2 10 1.25 0.0115 1.1561 0.1757 0.0123 1.3441 154 คดนกกดู 1 1 10.97 0.0011 0.2 10 1.25 0.0110 1.1561 0.1757 0.0116 1.3435 155 Litsea sp. 1 1 10.66 0.0011 0.2 10 1.25 0.0107 1.1561 0.1757 0.0113 1.3431 156 กาหยเี ขาสามใบ 1 1 10.66 0.0011 0.2 10 1.25 0.0107 1.1561 0.1757 0.0113 1.3431 157 เขม็ ไอแ้ กรก 1 1 10.14 0.0010 0.2 10 1.25 0.0101 1.1561 0.1757 0.0108 1.3426 158 ปลาไหลเผือก 1 1 10.14 0.0010 0.2 10 1.25 0.0101 1.1561 0.1757 0.0108 1.3426 159 ตังตาบอด 1 1 9.15 0.0009 0.2 10 1.25 0.0092 1.1561 0.1757 0.0097 1.3415 160 ต้างหลวง 1 1 9.15 0.0009 0.2 10 1.25 0.0092 1.1561 0.1757 0.0097 1.3415 161 กระบากด า 2 2 8.84 0.0009 0.4 20 2.5 0.0088 2.3121 0.3515 0.0094 2.6730 162 ขา้ วเยน็ ปักษ์ใต้ 1 1 8.68 0.0009 0.2 10 1.25 0.0087 1.1561 0.1757 0.0092 1.3410 163 ผักหวานด า 1 1 8.68 0.0009 0.2 10 1.25 0.0087 1.1561 0.1757 0.0092 1.3410 164 มะม่วงคัน 1 1 8.68 0.0009 0.2 10 1.25 0.0087 1.1561 0.1757 0.0092 1.3410 165 เม็ก 1 1 8.68 0.0009 0.2 10 1.25 0.0087 1.1561 0.1757 0.0092 1.3410 166 ช ามะเลียง 1 1 7.33 0.0007 0.2 10 1.25 0.0073 1.1561 0.1757 0.0078 1.3396 167 กะตังใบ 1 1 6.49 0.0006 0.2 10 1.25 0.0065 1.1561 0.1757 0.0069 1.3387 168 ชะมวง 1 1 6.49 0.0006 0.2 10 1.25 0.0065 1.1561 0.1757 0.0069 1.3387

97 ตารางภาคผนวกท ี่ 1 (ต่อ)

density density frequency dominant no. Tree no. Plot sum Ba sum Ba ล าดับที่ Thai Name D D F Do IV (Tree) (Plot) (Cm) (m^2) (tree/rai) (tree/ha) (%) ( m2 /ha) RD RF RDo (%) (%) (%) 169 Annonaceae 1 1 6.01 0.0006 0.2 10 1.25 0.0060 1.1561 0.1757 0.0064 1.3382 170 ตะเคียนราก 1 1 5.71 0.0006 0.2 10 1.25 0.0057 1.1561 0.1757 0.0061 1.3379 171 เนียน 1 1 5.71 0.0006 0.2 10 1.25 0.0057 1.1561 0.1757 0.0061 1.3379 172 UnK1 1 1 5.1 0.0005 0.2 10 1.25 0.0051 1.1561 0.1757 0.0054 1.3372 173 Mallotus sp. 1 1 4.3 0.0004 0.2 10 1.25 0.0043 1.1561 0.1757 0.0046 1.3364 174 UnK3 1 1 4.18 0.0004 0.2 10 1.25 0.0042 1.1561 0.1757 0.0044 1.3363 175 จ าปาป่า 1 1 3.62 0.0004 0.2 10 1.25 0.0036 1.1561 0.1757 0.0038 1.3357 176 Rubiaceae 1 1 2.99 0.0003 0.2 10 1.25 0.0030 1.1561 0.1757 0.0032 1.3350 177 แลนบาน 2 2 2.66 0.0003 0.4 20 2.5 0.0027 2.3121 0.3515 0.0028 2.6665 178 UnK2 1 1 2.63 0.0003 0.2 10 1.25 0.0026 1.1561 0.1757 0.0028 1.3346 179 UnK4 1 1 2.11 0.0002 0.2 10 1.25 0.0021 1.1561 0.1757 0.0022 1.3341 180 ครืน 1 1 1.71 0.0002 0.2 10 1.25 0.0017 1.1561 0.1757 0.0018 1.3336 181 จ าปาขอม 1 1 1.63 0.0002 0.2 10 1.25 0.0016 1.1561 0.1757 0.0017 1.3335 182 Lamiaceae 1 1 1.4 0.0001 0.2 10 1.25 0.0014 1.1561 0.1757 0.0015 1.3333 183 กริม 1 1 1.31 0.0001 0.2 10 1.25 0.0013 1.1561 0.1757 0.0014 1.3332 184 สังหยดู า 1 1 1.21 0.0001 0.2 10 1.25 0.0012 1.1561 0.1757 0.0013 1.3331 รวม 692 94183.87 9.4184 138.4 6920 711.25 94.1839 800 100 100 1000

98 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 ค่าความส าคัญของชนิดพันธพุ์ ืช(IV) ของไม้หนุ่ม(Saping) ในพนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติเขาป-ู่ เขาย่า

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 1 สะเดาเทียม 44 23 70.4 440 28.75 5.9864 4.3233 10.3097 2 ลางสาด 22 14 35.2 220 17.5 2.9932 2.6316 5.6248 3 เต้ยชะครู 18 12 28.8 180 15 2.4490 2.2556 4.7046 4 ตะขบนก 24 7 38.4 240 8.75 3.2653 1.3158 4.5811 5 จิกนม 18 11 28.8 180 13.75 2.4490 2.0677 4.5166 6 เข็มทอง 14 13 22.4 140 16.25 1.9048 2.4436 4.3484 7 มาลัย 15 12 24 150 15 2.0408 2.2556 4.2965 8 คอแลน 17 10 27.2 170 12.5 2.3129 1.8797 4.1926 9 พริกนกหมอคาร์ 15 9 24 150 11.25 2.0408 1.6917 3.7325 10 ข่อยหนาม 12 11 19.2 120 13.75 1.6327 2.0677 3.7003 11 งวงช้าง 12 10 19.2 120 12.5 1.6327 1.8797 3.5124 12 มันหมู 12 9 19.2 120 11.25 1.6327 1.6917 3.3244 13 หงอนไก่ 14 7 22.4 140 8.75 1.9048 1.3158 3.2206 14 สังหยู 12 8 19.2 120 10 1.6327 1.5038 3.1364 15 กล้วยค่าง 12 7 19.2 120 8.75 1.6327 1.3158 2.9484

99 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 16 มะเม่าควาย 12 7 19.2 120 8.75 1.6327 1.3158 2.9484 17 กระดังงาป่า 11 7 17.6 110 8.75 1.4966 1.3158 2.8124 18 เฉียงพร้านางแอ 11 7 17.6 110 8.75 1.4966 1.3158 2.8124 19 หูยาน 10 7 16 100 8.75 1.3605 1.3158 2.6763 20 เงาะป่า 8 8 12.8 80 10 1.0884 1.5038 2.5922 21 จ าปูน 12 5 19.2 120 6.25 1.6327 0.9398 2.5725 22 รักเขา 9 7 14.4 90 8.75 1.2245 1.3158 2.5403 23 หมากพน 15 2 24 150 2.5 2.0408 0.3759 2.4168 24 ตาเป็ดตาไก่ 7 7 11.2 70 8.75 0.9524 1.3158 2.2682 25 ผักหวานด า 8 6 12.8 80 7.5 1.0884 1.1278 2.2163 26 สมัก 8 6 12.8 80 7.5 1.0884 1.1278 2.2163 27 มะไฟฝรั่ง 7 6 11.2 70 7.5 0.9524 1.1278 2.0802 28 โมรี 7 6 11.2 70 7.5 0.9524 1.1278 2.0802 29 สังหยูด า 8 5 12.8 80 6.25 1.0884 0.9398 2.0283 30 ไอ้บ่าว 10 3 16 100 3.75 1.3605 0.5639 1.9245 31 กะตังใบ 7 5 11.2 70 6.25 0.9524 0.9398 1.8922 32 มะพลับ 7 5 11.2 70 6.25 0.9524 0.9398 1.8922

100 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 33 หลังโก่ง 6 5 9.6 60 6.25 0.8163 0.9398 1.7562 34 พริกแดง 7 4 11.2 70 5 0.9524 0.7519 1.7043 35 ส้านด า 8 3 12.8 80 3.75 1.0884 0.5639 1.6523 36 ชะมวงเล็ก 5 5 8 50 6.25 0.6803 0.9398 1.6201 37 แดงน้ า 5 5 8 50 6.25 0.6803 0.9398 1.6201 38 ตาเสือ 5 5 8 50 6.25 0.6803 0.9398 1.6201 39 เนียน 5 5 8 50 6.25 0.6803 0.9398 1.6201 40 พลาส้ม 5 5 8 50 6.25 0.6803 0.9398 1.6201 41 มะเดื่อหอม 5 5 8 50 6.25 0.6803 0.9398 1.6201 42 สังเครียดก้อง 5 5 8 50 6.25 0.6803 0.9398 1.6201 43 สังหยูขน 5 5 8 50 6.25 0.6803 0.9398 1.6201 44 แซะ 6 4 9.6 60 5 0.8163 0.7519 1.5682 45 Lamiaceae 5 4 8 50 5 0.6803 0.7519 1.4322 46 กริม 5 4 8 50 5 0.6803 0.7519 1.4322 47 ตาถีบขี้นก 5 4 8 50 5 0.6803 0.7519 1.4322 48 พลับอันดา 5 4 8 50 5 0.6803 0.7519 1.4322 49 สั่งท า 5 4 8 50 5 0.6803 0.7519 1.4322

101 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 50 ชมพนู่ ้ า 6 3 9.6 60 3.75 0.8163 0.5639 1.3802 51 กอกเขา 4 4 6.4 40 5 0.5442 0.7519 1.2961 52 ค ารอก 4 4 6.4 40 5 0.5442 0.7519 1.2961 53 เม็ก 4 4 6.4 40 5 0.5442 0.7519 1.2961 54 สลัด 4 4 6.4 40 5 0.5442 0.7519 1.2961 55 หนอนขี้ควาย 4 4 6.4 40 5 0.5442 0.7519 1.2961 56 หว้าหิน 4 4 6.4 40 5 0.5442 0.7519 1.2961 57 จ าปาขอม 5 3 8 50 3.75 0.6803 0.5639 1.2442 58 พิกุลเถื่อน 5 3 8 50 3.75 0.6803 0.5639 1.2442 59 กระดูกค่าง 4 3 6.4 40 3.75 0.5442 0.5639 1.1081 60 ชมพนู่ กปักษ์ใต้ 4 3 6.4 40 3.75 0.5442 0.5639 1.1081 61 เดื่อชิ้ง 4 3 6.4 40 3.75 0.5442 0.5639 1.1081 62 ร่องไม้ 4 3 6.4 40 3.75 0.5442 0.5639 1.1081 63 เลือดแรด 4 3 6.4 40 3.75 0.5442 0.5639 1.1081 64 หลุมพอ 4 3 6.4 40 3.75 0.5442 0.5639 1.1081 65 Phillanthaceae 5 2 8 50 2.5 0.6803 0.3759 1.0562 66 กฤษณา 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721

102 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 67 เข็มน้ า 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 68 ค้างคาวอีลิด 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 69 ตะเคียนทราย 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 70 นูดต้น 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 71 ใบเบยี้ ว 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 72 พลองกินลูก 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 73 ยายจูงหลาน 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 74 เลือดควาย 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 75 หันช้าง 3 3 4.8 30 3.75 0.4082 0.5639 0.9721 76 รักป่า 4 2 6.4 40 2.5 0.5442 0.3759 0.9202 77 Arecaceae 5 1 8 50 1.25 0.6803 0.1880 0.8682 78 ขนุนนก 3 2 4.8 30 2.5 0.4082 0.3759 0.7841 79 ตะเคียนราก 3 2 4.8 30 2.5 0.4082 0.3759 0.7841 80 ปลาไหลเผือก 3 2 4.8 30 2.5 0.4082 0.3759 0.7841 81 โพบาย 3 2 4.8 30 2.5 0.4082 0.3759 0.7841 82 มะมุ่น 3 2 4.8 30 2.5 0.4082 0.3759 0.7841 83 มังคาก 3 2 4.8 30 2.5 0.4082 0.3759 0.7841

103 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 84 Euphorbiaceae 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 85 ก่อหมู 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 86 ขางปอยน้ า 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 87 ขี้มิ่น 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 88 เข็มไอ้แกรก 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 89 ไข่เขียว 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 90 เคล็ดหนู 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 91 ด าตะโก 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 92 เดื่อดิน 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 93 ต้างหลวง 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 94 ตาไชย 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 95 นากบุด 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 96 เปล้าเงิน 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 97 เปล้าเถื่อน 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 98 พวา 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 99 พุดป่า 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 100 มะจ้ าก้อง 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480

104 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 101 มะไฟกา 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 102 มะม่วงคัน 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 103 มะเม่าขน 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 104 ส้มไฟดิน 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 105 สาเหล้า 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 106 ส ารองกะโหลก 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 107 หัวเต่า 2 2 3.2 20 2.5 0.2721 0.3759 0.6480 108 เข็มเกลี้ยง 2 1 3.2 20 1.25 0.2721 0.1880 0.4601 109 เข็มดง 2 1 3.2 20 1.25 0.2721 0.1880 0.4601 110 แหลช่อ 2 1 3.2 20 1.25 0.2721 0.1880 0.4601 111 Annonaceae 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 112 Antidesma sp. 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 113 Ebenaceae 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 114 Lauraceae 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 115 Mallotus 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 116 Rubiaceae 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 117 กระท้อน 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240

105 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 118 กระทมุ่ น้ า 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 119 กะโมกเขา 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 120 กาหยีเขาสามใบ 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 121 แกล้งขี้พระร่วง 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 122 เข็มป่า 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 123 คอเหยี้ 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 124 แคฝอย 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 125 แคหางค่าง 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 126 ง าเงาะ 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 127 ชันรูจี 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 128 ช ามะเลียงป่า 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 129 เตยเขา 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 130 เนียง 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 131 ปอขนุน 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 132 ปาหนันขี้แมว 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 134 โปรง 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 135 ผักหวานดง 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240

106 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 136 ฝาละมี 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 137 พระเจ้าห้าพระองค์ 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 138 พลองแก้มอ้น 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 139 พลับเขา 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 140 พาโหมต้น 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 141 พาโหมหิน 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 142 มณฑา 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 143 มะกาต้น 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 144 มะปริง 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 145 มะหวด 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 146 เม่าเหล็ก 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 147 ลักเคยลักเกลือ 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 148 ลิ้นควาย 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 149 สลอดป่า 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 150 สังเครียด 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 151 ส้านใหญ่ 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 152 สามแก้ว 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240

107 ตารางภาคผนวกท ี่ 2 (ต่อ)

density density frequency no. Tree no. Plot ล าดับที่ Thai Name D D F IV (Tree) (Plot) (tree/rai) (tree/ha) (%) RD RF (%) (%) 153 หล่อง่าม 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 154 แหลบุก 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 155 เอียน 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 156 ไอ้แกรก 1 1 1.6 10 1.25 0.1361 0.1880 0.3240 รวม 735 1176 7350 665 100 100 200

108