Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

1 รองศาสตราจารย์ ดร.เสกสรรค์ แย้มพินิจ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ก้านจักร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนิรุทธ์ สติมั่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกร สงคราม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทิชย์ สาธิตานันต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประทัย พิริยะสุรวงศ์ ด ร . ว ร ฤ ท ธ ิ์ ก อ ป ร ส ิร ิพ ัฒ น ์ ดร.สุขมิตร กอมณี ด ร . น ุช จ ร ี บ ุญ เ ก ต ดร.ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาตม 2561 Vol. 1 No. 2 May-August 2018 ์ISSN 2530-0109 (online) ISSN 2630-0052 (print) เจ้าของ : ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถ.นครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง มหาสารคาม 44000 https://edu.msu.ac.th/etcjournal/ ติดต่อ กองบรรณาธิการ โทร. 086 6404222 e-mail : [email protected] กองบรรณาธิการ ที่ปรึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิ ศาตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ศาสตรเมธี ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ รองศาสตราจารย์ ดร.เผชิญ กิจระการ รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ ร อ ง ศ า ส ต ร า จ า ร ย ์ ด ร . พ ัช ร ว ิท ย ์ จ ัน ท ร ์ศ ิร ิส ิร ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ รองศาตราจารย์ ดร.สุมาลี ชัยเจริญ รองศาตราจารย์ ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง ดร.มานิตย์ อาษานอก ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.สังคม ภูมิพันธ์

บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อเกียรติ ขวัญสกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ ดร.เหมมิญช์ ธนปัทม์มีมณี กองบรรณาธิการบริหาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐาปนี สีเฉลียว คณะศึกษาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนีวรรณ ตั้งภักดี คณะศึกษาศาสตร์ ดร.รัฐสาน์ เลาหสุรโยธิน คณะศึกษาศาสตร์ ดร.ธนดล ภูสีฤทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ อาจารย์ชนยุตฏษ์ ช้างเพชร คณะศึกษาศาสตร์ อาจารย์มาณวิกา กิตติพร คณะศึกษาศาสตร์ อาจารย์ธวัชวงศ์ ลาวัลย์ คณะวิทยาการสารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เนติรัฐ วีระนาคินทร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ ดร.คชากฤช เหลี่ยมไธสง คณะวิทยาการสารสนเทศ อาจารย์ณภัทร สักทอง คณะวิทยาการสารสนเทศ กองบรรณาธิการจากสถาบันภายนอก รองศาสตราจารย์ ดร.เสกสรรค์ แย้มพินิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ก้านจักร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนิรุทธ์ สติมั่น มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกร สงคราม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทิชย์ สาธิตานันต์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประทัย พิริยะสุรวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ด ร . ว ร ฤ ท ธ ิ์ ก อ ป ร ส ิร ิพ ัฒ น ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ดร.สุขมิตร กอมณี มหาวิทยาลัยบูรพา ด ร . น ุช จ ร ี บ ุญ เ ก ต มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ดร.ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์

เลขานุการ/เหรัญญิก ธนวัฒน์ แสนโกษา ผู้ดูแลระบบสารสนเทศ วัชรินทร์ ประชุมวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ประเมินบทความประจำ�กองบรรณาธิการ

บทความทุกเรือง่ ก่อนน�ำออกตีพิมพ์เผยแพร่ จะผ่านการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่าน โดยจะพิจารณาประเมินคุณภาพบทความตามหลักวิชาการ อาจมีการขอให้ผู้รับผิดชอบปรับแก้ตามความเหมาะสม ------หากข้อความในบทความละเมิดสิทธิผู้หนึง่ ผู้ใด ถือเป็นความรับผิดชอบของเจ้าของบทความนัน้ ๆ กองบรรณาธิการจะไม่มีส่วนเกียวข้องแต่อย่างใด่ และสงวนสิทธิทีจะไม่เผยแพร่บทความที่ ไม่ผ่านการประเมินคุณภาพ่

ผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ทรงคุณวุฒิ จากสถาบันภายนอก

ศ.เมธี ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ คณะศึกษาศาสตร์ รศ.ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ คณะศึกษาศาสตร์ รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ คณะศึกษาศาสตร์ ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รศ.ดร.พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร คณะศึกษาศาสตร์ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ.ดร.สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ ผศ.อนุชา พัวไพโรจน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รศ.ดร.ชวลิต ชูกำ�แพง คณะศึกษาศาสตร์ รศ.ดร.ประกอบ กรณีกิจ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี คณะศึกษาศาสตร์ รศ.ดร.จินตวีร์ คล้ายสังข์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.มนตรี วงษ์สะพาน คณะศึกษาศาสตร ผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.จิระพร ชะโน คณะศึกษาศาสตร์ รศ.ดร.เนาวนิตย์ สงคราม คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.สินธะวา คามดิษฐ์ คณะศึกษาศาสตร์ ดร.ธีรวดี ถังคบุตร คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.อรนุช ศรีสะอาด คณะศึกษาศาสตร์ ผศ.ดร.อนิรุทธ์ สติมั่น คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.ดร.ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน คณะศึกษาศาสตร์ ผศ.ดร.น�้ำมนต์ เรืองฤทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รศ.ดร.ประสาท เนืองเฉลิม คณะศึกษาศาสตร์ ผศ.ดร.เอกนฤน บางท่าไม้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.ดร.วราพร เอราวรรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ รศ.ดร.เสกสรรค์ แย้มพินิจ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ดร.ทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ดร.ชัยรัตน์ ชูสกุล คณะศึกษาศาสตร์ ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ดร.อารยา ปิยกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ดร.วิทยา วรพันธ์ คณะศึกษาศาสตร ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ สำ�นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.มานิตย์ อาษานอก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ผศ.ดร.ฐาปนี สีเฉลียว คณะศึกษาศาสตร์ . ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม ค ณะเทคโนโลยีการเกษตร ผศ.ดร.รัชนีวรรณ ตั้งภักดี คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ดร.รัฐสาน์ เลาหสุรโยธิน คณะศึกษาศาสตร์ ดร.แจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.เหมมิญช์ ธนปัทม์มีมณี คณะศึกษาศาสตร์ ดร.โอภาส เกาไศยาภรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.ธนดล ภูสีฤทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ ดร.อดิศักดิ์ อินทนา คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์ชนยุตฏษ์ ช้างเพชร คณะศึกษาศาสตร์ ผศ.ดร.วสันต์ อติศัพท์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์มาณวิกา กิตติพร คณะศึกษาศาสตร์ ดร.ภูเบศ เลื่อมใส คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผศ.ดร.กริสน์ ชัยมูล บัณฑิตวิทยาลัย ดร.สุขมิตร กอมณี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผศ.ดร.ธัชชัย จิตรนันท์ บัณฑิตวิทยาลัย ดร.จุฬาวดี มีวันคำ� สำ�นักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดร อาจารย์ธวัชวงศ์ ลาวัลย์ คณะวิทยาการสารสนเทศ ดร.วรฤทธิ์ กอปรสิริพัฒน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อาจาย์ณภัทร สักทอง คณะวิทยาการสารสนเทศ ดร.วันวิสาข์ โชรัมย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผศ.ดร.เนติรัฐ วีระนาคินทร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ ดร.นุชจรี บุญเกต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ดร. คชากฤษ เหลี่ยมไธสง คณะวิทยาการสารสนเทศ ดร.ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ผศ.ดร.นิดา ชัยมูล คณะวิศวกรรมศาสตร์ ผศ.ดร.ประวิทย์ สิมมาทัน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ผศ.ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ดร.ทิพเนตร ขรรค์ทัพไทย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ผศ.ดร.นิพนธ์ ตันไพบูลย์กุล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ผศ.ดร.สนิท ตีเมืองซ้าย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ดร.มนชยา เจียงประดิษฐ์ คณะวิทยาศาสตร์ ผศ.สุวรรณ อภัยวงศ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ดร.ปรมะ แขวงเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ผศ.ประทัย พิริยะสุรวงศ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ดร.ดรัณภพ เพียรจัด คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ดร.วรวัฒน์ บุญดี วิทยาลัยเทคนิคยโสธร บทบรรณาธิการ

วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับนี้ออกเผยแพร่ เป็นฉบับที่ 2 ประจำ�เดือน พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 ภายในเล่มประกอบด้วยบทความที่น่าสนใจ อาทิ บทความพิเศษเรื่อง รศ.ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลนวัตกรรม สำ�หรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Development, Efficiency ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น and Effectiveness of Innovation for Self-learning Model.) โดย ดร.มานิตย์ อาษานอก ซึ่งเป็นบทความ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัยและพัฒนาสื่อเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนั้น ยังมีบทความวิจัยทางการศึกษา จากนักวิจัยหลากหลาย ผศ.อนุชา พัวไพโรจน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รศ.ดร.ประกอบ กรณีกิจ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบัน รวมถึงบทความวิจัยทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา ของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและ รศ.ดร.จินตวีร์ คล้ายสังข์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เต็มเปี่ยมทั้งเล่ม มีการนำ�เสนอทั้ง ระบบรูปเล่ม และระบบ ผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.ดร.เนาวนิตย์ สงคราม คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออนไลน์ ที่ผู้อ่านสามารถติดตามอ่านได้ตามรูปแบบที่ท่านสะดวก ดร.ธีรวดี ถังคบุตร คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.อนิรุทธ์ สติมั่น คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เนื้อหาที่นำ�เสนอในฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์สำ�หรับท่าน ขอขอบคุณที่ให้ความ ผศ.ดร.น�้ำมนต์ เรืองฤทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.ดร.เอกนฤน บางท่าไม้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สนใจ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะติดตามผลงานอีกในฉบับต่อไป รศ.ดร.เสกสรรค์ แย้มพินิจ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ก่อเกียรติ ขวัญสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ สำ�นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ . ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม ค ณะเทคโนโลยีการเกษตร วัตถุประสงค์การจัดท�ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ดร.แจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.โอภาส เกาไศยาภรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.อดิศักดิ์ อินทนา คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ แนวคิด ทฤษฏี หรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในศาสตร์สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คอมพิวเตอร์ ผศ.ดร.วสันต์ อติศัพท์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศึกษา รวมถึงศาสตร์การศึกษาด้านอื่น ๆ ในรูปแบบของบทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทัศน์ หรือผลงาน ดร.ภูเบศ เลื่อมใส คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ดร.สุขมิตร กอมณี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิชาการต่าง ๆ ดร.จุฬาวดี มีวันคำ� สำ�นักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดร 2. เป็นแหล่งให้นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา ครู อาจารย์ และบุคลากราทางการศึกษาได้ ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการ ดร.วรฤทธิ์ กอปรสิริพัฒน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 3. เป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด เจตคติและประสบการณ์ระหว่างนักวิชาการทางการศึกษา ดร.วันวิสาข์ โชรัมย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าในวิทยาการด้านเทคโนโลยีการศึกษา คอมพิวเตอร์ศึกษา และศาสตร์การศึกษาด้าน ดร.นุชจรี บุญเกต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการศึกษาค้นคว้า วิจัย พัฒนาความรู้ทางวิชาการ เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ดร.ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ 5. เพื่อประชาสัมพันธ์ เสนอข่าวความเคลื่อนไหว กิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างภาควิชาเทคโนโลยี ผศ.ดร.ประวิทย์ สิมมาทัน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม และสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับบุคคลภายใน ภายนอกสถาบัน และศิษย์เก่าของ ดร.ทิพเนตร ขรรค์ทัพไทย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ผศ.ดร.สนิท ตีเมืองซ้าย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม สาขาวิชา ผศ.สุวรรณ อภัยวงศ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม 6. เพื่อให้นิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ ดร.ปรมะ แขวงเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ศึกษาเรียนรู้งานภาคปฏิบัติ ในรายวิชาการผลิตสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา ผศ.ประทัย พิริยะสุรวงศ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ดร.ดรัณภพ เพียรจัด คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ดร.วรวัฒน์ บุญดี วิทยาลัยเทคนิคยโสธร สารบัญ/CONTENT

บทความพิเศษ

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลนวัตกรรมส�ำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง มานิตย์ อาษานอก Development, Efficiency and Effectiveness of Innovation for Self-learning Model 9 Manit Asanok

บทความวิจัยทางการศึกษา การประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรียนบัวใหญ่ อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา 19 นุวัฒน์ อุทารสวัสดิ์ An Evaluation of the Supervision Project of Bua Yai School, , Province. Nuwat Eutansawat

รายงานการพัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป เรือง่ วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที้ ่ 1 34 แต๋น ทองแสง A study on the Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education for Mathayom 1 Students. Taen Tongsaeng

รายงานผลการจัดการเรียนรู้พลศึกษาโดยใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ 43 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาคร เทียมดาว A Study on the Results of using the Practical to Encourage Basics Skills of Sepak Takraw Training, Mathayom 1, Health Education and Physical Education. Sakhon Tiamdao

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สื่อการสอน ของผู้สอนวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจ 53 พิชศาล พันธุ์วัฒนา The Factors Influence to use Instructional Media of Instructor Seminar in Police Administration. Pitsarn Phanwattana

การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 66 ปารย์รวี เรืองช่วย The Development of Integrated Science Teaching Model of Sufficiency Economy Philosophy to Promote Thinking Skills of Prathomsuksa 4 Students. Parayaravee Rueangchuai

รายงานการใช้และการพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี 77 เรือง่ การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชันประถมศึกษาปีที้ ่ 4 อัจฉรา ธัญญพืช Usage Report and Development the Supplementary Book, Health Education and Physical Education, by Noodee with First Aid for Students of Prathom Suksa 4. Autchara Tunyapuech CONTENT/สารบัญ

บทความวิจัยของนิสิตสาขาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา

การพัฒนามัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรือง่ การสือสารข้อมูล่ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือสาร่ ชันมัธยมศึกษาปีที้ ่ 2 บน Google Classroom 88 เกศแก้ว ศรีแก้ว ก่อเกียรติ ขวัญสกุล สาวิตรี ตุ้มมี The Development of Interactive Multimedia on the Topic of Communications and Data Network Computer Courses for Information and Communications Technology Matthayomsuksa 2 on Google Classroom Gadkaew Srikaew Kokeit Kwunsakul Sawitree tummee

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ แอล.ที่อพัฒนาทักษะการท� เพื ำงานเป็นทีมส�ำหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที้ ่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) 98 รุจิรา เศารยะสกุล ฐาปนี สีเฉลียว ศรีสุดา สิงห์ชุม The Result of Collaborative Learning Management by using Learning Together (LT) Model to Develop Teamwork Skills of Mathayomsuksa 1 Students of Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) Rujira Saorayasakun Thapanee Seechaliao Srisuda Singchum

แนะน�ำหนังสือ ข่าว-กิจกรรม ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา การน�ำเสนอบทความ ประเภทของบทความ 116-109

ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความประจำ�ฉบับ

ดร.นุชจรี บุญเกต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ดร.สุขมิตร กอมณี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผศ.ดร.สินธะวา คามดิษฐ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ดร.ทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.ก่อเกียรติ ขวัญสกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ดร.มานิตย์ อาษานอก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.ดร.ฐาปนี สีเฉลียว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.ดร.รัชนีวรรณ ตั้งภักดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ดร.รัฐสาน์ เลาหสุรโยธิน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ดร.เหมมิญช์ ธนปัทม์มีมณี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ดร. ธนดล ภูสีฤทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลนวัตกรรม สำ�หรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง Development, Efficiency and Effectiveness of Innovation for Self-learning Model. มานิตย์ อาษานอก1 * Manit Asanok1 * [email protected]*

บทคัดย่อ

นวัตกรรมการศึกษา (Innovation in Education) หมายถึง สิ่งใหม่ วิธีการ แนวคิด กระบวนการ เทคนิค แนว ปฏิบัติ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ชิ้นงาน ที่เกิดจากการใช้ความรู้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อเปลี่ยนแปลง หรือปรับปรุงและพัฒนางาน อย่างเป็นระบบ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการศึกษา นวัตกรรมที่เป็นผลิตภัณฑ์ (Product Inno- vation) มีจุดเน้นในการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียนรายบุคคล มีรูปแบบการพัฒนาเฉพาะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยตนเอง ดูได้จากตัวเลขแสดงประสิทธิภาพนวัตกรรม (Efficiency of Product Inno- vation) ที่แสดงให้เห็นล�ำดับขั้นของการพัฒนาและการทดสอบประสิทธิภาพ 3 ล�ำดับ คือ การทดสอบการใช้กับผู้เรียนแบบ เดี่ยว (1:1) การทดสอบการใช้กับผู้เรียนแบบกลุ่มเล็ก (1:10) และทดสอบการใช้กับผู้เรียนในสภาพจริง หรือการทดลองภาค สนาม (1:100) และค่าประสิทธิผลนวัตกรรม (Effectiveness Index of Product Innovation) ที่แสดงเป็นค่าดัชนีความ ก้าวหน้าหรือผลส�ำเร็จของการเรียน หมายถึงการเรียนรู้จากนวัตกรรมครั้งนั้นนักเรียนได้คะแนนความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นคิด เป็นร้อยละเท่าใด

คำ�สำ�คัญ : ประสิทธิภาพนวัตกรรมการศึกษา, ดัชนีประสิทธิผล, การเรียนรู้ด้วยตนเอง

ABSTRACT

The innovation in education means new ideas, methods, concepts, processes, techniques, guidelines, new products, work pieces, resulting from the application of knowledge, creativity in order to change or improve and develop the work systematically that affects the efficiency and effectiveness of the education management, product innovation, focusing on helping individual learner create its own learning system with a specific development model to enhance the efficiency and effectiveness of learning of the learner by itself of which the data on the efficiency of product innovation shown in the hierarchy of development and performance testing for 3 levels : Testing the application with an individual learner (1:1), Testing the application with a small group of learners (1:10) and Testing the application with the learner in real condition or field testing (1:100) and the effectiveness index of

1 หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1 Head of Department of Educational Technology and Communications, Faculty of Education Mahasarakrm University.

9 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

product innovation shown by the progress or success index of learning means that the learning from such an innovation make the student receive how much the progress score in additional percentages.

Keyword: Efficiency of Product Innovation, Effectiveness Index, Self-learning

นวัตกรรมการศึกษา (Innovation in Education)

1. ความหมายและความเป็นมา 2. การยอมรับนวัตกรรมการศึกษา

“นวัตกรรม” (อ่านว่า นะ-วัด-ตะ-กัม) ตรงกับศัพท์ การพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมการศึกษา อาจดู ภาษาอังกฤษว่า “Innovation” (อ่านว่า อิน-โน-เว-ชัน) เกิด จากความเห็นของบุคคลว่า นวัตกรรมการศึกษานั้นเป็นสิ่งใหม่ จากการน�ำค�ำว่า “นวตา” (อ่านว่า นะ-วะ-ตา) ซึ่งแปลว่า ที่ไม่เคยใช้ หรือเป็นสิ่งเดิมที่มีการปรับปรุง พัฒนา เพิ่ม และ ความใหม่ กับค�ำว่า “กรฺม” (อ่านว่า กัร-มะ) แปลว่า การ น�ำไปใช้ในสภาพการณ์เดิม หรือสภาพการณ์ใหม่หรือไม่ หรือ กระท�ำ มาเข้าสมาสกัน แล้วใช้ในความหมายว่า การซ่อมแซม ยังไม่เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน ตลอดจน การซ่อมใหม่ เช่น นวัตกรรมในการศึกษา หมายถึง การ อาจอยู่ในระหว่างการวิจัยหรือพิสูจน์ด้วยวิธีการทาง ปรับปรุงแก้ไขระบบการศึกษา (ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา. วิทยาศาสตร์ การยอมรับนวัตกรรมนั้นอาจขึ้นอยู่กับปัจจัย ออนไลน์) ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ (กีรติ ยศยิ่งยง, 2552 ; สมนึก เอื้อจิระ “Innovation” เป็นค�ำนามมาจากภาษาละติน พงษ์พันธ์, 2552) “innovationem” ซึ่งมีรากศัพท์จากค�ำว่า “Innovare” แปล 1. การรับรู้ของแต่ละบุคคล (Perception of Indi- ว่า “ท�ำสิ่งใหม่ขึ้นมา” (“to renew or change”) (Jay vidual) การพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรม ขึ้นอยู่กับการรับ Fraser, ออนไลน์) โดยเป็นสิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้ รู้ของแต่ละบุคล นวัตกรรมของบุคคลกลุ่มหนึ่งอาจไม่ใช่ ความคิดสร้างสรรค์ และมีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม นวัตกรรมของบุคคลกลุ่มอื่นๆ ก็ได้ ซึ่งอาจขึ้นอยู่กับ “นวัตกรรม” จึงเป็นการท�ำสิ่งต่างๆ ด้วยวิธีใหม่ๆ ประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ที่มีต่อนวัตกรรม และยังอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การผลิต 2. ช่วงเวลา (Timeline) นวัตกรรมอาจได้รับการ กระบวนการ หรือองค์กร ไม่ว่าการเปลี่ยนนั้นจะเกิดขึ้นจาก ยอมรับหรือนิยมตามช่วงเวลาที่เปลี่ยนไปตามพัฒนาการ ขึ้น การปฏิวัติ การเปลี่ยนอย่างถอนรากถอนโคน หรือการพัฒนา อยู่กับการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม ต่อยอด ทั้งนี้ มักมีการแยกแยะความแตกต่างอย่างชัดเจน หรือความเชื่อของคนในกลุ่มนั้น ช่วงเวลาเป็น สิ่งที่ชี้ว่าในช่วง ระหว่างการประดิษฐ์คิดค้น ความคิดริเริ่ม และนวัตกรรม อัน เวลานั้น มีสิ่งใหม่ที่เคยมีผู้ใดท�ำมาก่อนหรือไม่ หรืออาจเป็น หมายถึงความคิดริเริ่มที่น�ำมาประยุกต์ใช้อย่างสัมฤทธิ์ผล สิ่งใหม่ที่ถูกปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และสอดคล้อง (Mckeown, 2008 ; อ้างถึงใน วิกิพีเดีย, ออนไลน์) กับการเปลี่ยนแปลงของสภาพการณ์ดังกล่าว ดังนั้น “นวัตกรรมการศึกษา” จึงหมายถึง สิ่งใหม่ 3. ความใหม่ (Newness) ความใหม่ หมายถึงสิ่ง วิธีการ แนวคิด กระบวนการ เทคนิค แนวปฏิบัติ ผลิตภัณฑ์ ใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็นตัวผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการ ใหม่ ชิ้นงาน ที่เกิดจากการใช้ความรู้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อ ที่ปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ ที่ยังไม่เคยมีผู้ใดเคยท�ำมาก่อน เปลี่ยนแปลง หรือปรับปรุงและพัฒนางานอย่างเป็นระบบ ที่ หรือ เคยท�ำมาแล้วในอดีตแต่ได้น�ำกลับมารื้อฟื้นขึ้นมาใน ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการศึกษา สภาพการณ์การใหม่ หรือมีการพัฒนาปรับปรุงต่อยอดจาก มีความหมายและที่มาดังนี้ ของเดิม

10 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University 4. มูลค่าทางเศรษฐกิจ (Economic Benefits) - นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการศึกษา เช่น รูป นวัตกรรมจะได้รับการยอมรับนั้นย่อมขึ้นอยู่กับการยอมรับ แบบการบริหารโรงเรียนทางเลือก รูปแบบการบริหาร ว่ามีประโยชน์และคุ้มค่าต่อการใช้ การให้ประโยชน์ทาง โรงเรียนขนาดเล็ก เศรษฐกิจ หรือการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจึงเป็นปัจจัยที่ -นวัตกรรมด้านการออกแบบการเรียนการสอน ถูกน�ำมาพิจารณาในความเป็นนวัตกรรมและควรที่จะส่ง เช่น รูปแบบการสอนแบบที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน รูปแบบการ เสริมหรือผลิตเพื่อการเผยแพร่ต่อไปหรือไม่ สอนที่ใช้สมองเป็นฐาน รูปแบบการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ 5. ความรู้และการสร้างสรรค์ (Knowledge and ฯลฯ Creativity) เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุด และเป็นเชื้อเพลิงใน -นวัตกรรมด้านหลักสูตรการเรียนการสอน เช่น การพัฒนานวัตกรรม เพราะความรู้และการสร้างสรรค์จะ การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น การพัฒนาหลักสูตรส�ำหรับ ท�ำให้เกิดไอเดีย (Idea) หรือแนวคิดใหม่ๆ ที่จะน�ำไปสู่การ นักเรียนผู้บกพร่องทางการเรียน การพัฒนาหลักสูตรการ ผลิตงานต้นแบบ (Intervention) และกลายมาเป็น ป้องกันตนเอง ฯลฯ นวัตกรรม ที่ไม่ได้เกิดจากการเลียนแบบหรือท�ำซ�้ำ -นวัตกรรมด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา เช่น การพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิด 3. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา การพัฒนาแบบทดสอบวัดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสาร เป็นต้น การจ�ำแนกประเภทนวัตกรรมการศึกษา อาจ จ�ำแนกตามเป้าหมายของนวัตกรรม 2 ประเภท ดังนี้ (สม 4. นวัตกรรมส�หรับเรียนรู้ด้วยตนเอง นึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, 2553; ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ, 2549 อ้างถึงใน สุกัญญา แช่มช้อย, 2555) นวัตกรรมส�ำหรับเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-learn- 1. นวัตกรรมที่เป็นผลิตภัณฑ์ (Product Innova- ing) มีพื้นฐานการออกแบบมาจากหลักการทางจิตวิทยา tion) คือการพัฒนาและน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือการ การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ที่เชื่อและ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่ให้มีคุณภาพ และ มุ่งสังเกตการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นหลังจาก ประสิทธิภาพดีขึ้น ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้ถือว่าเป็นผลผลิต เจอสถานการณ์ หรือเงื่อนไขที่ก�ำหนด และเรียกว่า “การ (Outputs) เช่น ผลผลิตที่เป็นนวัตกรรมด้านสื่อการศึกษา เรียนรู้” โดยมีข้อตกลงเบื้องต้น (basic assumption) เกี่ยว ที่ครูในโรงเรียนนิยมพัฒนา เช่น การพัฒนาหนังสือเสริม กับกระบวนการเรียนรู้ 3 ประการคือ การเรียนรู้เป็นผลของ การอ่าน การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สภาพการณ์หรือสภาพ พัฒนาชุดการสอน การพัฒนาแบบฝึกทักษะ การพัฒนาบท แวดล้อมสามารถท�ำให้เกิดพฤติกรรมได้ การเรียนรู้ต้อง เรียนส�ำเร็จรูป นวัตกรรมด้านไอซีทีเพื่อการศึกษา เช่นการ อาศัยความต่อเนื่องเชื่อมโยง (contiguity) และการเสริม พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การพัฒนาบทเรียน แรง (reinforcement) เพื่อควบคุมหรือส่งเสริมท�ำให้เกิด บนเว็บ การพัฒนาวีดิทัศน์ช่วยสอน ฯลฯ ที่ผู้เรียนสามารถ พฤติกรรมหรือการเรียนรู้ใหม่ จับต้องได้ (tangible product) โดยออกแบบและพัฒนา หลักการทางจิตวิทยาที่น�ำมาใช้ในการออกแบบ ตามหลักการที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-di- นวัตกรรมส�ำหรับเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วย (มนตรี rected Learning) แย้มกสิกร, 2550) 2. นวัตกรรมที่เป็นกระบวนการ (Process Inno- 1. ความอิ่มอกอิ่มใจ (Satiation) หมายถึง สภาวะ vation) คือการประยุกต์ใช้แนวคิด วิธีการ หรือ กระบวน ที่ได้รับการตอบสนองต่อความต้องการทางกายและหรือ การใหม่ๆ ที่ส่งผลให้เกิดกระบวนการผลิต และการท�ำงาน ทางจิตใจ หลังจากเรียนรู้ผ่านนวัตกรรม ดังนั้นนวัตกรรมที่ โดยรวมให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น และอาจ ออกแบบจะต้องเร้าความสนใจให้เกิดความอยากรู้อยาก จับต้องไม่ได้ (intangible product) นวัตกรรมการศึกษา เห็น หรือมีการเสริมแรง เพื่อให้เกิดภาวะความอิ่มอกอิ่มใจ ที่เป็นกระบวนการและนิยมพัฒนา เช่น

11 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

2. ความทันทีทันใด (Immediately) หมายถึง การ ประสิทธิภาพ (Developmental Testing)” (ชัยยงค์ ตอบสนองต่อสภาพการณ์อย่างทันทีทันใด ซึ่งจะส่งผลต่อ พรหมวงศ์, 2556) ประสิทธิภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น นักเรียนตอบ ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ระดับสมรรถนะ ค�ำถามในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยการคลิกค�ำตอบ คุณภาพ หรือขีดความสามารถในการผลิต การด�ำเนินงาน หรือ ที่เลือก และมีการตอบหรือเฉลยให้ทราบผลการคลิกทันที การให้บริการที่สามารถลดความสูญเสีย ค่าใช้จ่าย แรงงาน ทันใด หรือความพยายาม ประสิทธิภาพของนวัตกรรมการศึกษา จึง 3. ความคงเส้นคงวา (Contingency) ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับสมรรถนะ คุณภาพ หรือขีดความสามารถของ ของผลที่เกิดตามมาจะขึ้นอยู่กับความเชื่อมั่นและความคงเส้น นวัตกรรมการศึกษาที่ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียน แนวคิด คงวาของผลที่เกิดตามมา (Consequence) เช่น การให้ดาว การทดสอบประสิทธิภาพที่นิยมปฏิบัติมี 2 แนวทาง คือ ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การให้รางวัลหลังเรียนด้วย แนวทางที่ยึดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard) บทเรียนส�ำเร็จรูป ตามแนวคิดของ เปรื่อง กุมุท (2519) และ แนวทางยึดเกณฑ์

4. ขนาดของผลที่ตามมา (Size) หมายถึง ความคุ้ม ที่ก�ำหนด E1/E2 ตามแนวคิดของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2520) ค่า หลังจากที่แสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้า เปรียบ ซึ่งสามารถจ�ำแนกความแตกต่างของแนวคิดและวิธีการหา เสมือนขนาดของรางวัลที่จะได้รับ หากรางวัลหรือสิ่งที่ตามมา ประสิทธิภาพนวัตกรรมได้ดังนี้ มีความคุ้มค่าต่อการแสดงพฤติกรรม จะส่งผลต่อความ 5.1 การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ พยายามในการแสดงพฤติกรรมการตอบสนองเช่นนั้นต่อไป มาตรฐาน (The 90/90 Standard) (เปรื่อง กุมุท, 2519) ในทางกลับกันก็สามารถที่ลด หรือดัดพฤติกรรมให้กระท�ำหรือ รองศาสตราจารย์ ดร. เปรื่อง กุมุท แห่ง ไม่กระท�ำเช่นนั้น ได้เช่นเดียวกัน ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หลักการเหล่านี้สามารถน�ำไปใช้เพื่อออกแบบและ ได้เสนอวิธีการทดสอบประสิทธิภาพนวัตกรรมตามเกณฑ์ พัฒนานวัตกรรมการเรียนที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียน มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในหนังสือ เทคนิค รายบุคคล เช่น การพัฒนาหนังสือเสริมการอ่าน การพัฒนา การเขียนบทเรียนโปรแกรม เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพของบท ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การพัฒนาชุดการสอน เรียนโปรแกรม (Programmed textbook) ที่มีเป้าหมายหลัก การพัฒนาแบบฝึกทักษะ การพัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป และ เพื่อให้ผู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเอง เป็นวิธีการทดสอบ นวัตกรรมด้านไอซีทีเพื่อการศึกษา เช่นการพัฒนาบทเรียน ประสิทธิภาพที่ยึดหลักการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery Learn- คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การพัฒนาบทเรียนบนเว็บ การพัฒนา ing) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้หากจัดเวลาเพียงพอ จัดวิธีการ วีดิทัศน์ช่วยสอน เป็นต้น ที่เหมาะสม การหาประสิทธิภาพจึงหาจาก เหมาะส�ำหรับหา 5. การทดสอบประสิทธิภาพนวัตกรรมส�ำหรับเรียน ประสิทธิภาพนวัตกรรมที่ อิงเกณฑ์การประเมิน เพื่อสะท้อน รู้ด้วยตนเอง คุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น และบ่งบอกถึง แนวคิดการทดสอบประสิทธิภาพนวัตกรรมการ ศักยภาพของนวัตกรรมว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้า ศึกษาส�ำหรับเรียนรู้ด้วยตนเอง เกิดขึ้นเพราะการพัฒนา หมายตามจุดประสงค์ที่วางไว้มากน้อยเท่าใด (มนตรี แย้ม ต้นแบบชิ้นงาน (Prototype) ส�ำหรับผลิตภัณฑ์และบริการ กสิกร, 2550) ใดๆ ก่อนที่จะน�ำไปเผยแพร่หรือใช้จริง จ�ำเป็นต้องผ่าน กระบวนการควบคุมและประกันคุณภาพ เพื่อให้แน่ใจว่า ต้นแบบชิ้นงานมีประสิทธิภาพจริง เรียกว่า “การทดสอบ

12 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University สูตรในการทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน (เปรื่อง กุมุท , 2519 อ้างถึงใน มนตรี แย้มกสิกร, 2550)

∑ X     N  = x100 90 ตัวแรก R 90 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละ 90 ของคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการทำาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน

Σ X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบหลังเรียน N หมายถึง จำานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคำานวณประสิทธิภาพ R หมายถึง จำานวนคะแนนเต็ม ของแบบทดสอบหลังเรียน

Y x100 90 ตัวหลัง = N

90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน Y หมายถึง จำานวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน N หมายถึง จำานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคำานวณประสิทธิภาพ

5.2 การหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด โปรแกรม ซึ่งมีความเชื่อว่า “การเรียนรู้เป็นระบบและ

E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2520) กระบวนการต่อเนื่อง” การก�ำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพจึง ศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ่ได้เสนอ ต้องก�ำหนดจากผลการประเมินพฤติกรรมต่อเนื่อง (Tran- แนวคิดการทดสอบประสิทธิภาพนวัตกรรมตามเกณฑ์ sitional Behavior) ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการ (Process) ประสิทธิภาพที่ก�ำหนด เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการ และพฤติกรรมขั้นสุดท้าย (Products) ซึ่งถือว่าเป็นผลลัพธ์ สอน และสื่อการสอนประเภทต่างๆ ยกเว้นบทเรียน (Output) ที่เกิดขึ้นจากการเรียน

สูตรในการทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑกําหนด E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2520) ∑ X  E   1 ==  N  x100 A

E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ (Efficiency of Process) ΣX หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จำานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการสอน A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน

∑ F    E 2 =  N  = x100 B

E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์กรเรียนรู้ (Efficiency of Product) ΣF หมายถึง ผลรวมของคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จำานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการสอนครั้งนี้ B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน 13 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

แนวคิดการหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 3) การทดสอบการใช้กับผู้เรียนในสภาพ

E1/E2 ได้รับการยอมรับและถูกน�ำมาใช้อย่างแพร่หลาย จริง หรือการทดลองภาคสนาม (1:100) ทดลองกับผู้เรียน มากกว่า การทดสอบประสิทธิภาพ 90/90 ทั้งนี้อาจเป็น ทั้งชั้น โดยมีกิจกรรมและขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพ เพราะความยืดหยุ่นของการใช้ โดยสามารถประยุกต์ใช้กับ เช่นเดียวกับการทดสอบผู้เรียนแบบกลุ่มเล็ก ค�ำนวณ สื่อหรือนวัตกรรมการเรียนรู้อื่น รวมทั้งการเรียนรู้ด้วย ประสิทธิภาพแล้วท�ำการปรับปรุง ผลลัพธ์ที่ได้ควรใกล้ ตนเองได้ โดยผู้พัฒนานวัตกรรมสามารถก�ำหนดเกณฑ์ใน เคียงกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ หากไม่ถึงเกณฑ์ต้องปรับปรุงเนื้อหา การทดสอบประสิทธิภาพ เพื่อพิจารณาและตรวจสอบผล สาระ กิจกรรมระหว่างเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนให้ การเรียนรู้ของผู้เรียน ว่ามีพัฒนาการระหว่างกระบวนการ ดีขึ้น แล้วน�ำไปทดสอบประสิทธิภาพภาคสนามซ�้ำกับ เรียนรู้ (Process) และปลายทางการเรียนรู้ (Product) ว่า นักเรียนต่างกลุ่ม จนกว่าจะได้ค่าประสิทธิภาพขั้นต�่ำ หาก มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ซึ่งแตกต่างจากแนวคิด การหาร ค่าประสิทธิภาพต�่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกิน 2.5% ก็ให้ยอมรับ ประสิทธิภาพ 90/90 ที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะในการหา ว่านวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ และหาก ประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรม ดังนั้นผู้ใช้จึงต้อง ค่าที่ได้ต�่ำกว่าเกณฑ์มากกว่า 2.5 ให้ปรับปรุงและทดสอบ เข้าใจหลักการและวิธีการหาอย่างถูกต้อง ซึ่งเป็นหัวใจของ ประสิทธิภาพซ�้ำจนกว่าจะถึงเกณฑ์ การทดสอบประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนานวัตกรรมและ 5.4 การก�ำหนดนิยามศัพท์เฉพาะ เลือกใช้วิธีการทดสอบประสิทธิภาพให้ถูกต้อง ดังข้อเสนอ “ประสิทธิภาพนวัตกรรม” แนะวิธีการใช้ และตัวอย่างในเอกสารนี้ ในการก�ำหนดนิยามศัพท์ประสิทธิภาพ 5.3 การแสดงผลการหาประสิทธิภาพ นวัตกรรม จะต้องก�ำหนดให้สอดคล้องกับแนวคิดการหา

นวัตกรรมตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, ประสิทธิภาพ และเลือกใช้สูตร หรือวิธีการให้ถูกต้อง พบ 2556) ข้อผิดพลาดที่ผู้เขียนมักก�ำหนดนิยามสับสน ระหว่าง ขั้นตอนการแสดงผลการหาประสิทธิ- แนวคิด การหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ภาพนวัตกรรมจ�ำเป็นต้องแสดงให้เห็นค่าทดสอบ `กับการหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด E1/E2 และ ประสิทธิ ภาพ 3 ขั้นตอน คือ ไม่ได้ก�ำหนดสัดส่วนของคะแนนที่น�ำมาหาประสิทธิภาพ 1) การทดสอบการใช้กับผู้เรียนแบบ กระบวนการ เช่น ประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะการแก้ เดี่ยว (1:1) ทดลองกับนักเรียน 1-3 คน โดยใช้เด็กอ่อน ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 หมายถึง ปานกลาง และเด็กเก่ง ระหว่างทดสอบประสิทธิภาพ ให้ ประสิทธิภาพของชุดฝึกฯที่ได้มาจากกระบวนการและ จับเวลาในการประกอบกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของผู้ ผลลัพธ์ของการจัดการเรียนการสอน มีค่าตามเกณฑ์ที่ เรียน ประเมินการเรียนจากกระบวนการ คือกิจกรรมหรือ ก�ำหนดดังนี้ ภารกิจและงานที่มอบให้ และทดสอบหลังเรียน น�ำคะแนน 80 ตัวแรก หมายถึง จ�ำนวนนักเรียนใน มาค�ำนวณหาประสิทธิภาพ หากไม่ถึงเกณฑ์ต้องปรับปรุง กลุ่มตัวอย่าที่สามารถท�ำแบบทดสอบหลังเรียนด้วยชุดฝึก เนื้อหาสาระ กิจกรรมระหว่างเรียนและแบบทดสอบหลัง ทักษะฯ แต่ละชุดผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ไม่น้อยกว่า ร้อย

เรียนให้ดีขึ้น ค่า E1/E2 ที่ค�ำนวณได้จะมีค่าประมาณ 60/60 ละ 80 2) การทดสอบการใช้กับผู้เรียนแบบ 80 ตัวหลัง หมายถึง จ�ำนวนนักเรียนใน กลุ่มเล็ก (1:10) ทดสอบกับผู้เรียน 6-10 คน (คละผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างที่สามารถท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ที่เก่งกับอ่อน) โดยมีกิจกรรมและขั้นตอนการทดสอบ ทางการเรียนหลังเรียนด้วยชุดฝึกทักษะฯ แล้วผ่านเกณฑ์ ประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับการทดสอบผู้เรียนแบบเดี่ยว ที่ก�ำหนดไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ค�ำนวณหาประสิทธิภาพแล้วปรับปรุง ในคราวนี้คะแนน ควรแก้ไขเป็นประสิทธิภาพของชุดฝึก ของผู้เรียนจะเพิ่มขึ้นอีกเกือบเท่าเกณฑ์โดยเฉลี่ย จะห่าง ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด จากเกณฑ์ประมาณ 10 % นั้นคือ E1/E2 ที่ได้จะมีค่า 80/80 หมายถึง ประสิทธิภาพของชุดฝึกฯที่ได้มาจาก ประมาณ 70/70 กระบวนการและผลลัพธ์ของการจัดการเรียนการสอน มี ค่าตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดดังนี้

14 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

80 ตัวแรก คือประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เท่ากับเกณฑ์ที่ก�ำหนด ค่าเฉลี่ยของ E1/E2 จะเท่ากับ80/80 คิดเป็นร้อยละของคะแนนรวมเฉลี่ยของนักเรียนที่ได้จาก สูงกว่าหรือต�่ำกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดค่าเฉลี่ยของ E1/E2 จะ การท�ำแบบฝึกทักษะ ร้อยละ 50 และแบบทดสอบท้ายแบบ ต้องไม่เกิน 2.5% ฝึกทักษะ ร้อยละ50 แต่ละชุดระหว่างเรียน 5.5 ตัวอย่างการน�ำเสนอผลการทดสอบ

80 ตัวหลัง คือประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) คิด ประสิทธิภาพของนวัตกรรม เป็นร้อยละของคะแนนเฉลี่ยจากการท�ำแบบทดสอบหลัง ในการน�ำเสนอผลการหาประสิทธิภาพ เรียนด้วยแบบฝึกทักษะฯ นวัตกรรมในบทที่ 4 ให้น�ำเสนอผลการพัฒนาและหา เกณฑ์การทดสอบประสิทธิภาพที่ยอมรับได้ ประสิทธิภาพทั้ง 3 แบบ ดังเช่นตัวอย่าง

ตอนที่ XX ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยน ชั้น ม. 5

1. ผลการทดสอบประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์แบบเดี่ยว เมื่อน�ำแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยน ชั้น ม. 5 ไปทดลองใช้กับ นักเรียนชั้น ม. 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553จ�ำนวน 3 คน โดยทดลองใช้กับนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่าง

ละ 1 คน เพื่อหาประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ์ 60/60 ได้ผลดังแสดงในตาราง XXX

ตาราง XX การทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการแกปญหาคณิตศาสตรแบบเดี่ยว (n=3)

รอยละคะแนนเฉลี่ยของ รอยละคะแนน ส่วนเบี่ยงเบน แบบฝกทักษะแต่ละชุด ประสิทธิภาพ เฉลี่ยรวม มาตรฐาน ความหมาย ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ประสิทธิภาพด้าน กระบวนการ ของแบบฝกฯ 66.67 60.34 65.23 61.89 0.56 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ (E1) ประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ 63.63 63.33 67.22 64.23 0.45 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ของแบบฝกฯ (E2)

E1/E2 61.89/64.23 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ

จากตาราง XX พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยวของแบบฝึกฯ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 และชุดที่ 3 มี

ประสิทธิภาพเท่ากับ 66.67/63.63, 60.34/63.33, 65.23/67.22 โดยเฉลี่ยมีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 61.89/64.23 ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 60/60 หลังจากการทดสอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยวแล้ว ได้สัมภาษณ์นักเรียน จ�ำนวน 3 คน ผลการ สัมภาษณ์สรุปได้ว่าแบบฝึกบางหัวเรื่องมีเนื้อหาเยอะเกินไป แบบฝึกบางเรื่องมีเนื้อหายาก และแบบฝึกบางตอนมีความ ยากเกินไป หลังจากสัมภาษณ์ผู้เรียนผู้วิจัยได้ปรับปรุง แบบฝึกฯ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนโดยได้ปรับ กรอบเนื้อหาให้มีความกระชับ ลดโจทย์ในแบบฝึก และอธิบายการหาค�ำตอบและวิธีท�ำแบบฝึกให้ละเอียดมากขึ้น

15 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์แบบกลุ่ม เมื่อน�ำแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยน ชั้น ม. 5 ไปทดลอง ใช้กับนักเรียนชั้น ม. 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 จ�ำนวน 9 คน โดยทดลองใช้กับนักเรียนเก่ง ปานกลาง และ

อ่อน อย่างละ 3 คน เพื่อหาประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ์ 70/70 ได้ผลดังแสดงในตาราง XXX ตาราง XXX การทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการแกปญหาคณิตศาสตรแบบกลุ่มเล็ก (n=9)

รอยละคะแนนเฉลี่ยของ รอยละคะแนน ส่วนเบี่ยงเบน แบบฝกทักษะแต่ละชุด ประสิทธิภาพ เฉลี่ยรวม มาตรฐาน ความหมาย ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ประสิทธิภาพด้าน กระบวนการ ของแบบฝกฯ 78.33 73.32 75.27 74.89 0.56 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ (E1) ประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ 76.67 76.31 75.26 75.23 0.45 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ของแบบฝกฯ (E2)

E1/E2 74.85/75.53 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ

จากตาราง XXX พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุ่มของแบบฝึกฯ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 และชุดที่ 3 มี

ประสิทธิภาพเท่ากับ 78.33/76.67, 73.32/76.31, 75.27/75.2 โดยเฉลี่ยมีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 74.89/75.23 ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 70/70 หลังจากการทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุ่มแล้ว ได้สัมภาษณ์นักเรียน จ�ำนวน 9 คน ผลการสัมภาษณ์สรุปได้ว่า ชุดฝึกบางชุดมีข้อบกพร่อง สะกดผิด และเฉลยผิด แบบฝึกมีจ�ำนวนข้อ ค่อนข้างมากเกินไป ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแบบฝึกฯ ให้มีความสอดคล้องกับความต้องการและปรับปรุงข้อบกพร่องด้วย การ ตรวจสอบค�ำสะกดให้ถูกต้องและลดจ�ำนวนข้อของแบบฝึกในหัวข้อที่มีจ�ำนวนมาก

3. ผลการทดสอบประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์แบบภาคสนาม เมื่อน�ำแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยน ชั้น ม. 5 ไปทดลองใช้ กับนักเรียนชั้น ม. 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 จ�ำนวน 30 คน คละความสามารถ เพื่อหาประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ์ 80/80 ได้ผลดังแสดงในตาราง XXXX

ตาราง XXXX การทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการแกปญหาคณิตศาสตรแบบภาคสนาม (n=30)

รอยละคะแนนเฉลี่ยของ รอยละคะแนน ส่วนเบี่ยงเบน แบบฝกทักษะแต่ละชุด ประสิทธิภาพ เฉลี่ยรวม มาตรฐาน ความหมาย ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ประสิทธิภาพด้าน กระบวนการ ของแบบฝกฯ 78.72 79.68 80.97 79.34 0.56 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ (E1) ประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ 77.74 78.06 79.68 78.33 0.45 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ของแบบฝกฯ (E2)

E1/E2 79.34/78.33 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ

16 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University จากตาราง XXXX พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามของแบบฝึกฯ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 และชุดที่ 3

มีประสิทธิภาพเท่ากับ 78.72/77.74, 79.68/78.06, 80.97/79.68 โดยเฉลี่ยมีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 79.34/78.33 ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 80/80

6. ดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index)

ดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลส�ำเร็จของงานเป็นไปตามความมุ่งหวัง (Purpose) ที่ก�ำหนด ไว้ มุ่งเน้นที่จุดสิ้นสุดของกิจกรรม มักมีตัวชี้วัด (Indicator) ประสิทธิผลไม่ได้เน้นเพียงการใช้ทรัพยากรน้อย การลดต้นทุน การลดเวลา แนวคิดการหาดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index: E.I.) เป็นค่าดัชนีแสดงความก้าวหน้าหรือผลส�ำเร็จ ของการเรียน เพื่อแสดงให้เห็นถึงปริมาณหรือขนาดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น หลังการทดลองใช้สื่อหรือนวัตกรรมการ ศึกษา ของกลุ่มทดลองเพียงกลุ่มเดียว (Hovland, 1949 Cited in Goodman, Flether and Schneider, 1980) เผชิญ กิจระการ และสมนึก ภัททิยธนี (2545) ได้น�ำแนวคิดนี้มาเผยแพร่ในวารสารวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ในปี 2545 โดยได้อธิบายผ่านการยกตัวอย่างการหาพัฒนาการที่เพิ่มขึ้นของผู้เรียนหลังการใช้สื่อหรือ นวัตกรรม ระหว่างวิธีการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเรียนด้วยสถิติทดสอบที (t-test) และการใช้ดัชนีประสิทธิผล โดยให้เหตุผลว่า การทดสอบค่าที อาจท�ำให้ทราบถึงความแตกต่างหรือการเพิ่มขึ้นของพัฒนาการ อย่างมีนัยส�ำคัญก็จริง แต่ผลการทดสอบไม่ได้ระบุว่า ผลของพัฒนาการนั้นมีขนาดเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าใด ซึ่งต่างจากการหาค่าดัชนีประสิทธิผล ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงความก้าวหน้าหรือขนาดของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น การน�ำเสนอค่าดัชนีประสิทธิผล จึงมี ความหมายถึงการเรียนครั้งนั้น นักเรียนได้คะแนนจากการเรียนผ่านนวัตกรรมการศึกษาเพิ่มขึ้นเป็นดัชนี หรือคิดเป็น ร้อยละเท่าใด สูตรในการหาค่าดัชนีประสิทธิผล (The Effectiveness Index: E.I.) (Goodman, Flether and Schneider, 1980 p. 30)

P − P E.I. = 2 1 100 − P1

เมื่อแทน E.I. ค่าดัชนีประสิทธิผล แทน P1 ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน 2 P แทน ผลรวมคะแนนทดสอบหลังเรียน

หรืออาจ เขียนเป็น (เผชิญ กิจระการ และสมนึก ภัททิยธนี, 2545 น. 31)

P − P E.I. = 2 1 Total − P1

เมื่อ E.I. แทน ค่าดัชนีประสิทธิผล P1 แทน ผลรวมคะแนนก่อนเรียนทุกคน P2 แทน ผลรวมของคะแนนหลังเรียนทุกคน Total แทน ผลคูณของจำานวนนักเรียนกับคะแนนเต็ม

ค่าดัชนีประสิทธิผล = ผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน - ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน (จํานวนนักเรียน) x (จํานวนคะแนนเต็ม) – ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน

17 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

ค่าดัชนีประสิทธิผล มีค่าเป็นไปได้สูงสูดคือ 1 หากติดลบ แสดงว่า ผลสอบก่อนเรียนสูงกว่าหลังเรียน หรือ นวัตกรรม ไม่มีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผล ในการแปรผลค่าดัชนีประสิทธิผลจะน�ำค่าที่ค�ำนวณได้น�ำไปเทียบกับค่า E.I. สูงสุดคือ 1.00 เช่น E.I.= 0.7645 หมายถึง ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.7645 แสดงว่านักเรียนมีคะแนนจากการ เรียนด้วยด้วยนวัตกรรมเพิ่มขึ้น 0.7645 หรือคิดเป็นร้อยละ 76.45 เป็นต้น

7. สรุป การพัฒนาและหาประสิทธิภาพประสิทธิผลนวัตกรรมส�ำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง จ�ำเป็นจะต้อง ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ซึ่งมีพัฒนาการมา อย่างต่อเนื่อง เพื่อน�ำไปสู่การผลิตและเผยแพร่นวัตกรรมที่ได้รับการยอมรับและเชื่อถือได้ ผ่านกระบวนการทดสอบ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ที่มีรูปแบบและลักษณะเฉพาะ บทความนี้ได้น�ำเสนอแนวคิดหลักการออกแบบและ พัฒนานวัตกรรมที่เหมาะสม ตลอดจนกระบวนการทดสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนข้อพึงระวังในการ เลือกใช้วิธีการ นักวิชาการ ครู นักวิจัย หรือนักเทคโนโลยีการศึกษา ตลอดจนผู้ที่สนใจ จ�ำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมและ ทดลองลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกใช้วิธีการและการน�ำเสนอที่ถูกต้องและเหมาะ สมต่อไปในอนาคต

เอกสารอ้างอิง

กีรติ ยศยิ่งยง. (2552). องค์กรแห่งนวัตกรรม แนวคิด และกระบวนการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2552). การจัดการความรู้กับนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : หจก. สามลดา. สุกัญญา แช่มช้อย. (2555). “แนวคิดเชิงนวัตกรรมส�ำหรับการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21” วารสาร ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 14(2) 117-128. ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (2550, กันยายน 17). นวัตกรรม. [เว็บไซต์]. สืบค้นจาก http://www.royin.go.th เปรื่อง กุมุท. (2519). เทคนิคการเขียนบทเรียนโปรแกรม. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. มนตรี แย้มกสิกร. (2550). “เกณฑ์ประสิทธิภาพในงานวิจัยและพัฒนาสื่อการสอน: ความแตกต่าง 90/90 Standard และ E1/E2” วารสารศึกษาศาสตร์. 19(1) 1-16. เผชิญ กิจระการ และสมนึก ภัททิยธนี. (2545). “ดัชนีประสิทธิผล” วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. 8 (กรกฎาคม) 30-36. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ------. (2556). “การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน” วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 5(1) 5-20. Goodman, R.I. (1980). The Effectiveness Index as a Comparative Measure in Media Product Evaluation. Educational Technology, 20(9), 30-34. Retrieved August 16, 2018 from https://www.learntechlib.org/p/164168/. Jay Fraser (2014, April 19). Etymology of Innovation. [เว็บไซต์]. Retrieved http://innovationexcel lence.com/blog/author/jay-fraser/ Innovation. Retrieved August 16, 2018, from Wikipedia https://en.wikipedia.org/wiki/Innovation

18 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University การประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรียนบัวใหญ่ อ�เภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา An Evaluation of the Supervision Project of Bua Yai School, Bua Yai District, Nakhon Ratchasima Province.

นุวัฒน์ อุทารสวัสดิ์ 1 * Nuwat Eutansawat 1 [email protected]*

บบทคัดย่อ

การประเมินโครงการครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบ CIPP Model โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ประเมินด้านสภาพ แวดล้อมของโครงการ (2) ประเมินด้านปัจจัยการด�ำเนินงานของโครงการ (3) ประเมินด้านกระบวนการของโครงการ (4) ประเมินด้านผลผลิตของโครงการ ซึ่งประกอบได้ด้วย 4.1) การประเมินการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ส�ำคัญของครู 4.2) การประเมินความสามารถในการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียน 4.3) การประเมินผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้น 4.4) การประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อโครงการนิเทศภายใน (4.5) การประเมินความยั่งยืนในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหาร สถานศึกษาจ�ำนวน 5 คน ครูจ�ำนวน 89 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจ�ำนวน 14 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ ได้แก่ แบบสอบถามด้านสภาพแวดล้อม แบบสอบถามด้านปัจจัย การด�ำเนินงาน แบบสอบถามด้านกระบวนการ แบบสอบถามด้านผลผลิต เป็นแบบสอบถามตามมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของลิเคิร์ท (Likert Method) การวิเคราะห์ใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการประเมินพบว่า 1. การประเมินด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ โดยผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพรวมพบว่า มีความเหมาะสม สอดคล้องอยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน มีค่า เฉลี่ยรวม ( X =4.60, S.D. = 0.54) 2. การประเมินปัจจัยน�ำเข้าของโครงการ โดยผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมพบว่า มีความเหมาะสม เพียงพออยู่ในระดับมาก/ผ่านเกณฑ์ การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม ( X =4.49, S.D. = 0.56) 3. การประเมินกระบวนการด�ำเนินงานของโครงการ โดยผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมพบว่า มีความเหมาะสมของขั้นตอนการด�ำเนินงานสอดคล้องอยู่ในระดับมากที่สุด/ ผ่านเกณฑ์การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม ( X =4.62, S.D. = 0.54) เมื่อพิจารณาตามขั้นตอนกระบวนการนิเทศภายใน 5 ขั้นตอน พบว่า การประเมินผลการนิเทศมีกิจกรรมได้แก่ กิจกรรมประเมินผลการนิเทศ มีความเหมาะสมของขั้นตอน

1 รองผู้อ�ำนวยการช�ำนาญการพิเศษ โรงเรียนบัวใหญ่ อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา 1 Senior Professional Level Deputy Director Buayai School Buayai District Nakhon Ratchasima Province.

19 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 การด�ำเนินงานมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยรวม ( X = 4.64, S.D.= 0.51) รองลงมาคือ การสร้างขวัญและก�ำลังใจ มีกิจกรรมได้แก่ กิจกรรมการสร้างขวัญและก�ำลังใจ มีค่าเฉลี่ยรวม ( X =4.62, S.D.= 0.51) และการวางแผนการนิเทศ มีกิจกรรมได้แก่ กิจกรรมอภิปรายกลุ่ม กิจกรรมประชุมระดมสมอง มีค่าเฉลี่ยรวม ( X =4.62, S.D.= 0.56) ส่วนการสร้างความเข้าใจและ เตรียมการนิเทศ มีกิจกรรมได้แก่ กิจกรรมประชุมครู กิจกรรมอบรมครู มีค่าเฉลี่ยรวม ( X = 4.61, S.D.= 0.55) และการ ปฏิบัติการนิเทศมี กิจกรรมได้แก่ กิจกรรมให้ค�ำปรึกษา กิจกรรมศึกษาเอกสาร กิจกรรมสาธิตการสอน กิจกรรมเยี่ยมชั้น เรียนเพื่อสังเกตการสอน กิจกรรมศึกษาดูงาน กิจกรรมจัดนิทรรศการ มีค่าเฉลี่ยรวม ( X = 4.61, S.D.= 0.55) มีคะแนน เท่ากัน 4. การประเมินผลผลิตของโครงการ ในภาพรวมผ่านเกณฑ์ทุกการประเมิน ดังนี้ 4.1 การประเมินการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครู โดยผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวมพบว่า มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครูอยู่ ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม ( X =4.67, S.D.=0.52) 4.2 การประเมินความสามารถในการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โดยครูพบว่ามีการปฏิบัติการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียนอยู่ใน ระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีค่าเฉลี่ยรวม ( X = 4.74, S.D.=0.47) 4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้น 4.3.1 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบัวใหญ่ โดยครูพบว่ามีระดับผลการเรียนเฉลี่ยรวมผ่านเกณฑ์การประเมิน ( X = 3.08, S.D.= 0.76) 4.3.2 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบัวใหญ่ โดยครูพบว่ามีระดับผลการเรียนเฉลี่ยรวมผ่านเกณฑ์การประเมิน ( X = 3.07, S.D.=0.78) 4.4 การประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อโครงการนิเทศภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ ปีการศึกษา 2559 โดยครูพบว่ามีครูมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีค่าเฉลี่ยรวม ( X = 4.80, S.D.=0.44) 4.5 การประเมินความยั่งยืนในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครู เมื่อผ่านระยะ เวลาไปได้ 1 ภาคเรียน โดยผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมพบว่า มีการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครูเมื่อผ่านระยะเวลาไปได้ 1 ภาคเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์ การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม ( X =4.70, S.D.= .49) เมื่อพิจารณาภาพรวมของคะแนนเพิ่ม/ลด การจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ของครูเมื่อผ่านระยะเวลาไปได้ 1 ภาคเรียน พบว่า ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (เพิ่ม 0.03) แสดง ให้เห็นว่าในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครูยังคงมีความยั่งยืนแม้เวลาผ่านไป

ค�ำส�ำคัญ : ประเมินโครงการ ,CIPP Model ,โรงเรียนบัวใหญ่

20 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

Abstract The supervision project was evaluated using the CIPP Model. The objectives were to evaluate (1) the project contexts, (2) the project implementation factors, (3) the project process, and (4) the project products which included 4.1) the evaluation of teachers on learners-centered instruction, 4.2) students’ abilities in reading, critical thinking, and writing, 4.3) the learning achievement of students of every level, 4.4) teachers’ satisfaction with the internal supervision project of the school, and 4.5) the sustainability of learners-centered instruction. The samples, 108 in total, consisted of 5 administrators, 89 teachers, and 14 School Councilors. The evaluation used Likert’s five-rating scale questionnaires as tools to assess the project contexts, the project implementation, the project process, and the project products. The obtained data were analyzed to find statistical mean and standard deviation. The evaluation results indicated as follows: 1. Overall, the evaluation on the project contexts by administrators, teachers and School Councilors showed the appropriateness and agreement at the highest level, over the set criteria ( X = 4.60, S.D.=0.54). 2. Overall, the evaluation on the project inputs by administrators, teachers and School Councilors showed the appropriateness and adequacy at a high level and over the set criteria ( X =4.49, S.D.=0.56). 3. Overall, the evaluation on the project implementation process by administrators, teachers and School Councilors showed the appropriateness and agreement at the highest level, over the set criteria ( X =4.60, S.D.=0.54). When considering the five supervision procedures , it was found that an evaluation of supervision step was the most appropriate implementation (X=4.64, S.D.=0.51) . Other activities were rated with less mean scores which included morale supports and encouragement ( X =4.62, S.D.=0.51), a supervision plan with a focus group and brainstorming activities ( X = 4.62, S.D.=0.56), supervision preparation and understanding with teacher meeting and training ( X = 4.61, S.D.=0.55), supervision activities with consultation , document studies, teaching demonstration, class observation, study trips, and exhibitions ( X =4.61, S.D.=0.55). having the same mean score as the supervision plan. 4. The overall evaluation of all project products met the set criteria as follows: 4.1 Overall, the evaluation on learners-centered instruction by administrators, teachers and School Councilors was at the highest level, over the set criteria ( X =4.67, S.D.=0.52). 4.2 Overall, the evaluation of teachers on the abilities of Matthayomsueksa 1-3 and 4-6 students in reading , critical thinking and writing was at the highest level ( X =4.74, S.D.=0.47). 4.3 The evaluation results of learning achievement of students of all levels were as follows: 4.3.1 Overall, the evaluation of teachers on learning achievement of students separated by learning strands in the first semester of the academic year 2016 was over the

21 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 set criteria ( X =3.08, S.D.=0.76). 4.3.2 Overall, the evaluation of teachers on learning achievement of students separated by learning strands in the second semester of the academic year 2016 was over the set criteria ( X =3.07, S.D.=0.78). 4.4 The evaluation of teacher satisfaction on the internal supervision project f Bua Yai School in the academic year 2016 was at the highest level was over the set criteria ( X =4.80, S.D.=0.44). 4.5 The evaluation of teachers on the sustainability of learners-centered instruction of one semester by administrators, teachers and school Councilors was at the highest level and over the set criteria ( X =4.70, S.D.=0.49). But in terms of increased and decreased scores, it was found that the overall mean score was increased at 0.03. This indicated that learners-centered instruction was sustainable through years.

Key words: Project evaluation, CIPP Model, Bua Yai School

บทน�

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 หมวด 1 บททั่วไป ใน สื่อการเรียน และอ�ำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้ เรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วน เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ หนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียน และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด�ำรงชีวิต รู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มาตรา 8 การ ประเภทต่าง ๆ 6) จัดการเรียนรู้ ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุก จัดการศึกษาให้ยึดหลัก (1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตส�ำหรับ สถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ประชาชน (2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (3) ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนา การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อ ผู้เรียนตามศักยภาพ (ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและ เนื่อง (ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2553 : ประเมินคุณภาพการศึกษา, 2547 : 12) 17-28) มาตรา 9 ได้ก�ำหนดไว้ว่า ให้มีการจัดระบบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาโดยยึดหลักการ 11 (2554 : 11) ได้มียุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่ง ดังนี้ 1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความ การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนในการให้ความส�ำคัญกับ สนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยค�ำนึงถึงความแตกต่าง การพัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการ ระหว่างบุคคล 2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ เปลี่ยนแปลง มุ่งพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัย สอด การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ แทรกการพัฒนาคนด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้าง ป้องกันและแก้ไขปัญหา 3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ วัฒนธรรมการเกื้อกูล พัฒนาทักษะให้คนมีการเรียนรู้ต่อ จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ท�ำได้ คิดเป็น ท�ำ เนื่องตลอดชีวิต ต่อยอดสู่การสร้างนวัตกรรมที่เกิดจากการ เป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง 4) จัดการ ฝึกฝนเป็นความคิดสร้างสรรค์ ปลูกฝังการพร้อมรับฟังความ เรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่าง คิดเห็นจากผู้อื่น การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มุ่งสร้าง ได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม กระแสสังคมให้การเรียนรู้เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนให้มี และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา 5) ส่งเสริม นิสัยใฝ่รู้ รักการอ่านตั้งแต่วัยเด็ก และส่งเสริมการเรียนรู้

22 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ร่วมกันของคนต่างวัยควบคู่กับการส่งเสริมให้องค์กร กลุ่ม ประเมินด้วย (อเนก ส่งแสง, 2540 : 135 ; ธีระ รุญเจริญ, บุคคล ชุมชน ประชาชนและสื่อทุกประเภท เป็นแหล่งเรียน 2550 : 83-25) สอดคล้องกับชัดเจน ไทยแท้ (2543 : 3) รู้อย่างสร้างสรรค์ สื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจง่ายรวมถึงส่ง กล่าวว่าการศึกษาที่มีคุณภาพนั้นต้องมุ่งให้ผู้เรียนทุกคนมี เสริมการศึกษาทางเลือกที่สอดคล้อง กับความต้องการของ ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้โดยถือว่าผู้เรียน ผู้เรียน และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและ ส�ำคัญที่สุดนั้น ครูต้องมีศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ให้มี สนับสนุนปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต สอดคล้อง คุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตรและมาตรฐานการ กับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552- ศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งมีคุณภาพในการบริหารจัดการโดย 2561) รัฐบาลมุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี รวมสู่ระบบประกันคุณภาพ การด�ำเนินการนิเทศช่วยเหลือ คุณภาพ โดยมีเป้าหมายหลักสามประการ คือ พัฒนา ที่เอื้อให้การท�ำงานของครูและโรงเรียนได้ด�ำเนินไปอย่างมี คุณภาพ มาตรฐานการศึกษา และการเรียนรู้ของคนไทย ประสิทธิภาพจึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งเพราะจะช่วยให้เกิด เพิ่มโอกาสทางการศึกษา การเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และน�ำไปสู่การพัฒนา คุณภาพ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม ศักยภาพในการท�ำงานของครูและโรงเรียนที่ยั่งยืน ในการบริหารและจัดการศึกษาและมีกรอบแนวทางการ โรงเรียนบัวใหญ่เป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่ สังกัด ปฏิรูปการศึกษา 4 ประการ คือ พัฒนาคุณภาพของคนไทย องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา มีภารกิจในการ ยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพสถาน จัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน 2 ระดับ ได้แก่ ระดับ ศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ และพัฒนาคุณภาพ การ มัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ใน บริหารจัดการใหม่ (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนบัวใหญ่ได้ก�ำหนด เป้า 2552 : ค�ำน�ำ) จากที่ได้กล่าวมาแล้วส�ำนักงานคณะ หมายจัดการศึกษาของโรงเรียนที่สอดคล้องกับเป้าหมาย กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีนโยบายในการประกัน การศึกษาของชาติ สภาพปัจจุบันครูยังไม่ได้ใช้การจัดการ คุณภาพการศึกษาเพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ บิดา มารดา เรียนการสอนอย่างหลากหลาย ขาดการพัฒนาการจัดท�ำ ผู้ปกครอง และชุมชน และมุ่งหวังที่จะพัฒนาคุณภาพการ นวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน ใช้วิธีสอนแบบบรรยาย ศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐานสากล ในการด�ำเนินงานพัฒนา มากกว่าวิธีสอนโดยใช้ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ คุณภาพการศึกษาดังกล่าวให้ประสบความส�ำเร็จนั้นต้อง และทักษะกระบวนการคิดอย่างสม�่ำเสมอ ขาดการแสวงหา อาศัยกระบวนการอย่างน้อย 3 กระบวนการ คือ ความรู้และเทคนิควิธี การสอนใหม่ ๆ ดังปรากฏในการ กระบวนการบริหารจัดการ กระบวนการจัดกิจกรรมการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาประจ�ำปีการศึกษา เรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ล้วนแล้ว 2558 ของโรงเรียนบัวใหญ่ ตามระบบประกันคุณภาพ แต่เป็นกระบวนการที่ส�ำคัญและเป็นกระบวนการของการ ภายในสถานศึกษาประเมินโดยผู้บริหารและครู พบว่า พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยจะต้องมีการด�ำเนินการอย่าง มาตรฐานที่ 5 สถานศึกษาจัดท�ำและบริหารหลักสูตรสถาน ต่อเนื่องสอดคล้องและควบคู่กันไป ส�ำหรับกระบวนการ ศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ มีข้อเสนอแนะหรือแนวทาง การนิเทศการศึกษานั้นเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่าการนิเทศที่ แก้ไขคือ สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการ เกิดจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรภายในโรงเรียน เพราะ สอนที่เน้นให้นักเรียนคิดเป็น ท�ำเป็น แก้ปัญหาเป็น โดยใช้ คนที่อยู่ในโรงเรียนย่อมรู้สภาพปัญหาความต้องการในการ การนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระหว่างกลุ่มสาระ นิเทศของบุคลากรในโรงเรียนเดียวกันได้ดีกว่าและมี การเรียนรู้หรือวิทยากรจากภายนอกสถานศึกษา ควรส่ง แนวทางการนิเทศที่จะช่วยให้เกิดประสิทธิผลได้มากกว่า เสริมให้ครูสร้างสื่อและนวัตกรรมที่หลากหลายสอดคล้อง การนิเทศที่เกิดจากบุคคลที่อยู่ภายนอกโรงเรียน นอกจาก กับความต้องการและความสนใจของนักเรียน สถานศึกษา นี้การนิเทศภายในนั้นได้ก�ำหนดในกฎกระทรวงว่าด้วย ควรพัฒนาแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายและส่งเสริมให้ ระบบการก�ำกับ ติดตาม การจัดการศึกษาของผู้บริหาร นักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจและความถนัด สถาน ไว้อย่างชัดเจน และในการประเมินคุณภาพภายนอกของ ศึกษาควรส่งเสริมการจัดท�ำวิจัยเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีการประเมินความสอดคล้องของแหล่งเรียนรู้ และ ยังได้ก�ำหนดการนิเทศภายในเป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การ ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับแผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 10

23 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ผู้เรียนมีความรู้ และสมรรถนะส�ำคัญตามหลักสูตร สู่ กิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ มีข้อ ประชาคมอาเซียน มีข้อเสนอแนะหรือแนวทางแก้ไขคือส่ง เสนอแนะคือ ควรพิจารณารายการนิเทศ มีการก�ำหนดเป้า เสริมให้ครูผู้สอนวัดผลประเมินผลตามสภาพจริงและ หมายให้ครอบคลุม ความรับผิดชอบของครู และมีการ สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน ครูควรจัดท�ำวิจัย ตรวจเยี่ยมชั้นเรียน การสรุปผลการนิเทศเพื่อการปรับปรุง ในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหานักเรียน ประเมินผลสัมฤทธิ์ ในครั้งต่อไป สอดคล้องกับผลจากการประเมินภายนอก ทางการเรียนอย่างต่อเนื่อง และมีการรายงานผลอย่างเป็น รอบสาม (พ.ศ.2554-2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระบบ พัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหา เมื่อวันที่ 23-25 ธันวาคม 2556 (ส�ำนักงานรับรอง มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างจริงจังและต่อ มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ เนื่อง (โรงเรียนบัวใหญ่, 2558ก : 197-213) นอกจากนี้ มหาชน), 2556 : 4-5) ที่ยังคงมีข้อแนะน�ำที่ต่อเนื่องจาก จากผลการประเมินความเสี่ยงของโรงเรียนบัวใหญ่ประจ�ำ การประเมินภายนอกรอบสอง (พ.ศ.2549-2553) กล่าวคือ ปี 2558 พบว่า สภาพแวดล้อมการควบคุมเกี่ยวกับกิจกรรม ได้มีข้อเสนอแนะในตัวบ่งชี้ที่ 6 เรื่องประสิทธิผลของการ การให้บริการวิชาการ มีความเสี่ยงที่เกิดจากสภาพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ดังนี้ 1) สถาน แวดล้อมภายในคือ บุคลากรในโรงเรียนมีไม่เพียงพอต่อ ศึกษาควรสร้างระบบการพัฒนาครูในการพัฒนาการเรียน จ�ำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้น และเป็นบุคลกรที่ยังขาด การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วย ประสบการณ์ ความช�ำนาญในการจัดการเรียน การสอน การอบรมพัฒนาในวิชาที่สอน ผลการประเมินแผนการ ใช้กิจกรรมควบคุมมีคือ จัดให้มีการนิเทศภายในโรงเรียน จัดการเรียนรู้ การประเมินการจัดการเรียนรู้และการ โดยฝ่ายวิชาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดอบรมให้ความรู้ ประเมินแบบทดสอบมาบูรณาการให้ครูแต่ละคนน�ำมาใช้ แก่บุคลากรให้สามารถท�ำการเรียนการสอนได้อย่างมี ในการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ 2) ครูควรพัฒนารูป ประสิทธิผล (โรงเรียนบัวใหญ่, 2558ง : 11) ซึ่งสอดคล้อง แบบการวิเคราะห์หลักสูตร ที่มีความครอบคลุมตาม กับผลการประเมินภายนอกรอบสอง (พ.ศ.2549-2553) หลักสูตรสถานศึกษาครบทุกตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียน ของโรงเรียนบัวใหญ่ จากส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและ รู้ที่สอนให้เกิดประโยชน์ต่อการออกแบบการเรียนรู้และ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (ส�ำนักงาน การวัดผลประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่ รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ หลากหลาย 3) ครูควรพัฒนาศึกษาค้นคว้า วิจัยเพื่อพัฒนา มหาชน), 2553 : 3) ได้สรุปผลจากการประเมินภายนอก สื่อการเรียนรู้และวิธีการสอนที่ตอบสนองความแตกต่าง รอบสอง (พ.ศ.2549-2553) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระหว่างบุคคลและจัดท�ำงานวิจัยในชั้นเรียนที่มีคุณภาพ 4) เมื่อวันที่ 3-5 มิถุนายน 2552 ในมาตรฐานที่ 9 ครูมีความ ครูควรพัฒนาการวัดผล ประเมินผลที่เน้นการประเมิน สามารถในการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพเน้นผู้ ความก้าวหน้าของผู้เรียนที่เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา เรียนเป็นส�ำคัญ มีข้อเสนอแนะคือ ครูควรพัฒนาให้มีความ และค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งควรแจ้ง สามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลายให้มี ผลการประเมินให้ผู้เรียนทราบเป็นระยะ (ส�ำนักงานรับรอง ความสามารถในการจัดท�ำนวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องค์การมหาชน, ครูควรมีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ทักษะกระบวนการ 2547 : 17-24) จากปัญหาการเรียนการสอนของครูดังที่ ทางวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการคิดอย่างสม�่ำเสมอ ได้กล่าวมาข้างต้นย่อมแสดงให้เห็นว่าโรงเรียนบัวใหญ่มี ครูควรมีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการสอนใหม่ ๆ ปัญหาในการนิเทศภายในอยู่มาก อยู่เสมอ ครูควรมีการท�ำวิจัยในห้องเรียนทุกกลุ่มสาระการ จากการศึกษางานวิจัย โครงการที่เกี่ยวข้องกับ เรียนรู้ที่สอนซึ่งอาจเป็นงานวิจัยหน้าเดียวก็ได้ ครูควรมีการ การนิเทศภายในโรงเรียนพบว่าสามารถใช้กระบวนการ ประเมินตนเอง พัฒนาเครื่องมือและแบบทดสอบเพื่อ นิเทศ กิจกรรมการนิเทศหรือแนวทางการนิเทศเพื่อพัฒนา ประเมินผลการเรียนรู้ น�ำผลการประเมินมาปรับการเรียน ครูผู้สอนให้สามารถท�ำการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น เปลี่ยนการสอนพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ครูควรจัด ผู้ประเมินจึงได้มีการประสานความร่วมมือในการนิเทศ กิจกรรมการอ่านให้ผู้เรียนใช้แหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด ภายในโรงเรียน รวมทั้งหาแนวทางในการนิเทศภายใน อย่างคุ้มค่า ในมาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัด โรงเรียนร่วมกันระหว่าง ผู้บริหารและครู ได้วางแผนด�ำเนิน

24 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

งานในรูปของโครงการชื่อว่า “โครงการนิเทศภายในของ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครู โรงเรียนบัวใหญ่ ปีการศึกษา 2559” โดยใช้กระบวนการ 4.2 การประเมินความสามารถในการ นิเทศภายใน 5 ขั้นตอน และในแต่ละขั้นตอนมีกิจกรรม อ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียน สอดแทรก 12 กิจกรรม ดังนี้ 1) การวางแผนการนิเทศ 4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ กิจกรรมอภิปรายกลุ่ม กิจกรรมประชุมระดมสมอง ของนักเรียนทุกระดับชั้น 2) การสร้างความเข้าใจและเตรียมการนิเทศ ได้แก่ 4.4 การประเมินความพึงพอใจของครู กิจกรรมประชุมครู กิจกรรมอบรมครู 3) การปฏิบัติการ ที่มีต่อโครงการนิเทศภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ นิเทศ ได้แก่ กิจกรรมให้ค�ำปรึกษา กิจกรรมศึกษาเอกสาร 4.5 การประเมินความยั่งยืนในการ กิจกรรมสาธิตการสอน กิจกรรมเยี่ยมชั้นเรียนเพื่อสังเกต จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญเมื่อผ่านระยะ การสอน กิจกรรมศึกษาดูงาน กิจกรรมจัดนิทรรศการ 4) เวลาไปได้ 1 ภาคเรียน การสร้างขวัญและก�ำลังใจ ได้แก่ กิจกรรมการสร้างขวัญ และก�ำลังใจ 5) การประเมินผลการนิเทศ ได้แก่ กิจกรรม วิธีด�เนินการวิจัย ประเมินผลการนิเทศ เพื่อน�ำผลไปใช้ในการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนางานด้านการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง การวิจัยครั้งนี้ เป็นการประเมินโครงการผู้วิจัยได้ อันจะส่งผลให้เกิดคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืนต่อไป และ ใช้รูปแบบการประเมินโดยใช้ CIPP Model โดยแบ่งล�ำดับ ในการประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรียนบัวใหญ่ ปีการ การประเมินเป็น 4 ด้าน และด�ำเนินการวิจัยตามล�ำดับดังนี้ ศึกษา 2559 ในครั้งนี้ ผู้ประเมินในฐานะรองผู้อ�ำนวยการ คือ (1) ด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ (2) ด้านปัจจัย สถานศึกษาและเป็นผู้รับผิดชอบการด�ำเนินงานตาม การด�ำเนินงานของโครงการ (3) ด้านกระบวนการของ โครงการดังกล่าวจึงได้ศึกษาค้นคว้าวิธีการประเมินผลการ โครงการ (4) ด้านผลผลิตของโครงการ โดยประเมินองค์ ด�ำเนินงานของโครงการโดยยึดรูปแบบประเมินซิปป์ (CIPP ประกอบย่อยดังนี้ 4.1) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้ Model) ของสตัฟเฟิลบีม (Daneil L. Stufflebeam) เรียนเป็นส�ำคัญของครู 4.2) ความสามารถในการอ่าน การ เพราะเป็นรูปแบบในการประเมินโครงการที่ครบ คิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียน 4.3) ผลสัมฤทธิ์ กระบวนการและเป็นที่นิยมใช้ประเมินโครงการ ซึ่ง ทางการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้น 4.4) ความพึงพอใจ ประกอบด้วยการประเมินทั้ง 4 ด้าน คือ 1) การประเมิน ของครูที่มีต่อโครงการนิเทศภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ ด้านสภาพแวดล้อม (Context Evaluation : C) 2) การ 4.5 ความยั่งยืนในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน ประเมินด้านปัจจัยน�ำเข้า (Input Evaluation : I) 3) การ เป็นส�ำคัญ เมื่อผ่านระยะเวลาไปได้ 1 ภาคเรียน ประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation : P)และ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 4) การประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation : P) 1. ประชากร ได้แก่ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา จ�ำนวน 5 คน 2) ครู จ�ำนวน 116 คน 3) คณะกรรมการ วัตถุประสงค์การวิจัย สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำนวน 15 คน รวมประชากร ทั้งสิ้น จ�ำนวน 136 คน 1. เพื่อประเมินด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ 2. กลุ่มตัวอย่าง นิเทศภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ 2.1 การประเมินด้านสภาพแวดล้อมของ 2. เพื่อประเมินด้านปัจจัยการด�ำเนินงานของ โครงการนิเทศภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ กลุ่มตัวอย่าง โครงการนิเทศภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารสถานศึกษาประกอบด้วยผู้ 3. เพื่อประเมินด้านกระบวนการของโครงการ อ�ำนวยการสถานศึกษาและรองผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา นิเทศภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ จ�ำนวน 5 คน 2) ครู จ�ำนวน 89 คน โดยก�ำหนดขนาด 4. เพื่อประเมินด้านผลผลิตของโครงการนิเทศ กลุ่มตัวอย่างจากตาราง เครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and ภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ ได้แก่ Morgan, 1970 : 607-610) เลือกแบบสุ่มด้วยตารางเลข 4.1 การประเมินการจัดการเรียนการ สุ่ม 3) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำนวน 14

25 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 คน โดยก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางเครจซี่และ มั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.72 มอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970 : 607-610) 2. แบบสอบถามการประเมินด้านปัจจัยน�ำเข้า 2.2 ประเมินด้านปัจจัยน�ำเข้าของ ของโครงการนิเทศภายในของโรงเรียน เป็นแบบสอบถาม โครงการนิเทศภายใน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 1) ผู้ ชนิดเลือกตอบแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating- บริหารสถานศึกษาประกอบด้วยผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา scale) 5 ระดับ จ�ำนวน 10 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ และรองผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา จ�ำนวน 5 คน 2) ครู เท่ากับ 0.86 จ�ำนวน 89 คน โดยก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตาราง 3. แบบสอบถามการประเมินด้านกระบวนการ เครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970 : 607- ของโครงการนิเทศภายใน เป็นแบบสอบถามชนิดเลือกตอบ 610) เลือกแบบสุ่มด้วยตารางเลขสุ่ม 3) คณะกรรมการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating- scale) 5 ระดับ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำนวน 14 คน โดยก�ำหนดขนาด จ�ำนวน 10 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.68 กลุ่มตัวอย่างจากตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and 4. แบบสอบถามการประเมินด้านผลผลิตของ Morgan, 1970 : 607-610) โครงการนิเทศภายใน 2.3 ประเมินด้านกระบวนการของ 4.1 แบบสอบถามการประเมินการ โครงการนิเทศภายใน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย1) ผู้ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครู ส�ำหรับ บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วยผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา และรองผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา จ�ำนวน 5 คน 2) ครู ขั้นพื้นฐาน เป็นแบบสอบถามชนิดเลือกตอบแบบ จ�ำนวน 89 คน โดยก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตาราง มาตราส่วนประมาณค่า (Rating- scale) 5 ระดับ จ�ำนวน เครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970 : 607- 12 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.82 610) เลือกแบบสุ่มด้วยตารางเลขสุ่ม 3) คณะกรรมการ 4.2 แบบสอบถามการประเมินความ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำนวน 14 คน โดยก�ำหนดขนาด สามารถในการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนของ กลุ่มตัวอย่างจากตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and นักเรียน ส�ำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะ Morgan, 1970 : 607-610) กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นแบบสอบถามชนิด 2.4 ประเมินด้านผลผลิตของโครงการ เลือกตอบแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating- scale) 5 นิเทศภายใน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 1) ผู้บริหารสถาน ระดับ จ�ำนวน 15 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ ศึกษาประกอบด้วยผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาและรองผู้ 0.86 อ�ำนวยการสถานศึกษา จ�ำนวน 5 คน 2) ครู จ�ำนวน 89 4.3 แบบสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คน โดยก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตาราง เครจซี่และ ของนักเรียนทุกระดับชั้น เป็นการสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการ มอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970 : 607-610) เลือก เรียนของนักเรียนจากงานทะเบียนฝ่ายวิชาการในภาพรวม แบบสุ่มด้วยตารางเลขสุ่ม 3) คณะกรรมการสถานศึกษา ทุกระดับชั้นจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการ ขั้นพื้นฐาน จ�ำนวน 14 คน โดยก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง เรียนรู้ ในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา จากตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 2559 น�ำเสนอในรูปแบบตาราง 1970 : 607-610) 4.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของครู ที่มีต่อโครงการนิเทศภายใน เป็นแบบสอบถามชนิดเลือก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ตอบแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating- scale) 5 ระดับ จ�ำนวน 25 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.93 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ มีจ�ำนวน 4.5 แบบสอบถามการประเมินความยั่งยืนในการจัดการ 7 ฉบับ ดังนี้ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครู เมื่อผ่านระยะ 1. แบบสอบถามการประเมินด้านสภาพแวดล้อม เวลาไปได้ 1 ภาคเรียน ส�ำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ครู ของโครงการนิเทศภายใน เป็นแบบสอบถามชนิดเลือกตอบ และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า จ�ำนวน 10 ข้อ มีค่าความเชื่อ แบบสอบถามชนิดเลือกตอบแบบมาตราส่วนประมาณค่า

26 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University (Rating- scale) 5 ระดับ จ�ำนวน 12 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น ได้แก่ กิจกรรมประชุมครู กิจกรรมอบรมครู มีค่าเฉลี่ยรวม ทั้งฉบับ เท่ากับ 0.82 ( = 4.61, S.D. = 0.55) และการปฏิบัติการนิเทศมี กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมให้ค�ำปรึกษา กิจกรรมศึกษาเอกสาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล กิจกรรมสาธิตการสอน กิจกรรมเยี่ยมชั้นเรียนเพื่อสังเกต การสอน กิจกรรมศึกษาดูงาน กิจกรรมจัดนิทรรศการ มีค่า 1. สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ เฉลี่ยรวม ( X = 4.61, S.D. = 0.55) มีคะแนนเท่ากัน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 4. การประเมินผลผลิตของโครงการ ในภาพรวม 2. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบเครื่องมือ ได้แก่ การ ผ่านเกณฑ์ทุกการประเมิน ดังนี้ หาความเที่ยงตรง (Validity) หาค่าความเชื่อมั่น (Reliabil- 4.1 การประเมินการจัดการเรียนการ ity), ของแบบสอบถามตามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครู โดยผู้บริหารสถาน Scale) ,หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบ ศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน มาตราส่วนประมาณค่าวิธีของ Cronbach ภาพรวมพบว่ามีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ส�ำคัญของครูอยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน ผลการวิจัย มีค่าเฉลี่ยรวม ( X = 4.67, S.D. = 0.52) 4.2 การประเมินความสามารถในการ 1. การประเมินด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ อ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โดยผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถาน ปีที่ 1-3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โดยครูพบว่ามีการ ศึกษาขั้นพื้นฐานภาพรวมพบว่ามีความเหมาะสมสอดคล้อง ปฏิบัติการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียนอยู่ อยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีค่าเฉลี่ย ( X =4.60, S.D.=0.54) รวม ( X = 4.74, S.D. = 0.47) 2. การประเมินปัจจัยน�ำเข้าของโครงการ โดยผู้ 4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น ของนักเรียนทุกระดับชั้น พื้นฐาน โดยภาพรวมพบว่า มีความเหมาะสมเพียงพออยู่ 4.3.1 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ ในระดับมาก/ผ่านเกณฑ์การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ( X =4.49, S.D.=0.56) 2559 โรงเรียนบัวใหญ่ โดยครูพบว่ามีระดับผลการเรียน 3. การประเมินกระบวนการด�ำเนินงานของ เฉลี่ยรวมผ่านเกณฑ์การประเมิน (X = 3.08, S.D. = 0.76) โครงการ โดยผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการ 4.3.2 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมพบว่า มีความเหมาะ แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา สมของขั้นตอนการด�ำเนินงานสอดคล้องอยู่ในระดับมาก 2559 โรงเรียนบัวใหญ่ โดยครูพบว่ามีระดับผลการเรียน ที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม ( X =4.62, เฉลี่ยรวมผ่านเกณฑ์การประเมิน (X = 3.07, S.D. = 0.78) S.D. = 0.54) เมื่อพิจารณาตามขั้นตอนกระบวนการนิเทศ 4.4 การประเมินความพึงพอใจของครู ภายใน 5 ขั้นตอน พบว่า การประเมินผลการนิเทศมี ที่มีต่อโครงการนิเทศภายในของโรงเรียนบัวใหญ่ปีการ กิจกรรมได้แก่ กิจกรรมประเมินผลการนิเทศ มีความเหมาะ ศึกษา 2559 โดยครูพบว่ามีครูมีความพึงพอใจต่อโครงการ สมของขั้นตอนการด�ำเนินงานมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีค่าเฉลี่ย ( X = 4.64, S.D.=0.51) รองลงมาคือ การสร้างขวัญและ รวม ( X = 4.80, S.D. = 0.44) ก�ำลังใจ มีกิจกรรมได้แก่ กิจกรรมการสร้างขวัญและก�ำลัง 4.5 การประเมินความยั่งยืนในการ ใจ มีค่าเฉลี่ยรวม ( X =4.62, S.D.= 0.51) และการวางแผน จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครู เมื่อ การนิเทศ มีกิจกรรมได้แก่ กิจกรรมอภิปรายกลุ่ม กิจกรรม ผ่านระยะเวลาไปได้ 1 ภาคเรียน โดยผู้บริหารสถานศึกษา ประชุมระดมสมอง มีค่าเฉลี่ยรวม (X = 4.62, S.D. = 0.56) ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม ส่วนการสร้างความเข้าใจและเตรียมการนิเทศ มีกิจกรรม พบว่า มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ

27 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

ของครูเมื่อผ่านระยะเวลาไปได้ 1 ภาคเรียน อยู่ในระดับ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ มากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม ( X = ในโรงเรียน ช่วยส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน ใช้เป็น 4.70, S.D. = 0.49) เมื่อพิจารณาภาพรวมของคะแนนเพิ่ม/ แหล่งเรียนรู้ของครูและนักเรียน (โรงเรียนบัวใหญ่, 2558 ลด การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครู : 266-269) สอดคล้องกับ สุดใจ ฝูงใหญ่ (2556 : 60-61) เมื่อผ่านระยะเวลาไปได้ 1 ภาคเรียน พบว่า ภาพรวมมีค่า ได้ประเมินโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนอนุบาลบางละมุง เฉลี่ยเพิ่มขึ้น (เพิ่ม 0.03) แสดงให้เห็นว่าในการจัดการเรียน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครูยังคงมีความยั่งยืน ด้านสภาวะแวดล้อม พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก แม้เวลาผ่านไป สอดคล้องกับ สุกรรณ ทองแบบ (2556 : 67) ได้ศึกษาเรื่อง สภาพด�ำเนินงานของโครงการนิเทศภายในเทศบาล 2 การอภิปรายผลการวิจัย (วัดช่องลม) สังกัดเทศบาลเมืองราชบุรี ด้านบริบทของ โครงการ พบว่า ความสอดคล้องเหมาะสมด้านบริบทของ 1. ผลการประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ โครงการนิเทศภายใน โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดช่องลม) ใน พบว่า โดยภาพรวมมีความเหมาะสม สอดคล้องอยู่ในระดับ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับ ถนอม ทินกระ มากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน ทั้งนี้เนื่องมาจากมีหลัก โทก (2556 : 67) ได้ศึกษาเรื่องการน�ำรูปแบบการประเมิน การและเหตุผลสอดคล้องกับเป้าหมายของโครงการ หลัก แบบซิปป์ (CIPP Model) มาใช้ในโครงการนิเทศภายใน การและเหตุผลสอดคล้องกับนโยบายโรงเรียน หลักการ โรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดตราดผลการเปรียบเทียบความ และเหตุผลสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ คิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนเกี่ยวกับการน�ำ โครงการสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น วัตถุประสงค์ และ ซิปป์ (CIPP Model) มาใช้ในงานนิเทศภายในโรงเรียน เป้าหมายของโครงการมีความเป็นไปได้ วัตถุประสงค์ของ มัธยมศึกษา จังหวัดตราด ในภาพรวมและรายด้าน มีระดับ โครงการสามารถน�ำไปใช้ได้จริง หลักการและเหตุผล ความคิดเห็นในระดับมากทุกด้าน สอดคล้องกับนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 2. ผลการประเมินปัจจัยน�ำเข้าของโครงการของ หลักการและเหตุผลสอดคล้องกับความต้องการของครู โครงการพบว่า โดยภาพรวมพบว่า มีความเหมาะสม เพียง นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน หลักการและเหตุผล พออยู่ในระดับมาก/ผ่านเกณฑ์การประเมิน ทั้งนี้เนื่องมา สอดคล้องกับนโยบายขององค์การบริหารส่วนจังหวัด จากผู้บริหาร มีการกระตุ้น ติดตาม เสริมแรง และจูงใจด้วย นครราชสีมา วัตถุประสงค์ของโครงการมีความเหมาะสม วิธีการที่เหมาะสม บุคลากรที่รับผิดชอบโครงการมีจ�ำนวน กับสภาพของสถานศึกษา ผลการประเมินเป็นเช่นนี้ ซึ่ง ที่ความเหมาะสมและเพียงพอ ผู้บริหารมีความสนใจและ สอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้การสนับสนุนการด�ำเนินงานโครงการ ความเหมาะสม โรงเรียนบัวใหญ่ ปีการศึกษา 2558 ได้น�ำเสนอโอกาสของ ของระยะเวลาในการด�ำเนินงาน มีการแต่งตั้งคณะ โรงเรียนบัวใหญ่ คือ 1) โรงเรียนได้รับดูแลจากองค์การ กรรมการด�ำเนินงานโครงการอย่างเหมาะสมและชัดเจน บริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมาซึ่งหน่วยงานต้นสังกัดที่ จัดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและการบริการเพื่อช่วยให้การ ติดต่อประสานงานที่สะดวกรวดเร็ว 2) โรงเรียนมีศิษย์เก่า ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อ เป็นผู้บริหารการเมืองท้องถิ่นและมีบุคคลที่มีฐานะทาง และเสริมสร้างต่อการด�ำเนินโครงการ เครื่องมือ วัสดุ เศรษฐกิจดีที่ให้การสนับสนุนการจัดการศึกษาได้เป็นอย่าง อุปกรณ์ที่ใช้ในการด�ำเนินโครงการมีความเหมาะสมและ ดี 3) ชุมชนมีสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ดี มีการสืบทอด เพียงพอ งบประมาณมีความเพียงพอต่อการใช้ด�ำเนินงาน วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม มีวิทยากรและภูมิปัญญาท้อง โครงการ บุคลากรที่รับผิดชอบโครงการมีทักษะความรู้ ถิ่นหลายสาขาที่ให้ความร่วมมือ มีหน่วยงาน องค์กร ทั้ง ความช�ำนาญในการด�ำเนินงานโครงการ ผลการประเมิน ภาครัฐและเอกชนเป็นเครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็งและ เป็นเช่นนี้ สอดคล้องกับ สุดใจ ฝูงใหญ่ (2556 : 60-61) ได้ หลากหลาย 4) ชุมชนและผู้ปกครอง มีทัศนคติที่ดี มีความ ประเมินโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนอนุบาลบางละมุง เชื่อมั่นและเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตลอดจน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 ให้การสนับสนุนโรงเรียนจัดท�ำกิจกรรมต่าง ๆ 5) ความ ด้านปัจจัยเบื้องต้น พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ

28 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

พิจารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากทุกข้อ สอดคล้องกับ ของโครงการที่ก�ำหนดไว้ โดยภาพรวมผ่านเกณฑ์ทุก สุกรรณ ทองแบบ (2556 : 67) ได้ศึกษาเรื่อง สภาพด�ำเนิน รายการ ดังนี้1) การประเมินการจัดการเรียนการสอนที่เน้น งานของโครงการนิเทศภายในเทศบาล 2 (วัดช่องลม) สังกัด ผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครูโดยภาพรวมพบว่า มีการจัดการ เทศบาลเมืองราชบุรี ด้านปัจจัยน�ำเข้าของโครงการ พบว่า เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครูอยู่ในระดับ ความสอดคล้องเหมาะสมด้านปัจจัยน�ำเข้าของโครงการ มากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ นิเทศภายในโรงเรียนเทศบาล 2 (วัดช่องลม) อยู่ในระดับ พบว่า กลุ่มครูมีความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนที่ มากที่สุด สอดคล้องกับ ถนอม ทินกระโทก (2556 : 67) เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญของครูมากที่สุด รองลงมาคือ ผู้ ได้ศึกษาเรื่องการน�ำรูปแบบการประเมินแบบซิปป์ (CIPP บริหารสถานศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้น Model) มาใช้ในโครงการนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา ฐาน สอดคล้องกับ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542 : 16) ได้ จังหวัดตราดผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหาร กล่าวว่าการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ เป็นการ โรงเรียนและครูผู้สอนเกี่ยวกับการน�ำซิปป์ (CIPP Model) จัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมที่สอดคล้อง มาใช้ในงานนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดตราด กับการด�ำเนินชีวิตที่เหมาะสมกับความสามารถและความ ในภาพรวมและรายด้าน มีระดับความคิดเห็นในระดับมาก สนใจของผู้เรียน โดยผู้เรียนมีส่วนร่วมลงมือปฏิบัติจริงทุก 3. ผลการประเมินกระบวนการด�ำเนินงานของ ขั้นตอนจนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง สอดคล้องกับ โครงการพบว่า โดยภาพรวมมีความเหมาะสมของขั้นตอน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2544 : 23) การด�ำเนินงานสอดคล้องอยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์ ได้กล่าวว่าการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ การประเมินเมื่อพิจารณาตามขั้นตอนกระบวนการนิเทศ เป็นการก�ำหนดจุดหมาย สาระ กิจกรรมแหล่งเรียนรู้ สื่อ ภายใน 5 ขั้นตอน พบว่า การประเมินผลการนิเทศมีความ การเรียนและวัดประเมินผลที่มุ่งพัฒนาคนและชีวิตให้เกิด เหมาะสมของขั้นตอนการด�ำเนินงานมากที่สุด รองลงมา ประสบการณ์การเรียนรู้เต็มความสามารถ สอดคล้องกับ คือ การสร้างขวัญและก�ำลังใจ และการวางแผนการนิเทศ ความถนัด ความสนใจและความต้องการของผู้เรียน ส่วนการสร้างความเข้าใจและเตรียมการนิเทศ และการ กิจกรรมการเรียนรู้ต้องค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง ปฏิบัติการนิเทศมีคะแนนเท่ากัน ผลการประเมินเป็นเช่น บุคคล ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สัมผัสและสัมพันธ์กับสิ่ง นี้ อาจเนื่องมาจากมีหลักการและเหตุผลสอดคล้องกับ แวดล้อม 2) การประเมินความสามารถในการอ่าน การคิด นโยบายโรงเรียน วัตถุประสงค์และเป้าหมายตรงความ วิเคราะห์ และเขียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ต้องการของผู้บริหารและครู สถานที่ด�ำเนินการมีสภาพ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โดยครูพบว่ามีการอ่าน การคิด แวดล้อมที่เอื้อต่อการด�ำเนินกิจกรรม การก�ำหนดระยะ วิเคราะห์ และเขียนของนักเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่าน เวลาของกิจกรรมมีความเหมาะสม มีการประชุมชี้แจงและ เกณฑ์การประเมิน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ประเด็น มอบหมายงานให้กับคณะกรรมการด�ำเนินงานนิเทศภายใน ที่มีการผลประเมินความสามารถในการอ่าน การคิด ชี้แจงให้ครูเข้าใจแนวปฏิบัติในกิจกรรมที่โรงเรียนก�ำหนด วิเคราะห์ และเขียนของนักเรียนมากที่สุด 3 ล�ำดับแรก คือ ก�ำหนดกิจกรรมที่หลากหลายและเหมาะสม ด�ำเนิน การเขียนเว้นวรรคตอนถูกต้อง รองลงมาคือ สามารถ กิจกรรมตามแผนอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมส่งเสริมให้ครู วิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือล�ำดับ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ การติดตามและ ความและความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน และสามารถ ประเมินผลเป็นไปตามรายละเอียดที่ก�ำหนดไว้ในกิจกรรม วิพากษ์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่านและให้ข้อเสนอ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ สุดใจ ฝูงใหญ่ (2556 : 60-61) แนะในแง่มุมต่าง ๆ ตามล�ำดับ ผลการประเมินเป็นเช่นนี้ ได้ประเมินโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนอนุบาลบางละมุง อาจเนื่องมาจากการด�ำเนินการนิเทศภายในโรงเรียน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 บัวใหญ่อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ด้านกระบวนการ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ ผู้เรียนเป็นส�ำคัญในการส่งเสริมการอ่าน คิดวิเคราะห์และ พิจารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากทุกข้อเช่นกัน เขียน โดยการอ่านจากหนังสือ เอกสาร และสื่อต่างๆ เพื่อ 4. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการ เป็นการ หาความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ เพื่อความสุนทรีย์และ ประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขึ้นกับวัตถุประสงค์ ประยุกต์ใช้แล้วน�ำมาคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่อ่านน�ำไป

29 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 สู่การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์สร้างสรรค์ การแก้ ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กล่าวถึงการวัดและประเมิน ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการ ผลการเรียนรู้ว่าครูสามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ที่ เขียนที่มีส�ำนวนภาษาถูกต้องอย่างมีเหตุผลและมีล�ำดับขั้น ยึดหลักการส�ำคัญคือการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและ ตอนในการน�ำเสนอที่ถูกต้อง จนสามารถสร้างความเข้าใจ เพื่อตัดสินระดับความก้าวหน้าทางการเรียน มีดังนี้ 1) การ แก่ผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตามระดับความสามารถในแต่ละ ประเมินผลก่อนเรียนเป็นการประเมินความพร้อมความรู้ ระดับชั้น สอดคล้องกับ ทิศนา แขมมณี (2545) ได้กล่าว พื้นฐานและความรอบรู้ของนักเรียนเพื่อตรวจสอบพื้นฐาน ว่า หลักการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน แนวคิดนี้มี ความรู้ทักษะและความพร้อมด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน 2) การ ที่มาจากแนวคิดทางการศึกษาของจอห์น ดิวอี้ (John ประเมินผลระหว่างเรียน เป็นการประเมินเพื่อมุ่งตรวจสอบ Dewey) ซึ่งเป็นต้นคิดในเรื่อง “การเรียนรู้โดยการกระท�ำ” พัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียนในการบรรลุถึงตัวชี้วัดตาม หรือ Learning by doing อันเป็นแนวคิดที่แพร่หลายและ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้สอนวางแผนไว้เพื่อน�ำข้อมูลจาก ได้รับการยอมรับทั่วโลกมานานแล้ว การจัดการเรียนการ การประเมินไปพัฒนาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน สอนโดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัตินับว่า เป็นการเปลี่ยน หรือส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติกระบวนการเรียนรู้จนเต็ม บทบาทในการเรียนรู้ของผู้เรียนจากการเป็นผู้รับมาเป็นผู้ ศักยภาพนอกจากนี้ยังน�ำมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุง เรียน และเปลี่ยนบทบาทของครูจากผู้สอนหรือผู้ถ่ายทอด กระบวนการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนการประเมินผล ความรู้มาเป็นผู้จัดประสบการณ์เรียนรู้ให้ผู้เรียน ซึ่งการ ระหว่างเรียนจึงต้องกระท�ำอย่างรอบคอบรัดกุมตามแนว เปลี่ยนแปลงบทบาทนี้เท่ากับเป็นการเปลี่ยนจุดเน้นของ ปฏิบัติต่อไปนี้ 2.1) ก�ำหนดหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่ การเรียนรู้ ดังนั้นผู้เรียนจึงกลายเป็นศูนย์กลางของการ จะสอนน�ำแต่ละหน่วยมาจัดท�ำแผนการเรียนรู้โดยก�ำหนด เรียนการสอนเพราะบทบาทในการเรียนรู้ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ ตัวชี้วัดและแนวทางการประเมินผลให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด ตัวผู้เรียนเป็นส�ำคัญ 3) การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการ นั้นๆ พร้อมทั้งระบุภาระงานที่จะมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือ เรียนของนักเรียนทุกระดับชั้น การประเมินผลสัมฤทธิ์ ปฏิบัติให้บรรลุตามตัวชี้วัดอย่างมีประสิทธิภาพ 2.2) เลือก ทางการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้นมีผลการประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับภาระ สัมฤทธิ์แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการ งานหรือกิจกรรมที่ก�ำหนดให้ผู้เรียนปฏิบัติควรเป็นวิธีการ ศึกษา 2559 โรงเรียนบัวใหญ่ โดยครูพบว่ามีระดับผลการ ประเมินที่สะท้อนให้เห็นระดับความรู้ความสามารถทักษะ เรียนเฉลี่ยรวมผ่านเกณฑ์การประเมิน ( X = 3.08, S.D. = ตลอดจนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่เป็นผล 0.76) และผลการประเมินผลสัมฤทธิ์แยกตามกลุ่มสาระ จากการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนอย่างแท้จริง 3) การ การเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียน ประเมินผลหลังเรียน เป็นการประเมินเพื่อสรุปผลการเรียน บัวใหญ่ โดยครูพบว่ามีระดับผลการเรียนเฉลี่ยรวมผ่าน มุ่งตรวจสอบความส�ำเร็จของผู้เรียนเมื่อจบการเรียนรู้ใน เกณฑ์การประเมิน ( X = 3.07, S.D.= 0.78) แต่ละหน่วยการเรียนหรือเมื่อสิ้นสุดการเรียนรายวิชาปลาย ผลการประเมินเป็นเช่นนี้ อาจเนื่องมาจากการ ปี ปลายภาคการประเมินหลังการเรียนจะประเมินผู้เรียน ด�ำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนบัวใหญ่อย่างเป็นระบบ ในเรื่องที่ได้เรียนจบแล้วเพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ที่เกิด เพื่อเป้าหมายที่ส�ำคัญคือการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้ ขึ้นตามตัวชี้วัดของผู้เรียน และน�ำผลการประเมินไปเปรียบ เรียนเป็นส�ำคัญ ท�ำให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ คิดค้น และ เทียบกับผลการประเมินก่อนเรียนช่วยให้ผู้สอนสามารถ สร้างองค์ความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่ง ประเมินศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนได้อย่าง หมายที่ก�ำหนดไว้ ครูสามารถก�ำหนดเป้าหมายที่ต้องการ มั่นใจ และยังสะท้อนประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ของ ให้เกิดกับผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการที่เป็นความ ผู้สอนได้อย่างชัดเจน ข้อมูลจากผลการประเมินหลังเรียน คิดรวบยอด หลักการและความสัมพันธ์รวมทั้งการอ่าน การ ผู้สอนควรน�ำไปศึกษาวิเคราะห์เพื่อใช้ในการปรับปรุงแก้ไข คิดวิเคราะห์ และเขียน ครูสามารถศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล ซ่อมเสริมผู้เรียนให้บรรลุตัวชี้วัดชั้นปีตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด เป็นรายบุคคลแล้วน�ำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัการ หรือใช้ปรับปรุงแก้ไขวิธีการเรียนของผู้เรียนให้มี เรียนรู้ สอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการ (กระทรวง ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และยังใช้ประกอบการปรับปรุง ศึกษาธิการ. 2551 : 4-11) ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้การสร้างนวัตกรรมและการวิจัย

30 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) ด้านการปฏิบัติการนิเทศและด้านการประเมินผล อยู่ใน เพื่อพัฒนาผู้เรียนต่อไป จากเหตุผลที่กล่าวมาน่าจะเป็น ระดับมาก สาเหตุให้การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทุกระดับชั้นผ่านเกณฑ์การประเมิน 4) การประเมินความ ข้อเสนอแนะ พึงพอใจของครูที่มีต่อโครงการนิเทศภายในของโรงเรียน บัวใหญ่ ปีการศึกษา 2559 ผลการประเมินพบว่า ครูมีความ 1. ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลการประเมินไป พึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด/ผ่านเกณฑ์การ ใช้ ประเมิน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ประเด็นที่มีผลการ 1.1 สถานศึกษาควรจัดสภาพแวดล้อม ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการมากที่สุด 3 ล�ำดับแรก ในโรงเรียนรวมทั้งการบริหาร การบริการและกิจกรรมต่าง คือ การก�ำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ แนวทางในโครงการ ๆ ที่ส่งเสริมการนิเทศภายในโรงเรียนบัวใหญ่ เนื่องจากผล นิเทศภายในโรงเรียน รองลงมาคือ การจัดนิทรรศการท�ำให้ การประเมินพบว่าสภาพแวดล้อมที่สะอาด ดูสวยงามท�ำให้ เกิดการกระตุ้นให้ครูมีความคิดเปรียบเทียบและแนวคิดที่ เอื้อต่อการนิเทศภายในโรงเรียนซึ่งจะส่งผลดีต่อการจัดการ เหมาะสมมาปรับปรุงการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญได้ดียิ่งขึ้น ส�ำคัญได้ และการได้รับความรู้จากวิทยากรหรือผู้ทรง 1.2 ผู้บริหารและครูควรมีการก�ำกับ คุณวุฒิเกี่ยวกับการสอนและนวัตกรรมใหม่ๆ ตามล�ำดับผล ติดตามโครงการอย่างสม�่ำเสมอเพราะช่วยให้ได้สารสนเทศ การประเมินเป็นเช่นนี้ อาจเนื่องมาจากการเห็นความ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงาน ส�ำคัญและการให้ความร่วมมือ ส่งเสริม สนับสนุนของครู โครงการ เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ส่งผล โรงเรียนบัวใหญ่ที่มีต่อโครงการนิเทศภายในโรงเรียน ให้การด�ำเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการ บัวใหญ่เกี่ยวกับกระบวนการนิเทศภายใน 5 ตอน ได้แก่ 1) 2. ข้อเสนอแนะส�ำหรับการท�ำโครงการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ 2) การสร้างความเข้าใจและเตรียม ภายในครั้งต่อไป การนิเทศ 3) การปฏิบัติการนิเทศ 4) การสร้างขวัญและ 2.1 ควรมีโครงการนิเทศภายในเพื่อ ก�ำลังใจ 5) การประเมินผลการนิเทศ ซึ่งมีขั้นตอนที่มีราย พัฒนากิจกรรมที่สร้างทักษะด้วยสื่อเทคโนโลยีมาใช้ใน ละเอียดในเชิงปฏิบัติการนิเทศภายในเพื่อน�ำไปสู่เป้าหมาย กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ หรือวัตถุประสงค์ที่วางไว้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ กัลยา 2.2 ควรมีโครงการนิเทศภายในเพื่อ เวียงนนท์ (2556 : 87) ได้ท�ำการวิจัยเรื่องความพึงพอใจ พัฒนากิจกรรมกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ของครูผู้สอนต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส�ำคัญโดยจัดในรูปแบบของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ ขนาดเล็ก สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและ บุรีรัมย์ เขต 1 พบว่าครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สาธารณประโยชน์ ขนาดเล็ก สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ เขต 1 มีระดับความพึงพอใจต่อการนิเทศภายใน ด้านการศึกษาสภาพและความต้องการ ด้านการวางแผน

31 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). การนิเทศเพื่อพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. ______. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. ______. (2550). คู่มือด�ำเนินการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอ�ำนาจส�ำหรับครู และศึกษานิเทศก์. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. ______. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. ______. (2554). แนวทางการพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด. กัลยา เวียงนนท์. (2556). ความพึงพอใจของครูผู้สอนต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1. สารนิพนธ์ ศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต. (บริหารการศึกษา). พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย. ชัดเจน ไทยแท้. (2543). เทคนิคการนิเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. ถนอม ทินกระโทก. (2556). การน�ำรูปแบบการประเมินแบบซิปป์ (cipp model) มาใช้ในโครงการนิเทศภายในโรงเรียน มัธยมศึกษาจังหวัดตราด. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย นอร์ทกรุงเทพ. ทิศนา แขมมณี. (2542). การจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. วารสารวิชาการ. 2(5). ______. (2545). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ______. (2546). การจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โมเดลซิปปา.วารสารวิชาการ. 2(5). ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดการและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง. โรงเรียนบัวใหญ่. (2558 ก). การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบัวใหญ่ ปีการศึกษา 2558. นครราชสีมา : ส�ำนักการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. ______. (2558 ข). รายงานประเมินความเสี่ยงโรงเรียนบัวใหญ่ ปีการศึกษา 2558. นครราชสีมา : ส�ำนักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แอล พี เพรส. ส�ำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2536). การนิเทศภายในอย่างเป็นระบบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ______. (2543).ปฏิรูปการเรียนรูผูเรียนส�ำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค. ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. ส�ำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2547). ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา . ตามเจตนารณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีจ�ำกัด ______. (2553). ผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (บทสรุปผู้บริหาร). กรุงเทพฯ : ส�ำนักงาน .5. รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).

32 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ______. (2556). ผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (บทสรุปผู้บริหาร). กรุงเทพฯ : ส�ำนักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน). ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(2552-2561). กรุงเทพฯ : ส�ำนักเลขานุการสภาการศึกษา. สุกรรณ ทองแบบ. (2556) สภาพด�ำเนินงานของโครงการนิเทศภายในเทศบาล 2(วัดช่องลม)สังกัดเทศบาลเมือง ราชบุรี. การศึกษาค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. สุดใจ ฝูงใหญ่. (2556). การประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรียนอนุบาลบางละมุงส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษำ ประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา. อเนก ส่งแสง. (2540). การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพื้นฐานการศึกษาคณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎพระนคร. Best, John W. 1977. Research in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice Hall, Inc. Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Test (5th ed.). New York : Harper Collins. Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. Likert, Rensis. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement . New York : Wiley & Son.

33 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

รายงานการพัฒนาบทเรียนสำ�เร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

A study on The Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education for Mathayom 1.

แต๋น ทองแสง *1

Taen Tongsaeng *1 [email protected]*

[

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียน รู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป 3) เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4) ศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ผู้ศึกษาพัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนกุงเจริญพิทยาคม อ�ำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 29 คน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม การศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบ การศึกษาแบบกลุ่มเดี่ยวทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One Group Pretest Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบ วัดความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนกุงเจริญพิทยาคม อ�ำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี องค์การบริหารส่วน จังหวัดอุดรธานี วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าที (t–test) ชนิดกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน (Dependent Samples)

1 ครูชำ�นาญการพิเศษ โรงเรียนกุงเจริญพิทยาคม อำ�เภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี 1 Professional Level Teachers Kungcharoenpittayakom school, Srithad district, Udonthani province.

34 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ผลการศึกษา พบว่า 1. ประสิทธิภาพของบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 94.51/88.03 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ค่าดัชนีประสิทธิผลบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่พัฒนาขึ้นมีค่าเท่ากับ .76 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นคิด เป็นร้อยละ 76 4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในภาพรวม นักเรียน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

ค�ำส�ำคัญ: บทเรียนส�ำเร็จรูป, วัยรุ่นกับสุขภาพ

ABSTRACT

The objectives of this research were: 1) To develop The Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education Mathayom 1, on the criteria of 80/80. 2) To compare the learning achievement of the students before and after use The Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education Mathayom 1, 3) Study the effectiveness index of The Programmed Instruction. The Programmed Istruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education Mathayom 1, 4) Study the student’s satisfaction towards The P r o g r a m m e d Instruction. The Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education Mathayom 1, The sample used in the study consisted of 29 Mathayom 1 students in the first semester in 2016 of Kungcharoenpittayakom school, Srithad Udonthani province, Udonthani Provincial Administration Organization by One Group Pretest Posttest Design. The documents were Teaching plan and Achievement. Statistics used in data analysis is t-test by Dependent Samples. The results of the study were as follows: 1) The Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education Mathayom 1 has efficiently respectively equaled to 94.51/88. 2) Achievement after studying through Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education Mathayom 1 was higher than before studying with statistical significance at the .01 level. 3) Efficiency index of The Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education Mathayom 1 equal to .76 indicates that the learners progressed at 76%. 4) The satisfaction of students towards The Programmed Instruction, Teens and Health, Health Education and Physical Education Mathayom 1 was at the height level.

Keywords. : The Programmed Istruction, Teens and Health,

35 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 บทน� ชัดเจน นอกจากนี้ขาดสื่อที่มีประสิทธิภาพ และอุปกรณ์ การเรียนการสอนซึ่งเป็นสาเหตุให้ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยผล การเรียนการสอนวิชาสุขศึกษา เป็นกลุ่มสาระ สัมฤทธิ์ต�่ำในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา การเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐานเน้นการน�ำความรู้ไปใช้ในการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปฏิบัติ หรือแก้ไขปัญหา เพื่อให้สุขภาพกายสุขภาพจิตของ การจัดการเรียนการสอนที่ยึดนักเรียนเป็น ตนเอง ครอบครัว และชุมชนดีขึ้นซึ่งนักเรียนทุกคนจ�ำเป็น ศูนย์กลาง เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ต้องเรียนรู้ และน�ำไปปฏิบัติเพื่อให้การด�ำรงชีวิตมีความ สามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติแก้ไขปัญหาในการดูแล สุข การมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ จะท�ำให้บุคคล สุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนในการจัดการเรียน นั้นเจริญเติบโตเป็นบุคคลที่มีศักยภาพคือเป็นคนเก่ง คนดี การสอนนั้น สามารถด�ำเนินการได้หลายรูปแบบอาทิ เช่น คนแข็งแรงและมีความสุข ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษา การใช้แบบฝึกทักษะ การใช้ชุดการสอน ส�ำหรับการใช้บท ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ 2551 เรียนส�ำเร็จรูป ถือว่าเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ผู้เรียน : 4) จึงจัดให้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สามารถเรียนด้วยตนเองก้าวหน้าไปตามความสามารถของ ให้รู้จักค�ำว่า สุขภาพ หรือสุขภาวะซึ่งเกี่ยวข้องกับภาวะ แต่ละคนบทเรียนส�ำเร็จรูปมีหลายรูปแบบ รูปแบบหนึ่งคือ ความที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิตใจ ทางสังคม และทาง บทเรียนส�ำเร็จรูปแบบเส้นตรง ซึ่งเหมาะกับนักเรียนระดับ ปัญญาหรือจิตวิญญาณสุขภาพ หรือสุขภาวะ จึงเป็นเรื่อง มัธยมศึกษาตอนต้นซึ่ง ทวีศักดิ์ ค้าขาย (2555 : 73) กล่าว ส�ำคัญ ที่เกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซึ่งทุกคนควรจะได้ ว่า บทเรียนส�ำเร็จรูปช่วยให้สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มี เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูก ความก้าวหน้าและพัฒนาการทางการเรียนเพิ่มขึ้น เพราะ ต้อง มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสมรวมทั้งมี เนื่องจากบทเรียนส�ำเร็จรูปมีการจัดกิจกรรมการเรียนการ ทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะส่งผลให้ สอนตามขั้นตอนที่สมบูรณ์ ค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง สังคมโดยรวมมีคุณภาพ สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการ บุคคล และความสามารถของนักเรียน มีการเสริมแรงตาม ศึกษาด้านสุขภาพที่มีเป้าหมาย เพื่อการด�ำรงสุขภาพ การ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ Skinner ที่กล่าวว่า การเสริม สร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล แรงจะมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเราได้รับรู้ค�ำตอบของ ครอบครัว และชุมชนให้ยั่งยืน ตนเองที่ถูกต้องก็เป็นการเสริมแรงอีกอย่างหนึ่ง และบท การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษา เรียนส�ำเร็จรูปจะมีลักษณะเป็นการจัดล�ำดับความรู้ไว้ล่วง เป็นกระบวนการท�ำให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาพฤติกรรมด้าน หน้าส�ำหรับนักเรียนไว้เป็นขั้น ๆ เพื่อน�ำนักเรียนไปสู่จุดมุ่ง ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพ หมายของการเรียนรู้ที่วางไว้ เหมาะที่จะน�ำมาใช้ประกอบ การส่งเสริมสุขภาพและการด�ำรงสุขภาพดีพร้อมทั้งมี การเรียนการสอน เพราะบทเรียนส�ำเร็จรูปเปรียบเสมือน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีทางสุขภาพ และมีทักษะ ครูผู้สอนที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้ไปทีละเล็กทีละน้อยจากง่าย กระบวนการดูแลสุขภาพของตนเองและผู้อื่น ในการเรียน ไปหายาก จากสิ่งที่ยังไม่รู้ไปหาสิ่งที่รู้ ช่วยให้ผู้เรียนได้ สาระการเรียนรู้สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน เรียนตามความสามารถของตนเองด้วยการลงมือประกอบ กุงเจริญพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี พบ กิจกรรมอย่างกระฉับกระเฉงตามล�ำดับขั้นที่ละน้อย มี ว่ายังไม่ประสบผลส�ำเร็จเท่าที่ควรจากประเมินผลสัมฤทธิ์ โอกาสได้รับข้อติชม และก้าวหน้าไปตามความสามารถของ ของโรงเรียนกุงเจริญพิทยาคม ตั้งแต่ปีการศึกษา 2556- แต่ละบุคคล (มะลิวัลย์ ชาวอุบล 2548 : 3) หาประสิทธิภาพ 2557 ปรากฏว่านักเรียนมีคะแนนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูปประกอบ สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ ภาพการ์ตูน เรื่อง อาหารและโภชนาการ กลุ่มสาระการ เฉลี่ยร้อยละ 74.44, 76.37 ตามล�ำดับจะเห็นได้ว่าคะแนน เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มี เฉลี่ยดังกล่าวอยู่ในเกณฑ์ต�่ำยังไม่ถึงเกณฑ์ที่โรงเรียน ประสิทธิภาพเท่ากับ 82.35/80.08 และมีดัชนีประสิทธิผล ก�ำหนด เนื้อหาที่เป็นปัญหา เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ ที่ ของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูปประกอบ อยู่ในหลักสูตรสถานศึกษา สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุข ภาพการ์ตูนเท่ากับ 0.6080 ซึ่งหมายความว่านักเรียนมี ภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เพราะผู้เรียนอธิบายและตอบ ความก้าวหน้าในการเรียนร้อยละ 60.80 และนักเรียนมี ค�ำถามเกี่ยวกับเนื้อหาในสาระการสร้างเสริมสุขภาพไม่ ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป 36 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ประกอบภาพการ์ตูน เรื่อง อาหารและโภชนาการ โดย รู้นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษาให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นต่อไป รวมและเป็นรายด้านอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ ปราณี ชื่นชม (2550 : 82) ได้ศึกษาค้นคว้าพบว่า ผลการจัด ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า กิจกรรมการเรียน เรื่อง อันตรายจากสารอาหารที่มีสาร ปนเปื้อน โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูปกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ประสิทธิภาพ 84.25/85.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด ได้ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตาม พัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง การปฐมพยาบาล กลุ่ม เกณฑ์ 80/80 สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ที่ 5 โรงเรียนวัดนาดอกไม้ส�ำนักงานเขตยานนาวา วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่าบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง พลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่าง การปฐมพยาบาล กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป พลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 3. เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียน 84.37/84.50 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ 80/80 มีผล ส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สัมฤทธิ์ทางการเรียนบทเรียนส�ำเร็จรูปหลังเรียนสูงกว่าก่อน สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ เรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และอีกประการ 1 หนึ่งก็คือบทเรียนส�ำเร็จรูปยังมีค�ำถามเพื่อทดสอบและค�ำ 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ ตอบที่ถูกต้องให้ผู้เรียนได้ทราบเป็นข้อมูลย้อนกลับให้ผู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัย เรียนได้เห็นความส�ำเร็จและความก้าวหน้าในการเรียนของ รุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ตน มีความพยายามที่จะแก้ไขข้อบกพร่องท�ำให้ผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรียนรู้ได้อย่างมีความสุข ซึ่งการสอนโดยใช้บทเรียน ส�ำเร็จรูป มีผลการทดลองและรายงานการวิจัยเป็นที่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ยอมรับว่าสามารถใช้สอนได้ผลดีกว่าหรืออย่างน้อยก็ดี เท่ากับการสอนปกติ เป็นสื่อการเรียนแบบรายบุคคลที่มี 1. ประชากรที่ใช้ในการทดลองใช้บทเรียน ประสิทธิภาพอย่างยิ่งประเภทหนึ่ง (เพ็ญศรี สร้อยเพชร ส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2542 : 13) สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ จากปัญหาที่ท�ำให้ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนกุงเจริญ ต�่ำในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้น พิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี มัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ สาระที่ 4 การ จ�ำนวน 5 ห้องเรียน รวม 147 คน สร้างเสริมสุขภาพ เพราะผู้เรียนอธิบายและตอบค�ำถาม 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองใช้บทเรียน เกี่ยวกับเนื้อหาในเรื่องดังกล่าวได้ไม่ชัดเจน จนส่งผลให้การ ส�ำเร็จรูปเรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เรียนมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ต�่ำครูผู้สอนจึงจ�ำเป็น ต้อง สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ สร้างสื่อนวัตกรรมเทคนิควิธีการที่เหมาะสมในการจัดการ 1 ห้อง 1/5 โรงเรียนกุงเจริญพิทยาคม สังกัดองค์การบริหาร เรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ดังกล่าว ท�ำให้ผู้ศึกษา ส่วนจังหวัดอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 มีความสนใจที่จะพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้บท จ�ำนวน 29 คน เป็นนักเรียนชาย 5 คน นักเรียนหญิง 24 เรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียน คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่มโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วย รู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ของการสุ่ม ที่ 1 โรงเรียนกุงเจริญพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัด อุดรธานี เพื่อน�ำไปใช้พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการพัฒนาการเรียน

37 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า รู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เก็บคะแนนที่ได้ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนหลังการ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบการใช้บทเรียน ทดลอง ส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. ระหว่างการทดลองใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปี วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ ที่ 1 จ�ำนวน 18 แผน 6 หน่วยย่อย ท�ำการสอน 18 ครั้ง พลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้ศึกษา ครั้งละ 1 ชั่วโมง ได้น�ำบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระ 2. บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่ม การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้น สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้ว มัธยมศึกษาปีที่ 1 จ�ำนวน 6 เล่ม ท�ำการสอน 18 ครั้ง ท�ำการเก็บรวบรวมข้อมูล ในขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครั้งละ 1 ชั่วโมง ผู้ศึกษาสังเกตพฤติกรรมนักเรียน และเก็บคะแนนระหว่าง

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ เรียนของนักเรียน (E1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียน 3. หลังการทดลองใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง ส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา พลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้ศึกษาน�ำ ปีที่ 1เป็นแบบทดสอบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับบทเรียนส�ำเร็จรูป แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทดสอบนักเรียน โดยแบบ ทั้งเรื่อง เป็นแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 40 วัดผลสัมฤทธิ์ที่ใช้เป็นแบบวัดฉบับเดียวกับที่ใช้วัดก่อน ข้อ แตกต่างจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทดลองใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป แล้วน�ำคะแนนที่ได้เปรียบ ในบทเรียนส�ำเร็จรูปโดยแบบทดสอบในบทเรียนส�ำเร็จรูป เทียบกับคะแนนก่อนการทดลองใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป และ เป็นแบบทดสอบย่อยของแต่ละเรื่อง วัดความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียนส�ำเร็จรูป ของนักเรียนหลัง 4. แบบสอบถามเพื่อวัดความพึงพอใจที่มีต่อการ ทดลองใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่ม เรียนด้วยบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้น สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น จ�ำนวน 15 ข้อการ เก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ด�ำเนินการเก็บ รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง คือ ตอนที่ 1 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ก�ำลังศึกษาในภาคเรียนที่ บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนกุงเจริญพิทยาคม อ�ำเภอ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้น ศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี มัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80 จ�ำนวน 29 คน โดยด�ำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1.1 การพัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง 1. ก่อนการทดลองใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและ ัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้ศึกษา จากการศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดย ปัญหาการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้ศึกษาสร้าง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้ศึกษาได้น�ำข้อมูลมาเป็นแนวทางใน ขึ้น เพื่อวัดความรู้พื้นฐานของนักเรียนใน เรื่อง วัยรุ่นกับ การพัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่ม สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้น ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนทดลองใช้บท มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) สร้าง เรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียน บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการ

38 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาส�ำหรับนักเรียนชั้น แบบกิจกรรมที่หลากหลาย นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย มัธยมศึกษาปีที่ 1 2) ประเมินและตรวจสอบบทเรียน ตนเอง โดยมีครูเป็นผู้คอยแนะน�ำ สามารถวัดความรู้ด้วย ส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค�ำถามในบทเรียนแต่ละกรอบพร้อมยังสามารถทราบผลได้ สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ทันที ซึ่งท�ำให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น สนใจในการ 1 พร้อมแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้บทเรียน เรียนมากยิ่งขึ้นและยังสร้างความพึงพอใจให้แก่นักเรียนได้ ส�ำเร็จรูป โดยผู้เชี่ยวชาญแล้วประเมินปรับปรุงแก้ไข 3) หา นอกจากนี้ผลจากการศึกษาเอกสาร แนวคิดทฤษฎี งานวิจัย ประสิทธิภาพแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Testing) ที่เกี่ยวกับบทเรียนส�ำเร็จรูปต่าง ๆ ยังพบว่า บทเรียน แล้วปรับปรุงแก้ไข 4) หาประสิทธิภาพแบบกลุ่มเล็ก ส�ำเร็จรูปสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ (Small Group Testing) แล้วปรับปรุงแก้ไข นักเรียนให้เพิ่มสูงขึ้นได้ และยังท�ำให้นักเรียนมีความพึง 1.1.1 สร้างบทเรียนส�ำเร็จรูป พอใจในการเรียนมากขึ้น ผู้ศึกษาจึงได้น�ำแนวคิดทฤษฎี เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ และหลักการสร้างบทเรียนส�ำเร็จรูป มาผสมผสานกับ พลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลจากการ เนื้อหาของบทเรียนที่ได้จากการส�ำรวจปัญหา น�ำมาจัดท�ำ ศึกษาข้อมูลจากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่ เป็นบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระ เกี่ยวข้องกับการสร้างบทเรียนส�ำเร็จรูป ได้กล่าวถึงความ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้น ส�ำคัญและความจ�ำเป็นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มัธยมศึกษาปีที่ 1 จากนั้น ผู้ศึกษาจึงได้ด�ำเนินการปรึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา นักเรียนยังมี ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน เพื่อขอค�ำแนะน�ำ และข้อเสนอแนะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระ ในการพัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่ม การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ต�่ำ ซึ่งยังเป็นปัญหาส�ำคัญ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้น ต้องหาวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้ศึกษามีความสนใจที่ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ำคะแนนกระบวนการทั้งหมดมาวิเคราะห์ จะท�ำการพัฒนาบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ หาประสิทธิภาพของบทเรียนส�ำเร็จรูปแบบภาคสนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับ ปรากฏผลดังตาราง 1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีรูปภาพสีประกอบ มีรูป

ตาราง 1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนสำาเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา สำาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80

นักเรียนกลุ่ม ประสิทธิ ประสิทธิภาพ ตัวอย่าง คะแนนระหว่างเรียน คะแนนหลังเรียน ภาพของ ของกระบวนการ จำานวน (คน) ผลลัพธ์ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ (E1) (E2) 29 3625 3426 1160 1021 94.51 88.03

จากตาราง 1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนสำาเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จากตาราง 1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนส� สำาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ำเร็จรูป1 พบว่า เรื่อง บทเรียนสำาเร็จรูป วัยรุ่นกับสุขภาพที่ ผู้ศึกษากลุ่มสาระการสร้างขึ้น ประสิทธิภาพของเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษากระบวนการและประสิทธิภาพของผลลัพธ์มีค่าเท่ากับ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า 94.51/88.03 บทเรียนส� ำซึ่งสูงกว่าเกณฑ์เร็จรูปที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น 80/80 ที่ตั้งไว้ ประสิทธิภาพของกระบวนการและประสิทธิภาพของผลลัพธ์มีค่าเท่ากับ 94.51/88.03 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้ง ไว้

39 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

ตอนที่ 2 ผลการทดสอบการแจกแจงของขอมูลของคะแนนของ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและ หลังการใชบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา สําหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใช Kolmogorov-Sminov Test และ Shapiro-Wilk Test ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงผลผลการทดสอบการแจกแจงข้อมูล โดยใช้ Kolmogorov-Sminov Test และ Shapiro-Wilk Test จากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้บทเรียน สำาเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สำาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 Tests of Normality Kolmogorov-Smirnova Shapiro-Wilk Statistic df Sig. Statistic df Sig. Pretest .160 29 .055 .911 29 .019 Posttest .179 29 .019 .939 29 .093 a. Lilliefors Significance Correction

จากตารางที่ 2 พบว่า คะแนนก่อนการฝึกมีค่า Sig. (Singnificance) ของ Kolmogorov – Sminov = .055 ในขณะที่ Shapiro–Wilk= .019 ซึ่งมากกว่าระดับนัยส�ำคัญ (a = .05)เป็นการแจกแจงแบบปกติ ถ้าพิจารณาจาก กราฟไม่ค่อยเบนออกนอกเส้น และคะแนนหลังฝึกมีค่า Sig. (Singnificance) ของ Kolmogorov–Sminov = .019 ในขณะที่ Shapiro–Wilk = .093 ซึ่งมากกว่าระดับนัยส�ำคัญ (a = .05) ไม่เป็นการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งถ้าพิจารณา จากกราฟจุดบนกราฟ แบนออกนอกเส้น แสดงให้เห็นว่า คะแนนก่อนการฝึกมีการแจกแจงปกติที่ระดับนัยส�ำคัญ .05 ส่วนคะแนนหลังฝึกไม่มีการการแจกแจงแบบปกติ ดังนั้น จึงเลือกใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon Signed – Ranks Test เป็นการทดสอบสถิติที่ใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤติ เพื่อให้ทราบค่าความมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ตารางที่ 3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้บทเรียนสำาเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สำาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

ระยะเวลา N X ก่อนเรียน S.D. Z Sig. 29 19.76 1.958 -4.717 .000 หลังเรียน 29 35.21 1.292 *P<.05 จากตารางที่ 3 พบว่า ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้ บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษา ปีที่ 1 มีพัฒนาการที่ดีขึ้น โดยก่อนเรียน ได้ค่าเฉลี่ย 19.76 ส่วนเบี่ยงเบนมาตาฐาน 1.958 และหลังเรียน ได้ค่าเฉลี่ย 35.21 ส่วนเบี่ยงเบนมาตาฐาน 1.292 นอกจากนี้ยังพบว่า ค่า Sig มีค่าเท่ากับ .00 ซึ่งน้อยกว่าระดับนัยส�ำคัญที่ก�ำหนดไว้ (.05) สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หลังจากการใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงกว่าก่อนใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

40 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ตอนที่ 3 วิเคราะหหาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระ การเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

ตาราง 4 ผลการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนสำาเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา สำาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 n คะแนนเต็ม ผลรวมคะแนน ผลรวมคะแนน ความก้าวหน้า ดัชนีประสิทธิผล ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน D E.I. 29 40 573 1021 448 0.76

จากตารางจากตาราง 4 4 ผลการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนส� ผลการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนสำาเร็จรูปำเร็จรูปเรื่องเรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สำาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ 1 มีค่าเท่ากับ 0.76 0.76 หมายความว่า หมายความว่า นักเรียนมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนเท่ากับ 0.76 หรือคิดเปหรือคิดเป็นร้อยละ็นร้อยละ 7676

ตอนที่ 4 วิเคราะหหาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรูดวยบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา สําหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

ตาราง 5 คะแนนการวัดความพึงพอใจต่อการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนสำาเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สำาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 N=29 ข้อ รายการประเมิน แปลค่า x S.D. 1. เรียนด้วยบทเรียนสำาเร็จรูปมีความสนุกสนานในการร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ 4.36 0.66 มาก 2. มีกิจกรรมในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนตามความต้องการ 4.27 0.70 มาก 3. เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข 4.50 0.51 มากที่สุด 4. เป็นสื่อนวัตกรรมการศึกษาที่ทันสมัยน่าศึกษา 4.54 0.51 มากที่สุด 5. รูปเล่มสวยงามดึงดูดความสนใจ 4.36 0.58 มาก 6. มีเนื้อหาสมบูรณ์ ครบถ้วน 4.82 0.39 มากที่สุด 7 . ได้ฝกการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 4.32 0.57 มาก 8. สามารถนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ 4.41 0.67 มาก 9. เป็นสื่อที่ทำาให้เข้าใจเนื้อหาสาระได้ง่ายขึ้น 4.32 0.72 มาก 10. นักเรียนพอใจกับภาพในบทเรียนสำาเร็จรูป 4.54 0.67 มากที่สุด 11. นักเรียนพอใจเมื่อเรียนเสร็จแล้วทราบคะแนนทันทีนักเรียนต้องการเรียน 4.27 0.77 มาก 12. ด้วยบทเรียนสำาเร็จรูปในกลุ่มสาระอื่น ๆ 4.23 0.68 มาก 13. บทเรียนสำาเร็จรูปทำาให้นักเรียนชอบเรียนวิชาสุขศึกษา 4.73 0.45 มากที่สุด 14. ภาษาที่ใช้ในบทเรียนสำาเร็จรูปทำาให้นักเรียนเข้าใจง่าย 4.73 0.45 มากที่สุด 15. นักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่เรียนจากบทเรียนสำาเร็จรูปได้เร็ว 4.86 0.35 มากที่สุด เฉลี่ยรวม 4.48 0.21 มาก

41 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

จากตาราง 5 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ�ำนวน 29 คน ที่เรียนด้วยบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับ สุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจต่อการ เรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =4.48 S.D.=0.21) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ ในระดับมาก เรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อย 3 ล�ำดับแรก ดังนี้ คือ นักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่เรียนจากบทเรียนส�ำเร็จรูป ได้เร็ว ( x = 4.86, S.D.=0.35.) รองลงมา ได้แก่ มีเนื้อหาสมบูรณ์ ครบถ้วน ( x = 4.82, S.D.=0.39) และอันดับ ที่ 3 ได้แก่ บทเรียนส�ำเร็จรูปท�ำให้นักเรียนชอบเรียนสุขศึกษา และภาษาที่ใช้ในบทเรียนส�ำเร็จรูปท�ำให้นักเรียนเข้าใจ ง่าย ( x =4.73, S.D.=0.45) ดังนั้น สรุปได้ว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจต่อการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ใน ระดับมาก

ข้อเสนอแนะ เรียนโดยกระบวนการกลุ่มการสอนโดยใช้เพลง และเกม 1. ข้อเสนอในการน�ำไปใช้ เป็นต้น เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ ทางการเรียนที่เกิดขึ้นกับนักเรียน 1.1 ครูผู้สอนควรน�ำบทเรียนส�ำเร็จรูป 2.2 ควรมีการสร้างบทเรียนส�ำเร็จรูป ไปทดลองหาประสิทธิภาพกับนักเรียนหลายๆ โรงเรียน เพื่อ เรื่อง วัยรุ่นกับสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ จะได้ข้อสรุปผลการศึกษาค้นคว้าอย่างกว้างขวางมากขึ้น พลศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในรูปสื่อ 1.2 ครูผู้สอนควรหาวิธีการน�ำเสนอ อิเล็กทรอนิกส์หรือเป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผลงานนักเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม เพื่อให้มีการ 2.3 ควรศึกษาความคงทนในการเรียน แข่งขันกันตามสมควรแก่โอกาส รู้ ที่ได้จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 2.4 ครูผู้สอนควรจัดท�ำนวัตกรรม 2.1 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบ ใหม่ ๆ จากการปรับเปลี่ยนวิธีการสอน ให้นักเรียนในระดับ ระหว่างวิธีสอนโดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูปกับวิธีสอนแบบ ชั้นอื่น หรือเปลี่ยนกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยอาจตั้งชื่อเรื่อง อื่น ๆ เช่น การใช้ชุดการสอน การเรียนโดยโครงงาน การ ใหม่

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด, 2551. ทวีศักดิ์ ค้าขาย. (2555) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษา เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพสมรรถภาพ และการป้องกันโรค ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ศษ.ม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปราณี ชื่นชม. (2560) ผลการจัดกิจกรรมการเรียน เรื่อง อันตรายจากสารอาหารที่มีสารปนเปื้อนโดยใช้บทเรียน ส�ำเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เพ็ญศรี สร้อยเพชร. (2542) บทเรียนส�ำเร็จรูป. นครปฐม : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎนครปฐม. มะลิวัลย์ ชาวอุบล. (2548) การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนส�ำเร็จรูป เรื่อง โรคติดต่อในท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 42 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

รายงานผลการจัดการเรียนรู้พลศึกษาโดยใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

A Study on the Results of Using The Practical to Encourage Basics Skills of Sepak Takraw Training, Mathayom 1, Health Education and Physical Education.

สาคร เทียมดาว *1

Sakhon Tiamdao *1

[email protected]*

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้การจัดการ เรียนรู้พลศึกษา โดยใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3) ศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปัก ตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4) ศึกษาความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียน ด้วยแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 5) ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียน ประทาย อ�ำเภอประทาย องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 44 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Clus- ter Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบประเมินความ สามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ และ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริม ทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x ) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I) และทดสอบค่าซี Z-test (Wilcoxon Signed Ranks Test) พบ ว่า 1. แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.91/85.23 โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ คือ 80/80

. 1 ครูชำ�นาญการพิเศษ โรงเรียนประทาย อำ�เภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา 1 Professional Level Teachers Prathai School Prathai district, Nakhonratchasima province.

43 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปัก ตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่า เท่ากับ 0.6762 แสดงว่า ผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มขึ้น 0.6762 หรือคิดเป็นร้อยละ 67.62 4. ความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะเพื่อส่ง เสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดี 5. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.61, S.D. = 0.55)

ค�ำส�ำคัญ : แบบฝึกทักษะ เซปักตะกร้อ

ABSTRACT

The objectives of this research were: 1) To develop The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom 1 on the criteria of 80/80. 2) To compare the learning achieve- ment of the students before and after use The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom 1, Health Education and Physical Education. 3) Study the effectiveness index of The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom 1. 4) Study the students' abilities of the basics Sepaktakraw. 5) Study the student’s satisfaction towards The practical to en- courage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom 1. The sample used in the study consisted of 44 Mathayom 1 students in the last semester 2015 of Prathai School by Cluster Random Sampling. The documents were 1) The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom 1. 2) Teaching plan. 3) Achievement test. 4) Sepak Takraw Basic Qualification Test. 5) Student Satis- faction Questionnaire. Statistics used in data analysis include: mean ( x ), the standard deviation (S.D.), Efficiency index (E.I) and Z-test (Wilcoxon Signed Ranks Test). The results of the study were as follows: 1) The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom has efficiently respectively equal to 85.91/85.23 with meet the set of 80/80 efficiency criterion. 2) Basic skill of Sepak Takraw after studying through The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom 1 was higher than before studying with statistical significance at the .05 level. 3) Efficiency index of The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Matha- yom 1 equal to 0.6762 indicates that the learners progressed at 0.6762 or 67.62%. 4) Students’ basic abilities after studying through The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom 1 was at the good level. 5) The satisfaction of students towards The practical to encourage basics skills of Sepak Takraw training, Mathayom 1 was at the highest level. ( x )= 4.61, S.D. = 0.55)

Keywords: Practical to Encourage Basics Skills, Sepaktakraw

44 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University บทน� จะเป็นระดับโรงเรียน ระดับอ�ำเภอ ระดับจังหวัด ระดับเขต การศึกษาหรือในระดับอื่นๆ เพราะยังมีแบบฝึกวัดความ วิชาพลศึกษา เป็นการศึกษาแขนงหนึ่งที่มีความ สามารถทางกีฬาเซปักตะกร้อน้อยมากที่จะใช้เป็นเกณฑ์ ส�ำคัญต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วิชาพลศึกษา มาตรฐานในการคัดเลือกนักกีฬา ที่ผ่านๆ มาการคัดเลือก ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น เซปักตะกร้อ กรีฑา ตัวนักกีฬาผู้ฝึกสอนส่วนมากจะคัดเลือกโดยดูได้จากผลการ ฟุตบอล วอลเลย์บอล การออกก�ำลังกายในรูปแบบต่างๆ แข่งขัน ทีมใดชนะเลิศก็เป็นตัวแทนไปแข่งขันในระดับสูง ฯลฯ ซึ่งแต่ละกิจกรรมมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาบุคคลให้มี ขึ้นต่อไป ซึ่งไม่เปิดโอกาสให้นักกีฬาบางคนที่มีความ ความเจริญงอกงามในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติ สามารถและทักษะดีและขาดโอกาสท�ำให้บุคคลเหล่านี้ซึ่ง ปัญญา การพัฒนาจะบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด มีจ�ำนวนมากหมดโอกาสที่จะได้แข่งขันในระดับที่สูง ส่วน ย่อมขึ้นอยู่กับครูผู้สอนพลศึกษาจะเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ในการเล่นกีฬาและการสอนพลศึกษานั้นการฝึกทักษะเป็น ความสามารถในการใช้ทักษะแต่ละทักษะในกิจกรรมนั้นๆ สิ่งส�ำคัญยิ่งจะขาดเสียไม่ได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการผู้เรียนและผู้ การที่จะท�ำให้ผู้เรียนเกิดความเจริญงอกงามดังกล่าวได้ เล่นได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ และมีทักษะ จ�ำเป็นต้องสร้างความรู้พื้นฐานส�ำหรับการเรียนในกลุ่ม มากน้อยเพียงใด ส่วนในกระบวนการเรียนการสอนวิชา สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โดยจัดการศึกษา เซปักตะกร้อในโรงเรียน มักจะมีปัญหาในด้านการฝึกทักษะ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 เพราะครูผู้สอนส่วนใหญ่ยังขาดแบบฝึกที่ได้มาตรฐานที่จะ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 24 ที่กล่าวไว้ ใช้วัดผลการเรียน ท�ำให้การประเมินผลทางการเรียนขาด ดังนี้ จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความ ประสิทธิภาพ สนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยค�ำนึงถึงความแตกต่าง สภาพการจัดกิจกรรมการสอนกลุ่มสาระการเรียน ระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การ รู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาพลศึกษา 2 เซปักตะกร้อ เผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนประทาย อ�ำเภอประทาย และแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา เท่าที่ผ่านมายังไม่ ประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ท�ำได้ คิดเป็น ท�ำเป็น รักการ ประสบผลส�ำเร็จเท่าที่ควร จากการศึกษาพบว่านักเรียน อ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนโดย ขาดความเข้าใจในบทเรียน ไม่มีทักษะพื้นฐานในการเล่น ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วน รวมทั้ง ตะกร้อ ขาดแบบฝึกทักษะพื้นฐานที่ดี ขาดสื่อ หรือเอกสาร ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึง ประกอบการเรียนการสอน ซึ่งองค์ประกอบดังกล่าวข้างต้น ประสงค์ไว้ในทุกวิชา ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถ ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต�่ำและทักษะ จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอ�ำนวยความ กีฬาเซปักตะกร้อขั้นพื้น ฐานของนักเรียนอยู่ในเกณฑ์ต�่ำ สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวม กล่าวคือ มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 75.50 และต�่ำ ทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ กว่าเกณฑ์ที่น่าพอใจ คือ ร้อยละ 80 สาเหตุส�ำคัญอีก ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการ ประการหนึ่งน่าจะมาจากจ�ำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี เรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ และ ที่ 1 มีจ�ำนวนมาก ท�ำให้ครูผู้สอนควบคุม ก�ำกับดูแลได้ไม่ จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการ ทั่วถึง จากปัญหาดังกล่าว วิธีสอนและนวัตกรรมที่จะน�ำ ประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครองและบุคคล มาทดลองเพื่อใช้แก้ปัญหาและเป็นแนวทางในการปรับปรุง ในชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ เพื่อ กระบวนการเรียนการสอนรายวิชาเซปักตะกร้อได้อีกวิธี ท�ำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด�ำเนินไปอย่างมี หนึ่ง คือ การใช้แบบฝึกทักษะ ซึ่งสอดคล้องกับ อนงค์ศิริ ประสิทธิภาพ จึงต้องมีการน�ำสื่อการสอนมาใช้ในการจัด วิชาลัย (2536 : 27 ; อ้างถึงใน สุเมธ จันหนองหว้า. 2549 กิจกรรมการเรียนการสอน (ส�ำนักงานปฏิรูปการศึกษา. : 3) ว่า แบบฝึกทักษะเป็นสิ่งที่จะช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาดี 2545 : 13 - 14) ขึ้น เพราะนักเรียนมีโอกาสน�ำความรู้ที่ได้เรียนมาแล้วมาฝึก ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่าผู้ฝึกสอนกีฬาเซปัก ให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น แบบฝึกจะท�ำให้เกิดความ ตะกร้อมักจะประสบปัญหาอย่างมากในการคัดเลือก แม่นย�ำและคล่องแคล่วในแต่ละทักษะ นักกีฬาเซปักตะกร้อเพื่อจะเป็นตัวแทนในระดับต่างๆ ไม่ว่า 45 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 จากปัญหาและความส�ำคัญดังกล่าวข้างต้น 5. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้น ข้าพเจ้าในฐานะที่เป็นครูสอนวิชาเซปักตะกร้อได้สังเกตเห็น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความ ว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะพื้นฐานในการเล่น ขาดความ สามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ กติกา และวิธีการฝึกเพื่อพัฒนา ทักษะอันเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งต่อการเล่นกีฬาเซปักตะกร้อเป็น ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง อย่างมาก ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้ข้าพเจ้าสนใจที่จะศึกษาและ สร้างแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเซปัก 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียน ตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขึ้น ใช้เพื่อวางรากฐานการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนประทาย อ�ำเภอประทาย เล่นกีฬาและพัฒนาทักษะกีฬาให้เยาวชนได้รับการเรียนรู้ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ที่ก�ำลังเรียนใน เกี่ยวกับทักษะกีฬาเซปักตะกร้อที่ถูกต้อง รวมทั้งการน�ำไป ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 10 ห้อง รวมทั้ง ฝึกให้เกิดความช�ำนาญเพื่อใช้ในการแข่งขันจริงในสนาม อีก สิ้น 372 คน ทั้งสามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และสามารถเป็น 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ตัวแทนของนักกีฬาเซปักตะกร้อในระดับโรงเรียน อ�ำเภอ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/9 โรงเรียนประทาย อ�ำเภอ จังหวัด สโมสร และระดับประเทศ ข้าพเจ้าจึงได้ปรึกษาผู้ ประทาย องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ที่ก�ำลัง เชี่ยวชาญทางด้านกีฬาเซปักตะกร้อ ศึกษาค้นคว้าจาก เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 44 คน หนังสือ ต�ำรา เอกสารต่างๆเกี่ยวการเล่นตะกร้อและเข้า ร่วมการอบรมสัมมนาเป็นผู้ฝึกสอนและการตัดสินกีฬา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เซปักตะกร้ออยู่เสมอ เพื่อน�ำข้อมูลต่างๆมาใช้ในการสร้าง การพัฒนาแบบฝึกเซปักตะกร้อขั้นพื้นฐานส�ำหรับนักเรียน 1. แผนการจัดการเรียนรู้ จ�ำนวน 6 แผน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เพื่อที่จะท�ำให้ผู้เล่นก้าวไปสู่ความ 2. แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้น ส�ำเร็จในการเล่นได้มากขึ้น มีมาตรฐานในการเล่นตะกร้อ ฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงขึ้น มีน�้ำใจนักกีฬา มีร่างกายแข็งแรง ได้เพื่อน มีสมาธิ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้น ท�ำให้จิตใจสงบสามารถแก้ปัญหาในการแข่งขันได้ และมี มัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ประโยชน์ในการพัฒนาการแข่งขันกีฬาเซปักตะกร้อให้มี จ�ำนวน 30 ข้อ เพื่อใช้ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ความก้าวหน้าต่อไป 4. แบบประเมินความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปัก ตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 5. แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนของ นักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้น 1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความ ฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตาม เกณฑ์ 80/80 การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริม ขั้นตอนในการด�ำเนินการทดลองและเก็บรวบรวม ความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ข้อมูล ในการด�ำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลผู้ 1 วิจัยได้มีวิธีการและขั้นตอนดังนี้ 3. เพื่อศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึก 1. ทดสอบความรู้พื้นฐาน ด้วยแบบทดสอบวัดผล ทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ สัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. เพื่อศึกษาความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปัก 1จ�ำนวน 30 ข้อ ก่อนท�ำการทดลอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการ ตะกร้อ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ศึกษา 2558 แล้วบันทึกคะแนนเก็บไว้เปรียบเทียบกับ คะแนนหลังเรียน 46 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University 2. ด�ำเนินการทดลองโดยใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่ง 4. เมื่อเสร็จสิ้นการทดลองแล้ว ทดสอบหลังเรียน เสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษา โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดียวกับ ปีที่ 1 ใช้เวลาสอน 12 ชั่วโมง โดยด�ำเนินการตั้งแต่วันที่ 6 ที่ใช้ก่อนการทดลอง ตรวจให้คะแนนแล้วน�ำมาเปรียบเทียบ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 26 เดือน กุมภาพันธ์ กับคะแนนสอบก่อนเรียน พ.ศ. 2559 5. รูปแบบการศึกษา เป็นการทดลองเชิงวิจัยและ 3. หลังเรียนด�ำเนินการวัดความพึงพอใจโดยใช้ พัฒนา โดยใช้รูปแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว ที่มีการทดสอบ แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนวิชา ก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pre-test, Post- พลศึกษา (เซปักตะกร้อ) โดยใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริม test Design) ความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

1.ผลการพัฒนาแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80

ตาราง 1 แสดงคะแนนเฉลี่ยเป็นรอยละของการทดสอบก่อนเรียน การทํากิจกรรม และทดสอบหลังเรียนโดยใช แบบฝกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปกตะกรอ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 6 เล่ม

n = 44 แบบฝกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬา ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ E1/E2 เซปักตะกร้อ กระบวนการ ผลลัพธ์ (E1) (E2) เล่มที่ 1 การเล่นลูกตะกร้อตะกร้อด้วยข้างเท้าด้านใน 80.23 83.64 80.23/83.64 เล่มที่ 2 การเล่นลูกตะกร้อด้วยข้างเท้าด้านนอก 80.45 83.33 80.45/83.33 เล่มที่ 3 การเล่นลูกตะกร้อด้วยหลังเท้า 82.27 83.33 82.27/83.33 เล่มที่ 4 การเล่นลูกตะกร้อด้วยเข่า 80.00 83.94 80.00/83.94 เล่มที่ 5 การเล่นลูกตะกร้อด้วยศีรษะ 81.14 86.06 81.14/86.06 เล่มที่ 6 การแล่นลูกตะกร้อแบบผสมผสาน 81.14 86.67 81.14/86.67 เฉลี่ยรวม 85.91 85.23 85.91/85.23

จากตาราง 1 พบว่า แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้น เล่มที่ 1-6 มีประสิทธิภาพ 80.23/83.64, 80.45/83.33, 82.27/83.33, 80.00/83.94, 81.14/86.06 และ 81.14/86.67 ตามล�ำดับ โดยประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้น ฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เฉลี่ยรวมมีค่าเท่ากับ 85.91/85.23 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80

47 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความ สามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ตาราง 2 แสดงผลการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล โดยใช้ Kolmogorov-Smirnov test และ Shapiro-Wilk test จากคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยแบบฝึกทักษะ เพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Tests of Normality Kolmogorov-Smirnova Shapiro-Wilk Statistic df Sig. Statistic df Sig. ก่อนเรียน .159 44 .007 .947 44 .044 หลังเรียน .187 44 .000 .941 44 .026

a. Lilliefors Significance Correction

จากตาราง 2 พบว่า คะแนนก่อนเรียนมีค่า Sig. (Significance) ของ Kolmogorov-Smirnov=.007 ในขณะที่ Shapiro-wilk=.044 ซึ่งน้อยกว่าระดับนัยส�ำคัญ ( x =.05) ไม่เป็นการแจกแจงแบบปกติ ถ้าพิจารณาจาก กราฟเบนออกนอกเส้นและคะแนนหลังเรียนมีค่า Sig. (Significance) ของ Kolmogorov-smirnov=.000 ในขณะที่ Shapiro-wilk=.026 ซึ่งน้อยกว่าระดับนัยส�ำคัญ ( x =.05) ไม่เป็นการแจกแจงปกติ ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกใช้สถิติ ทดสอบ Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks Test เป็นการทดสอบสถิติใช้เปรียบเทียบค่าวิกฤตเพื่อให้ทราบค่า ความมีนัยส�ำคัญทางสถิติ

ขั้นที่ 2 ผู้วิจัยได้เสนอผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน จากการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปรากฏผล ดังตาราง 3 ตาราง 3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรูดวยแบบฝกทักษะเพื่อส่งเสริม ความสามารถ พื้นฐานกีฬาเซปกตะกรอ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

Sig รายการ N Χ S.D. Z-value ก่อนการใช้แบบฝกทักษะฯ 44 15.36 1.59 5.814* .00 ก่อนการใช้แบบฝกทักษะฯ 44 25.57 1.58

* มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลการหาค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการหาค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ปรากฏผล ดังตาราง 4

48 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ตาราง 4 ผลการวิเคราะหดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของแบบฝกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปก ตะกรอ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

จํานวน คะแนนเต็ม ค่าดัชนี รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได นักเรียน ทั้งหมด ประสิทธิผล ทดสอบก่อนเรียน 44 30 1320 676 0.6762 ทดสอบหลังเรียน 44 30 1320 1125

จากตาราง 4 พบว่า แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.6762 แสดงว่า นักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้น 0.6762 คิดเป็นร้อยละ 67.62

ตอนที่ 4 ผลการศึกษาความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากการใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และท�ำ กิจกรรมครบถ้วน ทั้ง 6 เรื่อง โดยก�ำหนดระดับความสามารถพื้นฐานไว้ 3 ระดับ ได้แก่ ดีมากดี และปรับปรุง ปรากฏ ว่า นักเรียนมีสามารถปฏิบัติได้ ดังตาราง 5

ตาราง 5 ผลการวิเคราะหความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปกตะกรอ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

จํานวนนักเรียนที่ปฏิบัติได ความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปกตะกรอ 3 2 1(ปรับปรุง) (ดีมาก) (ดี) การเล่นลูกตะกร้อด้วยข้างเท้าด้านใน 12 31 1 การเล่นลูกตะกร้อด้วยข้างเท้าด้านนอก 9 30 5 การเล่นลูกตะกร้อด้วยหลังเท้า 11 24 9 การเล่นลูกตะกร้อด้วยเข่า 36 8 0 การเล่นลูกตะกร้อด้วยศีรษะ 31 11 2 การเล่นลูกตะกร้อแบบผสมผสาน 14 29 1

จากตาราง 5 พบว่า ความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทุกทักษะส่วน ใหญ่อยู่ในระดับดี แสดงว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/9 ปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 44 คน มีความสามารถพื้นฐาน กีฬาเซปักตะกร้อเฉลี่ยอยู่ในระดับดี

49 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ตอนที่ 5 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความ สามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากการใช้แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียน ประทาย อ�ำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน 44 คน หลังการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความ สามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และท�ำกิจกรรมครบถ้วน ทั้ง 6 เรื่อง ได้ก�ำหนดคุณลักษณะของ แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ไว้ 15 รายการ โดยก�ำหนด ระดับความพึงพอใจไว้ 5 ระดับ ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ปรากฏว่านักเรียนให้ระดับความ พึงพอใจ ดังตาราง 6

รายการประเมิน Χ S.D. ความพึงพอใจ ดานเนื้อหา 1. การนำาเสนอเนื้อหาที่เรียน มีรูปแบบชัดเจน ไม่สับสนเข้าใจง่าย 4.64 0.57 มากที่สุด 2. เนื้อหามีความเหมาะสมกับเวลาที่ใช้เรียน 4.57 0.50 มากที่สุด 3. เนื้อหามีความยากง่ายเหมาะกับนักเรียนในระดับชั้น 4.43 0.66 มาก มัธยมศึกษาปที่ 1 รวมเฉลี่ยด้านเนื้อหา 4.55 0.58 ดานกระบวนการเรียนรู 4. กิจกรรมที่นำามาใช้ในแต่ละแบบฝกมีความน่าสนใจ ชวนให้ 4.86 0.35 มากที่สุด ติดตาม ไม่น่าเบื่อ 5. กิจกรรมที่นำามาใช้มีความเหมาะสม ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตาม 4.50 0.59 มาก จุดประสงค์ได้จริง 6. ผู้เรียนทุกคนได้เป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองหรือ 4.70 0.46 มากที่สุด ร่วมกับกลุ่มทุกกิจกรรม 7. ผู้เรียนเป็นผู้ค้นพบคำาตอบหรือทำากิจกรรมสำาเร็จด้วยตนเอง มากที่สุด 4.73 0.45 หรือกลุ่ม รวมเฉลี่ยด้านกระบวนการเรียนรู้ 4.70 0.46 ดานสื่อและอุปกรณการเรียนรู 8. มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหา 4.66 0.57 มากที่สุด 9. เร้าความสนใจต่อผู้เรียน 4.48 0.66 มาก 10. ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายและเรียนรู้ได้เร็วขึ้น 4.66 0.57 มากที่สุด 11. สื่อและอุปกรณ์สะดวกต่อการนำาไปใช้ 4.61 0.49 มากที่สุด รวมเฉลี่ยด้านสื่อและอุปกรณ์ 4.60 0.57

50 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

รายการประเมิน Χ S.D. ความพึงพอใจ ดานการวัดผลและประเมินผล 12. แบบทดสอบในแต่ละชุดมีความสอดคล้องกับเนื้อหา 4.48 0.66 มาก 13. การทำาแบบทดสอบในแต่ละชุดช่วยให้ผู้เรียนทราบ 4.48 0.59 มาก ความก้าวหน้าในการเรียนของตนเอง 14. ผู้เรียนมีโอกาสได้ทราบคะแนนและผลงานที่ตนเองปฏิบัติ 4.68 0.56 มากที่สุด 15. เมื่อทำาแบบทดสอบผู้เรียนมีความพึงพอใจในคะแนนที่ตนเอง 4.73 0.54 มากที่สุด ทำาได้ รวมเฉลี่ยด้านการวัดผลและประเมินผล 4.59 0.59 เฉลี่ยรวมทั้ง 4 ดาน 4.61 0.55 มากที่สุด

จากตาราง 6 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปัก ตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x =4.61, S.D.=0.55) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดและมาก โดยเรียงล�ำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ ด้านกระบวนการ เรียนรู้ ( x =4.70, S.D.=0.46) ด้านสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ ( x =4.60, S.D.=0.57) การวัดผลและประเมินผล ( x =4.59, S.D.=0.59) และด้านเนื้อหา ( x =4.55, S.D.=0.58) สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทั้ง 6 เรื่อง ที่ผู้รายงานสร้างขึ้นมีระดับความพึงพอใจของนักเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด ( x =4.61, S.D.=0.55

ข้อเสนอแนะ ผลดียิ่งขึ้น 2) ขณะด�ำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนครู 1. ข้อเสนอในการน�ำไปใช้ ต้องมีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ไม่ 1) แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้น เข้าใจหรือมีปัญหาระหว่างการใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่ง ฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อด�ำเนิน เสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้น การทดลองมีรายละเอียดที่ต้องศึกษาก่อนการด�ำเนิน มัธยมศึกษาปีที่ 1 หากพบอุปสรรคครูผู้สอนต้องคอย กิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้น ก่อนการใช้แบบฝึก ชี้แนะหรืออธิบายช่วยเหลือนักเรียนตลอดเวลา การ เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตาม เรียนการสอนอาจเกินเวลาที่ก�ำหนดอาจต้องใช้เวลาใน วัตถุประสงค์ ครูต้องเตรียมความพร้อมในเรื่องต่างๆ การแนะน�ำ อธิบาย หรือสาธิตเพิ่มเติม ซึ่งครูผู้สอนอาจ เกี่ยวกับบทเรียนก่อนโดยศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ ยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมหรืออาจต้องใช้เวลานอก เตรียมใบงานและใบความรู้ พร้อมทั้งศึกษาข้อมูลล่วง ห้องเรียนในการแก้ปัญหาให้ค�ำแนะน�ำนักเรียนเป็นราย หน้า เพื่อให้ค�ำแนะน�ำผู้เรียนขณะปฏิบัติกิจกรรมรวมถึง บุคคล การจัดเตรียมสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ให้พร้อมและ 3) นักเรียนให้ความสนใจในเนื้อเรื่องที่น�ำมาเป็นแบบฝึก เพียงพอกับจ�ำนวนนักเรียนซึ่งจะช่วยท�ำให้การจัด ทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปัก กิจกรรมการเรียนการสอนและการใช้แบบฝึกทักษะได้ ตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ดังนั้นการเลือกเนื้อหาที่

51 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 จะน�ำมาเป็นแบบฝึกควรเป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจของ 2) สร้างแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมความ นักเรียน เนื้อเรื่องในแต่ละแบบฝึกไม่ควรยากเกินไป หรือ สามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ยาวเกินไป เพราะจะท�ำให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย โดยใช้รูปแบบที่แตกต่างจากที่เคยสร้างและทดลองใช้ เนื้อหาของแบบฝึกควรมีความหลากหลาย เพื่อให้นักเรียน มาแล้ว เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ได้ประสบการณ์เพิ่มขึ้น มากยิ่งขึ้น 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยในครั้งต่อไป 3) ควรท�ำการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualita- 1) ควรมีการสร้างการแบบฝึกทักษะเพื่อส่ง tive Research) หรือแบบผสม (Mixed Methods ) เสริมความสามารถพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อใช้กับ เพื่อน�ำผลการศึกษามาเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียน เนื้อหาสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษากับสาระ การสอน อื่นๆ และชั้นอื่นๆ ต่อไป

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ร.ส.พ. สํานักงานปฏิรูปการศึกษา. (2545). การพัฒนาตัวบ่งชี้สําหรับประเมินคุณภาพการบริหารจัดการเขตพื้นที่ การศึกษา. กรุงเทพฯ : ธารอักษร. อนงค์ศิริ วิชาลัย. (2536). ผลการใช้ต�ำนานพื้นบ้านล้านนาเพื่อพัฒนาความเข้าใจการอ่านของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. พะเยา : ส�ำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพะเยา.

52 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สื่อการสอน ของผู้สอนวิชาสัมมนาการบริหารงานตำ�รวจ

The Factors Influence to Use Instructional Media of Instructor Seminar in Police Administration.

พิชศาล พันธุ์วัฒนา*1 Pitsarn Phanwattana*1

[email protected]*

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทั่วไปของนักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่เรียนวิชาสัมมนาการบริหาร งานต�ำรวจ และ (2) อิทธิพลของคุณวุฒิผู้สอน วัยวุฒิผู้สอน ประสบการณ์ในการใช้สื่อและความรู้ในการ ใช้สื่อที่มีต่อ การใช้สื่อการสอน ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ เชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากนักเรียน นายร้อยต�ำรวจ 84 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง เชิงคุณภาพเก็บข้อมูลจาก สัมภาษณ์เจาะลึก สนทนากลุ่ม สังเกตแบบมีโครงสร้าง และบันทึกความจ�ำจากนักเรียนนายร้อยต�ำรวจจ�ำนวน 13 ราย ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่เรียนวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีภูมิล�ำเนาอยู่กรุงเทพ ได้เกรดเฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 2.50-2.99 เหตุที่เลือกเรียนเพราะความชอบส่วนตัว โดยนักเรียนนายร้อยต�ำรวจส่วนใหญ่ คิดเห็นว่าอาจารย์ผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย แบ่งกลุ่มระดมสมอง และน�ำเสนอหน้าชั้นเรียนได้ในระดับปานกลาง ค่อนข้างดี และคิดเห็นว่าอาจารย์ผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบเปิดคลิปวีดีโอ สนทนากลุ่ม และสรุปประเด็นได้ในระดับดี นักเรียนนายร้อยต�ำรวจส่วนใหญ่มีความพอใจต่อผู้สอนและเนื้อหาที่ใช้สอนในระดับปานกลางค่อนข้างมาก และพอใจ ในระดับมากในเรื่องของสถานที่ใช้สอนและบรรยากาศในการสอน 2. ประสบการณ์ในการใช้สื่อมีอิทธิพลทางตรงสูงสุดต่อการใช้สื่อการสอน ขณะที่วัยวุฒิผู้สอนมีอิทธิพลทั้ง ทางอ้อมและผลรวมสูงสุดต่อการใช้สื่อการสอน

ค�ำส�ำคัญ: อิทธิพลการใช้สื่อการสอน, วิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจ

1 อาจารย์คณะตำ�รวจศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำ�รวจ 1 Lecturer of Police Science, Royal Police Cadet Academy.

53 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

Abstract

The objective of this research were to study (1) generality of police cadet learned seminar in police administration and (2) The influence of qualification of instructor, seniority of instructor, expe- rience to used media and knowledge to used media involvement to use instructional media. This study was conducted by applying 2 research methodologies. For quantitative approach, questionnaires were used to collect data 84 from police cadet. The data was analyzed by using descriptive statistics and path analysis. With the qualitative approach, in-depth interview, group discussion, structured observation and field notes with 13 police cadet. The results indicated that 1. Most of police cadet had male, domicile in Bangkok, GPA of 2.50-2.99, choose to study because of personal preferences. Most of police cadet commented that the instructors used lecture methods, brainstorming and the presentation in the middle class has quite good. Instructor used open teaching methods, video clips, discussion groups, and summaries has good, moderately high satisfied with the instructor and content of teaching, very satisfied with the place of teaching and environment to teaching . 2. The experience to used media had the most direct influence to use instructional media but the seniority of instructor had the most indirect and total influence to use instructional media.

Keywords: Influence, Use instructional media, Seminar in police administration

บทนำ�

วิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจเป็นหนึ่งในวิชา สมาชิก (4) เป็นแนวทางในการตัดสินหรือก�ำหนดนโยบาย เลือกของกลุ่มวิชาการบริหารตามหลักสูตรรัฐประศาสน- (5) กระตุ้นให้สมาชิกน�ำหลักการที่ได้เรียนรู้ไปใช้ (Gold- ศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการต�ำรวจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. man, Cohen, and Sheahan, 2009) วิชาสัมมนาการ 2561 ของโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ หลักสูตรนี้มีวิชาเลือก บริหารงานต�ำรวจเป็นวิชาเลือกที่เปิดให้นักเรียนนายร้อย ที่เกี่ยวข้องกับสัมมนาทั้งสิ้น 5 วิชา ได้แก่ สัมมนาในวิชา ต�ำรวจชั้นปีที่ 4 ลงทะเบียนเรียนเป็นประจ�ำทุกภาคการ กฎหมายอาญา สัมมนาในวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความ ศึกษา รายละเอียดรายวิชานี้เกี่ยวข้องกับการสัมมนา อาญา การสัมมนาการสืบสวน สัมมนาการสอบสวน และ ทบทวนปัญหาการบริหารและการปฏิบัติงานต�ำรวจด้าน สัมมนาการบริหารงานต�ำรวจ (โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ, ต่าง ๆ อาทิ องค์การและการจัดการ การบริหารงานบุคคล 2561) การเรียนในรูปแบบสัมมนาเป็นกระบวนการเรียน การบริหารงบประมาณและพัสดุ พฤติกรรมองค์การ การสอนที่จัดเป็นกลุ่มเพื่อให้ผู้เรียนได้ปรึกษาหารือ แลก เทคนิคการบริหาร การวางแผนและการพัฒนาองค์การ เปลี่ยนความรู้หรือความคิดในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งที่ได้ศึกษา สื่อการสอนท�ำหน้าที่เป็นตัวกลางที่ช่วยให้การ หาความรู้มาแล้วเป็นอย่างดี โดยมีอาจารย์คอยให้ค�ำ สื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิ แนะน�ำช่วยเหลือมุ่งหวังเพื่อ (1) เพิ่มพูนความรู้และ ภาพ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายของเนื้อหาบทเรียน ประสบการณ์แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา (2) ค้นหาวิธีแก้ปัญหา ได้ตรงตามผู้สอนต้องการไม่ว่าสื่อนั้นจะอยู่ในรูปแบบใด และแนวทางปฏิบัติ (3) แลกเปลี่ยนความคิดระหว่าง ล้วนเป็นทรัพยากรที่สามารถอ�ำนวยความสะดวกในการ

54 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University เรียนรู้ได้ทั้งสิ้น (Fossland, 2016) สื่อที่ใช้สอนมีหลาย พัฒนาการเรียนสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจในอนาคต ประเภท เช่น (1) สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่ สไลด์แผ่นใส เอกสารต�ำรา สิ่งพิมพ์ (2) สื่อประเภทอุปกรณ์ ได้แก่ วัตถุประสงค์การวิจัย เครื่องเล่นเทปเสียง เครื่องเล่นวีดีทัศน์ เครื่องฉายแผ่นใส (3) สื่อประเภทวิธีการหรือที่เรียกว่าเทคนิค ได้แก่ การสาธิต เพื่อศึกษา การอภิปรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติ การฝึกงาน และ (4) สื่อ 1. สภาพทั่วไปของนักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่เรียน ประเภทคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) วิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจ การน�ำเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer 2. อิทธิพลของคุณวุฒิผู้สอน วัยวุฒิผู้สอน presentation) หรือการใช้อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ผู้สอนต้อง ประสบการณ์ในการใช้สื่อ และความรู้ในการใช้สื่อที่มีต่อ พิจารณาเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมเพื่อให้การสอนเกิด การใช้สื่อการสอน ประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งสื่อการสอนแต่ละชนิดมีข้อเด่น ข้อด้อยและความเหมาะสมกับวิธีการสอนแต่ละวิธีแตกต่าง ขอบเขตการวิจัย กันไป การใช้สื่อการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพจ�ำต้อง พิจารณาควบคู่กับวิธีการสอน ลักษณะของผู้เรียน ข้อจ�ำกัด 1. ขอบเขตประชากร ในทางปฏิบัติ รวมถึงผู้สอนหรือครู (Konijn, Essink, Bun- ข้อมูลนักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่ใช้ในการศึกษา ing, and Zweekhorst, 2018) ซึ่งมีหลักพิจารณาเลือก เป็นข้อมูลที่ได้จากการส�ำรวจของผู้วิจัยด้วยการตรวจสอบ สื่อการสอน เช่น (1) สัมพันธ์กับเนื้อหาบทเรียนและจุด จ�ำนวนกับศูนย์บริการทางการศึกษา โรงเรียนนายร้อย มุ่งหมายที่สอน (2) มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และ ต�ำรวจ ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2560 ผู้วิจัยน�ำข้อมูลนี้มาใช้ เป็นสื่อที่ส่งผลต่อการเรียนมากที่สุด (3) เหมาะกับวัย ระดับ ในการก�ำหนดประชากรและการสุ่มตัวอย่าง ปัจจุบันข้อมูล ชั้นความรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียน (4) มีราคาไม่แพง อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปได้ตามเงื่อนไขในเรื่องของเวลา เกินไป หรือถ้าจะผลิตควรคุ้มกับเวลาและการลงทุน (Prins, เนื่อง จากในแต่ละภาคการศึกษามีนักเรียนนายร้อยต�ำรวจ Avraamidou, and Goedhart, 2017) เลือกลงทะเบียนเรียนวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจต่าง การที่ผู้สอนจักพิจารณาเลือกใช้สื่อการสอนได้ กัน ถูกต้อง เหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียนการสอน 2. ขอบเขตตัวแปร เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะพื้นฐานบุคคลของผู้สอนที่เป็น งานวิจัยได้น�ำรูปแบบการวิจัยทั้งในเชิงคุณภาพ ปัจจัยเบื้องต้นมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญประกอบด้วย คุณวุฒิ และเชิงปริมาณมาใช้ร่วมกันท�ำให้ได้ข้อมูลในเชิงกว้างและ วัยวุฒิ ประสบการณ์ในการใช้สื่อการสอน และความรู้ใน เชิงลึก แต่ทั้งนี้มีข้อจ�ำกัดเรื่องตัวแปรที่ใช้ท�ำการศึกษา การใช้สื่อการสอน (Mahdi and Al-Dera, 2013; Rice, ประกอบด้วย (1) ตัวแปรตามคือ การใช้สื่อการสอน และ 2010; Fossland, 2016) เนื่องจากสื่อการสอนแต่ละชนิด (2) ตัวแปรอิสระ ได้แก่ คุณวุฒิผู้สอน วัยวุฒิผู้สอน มีทั้งข้อเด่นข้อด้อยและความเหมาะสมกับวิธีการสอนแต่ละ ประสบการณ์ในการใช้สื่อ และความรู้ในการใช้สื่อที่มี วิธีแตกต่างกันไป ผู้สอนจ�ำต้องพิจารณาเลือกใช้สื่อการสอน ตัวแปรองค์ประกอบตามการทบทวนวรรณกรรมและความ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ตรงกับลักษณะ สนใจ ซึ่งตัวแปรอื่นที่มิได้ระบุไว้ในงานไม่ได้ท�ำการศึกษา ของเนื้อหาของบทเรียน มีความเหมาะสมกับลักษณะและ แต่อย่างใด จ�ำนวนของผู้เรียน เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และมี 3. ขอบเขตเวลา ลักษณะน่าสนใจและดึงดูดความสนใจเพื่อให้การเรียนการ งานวิจัยได้ศึกษาการใช้สื่อการสอนของผู้สอนวิชา สอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อผู้เรียน (Felder and Brent, สัมมนาการบริหารงานต�ำรวจในภาคเรียนที่ 2 ปีการ 2005) ผู้วิจัยในฐานะหนึ่งในผู้สอนวิชาสัมมนาการบริหาร ศึกษา 2560 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลไม่สามารถกล่าวอ้างถึง งานต�ำรวจ ประสงค์ศึกษาว่าปัจจัยด้านคุณลักษณะพื้นฐาน การใช้สื่อการสอนของผู้สอนวิชาสัมมนาการบริหารงาน บุคคลใดของผู้สอนที่มีอิทธิพลผลรวมต่อการใช้สื่อการสอน ต�ำรวจที่สอนในภาคการศึกษาอื่นด้วยเหตุเงื่อนไขของห้วง มุ่งหวังได้ข้อค้นพบที่ถูกต้อง ตรงตามสภาพแห่งความจริง เวลาที่แตกต่างกัน สามารถน�ำเสนอต่อหัวหน้าวิชาเพื่อใช้เป็นแนวทาง 55 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

กรอบแนวคิดและสมมติฐานกรอบแนวคิดและสมมุติฐาน

ประสบการณ์ β8 β3 ในการใช้สื่อ คุณวุฒิ β1 β7 การใช้สื่อ ผู้สอน β5 การสอน β10 β9 β2 β4

วัยวุฒิ ความรู้ใน ผู้สอน β6 การใช้สื่อ

ภาพที่ 1 ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สื่อการสอนของผู้สอน

จากภาพที่ 1 พบว่าตัวแปรที่ใช้ในงานวิจัยมีทั้งสิ้น 5 ตัวแปร ประกอบด้วย (1) ตัวแปรตาม คือ การใช้สื่อการ สอน (USEMEDI) และ (2) ตัวแปรอิสระ 4 ตัว คือ คุณวุฒิผู้สอน (QUALIF) วัยวุฒิผู้สอน (SENIOR) ประสบการณ์ในการ ใช้สื่อ (EXPMAS) และความรู้ในการใช้สื่อ (KNOWLM) โดยตัวแปรเหล่านี้ต่างมีความสัมพันธ์ที่เขียนเป็นสมมติ ฐานได้ 4 ข้อ ดังนี้ สมมติฐานที่ 1 การใช้สื่อการสอน (USEMEDI) ขึ้นอยู่กับคุณวุฒิผู้สอน วัยวุฒิผู้สอน ประสบการณ์ในการใช้ สื่อ และความรู้ในการใช้สื่อ USEMEDI = ƒ (β1 QUALIF + β2 SENIOR + β3 EXPMAS + β4 KNOWLM)…………………………….(1) สมมติฐานที่ 2 ความรู้ในการใช้สื่อ (KNOWLM) ขึ้นอยู่กับคุณวุฒิผู้สอน วัยวุฒิผู้สอน และประสบการณ์ใน การใช้สื่อ KNOWLM = ƒ (β5 QUALIF + β6 SENIOR + β7 EXPMAS)……………………………………………………...(2) สมมติฐานที่ 3 ประสบการณ์ในการใช้สื่อ (EXPMAS) ขึ้นอยู่กับคุณวุฒิผู้สอน วัยวุฒิผู้สอน EXPMAS = ƒ (β8 QUALIF + β9 SENIOR)...... (3) สมมติฐานที่ 4 คุณวุฒิผู้สอน (QUALIF) ขึ้นอยู่กับวัยวุฒิผู้สอน QUALIF = ƒ (β10 SENIOR)...... (4)

วิธีดำ�เนินการวิจัย

การด�ำเนินการวิจัยใช้การวิจัยแบบผสม (mixed 1. ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา method) ทั้งแนวทางเชิงปริมาณ (quantitative ap- เป้าหมายประชากรเชิงปริมาณใช้หน่วยวิเคราะห์ proach) และแนวทางเชิงคุณภาพ (qualitative ap- (units of analysis) มีคุณสมบัติของหน่วยระดับบุคคลคือ proach) ควบคู่กัน เพื่อให้ข้อมูลส่งเสริมกันและเกิดความ นักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่เลือกลงทะเบียนวิชาสัมมนาการ สมบูรณ์ในการตอบวัตถุประสงค์การวิจัย รายละเอียดพอ บริหารงานต�ำรวจจ�ำนวน 84 ราย ส่วนเป้าหมายประชา สังเขปมีดังนี้ กรเชิงคุณภาพเฉกเช่นเชิงปริมาณ กล่าวคือ นักเรียนนาย

56 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ร้อยต�ำรวจที่เลือกลงทะเบียนวิชาสัมมนาการบริหารงาน การสร้าง (construction validity) พิจารณาความสัมพันธ์ ต�ำรวจจ�ำนวน 13 ราย ของมาตรวัดกับสมมติฐานของทฤษฎีเกี่ยวกับแนวคิดที่ 2. การสุ่มตัวอย่าง ใช้ในงานวิจัยซึ่งต้องมีทิศทางที่เป็นไปตามที่คาดหวัง หรือ เชิงปริมาณไม่ใช้การสุ่มตัวอย่าง แต่เลือกนักเรียน เลือกใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปเป็นเครื่องช่วยยืนยันด้วยการ นายร้อยต�ำรวจที่เลือกลงทะเบียนเรียนวิชาสัมมนาการ ทดสอบองค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) หาค่าความเที่ยงตรง บริหารงานต�ำรวจทุกคนใช้เป็นประชากรเป้าหมาย เป็น เชิงโครงสร้างที่ค่าน�้ำหนักองค์ประกอบตั้ง แต่ 0.4 ขึ้นไป ประชากรที่มีจ�ำนวนจ�ำกัด (finite population) มีปริมาณ (Ryu, 2013) (2) ความถูกต้องในเนื้อหา (content สามารถนับจ�ำนวนได้ครบถ้วน (Patil, Sinha, and Taillie, validity) พิจารณาความครอบคลุมของมาตรวัดในเรื่องที่ 1995) มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 84 คน เป็นเนื้อหาของสิ่งที่ต้องการวัดที่ได้มาจากการทบทวน เชิงคุณภาพใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างเชิงทฤษฎี วรรณกรรม การให้ค�ำนิยามจริง และค�ำนิยามปฏิบัติการว่า (theoretical sampling) เพื่อความเป็นตัวแทนของ มีปรากฏหรือไม่ (Landsheer, and Boeije, 2010) (3) ประชากรด้วยกลยุทธ์ตามโอกาสอ�ำนวย (opportunistic) ความถูกต้องพ้องกัน (concurrent validity) พิจารณา ตามความสมัครใจของผู้ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนของการเป็น มาตรวัดโดยการสร้างมาตรวัดได้สร้างเป็นเรื่องสอดคล้อง ประชากรเป้าหมาย ไม่ก�ำหนดจ�ำนวนประชากรได้แน่นอน กันหรืออยู่ในกลุ่มเดียวกันและมีความสัมพันธ์กันสูง มีลักษณะยืดหยุ่นปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม (สุชาติ (Hecimovich, and Hebert, 2016) (4) ความถูกต้องด้าน ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, 2555) ยุติการเก็บข้อมูลเมื่อข้อมูลเกิด แตกต่าง (differential validity) พิจารณามาตรวัดแต่ละ การอิ่มตัวเชิงทฤษฎี (theoreticals saturation) กล่าวคือ ตัวแปรโดยต้องมีค่าความสัมพันธ์ต�่ำกว่าค่าสัมประสิทธิ์ ข้อมูลที่ได้ไม่มีประเด็นใดใหม่กว่าข้อมูลที่มีอยู่เดิมจึงยุติที่ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (Berry, 2015) (5) ความถูก จ�ำนวน 13 ราย ต้องผิวหน้า (face validity) เป็นเรื่องเกี่ยวกับความชัดเจน 3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ของรายการข้อความที่ใช้ในการสร้างมาตรวัด ผู้ใดอ่านก็ เชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม (questionnaire) สามารถเข้าใจได้เป็นอย่างดี (Sartori, 2010) (6) ความ เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล น�ำแบบสอบถามไป ถูกต้องในการแปลง (translation validity) ตรวจสอบว่า ศึกษาน�ำร่อง (pilot study) มีการทดสอบรายการข้อ ได้แปลงแนวคิดที่เป็นนามธรรมเป็นรายการที่ใช้วัดให้เป็น ค�ำถาม (Pretest) กับนักเรียนนายร้อยต�ำรวจจ�ำนวน 30 รูปธรรมที่มีความถูกต้องและใช้สถิติการวิเคราะห์ปัจจัย ชุดก่อนน�ำใช้จริง (Blair & Conrad, 2011) แบบสอบถาม (Rogers, Pilling, Davies, Belk, Green, and Young, ได้ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือ 2 วิธี (1) 2016) (7) ความถูกต้องเชิงบริบท (nomological validity) ตรวจสอบความเชื่อมั่นของความคงตัว ตรวจสอบค่า Pear- พิจารณาการสร้างมาตรวัดให้สอดคล้องกับบริบทในเชิงองค์ son’s Product Moment Correlation โดยค่า 0.80-1.00 ความรู้หรือทฤษฎีของสิ่งที่ต้องการวัด ซึ่งค่าของมาตรวัดมี หมายถึง ดี 0.60-0.79 หมายถึง ดีพอใช้ 0.40-0.59 หมาย ความสัมพันธ์กันสูงกับอีกตัวแปรหนึ่งในทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ถึง แย่ และต�่ำกว่า 0.39 หมายถึง แย่มาก ซึ่งแบบสอบถาม (Liu, Li, and Zhu, 2012) (8) ความถูกต้องด้านการจ�ำแนก มีค่าเท่า กับ 0.64 อยู่ในระดับดีพอใช้ และ (2) ตรวจสอบ (discriminant validity) พิจารณาจากค่าเบี่ยง เบน ความคงที่ใช้วิธีการทดสอบซ�้ำ โดยการน�ำไปวัดกับกลุ่ม มาตรฐานในแต่ละข้อค�ำถามที่มีค่าห่างจากศูนย์พอควร ตัวอย่างครั้งที่หนึ่งแล้วเว้นระยะช่วงหนึ่งแล้วกลับไปวัดซ�้ำ แสดงถึงข้อค�ำถามมีอ�ำนาจจ�ำแนก (Rojas, and Widiger, เรียกวิธีทดสอบว่า Test-Retest Method หลังจากนั้นน�ำ 2013) และ (9) ความถูกต้องด้านการบรรจบ (convergent ข้อมูลทั้ง 2 ครั้งมาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ ตรวจสอบค่า validity) หาค่าสัมประสิทธิ์ (pearson correlation) สัมประสิทธิ์ของความคงที่ (coefficient of stability) พิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (Berchtold, 2016) ได้ค่า Reliability เท่ากับ 0.79 ซึ่ง ลักษณะเชิงเส้นตรง (Duckworth, and Kern, 2012) จัดอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง อย่างไรก็ดีแม้การวิจัยเชิงปริมาณจะได้ความ ทั้งนี้แบบสอบถามได้ผ่านการยืนยันความถูกต้อง ชัดเจนของผลการวิเคราะห์ แต่รายละเอียดในลักษณะ ตามหลักวิชาการเชิงทฤษฎี 9 ประการ (1) ความถูกต้องใน พรรณ นาความที่ท�ำให้ได้ความเข้าใจในเชิงลึกไม่ปรากฏใน

57 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 งาน จึงต้องใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพช่วยส่งเสริม วิธีหรือไม่ (Worms, and Touati, 2016) โดยพิจารณาจาก เกื้อกูลเพื่อขจัดจุดอ่อนหรือข้อสงสัยใด ๆ และให้งานวิจัย การกระจายปกติตัวแปรเดียว (univariate normality) มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก ความเป็นเส้นตรง (linearity) ความเหมือนกันของการ (in - depth interview) การสนทนากลุ่ม (focus group) ผันแปร (homoscedasticity) ตัวแปรอิสระไม่สัมพันธ์สูง บันทึกความจ�ำ (memos) และการสังเกตแบบมีโครงสร้าง (muticollinearity) การกระจายปกติหลายตัวแปร (mul- (structured observation) (Creswell, 2014) และตัวผู้ tivariate normality) (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, 2555) วิจัยใช้เป็นเครื่องมือหลัก (researcher as a human in- วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูป SPSS for Win- strument) อาศัยประสบการณ์ วัยวุฒิ คุณวุฒิ และความ dows เลือกใช้สถิติพรรณนาอธิบายสภาพทั่วไปของตัวแปร รับผิดชอบเป็นตัวขับเคลื่อน เก็บข้อมูลใช้ทฤษฎีติดพื้นที่ ต่างๆ เพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 โดยใช้ค่าต�่ำสุด (grounded theory) ยึดตามสภาพความจริงเป็นหลักตาม ค่าสูงสุด ค่า เฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่า แรงขับของข้อมูล (data-driven approach) (สุชาติ ความโด่ง และอัตราส่วนร้อยละ การวิเคราะห์อิทธิพล ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, 2554) ตัวแปรอิสระทั้ง 4 ที่มีต่อการใช้สื่อการสอน (ตัวแปรตาม) 4. การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัยข้อ 2 ใช้เทคนิควิเคราะห์เส้น เชิงปริมาณ: น�ำข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ปัจจัย (factor ทาง (path analysis) เพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวแปรอิสระ analysis) เพื่อก�ำหนดน�้ำหนักปัจจัย (factor loading) แต่ละตัวที่มีต่อตัวแปรตามว่ามีอิทธิพลทางตรง ทางอ้อม แต่ละรายการและน�ำน�้ำหนักปัจจัยแต่ละรายการมาคูณกับ และผลรวม หรือไม่อย่างไร ค่าเดิมของรายการ ผลรวมของผลคูณได้ตัวแปรประจักษ์ที่ เชิงคุณภาพ: ใช้แนวทางการวิเคราะห์เชิงอุปนัย มีความถูกต้องในตัวสร้าง (construct validity) (Yong, (inductive analysis) ท�ำการให้รหัสเริ่มจากเตรียมแฟ้ม and Pearce, 2013) วัดค่าความสอดคล้องภายใน (inter- ข้อ มูลดิบ ศึกษารายละเอียดให้เกิดความคุ้นเคยกับข้อมูล nal consistency method) ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อถือ และแยกประเด็นเนื้อเรื่องต่างๆ เพื่อได้แบบแผนของความ ได้ของแต่ละรายการโดยหาค่าครอนบัคอัลฟา (cron- สัม พันธ์ (patterns of relationships) ที่กระท�ำผ่าน bach’s alpha) ตรวจสอบสภาพข้อมูลว่าละเมิดข้อสมมติ กระบวนการท�ำซ�้ำ (lterative) การหมุนวน (cyclical) การ หรือไม่ก่อนน�ำข้อมูลไปวิเคราะห์สถิติระดับกลางและระดับ เปรียบ เทียบกรณีมีเชิงลบ (a constant comparative สูงโดย เฉพาะอย่างยิ่งเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทางที่ต้องใช้ negative case) (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, 2554) เมื่อข้อมูล สถิติที่จ�ำกัดรูปแบบการกระจาย (parametric statistics) จัดกลุ่มเรียบร้อยจึงใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปโดยน�ำรายการ ต้องตรวจสอบข้อมูลก่อนว่าละเมิดข้อสมมติที่ก�ำกับเทคนิค ข้อมูลเข้าโปรแกรม ATLAS.ti เพื่อสร้างความสัมพันธ์ของ ผลการวิจัย ผลสภาพทั่วไปของนักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่ได้เพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 ปรากฎในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สภาพทั่วไปของนักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่เรียนวิชาสัมมนาการบริหารงานตำรวจ (n=84) รายการที่ใชวัด จํานวน (คน) อัตราส่วนรอย เพศ ชาย 61 72.6 หญิง 23 27.4 ภูมิลำาเนา กรุงเทพ 28 33.3 ภาคเหนือ 11 13.1 ภาคใต้ 13 15.6 ภาคตะวันออก 9 10.7 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18 21.4 ภาคตะวันตก 5 5.9 58 เกรดเฉลี่ยสะสมรวม 2.00 – 2.49 9 10.7 2.50 – 2.99 36 42.9 3.00 – 3.49 27 32.1 มากกว่า 3.50 12 14.3 เหตุที่เลือกเรียนวิชานี้ ความชอบส่วนตัว 38 45.3 ลงทะเบียนตามเพื่อน 13 15.5 รุ่นพี่แนะนำา 26 30.9 ไม่รู้จะเลือกลงวิชาใด 7 8.3

ค่า ค่า ค่า ค่า ค่า Alpha if item รายการที่ใชวัด สูง เฉลี่ย เบี่ยง ความ ความ deleted สุด เบนฯ เบ โด่ง วิธีการบรรยายของผู้สอน 5 3.41 1.51 .87 .64 .844 วิธีการเปดคลิปวีดีโอของผู้สอน 5 3.64 1.67 .56 .77 .851 วิธีการแบ่งกลุ่มระดมสมองของผู้สอน 5 3.37 1.48 .49 .38 .847 รายการที่ใชวัด จํานวน (คน) อัตราส่วนรอย เพศ ชาย 61 72.6 หญิง 23 27.4 ภูมิลำาเนา กรุงเทพ 28 33.3 ภาคเหนือ 11 13.1 ภาคใต้ 13 15.6 ภาคตะวันออก 9 10.7

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Journal of 18Educational Technology21.4 and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ภาคตะวันตก 5 5.9 เกรดเฉลี่ยสะสมรวม 2.00 – 2.49 9 10.7 2.50 – 2.99 36 42.9 3.00 – 3.49 27 32.1 มากกว่า 3.50 12 14.3 เหตุที่เลือกเรียนวิชานี้ ความชอบส่วนตัว 38 45.3 ลงทะเบียนตามเพื่อน 13 15.5 รุ่นพี่แนะนำา 26 30.9 ไม่รู้จะเลือกลงวิชาใด 7 8.3

ค่า ค่า ค่า ค่า ค่า Alpha if ค่า ค่า ค่า ค่า ค่า Alphaitem if รายการที่ใชวัด สูง เฉลี่ย เบี่ยง ความ ความ deleteditem รายการที่ใชวัด สูง เฉลี่ย เบี่ยง ความ ความ สุด เบนฯ เบ โด่ง deleted วิธีการบรรยายของผู้สอน 5สุด 3.41 1.51เบนฯ .87เบ โด่ง.64 .844 วิธีการเปดคลิปวีดีโอของผู้สอนวิธีการบรรยายของผู้สอน 55 3.643.41 1.671.51 .56.87 .77.64 .844.851 วิธีการแบ่งกลุ่มระดมสมองของผู้สอนวิธีการเปดคลิปวีดีโอของผู้สอน 55 3.373.64 1.481.67 .49.56 .38.77 .851.847 วิธีการแบ่งกลุ่มระดมสมองของผู้สอน 5 3.37 1.48 .49 .38 .847

วิธีการสนทนากลุ่ม 5 3.58 1.73 .37 .46 .839 วิธีการนำาเสนอหน้าชั้นเรียน 5 3.19 1.44 .44 .51 .817 วิธีการสรุปประเด็นของผู้สอน 5 3.61 1.56 .79 .41 .826

ความพอใจที่มีต่อผู้สอน 10 6.89 2.17 .37 1.06 .799 ความพอใจที่มีต่อเนื้อหาที่สอน 10 6.77 1.91 .89 1.14 .784

ความพอใจที่มีต่อสถานที่ใช้สอน 10 7.17 3.12 .34 .57 .803

ความพอใจที่มีต่อบรรยากาศการสอน 10 7.09 2.98 .66 .59 .791

ภาพรวมของความพอใจในการเรียน 10 6.91 2.23 -.47 1.31 .749

หมายเหตุ: ค่าต่ำาสุดทุกรายการ = 1

จากตารางที่ 1 สภาพทั่วไปของนักเรียนนายร้อย คิดเห็นว่าอาจารย์ผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย แบ่ง ต�ำรวจที่เรียนวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจพบว่าส่วน กลุ่มระดมสมอง และน�ำเสนอหน้าชั้นเรียน ได้ในระดับปาน ใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 72.6 ) มีภูมิล�ำเนาอยู่กรุงเทพ กลางค่อนข้างดี (3.41 / 3.37 / 3.19 จากคะแนนเต็ม 5.00) (ร้อยละ 33.3) ส่วนใหญ่ได้เกรดเฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 2.50- และคิดเห็นว่าอาจารย์ผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบเปิดคลิป 2.99 (ร้อยละ 42.9) เหตุที่เลือกเรียนเพราะความชอบส่วน วีดีโอ สนทนากลุ่ม และสรุปประเด็น ได้ในระดับดี (3.64 / ตัว (ร้อยละ 45.3) โดยที่นักเรียนนายร้อยต�ำรวจส่วนใหญ่ 3.58 / 3.61 จากคะแนนเต็ม 5.00) มีความพอใจต่อผู้สอน

59 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 และเนื้อหาที่ใช้สอนในระดับปานกลางค่อนข้างมาก (6.89 ตรงกันในประเด็นของสถานที่สอนว่าควรจัดการเรียนการ /6.77 จากคะแนนเต็ม 10.00) และพอใจในระดับมากใน สอนโดยเลือกใช้สถานที่อื่นที่ไม่ใช่ห้องเรียนประจ�ำอาจใช้ เรื่องของสถานที่ใช้สอนและบรรยากาศในการสอน (7.17 ห้องประชุมหรือห้องปฏิบัติการในการเรียนการสอน / 7.09 จากคะแนนเต็ม 10.00) โดยภาพรวมทั้งหมดในการ เนื่องจากทุกครั้งที่อาจารย์ผู้สอนได้แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษา เรียนวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจมีความพอใจใน แต่ละกลุ่มจะต้องท�ำกิจ กรรมในลักษณะรวมกลุ่มกันเป็น ระดับค่อนข้างมาก (6.91 จากคะแนนเต็ม 10.00) วงกลมซึ่งต้องใช้พื้นที่มากกว่าการเรียนปกติ จึงเห็นควร ทั้งนี้ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามเกือบทุกประเด็น เปลี่ยนสถานที่ศึกษาและหากกรณีไม่สามารถใช้ห้องประชุม สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เจาะลึกและการ หรือห้องปฏิบัติการได้ก็เห็นว่าการใช้ห้องเรียนประจ�ำ 2 สนทนากลุ่ม โดยพบว่านักเรียนนายร้อยต�ำรวจค่อนข้าง ห้องเป็นทางออกที่เหมาะสมกล่าวคือ กรณีแบ่งกลุ่มละ 10 พอใจกับผู้สอน เนื้อหาที่สอน และบรรยากาศการสอน ซึ่ง คน จ�ำนวน 8 กลุ่ม ก็จัดให้นักเรียนใช้พื้นที่ 4 กลุ่มต่อ เห็นเพิ่มเติมว่าอาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์พิเศษหรือ ห้องเรียนประจ�ำ 1 ห้อง ประเด็นเหล่านี้เป็นข้อคิดจาก อาจารย์ที่มาจากภายนอกมักสอนโดยใช้สื่อการสอนได้น่า นักเรียนนายร้อยต�ำรวจส่วนใหญ่จากทั้งหมด 13 คน สนใจกว่าอาจารย์ประจ�ำ เช่น การเปิดคลิปวีดีโอที่ได้ความ นอกจากนี้นักเรียนนายร้อยต�ำรวจยังให้ข้อ คิดเห็นเพิ่มเติม รู้ทั้งด้านการบริหารงานต�ำรวจและด้านการบริหารจัดการ ว่าการสอนควรเน้นไปทางที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานใน ทั่วไปในด้านธุรกิจและเอกชน ส่วนเนื้อหาที่ใช้สอนก็ต่าง อนาคตมากกว่าการสอนเน้นในหลักการหรือทฤษฎี จากอาจารย์ประจ�ำที่จะเน้นหลักที่เกี่ยวกับงานต�ำรวจเป็น เนื่องจากเรื่องเหล่านี้ได้ผ่านการศึกษามาในชั้นปีที่ 2 อีกทั้ง ส่วนมาก ขณะที่อาจารย์พิเศษหรืออาจารย์ภายนอกที่ไม่ใช่ นักเรียนนายร้อยต�ำรวจส่วนใหญ่ประสงค์ให้อาจารย์พาดู อดีตนายต�ำรวจจะสอนเนื้อหาทั่วไปทั้งด้านการบริหารภาค งานนอกสถานีบนโรงพักเพื่อสังเกตศึกษาการปฏิบัติงาน รัฐหรือภาคเอกชน ส่วนที่ไม่สอดคล้องจะต่างแต่สถานที่ จริงมากกว่าการสอนแบบจ�ำลองสถานการณ์ สอนเพียงแค่พอใจเท่านั้น โดยนักเรียนนายร้อยต�ำรวจเห็น

ตารางที่ 2 สถิติพรรณนาตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา (n=84) ค่า ค่า ค่า ค่า ค่า ตัวแปรที่ใชในการศึกษา สูง เฉลี่ย เบี่ยง ความ ความ สุด เบนฯ เบ โด่ง คุณวุฒิผู้สอน 4 2.00 .77 .19 .41

วัยวุฒิผู้สอน 3 2.50 .87 .64 .49

ประสบการณ์ในการใช้สื่อ 5 3.17 1.26 .59 .87

ความรู้ในการใช้สื่อ 5 3.44 1.21 .28 .55 การใช้สื่อการสอน 10 6.78 2.19 .81 .79

หมายเหตุ: ค่าต่ำาสุดทุกรายการ = 1, คุณวุฒิผู้สอน 4 ระดับประกอบด้วยอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตรา หมายเหตุ:จารย์, วัยวุฒิผู้สอน ค่าต�่ำ 3สุดทุกรายการ ระดับประกอบด้วย = 1, ไม่เกิน คุณวุฒิผู้สอน 40 ป 41-50 4 ประดับประกอบด้วยอาจารย์ และ 51-60 ป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์, วัยวุฒิผู้สอน 3 ระดับประกอบด้วย ไม่เกิน 40 ปี 41-50 ปี และ 51-60 ปี

60 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University จากตารางที่ 2 พบว่า นักเรียนนายร้อยต�ำรวจที่ รู้การใช้สื่อค่อนข้างดี (3.17 / 3.44 จากคะแนนเต็ม 5.00) เลือกลงทะเบียนวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจส่วนใหญ่ ผู้สอนใช้สื่อการสอนได้ในระดับปานกลางค่อนข้างดี (6.78 ทราบว่าผู้สอนมีคุณวุฒิระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ อายุเฉลี่ย จากคะแนนเต็ม 10.00) ระหว่าง 41-60 ปี มีประสบการณ์ในการใช้สื่อและมีความ

ตารางที่ 3 ค่าความสัมพันธ์ทวิและค่าสถิติของตัวแปรที่ใช้วิเคราะห์ (n=84) ตัวแปร USEMEDI QUALIF SENIOR EXPMAS KNOWLM USEMEDI 1.00 .34 .26 .31 .36 QUALIF 1.00 .43 .19 .44

SENIOR 1.00 .27 .36

EXPMAS 1.00 .37

KNOWLM 1.00

Tolerance - .89 .92 .88 .89

VIF - 1.24 1.21 1.37 1.34

K-S Test .11 .08 .08 .09 .10

หมายเหตุ: Kaiser – Meyer Olkin = .742, F test = 1.764, Sig. F = .000

การตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ที่ศึกษาอิทธิพลของ การสอน (USEMEDI) (F test = 1.76 มีนัยส�ำคัญทางสถิติ) คุณวุฒิผู้สอน วัยวุฒิผู้สอน ประสบการณ์ในการใช้สื่อ และ พิจารณาค่า VIF และ Tolerance พบว่าไม่มีปัญหาความ ความรู้ในการใช้สื่อที่มีต่อการใช้สื่อการสอนจ�ำต้องตรวจ สัมพันธ์กันสูง รวมถึงค่าความสัมพันธ์ของตัวแปรทุกตัวไม่ สอบข้อมูลก่อนน�ำไปใช้วิเคราะห์ โดยพิจารณาตัวแปรอิสระ เกิน .75 ค่า KMO อยู่เกณฑ์ปกติ และค่า Sig F. เพื่อตรวจ ไม่สัมพันธ์สูง (Muticollinearity) ความเหมือนกันของการ ความเป็นเส้นตรงก็ได้ค่าปกติ สรุปความได้ว่าภาพรวม ผันแปร (Homoscedasticity ความเป็นเส้นตรง (Linear- ตัวแปรที่จะใช้วิเคราะห์อยู่ในเกณฑ์ใช้ได้ ไม่ละเมิดข้อสมมติ ity) และการกระจายปกติตัวแปรเดียว (Univariate nor- แต่ประการใด mality) หลังจากตรวจและแปลงข้อมูลให้ตรงตามความ หลังตรวจสภาพข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์เส้น ต้องการที่ก�ำกับเทคนิควิธีในตารางที่ 3 พบว่า ตัวแปรอิสระ ทางเพื่อตรวจความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างตัวแปร ทุกตัวกระจายปกติ พิจารณาจากค่า K– S test และเมื่อ อิสระ 4 ตัวที่มีต่อตัวแปรตาม (การใช้สื่อการสอน) ได้ผล ทดสอบ linearly เพื่อตรวจสอบความเป็นเส้นตรงพบ ว่า ปรากฏดังสมการ 5 - 8 ภาพที่ 2 และตารางที่ 4 ตัวแปรอิสระทุกตัวมีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงกับการใช้สื่อ

61 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 USEMEDI = ƒ (.624 QUALIF + .589 SENIOR + .644 EXPMAS + .617 KNOWLM)…………………………….…….(5) KNOWLM = ƒ (.726QUALIF + .716SENIOR + .698EXPMAS)……………………………………………………….……...... (6) EXPMAS = ƒ (.676 QUALIF + .607 SENIOR)...... (7) QUALIF = ƒ (.478 SENIOR)...... (8)

.676 EXPMAS .644

.624 QUALIF USEMEDI .726 .478 .607 .698 .617 .589 SENIOR .716 KNOWLM

ภาพที่ 2 แบบจ�าลองการวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ (path diagram)

ตารางที่ 4 อิทธิพลทางตรง ทางอ้อม และผลรวมของตัวแปรที่มีต่อการใช้สื่อการสอน (n=84) อิทธิพลของตัวแปร ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล

ทางตรง ทางอ้อม ผลรวม

คุณวุฒิผู้สอน (QUALIF) .624 .882 1.506

วัยวุฒิผู้สอน (SENIOR) .589 1.039 1.628

ประสบการณ์ในการใช้สื่อ (EXPMAS) .644 .431 1.075

ความรู้ในการใช้สื่อ (KNOWLM) .617 - .617

หมายเหตุ: (1) อิทธิพลทางอ้อมของคุณวุฒิผู้สอน (QUALIF) ได้จาก (.676 x .644) + (.726 x .617) = .882 และผลรวมได้จาก .624 + .882 = 1.506 (2) อิทธิพลทางอ้อมของวัยวุฒิผู้สอน (SENIOR) ได้จาก (.478 x .676 x .644) + (.607 x .644) + (.716 x .617) = 1.039 และผลรวมได้จาก .589 + 1.039 = 1.962 และ (3) อิทธิพลทางอ้อมของประสบการณ์ในการใช้สื่อ (EXPMAS) ได้จาก (.698 x .617) = .431 และผลรวมได้จาก .644 + .431 = 1.075

62 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University อภิปรายผลการวิจัย ไม่มากจะเจริญเติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ หรือนวัตกรรมย่อมคุ้นเคยและมีความเข้าใจมากกว่า ผลของตัวแปรอิสระที่มีต่อการใช้สื่อการสอนตาม ผู้สูงอายุที่เจริญเติบโตมากับยุคดั้งเดิมที่ต้องเริ่มศึกษา การวิเคราะห์เส้นทางที่ปรากฏในภาพที่ 2 และตารางที่ 4 เทคโนโลยี สิ่งประ ดิษฐ์ หรือนวัตกรรมใหม่ ซึ่งอาจส่งผล พบว่าตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงมากที่สุดต่อการใช้สื่อ ให้ต้องใช้เวลาในการท�ำความเข้าใจสิ่งเหล่านั้น อย่างไรก็ดี การสอน คือ ประสบการณ์ในการใช้สื่อ (EXPMAS = .644) ในประเด็นดังกล่าวอาจมีข้อยกเว้นในกรณีที่ผู้สอนที่มีอายุ รอง ลงมาไล่เรียงตามล�ำดับ ได้แก่ คุณวุฒิผู้สอน ความรู้ มากผ่านการเข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ หรือ ในการใช้สื่อ และวัยวุฒิผู้สอนเป็นล�ำดับท้าย (.589) ตัวแปร ศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือผู้นั้นเป็นผู้ที่มีความสนใจใน ที่มีอิทธิ พลทางอ้อมมากที่สุดต่อการใช้สื่อการสอน คือ วิทยาการสมัยใหม่ เป็นคนทันสมัย อาจมีการเรียนรู้ในการ วัยวุฒิผู้สอน (SENIOR = 1.039) รองลงมาไล่เรียงตาม ใช้สื่อการสอนรูปแบบต่าง ๆ ได้ดีเทียบเท่าผู้สอนที่อายุไม่ ล�ำดับ ได้แก่ คุณ วุฒิผู้สอน ประสบการณ์ในการใช้สื่อ และ มากและเพิ่งส�ำเร็จการศึกษาก็เป็นได้ (Prins, Avraami- ความรู้ในการใช้สื่อเป็นล�ำดับท้าย (-) และตัวแปรที่มี dou, and Goedhart, 2017) อิทธิพลผลรวมมากที่สุดต่อการใช้สื่อการสอน คือ วัยวุฒิผู้ ประเด็นอายุผู้สอนเมื่อพิจารณาตามหลักสากล สอน (SENIOR = 1.628) รองลงมาไล่เรียงตามล�ำดับ ได้แก่ ทั่วไปอาจกล่าวได้ว่า การที่อายุของผู้สอนมีอิทธิพลรวมต่อ คุณวุฒิผู้สอน ประสบการณ์ในการใช้สื่อ และความรู้ในการ การใช้สื่อการสอนเนื่องด้วยหากพิจารณาเทียบเรื่องของ ใช้สื่อเป็นล�ำดับท้าย (.617) จากข้างต้นสามารถสรุปความ อายุกับประสบการณ์จะพบว่า อายุและประสบการณ์ของ ได้ว่า ประสบการณ์ในการใช้สื่อมีอิทธิพลทางตรงมากที่สุด บุคคลจะเพิ่มขึ้นเป็นไปในทิศทางเดียวกัน การที่บุคคล ต่อการใช้สื่อการสอน ขณะที่วัยวุฒิผู้สอนมีอิทธิพลทั้งทาง มีอายุเพิ่มขึ้นย่อมมีประสบการณ์ในการใช้สื่อการสอนมาก อ้อมและผลรวมมากที่สุดต่อการใช้สื่อการสอน ขึ้น ดังนั้น จึงสามารถใช้สื่อการสอนเพื่อสื่อสารให้กับผู้เรียน ข้อค้นพบชี้ชัดว่าวัยวุฒิผู้สอนมีอิทธิพลรวมต่อการ ได้ดีกว่าบุคคลที่มีอายุต�่ำกว่าและประสบการณ์น้อยกว่า ใช้สื่อการสอนมากที่สุด โดยเรื่องวัยวุฒิในงานนี้หมายถึง ดั่งค�ำกล่าวที่ว่า “ประสบการณ์สอนให้รู้และเป็นครูของทุก อายุของผู้สอนวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจ แบ่งเป็น คน ความฉลาดนั้นคือผลของการสะสมประสบการณ์” 3 ระดับ ได้แก่ ผู้สอนที่มีอายุไม่เกิน 40 ปี ผู้สอนที่มีอายุ ระหว่าง 41-50 ปี และ ผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 51-60 ปี ข้อเสนอแนะ ทั้งนี้ข้อค้นพบที่ได้ยอมรับในสมมติฐานเนื่องจากเป็น ดั่งสมมติฐานที่ตั้งไว้ทั้ง 4 ข้อ เนื่องด้วยทุกสมมติฐาน 1. ข้อเสนอแนะเพื่อการน�ำผลการวิจัยไปใช้งาน ต่างมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวก หากจะต่างกันแต่ ผู้สอนวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจ ควรมีวัยวุฒิที่ ค่าสัมพันธ์เท่านั้น จึงยอมรับในสมมติฐานดังกล่าวตัวอย่าง เหมาะสมและมีประสบการณ์ในการใช้สื่ออย่างเพียงพอ เช่น ความรู้ในการใช้สื่อขึ้นอยู่กับคุณวุฒิผู้สอน วัยวุฒิ เพื่อให้การใช้สื่อการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ผู้สอน และประสบการณ์ในการใช้สื่อ หรือคุณวุฒิผู้สอนขึ้น เกิดประสิทธิผล เหตุเพราะเรื่องวัยวุฒิมีอิทธิพลทั้ง อยู่กับวัยวุฒิผู้สอน เป็นต้น ทางอ้อมและอิทธิพลผลรวมสูงต่อการใช้สื่อการสอน และ ประเด็นอายุของผู้สอนที่น่าสนใจกล่าวคือ ผู้สอน ประสบการณ์ในการใช้สื่อมีอิทธิพลทางตรงสูงต่อการใช้สื่อ ที่อายุมากมักเรียนรู้ในการใช้สื่อการสอนได้ไม่เทียบเท่า การสอน เช่นนี้ หัวหน้าวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจ ผู้ สอนที่อายุไม่มากหรือเพิ่งท�ำการสอนนักเรียนมาไม่นาน ควรคัดเลือกอาจารย์ผู้สอนทั้งอาจารย์ประจ�ำและอาจารย์ เนื่องจากผู้สอนที่อายุไม่มากส่วนใหญ่มักเป็นผู้ที่เพิ่งส�ำเร็จ พิเศษหรืออาจารย์ภายนอกโดยพิจารณาเรื่องของอายุและ การ ศึกษาได้ไม่นานนัก โดยหลักสูตรที่ศึกษามีการใช้ ประสบการณ์ในการใช้สื่อ เพื่อสนับสนุนให้การเรียน เทคโนโลยีทางการศึกษาที่หลากหลายส่งผลให้เกิดซึมซับ การสอนรายวิชาสัมมนาการบริหารงานต�ำรวจด�ำเนินไป และเคยชินต่อสื่อการสอนที่หลากหลายจึงเรียนรู้ที่จะใช้สื่อ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล การสอนได้อย่างเข้าใจและมีความคล่องแคล่วกว่าผู้สอนที่ 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป ควรศึกษา (1) ส�ำเร็จการศึกษามานาน (Fossland, 2016) หรือผู้ที่อายุ ตัวแปรอิสระอื่นที่ไม่ปรากฏในงานว่าจะมีอิทธิพลต่อการ

63 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ใช้สื่อการสอนหรือไม่ และหากมีจะอยู่ในระดับใด (2) วิชา (3) ใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นแนวทางหลักในการ สัมมนาอื่นที่อยู่ในหลักสูตรนักเรียนนายร้อยต�ำรวจ โดย ศึกษาเพื่อจะได้รายละเอียดของประเด็นนี้ในเชิงลึกและ แบ่งศึกษาออกเป็นรายวิชาเพื่อพิจารณาเชิงเปรียบเทียบ กว้าง

เอกสารอ้างอิง

โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ. (2561) หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการต�ำรวจหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561. นครปฐม : โรงพิมพ์โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2560) ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สามลดา. ------. (2554) วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพยุคใหม่. กรุงเทพฯ: สามลดา. Berchtold, A. (2016) “Test–retest: Agreement or reliability?.” Methodological Innovations, 9(1), 1-17. Berry, C.M. (2015) “Differential Validity and Differential Prediction of Cognitive Ability Tests: Understanding Test Bias in the Employment Context.” Annual Review of Organizational Psychology and Organizational Behavior, 2, 435-463. Blair, J. and Conrad, F.G. (2011) “Sample size for cognitive interview pretesting.” Public Opin. Q., 75(4), 636–658. Creswell, J.W. (2014) Research and Design: Qualitative, Quantitative and Mixed Methods Approaches. 4th ed. New Delhi: Thousand Oaks Press. Duckworth, A.L., and Kern, M.L. (2012) “A Meta-Analysis of the Convergent Validity of Self-Control Measures.” Journal of Research in Personality, 45(3), 259-268. Felder, R.M. and Brent, R. (2005) “Understanding Student Differences.” Journal of Engineering Education, 94 (1), 57-72. Fossland, T. (2016) “Stories of technology-enhancement in higher education – a critical approach.” International journal of media, technology and lifelong learning, 12(1), 79-94. Goldman, R.H., Cohen, A.P., and Sheahan, F. (2009) “Using Seminar Blogs to Enhance Student Participation and Learning in Public Health School Classes.” American Journal of Public Health, 98(9), 1658-1663. Hecimovich, M.D., and Hebert, J.J. (2016) “Reliability and Concurrent Validity of an Alternative Method of Lateral Lumbar Range of Motion in Athletes.” South African Journal of Sports Medicine, 28(1), 23-26. Konijn, W.S., Essink, D.R., Buning, T.C. and Zweekhorst, M.B.M. (2018) “Flipping the classroom: an effective approach to deal with diversity at higher education.” Educational Media International, 55(1), 64-78. Landsheer, J.A., and Boeije, H.R. (2010) “In Search of Content Validity: Facet Analysis as a Qualitative Method to Improve Questionnaire Design: An Application in Health Research.” Quality and Quantity, 44(1), 59-69. Liu, L., Li, C., and Zhu, D. (2012) “A New Approach to Testing Nomological Validity and Its Application to a Second-Order Measurement Model of Trust.” Journal of the Association for Information Systems, 13(12), 950-975. Mahdi, H.S., and Al-Dera, A.S. (2013) “The Impact of Teachers’ Age, Gender and Experience on the Use of Information and Communication Technology in EFL Teaching.” English Language Teaching, 6(6), 57-67. 64 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University Patil, G.P., Sinha, A.K., and Taillie, C. (1995) “Finite population corrections for ranked set sampling.” Annals of the Institute of Statistical Mathematics, 47(4), 621-636. Prins, R., Avraamidou, L., and Goedhart, M. (2017) “Tell me a Story: the use of narrative as a learning tool for natural selection.” Educational Media International, 54(1), 20-33. Rice, J.K. (2010) “The Impact of Teacher Experience Examining the Evidence and Policy Implications.” National Center for Analysis of Longitudinal Data in Education Research, Rogers, K.D., Pilling, M., Davies, L., Belk, R., Green, C.N., and Young, A. (2016) “Translation, Validity & Reliability of The British Sign Language (BSL) Version of The EQ-5D-5L.” Quality of Life Research, 25, 1825-1834. Rojas, S.L., and Widiger, T.A. (2013) “Convergent and Discriminant alidity of The Five Factor Form.” Assessment, 21(2), 143-157. Ryu, E. (2013) “Factorial Invariance in Multilevel Confirmatory Factor Analysis.” British Journal of Mathematical and Statistical Psychology, 67(1), 172-194. Sartori, R. (2010) “Face Validity in Personality Tests: Psychometric Instruments and Projective Tecniques in Comparison.” Quality & Quantity, 44(4), 749-759. Wood, M., Paulus, T., Atkins, D.P., and Mackin, R. (2015) “Advancing Qualitative Research Using Qualitative Data Analysis Software (QDAS)? Reviewing Potential Versus Practice in Published Studies Using ATLAS.ti and NVivo, 1994–2013.” Social Science Computer Review, 34(5), 597-617. Worms, J., and Touati, S. (2018) Parametric and Non-Parametric Statistics for Program Performance Analysis and Comparison. Retrieved from https://hal.inria.fr/hal-01112/fil e/RR-8 875.pdf. May 21, 2018. Yong, A.G., and Pearce, S. (2013) “A Beginner’s Guide to Factor Analysis: Focusing on Exploratory Factor Analysis.” Tutorials in Quantitative Methods for Psychology, 9(2), 79-94.

65 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

The Development of Integrated Science Teaching Model of Sufficiency Economy Philosophy to Promote Thinking Skills of Prathomsuksa 4 Students.

ปารย์รวี เรืองช่วย*1 Parayaravee Rueangchuai*1

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาล วัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้การจัดการเรียนการสอนโดยใช้การพัฒนารูปแบบการสอน วิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ก่อนเรียนและ หลังเรียน 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การพัฒนา รูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอ เมืองระนอง จังหวัดระนอง สังกัดเทศบาลเมืองระนอง นักเรียนจ�ำนวน 70 คน และกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 ที่เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 37 คน

ได้จากการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งการหาประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนในครั้งนี้ใช้เกณฑ์ E1/E2 ่(80/80) โดยการ วิเคราะห์ข้อมูลใช้การทดสอบที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน เพื่อศึกษาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียนกับคะแนน หลังเรียน และใช้ค่าเฉลี่ยร้อยละกับส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัด ระนอง มีประสิทธิภาพ 83.24/84.95 สูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้

1 ครูชำ�นาญการพิเศษ โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม จังหวัดระนอง 1 Senior Professional Level Teachers Wat Upanantharam Municipality School Ranong Province.

66 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนที่พัฒนา ขึ้นอย่างมีนัย ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนนี้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

ค�ำส�ำคัญ : หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, การคิดวิเคราะห์

Abstract

The purpose of this research was to develop the instructional model of integrated science of philosophy of sufficiency economy in order to promote the analytical ability of prathom suksa four students, 2) To compare the learning achievement of the students taught by teaching and learn- ing using the development of teaching style in science, integration of philosophy. A study of the relationship between self-efficacy and self-efficacy. 3) To evaluate students’ satisfaction on learning by teaching and learning by using the integrated teaching methodology of science to integrate philosophy of sufficiency economy. Enhancing the Analytical Ability of Prathom Suksa Four Students, Wat Annamaram School The population in this study was Prathom Suksa 4 School Mueang Ranong Ranong Province Ranong The sample consisted of 70 students and the sample group consisted of 37 students from Prathomsuksa 4 students who were studying in the first semester of

academic year 2017. The efficiency of this teaching model was E1 / E2 not less than 80/80. Not independent of each other. To study the difference of mean scores before class with grades after class. And use percentage mean with standard deviation. To analyze the satisfaction. The research found that; 1. Science Teaching Model Integrating Sufficiency Economy Philosophy to Enhance Analyti- cal Ability of Prathom Suksa Four Students, Wat Anantharam School Ranong district, Ranong province had efficiency 83.24 / 84.95 higher than the criteria set. 2. After-school learning achievement was higher than that of the pre-study group. Signifi- cantly At the .05 level 3. Student Satisfaction with this Teaching Method Satisfaction was at a high level.1

Keywords: Model of Sufficiency Economy Philosophy, Thinking Skills

67 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 บทน�

จากสภาพปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จิตส�ำนึกที่มั่นคงเข้มแข็งในหลักการด�ำเนินชีวิตตามแนวคิด แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 เศรษฐกิจพอเพียงพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง – 2554) โดยส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม และ และสังคมแห่งชาติ ได้น้อมน�ำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี เพื่อเป็นการ เพียงเป็นปรัชญาน�ำทางในการจัดท�ำแผนเพื่อสร้างสังคม สร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในสังคม ด้วยเหตุนี้สถาน ทุกระดับชั้นมีความเข้าใจในหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาและครูจึงมีหน้าที่ส�ำคัญที่จะต้องพัฒนาให้นักเรียน และน�ำไปเป็นพื้นฐานและแนวทางในการด�ำเนินชีวิต มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และ ตลอดจนการก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไปสู่ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ครูทุกคนเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญ ความสมดุลยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกันที่ดี และใช้ค�ำนิยามนี้ ในการน้อมน�ำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ในการขับเคลื่อน (จิรายุ อิศรงกูร ณ อยุธยา. 2548) ปรัชญา ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุ ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการด�ำเนินชีวิตและวิถี วัตถุประสงค์ตามนโยบายการขับเคลื่อนประเทศไทยด้วย ปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ำรัส โมเดลประเทศไทย 4.0 ของรัฐ และสอดคล้องกับการ ชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนอนกว่า 30 ปี จัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้นักเรียนสามารถน�ำ และได้ทรงเน้นย�้ำแนวทางพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานทาง ไปประยุกต์ใช้ในการด�ำรงชีวิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สายกลางและความไม่ประมาท โดยค�ำนึงถึงความพอ การน้อมน�ำ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มา ประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัว ตลอด บูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเป็นการน�ำเสนอ จนใช้ความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานในการด�ำรงชีวิต แนวคิดหลักการที่เป็นระบบเป็นการเสริมสร้างพื้นฐาน การป้องกันให้รอดพ้นจากวิกฤต และให้สามารถด�ำรงอยู่ จิตใจให้นักเรียน มีจิตส�ำนึก มีคุณธรรม ความซื่อสัตย์ ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความ และมีความรู้ที่เหมาะสมด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน มี เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้เกิด จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ ความสมดุล และยั่งยืน พร้อมรองรับต่อการเปลี่ยนแปลง ที่ 12 (พ.ศ.2560 -2564) โดยส�ำนักงานคณะกรรมการ อย่างรวดเร็วจากสังคมโลกได้เป็นอย่างดี พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักนายก หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะเน้นเรื่องของ รัฐมนตรี ได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ในด้านการ เศรษฐศาสตร์และการด�ำรงชีวิตของประชาชนเป็นหลัก แต่ เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ได้กล่าวว่า ทุน เมื่อศึกษาหลักส�ำคัญแล้วจะพบว่า พระบาทสมเด็จ มนุษย์ของประเทศไทยยังมีปัญหาในด้านคุณภาพคนใน พระเจ้าอยู่หัวทรงน�ำกรอบแนวคิดของปรัชญาทางการ แต่ละช่วงชัย โดยผลลัพธ์ทางการศึกษาของเด็กวัยเรียน ศึกษาหลายปรัชญามาบูรณาการกันอย่างสมดุลและเหมาะ ค่อนข้างต�่ำ โดยมีแนวทางในการพัฒนาที่ส�ำคัญคือ พัฒนา สมเพื่อก�ำหนดเป็นแนวทางพื้นฐาน กรอบแนวคิดของ ศักยภาพคนให้มีทักษะ ความรู้ และความสามารถในการ ปรัชญาดังกล่าวสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับการจัดการ ด�ำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า อาทิ ส่งเสริมเด็กปฐมวัยให้มีการ ศึกษาของประเทศไทยปัจจุบันได้อย่างสอดคล้อง โดยให้ พัฒนาทักษะทางสมองและทางสังคมที่เหมาะสม เด็กวัย ความส�ำคัญกับ “คน” และ “พื้นที่” เป็นศูนย์กลางในการ เรียนและวัยรุ่นมีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ พัฒนา (ส�ำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ 2545) กระทรวงศึกษาธิการเป็นอีกหนึ่งหน่วยงานที่ได้ และมีหลักด�ำเนินการที่ส�ำคัญ ได้แก่ ความพอประมาณ ตระหนักถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม เพราะเป็น คือ ความเหมาะสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน หน่วยงานที่มีหน้าที่หลักในการจัดการศึกษาซึ่งถือเป็น สังคมความพร้อมของสถานศึกษา และความสามารถและ เครื่องมือส�ำคัญในการพัฒนาคุณภาพของคนอันเป็นก�ำลัง ความถนัดของผู้เรียน หลักความมีเหตุผล คือ การปลูก ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ จึงมีภารกิจส�ำคัญในการเผย ฝัง ให้เกิดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับผู้เกี่ยวข้อง ให้ แพร่แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนา เป็นคนมีเหตุผล คือ ท�ำกิจกรรมด้วยความรู้ ความเข้าใจ คนไทยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ และสร้าง ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการกระท�ำ โดยค�ำนึงถึง 68 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง รู้จักเชื่อมโยงกระบวนการจากจุดเริ่มต้น จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ สู่ผลลัพธ์และปฏิบัติบนพื้นฐานของความรู้และ และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น ตลอดจน ประสบการณ์ส่งเสริมการน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ นักเรียนได้เรียนรู้และเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ ใช้ ให้มีการเรียนรู้ตลอดเวลา การมีภูมิคุ้มกันในตัวเองคือ เพียงสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองให้สามารถ เน้นหลักการพึ่งตนเองเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง เรียนรู้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งที่ควบคุมไม่ได้ทั้งที่มาจาก ส�ำหรับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 และเป็น ภายในและภายนอกประเทศ มีวิสัยทัศน์และพยากรณ์ กลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนประเทศไทยตามโมเดล อนาคตอย่างมีหลักการและเหตุผลและด�ำเนินการจะ ประเทศไทย 4.0 ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ประสบผลส�ำเร็จและบรรลุเป้าหมายได้นั้นจ�ำเป็นต้องมี เงื่อนไขประกอบ 2 อย่าง คือ การมีความรู้เกี่ยวกับหลัก วัตถุประสงค์การวิจัย วิชาการ การจัดการศึกษาต้องให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่าง สอดคล้องสมดุลและบูรณาการทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ด้าน 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสังคม และด้านคุณธรรม มีความ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริม รอบคอบ รู้จักประยุกต์และเชื่อมโยงความรู้ด้านต่าง ๆ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถม เพื่อการวางแผนก่อนตัดสินใจน�ำไปปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน ศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมือง การมีคุณธรรมด้านจิตใจ และด้านการกระท�ำหรือแนวทาง ระนอง จังหวัดระนอง”ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ในการด�ำเนินชีวิต ด้วยเหตุผลและความส�ำคัญดังกล่าว ผู้ และมีค่าดัชนีประสิทธิผล 0.5 ขึ้นไป ศึกษาได้ศึกษารูปแบบวิธีการสอน เพื่อปรับปรุงแก้ไขการ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ เรียนการสอน โดยค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากต�ำรา งาน นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้การจัดการเรียนการสอนโดย วิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการ สอบถามผู้เชี่ยวชาญ และ ใช้การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการ ขอค�ำแนะน�ำจากผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน ร่วมทั้งศึกษา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความ ค้นคว้าเกี่ยวกับการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ สามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี เพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน จึงได้พัฒนา ที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง นวัตกรรม“การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ จังหวัดระนอง ก่อนเรียนและหลังเรียน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริม 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถม การเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การพัฒนารูป ศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมือง แบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของ ระนอง จังหวัดระนอง” ขึ้น เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียน เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิด รู้ครบถ้วนเป็นองค์รวมทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และ วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่ม เทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ควบคู่กับการท�ำกิจกรรมการทดลอง และสรุปองค์ความรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก็สามารถเชื่อได้ว่า วิธีด�เนินการวิจัย การสอนด้วยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การพัฒนารูป แบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของ 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้น เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิด ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม กอง วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 โรงเรียน การศึกษาเทศบาลเมืองระนอง อ�ำเภอระนอง จังหวัด เทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัด ระนอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 3 ระนอง”จะสามารถพัฒนาให้นักเรียน มีความรู้ มีคุณธรรม ห้องเรียน คือ ป.4/2 – ป.4/3 จ�ำนวน 70 คน

69 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โรงเรียนเป็นหน่วยในการเลือก โดยใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มี 3 ชุด ดังนี้ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ รูป ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย แบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของ 1. ตัวแปรต้นคือ การเรียนการสอน โดยใช้การ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิด พัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลัก วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถใน เทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยถ่ายทอดแนวคิดของรูปแบบการสอนออกมาในรูปของ โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง แผนการจัดการเรียนรู้ ในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้น จังหวัดระนอง ประถมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งงานวิจัยนี้เรียกว่า ชุดปฏิบัติการเรียน 1.1 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพของ รู้ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (แผนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการหลัก วิทยาศาสตร์ เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องแสงและการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถใน มองเห็น ใบงาน ความรู้ แบบทดสอบการปฏิบัติ และแบบ การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ทดสอบย่อย) ทั้งหมด 6 ชุด โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน จังหวัดระนอง ประสิทธิภาพของรูปแบบการสอน ได้แก่ แบบทดสอบวัดผล 1.2 ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจของ สัมฤทธิ์ทางการเรียน การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยา นักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนโดย ศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่ง ใช้ การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์บูรณาการ เสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม สามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ระหว่างก่อนเรียนและ ที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมืองระนอง หลังเรียน เป็นชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ จังหวัดระนอง เนื้อหา สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ 3. เครื่องมือที่ใช้ในการสะท้อน ก�ำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช พฤติกรรม ได้แก่ แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา การเรียนโดยใช้การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยา 2560 ใช้เป็นแกนในการสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่ง จ�ำนวน 6 ชุด ใช้เวลา 12 ชั่วโมง จ�ำนวนแผนการจัดการ เสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น เรียนรู้ ทั้งหมด 6 แผน ดังนี้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม 1. แผนที่ 1 การเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งก�ำเนิด อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง เป็นแบบมาตราส่วน จ�ำนวน 2 ชั่วโมง ประมาณค่า 5 ระดับ จ�ำนวน 15 ข้อ 2. แผนที่ 2 ตัวกลางของแสง จ�ำนวน 2 ชั่วโมง 3. แผนที่ 3 การสะท้อนของแสง จ�ำนวน 2 ชั่วโมง วิธีด�เนินการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. แผนที่ 4 การหักเหของแสง จ�ำนวน 2 ชั่วโมง 5. แผนที่ 5 เซลล์สุริยะ จ�ำนวน 2 ชั่วโมง ในการด�ำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 6. แผนที่ 6 แสงขาวและการเกิดรุ้ง จ�ำนวน 2 ผู้วิจัยได้ขออนุญาตและขอความอนุเคราะห์ เพื่อขออนุญาต ชั่วโมง ด�ำเนินการทดลองใช้รูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริม ศึกษา 2560 ระหว่างวันที่ 9 สิงหาคม 2560 ถึง วันที่ 20 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถม กันยายน 2560 โดยใช้ระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้ 12 ศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม เพื่อเก็บ ชั่วโมง ไม่รวมเวลาในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ข้อมูลการใช้รูปแบบการสอนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 70 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียน ความรู้สึกที่มีต่อการเรียนด้วยรูปแบบดังกล่าว หลังจากที่ ที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 37 คน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนครบตามก�ำหนดแล้ว ครู โดยใช้สถานที่ท�ำการทดลอง คือ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ชั้น ผู้สอนให้ผู้เรียนท�ำแบบทดสอบถามความพึงพอใจต่อการ ประถมศึกษาปีที่ 4 และห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เรียนด้วยรูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาขึ้น โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทารามโดยผู้วิจัยได้ด�ำเนินการ ขั้นที่ 3 หลังการทดลอง ด�ำเนินการทดสอบหลัง ตามขั้นตอน ดังนี้ เรียน ผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่าง ท�ำการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 1 ก่อนการทดลอง ด�ำเนินการทดสอบก่อน ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาขึ้น เป็นชุดเดียวกับการ เรียน โดยให้ผู้เรียนกลุ่มตัวอย่างได้ท�ำแบบทดสอบ ก่อน ทดสอบก่อนเรียน แต่ในส่วนของแบบทดสอบเนื้อหา เรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข้อสอบที่ผู้เรียนจะได้ทดสอบเป็นข้อสอบชุดเดียวกันแต่จะ วิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งแบบทดสอบดังกล่าว สลับข้อค�ำตอบข้อสอบแต่ละข้อจะมีค่าความยาก ง่ายและ ประกอบด้วยการทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์และการ อ�ำนาจจ�ำแนกเท่า ๆ กัน เมื่อผู้เรียนท�ำการทดสอบวัดผล ทดสอบวัดเนื้อหาที่เรียน ในการสอบนั้น ครูผู้สอนจะให้ สัมฤทธิ์เสร็จแล้วจะทราบผลคะแนนและผลการประเมิน

ผู้เรียนด�ำเนินการสอบทั้งด้านทักษะการคิดวิเคราะห์และ ทันที ได้ค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียน (E2= 81.62) น�ำมา ด้านความรู้ เมื่อผู้เรียนท�ำข้อสอบครบหมดแล้ว จะสามารถ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการทดสอบสมมติฐาน ทราบคะแนนและผลการประเมินทันทีและจะน�ำมา ของการวิจัย ข้อที่ 1 ต่อไป วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการทดสอบสมมติฐาน ขั้นที่ 4 ประเมินความพึงพอใจ เมื่อเรียนจบ ของการวิจัยข้อที่ 2 ต่อไป ทุกหน่วยแล้ว ให้ผู้เรียนท�ำแบบประเมินความพึงพอใจที่มี ขั้นที่ 2 ระหว่างทดลอง ให้ผู้เรียนกลุ่มตัวอย่าง ต่อการเรียน เรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาขึ้น โดย การเรียนตามแบบฝึกปฏิบัติการเรียนการสอน แบ่งกลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้เรียนเป็นกลุ่มๆละ 4 คน ตามความสามารถทางทักษะการ คิดวิเคราะห์ วิธีการแบ่ง จะใช้คะแนนการทดสอบก่อน 1 สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ เรียน โดยคัดเลือกผู้ที่มีทักษะทางวิทยาศาสตร์ระดับสูงจะ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ในกลุ่ม A และทักษะทางวิทยาศาสตร์รองลงมาอยู่กลุ่ม 2. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบเครื่องมือ ได้แก่ การ B,C,D ตามล�ำดับ หลังจากนั้นผู้เรียนแต่ละกลุ่มจะกระจาย หาความเที่ยงตรง (Validity) การหาค่าอ�ำนาจจ�ำแนก กันไปปฏิบัติประจ�ำกลุ่มตนเอง โดยแต่ละกลุ่มจะมีผู้เรียน (Discrimination index B), หาค่าความเชื่อมั่น (Relia - กลุ่ม A - D เป็นสมาชิกอยู่ร่วมกัน หลังจากนั้นด�ำเนินการ bility), หาค่าอ�ำนาจการจ�ำแนก ของแบบสอบถามตาม เรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยเรียนสัปดาห์ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ,หาค่าความเชื่อ ละ 2 คาบ ในวันจันทร์ เวลา 9.30 - 10.20 น.และวันพุธ มั่น (Reliability) ของแบบมาตราส่วนประมาณค่าวิธีของ เวลา 13.50-14.40 น. เป็นเวลา 6 สัปดาห์ เมื่อเรียนจบ Cronbach, หาค่าความยาก (P) ของแบบทดสอบวัดผล แต่ละหน่วยจะให้ผู้เรียนท�ำการทดสอบย่อย จากแบบ สัมฤทธิ์ทางการเรียน การหาค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งรวมกับคะแนน 3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน โดยใช้สถิติ ระหว่างท�ำกิจกรรมภายในห้องเรียน เพื่อจะน�ำข้อมูลที่ได้ ใช้ t-test (dependent sample) จากสูตร (บุญชม

ไปหาประสิทธิภาพ ( E1) ได้ค่าเฉลี่ยคะแนนระหว่างเรียน ศรีสะอาด , 2535 : 109) (E1 = 88.75) ระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผู้สอนจะต้องสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน แล้วบันทึกผล ผลการวิจัย ลงในแบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน การปรับปรุงพฤติกรรมของผู้เรียนให้มีพัฒนาทางทักษะการ ในการสรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัย คิดวิเคราะห์ที่ดีขึ้นและในการเรียนแต่ละครั้งผู้เรียนจะต้อง โดยจ�ำแนกตามวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้ จดบันทึกลงในสมุด เพื่อเป็นการสรุปประเด็นที่เรียนใน 1. การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ แต่ละครั้งความคิดเห็นที่มีต่อครูผู้สอนเพื่อร่วมกลุ่มและ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริม 71 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถม ขั้นที่ 4 ขั้นแข่งขัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (V : ศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม อ�ำเภอเมือง Versus) ระนอง จังหวัดระนองที่มีประสิทธิภาพ ผลที่ได้ คือ ได้ ก�ำหนดให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกัน รูปแบบการสอนที่ประกอบด้วยขั้นตอนการสอน 5 ขั้น ดังนี้ เตรียมความพร้อมในการน�ำเสนอหน้าชั้นเรียน โดยให้ ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมความพร้อมของนักเรียน (P : นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลงานของกลุ่มของเพื่อน Palliative) ร่วมกับครูและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันโดยการถามตอบ เตรียมความพร้อมเพื่อให้นักเรียนทุกคนพร้อม ระหว่างกลุ่ม(ครูคอยสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานเป็นกลุ่ม มีส่วนร่วมในกิจกรรม สร้างบรรยากาศให้เด็กไม่รู้สึกเหมือน ของนักเรียน และคอยเป็นที่ปรึกษาแนะน�ำ) ครูทบทวน ถูกกดดัน มีความสนุกสนานด้วยกระบวนการพัฒนาทาง บทเรียนโดยเปิดโอกาสให้นักเรียนแข่งขันโดยการตอบ สมอง มีการร้องเพลงประกอบท่าทางเพื่อเตรียมความ ค�ำถามร่วมกันเป็นรายกลุ่มและให้คะแนนกลุ่มหรือรางวัล พร้อมของสมองในการที่จะเรียนรู้ และเสริมสร้างสุขภาพ เป็นแรงจูงใจในการท�ำกิจกรรม (ใช้เวลา 10 นาที) จิตที่ดี เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และสร้าง ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล-สรุปผลและน�ำมา ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียนให้เกิดการเรียนรู้ร่วม ปรับปรุง (E : Evaluate) กันแบบกัลยาณมิตร แต่มีความท้าทาย ชวนให้ค้นคว้าหา นักเรียนและครูร่วมกับสรุปสาระส�ำคัญ จุดดี ค�ำตอบ สร้างความตระหนัก ความรับผิดชอบร่วมกัน ความ จุดด้อยของกิจกรรมก่อนที่จะจบบทเรียนเพราะจะช่วย พร้อมในเรื่องของสมาธิในการเรียน นักเรียนทุกคนต้องร่วม สร้างความเข้าใจในบทเรียนให้ดีขึ้น น�ำผลที่ได้จากการ มือร่วมใจกันปฏิบัติสมาธิ เพื่อให้เกิดสติก่อนเรียนเนื้อหา วิเคราะห์มาเป็นแนวทางในการปรับปรุงสิ่งที่เป็นปัญหา และแจ้งจุดประสงค์การเรียนและขอบข่ายของกิจกรรมเพื่อ หรืออุปสรรคในการท�ำกิจกรรม เพื่อสามารถออกแบบ ให้นักเรียนได้เตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้ และร่วมกัน กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพในครั้งต่อไป และส่งเสริม ก�ำหนดข้อตกลงในการเรียนรู้ในบทเรียนนั้น ๆ (ใช้เวลา 5 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ให้กับนักเรียน โดยให้นักเรียนคิด - 10 นาที) ต่อไปว่าจะน�ำสิ่งที่เรียนไปประยุกต์ใช้หรือน�ำไปใช้แก้ปัญหา ขั้นที่ 2 ขั้นศึกษาผู้เรียน (A : Analysis) ได้อย่างไรบ้างโดยเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ ครูผู้สอนต้องศึกษาว่านักเรียนมีความรู้พื้นฐาน เพียง ประเมินนักเรียนตามสภาพจริงด้วยวิธีการอย่างหลาก ก่อนเรียนมากน้อยเพียงใด โดยการใช้ค�ำถามแลกเปลี่ยน หลาย(ใช้เวลา 10 นาที ) เรียนรู้ร่วมกัน เปิดโอกาสให้นักเรียนตอบค�ำถามโดยไม่ต้อง ด้านประสิทธิภาพของรูปแบบการสอน รูปแบบ กังวลถึงการตอบถูกหรือผิด แต่สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ การสอนที่ผู้วิจัยพัฒนา เป็นรูปแบบการสอนที่มี ร่วมกัน กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และให้นักเรียน ประสิทธิภาพ กล่าวคือ ประสิทธิภาพของรูปแบบการสอน มีการวางแผนการท�ำงานร่วมกันโดยใช้ผังกราฟฟิก ซึ่งเป็น โดยการหาประสิทธิภาพของกระบวนการต่อประสิทธิภาพ แนวการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อน�ำเข้าสู่กระบวนการเรียน ของผลลัพธ์ได้เท่ากับ 83.24/84.95 ซึ่งมากกว่าเกณฑ์ที่ การสอนอย่างเป็นระบบ (ใช้เวลา 10 นาที) ก�ำหนดไว้ คือ 80/80 และผลการทดสอบวัดทักษะคิด ขั้นที่ 3 ขั้นความร่วมมือ (R : Relation) วิเคราะห์ โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ครูผู้สอนมอบหมายงานให้ท�ำร่วมกันเป็นกลุ่ม เมื่อเรียนด้วยรูปแบบการสอนในแต่ละหน่วย ได้คะแนน และสอนให้รู้จักแบ่งหน้าที่ ปรึกษาหารือกันก่อนการ เฉลี่ยร้อยละ 83.24 ของผู้เรียนทั้งหมด ทดลองหรือการเรียนรู้ ศึกษาใบความรู้และการแลกเปลี่ยน 2. ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้จากการเปรียบ เรียนรู้ร่วมกันอย่างอิสระ โดยครูท�ำหน้าที่เป็นผู้ให้ค�ำ เทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน โดย ปรึกษา ซึ่งจะท�ำให้นักเรียนเกิดพัฒนาความสามารถในด้าน ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยผลสัมฤทธิ์ ต่าง ๆ เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์ การท�ำงานกลุ่ม ทักษะ ทางการเรียนหลังทดลองของผู้เรียนที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบ การใช้เทคโนโลยี ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ การสอนที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมี ให้นักเรียนร่วมกันลงมือท�ำการทดลองหรือเรียนรู้ร่วมกัน นัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามเกณฑ์ที่มี ตามใบกิจกรรม (ใช้เวลา 20 นาที) ประสิทธิภาพ

72 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University 3. การประเมินด้านความพึงพอใจของผู้เรียน ที่ ความสามารถในการสร้างความรู้ทางการพยาบาล ประกอบ ได้เรียนรู้ใช้รูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้น กล่าวคือ ผู้เรียน ด้วย การทบทวนความรู้ที่เกี่ยวข้อง การสร้างความขัดแย้ง ที่เรียนตามรูปแบบการสอนแบบเน้นการร่วมมือกันเรียนรู้ ทางปัญญา และการสร้างความรู้ใหม่ และขั้นที่ 2 การ มีความพึงพอใจ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.75 และ ส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.53 อยู่ในระดับมากที่สุด ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ประกอบด้วย การฝึกคิด เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย ร่วมกันเป็นกลุ่ม และการสแกฟโฟลดิง และระยะที่ 2 การเปรียบเทียบความสามารถในการใช้กระบวนการ อภิปรายผลการวิจัย พยาบาลและทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณระหว่างกลุ่ม ที่สอนโดยใช้รูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้น กับกลุ่มที่สอน จากการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการสอนวิชา ตามปกติโดยใช้การวิจัยเชิงทดลองแบบ Randomized วิทยาศาสตร์บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง control group posttest design กลุ่มตัวอย่างเป็น เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 จ�ำนวน 32 คน แบ่งเป็นกลุ่ม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม ทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 16 คน ผลการวิจัย พบว่า อ�ำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ในครั้งนี้ ได้รูปแบบ กลุ่มทดลองที่สอน โดยใช้รูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นมี การสอนที่น�ำไปเป็นแบบแผนในการพัฒนาบทเรียนที่เน้น คะแนนความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลและ การฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ที่ผู้เรียนจะได้ฝึกให้มีทักษะ คะนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่ากลุ่มควบคุม การคิดวิเคราะห์มากขึ้น ผลการวิจัยได้ค้นพบประเด็นที่ ที่สอนตามปกติ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ แมน สมควรน�ำมาพิจารณา ดังนี้ เชื้อบางแก้ว (2556, 102-112) ได้พัฒนารูปแบบการจัด 1. ผลการหาประสิทธิภาพของรูปแบบการสอน การเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทาง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น พบว่า มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ วิทยาศาสตร์ขั้นสูงและเจตคติทางวิทยาศาสตร์พบว่ามี ที่ก�ำหนด ทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการการคิด องค์ประกอบส�ำคัญ คือ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ วิเคราะห์ และความพึงพอใจต่อผู้เรียน นั่นคือ ผู้เรียนที่ได้ 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้มี 4 ขั้นตอนคือ ขั้นการจัด รับการเรียนการสอนที่เน้นการร่วมมือกันเรียนรู้ มีทักษะ เตรียมการ (Managing preparation) ขั้นการเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์ จากการท�ำกิจกรรมร่วมกัน โดยเฉลี่ยไป แบบกระตือรือร้น (Active learning) ขั้นปัญญาความคิด ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็นผลมาจากที่ผู้เรียน (Notion intelligence) และขั้นสร้างความพึงพอใจ เห็นประโยชน์จากการเรียนแบบร่วมมือกันเรียน ผู้เรียนได้ (Satisfaction) และ 4) ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการเรียน รับการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์จากการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามรูปแบบส�ำหรับผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการ และการถ่ายทอดจากเพื่อร่วมกัน ในขณะเดียวกันการเรียน เรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ทักษะกระบวนการทาง รู้ร่วมกัน เป็นวิธีการเรียนที่ปลูกฝังการท�ำงานเป็นกลุ่ม มี วิทยาศาสตร์ขั้นสูงและเจตคติทางวิทยาศาสตร์พบว่าผู้เรียน ทักษะในการแก้ปัญหาร่วมกัน สามารถพัฒนาผู้เรียนได้รับ ในกลุ่มทดลองมีผลการคิดวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทาง ประโยชน์ต่างๆ มาก ทั้งทางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูง วิทยาศาสตร์ขั้นสูงและเจตคติทางวิทยาศาสตร์หลังการ ขึ้นและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคล ซึ่งสอดคล้องกับงาน เรียนสูงกว่าก่อนการเรียน วิจัยของ โสภิดา ทัตพินิจ (2548, 177-197) ได้พัฒนา 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ รูปแบบการสอนที่ส่งเสริมความสามารถในการใช้ รูปแบบการสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ ทางการ กระบวนการพยาบาลและทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า ระยะที่ 1 การสร้างรูปแบบการสอนที่ส่ง ที่ระดับ .05 ที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากผู้เรียนมีทักษะการคิด เสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลและ วิเคราะห์ที่สูงขึ้น ซึ่งได้จากการปฏิบัติจริง ผู้เรียนได้มี ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีองค์ประกอบ 6 ประการ บทบาทในการให้ความร่วมมือกันในกลุ่ม ให้ความช่วยเหลือ คือ 1) เป้าหมาย 2) หลักการ 3) ขันตอนการสอน 4) ระบบ เพื่อน ส่วนผู้เรียนที่มีความสามารถทางทักษะการคิด สนับสนุน 5) ระบบทางสังคม 6) หลักการตอบสนองมุ่งเน้น วิเคราะห์ ปานกลางและต�่ำ ให้ความร่วมมือในการท�ำงาน การจัดการเรียนการสอน 2 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การส่งเสริม และยอมรับความคิดเห็นจากสมาชิกในกลุ่ม ซึ่งสอดคล้อง 73 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 กับงานวิจัยของ ประสิทธิ์ ศรเดช (2553, 164-174) ได้ ระดับดี เป็นเพราะผู้เรียนมีความพอใจต่อรูปแบบการสอน พัฒนารูปแบบการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดทาง นี้ การจัดการเรียน การสอนท�ำให้ผู้เรียนมีความสุข มีเจตคติ คณิตศาสตร์ส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ที่มี 4 องค์ ที่ดีต่อการเรียน มีความกระตือรือร้น เพื่อจะท�ำให้ได้ ประกอบหลัก คือ 1) การน�ำเข้าสู่รูปแบบการสอน (Orien- คะแนนจากการแข่งขัน มีความตั้งใจเรียนเพื่อส่วนรวมของ tation to the model) 2) รูปแบบการสอน (The กลุ่ม มีความรู้ที่ดีต่อเพื่อนร่วมกลุ่ม ผู้เรียนมีความผูกพัน model of teaching) เพื่อฝึกทักษะการคิดทางคณิตศาสตร์ มีความเกื้อกูลช่วยเหลือ ถ่ายทอดทักษะให้แก่กันซึ่ง ส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย 4 องค์ สอดคล้องกับงานวิจัยของสรวงสุดา ปานสกุล (2545, 167- ประกอบคือ 2.1 การน�ำเสนอภาพการด�ำเนินกิจกรรม 175) ได้ศึกษารูปแบบการเรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหาเชิง (Syntax) โดยน�ำเสนอเป็น 4 ฉาก (Phase) ประกอบด้วย สร้างสรรค์ แบบร่วมมือในองค์กรบนอินเทอร์เน็ต ผลการ ฉากที่ 1 น าเสนอสถานการณ์ปัญหา ฉากที่ 2 พิจารณา วิจัย พบว่า มีความพึงพอใจในระดับมาก ในเรื่องกิจกรรม แนวทางการคิด ฉากที่ 3 มวลมิตรพิชิตปัญหาและฉากที่ 4 การเรียนแบบร่วมมือเว็บการเรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหา ร่วมใจใช้ปัญญาตรวจสอบ 2.2 ระบบทางสังคม (Social เชิงสร้างสรรค์ และการจัดรูปแบบการเรียนรู้ และ system) 2.3 หลักการตอบสนอง (Principles of สอดคล้องกับงานวิจัยของวิลาวัลย์ โพธิ์ทอง (2556, reaction) และ 2.4 ระบบที่น�ำมาสนับสนุน (Support บทคัดย่อ) ได้วิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อ system) 3) การน�ำรูปแบบการสอนไปใช้ (Application) พัฒนาจิตวิจัย ส�ำหรับนิสิตระดับปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยี และ 4) ผลที่เกิดจากการใช้รูปแบบการสอน (Instruc- การศึกษา พบว่า ระดับความพึงพอใจของนิสิตที่เรียนจาก tional and nurturant effects) ส�ำหรับผลการทดลองใช้ รูปแบบการสอน พบว่า นิสิตมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการ รูปแบบการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดทางคณิตศาสตร์ สอนที่พัฒนาขึ้นในระดับมาก ส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา พบว่า ทักษะการคิด ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างหลังใช้รูปแบบ ข้อเสนอแนะการน�รูปแบบการสอนไปใช้ การสอนสูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการสอนเพื่อฝึกทักษะการ คิดทางคณิตศาสตร์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 1. ก่อนที่ผู้เรียนจะเริ่มเรียนตามรูปแบบการสอน และสอดคล้องกับแมน เชื้อบางแก้ว (2556, 102-112) ได้ ครูผู้สอนจะต้องสร้างความเป็นกันเอง ความคุ้นเคยและไว้ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ วางใจระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงและเจตคติทาง และอธิบายขั้นตอนการจัดกิจกรรม เน้นการเรียนแบบเน้น วิทยาศาสตร์พบว่ามีองค์ประกอบส�ำคัญ คือ 1) หลักการ การร่วมมือกันเรียนรู้ บทบาทหน้าที่การรับผิดชอบในกลุ่ม 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้มี 4 ขั้นตอน เพราะว่าถ้าผู้เรียนปฏิบัติตามขั้นตอน จะท�ำให้สามารถ คือ ขั้นการจัดเตรียมการ (Managing preparation) ปฏิบัติตามภาระงานได้ส�ำเร็จ ขั้นการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น (Active learning) 2. ควรกระตุ้นและให้ก�ำลังใจแก่ผู้เรียน ให้ผู้เรียน ขั้นปัญญาความคิด (Notion intelligence) และขั้นสร้าง เกิดความมั่นใจและกล้าที่จะถ่ายทอดความรู้ให้แก่เพื่อน ความพึงพอใจ (Satisfaction) และ 4) ผลที่เกิดขึ้นกับ หรือรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมกลุ่ม ผู้เรียนจากการเรียนตามรูปแบบส�ำหรับผลการทดลองใช้ 3. ควรมีการแจ้งผลการท�ำกิจกรรม ผลการสังเกต รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ทักษะ พฤติกรรม ผลการท�ำงานกลุ่มทันทีเพื่อใช้เป็นข้อมูลย้อน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงและเจตคติทาง กลับ ให้ผู้เรียนทราบผลการท�ำกิจกรรมของตนเองและน�ำ วิทยาศาสตร์พบว่าผู้เรียนในกลุ่มทดลองมีผลการคิด คะแนนที่ได้ น�ำไปสร้างเป็นแผนภูมิแสดงผลคะแนนของ วิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงและ ตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นและสนใจ เจตคติทางวิทยาศาสตร์หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน เรียนมากขึ้น รวมถึงส่งผลให้ผู้เรียนมีความพึงพอใจที่ดีต่อ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมี เจตคติที่ดี การเรียนวิทยาศาสตร์ ต่อการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ 4. ในทักษะการคิดวิเคราะห์ ช่วงที่ผู้เรียนถ่ายทอด 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ ความรู้ให้แก่เพื่อนร่วมกลุ่ม ครูผู้สอนต้องคอยเอาใจใส่ เดิน รูปแบบการสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีผลการประเมินอยู่ใน ดูการปฏิบัติตามภาระงานอย่างทั่วถึง เมื่อผู้เรียนมีปัญหา 74 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

ต้องพร้อมที่จะช่วยเหลือทันที 3.1) ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบ 5. ในการแข่งขัน ครูต้องให้ความยุติธรรมทางด้าน การเรียนการสอนที่พัฒนาผู้เรียนโดยองค์รวม ที่เน้นทั้ง การจับเวลา ในการแข่งขันแต่ละครั้ง เพราะ มีผลต่อคะแนน ความรู้และทักษะในการปฏิบัติการทดลอง โดยใช้การ ของกลุ่มและผู้เรียนจะคิดว่าครูมีความล�ำเอียง บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับทฤษฏี และการจัดการเรียนรู้แบบอื่นๆ เช่น ทฤษฏีการเรียนรู้ทาง ข้อเสนอแนะในการใช้แบบทดสอบ สังคม ทฤษฏีการร่วมมือกันเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์แบบโครงงาน 3.2) ควรมีการวิจัยเพื่อค้นคว้าหาตัวแปร 1. ครูต้องให้ค�ำแนะน�ำ ให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ ที่มีผลต่อรูปแบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์บูรณาการหลัก โดยต้องมีความซื่อสัตย์ในการท�ำแบบทดสอบ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น ระดับทักษะการคิดของ 2. ในการท�ำแบบทดสอบ ไม่ควรให้ผู้เรียนนั่งใกล้กันจนเกิน ผู้เรียนก่อนเข้าเรียน การวิเคราะห์หรือการวางแผนงาน ไปเพราะ จะท�ำให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะดูค�ำตอบ ของเพื่อนที่นั่งอยู่ข้างๆ ท�ำให้ไม่แน่ใจในค�ำตอบของตนเอง 3. ครูควรให้นักเรียนท�ำแบบทดสอบด้วยความ ตั้งใจ โดยควบคุมในเรื่องของเวลาให้เหมาะสมข้อเสนอแนะ เพื่อท�ำการวิจัยครั้งต่อไป

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและ พัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) _____. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. คชากฤช เหลี่ยมไธสง. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสาน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหาของนิสิตระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. จิราภรณ์ พิมใจใส. (2553 : 218). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฏีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมความ สามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร. จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2548) “การขับเคลื่อนเศณษฐกิจการเมือง” วารสารเศณษฐกิจและสังคม. 42 (พฤศจิกายน- ธันวาคม) , 41-47. ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญชม ศรีสะอาด. (2535). หลักการวิจัยเบื้องต้น พิมพครั้งที่ 3 กรุงเทพ : สุวีริยาสาสน ประสิทธิ์ ศรเดช. (2553). การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดทางคณิตศาสตร์ส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา. ดุษฏีนิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา. พัทธวรรณ เกิดสมนึก. (2554). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยแบบ PSQ4R สําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. แมน เมืองแก้ว (2556) การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคิตทางิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยบูรพา

75 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

รวีวรรณ โขนงนุช. (2551). การพัฒนาชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนลายสังคโลกโดยใช้รูปแบบการเรียน การสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. รุ่งทิพย์ ธนะทองพิทักษ์. (2556). รายงานการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดสร้างสรรค์งานเอกลักษณ์ไทยด้วยใบตอง เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. นครราชสีมา : โรงเรียนประทาย. วนิดา ไชยมี . (2554 : 109). ผลิตภัณฑ์จากเปลือกข้าวโพด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6. ร้อยเอ็ด : โรงเรียนบ้านแดงโนนสว่าง. วัชรินทร์ สายสาระ. (2530). ปัญหาการเรียนการสอนวิชาดนตรีศึกษาระดับมัธยมศึกษาในเขตจังหวัดเลย. เลย : วิทยาลัยครูเลย. วิลาวัลย์ โพธิ์ทอง. (2556). การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาจิตวิจัย ส�ำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยี การศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคทางการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4 .กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. ศุภาภรณ์ ค�ำแน่น. (2555). การพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์โดยประยุกต์ แนวคิดการเรียนรู้ แบบร่วมมือที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. นครราชสีมา : โรงเรียนประทาย. สมมาตร ค�ำเพิ่มพูน. (2544). การพัฒนารูปแบบการสอนศิลป์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และจิตส�ำนักโดยกิจกรรม การเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สรวงสุดา ปานสกุล. (2545). การนําเสนอรูปแบบการเรียนรูกระบวนการแกปญหาเชิงสรางสรรคแบบรวมมือในองคกรบน อินเทอรเน็ต.วิทยานิพนธครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. โสภิดา ทัดพินิจ. (2548). การพัฒนารูปแบบการสอนที่ส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลและทักษะการคิด อย่างมีวิจารณญาณ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 24 (2), 17-23 อดุลย์ เปลื้องสันเทียะ. (2550). การพัฒนาแบบฝึกการเล่นเครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องเป่าทองเหลือง ส�ำหรับนักเรียนวงโยธวาธิต โรงเรียนสุรนารี ระดับชั้นมัธยมศึกษา. อารยา ช่ออังชัญ. (2551). การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมี วิจารณญาณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. Anderson. (1999). The profession and Practice of Program Evaluation. California : Jossey – Badd - Publishers Kruse, Kevin. (2007). Instruction to instructional design and the ADDIE model. retrieve : http: www.e-learningguru.com/articles/art1_1.htm.

76 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University รายงานการใช้และการพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล สำ�หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Usage Report and Development The Supplementary Book, Health Education and Physical Education, by Noodee with First Aid for students of Prathom Suksa 4.

อัจฉรา ธัญญพืช*1 Autchara Tunyapuech*1

* [email protected]

บทคัดย่อ

รายงานการใช้และการพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับ หนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) สร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาลส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการ เรียน โดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้รายงานพัฒนาขึ้น โดยศึกษาจาก กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4/1 โรงเรียนเทศบาลวัดบุญญวาสวิหาร จ�ำนวน 30 คน ซึ่งกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดก�ำลังศึกษาอยู่ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เนื่องจากนักเรียนแต่ละห้องมีลักษณะ คล้ายๆ กัน คือ มีการคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ 1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาลส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 พร้อมแผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุข-ศึกษาและ พลศึกษา เป็นแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก 1 ชุด จ�ำนวน 20 ข้อ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนด้วย หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับ หนูดี ชุด การ ปฐมพยาบาลส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน และ t-test dependent

1 ครูชำ�นาญการพิเศษ โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม จังหวัดระนอง 1 Senior Professional Level Teachers Wat Upanantharam Municipality School Ranong Province.

77 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้ 1) หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนู ดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ 81.10/84.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี ชุด การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับมากที่สุด

คำ�สำ�คัญ สุขศึกษาและพลศึกษา การปฐมพยาบาล

ABSTRACT

The objectives of this research were: 1) To create The supplementary book, Health Education and Physical Education, by Noodee with first aid for students of Prathom Suksa 4 on the criteria of 80/80. 2) To compare the learning achievement of the students before and after use The supple- mentary book, Health Education and Physical Education, by Noodee with first aid for students of Prathom Suksa 4. 3) Study the student’s satisfaction towards The supplementary book, Health Education and Physical Education, by Noodee with first aid for students of Prathom Suksa 4. The sample used in the study consisted of 30 Prathom Suksa 4 students in the first semester in 2016 of Wadboonyawaswihan municipal school, by Cluster Random Sampling. The documents were : 1) The supplementary book, Health Education and Physical Education, by Noodee with first aid for students of Prathom Suksa 4 and Teaching plan 2) Achievement Test which has 4 choices about 20 items and 3) Satisfaction Questionnaire of the students with The supplementary book, Health Education and Physical Education, by Noodee with first aid for students of Prathom Suksa 4. Statistics used in data analysis include: mean ( ) and the standard deviation (S.D.). The results of the study were as follows: 1) The supplementary book, Health Education and Physical Education, by Noodee with first aid for students of Prathom Suksa 4 has efficiently respec- tively equaled to 81.10/84.00 with meet the set of 80/80 efficiency criterion. 2) Achievement after studying through The supplementary book, Health Education and Physical Education, by Noodee with first aid for students of Prathom Suksa 4 was higher than before studying with statistical significance at the . 05 level. 3) The satisfaction of students towards The supplementary book, Health Education and Physical Education, by Noodee with first aid for students of Prathom Suksa 4 was at the highest level.

Keywords : Supplementary Book Health Education and Physical Education, First Aid

78 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

บทนำ�

ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ศึกษาระดับชาติด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้น 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 นี้เราเชื่อกันว่า ประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2555 พบว่านักเรียนชั้น จะเป็นการสร้างมิติใหม่ทางการศึกษาให้เกิดขึ้นในสังคมได้ ประถมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนนเฉลี่ย วิชาสุขศึกษา 12.71 ด้วยความร่วมมือจากหลายฝ่ายด้วยกันทั้งทางภาครัฐและ คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน ปีการศึกษา 2556 เอกชน นักเรียน ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง ชุมชนได้เข้ามามี มีคะแนนเฉลี่ย วิชาสุขศึกษา 10.55 คะแนน จากคะแนน ส่วนร่วมในการคิดร่วมสร้างแนวทางปฏิบัติตลอดจนวิธีการ เต็ม 30 คะแนน จะเห็นได้ว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยลด จัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตเยาวชนของชาติให้เป็นเด็ก ลง 2.16 คะแนน ผู้รายงานจึงได้ศึกษาวิเคราะห์ปัญหา หา ไทยที่มีคุณภาพ และมีความเหมาะสมกับความต้องการของ สาเหตุที่ท�ำให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีผลสัมฤทธิ์ สังคม การปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา ทางการเรียนไม่บรรลุเป้าหมายพบว่า สาเหตุที่ท�ำให้ผล แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. สัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ 2545 หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา รัฐได้ก�ำหนดไว้ พลศึกษา อยู่ในเกณฑ์ต�่ำ อาจมีสาเหตุหลายประการ เช่น ว่าการศึกษาจะต้องมุ่งพัฒนาคนให้เต็มไปด้วยศักยภาพโดย ตัวครูผู้สอนการจัดการเรียน การสอน เอกสารและสื่อ ต้องให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลทางด้านร่างกาย จิตใจ สติ ประกอบการเรียนการสอน แต่สาเหตุที่ส�ำคัญที่สุดคือตัว ปัญญา ความรู้และคุณธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ครูผู้สอนขาดการศึกษาหลักสูตร คู่มือครู และเอกสาร อย่างเป็นสุข (ส�ำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา ประกอบหลักสูตรอย่างถ่องแท้ ขาดเทคนิควิธีการสอนที่ดี แห่งชาติ, 2542) การจัดการเรียนการสอนจะต้องมุ่งปลูก ขาดสื่อการสอน วิธีการสอนของครูส่วนใหญ่ใช้แบบ ฝังให้นักเรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดการ บรรยาย นักเรียนอยู่ในสภาพจ�ำยอมไม่มีโอกาสได้ร่วมแก้ เรียนการสอนตามแนวพระราชบัญญัตินี้ จะต้องยึดนักเรียน ปัญหา ท�ำให้เกิดความเบื่อหน่าย กระบวนการสอนของครู เป็นส�ำคัญ ดังที่ปรากฏในหมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา เน้นให้นักเรียนจ�ำมากกว่าเน้นหลักการและเหตุผล ครูจัด มาตรา 22 โดยการเรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยวิธีการเรียนรู้ กิจกรรมไม่น่าสนใจ ใช้สื่อการสอนที่ไม่เหมาะสมกับเนื้อหา ที่หลากหลายการเลือกวิธีการสอนที่จะน�ำมาใช้นั้น ควร เนื่องจากสุขศึกษา เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็น ค�ำนึงถึงความเหมาะสมกับเด็กในแต่ละวัย โดยมีการใช้ นามธรรมเป็นส่วนใหญ่ ยากต่อการเข้าใจ นักเรียนบางคน เทคนิคการสอนหลายรูปแบบ ซึ่งน�ำไปสู่การพัฒนานักเรียน ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียน ท�ำให้เกิดความ ให้มีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรก�ำหนด เบื่อหน่าย และอาจส่งผลให้นักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชา โรงเรียนเทศบาลวัดบุญญวาสวิหาร อ�ำเภอ สุขศึกษาได้ ครูในฐานะที่มีหน้าที่โดยตรงต่อการสอนจึงควร ท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี มุ่งจัดการศึกษาโดยเน้นนักเรียน เป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มี เป็นศูนย์กลาง ให้มีคุณภาพ เก่ง ดี มีสุข ผลสัมฤทธิ์อยู่ใน ประสิทธิภาพมากที่สุด เกณฑ์มาตรฐานและมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ใน ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ปัญหาคุณภาพการศึกษา การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และพลศึกษา ผู้รายงานศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาก สุขศึกษาและพลศึกษา ผู้สอนจะต้องรู้จักการพัฒนาการ ปีการศึกษาที่ผ่านมา พบว่าโรงเรียนได้ก�ำหนดเป้าหมายผล เรียนการสอน โดยเฉพาะด้านสื่อการเรียนการสอนมีความ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ ส�ำคัญอย่างยิ่งในการที่จะท�ำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี พลศึกษา โดยต้องผ่านเกณฑ์ระดับคะแนนร้อยละ 80 ที่สุด เพราะสื่อการเรียนการสอนเป็นส่วนส�ำคัญ ในการจัด ปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียน สภาพแวดล้อม ซึ่งก่อให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการเรียนรู้ รู้สุขศึกษาและพลศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา และยังเป็นการสร้างแรงจูงใจให้นักเรียน เกิดความสนใจที่ ปีที่ 4 ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ได้และ จะเรียนรู้ และยังเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้นักเรียน มีแนวโน้มลดลงจากรายงานผลการประเมินคุณภาพการ ได้ศึกษาหาความรู้โดยที่ครูผู้สอนนั้นต้องน�ำเอาสภาพ ปัญหาและความต้องการเหล่านั้นมาพัฒนานวัตกรรมซึ่ง

79 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศสนับสนุนให้มีการใช้สื่อ เดื่อใต้ ส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 1 ผล การเรียนการสอนทุกระดับ การศึกษา พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น หนังสืออ่านเพิ่มเติม เป็นหนังสือส�ำหรับเด็กที่มี ประถมศึกษาปีที่ 4 ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและ เนื้อหาสาระอิงหลักสูตรส�ำหรับให้นักเรียนศึกษาหาความ พลศึกษาโดยการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดการสร้างความ รู้เพิ่มเติมด้วยตนเองตามความเหมาะสมกับวัยและความ รู้ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีคะแนนทดสอบ สามารถในการอ่านของแต่ละบุคคล เป็นหนังสือที่มี หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ บทบาทในการส่งเสริมความรู้สติปัญญาและเด็กยังได้รับ ระดับ .01 และจากการรายงานการศึกษาทางวิชาการของ ความสนุกสนานเพลิดเพลินจากเรื่องราว ภาพประกอบ สมศรี มาตรวชิระ (2553) รายงานการใช้หนังสืออ่านเพิ่ม โดยการเขียน การจัดท�ำที่เหมาะสมกับวัยความสนใจและ เติม ชุดโรคและการบาดเจ็บกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา ความสามารถในการอ่าน เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วย และพลศึกษา วิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษา พัฒนาการเรียนการสอน ให้น่าสนใจ สามารถใช้เป็นองค์ ปีที่ 1 โรงเรียนบ้านหล่ายฝาง ต�ำบลแม่ข่า อ�ำเภอฝาง ประกอบของกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนได้เป็น จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการ อย่างดี ช่วยนักเรียนที่มีความกระตือรือร้นสูง ให้ได้รับ เรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ประสบการณ์กว้างขวางขึ้น สามารถน�ำไปใช้กับนักเรียน ชุด โรคและการบาดเจ็บ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา ที่เรียนช้าต้องการความเอาใจใส่เป็นพิเศษจากครูซึ่งไม่ และพลศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จ�ำนวน สามารถกระท�ำได้ในชั้นเรียนทั่วไป นักเรียนที่มีปัญหาการ 10 เล่ม แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ 0.01 เรียนช้าหรือนักเรียนที่ยังไม่มีความพร้อม ครูจะน�ำมาใช้ใน ด้วยปัญหาและความส�ำคัญของดังกล่าวผู้รายงาน การสอนเสริมอีกครั้งหรือหลายๆ ครั้ง เปิดโอกาสให้ จึงพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา นักเรียนได้ใช้เวลามากขึ้น โดยการแนะน�ำช่วยเหลือจากครู และพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล หรือเพื่อนๆ ได้ และท�ำให้นักเรียนสนใจในบทเรียนมาก ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อเป็น สื่อการ ขึ้น ดังนั้น หนังสืออ่านเพิ่มเติมจึงเป็นสื่อที่ดีอย่างหนึ่งใน เรียนการสอนของครูและเป็นสื่อการเรียนของนักเรียนและ กระบวนการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา เป็นแหล่งศึกษาเพิ่มเติมความรู้และผลการศึกษาค้นคว้า และพลศึกษา ดังจะเห็นได้จากผลการวิจัยที่ผู้รายงานได้ ครั้งนี้ก็เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการ ศึกษาค้นคว้ามาซึ่งชี้ให้เห็นว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมเป็นสื่อ สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เพื่อ การเรียนการสอน ที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ ให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่สูงขึ้นเช่น นุชณีภรณ์ วงษ์กลม (2555) ได้ ทางการเรียนดียิ่งขึ้น รวมทั้งน�ำมาใช้กับชีวิตประจ�ำวันได้ พัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา จริง ศาสนา และวัฒนธรรม ชุดวัฒนธรรมพื้นบ้านต�ำนานพื้น เมือง เรื่อง ฮีตสิบสอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลการวิจัยพบ ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า ว่า หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชุด วัฒนธรรมพื้นบ้านต�ำนานพื้น 1. เพื่อสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการ เมือง เรื่อง ฮีตสิบสอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การ 82.60/83.04 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ ผลสัมฤทธิ์ ปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มี ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียน ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ศาสนา และวัฒนธรรม ชุด วัฒนธรรมพื้นบ้านต�ำนาน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนและหลังเรียนที่ พื้นเมือง เรื่อง ฮีตสิบสอง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง เรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากรายงานการศึกษาทาง สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การ วิชาการของ ดอกไม้ มั่งมี รายงานผลการใช้หนังสืออ่าน ปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพิ่มเติม เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้าน การเรียน โดยใช้ หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ 80 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การ สร้างขึ้นไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 ปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้ โรงเรียนเทศบาลวัดบุญญวาสวิหาร จ�ำนวน 30 คนจังหวัด รายงานพัฒนาขึ้น จันทบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 มีรายละเอียด ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. น�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ ได้รับการแก้ไขปรับปรุงหาค่าความยากง่าย ค่าอ�ำนาจ 1. ประชากรได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ จ�ำแนก และหาค่าความเชื่อมั่นแล้ว น�ำมาให้นักเรียนกลุ่ม 4 จ�ำนวน 2 ห้องเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดบุญญวาสวิหาร ตัวอย่างท�ำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน จ�ำนวน 71 คน ซึ่งประชากรทั้งหมดก�ำลังศึกษาอยู่ในภาค (Pre-test) เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 2. ด�ำเนินการสอนโดยใช้ หนังสืออ่านเพิ่มเติม 2. กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษาชุด เรียนรู้กับ 4/1 โรงเรียนเทศบาลวัดบุญญวาสวิหาร จ�ำนวน 30 คน หนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ซึ่งกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดก�ำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปี ศึกษาปีที่ 4 ตามแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้กับกลุ่ม การศึกษา 2559 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster ตัวอย่าง ในระหว่างที่นักเรียนท�ำแบบทดสอบท้ายบทเรียน Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการ ในแต่ละเรื่อง บันทึกคะแนนเพื่อหาประสิทธิภาพตาม สุ่ม เกณฑ์ 80/80 3. เมื่อด�ำเนินการเรียนการสอนตามแผนการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า จัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การ 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 น�ำ สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (Post- ปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 test) มาให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทดสอบเพื่อหาค่าความ พร้อมแผนการจัดการเรียนรู้ ก้าวหน้า (t-test) อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชุด 4. ด�ำเนินการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล เป็นแบบเลือกตอบ โดยน�ำแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบด้านภาษาและจุด ชนิด 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 1 ชุด 20 ข้อ ใช้ทดสอบก่อนและ ประสงค์ มาให้นักเรียนท�ำแล้วจึงน�ำผลคะแนนไปหาค่าตาม หลังการเรียน วิธีทางสถิติ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มี ต่อการเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การ ปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็น 1. ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหนังสืออ่าน แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) เพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้น การเก็บรวบรวมข้อมูล ประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้รายงานได้น�ำหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การ ปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่

81 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

ตารางที่ 1 แสดงการหาประสิทธิภาพของขั้นทดลองเป็นรายบุคคล หนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระ การเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ชุด เรียนรูกับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4

คะแนน คะแนนระหว่างเรียน คนที่/ หลังเรียน คะแนน เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง E E เต็ม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 100 20 อ่อน 3 3 3 4 4 5 3 3 3 3 34 12 ปานกลาง 4 4 5 4 4 5 5 5 4 5 45 11 เก่ง 6 7 5 6 56 6 7 7 6 6 112 13 รวม 13 14 13 14 64 16 15 15 13 14 191 36

ประสิทธิภาพ E1/E2 = 63.67/60.00

จากตารางที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพ E1/E2 ขั้นทดลองเป็นรายบุคคล (Individual tryout) ทดลอง การใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดีกับนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดบุญญวาสวิหาร สังกัดเทศบาลเมืองท่าใหม่ อ�ำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี จ�ำนวน 3 คนโดยเลือกนักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูง 1 คนปานกลาง 1 คน และต�่ำ 1 คนได้นักเรียนที่มีระดับการ เรียนเก่ง (เกรด 4) จ�ำนวน 1 คน ระดับการเรียน ปานกลาง (เกรด 2) จ�ำนวน 1 คน ระดับการเรียนอ่อน (เกรด 1) จ�ำนวน 1 คน โดยดูจากระเบียนสะสมคะแนนของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยทุกวิชาให้ทดลองใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ขั้น นี้มีจุดประสงค์เพื่อหาจุดบกพร่องของหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้ กับหนูดี ส�ำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีความเหมาะสมก่อนที่จะน�ำไปใช้จริง ผลการทดลองพบว่า นักเรียนบางคนเบื่อหน่ายต่อการเรียนด้วยมีอักษรบรรยายมากเกินไป ภาพค่อนข้างเล็ก ขนาดตัวอักษรไม่เท่ากันและ ไม่มีแบบทดสอบท้ายบทเรียน ผู้รายงานจึงน�ำข้อบกพร่องมาปรับปรุงแล้วน�ำไปทดลองในครั้งต่อไป ผลการหา ประสิทธิภาพประสิทธิภาพ E1/E2 =63.67/60.00

82 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

ตารางที่ 2 แสดงการหาประสิทธิภาพของขั้นทดลองกลุ่มเล็ก หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรูสุขศึกษา และพลศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ชุด เรียนรูกับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4

คะแนน คะแนนระหว่างเรียน คนที่ / หลังเรียน คะแนน เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง E E เต็ม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 100 20

1 7 7 8 7 7 7 7 8 7 6 71 14 2 7 8 7 7 5 7 8 7 7 7 70 14 3 7 7 8 7 6 8 7 8 7 8 73 15 4 7 8 7 7 8 8 8 7 7 8 75 17 5 8 7 8 7 8 7 7 7 7 7 73 16 6 8 8 7 7 8 7 7 7 7 6 72 16 7 8 7 8 7 8 7 7 7 7 7 73 15 8 8 8 7 7 8 7 8 7 8 8 76 15 9 7 7 7 8 7 8 7 7 8 8 74 14 รวม 67 67 67 64 65 66 66 65 65 65 657 136

ประสิทธิภาพ E1/E2 = 73.00/75.56

จากตารางที่ 2 ผลการหาประสิทธิภาพ E1/E2 การทดลองกลุ่มเล็ก (Small Group Testing) หลังจากแก้ไข ข้อบกพร่องจากการทดลองครั้งที่ 1 แล้ว จึงน�ำหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ไปทดลองใช้ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัด บุญญวาสวิหาร สังกัดเทศบาลเมืองท่าใหม่ อ�ำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ที่ไม่ใช่กลุ่มเดิมที่เคยทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง มาแล้ว จ�ำนวน 9 คน โดยเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนจากกลุ่มคะแนนสูง ปานกลาง และต�่ำ กลุ่มละ 3 คน ซึ่งในการ ทดลองครั้งนี้นักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างดีแต่บางคนไม่สามารถท�ำแบบทดสอบท้ายบทเรียนได้ทันเวลา ผลการหา

ประสิทธิภาพ E1/E2 =73.00/75.56

83 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

ตารางที่ 3 แสดงประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ตารางที่ 3 ชุด แสดงประสิทธิภาพของ เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาลหนังสืออ่านเพิ่มเติม ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่กลุ่มสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาของกลุ่ม 4 ตัวอย่าง ชุด เรียนรูกับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4

คะแนน คะแนนระหว่างเรียน คนที่/ หลังเรียน คะแนน เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง E E เต็ม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 100 20 1 8 8 9 9 8 7 7 8 8 9 81 18 2 9 8 9 8 8 9 8 8 8 8 83 19 3 8 7 8 7 8 7 8 9 9 9 80 16 4 8 8 7 8 7 8 9 9 9 9 82 16 5 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 80 15 6 9 8 7 8 8 9 8 7 7 8 79 16 7 8 8 8 8 8 8 8 9 8 8 81 16 8 7 8 9 8 9 7 8 7 8 9 80 16 9 8 8 8 8 8 8 8 8 9 9 82 17 10 8 8 9 9 7 8 8 8 8 8 81 17 11 8 8 9 8 9 8 9 9 9 9 86 17 12 9 8 9 8 9 8 9 8 9 8 85 16 13 8 7 8 9 8 7 8 7 8 7 77 16 14 8 8 7 8 8 8 7 7 8 8 77 17 15 8 8 8 9 9 8 8 8 8 8 82 16 16 9 8 7 9 8 8 9 9 9 9 85 17 17 8 8 9 8 8 8 9 9 8 8 83 16 18 9 9 7 8 7 8 9 8 8 8 81 18 19 9 8 8 8 9 9 8 9 9 9 86 16 20 8 9 8 8 9 8 8 9 8 8 83 18 21 7 8 8 9 8 7 8 7 8 7 77 17 22 8 9 9 8 7 8 3 8 8 9 77 17 23 7 9 8 8 8 8 8 9 8 9 82 16 24 8 8 9 9 8 8 9 8 7 8 82 17 84 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

คะแนน คะแนนระหว่างเรียน คนที่/ หลังเรียน คะแนน เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง E1 E2 เต็ม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 100 20 25 9 8 9 8 9 8 9 8 8 9 85 18

26 8 7 8 7 8 7 8 7 8 7 75 17 27 8 8 7 8 8 8 7 8 9 8 79 16 28 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 80 17 29 9 8 7 7 9 8 7 7 8 9 79 18

30 8 8 9 8 8 8 9 8 9 8 83 18

รวม 245 241 244 244 244 237 240 242 247 249 2433 504

ประสิทธิภาพ E1/E2 = 81.10/84.00

จากตารางที่ 3 ผลการหาประสิทธิภาพ E1/E2 ขั้นทดลองภาคสนาม หลังจากแก้ไขข้อบกพร่องจากการทดลอง ในครั้งที่ 2 แล้ว จึงน�ำหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การ ปฐมพยาบาล ไปทดลองใช้ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดบุญญวาสวิหาร สังกัดเทศบาล เมืองท่าใหม่ อ�ำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี จ�ำนวน 30 คน โดยให้นักเรียนศึกษาความรู้จากหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่ม สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ไปทดลองใช้ส�ำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 พร้อมกันท�ำแบบทดสอบท้ายบทเรียนและท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการหา

ประสิทธิภาพ E1/E2 =81.10/84.00 ตารางที่ 4 แสดงประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาของกลุ่ม ตัวอย่าง ชุด เรียนรูกับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 คะแนนทดสอบระหว่างเรียน (E1) คะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียน (E2) จำานวนนักเรียน คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 30 81.10 81.10 16.80 84.00

จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นว่าคะแนนเฉลี่ยของการท�ำแบบทดสอบระหว่างเรียนมีค่า 81.10 คิดเป็นร้อย ละ 81.10 คะแนนเฉลี่ยของการท�ำแบบทดสอบหลังเรียนมีค่า 16.80 คิดเป็นร้อยละ 84.00 จึงถือว่า หนังสืออ่าน เพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้

85 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 2. ผลการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วย หนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4

ตารางที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียน คะแนน การทดสอบ t N Χ S.D. ก่อนเรียน 20 8.53 1.77 21.91∗ หลังเรียน 20 16.8 0.93

* มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

3. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ตารางที่ 6 วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุข ศึกษา และพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ระดับ ข้อที่ รายการประเมิน Χ S.D. ประเมิน 1 ทำาให้นักเรียนเกิดความสนใจ อยากเรียนรู้มากขึ้นกว่าเดิม 4.63 0.56 มากที่สุด 2 ทำาให้อยากมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทุกครั้ง 4.57 0.50 มากที่สุด 3 ช่วยให้เข้าใจบทเรียนได้ดีขึ้น 4.37 0.67 มาก 4 ช่วยให้จำาบทเรียนได้แม่นยำาขึ้น 4.83 0.38 มากที่สุด 5 ใช้สำานวนภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ 4.43 0.63 มาก 6 แบบฝกท้ายบทเรียนช่วยให้เข้าใจได้ดีขึ้น 4.67 0.48 มากที่สุด 7 เนื้อหาเหมาะสมชวนให้น่าอ่าน 4.73 0.45 มากที่สุด 8 มีภาพสวยงามน่าสนใจ 4.57 0.63 มากที่สุด 9 มีวิธีการขั้นตอนในการเข้าไปศึกษาง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน 4.40 0.67 มาก 10 การเขียนเรื่องเป็นลักษณะการ์ตูนเข้าใจเนื้อเรื่องได้ดีและน่าอ่าน 4.57 0.63 มากที่สุด รวม 4.58 0.56 มากที่สุด

86 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

จากตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชุด เรียนรู้กับหนูดี เรื่อง การปฐมพยาบาล ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สรุป ได้ว่านักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.58 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.56 และโดยสรุปเป็นรายข้อพบว่าอันดับแรก นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการช่วยให้จ�ำบทเรียนได้แม่นย�ำขึ้นและมีค่า เฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.83 อันดับสอง เนื้อหาเหมาะสมชวนให้อ่านมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.73 อันดับที่สาม แบบฝึกท้าย บทเรียนช่วยให้เข้าใจได้ดีขึ้น มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.67

ข้อเสนอแนะ 1.2 ควรน�ำหนังสืออ่านเพิ่มเติมนี้ไป ใช้เสริมความรู้ให้แก่นักเรียน เพื่อศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 1. ข้อเสนอในการน�ำไปใช้ ในห้องสมุด 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ 1.3 ควรมีการพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่ม จากการศึกษาครั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ เติม ในรูปแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือพัฒนาร่วมกับ สนใจในการสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมและเป็นแนวทางใน สื่ออื่นในรูปแบบของสื่อประสมเพื่อให้เกิดความหลาก การศึกษาและพัฒนาต่อไป ผู้รายงานขอเสนอแนะไว้ใน หลาย ด้านต่างๆ ดังนี้ 2. ข้อเสนอแนะส�ำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป 1. ข้อเสนอแนะส�ำหรับครู 2.1 ควรมีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ 1.1 ก่อนที่จะน�ำหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม การสอนในรูปแบบต่างๆ ไปใช้ ครูควรเตรียมความพร้อม ให้กับนักเรียนก่อนโดย เช่น การเรียนหนังสืออ่านเพิ่มเติมคนเดียวกับการเรียน ให้ค�ำแนะน�ำเบื้องต้นแก่นักเรียนทุกคน ซึ่งในช่วงแรกๆ หนังสืออ่านเพิ่มเติม ร่วมกันเป็นกลุ่มและการเรียน นักเรียนจะยัง ไม่เข้าใจวิธีการเรียน ดังนั้นครูจะต้องคอย หนังสืออ่านเพิ่มเติม ภายใต้การก�ำกับดูแลของครู ให้ความช่วยเหลือแนะน�ำส�ำหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้าน 2.2 ในเนื้อหาที่ยากและมีปัญหา การเรียน เมื่อเห็นว่านักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย ส�ำหรับนักเรียน ควรมีการสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เพื่อ ตนเองแล้วจึงให้เรียนบทเรียนต่อเนื่องกันไป จนจบบท เป็นการให้ความรู้แก่นักเรียนที่เรียนอ่อนที่ไม่มีความรู้พื้น เรียน ฐานดีพอ

เอกสารอ้างอิง

ส�ำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2542). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : คุรุสภา. นุชณีภรณ์ วงษ์กลม. (2555). การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ชุดวัฒนธรรมพื้นบ้านต�ำนานพื้นเมืองเรื่อง ฮีตสิบสอง ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฎอุบลราชธานี. สมศรี มาตรวชิระ (2553). รายงานการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด โรคและการบาดเจ็บ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา วิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. ผลงานทางวิชาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาโรงเรียนบ้านหล่ายฝาง ต�ำบลแม่ข่า อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่.

87 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

การพัฒนามัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำ�หรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 บน Google Classroom The Development of Interactive Multimedia on the Topic of Communications and Data Network Computer Courses for Information and Communications Technology Matthayomsuksa 2 on Google Classroom.

เกศแก้ว ศรีแก้ว *1 ก่อเกียรติ ขวัญสกุล 2 สาวิตรี ตุ้มมี 3 Gadkaew Srikaew *1 Kokeit Kwunsakul 2 Sawitree tummee 3

* [email protected]

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนามัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ สำ�หรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลัง 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอนุกูลนารี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำ�นวน 39 คน โดย การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) สื่อมัลติมีเดีย ปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำ�หรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2) แบบทดสอบ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำ�นวน 20 ข้อ 3) แบบประเมินคุณภาพของสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้สื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์จำ�นวน19ข้อ ผลการวิจัยพบว่า 1)มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำ�หรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 82.91/82.44 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ. 05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด

คำ�สำ�คัญ: มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์, การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1 นิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2 ผู้ช่วยศาตราจารย์ ประจำ�ภาควิชาเทคโนโลยีการและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3 ครูชำ�นาญการ โรงเรียนอนุกูลนารี อำ�เภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 1 Undergraduate student in Educational Technology and Computer Education, Faculty of Education, Mahasarakham University 2 Assistant Professor in Educational Technology and Communications Department Faculty of Education Mahasarakham University 3 Professional Level Teachers Anukoolnaree school Amphur Mueang, Kalasini Province

88 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ABSTRACT

This is the research of the study the development of interactive multimedia, data commu- nication and computer networks. for course information and communications technology. Mat- thayomsuksa 2 on Google Classroom. The pueposes of the research were to 1) development of interactive multimedia on the topic of communications and data network computer courses for Information and communications technology. Matthayomsuksa 2 met the 80/80 efficiency criteri- on 2) Compare Achievement before and after learning about the communications and computer networks. The teaching and learning on Google Classroom interaction with the media. 3) The satis- faction of learning with multimedia interaction. the learning unit for information and communica- tions technology. Matthayomsuksa 2 is a data communications and computer networks, on Google Classroom with student groups. secondary school befriend the second semester of the second year seminary in 2559 number 39 by selecting a random sample (Cluster sampling) The tools used in this research 1) interactive multimedia on the topic of communications and data network computer courses for Information and communications technology. Matthayomsuksa 2 2) Quiz on the topic of communications and data network computer courses for Information and communications tech- nology. Matthayomsuksa 2 is the fourth multiple-choice selection of 20 items. 3) Assessment of quality interactive multimedia on the topic of communications and data network computer courses for Information and communications technology. Matthayomsuksa 2 4) Satisfaction of students with the use of interactive multimedia, data communication and computer networks. Course Technology Matthayomsuksa 2 of 19 items.

The results revealed the 1) Multimedia interactive communications and computer networks. for course information and communications technology. Matthayomsuksa 2 student met the 80/80 efficiency criterion of 82.91/82.44, respectively 2) the Matthayomsuksa 2 students’ achievement after using multimedia interactive communications and computer networks. for course information and communications technology. Matthayomsuksa 2 using Google Classroom were at higher scores with statistical and significance different level of .05 3) the Matthayomsuksa 2 students’ satisfaction towards the Multimedia interactive communications and computer networks. For course information and communications technology. Matthayomsuksa 2 using Google Classroom students was at high level.

Keywords: Interactive Multimedia, Communications and Data Network

89 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

บทนำ� สังคม ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านศาสนา ศิลป วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย ด้านภาษาไทย การใช้ ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบัน ภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านประกอบอาชีพ และการดารง ส่งผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนในสังคมเป็นอย่างมาก องค์ ชีวิตอย่างมีความสุข นอกจากนั้นการจัดกระบวนการเรียน ความรู้มีบทบาทและความสำ�คัญต่อการพัฒนาคนและ รู้ยังต้องส่งเสริมให้ผู้สอนจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ ประเทศชาติจนกล่าวกันว่า โลกปัจจุบันเป็นโลกแห่งข้อมูล เอื้อต่อการเรียนรู้และมีวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ ข่าวสารการปฏิวัติทางด้านเทคโนโลยี การใช้คอมพิวเตอร์ เรียนรู้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อ เป็นแรงผลักดันที่สำ�คัญทำ�ให้ระบบการศึกษาในระบบ และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ จัดการเรียนรู้ให้เกิด โรงเรียนจำ�เป็นต้องเปลี่ยนบทบาทไปอย่างรวดเร็วการ ขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับ เรียนการสอนมิได้มีเฉพาะแต่ในห้องเรียนและอยู่ภายใต้ ผู้ปกครองและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมการดาเนินงานและ การกำ�กับของครูเท่านั้น ผู้เรียนสามารถที่จะเรียนได้จาก การจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ จากแนว แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย การเรียนตามความต้องการ นโยบายของรัฐบาลในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ของแต่ละคนที่มีความแตกต่างกันจึงจำ�เป็นต้องจัดการ พ.ศ.2542 ได้กล่าวไว้ใน หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เรียนการสอนให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล มาตร 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสร้างและ เพราะเด็กแต่ละคนมีความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ พัฒนาแบบเรียน ตำ�รา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์ และการมองโลกแตกต่างกันออกไป (รุ่ง แก้วแดง, 2541) วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาโดยเร่งรัด ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีและเครือข่าย พัฒนาขีดความสามารถในการสร้าง จัดให้มีเงินสนับสนุน อินเทอร์เน็ต จึงส่งผลต่อการเรียนรู้ของเยาวชนรุ่นใหม่ การสร้างและให้มีแรงจูงใจแก่ผู้สร้างและพัฒนาเทคโนโลยี อย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยีช่วยทำ�ให้คนเข้าถึงความรู้ เพื่อการศึกษาทั้งนี้โดยให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็น ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น สื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์เป็น ธรรม มาตรา 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้ง ด้านผู้สร้าง สื่อสมัยใหม่อีกรูปแบบหนึ่งที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของ และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ ผู้เรียนในปัจจุบัน เนื่องจากสื่อชนิดนี้ประกอบไปด้วยการ และทักษะในการสร้างรวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ใช้เทคนิคการนำ�เสนอผ่านภาพ เสียง ข้อความที่มีความ มีคุณภาพและประสิทธิภาพ และมาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิ น่าสนใจ และควบคุมลำ�ดับขั้นตอนการเรียนรู้ได้เอง ตลอด ได้รับ การพัฒนาขีดความ สามารถในการใช้เทคโนโลยี จนมีข้อดีคือใช้งานง่าย เป็นสื่อที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ เพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำ�ได้เพื่อให้มีความรู้และ ด้วยตนเองตามศักยภาพ ความต้องการ และความสะดวก ทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยี เพื่อการศึกษาในการ อีกทั้งยังช่วยสนับสนุนให้สถานที่เรียนไม่ถูกจำ�กัดอยู่ใน แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างตลอดชีวิต (กระทรวง ห้องเรียนเท่านั้น นอกจากนี้ในกระบวนการผลิตสื่อชนิด ศึกษาธิการ, 2542) นี้ผู้ผลิตสามารถออกแบบสื่อและเนื้อหาในลักษณะเพื่อ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้ความรู้ฝึกปฏิบัติหรือสอนวิธีคิดแก้ไขปัญหา ฯลฯ ตาม ง22102 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่ต้องการได้อีกด้วย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งเป็นเนื้อหาพื้นฐานใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งเป็น การเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับความ กฎหมายแม่บททางการศึกษาของประเทศ ได้กำ�หนด หมายและความส�ำคัญของพัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร ภารกิจในการปฏิรูปการเรียนรู้ไว้เรื่องแนวทางการจัดการ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ ศึกษาไทย ยึดหลักผู้เรียนมีความสำ�คัญที่สุด ผู้เรียนทุกคน เทคโนโลยี ตัวกลางของการติดต่อสื่อสารในเครือข่าย สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ดังนั้น กระบวนการ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และประโยชน์ จัดการศึกษาต้องเน้นความรู้ คุณธรรม และกระบวนการ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งการเรียนการสอนในรายวิชานี้ เรียนรู้ในเรื่องสาระความรู้ ให้บูรณาการความรู้และทักษะ ส่วนใหญ่เป็นการสอนแบบบรรยาย อภิปราย ยังไม่มีการ ต่างๆ ให้เหมาะสมกับระดับการศึกษาได้แก่ ด้านความ ลงมือปฏิบัติหรือใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ จากการจัดการ รู้เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับ เรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

90 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่านักเรียนมาจาก Classroom หลายพื้นที่มีพื้นฐานทางด้านคอมพิวเตอร์ต่างกันและ เนื้อหารายละเอียดมีมากเกินกว่าจ�ำนวนชั่วโมงเรียนท�ำให้ ความมุ่งหมายของการวิจัย เรียนไม่ทัน นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย ไม่มีความสนใจ หรือตื่นตัวในการเรียน เพราะนักเรียนมักจะมุ่งความสนใจ 1. เพื่อพัฒนาสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การ ไปที่คอมพิวเตอร์ ท�ำให้นักเรียนไม่สามารถสรุปความรู้ใน สื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชา แต่ละเรื่องได้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต�่ำ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ เทคโนโลยีเพื่อลดข้อจ�ำกัดดังกล่าวจึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยน�ำเทคโนโลยี Google Classroom มาประยุกต์ใช้เป็น 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อน เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน สามารถสร้าง เรียนและหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ทั้งด้านการใส่เนื้อหา คอมพิวเตอร์ ที่จัดการเรียนการสอน บน Google Class- บทเรียน การมอบหมายงานและก�ำหนดวันส่งรายงานได้ room ด้วยสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ สามารถตรวจงานและให้คะแนนได้อย่างสะดวก ประหยัด 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ เวลา รวมถึงการประกาศ การถาม-ตอบ ซึ่งสามารถท�ำงาน ด้วpมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยี ได้อย่างสะดวกโดยการเก็บไฟล์งานต่างๆ อย่างเป็นระบบ สารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ใน Google drive ภายใต้โฟลเดอร์ “Classroom” รวม การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บน Google ทั้งการใช้งานร่วมกับ Apps อื่นๆ ของ Google ได้เป็นอย่าง Classroom ดี ผู้อยู่ในแวดวงการศึกษาควรได้ศึกษาเพื่อน�ำมาประยุกต์ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอน ขอบเขตการวิจัย และผู้เรียนน�ำเทคโนโลยีนี้ไปใช้ในองค์กรของตน ลดข้อ จ�ำกัดและอุปสรรคที่เกิดขึ้น อันจะส่งผลให้การเรียนรู้ของ 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน ผู้เรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและเกิดการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอนุกูลนารี ปีการศึกษา เปลี่ยนแปลงโฉมองค์กรในด้านนวัตกรรมการศึกษาและ 2559 ทั้งหมด 14 ห้อง จ�ำนวน 660 คน สามารถแลกเปลี่ยนความรู้กับสถาบันต่างๆ ระหว่าง 2. กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประเทศได้ด้วย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/14 โรงเรียนอนุกูลนารี ภาค ผู้วิจัยจึงเห็นว่าการสอนด้วยการน�ำเทคโนโลยี เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 39 คน การเลือก Google Classroom มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เพื่อให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับครูมีกิจกรรมทั้งใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียนครูสามารถใส่ใบงาน ใบความ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รู้ และส่งเสริมทักษะทางด้านการใช้เทคโนโลยีของผู้เรียน ให้เป็นไปตามสมรรถนะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ช่วยให้ผู้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย เรียนสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และเป็นไปตาม 1. มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล ความสามารถของแต่ละคน เป็นการสนองความแตกต่าง และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยี ระหว่างบุคคล ผู้เรียนไม่จ�ำเป็นจะต้องเรียนพร้อมกันในชั้น สารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรียนอีกทั้งยังสามารถศึกษาหาความรู้ในบทเรียนได้อย่าง 2. แบบทดสอบ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือ ไม่จ�ำกัดเวลา และเป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้และ ข่ายคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ความเข้าใจในเนื้อหา เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย มัธยมศึกษาปีที่ 2 ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็น คอมพิวเตอร์ ได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงพัฒนามัลติมีเดีย แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 20 ข้อ ปฏิสัมพันธ์ ส�ำหรับหน่วยการเรียนรายวิชาเทคโนโลยี 3.แบบประเมินคุณภาพของมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ สารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รายวิชา สื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บน Google เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 91 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มี 0.20 ขึ้นไป และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ ต่อการใช้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและ 20 ข้อ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น 7. สร้างแบบประเมินคุณภาพของมัลติมีเดีย มัธยมศึกษาปีที่ 2 จ�ำนวน 19 ข้อ ปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบประเมินค่า (Rating scale) 5 การด�เนินการวิจัย ระดับได้แก่ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ (บุญชม ศรีสะอาด: 2543) 1. ด�ำเนินการสร้างมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง 8. น�ำแบบประเมินให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รายวิชา 3 ท่าน ท�ำการประเมินคุณภาพของมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยได้น�ำ เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับ หลักการของ ADDIE MODEL มาเป็นหลักการเพื่อประยุกต์ ใช้ในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ โดยใช้โปรแกรม นักเรียนระดับมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 2 construct 2 และโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 9. สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สื่อมัลติมีเดียที่สร้างขึ้นประกอบด้วยจ�ำนวน 5 เรื่องได้แก่ ที่มีต่อการใช้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่องการสื่อสารข้อมูล พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร, เครือข่ายคอมพิวเตอร์, และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์, อุปกรณ์ การสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นแบบมาตรส่วน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประมาณค่า(Rating Scale) โดยผู้วิจัยได้ศึกษาวิธีสร้าง 2. น�ำมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล แบบสอบถามจากต�ำราวัดผลทางการศึกษาของ (สมนึก และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภัททิยธานี, 2544: 36-42) และก�ำหนดค่าคะแนนเป็น 5 และการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่สร้างเสร็จแล้ว ระดับ สมบูรณ์แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อ 3 ท่าน ประเมิน พร้อม 10. น�ำแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้าง เสนอ ปรับปรุงแก้ไขในส่วนต่าง ๆ ตามข้อเสนอแนะของผู้ ต่อผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความ เชี่ยวชาญ เหมาะสม ชัดเจนของการใช้ภาษา หากมีข้อผิดพลาด ผู้วิจัย 3. สร้างแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก น�ำความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาค�ำนวณหาค่า IOC โดย จ�ำนวน 25 ข้อ โดยครอบคลุมเนื้อหา และจุดประสงค์เชิง ใช้ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Con- พฤติกรรม และน�ำแบบกทดสอบเสนอผู้เชี่ยวชาญพร้อมหา gruence) ของผู้เชี่ยวชาญมาค�ำนวณค่าดัชนีความ ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์เชิง สอดคล้อง แล้วเลือกค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 พฤติกรรม (Index of Item Objective Congruence : ขึ้นไป กลับมาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง IOC) พร้อมแก้ไขข้อผิดพลาด 11. การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยได้ด�ำเนินการโดย 4. คัดเลือกข้อสอบที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง มีขั้นตอนดังนี้ ระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ (IOC) ตั้งแต่ 0.50 – 1.0 11.1 ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนท�ำแบบ คัดเลือกไว้ใช้ได้ ส่วนข้อค�ำถามที่มีค่า IOC ต�่ำกว่า 0.50 ทดสอบก่อนเรียนในชั่วโมงแรกและท�ำแบบทดสอบหลัง พิจารณาตัดทิ้ง เรียนในชั่งโมงสุดท้ายเพื่อใช้ในการผลเปรียบเทียบผล 5. จัดพิมพ์แบบทดสอบ แล้วน�ำไปทดสอบกับ สัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน นักเรียนและน�ำคะแนนที่ได้จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 11.2 ผู้วิจัยใช้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนอนุกูลนารีที่เคยเรียนใน การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยี รายวิชามาแล้ว จ�ำนวน 30 คน สารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 บน 6. ด�ำเนินการวิเคราะห์ข้อสอบ โดยน�ำคะแนนที่ Google Classroom การจัดการเรียนการสอนให้กับ ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์ เพื่อหาความยากง่าย (p) ที่ นักเรียนตามสภาพจริง มีค่าอยู่ระหว่าง 0.20-0.80 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) มีค่าตั้งแต่ 92 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University 11.3. ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนท�ำแบบ ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติ (t-test ประเมินคุณภาพมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสาร dependent) ข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3. วิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ บนGoogle Classroom และแบบสอบถามความพึงพอใจ ด้วยสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยี ของนักเรียนที่มีต่อการใช้สื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง สารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รายวิชา สื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยใช้ Google เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในชั่วโมง Classroom โดยใช้ร้อยละค่าเฉลี่ย ( ) ค่าเบี่ยงเบน สุดท้ายเพื่อใช่ในการวิเคราะห์ข้อมูล มาตรฐาน (S.D.)

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย

ในการวิจัยเรื่อง การพัฒนามัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ 1.การหาประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดีย

เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับ ปฏิสัมพันธ์ ตามเกณฑ์ E1/E2 : 80/80 โดยน�ำมัลติมีเดีย รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น ปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย มัธยมศึกษาปีที่ 2 บน Google Classroom สามารถสรุป คอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ สื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้ 1. วิเคราะห์มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การ ประกอบการจัดกระบวนการเรียนรู้กับนักเรียนชั้น สื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชา มัธยมศึกษาปีที่ 2/14 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ โรงเรียนอนุกูลนารี กลุ่มตัวอย่าง 1 ห้องเรียน ผู้เรียนจ�ำนวน 2 โดยน�ำผลมาหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้ 39 คน พบว่า ผลที่ได้จากคะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียน

สูตร E1/E2 มีค่าเท่ากับ 82.91 และผลที่ได้จากการท�ำแบบทดสอบ 2. วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน มีค่าเท่ากับ 82.44 สรุปได้ว่าสื่อมัลติมีเดีย และหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย ปฏิสัมพันธ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพสูง คอมพิวเตอร์ ที่จัดการเรียนการสอนบน Google Class- (82.91/82.44) สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 ดังตารางที่ 1 room ด้วยมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ โดยใช้ร้อยละค่าเฉลี่ย

ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ตามเกณฑ์ E1/E2 : 80/80 เกณฑ์ ค่าประสิทธิภาพ การแปลผล

E1 82.91 มีประสิทธิภพตามเกณฑ์

E2 82.44 มีประสิทธิภพตามเกณฑ์ 2 ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน หลังเรียนของนักเรียน ทั้ง 39 คน มาวิเคราะห์ด้วยสถิติ และหลังเรียน โดยน�ำมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การ t-test ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน สื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชา เรียนและหลังเรียนพบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนของ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ กลุ่มตัวอย่างมีค่า ( = 6.82 , S.D. = 1.62 ) และค่า 2 บน Google Classroom ที่พัฒนาขึ้น น�ำไปใช้กับ เฉลี่ยหลังเรียนมีค่า ( = 16.49, S.D.= 1.12) ดังนั้นจาก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/14 ภาคเรียนที่ 2 ปีการ การทดสอบสถิติ t พบว่า ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษา 2559 โรงเรียนอนุกูล จ�ำนวน 39 คน โดยท�ำการ ของนักเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบทดสอบวัดผล อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ดังตารางที่ 2 สัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้วิจัยได้น�ำคะแนนทั้งก่อนเรียนและ 93 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน

การทดสอบ คะแนนเต็ม N X S.D. t-test Sig ก่อนเรียน 20 39 6.82 1.62 หลังเรียน 20 39 16.49 1.12 t = 35.37* .000

นัยสำ�คัญทางสถิติหรือค่า α ที่ระดับ .05

3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย การสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 บน Google Classroom ปฏิสัมพันธ์ ได้ท�ำการศึกษาและประเมินความพึงพอใจของ ที่พัฒนาขึ้น โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ และผลการ นักเรียนหลังจากที่ได้ท�ำการทดลองใช้มัลติมีเดีย ประเมินโดยภาพรวมเฉลี่ยทั้ง 4 ด้าน พบว่า ผู้เรียนส่วน ปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย ใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.68, S.D. คอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ = 0.12 ) ดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำ�หรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 บน Google Classroom จำ�นวน 39 คน

รายการที่ประเมิน ข้อมูล X S.D. การแปลความหมาย 1 เนื้อหาและการดำ�เนินเรื่อง 1.1 ความสมบูรณ์ของจุดประสงค์การเรียนรู้ 4.97 0.16 มากที่สุด 1.2 ความสอดคล้องของเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ 4.79 0.47 มากที่สุด 1.3 ความถูกต้องของเนื้อหา 4.72 0.60 มากที่สุด 1.4 ลำ�ดับขั้นของเนื้อหาชัดเจน 4.87 0.47 มากที่สุด 1.5 ความน่าสนใจของการดำ�เนินเรื่อง 4.10 0.38 มาก 2 ภาพ ภาษา และเสียง 2.1 ความสอดคล้องของภาพและเนื้อหา 4.95 0.32 มากที่สุด 2.2 ปริมาณของภาพและเนื้อหามีความเหมาะสม 4.69 0.73 มากที่สุด 2.3 ความถูกต้องของภาษาที่ใช้ 4.72 0.56 มากที่สุด 2.4 เสียงดนตรีประกอบบทเรียนมีความเหมาะสม 4.82 0.51 มากที่สุด 3 ตัวอักษร และสี 3.1 รูปแบบของตัวอักษรที่ใช้ในการสำ�เสนอ 4.82 0.39 มากที่สุด 3.2 ขนาดของตัวอักษรที่ใช้ในการสำ�เสนอ 4.18 0.39 มาก 3.3 สีของตัวษรในภาพรวม 4.90 0.45 มากที่สุด 3.4 สีของภาพและกราฟิกโดยภาพรวม 4.87 0.47 มากที่สุด 3.5 สีของพื้นหลังโดยภาพรวม 4.92 0.35 มากที่สุด

94 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

รายการที่ประเมิน ข้อมูล X S.D. การแปลความหมาย 4 การจัดการบทเรียน 4.1 การนำ�เสนอชื่อเรื่องหลักของบทเรียน 4.18 0.39 มาก 4.2 การนำ�เสนอชื่อเรื่องย่อยของบทเรียน 4.97 0.16 มากที่สุด 4.3 การออกแบบหน้าจอโดยภาพรวม 4.18 0.39 มากที่สุด 4.4 ความชัดเจนของสัญลักษณ์ที่ใช้กับบทเรียน 5.00 0.00 มากที่สุด 4.5 การใช้เมาส์ 4.18 0.39 มาก เฉลี่ยรวม 4.68 0.12 มากที่สุด

อภิปรายผล จะประกอบไปด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน แบบฝึกหัดประจ�ำแต่ละ 1. มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล หน่วย ซึ่งผู้วิจัยได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 หน่วย คือ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยี พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร, เครือข่ายคอมพิวเตอร์, สารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์, อุปกรณ์ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 80/80 โดยมีค่าเฉลี่ย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และประโยชน์เครือข่าย 82.91/82.44 แสดงว่า สื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ที่ผู้วิจัย คอมพิวเตอร์ ท�ำให้นักเรียนได้เรียนรู้ไปตามขั้นตอนได้เป็น สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมที่จะน�ำไปใช้ อย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของสกินเนอร์ที่ว่า “ถ้าแบ่ง ในการจัดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี อันเนื่องมาจากสาเหตุ เนื้อหาวิชาที่จะถ่ายทอดให้นักเรียนเป็นตอน ๆ ที่ละน้อย ดังนี้ เหมาะสมกับวุฒิภาวะของนักเรียน นักเรียนจะได้รับความ ประการที่ 1 ด้านเนื้อหา ขั้นตอนและวิธีการน�ำ รู้ได้ดีกว่าการให้ความรู้แก่นักเรียนครั้งละมาก ๆ” เสนอเนื้อหา ได้ผ่านการตรวจสอบข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ ประการที่ 3 ด้านการจัดการมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ด้านการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดย เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับ ภาพรวมและผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น อีกทั้งผู้เรียนสามารถเลือกเนื้อหาได้อย่างอิสระ เพราะ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นนี้ ได้จัดเนื้อหา ใบ นักเรียนในโรงเรียนมัธยมก�ำลังมีความสนใจเรียนรู้อย่าง ความรู้ และแบบฝึกหัดให้แต่ละเรื่องให้มีความครอบคลุม กว้างขวาง ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติจะบังคับ มีการจัดล�ำดับเนื้อหาจากง่ายไปหายาก แบ่งเนื้อหาเป็น มิได้ (วัชรี ข�ำวิจิตร,2542) “เด็กในวัยนี้ต้องการศึกษา ตอนๆ มีการเลือกใช้สีและขนาดของตัวอักษรให้มีความ ต้องการเรียนรู้ และต้องการที่จะศึกษาเอง ถ้าหากจะท�ำ เหมาะสม การเลือกใช้รูปภาพ กราฟิกที่เข้ากับเนื้อหา มี สิ่งใดก็เป็นเพราะเขาสนใจที่จะท�ำเอง” การใช้ปุ่มในการควบคุมสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ มีการจัด ประการที่ 2 ด้านรูปแบบ มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ โครงสร้างอย่างระเบียบ และมีความสัมพันธ์กัน ง่ายต่อการ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ส�ำหรับ ใช้งาน ซึ่งท�ำให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ตมความสามารถ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น ของแต่ละคน ส่วนการให้ผลย้อนกลับในทันที เป็นอีกสิ่งที่ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นอาศัยหลักการ ส�ำคัญที่ท�ำให้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์มีประสิทธิภาพตาม ออกแบบของ (ณัฐกร สงคราม,2553) โดยศึกษาหลักการ เกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ เนื่องจากการให้ผลย้อนกลับนั้น เป็นการ ออกแบบและน�ำมาปรับปรุงใช้ในการออกแบบเพื่อท�ำการ เสริมแรงให้กับนักเรียนได้ทราบว่าผลการเรียนของตนเอง พัฒนาสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและ ทันที่ท�ำแบบทดสอบเสร็จ ท�ำให้เกิดความสนใจในการเรียน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยี ตั้งใจที่ตอบค�ำถามและไม่รู้สึกเบื่อหน่าย การที่นักเรียนได้ สารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยในสื่อ ทราบความก้าวหน้าในการเรียนท�ำให้นักเรียนมีก�ำลังใจใน 95 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

การเรียนเพิ่มขึ้น และเกิดความกระตือรือร้นที่จะเรียน ซึ่ง มัธยมศึกษาปีที่ 2 บนGoogle Classroom หลังเรียนด้วย สอดคล้องกับความคิดเห็นของณัฐกร สงคราม, 2553 ที่ว่า มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์แล้ว ผลปรากฏว่าสูงกว่าก่อนเรียน “สื่อมัลติมีเดียเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพสูงต่อการเรียนรู้ของ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ซึ่งสอดคล้องกับงาน ผู้เรียน ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ผู้เรียนสามารถน�ำมาศึกษาได้ วิจัยของ สุพรรณษา ครุฑเงิน (2555 : 64) ได้ศึกษา อย่างสะดวก ผู้เรียนสามารถควบคุมล�ำดับการเรียนรู้ การ มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง ข้อมูลและ เลือกเนื้อหาบทเรียน การท�ำกิจกรรมในบทเรียน การตรวจ สารสนเทศ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 โรงเรียน สอบความก้าวหน้า และการทดสอบด้วยต้นเอง สมารถ ปทุมวิไล ต�ำบลบางปรอก อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยผู้เรียนแต่ละ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ คนสามารถควบคุมเวลาเรียนได้ด้วยตนเองตามความ ง่าย (Simple random sampling) โดยการจับสลากมา 1 สามารถ ความถนัดของแต่ละคน” ห้องเรียน ผลการวิจัยพบว่า ผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังจาก ข้อมูลและสารสนเทศ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ใช้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 บน ระดับ.50 Google Classroom มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อน ด้วยเหตุผลดังที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น จึงท�ำให้ผล เรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 อันเนื่องมาจาก สัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การ สาเหตุดังนี้ สื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียน ประการที่ 1 การจัดการเรียนรู้ด้วย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 บน Google Classroom หลังเรียน มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย ด้วยสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัย คอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 บน ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 Google Classroom ผู้วิจัยได้ท�ำการอธิบายการใช้งาน 3. ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วย และภายหลังจากที่ได้อธิบายแล้วนักเรียนทุกคนต้องท�ำ มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ส�ำหรับรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบทดสอบก่อนเรียน ผลปรากฏว่า นักเรียนท�ำแบบ และการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การสื่อสาร ทดสอบก่อนเรียนได้คะแนนไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งอาจเกิดจาก ข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บน Google Classroom เนื้อหาดังกล่าวนักเรียนยังไม่ได้เรียน ซึ่งแบบทดสอบก่อน โดยแบบสอบถามความพึงพอใจพบว่าค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.68 เรียนดังกล่าวจะประกอบด้วยเนื้อหา ตัวอย่าง ซึ่งเป็นส่วน ความพึงพอใจของนักเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด โดยค่า ที่นักเรียนจะได้เรียนรู้ในสื่อ จึงเป็นสาเหตุที่ท�ำให้นักเรียน เฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ความชัดเจนของสัญลักษณ์ที่ใช้กับบท ท�ำคะแนนก่อนเรียนได้ไม่ดีเท่าที่ควร เพราะนักเรียนยังไม่ เรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ได้ลงมือเรียนรู้เนื้อหาดังกล่าวเลย ความน่าสนใจของการด�ำเนินเรื่อง พบว่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ประการที่ 2 ในการจัดการเรียนการสอน 4.10 ความพึงพอใจของนักเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด ด้วยมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือ อันเนื่องมาจากเหตุผลต่าง ๆ เช่น มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 บน เป็นการเรียนแบบอิสระ นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย Google Classroom เมื่อนักเรียนเรียนครบทุกหน่วยแล้ว ตนเอง การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับสื่อ นักเรียน นักเรียนจะต้องท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถเลือกเรียนเนื้อหา และทบทวนเนื้อหาได้บ่อยครั้ง (หลังเรียน) ผลปรากฏว่า นักเรียนจ�ำนวน 39 คน ท�ำแบบ ตามที่ต้องการ ซึ่งสอดคล้องกับ พัชรี พลาวงศ์ (2526) ที่ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(หลังเรียน) ได้คะแนน ว่า “การเรียนรู้ด้วยตนเองว่า เป็นวิธีการเรียนรู้รูปแบบหนึ่ง เพิ่มขึ้นจากการท�ำแบบทดสอบก่อนเรียน ซึ่งเป็นผลมาจาก ที่มีโครงสร้างอย่างเป็นระบบ สามารถตอบสนองต่อความ นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และในแต่ละหน่วยมี ต้องการของผู้เรียนได้ การเรียนรู้ด้วยตนเองจะช่วยให้ผู้ เนื้อหา ตัวอย่าง และแบบฝึกหัดย่อยประจ�ำหน่วยให้ เรียนมีอิสระในการเลือกเรียนตามเวลา สถานที่เรียน ระยะ นักเรียนได้ฝึกท�ำ และเมื่อท�ำการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ เวลาในการเรียนแต่ละบทในเนื้อหาของบทเรียน แต่จะต้อง ทางการเรียนด้วยมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การสื่อสาร อยู่ภายใต้ข้อจ�ำกัดของโครงสร้างในบทเรียนนั้น เพราะใน ข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้น แต่ละบทเรียนจะมีวิธีเรียนที่ชี้แนะไว้ในคู่มือการเรียน จึง 96 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

ท�ำให้นักเรียนมีความพึงพอใจที่ดีต่อกรเรียนด้วยสื่อ จะน�ำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์” อื่นๆ ได้เช่นกัน 2. รูปแบบการเรียนการสอนที่ใช้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ข้อเสนอแนะ มีข้อดีในการตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ เป็ยอย่างดี ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ 1.การเรียนการสอนโดยใช้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ และสามารถเรียนกี่ครั้งก็ได้ แต่ทั้งนี้สื่อมัลติมีเดีย บน Google Classroom จะเห็นได้ว่าให้ผลการเรียนรู้ที่ ปฏิสัมพันธ์เป็นเพียงสื่อชนิดหนึ่งที่น�ำมาใช้ในการเรียนการ เพิ่มขึ้น เนื่องจากนักเรียนสามารถเข้าไปใช้บทเรียนได้ทุก สอน เพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งให้ผู้เรียน ซึ่งครูผู้สอนต้องมีการ ที่ทุกเวลา มีอิสระในการเลือกเรียนตามความสนใจ ความ ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ถนัด ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนแบบนี้จึงสามารถที่

เอกสารอ้างอิง

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2544) มัลติมีเดีย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. ______. (2546) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2)พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. ______. (2557) หนังสือเรียนรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว ณัฐกร สงคราม.(2557) การออกแบบและพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญชม ศรีสะอาด. (2535) การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ; สำ�นักพิมพ์ สุริยาสาส์น. ______. (2554) สถิติทางการวิจัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พัชรี พลาวงศ์. (2536). การเรียนด้วยตนเอง. วารสารรามคำ�แหง, 54 (กุมภาพันธ์) : 83 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ รุ่ง แก้วแดง. (2541) การนำ�ภูมิปัญญาไทยเข้าระบบสู่การศึกษา. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ. วัชรี ขําวิจิตร. (2542) “แบบฝกการเขียนเรียงความสําหรับนักเรียนชนประถมศึกษาปที่4”.ปริญญานิพนธ กศ.ม. สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. สมนึก ภัททิยธนี. (2546) การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์. สุพรรณษา ครุฑเงิน. (2555) สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศสำ�หรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชธัญญบุรี

97 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ แอล.ที เพื่อพัฒนาทักษะการทำ�งานเป็นทีมสำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)

The Result of Collaborative Learning Management by Using Learning Together (LT) Model to Develop Teamwork Skills of Mathayomsuksa 1 Students of Mahasarakham University Demonstration School (Secondary)

รุจิรา เศารยะสกุล*1 ฐาปนี สีเฉลียว2 ศรีสุดา สิงห์ชุม2 Rujira Saorayasakun1 Thapanee Seechaliao2 Srisuda Singchum2 [email protected]*

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ ร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อพัฒนาทักษะ การท�ำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) เพื่อพัฒนาคุณภาพผลงานที่เกิดจากการท�ำงานเป็นทีมของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบทดลอง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จ�ำนวน 36 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที จ�ำนวน 5 แผน 10 ชั่วโมง 2) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ท�ำงานเป็นทีม 3) แบบบันทึกพฤติกรรมการท�ำงานเป็นทีม 4) แบบประเมินคุณภาพผลงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์

ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ (E1/E2) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 80.83/92.22 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที มีทักษะการ ท�ำงานเป็นทีมอยู่ในระดับดี ( = 4.47, S.D. = 0.28) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ 3. ผลงานที่เกิดจากการท�ำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบ ร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ( = 4.77, S.D. = 0.36) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้

ค�ำส�ำคัญ: การเรียนรู้แบบร่วมมือ, การเรียนการสอนรูปแบบแอลที, การท�ำงานเป็นทีม

1 นิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2 อาจารย์ประจำ�ภาควิชาเทคโนโลยีการและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3 ครูระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1 Undergraduate student in Educational Technology and Computer Education, Faculty of Education, Mahasarakham University 2 Assistant Professor in Educational Technology and Communications Department Faculty of Education Mahasarakham University 3 High School Demonstration Teacher of Mahasarakham University. 98 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

Abstract

The objectives of this research were as follows : 1) to develop collaborative learning plan using Learning Together (LT) model for Mathayomsuksa 1 students, the efficiency was 80/80. 2) to develop the teamwork skills of Mathayomsuksa 1 students. 3) to develop the product that created by a team of Mathayomsuksa 1 students. This research was an experimental research. The samples were Mathayomsuksa 1 students who study at Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) amount 36 students by cluster random sampling. The research instruments were included : 1) The learning management plan of using Learning Together (LT) model amount 5 plans, 10 hours. 2) The observation form of teamwork behaviors. 3) The record form of teamwork behaviors. 4) The evaluation form of product quality. The statistics were used for data analysis as follow : per- centage, mean, standard deviation, and the efficiency of a learning management plan (E1/E2). The results as follow : 1. The learning management plan using Learning Together (LT) model had efficiency of 80.83/92.22 which defined as follow 80/80 criterion. 2. Mathayomsuksa 1 students that managed collaboratively in the form of LT (Learning together), had teamwork skills at good level ( = 4.47, S.D. = 0.28) which defined criterion. 3. The results of the team work of Mathayomsuksa 1 students that managed collabora- tively in the form of LT (Learning together), the quality was very good ( = 4.77, S.D. = 0.36) which defined criterion.

Keywords : Collaborative learning, Learning together model, Teamwork

บทน� สถานการณ์โลกมีความแตกต่างไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบการศึกษาจึงต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาวะความเป็นจริงในประเทศสหรัฐอเมริกา แนวคิดเรื่อง พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้ถูก เทคโนโลยี เป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ พัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต และ ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นน�ำขนาดใหญ่ เช่น บริษัท รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถน�ำความรู้เกี่ยวกับการ แอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพ ด�ำรงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในการ ระดับประเทศ และส�ำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัว ท�ำงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทย และก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการ และสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21St Century ท�ำงาน และมีเจตคติที่ดีต่อการท�ำงาน สามารถด�ำรงชีวิต Skills) โดยได้เล็งเห็นถึงความจ�ำเป็นที่เยาวชนจะต้องมี อยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุข โดยมุ่งพัฒนาผู้ ทักษะส�ำหรับการออกไปด�ำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ใน ในการท�ำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการ ศตวรรษที่ 21 ขึ้น ซึ่งกรอบความคิดเกี่ยวกับทักษะส�ำคัญ ศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, ที่เยาวชนควรมี คือ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ได้แก่ 2552) ประกอบกับปัจจุบันได้ก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ทักษะด้านการอ่าน, ทักษะด้านการเขียน, ทักษะด้านการ

99 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ค�ำนวณ, ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการ ของผู้วิจัย ในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี แก้ปัญหา, ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม, ทักษะ ที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 20 ด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์, ทักษะ มิถุนายน พ.ศ. 2560 จ�ำนวน 5 สัปดาห์ โดยสังเกตในคาบ ด้านความร่วมมือ การท�ำงานเป็นทีม และภาวะผู้น�ำ, ทักษะ เรียนที่ 1 และ 2 ของวันอังคารในทุกสัปดาห์ รวมทั้งสิ้น 10 ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ, ทักษะด้าน คาบเรียน พบว่า นักเรียนบางส่วนไม่มีส่วนร่วมในการ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ ท�ำงาน กล่าวคือ นักเรียนไม่ยอมท�ำงานช่วยเพื่อน เพราะ ทักษะด้านอาชีพและการเรียนรู้ (วิจารณ์ พานิช, 2555 : นักเรียนไม่สนใจในผลงานหรือผลของคะแนนที่ได้ และ 18-19) เนื่องจากนักเรียนไม่มีจุดมุ่งหมายในการท�ำงานร่วมกัน ทักษะการท�ำงานเป็นทีม ถือได้ว่าเป็นทักษะที่ นักเรียนบางคนต้องการให้ผลงานออกมาดี แต่บางคนไม่ ส�ำคัญส�ำหรับการเรียนรู้และการด�ำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สนใจว่าผลงานจะออกมาเป็นอย่างไร และไม่สนใจว่าจะ เนื่องจากองค์ประกอบที่ส�ำคัญในการท�ำงาน คือ การที่มี งานจะส�ำเร็จหรือไม่ ท�ำให้ไม่มีการวางแผนในการท�ำงาน คนหลายคนมาอยู่ร่วมกัน เพื่อช่วยกันท�ำงานให้เกิดความ ร่วมกัน ตลอดจนท�ำให้ไม่มีการท�ำงานที่จะส่งเสริมซึ่งกัน ก้าวหน้า ซึ่งในทางปฏิบัตินั้น ถือว่าเป็นเรื่องยากที่จะให้ทุก และกันเพื่อให้งานเกิดผลส�ำเร็จ ส่งผลให้งานที่ออกมาไม่ คนที่ท�ำงานร่วมกันมีแนวคิดไปในทิศทางเดียวกัน ส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ และท�ำให้นักเรียนขาดทักษะใน เพราะทุกคนต่างก็มีพื้นฐานความคิด ประสบการณ์ ความ การเป็นทีม อันเป็นทักษะจ�ำเป็นส�ำหรับการเรียนรู้และการ รู้ และความเข้าใจที่แตกต่างกันออกไป การพัฒนาบุคคล ด�ำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ให้มีแนวคิดในการท�ำงานเป็นทีม และมีความเข้าใจไปใน จากปัญหาข้างต้น ผู้วิจัยได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่ ทิศทางเดียวกัน จะท�ำให้บุคคลต้องการที่จะช่วยเหลือซึ่ง นักเรียนขาดทักษะการท�ำงานเป็นทีม และได้ศึกษาเอกสาร กันและกันบนพื้นฐานของความคิดเห็นที่แตกต่างกันออก และวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตาม ไป ซึ่งการพัฒนาทักษะการท�ำงานเป็นทีมจะอยู่บนพื้นฐาน รูปแบบแอล.ที (LT : Learning together) เพื่อเป็น ของการพัฒนาบุคคลให้มีความรู้ มีความเข้าใจร่วมกัน เพื่อ ประโยชน์ในการน�ำมาจัดการเรียนการสอน และเพื่อพัฒนา ท�ำให้เกิดทักษะ ความช�ำนาญ และทัศนคติที่ดีในการ ทักษะการท�ำงานเป็นทีม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ท�ำงานร่วมกับผู้อื่น (สุรชัย โฆษิตบวรชัย, 2560) ตลอดจน 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) พบ บุคคลมีทักษะในการท�ำงาน มีเจตคติที่ดีต่อการท�ำงาน มี ว่าการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : ความรักในการท�ำงาน และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและ Learning together) สามารถน�ำมาใช้ในการพัฒนาทักษะ ส่วนรวม ซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต อัน การท�ำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะส่งผลให้บุคคลสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ได้ ความสุข ดังที่วิจัยของอารยา ปันจะมาวัด (2556) ที่ได้พัฒนา จากการสัมภาษณ์อาจารย์ศรีสุดา สิงห์ชุม ผู้ช่วย กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะการท�ำงานเป็นทีม ผู้อ�ำนวยการฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ LT โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) (Learning Together) ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ อาจารย์ผู้สอนรายวิชาการสร้างเว็บไซต์ ระดับชั้น 1 โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบ�ำรุง ในรายวิชาการงาน มัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2560 พบ อาชีพและเทคโนโลยี พบว่า การท�ำงานเป็นกลุ่มนักเรียนมี ว่า นักเรียนยังขาดทักษะในการท�ำงานเป็นทีม กล่าวคือ ค่าเฉลี่ยในระดับที่นักเรียนร่วมท�ำกิจกรรมกลุ่มมาก เมื่อมอบหมายงานให้ท�ำร่วมกัน นักเรียนไม่มีการก�ำหนด พฤติกรรมการท�ำงานกลุ่มของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน จุดมุ่งหมายในการท�ำงานร่วมกัน เนื่องจากนักเรียนบาง ระดับที่นักเรียนมีความร่วมมือในการท�ำงานเป็นกลุ่มมาก ส่วนไม่สนใจในผลงานและผลลัพธ์ที่ได้จากการท�ำงาน ที่สุด และคุณภาพผลงานของนักเรียนอยู่ในระดับค่าเฉลี่ย ท�ำให้นักเรียนไม่มีความร่วมมือกันในการท�ำงาน ไม่มีการ มากที่สุด และจากงานวิจัยของคณะครูโรงเรียนอัสสัมชัญ ส่งเสริมซึ่งกันและกันไปในทางบวกเพื่อให้งานเกิดผลส�ำเร็จ (2557) ที่ได้พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ สาระคณิตศาสตร์ ส่งผลให้ผลงานที่ได้ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่คาดหวังไว้ ตลอด เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน จนท�ำให้งานไม่ส�ำเร็จ นอกจากนี้ จากการสังเกตในชั้นเรียน อัสสัมชัญธนบุรี โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ 100 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University เทคนิค LT (Learning Together) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ขอบเขตของการวิจัย พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ สาระคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้ โจทย์ปัญหาของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียน 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน อัสสัมชัญธนบุรี โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย เทคนิค LT (Learning Together) พบว่า นักเรียนมี มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จ�ำนวน 267 คน จาก 7 ห้องเรียน พัฒนาการด้านทักษะการท�ำงานกลุ่มสูงขึ้น และผลการ 1.1. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทดสอบย่อยสูงขึ้น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม) โดย ร้อยละ 95.59 และมีจ�ำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์คิดเป็น การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม จ�ำนวน 36 คน จาก 1 ห้องเรียน ร้อยละ 80 นักเรียนจ�ำนวนร้อยละ 96.15 มีทักษะ ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : กระบวนการท�ำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์การประเมินคิดเป็น Learning together) เพื่อพัฒนาทักษะการท�ำงานเป็นทีม ร้อยละ 80 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การจัดการ ความมุ่งหมายของการวิจัย เรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที 2.2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะการท�ำงาน 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นทีม โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที 3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เป็นเนื้อหาเรื่อง การ (LT : Learning Together) ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา สร้างเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Adobe Dreamweaver ปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการท�ำวิจัย จ�ำนวน 4 เดือน (ฝ่ายมัธยม) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อพัฒนาทักษะการท�ำงานเป็นทีมของ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพของผลงานที่เกิดจากการ แอล.ที จ�ำนวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ใช้เวลา 10 ชั่วโมง ท�ำงานเป็นทีม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานเป็นทีม โดย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) มีข้อสังเกต ดังนี้ การแบ่งหน้าที่, ความรับผิดชอบ, การรับ ฟังและแสดงความคิดเห็น, การส่งเสริมซึ่งกันและกัน และ สมมติฐานการวิจัย การร่วมปรับปรุงผลงาน 3. แบบบันทึกพฤติกรรมการท�ำงานเป็นทีมของ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้รูป นักเรียน ส�ำหรับบันทึกหน้าที่ที่รับผิดชอบและผลการ แบบการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : ท�ำงานของนักเรียนในแต่ละทีม Learning Together) ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. แบบประเมินคุณภาพผลงาน ได้แก่ แบบ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ประเมินคุณภาพผลงานของนักเรียนที่เกิดจากการท�ำงาน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เป็นทีม เรื่องการสร้างเว็บไซต์ โดยมีข้อประเมิน ดังนี้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิต เนื้อหา, ภาพประกอบ, การเชื่อมโยง, การจัดรูปแบบและ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียนโดยการ โครงสร้างในการน�ำเสนอ และเวลาในการจัดท�ำ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : Learn- ing together) มีผลงานที่เกิดจากการท�ำงานเป็นทีมอยู่ใน เกณฑ์คุณภาพระดับดี

101 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

วิธีด�เนินการและเก็บรวบรวมข้อมูล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : Learning 1. การด�ำเนินการทดลอง ผู้วิจัยด�ำเนินการทดลอง together) มีทักษะการท�ำงานเป็นทีมอยู่ในระดับดี ( กับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 = 4.47, S.D. = 0.28) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) โดย 3. ผลงานที่เกิดจากการท�ำงานเป็นทีม ของนักเรียนชั้น การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม จ�ำนวน 36 คน จาก 1 ห้องเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : (ฝ่ายมัธยม) โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ Learning together) เพื่อพัฒนาทักษะการท�ำงานเป็นทีม แอล.ที (LT : Learning together) มีคุณภาพอยู่ในระดับ 1.1. ผู้วิจัยด�ำเนินการจัดกิจกรรมการ ดีมาก ( = 4.77, S.D. = 0.36) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ เรียนการสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูป ก�ำหนดไว้ แบบ แอล.ที 1.2. ผู้วิจัยให้นักเรียนท�ำแบบบันทึก อภิปรายผล พฤติกรรมการท�ำงานเป็นทีม เพื่อน�ำมาใช้ประกอบการ ประเมินผลการท�ำงานเป็นทีม 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้รูป 1.3. ผู้วิจัยให้ผู้สังเกตเข้าสังเกต แบบการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : พฤติกรรมการท�ำงานเป็นทีมของนักเรียนและบันทึกผลลง Learning Together) ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ในแบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานเป็นทีม ปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) 1.4. ผู้วิจัยประเมินคุณภาพผลงานของ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.83/92.22 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ นักเรียนที่ได้จากการท�ำงานเป็นทีม 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนจาก 2. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากแบบบันทึกพฤติกรรม แบบทดสอบย่อย คิดเป็นร้อยละ 80.83 และคะแนนจาก การท�ำงานเป็นทีม แบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานป็น แบบทดสอบหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 92.22 แสดงว่า ทีมและแบบประเมินคุณภาพผลงาน ของนักเรียนชั้น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพและ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ในรายวิชาการสร้างเว็บไซต์ เพื่อน�ำผล สอดคล้องกับความมุ่งหมายที่ตั้งไว้ เนื่องจากผู้วิจัยได้ศึกษา ที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และได้ การวิจัยครั้งนี้ได้ใช้สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการ วิเคราะห์สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี สมรรถนะ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ส�ำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ก�ำหนดตัวชี้วัด จุด มาตรฐาน และค่าประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ประสงค์การเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ ตลอดจนวิเคราะห์ การวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อน สรุปผล ด�ำเนินการจัดท�ำแผนการจัดการเรียนรู้ เมื่อจัดท�ำแผนการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที เสร็จ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้รูป เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยได้น�ำแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้ แบบการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : เชี่ยวชาญตรวจสอบจ�ำนวน 3 ท่าน เพื่อหาคุณภาพของ Learning Together) ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ แผน พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) แอล.ที มีระดับคุณภาพเฉลี่ยรวมทั้ง 5 แผน เท่ากับ 4.87 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.83/92.22 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ ซึ่งถือว่าค่าเฉลี่ยระดับคุณภาพและความเหมาะสมมีค่า 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ ตั้งแต่ 3.51 ถึง 5.00 แสดงว่าแผนการจัดการเรียนรู้มี 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิต คุณภาพและความเหมาะสม สามารถน�ำไปใช้ได้ หลังจาก

102 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University นั้นผู้วิจัยได้น�ำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการประเมินจาก (2557) ได้พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ สาระคณิตศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงตามค�ำแนะน�ำแล้วน�ำไปทดลองใช้ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ก่อนที่จะน�ำแผนการจัดการเรียนรู้มาปรับปรุงตามข้อ อัสสัมชัญธนบุรี โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ บกพร่องที่พบ และน�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป สอดคล้อง เทคนิค LT (Learning Together) พบว่า นักเรียนมี กับผลการวิจัยของ ไอดา ยาคอ (2560) ที่ได้จัดการเรียนรู้ พัฒนาการด้านทักษะการท�ำงานกลุ่มสูงขึ้น นักเรียนจ�ำนวน โดยใช้เทคนิค LT (Learning Together) เพื่อพัฒนาทักษะ ร้อยละ 96.15 มีทักษะกระบวนการท�ำงานกลุ่มผ่านเกณฑ์ การคิดและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของ การประเมินคิดเป็นร้อยละ 80 สอดคล้องกับผลการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า แผนการจัดการเรียน ของ อารยา ปันจะมาวัด (2556) ได้พัฒนากิจกรรมการ รู้แบบร่วมมือตามเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกัน (Learning เรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะการท�ำงานเป็นทีมโดยใช้การ Together : LT) เรื่อง ปริมาณสัมพันธ์ มีประสิทธิภาพตาม จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ LT (Learning To- เกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ 80/80 เนื่องจากได้ผ่านขั้นตอนในการ gether) ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน สร้างและพัฒนาอย่างเป็นระบบ โดยการศึกษาเอกสาร ดอนเมืองทหารอากาศบ�ำรุง ในรายวิชาการงานอาชีพและ หลักสูตรและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนได้ผ่านการ เทคโนโลยี พบว่า พฤติกรรมการท�ำงานกลุ่มของนักเรียนมี ประเมินคุณภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากผู้ ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่นักเรียนมีความร่วมมือในการท�ำงาน เชี่ยวชาญ และมีการน�ำผลจากการทดลอง (Try out) ไป เป็นกลุ่มมากที่สุด การเรียนรู้ร่วมมือตามรูปแบบ LT ปรับปรุงก่อนการสอนจริงเพื่อให้มีความเหมาะสมและมี (Learning Together) ท�ำให้นักเรียนเรียนเกิดความสามัคคี คุณภาพมากขึ้น ในการท�ำงาน งานประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายที่วาง 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิต ไว้ มีการท�ำงานอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ นักเรียน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่ได้รับการจัดการ เห็นแก่ประโยชน์ของกลุ่มมากกว่าตนเอง นักเรียนเกิด เรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที (LT : Learning ปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น ส่งผลให้นักเรียนรู้จักบทบาทหน้าที่ together) มีทักษะการท�ำงานเป็นทีมอยู่ในระดับดี ของตนเอง ท�ำให้งานประสบความส�ำเร็จและมี นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการแสดงออกซึ่งการ ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชัยทัศน์ ศิริเปา ยอมรับให้เกียรติกัน ตระหนักในความส�ำคัญของกันและกัน รยะ (2557) ได้พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ มีการแบ่งหน้าที่ ก�ำหนดเป้าหมาย และวางแผนการท�ำงาน สามารถในการท�ำงานร่วมกับผู้อื่นของนักศึกษา สาขาวิชา ร่วมกัน มีความรับผิดชอบ ตลอดจนมีการร่วมแสดงความ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว รายวิชาการตลาดเพื่ออุตสาหกรรม คิดเห็น รับฟัง และส่งเสริมซึ่งกันและกัน ท�ำให้น�ำมาซึ่งการ ท่องเที่ยว พบว่า นักเรียนมีทักษะปฏิบัติการ ทักษะการน�ำ ร่วมกันปรังปรุงผลงานให้ดียิ่งขึ้น คิดเป็นร้อยละ 89.55 โดย เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และมีคะแนนทดสอบท้ายคาบ มีคะแนนรวมจากแบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานเป็นทีม เรียนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง นักศึกษาส่วนใหญ่พอใจ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับความมุ่งหมายที่ตั้งไว้ กับการสอนรูปแบบนี้ มีการช่วยเหลือกลุ่ม ความรับผิดชอบ เนื่องจากการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที การแสดงความคิดเห็น การรับฟังความคิดเห็นหลังการ (LT : Learning together) เป็นเทคนิคที่มีกระบวนการ คือ เรียนแบบร่วมมือโดยเฉลี่ยสูงขึ้นและนักศึกษามีความ ให้สมาชิกในทีมช่วยกันศึกษาเนื้อหาร่วมกัน โดยก�ำหนดให้ สัมพันธ์ภายในห้องเรียนเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับผลงานวิจัย แต่ละคนมีบทบาทหน้าที่ช่วยกันในการเรียนรู้ และสรุปค�ำ ของ นฤนาท จั่นกล้า (2555) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ ตอบร่วมกันเป็นผลงานของทีม โดยสมาชิกได้มีการก�ำหนด เรียนและพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม เรื่อง คอนกรูเอนซ์ เป้าหมายร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อให้ประสบ ส�ำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาที่ ความส�ำเร็จร่วมกัน อีกทั้งยังส่งเสริมให้นักเรียนมีความ เรียนโดยใช้การเรียนแบบร่วมมือ พบว่า นักศึกษาที่เรียน เอาใจใส่ รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม ส่งเสริมให้ โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือ มีพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่มอยู่ นักเรียนที่มีความสามารถต่างกันได้เรียนรู้ร่วมกัน และส่ง ในระดับสูงมาก คิดเป็นร้อยละ 92.21 ของคะแนนเต็ม เสริมให้นักเรียนได้ฝึกและเรียนรู้ทักษะทางสังคมโดยตรง สอดคล้องกับผลการวิจัยของ ปวีณา งามประภาสม (2555) จึงท�ำให้นักเรียนมีทักษะในการท�ำงานเป็นทีมที่ดี ซึ่ง ได้ศึกษาการเพิ่มศักยภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วย สอดคล้องกับผลการวิจัยของ คณะครูโรงเรียนอัสสัมชัญ กระบวนการกลุ่ม พบว่า นักศึกษาเกิดความเข้าใจและมี 103 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

ทักษะในการท�ำงานกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพเป็นขั้นเป็น การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ LT (Learning ตอนมากขึ้น อีกทั้ง มีความสนใจและกระตือรือร้นในการ Together) ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ช่วยงานกลุ่มมากขึ้น การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูป ดอนเมืองทหารอากาศบ�ำรุง ในรายวิชาการงานอาชีพและ แบบแอล.ที (LT : Learning together) ช่วยสร้างความ เทคโนโลยี พบว่า คุณภาพผลงานของนักเรียนอยู่ในระดับ สัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิก ทุกคนมีโอกาสคิด พูด แสดงออก ผลค่าเฉลี่ยมากที่สุด การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูป แสดงความคิดเห็น และลงมือกระท�ำอย่างเท่าเทียมกัน แบบแอล.ที (LT : Learning together) ท�ำให้นักเรียนเกิด นักเรียนมีความช่วยเหลือกัน เช่น เด็กเก่งช่วยเด็กที่เรียน ความสามัคคีในการท�ำงาน มีการท�ำงานอย่างเป็นขั้นตอน ไม่เก่ง ท�ำให้เด็กเก่งภาคภูมิใจ ส่วนเด็กที่ไม่เก่งเกิดความ และเป็นระบบ นักเรียนเห็นแก่ประโยชน์ของกลุ่มมากกว่า ซาบซึ้งในน�้ำใจของเพื่อนสมาชิกด้วยกัน และส่งเสริมให้เกิด ตนเอง นักเรียนเกิดปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น ส่งผลให้นักเรียน ทักษะทางสังคม เช่น ทักษะการท�ำงานเป็นทีม ทักษะการ รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง ท�ำให้งานประสบความส�ำเร็จ สื่อสาร และทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกันด้วยมนุษยสัมพันธ์ ตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีคุณภาพ ที่ดีต่อกัน อันเป็นทักษะที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21 ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 3. ผลงานที่เกิดจากการท�ำงานเป็นทีม ของ ตามรูปแบบแอล.ที (LT : Learning together) สามารถน�ำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ไปใช้เพื่อพัฒนาทักษะการท�ำงานเป็นทีมของนักเรียนระดับ มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ มือตามรูปแบบแอล.ที (LT : Learning together) มี คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก นักเรียนสามารถเลือกสืบค้น ข้อเสนอแนะ เนื้อหาและภาพประกอบในการน�ำมาสร้างเว็บไซต์ได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม ครบถ้วน และมีการอ้างอิงแหล่งที่มา มี 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ การเชื่อมโยงเว็บไซต์ได้ถูกต้อง ตลอดจนมีการจัดรูปแบบ 1.1. ก่อนจัดการเรียนรู้ตามแผนการ และโครงสร้างในการน�ำเสนอเว็บไซต์ได้อย่างเหมาะสม จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบแอล.ที ครูควร และส่งงานตรงตามเวลาที่ก�ำหนดไว้ ซึ่งเป็นผลมาจากการ ปฐมนิเทศเพื่อชี้แจงวิธีการและขั้นตอนการเรียนและการ มีทักษะการท�ำงานเป็นทีมที่ดี กล่าวคือ นักเรียนมี ท�ำกิจกรรม แจ้งสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ การ ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการแสดงออกซึ่งการยอมรับให้ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ และให้นักเรียนร่วมกันสร้าง เกียรติกัน ตระหนักในความส�ำคัญของกันและกัน มีการ กติกาในการเรียนร่วมกัน แบ่งหน้าที่ ก�ำหนดเป้าหมาย และวางแผนการท�ำงานร่วม 1.2. ก่อนการจัดทีมให้กับนักเรียน ควร กัน มีความรับผิดชอบ ตลอดจนมีการร่วมแสดงความคิด มีกิจกรรมละลายพฤติกรรม เพื่อให้นักเรียนได้ท�ำกิจกรรม เห็น รับฟัง และส่งเสริมซึ่งกันและกัน ท�ำให้น�ำมาซึ่งการ ร่วมกันและเกิดความรู้สึกสนิทกันมากขึ้น ในการจัดทีมให้ ร่วมกันปรังปรุงผลงานให้ดียิ่งขึ้น สอดคล้องกับความมุ่ง กับนักเรียนควรคละความสามารถ ทั้งนักเรียนที่เก่ง หมายที่ตั้งไว้ เนื่องจากการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตาม ปานกลาง และอ่อน เพื่อให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบแอล.ที (LT : Learning together) ช่วยส่งเสริมให้ และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นักเรียนที่มีความสามารถต่างกันได้เรียนรู้ร่วมกัน มี 1.3. ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน มีความเชื่อมั่นในตนเองและรับฟังความ ร่วมมือรูปแบบแอล.ที ควรให้เวลาในการท�ำกิจกรรม คิดเห็นจากผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อส่วน ภาคปฏิบัติให้มาก เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วย รวม อีกทั้งนักเรียนยังได้พัฒนาทักษะทางสังคมและการ ตนเอง กระตุ้นให้นักเรียนได้คิดสร้างสรรค์และท�ำกิจกรรม ท�ำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ส่งผลให้นักเรียนรู้จัก ร่วมกับสมาชิกในทีมอย่างเต็มที่ ช่วยเหลือเกื้อกูล พึ่งพาอาศัยกันและร่วมมือกัน ท�ำให้ 1.4. ควรจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนมีส่วน สามารถสร้างผลงานได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งสอดคล้องกับผล ร่วมในการแสดงความคิดเห็น เพื่อให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ การวิจัยของ อารยา ปันจะมาวัด (2556) ได้พัฒนากิจกรรม กับเพื่อนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนทุกขั้นตอน การเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะการท�ำงานเป็นทีมโดยใช้ พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง

104 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University 2. ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป สื่อสารและสารสนเทศ 2.1. ควรน�ำการจัดการเรียนรู้แบบร่วม 2.3. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูป มือรูปแบบแอล.ที ไปใช้ศึกษาเปรียบเทียบผลการวิจัยกับ แบบแอล.ที ควรพัฒนาและน�ำไปใข้ศึกษาวิจัยกับรายวิชา วิธีการจัดการเรียนรู้แบบอื่น เช่น การจัดการเรียนรู้แบบ อื่นและระดับชั้นอื่น ๆ ร่วมมือรูปแบบ STAD การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูป 2.4. ควรสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม แบบ JIGSAW หรือการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ เข้าไปในการจัดการเรียนรู้ด้วย เพื่อให้นักเรียนสามารถ TGT พึ่งพาตนเอง และด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 2.2. ควรศึกษาตัวแปรตามของผลการ ไม่ท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน จัดการเรียนรู้ด้านทักษะที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21 เพิ่มเติม เช่น ทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะการ

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ สาระคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอัสสัมชัญ ธนบุรี แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค LT (Learning Together). เข้าถึงจาก www.swis.act.ac.th/html_edu/act/temp_emp_research/2107.docx ชัยทัศน์ ศิริเปารยะ. (2557). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการท�ำงานร่วมกับผู้อื่นของ นักศึกษา สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว รายวิชาการตลาดเพื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว. รายงานการวิจัยใน ชั้นเรียน สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง นฤนาท จั่นกล้า. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม เรื่อง คอนกรูเอนซ์ ส�ำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาที่เรียนโดยใช้การเรียนแบบร่วมมือ. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร. 10 (1) มกราคม มิถุนายน . 76-88 ปวีณา งามประภาสม. (2555). การเพิ่มศักยภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยกระบวนการกลุ่ม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง. 1 (1) เมษายน - กันยายน. 58-66. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตา พับลิเคชั่น. ศรีสุดา สิงห์ชุม, ผู้ให้สัมภาษณ์ “ทักษะการท�ำงานเป็นทีม” รุจิรา เศารยะสกุล, ผู้สัมภาษณ์. 20 มิถุนายน 2561 สุรชัย โฆษิตบวรชัย. (2560). ทักษะการท�ำงานเป็นทีม. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กันยายน, 2560, จาก: http://www.drsurachai.com/ทักษะการท�ำงานเป็นทีม-เพ/ อารยา ปันจะมาวัด. (2556). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะการท�ำงานเป็นทีมโดยใช้การจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือตามรูปแบบ LT (Learning Together) ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ดอนเมืองทหารอากาศบ�ำรุง ในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี. รายงานการวิจัย สาขาธุรกิจและ คอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไอดา ยาคอ. (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค LT (Learning Together) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดและ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ ‏่ีั 3 (1) มกราคม-มิถุนายน. 31-42

105 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

ข่าวและกิจกรรม ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2561 คณาจารย์ บุคลากรและนิสิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาร่วมทำบุญเจริญพระพุทธมนต์ และถวายภัตตาหารเพลพระสงฆ์จำนวน 5 รูป เพื่อเป็นสิริมงคลต่อภาควิชาฯ ณ บริเวณโถงหน้าห้องไอที 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 นิสิตชั้นปีที่ 1-3 ร่วมจัดโครงการนิสิตสาขา เทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษามีจิต อาสาพัฒนาโรงเรียน (ค่ายครูคอมฯ) ณ โรงเรียน คลองขามวิทยาคาร อำเภอยางตลาด จังหวัด กาฬสินธุ์

วันที่ 2 เมษายน 2561 นายชาครีย์ บุระคำ นายยศพันธ์ ศรีสมสุข นางสาววัชชิรญา มิระสิงห์ นางสาวอัจจิมา แก้วมาตย์ นางสาว กรุณา สร้อยเสนา และนางสาวปรียาพร ประนิสอน นิสิตชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ ศึกษา ได้รับ : รางวัลชนะเลิศ การประกวดคลิปวิดีโอในหัวข้อโครงการ “EDU Safety Drive สร้างวินัยจราจร” ในการประกวดสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมวินัยจราจร และตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน จัด ทำโดย : กองกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

106 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

วันที่ 15 พฤษภาคม 2561 นิสิตชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา ได้รับรางวัลชนะเลิศการนำเสนอผลงาน “การพัฒนานวักรรมสื่อประชาสัมพันธ์ เพจเฟสบุ๊คชื่อ อัศจรรย์ชุมชนริมนำ�้ ชีของดีต�บลเกิ้ง” ในงานมหกรรมการนำ เสนอผลงานโครงการบูรณาการูการเรียนรู้สุ่ชุมชน ในรายวิชา 1 หลักสูตร 1 ชุมชน จัดโดย สำนักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยได้รับรางวัลชนะเเลิศ 5 รางวัล ได้แก้ 1. ด้านกระบวนการทำงาน 2. ด้านการมี ส่วนร่วมกับชุมชน 3. ด้านคุณภาพของชิ้นงาน 4. ด้านความคิดสร้างสรรค์ 5. ด้านประโยชน์ต่อชุมชน

26 พฤษภาคม 2561 ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษา จัดการสัมนาวิชาการ เรื่อง “วิทยาการคำนวณ กับการศึกษาไทยยุค 4.0” โดยมีวิทยากรร่วมสัมมนาประกอบ ด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยการ คีรีรัตน์ อาจารย์ประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้การ งานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มงานอาชีพ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคุณจีระพร สังขเวทัย ผู้ชำนาญการ สาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

24-27 สิงหาคม 2561 นิสิตชั้นปีที่ 3-4 สาขาวิชาเทคโนโลยี่การศึกษา และคอมพิวเตอร์ศึกษา เข้าร่วมการอบรมการสร้าง สื่ออิเล็กทรอนิกส์มาตรฐาน EPUB 3 ณ โรงแรม อวานี จ. ขอนแก่น จัดโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอ- นิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

นิสิตฝึกปฏิบัติประจำ�กองบรรณาธิการ นางสาวกุลณัฐ พรมจันทร์ นายกิตติพศ ไชโย นายคณิศร โยลัย นายจักรกฤษณ์ สูงยิ่ง นายณัฐดนัย ทุมพุทธา นายนพนัย คาดสนิท นายปัญญา กุลภา นายรชานนท์ เจริญอินทร์ นายสุระเดช อาดี นายเอกวิชญ์ สุทธิประภา นางสาววิมพ์วิภา ติละโพธิ์ นางสาวกิ่งกาญจน์ ปัญญาแก้ว นายจิรายุส โฮมแพน นางสาวชุลีพร โสรมรรค นางสาวณัฐริกา ธรรมมา นายนรินทร์ บุตรสำ�ราญ นายนิธิภพ ภูโทถ้ำ�

107 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 แนะน�หนังสือ

ชื่อเรื่อง การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา ผู้แต่ง ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน พิมพ์ที่ ตักสิลาการพิมพ์ ปีที่พิมพ์ 2561 จ�นวนหน้า 350 หน้า ภาพประกอบ/ตาราง ราคา 290 บาท ประเภทหนังสือ หนังสือ/ตำราวิชาการ

สาระสังเขป

การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา เล่มนี้ถือว่า การประเมินและปรับปรุงนวัตกรรมทางการศึกษา เป็นหนังสือที่ได้รับความสนใจ และตอบรับจากนักวิจัย บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการวิจัยและพัฒนาการศึกษา บทที่ เป็นอย่างสูงอีกเล่มหนึ่ง ด้วยเนื้อหาภายในเล่มที่ีมี 7 คุณลักษณะที่ส�ำคัญของนักวิจัยและพัฒนา จรรยา การน�ำเสนอ สาระส�ำคัญในการออกแบบการวิจัย ในรูป บรรณวิชาชีพและค�ำถามที่มักพบบ่อยในการวิขัยและ แบบ R&D การวิจัยและพัฒนา (Research & พัฒนา บทที่ 8 ตัวอย่างการออกแบบการวิจัยและ Development) ที่ผู้เขียน ได้รวบรวมเนื้อหา หลักการ พัฒนาทางการศึกษา ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางใน ทฤษฏี ความรู้ แนวคิดต่าง ๆ อย่างครอบคลุม เหมาะ การแก้ไข การวิจัยและพัฒนาถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการ กับนักวิจัยที่สนใจการศึกษาค้นคว้าทางด้านนี้ พัฒนาประเทศและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันระดับ ภายในเล่ม ประกอบด้วยเนื้อหาด้งนี้ บทที่ 1 สากลเพราะเป็นกระบวนการส�ำคัญที่ท�ำให้เกิด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา บทที่ 2 การ ผลิตภัณฑ์/นวัตกรรมใหม่ๆ ดังนั้น ประเทศใดที่เน้นและ ส�ำรวจเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลในการสร้าง/พัฒนา ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาก็จะสามารถสร้างสรรค์ นวัตกรรมทางการศึกษา บทที่ 3 การสร้างและพัฒนา สิ่งใหม่ๆได้อย่างเป็นระบบ ผลิตภัณฑ์/นวัตกรรมทางการศึกษา บทที่ 4 การทดลอง เพื่อตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรมทางการศึกษา บทที่ 5

108 Journal of Educational Technology and Communications Vol 1 No 2 May - August 2018 Facutyl of Education Mahasarakham University

การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์

วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา บทความที่น�ำเสนอในฉบับ ประกอบด้วยบทความ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิชาการ บทความวิจัย และบทความปริทัศน์ ในสาขาวิชา กำหนดออก ราย 4 เดือน เทคโนโลยีการศึกษา คอมพิวเตอร์ศึกษา และบทความทางด้าน นำเสนอทั้งฉบับตีพิมพ์ และฉบับออนไลน์ การศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ โดยบทความทุกเรื่อง ก่อนน�ำออก ชื่อเรื่อง การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา ตีพิมพ์เผยแพร่ จะต้องผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แต่ง ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน (peer review) ท�ำการประเมินคุณภาพก่อนทุกเรื่อง โดยผู้ที่ พิมพ์ที่ ตักสิลาการพิมพ์ สนใจต้องการเสนอบทความตีพิมพ์ มีแนวปฏิบัติดังนี้ ปีที่พิมพ์ 2561 1. เสนอได้ทั้งบทความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จ�นวนหน้า 350 หน้า ภาพประกอบ/ตาราง 2. บทความทุกเรื่อง ต้องเขียนบทคัดย่อภาษา ราคา 290 บาท อังกฤษ (abstract) ก�ำกับมาด้วย หากเป็นบทความภาษา ประเภทหนังสือ หนังสือ/ตำราวิชาการ อังกฤษ ให้เขียนบทคัดย่อเป็นภาษาไทย 2. จัดพิมพ์ด้วยโปรแกรม Microsoft Word ใช้ตัว อักษร TH Sarabun New ขนาด 15 pt. 3. ตั้งค่าหน้ากระดาษ A4 ขอบกระดาษทุกด้านๆ ่ ละ 1 นิ้ว (2.5 เซนติเมตร) และจัดรูปแบบเป็นหนึ่งคอลัมน์่ กองบรรณธิการ จ�ำนวนหน้า ไม่เกิน 15 หน้า (รวมบรรณานุกรม) วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4. บรรณานุกรมต้องมีรายการอ้างอิงครบถ้วน ส่งบทความเข้าระบบได้ที https://edu.msu.ac.th/etcjournal/ สมบูรณ์ โดยยึดรูปแบบการเขียนบรรณานุกรรมตามข้อก�ำหนด e.mail : [email protected] โทร 086 6404222 ของ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหา่สารคาม ราย ละเอียดดูได้จาก https://grad.msu.ac.th/th/Manual-The- sis.php

ประเภทของบทความ

บทความวิจัย (Research article) เป็นบทความที่็น�ำเสนอผลที่ได้จากงานวิจัย ในรูปแบบของการประมวลสรุป กระบวนการวิจัย ให้มีความกระชับและสั้น ส�ำหรับตีพิมพ์เผยแพร่ บทความทางวิชาการ (Academic article) หมายถึง งานเขียนวิชาการซึ่งมีการวิเคราะห์ประเด็น ตามหลัก วิชาการ โดยมีการส�ำรวจวรรณกรรมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ จนสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ในประเด็น นั้นได้ โดยรูปแบบของบทความวิชาการ จะประกอบด้วยการกล่าวถึงที่มาของประเด็นที่ต้องการอธิบายหรือวิเคราะห์ กระบวนการอธิบายหรือวิเคราะห์ และบทสรุป มีการอ้างอิงบรรณานุกรม ที่ครบถ้วนและสมบูรณ์ มักน�ำเสนอเรื่องที่ก�ำลัง อยู่ในความสนใจ สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่จะให้ผู้อ่านได้รับความรู้ แนวคิด โดยมีการเสนอทัศนะ ข้อคิดเห็น หรือ ข้อ วินิจฉัยของผู้เขียนแทรกอยู่ บทความปริทัศน์ (Reviewed articles) หมายถึง บทความที่มีการผสมผสานแนวคิด และผลการวิจัยหลายๆ งานวิจัย โดยผู้เขียนจะสังเคราะห์แนวคิดเหล่านี้ ตลอดจนสังเคราะห์ผลการวิจัยจากงานวิจัยต่างๆ เพื่อประมวลเป็นข้อโต้ แย้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยวัตถุประสงค์ของการเขียนจะเป็นการสรุป วิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากผลงานวิจัย อื่นๆ และ/หรือผลงานวิชาการอื่นๆจนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการทบทวนการก้าวหน้าทางวิชาการของเรื่องนั้นๆ

109 วารสาร เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561

110