ชื่อเรื่องการคนคว าแบบอิสระ บทบาทผูนําทองถิ่นในการจดการปั ญหาบกรุ ุกพื้นที่ปา ของตําบลแมปง อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม 

ผูเขียน นายศักดิ์ศรี มูลธร

ปริญญา รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองและการปกครอง)

อาจารยที่ปรึกษาการคนควาแบบอ ิสระ อาจารย ดร.จันทนา สุทธิจารี

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) ศึกษาบทบาทผูนําทองถิ่นในการจัดการปญหา บุกรุกพื้นที่ปาของตําบลแมปง อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม ๒) วิเคราะหปญหาและขอจํากัด ในการจัดการปญหาบุกรุกพื้นที่ปา ของผูนําทองถิ่น ตําบลแมปง อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ สมาชิกสภาเทศบาลตําบลแมปง ผูใหญบานและ ประธานกลุมแมบานในตําบลแมปง อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม จํานวน ๔๐ คน เครื่องมือที่ใช ในการศึกษา คือ แบบสัมภาษณเชิงลึก โดยนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบวา ๑) ผูนําทองถิ่นในตําบลแมปง อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม มีบทบาทในการจัดการ ปญหาการบุกรุกพื้นที่ปา ดังนี้ (๑) เปนผูประสานงานกลางระหวางประชาชนในชุมชน/ทองถิ่นกับ หนวยงานราชการ ในการดําเนินงานหรือจัดกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการปาไม (๒) เปนผูถายทอดความรู ใหคําปรึกษาแนะนํา และกลาวตักเตือน ประชาชนในชุมชน/ทองถิ่น ไมใหทําการบุกรุกพื้นที่ปา (๓) เปนผูปกปองผลประโยชนของสวนรวม โดยทําหนาที่ปองกันและ หามปรามไมใหมีการบุกขึ้นรุกพื้นที่ปาเพิ่ม (๔) ทําหนาที่ผูประนีประนอม เมื่อมีขอขัดแยงระหวางหนวยงานราชการ กับชาวบานในชุมชน/ทองถิ่น จ

แตทั้งนี้ ผูนําทองถิ่นในตําบลแมปงไมสามารถปฏิบัติตามกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการจัดการปาไมไดอยางเต็มที่ เพราะวา มีขอจํากัดดานปจจัยทางการเมืองและ ดานกฎหมาย ๒) การจัดการปญหาบุกรุกพื้นที่ปาของผูนําท องถิ่นในเขตตําบลแมปง อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม ไมสามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะวา มีขอจํากัดจากปจจัย ทางการเมือง เนื่องจากประชาชนสวนใหญในพื้นที่เปนผูทําการบุกรุก และมีขอจํากัดดานกฎหมาย เนื่องจาก อํานาจในการจัดการพื้นที่ปา ขึ้นอยูกับนิคมสหกรณและกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ พันธุพืช ดังนั้น เพื่อใหการจัดการปญหาการบุกรุกพื้นที่ปาในตําบลแมปง อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ หนวยงานที่เกี่ยวของตองสนับสนุนใหประชาชน ในพื้นที่มีสวนรวมในการจัดการพื้นที่ปา รวมทั้งผลักดันใหมีการถายโอนอํานาจในการจัดการพื้นที่ ปาใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น

Independent Study Title The Role of Local Leaders in Management of Forest Invasion Problems of Maepang, Phrao District,

Author Mr. Saksri Moonthorn

Degree Master of Arts (Political Science)

Independent Study Advisor Lecturer Dr. Jantana Suttijaree

ABSTRACT

The Objective of this independent study were to (1) to study the role of local leaders in management of forest invasion problems of Tambon Maepang, Phrao District, Chiang Mai Province, and (2) to analyze of problems and obstacles in the management of forest invasion problems of local leaders in Tambon Maepang, Phrao District, Chiang Mai Province. This study was conducted by in-depth interview 40 local leaders : Maepang Municipal Council Members, Village Headmen and Chairman of Housewife Groups in the Tambon Maepang, Phrao District, Chiang Mai Province, and the data analyzed by description. The findings revealed that : (1) Local leaders in Tambon Maepang, Phrao District, Chiang Mai Province have the roles to manage the problems of forest invasion. The roles are as follows: (1.1) They are coordinators between community/local people and government organizations in order to conduct and organize the activities for forest management. (1.2) They are communicators to advice and remind people in order to stop forest invasion. (1.3) They are protectors the collective interests, they protect and prohibit people from forest invasion further. ช

(1.4) They are peacemakers when there are some conflicts between government organizations and community/local people. However, local leaders could not act according to the law because there are some restrictions of political factors and the law

(2) Local leader in Tambon Maepang, Phrao District, Chiang Mai Province could not manage the problems of forest invasion efficiency due to some restrictions of political factors, because most of local people invaded the forest and the restriction of the law is; Cooperative and Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation have authority to manage the forest. Therefore, an efficiency management the problems of forest invasion in Tambon Mae Pang, Phrao District, Chiang Mai Province is that the organization which involve to the problems should support local people’s participation in forest management as well as support to transfer the power to manage the forest to local administration.