VA.Indd 1 1/27/12 11:31 AM 2 กันยายน - ธันวาคม 2554 September - December 2011
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
VA.indd 1 1/27/12 11:31 AM 2 กันยายน - ธันวาคม 2554 September - December 2011 บรรณาธิการที่ปรึกษา: พรทิพย์ ปั่นเจริญ, รัชนี เอมะรุจิ บรรณาธิการอำานวยการ: สากล ฐินะกุล ฉบับที่ 30 กันยายน – ธันวาคม 2554 No. 30 September - December 2011 บรรณาธิการบริหาร: สาวิตรี ศรีสุข กองบรรณาธิการ: ภาวินี ณ สายบุรี, จงรักษ์ ฐินะกุล, จริยา ชื่นใจชน, นันทวรรณ เหล่าฤทธิ์, ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ผกาภรณ์ ยอดปลอบ, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม นุชนารถ ไกรสุวรรณสาร กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บรรณาธิการภาษาอังกฤษ: วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม 49 พระราม 6 ซอย 30 ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-298-5628 โทรสาร 02-298-5629 ผู้ช่วยบรรณาธิการ: แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา www.deqp.go.th, www.environnet.in.th เลขานุการกองบรรณาธิการ: ศิริรัตน์ ศิวิลัย ผู้จัดทำา: หจก.สำานักพิมพ์ทางช้างเผือก PUBLISHER 63/123 ซอยราษฎร์พัฒนา 5 Department of Environmental Quality Promotion แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง Ministry of Natural Resources and Environment กทม 10240 49 Rama VI Soi 30, Rama VI Rd., Bangkok 10400 Tel. 02-298-5628 Fax. 02-298-5629 โทรศัพท์ 02-517-2319 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th โทรสาร 02-517-2319 E-mail: [email protected] Editorial Advisers: Pornthip Puncharoen, Ratchanee Emaruchi Editorial Director: Sakol Thinagul ลิขสิทธิ์บทความ สงวนสิทธิ์โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม Executive Editor: Savitree Srisuk กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Editorial Staff: Pavinee Na Saiburi, ลิขสิทธิ์ภาพถ่าย สงวนสิทธิ์โดยผู้ถ่ายภาพหรือเจ้าของภาพ Chongrak Thinagul, การพิมพ์หรือเผยแพร่บทความซ�้าโดยไม่ใช่เพื่อการพาณิชย์ Jariya Chuenjaichon, สามารถท�าได้โดยอ้างอิงถึงกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม Nantawan Lourith, การพิมพ์เพื่อเผยแพร่ภาพถ่ายซ�้า ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ Pagaporn Yodplob, ก่อนเท่านั้น Nuchanard Kraisuwansan บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนี้ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน เพื่อเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่หลากหลาย English Edition Editor: Wasant Techawongtham Text copyright by the Department of Environmental Assistant Editor: Maenwad Kunjara Na Ayuttaya Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and Environment. Editorial Secretary: Sirirat Siwilai Photographs copyright by photographers or right owners. Producer: Milky Way Press Limited Aricles may be reproduced or disseminated for non- commercial purposes with cited credit to the Department Partnership of Environmental Quality Promotion. 63/123 Soi Rat Pattana 5, Reproduction of photographs must be by permission of Saphan Sung, Bangkok 10240 right owners only. Tel: 02-517-2319 Opinions expressed in the articles in this journal are the Fax: 02-517-2319 authors’ to promote the exchange of diverse points of view. e-mail: [email protected] VA.indd 2 1/27/12 11:31 AM บทบรรณาธิการ EDITORIAL ทุกครั้งที่ไฟดับ ก็มักได้ยินเสียงโห่ร้องขึ้น จาก ที่ว่า แล้วเราจะหาขุมพลังงานที่ไหนมาทดแทนแหล่งพลังงานเดิมที่ ก�าลังจะหมดไปได้? ตัวเราเองและจากคนรอบข้าง เป็นเสียงโห่ร้อง พลังงานนิวเคลียร์เคยสร้างความหวังให้กับโลกว่าจะผลิตไฟฟ้า ที่บอกถึงความประหลาดใจระคนความหวั่นวิตก ได้อย่างมากมายมหาศาลจากแร่ยูเรเนียมจ�านวนน้อยนิด ซึ่งจะขับ เคลื่อนเศรษฐกิจโลกให้เติบโตต่อไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด แต่ และพอไฟกลับมาดังเดิม ก็มีเสียง “เฮ” ตอบรับ เราก็หนีสัจจธรรมข้อหนึ่งไปไม่ได้ นั่นก็คือ สิ่งใดที่มีคุณอนันต์ก็ นี่เป็นสิ่งบ่งบอกว่าชีวิตสมัยใหม่ผูกติดอยู่กับการมีไฟฟ้าใช้ตลอด มักมีโทษมหันต์เสมอ ส�าหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แล้ว โทษที่แสน เวลาอย่างแยกไม่ขาด การเปิดสวิทช์ แล้วไฟไม่สว่าง หรือเครื่องไฟฟ้า สาหัสที่สุดอย่างหนึ่งก็คือ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจนไม่สามารถควบคุมได้ อะไรก็ตามไม่ติด นอกจากท�าให้เราต้องผิดหวังแล้ว เรายังแอบวิตกว่า ดังเช่นที่เกิดขึ้นกับโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะ ไดอิจิ ที่ญี่ปุ่น เมื่อมีนาคม ปีนี้ และ “แล้วไฟจะมาเมื่อไหร่ล่ะ?” เชอร์โนบิล ที่สหภาพโซเวียตเดิม เมื่อหลายปีก่อน และนี่คือความวิตกของคนทั่วโลก จากความจริงที่ว่าแหล่ง แต่การใช้พลังงานนิวเคลียร์เป็นภยันตรายร้ายแรงต่อสังคม พลังงานที่ใช้ขับเคลื่อนวิถีชีวิตสมัยใหม่และเศรษฐกิจโลก ไม่ว่าจะ มนุษย์และสิ่งแวดล้อม ดังที่หลายๆ คนเกรงกลัวและกล่าวเตือน เป็นน�้ามันหรือก๊าซธรรมชาติ จะหมดไปในไม่ช้า แม้กระทั่งถ่านหิน จริงหรือ? เส้นทางสีเขียว ฉบับนี้น�าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยี ที่มีอยู่มากมายก็ไม่สามารถอยู่ยั้งยืนยงได้ จึงเป็นที่มาของค�าถาม นิวเคลียร์และความคิดเห็นที่แตกต่างต่อขุมพลังนี้ henever electricity goes out, a roar can we find an alternative energy source to replace these often follows, the sound coming from fast-depleting conventional sources? us our self and other people around. Nuclear power was once hoped to be the world’s It’s a sound of surprise mixed with savior to produce plentiful power from small quantities concern. When power eventually of uranium that would drive the world’s never-ending Wreturns, a cheer inevitably rises up in response. What this economic growth. However, a truth cannot be ignored: means is that our modern life is inextricably tied to hav- Whatever offers great benefits also comes with grave ing electricity at our command at all times. When we dangers. For nuclear power plants, one of the most taps the switch on and the light bulb or whatever electric severe dangers is an uncontrollable accident such as the appliance hooked up to the switch fails to turn on, we one at Japan’s Fukushima Daiichi power plant in March often feel a pang of disappointment and are secretly wor- this year and at former Soviet Union’s Chernobyl many ried when the power would return again. years ago. And this is a common concern of people the world But is nuclear power such a sinister threat to the over, arising from the fact that energy sources that drive human society and the environment as many have feared the modern way of life and economy, be it oil or natural and warned about? This issue of Green Line presents facts gas, will soon run out. Even coal which is plentiful cannot about the nuclear technology and conflicting opinions last forever. That’s why the inevitable question: Where about this great energy potential. VA.indd 3 1/27/12 11:31 AM 4 สารบัญกันยายน - ธันวาคม 2554 September - December 2011 CONTENTS ข้ามฟ้า: ยุคเฟื่องฟูนิวเคลียร์ไป ...ยุคพลังงานใหม่มา ACROSS THE SKY: Out with Nuclear Renaissance... In with the Era of New Energy 6 6 ลอดรั้วริมทาง: 18 กากนิวเคลียร์: ปัญหาที่ยังแก้ไม่ตก แม้ในเยอรมนี ประเทศต้นคิด ON AN UNBeateN PATH: Nuclear Waste: An Unsolvable Problem Even in Nuclear Power Pioneer Germany 10 • รู้จักกากกัมมันตรังสี • What is Radioactive Waste? 14 วิกฤตพลังงาน: นิวเคลียร์คือคำาตอบ? Energy Crisis: Is Nuclear the Solution?18 • มองมุมต่าง • A Different Perspective 30 • ความเป็นธรรมและยั่งยืน คือคำาเพรียกหาจากชุมชน • Justice and Sustainability What Communities Ask for 37 • สรีระของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ • The Anatomy of a Nuclear Power Plant 42 การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า: เหมาะสมหรือเกินจริง? 42 Electricity Demand Forecast: On-target or Over-exaggerated 45 VA.indd 4 1/27/12 11:31 AM กันยายน - ธันวาคม 2554 September - December 2011 5 สัมภาษณ์พิเศษ: รศ. โมโตกิ อะกิตสึ SPECIAL INTERVIEW: Assoc Prof Motoki Akitsu 51 56 นักเขียนรับเชิญ: บทเรียนจากฟุกุชิมะ GUEST WRITER: Lessons from Fukushima 56 63 มหิงสา: รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ LITTLE MAHINGSA...YOUNG RESEARCHERS: Award of Pride 63 เสียงชุมชน: นิวเคลียร์ vs ชุมชน สองวิถีที่ไม่สอดคล้อง VOICES OF COMMUNITY: Nuclear Power vs Community: The Two Irreconcilable Paths 65 65 สี่แยกไฟเขียว: ต้นทุนและความเสี่ยง ที่มองไม่เห็นของพลังงานนิวเคลียร์ GREEN INTERSECTION: The Invisible Costs and Risks of Nuclear Power 69 75 กิจกรรมกรม DEPARTMENT ACTIVITIES 75 ล้อมกรอบ: ถ่านไฟเก่า VIEWFINDERS: Taan Fai Gao 78 VA.indd 5 1/27/12 11:31 AM กันยายน - ธันวาคม 2554 September - December 2011 ข้ามฟ้า ACROSS THE SKY ยุคเฟื่องฟูนิวเคลียร์ไป ...ยุคพลังงานใหม่มา วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1979 ภาพยนตร์จากฮอลลีวู้ดเรื่อง เกิดการระเบิดที่เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 4 เครื่อง แท่งเชื้อเพลิง The China Syndrome ได้ออกมาสร้างความฮือฮาให้กับคน นิวเคลียร์เกิดการหลอมละลายและสารกัมมันตรังสีรั่วไหล เป็นอาการ ดูทั่วโลก หนังเล่าเรื่องนักข่าวโทรทัศน์ (เจน ฟอนดา) และ คล้ายดัง China Syndrome ความวาดหวังเกี่ยวกับยุคเฟื่องฟูของ ตากล้องคู่ใจ (ไมเคิล ดักลาส) ที่พบเรื่องไม่ชอบมาพากล นิวเคลียร์ก็เป็นอันต้องพังทลายลงไป เกี่ยวกับการรั่วไหลของกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทันทีหลังจากนั้น ประเทศที่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อยู่แล้วและที่มี ชื่อของหนังเป็นศัพท์ที่ถูกบัญญัติขึ้นเพื่ออธิบายอาการที่เกิดจาก แผนจะก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต่างก็เหยียบเบรกกันตัวโก่ง รัฐบาล อุบัติเหตุในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ที่เมื่อระบบระบายความร้อนล้มเหลว สั่งให้มีการตรวจสอบความปลอดภัยในโรงไฟฟ้าทุกโรงที่มีหรือทบทวน น�าไปสู่การหลอมละลายของเชื้อเพลิง จนตกลงบนพื้นของถังปฏิกรณ์ แผนก่อสร้างโรงไฟฟ้าในอนาคต ละลายพื้นถังทะลุอาคารปฏิกรณ์ออกสู่บรรยากาศ และจินตนาการได้ ที่ประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ไฟฟ้า 30% จากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 54 แห่ง ว่าสามารถละลายผิวโลกจนทะลุไปถึงอีกด้านหนึ่งของโลก นายกรัฐมนตรีนาโอโตะ คัง กล่าวกับสื่อมวลชนหนึ่งเดือนให้หลังว่า เป็นความบังเอิญที่ว่าหลังจากภาพยนตร์เข้าโรงได้เพียง 12 วัน นโยบายที่จะเพิ่มก�าลังผลิตจากนิวเคลียร์เป็น 50% ภายในปี 2030 ก็เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ นั้น ควรจะต้องทบทวนใหม่ โดยให้น�้าหนักกับพลังงานหมุนเวียนแทน ทรีไมล์ไอส์แลนด์ ในสหรัฐอเมริกา แม้จะไม่มีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ ครั้งนั้น แต่ก็สร้างความตื่นตระหนกให้กับโลกเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นอีก 7 ปีก็เกิดเหตุการณ์สะเทือนโลกอีกครั้ง เมื่อโรง ไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลระเบิดอย่างรุนแรง จนสารกัมมันตรังสีแพร่ กระจายครอบคลุมทวีปยุโรปเป็นบริเวณกว้าง คร่าชีวิตผู้คนนับร้อย และท�าลายสุขภาพของคนอีกนับไม่ถ้วน เหตุการณ์ทั้งสองสร้างความเสียหายให้กับอุตสาหกรรม นิวเคลียร์อย่างมากมาย โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วโลก ต้องหยุดชะงักลง แต่ไม่กี่ปีหลังจากนั้น เมื่อเมฆหมอกกัมมันตรังสีและความทรงจ�า ของผู้คนเจือจางลง แวดวงนิวเคลียร์ก็สร้างยุทธศาสตร์ประชาสัมพันธ์ เพื่อบอกกับผู้คนว่า นิวเคลียร์จะเป็นพลังงานที่ช่วยผลักดันความ เจริญเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดยได้สร้างวลีติดปากที่เรียกว่า