<<

ºÑÞªÕÃÒ¡Ò÷ÃѾÂҡêÕÇÀÒ¾ÁÍÅÅÑÊ¡Òã¹»ÃÐà·Èä·Â ห มึก

บทนำ�

ความหลากหลายทางชีวภาพได้แก่ความหลากหลายของสปีชีส์ พันธุกรรม และระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิต ในแต่ละชีวมณฑล ที่ได้อุบัติขึ้นบนดาวพระเคราะห์โลกแห่งนี้มาหลายพันล้านปีแล้ว และได้กลายเป็นทรัพยากร ที่ส�ำคัญยิ่ง ที่ผสมกลมกลืนกันจนกลายเป็น “โลกสีเขียว The Green Planet” มาจวบจนถึงปัจจุบันนี้ และชีวิต ที่ถือว่าอุบัติมาจนถึงสูงสุดในเวลานี้คือสปีชีส์ที่เรียกว่า “มนุษย์ Homo sapiens” มนุษย์ได้อยู่ผสมกลมกลืนกับ ชีวิตอื่นๆ ได้สร้างสรรค์ เบียดเบียน และท�ำลายล้าง ตามวิถีทางของความหลากหลาย และก�ำลังเปลี่ยนแปลงไปตาม แนวทางแห่งวิวัฒนาการตามกาลเวลาและสถานที่ ประเทศไทยตั้งอยู่บนท�ำเลที่บรรพบุรุษเรียกกันว่า “สุวรรณภูมิ” อยู่บนพื้นที่ที่มีความพอดีหลายอย่าง ทั้งสภาพภูมิประเทศที่มีระบบนิเวศแทบทุกระบบ ภูมิอากาศที่ดี ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ระหว่างละติจูด 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ กับ 20 องศา 27 ลิปดาเหนือ และระหว่างลองจิจูด 97 องศา 22 ลิปดา ตะวันออก กับ 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก หรือบริเวณซีกโลกเหนือในเขตละติจูดตํ่า ระหว่างเส้นศูนย์สูตรกับ เส้นทรอปิกออฟเคนเซอร์นั่นเอง จึงจัดอยู่ในประเทศเขตร้อนเหมาะสมต่อวิถีเขตร้อนที่น�ำไปสู่ความเจริญมั่งคั่งของ พืชพันธุ์ธัญญาหารและสมบูรณ์แบบของปัจจัยสี่ บรรพบุรุษของไทยจึงได้กล่าวเป็นปริศนาให้ลูกหลานได้รู้อย่าง ต่อเนื่องว่า “สยามประเทศแห่งนี้เต็มไปด้วยทรัพย์ในดินสินในนํ้า” “ในนํ้ามีปลาในนามีข้าว” คนไทยในอดีตได้ซาบซึ้ง ในสิ่งเหล่านี้ หากแต่ว่าโลกาภิวัตน์ในเวลาต่อมาได้ท�ำให้ภูมิคุ้มกันของคนไทยอ่อนลงจากอิทธิพลความคิดของ ต่างชาติ ท�ำให้ลืมรากเหง้าฐานแห่งสยามประเทศเกือบจะสิ้นเชิง ความตระหนักในทรัพย์ในดินสินในนํ้าจึงเสื่อมถอยลง ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็นต้องเรียกความตระหนักเหล่านี้กลับมาก่อนที่จะสายไปมากกว่านี้ การน�ำฐานทรัพยากรชีวภาพ ของไทยออกมาเผยแพร่ให้คนไทยได้เห็นอย่างชัดแจ้งในภาวะเกือบล้มละลายนี้ อาจจะท�ำให้คนไทยจ�ำนวนหนึ่ง น�ำคนทั้งหมดไปสู่การผสมกลมกลืนกับธรรมชาติ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับลูกหลานอีกครั้ง หนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึงบัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพของไทย “ไฟลัมมอลลัสกา” สัตว์พวกหอย และหมึก ที่เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีจ�ำนวนสปีชีส์รองลงมาจากสัตว์ขาข้อ ได้แก่ แมลง กุ้ง ปู ฯลฯ บทบาทส�ำคัญของ สัตว์ไฟลัมมอลลัสกานั้นเป็นที่ทราบกันอย่างชัดเจนถึงประโยชน์ และโทษที่กระทบต่อมนุษย์ และระบบนิเวศที่อยู่ รอบตัวมนุษย์ ฐานแห่งอาหาร ยารักษาโรค การสันทนาการ น�ำไปสู่มูลค่าทางเศรษฐกิจ ฐานแห่งการสาธารณสุข ได้แก่การเป็นปรสิตพาหะกึ่งกลางให้กับหนอนพยาธิหลายชนิดที่น�ำไปสู่สุขภาพของผู้คน อาทิ การเกิดพยาธิใบไม้ ปอด ที่มีนัยส�ำคัญต่อวิถีชีวิตของประชาชนคนไทยจ�ำนวนมาก มีสาเหตุจากหอยนํ้าจืด และยังมีความเป็นพิษที่ คนไทยสามารถน�ำมาสร้างผลิตภัณฑ์ทางยาได้อีกด้วยได้แก่หอยเต้าปูน เป็นต้น ดังนั้นฐานข้อมูลที่ส�ำคัญเบื้องต้นคือ บัญชีรายการที่มีจริงของสปีชีส์เหล่านี้พร้อมสถานภาพน�ำไปสู่การร่วมกันดูแลให้ทรัพยากรหอยและหมึกของไทย ให้เกิดประโยชน์ สร้างความมั่งคั่งยั่งยืนให้กับคนไทย การจัดท�ำบัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพ “ไฟลัมมอลลัสกา” ของประเทศไทยครั้งนี้เป็นการรวบรวมการท�ำ บัญชีทุกรายการและผลงานวิจัยของโลกและของนักวิจัยไทย ตลอดจนผลการท�ำวิจัยคู่ขนานไปกับการรวบรวม ดังกล่าว ได้แก่ การพิสูจน์เอกลักษณ์ในเชิงลึก วิธีการทางชีวโมเลกุลในหอยบางประเภท ท�ำให้ได้ฐานข้อมูลที่เป็น ปัจจุบัน และตอบโจทย์ความคลุมเครือของ “ชีวสปีชีส์ Biological ” ได้เป็นแบบอย่างจ�ำนวนมาก คณะผู้จัดท�ำ จึงมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะน�ำเสนอ เพื่อเป็นทรัพยากรเชิงข้อมูลที่มีค่ายิ่งของชาวไทย และข้อมูลเหล่านี้ก็จะ กลายเป็นภูมิปัญญา ภูมิคุ้มกันให้กับความมั่งคั่งยั่งยืนของคนไทยต่อไป

1 วัตถุประสงค์

ขอบเขตการดำ�เนินงาน ดําเนินการศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ของข้อมูลทรัพยากรชีวภาพกลุ่มมอลลัสกา ได้แก่ หอย ทาก และหมึก พร้อมทั้งคัดกรองชื่อซํ้า ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมให้มีความถูกต้อง ตามหลักวิชาการให้เป็นไป ตามมาตรฐานและมีโครงสร้างข้อมูลตรงตามที่คณะอนุกรรมการจัดทาบัญชีรายการทรัพย์สินสัตว์นํ ํ้าได้กาหนดํ เพื่อ ประโยชน์ในการอนุรักษ์ คุ้มครอง และใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจานวนไม่น้อยกว่าํ 2,500 ชนิด และจัดการรวบรวม รูปถ่ายและ/หรือรูปวาดที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ไม่น้อยกว่า 2,300 รูป โดยมีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี้ จัดทําแผนการดําเนินงานตลอดระยะเวลาของโครงการ โดยแผนงานจะต้องแสดงถึงแนวคิด 1 วิธีการ แผนการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุตามขอบเขตงานที่จะส่งมอบในแต่ละงวดงานํ พร้อมทั้ง ระบุผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม และระยะเวลาการปฏิบัติงาน

ทาการทบทวนงานวิจัยํ (Literature Review) ด้วยข้อมูลที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในเอกสารวิชาการและ 2 ฐานข้อมูลระดับนานาชาติที่เกี่ยวข้อง

ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ของข้อมูลทรัพยากรชีวภาพตามหลักวิชาการ 3 ให้เป็นไปตามมาตรฐาน พร้อมทั้งคัดกรองชื่อซํ้า ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมให้มีความถูกต้อง ศึกษากาหนดลักษณะและรูปแบบข้อมูลมีความเหมาะสมสํ าหรับการคุ้มครองํ และการนาไปใช้ํ ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ รวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพสัตว์นํ้ากลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก ฯ) ตามโครงสร้าง ดังนี้

2 ลําดับ ข้อมูล คําอธิบาย

1. ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific Name) จีนัส สปีชีส์ ผู้กําหนดชื่อ และปี ค.ศ. ที่กําหนด 2. แหล่งที่พบครั้งแรก ( Locality) ตามเอกสารอ้างอิง 3. ชื่อท้องถิ่น (Vernacular Name) ตามเอกสารอ้างอิง และ/หรือ ชื่อในท้องถิ่น 4. ชื่อสามัญ (Common Name) ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษ 5. การจัดจําแนก (Classification) ชั้น (Class) ชั้นย่อย (Subclass) อันดับ (Order) อันดับย่อย (Suborder) เหนือกว่าวงศ์ (Superfamily/Infraorder) วงศ์ (Family) วงศ์ย่อย (Subfamily) สกุล () สกุลย่อย (Subgenus) ชนิด (Species) ชนิดย่อย (Subspecies) 6. การกระจายพันธุ์ (Distribution) ตามรายงานที่พบ 7. แหล่งที่พบ (Location) ชื่อลุ่มนํ้า/ชื่อจังหวัด/ชื่อสถานที่พบ ฯลฯ (ภาค แบ่งตามเขตการปกครอง) 8. ระบบนิเวศ (Ecology) เช่น ป่าไม้ ภูเขา ทะเล ฯลฯ 9. ถิ่นที่อยู่ (Habitat) บก ต้นไม้ พื้นดิน พื้นทราย โคลน นํ้าจืด ทะเล นํ้านิ่ง นํ้าไหล ดิน โคลน ดินทราย ระดับความลึก ฯลฯ 10. สถานภาพการอนุรักษ์ ใช้เกณฑ์ของ IUCN, CITES, พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า (Conservation Status) พ.ศ. 2535 11. สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ เพาะและอนุบาล เพาะเลี้ยงเชิงทดลอง เลี้ยงเชิง (Aquaculture Status) พาณิชย์ 12. การใช้ประโยชน์ (Utilization) การนํามาใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ เป็นอาหาร ใช้ด้านความ สวยงาม เป็นสมุนไพร 13. ภาพ (Figure) รูปถ่ายหรือรูปวาด 14. ผลกระทบ (Impact) เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข นันทนาการ 15. อ้างอิง (Reference) เอกสารและตัวอย่างในพิพิธภัณฑ์ 16. ทําเนียบนักวิจัยไทย ชื่อและช่องทางการเข้าถึงนักวิจัยไทย (Thai Researchers Directory)

IUCN Red List: Not Evaluated (Ref. 90363), Data deficient (DD) (Ref. 90363) Least Concern (LC) (Ref. 90363), Near Threatened (NT) (Ref. 90363) Vulnerable (VU), Endangered (EN), Critically Endangered (CR) Extinct in the Wild (EW), Extinct (EX)

3 ทั้งนี้ ได้ดําเนินการรวบรวมข้อมูลประกอบตามโครงสร้างตามหัวข้อที่ 1, 3, 5, 7, 8, 9, 10, และ 15 อย่าง ครบถ้วน โดยหัวข้อที่ 13 จะทําการรวบรวมภาพไม่น้อยกว่า 2,300 ภาพ ในกรณีที่ไม่มีภาพจะระบุตามข้อ 15 ส่วน หัวข้ออื่นๆ ขึ้นอยู่กับการอ้างอิง และทุกข้อมูลที่นํามาใส่ในโครงสร้างจะมีการอ้างอิงถึงที่มาของข้อมูล กําหนดแนวทางการตรวจสอบข้อมูล และความถูกต้องของข้อมูลโดยมีนักวิชาการร่วมในการกําหนด แนวทางและร่วมตรวจสอบ รวบรวมข้อมูลศึกษา วิเคราะห์ และนําเสนอแนวทางระเบียบวิธีและประโยชน์ เพื่อสนับสนุนการขึ้น ทะเบียนทรัพยากรชีวภาพสัตว์นํ้ากลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก ฯ) ออกแบบรูปเล่มและการจัดวางทั้งในส่วนของเนื้อหา ข้อมูล และภาพในหนังสือบัญชีรายการทรัพยากร ชีวภาพสัตว์นํ้ากลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก ฯ) จัดทาตัวอย่างสิ่งพิมพ์หนังสือบัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพสัตว์นํ ํ้ากลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก ฯ) พร้อมดิจิตอลไฟล์ตัวอย่างสิ่งพิมพ์ที่พร้อมส่งพิมพ์

สัตว์ในไฟลัมมอลลัสกา (หอย ทาก และหมึก)

สัตว์ในไฟลัมมอลลัสกา (Phylum ) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีล�ำตัวอ่อนนุ่มและส่วนใหญ่ มีเปลือกแข็งหุ้มภายนอก ปัจจุบันสัตว์กลุ่มนี้มีจ�ำนวนมากกว่า 100,000 ชนิดทั่วโลกและเป็นซากดึกด�ำบรรพ์ ไม่ตํ่ากว่า 60,000 ชนิดซึ่งย้อนกลับไปถึงยุคแคมเบรียน ท�ำให้สัตว์ในไฟลัมนี้มีจ�ำนวนมากเป็นอันดับสองรองลงมา จากสัตว์ขาข้อในไฟลัมอาร์โทรโพดา มอลลัสเป็นสัตว์ที่ด�ำรงชีวิตด้วยการบริโภคพืช หรือล่าสัตว์อื่น หรือบริโภค ทั้งสองอย่างเป็นอาหาร นอกจากนั้นยังมีประเภทที่บริโภคซากเน่าเปื่อยอีกด้วย สามารถพบได้ในระบบนิเวศแทบ ทุกแห่งบนโลก มอลลัสอาศัยอยู่ทั้งในแหล่งนํ้าจืดและนํ้าเค็มตั้งแต่หาดหินที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของนํ้าขึ้นนํ้าลงจนถึง ใต้ทะเลลึก ในขณะที่บางพวกอาศัยอยู่บนบกตั้งแต่พื้นราบไปจนถึงยอดภูเขาสูง มอลลัสมีลักษณะสัณฐานที่ หลากหลาย มีขนาดที่แตกต่างกันตั้งแต่ขนาดเล็กจิ๋วที่เปลือกมีขนาดเล็กกว่า 1 มิลลิเมตรจนถึงสัตว์พวกหมึก ในมหาสมุทรที่มีความยาวของล�ำตัวถึง 18 เมตร และจัดว่าเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลก

1.1 การจัดจ�ำแนกไฟลัมมอลลัสกา (Classification of The Mollusca) การจัดจ�ำแนกสัตว์ในไฟลัมมอลลัสเริ่มต้นมากว่า 200 ปี โดยชาวตะวันตกที่ส�ำรวจไปตามทวีปต่างๆ และ ได้เก็บตัวอย่างกลับไปไว้ในพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาของประเทศตัวเองจากนั้นได้ศึกษาตัวอย่างเกิดเป็นความรู้ และพัฒนาเป็นองค์ความรู้ ด้วยการจัดจ�ำแนกสัตว์ประเภทนี้ไว้ในไฟลัมมอลลัสกา ค�ำว่า “Mollusca” ได้ถูกแปล มาจากภาษาละตินว่า “mollis” แปลว่าร่างกายอ่อนนุ่มหรือยืดหยุ่น การจัดจ�ำแนกสัตว์ในไฟลัมมอลลัสกาที่ใช้กัน มาจนถึงปัจจุบันคือการใช้ข้อสรุปในเชิงของวิวัฒนาการในเบื้องต้นด้วยข้อมูลพื้นฐานทางฟอสซิลจนถึงข้อมูลทาง ชีวโมเลกุลในปัจจุบัน ซึ่งสามารถสรุปหลักฐานที่ใช้บอกถึงวิวัฒนาการของมอลลัสมีอยู่สามประการใหญ่ๆ คือ หลักฐานทางกายวิภาคศาสตร์ และอวัยวะที่ส�ำคัญๆ ของหอยโบราณที่ยังมีชีวิตอยู่ ประการที่สองคือการเปรียบเทียบ rRNA sequences และประการสุดท้ายคือ ฟอสซิลในยุคแคมเบรียน

4 ปัจจุบันนักสัตววิทยาได้จ�ำแนกหอยออกเป็น 7 ชั้น (class) สามชั้นใหญ่ที่มีสมาชิกจ�ำนวนมากและมนุษย์ รู้จักกันดีได้แก่ ชั้นหอยฝาเดียว (Class Gastropoda) พบได้ทั้งในทะเล นํ้าจืด และบนบกประมาณ 40,000 สปีชีส์ ชั้นหอยสองฝา (Class Bivalvia) เป็นพวกที่อยู่ในนํ้า พบทั้งในนํ้าทะเลและในแหล่งนํ้าจืด ปัจจุบันมีรายงานอยู่ ประมาณ 8,000 สปีชีส์ ชั้นของหมึก (Class Cephalopoda) ได้แก่ หอยงวงช้าง ปลาหมึก พบแล้วประมาณ 600 สปีชีส์ ชั้นของหอยงาช้าง (Class Scaphopoda) ได้แก่ หอยงาช้าง พบแล้วประมาณ 300 - 500 สปีชีส์ ชั้นหอย ฝาละมีโบราณ (Class Monoplacophora) เป็นหอยทะเลนํ้าลึกขนาดเล็ก เปลือกมีรูปร่างคล้ายหมวก พบแล้วประมาณ 20 สปีชีส์ ชั้นของลิ่นทะเล (Class Polyplacophora) ได้แก่ ลิ่นทะเลที่พบประมาณ 500 - 600 สปีชีส์ และชั้นของ หอยหนอน (Class Aplacophora) หอยที่มีรูปร่างคล้ายหนอน ผิวหนังปกคลุมด้วยเส้นขนแข็งๆ พบแล้วประมาณ 250 สปีชีส์

1.2 มอลลัสในประเทศไทย งานวิจัยทางด้านอนุกรมวิธานของมอลลัสในประเทศไทยส่วนใหญ่เน้นศึกษาที่กลุ่มหอยฝาเดียวและ หอยสองฝา ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มของมอลลัสที่มีความหลากหลาย และมีจ�ำนวนมากพบอยู่ในถิ่นที่อยู่ที่หลากหลาย โดยที่หอยสองฝานั้นสามารถพบได้ทั้งในแหล่งนํ้าจืดและนํ้าเค็ม และหอยฝาเดียวนอกจากจะพบในแหล่งนํ้าแล้ว ยังอาศัยอยู่บนบกได้ด้วย ส่วนหมึกซึ่งเป็นพวกที่มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจก็ได้รับการศึกษาเป็นอย่างมากเช่นกัน ในขณะที่มอลลัสพวกอื่นๆ ที่มีจ�ำนวนน้อย เช่น ลิ่นทะเล (Class Polyplacophora) และหอยงาช้าง (Class Scaphopoda) นั้นมีการศึกษาน้อยมากเมื่อเทียบกับมอลลัสในพวกที่ได้กล่าวไปข้างต้น โดยที่ลิ่นทะเลได้มีการรายงาน จากการส�ำรวจร่วมกันระหว่างประเทศไทยและเดนมาร์ก (Naka Expedition) ได้รายงานชนิดของลิ่นทะเลทั้งหมด 20 ชนิดจากฝั่งทะเลอันดามัน (Schwabe, 2006) ส่วนหอยงาช้างมีการรายงานเพียง 6 ชนิดจากทางใต้ของอ่าวไทย (Swennen, 2001) ปัจจุบันมีการจัดท�ำบัญชีรายการล่าสุดรายงานชนิดของมอลลัสในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนถึง 2,600 ชนิด (Nabhitabhata, 2009)

5 ปลาหมึก (Cephalopoda)

มอลลัสพวกหมึกถูกจ�ำแนกไว้ใน Class Cephalopoda เป็นสัตว์ที่มีก�ำเนิดมานาน และมีวิวัฒนาการสูงและ ซับซ้อน หมึกเป็นสัตว์กินเนื้อ และมีบทบาทเป็นผู้ล่าที่มีความคล่องแคล่วและว่องไวในระบบนิเวศทะเลเพราะมีระบบ ประสาท ระบบรับสัมผัส และระบบกล้ามเนื้อที่เจริญดี หมึกทุกชนิดอาศัยอยู่ในนํ้าเค็ม จ�ำนวนมากด�ำรงชีวิตใน ท้องทะเลเปิด มีการปรับตัวในการว่ายนํ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลอยตัวในนํ้าโดยอาศัยกลไกภายในล�ำตัว ยกเว้นกลุ่มหมึกสายที่มีการปรับตัวในการด�ำรงชีวิตแบบคืบคลานบนพื้นท้องทะเล หมึกมีหนวด 4-5 คู่ บนหนวดมี ปุ่มดูดเรียงเป็นแถวมีหน้าที่จับเหยื่อเข้าปาก และบางคู่ช่วยในการผสมพันธุ์ หมึกส่วนใหญ่มีกระดองอยู่ภายในเป็น สารประกอบที่ต่างกันตามประเภทของหมึกตั้งแต่ไคตินจนถึงสารหินปูน การวิจัยที่ผ่านมาพบว่าโครงสร้างนี้มีเพื่อ ช่วยให้หมึกเกิดแรงลอยตัวในนํ้าทะเลเสมือนเป็นทุ่นพยุงร่างกายซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล พบในพวกหมึกกล้วยและ หมึกกระดอง ในขณะที่หมึกบางประเภทไม่มีโครงสร้างนี้ ได้แก่ หมึกยักษ์หรือหมึกสายที่ไม่ว่ายนํ้าใช้คืบคลาน (Ruppert et al., 2004) ระหว่างปี พ.ศ. 2536-2555 ประเทศไทยมีผลผลิตหมึกจากแหล่งนํ้าธรรมชาติปีละ 11,000-19,000 ตัน (กรมประมง, 2557) ประมาณสองในสามของปริมาณผลผลิตถูกแปรรูปและส่งเป็นสินค้าออกไปยังประเทศในสหภาพ ยุโรป ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา คิดเป็นมูลค่าประมาณ 6,000 ล้านบาทต่อปี ปริมาณที่เหลือเป็นการบริโภคภายใน ประเทศมีมูลค่าประมาณ 4,000 ล้านบาทต่อปี ประเทศไทยมีผลผลิตจากทรัพยากรหมึกสูงเป็นอันดับที่ 5 ของโลก (Jereb and Roper, 2005) และปริมาณผลผลิตได้เพิ่มสูงขึ้นทุกปี ตั้งแต่มีการน�ำเอาการประมงอวนลากเข้ามาเมื่อ ปี พ.ศ. 2503 และการประมงไดหมึกในปี พ.ศ. 2525 (Chotiyaputta, 1993) โดยมีผลผลิตสูงสุดในปี พ.ศ. 2541 หลังจากนั้นก็เริ่มลดลง ปี พ.ศ. 2555 ผลผลิตการจับหมึกในน่านนํ้าไทยมีจ�ำนวนกว่า 119,000 เมตริกตัน ซึ่งเป็นผลผลิต จากอ่าวไทยกว่า 98,000 เมตริกตัน และจากฝั่งทะเลอันดามันกว่า 21,000 เมตริกตัน (กรมประมง, 2557) เนื่องจาก ความส�ำคัญทางเศรษฐกิจดังกล่าว การจัดการทรัพยากรหมึกนั้นจ�ำเป็นที่จะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานความรู้ทางชีววิทยา ด้านต่างๆ ในขณะที่หมึกเป็นสัตว์นํ้าที่มีการศึกษาค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับสัตว์นํ้าประเภทอื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านอนุกรมวิธานของกลุ่มหมึกในน่านนํ้าไทย ปัจจุบันข้อมูลความหลากชนิดของทรัพยากรหมึกตลอดจนถิ่นที่อยู่ อาศัยและการแพร่กระจายในประเทศไทยต้องการศึกษาจากตัวอย่างใหม่เพื่อให้ถูกต้องทันกับความก้าวหน้าทางวิชาการ ของโลก ทรัพยากรชีวภาพของกลุ่มหมึก หรือพรรณหมึก Teuthofauna ในประเทศไทย มีรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2471 หรือเมื่อ 87 ปีมาแล้ว จนถึงปัจจุบัน Nabhitabhata และ Nateewathana (2010) รายงานว่า หมึกใน น่านนํ้าไทย มีทั้งหมด 80 ชนิด 43 สกุล 23 วงศ์ ส่วนใหญ่เป็นหมึกที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่ง แต่เนื่องจากฝั่งทะเล อันดามันของไทย (เขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะ) มีระดับความลึกมากที่สุดถึง 2,600 เมตร ต่างจากบริเวณอ่าวไทยที่มี ความลึกมากที่สุดเพียง 95 เมตร จึงคาดว่าจ�ำนวนชนิดของทรัพยากรหมึกที่ส�ำรวจไม่ครอบคลุมยังมีอีกมาก โดย เฉพาะอย่างยิ่งชนิดที่อาศัยอยู่ในเขตนํ้าลึก รวมทั้งในเขตนํ้าตื้นตามบริเวณหมู่เกาะต่างๆ เป็นที่น่าสังเกตว่าพรรณ หมึกในรายงานของประเทศไทยส่วนใหญ่ไม่ได้ระบุแหล่งเก็บรักษาตัวอย่างที่แน่ชัด และตัวอย่างที่มีอยู่ขาดการเก็บ รักษาตามหลักวิชาการและระบบพิพิธภัณฑ์ ซึ่งล้วนแต่ไม่เอื้ออ�ำนวยต่อกระบวนการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพ ซึ่งจะต้องมีการตรวจทานลักษณะหรือตรวจสอบชนิดกับตัวอย่างอ้างอิงที่จัดเก็บไว้แล้ว งานวิจัยทรัพยากรชีวภาพของกลุ่มหมึกในประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามล�ำดับเวลานั้นเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1928 Dr. Robson ได้รายงานหมึกจากอ่าวไทย 2 ชนิด คือ Doryteuthis singhalensis และ Sepioteuthis kempferi และในปีถัดมา (1929) ได้รายงานเพิ่มอีก 2 ชนิด Cistopus indicus และ aegina 6 ในปี ค.ศ 1938 Suvatti บันทึกรายชื่อหมึก 4 ชนิดในหนังสือ “Molluscs of Siam” คือ Octopus sp., s p . , Loligo sp., Nautilus pompilius และหมึกที่พบเป็นซากดึกด�ำบรรพ์อีก 1 ชนิด Amalthea antiquate และในปี ค.ศ.1950 Suvatti ได้จัดท�ำรายชื่อหมึกในประเทศไทยไว้ในหนังสือ “หอยเมืองไทย” และ “Fauna of Thailand” ซึ่ง ประกอบด้วยหมึก 11 ชนิด เป็นชนิดที่เพิ่มเติมจากเดิม คือ Argonauta argo, Octopus macropus, O. rugosus, Sepia esculenta, L. singhalensis, Sepioteuthis sp., Sepioteuthis krempfi และ Sepioteuthis indica การศึกษากลุ่มหมึกในประเทศไทยเว้นช่วงไประยะหนึ่งจนกระทั่งปี ค.ศ. 1969 กรมประมงได้รายงานหมึกใน ประเทศไทยที่ใช้เป็นอาหารไว้ 3 สกุล คือ Loligo, Octopus และ Ommastrephes และรวมทั้งหอยงวงช้าง ในปี ค.ศ. 1974 ไพศาล สิทธิกรกุล (2517) เป็นคนแรกที่ได้ศึกษาอนุกรมวิธานของหมึกในประเทศไทยตามหลักวิชาการ โดยรายงานหมึกจากอ่าวไทยไว้ 22 ชนิด 10 สกุล 5 วงศ์ และจากฝั่งทะเลอันดามัน 3 ชนิด ต่อมาในปี ค.ศ. 1984 Roper และคณะได้ตีพิมพ์หนังสือชนิดและการแพร่กระจายของหมึกที่มีความส�ำคัญทางการประมงทั่วโลก มีหมึก ที่พบในประเทศไทยจ�ำนวน 25 ชนิด ต่อมาการศึกษากลุ่มหมึกมีเพิ่มเติมมากขึ้นอีกโดยในปี ค.ศ. 1989 Nateewathana และ Hylleberg รายงานหมึกราหู Thysanoteuthis rhombus ที่เป็นหมึกนํ้าลึกจากฝั่งทะเลอันดามัน ของไทย เป็นบันทึกรายงานการพบครั้งแรกในน่านนํ้าไทย และรายงานการพบหมึกแคระชนิดใหม่จากอ่าวไทย Idiosepius thailandicus และอีก 2 ชนิดทางฝั่งอันดามัน Idiosepius pygmaeus และ Idiosepius biserialis (เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, 2534, Chotiyaputta et al., 1991; Hylleberg & Nateewathana, 1991a, b) การรายงาน กลุ่มหมึกยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเป็นหมึกกล้วย 8 ชนิด ทางฝั่งทะเลอันดามัน (Nateewathana,1992) ความ หลากชนิดของหมึกในประเทศไทยจ�ำนวน 31 ชนิด 17 สกุล 10 วงศ์ (เจิดจินดา โชติยะปุตตะ และคณะ, 2535) บัญชีรายชื่อหมึกจากน่านนํ้าไทย 29 ชนิด (Chotiyaputta, 1993) บัญชีรายชื่อหมึกในอ่าวไทย 28 ชนิด (สมนึก ใช้เทียมวงศ์, 2536) รายชื่อของหมึกในประเทศไทย 61 ชนิด (จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, 2538ก) และรายงานหมึก 32 ชนิดที่พบในประเทศไทยซึ่งในจ�ำนวนนี้มี 7 ชนิดที่ไม่เคยมีรายงานมาก่อน (Okutani, 1995) นอกจากนี้ Sawata & Phongsuwan, 1994 รายงานการพบตัวอย่างที่สมบูรณ์ของหอยงวงช้าง Nautilus pompilius แ ล ะ การพบหมึกกล้วยนํ้าลึกเป็นครั้งแรกจากฝั่งทะเลอันดามันของไทยจ�ำนวน 6 ชนิด และหมึกสาย 1 ชนิด (Nateewathana, 1995) ในปี ค.ศ. 1995 ได้มีการจัดท�ำ “คู่มือการจ�ำแนกชนิดหมึกในอ่าวไทย ภาคสนาม” (สมนึก ใช้เทียมวงศ์, 2538) และกรมประมงได้ตีพิมพ์หนังสือ “ชีววิทยาและการเพาะเลี้ยงหมึก” ที่เป็นเนื้อหาจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ นับเป็นการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับหมึกในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการจ�ำแนกชนิดและ การเก็บรักษาตัวอย่างในพิพิธภัณฑ์รวมอยู่ด้วย (จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, 2538ข) ในปี ค.ศ. 1996 ได้มีการจัดท�ำรายงาน อนุกรมวิธานหมึกกระดองทางฝั่งอันดามันจ�ำนวน 8 ชนิด (Nateewathana, 1996) มีการรายงานชนิดหมึกทาง ฝั่งอันดามันจ�ำนวน 41 ชนิด 21 สกุล 14 วงศ์ หมึกสาย 12 ชนิด หมึกกล้วยนํ้าลึก 2 ชนิด และหมึกหูช้าง 2 ชนิด ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นหมึกหูช้างชนิดใหม่ คือ hyllebergi และรายงานการพบหมึกกระดองดอกไม้ tullbergi ในอ่าวไทยเป็นครั้งแรก (Nateewathana, 1997a, b, c, d, 1998) ต่อมาได้มีการจัดท�ำคู่มือ แยกชนิดและการแพร่กระจายของหมึกในเขตแปซิฟิกตะวันตกกลาง โดย FAO จากผลงานของ Dunning (1998a, b, c, d, e), Norman (1998), Norman & Reid (1998), Reid (1998), และ Reid & Norman (1998) ซึ่งได้รวม หมึก 31 ชนิดที่พบในน่านนํ้าไทย และในปีเดียวกัน Khromov et al. ได้รายงานชนิดหมึกกระดองในเขตอินโดแปซิฟิก ที่พบได้ในน่านนํ้าไทย 9 ชนิด ในปี ค.ศ. 1999 Nateewathana & Norman ได้พบหมึกสายชนิดใหม่ใน น่านนํ้าไทยอีก 3 ชนิด คือ Octopus neglectus, Octopus rex และ Octopus siamensis และ Nabhitabhata (1999) และอนุวัฒน์ นทีวัฒนา (2543) รวบรวมชื่อหมึกในน่านนํ้าไทยไว้ 68 ชนิด 28 สกุล 18 วงศ์ และในปี ค.ศ. 2001 มีการรายงานการพบหมึกหูช้าง Euprymna hyllebergi เป็นครั้งแรกในอ่าวไทย (Nateewathana et al., 2001) 7 ในปี ค.ศ. 2003 ได้มีการจัดสัมมนาวิชาการระหว่างประเทศซึ่งเป็นการรวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับ ทรัพยากรชีวภาพของกลุ่มหมึกในเขตอินโดแปซิฟิก ถึง 3 กลุ่ม และผลสรุปได้ตีพิมพ์ออกมาในปี ค.ศ. 2005 (Vecchione et al., 2005, Norman & Hochberg, 2005) ในการสัมมนาครั้งนี้ Jivaluk et al. (2005) ยังได้เสนอผล งานบรรยายลักษณะของลูกหมึกหอมสายพันธุ์ไทย Sepioteuthis lessoniana ไว้ด้วย ในปี ค.ศ. 2005 FAO โดย Jereb (2005) และ Jereb & Roper (2005) ได้กล่าวถึงกลุ่มหมึกกระดองในน่านนํ้าไทยจ�ำนวน 19 ชนิด 7 สกุล 5 วงศ์ และในปี ค.ศ. 2007 ได้มีรายงานการพบหมึกสายลายเสือ Thaumoctopus mimicus เป็นครั้งแรกใน น่านนํ้าไทย (Nabhitabhata & Sukhsangchan, 2007) ซึ่งต่อมา Sukhsangchan & Kaewchaichalearnkit (2013) ได้รายงานตัวอย่างตัวแรกของหมึกชนิดนี้ที่รวบรวมได้

ในปี ค.ศ. 2009 Nabhitabhata et al. รายงานหมึกสาย 2 ชนิดที่พบครั้งแรกในน่านนํ้าไทยด้านฝั่งอันดามัน ได้แก่ หอยงวงช้างกระดาษ Argonauta argo และหมึกผ้าห่ม Tremoctopus violaceus และได้รวมหมึกสายอีก 3 ชนิดที่พบใหม่ในน่านนํ้าไทยไว้ในรายงานรายชื่อหมึกของประเทศไทย (จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ และคณะ, 2552) ในปีเดียวกันได้มีการรวบรวมรายชื่อหมึกของประเทศไทยไว้ในหนังสือ “Checklist of Mollusca Fauna of Thailand” จ�ำนวน 80 ชนิด (Nabhitabhata et al., 2009a) และรายงานหมึกจ�ำนวน 9 ชนิด ในหนังสือ “สัตว์ไม่มีกระดูก สันหลังในลุ่มนํ้าทะเลสาบสงขลา” (จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, 2552) ในปี ค.ศ. 2010 ได้มีการสรุปรายชื่อหมึกในน่านนํ้าไทย ในปัจจุบันว่ามีจ�ำนวน 80 ชนิดใน 43 สกุล 23 วงศ์ ประกอบด้วยชนิดที่พบทั้งสองฝั่งจ�ำนวน 57 ชนิด รวมกับชนิด ที่พบเฉพาะด้านอ่าวไทย 10 ชนิด และชนิดที่พบเฉพาะทางฝั่งอันดามันอีก 13 ชนิด (Nabhitabhata & Nateewathana, 2010) ในปีเดียวกัน ได้มีการรายงานผลการศึกษาอนุกรมวิธาน ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการกลุ่ม ชนิดทับซ้อนของหมึกกระดองลายเสือ Sepia pharaonis ในคาบสมุทรไทย โดยศึกษาจากสัณฐานภายนอก (Tuanapaya & Nabhitabhata, 2010) ในปี ค.ศ. 2011 มีการรายงานสรุปการพบหมึกหูช้าง Euprymna hyllebergi และก�ำหนดตัวอย่างต้นแบบใหม่ (neotype) เพื่อทดแทนตัวอย่างต้นแบบเดิมที่สูญหายไป (Aungtonya et al., 2011) ในปีถัดมามีการรายงานการพบตัวอย่างหอยงวงช้าง Nautilus pompilius มีชีวิตอีกครั้งหนึ่งในน่านนํ้าไทย ด้านฝั่งอันดามัน (Nabhitabhata & Wongkamhaeng, 2012) ในปี ค.ศ. 2013 จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ และ คณะ (2556ก, ข) ได้รายงานพรรณหมึกชายฝั่งในบริเวณชายฝั่งสตูลและบริเวณคาบสมุทรสทิงพระ และบริเวณ ใกล้เคียง

เอกสารอ้างอิง

1. กรมประมง. 2557. สถิติการประมงแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2555. เอกสารฉบับที่ 9/2557 กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์ สถิติการประมง ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง. 2. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ. 2538ก. รายชื่อชนิดหมึกที่พบในน่านนํ้าไทย. ใน: จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ (บก.), เอกสารเผยแพร่ ฉบับที่ 18, สรุปผลการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “ชีววิทยาและการเพาะเลี้ยงหมึก”. สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าชายฝั่ง จังหวัดระยอง กองเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าชายฝั่ง กรมประมง: หน้า 222 - 231. 3. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ (บรรณาธิการ). 2538ข. สรุปผลการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “ชีววิทยาและการเพาะเลี้ยงหมึก”. เอกสารเผยแพร่ฉบับที่ 18, โครงการวิจัยการเพาะเลี้ยงหมึก สถานเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าชายฝั่งจังหวัดระยอง กองเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าชายฝั่ง กรมประมง. 231 หน้า.

8 4. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ. 2552. สัตว์กลุ่มหอยในลุ่มนํ้าทะเลสาบสงขลา. ใน: ปัทมาภรณ์ หมาดนุ้ย และศักดิ์อนันต์ ปลาทอง (บก.), สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ในลุ่มนํ้าทะเลสาบสงขลา. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทย ตอนล่าง: หน้า 155-248. 5. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, จรวย สุขแสงจันทร์ และกรอร วงษ์ก�ำแหง. 2552. หมึกสาย 3 ชนิดที่พบใหม่ในน่านนํ้าไทย. ประมวลผลงานวิจัย การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล 2551, วันที่ 25-27 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรม เมโทรโพล ภูเก็ต: หน้า 487-498. 6. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, สุรางคนา ทัวะนาพญา, เรืองฤทธิ์ พรหมด�ำ และ กิตติชัย ทองเติม. 2556ก. พรรณหมึก ชายฝั่งในบริเวณชายฝั่งสตูลและใกล้เคียง. ประมวลผลงานวิจัย การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล 2555: หน้า 117-137. 7. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, อภิเชฐ กาญจนแก้ว, สุรางคนา ทัวะนาพญา, กิตติชัย ทองเติม และ เรืองฤทธิ์ พรหมด�ำ. 2556ข. พรรณหมึกชายฝั่งบริเวณคาบสมุทรสทิงพระและใกล้เคียง. การประชุมครั้งที่ 3 อนุกรมวิธานและ ซิสเทมาติคส์ในประเทศไทย คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 11-13 พฤษภาคม 2556: หน้า 198-199. 8. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ. 2534. หมึกกระดองแคระชนิดใหม่และชนิดอื่นในน่านนํ้าไทย. สรุปผลการสัมมนา วิชาการประมง ประจ�ำปี 2534, กรมประมง: หน้า 535-538. 9. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของหมึกใน ประเทศไทย. รายงานเสนอคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 10. ไพศาล สิทธิกรกุล. 2517. การศึกษาอนุกรมวิธานหมึกในอ่าวไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 11. สมนึก ใช้เทียมวงศ์ 2536. การจ�ำแนกชนิดหมึกในอ่าวไทย. รายงานทางวิชาการที่ 23, กลุ่มชีวประวัติสัตว์ทะเล ศูนย์พัฒนาประมงทะเลอ่าวไทยตอนบน กองประมงทะเล กรมประมง. 78 หน้า. 12. สมนึก ใช้เทียมวงศ์ 2538. การจ�ำแนกชนิดหมึกในอ่าวไทย ภาคสนาม. ใน: จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ (บก.), เอกสาร เผยแพร่ ฉบับที่ 18, สรุปผลการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “ชีววิทยาและการเพาะเลี้ยงหมึก”. สถานีเพาะเลี้ยง สัตว์นํ้าชายฝั่งจังหวัดระยอง กองเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าชายฝั่ง กรมประมง: หน้า 6-16. 13. อนุวัฒน์ นทีวัฒนา. 2543. พรรณหมึกในน่านนํ้าไทย. เอกสารเสวนาวิชาการ เรื่อง “การศึกษาวิชาการหอย ในปี 2000”. 15 กันยายน 2543, คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: หน้า 133-153. 14. Aungtonya, C., Nateewathana, A., Tendal, O. S. and Nabhitabhata, J. 2011. New Records of the Bobtail , Euprymna hyllebergi Nateewathana, 1997, with Designation of a Neotype. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 70: 15-27. 15. Chotiyaputta, C. 1993. Resources of Thailand. In: T. Okutani, R. K. O’ Dor and T. Kubodera (eds.), Recent Advances in Cephalopod Fisheries Biology. Tokyo, Tokai University Press: pp. 71-80. 16. Chotiyaputta, C., Okutani, T. and Chaitiamvong, S. 1991. A New Pygmy from the Gulf of Thailand Idiosepius thailandicus n. sp. (Cephalopoda: Idiosepiidae). Venus. 50: 165-174. 17. Dunning, M.C. 1998a. Idiosepiidae Pygmy Cuttlefish. In : K.E. Carpenter and V.H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. , , Holothurians and Sharks. p. 271.

9 18. Dunning, M. C. 1998b. Loliginidae Inshore , Pencil Squids. In : K. E. Carpenter and V. H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks. pp. 764-780. 19. Dunning, M. C. 1998c. Nautilidae Chambered Nautiluses. In : K. E. Carpenter and V. H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks. pp. 709-711. 20. Dunning, M. C. 1998d. Ommastrephidae Arrow Squids, Flying Squids. In : K. E. Carpenter and V. H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks. pp. 788-796. 21. Dunning, M. C. 1998e. Thysanoteuthidae Rhomboid Squids, Diamondback Squids. In : K. E. Carpenter and V. H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks. p. 797. 22. Hylleberg, J. and Nateewathana, A. 1991a. Morphology, Internal Anatomy, and Biometrics of the Cephalopod Idiosepius biserialis Voss, 1962. A New Record for the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 56: 1-9. 23. Hylleberg, J. and Nateewathana, A. 1991b. Redescription of Idiosepius pygmaeus Steenstrup, 1881 (Cephalopoda : Idiosepiidae), with Mention of Additional Morphological Characters. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 55: 33-42. 24. Jereb, P. 2005. Chambered Nautiluses. In: P. Jereb and C. F. E. Roper (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 1 Chambered Nautiluses and Sepioids (Nautilidae, , , Sepiadariidae, Idiosepiidae and Spirulidae). FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No.4, Vol. 1: pp. 50-55. 25. Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.). 2005. Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 1 Chambered Nautiluses and Sepioids (Nautilidae, Sepiidae, Sepiolidae, Sepiadariidae, Idiosepiidae and Spirulidae). FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No.4, Vol. 1. 269 p. 26. Jivaluk, J., Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Watprasit, P. 2005. Description of Thai Type of , Sepioteuthis lessoniana, Hatchling with Note on Comparison to Japanese Types. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 66: 117-126. 27. Khromov, D. N., Lu, C. C., Guerra, A., Dong, Zh. and Boletzky, S. v. 1998. A Synopsis of Sepiidae Outside Australian Waters (Cephalopoda: Sepioidea). In: N. A. Voss, M. Vecchione, R. B. Toll and M. J. Sweeney (eds.), Systematics and Biogeography of Cephalopods Volume I, Smithsonian Contributions to Zoology. 586: 77-157. 28. Nabhitabhata, J. 1999. Checklist of Diversity and Distribution of Recent Cephalopods from Thai Waters. Thai Marine Fisheries Research Bulletin. 7: 89-96

10 29. Nabhitabhata, J. and Nateewathana, A.. 2010. Past and Present of Records of Cephalopod Fauna in Thai Waters with Species Checklist. Tropical Natural History. Supplement 3: 264. 30. Nabhitabhata, J. and Sukhsangchan, C. 2007. New Photographic Record of “Mimic Octopus” in the Gulf of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 68: 31-34. 31. Nabhitabhata, J. and Wongkamhaeng, K. 2012. New Record of Live Specimens of Emperor Nautilus, Nautilus pompilius (Linnaeus, 1758), from the east Andaman Sea, Thai Waters. Vie et Milieu. 62: 97-104. 32. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009a. Cephalopods. In Checklist of Mollusca Fauna in Thailand. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Bangkok: pp. 256-277. 33. Nabhitabhata, J., Sukhsangchan, C. and Wongkamhaeng, K. 2009b. First Record of Two Pelagic Octopods, Argonauta argo and Tremoctopus violaceus cf. gracilis from the Andaman Sea, Thailand. Vie et Mileu. 59(1): 39-45. 34. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic Studies on Loliginid Squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman Sea Coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40. 35. Nateewathana, A. 1995. New Record of Oceanic Squids from Thai Waters, the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 60: 1-19. 36. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176. 37. Nateewathana, A. 1997a. Systematics of Cephalopoda (Mollusca) of the Andaman Sea, Thailand. Ph. D. Dissertation, Institute of Biological Sciences, Faculty of Natural Sciences, University of Aarhus. 343 p. 38. Nateewathana, A. 1997b. The Octopod Fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17: 407-452. 39. Nateewathana, A. 1997c. The Sepiolidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand, with Description of Euprymna hyllebergi sp. nov. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17: 465-481. 40. Nateewathana, A. 1997d. Two Species of Oceanic squids from the Andaman Sea, Indian Ocean. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17: 453-464. 41. Nateewathana, A. 1998. A New Record of Cuttlefish Metasepia tullbergi (Appellof, 1886) (Sepiidae: Cephalopoda) Gulf of Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 18: 323-330. 42. Nateewathana, A. and Hylleberg, J. 1989. First Record of Oceanic Squid, Thysanoteuthis rhombus Troschel, 1857 (Cephalopoda : Teuthoidea) in Thai Waters. Natural History Bulletin of Siam Society. 37: 227-233. 43. Nateewathana, A. and Norman, M. D. 1999. On Three New Species of Ocellate (Cephalopoda: Octopoda) from Thai Waters. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 19: 445-462. 44. Nateewathana, A., Nabhitabhata, J. and Nilaphat, P. 2001. A New Record of A , Euprymna hyllebergi Nateewathana, 1997, in the Gulf of Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 25: 501-506.

11 45. Norman, M. D. 1998. Octopodidae Benthic Octopuses. In: K. E. Carpenter and V. H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks. pp. 800-826. 46. Norman, M. D. and Reid, A. L. 1998. Sepiadariidae Bottle Squids, Bottletail Squids. In: K. E. Carpenter and V. H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks. pp. 719-720. 47. Norman, M. D. and Hochberg, F. G. 2005. The Current State of Octopus . Phuket Marine Biological Center Research Bullletin. 66: 127-154. 48. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Publication for the 30 th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. Tokyo, Japan. 185 p. 49. Reid, A. L. 1998. Sepiidae . In : K. E. Carpenter and V. H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks. pp. 723-763. 50. Reid, A. L. and Norman, M. D. 1998. Sepiolidae Bobtail Squids. In: K. E. Carpenter and V. H. Niem (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purposes. The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2. Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks. pp. 712-718. 51. Robson, G. C. 1928. Cephalopodes des Mers d’Indochine. Service Oceano- graphique des Peches de l’Indochine 10:1-53. 52. Robson, G. C. 1929. A monograph of the recent Cephalopoda. Part I. Octopodinae. British Museum (Natural History), London: 236 pp. 53. Roper, C. F. E., Sweeney, M. J. and Naun, C. E. 1984. FAO Species Catalogue. Vol. 3 Cephalopods of the World. An Annotated and Illustrated Catalogue of Species of Interest to Fisheries. FAO Fisheries Synopsis No. 125. Vol. 3. 277 p. 54. Ruppert, E.E., Fox, R.S., and Barnes, R.D. 2004. Invertebrate Zoology. (7 ed.). Belmont: Brooks / Cole. 55. Sawata, H. and Phongsuwan, N. 1994. Occurrence of Nautilus pompilius in the Eastern Part of Indian Ocean-Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 59: 99-100. 56. Sukhsangchan, C. and Kaewchaichalearnkit, C. 2013. First Captured Record of a Mimic Octopus (Thaumoctopus mimicus) in Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 72: 55-59. 57. Suvatti, C. 1938. Molluscs of Siam. Bureau of Fisheries, Bangkok. 91 pp. 58. Suvatti, C. 1950. Fauna of Thailand. Department of Fisheries. Bangkok. 1100 pp. 59. Tuanapaya, S. and Nabhitabhata, J. 2010. Comparative External Morphometry of Pharaoh Cuttlefish, Sepia pharaonis Ehrenberg, 1831, from Two Waters of Peninsular Thailand. Tropical Natural History. Supplement 3: 293. 60. Vecchione, M., Shea, E., Bussarawit, S., Anderson, F., Alexeyev, D., Lu, C. C., Okutani, T., Roeleveld, M., Chotiyaputta, C., Roper, C., Jorgensen, E. and Sukramongkol, N. 2005. Systematics of Indo-West Pacific Loliginids. Phuket Marine Biological Center Research Bullletin. 66: 23-26.

12 CLASS Cephalopoda ORDER Nautilida Family : Nautilidae 14 สารบัญ ORDER Spirulida Family : Spirulidae 15 ORDER Sepiida Family : Sepiidae 16 Family : Sepiadariidae 24 Family : Sepiolidae 25 ORDER Octopoda Family : Octopodidae 74 Family : Amphitretidae 87 ORDER Idiosepiida Family : Vitreledonellidae 88 Family : Idiosepiidae 29 Family : Bolitaenidae 89 Family : Alloposidae 91 ORDER Myopsida Family : Argonautidae 92 Family : Loliginidae 32 Family : Tremoctopodidae 94 ORDER ORDER Vampyromorpha Family : Enoploteuthidae 41 Family : Vampyroteuthidae 95 Family : Ancistrocheiridae 44 Family : Pyroteuthidae 45 Family : Octopoteuthidae 47 Family : Onychoteuthidae 49 Family : Cycloteuthidae 52 Family : Lepidoteuthidae 54 Family : Architeuthidae 55 Family : Histioteuthidae 56 Family : Chtenopterygidae 58 Family : Brachioteuthidae 59 Family : Ommastrephidae 61 Family : Thysanoteuthidae 65 Family : Chiroteuthidae 66 Family : Mastigoteuthidae 68 Family : Joubiniteuthidae 69 Family : 70

13 Family Nautilidae

หอยงวงช้าง ชื่อวิทยาศาสตร์ Nautilus pompilius Linnaeus, 1758 ชื่อท้องถิ่น หอยงวงช้าง Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Emperor nautilus แหล่งที่พบครั้งแรก Ambon ประเทศอินโดนีเซีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน 20 mm แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้าถึงหน้าดิน เขตนํ้าลึกบริเวณไหล่ทวีป ระดับความลึก 150 เมตรขึ้นไป การใช้ประโยชน์ เนื้อเป็นอาหาร เปลือกเป็นของสะสม ใช้เป็น เครื่องประดับและท�ำเป็นภาชนะ Subclass Nautiloidea สถานภาพการอนุรักษ์ VU สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะและอนุบาล ผลกระทบ NA Order Nautilida เนื้อเป็นอาหาร เปลือกเป็น ของสะสม ใช้เป็นเครื่องประดับ และท�ำเป็นภาชนะ

อ้างอิง 1. Hamada, T., Kawaji, N. and Ichiki, M. 1978. Success in the rearing of a drifted Nautilus pompilius to Japan. Collection and Breeding. 40(7): 360-367. 2. Nabhitabhata, J. and Wongkamhaeng. K. 2012. New record of live specimens of emperor nautilus, Nautilus pompilius from the East Andaman Sea, Thai Waters. Vie et Milieu. 62(2): 97-104.

14 Family Spirulidae

ปลาหมึกเขาแกะ ชื่อวิทยาศาสตร์ Spirula spirula (Linnaeus, 1758) ชื่อท้องถิ่น

ปลาหมึกเขาแกะ Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Ram’s horn squid แหล่งที่พบครั้งแรก “ในอเมริกา” ไม่ระบุในการบรรยายลักษณะ ครั้งแรก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน 5 mm แหล่งที่พบ พบเปลือกบนฝั่งทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า ใกล้ผิวนํ้าในเขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ เปลือกใช้เป็นแหล่งแคลเซียม สถานภาพการอนุรักษ์ DD Subclass Coleoidea สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์

ในอ่าวไทย ทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes เปลือกใช้เป็นแหล่งแคลเซียม Order Spirulida

อ้างอิง 1. ไพศาล สิทธิกรกุล. 2517. การศึกษาอนุกรมวิธานปลาหมึกในอ่าวไทย. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 237 หน้า. 2. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Bangkok: pp. 256-277.

15 Family Sepiidae

ปลาหมึกดอกไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Metasepia tullbergi (Appellof, 1886)

Class Cephalopoda ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกดอกไม้ ชื่อสามัญ Paintpot cuttlefish, Flower cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก นางาซากิ ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ อ่าวไทย ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง ความลึก 20-100 เมตร การใช้ประโยชน์ เลี้ยงเป็นสัตว์นํ้าสวยงาม เนื้อมีพิษ 10 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD Subclass Coleoidea สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงครบวงจรชีวิต ผลกระทบ NA

แหล่งที่พบในอ่าวไทย เลี้ยงเป็นสัตว์นํ้าสวยงาม Superorder Decapodiformes และเนื้อมีพิษ Order Sepiida

อ้างอิง 1. Grasse, B. 2014. The biological characteristics, life cycle, and system design for the flamboyant and paintpot cuttlefish, Metasepia sp., cultured through multiple generations. Drum and Croaker. 45: 58-71. 2. Nateewathana, A. 1998. A new record of cuttlefish Metasepia tullbergi (Appellof, 1886) (Sepiidae: Cephalopoda), Gulf of Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 18(2): 323-330

16 ปลาหมึกกระดองหางแหลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia aculeata Van Hasselt [in Férussac & d’Orbigny], 1835 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองหางแหลม ชื่อสามัญ Needle cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก ชวา ประเทศอินโดนีเซีย

การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Class Cephalopoda แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล 50 mm ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 60 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น แหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสม ยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง Superorder Decapodiformes Order Sepiida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176.

17 ปลาหมึกกระดองหู ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia arabica Massy, 1916 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองหู ชื่อสามัญ Arabian cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวเปอร์เซีย การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึก 80-272 เมตร 10 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่ง แคลเซียม เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ Data Deficient อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Subclass Coleoidea Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277. 2. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176.

ปลาหมึกกระดองมือสั้น ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia brevimana Steenstrup, 1875 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองมือสั้น ชื่อสามัญ Shortclub cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรอินเดีย

Superorder Decapodiformes การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 100 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม 30 mm เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง

Order Sepiida สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176.

18 ปลาหมึกกระดองครีบทอง ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia esculenta Hoyle, 1885 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองครีบทอง ชื่อสามัญ Golden cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดินแบบทราย ชายฝั่งถึงความลึก 50 mm 10-100 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาพื้นบ้านและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะและอนุบาล ผลกระทบ NA

อ้างอิง Subclass Coleoidea 1. Choe, S. 1966. On the eggs, rearing, habits of the fry, and growth of some Cephalopoda. Bulletin of Marine Science. 16(2): 330-348. 2. Filippova, J. A., Alekseev, D. O., Bizikov, V. A. and Khromov, D. N. 1997. Commercial and Mass Cephalopods of the World Ocean a Manual for Identification. Moscow, VNIRO Publishing. 271 pp.

ปลาหมึกกระดองเข็ม ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia kobiensis Hoyle, 1885 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองเข็ม ชื่อสามัญ Kobi cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก ตลาดโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น

การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 200 เมตร 10 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง Order Sepiida ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Reid, A. L., Jereb, P. and Roper, C. F. E. 2005. Family Sepiidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 1 Chambered Nautiluses and Sepioids (Nautilidae, Sepiidae, Sepiolidae, Sepiadariidae, Idiosepiidae and Spirulidae), FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 1: pp. 57-152.

19 ปลาหมึกกระดองมือยาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia latimanus Quoy & Gaimard, 1832 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองมือยาว ชื่อสามัญ Broadclub cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก Port Dorey นิวกินี การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda 50 mm ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 30 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาพื้นบ้านและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะและอนุบาล ผลกระทบ NA

Subclass Coleoidea อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J. and Segawa, S. 2014. Aquaculture to restocking. In: Iglesias, J., Fuentes, L. and Villanueva, R. (eds.), Cephalopod Culture, Springer: pp. 113-130. 2. Reid, A. L., Jereb, P. and Roper, C. F. E. 2005. Family Sepiidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 1 Chambered Nautiluses and Sepioids (Nautilidae, Sepiidae, Sepiolidae, Sepiadariidae, Idiosepiidae and Spirulidae), FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 1: pp. 57-152. ปลาหมึกกระดองลายปาก ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia lycidas Gray, 1849 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองลายปาก, ปลาหมึกกระดองลายลูกนัยน์ตา Superorder Decapodiformes ชื่อสามัญ Kisslip cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก กวางโจว ประเทศจีน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย (ตอนล่าง), ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล 20 mm ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึก 15-100 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม Order Sepiida เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะและอนุบาล ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Choe, S. 1966. On the eggs, rearing, habits of the fry, and growth of some Cephalopoda. Bulletin of Marine Science. 16(2): 330-348. 3. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176. 20 ปลาหมึกกระดองลายเสือ ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia pharaonis Ehrenberg, 1831 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองลายเสือ, ปลาหมึกแม่ไก่ ชื่อสามัญ Pharaoh cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวสุเอซ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ Class Cephalopoda 50 mm 100 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงครบวงจรชีวิต ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. Subclass Coleoidea 2. Nabhitabhata, J. 2014. Main cultured cephalopods: Sepia pharaonis. In: Iglesias, J., Fuentes, L. and Villanueva, R. (eds.), Cephalopod Culture, Springer: pp. 205-224. 3. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176.

ปลาหมึกกระดองข้างลาย ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia prashadi Winckworth, 1936 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองข้างลาย ชื่อสามัญ Hooded cuttlefish

แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวเบงกอล Superorder Decapodiformes การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล 50 mm ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 200 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ DD Order Sepiida สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277. 2. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176.

21 ปลาหมึกกระดองหางงอ ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia recurvirostra Steenstrup, 1875 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองหางงอ, ปลาหมึกกระดองเล็ก ชื่อสามัญ Curvespine cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลจีนใต้ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึก 10-140 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง 20 mm ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า.

Subclass Coleoidea 2. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176.

ปลาหมึกกระดองดาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia stellifera Homenko & Khromov, 1984 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองดาว ชื่อสามัญ Starry cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก ตะวันออกของทะเลอาหรับ

Superorder Decapodiformes การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย (ตอนล่าง), ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล 20 mm ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 200 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง

Order Sepiida สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277. 2. Reid, A. L., Jereb, P. and Roper, C. F. E. 2005. Family Sepiidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 1 Chambered Nautiluses and Sepioids (Nautilidae, Sepiidae, Sepiolidae, Sepiadariidae, Idiosepiidae and Spirulidae), FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 1: pp. 57-152.

22 ปลาหมึกกระดองหางไหม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepiella inermis (Van Hasselt [in Férussac & d’Orbigny], 1835) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกระดองหางไหม้, ปลาหมึกกระเป๋า, ปลาหมึกกระดองก้นไหม้, ปลาหมึกตูดเน่า ชื่อสามัญ Spineless cuttlefish แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรอินเดีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล นํ้ากร่อย 50 mm ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน บริเวณปากแม่นํ้า ชายฝั่งถึงความลึก ประมาณ 40 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นแหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสมยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงครบวงจรชีวิต

ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น แหล่งแคลเซียม เป็นส่วนผสม ยาแผนไทยและเครื่องส�ำอาง Superorder Decapodiformes Order Sepiida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nabhitabhata, J. 2014. Main cultured cephalopods: Sepiella inermis. In: Iglesias, J., Fuentes, L. and Villanueva, R. (eds.), Cephalopod Culture, Springer: pp. 256-277. 3. Nateewathana, A. 1996. The Sepiidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 16: 145-176.

23 Family Sepiadariidae

ปลาหมึกการ์ตูนส้ม ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepiadarium kochi Steenstrup, 1881

Class Cephalopoda ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกการ์ตูนส้ม, ปลาหมึกการ์ตูนเล็ก ชื่อสามัญ Kochi’s bottletail squid แหล่งที่พบครั้งแรก ฮ่องกง การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 30 เมตร 10 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร แปรรูปท�ำ อาหารสัตว์ Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA

เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร

Superorder Decapodiformes แปรรูปท�ำอาหารสัตว์ Order Sepiida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nabhitabhata, J. 1995. The Culture of Cephalopods: Commercial Scale Attempt in Thailand. In: Nambiar, K. P. P. and Singh, T. (eds.), Proceedings of INFOFISH-AQUATECH’ 94, International Conference on Aquaculture, Colombo, Sri Lanka: pp. 138-146.

24 Family Sepiolidae

ปลาหมึกหูช้าง ชื่อวิทยาศาสตร์ Euprymna berryi Sasaki, 1929

ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหูช้าง, ปลาหมึกการ์ตูน, Class Cephalopoda ปลาหมึกกระเป๋า ชื่อสามัญ Humming-bird bobtail squid, Double-ear bobtail squid แหล่งที่พบครั้งแรก ฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล 10 mm ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 110 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร แปรรูปท�ำ Subclass Coleoidea อาหารสัตว์ สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะและอนุบาล ผลกระทบ NA

เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร Superorder Decapodiformes แปรรูปท�ำอาหารสัตว์ Order Sepiida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nabhitabhata, J. 1995. The Culture of Cephalopods: Commercial Scale Attempt in Thailand. In: Nambiar, K. P. P. and Singh, T. (eds.), Proceedings of INFOFISH-AQUATECH’ 94, International Conference on Aquaculture, Colombo, Sri Lanka: pp. 138-146.

25 ปลาหมึกหูช้างไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ Euprymna hyllebergi Nateewathana, 1997 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหูช้างไทย, ปลาหมึกหูช้างฮิลเลแบร์ก ชื่อสามัญ Thai bobtail squid, Hylleberg’s bobtail squid แหล่งที่พบครั้งแรก แพปลากันตัง ทะเลอันดามัน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 74 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร แปรรูปท�ำ อาหารสัตว์ สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงครบวงจรชีวิต 20 mm ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร แปรรูปท�ำอาหารสัตว์ Superorder Decapodiformes Order Sepiida

อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nilaphat, P., Promboon, P. and Jaroongpattananon, C. 2005. Life cycle of cultured bobtail squid, Euprymna hyllebergi Nateewathana, 1997. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 66: 351-365. 2. Nateewathana, A. 1997. The Sepiolidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand, with description of Euprymna hyllebergi sp. nov. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 465-481.

26 ปลาหมึกหูช้างญี่ปุ่น ชื่อวิทยาศาสตร์ Euprymna morsei (Verrill, 1881) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหูช้างญี่ปุ่น ชื่อสามัญ Mimika bobtail squid, Japanese bobtail squid แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง Class Cephalopoda 10 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร แปรรูปท�ำ อาหารสัตว์ สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงครบวงจรชีวิต ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277. 2. Reid, A. L. and Jereb, P. 2005. Family Sepiolidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated Subclass Coleoidea and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 1 Chambered Nautiluses and Sepioids (Nautilidae, Sepiidae, Sepiolidae, Sepiadariidae, Idiosepiidae and Spirulidae), FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 1: pp. 153-204.

ปลาหมึกหูช้างอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Euprymna stenodactyla (Grant, 1833) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหูช้างอินเดีย, ปลาหมึกการ์ตูน, ปลาหมึกกระเป๋า ชื่อสามัญ Indian bobtail squid แหล่งที่พบครั้งแรก เกาะมอริเชียส การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล 10 mm ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร แปรรูปท�ำ อาหารสัตว์

สถานภาพการอนุรักษ์ DD Order Sepiida สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277

27 ปลาหมึกหูช้าง ชื่อวิทยาศาสตร์ Inioteuthis maculosa Goodrich, 1896 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหูช้าง, ปลาหมึกการ์ตูนจิ๋ว ชื่อสามัญ Bobtail squid แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะอันดามัน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดินและกลางนํ้า ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร แปรรูปท�ำ อาหารสัตว์ สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง 5 mm ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. Subclass Coleoidea 2. Nateewathana, A. 1997. The Sepiolidae (Cephalopoda) of the Andaman Sea, Thailand, with description of Euprymna hyllebergi sp. nov. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 465-481.

ปลาหมึกการ์ตูนครีบเล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepiola trirostrata Voss, 1962 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกการ์ตูนครีบเล็ก, ปลาหมึกการ์ตูนจิ๋ว ชื่อสามัญ Knobby bobtail squid แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศฟิลิปปินส์ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย

Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบ อ่าวไทย ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดินและกลางนํ้า ชายฝั่งถึงความลึก ประมาณ 25 เมตร 5 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งเป็นอาหาร แปรรูปท�ำ อาหารสัตว์ สถานภาพการอนุรักษ์ DD Order Sepiida สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2536. การจ�ำแนกชนิดปลาหมึกในอ่าวไทย. รายงานทางวิชาการที่ 23, กลุ่มชีวประวัติสัตว์ทะเล ศูนย์พัฒนาประมงทะเล อ่าวไทยตอนบน กองประมงทะเล กรมประมง. 78 หน้า.

28 Family Idiosepiidae

ปลาหมึกแคระสองแถว ชื่อวิทยาศาสตร์ Idiosepius biserialis Voss, 1962

ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแคระสองแถว Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Two-row pygmy squid แหล่งที่พบครั้งแรก แอฟริกาใต้ การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง บริเวณแหล่งหญ้าทะเล การใช้ประโยชน์ ไม่มี 2 mm สถานภาพการอนุรักษ์ VU สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ Subclass Coleoidea ผลกระทบ NA

ถิ่นที่อยู่ตามหน้าดิน ชายฝั่ง บริเวณแหล่งหญ้าทะเล Superorder Decapodiformes Order Idiosepiida อ้างอิง 1. Hylleberg, J. and Nateewathana, A. 1991. Morphology, internal anatomy, and biometrics of the cephalopod Idiosepius biserialis Voss, 1962 a new record for the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 56: 1-9. 2. Nabhitabhata, J. and Suwanamala, J. 2008. Reproductive behaviour and cross-mating of two closely related pygmy squids: Idiosepius biserialis and Idiosepius thailandicus (Cephalopoda: Idiosepiidae). Journal of Marine Biological Association of United Kingdom. 88(5): 987-993.

29 ปลาหมึกแคระหางแหลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Idiosepius pygmaeus Steenstrup, 1881 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแคระหางแหลม ชื่อสามัญ sharp-tail pygmy squid, two-tone pygmy squid แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลจีนใต้ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ปากนํ้าบริเวณป่าชายเลน ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ VU 5 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

แหล่งที่พบในอ่าวไทย และทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes Order Idiosepiida

อ้างอิง 1. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, ปิติพร นิลพัฒน์, อนุวัฒน์ รื่นเริง และ พิจิตรา พรหมบุญ. 2547. การเพาะเลี้ยง พฤติกรรมและการเจริญเติบโตของ ปลาหมึกแคระหางแหลม, Idiosepius pygmaeus Steenstrup, 1881. เอกสารเผยแพร่ ฉบับที่ 27, ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งระยอง ส�ำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง: หน้า 51. 2. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 3. Hylleberg, J. and Nateewathana, A. 1991. Redescription of Idiosepius pygmaeus Steenstrup, 1881 (Cephalopoda : Idiosepiidae), with mention of additional morphological characters. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 55: 33-42.

30 ปลาหมึกแคระไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ Idiosepius thailandicus Chotiyaputta, Okutani & Chaitiamvong, 1991 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแคระไทย ชื่อสามัญ Thai pygmy squid แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวไทย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ปากนํ้าบริเวณป่าชายเลน ชายฝั่งในแหล่งสาหร่ายทะเล การใช้ประโยชน์ ไม่มี 2 mm สถานภาพการอนุรักษ์ VU สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

ถิ่นที่อยู่ตามหน้าดิน ปากนํ้า บริเวณป่าชายเลน ชายฝั่ง ในแหล่งสาหร่ายทะเล Superorder Decapodiformes Order Idiosepiida

อ้างอิง 1. Chotiyaputta, C., Okutani, T. and Chaitiamvong, S. 1991. A new pygmy cuttlefish from the Gulf of Thailand Idiosepius thailandicus n. sp. (Cephalopoda: Idiosepiidae). Venus. 50(3): 165-174. 2. Nabhitabhata, J. and Suwanamala, J. 2008. Reproductive behaviour and cross-mating of two closely related pygmy squids: Idiosepius biserialis and Idiosepius thailandicus (Cephalopoda: Idiosepiidae). Journal of Marine Biological Association of United Kingdom. 88(5): 987-993.

31 Family Loliginidae

ปลาหมึกกะตอยครีบใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ Loliolus (Loliolus) affinis Steenstrup, 1856

Class Cephalopoda ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกะตอยครีบใหญ่, ปลาหมึกกะต่อมไข่ ชื่อสามัญ Steenstrup’s bay squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรอินเดีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า บริเวณปากแม่นํ้า และชายฝั่งถึง ความลึก 13-15 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น

Subclass Coleoidea 5 mm วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

Superorder Decapodiformes เนื้อสดและตากแห้ง ใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan Order Myopsida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือ ระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic studies on lologinid squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman sea coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40.

32 ปลาหมึกกะตอยอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Loliolus (Loliolus) hardwickei (Gray, 1849) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกะตอยอินเดีย ชื่อสามัญ Little Indian squid แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศอินเดีย การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า บริเวณปากแม่นํ้า และชายฝั่งถึง 10 mm ความลึกประมาณ 30 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

อ้างอิง Subclass Coleoidea 1. Jereb, P., Vecchione, M. and Roper, C. F. E. 2010. Family Loliginidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 38-117. 2. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277.

ปลาหมึกกะตอยสุมาตรา ชื่อวิทยาศาสตร์ Loliolus (Nipponololigo) beka (Sasaki, 1929) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกะตอยครีบเหลี่ยม, ปลาหมึกกะตอยจิ๋ว ชื่อสามัญ

Beka squid Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวโคจิมา ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า บริเวณปากแม่นํ้า และชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น 10 mm วัตถุดิบสกัด chitosan

สถานภาพการอนุรักษ์ LC Order Myopsida สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic studies on lologinid squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman sea coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40. 2. Jereb, P., Vecchione, M. and Roper, C. F. E. 2010. Family Loliginidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 38-117.

33 ปลาหมึกกะตอยญี่ปุ่น ชื่อวิทยาศาสตร์ Loliolus (Nipponololigo) japonica (Hoyle, 1885) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกะตอยญี่ปุ่น ชื่อสามัญ Japanese squid แหล่งที่พบครั้งแรก ตลาดโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี

Class Cephalopoda ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า บริเวณปากแม่นํ้า และชายฝั่งถึง 30 mm ความลึกประมาณ 10 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง

Subclass Coleoidea ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Filippova, J. A., Alekseev, D. O., Bizikov, V. A. and Khromov, D. N. 1997. Commercial and Mass Cephalopods of the World Ocean a Manual for Identification. Moscow, VNIRO Publishing. 271 pp.

ปลาหมึกกะตอยสุมาตรา ชื่อวิทยาศาสตร์ Loliolus (Nipponololigo) sumatrensis (Orbigny [in Férussac & d’Orbigny], 1835) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกะตอยสุมาตรา ชื่อสามัญ Kobi squid Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบครั้งแรก เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า บริเวณปากแม่นํ้า และชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan

Order Myopsida สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง 50 mm ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic studies on lologinid squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman sea coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40.

34 ปลาหมึกกะตอยเล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ Loliolus (Nipponololigo) uyii (Wakiya & Ishikawa, 1921) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกะตอยเล็ก ชื่อสามัญ Little squid แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวคาโกชิมา ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี

ตัวอย่างอ้างอิง Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า บริเวณปากแม่นํ้า และชายฝั่งถึง ความลึกประมาณ 50 เมตร 20 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง

ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea อ้างอิง 1. Jereb, P., Vecchione, M. and Roper, C. F. E. 2010. Family Loliginidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 38-117. 2. Seng, K. T. 1969. The Decapod Cephalopods of Singapore. B. Sc. Thesis, Department of Zoology, University of Singapore. 145 p.

ปลาหมึกกล้วยปานามา ชื่อวิทยาศาสตร์ Lolliguncula (Lolliguncula) panamanensis Berry, 1911

ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยปานามา Superorder Decapodiformes ชื่อสามัญ Panama thumbstall squid, Panama brief squid แหล่งที่พบครั้งแรก ปานามา มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ อ่าวไทย ระบบนิเวศ ทะเล 20 mm ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 100 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan Order Myopsida สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2536. การจ�ำแนกชนิดปลาหมึกในอ่าวไทย. รายงานทางวิชาการที่ 23, กลุ่มชีวประวัติสัตว์ทะเล ศูนย์พัฒนาประมงทะเล อ่าวไทยตอนบน กองประมงทะเล กรมประมง. 78 หน้า. 2. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277. 35 ปลาหมึกกล้วยจีน ชื่อวิทยาศาสตร์ Uroteuthis (Photololigo) chinensis (Gray, 1849) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยจีน, ปลาหมึกกล้วย, ปลาหมึกศอก, ปลาหมึกโก๋เนื้อหนา ชื่อสามัญ Mitre squid แหล่งที่พบครั้งแรก ตลาดกวางตุ้ง ประเทศจีน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล 20 mm ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า ชายฝั่งถึงความลึก 15-170 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็น อาหาร เปลือกเป็นวัตถุดิบ สกัด chitosan Superorder Decapodiformes Order Myopsida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic studies on lologinid squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman sea coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40.

36 ปลาหมึกกล้วยอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Uroteuthis (Photololigo) duvaucelii (d’Orbigny [in Férussac & d’Orbigny], 1835) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยอินเดีย, ปลาหมึกกล้วย, ปลาหมึกหลอด, ปลาหมึกจิ๊กโก๋ ชื่อสามัญ Indian squid แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศอินเดีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า ชายฝั่งถึงความลึก 30-170 เมตร 20 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็น อาหาร เปลือกเป็นวัตถุดิบ สกัด chitosan Superorder Decapodiformes Order Myopsida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nabhitabhata, J. 1995. The Culture of Cephalopods: Commercial Scale Attempt in Thailand. In: Nambiar, K. P. P. and Singh, T. (eds.), Proceedings of INFOFISH-AQUATECH’ 94, International Conference on Aquaculture, Colombo, Sri Lanka: pp. 138-146. 3. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic studies on lologinid squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman sea coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40.

37 ปลาหมึกกล้วยหางแหลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Uroteuthis (Photololigo) edulis (Hoyle, 1885) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยหางแหลม, ปลาหมึกก้นแหลม ชื่อสามัญ Swordtip squid แหล่งที่พบครั้งแรก ตลาดโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า ชายฝั่ง พบในทะเลอันดามันมากกว่า ในอ่าวไทย การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ LC 20 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ Subclass Coleoidea คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic studies on lologinid squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman sea coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40.

ปลาหมึกกล้วยอินโด ชื่อวิทยาศาสตร์ Uroteuthis (Photololigo) sibogae Adam, 1954 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยอินโด, ปลาหมึกกล้วย, ปลาหมึกศอก, ปลาหมึกโก๋เนื้อหนา ชื่อสามัญ Siboga squid

Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบครั้งแรก Soemba ประเทศอินโดนีเซีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ LC Order Myopsida สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Jereb, P., Vecchione, M. and Roper, C. F. E. 2010. Family Loliginidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 38-117. 2. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic studies on lologinid squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman sea coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40.

38 ปลาหมึกกล้วยอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Uroteuthis (Photololigo) singhalensis (Ortmann, 1891) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยลังกา, ปลาหมึกกล้วย, ปลาหมึกศอก, ปลาหมึกโก๋เนื้อบาง ชื่อสามัญ Long barrel squid แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศศรีลังกา การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า ชายฝั่งถึงความลึก 30-120 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็น อาหาร เปลือกเป็นวัตถุดิบ สกัด chitosan Superorder Decapodiformes Order Myopsida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Jereb, P., Vecchione, M. and Roper, C. F. E. 2010. Family Loliginidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 38-117.

39 ปลาหมึกหอม ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepioteuthis lessoniana Férussac [in Lesson], 1831 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหอม, ปลาหมึกตะเภา, ปลาหมึกก๊วยไส่, ปลาหมึกเมืองจันท์ ชื่อสามัญ Bigfin reef squid, Bigfin squid แหล่งที่พบครั้งแรก “Dorery” ไม่ระบุในการบรรยายลักษณะครั้งแรก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

Class Cephalopoda แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล 20 mm ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 100 เมตร ตามแนวหิน การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็นวัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงครบวงจรชีวิต

Subclass Coleoidea ผลกระทบ NA

เนื้อสดใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan Superorder Decapodiformes Order Myopsida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nabhitabhata, J. and Ikeda, Y. 2014. Main Cultured Cephalopods: Sepioteuthis lessoniana. In: Iglesias, J., Fuentes L. and Villanueva, R. (eds.), Cephalopod Culture, Springer: pp. 315-347. 3. Nateewathana, A. 1992. Taxonomic studies on lologinid squids (Cephalopoda: Loliginidae) from the Andaman sea coast of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 57: 1-40.

40 Family Enoploteuthidae

ปลาหมึกมือตะขออันดามัน ชื่อวิทยาศาสตร์ Abralia (Heterabralia) andamanica

Goodrich, 1896 Class Cephalopoda ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกมือตะขออันดามัน ชื่อสามัญ Andaman enope squid แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลอันดามัน การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 100-300 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Subclass Coleoidea 10 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

แหล่งที่พบในทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Nateewathana, A. 1995. New record of oceanic squids from Thai Waters, the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 60: 1-19. 2. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Tokyo, Publication for the 30th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. 185 p

41 ปลาหมึกมือตะขอครีบกว้าง ชื่อวิทยาศาสตร์ Abralia (Abralia) armata (Quoy & Gaimard, 1832) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกมือตะขอครีบกว้าง ชื่อสามัญ Armed enope squid แหล่งที่พบครั้งแรก สุลาเวสี ประเทศอินโดนีเซีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก 10 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า.

Subclass Coleoidea 2. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Enoploteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 183-200.

ปลาหมึกมือตะขอไต้หวัน ชื่อวิทยาศาสตร์ Abralia (Abralia) multihamata Sasaki, 1929 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกมือตะขอไต้หวัน ชื่อสามัญ Enope squid แหล่งที่พบครั้งแรก ไต้หวัน

Superorder Decapodiformes การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร 10 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Order Oegopsida อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning.Bangkok: pp. 256-277. 2. Nateewathana, A. 1995. New record of oceanic squids from Thai Waters, the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 60: 1-19.

42 ปลาหมึกมือด�ำ ชื่อวิทยาศาสตร์ Abraliopsis (Abraliopsis) hoylei (Pfeffer, 1884) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกมือด�ำ ชื่อสามัญ Hoyle’s enope squid แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะ Mascarene มหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี Class Cephalopoda ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล 10 mm ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

อ้างอิง Subclass Coleoidea 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010g. Family Enoploteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 183-200.

ปลาหมึกมือตะขอหางแหลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Enoploteuthis reticulata (Rancurel, 1970) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกมือตะขอหางแหลม ชื่อสามัญ Enope squid แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศนิวแคลิโดเนีย มหาสมุทรแปซิฟิก

การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก 50 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Order Oegopsida อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning.Bangkok: pp. 256-277. 2. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Tokyo, Publication for the 30th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. 185 p.

43 Family Ancistrocheiridae

ปลาหมึกครีบแหลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Ancistrocheirus lesueurii (d’Orbigny [in Férussac & d’Orbigny], 1842) Class Cephalopoda ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกครีบแหลม ชื่อสามัญ Sharpear enope squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรอินเดีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 700 เมตร Subclass Coleoidea 200 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

Superorder Decapodiformes อ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Ancistrocheiridae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 118-120.

44 Family Pyroteuthidae

ปลาหมึกหนวดตะขอครีบกลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Pterygioteuthis giardi Fischer, 1896 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหนวดตะขอครีบกลม ชื่อสามัญ Roundear enope squid Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะกาลาปากอส มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก 10 mm ความลึก 250-500 เมตร Subclass Coleoidea การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน Superorder Decapodiformes อ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Tokyo, Publication for the 30th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. 185 p. 2. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Pyroteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 379-383.

45 ปลาหมึกหนวดตะขอมือคม ชื่อวิทยาศาสตร์ Pyroteuthis margaritifera (Rüppell, 1844) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหนวดตะขอมือคม ชื่อสามัญ Jewel enope squid แหล่งที่พบครั้งแรก ซิซิลี ประเทศอิตาลีตอนใต้ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก 20 mm ความลึก 375-500 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Pyroteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 379-383.

46 Family Octopoteuthidae

ปลาหมึกกล้วยแปดหนวดเล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ Octopoteuthis sicula Rüppell, 1844 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยแปดหนวดเล็ก, ปลาหมึกครีบใหญ่หางแหลม Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Eight-arm squid, octopus squid, hooked squid แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 50 mm 2,000 เมตร Subclass Coleoidea การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน Superorder Decapodiformes อ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Tokyo, Publication for the 30th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. 185 p. 2. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Octopoteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 262-268.

47 ปลาหมึกกล้วยแปดหนวดใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ Taningia danae Joubin, 1931 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยแปดหนวดใหญ่ ชื่อสามัญ Taning’s octopus squid แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะ Cape Verde มหาสมุทรแอตแลนติก ตอนกลาง การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี

Class Cephalopoda ตัวอย่างอ้างอิง 400 mm ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 1,200 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Octopoteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 262-268.

48 Family Onychoteuthidae

ปลาหมึกมือตะขอใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ banksii (Leach, 1817) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกมือตะขอใหญ่ ชื่อสามัญ Common clubhook squid Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก ไม่ระบุในการบรรยายลักษณะครั้งแรก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 150-4,000 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Subclass Coleoidea 50 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Tokyo, Publication for the 30th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. 185 p. 2. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Onychoteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 348-369.

49 ปลาหมึกมือตะขอแคริบเบียน ชื่อวิทยาศาสตร์ carriboea Lesueur, 1821 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกมือตะขอแคริบเบียน ชื่อสามัญ Carribbean clubhook squid แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวเม็กซิโกและกัลฟ์สตรีม การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก บริเวณแหล่งสาหร่ายพวงองุ่น (Sargassum) 20 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Onychoteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Subclass Coleoidea Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 348-369.

ปลาหมึกมือตะขอญี่ปุ่น ชื่อวิทยาศาสตร์ Onykia loennbergii (Ishikawa & Wakiya, 1914) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกมีอตะขอญี่ปุ่น ชื่อสามัญ Japanese clubhook squid

Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวซากามิ ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 200-920 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร 60 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD Order Oegopsida สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Onychoteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 348-369.

50 ปลาหมึกวาฬ ชื่อวิทยาศาสตร์ Walvisteuthis virilis Nesis & Nikitina, 1986 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกวาฬ ชื่อสามัญ Whale squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ ฝั่งตะวันตก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda 20 mm ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Onychoteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 348-369.

51 Family Cycloteuthidae

ปลาหมึกครีบจานหางแหลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Cycloteuthis sirventi Joubin, 1919 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกครีบจานหางแหลม Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Servent’s disc-fin squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือ ฝั่งตะวันออก การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Subclass Coleoidea 100 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

Superorder Decapodiformes ทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Cycloteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 179-182.

52 ปลาหมึกครีบจาน ชื่อวิทยาศาสตร์ Discoteuthis discus Young & Roper, 1969 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกครีบจาน ชื่อสามัญ Rounded disc-fin squid แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวกินี มหาสมุทรแอตแลนติกตะวันออก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda 20 mm ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดใช้เป็นอาหาร Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Cycloteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 179-182.

53 Family Lepidoteuthidae

ปลาหมึกเกล็ด ชื่อวิทยาศาสตร์ Lepidoteuthis grimaldii Joubin, 1895 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกเกล็ด Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Grimaldi’s soft-scaled squid แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะ Azores มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ตอนกลาง การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ Subclass Coleoidea 2,000 เมตร 200 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

Superorder Decapodiformes การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Lepidoteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 239-240.

54 Family Architeuthidae

ปลาหมึกยักษ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Architeuthis sp. ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกยักษ์ ชื่อสามัญ Giant squid Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึกประมาณ 1,000 เมตรขึ้นไป การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD Subclass Coleoidea 100 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Lepidoteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 239-240.

55 Family Histioteuthidae

ปลาหมึกแสนปม ชื่อวิทยาศาสตร์ Histioteuthis pacifica (Voss, 1962) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแสนปม Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Jewel squid, Cock-eyed squid แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศฟิลิปปินส์ การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 250-1,000 เมตร 30 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD Subclass Coleoidea สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน ทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning.Bangkok: pp. 256-277. 2. Nateewathana, A. 1995. New record of oceanic squids from Thai Waters, the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 60: 1-19.

56 ปลาหมึกแสนปมดอกไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Stigmatoteuthis hoylei (Goodrich, 1896) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแสนปมดอกไม้ ชื่อสามัญ Flowervase jewel squid แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าว Fonseca ฝั่งตะวันตกของอเมริกากลาง การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 100-850 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง 60 mm ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน ทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Histioteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 223-236.

57 Family Chtenopterygidae

ปลาหมึกหวี ชื่อวิทยาศาสตร์ Chtenopteryx sicula (Vérany, 1851) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหวี Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Comb-finned squid แหล่งที่พบครั้งแรก Messina ประเทศอิตาลี การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล 20 mm ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ ไม่มี Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

Superorder Decapodiformes อ่าวไทย และทะเลอันดามัน

อ้างอิง 1. Filippova, J. A., Alekseev, D. O., Bizikov, V. A. and Khromov, D. N. 1997. Commercial and Mass Cephalopods of the World Ocean Superfamily Bathyteuthoidea a Manual for Identification. Moscow, VNIRO Publishing. 271 pp. 2. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Chtenopterigidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 146-147.

58 Family Brachioteuthidae

ปลาหมึกกล้วยปุ่มเล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ Brachioteuthis riisei (Steenstrup, 1882) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยปุ่มเล็ก ชื่อสามัญ Common arm squid Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกตะวันออกเฉียงใต้ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 3,000 เมตร Subclass Coleoidea 20 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes Order Oegosida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Brachioteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 129-134.

59 ปลาหมึกกล้วยปุ่มเล็กหางแหลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Brachioteuthis picta Chun, 1910 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกกล้วยปุ่มเล็กหางแหลม ชื่อสามัญ Ornate arm squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกใต้ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ ไม่มี 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Brachioteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 129-134.

60 Family Ommastrephidae

ปลาหมึกบินฮาวาย ชื่อวิทยาศาสตร์ Nototodarus hawaiiensis (Berry, 1912) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกบินฮาวาย ชื่อสามัญ Hawaiian flying squid Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะฮาวาย มหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 650 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น 10 mm วัตถุดิบสกัด chitosan Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็น Superorder Decapodiformes อาหาร เปลือกเป็นวัตถุดิบ สกัด chitosan Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Nateewathana, A. 1995. New record of oceanic squids from Thai Waters, the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 60: 1-19. 2. Roper, C. F. E., Nigmatullin, C. and Jereb, P. 2010. Family Ommastrephidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 269-347.

61 ปลาหมึกบินนํ้าตื้น ชื่อวิทยาศาสตร์ Todaropsis eblanae (Ball, 1841) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกบินนํ้าตื้น ชื่อสามัญ Lesser flying squid แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลไอริช มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 20-850 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น 20 mm วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็น อาหาร เปลือกเป็นวัตถุดิบ สกัด chitosan Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E., Nigmatullin, C. and Jereb, P. 2010. Family Ommastrephidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 269-347.

62 ปลาหมึกบินหลังม่วง ชื่อวิทยาศาสตร์ Sthenoteuthis oualaniensis (Lesson [in 1830-1831], 1830) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกบินหลังม่วง ชื่อสามัญ Purpleback flying squid แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะ Caroline ไมโครนีเซีย มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ตอนกลาง การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล 20 mm ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 200-400 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็น อาหาร เปลือกเป็นวัตถุดิบ สกัด chitosan Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana, A. 1997. Two species of oceanic squids from the Andaman Sea, Indian Ocean. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 453-464.

63 ปลาหมึกนก ชื่อวิทยาศาสตร์ Ornithoteuthis volatilis (Sasaki, 1915) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกนก ชื่อสามัญ Shiny bird squid แหล่งที่พบครั้งแรก ซากามิ ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 500-770 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Filippova, J. A., Alekseev, D. O., Bizikov, V. A. and Khromov, D. N. 1997. Commercial and Mass Cephalopods of the World Ocean a Manual for Identification. Moscow, VNIRO Publishing. 271 pp.

Subclass Coleoidea 2. Roper, C. F. E., Nigmatullin, C. and Jereb, P. 2010. Family Ommastrephidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 269-347.

ปลาหมึกหิ่งห้อยแก้ว ชื่อวิทยาศาสตร์ Hyaloteuthis pelagica (Bosc, 1802) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหิ่งห้อยแก้ว ชื่อสามัญ Glassy flying squid แหล่งที่พบครั้งแรก “Trouvee en pleine mer”

Superorder Decapodiformes การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 15-800 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง Order Oegopsida ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Filippova, J. A., Alekseev, D. O., Bizikov, V. A. and Khromov, D. N. 1997. Commercial and Mass Cephalopods of the World Ocean a Manual for Identification. Moscow, VNIRO Publishing. 271 pp. 2. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Bangkok: pp. 256-277.

64 Family Thysanoteuthidae

ปลาหมึกราหู ชื่อวิทยาศาสตร์ Thysanoteuthis rhombus Troschel, 1857

ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกราหู, ปลาหมึกตะเภา, ปลาหมึกจีน, Class Cephalopoda ปลาหมึกไฟ, ปลาหมึกแดง ชื่อสามัญ Rhomboid squid, Diamondback squid แหล่งที่พบครั้งแรก ซิซิลี ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 450-800 เมตร 20 mm พบในเขตนํ้าตื้นเป็นครั้งคราว การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร เปลือกเป็น Subclass Coleoidea วัตถุดิบสกัด chitosan สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็น Superorder Decapodiformes อาหาร เปลือกเป็นวัตถุดิบ สกัด chitosan Order Oegopsida

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana, A. and Hylleberg, J. 1989. First Record of Oceanic Squid, Thysanoteuthis rhombus Troschel, 1857 (Cephalopoda: Teuthoidea) in Thai Waters. Natural History Bulletin of Siam Society. 37(2): 227-233.

65 Family Chiroteuthidae

ปลาหมึกหนวดแส้แปซิฟิก ชื่อวิทยาศาสตร์ Chiroteuthis imperator Chun, 1908 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหนวดแส้แปซิฟิก Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Chiroteuhid squid, Whiplash squid แหล่งที่พบครั้งแรก เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 2,000 เมตร 30 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

Superorder Decapodiformes อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Bangkok: pp. 256-277 2. Nateewathana, A. 1995. New record of oceanic squids from Thai Waters, the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 60: 1-19.

66 ปลาหมึกหนวดแส้แอตแลนติก ชื่อวิทยาศาสตร์ Chiroteuthis veranii (Férussac, 1834) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหนวดแส้แอตแลนติก ชื่อสามัญ Verany’s long-armed squid แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก 50 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Chiroteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 135-145. Subclass Coleoidea

ปลาหมึกสี่ครีบ ชื่อวิทยาศาสตร์ Grimalditeuthis bonplandi (Vérany, 1839) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสี่ครีบ ชื่อสามัญ Grimaldi’s chiroteuthid squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง ฝั่งตะวันออก

การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD 20 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Order Oegopsida อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Chiroteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 135-145.

67 Family Mastigoteuthidae

ปลาหมึกเส้น ชื่อวิทยาศาสตร์ cordiformis (Chun, 1908) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกเส้น Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Mastigoteuthid squid, Whiplash squid แหล่งที่พบครั้งแรก เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 100 mm 1,000 เมตร Subclass Coleoidea การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน Superorder Decapodiformes ทะเลอันดามัน Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Bangkok: pp. 256-277. 2. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Tokyo, Publication for the 30th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. 185 p.

68 Family Joubiniteuthidae

ปลาหมึกหัวยาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Joubiniteuthis portiere (Joubin, 1916) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกหัวยาว ชื่อสามัญ Joubin’s squid Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะ Canary มหาสมุทรแอตแลนติกกลาง ฝั่งตะวันออก การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 300-2,500 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ DD 10 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน Superorder Decapodiformes ทะเลอันดามัน Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Joubiniteuthidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 237-238.

69 Family Cranchiidae

ปลาหมึกแก้วหนังหยาบ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cranchia scabra Leach, 1817 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแก้วหนังหยาบ Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Rough cranch squid, Glass squid แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศคองโก แอฟริกาตะวันตก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล 20 mm ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 400-2,000 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

Superorder Decapodiformes อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Tokyo, Publication for the 30th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. 185 p. 2. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Cranchiidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 148-178.

70 ปลาหมึกแก้วตัวยาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Leachia pacifica (Issel, 1908) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแก้วตัวยาว ชื่อสามัญ Leach’s cranch squid, Glass squid แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะตาฮิติและพาโก-พาโก มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี

ตัวอย่างอ้างอิง Class Cephalopoda 10 mm ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 1,200-1,800 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Bangkok: pp. 256-277. Subclass Coleoidea 2. Okutani, T. 1995. Cuttlefish and Squids of the World in Color. Tokyo, Publication for the 30th Anniversary of the Foundation of National Cooperative Association of Squid Processors. 185 p.

ปลาหมึกแก้วหลังแข็ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Liocranchia reinhardti (Steenstrup, 1856) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแก้วหลังแข็ง ชื่อสามัญ Reinhardt’s cranch squid, Glass squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ

การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 1,200 เมตร 20 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Order Oegopsida อ้างอิง 1. Nateewathana, A. 1995. New record of oceanic squids from Thai Waters, the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 60: 1-19. 2. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Cranchiidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 148-178.

71 ปลาหมึกแก้วครีบเล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ Egea inermis Joubin, 1933 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแก้วครีบเล็ก ชื่อสามัญ Unarmed cranch squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 2,000 เมตร 100 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Cranchiidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Subclass Coleoidea Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 148-178.

ปลาหมึกแก้วตาโต ชื่อวิทยาศาสตร์ podophthalma Issel, 1908 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแก้วตาโต ชื่อสามัญ Bigeye cranch squid แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติกใต้

Superorder Decapodiformes การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 1,000-1,500 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD 50 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง Order Oegopsida ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Cranchiidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 148-178.

72 ปลาหมึกแก้วหน้าแหงน ชื่อวิทยาศาสตร์ Sandalops melancholicus Chun, 1906 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกแก้วหน้าแหงน ชื่อสามัญ Melanchony cranch squid แหล่งที่พบครั้งแรก เกาะ Tristan da Cunha มหาสมุทรแอตแลนติกใต้ ตอนกลาง การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี

ตัวอย่างอ้างอิง Class Cephalopoda 20 mm ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ 2,000 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Superorder Decapodiformes Order Oegopsida

อ้างอิง 1. Roper, C. F. E. and Jereb, P. 2010. Family Cranchiidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Vol. 2 Myopsid and Oegopsid Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No.4, Vol. 2: pp. 148-178.

73 Family Octopodidae

ปลาหมึกสายหัวหนาม ชื่อวิทยาศาสตร์ Abdopus aculeatus (d’Orbigny, 1834) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายหัวหนาม Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Prickly octopus แหล่งที่พบครั้งแรก มะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 17 เมตร ในแนวหิน Subclass Coleoidea 30 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

Superorder อ่าวไทย เนื้อสดและตากแห้ง ใช้เป็นอาหาร Order Octopoda

อ้างอิง 1. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

74 ปลาหมึกสายทะเลแดง ชื่อวิทยาศาสตร์ Abdopus horridus (d’Orbigny, 1826) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายทะเลแดง ชื่อสามัญ Red Sea octopus แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลแดง การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ อ่าวไทย ระบบนิเวศ ทะเล

ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 30 เมตร Class Cephalopoda ในแนวหิน และแนวปะการัง 30 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย เนื้อสดและตากแห้ง ใช้เป็นอาหาร Superorder Octopodiformes Order Octopoda

อ้างอิง 1. ไพศาล สิทธิกรกุล. 2517. การศึกษาอนุกรมวิธานปลาหมึกในอ่าวไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 237 หน้า. 2. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277.

75 ปลาหมึกสายลายหินอ่อน ชื่อวิทยาศาสตร์ Amphioctopus aegina (Gray, 1849) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายลายหินอ่อน, ปลาหมึกสายด�ำ, ปลาหมึกวุยวาย, ปลาหมึกยักษ์, ปลาหมึกสายใหญ่ ชื่อสามัญ marbled octopus, sand bird octopus แหล่งที่พบครั้งแรก ไม่ระบุในการบรรยายลักษณะครั้งแรก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

Class Cephalopoda แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดินแบบโคลน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 40 เมตร 20 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงได้ครบวงจรชีวิต ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ในอ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดและ ตากแห้งใช้เป็นอาหาร Superorder Octopodiformes Order Octopoda

อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nabhitabhata, J. 2014. Main cultured cephalopods: Amphioctopus aegina. In: Iglesias, J., Fuentes, L. and Villanueva, R. (eds.), Cephalopod Culture, Springer: pp. 349-363. 3. Nateewathana A. 1997. The octopod fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 407-452.

76 ปลาหมึกสายสี่แถบปานด�ำ ชื่อวิทยาศาสตร์ Amphioctopus exannulatus (Norman, 1993) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายสี่แถบปานด�ำ, ปลาหมึกสายจุดด�ำ ชื่อสามัญ Plain-spot octopus แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าว Moreton รัฐ Queensland ตะวันออกของ ประเทศออสเตรเลีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 80 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ NT สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA 20 mm Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ในอ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดและ ตากแห้งใช้เป็นอาหาร Superorder Octopodiformes Order Octopoda

อ้างอิง 1. Nateewathana A. 1997. The octopod fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 407-452. 2. Norman, M. D. 1998. Octopodidae benthic octopuses. In: Carpenter, K. E. and Niem, V. H. (eds.), FAO Species Identification Guide for Fishery Purpose, The Living Marine Resources of the Western Central Pacific Volume 2 Cephalopods, Crustaceans, Holothurians and Sharks: pp. 800-826.

77 ปลาหมึกสายด�ำ ชื่อวิทยาศาสตร์ Amphioctopus marginatus (Iw. Taki, 1964) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายด�ำ ชื่อสามัญ Veined octopus, Coconut octopus แหล่งที่พบครั้งแรก โออิตะ ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน แบบทรายและโคลน ชายฝั่งถึง ความลึกประมาณ 190 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ในอ่าวไทย และทะเลอันดามัน เนื้อสดและ ตากแห้งใช้เป็นอาหาร Superorder Octopodiformes Order Octopoda

อ้างอิง 1. Nateewathana A. 1997. The octopod fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 407-452. 2. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

78 ปลาหมึกสายสี่ตา ชื่อวิทยาศาสตร์ Amphioctopus membranaceus (Quoy & Gaimard, 1832) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายสี่ตา, ปลาหมึกสายขาว, ปลาหมึกวุยวาย, ปลาหมึกยักษ์ ชื่อสามัญ Webfoot octopus แหล่งที่พบครั้งแรก Port Dorey ปาปัวตะวันตก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร 10 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ. 2528. พฤติกรรมการผสมพันธุ์ การอุ้มไข่และอื่น ๆ ของปลาหมึกสายสี่ตา, Octopus membranaceus Quoy & Gaimard. รายงานวิชาการ 6/2528, สถานีประมงนํ้ากร่อยจังหวัดระยอง กองประมงนํ้ากร่อย กรมประมง. 20 หน้า. Subclass Coleoidea 2. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า.

ปลาหมึกสายจุดขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Amphioctopus neglectus (Nateewathana & Norman, 1999) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายจุดขาว ชื่อสามัญ Neglected ocellate octopus, White-spot

octopus Superorder Octopodiformes แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลอันดามัน นอกเกาะภูเก็ต การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ Order Octopoda ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nateewathana, A. and Norman, M. D. 1999. On three new species of ocellate octopuses (Cephalopoda: Octopoda) from Thai Waters. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 19(2): 445-462. 2. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P. and Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

79 ปลาหมึกสายราชา ชื่อวิทยาศาสตร์ Amphioctopus rex (Nateewathana & Norman, 1999) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายราชา, ปลาหมึกสายลายพาดตา ชื่อสามัญ King ocellate octopus แหล่งที่พบครั้งแรก เกาะกูด อ่าวไทย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน แบบโคลนหรือทรายปนโคลน ชายฝั่งถึงความลึก ประมาณ 80 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ LC 20 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ, ปิติพร นิลพัฒน์, ฌาน จรุงพัฒนานนท์ และ พิจิตรา พรหมบุญ. 2546. การเพาะเลี้ยง, การเจริญเติบโต และพฤติกรรม Subclass Coleoidea ของปลาหมึกราชา, Octopus rex Natee. & Norm., 1999. เอกสารเผยแพร่ฉบับที่ 26, ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งระยอง ส�ำนักวิจัย และพัฒนาประมงชายฝั่งกรมประมง: หน้า 17. 2. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

ปลาหมึกสายสยาม ชื่อวิทยาศาสตร์ Amphioctopus siamensis (Nateewathana & Norman, 1999) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายสยาม Superorder Octopodiformes ชื่อสามัญ Siamese ocellate octopus แหล่งที่พบครั้งแรก แพปลาระนอง อันดามัน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร

Order Octopoda สถานภาพการอนุรักษ์ NT สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มี 20 mm ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nateewathana, A. and Norman, M. D. 1999. On three new species of ocellate octopuses (Cephalopoda: Octopoda) from Thai Waters. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 19(2): 445-462. 2. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P, Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

80 ปลาหมึกสายขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Callistoctopus luteus (Sasaki, 1929) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายขาว ชื่อสามัญ Small-spot octopus, Starry night octopus แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะ Pescadores ไต้หวัน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึก 80 เมตร Class Cephalopoda การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร 30 mm สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nateewathana A. 1997. The octopod fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 407-452. 2. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn,

J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Subclass Coleoidea Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

ปลาหมึกสายขาวเมดิเตอร์เรเนียน ชื่อวิทยาศาสตร์ Callistoctopus macropus (Risso, 1826) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายขาวเมดิเตอร์เรเนียน ชื่อสามัญ White-spotted octopus แหล่งที่พบครั้งแรก Nice ตะวันตกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน Superorder Octopodiformes แหล่งที่พบ รวมอยู่ในรายชื่อและแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มีตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง 50 mm ผลกระทบ NA Order Octopoda อ้างอิง 1. Filippova, J. A., Alekseev, D. O., Bizikov, V. A. and Khromov, D. N. 1997. Commercial and Mass Cephalopods of the World Ocean a Manual for Identification. Moscow, VNIRO Publishing. 271 pp. 2. Roper, C. F. E., Sweeney, M. J. and Nauen, C. E. 1984. FAO Species Catalogue Vol. 3 Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Species of Interest to Fisheries, FAO Fisheries Synopsis No. 125, Vol. 3. 277 p.

81 ปลาหมึกสายแถบขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Callisoctopus ornatus (Gould, 1852) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายแถบขาว ชื่อสามัญ White-striped octopus แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะฮาวาย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 10 เมตร ในแนวปะการัง หรือในรู การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD 50 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Subclass Coleoidea Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277. 2. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

ปลาหมึกสายขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Cistopus indicus (Rapp, 1835) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายขาว, ปลาหมึกสายใหญ่, ปลาหมึกยักษ์

Superorder Octopodiformes ชื่อสามัญ Old woman octopus แหล่งที่พบครั้งแรก Sulawesi ประเทศอินโดนีเซีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย 20 mm ถิ่นที่อยู่ หน้าดินแบบโคลน บริเวณปากแม่นํ้า ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 50 เมตร การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร Order Octopoda สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nabhitabhata, J. 1995. The culture of cephalopods: Commercial Scale Attempt in Thailand. In: Nambiar, K. P. P. and Singh, T. (eds.), Proceedings of INFOFISH-AQUATECH’ 94, International Conference on Aquaculture, Colombo, Sri Lanka: pp. 138-146. 3. Nateewathana A. 1997. The octopod fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 407-452. 82 ปลาหมึกสายวงฟ้า ชื่อวิทยาศาสตร์ Hapalochlaena aff. maculosa (Hoyle, 1883) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายวงฟ้า ชื่อสามัญ Lesser blue-ringed octopus, Southern blue-ringed octopus แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศออสเตรเลีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน

ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 50 เมตร การใช้ประโยชน์ สัตว์ทดลองทางพิษวิทยาและประสาทสรีรวิทยา มีพิษร้ายแรง 10 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. Subclass Coleoidea 2. Filippova, J. A., Alekseev, D. O., Bizikov, V. A. and Khromov, D. N. 1997. Commercial and Mass Cephalopods of the World Ocean a Manual for Identification. Moscow, VNIRO Publishing. 271 pp. 3. Nabhitabhata, J. 1995. The culture of cephalopods: Commercial Scale Attempt in Thailand. In: Nambiar, K. P. P. and Singh, T. (eds.), Proceedings of INFOFISH-AQUATECH’ 94, International Conference on Aquaculture, Colombo, Sri Lanka: pp. 138-146. ปลาหมึกสายลายดาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Octopus cyanea Gray, 1849 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายลายดาว, ปลาหมึกวุยวาย, ปลาหมึกยักษ์

ชื่อสามัญ Day octopus, Big blue octopus Superorder Octopodiformes แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศออสเตรเลีย การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่งถึงความลึกประมาณ 20 เมตร 20 mm ในแนวปะการัง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ LC Order Octopoda สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงได้ครบวงจรชีวิต ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana A. 1997. The octopod fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 407-452. 3. Van Heukelem, W. F. 1983. Octopus cyanea. In: Boyle, P. R. (ed.), Cephalopod Life Cycles Vol. I Species Account, Academic Press, London: 267-276. 83 ปลาหมึกสายหัวกลม ชื่อวิทยาศาสตร์ Octopus globosus Appellöf, 1886 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายหัวกลม ชื่อสามัญ Globe octopus แหล่งที่พบครั้งแรก ประเทศญี่ปุ่น การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง 10 mm การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277.

Subclass Coleoidea 2. Roper, C. F. E., Sweeney, M. J. and Nauen, C. E. 1984. FAO Species Catalogue Vol. 3 Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Species of Interest to Fisheries, FAO Fisheries Synopsis No. 125, Vol. 3. 277 p.

ปลาหมึกสายซ่อนทราย ชื่อวิทยาศาสตร์ Octopus cf. kaurna Stranks, 1990 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายซ่อนทราย ชื่อสามัญ Southern sand octopus แหล่งที่พบครั้งแรก ตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศออสเตรเลีย

Superorder Octopodiformes การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ อ่าวไทย ระบบนิเวศ ทะเล, นํ้ากร่อย ถิ่นที่อยู่ หน้าดินแบบทรายหรือโคลน ชายฝั่งถึงความลึก ประมาณ 50 เมตร ฝังตัวหรืออยู่ในรู บริเวณ แหล่งหญ้าทะเล การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD Order Octopoda 50 mm สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277.

84 ปลาหมึกสายรู ชื่อวิทยาศาสตร์ Octopus cf. niveus Lesson, 1830 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายรู, ปลาหมึกวุยวาย ชื่อสามัญ Hole octopus แหล่งที่พบครั้งแรก มะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล

ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง ในรู ในแนวหินและ Class Cephalopoda 20 mm แนวปะการัง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ LC สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277. 2. Nateewathana A. 1997. The octopod fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Subclass Coleoidea Center Special Publication. 17(2): 407-452.

ปลาหมึกสายแคระญี่ปุ่น ชื่อวิทยาศาสตร์ Octopus parvus (Sasaki, 1917) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายแคระญี่ปุ่น ชื่อสามัญ Japanese pygmy octopus แหล่งที่พบครั้งแรก จังหวัด Satsuma ประเทศญี่ปุ่น

การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย Superorder Octopodiformes แหล่งที่พบ อ่าวไทย ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง ในแนวปะการัง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและตากแห้งใช้เป็นอาหาร 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Order Octopoda อ้างอิง 1. ไพศาล สิทธิกรกุล. 2517. การศึกษาอนุกรมวิธานปลาหมึกในอ่าวไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 237 หน้า. 2. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277.

85 ปลาหมึกสายใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ Octopus cf. vulgaris Cuvier, 1797 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายใหญ่, ปลาหมึกยักษ์ ชื่อสามัญ Common octopus แหล่งที่พบครั้งแรก ตะวันตกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน 30 mm ระบบนิเวศ ทะเล

Class Cephalopoda ถิ่นที่อยู่ หน้าดิน ชายฝั่ง การใช้ประโยชน์ เนื้อสดและแปรรูปใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะเลี้ยงครบวงจรชีวิต เลี้ยงเชิงพาณิชย์ ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Iglesias, J., Otero, J. J., Moxica, C., Fuentes, L. and Sanchez, F. J. 2004. The complete life cycle of the octopus (Octopus vulgaris Cuvier) under culture conditions: paralarval rearing using Artemia and zoeae, and first data on juvenile growth up to 8 months of age. Aquaculture International. 12: 481-487.

Subclass Coleoidea 2. Nateewathana, A. and Norman, M. D. 1999. On three new species of ocellate octopuses (Cephalopoda: Octopoda) from Thai Waters. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 19(2): 445-462. 3. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

ปลาหมึกสายลายเสือ ชื่อวิทยาศาสตร์ Thaumoctopus mimicus Norman & Hochberg, 2005 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายลายเสือ

Superorder Octopodiformes ชื่อสามัญ Mimic octopus แหล่งที่พบครั้งแรก เกาะ New Caledonia การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย แหล่งที่พบ อ่าวไทย ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ หน้าดินแบบทรายหรือโคลน ชายฝั่งถึงความลึก ประมาณ 40 เมตร การใช้ประโยชน์ เป้าหมายในแหล่งทัศนาจร Order Octopoda สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง 50 mm ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. Nabhitabhata, J. and Sukhsangchan, C. 2007. New photographic record of “mimic octopus” in the Gulf of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 68: 31-34. 2. Norman, M. D., Finn, J. K. and Hochberg, F. G. 2013. Family Octopodidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes No. 4, Vol. 3: pp. 36-215.

86 Family Amphitretidae

ปลาหมึกตายาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Amphitretus pelagicus Hoyle, 1885 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกตายาว ชื่อสามัญ Telescope octopod Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก หมู่เกาะ Kermadec แอตแลนติกตะวันออกเฉียงใต้ แอฟริกาใต้ การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ ผิวนํ้าถึงกลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึกประมาณ

30 mm Subclass Coleoidea 4,000 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน Superorder Octopodiformes ทะเลอันดามัน Order Octopoda

อ้างอิง 1. Norman, M. D. and Finn, J. K. 2013. Family Amphitretidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No. 4, Vol. 3: pp. 217-219.

87 Family Vitreledonellidae

ปลาหมึกสายแก้ว ชื่อวิทยาศาสตร์ Vitreledonella richardi Joubin, 1918 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายแก้ว Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Glass octopod แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติก การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล 50 mm ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า การใช้ประโยชน์ ไม่มี Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

Superorder Octopodiformes อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Order Octopoda

อ้างอิง 1. Norman, M. D. and Finn, J. K. 2013. Family Vitreledonellidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No. 4, Vol. 3: pp. 219-221.

88 Family Bolitaenidae

ปลาหมึกวุ้นแคระ ชื่อวิทยาศาสตร์ Bolitaena pygmaea (A. E. Verrill, 1884) ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกวุ้นแคระ ชื่อสามัญ Pygmy pelagic octopod Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก แอตแลนติกตะวันตกเฉียงเหนือ เวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 100-1,400 เมตร 10 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน ทะเลอันดามัน Superorder Octopodiformes Order Octopoda

อ้างอิง 1. Norman, M. D. and Finn, J. K. 2013. Family Bolitaenidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No. 4, Vol. 3: pp. 221-224.

89 ปลาหมึกวุ้นตาโต ชื่อวิทยาศาสตร์ Japetella diaphana Hoyle, 1885 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกวุ้นตาโต ชื่อสามัญ Diaphanous pelagic octopod แหล่งที่พบครั้งแรก ตอนเหนือของปาปัวนิวกินี การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง

Class Cephalopoda ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 200-1,000 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี 20 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA Subclass Coleoidea

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Superorder Octopodiformes Order Octopoda

อ้างอิง 1. Norman, M. D. and Finn, J. K. 2013. Family Bolitaenidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No. 4, Vol. 3: pp. 221-224.

90 Family Alloposidae

ปลาหมึกสายเจ็ดหนวด ชื่อวิทยาศาสตร์ Haliphron atlanticus Steenstrup, 1861 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกสายเจ็ดหนวด ชื่อสามัญ Seven-arm octopus, Gelatinious giant Class Cephalopoda octopod แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแอตแลนติก การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก ความลึก 1,200-6,800 เมตร การใช้ประโยชน์ ไม่มี 30 mm สถานภาพการอนุรักษ์ DD Subclass Coleoidea สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

ทะเลอันดามัน Superorder Octopodiformes Order Octopoda

อ้างอิง 1. Finn, J. K. 2013. Family Alloposidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No. 4, Vol. 3: pp. 225-228. 2. Nateewathana, A. 1995. New record of oceanic squids from Thai Waters, the Andaman Sea. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin. 60: 1-19.

91 Family Argonautidae

หอยงวงช้างกระดาษใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ Argonauta argo Linnaeus, 1758 ชื่อท้องถิ่น หอยงวงช้างกระดาษใหญ่ Class Cephalopoda ชื่อสามัญ Greater แหล่งที่พบครั้งแรก ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน 30 mm แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก การใช้ประโยชน์ เปลือกเป็นของสะสม เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD Subclass Coleoidea สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน อ่าวไทย และทะเลอันดามัน Superorder Octopodiformes Order Octopoda

อ้างอิง 1. Finn, J. K. 2013. Family Argonautidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No. 4, Vol. 3: pp. 228-237. 2. Nabhitabhata, J., Sukhsangchan, C. and Wongkamhaeng, K. 2009. First record of two pelagic octopods, Argonauta argo and Tremoctopus violaceus cf. gracilis from the Andaman Sea, Thailand. Vie et Mileu. 59(1): 39-45.

92 หอยงวงช้างกระดาษเล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ Argonauta hians Lightfoot, 1786 ชื่อท้องถิ่น หอยงวงช้างกระดาษเล็ก ชื่อสามัญ Paper nautilus, Lesser argonaut, Muddy argonaut แหล่งที่พบครั้งแรก ไม่มีข้อมูลบันทึก การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน

ระบบนิเวศ ทะเล Class Cephalopoda 20 mm ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า การใช้ประโยชน์ เปลือกเป็นของสะสม เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA อ้างอิง 1. ไพศาล สิทธิกรกุล. 2517. การศึกษาอนุกรมวิธานปลาหมึกในอ่าวไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 237 หน้า.

2. Nabhitabhata, J., Nateewathana, A. and Sukhsangchan, C. 2009. Cephalopods. In: Nabhitabhata, J. (compl.), Checklist of Mollusca Subclass Coleoidea Fauna in Thailand, Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, Bangkok: pp. 256-277.

หอยงวงช้างกระดาษเล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ Argonauta hians Solander, 1786 ชื่อท้องถิ่น หอยงวงช้างกระดาษเล็ก, หอยหมึก, ปลาหมึกหอย ชื่อสามัญ Lesser argonaut, Muddy argonaut

แหล่งที่พบครั้งแรก Ambon ประเทศอินโดนีเซีย Superorder Octopodiformes 10 mm การกระจายพันธุ์ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ อ่าวไทย, ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า การใช้ประโยชน์ เปลือกเป็นของสะสม เนื้อสดใช้เป็นอาหาร สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์ ผลกระทบ NA Order Octopoda อ้างอิง 1. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ, ทาคาชิ โอคุตานิ และ สมนึก ใช้เทียมวงศ์. 2535. การศึกษาชนิดของปลาหมึกในประเทศไทย. รายงานเสนอ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ JSPS-NRCT. 100 หน้า. 2. Nateewathana A. 1997. The octopod fauna (Cephalopoda: Octopoda) of the Andaman Sea, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication. 17(2): 407-452. 3. Sukhsangchan, C. and Nabhitabhata, J. 2007. Embryonic development of muddy paper nautilus, Argonauta hians Lightfoot, 1786, from Andaman Sea, Thailand. Kasetsart Journal (Natural Science). 41(3): 531-538.

93 Family Tremoctopodidae

ปลาหมึกผ้าห่ม ชื่อวิทยาศาสตร์ Tremoctopus gracilis (Eydoux & Souleyet, 1852) Class Cephalopoda ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกผ้าห่ม ชื่อสามัญ Blanket octopus แหล่งที่พบครั้งแรก มหาสมุทรแปซิฟิก การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ ทะเลอันดามัน ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า 20 mm การใช้ประโยชน์ แปรรูปท�ำอาหารสัตว์ Subclass Coleoidea สถานภาพการอนุรักษ์ DD สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

Superorder Octopodiformes ทะเลอันดามัน สามารถใช้แปรรูป ท�ำอาหารสัตว์ Order Octopoda

อ้างอิง 1. Finn, J. K. 2013. Family Tremoctopodidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No. 4, Vol. 3: pp. 240-243. 2. Nabhitabhata, J., Sukhsangchan, C. and Wongkamhaeng, K. 2009. First record of two pelagic octopods, Argonauta argo a n d Tremoctopus violaceus cf. gracilis from the Andaman Sea, Thailand. Vie et Mileu. 59(1): 39-45.

94 Family Vampyroteuthidae

ปลาหมึกค้างคาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Vampyroteuthis infernalis Chun, 1903 ชื่อท้องถิ่น ปลาหมึกค้างคาว ชื่อสามัญ Vampire squid Class Cephalopoda แหล่งที่พบครั้งแรก อ่าวกินี แอฟริกาตะวันตก การกระจายพันธุ์ ทะเลอันดามัน แหล่งที่พบ รวมอยู่ในแผนที่การแพร่กระจาย แต่ไม่มี ตัวอย่างอ้างอิง ระบบนิเวศ ทะเล ถิ่นที่อยู่ กลางนํ้า เขตนํ้าลึก 600-1,200 เมตร 30 mm การใช้ประโยชน์ ไม่มี สถานภาพการอนุรักษ์ DD Subclass Coleoidea สถานภาพการเพาะเลี้ยง ไม่มีการเพาะเลี้ยง ผลกระทบ NA

การกระจายพันธุ์ใน

ทะเลอันดามัน Superorder Octopodiformes Order Vampyromorpha อ้างอิง 1. Norman, M. D. and Finn, J. K. 2013. Family Vampyroteuthidae. In: Jereb, P., Roper, C. F. E., Norman, M. D. and Finn, J. K. (eds.), Cephalopods of the World an Annotated and Illustrated Catalogue of Cephalopod Species Known to Date Volume 3 Octopods and Vampire Squids, FAO Species Catalogue for Fishery Purposes. No. 4, Vol. 3: pp. 268-270.

95 เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ: ISBN 978-616-7866-30-7 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 พิมพ์ครั้งที่ 1: ตุลาคม 2560 จัดพิมพ์โดย: ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ที่ปรึกษา: 1. นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา ประธานมูลนิธิส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ 2. นางจุฬารัตน์ นิรัติศยกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ คณะท�ำงาน: 1. นายศุภกร จันทร์ญาโณทัย 2. ดร.รัตเขตร์ เชยกลิ่น 3. นางสาวณัฐฐิญา กงภูธร 4. นางสาวมาลินี เดชด�ำรงค์กุล 5. นางสาวธัญญรัตน์ เชิดสูงเนิน ผู้เชี่ยวชาญ: กลุ่มมอลลัสกา (หอย ทาก หมึก) 1. ดร.กฤษฎา ดีอินทร์ ประธานคณะท�ำงาน 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรศักดิ์ สุจริต คณะท�ำงาน 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงเดือน ไกรลาศ คณะท�ำงาน 4. รองศาสตราจารย์ ดร.อุทัยวรรณ โกวิทวที คณะท�ำงาน คณะด�ำเนินงาน โดย ทีมนักวิจัยจากศูนย์ความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ ปัญหา ผู้จัดการโครงการฯ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารุวัฒน์ นภีตะภัฏ ผู้เชี่ยวชาญด้านปลาหมึก จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3. รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านทากเปลือย จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรณพ วิยกาญจน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านทากเปลือย จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรพงษ์ ด้วงดี ผู้เชี่ยวชาญด้านหอยทะเล จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 6. ดร.กิติธร สรรพานิช ผู้เชี่ยวชาญด้านหอยทะเล จากมหาวิทยาลัยบูรพา 7. ดร.จรัสศรี อ๋างตันญา ผู้เชี่ยวชาญด้านหอยทะเล จากศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน 8. คุณวราริน วงษ์พานิช ผู้เชี่ยวชาญด้านหอยทะเล จากศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน 9. คุณจอม ปัทมคันธิน บริษัท ภูเก็ตซีเชลล์ จ�ำกัด 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงษ์รัตน์ ด�ำรงโรจน์วัฒนา ผู้เชี่ยวชาญด้านหอยทะเลจิ๋วชายเลน จากมหาวิทยาลัยบูรพา 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บังอร กองอิ้ม ผู้เชี่ยวชาญด้านหอยน�้ำจืด จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 12. อาจารย์ ดร.ญาณิน ลิมปานนท์ ผู้เชี่ยวชาญด้านหอยน�้ำจืด จากมหาวิทยาลัยมหิดล 13. อาจารย์ ดร.ปิโยรส ทองเกิด ผู้เชี่ยวชาญด้านทากบกและหอยจิ๋ว จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 14. อาจารย์ ดร.ธนิต ศิริบุญ ผู้เชี่ยวชาญด้านทากบก จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บรรณาธิการ: 1. ดร.รัตเขตร์ เชยกลิ่น เจ้าหน้าที่จัดการองค์ความรู้ ลิขสิทธิ์โดย: ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 9 เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0 2141 7800 โทรสาร 0 2143 9202 www.bedo.or.th

96 ตรวจสอบข้อมูลอนุกรมวิธานกับ WoRMS, MolluscaBase และ MUSSELp Database, เข้าถึงข้อมูลเมื่อตุลาคม 2560

Êӹѡ§Ò¹¾Ñ²¹ÒàÈÃÉ°¡Ô¨¨Ò¡°Ò¹ªÕÇÀÒ¾ (ͧ¤¡ÒÃÁËÒª¹) ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 9 เลขที่ 120 หมู‹ที่ 3 ถนนแจŒงวัฒนะ แขวงทุ‹งสองหŒอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 Tel : (66) 2141 7800 Fax : (66) 2143 9202 http://eweb.bedo.or.th