ศึกษาสัณฐานวิทยาบางประการและความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของ ปลาวงศไซไพรนิดี จํานวน 8 ชนิด ในแมน้ํานาน

สารนิพนธ ของ ละอองดาว ทีฆาวงค

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา เมษายน 2551 ศึกษาสัณฐานวิทยาบางประการและความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของ ปลาวงศไซไพรนิดี จํานวน 8 ชนิด ในแมน้ํานาน

สารนิพนธ ของ ละอองดาว ทีฆาวงค

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา เมษายน 2551 ลิขสิทธเปนของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศึกษาสัณฐานวิทยาบางประการและความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของ ปลาวงศไซไพรนิดี จํานวน 8 ชนิด ในแมน้ํานาน

บทคัดยอ ของ ละอองดาว ทีฆาวงค

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา เมษายน 2551 ละอองดาว ทีฆาวงค. (2551).ศึกษาสัณฐานวิทยาบางประการและความสัมพันธระหวางความยาว และน้ําหนักของปลาวงศไซไพรนิดี จํานวน 8 ชนิด ในแมน้ํานาน. สารนิพนธ กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ: รองศาสตราจารย ดร.วิเชียร มากตุน, รองศาสตราจารย ธวัช ดอนสกุล. การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุงหมายในการศึกษาสัณฐานวิทยาบางประการและความสัมพันธระหวาง ความยาวและน้ําหนัก โดยศึกษาตามวิธีการของ ฮับบสและแลกเลอร (Hubbs & Lagler. 1967) และ ดัดแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการของนากาโบ (Nagabo. 2002) จากกลุมประชากรปลาวงศไซไพรนิดี จํานวน 8 ชนิด ในลุมน้ํานาน บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน รวมทั้งหมดจํานวน 646 ตัว ผล การศึกษาพบวา ปลาชนิดที่ 1 ปลากระมัง จํานวน 91 ตัว มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 9.75-18.30 เซนติเมตร มีจํานวนกานครีบหลัง III, 8-9 กาน มีจํานวนกานครีบทวาร III, 5-7 กาน มีจํานวนกานครีบอก i, 14-18 กาน มีจํานวนกานครีบทอง i, 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหางมีจํานวน 9 กาน และจํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบ หางมีจํานวนกานครีบ 8-9 กาน ปลาชนิดที่ 2 ปลาหนามหลัง จํานวน 217 ตัว มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 3.60–13.50 เซนติเมตร มีจํานวนกาน ครีบหลัง III-IV, 7-8 กาน กานครีบทวาร III, 8-9 กาน มีจํานวนกานครีบอก i, 11-14 กาน กานครีบทอง i, 8 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 7-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของ ครีบหาง 7-9 กาน ปลาชนิดที่ 3 ปลาตามิน จํานวน 22 ตัว มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 10.49- 19.50 เซนติเมตร มีจํานวนกานครีบหลัง III, 7-8 กาน กานครีบทวาร III, 5 กาน กานครีบอก i, 15-16 กาน กานครีบทอง i, 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน จํานวนกานครีบ ของฐานดานลางของครีบหาง 9 กาน ปลาชนิดที่ 4 ปลาไสตันตาขาว จํานวน 201 ตัว มีความยาว มาตรฐานอยูระหวาง 5.70-19.40 เซนติเมตร มีจํานวนกานครีบหลัง III-IV, 8 กาน กานครีบทวาร III, 5 กาน กานครีบอก i, 15-17 กาน กานครีบทอง i, 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 7-9 กาน ปลาชนิดที่ 5 ปลาแกมช้ํา จํานวน 18 ตัว มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 6.14-13.11 เซนติเมตร มีจํานวนกานครีบหลัง III, 8 กาน กานครีบทวาร III, 5 กาน กานครีบอก i, 12-14 กาน กานครีบทอง i, 8 กาน จํานวนกานครีบของ ฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 กาน ปลาชนิดที่ 6 ปลาตะพาก จํานวน 62 ตัว มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 8.10–20.80 เซนติเมตร มีจํานวนกานครีบ หลัง III, 8 กาน กานครีบทวาร III, 5 กาน กานครีบอก i, 14-16 กาน กานครีบทอง i, 7-8 กาน จํานวน กานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 กาน ปลาชนิดที่ 7 ปลากระสูบขีด จํานวน 17 ตัว มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 8.94–20.80 เซนติเมตร มี จํานวนกานครีบหลัง III-IV, 8-9 กาน กานครีบทวาร II-III, 5-6 กาน กานครีบอก i, 14-15 กาน กาน ครีบทอง i, 8 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน จํานวนกานครีบของฐาน ดานลางของครีบหาง 8 กาน และ ปลาชนิดที่ 8 ปลากระแห จํานวน 18 ตัว มีความยาวมาตรฐานอยู ระหวาง 8.35–15.50 เซนติเมตร มีจํานวนกานครีบหลัง III, 8 กาน กานครีบทวาร III, 5 กาน กานครีบ อก i, 14-16 กาน กานครีบทอง i, 7-8 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 กาน และผลการศึกษาความสัมพันธระหวาง ความยาวและน้ําหนักปลาวงศไซไพรนิดี มีความสัมพันธเชิงบวกเปนกราฟเสนโคง ตามสมการ ปลากระมังมีคาน้ําหนัก (Wˆ ) = 1.0104 ของความยาวตัวปลา (L มิลลิเมตร)1.6253 และคา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก (r) = 0.9973 ปลาหนามหลังมีคาน้ําหนัก Wˆ = 1.0238 L1.3618 และคาความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก (r) = 0.9904 ปลาตามิน มีคาน้ําหนัก Wˆ = 1.014 9L1.5146 และคาความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก (r) = 0.9973 ปลาไสตันตาขาวมีคาน้ําหนัก Wˆ = 1.0193 L1.4321 และคาความสัมพันธระหวาง ความยาวและน้ําหนัก (r) = 0.9934 ปลาแกมช้ํามีคาน้ําหนัก Wˆ = 1.0637 L1.4008 และ คาความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก (r) = 0.9899 ปลาตะพากมีคาน้ําหนัก Wˆ = 1.0303 L1.5272 และคาความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก (r) = 0.9854 ปลากระสูบขีดมีคาน้ําหนัก Wˆ = 1.0607 L1.5542 และคาความสัมพันธระหวางความยาวและ น้ําหนัก (r) = 0.9942 และปลากระแหมีคาน้ําหนัก Wˆ = 1.0130 L1.4594 และคาความสัมพันธ ระหวางความยาวและน้ําหนัก (r) = 0.9704 SOME ASPECTS OF MORPHOLOGICAL STUDY AND LENGTH – WEIGHT RELATIONSHIPS AMONG EIGHT SPECIES IN FAMILY FROM MAE NAM NAN

AN ABSTRACT BY LAONGDAO TEEKAWONG

Present in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Education Degree in Science Education at Srinakharinwirot University April 2008 Laongdao Teekawong. (2008). Some aspects of morphological study and length-weight relationships among eight species in family Cyprinidae from Mae Nam Nan. Master’s Project, M.Ed. (Science education). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University. Project Advisor: Assoc. Prof. Dr. Wichian Magtoon, Assoc. Prof. Thawat Donsakul.

The purpose of this study was to investigate the some aspects of morphology and length-weight relationships among eight species in family Cyprinidae from the Mae Nam Nan. The methods of study followed Hubbs & Lagler (1967) and Nagabo (2002). Random sampling eight species of Cyprinidae family, six hundred forty six specimens were collected from the Mae Nam Nan. The results are found as follows: 1) Ninety-one specimens of Puntioplites proctozysron had the range of standard length from 9.75 to 18.30 centimeters (cm). They are consisted of III,8-9 dorsal fin rays; III, 5-7 anal fin rays; i,14-18 pectoral fin rays; i,8-9 pelvic fin rays, and 9 upper caudal fin rays and 8-9 lower caudal fin rays respectively, 2) 217 specimens of Mystacoleucus marginatus had the range of standard length from 3.60 to 13.50 cm. They are consisted of III-IV,7-8 dorsal fin rays; III 8-9 anal fin rays; i,11-14 pectoral fin rays, i, 8 pelvic fin rays, and 7-9 upper caudal fin rays and 7-9 lower caudal fin rays respectively, 3) 22 specimens of Amblyrhynchichthys truncatus had the range of standard length from 10.49 to 19.50 cm. They are consisted of III,7-8 dorsal fin rays; III,5 anal fin rays; i,14-16 pectoral fin rays; i,8-9 pelvic fin rays, and 9 upper caudal fin rays and 9 lower caudal fin rays respectively, 4) 201 specimens of Cyclocheilichthys repasson had the range of standard length from 5.70 to 19.40 cm. They are consisted of III-IV,8 dorsal fin rays; III,5 anal fin rays; i,15-17 pectoral fin rays; i,8-9 pelvic fin rays, and 8-9 upper caudal fin rays and 7-9 lower caudal fin rays respectively, 5) 18 specimens of Puntius orphoides had the range of standard length from 6.14 to 13.11 cm. They are consisted of III,8 dorsal fin rays; III,5 anal fin rays; i,12-14 pectoral fin rays; i,8 pelvic fin rays, and 9 upper caudal fin rays and 8 lower caudal fin rays respectively, 6) 62 specimens of wetmorei had the range of standard length from 8.10 to 20.80 cm. They are consisted of III,8 dorsal fin rays; III,5 anal fin rays; i,14-16 pectoral fin rays; i,7-8 pelvic fin rays, and 9 upper caudal fin rays and 8 lower caudal fin rays respectively, 7) 17 specimens of Hampala macrolepidota had the standard length of specimens 8.94 to 20.80 cm. They are consisted of III-IV, 8-9 dorsal fin rays; II-III 5-6 anal fin rays; i,14-15 pectoral fin rays; i,8 pelvic fin rays, and 9 upper caudal fin rays and 8 lower caudal fin rays respectively, and 8) 18 specimens of Barbonymus schwanenfeldi had the range of standard length from 8.35 to 15.50 cm. They are consisted of III,8 dorsal fin rays; III,5 anal fin rays; i,14-16 pectoral fin rays; i,7-8 pelvic fin rays, and 9 upper caudal fin rays and 8 lower caudal fin rays respectively. The value of length-weight relationships (Wˆ ) and correlation (r) of Cyprinidae 8 species: Puntioplites proctozysron, Mystacoleucus marginatus, Amblyrhynchichthys truncatus, Cyclocheilichthys repasson, Puntius orphoides, Hypsibarbus wetmorei, Hampala macrolepidota and Barbonymus schwanenfeldi are shows Wˆ = 1.0104 L1.6253 and r = 0.9973; Wˆ = 1.0238 L1.3618 and r = 0.9904; Wˆ = 1.0149 L1.5146 and r = 0.9973; Wˆ = 1.0193 L1.4321; and r = 0.9934; Wˆ = 1.0637 L1.4008 and r = 0.9899; Wˆ = 1.0303 L1.5272 and r = 0.9854; Wˆ = 1.0607 L1.5542 and r = 0.9942, and Wˆ = 1.0130 L1.4594 and r = 0.9704 respectively. อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะกรรมการสอบได พิจารณาสารนิพนธ เรื่อง ศึกษาสัณฐานวิทยาบางประการและความสัมพันธระหวางความยาวและ น้ําหนักของปลาวงศไซไพรนิดี จํานวน 8 ชนิด ในแมน้ํานาน ของ ละอองดาว ทีฆาวงค ฉบับนี้แลว เห็นสมควรรับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได

อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ………………………………………..……………… (รองศาสตราจารย ดร. วิเชียร มากตุน)

ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร …………………………..………..…………………… (ผูชวยศาสตราจารย ดร. เฟองลดา วีระสัย) คณะกรรมการสอบ …………………………………..………………. ประธาน (รองศาสตราจารย ดร. วิเชียร มากตุน)

…………………………………………………. กรรมการสอบสารนิพนธ (รองศาสตราจารย ธวัช ดอนสกุล) ……………………………………………………กรรมการสอบสารนิพนธ (ดร. อภิชาติ เติมวิชชากร)

อนุมัติใหรับสารนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

…………………………………………….. คณบดีคณะวิทยาศาสตร (รองศาสตราจารย ดร. วิเชียร มากตุน)

วันที่ 23 เดือนเมษายน พ.ศ. 2551 ประกาศคุณูปการ

สารนิพนธฉบับนี้สําเร็จสมบูรณไดดวยไดรับพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขาพเจาขอนอมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน ที่พระองคทรงมีพระราชดําริดําเนิน โครงการสงเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร พื้นที่อําเภอบอเกลือ - อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนาน ทําใหขาพเจาไดมีโอกาสเขารับการศึกษาในระดับมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรศึกษา ซึ่งนับเปน พระมหากรุณาอันสูงสุดแกขาพเจาและวงศตระกูล ขาพเจาจะนําความรูที่ไดรับไปพัฒนานักเรียนและชุมชนตอไป ขอกราบขอบพระคุณ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ที่สนับสนุน ทุนการศึกษาตลอดหลักสูตรใหขาพเจา ผานโครงการสงเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร. วิเชียร มากตุน อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ และ รองศาสตราจารย ธวัช ดอนสกุล อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธรวม ผูซึ่งใหคําปรึกษาและคําแนะนําตาง ๆ ในการปฏิบัติงานวิจัยอยางดียิ่ง จึงทําใหงานวิจัยฉบับนี้สําเร็จสมบูรณดวยดี ขอกราบขอบพระคุณ ดร. อภิชาติ เติมวิชชากร กรรมการสอบสารนิพนธและใหความ อนุเคราะหเรื่องตัวอยางปลาวงศไซไพรนิดี จากสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรประมงน้ําจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกับตัวอยางที่ใชในการทดลอง ขอขอบพระคุณ ผศ. อภินันท สุวรรณรักษ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา ประมงน้ําจืด สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ ที่ชวยจัดจําแนกชนิดปลา ใหความอนุเคราะหเอกสาร เกี่ยวกับอนุกรมวิธานปลา และคําแนะนําในงานวิจัยนี้เปนอยางดี ขอขอบพระคุณ อาจารยธีรยุทธ กันทะเสน อดีตผูอํานวยการโรงเรียนหมอมเจาเจริญใจ จิตรพงศ อาจารยดรุณ ไชยธวัช ผูอํานวยการโรงเรียนหมอมเจาเจริญใจ จิตรพงศคนปจจุบัน ที่สนับสนุนทางดาน การศึกษา และขอขอบคุณเพื่อนครูที่ใหกําลังใจดวยดีเสมอมา ขอขอบคุณ อาจารยเตชวัฒน อุดอาย ผูอํานวยการโรงเรียนบานน้ําปวพัฒนา อาจารยศิริรัตน กาวีเขียว ครูโรงเรียนหมอมเจาเจริญใจ จิตรพงศ และครอบครัว ที่กรุณาชวยเหลือเก็บตัวอยางปลาและ ใหความชวยเหลือตาง ๆ ในการศึกษาครั้งนี้ ขอขอบคุณ คุณวิลาวัณย คําศรี คุณสิโนทัย สมิธิคุณานนท คุณพิงนภา ไกรชุมพล และ คุณสุวนิดา อัญจิรเวโรจน นิสิตปริญญาโท ในหองปฏิบัติการพันธุศาสตร คณะวิทยาศาสตร สําหรับน้ําใจอันมี คายิ่งอีกทั้งความชวยเหลือเกี่ยวกับการวิเคราะหทางสถิติและดานตาง ๆ ที่ขาพเจาไดรับทั้งทางตรงและทางออม ขาพเจาขอนอมบูชาพระคุณบิดา มารดา คุณยายบัวหอม หาญยุทธ บูรพาจารย พี่พยอม ทีฆาวงค และญาติพี่นองทุกคน ตลอดจนผูมีพระคุณดังไดกลาวนามมาแลวและมิไดกลาวนาม ที่ใหกําลังใจ ชวยเหลือ สนับสนุนตลอดระยะเวลาที่ทําการศึกษาและวิจัย แกขาพเจาทุก ๆ ทานไว ณ โอกาสนี้ดวย ละอองดาว ทีฆาวงค สารบัญ

บทที่ หนา

1 บทนํา...... 1 ภูมิหลัง...... 1 ความมุงหมายของการวิจัย...... 2 ความสําคัญของการวิจัย………………………………..………………… 2 ขอบเขตของการวิจัย...... 2 นิยามศัพทเฉพาะ...... 3

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ...... 4 สภาพภูมิศาสตรของประเทศไทย………………………………………… 4 สภาพภูมิศาสตรภาคเหนือ.....………………..…………………………... 4 สภาพภูมิศาสตรของจังหวัดนาน..………………………………………... 5 ลุมน้ําภาคเหนือ………..………………………………………………….. 5 การแพรกระจายของปลาในวงศไซไพรนิดี...... …………………. 9 อนุกรมวิธานของปลา……………………………………………………… 10 สัณฐานวิทยาของปลาในวงศไซไพรนิดี...... …………………….. 11 ลักษณะของปลากระมัง...... ………………………………………………. 11 ลักษณะของปลาหนามหลัง...... …………………………………………… 12 ลักษณะของปลาตามิน...... ……………………………………………….. 12 ลักษณะของปลาไสตันตาขาว…………………………………………….. 13 ลักษณะของปลาแกมช้ํา...... ……………………………………………… 13 ลักษณะของปลาตะพาก...... ……………………………………………… 14 สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา

2 (ตอ) ลักษณะของปลากระสูบขีด...... ……………………………………………… 14 ลักษณะของปลากระแห...... …………………………………………….... 14 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก...... 16

3 วิธีดําเนินการศึกษาคนควา………………………………………………….. 18 การกําหนดประชากรและการสุมตัวอยาง...... ………………………...... 18 อุปกรณและสารเคมีในการศึกษา…………………………………………..... 20 วิธีดําเนินการวิจัย...... 20

4 ผลการทดลอง...... 25 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาวงศไซไพรนิดี...……….………………... 25 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลากระมัง………..…….………………….... 25 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาหนามหลัง...... …….………………….... 27 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาตามิน.………..…….………………….... 29 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาไสตันตาขาว...…….…………………..... 31 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาแกมช้ํา……….…….………………….... 33 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาตะพาก………..…….………………...... 35 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลากระสูบขีด...... …….…………………..... 37 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลากระแห...……..…….………………….... 39 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาวงศไซไพรนิดี...... 49 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลากระมัง...... 49 สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา

4 (ตอ) ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาหนามหลัง...... 50 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาตามิน...... 51 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาไสตันตาขาว...... 52 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาแกมช้ํา...... 53 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาตะพาก...... 54 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลากระสูบขีด...... 55 ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลากระแห...... 56 ปจจัยทางกายภาพ...... 58

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ...... 59 สรุป อภิปรายผล...... 59 ปญหาและขอเสนอแนะ...... 68

บรรณานุกรม...... 69 ภาคผนวก...... 73 ประวัติยอผูจัดทําสารนิพนธ...... 104 บัญชีตาราง

ตาราง หนา

1 สรุปลักษณะทางสัณฐานของปลากระมัง...... 41 2 สรุปลักษณะทางสัณฐานของปลาหนามหลัง...... 42 3 สรุปลักษณะทางสัณฐานของปลาตามิน...... 43 4 สรุปลักษณะทางสัณฐานของปลาไสตันตาขาว...... 44 5 สรุปลักษณะทางสัณฐานของปลาแกมช้ํา...... 45 6 สรุปลักษณะทางสัณฐานของปลาตะพาก...... 46 7 สรุปลักษณะทางสัณฐานของปลากระสูบขีด...... 47 8 สรุปลักษณะทางสัณฐานของปลากระแห...... 48 9 แสดงความสัมพันธระหวางความยาว และน้ําหนักของปลาวงศไซไพรนิดี...... 57 10 แสดงอุณหภูมิที่วัดในแมน้ํานานเดือนกันยายน 2549 ถึง เดือนมีนาคม 2550..... 58 บัญชีภาพประกอบ

ภาพประกอบ หนา 1 แผนที่ประเทศไทยแสดงแมน้ําปง วัง ยม และนาน ...... 8 2 แสดงตําแหนงที่เก็บตัวอยางของปลาวงศไซไพรนิดี ...... 19 3 แสดงลักษณะตาง ๆ ที่วัดขนาดของปลาวงศไซไพรนิดี ………………………… 23 4 ภาพปลากระมัง...... 25 5 ภาพปลาหนามหลัง...... 27 6 ภาพปลาตามิน...... 29 7 ภาพปลาไสตันตาขาว...... 31 8 ภาพปลาแกมช้ํา...... 33 9 ภาพปลาตะพาก...... 35 10 ภาพปลากระสูบขีด...... 37 11 ภาพปลากระแห...... 39 12 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐาน และน้ําหนักของปลากระมัง...... 49 13 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐาน และน้ําหนักของปลาหนามหลัง...... 50 14 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐาน และน้ําหนักของปลาตามิน...... 51 15 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐาน และน้ําหนักของปลาไสตันตาขาว...... 52 16 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐาน และน้ําหนักของปลาแกมช้ํา...... 53 17 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐาน และน้ําหนักของปลาตะพาก...... 54 18 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐาน และน้ําหนักของปลากระสูบขีด...... 55 บัญชีภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา

19 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐาน และน้ําหนักของปลากระแห...... 56 บทที่ 1 บทนํา ภูมิหลัง ลักษณะภูมิประเทศในประเทศไทย ของภาคเหนือมีลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาปกคลุม ดวยปาไมจึงเปนแหลงตนน้ําลําธาร แหลงน้ําสําคัญที่เปนประโยชนตอการอุปโภคบริโภค และเพื่อ การเกษตรกรรมของภาค ไดแก แมน้ําปง แมน้ําวัง แมน้ํายม และ แมน้ํานาน สภาพภูมิศาสตร ดังกลาวจึงอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติทางดานการประมงและมีศักยภาพทางการประมง เปนอยางมาก แมน้ํานานเปนแมน้ําสาขาที่สําคัญสายหนึ่งของแมน้ําเจาพระยา ซึ่งตั้งอยูบริเวณ ตอนบน ลําน้ําเริ่มจากตอนบนของภาคเหนือ โดยมีตนกําเนิดจากดอยภูแว ในเทือกเขาหลวงพระบาง ลําน้ํานานตอนตนไหลไปทางทิศเหนือ ไหลผานอําเภอเฉลิมพระเกียรติ อําเภอทุงชาง อําเภอเชียงกลาง อําเภอปว อําเภอทาวังผา อําเภอเมือง กิ่งอําเภอภูเพียง อําเภอสา อําเภอนานอยและอําเภอนาหมื่น จากนั้นไหลเขาเขตอําเภอทาปลา จังหวัดอุตรดิตถ จนมาถึงจังหวัดพิษณุโลก พิจิตร มาบรรจบกับ แมน้ํายม ที่อําเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค จากนั้นไปบรรจบกับแมน้ําอีกสองสาย คือ แมน้ําปง และ แมน้ําวัง ที่อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค รวมเปนแมน้ําเจาพระยา ปลาเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญตอความเปนอยูของประชากรไทยในอดีตและ มีความสําคัญทางดานเศรษฐกิจในปจจุบัน โดยใชเปนอาหารประเภทโปรตีนที่มีคุณคาทาง โภชนาการสูง ปจจุบันนักมีนวิทยาจํานวนมากไดมีการทดลองและศึกษาเกี่ยวกับปลาชนิดตาง ๆ ที่ มีประโยชนทางเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มอาหารโปรตีนใหกับประชากรในประเทศและเพิ่มผลผลิตในการ สงออกตางประเทศ นอกจากนี้ยังเปนการสงเสริมศึกษาปลาชนิดใหมดวย (วิเชียร มากตุน. 2530: 1-23) จากขอมูลในอดีตความหลากหลายดานทรัพยากรประมงเกี่ยวกับชนิดของปลาที่ปรากฏใน หนังสือ “The Freshwater Fishes of Siam or Thailand” ไดพรรณนาถึงปลาน้ําจืดประมาณ 600 ชนิด และ ตั้งชื่อชนิดใหมไมต่ํากวา 180 ชนิด รวมทั้งปลาน้ําจืด และปลาทะเล (Smith 1945: 424) ปลาตะเพียนเปนวงศที่มีจํานวนปลามากชนิดที่สุดในบรรดาปลาน้ําจืดของไทย และมีความหลาก ชนิดเปนอันดับสามของวงศปลาในโลก อาศัยเฉพาะในน้ําจืด สวนมากเปนปลากินพืช ปลาในวงศนี้ เปนปลาเศรษฐกิจของไทย (ชวลิต วิทยานนท. 2548: 36) ปลาที่อยูในวงศไซไพรนิดี (Family Cyprinidae) เปนวงศที่มีจํานวนปลามากที่สุดกระจายอยูตามสวนตาง ๆ ของโลก ประกอบดวยปลา ประมาณ 275 สกุล จํานวน 1,600 ชนิด (Nelson. 1976: 125) สําหรับการศึกษาครั้งนี้ไดใชตัวอยาง ปลาในวงศไซไพรนิดี จํานวน 8 ชนิด ที่พบในลุมน้ํานานเปนตัวอยางที่นํามาศึกษาทางดานสัณฐาน วิทยา และความสัมพันธระหวางความยาว และน้ําหนัก เพื่อประโยชนทางดานวิทยาศาสตรการ ประมง และดานการอนุรักษ (conservation) การเตรียมมาตรการวางแผนคุมครองหรือการใช ประโยชนอื่น ๆ ตอไป 2

ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาในวงศไซไพรนิดี ในลุมน้ํานาน อําเภอ ภูเพียง จังหวัดนาน ภาคเหนือของประเทศไทย จํานวน 8 ชนิด ไดแก 1. ปลากระมัง Puntioplites proctozysron (Bleeker, 1865) 2. ปลาหนามหลังหรือปลาขี้ยอก Mystacoleucus marginatus (Valenciennes in Cuvier & Valenciennes, 1842) 3. ปลาตามิน Amblyrhynchichthys truncatus (Bleeker, 1851) 4. ปลาไสตันตาขาว Cyclocheilichthys repasson (Bleeker, 1853) 5. ปลาแกมช้ํา Puntius orphoides (Valenciennes in Cuvier & Valenciennes, 1842) 6. ปลาตะพาก Hypsibarbus wetmorei (Smith, 1931) 7. ปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota kuhl & Van Hasselt in Hasselt, 1823 8. ปลากระแห Barbonymus schwanenfeldi (Bleeker, 1853) 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก (length - weight relationships) ของปลาในวงศไซไพรนิดี จํานวน 8 ชนิด ความสําคัญของการวิจัย เนื่องจากปลาในวงศไซไพรนิดีมีจํานวนปลามากชนิดที่สุดในปลาน้ําจืดของไทย และมี ความหลากชนิดเปนอันดับสามของวงศปลาในโลก อาศัยเฉพาะในน้ําจืด สวนมากเปนปลากินพืช เปนปลาเศรษฐกิจของไทยที่พบในแมน้ํานาน ซึ่งเปนแมน้ําสายสําคัญของจังหวัดนาน ดังนั้นจึงได ทําการศึกษาดานสัณฐานวิทยาและความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาในวงศนี้ เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานดานอนุรักษ (conservation) ใหปลาซึ่งเปนอาหารโปรตีนและเปนความมั่นคง ทางอาหาร (food security) ใหกับประชาชนไทย และเพื่อการเตรียมมาตรการวางแผนคุมครองสัตว คุมครองตอไป ขอบเขตของการวิจัย 1. กําหนดอาณาเขตหรือบริเวณที่ราบลุมน้ํานาน เพื่อศึกษาประชากรของปลาใน วงศไซไพรนิดี บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 2. ดําเนินการวัดอุณหภูมิน้ําในแตละเดือนที่ศึกษา 3. รวบรวมขอมูลทั้งหมดในการวัดลักษณะของปลาทั้ง 22 ลักษณะ และนับจํานวนครีบ หลัง ครีบอก ครีบทอง ครีบทวาร และ ครีบหาง เพื่อแยกชนิดของปลา และใชโปรแกรม SPSS ใน การวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลา 4. นําตัวอยางปลาที่กําหนดมาเปรียบเทียบกับชนิดปลาในพิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาประมง ของกรมประมง 3

นิยามศัพทเฉพาะ Morphometric measurements หมายถึง การวัดขนาดของลักษณะตางๆ ภายนอกของ ปลา ประกอบดวย ความยาวเหยียด ความยาวมาตรฐาน ความยาวจะงอยปาก ความยาวเสนผาน ศูนยกลางตา ความยาวสวนหัว ความยาวกอนครีบทวาร ความยาวสวนหนาของครีบทวาร ความ ยาวสวนหนาของครีบหลัง ความยาวสวนหนาของครีบอก ความยาวตอนตนของครีบหลังถึงความ ยาวตอนตนของครีบหาง ความยาวตอนตนของครีบทวารถึงความยาวตอนตนของครีบหาง ความ ยาวของฐานครีบหลัง ความยาวของฐานครีบทวาร ความสูงของครีบอก ความสูงของครีบทอง ความ กวางของคอดหาง ความยาวของจุดสุดทายของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง ความลึกของลําตัววัด จากจุดเริ่มตนวัดจากกานครีบทวาร ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาของครีบหลัง ความสูงของ ครีบทวาร ความสูงของครีบหลัง ความยาวสวนหนาของครีบทอง Meristic counts หมายถึง การนับจํานวนกานครีบของปลา ประกอบดวย จํานวนกาน ครีบหลัง (dorsal fin ray) จํานวนกานครีบทวาร (anal fin ray) จํานวนกานครีบอก (pectoral fin ray) จํานวนกานครีบทอง (pelvic fin ray) จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง (upper caudal fin ray) จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง (lower caudal fin ray) Length-weight relationships หมายถึง ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของ ปลา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ สภาพทางภูมิศาสตรของประเทศไทย ประเทศไทยมีเนื้อที่ประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีขนาดใหญเปนอันดับ 3 ของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีความกวางทางดานละติจูดประมาณ 14 องศา มีความ กวางทางดานลองติจูดประมาณ 7 องศา ทําใหประเทศไทยมีรูปรางลักษณะยาวมากกวากวาง ความ กวางของละติจูดทําใหมีความหลากหลายทางดานภูมิอากาศจากรอนไปสูเย็น โดยมีอาณาเขต ติดตอกับประเทศเพื่อนบาน คือ ทิศเหนือ จรดประเทศพมาและลาว ทิศตะวันออก จรดประเทศลาว ประเทศกัมพูชาและอาวไทย ทิศตะวันตก จรดประเทศพมา และทะเลอันดามัน ทิศใต จรดประเทศ มาเลเซีย จากการที่ประเทศไทยมีที่ตั้งอยูระหวางพื้นดินกวางใหญทางดานทิศเหนือและ พื้นน้ําที่ กวางขวางทางดานทิศใตนี้ จากตําแหนงที่ตั้งทางภูมิศาสตรดังกลาว จึงมีผลทําใหประเทศไทยอุดม สมบูรณไปดวยทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายชนิด และที่สําคัญภายในประเทศไทยยังประกอบดวย ลุมน้ําหลัก 5 ลุมน้ํา คือ ลุมแมน้ําโขง ลุมน้ําที่ไหลลงสูแมน้ําโขง ไดแก ลุมน้ํามูล ลุมน้ําชี ลุมน้ํา สงคราม ลุมน้ําเหือง ลุมน้ําอิง ลุมน้ํากก ลุมน้ําแมจัน และลุมน้ํารวก ลุมแมน้ําเจาพระยา ประกอบดวยลุมน้ําที่ไหลลงสูแมน้ําเจาพระยาและอาวไทย ไดแก ลุมน้ําปง ลุมน้ําวัง ลุมน้ํายม ลุมน้ํา นาน ลุมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําบางประกง ลุมน้ําทาจีน และลุมน้ําแมกลอง ลุมน้ําที่ไหลลงสูอาวไทย ชายฝงตะวันออก ไดแก ลุมน้ําระยอง ลุมน้ําประแส ลุมน้ําจันทบุรี ลุมน้ําเวฬุ และลุมน้ําตราด ลุมน้ํา ที่ไหลลงสูอาวไทยชายฝงตะวันตก ไดแก ลุมน้ําตาป ลุมน้ําปากพนัง ลุมน้ําสายบุรี ลุมน้ําปตตานี ลุมน้ําเพชรบุรี ลุมน้ําปราณบุรี ลุมน้ํากุยบุรี ลุมน้ําทาแซะ ลุมน้ําชุมพร และลุมน้ําหลังสวน สุดทาย คือลุมน้ําที่ไหลลงสูทะเลอันดามัน ไดแก ลุมน้ําเมย ลุมน้ําปาย ลุมน้ํากระบุรี ลุมน้ําตรัง และลุมน้ําละงู (กวี วรกวิน. 2547: 10; Kotellat. 1989: 187) จากสภาพทางภูมิศาสตรดังกลาว ทําใหประเทศไทย มีความอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติทางดานการประมงอยางยิ่ง สภาพทางภูมิศาสตรภาคเหนือ ภาคเหนือมีพื้นที่ประมาณ 93,690.85 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 18 ของพื้นที่ทั้ง ประเทศ มีที่ตั้งตามพิกัดภูมิศาสตรอยูระหวางละติจูดที่ 17° 08´-20° 29´ เหนือ และระหวางลองติจูด 97° 19´-101° 22´ ตะวันออก จากที่ตั้งตามพิกัดภูมิศาสตร ทําใหภาคเหนือเปนภูมิภาคที่ไดชื่อวา เปนผืนแผนดินที่อยูตอนบนสุดของประเทศไทย มีเทือกเขาสลับซับซอนมากที่สุดของประเทศไทย พื้นที่มากกวารอยละ 80 เปนพื้นที่ภูเขาและไหลเขา ซึ่งจัดอยูในรูปของเทือกเขาที่วางตัวในแนว เหนือ – ใต เชน เทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาหลวงพระบาง เทือกเขาผีปนน้ํา เปนตน ในแตละเทือกเขาจะมีสันเขาหลายทิว ในแตละทิวเขาจะมียอดเขาหลายยอด ซึ่งบางครั้ง เรียกวา “ดอย” บาง “มอน” บาง ยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท สูง 2,565 เมตร 5

อยูในเทือกเขาถนนธงชัย เขตอําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม ภูเขาสูงในภาคเหนือมีความสําคัญ ในฐานะเปนตนน้ําลําธารสายสําคัญ ๆ ที่ไหลลงสูลุมน้ําตาง ๆ ไดแก ลุมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําโขง และ ลุมน้ําสาละวิน บนเทือกเขายังปกคลุมดวยพืชพรรณธรรมชาติ เปนผลทําใหภาคเหนือมีพื้นที่ ปาไมมากกวาภาคอื่น ๆ ปาไมและพืชพรรณที่อยูบนภูเขาสูงเหลานี้ชวยเปนแกนจับเมฆใน บรรยากาศใหรวมตัวกันเปนหยดน้ําลงสูพื้นดิน และซึมซาบจากไหลเขาลงสูลําหวยบริเวณรองหุบ เขา และไหลลงสูแมน้ําสายใหญในแองที่ราบตอไป จากสภาพดังกลาวทําใหภาคเหนือเปนพื้นที่ที่มี ความอุดมสมบูรณไปดวยปาไมและพืชพรรณซึ่งเปนแหลงตนน้ําลําธารสายสําคัญ ๆ ที่ไหลลงสูลุม น้ําตางๆ (กวี วรกวิน. 2547: 8–25) สภาพทางภูมิศาสตรของจังหวัดนาน จังหวัดนานตั้งอยูในภาคเหนือของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 11,472 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูที่ละติจูด 17° 59´-19° 37´ เหนือ และ ระหวางลองติจูด 100° 18´-101° 22´ ตะวันออก มี อาณาเขตติดตอกับจังหวัดและประเทศเพื่อนบานดังนี้ ทิศเหนือติดตอกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ทิศใต ติดตอกับจังหวัดอุตรดิตถ ทิศตะวันออก ติดตอกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดพะเยา และจังหวัดแพร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของ จังหวัดนาน สวนใหญประกอบดวยภูเขาและปาไม ซึ่งมีความลาดชันเกินกวา 30 องศา โดยมีเนื้อที่ ประมาณ 85 เปอรเซ็นต ของเนื้อที่จังหวัด มีลักษณะเปนภูเขาลูกคลื่นลอนลาด และลูกคลื่นลอนชัน พื้นที่ราบลุมมีเปนสวนนอย ไดแก ที่ราบกวางใหญอยูในลุมน้ํานาน – สา ตามลําน้ํานานและที่ราบ ลุมแคบ ๆ อยูแถบอําเภอนานอยตอนใต อําเภอทาวังผา อําเภอปว อําเภอเชียงกลาง และอําเภอทุง ชาง ภูเขาที่มีความสูงมาก สวนใหญอยูบริเวณเขตชายแดนติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ภูเขาที่สําคัญไดแก ดอยภูแว ในเทือกเขาหลวงพระบางซึ่งเปนตนกําเนิดของแมน้ํา นาน ภูเขาที่สูงที่สุดในจังหวัดนาน คือ ดอยภูคา มีความสูง 1,980 เมตร เหนือระดับน้ําทะเลปาน กลาง ตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตในเขตทองที่อําเภอปว เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนภูเขาสูงและ ปาไม ทําใหมีลุมน้ําและแหลงน้ําที่เปนแหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารสําคัญหลายสาย เชน แมน้ํานาน แมน้ําสา แมน้ําวา แมน้ําสมุน แมน้ําหลง แมน้ําปว แมน้ํากอน เปนตน นอกจากนี้ยังมีลําธาร และลํา หวยจํานวนมาก ชาวบานจึงมักตั้งถิ่นฐานบานเรือนอยูใกลแหลงน้ํา เพราะตองใชน้ําเพื่อการเกษตร และใชอุปโภค บริโภค (กวี วรกวิน. 2547: 56–58; พิพิธภัณฑสถานแหงชาตินาน. 2548: 1) ลุมน้ําภาคเหนือ ระบบทางน้ําในภาคเหนือเปนทางน้ําที่มีตนน้ําเปนลําน้ําสายสั้น ๆ ขนาดไมกวางนัก เนื่องจากตนน้ําอยูบริเวณเทือกเขาและทิวเขาสูง ระบบลุมน้ําในภาคเหนือมี 3 ลุมน้ําหลัก คือ 1. ลุมน้ําที่ไหลลงสูแมน้ําโขง มีพื้นที่ลุมแมน้ําประมาณ 14,600 ตารางกิโลเมตร (เฉพาะ พื้นที่สวนที่อยูในภาคเหนือ) มีแมน้ําโขงเปนสายประธานซึ่งถูกกําหนดใหเปนเขตแดนระหวางไทย กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อยูทางดานเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของภูมิภาค 6

ระบบการไหลของลุมน้ําโขงในภาคเหนือจะมีตนน้ําอยูในเทือกเขาแดนลาวในอําเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม ลําน้ําสาขาของลุมน้ําโขงจะไหลขึ้นไปทางดานเหนือลงสูแมน้ําโขง เนื่องจากระดับสูงของ พื้นที่มีนอยกวา ลุมน้ําโขงประกอบไปดวยลุมน้ํายอย ๆ 3 ลุมน้ํา คือ 1.1 ลุมน้ํากก มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 7,800 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ํากกเปนสายประธาน ลําน้ําสาขาที่สําคัญ ไดแก น้ําแมลาว น้ําฝาง น้ําทาชาง น้ําสรวย ลุมน้ํากกมีความสําคัญตอประชากร ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายดานตะวันตก ดานใต ตอนกลาง และประชากรในอําเภอไชยปราการ อําเภอ ฝาง และอําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม 1.2 ลุมน้ําอิง มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 5,600 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ําอิงเปนสาย ประธาน ลําน้ําสาขาที่สําคัญ คือ น้ําพุง น้ําหงาว หวยเตย ฯลฯ ลุมแมน้ําอิงมีความสําคัญตอ ประชากรในพื้นที่จังหวัดเชียงรายดานตะวันออก และจังหวัดพะเยาตอนบน 1.3 ลุมน้ํารวก มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 1,200 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ํารวกเปนสาย ประธาน ลําน้ําสาขาที่สําคัญ คือ น้ําแมสาย น้ําแมจัน ฯลฯ ลุมน้ํารวกมีความสําคัญตอประชากรใน พื้นที่อําเภอแมฟาหลวง และอําเภอเชียงแสนของจังหวัดเชียงราย 2. ลุมน้ําที่ไหลลงสูแมน้ําสาละวิน มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 13,000 ตารางกิโลเมตร (เฉพาะ พื้นที่สวนที่อยูในภาคเหนือ) มีแมน้ําสาละวินเปนสายประธาน ซึ่งไหลเปนเขตแดนไทยกับสหภาพ พมา อยูทางดานทิศตะวันตกของภูมิภาค ลุมแมน้ําสาละวินมีความสําคัญตอประชากรในจังหวัด แมฮองสอน โดยลุมน้ําสาละวินประกอบดวยลุมน้ํายอย ๆ 2 ลุมน้ํา คือ 2.1 ลุมน้ําปาย มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 6,400 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ําปายเปนสาย ประธาน ตนน้ําอยูบริเวณเทือกเขาและทิวเขาสูงของเทือกเขาถนนธงชัย แลวไหลลงสูแมน้ําสาละวิน ทางดานตะวันตก ลําน้ําสาขาที่สําคัญ คือ หวยแมสา น้ําสะงา น้ําสุรินทร ฯลฯ ลุมน้ําปายมี ความสําคัญตอประชากรในพื้นที่อําเภอปาย อําเภอปางมะผา อําเภอเมืองแมฮองสอน และตอนบน ของอําเภอขุนยวม 2.2 ลุมน้ํายวม มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 7,800 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ํายวมเปนสาย ประธาน ลําน้ําสาขาที่สําคัญ คือ น้ํากอน น้ําสะเรียง น้ําอุมลอง น้ําริด ฯลฯ ลุมน้ํายวมมีความสําคัญ ตอประชากรในพื้นที่อําเภอสบเมย อําเภอแมสะเรียง อําเภอแมลานอย และตอนลางของอําเภอ ขุนยวม จังหวัดแมฮองสอน 3. ลุมน้ําที่ไหลลงสูแมน้ําเจาพระยา (ในพื้นที่ภาคเหนือ) มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 63,968 ตารางกิโลเมตร เปนลุมน้ําที่มีพื้นที่มากที่สุดในภาคเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ตอนกลาง ตอนลาง และ ดานตะวันออกของภูมิภาค มีตนน้ําอยูในเทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาผีปนน้ํา เทือกเขาหลวงพระ บาง ฯลฯ มีทิศทางการไหลในแนวเหนือ – ใต ตามลักษณะการวางตัวของแนวเทือกเขาและทิวเขา ประกอบไปดวยลุมน้ํายอย ๆ 4 ลุมน้ํา คือ 3.1 ลุมน้ําปง มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 22,400 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ําปงเปนสาย ประธาน ลําน้ําสาขาที่สําคัญ คือ น้ําแจม น้ํางัด น้ําลี้ ฯลฯ ลุมน้ําปงมีความสําคัญตอประชากรใน พื้นที่จังหวัดเชียงใหม และจังหวัดลําพูน 7

3.2 ลุมน้ําวัง มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 9,800 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ําวังเปนสาย ประธาน ลําน้ําสาขาที่สําคัญ คือ แมเมาะ น้ําจาง น้ํากวม ฯลฯ ลุมน้ําวังมีความสําคัญตอประชากรใน พื้นที่จังหวัดลําปาง 3.3 ลุมน้ํายม มีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 12,756 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ํายมเปนสาย ประธานลําน้ําสาขาที่สําคัญ คือ น้ําสอง น้ําปุ น้ําสรวย ฯลฯ ลุมน้ํายมมีความสําคัญตอประชากรใน พื้นที่จังหวัดแพร อําเภอปง อําเภอเชียงมวนของจังหวัดพะเยา อําเภองาว ของจังหวัดลําปาง และ อําเภอบานหลวงของจังหวัดนาน 3.4 ลุมน้ํานาน มีพื้นที่ลุมน้ํา ประมาณ 19,012 ตารางกิโลเมตร มีแมน้ํานานเปนสาย หลักลําน้ําสาขาที่สําคัญ คือ แมน้ําปว น้ําแมวา น้ําสา น้ําปาด คลองตรอน ฯลฯ ลุมน้ํานานมี ความสําคัญตอประชากรในพื้นที่ของจังหวัดนาน และจังหวัดอุตรดิตถ (กวี วรกวิน. 2547: 26-29) 8

พมา ลาว วัง . ยม น . น น.นาน ปง . น

ทะเลอันดามัน อาวไทย

ภาพประกอบ 1 แผนที่ประเทศไทยแสดงแมน้ําปง วัง ยม และนาน 9

การแพรกระจายของปลาในวงศไซไพรนิดี ธงชัย จําปาศรี (2542: บทคัดยอ) ไดศึกษาอนุกรมวิธานปลาในแมน้ํายมและลําน้ําสาขา จาก การศึกษาพบวามีปลาอยูทั้งสิ้นจํานวน 28 วงศ ไดแก แอมบลิซิพิทิดี (Amblycipitidae) อนาแบนทิดี (Anabantidae) บากริดี (Bagridae) บิโลนิดี (Belonidae) เซนโทรโพมิดี (Centropomidae) ชานนิดี (Channidae) ชิคลิดี (Cichlidae) คลารีอิดี (Clariidae) คลูพีดี (Clupedae) โคบิทิดี (Cobitidae) ไซโนกลอสซิดี (Cynoglossidae) ไซไพรนิดี (Cyprinidae) แดซีแอทิดี (Dasyatidae) เอลีโอทริดี (Eleotridae) โกบิอิดี (Gobiidae) ไจรินโนไคลลิดี (Gyrinocheilidae) เฮมิแรมฟดี (Hemirhamphidae) โฮมาลอพเทอริดี (Homalopteridae) มาสทาเซมเบลิดี (Mastacembelidae) โนทอปเทอริดี (Notopteridae) แพงกาซิอิดี (Pangasiidae) พริสโตเลพพิดี (Pristolepidae) ซิลไบดี (Schilbeidae) ไซเลอรอิดี (Siluridae) ซิโซริดี (Sisoridae) โซลิอิดี (Soleidae) เทตราโอดอนทิดี (Tetraodontidae) และ ทอกโซทิดี (Toxotidae) นฤชิต เสาวคนธ (2548: 49-202) ไดศึกษาความหลากหลายชนิดของปลาในอางเก็บน้ํา เขื่อนกระเสียว จังหวัดสุพรรณบุรี ผลของการเก็บขอมูลและรวบรวมตัวอยางพบปลาทั้งสิ้น 19 วงศ 38 สกุล จํานวน 50 ชนิด ไดแก วงศโนทอปเทอริดี (Notopteridae) จํานวน 1 ชนิด วงศไซไพรนิดี (Cyprinidae) จํานวน 15 ชนิด วงศโฮมาลอพเทอริดี (Homalopteridae) จํานวน 4 ชนิด วงศโคบิทิดี (Cobitidae) จํานวน 5 ชนิด วงศบากริดี (Bagridae) จํานวน 3 ชนิด วงศไซเลอรอิดี (Siluridae) 1 ชนิด วงศคลาริอิดี (Clariidae) 2 ชนิด วงศบิโลนิดี (Belonidae) 1 ชนิด วงศเฮมิแรมพิดี (Hemirhamphidae) จํานวน 1 ชนิด วงศซินแบรงคิดี (Synbranchidae) จํานวน 1 ชนิด วงศมาสตา เซมเบลิดี (Mastacembelidae) จํานวน 2 ชนิด วงศซานดิดี (Chandidae) จํานวน 2 ชนิด วงศแนนดิดี (Nandidae) จํานวน 1 ชนิด วงศชิคลิดี (Cichlidae) จํานวน 1 ชนิด วงศอีลีโอทริดี (Eleotridae) จํานวน 1 ชนิด วงศโกบิอิดี (Gobiidae) จํานวน 2 ชนิด วงศแอนาแบนทิดี (Anabantidae) จํานวน 1 ชนิด วงศบีลอนทิอิดี (Belontiidae) จํานวน 3 ชนิด วงศชานนิดี (Channidae) จํานวน 3 ชนิด สมิธ (Smith. 1945: 622) รายงานวาพบปลาไสตันตาขาว (Cyclocheilichthys repasson) ครั้งแรกที่แมน้ําตาป และปากแมน้ําตาป บริเวณอาวบานดอนที่น้ําไหลลงสูอาวไทย สวนสนธิรัตน (Sontirat. 1976: 56-90) และโรเบิรต (Roberts. 1989: 95-109) รายงานวาปลาไสตันตาขาว มี การแพรกระจายแถบสุมาตรา ชวา บอรเนียว มาเลเซีย ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนามใตและ ฟลิปปนส และพบปลากระมังมีการแพรกระจายกวางมาก พบปลาชนิดนี้บริเวณแมน้ําสาละวิน ประเทศพมา ถึงปากอาวเบงกอล พบในประเทศไทยทุกภาค และพบในแมน้ําโขงในเขตไทย ลาว อินเดียและกัมพูชาและพบปลาตะเพียนทองตามแหลงน้ําทั่วไปในประเทศไทย เชน แมน้ําเจาพระยา ในเขตกรุงเทพมหานคร แหลงน้ําในจังหวัดราชบุรี 10

สมศักดิ์ เจนศิริศักดิ์ (2515: 22-32) กลาวถึงปลากระมังวาปลาชนิดนี้พบมากในประเทศ ไทย กัมพูชา พมา และลาว สําหรับในประเทศไทย พบทั่วไปในแมน้ํา ลําคลอง เชน แมน้ําปง แมน้ํา โขง แมน้ํามูล และ ยงยุทธ ทักษิณ (2529: 19-29) ไดศึกษาและรวบรวมพันธุปลากระมัง พบวาปลา ชนิดนี้ชอบอาศัยอยูในบริเวณปาพง ปาออ ที่ขึ้นอยูตามริมฝงคลองที่น้ําทวมถึง และมีระดับน้ําเฉลี่ย 80–100 เซนติเมตร คอทเทลลาท (Kottelat. 2001: 19) ศึกษาการแพรกระจายของปลาในประเทศลาวพบวา จํานวนปลาที่พบทั้งหมดมีจํานวน 50 วงศ 481 ชนิด ประกอบไปดวยวงศไซไพรนิดีถึง 193 ชนิด

อนุกรมวิธาน () ของปลาในวงศไซไพรนิดี ปลาในวงศไซไพรนิดี เปนปลาที่จัดอยูในซูเปอรแฟมมิลีไซไพรนอยดี (Superfamily Cyprinoidei) มีชื่อสามัญที่รูจักอยางแพรหลายวาไซไพรนิดี มีอันดับอนุกรมวิธานซึ่งกําหนดตามวิธี ของเนลสัน (Nelson. 2006: 1-141) โดยเนลสันไดจัดอันดับทางอนุกรมวิธานของปลา วงศไซไพรนิดี ไวดังนี้ Phylum Chordata Superclass Gnathostomata Class Subclass Neopterygii Division Teleostei Superorder Ostariophysi Order Superfamily Cyprinoidei Family Cyprinidae Genus Mystacoleucus Hampala Cyclocheilichthys Osteochilus Puntioplites Amblyrhynchichthys Barbonymus Hypsibarbus 11

สัณฐานวิทยาของปลาในวงศไซไพรนิดี ธงชัย จําปาศรี (2542: 54-190) กลาวถึงปลาในวงศไซไพรนิดีวามีลักษณะตาง ๆ ดังนี้ ปลาในวงศไซไพรนิดีลําตัวคอนขางยาวหรือยาว แบนขาง สวนหัวไมมีเกล็ดปกคลุม เสนขางลําตัว คอนขางสมบูรณ ชองเปดเหงือกกวาง ปากอยูปลายสุดของสวนหัวหรืออยูคอนลงมาทางดานลาง หรืออยูทางดานลางของสวนหัว อาจมีหรือไมมีหนวดถามีหนวดจะมีไมเกิน 2 คู ลําตัวแบนขางมาก ทองมีสันแหลมแตไมแข็ง เกล็ดบางและหลุดงาย ปากอยูทางดานหนาสุดของหัวในลักษณะเฉียงลง เกล็ดหนาครีบหลัง (predorsal scale) เลยเขาไปถึงระหวางตา บริเวณขากรรไกรลาง (symphyseal knob) ครีบอกอยูในระดับต่ําใกลกับสันทอง เกล็ดบางและหลุดงาย มีเกล็ดตามเสนขางลําตัวในชวง 50–62 เกล็ด และ ส.พุมสุวรรณ (2546: 76) กลาวถึงปลาในวงศไซไพรนิดีวา มีลักษณะตาง ๆ ดังนี้ คือ ไมมีหนวดหรือมีหนวดไมเกิน 2 คู มีฟนที่คอหอยจํานวน 1-3 แถว ปลาในวงศไซไพรนิดีเปน ปลาน้ําจืดมีเกล็ด รูปรางแบนดานขาง เปนปลาพื้นบานดั้งเดิมของประเทศไทยชนิดหนึ่ง ปลาในวงศ ไซไพรนิดีเปนปลาครอบครัวใหญ หลากหลายชนิดกันออกไป บางชนิดรูปรางสีสันใกลเคียงกัน บาง ชนิดก็แตกตางกัน เชน ปลาตะพาก ปลากระแห ปลาตะเพียนทอง ปลากระมัง ปลายี่สก ปลาสรอย นกเขา ปลากา ฯลฯ

ลักษณะของปลากระมัง Puntioplites proctozysron ปลากระมังมีชื่อวิทยาศาสตรวา Puntioplites proctozysron (Bleeker, 1865) มีชื่อสามัญ ไทย เรียกวา ปลาแพะ ปลากระมัง ปลามัง ปลาเหลี่ยม ปลาเลียม ปลาอีเหลี่ยม ปลาวี และปลาสะกาง การกินอาหารของปลากระมัง กินพืชพรรณไมน้ําและอินทรียสาร ลักษณะทั่วไปของปลากระมังมีดังนี้ รูปรางเปนสี่เหลี่ยมที่ดานหลังยกสูง สวนหัวโต ลําตัวแบนขาง มีความกวางมาก ตาโต ครีบหลังและ ครีบทวารมีจํานวนกานครีบเดี่ยวกานที่ 3 ยาวและ มีซี่กรองเหงือก 29–37 ซี่ ความยาวมาตรฐานยาว ประมาณ 1.8–2.1 เทาของความกวางลําตัว สวนหัวเล็ก ตาโต อยูคอนไปทางดานบน เสนผาน ศูนยกลางตายาวกวาจะงอยปาก รูจมูกมี 2 คู ไมมีหนวด ปากอยูคอนลงมาทางดานลาง เยื่อที่แผน ปดเหงือกติดกับคอดคอ ครีบหลังประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน โดยกานที่ 3 ยาวที่สุด มีขอบ ทายหยักเปนฟนเลื่อย และมีจํานวนกานครีบออน 8–9 กาน ครีบอกและครีบทองมีขนาดใกลเคียงกัน ครีบอกประกอบดวยกานครีบออนที่ไมแตกแขนง 1 กาน และที่แตกแขนง 14–15 กาน สวนครีบทอง ประกอบดวยกานครีบแข็ง 2 กาน และกานครีบออน 8–9 กาน ระยะหางระหวางครีบอกถึงครีบทอง และครีบทองถึงครีบทวารใกลเคียงกัน ครีบทวารมีกานครีบแข็ง 3 กาน โดยกานที่ 3 ยาวที่สุด ขอบ ทายหยักเปนฟนเลื่อย และมีกานครีบออน 6–7 กาน ครีบหางแผกวางเวา แบบชอนสอม เสนขาง ลําตัวสมบูรณอยูในแนวกลางตัว เกล็ดในแนวเสนขางตัว มี 35–37 เกล็ด แถวหนาเกล็ดฐานครีบหลัง 15–17 เกล็ด และเกล็ดรอบคอดหาง 18 เกล็ด ความกวางและความยาวคอดหางใกลเคียงกัน สีลําตัว ดานบนคล้ํา มีเกล็ดที่ลําตัวสีเงิน ครีบทุกครีบมีสีสมปนแดงบริเวณปลายครีบมีสีเกือบดํา แหลงที่อยู อาศัย อาศัยตามแหลงน้ํานิ่งและน้ําไหล ในประเทศไทยพบทุกภาคและพบในแมน้ําโขงในเขตไทย ลาว อินเดีย และ กัมพูชา (ทัศพล กระจางดารา. 2537: 87-88; ชวลิต วิทยานนท. 2548: 46) 12

ลักษณะของปลาหนามหลัง หรือปลาขี้ยอก Mystacoleucus marginatus ปลาหนามหลังมีชื่อวิทยาศาสตรวา Mystacoleucus marginatus (Valenciennes in Cuvier & Valenciennes, 1842) มีชื่อสามัญไทย เรียกวา ปลาขี้ยอก ปลาหนามบี้ ปลาหญา และปลาหนาม หลัง พบทุกภาคของไทย ยกเวนแมน้ําสาละวิน และพบไปถึงมาเลเซียและบอรเนียว ลักษณะการกิน อาหารของปลาหนามหลัง กินแมลง แพลงกตอน และพืชพรรณใตน้ํา ลักษณะทั่วไปของปลาหนาม หลังมีดังนี้ รูปรางคลายปลาตะเพียน แตลําตัวแบนขางมากกวา ครีบหลังสูงปานกลาง กานครีบมี หยักที่ขอบดานทาย ที่โคนครีบหลังดานหนาสุดมีหนามแหลมสั้นยื่นออกมาขางหนา ซึ่งเปนลักษณะ สําคัญของปลาสกุลนี้ และเปนที่มาของชื่อ มีเกล็ดใหญคลุมตัว ครีบทวารสั้น ครีบหางเวาลึก ตัวมีสี เงินอมเหลืองออน ขอบเกล็ดดานบนเปนแนวสีคล้ํา บางเกล็ดบนลําตัวจึงดูเหมือนเปนขีดสั้น ๆ ประ ที่ดานขาง ครีบมีสีเหลืองออนถึงสม และขอบครีบดานทายมีสีคล้ํากานครีบแข็งของครีบหลังกานที่ 3 ยาวขอบทายเปนฟนเลื่อย ขอบทายของครีบหลัง และ ลําตัวมีสีขาวเงิน ดานบนของลําตัวมีสีน้ําตาล ที่ฐานของเกล็ดทั้งบริเวณดานขางและดานบนของลําตัวมีลักษณะโคงคลายรูปพระจันทรเสี้ยวสีดํา ครีบหลังและครีบหางมีสีเหลืองปนดําและมีสีดําที่ขอบของครีบ ครีบอก ครีบทองและครีบทวารมีสี เหลืองขอบของครีบไมเปนสีดํา ลําตัวแบบ oblong และแบนขาง หัวมีขนาดเล็ก มีหนามที่ดานหนา ของครีบหลัง (ทัศพล กระจางดารา. 2537: 66-67; ชวลิต วิทยานนท. 2548: 47)

ลักษณะของปลาตามิน Amblyrhynchichthys truncatus ปลาตามินมีชื่อวิทยาศาสตรวา Amblyrhynchichthys truncatus (Bleeker, 1851) มีชื่อ สามัญไทย เรียกวา ปลาตามิน ปลาตาโปน ปลาหนามหลัง ปลาตะโกก ปลาถลน ปลาถลุน และ ปลาตาเหลือก แหลงที่พบครั้งแรก เกาะบอรเนียว อินโดนีเชีย การกินอาหารของปลาตามิน กินพืช สัตวหนาดินประเภทหอย และอินทรียสาร ลักษณะทั่วไปของปลาตามินมีดังนี้ ปลาตามินรูปราง คลายปลาตะเพียน มีลําตัวแบนยาวและบาง แตสวนหัวและจะงอยปากสั้นทู หนาหัก ปากเล็ก ริม ฝปากบาง ไมมีหนวด ตามีเยื่อหุมไขมันใสคลุม ครีบหลังสูง มีกานแข็งที่ขอบหยัก ครีบหางเวา เกล็ด ใหญปานกลาง ครีบอกสั้น ตัวมีสีเงินวาวตลอด ไมมีจุดหรือสีอื่น ๆ ดานทองสีจาง ครีบมีสีเหลืองใส (ชวลิต วิทยานนท. 2548: 46) ฐาปกรณ ลิ่มบรรจง; สุทัศน เผือกจีน; และ สุรพงษ วิวัชรโกเศศ. (2549: 9) กลาวถึงปลาตามินวามีรูปรางแบบมีสมมาตรซายขวา (bilateral symmetry) ลําตัว ดานซายและดานขวาจะเบนเขาหากัน (compressed form) ความสูงของลําตัวในแนวดิ่งมากกวา ความหนาในแนวนอน สวนหัวเล็ก และจะงอยปากสั้นทู ปากเล็ก ริมฝปากบาง ไมมีหนวด ครีบหาง เวาแบบชอนสอม เกล็ดแบบขอบเรียบ ลําตัวมีสีขาวเงินวาว ทองสีขาว ครีบมีสีเหลืองออนใส และ ลักษณะเดนที่ทําใหปลาตัวนี้ตางจากปลาชนิดอื่นในกลุมเดียวกันคือ ครีบหลังมีกานครีบแข็งสูง เดนชัด และมีลักษณะเปนซี่หยัก และตากลมโต หนังตามีไขมันใส (adipose eyelid) คลุม 13

ลักษณะของปลาไสตันตาขาว Cyclocheilichthys repasson ปลาไสตันตาขาวมีชื่อวิทยาศาสตรวา Cyclocheilichthys repasson (Bleeker, 1853) มี ชื่อสามัญไทย เรียกวา ปลาไสตันตาขาว ปลาสรอย ปลาสรอยนกเขา และปลาสอยนกเขา แหลงที่ พบครั้งแรก สุมาตรา อินโดนีเชีย สําหรับประเทศไทย สามารถพบปลาไสตันตาขาวไดทั่วไป ตาม แหลงน้ําตาง ๆ เชน แมน้ําเจาพระยา แมน้ําปาสัก แมน้ําแมกลอง แมน้ําโขงและลําน้ําสาขา แมน้ํา นาน แมน้ํามูล แมน้ําทาจีน และพบในอางเก็บน้ําบางแหง เชน อางเก็บน้ําเขื่อนภูมิพล อางเก็บน้ํา เขื่อนสิริกิติ์ และ อางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน เปนตน การกินอาหารของปลาไสตันตาขาว กินสัตวหนา ดิน และอินทรียสาร ลักษณะทั่วไปของปลาไสตันตาขาวมีดังนี้ ปลาไสตันตาขาวมีลักษณะที่ใช จําแนกจากปลาชนิดอื่น ๆ ในสกุลนี้คือ มีซี่กรอง (gill raker) บนกระดูกเหงือก (gill arch) กานแรกมี จํานวน 16–20 ซี่ มีเกล็ดตามเสนขางตัว จํานวน 35–37 เกล็ด ซึ่งมีลักษณะเปนสองแฉกหรือ มากกวา มีจํานวนขอกระดูกสันหลัง 36 ขอ และ มีจํานวนเกล็ดบนเสนรอบลําตัว (circumferential scale) จํานวน 26 เกล็ด ปลาไสตันตาขาวมีลําตัวแบนขาง รูปรางเพรียว ลําตัวมีสีเงินอมฟาดานใต ลําตัวมีสีเงินอมขาว ครีบหลังและครีบทองมีจุดประสีดําบาง ๆ หรือหนาทึบ ขึ้นอยูกับความขุนของ น้ํา สวนครีบอื่น ๆ มีสีเทาจาง สวนหลังจะโคงเล็กนอยจากบริเวณหลังตา สวนใตลําตัวจะโคงนอย กวา มีเยื่อปดตาเจริญดี ปากอยูตรงปลาย (terminal) หรือคอนขางต่ํา (subinferior) มีหนวด จํานวน 2 คู เจริญดี คูแรกอยูที่ขากรรไกร มีความยาวเปนครึ่งหนึ่งหรือยาวกวาความกวางตา สวนหนวดคูที่ 2 ตั้งอยูที่บริเวณจมูก จะยาวกวาคูแรก จุดเริ่มตนของครีบหลังตรงกับเกล็ดบนเสนขางตาเกล็ดที่ 10 หรือ 11 ครีบหลังโคงเวาเขาขางใน (concave) มีจํานวนกานครีบหลังกานที่ 4 แข็งแรงและเปนซี่ฟน จํานวน 18–33 ซี่ อยูดานหลังของกานครีบ ครีบอกมีปลายครีบไมถึงหรืออาจยาวจรดเลยจุดเริ่มตน ของครีบทอง ครีบทองมีปลายครีบไมถึงหรืออาจยาวจรดรูทวารครีบทวารโคงเวาเขาขางในครีบ ทวารมีจุดเริ่มตนตรงกับเกล็ดบนเสนขางตัวเกล็ดที่ 24 หรือ 25 ครีบหางเวาลึกเทากันทั้งดานบน และดานลาง เสนขางตัวตรงและลดต่ําลงเล็กนอยทางดานหลัง (เฉิดฉัน อมาตยกุล และคนอื่น ๆ. 2538: 6)

ลักษณะของปลาแกมช้ํา Puntius orphoides (Valenciennes in Cuvier & Valenciennes, 1842) ปลาแกมช้ํามีชื่อวิทยาศาสตรวา Puntius orphoides (Valenciennes in Cuvier & Valenciennes, 1842) มีชื่อสามัญไทย เรียกวา ปลาแกมช้ํา ปลาลาบก ปลาปก ปลาสมอมุก ปลาหาง แดง ปลาซาปก ปลามุก ปลาหัวสมอ และปลาขาวสมอมุก แหลงที่พบครั้งแรกชวา อินโดนีเชีย กิน แมลงและพืชเปนอาหาร ลักษณะทั่วไปของปลาแกมช้ํามีดังนี้ ลําตัวเรียวยาวแบบรูปไข และแบน ขางเล็กนอย พื้นลําตัวสีเงิน แผนหลังสีน้ําตาลเทา บริเวณเหงือกดานนอกสีสม หลังชองเหงือกมี แถบสีดําคลายรอยช้ํา จึงไดรับการตั้งชื่อวาปลาแกมช้ํา มีหนวด จํานวน 2 คูอยูที่ขากรรไกรบนและ ลาง ครีบอก ครีบทอง ครีบทวารและหางสีสม ขอบหางดานบนและลางมีแถบสีดําเห็นเดนชัด ครีบ หลังสีเทาอมสม แพนหางมีลักษณะคอดลึกตรงกลาง ปลายหางแหลม (สุรศักดิ์ วงศกิตติเวช. 2544: 104) 14

ลักษณะของปลาตะพาก Hypsibarbus wetmorei (Smith, 1931) ปลาตะพาก มีชื่อวิทยาศาสตรวา Hypsibarbus wetmorei (Smith, 1931) มีชื่อสามัญไทย เรียกวา ปลาตะพาก ปลาปก และปลากระพาก แหลงที่พบครั้งแรก แมน้ําเจาพระยา ที่จังหวัดชัยนาท กินอินทรียสารเปนอาหาร ลักษณะทั่วไปของปลาตะพากมีดังนี้ รูปรางคลายปลาตะเพียนขาวแตหลัง ยกสูงกวา ปากเล็ก ลําตัวยาวรีและแบนขาง มีเกล็ดขนาดคอนขางใหญเปนมันแวววาว พื้นลําตัวสี เงินวาวเหลือบเหลืองสดหรือทอง แผนหลังสีเขียวอมน้ําตาล ครีบหลังมีจํานวน 7 กาน ครีบอก ครีบ ทองและครีบทวารสีเหลืองอมสม ปลายขอบครีบและหางสีเหลืองออน หางเปนแฉกเวาลึก ครีบหลัง และครีบหางสีเทาหมน เมื่อโตขึ้นเกล็ดบริเวณใตทองจะเปนสีเหลืองทอง มีหนวดขนาดเล็ก จํานวน 2 คู อยูที่ขากรรไกรบนและลางที่คอนขางยาวกวาปลาตะเพียนขาว (ชวลิต วิทยานนท. 2548: 49)

ลักษณะของปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota ปลากระสูบขีด มีชื่อวิทยาศาสตรวา Hampala macrolepidota Kuhl & van Hasselt in van Hasselt, 1823 มีชื่อสามัญไทย เรียกวา ปลากระสูบ ปลากระสูบขาว ปลาสูบ ปลาสูด(ภาค อีสาน) และปลาอิกันตูบู(มลายู) พบมากในแมน้ําโขง และพบบางในแมน้ําเจาพระยา กินเนื้อสัตวเปน อาหาร ลักษณะทั่วไปของปลากระสูบขีดมีดังนี้ ลําตัวมีลักษณะแบนคอนขางยาว พื้นลําตัวเปนสีเงิน แผนหลังมีสีคล้ําออกน้ําตาลอมเขียว กลางลําตัวบริเวณใกลโคนครีบหลังมีแถบสีดําคาดขวางลําตัว อยู 1 ขีด หางมีลักษณะเปนแฉกเวาลึก ปลายหางชี้แหลม ขอบครีบหางดานบนและลางเปนแถบสี ดํา หางและครีบสีแดงหรือสีแดงสม เกล็ดมีขนาดคอนขางใหญ ปากมีขนาดเล็ก จะงอยปากเรียบไม มีตุมสิว มีหนวดขนาดเล็กที่ขากรรไกรบน จํานวน 1 หรือ 2 คู หรือไมมีหนวด ครีบหลังมีกานครีบ แตกแขนงจํานวน 5–9 กาน ขอบดานทายของกานครีบไมแตกแขนงกานสุดทายของครีบหลังเรียบ หรือหยักเปนซี่ เกล็ดในแนวเสนขางลําตัวมีจํานวน 17–32 เกล็ด เกล็ดรอบคอดหางมีจํานวน 8–18 เกล็ด (นฤชิต เสาวคนธ. 2548: 69–72; สุรศักดิ์ วงศกิตติเวช. 2544: 106; ธงชัย จําปาศรี: 2542: 96-98 )

ลักษณะของปลากระแห Barbonymus schwanenfeldi ปลากระแห มีชื่อวิทยาศาสตรวา Barbonymus schwanenfeldi (Bleeker, 1853) มีชื่อ สามัญไทย เรียกวา ปลากระแห ปลากระแหทอง ปลาตะเพียนหางแดง และปลาลําปา แหลงที่พบ ครั้งแรก สุมาตรา อินโดนีเชีย กินแมลงและพืชเปนอาหาร ลักษณะทั่วไปของปลากระแหมีดังนี้ ลําตัวมีสีเหลืองอมสม ปลายครีบหลังมีสีดํา มีหนวด จํานวน 2 คู คือหนวดที่ปลายจะงอยปาก และ หนวดที่มุมขากรรไกรบนที่ยาวเกือบเทาเสนผานศูนยกลางตา ครีบทุกครีบมีสีสมแดง มีเกล็ดในแนว เสนขางตัว 32-33 เกล็ด ลําตัวคอนขางปอม แบนขาง ความยาวมาตรฐานยาวประมาณ 1.81–2.1 เทาของความกวางลําตัว และยาวประมาณ 4.4–4.6 เทาของความยาวสวนหัว สวนหัวคอนขางเล็ก จะงอยปากสั้นทู มีความยาวนอยกวาเสนผานศูนยกลางตา ตาโต มีรูจมูก 2 คู มีหนวด 2 คูที่ปลาย จะงอยปาก และที่มุมขากรรไกรบน ปากเล็กอยูปลายหนาสุด มีซี่กรองจํานวน 16–17 ซี่ จุดเริ่มครีบ 15

หางอยูหลังจุดเริ่มครีบทองเล็กนอย ครีบหลังประกอบดวยกานครีบแข็ง จํานวน 4 กาน และกาน ครีบออน จํานวน 8 กาน โดยกานครีบแข็งกานที่ 4 มีขอบทายเปนฟนเลื่อยอยูประมาณ 8–12 หยัก ครีบอกประกอบดวยกานครีบแข็ง 1 กาน และกานครีบออน จํานวน 16 กาน ครีบทองประกอบดวย กานครีบแข็ง 2 กาน และกานครีบออน 7 กาน ครีบทองอยูใกลครีบอกมากกวาครีบทวาร ครีบทวาร ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน และกานครีบออน 5 กาน คอดหางมีความยาวมากกวาความกวาง เล็กนอย ครีบหางเวาลึกแบบสอม เสนขางตัวสมบูรณอยูในแนวกึ่งกลางตัว เกล็ดใหญมีเกล็ดในแนว เสนขางตัว จํานวน 32–33 เกล็ด แถวเกล็ดหนาฐานครีบหลัง จํานวน 9–10 เกล็ดและเกล็ดรอบคอด หางจํานวน 14–16 เกล็ด (ทัศพล กระจางดารา. 2537: 95-96) 16

ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลา สิทธิมังค (Sidthimunka. 1973: 1-25) ไดศึกษาความสัมพันธระหวาง ความยาว และ น้ําหนักของปลาน้ําจืดในประทศไทยจํานวน 114 ชนิด โดยใชสมการของแลกเลอร (Lagler. 1952: 159 -176 ) W kn = ^ W

โดย kn =คาดัชนีของความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก(คาความสมบูรณของปลา) W = น้ําหนักปลา หรือ น้ําหนักเฉลี่ย (กรัม) ^ ^ W = น้ําหนักมาตรฐานที่คํานวณจาก W = aLb ซึ่ง a และ b เปนคาคงที่ (กรัม) L = ความยาวเหยียดของปลา (เซนติเมตร) คา a และ b เปนคาคงที่ที่คํานวณจากสมการความสัมพันธของ ลอกการิทึม

^ log10 W = log10 a + blog10 L

จากจํานวนปลา 114 ชนิด มีคา log a อยูในระหวาง -4.791 ถึง -5.44 คา b อยูในชวง ระหวาง 1.094 ถึง 5.060 ยกตัวอยาง ปลาหมอไทย Anabas testudineus มีชวงความยาวระหวาง 5-15 เซนติเมตร จากจํานวนตัวอยางทั้งหมด 155 ตัว พบวาปลาหมอไทยมีความยาวเฉลี่ย 10 เซนติเมตร มี น้ําหนักเฉลี่ย 26.80 กรัม คาความสมบูรณของปลา (kn) เทากับ1.29 นั่นคือ ความสมบูรณของปลามีคา เกินมาตรฐาน (kn = 1) 29 เปอรเซ็นต ในป 2520 ดิเรก และ ทวีศักดิ์ (2520: 1-21) ศึกษาหา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาทรายขาว (Scolopsis taeniopterus) นอกฝง บริเวณชลบุรีในอาวไทยตอนใน (มิ.ย. 2513–พ.ค. 2514) โดยใชตัวอยางปลา 5,367 ตัว เปนเพศผู 380 ตัว เพศเมีย 4,987 ตัวนํามาหาสัดสวนความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวจาก สมการ W = CLn และเขียนกราฟแสดงความสัมพันธจากสมการ logW = logC + nlog L พบวา ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวของปลาทรายขาวมีการเบี่ยงเบนไปจากสมการและระหวาง เพศผูกับเพศเมียมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (P< 0.05) สุวีณา บานเย็น และ คนอื่น ๆ (2537: 1-15) ศึกษาอุปนิสัยการกินอาหารและสัดสวนความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก ของปลาที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจในบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค พบปลาชนิดที่มากกวา 10 ตัวขึ้นไป 11 ชนิด นํามาศึกษาสวนประกอบของอาหารในกระเพาะไดผลสอดคลองกับอัตราสวน ความยาวลําตัวกับความยาวลําไส ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักในรูปสมการยกกําลัง Wˆ = aLn และรูปสมการลอกการิทึม เปน logW = log a + nlog L เปรียบเทียบคา a ของปลา ระหวาง ปลาในบึงบอระเพ็ด กับปลาในอางเก็บน้ํากระเสียว พบวาคา a ของปลาในบึงบอระเพ็ดมีสูง กวาคา a ของปลาในอางเก็บน้ํากระเสียว แสดงวาปลาในบึงบอระเพ็ดมีความอุดมสมบูรณมากกวาปลา ในอางเก็บน้ํากระเสียว อนุพงษ สนิทชน และทิวารัตน เถลิงเกียรติลีลา (2548: 1-18) ศึกษาชีววิทยา 17

ของปลาสายยูในแมน้ําโขง จังหวัดหนองคาย และความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวปลา สายยู จํานวน 207 ตัว พบวาปลาสายยูมีความยาวอยูระหวาง 21.3–49.4 เซนติเมตร และมีความ ยาวเฉลี่ย 33.46±7.69 เซนติเมตร มีน้ําหนักอยูระหวาง 61–1,100 กรัม และมีน้ําหนักเฉลี่ย 303.58±187.58 กรัม เมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาว (L) และน้ําหนัก (W) ของปลา สายยูพบวามีคาสมการความสัมพันธระหวางความยาวลําตัวและน้ําหนักปลาโดยใชความสัมพันธ ระหวางความยาวและน้ําหนัก ของราวเซฟเฟล และ อีเวอรฮารด ในรูปสมการยกกําลัง Wˆ = aLb และรูปสมการลอกการิทึม เปน logW = loga + blog L พบวาเสนสมการที่คํานวณไดทั้งหมด มีระดับความเชื่อมั่นในการอธิบายความผันแปรตาม คือ น้ําหนักปลา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อพิจารณาถึงชุดขอมูลความสัมพันธระหวางน้ําหนักและความยาวปลาจะเห็นวาที่ขนาด ความยาวปลาที่เทากัน ปลาเพศผูและเพศเมียจะมีขนาดใกลเคียงกัน สมชาติ; อุมาภรณ; และ โกมุท. (สมชาติ ธรรมขันทา; อุมาภรณ จรดล; และ โกมุท อุนศรีสง. 2548: 48) ศึกษาชีววิทยาบาง ประการของปลามูดหนานอและศึกษาความสัมพันธ ระหวางความยาว (L) และน้ําหนักตัว (W) ของ ปลามูดหนานอทั้งหมด ตามสมการความสัมพันธดังนี้ W = 0.019 L 2.638 หรือ logW = -1.701+ 2.638log L, R2 = 0.847 (n = 192 และ p< 0.01) ความสัมพันธระหวางความ ยาวและน้ําหนักตัวของปลามูดหนานอเพศเมียมีสมการความสัมพันธดังนี้ W = 0.019 L 2.669 หรือ logW = -1.706 + 2.669log L, R2 = 0.885 (n = 98 และ p< 0.01) ความสัมพันธระหวางความ ยาวและน้ําหนักตัวของปลามูดหนานอเพศผู มีสมการความสัมพันธดังนี้ W = 0.018 L 2.629 หรือ logW = -1.727 + 2.629log L, R2 = 0.852 (n = 94 และ p< 0.01) บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษาคนควา 1. การกําหนดประชากรและการสุมตัวอยาง เลือกสุมตัวอยางและกําหนดตัวแทนประชากร เพื่อใชในการศึกษา ดําเนินตามขั้นตอนดังนี้ 1.1 สํารวจการแพรกระจายของปลาวงศ ไซไพรนิดี ในบริเวณลุมน้ํานาน 1.2 กําหนดตัวอยางปลาเพื่อเปนตัวแทนของประชากร จํานวน 8 ชนิด 1.3ดําเนินการเก็บรวบรวมตัวอยางของปลาในวงศไซไพรนิดี แยกชนิดและตัวอยาง ของปลา บันทึกขอมูล สถานที่เก็บ วัน เดือน ป ที่เก็บ และผูเก็บ จํานวน 8 ชนิด ๆ ละ 25 ตัว ตอเดือน จากแมน้ํานาน บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน ตั้งแตเดือนกันยายน 2549 – มีนาคม 2550 ทําการศึกษาที่หองปฏิบัติการพันธุศาสตร ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ตัวอยางปลา จํานวน 8 ชนิด คือ 1.ปลากระมัง Puntioplites proctozysron (Bleeker, 1865) 2. ปลาหนามหลังหรือปลาขี้ยอก Mystacoleucus marginatus (Valenciennes in Cuvier & Valenciennes, 1842) 3.ปลาตามิน Amblyrhynchichthys truncatus (Bleeker, 1851) 4. ปลาไสตันตาขาว Cyclocheilichthys repasson (Bleeker, 1853) 5. ปลาแกมช้ํา Puntius orphoides (Valenciennes in Cuvier & Valenciennes, 1842) 6.ปลาตะพาก Hypsibarbus wetmorei (Smith, 1931) 7.ปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota Kuhl & van Hasselt in van Hasselt, 1823 8.ปลากระแห Barbonymus schwanenfeldi (Bleeker, 1853) 1.4 ตัวอยางที่ใชในการตรวจสอบสปชีย (material specimens) จากกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ 1.4.1 ปลากระมัง เลขที่บัญชีปลา (catalog number) NIFI01196 จํานวน 2 ตัว ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 121 มิลลิเมตร เก็บตัวอยางโดย จรัลธาดา กรรณสูต จากแมน้ําโขง บาน หวยดอกไม อ.บึงกาฬ จ.หนองคาย NIFI00228 จํานวน 2 ตัว ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 140.84 มิลลิเมตร และ NIFI01557 จํานวน 6 ตัว ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 74.79 มิลลิเมตร เก็บตัวอยาง โดย ทรงพรรณ ล้ําเลิศเดชา จากเขื่อนอุบลรัตน จ.ขอนแกน 1.4.2 ปลาหนามหลัง เลขที่บัญชีปลา NIFI01049 จํานวน 3 ตัว ความยาว มาตรฐานเฉลี่ย 118.93 มิลลิเมตร เก็บตัวอยางโดย จรัลธาดา กรรณสูต จากน้ําวา แมน้ํานาน จ.นาน NIFI01049 จํานวน 3 ตัว ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 74.77 มิลลิเมตร เก็บตัวอยางโดย จรัลธาดา 18

กรรณสูต จากแมน้ําแควนอย เขตสรางเขื่อนเขาแหลม อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี NIFI2855 จํานวน 3 ตัว ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 90.76 มิลลิเมตร เก็บตัวอยางโดย จรัลธาดา กรรณสูต จาก เนินแตง 1.4.3 ปลาตามิน เลขที่บัญชีปลา NIFI00305 จํานวน 1 ตัว ความยาวมาตรฐาน 130.03 มิลลิเมตร เก็บตัวอยางโดย จีรวรรณ รัตนทวี จาก แมโขง จ.หนองคาย NIFI00306 จํานวน 4 ตัว ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 105.57 มิลลิเมตร จาก ขอนแกน สกลนคร อยุธยา นครสวรรค เก็บ ตัวอยางโดย ปรีชา เธียรเจริญ 1.4.4 ปลาไสตันตาขาว เลขที่บัญชีปลา NIFI127 จํานวน 7 ตัว ความยาวมาตรฐาน เฉลี่ย 104.71 มิลลิเมตร เก็บตัวอยางโดย โสภา อารีรัตน จากแมน้ํามูล จ.อุบลราชธานี 1.4.5 ปลาแกมช้ํา เลขที่บัญชีปลา NIFI00956 จํานวน 10 ตัว ความยาวมาตรฐาน เฉลี่ย 66.80 มิลลิเมตร เก็บตัวอยางโดย สมโภชน อัคคะทวีวัฒน จากฝายน้ํายวม อ.แมสะเรียง จ.แมฮองสอน NIFI00959 จํานวน 5 ตัว ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 63.56 มิลลิเมตร เก็บตัวอยางโดย สมโภชน อัคคะทวีวัฒน จากแมลาหลวง อ.แมลานอย จ.แมฮองสอน

19° 30´

19°

18° 30´

N

100° 30´ 101° 15’

ภาพประกอบ 2 แสดงตําแหนงที่เก็บตัวอยางของปลาวงศไซไพรนิดี ในลุมแมน้ํานาน อ.ภูเพียง จังหวัดนาน 1 = จุดเก็บที่ 1 ; 2 = จุดเก็บที่ 2 และ 3 = จุดเก็บที่ 3 19

2. อุปกรณและสารเคมีที่ใชในการศึกษา การศึกษาทางดานสัณฐานวิทยา ประกอบดวยอุปกรณและสารเคมีดังตอไปนี้ 1. บีกเกอร 2. แทงแกวคน 3. ไมบรรทัด 4.ปากคีบ 5. ชอนตักสาร 6. แวนขยาย 7. เครื่องชั่งละเอียด 8. คาลิปเปอรเวอรเนียร 9. เข็มเขี่ยขนาดเล็ก 10. ขวดใสปลาขนาดความจุประมาณ 1,000 ลิตร 11. กลองถายรูปดิจิตอล 12. เทอรโมมิเตอร 13. ปายกระดาษสําหรับกํากับตัวอยางปลา 14. น้ํายาฟอรมาลิน ความเขมขน 10 เปอรเซ็นต 15. น้ํากลั่น (distilled water) 16. เอทิลแอลกอฮอล 70 เปอรเซ็นต 17. สมุดจดบันทึกและปากกา 18. ใบบันทึกผลการนับวัดตัวอยางปลา (data sheet) 19. กลองจุลทรรศน 20. สวิงตักปลา และแห

3. วิธีดําเนินการวิจัย ดําเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน 1. การศึกษาภาคสนาม (field study) ดําเนินการ วัดอุณหภูมิน้ําทุกเดือนที่ทําการเก็บ ตัวอยางปลา 2. การเก็บตัวอยาง (collection of specimens) ปลาในภาคสนาม ดําเนินการเก็บตัวอยาง ปลาเดือนละ 1 ครั้ง ในชวงเดือนกันยายน พ.ศ.2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ.2550 โดยเก็บรวบรวม ตัวอยางปลาจากแมน้ํานาน โดยใชแห สวิงจับปลา และคัดเลือกตัวอยางชนิดละ 25 ตัว ตอเดือน จํานวน 8 ชนิด นําตัวอยางเก็บไวในฟอรมาลีน 10 เปอรเซ็นต ใชเวลาประมาณ 1 เดือน เพื่อศึกษาภายใน หองปฏิบัติการ ดําเนินการศึกษา 2 ดาน คือ การวัดขนาดของปลา นําตัวอยางที่เก็บไว มาวัดขนาด 20

ทั้งหมด 22 ลักษณะโดยใชเวอรเนียร ดิจิตอล รุน absolute digimatic และการนับจํานวนกานครีบ ทั้งหมด 5 ลักษณะ ของประชากรปลาไซไพรนิดี โดยดําเนินตามวิธีการของ ฮับส และ แลกเลอร (Hubbs & Lagler. 1967: 24 - 26) และดัดแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการของนากาโบ (Nagabo. 2002: XXiX - XXX) ดังนี้ 2.1การวัดขนาดปลา (morphometric measurements) โดยวัดขนาดของปลา ไซไพรนิดีนําตัวอยางที่เก็บไวใน ฟอรมาลิน 10 เปอรเซ็นตมาวัดขนาด ทั้งหมด 22 ลักษณะ ตาม ภาพประกอบ 2 2.1.1ความยาวมาตรฐาน (standard length หรือ SL) วัดจากปลายสุดของ ปากบนไปจนถึงกระดูกหางขอสุดทาย 2.1.2ความยาวเหยียด (total length หรือTL) วัดจากปลายสุดของปากบนไป จนถึงปลายสุดของแพนหาง 2.1.3ความยาวจะงอยปาก (snouth length หรือ SnL) วัดจากปลายสุดของ ปากดานบนไปจนถึงสวนหนาของลูกตา 2.1.4ความยาวเสนผานศูนยกลางตา (eye diameter หรือ ED) วัดจากขอบ ดานบนของตาไปยังขอบดานลาง หรือดานหนาสุดไปถึงสวนทายสุดของตา 2.1.5ความยาวสวนหัว (head length หรือ HL) วัดจากปลายสุดของปาก ดานบนไปจนถึงขอบกระดูกปดแกม (operculum) 2.1.6ความยาวกอนถึงครีบทวาร (preanal length หรือ PAL วัดจากปลาย สุดของปากดานบน ไปถึงชองเปดอวัยวะสืบพันธุ 2.1.7ความยาวสวนหนาของครีบทวาร (preanal fin length หรือ PAFL) วัด จากปลายสุดของปากดานบนไปถึงจุดเริ่มตนของครีบทวาร 2.1.8ความยาวสวนหนาของครีบหลัง (predorsal fin length หรือ PDFL) วัด จากปลายสุดของปากดานบน ไปถึงจุดเริ่มตนของฐานครีบหลัง 2.1.9ความยาวสวนหนาของครีบทอง (prepelvic fin length หรือ PpelFL) วัดจากปลายสุดของปากดานบนไปถึงจุดเริ่มตนของฐานครีบทอง 2.1.10 ความยาวของฐานครีบหลัง (length of dorsal fin base หรือ LDFB) วัดจากจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงจุดสุดทายของครีบหลัง 2.1.11 ความยาวของฐานครีบทวาร (length of anal fin base หรือ LAFB) วัดจากจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงจุดสุดทายของครีบหาง 2.1.12 ความยาวของครีบอก (pectoral fin length หรือ PL) วัดจากจุดเริ่มตน ของครีบอกถึงจุดสุดทายของครีบอก 2.1.13 ความยาวของครีบทอง (pelvic fin length หรือ PelL) วัดจาก จุดเริ่มตนของครีบทองถึงปลายกานครีบทอง 21

2.1.14 ความกวางของคอดหาง (caudal peduncle depth หรือ CPD) วัดจาก ขอบดานบนของคอดหางลงมาตั้งฉากกับขอบดานลางของคอดหาง 2.1.15 ความยาวของคอดหาง (caudal peduncle length หรือ CPL) วัดจาก จุดสุดทายของครีบทวาร ถึงกลางฐานของครีบหาง 2.1.16 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง (body depth at anterior dorsal fin ray หรือ BD1) วัดจากจุดเริ่มตนของฐานครีบหลังตั้งฉากกับดานลางของลําตัว 2.1.17 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร (body depth at anterior anal fin ray (BD2) วัดจากจุดเริ่มตนของครีบทวารตั้งฉากกับดานบนของลําตัว 2.1.18 ความยาวของครีบทวาร (anal fin length หรือ AFL) วัดจาก จุดเริ่มตนของครีบทวารถึงปลายกานครีบทวาร 2.1.19 ความยาวของครีบหลัง (dorsal fin length หรือ DFL) วัดจาก จุดเริ่มตนของครีบหลังถึงปลายกานของครีบหลัง 2.1.20 ความยาวสวนหนาของครีบอก (prepectoral fin length หรือ PPL) วัด จากปลายสุดของปากดานบน ไปถึงจุดเริ่มตนของฐานครีบอก 2.1.21 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง (dorsal fin origin to caudal fin base หรือ DFO-CFB) วัดจากจุดเริ่มตนของครีบหลังไปถึงจุดเริ่มตนของ ครีบหาง 2.1.22 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง (anal fin origin to caudal fin base หรือ AFO-CFB) วัดจากจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงจุดเริ่มตนของครีบหาง 2.2การนับจํานวนกานครีบของตัวอยาง (meristic counts) ศึกษาโดยนับจํานวน กานครีบของตัวอยาง ดังนี้ 2.2.1จํานวนกานครีบหลัง (dorsal fin ray number หรือ DFR) นับตั้งแตกาน ครีบแรกจนถึงกานครีบสุดทาย 2.2.2จํานวนกานครีบทวาร (anal fin ray หรือ AFR) นับตั้งแตกานครีบแรก จนถึงกานครีบสุดทาย 2.2.3จํานวนกานครีบอก (pectoral fin ray หรือ PFR) นับตั้งแตกานครีบ แรกจนถึงกานครีบสุดทาย 2.2.4จํานวนกานครีบทอง (pelvic fin ray number หรือ PelFR) นับตั้งแต กานครีบแรก จนถึงกานครีบสุดทาย 2.2.5ครีบหาง นับจํานวนกานครีบดังนี้ 1)จํานวนกานครีบของฐานดานบน (upper caudal fin ray number หรือ upper CFR) หมายถึง จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 2)จํานวนกานครีบของฐานดานลาง (lower caudal fin ray number หรือ lower CFR) หมายถึง จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 22

ภาพประกอบ 3 แสดงลักษณะตางๆ ที่วัดขนาดของปลาวงศไซไพรนิดี ประกอบดวย 1 = ความยาวมาตรฐาน (SL) 12= ความยาวของฐานครีบทวาร (LAFB) 2 = ความยาวเหยียด (TL) 13= ความยาวของครีบอก (PL) 3 = ความยาวจะงอยปาก (SnL) 14 = ความยาวของครีบทอง (PelL) 4 = ความยาวเสนผานศูนยกลางตา (ED) 15 = ความยาวของครีบทวาร (AFL) 5 = ความยาวสวนหัว (HL) 16= ความยาวของครีบหลัง (DFL) 6 = ความยาวสวนหนาของครีบอก (PPL) 17 = ความกวางของคอดหาง (CPD) 7 = ความยาวกอนถึงครีบทวาร (PAL) 18 = ความยาวของคอดหาง (CPL) 8 = ความยาวสวนหนาของครีบทวาร (PAFL) 19 = ความลึกของลําตัวสวนหนาครีบทวาร (BD2) 9 = ความยาวสวนหนาของครีบหลัง (PDFL) 20 = ความลึกของลําตัวสวนหนาครีบหลัง (BD1) 10 = ความยาวสวนหนาของครีบทอง (PpelFL) 21 = ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลัง ถึงฐานของครีบหาง (DFO-CFB) 11 = ความยาวของฐานครีบหลัง (LDFB) 22 = ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวาร ถึงฐานของครีบหาง (AFO-CFB) 23

3. ศึกษาความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนัก (Weight - length relationships) ของปลา แลกเลอร (lagler. 1952: 159 -176 ) โดยใชสมการดังตอไปนี้

Wˆ = aLb

กําหนดให

Wˆ = น้ําหนักตัวปลาเปนกรัม L = ความยาวเปนเซนติเมตร a = คาคงที่ b = คายกกําลัง หมายเหตุ: กําหนดปลาอวนมีสมการ Wˆ = Ln จากสมการสามารถหาคํานวณคาความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักใหอยูในรูปของสมการ เสนตรงได โดยใชลอกกาลิทึมในการหาคา เพื่อความงายและสะดวกในการหาคาตาง ๆ และการ เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ โดยใชสมการ

Log 10 W = Log10 a + nLog10 L กําหนดให LogW = Y Log a = a LogL = X n = b เพราะฉะนั้น Y = a + bX สามารถหาคาของ Loga หรือ a และ n หรือ b ได โดยวิธีการกําหนดเสนตรงจากลอกกาลิทึมของ L และ W โดยวิธีกําลังนอยที่สุด (Least Square method) จากสูตร Y = a + bx a = Y - bx b = å XY - å X åY / n å X 2 - (å X ) 2 / n แทนคา Loga และ n ลงในสมการ แลวจะทําใหเราไดสมการความสัมพันธระหวางความยาวและ น้ําหนักนั่นเอง 4.การวิเคราะหขอมูลทางดานลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลา โดยใช โปรแกรมคอมพิวเตอร SPSS บทที่ 4 ผลการทดลอง

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาในวงศไซไพรนิดี 1. ลักษณะปลากระมัง Puntioplites proctozysron ในลุมแมน้ํานาน

5 cm.

ภาพประกอบ 4 ปลากระมัง เก็บจากแมน้ํานาน อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน ชื่อพอง (synonym): Puntius proctozysron, Puntius (Puntius) proctozysron Bleeker, 1865 Barbus (Puntius) proctozysron von Martens, 1876, Puntius proctozysron Sauvage, 1881 Barbus proctozysron Weber & de Beaufort, 1916, Puntius smithi Hora, 1923 Puntius proctozysron Smith, 1927; 1929, Puntius falcifer Smith, 1929 Puntioplites proctozysron Chevey, 1932, Barbus proctozysron Fowler, 1934; 1935 Puntioplites proctozysron Fowler, 1937; 1939, Puntioplites proctozysron Smith, 1945

ชื่อสามัญไทย: ปลากระมัง ปลาวี ปลาเหลี่ยม ชื่อพื้นเมือง: ปลากะบาล ปลาเหลี่ยม การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) พบวา ปลากระมังมีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 9.75-18.30 เซนติเมตร เฉลี่ย 13.01±1.77 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 17.49- 35.81 %HL เฉลี่ย 27.91±3.79 เซนติเมตร ความยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของ ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 23.75-45.58 %HL เฉลี่ย 36.56±3.29 %HL ความยาวของลักษณะทาง สัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 123.19-153.64 %SLเฉลี่ย 134.73±5.09 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 23.79-37.37 %SL เฉลี่ย 27.24±1.53 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 63.22-71.79 %SL เฉลี่ย 67.16±1.48 26

%SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 67.52-99.82 %SL เฉลี่ย 71.22±3.40 %SL ความ ยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 52.36-82.54 %SL เฉลี่ย 58.29±3.23 %SL ความยาวสวนหนา ของครีบทองอยูระหวาง 40.11-50.28 %SL เฉลี่ย 47.20±1.41%SL ความยาวของฐานครีบหลังอยู ระหวาง 13.28–27.60 %SL เฉลี่ย 20.76±1.91 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 10.65- 20.85 %SL เฉลี่ย 17.03±1.54 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 11.81–30 %SL เฉลี่ย 21.78±2.12 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 14.17-31.93 %SL เฉลี่ย 22.34±1.98 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 10.03-33.52 %SL เฉลี่ย 14.59±2.36 %SL ความยาวของคอด หางอยูระหวาง 10.30-21.31 %SL เฉลี่ย 13.93±1.83 %SL ความลึกของลําตัว (วัดจากหนาครีบ หลัง)อยูระหวาง 22.69-45.96 %SL เฉลี่ย 32.92±2.71 %SL ความลึกของลําตัว (วัดจากหนาครีบ ทวาร)อยูระหวาง 33.24-54.91 %SL เฉลี่ย 43.47±2.81 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 16.25-35.44 %SL เฉลี่ย 26.08±2.68 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 27.15-45.18 %SL เฉลี่ย 32.94±3.11 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอก 20.55–36.32 %SL เฉลี่ย 28.12±1.76 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 16.39–66.93 %SL เฉลี่ย 49.31±4.55 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 23.69- 41.23 %SL เฉลี่ย 30.17±2.28 %SL (ตาราง1) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 1 มีจํานวนกานครีบหลัง 11-12 กาน เฉลี่ย 11.22±0.42 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8-9 กาน ครีบ ทวารมีจํานวนกานครีบ 8-10 กาน เฉลี่ย 8.49±0.74 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กาน ครีบออน 5-7 กาน กานครีบอกมีจํานวนกานครีบ 15-17 กาน เฉลี่ย 16.30±0.59 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 14-16 กาน กานครีบทองมีจํานวนกานครีบ 9-10 กาน เฉลี่ย 9.81±0.39 ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐาน ดานบนของครีบหางมีจํานวนกานครีบ 9 กาน เฉลี่ย 9 และจํานวนกานครีบของฐานดานลางของ ครีบหางมีจํานวนกานครีบ 8-9 กาน เฉลี่ย 8.03±0.18 (ตาราง 1) คุณสมบัติของแหลงน้ําและอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส หมายเหตุ: สมิธ (Smith, 1945) จัดปลากระมังอยูในวงศยอยไซไพรนอยดี (Cyprinoidei) กลุม ปลาตะโกก และ สมิธไดรายงานวาปลากระมังมีการแพรกระจายอยูทั่วทุกภาคของประเทศไทย และมี ขนาดความยาว 22.5 เซนติเมตร สมศักดิ์ เจนศิริศักดิ์ (2515: 22-32) กลาววา ปลาชนิดนี้พบมากใน ประเทศไทย กัมพูชา พมา และลาว สําหรับประเทศไทย พบทั่วไปในแมน้ํา ลําคลอง เชน แมน้ําปง แมน้ําโขง แมน้ํามูล ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย 17.8 เซนติเมตรคอทเทลลาท (Kottelat. 2001: 72) กลาว วา พบปลาชนิดนี้ในลุมแมน้ําโขง ลาว ไทย เวียดนาม ลุมแมน้ําเจาพระยา มาเลเซีย แมน้ําเพนนินสุลา (peninsula) และพบในแมน้ําสายใหญ ๆ ที่ไหลชา ๆ มีความยาวมาตรฐาน 60–150 มิลลิเมตร ขนาด ลําตัวที่พบยาวที่สุด มีความยาว 210 มิลลิเมตร ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพิษณุโลก (2549: 51) รายงานวา พบปลาชนิดนี้มีการแพรกระจายในแมน้ําแควนอยแมน้ํานาน แมน้ํายม 27

2. ลักษณะปลาหนามหลัง Mystacoleucus marginatus ในลุมแมน้ํานาน

5 cm.

ภาพประกอบ 5 ปลาหนามหลัง เก็บจากแมน้ํานาน อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ชื่อพอง (synonym): Mystacoleucus chilopterus Barbus marginatus Cuvier & Valenciennes, 1842; Mystacoleucus marginatus Smith, 1931;1945 Mystacoleucus marginatus Fowler, 1934; 1935; 1937; 1939 ชื่อสามัญไทย: ปลาหนามหลัง ปลาขี้ยอก ปลาหนามบี้ และปลาหญา ชื่อพื้นเมือง: ปลาปก

การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) พบวา ปลาหนามหลังมีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 3.60–13.50 เซนติเมตร เฉลี่ย 9.27±1.61 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 18.05–38.25 %HL เฉลี่ย 25.80±3.14 ความยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของ ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 16.32–83.33 %HL เฉลี่ย 38.85±4.35 %HL ความยาวของลักษณะ ทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยู ระหวาง 108.89–205.56 %SL เฉลี่ย 129±6.70 %SL ความยาวสวนอยูระหวาง 18.44–37.78 %SL เฉลี่ย 23.43±1.63 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 55.48–83.06 %SL เฉลี่ย 69.80±2.67 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 59.04-86.11 %SL เฉลี่ย 72.04±2.57 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 41.33–77.78 %SL เฉลี่ย 51.79±3.08 %SL ความ ยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 25.06–76.94 %SL เฉลี่ย 49.09±3.36 %SL ความยาวของฐาน ครีบหลังอยูระหวาง 11.32–25.83 %SL เฉลี่ย 16.32±1.57 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยู ระหวาง 8.26–22.22 %SL เฉลี่ย 13.87±1.64 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 13.78–31.67 %SL เฉลี่ย 19.84±1.77 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 13.58–30.56 %SL เฉลี่ย 18.91±1.73 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 9.96–24.87 %SL เฉลี่ย 13.39±8.10 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 10.37–28.06 %SL เฉลี่ย 15.50 ±2.14 %SL ความลึกของลําตัว 28

สวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 11.69–43.89 %SL เฉลี่ย 27.27±2.78 %SL ความลึกของลําตัวสวน หนาครีบทวารอยูระหวาง 25.39–58.61 %SL เฉลี่ย 37.07±3.14 %SL ความยาวของครีบทวารอยู ระหวาง 12.94–29.63 %SL เฉลี่ย 17.32±2.41 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 14.32– 41.11 %SL เฉลี่ย 24.43±2.59 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 6.35–86.56 %SL เฉลี่ย 25.16±4.76 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 22.91–80 %SL เฉลี่ย 51.57±4.44 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบ หางอยูระหวาง 21.33–72.10 %SL เฉลี่ย 28.63±4.10 %SL (ตาราง 2) และผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 2 ครีบหลังมีจํานวนกาน ครีบ 11-12 กาน เฉลี่ย 11.82±0.38 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3-4 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบทวาร 11-12 กาน เฉลี่ย 11.85±0.36 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8-9 กาน กานครีบอก 12-15 กาน เฉลี่ย 14.93±0.30 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กาน ครีบออน 11-14 กาน กานครีบทอง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กาน ครีบออน 8 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 7-9 กาน เฉลี่ย 8.81±0.42 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 7-9 กาน เฉลี่ย 7.99±0.15 กาน (ตาราง 2) คุณสมบัติของแหลงน้ําและอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส หมายเหตุ: สมิธ (Smith, 1945) จัดปลาหนามหลังอยูในวงศยอยไซไพรนอยดี (Cyprinoidei) กลุมปลาตะโกก คอทเทลลาท (Kottelat. 2001: 61) กลาววา พบปลาชนิดนี้ในลุมแมน้ําโขง ลุมแมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําแมกลอง ซันดาแลน และพบในแมน้ําที่ไหล มีความยาวมาตรฐาน 150 มิลลิเมตร นฤชิต เสาวคนธ (2548: 90) รายงานวาพบปลาหนามหลังชุกชุมในบริเวณลุมน้ํา จ.สุโขทัย ลงมาจนถึง จ.นครสวรรค นอกจากนี้ยังพบแพรกระจายในลุมน้ําแมกลอง ลุมแมน้ํา เจาพระยา และลุมแมน้ําโขง ตลอดจนลุมน้ําทางภาคใต ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพิษณุโลก (2549: 50) รายงานวาปลาชนิดนี้มีการแพรกระจายในแมน้ําแควนอย แมน้ําวังทอง คลองชมพู แม น้ําเข็ก มีความยาวมาตรฐาน 53.5 เซนติเมตร 29

3. ลักษณะปลาตามิน Amblyrhynchichthys truncatus ในลุมแมน้ํานาน

5 cm.

ภาพประกอบ 6 ปลาตามิน เก็บจากแมน้ํานาน อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ชื่อพอง (synonym): Amblyrhynchichthys micracanthus, Barbus truncatus Bleeker, 1851; Amblyrhynchichthys truncates Bleeker, 1865; Sauvage, 1883; Weber and de Beaufort, 1961; Hora, 1923; Fowler, 1934; Smith, 1945; Taki, 1974; Roberts, 1989; ชื่อสามัญไทย: ปลาตามิน ปลาตาเหลือก ปลาถลน ปลาถลุน ปลาตาหมิ่น ชื่อพื้นเมือง: ปลาตาโจก ปลาตาโจ

การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) พบวา ปลาตามินมีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 10.49-19.50 เซนติเมตร เฉลี่ย 14.05±1.73 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 13.59–21.13 %HL เฉลี่ย 17.70±1.98 %HL ความยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวอยู ระหวาง 26.29–42.86 %HL เฉลี่ย 32.84±4.18 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับ เปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 102.29–130.50 %SL เฉลี่ย 126.37±5.83 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 21.85–24.50 %SL เฉลี่ย 23.39±0.59 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 66.61–73.35 %SL เฉลี่ย 68.62±1.61 %SL ความยาวสวน หนาของครีบทวารอยูระหวาง 67.71–75.63 %SL เฉลี่ย 73.30±1.61 %SL ความยาวสวนหนาของครีบ หลังอยูระหวาง 46.21–67.84 %SL เฉลี่ย 48.89±4.29 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยู ระหวาง 44.60–48.82 %SL เฉลี่ย 46.81±1.23 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 14.21– 16.90 %SL เฉลี่ย 15.36±0.61 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 8.47–11.13 %SL เฉลี่ย 9.68±0.70 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 10.38–20.37 %SL เฉลี่ย 18.48±1.97 %SL ความ ยาวของครีบทองอยูระหวาง 17.69–21.35 %SL เฉลี่ย 19.78±1.04 %SL ความกวางของคอดหางอยู 30

ระหวาง 10.32–12.55 %SL เฉลี่ย 11.63±0.42 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง11.54–18.06 %SL เฉลี่ย 14.84±1.42 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง14.54–24.84 %SL เฉลี่ย 21.07±1.91 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบทวารอยูระหวาง 27.82–34.05 %SL เฉลี่ย 29.58±1.74 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 13.62–19.57 %SL เฉลี่ย 16.86±1.37 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 21.35–33.27 %SLเฉลี่ย 29.60±2.46 %SL ความ ยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 20.62–25.46 %SL เฉลี่ย24.49±1.04 %SL ความยาวระหวาง จุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 36.92–53.19 %SL เฉลี่ย 50.33±3.60 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 16.03–28.30 %SL เฉลี่ย 24.38±2.48 %SL (ตาราง 3) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 3 ครีบหลังมีจํานวนกาน ครีบ 10-11 กาน เฉลี่ย10.82±0.40 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 7-8 กาน กานครีบทวาร 8 กานเฉลี่ย 8 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กาน ครีบอก 16-17 กาน เฉลี่ย 16.23±0.42 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 15- 16 กาน ครีบทอง9-10 กาน เฉลี่ย 9.95±0.21 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบ ออน 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กานจํานวนกานครีบ ของฐานดานลางของครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 3) คุณสมบัติของแหลงน้ําและอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส หมายเหตุ: สมิธ (Smith, 1945) จัดปลาตามินอยูในวงศยอยไซไพรนอยดี (Cyprinoidei) กลุมปลาตะโกก คอทเทลลาท (Kottelat: 2001: 38-39) กลาววา พบปลาชนิดนี้ในลุมแมน้ําโขง พบที่ กัมพูชา ลาว ประเทศไทย พบแพรกระจายในลุมแมน้ําเจาพระยา เพนนินสุลา บอรเนียว เกาะสุมาตรา มีความยาวมาตรฐาน 300 มิลลิเมตร นฤชิต เสาวคนธ (2548: 17) รายงานวาพบปลาตามินมีการ แพรกระจายบริเวณหวยแหง อ.ดานชาง หวยชะลอมกับหวยกระเสียว ปากหวยทาเดื่อ บานทุงใหญ ปากหวยแหง บานทาปลารา ปากหวยทาเดื่อ บานทับกระดาษ ความยาวมาตรฐาน 60.90-108.90 มิลลิเมตร ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพิษณุโลก (2549: 47) รายงานวาปลาชนิดนี้มีการ แพรกระจายในแมน้ํายม ต.วังอีทก อ.บางระกํา แมน้ํานาน ต.ปากโทก อ.เมือง จ.พิษณุโลก แมน้ําวัง ทอง ต.วังทอง ต.ไชยนาม อ.วังทอง จ.พิษณุโลก มีความยาวมาตรฐาน 15 เซนติเมตร 31

4. ลักษณะปลาไสตันตาขาว Cyclocheilichthys repasson ในลุมแมน้ํานาน

5 cm.

ภาพประกอบ 7 ปลาไสตันตาขาว เก็บจากแมน้ํานาน อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ชื่อพอง (synonym): Barbus repasson Bleeker, 1853; Cyclocheilichthys repasson Weber and de Beaufort, 1916; Fowler, 1937; Smith, 1945; Taki,1974; Sontirat, 1976; Kottelat, 1989; Roberts, 1989; Zakaria-Iamail, 1990; Rainboth, 1996; Doi, 1997; Kottelat, 1998

ชื่อสามัญไทย: ปลาตะโกก ปลาไสตันตาขาว ปลาสรอย ปลาสรอยนกเขา ชื่อพื้นเมือง: ปลาจอก การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาจากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) พบวาปลาไสตันตาขาวมีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 5.70-19.40 เซนติเมตร เฉลี่ย 12.05±2.14 เซนติเมตรความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 9.66– 42.86 %HL เฉลี่ย 32.42±3.834 %HL ความยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความ ยาวสวนหัวอยูระหวาง 24.58–84.83 %HL เฉลี่ย 32.03±4.94 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐาน เทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 97.72– 145.31 %SL เฉลี่ย 127.79±4.02 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 20.57–33.45 %SL เฉลี่ย 25.78±1.24 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 58.48–74.12 %SL เฉลี่ย 68.22±2.07 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 61.52–79.10 %SL เฉลี่ย 72.75±2.63 %SL ความยาว สวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 46.75–76.43 %SL เฉลี่ย 55.02±3.44 %SL ความยาวสวนหนา ของครีบทองอยูระหวาง 20.26–54.47 %SL เฉลี่ย 47.33±4.16 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยู ระหวาง 11.31–47.05 %SL เฉลี่ย 15.73±2.61 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 8.20– 28.25 %SL เฉลี่ย 10.37±2.54 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 10.32–24.35 %SL เฉลี่ย 20.22±1.30 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 13.09–29.46 %SL เฉลี่ย 20.72 ±1.34 %SL 32

ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 10.44–18.18 %SL เฉลี่ย 12.04±0.89 %SL ความยาวของคอด หางอยูระหวาง 10.48–20.24 %SL เฉลี่ย 15.51±1.50 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบ หลังอยูระหวาง 17.49–27.57 %SL เฉลี่ย 20.89±1.12 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบ ทวารอยูระหวาง 20.62–45.10 %SL เฉลี่ย 31.47±2.05 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 11.42–28.15 %SL เฉลี่ย 19.68±1.59 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 21.83–34.59 %SL เฉลี่ย 26.68±1.95 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 24.91–32.08 %SL เฉลี่ย 27.39±1.12 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 36.74– 58.69 %SL เฉลี่ย 47.78±2.92 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยู ระหวาง 21.27–36.52 %SL เฉลี่ย 24.99±1.90 %SL (ตาราง 4) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 4 ครีบหลังมีจํานวนกาน ครีบ 11-12 กาน เฉลี่ย 11.96±0.19 กานประกอบดวยกานครีบแข็ง 3-4 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบทวาร 8 กาน เฉลี่ย 8 กานประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กาน ครีบอก 16-18 กาน เฉลี่ย 17.13±0.82 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 15- 17 กาน กานครีบทอง 9-10 กาน เฉลี่ย 9.93±0.25 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กาน ครีบออน 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 8-9 กาน เฉลี่ย 8.98±0.14 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 7-9 กาน เฉลี่ย 8±0.10 กาน (ตาราง 4) คุณสมบัติของแหลงน้ําและอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส หมายเหตุ: สมิธ (Smith, 1945) จัดปลาไสตันตาขาว อยูในวงศยอยไซไพรนอยดี (Cyprinoidei) กลุมปลาตะโกก ธงชัย จําปาศรี (2542: 107) กลาววา ปลาชนิดนี้แพรกระจายบริเวณ จ.แพร จ.สุโขทัย จ.พิษณุโลก จ.พิจิตร และ จ.นครสวรรค และยังพบในลุมแมน้ําโขง ลุมแมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําแมกลอง ตลอดจนลุมน้ําทางภาคใต คอทเทลลาท (Kottelat. 2001: 45) กลาววา พบปลา ชนิดนี้ในลุมแมน้ําโขง พบที่กัมพูชา ลาว ประเทศไทย พบแพรกระจายในลุมแมน้ําเจาพระยา ซันดา แลน ความยาวมาตรฐาน 230 มิลลิเมตร ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพิษณุโลก (2549: 47) รายงานวาปลาชนิดนี้มีการแพรกระจายในแมน้ํายม แมน้ํานาน ปลาชนิดนี้มีการแพรกระจายใน แมน้ําแควนอย แมน้ําวังทอง คลองชมพู แมน้ําเข็ก มีความยาวมาตรฐาน 18.0 เซนติเมตร 33

5. ลักษณะปลาแกมช้ํา Puntius orphoides ในลุมแมน้ํานาน

5 cm.

ภาพประกอบ 8 ปลาแกมช้ํา เก็บจากแมน้ํานาน อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ชื่อพอง (synonym): Puntius simus, Barbus orphoides, Barbus orphoides Valenciennes in Cuvier and Valenciennes, 1842; Fowler, 1934; 1937; Puntius orphoides Weber and de Beufort, 1916; Fowler, 1939; Smith, 1945; Taki, 1974; Kottelat, 1989; Doi,1997; Kottelat, 2001; Systomus orphoides Rainboth, 1996 ชื่อสามัญไทย: ปลาแกมช้ํา ปลาลาบก ปลาหัวสมอ ปลามุก ปลาซาปก ชื่อพื้นเมือง: ปลาปก การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) และการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) พบวาปลาแกมช้ํา มีความยาว มาตรฐานอยูระหวาง 6.14-13.11 เซนติเมตร เฉลี่ย 9.56±1.99 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปาก เทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) 20–31.96 %HL เฉลี่ย 25.13±2.89 %HL ความ ยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) 27.67–52.45 เฉลี่ย 32.54±5.36 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 116.13–129.67 %SL เฉลี่ย 124.93±3.91 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 23.90–28.60 %SL เฉลี่ย 26.09±1.10 %SL ความยาวกอนครีบทวาร อยูระหวาง 58.91–72.82 %SL เฉลี่ย 70.53±3.11 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยู ระหวาง 61.76–75.59 %SL เฉลี่ย 73.15±3.17 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 38.44–56.52 %SL เฉลี่ย 52.30±3.80 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 48.13– 55.17 %SL เฉลี่ย 50.73±1.83 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 12.38–16.70 %SL เฉลี่ย 14.33±1.21 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 8.01–10.59 %SL เฉลี่ย 9.30±0.66 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 18.84–22.69 %SL เฉลี่ย 20.32±0.97 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 11.92–20.43 %SL เฉลี่ย 17.90±1.81 %SL ความกวางของคอด 34

หางอยูระหวาง 7.82–15.79 %SL เฉลี่ย 13.54±1.61 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 14.84–20.24 %SL เฉลี่ย 17.71±1.48 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 20.06–27.57 %SL เฉลี่ย 23.80±1.73 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบทวารอยู ระหวาง 31.14–41.08 %SL เฉลี่ย 34.48±2.56 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 14.34– 17.77 %SL เฉลี่ย 16.17±1.01 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 22.12–26.66 %SLเฉลี่ย 23.66±1.36 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 24.43–28.07 %SL เฉลี่ย 26.40±1 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 39.78–52.33 %SL เฉลี่ย 47.51±3.26 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 21.96–29.35 %SL เฉลี่ย 26.75±2.01 %SL (ตาราง 5) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 5 ครีบหลังมีจํานวนกานครีบ 11 กาน เฉลี่ย 11 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบทวาร 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กานครีบอก 13-15 กาน เฉลี่ย 14.78±0.55 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 12-14กาน กานครีบทอง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 8 กาน จํานวนกานครีบของ ฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 5) คุณสมบัติของแหลงน้ําและอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส หมายเหตุ: สมิธ (Smith, 1945) จัดปลาแกมช้ํา อยูในวงศยอยไซไพรนอยดี (Cyprinoidei) กลุมปลาสรอย และรายงานวาปลาชนิดนี้มีการแพรกระจายทั่วไป ในประเทศไทย มาเลเซีย สุมาตรา และบอรเนียว ในประเทศไทย พบตามแมน้ําหลายสาย ไดแก แมน้ําตาป แมน้ําแมกลอง แมน้ําทาจัน แมน้ําเจาพระยา แมน้ํามูล และแมน้ํากก คอทเทลลาท (Kottelat. 2001: 74) กลาววา พบปลาชนิดนี้ ในลุมแมน้ําโขง พบที่กัมพูชา ลาว ประเทศไทย พบแพรกระจายในลุมแมน้ําเจาพระยา มีความยาว มาตรฐาน 200 มิลลิเมตร ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพิษณุโลก (2549: 56) รายงานวาปลาชนิด นี้มีการแพรกระจายในแมน้ําแควนอย แมน้ําวังทอง คลองชมพู แมน้ําเข็ก มีความยาวมาตรฐาน 15.0 เซนติเมตร 35

6. ลักษณะปลาตะพาก Hypsibarbus wetmorei ในลุมแมน้ํานาน

5 cm.

ภาพประกอบ 9 ปลาตะพาก เก็บจากแมน้ํานาน อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ชื่อพอง(synonym): Hypsibarbus daruphani, Barbus goniosoma Duncker (not Bleeker), 1904:178 (Pahang Basin, Kuala Lipis).Puntius wetmorei Smith, 1931: Puntius (Barbodes) daruphani Smith, 1934: Puntius daruphani Smith 1945: Barbus daruphani Fowler 1937: Puntius daruphani tweediei Menon 1954: Barbus binotatus Fowler 1934: Barbus beasleyi Fowler 1937: Puntius beasleyi Smith 1945: Lissochilus annamensis Mai 1978 ชื่อสามัญไทย: ปลาตะพาก ปลาปก ปลากระพาก ชื่อพื้นเมือง: ปลาสะปาก การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) และการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) พบวาปลาตะพาก มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 8.10–20.80 เซนติเมตร เฉลี่ย 12.42±2.80 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นต ของความยาวสวนหัว (%HL) 9.95–34.48 %HL เฉลี่ย 27.47±3.08 %HL ความยาวเสนผาน ศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวอยูระหวาง 23.89–42.79 %HL เฉลี่ย 34.96±3.85 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 121.02–152.44 %SL เฉลี่ย 129.80±4.73 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 21.20–27.30 %SL เฉลี่ย 23.99±1.35 %SL ความยาวกอนครีบทวาร อยูระหวาง 64.36–78.32 %SL เฉลี่ย 71.80±2.40 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยู ระหวาง 68–81.79 %SL เฉลี่ย 74.32±2.25 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 44.70–60.08 %SL เฉลี่ย 54.86±2.69 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 46.78– 36

57.02 %SL เฉลี่ย 50.93±2.18 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 12.95–23.26 %SL เฉลี่ย 15.27±1.49 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 2.67–21.20 %SL เฉลี่ย 10.35±2.94 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 16.99–27.14 %SL เฉลี่ย 21.23±1.74 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 17.17–24.43 %SL เฉลี่ย 20.04±1.52 %SL ความกวางของคอด หางอยูระหวาง 5.12–19.64 %SL เฉลี่ย 13.14±1.80 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 11.16–18.59 %SL เฉลี่ย 14.85±1.50 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 14.85–33.62 %SL เฉลี่ย 24.73±3.17 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบทวารอยู ระหวาง 26.78–44.73 %SL เฉลี่ย 36.39±3.04 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 15.63– 25.32 %SL เฉลี่ย 19.76±1.88 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 12.63–33.66 %SL เฉลี่ย 25.57±2.81 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 22.91–30.73 %SL เฉลี่ย 25.41±1.59 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 42.29–55.07 %SL เฉลี่ย 47.66±2.89 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 17.53–30.28 %SL เฉลี่ย 24.26±2.11 %SL (ตาราง 6) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 6 ครีบหลังมีจํานวนกาน ครีบ 11 กาน เฉลี่ย 11 กานประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบทวาร 8 กาน เฉลี่ย 8 กานประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5กาน กานครีบอก 15-17 กาน เฉลี่ย 15.58±0.62 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 14-16 กาน กานครีบทอง 8-9 กาน เฉลี่ย 8.79±0.41 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 7-8กาน จํานวน กานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของ ครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 6) คุณสมบัติของแหลงน้ําและอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส หมายเหตุ: สมิธ (Smith, 1945) จัดปลาตะพาก อยูในวงศยอยไซไพรนอยดี (Cyprinoidei) กลุมปลาตะโกก คอทเทลลาท (Kottelat. 2001: 57) กลาววา พบปลาชนิดนี้ในลุมแมน้ําโขง พบที่ ลาว ประเทศไทย พบแพรกระจายในลุมแมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําแมกลอง เพนนินสุลา มีความยาว มาตรฐาน 200 มิลลิเมตร ธงชัย จําปาศรี (2542: 107) กลาววา ปลาชนิดนี้แพรกระจายบริเวณ จ.แพร ลงมาจนถึง จ.พิษณุโลก นอกจากนี้ยังพบวามีการแพรกระจายอยูทั่วไป 37

7. ลักษณะปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota ในลุมแมน้ํานาน

5 cm.

ภาพประกอบ 10 ปลากระสูบขีด เก็บจากแมน้ํานาน อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ชื่อพอง (synonym): Barbus (Hampala) hampala, Hampala macrolepidota van Hasselt, 1823; Bleeker, 1860; 1863; 1865; Sauvage, 1881; 1883; Fowler, 1905, Weber and de Besufort; 1916, Hora, 1923, Capoeta macrolepidota Cuvier and Valenciennes; 1982, Bleeker, 1849, 1850; Canton, 1850; Balbus hampala Gunther, 1868; Popta, 1904-1905 Bulbus (Hampala) hampal von Mastens, 1876; Bulbus macrolepidota Day, 1878-1888

ชื่อสามัญไทย: ปลากะสูบบั้ง ปลาสูด ปลากระสูบขีด ชื่อพื้นเมือง: ปลาสิก ปลาบั้ง การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurements) และการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) พบวา ปลากระสูบขีด มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 8.94–20.80 เซนติเมตร เฉลี่ย 15.34±3.27 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นต ของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 17.68–32.74 เฉลี่ย 23.40±4.25 %HL ความยาวเสนผาน ศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวอยูระหวาง 19.82–38.69 เฉลี่ย 26.62±4.44 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐาน (%SL) มี ดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 120–131.71 %SL เฉลี่ย 125.31±2.82 %SL ความยาวสวน หัวอยูระหวาง 27.72–32.60 %SL เฉลี่ย 29.73±1.51 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 66.89–73.85 %SL เฉลี่ย 70.28±2.01 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 69.07– 74.52 %SL เฉลี่ย 72.54±1.50 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 48.91–56.15 %SL เฉลี่ย 53.09±1.72 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 47.57–54.89 %SL เฉลี่ย 50.76±1.72 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 11.80–17.44 %SL เฉลี่ย 14.11±1.21 38

%SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 7.22–10.07 %SL เฉลี่ย 8.40±0.68 %SL ความยาว ของครีบอกอยูระหวาง 15.47–20.08 %SL เฉลี่ย 17.81±1.07 %SL ความยาวของครีบทองอยู ระหวาง 14.13–16.63 %SL เฉลี่ย15.59±0.82 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 11.07– 14.57 %SL เฉลี่ย 12.30±0.78 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 13.31–17.56 %SL เฉลี่ย 15.76±1.01 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 17.22–23.82 %SL เฉลี่ย 20.11±1.40 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบทวารอยูระหวาง 26.10–35.86 %SL เฉลี่ย 28.71±2.16 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 14.53–18.16 %SL เฉลี่ย 16.51±0.94 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 20.38–25.07 %SL เฉลี่ย 22.55±1.41 %SL ความยาวสวน หนาของครีบอกอยูระหวาง 26.09–30.65 %SL เฉลี่ย 28.56±1.34 %SL ความยาวระหวาง จุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 42.39–50.22 %SL เฉลี่ย 46.16±2.12 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 22.93–29.67 %SL เฉลี่ย 24.72±1.83 %SL (ตาราง 7) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 7 ครีบหลังมีจํานวนกานครีบ 11-13 กาน เฉลี่ย 11.71±0.59 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3-4 กาน กานครีบออน 8-9 กาน กานครีบทวาร 7–9 กาน เฉลี่ย 7.76±0.90 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 2-3 กาน กานครีบออน 5-6 กาน กานครีบอก 15–16 กาน เฉลี่ย 15.71±0.47 กานประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กาน ครีบออน 14-17 กาน กานครีบทอง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กาน ครีบออน 8 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน จํานวนกาน ครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 7) คุณสมบัติของแหลงน้ําและอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส หมายเหตุ: สมิธ (Smith, 1945) จัดปลากระสูบขีด อยูในวงศยอยไซไพรนอยดี (Cyprinoidei) กลุมปลาตะโกก ธงชัย จําปาศรี (2542: 96-97) กลาววา ปลาชนิดนี้แพรกระจาย และยังพบในลุม แมน้ําโขง ลุมแมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําแมกลอง ตลอดจนลุมน้ําทางภาคใตและภาคตะวันออก คอท เทลลาท (Kottelat. 2001: 53) กลาววา พบปลาชนิดนี้ในลุมแมน้ําโขง พบที่กัมพูชา ลาว ประเทศไทย เวียดนาม พบแพรกระจายในลุมแมน้ําเจาพระยา มีความยาวมาตรฐาน 600 มิลลิเมตร ศูนยวิจัยและ พัฒนาประมงน้ําจืดพิษณุโลก (2549: 54) รายงานวาปลาชนิดนี้มีการแพรกระจายในแมน้ํายม แมน้ํา นาน ปลาชนิดนี้มีการแพรกระจายในแมน้ําแควนอย แมน้ําวังทอง คลองชมพู แมน้ําเข็ก และทั่วจังหวัด พิษณุโลก มีความยาวมาตรฐาน 9.0 เซนติเมตร 39

8. ลักษณะปลากระแห Barbonymus schwanenfeldi ในลุมแมน้ํานาน

5 cm.

ภาพประกอบ 11 ปลากระแห เก็บจากแมน้ํานาน อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ชื่อพอง (synonym): Puntius schwanenfeldi, Barbus schwanenfeldi Bleeker; 1853, Barbus (Puntius) schwanenfeldi von Martens; 1876; Hora; 1923, Puntius schwanenfeldi Weber and de Beaufort; 1916, Koumans; 1937, Barbus schwanenfeldi Fowler; 1934; 1935 ชื่อสามัญไทย: ปลากระแห ปลากระแหทอง ปลาตะเพียนทอง ปลาตะเพียนหางแดง ปลาลําปา ชื่อพื้นเมือง: ปลากะแห ปลาตะเพียน การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) และการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) พบวาปลากระแห มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 8.35–15.50 เซนติเมตร เฉลี่ย 11.66±2.31 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นต ของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 20.83–30.20 %HL เฉลี่ย 25.67±2.64 %HL ความยาว เสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวอยูระหวาง 35.99-45.50 %HL เฉลี่ย 40.13±2.95 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 103.87–140.66 %SL เฉลี่ย 134.49±8.11 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 18.06-27.49 %SL เฉลี่ย 24.90±1.98 %SL ความยาวกอนครีบทวาร อยูระหวาง 51.87-72.86 %SL เฉลี่ย 68.58±4.51 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 54.26-75.13 %SL เฉลี่ย 71.24±4.54 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 43.29- 57.55 %SL เฉลี่ย 54±3.21 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 36.84-53.93 %SL เฉลี่ย 50.09±3.72 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 15.03-22.28 %SL เฉลี่ย 40

19.23±1.71 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 10.42–18.94 %SL เฉลี่ย 15.85±1.96 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 16.45–24.35 %SL เฉลี่ย 22.36±1.80 %SL ความยาวของ ครีบทองอยูระหวาง 17.03–23.61 %SL เฉลี่ย 21.74±1.87 %SL ความกวางของคอดหางอยู ระหวาง 11.55–16.47 %SL เฉลี่ย 15.04±1.14 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 10.84- 18.07 %SL เฉลี่ย 14.40±1.81 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 18.38–39.24 %SL เฉลี่ย 32.30±5.47 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบทวารอยู ระหวาง 27–51.80 %SL เฉลี่ย 42.43±6.41 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 16.77–26.46 %SL เฉลี่ย 23.43±2.77 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 20–35.21 %SL เฉลี่ย 30.94±3.79 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 20.65–28.54 %SL เฉลี่ย 26.12±1.77 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 38.71-56.77 %SL เฉลี่ย 49.85±3.98 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 23.87-33.49 %SL เฉลี่ย 29.56±2.59 %SL (ตาราง 8) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 8 ครีบหลังมีจํานวนกานครีบ 11 กาน เฉลี่ย 11 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบทวาร 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กานครีบอก 15–17 กาน เฉลี่ย 15.61±0.85 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 14-16 กาน กาน ครีบทอง 8-9 กาน เฉลี่ย 8.72±0.46 กาน ประกอบดวยกานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 7-8 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน จํานวนกานครีบของฐาน ดานลางของครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 8) อุณหภูมิของแมน้ํานาน จํานวน 6 เดือน เฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส หมายเหตุ: สมิธ (Smith, 1945) จัดปลากระแห อยูในวงศยอยไซไพรนอยดี (Cyprinoidei) กลุมปลาตะโกก คอทเทลลาท (Kottelat: 2001. 40) กลาววา พบปลาชนิดนี้ในลุมแมน้ําโขง พบที่ กัมพูชา ลาว ประเทศไทย พบแพรกระจายในลุมแมน้ําเจาพระยา เพเนสุเอลา เกาะบอรเนียว หมูเกาะสุ มาตรา อินโดนีเซีย มีความยาวมาตรฐาน 340 มิลลิเมตร ธงชัย จําปาศรี (2542: 128) กลาววา ปลา ชนิดนี้พบชุกชุมในบริเวณลุมน้ําของ จ.สุโขทัย จ.พิจิตร เรื่อยลงมาถึง จ.นครสวรรค และยังพบในลุม แมน้ําโขง ลุมแมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําแมกลอง ตลอดจนลุมน้ําทางภาคใตและภาคตะวันออกของ ประเทศ ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพิษณุโลก (2549: 47)รายงานวาปลาชนิดนี้มีการแพรกระจาย ในแมน้ําแควนอย แมน้ําวังทอง คลองชมพู แมน้ําเข็ก มีความยาวมาตรฐาน 125 เซนติเมตร 41

ตาราง 1 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลากระมัง Puntioplites protozysron จํานวน 91 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Puntioplites proctozysron (n=91) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III, 8-9 11-22±0.416 กานครีบทวาร III, 5-7 8.49±0.74 กานครีบอก i, 14-16 16.30±0.59 กานครีบทอง i, 8-9 9.81±0.392 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8-9 8.03±0.18 มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) 9.75-18.30 13.01±1.77 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 17.49-35.81 28.91±3.79 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 23.75–45.58 36.56±3.29 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 123.19–153.64 134.73±5.09 ความยาวสวนหัว 23.79–37.37 27.24±1.53 ความยาวกอนครีบทวาร 63.22–71.79 67.16±1.48 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 67.52–99.82 71.22±3.40 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 52.36–82.54 58.29±3.23 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 40.11–50.28 47.20±1.41 ความยาวของฐานครีบหลัง 13.28–27.60 20.76±1.91 ความยาวของฐานครีบทวาร 10.65–20.85 17.03±1.54 ความยาวของครีบอก 11.81–30 21.78±2.12 ความยาวของครีบทอง 14.17–31.93 22.34±1.98 ความกวางของคอดหาง 10.03–33.52 14.59±2.36 ความยาวของคอดหาง 10.30–21.31 13.93±1.83 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 22.69–45.96 32.92±2.71 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 33.24–54.91 43.47±2.81 ความยาวของครีบทวาร 16.25–35.44 26.08±2.68 ความยาวของครีบหลัง 27.15–45.18 32.94±3.11 ความยาวสวนหนาของครีบอก 20.55–36.32 28.12±1.76 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 16.39–66.93 49.31±4.55 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 23.96-41.23 30.17±2.28 42

ตาราง 2 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาหนามหลัง Mystacoleucus marginatus จํานวน 217 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Mystacoleucus marginatus (n=217) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III-IV, 7-8 11.82±0.38 กานครีบทวาร III, 8-9 11.85±0.36 กานครีบอก i, 11-14 14.93±0.30 กานครีบทอง i, 8 8 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 7-9 8.81±0.42 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 7-9 7.99±0.15 มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) 3.60–13.50 9.27±1.61 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 18.05–38.25 25.80±3.14 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 16.32–83.33 38.85±4.35 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 108.59–204.44 128.99±6.65 ความยาวสวนหัว 18.44–37.78 23.43±1.63 ความยาวกอนครีบทวาร 55.48–83.06 69.80±2.67 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 59.04–86.11 72.04±2.57 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 41.33–77.78 51.79±3.08 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 25.06–76.94 49.09±3.36 ความยาวของฐานครีบหลัง 11.32–25.83 16.32±1.57 ความยาวของฐานครีบทวาร 8.26–22.22 13.87±1.64 ความยาวของครีบอก 13.78–31.67 19.84±1.77 ความยาวของครีบทอง 13.58–30.56 18.91±1.73 ความกวางของคอดหาง 9.96–124.87 13.39±8.10 ความยาวของคอดหาง 10.37–28.06 15.5 ±2.14 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 11.69–43.89 27.27±2.78 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 25.39–58.61 37.07±3.14 ความยาวของครีบทวาร 12.94–29.63 17.32±2.41 ความยาวของครีบหลัง 14.32–41.11 24.43±2.59 ความยาวสวนหนาของครีบอก 6.35–86.56 25.16±4.76 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 22.91–80 51.57±4.44 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 21.26–72.19 28.64±4.13 43

ตาราง 3 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาตามิน Amblyrhynchichthys truncatus จํานวน 22 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Amblyrhynchichthys truncatus (n=22) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III, 7-8 10.82±0.39 กานครีบทวาร III, 5 5 กานครีบอก i, 15-16 16.23±0.42 กานครีบทอง i, 8-9 16.23±0.42 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 9 8 มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) 10.49–19.50 14.05±1.73 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 13.59-21.13 17.70±1.98 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 26.29–61.06 38.94±6.58 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 102.29–130.50 126.37±5.83 ความยาวสวนหัว 21.85-24.50 23.39±0.59 ความยาวกอนครีบทวาร 66.61–73.35 68.62±1.61 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 67.71–75.63 73.30±1.61 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 46.21–67.84 48.89± 4.29 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 44.60–48.82 46.81±1.23 ความยาวของฐานครีบหลัง 14.21–16.90 15.36±0.61 ความยาวของฐานครีบทวาร 8.47–11.13 9.68±0.70 ความยาวของครีบอก 10.38–20.37 18.48±1.97 ความยาวของครีบทอง 17.69–21.35 19.78±1.04 ความกวางของคอดหาง 10.32–12.55 11.63±0.42 ความยาวของคอดหาง 11.54–18.06 14.84±1.42 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 14.54–24.84 21.07±1.91 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 27.82–34.05 29.58±1.74 ความยาวของครีบทวาร 13.62–19.57 16.86±1.37 ความยาวของครีบหลัง 21.35–33.27 29.60±2.46 ความยาวสวนหนาของครีบอก 20.62–25.46 24.49±1.04 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 36.92–53.19 50.33±3.60 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 16.03–28.30 24.38±2.48 44

ตาราง 4 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาไสตันตาขาว Cyclocheilichthys repasson จํานวน201 ตัว ลักษณะทางสัณฐาน Cyclocheilichthys repasson (n=201) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III-IV, 8 11.96±0.19 กานครีบทวาร III, 5 5 กานครีบอก i, 15-17 17.13±0.82 กานครีบทอง i, 8-9 9.93±0.25 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 8-9 8.98±0.14 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 7-9 8±0.10 มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) 5.70–19.40 12.05±2.14 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 9.66-42.86 32.42±3.83 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 24.58–84.83 32.03±4.94 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 97.72–145.31 127.79 ± 4.02 ความยาวสวนหัว 20.57–33.45 25.78 ± 1.24 ความยาวกอนครีบทวาร 58.48–74.12 68.22 ± 2.07 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 61.52–79.10 72.75 ± 2.63 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 46.75–76.43 55.02 ± 3.44 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 20.26–54.47 47.33 ± 4.16 ความยาวของฐานครีบหลัง 11.31–47.05 15.73 ± 2.61 ความยาวของฐานครีบทวาร 8.20–28.25 10.37 ± 2.54 ความยาวของครีบอก 10.32–24.35 20.22 ± 1.30 ความยาวของครีบทอง 13.09–29.46 20.72 ±1.34 ความกวางของคอดหาง 10.44–18.18 12.04 ± 0.89 ความยาวของคอดหาง 10.48–20.24 15.51 ± 1.50 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 17.49–27.57 20.89 ± 1.12 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 20.62–45.10 31.47 ± 2.05 ความยาวของครีบทวาร 11.42–28.15 19.68 ± 1.59 ความยาวของครีบหลัง 21.83–34.59 26.68 ± 1.95 ความยาวสวนหนาของครีบอก 4.84-32.08 27.28 ± 1.94 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 36.74–58.69 47.78 ± 2.92 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 21.05–36.94 25.01 ± 1.95 45

ตาราง 5 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาแกมช้ํา Puntius orphoides จํานวน 18 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Puntius orphoides (n=18) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III,8 8 กานครีบทวาร III,5 8 กานครีบอก i,12-14 14.78±0.548 กานครีบทอง i,8 8 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 8 มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) 6.14–13.11 9.56±1.99 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 20-31.96 25.13±2.89 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 27.67–52.45 32.54±5.36 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 116.13–129.67 124.93±3.91 ความยาวสวนหัว 23.90–28.60 26.10±1.10 ความยาวกอนครีบทวาร 58.91–72.82 70.53±3.11 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 61.76–75.59 73.15±3.17 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 38.44–56.52 52.30±3.81 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 48.13–55.17 50.73±1.83 ความยาวของฐานครีบหลัง 12.38–16.70 14.33±1.21 ความยาวของฐานครีบทวาร 8.01–10.59 9.30±0.66 ความยาวของครีบอก 18.84–22.69 20.32±0.97 ความยาวของครีบทอง 11.92–20.43 17.90±1.81 ความกวางของคอดหาง 7.82–15.79 13.54±1.61 ความยาวของคอดหาง 14.84–20.24 17.71±1.48 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 20.06–27.57 23.80±1.73 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 31.14–41.08 34.48±2.56 ความยาวของครีบทวาร 14.34–17.77 16.17±1.01 ความยาวของครีบหลัง 22.12–26.66 23.66±1.36 ความยาวสวนหนาของครีบอก 24.43–28.07 26.40±1 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 39.78–52.33 47.51±3.26 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 21.96-29.35 26.75±2.01 46

ตาราง 6 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาตะพาก Hypsibarbus wetmorei จํานวน 62 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Hypsibarbus wetmorei (n=62) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III, 8 8 กานครีบทวาร III, 5 5 กานครีบอก i,14-16 15.58±0.62 กานครีบทอง i,7-8 8.79±0.41 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 8 มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) 8.10–20.80 12.42±2.80 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 10.95–34.48 27.47±3.08 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 23.89–42.79 34.96±3.85 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 121.02–152.44 129.80±4.73 ความยาวสวนหัว 21.20–27.30 23.99±1.35 ความยาวกอนครีบทวาร 64.36–78.32 71.80±2.40 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 68–81.79 74.32±2.25 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 44.70–60.08 54.86±2.69 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 46.78–57.02 50.93±2.18 ความยาวของฐานครีบหลัง 12.95–23.26 15.27±1.49 ความยาวของฐานครีบทวาร 2.67–21.20 10.35±2.94 ความยาวของครีบอก 16.99–27.14 21.23±1.74 ความยาวของครีบทอง 17.17–24.43 20.04±1.52 ความกวางของคอดหาง 5.12–19.64 13.14±1.80 ความยาวของคอดหาง 11.16–18.59 14.85±1.50 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 14.85–33.62 24.73±3.17 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 26.78–44.73 36.39±3.04 ความยาวของครีบทวาร 15.63–25.32 19.76±1.88 ความยาวของครีบหลัง 12.63–33.66 25.57±2.81 ความยาวสวนหนาของครีบอก 22.91–30.73 25.41±1.59 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 42.29–55.07 47.66±2.89 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 17.53–30.28 24.26±2.11 47

ตาราง 7 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota จํานวน 17 ตัว ลักษณะทางสัณฐาน Hampala macrolepidota (n=17) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III-Iv, 8-9 11.71±0.59 กานครีบทวาร II-III , 5-6 7.76±0.90 กานครีบอก i,14-15 15.71±0.47 กานครีบทอง i,8 8 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 8 มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) 8.94–20.80 15.34±3.27 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 17.68–32.74 23.46±4.25 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 19.82–38.69 26.62±4.44 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 120–131.71 125.31±2.82 ความยาวสวนหัว 27.72–32.60 29.73±1.51 ความยาวกอนครีบทวาร 66.89–73.85 70.28±2.01 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 69.07–74.52 72.54±1.50 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 48.91–56.15 53.09±1.72 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 47.57–54.89 50.76±1.72 ความยาวของฐานครีบหลัง 11.80–17.44 14.11±1.21 ความยาวของฐานครีบทวาร 7.22–10.07 8.40±0.68 ความยาวของครีบอก 15.47–20.08 17.81±1.07 ความยาวของครีบทอง 14.13–16.63 15.59±0.82 ความกวางของคอดหาง 11.07–14.57 12.30±0.78 ความยาวของคอดหาง 13.31–17.56 15.76±1.01 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 17.22–23.82 20.11±1.40 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 26.10–35.86 28.71±2.16 ความยาวของครีบทวาร 14.53–18.16 16.51±0.94 ความยาวของครีบหลัง 20.38–25.07 22.55±1.41 ความยาวสวนหนาของครีบอก 26.09–30.65 28.56±1.34 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 42.39–50.22 46.16±2.12 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 22.93–29.67 24.72±1.83 48

ตาราง 8 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลากระแห Barbonymus schwanenfeldi จํานวน 18 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Barbonymus schwanenfeldi (n=18) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III,8 8 กานครีบทวาร III,5 5 กานครีบอก i,14-16 15.61±0.85 กานครีบทอง i,7-8 8.72±0.46 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 8 มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) 8.35–15.50 11.66±2.31 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 20.83–30.20 25.67±2.64 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 35.99–45.50 40.13±2.95 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของมีความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 103.87–140.25 134.49±8.11 ความยาวสวนหัว 18.06–27.49 24.90±1.98 ความยาวกอนครีบทวาร 51.87–72.86 68.58±4.51 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 54.26-75.13 71.24±4.54 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 43.29–57.55 54±3.21 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 36.84–53.93 50.09±3.72 ความยาวของฐานครีบหลัง 15.03–22.28 19.23±1.71 ความยาวของฐานครีบทวาร 10.42–18.94 15.85±1.96 ความยาวของครีบอก 16.45–24.35 22.36±1.80 ความยาวของครีบทอง 17.03–23.61 21.74±1.87 ความกวางของคอดหาง 11.55–16.47 15.04±1.14 ความยาวของคอดหาง 10.84–18.07 14.40±1.81 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 18.38–39.24 32.30±5.47 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 27–51.80 42.43±6.41 ความยาวของครีบทวาร 16.77–26.46 23.43±2.77 ความยาวของครีบหลัง 20–35.21 30.94±3.79 ความยาวสวนหนาของครีบอก 20.65–28.54 26.12±1.77 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 38.71–56.77 49.85±3.98 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 23.87-33.49 29.56±2.59 49

2. ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาในวงศ ไซไพรนิดี 2.1 ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางความยาว (standard length) และน้ําหนัก (weight) ของปลากระมัง ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความสัมพันธ ระหวางความยาวและน้ําหนักของปลามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.01) โดยมี คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.9973 ภาพประกอบ 12 และตารางภาคผนวก 9

200

175

150

) 125 กรัม (

100 น้ําหนัก

75

50

1.6253 25 Ŵ = 1.0104 L

80 100 120 140 160 180 200 ความยาวมาตรฐาน (มิลลิเมตร)

ภาพประกอบ 12 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางมีความยาวมาตรฐานและน้ําหนัก ของปลากระมัง ตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 50

2.2 ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางความยาว (standard length) และน้ําหนัก (weight) ของปลาหนามหลัง ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.01) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.9904 ภาพประกอบ 13 และตาราง ภาคผนวก 10

80

70

60

50 ) กรัม ( 40 น้ําหนัก 30

20

10

1.3618 0 Ŵ = 1.0238 L

20 40 60 80 100 120 140 ความยาวมาตรฐาน (มิลลิเมตร)

ภาพประกอบ 13 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางมีความยาวมาตรฐานและน้ําหนัก ของปลาหนามหลัง ตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 51

2.3 ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางความยาว (standard length) และน้ําหนัก (weight) ของปลาตามิน ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.01) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.9973 ภาพประกอบ 14 และตาราง ภาคผนวก 11

150

125 ) 100 กรัม ( น้ําหนัก 75

50

25 Ŵ = 1.0149 L1.5146

100 120 140 160 180 200 ความยาวมาตรฐาน (มิลลิเมตร)

ภาพประกอบ 14 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางมีความยาวมาตรฐานและน้ําหนัก ของปลาตามิน ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 52

2.4 ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางความยาว (standard length) และน้ําหนัก (weight) ของปลาไสตันตาขาว ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.01) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.9934 ภาพประกอบ 15 และตาราง ภาคผนวก 12

Ŵ = 1.0193 L1.4321

ภาพประกอบ 15 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางมีความยาวมาตรฐานและน้ําหนัก ของปลาไสตันตาขาว ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 53

2.5 ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางความยาว (standard length) และน้ําหนัก (weight) ของปลาแกมช้ํา ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.01) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.9899 ภาพประกอบ 16 และตาราง ภาคผนวก 13

80

60 ) กรัม ( 40 น้ําหนัก

20

Ŵ = 1.4008 0 1.0637 L

60 80 100 120 140 ความยาวมาตรฐาน (มิลลิเมตร)

ภาพประกอบ 16 แสดงความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาแกมช้ํา ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 54

2.6 ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางความยาว (standard length) และน้ําหนัก (weight) ของปลาตะพาก ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.01) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.9854 ภาพประกอบ 17 และตาราง ภาคผนวก 14

240

200

160 ) กรัม ( 120 น้ําหนัก 80

40

Ŵ = 1.0303 L1.5272 0

90 120 150 180 210 ความยาวมาตรฐาน (มิลลิเมตร)

ภาพประกอบ 17 แสดงความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาตะพาก ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 55

2.7 ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางความยาว (standard length) และน้ําหนัก (weight) ของปลากระสูบขีด ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.01) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.9942 ภาพประกอบ 18 และตาราง ภาคผนวก 15

210

180

150 ) 120 กรัม (

น้ําหนัก 90

60

30

Ŵ = 1.5542 0 1.0607 L

90 120 150 180 210 ความยาวมาตรฐาน (มิลลิเมตร)

ภาพประกอบ 18 แสดงความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลากระสูบขีด ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 56

2.8 ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางความยาว (standard length) และน้ําหนัก (weight) ของปลากระแห ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 พบวา ความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.01) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.9704 ภาพประกอบ 19 และตาราง ภาคผนวก 16

120

90 ) กรัม (

น้ําหนัก 60

30

Ŵ = 1.0130 L1.4594 0

90 120 150 ความยาวมาตรฐาน (มิลลิเมตร)

ภาพประกอบ 19 แสดงความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลากระแห ในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 57

ตาราง 9 แสดงความสัมพันธระหวางความยาว และน้ําหนักของ ปลาวงศไซไพรนิดี ในลุมน้ํานาน คํานวณจาก ŵ = aLb ซึ่ง ŵ คือ น้ําหนักที่คํานวณจากสมการ (มิลลิกรัม) a และ b คือ คาสัมประสิทธิ์คงที่ และ L คือ มีความยาวมาตรฐาน (เซนติเมตร) คาความสมบูรณ (kn) = W/ ŵ โดยคา W คือ น้ําหนักของปลา (กรัม) , ปลาอวนมีคา Wˆ = Ln

น้ําหนักปลา น้ําหนัก จํานวน คาสัมประสิทธิ์ จากการ 2 kn ชนิดปลา ปลาเฉลี่ย r คํานวณเฉลี่ย เฉลี่ย (ตัว) a b (W) (Ŵ) กระมัง 91 1.0104 1.6253 69.54 66.01 0.9946 1.05

หนามหลัง 217 1.0238 1.3618 23.23 21.23 0.9808 1.08

ตามิน 22 1.0149 1.5146 58.62 55.88 0.9946 1.05

ไสตันตาขาว 201 1.0193 1.4321 39.96 36.22 0.9868 1.10

แกมช้ํา 18 1.0637 1.4008 28.71 25.41 0.9799 1.13

ตะพาก 62 1.0303 1.5272 57.52 49.26 0.9710 1.17

กระสูบขีด 17 1.0607 1.5542 84.02 75.30 0.9884 1.12

กระแห 18 1.0130 1.4594 45.81 36.97 0.9416 1.24 58

3. ปจจัยทางกายภาพ คุณสมบัติของแหลงน้ําและอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส

ตาราง 10 แสดงอุณหภูมิที่วัดในลุมน้ํานานตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550

ปจจัยทางกายภาพ เดือน อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิน้ํา ( 0C) ( 0C) กันยายน 2549 28 27 ตุลาคม 2549 28 26 พฤศจิกายน 2549 26 23 ธันวาคม 2549 26 22 มกราคม 2550 25 19 กุมภาพันธ 2550 25 20 มีนาคม 2550 27 20 จํานวน 6 เดือน เฉลี่ย 26.43 26.21

* วัดอุณหภูมิน้ําโดยใชเทอรโมมิเตอร บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาวงศไซไพรนิดี ในลุมแมน้ํานาน 1.1 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลากระมัง Puntioplites proctozysron การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) พบวา ปลากระมังมีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 9.75-18.30 เซนติเมตร เฉลี่ย 13.01±1.77 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 17.49-35.81 %HL เฉลี่ย 27.91±3.79 เซนติเมตร ความยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว อยูระหวาง 23.75-45.58 %HL เฉลี่ย 36.56±3.29 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับ เปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 123.19-153.64 %SLเฉลี่ย 134.73±5.09 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 23.79-37.37 %SL เฉลี่ย 27.24±1.53 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 63.22-71.79 %SL เฉลี่ย 67.16±1.48 %SL ความยาวสวนหนาของ ครีบทวารอยูระหวาง 67.52-99.82 %SL เฉลี่ย 71.22±3.40 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยู ระหวาง 52.36-82.54 %SL เฉลี่ย 58.29±3.23 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 40.11- 50.28 %SL เฉลี่ย 47.20±1.41%SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 13.28–27.60 %SL เฉลี่ย 20.76±1.91 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 10.65-20.85 %SL เฉลี่ย 17.03±1.54 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 11.81–30 %SL เฉลี่ย 21.78±2.12 %SL ความยาวของครีบทองอยู ระหวาง 14.17-31.93 %SL เฉลี่ย 22.34±1.98 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 10.03-33.52 %SL เฉลี่ย 14.59±2.36 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 10.30-21.31 %SL เฉลี่ย 13.93±1.83 %SL ความลึกของลําตัววัดจากหนาครีบหลังอยูระหวาง 22.69-45.96 %SL เฉลี่ย 32.92±2.71 %SL ความลึกของลําตัววัดจากหนาครีบทวารอยูระหวาง 33.24-54.91 %SL เฉลี่ย 43.47±2.81 %SL ความ ยาวของครีบทวารอยูระหวาง 16.25-35.44 %SL เฉลี่ย 26.08±2.68 %SL ความยาวของครีบหลังอยู ระหวาง 27.15-45.18 %SL เฉลี่ย 32.94±3.11 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอก 20.55–36.32 %SL เฉลี่ย 28.12±1.76 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 16.39– 66.93 %SL เฉลี่ย 49.31±4.55 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยู ระหวาง 23.96-41.23 %SL เฉลี่ย 30.17±2.28 %SL (ตาราง1) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) มีจํานวนกานครีบหลัง 11-12 กาน เฉลี่ย 11.22±0.42 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8-9 กาน ครีบทวารมีจํานวน กานครีบ 8-10 กาน เฉลี่ย 8.49±0.74 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5-7 กาน กานครีบอกมีจํานวนกานครีบ 15-17 กาน เฉลี่ย 16.30±0.59 กาน ประกอบดวย กานครีบ เดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 14-16 กาน กานครีบทองมีจํานวนกานครีบ 9-10 กาน เฉลี่ย 9.81±0.39 ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของ 60

ครีบหางมีจํานวนกานครีบ 9 กาน เฉลี่ย 9 และจํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหางมี จํานวนกานครีบ 8-9 กาน เฉลี่ย 8.03±0.18 (ตาราง 1)

1.2 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาหนามหลัง Mystacoleucus marginatus การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) พบวา ปลาหนามหลังมีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 3.60–13.50 เซนติเมตร เฉลี่ย 9.27±1.61 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 18.05–38.25 %HL เฉลี่ย 25.80±3.14 ความยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของ ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 16.32–83.33 %HL เฉลี่ย 38.85±4.35 %HL ความยาวของลักษณะ ทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยู ระหวาง 108.89–205.56 %SL เฉลี่ย 129.00±6.70 %SL ความยาวสวนอยูระหวาง 18.44–37.78 %SL เฉลี่ย 23.43±1.63 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 55.48–83.06 %SL เฉลี่ย 69.80±2.67 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 59.04-86.11 %SL เฉลี่ย 72.04±2.57 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 41.33–77.78 %SL เฉลี่ย 51.79±3.08 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 25.06–76.94 %SL เฉลี่ย 49.09±3.36 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 11.32–25.83 %SL เฉลี่ย 16.32±1.57 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 8.26–22.22 %SL เฉลี่ย 13.87±1.64 %SL ความยาว ของครีบอกอยูระหวาง 13.78–31.67 %SL เฉลี่ย 19.84±1.77 %SL ความยาวของครีบทองอยู ระหวาง 13.58–30.56 %SL เฉลี่ย 18.91±1.73 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 9.96– 24.87 %SL เฉลี่ย 13.39±8.10 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 10.37–28.06 %SL เฉลี่ย 15.50 ±2.14 %SL ความลึกของลําตัวสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 11.69–43.89 %SL เฉลี่ย 27.27±2.78 %SL ความลึกของลําตัวสวนหนาครีบทวารอยูระหวาง 25.39–58.61 %SL เฉลี่ย 37.07±3.14 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 12.94–29.63 %SL เฉลี่ย 17.32±2.41 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 14.32–41.11 %SL เฉลี่ย 24.43±2.59 %SL ความยาวสวนหนา ของครีบอกอยูระหวาง 6.35–86.56 %SL เฉลี่ย 25.16±4.76 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของ ครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 22.91–80 %SL เฉลี่ย 51.57±4.44 %SL ความยาวระหวาง จุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 21.33–72.10 %SL เฉลี่ย 28.63±4.10 %SL (ตาราง 2) และผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ครีบหลังมีจํานวนกานครีบ 11-12 กาน เฉลี่ย 11.82±0.38 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3-4 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบทวาร 11-12 กาน เฉลี่ย 11.85±0.36 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8-9 กาน กาน ครีบอก 12-15 กาน เฉลี่ย 14.93±0.30 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 11- 14 กาน กานครีบทอง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 8 กาน 61

จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 7-9 กาน เฉลี่ย 8.81±0.42 กาน จํานวนกานครีบของ ฐานดานลางของครีบหาง 7-9 กาน เฉลี่ย 7.99±0.15 กาน (ตาราง 2)

1.3 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาตามิน Amblyrhynchichthys truncatus การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) พบวา ปลาตามินมีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 10.49-19.50 เซนติเมตร เฉลี่ย 14.05±1.73 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 13.59– 21.13 %HL เฉลี่ย 17.70±1.98 %HL ความยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความ ยาวสวนหัวอยูระหวาง 26.29–42.86 %HL เฉลี่ย 32.84±4.18 %HL ความยาวของลักษณะทาง สัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 102.29–130.50 %SL เฉลี่ย 126.37±5.83 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 21.85–24.50 %SL เฉลี่ย 23.39±0.59 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 66.61–73.35 %SL เฉลี่ย 68.62±1.61 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 67.71–75.63 %SL เฉลี่ย 73.30±1.61 %SL ความ ยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 46.21–67.84 %SL เฉลี่ย 48.89±4.29 %SL ความยาวสวน หนาของครีบทองอยูระหวาง 44.60–48.82 %SL เฉลี่ย 46.81±1.23 %SL ความยาวของฐานครีบหลัง อยูระหวาง 14.21–16.90 %SL เฉลี่ย 15.36±0.61 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 8.47–11.13 %SL เฉลี่ย 9.68±0.70 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 10.38–20.37 %SL เฉลี่ย 18.48±1.97 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 17.69–21.35 %SL เฉลี่ย 19.78±1.04 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 10.32–12.55 %SL เฉลี่ย 11.63±0.42 %SL ความยาวของคอด หางอยูระหวาง11.54–18.06 %SL เฉลี่ย 14.84±1.42 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบ หลังอยูระหวาง14.54–24.84 %SL เฉลี่ย 21.07±1.91 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบ ทวารอยูระหวาง 27.82–34.05 %SL เฉลี่ย 29.58±1.74 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 13.62–19.57 %SL เฉลี่ย 16.86±1.37 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 21.35–33.27 %SL เฉลี่ย 29.60±2.46 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 20.62–25.46 %SL เฉลี่ย 24.49±1.04 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 36.92– 53.19 %SL เฉลี่ย 50.33±3.60 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง อยูระหวาง 16.03–28.30 %SL เฉลี่ย 24.38±2.48 %SL (ตาราง 3) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 3 ครีบหลังมีจํานวนกาน ครีบ 10-11 กาน เฉลี่ย10.82±0.40 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 7-8 กาน กานครีบทวาร 8 กานเฉลี่ย 8 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กาน ครีบอก 16-17 กาน เฉลี่ย 16.23±0.42 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 15- 16 กาน ครีบทอง 9-10 กาน เฉลี่ย 9.95±0.21 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบ ออน 8-9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กานจํานวนกานครีบ ของฐานดานลางของครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 3) 62

1.4 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาไสตันตาขาว Cyclocheilichthys repasson การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาจากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) พบวา ปลาไสตันตาขาวมีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 5.70-19.40 เซนติเมตร เฉลี่ย 12.05±2.14 เซนติเมตรความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 9.66– 42.86 %HL เฉลี่ย 32.42±3.834 %HL ความยาวเสนผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความ ยาวสวนหัวอยูระหวาง 24.58–84.83 %HL เฉลี่ย 32.03±4.94 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐาน เทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 97.72–145.31 %SL เฉลี่ย 127.79±4.02 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 20.57–33.45 %SL เฉลี่ย 25.78±1.24 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 58.48–74.12 %SL เฉลี่ย 68.22±2.07 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 61.52–79.10 %SL เฉลี่ย 72.75±2.63 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 46.75–76.43 %SL เฉลี่ย 55.02±3.44 %SL ความยาว สวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 20.26–54.47 %SL เฉลี่ย 47.33±4.16 %SL ความยาวของฐาน ครีบหลังอยูระหวาง 11.31–47.05 %SL เฉลี่ย 15.73±2.61 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยู ระหวาง 8.20–28.25 %SL เฉลี่ย 10.37±2.54 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 10.32–24.35 %SL เฉลี่ย 20.22±1.30 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 13.09–29.46 %SL เฉลี่ย 20.72 ±1.34 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 10.44–18.18 %SL เฉลี่ย 12.04±0.89 %SL ความ ยาวของคอดหางอยูระหวาง 10.48–20.24 %SL เฉลี่ย 15.51±1.50 %SL ความลึกของลําตัววัดจาก สวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 17.49–27.57 %SL เฉลี่ย 20.89±1.12 %SL ความลึกของลําตัววัดจาก สวนหนาครีบทวารอยูระหวาง 20.62–45.10 %SL เฉลี่ย 31.47±2.05 %SL ความยาวของครีบทวาร อยูระหวาง 11.42–28.15 %SL เฉลี่ย 19.68±1.59 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 21.83– 34.59 %SL เฉลี่ย 26.68±1.95 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 24.91–32.08 %SL เฉลี่ย 27.39±1.12 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 36.74–58.69 %SL เฉลี่ย 47.78±2.92 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบ หางอยูระหวาง 21.27–36.52 %SL เฉลี่ย 24.99±1.90 %SL (ตาราง 4) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 4 มีจํานวนกานครีบหลัง 11-12 กาน เฉลี่ย 11.96±0.19 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3-4 กาน กานครีบออน 8 กาน กาน ครีบทวาร 8 กาน เฉลี่ย 8 กานประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กานครีบอก 16-18 กาน เฉลี่ย 17.13±0.82 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 15-17 กาน กานครีบทอง 9-10 กาน เฉลี่ย 9.93±0.25 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 8- 9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 8-9 กาน เฉลี่ย 8.98±0.14 กานจํานวนกานครีบ ของฐานดานลางของครีบหาง 7-9 กาน เฉลี่ย 8.00±0.10 กาน (ตาราง 4) 63

1.5 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาแกมช้ํา Puntius orphoides การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) และการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) พบวาปลาแกมช้ํา มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 6.14-13.11 เซนติเมตร เฉลี่ย 9.56±1.99 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของ ความยาวสวนหัว (%HL) 20.00–31.96 %HL เฉลี่ย 25.13±2.89 %HL ความยาวเสนผานศูนยกลาง ตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัว (%HL) 27.67–52.45 เฉลี่ย 32.54±5.36 %HL ความ ยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความ ยาวเหยียดอยูระหวาง 116.13–129.67 %SL เฉลี่ย 124.93±3.91 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 23.90–28.60 %SL เฉลี่ย 26.09±1.10 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 58.91–72.82 %SL เฉลี่ย 70.53±3.11 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 61.76–75.59 %SL เฉลี่ย 73.15±3.17 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 38.44–56.52 %SL เฉลี่ย 52.30±3.80 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 48.13–55.17 %SL เฉลี่ย 50.73±1.83 %SL ความ ยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 12.38–16.70 %SL เฉลี่ย 14.33±1.21 %SL ความยาวของฐานครีบ ทวารอยูระหวาง 8.01–10.59 %SL เฉลี่ย 9.30±0.66 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 18.84– 22.69 %SL เฉลี่ย 20.32±0.97 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 11.92–20.43 %SL เฉลี่ย 17.90±1.81 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 7.82–15.79 %SL เฉลี่ย 13.54±1.61 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 14.84–20.24 %SL เฉลี่ย 17.71±1.48 %SL ความลึกของลําตัววัด จากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 20.06–27.57 %SL เฉลี่ย 23.80±1.73 %SL ความลึกของลําตัววัด จากสวนหนาครีบทวารอยูระหวาง 31.14–41.08 %SL เฉลี่ย 34.48±2.56 %SL ความยาวของครีบ ทวารอยูระหวาง 14.34–17.77 %SL เฉลี่ย 16.17±1.01 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 22.12–26.66 %SLเฉลี่ย 23.66±1.36 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 24.43–28.07 %SL เฉลี่ย 26.40±1 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 39.78–52.33 %SL เฉลี่ย 47.51±3.26 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของ ครีบหางอยูระหวาง 21.96–29.35 %SL เฉลี่ย 26.75±2.01 %SL (ตาราง 5) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 5 ครีบหลังมีจํานวนกานครีบ 11 กาน เฉลี่ย 11 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบทวาร 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กานครีบอก 13-15 กาน เฉลี่ย 14.78±0.55 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 12-14 กาน กานครีบ ทอง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 8 กาน จํานวนกาน ครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบ หาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 5) 64

1.6 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลาตะพาก Hypsibarbus wetmorei การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) และการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) พบวาปลาตะพาก มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 8.10–20.80 เซนติเมตร เฉลี่ย 12.42±2.80 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นต ของความยาวสวนหัว (%HL) 9.95–34.48 %HL เฉลี่ย 27.47±3.08 %HL ความยาวเสนผาน ศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวอยูระหวาง 23.89–42.79 %HL เฉลี่ย 34.96±3.85 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 121.02–152.44 %SL เฉลี่ย 129.80±4.73 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 21.20–27.30 %SL เฉลี่ย 23.99±1.35 %SL ความยาวกอนครีบทวาร อยูระหวาง 64.36–78.32 %SL เฉลี่ย 71.80±2.40 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยู ระหวาง 68.00–81.79 %SL เฉลี่ย 74.32±2.25 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 44.70–60.08 %SL เฉลี่ย 54.86±2.69 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 46.78– 57.02 %SL เฉลี่ย 50.93±2.18 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 12.95–23.26 %SL เฉลี่ย 15.27±1.49 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 2.67–21.20 %SL เฉลี่ย 10.35±2.94 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 16.99–27.14 %SL เฉลี่ย 21.23±1.74 %SL ความยาวของครีบทองอยูระหวาง 17.17–24.43 %SL เฉลี่ย 20.04±1.52 %SL ความกวางของคอด หางอยูระหวาง 5.12–19.64 %SL เฉลี่ย 13.14±1.80 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 11.16–18.59 %SL เฉลี่ย 14.85±1.50 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 14.85–33.62 %SL เฉลี่ย 24.73±3.17 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบทวารอยู ระหวาง 26.78–44.73 %SL เฉลี่ย 36.39±3.04 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 15.63– 25.32 %SL เฉลี่ย 19.76±1.88 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 12.63–33.66 %SL เฉลี่ย 25.57±2.81 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 22.91–30.73 %SL เฉลี่ย 25.41±1.59 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 42.29–55.07 %SL เฉลี่ย 47.66±2.89 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 17.53–30.28 %SL เฉลี่ย 24.26±2.11 %SL (ตาราง 6) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 6 ครีบหลังมีจํานวนกานครีบ 11 กาน เฉลี่ย 11 กานประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบทวาร 8 กาน เฉลี่ย 8 กานประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กานครีบอก 15-17 กาน เฉลี่ย 15.58±0.62 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 14-16 กาน กานครีบ ทอง 8-9 กาน เฉลี่ย 8.79±0.41 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 7-8กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานลาง ของครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 6) 65

1.7 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) และ การนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) พบวา ปลากระสูบขีด มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 8.94–20.80 เซนติเมตร เฉลี่ย 15.34±3.27 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นต ของความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 17.68–32.74 เฉลี่ย 23.40±4.25 %HL ความยาวเสนผาน ศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวอยูระหวาง 19.82–38.69 เฉลี่ย 26.62±4.44 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มี ดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 120.00–131.71 %SL เฉลี่ย 125.31±2.82 %SL ความยาว สวนหัวอยูระหวาง 27.72–32.60 %SL เฉลี่ย 29.73±1.51 %SL ความยาวกอนครีบทวารอยูระหวาง 66.89–73.85 %SL เฉลี่ย 70.28±2.01 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 69.07– 74.52 %SL เฉลี่ย 72.54±1.50 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 48.91–56.15 %SL เฉลี่ย 53.09±1.72 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 47.57–54.89 %SL เฉลี่ย 50.76±1.72 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 11.80–17.44 %SL เฉลี่ย 14.11±1.21 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 7.22–10.07 %SL เฉลี่ย 8.40±0.68 %SL ความยาว ของครีบอกอยูระหวาง 15.47–20.08 %SL เฉลี่ย 17.81±1.07 %SL ความยาวของครีบทองอยู ระหวาง 14.13–16.63 %SL เฉลี่ย15.59±0.82 %SL ความกวางของคอดหางอยูระหวาง 11.07– 14.57 %SL เฉลี่ย 12.30±0.78 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 13.31–17.56 %SL เฉลี่ย 15.76±1.01 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 17.22–23.82 %SL เฉลี่ย 20.11±1.40 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบทวารอยูระหวาง 26.10–35.86 %SL เฉลี่ย 28.71±2.16 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 14.53–18.16 %SL เฉลี่ย 16.51±0.94 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 20.38–25.07 %SL เฉลี่ย 22.55±1.41 %SL ความยาวสวน หนาของครีบอกอยูระหวาง 26.09–30.65 %SL เฉลี่ย 28.56±1.34 %SL ความยาวระหวาง จุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 42.39–50.22 %SL เฉลี่ย 46.16±2.12 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 22.93–29.67 %SL เฉลี่ย 24.72±1.83 %SL (ตาราง 7) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 7 ครีบหลังมีจํานวนกานครีบ 11-13 กาน เฉลี่ย 11.71±0.59 กาน ประกอบดวยกานครีบแข็ง 3-4 กาน กานครีบออน 8-9 กาน กานครีบทวาร 7–9 กาน เฉลี่ย 7.76±0.90 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 2-3 กาน กานครีบออน 5-6 กาน กานครีบอก 15–16 กาน เฉลี่ย 15.71±0.47 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 14-17 กาน กานครีบทอง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 8 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน จํานวน กานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 7) 66

1.8 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลากระแห Barbonymus schwanenfeldi การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากการวัดลักษณะ (morphometric measurments) และ การนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) พบวาปลากระแห มีความยาวมาตรฐานอยูระหวาง 8.35– 15.50 เซนติเมตร เฉลี่ย 11.66±2.31 เซนติเมตร ความยาวจะงอยปากเทียบกับเปอรเซ็นตของ ความยาวสวนหัว (%HL) อยูระหวาง 20.83–30.20 %HL เฉลี่ย 25.67±2.64 %HL ความยาวเสน ผานศูนยกลางตาเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวอยูระหวาง 35.99-45.50 %HL เฉลี่ย 40.13±2.95 %HL ความยาวของลักษณะทางสัณฐานเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐาน (%SL) มีดังตอไปนี้ ความยาวเหยียดอยูระหวาง 103.87–140.66 %SL เฉลี่ย 134.49±8.11 %SL ความยาวสวนหัวอยูระหวาง 18.06-27.49 %SL เฉลี่ย 24.90±1.98 %SL ความยาวกอนครีบทวาร อยูระหวาง 51.87-72.86 %SL เฉลี่ย 68.58±4.51 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทวารอยูระหวาง 54.26-75.13 %SL เฉลี่ย 71.24±4.54 %SL ความยาวสวนหนาของครีบหลังอยูระหวาง 43.29- 57.55 %SL เฉลี่ย 54.00±3.21 %SL ความยาวสวนหนาของครีบทองอยูระหวาง 36.84-53.93 %SL เฉลี่ย 50.09±3.72 %SL ความยาวของฐานครีบหลังอยูระหวาง 15.03-22.28 %SL เฉลี่ย 19.23±1.71 %SL ความยาวของฐานครีบทวารอยูระหวาง 10.42–18.94 %SL เฉลี่ย 15.85±1.96 %SL ความยาวของครีบอกอยูระหวาง 16.45–24.35 %SL เฉลี่ย 22.36±1.80 %SL ความยาวของ ครีบทองอยูระหวาง 17.03–23.61 %SL เฉลี่ย 21.74±1.87 %SL ความกวางของคอดหางอยู ระหวาง 11.55–16.47 %SL เฉลี่ย 15.04±1.14 %SL ความยาวของคอดหางอยูระหวาง 10.84- 18.07 %SL เฉลี่ย 14.40±1.81 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบหลังอยูระหวาง 18.38–39.24 %SL เฉลี่ย 32.30±5.47 %SL ความลึกของลําตัววัดจากสวนหนาครีบทวารอยู ระหวาง 27.00–51.80 %SL เฉลี่ย 42.43±6.41 %SL ความยาวของครีบทวารอยูระหวาง 16.77– 26.46 %SL เฉลี่ย 23.43±2.77 %SL ความยาวของครีบหลังอยูระหวาง 20.00–35.21 %SL เฉลี่ย 30.94±3.79 %SL ความยาวสวนหนาของครีบอกอยูระหวาง 20.65–28.54 %SL เฉลี่ย 26.12±1.77 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 38.71-56.77 %SL เฉลี่ย 49.85±3.98 %SL ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหางอยูระหวาง 23.87-33.49 %SL เฉลี่ย 29.56±2.59 %SL (ตาราง 8) ผลการนับจํานวนกานครีบ (meristic counts) ปรากฏในตาราง 8 ครีบหลังมีจํานวนกาน ครีบ 11 กาน เฉลี่ย 11 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 8 กาน กานครีบ ทวาร 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน ประกอบดวย กานครีบแข็ง 3 กาน กานครีบออน 5 กาน กานครีบอก 15–17 กาน เฉลี่ย 15.61±0.85 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 14-16 กาน กานครีบทอง 8-9 กาน เฉลี่ย 8.72±0.46 กาน ประกอบดวย กานครีบเดี่ยว 1 กาน กานครีบออน 7- 8 กาน จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 กาน เฉลี่ย 9 กาน จํานวนกานครีบของฐาน ดานลางของครีบหาง 8 กาน เฉลี่ย 8 กาน (ตาราง 8) 67

2. ความสัมพันธระหวางความยาวมาตรฐานกับน้ําหนักของปลาวงศไซไพรนิดี ปลาวงศไซไพรนิดี มีความสัมพันธในเชิงบวกที่มีนัยสําคัญ 0.01 นั่นคือ เมื่อความยาว มาตรฐานของปลาเพิ่มขึ้น น้ําหนักของตัวปลาก็เพิ่มขึ้นเชนกัน จากการศึกษาความสัมพันธระหวาง ความยาวมาตรฐานกับน้ําหนักของปลาในลุมน้ํานานจํานวน 8 ชนิด พบวาประชากรปลาในลุมแมน้ํา นานที่ทําการศึกษาทั้ง 8 ชนิด มีขนาดความยาวมาตรฐานมากขึ้นและมีน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น แสดงถึง สภาพแวดลอมของถิ่นที่อยูอาศัยเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของปลาวงศไซไพรนิดี เพราะแรธาตุ อาหารไดถูกพัดพาลงสูแหลงน้ําในลุมน้ํานานทําใหปลามีการเจริญเติบโตมากขึ้น

3. อุณหภูมิของแหลงน้ํา อุณหภูมิ เปนปจจัยทางฟสิกสที่มีความสําคัญตอการเจริญเติบโต การสืบพันธุ การแพรกระจาย ของปลา การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ําในแหลงน้ําธรรมชาติ จะแปรผันตามอุณหภูมิของ อากาศขึ้นอยูกับตําแหนงเสนรุง ระดับความสูง ฤดูกาล และสภาพภูมิประเทศ (EPA. 1973: 1- 125); (Ruttner. 1973: 1-195) อุณหภูมิน้ําที่สูงขึ้นจะเรงปฏิกิริยาตางๆ ใหสูงขึ้นตามไปดวย เชน การหายใจ การยอยอาหาร การสลายตัวของสารอินทรียตาง ๆ เปนตน ในสภาพธรรมชาติ ของประเทศไทย อุณหภูมิของน้ําจะแปรผันอยูในชวงระหวาง 23-32 °C แตก็อาจจะมีคาสูงหรือ ต่ํากวาระดับดังกลาวในบางสถานที่และฤดูกาล (ไมตรี ดวงสวัสดิ์. 2530: 1-38) อุณหภูมิของน้ํา นานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มีอุณหภูมิเฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส 68

ปญหาและขอเสนอแนะ

1. ในขั้นตอนดําเนินการทดลองการเก็บตัวอยางในพื้นที่จังหวัดนานประสบปญหาอุทกภัย เกิดขึ้นในชวงเดือน สิงหาคม-กันยายน ทําใหปลามีการอพยพยายถิ่นฐานไปตามกระแสน้ําและเปน อุปสรรคในการเก็บตัวอยางปลาในชวงนั้น 2. จากการสํารวจแหลงน้ําที่มีปลาชนิดนี้อาศัยอยูในหลายพื้นที่ พบวาแหลงที่อยูอาศัยของ ปลามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจากที่เคยสํารวจในหลายพื้นที่อันเกิดเนื่องมาจากการใชประโยชน ของน้ํานานทางดานการเกษตร ไดแก การทําสวนสม ลิ้นจี่ ลําไย มะมวง การทําไรขาว ขาวโพด การปลูกพืชตระกูลถั่ว และมีการปลูกผักสวนครัว ตามแนวแมน้ํานาน ซึ่งการเกษตรในลักษณะ ดังกลาว มีการใชสารเคมีและสารปราบศัตรูพืชที่รุนแรงและเปนอันตรายตอแมน้ํานาน และสัตวน้ํา เปนอยางยิ่ง จึงเปนการสงผลกระทบตอสัตวน้ําในทางออม 3. เนื่องจากปลาวงศไซไพรนิดีเปนปลาเศรษฐกิจของประชากรในจังหวัดนาน เปนกิจกรรม การเลี้ยงชีพจากการประมง ที่มีการหาปลาและสัตวน้ําเพื่อเปนอาหารและสรางรายไดใหกับ ครอบครัว ดวยความรูเทาไมถึงการณ ทั้งของคนในพื้นที่และชุมชนใกลเคียง มีการหาปลาโดยวิธี ระเบิดปลา การใชยาเบื่อ การใชไฟฟาชอต และการใชวัสดุ อุปกรณจับสัตวที่ผิดประเภท เชน การ ใชขายหรือแหที่มีขนาดตาถี่ ทําใหปลาตัวเล็ก ๆ ถูกจับไปดวย หรือ แมแตการจับสัตวน้ําในฤดูที่ ปลากําลังวางไขเหลานี้ อาจเปนผลทําใหสัตวน้ําจําพวกปลาที่หายากสูญพันธไปในที่สุด จึงควรมี การเผยแพรความสําคัญและประโยชนของปลาชนิดนี้ ใหกับประชากรในพื้นที่เพื่อชวยในการ อนุรักษปลาใหเปนแหลงอาหารโปรตีน เพื่อเปนความมั่นคงทางอาหาร (food security) อยางหนึ่ง ของประชากรที่อาศัยอยูในบริเวณนั้น และใหปลาอยูคูกับแหลงน้ําตลอดไป บรรณานุกรม 70

บรรณานุกรม

กวี วรกวิน. (2547). แผนที่ความรูทองถิ่นไทย ภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: บริษัทพัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.). เฉิดฉัน อมาตยกุล และ คนอื่น ๆ. (2538). ปลาตะโกก. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. ชวลิต วิทยานนท. (2548) ปลาน้ําจืดไทย. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส. ฐาปกรณ ลิ่มบรรจง; สุทัศน เผือกจีน; และ สุรพงษ วิวัชรโกเศศ. (2549). ชีววิทยาบางประการของ ปลาตามินในอางเก็บน้ําเขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ. ชัยนาท: ศูนยวิจัยและพัฒนาประมง น้ําจืดชัยนาท. ( เอกสารวิชาการฉบับที่ 46) ดิเรก ธรรมนิยม; และ ทวีศักดิ์ ชาญประเสริฐพร. (2520). ความสัมพันธระหวางความยาวและ น้ําหนักของปลาทรายขาว (Scolopsis taeniopterus) นอกฝงบริเวณชลบุรีในอาวไทยตอน ใน (มิ.ย.2513-พ.ค.2514.กรุงเทพฯ: กองประมงทะเล กรมประมง. รายงาน งานปลาหนาดิน ฉบับที่ 2) ทัศพล กระจางดารา. (2537). อนุกรมวิธานและชีวประวัติบางประการของปลาในอางเก็บน้ํา รัชชประภา จังหวัดสุราษฎรธานี. วิทยานิพนธวท.ม.(วิทยาศาสตรการประมง).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ถายเอกสาร. ธงชัย จําปาศรี. (2542). การศึกษาอนุกรมวิธานของปลาในแมน้ํายม. วิทยานิพนธ วท.ม. (วิทยาศาสตรการประมง) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. (ถายเอกสาร) นฤชิต เสาวคนธ. (2548). ความหลากหลายชนิดของปลาในอางเก็บน้ําเขื่อนกระเสียว จังหวัด สุพรรณบุรี. วิทยานิพนธวท.ม.(วิทยาศาสตรการประมง).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ถายเอกสาร. พิพิธภัณฑสถานแหงชาตินาน. (2548). มรดกเดน จังหวัดนาน. พิมพครั้งที่ 3. นาน: องคการ บริหารสวนจังหวัดนาน. มณี ชางเผือก. (2539). ภูมิศาสตรประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวน ดุสิต. ไมตรี ดวงสวัสดิ์. (2530). เกณฑคุณภาพน้ําเพื่อการคุมครองทรัพยากรสัตวน้ําจืด. เอกสาร วิชาการ. ฉบับที่ 75: 1-38. กรุงเทพฯ: สถาบันประมงน้ําจืดแหงชาติ กรมประมง. ยงยุทธ ทักษิณ. (2529). การศึกษาชีวประวัติของปลากระมังเพื่อเพิ่มผลผลิตการประมงในแหลง น้ํา. กรุงเทพฯ. กองประมงน้ําจืด กรมประมง. (รายงานประจําปสถานีประมงน้ําจืด นครสวรรค). 71

วิเชียร มากตุน. (2530).การศึกษาชีววิทยาบางประการของ Oryzias ทางภาคใตของประเทศไทย. รายงานการวิจัยสาขาเกษตรและชีววิทยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน. ศูนยวิจัยและพัฒนารกรมประมงน้ําจืดพิษณุโลก สํานักและวิจัยพัฒนาประมงน้ําจืด กรมประมง. (2549). รายงานการติดตามตรวจสอบระบบนิเวศในน้ําและการประมง โครงการเขื่อนแคว นอย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ. กรุงเทพฯ: วนิดาการพิมพ. สมชาติ ธรรมขันทา; อุมาภรณ จรดล; และ โกมุท อุนศรีสง. (2548). สารวิชาการประมง. กรุงเทพฯ: สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด. กรมประมง. สมศักดิ์ เจนศิริศักดิ์. (2515). ชีวประวัติของปลากระมัง. กรุงเทพฯ: กองบํารุงพันธุสัตวน้ํา กรม ประมง. (รายงานประจําปหนวยงานพัฒนาการประมงในอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน). สุรศักดิ์ วงศกิตติเวช. (2544). สารานุกรมปลาไทย freshwater fishes of Thailand. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท เอม ซัพพลาย จํากัด. สุวีณา บานเย็น และ คนอื่น ๆ. (2537). ศึกษาอุปนิสัยการกินอาหารและสัดสวนความสัมพันธ ระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาที่มีความสําคัญตอเศรษฐกิจในบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค. เอกสารวิชาการ .ฉบับที่ 156. สถาบันวิจัยประมงน้ําจืด กรมประมง. ส.พุมสุวรรณ. (2546). ปลาพื้นบานของไทย.กรุงเทพฯ.นานมีบุคสพับลิเคชั่นส. อนุพงษ สนิทชน และทิวารัตน เถลิงเกียรติลีลา.ชีววิทยาบางประการของปลาสายยูในแมน้ําโขง จังหวัดหนองคาย. (2548). กรุงเทพฯ: กรมประมง (สารวิชาการประมงฉบับที่ 3) EPA. (1973). Water Quality Criteria 1972. A Report of the Committee on Quality Criteria Environmental Studies Broard U.S. Government. Printing Office, Washington D.C. Hubbs, C.L.; & Lagler,K.F. (1967). Fishes of the Great Lakes region. Michigan: University of Michigan Press. Nelson, J.S. (1976). Fishes of the world.New york: John Wiley & Sons,Inc. ……… (2006). Fish of the world. New york: John Wiley & Sons,Inc. Kotellat, M. (1989). Zoogeography of fish from Indochinese island water asith an Annotated check list. Amsterdam. Bull. Zool. Mus. Univ. 54...... (2001) Fishes of Laos. Sri Lanka: WHT Publications Ltd., Colombo 5. Lagler,K.F. (1952). Freshwater Fishery Biology. U.S.A.: Brow Company. Nagabo, T. (2002). Introduction to ichthyology. Japan: Tokai University Press. Roberts, T.R. (1989). The freshwater fishes of Borneo (Kalimantan Barat, Indonesia).California Academy of Sciences, Sanfrancisco. Ruttner, F. (1973). Fundamental of Limnology. English translation by D.G. Frey and F.E.J. Fry. University of Toronto Press, Toronto. 72

Sidthimunka, A. (1973). Length – Weight Relationship of Fresh water Fishes of Thailand. International Development Project. AID/csd 2270 T09. Alabama: International Center for Aquaculture Agricultural Experiment Station. Auburn university. Smith, H. M. (1945). The fresh-water fishes of Siam, or Thailand. Washington: U.S. Govt. Print. Off. Sontirat, S.(1976).Revision of the Southeastern Asiatic Cyprinid fish genus Cyclocheilichthys. Dissertation, Ph.D.(Fisheries). U.S.A.: Graduate school, University of Michigan. Photocopied. ภาคผนวก 74

ภาพประกอบ 20 ภาพแสดงสถานที่เก็บตัวอยางจุดที่ 1 บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 21 ภาพแสดงสถานที่เก็บตัวอยางจุดที่ 1 บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 75

ภาพประกอบ 22 ภาพแสดงสถานที่เก็บตัวอยางจุดที่ 2 บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 23 ภาพแสดงสถานที่เก็บตัวอยางจุดที่ 2 บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 76

ภาพประกอบ 24 ภาพแสดงสถานที่เก็บตัวอยางจุดที่ 3 บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 25 ภาพแสดงสถานที่เก็บตัวอยางจุดที่ 3 บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 77

ภาพประกอบ 26 ภาพปลากระมัง เก็บตัวอยางจากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 27 ภาพปลาหนามหลัง เก็บตัวอยางจากแมน้ํานาน บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 78

ภาพประกอบ 28 ภาพปลาตามิน เก็บตัวอยางจากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 29 ภาพปลาไสตันตาขาว เก็บตัวอยางจากแมน้ํานาน บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 79

ภาพประกอบ 30 ภาพปลาตะพาก เก็บตัวอยางจากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 31 ภาพปลาแกมช้ํา เก็บตัวอยางจากแมน้ํานาน บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 80

ภาพประกอบ 32 ภาพปลากระสูบขีด เก็บตัวอยางจากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 33 ภาพปลากระแห เก็บตัวอยางจากแมน้ํานาน บริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 81

ภาพประกอบ 34 ภาพเก็บรวบรวมตัวอยางปลาเดือนกันยายน 2549 จากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 35 ภาพเก็บรวบรวมตัวอยางปลาเดือนตุลาคม 2549 จากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 82

ภาพประกอบ 36 ภาพเก็บรวบรวมตัวอยางปลาเดือนพฤศจิกายน 2549 จากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 37 ภาพเก็บรวบรวมตัวอยางปลาเดือนธันวาคม 2549 จากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 83

ภาพประกอบ 38 ภาพเก็บรวบรวมตัวอยางปลาเดือนมกราคม 2550 จากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 39 ภาพเก็บรวบรวมตัวอยางปลาเดือนกุมภาพันธ 2550 จากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 84

ภาพประกอบ 40 ภาพเก็บรวบรวมตัวอยางปลาเดือนมีนาคม 2550 จากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน

ภาพประกอบ 41 ภาพเก็บรวบรวมตัวอยางปลาจํานวน 6 เดือน ตั้งแตเดือนกันยายน 2549 ถึง เดือนมีนาคม 2550 จากแมน้ํานานบริเวณอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน 85

ภาพประกอบ 42 ภาพเครื่องมือในการเก็บตัวอยางปลา: สวิง

ภาพประกอบ 43 ภาพเครื่องมือในการเก็บตัวอยางปลา : แห 86

ภาพประกอบ 44 ภาพอุปกรณในการชั่งน้ําหนักปลา: เครื่องชั่งละเอียด

ภาพประกอบ 45 ภาพอุปกรณในการวัดลักษณะตาง ๆ ของปลา: เวอรเนียร ดิจิตอล รุน absolute digimatic 87

ตารางภาคผนวก 1 แสดงการวัดลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปลากระมัง Puntioplites proctozysron จํานวน 91 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Puntioplites proctozysron (n=91) พิสัย คาเฉลี่ย ± SD ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (เซนติเมตร) 9.75-18.30 13.01±1.77 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 17.49-35.81 28.91±3.79 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 23.75–45.58 36.56±3.29 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 123.19–153.64 134.73±5.09 ความยาวสวนหัว 23.79–37.37 27.24±1.53 ความยาวกอนครีบทวาร 63.22–71.79 67.16±1.48 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 67.52–99.82 71.22±3.40 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 52.36–82.54 58.29±3.23 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 40.11–50.28 47.20±1.41 ความยาวของฐานครีบหลัง 13.28–27.60 20.76±1.91 ความยาวของฐานครีบทวาร 10.65–20.85 17.03±1.54 ความยาวของครีบอก 11.81–30 21.78±2.12 ความยาวของครีบทอง 14.17–31.93 22.34±1.98 ความกวางของคอดหาง 10.03–33.52 14.59±2.36 ความยาวของคอดหาง 10.30–21.31 13.93±1.83 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 22.69–45.96 32.92±2.71 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 33.24–54.91 43.47±2.81 ความยาวของครีบทวาร 16.25–35.44 26.08±2.68 ความยาวของครีบหลัง 27.15–45.18 32.94±3.11 ความยาวสวนหนาของครีบอก 20.55–36.32 28.12±1.76 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 16.39–66.93 49.31±4.55 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 23.96-41.23 30.17±2.28 88

ตารางภาคผนวก 2 สรุปลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาหนามหลัง Mystacoleucus marginatus จํานวน 217 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Mystacoleucus marginatus (n=217) พิสัย คาเฉลี่ย ± SD ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (เซนติเมตร) 3.60–13.50 9.27±1.61 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 18.05–38.25 25.80±3.14 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 16.32–83.33 38.85±4.35 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 108.59–204.44 128.99±6.65 ความยาวสวนหัว 18.44–37.78 23.43±1.63 ความยาวกอนครีบทวาร 55.48–83.06 69.80±2.67 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 59.04–86.11 72.04±2.57 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 41.33–77.78 51.79±3.08 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 25.06–76.94 49.09±3.36 ความยาวของฐานครีบหลัง 11.32–25.83 16.32±1.57 ความยาวของฐานครีบทวาร 8.26–22.22 13.87±1.64 ความยาวของครีบอก 13.78–31.67 19.84±1.77 ความยาวของครีบทอง 13.58–30.56 18.91±1.73 ความกวางของคอดหาง 9.96–124.87 13.39±8.10 ความยาวของคอดหาง 10.37–28.06 15.5 ±2.14 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 11.69–43.89 27.27±2.78 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 25.39–58.61 37.07±3.14 ความยาวของครีบทวาร 12.94–29.63 17.32±2.41 ความยาวของครีบหลัง 14.32–41.11 24.43±2.59 ความยาวสวนหนาของครีบอก 6.35–86.56 25.16±4.76 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 22.91–80 51.57±4.44 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 21.26–72.19 28.64±4.13 89

ตารางภาคผนวก 3 สรุปลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาตามิน Amblyrhynchichthys truncatus จํานวน 22 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Amblyrhynchichthys truncatus (n=22) พิสัย คาเฉลี่ย ± SD ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (เซนติเมตร) 10.49–19.50 14.05±1.73 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 13.59-21.13 17.70±1.98 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 26.29–61.06 38.94±6.58 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 102.29–130.50 126.37±5.83 ความยาวสวนหัว 21.85-24.50 23.39±0.59 ความยาวกอนครีบทวาร 66.61–73.35 68.62±1.61 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 67.71–75.63 73.30±1.61 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 46.21–67.84 48.89± 4.29 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 44.60–48.82 46.81±1.23 ความยาวของฐานครีบหลัง 14.21–16.90 15.36±0.61 ความยาวของฐานครีบทวาร 8.47–11.13 9.68±0.70 ความยาวของครีบอก 10.38–20.37 18.48±1.97 ความยาวของครีบทอง 17.69–21.35 19.78±1.04 ความกวางของคอดหาง 10.32–12.55 11.63±0.42 ความยาวของคอดหาง 11.54–18.06 14.84±1.42 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 14.54–24.84 21.07±1.91 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 27.82–34.05 29.58±1.74 ความยาวของครีบทวาร 13.62–19.57 16.86±1.37 ความยาวของครีบหลัง 21.35–33.27 29.60±2.46 ความยาวสวนหนาของครีบอก 20.62–25.46 24.49±1.04 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 36.92–53.19 50.33±3.60 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 16.03–28.30 24.38±2.48 90

ตารางภาคผนวก 4 สรุปลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาไสตันตาขาว Cyclocheilichthys repasson จํานวน 201 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Cyclocheilichthys repasson (n=201) พิสัย คาเฉลี่ย ± SD ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (เซนติเมตร) 5.70–19.40 12.05±2.14 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 9.66-42.86 32.42±3.83 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 24.58–84.83 32.03±4.94 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 97.72–145.31 127.79 ± 4.02 ความยาวสวนหัว 20.57–33.45 25.78 ± 1.24 ความยาวกอนครีบทวาร 58.48–74.12 68.22 ± 2.07 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 61.52–79.10 72.75 ± 2.63 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 46.75–76.43 55.02 ± 3.44 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 20.26–54.47 47.33 ± 4.16 ความยาวของฐานครีบหลัง 11.31–47.05 15.73 ± 2.61 ความยาวของฐานครีบทวาร 8.20–28.25 10.37 ± 2.54 ความยาวของครีบอก 10.32–24.35 20.22 ± 1.30 ความยาวของครีบทอง 13.09–29.46 20.72 ±1.34 ความกวางของคอดหาง 10.44–18.18 12.04 ± 0.89 ความยาวของคอดหาง 10.48–20.24 15.51 ± 1.50 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 17.49–27.57 20.89 ± 1.12 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 20.62–45.10 31.47 ± 2.05 ความยาวของครีบทวาร 11.42–28.15 19.68 ± 1.59 ความยาวของครีบหลัง 21.83–34.59 26.68 ± 1.95 ความยาวสวนหนาของครีบอก 4.84-32.08 27.28 ± 1.94 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 36.74–58.69 47.78 ± 2.92 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 21.05–36.94 25.01 ± 1.95 91

ตารางภาคผนวก 5 สรุปลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาแกมช้ํา Puntius orphoides จํานวน 18 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Puntius orphoides (n=18) พิสัย คาเฉลี่ย ± SD ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (เซนติเมตร) 6.14–13.11 9.56±1.99 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 21.20–31.96 24.84±2.90 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 27.67–84.31 34.32±12.64 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 116.02–129.67 124.90±3.79 ความยาวสวนหัว 23.90–28.60 26.10±1.10 ความยาวกอนครีบทวาร 58.40–72.82 70.53±3.11 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 61.76–75.59 73.15±3.17 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 38.44–56.52 52.31±3.81 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 48.13–55.17 50.73±1.83 ความยาวของฐานครีบหลัง 12.38–16.70 14.33±1.21 ความยาวของฐานครีบทวาร 8.01–10.59 9.30±0.66 ความยาวของครีบอก 18.84–22.69 20.32±0.97 ความยาวของครีบทอง 11.92–20.43 17.90±1.81 ความกวางของคอดหาง 7.82–15.79 13.54±1.61 ความยาวของคอดหาง 14.84–20.24 17.71±1.48 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 20.06–27.57 23.80±1.73 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 31.14–41.08 34.48±2.56 ความยาวของครีบทวาร 14.34–17.77 16.17±1.01 ความยาวของครีบหลัง 22.12–26.66 23.66±1.36 ความยาวสวนหนาของครีบอก 24.43–28.07 26.40±1 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 39.78–52.33 47.51±3.26 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 22.48–29.97 26.81±2.04 92

ตารางภาคผนวก 6 สรุปลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลาตะพาก Hypsibarbus wetmorei จํานวน 62 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Hypsibarbus wetmorei (n=62) พิสัย คาเฉลี่ย ± SD ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (เซนติเมตร) 8.10–20.80 12.42±2.80 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 10.95–34.48 27.90±3.09 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 28.75–49.55 35.70±3.49 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 121.02–152.44 129.80±4.73 ความยาวสวนหัว 21.20–27.30 23.99±1.35 ความยาวกอนครีบทวาร 64.36–78.32 71.80±2.40 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 68 –81.79 74.32±2.25 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 44.70–60.08 54.86±2.69 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 46.78–57.02 50.93±2.18 ความยาวของฐานครีบหลัง 12.95–23.26 15.27±1.49 ความยาวของฐานครีบทวาร 2.67–21.20 10.35±2.94 ความยาวของครีบอก 16.99–27.14 21.23±1.74 ความยาวของครีบทอง 17.17–24.43 20.04±1.52 ความกวางของคอดหาง 5.12–19.64 13.14±1.80 ความยาวของคอดหาง 11.16–18.59 14.85±1.50 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 14.85–33.62 24.73±3.17 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 26.78–44.73 36.39±3.04 ความยาวของครีบทวาร 15.63–25.32 19.76±1.88 ความยาวของครีบหลัง 12.63–33.66 25.57±2.81 ความยาวสวนหนาของครีบอก 22.91–30.73 25.41±1.59 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 42.29–55.07 47.66±2.89 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 17.45–30.49 24.28±2.11 93

ตารางภาคผนวก 7 สรุปลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota จํานวน 22 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Hampala macrolepidota (n=17) พิสัย คาเฉลี่ย ± SD ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (เซนติเมตร) 8.94–20.80 15.34±3.27 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 26.43–33.06 29.35±2.01 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 19.82–38.69 26.62±4.44 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 120 –131.71 125.31±2.82 ความยาวสวนหัว 27.72–32.60 29.73±1.51 ความยาวกอนครีบทวาร 66.89–73.85 70.28±2.01 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 69.07–74.52 72.54±1.50 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 48.91–56.15 53.09±1.72 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 47.57–54.89 50.76±1.72 ความยาวของฐานครีบหลัง 11.80–17.44 14.11±1.21 ความยาวของฐานครีบทวาร 7.22–10.07 8.40±0.68 ความยาวของครีบอก 15.47–20.08 17.81±1.07 ความยาวของครีบทอง 14.13–16.63 15.59±0.82 ความกวางของคอดหาง 11.07–14.57 12.30±0.78 ความยาวของคอดหาง 13.31–17.56 15.76±1.01 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 17.22–23.82 20.11±1.40 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 26.10–35.86 28.71±2.16 ความยาวของครีบทวาร 14.53–18.16 16.51±0.94 ความยาวของครีบหลัง 20.38–25.07 22.55±1.41 ความยาวสวนหนาของครีบอก 26.09–30.65 28.56±1.34 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 42.39–50.22 46.16±2.12 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 22.73–29.59 24.72±1.90 94

ตารางภาคผนวก 8 สรุปลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของปลากระแห Barbonymus schwanenfeldi จํานวน 18 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Barbonymus schwanenfeldi (n=18) พิสัย คาเฉลี่ย ± SD ความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (เซนติเมตร) 8.35–15.50 11.66±2.31 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวสวนหัวเฉลี่ย (%HL) ความยาวจะงอยปาก 20.42–29.55 25.06±2.30 ความยาวของเสนผานศูนยกลางตา 35.99–45.50 40.13±2.95 ลักษณะที่วัดเทียบกับเปอรเซ็นตของความยาวมาตรฐานเฉลี่ย (%SL) ความยาวเหยียด 103.87–140.25 134.45±8.09 ความยาวสวนหัว 18.06–27.49 24.90±1.98 ความยาวกอนครีบทวาร 51.87–72.86 68.58±4.51 ความยาวสวนหนาของครีบทวาร 54.26-75.13 71.24±4.54 ความยาวสวนหนาของครีบหลัง 43.29–57.55 54 ±3.21 ความยาวสวนหนาของครีบทอง 36.84–53.93 50.09±3.72 ความยาวของฐานครีบหลัง 15.03–22.28 19.23±1.71 ความยาวของฐานครีบทวาร 10.42–18.94 15.85±1.96 ความยาวของครีบอก 16.45–24.35 22.36±1.80 ความยาวของครีบทอง 17.03–23.61 21.74±1.87 ความกวางของคอดหาง 11.55–16.47 15.04±1.14 ความยาวของคอดหาง 10.84–18.07 14.40±1.81 ความลึกของลําตัวหนาครีบหลัง 18.38–39.24 32.30±5.47 ความลึกของลําตัวหนาครีบทวาร 27 –51.80 42.43±6.41 ความยาวของครีบทวาร 16.77–26.46 23.43±2.77 ความยาวของครีบหลัง 20 –35.21 30.94±3.79 ความยาวสวนหนาของครีบอก 20.65–28.54 26.12±1.77 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบหลังถึงฐานของครีบหาง 38.71–56.77 49.85±3.98 ความยาวระหวางจุดเริ่มตนของครีบทวารถึงฐานของครีบหาง 23.61–33.03 29.45±2.51 95

ตารางภาคผนวก 9 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลากระมัง

คาสหสัมพันธ ความยาวมาตรฐาน น้ําหนัก ความยาวมาตรฐาน คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 1 0.9973** คาความนาจะเปน - 0 0 จํานวน 91 91 น้ําหนัก คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 0.9973** 1 คาความนาจะเปน 0 0 - จํานวน 91 91

** มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99%

ตารางภาคผนวก 10 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาหนามหลัง

คาสหสัมพันธ ความยาวมาตรฐาน น้ําหนัก ความยาวมาตรฐาน คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 1 0.9904** คาความนาจะเปน - 0 0 จํานวน 217 217 น้ําหนัก คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 0.9904** 1 คาความนาจะเปน 0 0 - จํานวน 217 217

** มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% 96

ตารางภาคผนวก 11 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาตามิน

คาสหสัมพันธ ความยาวมาตรฐาน น้ําหนัก ความยาวมาตรฐาน คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 1 0.9973** คาความนาจะเปน - - จํานวน 22 22 น้ําหนัก คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 0.9973** 1 คาความนาจะเปน 0 0 - จํานวน 22 22

** มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99%

ตารางภาคผนวก 12 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลา ปลาไสตันตาขาว

คาสหสัมพันธ ความยาวมาตรฐาน น้ําหนัก ความยาวมาตรฐาน คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 1 0.9934** คาความนาจะเปน - - จํานวน 201 201 น้ําหนัก คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 0.9934** 1 คาความนาจะเปน 0 0 - จํานวน 201 201

** มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% 97

ตารางภาคผนวก 13 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาแกมช้ํา

คาสหสัมพันธ ความยาวมาตรฐาน น้ําหนัก ความยาวมาตรฐาน คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 1 0.9899** คาความนาจะเปน - - จํานวน 18 18 น้ําหนัก คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 0.9899** 1 คาความนาจะเปน 0 0 - จํานวน 18 18

** มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99%

ตารางภาคผนวก 14 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลาตะพาก

คาสหสัมพันธ ความยาวมาตรฐาน น้ําหนัก ความยาวมาตรฐาน คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 1 0.9854** คาความนาจะเปน - - จํานวน 62 62 น้ําหนัก คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 0.9854** 1 คาความนาจะเปน 0 0 - จํานวน 62 62

** มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% 98

ตารางภาคผนวก 15 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของปลากระสูบขีด

คาสหสัมพันธ ความยาวมาตรฐาน น้ําหนัก ความยาวมาตรฐาน คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 1 0.9942** คาความนาจะเปน - - จํานวน 17 17 น้ําหนัก คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 0.9942** 1 คาความนาจะเปน 0 0 - จํานวน 17 17

** มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99%

ตารางภาคผนวก 16 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความยาวและน้ําหนักของกระแห

คาสหสัมพันธ ความยาวมาตรฐาน น้ําหนัก ความยาวมาตรฐาน คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 1 0.9704** คาความนาจะเปน - - จํานวน 18 18 น้ําหนัก คาสัมประสิทธิสหสัมพันธ 0.9704** 1 คาความนาจะเปน 0 0 - จํานวน 18 18

** มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% 99

ตารางภาคผนวก 17 แสดงอุณหภูมิของน้ํานานในจุดเก็บตัวอยาง ระยะเวลา 6 เดือน มีอุณหภูมิ เฉลี่ย 26.21 องศาเซลเซียส ตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550

ปจจัยทางกายภาพ เดือน อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิน้ํา ( 0C) ( 0C) กันยายน 2549 28 27 ตุลาคม 2549 28 26 พฤศจิกายน 2549 26 23 ธันวาคม 2549 26 22 มกราคม 2550 25 19 กุมภาพันธ 2550 25 20 มีนาคม 2550 27 20 จํานวน 6 เดือน เฉลี่ย 26.43 26.21

* วัดอุณหภูมิน้ําโดยใชเทอรโมมิเตอร 100

ตารางภาคผนวก 18 จํานวนกานครีบ ของปลากระมัง Puntioplites protozysron จํานวน 91 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Puntioplites proctozysron (n=91) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III, 8-9 11-22±0.416 กานครีบทวาร III, 5-7 8.49±0.74 กานครีบอก i, 14-16 16.30±0.59 กานครีบทอง i, 8-9 9.81±0.392 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8-9 8.03±0.18

ตารางภาคผนวก 19 จํานวนกานครีบ ของปลาหนามหลัง Mystacoleucus marginatus จํานวน 217 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Mystacoleucus marginatus (n=217) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III-IV, 7-8 11.82±0.38 กานครีบทวาร III, 8-9 11.85±0.36 กานครีบอก i, 11-14 14.93±0.30 กานครีบทอง i, 8 8 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 7-9 8.81±0.42 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 7-9 7.99±0.15 101

ตารางภาคผนวก 20 จํานวนกานครีบ ของปลาตามิน Amblyrhynchichthys truncatus จํานวน 22 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Amblyrhynchichthys truncatus (n=22) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III, 7-8 10.82±0.39 กานครีบทวาร III, 5 5 กานครีบอก i, 15-16 16.23±0.42 กานครีบทอง i, 8-9 16.23±0.42 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 9 9

ตารางภาคผนวก 21 จํานวนกานครีบ ของปลาไสตันตาขาว Cyclocheilichthys repasson จํานวน 201 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Cyclocheilichthys repasson (n=201) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III-IV, 8 11.96±0.19 กานครีบทวาร III, 5 5 กานครีบอก i, 15-17 17.13±0.82 กานครีบทอง i, 8-9 9.93±0.25 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 8-9 8.98±0.14 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 7-9 8 ±0.10 102

ตารางภาคผนวก 22 จํานวนกานครีบ ของปลาแกมช้ํา Puntius orphoides จํานวน 18 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Puntius orphoides (n=18) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III, 8 8 กานครีบทวาร III, 5 5 กานครีบอก i, 12-14 14.78±0.548 กานครีบทอง i, 8 8 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 8

ตารางภาคผนวก 23 จํานวนกานครีบ ของปลาตะพาก Hypsibarbus wetmorei จํานวน 62 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Hypsibarbus wetmorei (n=62) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III, 8 8 กานครีบทวาร III, 5 5 กานครีบอก i, 14-16 15.58±0.62 กานครีบทอง i, 7-8 8.79±0.41 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 8 103

ตารางภาคผนวก 24 จํานวนกานครีบ ของปลากระสูบขีด Hampala macrolepidota จํานวน 17 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Hampala macrolepidota พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III-Iv, 8-9 11.71±0.59 กานครีบทวาร II-III , 5-6 7.76±0.90 กานครีบอก i, 14-15 15.71±0.47 กานครีบทอง i, 8 8 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 8

ตารางภาคผนวก 25 จํานวนกานครีบ ของปลากระแห Barbonymus schwanenfeldi จํานวน 18 ตัว

ลักษณะทางสัณฐาน Barbonymus schwanenfeldi (n=18) พิสัย เฉลี่ย ± SD การนับจํานวนกานครีบ(กาน) กานครีบหลัง III, 8 8 กานครีบทวาร III, 5 5 กานครีบอก i, 14-16 15.61±0.85 กานครีบทอง i, 7-8 8.72±0.46 จํานวนกานครีบของฐานดานบนของครีบหาง 9 9 จํานวนกานครีบของฐานดานลางของครีบหาง 8 8 ประวัติยอผูทําสารนิพนธ 105

ประวัติยอผูทําสารนิพนธ

ชื่อ ชื่อสกุล นางสาวละอองดาว ทีฆาวงค วันเดือนปเกิด 6 ธันวาคม 2518 สถานที่เกิด อําเภอปว จังหวัดนาน สถานที่อยูปจจุบัน 47 หมูที่ 4 ตําบลศิลาแลง อําเภอปว จังหวัดนาน 55120 ตําแหนงหนาที่การงานในปจจุบัน ครู คศ. 1 สถานที่ทํางานในปจจุบัน โรงเรียนหมอมเจาเจริญใจ จิตรพงศ อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนาน ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2531 ประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนไตรประชาวิทยา พ.ศ. 2537 มัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย โรงเรียนปว พ.ศ. 2541 ปริญญาตรี ค.บ. (การศึกษาปฐมวัย) สถาบันราชภัฏเชียงราย พ.ศ. 2550 ปริญญาโท กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ