Pelvic Exsanguination
Total Page:16
File Type:pdf, Size:1020Kb
1 Pelvic exsanguination แพทย์หญิงปริญญา ปริญญาณัฏฐ์ อาจารย์บุรภัทร สังข์ทอง ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Exsanguinating pelvic fracture เป็นการหักของกระดูกเชิงกรานที่ผู้ป่วยมักมีสัญญาณชีพไม่คงที่ และ อาจพบกระดูกเชิงกรานหักชนิดไม่มน่ั คง (unstable pelvic fractures) ซึ่งสัมพันธ์กับกลไกลการบาดเจ็บแบบ พลังงานสูง (high energy mechanism) และเกิดการบาดเจ็บของอวัยวะอื่นร่วมด้วย (1) กายวิภาคกระดูกเชิงกราน (Anatomy) กระดูกเชิงกราน (Pelvis) ประกอบด้วยกระดูก 3 ส่วน ประกอบกันเป็นวง คือ - Sacrum - Coccyx - Hip bones ประกอบด้วยกระดูก 3 ช้ิน o Ilium o Ischium o Pubis กระดูกเชิงกรานแต่ละช้ินยดึ กนั ดว้ ยเอน็ (Ligament) - cartilage ที่ยึดกระดูก symphysis pubis ทางด้านหน้า - Superior and inferior pubic ligaments - Ventral, interosseous และ dorsal sacroiliac ligaments เพ่ิมความแข็งแรงของ pelvic ring - Sacrospinous ligament - Sacrotuberous ligament - Sacrospinous ligament 2 หลอดเลือดแดงที่นาเลือดเข้าสู่เชิงกราน หลอดเลือดหลักคือ Internal iliac (hypogastric) artery ที่แยกมา จาก common iliac artery โดยแบ่งออกเป็น Parietal branches และ Visceral branches - Parietal branches ได้แก่ o Iliolumbar artery supplies bone and muscle in the iliac fossa o Lateral sacral arteries supply the sacrum and coccyx o Obturator artery divides into anterior and posterior branches which encircle the margin of the obturator foramen o Superior and inferior gluteal arteries o Internal pudendal artery - Visceral branches ได้แก่ o Umbilical arteries o Superior and inferior vesical arteries supply the bladder, and the middle rectal artery supplies the rectum o Uterine artery (Artery of the ductus deferens) o Vaginal artery and middle rectal arteries 3 ilium sacrum coccyx pubis ischium รูปที่1 กระดูกเชิงกรานและหลอดเลือด อุบัติการณ์ (Incident) อุบัติการณ์กระดูกเชิงกรานหักจากอุบัติเหตุแบบ blunt mechanism ร้อยละ 9.3 ซึ่งกระดูกเชิงกรานที่หัก ทาให้อวัยวะในช่องท้องมีการบาดเจ็บ ได้ร้อยละ 16.5 โดยพบการบาดเจ็บของตับร้อยละ 6.1 กระเพาะปัสสาวะ และ ท่อปัสสาวะร้อยละ 5.8 ม้ามร้อยละ 5.2 กระบังลมร้อยละ 2.1 ลาไส้เล็กร้อยละ 2.0 ลาไส้ใหญ่ร้อยละ 1.2 ไส้ ตรงร้อยละ 0.9 ตับอ่อนร้อยละ 0.4 กระเพาะอาหารร้อยละ 0.3 ลาไส้เล็กส่วนต้น (duodenum) ร้อยละ 0.1 (2) 4 และในผู้ป่วยที่มีกระดูกเชิงกรานหักอย่างรุนแรงมีอัตราเสียชีวิต ร้อยละ 25-41.7 (ตารางที่1) ตารางที่1 อัตราเสียชีวิตในผู้ป่วยที่มีกระดูกเชิงกรานหัก Author Publication n Mortality (%) Wolfgang Ertel(3) 2000 174 29.9 Ertel W(4) 2001 20 25 Biffl WL(5) 2001 732 31 Hornez E(1) 2011 200 30 Lustenberger T(6) 2011 50 32 Zhiyong Hou(7) 2012 724 41.7 Classification การแบ่งชนิดของกระดูกเชิงกรานหักสามารถแบ่งได้หลายรูปแบบ เช่น Tile’s classification, Young- Burgess classification และ Orthopaedic Trauma Association (OTA) Classification ซึ่งแผนกศัลยกรรม มักนิยม แบ่งชนิดของกระดูกเชิงกรานหักแบบ Young-Burgess classification Young-Burgess classification(9) Young JW และคณะ แบ่งชนิดการหักของกระดูกเชิงกรานจากภาพเอ๊กซ์เรย์ในผู้ป่วยกระดูกเชิงกราน หัก 142 คน และเผยแพร่ในปี 1986 โดยแบ่งชนิดตามกลไกการบาดเจ็บ คือ lateral compression (LC), anteroposterior compresion (APC), vertical shear (VS)และ combined mechanical injury(CMI)(9) (รูปที่ 2) LC: สัมพันธ์กับการหักในแนวขวางของกระดูก pubic rami (horizontally oriented pubic rami fractures anteriorly and variable injuries posteriorly) LC I: The internal rotation of the pelvis causes a compression fracture of the sacrum on the side of impact LC II: Crescent fracture present on the side of impact 5 LC III: Fractures have an LC I or LC II fracture on the side of impact, with an associated open-book type injury present contralaterally APC: Injury to the anterior structures in the form of pubic symphysis separation or vertically oriented pubic rami fractures, along with varying degrees of posterior injury APC I: No posterior instability with diastasis of the pubic symphysis limited to less than 2.5 cm APC II: Associated with some degree of posterior instability due to injury to the anterior sacroiliac complex allowing greater than 2.5 cm of symphyseal diastasis and anterior SI widening, the posterior SI ligaments are intact APC III: Complete disruption of the SI joint leading to widening and instability VS: Unstable injury patterns with vertical displacement of the hemipelvis due to symphyseal diastasis or rami fractures, anteriorly, and iliac wing fractures, sacral fractures, or sacroiliac joint dislocations present posteriorly CMI: Combination of the injury patterns 6 Young-Burgess Shock Trauma Pelvic Fracture Classification (J Trauma 30(7): 848-856 รูปที่2 การแบ่งชนิดของกระดูกหักแบบ Young-Burgess classification Diagnostic tool Clinical Exam (การตรวจร่างกาย) The American College of Surgeons Advanced Trauma Life Support (ATLS) 9th edition แนะนาให้ตรวจ กระดูกเชิงกราน (pelvic examination) ในผู้ป่วยอุบัติเหตุทุกราย การตรวจกระดูกเชิงกราน (pelvis) เพื่อค้นหากระดูกเชิงกรานหักแบบ unstable pelvic fractures มีหลาย วิธี เช่น การตรวจพบว่ากระดูกเชิงกรานสามารถขยับได้ (Unstable pelvic ring) อาการปวดหรือ กดเจ็บบริเวณ 7 กระดูกเชิงกราน และกระดูกเชิงกรานผิดรูป เป็นการตรวจดูความมน่ั คงของกระดูกเชิงกราน โดยใช้มือกด บริเวณกระดูกเชิงกรานอย่างนุ่มนวลให้กระดูกเชิงกรานเคลื่อนเพียงเล็กน้อยในแนวตรงและ แนวหมุน(11) Grant PT ศึกษาแบบprospective ในปี 1990 ในผู้ป่วย 36 คน พบว่า การตรวจพบกระดูกเชิงกรานแยก ออก (springing of pelvis) มีความไว (sensitivity) ในการตรวจพบกระดูกเชิงกรานหัก ร้อยละ59 และมี ความจาเพาะ (specificity) ร้อยละ59 ซึ่งแตกต่างกับการศึกษาของ Gonzalez RP และคณะ ในปี 2002 ที่ศึกษา ผู้ป่วย blunt trauma 2,176 คน โดยมีผู้ป่วยที่กระดูกเชิงกรานหัก 97 คน (ร้อยละ4.5) มีความไวในการตรวจพบ กระดูกเชิงกรานหัก ร้อยละ93(12) และการศึกษาแบบ Meta-analysis review ในปี 2004 โดย Sauerland S และ คณะ ศึกษาผู้ป่วย 5,454 คน พบว่าความไวในการตรวจกระดูกเชิงกรานแล้วพบกระดูกเชิงกรานหัก ร้อยละ90 และความจาเพาะ ร้อยละ90(13) Shlamovitz GZ และคณะ ได้ศึกษาความไวและความจาเพาะในการตรวจกระดูเชิงกราน วิธีต่างๆ จาก การดูจากแฟ้มประวัติผู้ป่วยblunt trauma 1,502 คน ในปี 2009 โดยมีผู้ป่วยที่กระดูกเชิงกรานหักแบบ unstable pelvic fractures 34 คน พบว่าหากตรวจพบ Unstable pelvic ring ความไวในการตรวจพบ unstable pelvic fractures ร้อยละ26 และความจาเพาะ ร้อยละ 99.9 และถ้าหากตรวจพบว่ามีอาการปวดหรือกด เจ็บบริเวณกระดูกเชิงกราน ความไวในการพบ unstable pelvic fractures ร้อยละ 100 และความจาเพาะ ร้อยละ 93 นอกจากน้ีหากพบกระดูกเชิงกรานผิดรูป ความไวในการพบ unstable pelvic fractures ร้อยละ 55 และ ความจาเพาะ ร้อยละ 97(11) จากหลักฐานเชิงประจักษ์ดังกล่าวข้างต้น ความไวและความจาเพาะของการตรวจร่างกายเพื่อวินิจฉัย กระดูกเชิงกรานหักแตกต่างกัน ดงั น้นั อาจใชก้ ารตรวจร่างกายหลายๆวิธีร่วมกนั เพื่อประเมินกระดูกเชิงกรานหกั 8 Routine X-rays ตาม ATLS guideline แนะนาให้ท าเอ๊กซ์เรย์กระดูกเชิงกราน (film pelvis AP view) (รูปที่ 3) ในข้นั ตอน ของ adjunct to the primary survey เพื่อตรวจหาการหักของกระดูกเชิงกรานโดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บ หลายระบบ ซึ่งความไวในการตรวจพบความผิดปกติของกระดูเชิงกรานจาก A-P pelvic x-ray ร้อยละ 87(12) รูปที่ 3 Film pelvis AP view Gillott A และคณะ ศึกษาประโยชน์ของการใช้ routine pelvic X-ray ในผู้ป่วย blunt trauma 699 คน แบบ prospective ในปี 1988 พบว่าหากตรวจพบความผิดปกติจากเอ๊กซ์เรย์ ผู้ป่วยจะมี Injury Severity Score การ ให้เลือด และอุบัติการเกิดการบาดเจ็บต่อหน้าอก และท้องสูงกว่าผู้ป่วยที่ไม่พบความผิดปกติของเอ๊กซ์เลย์ จึง แนะนาให้ท า routine pelvic X-ray ในผู้ป่วย blunt trauma(14) C K Salvino และคณะ ศึกษาประโยชน์ของการทาเอ๊กซ์เรย์กระดูกเชิงกรานในผู้ป่วย blunt trauma ทุก รายจานวน 1,395 คน ในปี 1992 พบว่าผู้ป่วยที่ไม่เจ็บบริเวณกระดูกเชิงกราน และตรวจร่างกายไม่เจ็บตรวจพบ กระดูกเชิงกรานหักจากเอ๊กซ์เรย์กระดูกเชิงกรานเพียง ร้อยละ 0.4 ซ่ึงผปู้ ่วยเหล่าน้ีมีกระดูกหกั เพียงเลก็ นอ้ ยไม่มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงการรักษา เมื่อเทียบค่าใช้จ่ายในการทาเอ๊กซ์เรย์กับประโยชน์แล้วแนะน าว่าไม่ต้องเอ๊กซ์ เรย์ในผู้ป่วย blunt trauma ทุกราย(15) ต่อมาในปี 2006 Obaid AK และคณะ ศึกษา retrospective review ในผู้ป่วยอุบัติเหตุที่พบกระดูกเชิง กรานหักจากภาพเอ๊กซ์เรย์ 174 คน จากผู้ป่วยที่ตรวจพบกระดูกเชิงกรานหักจากเอ๊กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ 521 คน พบว่าความไวในการตรวจพบกระดูกเชิงกรานหักจากเอ๊กซ์เรย์กระดูกเชิงกรานในผู้ป่วยอุบัติเหตุ ร้อยละ78 จึง แนะนาว่าใช้เอ๊กซ์เรย์กระดูกเชิงกรานเป็นเครื่องมือในการคัดกรองในผู้ป่วย hemodynamic unstable patients(16) 9 Matthias P Hilty และคณะศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยจานวน 452 คน ที่เป็นผู้ป่วย blunt trauma มีการ บาดเจ็บหลายตาแหน่ง แต่hemodynamic stable และ clinically stable pevis พบว่ามีกระดูกเชิงกรานหักที่ตรวจ พบจากเอ๊กซ์เรย์ ร้อยละ 9 และมีความไว ร้อยละ 67 จากการวิจยั น้ีจึงแนะนา ว่าให้ทา เอ๊กซ์เรยค์ อมพิวเตอร์ กระดูกเชิงกรานโดยไม่ต้องเอ๊กซ์เรย์ หากสามารถทาได้ (17) Chih-Yuan Fu และคณะ retrospectively reviewed ในปี 2013 ในผู้ป่วย major torso injuries 726 คน พบว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างการใช้เอ๊กซ์เรย์กระดูกเชิงกรานเทียบกับเอ๊กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ในการตรวจพบ ความผิดปกติ ร้อยละ 51.7 และตรวจไม่พบความผิดปกติ ร้อยละ 61.0 (P=0.7) จึงมีความเห็นว่าการตรวจด้วย เอ๊กซ์เรย์กระดูกเชิงกรานช่วยลดการทาเอ๊กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ได้ในผู้ ป่วยที่สงสัยมีเลือดออกที่หลังเยื่อบุช่องท้อง (retroperitoneal hemorrhage) Diagnosticc peritoneal lavage (DPL) Steve G. Hubbard ศึกษาผู้ป่วยที่มีกระดูกเชิงกรานหัก 222 คน ในปี 1979 false-positive lavage results ร้อยละ 29 ไม่พบว่ามี false-negative results(18) Mendez C ศึกษาในปี 1994 ผู้ป่วยจานวน 497 คนทา DPL พบว่า ความไวในการตรวจพบกระดูกเชิง กรานหัก ร้อยละ94 ความจาเพาะ ร้อยละ99 positive predictive value ร้อยละ 98 และ negative predictive value ร้อยละ97(19) Focused Assessment with Sonography for Trauma (FAST) Ballard RB และคณะ ศึกษาผลการทา FAST ปกติ ในผู้ป่วยอุบัติเหตุแบบ blunt mechanism 1490 คน ที่ มีกระดูกสันหลังหัก หรือ กระดูกเชิงกรานหัก ในปี 1999 พบว่า ผล FAST ปกติแต่มีกระดูกเชิงกรานหัก ร้อยละ 68.6 และ false negative 13 คนจากผู้ป่วยที่มีกระดูกเชิงกรานหัก 70 คน คิดเป็นร้อยละ 18.6 จึงแนะนาว่าผู้ป่วยที่ มีกระดูกเชิงกรานหักแบบ pelvic ring-type ให้เอ๊กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้องเนื่องจากมีโอกาสพบการบาดเจ็บ