นิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19 กระบวนการบริหารจัดการการผลิตรายการเรียลิตีกรณีศึกษา รายการเดอะเฟสไทยแลนด์ Management Process of Reality TV Production Case Study The Face Thailand

พลอยพชร ฉันท์เศรษฐ์* จุฑา มนัสไพบูลย์**

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการรายการเรียลิตี กรณีศึกษารายการ เดอะ เฟส ไทยแลนด์ (The Face Thailand) และศึกษาปัญหาในการบริหารจัดการการผลิตรายการเรียลิตี กรณีศึกษา รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ โดยระเบียบวิธีวิจัยของการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยในเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการเก็บรวมรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-Depth Interview) จากผู้อำ�นวยการการผลิต (Executive Producer) ผู้คุมการผลิต (Producer) และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทำ�การ ถอดเทปสัมภาษณ์ และรวบรวมข้อมูล เพื่อนำ�มาวิเคราะห์พร้อมนำ�เสนอในลักษณะการพรรณนา (Descriptive) โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ จากการรวบรวมเอกสารอ้างอิง รวมทั้งงานวิจัย ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาเป็นกรอบในการวิเคราะห์เพื่อให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า การผลิตรายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ (The Face Thailand) ของ บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) นั้นมีกระบวนการบริหารจัดการ การบริหารองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย การ บริหารจัดการด้านบุคลากร การบริหารจัดการเครื่องมือและอุปกรณ์ การบริหารจัดการด้านเวลา การบริหาร จัดการงบประมาณ การสรุปและวัดผลการดำ�เนินงาน การบริหารจัดการด้านการวางแผนการผลิตนั้นแบ่งออก เป็น 3 ขั้นตอน ประกอบไปด้วย 1.ขั้นตอน ก่อนการผลิต (Pre-Production) 2. ขั้นตอนการผลิต (Production) 3. ขั้นตอนหลังการผลิต (Post- Production) ขั้นตอนต่าง ๆ ที่กล่าวมาล้วนเป็นปัจจัยสำ�คัญในการผลิตรายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ ด้วยรูปแบบ ของ รายรายการที่เป็นรายการเรียลิตี ฉะนั้นสิ่งที่จะต้องคำ�นึงถึงและทำ�ควบคู่ไปด้วยคือกรอบจริยธรรมสำ�หรับรา ยการเรียลิตีโชว์ ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งที่แตกต่างจากรายการประเภทอื่น ๆ กรอบจริยธรรมเป็นสิ่งที่ทำ�ให้รายการได้มอบ แต่สิ่งดี ๆ คืนแก่สังคม และเป็นรายการที่ซื้อลิขสิทธิ์มาจากต่างประเทศ ต้องดำ�เนินการตามคู่มือการผลิต (Bible) อย่างเคร่งครัดทำ�ให้การผลิตของแต่ละขั้นตอนนั้นต้องทำ�อย่างรอบคอบ เนื่องด้วยมีหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การผลิตรายการ ทำ�ให้ในบางขั้นตอนของการผลิตนั้นเกิดปัญหาและอุปสรรคในหลาย ๆ ด้าน การบริหารจัดการ ในส่วนต่าง ๆ นั้นมีการบริหารจัดการที่แตกต่างกันออกไป จึงทำ�ให้เกิดความล่าช้าทั้งจากการบริหารจัดการ ปัญหา จากการประสานงาน ปัญหาที่ไม่สามารถควบคุมได้ และตามส่วนต่าง ๆ ของการผลิต ดังนั้น การบริหารจัดการ ทั้งหมดจะต้องดำ�เนินการตามที่วางแผนไว้ เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คำ�สำ�คัญ: กระบวนการบริหารจัดการ, การผลิตรายการเรียลิตี, เดอะเฟสไทยแลนด์

* นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการสื่อบันเทิง คณะศิลปกรรมการผลิตสื่อ สถาบันกันตนา ** รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาการจัดการสื่อบันเทิง คณะศิลปกรรมการผลิตสื่อ สถาบันกันตนา

61 Siam Communication Review Vol.15 Issue 19

Abstract The purpose of this research is to study about the management process of reality TV show and to study about the problems and obstacles in reality TV production management by using case study of The Face Thailand Season 2 (TV Program). Research methodology is carried out by doing qualitative research, which the researcher do an in-depth interview with the Ex- ecutive Producer, Co- Producer, and program staffs. Furthermore, all the related documents about reality TV production will be used in the research. The results revealed that The Face Thailand TV program under Kantana Group Public Company Limited has the basic element of management process such as human resources management, materials management, time management, budget management, conclusion and overall operation measurement. Production planning is allocated into 3 parts, which are 1. Pre-Production 2. Production 3. Post-Production. In each steps that are mentioned above are the significant factors in produc- ing The Face Thailand Reality TV program, which the format of the program is a reality TV show, so one thing that the executive producer or producer needs to be considering is the morality of reality TV show. This is the thing that is different from other kind of TV format. The morality is the thing that makes the program provide good things to the social, Generally, TV producer and staffs need to keep in one’s principle in terms of production and it is the copyrighted TV program from America, which the producer needs to be strictly keep the content according to the bible that are given since there are many sectors that are participate in the production, which sometimes the problems and obstacles may occur during the production process. Fur- thermore, the management process in each sector are managing differently, so it would be delayed in terms of management and communication, uncontrolled problems, and would be effected to some part in production process. So, the entire process needs to done by the plan and keep it in the same direction. Keywords: Management Process, Reality TV Production, The Face Thailand

บทนำ� โชว์หรือการแข่งขันที่เป็นเหตุการณ์หรือสถานการณ์ ปัจจุบันอุตสาหกรรมสื่อบันเทิงใน ที่เกิดขึ้นจริงโดยเน้นความเป็นธรรมชาติ และไม่มีการ ประเทศไทยมีการนำ�เสนอเนื้อหารายการที่มีความ จัดฉาก ไม่มีการเขียนบท ซึ่งผู้ชมจะสามารถเห็น หลาก หลายเพื่อนำ�เสนอข้อมูล ข่าวสาร สาระความ อารมณ์ที่แท้จริงของผู้ที่อยู่ในรายการในขณะนั้น ซึ่ง บันเทิง แก่ผู้ชมผ่านสื่อโทรทัศน์ ที่ประชาชนสามารถ ปัจจุบันรายการประเภทเรียลิตีเป็นที่นิยมอย่างมาก เลือกชมได้อย่างอิสระตามความชื่นชอบของแต่ละ ในกลุ่มของทั้งผู้ชมและผู้ผลิต จึงทำ�ให้มีรายการ บุคคล ไม่ว่าจะเป็นวาไรตี้ ทอล์คโชว์ เกมส์โชว์ซึ่ง เรียลิตีหลายรูปแบบเกิดในวงการบันเทิงไทยใน รายการประเภทที่มีกระแสตอบรับจากผู้ชมมากที่สุด ปัจจุบัน อีกทั้งผู้ผลิตยังมีหลายช่องทางในการออก ในปัจจุบันคือ “รายการเรียลิตี” อากาศรายการเรียลิตี ไม่ว่าจะเป็นทางโทรทัศน์หรือ รายการเรียลิตี เป็นรายการที่สามารถนำ� ทางออนไลน์ จึงทำ�ให้การแข่งขันการผลิตรายการเรี เสนอได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นในด้านของทอล์ค ยลิตีสูงขึ้นจากในอดีต อย่างไรก็ตามหัวใจสำ�คัญของ

62 นิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19

การสร้างเนื้อรายการ คือการทำ�การผลิตซึ่งการผลิต ถึงวันถ่ายทำ� กระบวนการผลิตจะดำ�เนินไปอย่างราบ จะถูกแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนก่อนการ รื่น แต่ข้อเสียคือการผลิตต้องมีแบบแผนซึ่งอาจทำ�ให้ ผลิต (Pre-Production) ขั้นตอนการผลิต (Produc- รายการมีลักษณะเดิมขาดการสร้างสรรค์ เพิกเฉยต่อ tion) และขั้นตอนหลังการผลิต (Post-Production) สิ่งแปลกใหม่ที่อาจพบในระหว่างการผลิตเนื่องจากไม่ โดย Millerson and Owens (2009 : 51- ได้อยู่ในแผน ในความเป็นจริงผู้กำ�กับรายการที่มี 69) ได้กล่าวว่า กระบวนการผลิตรายการเป็นการ ประสบการณ์จะใช้วิธีการผลิตรายการทั้งสองรูปแบบ บริหารจัดการและเป็นการดำ�เนินการผลิตอย่างเป็น ในการทำ�งาน โดยจะเริ่มต้นจากการวางแผนล่วงหน้า ระบบตามขั้นตอน ภายใต้หลักการดำ�เนินงานใน แต่ก็พร้อมจะนำ�โอกาสต่าง ๆ ที่มีเข้ามาใช้ให้เป็น ทิศทางเดียวกัน โดยกระบวนการผลิตรายการ ประโยชน์ในขั้นตอนการเตรียมการผลิตนี้ รวมไปถึง โทรทัศน์ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ การกำ�หนดตารางเวลาในการทำ�งาน การประชุมทีม 1.ขั้นตอนก่อนการถ่ายทำ� ขั้นตอนนี้เป็นการ งานผลิต การสำ�รวจสถานที่ถ่ายทำ� การสร้างฉากการ เตรียมงานและวางแผนการผลิตถือเป็นหัวใจสำ�คัญ ซักซ้อมต่าง ๆ ของการผลิตรายการโทรทัศน์เริ่มต้นตั้งแต่การคัด 2. ขั้นตอนการถ่ายทำ� เป็นขั้นตอนที่อาจพบ เลือกเรื่องที่จะนำ�มาผลิต การกำ�หนดหรือการคัด ปัญหามากมาย โดยผู้กำ�กับรายการโทรทัศน์จะมีหน้า เลือกผู้ปฏิบัติงาน การเขียนบทโทรทัศน์ การคัดเลือก ที่ในการกำ�กับ ควบคุมการผลิต การถ่ายทำ� การถ่าย นักแสดง การวางแผนก่อนการถ่ายทำ� ทั้งนี้การดำ�เนิน ภาพและบันทึกเสียง นำ�เสนอเนื้อหาที่จะทำ�การผลิต การผลิตรายการโทรทัศน์มี 2 รูปแบบ คือ ให้เป็นไปตามแผนการผลิต ทำ�การตรวจสอบเนื้อหา 1.1 แบบไม่วางแผนล่วงหน้า (Un- ที่ใช้ในการผลิตอย่างละเอียดถี่ถ้วนโดยผู้กำ�กับ planned Method) ใช้โอกาสและสัญชาติญาณของ รายการจะบริหารจัดการ ควบคุมดูแลการถ่ายทำ�ให้ ผู้ผลิตรายการในการดำ�เนินการผลิต โดยผู้กำ�กับ มีคุณภาพ รวมถึงให้คำ�แนะนำ�แก่นักแสดงเพื่อให้การ รายการอาจทราบเพียงหัวข้อเรื่องที่จะทำ�การผลิต แสดงออกมาดีที่สุด ส่วนโปรดิวเซอร์ จะมีหน้าที่ แล้วเดินทางไปยังสถานที่หรือพบบุคคลที่เกี่ยวข้อง แตกต่างกันไปตามแต่รูปแบบของรายการ แต่ เพื่อพัฒนาเรื่องราวและแนวความคิดที่จะนำ�มาผลิต โปรดิวเซอร์จะควบคุมเรื่องงบประมาณและ เป็นรายการ ข้อดีของการผลิตรายการด้วยรูปแบบนี้ กำ�หนดการถ่ายทำ�ให้เป็นไปตามแผน คือ เนื้อหามีความสด อาจได้ข้อมูลที่แปลกใหม่ไม่คาด 3. ขั้นตอนหลังการถ่ายทำ� การดำ�เนินงาน คิดและสามารถปรับเปลี่ยนได้โดยตลอดเป็นการ ภายหลังการถ่ายทำ� เพื่อลงรายละเอียดของภาพและ กระตุ้นผู้ชมให้ติดตามและตีความเนื้อหาของรายการ เสียงให้มีความสมบูรณ์ โดยการตัดต่อลำ�ดับภาพให้ แต่ข้อเสีย คือภาพรายการที่ได้จะมาจากความบังเอิญ เป็นไปตามบทการลงเสียงและเพลง การทำ�เทคนิค และอาจไม่ได้ภาพที่มีเนื้อหาอย่างที่ต้องการทำ�ให้การ พิเศษทางด้านภาพ (Visual Effect) หรือเรียกว่าการ ตัดต่อเป็นไปได้ยากและอาจต้องใช้เสียงบรรยาย ทำ� CG (Computer Graphic) เพื่อให้การนำ�เสนอ (Voice Over) เข้ามาช่วยในการเชื่อมภาพที่ไม่มีความ เนื้อหามีความครบถ้วน เร้าความสนใจของผู้ชม ต่อเนื่องกัน จากแนวคิดเกี่ยวกับการผลิตรายการ ผู้วิจัย 1.2 แบบวางแผนล่วงหน้า (Planned สามารถสรุปได้ว่า การผลิตรายการในแต่ละขั้นตอน Method) เป็นการวางแผนในด้านสถานที่และมีการ นั้นทุกขั้นตอนล้วนมีบทบาทที่สำ�คัญ เพื่อให้รายการ ตั้งกล้องรวมถึงมีการออกแบบภาพไว้ก่อนการผลิต ที่ผลิตออกมามีความสมบูรณ์แบบมากที่สุด ซึ่งในขั้น รายการ ในรูปแบบนี้มีข้อดีคือทำ�ให้ทีมงานทุกฝ่าย ตอนก่อนการผลิต ผู้ผลิตจะต้องวางแผนกับทีมงาน สามารถเตรียมตัวและแก้ไขปัญหาที่มองเห็นได้ก่อน เพื่อวางรูปแบบออกมาให้เห็นภาพมากที่สุด

63 Siam Communication Review Vol.15 Issue 19

ในด้านของการผลิตจะเป็นส่วนของขั้นตอน โดยยึดกระบวนการของขั้นตอนการผลิตรายการ การถ่ายทำ� ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะพบปัญหามากมาย ที่ ประกอบด้วยขั้นตอนก่อนการผลิต (Pre-Produc- มีทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก อาทิ สภาพ tion) ขั้นตอนการผลิต (Production) และ ขั้นตอน อากาศ หรือเครื่องมือการถ่ายทำ� เป็นต้น ซึ่งผู้ผลิต หลังการผลิต (Post-Production) หรือผู้กำ�กับจะต้องควบคุมดูแลการถ่ายทำ�ให้มี 2. การบริหารจัดการการผลิตรายการเรียลิตี คุณภาพมากที่สุด ส่วนโปรดิวเซอร์จะมีหน้าที่แตกต่าง กรณีศึกษารายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ เกิดจาก จากผู้กำ�กับ ซึ่งในช่วงของการผลิตโปรดิวเซอร์จะ ปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งสามารถจำ�แนกเป็นปัจจัยภายนอก มีหน้าที่คุมเรื่องงบประมาณ และกำ�หนดการถ่าย และภายใน เช่น ทำ�ให้เป็นตามแผนที่วางไว้ สุดท้ายคือขั้นตอนหลังการ 2.1 ปัจจัยภายนอก อาจเกิดจาก ถ่ายทำ�ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สำ�คัญอีก 1 ขั้นตอน เนื่องจาก ผู้รับสาร (Audiences) ที่มีผลต่อการผลิตรายการ ขั้นตอนนี้คือ ขั้นตอนของการตัดต่อ เพื่อให้รายการมี เรียลิตีโดยตรง ความต่อเนื่อง ให้อรรถรสและเพื่อให้เนื้อหารายการ 2.2 ปัจจัยภายใน ได้แก่ บุคคล รวม มีความครบถ้วนดังนั้น ผู้อำ�นวยการการผลิตจึงต้อง ถึง Mentors ผู้เข้าแข่งขัน ผู้ดำ�เนินรายการ เป็นปัญหา มีหน้าที่ในการควบคุมทุก ๆ ขั้นตอนเพื่อให้รายการ ของการบริหารจัดการอย่างมาก เพราะเนื่องจากเป็น ออกมาเป็นไปตามรูปแบบที่วางไว้ ซึ่งผู้วิจัยสนใจ รายการเรียลิตีผู้บริหารไม่สามารถที่จะควบคุม ศึกษาในเรื่องของกระบวนการบริหารการผลิตรา สถานการณ์ระหว่างการดำ�เนินรายการได้ เพราะการ ยการเรียลิตี กรณีศึกษารายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ เสนอรายการในรูปแบบของเรียลิตีนั้นต้องขับเคลื่อน เนื่องจากรายการนี้เป็นรายการรูปแบบใหม่ของ ไปตามสถานการณ์นั้น ๆ ประเทศไทยที่ยังไม่เคยผลิตมาก่อน เนื่องจากส่วน ใหญ่ที่สังเกตเห็นจะเป็นรายการประเภทประกวดร้อง เพลง อีกทั้งรายการนี้ยังเป็นรูปแบบใหม่ของการ ทำ�การตลาด ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจเกี่ยวกับการ บริหารจัดการการผลิตรายการประเภทนี้ว่ามี กระบวนการอย่างใดบ้าง และพบเจออุปสรรคใดบ้าง ระหว่างการผลิต

วัตถุประสงค์ในการวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการการ ผลิตรายการเรียลิตี กรณีศึกษารายการเดอะเฟส ไทย แลนด์ 2. ศึกษาปัจจัยผลกระทบที่มีต่อการบริหาร จัดการการผลิตรายการ กรณีศึกษารายการเดอะเฟส ไทยแลนด์

สมมติฐานงานวิจัย 1.กระบวนการบริหารจัดการการผลิต รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์อาจมีการบริหารการผลิต

64 นิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19

กรอบแนวคิดในการวิจัย

กระบวนการบริหารจัดการการผลิตรายการ ปัญหาในการบริหารจัดการ เรียลิตีรายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ ปัญหาที่เกิดจากปัจจัยภายใน p ขั้น Pre-Production - บุคลากร,อุปกรณ์การถ่ายทำ� - การคัดเลือกบุคลากรเมนเทอร์ผู้เข้าแข่งขัน ปัญหาที่เกิดจากปัจจัยภายนอก - การวิเคราะห์รายการ - สภาพแวดล้อม, อุปกรณ์การถ่ายทำ� - การตัดสินใจซื้อ - การวางแผนการผลิต - การวางแผนด้านงบประมาณ

ขั้น Production - การผลิตรายการซึ่งมีทั้งการผลิตภายในและ p การผลิตภายนอก - บทบาทของลูกค้า ขั้น Post-Production วิเคราะห์ปัญหา - การตัดต่อภาพ- เสียง (self-censorship) เพื่อนำ�ไปใช้ในการผลิตรายการเรียลิตีของ - การออกอากาศ ประเทศไทย

ขอบเขตของการวิจัย หมายถึงขั้นตอนในการวางแผนในการดำ�เนินงานการ 1. ขอบเขตด้านประชากร คือผู้อำ�นวยการ ผลิตทั้งหมด เพื่อเตรียมการผลิต เริ่มตั้งแต่การคัด การผลิต (Executive Producer) และ ผู้คุมการผลิต เลือก หรือการเลือกซื้อรายการเรื่องที่จะนำ�มาผลิต (Producer) รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ และผู้ชม การวางแผนการถ่ายทำ�ร่วมกัน และการวางแผนก่อน 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา คือ รายการเดอะ การถ่ายทำ�ร่วมกัน เฟส ไทยแลนด์ ที่ออกอากาศใน Season 1 ในเดือน ขั้นตอนการถ่ายทำ� (Production) หมายถึง ตุลาคม 2557 - มกราคม 2558 และ Season 2 ใน การดำ�เนินการผลิต หรือการถ่ายทำ�ในการกำ�กับ เดือนตุลาคม 2558 – มกราคม 2559 ควบคุมการผลิต การถ่ายภาพและบันทึกเสียง และ นำ�เสนอเนื้อหาที่จะทำ�การผลิตให้เป็นไปตามแผนการ นิยามศัพท์เฉพาะ ผลิต มุมกล้อง เสื้อผ้า ฉาก และอุปกรณ์ประกอบฉาก กระบวนการการบริหารจัดการ หมายถึง ขั้นตอนหลังการถ่ายทำ� (Post-Production) กระบวนการบริหารจัดการรายการเดอะเฟส ไทย หมายถึง การดำ�เนินงานภายหลังการผลิต เพื่อลงราย แลนด์ ตามขั้นตอนการผลิต เริ่มตั้งแต่ ขั้นตอนก่อน ละเอียดของภาพและเสียง ให้มีความสมบูรณ์ โดยการ การถ่ายทำ� ขั้นตอนการถ่ายทำ� ขั้นตอนหลังการถ่าย ตัดต่อ การลำ�ดับภาพเพื่อให้การนำ�เสนอเนื้อหามี ทำ� และการควบคุมดูแลการผลิตรายการในทุกขั้น ความครบถ้วน เร้าความสนใจและสร้างอรรถรสใน ตอนให้มีคุณภาพ การชมให้แก่ผู้ชม ขั้นตอนก่อนการถ่ายทำ� (Pre-Production) การผลิตรายการ หมายถึงการสร้างสื่อบันเทิง

65 Siam Communication Review Vol.15 Issue 19

ขึ้นมาเพื่อให้อรรถรสและความบันเทิงต่อผู้ชม ซึ่ง ประเทศ ที่มีความสนใจในการผลิตรายการประเภท แต่ละผู้ผลิตจะมีบทบาทที่แตกต่างกันออกไป เรียลิตีที่เป็นของประเทศไทยเอง รายการเรียลิตี หมายถึงรายการโทรทัศน์รูป แบบหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากรายการโทรทัศน์รูปแบบ วิธีการวิจัย อื่น ๆ เนื่องจากรายการเรียลิตี จะดำ�เนินรายการใน การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ รูปแบบที่เป็นสถานการณ์จริง ไม่มีการเขียนบท คัด (Qualitative Research) โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน เลือกผู้ร่วมรายการจากทางบ้าน ซึ่งจะต้องเผชิญกับ คือ (1) การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ (Primary สถานการณ์จริง ๆ ที่ทางทีมงานได้เตรียมเอาไว้ Data) ทำ�การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ที่ รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ หมายถึง เป็น ผู้วิจัยสร้างขึ้นแล้วทำ�การบันทึกข้อมูลในแบบบันทึก รายการที่ซื้อลิขสิทธิ์มาจากต่างประเทศ โดยเป็น การสัมภาษณ์ และทำ�การบันทึกเสียงการสัมภาษณ์ รายการเรียลิตีที่นำ�เสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการค้นหา คุณปิยะรัฐ กัลย์จาฤก Executive Producer คุณ นางแบบหน้าใหม่ของวงการบันเทิงโดยผ่านการคัด นุษาร ทรรศนะพายัค Producer และทีมงานที่ เลือกของ “3 หัวหน้าทีม” (Mentors) ที่เป็นไอคอน เกี่ยวข้องในรายการ The Face Thailand Season ของวงการบันเทิงไทย โดยผู้เข้าแข่งขัน (The Face) 2 (2) การเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary หน้าใหม่ทั้ง 15 คน จะต้องผ่านโจทย์ที่เข้มข้นในแต่ละ Data) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร และงาน สัปดาห์เพื่อนำ�เอาความสามารถออกมาแสดง วิจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการบริหารจัดการการ ศักยภาพอย่างเต็มที่ ผลิตรายการ เมนเทอร์ (Mentors) หมายถึง หัวหน้าทีมที่ ต้องคอยฝึกสอนลูกทีมตัวเองและทำ�ให้ทีมชนะการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แข่งขันในแต่ละสัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ หมายถึง ผู้ที่เชี่ยวชาญท่ี สัมภาษณ์เกี่ยวกับกระบวนการบริหารจัดการการผลิต จะมาฝึกสอนผู้เข้าแข่งขันทั้ง 15 คน ก่อนที่จะเข้า รายการเรียลิตี กรณีศึกษารายการเดอะเฟส ไทย แข่งขันจริง แลนด์ โดยมี 4 ประเด็นสำ�คัญ ดังนี้ มาสเตอร์คลาส (Master Class) หมายถึง 1. มีการบริหารจัดการการผลิตรายการเดอะ ช่วงของการฝึกสอนโดยหัวหน้าทีม (Mentors) โดยมี เฟส ไทยแลนด์ในขั้น Pre-Productionอย่างไร เมนเทอร์ และ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษมาฝึกสอน 2. มีการบริหารจัดการการผลิตรายการเดอะ แคมเปญ (Campaign) หมายถึง ภารกิจ เฟส ไทยแลนด์ในขั้น Production อย่างไร ประจำ�สัปดาห์จากโจทย์ที่ได้รับ (แบรนด์สินค้า) 3. มีการบริหารจัดการการผลิตรายการเดอะ LOG LINE หมายถึง ประเด็นสำ�คัญ เฟส ไทยแลนด์ในขั้นPost-Productionอย่างไร BUZZ หมายถึง การพูดปากต่อปาก 4. พบปัญหาในการบริหารจัดการการผลิต รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ อย่างไร ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย 1. เพื่อเป็นแนวทางสำ�หรับการพัฒนา วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล รายการ เดอะเฟส ไทยแลนด์ ในการพัฒนาคุณภาพ 1. วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร รายการ และสามารถสร้างกระแสความนิยมแก่ผู้ชม การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจาก ให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เอกสาร และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analy- 2. เพื่อเป็นแนวทางสำ�หรับผู้ผลิตรายการใน sis) ผู้วิจัย ได้สรุปข้อค้นพบในรูปแบบของการ

66 นิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19

วิเคราะห์เชิงพรรณนา อากาศทั้งหมด 13 ตอนโดยทำ�การออกอากาศเป็น 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที ภาษาที่ใช้ในรายการจะต้อง การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจาก เป็นภาษาไทยเท่านั้น ผู้ผลิตต้องยึดแนวทางตาม การสัมภาษณ์ ผู้วิจัยทำ�การตีความจากข้อมูลที่ได้รับ ลิขสิทธิ์ที่ทางบริษัทต้นสังกัดได้ทำ�การกำ�หนดเอาไว้ จากการตอบสัมภาษณ์ โดยพิจารณาคำ�ตอบหรือ เช่นกัน ประเด็นความสำ�คัญเกี่ยวข้องกับการวิจัย หรืออยู่ใน นอกจากนี้ รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ ยัง กลุ่มของคำ�ถาม เพื่อทำ�การรวบรวมข้อมูลอย่างเป็น เป็นรายการรูปแบบใหม่ในการทำ�การตลาด เนื่องจาก ระบบ และสรุปข้อค้นพบในรูปแบบของการพรรณนา ตัวสินค้าจะถูกสอดแทรกเข้าไปในรายการ ในช่วงของ ภารกิจต่าง ๆ ได้อย่างแนบเนียน และตัวสินค้านั้น ๆ ผลการวิจัย ได้รับความสนใจจากผู้ชม ซึ่งอาจเป็นจุดแข็งในการ จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth inter- ทำ�การตลาด view) และการเก็บรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัย การทำ�การผลิต หัวใจสำ�คัญในขั้นตอนนี้จะ พบว่า รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ มีเป้าหมายในการ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ค้นหานางแบบ- นักแสดงหน้าใหม่สู่วงการบันเทิง โดย 1. การเตรียมก่อนการผลิต (Pre-Produc- ผ่านการคัดเลือกจาก 3 หัวหน้าทีม (Mentors) หลัก tion) คือ การวางแผนงานทั้งหมด ตั้งแต่ขั้นตอนการ ที่เป็นไอคอนของวงการบันเทิง โดยผ่านโจทย์ที่ถูก คัดเลือกหัวหน้าทีม (Mentor) การคัดเลือกพิธีกร กำ�หนดไว้ รายการแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ มาสเตอร์ (Host) การคัดเลือกผู้เข้าแข่งขัน (Competitors) การ คลาส (Master Class) จะมีเมนเทอร์และ ผู้เชี่ยวชาญ เลือกสถานที่ถ่ายทำ� การเตรียมเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย พิเศษมาฝึกสอน และทดสอบ ทักษะต่าง ๆ ซึ่งจะมี เครื่องประดับ (Costumes) และอีกหนึ่งสิ่งสำ�คัญใน ส่วนช่วยให้ผู้เข้าแข่งขัน ปฏิบัติภารกิจแคมเปญ ขั้นตอนก่อนการผลิตรายการ คือการวางแผนด้านงบ (Campaign Challenge) ประจำ�สัปดาห์ได้ดี ผู้เข้า ประมาณ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของค่า Format รายการ แข่งขันจะได้รับการฝึกและปฏิบัติจริงเพื่อเตรียม และที่ปรึกษารายการ ค่าใช้จ่ายด้านการรับสมัคร พร้อมก่อนการแข่งขัน (Campaign Challenge) (Audition) ค่าตัวเมนเทอร์และพิธีกร ค่าผลิต Cam- ภารกิจประจำ�สัปดาห์จากโจทย์ที่ได้รับ (แบรนด์ paign ในแต่ละตอนค่า Designer และเสื้อผ้าเครื่อง สินค้า) และ ช่วงคัดออก (Elimination) ซึ่งในช่วงนี้ แต่งกายผู้เข้าแข่งขัน ค่าช่างแต่งหน้า (Make Up เมนเทอร์ทีมที่แพ้ทั้ง 2 ทีม จะต้องคัดเลือกลูกทีม Artist) และช่างทำ�ผม (Hair Stylist) ค่าสถานที่ถ่าย ออกทีมละ 1 คน แล้วส่งเข้าห้องคัดออก (Elimina- ทำ�และการสร้างฉากรายการ ค่าใช้ จ่ายด้านทีมผลิต tion Room) เพื่อให้หัวหน้าทีม (Mentor) ทีมที่ชนะ รายการและอุปกรณ์การผลิตรายการ ค่าเวลาออก เลือกว่าใครจะต้องออกจากการแข่งขันของรายการ อากาศ และค่ารางวัลในการแข่งขัน ซึ่งผู้ผลิตต้องมา โดยสิ่งสำ�คัญคือผู้ผลิตรายการจะต้องทำ�ตามคู่มือการ จัดสรรในแต่ละตอนโดยคำ�นวณค่าใช้จ่ายและรายรับ ผลิต (Production Bible) ที่ทางบริษัทต้นสังกัดได้ เพื่อให้มีผลกำ�ไรจากการดำ�เนินงาน จัดทำ�ส่งมาให้อย่างเคร่งครัด และการกำ�หนดระยะ 2. ขั้นตอนการผลิต (Production) ขั้นตอน เวลาการวางแผนภายใน 3 เดือน ก่อนการผลิต ตั้งแต่ นี้จะเป็นขั้นตอนที่วางแผนไว้ในขั้นตอนการเตรียม เดือนกุมภาพันธ์ 2558 - เมษายน 2558 ระยะเวลา การก่อนการผลิต (Pre-Production) มาถูกถ่ายทอด การผลิต ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2558 – พฤศจิกายน ให้เห็นภาพ โดยการถ่ายทำ�จะแบ่งออก เป็น 2 ส่วน 2558 และระยะเวลาการออกอากาศในช่วงเดือน คือส่วนของการถ่ายภายในสตูดิโอ (Studio) และการ ตุลาคม 2558 – มกราคม 2559 จำ�นวนตอนที่ออก ถ่ายทำ�นอกสถานที่ ในขั้นตอนนี้จะเป็นขั้นตอนที่

67 Siam Communication Review Vol.15 Issue 19

ลูกค้าเข้ามามีบทบาทในเรื่องของการสอดแทรกสินค้า จำ�นวนผู้ติดตามเพิ่มขึ้นมาถึง 460,000 คน ภายใน (Product Tied In) โดยจะใช้ระยะเวลาการผลิตตั้งแต่ ระยะเวลา 3 เดือน เดือนสิงหาคม–พฤศจิกายน 2558 ตั้งแต่ตอนที่ 1-12 ใน Season 2 ได้ทำ�การเพิ่มเติมอีกหนึ่งช่อง และ ตอนที่ 13 จะเป็นการถ่ายทอดสดในเดือน ทาง คือช่องทางของ Twitter ซึ่งตอนนี้ Twitter ก็มี มกราคม 2559 คนติดตามอยู่ประมาณ 40000 กว่าคน ซึ่งในตัว Twit- 3. ขั้นตอนหลังการผลิต (Post- Production) ter จะเห็นว่าช่วยในเรื่องกระแสปากต่อปาก (buzz) ขั้นตอนสุดท้ายหลังการผลิต ซึ่งเป็นอีกหนึ่งขั้นตอน ซึ่งเวลาสร้างเนื้อหา หรือ พูดถึงเนื้อหาต่าง ๆ ลง สำ�คัญในการตัดต่อเรียบเรียงเนื้อหารายการให้เห็น Twitter กระแสจะมา พอกระแสมา ผู้รับสารก็จะเอา ภาพที่ชัดเจน รวมถึงการทำ� Voice Over โดยขั้นตอน โพสต์ใน Twitter ไปโพสต์ ใน Facebook แล้วก็จะ นี้จะมีเวลา 3 วันในการตัดต่อเนื้อหารายการ ก่อนส่ง กระจายต่อกันไปในวงกว้าง ไปที่สถานีโทรทัศน์เพื่อทำ�การเซนเซอร์รายการก่อน ส่วนของสถิติจากการค้นหาคำ�ว่า The Face นำ�ไปออกอากาศ โดยรายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ Thailand มากกว่า 1,200,000 ครั้ง ซึ่งมากกว่า ปี จะออกอากาศทุกวันเสาร์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ ไทย แรกถึง 2 เท่า และทาง Facebook มียอดกด Like ทีวีสีช่อง 3 (Ch.3) ถึง 1 ล้าน Likes ในวันจบรอบสุดท้ายของรายการซึ่ง ในด้านของการโปรโมทรายการเดอะเฟส ถือว่าเป็นรายการที่มีความสนใจมากที่สุดในสังคม ไทยแลนด์ จะเป็นการโปรโมทผ่านสื่อโทรทัศน์และ ออนไลน์ สื่อออนไลน์ ซึ่งสื่อออนไลน์คืออีกหนึ่งช่องทางสำ�คัญ ในด้านช่องทางของ Twitter คนทวิตมาก ที่สามารถแพร่กระจายข่าวสารได้อย่างทั่วถึง ซึ่งผู้ชม กว่า 1,800,000 ทวิต ซึ่งข้อความที่มีการทวิตมาก สามรถติดตามข่าวสาร เสนอความคิดเห็นได้ทันทีใน ที่สุดในช่วงออกอากาศ คือนาทีละเกือบ 1000 ทวิต ระหว่างที่รายการออกอากาศ หรือรับชมย้อนหลัง ซึ่งรายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ขึ้นเป็น Twitter trend อาทิ Facebook, Instagram, Twitter หรือ You- ในทุกสัปดาห์ที่ออกอากาศและ ติดเป็น World Hash tube Tag ที่ใช้มากที่สุด อันดับที่ 319 มากกว่าราบการอื่น จากการสัมภาษณ์คุณธารินาฎ ภัทรรังรอง ๆ ที่เป็นที่นิยม และยอดวิวใน Youtube มากกว่า 82 จาก Volcanic บริษัทที่ทำ�การวัดผลการใช้ Social ล้านวิวทาง Kantana Channel Media ของผู้ชม โดยได้มาร่วมงานกับ รายการเดอะ อย่างไรก็ตาม ในช่วงของการผลิตยังคงมี เฟส ไทยแลนด์ เพื่อวัดจำ�นวนของผู้ชมที่ใช้ Social ปัญหาและอุปสรรคเกิดขึ้น ซึ่งมีทั้งปัญหาที่เกิดจาก Media อาทิ Facebook, Instagram และ Twitter ปัจจัยภายใน อย่างเช่น อุปกรณ์การถ่ายทำ� ตัวอย่าง พบว่า กลุ่มที่สนใจในเนื้อหารายการจะเป็นกลุ่มเพศ เช่น campaign EP.9 จะเป็นการถ่ายแบบใต้นํ้า เกิด ที่ 3 (LGBT) และจากกระแสตอบรับที่ดีจากผู้ชม จากตัวกล้องที่อยู่ใต้นํ้าและตัวควบคุมแสงใน ทำ�ให้รายการ The Face Thailand มีผู้ติดตามมาก คอมพิวเตอร์ไม่เชื่อมต่อกัน จึงทำ�ให้ใช้เวลาในการตั้ง ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นช่องทางของ Facebook ที่จาก Sea- ค่ากล้องให้พร้อมเป็นเวลานาน ซึ่งการถ่ายทำ�ค่อนข้าง son 1 มีผู้ติดตามอยู่ประมาณ 120,000 คน ซึ่งตอน ล่าช้าไปประมาณ 1 ชั่วโมง นอกจากนี้มีปัญหาเกิดขึ้น นี้ ยอดของผู้ติดตามเพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 1 ล้าน คน ระหว่างการถ่าย campaign EP.11 เมื่อกล้องที่ต้อง ซึ่งเพิ่มขึ้นประมาณราว ๆ 800,000-900,000 คน ใช้ถ่าย spot ในโจทย์ของ Maybelline ซึ่งต้องถูก หรือเทียบเป็น 833% เพิ่มขึ้นจาก Season แรก ถือและถ่ายตามผู้เข้าแข่งขันไปทุกที่ เกิดไม่ทำ�งาน ในส่วนของ Instagram จะเห็นว่า ใน Sea- กะทันหัน ทำ�ให้การถ่ายทำ�ล่าช้าไป 3 ชั่วโมงโดย son 1 มีผู้ติดตามอยู่ 48,000 คน และใน Season 2 ประมาณ มากไปกว่านั้น ทางด้านลูกค้า Maybelline

68 นิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19

ซึ่งมี คุณเจนี่ มาเป็นผู้ตัดสินโจทย์นั้น มีเวลาจำ�กัด ดัง (Pre-Production) การผลิต (Production) และหลัง นั้น ทางบริษัท Producer และทีมงานจึงต้องหา การผลิต (Post-Production) ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎี ทางออกเพื่อที่จะบริหารเวลาให้ถ่ายทำ�เสร็จทันเวลา ของ Millerson and Ownens (2009: 51-59) ใน ที่ได้ตกลงกับคุณเจนี่ไว้ มิฉะนั้น คุณเจนี่จะไม่อยู่ถึง ส่วนของการเตรียมการก่อนการผลิตจะเริ่มตั้งแต่การ ตอนที่ต้องตัดสินผลงาน ทางออกที่ฝ่ายผลิตทำ� คือ คัดเลือกบุคลากร เมนเทอร์ และผู้เข้าแข่งขัน ซึ่งการ ใช้กล้องตัวอื่นถ่ายแทน แต่ชิ้นงานที่ออกมาจะไม่ คัดเลือกบุลากรจะเป็นการจัดสรรหน้าที่ของทีมงาน สวยงามตามที่ได้ตกลงกับลูกค้าไว้ แต่เพื่อให้การ ให้ลงตัวก่อนการผลิต ในส่วนของเมนเทอร์จะเป็นการ ถ่ายทำ�ดำ�เนินต่อไปได้ ทางทีมงานจึงต้องยอมถ่ายตัว คัดเลือกเมนเทอร์ที่เป็นไอคอนของวงการบันเทิงและ spot แก้ให้ลูกค้านอกรอบ หลังจากที่ถ่ายทำ�ตัวเนื้อ ลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน เพื่อการสร้างสีสันใน รายการที่มีเมนเทอร์ พิธีกร และ คุณเจนี่ให้เสร็จสิ้น รายการ รวมถึงผู้เข้าแข่งขัน ที่ต้องคัดเลือกผู้เข้า เสียก่อน ผลที่ออกมาคือการถ่ายทำ�ทั้งหมดเสร็จสิ้น แข่งขันที่มีความสวย มีความสามารถ แต่ลักษณะนิสัย และทางลูกค้าพอใจกับผลงานที่ออกมาทั้งหมด ต้องแตกต่างกัน ซึ่งถ้าเลือกนิสัยที่คล้ายคลึงกัน ปัจจัยด้านของการตลาดเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น รายการจะขาดสีสัน บ่อยที่สุด เพราะเนื่องจากรายการเดอะเฟส ไทย รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ เป็นประเภท แลนด์ สามารถทำ�การตลาดในรายการได้ ดังนั้นสิ่งที่ Competition Reality รูปแบบใหม่ที่ค้นหานางแบบ- จะพบเจอบ่อยที่สุดคือ ความต้องการของลูกค้า และ นักแสดงหน้าใหม่ของวงการบันเทิง โดยผ่านการ ผู้ผลิตรายการไม่ตรงกัน เพราะลูกค้าจะเปลี่ยนแปลง คัดเลือกจาก 3 หัวหน้าทีมหลักที่เป็นไอคอนของ ข้อตกลงตลอดเวลา ซึ่งอาจทำ�ให้เกิดความลำ�บากใน วงการบันเทิงไทย ให้เหลือ 15 คน ซึ่งจะแบ่งออกเป็น การผลิต เพราะการเปลี่ยนแปลงของลูกค้าในแต่ละ 3 ทีม โดยทั้ง 15 คนจะต้องผ่านโจทย์ที่เข้มข้นประจำ� สัปดาห์ สามารถนำ�มาซึ่งผลกระทบเวลาการถ่ายทำ� สัปดาห์โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ 1. ช่วงมาสเตอร์ และข้อจำ�กัดอีกหลายปัจจัย เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิด คลาส (Master Class) จะมีเมนเทอร์และ ผู้เชี่ยวชาญ ปัญหาระหว่างการถ่ายทำ� ซึ่งเคยเกิดขึ้นมาบ้างแล้ว พิเศษ มาฝึกสอน และทดสอบทักษะต่าง ๆ ซึ่งจะมี เช่น การวางสินค้าข้าไปในฉาก ลูกค้าต้องการอย่าง ส่วนช่วยให้ผู้เข้าแข่งขันปฏิบัติภารกิจ (Campaign หนึ่ง แต่ทางทีมงานวางอีกแบบหนึ่ง พอหลังจากที่ Challenge) ประจำ�สัปดาห์ได้ดี ผู้เข้าแข่งขันจะได้รับ ถ่ายออกมาแล้วในจอ monitor ที่ลูกค้าดูอยู่ จึงเกิด การฝึกและปฏิบัติจริงเพื่อเตรียมพร้อมก่อนการ ความไม่พอ เนื่องจากสินค้านั้นออกมาไม่มากพอ หรือ แข่งขัน 2. ช่วงแคมเปญ (Campaign Challenge) ไม่สวยงามพอ เพราะฉะนั้น การสื่อสารระหว่างทีมให้ คือภารกิจประจำ�สัปดาห์จากโจทย์ที่ได้รับ (แบรนด์ เข้าใจตรงกันทั้งหมด จึงเป็นเรื่องที่สำ�คัญมาก เพราะ สินค้า) และช่วงสุดท้ายคือการคัดออก (Elimination) ถ้าหากบางอย่างที่พลาดไปแล้ว เราไม่สามารถกลับ ซึ่งในช่วงนี้ เมนเทอร์ทีมที่แพ้ทั้ง 2 ทีม จะต้องคัดเลือก มาแก้ไขใหม่ได้ หรือความเป็นไปได้น้อยมาก และ ลูกทีมออกทีมละ 1 คน แล้วส่งเข้าห้องคัดออก อาจจะส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างบริษัท (Elimination Room) เพื่อให้หัวหน้าทีม (Mentor) กับทางลูกค้าในอนาคตก็เป็นได้ ทีมที่ชนะเลือกว่าใครจะต้องออกจากการแข่งขันของ รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ โดยระยะเวลาออก อภิปรายผลวิจัย อากาศคือ 1 ชั่วโมง 30 นาที ทุก ๆ วันเสาร์ ตลอด กระบวนการบริหารการผลิตรายการเดอะ ระยะเวลา 4 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 จนถึง เฟส ไทยแลนด์ ขั้นตอนหลัก ๆ ในการผลิตจะแบ่ง เดือน มกราคม 2559 โดยในทุก ๆ ขั้นตอน ผู้อำ�นวย ออกเป็น 3 ส่วนคือ การเตรียมการก่อนการผลิต การผลิต และ ผู้ผลิต จะต้องควบคุมในทุก ๆ ขั้นตอน

69 Siam Communication Review Vol.15 Issue 19

ตั้งแต่การจัดการงบประมาณ การจัดการบุคลากร ตามกำ�หนด การจัดการเรื่องสถานที่ และ การติดต่อกับสปอนเซอร์ นอกจากนี้ผู้วิจัยพบว่า จำ�นวนผู้ชมรายการ เป็นต้น เพื่อให้รายการออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ ที่รับชมผ่านทาง Youtube มีมากขึ้นถึง 82 ล้านคน ที่สุด และสามารถบริหารแผนงานที่วางไว้ บรรลุ จำ�นวนยอดไลค์ใน Facebook มีมากกว่า 1 ล้านไลค์ สำ�เร็จตามแผนที่กำ�หนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎี ซึ่งมีจำ�นวนมากกว่า Season 1 กว่า 800,000 คน ของ (Holt and Winston (1993: 3) หรือเทียบเท่าเป็น 833% ส่วน Instagram มีผู้ติดตาม ในด้านของการบริหาร ผู้ผลิตเล็งเห็นทิศทาง มากถึง 460,000 คน และในส่วนของ Twitter ในบาง ในการบริหารรายการมากขึ้น โดยการนำ�เอา ตอน (Episode) มีผู้ชมกล่าวถึงจนได้ขึ้นเป็น world ประสบการณ์จาก The Face Thailand Season 1 trend จากความสำ�เร็จตรงนี้ เพราะว่าผู้บริหารดึงเอา ทั้งคำ�ติชม กระแสวิจารณ์มาปรับปรุงทำ�ให้รายการ จุดแข็งของการใช้สื่อออกมาใช้ ในการนำ�เสนอเนื้อหา โด่งดังจนเป็นที่รู้จักในผู้ชมกลุ่มใหญ่ ซึ่งผู้ผลิตจะเป็น รายการผ่านทางช่องทางต่าง ๆ ทำ�ให้รายการเป็นที่ ผู้ควบคุมในทุก ๆ ขั้นตอน ตั้งแต่การวางแผนงาน การ รู้จักมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎี “Conver- แบ่งหน้าที่บุคลากร การควบคุมการผลิตจนถึงการ gence Culture” ของ Henry Jenkins (2006) ที่ได้ ตัดต่อและออกอากาศ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีของ กล่าวไว้ว่า การเล่าเรื่องในยุค Convergence ให้เกิด Shemerhorn (1996 : 4) ที่ได้ให้ความหมายกับการ ประสิทธิภาพและน่าสนใจนั้นเป็นการใช้วิธี Trans- บริหารจัดการไว้ว่า การบริหารเป็นศิลปะของการ media Storytelling นั่นคือการใช้เนื้อหาเล่าเรื่อง ทำ�งานให้สำ�เร็จ โดยใช้บุคคลอื่นให้เป็นผู้กระทำ� ผ่านหลาย ๆ ช่องทาง (แพลตฟอร์ม) ไม่ได้เป็นเพียง ประกอบด้วยกระบวนการวางแผน การจัดองค์การ การใช้วิธีผลิตหลายสื่อ หรือนำ�เสนอผ่านช่องทางที่ การสั่งการ การควบคุม สมาชิกในองค์การและใช้ หลากหลายเท่านั้น แต่หมายความว่าในแต่ละสื่อต้อง ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อความสำ�เร็จของเป้าหมายของ เล่าเรื่องเสริมกัน โดยเลือกนำ�จุดแข็งของแต่ละสื่อมา องค์การที่ได้กำ�หนดไว้ ใช้ ซึ่งจะทำ�ให้การนำ�เสนอเนื้อหาผ่านช่องทางต่าง ๆ ในด้านของการตลาด มีลูกค้าสนใจเข้ามาเป็น มีความน่าสนใจ และมอบมิติใหม่ๆของเนื้อหาที่นำ� ผู้สนับสนุนในรายการมากขึ้น ทางทีมงานรู้วิธีในการ เสนอสู่ผู้รับสารอย่างคุ้มค่ามากขึ้น ซึ่งเห็นได้ชัดว่า รับมือกับลูกค้า ในกรณีที่ลูกค้าไม่เห็นด้วยกับการวาง กระแสตอบรับจาก The Face Thailand Season 2 สินค้าในรายการ เนื่องจากรายการายการเดอะเฟส มากกว่า Season 1 ไทยแลนด์ เป็นรายการแรกที่นำ�ตัวสินค้ามาอยู่ในช่วง ของรายการและอยู่ในการแข่งขัน ซึ่งตัวสินค้าจะถูก ข้อเสนอแนะทั่วไป สับเปลี่ยนไปในแต่ละสัปดาห์ขึ้นอยู่กับโจทย์ที่ได้รับ จากการวิจัยกระบวนการบริหารจัดการการ อย่างไรก็ตาม The Face Thailand Season ผลิตรายการเรียลิตีกรณีศึกษารายการเดอะเฟส ไทย 2 ก็ยังคงมีปัญหาและอุปสรรคระหว่างการถ่ายทำ� ซึ่ง แลนด์ของบริษัทกันตนากรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ผู้ศึกษา จากการสัมภาษณ์ คุณนุษาร ทรรศนะพายัค Pro- มีข้อเสนอแนะจากการศึกษาดังต่อไปนี้ ducer รายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ ได้กล่าวว่า 1. ด้านรูปแบบรายการ อุปสรรคคือการคุมเกมส์ เนื่องจากรายการนี้ไม่มีบท ปัจจุบันรายการเรียลิตีมีอยู่เป็นจำ�นวนมาก ทุกคนเล่นไปตามเกมส์ จึงไม่สามารถรับรู้ได้ว่าอะไร ด้วยรูปแบบรายการที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นในด้าน จะเกิดขึ้น จึงต้องปล่อยให้เป็นไปตามสถานการณ์ ของทอล์คโชว์ หรือการแข่งขันอื่น ๆ ที่มีอยู่มากมาย นอกจากนี้ยังมีเรื่องของอุปกรณ์เสียระหว่างการถ่าย อีกทั้งผู้ผลิตยังมีหลายช่องทางในการออกอากาศราย ทำ� จึงทำ�ให้เวลาในการถ่ายทำ�ล่าช้า และอาจเสร็จไม่ ไม่ว่าจะเป็นทางโทรทัศน์หรือทางออนไลน์ จึงทำ�ให้

70 นิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19

เกิดการแข่งขันการผลิตรายการเรียลิตีสูงขึ้นจากใน ด้านสถานที่ถ่ายทำ� ทีมผลิตอาจเจออุปสรรค อดีต ดังนั้นการเข้าถึงผู้ชมจึงเป็นปัจจัยสำ�คัญที่จะ ในเรื่องของสถานที่ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นนอกอาคาร ทำ�ให้รายการประสบความสำ�เร็จ ทั้งรูปแบบของ เนื่องจากสภาพอากาศที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้จึง รายการ และความสอดคล้องกันของสื่อเสริมอื่น ๆ ทำ�ให้การถ่ายทำ�อาจล่าช้าไปบ้างบางสัปดาห์ดังนั้น 2. ด้านบุคลากรในการผลิตรายการ ทางทีมงานจึงต้องวางแผนสำ�รองเพื่อให้การถ่ายทำ� เนื่องด้วยรายการเดอะเฟส ไทยแลนด์ เป็น เป็นไปตามระยะเวลาที่กำ�หนด รายการเรียลิตี ที่ถูกกำ�หนดด้วยคู่มือการผลิต (Bible) 4. การประสานงาน การเตรียมข้อมูลและขั้นตอนการผลิตรายการมีความ การประสานงานจะต้องปฏิบัติตามระยะ ละเอียด และต้องใช้ความพิถีพิถันในการถ่ายทำ� ส่ง เวลาที่กำ�หนด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของระยะเวลาการ ผลให้มี Footage ภาพที่หลากหลายลำ�ดับภาพ ทำ�ให้ ผลิต การหาสถานที่ หรือแม้กระทั่งการติดต่อกับส ส่วนของการตัดต่อซึ่งถือเป็นหัวใจสำ�คัญของรายการ ปอนเซอร์รายการ ก่อนที่จะเริ่มถ่ายทำ�จริง เพื่อให้ มีความน่าสนใจมากขึ้นดังนั้นทางทีมงานในส่วนของ ระหว่างการถ่ายทำ�เป็นไปอย่างราบรื่น ซึ่ง การตัดต่อต้องมีการวางแผนในส่วนของการเตรียม วัตถุประสงค์ของการบริหารงานคือ (1) เพื่อให้เกิด งานที่รอบคอบ และควรเตรียมการล่วงหน้าเพื่อที่จะ ความเข้าใจอันดีงามของทุกฝ่าย (2) เพื่อให้งานมี ไม่กระชั้นเกินไปหากมีการเปลี่ยนแปลงจากลูกค้า ผู้ คุณภาพตามมาตรฐานที่กำ�หนด (3) เพื่อให้การทำ�งาน สนับสนุนรายการ หรือสถานีที่เกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และ (4) เพื่อประหยัด 3. สถานที่ถ่ายทำ� เวลาเมื่อต้องปฏิบัติงานจริง

บรรณานุกรม

ภาษาไทย นาตรดรุณ แต่งเกลี้ยง. (2554). ปัจจัยในการรับชมรายการเรียลิตีโชว์เกาหลีของคนไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. ศรีปริญญา ถาวรประเสริฐ. (2543). ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารธุรกิจขนาดย่อม ศึกษาการบริหารงานบริษัทผลิต รายการโทรทัศน์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ภาษาอังกฤษ Henri, F. (1949). General and Industrial Management. London: Sir Isaac Pitman & Sons. Holt, Rinehart & Winston. (1993). Management. NY: McGraw-Hill. Luther, G., & Urwick, L. (1939). The Science of Administration. NY: Columbia University. McQuail, D. (2000). Mass Communication Theory. London: Sage Publications. ______. (2005). McQuail’s Mass Communication Theory. London: Sage Publications. Millerson, G., & Owens, J. (2009). Television Production (14th ed.). MA: Focal Press. Ricky W. G. (1996). Management (5th ed.). Houghton: Miffin. Shermerhorn, J. (1996). Management and Organizational Behavior. NY: John Wiley & Sons.

71