THAI JOURNAL OF BOTANY 4 (Special Issue): 23-30. 2012.

วารสารพฤกษศาสตรไทย 4 (ฉบับพิเศษ): 23-30. 2555.

การศึกษาอนุกรมวิธานของกกสกุล Carex L. และ Scleria Berg. ในอุทยานแหงชาติภูจองนายอย จังหวัดอุบลราชธานี

Taxonomic study of the genera Carex L. and Scleria Berg. in Phu Chong Na Yoi National Park, Ubon Ratchathani province

วลัยภรณ เสรีมงคลนิมิต และ ฉัตรชัย เงินแสงสรวย* WALAIPHON SAREEMONGKONNIMIT & CHATCHAI NGERNSAENGSARUAY*

ภาควิชาพฤกษศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900 Department of Botany, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkok 10900,

บทคัดยอ. ศึกษาอนุกรมวิธานของกกสกุล Carex และ Scleria ในอุทยานแหงชาติภูจองนายอย จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 โดยสำรวจและ เก็บตัวอยางในภาคสนามตามเสนทางสำรวจ 8 เสนทาง ครอบคลุมสังคมพืช 4 แบบ ที่ความสูงจาก ระดับน้ำทะเล 200-300 เมตร ไดแก พื้นที่ลานหิน ปาเต็งรัง ปาดิบแลง และพื้นที่เปดโลง พบสกุล Carex 2 ชนิด 1 พันธุ ไดแก Carex indica L. var. laetebrunnea C.B. Clarke (หญาคมบางเล็ก) และ C. tricephala Boeck. (หญาดอกดิน) และสกุล Scleria 6 ชนิด 2 ชนิดยอย ไดแก Scleria biflora Roxb. subsp. biflora (กกลูกขน) S. levis Retz. (หญาสามคม) S. lithosperma (L.) Sw. subsp. lithosperma (หญาคมบางเล็ก) S. neesii Kunth (กกกระจิว) S. purpurascens Steud. (หญาคมบาง) และ S. tonkinensis C.B. Clarke (หญาขำเปา)

ABSTRACT. A taxonomic study of the genera Carex and Scleria in Phu Chong Na Yoi national park, Ubon Ratchathani province was conducted from July 2010 to August 2011. Field exploration and specimen collections were made along eight routes representing four vegetation types at 200-300 m.s.l. of open rock platform, deciduous dipterocarp forest, dry evergreen forest and open area. Two species and one variety of the genus Carex were recognized, i.e. Carex indica L. var. laetebrunnea C.B. Clarke (Ya khom bang lek) and C. tricephala Boeck. (Ya dok din). Six species and two subspecies of the genus Scleria were identified, i.e. Scleria biflora Roxb. subsp. biflora (Kok luk khon), S. levis Retz. (Ya sam khom), S. lithosperma (L.)

*Corresponding author: [email protected], [email protected] 24 วลัยภรณ เสรีมงคลนิมิต และ ฉัตรชัย เงินแสงสรวย

Sw. subsp. lithosperma (Ya khom bang lek), S. neesii Kunth (Kok kra chio), S. purpurascens Steud. (Ya khom bang) and S. tonkinensis C.B. Clarke (Ya khom pao).

คำสำคัญ: อนุกรมวิธานพืช, สกุล Carex, สกุล Scleria, อุทยานแหงชาติภูจองนายอย KEYWORDS: , Carex, Scleria, Phu Chong Na Yoi National Park

บทนำ สานเสอ่ื และทำเบาะ ในประเทศไทยใชประโยชน  จากกกรักษาโรค เชน แหวหมู (Cy. rotundus) พชวงศื กก () เปนวงศ ท ม่ี จำนวนี เหงาใชเปนยาขับปสสาวะ บำรุงหัวใจ และลดไข  ชนิดมากเปนอันดับ 3 ในกลุมพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (อนิษฐาน ศรีนวล, 2548) คาหอม (Scleria มีเขตการกระจายพันธุทั้งในเขตหนาวและเขต pergracilis) ลำตนมีกลิ่นหอม ใชเปนสวนผสม อบอุน ในประเทศไทยมีรายงานการสำรวจพบ ยาพื้นบาน (Ravi, 2002) การรวบรวมและศึกษา พืชวงศกก 29 สกุล 248 ชนิด สกุลที่มีจำนวน อนุกรมวิธานพืชวงศกกเพื่อเปนขอมูลดานความ ชนดมากทิ สี่ ดคุ อื Fimbristylis 60 ชนดิ รองลงมา หลากหลายทางชีวภาพของประเทศ การศึกษา คือ Cyperus 47 ชนิด Carex 41 ชนิด และ กกสกลุ Carex และ Scleria ในครงน้ั ้ี ทำใหทราบ Scleria 22 ชนิด (Simpson & Koyama, 1998; ขอม ลพู นฐานด้ื านความหลากหลายในพ นท้ื อ่ี ทยานุ Phulphong, 2007) พืชวงศกกมีลักษณะที่คลาย แหงชาติภูจองนายอย เพื่อการอนุรักษและใช กับพืชวงศหญา (Poaceae) แตมีขอแตกตางกัน ประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน คือ พืชวงศกกมีลักษณะลำตนเหนือดินภาค

ตัดขวางสวนมากรูปสามเหลี่ยม มีขอและปลอง วิธีการศึกษา เห็นไมชัด ใบเรียง 3 แถว (3-ranked) แตพืช วงศหญาลักษณะลำตนเหนือดินภาคตัดขวาง ศกษางานวึ จิ ยและเอกสารอั างอ งทิ เก่ี ยวข่ี อง สวนมากร ปวงกลมู มขี อและปล องเห นช็ ดั ใบเรยงี กับพืชวงศกก ออกสำรวจ ถายภาพ และเก็บ 2 แถว (2-ranked) ปจจุบันมีการนำพืชวงศกก ตัวอยางในภาคสนาม ตั้งแตเดือนกรกฎาคม ไปใชประโยชนหลายดาน เชน บางชนิดมีความ พ.ศ. 2553 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 เก็บ สำคัญในการอนุรักษหนาดิน โดยเฉพาะในพื้นที่ ตัวอยางเดือนละ 1 ครั้ง ตามเสนทางสำรวจ ทม่ี ความลาดชี นสั งู โดยพชวงศื กกม ระบบรากฝอยี 8 เสนทาง ไดแก เสนทางหนวยพิทักษอช. จำนวนมาก มีความสามารถในการแผขยายราก ที่ภจ.1 (พลาญกงเกวียน) เสนทางหนวยพิทักษ ไดดี ชวยลดการพังทลายของหนาดิน (ดวงใจ อช. ที่ภจ. 4 (จันลา) เสนทางหนวยพิทักษอช. ศุขเฉลิม, 2549) ชวยคงไวซึ่งความชุมชื้นใหผิว ทภจ่ี . 6 (แกงเร องื ) เสนทางแก งศ ลาทิ พยิ  เสนทาง หนาดิน ในประเทศญี่ปุนใช Carex dispalatha พลาญปาชาด เสนทางแกงกะเลาถึงแกงสน สานหมวก ในยุโรปใช C. brizodies ในงานสาน สามพันป เสนทางน้ำตกหวยหลวง และเสนทาง กระจาดและกระเชา ในอยี ปติ ใช ลำต นเหน อดื นของิ ถนนหลักจากพลาญปาชาดถึงน้ำตกหวยหลวง กกอียิปต (Cyperus papyrus) ทำกระดาษ เชือก ซึ่งครอบคลุมสังคมพืช 4 แบบ ที่ความสูงจาก อนุกรมวิธานของ Carex และ Scleria ในอุทยานแหงชาติภูจองนายอย จ.อุบลราชธาน ี 25

ระดับน้ำทะเล 200-300 เมตร ไดแก พื้นที่ ผลการศึกษาและวิจารณผล ลานหิน ปาเต็งรัง ปาดิบแลง และพื้นที่เปดโลง จากการศึกษาพบพืชวงศกก 8 ชนิด 2 นำตัวอยางที่ไดจากภาคสนามมาศึกษาลักษณะ ชนิดยอย และ 1 พันธุ จาก 2 สกุล โดยพบสกุล สณฐานวั ทยาโดยละเอิ ยดี โดยใชกล องจ ลทรรศนุ  Carex 2 ชนิด 1 พันธุ ไดแก Carex indica var. สเตอรโอิ พรอมท งถ้ั ายภาพ ระบชุ อพฤกษศาสตร่ื  laetebrunnea (หญาคมบางเล ก็ ) และ C. tricephala โดยใชเอกสารอางอิงทางวิชาการที่เกี่ยวของของ (หญาดอกดิน) (ตารางที่ 1, ภาพที่ 1) สวนสกุล Simpson & Koyama (1998), Phulphong (2007) Scleria พบ 6 ชนิด 2 ชนิดยอย ไดแก Scleria และเอกสารอื่นๆ เทียบเคียงตัวอยางที่ศึกษากับ biflora subsp. biflora (กกลูกขน) S. levis (หญา ตวอยั างพรรณไม แห งท ระบ่ี ชนุ ดแลิ ว ในพพิ ธภิ ณฑั  สามคม) S. lithosperma subsp. lithosperma พืชกรุงเทพ กรมวิชาการเกษตร (BK) และ (หญาคมบางเล็ก) S. neesii (กกกระจิว) S. หอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ purpurascens (หญาคมบาง ) และ S. tonkinensis พันธุพืช (BKF) สรางรูปวิธานระบุสกุลและชนิด (หญาขำเปา) (ตารางที่ 1, ภาพที่ 1-2)

ตารางที่ 1 รายชื่อกกสกุล Carex และ Scleria ที่สำรวจพบในอุทยานแหงชาติภูจองนายอย ชนิด ชื่อพฤกษศาสตร ชื่อไทย ชนิดปา/ ชวงเวลา ที่ ถิ่นที่อยู ออกดอก และเปนผล 1 Carex indica L. var. laetebrunnea หญาคมบางเล็ก ปาดิบแลง ธ.ค.-มี.ค. C.B. Clarke Ya khom bang lek 2 C. tricephala Boeck. หญาดอกดิน ปาเต็งรัง เม.ย.-พ.ย. Ya dok din ปาดิบแลง 3 Scleria biflora Roxb. subsp. biflora กกลูกขน พื้นที่เปดโลง เม.ย.-พ.ย. Kok luk khon 4 S. levis Retz. หญาสามคม พื้นที่เปดโลง ก.ค.-ม.ค. Ya sam khom ปาเต็งรัง พื้นที่ลานหิน 5 S. lithosperma (L.) Sw. subsp. หญาคมบางเล็ก พื้นที่เปดโลง ก.ค.-พ.ย. lithosperma Ya khom bang lek 6 S. neesii Kunth กกกระจิว พื้นที่ลานหิน ส.ค.-พ.ย. Kok kra chio ปาเต็งรัง 7 S. purpurascens Steud. หญาคมบาง ปาดิบแลง มี.ค.-ส.ค. Ya khom bang 8 S. tonkinensis C.B. Clarke หญาขำเปา ปาเต็งรัง พ.ค.-พ.ย. Ya khom pao พื้นที่ลานหิน

26 วลัยภรณ เสรีมงคลนิมิต และ ฉัตรชัย เงินแสงสรวย

1 มม. 1 มม. ก ข ค

ง จ 1 มม. ฉ 1 มม.

1 มม. 1 มม. ช ซ ฌ

ภาพที่ 1 Carex indica L. var. laetebrunnea C.B. Clarke: ก. ชอดอกแบบชอแยกแขนง; ข. กระเปาะหุม; ค. ผล, Carex tricephala Boeck.: ง. ชอดอกแบบชอเชิงลดคลายชอกระจุกแนน; จ. กระเปาะหุม; ฉ. ผล, Scleria lithosperma (L.) Sw. subsp. lithosperma: ช. ชอดอกแบบชอแยกแขนง; ซ. ชอดอกยอย; ฌ. ผล อนุกรมวิธานของ Carex และ Scleria ในอุทยานแหงชาติภูจองนายอย จ.อุบลราชธาน ี 27

ก ข 1 มม. 1 มม. ค

1 มม. ง จ 1 มม. ฉ

ช ซ 1 มม. ฌ 1 มม.

1 มม. ญ ฎ ฏ 1 มม.

1 มม. 1 มม. ฐ ฑ ฒ ภาพที่ 2 Scleria neesii Kunth: ก. ชอดอกแบบชอกระจุก; ข. ชอดอกยอย; ค. ผล, Scleria tonkinensis C.B. Clarke: ง. ชอดอกแบบชอแยกแขนง; จ. ชอดอกยอย; ฉ. ผล, Scleria biflora Roxb. subsp. biflora: ช. ชอดอก แบบชอแยกแขนง; ซ. ชอดอกยอย; ฌ. ผล, Scleria purpurascens Steud.: ญ. ชอดอกแบบชอแยกแขนง; ฎ. ชอดอกยอย; ฏ. ผล, Scleria levis Retz.: ฐ. ชอดอกแบบชอแยกแขนง; ฑ. ชอดอกยอย; ฒ. ผล 28 วลัยภรณ เสรีมงคลนิมิต และ ฉัตรชัย เงินแสงสรวย

ลักษณะของสกุล Carex L. เพศเมีย 1 ดอก อยูที่ปลายชอดอกยอยและ มดอกเพศผี ู 1-หลายดอกอยดู านข าง กาบชอย อย ไมล มล กหลายปุ  ลำตนเหน อดื นเปิ นสามเหล ยม่ี เรียงเวียนหรือเรียง 2 แถว ดอกมีเพศเดียว ไมมี ใบเรียง 3 แถว ออกที่โคนลำตน แผนใบรูปแถบ วงกลีบรวม ดอกเพศผูมีเกสรเพศผู 2-3 อัน กาบใบสนี ำตาลอ้ อนถ งสึ นี ำตาลอมม้ วง ไมม ลี นใบิ้ ดอกเพศเมยมี ีกานเกสรเพศเมีย 1 กาน รวงงาย ใบประดับรองรับชอดอกคลายใบ ชอดอกแบบชอ ยอดเกสรเพศเมียแยกเปน 3 แฉก ผลแบบ แยกแขนงหรือชอเชิงลดคลายชอกระจุกแนน ผลเปลือกแข็งเมล็ดลอน รูปทรงกลม รูปไขกลับ ชอดอกยอยมีเพศเดียว ชอดอกยอยเพศผูมักอยู รูปทรงรี แข็งคลายกระดูก จานฐานผล (disk) เหนือชอดอกยอยเพศเมีย กาบชอยอยเรียงเวียน เปนแฉก 3 แฉก มีสวนคลายกานหรือเห็นไมชัด แตละกาบรองรับดอก 1 ดอก ดอกเพศผูมีเกสร จากการศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกก เพศผู 3 อัน ดอกเพศเมียมีกระเปาะ (utricle) ทั้งสองสกุล พบวา สกุล Carex มีลักษณะสำคัญ หุมรังไข รูปคลายขวดปลายเปด ปลายกระเปาะ ที่นำไปใชระบุสกุล คือ ดอกเพศเมียและผล มีจะงอย (beak) ปลายตัด (truncate) หรือ มีกระเปาะหุม ผลไมแข็งคลายกระดูก สวนสกุล หยักซี่ฟน 2 ซี่ กานเกสรเพศเมีย 1 กาน Scleria ดอกเพศเมียและผลไมมีกระเปาะหุม ผล ยอดเกสรเพศเมยแยกเปี น 3 แฉก ไมม วงกลี บรวมี แข็งคลายกระดูก ลักษณะสำคัญที่ใชในการสราง ผลแบบผลเปลือกแข็งเมล็ดลอน มี 3 ดาน รูปวิธานระบุชนิดในสกุล Carex คือ ลักษณะ ผิวเปนปุมขนาดเล็ก กระเปาะหุมผลและชนิดชอดอก สวนในสกุล ลักษณะของสกุล Scleria Berg. Scleria คือ เพศของชอดอกยอย ลักษณะจาน ฐานผล กาบชอยอย รูปรางผล ลักษณะผนังผล ไมล มล กปุ เด ยวหรี อหลายปื  ลำตนใต ด นแขิ ง็ ชนิดชอดอก และใบ คลายเนื้อไม ลำตนเหนือดินเปนกอ ตั้งตรง ใบ เมื่อเปรียบเทียบกับผลการศึกษาครั้งนี้ซึ่ง ออกที่โคนลำตนหรือตามลำตน กรณีออกตาม พบสกลุ Carex ในพนท้ื ศ่ี กษาึ 2 ชนดิ จากจำนวน ลำตน บางครั้งเรียงเปนวงรอบ แผนใบรูปแถบ ทั้งหมด 41 ชนิด คิดเปนประมาณรอยละ 4.9 หรือรูปใบหอก กาบใบมีปก 3 ปก หรือไมมี ไมมี ของจำนวนชนิดกกสกุลนี้ในประเทศไทย สวน ลิ้นใบ ที่ปลายกาบใบมักมีโครงสรางคลายลิ้นใบ สกลุ Scleria ในพนท้ื ศ่ี กษาพบึ 6 ชนดิ จากจำนวน (contraligule) ชอดอกแบบชอแยกแขนงหรือชอ ทั้งหมด 22 ชนิด คิดเปนประมาณรอยละ 27.2 กระจุก ชอดอกยอยมีเพศเดียวหรือสมบูรณเพศ ของจำนวนชนิดกกสกุลนี้ในประเทศไทย ชอดอกยอยเพศเมียมีดอกเพศเมีย 1 ดอก และ

กาบชอยอย 1-หลายกาบ (ดอกเพศผูลดรูป) ชอดอกยอยเพศผูมีกาบชอยอยหลายกาบถึง จำนวนมาก กรณชี อดอกย อยสมบ รณู เพศ มดอกี อนุกรมวิธานของ Carex และ Scleria ในอุทยานแหงชาติภูจองนายอย จ.อุบลราชธาน ี 29

รูปวิธานระบุชนิด 1. ดอกเพศเมียและผลมีกระเปาะหุม ผลไมแข็งคลายกระดูก ...... 2 1. ดอกเพศเมียและผลไมมีกระเปาะหุม ผลแข็งคลายกระดูก ...... 3 2. ชอดอกแบบชอแยกแขนง กระเปาะหุมผลสีเขียว ผิวเกลี้ยง ...... C. indica 2. ชอดอกแบบช อเช งลดคลิ ายช อกระจ กแนุ น กระเปาะหมผลสุ ขาวี ผวมิ ขนสากี ...... C. tricephala 3. ผลอยูบนชอดอกยอยสมบูรณเพศ จานฐานผลเห็นไมชัดหรือมีสวนคลายกาน ...... 4 3. ผลอยูบนชอดอกยอยเพศเมีย จานฐานผลเปนแฉก 3 แฉก ...... 6 4. กาบชอยอยเกลี้ยง จานฐานผลเห็นไมชัด ...... S. lithosperma 4. กาบชอยอยมีขน จานฐานผลมีสวนคลายกาน ...... 5 5. ชอดอกแบบช อกระจ กุ ใบกวาง 1.5-2.5 มม. ผนงผลผั วมิ ปี มุ ปมมุ กลี มขนรุ ปดาวู ...... S. neesii 5. ชอดอกแบบชอแยกแขนง ใบกวาง 5-15 มม. ผนังผลผิวเรียบ ...... S. tonkinensis 6. ผนังผลผิวเปนรางแหหรือมีแผนกั้นเปนหลุมส่เหลี ี่ยมเล็กละเอียด ตามสันมีขน ...... 7 6. ผนังผลผิวเรียบ มีขนสั้นนุม ...... S.levis 7. ผลรูปทรงกลม ระหวางแฉกจานฐานผลเปนหลุมลึก ...... S. biflora 7. ผลรูปไข ระหวางแฉกจานฐานผลไมเปนหลุมลึก ...... S. purpurascens

สรุป กิตติกรรมประกาศ จากการศึกษาพบพืชวงศกก สกุล Carex งานวิจัยน้ีไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบัน 2 ชนดิ 1 พนธั ุ ไดแก  C. indica var. laetebrunnea วิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และ C. tricep hala สวนสกุล Scleria พบ 6 ชนิด ปงบประมาณ 2555 ขอขอบคณภาควุ ชาพฤกษศาสตริ  2 ชนิดยอย ไดแก S. biflora subsp. biflora, คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร  S. levis, S. lithosperma subsp. lithosperma, ที่เอื้อเฟอสถานที่วิจัย ขอขอบคุณหัวหนาอุทยาน S. neesii, S. purpurascens และ S. tonkinensis แหงชาติภูจองนายอย และเจาหนาที่อุทยานฯ ที่ การศึกษาครั้งนี้พบวา S. neesii และ อำนวยความสะดวกในการเก็บขอมูลภาคสนาม S. tonkinensis มีลักษณะโดยรวมสวยงาม และเอื้อเฟอสถานที่ในการศึกษาวิจัย เจาหนาที่ ความสูงของลำตนพอเหมาะ มีศักยภาพที่จะนำ หอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ มาพัฒนาเพื่อปลูกเปนไมกระถางประดับตกแตง พนธั พุ ชื และพพิ ธภิ ณฑั พ ชกรื งเทพุ กรมวชาการิ เปนการเพิ่มคุณคาทรัพยากรพรรณพืชและเกิด เกษตร ที่อำนวยความสะดวกในการเทียบเคียง ประโยชนทางเศรษฐกิจ ตัวอยางพรรณไมแหง

30 วลัยภรณ เสรีมงคลนิมิต และ ฉัตรชัย เงินแสงสรวย

เอกสารอางอิง Phulphong, K. 2007. Molecular and Morphological Systematics of Genus Carex L. (Cyperaceae) ดวงใจ ศุขเฉลิม. 2549. ความหลากหลายของพืชวงศกก in Thailand. Ph.D. Thesis, Khon Kaen (Cyperaceae) และวงศหญา (Gramineae) University. เรองเตื่ มการประช็ มุ ทอี่ ทยานแหุ งชาต ภิ กระดู งึ . ใน: Ravi, N. 2002. Common Tropical and Sub-tropical ทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร  Sedges and Grasses. Science Publishers, ครั้งที่ 44 . หนา 594-601. มหาวิทยาลัยเกษตร- Inc., Enfield, NH, USA. ศาสตร, กรุงเทพฯ. Simpson, D.A. & Koyama, T. 1998. Cyperaceae. กายวภาคศาสตริ เปร ยบเที ยบี อนษฐานิ ศรนวลี . 2548. In: Flora of Thailand. T. Santisuk & K. Larsen ของ Carex L. (Cyperaceae) ในประเทศไทย. (Eds.), Vol. 6 part 4, pp. 426-484. Diamond วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต Printing, Bangkok. สาขาชีววิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกน.