รายงานการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพ เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จังหวัด เชียงใหม The Biological Diversity in Protected Area : Omkoy Wildlife Santuary.

สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 16 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2555

ง คํานํา

รายงานการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในโครงการสํารวจความหลากหลาย ในพื้นที่ปาอนุรักษ โดยพื้นที่สํารวจในเนื้อหาฉบับนี้ คือพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย สํานักบริหารพื้นที่ อนุรักษที่ ๑๖ ในการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพไดรวบรวมขอมูลชนิดพรรณไม ชนิดพันธุแมลง ชนิดพันธุ เห็ด และชนิดพันธุนก รวมถึงศึกษา ความหลากหลายทางชีวภาพ ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ ดัชนีความสําคัญ ของพรรณไม ความคลายคลึงกันของแมลง และความชุกชุมของนก ในพื้นที่ เปนตน ในการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพครั้งนี้ เพื่อนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจไปใชเปนแนวทางในการ วางแผนการบริหารและการจัดการในพื้นที่อนุรักษตอไป

คณะทํางาน ตุลาคม 25555

ก สารบัญ

หนา สารบัญ ก สารบัญตาราง ข สารบัญภาพ ค คํานํา ง ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ดําเนินการ 1 ระยะเวลาดําเนินการ 12 วิธีการสํารวจความหลากหลายของพันธุไม 14 วิธีการสํารวจความหลากหลายของแมลง 17 วิธีการสํารวจความหลากหลายของเห็ด 20 วิธีการสํารวจความหลากหลายของนก 22 ผลการความหลากหลายของพันธุไม 24 ผลการความหลากหลายของแมลง 37 ผลการความหลากหลายของเห็ด 45 ผลการความหลากหลายของนก 49 สรุปผล 53 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ 54 กิตติกรรมประกาศ 55 เอกสารอางอิง 56 คณะผูดําเนินการ 57 ภาคผนวก 58

1 ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ดําเนินการ

ขอมูลทั่วไป พื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอยแตเดิมเปนปาสงวนแหงชาติปาอมกอย ในสวนที่อยูในจังหวัด เชียงใหมมีการควบคุมดูแลโดยปาไมเขตเชียงใหมและปาไมจังหวัดเชียงใหม สวนพื้นที่ในจังหวัดตากไดรับการดูแล และควบคุมโดยปาไมเขตตากและปาไมจังหวัดตาก ปาทั้งสองสวนนี้เปนปาโครงการทําไมมากอน และไดผานการ ทําไมมาหลายครั้งทั้งไมกระยาเลยและไมสัก ฉะนั้นไมมีคุณคาขนาดใหญจึงถูกนําออกไปเปนจํานวนมาก อยางไรก็ ตามสภาพปาก็มิไดเสื่อมโทรมมาก อันเนื่องมาจากการทําไม แตพื้นที่สวนนี้เปนถิ่นที่อยูอาศัยของมนุษยมาเปนเวลา ชานานโดยเฉพาะชนเผากะเหรี่ยงและ ชาวเขาเผาอื่น ดังเห็นไดจากโบราณวัตถุและโบราณสถานหลายอยางยังคง ตกคางอยู ลําน้ําแมตื่นและลําน้ําปงเคยเปนเสนทางคมนาคมที่สําคัญของมนุษยในสมัยนั้น ดังเชนพระธาตุแกง สรอยแสดงใหเห็นวาเคยเปนจุดที่ตั้งของเมืองขนาดเล็กมากอน บริเวณหมูบานแมตื่นมีวัดโบราณปรากฏอยูและมี การขุดพบโบราณวัตถุหลายชนิด อยางไรก็ตามเนื่องจากพื้นที่ปาที่กวางขวางและประชาชนในสมัยนั้นมีอยูนอยปา และสัตวปาก็ยังคงความอุดมสมบูรณมาก นับจากป พ.ศ. 2510 เปนตนมาประชากรชาวเขาเผาตางๆ เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการโยกยายถิ่นเขามาจากประเทศเพื่อนบานและอัตราการตายที่ลดลง เนื่องจากการแพทยสมัยใหมเขาไป ถึงทําใหพื้นที่สวนนี้เริ่มถูกทําลายอยางหนัก สัตวปาที่มีคุณคาหลายชนิดถูกลาจนเกือบจะหมดไปจากพื้นที่ ทางกรม ปาไมเล็งเห็นความสําคัญในปญหานี้จึงไดทําการประกาศพื้นที่ตลอดริมฝงแมปงทางดานตะวันตก จากดอยเตาลงมา จนถึงหวยน้ํารินใกลตัวเขื่อนภูมิพลเปนเขตรักษาพันธุสัตวปาเรียก เขตรักษาพันธุสัตวปาแมตื่น รวมพื้นที่ประมาณ 1,500,000 ไร ไดทําการประกาศไวเมื่อป พ.ศ. 2521 ตอมาทางราชการเห็นวาเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้มี พื้นที่กวางใหญเกินไปสําหรับการบริหาร ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่เปนรูปยาวจากเหนือลงมาทางใต มีเทือกเขา สลับซับซอนและการเขาสูพื้นที่ตอนบนและตอนลางเปนเสนทางที่แยกจากกันทําใหหัวหนาเขตรักษาพันธุสัตวปาไม สามารถควบคุมการปฏิบัติงานในสวนตางๆ ไดเต็มที่จึงเห็นสมควรกําหนดใหเขตรักษาพันธุสัตวปาแมตื่นที่ประกาศ ไวเดิมแยกออกเปนสองเขตรักษาพันธุสัตวปา โดยตัดพื้นที่สวนบนตั้งแตปากหวยแมตื่นขึ้นไปจัดตั้งเปนเขตรักษา พันธุสัตวปาใหมเรียก เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย สวนพื้นที่สวนลางก็ยังคงเปนเขตรักษาพันธุสัตวปาแมตื่นตอไป ทั้งนี้ไดประกาศไวตั้งแตวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2526 ในหนังสือราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ หนา 20 เลมที่ 100 ตอนที่ 135 พื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอยจึงไดรับการอนุรักษโดยพระราชบัญญัติสงวนและคุมครอง สัตวปา พ.ศ. 2503 เปนตนมา ซึ่งหามมิใหผูใดเขาไปลาสัตว ทําลายถิ่นที่อยูอาศัยของสัตวปา หรือสรางสิ่งรบกวน ใดๆ ตอปาไมและสัตวปาในพื้นที่ กรมปาไมโดยกองอนุรักษสัตวปา ไดจัดตั้งหนวยงานเขาไปควบคุมดูแลและ ปองกันใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้นับตั้งแตเริ่มกอตั้งเปนตนมา แตเนื่องจากปญหาหลายประการดวยกันจึงมี การฝาฝนกฎหมายโดยชนกลุมหนึ่งเสมอมา การลักลอบลาสัตวปาและการลักตัดไมตลอดจนการบุกรุกพื้นที่ปาของ ชาวเขาเผาตางๆ กลายเปนปญหาหลักและคอนขางรุนแรง

2 สถานที่ตั้ง เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย กําหนดบริเวณที่ดินปาอมกอย ในทองที่ยางเปยง ตําบลมอนจอง อําเภออมกอย ตําบลมืดกา อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม ตําบลบานนา อําเภอสามเงา จังหวัดตาก และบริเวณ ที่ดินปาแมตื่น ในทองที่ตําบลแมตื่น ตําบลสามหมื่น อําเภอแมระมาด ตําบลบานนา อําเภอสามเงา จังหวัดตาก พื้นที่รับผิดชอบ 765,000 ไร หรือ 1,224 ตารางกิโลเมตร พื้นที่รับผิดชอบอยูในแผนที่สภาพภูมิประเทศ มาตรา สวน 1:50,000 หมายเลขระวาง 4644 II, 4644 I, 4744 IV, 4744 III, 4643 I, 4743 IV อาณาเขต ทิศเหนือ จดหวยแมเฮดและแมลาย ตําบลมือกา อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม ทิศใต จดเขตรักษาพันธุสัตวปาแมตื่น ตําบลสามหมื่น อําเภอแมระมาด จังหวัดตาก ทิศตะวันออก จดแมน้ําปงและแนวเขตอุทยานแหงชาติแมปง ตําบลบานนา อําเภอสามเงา จังหวัดตาก ทิศตะวันตก จดหวยยางครกหลวง และลําน้ําแมตื่น ตําบลแมตื่น อําเภออมกอย จังหวัด เชียงใหม สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศของเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอยเปนสวนหนึ่งของเทือกเขาและที่ราบระหวาง เขาภาคเหนือ นับตั้งแตจังหวัดตากขึ้นไป ลักษณะทั่วไปเปนเทือกเขาหุบเขา และที่ราบระหวางภูเขา เปนเทือกเขา หินกลางเกากลางใหม กอตัวในมหายุคพาลีโอโซอิก ( Paleozoic Era) และมหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic Era) ซึ่ง อาจมีผลมาจากการเคลื่อนที่ของชิ้นสวนของผิวโลกที่เปนประเทศอินเดียเขาชนชิ้นสวนของผิวโลกที่เปนทวีปเอเซีย กอใหเกิดเทือกเขาทอดตัวจากจุดรวม ที่เรียก ยูนานนอต ( Yunnan Knot) ในจีนตอนใตพาดลงสูใต ที่สําคัญไดแก เทือกเขาถนนธงไชย เทือกเขาผีปนน้ํา เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาขุนตาน เทือกเขาเหลานี้กอใหเกิดลําน้ําสาย ตางๆ ขึ้นมากมาย ที่เปนลําน้ําหลัก ในสวนนี้ก็คือ ลําน้ําโขง ลําน้ําเจาพระยา และลําน้ําสาละวิน พื้นที่ในสวนที่เปน เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอยเปนสวนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงไชยตะวันออก เปนเทือกเขาที่อยูระหวางลําน้ําแม จม ลําน้ําแมตื่น และลําน้ําปง โครงสรางสวนใหญเปนหินอัคนีแทรกซอนและหินปูน ลักษณะพื้นที่สวนนี้เปนสัน กลางเหนือลงใตตอจากเทือกเขาจอมทองโดยมีแมน้ําจันเปนแนวกั้น มีสันเขามากมายแยกไปทางทิศตะวันออก กอใหเกิดลําน้ําสายเล็กสายนอยไหลลงสูลําน้ําปง ทางทิศตะวันตกมีลําน้ําแมตื่นเปนแนวเขตไหลขนานกับลําน้ําปง ลงมาและวกสูตะวันออกมาบรรจบกับลําน้ําแมปง พื้นที่ตอนเหนือประกอบดวยที่ราบสันเขาสลับกับยอดเขาที่มี ความสูงเกินกวา 1,000 เมตรจากระดับน้ําทะเล สวนตอนกลางและตอนลางประกอบดวยเขาสูงชันสลับกับหุบ หวยที่ลึก ลาดเขาบางตอนเปนผาหินปูนมีซอกถ้ําและโพรงหินมากมาย บริเวณริมลําหวยสายตางๆ มีที่ราบขนาด เล็กกระจายอยูซึ่งกอตัวมาจากการทับถมของดินตะกอนและทราย บริเวณเหลานี้ราษฎรเขามายึดครองเปลี่ยนรูป เปนทองนาและที่อยูอาศัยเปนสวนใหญ บริเวณริมฝงแมน้ําปงซึ่งระดับน้ําถูกยกขึ้นเนื่องจากอางเก็บน้ําเหนือเขื่อน ภูมิพล ทําใหสองฝงคอนขางชันสลับกับหุบหวยที่ไหลลงมาเปนชวงๆ กอใหเกิดทัศนียภาพที่สวยงามเปนอยางยิ่ง ทางทิศใตเปนลําน้ําแมตื่นที่มีพื้นน้ําแผกวางในชวงใกลกับสบแมตื่น พื้นที่ในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้มีระดับ ความสูงจากน้ําทะเลตั้งแต 200 เมตรขึ้นไปจนถึง 1,929 เมตร จุดสูงสุดคือยอดดอยมอนจองในเทือกเขาขุนแม ตื่นเปนสันแหงน้ําลงสูหวยอุมหลวงและหวยอุมฮวม ยอดเขาที่มีความสูงเกินกวา 1,500 เมตรขึ้นไป เชน เขาขุน แมตื่นซึ่งจุดสูงสุดของพื้นที่อยูในสวนนี้เรียกดอยมอนจอง ดอยอื่นๆ ที่มีความสูง ลดหลั่นลงไปไดแก ดอยดอกกุก (1,685 เมตร) เขาขุนแมตื่น (1,640 เมตร) ดอยหลวง (1,538) ดอยหลังเมือง (1,659 เมตร) และดอยบานยาง

3 (1,670 เมตร) ยอดเขาที่สําคัญเปนที่รูจักกันในหมูประชาชนในทองที่ ไดแก ดอยยาว ดอยหัวหมด ดอยเรี่ยม ดอย แต ดอยโตน ดอยคู ดอยหินลาด และยอดเขาอื่นๆ ที่มิไดตั้งชื่ออีกหลายยอด ลําน้ําสายสําคัญในพื้นที่ไดแก ลําน้ํา ปง วางเปนแนวเขตของพื้นที่ทางดานทิศตะวันออก ปจจุบันกลายเปนพื้นที่อางเก็บน้ําเหนือเขื่อนภูมิพล ลําน้ําแม ตื่นเปนลําน้ําหลักทางทิศตะวันตกระบายน้ําลงสูลําน้ําปง จากลําน้ําสายหลักทั้งสองนี้มีลําหวยแยกมากมายหลาย สายกระจายเขาไปรับน้ําจากตอนกลางของพื้นที่ ทางตอนเหนือมีลําหวยแมลายเปนแนวเขตมีหวยแยกเปนสาขาอีก หลายหวย เฉพาะที่มีน้ําตลอดปไดแก หวยกิ่งบาง หวยยาแล และหวยตั้ง ลําหวยตอนกลางที่ไหลลงสูลําน้ําปง โดยตรงเชน หวยแมฮาด หวยแกงปอก หวยอันแปน้ํา หวยหาดหยวก หวยผาตา หวยอุมปาด หวยสะเรี่ยม หวย เฮือด หวยแมสา หวยแกงปวง หวยแกงจาน และหวยอมรุ ลําหวยแยกที่สําคัญของลําน้ําแมตื่น ไดแก หวยและ หวยปูลิง หวยแมหก หวยจอมหมอก หวยแพะ หวยตาก หวยใหม หวยอุกฮวม และหวยอุมหลวง นอกจากนี้ยังมีลํา หวยที่มีเฉพาะฤดูฝนอีกหลายสายดวยกัน ลําหวยสายตางๆ ดังที่กลาวมาแลวนี้กอตัวเปนลุมน้ําขนาดตางๆ ขึ้นใน เขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ ที่สําคัญไดแกลุมน้ําแมลายซึ่งเปนลุมน้ําขนาดกลางที่มีความชันของลําหวยคอนขางสูง รับน้ําจากยอดเขาตางๆ ทางตอนเหนือของพื้นที่ ทั้งที่อยูภายนอกและภายในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย เฉพาะ ยอดเขาที่อยูภายในไดแก ดอยซังโตน ดอยจําป ดอยผาแตม ดอยหินฝน ดอยยาว และดอยหัวหมด รวมถึงน้ําจาก พื้นที่ราบสูงทางตอนเหนือดวย ลุมน้ําอุมปาดเปนลุมน้ําตอนบนแยกจากลุมน้ําแมลายไหลลงสูแมปง ในลุมน้ํานี้มี หวยแยกหลายสายเชน หวยฝาย หวยปุงบาง หวยแมจาน หวยบง พื้นที่ตอนกลางของลุมน้ํานี้คอนขางราบมี หมูบานของราษฎรชาวไทยภูเขาเขามายึดเปนที่ทํากินอยูหลายหมูบาน ในสวนที่ไปบรรจบกับแมน้ําปงมีลักษณะ เปนหุบเขาชัน ลุมน้ําสะเรี่ยมตั้งอยูตอนกลางของพื้นที่รับน้ําตั้งแตดอยหลังเมือง ดอยกิ่งชางสี ดอยโตน ดอยเรี่ยม ดอยแต และยอดเขาขนาดเล็กอื่นๆ มีลําหวยแยกที่สําคัญ คือ หวยเฮือด หวยกวน และหวยหนองสามรอน ลุมน้ํา แมสาและลุมน้ําแมปวงมาบรรจบกับลุมน้ําสะเรียม กอตัวเปนลุมน้ําขนาดใหญขึ้นรับน้ําจากดอยหลังเมือง ดอยมอน จอง ดอยมาวิ่ง ดอยผามาน ดอยหลวง และดอยผาแมว หวยแมสาและหวยแมปวงวางขนานกันไปจากทิศ ตะวันออกไปสูตะวันตกมีหวยแยกสายสั้นๆ อีกมากมาย สวนลุมน้ําแกงจางและลุมน้ําแกงสรอยเปนลุมน้ําขนาดเล็ก อยูทางใตของลุมน้ําปวงไหลตรงลงสูลําน้ําปง พื้นที่ทางตอนใตประกอบดวยลุมน้ําขนาดกลางสามลุมน้ําคือ ลุมน้ํา อมรุ รับน้ําจากพื้นที่ทางตอนใตของดอยหลวง ดอยมอนจอง ดอยคู และดอยคอกไหลตรงลงลําน้ําปง ลุมน้ําอุมห ลวง จัดไดวามีสภาพภูมิประเทศสูงชันมาก รับน้ําจากดอยคูและพื้นที่บนสันเขากลางเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ ไหลลงใตสูลําน้ําแมตื่น สวนลุมน้ําอุมฮวมกินพื้นที่บริเวณใตสุดของเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย รับน้ําจากดอยมา วิ่ง ดอยขุนแมตื่น และดอยคูไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตลงสูลําน้ําแมตื่น พื้นที่ลาดเขาทางทิศตะวันตกเปนลุม น้ําแมตื่นทั้งหมด ซึ่งแยกไดเปนลุมน้ําเล็กๆ หลายลุมน้ําดวยกัน ที่สําคัญไดแกลุมน้ําหวยเดื่อ ลุมน้ําหวยหมี เปนตน ลักษณะภูมิประเทศที่เปนสันเขาสูงชันมีหุบหวยที่ลึกและมีที่ราบนอย ทําใหสภาพพื้นที่สวนนี้ไมเหมาะสมที่จะใช เปนพื้นที่ทางการเกษตร เหมาะที่จะอนุรักษไวเพื่อการใชประโยชนดานอื่นที่เปนการอนุรักษ โดยเฉพาะเปนเขต รักษาพันธุสัตวปาดังที่รัฐบาลไดประกาศไว ซึ่งนอกเหนือจากการคงไวซึ่งสภาพความหลากหลายทางชีววิทยาแลว ยังเปนประโยชนตอการอนุรักษน้ํา ภัยธรรมชาติและยังเปนแหลงเพื่อการศึกษาวิจัยและพักผอนหยอนใจกับ ธรรมชาติดวย

4

สภาพภูมิอากาศ เนื่องจากพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอยตั้งอยูคอนไปทางภาคเหนือของประเทศ ประมาณที่ เสนรุง 17 องศา 45 ลิปดา เหนือ และอยูคอนเขามาในแผนดิน โดยสภาพที่ตั้งของพื้นที่แลวจัดไดวาอยูในพื้นที่ อิทธิพลของลมมรสุม ในชวงพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมเปนชวงที่มีฝนตกชุกเนื่องจากไดอิทธิพลจากลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใตที่พัดมาจากทะเลอันดามันและหางของพายุใตฝุนที่กอตัวในทะเลจีนแลวพัดขึ้นสูแหลมญวน ใตฝุน บางลูกที่มีความรุนแรงสูง มักทําใหฝนตกอยางหนักในพื้นที่โดยเฉพาะในเดือนกันยายนและตุลาคม อยางไรก็ตาม พื้นที่สวนนี้ก็จัดไดวาอยูในพื้นที่อับฝน เนื่องจากตั้งอยูทางดานใตลมฝนของลาดเขาในเทือกเขาถนนธงชัย ซึ่งฝน สวนใหญจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะตกหนักทางดานลาดเขาทางตะวันตกในจังหวัดแมฮองสอนและพมา ปริมาณน้ําฝนสวนใหญจึงไดจากพายุใตฝุนจากทะเลจีน ขอมูลเฉพาะสถานีอุตุนิยมวิทยาที่เขื่อนภูมิพลซึ่งใกลพื้นที่ ทางตอนใตมากที่สุด มีคาเฉลี่ยน้ําฝนตอปเทากับ 1,060.1 มิลลิเมตร (ขอมูลจากป 1956-1985) เดือน กันยายนเปนเดือนที่มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยสูงสุดมีคา 254.1 มิลลิเมตร จํานวนวันฝนตก 144.8 วันตอป สภาพ ภูมิอากาศโดยทั่วไปจัดไดวาเปนสภาพภูมิอากาศคอนไปทางดานสภาพภูมิอากาศแบบกึ่งเขตรอน ( subtropical climate) แตไมเดนชัดมาก คือมีฤดูฝนที่ยาวนาน ประมาณ 6 เดือน (rainy season) ฤดูหนาวซึ่งมีอากาศคอนขาง เย็น (cool season) ประมาณ 3 เดือน และฤดูรอน (hot season) ประมาณ 3 เดือน ในชวงฤดูฝนซึ่งเริ่มจาก เดือนพฤษภาคมไปจนถึงตุลาคม มีฝนตกบอยครั้งบางชวงอาจตกติดตอกันไปถึง 2-3 วัน แตเปนฝนที่ไมคอยรุนแรง มาก เชน ในภาคใตของประเทศ อุณหภูมิในชวงนี้คอนขางคงที่ คาเฉลี่ยอยูในชวงตั้งแต 26.9 องศา ถึง 30 องศา เซลเซียส คาเฉลี่ยสูงสุด 31.2 องศา ถึง 34.8 องศาเซลเซียส และคาเฉลี่ยต่ําสุด 22.6 องศา ถึง 25 องศา เซลเซียส เฉพาะบนยอดเขาสูงอากาศจะเย็นจัดเมื่อมีฝนตกตอเนื่อง ในฤดูที่อากาศเย็นซึ่งเริ่มจากเดือนพฤศจิกายน ไปจนถึงเดือนมกราคม อากาศโดยทั่วไปคอนขางเย็น อุณหภูมิเฉลี่ยในชวงนี้อยูในชวง 23.5 องศา ถึง 25.4 องศา เซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 29.5 องศา ถึง 30.6 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยต่ําสุด 16.8 องศา ถึง 20.2 องศาเซลเซียส แตบนยอดเขาสูงอุณหภูมิคอนขางต่ําตลอดชวงฤดูกาลนี้ ชวงฤดูรอนมีคาอุณหภูมิเฉลี่ย ประจําเดือนในชวงตั้งแต 27.5 องศา ถึง 32.1 องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยสูงสุดประจําเดือนอยูในชวง 34.1-37.9 องศาเซลเซียส และเฉลี่ยต่ําสุด 19.5-24.9 องศาเซลเซียส คาสูงสุดที่บันทึกไดในชวงฤดูรอนสูงถึง 42.6 องศา เซลเซียส ในเดือนเมษายน และต่ําสุดที่วัดได 6.4 องศาเซลเซียสในเดือนตุลาคม ชวงความแปรผันของอุณหภูมิจึง คอนขางกวาง (กรมอุตุ-นิยมวิทยา , 2530) ขอมูลดานความชื้นในบรรยากาศของพื้นที่โดยเฉพาะคาความชื้น สัมพัทธ (Relative Humidily) มีความสัมพันธกับฤดูกาลอยางใกลชิด ในชวงฤดูฝนคาความชื้นคอนขางสูงมาก มี คาเฉลี่ยอยูในชวง 73.9 ถึง 86.7 เปอรเซ็นต ลดลงในชวงฤดูหนาว ซึ่งมีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 70.4 ถึง 81.8 เปอรเซ็นต และคอนขางต่ําในชวงฤดูรอน มีคาอยูในระหวาง 57.3 ถึง 63.1 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยตลอดป 74.9 เปอรเซ็นต เฉลี่ยสูงสุด 92.7 เปอรเซ็นต เฉลี่ยต่ําสุด 53.9 เปอรเซ็นต คาบันทึกไดต่ําสุด 13.0 เปอรเซ็นต อุณหภูมิของจุดควบแนนในเดือนตางๆ อยูในชวง 15.6 ถึง 23.2 องศาเซลเซียส และคาเฉลี่ยตลอดปที่ 20.2 องศาเซลเซียส คาการระเหยน้ําจากผิวน้ําที่เปดคอนขางสูงมาก มีคาเฉลี่ย 1,624.7 มิลลิเมตร ตอป ตั้งแตเดือน มกราคมถึงเดือนกันยายน ลมพัดมาจากทิศตะวันตก สวนเดือนตุลาคมถึงธันวาคมลมพัดมาจากทิศตะวันออก คาเฉลี่ยของลมในเดือนตางๆ อยูในชวง 2.5 นอตส ถึง 5.1 นอตส ขอมูลตางๆ เหลานี้นับวานาสนใจ

5 สภาพธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา พื้นที่บริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย สวนใหญเปนเทือกเขาหินกลางเกากลางใหม กอตัวใน มหายุคพาลีโอ-โซอิกและมหายุคมีโซโซอิก ลักษณะหินจึงเกี่ยวของกับมหายุคทั้งสองนี้ หินสวนใหญที่ปรากฏใหเห็น ในเทือกเขาแถบนี้เปนหินแปรที่ตกตะกอนในมหายุคพาลีโอโซอิกวางซอนทับอยูบนหินในมหายุคพรีแคมเบรียน (Precambrian) และเหนือหินในมหายุคพาลีโอโซอิกนี้ยังคลุมดวยหินจากการตกตะกอนในทะเลและหินจากภูเขา ไฟ ซึ่งอาจเกิดขึ้นในยุคเพอเมี่ยน (permian) ตอนตนตอกับยุคไตรแอสซิกและซีโนโซอิก นอกจากนี้ยังมีหินแกรนิต ปรากฏเปนตอนๆ อยูดวย หินในมหายุคพรีแคมเบรียน ( Precambrian rocks) ประกอบดวยระดับชั้นหินแปรที่ คอนขางสมบูรณประกอบดวย paragneiss และ orthogneiss schist, calc-silicates, quartzite และหินออน ปรากฏอยูตอนกลางของเขตรักษาพันธุสัตวปา หินในกลุมหิน gneiss มีสีเปนสีเทาออนเปนสวนใหญ เนื้อละเอียด เปนรูปเหลี่ยมไปจนถึงเนื้อหยาบพรุน มีแถบหรือรอยเคลือบที่แยกไดจากความแตกตางของเนื้อหินที่มีเม็ดไมเทากัน และธาตุที่เปนสวนผสมอยู หินสวนใหญประกอบดวย quartz, plagioclase, K-feldspar และ biotite นอกจากนี้ ยังพบ silimanite และ almandite เปนองคประกอบอยูดวยในหิน paragneiss หินในกลุม gneissic rocks นี้ มี aplite และ pegmatite รวมถึงแนวของ quartz ปรากฏอยูทั่วไป ชั้นหินเหลานี้สวนใหญปกคลุมดวยหิน quartzite และ limestone ของมหายุคพาลีโอโซอิกในหลายทองที่ บางครั้งพบเปนรอยซอนทับตอเนื่องกันไป หิน ในมหายุคพาลีโอโซอิก หินยุคนี้ในทางภาคเหนือของประเทศไทยอาจแบงไดตามหลักการทางธรณีวิทยาถึง 6 กลุม จากยุคแคมเบรียน (Cambrian) ไปจนถึงยุคเพอเมียน ( Permian) ที่พบในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้สวน ใหญเปนหินแปรที่ตกตะกอนในชวงตนๆ ของมหายุคพาลีโอโซอิก หินในยุคแคมเบรียนรวมถึงยุคโอโดริเชียน ประกอบดวยหินสีชมพูออนสีน้ําตาลออน มีชั้นหนา เนื้อละเอียดปานกลาง สวนใหญเปน quartzite ที่มี phyllite ผสมอยูเปนสวนนอยกับเปน quartzitic sandstone ในเนื้อหินเหลานี้อาจพบ quartz และ chert สีดํามีลักษณะ เปนกรวดกลมมีเสนผาศูนยกลางถึง 1 เซนติเมตร ฝงอยูภายในหิน quartzite หินในปลายยุคแคมเบรียนนี้ปกคลุม ดวยหินในยุคโอโดวิเชียน ซึ่งมีหิน argillaceous limestone และชั้นหิน shale หิน quartzitic sandstone และ แถบของ limestone อยูดวย บางตอนเปนชั้นของหิน limestone หนา มีสีเทาจนถึงเทาแก ความหนาของชั้นนี้ อาจถึง 800 เมตร ชั้นหินโอโดวิเชียนนี้จะคลุมดวยชั้นหินในมหายุคกลางพาลีโอโซอิก การศึกษาทางธรณีวิทยาใน พื้นที่นี้ยังมิไดมีการกระทํากันอยางละเอียด อยางไรก็ตามปรากฏวาพื้นที่ในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอยมีแหลงแร สําคัญอยูหลายชนิดบางชนิดไดมีการขุดคนขึ้นมาใชกอนที่จะประกาศเปนเขตรักษาพันธุสัตวปา โดยเฉพาะแร ฟลูออไรทและพลวง ซึ่งราษฎรในพื้นที่ยังเขาไปขุดหากันอยู

ทรัพยากรปาไม เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย ยังมีสภาพปาสมบูรณแหงหนึ่งของประเทศ ชนิดปาที่สําคัญไดแก 1. สังคมปาดงดิบเขา (Hill evergreen forest) มีการกระจายอยูบนยอดเขาสูงบริเวณแนวเขตทางทิศตะวันตกของ พื้นที่โดยเฉพาะยอดดอยมอนจองและยอดเขาอื่นๆ บริเวณขุนแมตื่น ปาชนิดนี้อาจจัดเปนปาดงดิบเขาระดับต่ํา (Lower Montane Forest) ปจจัยที่เปนตัวกําหนดของสังคมคือความหนาวเย็นที่คอนขางคงที่ตลอดป ฉะนั้นจึง ปรากฏอยูตั้งแตระดับความสูงที่เกินกวา 1,200 เมตรขึ้นไป ลักษณะโดยทั่วไปเปนปาที่ไมผลัดใบมีไมในวงศไมกอ (Fagaceae) เปนไมเดนในสังคม ในพื้นที่ที่คอนขางมีปจจัยแวดลอมเหมาะสม คือมีดินคอนขางลึกและไมมีลมพัด จัดเกินไป ลักษณะโครงสรางทางดานตั้งอาจแบงไดเปน 3 ชั้นเรือนยอด เรือนยอดชั้นบนสุด ประกอบดวยไมสูง ประมาณ 20-25 เมตร มีเรือนยอดที่แนนทึบตอเนื่องกันไป ชนิดพรรณไมสําคัญ ไดแก กอตาควาย กอตาหมู กอ คํา กอหยุม กอขาวใบนวล เหมือดคนตัวผู คาหด ยมหอม ขาตน จันทรทอง และจําปปา เปนตน ไมชั้นรอง

6 ประกอบดวยไมขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 10-15 เมตร สวนใหญเปนไมทนรมไดดีขึ้นสอดแทรกระหวางไม ในชั้นเรือนยอดทําใหสังคมปาชนิดนี้ดูแนนทึบ ชนิดไมสําคัญไดแก เหมือดดอย ตะไครตน เมี่ยงหลวง หวาหลวง ราม หวาดอยอางเท เมี่ยงอีอาม จองหอม เหม็ดชุนตัวผู ทะโล มะขามแป หลงหนาม นวนเสียน เปนตน พื้นปา คอนขางรกทึบดวยพืชจําพวกเฟรน ไมพุม เถาวัลยขนาดเล็ก และพืชลมลุกอยางอื่นโดยเฉพาะในสกุลขิงขา ใน ชองวางที่มีแสงลงถึงพื้นมักปรากฏ ไมเหลานี้คือ คําแดง หนาดเขา เพลี้ยกระทิง วานหัวเสือ อานอย และอาหลวง เปนตน บนพื้นดินปกคลุมดวยตะไคร และมอสหลายชนิดดวยกัน สวนบนกิ่งและลําตนของไมอาจพบกลวยไมและ พืชเกาะติดปรากฏหลายชนิดดวยกัน เชน ประทัดทอง สะเภาลม และกลวยไมในสกุล Ione, Bulbophyllum, Thelasis, dendrobium, porpax, Eria และอื่นๆ อีกมาก ปาดงดิบเขาจัดไดวาเปนแหลงรวมของพรรณไมที่หา ยากทั้งระดับโลกและระดับประเทศหลายชนิด บางชนิดเปนพรรณไมที่มีศูนยกลางการกระจายอยูในเขตอบอุน และในเขตเทือกเขาหิมาลัยที่รุกล้ําเขามาในเขตรอน โดยเฉพาะกําลังเสือโครง และนางพญาเสือโครง มักพบอยู ทั่วไปในที่โลงสองขางทาง คุณคาของปาชนิดนี้ในดานการอนุรักษความหลากหลายของมวลชีวภาพจึงคอนขางสูง แตเนื่องจากปกคลุมในพื้นที่ที่มีดินลึกและอากาศหนาวเย็นตลอดป เหมาะตอการปลูกพืชเกษตรเมืองหนาวเชน กระหล่ําปลี จึงทําใหพื้นที่ปาชนิดนี้ถูกทําลายอยางหนัก ผลจากการศึกษาหมูไมตัวอยางในพื้นที่ปรากฏวาไมที่มี เสนผาศูนยกลางเกินกวา 4.5 เซนติเมตร วัดที่ระดับอก ( 1.30 เมตรจากผิวดิน) มีความหนาแนน 1,020 ตนตอ เฮกแตร เปนไมใหญที่มีเสนผาศูนยกลางเกินกวา 10 เซนติเมตร ประมาณ 740 ตนตอเฮกแตร พื้นที่หนาตัดของ ไมที่มีเสนผาศูนยกลางตั้งแต 4.5 เซนติเมตร มีประมาณ 36 ตารางเมตรตอเฮกแตร ไมเดนในสังคมซึ่งพิจารณา จากคาความสําคัญ ไดแก เหมือดคนตัวผู กอตาควาย ตาหานเขา และกอตาหมู เปนตน 2. สังคมหนาผาและลาน หิน (Cliff community and rocky area) สังคมพืชชนิดนี้คลุมพื้นที่ไมมากปรากฏใหเห็นไดเฉพาะบนยอดเขาสูง และบริเวณหนาผาที่ชันโดยเฉพาะบริเวณผาหินปูนริมฝงแมน้ําปงและดอยมอนจองซึ่งเปนยอดเขาที่สูงสุดในพื้นที่ เฉพาะบริเวณเหลี่ยมผาดานทิศตะวันตกของ ดอยมอนจองปกคลุมดวยหญาและไมพุมขนาดเล็ก ลักษณะของสังคม พืชชนิดนี้เกิดขึ้นเนื่องจากสภาพดินที่ตื้นมาก บางตอนเปนดินที่ทับถมอยูในซอกหิน การกักเก็บน้ําในดินคอนขาง เลวเนื่องจากความลาดชันและเปนทรายจัด นอกจากนี้เหลี่ยมผาที่มีความลาดชันมากตั้งรับลมที่พุงเขาปะทะอยาง รุนแรงทําใหไมใหญไมสามารถเขามายึดครองพื้นที่ได คงมีแตไมพุมเตี้ยหรือไมที่คดงอในซอกหินที่พอมีดินอยูบาง บางสวนก็ปกคลุมดวยหญาหลายชนิดซึ่งมีรูปชีวิตที่ทนทานตอสภาพเชนนี้ ในชวงฤดูแลงหญาตางๆ ก็ลมตายลง คงเหลือไวแตหัวหรือหนอชิดผิวดิน ไมพุมก็ผลัดใบทิ้งกอใหเกิดเชื้อไฟเปนจํานวนมากขึ้นในสังคมชนิดนี้ ไฟปาจึง เกิดขึ้นอยูเปนประจําในชวงฤดูแลง สวนลาดเขาดานทิศตะวันออกของดอยมอนจองซึ่งเปนลาดเขาที่อยูดานตรง ขามกับทิศทางลมที่พัดจัด สภาพพื้นที่จึงปกคลุมดวยปาดงดิบเขาที่แคระแกรน ทั้งนี้เนื่องจากดินที่ตื้นและกําลังลม ที่คอนขางแรง ในสังคมพืชชนิดนี้มีเรือนยอดชั้นบนสุดสูงไมเกิน 7 เมตร พรรณไมสวนใหญเปนชนิดเดียวกันกับไม ชั้นรองในปาดงดิบเขาที่สมบูรณแตมีขนาดลําตนที่เล็กวาและคดงอเนื่องจากแรงลม นอกจากนี้ยังมีไมในวงศไมกอที่ มีลําตนแคระแกรนขึ้นผสมอยูดวย สวนบริเวณทุงหญาบนสันเขาและหนาผาประกอบดวยหญาหลายชนิด โดยเฉพาะหญาคา หญาลิ้นงู คนทิคิน กระดุมเงิน หญาชันอากาศ หญาขน ทรงกระเทียม หญาปลองหิน ตองกง กูด กวาง โดไมรูลม กระตายจาม และผักชีโคก เปนตน สังคมทุงหญามักเกิดไฟปาเปนประจําเนื่องจากหญาแหงตาย กลายเปนเชื้อเพลิงที่ดี การจุดเพลิงมักมีสาเหตุมาราษฎรในพื้นที่ที่ทําการจุดเผาพื้นที่ไรเลื่อนลอยและซังขาวในทอง นาในหุบหวย ไฟจะลุกลามขึ้นบนหนาผาอยางรวดเร็ว ลมที่พัดคอนขางจัดชวยเสริมใหการคืบคลานของเพลิง เปนไปเร็วมากยากตอการควบคุมไฟ ในชวงปที่แหงแลงจัด ไฟปาอาจกินเขาไปถึง ปาดงดิบเขาบางตอนและทําให ตนไมลมตายเปนจํานวนมากและทุงญาก็จะเขาไปทดแทน สังคมผาชันและทุงหญานี้มีความสําคัญมากตอกวางผา และเลียงผาอันเปนสัตวปาสงวนของชาติ สัตวทั้งสองชนิดนี้ไดอาศัยเปนแหลงหลบภัยและหากิน 3. ปาดงดิบแลง

7 (Dry Evergreen Forest) เปนสังคมพืชที่ปรากฏอยูในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้คอนขางนอย สวนใหญกระจาย อยูบริเวณลุมหวยในระดับสูงที่เปนรอยตอกับปาดงดิบเขาระดับต่ําและในรองหวยหรือชานหวยที่มีความชื้นจัด ตลอดป ลักษณะโครงสรางทางดานตั้งแบงไดเปน 3 ชั้นเรือนยอด ไมสําคัญในเรือนยอดชั้นบนไดแก ตะเคียนทอง ขนุนปา หวา เขลง จําปปา กระบาก และไมผลัดใบที่ผสมอยูในชั้นนี้ เชน ตะแบกเปลือกบาง หอมไกลดง ขาวหลาม มะดูก ไมชั้นรองที่พบไดแก คางคาว ลําใยปา มะไฟปา กัดลิ้น ฮังแกง ลําดวนดง เฉียงพรานางแอ เลือดแรด เลือด กวาง มะเมา และหวา เรือนยอดของปาคอนขางตอเนื่องกันจนแสงแดดลอดลงสูพื้นไดไมมาก จึงทําใหพืชจําพวก หญาปรากฏใหเห็นไดนอยมาก ชั้นของพื้นปาจึงประกอบดวยกลาไมของไมชั้นบนเปนสวนใหญ ขึ้นผสมกับไมพุม ขนาดเล็กที่ทนรมไดดีผสมกับพืชลมลุกโดยเฉพาะพืชในวงศขิงขา และไมลมลุกอยางอื่น เชน หวาชะอํา หญาโอน ฉัตรฟา อั้ว และสามรอยยอด ขอมูลจากหมูไมตัวอยางปรากฏวาไมใหญที่มีเสนผาศูนยกลางเพียงอกเกิน 10 เซนติเมตรขึ้นไป มีจํานวน 250 ตนตอเฮกแตร สวนไมที่มีเสนผาศูนยกลางเกินกวา 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป มี 325 ตนตอเฮกแตร และพื้นที่หนาตัดประมาณ 45 ตารางเมตรตอเฮกแตร คาดัชนีความสําคัญของพรรณไมในปานี้ แสดงวา ไมคางคาวเปนไมที่มีความเดนสูงสุด นอกจากนั้นก็มีหอมไกลดงมีความเดนรอง สวนไมอื่นๆ มีปรากฏไม มากในอัตราสวนที่ใกลเคียงกัน 4. ปาผสมผลัดใบ (Mixed Deciduous Forest) เปนสังคมพืชที่ครอบคลุมพื้นที่ ของเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้อยางกวางขวางรองจากสังคมปาเต็งรัง ปรากฏอยูทั่วไปตั้งแตที่ราบหรือในที่ลาดชัน นอยและบนไหลเขาหรือยอดเขาที่มีความลาดชันมากแตมีดินลึกและระดับความสูงไมเกิน 1,200 เมตร พิจารณา จากไมเดนในสังคมอาจแบงสังคมพืชชนิดนี้ออกเปนสองสังคมยอย คือสังคมปาผสมผลัดใบที่มี ไมสัก และสังคมปา ผสมผลัดใบที่ไมมีไมสัก ปาผสมผลัดใบที่มีไมสักมีลักษณะโครงสรางของสังคมทางดานตั้งแบงไดเปน 3 ชั้นเรือน ยอด เรือนยอดชั้นบนสุดมีความสูงประมาณ 25-35 เมตร ไมเดนในชั้นนี้ไดแก ไมสัก ประดู แดง ตะครอ รกฟา ซอ งิ้วปา ตะเคียนหนู พฤกษ และสมอพิเภก ปกติเรือนยอดของไมชั้นนี้ไมตอเนื่องกัน เปดโอกาสใหไมชั้นรองเขา มาผสมอยูเปนจํานวนมาก เรือนยอดของไมชั้นรองโดยทั่วไปมีความสูงประมาณ 10-25 เมตร ไมเดนของชั้นนี้ ไดแก กระทอมหมู ดูแดง เก็ดแดง ปจั่น แคทราย สมอไทย ขี้อาย ตีนนก มะกอก และเต็งหนาม เปนตน ชั้นของไม พุมมีความสูงไมเกิน 5 เมตร ประกอบดวย แสลงใจ ฉัตรมะยม ยอปา แหวน ปป นอกจากนี้ยังมีเถาวัลยขึ้นอยู หลายชนิด เชน เสี้ยวเครือ กวาวเครือ ถั่วลาย และจิ้งจอเหลือง เปนตน ปาผสมผลัดใบเปนแหลงไมไผที่สําคัญของ ประเทศ ชนิดที่ผสมอยูในปาชนิดนี้ ไดแก ไผซาง ไผซางนวล ไผบง ไผหนาม ไผรวก และไผไร สภาพปาโดยทั่วไป โลงเตียนในชวงฤดูแลงหลังไฟปาและรกทึบในฤดูฝน ปาผสมผลัดใบที่ไมมีไมสักโครงสรางสวนใหญเหมือนกันกับที่มี ไมสัก แตไมสักไมปรากฏ ฉะนั้นไมเดนในชั้นเรือนยอดบนสุดจึงประกอบดวยไมแดง ประดู สมอพิเภก รกฟา ตะแบกใหญ และตะเคียนหนู ที่ปรากฏอยูในทองที่นี้มักมีความสูงเกินกวา 800 เมตรขึ้นไป ซึ่งอยูเหนือระดับที่ไม สักจะขึ้นได ยกเวนในบางพื้นที่อาจพบในระดับต่ําได ปาผสมผลัดใบชนิดนี้บางครั้งพบบนเขาหินปูนในระดับสูงขึ้น ผสมกับไผรวก และมีไมกอบางชนิดเขามาผสม แตพื้นปามักรกทึบดวยหญา ไฟปาเกิดขึ้นทุกป ผลการศึกษาจาก แปลงตัวอยางในสังคมปาชนิดนี้ปรากฏวา ความหนาแนนของตนไมมีความผันแปรคอนขางสูงขึ้นอยูกับสภาพทองที่ โดยเฉพาะความลึกของดินและความลาดชัน จํานวนไมใหญที่มีเสนผาศูนยกลางเกินกวา 10 เซนติเมตรขึ้นไป มี ประมาณ 235 ตนตอเฮกแตร ในพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ สวนความหนาแนนของไมที่มีเสนผาศูนยกลางตั้งแต 4.5 เซนติเมตร ซึ่งถือวาเปนไมที่พนการทําลายจากไฟปาแลวมี 255 ตนตอเฮกแตร โดยมีพื้นที่หนาตัดประมาณ 26 ตารางเซนติเมตร ไมที่มีคาดัชนี ความสําคัญสูง ไดแก สัก ประดู รกฟา ตะครอ เปนตน 5. สังคมปาเต็งรัง (Deciduous Dipterocarp Forest) เปนสังคมพืชที่ครอบคลุมเนื้อที่ของเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้มากที่สุด พบ อยูทั่วไปทั้งในที่ราบและบนเขาสูงชันที่มีความสูงต่ํากวา 1,100 เมตรลงมา สวนใหญปกคลุมอยูในพื้นที่ที่มีดิน คอนขางตื้น เปนทรายจัดหรือมีหินผสมอยูมากหรือในพื้นที่ที่มีชั้นของดินลูกรังปรากฏอยูชิดผิวดิน ลักษณะของ

8 สังคมอาจแบงโดยใชไมเดนในเรือนยอดเปนหลักออกไดเปนสองสังคมยอย คือปาเต็งรังที่มีไมพลวงเดนและปาเต็งรัง ผสมสน 6. ปาเต็งรังที่มีไมพลวงเดน ( Deciduous Dipterocarp with Pluang) เปนลักษณะปาเต็งรังสวนใหญใน เขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ ขึ้นอยูในพื้นที่ที่มีดินคอนขางลึก อาจเปนดินทรายจัดหรือดินเหนียวปนทราย มี โครงสรางของเรือนยอดทางดานตั้งแบงไดเปน 3 ชั้น ชั้นบนสุดมีความสูงอยูในชวง 25-30 เมตร ไมเดนของชั้นนี้ ไดแกไมพลวง ขึ้นผสมอยูกับไมเต็ง รัง รกฟา กอแพะ ในบางพื้นที่อาจพบไมเหียง ปรากฏอยูดวย ในปาที่ไมถูก รบกวนโดยมนุษย เรือนยอดคอนขางตอเนื่องกัน แตปกติไมที่มีคุณคาโดยเฉพาะไมเต็งมักถูกลักลอบตัดออกไปทํา ใหเรือนยอดชั้นบนขาดออกจากกัน กอใหเกิดชองวางขึ้น ไมชั้นรองประกอบดวยไมขนาดกลางมีความสูงประมาณ 18 เมตร ไมสําคัญของเรือนยอดชั้นนี้ไดแก ตะครอ สารภี รักใหญ มะกอกเกลื้อน ตะโกพนม มะมวงหัวแมงวัน และไมชั้นรองที่ปรากฏอยูในปาผสมผลัดใบยกเวนไผ ในชั้นไมพุมมีความสูงไมเกิน 5 เมตร ประกอบดวย เหมือดจี้ มะดังแดง แสลงใจ หัวแหวน แขงกวาง คนทา และผักหวาน นอกจากนี้ยังมี เปง ขึ้นกระจายทั่วไป พื้นปาในชวงฤดู ฝนคอนขางรกทึบดวยหญาและพืชลมลุกมากมายชนิด เชน หญาจาม หญาขน กกรังกา หญาหวาย แขมหลวง ขา ปา หญายายเภา เอื้องหมายนา สันดิน เปราะปา ขาลิง นางอั้วนอย นางอั้ว ดอกดิน และพืชในสกุล Curcuma, Hibiscus, Cyperus และ Eriocaulon อีกหลายชนิด ปาเต็งรังในสังคมยอยนี้มีความหนาแนนของไมที่มี เสนผาศูนยกลางเกินกวา 10 เซนติเมตรขึ้นไปประมาณ 455-1,226 ตนตอเฮกแตร สวนความหนาแนนของไมที่ มีเสนผาศูนยกลาง 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป ซึ่งถือวาพนจากการทําลายของไฟปาแลว มีประมาณ 480-1,300 ตน ตอเฮกแตร โดยมีพื้นที่หนาตัดประมาณ 10-25 ตารางเมตรตอเฮกแตร ไมที่มีคาดัชนีความสําคัญสูง ไดแก รัง พลวง เต็ง มะกอกเกลื้อน กอแพะ และรกฟา สังคมยอยเต็งรังผสมสน ( Deciduous Dipterocarp with Pine) สวนใหญพบปรากฏอยูบนยอดเขาสูง ปกติพบตั้งแตระดับความสูงประมาณ 600 เมตรขึ้นไปถึง 1,200 เมตรจาก ระดับน้ําทะเล สังคมพืชที่มีไมสนของเมืองไทยอาจแบงไดเปนสองสังคมยอยคือ สังคมยอยสนผสมกอ และเต็งรัง ผสมสน ที่พบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอยเปนสังคมยอยชนิดหลัง ลักษณะโครงสรางของสังคมยอยเต็งรังผสม สน แบงเรือนยอดออกไดเปน 3 ชั้น เรือนยอดชั้นบนสุดเปนสนสองใบ ลักษณะเรือนยอดไมตอเนื่องกระจายอยู หางๆ เหนือเรือนยอดของไมในปาเต็งรัง สวนใหญมีความสูงเกินกวา 25 เมตรขึ้นไป ในบางจุดอาจพบไมพลวง บาง ตนที่สูงขึ้นมาผสมอยูในชั้นนี้ เรือนยอดชั้นรองมีความสูงประมาณ 15-20 เมตร เปนเรือนยอดที่คอนขาง ตอเนื่องกันโดยตลอด พรรณไมในระดับนี้ประกอบดวยไมพลวงเปนไมเดน ผสมดวยเต็ง กอแพะ สมอไทย รักใหญ และไมอื่นๆ ที่มีพบในปาเต็งรังทั่วไป สวนเรือนยอดชั้นที่สามเปนไมพุมและไมขนาดเล็ก มีความสูงไมเกิน 10 เมตร และเปนพรรณไมที่ปรากฏในเรือนยอดชั้นรองของปาเต็งรังทั่วไป พื้นปาประกอบดวยหญาและพืชลมลุกเปนสวน ใหญ แตเนื่องจากใบสนที่สลายตัวชาจึงมักมีความหนาแนนของพื้นปานอยกวาปาเต็งรัง ขอมูลจากหมูไมตัวอยาง ของสังคมพืชชนิดนี้ปรากฏวา ไมใหญที่มีเสนผาศูนยกลางเกินกวา 10 เซนติเมตรขึ้นไป มีความหนาแนน 280- 540 ตนตอเฮกแตร ขึ้นอยูกับความลึกและความสมบูรณของดิน แตเมื่อพิจารณาจํานวนตนไมที่มีเสนผาศูนยกลาง ตั้งแต 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป ความหนาแนนเพิ่มเปน 550-700 ตนตอเฮกแตร มีพื้นที่หนาตัดประมาณ 23-27 ตารางเมตรตอเฮกแตร ไมที่มีดัชนีความสําคัญสูง ไดแก พลวง เต็ง สนสองใบ สมอไทย และรักใหญ 7. สังคมไรราง (Old Clearing and Shifting Cultivation Areas) ผลจากการทําลายปาของชนกลุมนอยโดยเฉพาะชนเผา กะเหรี่ยง มูเซอ และสั้ว ซึ่งอาศัยอยูในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาบางสวนและหมูบานโดยรอบกอใหเกิดสังคมพืชที่ อยูในระหวางการทดแทน ( successional stage) หลายระดับดวยกัน ความแปรผันของสังคมพืชที่อยูในระหวาง การทดแทนนี้ขึ้นอยูกับความรุนแรงในการทําลาย ชวงเวลาที่ถูกทอดทิ้งไว และสังคมปาดั้งเดิมกอนถูกทําลาย ปกติ ชนเผากะเหรี่ยงมักยึดพื้นที่ในทองหวยเพื่อการทํานาถาวร และทําการถางปาเพื่อตกกลาและปลูกขาวไรและพืชผัก เสริมบริเวณลาดเขาชิดลําหวย สวนชนเผามูเซอ ยึดครองพื้นที่บนยอดเขาสูงในปาดงดิบเขา ถางปาบนลาดเนินเพื่อ

9 ปลูกขาวไรและฝน แตในปจจุบันไดเปลี่ยนเปนไรกระหล่ําปลีเปนสวนใหญ มีการเปลี่ยนพื้นที่บอยครั้งเมื่อพื้นที่เดิม หมดความสมบูรณ สังคมพืชที่ขึ้นทดแทนในพื้นที่ถูกทําลายดังกลาวที่ปรากฏมีหลายรูปแบบ ในพื้นที่ที่มีดินคอนขาง เลวมากมักปกคลุมดวยหญาคา เปนพืชเดน ภายใตหญาคานี้อาจพบพืชอยางอื่นผสมอยูเชน โชนใหญ เขมรเล็ก หญานิ้วหนู และเลา หากพื้นดินมีความชื้นมากขึ้นอาจพบสาบเสือเขามาผสมและในบางตอนอาจทําใหหญาคาหมด ไป สวนไรรางบริเวณริมลําหวยหรือในหุบที่ชื้นจัดมักปกคลุมดวยหญาพง เลา แขมหลวง และตองกง ในพื้นที่ที่ถูก ทําลายไมรุนแรงยังมีตอของไมเดิมขึ้นอยู สังคมพืชก็จะปกคลุมดวยไมที่แตกหนอจากตอเดิม ผสมกับไมที่เปนไมเบิก นําของแถบนี้ เชน มะเดื่อหอม ติ้วขาว โมกหลวง หวา ลําพูปา พังแพร และปอชนิดตางๆ ในพื้นที่บางตอน โดยเฉพาะริมถนนปรากฏวามีไมยราบเครือ รุกล้ําเขามายึดครองทั่วไป และบริเวณริมลําหวยชายน้ําปรากฏวามี ไมยราบตนขึ้นคอนขางหนาแนน ไมทั้งสองชนิดนี้เปนไมตางถิ่นที่นําเขามาและเปนประโยชนตอสัตวปานอย

ทรัพยากรสัตวปา เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอยมีสัตวปาที่สําคัญหลายชนิดทั้งสัตวเลี้ยงลูกดวยนม สัตวปก และ สัตวเลื้อยคลานอื่นๆ เปนจํานวนมาก จากการสํารวจพบ 1) สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 43 ชนิดพันธุ 37 สกุล 21 วงศ ที่สําคัญไดแก กวางผา ชางปา เลียงผา วัวแดง กระทิง เสือโครง เสือดาว หมีควาย เสือไฟ หมีหมา หมาใน ลิงลม คางแวนถิ่นเหนือ ชะนีมือขาว และลิ่นใหญ ฯลฯ จากระดับความมากนอย (Degree of Abundance) ที่ประเมินได จากการศึกษาในพื้นที่ โดยพิจารณาจากความบอยครั้งที่พบ สภาพรองรอยที่ปรากฏ และขอมูลจากผูปฏิบัติงานใน พื้นที่ พบวาในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้มีแนวโนมวา สัตวที่มีเกณฑประชากรอยูในระดับที่พบมาก มีนอยมาก เพียง 9 ชนิด คิดเปนรอยละ 20.9 สวนใหญเปนสัตวขนาดเล็กและเปนสัตวที่ปรับตัวไดคอนขางดี สามารถเลือกใช อาหารและถิ่นอาศัยไดหลายรูปแบบ ตัวอยางเชน กระแตธรรมดา กระรอกทองแดง กระจอน และแมวดาว สัตวที่ พบระดับปานกลาง มีอยู 19 ชนิด คิดเปนรอยละ 44.2 และสัตวที่พบนอยมีอยู 15 ชนิด คิดเปนรอยละ 34.9 สัตวทั้ง 2 กลุมนี้มักเปนสัตวขนาดใหญและขนาดกลางซึ่งมีประชากรอยูไมมากและพบอาศัยอยูในพื้นที่เปนปา ไดแก ปาผสมผลัดใบ ปาเต็งรัง และปาดงดิบเขา โดยหลีกเลี่ยงจากบริเวณที่มีกิจกรรมของมนุษย เชน พื้นที่ เกษตรกรรม แนวถนน และที่ตั้งหมูบาน 2) นก 181 ชนิดพันธุ 125 สกุล 47 วงศ ที่สําคัญไดแก ไกฟาหลังเทา ไกฟาหลังขาว นกยูง นกแวนสีเทา นกเกก นกเงือก นกเงือกกรามชาง นกอินทรีดํา และเหยี่ยวเพเรกริน นอกจากนี้ ยังพบนกที่มีความสวยงาม และควรคาแกการอนุรักษ โดยเฉพาะนกขุนทอง และนกในวงศแกว ฯลฯ ชนิดนกที่พบ ในพื้นที่สวนใหญเปนนกประจําถิ่น ไดแก นกกระสานวล นกกระแตแตแวด เหยี่ยวแดง ซึ่งพบ หากินตามแหลงน้ํา ใหญตลอดแนวลําน้ําปง และนกปาขนาดเล็กอีกหลายชนิด ชนิดที่นาสนใจและควรกลาวถึงคือ นกภูหงอนพมา ไดรับการบันทึกวาเปนนกที่พบในประเทศไทยครั้งแรกโดย Round (1983) โดยพบเพียง 1 ตัว บนดอยมอนจอง และอาจเปนนกอพยพ แตจากการพบนกภูหงอนพมาในบริเวณปาดิบเขาบนดอยมอนจอง ในเขตอําเภอสามเงา จังหวัดตาก เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2534 ไดพบนกชนิดนี้จํานวน 3 ตัว เปนนกที่โตเต็มวัย 2 ตัว กําลังคาบเหยื่อ มาปอนลูก ซึ่งแสดงใหเห็นวานกดังกลาวเปนนกประจําถิ่นที่มีการสรางรังวางไขในพื้นที่ดวย สวนนกอพยพที่เขามา อาศัยอยูในพื้นที่ชวงฤดูหนาว พบอยูนอยชนิด เชน เปดลาย และเปดแดง ซึ่งเคยพบมากบริเวณชายแหลงน้ําใกล ดอยเตา จังหวัดเชียงใหม แตในชวงหลังนี้พบนอยลงเนื่องจากแหลงน้ําดังกลาวซึ่งเคยกวางถึง 4 กิโลเมตร ลดระดับ ลงกลายเปนแนวแมน้ําไมกวางมากเหมือนในอดีต นอกจากนั้นยังพบสมาชิกในวงศนกเดาลม นกกระจอยวงตาสี ทอง นกกระจี๊ดตางๆ และนกพงปากหนา จากจํานวนนกที่ทราบทั้งหมด 181 ชนิด พบอยูจํานวน 9 ชนิด คิดเปน รอยละ 4.4 จัดเปนชนิดที่ถูกคุกคามและกําลังจะกลายเปนสัตวที่กําลังจะสูญพันธุ ไดแก นกอินทรีดํา นกลุมพู นก เงือกกรามชาง นกกาฮัง ไกฟาหลังเทา นกยูง ไกฟาหลังขาว นกแวนสีเทา และยังมีเหยี่ยวเพเรกรินที่กําลังจะสูญ

10 พันธุ พบบินรอนในบริเวณใกลหนาผาหินที่สูงชันของ ดอยมอนจอง สภาพความมากนอยของนกที่ประเมินไดโดย จําแนกออกเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับที่พบเห็นไดนอย ระดับปานกลาง และระดับที่พบไดคอนขางบอยมาก พบวา ในพื้นที่มีจํานวนชนิดนกที่แตกตางกัน เปนจํานวน 60, 85 และ 36 ชนิด ตามลําดับ โดยคิดเปนรอยละ 33.1, 47.0 และ 19.9 ของชนิดนกที่พบทั้งหมด รวม 181 ชนิด ซึ่งจะเห็นไดวาจํานวนนกสวนใหญถึง 4 ใน 5 มี จํานวนไมมากและพบไดไมบอยครั้ง 3) สัตวเลื้อยคลาน 31 ชนิดพันธุ 25 สกุล 11 วงศ ที่สําคัญไดแก ตะกวด กิ้งกาหนามไหลแถบ งูสิง งูทางมะพราว งูสามเหลี่ยม ตะพาบน้ํา และเตาเหลืองฯลฯ ระดับความมากนอยของ สัตวเลื้อยคลานประเมินไดคอนขางยากกวาสัตวปก และสัตวปาเลี้ยงลูกดวยนม เนื่องจากความถี่ของการพบเห็น และชนิดสัตวในสกุลและวงศเดียวกันมีนอยชนิด อยางไรก็ตามการประเมินไดในขั้นนี้นับเปนเพียงพื้นฐานการ เปรียบเทียบเทานั้น จํานวนชนิดของสัตวที่พบนอยมี 8 ชนิด คิดเปนรอยละ 25.8 ชนิดที่พบปานกลาง 17 ชนิด คิดเปนรอยละ 54.8 และพบมาก 6 ชนิด คิดเปนรอยละ 19.4 การไดรับความคุมครองจากการกําหนดสถานภาพ ตาม พ.ร.บ.สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 พบวาเปนสัตวปาคุมครองรวม 7 ชนิด คิดเปนรอยละ 22.6 ไดแก กิ้งกาหัวสีน้ําเงิน กิ้งกาหัวสีแดง งูเหลือม งูทางมะพราว และที่เหลืออีก 24 ชนิด คิดเปนรอยละ 77.4 เปน สัตวที่มิไดรับการกําหนดสถานภาพตาม พ.ร.บ. แตไดรับการคุมครองเนื่องจากอาศัยอยูในเขตรักษาพันธุสัตวปา สถานภาพปจจุบันของสัตวเลื้อยคลานที่พบ ไมมีชนิดใดที่ตกอยูในสภาวะเปนสัตวที่กําลังจะสูญพันธุ หรือเปนสัตวที่ ถูกคุกคามกําลังจะกลายเปนสัตวที่กําลังจะสูญพันธุ 4) สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 13 ชนิดพันธุ 7 สกุล 4 วงศ ที่ สําคัญ ไดแก กบทูต คางคกเล็ก และเขียดหนองฯลฯ ชนิดที่พบเห็นในระหวางการศึกษาประกอบดวย เขียดหนอง หรือกบบัว ซึ่งพบเห็นปรากฏอยูทั่วไปในพื้นที่ เขียดทายทอยดํา ปาด อึ่งอิ๊ดขาเหลือง อึ่งอิ๊ดหลังลาย คางคกบาน และคางคกเล็ก ซึ่งชนิดหลังนี้เปนสัตวปาคุมครอง สวนชนิดอื่นๆ ทั้งที่ไดกลาวมาแลวและยังมิไดกลาวถึงรวม ทั้งหมด 12 ชนิด มิไดรับการกําหนดสถานภาพแตอยางใด ทั้งนี้เนื่องจากยังเปนสัตวที่พบเห็นไดงายและยังมี ประชากรพบปรากฏอยูทั่วไปในภูมิภาคตางๆ ของประเทศ จากการพิจารณาระดับความมากนอยของสัตวประเภท นี้ พบวา สัตวที่พบเห็นนอย มี 2 ชนิด คิดเปนรอยละ 15.4 พบปานกลางมีจํานวนมากถึง 8 ชนิด คิดเปนรอยละ 61.5 และที่พบมากมี 3 ชนิด คิดเปนรอยละ 23.1 ไดแก เขียดหนอง เขียดทายทอยดํา และอึ่งอิ๊ดหลังลาย อยางไรก็ตามจํานวนชนิด และความรูที่ทราบเกี่ยวกับสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกในพื้นที่ยังนับวามีอยูนอยมาก และมี ความเปนไปไดคอนขางสูงที่จะพบชนิดอื่นๆ อีก เชน กบทูด ซึ่งพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาแมตื่นซึ่งเปนพื้นที่ ติดตอกัน นาที่จะพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย ดวยเชนกัน 5) ปลาน้ําจืด 94 ชนิดพันธุ 56สกุล 24วงศ ไดแก ปลาแกมช้ํา ปลากระแห ปลากา ปลากระมัง ปลาสรอยลูกกลวย ปลาสรอยขาว ปลาชอนทราย ปลา สังกะวาด ปลาชอน และปลาหมอเทศฯลฯ ชนิดปลาตางถิ่นซึ่งมิไดเปนปลาดั้งเดิมในลุมน้ําปงที่พบ มี 4 ชนิด ประกอบดวย ปลาหมอเทศ ปลานิล ปลายี่สกเทศจากตางประเทศ และปลาบึก ซึ่งเปนลูกปลาที่ไดจากการผสม เทียมโดยกรมประมงไดนํามาปลอยในอางเก็บน้ําเหนือเขื่อนภูมิพล ปจจุบันราษฎรในแถบนี้สามารถจับปลาบึก ซึ่งมี แถบเครื่องหมายของกรมประมงไดหลายตัว อาศัยการประเมินระดับความมากนอยของปลาที่พบ สามารถจําแนก เปนปลาที่พบคอนขางมาก 15 ชนิด คิดเปนรอยละ 16.0 ของชนิดปลาทั้งหมด ชนิดที่พบในระดับปานกลางมีอยู เปนจํานวน 36 ชนิด (รอยละ 38.3) และที่พบนอยมากมีอยู 43 ชนิด (รอยละ 45.7) จากจํานวน 40 ชนิด ดังกลาว ปลาหางไหม ตามที่ Smith (1945) ไดรายงานวาพบที่แมน้ําปง จังหวัดเชียงใหม จัดเปนปลาที่ไดรับ ความนิยมเลี้ยงเปนปลาตูที่สวยงามกันอยางแพรหลาย ปจจุบันไมมีรายงานที่กลาวถึงการพบปลาชนิดนี้ในอางเก็บ น้ําเขื่อนภูมิพล คาดวาอาจจะหมดไปจากแหลงน้ําแหงนี้แลว

11

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงอาณาเขตเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

12 ระยะเวลาดําเนินการ

ปงบประมาณ ๒๕๕๕ เริ่มตั้งแตเดือน กุมภาพันธ – กันยายน ๒๕๕๕

วิธีการ

1. เสนทางสํารวจ เสนทางสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพจะทําการสํารวจ ๔ จุด ในพื้นที่ตาง ๆ โดยใหครอบคลุมพื้นที่ เขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ มากที่สุด โดยสวนใหญจะเลือกพื้นที่ที่สะดวกในการเขาถึง เชน ตามหนวยงานที่อยูในพื้นที่ เขตรักษาพันธุ และบริเวณใกลเคียง ในเขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย จึงไดเลือกมา ๔ จุด คือ OKWS 1 OKWS 2 OKWS 3 และ OKWS 4 (ภาพที่ 3) 2. การวางแปลงสํารวจ การวางแปลงสํารวจพรรณไม ไดวางแปลง ขนาด 50 x 20 เมตร จํานวน 4 แปลง ตามจุดสํารวจ ซึ่งพิกัด แปลงสํารวจ มีดังนี้ แปลงที่ 1 พิกัด UTM 1965135 448002 แปลงที่ 2 พิกัด UTM 1962456 450662 แปลงที่ 3 พิกัด UTM 1960156 450069แปลงที่ 4 พิกัด UTM 1968975 446182 โดยที่พิกัดแปลง สํารวจพรรณไมจะใชแปลงเดียวกับแปลงสํารวจชนิดพันธุเห็ด และชนิดพันธุแมลง

ภาพที่ 2 ภาพแสดงการวางแปลงสํารวจพรรณไม ในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

13

ภาพที่ ๓ แผนที่จุดสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

14 วิธีการสํารวจความหลากชนิดของพรรณไม วัตถุประสงค สํารวจหาความหลากชนิดของพรรณไมในพื้นที่สังคมปาเต็งรัง อุปกรณ ๑. ตลับเมตร ยาว 20 เมตร และ ๕0 เมตร ๕. หมุดเหล็ก 2. เข็มทิศ ๖. คอน ๓. เครื่อง GPS ๗. ตะปู 4. แท็กเลขตนไม ๘. ตารางบันทึกขอมูล วิธีการ 1. วิธีการสํารวจพรรณไมโดนการวางแปลงขนาด 50 x 20 เมตร โดยแบงเปนแปลงขนาด 10 x 10 เมตร จํานวน 10 แปลง และ แปลงขนาด 5 x 5 เมตร จํานวน 10 แปลง โดยจะวางแปลง เสน 50 เมตรไป ตามทิศทางขวางความลาดชัน จํานวน 4 แปลง 2. สํารวจพรรณไมทําการจัดเก็บขอมูล ชนิด ความโต ความสูง ของ พรรณไมขนาดความสูงเพียงอก 1 30 เซนติเมตร ในแปลงขนาด 10 x 10 เมตร และเก็บขอมูลชนิดและจํานวนของพรรณไม ความสูงเพียงอก ต่ํากวา 130 เซนติเมตร ในแปลงขนาด 5 x 5 เมตร 3. เก็บขอมูลชนิดพรรณไม ความโต และความสูงของพรรณไม รวมทั้งขอมูล เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอด โดยเลือกเพียงแปลงสํารวจ ๑ แปลง เพื่อนํามาจัดทํา Profile Diagram ของพรรณไมเปนตัวแทนในเขต รักษาพันธุสัตวปาอมกอย 4. วิเคราะหคาความหลากหลายหลายของชนิดพรรณ ( Shannon – Wiener Diversity Index :HI) ของ พรรณไมในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จากสูตร H´ = - ∑ (Pi)(InPi) i=1 โดย H´ = คาดัชนีความหลากชนิดของชนิดพรรณ Pi = สัดสวนระหวางจํานวนตนไมชนิด i ตอจํานวนตนไมทั้งหมด S = จํานวนชนิดพรรณไมทั้งหมด คาดัชนีความหลากหลายของพรรณไมของ Shannon จะใช log ฐาน 2 เนื่องจาก ใหคาที่สูงที่สุดและทํา ใหเห็นความแตกตาง ของคาความหลากหลายไดดีกวา และหาคาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness (JI) J´ = H´ In S โดย H´ = Shannon- Weaver Index S = จํานวนชนิดพรรณไมทั้งหมด 5. วิเคราะหโดยหาคา ดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index: I.V.I.) มีสูตรดังนี้ ความหนาแนนของพรรณพืช (Density = D) คือ จํานวนตนไมทั้งหมดของชนิดพันธุที่วัด ที่ปรากฏใน ตัวอยางตอหนวยพื้นที่ที่ทําการสํารวจ

15 D = จํานวนตนทั้งหมดของชนิดพันธุไมที่กําหนดที่ปรากฏในตัวอยาง หนวยพื้นที่ทั้งหมดของแปลงที่สํารวจ ความถี่ (Frequency, F) หมายถึง อัตรารอยละของจํานวนแปลงที่ปรากฏพันธุไมชนิดนั้นตอจํานวนแปลง ที่ทําการสํารวจ F = จํานวนแปลงที่ชนิดไมนั้นปรากฏ x 100 จํานวนแปลงทั้งหมดที่สํารวจ ความเดน (Dominance, Do) ในที่นี้ใชความเดนดานพื้นที่หนาตัด (Basal Area, BA) ของลําตนไมที่ได จากการวัดที่ระดับความสูง 1.30 เมตร จากพื้นดินตอพื้นที่ที่ทําการสํารวจ Do = พื้นที่หนาตัดของตนไมทั้งหมด x 100 พื้นที่ที่ทําการสํารวจ คาความถี่สัมพัทธของชนิดไม (Relative frequency, RF) คือ สัดสวนของความถี่ของชนิดไมที่ตองการ ตอความถี่ทั้งหมดของไมทุกชนิดในสังคม RFA = (ความถี่ของชนิดไม A) x 100 ความถี่ของไมทุกชนิดในสังคม คาความหนาแนนสัมพัทธของชนิดไม (Relative density, RD) คือ สัดสวนของความหนาแนนของชนิดไม ที่ตองการตอความหนาแนนทั้งหมดของไมทุกชนิดในสังคม RDA = (ความหนาแนนของชนิดไม A) x 100 ความหนาแนนของไมทุกชนิดในสังคม คาความเดนของชนิดไม (Relative dominance, RDo) คือ สัดสวนของความเดนของชนิดไมที่ตองการตอ ความเดนทั้งหมดของไมทุกชนิดในสังคม RDoA= (ความเดนของชนิดไม A) x 100 ความเดนของไมทุกชนิดในสังคม คาดัชนีความสําคัญของชนิดไม (Importance value index, IVI) คือ ผลรวมของคาความสัมพัทธตางๆ ของชนิดพันธุไมนั้นในสังคม ซึ่งหาไดจากสูตร IVI = RFA + RDA + RDoA 6. จัดทํา Profile Diagram และ Plot plan ของพรรณไม รวมทั้งคํานวณอัตราการปกคลุมเรือนยอดของ พรรณไมในพื้นที่

16

ภาพที่ ๔ แผนที่แปลงสํารวจพรรณไม ในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

17 วิธีการสํารวจความหลากชนิดของแมลง วัตถุประสงค สํารวจหาความหลากชนิดของแมลงในพื้นที่สังคมปาเต็งรัง อุปกรณ ๑. สวิง ๖. โฟม ๒. ซองเก็บแมลง ๗. กลองพลาสติก ๓. หลอดแบลคไลท 40 วัตต ๘. ผาขาว ๔. เข็มเซ็ตแมลง ๙. ขวดเก็บแมลง ๕. เข็มหมุด ๑0. ตารางบันทึกขอมูล วิธีการ 1. ทําการสํารวจขอมูลพื้นฐานแบบมีสวนรวมกับเขตรักษาพันธุสัตวปาและเครือขายอนุรักษในพื้นที่เขตรักษา พันธุสัตวปาอมกอย 2. กําหนดแปลงสํารวจแมล ง (ผีเสื้อกลางวัน) แยกตามชนิดปา จํานวน 4 แปลง ในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตว ปา ฯ ขนาด 200 เมตร จัดเก็บขอมูลแมลง ในเวลา 10.00 น. และ 14.00 น. โดยใชสวิงขนาดความ กวางของปากถุง 40 เซนติเมตร ความลึก 80 เซนติเมตร ทําการเก็บตัวอยางใสซองเก็บตัวอยางผีเสื้อ เพื่อนําตรวจชีพลักษณ และจัดเก็บตัวอยางใหแกเขตรักษาพันธุ ฯ 3. ทํากับดักแสงไฟ เพื่อจัดเก็บแมลง ดวง โดยใชหลอดแบล็คไลท ขนาด 40 วัตต ตั้งในพื้นที่หนวยพิทักษปา ของเขตรักษาพันธุ จัดเก็บตัวอยางแมลงใสขวดที่มีสารเอทิล อาซิเท เพื่อฆาแมลง หลังจากนั้นนํามาอบ หรือตากจนแหงแลวจึงนํามาตรวจชีพลักษณ ๔. วิเคราะหคาความหลากหลายทางชีวภาพ ( Shannon – Wiener Diversity Index :HI) ของพรรณไมใน เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จากสูตร H´ = - ∑ (Pi)(InPi) i=1 โดย H´ = คาดัชนีความหลากหลาย Pi = สัดสวนระหวางจํานวนชนิด i ตอจํานวนชนิดทั้งหมด S = จํานวนชนิดทั้งหมด คาดัชนีความหลากหลายของแมลงของ Shannon จะใช log ฐาน e และหาคาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness (JI) J´ = H´ In S โดย H´ = Shannon- Weaver Index S = จํานวนชนิดทั้งหมด

18 ๕. ทําแผนผัง Venn Diagram เปรียบเทียบขอมูลของผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในฤดูรอน และฤดูฝน

๖. วิเคราะหคาความคลายคลึงกัน ของ Jaccard (Indices of similarity or Community coefficients) ISj = C x 100 A + B – C โดย A เปนจํานวนชนิดพันธุ หรือคาวัดทั้งหมดในสังคม A B เปนจํานวนชนิดพันธุ หรือคาวัดทั้งหมดในสังคม B C เปนคาปรากฏรวมกันทั้งในสังคม A และสังคม B

ของ Sorensen (Indices of similarity or Community coefficients) ISs = 2W x 100 (A + B) โดย A เปนจํานวนชนิดพันธุ หรือคาวัดทั้งหมดในสังคม A B เปนจํานวนชนิดพันธุ หรือคาวัดทั้งหมดในสังคม B W เปนคาปรากฏรวมกันทั้งในสังคม A และสังคม B

19

ภาพที่ ๕ แผนที่แปลงสํารวจชนิดพันธุแมลง ในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

20 วิธีการสํารวจความหลากชนิดของเห็ด วัตถุประสงค สํารวจหาความหลากชนิดของเห็ดในพื้นที่สังคมปาเต็งรัง อุปกรณ ๑. กระดาษไข ๔. กระดาษเก็บสปอรเห็ด ๒. ขวดพลาสติก ๕. กลองพลาสติก ๓. ผาดํา ๖. ตารางบันทึกขอมูล วิธีการ 1. จัดทําแปลงสํารวจเห็ดรา ขนาด 50 x 20 เมตร แยกตามชนิดปา ในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ โดยใช แปลงเดียวกับที่วางแปลงสํารวจพรรณไม 2. เก็บตัวอยางเห็ดราโดยนําใสขวดพลาสติก เพื่อนํามาวิเคราะหดูสปอรของเห็ดรา 3. เก็บขอมูลของเห็ดราในพื้นที่ เชน พื้นที่เห็ดราอาศัยอยู ลักษณะของเห็ดรา 4. วิเคราะหคาความหลากหลายทางชีวภาพ ( Shannon – Wiener Diversity Index :HI) ของพรรณไมใน เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จากสูตร H´ = - ∑ (Pi)(InPi) i=1 โดย H´ = คาดัชนีความหลากหลาย Pi = สัดสวนระหวางจํานวนชนิด i ตอจํานวนชนิดทั้งหมด S = จํานวนชนิดทั้งหมด คาดัชนีความหลากหลายของแมลงของ Shannon จะใช log ฐาน e และหาคาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness (JI) J´ = H´ In S โดย H´ = Shannon- Weaver Index S = จํานวนชนิดทั้งหมด

21

ภาพที่ ๖ แผนที่แปลงสํารวจชนิดพันธุเห็ด ในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

22 วิธีการสํารวจความหลากชนิดของนก วัตถุประสงค สํารวจหาความหลากชนิดของนกในพื้นที่สังคมปาเต็งรัง อุปกรณ ๑. กลองสองทางไกล 4. คูมือนก ๒. เครื่อง GPS 3. ตารางบันทึกขอมูล วิธีการ 1. วิธีการสํารวจนกแบบ Point Count โดยกําหนดจุดสํารวจทั้งหมด 10 จุด แตละจุดหางกันอยางนอย 100 เมตร ทําการบันทึกพิกัดจุดสํารวจทุกจุด และทําเครื่องหมายกําหนดจุดถาวร 2. สํารวจนก 2 ฤดู คือ ฤดูนกอพยพ (ตุลาคม-มีนาคม ) และ นอกฤดูนกอพยพ (เมษายน-กันยายน ) โดยแต ละฤดูใหสํารวจ 2 วัน และในแตละวันสํารวจชวงเชา 1 ครั้ง, ชวงเย็น 1 ครั้ง 3. ชวงเวลาในการสํารวจนก - ชวงเชาเวลา 06.30-10.00 น. - ชวงเย็นเวลา 16.00-18.00 น. 4. วิธีการสํารวจแบบ Point Count - เวลาในการสํารวจแตละจุดประมาณ 10 นาที - บันทึกชนิดนกที่พบแตละจุดสํารวจภายในรัศมีวงกลม 50 เมตร และมากกวา 50 เมตร - บันทึกชนิดนกที่พบตามเสนทางระหวางจุดสํารวจหรือในพื้นที่นอกจุดสํารวจเพื่อเปนขอมูล Species list ในแตละพื้นที่ - การจําแนกชนิดนกดวยวิธีการเห็นตัวหรือเสียงรอง 5. การหาความชุกชุมของนกในพื้นที่สํารวจ - หาความชุกชุมของนกทุกชนิดที่พบในจุดสํารวจเพื่อนํามาจัดระดับความชุกชุม โดยคํานวณแยก เปน 2 ฤดู (ฤดูนกอพยพและนอกฤดูนกอพยพ) - สูตรการหาความชุกชุม ความชุกชุม (%) = จํานวนจุดสํารวจที่พบนกชนิด A x 100 จํานวนจุดสํารวจทั้งหมด - กําหนดระดับความชุกชุมของนกที่ไดจากการสํารวจตามผลสํารวจ ดังนี้ 10-17 % พบไดยาก 17-26 % พบไดนอย 27-35 % พบปานกลาง 36-44 % พบไดคอยขางบอย 45-100 % พบบอย

23

ภาพที่ ๗ แผนที่จุดสํารวจชนิดพันธุนกในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

24 ผลการสํารวจ ความหลากหลายของพรรณไม จากการสํารวจพบพรรณไมในเขตรักษาพันธุสัตว อมกอย 25 วงศ 44 ชนิด โดยจําแนกเปน ไมตน 26 วงศ 40 ชนิด ไมหนุม 11 วงศ 20 ชนิด ที่พบมากที่สุดคือ วงศ Fagaceae และชนิดพรรณไมที่พบมาก เชน ยางพลวง กอแพะ และเต็ง เปนตน สวนพรรณไมที่พบนอยมีหลายชนิด เชน กอหยุม เก็ดดํา คํามอกหลวง ปอแกน เทา ผักเลือด มะดูกดง มะหาด รักขี้หมู สานใหญ เหมือดหอม เปนตน

วิเคราะหคาความหลากหลายและคาความสม่ําเสมอ เมื่อนําชนิดพรรณที่สํารวจพบไปวิเคราะหคาความหลากหลายของชนิดพรรณ (Species Diversity) ของ ไมตนทั้ง ๔ แปลงสํารวจคือ แปลงที่ ๑ แปลงที่ 2 แปลงที่ ๓ และ แปลงที่ ๔ ในแปลงที่ ๑ นั้น มีความหลากหลาย ของชนิดพรรณของไมตน 19 ชนิด ชนิดที่พบมาก เชน รักใหญ ยางพลวง สนสามใบ เปนตน และพบไดนอย เชน ปอแกนเทา มะหาด หวา เปนตน สวนความหลากหลายของชนิดพรรณไมหนุมมี 6 ชนิด ชนิดที่พบมาก คือ เหมือด จี้ดง ในแปลงที่ ๒ มีความหลากหลายชนิดพรรณของไมตน 19 ชนิด ชนิดที่พบมาก เชน ยางพลวง เต็ง สารภีปา เปนตน ชนิดที่พบไดนอยเชน คํามอกหลวง มะดูกดง สนสามใบ สานใหญ หนามมะเค็ด หมีเหม็น เปนตน สวน ความหลากหลายของชนิดพรรณไมหนุมมี 4 ชนิด พบชนิดละ 1 ตน ในแปลงที่ ๓ มีความหลากหลายชนิดพรรณ ของไมตน 1๕ ชนิด ที่พบมาก เ ชน ยางพลวง เต็ง รักใหญ เปนตน ชนิดที่พบไดนอย เชน กอหยุม เก็ดดํา มะ หนามนึ้ง รักขี้หมู สมอพิเภก เปนตน สวนความหลากหลายของชนิดพรรณไมหนุมมี 9 ชนิด ชนิดที่พบมากคือ รัก ใหญ หนามมะเค็ด ยางพลวง กอเดือย ในแปลงที่ ๔ มีความหลากหลายชนิดพรรณของไมตน 16 ชนิด ที่พบมาก เชน กอแพะ แขงกวาง ยางพลวง เปนตน ชนิดที่พบไดนอยเชน ผักเลือด สมแปะ สมอไทย หนามมะเค็ด หวา เปน ตน สวนความหลากหลายของชนิดพรรณไมหนุมมี 9 ชนิด ที่พบไดมาก คือ แขงกวาง คาความหลากหลายของชนิดพรรณของไมตน (Species Diversity) เทากับ 3.696 2.939 2.319 และ 2.989 ตามลําดับ มีคาความสม่ําเสมอของชนิดพรรณของไมตนพบคา 0.870 0.692 0.594 และ 0.747 ตามลําดับ เมื่อวิเคราะหคาความหลากหลายของชนิดพรรณ (Species Diversity) ของไมหนุมทั้ง ๔ แปลงพบวามี คาความหลากหลายของชนิดพรรณของไมหนุมเทากับ 2.174 3.050 2.866 ตามลําดับ และคาความสม่ําเสมอ ของชนิดพรรณของไมหนุมมีคา 0.774 0.918 0.904 ตามลําดับ แตในแปลงที่ 2 มีชนิดพรรณไมอยางละชนิด จึงไมมีคา ความหลากหลายของชนิดพรรณและความสม่ําเสมอของชนิดพรรณไม (ตารางที่ ๑) จากคาความ หลากหลายของชนิดพรรณไมตน และคาความสม่ําเสมอของชนิดพรรณไมตนพบวา ในแปลงที่ 4 มีความ หลากหลายของชนิดพรรณมากที่สุด สวนแปลงที่ 3 มีคาความสม่ําเสมอของชนิดพรรณมากที่สุด สวนไมหนุมนั้น พบวา ในแปลงที่ 3 มีความหลากหลายของชนิดพรรณมากที่สุด และแปลงที่ 1 มีคาความสม่ําเสมอของชนิดพรรณ มากที่สุด ในการวิเคราะหคาความหลากหลายชนิดพรรณของภาพรวมในเขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย พบวา คาความหลากหลายของชนิดพรรณไมตนนั้น มีคา 3.717 มีคาความสม่ําเสมอของชนิดพรรณไมตนเทากับ 0.699 แสดงวาในเขตรักษาพันธุสัตวปาฯ มีความหลากหลายของชนิดพรรณไมตนมาก และแตละชนิดมีการกระจายตัว คอนขางสม่ําเสมอกัน สวนคาความหลากหลายของชนิดพรรณไมหนุมมีคา 3.946 คาความสม่ําเสมอของชนิด พรรณไมตน เทากับ 0.913 (ตารางที่ ๒) จะเห็นวาชนิดพันธุของไม หนุม นั้นมีความหลากหลายของชนิดพรรณ มากกวาไมตนและมีการกระจายตัวของชนิดพันธุคอนขางสม่ําเสมอกันกวาไมตน

25 ตารางที่ ๑ ดัชนีคาความหลากหลายของชนิดพรรณ และ คาความสม่ําเสมอของชนิดพรรณไม

คาความหลากหลายทางชีวภาพ คาความสม่ําเสมอ ลําดับที่ แปลงสํารวจ (Shannon – Wiener Diversity Index) Shannon Evenness ไมตน ไมหนุม ไมตน ไมหนุม 1 OKWS 1 3.696 2.174 0.870 0.774 2 OKWS 2 2.939 - 0.692 - 3 OKWS 3 2.319 3.05 0.594 0.918 4 OKWS 4 2.989 2.866 0.747 0.904

ตารางที่ ๒ ดัชนีคาความหลากหลายของชนิดพรรณ และ คาความสม่ําเสมอของชนิดพรรณในเขตรักษาพันธุสัตว ปาอมกอย

ดัชนี ไมตน ไมหนุม คาความหลากหลายทางชีวภาพ (Shannon – Wiener Diversity Index) 3.717 3.946 คาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness 0.699 0.913

วิเคราะหคาดัชนีความสําคัญ IVI จากการวิเคราะหหาคา ดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index: IVI) ในแตละแปลงสํารวจ พบวา ในแปลงสํารวจที่ 1 มีความหนาแนน 870 ตน/เฮกตาร ชนิดพรรณที่มีความหนาแนนมากที่สุดคือ รักใหญ ๑80 ตน/เฮกตาร รองลงมา คือ ยางพลวง 160 ตน/เฮกตาร และ ชนิดพรรณที่มีความหนาแนนนอยที่สุด 10 ตน/ เฮกตาร จํานวน 4 ชนิด คือ มะหาด สมอไทย หวา และปอแกนเทา ความหนาแนนสัมพัทธของชนิดพรรณ สูงสุด คือ รักใหญ 20.69 % รองลงมาคือ ยางพลวง 18.39 % และความหนาแนนสัมพัทธชนิดพรรณ ต่ําสุด 1.15 % คือ ปอแกนเทา มะหาด สมอไทย และหวา ความถี่สัมพัทธชนิดพรรณสูงสุด คือ ยางพลวง 15.69 % รองลงมาคือ รักใหญ และสนสามใบ 9.80 % และความถี่สัมพัทธชนิดพรรณต่ําสุด 1.96 % คือ ปอแกนเทา มะหาด และสมอ ไทย หวา ความเดนสัมพัทธชนิดพรรณสูงสุด คือ ยางพลวง 38.05 % รองลงมาคือ ฮอยจั่น 12.32 % และความ เดนสัมพัทธชนิดพรรณต่ําสุด คือ ปอแกนเทา 0.17 % ดัชนีความสําคัญ (IVI) สูงสุด คือ ยางพลวง ( tuberculatus Roxb.) 72.13 % รองลงมาคือ รักใหญ (Gluta usitata Ding Hou) 40.78 % และ สนสามใบ (Pinus kesiya Royle ex Gordon) 25.55 % จะเห็นวายางพลวง และ รักใหญ เปน ชนิดพรรณที่มีดัชนีความสําคัญตอพื้นที่แปลงสํารวจที่ ๑ มากที่สุด สวนชนิดพรรณที่มีดัชนีความสําคัญนอยที่สุด คือ ปอแกนเทา (Grewia eriocarpa Juss.) 3.28 % (ตารางที่ 3)

26 จากการวิเคราะหหาคา ดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index: IVI) ในแปลงสํารวจที่ ๒ มีความ หนาแนน 800 ตน/เฮกตาร ชนิดพรรณที่มีความหนาแนนมากที่สุดคือ ยางพลวง 380 ตน/เฮกตาร รองลงมาคือ เต็ง 110 ตน/เฮกตาร และชนิดพรรณที่มีความหนาแนนนอยที่สุด 10 ตน/เฮกตาร จํานวน 8 ชนิด เชน สนสาม ใบ มะดูกดง หัวแหวน สานใหญ เปนตน ความหนาแนนสัมพัทธของชนิดพรรณ สูงสุด คือ ยางพลวง 47.50 % รองลงมาคือ เต็ง 13.75 % และความหนาแนนสัมพัทธชนิดพรรณ ต่ําสุด 1.25 % จํานวน 8 ขนิด เชน คํามอก หลวง มะดูกดง สนสามใบ เปนตน ความถี่สัมพัทธชนิดพรรณสูงสุด คือ ยางพลวง 22.22 % รองลงมาคือ เต็ง 11.11 % และความถี่สัมพัทธชนิดพรรณต่ําสุด 2.78 % จํานวน 11 ชนิด เชน ขี้หนอน คํามอกหลวง พรมคต มะดูกดง สนสามใบ เปนตน ความเดนสัมพัทธชนิดพรรณสูงสุดคือ ยางพลวง 82.02 % รองลงมาคือ เต็ง 2.75 % และความเดนสัมพัทธชนิดพรรณต่ําสุด 0.16 % คือ หนามมะเค็ด และเหมือดคน ดัชนีความสําคัญ (IVI) สูงสุด คือ ยางพลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) 151.75 % รองลงมาคือ เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blume) 27.61 % และ สารภีปา (Garcinia speciosa Wall.) 15.87 % จะเห็นวายางพลวง เปน ชนิดพรรณที่มีดัชนีความสําคัญตอพื้นที่แปลงสํารวจที่ ๒ ชนิดพรรณที่มีดัชนีความสําคัญนอยที่สุด คือ หนามมะเค็ด (Canthium parvifolium Roxb.) และเหมือดคน (Helicia robusta R.Br. ex Wall.) 4.19 % (ตารางที่ 4) จากการวิเคราะหหาคาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index: IVI) ในแปลงสํารวจที่ ๓ มีความ หนาแนน 1280 ตน/เฮกตาร ชนิดพรรณที่มีความหนาแนนมากที่สุดคือ ยางพลวง 660 ตน/เฮกตาร รองลงมาคือ เต็ง 250 ตน/เฮกตาร และชนิดพรรณที่มีความหนาแนนนอยที่สุด 10 ตน/เฮกตาร จํานวน 9 ชนิด คือ รักขี้หมู หวา เหมือดหอม เปนตน ความหนาแนนสัมพัทธของชนิดพรรณ สูงสุดคือ ยางพลวง 51.56 % รองลงมาคือ เต็ง 19.53 % และความหนาแนนสัมพัทธชนิดพรรณ ต่ําสุด 0.78 % จํานวน 9 ชนิด เชน กอหยุม เก็ดดํา มะหนามนึ้ง รักขี้หมู เปนตน ความถี่สัมพัทธชนิดพรรณสูงสุดคือ ยางพลวง 22.22 % รองลงมาคือ เต็ง 17.78 % และความถี่สัมพัทธชนิดพรรณต่ําสุด 2.22 % จํานวน 9 ชนิด เชน กอหยุม เก็ดดํา มะหนามนึ้ง รักขี้หมู เปนตน ความเดนสัมพัทธชนิดพรรณสูงสุดคือ เต็ง 41.39 % รองลงมาคือ ยางพลวง 30.71 % และ ความเดนสัมพัทธชนิดพรรณต่ําสุด 0.11 % คือ เหมือดจี้ดง ดั ชนีความสําคัญ (IVI) สูงสุด คือ ยางพลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) 104.49 % รองลงมาคือ เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blume) 78.70 % และ เหมือดโลด (Centipeda minima Braun & Asch.) 27.32 % จะเห็นวายางพลวง และ เต็ง เปนชนิดพรรณที่มีความสําคัญตอพื้นที่แปลงสํารวจที่ ๓ มาก ชนิดพรรณที่มีดัชนีความสําคัญนอยที่สุด คือ เหมือดจี้ ดง (Memecylon plebejum Kurz var. ellipsoideum Craib) 3.12 % (ตารางที่ 5) จากการวิเคราะหหาคาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index: IVI) ในแปลงสํารวจที่ ๔ มีความ หนาแนน 1950 ตน/เฮกตาร ชนิดพรรณที่มีความหนาแนนมากที่สุดคือ กอแพะ 670 ตน/เฮกตาร รองลงมาคือ แขงกวาง 310 ตน/เฮกตาร และชนิดพรรณที่มีความหนาแนนนอยที่สุด 10 ตน/เฮกตาร จํานวน 5 ชนิด เชน หวา ผักเลือด ฮอยจั่น เปนตน ความหนาแนนสัมพัทธของชนิดพรรณ สูงสุดคือ กอแพะ 34.36 % รองลงมาคือ แขงกวาง 15.90 % และความหนาแนนสัมพัทธชนิดพรรณต่ําสุด 0.51 % จํานวน 6 ชนิด เชน ผักเลือด สมแปะ สมอไทย เปนตน ความถี่สัมพัทธชนิดพรรณสูงสุดคือ กอแพะ 15.87 % รองลงมาคือ แขงกวาง 14.29 % และ ความถี่สัมพัทธชนิดพรรณต่ําสุด 1.59 % จํานวน 7 ชนิด เชน กอใบเลื่อม ผักเลือด สมแปะ เปนตน ความเดน สัมพัทธชนิดพรรณสูงสุดคือ สนสามใบ 29.53 % รองลงมาคือ กอแพะ 26.53 % และความเดนสัมพัทธชนิด พรรณต่ําสุด 0.1 0 % คือ หนามมะเค็ด ดัชนีความสําคัญ (IVI) สูงสุด คือ กอแพะ (Quercus kerrii Craib) 76.76% รองลงมาคือ สนสามใบ (Pinus kesiya Royle ex Gordon) 51.46 % และ แขงกวาง (Wendlandia

27 tinctoria DC.) 35.50 % จะเห็นวาตะครอ เปนชนิดพรรณที่มีดัชนีความสําคัญตอพื้นที่แปลงสํารวจที่ ๔ ชนิด พรรณที่มีดัชนีความสําคัญนอยที่สุด คือ หนามมะเค็ด (Canthium parvifolium Roxb.) 2.20 % (ตารางที่ 6) และจากการวิเคราะหคาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index: IVI) รวม ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ สัตวปาอมกอย พบวา ในเขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ มีความหนาแนนรวม 1225 ตน/เฮกตาร ชนิดพรรณที่มีความ หนาแนนที่สุด คือ ยางพลวง 350 ตน/เฮกตาร รองลงมาคือ กอแพะ 175 % และเต็ง 140 ตน/เฮกตาร ชนิด พรรณที่มีคาความหนาแนนสัมพัทธมากที่สุด คือ ยางพลวง 28.57 % รองลงมาคือ กอแพะ 14.29 % และ เต็ง 11.43 % ชนิดพรรณที่มีคาความหนาแนนสัมพัทธนอยที่สุดมีคา 0.2 0 % คือ กอหยุม เก็ดดํา คํามอกหลวง ปอ แกนเทา ผักเลือด พรมคต มะดูกดง มะหาด รักขี้หมู สานใหญ หมีเหม็น หัวแหวน เหมือดคน เหมือดหอม ชนิดพรรณที่มีคาความถี่สัมพัทธมากที่สุด คือ ยางพลวง 17.44 % รองลงมาคือ เต็ง 11.28 % รักใหญ และ สนสามใบ 7.18 % ชนิดพรรณที่มีคาความถี่สัมพัทธนอยที่สุดมีคา 0.51 % จํานวน 14 ชนิด เชน กอหยุม เก็ดดํา คํามอกหลวง ปอแกนเทา ผักเลือด มะดูกดง มะหาด รักขี้หมู สานใหญ หมีเหม็น หัวแหวน เปนตน ชนิดพรรณที่มีคาความเดนสัมพัทธมากที่สุด คือ ยางพลวง 38.08 % รองลงมาคือ เต็ง 13.52 % และ สนสามใบ 11.56 % ชนิดพรรณที่มีคาความเดนสัมพัทธนอยที่สุดมีคา 0.04 % คือ ปอแกนเทา เหมือดคน ชนิดพรรณที่มีคาดัชนีความสําคัญ ( IVI) มากที่สุด คือ ยางพลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) 84.08 % (ภาพที่ 8) รองลงมาคือ เต็ง (Shorea obtuse Wall. ex Blume.) 36.24 % และ กอแพะ (Quercus kerrii Craib) 28.88 % จะเห็นวา ยางพลวง เต็ง กอแพะ สนสามใบ รักใหญ เปนชนิดพรรณที่มี ความสําคัญมากในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย นอกจากนั้น ยางแดง ยังเปนชนิดพรรณที่มีความเดนมาก ที่สุดในพื้นที่ รองลงมาก็จะเปน ยมหิน และ กอหมน ชนิดพรรณที่มีคาดัชนีความสําคัญ ( IVI) นอยที่สุดมีคา 0.75 % คือ เหมือดคน (ตารางที่ 7 8 และ ตารางที่ 7 ในภาคผนวกหมวด ก)

จากการจัดทํา Profile diagram (ภาพที่ 9) จะเห็นวาในเขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ มี ชั้นเรือนยอดทั้งหมด 4 ชั้นเรือนยอด คือ เรือนยอดชั้นบน จะมีชั้นความสูงประมาณ 19-20 เมตร จะมีไมเดนเชน ยางพลวง เรือนยอด ชั้นกลาง จะมีชั้นความสูงประมาณ 15-18 เมตร จะมีไมเดนเชน ยางพลวง สาสามใบ มะขามปา เต็ง รักใหญ ชิงชัน เรือนยอดชั้นลาง จะมีชั้นความสูงประมาณ 10-14 เมตร จะมีไมเดนเชน ฮอยจั่น มะขามปา กอสีเสียด สมอไทย สนสามใบ เปนตน และชั้นไมพุม จะมีความสูงไมเกิน 10 เมตร จะมีไมเดนเชน รัก รักใหญ กอสีเสียด เต็ง ปอแกนเทา มะหนามนึ้ง เหมือดโลด เหมือดจี้ดง มะกอกเกลื้อน สารภีปา เปนตน และจากคาความเดนจะเห็นวา ยางพลวง เต็ง เปนพรรณไมเดนที่ปกคลุม พื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย จะพบพรรณไมพื้นลางเชน ยางพลวง รักใหญ กอแพะ สมแปะ แขงกวาง เต็ง เปนตน และมีพื้นที่ปกคลุมเรือนยอดประมาณ 58 % เพราะสภาพปาเปน ปาเต็งรัง จึงมีเปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดนอย พรรณไมมีการผลัดใบ

ตารางที่ 3 คา IVI ของสังคมพืชในแปลง ที่ 1 (OKWS 1) ความ ความถี่ ความเดน ดัชนี ลําดับ ชนิดไม ชื่อสกุล คําระบุชนิด วงศ หนาแนน สัมพัทธ สัมพัทธ ความสําคัญ (specific สัมพัทธ (Genus) (family) (RF) (Rdo) IVI epitat) (RD) 1 ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus 18.39 15.69 38.05 72.13 2 รักใหญ Gluta usitata ANACARDIACEAE 20.69 9.80 10.29 40.78 3 สนสามใบ Pinus kesiya PINACEAE 8.05 9.80 7.70 25.55 4 ฮอยจั่น Engelhardtia serrata JUGLANDACEAE 3.45 3.92 12.32 19.69 5 กอสีเสียด Quercus brandisiana FAGACEAE 6.90 7.84 3.94 18.68 6 มะขามปา Albizia odoratissima LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE 4.60 5.88 6.53 17.01 7 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum BURSERACEAE 4.60 5.88 5.62 16.10 8 เต็ง Shorea obtusa DIPTEROCARPACEAE 5.75 5.88 3.19 14.82 9 รัก Gluta elegans ANACARDIACEAE 5.75 3.92 3.04 12.71 10 เหมือดจี้ดง Memecylon plebejum MELASTOMATACEAE 4.60 5.88 0.59 11.07 11 เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE 3.45 3.92 0.73 8.10 12 สารภีปา Garcinia speciosa GUTTIFERAE 2.30 3.92 0.99 7.21 13 ชิงชัน Dalbergia oliveri LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 2.30 3.92 0.94 7.16 14 Unknow 2.30 3.92 0.63 6.85

15 มะหาด Celtis tetrandra ULMACEAE 1.15 1.96 3.30 6.41 16 มะหนามนึ้ง Vangueria pubescens RUBIACEAE 2.30 1.96 0.48 4.74 17 สมอไทย Terminalia chebula COMBRETACEAE 1.15 1.96 1.06 4.17 18 หวา Syzygium cumini MYRTACEAE 1.15 1.96 0.44 3.55 19 ปอแกนเทา Grewia eriocarpa TILIACEAE 1.15 1.96 0.17 3.28 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 28

ตารางที่ 4 คา IVI ของสังคมพืชในแปลง ที่ 2 (OKWS 2)

ความ ความถี่ ความเดน ดัชนี ลําดับ ชนิดไม ชื่อสกุล คําระบุชนิด วงศ หนาแนน สัมพัทธ สัมพัทธ ความสําคัญ (Genus) (specific epitat) (family) สัมพัทธ (RD) (RF) (Rdo) IVI

1 ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus DIPTEROCARPACEAE 47.50 22.22 82.02 151.75 2 เต็ง Shorea obtusa DIPTEROCARPACEAE 13.75 11.11 2.75 27.61 3 สารภีปา Garcinia speciosa GUTTIFERAE 6.25 8.33 1.28 15.87 4 กอแพะ Quercus kerrii FAGACEAE 3.75 5.56 0.76 10.07 5 รักใหญ Gluta usitata ANACARDIACEAE 3.75 5.56 0.61 9.92 6 ฮอยจั่น Engelhardtia serrata JUGLANDACEAE 2.50 5.56 1.13 9.18 7 สมอพิเภก Terminalia bellirica COMBRETACEAE 2.50 5.56 0.91 8.97 8 หวา Syzygium cumini MYRTACEAE 2.50 5.56 0.35 8.41 9 พรมคต Homalium caryophyllaceum FLACOURTIACEAE 2.50 2.78 2.59 7.86 10 เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE 2.50 2.78 1.38 6.66 11 สนสามใบ Pinus kesiya PINACEAE 1.25 2.78 2.44 6.47 12 ขี้หนอน Schoepfia fragrans OLACACEAE 2.50 2.78 0.39 5.67 13 มะดูกดง Phoebe paniculata LAURACEAE 1.25 2.78 1.12 5.15 14 หัวแหวน Decaspermum parviflorum MYRTACEAE 1.25 2.78 0.94 4.96 15 สานใหญ Dillenia obovata DILLENIACEAE 1.25 2.78 0.40 4.43 16 คํามอกหลวง Gardenia philasteri RUBIACEAE 1.25 2.78 0.37 4.40 17 หมีเหม็น Premna villosa LABIATAE 1.25 2.78 0.23 4.26 18 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium RUBIACEAE 1.25 2.78 0.16 4.19 19 เหมือดคน Helicia robusta PROTEACEAE 1.25 2.78 0.16 4.19 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 29

ตารางที่ 5 คา IVI ของสังคมพืชในแปลง ที่ 3 (OKWS 3)

ความ ความถี่ ความเดน ดัชนี ลําดับ ชนิดไม ชื่อสกุล คําระบุชนิด วงศ หนาแนน สัมพัทธ สัมพัทธ ความสําคัญ (specific (Genus) (family) สัมพัทธ (RD) (RF) (Rdo) IVI epitat) 1 ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus DIPTEROCARPACEAE 51.56 22.22 30.71 104.49 2 เต็ง Shorea obtusa DIPTEROCARPACEAE 19.53 17.78 41.39 78.70 3 เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE 7.03 13.33 6.95 27.32 4 รักใหญ Gluta Usitata ANACARDIACEAE 8.59 8.89 7.76 25.24 5 กอเดือย Castanopsis acuminatissima FAGACEAE 4.69 13.33 5.98 24.00 6 รักขี้หมู Semecarpus albescens ANACARDIACEAE 0.78 2.22 4.28 7.28 7 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium RUBIACEAE 1.56 4.44 0.27 6.27 8 หวา Syzygium cumini MYRTACEAE 0.78 2.22 0.77 3.77 9 เหมือดหอม Sarcosperma arboreum SAPOTACEAE 0.78 2.22 0.50 3.51 10 เก็ดดํา Dalbergia cultrata LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 0.78 2.22 0.45 3.45 11 กอหยุม Castanopsis argyrophylla FAGACEAE 0.78 2.22 0.35 3.36 12 สมแปะ Vaccinium sprengelii ERICACEAE 0.78 2.22 0.17 3.18 13 มะหนามนึ้ง Vangueria pubescens RUBIACEAE 0.78 2.22 0.15 3.16 14 สมอพิเภก Terminalia bellirica COMBRETACEAE 0.78 2.22 0.14 3.14 15 เหมือดจี้ดง Memecylon plebejum MELASTOMATACEAE 0.78 2.22 0.11 3.12 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00

30

ตารางที่ 6 คา IVI ของสังคมพืชในแปลง ที่ 4 (OKWS 4)

ความ ความถี่ ความเดน ดัชนี ลําดับ ชนิดไม ชื่อสกุล คําระบุชนิด วงศ หนาแนน สัมพัทธ สัมพัทธ ความสําคัญ (specific (Genus) (family) สัมพัทธ (RD) (RF) (Rdo) IVI epitat) 1 กอแพะ Quercus kerrii FAGACEAE 34.36 15.87 26.53 76.76 2 สนสามใบ Pinus kesiya PINACEAE 9.23 12.70 29.53 51.46 3 แขงกวาง Wendlandia tinctoria RUBIACEAE 15.90 14.29 5.31 35.50 4 ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus DIPTEROCARPACEAE 10.26 12.70 10.36 33.31 5 เต็ง Shorea obtusa DIPTEROCARPACEAE 7.69 11.11 9.45 28.25 6 กอ Lithocarpus calathiformis FAGACEAE 8.21 4.76 5.40 18.36 7 สารภีปา Garcinia speciosa GUTTIFERAE 4.10 6.35 2.90 13.36 8 เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE 3.59 6.35 1.94 11.88 9 รักใหญ Gluta usitata ANACARDIACEAE 1.54 4.76 3.01 9.31 10 กอใบเลื่อม Castanopsis tribuloides FAGACEAE 2.05 1.59 1.80 5.43 11 หวา Syzygium cumini MYRTACEAE 0.51 1.59 1.59 3.69 12 ผักเลือด Ficus virens MORACEAE 0.51 1.59 1.16 3.26 13 ฮอยจั่น Engelhardtia serrata JUGLANDACEAE 0.51 1.59 0.43 2.53 14 สมแปะ Vaccinium sprengelii ERICACEAE 0.51 1.59 0.26 2.36 15 สมอไทย Terminalia chebula COMBRETACEAE 0.51 1.59 0.24 2.34 16 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium RUBIACEAE 0.51 1.59 0.10 2.20 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00

31

ตารางที่ 7 คา IVI และรายชื่อพรรณไม 30 อันดับแรกของสังคมพืช ในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย ความ ความถี่ ความเดน ดัชนี ลําดับ ชนิดไม ชื่อสกุล คําระบุชนิด วงศ หนาแนน สัมพัทธ สัมพัทธ ความสําคัญ สัมพัทธ (Genus) (specific epitat) (family) (RF) (Rdo) IVI (RD) 1 ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus DIPTEROCARPACEAE 28.57 17.44 38.08 84.08 2 เต็ง Shorea Obtuse DIPTEROCARPACEAE 11.43 11.28 13.52 36.24 3 กอแพะ Quercus Kerrii FAGACEAE 14.29 6.15 8.44 28.88 4 สนสามใบ Pinus Kesiya PINACEAE 5.31 7.18 11.56 24.04 5 รักใหญ Gluta Usitata ANACARDIACEAE 7.14 7.18 5.20 19.52 6 เหมือดโลด Centipeda Minima ASTERACEAE 4.29 6.67 2.64 13.59 7 แขงกวาง Wendlandia Tinctoria RUBIACEAE 6.33 4.62 1.65 12.60 8 สารภีปา Garcinia Speciosa GUTTIFERAE 3.06 4.62 1.43 9.11 9 ฮอยจั่น Engelhardtia Serrata JUGLANDACEAE 1.22 2.56 3.26 7.05 10 กอ Lithocarpus calathiformis FAGACEAE 3.27 1.54 1.68 6.48 11 กอเดือย Castanopsis acuminatissima FAGACEAE 1.22 3.08 1.33 5.63 12 หวา Syzygium Cumini MYRTACEAE 1.02 2.56 0.85 4.44 13 กอสีเสียด Quercus brandisiana FAGACEAE 1.22 2.05 0.92 4.19 14 มะขามปา Albizia odoratissima LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE 0.82 1.54 1.52 3.87 15 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum BURSERACEAE 0.82 1.54 1.31 3.66 16 เหมือดจี้ดง Memecylon Plebejum MELASTOMATACEAE 1.02 2.05 0.16 3.23 17 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium RUBIACEAE 0.82 2.05 0.13 3.00 18 รัก Gluta Elegans ANACARDIACEAE 1.02 1.03 0.71 2.75 19 สมอพิเภก Terminalia Bellirica COMBRETACEAE 0.61 1.54 0.24 2.39 20 กอใบเลื่อม Castanopsis tribuloides FAGACEAE 0.82 0.51 0.56 1.89 32

ตารางที่ 7 (ตอ)

ความ ความถี่ ความเดน ดัชนี ลําดับ ชนิดไม ชื่อสกุล คําระบุชนิด วงศ หนาแนน สัมพัทธ สัมพัทธ ความสําคัญ (Genus) (specific epitat) (family) สัมพัทธ (RD) (RF) (Rdo) IVI

21 มะหนามนึ้ง Vangueria pubescens RUBIACEAE 0.61 1.03 0.15 1.78 22 สมอไทย Terminalia chebula COMBRETACEAE 0.41 1.03 0.32 1.76 23 รักขี้หมู Semecarpus albescens ANACARDIACEAE 0.20 0.51 0.95 1.67 24 ชิงชัน Dalbergia oliveri LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 0.41 1.03 0.22 1.65 25 Unknow 0.41 1.03 0.15 1.58

26 สมแปะ Vaccinium sprengelii ERICACEAE 0.41 1.03 0.12 1.55 27 พรมคต Homalium caryophyllaceum FLACOURTIACEAE 0.41 0.51 0.60 1.53 28 มะหาด Celtis tetrandra ULMACEAE 0.20 0.51 0.77 1.49 29 ผักเลือด Ficus virens MORACEAE 0.20 0.51 0.36 1.08 30 ขี้หนอน Schoepfia fragrans OLACACEAE 0.41 0.51 0.09 1.01

33

ตารางที่ 8 ตารางสรุปลักษณะนิเวศวิทยาของแตละแปลง

พรรณไมเดนที่มีคา IVI จํานวนชนิดพรรณไม คาดัชนีความ พิกัดแปลง ระดับความสูงจาก ความลาดชัน หินตน แปลงที่ 5 อันดับแรก ทั้งหมด (ที่มีคา IVI) หลากหลาย x y ระดับน้ําทะเล (องศา) กําเนิด ยางพลวง รักใหญ สนสาม ทราย , 1 19 3.696 448002 1965135 963 0 ใบ ฮอยจั่น กอสีเสียด ดินดาน ยางพลวง เต็ง สารภีปา ทราย , 2 19 2.939 450662 1962456 829 5 กอแพะ รักใหญ ดินดาน ยางพลวง เต็ง เหมือดโลด ทราย , 3 15 2.319 450069 1960156 885 0 รักใหญ กอเดือย ดินดาน กอแพะ สนสามใบ แขง ทราย , 4 16 2.989 446182 1968975 927 0 กวาง ยางพลวง เต็ง ดินดาน สรุป ยางพลวง เต็ง กอแพะ สน 40 3.717 โดยรวม สามใบ รักใหญ

34

35

ภาพที่ 8 ตัวอยางพรรณไมที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย วงศ DIPTEROCARPACEAE (A,B) A. ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus ; B. เต็ง Shorea obtusa วงศ FAGACEAE (C) C. กอแพะ Quercus kerrii วงศ RUBIACEAE (D) D. แขงกวาง Wendlandia tinctoria วงศ PINACEAE (E) E. สนสามใบ Pinus kesiya วงศ ANACARDIACEAE (F) F. รักใหญ Gluta usitata

36

ภาพที่ 9 ภาพ Profile Diagram และ Plot plan ของเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

37

ผลการสํารวจ ความหลากหลายของแมลง

จากการสํารวจพบแมลงในเขตรักษาพันธุสัตวอมกอย ทั้งหมด ๑8 วงศ 46 ชนิด โดยจําแนกเปน ผีเสื้อ กลางวัน 3 วงศ 11 ชนิด แมลงกลางคืน 15 วงศ 35 ชนิด พบดวง 3 วงศ 8 ชนิด และ มอท 12 วงศ 27 ชนิด ชนิดวงศผีเสื้อกลางวัน ที่พบมากที่สุดคือ วงศ Lycaenidae จํานวน 6 ชนิด รองลงมาคือ วงศ Nymphalidae จํานวน 4 ชนิด ชนิดของผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด คือ ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา จํานวน 31 ตัว รองลงมาคือ ผีเสื้อสีตาลจุดตาหาธรรมดา และ ผีเสื้อฟาดอกถั่วสีน้ําเงิน จํานวน 10 ตัว ชนิดวงศของแมลงกลางคืนที่พบมาก ที่สุด คือ วงศ Arctiidae จํานวน 7 ชนิด และ Notodontidae จํานวน 4 ชนิด และชนิดของแมลงกลางคืนที่พบ มากที่สุด คือ มอทหนอนกระทู จํานวน 29 ตัว รองลงมาคือ แมลงนูนเขียว จํานวน 14 ตัว และ ดวงจูจี้ จํานวน 7 ชนิด

วิเคราะหคาความหลากหลายทางชีวภาพและคาความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ

เมื่อนําชนิดของแมลงที่สํารวจพบไปวิเคราะหคาความหลากหลายทางชีวภาพ (Species Diversity) ของ แมลงทั้ง ๔ แปลงสํารวจ คือ OKWS 1 OKWS 2 OKWS 3 และ OKWS 4 ในแปลงสํารวจที่ ๑ นั้น มีความหลากหลายของชนิดพันธุของผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 4 ชนิด ชนิดที่พบมาก ที่สุด คือ ผีเสื้อฟาดอกถั่วสีน้ําเงิน (Catachrysops panarmus) ผีเสื้อตาลพุมคั่นกลาง (Mycalesis intermedia) และ ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา (Yphtima huebneri) พบชนิดละ 2 ตัว มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ ของผีเสื้อกลางวัน (Species Diversity) เทากับ 1.352 และมีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุผีเสื้อกลางวัน 0.975 ความหลากหลายของชนิดพันธุของแมลงกลางคืนทั้งหมด 13 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุด คือ มอท หนอน กระทู (Family : Noctuidae) จํานวน 16 ตัว รองลงมา คือ มอทหนอนคืบ (Family : Geometridae) และ มอทหนอนมังกร (Dudusa sp.) จํานวน 3 ตัว มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงกลางคืน 1.946 และมีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุของแมลงกลางคืน 0.759 (ตารางที่ 9) ในแปลงสํารวจที่ ๒ มีความหลากหลายของชนิดพันธุของผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 4 ชนิด ชนิดที่พบมาก ที่สุด คือ ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา (Yphtima huebneri) จํานวน 3 ตัว รองลงมาคือ ผีเสื้อตาลพุมคั่นกลาง (Mycalesis intermedia) จํานวน 2 ตัว มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของผีเสื้อกลางวัน (Species Diversity) เทากับ 1.277 และมีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุผีเสื้อกลางวัน 0.921 ความหลากหลายของ ชนิดพันธุของแมลงกลางคืนทั้งหมด 19 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุด คือ แมลงนูนเขียว (Anomala grandis) รองลงมาคือ ดวงจูจี้ (Family : Scarabaeidae) และ มอทหนอนกระทู (Family : Noctuidae) จํานวน 7 ชนิด มี คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงกลางคืน 2.509 และมีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุผีเสื้อ กลางวัน 0.852 (ตารางที่ 9) ในแปลงสํารวจที่ ๓ มีความหลากหลายของชนิดพันธุของผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 8 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุด คือ ผีเสื้อนิลวรรณปกแถบธรรมดา (Notocrypta paralysos) จํานวน 3 ตัว มีคาดัชนีความหลากหลายทาง ชีวภาพของผีเสื้อกลางวัน (Species Diversity) เทากับ 1.992 และมีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุผีเสื้อ กลางวัน 0.958 ความหลากหลายของชนิดพันธุของแมลงกลางคืนทั้งหมด 8 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุด คือ มอท หนอนกระทู

38

(Family : Geometridae) จํานวน 4 ตัว มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงกลางคืน 1.894 และ มีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุของแมลงกลางคืน 0.911 (ตารางที่ 9) ในแปลงสํารวจที่ ๔ มีความหลากหลายของชนิดพันธุของผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 7 ชนิด ชนิดที่พบมาก ที่สุด คือ ผีเสื้อนิลวรรณปกแถบธรรมดา (Notocrypta paralysos) จํานวน 3 ตัว มีคาดัชนีความหลากหลายทาง ชีวภาพของผีเสื้อกลางวัน (Species Diversity) เทากับ 1.834 และมีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุผีเสื้อ กลางวัน 0.943ความหลากหลายของชนิดพันธุของแมลงกลางคืนทั้งหมด ๑ 1 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุด คือ มอท หนอนคืบ (Family : Geometridae) จํานวน 3 ตัว รองลงมาคือ มอทเหลืองทราย (Family : Lymantriidae) และ มอทหนอนกระทู (Family : Noctuidae) จํานวน 2 ตัว มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง กลางคืน 2.303 และ มีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุของแมลงกลางคืน 0.961 (ตารางที่ 9) จากการวิเคราะหคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ และคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุทั้ง ๔ จุด พบวา จุดที่ 3 มีคาดัชนีความหลากลายทางชีวภาพของผีเสื้อกลางวันมากที่สุด 1.992 ในแปลงที่ 1 มีคาดัชนี ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุผีเสื้อกลางวันมากที่สุด คือ 0.975 แสดงวาในพื้นที่ จุด OKWS 3 มีผีเสื้อกลางวัน หลายชนิดและ จุด OKWS 1 มีการกระจายตัวของชนิดพันธุสม่ําเสมอกัน สําหรับคาดัชนีความหลากหลายทาง ชีวภาพ และคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุของแมลงกลางคืนทั้ง ๔ จุด พบวา จุด OKWS 2 มีคาดัชนีความ หลากลายทางชีวภาพมากที่สุด 2.509 และ OKWS 4 มีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุมากที่สุด คือ 0.961 ตามลําดับ (ตารางที่ 9)

ตารางที่ 9 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและดัชนีความสม่ําเสมอของแมลง

คาความหลากหลายทางชีวภาพ คาความสม่ําเสมอ Shannon (Shannon – Wiener Diversity Index) Evenness ลําดับที่ แปลงสํารวจ แมลง ผีเสื้อกลางวัน แมลงกลางคืน ผีเสื้อกลางวัน กลางคืน 1 OKWS 1 1.352 1.946 0.975 0.759 2 OKWS 2 1.277 2.509 0.921 0.852 3 OKWS 3 1.992 1.894 0.958 0.911 4 OKWS 4 1.834 2.303 0.943 0.961

ในการวิเคราะหคาความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงทั้งหมดในเขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย พบวา คาความหลากหลายทางชีวภาพของผีเสื้อกลางวันและแมลงกลางคืนนั้น มีคา 1.778 และ 2.878 ตามลําดับ คา ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุของผีเสื้อกลางวันและแมลงกลางคืนเทากับ 0.741 และ 0.809 ตามลําดับ แสดงวา ในเขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ มีความหลากหลายของชนิดพันธุและคาความสม่ําเสมอของแมลงกลางคืนมากกวาผีเสื้อ กลางวัน และแตละชนิดมีการกระจายตัวคอนขางสม่ําเสมอกัน (ตารางที่ 10)

39

ตารางที่ 10 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและดัชนีความสม่ําเสมอของแมลงในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

ดัชนี ผีเสื้อกลางวัน แมลงกลางคืน คาความหลากหลายทางชีวภาพ (Shannon – Wiener Diversity Index) 1.778 2.878 คาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness 0.741 0.809

แผนผัง Venn Diagram นําขอมูลผีเสื้อกลางวันทั้งหมดที่ไดจากการสํารวจในเขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย มาจัดทําเปนแผนผัง Venn Diagram ของผีเสื้อกลางวันในฤดูรอนและฤดูฝนพบวา ผีเสื้อกลางวันที่พบไดทั้ง ๒ ฤดูนั้น มีจํานวนทั้งหมด ๖ ชนิด ดังภาพที่ ๑0 และนํามาวิเคราะหหาคาความคลายคลึงกันของผีเสื้อกลางวัน

ภาพที่ ๑0 แสดง แผนผัง Venn Diagram ของผีเสื้อกลางวันที่ในฤดูรอนและฤดูฝน

วิเคราะหคาความคลายคลึงกัน (Indices of similarity or Community coefficients) ในการวิเคราะหคาความคลายคลึงกันของ Jaccard และ Sorensen พบวา มีคา 60.00 % และ 75.00 % ตามลําดับ ซึ่งมีคาอยูระดับใกลเคียงกัน สรุปไดวา ในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย ใน ๒ ฤดูนั้น พบชนิดพันธุของผีเสื้อกลางวันคลายคลึงกัน

40

ภาพที่ 11 ตัวอยางแมลงกลางคืนที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย วงศ Spingidae (A ) A. มอทเหยี่ยวองุนเขมจาง Acosmeryx anceus วงศ Eupterotidae (B,D) B. มอทยักษขนปุยสีจางTegpra pallid ; D. มอทยักษขนปุยขีดบั้ง Pseudojana perspicuifascia วงศ Scarabaeidia (C) C. ดวงกวาง Xylotrupes Gideon วงศ Geometridae (E) E. มอทปกพู Pterothysanus noblei วงศ Noctuidae (F) F. มอทพิรามหนายักษ Spirama helicina

41

ภาพที่ 12 ตัวอยางผีเสื้อกลางวันที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย วงศ Nymphalidae (A, B, E) A. ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา Yphtima huebneri ; B. ผีเสื้อสีตาล จุดตาหาธรรมดาYpthima baldus ; E. ผีเสื้อตาลพุมคั่นกลาง Mycalesis intermedia วงศ Lycaenidae (C, F) C. ผีเสื้อฟาดอกถั่วสีน้ําเงิน Catachrysops panarmus ; F. ผีเสื้อฟาลาย Syntarucus plinius วงศ Hesperiidae (D) D. ผีเสื้อนิลวรรณปกแถบธรรมดา Notocrypta paralysos

ตารางที่ 11 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จังหวัด เชียงใหม

เวลาที่ พิกัดแปลง ชนิดปาที่ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ผูเก็บ เก็บ Lat Long พบ 448002 1965135 เต็งรัง 1 20:00 แมลงแมฝน Dorysthenes sp. Cerambycidae Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง 2 20:00 ดวงหนวดยาว Cerambycidae Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง

3 20:00 กินูนหลวง Lepidiopta stigma Scarabaeidae Coleoptera 448002 1965135 เต็งรัง 4 20:00 แมลงนูน Scarabaeidae Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง

5 20:00 ดวงจูจี้ Scarabaeidae Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง

6 20:00 แมลงนูนเขียว Anomala grandis Scarabaeidia Coleoptera 448002 1965135 เต็งรัง 20:00 448002 1965135 เต็งรัง 7 ดวงกวาง Xylotrupes Gideon Scarabaeidia Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง 6.00 448002 1965135 เต็งรัง 8 จั๊กจั่นงวง Fulgoridae Hemiptera 20:00 450662 1962456 เต็งรัง 9 20:00 มอทแตมตาล Adites frigid Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 10 20:00 มอทชีแตมบั้งตรง Cyana alborosea Arctiidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 11 20:00 มอทลายเสือสีปูน Lyclena acteola Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 12 20:00 มอทปอเทือง Tatargina sp. Arctiidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 450662 1962456 เต็งรัง 20:00 13 มอทปอเทือง Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง

446182 1968975 เต็งรัง 14 20:00 มอทลายเสือ Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง

15 20:00 มอทกระบอก Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง

16 20:00 มอทเจาะไมขาวจุด Zeuzera indica Cossidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 17 20:00 มอทยักษขนปุยขีดบั้ง Pseudojana perspicuifascia Eupterotidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง 18 20:00 มอทยักษขนปุยสีจาง Tegpra pallid Eupterotidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 42

ตารางที่ 11 (ตอ) เวลาที่ พิกัดแปลง ชนิดปาที่ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ผูเก็บ เก็บ Lat Long พบ 19 20:00 มอทเปลือกไมลายคลื่น Cleora determinata Geometridae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 20 20:00 มอทปกพู Pterothysanus noblei Geometridae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง 21 20:00 มอทหนอนคืบ Geometridae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง

446182 1968975 เต็งรัง ผีเสื้อนิลวรรณปกแถบ 450069 1960156 เต็งรัง 22 10:00 Notocrypta paralysos Hesperiidae Lepidoptera ธรรมดา 446182 1968975 เต็งรัง 23 20:00 มอทหนางุมเขมจุดจาง Kunugia latipennis Lasiocampida Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 24 20:00 มอทหนอนหอย Thosea sp. Limacodidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง 25 20:00 มอทหนอนหอย Limacodidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง 450662 1962456 เต็งรัง 26 11:00 ผีเสื้อฟาดอกถั่วสีน้ําเงิน Catachrysops panarmus Lycaenidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 446182 1968975 เต็งรัง 27 11:00 ผีเสื้อพุมไมธรรมดา Hypolycaena erylus Lycaenidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 28 11:00 ผีเสื้อฟาวาวใหญ Jamides alecto Lycaenidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 29 11:00 ผีเสื้อฟาขีดสี่ใหญ Nacaduba pactolus Lycaenidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 450069 1960156 เต็งรัง 30 11:00 ผีเสื้อฟาขีดหกลายเขม Prosotas aluta Lycaenidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 31 11:00 ผีเสื้อฟาลาย Syntarucus plinius Lycaenidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง 32 20:00 มอทเหลืองทรายสองจุด Euproctis sp. Lymantriidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 450662 1962456 เต็งรัง 33 20:00 มอทเหลืองทราย Lymantriidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

43

ตารางที่ 11 (ตอ) เวลาที่ พิกัดแปลง ชนิดปาที่ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ผูเก็บ เก็บ Lat Long พบ 34 20:00 มอทปกมุมจุดตาใส Episparis exprimens Noctuidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 35 20:00 มอทพิรามหนายักษ Spirama helicina Noctuidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง 450662 1962456 เต็งรัง 36 20:00 หนอนกระทู Noctuidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 446182 1968975 เต็งรัง 37 20:00 มอทหนอนมังกร Dudusa sp. Notodontidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 38 20:00 มอทหนอนมังกรกิ่งไม Phalera sp. Notodontidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง 39 20:00 มอทหนอนมังกรลําไย Tarsolepis elephantorum Notodontidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 40 20:00 มอทหนอนมังกร Notodontidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

448002 1965135 เต็งรัง 41 11:00 ผีเสื้อตาลพุมคั่นกลาง Mycalesis intermedia Nymphalidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 42 11:00 ผีเสื้อหนอนใบรักเหลือง Parantica aspasia Nymphalidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ 450662 1962456 เต็งรัง 43 11:00 Yphtima huebneri Nymphalidae Lepidoptera ธรรมดา 450069 1960156 เต็งรัง 446182 1968975 เต็งรัง 448002 1965135 เต็งรัง ผีเสื้อสีตาลจุดตาหา 450662 1962456 เต็งรัง 44 11:00 Ypthima baldus Nymphalidae Lepidoptera ธรรมดา 450069 1960156 เต็งรัง 446182 1968975 เต็งรัง 45 20:00 มอทไหมปา Saturniidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง

46 20:00 มอทเหยี่ยวองุนเขมจาง Acosmeryx anceus Spingidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง คําอธิบาย : 1. ประเภทปา ตามการจัดจําแนกตามหนังสือปาของประเทศไทย (ธวัชชัย สันติสุข, 2550) 2. การเรียงลําดับเรียงตามชื่ออันดับและวงศเปนหลัก (A-Z) เชน Coleoptera (กลุมแมลงดวงปกแข็ง) หรือ Diptera (กลุมแมลงวัน) หมายเหตุ บัญชีรายชื่อแมลงที่ในตารางแนบทายนี้เปนรายชื่อแมลงภาพรวมของทั้ง 4 แปลง ซึ่งรายชื่อแมลงที่พบในแตละแปลงจะอยูในภาคผนวกหมวด ข 44

45 ผลการสํารวจ ความหลากหลายของเห็ด

จากการสํารวจพบแมลงในเขตรักษาพันธุสัตวอมกอย ทั้งหมด 8 วงศ 11 ชนิด เห็ดที่พบมากที่สุดคือ วงศ Pluteaceae วงศ Tricholomataceae และวงศ Boletaceae จํานวน 2 ชนิด รองลงมาคือ ชนิดของเห็ดที่พบ มากที่สุด คือ เห็ดเผาะ (Astraeus hygrometricus) จํานวน 27 ดอก รองลงมาคือ เห็ดปอดมา (Heimiell retispora) จํานวน 17 ดอก และชนิดเห็ดที่พบนอยที่สุด คือ เห็ดสปอรสีน้ําเงิน และเห็ดไขเหลือง จํานวน 1 ดอก

วิเคราะหคาความหลากหลายทางชีวภาพและคาความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ

เมื่อนําชนิดของเห็ดที่สํารวจพบไปวิเคราะหคาความหลากหลายทางชีวภาพ (Species Diversity) ของเห็ด ทั้ง ๔ แปลง คือ แปลงสํารวจที่ ๑ แปลงสํารวจที่ 2 แปลงสํารวจที่ ๓ และ แปลงสํารวจที่ ๔ พบวา ในแปลงสํารวจที่ ๑ นั้น มีความหลากหลายของชนิดพันธุของเห็ดทั้งหมด 4 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุด คือ เห็ดไสเดือน (Amanita vaginata) พบ 8 ดอก รองลงมาคือ เห็ดตับเตา (Boletus sp.) จํานวน 3 ดอก และ เห็ด รมนอยขนตั้ง (Mycena stylobates) จํานวน 2 ดอก มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด (Species Diversity) เทากับ 1.116 และมีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุของเห็ด 0.805 (ตารางที่ ๑2) ในแปลงสํารวจที่ ๒ นั้น มีความหลากหลายของชนิดพันธุของเห็ดทั้งหมด 7 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุด คือ เห็ดปอดมา (Heimiell retispora) พบ 17 ดอก รองลงมาคือ เห็ดโคนขาวตอก (Termitomyces microcarpus) จํานวน 12 ดอก มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด (Species Diversity) เทากับ 1.538 และมีคา ดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุของเห็ด 0.791 (ตารางที่ ๑2) ในแปลงสํารวจที่ ๓ นั้น มีความหลากหลายของชนิดพันธุของเห็ดทั้งหมด 2 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุด คือ เห็ดเผาะ (Astraeus hygrometricus) จํานวน 23 ดอก เห็ดไขหาน (Amanita princeps) จํานวน 2 มีคาดัชนี ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด (Species Diversity) เทากับ 0.279 และมีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิด พันธุของเห็ด 0.402 (ตารางที่ ๑2) ในแปลงสํารวจที่ ๔ นั้น มีความหลากหลายของชนิดพันธุของเห็ดทั้งหมด 1 ชนิด คือ เห็ดตับเตา (Boletus sp.) จํานวน 5 ดอก (ตารางที่ ๑2) จากการวิเคราะหคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ และคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุทั้ง ๔ แปลงพบวา แปลงสํารวจที่ 2 มีคาดัชนีความหลากลายทางชีวภาพของเห็ดมากที่สุด คือ 1.538 แสดงวาใน พื้นที่แปลงสํารวจที่ 2 มีเห็ดหลากหลายชนิดพันธุมากที่สุด และแปลงที่ 1 มีคาดัชนีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ มากที่สุด คือ 0.805 แสดงวาในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาฯ แปลงที่ 1 มีการกระจายตัวของชนิดเห็ดสม่ําเสมอ มากกวาพื้นที่อื่นๆ (ตารางที่ ๑2)

46 ตารางที่ ๑2 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและดัชนีความสม่ําเสมอของเห็ด

คาความหลากหลายทางชีวภาพ คาความสม่ําเสมอ ลําดับที่ แปลงสํารวจ (Shannon – Wiener Diversity Index) Shannon Evenness 1 OKWS 1 1.116 0.805 2 OKWS 2 1.538 0.791 3 OKWS 3 0.279 0.402 4 OKWS 4 - -

ในการวิเคราะหคาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดทั้งหมดในเขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย พบวา คา ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดนั้น มีคา 1.954 และคาความสม่ําเสมอของชนิดพันธุของเห็ดเทากับ 0.815 แสดงวาในเขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ มีความหลากหลายของชนิดพันธุและคาความสม่ําเสมอของเห็ดมาก และแตละ ชนิดมีการกระจายตัวคอนขางสม่ําเสมอกัน (ตารางที่ 13)

ตารางที่ 13 ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและดัชนีความสม่ําเสมอของแมลงในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

ดัชนี เห็ด คาความหลากหลายทางชีวภาพ (Shannon – Wiener Diversity Index) 1.954 คาความสม่ําเสมอ Shannon Evenness 0.815

47

ภาพที่ 13 ตัวอยางเห็ดที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย วงศ Boletaceae (A,D) A. เห็ดปอดมา Heimiell retispora ; D. เห็ดตับเตา Boletus sp. วงศ Marasmiaceae (B) B. เห็ดรมน้ําตาลกานลวด Marasmius haematocephalus วงศ Sclerodermataceae (C) C. เห็ดเผาะ Astraeus hygrometricus วงศ Pluteaceae (E) E. เห็ดไขเหลือง Amanita hemibapha วงศ Tricholomataceae (F) F. เห็ดโคนขาวตอก Termitomyces microcarpus

ตารางที่ 14 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จังหวัด เชียงใหม

ลําดับ พิกัดแปลง วัสดุอาศัย/ ชนิดปาที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ที่ Lat Long พืชอาศัย พบ Heinemannomyces 1 เห็ดสปอรสีน้ําเงิน Agaricaceae Agaricales 448002 1965135 พื้นดิน เต็งรัง splendidissima 448002 1965135 พื้นดิน เต็งรัง 2 เห็ดไสเดือน Amanita vaginata Amanitaceae Agaricales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง 3 เห็ดรมน้ําตาลกานลวด Marasmius haematocephalus Marasmiaceae Agaricales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง 4 เห็ดไขเหลือง Amanita hemibapha Pluteaceae Agaricales 450662 1962456 ขอนไม เต็งรัง 5 เห็ดไขหาน Amanita sp. Pluteaceae Agaricales 450069 1960156 พื้นดิน เต็งรัง 6 เห็ดเนื้อรวน Psathyrella sp. Psathyrellaceae Agaricales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง 7 เห็ดรมนอยขนตั้ง Mycena stylobates Tricholomataceae Agaricales 448002 1965135 พื้นดิน เต็งรัง 8 เห็ดโคนขาวตอก Termitomyces microcarpus Tricholomataceae Agaricales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง

9 เห็ดปอดมา Heimiell retispora Boletaceae Boletales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง 448002 1965135 พื้นดิน เต็งรัง 10 เห็ดตับเตา Boletus sp. Boletaceae Boletales 446182 1968975 พื้นดิน เต็งรัง 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง 11 เห็ดเผาะ Astraeus hygrometricus Sclerodermataceae Boletales 450069 1960156 พื้นดิน เต็งรัง

คําอธิบาย : 1. ประเภทปา ตามการจัดจําแนกตามหนังสือปาของประเทศไทย (ธวัชชัย สันติสุข, 2550) 2. การเรียงลําดับเรียงตามชื่ออันดับและวงศเปนหลัก (A-Z)

หมายเหตุ บัญชีรายชื่อเห็ดในตารางแนบทายนี้เปนรายชื่อเห็ดของภาพรวมทั้ง 4 แปลง ในเขตรักษาพันธสัตวปา รายชื่อพรรณไมในแตละแปลงจะอยูในภาคผนวกหมวด 48

49 ผลการสํารวจ ความหลากหลายของนก

จากการสํารวจความหลากหลายของชนิดพันธุของนก 10 จุด ในเขตรักษาพันธุสัตวอมกอย พบชนิดพันธุ นกทั้งหมด 21 ชนิด ชนิดนกที่พบมากที่สุดคือ นกเอี้ยงสาลิกา (Acridotheres tristis) และ นกแซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus) จํานวน 13 ตัว รองลงมาคือ นกโพระดกธรรมดา (Megalaima lineata) จํานวน 9 ตัว และ นกปรอดหัวสีเขมา (Pycnonotus aurigaster) จํานวน 7 ตัว

วิเคราะหความชุกชุมของนก จากขอมูลที่ไดในการสํารวจของนกพบวา จุดสํารวจทั้ง 10 จุดนั้น พบวา นกโพระดกธรรมดา (Megalaima lineata) มีคาความชุกชุมมากที่สุด คือ 50 % รองลงมาคือ นกแซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus) มีคาความชุกชุม 40 % นกกระปูดใหญ (Centropus sinensis) และ นกกระทาทุง (Francolinus pintadeanus) มีคาความชุกชุม 30 % เมื่อเปรียบเทียบความชุกชุมของนกตาม พบวา นกโพระดกธรรมดา มีพบ ไดบอย นกกระปูดใหญ นกแซงแซวหางปลา นกกระทาทุง นั้นพบเห็นไดปานกลาง นกกางเขนดง นกตะขาบทุง นก หัวขวานเขียวตะโพกแดง มีโอกาสพบเห็นไดนอย และนกที่พบเห็นไดยากนั้น เชน นกเอี้ยงหงอน นกเอี้ยงสาลิกา นกเขียวกานตองปกสีฟา เปนตน(ตารางที่ 15) จากการสํารวจชนิดพันธุของนก ทั้ง 10 จุด นํามาเปรียบเทียบระดับความชุกชุมของนกได 5 ระดับ ดังนี้ 10-17 % พบยาก 17-26 % พบนอย 27-35 % พบปานกลาง 36-44 % พบคอนขางบอย 45-100 % พบบอย

50

ภาพที่ 14 ตัวอยางนกที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย วงศ DICRURIDAE (A) A. นกแซงแซวหางปลา (Black Drongo) Dicrurus macrocercus วงศ PHASIANIDAE (B) B. นกกระทาทุง (Francolin) Francolinus pintadeanus วงศ CORVIDAE (C) C. นกขุนแผน (Blue Magpie) Urocissa erythrorhyncha วงศ CORACIIDAE (D) D. นกตะขาบทุง (Indian Roller) Coracias benghalensis วงศ PICIDAE (E,F) E. นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง (Black-headed Woodpecker) Picus erythropygius ; F. นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง (Common Goldenback) Dinopium javanense

51 ตารางที่ ๑5 ระดับความชุกชุมของนกในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

ระดับความชุกชุม ลําดับที่ ชนิด 17-26 27-35 10-17 % 36-44 % 45-100 % % % 1 นกเอี้ยงหงอน 10

2 นกเอี้ยงสาลิกา 10

3 นกกระปูดใหญ 30

4 นกเขียวกานตองปกสีฟา 10

5 นกกางเขนดง 20

6 นกตะขาบทุง 20

7 นกแซงแซวหางปลา 40

8 นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง 10

9 นกกระทาทุง 30

10 ไกปา 10

11 นกกะรางหัวหงอก 10

12 นกเคาแมว 10

13 นกโพระดกธรรมดา 50

14 นกขมิ้นหัวดําใหญ 10

15 นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง 20

16 นกหัวขวานใหญหงอนเหลือง 20

17 นกปรอดหัวสีเขมา 20

18 นกปรอดหัวโขน 10

19 นกปรอดเหลืองหัวจุก 10

20 นกขุนแผน 10

21 นกกระแตแตแวด 10

ตารางที่ 16 บัญชีรายชื่อนกที่สํารวจพบในสังคมปาเต็งรัง เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จังหวัด เชียงใหม

ชนิดพันธุ การสํารวจ การตรวจ สถานภาพ ระดับ ลําดับ ฤดูนก นอกฤดู เอกสาร IUCN N&C ความ ที่ ชื่อไทย ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร อพย นก ACT CITES 2008 2005 ชุกชุม พ อพยพ 1 นกเอี้ยงหงอน White-vented Myna Acridotheres grandis √ LC คุมครอง คุมครองเพาะพันธุได 10

2 นกเอี้ยงสาลิกา Common Myna Acridotheres tristis √ LC คุมครอง คุมครองเพาะพันธุได 10

3 นกกระปูดใหญ Greater Coucal Centropus sinensis √ LC คุมครอง คุมครอง 30

4 นกเขียวกานตองปกสีฟา Blue-winged Leafbird Chloropsis cochinchinensis √ LC คุมครอง คุมครอง 10

5 นกกางเขนดง White-rumped Shama Copsychus malabaricus √ LC คุมครอง คุมครองเพาะพันธุได 20

6 นกตะขาบทุง Indian Roller Coracias benghalensis √ LC คุมครอง คุมครอง 20

7 นกแซงแซวหางปลา Black Drongo Dicrurus macrocercus √ LC คุมครอง คุมครอง 40

8 นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง Common Goldenback Dinopium javanense √ LC คุมครอง คุมครอง 10

9 นกกระทาทุง Francolin Francolinus pintadeanus √ LC คุมครอง คุมครองเพาะพันธุได 30

10 ไกปา Jungle Fowl Gallus gallus √ LC คุมครอง คุมครองเพาะพันธุได 10

11 นกกะรางหัวหงอก White-crested Laughingthrush Garrulax leucolophus √ LC คุมครอง คุมครองเพาะพันธุได 10

12 นกเคาแมว Asian Barred Owlet Glaucidium cuculoides √ LC คุมครอง คุมครอง 10

13 นกโพระดกธรรมดา Lineated Barbet Megalaima lineata √ LC คุมครอง คุมครอง 50

14 นกขมิ้นหัวดําใหญ Black-hooded Oriole oriolus xanthornus √ LC คุมครอง คุมครอง 10

15 นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง Black-headed Woodpecker Picus erythropygius √ LC คุมครอง คุมครอง 20

16 นกหัวขวานใหญหงอนเหลือง Great Yellownape Picus flavinucha √ LC คุมครอง คุมครอง 20

17 นกปรอดหัวสีเขมา Sooty-headed Bulbul Pycnonotus aurigaster √ LC คุมครอง คุมครอง 20

18 นกปรอดหัวโขน Red-whiskered Bulbul Pycnonotus jocosus √ NT คุมครอง คุมครองเพาะพันธุได 10

19 นกปรอดเหลืองหัวจุก Black-crested Bulbul Pycnonotus melanicterus √ LC คุมครอง คุมครอง 10

20 นกขุนแผน Blue Magpie Urocissa erythrorhyncha √ LC คุมครอง คุมครอง 10

21 นกกระแตแตแวด Red-wattled Lapwing Vanellus indicus √ LC คุมครอง คุมครอง 10 IUCN 2008 = IUCN Red List 2008 N&C 2005 = สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ACT = พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พุทธศักราช 2535 CITES = อนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ หมายเหตุ ระดับความชุกชุมไมไดกําหนดใหทํา แลวแตความเห็นของแตละสบอ.วาจะทําหรือไม 52

53 สรุปผล

จากการวางแปลงสํารวจพรรณไม แมลง เห็ด และนกในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย พบวาพรรณไม ในเขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ มีทั้งสิ้น 25 วงศ 44 ชนิด โดยจําแนกเปน ไมตน 26 วงศ 40 ชนิด ไมหนุม 11 วงศ 20 ชนิด พรรณไมที่มีอิทธิพลในสังคมปา คือ ยางพลวง เต็ง กอแพะ สนสามใบ รักใหญ เปนพรรณไมที่การ กระจายตัวอยางสม่ําเสมอ และเปนพรรณไมที่ปกคลุมพื้นที่ปา และจะเห็นวาในเขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ นั้นมีความ หลากหลายของพรรณไมมาก แมลงที่พบในเขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ สวนใหญจะพบแมลงพวกผีเสื้อกลางวันมาก และมีหลากหลายชนิด จําแนกไดทั้งหมด ๑5 วงศ 112 ชนิด โดยจําแนกเปน ๑8 วงศ 46 ชนิด โดยจําแนกเปน ผีเสื้อกลางวัน 3 วงศ 11 ชนิด แมลงกลางคืน 15 วงศ 35 ชนิด พบดวง 3 วงศ 8 ชนิด และ มอท 12 วงศ 27 ชนิด ผีเสื้อกลางวันที่ พบมากที่สุดคือ ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา รวมถึงแมลงกลางคืน จําพวก มอทหนอนกระทู แมลงเหลานี้ลวน แลวแตมีความสําคัญในระบบนิเวศเปนอยางมาก เมื่อมีความหลากหลายมากและมีการกระจายตัวมาก แมลง เหลานี้ก็จะทําหนาที่ในพื้นที่ไดอยางทั่วถึง นอกจากแมลงที่มีหนาที่ในระบบนิเวศ เห็ดก็มีประโยชนเชนกัน ปาไมไดใชประโยชนจากเห็ดในการเปนผู ยอยสลาย นอกจากนี้เห็ดบางชนิดยังสามารถนํามาทานได ในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ พบเห็ดทั้งหมด 8 วงศ 11 ชนิด เห็ดที่พบมากที่สุด เห็ดเผาะ และ เห็ดปอดมา เปนตน และจากการสํารวจชนิดพันธุนกในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปา ฯ พบชนิดพันธุของนกทั้งหมด 21 ชนิด ชนิดนกที่พบมากที่สุดคือ นกเอี้ยงสาลิกา และ นกแซงแซวหางปลา การการศึกษาความชุกชุมของนกจะเห็นวา มี นกหลากหลายชนิดที่สามารถพบเห็นไดบอยจนไปถึงเห็นไดยาก จากการสํารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งหมด จึงเห็นวาในเขตรักษาพันธุสัตวปา อมกอย มีความหลากหลายทางชีวภาพมาก และมีความสําคัญตอปาไม และระบบนิเวศอีกดวย

54 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ

1. กลุมงานวิชาการไมมียานพาหนะในการเดินทางในการเขาพื้นที่สํารวจ ตองจัดจางเหมารถยนตหรือใช พาหนะสวนตัวเพื่อความสะดวกในการเดินทางไปสํารวจ 2. อุปกรณในการสํารวจไมสามารถจัดหาไดทันตามฤดูกาลที่ตองทําการสํารวจ ทําใหขาดขอมูลไปบางสวน 3. ความชํานาญของเจาหนาที่ในการเก็บขอมูลในแตละดานยังไมเพียงพอ ทําใหเก็บขอมูลในแปลงสํารวจ ไมสมบูรณ หากเจาหนาที่มีความชํานาญจะทําใหการสํารวจรวดเร็ว และไดขอมูลที่แมนยํามากขึ้น

55 กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ เจาหนาที่เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย ที่อํานวยความสะดวกในการเขาพักและสนับสนุน กําลังสํารวจเก็บขอมูล และยังใหขอมูลชนิดพรรณไมตาง ๆ ในแปลงสํารวจ และชนิดพันธุของนก แมลง และเห็ดใน พื้นที่ ทําใหการเก็บขอมูลทําไดมากยิ่งขึ้น

56 เอกสารอางอิง

เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ และจารุจินต นภีตะภัฏ. 2551. คูมือแมลง. สํานักพิมพสารคดี, กรุงเทพฯ. เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ และจารุจินต นภีตะภัฏ. 2540. ผีเสื้อ. สํานักพิมพวนา, กรุงเทพฯ. เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. 2012. Photographic guide to Moths in Thailand. BNEC, Nakhon Nayok. จรัลศักดิ์ ลอยมี. 2553. ผีเสื้อเชียงใหม. คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม. ไซมอน การดเนอร, พินดา สิทธิสุนทร และวิไลวรรณ อนุสารสุนทร. 2543. ตนไมเมืองเหนือ: คูมือศึกษาพรรณ ไมยืนตนในปาภาคหนือประเทศไทย. บริษัท อมรินทรบุคเซ็นเตอร จํากัด, กรุงเทพฯ. นิวัฒ เสนาะเมือง. ๒๕๕๓. เห็ดปาเมืองไทย: ความหลากหลายและการใชประโยชน. ยูนิเวอรแซล กราฟฟค แอนด เทรดดิ้ง, กรุงเทพฯ. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.). 2550. เห็ดในปาสะแกราช. ฝายสิ่งแวดลอม นิเวศวิทยาและพลังงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.), กรุงเทพฯ. อนงค จันทรศรีกุล และคณะ. 2551. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญในประเทศไทย. สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. Chopra, R. N., S. L. Nayar and I. C. Chopra. 1956. Glossary of Indian Medicinal . Council of Scientific & Industrial Research, New Delhi, India. Hutacharern, C., N. Tubtim and C. Dokmai. 2007. Checklists of Insects and Mites in Thailand. Department of National Parks, Wildlife and Conservation, Bangkok. web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx. www.Thaibird.bizhat.com/all-1.htm. http://www.iucnredlist.org/ http://nhuodd.multiply.com/

57 คณะผูดําเนินการ

ที่ปรึกษา ผูอํานวยการสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 16 (นายเสริมยศ สมมั่น) หัวหนากลุมงานวิชาการ (นายพีระพงษ หอศิลป) หัวหนาเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย (นายดิสสกุล ธรรมสานุกุล)

คณะผูดําเนินการศึกษา (ตามคําสั่งสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ ๑๖)

นายสุริยา สกลวิทยานนท นักวิชาการปาไมชํานาญการ หัวหนาชุดสํารวจ /โครงการ นายสมชัย เบญจชย นักวิชาการปาไมชํานาญการ ประจําชุดสํารวจ นางศิรประภา คําใบ นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ ประจําชุดสํารวจ นายธีรภาพ ปุสธรรม นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ ประจําชุดสํารวจ นางสุปริญญา เติมตน นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ ประจําชุดสํารวจ นายภูพิชิต ชวยบํารุง นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ ประจําชุดสํารวจ นายศิศิร หลาแกว นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ ประจําชุดสํารวจ นางสาวสิวรส เจริญรื่น นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ ประจําชุดสํารวจ นางสาวอําพร คําขัติ ผูชวยนักวิจัย ประจําชุดสํารวจ นางสาวศศิธร สุคนธา เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ประจําชุดสํารวจ นางสาวสุพัตรา สุนันตา เจาหนาที่บันทึกขอมูล ประจําชุดสํารวจ

กลุมงานวิชาการ สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ ๑๖ ตารางบันทึกรายชื่อพรรณไม โปรดรอหนอยนะคะ กําลังประสานหอพรรณไมเพื่อตรวจสอบตารางที่ถูกตองอยูคะ ตองการรายละเอียดเพิ่มเติม สอบถาม สวนความ หลากหลายทางชีวภาพ โทร 02 5610777 ตอ 1417, email: [email protected], และ ทางหนาเฟซนี้เลยคะ

58

ภาคผนวก

หมวด ก ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อพรรณไม ขนาดเสนผาศูนยกลางเพียงอก ๑๓0 ซม. ที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จังหวัด เชียงใหม

ลําดับ ความสูงจาก ขนาด ขนาด ชื่อพื้นเมือง ชื่อพื้นเมือง ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ วงศ วิสัย ประเภทปา พิกัดแปลง ที่ ระดับน้ําทะเล เสนผาศูนยกลาง ความสูง (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (Genus) (specific epitat) (Author name) (family) (habit) (forest type) (Altitude, ม.) Lat Long (ม.) (ม.) 1 รัก รัก Gluta elegans (Wall.) Hook.f. ANACARDIACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 29.5 6.5 963 448002 1965135 32 8 (Wall.) Ding 829 450662 1962456 18.7 7 2 ฮักหลวง รักใหญ Gluta usitata ANACARDIACEAE T เต็ง Hou 885 450069 1960156 39.2 14 927 446182 1968975 85 17 3 ฮักขี้หมู รักขี้หมู Semecarpus albescens Kurz ANACARDIACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 99 19.5 963 448002 1965135 26.5 4 (L.) A. Braun & 829 450662 1962456 49.5 9 4 เหมือดนก เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE H เต็ง Asch. 885 450069 1960156 39 10 927 446182 1968975 37.5 7.5 5 มะเกิ้ม มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum Guillaumin BURSERACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 22 3.5 963 448002 1965135 50.5 11 6 มาแน สมอไทย Terminalia chebula Retz. COMBRETACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 28 10.5 829 450662 1962456 21.7 7 7 แหนตน สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. COMBRETACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 18 6.5 8 สานแข็ง สานใหญ Dillenia obovata Hoogland DILLENIACEAE เต็ง 829 450662 1962456 31 7

963 448002 1965135 24.5 5 829 450662 1962456 29.5 8.5 9 ยางพลวง ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 84 15 927 446182 1968975 41.5 10.5 963 448002 1965135 22 5 Wall. ex 829 450662 1962456 15 3.5 10 แงะ เต็ง Shorea obtusa DIPTEROCARPACEAE T เต็ง Blume 885 450069 1960156 34 10 927 446182 1968975 49 10.5 (G.Don) 885 450069 1960156 20 5 11 สมแปะ สมแปะ Vaccinium sprengelii ERICACEAE ST เต็ง Sleumer 927 446182 1968975 29 6.5 12 กอหมู กอเดือย Castanopsis acuminatissima (Blume) A.DC. FAGACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 24.1 11 13 กอใบเลื่อม กอใบเลื่อม Castanopsis tribuloides (Sm.) A.DC. FAGACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 47 8 14 กอหยุม กอหยุม Castanopsis argyrophylla King ex Hook.f. FAGACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 28.5 8 Rehder & 15 กอ กอ Lithocarpus calathiformis FAGACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 33 10.5 Wilson 59

ตารางที่ 1 (ตอ) ลําดับ ชื่อ ความสูงจาก ขนาด ขนาด ชื่อพื้นเมือง ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ วงศ วิสัย ประเภทปา พิกัดแปลง ที่ พื้นเมือง ระดับน้ําทะเล เสนผาศูนยกลาง ความสูง (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (Genus) (specific epitat) (Author name) (family) (habit) (forest type) (Altitude, ม.) Lat Long (ม.) (ม.) 829 450662 1962456 21 6.5 16 กอแอบ กอแพะ Quercus kerrii Craib FAGACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 37 10 17 กอสีเสียด กอสีเสียด Quercus brandisiana Kurz FAGACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 15 4 18 พรมคต พรมคต Homalium caryophyllaceum Benth. FLACOURTIACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 58.5 16 963 448002 1965135 16 4 19 สารภีปา สารภีปา Garcinia speciosa Wall. GUTTIFERAE T เต็ง 829 450662 1962456 27.5 6.5 927 446182 1968975 35.5 9 963 448002 1965135 30 7.5 20 คาหด ฮอยจั่น Engelhardtia serrata Blume JUGLANDACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 30.6 6 927 446182 1968975 37 11 21 ซอแมว หมีเหม็น Premna villosa C.B.Clarke LABIATAE ST เต็ง 829 450662 1962456 23.5 7 22 มะดูกดง มะดูกดง Phoebe paniculata (Nees) Nees LAURACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 52 10 23 กางขี้มอด มะขามปา Albizia odoratissima (L.f.) Benth. LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE T เต็ง 963 448002 1965135 27.5 9 24 เก็ดดํา เก็ดดํา Dalbergia cultrata Graham ,Benth. LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE T เต็ง 885 450069 1960156 32.1 7 25 เก็ดแดง ชิงชัน Dalbergia oliveri Gamble LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE T เต็ง 963 448002 1965135 42 14 Kurz var. 963 448002 1965135 20.5 4.5 26 เหมือดจี้ดง เหมือดจี้ดง Memecylon plebejum MELASTOMATACEAE ST เต็ง Craib 885 450069 1960156 16.1 10 27 ผักเฮียด ผักเลือด Ficus virens Aiton MORACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 61 12 28 หัวแหวน หัวแหวน Decaspermum parviflorum A.J.Scott MYRTACEAE S เต็ง 829 450662 1962456 47.5 5 963 448002 1965135 32.5 11 829 450662 1962456 22 6 29 หวา หวา Syzygium cumini (L.) Skeels MYRTACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 42 9 927 446182 1968975 71.5 10 30 ขี้หนอน ขี้หนอน Schoepfia fragrans Wall. OLACACEAE ST เต็ง 829 450662 1962456 21 3.5 963 448002 1965135 34 9 เกี๊ยะเปลือก Royle ex 31 สนสามใบ Pinus kesiya PINACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 76.7 17 บาง Gordon 927 446182 1968975 31.5 7 (Roxb.) R.Br. 32 เหมือดคน เหมือดคน Helicia robusta PROTEACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 19.5 3.8 ex Wall. 829 450662 1962456 19.5 4.5 หนาม 33 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium Roxb. RUBIACEAE S เต็ง 885 450069 1960156 19.4 5.5 มะเค็ด 927 446182 1968975 18 6.5

60

ตารางที่ 1 (ตอ)

ลําดับ ความสูงจาก ขนาด ขนาด ชื่อพื้นเมือง ชื่อพื้นเมือง ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ วงศ วิสัย ประเภทปา พิกัดแปลง ที่ ระดับน้ําทะเล เสนผาศูนยกลาง ความสูง (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (Genus) (specific epitat) (Author name) (family) (habit) (forest type) (Altitude, ม.) Lat Long (ม.) (ม.) 34 คํามอกหลวง คํามอกหลวง Gardenia philasteri Pierre RUBIACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 30 10 963 448002 1965135 24.5 5 35 มะหนามนึ้ง มะหนามนึ้ง Vangueria pubescens Kurz RUBIACEAE ST เต็ง 885 450069 1960156 18.8 4.5 36 กวาวกวาง แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC. RUBIACEAE ST เต็ง 927 446182 1968975 20.5 9 37 เหมือดหอม เหมือดหอม Sarcosperma arboreum Hook.f. SAPOTACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 34 14 38 ปอลาย ปอแกนเทา Grewia eriocarpa Juss. TILIACEAE ST เต็ง 963 448002 1965135 20 5 39 ฮัด มะหาด Celtis tetrandra Roxb. ULMACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 89 20 40 Unknow Unknow เต็ง 963 448002 1965135 22 5.5

61

ตารางที่ ๒ บัญชีรายชื่อพรรณไม ขนาดเสนผาศูนยกลางเพียงอกต่ํากวา ๑๓0 ซม. ที่สํารวจพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย จังหวัด เชียงใหม

ลําดับที่ ชื่อพื้นเมือง ชื่อพื้นเมือง ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ วงศ วิสัย ประเภทปา (forest (no.) (ตามภูมิภาค)2 (ภาษากลาง)3 (Genus)4 (specific epitat) (Author name) (family) (habit)5 type) 1 รัก รัก Gluta elegans (Wall.) Hook.f. ANACARDIACEAE T เต็ง 2 ฮักหลวง รักใหญ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou ANACARDIACEAE T เต็ง 3 รักขาว รักขาว Semecarpus albescens Kurz ANACARDIACEAE T เต็ง (L.) A. Braun & 4 เหมือดนก เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE H เต็ง Asch. 5 ยางพลวง ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 6 แงะ เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 7 ตาฉี่เคย ตาฉี่เคย Craibiodendron stellatum (Pierre) W.W. Sm. ERICACEAE ST เต็ง 8 สมแปะ สมแปะ Vaccinium sprengelii (G.Don) Sleumer ERICACEAE ST เต็ง 9 กอหมู กอเดือย Castanopsis acuminatissima (Blume) A.DC. FAGACEAE T เต็ง 10 กอ กอ Lithocarpus calathiformis Rehder & Wilson FAGACEAE T เต็ง 11 กอแอบ กอแพะ Quercus kerrii Craib FAGACEAE T เต็ง 12 เหมือดจี้ดง เหมือดจี้ดง Memecylon plebejum Kurz var. Craib MELASTOMATACEAE ST เต็ง 13 หัวแหวน หัวแหวน Decaspermum parviflorum (Lam.) A.J.Scott MYRTACEAE S เต็ง Peter G. Wilson & 14 เคาะ เคาะ Tristaniopsis burmanica J.T. Waterh. var. MYRTACEAE ST เต็ง J.Parn. & Nic 15 ขี้หนอน ขี้หนอน Schoepfia fragrans Wall. OLACACEAE ST เต็ง 16 หนามมะเค็ด หนามมะเค็ด Canthium parvifolium Roxb. RUBIACEAE S เต็ง 17 คํามอกหลวง คํามอกหลวง Gardenia philasteri Pierre ex Pit. RUBIACEAE T เต็ง 18 กวาวกวาง แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC. RUBIACEAE ST เต็ง 19 ปอมื่น ปอลาย Grewia eriocarpa Juss. TILIACEAE ST เต็ง 20 กระโดนแดง กระโดนแดง

62

ตารางที่ 3 รายชื่อพรรณไม ในแปลงที่ 1 (OKWS 1)

ลําดับ ความสูงจาก ขนาด ขนาด ชื่อพื้นเมือง ชื่อพื้นเมือง ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ วงศ วิสัย ประเภทปา พิกัดแปลง ที่ ระดับน้ําทะเล เสนผาศูนยกลาง ความสูง (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (Genus) (specific epitat) (Author name) (family) (habit) (forest type) (Altitude, ม.) Lat Long (ม.) (ม.) 1 รัก รัก Gluta elegans (Wall.) Hook.f. ANACARDIACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 34 8 2 ฮักหลวง รักใหญ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou ANACARDIACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 27 6 (L.) A. Braun & 3 เหมือดนก เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE H เต็ง 963 448002 1965135 26.5 4 Asch. 4 มะเกิ้ม มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum Guillaumin BURSERACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 22 3.5 5 มาแน สมอไทย Terminalia chebula Retz. COMBRETACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 50.5 11 6 ยางพลวง ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 24.5 5 7 แงะ เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 22 5 8 กอสีเสียด กอสีเสียด Quercus brandisiana Kurz FAGACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 15 4 9 สารภีปา สารภีปา Garcinia speciosa Wall. GUTTIFERAE T เต็ง 963 448002 1965135 16 4 10 คาหด ฮอยจั่น Engelhardtia serrata Blume JUGLANDACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 30 7.5 11 กางขี้มอด มะขามปา Albizia odoratissima (L.f.) Benth. LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE T เต็ง 963 448002 1965135 27.5 9 LEGUMINOSAE- 12 เก็ดแดง ชิงชัน Dalbergia oliveri Gamble T เต็ง 963 448002 1965135 42 14 PAPILIONOIDEAE Kurz var. 13 เหมือดจี้ดง เหมือดจี้ดง Memecylon plebejum ellipsoideum MELASTOMATACEAE ST เต็ง 963 448002 1965135 20.5 4.5 Craib 14 หวา หวา Syzygium cumini (L.) Skeels MYRTACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 32.5 11 เกี๊ยะเปลือก 15 สนสามใบ Pinus kesiya Royle ex Gordon PINACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 34 9 บาง 16 มะหนามนึ้ง มะหนามนึ้ง Vangueria pubescens Kurz RUBIACEAE ST เต็ง 963 448002 1965135 24.5 5 17 ปอลาย ปอแกนเทา Grewia eriocarpa Juss. TILIACEAE ST เต็ง 963 448002 1965135 20 5 18 ฮัด มะหาด Celtis tetrandra Roxb. ULMACEAE T เต็ง 963 448002 1965135 89 20 19 unknow unknow เต็ง 963 448002 1965135 22 5.5

63

ตารางที่ 4 รายชื่อพรรณไม ในแปลงที่ 2 (OKWS 2)

ลําดับ ความสูงจาก ขนาด ขนาด ชื่อพื้นเมือง ชื่อพื้นเมือง ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ วงศ วิสัย ประเภทปา พิกัดแปลง ที่ ระดับน้ําทะเล เสนผาศูนยกลาง ความสูง (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (Genus) (specific epitat) (Author name) (family) (habit) (forest type) (Altitude, ม.) Lat Long (ม.) (ม.) 1 ฮักหลวง รักใหญ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou ANACARDIACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 18.7 7 2 เหมือดนก เหมือดโลด Centipeda minima (L.) A. Braun & Asch. ASTERACEAE H เต็ง 829 450662 1962456 49.5 9 3 แหนตน สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. COMBRETACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 21.7 7 4 สานแข็ง สานใหญ Dillenia obovata (Blume) Hoogland DILLENIACEAE เต็ง 829 450662 1962456 31 7

5 ยางพลวง ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 29.5 8.5 6 แงะ เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 15 3.5 7 กอแอบ กอแพะ Quercus kerrii Craib FAGACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 21 6.5 8 พรมคต พรมคต Homalium caryophyllaceum (Zoll. & Moritzi) Benth. FLACOURTIACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 58.5 16 9 สารภีปา สารภีปา Garcinia speciosa Wall. GUTTIFERAE T เต็ง 829 450662 1962456 27.5 6.5 10 คาหด ฮอยจั่น Engelhardtia serrata Blume JUGLANDACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 30.6 6 11 ซอแมว หมีเหม็น Premna villosa C.B.Clarke LABIATAE ST เต็ง 829 450662 1962456 23.5 7 12 มะดูกดง มะดูกดง Phoebe paniculata (Nees) Nees LAURACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 52 10 13 หัวแหวน หัวแหวน Decaspermum parviflorum (Lam.) A.J.Scott MYRTACEAE S เต็ง 829 450662 1962456 47.5 5 14 หวา หวา Syzygium cumini (L.) Skeels MYRTACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 22 6 15 ขี้หนอน ขี้หนอน Schoepfia fragrans Wall. OLACACEAE ST เต็ง 829 450662 1962456 21 3.5 เกี๊ยะเปลือก 16 สนสามใบ Pinus kesiya Royle ex Gordon PINACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 76.7 17 บาง 17 เหมือดคน เหมือดคน Helicia robusta (Roxb.) R.Br. ex Wall. PROTEACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 19.5 3.8 18 หนามมะเค็ด หนามมะเค็ด Canthium parvifolium Roxb. RUBIACEAE S เต็ง 829 450662 1962456 19.5 4.5 19 คํามอกหลวง คํามอกหลวง Gardenia philasteri Pierre ex Pit. RUBIACEAE T เต็ง 829 450662 1962456 30 10

64

ตารางที่ 5 รายชื่อพรรณไม ในแปลงที่ 3 (OKWS 3)

ลําดับ ความสูงจาก ขนาด ขนาด ชื่อพื้นเมือง ชื่อพื้นเมือง ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ วงศ วิสัย ประเภทปา พิกัดแปลง ที่ ระดับน้ําทะเล เสนผาศูนยกลาง ความสูง (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (Genus) (specific epitat) (Author name) (family) (habit) (forest type) (Altitude, ม.) Lat Long (ม.) (ม.) 1 ฮักหลวง รักใหญ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou ANACARDIACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 39.2 14 2 ฮักขี้หมู รักขี้หมู Semecarpus albescens Kurz ANACARDIACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 99 19.5 3 เหมือดนก เหมือดโลด Centipeda minima (L.) A. Braun & Asch. ASTERACEAE H เต็ง 885 450069 1960156 39 10 4 แหนตน สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. COMBRETACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 18 6.5 5 ยางพลวง ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 84 15 6 แงะ เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 34 10 7 สมแปะ สมแปะ Vaccinium sprengelii (G.Don) Sleumer ERICACEAE ST เต็ง 885 450069 1960156 20 5 8 กอหมู กอเดือย Castanopsis acuminatissima (Blume) A.DC. FAGACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 24.1 11 9 กอหยุม กอหยุม Castanopsis argyrophylla King ex Hook.f. FAGACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 28.5 8 LEGUMINOSAE- 10 เก็ดดํา เก็ดดํา Dalbergia cultrata Graham ex Benth. T เต็ง 885 450069 1960156 32.1 7 PAPILIONOIDEAE Kurz var. 11 เหมือดจี้ดง เหมือดจี้ดง Memecylon plebejum MELASTOMATACEAE ST เต็ง 885 450069 1960156 16.1 10 ellipsoideum Craib 12 หวา หวา Syzygium cumini (L.) Skeels MYRTACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 42 9 13 หนามมะเค็ด หนามมะเค็ด Canthium parvifolium Roxb. RUBIACEAE S เต็ง 885 450069 1960156 19.4 5.5 14 มะหนามนึ้ง มะหนามนึ้ง Vangueria pubescens Kurz RUBIACEAE ST เต็ง 885 450069 1960156 18.8 4.5 15 เหมือดหอม เหมือดหอม Sarcosperma arboreum Hook.f. SAPOTACEAE T เต็ง 885 450069 1960156 34 14

65

ตารางที่ 6 รายชื่อพรรณไม ในแปลงที่ 4 (OKWS 4)

ลําดับ ความสูงจาก ขนาด ขนาด ชื่อพื้นเมือง ชื่อพื้นเมือง ชื่อสกุล คําระบุชนิด ผูตั้งชื่อ วงศ วิสัย ประเภทปา พิกัดแปลง ที่ ระดับน้ําทะเล เสนผาศูนยกลาง ความสูง (no.) (ตามภูมิภาค) (ภาษากลาง) (Genus) (specific epitat) (Author name) (family) (habit) (forest type) (Altitude, ม.) Lat Long (ม.) (ม.) 1 ฮักหลวง รักใหญ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou ANACARDIACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 85 17 (L.) A. Braun & 2 เหมือดนก เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE H เต็ง 927 446182 1968975 37.5 7.5 Asch. 3 มาแน สมอไทย Terminalia chebula Retz. COMBRETACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 28 10.5 4 ยางพลวง ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 41.5 10.5 5 แงะ เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume DIPTEROCARPACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 49 10.5 6 สมแปะ สมแปะ Vaccinium sprengelii (G.Don) Sleumer ERICACEAE ST เต็ง 927 446182 1968975 29 6.5 7 กอใบเลื่อม กอใบเลื่อม Castanopsis tribuloides (Sm.) A.DC. FAGACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 47 8 8 กอ กอ Lithocarpus calathiformis Rehder & Wilson FAGACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 33 10.5 9 กอแอบ กอแพะ Quercus kerrii Craib FAGACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 37 10 10 สารภีปา สารภีปา Garcinia speciosa Wall. GUTTIFERAE T เต็ง 927 446182 1968975 35.5 9 11 คาหด ฮอยจั่น Engelhardtia serrata Blume JUGLANDACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 37 11 12 หวา หวา Syzygium cumini (L.) Skeels MYRTACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 71.5 10 13 เกี๊ยะเปลือกบาง สนสามใบ Pinus kesiya Royle ex Gordon PINACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 31.5 7 14 หนามมะเค็ด หนามมะเค็ด Canthium parvifolium Roxb. RUBIACEAE S เต็ง 927 446182 1968975 18 6.5 15 กวาวกวาง แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC. RUBIACEAE ST เต็ง 927 446182 1968975 20.5 9 16 ผักเฮียด ผักเลือด Ficus virens Aiton MORACEAE T เต็ง 927 446182 1968975 61 12

66

ตารางที่ 7 คา IVI ของสังคมพืช ในพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาอมกอย

ความ ความถี่ ความเดน ดัชนี ลําดับ ชนิดไม ชื่อสกุล คําระบุชนิด วงศ หนาแนน สัมพัทธ สัมพัทธ ความสําคัญ (Genus)4 (specific epitat) (family) สัมพัทธ (RD) (RF) (Rdo) IVI

1 ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus DIPTEROCARPACEAE 28.57 17.44 38.08 84.08 2 เต็ง Shorea obtusa DIPTEROCARPACEAE 11.43 11.28 13.52 36.24 3 กอแพะ Quercus kerrii FAGACEAE 14.29 6.15 8.44 28.88 4 สนสามใบ Pinus kesiya PINACEAE 5.31 7.18 11.56 24.04 5 รักใหญ Gluta usitata ANACARDIACEAE 7.14 7.18 5.20 19.52 6 เหมือดโลด Centipeda minima ASTERACEAE 4.29 6.67 2.64 13.59 7 แขงกวาง Wendlandia tinctoria RUBIACEAE 6.33 4.62 1.65 12.60 8 สารภีปา Garcinia speciosa GUTTIFERAE 3.06 4.62 1.43 9.11 9 ฮอยจั่น Engelhardtia serrata JUGLANDACEAE 1.22 2.56 3.26 7.05 10 กอ Lithocarpus calathiformis FAGACEAE 3.27 1.54 1.68 6.48 11 กอเดือย Castanopsis acuminatissima FAGACEAE 1.22 3.08 1.33 5.63 12 หวา Syzygium cumini MYRTACEAE 1.02 2.56 0.85 4.44 13 กอสีเสียด Quercus brandisiana FAGACEAE 1.22 2.05 0.92 4.19 14 มะขามปา Albizia odoratissima LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE 0.82 1.54 1.52 3.87 15 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum BURSERACEAE 0.82 1.54 1.31 3.66 16 เหมือดจี้ดง Memecylon plebejum MELASTOMATACEAE 1.02 2.05 0.16 3.23 17 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium RUBIACEAE 0.82 2.05 0.13 3.00 18 รัก Gluta elegans ANACARDIACEAE 1.02 1.03 0.71 2.75 19 สมอพิเภก Terminalia bellirica COMBRETACEAE 0.61 1.54 0.24 2.39 20 กอใบเลื่อม Castanopsis tribuloides FAGACEAE 0.82 0.51 0.56 1.89 67

ตารางที่ 7 (ตอ) ความ ความถี่ ความเดน ดัชนี ลําดับ ชนิดไม ชื่อสกุล คําระบุชนิด วงศ หนาแนน สัมพัทธ สัมพัทธ ความสําคัญ (Genus)4 (specific epitat) (family) สัมพัทธ (RD) (RF) (Rdo) IVI

21 มะหนามนึ้ง Vangueria pubescens RUBIACEAE 0.61 1.03 0.15 1.78 22 สมอไทย Terminalia chebula COMBRETACEAE 0.41 1.03 0.32 1.76 23 รักขี้หมู Semecarpus albescens ANACARDIACEAE 0.20 0.51 0.95 1.67 24 ชิงชัน Dalbergia oliveri LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 0.41 1.03 0.22 1.65 25 Unknow 0.41 1.03 0.15 1.58

26 สมแปะ Vaccinium sprengelii ERICACEAE 0.41 1.03 0.12 1.55 27 พรมคต Homalium caryophyllaceum FLACOURTIACEAE 0.41 0.51 0.60 1.53 28 มะหาด Celtis tetrandra ULMACEAE 0.20 0.51 0.77 1.49 29 ผักเลือด Ficus virens MORACEAE 0.20 0.51 0.36 1.08 30 ขี้หนอน Schoepfia fragrans OLACACEAE 0.41 0.51 0.09 1.01 31 มะดูกดง Phoebe paniculata LAURACEAE 0.20 0.51 0.26 0.98 32 หัวแหวน Decaspermum parviflorum MYRTACEAE 0.20 0.51 0.22 0.94 33 เหมือดหอม Sarcosperma arboreum SAPOTACEAE 0.20 0.51 0.11 0.83 34 เก็ดดํา Dalbergia cultrata LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 0.20 0.51 0.10 0.82 35 สานใหญ Dillenia obovata DILLENIACEAE 0.20 0.51 0.09 0.81 36 คํามอกหลวง Gardenia philasteri RUBIACEAE 0.20 0.51 0.09 0.80 37 กอหยุม Castanopsis argyrophylla FAGACEAE 0.20 0.51 0.08 0.80 38 หมีเหม็น Premna villosa LABIATAE 0.20 0.51 0.05 0.77 39 ปอแกนเทา Grewia eriocarpa TILIACEAE 0.20 0.51 0.04 0.76 40 เหมือดคน Helicia robusta PROTEACEAE 0.20 0.51 0.04 0.75 รวม 100.00 100.00 100.00 300.00 68

หมวด ข ตารางที่ 8 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบในแปลงที่ 1 (OKWS 1)

พิกัดแปลง ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ชนิดปาที่พบ Lat Long 1 แมลงแมฝน Dorysthenes sp. Cerambycidae Coleoptera 448002 1965135 เต็งรัง 2 กินูนหลวง Lepidiopta stigma Scarabaeidae Coleoptera 448002 1965135 เต็งรัง 3 แมลงนูนเขียว Anomala grandis Scarabaeidia Coleoptera 448002 1965135 เต็งรัง 4 ดวงกวาง Xylotrupes Gideon Scarabaeidia Coleoptera 448002 1965135 เต็งรัง 5 จั๊กจั่นงวง Fulgoridae Hemiptera 448002 1965135 เต็งรัง

6 มอทยักษขนปุยสีจาง Tegpra pallida Eupterotidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 7 มอทหนอนคืบ Geometridae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง

8 มอทหนอนหอย Limacodidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง

9 ผีเสื้อฟาดอกถั่วสีน้ําเงิน Catachrysops panarmus Lycaenidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 10 มอทเหลืองทรายสองจุด Euproctis sp. Lymantriidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 11 มอทหนอนกระทู Noctuidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง

12 มอทหนอนมังกร Dudusa sp. Notodontidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 13 มอทหนอนมังกรลําไย Tarsolepis elephantorum Notodontidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 14 ผีเสื้อตาลพุมคั่นกลาง Mycalesis intermedia Nymphalidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 15 ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา Yphtima huebneri Nymphalidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 16 ผีเสื้อสีตาลจุดตาหาธรรมดา Ypthima baldus Nymphalidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง 17 มอทเหยี่ยวองุนเขมจาง Acosmeryx anceus Spingidae Lepidoptera 448002 1965135 เต็งรัง

69

ตารางที่ 9 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบในแปลงที่ 2 (OKWS 2)

พิกัดแปลง ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ชนิดปาที่พบ Lat Long 1 แมลงแมฝน Dorysthenes sp. Cerambycidae Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง 2 ดวงหนวดยาว Cerambycidae Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง

3 แมลงนูน Scarabaeidae Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง

4 ดวงจูจี้ Scarabaeidae Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง

5 ดวงกวาง Xylotrupes Gideon Scarabaeidia Coleoptera 450662 1962456 เต็งรัง 6 จั๊กจั่นงวง Fulgoridae Hemiptera 450662 1962456 เต็งรัง

7 มอทปอเทือง Tatargina sp. Arctiidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 8 มอทปอเทือง Arctiidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง

9 มอทยักษขนปุยขีดบั้ง Pseudojana perspicuifascia Eupterotidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 10 มอทยักษขนปุยสีจาง Tegpra pallida Eupterotidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 11 มอทปกพู Pterothysanus noblei Geometridae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 12 มอทหนอนคืบ Geometridae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง

13 มอทหนางุมเขมจุดจาง Kunugia latipennis Lasiocampida Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 14 ผีเสื้อฟาดอกถั่วสีน้ําเงิน Catachrysops panarmus Lycaenidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 15 มอทเหลืองทรายสองจุด Euproctis sp. Lymantriidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 16 มอทเหลืองทราย Lymantriidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง

17 มอทหนอนกระทู Noctuidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง

18 มอทหนอนมังกรกิ่งไม Phalera sp. Notodontidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 19 มอทหนอนมังกรลําไย Tarsolepis elephantorum Notodontidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 20 ผีเสื้อตาลพุมคั่นกลาง Mycalesis intermedia Nymphalidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 21 ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา Yphtima huebneri Nymphalidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 22 ผีเสื้อสีตาลจุดตาหาธรรมดา Ypthima baldus Nymphalidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง 23 มอทไหมปา Saturniidae Lepidoptera 450662 1962456 เต็งรัง

70

ตารางที่ 10 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบในแปลงที่ 3 (OKWS 3)

พิกัดแปลง ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ชนิดปาที่พบ Lat Long 1 มอทแตมตาล Adites frigida Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 2 มอทลายเสือสีปูน Lyclena acteola Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 3 มอทปอเทือง Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง

4 มอทลายเสือ Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง

5 มอทกระบอก Arctiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง

6 ผีเสื้อนิลวรรณปกแถบธรรมดา Notocrypta paralysos Hesperiidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 7 ผีเสื้อฟาดอกถั่วสีน้ําเงิน Catachrysops panarmus Lycaenidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 8 ผีเสื้อพุมไมธรรมดา Hypolycaena erylus Lycaenidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 9 ผีเสื้อฟาวาวใหญ Jamides alecto Lycaenidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 10 ผีเสื้อฟาขีดหกลายเขม Prosotas aluta Lycaenidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 11 มอทปกมุมจุดตาใส Episparis exprimens Noctuidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 12 มอทพิรามหนายักษ Spirama helicina Noctuidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 13 มอทหนอนกระทู Noctuidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง

14 ผีเสื้อหนอนใบรักเหลือง Parantica aspasia Nymphalidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 15 ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา Yphtima huebneri Nymphalidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง 16 ผีเสื้อสีตาลจุดตาหาธรรมดา Ypthima baldus Nymphalidae Lepidoptera 450069 1960156 เต็งรัง

71

ตารางที่ 11 บัญชีรายชื่อแมลงที่สํารวจพบในแปลงที่ 4 (OKWS 4)

พิกัดแปลง ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ชนิดปาที่พบ Lat Long 1 มอทชีแตมบั้งตรง Cyana alborosea Arctiidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 2 มอทปอเทือง Arctiidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

3 มอทกระบอก Arctiidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

4 มอทเจาะไมขาวจุด Zeuzera indica Cossidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 5 มอทเปลือกไมลายคลื่น Cleora determinata Geometridae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 6 มอทหนอนคืบ Geometridae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

7 ผีเสื้อนิลวรรณปกแถบธรรมดา Notocrypta paralysos Hesperiidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 8 มอทหนอนหอย Thosea sp. Limacodidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 9 มอทหนอนหอย Limacodidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

Catachrysops 10 ผีเสื้อฟาดอกถั่วสีน้ําเงิน Lycaenidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง panarmus 11 ผีเสื้อฟาขีดสี่ใหญ Nacaduba pactolus Lycaenidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 12 ผีเสื้อฟาขีดหกลายเขม Prosotas aluta Lycaenidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 13 ผีเสื้อฟาลาย Syntarucus plinius Lycaenidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 14 มอทเหลืองทราย Lymantriidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

15 มอทหนอนกระทู Noctuidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

16 มอทหนอนมังกร Notodontidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

17 ผีเสื้อสีตาลจุดตาสี่ธรรมดา Yphtima huebneri Nymphalidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง 18 ผีเสื้อสีตาลจุดตาหาธรรมดา Ypthima baldus Nymphalidae Lepidoptera 446182 1968975 เต็งรัง

72

หมวด ค ตารางที่ 12 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบในแปลงที่ 1 (OKWS 1)

พิกัดแปลง วัสดุอาศัย/ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ ชนิดปาที่พบ Lat Long พืชอาศัย 1 เห็ดสปอรสีน้ําเงิน Heinemannomyces splendidissima Agaricaceae Agaricales 448002 1965135 พื้นดิน เต็งรัง

2 เห็ดไสเดือน Amanita vaginata Amanitaceae Agaricales 448002 1965135 พื้นดิน เต็งรัง 3 เห็ดรมนอยขนตั้ง Mycena stylobates Tricholomataceae Agaricales 448002 1965135 พื้นดิน เต็งรัง 4 เห็ดตับเตา Boletus sp. Boletaceae Boletales 448002 1965135 พื้นดิน เต็งรัง

ตารางที่ 13 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบในแปลงที่ 2 (OKWS 2)

พิกัดแปลง วัสดุอาศัย/พืช ชนิดปาที่ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ Lat Long อาศัย พบ 1 เห็ดไสเดือน Amanita vaginata Amanitaceae Agaricales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง 2 เห็ดรมน้ําตาลกานลวด Marasmius haematocephalus Marasmiaceae Agaricales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง 3 เห็ดไขเหลือง Amanita hemibapha Pluteaceae Agaricales 450662 1962456 ขอนไม เต็งรัง 4 เห็ดเนื้อรวน Psathyrella sp. Psathyrellaceae Agaricales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง 5 เห็ดโคนขาวตอก Termitomyces microcarpus Tricholomataceae Agaricales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง

6 เห็ดปอดมา Heimiell retispora Boletaceae Boletales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง

7 เห็ดเผาะ Astraeus hygrometricus Sclerodermataceae Boletales 450662 1962456 พื้นดิน เต็งรัง

73

ตารางที่ 14 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบในแปลงที่ 3 (OKWS 3)

พิกัดแปลง วัสดุอาศัย/พืช ชนิดปาที่ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ Lat Long อาศัย พบ 1 เห็ดไขเหลือง Amanita hemibapha Pluteaceae Agaricales 450069 1960156 ขอนไม เต็งรัง 2 เห็ดไขหาน Amanita sp. Pluteaceae Agaricales 450069 1960156 พื้นดิน เต็งรัง

3 เห็ดเผาะ Astraeus hygrometricus Sclerodermataceae Boletales 450069 1960156 พื้นดิน เต็งรัง

ตารางที่ 15 บัญชีรายชื่อเห็ดที่สํารวจพบในแปลงที่ 4 (OKWS 4)

พิกัดแปลง วัสดุอาศัย/พืช ชนิดปาที่ ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ อันดับ Lat Long อาศัย พบ 1 เห็ดตับเตา Boletus sp. Boletaceae Boletales 446182 1968975 พื้นดิน เต็งรัง 74