<<

วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) DOI: 10.14456/papo.2016.7

ยูโทเปย: มิติทางสังคมศาสตร ดร.อัจฉรา ชลายนนาวิน 1 บทคัดยอ ยูโทเปย คือ ชุมชนแห,งอุดมคติ (Ideal Community) หรือสังคม แห,งอุดมคติ (Ideal Society) ที่มนุษย>อยู,ร,วมกันในระบบการเมือง กฎหมาย และสังคมที่สมบรูณ>แบบ แนวคิด ยูโทเปยจาก มอร> ไดก,อตัวขึ้นมาพรอมกับ ยุคแห,งความกาวหนา มีจุดหมายเพื่อปรับปรุงสังคม โดยวิพากษ>ถึงสังคมสมัย ในศตวรรษที่ 15 ทั้งยังเปIนการนําเสนอรูปแบบซึ่งเปIนทางเลือกใหม,ของสังคม ที่ดีงามสมบูรณ>แบบ แมจะเปIนเพียงแค,เรื่องที่ถูกแต,งขึ้น แต,คําว,า ยูโทเปย ก็ ไดถูกนํามาใชอย,างกวางขวางในการอธิบายสังคมที่ไดถูกตั้งใจสรางขึ้นเพื่อ ความเปIนอุดมคติ จึงเปIนการจุดประเด็นของคําถามทาทายว,า สังคมยูโทเปย คืออะไร และไดเคยเกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร>หรือไม, ทั้งนี้จากการศึกษาเชิง เอกสารไดสะทอนว,าสังคมยูโทเปยไม,เคยเกิดขึ้นจริงแมในช,วงยุคแจงก็ตาม และยูโทเปยอาจถือไดว,าเปIนความสุขอีกรูปแบบหนึ่งของมนุษย>ที่ผิดหวังกับ สังคมแห,งความเปIนจริง อย,างไรก็ตามงานเขียนของมอร>นั้นไม,ไดอยู,บน พื้นฐานของขอเท็จจริง และเปIนเพียงการที่จะเผยแพร,จินตนาการของ มอร> เท,านั้น คําสําคัญ: ยูโทเปย/ ความเท,าเทียม/ สังคมอุดมคติ/ โทมัส มอร>

1 รป.ด., นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ, อาจารย>ประจําภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห>ศาสตร> มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร>, อีเมล>: [email protected]

- 1 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) : It’s Dimensions in Social Science Dr.Auschala Chalayonnavin 1 ABSTRACT Utopia was an ideal community where society possessed a perfect socio-politico-legal system. The concept of Utopia depicted by Thomas More was aiming to the social improvement in extremist critique of the early Renaissance Age. His proposed model was his ambition to a correction of social imperfection. Although Utopia was only his novel derived from his imagination, Utopia has been used extensively describing a world perfect society. Therefore, Utopia was the focal point of the research questions whether it has been really happened in the real world. According to the study, the paper reflected his falsify of Utopian society. Utopia was only believed as people tried to create the dream world disregarding to their disappointed from reality. Therefore, if the work was not based on facts as it’s only based on More’s , Utopia was merely another form of fictional novel. KEYWORDS: Utopia/ Equality/ Ideal Society/ Thomas More

1 D.P.A. Department of Community Development. Faculty of Social Administration. Thammasat University. E-mail: [email protected]

- 2 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) บทนํา นับตั้งแต,การปฏิรูปประเทศจีนภายหลังนาย สีเจี้ยนผิง ดํารง ตําแหน,งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต>จีนในป พ.ศ. 2555 นับเปIนช,วงเวลาที่ จีนมีการกวาดลางการทุจริตคอร>รัปชั่นในทุก ๆ ดาน จนกระทั่งมาถึง เหตุการณ>การปฏิวัติเพื่อแสดงเจตนารมณ>ในการปฏิรูปประเทศเพื่อขจัด การคอรัปชั่นในประเทศไทยในป พ.ศ. 2557 เหตุการณ>ทั้งสองลวนสะทอน ความคลายคลึงกันในส,วนหนึ่ง นั่นคือการสรางปรากฏการณ>เพื่อก,อร,างสังคม ยูโทเปย หรือสังคมแห,งอุดมคติในรูปของสังคมนิยมยูโทเปย (Utopian Socialist) ซึ่งแมทั้งสองเหตุการณ>จะมีความซับซอนและแตกต,าง หากแต,ก็มี เปpาประสงค>อย,างเดียวกันก็คือการสรางฐานการผลิตของระบบสังคมแบบ อุดมคติหรือสังคมแห,งเหตุผล (Rational Society)2 ภายใตฉลากของยูโทเปย ในคราบของวิธีการแบบสังคมนิยมซึ่งสะทอนการต,อสูทางชนชั้นส,วนหนึ่ง ทั้งนี้วัตถุประสงค>ของทั้งสองผูนําต,างก็มีบทสรุปที่สอดคลองกันนั่นคือ เพื่อความอยู,ดีกินดี ความเท,าเทียม และขจัดความอยุติธรรมทางสังคม แมทายที่สุดแลววิธีการ (Mean) ของสังคมนิยมยูโทเปยทั้งในแบบไทยและจีน ก็อาจจะไม,ไดมีความสมบรูณ>แบบอย,างที่มันควรจะเปIนเช,นที่กล,าวอางโดย โรด แมคแนร> (Rod McNair) ใน Why has Utopia Fail? ว,า “แต,เราทุกคน ต,างก็ปฏิเสธไม,ไดว,าเราต,างก็ถวิลหามัน” (McNair, 2006)

2 Rational Society ไดถูกนํามาใชจากฐานทฤษฎี Rationalization ของ Max Weber โดยเวปเบอร>มองว,าสังคมในช,วงหลังยุคสมัยนิยม (Modern) ไดมีการเปลี่ยนฐาน การตัดสินใจในเรื่องต,าง ๆ ของมนุษย>จากความคิด ความเชื่อ และวัฒนธรรม มาสู,ฐาน ความเชื่อที่ถูกตัดสินดวยเหตุผลที่ผ,านการทดลองทางวิทยาศาสตร>

- 3 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

อย,างไรก็ตามสิ่งที่สะทอนใหเห็นจากทั้งสองเหตุการณ>ที่เกิดขึ้นในจีน และแมแต,ในประเทศไทยก็ตาม ต,างก็สะทอนใหเห็นเปลือกนอกที่มี ความคลายคลึงกันอยู,อย,างหนึ่งก็คือ เมื่อใดก็ตามที่สังคมประสบพบพากับ ความขัดแยงระหว,างชนชั้น (Class Struggle) หรือความแตกแยกทางสังคม สิ่งหนึ่งที่ดํารงตนอยู,อย,างมีเอกภาพก็คือการถวิลหาสังคมยูโทเปย อาจกล,าว ไดว,ายูโทเปยเปIนสิ่งที่ผูคนตองการ หากแต,การไดมาของมันกลับคลายเสน ขนานกับสภาพบรรยากาศของสังคมในรูปแบบปรกติ หรือแบบทุนนิยมจนไม, อาจมาบรรจบกันไดในโลกแห,งความเปIนจริง ทั้งนี้แมในขอเท็จจริงแลวยูโทเปยจะเปIนเพียงแค,เรื่องที่ถูกแต,งขึ้น จากจินตนาการของ เซอร> โทมัส มอร> แต,คําว,ายูโทปยก็ไดถูกนํามาใชอย,าง กวางขวางในการอธิบายสังคมที่ไดถูกตั้งใจสรางขึ้นเพื่อความเปIนอุดมคติและ สังคมแห,งความสุขอันเปIนสุดยอดปรารถนาของมนุษย> ดังนั้นจาก ยูโทเปย ต,อมาจึงไดถูกนําไปพัฒนาเปIนคําอื่นที่สะทอนแนวความคิดเช,นเดียวกันแต,ใน ความหมายที่แตกต,างออกไปเช,น ไดโทเปย (Dystopia) หรือสังคมที่เลวราย 3 เปIนตน ทั้งนี้ผูศึกษากลับมองว,าการฝ|นหรือการจินตนาการถึงสังคม ยูโทเปย อาจถือไดว,าเปIนความสุขอีกรูปแบบหนึ่งของมนุษย>ที่รังเกียจและผิดหวังกับ ชีวิตของตนที่ไดอาศัยอยู,ในโลกแห,งความเปIนจริงที่ตรงกันขามกันอย,างสิ้นเชิง กับสังคมยูโทเปย และถางานเขียนของมอร>ไม,ไดอยู,บนพื้นฐานของขอเท็จจริง

3 สังคมในจินตนาการ ถือว,าตรงกันขามกับแนวคิดสังคมแบบยูโทเปย คําว,า “ดิสโทเปย” นี้ ปกติถือว,าเปIนสภาพการควบคุมทางสังคมที่โหดราย รุนแรง พบว,าผูที่ใชคํานี้เปIน ครั้งแรกก็คือ จอห>น สจวร>ต มิลล> เมื่อ ค.ศ. 1868 โดยใชศัพท>ภาษากรีก หมายถึง สถานที่ซึ่งสิ่งต,าง ๆ ลวนเลวทรามแทนที่จะเปIนสถานที่ที่ดีงามที่มนุษย>สามารถ อยู,ร,วมกันไดอย,างมีความสุขเช,นในยูโทเปย

- 4 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

และเปIนเพียงการเผยแพร,จินตนาการ งานของเขาก็อาจเปIนไดแค,เพียงนิยาย เรื่องหนึ่งเท,านั้น ก,อใหเกิดประเด็นคําถามตามมาว,า “แทจริงแลว ยูโทเปย คืออะไร และจินตนาการของ มอร> เคยถูกนํามาสรางสังคมแห,งอุดมคติในโลก มนุษย>ใหประสบความสําเร็จในช,วงระยะเวลาหนึ่งไดมากนอยเพียงใด”

คําถามท7าทาย บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค>ที่จะศึกษาและทําความเขาใจ ความหมายของคําว,า ยูโทเปย ทั้งในอดีตจนถึงป|จจุบันในมิติต,าง ๆ ทาง สังคมศาสตร> นอกจากนี้ยังตองการตรวจสอบว,าในประวัติศาสตร>ของมนุษย>ที่ ไดพยายามสรางสังคมยูโทเปยขึ้นหลายครั้งหลายคราดวยกัน แทจริงแลว สังคมยูโทเปยเคยเกิดขึ้นหรือไม, เพื่อที่จะตอบคําถามทาทายนี้ผูเขียนไดทําการศึกษาจากเอกสาร จากการทบทวนขอมูลทุติยภูมิ อาทิ บทความทางวิชาการ หนังสือ งานวิจัย เวปไซด> และสิ่งพิมพ>ที่เกี่ยวของ โดยขอมูลไดถูกนํามาเรียบเรียง และนําเสนอ ดวยวิธีการเชิงพรรณนา

เนื้อหา Utopia เปIนคําที่เกิดจากการผสมภาษากรีกอันมีตนกําเนิดมาจาก OU’ แปลว,า ไม, และ TO’NOC ที่แปลว,า สถาณที่ ซึ่งสามารถอ,านเปIน ภาษาอังกฤษไดว,า eutopia ซึ่งสามารถแปลไดว,าสถานที่แห,งความดีงาม หรือ good place น,าสังเกตว,า คําว,า ยูโทเปย ในภาษาอังกฤษ ออกเสียง เหมือนกันทุกประการกับ Eutopia (กรีก: Εὐτοπία [Eutopía]) มี ความหมายว,า “สถานที่ดี” (Lyman & Sargent, 2005, p. 11) โดยมากแลว

- 5 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

คําว,ายูโทเปยมักถูกนํามาใชในความหมายของความเท,าเทียมทางสังคม เศรษฐกิจ และความเปIนธรรม ผ,านรากฐานความเปIนธรรมของระบบ โครงสรางทางสังคม (Lyman & Sargent, 2005, p. 11). แนวคิดเรื่องยูโทเปยและความชอบธรรมของสังคมอุดมคติภายใต ฐานรากของความเท,าเทียมทางสังคมปรากฏใหเห็นเด,นชัดในนวนิยายของ เซอร> โทมัส มอร> ในป ค.ศ. 1516 ซึ่ง มอร> เคยเขียนไวในคําแนบของหนังสือ เขาว,า “Wherfore not Utopie, but rather rightely my name is Eutopie, a place of felicitie” โดยมอร>หลีกเลี่ยงที่จะใชคําว,า Utopie (ไม,มีจริง) (Lyman & Sargent, 2005) และไม,ใชคําว,ายูโทเปย (Eutopia) ซึ่งหมายถึง สถานที่ที่ดี ดังนั้นเมื่อ มอร> กลับใชคําแผลงจาก ยูโทเปย เปIน อิวโทเปย (Eutopie) จึงทําใหน,าจะสรางสมมุติฐานไดว,า อิวโทเปย ของเขา อาจหมายถึง สถานที่แห,งความรื่นรมย>ซึ่งอาจไม,มีอยู,จริง (Demavivas, 2016) ทั้งนี้ในนวนิยายของ มอร> ไดกล,าวถึงสังคมอุดมคติที่อยู,ใน จินตนาการของ มอร> บนสังคมที่ตั้งอยู,ในเกาะแห,งหนึ่ง พบว,าแนวความคิด เรื่อง ยูโทเปย ของ มอร> มีความสอดคลองกับความเชื่อในพระคัมภีร>ไบเบิล ทางคริสต>ศาสนาที่มีการกล,าวถึงการเมืองและการเปลี่ยนแปลงถิ่นฐาน เนื่องมาจากภาวะน้ําท,วมใหญ,ที่ปรากฏอยู,ในปฐมบทอย,าง Genesis Nation Descended from Noah อยู,มากทีเดียว เนื่องมาจากช,วงหนึ่งของชีวิต มอร> เอง เขาก็เคยมีความพยายามที่จะรับใชศาสนาดวยการบวชเปIนพระในช,วงป ค.ศ. 1503-1504 ก,อนที่จะตัดสินใจเขารับใชประเทศในดานการเมืองแทน ในช,วงระยะเวลาถัดมา (Lodder & Kokkori, 2013, pp. 1-9)

- 6 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

แนวคิดเรื่อง ยูโทเปย หรือสังคมอุดมคตินั้นไดถูกอางถึงหลายครั้ง ดวยกันหากมีการกล,าวถึงสังคมที่สมบรูณ>แบบทั้งในแง,ความเชื่อของศาสนา วัฒนธรรม และสังคม ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลต,างมีความเชื่อมโยงอยู,กับฐานคิดของ สังคมอุดมคติที่เชื่อว,า มนุษย>ต,างเชื้อชาติ ศาสนา ฐานันดร และวัฒนธรรม ต,างก็สามารถดํารงชีวิตอยู,ร,วมกันอย,างปรกติสุข เติมเต็มซึ่งกันและกันทาง สังคม และถึงพรอมไปดวยความเท,าเทียม โดยทั่วไปแลว ยูโทเปย มักถูกนํามาใชในสังคมอุดมคติที่เต็มไปดวย ความเท,าเทียม เสรีภาพ และภารดรภาพทางความคิด สังคมที่มนุษย>สามารถ ดํารงชีวิตไดตามปรารถนาในทรัพยากรตามธรรมชาติที่ไม,มีวันหมดสิ้นไป (Sustainability) พบว,านับตั้งแต,อดีตจนถึงป|จจุบัน ยูโทเปย ไดถูกอางถึง หลายครั้งดวยกัน โดยเฉพาะในเวลาที่มนุษย>ประสบกับภาวะยากลําบากและ ขัดแยง นอกจากนี้ยังพบว,าการนํายูโทเปยมาใชทั้งในอดีตและป|จจุบันกลับ แสดงนัยถึงความวาดหวังถึงสังคมในโลกหนา หรือโลกอนาคต ที่ในบางครั้งก็ เหมือนจะเปIนเสนขนานกับโลกแห,งความเปIนจริง ดังจะสามารถอางอิงได ดังต,อไปนี้ Utopia ในมิติทางสังคมศาสตร ในหนังสือเรื่อง “สวรรค>บนดิน หรือ สวนสวรรค> Eden (The Earthly Paradise-Garden of Eden)” โดย Hieronymus Bosch’s; The Garden Earthly Delight ในหนังสือดังกล,าวเสนอทัศนะว,า แทที่จริงแลวยูโทเปยก็คือ แนวคิดเชิงอุดมคติเกี่ยวกับโลกอันสมบูรณ>แบบในสวนสวรรค>ที่มนุษย>ชาย หญิงคู,แรกไดอยู,ร,วมกันอย,างมีความสุขซึ่งก็คืออดัมและอีฟ จากนั้นเมื่ออีฟ ไดรับประทานผลไมตองหามและละเมิดคําสั่งของพระผูเปIนเจาบนสรวง สวรรค>จึงทําใหโลกที่สมบรูณ>แบบกลายเปIนโลกที่ไม,สมบรูณ>แบบไป

- 7 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

(Dystopia) เชื่อว,าแนวคิดสังคมยูโทเปยมีมาตั้งแต,ยุคคลาสสิค ดวยทฤษฎีโลก ของแบบของเพลโตในสมัยกรีกโรมัน (380 ปก,อนคริสต>ศักราช) ซึ่งโลกของ แบบ (Theory of Forms) ของเพลโตนั้น ดูจะยังเนนความสมบูรณ>ดวยความ เปIนตนแบบของสิ่งที่มีอยู,บนโลกมนุษย>โดยเชื่อว,ามนุษย>สามารถเขาถึงโลก ของแบบไดดวยความคิดและเหตุผล เขาเชื่อว,าจิตวิญญาณ และความดีงาม ของมนุษย>นั้นเปIนอมตะ โลกแห,งความเปIนอมตะจะปราศจากความทรมาน และความเจ็บปวดซึ่งแตกต,างไปอย,างสิ้นเชิงจากโลกที่จับตองได (Material World) (Brickhouse & Smith, 2015) สังคมยูโทเปยไดถูกกล,าวถึงในหนังสือเล,มแรกในชื่อ Plato’s Republic ซึ่งเขียนโดยเพลโตเมื่อราว 380 ปก,อนคริสตกาล อันเปIนภาพ สะทอนบทสนทนาระหว,างโสเครติสและชาวเอเธนถึง ความหมายของคําว,า ความยุติธรรม เพลโตไดกล,าวถึงเมืองคัลลิโพลีส (Kallipolis) อันเปIนจุดเริ่มตน ของบทสนทนาที่เขาไดทําการอรรถาธิบายถึงโครงสรางของประชากรและ ผูปกครองที่พึงปรารถนาของเมืองคัลลิโพลีส ซึ่งเพลโตเรียกกษัตริย>ของเมือง ว,า Philosopher King หรือ กษัตริย>แห,งปรัชญา รวมไปถึงการพยายาม พรรณนาบทบาทของนักปรัชญาที่มีต,อสังคมอุดมคติในเมืองคัลลิโพลีสนี้ โดย จุดเริ่มตนของบทสนทนาเริ่มขึ้นระหว,างโสเครติสและชาวเอเธนดวยคําถาม ที่ว,า มนุษย>ที่มีความยุติธรรมมีความสุขมากกว,ามนุษย>ที่อยุติธรรมจริงหรือ? และ อะไรคือความสัมพันธ>ระหว,างความยุติธรรมและความสุข? ทั้งสอง คําถามนําไปสู,ภาพร,างเงาแห,งสังคมที่พึงประสงค> และการอรรถาธิบาย ความสุข ความยุติธรรม และสังคมแห,งอุดมคติในประเด็นต,าง ๆ ทั้งในศาสตร> ดานการเมือง การปกครอง และการบริหารรัฐกิจ เปIนตน (Urmson, 1997)

- 8 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

หนังสือไดแบ,งออกเปIนสามส,วนดวยกัน คือ 1) บทสนทนา (Conversation) 2) บทแสดงภาพแห,งจินตนาการ (Fictional Depiction) 3) บทนําเสนอ นโยบาย (Policy Proposal) โดยหนังสือไดแบ,งพลเมืองออกเปIนโครงสราง ทางคุณลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของพลเมือง ซึ่งแบ,งออกไดเปIนสี่ ลักษณะคือ “ทอง” “เงิน” “บรอนซ>” และ “เหล็ก” (Brickhouse & Smith, 2015) พลเมืองในกลุ,มทองจะถูกฝŠกฝนเปIนเวลากว,า 50 ป เพื่อใหเปIนคนดี และเปIนผูแทนของประชาชนอย,างแทจริง (Benign Oligarchs) หรืออาจเรียก ไดว,าเพื่อเปIนกษัตริย>แห,งปรัชญา (Philosopher-King) กษัตริย>จะเปIน ผูควบคุมและวางกฎเกณฑ>ของบานเมือง ภูมิป|ญญาแห,งกษัตริย>จะสามารถ ส,งเสริมการกระจายทรัพยากรของเมืองไปสู,ประชาชนอย,างทั่วถึงกัน ขจัด ความอดอยากหิวโหย หากแต,เพียงรายละเอียดในขั้นตอนของกระบวนการใน การที่จะส,งเสริมนโยบายเหล,านี้ยังไม,ชัดเจนนักในงานของเพลโต การสราง รูปแบบการเรียนรูของกษัตริย>ถือไดว,าคือแกนหลักของ Plato Republic เพื่อใหกษัตริย>ไดเปIนผูที่มีจิตใจกวางขวาง (Pacifism Attitude) ในการดูแล พลเมืองอย,างเท,าเทียมกัน นอกจากนี้ยังในหนังสือยังไม,ปรากฏบทบาทของรัฐ และกษัตริย>ในการส,งพลเมืองเขาร,วมต,อสูในศึกสงครามระหว,างรัฐ หากแต, หนังสือจะมีการอธิบายถึงการส,งทหารรับจางเขาร,วมรบแทนพลเมืองของรัฐ ในภาวะสงคราม (Brickhouse & Smith, 2015) ต,อมาในยุคศตวรรษที่ 15 ยูโทเปยก็ไดถูกกล,าวถึงอีกครั้งในงานเขียน ของเซอร> โทมัส มอร> พบว,า มอร> ไดพยายามนิยามคําว,า “ยูโทเปย” (Utopia) โดยมีรากศัพท>มาจากภาษากรีก eu-topia ซึ่งหมายถึง “Good Place” (สถานที่ที่ดี) แต,เสียงของคํานี้ไดไปพองกับคําในภาษากรีกว,า ou-topia ซึ่งหมายความว,า “No-Place” (ไม,มีที่ใด) ซึ่งเปIนการอางถึงสังคมอุดมคติ

- 9 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

เช,นเดียวกันในชื่อเรื่องเดียวกัน ต,อมาสังคม ยูโทเปย โดย มอร> จึงถูกอางอิง โดยนักสังคมศาสตร>หลายท,านในฐานะพิมพ>เขียวของกลไกการทํางานของรัฐ ที่สมบรูณ>แบบ บางก็ว,างานของเขาเปIนเพียงงานที่ประชดประชันสังคม อังกฤษในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย>มากกว,าที่จะเปIนงานเขียนเพื่อแสดงสังคม อุดมคติที่เกิดขึ้นในโลกแห,งความจริง อย,างไรก็ดีหนังสือไดถูกพิมพ>เพื่อ เผยแพร,ในหลายประเทศดวยกันดวยความสับสนและความไม,ชัดเจนว,าควร อางความหมายของยูโทเปยไปสู,ความหมายว,า No Place (เปIนที่ที่ไม,มีอยู, จริง) หรือ Good Place (เปIนที่ที่ดี) กันแน, ซึ่งความหมายที่ดีที่สุดที่ควรจะ เปIนก็คือ ความรวมของทั้งสองความหมายเขาดวยกันอันสามารถสรุปไดว,า ที่ที่ดีอันไม,มีอยู,จริง (Royal Spanish Academy, 2001) หากกล,าวถึง ยูโทเปย ในมิติดานสิ่งแวดลอม มอร> ไดอธิบาย คุณลักษณะดังกล,าวว,าคือ ทางเลือกใหม,ที่สังคมจะไดมีการปฏิสัมพันธ>กับ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรอบตัวอย,างลึกซึ้ง ดังนั้นสังคม ยูโทเปย จึงเปIน สังคมที่สรางขึ้นมาเพื่อที่จะเสนอวิถีแห,งอุดมคติที่มนุษย>สามารถอยู,ร,วมกับ ธรรมชาติไดอย,างสมานฉันท> นอกจากนี้คําว,า ยูโทเปย ยังถูกใชในเชิง สิ่งแวดลอมโดยนักวิชาการชาวดัตช> (Dutch) ชื่อ มาเรียส เดอร> กัส (Marius de Geus) เพื่อเปIนแรงบันดาลใจในแง,ของการเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อ สรางสรรค>โลกสีเขียว (Green Political Movement) (Lodder, Kokkori, & Mileeva, 2013, pp. 1-9) เศรษฐกิจแบบยูโทเปย (Economic Utopia) ถูกอางถึงในลักษณะ ของชุมชนที่มีความพยายามที่จะสรางระบบเศรษฐกิจแบบยูโทเปยขึ้นเพื่อ แกป|ญหาของเงื่อนไขทางระบบเศรษฐกิจที่โหดรายทารุณในยุคศตวรรษที่ 19 แนวความคิดของระบบเศรษฐกิจแบบยูโทเปยถือกําเนิดขึ้นจากแนวความคิด

- 10 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

ที่ว,าสังคมในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมนั้นนําไปสู,ความย่ําแย,ของคุณภาพชีวิต มนุษย>อันเปIนผลมาจากการพัฒนาแนวความคิดจักรวรรดินิยม และแนวคิด ทุนนิยมเสรี โดยหลักการของระบบเศรษฐกิจแบบยูโทเปยที่สําคัญก็คือการ กระจายสินคาดวยความชอบธรรม และขจัดระบบการใชเงินตราออกไป ผูคน ในระบบเศรษฐกิจแบบยูโทเปยจะผลิตในสิ่งที่ตนเองถนัด และพึงใจทําเท,านั้น นอกจากนี้เศรษฐกิจแบบยูโทเปยยังนําเสนอแนวความคิดที่พลเมืองจะมี ความสุขกับการใชสินคาสาธารณะ (Bellamy, 1960) อันจะทําใหพลเมือง ไม,มุ,งเนนในการทํางานเพื่อผลิตผลผลิตเพียงเพื่อหวังผลกําไรและความอยู,รอด จนกระทั่งทําใหพลเมืองมีเวลาว,างเหลือเฟŒอที่จะพัฒนาความรูทาง วิทยาศาสตร>และศิลปะ นักคิดผูริเริ่มระบบเศรษฐกิจแบบ ยูโทเปย มีหลาย ท,านดวยกัน เช,น เอ็ดวาร>ด เบลลามี (Edward Bellamy) ในหนังสือเรื่อง Looking Backward หรือ วิลเลียม มอร>รีส (William Morris) ใน News from Nowhere และแมแต, มาร>กซ> (Marx) ก็ยังไดวิจารณ>แนวคิดสังคมนิยม แบบดั้งเดิมว,าคือ ยูโทเปย และ อิริค แฟรงซ> รัสเซล (Eric Frank Russell) ใน The Great Explosion (1963) ที่กล,าวถึงระบบเศรษฐกิจแบบยูโทเปย ว,าเปIนรูปแบบของการแลกเปลี่ยนสินคาในลักษณะชุมชน (Local Exchange Trading System) ยูโทเปย ในทางเศรษฐกิจมักถูกมองว,าอยู,คนละขั้วกับมิติทางการเมือง เช,น โรเบริตท> เอ เฮนเลียน (Robert A. Heinlein) ผูแต,ง The Moon is a Harsh Mistress แสดงภาพลักษณ>ของสังคมเศรษฐกิจแบบยูโทเปย ใน แนวทาง Liberian Individualism หรือเสรีชนนิยม โรเบริตท> นําเสนอภาพ ความเปIนทุนนิยมในรูปแบบ ยูโทเปย ในลักษณะกลไกทางตลาดเสรีโดยอยู, ภายใตกรอบของ Private own Enterprise หรือการบริหารงานในรูปแบบ

- 11 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

เอกชนที่ปราศจากการครอบงําขององค>กรรัฐ และรัฐมีบทบาทสําคัญในการ สนับสนุนโอกาสทางเศรษฐกิจใหแก,ป|จเจกในลักษณะชอบธรรมและเท,าเทียม ลัทธิทางเศรษฐกิจแบบยูโทเปยจะไม,มีการเสนอหัวขอในเรื่องของ ความลมเหลวทางการตลาด หรือ Market Failure4 มีแต,การนําเสนอรูปแบบ ของความลมเหลวทางการวางแผนการผลิต (Planning Failure) และมัก มุ,งเนนการนําเสนอรูปแบบของการบูรณาการร,วมกันระหว,างความเปIนสังคม นิยม และทุนนิยม หรือในลักษณะของการตลาดแบบสังคมนิยม (Market Based Communism) ที่มุ,งเนนการทําลายความเปIนชนชั้นทางสังคมที่รัฐ ไม,เคยพิชิตอาณาเขตดังกล,าวไดเลยในประวัติศาสตร> (Heinlein, 1982, p. 207) ทั้งนี้โลกของยูโทเปย คือ สังคมแห,งความสงบสุขซึ่งถือเปIนจุดสิ้นสุด ทางประวัติศาสตร> หากแต,ในทางโครงสรางทางการเมือง สังคม ยูโทเปย กลับ ถูกมองในลักษณะของความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่รวมกันเปIนหนึ่ง (Polyculturalism) ตัวแบบสังคมการเมืองแบบยูโทเปย มักจะสะทอนการ รักษาอัตลักษณ>ของวัฒนธรรมของตนท,ามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรมภายใตความมีส,วนร,วมทางสังคม และความเปIนอันหนึ่งอันเดียวกัน ทางสังคม (Spannos, 2008) อย,างไรก็ดีหากมอง ยูโทเปย ในทางศาสนา ยูโทเปยมักถูกมองเปIน การบูรณาการระหว,างศาสนา (Intra-Religious) ในลักษณะความซอนทับ

4 ความลมเหลวของตลาด (Market Failure) หมายถึง ภาวะที่กลไกตลาดไม,สามารถ จัดสรรทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพได หรือภาวะที่ตลาดไม,สามารถตอบสนอง ความตองการของสาธารณะทั้งในแง,ของปริมาณหรือราคาของสินคาได รวมทั้งการ ที่ตลาดไม,สามารถสะทอนตนทุนหรือประโยชน>ที่แทจริงได

- 12 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

ของความหลากหลายทางวัฒนธรรมเขาไวดวยกันซึ่งไม,สามารถเกิดขึ้นไดแม ในอนาคตอันใกล หรือไกลออกไปในโลกแห,งความจริง พระเจาในยูโทเปย คือ การมีพระเจา และพระศาสดาร,วมกันในทุก ๆ ศาสนาในมุมมองของผูที่นับถือ นอกจากนี้ผูนําทางศาสนาและผูนําทางจิตวิญญาณตองยอมรับใน วิทยาศาสตร>ที่จะพิสูจน>ไดว,าเปIนส,วนหนึ่งของความเชื่อทางศาสนาและ ลมลางแนวความคิดและความเชื่อทางจิตวิญญาณออกใหหมดไป ผูนําทางจิต วิญญาณจะตองกําจัดการแบ,งแยก และโนมนําแนวความเชื่อทางศาสนาใหอยู, ในความกลมกลืนเปIนอันหนึ่งอันเดียว ถือเปIนการกําเนิดของศาสนา ยูโทเปย หรือ Religions of Human พระเจาจะถูกนิยามใหสามารถพิสูจน>ไดทาง วิทยาศาสตร> ดังนั้นศาสนาจึงถือไดว,าเปIนเงื่อนไขที่ถูกใชเพื่อการกระตุนให มนุษย>เชื่อและโนมนําชีวิตของตนเองใหกาวต,อไปขางหนาไดในภาวะที่ ยากลําบากเท,านั้น มิใช,การเชื่อมั่นในพระเจาแบบไม,ลืมหูลืมตาหรือไรเหตุผล (Peltoniemi, 1984) อนึ่ง ในแง,ของศาสนาอิสลาม ศาสนายิว และศาสนาคริสต> กลับมอง ยูโทเปย เปIนส,วนหนึ่งของโครงสรางทางศาสนาของตน (Folk Religious Forms) ยูโทเปยถูกมองเปIนสวนสวรรค>อีเดน (Eden) หรือ Garden of Delight สะทอนนัยของความเปIนอิสระจากความวิตกกังวล หรือแสดงอาการตรัสรู (Enlightenment) เปIนภาวะของความเปIนอิสระจากความทุกข> ความเจ็บปวด ความอดอยากหิวโหย และความตาย เปIนที่รวมของเหล,านางฟpา และเทวดาที่ มีชีวิตอยู,อย,างอิสรเสรี นอกจากนี้ในทางศาสนาพุทธ และฮินดูมองยูโทเปย เปIนภาวะตื่นของป|ญญา เปIนการตรัสรูที่เกิดจากการปฏิบัติกรรมฐาน และ เจริญภาวนาเปIนนิจสินธุ>จนพนสภาพแห,งการรบกวนทางจิตหรือสังขาร ไปสู, สภาวะแห,งความหลุดพน หรืออนัตตา และถือไดว,าเปIนภาวะที่หลุดพนจาก

- 13 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

วัฏสงสาร อย,างไรก็ดีศาสนาในความหมายของ มอร> ถือเปIนการทําลาย ความคิดและความเชื่อทางศาสนาดั้งเดิมอย,างรุนแรง เนื่องจาก มอร> เชื่อว,า มนุษย>ที่ทําดีจะไม,ไดรับผลตอบแทนแห,งความดีเหล,านั้น (Peltoniemi, 1984) ในอดีตพบความพยายามของมนุษย>ที่จะสรางสังคมยูโทเปยขึ้นมา หลายครั้งหลายคราดวยกัน โดยเฉพาะในช,วงศตวรรษที่ 19 ซึ่งถือไดว,าเปIน ยุคตื่นครั้งที่สอง (Second Great Awakening) เช,นสังคมแห,งผูหญิงของ โจฮันเนส เคลเฟส (Johannes Kelpius) หรือ Harmony Society โดย คริสเตียน เทียโซฟ (Christian Theosophy) เปIนตน อย,างไรก็ดีสังคม รูปแบบนี้อยู,ไดเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งในอดีตเท,านั้น (Peltoniemi, 1984) ยูโทเปย ในเชิงวิทยาศาสตร>และเทคโนโลยี ถือไดว,าเปIนจุดกําเนิด แห,งความเปIนอนาคต เชื่อกันว,าการพัฒนาทางวิทยาศาสตร>และเทคโนโลยีจะ นําไปสู,การยกระดับคุณภาพชีวิตแบบยูโทเปยน (Utopian Living Standard) เช,น การพัฒนาทางเทคโนโลยีทางการแพทย>จะสามารถกําจัดความเจ็บปวด และความตายใหหมดไป วิถีชีวิตในรูปแบบปรกติของมนุษย>จะถูกแทนที่ดวย กลวิธีทางวิทยาศาสตร> เช,น การกิน การดํารงชีพ หรือแมแต,การสืบพันธุ> และ การดํารงเผ,าพันธุ>มนุษย> ทําใหมีเทคโนโลยีหลากหลายประการดวยกันที่สราง ขึ้นจากแรงบันดาลใจในความเปIน ยูโทเปย เช,น บาน และรถ เปIนตน เลน แบงค> (Lain Bank) กล,าวว,าเทคโนโลยีแบบยูโทเปยจะเปIนจุด เริ่มของความเหมาะสมทางเทคโนโลยีที่จะช,วยลดการเกิดอุบัติเหตุและ ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่จะสามารถทําลายเผ,าพันธุ>มนุษย>ใหสูญสิ้นไป บางก็สนับสนุนเทคโนโลยีในดานการกระตุนกลไกทางชุมชนขนาดเล็กเพื่อให

- 14 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

เกิดสังคมแห,งการเรียนรูและการอยู,ร,วมกันอย,างยั่งยืน เช,น แดริค เจนเซน (Derrick Jensen) เปIนตน (Bank, 2013) ดอรีส เลสซิง (Doris Lessing) ใน The Marriages between Zones Three, Four, and Five (1980) กล,าวว,า คุณค,าของความเปIนหญิง และชายนั้นไม,สามารถเปลี่ยนแปลงไปไดในสังคมยูโทเปย ในขณะที่ อลิส ซาเบท แมน บอร>กีส (Elizabaeth Mann Borghese) ใน In My own Utopia (1961) กล,าวว,า ความแตกต,างในเรื่องเพศนั้นยังคงดํารงตนอยู,ใน สังคมยูโทเปย อนึ่งแนวความคิดของความเปIนเพศเดียวหรือ Single Gender Worlds เปIนปรากฏการณ>อีกรูปแบบหนึ่งของแนวความคิดแบบยูโทเปย ที่ แสดงนัยถึงเพศในสังคม บางอางว,าการเปIนหญิงคือความผิดปรกติ หรือ โรครายที่จะทําลายมนุษย>เพศชาย เช,นเดียวกันที่การพัฒนาทางเทคโนโลยีจะ ทําใหมนุษย>สามารถเจริญเผ,าพันธุ>ไดโดยไม,ตองอาศัยเพศอีกต,อไป ในขณะที่ โจนส>นา รุส (Joanna Russ) ไดใหทัศนะถึงสังคมยูโทเปย ไวใน The Female Man ว,าเปIนจุดกําเนิดของความเท,าเทียมกันทางเพศอย,างแทจริง อันจะ ปราศจากความแบ,งแยกทั้งมวล แสดงนัยสําคัญถึงความเปIนอิสระของเพศแม, จากการแบ,งแยกทางชนชั้นและสถานะทางเพศในสังคมแห,งโลกอนาคต ประวัติศาสตรการสร7างยูโทเปย พบว,าในศตวรรษที่ 19 สังคมสหรัฐฯ และยุโรปมีความเจริญเติบโต เปIนอย,างยิ่งจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกันที่เมื่ออุตสาหกรรมมี ความเจริญกาวหนา สังคมในยุคนั้นต,างก็ถวิลหาสังคมที่สมบรูณ>แบบ ก,อใหเกิดการปฏิวัติและการปรับปรุงสังคมสหรัฐอยู,บ,อยครั้งดวยกัน พบว,าใน ยุคนั้นมีการเติบโตของกลุ,มทางสังคมต,าง ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนทางความคิดและ ความเชื่อที่มีความคลายคลึงกับสังคมอุดมป|ญญาของ เพลโต และ โสเครติส

- 15 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

ที่เทียบเคียงไดกับ ยูโทเปย ผ,านสังคมตัวแบบที่ก,อรูปก,อร,างโดยป|ญญาชนใน ยุคนั้น สังคม ยูโทเปย ตัวแบบในยุคแรก ๆ ในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมเกิด ขึ้นมาจากวัตถุประสงค>เพื่อการรวมกลุ,มทางศาสนาในรัฐเพลซิลวาเนีย ป ค.ศ. 1804 ที่มีชื่อว,า “จอร>จแรป” (George Rapp) โดยมีสมาชิกในช,วงยุค แรกเริ่มกว,า 600 คนดวยกัน สมาชิกมีการอาศัยอยู,ร,วมกันในระบบคอมมูน (Commune) โดยรวมหุนกันซื้อที่ดินเพื่อการเพาะปลูกและมีผูนําทางศาสนา เปIนผูจัดตั้งกลุ,ม จอร>จแรป มีการปฏิบัติตนตามความเชื่อในพระคัมภีร>ใบเบิล อย,างเคร,งครัด และยึดถือหลักปฏิบัติดวยความเคารพและมีน้ําใจต,อเพื่อน บานตามหลักศาสนาคริสต> ทําให จอร>จแรป สามารถดึงดูดสมาชิกเขาร,วม กลุ,มไดมากถึง 6,000 คน ในป ค.ศ. 1830 (Heinz, 1994) หลังจากศตวรรษที่ 18 เปIนตนมาพบว,า ยูโทเปย ถูกนํามาใชในทาง สังคมตนแบบ หรือสังคมสมบรูณ>แบบในลักษณะสมเหตุสมผล (Rationalization) แทนที่ความเชื่อที่แฝงเรนแนวคิดและคําสอนทางศาสนา มากขึ้น ดังจะแสดงใหเห็นจากแนวความคิดของนักทฤษฎีที่ชื่อ โรเบริต> โอเวน (Robert Owen) ที่ผลิตงานเขียนที่กล,าวถึงสังคม ยูโทเปย ในแง,ของความเท,า เทียมทางเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้นักทฤษฎีชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ ชาล>ล เฟอร>เรีย (Charles Fourier) ยังไดมีการกล,าวถึงรูปแบบทางสังคมที่ประกอบ ไปดวยรัฐบาลที่มาจากความสมัครใจที่เรียกว,าพาราเนค (Phalanxes) ที่กล,าวถึง โลกที่ประกอบดวยรัฐที่มีความเปIนอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม,มีการแบ,งแยกรัฐ อันนับเปIนรัฐสากลที่มีความเปIนอันหนึ่งอันเดียวกันทั่วทั้งโลก (Beecher, 1986, pp. 195-196)

- 16 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

ต,อมาในช,วงป ค..ศ. 1840 นับไดว,ายุโรปและสหรัฐฯ ไดกาวมาถึง จุดสูงสุดของการแสวงหา และการพยายามสรางสังคมสมบรูณ>แบบหรือ ยูโทเปย มนุษย>เริ่มเชื่อว,าหากทุกคนเปIนคนดี สังคมที่สมบรูณ>แบบย,อมเกิดขึ้น ไดอย,างไม,ตองพยายามอะไรมากมาย ดังนั้นสถาบันทางสังคมจึงเปIนสิ่งสําคัญ เพราะถือว,าเปIนจุดกําเนิดในการผลิตมนุษย>ที่มีอุปนิสัยที่สมบรูณ>พรอมและถึง พรอมซึ่งคุณธรรม สถาบันทางสังคมจึงไดรับการปฏิวัติและเปลี่ยนแปลงหลาย ครั้งดวยกันในสังคมยุโรปและสหรัฐยุคนี้ อาทิ การปฏิวัติทาสในสหรัฐ และ การปฏิวัติฝรั่งเศส เนื่องจากในเบื้องลึกของมนุษย>ต,างเชื่อว,า ยูโทเปย คือ ความศรัทธาของมนุษย>ที่เชื่อในความเปIนอุดมคติและการเปลี่ยนแปลงไปสู,สิ่ง ที่ดีขึ้นนั่นเอง (Beecher, 1986, pp. 195-196) พบว,า ยูโทเปย ที่สังคมต,างพากันแสวงหาและพยายามทําใหเกิดขึ้น ในช,วงศตวรรษที่ 18 ไดรับอิทธิพลอย,างยิ่งจากงานเขียนของ มอร> โดยนวนิยาย เชิงเสียดสีสังคมชิ้นนี้ทายที่สุดแลวกลับสะทอนความเปIนจริงว,าแทจริงแลว มนุษย>เคารพในความดีงามและคุณธรรม (Virtue) ความดีงามเหล,านี้อาจซ,อน อยู,ในความจริง ความดี เหตุผล และความมีน้ําจิตน้ําใจของมนุษย>ในเบื้องลึก อย,างไรก็ตามภายใตสังคมที่ประกอบไปดวยความเปIนวัตถุนิยม สินทรัพย> ส,วนบุคคล และวัฒนธรรมของการคาในรูปแบบตลาดเสรี สิ่งเหล,านี้กลับเปIน เครื่องที่กีดขวางความดีงามของมนุษย>ไม,ใหเกิดขึ้นไดในโลกแห,งความจริง หากแต,ในแทจริงแลว สังคมมนุษย>ปุถุชนอย,างเรา ๆ ก็ต,างถวิลหาและไขว,ควา หาสิ่งที่ดีงามที่ไม,อาจเกิดขึ้นไดภายใตเงื่อนไขของโลกทุนนิยมในป|จจุบัน แนวคิดเรื่อง ยูโทเปย ทั้งในอดีตและป|จจุบันจึงเปIนเพียงแต,โลกที่สะทอนได เพียงแต,กนบึ้งแห,งความดีงามในตัวมนุษย> และหลักธรรมคําสั่งสอนทาง

- 17 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

ศาสนา ซึ่งนับเปIนบรรทัดฐานทางสังคมที่เราทุกคนต,างก็ตองการใหมันเกิดขึ้น จริงในสังคมเพียงเท,านั้น

บทสรุป จากการสรุปความในแนวคิดเรื่องยูโทเปยจากนักปรัชญาหลายท,าน ดังกล,าวมาแลวในเบื้องแรก ทุกท,านไดแสดงคุณลักษณะของคําว,ายูโทเปย และการอางอิงถึงคําเหล,านี้ไวในแนวคิดและศาสตร>ที่แตกต,าง โดยนักคิดและ นักเขียนแต,ละท,านมีความคิดความเชื่อที่แตกต,างกันออกไป อันจะสามารถ สรุปคุณลักษณะเด,นของเงื่อนไขความเปIนยูโทเปยอันเปIนแกนหลักไวไดดังนี้ ประการแรก แนวความคิดและความเชื่อแบบ ยูโทเปย ถือเปIน ความพยายามของมนุษย>ในการที่จะสรางสังคมขึ้นมาใหม,ที่สะทอนคุณค,าของ ความเปIนมนุษย>มากยิ่งขึ้น ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นไดในชีวิตหนา ประการที่สอง ในความหลากหลายวัฒนธรรม สังคม และศาสนา ป|จจัยดังกล,าวเก็บงําความทรงจําของมนุษย>ในเรื่อง ยูโทเปย ไวในแง,มุมของ มนุษย>ชาติที่สามารถดํารงชีวิตในรูปแบบแรกเริ่ม และเรียบง,าย ใน ขณะเดียวกันที่มนุษย>ก็สามารถมีความสุข และเติมเต็มในวิถีชีวิตเหล,านั้นได เปIนอย,างดีในวิถีชีวิตในอดีตที่ไดสะทอนถึงความกลมกลืนระหว,างวิถีชีวิตของ มนุษย>และธรรมชาติ ในโลกของ ยูโทเปย มนุษย>มีความตองการที่จํากัด (ต,าง จากเศรษฐศาสตร>ที่มนุษย>มีความตองการอย,างไม,จํากัด) และความตองการ เหล,านั้นสามารถถูกเติมเต็มไดโดยธรรมชาติโดยปราศจากการแก,งแย,ง สงคราม ความยากลําบาก และงานที่ทารุณ ในโลกของยูโทเปย มนุษย>เปIน เพียงสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่มีความเจียมเนื้อเจียมตัวอยู,บนโลกใบใหญ,

- 18 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

ประการที่สาม ในทางศาสนา ยูโทเปย ถูกมองเปIนเครื่องช,วยบําบัด มนุษย>ในภาวะที่ยากลําบากของชีวิต แสดงความวาดหวังในการที่จะไปสู,ที่ที่ ไม,มีอยู,จริง ยูโทเปย คือโลกแห,งจินตนาการ แต,กระนั้นก็เปIนที่ที่สมบรูณ>แบบ ที่อาจจะมีอยู,ไดในชีวิตหนา สิ่งเหล,านี้จะเปIนเครื่องจุดประกายความหวังให มนุษย>สามารถดํารงชีวิตอยู,ต,อไปไดอย,างมีความสุขตามสมควรในโลกป|จจุบัน และมุ,งมั่นที่จะทําตามบรรทัดฐานแห,งความดีงามของสังคมต,อไป ประการที่สี่ ยูโทเปย อาจแสดงถึงสังคมสมบรูณ>แบบที่มีอยู,จริงในยุค Golden Age ในกรีกโบราณ ราวศตวรรษที่ 8 ก,อนประวัติศาสตร> อันจะถูก จารึกไวในบทกลอนที่ชื่อ Works and Days แสดงถึงสังคมที่เคารพในความ เปIนมนุษย>อย,างลึกซึ้ง ประการที่หา ยูโทเปย อาจแสดงสัญญะในเชิงประจักษ> แสดงความ จับตองไดในลักษณะ positivism ซึ่งเปIนตัวแทนของโลกในอนาคตทาง วิทยาศาสตร> ในลักษณะของ trans humanist และ exotropia เพื่ออนุโลม ใหมนุษย>สามารถสรางโครงสรางทางสถาบันที่ตนเองตองการไดดวยตนเอง ประการสุดทาย สังคม ยูโทเปย อาจเปIนเพียงการสะทอนความว,าง เปล,าของการประชดประชันโลกในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย>ในศตวรรษที่ 15 ดังที่มอร>เขียนถึงสังคมในอุดมคติที่มีชื่อว,า “ยูโทเปย (Utopia)” ขึ้น เพื่อตั้งใจ เขียนเปIนวรรณกรรมเสียดสีลอเลียนสังคมและกษัตริย>อังกฤษในสมัยนั้น สังเกตจากการตั้งชื่อต,าง ๆ อาทิ ยูโทเปย มาจากภาษากรีก หมายถึงเมืองที่ดี หรือเมืองที่ไม,มี ณ แห,งหนใด ชื่อเมือง เช,น เมืองอามอรอท (Amaurote) เมืองศูนย>กลางแห,งยูโทเปยที่แปลว,าเมืองแห,งความมืดมัว ส,วนตัวละครที่เปIน ผูถ,ายทอดเรื่องราวของยูโทเปยชื่อ ราฟาเอล ไฮโธลเดย> (Hytholday) แปลว,า ผูที่พูดแต,เรื่องไรสาระ หรือประเทศขางเคียงอย,างชาวโพลีเลอไรท>ส

- 19 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

(Polylerites) แปลว,าคนเหลวไหล (ชํานาญ จันทร>เรือง, 2543) นอกจากนี้ บทสนทนาระหหว,าง มอร> และ เฮย>เทอเดย> ก็ยังเต็มไปดวยการลอเลียนและ ถากถางกษัตริย>อังกฤษในกาลสมัยนั้น อาทิ การก,อป|ญหาระบบทุนนิยมแบบ ผูกขาด ป|ญหาการบิดเบือนกลไกการตลาด (Moral Hazard) 5 ป|ญหาการสะสม ทรัพยากรเกินพอดีของเหล,านายทุน หรือป|ญหาการส,งพลเมืองไปร,วมรบใน สงครามของกษัตริย> ซึ่งลวนแลวแต,แสดงถึงเจตนาของผูเขียนที่จะชี้ใหเห็นว,า ยูโทเปย เปIนเพียงเรื่องลอเลียนกษัตริย>อังกฤษ และเรื่องที่สมมติขึ้นเท,านั้น ทั้งนี้เมื่อผูศึกษาไดทําการวิเคราะห>จากขอมูลทุติยภูมิ กลับตระหนัก ถึงจุดบกพร,องของความเปIน ยูโทเปย และสรุปไดว,าแก,นแทของความเปIน อุดมคตินี้อาจไม,เคยเกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร>ดังเหตุผลต,อไปนี้ ประการแรก มอร> จงใจสรางยูโทเปยใหเปIนสังคมในฝ|นเพราะ ตองการสรางค,านิยมในเรื่องการรักษาคุณธรรมและความพึงพอใจในการใช ชีวิตมนุษย> ไม,ใหมนุษย>ใหความสําคัญกับวัตถุและเห็นว,าเงินทองเปIนของ ไม,มีค,าเท,าใดนัก ซึ่งมนุษย>เหล,านี้ไม,สามารถมีอยู,ในโลกแห,งความจริง หรือมี อยู,ไม,มากพอที่จะสรางโลกแห,งยูโทเปยขึ้นมาไดในระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยม (ชํานาญ จันทร>เรือง, 2543) การปศุสัตว>ในยูโทเปยมีความ เจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตร>ล้ํายุคสมัยศตวรรษที่ 15 ที่มอร>อาศัยอยู, อาทิ แม,ไก,ไม,จําเปIนตองฟ|กไข, เนื่องจากมีวิธีการฟ|กไข,จากเตาอบ ทําใหลูกเจี๊ยบที่ ถูกฟ|กตองเดินตามผูเลี้ยงแทนที่จะเดินตามแม,ไก,ที่อาศัยอยู,ในเลา เปIนตน (More, 2013)

5 เปIนป|ญหาเรื่องผูบริโภคที่มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป ที่มา McKinnon and Pill (1996)

- 20 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

อย,างไรก็ดี ในขณะที่ มอร> เองก็มีความชัดเจนในเชิงภาพแห,ง จินตนาการ แต,จุดมุ,งหมายของ มอร> ยังคงไม,เปIนที่ประจักษ>ชัดนักว,าเขามี ความมุ,งหมายเพื่อสราง ยูโทเปย เพื่อเปIนบรรทัดฐานทางสังคม หรือเพียง เพื่อประชดประชันสังคมอันเลวรายของระบอบการปกครองที่ตนเองกําลัง เผชิญอยู,กันแน, ทั้งนี้นวนิยายของเขายังคงมีความยอนแยงกันเอง อาทิ เขากล,าวว,า ยูโทเปย ที่ไม,มีกฎเกณฑ>มากมายมาบังคับพลเมือง หากแต, มอร> กลับพร่ําพรรณนาถึงภาระหนาที่อันมากมายของเหล,าพลเมืองที่ตองทําในแต, ละวัน อาทิ แต,ละฟาร>มตองมีประชากรไม,ต่ํากว,าสี่สิบคน และแต,ละคนมี ภาระหนาที่ที่ตองทําชัดเจน ทั้งชายและหญิงอยู,ภายใตกฎเกณฑ>ต,าง ๆ ทาง สังคมที่เคร,งครัดเพื่อเปIนภรรยาและสามีที่ดี นอกจากนี้แต,ละฟาร>มยังตอง ประกอบไปดวยหัวหนาผูควบคุมและดูแลลูกบานที่อาศัยอยู,ในฟาร>ม หรือ แมแต,เด็กเล็กก็มีภาระหนาที่ตองเรียนรู ทั้งยังตองเผยแพร,ความรูของตนสู, ยุวชนรุ,นต,อ ๆ ไปอีกดวย (More, 2016) ความยอนแยงดังกล,าวทําใหอิทธิพล ของแนวคิดและงานเขียนของเขาต,อโลกจึงยังไม,ปรากฏใหเห็นเด,นชัดนัก เนื่องจากเจตนาของเขายังคงเปIนขอถกเถียง ดังนั้นแนวความคิดเกี่ยวกับ ยูโท เปย จึงมีผลก,อใหเกิดความคลุมเครือต,อรูปแบบที่แทจริงของสังคมเชิงอุดมคติ โดยไม,อาจชี้ลงไปไดชัดเจนนักว,าการสรางชุมชน ยูโทเปยตามแบบของเขา ตองทําอย,างไร ทําอะไร มีวิธีการและขั้นตอนเช,นไร ทําใหสังคมที่เทียบเคียง ไดกับแนวความคิดของ มอร> ไม,เคยปรากฏขึ้นมาก,อนเลยในประวัติศาสตร> แมแต,ในยุคศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปIนยุครุ,งเรือง หรือ Age of Enlightenment 6

6 คือการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล,าป|ญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบน ทวีปอเมริกาช,วงคริสต>ศตวรรษที่ 18 เปpาหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส,งเสริมการใช หลักเหตุผลมากกว,าการใชหลักจารีต, ความเชื่อ และการเป“ดเผยจากพระเจา รวมไปถึง

- 21 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

ประการที่สอง แนวความคิดเกี่ยวกับ ยูโทเปย มีผลต,อความคิดของ ระบบสังคม ลัทธิการเมือง การบริหารจัดการการปกครอง เศรษฐกิจ มาชานานตามยุคสมัย แต,ก็ยังคงไดชี้ใหเห็นถึงความลมเหลวมานับครั้งไม,ถวน ทั้งในประเทศอังกฤษ และแมแต,สหรัฐอเมริกา (Beecher, 1986) ดังนั้น ยูโทเปย จึงอาจเปIนไปไม,ไดเลยที่จะเกิดบนโลกมนุษย> เปIนเพียงแค,ดินแดนใน จินตนาการเพื่อที่จะกระตุนใหมนุษย>สามารถดํารงชีวิตอยู,ต,อไปไดอย,างวาด หวังที่จะสามารถไดอยู,ร,วมกันอย,างสงบสุขบนดินแดนแห,งนั้น ประการที่สาม สังคม ยูโทเปย โดย มอร> มิไดอยู,บนพื้นฐานของโลก แห,งความจริง ซึ่งเขาอาจเพียงตองการจะวิพากษ>วิจารณ>สังคมร,วมสมัย ในเวลานั้น ๆ โดยทึกทักเอาว,า ยูโทเปย อยู,ในฐานะที่เปIนสถานที่ที่ดี เมื่อ งานเขียนมิไดอยู,บนพื้นฐานของโลกแห,งความเปIนจริง จึงเปIนการยากที่จะ เกิดขึ้นในโลกใบนี้ได ดังนั้นแนวความคิดของมอร>จึงเปIนเพียงเรื่องเฟpอฝ|น และเปIนการเสียเวลาที่จะตองครุ,นคิดและถกเถียงถึงสิ่งที่ไม,สามารถเปIนไปได ในโลกมนุษย> ประการที่สี่ เปIนการลาสมัยอย,างยิ่งที่โลกมนุษย>ซึ่งไดกาวผ,าน คริสต>ศตวรรษที่ 18 “หรือยุคความรอด” อันไดรับการมองว,าเปIนความสมบูรณ> โดยผ,านความกาวหนาในยุคสมัยใหม, (Modern Progress) หากแต,ในศตวรรษ ที่ 19 ยูโทเปย ที่มนุษย>พยายามสรางขึ้น อาทิ Freeland Association และ Arden Village (Charles, 1975) ไดยอนกลับมายึดรูปแบบสังคมที่เชื่อมโยง ความเปIนคอมมูนหรือชุมชนทางศาสนาต,าง ๆ ในการเสาะแสวงหาทางรอด

ส,งเสริมความรูทางวิทยาศาสตร>ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู หรือการใชป|ญญา ต,อตานความเชื่อทางไสยศาสตร> (Wilson & Reill, 2004)

- 22 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

แห,งจิตวิญญาณสําหรับสวรรค>ในชีวิตหลังความตาย (Krishnan, 2000) การที่ สังคมในศตวรรษที่ 19 ที่มีความกาวหนาทางดานสังคมวิทยาศาสตร>ที่จะ สามารถสนับสนุนสังคมในรูปแบบของเหตุผลได แต,กลับยึดความเชื่อรูป แบบเดิมจึงเปIนเรื่องที่ลาหลังอย,างยิ่ง ประการที่หา การปฏิวัติทางการเมืองและอุตสาหกรรมในทวีปยุโรป ในช,วงคริสต>ศตวรรษที่ 19 ไดนําไปสู,การพัฒนาของนักคิด ยูโทเปย แบบ สังคมนิยม (Althusser, Louis, & Balibar, 2009) นั่นคือการปริวรรตทาง ชนชั้นโดยไม,ใชความรุนแรง แต,ในที่สุดแลว คาร>ล มาร>กซ> (Karl Marx) และเฟดเดอริค เอเจล (Frederich Engels) ที่คิดคนทฤษฎีดังกล,าวต,างก็ มองว,า ความเจริญกาวหนาแบบ ยูโทเปย นี้เปIนทั้งคุณและโทษ ทําใหเกิด ช,องว,างระหว,างชนชั้นและตองเอาชนะความแบ,งแยกนี้ดวยการปฏิวัติของชน ชั้นกรรมาชีพ (Demavivas, 2016) เซอร> โทมัส มอร> ไดพยายามอธิบายสังคมตะวันตกในช,วงยุคสว,าง (Renaissance) ผ,านวรรณกรรมเสียดสีสังคม “ยูโทเปย” ไดสะทอนบทบาท ของกษัตริย>ต,อสิทธิมนุษยชนและสิทธิเหนือทรัพย>สินในช,วงศตวรรษที่ 15 พบว,างานของ มอร> มีความพยายามที่จะปรุงแต,งสังคมที่เขาอยู,ใหเหมือนกับ รัฐอุดมคติตามแบบของเพลโต และอลิสโตเติล และงานของเขาก็ไดสะทอน ความยอนแยงระหว,างเมืองแห,งอุดมคติและความเปIนไปไดในโลกแห,งความ เปIนจริงในช,วงยุคศตวรรษที่ 15 ผ,านบทสนทนาระหว,างเขาและเฮย>เทอเดย> (Hythloday) ตัวเอกของเรื่อง (More, 2016) ยูโทเปยถูกแบ,งออกเปIนสองเล,มดวยกันโดยเล,มแรกไดแสดงเรื่องราว ระหว,างตัวเอกของเรื่องคือ เฮย>เทอเดย> ปเตอร>เกลเลส (Peter Giles) และ มอร> โดยเนื้อเรื่องวนเวียนอยู,กับคําถามของเขาที่มีต,อเฮย>เทอเดย> ว,าทําไมเขา

- 23 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

ถึงไม,แนะนํากษัตริย>ใหทําในสิ่งที่ถูกตอง และขอสนทนาระหว,าง มอร> และ เฮย>เทอเดย> ว,าควรวางแผนใหเมืองแห,งอุดมคตินี้เปIนเช,นไร ซึ่งเนื้อหาก็ไดมี การแสดงการเสียดสีสังคมอังกฤษในขณะนั้นผ,านบทสนทนาระหว,าง มอร> และเฮย>เทอเดย> อาทิ การส,งพลเมืองไปร,วมรบในสงครามของกษัตริย> ในขณะ ที่กษัตริย>เองก็มิไดมีความสามารถอะไรแมแต,การทําฟาร>ม หรือการทําปศุสัตว> หรือป|ญหาในแง,ของพ,อคาอังกฤษที่มุ,งผูกขาดการตลาดจนทําใหเกิดการ บิดเบือนกลไกการตลาด (More, 2016) เปIน ตน ส,วนเล,มที่สองไดทําการ อธิบายถึงระบบกฎหมาย วัฒนธรรม และประเพณีของชาวยูโทเปย (Krishnan, 2000) พบว,า ยูโทเปย ใหความสําคัญกับการอยู,ดีกินดีของราษฎรและ การสรางสันติสุขในสังคม รัฐมีการวางแผนและกําหนดงานใหแก,พลเมือง อย,างจําเพาะเจาะจง ยูโทเปยมีการควบคุมจํานวนประชากรใหอยู,ในอัตราที่ เหมาะสมไม,มากเกินไปและไม,นอยเกินไปอีกดวย นอกจากนี้ มอร> ยังได ทําการสะทอนถึงสังคมอุดมคติ หากแต,ถาถามว,าเขาคาดหวังต,อสังคมดังกล,าว ว,ามีอยู,จริงหรือไม, เขากลับสรุปในหนาสุดทายว,า ยูโทเปยคือสิ่งน,าละอาย ความน,าละอายคือความคิดของ เฮย>เทอเดย> ทั้งในเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี และกฎเกณฑ>ของชาวยูโทเปย ซึ่งความน,าละอายนี่เองที่สะทอนไดว,าสังคม อุดมคตินี้อาจไม,สามารถสรางไดในโลกแห,งความจริง แมแต,จะเปIนความจริง ในช,วงยุคศตวรรษที่ 15 ที่เขาอาศัยอยู,ก็ตาม หากแต, มอร> ก็ยังตองการใหมัน เกิดขึ้นและคิดอยากปรับปรุงสังคมในขณะนั้น นอกจากนี้ในขณะที่ตัวเอกของ เรื่องที่ใหความสําคัญกับทรัพย>สินร,วมกันของรัฐ (Common Goods) มอร> กลับตองการใหรัฐมอบสิทธิ์ใหแก,ทรัพย>สินส,วนบุคคล และสุดทายกลับไม,พบ บทสรุปว,า ที่สุดแลวเมืองควรเลือกที่จะเปIนเช,นไรกันแน, (Marriott, 2004)

- 24 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

เมื่อนําแนวคิดของสังคมยูโทเปยมาเปรียบเทียบกับในสภาวะ การปฏิรูปทางการเมืองดวยหวังที่จะสรางภาพเสมือนของสังคมยูโทเปย หรือสังคมนิยมยูโทเปยขึ้นในขณะที่ประเทศกําลังกาวเขาสู,ศตวรรษที่ 21 พบว,า โลกทั้งในอดีตและป|จจุบัน แมแต,ในยุครอด (Enlightenment) ต,างก็ เต็มไปดวยมนุษย>ที่เต็มไปดวยกิเลส ยากเกินจะอยู,ร,วมอย,างอิสระ โดยปราศจากกฎหมาย ตราบใดที่เรายังคงผูกติดกับอํานาจ และระบบสังคม ยูโทเปย จึงเปIนไดแค,เพียงสังคมในภาพฝ|นที่มนุษย>เราทุกคนอยากมี อยากเปIน แต,เราเองที่ไม,สามารถดึงตนเองออกจากภาวะยึดติดในกิเลสที่ฝ|ง อยู,ภายใตจิตใจมนุษย>ทุกคนได (ชํานาญ จันทร>เรือง, 2543) อย,างไรก็ตามแมว,าการฝ|นหรือการจินตนาการสามารถเปIนความสุข อีกอย,างของมนุษย>ที่ผิดหวังกับสังคมแห,งความเปIนจริง (Demavivas, 2016) หากแต,งานเขียนนั้นเมื่ออยู,บนพื้นฐานของขอเท็จจริง หรือหากมีการสะทอน ถึงวิธีการ และรูปแบบที่จะสรางใหสังคมยูโทเปยประสบความสําเร็จ งานของ มอร> ก็ถือไดว,าเปIนโมเดล หรือบรรทัดฐานของการเกิดสังคมแบบอุดมคติไดใน โลกอนาคต ทําใหมนุษย>อาจสามารถสรางสิ่งที่ มอร> ตองการใหประสบ ผลสําเร็จและเปIนที่ยอมรับของสังคมได หากแต,เมื่องานเขียนของ มอร> กลับ สะทอนไดว,าผลงานของเขาเพียงตองการที่จะเผยแพร,จินตนาการ “งานของ เขา ก็เปIนไดแค,เพียงนวนิยายเรื่องหนึ่งเท,านั้น”

เอกสารอ7างอิง ชํานาญ จันทร>เรือง. (2543). Utopia ยูโทเปย. ประชาไท . เขาถึงไดจาก http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=1281. Althusser, L. & Balibar, E. (2009). Reading Capital . London: Verso.

- 25 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

Bank, L., M. (2013). A personal statement from Iain Banks . Retrieved from http://www.iain-banks.net/2013/04/03/ a-personal-statement-from-iain-banks/. Brickhouse, T. & Smith, N. (2015). Plato (c. 427–347 BC), The Internet Encyclopedia of Philosophy . Retrieved from http://www.iep.utm.edu/republic/. Beecher, J. (1986). The Visionary and His World . California: University of California Press. Bellamy, E. (2000). Looking Backward 2000-1887 . Retrieved from http://pinkmonkey.com/dl/library1/digi381.pdf . Charles, P. (1975). on Puget Sound, 1885–1915 . Seattle: University of Washington State Press. Demavivas, K. (2016). White Space. Utopia and Utopia Station . Retrieved from http://www.bloggang.com/mainblog. php?id=whitespace&month=27-05-2006&group=1& gblog=7. Ellen, W. & Reill, P. (2004). Encyclopedia of the Enlightenment . Oxford: Oxford University. Heinlein, R. (1982). The Moon Is A Harsh Mistress . USA: G. P. Putnam's Sons. Heinz, D. (1994). Rapp, Johann Georg . Herzberg: Bautz. Krishnan, K. (2000). Utopianism . Milton Keynes: Open University Press.

- 26 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

Lessing, D. (1994). The Marriages Between Zones Three, Four and Five . London: Flamingo. Lodder, C, Kokkori, M & Mileeva, M (2013). Utopian Reality: Reconstructing Culture in Revolutionary Russia and Beyond . Leiden. Netherlands: Koninklijke Brill. Lyman, T. & Sargent, L. (2005). The Necessity of Utopian Thinking: A Cross-National Perspective. Thinking Utopia: Steps into Other Worlds . New York: Berghahn Books. Mann, B. (1961). My Own Utopia (epilogue from The Ascent of Woman) . Canada: Science and Technology Research. Marriott, A. (2000). A slave state: Society in SIR Thomas More’s Utopia . Retrieved from http://capitalismmagazine.com/ 2004/01/a-slave-state-society-in-sir-thomas-mores-utopia/. McKinnon, R., & Pill, H. (1996). Credible liberalizations and international capital flows: The over borrowing syndrome. In T. Ito, & A. Krueger (Eds.), Financial Deregulation and Integration in East Asia . Chicago: University of Chicago Press. McNair, R. (2006). Why Has Utopia Failed ?.USA: Tomorrow World. More, T. (2016). Utopia. Planet PDF . Retrieved from http://history-world.org/Utopia_T.pdf.

- 27 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559)

Royal Spanish Academy. (2001) “Utopia” in Dictionary of the Spanish Language (22 nd ed.). Spain: Real Academia Española. Russell, E., F. (1963). The Great Explosion . London: The Book Club. Spannos, C. (2008). What is Real Utopia?. Z Magazine . Retrieved from https://zcomm.org/znetarticle/what-is-real-utopia- by-chris-spannos/. Peltoniemi, T. (1984). "Finnish Utopian Settlements in North America" (PDF) . Retrieved from http://www.sosiomedia.fi/ utopia/na_settlements.pdf. Urmson, J., O. (1997). Plato and the Poets. In Kraut, Richard (ed.) Plato’s Republic . New York: Rowman and Littlefield. Vance, J. (1973). “Rumfuddle” Three Trips in Time and Space. The Mammoth Book of 20th Century Science Fiction: Volume Two . Netherland: Meulenhoff.

- 28 -