
วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) DOI: 10.14456/papo.2016.7 ยูโทเปย: มิติทางสังคมศาสตร ดร.อัจฉรา ชลายนนาวิน 1 บทคัดยอ ยูโทเปย คือ ชุมชนแห,งอุดมคติ (Ideal Community) หรือสังคม แห,งอุดมคติ (Ideal Society) ที่มนุษย>อยู,ร,วมกันในระบบการเมือง กฎหมาย และสังคมที่สมบรูณ>แบบ แนวคิด ยูโทเปยจาก มอร> ไดก,อตัวขึ้นมาพรอมกับ ยุคแห,งความกาวหนา มีจุดหมายเพื่อปรับปรุงสังคม โดยวิพากษ>ถึงสังคมสมัย ในศตวรรษที่ 15 ทั้งยังเปIนการนําเสนอรูปแบบซึ่งเปIนทางเลือกใหม,ของสังคม ที่ดีงามสมบูรณ>แบบ แมจะเปIนเพียงแค,เรื่องที่ถูกแต,งขึ้น แต,คําว,า ยูโทเปย ก็ ไดถูกนํามาใชอย,างกวางขวางในการอธิบายสังคมที่ไดถูกตั้งใจสรางขึ้นเพื่อ ความเปIนอุดมคติ จึงเปIนการจุดประเด็นของคําถามทาทายว,า สังคมยูโทเปย คืออะไร และไดเคยเกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร>หรือไม, ทั้งนี้จากการศึกษาเชิง เอกสารไดสะทอนว,าสังคมยูโทเปยไม,เคยเกิดขึ้นจริงแมในช,วงยุคแจงก็ตาม และยูโทเปยอาจถือไดว,าเปIนความสุขอีกรูปแบบหนึ่งของมนุษย>ที่ผิดหวังกับ สังคมแห,งความเปIนจริง อย,างไรก็ตามงานเขียนของมอร>นั้นไม,ไดอยู,บน พื้นฐานของขอเท็จจริง และเปIนเพียงการที่จะเผยแพร,จินตนาการของ มอร> เท,านั้น คําสําคัญ: ยูโทเปย/ ความเท,าเทียม/ สังคมอุดมคติ/ โทมัส มอร> 1 รป.ด., นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ, อาจารย>ประจําภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห>ศาสตร> มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร>, อีเมล>: [email protected] - 1 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) Utopia: It’s Dimensions in Social Science Dr.Auschala Chalayonnavin 1 ABSTRACT Utopia was an ideal community where society possessed a perfect socio-politico-legal system. The concept of Utopia depicted by Thomas More was aiming to the social improvement in extremist critique of the early Renaissance Age. His proposed model was his ambition to a correction of social imperfection. Although Utopia was only his novel derived from his imagination, Utopia has been used extensively describing a world perfect society. Therefore, Utopia was the focal point of the research questions whether it has been really happened in the real world. According to the study, the paper reflected his falsify of Utopian society. Utopia was only believed as people tried to create the dream world disregarding to their disappointed from reality. Therefore, if the work was not based on facts as it’s only based on More’s fantasy, Utopia was merely another form of fictional novel. KEYWORDS: Utopia/ Equality/ Ideal Society/ Thomas More 1 D.P.A. Department of Community Development. Faculty of Social Administration. Thammasat University. E-mail: [email protected] - 2 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) บทนํา นับตั้งแต,การปฏิรูปประเทศจีนภายหลังนาย สีเจี้ยนผิง ดํารง ตําแหน,งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต>จีนในป พ.ศ. 2555 นับเปIนช,วงเวลาที่ จีนมีการกวาดลางการทุจริตคอร>รัปชั่นในทุก ๆ ดาน จนกระทั่งมาถึง เหตุการณ>การปฏิวัติเพื่อแสดงเจตนารมณ>ในการปฏิรูปประเทศเพื่อขจัด การคอรัปชั่นในประเทศไทยในป พ.ศ. 2557 เหตุการณ>ทั้งสองลวนสะทอน ความคลายคลึงกันในส,วนหนึ่ง นั่นคือการสรางปรากฏการณ>เพื่อก,อร,างสังคม ยูโทเปย หรือสังคมแห,งอุดมคติในรูปของสังคมนิยมยูโทเปย (Utopian Socialist) ซึ่งแมทั้งสองเหตุการณ>จะมีความซับซอนและแตกต,าง หากแต,ก็มี เปpาประสงค>อย,างเดียวกันก็คือการสรางฐานการผลิตของระบบสังคมแบบ อุดมคติหรือสังคมแห,งเหตุผล (Rational Society)2 ภายใตฉลากของยูโทเปย ในคราบของวิธีการแบบสังคมนิยมซึ่งสะทอนการต,อสูทางชนชั้นส,วนหนึ่ง ทั้งนี้วัตถุประสงค>ของทั้งสองผูนําต,างก็มีบทสรุปที่สอดคลองกันนั่นคือ เพื่อความอยู,ดีกินดี ความเท,าเทียม และขจัดความอยุติธรรมทางสังคม แมทายที่สุดแลววิธีการ (Mean) ของสังคมนิยมยูโทเปยทั้งในแบบไทยและจีน ก็อาจจะไม,ไดมีความสมบรูณ>แบบอย,างที่มันควรจะเปIนเช,นที่กล,าวอางโดย โรด แมคแนร> (Rod McNair) ใน Why has Utopia Fail? ว,า “แต,เราทุกคน ต,างก็ปฏิเสธไม,ไดว,าเราต,างก็ถวิลหามัน” (McNair, 2006) 2 Rational Society ไดถูกนํามาใชจากฐานทฤษฎี Rationalization ของ Max Weber โดยเวปเบอร>มองว,าสังคมในช,วงหลังยุคสมัยนิยม (Modern) ไดมีการเปลี่ยนฐาน การตัดสินใจในเรื่องต,าง ๆ ของมนุษย>จากความคิด ความเชื่อ และวัฒนธรรม มาสู,ฐาน ความเชื่อที่ถูกตัดสินดวยเหตุผลที่ผ,านการทดลองทางวิทยาศาสตร> - 3 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) อย,างไรก็ตามสิ่งที่สะทอนใหเห็นจากทั้งสองเหตุการณ>ที่เกิดขึ้นในจีน และแมแต,ในประเทศไทยก็ตาม ต,างก็สะทอนใหเห็นเปลือกนอกที่มี ความคลายคลึงกันอยู,อย,างหนึ่งก็คือ เมื่อใดก็ตามที่สังคมประสบพบพากับ ความขัดแยงระหว,างชนชั้น (Class Struggle) หรือความแตกแยกทางสังคม สิ่งหนึ่งที่ดํารงตนอยู,อย,างมีเอกภาพก็คือการถวิลหาสังคมยูโทเปย อาจกล,าว ไดว,ายูโทเปยเปIนสิ่งที่ผูคนตองการ หากแต,การไดมาของมันกลับคลายเสน ขนานกับสภาพบรรยากาศของสังคมในรูปแบบปรกติ หรือแบบทุนนิยมจนไม, อาจมาบรรจบกันไดในโลกแห,งความเปIนจริง ทั้งนี้แมในขอเท็จจริงแลวยูโทเปยจะเปIนเพียงแค,เรื่องที่ถูกแต,งขึ้น จากจินตนาการของ เซอร> โทมัส มอร> แต,คําว,ายูโทปยก็ไดถูกนํามาใชอย,าง กวางขวางในการอธิบายสังคมที่ไดถูกตั้งใจสรางขึ้นเพื่อความเปIนอุดมคติและ สังคมแห,งความสุขอันเปIนสุดยอดปรารถนาของมนุษย> ดังนั้นจาก ยูโทเปย ต,อมาจึงไดถูกนําไปพัฒนาเปIนคําอื่นที่สะทอนแนวความคิดเช,นเดียวกันแต,ใน ความหมายที่แตกต,างออกไปเช,น ไดโทเปย (Dystopia) หรือสังคมที่เลวราย 3 เปIนตน ทั้งนี้ผูศึกษากลับมองว,าการฝ|นหรือการจินตนาการถึงสังคม ยูโทเปย อาจถือไดว,าเปIนความสุขอีกรูปแบบหนึ่งของมนุษย>ที่รังเกียจและผิดหวังกับ ชีวิตของตนที่ไดอาศัยอยู,ในโลกแห,งความเปIนจริงที่ตรงกันขามกันอย,างสิ้นเชิง กับสังคมยูโทเปย และถางานเขียนของมอร>ไม,ไดอยู,บนพื้นฐานของขอเท็จจริง 3 สังคมในจินตนาการ ถือว,าตรงกันขามกับแนวคิดสังคมแบบยูโทเปย คําว,า “ดิสโทเปย” นี้ ปกติถือว,าเปIนสภาพการควบคุมทางสังคมที่โหดราย รุนแรง พบว,าผูที่ใชคํานี้เปIน ครั้งแรกก็คือ จอห>น สจวร>ต มิลล> เมื่อ ค.ศ. 1868 โดยใชศัพท>ภาษากรีก หมายถึง สถานที่ซึ่งสิ่งต,าง ๆ ลวนเลวทรามแทนที่จะเปIนสถานที่ที่ดีงามที่มนุษย>สามารถ อยู,ร,วมกันไดอย,างมีความสุขเช,นในยูโทเปย - 4 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) และเปIนเพียงการเผยแพร,จินตนาการ งานของเขาก็อาจเปIนไดแค,เพียงนิยาย เรื่องหนึ่งเท,านั้น ก,อใหเกิดประเด็นคําถามตามมาว,า “แทจริงแลว ยูโทเปย คืออะไร และจินตนาการของ มอร> เคยถูกนํามาสรางสังคมแห,งอุดมคติในโลก มนุษย>ใหประสบความสําเร็จในช,วงระยะเวลาหนึ่งไดมากนอยเพียงใด” คําถามท7าทาย บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค>ที่จะศึกษาและทําความเขาใจ ความหมายของคําว,า ยูโทเปย ทั้งในอดีตจนถึงป|จจุบันในมิติต,าง ๆ ทาง สังคมศาสตร> นอกจากนี้ยังตองการตรวจสอบว,าในประวัติศาสตร>ของมนุษย>ที่ ไดพยายามสรางสังคมยูโทเปยขึ้นหลายครั้งหลายคราดวยกัน แทจริงแลว สังคมยูโทเปยเคยเกิดขึ้นหรือไม, เพื่อที่จะตอบคําถามทาทายนี้ผูเขียนไดทําการศึกษาจากเอกสาร จากการทบทวนขอมูลทุติยภูมิ อาทิ บทความทางวิชาการ หนังสือ งานวิจัย เวปไซด> และสิ่งพิมพ>ที่เกี่ยวของ โดยขอมูลไดถูกนํามาเรียบเรียง และนําเสนอ ดวยวิธีการเชิงพรรณนา เนื้อหา Utopia เปIนคําที่เกิดจากการผสมภาษากรีกอันมีตนกําเนิดมาจาก OU’ แปลว,า ไม, และ TO’NOC ที่แปลว,า สถาณที่ ซึ่งสามารถอ,านเปIน ภาษาอังกฤษไดว,า eutopia ซึ่งสามารถแปลไดว,าสถานที่แห,งความดีงาม หรือ good place น,าสังเกตว,า คําว,า ยูโทเปย ในภาษาอังกฤษ ออกเสียง เหมือนกันทุกประการกับ Eutopia (กรีก: Εὐτοπία [Eutopía]) มี ความหมายว,า “สถานที่ดี” (Lyman & Sargent, 2005, p. 11) โดยมากแลว - 5 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) คําว,ายูโทเปยมักถูกนํามาใชในความหมายของความเท,าเทียมทางสังคม เศรษฐกิจ และความเปIนธรรม ผ,านรากฐานความเปIนธรรมของระบบ โครงสรางทางสังคม (Lyman & Sargent, 2005, p. 11). แนวคิดเรื่องยูโทเปยและความชอบธรรมของสังคมอุดมคติภายใต ฐานรากของความเท,าเทียมทางสังคมปรากฏใหเห็นเด,นชัดในนวนิยายของ เซอร> โทมัส มอร> ในป ค.ศ. 1516 ซึ่ง มอร> เคยเขียนไวในคําแนบของหนังสือ เขาว,า “Wherfore not Utopie, but rather rightely my name is Eutopie, a place of felicitie” โดยมอร>หลีกเลี่ยงที่จะใชคําว,า Utopie (ไม,มีจริง) (Lyman & Sargent, 2005) และไม,ใชคําว,ายูโทเปย (Eutopia) ซึ่งหมายถึง สถานที่ที่ดี ดังนั้นเมื่อ มอร> กลับใชคําแผลงจาก ยูโทเปย เปIน อิวโทเปย (Eutopie) จึงทําใหน,าจะสรางสมมุติฐานไดว,า อิวโทเปย ของเขา อาจหมายถึง สถานที่แห,งความรื่นรมย>ซึ่งอาจไม,มีอยู,จริง (Demavivas, 2016) ทั้งนี้ในนวนิยายของ มอร> ไดกล,าวถึงสังคมอุดมคติที่อยู,ใน จินตนาการของ มอร> บนสังคมที่ตั้งอยู,ในเกาะแห,งหนึ่ง พบว,าแนวความคิด เรื่อง ยูโทเปย ของ มอร> มีความสอดคลองกับความเชื่อในพระคัมภีร>ไบเบิล ทางคริสต>ศาสนาที่มีการกล,าวถึงการเมืองและการเปลี่ยนแปลงถิ่นฐาน เนื่องมาจากภาวะน้ําท,วมใหญ,ที่ปรากฏอยู,ในปฐมบทอย,าง Genesis Nation Descended from Noah อยู,มากทีเดียว เนื่องมาจากช,วงหนึ่งของชีวิต มอร> เอง เขาก็เคยมีความพยายามที่จะรับใชศาสนาดวยการบวชเปIนพระในช,วงป ค.ศ. 1503-1504 ก,อนที่จะตัดสินใจเขารับใชประเทศในดานการเมืองแทน ในช,วงระยะเวลาถัดมา (Lodder & Kokkori, 2013, pp. 1-9) - 6 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปที่ 5 ฉบับที่ 2 (2559) แนวคิดเรื่อง ยูโทเปย หรือสังคมอุดมคตินั้นไดถูกอางถึงหลายครั้ง ดวยกันหากมีการกล,าวถึงสังคมที่สมบรูณ>แบบทั้งในแง,ความเชื่อของศาสนา วัฒนธรรม และสังคม ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลต,างมีความเชื่อมโยงอยู,กับฐานคิดของ สังคมอุดมคติที่เชื่อว,า มนุษย>ต,างเชื้อชาติ ศาสนา ฐานันดร และวัฒนธรรม ต,างก็สามารถดํารงชีวิตอยู,ร,วมกันอย,างปรกติสุข เติมเต็มซึ่งกันและกันทาง สังคม และถึงพรอมไปดวยความเท,าเทียม โดยทั่วไปแลว ยูโทเปย มักถูกนํามาใชในสังคมอุดมคติที่เต็มไปดวย ความเท,าเทียม เสรีภาพ และภารดรภาพทางความคิด สังคมที่มนุษย>สามารถ ดํารงชีวิตไดตามปรารถนาในทรัพยากรตามธรรมชาติที่ไม,มีวันหมดสิ้นไป (Sustainability) พบว,านับตั้งแต,อดีตจนถึงป|จจุบัน ยูโทเปย ไดถูกอางถึง หลายครั้งดวยกัน โดยเฉพาะในเวลาที่มนุษย>ประสบกับภาวะยากลําบากและ ขัดแยง นอกจากนี้ยังพบว,าการนํายูโทเปยมาใชทั้งในอดีตและป|จจุบันกลับ แสดงนัยถึงความวาดหวังถึงสังคมในโลกหนา หรือโลกอนาคต ที่ในบางครั้งก็ เหมือนจะเปIนเสนขนานกับโลกแห,งความเปIนจริง ดังจะสามารถอางอิงได ดังต,อไปนี้ Utopia ในมิติทางสังคมศาสตร ในหนังสือเรื่อง “สวรรค>บนดิน หรือ สวนสวรรค> Eden (The Earthly Paradise-Garden of Eden)” โดย Hieronymus Bosch’s; The Garden Earthly Delight ในหนังสือดังกล,าวเสนอทัศนะว,า แทที่จริงแลวยูโทเปยก็คือ แนวคิดเชิงอุดมคติเกี่ยวกับโลกอันสมบูรณ>แบบในสวนสวรรค>ที่มนุษย>ชาย หญิงคู,แรกไดอยู,ร,วมกันอย,างมีความสุขซึ่งก็คืออดัมและอีฟ จากนั้นเมื่ออีฟ ไดรับประทานผลไมตองหามและละเมิดคําสั่งของพระผูเปIนเจาบนสรวง สวรรค>จึงทําใหโลกที่สมบรูณ>แบบกลายเปIนโลกที่ไม,สมบรูณ>แบบไป - 7 - วารสารดานการบริหารรัฐกิจและการเมือง
Details
-
File Typepdf
-
Upload Time-
-
Content LanguagesEnglish
-
Upload UserAnonymous/Not logged-in
-
File Pages28 Page
-
File Size-