วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences)

ปที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561 Vol.13 No.2 July - December 2018 ISSN : 2286-7171

เจ้าของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วัตถุประสงค์ของการจัดพิมพ์วารสาร วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จัดท�าเป็นวารสารราย 6 เดือน (ปีละ 2 ฉบับ) มกราคม - มิถุนายน และ กรกฎาคม - ธันวาคม โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทรรศน์ และบทวิจารณ์หนังสือ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เช่น รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ พัฒนาชุมชน การบริหารและพัฒนาเมือง ประวัติศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ นาฏศิลปและการละคร ดนตรี นิติศาสตร์ ศิลปกรรม บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ การจัดการทั่วไป/คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การตลาด การท่องเที่ยวและการโรงแรม นิเทศศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บัญชี บริหารการศึกษา การศึกษาปฐมวัย หลักสูตรและการสอน เทคโนโลยีการศึกษา จิตวิทยาการศึกษา และ สาขาวิชาอื่น ๆ ตามการพิจารณาของกองบรรณาธิการ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางแลกเปลี่ยนข่าวสาร สาระส�าคัญ ประสบการณ์ด้านการวิจัยแก่นักวิจัย นักวิชาการ และบุคคลทั่วไป ที่สนใจ นโยบายการจัดพิมพ์ของวารสาร 1. บทความที่น�าเสนอเพื่อขอตีพิมพ์ ต้องเป็นบทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทรรศน์ หรือบทวิจารณ์ หนังสือ ซึ่งอาจเขียนได้ทั้งภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ 2. บทความที่จะได้รับการตีพิมพ์ต้องเขียนตามรูปแบบของ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ และต้องผ่านกระบวนการพิจารณากลั่นกรองโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องก่อน ทั้งนี้ บทความที่ตีพิมพ์ จะต้องเป็นบทความที่ยังไม่เคยรับการตีพิมพ์เผยแพร่มาก่อนหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากวารสารอื่น ๆ 3. บทความที่ตีพิมพ์/เผยแพร่ทุกบทความต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากผู้ประเมินบทความ (Peer Reviewed) ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่าสองท่านต่อหนึ่งบทความ ซึ่งทั้งผู้ประเมินบทความและผู้แต่ง จะไม่ทราบชืิ่อ ซึ่งกันและกัน (Double-blind Peer Review) โดยบทความที่ลงตีพิมพ์ได้นั้นจะต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ประเมินบทความ ทั้งสองท่านหรือสองในสามท่าน คณะที่ปรึกษา ดร.ถนอม อินทรก�าเนิด อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ศาสตราจารย์ ดร.สนิท อักษรแก้ว กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.ผดุงชาติ สุวรรณวงศ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร รองศาสตราจารย์ ดร.เปรื่อง กิจรัตน์ภร อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ศักดิ์ จักรกรณ์ ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ รัฐฉัตรานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.พิมลพรรณ เรพเพอร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย รองศาสตราจารย์ ดร.กุลทิพย์ ศาสตระจุริ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) รองศาสตราจารย์ ดร.ศิตา เยี่ยมขันติถาวร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัครพนท์ เนื้อไม้หอม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธาตรี ใต้ฟ้าพูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวนิต อรรถวุฒิกุล มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วลักษณ์กมล จ่างกมล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีร์ธนิกษ์ ศิริโวหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรองทอง จุลิรัชนีกร มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี อาจารย์ ดร.ชเนตตี ทินนาม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Dr.Sanjay B. Salunke Dr.Babasaheb Embedkar Marathwada University, Maharashtra (India) Dr.I Nyoman Sudiarta, SE., M.Par Udayana University, Bali (Indonesia) Anupama Dhavale Karnataka University, Karnataka (India) อาจารย์ ดร.ปรียา สมพืช มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์ ดร.สืบวงศ์ กาฬวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์ ดร.สราวุธ ณ พัทลุง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์ ดร.สุไม บิลไบ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์กัลยา นาคลังกา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์รุ่งทิพย์ ศรีโสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ประสานงานและเผยแพร่ นางเดือนเพ็ญ สุขทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวมัธนา เกตุโพธิ์ทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวศุภราพร เกตุกลม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวทัศนา ปิ่นทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวนวกมล พลบุญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวสุธารัตน์ จุ้ยเจริญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นายรัชตะ อนวัชกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นายจักรพันธ์ ก้อนมณี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ติดต่อกองบรรณาธิการ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรศัพท์/โทรสาร 0 - 2521 - 2288, 0 - 2521 - 1234 E-mail: [email protected] และ https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/login ก�ำหนดออก 2 ฉบับ ต่อ ปี (มกราคม - มิถุนายน และ กรกฎาคม - ธันวาคม) การเผยแพร่ ผู้ที่สนใจสามารถค้นหาที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/issue/archive พิมพ์ที่ หจก. ประยูรสาส์นไทย การพิมพ์ 44/132 ถ.ก�ำนันแม้น ซ.ก�ำนันแม้น 36 บางขุนเทียน จอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ : 0 - 2802 - 0377, 0 - 2802 - 0379, 08 - 1566 - 2540 บทบรรณาธิการ

วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561 ได้รวบรวม บทความเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการและการวิจัยในสาขา ที่เกี่ยวข้องกับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เนื้อหาสาระในวารสารฉบับนี้มีบทความจ�ำนวน 25 เรื่อง ทุกเรื่อง มีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหลากหลายสาขาอย่างมาก นอกจากนั้น ทุกบทความยังได้ผ่านการกลั่นกรองอย่างเข้มข้นจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร หวังเป็นอย่างยิ่งว่าวารสาร ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ทางวิชาการส�ำหรับนักวิชาการ นักวิจัย คณาจารย์ และ นักศึกษาต่อไป การจัดท�ำวารสารฉบับนี้ ส�ำเร็จได้ด้วยความร่วมมืออย่างดียิ่งจาก ผู้เขียน บทความ ผู้ทรงคุณวุฒิ กองบรรณาธิการ ตลอดจนบุคคลท่านอื่น ๆ ขอขอบพระคุณ เป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม บรรณาธิการวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ (Readers) ประจ�าวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)

ศาสตราจารย ดร.วัลลภ รัฐฉัตรานนท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รองศาสตราจารย ดร.ศิตา เยี่ยมขันติถาวร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย ดร.ศรุดา สมพอง มหาวิทยาลัยเวสเทิรน รองศาสตราจารย ดร.สุทธินันทน พรหมสุวรรณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รองศาสตราจารย ดร.นาตยา ปลันธนานนท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รองศาสตราจารย ดร.นพพร แหยมแสง มหาวิทยาลัยรามคําแหง รองศาสตราจารย ดร.คมสัน รัตนะสิมากูล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย รองศาสตราจารย ดร.อัศวิน เนตรโพธิ์แกว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) รองศาสตราจารยสุวัฒนา เลี่ยมประวัติ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปวีณา ลี้ตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิราพร ขุนศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธาตรี ใตฟาพูล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัฏฐมา นิลนพคุณ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธีรธนิกษ ศิริโวหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อริชัย อรรคอุดม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุชาดา พงศกิตติวิบูลย มหาวิทยาลัยบูรพา ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรนุช ลิมตศิริ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิชา แดงจํารูญ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูชวยศาสตราจารย ดร.วันชัย ปานจันทร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณรงคศักดิ์ จักรกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรินทร อินทพรหม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.จักรพันธ กิตตินรรัตน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.วณิฎา ศิริวรสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรวิทย ประสิทธิ์ผล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.เดชรัต สุขกําเนิด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศรัณยธร ศศิธนากรแกว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ดร.เจษฎา มิ่งฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ดร.นิสิต อินทมาโน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดร.วิชุดา พรายยงค มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ดร.พิชัย แกวบุตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ดร.พวงผกา สิทธิจันทร มหาวิทยาลัยทักษิณ ดร.นภัสนันท วินิจวรกิจกุล มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ดร.มนต ขอเจริญ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ดร.ปรัชญา เปยมการุณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.สืบวงศ กาฬวงศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.สุไม บิลไบ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.ณัฐดนัย สุภัทรากุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.จุฬาลักษณ ชาญกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.เกรียงไกร โพธิ์มณี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สารบัญ

หน้า บทบรรณาธิการ ...... A รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ ประจ�าวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ...... B สารบัญ ...... C บทความวิจัย

การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ส�าหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ...... 1 เดช บุญประจักษ ปรีชา จั่นกลา และ นฤนาท จั่นกลา การเปรียบเทียบวรรณยุกต์ภาษาผู้ไทในต�าบลเรณู อ�าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม กับหมู่บ้านสองเมืองใต้ แขวงค�าม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ...... 15 เกศนี คุมสุวรรณ และ วิภาวรรณ อยูเย็น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในจังหวัดหนองบัวล�าภู ...... 30 จิราภรณ หลาฤทธิ์ และ ภัทรธิรา ผลงาม การสร้างนักสื่อสารชุมชนท้องถิ่นในการเผยแพร่แผนชุมชน เพื่อธ�ารงรักษาปาชายเลน ต�าบลหัวเขา จังหวัดสงขลา ...... 42 เจริญเนตร แสงดวงแข และ สินี กิตติชนมวรกุล องค์ประกอบปัจจัยที่มีผลต่อความส�าเร็จของธุรกิจค่ายมวยไทย ...... 63 ชาญชัย ยมดิษฐ การเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นของสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ...... 82 ณัฐนันท วิริยะวิทย การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ...... 99 นงคนิตย จันทรจรัส เพียงจันทร มณีเนตร ศาสตรา มาพร และ สุรชัย จันทรจรัส สารบัญ

หน้า

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการท�างานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ ...... 115 โนรี มีกิริยา และ อุทัยรัตน แสนเมือง การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการ โดยใช้บริบทของชุมชน ...... 131 เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ การจัดการเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรมหาสวัสดิ์ อ�าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ...... 146 เพ็ญศรี ฉิรินัง อรุณ รักธรรม และ สมพร เฟองจันทร การสื่อสารเพื่อเพิ่มพลังคนไร้สัญชาติเพื่อการเข้าถึงสิทธิตามกฎหมาย ...... 160 ภัทรา บุรารักษ ปัจจัยพยากรณ์ความตั้งใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของพระสงฆ์เขตกรุงเทพมหานคร ...... 177 ศรัณยธร ศศิธนากรแกว การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของจังหวัดสงขลา ด้านอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE) ...... 191 สาลินี ทิพยเพ็ง เสรี วงษมณฑา ชุษณะ เตชคณา และ ชวลีย ณ ถลาง ยุทธศาสตร์การสร้างความร่วมมือของชุมชนเกิดใหม่เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดปทุมธานี ...... 207 อัครเดช เนตรสุวรรณ เกษมชาติ นเรศ เสนีย และ บุญเลิศ ไพรินทร การเรียนรู้สะเต็มศึกษาส�าหรับนักเรียนระดับอาชีวศึกษา ...... 223 ธิดารัตน เสือคง แนวทางการพัฒนาการเชื่อมโยงสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬา และนันทนาการ ของผู้ประกอบการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์และศรีสะเกษ ...... 243 นลินทิพย พิมพกลัด และ ภรณี หลาวทอง สารบัญ

หน้า

มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติการขอใบอนุญาตขับรถยนต์ส่วนบุคคล เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ...... 259 พรเพ็ญ ไตรพงษ และ พีร พวงมะลิต การบูรณาการโดยใช้ทฤษฎีและข้อมูลขับเคลื่อนการค้นหาตัวแบบภาวะผู้น�าระดับปฏิบัติการ ในองค์การที่บริหารด้วยวัฒนธรรมไทย ...... 275 ระพีพรรณ พิริยะกุล จริยาภรณ ศรีสังวาลย อินทกะ พิริยะกุล และ นภาพร ขันธนภา การปรับเปลี่ยนนโยบายแรงงานข้ามชาติสมัยรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ...... 293 หฤทัย จงวัฒนบัณฑิตย การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จากวรรณกรรมพื้นบ้าน ...... 309 อภิศักดิ์ คูกระสังข ภาวะผู้น�าในการพัฒนาเครือข่ายสินค้าหนึ่งต�าบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ในแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษาอ�าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ...... 322 วชิรวิทย วิชาสวัสดิ์ ศิลปะสื่อภาพถ่าย: ความรุนแรงในความสงัด ...... 337 วรพรรณ สุรัสวดี

บทความวิชาการ

ทศพิธราชธรรม : หลักธรรมอันพึงปฏิบัติส�าหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการประถมศึกษา ...... 356 ดาวใจ ดวงมณี และ เกรียงศักดิ์ ชยัมภร แนวทางในการสร้างสรรค์บรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวกในศตวรรษที่ 21 ส�าหรับครูมืออาชีพ ...... 373 สุมนา โสตถิผลอนันต การกระจายอ�านาจเปรียบเทียบประเทศเขตอนุภาคลุ่มแม่น�้าโขง ...... 390 วัชรินทร อินทพรหม วณิฎา ศิริวรสกุล และ ณัฏฐา เกิดทรัพย สารบัญ

หน้า

ภาคผนวก

ขั้นตอนการด�าเนินงานของการจัดท�า วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ...... 404 แบบฟอร์มเสนอบทความเพื่อพิจารณาน�าลงพิมพ์ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ...... 405 รายละเอียดการเตรียมบทความเสนอการตีพิมพ์ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ...... 407 PUBLISHING'S GUIDELINES ...... 419 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 1 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถ ในการแกปญหาอยางสรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน MATHEMATICAL LEARNING MANAGEMENT ENHANCING CREATIVE PROBLEM-SOLVING ABILITY OF LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTS เดช บุญประจักษ1* ปรีชา จั่นกลา2 และ นฤนาท จั่นกลา3 Dech Boonprajak,1* Preecha Junkla2 and Naruenat Junkla3

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2, 3 Faculty of Science and Technology, Phranakhon Rajabhat University, , Thailand1*, 2, 3

[email protected]*

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนา ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน และ 2) เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนตอการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรฯ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนตน โรงเรียนปากเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่เลือกเรียนกิจกรรมชุมนุมคณิตศาสตร ในชั่วโมงชุมนุม ปการศึกษา 2560 จํานวน 27 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก กิจกรรมการเรียนรู คณิตศาสตรฯ แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค และแบบสํารวจความ คิดเห็นของนักเรียนตอการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรฯ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก รอยละ คาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใชสถิติทดสอบที การวิจัย ดําเนินการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรฯ ยึดแนวทางและกระบวนการแกปญหาดวยวิธีการที่หลากหลาย ดวยกิจกรรมใหความรู ฝกทักษะแลวนําความรูและทักษะทางคณิตศาสตรไปใชแกปญหา ผาน กระบวนการแกปญหา และกิจกรรมที่กําหนดสถานการณปญหาแลวใหนักเรียนศึกษา เรียนรู และ หาแนวทางการแกปญหารวมกันเปนลักษณะของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน 2 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ผลการวิจัยพบวา 1. ผลของการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร ฯ ไดแก (1.1) ความสามารถในการ แกปญหาอยางสรางสรรค โดยรวมมีคาเฉลี่ยเลขคณิต 20.37 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.44 คาเฉลี่ย เลขคณิตโดยรวม คิดเปนรอยละ 67.90 ของคะแนนเต็ม 30 คะแนน (1.2) จํานวนนักเรียนที่สอบ ไดคะแนนความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค ตั้งแตรอยละ 60 ขึ้นไป มี 22 คน คิดเปน รอยละ 81.48 ซึ่งมากกวารอยละ 60 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด (1.3) เปรียบเทียบคาเฉลี่ยเลขคณิต ของคะแนนความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรคกับเกณฑรอยละ 60 พบวา สูงกวาเกณฑ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 2. ความคิดเห็นของนักเรียนตอการจัดการเรียนรูคณิต ศาสตรฯ โดยรวม นักเรียนเห็นดวยในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอ พบวา เห็นดวยในระดับมากทุกขอ

คําสําคัญ: การแกปญหา การแกปญหาอยางสรางสรรค การเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน

ABSTRACT The purposes of research were to (1) examine their learning outcomes by implementing the lesson plans, and (2) explore their opinions towards the implementation of the lesson plans. The sample was a group of 27 lower secondary school students who were mathematics club members, in 2017 academic year, in Pakkret School, Pakkret District, . The research instruments were the lesson plans aiming to enhance creative problem-solving ability, a test of creative problem-solving ability, and a questionnaire concerning students’ opinions about the implementation of the lesson plans. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test. The construction of the lesson plans aiming to enhance creative problem-solving ability, the researchers employed an approach highlighting an elicitation of different solving problem possibilities. The approach possessed two characteristics:(1) following 3 stages: presentation, practice, and production; and (2) featuring group-work problem-based learning. The findings were as follows: 1. As for the students’ learning outcome after the implementation of the lesson plans constructed on purpose to enhance creative problem- solving ability, it revealed as follows: (1.1) The mean score of the test measuring creative problem-solving ability was 20.37 out of 30 and its standard deviation was 3.44, accounting for 67.90 percent. (1.2) There were 22 students, accounting for 81.48 percent, whose scores of the test measuring creative problem-solving ability were greater than 60 percent. (1.3) The comparison between the students’ mean score and the criterion, which justified the Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 3 Vol.13 No.2 (July - December 2018) minimum passing scores of 60 percent, showed that the former was higher than the latter, at the significance level of 0.05. 2. The students had a high opinion in the overall about the implementation of the lesson plans. Likewise, they expressed a high opinion on every aspect.

Keywords: problem-solving, creative problem-solving, problem-based learning

บทนํา จากการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของ แกปญหาอยางไร เมื่อแกปญหาไมไดก็มักจะรอ สังคมโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งการเปลี่ยนแปลง ใหมีคนมาชวยเหลือ ขาดการรูจักการเรียนรู ทางดานวิทยาการเทคโนโลยีและการสื่อสาร ซึ่งเปน ดวยตนเอง ขาดการพึ่งตนเอง จากปญหาดังกลาว ปจจัยผลักดันสําคัญที่ทําใหโลก “ไรพรมแดน” ขางตน สะทอนใหเห็นวาการสอนใหเกิดความรู พลโลกมีการติดตอสัมพันธกันไดอยางสะดวก ไมเพียงพอตอการนําไปใชและแกปญหา ดังนั้น และรวดเร็ว กระแสโลกาภิวัฒนนําโลกเขาสูยุค การพัฒนาผูเรียนใหเปนคนที่มีความพรอม แหงการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจ สังคมและ สําหรับสังคมในอนาคต จําเปนตองพัฒนาใหเขา การเมืองระหวางประเทศใหม มีผลกระทบตอ มีทั้งความรู ทักษะและประสบการณในการ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมความเปนอยูของทุกชาติ นําความรูไปใชแกปญหา รูวิธีการเรียนรูและ ทุกภาษา การเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ สงผล สามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต ใหหลายประเทศตระหนักถึงความอยูรอดของ การจัดการเรียนรูคณิตศาสตรทุกระดับ ตนเอง จึงมีการวางแผนและเตรียมการเสริมสราง มีเปาหมายที่สําคัญ เพื่อพัฒนาใหผูเรียนมี ศักยภาพใหกับประชาชนใหเปนมนุษยที่มี ความรู ทักษะและความสามารถทางคณิตศาสตร สติปญญา (knowledge worker) มีวิจารณญาณ ที่จําเปนสําหรับการประยุกตใชในชีวิตจริงได (critical thinking) มีการเรียนรูตลอดชีวิต กิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตรจะเปนเครื่องมือ (lifelong learning) และมีทักษะในการใช พัฒนาคุณลักษณะที่สําคัญของผูเรียน ไดแก เทคโนโลยีสารสนเทศ การคิดวิเคราะห การคิดสรางสรรค การแก การจัดการเรียนรูที่ผานมาเปนการสอน ปญหา การหาเหตุผล การเชื่อมโยงความรู และ หรือใหความรูโดยครูเปนหลัก และมักเปนความรู การสื่อสารความรูและแนวคิดทางคณิตศาสตร เดี่ยว ๆ ขาดการสัมพันธเชื่อมโยงความรู ขาดการ ซึ่งคุณลักษณะที่ไดจากการเรียนรูคณิตศาสตร คิดวิเคราะห/สังเคราะห ขาดการประยุกตใชความรู ขางตนจะเปนทักษะที่สําคัญในการดําเนินชีวิต ขาดการลงมือปฏิบัติ และขาดการเชื่อมโยงกับ และเปนพื้นฐานของการเรียนรูศาสตรตาง ๆ ทั้ง สถานการณที่สัมพันธกับชีวิตจริง เมื่อเผชิญ วิทยาศาสตรและสังคมศาสตร ปญหาก็มักจะแกปญหาไมได ไมรูวาจะเริ่มตน 4 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ความสําเร็จของการจัดการเรียนรู สามารถทางคณิตศาสตรที่จําเปนที่สามารถ คณิตศาสตร พิจารณาไดจากการบรรลุเปาหมาย นําไปใชในการแกปญหาได ซึ่งการแกปญหา ที่กําหนดไว ซึ่งตัวบงชี้ความสําเร็จ คือ ผลการ ธรรมดาอาจยังไมเพียงพอสําหรับสังคมที่มีความ ประเมินตาง ๆ เชน การประเมินระดับชาติ (O – net) ซับซอนและมีการแขงขันสูง การแกปญหาอยาง พบวา ผลการประเมินทั้งระดับประถมศึกษาและ สรางสรรคหรือมีแนวทางการแกปญหาที่หลากหลาย ระดับมัธยมศึกษา ตํ่ากวาเกณฑการประเมิน และแปลกใหมมีความสําคัญอยางยิ่ง การพัฒนา ขั้นผาน (NIETS, 2016) และจากการประเมิน ผูเรียนใหมีทั้งความรู ทักษะและความสามารถ โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ในการแกปญหา รวมทั้งการแกปญหาอยาง (Programme for International Student สรางสรรค จําเปนตองไดรับการวางแผนการพัฒนา Assessment หรือ PISA) ของ Organization อยางเปนระบบ ผานกระบวนการวิจัย เริ่มตั้งแต for Economic Co-operation and Development การศึกษาปญหาในการจัดการเรียนรู การเตรียม (OECD) พบวา ผลการประเมินในป 2555 หรือ เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู และแนวทางการ PISA 2012 คะแนนเฉลี่ยของ OECD เทากับ 494 พัฒนาการเรียนรู แลวดําเนินการศึกษา วิจัย คะแนน เด็กไทยไดคะแนนเฉลี่ย 427 คะแนน อยูใน เพื่อใหไดองคความรูใหม การวิจัยครั้งนี้ กําหนด อันดับที่ 50 จากทั้งหมด 65 ประเทศ ซึ่งคาเฉลี่ย วัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้ ของเด็กไทยอยูในกลุมตํ่า นักเรียน มีความรูและ ทักษะคณิตศาสตรตํ่ากวาพื้นฐานถึงรอยละ 50 วัตถุประสงคการวิจัย (ขณะที่เซี่ยงไฮ – จีน มีคาเฉลี่ยตํ่ากวาพื้นฐาน การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนา รอยละ 4 และสิงคโปร มีคาเฉลี่ยตํ่ากวาพื้นฐาน ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค รอยละ 8) นักเรียนไทยรูคณิตศาสตรในระดับสูง สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน โดยเฉลี่ยมีเพียงรอยละ 0.5 (ขณะที่เซี่ยงไฮ – จีน มีวัตถุประสงค ดังนี้ มีคาเฉลี่ยในระดับสูงถึงรอยละ 31 และสิงคโปร 1. เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู มีคาเฉลี่ยในระดับสูงถึงรอยละ 19) เมื่อพิจารณา คณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถในการ รายละเอียดของเนื้อหาสาระ พบวา เด็กไทยมี แกปญหาอยางสรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับ จุดออนที่สุดคือ กระบวนการคิด วิธีการคิดหรือ มัธยมศึกษาตอนตน การคิดใหเปนคณิตศาสตร การพัฒนาคุณภาพ 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน การจัดการเรียนรูใหสอดคลองและบรรลุเปาหมาย ตอการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนา ของการจัดการเรียนรูในยุคศตวรรษที่ 21 จําเปน ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค ตองพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ทักษะและความ สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 5 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สมมติฐานของการวิจัย ประชากรในการวิจัย ความสามารถในการแกปญหาอยาง ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ สรางสรรคของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน ของโรงเรียน สูงกวาเกณฑรอยละ 60 อยางมีนัยสําคัญทาง ในเขตพื้นที่ใหบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ สถิติที่ระดับ 0.05 พระนคร กลุมตัวอยางในการวิจัย กรอบแนวคิดของการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ การจัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่มุง นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียน พัฒนาความรู ทักษะและความสามารถทาง ปากเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี คณิตศาสตร เพื่อนําไปสูการพัฒนาทักษะและ ที่เลือกเรียนกิจกรรมชุมนุมคณิตศาสตร ในชั่วโมง ความสามารถที่สําคัญสําหรับสังคมยุคปจจุบัน ชุมนุม ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2560 และอนาคต โดยเฉพาะความสามารถในการ จํานวน 1 หมูเรียน มีนักเรียน จํานวน 27 คน แกปญหาอยางสรางสรรค จึงกําหนดกรอบแนวคิด เนื้อหาในการวิจัย ในการดําเนินการวิจัย เพื่อพัฒนาและหาแนวทาง เนื้อหาที่ใชในการวิจัย คือ สถานการณ การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร ดังนี้ ปญหาที่ใชในการพัฒนาความสามารถในการ

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร ผลการการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรฯ ประกอบดวย เพื่อพัฒนาความสามารถในการ - ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค แกปญหาอยางสรางสรรค สําหรับ - ความคิดเห็นตอการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรฯ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน 6 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

แกปญหาอยางสรางสรรคเปนปญหาที่ใชความรู วิชาคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนตน และทักษะทางคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษา จํานวน 8 คน แลวสรุปประเด็นปญหาและความ ตอนตนเปนพื้นฐาน ประกอบดวย ปญหาเกี่ยวกับ ตองการการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร จํานวนและการดําเนินการ ปญหาเกี่ยวกับเรขาคณิต ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู และรูปเรขาคณิต ปญหาเกี่ยวกับพีชคณิตและ คณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถในการ ปญหาที่เนนทักษะการคิดวิเคราะห และปญหา แกปญหาอยางสรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับ เกี่ยวกับสถานการณที่เกี่ยวของกับชีวิตจริง มัธยมศึกษาตอนตน เปนการนําขอสรุปที่ไดจาก เครื่องมือที่ใชในการทดลองและการ ขั้นตอนที่ 1 มาประกอบการพิจารณาออกแบบ เก็บรวบรวมขอมูล ประกอบดวย กิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตร 1. กิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อ ขั้นตอนที่ 3 พัฒนากิจกรรมการเรียนรู พัฒนาความสามารถในการแกปญหาอยาง คณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถในการ สรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา แกปญหาอยางสรางสรรค สําหรับนักเรียน ตอนตน จํานวน 8 ชุด ระดับมัธยมศึกษาตอนตน โดยนํากิจกรรมการ 2. แบบทดสอบวัดความสามารถในการ เรียนรูคณิตศาสตร มาทบทวนและตรวจสอบ แกปญหาอยางสรางสรรค และ ความเหมาะสมของภาษา ความยากงายของ 3. แบบสํารวจความคิดเห็นของนักเรียน กิจกรรม และความเหมาะสมกับระดับชั้น โดยครู ตอการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนา ผูสอนระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 5 คน ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค พรอมปรับปรุงแกไข กอนนํามาจัดการเรียนรู สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน คณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถในการ ขั้นตอนดําเนินการวิจัย แกปญหาอยางสรางสรรค การวิจัย “การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร ขั้นตอนที่ 4 จัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถในการแกปญหาอยาง เพื่อพัฒนาความสามารถในการแกปญหาอยาง สรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา สรางสรรค กับนักเรียนกลุมตัวอยาง ระหวาง ตอนตน” แบงขั้นตอนการดําเนินการวิจัยออกเปน ดําเนินการทดลองไดเก็บรวบรวมขอมูล แลวนํา 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขอมูลที่ไดมาวิเคราะหหาประสิทธิผลและสรุป ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาปญหาและความ เปนรายงานการวิจัย ตองการการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนา การวิเคราะหขอมูล ความรู ทักษะ และความสามารถในการแกปญหา 1. วิเคราะหความสามารถในการ ทางคณิตศาสตร เปนการศึกษาปญหาและความ แกปญหาอยางสรางสรรค โดยใชการวิเคราะห ตองการของครูในการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร คารอยละ คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบน โดยการสัมภาษณและประชุมกลุมยอยครูผูสอน มาตรฐาน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 7 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2. เปรียบเทียบคาเฉลี่ยเลขคณิตของ แลวใหนักเรียนศึกษา เรียนรู และหาแนวทางการ คะแนนความสามารถในการแกปญหาอยาง แกปญหารวมกันเปนลักษณะของการเรียนรูที่ใช สรางสรรค หลังการทดลองกับเกณฑรอยละ 60 ปญหาเปนฐาน (problem based learning) โดยใชการทดสอบที ผลการวิจัยพบวา 3. วิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียน 1. ผลของการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร ตอการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรฯ โดยใชการ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแกปญหาอยาง วิเคราะห คารอยละ คาเฉลี่ยเลขคณิตและ สรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานแลวเทียบคาเฉลี่ยกับเกณฑ ตอนตน 1.1 ความสามารถในการแกปญหา สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย อยางสรางสรรค ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา สรุปผลการวิจัย ตอนตน ซึ่งไดมาจากการทดสอบหลังจากไดผาน เมื่อศึกษาปญหาและความตองการ การพัฒนาความสามารถในการแกปญหาอยาง การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนา สรางสรรคสิ้นสุดลง พบวา ความสามารถในการ ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค แกปญหาอยางสรางสรรค ของนักเรียนระดับ แลวนําขอมูลที่ไดมาออกแบบการจัดการเรียนรู มัธยมศึกษาตอนตน โดยรวม มีคาเฉลี่ยเลขคณิต คณิตศาสตรฯ ซึ่งไดแนวทางและกระบวนการ 20.37 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.44 คาเฉลี่ย เรียนรูที่เนนการแกปญหาดวยวิธีการที่หลากหลาย เลขคณิตโดยรวม คิดเปนรอยละ 67.90 โดยเริ่มจากการเลือกปญหาที่ใหความรู ฝกทักษะ 1.2 สัดสวนของจํานวนนักเรียน แลวนําความรูและทักษะทางคณิตศาสตรไปใช ที่สอบไดคะแนนความสามารถในการแกปญหา แกปญหา ผานกระบวนการแกปญหา จากนั้น อยางสรางสรรค ตั้งแตรอยละ 60 ของคะแนนเต็ม จึงเปนกิจกรรมที่กําหนดสถานการณปญหา แสดงผลไดดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 สัดสวนของจํานวนนักเรียนที่สอบไดคะแนนความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค ตั้งแตรอยละ 60 ของคะแนนเต็ม

จํานวน จํานวนนักเรียน (คน) รอยละของจํานวนนักเรียน คะแนน นักเรียน ที่ไดคะแนนตั้งแตรอยละ 60 ที่ไดคะแนนตั้งแตรอยละ 60 (คน) ของคะแนนเต็ม ของคะแนนเต็ม

ความสามารถในการ แกปญหาอยางสรางสรรค 27 22 81.48 8 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

จากตารางที่ 1 พบวา นักเรียนที่ไดคะแนน จากตารางที่ 2 พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิต ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค ของคะแนนความสามารถในการแกปญหาอยาง ตั้งแตรอยละ 60 ขึ้นไป (18 คะแนน ขึ้นไป จาก สรางสรรค เทากับ 20.37 และเมื่อเปรียบเทียบ คะแนนเต็ม 30 คะแนน) มีจํานวน 22 คน คิดเปน กับเกณฑรอยละ 60 ดวยสถิติทดสอบที พบวา รอยละ 81.48 ซึ่งมากกวารอยละ 60 ของจํานวน สูงกวาเกณฑ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ นักเรียนทั้งหมด 0.05 1.3 ทดสอบสมมติฐานการวิจัย 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการ โดยเปรียบเทียบคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนน เรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถ ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค ในการแกปญหาอยางสรางสรรค สําหรับนักเรียน ของนักเรียนกับเกณฑรอยละ 60 ของคะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เต็ม โดยใชการทดสอบที ปรากฏผลดังตารางที่ 2 เมื่อสิ้นสุดการทดลองไดสํารวจความ คิดเห็นของนักเรียน ไดผลดังตารางที่ 3

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนความสามารถในการแกปญหาอยาง สรางสรรคกับเกณฑรอยละ 60 (18 คะแนน)

กลุมตัวอยาง S.D. t Sig.

นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน 20.37 3.44 3.57 .001

* ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 df = 26 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 9 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถในการ แกปญหาอยางสรางสรรค ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน

จํานวน (รอยละ) ขอที่ รายการประเมิน ในแตละระดับความคิดเห็น S.D. แปลผล มากที่สุด มาก ปานกลาง เห็นดวยระดับ 1 กิจกรรมการเรียนสนุกนาสนใจ 3 12 12 3.66 .679 มาก (11.1) (44.4) (44.4) 2 กิจกรรมทาทายความสามารถ 9 15 3 4.22 .640 มาก (33.3) (55.6) (11.1) 3 กิจกรรมมีระดับความยากงายเหมาะสม 2 11 14 3.56 .640 มาก (7.4) (40.7) (51.9) 4 การอธิบายชัดเจน มีลําดับขั้นตอน 10 13 4 4.22 .697 มาก เขาใจงาย ไดใจความ (37.0) (48.1) (14.8) 5 การใชภาษาที่งายตอความเขาใจ 13 10 4 4.33 .733 มาก (48.1) (37.0) (14.8) 6 นักเรียนมีสวนรวมและมีโอกาส 10 13 4 4.22 .697 มาก ไดทํากิจกรรมรวมกับผูอื่น (37.0) (48.1) (14.8) 7 นักเรียนมีโอกาสซักถาม 15 10 2 4.44 .751 มาก และแสดงความคิดเห็น (55.6) (30.7) (7.4) 8 นักเรียนมีเวลาไดคิดและคิดอยางอิสระ 8 11 8 3.96 .854 มาก (29.6) (40.7) (29.6) 9 นักเรียนไดมีโอกาสไดวิเคราะห 10 14 3 4.26 .655 มาก หาเหตุผลและแกปญหา (37.0) (51.9) (11.1) 10 นักเรียนมีโอกาสไดคิดหาคําตอบ 15 9 3 4.41 .797 มาก ที่หลากหลาย และไดคิด (55.6) (33.3) (11.1) อยางสรางสรรค รวม 95 118 57 4.13 .458 มาก (35.19) (43.70) (21.11)

จากตารางที่ 3 พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิต พบวา เห็นดวยในระดับมากทุกขอ ขอที่มีคาเฉลี่ย ของความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู เลขคณิตสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ ขอ 7 นักเรียน คณิตศาสตร เพื่อการพัฒนาความสามารถในการ มีโอกาสซักถามและแสดงความคิดเห็น ( = 4.44, แกปญหาอยางสรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับ S.D. = 0.75) รองลงมาคือ ขอ 10 นักเรียนมีโอกาส มัธยมศึกษาตอนตน โดยรวม เห็นดวยในระดับมาก ไดคิดหาคําตอบที่หลากหลาย และไดคิดอยาง ( = 4.13 , S.D. = 0.45) เมื่อพิจารณารายขอ สรางสรรค ( = 4.41, S.D. = 0.79) และ ขอ 5 10 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การใชภาษาที่งายตอความเขาใจ ( = 4.33, S.D. ปญหาเปนฐาน (problem - based learning) = 0.73) ตามลําดับ สวนขอที่มี คาเฉลี่ยเลขคณิต (Kamanee, 2007)) ตํ่าที่สุด คือ ขอ 3 กิจกรรมมีระดับความยากงาย 1. ผลของการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เหมาะสม ( = 3.56, S.D. = 0.64) เพื่อพัฒนาความสามารถในการแกปญหาอยาง อภิปรายผลการวิจัย สรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จากสรุปผลการวิจัย ความคิดเห็น และ ตอนตน ผลการวิจัยที่เกี่ยวของ นํามาอภิปราย ไดดังนี้ 1.1 ความสามารถในการแกปญหา การพัฒนาความสามารถในการแก อยางสรางสรรค ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปญหาอยางสรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับ ตอนตน โดยรวมมีคาเฉลี่ยเลขคณิต 20.37 มัธยมศึกษาตอนตน ใชกิจกรรมการแกปญหา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.44 คาเฉลี่ยเลขคณิต ที่เกี่ยวของและใชความรูเนื้อหาสาระที่กําหนด ของคะแนนความสามารถในการแกปญหาอยาง ในหลักสูตร ประกอบดวย การแกปญหาเกี่ยวกับ สรางสรรค คิดเปนรอยละ 67.90 ทั้งนี้อาจเปน จํานวนและการดําเนินการ การแกปญหาเกี่ยวกับ เพราะการพัฒนาความสามารถในการแกปญหา เรขาคณิตและรูปเรขาคณิต การแกปญหาเกี่ยวกับ อยางสรางสรรค มีขั้นตอนกระบวนการพัฒนา พีชคณิตและการคิดวิเคราะห และการแกปญหา อยางเปนระบบและไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง ที่เกี่ยวของเชื่อมโยงกับชีวิตจริง สวนแนวทาง ในระยะเวลาที่ยาวนานพอ (8 สัปดาห) และ การพัฒนา จะเนนการพัฒนาผานกระบวนการ กิจกรรมที่ใชพัฒนา เปนกิจกรรมที่เริ่มจาก แกปญหาที่เปนการแกปญหาดวยวิธีการที่ ใหความรู ฝกทักษะ ฝกการคิดวิเคราะหและ หลากหลายแกปญหาหลายขั้นตอน ตลอดจน หาแนวทางการแกปญหา แลวจึงนําความรู การตอยอดการแกปญหาจากปญหาเดิม กิจกรรม และทักษะเหลานั้นไปใชในการแกปญหา และ การเรียนรูจะเปนกิจกรรมที่ใหความรู ฝกทักษะ ยังเปดโอกาสใหนักเรียนไดพัฒนาความสามารถ และนําความรูและทักษะทางคณิตศาสตรไปใช ในการแกปญหา จากสถานการณปญหาที่ให แกปญหา ผานกระบวนการแกปญหา จากนั้น นักเรียนไดศึกษา วิเคราะห และฝกหาแนวทาง จะกําหนดสถานการณปญหา แลวใหนักเรียน การแกปญหารวมกัน เปนแนวทางการเรียนรู ศึกษา สืบคนหาความรู และหาแนวทางการ โดยใชปญหาเปนฐาน ที่นักเรียนตองศึกษา แกปญหา กิจกรรมดังกลาวจะทําใหนักเรียน วิเคราะห และใชความรูในการแกปญหา ใชเทคนิค ไดคิด วิเคราะหและแกปญหา ทั้งการแกปญหา วิธีการแกปญหาที่หลากหลาย สงผลใหนักเรียน รายบุคคลและแกปญหารวมกัน จะทําใหเกิด เกิดความรู ทักษะและประสบการณในการคิด การเรียนรู เกิดความอยากรู อยากหาคําตอบ วิเคราะห และแกปญหา เกิดการเชื่อมโยงความรู เกิดทักษะ กระบวนการคิด และกระบวนการ ไดใชเหตุผลในการคิด วิเคราะหและหาแนวทาง แกปญหา ตามลักษณะของการเรียนรูโดยใช ในการหาคําตอบของปญหา สอดคลองกับ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 11 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ลักษณะของการจัดการเรียนรูโดยใชปญหา (Pimwan, 2006) ที่ศึกษาการสรางชุดการเรียน เปนฐานที่กลาววา ความสําเร็จในการแกปญหา การสอนที่ใชปญหาเปนฐาน เรื่องพื้นที่ผิว กับ ไมไดขึ้นอยูกับการมีความรูในตัวเพียงอยางเดียว นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนศรีสุขวิทยา แตจะขึ้นอยูกับการเลือกใชวิธีการในการแก ที่พบวา นักเรียนที่เรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน ปญหา (Gizrelears, 1936) และสอดคลองกับ มีผลการเรียนผานเกณฑรอยละ 60 ของคะแนนเต็ม ผลการศึกษาของ เอลเซฟเฟ (Elshafei, 1998) และมีจํานวนมากกวารอยละ 60 ของจํานวน ที่พบวา การจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน นักเรียนทั้งหมด สรางสรรคองคความรูไดดวยตนเอง มีการ 1.3 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยเลขคณิต รวมกลุมกันแกปญหาและสามารถคิดคนวิธี ของคะแนนความสามารถในการแกปญหาอยาง การแกปญหาไดดีกวาการจัดการเรียนรูตาม สรางสรรค ของนักเรียนกับเกณฑรอยละ 60 ปกติ และสอดคลองกับผลการศึกษาของ เซเรโซ พบวา สูงกวาเกณฑ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (Cerezo, 2004) ที่พบวา การจัดการเรียนรูโดยใช ที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเปนเพราะ การพัฒนา ปญหาเปนฐานสรางความเชื่อมั่นใหกับผูเรียน ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค และการทํางานกลุมสรางแรงกระตุนใหกับผูเรียน ที่ดําเนินการตามขอ 1.1 สงผลใหนักเรียน และผูเรียนสามารถแกปญหาที่มีความซับซอน ทําคะแนนความสามารถในการแกปญหาอยาง ไดสําเร็จ สรางสรรคไดในระดับสูงจํานวนมาก และเมื่อ 1.2 สัดสวนของจํานวนนักเรียนที่ เปรียบเทียบคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนความ สอบไดคะแนนความสามารถในการแกปญหา สามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค กับ อยางสรางสรรค ตั้งแตรอยละ 60 ขึ้นไป (มากกวา เกณฑรอยละ 60 จึงพบวา สูงกวาเกณฑอยาง 18 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน) มีจํานวน มีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับผลการศึกษา 22 คน คิดเปนรอยละ 81.48 ซึ่งมากกวารอยละ 60 ของ เมธาวี พิมวัน (Pimwan, 2006) ที่ศึกษา ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด ทั้งนี้อาจเปนเพราะ การสรางชุดการเรียนการสอนที่ใชปญหาเปนฐาน ผลการพัฒนาความสามารถในการแกปญหา เรื่องพื้นที่ผิว กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 อยางสรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับมัธยม โรงเรียนศรีสุขวิทยา ที่พบวา นักเรียนที่เรียนรู ศึกษาตอนตน ตามขอ 1.1 สงผลใหนักเรียน โดยใชปญหาเปนฐานมีผลการเรียนผานเกณฑ เกิดการเรียนรู เกิดความรู ความเขาใจใน รอยละ 60 ของคะแนนเต็ม และสอดคลอง กระบวนการแกปญหา และเกิดทักษะจนสามารถ กับผลการศึกษาของ รังสรรค ทองสุขนอก แกปญหาไดดี ทําใหนักเรียนสอบไดคะแนน (Thongsugnok, 2004) ที่ศึกษาการสรางชุด ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค การเรียนการสอนที่ใชปญหาเปนฐานในการ อยูในระดับสูง เปนจํานวนมากถึงรอยละ 81.48 เรียนรู เรื่องทฤษฎีจํานวนเบื้องตน กับนักเรียน สอดคลองกับผลการศึกษาของ เมธาวี พิมวัน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนเมืองคง อําเภอคง 12 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

จังหวัดนครราชสีมา พบวา นักเรียนที่เรียนโดยใช อยูในระดับมาก และรายขอคําถามทุกขออยูใน ชุดการเรียนการสอนที่ใชปญหาเปนฐานในการ ระดับมากทุกขอ สอดคลองกับผลการศึกษาของ เรียนรูมีผลการเรียนผานเกณฑรอยละ 60 ของ เมธาวี พิมวัน (Pimwan, 2006) ที่ศึกษาการสราง คะแนนเต็ม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ชุดการเรียนการสอนที่ใชปญหาเปนฐาน เรื่อง 0.01 พื้นที่ผิว กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียน 2. จากการวิเคราะหความคิดเห็นของ ศรีสุขวิทยา ที่พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจตอ นักเรียนตอการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อการ การเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐานอยูในระดับมาก พัฒนาความสามารถในการแกปญหาอยาง ขอสังเกตจากการวิจัย สรางสรรค สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 1. การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อ ตอนตน พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิตของความคิดเห็น พัฒนาความสามารถในการแกปญหาอยาง โดยรวมเห็นดวยในระดับมาก เมื่อพิจารณา สรางสรรคระยะแรก ๆ นักเรียนยังไมกลาแสดง รายขอ พบวา เห็นดวยในระดับมากทุกขอ อาจเปน ความคิดของตนเอง ไมกลาคิดออกมาวาตนเอง เพราะการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพื่อพัฒนา คิดอยางไร เพราะเกรงวาจะคิดผิด ผูสอนได ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค อธิบายถึงแนวคิด วิธีการคิด ตลอดจนการ เปนการจัดกิจกรรมที่มุงใหนักเรียนไดเรียนรู แสดงออกซึ่งความคิดของตนเองวา สิ่งที่ทุกคนคิด ฝกทักษะและฝกแกปญหาทั้งที่เปนการเรียนรู นั้นอยูบนพื้นฐานความรูและประสบการณของ รายบุคคลและเรียนรูรวมกัน โดยเฉพาะการเรียนรู แตละคน หากแสดงความคิดออกมา จะทําใหรูวา รวมกัน นักเรียนไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู สิ่งที่ตนเองคิดนั้นถูกตอง เหมาะสม เปนเหตุ ความคิดกัน ไดถกเถียงกัน ไดใหเหตุผลตอกัน เปนผลหรือไม ซึ่งทั้งหมดสามารถอธิบายได ทําใหเกิดความรู ความเขาใจอยางแทจริง โดยใชความรู ถาหากคิดผิด ก็ไมไดเสียหายอะไร เมื่อถึงเวลาแกปญหาก็สามารถใชความรู จะไดรูวาผิดอยางไรและที่ถูกตองควรเปนอยางไร และประสบการณจากการเรียนรูรวมกันไปใช เพราะอะไร จะไดแกไข หรือปรับแนวคิดใหม แกปญหาได และการจัดการเรียนรูยังเปดโอกาส จากนั้นนักเรียนก็เริ่มที่จะแสดงความคิดของ ใหนักเรียนซักถาม แสดงความคิดเห็น ไดนําเสนอ ตนเอง พรอมตรวจสอบกับเพื่อน ๆ วา สิ่งที่ตนเอง ไดคิดหาคําตอบดวยวิธีที่หลากหลาย สงผลตอ คิดนั้นถูกหรือไม ไมถูกเพราะอะไร และที่ถูก ความคิดสรางสรรค และกิจกรรมที่ใชพัฒนา ควรเปนอยางไร เปนกิจกรรมที่คํานึงถึงพื้นฐานที่ตองใชในการคิด 2. ควรใหนักเรียนไดฝกเรียนรูและแก แกปญหาและยังเปนกิจกรรมที่มีความยากงาย ปญหารวมกันใหมาก ๆ เพราะการแกปญหา พอเหมาะ สงผลใหนักเรียนมีความคิดเห็นตอ รวมกัน จะเกิดการเรียนรูกระบวนการตาง ๆ เชน การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความ กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการคิด สามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค โดยรวม กระบวนการแกปญหา กระบวนการกลุม จะทําให Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 13 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน อันจะ ที่นักเรียนมีพื้นฐานและสามารถแกปญหาได กอใหเกิดทางเลือกที่หลากหลายในการแกปญหา แลวคอย ๆ เพิ่มความยากหรือความซับซอนของ และตัดสินใจ ปญหาที่ละนอย อยางเหมาะสม 3. การแกปญหาอยางสรางสรรค 3. การแกปญหารวมกัน จะชวยให สามารถพัฒนาไดโดยเริ่มจากการแกปญหา นักเรียนมีแนวทางการคิดที่หลากหลาย ชวยลด ทางคณิตศาสตร แลวปรับรูปแบบ วิธีการคิด ความวิตก กังวลและสรางความมั่นใจในการ และคิดดวยวิธีการที่หลากหลาย ซึ่งการแกปญหา แกปญหา และเมื่อนักเรียนแกปญหาได จะทําให อยางสรางสรรค สามารถพัฒนาไดทั้งทางตรง อยากเรียนรู อยากแกปญหา เกิดความกระตือรือรน โดยการสอนหรือการฝกอบรม และทางออม และมีความมั่นใจในการแกปญหา โดยการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอมที่สงเสริม ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยตอไป ความเปนอิสระในการเรียนรู การพัฒนาตอง 1. ควรศึกษารูปแบบและวิธีการพัฒนา คอยเปนคอยไปและใชเวลา และตองพัฒนา ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค อยางตอเนื่อง ดวยวิธีการอื่น ๆ นอกจากการใชปญหาเปนฐาน 2. ควรศึกษารูปแบบและวิธีการพัฒนา ขอเสนอแนะ ความสามารถในการแกปญหาอยางสรางสรรค ขอเสนอแนะสําหรับการเรียนการสอน กับนักเรียนระดับชั้นอื่น ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง 1. การพัฒนาความสามารถในการ ระดับชั้นประถมศึกษาและมีการพัฒนาอยาง แกปญหา ควรใหนักเรียนไดฝกการคิด วิเคราะห ตอเนื่อง และแกปญหาอยางคอยเปนคอยไปและฝกแก 3. ควรศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผล ปญหาอยางตอเนื่องในระยะเวลาที่ยาวนานพอ ของการพัฒนาความสามารถในการแกปญหา 2. ความรูและทักษะพื้นฐานมีความ อยางสรางสรรค ทั้งทางตรง ทางออมและแบบ สําคัญตอการแกปญหา ดังนั้น ควรเริ่มจากปญหา ผสมผสาน 14 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

REFERENCES National Institute of Educational Testing Cerezo, N. (2004). Problem – based learning Service: NIETS (Public Organization). in the middle school: a research case (2016). The statistic of ONET study of the perceptions of at – risk score from Grade 9 & 12 in the females. Research in Middle Level Academic Year 2014-2016. Retrieved Education. Online, 27(1). Retrieved September 13, 2017, from http://www. May 27, 2009, from http://www. niets.or.th/uploadfile /5/371f1b3becb nmsa.org/Publications PMLE Online/ 7870d1eb40e3d46ef0ac.pdf (in Thai) tabid/101/Default.aspx Office of the Education Council. (2007). Elshafei, D. L. (1998). A comparison of Problem-based learning management. problem - based and traditional Bangkok: Office of the Education learning in algebra II. Dissertation Council, Ministry of Education (in Abstracts. Retrieved April 20, 2009, Thai) from www.thailis.uni.net.th/dao/ Pimwan, M. (2006). The instructional package detail.nsp. html using problem-based learning on the Gijselears, W. H. (1996). Connecting problem- surface areas at Mathayomsuksa based practices with educational III. Master Thesis, Graduate School theory. In L. Wilkerson & W.H. Srinakharinwirot University, Bangkok. Gijselears (eds.). Bringing Problem– (in Thai) Based Learning to Higher Education: Thongsugnok, R. (2004). The instructional Theory and Practice. San Francisco: package using problem-based Jossey – Bass. learning on the number theory at Kamanee, T. (2007). Science of teaching. Mathayomsuksa IV. Master Thesis. 6th edition. Bangkok: Chulalongkorn Graduate School Srinakharinwirot University printing press. (in Thai) University, Bangkok. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 15 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การเปรียบเทียบวรรณยุกตภาษาผูไท ในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม กับหมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว COMPARISON OF PHU TAI, TONAL TONES IN RENU, RENU NAKHON DISTRICT, WITH SONG MEUNG TAI VILLAGE, KHAMMOUANE DISTRICT, LAOS เกศนี คุมสุวรรณ1* และ วิภาวรรณ อยูเย็น2 Kesanee Kumsuwan1* and Wipawan Yooyen2

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Thai Language, Faculty of Humanities, Kasetsart University, Bangkok, Thailand1*, 2

[email protected]*

บทคัดยอ บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบวรรณยุกตผูไท ที่หมู 2 ตําบลเรณู อําเภอ เรณูนคร จังหวัดนครพนม กับวรรณยุกตภาษาผูไท ที่หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยใชแบบทดสอบเสียงวรรณยุกตของ Gedney (1972) และใช โปรแกรม PRAAT วิเคราะหเสียง ผลการศึกษาพบวา ภาษาผูไทที่จังหวัดนครพนมมีวรรณยุกต 5 หนวยเสียง โดยมีการรวมการแยกเสียงของวรรณยุกตแบบ AB123, A4 = B123 = DL1234, B4 = C12 = DS4 แยกเสียงวรรณยุกต B4 กับ C4 และ B = DL วรรณยุกตที่ 1 A123 มีสัทลักษณกลาง ตกขึ้น วรรณยุกตที่ 2 A4 B123 DL1234 มีสัทลักษณกลางสูงตก วรรณยุกตที่ 3 B4 C12 DS4 มี สัทลักษณกลางสูง วรรณยุกตที่ 4 C3 มีสัทลักษณกลางระดับ และวรรณยุกตที่ 5 C4 DS123 มีสัทลักษณกลางตํ่าสูง สวนภาษาผูไทที่หมูบานสองเมืองใต ประเทศลาวมีวรรณยุกต 4 หนวยเสียง มีการรวมการแยกเสียงของวรรณยุกตแบบ A123=DS123, A4=B12=C1=DL1234 แยกเสียง วรรณยุกต B4 กับ C4 และ B≠DL วรรณยุกตที่ 1 A123 DS123 มีสัทลักษณกลางขึ้นสูง วรรณยุกต ที่ 2 A4 B12 C1 DL1234 มีสัทลักษณกลางสูงตก วรรณยุกตที่ 3 B3 C234 มีสัทลักษณกลาง ตํ่าขึ้นตก และวรรณยุกตที่ 4 B4 DS4 มีสัทลักษณกลางสูง เสียงวรรณยุกตกลางระดับปรากฏ 16 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม สวนที่หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน ประเทศลาว ไมปรากฏเสียงดังกลาวจึงทําใหจํานวนหนวยเสียงของทั้ง 2 ถิ่นแตกตางกัน

คําสําคัญ: ภาษาผูไท การแตกตัวของวรรณยุกต นครพนม ลาว

ABSTRACT This article is intended to compare the tonal tones of Phu Tai in area 2, Renu, Renu Nakhon District, Nakhon Phanom, and Tai language in Song Meung Tai villages, Khammouane District, Laos. Collected data from sixty speakers aged 50 and over using Gedney’s tonal tones (1972) and using the phonetic method, the PRAAT analysis program sounds.The study indicated that Tai language in Nakhon Phanom has 5 tone units combining the tone of the tonal form AB123, A4 = B123 = DL1234, B4 = C12 = DS4 tone split B4 and C4 and B = DL tone 1 A123 has a mid falling rising level tone 2 A4 B123 DL1234 has a rising falling level tone 3 B4 C12 DS4 has a rising level tone4 C3 with mid-level tones and the tone at 5 C4 DS123 has a lower-mid rising but Phu Tai language in Song Meung Tai villages, Khammouane District, Laos has 4 tone units combining the tone of the tonal form A123 = DS123, A4 = B12 = C1 = DL1234 tone split B4 and C4 and B≠DL tone 1 A123 DS123 has a mid rising-high level tone 2 A4 B12 C1 DL1234 has a rising falling tone 3 B3 C234 has a lower-mid high falling level and the tone at 4 B4 DS4 has rising level both Phu Tai language have the same tonal combination of A123 and DL1234. There is a tonal similarity to the rising falling level in the A4 B12 DL1234 and rising level in the B4 DS4. The mid tone is shown in Renu, Renu Nakhon District, Nakhon Phanom Province but in Song Meung Tai villages, Khammouane District, Laos do not appear, so the number of units of the two different places.

Keywords: Phu Tai language, tonal spit, Nakhon Phanom province, Laos Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 17 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทนํา ภาษาตระกูลไทเปนภาษาตระกูลใหญ มีความนาสนใจเปนอยางยิ่ง เนื่องจากเปนอําเภอ ตระกูลหนึ่ง ซึ่งในภูมิภาคเอเชียอาคเนยมีผูใช ที่บรรพบุรุษของชาวผูไทไดอพยพเขามาจาก ภาษาตระกูลไทกระจายอยูเปนบริเวณกวาง ถิ่นฐานเดิมซึ่งอยูที่เมืองวังตอนกลางของประเทศ ถึง 8 ประเทศดวยกัน ภาษาผูไทเปนภาษาใน ลาวเมื่อประมาณ 200 ปมาแลว (Akharawat- ตระกูลไทที่มีความนาสนใจมากภาษาหนึ่ง thanakun, 1998) ดวยเปนภาษาที่มีผูพูดอาศัยอยูในบริเวณ ดานระบบเสียงโดยทั่วไปของภาษา หลายเขตพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผูไทนั้น มีหนวยเสียงพยัญชนะ 20 หนวยเสียง และมีลักษณะเฉพาะของตนหลายอยาง สมทรง มีลักษณะเฉพาะที่นาสนใจคือ ไมมีหนวยเสียง บุรุษพัฒน (Burusphat, 2000) กลาวถึงถิ่นเดิม สระประสม /ia, ∝a, ua/ และออกเสียงแยก ของชาวผูไทวา “ผูพูดภาษาผูไทมีภูมิลําเนา ชัดเจนที่คําศัพทที่ใชสระ ใ- และสระ ไ- เชน เดิมอยูในแควนสิบสองจุไท ประเทศลาว และ ‘ใจ’ ภาษาผูไทจะออกเสียงเปน ‘เจอ’ เปนตน เวียดนาม” ผูไทแบงออกเปนกลุมตาง ๆ ไดแก (Khanittanan, 1977) และจากการศึกษาระบบ ผูไทขาว ผูไทแดง ผูไทดํา และผูไทลาย คําวา ผู วรรณยุกตของภาษาผูไทในจังหวัดนครพนมของ หมายถึง คน ผูไท หมายถึง คนไท (Liamprawat, วิไลวรรณ ขนิษฐานันท (Khanittanan, 1977) 2008) ภาษาผูไทที่พบบริเวณสองฝงโขง ไดแก พบวา มีเสียงวรรณยุกต 5 หนวยเสียง โดยมี ภาคอีสานของไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตย ลักษณะการแยกเสียงและการรวมเสียง ประชาชนลาวตอนกลางบริเวณแขวงคํามวน วรรณยุกตแบบ A4 = B123 = DL1234 แยกเสียง และแขวงสะหวันนะเขต ภาษาผูไทนั้นอยูในกลุม วรรณยุกต B4 กับ C4 (B4 ≠ C4) สวนพิณรัตน เดียวกันกับภาษาไทย ลาว แสก โยย ญอ พวน อัครวัฒนากุล (Akharawatthanakun, 1998) และภาษาอื่น ๆ ซึ่งอยูในตระกูลไท-กะได (Tai- ศึกษาภาษาผูไทที่อําเภอธาตุพนมพบวา มีเสียง Kadai) (Chaiyasuk & Mollerup, 2014) วรรณยุกต 5-7 หนวยเสียง ทั้งนี้ การศึกษา สําหรับในประเทศไทย คน “ผูไท” ซึ่งบางแหง วรรณยุกตขางตนวิเคราะหวรรณยุกตดวย เรียก “ผูไทย” นั้นเปนกลุมชาติพันธุกลุมหนึ่งที่ การฟง หรือใชโปรแกรม Dos CECIL (Dos for อาศัยกระจัดกระจายกันอยูทางภาคตะวันออก Computerized Extraction of International in เฉียงเหนือของประเทศไทย เชน จังหวัดสกลนคร Language) เทานั้น ในขณะที่การศึกษาครั้งนี้ นครพนม กาฬสินธุ มุกดาหาร และบางสวน เปนการเก็บขอมูลภาษาผูไทในชวงป 2560 กระจายอยูในเขตจังหวัดหนองคาย อํานาจเจริญ วิเคราะหสัทลักษณของวรรณยุกตโดยใช อุบลราชธานี อุดรธานี รอยเอ็ด และยโสธร ใน โปรแกรม PRAAT และใชความถี่แสดงสัทลักษณ จังหวัดนครพนมมีชาวผูไทตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู ของวรรณยุกตที่ปรากฏในภาษาผูไททั้งใน เปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอําเภอเรณูนครถือวา ประเทศไทยที่ตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัด 18 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

นครพนม และที่หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวอันเปน การวิเคราะหวรรณยุกตในการวิจัย พื้นที่ที่มีชาวผูไทอาศัยอยู ซึ่งลักษณะการศึกษา ครั้งนี้ใชกลองทดสอบวรรณยุกต ของ วิลเลียม เจ ดังกลาวนี้ยังไมมีมากอน เก็ดนี่ (Gedney, 1972) โดยกลองทดสอบบรรจุ ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาระบบ คําทั้งหมด 64 คํา ซึ่งในการวิเคราะหระบบ เสียงวรรณยุกต โดยเปนการเปรียบเทียบระบบ วรรณยุกตของภาษา ผูไทดัดแปลงคําบางคํา วรรณยุกตภาษาผูไทในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร ที่ไมปรากฏในภาษาผูไทเปนคําอื่นแทน จังหวัดนครพนมกับภาษาผูไทที่หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน วิธีการวิจัย ลาวเพื่อใหทราบถึงระบบวรรณยุกต ทั้งลักษณะ 1. ทบทวนตํารา เอกสาร งานวิจัย การแยกเสียงและการรวมเสียงวรรณยุกต ที่เกี่ยวของภาษาผูไท และการเปลี่ยนแปลง และสัทลักษณของวรรณยุกตที่ปรากฏโดยใช วรรณยุกต โปรแกรม PRAAT อันเปนสิ่งที่นาสนใจยิ่ง 2. สรางรายการคํา 3. คัดเลือกพื้นที่เพื่อศึกษาวรรณยุกต วัตถุประสงคของการวิจัย ภาษาผูไทในประเทศไทยที่อําเภอเรณูนคร เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียง โดยพื้นที่ดังกลาวตั้งอยูทางทิศใตของจังหวัด วรรณยุกตผูไทใน หมู 2 ตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร นครพนม อําเภอเรณูนคร มีกลุมชนชาวผูไท จังหวัดนครพนมกับระบบเสียงวรรณยุกตภาษา (กลุมผูไทดํา) ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุ (ethnic ผูไทที่หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ groups) กลุมหนึ่งของชนชาติไทยในภาคอีสาน ประชาธิปไตยประชาชนลาว และมีถิ่นฐานดั้งเดิมอยูในแควนสิบสองจุไท หรือสิบสองเจาไทอยูทางตอนเหนือของเมือง ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย หลวงพระบางสวนภาษาผูไทนอกประเทศ คือ ทําใหทราบถึงความเหมือนและความ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวตอนกลาง แตกตาง รวมทั้งการรวมการแยกของระบบ บริเวณแขวงคํามวน ซึ่งเปนพื้นที่ที่ปรากฏภาษา เสียงวรรณยุกตผูไท ในอําเภอเรณูนคร จังหวัด ผูไท บริเวณสองฝงโขง นครพนมกับระบบเสียงวรรณยุกตภาษาผูไท 4. คัดเลือกผูบอกภาษา โดยเปนผูที่ใช ที่หมูบาน สองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ ภาษาผูไทในชีวิตประจําวัน ประชาธิปไตยประชาชนลาว Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 19 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

5. ดําเนินการเก็บขอมูลดวยวิธีการฟง ผูบอกภาษาหลัก นายรังสรรค บัวสาย ผูบอกภาษาออกเสียงคําเปนลําดับแรก แลวใช อายุ 58 ป ผูใหญบาน โปรแกรม PRAAT ตรวจสอบผลที่ไดจากการ ผูบอกภาษารอง นางนิวารัตน หอมสมบัติ ฟง และแสดงเปนกราฟคาเซมิโทนเฉลี่ยเสียง อายุ 60 ป เกษียณอายุ นางนครศรี พรมดี วรรณยุกต อายุ 80 ป แมบาน 6. วิเคราะหสรุปผลการวิจัย หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน ผูวิจัยเก็บขอมูลเสียงวรรณยุกตยัง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จํานวน สถานที่เก็บขอมูลในหมู 2 ตําบลเรณู อําเภอ 3 คน มีรายนาม คือ เรณูนคร จังหวัดนครพนม และที่หมูบานสอง ผูบอกภาษาหลัก นายทองดํา ลุนดารา เมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐประชาธิปไตย อายุ 65 ป ผูใหญบาน ประชาชนลาว เมื่อวันที่ 28-30 เมษายน 2560 ผูบอกภาษารอง นายสุนทรา สิงวงษา ทั้งสองพื้นที่นี้เปนชุมชนหมูบานที่ประชากรใช อายุ 75 ป เกษียณอายุ นางอุบล โกมลรัตน อายุ ภาษาผูไทในชีวิตประจําวัน โดยมีผูบอกภาษา 73 ป ทํานา จํานวน 6 คน แบงเปนผูบอกภาษาหลักเพื่อ ทดสอบรายการคําชุดเทียบเสียง ทั้งนี้ ผูบอก เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ภาษาเปนผูที่มีอายุ 50 ปขึ้นไป มีอวัยวะในการ 1. แบบทดสอบเสียงวรรณยุกตของ ออกเสียงสมบูรณเพื่อใหไดภาษาที่ชัดเจน ถูกตอง วิลเลียม เจ เก็ดนี่ (Gedney, 1972) เพื่อทดสอบ และผูบอกภาษารองเพื่อตรวจสอบหนวยเสียง เสียงวรรณยุกตดวยการฟง จํานวน 64 คํา วรรณยุกต ดังนี้ โดยดัดแปลงคําบางคําที่ไมปรากฏในภาษาผูไท ตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัด เปนคําอื่นแทน ดังนี้ นครพนม จํานวน 3 คน มีรายนาม คือ 20 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 1 กลองทดสอบวรรณยุกต

วรรณยุกตดั้งเดิม พยัญชนะตนดั้งเดิม พยางคเปน พยางคตาย A B C DL DS พยัญชนะตนกลุมที่ 1 หู ไข ขาว ขาด หนัก เสียงเสียดแทรก ไมกอง ขา ผา *ผา *ขูด สุก และเสียงกัก ไมกองมีลม หัว เขา ขา หาบ ผัก ไข หา

พยัญชนะตนกลุมที่ 2 ป ปา ปา ปอด กบ เสียงหยุด ไมพนลม ตา ไก *จา *ตาก ตัด ไมกอง กิน แก ตม ตอก เจ็บ

พยัญชนะตนกลุมที่ 3 บิน บา บา แดด เบ็ด เสียงกองนําดวยการกักที่เสน แดง บาว *ดิ้น อาบ ดิบ เสียง ดาว ดา อา ดอก *ดับ

พยัญชนะตนกลุมที่ 4 มือ *ลา นํ้า มีด นก เสียงกอง ควาย พอ นอง ลูก มัด นา *โง ไม เลือด ลัก มา นอก

*หมายถึง คําในภาษาผูไทที่ดัดแปลงเพื่อทดสอบเสียงวรรณยุกต Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 21 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2. รายการคําเพื่อวิเคราะหสัทลักษณ และปองกันมิใหผูบอกภาษาเกิดความสับสน ของวรรณยุกตโดยใชวิธีทางกลสัทศาสตร ในการออกเสียง รายการคําชุดนี้ดัดแปลงจากรายการชุดเทียบเสียง (mimimal set) ของพิณรัตน อัครวัฒนากุล การวิเคราะหขอมูล (Akharawatthanakun, 2003) และของ สมทรง ในการวิเคราะหหาหนวยเสียงวรรณยุกต บุรุษพัฒน (Burusphat, 2013) ดังนี้ ผูวิจัยใชแบบทดสอบวิเคราะหหาหนวยเสียง รายการคําชุดเทียบเสียงคลายนี้เปนชุดคํา วรรณยุกตของ วิลเลียม เจ เก็ดนี่ (Gedney, 1972) ที่มีพยัญชนะและสระคลายคลึงกันมากที่สุด เพื่อดูการรวมเสียงและแยกเสียงของวรรณยุกต คําทั้งหมดเปนคําพยางคเดียว จํานวนทั้งสิ้น 20 คํา จากนั้นตรวจสอบผลการวิเคราะหที่ได ดังนี้ ประกอบดวยชุดพยางคเปนและชุดพยางคตาย ผูวิจัยเก็บขอมูลดวยการบันทึกเสียง สมทรง บุรุษพัฒน (Burusphat, 2013) กลาววา จากผูบอกภาษาที่ออกเสียงคําโดยใชรายการคํา คําชุดเทียบเสียงนี้เหมาะสําหรับการวิเคราะหทาง ชุดเทียบเสียง (analogous set) จากนั้นดําเนินการ กลสัทศาสตร เนื่องจากชวยไมใหเกิดการแปรของ ตัดไฟลเสียงเปนคําเดี่ยวโดยใชโปรแกรม Nero วรรณยุกตตามอิทธิพลของเสียงพยัญชนะตน WaveEditor โดยตัดเฉพาะคลื่นเสียงที่จะนําไป และสระที่แตกตางกัน สิ่งดังกลาวเปนเครื่องมือ วิเคราะหเสียงวรรณยุกต แลวจึงนําคลื่นเสียง เพื่อนําไปเก็บเสียงวรรณยุกตโดยใหผูบอกภาษา ดังกลาวไปสูการใชโปรแกรม PRAAT เวอรชั่น ออกเสียงคําละ 3 ครั้ง เวนระยะในการออกเสียง 6.0.28 ซึ่งวิธีทางกลสัทศาสตรในการวิเคราะห แตละครั้งหางกันพอสมควร และสลับคําทั้ง 20 คํา เสียงที่ไดใหเปนคาความถี่มูลฐาน (fundamental ไมใหคําเดียวกันอยูติดกัน เพื่อใหผูบอกภาษาได frequency/ f0) ของวรรณยุกตซึ่งมีหนวยเปน ออกเสียงคําที่ตางกันในแตละครั้งอยูตลอดเวลา เฮิรตซ จากนั้นแปลงคาความถี่มูลฐานเฉลี่ยเปน

ตารางที่ 2 รายการคําชุดเทียบเสียง

A (O) B () C ( ) DL DS 1. ขา ขา ขา ขาด ขัด 2. ปา ปา ปา ปาด ปด 3. บาน บา บา บาด เบ็ด 4. คา คา คา คาด คัด

พยางคเปน พยางคตาย 22 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

คาเซมิโทน (semitones) และนําเสนอผลเปน กราฟเสนเทียบกับคาระยะเวลา คิดเปนคารอย ละระยะหางแตละชวงเวลาเทากับรอยละ 10 ของ เวลาทั้งหมดดวยโปรแกรม excel ทั้งนี้ ผูวิจัยแบง ระดับกราฟออกเปน 5 ระดับ และใชตัวเลขแทน ระดับเสียง 2-3 ตัว

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย กลุมที่ 1 พยัญชนะตนกลุมที่ 2 พยัญชนะตน 1. ระบบเสียงวรรณยุกตภาษาผูไท กลุมที่ 3 พยัญชนะตนกลุมที่ 4 ตามลําดับ สวนชอง หมู 2 ตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัด A หมายถึง หนวยเสียงวรรณยุกตดั้งเดิมที่คําไมมี นครพนม รูปวรรณยุกต B หมายถึง หนวยเสียงวรรณยุกต 1.1 การแยกเสียงและการรวมเสียง ดั้งเดิมที่คํามีรูปวรรณยุกตเอก C หมายถึง หนวย ของวรรณยุกต เสียงวรรณยุกตดั้งเดิมที่คํามีรูปวรรณยุกตโท และ ภาษาผูไทตําบลเรณู อําเภอ DL หมายถึง หนวยเสียงวรรณยุกตดั้งเดิมที่เปน เรณูนคร จังหวัดนครพนม มีหนวยเสียงวรรณยุกต คําตายสระเสียงยาว สวน DS หมายถึงหนวย 5 หนวยเสียง โดยมีการแยกเสียงและการรวม เสียงวรรณยุกตดั้งเดิมที่เปนคําตายสระเสียงสั้น เสียงของวรรณยุกต ดังตารางตอไปนี้ 1.2 สัทลักษณของวรรณยุกตภาษา จากตารางขางตนเห็นไดวา ภาษาผูไทใน ผูไท หมู 2 ตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ภาษาผูไทตําบลเรณู อําเภอ แตกตัวแบบ AB123, A4 = B123 = DL1234, B4 เรณูนคร จังหวัดนครพนม ปรากฏสัทลักษณ = C12 = DS4 แยกเสียงวรรณยุกต B4 กับ C4 ของเสียงวรรณยุกต ดังนี้ และ B = DL ทั้งนี้ เลข 1234 หมายถึง พยัญชนะตน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 23 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ภาพที่ 1 ลักษณะทางสัทศาสตรของเสียงวรรณยุกตภาษาผูไท ในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม

ภาพที่ 2 กราฟแสดงคาเซมิโทนเฉลี่ยเสียงวรรณยุกตภาษาผูไท ในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม 24 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

วรรณยุกตที่ 1: A123 เสียงวรรณยุกต กลางตกขึ้น (mid falling rising) มีสัทลักษณ แบบ 324 วรรณยุกตที่ 2: A4 B123 DL1234 เสียงวรรณยุกตกลางสูงตก (rising falling) มีสัทลักษณแบบ 51 วรรณยุกตที่ 3: B4 C12 DS4 เสียง วรรณยุกตกลางสูง (rising level) มีสัทลักษณ แบบ 44 เสียงวรรณยุกตแบบ A123 = DS123, A4 = B12 วรรณยุกตที่ 4: C3 เสียงวรรณยุกตกลาง = C1 = DL1234 แยกเสียงวรรณยุกต B4 กับ C4 ระดับ (mid-level) มีสัทลักษณ แบบ 33 และ B ≠ DL ทั้งนี้ เลข 1234 หมายถึง พยัญชนะตน วรรณยุกตที่ 5: C4 DS123 เสียงวรรณยุกต กลุมที่ 1 พยัญชนะตนกลุมที่ 2 พยัญชนะตน กลางตํ่าสูง (lower-mid rising) มีสัทลักษณ กลุมที่ 3 พยัญชนะตนกลุมที่ 4 ตามลําดับ แบบ 24/34 สวน ชอง A หมายถึง หนวยเสียงวรรณยุกตดั้งเดิม 2. ระบบเสียงวรรณยุกตภาษาผูไท ที่คําไมมีรูปวรรณยุกต B หมายถึง หนวยเสียง หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ วรรณยุกตดั้งเดิมที่คํามีรูปวรรณยุกตเอก ประชาธิปไตยประชาชนลาว C หมายถึง หนวยเสียงวรรณยุกตดั้งเดิมที่คํา 2.1 การแยกเสียงและการรวมเสียง มีรูปวรรณยุกตโท และ DL หมายถึง หนวยเสียง ของวรรณยุกต วรรณยุกตดั้งเดิมที่เปนคําตายสระเสียงยาว ภาษาผูไทหมูบานสองเมืองใต สวน DS หมายถึงหนวยเสียงวรรณยุกตดั้งเดิม แขวงคํามวน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ที่เปนคําตายสระเสียงสั้น ลาวมีหนวยเสียงวรรณยุกต 4 หนวยเสียง โดยมี 2.2 สัทลักษณของวรรณยุกตภาษา การแยกเสียงและการรวมเสียงของวรรณยุกต ผูไท ดังตารางตอไปนี้ ภาษาผูไทหมูบานสองเมืองใต จากตารางขางตนเห็นไดวา ภาษาผูไท แขวงคํามวน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ในหมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ ลาวปรากฏ สัทลักษณของเสียงวรรณยุกต ดังนี้ ประชาธิปไตยประชาชนลาว มีการรวมการแยก Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 25 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ภาพที่ 3 กราฟแสดงลักษณะทางสัทศาสตรของเสียงวรรณยุกตภาษาผูไท ในหมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สปป.ลาว

ภาพที่ 4 กราฟแสดงคาเซมิโทนเฉลี่ยเสียงวรรณยุกตภาษาผูไทภาษาผูไท ในหมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สปป.ลาว 26 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

วรรณยุกตที่ 1: A123 DS123 เสียง กับหมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ วรรณยุกตกลางขึ้นสูง (mid rising-high) ประชาธิปไตยประชาชนลาว มีสัทลักษณแบบที่ 1 34 มีสัทลักษณแบบที่ จากตารางขางตนเห็นไดวา ภาษาผูไท 2 345 ทั้ง 2 ถิ่น มีการแยกเสียงและการรวมเสียงของ วรรณยุกตที่ 2: A4 B12 C1 DL1234 วรรณยุกตที่แตกตางกัน กลาวคือ ภาษาผูไท เสียงวรรณยุกตกลางสูงตก (rising falling) จังหวัดนครพนมแตกตัวแบบ AB123, A4 = มีสัทลักษณแบบ 41 B123 = DL1234, B4 = C12 = DS4 แยกเสียง วรรณยุกตที่ 3: B3 C234 เสียงวรรณยุกต วรรณยุกต B4 กับ C4 และ B = DL สวนภาษาผูไท กลางตํ่าขึ้นตก (lower-mid high falling) ประเทศลาว แตกตัวแบบ A123 = DS123, A4 = มีสัทลักษณแบบ 251 B12 = C1 = DL1234 แยกเสียงวรรณยุกต B4 กับ วรรณยุกตที่ 4: B4 DS4 เสียงวรรณยุกต C4 และ B ≠ DL ซึ่งทั้ง 2 ถิ่นมีการรวมเสียงของ กลางสูง (rising level) มีสัทลักษณแบบ 44 วรรณยุกตเหมือนกันตรงชอง A123 และ DL1234 3. เปรียบเทียบวรรณยุกตภาษาผูไท นอกจากนี้ผลการศึกษาลักษณะทางสัทศาสตร ในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ของเสียงวรรณยุกตภาษาผูไทจากทั้งสองถิ่น สามารถเปรียบเทียบกันไดดังนี้

ตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สปป.ลาว Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 27 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบลักษณะทางสัทศาสตรของเสียงวรรณยุกตภาษาผูไททั้งสองถิ่น

ชื่อสถานที่ วรรณยุกต ตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน จังหวัดนครพนม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว A123 กลางตกขึ้น กลางขึ้นสูง A4 กลางสูงตก กลางสูงตก B12 กลางสูงตก กลางสูงตก B3 กลางสูงตก กลางตํ่าขึ้นตก B4 กลางสูง กลางสูง C1 กลางสูง กลางสูงตก C2 กลางสูง กลางตํ่าขึ้นตก C3 กลางระดับ กลางตํ่าขึ้นตก C4 กลางตํ่าสูง กลางตํ่าขึ้นตก DL1234 กลางสูงตก กลางสูงตก DS123 กลางตํ่าสูง กลางขึ้นสูง DS4 กลางสูง กลางสูง

จากงานวิจัยชิ้นนี้สัทลักษณของ ประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยใชโปรแกรม วรรณยุกตในภาษาผูไททั้ง 2 ถิ่น มีความคลายกัน PRAAT พบวา ภาษาผูไททั้ง 2 ถิ่น มีหนวยเสียง ตรงที่มีระดับเสียงกลางสูงตกในชอง A4 B12 วรรณยุกตที่แตกตางกัน กลาวคือ ภาษาผูไท DL1234 และระดับเสียงกลางสูงในชอง B4 DS4 จังหวัดนครพนมมีวรรณยุกต 5 หนวยเสียง ทั้งนี้ ในชอง C3 ซึ่งเปนเสียงกลางระดับปรากฏ โดยมีการรวมการแยกเสียงของวรรณยุกตแบบ เฉพาะในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัด AB123, A4 = B123 = DL1234, B4 = C12 = DS4 นครพนม เทานั้น สวนที่หมูบานสองเมืองใต แยกเสียงวรรณยุกต B4 กับ C4 และ B = DL แขวงคํามวน ประเทศลาวไมปรากฏเสียงดังกลาว สวนภาษาผูไทประเทศลาวมีวรรณยุกต 4 อภิปรายผลการวิจัย หนวยเสียง และมีการรวมการแยกเสียงของ การเปรียบเทียบวรรณยุกตภาษาผูไท วรรณยุกตแบบ A123 = DS123, A4 = B12 = ในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม C1 = DL1234 แยกเสียงวรรณยุกต B4 กับ C4 กับหมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ และ B ≠ DL ทั้งนี้ ภาษา ผูไททั้ง 2 ถิ่น ยังมีการ 28 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

รวมเสียงของวรรณยุกตเหมือนกันตรงชอง A123 พบวา ภาษาของคน “ลาว” แตละกลุมมี 5-6 และ DL1234 และมีสัทลักษณะของวรรณยุกต หนวยเสียง และมีลักษณะการรวมเสียงแยกเสียง คลายกันตรงระดับเสียงกลางสูงตกในชอง A4 ที่เปนลักษณะเดน ไดแก A123-4 B123(4) = B12 DL1234 และระดับเสียงกลางสูงในชอง B4 C1 = DL123 และ B(4) = C(1)234 = DL4 DS4 สวนเสียงวรรณยุกตกลางระดับปรากฏใน A4 ≠ B1234 ซึ่งการรวมการแยกเสียงภาษาผูไท ตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ในหมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ สวนที่หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน ประเทศ ประชาธิปไตยประชาชนลาวเกิดการรวมเสียง ลาวไมปรากฏเสียงดังกลาว จึงทําใหจํานวน ในชอง A4=B12 จึงทําใหหนวยเสียงวรรณยุกต หนวยเสียงทั้ง 2 ถิ่นแตกตางกัน เหลือเพียง 4 หนวย และชอง C1=DL123 จากผลการศึกษาเปรียบเทียบระบบ จึงทําใหมีลักษณะเปนขั้นบันไดลาวเกิดขึ้น เสียงวรรณยุกตในครั้งนี้แมวาเปนภาษาที่มา คลายกับระบบวรรณยุกตในภาษาของคน “ลาว” จากภาษาดั้งเดิมเดียวกัน แตเปนที่นาสังเกต สวนภาษาผูไทในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร วา จํานวนวรรณยุกตที่ไดแตกตางกัน กลาวคือ จังหวัดนครพนมมีจํานวนหนวยเสียงวรรณยุกต ภาษาผูไทในตําบลเรณู อําเภอเรณูนคร จังหวัด 5 หนวยสอดคลองกับงานวิจัยวรรณยุกตผูไท นครพนมมีวรรณยุกต 5 หนวยเสียง ขณะที่ ที่ผานมาทั้งในจังหวัดนครพนม และผูไทถิ่นอื่น ๆ หมูบานสองเมืองใต แขวงคํามวน สาธารณรัฐ ทั้งนี้ แมจะมีจํานวนวรรณยุกตที่เทากันแตภาษา ประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยมี 4 หนวยเสียง ผูไทในแตละทองถิ่นมีการรวมการแยกของเสียง ความแตกตางที่เกิดขึ้นนี้อาจเพราะการอพยพ วรรณยุกต และสัทลักษณะที่ทั้งคลายคลึงและ เคลื่อนยายถิ่นฐานและเวลาที่ผานไป รวมทั้ง แตกตางกันไป ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบวรรณยุกต การติดตอสัมพันธกับผูใชภาษาอาจทําใหเกิด ภาษาผูไท จังหวัดนครพนมในอดีตของ วิไลวรรณ การปะปนของภาษาของแตถิ่น โดยเฉพาะผูไท ขนิษฐานันท (khanittanan, 1977) พบวามี ในประเทศลาวเกิดการสัมผัสภาษากับภาษาลาว 5 หนวยเสียงวรรณยุกตเทากัน และมีการรวมเสียง เห็นไดจากการปรากฏลักษณะการรวมการแยก และการแยกเสียงของวรรณยุกตที่เหมือนกัน เสียงวรรณยุกตแบบ B≠DL อันเปนลักษณะ ในชอง AB123 A4=B123=DL1234 แยกเสียง ของภาษาลาว และเมื่อพิจารณารวมกันกับการ วรรณยุกต B4 กับ C4 (B4 ≠ C4) และ B=DL และ ศึกษาระบบวรรณยุกตในภาษาของคน “ลาว” มีสัทลักษณะของวรรณยุกตในชอง C12 เหมือน อําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ของ พิณรัตน กันกับผูไทจังหวัดนครพนมในปจจุบันคือระดับ อัครวัฒนากุล (Akharawatthanakun, 1998) เสียงกลางสูงดวย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 29 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

REFERENCES Burusphat, S. (2000). Dialect geography. Akharawatthanakun, P. (2003). Tone change: Nakhon Patom: Research Institute a case study of the Lao language. for Languages and Cultures of Asia, The thesis for the Degree of Doctor of . (in Thai) Philosophy in Linguistics Department Chaiyasuk, T. & Mollerup, A. (2014). Phu-Tai: of Linguistics, Faculty of Arts, Ethnic Tai or Tai people? Retrieved Chulalongkorn University. (in Thai) May,12, 2017, from http://www. Akharawatthanakun, P. (1998). Comparative phutai.thai-isan-lao.com/Chaiyasuk- study of the tonal system in the Mollerup-2014-Phutai _ethnonym_ speech of the “Lao”, the “Nyo” and THAI. the “Phutai” in that phanom district, Gedney, W. J. (1972). A checklist for Nakhon Phanom province. The determining tones in Tai dialects. thesis for the Degree of Master In M. E. Smith (Eds.), Studies in in Linguistics Department of Linguistics in Honor of George L. Linguistics Faculty of Arts Trager. (423-437). The Hague: Mouton. Chulalongkorn University. (in Thai) Khanittanan, W. (1977). Phutai Language. Burusphat, S. (2013). Tonal variation and Bangkok: Thammasat University change of Tai Dam. Language Press. (in Thai) and Culture Journal. 32 (2): 19-41. Liamprawat, S. (2008). Study of dialects: Tai (in Thai) language. Nakhon Patom: Silpakorn University Printing house. 30 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Research Article

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น ในจังหวัดหนองบัวลําภู RESEARCH AND INNOVATION DEVELOPMENT OF RAISING NATIVE CHICKENS USING THE LOCAL WISDOM IN NONGBUALAMPHU PROVINCE. จิราภรณ หลาฤทธิ์1* และ ภัทรธิรา ผลงาม2 Jirapon Larit1* and Patthira Phon-ngarm2

สาขายุทธศาสตรการพัฒนาภูมิภาค คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จังหวัดเลย ประเทศไทย1*, 2 Regional Development Strategy Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Loei Rajabhat University, Loei, Thailand1*, 2

[email protected]*

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปจจุบัน และการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใชภูมิปญญา ทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู 2) พัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมืองในจังหวัดหนองบัวลําภู โดยกระบวนการมีสวนรวมของภาคีที่เกี่ยวของ 3) นํานวัตกรรมสูการปฏิบัติและประเมินผล ดวยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณกับกลุมตัวอยางผูเลี้ยงไกพื้นเมือง จํานวน 377 ครัวเรือน และระเบียบ วิธีวิจัยเชิงคุณภาพกับกลุมกําหนดนวัตกรรม จํานวน 60 ครัวเรือน และกลุมนํานวัตกรรมไปปฏิบัติ จํานวน 30 ครัวเรือน เก็บขอมูลโดยสัมภาษณเชิงลึกและสนทนากลุม ผลการวิจัยพบวา นวัตกรรมการ เลี้ยงไกพื้นเมืองในจังหวัดหนองบัวลําภู โดยกระบวนการมีสวนรวมของภาคีที่เกี่ยวของ ไดนวัตกรรม 5 ดาน นําสูการปฏิบัติ พบวา 1) การคัดเลือกพันธุ โดยดูจากลักษณะภายนอก ความสมบูรณแข็งแรง ไมจิกตีลูกไก 2) การผสมพันธุ ใชตัวผู 1 ตัว ตอตัวเมีย 5 ตัว 3) โรงเรือนไกพื้นเมือง ใชแบบโรงเรือน ที่ทําไดงาย วัสดุในทองถิ่น 4) การใหอาหาร ไกพื้นเมืองแรกเกิดถึง 2 เดือน ใชปลายขาวผสมกับ ใบผักตําลึงสับละเอียด และอายุ 2 เดือนขึ้นไป ใชรํารวม ขาวเปลือกผสมกับตนกลวยสับละเอียด และใบผักตําลึงสับ ใหกินวันละ 2 ครั้ง ภาชนะสําหรับใสนํ้าและอาหารใชสีแดง และ 5) การรักษาโรค ใชสมุนไพรที่มีในทองถิ่น Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 31 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

คําสําคัญ: การพัฒนา นวัตกรรม ไกพื้นเมือง ภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู

ABSTRACT The objectives of this research are 1) to study the current situation of raising native chickens using local wisdom in Nongbualamphu Province, 2) to develop the innovations of raising native chickens using the local wisdom in Nongbualamphu Province by participatory process of related parties, 3) to apply these innovations in practice and evaluate the results. The quantitative research methodology was used with 377 native chicken farmers. The qualitative research methods was used with a total of 60 households of the innovation stipulation group and 30 households comprising the innovation application group. The data was collected through in-depth interviews and group discussions. The research results revealed the innovations of raising native chickens in Nongbualamphu Province by the participatory processes. There are five innovations that led to the best practices, as follow: 1) The selection was done by examining the appearance and strength without pinching the chicken, 2) in breeding, one cock was with five hens, 3) for native chicken houses, a simple house pattern was easily made by local materials, 4) for feeding native chickens from birth to two months of age was mix of treadted by the rice bran with finely chopped vegetables and for over two months of age was treated by mix the rice bran with finely chopped banana stalk and chopped vegetables and treat them twice a day and use the red containers for food and water, and 5) for the treatment of the health of the chickens, local herbs was used.

Keywords: innovation development, native chickens, local wisdom in Nongbualamphu Province

บทนํา ไกพื้นเมืองตามประวัติศาสตร มีตนกําเนิด การเลี้ยงดูและการปองกันอันตรายจากมนุษย มาจากไกปาในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในแถบ ในขณะที่มนุษยอาศัยไกและไขเปนอาหาร เรียกวา ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน ไทย เปนวิวัฒนาการของสัตวและมนุษยใหอยูรวมกัน มาเลเซีย และจีนตอนใต มนุษยไดนํามาเปน วิวัฒนาการของไกเปนไปตามวิถีชีวิตของเจาของ สัตวเลี้ยงเมื่อประมาณ 3,000 ปกอน ไกและมนุษย ซึ่งก็ขึ้นอยูกับธรรมชาติ บางปเกิดภัยธรรมชาติ ดํารงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ไกอาศัย รุนแรง สัตวเลี้ยงตายลง หรือมีโรคระบาดรุนแรง 32 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ไกจะตายมากแตไมตายหมด จะมีเหลือให 2,345,114 ครัวเรือน ซึ่งจังหวัดที่มีครัวเรือน ขยายพันธุจํานวนหนึ่ง โดยปกติแลวจะเหลือ เลี้ยงไกพื้นเมืองมากที่สุด คือ จังหวัดนครราชสีมา ตํ่ากวา 10% จํานวนนี้จะขยายพันธุเพิ่มจํานวน จํานวน 154,567 ครัวเรือน รองลงมาคือ จังหวัด ตัวที่แข็งแรงทนทานเทานั้นจึงจะอยูรอดเปนการ สุรินทร จํานวน 85,615 ครัวเรือน จังหวัดบุรีรัมย คัดเลือกโดยธรรมชาติจนเปนไกพื้นเมืองสืบทอดมา จํานวน 82,154 จังหวัดศรีษะเกษ จํานวน 81,434 ไกพื้นเมืองจึงเปนมรดกวัฒนธรรมและเทคโนโลยี ครัวเรือน และอุบลราชธานี จํานวน 78,510 ชีวภาพที่หลากหลาย เปนทรัพยสินภูมิปญญา ครัวเรือน จากที่กลาวมาเกษตรกรผูเลี้ยงไก ของชาวบานโดยแท เมื่อไกพื้นเมืองเปนไกที่ พื้นเมืองในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลําภู ไมติด วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงพันธุมาโดย ลําดับเกษตรกรผูเลี้ยงไกพื้นเมือง จํานวนมาก อาศัยพื้นฐานของธรรมชาติเปนหลัก จึงทําให ในประเทศไทย จึงไดมีการสงเสริม โดยจังหวัด ไกพื้นเมืองมีหลากหลายสายพันธุ แตละพันธุ หนองบัวลําภู ในป 2559 มีผูเลี้ยงไกพื้นเมือง ก็จะมีจุดเดนเปนคุณสมบัติเฉพาะตัว เชน ความ ในจังหวัดหนองบัวลําภู ทั้ง 6 อําเภอ จํานวน ตานทานโรคและแมลง สามารถเติบโตและ 19,527 ครัวเรือน แตการเลี้ยงไกพื้นเมืองมักพบ ขยายพันธุภายใตสภาพแวดลอมการเลี้ยงดูของ ปญหาในการเลี้ยง คือ การตายดวยโรคระบาด เกษตรกรในชนบท จึงเหมาะที่จะทําการอนุรักษ เปนประจํา แตตลาดไกพื้นเมืองนั้นพบวาขายได และพัฒนาใชประโยชนอยางยั่งยืน (Marikathat, ราคาดี ไมมีปญหาสินคาลนตลาด เนื่องจากไก 2015) พื้นเมืองมีรสชาติอรอยเนื้อนุม สามารถนําไป ป พ.ศ. 2547 ไดเกิดโรคไขหวัดนก H1N5 ประกอบอาหารไดหลายอยาง ประชาชนสวนใหญ ระบาดในประเทศไทย มีการฆาไกพื้นเมือง จึงนิยมบริโภคไกพื้นเมือง ไปประมาณ 20 ลานตัว (Choprakarn & จากปญหาและความสําคัญดังที่กลาว Wongpichet, n.d.) ตั้งแตกลางเดือนมกราคม มาขางตนทั้งหมด ในฐานะที่ผูวิจัยมีหนาที่ ถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ เกษตรกรใชเวลา 6 เดือน สงเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมือง ในการเลี้ยงไกฝูงใหม ไดพันธุไกพื้นเมืองมาจาก ในจังหวัดหนองบัวลําภู รวมกับภาคีเครือขาย เพื่อนบานหรือหมูบานอื่นที่ไมมีการทําลายไก ที่เกี่ยวของ จึงตระหนักและเล็งเห็นความจําเปน ทําใหไกขยายพันธุตอ ซึ่งถือวาเปนขอดีของ ที่จะทําการศึกษาองคความรู สภาพปจจุบัน ไกพื้นเมืองเกี่ยวกับการเพิ่มจํานวนเพราะ และปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมืองในจังหวัด เปนความยืดหยุนของประชากรไกพื้นเมือง หนองบัวลําภู ทั้ง 5 ดาน ไดแก การคัดเลือกพันธุ (population elasticity) (Simaraks et al., 2015) การผสมพันธุ โรงเรือนไกพื้นเมือง การใหอาหาร ในป 2557 ประเทศไทย มีเกษตรกรผูเลี้ยงไก และการรักษาโรค พื้นเมืองภายในประเทศทั้งหมด จํานวน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 33 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปจจุบัน และสภาพ 1. ดานประชากรกลุมตัวอยางเชิงปริมาณ ปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใชภูมิปญญา คือ ผูเลี้ยงไกพื้นเมือง จํานวน 377 ครัวเรือน ทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู ใชการสุมตัวอยางแบบงาย และเชิงคุณภาพ คือ 2. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไก กลุมกําหนดนวัตกรรม จํานวน 60 ครัวเรือน และ พื้นเมืองในจังหวัดหนองบัวลําภู โดยกระบวนการ กลุมนํานวัตกรรมไปปฏิบัติ จํานวน 30 ครัวเรือน มีสวนรวมของภาคีที่เกี่ยวของ ใชการสมัครใจ 3. เพื่อนํานวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมือง 2. ดานเนื้อหา ศึกษาโดยใชแนวคิด โดยใชภูมิปญญาทองถิ่นสูการปฏิบัติและ เกี่ยวกับนวัตกรรม แนวคิดการมีสวนรวม แนวคิด ประเมินผลนวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมืองใน ความพึงพอใจ ทฤษฏีสังคมวิทยา และทฤษฏี จังหวัดหนองบัวลําภู จิตวิทยา กรอบแนวคิดของการวิจัย

สัมภาษณเจาะลึก สํารวจขอมูลการเลี้ยงไกพื้นเมือง

ผลลัพธ ระยะ ไดองคความรู การ ศึกษาสภาพปจจุบันการเลี้ยง ศึกษาสภาพปญหาการ สภาพปจจุบัน วิจัย ไกพื้นเมือง เลี้ยงไกพื้นเมือง การเลี้ยงไกพื้นเมือง

สังเคราะหแนวทางการเลี้ยงไกพื้นเมือง เรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น ในศตวรรษที่ 21

พัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมืองในจังหวัดหนองบัวลําภู

ระยะ นวัตกรรมดานการคัดเลือกพันธุ ดานการผสมพันธุ การ การลงมือปฏิบัติ พัฒนา ดานโรงเรือนไกพื้นเมือง ดานอาหารและดานการรักษาโรค

ประเมินผลการทํานวัตกรรม

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย 34 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ระเบียบวิธีวิจัย ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนานวัตกรรมการ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยและพัฒนา เลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใชภูมิปญญาทองถิ่นใน ผูวิจัยไดออกแบบขั้นตอนและวิธีการเก็บรวบรวม จังหวัดหนองบัวลําภู โดยการจัดเวทีประชุม ขอมูลเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้ ระดมความคิดเห็นแบบมีสวนรวม เกี่ยวกับการ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาองคความรูภูมิปญญา พัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใช ทองถิ่น สภาพปจจุบัน สภาพปญหาการเลี้ยง ภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู ผูเขารวม ไกพื้นเมืองโดยใชภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัด ประชุมประกอบดวย ผูใหญบาน กํานัน ผูนํา หนองบัวลําภู โดยศึกษาเอกสารเกี่ยวกับ องคกรเอกชน นายกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่นการเลี้ยงไกพื้นเมือง และ สมาชิกองคกรปกครองสวนทองถิ่น เจาหนาที่ สํารวจบริบทจังหวัดหนองบัวลําภู และขอมูล เกษตรอําเภอ นักพัฒนาชุมชน เจาหนาที่ปศุสัตว พื้นฐานการเลี้ยงไกพื้นเมือง ในขั้นตอนมีกิจกรรม อําเภอ บริษัทซีพีเอฟจํากัดมหาชนสาขาอุดรธานี ดังนี้ และบริษัทเบทาโกรสาขาอุดรธานี จํานวน 30 คน 1) ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับภูมิปญญา เพื่อเปดโอกาสใหทุกคนไดแสดงความคิด เกี่ยวกับ ทองถิ่นการเลี้ยงไกพื้นเมืองในจังหวัดหนองบัวลําภู การสรางนวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใช 2) การสํารวจ เพื่อสํารวจบริบทจังหวัด ภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู หนองบัวลําภู และขอมูลพื้นฐานการเลี้ยงไกพื้นเมือง ที่เหมาะสม โดยวิธีการสํารวจจากกลุมเปาหมายในจังหวัด ขั้นตอนที่ 3 ขั้นนํานวัตกรรมการเลี้ยงไก หนองบัวลําภู ไดแก ปราชญผูเลี้ยงไกพื้นเมือง พื้นเมืองโดยใชภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัด เกษตรกรผูเลี้ยงไกพื้นเมือง หนองบัวลําภู สูการปฏิบัติ ซึ่งลงมือฝกปฏิบัติจริง 3) การสัมภาษณเจาะลึก เพื่อสัมภาษณ โดยประชุมคณะทํางาน ประกอบดวย ผูใหญบาน เจาะลึกเกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใช กํานัน ผูนําองคกรเอกชน นายกองคกรปกครอง ภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู สวนทองถิ่น สมาชิกองคกรปกครองสวนทองถิ่น องคความรูการเลี้ยงไกพื้นเมืองในจังหวัด เจาหนาที่เกษตรอําเภอ นักพัฒนาชุมชน เจาหนาที่ หนองบัวลําภู กับกลุมเปาหมาย จํานวน 30 คน ปศุสัตวอําเภอ ตัวแทน บริษัท ซีพีเอฟ จํากัด โดยการสุมตัวอยางแบบเจาะจง ไดแก ผูใหญ (มหาชน) สาขาอุดรธานี และตัวแทน บริษัท บาน กํานัน ผูนําองคกรเอกชน นายกองคกร เบทาโกรสาขาอุดรธานี เพื่อดําเนินการวางแผน ปกครองสวนทองถิ่น สมาชิกองคกรปกครอง กิจกรรมตาง ๆ มีการแบงบทบาทหนาที่ชัดเจน สวนทองถิ่น เจาหนาที่เกษตรอําเภอ นักพัฒนา จัดทําแผนปฏิบัติการ จากนั้นลงมือปฏิบัติจริง ชุมชน เจาหนาที่ปศุสัตวอําเภอ ตัวแทนบริษัท เปนเวลา 1 ไตรมาส ซีพีเอฟ จํากัด (มหาชน) สาขาอุดรธานี และตัวแทน ขั้นตอนที่ 4 ขั้นประเมินผลนวัตกรรม บริษัท เบทาโกร สาขาอุดรธานี การเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 35 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ในจังหวัดหนองบัวลําภู เปนการประเมินผลผลิต สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย และผลลัพธ คือ ประเมินผลผลิต โดยวิธีการ สรุปผลการวิจัย สัมภาษณไมเปนทางการ ประกอบดวย ผูใหญ 1. ผลการศึกษาสภาพปจจุบัน และ บาน กํานัน ผูนําองคกรเอกชน นายกองคกร สภาพปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใช ปกครองสวนทองถิ่น สมาชิกองคกรปกครอง ภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู สวนทองถิ่น เจาหนาที่เกษตรอําเภอ นักพัฒนา จากตารางที่ 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถาม ชุมชน เจาหนาที่ปศุสัตวอําเภอ ตัวแทน บริษัท สวนใหญมีเหตุผลที่เลี้ยงไกพื้นเมืองเพราะเปน ซีพีเอฟ จํากัด (มหาชน) สาขาอุดรธานี และตัวแทน อาชีพของบรรพบุรุษเลี้ยงไกตาม ๆ กันมา มี บริษัท เบทาโกร สาขาอุดรธานี จํานวน 30 คน จํานวน 366 คน (รอยละ 18.64) และประเมินผลลัพธ โดยใชแบบประเมินความ พึงพอใจ

ตารางที่ 1 สภาพปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมือง

สภาพปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมือง จํานวน รอยละ 1. เหตุผลที่เลี้ยงไกพื้นเมือง (เลือกไดมากกวา 1 ขอ n = 1,963) เปนอาชีพของบรรพบุรุษเลี้ยงไกตาม ๆ กันมา 366 18.64 รักการเลี้ยงไก 352 17.93 ไกพื้นเมืองเลี้ยงงาย 265 13.50 ไกพื้นเมืองขายไดราคาสูง 57 2.90 หาตลาดงาย 83 4.23 เลี้ยงเพื่อความสวยงาม 22 1.13 เลี้ยงไวเปนงานอดิเรก 31 1.58 เลี้ยงไวขายเปนพอพันธุและแมพันธุ 79 4.02 ชอบกินเนื้อไกและไขไกจึงเลี้ยงไวกินและขาย 360 18.34 เลี้ยงเพราะตองการมูลไกใชเปนปุยใสพืชไร พืชสวน 348 17.73 รวม 1,963 100.00 36 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 2 วิธีการผสมพันธุไกพื้นเมือง

สภาพปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมือง จํานวน รอยละ 1. วิธีการผสมพันธุไกพื้นเมือง ธรรมชาติ 377 100.00 รวม 377 100.00

ตารางที่ 3 อาหารไกพื้นเมือง

สภาพปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมือง จํานวน รอยละ 1. อาหารที่ใหไกกินมาจากแหลงใด (เลือกไดมากกวา 1 ขอ n = 1,121) ผสมเอง 237 21.14 ซื้ออาหารสําเร็จรูปจากรานขายอาหารสัตว 219 19.54 อาหารวัตถุดิบลวน ๆ เชน ขาวเปลือก ขาวโพด 208 18.55 ปลอยหากินเองตาม 189 16.86 ปลอยหากินและใหอาหารเสริมเปนครั้งคราว 268 23.91 รวม 1,121 100.00 2. อาหารที่ให (เลือกไดมากกวา 1 ขอ n = 1,294) ขาวเปลือก 377 29.13 ขาวโพด 270 20.87 ปลายขาว 377 29.13 รํา 270 20.87 รวม 377 100.00

จากตารางที่ 2 พบวา ปลอยไกคัดเลือก ปลอยหากินเองและใหอาหารเสริมเปนครั้งคราว กันเองผสมพันธุตามธรรมชาติ มีจํานวน 377 คน มีจํานวน 268 คน (รอยละ 23.91) อาหารที่ให (รอยละ 100.00) คือขาวเปลือกและปลายขาว มีจํานวน 377 คน จากตารางที่ 3 พบวา อาหารที่ใหไกจะ (รอยละ 29.13) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 37 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 4 สมุนไพรที่ใชกับไกพื้นเมือง

สุมนไพรที่ใชกับไกพื้นเมือง จํานวน รอยละ 1. สมุนไพรที่ใชแทนยาปฏิชีวนะ (เลือกไดมากกวา 1 ขอ n = 405) บอระเพ็ด เพื่อบํารุงรางกาย 121 29.88 เครือตดหมา เพื่อบํารุงรางกาย 33 8.15 ขมิ้นชัน ฟาทะลายโจร ตะไครหอม เพื่อสรางภูมิคุมโรค 41 10.12 ผักสาบเสือ บอระเพ็ด เพื่อบํารุงรางกาย 49 12.10 มดแดง รักษาโรคหา 33 8.15 เปลือกอะราง รักษาโรคหา 16 3.95 ใบตะไครและมดแดง รักษาโรคหา 16 3.95 ใบตะไคร รักษา หวัด แกอักเสบ สรางภูมิคุมกัน 96 23.70 รวม 405 100.00

จากตารางที่ 4 พบวา สมุนไพรที่ใชแทน ถึง 2 เดือน ใชปลายขาวผสมกับใบผักตําลึง ยาปฏิชีวนะ บอระเพ็ด เพื่อบํารุงรางกาย มีจํานวน สับละเอียด และอายุ 2 เดือนขึ้นไป ใชรํารวม 121 คน (รอยละ 29.88) ขาวเปลือกผสมกับตนกลวยสับละเอียดและ 2. ผลการพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไก ใบผักตําลึงสับ ใหกินวันละ 2 ครั้ง ภาชนะสําหรับ พื้นเมืองในจังหวัดหนองบัวลําภู โดยกระบวนการ ใสนํ้าและอาหารใชสีแดง และ 5) การรักษาโรค มีสวนรวมของภาคีที่เกี่ยวของ ในการรวมประชุม ใชสมุนไพรที่มีในทองถิ่น ระดมความคิด และสนทนากลุม ที่มีนวัตกรรมเปน 3. ผลการนํานวัตกรรมการเลี้ยงไก ความตองการของผูมีสวนเกี่ยวของ 5 นวัตกรรม คือ พื้นเมืองโดยใชภูมิปญญาทองถิ่นสูการปฏิบัติ 1) การคัดเลือกพันธุ 2) การผสมพันธุ 3) โรงเรือน ในจังหวัดหนองบัวลําภู ในสวนนี้ เปนการวิจัย ไกพื้นเมือง 4) การใหอาหาร และ 5) การรักษาโรค เชิงปฏิบัติการ มีการลงมือปฏิบัติจริง สงผลให ซึ่ง 1) การคัดเลือกพันธุ โดยดูจากลักษณะภายนอก ไกที่เลี้ยงโตไว ไขดก ไมเคระเกร็น ลดคาใชจาย ความสมบูรณแข็งแรง ไมจิกตีลูกไก 2) การ ในการใชยาปฏิชีวนะในการรักษาโรคที่เกิดกับ ผสมพันธุ ใชตัวผู 1 ตัว ตอตัวเมีย 5 ตัว 3) โรงเรือน ไกพื้นเมือง เปนเวลา 1 ไตรมาส ตั้งแต 22 มีนาคม ไกพื้นเมือง ใชแบบโรงเรือนที่ทําไดงาย วัสดุใน 2560 ถึง 21 มิถุนายน 2560 ทองถิ่น 4) การใหอาหาร ไกพื้นเมืองแรกเกิด 38 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อภิปรายผลการวิจัย ตั้งทวีวิพัฒน (Tangtaweewipat, 1994) ศึกษา 1. ผลการศึกษาสภาพปจจุบันและสภาพ ปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมือง พบวา เกษตรกร ปญหาการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใชภูมิปญญา ผูเลี้ยงไกพื้นเมืองขาดความรูเรื่องการเลี้ยงไก ทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู มีดังนี้ พื้นเมือง จึงไมมีการคัดเลือกพอพันธุแมพันธุ จากการศึกษาสภาพปจจุบัน พบวา จะเลี้ยง ผสมพันธุแบบเลือดชิด ใชพอพันธุคุมฝูงนาน แบบปลอยใหไกหากินตามธรรมชาติ อาศัยอยู เกินไป ใชพอพันธุแมพันธุอายุนอย ไมมีองคความรู ใตถุนบาน ทําใหเกิดโรคระบาด สงกลิ่นเหม็น เรื่องการปฏิบัติทางดานปศุสัตวการเลี้ยงไกที่ดี รําคาญ กอความเดือดรอนใหแกเพื่อนบานใกลเคียง จึงสงผลใหเกิดปญหาดานผลผลิตไกพื้นเมืองตํ่า ที่เปนเชนนี้อาจเนื่องมาจากไมมีการเลี้ยง 2. ผลการพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไก แบบเปนระบบ ไมมีการทําวัคซีนปองกันโรค พื้นเมืองในจังหวัดหนองบัวลําภู โดยการมีสวนรวม เมื่อถึงฤดูกาลโรคระบาดไกก็ตายเชนเดิม ของภาคีที่เกี่ยวของ ในการพัฒนานวัตกรรมทําให ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดโรคและการปองกัน เกษตรกรเกิดองคความรู และไดนวัตกรรมที่เปน โรคไกพื้นเมืองกรมปศุสัตว (Department of ความตองการของผูมีสวนเกี่ยวของ 5 นวัตกรรม Livestock Development, 2016) สรุปวาการ คือ 1) การคัดเลือกพันธุ โดยดูจากลักษณะ เลี้ยงไกพื้นเมือง ผูเลี้ยงควรรูจักโรคและการปองกัน ภายนอกของไกพื้นเมือง 2) การผสมพันธุ ใชตัวผู โรคไกพื้นเมือง ควรมีการใหวัคซีนปองกันโรค 1 ตัว ตอตัวเมีย 5 ตัว มีคอกผสมพันธุ 3) ที่อยู ผลการศึกษาครั้งนี้การเลี้ยงไกพื้นเมืองจะเลี้ยง อาศัย สามารถทําไดงาย สะดวก ราคาคอนขางตํ่า แบบปลอยใหหากินตามธรรมชาติและอาศัยอยู ทําจากวัสดุในทองถิ่น 4) อาหาร หาไดงายตาม ใตถุนบาน ใหผลเชนเดียวกับการวิจัยของ เกรียงไกร ทองถิ่น คือ ขาวเปลือก ปลายขาว รําละเอียด โชประการ (Choprakarn, 1998) ที่ศึกษาเรื่อง หรือรําหยาบ เมล็ดขาวโพดสําหรับเลี้ยงสัตว การพัฒนาการผลิตไกพื้นเมืองและไกลูกผสม รวมทั้งเศษอาหาร 5) การรักษาโรค ใชสมุนไพร พื้นเมือง พบวา ไกพื้นเมืองคือไกที่มีการเลี้ยง ที่หาไดงายในทองถิ่น คือ ขมิ้นสด นํ้าผึ้ง ตะไคร ทั่วไปตามหมูบาน ถูกปลอยหากินเอง คุยเขี่ย กลวยนํ้าหวา ฟาทะลายโจรหรือบอระเพ็ด อาหารตามธรรมชาติ ซึ่งนวัตกรรมที่ไดนี้มาจากกระบวนการมีสวนรวม จากการศึกษาสภาพปญหา พบวา การ ของภาคีที่เกี่ยวของ ที่รวมมือกันสรางนวัตกรรมนี้ เลี้ยงไกพื้นเมืองปจจุบันจะเลี้ยงแบบปลอยให รวมกัน โดยเปนนวัตกรรมของชุมชน โดยชุมชน หากินตามธรรมชาติ ทําใหเกิดโรคระบาด สงกลิ่น และเพื่อชุมชนผลการศึกษานี้เปนไปตามแนวคิด เหม็นรําคาญ กอความเดือดรอนใหแกเพื่อนบาน ของ ทนงศักดิ์ คุมไขนํ้า (Koomkhinkam, 1991) ใกลเคียง ไมมีการคัดเลือกพันธุสงผลใหลูกไก ใหแนวคิดของการมีสวนรวมของประชาชนวา ที่เกิดมาแคระ ทั้งนี้เพราะเกษตรกรไมมีองคความรู เปนการที่ประชาชนไดเขามามีสวนรวมในลักษณะ เกี่ยวกับการเลี้ยงไกพื้นเมือง สอดคลองกับ สุชน ของการรวมคิด รวมตัดสินใจ รวมวางแผน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 39 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

รวมปฏิบัติ รวมรับผลประโยชนและรวมติดตาม 2016) ไดเสนอแนวคิดวาการผสมพันธุไกพื้นเมือง ประเมินผล และแนวคิดของ Brown & Moberg เปนการผสมโดยที่ไกตัวผูและไกตัวเมียรวมคู (1980) ไดกลาวถึง การมีสวนรวมวาเปน ผสมพันธุกันเอง ใชไกตัวผู 1 ตัว ขังรวมในคอกผสม กระบวนการซึ่งบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปมีอิทธิพล กับตัวเมีย 5 - 6 ตัว ซึ่งกันและกัน ในการตัดสินใจที่สงผลกระทบตอ โรงเรือนไกพื้นเมือง มีเปาหมายใหนํา พวกเขาในอนาคตซึ่งอาจจะถูกกําหนดขึ้นมา ภูมิปญญาทองถิ่นมาใชในการสรางโรงเรือน อยางเปนทางการหรือไดรับการสนับสนุนอยาง โดยเปนแบบที่ทําไดงาย จากวัสดุในทองถิ่น ไมเปนทางการ ปลอดภัยจากขโมยและสัตวรายตาง ๆ ในการ 3. ผลการนํานวัตกรรมการเลี้ยงไก จัดวางโรงเรือนควรหันหนาเขาหาทิศตะวันออก พื้นเมืองโดยใชภูมิปญญาทองถิ่นสูการปฏิบัติ เพื่อลดความรอนจากแสงอาทิตย สอดคลอง กับกลุมเปาหมาย จํานวน 30 คน ทั้ง 5 นวัตกรรม กับแนวคิดของกรมปศุสัตว (Department of มีผลดังนี้ Livestock Development , 2016) ไดเสนอวา การคัดเลือกพันธุ มีเปาหมายใหนํา โรงเรือนและอุปกรณการเลี้ยงไกพื้นเมืองนั้นไมมี ภูมิปญญาทองถิ่นมาชวยในการคัดเลือกพันธุ รูปแบบที่ตายตัวแนนอน ขึ้นอยูกับวัตถุประสงค โดยวิธีดูจากลักษณะภายนอกของไกพื้นเมือง ของการเลี้ยง ตนทุนผูที่เลี้ยง โรงเรือนที่ดีควร ดูความสมบูรณแข็งแรง ไมเปนโรค ทั้งนี้เพราะ กันแดดกันฝน ภายในโรงเรือนโปรง รักษาความ ลักษณะภายนอกสามารถทํานายถึงความ สะอาดงาย ปองกันศัตรูตาง ๆ ไดดี หางจากที่พัก สมบูรณแข็งแรงของไกพื้นเมือง สอดคลองกับ พอสมควร โดยโรงเรือนขนาดกวาง 3 เมตร แนวคิดของกรมปศุสัตว (Department of ยาว 4 เมตร สูง 2 เมตร ก็จะใชเลี้ยงไกพื้นเมือง Livestock Development , 2016) เสนอวิธีการ ขนาดใหญประมาณ 30-40 ตัว สําหรับคอนนอน คัดเลือกพันธุไกพื้นเมือง คือ รูปรางใหญ นํ้าหนัก ควรเปนไมกลมไกพื้นเมืองจะจับคอนนอนไดดี โตเต็มที่อายุ 5-6 เดือน เพศผูหนัก 3.5-4 กิโลกรัม อาหาร มีเปาหมายใหนําภูมิปญญา เพศเมียหนัก 2.5-3 กิโลกรัม แข็งแรงและทนทาน ทองถิ่น มาใชในการใหอาหารไกพื้นเมือง ควรหา ตอโรคพยาธิ ควรเลี้ยงงายในสภาพชนบททั่วไป ไดงายตามทองถิ่น สูตรอาหารสําหรับเลี้ยงไก การผสมพันธุ มีเปาหมายใหนําภูมิปญญา พื้นเมืองแรกเกิด จนถึงอายุ 2 เดือน ใชปลายขาว ทองถิ่นมาใชในการผสมพันธุ โดยการใชตัวผู 1 ตัว ผสมกับใบผักตําลึงสับละเอียด ในอัตราสวน 1 : 1 ตอตัวเมีย 5 ตัว จัดทําคอกผสมพันธุไวเฉพาะ และไกพื้นเมืองอายุ 2 เดือนขึ้นไป ใชรํารวม โดยผสมพันธุในชวงเชาและเย็น จะทําใหนํ้าเชื้อ ขาวเปลือกผสมกับตนกลวยสับละเอียด และใบ ไกพอพันธุมีความแข็งแรง แลวเวนระยะ 3 – 5 วัน ผักตําลึงสับละเอียด ในอัตราสวน 1 : 1 : 2 : 1 ผสมซํ้าสอดคลองกับแนวคิดของกรมปศุสัตว โดยใหกินวันละ 2 ครั้ง ภาชนะสําหรับใสนํ้าและ (Department of Livestock Development, อาหาร ใชสีแดงหรือสีเหลืองเพื่อกระตุนใหไกกิน 40 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อาหารไดมากขึ้น ทั้งนี้เพราะปลายขาวคือแหลง โดยขมิ้นชันมี สารเคอรคูมิน (Curcuminoids) ใหพลังงานในสัตวปก 3,500 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม มีฤทธิ์ลดการอักเสบ สวนตะไครมีสารเคมีใน สวนตําลึงเปนพืชที่มีสารเบตาแคโรทีน เปนสาร นํ้ามันหอมระเหยที่ออกฤทธิ์แกปวด กลวยนํ้าวา กระตุนการทํางานของเอนไซมที่ซอมแซมสาร มีโปรตีนชนิดหนึ่งที่เรียกวา Tryptophan ซึ่งชวย พันธุกรรม รํารวมเปนแหลงใหพลังงานมีโปรตีน ในการผลิตสาร Serotonin รักษาแผลในลําไส ประมาณ 8-10% ขาวเปลือก 100 กรัม มีโปรตีน ฟาทะลายโจรมีฤทธิ์ลดไข ผลการศึกษาครั้งนี้ 7% และกรมปศุสัตวไดนําสวนตาง ๆ ของกลวย ใหผลสอดคลองกับผลการศึกษาของ วรศิลป มาวิเคราะห พบวา ตนกลวยสดมีนํ้าเปนสวน มาลัยทอง (Malaithong, 2004) ไดศึกษาผลของ ประกอบประมาณ 95 เปอรเซ็นต มีโปรตีน สมุนไพรเพื่อทดแทนยาปฏิชีวนะและสารเรงการ คิดจากนํ้าหนักแหง 2.5 เปอรเซ็นต มีเยื่อใย เจริญเติบโตในไกลูกผสมสามสายเลือด ไดแก คิดจากนํ้าหนักแหง 26.1 เปอรเซ็นต มีแรธาตุ ฟาทะลายโจรและขมิ้นชัน ชนิดละ 3 ระดับ คือ แคลเซียม โปแตสเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม 0.5, 1.0 และ 1.5 เปอรเซ็นต ผสมกับอาหาร เหล็ก และสังกะสี อีกทั้งสมุนไพรไมมีโทษตอ พื้นฐาน พบวา อาหารที่กินตอวัน ประสิทธิภาพ รางกาย ผลการศึกษาครั้งนี้ใหผลเชนเดียวกับการ การใชอาหารและอัตราการตายไมแตกตางกัน ศึกษาของ Laosomoon & Jansiriphota (2012) ทางสถิติ (P>0.05) ทั้งระยะ 0-5 สัปดาห และ ไดทดลองใชสมุนไพรผงใบฝรั่ง ผงกระเทียมและ 6-10 สัปดาห แตมีแนวโนมวาการใชสมุนไพร ผงสมุนไพรผสมตอสมรรถภาพการผลิตของไกไข ฟาทะลายโจรหรือขมิ้นชันอยางใดอยางหนึ่ง พบวา การเสริมผงสมุนไพรผสม 0.1 เปอรเซ็นต จะชวยปรับปรุงประสิทธิภาพการใชอาหารของไก ในอาหารมีผลทําใหสมรรถนะการผลิตของแมไก ใหดีขึ้น ทั้งประสิทธิภาพการใชอาหาร นํ้าหนักไขและ อัตราการไขมีแนวโนมที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับกลุม ขอเสนอแนะ ควบคุม จากขอคนพบของการศึกษาครั้งนี้ การรักษาโรค มีเปาหมายใหนําภูมิปญญา กอใหเกิดนวัตกรรมการเลี้ยงไกพื้นเมืองโดยใช ทองถิ่นมาใชในการรักษาโรค ที่ใชเปนประจําคือ ภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดหนองบัวลําภู จึงควร ขมิ้นสด ตะไคร กลวยนํ้าหวา ฟาทะลายโจรหรือ นํานวัตกรรมดังกลาวมากําหนดเปนระเบียบ บอระเพ็ด เพื่อรักษาโรคขาเจ็บ ทองเสีย หวัด แนวปฏิบัติ และรูปแบบสื่อตาง ๆ เชน คูมือ วิธีใหก็จะสับเปนชิ้นเล็ก ๆ ปอนใหไกกิน ถาพืช แผนพับการเลี้ยงไกพื้นเมือง เพื่อการนํานวัตกรรม สมุนไพรตัวไหนขมก็จะผสมนํ้าผึ้ง หรือประคบ ที่ไดไปใชในที่อื่น ๆ ซึ่งอาจมีการปรับใชใหเหมาะสม ทาภายนอก ทั้งนี้เพราะสมุนไพรมีสรรพคุณเปนยา กับแตละทองที่ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 41 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

REFERENCES Laosomoon, P. & Jansiriphota, S. (2012). Brown, W. B. & Moberg, D. J. (1980). Ethnoveterinary treatment of native Organizational theory and management chickens in Ratchaburi Province. : a macro approach. NY: John Wiley Ratchaburi: Chombueng & Sons. Rajabhat University. (in Thai) Choprakarn, K. (1998). Indigenous chicken Malaithong, W. (2004). Production of organic Crossbred chicken: past and future. chicken using medicine herbs. Bangkok: Research Fund. Chaingmai: Maejo University. (in Thai) (in Thai) Simaraks, S., Kerdsuk, V., & Kroeksakul, P. Department of Livestock Development. (2015). Outcome of Thai indigenous (2016). Raising Purebred of Thai chicken deveiopment of small-scale native chicken. Bangkok: Ministry farmer in northeastern region in the of Agriculture and Cooperatives. past. Bangkok: Thailand Research (in Thai) Fund. (in Thai) Koomkhinkam, T. (1991). Devopment Tangtaweewipat, S. (1994). Poultry management. workshop. Bangkok: Bophip Kanphim Animal Science, Faculty of Agriculture Chamkat. (in Thai) Chiang Mai University. Chiang Mai: Chiang Mai University. (in Thai) 42 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Research Article

การสรางนักสื่อสารชุมชนทองถิ่นในการเผยแพรแผนชุมชน เพื่อธํารงรักษาปาชายเลนตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา SMART LOCAL COMMUNICATORS TRAINING TO PROMOTE THE COMMUNITY PLAN FOR PRESERVING THE MANGROVE FOREST IN HUA KHAO, SONGKHLA PROVINCE เจริญเนตร แสงดวงแข1* และ สินี กิตติชนมวรกุล2 Jarernnate Saengdoungkhae1* and Sinee Kittichonvorakun2

สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยหาดใหญ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย1*, 2 Department of Communication Arts, Faculty of Communication Arts, Hatyai University, Songkhla, Thailand1*, 2

[email protected]*

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาศักยภาพคนในชุมชนใหเปนนักสื่อสารชุมชน ทองถิ่น 2) วิเคราะหความตองการสื่อของชุมชน สําหรับใชผลิตสื่อเพื่อเผยแพรแผนชุมชนในรูปแบบ ที่เหมาะสม 3) เผยแพร/ขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏในแผนชุมชนภายใตรูปแบบสื่อที่ชุมชนตองการ และสามารถใชประโยชนได กลุมตัวอยาง คือ คณะกรรมการจัดการปาชายเลนฯ ที่ทําหนาที่ดานการ ประชาสัมพันธ ตัวแทนชุมชนแบบพหุวัฒนธรรม ผลการวิจัยพบวา 1) การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชน ใหเปนนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น ไดดําเนินการผานกิจกรรมตาง ๆ ไดแก การคัดเลือกแกนนําที่จะพัฒนา ใหเปนนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น การคนหาศักยภาพการสื่อสารของแกนนํา การประชุมทบทวนแผน ชุมชนฯ การอบรมใหความรู การพบปะผูมีสวนไดสวนเสีย การประชุมเตรียมขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ การจัดกิจกรรมตามแผนชุมชนฯ การประชุมประเมินผลโครงการ การถอดบทเรียน 2) การวิเคราะห ความตองการสื่อของชุมชน พบวา ชุมชนเลือกใชสื่อบุคคล หอกระจายขาว สื่อกิจกรรม สื่อใหม การประชาสัมพันธผานกิจกรรมทางศาสนาเพื่อขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ 3) แกนนําเลือกเผยแพร/ ขยายผลเนื้อหาในแผนชุมชนฯ 2 กิจกรรมหลัก คือ การกําหนดกฏ กติกาและขอบเขตการใชประโยชน จากปาชายเลน และกิจกรรมศึกษาดูงาน โดยเผยแพรผานสื่อที่มีในชุมชน เขาถึงคนในชุมชนไดงาย กระจายขอมูลไดในวงกวาง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 43 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

คําสําคัญ : การสรางนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น การเผยแพรแผนชุมชน ปาชายเลน ตําบลหัวเขา จังหวัด สงขลา

ABSTRACT This research had objectives: 1) developing the personal potential in community to be smart communicator, 2) analyzing the local demand for producing media to publicize the appropriate community plans, and 3) publicizing / extending the content of community plans via demand-responsive and adoptable medias. The sample compose of the mangrove forest and coastal resource management committee who responsibility in public relation and the multicultural local representatives. The key results from this research was summarized by three aspects. First aspect, the development of personal potential to be smart communicator could be achieved via selection of targeted community leaders to be smart communicator, finding the communication potential of community leaders, holding the meeting for revision of community plan, arranging the training knowledge. Including meeting up the relevant stakeholders, holding the brainstorm meeting for preparation of driving community plan, setting up the activities from community plan, meeting for the project assessment, and lessons learnt from assembling the local communicators. The second aspect, analyzing the local media demand could be found that the local people use the personal media, broadcasting tower, activity media, a new media and a public relation via religious activities for driving the community plan. The last aspect, the community leaders chose to publicize and extend the content of the community plans via two main activities: determination of regulation and scope of the mangrove forest using, and the educational field trip. The community plans were publicized via the existing local medias which can be easily accessed and widespread.

Keywords: local communicators training publication of community plans, Mangrove forest, Hua Khao, Songkhla Province 44 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

บทนํา ทองถิ่น (Local communicator) การผสมผสาน งานวิจัยเปนการรวบรวมองคความรู (hybrid) กับสื่อเดิมที่ชาวบานใช ตลอดจนแนวทาง อยางเปนระบบบนฐานขอเท็จจริง มีความ การใชประโยชนอื่น ๆ (Kaewthep, 2010) นาเชื่อถือเปนขอคนพบที่สามารถนํามาอางอิง งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาการทําแผน และใชประโยชนไดหากไดรับการเผยแพรไปยัง ชุมชนพหุวัฒนธรรมในการบริหารจัดการ กลุมเปาหมายอยางเหมาะสม สํานักงานกองทุน การใชประโยชนจากระบบนิเวศบริการปาชายเลน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) เปนหนวยงานที่ดําเนิน ตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา” โดยอาจารยพิไลวรรณ การสนับสนุนงานวิจัยจนทําใหเกิดผลงานวิจัย ประพฤติและคณะ (Prapruit et al., 2014) เปนงาน นับหมื่นโครงการ ทั้งในสวนของการสรางองค วิจัยที่ไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุน ความรูใหม งานวิจัยและพัฒนา และงานวิจัย สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ซึ่งมีขอคนพบที่นา เพื่อพัฒนาชุมชนทองถิ่น กลายเปนคลังความรู สนใจในหลากหลายประเด็น และสามารถตอยอด ที่มีคุณคา และเอื้อประโยชนตอผูใชในทุกระดับ การใชประโยชนจากงานวิจัยดังกลาวสูชุมชน การใชประโยชนจากงานวิจัย นับเปน เพื่อใหชุมชนเกิดการพัฒนาโดยอาศัยองคความรู แนวทางสําคัญในการตอยอดเพื่อสื่อสารองค ที่เปนขอคนพบจากงานวิจัย รวมกับการขับเคลื่อน ความรูที่มีคุณคาสูชุมชนทองถิ่น ตลอดจน การดําเนินงานผานกิจกรรมที่ชุมชนเขามามี หนวยงานอื่น ๆ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากฐานคลัง สวนรวม และใชการออกแบบเครื่องมือการ ขอมูลความรู พบวา ยังมีงานวิจัยที่นาสนใจอีก สื่อสารที่เหมาะสมกับชุมชน เพื่อใหเกิดการ หลากหลายประเด็นที่สามารถตอยอดไปสูการ อนุรักษปาชายเลนของชุมชนอยางยั่งยืนใน ใชประโยชนเพื่อใหเกิดการสื่อสารคุณคาของงาน อนาคต ประกอบกับพื้นที่ตําบลหัวเขาเปนพื้นที่ ความรูสูผูใชประโยชนอยางหลากหลาย ภายใต ที่มีความนาสนใจในแงการเปนแหลงวัฒนธรรม การใชประโยชนเชิงนโยบาย เชิงสาธารณะ เชิง อันหลากหลายที่สะทอนภาพความเปนพหุ พาณิชย เชิงวิชาการ หรือดานชุมชน/พื้นที่ โดยมี วัฒนธรรมไดเปนอยางดี แนวทางการใชประโยชนในลักษณะที่หลากหลาย ชุมชนตําบลหัวเขา อําเภอสิงหนคร ทั้งการคืนผลงานวิจัยใหพื้นที่ การขยายผลตอ จังหวัดสงขลา เปนพื้นที่ที่มีการจัดทําแผนชุมชน กลุมเปาหมายรวมประเด็น การทํางานกับผูมี ในหลากหลายดาน เพื่อใชเปนแผนที่ขับเคลื่อน สวนไดสวนเสีย (stakeholder/ support group) การดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย เชนเดียวกับ การใชเนื้อหาเชิงประเด็นครบมิติเพื่อขับเคลื่อน แผนชุมชนพหุวัฒนธรรมในการบริหารจัดการ การใชงานวิจัยเสริมสรางศักยภาพ (empower) การใชประโยชนจากระบบนิเวศบริการปาชายเลน เครือขาย การเผยแพรประเด็นใหมสูสาธารณะ ตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา ที่มีเปาหมายเพื่อให (public) การฝกชาวบานใหเปนนักสื่อสารชุมชน เกิดการขับเคลื่อนการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 45 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ที่เกี่ยวของกับปาชายเลนชุมชน ผืนปาที่เปรียบ กิจกรรมอื่น ๆ ตามแผนงานที่ปรากฏในแผน เสมือนลมหายใจของคนในชุมชน เปนผืนปา ชุมชนตอไป ซึ่งมาจากความรวมแรงรวมใจของชาวไทยพุทธ และมุสลิมที่รวมกันปลูกเพื่อการใชประโยชน วัตถุประสงคการวิจัย รวมกันของชุมชน ปาชายเลนชุมชนตําบลหัวเขา 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนใหเปน จึงไมไดเปนเพียงผืนปา แตเปรียบเสมือนสื่อ นักสื่อสารชุมชนทองถิ่น (local communicator) เศรษฐกิจที่สืบสานวิถีชีวิตและเชื่อมรอยใจของ 2. เพื่อวิเคราะหความตองการสื่อของ คนในชุมชนไวใตปาผืนเดียวกัน เปนผืนปาที่ ชุมชน สําหรับใชผลิตสื่อเพื่อเผยแพรแผนชุมชน สะทอนวิถีชีวิต และสะทอนความเปนพหุวัฒนธรรม ในรูปแบบที่เหมาะสม (multicultural society) 3. เพื่อเผยแพร/ขยายผลเนื้อหาที่ จากการสัมภาษณแกนนําชุมชนและ ปรากฏในแผนชุมชนภายใตรูปแบบสื่อที่ชุมชน กลุมตัวอยางคนในชุมชน พบวา กิจกรรมที่ ตองการและสามารถใชประโยชนได ปรากฏในแผนชุมชนพหุวัฒนธรรมในการบริหาร จัดการการใชประโยชนจากระบบนิเวศบริการปา ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย ชายเลน ตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา มีหลากหลาย 1. เกิดการพัฒนาศักยภาพของแกนนํา กิจกรรมที่ยังไมไดขับเคลื่อน อีกทั้งแกนนําชุมชน ชุมชนใหเปนนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น (local ไมไดใชแผนดังกลาวเปนแผนที่นําทางการทํางาน communicator) ที่มีความสามารถในการคัดเลือก ภารกิจดานการดูแลรักษาปาชายเลน จึงยังไมเกิด เนื้อหาจากแผนชุมชนฯ สามารถวิเคราะหรูปแบบ การขับเคลื่อนอยางชัดเจนและเปนรูปธรรมตาม การสื่อสารที่เหมาะสม เพื่อใชในการเผยแพร แผนชุมชนฯ แผนชุมชนฯ และสามารถขับเคลื่อนกิจกรรม/ งานวิจัยชิ้นนี้ ผูวิจัยจึงสนใจศึกษา โครงการที่ปรากฏในแผนชุมชนฯ ได กระบวนการสรางนักสื่อสารชุมชนทองถิ่นใหเปน 2. แกนนําชุมชนสามารถเลือกใชสื่อ นักสื่อสารชุมชนทองถิ่น (local communicator) สําหรับเผยแพรแผนชุมชนฯ ในรูปแบบที่เหมาะสม ที่สามารถคัดเลือกสื่อเพื่อใชเปนชองทางในการ และสอดคลองกับความตองการของชุมชน เผยแพร/ขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏในแผนชุมชนฯ 3. เกิดการขับเคลื่อนแผนจากการ โดยมุงเนนมิติการสื่อสารแบบมีสวนรวม เพื่อให เผยแพร/ขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏในแผนชุมชนฯ เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรมแบบมีสวนรวม ตลอดจน ภายใตรูปแบบสื่อที่ชุมชนตองการและสามารถ สามารถตอยอดความรูดังกลาวไปใชในการสานตอ ใชประโยชนได 46 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ขอบเขตของการวิจัย วิจัยตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2559 – กุมภาพันธ 1. ขอบเขตดานเนื้อหา: ศึกษาแผนชุมชน 2560 (รวมระยะเวลา 1 ป) และแนวทางการเผยแพรแผนชุมชนเพื่อธํารง 3. ขอบเขตดานพื้นที่: ศึกษาการเผยแพร รักษาปาชายเลนตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา แผนชุมชนในเขตพื้นที่ชุมชนตําบลหัวเขา อําเภอ 2. ขอบเขตดานระยะเวลา: ดําเนินการ สิงหนคร จังหวัดสงขลา

กรอบแนวคิดของการวิจัย

การสรางนักสื่อสาร ชุมชนทองถิ่น

การคัดเลือกสื่อที่เหมาะสม การสื่อสาร การขับเคลื่อน กับชุมชน แบบมีสวนรวม แผนชุมชนฯ

การคัดเลือกเนื้อหาที่ปรากฏ ในแผนชุมชน

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 47 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ระเบียบวิธีวิจัย หัวเขา อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประกอบดวย งานวิจัยเรื่อง “การสรางนักสื่อสารชุมชน หมูที่ 1 บานหัวเขาแดง หมูที่ 2 บานแหลมสน ทองถิ่นในการเผยแพรแผนชุมชนเพื่อธํารง หมูที่ 3 บานนอก หมูที่ 4 บานนาใน หมูที่ 5 รักษาปาชายเลนตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา” บานทาเสา หมูที่ 6 บานหัวเลน หมูที่ 7 บาน มีเปาหมายหลัก คือ พัฒนาศักยภาพคนใน บนเมือง และหมูที่ 8 บานบอสวน ชุมชนใหเปนนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น (smart การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยใชวิธีการเลือกกลุม communicator) และคืนผลงานวิจัยใหพื้นที่ ตัวอยางแบบจําเพาะเจาะจง โดยเริ่มตนจากการ ภายใตรูปแบบสื่อที่ชุมชนตองการ โดยมีระเบียบ คัดเลือกแกนนําหลัก คือ คณะกรรมการจัดการ วิธีวิจัย ดังนี้ ปาชายเลนและทรัพยากรชายฝงชุมชนตําบล วิธีการศึกษา หัวเขา ที่ทําหนาที่ดานการประชาสัมพันธ จํานวน 1. ทบทวนแผนชุมชน 3 คน และขยายผลไปยังตัวแทนชุมชนแตละ 2. วิเคราะหศักยภาพดานการสื่อสาร หมูบาน ซึ่งประกอบดวยกลุมคนที่เปนตัวแทน ของแกนนํา/ตัวแทนชุมชน ชุมชนแบบพหุวัฒนธรรม ทั้งชาวไทย-พุทธ และ 3. อบรมใหความรูเรื่องการสื่อสาร ชาวไทย-มุสลิม โดยคัดเลือกกลุมตัวอยางที่มีการ คุณลักษณะของสื่อประเภทตาง ๆ การสื่อสาร/ ใชประโยชนจากปาชายเลนโดยตรงและโดยออม ประชาสัมพันธ แผนชุมชน และการผลิตสื่อ ในเบื้องตน รวม 16 คน จาก 8 หมูบาน 4. วิเคราะหความตองการสื่อของคน เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ในชุมชน การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดเลือกใชเครื่องมือ 5. สื่อสารแผนชุมชนผานสื่อรูปแบบตาง ๆ วิจัยที่สอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย และ ที่สอดคลองกับความตองการของคนในชุมชน อยูภายใตกรอบแนวคิด/ทฤษฎีที่ใชเปนกรอบ ประชากรและกลุมตัวอยาง ในการวิเคราะหขอมูล โดยมีเครื่องมือที่ใชในการ ประชากร คือ กลุมคนในชุมชนตําบล ศึกษาวิจัย ดังนี้ 48 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 1 การใชเครื่องมือวิจัย

วัตถุประสงค เครื่องมือวิจัย ประเด็น 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ จัดประชุมกลุมยอย - ทบทวนแผนชุมชน คนในชุมชนใหเปนนัก อบรมความรูเรื่องการสื่อสารแผนชุมชน - คนหาศักยภาพ สื่อสารชุมชนทองถิ่น ดานการสื่อสารของ (smart communicator) แกนนําชุมชน อบรมความรูเรื่อง “การสื่อสาร” ในประเด็น วิเคราะหแนวทางการ การสื่อสาร คุณลักษณะของสื่อประเภทตาง ๆ เผยแพรแผนชุมชนฯ การสื่อสาร/ประชาสัมพันธแผนชุมชน และ ติดตั้งองคความรูดานการ การผลิตสื่อ สื่อสาร การประชาสัมพันธ แผนชุมชนเพื่อนําไปสู การขับเคลื่อนแผนฯ การสังเกตแบบมีสวนรวม สังเกตพัฒนาการของ แกนนํา/ตัวแทนชุมชน การสัมภาษณแบบเจาะลึก การพัฒนาศักยภาพของ แกนนํา/ตัวแทนชุมชน 2. เพื่อวิเคราะหความ จัดประชุมกลุมยอย ความตองการสื่อเพื่อใช ตองการสื่อของชุมชน การสังเกตแบบมีสวนรวม ผานการ สําหรับการเผยแพรแผน ในรูปแบบที่เหมาะสม รวมสนทนาตามธรรมชาติกับชุมชน ชุมชนฯ 3. เพื่อเผยแพร/ขยายผล การวิเคราะหเอกสาร ศึกษาขอมูลจาก องคความรูจากงานวิจัย เนื้อหาที่ปรากฏในแผน งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาการทําแผนชุมชน ชุมชนภายใตรูปแบบ พหุวัฒนธรรมในการบริหารจัดการการใช สื่อที่ชุมชนตองการและ ประโยชนจากระบบนิเวศบริการปาชายเลน สามารถใชประโยชนได ตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา” จัดประชุมกลุมยอย ความรูความเขาใจเรื่อง การสังเกตแบบมีสวนรวม ผานการ แผนชุมชนฯ รวมสนทนาตามธรรมชาติกับชุมชน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 49 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา ใหคนในชุมชนไดรับรู สรุปผลการวิจัย ภายใตรูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสม รวมทั้ง 1. การพัฒนาศักยภาพคนใน มีความสามารถในการบริหารจัดการประเด็น ชุมชนใหเปนนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น (local (issue management) และความสัมพันธระหวาง communicator) เพื่อใหเปนนักสื่อสารชุมชน ผูมีสวนไดสวนเสีย (stakeholder relationship ทองถิ่นที่สามารถสื่อสารขอมูลจากแผนชุมชน management) ผูวิจัยไดดําเนินการพัฒนา พหุวัฒนธรรมในการบริหารจัดการการใช ศักยภาพดานความรูและการสื่อสารผานกิจกรรม ประโยชนจากระบบนิเวศบริการปาชายเลน ตาง ๆ 14 กิจกรรม ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 คัดเลือกแกนนําชุมชน (พหุวัฒนธรรม): โดยมีแกนนําหลัก คือ คณะกรรมการจัดการ ปาชายเลนฯ ที่ทําหนาที่ดานประชาสัมพันธ จํานวน 3 คน

นายยุทธนา จิตตโตะหลํา (บังอี) นายเฉลียว พิมพาชะโร (พี่บิว)

นายสันติ บุรันวิจิตร (บังเปก)

ภาพที่ 2 แกนนําชุมชนที่เปนแกนนําหลักในการเผยแพรแผนชุมชนฯ 50 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

กิจกรรมที่ 2 คนหาศักยภาพดานการสื่อสารของแกนนําชุมชน: เพื่อวิเคราะหตนทุนศักยภาพ ดานการสื่อสารของแกนนํา กอนจะพัฒนาศักยภาพ (empower) ในลําดับตอไป

ภาพที่ 3 กิจกรรมการคนหาศักยภาพดานการสื่อสารของแกนนําชุมชน

กิจกรรมที่ 3 อบรมความรู เรื่อง “แผนชุมชน/ กิจกรรมที่ 4 ประชุมทบทวนแผนชุมชนฯ: แนวทางสื่อสารแผนฯ”: เพื่อใหแกนนําเขาใจ ใชการมีสวนรวมในการทบทวนและคัดเลือก แผนชุมชนฯ กอนขับเคลื่อน กิจกรรมตามแผนชุมชนฯ ที่จะขับเคลื่อน

ภาพที่ 4 กิจกรรมอบรมความรู “แผนชุมชนฯ” ภาพที่ 5 กิจกรรมประชุมทบทวนแผนชุมชนฯ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 51 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กิจกรรมที่ 5 อบรมความรู เรื่อง “การสื่อสาร/ กิจกรรมที่ 6 พบปะผูมีสวนไดสวนเสีย: ประเภทสื่อ”: เพื่อใหแกนนําชุมชนสามารถ เพื่อสรางการมีสวนรวมโดยชุมชนไดรับการ วิเคราะหและเลือกใชสื่อไดอยางเหมาะสม สนับสนุนบุคลากรและงบประมาณ

ภาพที่ 6 กิจกรรมอบรมความรู ภาพที่ 7 กิจกรรมพบปะผูมีสวนไดสวนเสีย

กิจกรรมที่ 7 ระดมความคิดแบบมีสวนรวม กิจกรรมที่ 8 อบรมความรูเรื่อง “การ กอนขับเคลื่อนแผนฯ: เพื่อสรางความรู ความ ประชาสัมพันธแผนชุมชนฯ”: เพื่อใหแกนนํา เขาใจระหวางผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝาย รวมวางแผนกิจกรรมในขั้นตอนตาง ๆ อยางเปน ระบบ

ภาพที่ 8 กิจกรรมระดมความคิด ภาพที่ 9 กิจกรรมอบรมความรู แบบมีสวนรวม “การประชาสัมพันธแผนชุมชนฯ” 52 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

กิจกรรมที่ 9 อบรมความรูเรื่อง “การผลิต กิจกรรมที่ 10 จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน: สื่อปาย”: โดยมีแกนนําหลักเปนวิทยากรอบรม เพื่อเสริมสรางความรูดานการบริหารจัดการ แกนนําเยาวชนในชุมชน ปาชายเลนใหกับแกนนําชุมชน

ภาพที่ 10 อบรมความรูเรื่องการผลิตสื่อปาย ภาพที่ 11 กิจกรรมศึกษาดูงาน

กิจกรรมที่ 11 เตรียมความพรอมกิจกรรม กิจกรรมที่ 12 จัดกิจกรรมปกปายเขตอนุรักษ: ปกปาย: เพื่อติดตาม ตรวจสอบการดําเนินงาน ภายใตการมีสวนรวมของชุมชน รวมทั้งหนวยงาน กอนขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ ภายในและภายนอกชุมชน

ภาพที่ 12 กิจกรรมเตรียมความพรอม ภาพที่ 13 กิจกรรมปกปายฯ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 53 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กิจกรรมที่ 13 ระดมความคิดเพื่อประเมินผล กิจกรรมที่ 14 ถอดบทเรียนการสรางนัก โครงการ: เปนการทบทวนและประเมินผลการ สื่อสารชุมชนทองถิ่น: เปนการสรางการเรียนรู ดําเนินกิจกรรมตามแผนชุมชนฯ รวมกัน เพื่อยกระดับคุณภาพการทํางาน

ภาพที่ 14 กิจกรรมประเมินผล ภาพที่ 15 กิจกรรมถอดบทเรียน

ทั้งนี้ จากการจัดประชุมกลุมยอย ในกิจกรรมตาง ๆ ไดสะทอนการมีสวนรวมของแกนนําชุมชน ดังนี้ 54 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 2 การเผยแพร/ขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏในแผนชุมชนฯ

กิจกรรมประชุมกลุมยอย ลักษณะการมีสวนรวม การคนหาศักยภาพดานการสื่อสาร แกนนําชุมชนมีสวนรวมในการวิเคราะหศักยภาพดาน ของแกนนําชุมชน การสื่อสารของตนเอง เพื่อเสริมสรางศักยภาพ (empower) ความรูและทักษะดานตาง ๆ กิจกรรมทบทวนแผนชุมชน แกนนําชุมชนมีสวนรวมในการทบทวนแผนชุมชนฯ และ คัดเลือกกิจกรรมที่ปรากฏในแผนชุมชนฯ เพื่อดําเนินงาน โดยมีการคํานึงถึงระดับความยาก-งาย และความเปนไปได ในการดําเนินงาน ทั้งนี้ ชุมชนเลือกดําเนินงานตามแผน ดานทรัพยากรปาชายเลนมากที่สุดเปนลําดับแรก ภายใต เหตุผลคือ แผนดานดังกลาวเกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการ ประกอบอาชีพของคนในชุมชนและปาชายเลนเปนหัวใจ ของชุมชน และเลือกดําเนินงาน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรม กําหนดกฎ กติกาและขอบเขตการใชประโยชนจากปา ชายเลน และกิจกรรมทัศนศึกษาดูงาน การจัดประชุมระดมความคิดแบบมี แกนนําเปนผูมีบทบาทสําคัญในการแสดงความคิดเห็น สวนรวมเพื่อเตรียมขับเคลื่อนแผนชุม เพื่อสะทอนขอมูลอันเปนประโยชนตอชุมชน เนื่องจาก ชนฯ ในการขับเคลื่อนแผนชุมชนนั้น ตองอาศัยทุนเดิมของชุมชน และทุนใหมจากการประสานเครือขายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ การจัดประชุมเตรียมความพรอมในการ แกนนํามีสวนรวมในการวางแผนดําเนินกิจกรรม จัดกิจกรรม “รวมพลังชุมชนคนรักปา การประชาสัมพันธกิจกรรม การประสานงานหนวยงาน ชายเลน” (ปกปายเขตอนุรักษฯ) ที่เกี่ยวของ และการประเมินผลกิจกรรม การจัดประชุมระดมความคิดเห็นและ แกนนํามีสวนรวมในการประเมินผลโครงการ ทั้งประเมิน ประเมินผลโครงการ ผลการปฏิบัติงานของตนเอง และประเมินผลสําเร็จของ โครงการ โดยใชวิธีการประเมินผลทั้งเชิงปริมาณ และ เชิงคุณภาพ ผานการใชแบบสอบถาม การสังเกตการณ การสัมภาษณ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 55 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2. การวิเคราะหความตองการสื่อของ 2.3 สื่อกิจกรรม เนื่องจากเปนสื่อที่ ชุมชน แกนนําชุมชนคัดเลือกประเภทสื่อที่จะใช สามารถระดมการมีสวนรวมของคนในชุมชน สําหรับการประชาสัมพันธโครงการ/กิจกรรม ไดหลากหลายบทบาท โดยแกนนําชุมชนไดเลือก เพื่อขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ ในรูปแบบที่เหมาะสม จัดกิจกรรมสําหรับการขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ ประกอบดวย ประกอบดวย กิจกรรม “ศึกษาดูงาน” ซึ่งมี 2.1 สื่อบุคคล เนื่องจากเปนสื่อที่มี วัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางศักยภาพ (empower) ตนทุนตํ่า เปนสื่อที่ชุมชนใชในการประชาสัมพันธ ความรูดานการบริหารจัดการปาชายเลน และ ขอมูลขาวสารตาง ๆ อยางตอเนื่อง สามารถ กิจกรรมปกปาย “รวมพลังชุมชน คนรักปาชายเลน” กระจายขอมูลขาวสารไดในวงกวางจากการบอก เพื่อกําหนดกฎ กติกาปาชายเลนภายในชุมชน ตอไปยังบุคคลอื่น ๆ ซึ่งไดแกแกนนําหลักซึ่งเปน 2.4 สื่อใหม เนื่องจากเปนสื่อที่สามารถ คณะกรรมการจัดการปาชายเลนฯ ที่ทําหนาที่ กระจายขอมูลขาวสารไดอยางรวดเร็ว สามารถ ดานประชาสัมพันธ จํานวน 3 คน แกนนําสตรี เขาถึงกลุมเปาหมายไดในวงกวาง และลดตนทุน ผูนําทางศาสนา แกนนําเยาวชน เปนตน คาใชจาย 2.2 หอกระจายขาว เนื่องจากเปนสื่อ 2.5 การประชาสัมพันธผานการทํา ที่มีอยูแลวเกือบทุกหมูบาน สามารถสงกระจาย กิจกรรมทางศาสนา พิธีละหมาดใหญในวันศุกร เสียงไดครอบคลุมในชุมชน และงานบุญของชาวพุทธ เนื่องจากเปนชองทาง การสื่อสารที่มีผูเขารวมเปนจํานวนมาก

ภาพที่ 16 ตัวอยางหอกระจายขาวในชุมชน 56 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ภาพที่ 17 ตัวอยางสื่อกิจกรรม “ศึกษาดูงาน” และกิจกรรมปกปาย “รวมพลังชุมชน คนรักปาชายเลน”

ภาพที่ 18 ตัวอยางสื่อใหม ที่แกนนําใชในการประชาสัมพันธกิจกรรมตามแผนชุมชนฯ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 57 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

โดยกิจกรรมกําหนดกฎ กติกาและ ชาวพุทธ เพื่อประชาสัมพันธขาวสารใหคนใน ขอบเขตการใชประโยชนจากปาชายเลน แกนนํา ชุมชนไดทราบโดยทั่วกัน ชุมชนเลือกใชสื่อ ประกอบดวย สื่อปาย สื่อ 3. การเผยแพร/ขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏ กิจกรรม สื่อบุคคล สื่อหอกระจายขาว การ ในแผนชุมชนฯ ภายใตรูปแบบสื่อที่ชุมชนตองการ ประชาสัมพันธผานการทํากิจกรรมทางศาสนา และสามารถใชประโยชนได แกนนําชุมชน พิธีละหมาดใหญในวันศุกร และงานบุญของ ดําเนินการเผยแพร/ขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏ ชาวพุทธ และสื่อใหม และกิจกรรมทัศนศึกษา ในแผนชุมชน ผานกระบวนการวิเคราะหและ ดูงาน แกนนําชุมชนเลือกประชาสัมพันธ สํารวจสื่อชุมชน วิเคราะหเนื้อหาหรือประเด็น ขอมูลโดยใชสื่อบุคคล สื่อหอกระจายขาว การ ที่ตองการจะสื่อสาร โดยคํานึงถึงรูปแบบสื่อที่ชุมชน ประชาสัมพันธผานการทํากิจกรรมทางศาสนา ตองการและสามารถเขาถึงได ดังนี้ พิธีละหมาดใหญในวันศุกร และงานบุญของ

ตารางที่ 3 การเผยแพร/ขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏในแผนชุมชนฯ

เนื้อหาที่ปรากฏใน ประเด็นที่ใชสื่อสาร สื่อที่แกนนําชุมชนเลือกใช แผนชุมชนฯ กิจกรรมกําหนดกฎ การขับเคลื่อนกิจกรรม “รวมพลังชุมชน สื่อปาย สื่อกิจกรรม สื่อบุคคล กติกาปาชายเลน คนรักปาชายเลน” ปกปายเขตอนุรักษฯ สื่อหอกระจายขาว การ ประชาสัมพันธผานกิจกรรม ทางศาสนา พิธีละหมาดใหญ ในวันศุกร งานบุญของชาว พุทธ และสื่อใหม กิจกรรมทัศนศึกษา - การประชาสัมพันธกิจกรรมศึกษาดูงาน สื่อบุคคล หอกระจายขาว ดูงาน - การสรุปความรู และแลกเปลี่ยนเรียนรู และการประชาสัมพันธผาน ขอมูลจากกิจกรรมศึกษาดูงาน กิจกรรมทางศาสนา พิธี ในประเด็นการบริหารจัดการปาชายเลน ละหมาดใหญในวันศุกร งานบุญของชาวพุทธ และ สื่อใหม 58 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อภิปรายผลการวิจัย จากการเสริมความรูใหกับแกนนําชุมชน จากการดําเนินการวิจัยที่มีเปาหมายหลัก ในฐานะนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น พบวา แกนนํา ในการสรางนักสื่อสารชุมชนทองถิ่นในการ ชุมชนมีความสามารถดานการสื่อสารเพิ่มขึ้น เผยแพรแผนชุมชน เพื่อธํารงรักษาปาชายเลน และไดใชความสามารถทางการสื่อสารในการ ตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา มีขอคนพบที่นาสนใจ ประชาสัมพันธเผยแพรขอมูลและขับเคลื่อน ดังนี้ กิจกรรมตามแผนชุมชนฯ รวมทั้งปรับใชความรู ประเด็นที่ 1 การพัฒนาศักยภาพคน ดานการสื่อสารมาเปนกลยุทธในการสื่อสารกับ ในชุมชนใหเปนนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น ผูมีสวนไดสวนเสีย (stakeholder/ support (local communicator) ขอคนพบจากงานวิจัย group) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของอมรรัตน พบวา กระบวนการสรางนักสื่อสารชุมชนทองถิ่น ทิพยเลิศ และคณะ (Thiplerd et al., 2004) ที่พบวา (local communicator) สอดคลองกับขอคนพบ ประธานชุมชนเปนสื่อบุคคลที่มีความหมาย ของดวงพร คํานูณวัฒน และ คณะ (Kamnoonwat อยางหลากหลาย ไดแก ผูประสานความสัมพันธ et al., 2008) ซึ่งแกนนําชุมชนที่ไดรับคัดเลือก ระหวางรัฐกับชุมชน ผูแปลงเนื้อหาสาร (message ใหเปนนักสื่อสารชุมชนทองถิ่นใหความสําคัญ translator) แหลงขาวสารของชุมชน (source ตอการทําความเขาใจในเปาหมายของการ of information) ฯลฯ บทบาทหนาที่สําคัญของ ทํางาน สรางชองทางการสื่อสาร จัดประชุม รวมทั้ง ประธานชุมชน คือ การเปนผูนําแบบผสมผสาน มีการพบปะอยางไมเปนทางการกันอยาง ระหวางผูนําแบบเกาและแบบใหม จึงตองมี สมํ่าเสมอ เชนเดียวกับคณะกรรมการที่ผานการ ความสามารถในการประสานสิ่งเกาหรือทุนทาง คัดเลือกใหเปน นสส. โดยแกนนําชุมชนไดรับการ สังคมของชุมชน และสิ่งใหมจากภายนอกชุมชน เสริมความรูในประเด็นดานการสื่อสารและการ ประสานคนในชุมชนและคนภายนอกชุมชน ประชาสัมพันธแผนชุมชนฯ และขยายขอบเขต ประสานวิธีการสื่อสารแบบเกาและแบบใหม การมีสวนรวมไปสูกลุมเยาวชนและกลุมสตรี และประสานความรูจากภายในและภายนอก ในชุมชน ซึ่งมีลักษณะคลายคลึงกับ นสส. ชุมชน ฯลฯ และจําเปนตองมีสมรรถนะดาน ที่สามารถสราง นสส. รุนใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ การสื่อสารเปนกลไกชวยเสริมใหสามารถระดม ในสวนของการเผยแพรแผนชุมชน แกนนําชุมชน พลังคน ปญญา ทุนทรัพยเวลา หรือที่เรียก ใชสื่อที่เปนตนทุนในชุมชน คือ สื่อบุคคล สื่อ โดยรวมวา “พลังชุมชน” เพื่อการพัฒนาได หอกระจายขาว พิธีกรรมทางศาสนาพุทธและ กระบวนการสรางนักสื่อสารชุมชน ศาสนาอิสลาม รวมทั้งใชสื่อใหมในการเผยแพร ทองถิ่น มีการเปดโอกาสใหกลุมแกนนําได แผนชุมชนฯ ซึ่งคลายคลึงกับการทํางานของ วิเคราะหศักยภาพดานการสื่อสารของตนเอง นสส. ที่มองวาสื่อบุคคลและสื่อทองถิ่นมีความ เพื่อวิเคราะหจุดเดน-จุดดอยทางดานการสื่อสาร หลากหลาย กอนจะนําขอมูลดังกลาวไปใชเปนแนวทาง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 59 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เสริมสรางศักยภาพ (empower) ใหกับแกนนํา สื่อสารใหเหมาะกับชุมชน นอกจากนี้ ยังมีการ ชุมชน รวมทั้งมีการวิเคราะหผูมีสวนไดสวนเสีย เสริมสรางศักยภาพของแกนนําชุมชนในสวน (stakeholder/ support group) เพื่อประเมิน ที่ยังขาดหายผานการจัดอบรมใหความรู ตลอดจน บทบาทของผูเกี่ยวของกอนจะนําไปเปนแนวทาง การสรางการมีสวนรวมในการสรางสรรคและ ในการสรางเครือขายเพื่อขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ ผลิตสื่อชุมชน การเผยแพรขอมูลผานสื่อที่ชุมชน ซึ่งมีความคลายคลึงกับงานวิจัยของปญจะ ยาแกว สามารถเขาถึงและใชประโยชนได และการ และคณะ (Yakaew et al., 2005) ที่พบวา ประเมินผลการดําเนินกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรม การสรางผูนําเพื่อไปขยายผลเกษตรยั่งยืนนั้น ในการประชาสัมพันธเพื่อเผยแพรแผน คุณสมบัติที่จําเปนตองพัฒนาใหความสําคัญ ชุมชนฯ ของแกนนําชุมชนนั้น มุงเนนการสราง คือ การรูจักตนเอง คือ การรับรูวาตนเองเปนใคร การมีสวนรวมในแตละขั้นตอนของการดําเนิน มีภาวะเปนอะไร อยูในสถานะใด มีคุณสมบัติ กิจกรรม เพื่อสรางจิตสํานึกการอนุรักษทรัพยากร มีความพรอม และถนัดอะไร มีกําลังแคไหน ปาชายเลนใหกับคนในชุมชน โดยเฉพาะการ มีจุดออนจุดแข็งอยางไร และการรูบุคคล คือ จัดกิจกรรม “รวมพลังชุมชน คนรักปาชายเลน” รูจักบุคคลที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะคนที่มารวมงาน (ปกปายเขตอนุรักษ) ซึ่งใชสื่อกิจกรรม (activity และคนที่ไปขยายผล media) ในการระดมการมีสวนรวมของคนได ประเด็นที่ 2 การวิเคราะหความ อยางหลากหลาย ทั้งจากคนในชุมชนและจาก ตองการสื่อของชุมชนและการเผยแพร/ หนวยงานภายนอก ซึ่งมีความคลายคลึงกับงาน ขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏในแผนชุมชนฯ วิจัยของ กฤษณะ จันทรปรางค (Chanprangke, การสรางสรรคและผลิตสื่อของแกนนําชุมชน 2006) ที่พบวา ตําบลลีเล็ดมีการฝกอบรม เพื่อประชาสัมพันธกิจกรรมตามแผนชุมชนฯ ใหความรูและสรางจิตสํานึกในการอนุรักษ มุงเนนการใชสื่อที่เปนตนทุนในสังคม ไดแก ปาชายเลน การจัดทําสื่อประชาสัมพันธการ สื่อบุคคล หอกระจายขาว การประชาสัมพันธ อนุรักษปาชายเลนในชุมชน การสรางเครือขาย ขอมูลผานเวทีกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน การ การอนุรักษปาชายเลน โดยผูมีสวนไดสวนเสีย ประชาสัมพันธขอมูลผานพิธีกรรมทางศาสนา ในการพัฒนาจะตองมีความตั้งใจ สามัคคี รวมมือ และการใชสื่อใหม โดยในกระบวนการสรางสรรค เสียสละ อดทน มุงมั่น ที่จะนําไปสูเปาหมาย และผลิตสื่อชุมชนเพื่อการประชาสัมพันธนั้น การพัฒนาโดยเขามามีสวนรวมทุกขั้นตอน แกนนําชุมชนไดใชกระบวนการวิเคราะหและ ประเด็นที่ 3 การใชประโยชนจาก สํารวจทรัพยากรในชุมชน การวิเคราะหและ งานวิจัย เนื่องจากการวิจัยครั้งนี้ เปนการตอยอด สํารวจสื่อชุมชน การวิเคราะหเนื้อหาหรือประเด็น การนําไปใชประโยชนจากงานวิจัยเดิม ผล ที่จะสื่อสาร โดยชุมชนเลือกใชเนื้อหาการดําเนิน การดําเนินงาน พบวา งานวิจัยชิ้นนี้กอใหเกิด กิจกรรมจากแผนชุมชนฯ และออกแบบการ การใชประโยชนจากงานวิจัยใน 3 รูปแบบ คือ 60 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

1) การอบรมชาวบานใหเปนนักสื่อสารชุมชน ไดหลายระดับ ตั้งแตการมีสวนรวมในฐานะผูรับ ทองถิ่น (smart communicator) ซึ่งเกิดขึ้น สาร/ผูใชสาร (audience/receiver/users) การมี ผานการดําเนินกิจกรรม 14 กิจกรรม 2) การคืน สวนรวมในฐานะผูสง/ผูผลิต/ผูรวมผลิต (sender/ ผลงานวิจัยใหพื้นที่ โดยขยายผลเนื้อหาที่ปรากฏ producer/co-producer) และการมีสวนรวม ในแผนชุมชนพหุวัฒนธรรมในการบริหารจัดการ ในฐานะผูวางแผน และกําหนดนโยบาย (policy การใชประโยชนจากระบบนิเวศบริการปาชายเลน maker/planner) การมีสวนรวมในกิจกรรม ตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา ผานการจัดประชุม ขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ ดานทรัพยากรปาชายเลน กลุมแกนนําเพื่อทบทวนแผนชุมชนฯ และ ของคนในชุมชนตําบลหัวเขา จังหวัดสงขลา การดําเนินกิจกรรมที่ปรากฏในแผนชุมชน นําไปสูการขยับขยายกลุมแกนนํา ซึ่งสอดคลอง ซึ่งประกอบดวย กิจกรรมทัศนศึกษาดูงาน และ กับงานวิจัยของ เจริญ มีผล (Meepol, 2008) การกําหนดกฎ กติกาปาชายเลน 3) การทํางาน ที่พบวา การที่ชุมชนมีสวนรวมในการจัดการ กับผูมีสวนไดสวนเสีย (stakeholder/support ทรัพยากร ทําใหคนในชุมชนมีจิตสํานึกหวงแหน group) เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ และรักปา เกิดเครือขายการอนุรักษปาชายเลน แบบมีสวนรวม โดยมีหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก ที่ยั่งยืน ผูอํานวยการกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ทั้งจากสวนกลางและสวนภูมิภาค ตัวแทนจาก ขอเสนอแนะ ศูนยโตโยตาสิงหนคร สงขลา ตัวแทนจากมูลนิธิ ขอเสนอแนะสําหรับการนําไปใช ชัยพัฒนา และนักขาวอิสระ ประโยชน นอกจากนี้ยังพบวา กระบวนการขับเคลื่อน 1. นักสื่อสารชุมชนทองถิ่นควรนํา แผนของแกนนําชุมชน ใชการสื่อสารแบบมี กระบวนการขับเคลื่อนกิจกรรมแบบมีสวนรวม สวนรวมในการดําเนินงานทุกขั้นตอน ตั้งแตการ ไปใชในการขับเคลื่อนกิจกรรม/โครงการตาง ๆ วิเคราะหศักยภาพดานการสื่อสาร การเริ่มตน ที่ปรากฏในแผนชุมชนฯ ใหครบถวน เพื่อใหการ ทบทวนแผนชุมชนฯ รวมวางแผนดําเนินกิจกรรม ขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ เปนไปอยางสมบูรณ รวมประชาสัมพันธขอมูล รวมเปนวิทยากร และ 2. ในการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผน รวมประเมินผลโครงการ ซึ่งสอดคลองกับทฤษฎี ชุมชนฯ ควรเพิ่มการมีสวนรวมของคนในชุมชน การสื่อสารแบบมีสวนรวม ที่กลาววา การสื่อสาร ใหมากขึ้นในแตละขั้นตอนที่ดําเนินงานเพื่อ แบบมีสวนรวมทําใหชุมชนเห็นคุณคาของตัวเอง ขับเคลื่อนแผนชุมชนฯ ชุมชนเกิดความมั่นใจ เกิดทักษะในการสรางสื่อ 3. ในกรณีที่ชุมชนพื้นที่อื่น ๆ มีการจัดทํา มุงเนนการใชการสื่อสารแบบสองทาง โดยชุมชน แผนชุมชนฯ แตยังขาดการขับเคลื่อนแผน ชุมชน จะเปนผูคัดเลือกเนื้อหาสารและชองทางที่ พื้นที่ดังกลาวสามารถนํากระบวนการสราง เหมาะสม และชุมชนสามารถเขามามีสวนรวม นักสื่อสารชุมชนทองถิ่นไปใชในการเสริมสราง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 61 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ศักยภาพ (empower) แกนนําชุมชน ใหกลายเปน communication”. Bangkok: The นักสื่อสารชุมชนทองถิ่น (smart communicator) Thailand Research Fund (TRF). (in เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนตาง ๆ ตอไป Thai) 4. ควรมีการจัดสัมมนาในการนําผล Kaewthep, K. (2009). Small media for using การวิจัยไปใชประโยชน โดยเชิญผูมีสวนได in development. Bangkok: Parppim. สวนเสียในการจัดการปาชายเลน ทั้งในชุมชน (in Thai) และหนวยงานภาคราชการ ภาคองคกรพัฒนา Kaewthep, K. (2010). The concept of utilizing เอกชน และตัวแทนชุมชนชายฝงอื่น ๆ โดยเฉพาะ research. Documentation take เจาหนาที่จากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง lessons together to produce a book เพื่อนําขอมูลไปประยุกตใชในเขตพื้นที่รับผิดชอบ of research projects “dissemination ของตนเอง and follow-up of research findings ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั้ง on management of participatory ตอไป culture “ (2009) by Interdisciplinary 1. ควรมีการศึกษาวิจัยโดยเพิ่ม Center of Community Studies กระบวนการมีสวนรวมของคนในชุมชนให Sukhothai Thammathirat Open มากขึ้น เพื่อเปนการระดมพลังในการขับเคลื่อน University Capital Aid Research แผนชุมชนฯ by Office of the National Culture 2. ควรมีการศึกษาการขับเคลื่อนแผน Commission (MIS), Ministry of ชุมชนฯ ในพื้นที่อื่นๆ เพื่อใหเห็นจุดรวมหรือ Culture. (in Thai) จุดตางของการดําเนินงานที่มีความสอดคลองกับ Kamnoonwat, D. et al. (2008). Local health บริบทชุมชนของแตละพื้นที่ communication research projects: concept operational and expansion. REFERENCES Full Research Report Popular Health Chanprangke, K. (2006). Participatory strategy Communication System Research in Mangrove forest conservation of and Development (HCS). Health people in Leeled, Punpin, Systems Research Institute (HSRI), Suratthani. Master thesis in Art Thaihealth. (in Thai) (Development Strategy), Suratthani Luayyapong, K. (2012). Creation and production Rajabhat University. (in Thai) of community media for public relations. Kaewthep, K. (2008). Basic knowledge Bangkok: Sukhothai Thammathirat management. “community Open University Publishing. (in Thai) 62 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Mahanukul, K. & Viratnipavan, V. (2016). development from concept to Community forest administration of research practice in Thai society. Tambon Administrative Organizations Bangkok: Thailand Research Fund in Chachoengsao Province according (TRF). (in Thai) to the sustainable administration Servaes, J, Jacobson, T. (1996). A white concept. Phranakhon Rajabhat Shirley. Participatory communication Research Journal, Humanities and for social change. London: Sage Social Sciences. 11(2), 163-183. Publications (n.d.). (in Thai) nt/632-2011-03-16-09-18-21/780-2011-03- Meepol, J. (2008). Study in “the administrative 17-06-56-59.html (in Thai) process to develop the Mangrove The Chaipattana Foundation. Mangrove forest conservation network at Ban forest development project, Singha Bangtib School”. Master’s Degree Nakorn District, Songkhla Province. Program in Educational (Educational Retrieved January 14, 2016, from administration). Faculty of Education, http://www.chaipat.or.th/si te Co n t e nt Phuket Rajabhat University. (in Thai) 632-2011-03-16-09-18-21/780-2011- Prabudhanitisarn, S. (2002). Participatory 03-17-06-56-59.html (in Thai) action research: concepts and Thiplerd, A. et al. (2004). Research project practice. Bangkok: Thailand Research “personal media communication Fund (TRF). (in Thai) competence and community Prapruit, P. et al. (2014). The study of empowerment for development”. multi-cultural community management Research Report: Thailand Research plan to utilization of Mangrove Fund (TRF). (in Thai) ecosystem services, Hua Khao Yakaew, P. et al. (2005). Study the project Sub-district, Songkhla Province. “guidelines for sustainable agriculture Full Research Report: Thailand leadership development Pichit Research Fund (TRF). (in Thai) province”. Research Report: Thailand Sathapitanon, P. et al. (2006). Participatory Research Fund (TRF). (in Thai) communication and community Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 63 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

องคประกอบปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จของธุรกิจคายมวยไทย KEYS SUCCESS FACTORS OF MUAYTHAI CAMP BUSINESS ชาญชัย ยมดิษฐ Chanchai Yomdit

สาขาวิชามวยไทยศึกษาและพลศึกษา วิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทยแผนไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย Department of Muaythai Study and Physical Education, College of Muaythai Study and Thai Traditional Medicine, Muban Chombueng Rajabhat University, Ratchaburi, Thailand

[email protected]

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาสภาพของปจจัยความสําเร็จของการทําธุรกิจ คายมวยไทยสําหรับชาวตางชาติ 2) ศึกษาองคประกอบของปจจัยความสําเร็จทางธุรกิจคายมวยไทย ที่เปดสอนใหกับชาวตางชาติ 3) ศึกษาปจจัยสําเร็จทางธุรกิจที่สงผลตอความสําเร็จในการเรียนมวยไทย ของชาวตางชาติโดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ กลุมตัวอยางจํานวน 465 คน เปนนักทองเที่ยว ชาวตางประเทศที่มาเรียนมวยไทยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล ไดแก แบบสอบถาม และวิเคราะหขอมูลทางสถิติโดยใชความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน การวิเคราะหองคประกอบ และสถิติสมการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบวา สภาพปจจัยความสําเร็จของธุรกิจคายมวยไทยสําหรับสอนชาวตางชาติ เรียงตามลําดับดังนี้ ความสะอาดและความปลอดภัย บุคลากร สถานที่และอุปกรณ การใชวิทยาศาสตร การกีฬา การสนับสนุนจากเครือขายและการตลาด และหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอน สําหรับองคประกอบของปจจัยความสําเร็จทางธุรกิจคายมวยโดยสําหรับนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ไดแก ดานการสนับสนุนจากเครือขายธุรกิจและการตลาด ดานบุคลากร ดานหลักสูตรและการเรียน การสอน ดานสถานที่และอุปกรณ ดานความสะอาดและความปลอดภัย และดานการนําวิทยาศาสตร การกีฬามาประยุกตใช โดยปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จในการเรียนมวยไทย เรียงตามลําดับสําคัญ 64 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ไดแก ดานสถานที่และอุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ ดานการมีหลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง ดานการ มีบุคลากรมวยไทยที่มีศักยภาพสูง ดานการสนับสนุนเครือขายธุรกิจและการตลาด

คําสําคัญ :ความสําเร็จ คายมวยไทย มวยไทย

ABSTRACT The purposes of this study were 1) to study factors effecting to success in Muaythai camp business 2) to study the essential elements for success of Muaythai camp business for foreigners 3) to study success factors affecting to learning Muaythai. The samples were 465 foreigners who learn Muaythai by using multi-stage sampling method. The Instrument of this study was questionnaire. Statistical analyses were frequency, percentage, average, standard deviation, factors analysis and stepwise multiple regression analysis. The result showed that an essential element for success of Muaythai camp business for foreigners consisted of cleanliness and safety, high quality staff, places and equipment, sport science, good Muaythai business connection and Muaythai courses and activities. Success factors of Muaythai camp business for foreigners consisted of 1) good Muaythai business connection 2) high quality staff 3) Muaythai courses and activities 4) places and equipment 5) Cleanliness and Safety and 6) training Muaythai with sport science. The total variance was at 60.24 The success of learning Muaythaifor foreigners showed that good take care’s trainers and safety place, credibility of Muaythai camp, good environment, high quality trainers, good responsiveness’s manager and provide sufficient quality equipment. Success factors affecting to learning Muaythai consisted of place and quality of equipment for learning Muaythai, high quality Muaythai courses, high quality Muaythai staff and good Muaythai business.

Keywords: success factors, Muaythai business, Muaythai Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 65 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทนํา ความสะดวกดานอื่น ๆ (Ministry of Tourism มวยไทยเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรม and Sports, 2013) จึงเปนโอกาสอันดีของ ที่โดดเดน เปนทั้งศาสตรและศิลปของวิชาการ ประเทศไทยที่จะใชมวยไทยในการพัฒนาและ ปองกันตัวแบบไทยที่ตองอาศัยชั้นเชิงในการตอสู กระตุนเศรษฐกิจ รวมถึงทําใหการกีฬาไปสู นอกจากจะใชอวัยวะทุกสวนของรางกาย เชน เปาหมายของการทองเที่ยวอีกประเภทหนึ่ง การใชหมัดชก ใชเทาเตะ ใชเขาและศอก และ (James, 2005) อยางไรก็ตาม ขอมูลการวิจัยของ ศีรษะไดอยางครบเครื่องแลว มวยไทยยังสามารถ วินัย พูลศรี (Poonsri, 2012) ไดแสดงใหเห็นวา กอดรัด ปลํ้า จับ หัก ตี โขก ทุบคูตอสูไดอีกดวย อุปสรรคของการนําธุรกิจมวยไทยไปสูสากลนั้น (KantamaraK, 2010) ผูฝกหัดมวยไทยและ ยังขาดรูปแบบและแนวทางการพัฒนาคายมวย นักมวยไทยเปรียบเหมือนฑูตทางวัฒนธรรมไทย จากการศึกษาผลการวิจัยและบทความวิชาการ ที่มีหนาที่ทํานุบํารุงและดํารงไวซึ่งความเปน ที่เกี่ยวของกับปญหาและอุปสรรคดําเนินธุรกิจ เอกลักษณของชาติ คายมวยไทย ผูวิจัยไดพบวา ปจจุบันทุกภาคสวน ปจจุบัน มวยไทยจึงไดรับความนิยม ที่เกี่ยวของยังขาดขอมูลเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐาน มากจากชาวตางประเทศ ทั้งที่เดินทางมาเรียน สําหรับผูประกอบการและผูลงทุนที่จะตัดสินใจ มวยไทยในประเทศและจางครูมวยไทยออกไป ลงทุนทําธุรกิจมวยไทย เชน การขาดขอมูลรองรับ สอนยังตางประเทศ นํารายไดเขาประเทศชาติ จํานวนนักทองเที่ยว สิ่งอํานวยความสะดวก อยางมาก ปจจุบันประเทศไทยมีคายมวยไทย การจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนที่สอดรับ ที่มีการจดทะเบียนกอตั้งอยางถูกตอง จํานวน กับสภาพและความตองการของนักทองเที่ยว 3,975 คาย โดยอยูเขตในกรุงเทพมหานคร 912 โดยเฉพาะความปลอดภัย ดังนั้น การดําเนิน คาย ภาค 1 จํานวน 331 คาย ภาค 2 จํานวน การธุรกิจมวยไทยใหมีประสิทธิภาพจึงจําเปน 368 คาย ภาค 3 จํานวน 1,431 คาย ภาค 4 ตองคํานึงถึงองคประกอบปจจัยที่สงผลตอความ จํานวน 547 คาย และภาค 5 จํานวน 369 คาย ความสําเร็จในดานตาง ๆ ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษา และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (Ministry of สภาพปจจัย องคประกอบความสําเร็จของการ Tourism and Sports, 2013) ทําธุรกิจคายมวยไทยที่สอนชาวตางชาติ และ ในปจจุบัน ธุรกิจคายมวยไทยมีการ ศึกษาปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จในการเรียน แขงขันดานการใหบริการอยางมาก ทั้งในดาน มวยไทยสําหรับชาวตางชาติเพื่อใหนักธุรกิจเปด ความสะอาดและความกวางขวางของสถานที่ คายมวยจะไดนําไปใชเปนแนวทางในการลงทุน การมีมาตรฐานของอุปกรณการฝก ประสบการณ ทําธุรกิจใหประสบความสําเร็จ สงผลตอการ ของครูมวยไทย กิจกรรมนันทนาการเพื่อผอนคลาย พัฒนาการทองเที่ยวและตอการพัฒนาเศรษฐกิจ หลังการฝกซอม โปรแกรมเสริมสุขภาพตาง ๆ ของประเทศชาติโดยรวมอีกดวย โรงแรมที่พัก สินคาของที่ระลึก และสิ่งอํานวย 66 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

วัตถุประสงคของการวิจัย ผลตอความสําเร็จในการเรียนมวยไทยของชาว 1. เพื่อศึกษาสภาพของปจจัยความสําเร็จ ตางชาติ ของการทําธุรกิจคายมวยไทยสําหรับชาวตางชาติ 2. เพื่อศึกษาองคประกอบของปจจัย กรอบแนวคิดของการวิจัย ความสําเร็จทางธุรกิจคายมวยไทย ที่เปดสอน จากการทบทวนทฤษฎีและแนวคิด ชาวตางชาติ สามารถแสดงแผนภาพแนวคิดปจจัยที่มีผลตอ 3. เพื่อศึกษาปจจัยสําเร็จทางธุรกิจที่สง ความสําเร็จของธุรกิจคายมวยไทยไดดังนี้ (John, 2014; Chai-on, 2015)

ตัวแปรอิสระ

- ดานอาคารสถานที่และอุปกรณ - ความสะอาด ตัวแปรตาม - ความปลอดภัย - บุคลากร ความสําเร็จในการเรียนมวยไทย - หลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอน ของนักทองเที่ยวชาวตางชาติ - กิจกรรมพัฒนาตนเองของผูเรียน - การใชวิทยาศาสตรการกีฬา - การมีเครือขายและการสนับสนุน - การทําธุรกิจและการตลาด Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 67 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ระเบียบวิธีวิจัย 1. วิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูเรียน 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ที่เปนแบบสํารวจโดยใชสถิติความถี่ รอยละ ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ 2. วิเคราะหสภาพปจจัยสําเร็จทางธุรกิจ กลุมนักทองเที่ยวชาวตางประเทศที่มาเรียน ความสําเร็จของผูที่มาเรียนมวยโดยการวิเคราะห มวยไทยในคายมวยไทย โดยมีเงื่อนไขในการ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พิจารณาเลือกกลุมตัวอยาง ไดแก ความสามารถ 3. วิเคราะหองคประกอบปจจัยสําเร็จ ในการสื่อสาร เขาใจความหมาย ฟง พูด อาน ทางธุรกิจของคายมวยไทย ที่สงผลตอความ เขียน ภาษาอังกฤษ และภาษาจีนได เขารวม สําเร็จในการเรียนมวยไทยของนักทองเที่ยว กิจกรรมโดยความสมัครใจ สําหรับเกณฑในการ ชาวตางชาติ โดยการวิเคราะหองคประกอบ (factor คัดเขาคายมวย คือ เปนคายมวยที่รองรับ analysis) แบบวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ นักเที่ยวชาวตางประเทศ และ เขารวมกิจกรรม (exploratory factor analysis) โดยสกัด โดยความสมัครใจ องคประกอบดวยวิธีสกัดปจจัย เพื่อใหไดตัวแปร การคํานวณขนาดกลุมตัวอยาง ผูวิจัย สําคัญ คือ เกณฑการคัดเลือกตัวแปรที่เขาอยู คํานวณสัดสวนจากการสุมแบบภูมิภาค ไดแก ในองคประกอบตัวใดตัวหนึ่ง โดยพิจารณาคา ภาคใต ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ตัวแปรรวมของตัวแปรที่มีคาไอเกน (Eigen value) และกรุงเทพมหานคร โดยใชวิธีการสุมคายมวย มากกวา 1 ไปใชหมุนแกนแบบออโธกอนอล ในแตละภาคและสํารวจจากผูเรียนแตละคาย (Orthogonal) ดวยวิธีวาริแมกซ (varimax) เพื่อหา ของแตละภาค ดวยวิธีการสุมแบบบังเอิญจาก องคประกอบ (factor loading) ตั้งแต .50 ขึ้นไป นักทองเที่ยวผูเรียนมวยในแตละคายตามเงื่อนไข และบรรยายตัวแปรตั้งแต 3 ตัวแปรขึ้นไป ที่กําหนดไว โดยตองใชภาษาอังกฤษหรือภาษา สวนตัวแปรที่มีนํ้าหนักองคประกอบนอยกวา .50 จีนได และเต็มใจตอบแบบสอบถามงานวิจัย จะไมนํามาพิจารณา นําผลการวิเคราะห ไดกลุมตัวอยาง 465 คน องคประกอบแตละดานไปแปรผลและกําหนดชื่อ 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย องคประกอบ (Moungkaew, 2011) เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวม 4. วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จ ขอมูล ไดแก แบบสอบถาม ประกอบดวย 2 สวน ในการเรียนมวยไทยของนักทองเที่ยวชาวตางชาติ คือ การสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไป และการ ดวยวิธีการวิเคราะหพหุคูณ สอบถามเกี่ยวกับปจจัยความสําเร็จทางธุรกิจของ คายมวย สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย 3. การวิเคราะหขอมูล สรุปผลการวิจัย วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรม 1. ขอมูลทั่วไป สําเร็จรูปทางสถิติ ดังนี้ นักทองเที่ยวชาวตางประเทศที่ 68 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

สํารวจไดสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 68.95 มากับเพื่อน รอยละ 34.69 และมีคาใชจาย และเพศหญิง รอยละ 31.05 มีอายุอยูระหวาง ในประเทศไทยทั้งหมดระหวางการเรียนมวยไทย 20-29 ป มากที่สุด รอยละ 50.75 รองลงมาคือ 4,001- 5,000 ดอลลาร รอยละ 25.27 เปนตน มีอายุอยูระหวาง 30-39 ป รอยละ 24.63 และ 2. องคประกอบของปจจัยที่มีผลตอ กลุมตัวอยางสวนใหญมีสถานภาพโสด รอยละ ความสําเร็จของธุรกิจคายมวยไทย 82.23 มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรีมากที่สุด เกณฑการวิเคราะหองคประกอบของ รอยละ 53.75 รองลงมา อยูในระดับชั้นมัธยม ตัวแปรทั้งหมดในเรื่องปจจัยที่มีผลตอความ ศึกษาตอนปลาย รอยละ 30.62 โดยเปนกลุม สําเร็จของธุรกิจคายมวยไทยในการสอนมวยไทย นักเรียน รอยละ 37.04 นักธุรกิจ รอยละ 34.26 สําหรับชาวตางประเทศ โดยการจําแนกในแตละขอ ตามลําดับ มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนระหวาง 2,001- ที่สรางองคประกอบนั้นตองมีคานํ้าหนักไมตํ่ากวา 3,000 ดอลลาร รอยละ 21.41 กลุมตัวอยาง .30 (Hair, 1995) และมีคารอยละความแปรปรวน สวนใหญเดินทางมาจากแถบทวีปยุโรป รอยละ สะสมเทากับ 60% 39.83 รองลงมาคือ ทวีปเอเชีย รอยละ 21.63 ผูวิจัยสามารถจัดปจจัยที่มีผลตอความ ตามลําดับ มีจุดมุงหมายในการเดินทางมาเรียน สําเร็จของธุรกิจคายมวยไทยในการสอนมวยไทย มวยไทยเพื่อหาประสบการณมากที่สุด รอยละ สําหรับชาวตางประเทศได 6 องคประกอบและ 57.82 รองลงมาคือ เพื่อการออกกําลังกาย รอยละ มีคารอยละความแปรปรวนทั้งหมดเทากับ 60.24 20.34 โดยเดินทางมาเรียนมวยไทยดวยตนเอง ดังแสดงในตารางที่ 1 มากที่สุดรอยละ 40.96 รองลงมาคือ เดินทาง

ตารางที่ 1 การวิเคราะหองคประกอบของปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จของธุรกิจคายมวยไทยในภาพรวม

ชื่อองคประกอบ คาไอเกน รอยละความแปรปรวน 1. การสนับสนุนเครือขายธุรกิจและการตลาด 12.00 21.05 2. การมีบุคลากรมวยไทยที่มีศักยภาพสูง 8.215 14.41 3. การมีหลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง 6.149 10.79 4. สถานที่และอุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ 4.125 7.24 5. ความสะอาดและความปลอดภัย 2.204 3.87 6. การประยุกตใชวิทยาศาสตรการกีฬา 1.683 2.95 รวม 34.376 60.24 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 69 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จากตารางที่ 1 องคประกอบของปจจัย มวยไทยที่มีศักยภาพสูง (คาไอเกน = 8.215) ที่มีผลตอความสําเร็จของธุรกิจคายมวยไทย การมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ในภาพรวม พบวา มีองคประกอบที่เปนปจจัย (คาไอเกน = 6.149) สถานที่และอุปกรณการ สําเร็จของธุรกิจคายมวยในการสอนมวยไทย ฝกซอมที่มีคุณภาพ (คาไอเกน = 4.125) ความ สําหรับชาวตางชาติ เรียงลําดับจากมากสุดไป สะอาดและความปลอดภัย (คาไอเกน = 2.204) นอยสุด ดังนี้ การสนับสนุนเครือขายธุรกิจและ การประยุกตใชวิทยาศาสตรการกีฬา (คาไอเกน = การตลาด (คาไอเกน = 12.0) การมีบุคลากร 1.683)

ตารางที่ 2 องคประกอบที่ 1 สนับสนุนเครือขายธุรกิจและการตลาด

องคประกอบที่ 1 สนับสนุนเครือขายธุรกิจและการตลาด คานํ้าหนัก มีเครือขายกับเวทีมวยเพื่อจัดใหมีการแขงขันและชมมวย .918 เครือขายสมาคมมวยไทยอาชีพ .850 เครือขายธุรกิจการทองเที่ยว .890 เครือขายรวมมือกับชุมชน .881 การไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน .831 การสรางจุดเดนของคายมวย .845 การสรางแฟนคลับ .887 จัดทําเกียรติประวัติคายมวย .814 จัดจําหนายอาหาร .895 จัดที่พักไวบริการ .818 จําหนายซูวีเนียและของที่ระลึก .860 การสรางกระแสความนิยมของคายและนักมวย .909 จําหนายวัสดุและอุปกรณการฝกซอม .829 การจัดชองทางการตลาด .817 ความสะดวกของการจัดระบบการจายเงินระหวางประเทศ .907 คุณภาพของการใหบริการ .894 คาไอเกน 12.00 รอยละความแปรปรวน 21.05 70 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

จากตารางที่ 2 องคประกอบที่ 1 สนับสนุน อาหาร จัดที่พักไวบริการ จําหนายซูวีเนียและ เครือขายธุรกิจและการตลาดประกอบดวย 16 ปจจัย ของที่ระลึก การสรางกระแสความนิยมของคาย ไดแก การมีเครือขายกับเวทีมวยเพื่อจัดใหมีการ และนักมวย จําหนายวัสดุและอุปกรณการฝกซอม แขงขันและชมมวย เครือขายรวมมือกับชุมชน การจัดชองทางการตลาด ความสะดวกของการ เครือขายสมาคมมวยไทยอาชีพ เครือขายธุรกิจ จัดระบบการจายเงินระหวางประเทศ และคุณภาพ การทองเที่ยว การไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐ ของการใหบริการ จึงตั้งชื่อองคประกอบนี้วา “การ และเอกชน การสรางจุดเดนของคายมวย การสราง สนับสนุนเครือขายธุรกิจและการตลาด” โดย แฟนคลับ จัดทําเกียรติประวัติคายมวย จัดจําหนาย ตัวแปรกลุมนี้มีระดับคาไอเกนเทากับ 12.00

ตารางที่ 3 องคประกอบที่ 2 การมีบุคลากรมวยไทยที่มีศักยภาพสูง

องคประกอบที่ 2 การมีบุคลากรมวยไทยที่มีศักยภาพสูง คานํ้าหนัก ความเปนผูมีภาวะผูนําของหัวหนาคาย .793 คุณภาพของครูฝก .764 คุณภาพของผูชวยครูฝก .781 สัดสวนครูฝกตอผูเรียนชาวตางชาติ .789 การเอาใจใสดูแลผูเรียนจากผูสอน .785 การสรางความเชื่อถือศรัทธาตอผูเรียน .785 ความผูกพันกันของบุคลากรและผูเรียน .775 การสรางความมั่นใจใหแกผูเรียน .774 การมีปฏิสัมพันธที่ดีของผูสอนตอผูเรียน .787 การแกไขปญหาอยางมืออาชีพของผูสอน .734 มีโปรแกรมการพัฒนาครูฝกและบุคลากรคายมวย .886 บุคลากรคายมวยใชภาษาอังกฤษไดดี .789 การสงเสริมความมีวินัยในการฝก .879 คาไอเกน 8.215 รอยละความแปรปรวน 14.41 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 71 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จากตารางที่ 3 องคประกอบที่ 2 ประกอบ ผูเรียน การมีปฏิสัมพันธที่ดีของผูสอนตอผูเรียน ดวย 13 ปจจัย ไดแก ความเปนผูมีภาวะผูนํา การแกไขปญหาอยางมืออาชีพของผูสอน และ ของหัวหนาคาย คุณภาพของครูฝก คุณภาพของ มีโปรแกรมการพัฒนาครูฝกและบุคลากรคายมวย ผูชวยครูฝก สัดสวนครูฝกตอผูเรียนชาวตางชาติ จึงตั้งชื่อองคประกอบนี้วา “การมีบุคลากรมวยไทย การเอาใจใสดูแลผูเรียนจากผูสอน การสราง ที่มีศักยภาพสูง” โดยตัวแปรกลุมนี้มีระดับคา ความเชื่อถือศรัทธาตอผูเรียน ความผูกพันกันของ ไอเกนเทากับ 8.215 บุคลากรและผูเรียน การสรางความมั่นใจใหแก

ตารางที่ 4 องคประกอบที่ 3การมีหลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง

องคประกอบที่ 3 การมีหลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง คานํ้าหนัก คายมวยมีความรับผิดชอบตอผูเรียน .697 มีระบบการคัดเลือกผูเรียน .794 มีโปรแกรมการเรียนรูทันสมัย .723 มีระบบจําแนกผูเรียนและสอนตามกลุมความสามารถ .692 มีบรรยากาศการเรียนที่สงผลตอประสิทธิภาพการเรียน .758 มีโปรแกรมการนวดหลังการฝก .752 มีชั่วโมงฝกหลังเรียนดวยตนเอง .795 มีโปรแกรมวัดผลความกาวหนาของผูเรียน .797 มีบริการอุปกรณการฝกนอกเหนือชั่วโมงเรียน .795 มีระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศใหบริการความรูดานมวยไทย .689 มีโปรแกรมการเรียนรูวัฒนธรรมไทย .719 คาไอเกน 6.149 รอยละความแปรปรวน 10.79 72 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

จากตารางที่ 4 องคประกอบที่ 3 ประกอบ ตนเอง มีโปรแกรมวัดผลความกาวหนาของผูเรียน ดวย 11 ปจจัย ไดแก คายมวยมีความรับผิดชอบ มีบริการอุปกรณการฝกนอกเหนือชั่วโมงเรียน ตอผูเรียน มีระบบการคัดเลือกผูเรียน มีโปรแกรม มีระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศใหบริการความรู การเรียนรูทันสมัย มีระบบจําแนกผูเรียนและสอน ดานมวยไทย และมีโปรแกรมการเรียนรู ตามกลุมความสามารถ มีบรรยากาศการเรียน วัฒนธรรมไทย จึงตั้งชื่อองคประกอบนี้วา “การมี ที่สงผลตอประสิทธิภาพการเรียน มีโปรแกรม หลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง” โดยตัวแปรกลุมนี้ การนวดหลังการฝก มีชั่วโมงฝกหลังเรียนดวย มีระดับคาไอเกนเทากับ 6.149

ตารางที่ 5 องคประกอบที่ 4 สถานที่และอุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ

องคประกอบที่ 4 สถานที่และอุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ คานํ้าหนัก สถานที่มีเนื้อที่เหมาะสม .694 สถานที่มีพื้นที่สําหรับผูเรียนในการใชอุปกรณ .754 สถานที่ตั้งอยูในทําเลที่ตั้งสะดวก .693 สถานที่จัดแบงเปนสัดสวนเหมาะสม .748 อุปกรณมีความเหมาะสมอยูในสภาพพรอมใชงาน .699 อุปกรณมีความทันสมัย .689 อุปกรณมีความพอเพียง .728 ความสะอาดของอาคารสถานที่ .736 คาไอเกน 4.125 รอยละความแปรปรวน 7.24 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 73 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จากตารางที่ 5 องคประกอบที่ 4 ประกอบ กลุมนี้มีระดับคาไอเกนเทากับ 4.125 ดังแสดง ดวย 8 ปจจัย ไดแก สถานที่มีเนื้อที่เหมาะสม ในตารางที่ 6 สถานที่มีพื้นที่สําหรับผูเรียนในการใชอุปกรณ จากตารางที่ 6 องคประกอบที่ 5 ประกอบ สถานที่ตั้งอยูในทําเลที่ตั้งสะดวก สถานที่จัดแบง ดวย 5 ปจจัย ไดแก ความสะอาดของอุปกรณ เปนอุปกรณมีความพอเพียงสัดสวนเหมาะสม ฝกซอม ความสะอาดของหองนํ้าและหองเปลี่ยน อุปกรณมีความเหมาะสมอยูในสภาพพรอมใชงาน เสื้อผา ความปลอดภัยของอาคาร ความปลอดภัย อุปกรณ มีความทันสมัยและความสะอาดของ ของอุปกรณฝกซอม และความปลอดภัยจาก อาคารสถานที่ จึงตั้งชื่อองคประกอบนี้วา “สถานที่ มิจฉาชีพ จึงตั้งชื่อองคประกอบนี้วา “ความ และอุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ” โดยตัวแปร สะอาดและความปลอดภัย” โดยตัวแปรกลุมนี้ มีระดับคาไอเกนเทากับ 2.204

ตารางที่ 6 องคประกอบที่ 5 ความสะอาดและความปลอดภัย

องคประกอบที่ 5 ความสะอาดและความปลอดภัย คานํ้าหนัก ความสะอาดของอุปกรณฝกซอม .674 ความสะอาดของหองนํ้าและหองเปลี่ยนเสื้อผา .596 ความปลอดภัยของอาคาร .678 ความปลอดภัยของอุปกรณฝกซอม .682 ความปลอดภัยจากมิจฉาชีพ .685 คาไอเกน 2.204 รอยละความแปรปรวน 3.87 74 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 7 องคประกอบที่ 6 การประยุกตใชวิทยาศาสตรการกีฬา

องคประกอบที่ 6 การประยุกตใชวิทยาศาสตรการกีฬา คานํ้าหนัก มีอุปกรณฝกการออกกําลังกายเหมาะสมเพียงพอ .689 มีอุปกรณดูแลสุขภาพผูเรียน .629 มีบุคลากรและเครื่องมือกูฟนคืนชีพ .573 มีโปรแกรมสงเสริมสุขภาพระหวางเรียน .696 คาไอเกน 1.683 รอยละความแปรปรวน 2.95

จากตารางที่ 7 องคประกอบที่ 6 ประกอบ สงเสริมสุขภาพระหวางเรียน จึงตั้งชื่อองคประกอบ ดวย 4 ปจจัย ไดแก มีอุปกรณฝกการออกกําลังกาย นี้วา “การประยุกตใชวิทยาศาสตรการกีฬา” เหมาะสมเพียงพอ มีอุปกรณดูแลสุขภาพผูเรียน โดยตัวแปรกลุมนี้มีระดับคาไอเกนเทากับ 1.683 มีบุคลากรและเครื่องมือกูฟนคืนชีพ และมีโปรแกรม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 75 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 8 สภาพความสําเร็จการเรียนมวยไทยของนักทองเที่ยวชาวตางชาติ

ตัวแปร S.D. แปลผล การเอาใจใสดูแลจากครูฝกในคายมวย 4.27 0.77 มาก ความปลอดภัยในคายมวย 4.27 0.79 มาก ความนาเชื่อถือของคายมวย 4.26 0.83 มาก การจัดบรรยากาศการเรียนการสอน 4.27 0.82 มาก การจัดครูมวยที่มีคุณภาพการสอน 4.21 0.82 มาก การเอาใจใสดูแลจากหัวหนาคาย 4.19 0.83 มาก การเอาใจใสดูแลจากเพื่อนนักมวยไทย 4.18 0.80 มาก การจัดหลักสูตรที่มีคุณภาพ 4.18 0.80 มาก การสรางความความมั่นใจในความสําเร็จจากการเรียน 4.14 0.85 มาก การจัดบริการสิ่งอํานวยความสะดวกของคายมวย 4.14 0.82 มาก การเอาใจใสดูแลจากเพื่อนนักมวยชาวตางชาติ 4.13 0.82 มาก ความสะอาดของคายมวย 4.10 0.90 มาก คาใชจายการเรียนที่เปนธรรม 4.10 0.86 มาก สัดสวนครูฝกตอผูเรียนเหมาะสม 4.11 0.82 มาก การจัดอุปกรณการฝกซอมที่มีคุณภาพและเพียงพอ 4.07 0.92 มาก รวม 4.17 0.83 มาก

ตารางที่ 8 แสดงใหเห็นวาสภาพความ การเอาใจใสดูแลจากเพื่อนนักมวยชาวไทย ( = สําเร็จจริงในการเรียนมวยไทยของนักทองเที่ยว 4.18) การจัดหลักสูตรที่มีคุณภาพไวบริการ ชาวตางชาติพบวา ในภาพรวมมีความสําเร็จ ( = 4.18) การสรางความมั่นใจในความสําเร็จ ระดับมาก ( = 4.17) โดยการไดรับการเอาใจใส ( = 4.14) การจัดบริการสิ่งอํานวยความสะดวก ดูแลจากครูฝกในคายเปนลําดับแรก ( = 4.27) และ ( = 4.14) การเอาใจใสดูแลจากเพื่อนนักมวย การไดรับความปลอดภัยในคายมวย ( = 4.27) ชาวตางชาติ ( = 4.13) ความสะอาดของคายมวย รองลงไป ไดแก ความนาเชื่อถือของคายมวย ( = 4.10) คาใชจายในการเรียนที่เปนธรรม ( = 4.26) การจัดบรรยากาศการเรียนที่เหมาะสม ( = 4.10) สัดสวนครูฝกตอผูเรียนเหมาะสม ( = 4.24) การจัดครูมวยที่มีคุณภาพ ( =4.21) ( = 4.11) และการจัดอุปกรณการฝกซอมที่มี การเอาใจใสดูแลจากหัวหนาคาย ( =4.19) คุณภาพและเพียงพอ เปนลําดับสุดทาย 76 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 9 ผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนของปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จในการ เรียนมวยไทยของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ

Adjusted ตัวแปร 2 B S.E Beta T P-value R R R2 1. ดานสถานที่และอุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ 0.868 0.105 0.322 8.31 <0.001 0.8114 0.8114 0.716 2. ดานการมีหลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง 0.562 0.149 0.136 3.63 <0.001 0.7419 0.7419 0.657 3. ดานการมีบุคลากรมวยไทยที่มีศักยภาพสูง 0.478 0.058 0.406 8.27 <0.001 0.6467 0.6467 0.549 4. ดานการสนับสนุนเครือขายธุรกิจและการตลาด 0.023 0.089 0.070 2.43 0.015 0.6532 0.6532 0.366

จากผลการศึกษาจากตารางที่ 9 ได X4= ตัวแปรอิสระตัวที่ 4คือ ดานการ สมการถดถอยพหุคุณเชิงเสนตรงซึ่งเปนสมการ สนับสนุนเครือขายธุรกิจและการตลาด ทํานายในรูปคะแนนดิบ ดังนี้ แทนคาในสมการไดดังนี้ / / Y = a+b1X1+b2X2+b3X3 +b4X4 Y = 6.24 + (0.868) ดานสถานที่และ Y/ = ความสําเร็จในการเรียนมวยไทย อุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ + (0.562) ดานการ ของนักทองเที่ยวชาวตางชาติ มีหลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง (0.478) + ดาน a = คาคงที่=6.24 การมีบุคลากรมวยไทยที่มีศักยภาพสูง + (0.023)

b1 = สัมประสิทธิ์การถดถอยในรูป ดานการสนับสนุนเครือขายธุรกิจและการตลาด คะแนนดิบของตัวแปรอิสระตัวที่ 1 =0.868 ผลการวิเคราะห พบวา ตัวแปรอิสระ

X1= ตัวแปรอิสระตัวที่ 1 คือ ดานสถาน ที่สงผลตอความสําเร็จในการเรียนมวยไทย ที่และอุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ ของนักทองเที่ยวชาวตางชาติและถูกเลือกเขา

b2 = สัมประสิทธิ์การถดถอยในรูป สมการมี 4 ปจจัยเรียงตามลําดับดังนี้ ลําดับแรก คะแนนดิบของตัวแปรอิสระตัวที่ 2=0.562 ดานสถานที่และอุปกรณฝกซอมที่มีคุณภาพ

X2= ตัวแปรอิสระตัวที่ 2 คือ ดานการมี (คาสัมประสิทธิ์การถดถอย = 0.868 ความ หลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง คลาดเคลื่อนมาตรฐาน = 0.105) ดานการ

b3 = สัมประสิทธิ์การถดถอยในรูป มีหลักสูตรเรียนที่มีศักยภาพสูง (คาสัมประสิทธ คะแนนดิบของตัวแปรอิสระตัวที่ 3=0.487 การถดถอย = 0.562 คาความคลาดเคลื่อน

X3= ตัวแปรอิสระตัวที่ 3คือ ดานการมี มาตรฐาน = 0.149) ดานการมีบุคลากรมวยไทย บุคลากรมวยไทยที่มีศักยภาพสูง ที่มีศักยภาพสูง (คาสัมประสิทธิ์การถดถอย

b4 = สัมประสิทธิ์การถดถอยในรูป = 0.478 คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน = คะแนนดิบของตัวแปรอิสระตัวที่ 4 = 0.023 0.58) ดานการสนับสนุนเครือขายธุรกิจและ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 77 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

การตลาด (คาสัมประสิทธิ์การถดถอย = 0.023 กระตุนใหอยากเรียน รวมทั้งอัธยาศัยไมตรีของ คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน = 0.089) คนไทย สวนตัวแปรอิสระที่ไมถูกเลือกเขาสมการ ปจจัยสําเร็จของธุรกิจมวยไทยที่พบวา ไดแก ความสะอาดและความปลอดภัย การใช การสนับสนุนจากเครือขายธุรกิจและการตลาด วิทยาศาสตรการกีฬา โดยปจจัยที่เขาสมการ เปนองคประกอบที่มีศักยภาพและนํ้าหนักสูงสุดนั้น ทั้ง 4 ตัว สามารถพยากรณคุณภาพการใหบริการ อาจเปนเพราะการทําธุรกิจคายมวยสอนชาว ในการเรียนมวยไทยของนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ตางชาติเหมือนกับการขายธุรกิจทั่วไปที่ตองมี ไดรอยละ 50.40 ผลกําไร นอกเหนือจากความอยูรอดและเติบโต อภิปรายผลการวิจัย ไปขางหนา ผูเปนหัวหนาคายมวยไทยสวนใหญ ผลการศึกษาองคประกอบปจจัยที่มี ตองมีความรู ความสามารถทางธุรกิจจนสามารถ ผลตอความสําเร็จของธุรกิจคายมวยไทยพบวา ทําการตลาดไดเอง เพราะนักทองเที่ยวกลุมนี้ องคประกอบที่เปนปจจัยสําเร็จของธุรกิจคาย มาติดตอเรียนโดยตรงจากคายมวยดวยตรงเอง มวยไทย มี 6 องคประกอบ ดังนี้ เปนสวนใหญ หัวหนาคายบางคายตองมีธุรกิจอื่น ๆ นักทองเที่ยวสวนใหญเดินทางมาคาย เสริมดวย เชน ที่พัก รานอาหาร การขายสินคา มวยไทยดวยตนเองไมผานไกดทัวรโดยติดตอ และอุปกรณมวยไทย ซึ่งตองใชการตลาดแบบ ผานเพื่อน ไลนของคายมวย ทําใหธุรกิจทองเที่ยว ผสมผสาน 7P และ 5A ในการจัดทํา ไดแก ไมมีขอมูลจากนักทองเที่ยวกลุมนี้มากนัก คาย การผลิตสินคา (product) การกําหนดราคา มวยไทยจึงจําเปนตองทําอุปทานใหพรอมสําหรับ (price) บุคลากร (people) กระบวนการสอนมวย ผูมาเรียน ซึ่งอาจตัดสินใจเลือกคายมวยที่นา (process) สถานที่ (place) การจัดการตลาด เชื่อถือมีตนแบบของยอดมวยไทยเปนครู ตลาด (promotion) และกายภาพและชองทางการ ของนักทองเที่ยวกลุมนี้จึงเปนตลาดเฉพาะเจาะจง จัดจําหนาย (physical evidence) ซึ่งตัวแปร โดยที่บริษัทธุรกิจทองเที่ยวไมไดมีสวนเกี่ยวของ ดานการตลาดนี้เปนตัวแปรเดียวที่สงผลตอ กัน ดังนั้น คายมวยจําเปนตองจัดเตรียมการ ความตองการชมมวยไทยของนักทองเที่ยว ดังนั้น ความพรอม การบริหารจัดการ การเอาใจใสดูแล ผูที่จะเปดคายมวยไทยสอนชาวตางชาติจําเปน นักทองเที่ยวกลุมนี้ตั้งแตเริ่มตนเขามาจนกระทั่ง ตองเรียนรูการทําธุรกิจและการตลาดเปนสําคัญ สงกลับ ลําดับแรก (Chusuwan, 2016) จากผลการวิจัยในครั้งนี้ ความสําเร็จ ประเด็นการมีบุคลากรที่มีศักยภาพสูง จากการเรียนอยูในระดับมาก ( = 4.17) เนื่องจาก เปนประเด็นที่สองรองมาจากดานการทําธุรกิจ การเอาใจใสดูแลของบุคลากรคายมวย และ และการตลาด เปนเพราะความสําเร็จของการ ระบบการดูแลชวยเหลือนักทองเที่ยว ตลอดจน เรียนมวยไทยของลูกคาที่เปนนักทองเที่ยวนั้น การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนที่มีบรรยากาศ ขึ้นอยูกับบุคลากรเปนสําคัญ ทั้งครูมวย หัวหนา 78 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

คายมวย เจาหนาที่ และบุคลากรอื่นที่เกี่ยวของ ของคายมวยอยางเพียงพอที่จะสามารถเขามา โดยตรงกับการใชความรูและทักษะตามที่ เรียน ประเด็นนี้ตองทําขอมูลการตลาดของแตละ นักทองเที่ยวคาดหวัง โดยเฉพาะครูมวยไทยที่ คายมวยใหนักทองเที่ยวมาซื้อบริการ เอาใจใสดูแล มีอัธยาศัย มีนํ้าใจโอบออมอารี ประเด็นความสะอาดและความปลอดภัย มีเทคนิคและความสามารถในการสอน หากมี ชาวตางชาติใหความสําคัญกับประเด็นนี้อยางมาก คุณสมบัติเคยเปนแชมปหรือมีทักษะการสื่อสาร คายมวยสอนชาวตางชาติตองมีความสะอาด ทางภาษาไดดีจะทําใหนักทองเที่ยวพอใจมาก และความปลอดภัยจึงจะสรางความมั่นใจใหแก ดังงานวิจัยของ เตชิตา ไชยออน (Chai-on, 2015) ผูเรียนได โดยเฉพาะการฝกมวยไทยเพื่อการ ที่พบวาปจจัยที่มีผลตอคุณภาพการใหบริการ ออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ จําเปนตองมีความ ของคายมวยไทยที่สอนชาวตางชาติลําดับแรก สะอาดและปลอดภัยกอน ไดแก บุคลากรที่มีคุณภาพ โดยการสรางความ ปจจัยสําเร็จทางธุรกิจที่สงผลตอความ เชื่อถือ ศรัทธาเอาใจใสดูแลแบบกัลยาณมิตร สําเร็จในการเรียนมวยไทยของชาวตางชาติ จะทําใหการบริการมีคุณภาพยิ่งขึ้น ปจจัยตัวแรกที่สามารถอธิบายความสําเร็จใน ประเด็นการมีหลักสูตรการเรียนที่มี การเรียนมวยไทย ไดแก สถานที่และอุปกรณการ คุณภาพชนิดตาง ๆ ของหลักสูตร สามารถแยก ฝกซอมที่มีคุณภาพ โดยสถานที่และอุปกรณ ตามความตองการของลูกคาที่คายมวยจัดให เปรียบเหมือนสินคาตัวอยาง ที่แสดงใหเห็น และตอบสนองความตองการนักทองเที่ยวจัดเปน รูปธรรมความพรอมที่แสดงใหเห็นได สอดคลอง อุปทานชนิดหนึ่ง เพราะนักทองเที่ยวมีเวลา กับ เตชิตา ไชยออน (Chai-on, 2015) ที่วิจัย ความสนใจและมีงบประมาณในการเรียนที่ เรื่องความคาดหวังของลูกคาชาวตางชาติที่มี แตกตางกัน หากมีการทําขอมูลการตลาดให ตอคุณภาพการใหบริการคายมวยไทย พบวา นักทองเที่ยวสามารถเลือกเรียนตามหลักสูตร ระดับความคาดหวังของลูกคาชาวตางชาติตอ ตาง ๆ ในแตละคายมวยจะทําใหดึงดูดใจ คุณภาพการใหบริการคายมวยไทย ดานความ นักทองเที่ยวยิ่งขึ้น ดังนั้น คายมวยตาง ๆ ควรมี เปนรูปธรรมของบริการลําดับที่ 1 ใหระดับสูงสุด ขอมูลทางการตลาดสวนนี้ใชเสนอใหนักทองเที่ยว ไดแก สถานที่ฝกมวยไทยมีความสะอาด เปนระเบียบ ไดเลือกตามที่ตองการ รวมถึงราคาในแตละ และบรรยากาศดี รองลงมาไดแก การมีอุปกรณ หลักสูตรดวย ฝกมวยที่ไดมาตรฐานครบถวน พรอมใชงาน ที่ตั้ง ประเด็นสถานที่และอุปกรณ สถานที่ อยูในทําเลที่สะดวกในการเดินทาง และมีสิ่งอํานวย และอุปกรณเปนปจจัยในการดึงดูดใจของนัก ความสะดวกบริการ เชน หองพัก ตูล็อคเกอร ทองเที่ยวที่จะมาเรียนมวยไทย จัดเปนอุปทาน หองเปลี่ยนเครื่องแตงกาย คอมพิวเตอร สัญญาณ ดานหนึ่งในทางธุรกิจคายมวยไทยสําหรับ ไวไฟ (wifi) และอินเทอรเน็ต เปนตน มีแสงสวาง นักทองเที่ยวชาวตางชาติ ที่บงบอกถึงความพรอม ที่เพียงพอ และมีอากาศถายเทสะดวก สอดคลอง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 79 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กับ นปภัสร ชูสุวรรณ (Chusuwan, 2016) ที่ศึกษา บางคนเรียนเพื่อไปทําธุรกิจมวยไทยยิมใน ปจจัยการตลาดที่มีอิทธิพลตอความตองการ ประเทศของตน และมาเรียนเพราะวัตถุประสงค เดินทางทองเที่ยวเพื่อชมมวยไทยของนักทองเที่ยว อื่น ๆ อีกทั้งผูเรียนมีความแตกตางกัน ทั้งดาน ชาวตางชาติ โดยพบวาตําแหนงของสถานที่ เพศ วัย ประสบการณ ซึ่งเปนอุปสงค (demand) ความสะดวกในการเดินทาง บรรยากาศโดยรวม ดังนั้น คายมวยจึงจําเปนตองสรางอุปทาน ของสถานที่ มีคาเฉลี่ยในสิ่งเหลานี้อยูในระดับมาก (supply) ใหสอดคลองกับความตองการของ ซึ่งสอดคลองกับ John (2014) ที่ศึกษาคาย ลูกคาหรือผูเรียน ซึ่งสามารถจัดประสบการณ มวยไทยที่มีคุณภาพพอเพียง มีความสะอาดและ ใหกับผูเรียนไดหลาย ๆ หลักสูตร ก็จะทําใหผูเรียน ปลอดภัย มีความพึงพอใจ ดังนั้น หลักสูตรการเรียน ดังนั้น ปจจัยดานสถานที่และอุปกรณ การสอนซึ่งเปนองคประกอบปจจัยความสําเร็จ เปนปจจัยสําเร็จทางธุรกิจที่สงผลตอความสําเร็จ ของธุรกิจคายมวย (Yomdit et al., 2010) ทั้งนี้ ของผูเรียนมวยเปนลําดับแรก เพราะเปนหนึ่ง การนําเสนอขอมูลทางการตลาดของคายมวยไทย ในปจจัยสวนผสมทางการตลาดที่ผูเรียนตองใช โดยใชวิธีการสงเสริมการตลาดบนสื่อดิจิตอลหรือ ฝกทักษะ เปนอุปสงคที่คายมวยที่ทําธุรกิจดานนี้ ออนไลน จะชวยใหอุปสงค (demand) มาพบกับ ตองลงทุนสรางความพรอมไวอยางครบครัน อุปทาน (supply) การแลกเปลี่ยนซื้อขายสินคา เพื่อตอบสนองลูกคาผูมาเรียนมวยไทย นอกจากนี้ และบริการก็จะเกิดขึ้น สถานที่และอุปกรณตองมีความสะอาดและ ปจจัยที่ 3 ประเด็นปจจัยดานบุคลากร ปลอดภัย เพราะจากงานวิจัยครั้งนี้ นักทองเที่ยว ปจจัยดานบุคลากรเปนตัวแปรที่อธิบายความ สวนใหญมาเรียนมวยไทยเพื่อสุขภาพ จําเปน สําเร็จจากการเรียนมวยไทยของชาวตางชาติ ตองมีความสะอาดปลอดภัยที่ผูที่ทําคายมวยไทย เปนลําดับที่สอง อาจเปนเพราะวาครูฝก ผูชวย รับลูกคาดังกลาวจําเปนตองมีการบริหารจัดการ ครูฝก ตลอดจนบุคลากรทุกคนเปนอุปสงคที่ ที่มีสิ่งตาง ๆ ที่กลาวมา เพื่อทําใหลูกคาหรือผูเรียน สําคัญตอความสําเร็จ ดังที่ เตชิตา ไชยออน เกิดความพึงพอใจ และประทับใจ บอกตอให (Chai-on, 2015) ไดศึกษาความคาดหวังของ บุคคลอื่น ๆ มาเรียนในคายมวยอีก ลูกคาชาวตางชาติที่มีตอคุณภาพการใหบริการ ปจจัยที่ 2 ดานการมีหลักสูตรการเรียน ของคายมวยไทย ผลการวิจัยพบวา ตัวแปร ที่มีศักยภาพสูง เปนปจจัยที่สามารถอธิบายความ ดานบุคลากร ดานการสงเสริมการตลาดและ สําเร็จในการเรียนมวยไทยของนักทองเที่ยว ดานราคา มีอิทธิพลตอตัวแปรดานคุณภาพการ ที่เปนลําดับที่สอง เหตุที่เปนเชนนี้เพราะวาผูเรียน ใหบริการคิดเปนรอยละ 44.1 โดยปจจัยดาน มีวัตถุประสงคในการเรียนที่แตกตางกัน บางคน บุคลากรเปนตัวแปรตัวแรกที่อธิบายตัวแปรตาม เรียนเพื่อออกกําลังกาย บางคนเรียนเพื่อหา ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ บุคลากรจึงเปน ประสบการณ บางคนเรียนเพื่อเปนนักมวย สินคาตัวหนึ่ง ขณะเดียวกันก็เปนปจจัยทางการ 80 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตลาดที่มีความสําคัญตอคุณภาพการใหบริการ ชาวตางชาติจึงจําเปนตองมีการสรางเครือขาย หากบุคลากรมวยมีคุณสมบัติทางมวยไทย ทางการตลาดแบบ360 องศา โดยเฉพาะการมี มีทักษะและเทคนิคการสอนที่ดี เอาใจใสดูแล โปรโมชั่นตาง ๆ เพื่อใหนักทองเที่ยวมาซื้อบริการ ลูกคาหรือผูเรียนอยางเปนกัลยาณมิตรก็จะทําให ใหมากยิ่งขึ้น การเรียนประสบความสําเร็จได ทําใหเกิดการ บอกตอและกลับเขามาเรียนอีก ดังนั้น บุคลากร ขอเสนอแนะ มวยไทยตองไดรับการพัฒนา โดยเฉพาะหัวหนา ขอเสนอแนะจากการวิจัย คายตองไดรับการพัฒนาการบริหารงานลูกคา 1. การทองเที่ยวแหงประเทศไทยควรนํา สัมพันธ ครูมวยไทยไดรับการพัฒนาทักษะการ ผลการวิจัยไปใช โดยจัดการสงเสริมการตลาด สอนภาษาและการสื่อสาร บุคลากรในคายมวย ใหกับชาวตางชาติที่มาเรียนมวยไทยและชม ตองไดรับการพัฒนาเรื่องภาษาและการตอนรับ มวยไทยมากยิ่งขึ้น ดูแลเอาใจใสแบบลูกคาสัมพันธ 2. คายมวย ยิมมวย และโรงเรียน ปจจัยที่ 4 ปจจัยดานการสนับสนุนจาก มวยไทย ควรใชขอมูลงานวิจัยไปพัฒนาการ เครือขายและการตลาด ปจจัยดานนี้สามารถ บริหารจัดการธุรกิจคายมวยใหมีคุณภาพ อธิบายตัวแปรตามความสําเร็จของการเรียน 3. สถาบันการศึกษาที่เปดสอนดานการ มวยไทยของนักทองเที่ยวไดเปนลําดับที่ 4 เหตุที่ ทองเที่ยวและสอนมวยไทยควรนําผลการวิจัย เปนเชนนี้เพราะการทําการตลาดเปนการเสนอ ไปใชในการพัฒนาทางดานวิชาการ ขายสินคาและบริการ ทางดานธุรกิจ เพื่อใหกลุม ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป เปาหมายมาซื้อสินคาและบริการ สอดคลองกับ 1. ควรศึกษาปจจัยสําเร็จของสนาม ผลงานวิจัยของ เตชิตา ไชยออน (Chai-on, 2015) มวยไทย และนปภัสร ชูสุวรรณ (Chusuwan, 2016) ที่พบวา 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบระหวางคาย ปจจัยดานการตลาดมีผลตอคุณภาพการให มวยไทยในประเทศกับคายมวยไทยหรือคายมวย บริการดานความเปนรูปธรรมของการบริการดาน ในตางประเทศ การเรียนมวยและชมมวยไทย โดยนักทองเที่ยว 3. ศึกษาเชิงคุณภาพกับกลุมตัวอยาง สวนใหญใหความสําคัญดานการสงเสริมการตลาด ทั้งนักทองเที่ยวชาวตางชาติผูมาเรียนมวยไทย มากที่สุด ดังนั้น คายมวยไทยที่ทําธุรกิจสอน และคายมวย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 81 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

REFERENCES Ministry of Tourism and Sports. (2013). Chai-on, T. (2015). Expectation of foreign Strategy tourism and sport 2012- customers toward quality service of 2016. Bangkok. Thai Agricultural Muay Thai Camps. Thesis of Faculty cooperative federation of Thailand Management Science, Silpakorn Press. (in Thai) University. (in Thai) Poonsri, W. (2012). Muay Thai: management Chusuwan, N. (2016). Marketing factors of Thai wisdom for international influence demand for foreigners to business. Dissertation of Cultural come to watch Thai Boxing. M.A Science. Mahasarakham University. Program in Hospitality and Tourism (in Thai) Industry Management, Bangkok Moungkaew, T. (2011). Factors analysis for University. (in Thai) evaluation on electric energy saving. James, H. (2005). Sport tourism destinations: Master thesis, M.Ed. (Industrial Issues, opportunities and analysis. Education). Sinakharinwirot London: Routledge. University. (in Thai) John, A. (2014). 13 characteristius of best Yomdit et al. (2010). Muaythai competence Muay Thai camps in Muay Thai gym curriculum. Bangkok: Sport authority tips Thailand blog. Retrieved June5, of Thailand and Muban Chombueng 2015 from http.//www muaythai Rajabhat University. (in Thai) Scholar 82 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Research Article

การเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาทองถิ่น ของสาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร INTEGRATED LEARNING FOR COMMUNITY DEVELOPMENT OF COMMUNICATION ARTS, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ณัฐนันท วิริยะวิทย Nathanan Wiriyawit

สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย Department of Communication Arts, Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand

[email protected] บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคของการวิจัยเพื่อ (1) ศึกษาการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ เพื่อการพัฒนาทองถิ่น (2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ (3) ศึกษาความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ของสาขาวิชา นิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก (1) แบบประเมินโดยใชเกณฑ แบบรูบริค (2) แบบประเมินผลการเรียน (3) แบบสอบถามความพึงพอใจ และ(4) การอภิปรายกลุมยอย กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ในรายวิชาหลักการสื่อสารการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2560 จํานวน 63 คน การวิเคราะห สถิติเชิงพรรณนา ไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหสถิติอางอิง ไดแก paired t-test และ one sample t-test เกณฑ 70 ผลการวิจัย พบวา การจัดการเรียนรูแบบ บูรณาการเพื่อพัฒนาทองถิ่นประกอบดวย 6 ขั้นตอน ผลสัมฤทธิ์การเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการอยูใน ระดับมาก จากการอภิปรายกลุม พบวา นักศึกษามีความรูและทักษะ การวิเคราะห การทํางานเปนทีม การพัฒนาตนเอง มีการเรียนรูแบบปฏิบัติจริง นักศึกษาไดเห็นรอยยิ้มและไดรับรูถึงความสุขของคน ในชุมชน ทําใหรูสึกภูมิใจในผลงานที่นําไปใชประโยชนอยางแทจริง ดวยการเรียนรูแบบบูรณาการ เชื่อมโยงระหวางมหาวิทยาลัยและชุมชน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 83 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

คําสําคัญ: การเรียนรูแบบบูรณาการ การพัฒนาทองถิ่น นิเทศศาสตร

ABSTRACT The research objectives were to study the integrated learning management to develop local area, learning achievement by using integrated learning management and the students’ satisfaction toward integrated learning management to develop local area. The research instruments were project evaluation, learning achievement test, and satisfaction questionnaire. The sample group was 63 students, majoring in Communication Arts who signied up in Marketing Communication subject in the first semester of the 2017 academic year, offered at Phranakhon Rajabhat University’s Faculty of Science Management. The statistics used for the data analysis were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The statistics used for testing hypothesis were paired t-test and one sample t-test. The research revealed that the integrated learning management to develop local are had 6 steps. The Learning achievement with integrated learning management showed that students, scare of post-test was higher than pre-test, representing statistically significant different level at .001 The Learning achievement with integrated learning management was found that Mass Communication Arts students had good performance representing statistically significant different level at .001. The students’ satisfaction toward integrated learning to develop local area was in high level. The result from group discussion for the integrated learning management showed that students learned, more about knowledge and skills. They had more skills in analysis, team work, self-development, practice in real case, with the smiles and happiness of people in community. Then they were proud in their really useful work. With integrated learning, it related between university and community.

Keywords: integrated learning, community development, Communication Arts 84 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

บทนํา ความเปนจริง ทําใหผูเรียนมีความบกพรอง การพัฒนาคนใหมีคุณภาพมีหลักการ ในดานการมีมนุษยสัมพันธที่ดี ความอุตสาหะ สําคัญมุงเนนพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี คนเกง ความอดทน และความคิดริเริ่มสรางสรรค และมีความสุข ดวยการจัดกระบวนการเรียนรู นอกจากนั้น เสกสรรค แยมพินิจ (Yeampinit, ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดเนื้อหา n.d.) ไดกลาวถึงการจัดการศึกษาที่ผานมา สาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจ มีหลายปญหาดวยกัน ตั้งแตหลักสูตรที่ยึดวิชา และความถนัดของผูเรียนโดยคํานึงถึงความ เปนตัวตั้ง มีการแยกเนื้อหากันอยางชัดเจน ทําให แตกตางระหวางบุคคล ฝกทักษะกระบวนการคิด ไมสอดคลองกับการนําไปใชในชีวิตจริง การเรียน การจัดการ การเผชิญสถานการณ ประยุกตความรู การสอนที่ไมยึดผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนไมรู มาใชเพื่อปองกันและแกปญหา จัดกิจกรรมให จักใฝเรียนรู แถมยังเกิดทุกขในการเรียน ซึ่งเปน ผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการ ปญหาที่เกิดขึ้นและสะสมมาอยางเนิ่นนานจนถึง ปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอาน และ ปจจุบัน เกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง จัดการเรียนการสอน จากปญหาดังกลาวจึงมีการปฏิรูปการ โดยผสมผสานความรูตาง ๆ อยางไดสัดสวน ศึกษา โดยมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู สมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม ที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 คานิยมที่ดี คุณลักษณะอันพึงประสงคไวใน ที่มุงเนน “การเรียนรู” มากกวา “การสอน” ใหผู ทุกวิชาตามสาระสําคัญของมาตรา 24 สามารถ เรียนรูจักวิธีการเรียนรูดวยตนเอง มีจิตใจแหง สรุปได 3 ประการ นั่นคือ 1) การจัดหลักสูตร การใฝรู รูจักแสวงหาความรูตลอด ฝกใหมีความ ที่บูรณาการสอดคลองกับการดําเนินชีวิตและ สามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิด การประกอบอาชีพ 2) การจัดระบบการเรียน วิเคราะห สังเคราะห การแกปญหา รวมทั้งการ การสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญบูรณาการกับ ปลูกฝงคุณธรรมและจริยธรรมใหกับผูเรียน การดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ และ ผูสอนควรลดการบรรยาย ทําหนาที่เปนผู 3) การจัดสภาพแวดลอมในการเรียนรูและจัด สนับสนุนชี้แนะ (facilitators) เนนกิจกรรมที่ แหลงความรูประเภทตาง ๆ อยางเหมาะสมกับ สงเสริมและพัฒนาผูเรียน สําหรับหลักสูตร หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน โดยทั้ง ควรจัดใหเปนแบบบูรณาการ เชน การจัดหลักสูตร 3 สิ่งนี้จะตองสอดคลองกัน (Yeampinit, n.d.) พัฒนาจากรายวิชาเปนชุดวิชา (module) มีความ แตจากการศึกษาสภาพการจัดการเรียน ยืดหยุนและเปนแบบกวางขวาง และมีความ การสอนระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาตาง ๆ หลากหลาย การจัดสภาพแวดลอมตาง ๆ และ ที่ผานมา (Polsarum, n.d.) พบวา อาจารยมีวิธี การจัดการ ควรเนนการมีสวนรวมของชุมชน การสอนสวนใหญใชการบรรยาย ใชการถายทอด หรือพัฒนาความรวมมือกับหนวยงานอื่น ๆ ความรู ขาดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับ (Polsarum, n.d.) การจัดการเรียนการสอนเพื่อให Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 85 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เหมาะสมกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ในหลักสูตร จึงทําใหลดเวลาในการเรียนรูเนื้อหา มีหลากหลายวิธีดวยกัน วิธีหนึ่งคือ การจัดการ บางอยางลงได แลวไปเพิ่มเวลาใหเนื้อหาใหม ๆ เรียนรูแบบบูรณาการ (integrated instruction) เพิ่มขึ้น เปนการสอนที่เชื่อมโยงความรู ความคิดรวบยอด 4. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ หรือทักษะเขาดวยกัน เพื่อใหเกิดการเรียนรู จะตอบสนองตอความสามารถในหลาย ๆ ดาน โดยองครวม ทั้งดานพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะ ของผูเรียนชวยสรางความรู ทักษะ และเจตคติ พิสัย ซึ่งสอดคลองกับแนวทางการจัดการศึกษา แบบพหุปญญา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 5. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ มาตรา 23 ที่เนนความสําคัญของความรู คุณธรรม จะสอดคลองกับทฤษฎีการสรางความรูโดย กระบวนการเรียนรู และบูรณาการตามความ ผูเรียน (constructivism) ที่กําลังแพรหลาย เหมาะสม ซึ่งเปนไปตามสภาพจริงของสังคม ในปจจุบัน (Jetsadawiroj, 2014) เหตุผลในการจัดการ นอกจากนั้น การเรียนรูที่เนนรายวิชา เรียนรูแบบบูรณาการ (Areerattanassak, เปนตัวตั้ง ทําใหเปนการเรียนรูแบบแยกสวน Vikromprasit, Sriwiroj & Makprayoon, 2008) ในแตละรายวิชา ไมมีการเชื่อมโยงสัมพันธกัน ดังนี้ ดังนั้น การเรียนรูสําหรับนักศึกษาหลักสูตร 1. สิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน นิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ไดมี นั้นจะเปนสิ่งที่เกี่ยวเนื่องสัมพันธกับศาสตรใน การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อใหผูเรียน สาขาตาง ๆ ผสมผสานกันทําใหผูเรียนที่เรียนรู สามารถเชื่อมโยงความรูแบบองครวมและ ศาสตรเดี่ยวๆ มา ไมสามารถนําความรูมาใชใน สัมพันธกันอยางตอเนื่องมากกวาเรียนรูแบบ การแกปญหาได ดังนั้น การจัดการเรียนรูแบบ แยกรายวิชาและทักษะที่แยกจากกัน รวมถึงการ บูรณาการจะชวยใหสามารถนําความรู ทักษะ จัดการเรียนรูที่เนนการมีสวนรวมของชุมชนหรือ จากหลาย ๆ ศาสตรมาแกปญหาไดกับชีวิตจริง พัฒนาความรวมมือกับหนวยงานอื่น ๆ 2. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ดังนั้น การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ทําใหเกิดความสัมพันธเชื่อมโยงความคิด เพื่อการพัฒนาทองถิ่น สําหรับนักศึกษาหลักสูตร รวบยอดของศาสตรตาง ๆ เขาดวยกัน ทําใหเกิด นิเทศศาสตรวาจะเปนแนวทางในการจัดการ การถายโอนการเรียนรู (transfer of learning) ศึกษาที่ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ของศาสตรตาง ๆ เขาดวยกันทําใหผูเรียนมองเห็น ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ประโยชนของสิ่งที่เรียนและนําไปใชจริงได อยางไร เพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการจัดการ 3. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ เรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มาชวยลดความซํ้าซอนของเนื้อหารายวิชาตาง ๆ ยิ่งขึ้น 86 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

วัตถุประสงคของการวิจัย 3. ไดบูรณาการการเรียนการสอน 1. เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรูแบบ การวิจัย และการบริการวิชาการ เพื่อใหสอดคลอง บูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นของสาขาวิชา กับพันธกิจของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาทองถิ่น นิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 2. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขอบเขตของการวิจัย ในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการ 1. ขอบเขตดานเนื้อหา การจัดการเรียนรู พัฒนาทองถิ่นของสาขาวิชานิเทศศาสตร แบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 2. ขอบเขตดานเวลา การเก็บรวบรวม 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีตอการ ขอมูล ในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2560 จัดการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา ตั้งแตมิถุนายน–ตุลาคม 2560 ทองถิ่นของสาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัย 3. ขอบเขตดานประชากร นักศึกษา ราชภัฏพระนคร สาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 1. ไดมีการนําผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการ สมมติฐาน เรียนการสอนมาใชในการจัดการเรียนการสอน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการจัดการ ในระดับอุดมศึกษา เรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น 2. ไดแนวทางการเรียนรูแบบบูรณาการ ผูเรียนมีผลการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญดวยการใชแหลงเรียนรู 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยการ ในสภาพจริงทางสังคม ทําใหผูเรียนเกิดการ ประเมินโครงการโดยใชเกณฑแบบรูบริค ผูเรียน เรียนรูอยางมีความหมาย และกอใหเกิดการ มีผลการเรียนในระดับดีขึ้นไป มีสวนรวมของชุมชนและมหาวิทยาลัย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 87 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กรอบแนวคิดของการวิจัย

H1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การเรียนรูแบบบูรณาการ เพื่อการพัฒนาทองถิ่น ความพึงพอใจ คุณลักษณะที่พึงประสงค 5 ดาน H2 ของรายวิชาหลักการสื่อสารการตลาด หลักสูตรนิเทศศาสตร - ดานคุณธรรม จริยธรรม - ดานความรู - ดานทักษะปญญา - ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และความรับผิดชอบ - ดานการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี

ระเบียบวิธีวิจัย รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ประชากร คือ นักศึกษาสาขาวิชา การวิเคราะหสถิติอางอิง ประกอบดวย paired นิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย t-test และ one sample t-test โดยใชเกณฑ 70 ราชภัฏพระนคร กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาสาขา วิชานิเทศศาสตร ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาหลักการ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย สื่อสารการตลาด ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา สรุปผลการวิจัย 2560 จํานวน 63 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การสรุปผลการวิจัย ดังนี้ ประกอบดวย แบบประเมินโดยใชเกณฑแบบ 1. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ รูบริค แบบประเมินผลการเรียน แบบสอบถาม เพื่อการพัฒนาทองถิ่นของสาขาวิชานิเทศศาสตร ความพึงพอใจ และการอภิปรายกลุมยอย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผลวิจัยพบวา การทดสอบความเที่ยงตรงของแบบประเมิน การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา โดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน และปรับแกตาม ทองถิ่น ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังนี้ ที่ผูเชี่ยวชาญแนะนําจนครบทุกประเด็น การ ขั้นที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน เปน วิเคราะหสถิติเชิงพรรณนา ประกอบดวย ความถี่ ขั้นตอนที่ตองใชวิธีการสอนที่สามารถกระตุน 88 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ความสนใจของผูเรียนเพื่อนําทางใหตระหนัก การตลาดได โดยการโยงประเด็นการสื่อสารการ ถึงความสําคัญของกระบวนการกลุมและเนื้อหา ตลาดกับพื้นที่ชุมชน ปญหาที่แทจริงของชุมชน ที่จะเรียน โดยผูสอนไดมีการตั้งคําถามวา “การ ใหนักศึกษาไดรวมคิดและมีสวนรวมกับการเรียน สื่อสารการตลาด สามารถใชในกับชุมชนได จากสถานการณจริง หรือไม อยางไร” เพื่อใหผูเรียนไดเริ่มคิดวา ขั้นที่ 2 ขั้นกระบวนการพัฒนากลุม เกี่ยวของกันอยางไร หลังจากนั้น จึงไดเริ่มอธิบาย เปนขั้นที่นําเสนอความรู การปฏิบัติการใหแก เนื้อหารายวิชา กระบวนการสื่อสารการตลาด ผูเรียนไดพัฒนาตนเองใหเต็มศักยภาพโดยให และยกตัวอยางชุมชนที่มีผลิตภัณฑภายในชุมชน นักศึกษาไดมีการปฏิบัติจริง การเรียนดวย ที่มีอยูหลากหลายประเภท แลวแตบริบทของ โครงการ และการใชแหลงเรียนรู ชุมชนแตละชุมชน สามารถใชหลักการสื่อสาร

ภาพ 1 การลงพื้นที่ชุมชนบานจํารุง อําเภอแกลง จังหวัดระยอง

ภาพ 2 นักศึกษาไดจัดทําแผนงานนําเสนอตออาจารย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 89 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ขั้นที่ 3 ขั้นการฝกประสบการณดวย คนมาติดตอเกี่ยวกับรายละเอียดของชุมชน ตนเอง การเรียนรูภายนอกหองเรียน เปนการ ทางชุมชนไมมีสื่อในการนําเสนอ จึงอยากจะมีสื่อ สรางบรรยากาศการเรียนรูใหนักศึกษาไดสัมผัส แผนพับไวสําหรับคนที่ตองการมาขอขอมูลชุมชน กับสถานที่จริง นอกจากนั้น ทางชุมชนมีสื่อไวแจกเฉพาะเทาที่ การลงพื้นที่เพื่อศึกษาขอมูลและปญหา จําเปนเทานั้น เนื่องจากมีตนทุนสูง ทั้งดานการ ของชุมชน โดยการนํานักศึกษาลงพื้นที่ชุมชน ออกแบบและผลิต” จากการประชุมกลุมกับผูนําชุมชน ชาตรี กอเกื้อ เปมิกา เลาะเซ็น (Loesen, 2017) ผูใหญบานจํารุง อําเภอแกลง จังหวัดระยอง นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัย (Kokur, 2017a) ไดแสดงความคิดเห็นวา “เมื่อมี ราชภัฏพระนคร เสนอวา “การทําแผนพับออนไลน”

ภาพ 3 การเขารับฟงปญหาจากชุมชน

ภาพ 4 การเรียนรูผลิตภัณฑชุมชน 90 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

โดยการติด QR Code ที่สื่อแตละประเภท ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล ผูใหญบานจํารุง แลวใหสแกนดวยโทรศัพทไวอานไดเลย” ไดใหคําแนะนําจากชุมชนเกี่ยวกับการปรับแกไข ซึ่งเปนสิ่งที่ดีมากและผูนําชุมชนพึงพอใจ วา “เนื้อหาตองมีความถูกตอง โดยเฉพาะการ เกี่ยวกับการนําเสนอทางแกปญหาใหกับชุมชน ติดตอ ภาพที่ใชประกอบ การนําเทคโนโลยีมาใช เพราะทําใหชุมชนประหยัดในการจัดทําสื่อไดมาก กับการสื่อสารเพื่อประหยัดคาใชจายในการ เปนการนําเทคโนโลยีการสื่อสารชวยแกปญหา ผลิตสื่อ เรื่องการใหขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ใหกับชุมชนได เกษตรชุมชน ระวังเรื่องการอวดอางสรรพคุณ ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปกิจกรรม ในขั้นตอนนี้ผูสอน เกินจริง การใชสีในการออกแบบสื่อเพื่อสะทอน จะตั้งคําถามใหผูเรียนสรุปความคิดเห็นและให ความเปนชุมชน การทําแผนพับควรบรรจุเนื้อหา รายละเอียดของการปฏิบัติดวยผูเรียนเอง อีกทั้ง ที่มีประโยชน และบอกเนื้อหาของชุมชนได ใหมีการแลกเปลี่ยนความรูจากกลุมอื่น ๆ ดวย ครบถวน” (Kokur, 2017b) ผูสอนจะเปนผูใหคําแนะนําหรือรวบรวมขอมูล ขั้นที่ 6 ขั้นการชื่นชมผลงานและการ สรุปตาง ๆ ของผูเรียนแตละกลุมแลวนําสรุป นําไปใชประโยชน ใหชัดเจนยิ่งขึ้น

ภาพ 5 การสรุปกิจกรรม ดวยการนําเสนอและรับฟงขอเสนอแนะ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 91 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ภาพ 6 ผูใหญบานจํารุงรับมอบสื่อแผนพับและโปสเตอร

ผูใหญบานจํารุง กลาววา “ถูกใจมาก ๆ สมมติฐานที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตอไปจะไดนําไปเผยแพร ผมไดเห็นวาการทํา ในการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการ QR Code เปนประโยชนมาก อยากจะให พัฒนาทองถิ่น ผูเรียนมีผลการเรียนหลังเรียน มหาวิทยาลัยลงมาใหความรูและบริการวิชาการ สูงกวากอนเรียน กับชุมชน” (Kokur, 2017c) จากการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการจัดการ เพื่อการพัฒนาทองถิ่น พบวา นักศึกษามีคะแนน เรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทาง ของสาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ สถิติที่ระดับ .001 (ดังแสดงไวในตาราง 1) พระนคร จึงยอมรับสมมติฐานที่ 1 92 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตาราง 1 การเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ เพื่อการพัฒนาทองถิ่น

จํานวน สวนเบี่ยงเบน กลุม คาเฉลี่ย t (คน) มาตรฐาน นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตรที่เรียนรู 63 -51.11 16.72 -24.257*** แบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ***อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001

สมมติฐานที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยูในระดับดี ( = 38.1) นอยที่สุด อยูในรระดับ ดวยการประเมินโครงการโดยใชเกณฑแบบรูบริค ปานกลาง ( = 4.8) มีคะแนนเฉลี่ย 78.73 อยูใน ผูเรียนมีผลการเรียนในระดับดีขึ้นไป ระดับดี และพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูใน จากการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ระดับดี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 เพื่อการพัฒนาทองถิ่น พบวา นักศึกษาสวนใหญ (ดังแสดงในตาราง 2) จึงยอมรับสมมติฐานที่ 2 มีคะแนนอยูในระดับดีมาก ( = 57.1) รองลงมา

ตาราง 2 จํานวนและรอยละของคะแนนที่มีการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ประเมินโครงการโดยใชเกณฑแบบรูบริค

คะแนน (100) จํานวน (คน) รอยละ ผลการเรียนรู คาเฉลี่ย SD. t 60-69 3 4.8 ปานกลาง 78.73 7.980 8.683*** 70-79 24 38.1 ดี 80-100 36 57.1 ดีมาก 78.73 63 100.0 ดี

*** อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 93 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ความพึงพอใจที่มีตอการจัดการเรียนรู พบวานักศึกษามีความพึงพอใจอยูในระดับมาก แบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นของสาขา ทุกดาน โดยดานทักษะความสัมพันธระหวาง วิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร บุคคลและความรับผิดชอบ มีคาเฉลี่ยมากที่สุด ความพึงพอใจที่มีตอการเรียนรูแบบ ( = 4.39) รองลงมา คือ ดานคุณธรรมจริยธรรม บูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นของสาขาวิชา ( = 4.36) นอยที่สุด คือ ดานทักษะทางปญญา นิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ( =4.29) (ดังแสดงในตาราง 3) ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค 5 ดาน

ตาราง 3 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบ บูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นของสาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ดาน คาเฉลี่ย S.D. แปลผล 1. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.39 .486 มาก 2. ดานคุณธรรมจริยธรรม 4.36 .419 มาก 3. ดานทักษะการวิเคราะหตัวเลข การสื่อสาร 4.33 .535 มาก และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ดานความรู 4.30 .492 มาก 5. ดานทักษะทางปญญา 4.29 .509 มาก รวม 4.34 .423 มาก 94 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ความรูและทักษะที่ไดรับจากการ ออกแบบสื่อโปสเตอร สื่อแผนพับ อินโฟกราฟก เรียนรูแบบบูรณาการจากการอภิปรายกลุม การทําสื่อออนไลน การทํา QR Code การนําหลัก 1. ดานความรู การตลาดมาเปนแนวทางในการออกแบบใหมี ความรูที่ไดรับจากชุมชน ขอมูล คุณภาพและนาสนใจ ดวยการทํางานเปนทีม ผลิตภัณฑของชุมชน วิถีชีวิตของชุมชน การเรียน 4. การพัฒนาตนเอง รูกระบวนการผลิต กรรมวิธีแปรรูปสินคาเกษตร การพัฒนาตนเอง ดวยการฝกทํางาน สวนประกอบและประโยชนของผลิตภัณฑชุมชน เปนทีม ความรับผิดชอบ วิธีการทํางานอยางมี ความรูสวนประสมทางการตลาด การวิเคราะห แบบแผน สามัคคีกัน ชวยเหลือซึ่งกันและกัน SWOT กระบวนการและหลักการสื่อสารการตลาด การทํางานอยางละเอียดรอบคอบ มีการรับฟง ความรูการออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ การตั้ง ความคิดเห็นจากชุมชน การมีมนุษยสัมพันธ วัตถุประสงคที่ชัดเจนในการที่จะผลิตสื่อเพื่อ กับชุมชน การเขาไปสอบถามขอมูลจากผูใหญ ตอบสนองความตองการของชุมชน ความอดทน ความตรงตอเวลา การเปดรับรูสิ่งใหม 2. ทักษะการวิเคราะห จากชุมชนมาใชกับชีวิตความเปนอยูอยางพอเพียง ทักษะการวิเคราะหผูบริโภค การ ใหอยางมีความสุข ทําใหมีความสามารถมากขึ้น วิเคราะหสภาพความเปนอยูของชุมชนความ และรูถึงวิธีการแกปญหา ตองการ ปญหาและอุปสรรคของชุมชน การ 5. ไดเรียนรูแบบปฏิบัติจริง ออกแบบและผลิตสื่อตามสภาพปญหาที่แทจริง ไดเรียนรูแบบปฏิบัติจริง ทดลอง การวางแผนจัดระเบียบงาน เนื่องจากชุมชน ในการทําผลิตภัณฑแปรรูปของชุมชน การเขาไป ขาดทักษะในการถายทอดขอมูล ทําใหตองมา ดูงานในชุมชน และพูดคุยกับชุมชนเพื่อแลกเปลี่ยน วิเคราะหใหมและศึกษาขอมูลเพิ่มเติมใหได ความรูและผลิตสื่อใหกับชุมชน ไดลงไปสัมผัส มากที่สุด เมื่อวิเคราะหแยกเปนสวน ๆ ทําใหได พื้นที่ทํางานจริง ทําใหรูลึก รูจริง หลาย ๆ อยางที่ ความรูเรื่องการวิเคราะหเพิ่มเติมมากขึ้น การฝก อยากรู เห็นวิธีการทํางานของชุมชน รูจักวัฒนธรรม วิเคราะหตัวผลิตภัณฑที่จะนําเสนอ หาจุดเดน ของชุมชน สามารถนําไปใชในชีวิตจริงได ของสินคา และการดึงจุดเดนออกมาใหนาสนใจ เกิดประโยชนในการเรียนสูงสุด ไดเรียนรูสิ่งใหม ๆ นํามาจัดวางในสื่อใหนาสนใจ ที่ไมเคยเห็น 3. ทักษะการทํางานเปนทีม 6. ประโยชนดานอื่น ๆ ทักษะการทํางานเปนทีม มีการ ไดรับรอยยิ้มและไดเห็นความสุขของ วางแผนกอนลงพื้นที่ ฟงคําแนะนําจากชุมชน คนในชุมชน เห็นความมีนํ้าใจ ไดรับประโยชน การทํางานเปนทีมทําใหไดฝกคิดและสรางสรรค จากการลงพื้นที่ ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูกับชุมชน แบรนดของชุมชน การคิดสรางสรรคในการทํา ไดมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม สามารถ ประชาสัมพันธใหกับผลิตภัณฑชุมชน เชน การ นํางานที่ไดผลิตใหชุมชนไดมีการใชจริง สามารถ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 95 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

นํากระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑชุมชนแบบ ประสบการณดวยตนเอง 4) ขั้นสรุปองคความรู ชาวบานมาใชในชีวิตประจําวันและสามารถขายได 5) ขั้นชื่นชมผลงานและการนําไปใช สามารถนําความรูที่ไดมารับผลิตงานเองได นอกจากนั้น ในการวิจัยครั้งนี้ไดมีการ อภิปรายผลการวิจัย จัดการเรียนรูแบบบูรณาการเชิงวิธีการ เปนการ ผูวิจัยไดอภิปรายผลการวิจัย ดังนี้ ผสมผสานวิธีการเรียนการสอนแบบตาง ๆ โดยการ 1. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการของ ใชสื่อประสมและวิธีการประสานใหมากที่สุด สาขาวิชานิเทศศาสตรเพื่อการพัฒนาทองถิ่น โดยการใชวิธีการหลายอยาง ไดแก ดวยการใช ของสาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ การบรรยาย การใชคําถาม การจัดทําโครงงาน พระนคร จากการวิจัยไดมีการจัดการเรียนรูแบบ การคนควาและทํางานกลุม การไปศึกษานอก บูรณาการเชิงเนื้อหา ดวยการจัดโปรแกรมการสอน หองเรียน การนําเสนอขอมูล ซึ่งสอดคลองกับ เนื้อหาวิชาและทักษะสามารถเชื่อมโยงใหเปน แนวคิดการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเชิงวิธี สิ่งเดียวกันได ประยุกตใหเขากับบริบทของหัวขอ การ เปนการจัดการเรียนรูที่ใชรูปแบบการจัดการ กิจกรรม โครงการ หรือหัวขอเรื่อง (theme) ใหผูเรียน เรียนรูตั้งแต 2 วิธีขึ้นไป เพื่อใหผูเรียนมีโอกาสได ไดรูจักใชทักษะตาง ๆ อยางเหมาะสม ดวยการ เรียนรูและฝกปฏิบัติอยางสัมพันธกันใหมากที่สุด เชื่อมโยงทักษะตาง ๆ ใหเปนสิ่งเดียวกันได (Wiseatla, 2013) โดยผูสอนและผูเรียนมีความเทาเทียมกัน ทั้งนี้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการจัดการ เพื่อใหผูเรียนไดทั้งความรู ความเขาใจ เจตคติ เรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น และสามารถแกปญหาที่ประสบในชีวิตประจํา ของสาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ วันได สอดคลองตามกระบวนการเรียนรูแบบ พระนคร ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาสาขาวิชา บูรณาการของ Lardizabal et al. (Wiseatla, นิเทศศาสตรที่เรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการ 2013) และการบูรณาการที่เนนกระบวนการกลุม พัฒนาทองถิ่น มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวา ประกอบดวย 4 ขั้นตอน ไดแก 1) การนําเขาสู กอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 บทเรียน 2) ขั้นพัฒนากระบวนการกลุม เปนขั้นที่ สอดคลองกับงานวิจัยของ ภิรมร อินธนู (Intanoo, นําเสนอความรู การปฏิบัติการใหแกผูเรียน 2006) ไดศึกษากระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ ไดพัฒนาตนเองใหเต็มศักยภาพ 3) ขั้นสรุป โดยใชบริบทชุมชน กรณีศึกษา งานสานสื่อ กิจกรรม 4) ขั้นประเมินผล และสอดคลองกับงาน กระจูด ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิจัยของ ภิรมร อินธนู (Intanoo, 2006) ไดศึกษา หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชบริบท สถิติที่ระดับ .01 ชุมชน กรณีศึกษา งานสานสื่อกระจูด มีกระบวนการ 3. ผลการเรียนรูของนักศึกษาสาขา เรียนรู 5 ขั้นตอน ไดแก 1) ขั้นแสวงหาความรู วิชานิเทศศาสตรที่เรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการ 2) ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ 3) ขั้นฝก พัฒนาทองถิ่น ตามประเมินผลโครงงานโดยใช 96 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เกณฑแบบรูบริค นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร 2) สงเสริมใหผูเรียนไดรวมทํางานกลุมดวย ที่เรียนรูแบบบูรณาการฯ นักศึกษาสวนใหญ ตนเอง โดยการสงเสริมใหมีกิจกรรมกลุมลักษณะ มีผลการเรียนในระดับดีมาก (80-90 คะแนน) หลากหลายในการเรียนการสอน และสงเสริม ผลการวิจัยพบวา สอดคลองกับงานวิจัยของ ใหผูเรียนมีโอกาสไดลงมือกระทํากิจกรรมตาง ๆ คําจันทร วิเศษลา (Wiseatla, 2013) ศึกษา อยางแทจริงดวยตนเอง 3) จัดประสบการณตรง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเรื่องการ ใหแกผูเรียน โดยใหผูเรียนมีโอกาสไดเรียนรูจาก ปลูกผักสวนครัว นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สิ่งที่เปนรูปธรรม เขาใจงาย ตรงกับความจริง คิดเปนรอยละ 84.30 และมีจํานวนนักเรียน สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันอยางไดผล ที่ผานเกณฑ 19 คน คิดเปนรอยละ 90.48 ซึ่งสูง และสงเสริมใหมีโอกาสไดปฏิบัติจริงจนเกิดความ กวาเกณฑที่ตั้งไว สามารถและทักษะที่ติดเปนนิสัย 4) จัดบรรยากาศ 4. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอ ใหชั้นเรียนที่สงเสริมใหผูเรียนเกิดความรูสึก การเรียนแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น กลาคิด กลาทํา โดยสงเสริมใหผูเรียนไดมีโอกาส ของสาขาวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่จะแสดงออกซึ่งความรูสึกนึกคิดของตนเอง พระนคร พบวา มีระดับความพึงพอใจอยูใน ตอสาธารณชนหรือเพื่อนรวมชั้น ทั้งนี้เพื่อสรางเสริม ระดับมากทุกดาน ไดแก ดานทักษะความสัมพันธ ความมั่นใจใหเกิดในตัวผูเรียน และ 5) เนนการ ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ดานคุณธรรม ปลูกฝงจิตสํานึก คานิยม และจริยธรรม ที่ถูกตอง จริยธรรม ดานทักษะการวิเคราะหตัวเลข การ ดีงามใหผูเรียนสามารถจําแนกแยกความถูกตอง สื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดาน ดีงามเหมาะสมได จากหลักสําคัญดังที่ไดกลาวมา ความรู ดานทักษะทางปญญา และจากการ ทําใหการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ มีประโยชน อภิปรายกลุมยอย พบวา ผูเรียนรูสึกภูมิใจกับ หลายประการ สอดคลองกับงานวิจัยของ วัชราภรณ งานที่ไดทําใหกับชุมชน ไดรับรอยยิ้มและไดเห็น อารีรัตนศักดิ์ สินีนาถ วิกรมประสิทธิ อมรรัตน ความสุขของคนในชุมชน นอกจากการไดรับ ศรีวิโรจน และ อุษณีย มากประยูร (Areerattanassak, ความรู ฝกทักษะการวิเคราะห การทํางานเปนทีม Vikromprasit, Sriwiroj & Makprayoon, 2008) การพัฒนาตนเอง ไดเรียนรูแบบปฏิบัติจริง เปนผล ผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง โดยผสมผสาน ที่ไดรับจากการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ความรู คุณธรรม คานิยม และลักษณะอันพึงประสงค ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สรวงพร กุศลสง เปนการเพิ่มศักยภาพของผูเรียนไดอยางเต็มที่ (Kusolsong, 2007) ตามหลักการสําคัญของ ผูเรียนไดเรียนรูวิธีการเรียนรูตลอดชีวิต การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ 5 ประการ และสามารถนําความรูที่ไดไปใชในชีวิตจริง ดังนี้ 1) การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียน อยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เปนศูนยกลาง โดยใหผูเรียนมีสวนรวมใน ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ บุญเลี้ยง ทุมทอง กระบวนการเรียนการสอนอยางกระตือรือรน (Thumthong. 2015) ที่ไดพบวา นักศึกษา Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 97 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

มหาวิทยาลัยราชภัฏมีศักยภาพการเปนผูเรียนรู การบูรณาการตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย ตลอดชีวิตของอยูในระดับสูง ในดานการพึ่งพา ทั้งดานการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการ ตนเอง ดานทักษะการเรียนรู และดานจิตใจ วิชาการ รักการแสวงหาความรู ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้ง ตอไป ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ 1. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ในรูปแบบอื่น ๆ เชน การบูรณาการการเรียนรู เพื่อการพัฒนาทองถิ่นของสาขาวิชานิเทศศาสตร แบบคูขนาน การบูรณาการแบบสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประกอบดวย การบูรณาการแบบขามวิชา โดยมีผูสอนตั้งแต 6 ขั้นตอน ดังนั้น ผูสอนสามารถนําขั้นตอนการ 2 คนขึ้นไป เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู จัดการเรียนรูแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา ในหลากหลายรูปแบบ ทองถิ่นครั้งนี้ เปนแนวทางในการประยุกตใชกับ 2. ควรมีการวิจัยในการจัดการเรียนรู การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการเรียน แบบบูรณาการที่เนนในเรื่องการคิดวิเคราะหและ การสอนและการบริการวิชาการหรือการวิจัย การแกไขปญหาใหกับผูเรียน ชุมชนได 2. ผูเรียนมีการเรียนรูแบบบูรณาการ REFERENCES ในระดับมากทุกดาน จากการประเมินตาม Areerattanassak, W., Vikromprasit, S., คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค 5 ดาน และ Sriwiroj, A., & Makprayoon, U. (2008). สะทอนใหเห็นถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Integrated learning management สวนใหญอยูในระดับดี การจัดการเรียนรู of Students Majoring Marketing แบบบูรณาการจึงเปนการบูรณาการระหวาง Administration Community Enterprise พัฒนาการทางความรูและพัฒนาการทางจิตใจ related, Lablae District, Ultraradit. ไปดวยกัน รวมถึงการประเมินผลตามสภาพจริง Ultraradit: Ultraradit Rajabhat เปนการสรางบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู University. (in Thai) ทั้งบรรยากาศทางกายภาพ และจิตใจเพื่อใหผูเรียน Intanoo, P. (2006). A study of the process เรียนรูอยางมีความสุข สามารถเปนแนวทาง of integrative learning through ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอื่น ๆ ได community context: case study of 3. การจัดการเรียนรูในการบูรณาการ Jute-Mat Weaving. Master of Arts เพื่อการพัฒนาทองถิ่นสามารถนําไปใชเปน Program in Development Strategy. แนวทางปรับปรุงหลักสูตรนิเทศศาสตรใหมี Songkhla Rajabhat University. การบูรณาการทั้งดานเนื้อหาและวิธีการ รวมถึง (in Thai) 98 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Jetsadawiroj, S. (2014). Integrated instruction. of development of undergraduate. Retrieved September 14, 2006 from Retrieved September 14, 2011 http://www.edu.ru.ac.th/images/ from www.edu.chula.ac.th/eduinfo/ edu_files/Integrated_Instruction.pdf ed_resch/pansak.pdf (in Thai) (in Thai) Thumthong, B. (2015). The potentials Kokur, C. (2017a). Village Headman, Ban to become a lifelong student of Jumrung community. Interviewed on the Rajabhat Universities. PNRU July 10, 2017. (in Thai) Research Journal Humanities and Kokur, C. (2017b). Village Headman, Ban Social Science. 10(2), 91-100. (in Thai) Jumrung community. Interviewed on Wiseatla, K. (2013). A study of Grade 6 August 1, 2017. (in Thai) students group process skill and Kokur, C. (2017c). Village Headman, Ban learning achievement on the subject Jumrung community. Interviewed on of Raising Kitchen Vegetables September 29, 2017. (in Thai) using providing integrated learning Kusolsong, S. (2007). A study of integrated approach. Master of Education in learning management model effected Curriculum and Instruction. Khon to thinking skill of the undergraduate Kaen University (in Thai) students of Education Faculty Yeampinit, S. (n.d.). The reform of learning (5 Years-course). Faculty of under the 1999 Act on the role of Education. Petchabun: Petchabun KNUTT to be implemented. Retrieved Rajabhat University. (in Thai) September 14, 2016 form http://www. Loesen. P. (2017). Interviewed on July 10, kmutt.ac.th/organization/Education/ 2017. (in Thai) Technology/tech_ed/improve.html Polsarum, P. (n.d.). The reform of undergraduate (in Thai) learning and teaching is the process Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 99 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางและความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยน กับดัชนีตลาดหลักทรัพยในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน STRUCTURAL BREAK AND RELATIONSHIP BETWEEN EXCHANGE RATE AND ASEAN STOCK MARKET INDICES นงคนิตย จันทรจรัส1 เพียงจันทร มณีเนตร2 ศาสตรา มาพร3 และ สุรชัย จันทรจรัส4* Nongnit Chancharat*, Piengchan Maneenetr2, Sattra Maporn3 and Surachai Chancharat4*

คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน ประเทศไทย1, 4* คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน ประเทศไทย2 วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน ประเทศไทย3 Faculty of Business Administration and Accountancy, Khon Kaen University, Khon Kaen, THAILAND1, 4* Faculty of Economics, Khon Kaen University, Khon Kaen, THAILAND2 College of Graduate Study in Management, Khon Kaen University, Khon Kaen, THAILAND3

[email protected]*

บทคัดยอ การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนี ตลาดหลักทรัพยในกลุมประเทศอาเซียน 5 ประเทศ ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย ฟลิปปนส และ อินโดนีเซีย โดยคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของตัวแปร ซึ่งไดทําการศึกษาขอมูลแบบรายเดือน ในชวงเดือนมกราคม พ.ศ. 2540 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 โดยในสวนแรกไดทําการทดสอบความนิ่ง ของขอมูลดวยวิธี ADF test พบวาขอมูลมีความนิ่ง แตเมื่อทําการทดสอบความนิ่งตามวิธีของ Zivot & Andrews (1992) กลับพบวาในสวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลารสิงคโปรตอดอลลารสหรัฐ อัตรา แลกเปลี่ยนเงินเปโซฟลิปปนสตอดอลลารสหรัฐ อัตราแลกเปลี่ยนเงินรูเปยอินโดนีเซียตอดอลลารสหรัฐ ดัชนีตลาดหลักทรัพยสิงคโปร ดัชนีตลาดหลักทรัพยฟลิปปนส และดัชนีตลาดหลักทรัพยอินโดนีเซีย มีความไมนิ่งของขอมูล ในสวนที่สองไดทําการวิเคราะหหาความสัมพันธในระยะยาวของตัวแปร โดยวิธีของ Gregory & Hansen (1996) พบวาตัวความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตอดอลลาร 100 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

สหรัฐกับดัชนีตลาดหลักทรัพยของประเทศไทย สิงคโปร มาเลเซีย และฟลิปปนส มีความสัมพันธ ตามสมมติฐานที่ตั้งไว คือ เมื่ออัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น จะสงผลใหดัชนีตลาดหลักทรัพยลดลง มีแต ความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนเงินรูเปยตอดอลลารสหรัฐกับดัชนีตลาดหลักทรัพยของประเทศ อินโดนีเซียเทานั้นที่เครื่องหมายสัมประสิทธิ์ไมตรงตามสมมติฐาน

คําสําคัญ: อัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีตลาดหลักทรัพย อาเซียน

ABSTRACT This objective of this study was to examine correlations between currency exchange rates and stock market indexes among five ASEAN countries including Thailand, Singapore, Malaysia, the Philippines, and Indonesia with consideration of structural changes of variations. The monthly data during January 1997 and December 2014 were collected. The study was divided into two parts. First part was ADF test were applied for unit root test and results revealed that the data was stationary. However, the results of unit root test under the method of Zivot & Andrews (1992) showed that the ratio data of currency exchange in Singapore dollar to United States dollar, Philippine peso to United States dollar, Indonesian rupiah to United States dollar, Vietnamese dong to United States dollar, Singapore stock index, Philippines stock index and Indonesia stock index was non-stationary. Second part was an analysis of long term correlations of variables. The applying a method of Gregory & Hansen (1996) were conducted, it was found that correlations between currency exchange rates to United States dollar and stock indexes of Thailand, Singapore, Malaysia and the Philippines had correlations regarding to the stipulated hypothesis as the increasing exchange rate affected the decreasing on stock indexes, except only the correlations between Indonesian rupiah to United States dollar and Indonesia stock index that the coefficient was irrelevant to the determined hypothesis.

Keywords: exchange rate, stock market index, ASEAN Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 101 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทนํา การเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนมีผลตอ สถานการณเศรษฐกิจการคาโลกใน งบดุลของบริษัท เนื่องจากบริษัททําธุรกรรมกับ ยุคปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงกาวไปขางหนา ตางประเทศ จึงไดรับผลกระทบจากการ ตลอดเวลา โดยเชื่อมโยงกันระหวางประเทศเพิ่มขึ้น เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งยอมมีผล เรื่อย ๆ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN ตอราคาหุนได โดยหากคาเงินบาทออนคาลดลง Economic Community: AEC) ก็เชนเดียวกัน นั่นหมายความวาอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น และ ทําใหการระดมทุนและลงทุนในภูมิภาคอาเซียน ยอมสงผลทําใหตนทุนการนําเขาจากตางประเทศ ทําไดงายขึ้น ตลาดหลักทรัพยในอาเซียนจึงเปน เพิ่มขึ้น ในทางตรงกันขามเมื่อคาเงินบาทแข็งคา ที่นาสนใจของนักลงทุนและชวยดึงดูดการลงทุน มากขึ้น จะสงผลทําใหความสามารถในการ มายังภูมิภาคนี้มากขึ้น โดยตลาดหลักทรัพยใน แขงขันของสินคาในตลาดโลกลดลง เนื่องจาก อาเซียน ประกอบดวยตลาดหลักทรัพยของไทย ในตลาดโลกเมื่อคาเงินบาทแข็งคามากขึ้นจะมี มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร โฮจิมินห ผลทําใหราคาสินคาของไทยสูงขึ้นโดยเปรียบเทียบ และ ฮานอย ถือเปนการอํานวยความสะดวกและ ดังนั้นจึงทําใหสงออกไดลดลงซึ่งจะมีผลตอราคา เพิ่มโอกาสการลงทุนใหกับผูลงทุน และบริษัท หุนของบริษัทที่สงออกได สรุปคือ อัตราแลกเปลี่ยน จดทะเบียนไทย รวมทั้งเพิ่มโอกาสทางธุรกิจของ กับดัชนีตลาดหลักทรัพยมีความสัมพันธกันและ บริษัทหลักทรัพยทองถิ่นอีกดวย (Sukcharoensin เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันขามกัน (Tian & & Sukcharoensin, 2015) อยางไรก็ตาม ประเทศ Ma, 2010; Nimanusornkul & Nimanusornkul, ในกลุมอาเซียนยังมีโครงสรางของระบบการเงิน 2012) ที่แตกตางกัน รวมถึงมีความออนไหวทางการ ตัวอยางงานวิจัยที่แสดงถึงความ เงินคอนขางสูง อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวาง สัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนี ประเทศนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ตลาดหลักทรัพย เชน Suriani, Kumar, Jamil & ซึ่งเกิดจากการซื้อขายเพื่อเก็งกําไรและลงทุน Muneer (2015) ไดศึกษาความสัมพันธระหวาง ในตลาดการเงินระหวางประเทศ รวมทั้งความ อัตราแลกเปลี่ยนปากีสถานรูปตอดอลลารสหรัฐ ไมแนนอนของเศรษฐกิจทั้งในประเทศและ ที่สงผลตอดัชนี KSE-100 ของปากีสถาน โดยใช ตางประเทศลวนสงผลทําใหอัตราแลกเปลี่ยน ขอมูลรายเดือนตั้งแตมกราคม 2547 ถึงธันวาคม เกิดการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การดําเนิน 2552 พบวา อัตราแลกเปลี่ยนปากีสถานรูป ธุรกิจมีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น สงผลตอผล ตอดอลลารสหรัฐไมสงผลใด ๆ ตอดัชนี KSE-100 ประกอบการของบริษัทและดัชนีตลาดหลักทรัพย ในขณะที่ Mgammal (2012) ศึกษาความสัมพันธ ตามทฤษฎีตลาดสินคา (goods market ระหวางอัตราแลกเปลี่ยนกับผลตอบแทนของ theory) หรือบางครั้งเรียกวาแบบจําลอง flow- ตลาดหลักทรัพยในซาอุดิอาระเบียและสหรัฐ oriented หรือ traditional approach พบวา อาหรับเอมิเรตส โดยใชขอมูลรายเดือนและราย 102 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ไตรมาส ระหวางมกราคม 2551 ถึงธันวาคม กรกฎาคม 2540 สงผลใหคาเงินบาทออนคาลง 2552 พบวา ในระยะสั้นอัตราแลกเปลี่ยนสงผล อยางมาก ทําใหธุรกิจภาคเอกชนถูกกระทบ ในเชิงบวกตอดัชนีตลาดหลักทรัพยของสหรัฐ อยางรุนแรงจนตองปดกิจการเพราะมีหนี้เพิ่มขึ้น อาหรับเอมิเรตส แตไมสงผลในตลาดหลักทรัพย มากมายมหาศาล และเมื่อวิกฤติขยายตัวออก ของซาอุดิอาระเบีย และการการศึกษาของ นอกประเทศไปยังประเทศในแถบเอเชีย Bello (2013) ที่วิเคราะหความสัมพันธระหวาง ตลาดหลักทรัพยในประเทศเหลานั้นก็ปรับตัว คาเงินดอลลารสหรัฐอเมริกากับ เงินยูโร เงินปอนด ลดลงไปดวย เงินหยวน และเงินเยนที่สงผลตอดัชนีตลาด ในขณะเดียวกันมีงานวิจัยบางชิ้นที่ หลักทรัพยในสหรัฐอเมริกา ผลปรากฏวา เงิน ชี้ใหเห็นถึงความเกี่ยวของกันของเหตุการณ เยนสงผลกระทบในเชิงลบ เงินปอนดและเงินยูโร ความไมปกติที่สงผลกับอารมณของนัดลงทุน สงผลในเชิงบวก สวนเงินหยวนไมสงผลใด ๆ ดังเชน (Al-Ississ, 2015) ศึกษาผลกระทบของ กับผลตอบแทนดัชนีตลาดหลักทรัพยของ วันหยุดขอบคุณพระเจาของศาสนาอิสลามตอ สหรัฐอเมริกา ผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพยในกลุมประเทศ อยางไรก็ตาม เหตุการณความไมปกติ อิสลาม 10 ประเทศ ระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. ที่สงผลกระทบตอตลาดหลักทรัพยก็เปนตัวแปร 2538 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2555 โดยวิธี หนึ่งที่ทําใหตลาดหลักทรัพยในประเทศตาง ๆ heteroskedasticity-autocorelation-consistent เกิดความผันผวนขึ้น โดยอาจจะเปนเหตุการณ standard errors with twelve lags ผลการศึกษา สําคัญที่มักจะเกี่ยวของหรือเชื่อมโยงโดยตรงกับ พบวา ตลาดหลักทรัพยใหผลตอบแทนที่สูงขึ้น ความรูสึกของนักลงทุน เชน ภัยพิบัติ การ ในชวงเดือนรอมฎอน (Ramadan) โดยผลการ เปลี่ยนแปลงทางการเมือง และเหตุการณที่ ศึกษามีความเกี่ยวของกับความเชื่อทางศาสนา ประชาชนสวนใหญใหความสนใจ เปนตน ซึ่งเกี่ยวโยงกับผลตอบแทนกับความเสี่ยงของ ซึ่งตัวแปรเหลานี้อาจจะสงผลตอผลตอบแทน การลงทุน อยางไรก็ตามมีผลตอบแทนที่เปนลบ ของดัชนีตลาดหลักทรัพย เราเรียกเหตุการณ ในชวงอาชูราในกลุมประเทศที่นับถือนิกายชีอะห เชนนี้วาการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง (structural (Newey & West, 1987) break) ยกตัวอยางเชน วิกฤตการณการเงินใน จากเหตุการณที่กลาวมาขางตน จะเห็น เอเชียป 2540 ซึ่งสงผลกระทบตอหลายประเทศ ไดวาอัตราแลกเปลี่ยนและดัชนีตลาดหลักทรัพย ในทวีปเอเชีย โดยเริ่มขึ้นจากประเทศไทยอันเนื่อง มีความสัมพันธกันและการเปลี่ยนแปลงของ มาจากการเลือกใชนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน สภาพเศรษฐกิจจากวิกฤตการณตาง ๆ นั้น ลวน แบบคงที่ ซึ่งไมสอดคลองกับนโยบายเปดเสรีทาง สงผลตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย การเงิน ในที่สุดเมื่อเกิดการโจมตีคาเงินบาทขึ้น ไดทั้งสิ้น ดังนั้นการที่เราละเลยหรือไมนําเอา รัฐบาลจึงประกาศลอยตัวคาเงินบาทในวันที่ 2 ปจจัยเหลานี้มาพิจารณารวมดวยนั้น อาจจะ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 103 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ทําใหการประมาณคาคลาดเคลื่อนไปจากความ และ อินโดนีเซีย โดยคํานึงถึงชวงที่เกิดการ เปนจริงได ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้ จึงใหความ เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง สนใจศึกษาถึงความสัมพันธระหวางอัตรา แลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพยในกลุม สมมติฐานการวิจัย ประเทศอาเซียนวามีความสัมพันธกันในทิศทางใด อัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาด โดยคํานึงการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของ หลักทรัพยมีความสัมพันธกันและจะเปลี่ยนแปลง ตัวแปรทั้งสอง ซึ่งอาจจะเกิดจากผลกระทบจาก ไปในทิศทางตรงกันขาม คือ ถาคาเงินของ การเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐ วิกฤตการณ ประเทศออนคาลง นั่นคือ อัตราแลกเปลี่ยนสูงขึ้น ทางเศรษฐกิจ และภัยธรรมชาติ โดยคาดหวังวา จะสงผลทําใหดัชนีตลาดหลักทรัพยของประเทศ ผลที่ไดจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้นาจะเปน นั้นมีการปรับตัวลดลง ประโยชนตอการวางแผนและตัดสินใจลงทุน ของนักลงทุนทั่วไปและสถาบันการเงินตาง ๆ ที่จะ วิธีการดําเนินการวิจัย ลงทุนในตลาดเงินตราระหวางประเทศและ เนื่องจากตลาดหลักทรัพยโฮจิมินห และ ตลาดหลักทรัพย รวมไปถึงการนําไปใชประกอบ ตลาดหลักทรัพยฮานอยเปนตลาดเกิดใหม ขอมูล การตัดสินใจในการกําหนดนโยบายของภาครัฐ หายากและมีขนาดเล็กมาก ไมสามารถเปรียบเทียบ เพื่อใหมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสถานการณ กับตลาดหลักทรัพยอื่นได (Sukcharoensin & ทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา Sukcharoensin, 2015) ขอมูลที่ใชในการศึกษา ครั้งนี้จึงเปนขอมูลอัตราแลกเปลี่ยนและดัชนี วัตถุประสงคของการวิจัย ตลาดหลักทรัพยแบบรายเดือนของกลุมประเทศ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ อาเซียน 5 ประเทศ ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย ศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยน ฟลิปปนส และ อินโดนีเซีย ตั้งแตมกราคม 2540 กับดัชนีตลาดหลักทรัพยในกลุมประเทศอาเซียน ถึงธันวาคม พ.ศ. 2557 5 ประเทศ ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย ฟลิปปนส 104 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 1 ขอมูลดัชนีและสกุลเงินที่ใชในการศึกษา

ประเทศ สกุลเงินทองถิ่น ดัชนีตลาดหลักทรัพย ไทย บาท (THA) SET สิงคโปร ดอลลารสิงคโปร (SGD) SGX มาเลเซีย ริงกิต (MYR) MYX ฟลิปปนส เปโซ (PHP) PSE อินโดนีเซีย รูเปยห (IDR) IDX

แบบจําลองที่ใชในการศึกษา (1996) นั้นไดอนุญาตใหความสัมพันธสามารถ 1. การทดสอบ unit root เปลี่ยนแปลงไดในจุดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง 1.1 วิธี Augmented Dickey-Fuller โครงสรางเนื่องจากขอมูลแบบอนุกรมเวลาอาจ Test (ADF) เปนการทดสอบ unit root วิธีหนึ่ง จะมีการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธได โดยมี ที่พัฒนามาจากวิธีการทดสอบของ Dickey-Fuller สมการที่ใชทดสอบ ดังนี้ (1979) โดยวิธีนี้ไดเพิ่ม lag เขาไปเพื่อที่จะแกไข

ปญหา autocorrelation ในตัวแปรสุม (Said & lnSt i i lnEt Dickey, 1984) โดย lnS คือ คาลอการิทึมธรรมชาติ = α + β 1.2 การทดสอบ unit root ตาม ของดัชนีตลาดหลักทรัพย lnE แนวคิดของ Zivot & Andrews (1992) ซึ่งวิธีนี้ คือ คาลอการิทึมธรรมชาติของอัตรา ไดพัฒนามาจากวิธีของ Perron (1989) โดยวิธี แลกเปลี่ยนเงินตราตอดอลลารสหรัฐ ของ Perron (1989) นั้นเริ่มจากสมการที่ใช และ คือ คาพารามิเตอร ทดสอบซึ่งอยูในรูป trend-stationary t คือ ชวงเวลา α β 2. การทดสอบความสัมพันธเชิง ดุลยภาพระยะยาว (cointegration) การ การประมาณคาแบบจําลองจะใชวิธี ประมาณคาแบบจําลองจะใชวิธีหาความสัมพันธ หาความสัมพันธเชิงดุลยภาพระยะยาวของ เชิงดุลยภาพระยะยาวของ Gregory & Hansen Gregory & Hansen (1996) โดยแบงการทดสอบ (1996) ซึ่งไดพัฒนามาจากวิธีของ Engle & ออกเปน 4 แบบจําลอง ดังนี้ Granger (1987) โดยวิธีของ Gregory & Hansen Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 105 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

แบบจําลอง 1: standard cointegration ที่จะเกิด regime shift และ คือ สัมประสิทธิ์ T y1t y2t+ et ความชันของความสัมพันธภายหลังเกิด regime โดยที่ และ ไมขึ้นกับเวลา Gregory shift จากนั้นประมาณคาดวย OLS แลวนําคา = µ+α & Hansen (1996) จึงไดทําการปรับสมการ ความคลาดเคลื่อน (error) ที่ไดไปทําการทดสอบ µ α โดยเพิ่มตัวแปรดัมมี่เขาไปเพื่อใหมีการเปลี่ยนแปลง unit root แลวเปรียบเทียบเทียบคาสถิติที่คํานวณ ความสัมพันธในระยะยาวได โดยมีสมการ 3 ไดเทียบกับคาในตารางสถิติของ Gregory & รูปแบบ ดังนี้ Hansen (1996) ถาคาสถิติที่คํานวณไดมากกวา คาสถิติในตารางก็จะทําการปฏิเสธสมมติฐาน แบบจําลอง 2: level shift (C) หลักที่บอกวาไมมีความสัมพันธเชิงดุลยภาพ y φ T y + e 1t 1 2 2t t ระยะยาว สมมติฐานการทดสอบ คือ H0: ไมมี โดยที่ แสดงถึงtτ intercept กอนการ cointegration (ไมมีความสัมพันธในระยะยาว) = µ1 + µ +α เปลี่ยนแปลง สวน สะทอนการเปลี่ยนแปลง และ H : มี cointegration (มีความสัมพันธ µ 2 a ของ intercept ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ในระยะยาว) µ โดยในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัย แบบจําลอง 3: level shift with trend ไดใชโปรแกรม EViews ในการวิเคราะหขอมูล (C/T) ลําดับถัดไปจะกลาวถึงผลจากการศึกษาจาก T y1t 1 2φ y2t+ et วิธีการทั้งสามแบบคือ ADF test, Zivot & แบบจําลอง 3 มีตัวแปรที่เพิ่มเขามาคือtτ Andrews (1992) และหาความสัมพันธระหวาง = µ + µ + βt+α การเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาซึ่งแทนดวยตัวแปร อัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพยในกลุม ประเทศอาเซียนทั้ง 5 ประเทศ แบบจําลอง 4: regime shift (C/S) T y1t 1 2φ 1 y2tφ + สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย T y φ tτ+ e tτ สรุปผลการวิจัย = µ 1+ 2tµ +αt แบบจําลอง 4 เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงtτ 1. การทดสอบ unit root α ในโครงสราง เชนการเกิดภาวะเศรษฐกิจขึ้น 1.1 ผลการทดสอบ unit root จะสงผลทําใหความสัมพันธของแบบจําลอง ดวยวิธี Augmented Dickey-Fuller Test (ADF) ผล เปลี่ยนแปลงไปโดยอาจจะไมขนานกับเสน การทดสอบ unit root ของตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยน

ความสัมพันธเดิมก็ได โดยที่ 1 และ 2 ตอดอลลารสหรัฐ ของกลุมประเทศอาเซียน 5 ประเทศ มีความหมายเหมือนในแบบจําลอง 2 สวน T ไดแก ประเทศไทย สิงคโปร มาเลเซีย ฟลิปปนส µ µ1 คือ สัมประสิทธิ์ความชันของความสัมพันธกอน และอินโดนีเซีย α 106 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 2 ผลการทดสอบ unit root ดวยวิธี Augmented Dickey-Fuller Test (ADF) ของตัวแปร อัตราแลกเปลี่ยนตอดอลลารสหรัฐ

With intercept and trend ตัวแปร At level 1st Dif. THB -3.9632** - SGD -3.6094** - MYR -4.3343* - PHP -2.7253 -14.3370* IDR -3.6576** -

หมายเหตุ : * และ ** แสดงการมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลําดับ

จากตารางที่ 2 ผลการทดสอบ unit root USD) และอัตราแลกเปลี่ยนเงินรูเปยอินโดนีเซีย ดวยวิธี Augmented Dickey-Fuller Test (ADF) ตอดอลลารสหรัฐ (IDR/USD) ปฏิเสธสมมติฐาน ของตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนตอดอลลารสหรัฐ หลักที่นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นั่นคือ พบวา อัตราแลกเปลี่ยนเงินริงกิตมาเลเซียตอ ขอมูลไมมี unit root และมีความนิ่งของขอมูล ดอลลารสหรัฐ (MYR/USD) ปฏิเสธสมมติฐาน ที่ระดับ level สวนอัตราแลกเปลี่ยนเงินเปโซ หลักที่นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นั่นคือ ฟลิปปนสตอดอลลารสหรัฐ (PHP/USD) ปฏิเสธ ขอมูลไมมี unit root และมีความนิ่งของขอมูล สมมติฐานหลักที่นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ที่ระดับ level และอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทไทย นั่นคือขอมูลไมมี Unit Root และมีความนิ่งของ ตอดอลลารสหรัฐ (THB/USD) อัตราแลกเปลี่ยน ขอมูลที่ระดับ 1st difference เงินดอลลารสิงคโปรตอดอลลารสหรัฐ (SGD/ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 107 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 3 ผลการทดสอบ unit root ดวยวิธี Augmented Dickey-Fuller Test (ADF) ของตัวแปร ดัชนีตลาดหลักทรัพย

With intercept and trend ตัวแปร At level 1st Dif. SET -3.0402 -12.0094* SGX -2.5878 -11.3432* MYX -14.6639* - PSE -1.8826 -13.5078* IDX -1.7529 -11.4343*

หมายเหตุ : * แสดงการมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 3 ผลการทดสอบ unit ดัชนีตลาดหลักทรัพยอินโดนีเซีย (IDX) นั้น พบวา root ดวยวิธี Augmented Dickey-Fuller Test ปฏิเสธสมมติฐานหลักที่นัยสําคัญทางสถิติ (ADF) ของตัวแปรดัชนีตลาดหลักทรัพย พบวา ที่ระดับ 0.01 นั่นคือขอมูลไมมี unit root และ ดัชนีตลาดหลักทรัพยมาเลเซีย (MYX) ปฏิเสธ มีความนิ่งของขอมูลที่ระดับ 1st difference สมมติฐานหลักที่นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 1.2 ผลการทดสอบความนิ่งของ นั่นคือขอมูลไมมี unit root และมีความนิ่งของ ขอมูลโดยพิจารณาการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง ขอมูลที่ระดับ สวนดัชนีตลาดหลักทรัพยแหง (unit root test with structural breaks) ประเทศไทย (SET) ดัชนีตลาดหลักทรัพยสิงคโปร ตามแนวคิดของ Zivot & Andrews (1992) (SGX) ดัชนีตลาดหลักทรัพยฟลิปปนส (PSE) 108 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 4 ผลการทดสอบ unit root ตามแนวคิดของ Zivot & Andrews (1992) ของตัวแปรอัตรา แลกเปลี่ยนตอดอลลารสหรัฐ จากโปรแกรม Eviews

Zivot & Andrews Unit Root Test ตัวแปร t-statistics break time THB -5.5909* 2006 M11 SGD -3.8949 2010 M07 MYR -7.2168* 2010 M03 PHP -3.7604 2005 M10 IDR -4.2524 2009 M04

หมายเหตุ : * แสดงการมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4 ผลการทดสอบ unit root นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 แตอัตรา ตามแนวคิดของ Zivot & Andrews (1992) ของ แลกเปลี่ยนเงินดอลลารสิงคโปรตอดอลลารสหรัฐ ตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนตอดอลลารสหรัฐพบวา (SGD/USD) อัตราแลกเปลี่ยนเงินเปโซฟลิปปนส ตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทไทยตอดอลลาร ตอดอลลารสหรัฐ (PHP/USD) อัตราแลกเปลี่ยน สหรัฐ (THB/USD) และอัตราแลกเปลี่ยนเงิน เงินรูเปยอินโดนีเซียตอดอลลารสหรัฐ (IDR/USD) ริงกิตมาเลเซียตอดอลลารสหรัฐ (MYR/USD) มีคา Zivot-Andrews test ที่คํานวณไดมีคา มีความนิ่งของขอมูลเพราะคา Zivot-Andrews นอยกวาคาวิกฤต (critical value) จึงไมสามารถ test ที่คํานวณไดมีคามากกวาคาวิกฤต (critical ปฏิเสธสมมติฐานหลักได value) จึงสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักที่ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 109 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 5 ผลการทดสอบ unit root ตามแนวคิดของ Zivot and Andrews (1992) ของตัวแปรดัชนี ตลาดหลักทรัพย

Zivot & Andrews Unit Root Test ตัวแปร t-statistics break time SET -5.4453* 2008 M06 SGX -3.4822 2008 M06 MYX -15.3492* 2002 M11 PSE -3.5276 2002 M07 IDX -3.5525 2008 M03

หมายเหตุ : * แสดงการมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จาก ตารางที่ 5 ผลการทดสอบ unit root ไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักได เนื่องจากคา ตามแนวคิดของ Zivot & Andrews (1992) ของ Zivot-Andrews test ที่คํานวณไดมีคานอยกวา ตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนตอดอลลารสหรัฐพบวา คาวิกฤต (Critical value) ตัวแปรดัชนีตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2. การทดสอบ cointegration (SET) และดัชนีตลาดหลักทรัพยมาเลเซีย (MYX) การทดสอบ cointegration เปนการ สามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักที่นัยสําคัญทาง วิเคราะหความสัมพันธเชิงดุลยภาพระยะยาว สถิติที่ระดับ 0.01 เพราะคา Zivot-Andrews ของอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย test ที่คํานวณไดมีคามากกวาคาวิกฤติ (critical โดยวิธีของ Gregory & Hansen (1996) โดยกําหนด value)นั่นคือขอมูลไมมี Unit Root และมีความนิ่ง ใหอัตราแลกเปลี่ยนตอดอลลารสหรัฐเปนตัวแปร ของขอมูล สวนดัชนีตลาดหลักทรัพยสิงคโปร อิสระและใหดัชนีตลาดหลักทรัพยเปนตัวแปร (SGX) ดัชนีตลาดหลักทรัพยฟลิปปนส (PSE) ตามไดผลการทดสอบ ดังนี้ และดัชนีตลาดหลักทรัพยอินโดนีเซีย (IDX) 110 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 6 ผลการทดสอบ cointegration

coefficient t-test ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ break time (standard error) (p-value) 14.1011 21.6697 constant (0.6507) (0.0000) lnSET 2003 M07 -2.0824 -11.3018 lnTHB (0.1843) (0.0000) 8.4859 213.1111 constant (0.03982) (0.0000) lnSGX 1999 M09 -1.7324 -18.7909 lnSGD (0.0922) (0.0000) 10.4462 17.4304 constant (0.5993) (0.0000) lnMYX 2002 M09 -2.7032 17.4304 lnMYR (0.4857) (0.0000) 23.1874 29.4774 constant (0.7866) (0.0000) lnPSE 2004 M01 -3.9215 29.4774 lnPHP (0.2045) (0.0000) -1.0433 -0.3153 constant (3.3095) (0.7529) lnIDX 2006 M03 0.9821 2.7243 lnIDR (0.3605) (0.0000) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 111 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จากตารางที่ 6 สามารถประมาณคา หลักทรัพยมาเลเซีย (MYX) เขียนสมการแสดง ความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ความสัมพันธไดดังนี้ สกุลทองถิ่นเทียบกับเงินดอลลารสหรัฐกับดัชนี lnMYX = 10.4462 - 2.7032lnMYR ตลาดหลักทรัพยในกลุมประเทศอาเซียน ไดดังนี้ หมายความวาเมื่ออัตราแลกเปลี่ยน 2.1 ความสัมพันธเชิงดุลยภาพ เงินริงกิตมาเลเซียตอดอลลารสหรัฐ (MYR/USD) ระยะยาวของอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทไทยตอ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําใหดัชนี ดอลลารสหรัฐ (THB/USD) กับดัชนีตลาดหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยมาเลเซีย (MYX) ลดลงไปรอยละ แหงประเทศไทย (SET) สามารถเขียนสมการ 2.7032 ความสัมพันธไดดังนี้ 2.4 ความสัมพันธเชิงดุลยภาพ lnSET = 14.1011 - 2.0824lnTHB ระยะยาวของอัตราแลกเปลี่ยนเงินเปโซฟลิปปนส หมายความวาเมื่ออัตราแลกเปลี่ยน ตอดอลลารสหรัฐ (PHP/USD) กับดัชนีตลาด เงินบาทไทยตอดอลลารสหรัฐ (THB/USD) หลักทรัพยฟลิปปนส (PSE) เขียนสมการแสดง เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําใหดัชนี ความสัมพันธไดดังนี้ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET) ลดลงไป lnPSE = 23.1874 - 3.9215lnPHP ประมาณรอยละ 2.0824 หมายความวาเมื่ออัตราแลกเปลี่ยน 2.2 ความสัมพันธเชิงดุลยภาพ เงินเปโซฟลิปปนสตอดอลลารสหรัฐ (PHP/USD) ระยะยาวของอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะทําใหดัชนี สิงคโปรตอดอลลารสหรัฐ (SGD/USD) กับดัชนี ตลาดหลักทรัพยฟลิปปนส (PSE) เปลี่ยนแปลง ตลาดหลักทรัพยสิงคโปร (SGX) สามารถเขียน ลดลงไปรอยละ 3.9215 สมการแสดงความสัมพันธไดดังนี้ 2.5 ความสัมพันธเชิงดุลยภาพ lnSGX = 8.4859 - 1.7324lnSGD ระยะยาว ของอัตราแลกเปลี่ยนเงินรูเปยอินโดนีเซีย หมายความวาเมื่ออัตราแลกเปลี่ยน ตอดอลลารสหรัฐ (IDR/USD) กับดัชนีตลาด เงินดอลลารสิงคโปรตอดอลลารสหรัฐ (SGD/USD) หลักทรัพยอินโดนีเซีย (IDX) สามารถเขียนสมการ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 1 ก็จะสงผลทําใหดัชนี แสดงความสัมพันธไดดังนี้ ตลาดหลักทรัพยสิงคโปร (SGX) ลดลงไปรอยละ lnIDX = -1.0433 + 0.9821lnIDR 1.7324 หมายความวาเมื่ออัตราแลกเปลี่ยน 2.3 ความสัมพันธเชิงดุลยภาพ เงินรูเปยอินโดนีเซียตอดอลลารสหรัฐ (IDR/USD) ระยะยาวของอัตราแลกเปลี่ยนเงินริงกิตมาเลเซีย เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําใหดัชนี ตอดอลลารสหรัฐ (MYR/USD) กับดัชนีตลาด ตลาดหลักทรัพยอินโดนีเซีย (IDX) เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้นรอยละ 0.9821 112 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อภิปรายผลการวิจัย ของ Zivot & Andrews (1992) พบวา อัตรา ผลการวิเคราะหความสัมพันธเชิง แลกเปลี่ยนเงินดอลลารสิงคโปรตอดอลลาร ดุลยภาพระยะยาวของอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนี สหรัฐ (SGD/USD) อัตราแลกเปลี่ยนเงินเปโซ ตลาดหลักทรัพยโดยวิธีของ Gregory & Hansen ฟลิปปนสตอดอลลารสหรัฐ (PHP/USD) อัตรา (1996) พบวา ความสัมพันธระหวางอัตรา แลกเปลี่ยนเงินรูเปยอินโดนีเซียตอดอลลาร แลกเปลี่ยนเงินตอดอลลารสหรัฐกับดัชนี สหรัฐ (IDR/USD) ดัชนีตลาดหลักทรัพยสิงคโปร ตลาดหลักทรัพยของประเทศไทย สิงคโปร (SGX) ดัชนีตลาดหลักทรัพยฟลิปปนส (PSE) มาเลเซีย และฟลิปปนส มีความสัมพันธตาม และดัชนีตลาดหลักทรัพยอินโดนีเซีย (IDX) สมมติฐานที่ตั้งไวโดยมีความสัมพันธในทิศทาง ไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักที่ได ซึ่งนั้น ตรงกันขามกัน นั่นคือ เมื่ออัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น อาจจะสงผลใหการวิเคราะหความสัมพันธ (คาเงินออนคาลง) จะสงผลใหดัชนีตลาดหลักทรัพย ระหวางอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย ลดลง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Bello ของประเทศดังกลาวมีความนาเชื่อถือนอย และ (2013) และ Mgammal (2012) มีเพียงความ จากการทดสอบหาความสัมพันธเชิงดุลยภาพ สัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตอดอลลาร ระยะยาวโดยวิธีของ Gregory & Hansen (1996) สหรัฐกับดัชนีตลาดหลักทรัพยของประเทศ ของตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนตอดอลลารสหรัฐกับ อินโดนีเซียเทานั้นที่มีเครื่องหมายสัมประสิทธิ์ ตัวแปรดัชนีตลาดหลักทรัพย พบวา ความสัมพันธ ไมตรงตามสมมติฐานโดยมีความสัมพันธใน ระหวางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตอดอลลารสหรัฐกับ ทิศทางเดียวกัน นั่นคือ เมื่ออัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีตลาดหลักทรัพยของประเทศไทย สิงคโปร เพิ่มขึ้น ดัชนีตลาดหลักทรัพยกลับเพิ่มขึ้น มาเลเซีย และฟลิปปนส มีความสัมพันธตาม ตามไปดวย ซึ่งสอดคลองกับผลงานวิจัยของ สมมติฐานที่ตั้งไว Suriani (2015) ขอจํากัดและขอเสนอแนะในการศึกษา ครั้งตอไป ขอเสนอแนะ การศึกษาในครั้งนี้ไดใชขอมูลแบบ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค รายเดือนของอัตราแลกเปลี่ยนและดัชนี เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยน ตลาดหลักทรัพย ซึ่งอาจจะทําใหขอมูลขาดความ กับดัชนีตลาดหลักทรัพยในกลุมประเทศอาเซียน ตอเนื่อง ดังนั้นในการศึกษาในครั้งตอไปควรลอง 5 ประเทศ ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย ฟลิปปนส นําขอมูลแบบรายวันมาใชในการวิเคราะห และอินโดนีเซีย โดยใชขอมูลอัตราแลกเปลี่ยน นอกจากนี้การเปดตลาดหลักทรัพยอาเซียนนั้น และดัชนีตลาดหลักทรัพยแบบรายเดือน ตั้งแต มีการเขารวมของตลาดหลักทรัพยทั้งสิ้น 7 มกราคม 2540 ถึงธันวาคม พ.ศ. 2557 จาก ตลาดหลักทรัพย แตเนื่องจากตลาดหลักทรัพย ผลการศึกษาการทดสอบ unit root ตามแนวคิด ของเวียดนามทั้งที่ฮานอยและโฮจิมินทยังมีขอมูล Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 113 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ของดัชนีหลักทรัพยไมมากพอ ผูวิจัยจึงไมไดนํา with regime shifts. Journal of ขอมูลมาใชวิจัยในครั้งนี้ ดังนั้นในการศึกษาวิจัย Econometrics. 70. 99-126. ครั้งตอไปจึงควรนําขอมูลของตลาดหลักทรัพย Mgammal, M. H. H. (2012). The effect of ฮานอยและโฮจิมินทมารวมวิเคราะหดวย inflation, interest rates and exchange rates on stock prices comparative กิตติกรรมประกาศ study among two GCC countries. ผูเขียนขอขอบพระคุณผูเขารวมการ International Journal of Finance & ประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการ Accounting. 1(6), 179-189. จัดการระดับชาติและนานาชาติ ประจําป 2559 Newey, W. K., & West, K. D. (1987). และผูทรงคุณวุฒิ 2 ทานที่ไดใหขอเสนอแนะ A simple, positive semi-definite, ในการปรับปรุงบทความนี้ heteroskedasticity and autocorrelation consistent covariance matrix. REFERENCES Econometrica, 55(3): 703–708. Al-Ississ, M. (2015). The holy day effect. Nimanusornkul, K., & Nimanusornkul, C. Journal of Behavioral & Experimental (2012). The relationship between Finance. 5, 60-80. foreign exchange rate and industrial Bello, Z. (2013). The association between price index in Thailand. CMU Journal exchange rates and stock returns. of Economics, 16(2), 70-86. (in Thai) Investment Management & Financial Perron, P. (1989), The great crash, the oil Innovations. 10(3), 40-45. price shock, and the unit root hypothesis. Dickey, D. A., & Fuller, W. A. (1979). Distribution Econometrica. 57, 1361-1401. of the estimators for autoregressive Said, S. E., & Dickey, D. A. (1984). Testing for time series with a unit root. Journal of unit roots in autoregressive-moving the American Statistical Association, average models of unknown order. 74(366), 427-431. Biometrika, 71(3), 599-607. Engle, R. F., & Granger, C. W. J. (1987). Sukcharoensin, S. & Sukcharoensin, P. Cointegration and error correction: (2015). The analysis of stock Representation, estimation and market development indicators and testing. Econometrica, 55(2), 251-276. assessment of stock markets among Gregory, A. W. (1996). Residual-based ASEAN Economic Community (AEC) tests for cointegration in models members. Bangkok: National Institute 114 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

of Development Asminitration. (in foreign exchange rate: the ARDL Thai) approach. Journal of the Asia Pacific Suriani, S., Kumar, M.D., Jamil, F. & Muneer, Economy, 15(4), 490-508. S. (2015). Impact of exchange Zivot, E. and Andrew, D. W. K. (1992). Further rate on stock market. International evidence on the great crash, the Journal of Economics & Financial oil-price shock, and the unit-root Issues. 5(Special issue), 385-388. hypothesis. Journal of Business & Tian, G. G., & Ma, S. (2010). The relationship Economics Statistics. 10(3), 251- between stock returns and the 270. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 115 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

ปจจัยที่สงผลตอความสุขในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัย สายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร FACTORS AFFECTING HAPPINESS IN WORK OF ACADEMIC SUPPORT STAFF IN RAJABHAT UNIVERSITIES, RATTANAKOSIN GROUP โนรี มีกิริยา1* และ อุทัยรัตน แสนเมือง2 Noree Megiriya1* and Utharat Muangsan2

หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาพลวัตและพลังชีวิตองคกร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1* คณะวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาดานการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย2 Master of Management Concentrate, Dynamics and Organizational Vitality, Bangkok, Thailand1* Graduate College of Management, Sripatum University, Bangkok, Thailand2

[email protected]*

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาระดับความสุขในการทํางานของพนักงาน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ 2) ศึกษาเปรียบเทียบปจจัยสวนบุคคลที่สงผลตอความสุขในการ ทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ และ 3) ศึกษาปจจัยดานองคการที่สงผล ตอความสุขในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุมรัตนโกสินทร การศึกษาครั้งนี้ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงผสม เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุมตัวอยาง ไดแก ผูบริหาร พนักงานสายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร ผลการวิจัย พบวา ความสุขในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ อยูในระดับมาก สวนความสุขของพนักงานมหาวิทยาลัยอันเกิดจากปจจัยดานภายในองคการที่สงผล ตอความสุขในการทํางานอยูในระดับมาก ซึ่งเรียงปจจัยจากมากไปหานอยไดดังนี้ ดานเพื่อนรวมงาน ดานการไดรับการยอมรับนับถือ ดานผูบังคับบัญชา ดานคาตอบแทน ดานการจัดการ ดานสภาพ 116 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

แวดลอมการทํางาน ดานลักษณะของงาน และดานความกาวหนาในการทํางาน โดยที่ปจจัยภายใน องคการทุกดานมีความสัมพันธเชิงบวกกับความสุขในการทํางานในระดับมาก

คําสําคัญ: ความสุขในการทํางาน พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร

ABSTRACT The purpose of this research were 1) to study the level of happiness of academic support staffs working 2) to compare the personal factors affecting to happiness of academic support staffs working and 3) to study the organizational factors that affect to happiness of academic support staffs working in the Rajabhat university of Rattanakosin Group. The methodology of this research was mixed between quantitative and qualitative. The samples were administrators and academic support staffs of Rajabhat university Rattanakosin Group. The research found that the happiness of academic support staffs working is in high level The internal factors affecting happiness in work at the highest level ascending order by companion environment, acceptance, commander, compensation, management process, work atmosphere, job content and the progress in work respectively. Therefore, the factors within the organization were positively correlated with work satisfaction at the high level.

Keywords: happiness in work, academic support staff, Rajabhat University, Rattanakosin Group

บทนํา ปจจุบันองคการหลายองคการไมวา ความสุขจะมีวิธีการจัดการทางอารมณตาง ๆ จะเปนองคการภาครัฐ หรือองคการภาคเอกชน เพื่อสรางสรรคความสุขนั้น ๆ ไปดวย ทําใหองคการ เริ่มใหความสําคัญตอการสรางความสุขใหแก สามารถแขงขันในดานตาง ๆ ไดอยางสมบูรณ บุคลากรภายในใหมีความสุขในการทํางาน กอใหเกิดความไดเปรียบทางการแขงขันกับ ซึ่งเมื่อพนักงานมีความสุขในการทํางานแลว องคการอื่น ๆ นําพาองคการไปสูความสําเร็จได ประสิทธิภาพและประสิทธิผลก็จะเกิดขึ้นเอง ตามเปาหมายที่ตองการอยางยั่งยืน (Menapodhi, เนื่องจาก เมื่อบุคลากรรูสึกมีความสุขกับงาน 2007) ที่ทําแลว พนักงานจะเกิดความผูกพัน ทุมเท กลุมเปาหมายของการศึกษาครั้งนี้คือ ทํางานใหแกองคการดวยความเต็มใจ คิดในทาง พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ใน สรางสรรคมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นบุคลากรที่มี มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร ประกอบ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 117 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ไปดวย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (มรภ.สส.) ในกลุมรัตนโกสินทร เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (มจษ.) ประสิทธิผลในการดําเนินงานสูงสุด เสริมสราง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มรภ.พระนคร) ความสุขในการทํางานยิ่งขึ้น และรักษาบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (มรธ.) และ ที่มีคุณคา ใหอยูกับองคการตอไป มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา (มบส.) ซึ่งทุกสถาบันตางก็เปนหนวยงานหลัก วัตถุประสงคการวิจัย ในการสงเสริมการศึกษาใหแกนิสิตนักศึกษา 1. เพื่อศึกษาระดับความสุขในการ ในการทํางานของแตละสถาบันนั้นยอมมีความ ทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน ยากงายแตกตางกันไปตามภาระหนาที่ที่รับ วิชาการในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร มอบหมาย บางครั้งในการทํางานกับคนหมูมาก 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปจจัยสวน ก็ทําใหเกิดภาวะเครียดในการทํางานไดไมวา บุคคลที่สงผลตอความสุขในการทํางานของ จะเปนสาเหตุมาจากการทํางานหนักเกินไป พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ การกดดันการทํางานจากเจานาย หรือการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร กระทบกระทั่งจากเพื่อนรวมงาน ทําใหการ 3. เพื่อศึกษาปจจัยภายในองคการ ทํางานนั้นไมมีความสุข สงผลตองานใหลาชา ที่สงผลตอความสุขในการทํางานของพนักงาน หรือไมมีคุณภาพ ดังนั้น การสรางความสุขใน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัย องคการ ทําใหพนักงาน บุคลากรเกิดความสุข ราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร ในการทํางาน สงผลใหพนักงานมีความพรอม ที่จะทุมเทกําลังและความสามารถ พัฒนา ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ศักยภาพของตนรวมทั้งการปรับตัวเขากับเพื่อน 1. ทราบถึงปจจัยทีสงผลตอความสุข รวมงาน เกิดการเรียนรูในการทํางานรวมกัน ในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสาย เพื่อผลักดันใหองคการบรรลุเปาหมายที่วางไว สนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุม ดวยเหตุนี้ ผูศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาความสุข รัตนโกสินทร ในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสาย 2. เปนขอมูลใหผูบริหารในมหาวิทยาลัย สนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุม ราชภัฏกลุมรัตนโกสินทรนําไปใชในการวางแผน รัตนโกสินทร เพื่อใหทราบถึงระดับความสุข ปรับปรุงการบริหารในองคการ ใหบุคลากรมี ในการทํางานและปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสุข ความสุขในการทํางานเพิ่มขึ้น ในการทํางานของพนักงาน โดยผลการศึกษา 3. เปนแนวทางใหหนวยงานของรัฐ ที่ไดจะนําไป ใชเปนแนวทางในการวางแผนการ นําไปใชเปนแนวทางในการทําวิจัยครั้งตอไป บริหารทรัพยากรมนุษยของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 118 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ขอบเขตของการวิจัย university, 2014) การศึกษาเรื่องปจจัยที่สงผลตอความ 2.2 กลุมตัวอยางใชหลักการคํานวณ สุขในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัย หากลุมตัวอยาง Taro Yamane ที่คาความ สายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ คลาดเคลื่อนที่ยอมรับได (e) 0.05 ไดแก พนักงาน กลุมรัตนโกสินทรครั้งนี้ ผูวิจัยจําแนกขอบเขต มหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัย ของการวิจัย ดังนี้ ราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร จํานวน 339 คน 1. ขอบเขตดานเนื้อหา 3. ขอบเขตดานตัวแปร ประเด็นดานเนื้อหาที่ศึกษา คือ 3.1 ตัวแปรอิสระ ไดแก ตัวแปรดาน ปจจัยที่สงผลตอความสุขในการทํางานของ ปจจัยสวนบุคคล และตัวแปรปจจัยภายใน พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ องคการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร 3.2 ตัวแปรตาม ไดแก ตัวแปรดาน 2. ขอบเขตดานประชากรและกลุม ความสุขในการทํางาน ตัวอยาง 4. ขอบเขตดานระยะเวลา 2.1 ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก การศึกษาครั้งนี้เก็บรวบรวมขอมูล พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ โดยการใชแบบสอบถาม ในระหวางวันที่ 1 ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร จํานวน พฤศจิกายน 2558 ถึง วันที่ 30 มกราคม 2559 2,214 คน ซึ่งประกอบดวย มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา จํานวน 777 คน (Human Resources สมมติฐานการวิจัย Management Division, Suan Sunandha การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนดขอ Rajabhat University, 2013) มหาวิทยาลัยราชภัฏ สมมติฐานการวิจัยใหสอดคลองกับวัตถุประสงค จันทรเกษม จํานวน 354 คน (Human Resources และกรอบแนวคิดในการศึกษาปจจัยที่สงผลตอ Management Division, Chandrakasem ความสุขในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัย Rajabhat University, 2016) มหาวิทยาลัยราชภัฏ สายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร จํานวน 341 คน (Human Resources กลุมรัตนโกสินทร สามารถนํามาตั้งสมมติฐาน Management Division, Phranakhon Rajabhat ในการวิจัย ดังนี้ University, 2014) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 1. ปจจัยสวนบุคคลที่แตกตางกันสงผล จํานวน 261 คน (Human Resources Management ตอความสุขในการทํางานแตกตางกัน Division, Thonburi Rajabhat University, 2016) 2. ปจจัยภายในองคการสงผลตอ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา จํานวน ความสุขในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัย 481 คน (Human Resources Management สายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ Division, Rachbaj Somdej Chao Phraya กลุมรัตนโกสินทร Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 119 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ปจจัยสวนบุคคล - เพศ - อายุ - สถานภาพ - ระดับการศึกษา - รายไดตอเดือน - ระยะเวลาการทํางาน ความสุขในการทํางาน - มหาวิทยาลัยราชภัฏที่สังกัด - ความพึงพอใจในชีวิต - ความพึงพอใจในงาน ปจจัยภายในองคการ - ความกระตือรือรนในการทํางาน - ผูบังคับบัญชา - การจัดการ - คาตอบแทน - ลักษณะของงาน - สภาพแวดลอมการทํางาน - การไดรับการยอมรับนับถือ - ความกาวหนาในงาน - เพื่อนรวมงาน

ระเบียบวิธีวิจัย 1. กลุมตัวอยางสําหรับการศึกษา งานวิจัยนี้เปนการวิจัยแบบผสานวิธี เชิงปริมาณ ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก โดยใชแบบสอบถามและการสัมภาษณกับกลุม พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ตัวอยางแลวนําขอมูลมาวิเคราะหเพื่อสรุปผล ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร รวม การศึกษา 2,214คน ขั้นตอนการสุมตัวอยางเพื่อใชทดสอบ ประชากรและกลุมตัวอยาง กรอบแนวคิดความสัมพันธตามสมมติฐาน จะใช กลุมตัวอยางที่ใชในแตละกลุมประชากร วิธีการสุมตัวอยางแบบบังเอิญ โดยประมาณ แบงออกเปน 2 กลุม ไดแก ขนาดของกลุมตัวอยางใชสูตรของ Taro Yamane 120 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ที่คาความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได (e) 0.05 เครื่องมือการวิจัย จะไดขนาดของกลุมตัวอยาง 339 คน โดยการ เครื่องมือที่ใชในการศึกษาสําหรับการ กําหนดจํานวนตัวอยางแตละสายงานอยางมี วิจัยครั้งนี้มี 2 สวน คือ เครื่องมือแบบสอบถาม สัดสวน และทําการสุมตัวอยางใหไดจํานวน สําหรับการศึกษาเชิงปริมาณ และเครื่องมือแบบ ตัวอยางตามที่คํานวณได สัมภาษณสําหรับการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยมี 2. กลุมตัวอยางสําหรับการศึกษา รายละเอียดดังนี้ วิจัยเชิงคุณภาพ ผูใหขอมูล ไดแก ผูบริหาร 1. เครื่องมือแบบสอบถามเชิงปริมาณ มหาวิทยาลัยราชภัฎ ในกลุมรัตนโกสินทร จํานวน จํานวน 51 ขอ ประกอบดวย 4 สวน คือสวนที่ 1 5 คน โดยมีตัวแทนผูใหขอมูลองคการละ 1 คน ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งผูใหขอมูลเปนระดับผูบริหาร เพื่อสามารถ เกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล สวนที่ 2 แบบสอบถาม ใหขอมูลที่ครอบคลุมเกี่ยวกับปจจัยภายในองคการ เกี่ยวกับปจจัยภายในองคการ สวนที่ 3 แบบ ที่สรางความสุขในการทํางาน มีประสบการณ สอบถามเกี่ยวกับปจจัยความสุขในการทํางาน ในการทํางานในองคการนั้นเปนระยะเวลา 3 ป สวนที่ 4 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ ขึ้นไป และเปนผูมีทักษะในการสื่อสาร บรรยาย มีลักษณะเปนขอคําถามปลายเปดเพื่อใหผูตอบ และเต็มใจที่จะถายทอด เลาประสบการณความ แบบสอบถามแสดงความคิดเห็น สุขในการทํางานไดดีเพื่อใหขอมูลที่สมบูรณและ 2. เครื่องมือแบบสอบถามเชิงคุณภาพ เปนประโยชนตอการวิจัย ผูวิจัยกําหนดประเด็นหลักของคําถามในการ ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย ทําวิจัยจํานวน 12 คําถาม การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยเริ่มตนจาก การรวบรวมขอมูล การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ แลวแยก การวิจัยเชิงปริมาณเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการศึกษาออกเปน 2 ดาน ทั้งการศึกษา จาก 2 แหลง ไดแก ขอมูลทุติยภูมิ จากแหลง เชิงปริมาณและการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช ขอมูลทางราชการวารสาร หนังสือ และงานวิจัย แบบสอบถามและแบบสัมภาษณที่ผานการ ที่เกี่ยวของ และขอมูลปฐมภูมิเปนการเก็บขอมูล ตรวจสอบจากผูทรงคุณวุฒิเรียบรอยแลว โดยใชแบบสอบถาม และเก็บรวบรวมแบบสอบถาม เปนเครื่องมือในการวิจัย เมื่อดําเนินการเก็บขอมูล ทั้งหมดดวยตนเองมาตรวจสอบความถูกตองของ แลวจึงนํามาเรียบเรียง วิเคราะหขอมูล นําเสนอ ขอมูล ผลการวิเคราะหแบบพรรณนาวิเคราะห สรุปผล การวิจัยเชิงคุณภาพผูวิจัยเลือกกลุม อภิปรายผล และเสนอแนะขอมูลที่เปนประโยชน ตัวอยางที่เปนผูใหขอมูลสําคัญและดําเนินการ สําหรับงานวิจัยตอไป เก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีการสัมภาษณเชิงลึก รายบุคคลตามชวงระยะเวลาที่กําหนดไว

Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 121 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล เพียงพอ ซึ่งประกอบดวย การตรวจสอบดานขอมูล การวิจัยเชิงประมาณ ใชวิธีการสุม การตรวจสอบดานวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล และ ตัวอยางแบบบังเอิญดวยการใชแบบสอบถาม การทบทวนขอมูล และใชวิธีวิเคราะหเนื้อหา เปนเครื่องมือในการรวบรวมขอมูลดวยสถิติ อภิปรายผลขอมูลตามทฤษฎีและปรากฏการณ พื้นฐาน ความถี่ การกระจายอัตราสวนรอยละ เพื่อสรางขอสรุปรวบยอดและขอเสนอแนะตอไป คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบ สมมติฐานดวยคา t-test เพื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ย สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ของตัวแปรอิสระที่มี 2 กลุม และทดสอบความ สรุปผลการวิจัย แตกตางระหวางคาเฉลี่ยของตัวแปรอิสระ ตั้งแต สรุปผลการวิจัยเชิงปริมาณ 3 กลุมขึ้นไป การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว การวิจัยเรื่องปจจัยที่สงผลตอความสุข (one - way analysis of variance: ANOVA) ในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสาย เมื่อพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุม ที่ระดับ 0.05 ก็จะทําการทดสอบความแตกตาง รัตนโกสินทร โดยขอมูลมาจากกลุมตัวอยาง รายคูดวยวิธีของ Scheffe’s method สถิติอางอิง สวนใหญเปนเพศหญิงจํานวน 255 คน คิดเปน และการวิเคราะหแบบถดถอยพหุคูณ (multiple รอยละ 75.2 อายุ 25-35 ป จํานวน 172 คน regression analysis) โดยกําหนดระดับนัยสําคัญ คิดเปนรอยละ 50.7 สถานภาพโสด จํานวน 186 คน ทางสถิติที่ระดับ 0.05 เพื่อศึกษาวิเคราะหแบบ คิดเปนรอยละ 54.9 ระดับการศึกษาปริญญาตรี ถดถอยพหุคูณระหวางปจจัยที่สงผลตอความสุข จํานวน 264 คน คิดเปนรอยละ 77.9 ระดับ ในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏ เงินเดือน 10,000-25,000 บาท จํานวน 228 คน กลุมรัตนโกสินทร คิดเปนรอยละ 67.3 จํานวนปที่ทํางานอยูใน การวิจัยเชิงคุณภาพ คือ ผูบริหาร มหาวิทยาลัยแหงนี้ 1-10 ป จํานวน 225 คน มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในกลุมรัตนโกสินทร จํานวน คิดเปนรอยละ 66.4 สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5 คน ดวยการสัมภาษณเชิงลึก ใชวิธีแบบสามเสา สวนสุนันทา จํานวน 117 คน คิดเปนรอยละ 34.5 เพื่อใหขอมูลวิจัยมีความนาเชื่อถือและสมบูรณ 122 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 1 ขอมูลดานปจจัยภายในองคการ

ระดับความคิดเห็น ปจจัยภายในองคการ แปลผล อันดับ 1. ดานผูบังคับบัญชา 3.64 มาก 3 2. ดานการจัดการ 3.61 มาก 5 3. ดานคาตอบแทน 3.61 มาก 4 4. ดานลักษณะของงาน 3.57 มาก 7 5. ดานสภาพแวดลอมการทํางาน 3.60 มาก 6 6. ดานการไดรับการยอมรับนับถือ 3.76 มาก 2 7. ดานความกาวหนาในการทํางาน 3.35 ปานกลาง 8 8. ดานเพื่อนรวมงาน 4.03 มาก 1 โดยรวม 3.64 มาก

จากตารางที่ 1 พบวา ความคิดเห็นที่มีตอ คาตอบแทน มีคาเฉลี่ย 3.61 ดานการจัดการ ปจจัยภายในองคการโดยรวม อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 3.61 ดานสภาพแวดลอมการทํางาน มีคาเฉลี่ย 3.64 เมื่อพิจารณารายดานพบวา มีคาเฉลี่ย 3.60 ดานลักษณะของงาน มีคาเฉลี่ย ดานเพื่อนรวมงาน มีคาเฉลี่ยมากที่สุด 4.03 3.57 และดานความกาวหนาในการทํางาน มีคา รองลงมา ดานการไดรับการยอมรับนับถือ มีคาเฉลี่ย เฉลี่ย 3.35 ตามลําดับ 3.76 ดานผูบังคับบัญชา มีคาเฉลี่ย 3.64 ดาน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 123 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 2 ขอมูลดานความสุขในการทํางาน

ระดับความคิดเห็น ความสุขในการทํางาน แปลผล อันดับ 1. ดานความพึงพอใจในชีวิต 3.85 มาก 3 2. ดานความพึงพอใจในงาน 3.88 มาก 2 3. ดานความกระตือรือรนในการทํางาน 3.99 มาก 1 โดยรวม 3.91 มาก

ตารางที่ 3 การทดสอบ สมติฐานที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลที่แตกตางกันสงผลตอความสุขในการทํางาน แตกตางกัน

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม:ความสุขในการทํางาน ความพึงพอใจ ความพึงพอใจ ความกระตือรือรน ปจจัยสวนบุคคล ภาพรวม ในชีวิต ในงาน ในงาน เพศ .000* .268 .000* .000* อายุ .209 .299 .664 .576 สถานภาพ .852 .514 .364 .528 ระดับการศึกษา .095 .253 .475 .150 ระดับเงินเดือน .911 .971 .902 .978 ระยะเวลาการทํางาน .455 .974 .551 .879 มหาวิทยาลัยราชภัฏที่สังกัด .045* .773 .684 .747

จากตารางที่ 2 พบวา ความคิดเห็น จากตารางที่ 3 พบวา ปจจัยสวนบุคคล เกี่ยวกับความสุขในการทํางานโดยรวม อยูใน ซึ่งประกอบดวย เพศ แตกตางกันมีผลตอ ระดับมาก มีคาเฉลี่ย 3.91 เมื่อพิจารณารายดาน ความสุขในการทํางานแตกตางกัน ซึ่งดานที่ พบวา ดานความกระตือรือรนในการทํางาน มีคา สงผลแตกตางกัน คือ ความพึงพอใจในชีวิต เฉลี่ยมากที่สุด 3.99 รองลงมา ดานความพึงพอใจ และความกระตือรือรนในงาน อายุ สถานภาพ ในงาน มีคาเฉลี่ย 3.88 และดานความพึงพอใจ ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน ระยะเวลาการ ในชีวิต มีคาเฉลี่ย 3.85 ตามลําดับ ทํางาน หนวยงานที่สังกัด แตกตางกันมีผลตอ ความสุขในการทํางานไมแตกตางกัน 124 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 4 การทดสอบสมมติฐานที่ 2 ปจจัยภายในองคการสงผลตอความสุขในการทํางานของ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุมรัตนโกสินทร

Unstandardized Standardized ตัวแปร Coefficients Coefficients t p-value b Std. Error Beta .338 .030 .401 11.150 .000* 1. ดานผูบังคับบัญชา (X1) .094 .031 .139 3.034 .003* 2. ดานการจัดการ (X2) .018 .029 .026 .602 .548 3. ดานคาตอบแทน (X3) -.247 .043 -.269 -5.687 .000* 4. ดานลักษณะงานของาน (X4) .196 .049 .178 3.978 .000* 5. ดานสภาพแวดลอมการทํางาน (X5) .117 .034 .152 3.462 .001* 6. ดานการไดรับการยอมรับนับถือ (X6) .208 .035 .353 5.948 .000* 7. ดานความกาวหนาในงาน (X7) .235 .025 .407 9.458 .000* 8. ดานเพื่อนรวมงาน (X8) คาคงที่ = 0.193, R = 0.905 ; R2 = 0.814 ; F = 185.855 ; P-value = 0.000 * ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4 พบวา ปจจัยภายใน สรุปผลการวิจัยเชิงคุณภาพ องคการมีผลตอความสุขในการทํางานของ 1. ปจจัยดานความสุขในการทํางาน พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ มี 3 ดาน ไดแก ดานความพึงพอใจในชีวิต ดาน ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร ดาน ความพึงพอใจในงาน ดานความกระตือรือรน ผูบังคับบัญชา ดานการจัดการ ดานลักษณะ ในการทํางาน ของงาน ดานสภาพแวดลอมการทํางาน ดานการ จากการสัมภาษณผูบริหารทั้ง 5 คน ไดรับการยอมรับนับถือ ดานความกาวหนาในงาน ปจจัยสาเหตุที่ทําใหพนักงานมีความสุขใน และดานเพื่อนรวมงาน สามารถรวมกันพยากรณ การทํางานนอกจากปจจัยภายในองคการแลว ความสุขในการทํางาน สวนดานคาตอบแทน ยังสงผลตอดานความพึงพอใจในชีวิต ซึ่งทําให ไมสามารถรวมกันพยากรณความสุขในการ พนักงานมีความสัมพันธที่ดีระหวางสมาชิก ทํางานได และปจจัยที่มีผลตอความสุขในการ ในครอบครัว งานที่ทํามีความมั่นคงตอการดํารง ทํางาน สูงที่สุดคือ ดานเพื่อนรวมงาน รองลงมา ชีวิต ดานความพึงพอใจในการทํางาน ผูบริหาร คือ ดานผูบังคับบัญชา มองวาหากทํางานงานแลวมีความสุข ก็จะมี Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 125 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กําลังใจ มีกําลังสรางงาน สรางชีวิต มีความจริงใจ เพื่อนรวมงาน เพื่อนรวมงานที่ดียอมมีความสุข ใหกับเพื่อนรวมงาน และมีผลตอความกาวหนา กายสบายใจ ไมเหนื่อย ทํางานเหมือนพี่นอง ในการทํางาน ดานความกระตือรือรนในการ มีปญหาสามารถคุยได ปรึกษาได ทํางาน ผูบริหารมองวาการที่เรามีความสุขจาก อภิปรายผลการวิจัย การทํางานก็จะทําใหพนักงานมีความเต็มใจ อภิปรายผลการวิจัยเชิงปริมาณ อยากทํางาน มีความกระตือรือรน และตั้งใจ จากผลการวิจัยเรื่องปจจัยที่สงผลตอ ทํางาน ความสุขในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัย 2. ปจจัยภายในองคการสงผลตอความสุข สายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในการทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสาย กลุมรัตนโกสินทร ผูวิจัยอภิปรายผลการวิจัย สนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุม ตามสมมติฐาน ดังนี้ รัตนโกสินทร สมมติฐานการวิจัยที่ 1 ปจจัยสวนบุคคล ผูใหสัมภาษณมีมุมมองในดานผูบังคับ ซึ่งประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการ บัญชา ผูบริหารมองวาลักษณะการทํางานและ ศึกษา รายไดตอเดือน ระยะเวลาการทํางาน การบริหารงานของผูนํา ตองบริหารงานดวย มหาวิทยาลัยราชภัฏที่สังกัดแตกตางกันสงผล ความเปนธรรม กลาตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ ตอความสุขในการทํางานแตกตางกัน ผลการ ดานการจัดการ ควรมีชองวาง ไมเครงครัด ยอมรับ วิจัยพบวา บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏ รวมกัน ไมเหลื่อมลํ้า เปนกลาง แตตองมีความ กลุมรัตนโกสินทรที่มีเพศแตกตางกัน มีความสุข ชัดเจน ควรมองในเรื่องของขวัญและกําลังใจ ในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง ดานคาตอบแทน ควรขึ้นอยูกับภาระงาน และ สถิติที่ระดับ 0.05 โดยเพศชายมีความพึงพอใจ หนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ใหสอดคลองกับความ ในชีวิตและความกระตือรือรนในการทํางาน รับผิดชอบ ดานลักษณะของงาน งานที่ทํา นอยกวาเพศหญิง ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาเพศชาย ตองสามารถทําใหพนักงานมีความกาวหนา มีความรูสึกวาตองรับผิดชอบตอครอบครัว ทําให ในตําแหนงงานที่สูงขึ้น สภาพแวดลอมในการ มีความตองการความกาวหนาในการทํางาน ทํางานมีสวนชวยใหการทํางานมีความสุข แตเนื่องจากความตองการความกาวหนาในการ ไมแออัดเกินไป มีอุปกรณอํานวยความสะดวก ทํางานไมเปนไปตามที่คาดหวัง จึงทําใหรูสึกวา ที่เอื้อตอการทํางาน ดานการไดรับการยอมรับ ไมมีความจําเปนที่จะตองมีความกระตือรือรน นับถือ พนักงานทุกคนมีโอกาสที่จะไดรับทุน ในการทํางาน สวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย ในการศึกษาตอ หรือไปอบรมศึกษาดูงาน เพื่อที่ ราชภัฏกลุมรัตนโกสินทรที่มีอายุ สถานภาพ จะไดเรียนรูเพิ่มพูนศักยภาพในการทํางาน ดาน ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน จํานวนปที่ทํางาน ความกาวหนาในงาน หากไดทุนศึกษาตอก็สามารถ ในมหาวิทยาลัย และหนวยงานที่สังกัดแตกตางกัน ที่จะไดรับความกาวหนา เลื่อนตําแหนง ดาน มีความสุขในการทํางานไมแตกตางกัน ทั้งนี้ 126 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อาจเปนเพราะวา บุคลากรของมหาวิทยาลัย ปจจัยที่มีผลตอความสุขในการทํางาน สูงที่สุด ราชภัฏกลุมรัตนโกสินทรที่มีอายุ สถานภาพ คือ ดานเพื่อนรวมงาน รองลงมาคือ ดานผูบังคับ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน จํานวนปที่ทํางาน บัญชา ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ นภัชชล ในมหาวิทยาลัย และหนวยงานที่สังกัดแตกตางกัน รอดเที่ยง (Rodtiang, 2007) ศึกษาเรื่องปจจัย ตางก็มีความสุขในการทํางานอยูในระดับมาก ที่มีอิทธิพลตอความสุขในการทํางานของบุคลากร เชนกัน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ นันทรัตน ที่สังกัดศูนยอนามัยในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อุยประเสริฐ (Ouiprasert, 2008) ทําการศึกษา กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ผลการศึกษา เรื่องความสุขในการทํางานของพนักงานบริษัท พบวา ปจจัยที่มีอิทธิพลและสามารถรวมคาด เฟสทดรัก จํากัด จังหวัดเชียงใหม เก็บขอมูลจาก ทํานายความสุขในการทํางานของบุคลากรไดแก พนักงานที่ทํางานในบริษัท เฟสทดรัก จํานวน ลักษณะงาน สัมพันธภาพในครอบครัว สภาพ 110 คนโดยใชแบบสอบถามถามแบบตอบดวย แวดลอมในการทํางาน และการไดรับการยอมรับ ตนเอง จากการเปรียบเทียบปจจัยดานลักษณะ นับถือโดยสามารถรวมทํานายความสุขในการ สวนบุคคล ไดแก อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ทํางานของบุคลากรที่สังกัดศูนยอนามัยไดรอยละ อายุงาน ระดับตําแหนงงาน และรายไดเฉลี่ย 62.10 ตอเดือนที่แตกตางกันมี ความสุขในการทํางาน อภิปรายผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ที่ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 1. ผลการวิเคราะหระดับความสุขในการ 0.05 ทํางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน สมติฐานการวิจัยที่ 2 ปจจัยภายใน วิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร องคการสงผลตอความสุขในการทํางานของ จากการศึกษาพบวาปจจัยสาเหตุที่ทําให พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ บุคลากรมีความสุขในการทํางานนอกจากปจจัย ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร ผลการ ภายในองคการแลว ยังสงผลตอความพึงพอใจ วิจัยพบวา ปจจัยในองคการ ดานผูบังคับบัญชา ในชีวิต ความพึงพอใจในงาน และความกระตือรือรน ดานการจัดการ ดานลักษณะของงาน ดานสภาพ ในการทํางาน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Diener แวดลอมการทํางาน ดานการไดรับการยอมรับ (1984) ที่อธิบายวาปจจัยหรือองคประกอบของ นับถือ ดานความกาวหนาในงาน และดานเพื่อน ความสุข คือ ความพึงพอใจในชีวิต ความพึงพอใจ รวมงาน สามารถรวมกันพยากรณความสุขในการ ในเปาหมายหลักของชีวิต ตลอดจนประสบการณ ทํางาน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยมี ในชีวิตเหลานั้น เปนอารมณความรูสึกดานลบตํ่า คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณเปน 0.905 และ คนที่มีความสุขเกิดขึ้นไดจากปจจัยหลายอยาง สามารถรวมกันพยากรณความสุขในการทํางาน ที่แตกตางกัน เชน อายุ รายไดสภาพแวดลอม ไดรอยละ 81.4 สวนดานคาตอบแทนไมสามารถ ที่สงผลตอความตองการของบุคคลใหเกิดความ รวมกันพยากรณความสุขในการทํางานได และ พึงพอใจในชีวิตนํามาซึ่งความสุข และ Warr Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 127 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

(1990) ไดกลาวถึงเรื่องความสุขในการทํางาน ที่มีความชัดเจนมีความคลายคลึงกัน และงาน กลาวถึงความสุขในการทํางานวา เปนความรูสึก ที่ตองการความอิสระมีแนวโนมวาองคการสวนใหญ ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคลที่ตอบสนอง นิยมปรับเปนโครงสรางแบบแบน นอกจากนี้ ตอเหตุการณที่เกิดขึ้นในการทํางานหรือ ลักษณะการทํางานแบบทีมงานบริหารตนเอง ประสบการณของบุคคลในการทํางาน (self-managed teams) ทีมงานจะมีอิสระในการ 2. ผลการวิเคราะหปจจัยภายในองคการ ทํางานและไดรับมอบอํานาจกําหนดกิจกรรม สงผลตอความสุขในการทํางานของพนักงาน ในงาน ทั้งงบประมาณและเปาหมาย มหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ 2.3 ดานคาตอบแทน การจายคา 2.1 ดานผูบังคับบัญชา การบริหาร ตอบแทนคืออัตราเงินเดือนที่สามารถแขงขันได งานของผูนํา ตองบริหารงานดวยความเปน เหมาะสมกับปริมาณงานและความรับผิดชอบ ธรรม กลาตัดสินใจ กําหนดผลลัพธที่ตองการ นอกจากนี้หลักเกณฑการพิจารณาปรับขึ้น อยางชัดเจน และมีความยืดหยุนในการทํางาน เงินเดือนควรมีความยุติธรรม และนําพฤติกรรม มีวิสัยทัศน มีความรูเชี่ยวชาญในงานที่รับผิดชอบ มาพิจารณารวมกับผลงานการปฏิบัติงาน ลักษณะของผูนําที่ทําใหพนักงานเกิดความสุข ซึ่งสอดคลองกับทฤษฎีคุณภาพชีวิตดานการ ในการทํางานดังกลาว ซึ่ง Luthans (1998) กลาววา ไดรับคาตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมของ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจในงาน คือ Walton (1973) เนื่องจากทุกคนมุงทํางานเพื่อ ความสามารถของผูบังคับบัญชา ในการให ใหไดรับการตอบสนองและจําเปนตอการมีชีวิต คําแนะนําชวยเหลือดานเทคนิคในงาน และ อยูรอด พฤติกรรมการสนับสนุนในงาน นอกจากนี้ 2.4 ดานลักษณะของงาน คุณลักษณะ หัวหนางานที่มีการสอนงาน มนุษยสัมพันธที่ดี ของงานเปนปจจัยที่ทําใหเกิดความสุขในการ ทัศนคติที่มีตอพนักงานมีสวนรวมก็สงผลตอ ทํางานมากที่สุด ซึ่งสามารถอธิบายผลการ ความพึงพอใจในงานเชนกัน (Vroom, 1964) ศึกษาที่ไมสอดคลองกันนี้ไดวา คํานิยามหรือ 2.2 ดานการจัดการ เนนในการดูแล องคประกอบที่ใชในการศึกษาในเชิงปริมาณ ภายในทีมงานอยางทั่วถึงเกิดความราบรื่นในงาน และเชิงคุณภาพนั้นไมเหมือนกัน กลาวคือ การ มากขึ้นและองคการควรแบงงานใหชัดเจน งายตอ ศึกษาในเชิงปริมาณไดใชองคประกอบจาก การเขาใจและการทํางาน สอดคลองกับแนวคิด ทฤษฎีคุณลักษณะของงาน ซึ่งประกอบดวย ของ สุพานี สฤษฎวานิช (Saridvanich, 2009) ความสําคัญของงาน ความหลากหลายของงาน กลาววา ขอดีของโครงสรางแบบแบนคือ การที่มี เอกลักษณของงาน ความมีอิสระในการทํางาน ระดับการบังคับบัญชานอย ขวัญและกําลังใจของ การทราบผลสะทอนกลับจากงาน และความ ผูปฏิบัติงานจะสูงกวากรณีโครงสรางแบบสูงและ เหมาะสมของปริมาณงาน แตการศึกษาในเชิง การติดตอสื่อสารจะรวดเร็วกวา ซึ่งเหมาะกับงาน คุณภาพ บุคลากรไดนิยามถึงลักษณะงานวา 128 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เปนงานที่ตนเองชอบ งานมีความทาทาย ไดเรียนรู ที่สุดเปนอันดับที่สอง สอดคลองกับทฤษฏีสอง สิ่งใหม มีสวนรวมในงาน เปนงานที่เปดกวางทาง ปจจัยของ Herzberg (1991) กลาววา การไดรับ ความคิด มีอิสระในการทํางาน มีโอกาสไปดูงาน การยอมรับนับถือจากผูบังคับบัญชา เปนการ นอกสถานที่ และไดใชความสามารถของตนเอง ชมเชยแสดงความยินดี การใหกําลังใจ เมื่อได ในการสรางผลงานที่มีคุณคา จึงรูสึกมีความสุข ทํางานบรรลุผลสําเร็จเปนองคประกอบหนึ่งที่ ในการทํางาน ทําใหบุคคลพึงพอใจในงาน เชนเดียวกับผลการ 2.5 ดานสภาพแวดลอมการทํางาน ศึกษาของ Locke (1976) พบวา การไดรับการ สภาพแวดลอมทางกายภาพที่ทําใหเกิดความ ยอมรับนับถือจากผูบังคับบัญชาและเพื่อน สุขในการทํางาน คือ การมีอุปกรณเครื่องมือ รวมงานเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหบุคคลเกิดความ สิ่งอํานวยความสะดวกที่ทันสมัย เทคโนโลยีที่ พึงพอใจ ตอบสนองตอความตองการในการทํางานได 2.7 ดานความกาวหนาในงาน พนักงาน อยางรวดเร็ว สถานที่ทํางานที่มีความสวยงาม ทุกคนมีสิทธิ์ไดรับการเลื่อนตําแหนงที่สูงขึ้น เพื่อสรางความรูสึกผอนคลาย รวมถึงการจัด ซึ่งการเลื่อนขั้นนั้นรวมถึงการไดรับตําแหนงที่ สถานที่ภายในองคการเพื่อผอนคลายจาก สูงขึ้น ซึ่ง ศิรินทิพย ผอมนอย (Pomnoi, 2008) ความเครียดในการทํางาน เชน หองคาราโอเกะ ไดกลาววาโอกาสกาวหนาในการทํางาน ไดแก สถานที่เลนกีฬา ซึ่งจะทําใหรูสึกรื่นรมยมีความสุข การมีโอกาสเลื่อนขั้นในตําแหนงการงานที่สูงขึ้น ในการทํางานมากยิ่งขึ้น เชนเดียวกับ Luthans การมีโอกาสไดกาวหนาจากความสามารถในการ (1998) ที่กลาวถึงสภาพการทํางานที่มีอิทธิพลตอ ทํางานยอมทําใหเกิดความพึงพอใจในงาน ความพึงพอใจในงานคือ สถานที่ทํางานมีความ 2.8 ดานเพื่อนรวมงาน การมีเพื่อน สะอาด สวยงาม อากาศเย็นสบาย เปนปจจัย รวมงานที่ดีทําใหบุคลากรมีความสุขในการ สนับสนุนใหพนักงานทํางานไดสะดวกและงาย ทํางาน ซึ่งสอดคลองกับผลวิจัยของ Manion ตอการดําเนินงาน ซึ่งองคการหลายแหงพยายาม (2003) กลาววา ความสัมพันธระหวางบุคคล สรางภาพในการทํางานที่ดีเพราะเปนปจจัย เปนปจจัยที่ทําใหบุคลากรมีความสุขในการ มีความสัมพันธในแงบวกระหวางความพึงพอใจ ทํางาน โดยพิจารณาจากการติดตอสัมพันธ ในชีวิตของพนักงานดวย การใหความรวมมือ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน 2.6 ดานการไดรับการยอมรับนับถือ การสนทนาอยางเปนมิตร รวมไปถึง การไดรับ การที่หัวหนางานยอมรับความสามารถและกลาว การยอมรับและความเชื่อถือไววางใจจากผูรวมงาน ชมเชย เปนสิ่งที่ทําเกิดความสุขในการทํางานมาก และผูบังคับบัญชา Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 129 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ขอเสนอแนะ กับคุณลักษณะของบุคลากร และควรมอบหมาย ขอเสนอแนะเพื่อการนําไปใชในเชิง งานใหตรงตามความถนัดของบุคลากร ปฏิบัติการ 5. ปจจัยภายในองคการ ดานสภาพ 1. ปจจัยภายในองคการ ดานผูบังคับ แวดลอมการทํางาน ผูบริหารควรเพิ่มการพิจารณา บัญชา ผูบริหารควรเพิ่มการพิจารณาใหผูบังคับ ใหภายในองคการมีการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริม บัญชาปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาอยางเสมอ สุขภาพของบุคลากร และควรเพิ่มใหภายใน ภาค เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล องคการมีสิ่งอํานวยความสะดวก อุปกรณ ในการดําเนินงานสูงสุด เสริมสรางความสุข เครื่องมือ เครื่องใชเพียงพอ ในการทํางานยิ่งขึ้น และรักษาบุคลากรที่มีคุณคา 6. ปจจัยภายในองคการ ดานการไดรับ ใหอยูกับองคการตอไป การยอมรับนับถือ ผูบริหารควรสงเสริมใหหัวหนา 2. ปจจัยภายในองคการ ดานการจัดการ งานชื่นชมในความรูความสามารถของบุคลากร ผูบริหารควรใหบุคลากรทุกคนมีสวนรวมในการ 7. ปจจัยภายในองคการ ดานความ วางแผนองคการ และการจัดตั้งหนวยงานตาง ๆ กาวหนาในงาน ผูบริหารควรเพิ่มการพิจารณา ใหเอื้อประโยชนกับกระบวนการทํางาน เพื่อใหเกิด ใหงานที่บุคลากรทําอยูมีโอกาสกาวหนาและควร ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงาน พิจารณาใหภายในองคการสามารถเลื่อนตําแหนง สูงสุด เสริมสรางความสุขในการทํางานยิ่งขึ้น และ ไปสูระดับสูงได รักษาบุคลากรที่มีคุณคาใหอยูกับองคการตอไป 8. ปจจัยภายในองคการ ดานเพื่อน 3. ปจจัยภายในองคการ ดานคาตอบแทน รวมงาน ผูบริหารควรเพิ่มการจัดกิจกรรม ผูบริหารควรเพิ่มการพิจารณาเงินเดือนของ สันทนาการ เพื่อใหบุคลากรไดจัดกิจกรรมรวมกัน บุคลากรที่ไดรับใหเพียงพอกับคาใชจายใน อาจกอใหเกิดความสามัคคีมากขึ้น และอาจ ครอบครัว และองคการมีนโยบายการจายคาจาง สงผลใหบุคลากรสามารถปรึกษาปญหาสวนตัว และคาลวงเวลาอยางเหมาะสม กับเพื่อนรวมงานได และมีเพื่อนรวมงานที่มีความ 4. ปจจัยภายในองคการ ดานลักษณะ จริงใจ ของงาน ผูบริหารควรจัดระบบงานใหเหมาะสม 130 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

REFERENCES limited, Chiang Mai province. Master Diener, E. (1984). Subjective well-being. of Business Administration Program. PSYCHOLOGICAL BULLETIN. 95, Faculty of Business Administration, 542-575. Bachelor of Business Administration, Herzberg, F. (1991). A Harvard business review Chiang Mai University. (in Thai) paperback: motivation. Massachusetts: Pomnoi, S. (2008). Happiness in work. Harvard Business School. Retrieved December 10, 2015, from Locke, E.A. (1976). The nature and causes http://www.oknation.net/blog/print. of job satisfaction. Handbook php?id=278062 (in Thai) of Industrial and Organizational Rodtiang, N. (2007). Factors influence on Psychology. Chicago: Rand McNally happiness at work among personal Luthans, F. (1998). Organizational behavior. in North-Eastern Regional Health 8th edition. NY: McGraw-Hill. Promotion Center, Department of Manion, J. (2003). Joy at work: creating Health, Ministry of Public Health. a positive workplace. Journal of [MSc thesis]. Bangkok: Mahidol Nursing Administration, 33(12): University. 2007. (in Thai). 652-655. Saridvanich, S. (2009). Modern organization Menapodhi, R. (2007). Happiness in behavior: concepts and theory. 2nd the workplace indicator. Master edition. Pathumthani: Rongphim of Science (Human Resources Thammasat University. (in Thai) Development), Faculty of human Vroom, V.H. (1964). Work and motivation. Resources Development, National NY: John Wiley & Sons, Inc. Institute of Development Administration. Walton, R. E. (1975). Improving the quality of (in Thai) work life. Harvard Business Review, Meyer, J.P. & Allen, N.J. (1997). Commitment 52(3), 12. in the workplace theory. Research, Warr, P. (1990). The measurement of well- and Application. CA: SAGE being and other aspects of mental Publications. health. Journal of Occupational Ouiprasert, N. (2008). Happiness at work Psychology, 63, 193-210. of employee at first drug company Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 131 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีน แบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน DEVELOPMENT OF INTEGRATED CHINESE LANGUAGE INSTRUCTIONAL PACKAGE USING LOCAL CONTEXTS เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ Benja-arpa Phisetsakunwong

คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย Faculty of Liberal Arts and Science, Kasetsart University Kamphaeng Saen Campus, , Thailand

[email protected]

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะ ภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีน ของนักศึกษากอนและหลังใชชุดกิจกรรม 3) เพื่อศึกษาเจตคติของนักศึกษาที่มีตอชุดกิจกรรม กลุม ตัวอยางที่ศึกษาคือ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ที่เรียนวิชาภาษา จีนระดับกลาง ปการศึกษา 2/2559 จํานวน 16 คนไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชใน การวิจัยประกอบดวย 4 ชุดคือ 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบท ของชุมชน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียนของชุดกิจกรรม 3) แบบประเมินผลงาน นักศึกษา และ 4) แบบสอบถามเจตคติที่มีตอชุดกิจกรรม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ย คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาความยากงาย และคาประสิทธิภาพ ผลการวิจัยพบวา 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของ

ชุมชนมีคาประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ 80.46/81.25 ซึ่งสูงกวาเกณฑ 80/80 2) นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ หลังเรียนสูงกวากอนเรียนหลังใชชุดกิจกรรม และมีรอยละของความกาวหนาเทากับ 20.21 3) จากการ ใชชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชนสามารถสรางเจตคติ ที่ดีตอการเรียนภาษาจีนของนักศึกษาได เห็นไดจากคาเฉลี่ยแบบสอบถามไดเทากับ 4.43 อยูใน ระดับมาก 132 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

คําสําคัญ: ชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีน บูรณาการ บริบทของชุมชน

ABSTRACT The purposes of this research were 1) to develop and perform the effectiveness of the integrated Chinese language instructional package using local contexts, 2) to compare learning achievements before and after using the integrated Chinese language instructional package and 3) to study students’ attitudes after using the integrated Chinese language instructional package, using local contexts. The sample group was 16 Chinese-majored students, Kanchanaburi Rajabhat University, studying Intermediate Chinese, second semester, academic year 2016. The instruments employed in the research included 1) an integrated Chinese language instructional package using local contexts 2) the Chinese leaning achievement pre-test and post-test 3) the evaluation form and 4) the attitude questionnaire. The statistics used in the analysis were mean, standard deviation, percentage, diffi culty and effi ciency indices. The results showed that 1) the effi ciency of the package was at the level

of E1/E2 80.46/81.25 which was higher than the specifi c criteria of 80/80, 2) The students’ post-test scores were higher than pre-test and the percentage of progress was at the level of 20.21, and 3) The students’ attitudes were positive and the average of the questionnaires was at the level of 4.43.

Keywords: Chinese language instructional package, integrated, local contexts

บทนํา การศึกษาภาษาจีนเปนกระแสนิยมใน เชน การสนับสนุนจากภาครัฐของทั้งสองประเทศ หลายประเทศทั่วโลก ประเทศไทยก็เชนเดียวกัน ที่วางโครงสรางใหวิชาภาษาจีนเปนหนึ่งในภาษา สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน ตางประเทศที่สองที่ผูเรียนสามารถเลือกเรียน ตั้งแตระดับชั้นอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ไดตามอัธยาศัย การที่รัฐบาลไทยมีนโยบาย และอุดมศึกษา รวมถึงสถาบันกวดวิชาที่กระจาย สงเสริมสนับสนุนใหสถาบันการศึกษาพัฒนา อยูเกือบทั่วทุกแหงตางเปดสอนวิชาภาษาจีน ทรัพยากรบุคคลดานภาษาจีนเพื่อการแขงขันกับ ปจจัยที่เปนตัวเรงการเติบโตของการศึกษาภาษาจีน ตางประเทศ การที่หนวยงานหรือองคกรตองการ ในประเทศไทยที่สําคัญก็คือการเติบโตทาง บุคลากรที่มีความรูความสามารถดานภาษาจีน เศรษฐกิจของประเทศจีน นอกจากนี้ยังมีปจจัยอื่น เพื่อการทํางานและประสานงานในดานตาง ๆ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 133 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กับชาวจีน การกําหนดใหวิชาภาษาจีนเปนวิชา เรื่องไกลตัว ไมสอดคลองกับบริบทของไทย สงผล ที่ใชในการสอบเขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย ทําใหเกิดความไมนาสนใจ นักศึกษารูสึกเบื่อหนาย ในสวนระดับอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ขาดแรงจูงใจในการเรียน รวมถึงไมสงเสริมการ ตางมุงหนาผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถ ประกอบอาชีพ นักศึกษาไมเห็นประโยชนในการ ในภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหลายแหง นําไปใชและไมสามารถนําไปปรับใชในชีวิต ไดพัฒนาหลักสูตรวิชาภาษาจีนที่หลากหลายและ ประจําวันได ในดานวิธีการสอนของอาจารย เฉพาะทางมากขึ้น เชน สาขาภาษาจีนธุรกิจ สาขา สวนใหญยังคงเปนระบบเกา คือ เนนการทองจํา วิชาจีนศึกษา สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อเศรษฐกิจ โดยอาจารยสั่งใหนักศึกษาจําคําศัพทหรือ และการคา สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร บทสนทนาในบทเรียนแลวมาทองใหอาจารย หลักสูตรภาษาจีนที่เปดสอนในระดับ ฟง การทองจําคําศัพทและประโยคที่ไมเกี่ยวของ อุดมศึกษาสามารถตอบสนองกลุมผูเรียนที่มี กับชีวิตประจําวันที่มีปริมาณมาก ทองยากแตลืม ความประสงคในการศึกษาดานภาษาจีนและ งายเนื่องจากไมมีการนํามาใชบอย ๆ นอกจากนี้ ดานอื่นที่เกี่ยวของ อยางไรก็ตาม ปญหาจากการ นักศึกษายังขาดโอกาสในการฝกฝนและทบทวน จัดการเรียนการสอนซึ่งเปนปญหาที่เกิดลักษณะ ภาษาจีนนอกหองเรียน ในหองเรียนนักศึกษา เดียวกันของหลักสูตรภาษาจีนในหลาย มีโอกาสฝกพูด ฝกเขียนภาษาจีน แตเมื่อออกจาก มหาวิทยาลัย คือ นักศึกษาเรียนแลวไมสามารถ หองเรียน นอกจากการบานที่อาจารยสั่งใหทํา นําภาษาจีนไปใชประยุกตใหเกิดประโยชนตอได นักศึกษาก็ไมมีโอกาสไดฝกฟง ฝกพูด ฝกเขียนทําให สาเหตุของปญหานี้เกิดจากปจจัยหลายดาน เชน พัฒนาการทางดานภาษาไมตอเนื่อง เกิดสภาวะ ดานตําราเรียน ดานวิธีการสอนของอาจารย ไดหนาลืมหลัง นักศึกษาขาดความมั่นใจในการ ดานตําราเรียน การเรียนการสอนภาษาจีนใน ใชภาษาจีน ซึ่งก็เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหผล ระดับอุดมศึกษาสวนใหญใชตําราเรียนหรือสื่อ สัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีนไมไดผลดีเทาที่ควร การสอนที่ผลิตจากประเทศจีน เชน 《新实用 เหลานี้เปนปญหาที่สําคัญในการพัฒนารูปแบบ 汉语课本》、《博雅汉语》、《汉 การสอนและวิธีการสอนภาษาจีนที่มีประสิทธิภาพ 语教程》ซึ่งเนื้อหาในบทเรียนเกี่ยวของกับ เพื่อการเรียนรูทักษะภาษาจีนที่ดีขึ้นของนักศึกษา ประเทศจีน ไมมีความสัมพันธกับสภาพสังคม วิธีการสอนแบบบูรณาการเปนวิธีการหนึ่งของ วัฒนธรรมประเพณีในทองถิ่นหรือชุมชนของ การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะของผูเรียน ประเทศไทย ตําราเรียนเหลานี้สวนใหญเหมาะ ในศตวรรษที่ 21 ลักษณะการเรียนรูแบบบูรณาการ สําหรับนักศึกษาตางชาติที่เรียนอยูในประเทศจีน มี 2 ลักษณะคือ บูรณาการภายในกลุมสาระการ ซึ่งสามารถนํามาใชสื่อสารไดโดยตรงในชีวิต เรียนรู และบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรู ประจําวัน แตเมื่อนํามาใชสอนนักศึกษาใน ซึ่งการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการเปนการ ประเทศไทย ดวยเหตุที่เนื้อหาในบทเรียนเปน จัดการเรียนรูที่มุงใหผูเรียนเชื่อมโยงความรู 134 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ความคิด ทักษะและประสบการณที่มีความ บูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน หลากหลายและสัมพันธกันเปนองครวม เพื่อให 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง ผูเรียนเกิดการรูแจงรูจริงในสิ่งที่ศึกษา สามารถ การเรียนทักษะภาษาจีนของนักศึกษากอนและ นําไปใชในชีวิตจริงได (Sintapanon, 2015) หลังการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีน การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีน แบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน แบบบูรณาการภายในกลุมสาระการเรียนรู ไดแก 3. เพื่อศึกษาเจตคติของนักศึกษาที่มี ทักษะการฟง การพูด การอาน การเขียน การแปล ตอชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบ และมีเนื้อหาที่เกี่ยวของกับชุมชนหรือทองถิ่น บูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน เขาไปในบทเรียน เชน ที่ตั้ง สภาพทั่วไปของ จังหวัด ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สถานที่ทองเที่ยว ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย ที่สําคัญ ผลิตภัณฑของชุมชน เมื่อผูเรียนได 1. ไดชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษา เรียนรูภาษาจีนในบริบทของชุมชน ทํากิจกรรม จีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชนที่มี และแบบฝกหัดที่ตองสืบคนขอมูลจากแหลง ประสิทธิภาพ เรียนรูในชุมชนของตนเอง ทําใหผูเรียนไดเรียน 2. ไดทราบผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ รูเรื่องใกลตัว เห็นคุณคา และมีโอกาสในการ ดานการเรียนทักษะภาษาจีนของนักศึกษากอน นําไปประยุกตใชไดจริงในชีวิตประจําวัน และหลังการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษา ผูวิจัยเห็นความสําคัญของการพัฒนา จีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน และ ชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบ ความกาวหนาของการเรียน บูรณาการที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับชุมชน เนื่องจาก 3. ไดทราบเจตคติของนักศึกษาที่มี การเรียนภาษาไมวาภาษาใดเนื้อหาควรหนี ตอชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบ ไมพนการนําไปใชไดในชีวิตจริง หากนักศึกษา บูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน มีความรูและทักษะภาษาจีนที่เกี่ยวของกับชุมชน ของตนเองก็สามารถนําไปใชสื่อสารและปรับใช ขอบเขตของการวิจัย ใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันของตนเองและ ประชากร ชุมชนได นอกจากนี้ยังสามารถสรางแรงจูงใจ ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก ในการเรียนภาษาจีน ปลูกฝงนักศึกษาใหเห็นคุณคา นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม และสรางความผูกพันกับชุมชนของตนเองดวย บริการการทองเที่ยวและนักศึกษาสาขาวิชา ภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี วัตถุประสงคของการวิจัย ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาจีนระดับกลาง 1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ภาคการศึกษา 2/2559 ทั้งหมด 25 คน ชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 135 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กลุมตัวอยาง แบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชนหลังเรียน ผูวิจัยเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง สูงกวากอนเรียน ไดแก นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน คณะ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะภาษาจีน มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ ของนักศึกษาที่เรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู กาญจนบุรีที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาจีน ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของ ระดับกลาง ปการศึกษา 2/2559 จํานวน 16 คน ชุมชนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 3. นักศึกษามีเจตคติตอการใชชุด สมมติฐานของการวิจัย กิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา โดยใชบริบทของชุมชนอยูในระดับมาก ที่เรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีน

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรอิสระ

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะภาษาจีน การจัดการเรียนการสอนดวยชุดกิจกรรม 2. เจตคติของนักศึกษาที่มีตอชุดกิจกรรม การเรียนรูทักษะภาษาจีน การเรียนรูทักษะภาษาจีนโดยใชบริบท โดยใชบริบทของชุมชน ของชุมชน

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย 136 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ระเบียบวิธีวิจัย 1.1.5 ผูวิจัยปรับปรุงแกไขชุด การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะ กิจกรรมตามขอเสนอแนะของของผูเชี่ยวชาญ ภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน แลวกลับไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสม ผูวิจัยมีระเบียบการวิจัย ดังนี้ ทั้ง 4 ดานไดแก ดานแผนการจัดการเรียนรู 1. การพัฒนาเครื่องมือ ดานคําแนะนําสําหรับผูสอน ดานเนื้อหา และ 1.1 การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู ดานแบบฝกหัด โดยแบบประเมินเปนแบบ ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของ มาตราสวนประมาณคากําหนดเกณฑการให ชุมชน ผูวิจัยไดดําเนินการ ดังนี้ คะแนนแบงเปน 5 ระดับ ไดคาเฉลี่ยความเหมาะสม 1.1.1 ศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตร เทากับ 4.57 อยูในระดับเหมาะสมมากที่สุด บัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนของมหาวิทยาลัย 1.1.6 ผูวิจัยนําชุดกิจกรรมไปหา ราชภัฏกาญจนบุรี โดยพิจารณาจุดมุงหมายและ ประสิทธิภาพ โดยนําไปทดลองใชกับนักศึกษา คําอธิบายรายวิชาภาษาจีนระดับกลาง จํานวน 9 คนที่ไมใชกลุมตัวอยาง ไดแกนักศึกษา 1.1.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัย สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการ ที่เกี่ยวของเพื่อเปนแนวทางในการสรางชุดกิจกรรม การทองเที่ยว เลือกแบบเฉพาะเจาะจง เปนนักศึกษา การเรียนรู ที่มีระดับภาษาจีนเกง ปานกลาง และออน โดยใช 1.1.3 กําหนดหัวขอและเนื้อหา พิจารณาจากผลการเรียนในภาคการศึกษา ที่จะใชในการสรางชุดกิจกรรม โดยสรางชุดกิจกรรม ที่ผานมา ดําเนินการทดลองใชชุดกิจกรรมกับ ที่บูรณาการทั้งทักษะการฟง พูด อาน เขียน นักศึกษาในชวงตนภาคการศึกษา 2/2559 การแปล และเนื้อหาที่เกี่ยวของกับชุมชนในจังหวัด จํานวน 4 สัปดาห สัปดาหละ 4 คาบ รวม 16 คาบ กาญจนบุรีจํานวน 3 ชุดไดแก แตละสัปดาหใชชุดกิจกรรม 1 ชุด สัปดาหสุดทาย ชุดที่ 1 เรื่อง สภาพทั่วไปของจังหวัด ใหนักศึกษานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน กาญจนบุรี 北碧府的概况 1.1.7 หลังจากเสร็จสิ้นการ ชุดที่ 2 เรื่อง สถานที่ทองเที่ยวในจังหวัด ทดลองโดยใชชุดกิจกรรมแลว ผูวิจัยนําผลคะแนน กาญจนบุรี 北碧府的旅游景点 จากการทําแบบฝกหัดระหวางเรียนทั้ง 3 ชุด ชุดที่ 3 เรื่อง ผลิตภัณฑชุมชนในจังหวัด คะแนนผลงานนักศึกษาและคะแนนสอบวัดผล กาญจนบุรี北碧府的乡村特色产品 สัมฤทธิ์การเรียนรูหลังเรียนมาหาประสิทธิภาพ 1.1.4 นําชุดกิจกรรมเสนอ ของชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนโดยใช

ผูเชี่ยวชาญดานการสอนภาษาจีนจํานวน 3 คน บริบทของชุมชน ไดคาประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ประเมิน 80.83/80.24 ซึ่งสูงกวาเกณฑ 80/80 ความชัดเจน ความสอดคลองกับวัตถุประสงค 1.2 การพัฒนาแบบทดสอบวัดผล และการใชภาษา สัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียนของชุดกิจกรรม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 137 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

การเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใช 1.3 การพัฒนาแบบประเมินผลงาน บริบทของชุมชน นักศึกษา 1.2.1 ผู วิ จั ย ศึ ก ษ า ห นั ง สื อ 1.3.1 ผูวิจัยศึกษาหนังสือ เอกสาร เอกสาร ตําราเกี่ยวกับการสรางแบบทดสอบ ตําราเกี่ยวกับการสรางแบบประเมินผลงาน 1.2.2 ดําเนินการสรางแบบ นักศึกษา ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของชุด 1.3.2 กําหนดขอบเขตของการ กิจกรรมใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงค ประเมินความสามารถของนักศึกษาตาม การเรียนรู โดยใชทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน วัตถุประสงคและดําเนินการสรางแบบประเมิน ซึ่งแบบทดสอบทั้ง 2 ชุดมีเนื้อหาเดียวกันแตมีการ ผลงานนักศึกษา ซึ่งเปนแบบประเมินความ สลับขอและสลับตัวเลือก ลักษณะแบบทดสอบ สามารถของผูเรียนครั้งสุดทายหลังใชชุดกิจกรรม เปนขอสอบแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก การประเมินมี 5 ดานไดแกความถูกตองของ มีคําตอบที่ถูกตองเพียงขอเดียว เกณฑการให เนื้อหา ความถูกตองในการออกเสียง ทักษะ คะแนน ตอบถูกได 1 คะแนน ตอบผิดหรือไมตอบ การนําเสนอ ความคิดสรางสรรคของผลงาน ได 0 คะแนน แบงเปน 3 ตอน ดังนี้ และการนําไปใชประโยชน แตละดานมีคะแนนเต็ม ตอนที่ 1 ใหนักศึกษาฟงบท 3 คะแนน คือ ดี = 3 คะแนน พอใช = 2 คะแนน สนทนาแลวตอบคําถามใหถูกตอง ปรับปรุง = 1 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 15 คะแนน ตอนที่ 2 ใหนักศึกษาเลือกคํา เกณฑตัดสินคุณภาพคือ 15 - 11 = ดี 10 - 6 = อานพินอินของคําศัพทใหถูกตอง พอใช 5 – 1 = ปรับปรุง ตอนที่ 3 ใหนักศึกษาตอบคําถาม 1.3.4 นําแบบประเมินความ ความรูเกี่ยวกับจังหวัดกาญจนบุรีใหถูกตอง สามารถของนักศึกษาที่พัฒนาไปใหผูเชี่ยวชาญ 1.2.3 นําแบบทดสอบที่สราง ดานการสอนภาษาจีนทั้ง 3 คน ตรวจสอบการ ขึ้นเสนอผูเชี่ยวชาญดานการสอนภาษาจีนทั้ง ใชภาษาและความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) 3 คนตรวจสอบความเหมาะสมของการใชภาษา ซึ่งไดคาเฉลี่ยอยูระหวาง 0.67 – 1.00 และความเที่ยวตรงของเนื้อหากับวัตถุประสงค 1.4 การพัฒนาแบบสอบถามเจตคติ นําความเห็นของผูเชี่ยวชาญไปหาคาดัชนีความ ของนักศึกษาที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะ สอดคลอง (IOC) ไดคาอยูระหวาง 0.67 – 1.00 ภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน 1.2.4 นําขอสอบไปใชทดสอบ มีขั้นตอนดังนี้ กับนักศึกษาที่ไมใชกลุมตัวอยาง จากนั้นนํา 1.4.1 ศึกษาวิธีการสราง แบบทดสอบไปหาคุณภาพ คัดเลือกขอสอบที่มี แบบสอบถามเจตคติจากเอกสาร ตํารา และงาน คาความยากงายระหวาง 0.50 - 0.78 จํานวน 30 ขอ วิชาการตาง ๆ เพื่อใหเหมาะกับระดับความรูภาษาจีนของนักศึกษา 138 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

1.4.2 ผูวิจัยพิจารณาวัตถุประสงค เชิงเนื้อหา ปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของ เพื่อเปนขอบเขตในการสรางแบบสอบถามและ ผูเชี่ยวชาญ และนําแบบสอบถามกลับไปให ดําเนินการสรางแบบสอบถาม ซึ่งประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญตรวจหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) 3 ตอน ดังนี้ ของขอคําถามแตละขอ ไดคาเฉลี่ยอยูระหวาง ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับ 0.67 – 1.00 ขอมูลทั่วไปของนักศึกษา ไดแก เพศ อายุ เกรด 2. การดําเนินการวิจัย ผูวิจัยไดดําเนิน เฉลี่ยสะสม สาเหตุของการเลือกเรียนภาษาจีน การวิจัยดังนี้ โดยการสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการ 2.1 การทดสอบกอนเรียนกับนักเรียน (check list) จํานวน 4 ขอ กลุมตัวอยางโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับ ทางการเรียนของชุดกิจกรรมฉบับกอนเรียน เจตคติที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะ บันทึกผลคะแนนและถือเอาคะแนนที่ไดจาก ภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน การทําแบบทดสอบเปนคะแนนกอนเรียน แบงออกเปน 3 ดานไดแก ดานความรู ดานกิจกรรม 2.2 ผูวิจัยดําเนินการทดลองโดยนํา การเรียนการสอน และดานวิธีการเรียนการสอน ชุดกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นไปใชกับนักศึกษากลุม จํานวนดานละ 10 ขอ รวมทั้งหมด 30 ขอ เปน ตัวอยางในภาคเรียนที่ 2/2559 จํานวน 4 สัปดาห แบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา สัปดาหละ 4 คาบเรียน รวม 16 คาบเรียน (rating scale) กําหนดชวงความคิดเห็นของ ในแตละคาบใหนักศึกษาทําแบบฝกหัดประจํา นักศึกษาเปน 5 ระดับคือ เห็นดวยอยางยิ่ง แตละชุด ซึ่งมีทั้งหมด 3 ชุด นําคะแนนจากแบบ

เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย และไมเห็นดวย ฝกหัดทั้งหมดไปหาประสิทธิภาพ E1 (80) อยางยิ่ง มีคะแนน 5 4 3 2 1 ตามลําดับ 2.3 หลังจากใชชุดกิจกรรมเสร็จสิ้น ตอนที่ 3 แบบสอบถามความ ใหนักศึกษานําเสนอผลงาน ผูวิจัยประเมินความ คิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเจตคติที่มีตอชุดกิจกรรม สามารถของนักศึกษาจากผลงานโดยใชแบบ การเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใช ประเมินผลงานนักศึกษา และใหนักศึกษาทํา บริบทของชุมชนทั้ง 3 ดานไดแก ดานความรู แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ดานกิจกรรมการเรียนการสอน และดานวิธี ชุดกิจกรรมฉบับหลังเรียน ผูวิจัยนําคะแนนจาก การเรียนการสอน เปนแบบสอบถามปลายเปด แบบประเมินผลงานนักศึกษาและคะแนนจาก (open ended form) ใหนักศึกษาเขียนบรรยาย การทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนฉบับ

พรรณนา หลังเรียนไปหาประสิทธิภาพ E2 (80) 1.4.3 ผูวิจัยนําแบบสอบถาม 2.4 ใหนักศึกษาทําแบบสอบถาม เสนอใหผูเชี่ยวชาญดานการสอนภาษาจีน เจตคติที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษา ทั้ง 3 คนตรวจการใชภาษาและความเที่ยงตรง จีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 139 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

3. การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยวิเคราะห หาคาสถิติพื้นฐานดวยคอมพิวเตอรโดยใช ขอมูลดังตอไปนี้ โปรแกรมสําเร็จรูป ไดแก ความถี่และรอยละ 3.1 ผูวิจัยหาประสิทธิภาพของชุด ตอนที่ 2 แบบสอบถามเจตคติเปนแบบมาตราสวน กิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการ ประมาณคา วิเคราะหหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบน โดยใชบริบทของชุมชนกับนักศึกษาที่ไมใชกลุม มาตรฐาน ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามความคิดเห็น

ตัวอยาง จํานวน 9 คน โดยใชสูตร E1/E2 ตาม เพิ่มเติมของนักศึกษา ผูวิจัยนําเสนอในรูปแบบ เกณฑมาตรฐาน 80/80 ตามแนวคิดของ ชัยยงค การวิเคราะหพรรณนาความคิดเห็นของนักศึกษา พรมหมวงศ (Brahmawong, 2013) ที่กลาวถึง

เกณฑประสิทธิภาพชุดกิจกรรม E1/E2 ควรเปนไป สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ตามเกณฑ 80/80 สําหรับทักษะพิสัย หลังจาก สรุปผลการวิจัย ไดชุดกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่ 1. ผูวิจัยหาคาประสิทธิภาพของชุด กําหนดแลว จึงนําชุดกิจกรรมไปทดลองใชกับ กิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการ กลุมตัวอยางทั้ง 16 คน และวิเคราะหหาประสิทธิภาพ โดยใชบริบทของชุมชนกับนักศึกษาที่ไมใชกลุม ของชุดกิจกรรม ตัวอยาง โดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ซึ่งเปน 3.2 วิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม ทางการเรียนของนักศึกษากลุมตัวอยางที่ใชชุด บริการการทองเที่ยวทั้งหมด 9 คน ดําเนินการ กิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการ ทดลองใชชุดกิจกรรมกับนักศึกษาในชวงตน โดยใชบริบทของชุมชนกอนและหลังเรียน คํานวณ ภาคการศึกษา 2/2559 จํานวน 4 สัปดาห สัปดาห เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนนักศึกษา ละ 4 คาบ รวม 16 คาบ ไมรวมการทดสอบ กลุมตัวอยางกอนเรียนและหลังเรียนโดยใช ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียน โปรแกรมสําเร็จรูปคํานวณหาคาเฉลี่ยรอยละ หลังจากเสร็จสิ้นการทดลองโดยใชชุดกิจกรรม 3.3 วิเคราะหขอมูลจากแบบประเมิน แลว ผูวิจัยนําผลคะแนนจากการทําแบบทดสอบ ผลงานของนักศึกษา นําขอมูลที่ไดจากแบบ ระหวางเรียน คะแนนผลงานนักศึกษาและ ประเมินผลงานนักศึกษามาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย คะแนนสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หลังเรียนมาหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม 3.4 วิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม การเรียนรูทักษะภาษาจีนโดยใชบริบทของชุมชน เจตคติของนักศึกษาที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรู ไดคาประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80 หลังจากที่ ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของ ชุดกิจกรรมผานเกณฑมาตรฐานแลว ผูวิจัยไดนํา ชุมชน ในการวิเคราะหแบบสอบถามตอนที่ 1 ชุดกิจกรรมไปใชจริงกับนักศึกษากลุมตัวอยาง คือ คือขอมูลทั่วไป ใชสถิติเชิงพรรณนาเพื่ออธิบาย นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนที่ลงทะเบียนเรียน ขอมูลทั่วไปของนักศึกษากลุมตัวอยาง วิเคราะห รายวิชาภาษาจีนระดับกลาง ในภาคการศึกษา 140 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

2/2559 ทั้งหมด 16 คน ไดผลการวิเคราะห (E2) มีคาเทากับ 81.25 แสดงวาชุดกิจกรรมการ ดังตารางที่ 1 เรียนรูทักษะภาษาจีนโดยใชบริบทของชุมชน จากตารางที่ 1 พบวา ชุดกิจกรรมการ มีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80 เรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใช 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา

บริบทของชุมชนมีคาประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ กลุมตัวอยางที่เรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู 80.46/81.25 หมายความวา ประสิทธิภาพของ ทักษะภาษาจีนโดยใชบริบทของชุมชน มีผลสัมฤทธิ์

กระบวนการเรียน(E1) ดวยชุดกิจกรรมมีคา ทางการเรียนเปรียบเทียบกอนและหลังเรียน เทากับ 80.46 และประสิทธิภาพของผลลัพธ ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใช บริบทของชุมชนของนักศึกษากลุมตัวอยาง

จํานวน คา ชุดกิจกรรม คะแนนเต็ม คะแนนรวม E /E นักศึกษา ประสิทธิภาพ 1 2

คะแนนของกระบวนการ 16 A = 40 ∑X = 515 E1 = 80.46

คะแนนของผลลัพธ 16 B = 45 ∑Y = 585 E2 = 81.25 80.46/81.25

ตารางที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษากอนและหลังเรียนที่เร ียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู ทักษะภาษาจีนโดยใชบริบทของชุมชนของนักศึกษากลุมตัวอยาง

คะแนนเฉลี่ย รอยละของ คะแนนเฉลี่ย รอยละของคะแนน รอยละของคะแนน คะแนนเต็ม กอนเรียน คะแนนกอนเรียน หลังเรียน หลังเรียน ความกาวหนา 30 18.31 61.04 24.38 81.25 20.21 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 141 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จากตารางที่ 2 พบวานักศึกษากลุม รอยละ 62.50 เกรดเฉลี่ยระหวาง 2.51 - 3.00 ตัวอยางไดคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเทากับ 18.31 มี 1 คนคิดเปนรอยละ 6.25 และเกรดเฉลี่ย 2.01 - คิดเปนรอยละ 61.04 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 2.50 มี 5 คนคิดเปนรอยละ 31.25 สาเหตุที่ เทากับ 24.38 คิดเปนรอยละ 81.25 คะแนน นักศึกษาเลือกเรียนภาษาจีนสวนใหญเลือกเรียน ความกาวหนาของนักศึกษาคิดเปนรอยละ 20.21 ภาษาจีนเนื่องจากตองการประกอบอาชีพที่ใช แสดงถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะภาษาจีน ภาษาจีน ซึ่งมีจํานวน 10 คนคิดเปนรอยละ 62.50 หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ตองการศึกษาตอในประเทศจีน 3 คน คิดเปน 3. จากแบบสอบถามเจตคติของนักศึกษา รอยละ 18.75 ตองการศึกษาวัฒนธรรมจีน 2 คน ที่มีตอการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีน คิดเปนรอยละ 12.50 และเลือกเรียนเนื่องจาก แบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชน พบวา ความตองการของครอบครัว 1 คนคิดเปนรอยละ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปนักศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิง 6.25 จํานวน 15 คนคิดเปนรอยละ 93.75 ที่เหลือเปน ผลการวิเคราะหแบบสอบถามตอนที่ 2 เพศชายจํานวน 1 คนรอยละ 6.25 นักศึกษาแบง เจตคติของนักศึกษาที่มีตอชุดกิจกรรมการเรียนรู เปน 2 ชวงอายุ อายุ 18 - 20 ปมีจํานวน 13 คน ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของ คิดเปนรอยละ 81.25 และอายุมากกวา 20 ป ชุมชนทั้ง 3 ดานไดแก ดานความรู ดานกิจกรรม มีจํานวน 3 คนคิดเปนรอยละ 18.75 เกรดเฉลี่ย การเรียนการสอน และดานวิธีการเรียนการสอน สวนใหญมากกวา 3.00 ซึ่งมีจํานวน 10 คน คิดเปน สรุปผลการวิเคราะหดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 คาเฉลี่ยเจตคติของนักศึกษาที่มีตอการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการ โดยใชบริบทของชุมชนของนักศึกษากลุมตัวอยาง

รายการประเมิน คาเฉลี่ย ระดับ S.D. - ดานความรู 4.56 มากที่สุด 0.52 - ดานกิจกรรมการเรียนการสอน 4.33 มาก 0.55 - ดานวิธีการเรียนการสอน 4.39 มาก 0.53 รวม 4.43 มาก 0.54 142 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

จากตารางที่ 3 พบวาเจตคติของนักศึกษา ไดฝก ไดรับความรูเพิ่มเติมมากขึ้น” “มีกิจกรรม ที่มีตอการเรียนโดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะ หลายรูปแบบ ไมนาเบื่อ ผูเรียนมีความสุข” ภาษาจีนโดยใชบริบทของชุมชนทั้ง 3 ดาน ดานวิธีการเรียนการสอน นักศึกษา เฉลี่ยรวมเทากับ 4.43 อยูในระดับมาก ซึ่งแบง แสดงความคิดเห็นวา “วิธีการสอนทําใหผูเรียน เปนคาเฉลี่ยดานความรู ไดคาเฉลี่ย 4.56 ดาน กระตือรือรนในการเรียนมากขึ้น สนุกและได กิจกรรมการเรียนการสอนไดคาเฉลี่ย 4.33 และ ความรู” “มีการนําแผนที่ ภาพประกอบของ ดานวิธีการเรียนการสอนไดคาเฉลี่ย 4.39 ขอที่ สถานที่จริง และสื่อที่หลากหลาย ทําใหดูนา นักศึกษาเห็นดวยมากที่สุดคือ ดานความรูใน สนใจ” “วิธีสอนขาใจงาย สามารถหาแหลงขอมูล ประเด็นนักศึกษาไดฝกทักษะกระบวนการทาง เพิ่มเติมไดจากแหลงชุมชนใกลเคียง” “สอนสนุก” ภาษามากกวาการเรียนแบบเดิม นอกจากนี้ “นักศึกษากระตือรือรนในการเรียนมากขึ้น สนุก ในแบบสอบถามปลายเปดตอนที่ 3 สอบถาม ไดรับความรูดีกวานั่งฟงบรรยาย” “อาจารยสอน ความคิดเห็นเพิ่มเติมตอการเรียนโดยใชชุด อยางเต็มที่ ไดรับความรูเยอะมากเกี่ยวกับจังหวัด กิจกรรม นักศึกษาไดแสดงความคิดเห็นตอทั้ง กาญจนบุรี เพียงพอที่จะนําไปแนะนําใหเพื่อน 3 ดาน ดังนี้ คนจีนไดรูจักประเทศไทย” “เนื้อหาที่สอนมีความ ดานความรู เชน “ไดรับความรูที่นอกเหนือ เหมาะสม นักศึกษาเขาใจงาย และอยากเรียน จากในหนังสือ และสามารถนําไปใชไดจริง” แบบนี้” “เปนการเพิ่มความรูใหมใหกับนักศึกษา ใหนักศึกษา จากความคิดเห็นของนักศึกษาขางตน กลาพูด กลาแสดงออกหนาชั้นเรียนมากขึ้น” จะเห็นวานักศึกษาเห็นดวยกับการเรียนการสอน “มีความรูเกี่ยวกับชุมชนที่เปนภาษาจีนมากขึ้น ที่ใชชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนโดยใช และนําไปใชได” “ไดรูคําศัพทที่เกี่ยวกับชุมชน บริบทของชุมชน เพราะไดรับความรูที่เกี่ยวของ ทําใหมีความสนใจเรียนภาษาจีนมากขึ้น” “ไดรู กับชุมชนของตัวเอง เปนความรูที่อยูนอกเหนือ คําศัพทภาษาจีนที่ใกลตัวมากขึ้น” เปนตน จากในหนังสือ สามารถพัฒนาทักษะภาษาจีน ดานกิจกรรมการเรียนการสอน นักศึกษา หลายดานของตนเองใหดีขึ้น เรียนสนุก รูสึก ไดใหความคิดเห็นวา “มีกิจกรรมใหรวมกันปฏิบัติ กลาพูด กลาแสดงออกหนาชั้นเรียนมากขึ้น กับเพื่อน ทําใหไมนาเบื่อ มีการสอบกอนและ ไดรวมกันปฏิบัติกิจกรรมกลุมมีความสุขในการ หลังเรียน วัดคะแนนความรู ทําใหนักศึกษาตั้งใจ เรียนรวมกับเพื่อน มีการใหนักศึกษาลงพื้นที่ เรียนมากขึ้น” “มีความสุขที่ไดรวมกันคิด อาน สํารวจผลิตภัณฑของชุมชน ซึ่งเปนกิจกรรม และทําผลงานรวมกับเพื่อน” “กิจกรรมดีมาก ที่สามารถเปดโลกทัศนใหกับนักศึกษาได ทําใหไดไปทองเที่ยว ลงพื้นที่ดูผลิตภัณฑของ นอกจากนี้ยังสามารถนําความรูไปใชไดจริงและ ชุมชนวามีอะไรบาง ไดเห็นวาชุมชนของเราก็มี สามารถแนะนําใหเพื่อนชาวจีนไดรูจักจังหวัด ของดีเหมือนกัน” “อาจจะยากนิดหนอยแตทําให กาญจนบุรีดวย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 143 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

อภิปรายผลการวิจัย แสดงวา ชุดกิจกรรมที่สรางขึ้นสามารถสงเสริม 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษา ทักษะการเรียนรูภาษาจีนของนักศึกษาใหมาก จีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชนมีคา ขึ้นได เนื่องจากชุดกิจกรรมเปนการบูรณาการ

ประสิทธิภาพเทากับ 80.46/81.25 (E1/E2) ที่เนนการปฏิบัติจริง ใหนักศึกษาฝกทักษะตาง ๆ ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนด 80/80 ทั้งเนื่องจาก ทั้งการฟง พูด อาน เขียน การแปล และมีเนื้อหา ชุดกิจกรรมที่สรางขึ้นมีขั้นตอนในการสรางอยาง ที่เกี่ยวของกับชุมชนใกลตัวนักศึกษาทั้งสภาพ เปนระบบ และไดผานการตรวจสอบความถูกตอง จังหวัด ที่ตั้ง ชื่ออําเภอ สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และเหมาะสมจากผูเชี่ยวชาญ 3 คนในการตรวจ สถานที่ทองเที่ยว ผลิตภัณฑที่มีชื่อเสียงของ ชุดกิจกรรมทั้งดานแผนการจัดการเรียนรู ชุมชน ทําใหนักศึกษาเกิดความกระตือรือรน ดานคําแนะนําสําหรับผูสอน ดานเนื้อหา และ ในการเรียน เพราะสามารถนําความรูไปใชไดจริง ดานแบบฝกหัด โดยไดผลการประเมินภาพ และจากการสังเกตการปฏิบัติกิจกรรม พบวา รวมอยูในระดับเหมาะสมมากที่สุด สอดคลอง นักศึกษาไดเรียนรูไปตามขั้นตอนการปฏิบัติ กับงานวิจัยของเสี่ยวซิน เชอ (She, 2011) ใหความรวมมือเปนอยางดี มีความสนุกสนานกับ ที่พัฒนาชุดการเรียนรูภาษาจีนโดยใชบริบท กิจกรรมและการทําแบบฝกหัด นักศึกษาไดใช ของทองถิ่นสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ความสามารถอยางเต็มที่จนบรรลุเปาหมายของ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร กิจกรรมที่ไดกําหนดไว ถึงแมจะมีนักศึกษาบางคน โดยมีขั้นตอนการสรางที่เปนระบบและผานการ ที่การเรียนออน ผูวิจัยจึงตองสนใจ คอยดูแล ตรวจสอบความถูกตองจากอาจารยที่ปรึกษา ชวยเหลือในการประกอบกิจกรรม ใหกําลังใจ และผูเชี่ยวชาญทั้งดานเนื้อหา หลักสูตร และ ซักถามปญหา โดยนักศึกษาก็แสดงความตั้งใจ แผนการจัดการเรียนรู ตลอดจนผูเชี่ยวชาญ และกระตือรือรน จนสามารถทํากิจกรรมสําเร็จ ทางดานภาษาจีน ปรับปรุงแกไขขอบกพรอง ลุลวงดวยดีพรอมเพื่อน นอกจากนี้นักศึกษา จนมีความสมบูรณ และนําไปใชทดลอง ซึ่งผล ยังฝกการทํางานเปนกลุม ชวยกันคิด ชวยกัน การหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรูมีคาเทากับ แกไขปญหา ยอมรับฟงความคิดเห็นที่แตกตาง

81.20/81.71(E1/E2) สูงกวาเกณฑที่กําหนด ทําใหนักศึกษาเรียนอยางสนุกสนาน ทุกคน 80/80 มีสวนรวมในกิจกรรม สิ่งเหลานี้ชวยสงเสริม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ใหนักศึกษาสนุกกับการเรียน ทําใหผลสัมฤทธิ์ กลุมตัวอยางที่เรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู ทางการเรียนสูงขึ้นสอดคลองกับงานวิจัยของ ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบท Yang (2010) ที่ไดศึกษาการพัฒนาชุดกิจกรรม ของชุมชนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีน การเรียนภาษาจีนขั้นพื้นฐาน พบวาผลสัมฤทธิ์ หลังเรียนสูงกวากอนเรียน โดยคะแนนความ ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรม กาวหนาของนักศึกษาคิดเปนรอยละ 20.21 การเรียนภาษาจีนขั้นพื้นฐานหลังเรียนสูงกวา 144 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

กอนเรียน เพราะชุดกิจกรรมเนนกิจกรรมที่ ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของ หลากหลาย ใชสื่อกระตุนใหเกิดการเรียนรู ไดแก ชุมชน ผูสอนตองศึกษาคูมือครู สื่อประกอบ ภาพ การแสดงบทบาทสมมติ สถานการณจริง การสอนตองเตรียมใหพรอม เพื่อทําใหการ จึงทําใหนักเรียนสนุกสนานกับการเรียน อยากพูด จัดการเรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงคและมี และเรียนรูภาษาจีน นักเรียนไดปฏิบัติจริงและ ประสิทธิภาพ มีสวนรวมในการเรียนรู 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 3. นักศึกษาที่เรียนดวยชุดกิจกรรม 2.1 ควรมีการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบ การเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใช นักศึกษาที่เรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรูทักษะ บริบทของชุมชนมีเจตคติตอการใชชุดกิจกรรม ภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใชบริบทของชุมชนกับ เฉลี่ย 4.43 อยูในระดับมาก อาจเนื่องมาจาก นักเรียนที่เรียนดวยแบบเรียนแบบเดิม เปรียบเทียบ ชุดกิจกรรมมีการสงเสริมทั้งดานความรูที่เปน คาความตางของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประโยชน มีเนื้อหาที่เกี่ยวของกับชุมชนของ 2.2 ควรเพิ่มขอมูลของชุมชนใน ตนเอง ไดฝกทักษะภาษาจีนหลายดานจากการ ดานอื่น เพื่อใหเนื้อหาของชุดกิจกรรมมีความ เรียนแบบบูรณาการและมีความรูที่กวางขวาง สมบูรณมากขึ้น มากขึ้น สวนดานกิจกรรมการเรียนการสอน 2.3 ควรมีการสรางชุดกิจกรรมเพื่อ สามารถชวยใหนักศึกษาใชภาษาจีนที่เกี่ยวของ พัฒนาทักษะการเรียนรูของนักศึกษาในดานอื่น ๆ ในชีวิตประจําวัน และสามารถปรับเพื่อใชในการ ประกอบอาชีพไดในอนาคต วิธีการสอนทีเนนให REFERENCES นักศึกษาปฏิบัติจริงทําใหเขาใจภาษาจีนดีขึ้น Brahmawong, C. (2013). Developmental มีความสุขที่ไดฝกการใชภาษาจีนจากแหลง testing of media and instructional ความรูในชุมชน package. Silpakorn Education Research Journal. 5(1), 1 - 20. (in Thai) ขอเสนอแนะ Dachakupt, P. (2013). 5C skills for developing 1. ขอเสนอแนะทั่วไป unit of learning and standard of learning 1.1 การจัดกิจกรรมการสอนดวยชุด management. 7th edition. Bangkok: กิจกรรมการเรียนรูทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการ Chulalongkorn University. (in Thai) โดยใชบริบทของชุมชน ผูสอนควรใหความสนใจ Dai, Y. (2014). The application of situational นักศึกษาอยางทั่วถึงโดยเฉพาะนักศึกษาที่การ teaching method in Chinese listening เรียนออน เพื่อใหนักศึกษาสามารถเรียนรูและ comprehension teaching. Retrieved ทํากิจกรรมไดสําเร็จพรอมเพื่อนคนอื่น January 28, 2017, from http://www. 1.2 กอนการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู docin.com/p-2026799647.html Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 145 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Meng, Q. (2011). The development of Rajabhat Rajanagarindra University. instructional packages on beginning Master of Education Program in Chinese learning for prathomsuksa Curriculum and Instruction Rajabhat IV students in Thailand. Journal of Rajanagarindra University. (in Thai) education and social development. Sintapanon, S. (2015). Learning management 7(2), 72 - 84. (in Thai) system for new teacher to develop Pi, S. (2014). Case analysis on situational learners’s skills in 21st century. teaching in curriculum of teaching Bangkok: 9119 Technic Printing Chinese as a foreign language. Limited Partnership. Retrieved February 20, 2017, Yang, D. (2010). Development of basic from http://www.docin.com/ Chinese language learning activities p-1188203295.html package for prathomsuksa IV She, X. (2011). The development of a students. Journal of Education and Chinese instructional package using Social Development. 6(1), 37 - 48. local contexts for undergraduate (in Thai) students in the Faculty of Education at 146 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Research Article

การจัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชน กลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม SUSTAINABLE ECONOMIC MANAGEMENT: A CASE STUDY OF COMMUNITY ENTERPRISE OF MAHASAWAT AGRICULTURAL HOUSEWIFE GROUP, PHUTTHAMONTHON DISTRICT, NAKHONPATHOM PROVINCE เพ็ญศรี ฉิรินัง1* อรุณ รักธรรม2 และ สมพร เฟองจันทร3 Pensri Chirinang1*, Arun Raktham2 and Somporn Fuangchan3

วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2, 3 College of Innovation Management, Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Bangkok, Thailand1*, 2, 3

[email protected]*

บทคัดยอ งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาการจัดการวิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกร มหาสวัสดิ์ และ 2) ศึกษาแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาการจัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ของวิสาหกิจ ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ วิธีดําเนินการวิจัยเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาขอมูลจาก เอกสาร แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการสังเกตการณ และการ สัมภาษณเชิงลึก ผูใหขอมูลสําคัญจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งในระดับตําบล ระดับหมูบานและ ชุมชน และสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ จํานวนทั้งสิ้น 14 คน แลวทําการวิเคราะหตีความ แบบอุปนัย ผลการวิจัยพบวา 1) การจัดการวิสาหกิจชุมชนดานการวางแผน ใชหลักการการมีสวนรวม ของชุมชน ดานการจัดองคการ พบวามีการจัดโครงสรางในการบริหารงาน และมีการกําหนดระเบียบ ขอบังคับใชในหมูสมาชิก พบวาผูนําเนนบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และดานการควบคุม พบวา มีการทําบัญชีรายรับ-รายจาย และมีบุคคลภายนอกจากหนวยงานรัฐเขามาตรวจสอบ และ 2) แนวทาง ที่เหมาะสมในการพัฒนาการจัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ประกอบดวย 5 แนวทาง ไดแก (1) การคนหา Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 147 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ศักยภาพ บริบท ภูมิปญญา ขอมูลพื้นฐานของชุมชนและวิสาหกิจชุมชน (2) การพัฒนาการบริหาร (3) การพัฒนาผลิตภัณฑ (4) การพัฒนาการตลาดและกิจกรรม และ (5) การพัฒนาเครือขาย

คําสําคัญ: การจัดการ วิสาหกิจชุมชน ความยั่งยืน

ABSTRACT This research aimed 1) to study the management of the community enterprise of Mahasawat Agricultural Housewife Group and 2) to study appropriate approaches to sustainable economic management of Mahasawat Agricultural Housewife Group. The qualitative research methodology was utilized by the data obtained from related documents, Data was collected by observation and in-depth interviews with key informants from related organizations at the district level, village and community level, and members of Mahasawat Agricultural Housewife Group; 14 people, and analyze the interpretation analytic induction. The research found that 1) according to the management of the community enterprise in planning, they used principle of community participation, organizing, management structure and there are rules and regulations to apply among members ; in leading, the administration structure of good governance and in controlling, accounting for income – expenditure and government agencies checking and 2) the appropriate approaches to sustainable economic management consisted of 5 approaches; (1) to finding the potential, context, wisdom, and basic information of the community and the community enterprise; (2) administration development; (3) the product development; (4) market and activities administration and (5) the network development.

Keywords: management, community enterprise, sustainable

บทนํา แนวความคิดเรื่องเศรษฐกิจชุมชนแบบ แนวทางในการปฏิบัติคลายคลึงกันเปนอยางมาก พึ่งตนเองในชนบท เปนกระแสในสังคมไทยครั้งแรก อาทิเชน 1) การพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ และ ภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ความเปนอยูของประชาชนในชุมชนชนบท พระราชทานพระราชดํารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง 2) การใหความสําคัญกับการผลิตในภาค เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 โดยมีหลักคิดและ การเกษตร 3) การเนนความพอเพียงและ 148 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การพยายามพึ่งตนเอง เพื่อลดความเสี่ยงจาก เศรษฐกิจแบบเสรีโดยทั่วไป ที่เนนการแขงขัน ปจจัยภายนอกตาง ๆ 4) การใชศักยภาพทางดาน และผลตอบแทนสูงสุดสวนบุคคลเปนสําคัญ ตาง ๆ ของตนเองหรือที่มีอยูภายในชุมชนเปนหลัก นอกจากนี้การดําเนินกิจกรรมของเศรษฐกิจ 5) การเนนกิจกรรมการผลิต มากกวาการซื้อขาย ชุมชน มีความสําคัญในแงของการดําเนินการ แลกเปลี่ยน และ 6) มีการนําความรู ภูมิปญญา ที่งายกวา เพราะจากแนวทางในการพัฒนาของ ทองถิ่นเขามาบูรณาการเพื่อการพัฒนากิจกรรม รัฐบาลที่ผานมามักจะดําเนินแบบขางบนลงสู ตาง ๆ อยางสรางสรรค เศรษฐกิจชุมชนเปนการ ขางลาง คือ จากหนวยงานของทางราชการ หรือ จัดการทุนของชุมชนอยางสรางสรรคเพื่อการ การวางแผนจากสวนกลาง ไปสูขางลาง คือ ภาค พึ่งตนเอง ซึ่งแตกตางจากธุรกิจชุมชนที่เนนการ ประชาชน ซึ่งในเชิงทฤษฎี การพัฒนาในแนวทาง จัดการเงินเพื่อเปาหมายใหไดกําไรในเชิงธุรกิจ นี้ มักจะไมคอยเหมาะสมและประสบความสําเร็จ เปนสําคัญ ซึ่งกําไรอาจไมใชเปาหมายสําคัญของ ไดยาก แตเศรษฐกิจชุมชนจะเปนการดําเนินการ การประกอบการของชุมชน ทั้งนี้เพราะทุนของ แบบขางลางขึ้นสูขางบน จึงเปนการดําเนินการ ชุมชนจะรวมทุกอยางที่มีอยูในชุมชน ซึ่งบางอยาง ที่งายกวา นอกจากนี้ยังมีโอกาสสําเร็จสูงกวา อาจยังพัฒนาไมเต็มศักยภาพ เชน ทุนธรรมชาติ เพราะปจจัยในการพัฒนาตาง ๆ มีอยูในทองถิ่น ทุนที่เปนผลผลิต ทุนความรู ภูมิปญญา ความ และความรวมมือจากคนในทองถิ่นเอง เพราะการ ไววางใจ ความเปนญาติพี่นองของผูคนในชุมชน วางแผนจากสวนกลาง นาจะมีความรูความเขาใจ เปนตน การจัดการทุนเหลานี้ตองจัดการโดยเอา เกี่ยวกับศักยภาพของทองถิ่น และทุนของชุมชน ภูมิปญญาดั้งเดิมของชุมชนมาผสมผสานกับ ในทองถิ่นตาง ๆ นอยกวา นอกจากนี้การมุงพัฒนา ความรูหรือเทคโนโลยีสมัยใหม เปนไปอยาง เศรษฐกิจชุมชน ยังมีจุดแข็งที่เปนปจจัยที่เอื้อ สรางสรรค มีความแตกตางและมีนวัตกรรมที่ อํานวยตอการประสบความสําเร็จ ในการพัฒนา เหมาะสม ไมใชการเลียนแบบ มีเปาหมายเพื่อ 4 ดาน คือ 1) คนในชุมชนทองถิ่นจะมีจิตสํานึก การพึ่งพาตนเองของชุมชนใหมีชีวิตความเปนอยู รวมกัน เพราะเปนคนในชุมชนเดียวกัน มีความ ที่ดีขึ้น (Education, Ministry, 2002) เปนมาและดํารงอยูดวยกัน 2) มีความเอื้ออาทร การดําเนินกิจกรรมของเศรษฐกิจชุมชน และใหความชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน จะเนนในเรื่องของความรวมมือมากกวาการ เพราะเปนเอกลักษณของสังคมในทองถิ่นอยูแลว แขงขัน จึงเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เนนความ ดังนั้นการดําเนินการใด ๆ ในชุมชนจึงประสบ สัมพันธในทองถิ่น เพื่อเปนฐานในการพัฒนา ความสําเร็จไดงาย 3) การมีปฏิสัมพันธระหวาง อยางยั่งยืนในระยะยาว ดังนั้น จึงสามารถบรรลุ บุคคลและกลุมบุคคลเปนไปตามธรรมชาติและ เปาหมายการพัฒนาทั้ง 2 ดาน คือ ทั้งการพัฒนา ดวยความสมัครใจ เพราะไมใชมาจากบังคับหรือ เศรษฐกิจสวนบุคคล และการพัฒนาชุมชน สั่งการ และ 4) การบริหารจัดการงายกวา เพราะ ไปพรอม ๆ กัน ซึ่งแตกตางจากแนวคิดของระบบ เริ่มจากพื้นที่ชุมชนที่มีคนไมมากนัก การบริหาร Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 149 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จัดการจึงงายกวา และถาพื้นที่หนึ่งประสบความ เสริมไอโอดีน สวนผลิตภัณฑที่กลุมแมบาน สําเร็จ จะเกิดการกระจายหลักการและแนวคิด ไดรับการสงเสริมและอบรมจากสหกรณปฏิรูป ออกไป (Office of the National Economic and ที่ดินในการแปรรูปขาว โดยนําขาวหอมมะลิ Social Development Board, Prime Minister’s ซอมมือมาทําเปนแผนขาวตัง ซึ่งไดรับการคัดสรร Office, 2012) สุดยอด “หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ” ของจังหวัด จากการที่กลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับการ นครปฐมเชนเดียวกัน และไดรับการคัดสรรเปน สนับสนุนจากภาครัฐบาล กอใหเกิดการพัฒนา ผลิตภัณฑดีเดน 5 ดาว ระดับประเทศประจํา ปจจัยตาง ๆ ที่สงผลใหกลุมแมบานของชุมชน ป 2547 ประเภทอาหารตามโครงการคัดสรร มีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง รวมทั้งกลุม สุดยอดหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ รวมทั้งยังไดรับ แมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ ตําบลมหาสวัสดิ์ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3 ในการออกแบบบรรจุ อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ไดมีการรวมตัว ภัณฑ สําหรับผลิตภัณฑขาวตังถือเปนผลิตภัณฑ เพื่อเขารับการอบรมโครงการตาง ๆ เพื่อนํามา หลักของกลุม และไดนําไปจําหนาย ณ ประเทศ พัฒนา ผลิตภัณฑของชุมชน โดยกลุมแมบาน เยอรมัน โดยกรมสงเสริมการเกษตรเปนหนวย ไดรวมตัวและกอตั้งขึ้นเมื่อป 2520 และมีการ งานที่สนับสนุน ในปจจุบันทางกลุมแมบาน พัฒนากลุมและผลิตภัณฑมาถึงปจจุบัน ซึ่งได เกษตรกรมหาสวัสดิ์ไดมีจํานวนแมบาน 33 คน รับการคัดสรรสุดยอด “หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ” มียอดขายในป 2547 เฉพาะผลิตภัณฑ ขาวตัง ของจังหวัดนครปฐม และกลุมแมบานเกษตรกร ซอมมือเฉลี่ยประมาณ 2,600,000 บาท ซึ่งทาง มหาสวัสดิ์ไดเขาจดทะเบียนเปนวิสาหกิจชุมชน กลุมไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่องสรางความ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2549 เขมแข็งใหกลุมจนประสบความสําเร็จ จึงนับ ภาพรวมของกรณีศึกษาในครั้งนี้ จะเนน ไดวากลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์เปนกลุม ไปที่ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ ซึ่งได วิสาหกิจชุมชนที่ประสบความสําเร็จอยางดี รวมตัวและกอตั้งเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2520 จาก มีการเจริญเติบโตอยางคอยเปนคอยไป เปนขั้น การรวมตัวของสมาชิกในหมูบาน จํานวน 20 คน เปนตอนมีความมั่นคง สมควรจัดเปนตนแบบ โดยมีนางปราณี สวัสดิ์แดง เปนประธาน เริ่มจาก ของวิสาหกิจชุมชนที่ดี จึงนํามาถอดบทเรียน การแปรรูป กลวย และถั่วเคลือบช็อกโกแลต เพื่อขยายผลสูวิสาหกิจชุมชนหรือกลุมเกษตรกร แตไมคอยประสบผลสําเร็จเทาที่ควร จึงไดเปลี่ยน อื่น ๆ ได ไปแปรรูปผลผลิตเกษตร ตามฤดูกาล ไดแก ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ จึงใหความ ผลไมหยี ซึ่งไดรับการคัดสรรเปนสุดยอดหนึ่ง สนใจที่จะทําการศึกษาในประเด็นกระบวนการ ตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของจังหวัดนครปฐม ทางกลุม รวมกลุม และ การดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชน แมบานยังไดเขารวมโครงการ Think Earth รณรงค ที่กอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง ขจัดโรคขาดสารไอโอดีน ในการผลิตไขเค็ม ของกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ อําเภอ 150 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เพื่อพิจารณาวาการ แบบสัมภาษณเชิงลึกกับผูใหขอมูลสําคัญที่รู เจริญเติบโตขององคกรกลุมแมบานเกษตรกร เรื่องราวเปนอยางดี จากหนวยงานที่เกี่ยวของ มหาสวัสดิ์ และกระบวนการเจริญเติบโตของ ในระดับตําบล ระดับหมูบานและชุมชน และ องคกรดังกลาวเปนมาอยางไร ทั้งนี้จะไดนํา สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ จํานวน ไปสูแนวทางในการเสนอแนะและขยายผลไปสู ทั้งสิ้น 14 คน การพัฒนาวิสาหกิจชุมชุนในพื้นที่อื่น ๆ ของ 3. ขอบเขตดานพื้นที่ ไดแก พื้นที่ตําบล ประเทศไทยตอไป มหาสวัสดิ์ จังหวัดนครปฐม

วัตถุประสงคของการวิจัย ระเบียบวิธีการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการจัดการวิสาหกิจชุมชน ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ อําเภอพุทธมณฑล การวิจัยครั้งนี้มีผูใหขอมูลในการศึกษา จังหวัดนครปฐม ซึ่งเปนผูใหขอมูลสําคัญ จํานวน 14 คน โดยแบง 2. เพื่อศึกษาแนวทางที่เหมาะสมใน เปน 3 กลุม ดังนี้ การพัฒนาการจัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ของ 1. เจาหนาที่ภาครัฐ ประกอบดวย วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ 1.1 นายกองคการบริหารสวน อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ตําบลมหาสวัสดิ์ ปลัดองคการบริหารสวนตําบล มหาสวัสดิ์ หัวหนาสวนสวัสดิการสังคม เจาหนาที่ ขอบเขตการวิจัย พัฒนาชุมชน ซึ่งเปนผูใหการสงเสริมและ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ สนับสนุนผลงานของกลุมแมบานเกษตรกร เก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีการสังเกตการณ และ มหาสวัสดิ์โดยการสงเขาประกวด จนผลงาน การสัมภาษณเชิงลึก โดยมีขอบเขตการวิจัยดังนี้ ไดรับรางวัลชนะเลิศระดับประเทศ จํานวน 5 คน 1. ขอบเขตดานเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้ 1.2 กํานัน และผูใหญบานหมู 3 ศึกษาการจัดการวิสาหกิจชุมชน 4 ดาน ประกอบ ซึ่งเปนผูที่มีบทบาทดานการสงเสริมอาชีพ ดวย การวางแผน การจัดองคกร การนําและ ซึ่งหมายถึง การจัดใหราษฎรประกอบอาชีพ การควบคุม รวมทั้งแนวทางที่เหมาะสมในการ เปนหลักแหลง สามารถเพิ่มพูนรายไดใหสูงขึ้น พัฒนาการจัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ของ ขยายการผลิตใหมากแขนงขึ้นไป โดยมุงในทาง วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ สงเสริมอาชีพที่มีอยูแลวเปนสําคัญ จํานวน 2 คน อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2. พระสงฆ ไดแก เจาอาวาสวัด 2. ขอบเขตประชากร การวิจัยครั้งนี้ สุวรรณาราม ซึ่งมีบทบาทดานการพัฒนาชีวิต ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชรูปแบบการวิจัย ในชุมชน โดยการใหความรูเกี่ยวกับการดําเนิน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 151 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ชีวิตตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และ สวนที่ 2 ดานแบบแผนการกระทําหรือ การดํารงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดาน กิจกรรม ไดแก กระบวนการผลิต การแลกเปลี่ยน การเปนแบบอยางที่ดีในการนําแนวคิดเศรษฐกิจ และการบริโภค พอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาประยุกตใช สวนที่ 3 ดานการใหคุณคาหรือความหมาย ในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของวัด และดานการ ไดแก ภูมิปญญา การเรียนรู และเพื่อนบาน สงเสริม สนับสนุน ประสานงาน จากภาคตาง ๆ สวนที่ 4 ดานความสัมพันธ ไดแก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ผูนําความขัดแยง ผูมีอํานาจหรือกลุมอิทธิพล 3. สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร การรวมกลุม มหาสวัสดิ์ บุคคลเหลานี้เปนผูที่ปฏิบัติงานใน สวนที่ 5 ดานองคประกอบของ วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ สิ่งแวดลอม ไดแก สภาพภูมิประเทศและการ อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมโดยตรง ตั้งถิ่นฐานในชุมชน เปนการประกอบการโดยชุมชนที่มีสมาชิกในชุมชน 2. การสัมภาษณเชิงลึก โดยกอนที่ เปนเจาของปจจัยการผลิตทั้งดานการผลิต การคา จะนําแบบสัมภาษณไปใชผูวิจัยไดทําการ และการเงิน และตองการใชปจจัยการผลิตนี้ใหเกิด ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือการวิจัย ดวยการ ดอกผลทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ดานเศรษฐกิจ ใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาขอคําถามในการสัมภาษณ คือ การสรางรายไดและอาชีพ ดานสังคม คือ การ วาครอบคลุมเนื้อหาครบถวน ขอคําถามถูกตอง ยึดโยงรอยรัดความเปนครอบครัวและชุมชนให เหมาะสมตรงตามโครงสราง และภาษาที่ใช รวมคิด รวมทํา รวมรับผิดชอบ แบงทุกขแบงสุข เหมาะสมกับผูใหขอมูล แลวผูวิจัยจึงทําการ ซึ่งกันและกัน โดยผานการประกอบกระบวนการ สัมภาษณดวยตนเองกับสมาชิกกลุมแมบาน ของชุมชน จํานวน 6 คน เกษตรกรมหาสวัสดิ์ จํานวน 6 คน ตามวัตถุประสงค เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การวิจัยขอ 1 เกี่ยวกับการจัดการวิสาหกิจชุมชน การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ 4 ดาน ประกอบดวย การวางแผน การจัดองคกร โดยใชเทคนิคและวิธีการ ดังนี้ การนําและการควบคุม และทําการสัมภาษณ 1. การสังเกตการณ เพื่อใหไดความ นายกองคการบริหารสวนตําบลมหาสวัสดิ์ ปลัด สมบูรณของขอมูลในการวิจัย ผูวิจัยไดทําการ องคการบริหารสวนตําบลมหาสวัสดิ์ หัวหนาสวน สังเกตการณประกอบดวย 5 สวน ไดแก สวัสดิการสังคม เจาหนาที่พัฒนาชุมชน กํานัน สวนที่ 1 ดานการกระทํา ไดแก วิถีการ ผูใหญบานหมู 3 เจาอาวาสวัดสุวรรณาราม และ ดําเนินชีวิตของผูคนในชุมชน ลักษณะครอบครัว สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ จํานวน ประเพณีวัฒนธรรมของชุมชน ประวัติความเปนมา 14 คน ตามวัตถุประสงคการวิจัยขอ 2 เกี่ยวกับ ของชุมชน และลักษณะโครงสรางที่อยูอาศัย แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาการจัดการ 152 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เศรษฐกิจอยางยั่งยืน ของวิสาหกิจชุมชนกลุม ที่ไดเหมือนกันหรือไม ขอมูลที่ไดจากตางสถานที่กัน แมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ เหมือนกันหรือไม และหากบุคคลเปลี่ยนไป ขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล ที่ไดเหมือนกันหรือไม คณะผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล 2. การตรวจสอบขอมูลสามเสาดานวิธี ดังนี้ รวบรวมขอมูล (methodological triangulation) 1. ทําการสํารวจขอมูลของพื้นที่ที่ทําการ เปนการใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดานตาง ๆ ศึกษา ทั้งจากการสํารวจภาคสนามและคนควา กันเพื่อรวบรวมขอมูลในเรื่องเดียวกัน โดยในการ จากเอกสารที่เกี่ยวของ ศึกษาจะใชวิธีการสังเกตแบบมีสวนรวมและแบบ 2. ดําเนินการเก็บขอมูล โดยคณะวิจัย ไมมีสวนรวมควบคูกับการสัมภาษณ พรอมทั้ง ลงพื้นที่ทําการเก็บขอมูลดวยตนเอง โดยขอ การศึกษาขอมูลจากแหลงเอกสารประกอบดวย อนุญาตบันทึกเสียงเพื่อใหการเรียบเรียงขอมูล หากขอมูลที่ไดมีความแตกตางกันหรือขัดแยงกัน เปนไปอยางถูกตอง ผูศึกษาจะเขาไปทําการเก็บรวบรวมขอมูลอีกครั้ง การตรวจสอบขอมูล หากขอมูลที่ไดหลังจากทําการตรวจสอบแลว ในการวิจัยครั้งนี้หลังจากไดศึกษา ปรากฏวาเปนขอมูลที่เหมือนกันก็นาเชื่อถือวา แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของแลว ผูวิจัย เปนขอมูลที่ถูกตอง จากนั้นนําผลการศึกษา ไดสรางแบบสัมภาษณซึ่งใชเปนเครื่องมือในการ มาวิเคราะหขอมูลเปนลักษณะของการเขียน เก็บรวบรวมขอมูล โดยนําเสนอแบบสัมภาษณ รายงานการวิจัยเชิงพรรณนา ที่สรางขึ้นใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเพื่อปรับปรุง การวิเคราะหขอมูล แกไขขอบกพรอง หลังจากนั้นจึงนําแบบสัมภาษณ การวิเคราะหขอมูลเปนกระบวนการที่ ไปเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมประชากรที่ใชใน ดําเนินไปพรอม ๆ กับการเก็บขอมูล โดยใชการ การศึกษา และหลังจากทําการเก็บรวบรวมขอมูล สังเกตและการสัมภาษณแบบเจาะลึก และ ในแตละครั้งผูวิจัยจะทําการจดบันทึกและ ทําการบันทึกขอมูลอยางละเอียดในทุกแงมุม ตรวจสอบขอมูลอยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหไดขอมูล เพื่อใหครอบคลุมเนื้อหาในทุกประเด็นที่ตองการ ที่ถูกตองและสมบูรณ โดยใชวิธีการตรวจสอบ ศึกษา หลังจากนั้นจึงนําขอมูลที่ไดมาประมวล ขอมูลแบบสามเสา ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบขอมูล รวบรวมเปนหมวดหมูโดยอาศัยตารางและ ดังนี้ รูปภาพ แลวนํามาจัดระบบระเบียบเชื่อมโยง 1. การตรวจสอบขอมูลสามเสาดานขอมูล ความสัมพันธระหวางแนวคิด เพื่อนําไปสูการ (data triangulation) โดยการนําขอมูลที่ไดจาก แปลความหมายของตัวแปรตาง ๆ ที่มีนัยตอการ ภาคสนาม และขอมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวของ จัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน กรณีศึกษาวิสาหกิจ มาวิเคราะห เปรียบเทียบในเรื่องเวลา สถานที่ ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ อําเภอ บุคคลและเนื้อหา เชน หากเวลาตางกันขอมูล พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยนําเสนอขอมูล Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 153 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ในรูปแบบเชิงบรรยาย อธิบายและสรุปเชิง เพื่อใหไดในสิ่งที่ดีที่สุดสําหรับการปฏิบัติของ วิเคราะห ชุมชน ซึ่งกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ ดําเนิน การวางแผน โดยมุงเนนการมีสวนรวมของชุมชน สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย เปนปจจัยที่สําคัญ ทําใหเกิดการพัฒนาในชุมชน สรุปผลการวิจัย อยางยั่งยืน และเปนการสรางชุมชนที่เขมแข็ง 1. การบริหารจัดการของวิสาหกิจ ตอไป ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ 1.2 ดานการจัดองคการ พบวากลุม อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม แมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์มีการจัดโครงสราง 1.1 ดานการวางแผน พบวากลุม ในการบริหารงาน มีการกําหนดระเบียบขอบังคับ แมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์เนนการมีสวนรวม ใชในหมูสมาชิก โดยมีทั้งที่เขียนไวเปนลายลักษณ ของประชาชนในชุมชนเพื่อการแกไขปญหาใน อักษร และที่เปนเพียงขอตกลงที่สมาชิกทุกคน ชุมชน และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ยึดถือปฏิบัติ มีระเบียบขอบังคับในการเขาเปน ในชุมชนใหดีขึ้น โดยมีประธานกลุมแมบาน สมาชิกกลุมและออกจากสมาชิกกลุม มีโครงสราง เกษตรกรชุมชนมหาสวัสดิ์ และเปนผูริเริ่มให การบริหารที่ชัดเจน โดยมีการจัดแบงงานอยาง ชุมชนไดคิด พูดคุยกันในการแกไขปญหา โดยใช เหมาะสม มีการคัดเลือกและมอบหมายใหผูที่มี กระบวนการเรียนรูรวมกันทั้งชุมชน โดยไมได คุณสมบัติ มีความรู ความสามารถที่เหมาะสมกับ เริ่มที่การวางแผน แตเริ่มที่การทบทวนปญหา งานใหเขาอยูในตําแหนงตาง ๆ มีการระบุหนาที่ ในชุมชน ซึ่งสอดคลองกับวิถีชีวิตของชุมชน และ ของสมาชิก มีการประชาสัมพันธรายละเอียด สามารถแกไขปญหานั้น ๆ ในชุมชนไดอยางยั่งยืน เรื่องตาง ๆ ที่สมาชิกตองรับรู รวมถึงการจัดทํา จนถึงปจจุบัน โดยใชหลักการเกี่ยวกับการมี ขอมูลทางการเงินหรือบัญชี มีการแจงใหสมาชิก สวนรวมของชุมชน อาทิ การรับฟงความคิดเห็น รับทราบความเคลื่อนไหว ขอมูลทางการเงิน ของชุมชน การเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวม มีความโปรงใส ชัดเจน สมาชิกทุกคนรับทราบ ในการใหขอมูลที่เปนขอเท็จจริง ทราบถึงปญหา และตรวจสอบได ที่แทจริงของชุมชน ใชกระบวนการเรียนรูรวมกัน 1.3 ดานการนํา พบวากลุมแมบาน ชวยกันคิด ชวยกันทําในการแกไขปญหาลองผิด เกษตรกรมหาสวัสดิ์ มีประธานกลุมที่บริหาร ลองถูกในชุมชนกันเอง มีอิสระในการคิด การมี งานตามหลักธรรมาภิบาล โดยยึดสมาชิกและ เปาหมายเดียวกันในการรวมกันแกไขปญหา ชุมชน เปนศูนยกลางในการทํางาน เนนหลักการ การปฏิบัติตามแนวทางที่รวมกันคิดในชุมชน มีสวนรวมของสมาชิก และการดําเนินงานอยาง ไปในแนวทางเดียวกัน และหลังจากปฏิบัติแลว โปรงใส มีการเปดเผยขอมูลทุกเรื่องใหสมาชิก มีการทบทวนนําสิ่งที่ไดหรือปญหาที่เกิดขึ้นมา ไดรับทราบ และจัดใหมีการฝกอบรมและดูงาน พูดคุยกันและมีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นรวมกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของสมาชิก 154 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

มีการจัดสื่อประชาสัมพันธผลการดําเนินงาน แนวทางที่ 1 การคนหาศักยภาพ บริบท ตาง ๆ ใหทราบอยางตอเนื่อง ประธานกลุม ภูมิปญญา ขอมูลพื้นฐานของชุมชนและวิสาหกิจ มักพบปะพูดคุยกับสมาชิกกลุมอยูเสมอ จึงทําให ชุมชน วิสาหกิจชุมชนสามารถดําเนินการ ทราบถึงปญหาและความตองการของสมาชิก โดยกําหนดแนวทางที่สอดคลองกับศักยภาพ กลุมอยางแทจริง รวมถึงเปนนักประสานงานที่ดี ในการบริหารจัดการของชุมชน กําหนดเปาหมาย สามารถสรางใหเกิดความรวมมือรวมใจในการ การพัฒนาที่ชัดเจน พัฒนาโดยใชแนวทาง ทํางานของทุกภาคสวน กอใหเกิดการทํางานเปน เศรษฐกิจพอเพียง และสรางศูนยการแลกเปลี่ยน ทีม ทําใหการดําเนินงานราบรื่น โดยไมเกิดความ เรียนรู ขัดแยงในการทํางาน แนวทางที่ 2 การพัฒนาการบริหาร 1.4 ดานการควบคุม พบวากลุม วิสาหกิจชุมชนสามารถดําเนินการโดยการพัฒนา แมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ ไดดําเนินการติดตาม โครงสรางขององคกรใหเอื้อตอการมีสวนรวม ตรวจสอบ และแกไขการดําเนินงาน เพื่อใหแนใจ การบริหารจัดการแบบมีสวนรวม และเนนการ วากิจกรรมตาง ๆ ไดบรรลุความสําเร็จตามที่ ระดมทุนของสมาชิกในกลุมมากกวาพึ่งแหลง ตองการ และเดินไปในทิศทางที่กําหนด โดยมีการ เงินทุนจากภายนอกชุมชน ประชุมสมาชิกกลุมเปนประจําทุก 2 เดือน และ แนวทางที่ 3 การพัฒนาผลิตภัณฑ จัดใหมีการประชุมสมาชิกกลุมโดยใชเวทีอยาง วิสาหกิจชุมชนสามารถดําเนินการไดโดยการ ไมเปนทางการในการปรึกษาหารือกัน เพราะ พัฒนาบรรจุภัณฑและจัดระบบควบคุมคุณภาพ ในแตละวันสมาชิกทุกคนมาทํางานรวมกัน จึงได วางแผนการผลิตใหสอดคลองกับความตองการ มีโอกาสที่จะพบปะ พูดคุย ประกอบการตัดสินใจ ของตลาด และเปดโลกทัศนของสมาชิกวิสาหกิจ รวมกันตลอดทั้งวัน มีการทําบัญชีรายรับ-รายจาย ชุมชนใหรูจักเรียนรูโลกภายนอก และมีบุคคลภายนอกจากหนวยงานรัฐเขามา แนวทางที่ 4 การพัฒนาการตลาดและ ตรวจสอบ กิจกรรม วิสาหกิจชุมชนสามารถดําเนินการได 2. แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนา โดยการศึกษาและวิเคราะหขอมูลดานการตลาด การจัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ของวิสาหกิจ เพื่อวางแผน และจัดทําแผนพัฒนาการตลาด ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ การสงเสริมการตลาด การสรางลูกคาอยางตอเนื่อง จากการวิเคราะหขอมูลบริบทของชุมชน และการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู และกระบวนการบริหารจัดการของวิสาหกิจ แนวทางที่ 5 การพัฒนาเครือขาย วิสาหกิจ ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ นําไป ชุมชนสามารถดําเนินการไดโดยการสรางความ สูการกําหนดแนวทางการพัฒนาของวิสาหกิจ รวมมือกับองคกรภายนอก การสรางเครือขาย และ ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ เพื่อนําสู การเชื่อมประสานกับเครือขาย ภาคี และหนวยงาน ความอยางยั่งยืน ได 5 แนวทาง ประกอบดวย ที่เกี่ยวของ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 155 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

อภิปรายผลการวิจัย ปารีณา แอนเดอรสัน,วิไลวรรณ ภูวรกิจ,สิริอร 1. การบริหารจัดการของวิสาหกิจ วงษทวี และ สุมาลี ชัยสิทธิ (Lakkom, Anderson, ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ Poowarakit, Vongtavee & Chaiyasit, 2011) อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่ทําการวิจัยเรื่องการบริหารจัดการวิสาหกิจ 1.1 กลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ ชุมชน เพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ โดยอาศัย ดําเนินการวางแผน โดยมุงเนนการมีสวนรวม หลักเศรษฐกิจพอเพียงของผูผลิตสิ่งทอผาลาย ของชุมชนเปนปจจัยที่สําคัญ ทําใหเกิดการ เกล็ดเตา (กลุมเพลงฝาย) พบวามีการจัดองคกร พัฒนาในชุมชนอยางยั่งยืน และเปนการสราง คือ มีโครงสรางแบบแนวดิ่ง มีการจัดคน ชุมชนที่เขมแข็งตอไป สอดคลองกับงานวิจัย เขาทํางาน ตามหนาที่ที่เหมาะสม ดานการนําหรือ ของ ภัทราภรณ ทาวโยธา (Tawyotha, 2012) การอํานวยการ พบวา ประธานกลุมบริหารงาน ที่ทําการวิจัยเรื่องสภาพปญหา ความตองการ ตามหลักธรรมาภิบาล และประธานกลุมมักพบปะ และแนวทางในการจัดการวิสาหกิจชุมชน กรณี พูดคุยกับสมาชิกกลุมอยูเสมอ จึงทําใหทราบถึง ศึกษากลุมผูผลิตผาฝายทอมือตามหลักปรัชญา ปญหาและความตองการของสมาชิกกลุมอยาง ของเศรษฐกิจพอเพียง บานสันหลวงใต ตําบล แทจริง รวมถึงเปนนักประสานงานที่ดี สามารถ จอมสวรรค อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย พบวา สรางใหเกิดความรวมมือรวมใจในการทํางาน มีการจัดทําแผนและสรางกฎระเบียบปฏิบัติรวมกัน ของทุกภาคสวน กอใหเกิดการทํางานเปนทีม และสอดคลองกับ เพ็ญศรี ฉิรินัง (Chirinang, สอดคลองกับงานวิจัยของ สาโรช เนติธรรมกุล 2016) ที่ทําการวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนา (Natithamkul, 2011) ที่ทําการวิจัยเรื่องผลกระ คุณภาพชีวิตของแรงงานภาคอุตสาหกรรม กรณี ทบของวิสาหกิจชุมชนตอการเปลี่ยนแปลงทาง ศึกษาอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี พบวาการ สังคมในภาคใตตอนบนของประเทศไทย พบวา ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของการทํางาน มีจุดเนน บทบาทของผูนําในชุมชนมีความสําคัญมาก อยูที่การเพิ่มความพึงพอใจในการทํางานใหกับ ตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในชุมชน พนักงาน โดยใหความสําคัญกับความเปนมนุษย ทั้งการเกิดขึ้นของวิสาหกิจชุมชน การดําเนินงาน ความเจริญเติบโต และการมีสวนรวม ดานการ ตลอดจนการจะประสบความสําเร็จในการ จัดองคการ พบวากลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ ดําเนินการ และดานการควบคุม พบวากลุม มีการจัดแบงงานอยางเหมาะสม มีการคัดเลือก แมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ ไดดําเนินการติดตาม และมอบหมายใหผูที่มีคุณสมบัติ มีความรู ตรวจสอบ และแกไขการดําเนินงาน เพื่อใหแนใจ ความสามารถที่เหมาะสมกับงานใหเขาอยูใน วากิจกรรมตาง ๆ ไดบรรลุความสําเร็จตามที่ ตําแหนงตาง ๆ มีการระบุหนาที่ของสมาชิก และ ตองการ และเดินไปในทิศทางที่กําหนด โดยมี มีการกําหนดระเบียบขอบังคับใชในหมูสมาชิก การประชุมสมาชิกกลุมเปนประจําทุก 2 เดือน สอดคลองกับงานวิจัยของ วณัฐนันท หลักคํา, และจัดใหมีการประชุมสมาชิกกลุมโดยใช 156 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เวทีอยางไมเปนทางการในการปรึกษาหารือ จัดการของกลุม ควรมีการสรางแรงจูงใจ ควรจัด กัน และมีการทําบัญชีรายรับรายจาย โดยมี อบรมบุคลากรเพื่อเพิ่มจํานวนผูผลิต และจัดทํา บุคคลภายนอกจากหนวยงานรัฐเขามาตรวจสอบ ลวดลายผาที่มีเอกลักษณ ควรเพิ่มชองทาง สอดคลองกับงานวิจัยของ อรณิชา โพธิสุข ในการจัดจําหนาย ควรสรางศูนยการเรียนรู (Phothisak, 2011) ที่วิจัยเรื่องแนวทางพัฒนาการ และควรจัดทําเว็บไซต นอกจากนี้ยังพบวากลุม ดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา ผาฝายทอมือใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิสาหกิจชุมชนกลุมออมทรัพย ตําบลสันกลาง ในการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน สอดคลอง อําเภอพราน จังหวัดเชียงราย พบวาดานการ กับงานวิจัยของ สิริวรรณ ฉลูศรี (Chaloosri, ควบคุม กลุมออมทรัพยทุกกลุม จะมีการจัดทํา 2011) ที่สังเคราะหงานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนา เอกสารทะเบียนเงินสัจจะสะสม จัดทําเอกสาร วิสาหกิจชุมชนในประเทศไทย จํานวน 24 งานวิจัย ทะเบียนควบคุมลูกหนี้ จัดทําเอกสารทะเบียน ในภูมิภาคตาง ๆ ของไทย ระหวางป พ.ศ. 2543- ควบคุมเงินกู ครบถวน และเปนปจจุบัน โดยมีการ 2553 พบวาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปน ตรวจสอบโดยคณะกรรมการกลุม ปละ 1-2 ครั้ง แนวทางที่วิสาหกิจชุมชนในทุก ๆ ภาค นํามาใชเปน 2. แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนา แนวทางในการพัฒนามากที่สุด รองลงมามีการ การจัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ของวิสาหกิจ นําเรื่องของกลุมและเครือขาย มาประยุกตใช ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ เปนแนวทางในการพัฒนาในภาคเหนือและ แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาการ ภาคกลาง ซึ่งแตกตางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ของวิสาหกิจ ที่ใหความสําคัญกับการจัดการดานการผลิต ชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ อําเภอ ขณะที่ภาคใตเนนหนักในเรื่องของความเชื่อ พุทธมณฑล ประกอบดวย 5 แนวทาง ประกอบ วัฒนธรรม และจิตสํานึกรักชุมชนของตนเองเปน ดวย 1) การคนหาศักยภาพ บริบท ภูมิปญญา สําคัญ สอดคลองกับ ยุพาภรณ ชัยเสนา และ ขอมูลพื้นฐานของชุมชนและวิสาหกิจชุมชน สุรีรัตน เมืองโคตร (Chaisena & Maungkot, 2) การพัฒนาการบริหาร 3) การพัฒนาผลิตภัณฑ 2011) ที่วิจัยเรื่องกระบวนการบริหารจัดการ 4) การพัฒนาการตลาดและกิจกรรม และ 5) การ วิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืนในจังหวัดกาฬสินธุ พัฒนาเครือขาย สอดคลองกับงานวิจัยของ พบวาปจจัยการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนของ ภัทราภรณ ทาวโยธา (Tawyotha, 2012) ที่ทํา กลุม ประกอบดวย การวางแผนการผลิต วัตถุดิบ การวิจัยเรื่องสภาพปญหา ความตองการและ ความชํานาญในการผลิต การตลาด การควบคุม แนวทางในการจัดการวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา แรงงาน เงินทุน การติดตอสื่อสารภายในและ กลุมผูผลิตผาฝายทอมือตามหลักปรัชญาของ ภายนอก การบริหารจัดการองคกร ความเปน เศรษฐกิจพอเพียง บานสันหลวงใต ตําบลจอมสวรรค ผูนําและการมีสวนรวมของสมาชิก ซึ่งปจจัยตาง ๆ อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย พบวาแนวทางการ ดังกลาว สงผลที่ดีในการบริหารจัดการและ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 157 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

พัฒนากลุมอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน ปญหา ขอเสนอแนะ และแนวทางในการแกไขการบริหารจัดการกลุม จากผลการวิจัย ทําใหทราบถึงแนวทาง วิสาหกิจชุมชน ไดแก การวางแผนดานการตลาด ที่เหมาะสมในการจัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน วัตถุดิบ แรงงาน การควบคุม การบริหารจัดการ ของวิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรมหาสวัสดิ์ องคกร แนวทางการแกไข คณะกรรมการกลุม ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ เพื่อเปนประโยชนในการ ประชุมสมาชิกเพื่อรับฟงความคิดเห็นเพื่อการ จัดการเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ดังนี้ แกไขปญหารวมกัน ในสวนปญหาเชิงวิชาการ 1. วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกร จะไดรับความรวมมือจากหนวยงานภาครัฐ มหาสวัสดิ์ ควรสรางและพัฒนาผูนําการ เขามารวมเปนที่ปรึกษาและรวมแกไขปญหา เปลี่ยนแปลงในชุมชน ใหมีขีดความสามารถ และสอดคลองกับงานวิจัยของ เมทินี จันทีนอก ในการสรางแรงบันดาลใจใหเกิดความเชื่อมั่น และคณะ (Janteenork et al., 2010) ที่ทําการ ศรัทธา มีจุดยืนทางความคิด มีธรรมาภิบาล วิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนากลยุทธผูประกอบ ในการบริหารและพัฒนาชุมชน สงเสริมการ การวิสาหกิจชุมชน จังหวัดจันทบุรี ที่พบวา รวมกลุมและสรางจิตสํานึกใหชุมชนพึ่งพาตนเอง แนวทางในการพัฒนา กลยุทธผูประกอบการ 2. วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ควรจัดระบบงานวิสาหกิจชุมชน มหาสวัสดิ์ ควรสงเสริมใหเกิดชุมชนแหงการ สรางโอกาสการพัฒนาตนเองใหกับเจาหนาที่ เรียนรูดวยกระบวนการวิจัย และการถายทอด จัดแนวทางการพัฒนากลยุทธในองคประกอบ องคความรูในชุมชนเพื่อนําไปสูการแกไขปญหา งานวิสาหกิจชุมชน 7 เรื่อง คือ ระบบฐานขอมูล ในพื้นที่ และการตอยอดองคความรูไปสูเชิงพาณิชย ในการบริหารงาน การวางแผนและกําหนด รวมทั้งสงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการ เปาหมายในการทํางาน การจัดโครงสรางงาน สรางการจัดการความรูในชุมชน โดยการจัดกลุมงานสงเสริมการทํางานรวมกัน 3. วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกร การจัดทําแผนกลุมที่เปนรูปธรรม การสนับสนุน มหาสวัสดิ์ ควรพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดย การสรางความรวมมือและการสรางเครือขาย สงเสริมการประกอบอาชีพของผูประกอบการ ในการทํางาน แผนงานการฝกอบรมใหความรู ระดับชุมชน การสนับสนุนศูนยฝกอาชีพชุมชน เพื่อสนับสนุนเจาหนาที่ และการติดตามและ การสงเสริมการเชื่อมตอระหวางเครือขาย วัดผลการดําเนินงานควรมีการแนะนําและไดรับ อุตสาหกรรมในพื้นที่กับเศรษฐกิจชุมชน สราง การฝกอบรมใหความรูตาง ๆ จากหนวยงานที่ ความรวมมือกับภาคเอกชนและสถาบันการ เกี่ยวของ ศึกษาในการรวมกันพัฒนาความรูในเชิงทฤษฎี 158 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

และสามารถนําไปประยุกตใชในทางปฏิบัติ Janteenork, M. et al.(2010). The method เพื่อสรางศักยภาพใหกับชุมชนในการประกอบ of strategy development for the ธุรกิจ entrepreneurs of the community 4. วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกร enterprise Chanthaburi province. มหาสวัสดิ์ ควรสนับสนุนการใหความรูในการ Information and Technology Resource บริหารจัดการทางการเงินแกชุมชนและครัวเรือน Center, Rambhai Barni Rajabhat รวมทั้งการปรับองคกรการเงินของชุมชนใหทํา University. (in Thai) หนาที่เปนสถาบันการเงินในระดับหมูบาน ตําบล Lakkom, W., Anderson, P., Poowarakit, W., ที่ทําหนาที่ทั้งการใหกูยืมและการออม Vongtavee, S. & Chaiyasit, S. (2011). Community cooperation management REFERENCES for economy sustainability using Chaisena, Y. & Maungkot, S. (2011). Sustainable principle of sufficiency economy of community enterprise management local textile producers Phalaiklet process at Kalasin. Research Report, Tao (Phlengfai group), Rajamangala Rajamangala University of Technology University of Technology Isan Kalasin Kalasin Campus. (in Thai) Campus. (in Thai) Chaloosri, S. (2011). A synthesis of research Natithamkul, S. (2011). The impact of community on community enterprise development enterprises on social changes in the in Thailand. Thesis of Master of upper southern part of Thailand. Economics, Sukhothai Thammathirat Ph.D. Program in Sociology. Faculty Open University. (in Thai) of Humanities and Social Sciences, Chirinang, P. (2016). Guidelines for improving Ramkhamhaeng University. (in Thai) industrial workers’ quality of life: Office of the National Economic and Social a case study of Banglamung district, Development Board, Prime Minister’s Chonburi province. Dhonburi Office. (2012). The eleventh national Rajabhat University Journal. 10(1), economic and social development 96-109. (in Thai) plan. Retrieved July 17, 2016, from Education, Ministry. (2002). Management http://www.nesdb.go.th/. (in Thai) and business planning. Bangkok: Phothisak, O. (2011). Guideline to develop Sri Siam Printing & Pack. (in Thai) community enterprise operation: Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 159 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

a case study of community enterprise Chiang Mai University. (in Thai) saving groups, Tambon Sanklang, Tawyotha, P. (2012). States, problems, Phan district, Province. needs and guidelines of micro Independent Study of Master of community enterprise management: Business Administration, Mae Fah a case study of cotton handmade Luang University. (in Thai) weaving group based on sufficiency Suttiboon, S. (2013). Guidelines for managing economy philosophy in Sun Luang community enterprise of shiitake Tai, Jom Sa Wan subdistrict, Mae mushroom industry, Pangmao Chan district, . village, Mae Tha district, Lampang Master of Education (Vocational province, using sufficiency economy Education Development), Major Field: philosophy. Independent Study of Vocational Education Development. Master of Business Administration. Department of Vocational Education. Faculty of Agro-Industry Management, (in Thai) 160 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Research Article

การสื่อสารเพื่อเพิ่มพลังคนไรสัญชาติเพื่อการเขาถึงสิทธิตามกฎหมาย1 COMMUNICATION FOR STATELESS PEOPLE EMPOWERMENT TO LEGAL RIGHTS ภัทรา บุรารักษ Phattar Burarak

สาขาวิชาการสื่อสารสื่อใหม คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา ประเทศไทย New Media Communication Department, Faculty of Management Science and Information Science, University of Phayao, , Thailand

[email protected]

บทคัดยอ บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปญหาทางการสื่อสารในการเขาถึงสิทธิตาม กฎหมายของคนไรสัญชาติ และศึกษาการใชการสื่อสารแบบมีสวนรวมเพิ่มพลังคนไรสัญชาติ เขาถึงสิทธิตามกฎหมาย โดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบวาปญหาของการสื่อสาร มีลักษณะที่ไมเทาเทียมทางอํานาจการสื่อสารระหวางคนไรสัญชาติกับผูใหบริการสิทธิ (ภาครัฐ และเอกชน) สงผลใหคนไรสัญชาติไมกลาและขาดความกระตือรือรน สําหรับการสื่อสารปฎิบัติการ การสื่อสารแบบมีสวนรวมเพื่อเพิ่มโอกาสการเขาถึงสิทธิตามกฎหมายของคนไรสัญชาติ พบวา ควรดําเนินการครอบคลุม 3 ดานคือ 1) การเพิ่มโอกาสใหเขาถึงขอมูลสิทธิตามกฎหมาย 2) การเพิ่ม อํานาจของคนไรสัญชาติโดยการเพิ่มความรูเกี่ยวกับสิทธิตามกฎหมาย 5 กลุม และฝกทักษะการ สื่อสาร 9 ทักษะ และ 3) การทําใหประเด็นสิทธิของคนไรสัญชาติเกิดการพูดคุยและยกระดับเปน

* บทความวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของการวิจัยเรื่อง การสื่อสารเพื่อเพิ่มพลังการเขาถึงสิทธิตามกฎหมายของคน ไรสัญชาติ ของภัทรา บุรารักษ และ สุพรรณี เบอรแนล ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) ป 2559 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 161 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

วาระของพื้นที่ ผลการปฏิบัติการดังกลาวผลตอการเขาถึงและใชสิทธิตามกฎหมายของคนไรสัญชาติ เพิ่มขึ้นซึ่งแตกตางกันตามพฤติกรรมการสื่อสารของพวกเขา

คําสําคัญ: การสื่อสารแบบมีสวนรวม การเสริมพลังคนไรสัญชาติ การเขาถึงสิทธิตามกฎหมาย การสื่อสารคนไรสัญชาติ

ABSTRACT The objectives of this article are study on communication problem in accessing legal rights of nationality-less people and the communication participatory to empower to access their legal rights by qualitative research method. The results showed that, there is inequity communication between stateless people and the service; provider public sectors and private sectors This problem can cause them to fear and lack while the participatory communication to empower the nationality-less people indicated should practice on 3 areas which are 1) increasing access to legal rights information of stateless people 2) increasing power for the stateless people by giving knowledge of 5 legal rights and training 9 communication skills 3) creating channel of communication to make this a topic as a local agenda. As result of this study the stateless people more courage to access and claim that their legal rights in differences way, depend on their communication behaviour.

Keywords: communication participation, stateless people empowerment, legal rights access, stateless people communication

บทนํา ปญหาสําคัญของการเขาไมถึงสิทธิตาม กับความมั่นคงของชาติ ดวยเหตุผลดังกลาว กฎหมายของคนไรสัญชาติในประเทศไทยสวนใหญ จึงทําใหคนไรสัญชาติตองจํากัดการแสดงตัวตน เกิดจากการขาดความรูทางกฎหมายและทักษะ ในสังคมในสภาพที่ตองยอมรับกับสภาพปญหา ในการสื่อสารที่หมายรวมถึงการแสวงหา การ อยางจํานน แมวากฎหมายไทยไดรับรองสิทธิ จัดการขอมูลความกลาในการสื่อสารที่เรียกรอง ในการมีชีวิตที่ดีบางประการแลวก็ตาม ใชสิทธิตามกฎหมายเปนตน นอกจากนั้นประเด็น จากการสํารวจพื้นที่ในจังหวัดพะเยา คนไรสัญชาติยังถูก มองวาเปนปญหาที่เกี่ยวของ และการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่ 162 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เกี่ยวของกับประเด็นขางตน พบวา คนไรสัญชาติ กฎหมายของเจาหนาที่ภาครัฐและภาคเอกชน ในพื้นที่อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยาบางพื้นที่ ที่ใหบริการสิทธิกับคนไรสัญชาติเกิดความ ยังไมไดรับสิทธิตามกฎหมายโดยเฉพาะสิทธิ ผิดพลาด (communication breakdown) เชน ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน เชนสิทธิดาน ความลาชาเนื่องจากตองผานผูคัดกรองขาวสาร สถานะบุคคล สิทธิในทรัพยสิน สิทธิในระบบ หลายชั้น การตีความไมถูกตองตรงกัน และ สาธารณสุข สิทธิสวนบุคคล และสิทธิในการ ประเด็นสําคัญคือรูปแบบสารมักอยูในรูปแบบ ศึกษา โดยมีสาเหตุมาจากเขาไมถึงขอกฎหมาย ของภาษากฎหมายที่คนไรสัญชาติไมเขาใจ การขาดความรูและทักษะในการตีความขอ จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวา กฎหมาย ที่มีความยากและซับซอน หรือเกิดจาก “การสื่อสาร” อาจเปนไดทั้งปญหา ถาใชอยาง การยอมจํานนอยูกับการดอยอํานาจของตนเอง ไมมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกัน “การสื่อสาร” ไมกลาแสวงหา เรียกรองและใชสิทธิของคน ก็สามารถเปน “ทางแกปญหา” ไดเชนเดียวกัน ไรสัญชาติเอง อีกทั้งการสื่อสารเพื่อใหความรูและ หากใชเพื่อเพิ่มพลังอํานาจใหกับคนดอยโอกาส ความเขาใจดานขอกฎหมายที่ผานมามักไดรับ โดยการใหการสนับสนุนและสงขอมูลขาวสาร ออกแบบมาจากคนภายนอกที่อาจไมสอดคลอง ที่มีความสําคัญและจําเปนใหพวกเขาและสราง กับทักษะและความรูพวกเขา (Saisaard, 2010; ชองทางใหคนดอยโอกาสสามารถแสดงความ Teerachaimahit el al., 2014) คิดเห็นและแลกเปลี่ยนถึงปญหาและผลกระทบ สําหรับการสื่อสารเกี่ยวกับสิทธิตาม ของตนเองได ทั้งนี้การใชการสื่อสารเพื่อเพิ่มพลัง กฎหมายของคนไรสัญชาติที่มาจากกลุมผูให ไดนั้น ควรเริ่มจากการสํารวจขอมูลปญหาและ บริการสิทธิทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่ ความตองการของกลุมคนดอยโอกาสกอนนําไป ที่ใกลชิดกับคนไรสัญชาติมากที่สุด พบวา สูการออกแบบการใชการสื่อสารเพื่อเพิ่มพลังฯ มีปริมาณที่นอยและเจาหนาที่ระดับปฏิบัติงาน ใน 3 มิติไดแกการเพิ่มโอกาสการเขาถึงขอมูล ยังขาดความรูและความแมนยําในการใชกฎหมาย ใหกับกลุมคนชายขอบ การเพิ่มพลังอํานาจใหคน การตัดสินใจมักใชดุลยพินิจในการตีความ ชายขอบมีความสําคัญ และการสรางพื้นที่การ มากกวาใชหลักกฎหมายอยางเทาเทียมกัน สื่อสารสาธารณะกับประเด็นพวกเขาเพื่อใหเกิด สงผลทําใหการใหบริการดานสิทธิตาง ๆ กับ การพูดคุยถกเถียงและกลายเปนวาระของสังคม คนไรสัญชาติแตละองคกรจึงแตกตางกัน (United Nation , 2006) ไปพรอมกัน (Saisaard, 2010; Teerachaimahit el al., นอกจากนั้นแลว ผูวิจัยเชื่อวาหากนํา 2014) บอยครั้งที่การสื่อสารประเด็นสิทธิตาม แนวคิดการสื่อสารแบบมีสวนรวมมาใชใน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 163 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

การเพิ่มพลังคนไรสัญชาติใหเขาถึงสิทธิตาม วัตถุประสงคการวิจัย กฎหมายจะเปนการปรับสมดุลความสัมพันธ 1. เพื่อศึกษาสภาพปญหาทางการ เชิงอํานาจของคูสื่อสารระหวางคนดอยโอกาสกับ สื่อสารในการเขาถึงสิทธิตามกฎหมายของคน ผูมีอํานาจที่ถางกวางใหเขามาใกลกันได และ ไรสัญชาติ ยังเปนแนวคิดที่เนนใหคนดอยโอกาสเขามา 2. เพื่อศึกษาการใชการสื่อสารแบบมี มีสวนรวมในกระบวนการสื่อสารเพื่อกําหนด สวนรวมเพื่อเพิ่มพลังคนไรสัญชาติใหเขาถึงสิทธิ ทิศทางการสื่อสาร ชองทาง เนื้อหาที่สําคัญตอ ตามกฎหมาย ชีวิตของพวกเขา จากเดิมที่พวกเขามักถูกกันออก เปนเพียงผูรับสารที่เฉื่อยชาเทานั้น ขอบเขตการวิจัย ดังนั้น การทําใหกลุมคนไรสัญชาติ การวิจัยครั้งนี้กําหนดขอบเขตการศึกษา เขามามีสวนรวมในกระบวนการสื่อสารเพื่อการ ดานพื้นที่ คือ การศึกษาคนไรสัญชาติในอําเภอ เขาถึงสิทธิ และพัฒนาทักษะดานการสื่อสาร เชียงคํา อําเภอภูซาง และอําเภอปง จังหวัดพะเยา เพื่อใหเสียงหรือความตองการของพวกเขามี และขอบเขตดานเนื้อหาที่ครอบคลุมเรื่องสิทธิ ความสําคัญขึ้นนั้น นาจะเปนการปจจัยสําคัญ ของคนไรสัญชาติ 5 ประเภทคือสิทธิดานสถานะ ที่จะทําใหคนไรสัญชาติเขาถึงสิทธิตามกฎหมาย บุคคล สิทธิในทรัพยสิน สิทธิในระบบสาธารณสุข เพื่อนําไปสูการไดรับสิทธิที่พึงมีพึงไดตาม สิทธิสวนบุคคล และสิทธิในการศึกษาและการ กฎหมายอยางมีศักดิ์ศรีได เสริมทักษะการสื่อสารใหกับคนไรสัญชาติ

164 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

กรอบแนวคิดการดําเนินการวิจัย

INPUT PROCESS OUTPUT

1. กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิ 5 ประเภท 1. ความรูความเขาใจ  สิทธิการพัฒนา การสํารวจบริบท เรื่องกฎหมาย การ สถานะบุคคล 1. ความตองการ และแนวปฏิบัติ  เพิ่ม สิทธิในทรัพยสิน ดานขอมูล การใชสิทธิมากขึ้น  พลังการ สิทธิการเขาถึง 2. ความตองการ 2. เกิดทักษะการ เขาถึง ระบบสาธารณสุข ดานการสื่อสาร สื่อสารเพื่อเขาถึง  สิทธิฯ สิทธิสวนบุคคล 3. ปญหาการสื่อสาร สิทธิมากขึ้น  สิทธิในการศึกษา 2. แนวคิดการสื่อสาร การสื่อสารแบบมีสวนรวม เพื่อเพิ่มพลัง เพื่อเพิ่มพลังฯ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการดําเนินการวิจัย

ระเบียบวิธีวิจัย เพื่อระดมสมอง และการจัดกิจกรรมการสื่อสาร การศึกษาครั้งนี้ใชระเบียบวิธีวิจัย ในพื้นที่กลุมเปาหมาย มีชวงระยะเวลาการศึกษา เชิงคุณภาพ คือการสื่อสารแบบมีสวนรวมเชิง ตั้งแตวันที่14 กุมภาพันธ 2559 ถึงวันที่ 14 ปฏิบัติการศึกษากลุมคนไรสัญชาติใน 3 อําเภอ พฤษภาคม 2560 คือ อําเภอปง อําเภอเชียงคํา และอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ใชวิธีการเก็บขอมูลคือ การศึกษา สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย บริบทสถานการณของปญหา การคืนขอมูล สรุปผลการวิจัย การวิเคราะหเอกสาร การสังเกตการณแบบมี 1. การสํารวจปญหาดานการสื่อสาร สวนรวมและไมมีสวนรวม การสัมภาษณแบบ สิทธิตามกฎหมายของคนไรสัญชาติ ทางการและไมเปนทางการ การจัดเวทีประชุม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 165 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จากการวิเคราะหพบสภาพปญหาดาน ที่ทํางานดานการใหการชวยเหลือดานสวัสดิการ การสื่อสารเรื่องสิทธิตามกฎหมายของคนไร เชนการใหที่พักอาศัยและการศึกษา กลุมนี้ สัญชาติแยกตามองคประกอบการสื่อสาร (ผูสงสาร มีความรูดานขอกฎหมายคอนขางจํากัด และ ชองทาง ผูรับสารและการปอนกลับ) ไดดังนี้ ขาดความแมนยําดานกระบวนการเขาถึงสิทธิ 1.1 ผูสงสารในการสื่อสารเพื่อการ ตองอาศัยการแสวงหาความรูจากภายนอกหรือ เขาถึงสิทธิตามกฎหมายของคนไรสัญชาติแบงเปน ลองผิดลองถูกดวยตนเอง ที่อาจเปนเหตุใหการ สามกลุมหลัก คือ 1) กลุมผูมีอํานาจหนาที่อยาง ขอใชสิทธิบางประเด็นไมประสบผลหรือไมไดรับ เปนทางการคือ เจาหนาที่อําเภอ ปลัดอําเภอ ความสนใจจากผูใหบริการสิทธิ (Chanthima, เจาหนาที่ระดับอําเภอที่เกี่ยวของ กํานัน และ 2016) ผูใหญบาน 2) กลุมนักพัฒนาเอกชนในพื้นที่ กลุมคนไรสัญชาติที่เปนเพื่อนบาน และ 3) กลุมเพื่อนบานและเครือญาติ ซึ่งแตละกลุม เครือญาติและคนใกลชิด ขาวสารเกี่ยวกับสิทธิ มีขอจํากัดที่สงผลตอการสื่อสารดังนี้ ตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับคนไรสัญชาติ ที่มา กลุมผูมีอํานาจหนาที่อยางเปน จากกลุมผูสงสารนี้ เปนความรูที่ไดรับมาจาก ทางการ เปนกลุมที่มีความรูความเขาใจขอ ประสบการณและการบอกเลาตอ ๆ กันมา บางครั้ง กฎหมายและเปนแหลงขอมูลขาวสารและมี อาจไมถูกตองหรือเปนขอกฎหมายสําหรับคนไร อิทธิพลตอการดําเนินการเขาสูกระบวนการ สัญชาติบางประเภท ใชสิทธิ แตมีขอจํากัดดานทิศทางการสื่อสาร 1.2 สาร สารเกี่ยวกับสิทธิตาม ที่เนนการรวมศูนยและตั้งรับ สวนเนื้อหาการ กฎหมายของคนไรสัญชาติในกระบวนการสื่อสาร สื่อสารเปนเรื่องเกี่ยวกับการตัดสินชี้ ถูก/ผิด ในพื้นที่ศึกษามีปริมาณนอย และเปนสารอยูใน ได/ไมได ในการรับเรื่องขอใชสิทธิจากของคน รูปของภาษาราชการและภาษากฎหมายที่เปน ไรสัญชาติ มากกวาจะเปนการสื่อสารเพื่อสราง ภาษาไทยกลางทั้งหมด สวนกรณีที่อยูในรูป ความรูและความเขาใจ เพื่อหาทางแกไขปญหา ของภาษาพูดจะมีลักษณะการเลาปากตอปาก กลุมนักพัฒนาเอกชน แบงออก ที่เนื้อหามีความคลาดเคลื่อนสูงเพราะขึ้นอยูกับ เปน 2 กลุมคือ 1) กลุมนักพัฒนาเอกชนที่ทํางาน ประสบการณของผูเลา เฉพาะประเด็นสถานะบุคคล เปนกลุมที่มีความรู 1.3 ชองทาง หรือสื่อที่ใชสื่อสาร และขอกฎหมายเปนอยางดี เพราะมีการติดตาม เนื้อหา จากการศึกษาพบชองทางสามประเภท ขาวสารอยางตอเนื่อง การทํางานของนักพัฒนา คือสื่อบุคคล สื่อสิ่งพิมพ และสื่อเฉพาะกิจ เอกชนกลุมนี้ มีขอดีคือเปนแรงกดดันทางสังคม (การประชุมหมูบาน) มีลักษณะการไหลหลายชั้น ตอการทํางานของภาครัฐและตอคนไรสัญชาติ (many- steps flow) แตละชั้นมีตัวกลางหรือ ใหตื่นตัวและตระหนักการใหบริการและขอใชสิทธิ นายทวารขาวสารกอนทุกครั้งและมีความถี่ในการ (Sirikoson, 2016) และ 2) องคกรภาคเอกชน สื่อสารนอย 166 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

1.4 ผูรับสาร หรือกลุมคนไรสัญชาติ คือ กลุมเชิงรับ หมายถึงบุคคลที่มีความตองการ เอง มีขอจํากัดสําคัญคือ พึ่งพาสูง ขาดความกระตือรือรนในการแสวงหา 1.4.1 การขาดความรูและ ขอมูลขาวสาร การขอใชสิทธิ และมักขาดความ ทักษะวิเคราะหขอมูลขอเท็จจริงของตนเอง มุงมั่นในการติดตามเรื่องราวของตนเองอยาง ทําใหไมสามารถสื่อสารหรือเจรจาตอรองใน เนื่อง สําหรับกลุมที่สอง คือกลุมคนไรสัญชาติ กระบวนการของใชสิทธิไดอยางมีประสิทธิภาพ เชิงรุก เปนกลุมที่มีความกระตือรือรนแสวงหา 1.4.2 ทักษะดานการแสวงหา ขอมูลขาวสาร เมื่อรับความรูเกี่ยวกับขอกฎหมาย ขอมูลขาวสารของกลุมคนไรสัญชาติ พบวาความ แลว ก็มุงมั่นติดตามทํางานอยางตอเนื่องเมื่อสงสัย แตกตางปจจัยดานอายุและศึกษา ทําใหรูปแบบ หรือติดขัดปญหาเรื่องใดจะซักถามจากนักวิจัย การแสวงหาขอมูลที่แตกตางกัน กลาวคือกลุมเด็ก และนักกฎหมาย และเยาวชนที่อายุนอยกวา 20 จะมีลักษณะการ 1.5 การปอนกลับ มีทิศทางการ ตั้งรับและพึ่งพาผูอื่น โดยจากผูใหญที่ใกลชิด สื่อสารมีทิศทางจากบนลงลางและสื่อสาร หรือผูดูแลมากกวาจะแสวงหาขาวสารดวยตัวเอง ทางเดียว จึงเปนอุปสรรคตอการปอนกลับ สวนกลุมเยาวชนที่อายุ 20 ป ขึ้นไป อยูในชวง ผนวกกับการผูรับสารขาดความรู กลัวและไมกลา กําลังจะเขาศึกษาตอระดับอุดมศึกษา มักเปน จึงทําใหการปอนกลับเพื่อสรางความรูความเขาใจ ฝายรุกในการแสวงหาขอมูลมากขึ้น โดยเริ่ม ระหวางผูรับสารและผูสงสารเกิดขึ้นนอยมาก แสวงหาจากเพื่อนที่เคยมีประสบการณหรือใช และหากเกิดขึ้นก็เปนไปในลักษณะไมเปน ชองทางการเขารวมกิจกรรมหรือการสืบคนขอมูล ทางการ ทางออนไลน (Women stateless people 28 กลาวโดยสรุปปญหาการสื่อสารสิทธิ years old, 2016) ตามกฎหมายของกลุมคนไรสัญชาติ คือ ความ ขณะที่กลุมที่มีการศึกษานอยและ สัมพันธเชิงอํานาจในการสื่อสารของผูสงสารและ มีครอบครัวตั้งแตวัยรุนอาศัยในหมูบาน มักไม ผูรับสารไมเทาเทียม ผูสงสารมีอํานาจทั้งอํานาจ สนใจหรือพยายามแสวงหาขอมูลขาวสารที่ หนาที่อยางเปนทางการและอํานาจจากการ เกี่ยวของกับตนเอง สวนกลุมที่แทบไมมีการ มีความรูและขอมูลขาวสารมากกวาผูรับสาร แสวงหาขอมูลความรูเกี่ยวกับสิทธิตามกฎหมาย ทําใหผูสงสารเปนฝายกําหนดเนื้อหาและชองทาง มากที่สุดคือกลุมผูสูงอายุที่อยูติดกับบาน การสื่อสาร ยิ่งผูสงสารมีอํานาจมากหางจากผูรับ เพราะไมสามารถพูด/เขียนภาษาไทยได เปนกลุม สารมากขึ้นเทาไหร ยิ่งทําใหผูรับสารมีความรูสึก ที่ตองพึ่งพาขอมูลขาวสารที่มาจากกลุมญาติพี่นอง กลัวและไมกลาในการสื่อสารมากขึ้นเทานั้น หรือลูกหลานมากที่สุด 2. การสํารวจความรูดานกฎหมายและ จากขอมูลขางตนสามารถแบงคนไร ความตองการทักษะดานการสื่อสารเพื่อเขาถึง สัญชาติตามพฤติกรรมการสื่อสารได 2 ลักษณะ สิทธิตามกฎหมาย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 167 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2.1 การสํารวจความรูความเขาใจ ขอมูลขาวสารตาง ๆ มาจากเพื่อนบานหรือ ดานกฎหมายของคนไรสัญชาติกอนปฏิบัติการ กลุมญาติ ที่อาจมีความคลาดเคลื่อนและไมถูกตอง การสื่อสาร ตามขอเท็จจริง หรือมาจากหนวยงานภาครัฐก็มี การศึกษาการรับรูและความเขาใจ ปริมาณนอยและเขาไมถึง ซึ่งอาจเปนสวนหนึ่ง ที่มีตอสิทธิคนไรสัญชาติตามกฎหมาย โดยการ ของการเสียสิทธิและไมเขาถึงสิทธิของคนไร สัมภาษณทั้งเปนทางการและไมเปนทางการ สัญชาติอีกสวนหนึ่ง ในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยใชคําถามสําคัญ 2.2 ความตองการทักษะดานการ คือ 1) คนไรสัญชาติ มีสิทธิตามกฎหมายอะไรบาง สื่อสารเพื่อการเขาถึงสิทธิตามกฎหมายของ 2) คนไรสัญชาติรับรูสิทธิฯ ไดอยางไร จากใคร คนไรสัญชาติ คิดวาถูกตองตามกฎหมายหรือไม และ 3) หากคิด จากการศึกษาโดยใชการสื่อสาร วาตัวเองไมรูสิทธิ มีวิธีการใดที่จะทําใหถึงจะรูสิทธิ โดยการสนทนากลุม การคืนขอมูล การแลกเปลี่ยน ไดบาง เรียนรู การสนทนาสวนบุคคล และการสัมภาษณ ผลการศึกษาพบวากลุมคนไรสัญชาติ อยางเปนทางการ โดยมีคําถามหลักในประเด็น รับรูและเขาใจสิทธิของคนไรสัญชาติตาม ดังนี้ 1) ทําอยางไรเพื่อใหคนไรสัญชาติสามารถ กฎหมาย ที่ระบุวาทําไดมีความสอดคลองกับ เขาถึงสิทธิตามกฎหมายไดอยางถูกตองตาม กฎหมายแตคลาดเคลื่อนบางรายละเอียด เชน สถานะบุคคลของตนเอง 2) ทําอยางไรที่จะให ระยะเวลาการไดรับอนุญาตออกพื้นที่ควบคุม คนไรสัญชาติสามารถสื่อสารเพื่อใหไดรับความรู สิทธิการเขาเรียนหรือการศึกษา และสิทธิการ และเขาถึงสิทธิกับกลุมผูใหบริการ 3) ควรมีวิธี พัฒนาสถานะ ที่แมรับรูวาทําได แตไมทราบ การสื่อสารและใชสื่ออยางไรที่จะทําใหคนไร ถึงรายละเอียดของกฎหมายวาใหกับบุคคล สัญชาติเขาถึงความรูทางกฎหมายที่เกี่ยวของ ในสถานะใดบาง สวนการรับรูวาทําไมไดนั้น กับสิทธิของพวกเขาไดมากที่สุด 4) ปญหาการ สวนใหญรับรูไมสอดคลองกับกฎหมายที่ใหสิทธิ ไมขอใชบริการดานสิทธิของคนไรสัญชาติเกิด กับคนไรสัญชาติ เชนสิทธิการรักษาพยาบาล จากเหตุผลอะไร และควรมีวิธีการแกไขอยางไร สิทธิสวนบุคคล สิทธิการพัฒนาสถานะบุคคล 5) ทําไมคนไรสัญชาติถึงมีความกลัวในการขอ สิทธิในทรัพยสิน และสิทธิการกูเงินเพื่อการศึกษา ใชสิทธิ 6) ควรแกไขปญหาความกลัวของคนไร สวนสิทธิที่ระบุวาไมแนใจนั้นเปนสิทธิที่เกี่ยวกับ สัญชาติไปสูการใชสิทธิตามกฎหมายของตนเอง ทรัพยสินและการไดรับวุฒิการศึกษา ผลการ อยางไร ศึกษาดังกลาวแสดงใหเห็นวาคนไรสัญชาติยังขาด ผลการศึกษาพบความตองการ ความรูสิทธิทางกฎหมายที่ถูกตองรวมถึงยังไมรู ดานทักษะสื่อสารของคนไรสัญชาติเพื่อเขาถึง จักและวิเคราะหสถานะบุคคลของตนเองตาม สิทธิตามกฎหมายดังนี้ กฎหมายไดดีพอ ทั้งนี้อาจเปนเพราะการไดรับ 168 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

2.2.1 ความรูเรื่องสิทธิตาม การนําเสนอขอมูลในหัวขอนี้ใชแนวคิด กฎหมายเชนสิทธิสวนบุคคล เชน การจดทะเบียน การสื่อสารแบบมีสวนรวมในการเพิ่มพลังคน สมรสกับคูสมรสที่เปนคนสัญชาติไทยหรือ ดอยโอกาสขององคกรสหประชาชาติ มีรายละเอียด เปนบุคคลตางดาว การยื่นขอเดินทางออกนอก ดังนี้ พื้นที่ สิทธิดานทรัพยสิน เชน การเปนเจาของ 3.1 การเพิ่มโอกาสการเขาถึงขอมูล สังหาริมทรัพย เชน การซื้อ /เชาซื้อรถยนต สิทธิตามกฎหมายใหคนไรสัญชาติ โดยใชวิธีการ รถจักรยานยนต หรืออุปกรณเครื่องใชไฟฟา สรางพื้นที่การสื่อสารในประเด็นเกี่ยวกับสิทธิ และการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้น ๆ และสิทธิ ตามกฎหมาย เชนการสื่อสารระหวางบุคคล เวที ดานสาธารณสุข เปนตน แลกเปลี่ยนเรียนรู และการเวทีการสื่อสาร 2.2.2 พื้นที่การปฏิบัติการ สาธารณะ อยางไรก็ตามสําหรับคนไรสัญชาติ เพื่อฝกฝนการวิเคราะหตนเองเพื่อพัฒนาสถานะ กลุมเชิงรุก ผูวิจัยเพิ่มวิธีการสื่อสารที่ใหโอกาส บุคคลตามกฎหมาย คนไรสัญชาติไดนําความรูเกี่ยวกับสิทธิตาม 2.2.3 สื่อที่สามารถสราง กฎหมายไปประยุกตใช เชนการวิเคราะหสถานะ ความรูเขาใจเกี่ยวกับสิทธิตามกฎหมายอยาง บุคคลของตนเองเพื่อพัฒนาสถานะดวยตนเอง ถูกตองและมีภาษาที่พวกเขาเขาใจงาย ทักษะการเจรจาตอรอง และการทดลองขอใชสิทธิ 2.2.4 การเสริมทักษะการ กับผูใหบริการสิทธิ สื่อสารเพื่อใหคนไรสัญชาติเพื่อการเขาถึงและ 3.2 การเพิ่มพลังอํานาจโดยการ ขอใชสิทธิ เสริมศักยภาพและทักษะดานการสื่อสารใหกับ 2.2.5 พื้นที่การปฏิบัติการ คนไรสัญชาติ แบงได 2 ดานคือ ขอใชสิทธิ เพื่อสรางประสบการณและลดความ 3.2.1 การเสริมศักยภาพ ไมกลาและความกลัว ดวยการใหความรูทางดานกฎหมาย ที่เกี่ยวกับ 2.2.6 การชวยเหลือและหนุน สิทธิ 5 กลุม โดยการใหความรูทางดานกฎหมาย เสริมระหวางกระบวนการขอพิสูจนสัญชาติ ที่เกี่ยวของกับสิทธิตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับ จากขอมูลดังกลาวขางตนสะทอนใหเห็น สิทธิ 5 กลุม ซึ่งการเสริมศักยภาพดานความรู วา กลุมคนไรสัญชาติมีการรับรูขอจํากัดของ ขอกฎหมายใหกับคนไรสัญชาติทั้งสองกลุม ตนเองทั้งในดานความรูความเขาใจดานกฎหมาย 3.2.2 การเสริมทักษะดานการ และมีความตองการทักษะดานการสื่อสารทั้งใน สื่อสารเพื่อการเขาถึงสิทธิตามกฎหมายใหกับ มิติการเปนผูสงสารและผูรับสาร คนไรสัญชาติ 9 ทักษะ ไดแก 3. การสื่อสารแบบมีสวนรวมเพื่อเพิ่ม 3.2.2.1 การฝกทักษะ พลังการเขาถึงสิทธิตามกฎหมายของคนไร การเปนผูรับสารที่กระตือรือรนในการฟงขอมูล สัญชาติ และเรียนรูขอกฎหมายและกระบวนการเขาถึง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 169 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สิทธิฯ รวมทั้งการจดบันทึกขอมูล เพื่อใหเกิด ในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู เวทีสื่อสารสาธารณะ ความเขาใจในขอกฎหมายที่จําเปนตอการใช และการเจรจาระหวางการทดลองขอใชสิทธิ สิทธิของตน 3.2.2.6 การฝกทักษะ 3.2.2.2 การฝกทักษะ การออกแบบสาร เปนการฝกทักษะใหกับคน ทักษะการพูด การเลาเรื่องตนเองและครอบครัว ไรสัญชาติกลุมเชิงรุก ใหมีสวนรวมในการกําหนด โดยการเลาเรื่องเกี่ยวกับขอเท็จจริงของตนเอง สารที่จะนําไปผลิตสื่อ และครอบครัวรวมทั้งปญหาการการรับบริการ 3.2.2.7 การฝกทักษะ ดานสิทธิตามกฎหมาย โดยระหวางการเลาเรื่อง การทํางานรวมกับสื่อและผลิตสื่อรวมกับทีม ดังกลาว ผูเขารวมกิจกรรมคนอื่น ๆ จะรวมเปน ผลิตสื่อทั้ง 3 ขั้นตอน ที่ประกอบดวยขั้นตอน ฝายซักถาม ทวนซํ้า เพื่อใหไดขอมูลที่มีความ กอน ระหวาง และหลังการผลิต โดยคนไรสัญชาติ ถูกตองและครบถวน ทํางานรวมกับคณะวิจัย นิสิตดานการสื่อสาร 3.2.2.3 การฝกทักษะ นักกฎหมายและองคกรหนวยงานเอกชน ในบทบาท การแสวงหาขอมูล เพื่อใหคนไรสัญชาติสามารถ ที่หลากหลายเชนการเปนผูกําหนด เนื้อหาสาร สืบคนขอมูลที่มีความสําคัญและเปนประโยชน การเปนแหลงขอมูล แหลงขาว ผูแสดงและ ตอการใชบริการสิทธิตามกฎหมายของตนเอง ผูประเมินผลสื่อ โดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลที่เกี่ยวของกับสถานะ 3.2.2.8 การฝกทักษะ บุคคล เชน ขอมูลดานการเกิด ผูใหกําเนิด และ การประเมินสารและสื่อ เปนการฝกทักษะใหกับ ขอมูลดานเอกสารตาง ๆ ที่ทางการออกให คนไรสัญชาติกลุมเชิงรุกเกิดทักษะการประเมิน เพราะขอมูลชุดดังกลาวจําเปนตอการเขาสู สารและสื่อดานความถูกตองครบถวนของเนื้อหา กระบวนการพิสูจนสัญชาติไทย ที่ตองการและดานความชอบในชิ้นงาน จํานวน 3.2.2.4 การฝกใหคน 2 ครั้ง ผานทางการสื่อสารระหวางบุคคลทาง ไรสัญชาติวิเคราะหปญหา ขอมูลขอเท็จจริง สื่อสังคม ผลการวิจัยพบวากลุมคนไรสัญชาติ และสถานะของตนเอง โดยใชการเขียนแผนผัง กลุมใหความสําคัญกับเนื้อหามากกวาดาน ครอบครัว (family tree) และวิเคราะหเรื่องของ เทคนิคหรือดานวิธีการนําเสนอ ตนเองตามความรูทางกฎหมายเพื่อใหคนไรสัญชาติ 3.2.2.9 การฝกทักษะ ทราบวาตนเองอยูในสถานะใดทางกฎหมายและ ความกลาในการสื่อสาร เปนการฝกทักษะใหกับ สามารถใชสิทธิและพัฒนาสถานะบุคคลไดใน กลุมคนไรสัญชาติกลุมเชิงรุกเกิดความกลา ระดับใด ในการพูด เจรจา และการขอใชสิทธิ ดวยการ 3.2.2.5 การฝกทักษะ ใหความรูความเขาใจดานขอกฎหมาย การสราง การเจรจาตอรอง โดยเริ่มจากการสลับบทบาท พื้นที่เชนเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูและเวทีการ (role shift) ใหคนไรสัญชาติเปาหมายตั้งคําถาม สื่อสารสาธารณะรวมกับนักกฎหมายและกลุม 170 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ผูใหบริการดานสิทธิ รวมทั้งการโอกาสในการฝก สื่อสารระหวางบุคคลผานสื่อกลางเชนโทรศัพท ปฏิบัติการสื่อสารและการทดลองขอใชบริการ สื่อสังคมออนไลน เพื่อชวยใหคนไรสัญชาติรับรู สิทธิกับภาคเอกชนจํานวน 4 ครั้ง และภาครัฐ สนใจ เขาถึง มีความกลาในการสื่อสารในประเด็น จํานวน 4 ครั้ง ปญหาของตนเองอยางตอเนื่อง 3.3 การสรางพื้นที่สาธารณะ 3.3.2 เวทีการสื่อสารสาธารณะ เพื่อการสื่อสารและสรางใหเปนวาระของพื้นที่ เปนรูปแบบการสื่อสารที่เปนทางการและใหกลุม การวิจัยครั้งนี้ไดสรางพื้นที่การสื่อสารสาธารณะ ที่มีความแตกตางหรือคูตรงขามกันเขามามีสวนรวม 2 รูปแบบคือ การสรางเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูและ ในการสื่อสาร เพื่อใหเกิดการสื่อสารแบบเผชิญหนา การสรางเวทีการสื่อสารสาธารณะ แตละวิธี รับรู เขาใจและหาทางออกรวมกันโดยใชการ มีรายละเอียดดังนี้ สื่อสารแนวระนาบ หลายทิศทางที่สามารถลด 3.3.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ตัวกลางที่กรองขอมูลขาวสาร (gate keeper) และ เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุมผูไร ลดระยะหางของอํานาจระหวางคนไรสัญชาติ สัญชาติกับนักกฎหมาย และคณะผูวิจัยใน กับกลุมผูใหบริการสิทธิภาครัฐและเอกชนและ ประเด็นเกี่ยวกับปญหาการใชสิทธิฯ และขอ ยังทําใหประเด็นสิทธิของบุคคลไรสัญชาติเปน กฎหมายที่เกี่ยวของโดยเริ่มจากขั้นตอนการ วาระของทองถิ่นได เปดใจและสรางความวางใจซึ่งกันและกัน การใช 4. การวัดผลการสื่อสารแบบมีสวนรวม วิธีการสื่อสารแบบมีสวนรวมฯ ดวยการสื่อสาร เพื่อเพิ่มพลังคนไรสัญชาติเพื่อเขาถึงสิทธิตาม ที่มีลักษณะการพูดคุย แลกเปลี่ยนเฉพาะกลุม กฎหมาย ที่มีความคลายคลึงกันหรือมีลักษณะรวมกัน ผูวิจัยกําหนดการวัดผลการเขาถึงสิทธิ ภายในกลุมเล็ก ๆ กอน เพื่อใหผูเขารวมเวที ตามกฎหมายของคนไรสัญชาติ 2 ประเด็น ไดแก ไมรูสึกกลัวหรือรูสึกเหนือกวาดอยกวาระหวาง 4.1 การวัดผลที่มีตอความรู การสื่อสาร หลังจากนั้นจึงไปสูการสื่อสารขามกลุม ความเขาใจสิทธิตามกฎหมาย โดยเปรียบเทียบ หรือผสมผสานสมาชิกที่มีความแตกตางกัน กับความรูความเขาใจเดิมของคนไรสัญชาติ เขามารวมในเวที แตยังไมเปนการเผชิญหนา พบวาการสื่อสารเพื่อเพิ่มพลังการเขาถึงสิทธิ แบบคูตรงขาม เชนคนไรสัญชาติพื้นที่หนึ่ง รวมกับ ตามกฎหมายของคนไรสัญชาติ สงผลตอคน คนไรสัญชาติอีกพื้นที่หนึ่ง คนไรสัญชาติกับ ไรสัญชาติทั้งสองกลุม (เชิงรุกและเชิงรับ) มีความ นักกฎหมาย ผูใหบริการดานสิทธิกับนักกฎหมาย เขาใจเรื่องสิทธิตามกฎหมายไดถูกตองมากขึ้น เปนตน ทั้งนี้ก็เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู อาทิ กับคนกลุมอื่น ๆ และกระตุนการเปดเผยขอมูล 4.1.1 สิทธิสวนบุคคล ในสิทธิ ขอเท็จจริงของในเชิงลึกขึ้น โดยระหวางดําเนินการ การทําธุรกรรมหรือซื้อสินคา เชน การซื้อสังหา- ควรเสริมวิธีการสื่อสารรูปแบบอื่น ๆ ดวย เชนการ ริมทรัพย รถยนต เครื่องใชไฟฟา การเปดบัญชี Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 171 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ธนาคาร การจดทะเบียนโทรศัพท การเปลี่ยนชื่อ เลาถึงปญหาของตนเองใหกับกลุมอื่น ๆ ไดรับรู ตัว การทําใบอนุญาตขับขี่ และการออกนอกพื้นที่ และเขาใจไดดีขึ้น ควบคุม ฯลฯ เปนตน 4.2.2 พัฒนาทักษะการสื่อสาร 4.1.2 สิทธิการพัฒนาสถานะ ระดับกลาง ที่เนนทักษะดานการสื่อสารที่มี บุคคล มีการรับรูเงื่อนไขสําคัญสําหรับการเขาสู เปาหมายเฉพาะเพื่อ กระบวนการรับรอง/พิสูจนสัญชาติไดดีขึ้น เชน 4.2.2.1 เกิดความกลา การทําแผนผังครอบครัว การวิเคราะหสถานะ ในการสื่อสารเพื่อขอใชสิทธิ ผลการศึกษาพบวา บุคคลทางกฎหมายของตนเอง ภายหลังเขารวมกิจกรรมการเพิ่มทักษะการ 4.1.3 มีความรูเขาใจเกี่ยวกับ สื่อสารแลว กลุมบุคคลไรสัญชาติบางรายมีความ ประเภทเอกสารประจําตัวบุคคลและการใชเอกสาร กลาที่จะสื่อสารและพยายามเจรจาตอรองเพื่อขอ ประกอบในการขอรับบริการสิทธิตามกฎหมาย ใชสิทธิตามกฎหมายกําหนดมากขึ้น ไดถูกตอง เชนการขอใชสิทธิเกี่ยวกับการซื้อสินคา 4.2.2.2 เกิดความกลา ตองแสดงเอกสารบัตรประจําตัวและทะเบียน ในการสื่อสารแบบเผชิญหนา โดยสามารถเปน ราษฎรของตนเอง หรือการขับขี่ออกไปนอกพื้นที่ ผูกําหนดคําถามหรือเปนผูสงสาร หลังการวิจัย ควบคุมตองแสดงใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ พบวา กลุมคนไรสัญชาติมีความกลาในการ ประกอบดวยเปนตน ซักถามและตั้งคําถามในการเรียกรองสิทธิของ 4.1.4 ความรูความเขาใจ ตนเองมากขึ้น เชนในกิจกรรมเวทีการสื่อสาร เรื่องแนวทางการขอใชสิทธิที่ถูกตอง เชนการ สาธารณะ พวกเขาสามารถเลาถึงประสบการณ เปลี่ยนแปลงชื่อบุคคล แมกฎหมายไมหาม ทั้งดานบวกและดานลบที่ไดรับจากการใหบริการ แตไมควรเปลี่ยนชื่อในระหวางกระบวนการพิสูจน และซักถามและตั้งขอสงสัยผูใหบริการสิทธิ สัญชาติ ทั้งนี้เพื่อไมใหกระทบตอขอเท็จจริง โดยเฉพาะอยางยิ่งการสื่อสารกับภาครัฐ หรือการทําหรือตออายุบัตรประจําตัวตองได 4.2.2.3 เกิดแกนนํา ดําเนินการที่อําเภอที่ออกบัตรใหเทานั้น เปนตน การสื่อสารภายในกลุมคนไรสัญชาติอยางไมเปน 4.2 การวัดผลที่มีตอศักยภาพและ ทางการ โดยกลุมคนที่เปนแกนหลักมักเปนกลุม ทักษะดานการสื่อสารของกลุมคนไรสัญชาติ ที่เปนผูดําเนินการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับสถานะ ผลการวิจัยพบวาคนไรสัญชาติทั้งสองกลุม ของตนเอง เครือญาติ ติดตาม สืบคนขอมูล สามารถพัฒนาทักษะการสื่อสารดังนี้ การเขียนแผนผังครอบครัวและเปนสื่อกลาง 4.2.1 พัฒนาทักษะดานการ รับขอมูลขาวสารจากคณะวิจัยและนักกฎหมาย สื่อสารระดับพื้นฐานมากขึ้น เชนการฟง การพูด และกลุมคนไรสัญชาติที่เปนญาติพี่นองของตน และการเลาเรื่อง เห็นไดจากการสื่อสารระหวาง เมื่อพิจารณารูปแบบพฤติกรรมการรับรู การจัดกิจกรรมแตละครั้งมีการพูด ซักถามและ ความเขาใจและการนําความรูและทักษะไปใช 172 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ของคนไรสัญชาติแลวพบวามีความแตกตางกัน ความเขาใจทางดานกฎหมายและการวิเคราะห ใน 3 รูปแบบ ดังนี้ ความตองการของกลุมคนไรสัญชาติและผูให 1. เกิดการรับรู มีความเขาใจและนําไป บริการสิทธิเปนขั้นตอนแรกของการไปสูการ สูการขอใชสิทธิ ที่มักเปนกลุมคนไรสัญชาติ ออกแบบการสื่อสารเพื่อเพิ่มพลังใหกับคนไร เชิงรุก โดยผลที่ไดเมื่อมีการใชสิทธิมี 4 ลักษณะ สัญชาติ เพราะเปนวิธีการที่เริ่มตนดวยการ คือไดรับสิทธิตามกฎหมาย ไมไดสิทธิฯ แตไดรับ ตั้งคําถามเพื่อคนไรสัญชาติไดมีสวนรวมในการ ขอแนะนําและแนวทางแกไขปญหา ไมไดรับสิทธิฯ ตอบคําถามดังกลาว ซึ่งไมใชการถามตอบเพื่อ ไมไดรับคําแนะนํา และยุติการขอใชสิทธิ ใหไดคําตอบเทานั้น แตเปนวิธีการที่กระตุนให เนื่องจากหลักฐานเอกสารไมเอื้อประโยชนตอ คนดอยโอกาสไดศึกษามุมมองการคิดวิเคราะห การพิสูจนสิทธิ ถึงตนเองและปญหาของตนเองที่ทําใหรูจักตนเอง 2. เกิดการรับรู มีความเขาใจ แตไมนํา มากขึ้น (UNDP, 2006) และยังเปนขอมูลพื้นฐาน ไปสูการใชสิทธิฯ ที่มักเกิดกับคนไรสัญชาติเชิงรับ ที่นําไปสูการรวมกําหนดแนวทางการแกไขปญหา ที่มีเหตุผลสวนบุคคลเชนติดธุระ ไมมีเงิน ขาด ที่ตอบสนองความตองการของพวกเขามากที่สุด เอกสาร และไมกลาเปนตน สําหรับการใชการสื่อสารแบบมีสวนรวม 3. เกิดรับรู ไมนําสูความเขาใจ และไมกอ เพื่อเพิ่มพลังคนไรสัญชาติเพื่อเขาถึงสิทธิตาม ใหเกิดการใชสิทธิฯ มักเกิดกับคนไรสัญชาติ กฎหมายในครั้งนี้ ไดปฎิบัติการที่ครอบคลุมถึง เชิงรับ ดวยเหตุผลที่ยึดประสบการณ/ทัศนคติ เปาหมาย 3 ดานตามแนวทางขององคกร แบบเดิม เชนเขาไมทําอะไรให หาเอกสารหลักฐาน สหประชาชาติอยางพรอมกัน เนื่องจากแตละ ไมไดแลว เปาหมายนั้นสงผลเชื่อมโยงถึงกันและกัน กลาว ผลจากการเสริมศักยภาพดานขอ คือการใชการสื่อสารเพื่อเพิ่มโอกาสการเขาถึง กฎหมายและทักษะดานการสื่อสารทําใหคน ขอมูลเกี่ยวกับสิทธิตามกฎหมาย ทําใหคนไร ไรสัญชาติบางกลุมที่เคยไรตัวตนหรือแทบไมมี สัญชาติมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย เสียง มีตัวตนและสามารถใชทักษะการสื่อสาร ไดอยางถูกตองที่ไปเพิ่มพลังใหคนไรสัญชาติ เพื่อตอรองเพื่อเขาถึงสิทธิตามกฎหมายของตน มีอํานาจที่ไดมาจากการเกิคความรูและการพัฒนา กับผูใหบริการดานสิทธิมากขึ้น ซึ่งถือเปนทักษะ ศักยภาพและทักษะดานการสื่อสารมากขึ้น และปจจัยสําคัญที่จะทําใหคนไรสัญชาตินําไป ขณะเดียวกันก็ทําใหประเด็นเรื่องของสิทธิของคน สานตอการใชสิทธิตามกฎหมายของตนตอไป ไรสัญชาติเปนวาระของพื้นที่ไปดวย อภิปรายผลการวิจัย 2. การเพิ่มอํานาจใหกับคนไรสัญชาติ 1. การสํารวจขอมูลพื้นฐานคือปจจัย ดวยการสื่อสารแบบมีสวนรวม เริ่มตนของการสื่อสารเพื่อเพิ่มพลัง การมีสวนรวมในการสื่อสารของคนไร การสํารวจขอมูลพื้นฐานดานการสื่อสาร ความรู สัญชาติในการวิจัยครั้งนี้มีหลายระดับ ขึ้นอยูกับ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 173 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

พฤติกรรมการสื่อสารของคนไรสัญชาติวาเปน การทดลองปฏิบัติการใชสิทธิ เปนกิจกรรม เชิงรุกหรือเชิงรับ โดยทักษะการสื่อสารที่จะทําให ที่สรางประสบการณจริงใหกับคนไรสัญชาติ คนไรสัญชาติมีพลังอํานาจในการเขาถึงสิทธิ ที่สามารถชวยนําพาคนไรสัญชาติออกจาก และกาวขามความกลัวหรือไมกลาสื่อสารไปได ความรูสึกดอยอํานาจและความกลัวในการ ตองเปนทักษะการสื่อสารในระดับกลางที่มุงเนน เรียกรองสิทธิ ควรจัดใหมีขึ้นหลังจากที่คนไรสัญชาติ ใหเกิดทักษะการวิเคราะหขอมูล การเจรจา และ ไดรับการเสริมความรูและทักษะการสื่อสารแลว การสื่อสารแบบเผชิญหนาเพื่อการขอใหบริการสิทธิ ขั้นตอนการทดลองฯ เพื่อกาวขามความกลัว เพราะการพูดการฟงที่เปนทักษะระดับพื้นฐานนั้น มี ดังนี้ ยังไมสามารถทําใหเกิดการเรียกรองและลงมือ 3.1 สํารวจความรูดานกฎหมายและ ปฏิบัติการขอใชสิทธิได ปญหาการสื่อสารและเรื่องการไดรับสิทธิของคน อยางไรก็ตาม การใชการสื่อสารแบบมี ไรสัญชาติ โดยใชรูปแบบการสื่อสารกลุมยอย สวนรวมเพื่อเพิ่มพลังใหกับคนไรสัญชาติไดเขาถึง ที่สมาชิกกลุมมีความคลายกันและการสื่อสาร สิทธิตามกฎหมาย ควรพิจารณาเรื่องจังหวะการ ระหวางบุคคล มีสวนรวมและกลุมคนที่เขามามีสวนรวม โดย 3.2 การแสวงหาคนไรสัญชาติ ระยะแรกของการทํางานที่ตางฝายยังไมคุนเคย เขารวมการทดลอง โดยพิจารณาจากความ และมีความหวาดระแวงกันอยูนั้น การใชวิธีการ กระตือรือรนเรื่องสิทธิของตนเองและเปนคน สื่อสารแบบมีสวนรวมควรใหคนที่มีลักษณะ ไรสัญชาติในกลุมที่พบในงานวิจัยมากที่สุด คลายกันเขามากอน แลวจึงเพิ่มกลุมที่มีความ เพื่อใหเปนตัวแทนกลุมคนไรสัญชาติ แตกตางเขามา พรอมกับการเสริมศักยภาพ 3.3 การเลือกสิทธิสําหรับการทดลอง ดานกฎหมายและทักษะการสื่อสาร จากนั้น ควรเลือกสิทธิที่เขาถึงงายและเปนไปไดมากที่สุด จึงใชกิจกรรมการสื่อสารที่เปดพื้นที่การสื่อสาร กอนแลวเปนสิทธิที่มีความยากและซับซอนมากขึ้น สาธารณะแบบรวมกับคนที่แตกตางหลากหลาย เชนเริ่มจากสิทธิที่เกี่ยวของกับภาคเอกชนกอน ซึ่งวิธีการดังกลาวถือเปนการเตรียมความพรอม เพราะการใชสิทธิสวนใหญเปนการตัดสินใจของ ดานการสื่อสารของคนดอยอํานาจอยางคอยเปน ภาคเอกชนและมีการเรียกรองหลักฐาน หรือ คอยไปเพื่อใหพรอมสําหรับการสื่อสารที่มีลักษณะ ขอเท็จจริงจากคนไรสัญชาตินอย เพื่อเปนการ เผชิญหนากับคูตรงขามที่มีอํานาจมากกวานั้น สรางกําลังใจและเพิ่มความกลาหาญอยางคอยเปน ไดอยางเทาเทียมและมีเหตุมีผลในการสื่อสาร คอยไป มากขึ้น 3.4 ใชการสื่อสารแบบมีสวนรวม 3. การกาวขามความกลัวดวยการ ในทุกขั้นตอนในการทํางาน เพื่อสรางความ ทดลองการสื่อสารแบบเผชิญหนา รูสึกเปนเจาของเรื่องและตระหนักถึงเรื่องของ ผลประโยชนที่ตองกระทําการดวยตนเอง 174 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

3.5 การประเมินผลหลังการทดลอง หรือการทํางานตามสิทธิและประสบการณการขอ ปฏิบัติการทดลองการขอใชบริการดานสิทธิ ใชสิทธิอยางมีความหวังมากยิ่งขึ้น โดยทําไดในสองลักษณะคือ 4. ลักษณะและบทบาทของการสื่อสาร 3.5.1 ลักษณะแบบทันทีทันใด แบบมีสวนรวมเพื่อเพิ่มพลังการเขาถึงสิทธิ เพื่อประเมินผลดานความรูความเขาใจดานสิทธิ ตามกฎหมายของคนไรสัญชาติ ตามกฎหมาย รวมทั้งเพื่อประเมินความรูสึก 4.1 ลักษณะการสื่อสารแบบมี ในระหวางการทดลอง สวนรวมฯ เพื่อเพิ่มพลังการเขาถึงสิทธิตามกฎหมาย 3.5.2 ลักษณะแบบลาชา มีลักษณะสําคัญดังตอไปนี้ ใชประเมินหลังจากการขอใชสิทธิ พบวาคน 4.1.1 เปนรูปแบบการสื่อสาร ไรสัญชาติมีความกลาในการขอใชสิทธิโดยเฉพาะ ที่มีทิศทางการไหลแบบแนวระนาบ สิทธิเกี่ยวกับการพัฒนาสถานะบุคคลเพื่อขอ 4.1.2 เปนรูปแบบการสื่อสาร รับรองสัญชาติที่มีความยากและซับซอนเพิ่มขึ้น ที่เอื้อตอการปรับความสมดุลของอํานาจทางการ แตในกระบวนการขอใชสิทธิในการพัฒนาสถานะ สื่อสารระหวางคนไรสัญชาติซึ่งถือเปนคนดอย บุคคลดังกลาว ควรมีหนวยงานภายนอกเชน อํานาจและกลุมภาครัฐหรือกลุมใหบริการสิทธิ นักกฎหมาย หรือเจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชน 4.1.3 เปนรูปแบบการสื่อสาร ใหความชวยเหลือและหนุนเสริม เชนนั้นอาจทําให ที่เอื้อตอการสรางการมีสวนรวมในระดับสูงที่ คนไรสัญชาติลมเลิกการดําเนินการเมื่อตอง มากกวาเปนผูรับสาร เชนการสรางโอกาสใหคน เผชิญหนากับผูใหบริการสิทธิที่ยังคงใชรูปแบบ ไรสัญชาติมีสวนรวมการกําหนดเนื้อหาประเด็น การสื่อสารที่มุงจับผิดหรือปฏิเสธการใหบริการ กําหนดชวงเวลาในการสื่อสาร รวมไปถึงเปน การที่คนไรสัญชาติโดยเฉพาะกลุมเชิงรุก ผูกระทําการดวยตนเอง เชนการทดลองใชสิทธิฯ สามารถกาวขามความกลัวไดนั้น สอดคลองกับ 4.1.4 เปนรูปแบบการสื่อสาร แนวคิดของ Gibson (1993) ซึ่งกลุมคนไรสัญชาติ ที่สรางความรูสึกเปนเจาของประเด็นและรวม ที่เขารวมการทดลองแตละสิทธินั้นจะรับรู ในการแกไขปญหา เชนการคืนขอมูลการวิจัย ถึงความสําเร็จและรูสึกพอใจกับความสามารถ ใหกับกลุมเปาหมายเปนระยะ ๆ การมอบหมาย ของตนที่สามารถผานขั้นตอนการขอใชสิทธิ งาน และการติดตามขอมูลอยางตอเนื่อง แตละสิทธิ ตั้งแตระดับงายกอนและเมื่อมี 4.2 บทบาทการสื่อสารแบบมี ความสําเร็จในขั้นแรกก็จะพยายามขอใชสิทธิ สวนรวมในการเพิ่มพลังคนไรสัญชาติในการ ที่มีความยากและซับซอนมากขึ้น ซึ่งความสําเร็จ วิจัยครั้งนี้แสดงใหเห็นบทบาทของการสื่อสาร ของการขอใชสิทธิแตละสิทธินั้นจะเปนพลังวน ดังกลาวหลายประการเชน เขามาเสริมใหพวกเขาเกิดความมั่นใจและเริ่ม 4.2.1 การทําใหคนไรสัญชาติ ที่จะกําหนดเปาหมายชีวิตของตนทั้งในการเรียน ไดตระหนักถึงตนเอง สามารถวิเคราะหปญหา Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 175 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ขอจํากัดของตัวเองได การสืบคนขอมูลขอเท็จจริง ความแตกตางกันโดยเฉพาะเชิงอํานาจและ ทางกฎหมายที่เกี่ยวของ และสามารถสื่อสารเชน บทบาทเขามารวมในการสื่อสาร เพราะหากมี การเลาเรื่องของตนเอง การขอใชบริการสิทธิ ความหวาดระแวงและความกลัวแลวการให การออกแบบเนื้อหา และการทํางานรวมกับกลุม ขอมูลขอเท็จจริงหรือการทํางานรวมกันอาจไม ผูผลิตสื่อเพื่อใหเขาใจถึงวิธีการทํางานของสื่อได ประสบความสําเร็จ สวนการเพิ่มพลังคนดอย 4.2.2 เปนตัวเชื่อมโยงทาง อํานาจเชนคนไรสัญชาติควรออกแบบวิธีการ สังคมที่ทําใหกลุมคนที่เปนคูตรงขามหรือคน สื่อสารที่ทําใหพวกเขาไดทดลองปฏิบัติการ ที่ไมสนใจเขามาเรียนรูและเขาใจปญหาของคน ในสถานการณจริงที่มีความซับซอนจากงาย ไรสัญชาติไดมากขึ้น ไปถึงยากเพราะหากอธิบายหรือใหความรู 4.2.3 เปนกลไกในการสราง เพียงอยางเดียวอาจไมทําใหพวกเขาหลุดจาก กดดันทางสังคมตอกลุมที่เกี่ยวของในการดูแล ความกลัวได ปญหาของคนไรสัญชาติ 2. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้ง การวิจัยในครั้งนี้แมวายังไมสามารถ ตอไป ทําใหคนไรสัญชาติไดรับบริการสิทธิไดอยางราบรื่น 2.1 การศึกษาประเด็นการสื่อสาร หรือทําใหผูใหบริการสิทธิแกไขปญหาใหคน ของคนไรสัญชาติเชน การสื่อสารเพื่อสรางแรง ไรสัญชาติไดทั้งหมด แตอยางนอยถือเปนจุด กดดันทางสังคมในประเด็นการเขาถึงสิทธิตาม เริ่มตนที่ทําใหเรื่องของคนไรสัญชาติกลายเปน กฎหมายของคนไรสัญชาติ เพราะการสื่อสาร วาระของพื้นที่อยางชัดเจน แตยังตองไดรับการ ที่จะทําใหคนไรสัญชาติเขาถึงสิทธิ จําเปนตอง พัฒนาและสานตอไปอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ สรางแรงกดดันใหภาครัฐเห็นความสําคัญและ การใชสิทธิในการพัฒนาสถานะบุคคลที่ถือเปน สนใจ รวมทั้งการศึกษาเพื่อสรางการรับรูขอมูล สิทธิที่มีความยากและตองใชความอดทนของคน ขาวสารดานสิทธิตามกฎหมายของคนไรสัญชาติ ไรสัญชาติในการพิสูจนขอเท็จจริงของตนเองและ ผานชองทางการสื่อสารที่เปนทางการและมาจาก ติดตามเรื่องของตนเองอยางตอเนื่อง ผูสงสารที่นาเชื่อถือ ทั้งนี้เพื่อใหขอมูลขาวสาร ที่ไปถึงคนไรสัญชาติมีความถูกตอง และชัดเจน ขอเสนอแนะ 2.2 ควรพิจารณาศึกษาการเสริมพลัง 1. ขอเสนอแนะจากการวิจัย การสื่อสารผูใหบริการภาครัฐ เพื่อใหเกิดการ การออกแบบการสื่อสารสําหรับ สื่อสารเพื่อแกไขปญหาคนไรสัญชาติ เนื่องจาก ประเด็นที่ออนไหว ควรเริ่มตนดวยการออกแบบ เปนกลุมผูมีสวนไดสวนเสียที่สําคัญ ใกลชิดและ การสื่อสารที่สรางความไววางใจ โดยใชรูปแบบ ยังเปนแหลงขาวและแหลงบริการสิทธิที่จะทําให การสื่อสารจากการสื่อสารกลุมเล็ก ๆ ที่สมาชิก คนไรสัญชาติไดเขาถึงและใชสิทธิตามกฎหมาย มีความคุนเคยกันกอนกอนจะใหคนอื่น ๆ ที่มี 176 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

2.3 ศึกษาการสรางเครือขายความ stateless – nationality-less person: รวมมือระหวางสื่อมวลชน เพื่อยกระดับมาตรฐาน Case Study on financial transactions การนําเสนอและเผยแพรขาวสารขอมูลดานสิทธิ of stateless – nationality-less person. ตามกฎหมายของคนไรสัญชาติอยางถูกตองและ Master of Laws. Faculty of Law: มีคุณภาพ เพราะการสื่อสารเพื่อเพิ่มพลังใหคน Bangkok: Thammasat University. ไรสัญชาติไดเขาถึงสิทธิตามกฎหมายนั้นจําเปน (in Thai) ตองใชการสื่อสารหลายระดับ ลําพังการสื่อสาร Teeachaimahit, R., et al. (2014). Protecting Right เฉพาะพื้นที่อาจมีพลังไมพอที่จะนําไปสูการ of Tai Lue in Phayao Province. Phayao: เปลี่ยนแปลงขอกฎหมายและสื่อสารขอกฎหมาย Thailand Research Fund. (in Thai) ที่ถูกตองไปยังคนไรสัญชาติได United Nations Development Programme Bureau for Development Policy REFERENCES (UNDP). (2006). Communication for Gibson, C.H. (1993). A concept analysis of Empowerment: Developing Media empowerment. 2nd edition. London: Strategies in Support of Vulnerable An Aspen Publication. Groups. NY: Democratic Governance Chanthima, I. Director of youth’s development Groups. center. Interviewed on May 19, 2016. Women stateless people 28 years old. (in Thai) Interviewed on April 7, 2016. (in Thai) Saisaard, W. (2010). Right to property of Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 177 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

ปจจัยพยากรณความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ เขตกรุงเทพมหานคร PREDICTIVE FACTORS INTENTION IN SOCIAL NETWORK USAGE OF BUDDHIST MONKS IN BANGKOK ศรัณยธร ศศิธนากรแกว Saranthorn Sasithanakornkaew

ภาควิชานิเทศศาสตรและสารสนเทศศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย Department of Communication Arts and Information Sciences, Faculty of Humanities, Kasetsart University, Bangkok, Thailand

[email protected]

บทคัดยอ งานวิจัยเรื่องปจจัยพยากรณความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆในเขต กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงคในการวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูความสามารถ ของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร การรับรูประโยชน การรับรูความงาย การคลอยตามกลุม อางอิงกับความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ และ 2) ศึกษาปจจัยที่สามารถ รวมพยากรณความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ กลุมตัวอยางในงานวิจัยคือ พระสงฆที่อาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 400 คน ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช แบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล และวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติการแจกแจง ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใชการวิเคราะหถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบวา ปจจัยดานการรับรูความสามารถของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร ปจจัยดานการรับรูประโยชน ปจจัยดานการรับรูความงายและปจจัยดานการคลอยตามกลุมอางอิง มีความสัมพันธทางบวกกับความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ 0.05 และตัวแปรทั้ง 4 มีอิทธิพลตอความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ 0.05 โดยทั้ง 4 ตัวแปรสามารถรวมกันอธิบายความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลน ไดรอยละ 44.0 178 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

คําสําคัญ : การรับรูประโยชน การรับรูความงาย กลุมอางอิง ความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม ออนไลน

ABSTRACT This research “Predictive Factors of Intention in Social Network Usage of Buddhist Monks in Bangkok” is aimed to 1) study the relationship between technology self-efficacy, perceived usefulness, perceived ease of use, subjective norms and intention to use social network and 2) to examine factors that predict intention to use social network. Data are collected by survey questionnaires from 400 respondents. Research results are analyzed with frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis. The results of the study found that technology self-efficacy, perceived usefulness, perceived ease of use and subjective norms had positively correlated with intention to use social network at significant level 0.05. All of four factors predicted intention to use social network at significant level 0.05 and could explain intention to use social network with a percentage of 44.0

Keywords: perceived usefulness, perceived ease of use, subjective norms, intention to use social network

บทนํา ปจจุบันโลกไดเขาสูยุคของสังคม พื้นที่ที่ทําใหคนทุกเพศ ทุกวัยสามารถเขาถึงและ เทคโนโลยีสารสนเทศ ดวยความกาวหนาทาง ติดตอสื่อสารกันไดอยางรวดเร็ว แมจะอยูคนละ เทคโนโลยีสงผลใหรูปแบบและวิธีการสื่อสาร สถานที่ก็ตาม ในยุคนี้เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตมาก เทคโนโลยี การใชเครือขายสังคมออนไลน เริ่มแพร สารสนเทศยังไดสงผลกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง วงกวางและไดรับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ พฤติกรรมในดานตาง ๆ ไมวาจะเปนรูปแบบการ จากผูคนทั่วโลก โดยเฉพาะ facebook, twitter, ดําเนินชีวิตพฤติกรรมการสื่อสาร รวมถึงการใช instagram, youtube และสื่อสังคมอื่น ๆ ชองทางการสื่อสารที่เรียกวา “เครือขายสังคม เนื่องจากสิ่งเหลานี้ชวยใหผูคนสามารถติดตอ ออนไลน” ซึ่งเปนเครื่องมือหนึ่งในการติดตอ สื่อสารกันไดอยางรวดเร็ว ไรขอจํากัดในเรื่อง สื่อสารระหวางบุคคลและยังเปดโอกาสใหผูคน ของเวลาและสถานที่ และเพราะวิวัฒนาการ สามารถนําเสนอเรื่องราวของตนไดอยางกวางขวาง ทางเทคโนโลยีเหลานี้ จึงทําใหมีจํานวนผูใชและ มากยิ่งขึ้น เครือขายสังคมออนไลนจึงเปรียบเสมือน ปริมาณการใชอินเทอรเน็ตผานเครือขายสังคม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 179 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ออนไลนเพิ่มสูงขึ้นทุกป ดังจะเห็นไดจากขอมูล พระสงฆหลาย ๆ รูปใชเครือขายสังคมออนไลน จากสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อการเผยแผพระพุทธศาสนาผานทางเฟซบุค (องคการมหาชน) (Electronic Transactions แฟนเพจ หรือบางรูปใชแอพพลิเคชั่นไลนในการ Development Agency, 2016) ไดเปดเผย ตอบขอสงสัยทางธรรมแกญาติโยม เปนตน ผลสํารวจพฤติกรรมผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศไทย ขณะเดียวกันก็พบเห็นพระสงฆหลาย ๆ รูปที่ใช ป 2559 พบวา คนไทยเลนอินเทอรเน็ตผานมือถือ เพื่อความบันเทิงหรืออาจใชในทิศทางที่ไมเหมาะสม สูงขึ้นรอยละ 9 จากป 2558 โดยมียอดเฉลี่ย เชนการโพสตภาพที่ไมเหมาะสมในแกสมณเพศ ในการใช 6.2 ชั่วโมงตอวัน สื่อสังคมออนไลนที่ถูก บนเครือขายสังคมออนไลน เปนตน ใชงานบอยที่สุด คือ facebook รอยละ 84.2 จากการทบทวนวรรณกรรมงานวิจัย line ใช รอยละ 82 และ youtube รอยละ 76.9 พบวางานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช ตามลําดับ โดยกิจกรรมที่ผูใชอินเทอรเน็ตนิยมทํา เครือขายสังคมออนไลนมีการศึกษาเฉพาะกลุม ไดแก การพูดคุยผาน social network รอยละ 86.8, เด็ก วัยรุน นักศึกษา เปนสวนใหญ มีงานวิจัย ดูวิดีโอใน youtube รอยละ 66 และอานหนังสือ ที่ศึกษาในกลุมของพระสงฆคอนขางนอย ซึ่งใน อิเล็กทรอนิกส รอยละ 55.7 ตามลําดับ ขณะที่พระสงฆจํานวนมากในปจจุบันมีการใช จากขอมูลขางตน เห็นไดวาคนไทยไปมี เครือขายสังคมออนไลนอยางแพรหลาย ผูวิจัย พฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลนสูงขึ้น จึงมีความสนในทําการศึกษาวิจัยเรื่องปจจัย และเริ่มขยายวงกวางเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไมเวนแมแต พยากรณความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม สถาบันทางศาสนา ที่ไดเริ่มปรับตัวใหเขากับยุค ออนไลนของพระสงฆในเขตกรุงเทพมหานครฯ เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มมากขึ้น ดังจะเห็นได เพื่อศึกษาปจจัยตาง ๆ อันนําไปสูการยอมรับและ จากมีพระสงฆจํานวนมากที่ใชเครือขายสังคม ตั้งใจใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ ออนไลนในการสื่อสารโดยมีวัตถุประสงคในการ ในเขตกรุงเทพมหานครฯ อันจะนํามาสูความ สื่อสารที่แตกตางกันไป จากผลการวิจัยเรื่อง เขาใจและเปนแนวทาง ในการพัฒนาสงเสริม ทัศนคติ พฤติกรรมและการใชประโยชนจาก พระสงฆในการใชเครือขายสังคมออนไลนในทาง เครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆในเขต ที่เปนประโยชนตอไป กรุงเทพมหานคร (Varasin, 2016) พบวาพระสงฆ ใชระยะเวลาในการใชเครือขายสังคมออนไลน วัตถุประสงคในการวิจัย เฉลี่ยตอครั้ง 1 – 2 ชั่วโมง ความถี่ในการใช 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการ เครือขายสังคมออนไลน 1 – 10 ครั้ง ตอวัน โดยมี รับรูความสามารถของตนในการใชเทคโนโลยี การใชประโยชนจากเครือขายสังคมออนไลน การสื่อสาร การรับรูประโยชน การรับรูความงาย ในดานความรู การติดตอสื่อสาร การเผยแพร การคลอยตามกลุมอางอิงกับความตั้งใจในการ ธรรมะและดานความบันเทิง ดังเชนที่เราพบเห็น ใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ 180 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่สามารถรวม ตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของของ พยากรณความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม พระสงฆในเขตกรุงเทพมหานครฯ โดยประชากร ออนไลนของพระสงฆ และกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก พระสงฆที่อาศัยอยูในกรุงเทพมหานครฯ ที่มี ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ พฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลนจํานวน ผูวิจัยคาดหวังวาผลการวิจัยจะกอใหเกิด 400 รูป การวิจัยนี้ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ประโยชนดังนี้ โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงสํารวจ 1. ไดองคความรู ความเขาใจ ปจจัยตาง ๆ ทางดานจิตวิทยาที่มีผลตอพระสงฆในการยอมรับ สมมุติฐานในการวิจัย ใชเครือขายสังคมออนไลน 1. การรับรูความสามารถของตนในการ 2. เพื่อเปนแนวทางแกหนวยงาน ใชเทคโนโลยีการสื่อสารมีความสัมพันธกับ ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของในการพัฒนา ความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของ เครือขายสังคมออนไลนในอันที่จะเปนประโยชน พระสงฆ แกพระสงฆ 2. การรับรูประโยชนมีความสัมพันธกับ 3. เพื่อเปนแนวทางในการสงเสริม ความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของ พัฒนาการใชประโยชนจากสื่อสังคมออนไลน พระสงฆ แกพระสงฆในดานตาง ๆ เชนการเผยแผพระพุทธ 3. การรับรูความงายมีความสัมพันธกับ ศาสนา ความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของ พระสงฆ ขอบเขตการวิจัย 4. การคลอยตามกลุมอางอิงมีความ การวิจัยเรื่อง ปจจัยพยากรณความตั้งใจ สัมพันธกับความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม ในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ ออนไลนของพระสงฆ ในเขตกรุงเทพมหานครฯ โดยมุงศึกษาตัวแปร 5. การรับรูความสามารถของตนในการ การรับรูความสามารถของตนในการใชเทคโนโลยี ใชเทคโนโลยีการสื่อสาร การรับรูประโยชน การ การสื่อสาร การรับรูประโยชน การรับรูความงาย รับรูความงายและการคลอยตามกลุมอางอิง การใชเครือขายสังคมออนไลน รวมไปถึงการ มีประสิทธิภาพการพยากรณความตั้งใจในการใช คลอยตามกลุมอางอิง ที่มีความสัมพันธตอความ เครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 181 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กรอบแนวคิดของการวิจัย

การรับรูความสามารถ H1 ของตนในการใช เทคโนโลยีการสื่อสาร

H2 H5 ความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม การรับรูประโยชน ออนไลนของพระสงฆ

การรับรูความงาย H3

การคลอยตามกลุมอางอิง H4

ระเบียบวิธีวิจัย กลุมตัวอยางจํานวน 400 คน โดยการสุมตัวอยาง การวิจัยเรื่อง ปจจัยพยากรณความตั้งใจ แบบหลายขั้นตอน วิธีการสุมแบบงาย ดวยการแบง ในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ กรุงเทพมหานครออกเปน 50 เขต และจับฉลาก ในเขตกรุงเทพมหานครฯใชระเบียบวิธีการวิจัย ออกมา 10 เขต จากนั้นกําหนดโควตา กําหนด เชิงปริมาณ โดยใชวิธีการวิจัยแบบสํารวจ กลุมตัวอยางเขตละเทา ๆ กัน เขตละ 40 รูป เพื่อรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามเปน รวมเปน 400 รูป และใชวิธีการสุมแบบบังเอิญ เครื่องมือในการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังนี้ โดยการเก็บขอมูลจากพระสงฆที่มีพฤติกรรม ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ พระสงฆ การใชเครือขายสังคมออนไลน ที่จําพรรษา ที่อาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครฯ ขอมูลจาก อยูในวัดทั้ง 10 เขตที่จับฉลากได เก็บขอมูลในชวง สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ (National เดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน 2560 Office of Buddhism, 2016) มีจํานวน 13,512 รูป ผูวิจัยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือ โดยกําหนดขนาดกลุมตัวอยางโดยใชตาราง ในการเก็บรวบรวมขอมูล ประกอบดวยคําถาม สําเร็จรูปของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น เกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 95% ระดับความคลาดเคลื่อน 5 % ไดขนาด การรับรูความสามารถของตนในการใชเทคโนโลยี 182 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การสื่อสาร การรับรูประโยชน การรับรูความงาย ในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยอยูที่ 3.50 โดยกลุม การคลอยตามกลุมอางอิงและความตั้งใจในการ ตัวอยางมีความมั่นใจในการใชอินเทอรเน็ต ใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ ใชวิธี ดวยตนเองมากที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยอยูที่ 3.68 วิเคราะหดวยสถิติเชิงพรรณาเพื่อแจกแจงความถี่ รองลงมา คือ รูสึกมั่นใจในการใชเครือขายสังคม แสดงคารอยละ และคาเฉลี่ยของตัวแปรตาง ๆ ออนไลนดวยตนเอง มีคาเฉลี่ย 3.65 และขอที่ได และวิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบสมมุติฐานดวย คาเฉลี่ยนอยที่สุด คือ เมื่อมีแอพพลิเคชั่นหรือ สถิติเชิงอนุมาน ประกอบดวย การวิเคราะห สื่อสังคมออนไลนประเภทใหม ๆ ออกมาสามารถ ความสัมพันธระหวางตัวแปรดวยการวิเคราะห เรียนรูการใชงานดวยตนเองคาเฉลี่ยอยูที่ 3.32 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ โดยวิธีของเพียรสัน 3. การรับรูประโยชนในการใชเครือขาย และการวิเคราะหถดถอยแบบพหุคูณ ซึ่งใช สังคมออนไลน อธิบายความสัมพันธและประสิทธิภาพการ กลุมตัวอยางมีระดับการรับรู ทํานายตัวแปรตาง ๆ ประโยชนในการใชเครือขายสังคมออนไลน มีคาเฉลี่ยรวมอยูที่ 3.78 ในระดับสูง โดยกลุม สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ตัวอยางรับรูประโยชนของเครือขายสังคม สรุปผลการวิจัย ออนไลนชวยใหคนควาหาขอมูลดานธรรมะ 1. ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง ไดสะดวกรวดเร็วมากที่สุด คาเฉลี่ย 4.06 และ ผลการศึกษาขอมูลทั่วไปของกลุม เปนชองทางในการเผยแพรธรรมะรองลงมา ตัวอยาง พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุ คาเฉลี่ยที่ 3.79 กลุมตัวอยางรับรูประโยชน ตั้งแต 20-30 ป จํานวน 223 รูป คิดเปนรอยละ ดานเครือขายสังคมออนไลนชวยใหรูจักหรือ 55.8 สวนใหญมีระยะเวลาจําพรรษา 1-3 พรรษา มีเพื่อนใหมนอยที่สุด คาเฉลี่ย 3.54 จํานวน 146 รูป คิดเปนรอยละ 36.5 ระดับการ 4. การรับรูความงายในการใชเครือขาย ศึกษาทางโลก พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ สังคมออนไลน สําเร็จการศึกษาทางโลกในระดับปริญญาตรี/ กลุมตัวอยางมีระดับการรับรูความงาย เทียบเทา จํานวน 147 รูป คิดเปนรอยละ 36.8 ในการใชเครือขายสังคมออนไลนคาเฉลี่ยอยูที่ ระดับการศึกษาทางธรรม สวนใหญสําเร็จการ 3.69 อยูในระดับสูง โดยสามารถหาขอมูลผาน ศึกษาทางธรรมในระดับเปรียญตรี (ประโยค 1-2 เครือขายสังคมออนไลนไดโดยงายมีคาเฉลี่ย ถึง ป.ธ. 3) จํานวน 105 รูป คิดเปนรอยละ 23.5 สูงที่สุด คือ 3.83 รองลงมาไดแกเครือขายสังคม 2. การรับรูความสามารถของตนในการ ออนไลนชวยใหทานติดตอสื่อสารกับผูอื่นได ใชเทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกสถานที่ที่ตองการ คาเฉลี่ย 3.78 และขอที่ กลุมตัวอยางมีระดับการรับรูความ คาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ แอพพลิเคชั่นหรือสื่อสังคม สามารถของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร ออนไลนประเภทใหม ๆ ที่มีผูพัฒนาขึ้นมาแทนที่ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 183 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สื่อสังคมออนไลนเกา ๆ มักจะมีวิธีใชงานงาย ผลการวิจัยพบวาการรับรูความ กวาเดิม คาเฉลี่ย 3.55 สามารถของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร 5. การคลอยตามกลุมอางอิง มีความสัมพันธเชิงบวกกับความตั้งใจในการ กลุมตัวอยางมีการคลอยตามกลุม ใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆอยางมี อางอิงในการใชเครือขายสังคมออนไลนโดยรวม นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีคาสัมประสิทธิ์ ในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ยอยูที่ 3.33 โดย สหสัมพันธ .507 มีความสัมพันธระดับปานกลาง กลุมตัวอยางใชเครือขายสังคมออนไลนเพื่อ สมมติฐานขอที่ 2 การรับรูประโยชน ติดตอสื่อสารกับบิดา มารดา ญาติสนิทอยูใน มีความสัมพันธกับความตั้งใจในการใชเครือขาย ระดับมากที่สุด ซึ่งมีคาเฉลี่ยอยูที่ 3.49 รองลงมา สังคมออนไลนของพระสงฆ คือ ใชเครือขายสังคมออนไลนเพราะตองติดตอ ผลการวิจัยพบวาการรับรูประโยชน สื่อสารกับกลุมพระสงฆดวยกันมีคาเฉลี่ยอยูที่ มีความสัมพันธเชิงบวกกับความตั้งใจในการ 3.45 โดยที่พี่/นอง แนะนํา ชวนใหใชเครือขาย ใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆอยางมี สังคมออนไลน อยูในระดับนอยที่สุด มีคาเฉลี่ย นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีคาสัมประสิทธิ์ อยูที่ 3.10 สหสัมพันธ .550 มีความสัมพันธระดับปานกลาง 6. ความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม สมมติฐานขอที่ 3 การรับรูความงาย ออนไลน มีความสัมพันธกับความตั้งใจในการใชเครือขาย กลุมตัวอยางความตั้งใจในการใช สังคมออนไลนของพระสงฆ เครือขายสังคมออนไลนโดยรวมในระดับปานกลาง ผลการวิจัยพบวาการรับรูความงาย 3.52 โดยกลุมตัวอยางมีความตั้งใจที่จะใช มีความสัมพันธเชิงบวกกับความตั้งใจในการใช เครือขายสังคมตอเนื่องไปเรื่อย ๆ มากที่สุด เครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆอยางมี คาเฉลี่ย 3.60 และในอนาคตหากมีสื่อสังคม นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีคาสัมประสิทธิ์ ออนไลนประเภทใหม ๆ มาทดแทนสื่อสังคม สหสัมพันธ .576 มีความสัมพันธระดับปานกลาง ออนไลนที่ใชอยูปจจุบัน ยังคงสนใจจะใช และ สมมติฐานขอที่ 4 การคลอยตาม ตั้งใจจะใชเครือขายสังคมออนไลนมากขึ้น กลุมอางอิงมีความสัมพันธกับความตั้งใจในการ ตามลําดับ ใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ 7. การทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบวาการคลอยตาม สมมติฐานขอที่ 1 การรับรูความ กลุมอางอิงมีความสัมพันธเชิงบวกกับความตั้งใจ สามารถของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร ในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ มีความสัมพันธกับความตั้งใจในการใชเครือขาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีคา สังคมออนไลนของพระสงฆ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ .585 มีความสัมพันธ ระดับปานกลาง 184 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 1 ตารางแสดงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยพยากรณกับความตั้งใจในการใช เครือขายสังคมออนไลน

ความสัมพันธของปจจัยพยากรณกับความตั้งใจ ระดับ r sig ในการใชเครือขายสังคมออนไลน ความสัมพันธ การรับรูความสามารถของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร .507* .000 ปานกลาง การรับรูประโยชน .550* .000 ปานกลาง การรับรูความงาย .576* .000 ปานกลาง การคลอยตามกลุมอางอิง .585* .000 ปานกลาง

หมายเหตุ : * มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

สมมติฐานขอที่ 5 การรับรูความ ดานการคลอยตามกลุมอางอิง มีคาสัมประสิทธิ์ สามารถของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร การถดถอยมาตรฐานเทากับ 0.322 มีอิทธิพล การรับรูประโยชน การรับรูความงายและการ ตอความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลน คลอยตามกลุมอางอิงมีประสิทธิภาพการ มากที่สุด รองลงมาคือ ปจจัยดานการรับรูความงาย พยากรณความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม มีคาสัมประสิทธิ์การถดถอยมาตรฐาน เทากับ ออนไลนของพระสงฆ 0.235 มีอิทธิพลตอความตั้งใจในการใชเครือขาย พบวา ปจจัยดานการรับรูความสามารถ สังคมออนไลน ปจจัยปจจัยดานการรับรูประโยชน ของตนในการใชคอมพิวเตอร ปจจัยดานการ มีคาสัมประสิทธิ์การถดถอยมาตรฐานเทากับ รับรูประโยชน ปจจัยดานการรับรูความงายและ 0.123 มีอิทธิพลตอความตั้งใจในการใชเครือขาย ปจจัยดานการคลอยตามกลุมอางอิง มีอิทธิพล สังคมออนไลน และปจจัยดานการรับรูความ ตอความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลน สามารถของตนในการใชคอมพิวเตอรมีคา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 อธิบายการ สัมประสิทธิ์การถดถอยมาตรฐานเทากับ 0.108 แปรผันของความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม มีอิทธิพลตอความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม ออนไลนของพระสงฆไดรอยละ 44.0 โดยปจจัย ออนไลนตามลําดับ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 185 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณเพื่อแสดงอิทธิพลของปจจัยดานการรับรู ความสามารถของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร ปจจัยดานการรับรูประโยชน ปจจัย ดานการรับรูความงายและปจจัยดานการคลอยตามกลุมอางอิง มีอิทธิพลตอความตั้งใจ ในการใชเครือขายสังคมออนไลน

ปจจัยพยากรณความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลน b Beta t Sig. การรับรูความสามารถของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร .112 .108 2.004 .046* การรับรูประโยชน .150 .123 2.082 .038* การรับรูความงาย .272 .235 4.104 .000* การคลอยตามกลุมอางอิง .315 .322 6.597 .000* R² = 0.446, Adjusted R² = 0.440, Sig = .000* หมายเหตุ : * มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

อภิปรายผลการวิจัย กระทําของบุคคล นั่นคือ ถาบุคคลมีการรับรู ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบวา ความสามารถของตนเองในการกระทําพฤติกรรม ความสัมพันธระหวางการรับรูความสามารถ ใดพฤติกรรมหนึ่งสูง บุคคลก็มีแนวโนมที่จะ ของตนในการใชเทคโนโลยีการสื่อสาร การรับรู กระทําพฤติกรรมนั้นสูงดวยเชนเดียวกัน แตถา ประโยชน การรับรูความงาย การคลอยตามกลุม บุคคลมีการรับรูความสามารถของตนเองตํ่า อางอิง มีความสัมพันธเชิงบวกกับความตั้งใจ ในการกระทําพฤติกรรมนั้น บุคคลก็มีแนวโนม ในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ ที่จะไมกระทําพฤติกรรมนั้นเลย จากผลการวิจัย ทั้งนี้ พบวาการรับรูความสามารถของตนในการ นี้จึงเปนการสนับสนุนแนวคิดเรื่องการรับรูความ ใชเทคโนโลยีการสื่อสารมีความสัมพันธกับความ สามารถของตนเอง ดังนั้น หากพระสงฆมีการ ตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ รับรูความสามารถของตนในการใชเทคโนโลยี ซึ่ง Bandura (1977) ไดอธิบายไววา การรับรู การสื่อสารเพิ่มขึ้นก็จะมีแนวโนมที่จะมีความ ความสามารถของตนเองจะเกี่ยวของกับการที่ ตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลนเพิ่มขึ้น บุคคลไดรับรูวาตนสามารถแสดงพฤติกรรมนั้น การคลอยตามกลุมอางอิงมีความ ไดตามการคาดหมายของตนภายใตสภาพการณ สัมพันธกับความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม หนึ่งหรือไม หรือจะทําไดในระดับใด การรับรู ออนไลนของพระสงฆ กลุมอางอิงไดแก บิดา ความสามารถของตนเองมีความสัมพันธกับการ มารดา ญาติพี่นอง เพื่อนและกลุมพระสงฆดวยกัน 186 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ผลการวิจัยแสดงใหเห็นวากลุมอางอิงเหลานี้ การซื้อสินคาและบริการออนไลนของผูบริโภค มีความสัมพันธกับความตั้งใจในการใชเครือขาย วัยทํางานตอนตน สังคมออนไลน แมในความเปนจริงพระสงฆ คือ การรับรูประโยชนและการรับรูความงาย สมณะเพศที่มุงศึกษาธรรมมะ ไมยุงเกี่ยวกับ มีความสัมพันธกับความตั้งใจในการใชเครือขาย ทางโลก หากก็ตองยอมรับวาสถาบันสงฆเปน สังคมออนไลนของพระสงฆ แสดงใหเห็นวา สวนหนึ่งของสังคม กิจตาง ๆ ทางธรรมยังมีความ เมื่อพระสงฆมีการรับรูถึงประโยชนและความงาย เกี่ยวพันกับฆราวาสอยูไมนอย ดวยเหตุนี้พระสงฆ ในการใชงานเครือขายสังคมออนไลนก็จะนํา จึงหลีกเลี่ยงการติดตอสื่อสารโดยใชเครือขาย ไปสูความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลน สังคมออนไลนไมได ดวยกลุมอางอิงเหลานี้ลวนมี ซึ่งจากผลการวิจัยพบวา พระสงฆมีระดับการ อิทธิพลไมทางตรงก็ทางออมตอความตั้งใจใน รับรูประโยชนและความงายในระดับที่สูง พระสงฆ การใชเครือขายสังคมออนไลน ซึ่งสอดคลอง สวนใหญใชเครือขายสังคมออนไลนไปในการ กับแนวคิดของกลุมอางอิงที่วาเปนกลุมคนที่มี เผยแผธรรมมะและติดตอสื่อสารกับเครือขาย บทบาทตอทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคล พระสงฆดวยกันมากกวาการใชเพื่อความบันเทิง ทั้งทางตรงและทางออม (Ajzen & Fishbein, ซึ่งแนวคิดเรื่องการยอมรับเทคโนโลยี (Technology 1970) และสอดคลองกับผลการวิจัยที่แสดงให Acceptance Model หรือ TAM) (Davis, 1989) เห็นวากลุมอางอิงมีบทบาทตอพฤติกรรม เชน ก็ไดอธิบายถึงเจตนาหรือความตั้งใจในการแสดง งานวิจัยของ วริศรา สอนจิตร (Sonchit, 2014) พฤติกรรมของบุคคลวามาจากปจจัยหลัก 2 ปจจัย เรื่องความตั้งใจซื้อสินคาหรือบริการออนไลนผาน คือ การรับรูประโยชนและการรับรูความงาย และ สมารทโฟน ผลการวิจัยพบวา ปจจัยบรรทัดฐาน สอดคลองกับงานวิจัยของ ศรัณยธร ศศิธนากรแกว กลุมอางอิงกลุมทุติยภูมิ คือ บล็อกเกอรและ (Sasithanakornkaew, 2016) งานวิจัยเรื่อง ปจจัยบรรทัดฐานของกลุมอางอิงกลุมปฐมภูมิ การยอมรับเครือขายสังคมออนไลน (SNS) ของ คือ เพื่อนสนิทมีผลกระทบทางตรงตอความตั้งใจ กลุมเจเนอเรชั่นวาย (Gen Y) พบวาการรับรู ซื้อสินคาหรือบริการออนไลนผานสมารทโฟน ประโยชน การรับรูความงายในการใชเครือขาย เชนเดียวกับงานวิจัยของ บงกช รัตนปรีดากุล สังคมออนไลน และการคลอยตามกลุมอางอิง (Rattanapreedagul, 2011) เรื่องอิทธิพล มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการใช ของทัศนคติและบรรทัดฐานกลุมอางอิงที่มีตอ เครือขายสังคมออนไลนของกลุมเจเนอเรชั่นวาย พฤติกรรมการซื้อสินคาและบริการออนไลนของ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผูบริโภควัยทํางานตอนตน ผลการวิจัยพบวา ปจจัยพยากรณความตั้งใจในการใช บรรทัดฐานกลุมอางอิง 2 กลุม คือ สมาชิกชุมชน เครือขายสังคมออนไลนจากผลการวิจัยพบวา ออนไลนและเพื่อนรวมงานมีผลตอพฤติกรรม ปจจัยดานการรับรูความสามารถของตนในการ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 187 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ใชเทคโนโลยี ปจจัยดานการรับรูประโยชน ปจจัย เรื่องปจจัยดานความตั้งใจซื้อที่มีผลตอพฤติกรรม ดานการรับรูความงายและปจจัยดานการคลอยตาม การซื้อสินคามือสองของผูบริโภคในตลาดนัด กลุมอางอิง มีอิทธิพลตอความตั้งใจในการใช ผลการศึกษาระดับความคิดเห็นในปจจัยดาน เครือขายสังคมออนไลนอยางมี นัยสําคัญทาง ความตังใจซื้อ พบวา ผูบริโภคจะใหความสําคัญ สถิติที่ 0.05 โดยตัวแปรทั้ง 4 รวมกันอธิบายการ ปจจัยดานทัศนคติโดยภาพรวมอยูในระดับ แปรผันของความตั้งใจในการใชเครือขายสังคม คอนขางมาก ( = 4.98) รองลงมาจะเปนปจจัย ออนไลนของพระสงฆไดรอยละ 44.0 โดยปจจัย ดานการรับรูการควบคุมพฤติกรรม ( = 4.69) และ ดานการคลอยตามกลุมอางอิง มีคาสัมประสิทธิ์ ปจจัยดานการคลอยตามกลุมอางอิง ( = 3.79) การถดถอยมาตรฐาน เทากับ 0.322 มีอิทธิพล ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความตั้งใจในการ ตอความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลน ใชเครือขายสังคมออนไลนรองลงมา คือ ปจจัย มากที่สุด ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน กลุมอางอิง ดานการรับรูความงายมีคาสัมประสิทธิ์การถดถอย นับเปนกลุมที่มีความสําคัญและสงผลตอการใช มาตรฐาน เทากับ 0.235 และปจจัยปจจัยดาน เครือขายสังคมออนไลน ซึ่งเปนไปตามทฤษฎี การรับรูประโยชนมีคาสัมประสิทธิ์การถดถอย การกระทําดวยเหตุผล (theory of reasoned มาตรฐาน เทากับ 0.123 มีอิทธิพลตอความตั้งใจ action) โดย Ajzen & Fishbein (1970) ที่อธิบาย ในการใชเครือขายสังคมออนไลน ซึ่งเปนไปตาม วาเปนการรับรูของบุคคลวาผูที่มีความใกลชิด แนวคิดเรื่องการยอมรับเทคโนโลยี (Technology หรือมีความสําคัญตอตนคิดวาตนควรหรือไมควร Acceptance Model หรือ TAM) โดย Davis ทําพฤติกรรมนั้น ดวยเหตุนี้กลุมบุคคลเหลานั้น (1989) ที่อธิบายวาปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอ จึงมีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางออมตอการกระทํา ความตั้งใจและพฤติกรรมการยอมรับเทคโนโลยี หรือไมทําพฤติกรรม เชนในงานวิจัยนี้กลุมอางอิง ประกอบดวย 2 ตัวแปรที่สําคัญ คือ 1. การรับรู เปนตัวแปรหนึ่งที่สงผลตอความตั้งใจในการใช ประโยชน (perceived usefulness) หมายถึง เครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ ระดับความเชื่อของบุคคลที่วาเทคโนโลยีดังกลาว ผลการวิจัยยังสอดคลองกับงานวิจัยไทย มีประโยชนแกตนและมีแนวโนมชวยเพิ่ม หลาย ๆ เรื่องเชน งานวิจัยของ ณัชญธนัน พรมมา ประสิทธิภาพในการทํางานของตนไดและสงผล (Phrommha, 2015) ศึกษาเรื่องปจจัยที่มีอิทธิพล ตอการใชเทคโนโลยี (Agarwa & Prasad,1997; ตอสุขภาพของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร Chau,1996; Igbaria et al.,1995) และ 2. การรับรู พบวา ปจจัยดานทัศนคติ การรับรูความสามารถ ถึงความงายในการใชงาน ( perceived ease of การควบคุมพฤติกรรม และปจจัยดานการคลอย use) คือ ระดับความเชื่อ ความคาดหวังของผูที่จะ ตามกลุมอางอิง มีผลตอความตั้งใจซื้ออาหาร ใชเทคโนโลยี สามารถเรียนรูไดงายและไมตองใช เพื่อสุขภาพ และ พวงเพชร ศิริโอด (Siriod, 2015) ความพยายามอยางมากในการเรียนรู 188 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ขอเสนอแนะ อางอิง มีอิทธิพลตอความตั้งใจในการใชเครือขาย ขอเสนอแนะทั่วไป สังคมออนไลน ดังนั้น หากจะสงเสริมใหพระสงฆ 1. กลุมอางอิงเปนกลุมที่มีอิทธิพลตอ มีการใชเครือขายสังคมออนไลนมากขึ้นเพื่อ ความตั้งใจในการใชเครือขายสังคมออนไลน ประโยชนในงานพระพุทธศาสนาแลว จําเปน ของพระสงฆสูง เพราะตองติดตอสื่อสารกับ ตองสงเสริมการรับรูในทุก ๆ ดานใหมากขึ้นจึงจะ กลุมพระสงฆดวยกัน ดังนั้น หนวยงานดาน นําไปสูพฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลน พุทธศาสนาหรือวัดตาง ๆ ควรมีการสงเสริมใหมี ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัยใน การใชในลักษณะที่เปนเครือขายในกลุมพระสงฆ อนาคต ดวยกัน เพื่อใหเกิดความเขมแข็งของเครือขาย 1. การวิจัยนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิง และนําไปสูความรวมมือในการพัฒนาสถาบัน ปริมาณ ดังนั้น ในการวิจัยครั้งตอไปควรทําการ สงฆและศาสนาพุทธตอไป ศึกษาวิจัยดวยการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อใหได 2. จากผลการวิจัยชี้ใหเห็นวา พระสงฆ ขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปจจัยตาง ๆ ตลอดจน มีการรับรูประโยชนในการใชเครือขายสังคม พฤติกรรมและการใชงานเครือขายสังคมออนไลน ออนไลนในระดับสูง โดยมีการใชเพื่อชวยคนควา โดยอาจใชวิธีการสัมภาษณเชิงลึก หรือการ หาขอมูลดานธรรมะไดสะดวกรวดเร็วและเปน สนทนากลุม ชองทางในการเผยแพรธรรมะมากที่สุด หนวยงาน 2. ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมโดยศึกษา ภาครัฐที่เกี่ยวของ เชน กรมการศาสนาควรสนับสนุน ตัวแปรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของตามแนวคิดการยอมรับ และสงเสริมการใชเครือขายสังคมออนไลนของ เทคโนโลยี หรือการแพรกระจายนวัตกรรม พระสงฆ เชน การจัดอบรมการใชสื่อออนไลน เพื่อทําความเขาใจพฤติกรรมการใชเครือขาย เพื่อเปนเครื่องมือในการศึกษาธรรมะตลอดจน ออนไลนมากยิ่งขึ้น เปนเครื่องมือในการเผยแพรธรรมะใหเขาถึง ประชาชน ซึ่งในปจจุบันมีการเปดรับขาวสารทาง กิตติกรรมประกาศ สื่อออนไลนเปนจํานวนมาก ขอขอบคุณคณะมนุษยศาสตร 3. จากผลการวิจัยพบวาปจจัยดาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรที่สนับสนุนทุน การรับรูความสามารถของตนในการใชคอมพิวเตอร ในการทําวิจัยเรื่องปจจัยพยากรณความตั้งใจ ปจจัยดานการรับรูประโยชน ปจจัยดานการรับรู ในการใชเครือขายสังคมออนไลนของพระสงฆ ความงาย และปจจัยดานการคลอยตามกลุม เขตกรุงเทพมหานคร Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 189 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

REFERENCES com/reports/behaviors/etda-research- Ajzen, I. & Fishbein, M. (1970). The prediction thai-internet-2016. (in Thai) of behavior from attitudinal and Igbaria, M. & Iivari, J. (1995). The effects normative variables. Journal of of self-efficacy on computer usage. Experimental Social Psychology. International Journal of Management 6, 466-487. Science 23(6), 587-605. Argarwal, R. & Prasad, J. (1997). The role Nationa l Office of Buddhism. (2016). Basic of innovation characteristics and Information on Buddhism 2016. perceived voluntariness in the Retrieved February 18,2018, from acceptance of information http://www.onab.go.th/wp-content/ technologies. Decision Sciences. uploads/2016/12/onab_primaryinfo 28(3), 557- 582. 60edit.pdf. (in Thai) Bandura, A. (1977). A self –efficacy: toward Phrommha, N. (2015). Factors influencing a unifying theory of behavioral change. the health of consumers in Bangkok. Psychological Review. 84(2), 191-215. Independent Study, Master of Arts Chau, P.Y.K. (1996). An empirical assessment Program in MBA. Bangkok University. of a modified technology acceptance (in Thai) model. Journal of Management Rattanapreedagul, B. (2011). Influence of Information Systems. 13(2), 185‐204. attitudes and norms of reference Davis, F.D. (1989). Perceived usefulness, groups on consumers’ buying perceived ease of use and user behaviors and online services. acceptance of information Master of Communication Arts and technology. MIS Quarterly. 13(3), Information. Kasetsart University. 319-339. (in Thai) Electronic Transactions Development Sasithanakornkaew, S. (2016). The Agency, Ministry of Information acceptance of social network service and Communication Technology. of generation y. Suthiparithat Journal. (2016). Report on Internet user 29 (92), 65-79. (in Thai) behavior survey in Thailand 2016. Siriod, P. (2015). Purchasing intent factors Bangkok. Retrieved January 16,2018, that affect purchasing behavior: from https://www.marketingoops. second hand products purchased 190 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

in flea market. Master of Technology Suranaree University of Technology. Management, Institute of Engineering (in Thai) Suranaree University of Technology. Varasin, P. (2016). Attitude, behavior and (in Thai) the use of social networks of monk Sonchit, W. (2014). Online purchase in the Bangkok area. Master of intention of goods or service through Communication Arts and Information. smartphone. Master of Management, Kasetsart University. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 191 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การสรางความไดเปรียบทางการแขงขันของจังหวัดสงขลา ดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE) COMPETITIVE ADVANTAGE OF MICE INDUSTRY IN SONGKHLA PROVINCE, THAILAND สาลินี ทิพยเพ็ง1*, เสรี วงษมณฑา2, ชุษณะ เตชคณา3 และ ชวลีย ณ ถลาง4 Salinee Tippeng1*, Seri Wongmonta2, Jusana Techakana3 and Chawalee Na Talang4

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว วิทยาลัยการจัดการกรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยพะเยา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2, 4 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย3 Doctor of Philosophy Program in Tourism Management, College of Management Bangkok, University of Phayao, Bangkok, Thailand1*, 2, 4 Faculty of Business Administration, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Bangkok, Thailand3

[email protected]*

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) วิเคราะหสภาพแวดลอมทางการแขงขันของจังหวัดสงขลา ดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE) 2) หาแนวทางการสรางความไดเปรียบในการแขงขันของจังหวัดสงขลา ดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE) ใชการวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณเชิงลึก จากผูให ขอมูลสําคัญจากกลุมผูพัฒนาและกลุมผูใช วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเชิงเนื้อหา และใชการ ตรวจสอบขอมูลแบบสามเสา พบวา 1) จังหวัดสงขลามีความสามารถทางการแขงขันสูงที่สงผลตอการ บริหารจัดการอุตสาหกรรมไมซ (MICE) ใหบรรลุวัตถุประสงค เนื่องจากเปนศูนยกลางการคาการลงทุน ของภาคใตตอนลาง แตมีคูแขงขันที่สําคัญ คือ จังหวัดภูเก็ตและจังหวัดสุราษฎรธานี 2) แนวทางการ สรางความไดเปรียบในการแขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE) ประกอบดวย 8 ดาน ไดแก 2.1) การรวมมือกับกระทรวงพาณิชยหรือกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ (product) เพื่อที่ จะจัดงานประเภท trade fairs และ consumer fairs 2.2) การตั้งราคารวมโปรแกรมเพื่อเสนอใหแก 192 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ลูกคาใหม (price) 2.3) การเขาไปพบกับกลุมเปาหมายหรือลูกคาโดยตรงเพื่อเปนชองทางในการ สรางการรับรู (place) 2.4) การสงเสริมการขายดวยการนําเสนอหรือแถมบริการพิเศษ (promotion) 2.5) การจัดการฝกอบรมบุคลากรเฉพาะทาง (people) 2.6) การนําเสนอโปรแกรมเสริมใหแกลูกคา (package) 2.7) การวางแผนความรวมมือจากคูรวมธุรกิจ (planning process) และ2.8) การสง จดหมายขอบคุณลูกคาที่เขามาจัดงานและติดตามผลความพึงพอใจหลังการจัดงานเพื่อนําไปสูการ ปรับปรุงแกไขใหการจัดงานประสบความสําเร็จยิ่งขึ้นในครั้งตอไป (post-sale process)

คําสําคัญ : การสรางความไดเปรียบทางการแขงขัน อุตสาหกรรมไมซ (MICE) จังหวัดสงขลา

ABSTRACT The purposes of this research were to analyze the competitive environment of MICE industry in Songkhla province and to suggest in competitive advantage of MICE Industry in Songkhla Province. The data were collected by in - depth interview from the supply side and the demand side. The data were analyzed by content analysis and checked by triangulation design model. The findings revealed that 1) Songkhla has a high competitive ness which affect MICE industry management. It is a center of trade and investment in the lower South, but the major competitors are Phuket and Surat Thani. 2) The 8 aspects of a competitive advantage of MICE Industry in Songkhla Province were Cooperation with the ministry of commerce or department of international trade promotion to organize trade fairs and consumer fairs (product), setting pricing which include the program to offer a new customers (price), meeting the target group or customers as a channel to create awareness (place), promotion with special offers or services (promotion), personnel management training (people), presenting a supplement to customers (package), cooperation planning with business partners (planning process)and sending appreciation to the customers who joined the event and followed up the satisfaction after the event, whichledto the improvement and success of the event to be successful (post-sale process).

Keywords: competitive advantage, MICE industry, Songkhla Province Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 193 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทนํา รวมประชุมนานาชาติในประเทศไทย มีคาใชจาย การสรางความไดเปรียบทางการแขงขัน เฉลี่ยตอคนสูงกวานักทองเที่ยวระหวางประเทศ (competitive advantage) เปนหัวใจของการ ทั่วไปประมาณ 2 - 3 เทา (Thanodomdech, วางแผนกลยุทธเพื่อปองกันการลอกเลียนแบบ 2017) ของคูแขงขันหรือสรางความแตกตางที่คูแขงขัน ประเทศไทยมีขอไดเปรียบเชิงภูมิศาสตร ลอกเลียนแบบไดยาก (Theepapan, 2008) ทั้งนี้ มีความพรอมดานโครงสรางพื้นฐานในการ การสรางความไดเปรียบนั้น อาจทําไดดวยการ เชื่อมตอระหวางภูมิภาคกับภายนอก ตลอดจน สรางความแตกตางในสินคาและบริการใหมากขึ้น มีสิ่งอํานวยความสะดวกที่พรอมสําหรับการจัด ดวยการสรางภาพลักษณและเอกลักษณใหเกิดขึ้น กิจกรรมไมซ ซึ่งปจจุบันไดกําหนด 5 เมืองใหเปน กับสินคาและบริการนั้น ๆ เพื่อตอบสนองความ ศูนยกลางการจัดประชุมและการแสดงสินคา ตองการของผูใชบริการไดอยางรวดเร็ว และมี ภายในประเทศ หรือ “ไมซ ซิตี้” (Mice City) โดยเนน ประสิทธิภาพ สถานที่แตละแหงที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวและให ทั้งนี้ อุตสาหกรรมบริการดาวเดนที่มี ประสบการณแตกตางกัน ทั้งเชียงใหม ขอนแกน บทบาทสําคัญในการนํารายไดเขาประเทศควบคู พัทยา ภูเก็ต และกรุงเทพมหานคร แมวา กับอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในชวงหลายป ในปจจุบันประเทศไทยจะมีเมืองที่มีขีดความ ที่ผานมา คือ อุตสาหกรรมการจัดการประชุม สามารถในการรองรับการจัดงานในกลุมไมซ นานาชาติ การทองเที่ยวเพื่อเปนรางวัล และ อยางเพียงพอ แตการเพิ่มขึ้นของจํานวนการ การจัดงานแสดงสินคานานาชาติ (Meetings, จัดงานในอนาคต นํามาซึ่งความจําเปนในการ Incentives, Conventions and Exhibitions - เตรียมพรอมทั้งในเชิงรุกและเชิงรับของหนวยงาน MICE) หรืออุตสาหกรรมไมซ (Thanodomdech, ที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในจังหวัดที่มี 2017) ซึ่งกลุมผูรับบริการจะมีความแตกตางจาก ศักยภาพในการเปนสถานที่จัดงานในกลุมไมซ นักทองเที่ยวทั่วไป โดยผูรับบริการมีความประสงค ใหสามารถรองรับการจัดงานไมซได ที่เดินทางเขาประเทศเพื่อ 4 วัตถุประสงคหลัก ทั้งนี้ จังหวัดสงขลาเปนจังหวัดมีศักยภาพ ไดแก 1) การประชุมเฉพาะกิจของกลุมบุคคลหรือ ที่จะพัฒนาเปนทางเลือกหนึ่งสําหรับผูจัดงาน องคกร 2) การจัดนําเที่ยวเพื่อเปนรางวัลแกพนักงาน เนื่องจากสงขลาเปนจังหวัดชายแดนภาคใต 3) การประชุมโดยสมาคมระดับนานาชาติ และ เปนเมืองทา และเมืองชายทะเลที่สําคัญ 4) การจัดงานแสดงสินคา ซึ่งขอมูลป 2558 ระบุ มีขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษา และการละเลน วา นักเดินทางไมซสรางรายไดแกประเทศไทย พื้นเมืองตาง ๆ ที่นาสนใจและนาศึกษามากมาย จํานวน 222,712 ลานบาท เมื่อเปรียบเทียบรายได มีศูนยประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ จากนักเดินทางไมซกับนักทองเที่ยวทั่วไปแลว 60 ป ซึ่งมีพื้นที่ใชสอยกวา 15,000 ตารางเมตร พบวานักทองเที่ยวระหวางประเทศที่เดินทางมา มีหองประชุมศูนยการคาเซ็นทรัลเฟสติวัล 194 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

หาดใหญ อีกทั้งยังมีโรงแรมขนาดใหญอีก ระดับนานาชาติ ผูวิจัยจึงมีความสนใจในการ หลายแหงที่ใหบริการทั้งที่พัก อาหารและหอง ศึกษา เพื่อยกระดับขีดความสามารถและสราง ประชุม และสามารถจัดกิจกรรมไมซไดตลอด ความไดเปรียบทางการแขงขันของจังหวัดสงขลา ทั้งป มีวัฒนธรรมและสิ่งดึงดูดใจ ทั้งอาหารทะเล ดานอุตสาหกรรมไมซใหทัดเทียมกับเมืองไมซซิตี้ ที่มีความสด สะอาดและรสชาติที่จัดจาน อาหาร อื่น ๆ ของประเทศ และเพื่อกาวไปสูเปาหมาย พื้นเมืองที่ขึ้นชื่อ แหลงทองเที่ยวที่ไดรับความ การจัดกิจกรรมไมซอันดับตนของประเทศและ นิยม เชน หาดสมิหลา วัดพะโคะที่มีหลวงปูทวด ภูมิภาคตอไป เหยียบนํ้าทะเลจืดอันศักดิ์สิทธิ์ ยานเมืองเกา สงขลาซึ่งเปนยานที่เต็มไปดวยอาหารพื้นเมือง วัตถุประสงคของการวิจัย ที่มีรสชาติอรอย เกาะยอที่เปนทั้งแหลงทองเที่ยว 1. เพื่อวิเคราะหสภาพแวดลอมทางการ ทางธรรมชาติและวัฒนธรรม อีกทั้ง หาดใหญ แขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ ยังเปนศูนยกลางการคาที่สําคัญของภาคใต (MICE) ตอนลาง เปนเมืองชายแดนที่มีพิธีการศุลกากร 2. เพื่อหาแนวทางการสรางความได และตรวจคนเขาเมืองที่คอยอํานวยความสะดวก เปรียบในการแขงขันของจังหวัดสงขลาดาน แกนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามา ทั้งดานสะเดา อุตสาหกรรมไมซ (MICE) ดานปาดังเบซาร และทาอากาศยานนานาชาติ หาดใหญ ซึ่งทุกดานกําลังไดรับการพัฒนา ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย เพื่อรองรับการเปนเมืองเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทําให 1. แนวทางในการเพิ่มศักยภาพทาง จังหวัดสงขลามีการคมนาคมที่สะดวกสบาย การแขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรม ทั้งทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ และที่สําคัญ ไมซ (MICE) คือ คาครองชีพของจังหวัดสงขลาตํ่ากวาเมือง 2. หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนํา ไมซซิตี้อื่น ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดภูเก็ต ผลการวิจัยไปใชในการพัฒนาและสรางความ พัทยา หรือแมแตกรุงเทพมหานคร กลายเปน ไดเปรียบในการแขงขันของจังหวัดสงขลาดาน อีกทางเลือกหนึ่งของหนวยงานตาง ๆ ที่จะมา อุตสาหกรรมไมซ (MICE) จัดกิจกรรมไมซที่จังหวัดสงขลา (Dechudom, 2012) ของเขตของการวิจัย อยางไรก็ตาม การจัดกิจกรรมไมซ 1. ขอบเขตทางดานสถานที่วิจัย สถานที่ ในจังหวัดสงขลายังมีปญหาและอุปสรรคดาน เก็บขอมูลงานวิจัยครั้งนี้ คือ จังหวัดสงขลา การจัดกิจกรรมที่มีแตการจัดกิจกรรมของ 2. ขอบเขตดานประชากร ผูวิจัยจําแนก หนวยงานเดิม ๆ และจังหวัดสงขลายังไมเปนที่ เปน 2 กลุม ดังนี้ รูจักดานอุตสาหกรรมไมซในระดับประเทศและ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 195 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2.1 กลุมผูพัฒนา (supply side) และบริษัทที่ใหรางวัลแกพนักงานและลูกคา ในที่นี้หมายถึงกลุมหนวยงานภาครัฐและภาค 3. ขอบเขตดานเนื้อหา ผูวิจัยไดแบง เอกชน ผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาการ ขอบเขตการศึกษาออกเปน 3 สวน คือ การศึกษา ทองเที่ยวในรูปแบบไมซของจังหวัดสงขลา ดานเอกสาร การศึกษาดาน supply side (กลุม 2.2 กลุมผูใช (demand side) ในที่นี้ ผูพัฒนา) และการศึกษาดาน demand side หมายถึง กลุมผูประกอบการที่รับจัดกิจกรรมไมซ (กลุมผูใช)

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ผูพัฒนา (supply side) - หนวยงานภาครัฐ แนวทางการสราง ที่มีสวนเกี่ยวของในการ ความไดเปรียบ วิเคราะหสภาพแวดลอม พัฒนาอุตสาหกรรมไมซ ในการแขงขัน ทางการแขงขัน - หนวยงานภาคเอกชน (8 P’s) ของจังหวัดสงขลา ที่มีสวนเกี่ยวของในการ ดานอุตสาหกรรมไมซ - product พัฒนาอุตสาหกรรมไมซ (MICE) - price - place C–PEST analysis - promotion ผูใช (demand side) - competition - people - politic - package - destination management - economic - planning company (DMCs) - socail process - professional convention - technology - post-sale organizer (PCOs) process - professional exhibition organizer (PEOs) - บริษัทที่ใหรางวัลแกพนักงาน และลูกคา 196 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ระเบียบวิธีวิจัย และบริษัทที่ใหรางวัลเปนการทองเที่ยวแก การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ พนักงานและลูกคา โดยทําการเก็บรวบรวมขอมูล รวบรวมขอมูลโดยใชแบบสัมภาษณ ดวยการ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และการเก็บ สัมภาษณเชิงลึก ทั้งนี้ ผูวิจัยไดคัดเลือกผูให รวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณ การสังเกต และ ขอมูลหลัก โดยใชวิธีการเลือกกลุมตัวอยางแบบ การสนทนากลุม เจาะจง เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่แทจริง จากกลุม สําหรับการวิเคราะหขอมูลจากการ ผูใหขอมูลหลัก 2 กลุม ไดแก 1) กลุมผูพัฒนา สัมภาษณ นํามาตรวจสอบ และวิเคราะห (supply side) ซึ่งหมายถึง กลุมหนวยงานภาครัฐ ขอมูลจากการรวบรวมตามลักษณะการวิจัยเชิง และภาคเอกชน ผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนา คุณภาพ ดวยการวิเคราะหเชิงเนื้อหา และผูวิจัย การทองเที่ยวในรูปแบบไมซของจังหวัดสงขลา ใชการตรวจสอบขอมูลแบบสามเสา จากขอมูล จํานวน 12 คน ประกอบดวย ผูแทนจากสํานักงาน ที่ไดจากทั้ง 2 กลุม ไดแกขอมูลปฐมภูมิ (ผูใช สงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการ และผูพัฒนา) และขอมูลทุติยภูมิ (เอกสาร) คือ มหาชน) ผูแทนจากยุทธศาสตรจังหวัด ผูแทน จากการสัมภาษณ การสังเกตแบบมีสวนรวม จากทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด ผูแทนจากองคการ และใชการศึกษาเอกสาร บริหารสวนจังหวัด นักวิชาการในทองถิ่น ผูแทน จากสมาคมธุรกิจการทองเที่ยวจังหวัดสงขลา สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ผูอํานวยการศูนยการประชุมนานาชาติฉลองสิริ สรุปผลการวิจัย ราชสมบัติครบ 60 ป ผูประกอบการที่พักแรม ผูแทน 1. การวิเคราะหสภาพแวดลอมทาง จากหอการคาจังหวัดและผูแทนหนวยงานที่ การแขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรม เกี่ยวของกับการจัดการประชุมและการจัดงาน ไมซ (MICE) C - PEST analysis แสดงสินคา และ 2) กลุมผูใช (demand side) เปนการวิเคราะหสภาพแวดลอม ซึ่งหมายถึง กลุมผูประกอบการที่รับจัดกิจกรรม ภายนอกของจังหวัดสงขลา โดยนําปจจัย 5 ดาน ไมซและบริษัทที่ใหรางวัลแกพนักงานและลูกคา ที่สงผลตอการบริหารจัดการอุตสาหกรรมไมซ จํานวน 12 คน ไดแก ผูประกอบการหรือผูจัดการ (MICE) ใหบรรลุวัตถุประสงค มาวิเคราะห บริษัทนําเที่ยวที่จัดบริการการทองเที่ยวเพื่อเปน ใหความสําคัญกับผูใชบริการและผูมีสวนได รางวัล (Destination Management Company: สวนเสีย (stakeholders) ไดแก DMCs) ผูประกอบการหรือผูจัดการบริษัทที่รับ 1.1 C – Competition จัดการประชุม (Professional Convention สภาพการแขงขันในดาน Organizer: PCOs) ผูประกอบการหรือผูจัดการ อุตสาหกรรมไมซ (MICE) ของจังหวัดสงขลา บริษัทที่รับจัดนิทรรศการหรืองานแสดงสินคา มีคูแขงขันที่นาสนใจ ดังนี้ (Professional Exhibition Organizer: PEOs) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 197 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 1 แสดงการวิเคราะหคูแขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE)

ประเด็น ประเด็นที่เปนโอกาส ประเด็นที่เปนอุปสรรค การวิเคราะห (opportunities) (threats) 1. กลุมคูแขง 1) จังหวัดสงขลา เปนจังหวัด 1) จังหวัดภูเก็ต มีความพรอม และการแขงขัน ทางภาคใตของประเทศไทยที่มี ในทุกดาน ทั้งโรงแรมระดับหาดาว ความพรอมในทุกดาน ทั้งสนามบิน รานอาหาร แหลงทองเที่ยวตลอดจน โรงแรม รานอาหาร แหลงทองเที่ยว กิจกรรมทางการทองเที่ยวตาง ๆ ตลอดจนกิจกรรมทางการทองเที่ยว เปนจังหวัดที่มีชื่อเสียงทางดาน ตาง ๆ จนไดรับขนานนามวา การทองเที่ยวติดอันดับตน ๆ ของโลก “ศูนยกลางการคา การลงทุนของ ในนาม “ไขมุกอันดามัน” อีกทั้ง ภาคใตตอนลาง”- ยังเปน 1 ใน 5 จังหวัดที่การทองเที่ยว แหงประเทศไทยเลือกใหเปน MICE CITY 2) จังหวัดสุราษฎรธานี มีความ พรอมทางดานทรัพยากรทางการ ทองเที่ยวเชนเดียวกับจังหวัด สงขลา และยังถูกจัดใหอยูในกลุม จังหวัด เมืองไมซที่มีศักยภาพ รอง หรือเมืองไมซทางเลือกอื่น ๆ เชนเดียวกัน-

จากการวิเคราะหสภาพการแขงขัน คลายคลึงกัน อีกทั้งยังเปนจังหวัดที่มีเสียงทั้งคู ในดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE) ของจังหวัด จึงกลายเปนคูแขงที่สําคัญของจังหวัดสงขลา สงขลา มีคูแขงขันที่นาสนใจ คือ จังหวัดภูเก็ต 1.2 P – Politic และจังหวัดสุราษฎรธานี เปนจังหวัดที่ตั้งอยูทาง การวิเคราะหดานกฎหมายและ ภาคใตของประเทศไทย มีทรัพยากรทางการ การเมืองของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ ทองเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีลักษณะ (MICE) มีลักษณะดังตอไปนี้ 198 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 2 แสดงการวิเคราะหดานกฎหมายและการเมืองของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE)

ประเด็น ประเด็นที่เปนโอกาส ประเด็นที่เปนอุปสรรค การวิเคราะห (opportunities) (threats) 1. กฎหมาย 1) การเขาสูประชาคมเศรษฐกิจ 1) กฎหมายที่เกี่ยวของกับการ อาเซียนและจังหวัดสงขลาตั้งอยู ทองเที่ยวไมสอดรับกับสถานการณ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ สงผลตอ ในปจจุบัน ไมเขมงวดเทาที่ควร การพัฒนาเศรษฐกิจที่เอื้อประโยชน ตอการคาการลงทุน 2. การเมือง 1) สถานการณทางการเมืองภายใน 1) ประเทศไทยยังไมมีการเลือกตั้ง ประเทศมีเสถียรภาพมากขึ้น สงผลตอความเชื่อมั่นตอนักลงทุน

จากการวิเคราะหดานกฎหมายและ ตอการคาการลงทุนใหแกนักลงทุนไดมากขึ้น การเมืองของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ อยางไรก็ตาม การที่ประเทศไทยยังไมมีการ (MICE) จะเห็นไดวา สถานการณทางการเมือง เลือกตั้งก็ยังคงสงผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุน ของประเทศในปจจุบันมีเสถียรภาพมากขึ้น บางกลุมและมีปญหากฎหมายลาสมัยไมสอดรับ สรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ยวและนักลงทุน กับสถานการณปจจุบัน โดยเฉพาะกฎหมายดาน ประกอบกับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การทองเที่ยวที่มีการเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลง ก็เปนเหมือนใบเบิกทางใหการลงทุนหรือการทํา ตลอดเวลา ธุรกิจระหวางกลุมประเทศในอาเซียนงายขึ้น 1.3 E – Economic โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบานที่ใกลเคียงจังหวัด การวิเคราะหในเรื่องสภาพและ สงขลาอยาง มาเลเซีย สิงคโปร และอินโดนีเซีย แนวโนมเศรษฐกิจ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อีกทั้ง จังหวัดสงขลายังตั้งอยูในเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการลงทุนตาง ๆ ของจังหวัดสงขลาดาน ที่สงผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจที่เอื้อประโยชน อุตสาหกรรมไมซ (MICE) มีลักษณะดังตอไปนี้ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 199 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะหเศรษฐกิจของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE)

ประเด็น ประเด็นที่เปนโอกาส ประเด็นที่เปนอุปสรรค การวิเคราะห (opportunities) (threats) 1. สภาพและแนวโนม 1) ภาคการทองเที่ยวและ 1) ความไมแนนอนในการฟนตัว ทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมบริการของระดับ ของเศรษฐกิจโลกยังคงมีอยู ภูมิภาคมีการขยายตัวและเติบโต อยางตอเนื่อง 2) การฟนตัวของเศรษฐกิจ ในประเทศที่พัฒนาแลว อยาง ประเทศสหรัฐอเมริกา และสหภาพ ยุโรป สงผลตอการขยายตัวของ เศรษฐกิจโลก 2. อัตราการขยายตัว 1) การลงทุนพัฒนาโครงสราง 1) ตนทุนการผลิต คาครองชีพมี ทางเศรษฐกิจ พื้นฐานขนาดใหญและการจัดตั้ง แนวโนมปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอยาง และการลงทุน เขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนว ตอเนื่อง ชายแดนมีสวนชวยกระตุนเศรษฐกิจ ไดเปนอยางดี

การวิเคราะหในเรื่องสภาพและแนวโนม พิเศษตามแนวชายแดนเพื่อชวยกระตุนเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และ อยางเชน แผนงานการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจ การลงทุนตาง ๆ ของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรม 3 ฝาย อินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไทย (Indonesia – ไมซ (MICE) พบวา ปจจัยทางดานเศรษฐกิจนั้น Malaysia - Thailand Growth Triangle: IMT - ภาคการทองเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ GT) ซึ่งมีสวนชวยในการกระตุนเศรษฐกิจชายแดน ในระดับภูมิภาคมีการขยายตัวและเติบโตขึ้น ไดเปนอยางดี ประกอบกับการฟนตัวของเศรษฐกิจ อยางตอเนื่อง เพราะคนหันมาใหความสนใจ ประเทศพัฒนาแลว โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา เดินทางทองเที่ยวและประชุมนอกสถานที่มากขึ้น และสหภาพยุโรป ก็สงผลดีตอการเดินทางใน ภาครัฐและเอกชนก็มีการลงทุนพัฒนาโครงสราง ชวงระยะสั้น ๆ เนื่องจากความไมแนนอนในการ พื้นฐานขนาดใหญและมีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ ฟนตัวของเศรษฐกิจโลกก็ยังคงมีอยู นอกจากนี้ 200 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตนทุนการผลิต และคาครองชีพมีแนวโนมปรับ อยางตอเนื่อง โดยเฉพาะประเทศมาเลเซีย ซึ่งมี ตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องซึ่งอาจเปนอีกเหตุผล ทรัพยากรทางการทองเที่ยวที่คลายคลึงกับ หนึ่งที่ประกอบการตัดสินใจกอนเดินทาง ภาคใตของประเทศไทย นับไดวาเปนคูแขงที่ 1.4 S – Social สําคัญ แตนักทองเที่ยวก็มีแนวโนมสนใจการ การวิเคราะหในเรื่องสภาพและ ทองเที่ยวในความสนใจพิเศษมากขึ้น เชน การ กระแสสังคม ความตองการของประชาชน ปญหา ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การทองเที่ยวเชิงผจญภัย ของสังคม เครือขายความรวมมือระหวางหนวยงาน การทองเที่ยวเชิงศาสนา การทองเที่ยวเชิงกีฬา ภาครัฐ ของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ และที่สําคัญคือ การทองเที่ยวเพื่อการประชุม (MICE) มีลักษณะดังตอไปนี้ และนิทรรศการ (MICE) นับวาเปนโอกาสดีที่ จากการวิเคราะหสภาพสังคมของจังหวัด MICE ไดรับความนิยมและจังหวัดสงขลาก็เปน สงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE) จะเห็นไดวา หนึ่งในตัวเลือกได ปญหาใหญที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและกระจายไป 1.5 T – Technology ทั่วโลกคือ ปญหาการกอการรายทั้งในและ การวิเคราะหในเรื่องความ ระหวางประเทศ ซึ่งเปนปจจัยดานความปลอดภัย กาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี ที่สําคัญที่สงผลตอการตัดสินใจเดินทาง นอกจากนี้ การบริหาร ฯลฯ ของจังหวัดสงขลา ดานอุตสาหกรรม ประเทศเพื่อนบานมีการพัฒนาทองเที่ยวและ ไมซ (MICE) มีลักษณะดังตอไปนี้ มีการเติบโตของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว

ตารางที่ 4 แสดงการวิเคราะหสภาพสังคมของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE)

ประเด็น ประเด็นที่เปนโอกาส ประเด็นที่เปนอุปสรรค การวิเคราะห (opportunities) (threats) 1. สภาพและกระแส 1) นักทองเที่ยวมีแนวโนมสนใจ 1) การกอการรายทั้งในและ สังคม การทองเที่ยวในความสนใจพิเศษ ระหวางประเทศที่ยังคงมีปญหา มากขึ้น เชน การทองเที่ยวเชิง อยูอยางตอเนื่อง สุขภาพ การทองเที่ยวเชิงผจญภัย 2) ประเทศเพื่อนบานอยาง การทองเที่ยวเชิงศาสนา การ ประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร ทองเที่ยวเชิงกีฬา และการ มีการพัฒนาการทองเที่ยวและ ทองเที่ยวเพื่อการประชุมและ มีการเติบโตของอุตสาหกรรมการ นิทรรศการ (MICE) ทองเที่ยวอยางตอเนื่อง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 201 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 5 แสดงการวิเคราะหความกาวหนาทางเทคโนโลยีของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE)

ประเด็น ประเด็นที่เปนโอกาส ประเด็นที่เปนอุปสรรค การวิเคราะห (opportunities) (threats) 1. ความกาวหนาทางดาน 1) ความกาวหนาของเทคโนโลยี 1) การพัฒนาเทคโนโลยี social เทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ media ทําใหเกิดอาชญากรรม การสื่อสาร ทําใหขาวสารดานการ รูปแบบใหม ๆ ประชุม การทองเที่ยวทั่วโลกเขาถึง 2) ความกาวหนาของเทคโนโลยี ประชาชนไดอยางทั่วถึง และ ทําใหนักทองเที่ยวเลือกเดินทาง สรางความสะดวกในอุตสาหกรรม หรือทํากิจกรรมดวยตนเองมากขึ้น ไมซ เชน การประชุมทางไกล เชน การประชุมผาน V.D.O (teleconference) หรือการจัดสง conference แทนการใชบริการ ขอมูลระหวางการประชุมผานระบบ บริษัทจัดนําเที่ยว หรือออแกไนเซอร ดิจิตอล ทั้งหลาย 2) การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบอิเล็กทรอนิกส ทําใหเขาถึง กลุมนักทองเที่ยวไมซไดดียิ่งขึ้น เชน มีการพัฒนาแอพลิเคชั่นตาง ๆ ใหบริการจนสามารถใชแทน มนุษยได ทําใหมีศักยภาพในการ แขงขัน

จากการวิเคราะหในเรื่องของความ และสรางความสะดวกในอุตสาหกรรมไมซ เชน กาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี การประชุมทางไกล (teleconference) หรือการ การบริหาร ฯลฯ ของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรม จัดสงขอมูลระหวางการประชุมผานระบบดิจิตอล ไมซ (MICE) ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี ทําใหเขาถึงกลุมนักทองเที่ยวไมซไดดียิ่งขึ้น ทําใหเครื่องมือ อุปกรณมีความสะดวก รวดเร็ว เชน มีการพัฒนาแอพลิเคชั่นตาง ๆ ใหบริการ และทันสมัยขึ้น สงผลใหขาวสารดานการประชุม จนสามารถใชแทนมนุษยได ทําใหมีศักยภาพ การทองเที่ยวทั่วโลกเขาถึงประชาชนไดอยางทั่วถึง ในการแขงขัน อยางไรก็ตาม การพัฒนาเทคโนโลยี 202 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

social media ทําใหเกิดอาชญากรรมรูปแบบ (DITP) เพื่อที่จะจัดงานประเภท trade fairs และ ใหม ๆ อีกทั้งความกาวหนาของเทคโนโลยี consumer fairs อยางเชน จัดงานประเภท trade ทําใหนักทองเที่ยวเลือกเดินทางหรือทํากิจกรรม fairs กอน 2 วันแลวจัด consumer fairs อีก 2 วัน ดวยตนเองมากขึ้น เชน การประชุมผาน V.D.O เพื่อสงเสริมการตลาดและสรางภาพลักษณ conference แทนการใชบริการบริษัทจัดนําเที่ยว และชื่อเสียงใหจังหวัดดานอุตสาหกรรมไมซ หรือออแกไนเซอรทั้งหลาย มากยิ่งขึ้น 2. การสรางความไดเปรียบในการ 1.4 สงเสริมการจัดกิจกรรมไมซ แขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจ วัฒนธรรมหรือเอกลักษณ (MICE) ของจังหวัด เพื่อเปนจุดขายของจังหวัด เชน งาน กลยุทธการใชสวนประสมทางการตลาด แสดงสินคาและการประชุมสัมมนานานาชาติ ทองเที่ยวเพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขัน ดานยางพาราในกลุมประเทศอาเซียน งานแสดง สําหรับอุตสาหกรรมไมซ (MICE) ดังนี้ สินคาและการประชุมสัมมนานานาชาติดาน 1. ผลิตภัณฑ (product) เปนการให อาหารที่มีชื่อเสียงของจังหวัดสงขลาและจังหวัด บริการที่ไมมีรูปรางและจับตองไมได บริการนี้ ใกลเคียงอยางอาหารฮาลาล อาหารพื้นเมืองหรือ อยูในรูปของสวนประกอบโปรแกรมการจัดธุรกิจ อาหารทะเล เปนตน ไมซ ไดแก 2. ราคา (price) เปนการตั้งราคา 1.1 การใหบริการดานการจัดงาน โปรแกรมการจัดงานไมซ ซึ่งการตั้งราคาคาใชจาย ประชุม สัมมนาที่เปนมาตรฐานสากล ดวยการ จะรวมถึงคาลงทะเบียน คาที่พักและสิ่งอํานวย ปรับโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความ ความสะดวกในการจัดประชุมตาง ๆ สะดวกที่ไดมาตรฐาน พรอมสื่ออิเล็กทรอนิกส 2.1 ตั้งราคาโปรแกรมเพื่อเสนอ ที่ทันสมัยที่ใชในการจัดประชุม แพคเกจราคาใหแกลูกคาใหม เชน การตั้งราคา 1.2 ผลักดันการบริการการทองเที่ยว รวมคาที่พัก อาหาร กิจกรรมการประชุม รวมทั้ง เพื่อเปนรางวัล (incentive travel) ใหไดรับความ การรวมกิจกรรมการทองเที่ยวเพื่อเปนรางวัล นิยม เชน ทางจังหวัดมีนโยบายใหทุกการประชุม เปนตน ตองมีโปรแกรมการทองเที่ยวหรือศึกษาดูงาน 2.2 ระบบการจายเงินตองครอบคลุม ในชุมชนตาง ๆ ของจังหวัด เพื่อเปนการสงเสริม การอํานวยความสะดวกใหแกลูกคาดวยการ การทองเที่ยวจังหวัดและผลักดันใหการทองเที่ยว รับจายเงินดวยเงินสด เช็ค บัตรเครดิต รับเงิน เพื่อเปนรางวัลไดรับความนิยมมากยิ่งขึ้น สกุลตาง ๆ เปนตน 1.3 จังหวัดวางแผนการจัดงานตาง ๆ 3. สถานที่จัดจําหนาย ทําเลที่ตั้ง ในระดับประเทศ เชน การรวมมือกับกระทรวง ตัวแทนจําหนาย (place) เปนชองทางที่จะ พาณิชย หรือ กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ จําหนายกิจกรรมไมซที่จัดขึ้น Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 203 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

3.1 หนวยงานที่รับผิดชอบควรมี จูงใจใหลูกคามั่นใจในราคาและตัดสินใจไดเร็วขึ้น การเขาไปพบกับกลุมเปาหมายหรือลูกคา โดยไมใชวิธีการลดราคา โดยตรง (direct channel) เพื่อเปนชองทาง 4.3 การสงเสริมการขายโดยตัว ในการสรางการรับรูของลูกคาใหรูจักจังหวัด บุคคล (personal selling) มีการขายโดยบุคคล สงขลา เพื่อหาขอมูลดานความตองการของลูกคา ดวยการสงตัวแทนผูซึ่งดูแลรับผิดชอบการจัด และเพื่อเสนอรายการใหม ๆ ใหแกลูกคา กิจกรรมไมซของจังหวัดไปพบลูกคาโดยตรง 3.2 การขายทางเว็บไซต จัดทํา เพื่อทําความรูจักและสรางความไววางใจ เว็บไซตประชาสัมพันธจังหวัด เพื่อเปนชองทาง 5. ผูจัดงานและผูเขารวมงาน (people) ในการติดตอกับลูกคาไดอยางรวดเร็ว โดยมีการ เจาหนาที่ของศูนยประชุม พนักงานโรงแรม โตตอบกับลูกคาไดฉับไวผานระบบอินเตอรเน็ต รานอาหาร ลาม พนักงานที่คอยอํานวยความ 3.3 เขารวมโครงการของภาครัฐ สะดวกอื่น ๆ ตลอดจนผูเขารวมงาน ถือเปนหัวใจ ไดแก การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) หลักของความสําเร็จในการจัดประชุมที่ตองมี สมาคมแสดงสินคา (ไทย) (Trade Exhibition การพัฒนาอยูอยางสมํ่าเสมอ Association (Thai), TEA สมาคมสงเสริมการ 5.1 จัดการฝกอบรมแยกบุคลากร ประชุมนานาชาติ Thailand Incentive and เฉพาะทางออกมาทั้ง M I C E เพื่อใหเกิดการ Convention Association, TICA หรือสํานักงาน บริการที่ดีและมีคุณภาพ สงเสริมการจัดประชุมและแสดงนิทรรศการ 5.2 ประชากรเจาของพื้นที่ การที่ (สสปน.) อยางตอเนื่อง เพื่อเปนสวนหนึ่งใน เจาของพื้นที่มีความเปนมิตร มีนํ้าใจ ใหความ เครือขายพันธมิตรทางธุรกิจ (cluster) และสราง ชวยเหลือนักทองเที่ยว ยอมทําใหการดําเนินงาน โอกาสเพื่อใหสงขลาไดรับเลือกเปนจุดหมาย มีชีวิตชีวา ปลายทางในการจัดกิจกรรม 6. แพคเกจหรือการรวมผลิตภัณฑ 4. การสงเสริมตลาด (promotion) (package) การรวมโปรแกรมการประชุมเขากับ เปนการใหขอมูลเกี่ยวกับการจัดงานไมซเพื่อ ที่พัก ตั๋วเครื่องบิน และโปรแกรมการทองเที่ยว กระตุนใหเกิดความสนใจอยากเขารวมงาน เพื่อจะไดราคาที่ถูกกวาซื้อแยกที่ละสวน 4.1 การโฆษณา (advertising) 6.1 สงเสริมการจัดกิจกรรมประเภท โดยเลือกใชการลงโฆษณาผานสื่อตาง ๆ ที่เขาถึง แพคเกจหรือการนําเสนอโปรแกรมเสริมใหแก กลุมลูกคาเปาหมายที่จะจางจัดงาน ลูกคา เชน เสนอใหมีการจัดงานเลี้ยงแสดงความ 4.2 การสงเสริมการขาย (sales ยินดีกับบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา กลางวันมีงาน promotion) นําเสนอหรือแถมบริการพิเศษที่ รับพระราชทานปริญญาบัตร รวมกิจกรรมตอน ลูกคาไมสามารถดําเนินการเองได เพื่อเปนการ กลางคืนดวยการจัดงานเลี้ยงสังสรรคแสดงความ ยินดีแกบัณฑิต เปนตน 204 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

7. กระบวนการวางแผน (planning ในแตละครั้ง ตลอดจนสรางความนาเชื่อถือ process) การวางแผนตั้งแตการวิเคราะหตลาด และภาพลักษณดานอุตสาหกรรมไมซ (MICE) คูแขงขัน การเลือกสถานที่จัดงาน กลยุทธในการ ใหแกจังหวัด เชิญชวนใหสมาชิกและผูสนใจเขารวมงาน อภิปรายผลการวิจัย ใหมากที่สุด ผลจากการวิเคราะหสภาพแวดลอมทาง 7.1 ทําการวิจัยเพื่อวิเคราะห การแขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมไมซ (MICE) เตรียมแผนงาน ไมซ (MICE) พบวา จังหวัดสงขลาเปนจังหวัด แผนสงเสริมการตลาดเพื่อนําไปสูการพัฒนา ที่มีความสามารถทางการแขงขันสูงที่สงผล ศักยภาพไมซของจังหวัด ดวยการนํากลยุทธ ตอการบริหารจัดการอุตสาหกรรมไมซ (MICE) การตลาดมาใชเพื่อดึงดูดกลุมเปาหมายและ ใหบรรลุวัตถุประสงค เนื่องจากเปนศูนยกลาง สรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหแกลูกคา การคา การลงทุนของภาคใตตอนลาง แตมีคูแขงขัน ตอไป ที่สําคัญคือ จังหวัดภูเก็ตและจังหวัดสุราษฎรธานี 7.2 การวางแผนเพื่อรวมมือทาง ซึ่งเปนจังหวัดที่ตั้งอยูทางภาคใตของประเทศไทย ธุรกิจ เนื่องจากอุตสาหกรรมไมซ (MICE) เปน และมีชื่อเสียงมากกวาจังหวัดสงขลา ทั้งนี้จังหวัด อุตสาหกรรมขนาดใหญที่ตองไดรับความรวมมือ สงขลามีขอไดเปรียบ คือ มีคาครองชีพที่ตํ่ากวา จากคูรวมทางธุรกิจตาง ๆ เชน สายการบิน รถเชา จังหวัดสุราษฎรธานีและภูเก็ต ซึ่งสอดคลองกับ รานอาหาร โรงแรม ฯลฯ เพื่อชวยใหการดําเนินงาน มนัส ชัยสวัสดิ์ และ คณะ (Chaisawad et al., สะดวกรวดเร็ว และกระจายรายไดใหกับคูรวม 2009) ไดศึกษาความพรอมของเมืองในดาน ธุรกิจอีกดวย ธุรกิจการจัดประชุมหรือไมซ (MICE) พื้นที่จังหวัด 8. กระบวนการหลังการจัดงาน (post- ภูเก็ต พบวา จังหวัดภูเก็ตมีภาพลักษณคา sale process) ครองชีพสูง เนื่องจากมีตนทุนในการผลิตที่สูงมาก 8.1 สงจดหมายขอบคุณลูกคา เมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดสงขลาจึงถือเปน ที่เขามาจัดงานและติดตามผลความพึงพอใจ จุดออนไป อยางไรก็ตามสงขลาเปนเมืองที่มี หลังการจัดงาน เพื่อนําไปสูการปรับปรุงแกไข ศักยภาพตอการเปนจุดหมายปลายทางของ ใหการจัดงานประสบความสําเร็จยิ่งขึ้นในครั้ง อุตสาหกรรมไมซ (MICE) และเมืองทองเที่ยว ตอไป อันเปนผลมาจากความพรอมดานทรัพยากร 8.2 สงขาวลงหนังสือพิมพทองถิ่น ทางการทองเที่ยว ทั้งทางธรรมชาติ วัฒนธรรม การลงในเว็บไซตจังหวัดและสื่อตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เชนเดียวกับแนวคิด เพื่อแจงขาวสารการใหบริการดานอุตสาหกรรม การจัดการจุดหมายปลายทางทางการทองเที่ยว ไมซของจังหวัดสงขลาใหกับกลุมเปาหมายทั่วไป ที่จะสามารถดึงดูดนักทองเที่ยวไดนั้นจะตอง ไดรับทราบ เพื่อเปนการประชาสัมพันธงานที่จัด ประกอบดวย พื้นที่ทางภูมิศาสตรที่เหมาะสม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 205 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สวนประกอบของแหลงทองเที่ยวที่พรอมให (MICE) ภายใตแนวคิด 8Ps ของ Roger (2003) บริการสงเสริมการตลาดและหนวยงานที่กําหนด ที่ไดกําหนดรูปแบบของอุตสาหกรรมไมซ (MICE) หนาที่การบริหารจัดการการทองเที่ยวที่ดี ซึ่งมีความสอดคลองกับรูปแบบของอุตสาหกรรม (Morrison, 2013) และเมืองไมซซิตี้ (MICE การจัดประชุม (Jittungwattana, 2016) โดย City) ที่ดีควรจะมีความพรอมทางดานเทคโนโลยี จําแนกสวนประสมทางการตลาดเพื่อตอบสนอง สารสนเทศ เพราะความกาวหนาทางดาน ความตองการของตลาดเปาหมายออกเปน เทคโนโลยีทําใหเครื่องมือ อุปกรณมีความสะดวก 8 องคประกอบ ไดแก product, price, place, รวดเร็วและทันสมัยขึ้น สงผลใหขาวสารดาน promotion, people, package, planning การประชุมเขาถึงประชาชนไดอยางทั่วถึงและ process และ post-sale process นอกจากนี้ สรางความสะดวกในอุตสาหกรรมไมซ เชน การ Porter (1990) ไดกําหนดกลยุทธเพื่อสราง ประชุมทางไกล (teleconference) หรือการจัดสง ความไดเปรียบในการแขงขัน (Porter competitive ขอมูลระหวางการประชุมผานระบบดิจิตอล มีการ strategies) ไววาควรจะมีการลดตนทุนทางการ พัฒนาแอพลิเคชั่นตาง ๆ ใหบริการจนสามารถ จัดการ การสรางความแตกตาง ขององคกรหรือ ใชแทนมนุษยได ทําใหมีศักยภาพในการแขงขัน สินคาและบริการ และการมุงเนนเฉพาะกลุม นอกจากนี้ประเทศเพื่อนบานอยางมาเลเซียซึ่งมี ทั้งนี้เพื่อตอบสนองตอความตองการและความ ทรัพยากรทางการทองเที่ยวที่คลายคลึงกับ พึงพอใจไดอยางเต็มที่ หากนําขอคนพบมา ภาคใตของประเทศไทย มีการพัฒนาและการ พิจารณารวมกับแนวทางของนักวิจัยดานอื่น ๆ เติบโตของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวอยางตอเนื่อง จะพบกลไกสําคัญสําหรับการสรางความไดเปรียบ นับไดวาเปนคูแขงที่สําคัญของจังหวัดสงขลา ทางการแขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรม สอดคลองกับแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งที่นักการตลาด ไมซ (MICE) คือ 1) การรวมมือกับกระทรวง ทองเที่ยวและบริการจะตองใหความสําคัญ พาณิชยหรือกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ ในสภาพแวดลอมของโลก คือ การเพิ่มขึ้นของ (DITP) เพื่อที่จะจัดงานประเภท trade fairs และ การทองเที่ยวระหวางประเทศ การขยายตัวของ consumer fairs 2) การตั้งราคารวมโปรแกรม ตลาดทองเที่ยวระดับโลก การรวมกลุมและ (package) เพื่อเสนอใหแกลูกคาใหม 3) การเขาไป เครือขายที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวระหวาง พบกับกลุมเปาหมายหรือลูกคาโดยตรงเพื่อเปน ประเทศ คูแขงขันในตลาดตางประเทศซึ่งอาจจะมี ชองทางในการสรางการรับรู 4) การสงเสริม ทรัพยากรหรือสิ่งดึงดูดใจทางดานการทองเที่ยว การขายดวยการนําเสนอหรือแถมบริการพิเศษ ที่เหมือนหรือคลายคลึงกัน (Anuwicchanon, 5) การจัดการฝกอบรมบุคลากรเฉพาะทาง 6) การ 2011) นําเสนอโปรแกรมเสริมใหแกลูกคา 7) การวางแผน แนวทางการสรางความไดเปรียบในการ ความรวมมือจากคูรวมธุรกิจ และ 8) การสง แขงขันของจังหวัดสงขลาดานอุตสาหกรรมไมซ จดหมายขอบคุณลูกคาที่เขามาจัดงานและติดตาม 206 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ผลความพึงพอใจหลังการจัดงานเพื่อนําไปสูการ Pecharassanganglokthurakit. ปรับปรุงแกไขใหการจัดงานประสบความสําเร็จ (in Thai). ยิ่งขึ้นในครั้งตอไป Chaisawad, M. et al. (2009). A study of the city’s readiness in MICE business in ขอเสนอแนะ Phuket Province. Phuket: Prince of ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย Songkla University, Phuket Campus. 1. สํานักงานสงเสริมการจัดประชุม (in Thai). และนิทรรศการควรมีนโยบายที่เปนรูปธรรม Dechudom, P. (2012). Meeting Incentive เพื่อสงเสริม พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซของ Convention and exhibition จังหวัดสงขลาใหทัดเทียมกับเมืองไมซซิตี้อื่น ๆ Management. Nontaburi: Sukhothai 2. จังหวัดควรจัดสรรงบประมาณเพื่อ Thammathirat University. (in Thai). ทําการประชาสัมพันธและสรางภาพลักษณของ Jittungwattana, B. (2016). MICE Business. จังหวัดสงขลาใหเปนที่รูจักดานอุตสาหกรรมไมซ Nonthaburi: Fernkaloung printing ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ and publishing. (in Thai). 1. จัดตั้งคณะทํางานเพื่อพัฒนาศักยภาพ Morrison, A. M. (2013). Marketing and อุตสาหกรรมไมซในจังหวัดสงขลา managing tourism destination. NY: 2. พัฒนาคน ระบบโครงสรางพื้นฐาน Routledge. และสิ่งอํานวยความสะดวกที่ไดมาตรฐานสากล Porter, M. E. (1990). The competitive เพื่อรองรับอุตสาหกรรมไมซ (MICE) advantage of nations. NY: Free ขอเสนอแนะเชิงวิชาการ Press. 1. ศึกษาปจจัยที่มีผลตอการเตรียม Rogers, T. (2003). Conference and conventions: ความพรอมของเมืองสงขลาสําหรับอุตสาหกรรม a global industry. Oxford: Butterworth ไมซ (MICE) Heinemann. 2. ศึกษาขีดความสามารถในการรองรับ Thanodomdech, P. (2017). Opportunities of ของจังหวัดสงขลาสําหรับอุตสาหกรรมไมซ MICE industry from ASEAN. Retrieved 3. ศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการ February 15, 2017, from https://www. ตัดสินใจเลือกสถานที่จัดงานไมซ (MICE) posttoday.com/biz/aec/column/ 476158 (in Thai). REFERENCES Theepapan, P. (2008). Strategic management. Anuwicchanon, J. (2011). Marketing for Bangkok: Amornkanpim. (in Thai). tourism and hospitality. Bangkok: Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 207 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

ยุทธศาสตรการสรางความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี STRATEGY FOR COOPERATION ESTABLISHMENT OF EMERGING COMMUNITIES IN LOCAL DEVELOPMENT OF LOCAL GOVERNMENTS IN PATHUM THANI PROVINCE อัครเดช เนตรสุวรรณ1* เกษมชาติ นเรศ เสนีย2 และ บุญเลิศ ไพรินทร3 Akaradech Netsuwan1*, Kasemchart Naressenie2 and Boonlert Pairindra3

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย1*, 2, 3 Doctor of Public Administration in Public Administration, Graduate School, Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage, Pathum Thani Thailand1*, 2, 3

[email protected]

บทคัดยอ การวิจัยนี้วัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะความรวมมือของชุมชนเกิดใหม 2) ศึกษา ปจจัยที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม และ 3) เสนอยุทธศาสตรการสรางความรวมมือของ ชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี เปนการวิจัย แบบผสม สําหรับการวิจัยเชิงปริมาณมีกลุมตัวอยางจํานวน 247 คน ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือ วิจัย วิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติ จํานวน รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธเพียรสัน และการวิเคราะหถดถอยพหุ และการวิจัยเชิงคุณภาพดําเนินการโดยการสัมภาษณ เชิงลึกผูใหขอมูลสําคัญ จํานวน 21 คน วิเคราะหขอมูลโดยการจําแนกหมวดหมู และตีความ ผลการศึกษาพบวา 1) ลักษณะความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปน รายดาน พบวา มีระดับความรวมมืออยูในระดับมาก ทั้ง 6 ดาน โดยดานที่มีลักษณะความรวมมือ สูงที่สุด คือ ความรวมมือสวนใหญเปนความรวมมือดานผูใหและผูรับ สวนดานที่มีลักษณะความรวมมือ 208 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

นอยที่สุด คือ ความรวมมือดานการบริหารจัดการบนฐานแหงขอบเขตภาระหนาที่ และความรวมมือ ดานความรวมมือจากบนสูลาง 2) ปจจัยทางสังคม ปจจัยทางการเมือง และปจจัยดานผูนํา สงผลตอ ความรวมมือของชุมชนเกิดใหมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งปจจัยทั้ง 3 นี้ อธิบายความ ผันแปรของปจจัยที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี ไดรอยละ 67.80 และ 3) ยุทธศาสตรการสรางความรวมมือของชุมชน เกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นมี 4 ยุทธศาสตร คือ (1) การพัฒนาผูนําของชุมชน (2) การสรางความ ตระหนักและมีจิตสํานึกรักทองถิ่น (3) การสื่อสารและการประสานงานที่ดี และ (4) พัฒนาความรวมมือ

คําสําคัญ: ยุทธศาสตรความรวมมือ ชุมชนเกิดใหม การพัฒนาทองถิ่น

ABSTRACT The purposes of this research are 1) to study the character of cooperation in newly formed community, 2) to study The influence factor that in cooperation of newly formed community, 3) to find cooperation building strategy for newly formed community in order to help local community development under the Pathum Thani municipality. This mix method was use 247 sample. The research tools for this part was questionnaire. The statistics used were percentage, mean, standard deviation, Pearson’ s Correlation Coefficient, and Stepwise Multiple Regression analysis. The qualitative part of this research was done by in-depth interview with 21 key informants. The data was analyze by categorizing and interpreted to answer the research question The research found that 1) the character of cooperation in newly formed community for development of local municipality in Pathum Thani are in high score for the over all. When look into each category, it showed the level of cooperation in 6 aspects that were in high score. Respectively, the highest score for cooperate category was cooperation between giver and receiver. The least cooperate category was the administration based on scope of duty and top-down cooperation. 2) Social factors; Political factor and Leadership Factor, The factors that influence the cooperation of newly formed community statistical importance of 0.01. These 3 factors explain the variation of factors that influence the cooperation of newly formed community for the development of local municipality in Pathum Thani at 67.80% and 3) There were 4 strategies for newly formed community in order to help develop local community (1) Vision of Development community leader, (2) Raise Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 209 Vol.13 No.2 (July - December 2018) awareness and make good conscience with community, (3) Make good communication and coordination. and (4) To develop coordination.

Keywords: cooperation strategy, newly formed community, local development

บทนํา การกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง ดึงมาใชประโยชนในการพัฒนาทองถิ่นได ดังนั้น สวนทองถิ่น สงผลทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น การคนหาแนวการสรางความรวมมือของชุมชน ไดรับการถายโอนภารกิจดานการจัดบริการ เกิดใหมใหมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น และ สาธารณะแกชุมชน กําหนดบทบาทขององคกร กําหนดเปนแผนยุทธศาสตรรวมขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นไวในรัฐธรรมนูญแหงราช ปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดปทุมธานีจึงเปน อาณาจักรไทยเกือบทุกฉบับไวอยางชัดเจน เรื่องที่นาสนใจอยางยิ่ง เนื่องจาก จังหวัดปทุมธานี และบัญญัติเกี่ยวกับการปกครองสวนทองถิ่น ไมเคยมีการกําหนดแผนยุทธศาสตรการสราง ไวเปนการเฉพาะเพื่อกระจายอํานาจใหกับองคกร ความรวมมือของชุมชนเกิดใหมใหมีสวนรวม ปกครองสวนทองถิ่นมากยิ่งขึ้น โดยมีสาระสําคัญ ในการพัฒนาทองถิ่นมากอน การกําหนดแผน สรุปไดวา รัฐตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่น ยุทธศาสตรดังกลาวจึงเปนประโยชนตอจังหวัด ตามหลักแหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณ ปทุมธานี ในการบริหารงานทองถิ่นขององคกร ของประชาชนในทองถิ่น และสงเสริมใหองคกร ปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดปทุมธานีใหมี ปกครองสวนทองถิ่นเปนหนวยงานหลักในการ ประสิทธิภาพและสอดคลองกับความตองการ จัดทําบริการ สาธารณะและมีสวนรวมในการ ของประชาชนมากที่สุด และยังสามารถนําผล ตัดสินใจแกไขปญหาในพื้นที่รวมทั้งมีอํานาจ การวิจัยนี้ไปประยุกตใชกับพื้นที่องคกรปกครอง หนาที่ทั่วไปในการดูแลประชาชนในทองถิ่น สวนทองถิ่นอื่น ๆ ได จังหวัดปทุมธานีมีชุมชนเกิดใหม (หมูบานจัดสรร) จํานวนมากที่เพิ่มปริมาณอยาง วัตถุประสงคการวิจัย รวดเร็วในปจจุบัน และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอีกมาก 1. เพื่อศึกษาลักษณะความรวมมือของ ในอนาคต ปญหาสําคัญสําหรับองคกรปกครอง ชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกร สวนทองถิ่นในจังหวัดปทุมธานี คือ ไมสามารถดึง ปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี ชุมชนเกิดใหมใหเขามามีสวนรวมและใหความ 2. เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอความ รวมมือในการบริหารจัดการขององคกรได ทั้งที่ รวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ชุมชนเกิดใหมเหลานี้มีศักยภาพคอนขางสูง ทั้งดาน ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัด ฐานะ คุณวุฒิ และตําแหนงทางสังคม ที่สามารถ ปทุมธานี 210 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

3. เพื่อเสนอยุทธศาสตรการสรางความ ปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี รวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น 2. ทําใหทราบปจจัยที่สงผลตอความ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัด รวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ปทุมธานี ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัด ปทุมธานี ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 3. ไดยุทธศาสตรการสรางความรวมมือ 1. ทําใหทราบลักษณะความรวมมือของ ของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นของ ชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกร องคกรปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ปจจัยสวนบุคคล 1. เพศ 2. อายุ 3. รายได 4. อาชีพ ตัวแปรตาม 5. ระยะเวลาที่อาศัยอยูในพื้นที่ ลักษณะความรวมมือ ปจจัยภายใน 1. ดานการบริหารจัดการบนฐาน 1. ปจจัยดานผูนํา แหงขอบเขตภาระหนาที่ 2. ปจจัยดานความรูความเขาใจ 2. ดานความพยายามปองกันตนเอง 3. ปจจัยดานแรงจูงใจ 3. ดานความรวมมือจากบนสูลาง 4. ปจจัยดานเทคนิคและวิธีการ 4. ดานผูใหและผูรับ 5. ปจจัยดานการสื่อสาร 5. ดานครั้งคราว 6. ดานความพอใจ ปจจัยภายนอก 1. ปจจัยทางการเมือง 2. ปจจัยทางเศรษฐกิจ 3. ปจจัยทางสังคม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 211 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ระเบียบวิธีวิจัย 2. การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยนี้เปนการวิจัยแบบผสม ทั้งเชิง ผูใหขอมูลสําคัญ คือ ตัวแทนประธาน ปริมาณและเชิงคุณภาพมีรายละเอียดของวิธีการ ชุมชนของชุมชนเกิดใหมและนายกองคกร ดําเนินการวิจัย ดังนี้ ปกครองสวนทองถิ่นหรือผูแทนที่ไดรับมอบหมาย 1. การวิจัยเชิงปริมาณ ในจังหวัดปทุมธานี โดยกําหนดตัวแทนชุมชน ประชากรและกลุมตัวอยาง คือ อําเภอละ 2 คน จํานวน 7 อําเภอ รวมกับนายก ประธานชุมชนของชุมชนเกิดใหมหรือผูแทนที่ได องคกรปกครองสวนทองถิ่น 1 คน รวมเปนจํานวน รับมอบหมายในจังหวัดปทุมธานี จํานวน 649 คน 21 คน โดยสุมแบบเจาะจง องคกรปกครอง เลือกโดยใชการสุมแบบชั้นภูมิจํานวนชุมชน สวนทองถิ่นในพื้นที่อําเภอที่มีจํานวนชุมชน เกิดใหมในจังหวัดปทุมธานีจําแนกตามพื้นที่และ เกิดใหมมากที่สุด 2 ลําดับแรก ไดแก อําเภอ องคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน 247 คน ลําลูกกา มีชุมชนเกิดใหมมากที่สุดเปนลําดับแรก เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ จํานวน 69 ชุมชน และอําเภอเมืองปทุมธานี แบบสอบถามแบงออกเปน 4 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 มีชุมชนเกิดใหมเปนลําดับที่สอง จํานวน 68 ชุมชน เปนการสอบถามปจจัยสวนบุคคลประธานของ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ แบบ ชุมชนของชุมชนเกิดใหมสวนที่ 2 เปนการสอบถาม สัมภาษณหรือสนทนากลุม แบบสัมภาษณ ปจจัยที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม และสนทนากลุมแบบกึ่งมีโครงสรางเพื่อใช สวนที่ 3 เปนการสอบถามลักษณะความรวมมือ เก็บรวบรวมขอมูลดังนี้ ของชุมชนเกิดใหม และสวนที่ 4 เปนคําถาม 1. การสัมภาษณ เพื่อเก็บรวบรวม ปลายเปดที่ใหผูตอบแบบสอบถามแสดงความเห็น ขอมูลลักษณะความรวมมือของชุมชนเกิดใหม ไดอยางอิสระ เพื่อการพัฒนาทองถิ่นปจจัยที่สงผลตอความ การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณคือ รวมมือของชุมชนเกิดใหม และปญหาอุปสรรค ขอมูลที่ไดจากการแจกแบบสอบถามวิเคราะห และแนวทางการสรางความรวมมือของชุมชน ดวยสถิติเชิงพรรณนาไดแกจํานวนรอยละคาเฉลี่ย เกิดใหมในการพัฒนาทองถิ่นกับองคกรปกครอง ( ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติ สวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี เชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐาน ขอที่ 1 คือ 2. การสนทนากลุมเพื่อเก็บรวบรวม independent t-test และสถิติเชิงอนุมานเพื่อ ขอมูลจุดออนจุดแข็งโอกาสและอุปสรรค (SWOT) ทดสอบสมมติฐานขอที่ 2 คือคาสัมประสิทธิ์ ที่เกี่ยวของกับความรวมมือของชุมชนเกิดใหม สหสัมพันธเพียรสัน pearson’s correlation ในจังหวัดปทุมธานี coefficient) และการวิเคราะหถดถอยแบบขั้นตอน 3. การสนทนากลุมเพื่อยืนยันความ (stepwise regression analysis) ถูกตองและความเหมาะสมของยุทธศาสตร 212 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การสรางความรวมมือของชุมชนเกิดใหมในการ และความรวมมือดานความรวมมือจากบนสูลาง พัฒนาทองถิ่นกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ( = 3.57, S.D. = 0.77) ซึ่งสอดคลองกับผล ของจังหวัดปทุมธานี การวิจัยเชิงคุณภาพ ที่พบวา สภาพความรวมมือ การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ของประชาชนโดยทั่วไปอยูในเกณฑดีในการ ที่ไดมาจากการเก็บรวบรวมขอมูล คือ ขอมูล รับมอบสิ่งของตาง ๆ ที่ทางองคกรปกครอง ทุติยภูมิคือจากเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของ และ สวนทองถิ่นไดนํามามอบให แตความรวมมือ ขอมูลปฐมภูมิคือจากการสัมภาษณแบบเชิงลึก ที่จําเปนดานอื่น ๆ ยังมีไมมากนัก สะทอนใหเห็น ผูใหขอมูลสําคัญ การสัมภาษณ และการสนทนา ถึงความรวมมือของประชาชนในชุมชนเกิดใหม กลุม ดวยการการวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหา ที่ไดใหความรวมมือกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น การตีความเชิงอุปนัย และการวิเคราะหเชิงตรรกะ ในฐานะผูไดรับประโยชนมากกวาความรวมมือ แลวใชการพรรณนาความเพื่อสรุปตอบวัตถุประสงค ดานการเปนผูให เนื่องจากประชาชนที่มาจาก ของการวิจัย ตางถิ่นซึ่งไดเขามาอยูรวมกันนั้นมักมีทัศนคติ ที่แตกตางกัน การที่จะสรางความรวมมือจึงคอนขาง สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ยาก ตองใชเวลานานในการขอความรวมมือและ สรุปผลการวิจัย ตองใชเวลาในการปรับตัวเขาหากัน นอกจากนี้ 1. ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับ ลักษณะปญหาความรวมมือของชุมชนเกิดใหม ลักษณะความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการ ที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือการใหความรวมมือ พัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น อยางดีกับกลุมผูบริหารเปนนักการเมืองในกลุม ของจังหวัดปทุมธานี ของตนเองเทานั้น ลักษณะความรวมมือของชุมชน 2. ผลการวิเคราะหปจจัยที่สงผลตอ เกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกร ความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนา ปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี ภาพรวม ทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของ มีระดับความรวมมือในระดับมาก ( = 3.62, จังหวัดปทุมธานี S.D. = 0.79) และเมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา 2.1 ปจจัยภายนอกที่สงผลตอความ ดานที่มีคาเฉลี่ยระดับความรวมมือสูงที่สุด รวมมือความรวมมือของชุมชนเกิดใหม พบวา คือ ความรวมมือดานผูใหและผูรับ ( = 3.70, ปจจัยภายนอกที่สงผลตอความรวมมือของชุมชน S.D. = 0.79) ดานที่มีคาเฉลี่ยระดับความรวมมือ เกิดใหม โดยภาพรวมมีระดับความรวมมือใน รองลงมา คือ ความรวมมือดานครั้งคราว ( = ระดับปานกลาง ( = 3.29,S.D. = 0.88) ดาน 3.68, S.D.=0.78) และดานที่มีคาเฉลี่ยระดับ ที่มีคาเฉลี่ยระดับความรวมมือสูงที่สุด คือ ดาน ความรวมมือนอยที่สุด คือ ความรวมมือดานการ การเมือง ( = 3.41, S.D. = 0.82) ดานที่มี บริหารจัดการบนฐานแหงขอบเขตภาระหนาที่ คาเฉลี่ยระดับความรวมมือรองลงมา คือ ดาน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 213 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สังคม ( =3.30, S.D. = 0.94) และดานที่มี มีความสัมพันธเชิงบวกกับลักษณะความรวมมือ คาเฉลี่ยระดับความรวมมือนอยที่สุด คือ ดาน ของชุมชนเกิดใหมดานความพยายามปองกัน เศรษฐกิจ ( = 3.17, S.D. = 0.89) ผลการ ตนเองดานความรวมมือจากบนสูลางดานผูให วิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยภายนอก และผูรับดานครั้งคราวและดานความพอใจ ที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหมกับ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และปจจัย ลักษณะความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการ ภายนอกที่สงผลตอความรวมมือของชุมชน พัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เกิดใหมมีความสัมพันธเชิงลบกับลักษณะความ ของจังหวัดปทุมธานีโดยภาพรวมปจจัยภายนอก รวมมือของชุมชนเกิดใหมดานการบริหารจัดการ ที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม บนฐานแหงขอบเขตภาระหนาที่ ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ความสัมพันธระหวางปจจัยภายนอกที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหมกับลักษณะ ความรวมมือของชุมชนเกิดใหม

ลักษณะ ความรวมมือ ความรวมมือ ของชุมชนเกิดใหม ดานการ ความรวมมือ ความรวมมือ ลักษณะ คาตัวแปร ความรวมมือ ความรวมมือ ความรวมมือ บริหาร ดานความ ดานความ ความรวมมือ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ดานผูให ดาน ดาน จัดการ พยายาม รวมมือ ของชุมชน เพียรสัน บนฐาน และผูรับ ครั้งคราว ความพอใจ ปจจัยภายนอก ปองกันตนเอง จากบนสูลาง เกิดใหม แหงเขต ที่สงผลตอ ภาระหนาที่ ความรวมมือ ของชุมชนเกิดใหม Pearson Correlation .363** .481** .391** .198** .240** .229** .508** ดานการเมือง Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .002 .000 .000 .000 N 247 247 247 247 247 247 247 Pearson Correlation .363** .384** .319** .447** .426** .536** .468** ดานเศรษฐกิจ Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 N 247 247 247 247 247 247 247 Pearson Correlation .517** .337** .414** .351** .265** .289** .553** ดานสังคม Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 N 247 247 247 247 247 247 247 ปจจัยภายนอก Pearson Correlation .470 .501** .440** .268** .547** .367** .602** ที่สงผลตอความรวมมือ Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 ของชุมชนเกิดใหม N 247 247 247 247 247 247 247

**มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 214 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

2.2 ปจจัยภายในที่สงผลตอความ พัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมมือความรวมมือของชุมชนเกิดใหม พบวา ของจังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวมปจจัยภายใน ปจจัยภายในที่สงผลตอความรวมมือของชุมชน ที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม เกิดใหม โดยภาพรวมมีระดับความรวมมือใน มีความสัมพันธเชิงบวกกับลักษณะความรวมมือ ระดับมาก ( =3.71, S.D.=0.86) ดานที่มี ของชุมชนเกิดใหม ดานความพยายามปองกัน คาเฉลี่ยระดับความรวมมือสูงที่สุด คือ ดาน ตนเอง ดานความรวมมือจากบนสูลาง ดานผูให แรงจูงใจ ( = 4.02, S.D.=1.07) ดานที่มีคา และผูรับความรวมมือ ดานครั้งคราว และดาน เฉลี่ยระดับความรวมมือรองลงมา คือ ดานผูนํา ความพอใจ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ( = 3.84, S.D.=0.75) และดานที่มีคาเฉลี่ย และปจจัยภายในที่สงผลตอความรวมมือของ ระดับความรวมมือนอยที่สุด คือ ดานความรู ชุมชนเกิดใหมมีความสัมพันธเชิงลบกับลักษณะ ความเขาใจ ( = 3.56, S.D. = 0.79) ผลการ ความรวมมือของชุมชนเกิดใหม ดานการบริหาร วิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยภายใน จัดการบนฐานแหงขอบเขตภาระหนาที่ ดังตาราง ที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหมกับ ที่ 2 ลักษณะความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 215 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 2 ความสัมพันธระหวางปจจัยภายในที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหมกับลักษณะ ความรวมมือของชุมชนเกิดใหม

ลักษณะ ความรวมมือ ความรวมมือ ของชุมชนเกิดใหม ดานการ ความรวมมือ ความรวมมือ ลักษณะ คาตัวแปร ความรวมมือ ความรวมมือ ความรวมมือ บริหาร ดานความ ดานความ ความรวมมือ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ดานผูให ดาน ดาน จัดการ พยายาม รวมมือ ของชุมชน เพียรสัน บนฐาน และผูรับ ครั้งคราว ความพอใจ ปจจัยภายใน ปองกันตนเอง จากบนสูลาง เกิดใหม แหงเขต ที่สงผลตอ ภาระหนาที่ ความรวมมือ ของชุมชนเกิดใหม Pearson Correlation .379** .261 .394** .154** .400** .296** .433** ดานผูนํา Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .016 .000 .000 .000 N 247 247 247 247 247 247 247 Pearson Correlation .269** .258** .417 .226** .358** .222** .411** ดานความรู Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 ความเขาใจ N 247 247 247 247 247 247 247 Pearson Correlation .209** .193** .184** .179 .215** .191** .267** ดานแรงจูงใจ Sig. (2-tailed) .001 .002 .004 .005 .001 .003 .000 N 247 247 247 247 247 247 247 Pearson Correlation .367** .348** .405** .247** .490 .338** .503** ดานเทคนิคและวิธีการ Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 N 247 247 247 247 247 247 247 Pearson Correlation .376** .324** .412** .200** .411** .291 .467** ดานการสื่อสาร Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .002 .000 .000 .000 N 247 247 247 247 247 247 247 ปจจัยภายใน Pearson Correlation .408 .355** .464** .269** .485** .348** .573** ที่สงผลตอความรวมมือ Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 ของชุมชนเกิดใหม N 247 247 247 247 247 247 247

**มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

2.3 ปจจัยที่สงผลตอความรวมมือ ความรวมมือดังกลาว ไดแก การสรางการทํางาน ของชุมชนเกิดใหมมีความสัมพันธกับลักษณะ รวมกับผูอื่น การสรางความเทาเทียมกันและ ความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนา การสรางทัศนคติที่ดีตอกัน เพื่อใหงานที่ไดรับ ทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของ มอบหมายนั้นออกมาอยางมีประสิทธิภาพ และ จังหวัดปทุมธานี ยกเวนปจจัยดานความรู เพื่อผลประโยชนของชุมชนและตนเอง นอกจากนี้ ความเขาใจ และนอกจากนี้ผลการวิจัยเชิง ขอคนพบปจจัยสําคัญที่ที่ทําใหเกิดความรวมมือ คุณภาพ พบวายังมีปจจัยอื่นที่สงผลตอการสราง คือ ถาประชาชนในชุมชนเกิดใหมเขาใจถึง 216 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

บทบาทและหนาที่ของตนเองจะใหความรวมมือ ของชุมชนเกิดใหมมีความสัมพันธกับลักษณะ กับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพัฒนา ผลการ ความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนา วิเคราะหถดถอยพหุ (multiple regression ทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของ analysis) โดยวิธีการวิเคราะหถดถอยแบบ จังหวัดปทุมธานี ยกเวนปจจัยดานความรูความเขาใจ ขั้นตอน พบวาปจจัยที่สงผลตอความรวมมือ ดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหมกับลักษณะ ความรวมมือของชุมชนเกิดใหม

ปจจัยที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม แหลงความ Sum of Mean df F Sig. กับลักษณะความรวมมือของชุมชนเกิดใหม แปรปรวน Squares Square ปจจัยที่สงผลตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม ระหวางกลุม 864.128 8 108.016 25.267 .000 ภายในกลุม 1017.464 238 4.275 รวม 1881.592 246 Unstandardized Standardized t Sig. Coefficients Coefficients B Std. Error Beta Constant (X) 6.849 1.002 6.836 .000 Constant (Y) 10.647 1.164 9.150 .000 ปจจัยภายใน (X1) ปจจัยดานผูนํา (X11) .503 .269 .120 1.872 .062 ปจจัยดานความรูความเขาใจ (X12) .071 .261 .018 .271 .787 ปจจัยดานแรงจูงใจ (X13) .257 .184 .073 1.395 .164 ปจจัยดานเทคนิคและวิธีการ (X14) .435 .303 .113 1.437 .152 ปจจัยดานการสื่อสาร (X15) .213 .257 .061 .830 .407 ปจจัยภายนอก (X2) ปจจัยทางการเมือง (X21) .700 .246 .178 2.848 .005 ปจจัยทางเศรษฐกิจ (X22) .233 .240 .067 .971 .333 ปจจัยทางสังคม (X23) .977 .217 .313 4.501 .000 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 217 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

3. ผลการวิเคราะหยุทธศาสตรการสราง มากตอความรวมมือของชุมชน 2) ดานความรู ความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนา ความเขาใจของประชาชนสงผลตอความรวมมือ ทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของ ของชุมชนเกิดใหม พบวาความรูความเขาใจ จังหวัดปทุมธานี สามารถสรุปผลการวิจัยไดดังนี้ ของประชาชนสงผลตอการใหความรวมมือเปน 3.1 ลักษณะความรวมมือของ อยางมาก 3) ดานแรงจูงใจของประชาชนสงผลตอ ชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกร ความรวมมือของชุมชนเกิดใหม พบวาดานแรง ปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดปทุมธานี ประกอบ จูงใจมีผลตอความรวมมือของชุมชนคอนขางมาก ไปดวย 1) ความรวมมือดานการบริหารจัดการ 4) ดานเทคนิคและวิธีการตาง ๆ สงผลตอความ บนฐานแหงขอบเขตภาระหนาที่ พบวาประชาชน รวมมือของชุมชนเกิดใหม พบวาเทคนิคและวิธีการ สวนมากใหความรวมมือกับองคกรปกครอง ตาง ๆ เปนเครื่องมือที่ชวยใหประชาชนเขามามี สวนทองถิ่นและมีสวนสําคัญในการพัฒนาชุมชน สวนรวมไดมาก และ 5) ดานการสื่อสารสงผล อยางมาก 2) ความรวมมือดานความพยายาม ตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม พบวาการ ปองกันตนเอง พบวาชุมชนเมื่อเกิดความเดือดรอน สื่อสารสงผลตอความรวมมืออยางมาก จะขอความรวมมือจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น 3.3 ปจจัยภายนอก ที่สงผลตอ เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นชวยแกไข ความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนา ปญหาความเดือดรอน 3) ความรวมมือดาน ทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัด ความรวมมือจากบนสูลาง พบวา องคกรปกครอง ปทุมธานี ประกอบไปดวย 1) ดานการเมืองสงผล สวนทองถิ่นมีการเปดโอกาสใหทุกสวนทุกฝาย ตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม พบวาดาน 4) ความรวมมือดานผูใหและผูรับ พบวา การเมืองมีผลอยางมาก 2) ดานเศรษฐกิจสงผล ประชาชนจะใหความรวมมือเปนอยางดีในการ ตอความรวมมือของชุมชนเกิดใหม พบวา รับมอบสิ่งของตาง ๆ 5) ความรวมมือดานครั้งคราว เศรษฐกิจสงผลตอการใหความรวมมืออยางมาก พบวาประชาชนสวนมากใหความรวมมือกับการ และ 3) ดานสังคมสงผลตอความรวมมือของ เขารวมกิจกรรมเปนอยางดี และ 6) ความรวมมือ ชุมชนเกิดใหม พบวาสังคมสงผลตอความรวมมือ ดานความพอใจ พบวา การจัดกิจกรรมที่ชุมชน คอนขางมากการทําใหสังคมโดยสวนรวมมีความ ไดรับประโยชนจะไดรับความรวมมือจากประชาชน คิดเห็นเหมือนกัน เปนอยางดี 3.4 ปญหาอุปสรรคและแนวทาง 3.2 ปจจัยภายในที่สงผลตอความ การสรางความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อ รวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น การพัฒนาทองถิ่นกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัด ในจังหวัดปทุมธานี ประกอบไปดวย 1) ปญหา ปทุมธานี ประกอบไปดวย 1) ดานผูนําสงผลตอ อุปสรรคการสรางความรวมมือของชุมชนเกิดใหม ความรวมมือของชุมชนเกิดใหม พบวาผูนํามีอิทธิพล เพื่อการพัฒนาทองถิ่นกับองคกรปกครองสวน 218 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ทองถิ่นในจังหวัดปทุมธานี พบวาประชาชนที่มา 2. สรางความรูความเขาใจของ จากตางที่แลวตองมาอยูรวมกันนั้น การที่จะสราง ประชาชน ใหเกิดความตระหนักและมีจิต ความรวมมือคอนขางยาก ตองใชเวลานานในการ สํานึกรักรวมมือพัฒนาทองถิ่น ขอความรวมมือ และ 2) แนวทางการสรางความ 3. พัฒนาการสื่อสารและการประสานงาน รวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น เพื่อสรางเขาใจและเขาถึงความตองการของ กับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัด ชุมชน ปทุมธานี พบวา ควรจัดใหมีการอบรมใหความรู 4. พัฒนาการมีสวนรวม ผานเครือขาย ความเขาใจ เกี่ยวกับสิทธิที่ประชาชนพึงไดรับ ชุมชนและกระบวนการสรางแรงจูงใจใหเกิด ลงพื้นที่สอบถามความตองการของประชาชน ความรวมมือพัฒนาทองถิ่น วาตองการอะไร เอาใจใสประชาชน รับฟงความ ยุทธศาสตรการสรางความรวมมือ คิดเห็นของประชาชน ใหมีสวนรวมในกิจกรรม ของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นของ ตาง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนใหดียิ่ง ๆ ขึ้นไป องคกรปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี 3.5 ยุทธศาสตรการสรางความ ประกอบไปดวย ยุทธศาสตรหลัก จํานวน 4 รวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ยุทธศาสตร ดังนี้ ที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณจาก ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาผูนําชุมชน ประธานชุมชนของชุมชนเกิดใหมและบุคลากร เปาประสงค 1) เพื่อพัฒนาผูนําใหเปนผูที่มี ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เกี่ยวของ และ วิสัยทัศน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความรู การวิเคราะหเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ ความสามารถทางดานการพัฒนาชุมชน และ ตัวแทนประธานชุมชนของชุมชนเกิดใหมและ 2) เพื่อพัฒนาบทบาทของผูนําใหเปนผูที่มี นายกองคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัด ความสามารถในการประสานความรวมมือได ปทุมธานี สามารถนํามาสรางเปนยุทธศาสตร ทั้งภายนอกและภายในชุมชน และสามารถ การสรางความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการ โนมนาวชักจูงคนในชุมชนใหความรวมมือในการ พัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พัฒนาทองถิ่นได ของจังหวัดปทุมธานี ไดดังนี้ กลยุทธที่ 1 พัฒนาศักยภาพผูนํา โดยการ วิสัยทัศน อบรมและศึกษาดูงานพื้นที่ที่ประสบความสําเร็จ “สรางความรวมมือเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ในการพัฒนาทองถิ่นดวยความรวมมือทั้งภาครัฐ บนพื้นฐานของการเขาใจและเขาถึงชุมชน” ภาคเอกชน และภาคประชาชน พันธกิจ กลยุทธที่ 2 พัฒนาบทบาทการพัฒนา 1. พัฒนาผูนําของชุมชนใหมีวิสัยทัศน โดยการสงเสริมผูนําชุมชนมีบทบาทสําคัญในการ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความรูความสามารถ พัฒนาทองถิ่น มีการประสานความรวมมือได และมีบทบาทตอการพัฒนาชุมชน ทั้งภายนอกและภายในชุมชน และโนมนาวชักจูง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 219 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

คนในชุมชนใหความรวมมือในการพัฒนาทองถิ่น กลยุทธที่ 2 การประสานงานที่ดี โดย ยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความตระหนัก การพัฒนาระบบ เทคนิค และขั้นตอนการ และมีจิตสํานึกรักทองถิ่นเปาประสงค 1) เพื่อ ประสานงานที่มีประสิทธิภาพ ดวยเทคโนโลยี สรางความรูความเขาใจของประชาชนตอบทบาท ของการสื่อสาร องคกรปกครองสวนทองถิ่นในการพัฒนาและ ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางความรวมมือ แกไขปญหาชุมชน และ 2) เพื่อสรางความตระหนัก เปาประสงค 1) เพื่อพัฒนากระบวนการสราง ของประชาชนตอปญหาของชุมชน และให ความรวมมือ เพื่อรับฟงเสียงประชาชน ใหประชาชน ความสําคัญในการใหความรวมมือของประชาชน ไดเสนอความคิดเห็นและความตองการของตน ตอการพัฒนาทองถิ่น หรือชุมชน รวมปฏิบัติในกิจกรรมหรือโครงการ กลยุทธที่ 1 สรางความรูความเขาใจ ของชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ของประชาชน โดยการอบรมใหความรูเกี่ยวกับ 2) เพื่อพัฒนาเครือขายชุมชน เพื่อใหความรวมมือ การกระจายอํานาจ และการศึกษาดูงานองคกร แบบมีพลังและความเขมแข็งจากการรวมกลุม ปกครองสวนทองถิ่นที่ประสบความสําเร็จในการ ของเครือขายภาคประชาชน และ 3) เพื่อสราง พัฒนาทองถิ่นดวยความรวมมือทั้งภาครัฐ ภาค แรงจูงใจประชาชาชนใหความรวมมือในการพัฒนา เอกชน และภาคประชาชน ทองถิ่น กลยุทธที่ 2 สรางความตระหนักของ กลยุทธที่ 1 พัฒนาความรวมมือ โดยการ ประชาชน โดยการอบรมใหความรูเกี่ยวกับปญหา พัฒนากระบวนการสรางความรวมมือ ดวยการ ผลกระทบ และประโยชนที่เกิดจากความรวมมือ ใหประชาชนไดเสนอความคิดเห็นและความ ของประชาชนตอการพัฒนาทองถิ่น ตองการ ไดรวมปฏิบัติในกิจกรรมหรือโครงการ ยุทธศาสตรที่ 3 การสื่อสารและการ ของชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ประสานงานที่ดีเปาประสงค เพื่อพัฒนาชอง กลยุทธที่ 2 พัฒนาเครือขายชุมชน ทางการสื่อสารที่หลากหลาย เพื่อใชในการ โดยการสรางเครือขายที่หลากหลายทั้งภาครัฐ ประสานงาน การสงขาวสาร การประชาสัมพันธ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อเปาหมาย การสรางความรูความเขาใจของประชาชน และ ในการพัฒนาทองในดานตาง ๆ ที่หลากหลาย การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่อง กลยุทธที่ 1 พัฒนาชองทางการสื่อสาร กลยุทธที่ 3 สรางแรงจูงใจ โดยการ โดยการอบรมใหความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยี อบรมใหความรูความเขาใจกับประชาชาชน การสื่อสารทุกรูปแบบ เพื่อใชในการสงขาวสาร ใหเกิดความตระหนักตอปญหาและความสําคัญ การประชาสัมพันธ การสรางความรูความเขาใจ ในการพัฒนาทองถิ่น เพื่อใหเกิดจิตสํานึกในการ ของประชาชน และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ใหความรวมมือในการพัฒนาทองถิ่น ของประชาชน 220 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อภิปรายผลการวิจัย สงผลตอการมีสวนรวมของประชาชนทั้งทาง 1. ลักษณะความรวมมือของชุมชน การเมืองและการบริหารขององคกรปกครอง เกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครอง สวนทองถิ่น ประเภทของการมีสวนรวมทาง สวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี ไดแก ลักษณะ การเมืองของประชาชนที่สะทอนถึงระดับการมี ความรวมมือดานผูใหและผูรับ ซึ่งสอดคลองกับ สวนรวม และยังสอดคลองกับอัลมอนด และ เวบาร อารกานอฟ และ แมคไกว (Agranoff & McGuire, (Almond & Verba, 1965) ที่ศึกษาเปรียบเทียบ 2003) ที่ไดแบงรูปแบบความรวมมือแบบผูให ลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองของกลุมคนตาง ๆ และผูรับ เปนรูปแบบที่กิจกรรมความรวมมือ จากวัตถุประสงคขอที่ 3 เสนอยุทธศาสตร ในระดับปานกลางถึงสูง ระหวางองคการที่รับ การสรางความรวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการ บทบาทเปนผูใหเงินสนับสนุนกับองคการที่รับ พัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น บทบาทเปนผูรับเงินสนับสนุนโดยทั้งสององคการ ของจังหวัดปทุมธานี ไดนําเสนอยุทธศาสตรที่ 2 จะดําเนินงานแบบถอยทีถอยอาศัยซึ่งกันและกัน การสรางความตระหนักและมีจิตสํานึกรักทองถิ่น และมีการควบคุมกันเอง เปาประสงคเพื่อสราง 1) ความรูความเขาใจ 2. ปจจัยที่สงผลตอความรวมมือของ ของประชาชนตอบทบาทองคกรปกครองสวน ชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกร ทองถิ่นในการพัฒนาและแกไขปญหาชุมชน ปกครองสวนทองถิ่นของจังหวัดปทุมธานี ไดแก และ 2) ความตระหนักของประชาชนตอปญหา 1) ปจจัยภายในที่สงผลตอความรวมมือของ ของชุมชน และใหความสําคัญในการใหความ ชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกร รวมมือของประชาชนตอการพัฒนาทองถิ่น ปกครองสวนทองถิ่น จังหวัดปทุมธานี ซึ่งสอดคลอง และยุทธศาสตรที่ 4 การสรางความรวมมือ กับ สุระพี อาคมคง (Ahkomkong, 2007) ที่ได เปาประสงคเพื่อพัฒนา 1) กระบวนการสราง กลาวขั้นตอนของกระบวนการสรางรวมมือวา ความรวมมือ เพื่อรับฟงเสียงประชาชน ใหประชาชน มี 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นคิด คิดคนและวิเคราะห ไดเสนอความคิดเห็นและความตองการของตน ปญหารวมกัน 2) ขั้นวางแผน 3) ขั้นลงมือทํา หรือชุมชน รวมปฏิบัติในกิจกรรมหรือโครงการ 4) ขั้นติดตามประเมินผล 5) ขั้นรับผลประโยชน ของชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมกัน และ 2) ปจจัยภายนอกที่สงผลตอความ 2) เครือขายชุมชน เพื่อใหความรวมมือแบบมีพลัง รวมมือของชุมชนเกิดใหมเพื่อการพัฒนาทองถิ่น และความเขมแข็งจากการรวมกลุมของเครือขาย ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จังหวัดปทุมธานี ภาคประชาชน และ 3) เพื่อสรางแรงจูงใจประชาชน ซึ่งสอดคลองกับ วัชรินทร อินทพรหม (Intaprom, ใหความรวมมือในการพัฒนาทองถิ่น ซึ่งสอดคลอง 2012) ที่ไดกลาวไววา ปจจัยที่สงผลตอการมี กับหลักการสากลของธรรมาภิบาล โดยที่องคการ สวนรวมของประชาชน ในวัฒนธรรมทางการเมือง สหประชาชาติ กําหนดหลักการทั่วไปของธรรมา- Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 221 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ภิบาลไว ไดแก 1) ความรวมมือ เปนความรวมมือ ความสามารถทางดานการพัฒนาชุมชน และ ของสมาชิกองคกรหรือประชาชนทั้งชายหญิง เพื่อพัฒนาบทบาทของผูนําใหเปนผูที่มีความ ที่สามารถทําไดโดยอิสระไมมีการบังคับ สมาชิก สามารถในการประสานความรวมมือไดทั้ง เต็มใจใหความรวมมือดวยตนเอง 2) การปฏิบัติ ภายนอกและภายในชุมชน และสามารถโนมนาว ตามกฎบนความถูกตองตามกรอบของกฎหมาย ชักจูงคนในชุมชนใหความรวมมือในการพัฒนา ไมเลือกปฏิบัติ ไมลําเอียง มีการปฏิบัติอยาง ทองถิ่นได เสมอภาคและเปนธรรมกับประชาชนโดยเทาเทียม 2. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรนํา กันทุกคนในสังคมอยูภายใตขอกําหนดของ ยุทธศาสตรการสรางความตระหนักและมีจิตสํานึก กฎหมายเดียวกัน 3) ความโปรงใส เปนการ รักทองถิ่น เพื่อสรางความรูความเขาใจของ ตรวจสอบความถูกตอง มีการเปดเผยขอมูล ประชาชนตอบทบาทองคกรปกครองสวนทองถิ่น อยางตรงไปตรงมา สิ่งนี้ชวยแกปญหาการทุจริต ในการพัฒนาและแกไขปญหาชุมชน และเพื่อ และคอรัปชั่นได 4) ความรับผิดชอบ เปนการ สรางความตระหนักของประชาชนตอปญหาของ พยายามใหคนทุกฝายทําหนาที่ของตนใหดีที่สุด ชุมชน และใหความสําคัญในการใหความรวมมือ ในการทํางาน กลาที่จะตัดสินใจและรับผิดชอบ ของประชาชนตอการพัฒนาทองถิ่น ตอผลการตัดสินใจนั้นๆ และ 5) ความเสมอภาค 3. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรนํา เปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่ประชาชนทุกคนพึงไดรับ ยุทธศาสตรการสื่อสารและการประสานงาน จากรัฐบาลหรือองคกรปกครอง ทั้งการบริการ ที่ดี เพื่อพัฒนาชองทางการสื่อสารที่หลากหลาย ดานสวัสดิการ ตลอดจนสาธารณูปโภคดานอื่น ๆ เพื่อใชในการประสานงาน การสงขาวสาร การ (Commonwealth Secretariat, 2000) ประชาสัมพันธ การสรางความรูความเขาใจ ของประชาชน และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ขอเสนอแนะ 4. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรนํา ขอเสนอแนะการนําผลวิจัยไปใช ยุทธศาสตรการมีสวนรวม เพื่อพัฒนากระบวนการ ประโยชน มีสวนรวม เพื่อรับฟงเสียงประชาชน ใหประชาชน 1. องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรนํา ไดเสนอความคิดเห็นและความตองการของตน ยุทธศาสตรการพัฒนาผูนําชุมชนไปบูรณาการ หรือชุมชน รวมปฏิบัติในกิจกรรมหรือโครงการ กับหนวยงานอื่น ๆ เพื่อพัฒนาผูนําใหเปนผูที่มี ของชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น วิสัยทัศน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความรู เพื่อพัฒนาเครือขายชุมชน เพื่อใหความรวมมือ 222 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

แบบมีพลังและความเขมแข็งจากการรวมกลุม พัฒนาดานตาง ๆ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ของเครือขายภาคประชาชน และเพื่อสราง และเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชน แรงจูงใจประชาชาชนใหความรวมมือในการ ใหไดมากที่สุด พัฒนาทองถิ่น ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป REFERENCES 1. ควรศึกษาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ใน Agranoff, R., & McGuire, M. (2003). Inside การนํายุทธศาสตรการสรางความรวมมือไปใช the matrix: integrating the paradigms เพื่อการพัฒนาทองถิ่นขององคกรปกครองสวน of intergovernmental and network ทองถิ่นใหมีศักยภาพในดานการสรางความรวม management. International Journal of มือของประชาชน และบูรณาการกับหนวยงาน Public Administration. 26(12), 1401- ราชการที่เกี่ยวของในการทํางานรวมกับประชาชน 1422. ใหบรรลุผลสําเร็จ Ahkomkong, S. (2007). A collaboration 2. ควรศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอ model of Tambon administration การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผน organization of basic education ยุทธศาสตร เพื่อการพัฒนาขององคกรปกครอง management in the lower northern สวนทองถิ่น ซึ่งจะตองศึกษาแนวทางการพัฒนา region of Thailand. Bangkok: ใหเกิดความรู ความเขาใจในแนวคิด วิธีการ และ Ramkhamhaeng University. (in Thai) ทักษะใหม ๆ ในการทํางานรวมกับประชาชน Almond, G. A., & Verba, S. (1965). Political ในหมูบานใหประสบความสําเร็จ culture and political development. 3. ควรศึกษาเกี่ยวกับภาวะผูนําของ NJ: Princeton. ผูบริหารในองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยเฉพาะ Commonwealth Secretariat. (2000). ในสวนที่เกี่ยวของกับสวนการบริหารจัดการ และ Promoting good governance: ดําเนินการตามนโยบาย แผนงาน โครงการ และ principles, practices and perspectives. กิจกรรมตาง ๆ ที่สอดคลองกับรัฐบาลโดยเนนหลัก London: Commonwealth Secretariat. ความรวมมือของประชาชนเพื่อเปาหมายในการ Intaprom, W. (2012). Thai local government. Bangkok: Copy Express. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 223 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การเรียนรูสะเต็มศึกษาสําหรับนักเรียนระดับอาชีวศึกษา STEM EDUCATION FOR VOCATIONAL STUDENTS ธิดารัตน เสือคง ThidaratSuakong

สาขาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม ประเทศไทย Master of Vocational, Faculty of Education Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand

[email protected]

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษา เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในโครงการโรงเรียนฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีลําพูน ประชากรในการวิจัย ไดแก ครูผูสอนและครูพี่เลี้ยงจํานวน 13 คน และ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1-3 จํานวน 83 คน เครื่องมือที่ในการวิจัยประกอบดวย แบบบันทึกภาคสนาม ซึ่งไดจากการสัมภาษณและสังเกตพฤติกรรมของครูผูสอนในการจัดการเรียนรู แบบสะเต็มศึกษา และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนตอการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา เก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหผลโดยการวิเคราะหเนื้อหาและการหาคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1. การจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน ไดรับ ความรวมมือในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) จากหนวยงาน ดังนี้ 1) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน 2) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษารวมกับ British council และ Newton Fund 3)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา (มทร.ลานนา) จากกระบวนการจัดการเรียนรูจากทั้ง 3 หนวยงานทําใหนักเรียนไดทํากิจกรรมที่เนนการลงมือปฏิบัติ และเปนการเสริมทักษะกระบวนการคิดสรางสรรค กระบวนการทํางานรวมกัน เพื่อนําไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวันได 224 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

2. ความคิดเห็นของนักเรียนกับการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา โดยภาพรวมอยูในระดับ มาก คาเฉลี่ยอยูที่ 3.61 เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษาอยูใน ระดับ มาก 3 ดาน ปานกลาง 1 ดาน เมื่อเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับ พบวา ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มากที่สุด รองลงมา ดานหลักสูตร จุดประสงคการเรียนรู สมรรถนะรายวิชา และดานอุปกรณ สื่อการเรียนการสอน อาคารสถานที่

คําสําคัญ: สะเต็มศึกษา อาชีวศึกษา โรงเรียนฐานวิทยาศาสตร

ABSTRACT This research aimed to study the management of STEM education and opinion of students for vocational certificate students in science – based school projects in College of Agriculture and Technology Lamphun. The data was collected from 96 participants.The opinion of STEM education from eighty-three students were collected by questionnaires. The field note was collected by interview from thirteen teachers. The statistical data used this research were, percentage, mean and standard deviation. The result of this study were revealed as follow: 1. Learning management of STEM education for vocational certificate students in science – based school projects has cooperation in manage curriculum with as 1) College of Agriculture and Technology Lamphun 2) Vocational Education Commission cooperate British Council and Newton Fund 3) Rajamangala University of Technology Lanna. According to learning management from 3 cooperates , the students have chance to practice and it enhance the creative thinking process, collaborative process the students label apply in everyday life. 2. The opinion of students had towards learning management of STEM overall was in high level ( = 3.61). When specifically considered within each aspect, 3 aspects were in the high level, 1 aspect was in the moderate level. When ranking all aspects, the highest mean was learning activity, The second was curriculum. And the third was educational aid.

Keywords: STEM education, vocational, science – based school projects Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 225 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทนํา พัฒนาศักยภาพใหเกิดการเรียนรู ทั้งภาคปฏิบัติ การเรียนรูแบบสะเต็มศึกษามีจุดเริ่มตน และภาคทฤษฎีไปพรอม ๆ กัน เพื่อกระตุนให มาจากสหรัฐอเมริกา ที่ประสบปญหาเรื่องผลการ เกิดความคิดสรางสรรคในการประดิษฐคิดคน ทดสอบ PISA ของสหรัฐอเมริกา ที่ตํ่ากวาหลาย สิ่งใหมๆ ปอนเขาสูตลาดแรงงาน โดยเฉพาะ ประเทศ และสงผลตอขีดความสามารถดาน ภาคอุตสาหกรรมที่จะเปนกําลังสําคัญในการ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิศวกรรม รัฐบาล ขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจของประเทศใหกาวทัน จึงมีนโยบายสงเสริมการศึกษาโดยพัฒนาสะเต็ม ในระดับสากล (Suwannarat,2012) ขึ้นมา เพื่อหวังวาจะชวยยกระดับผลการทดสอบ กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เห็นชองโหว PISA ใหสูงขึ้น และจะเปนแนวทางหนึ่งในการ ในการศึกษาดังกลาวมีกําหนดนโยบาย ขยาย สงเสริมทักษะที่จําเปนสําหรับผูเรียนในศตวรรษ ฐานการศึกษา มุงเนนผลิตคนใหมีความรูเชิง ที่ 21 ประเทศไทยก็ประสบปญหาในลักษณะ วิทยาศาสตร และทักษะฝมือทางดานการชาง คลายกัน เชน นักเรียนไมเขาใจบทเรียนอยาง มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เพื่อสรางเปนนวัตกรรม แทจริง เรียนอยางทองจํา ใหทําขอสอบผาน ทางเทคโนโลยีในแขนงตาง ๆ ที่จะเปนประโยชน เมื่อผานไปอีกภาคการศึกษาหนึ่ง เกิดปญหาลืม ตอประเทศชาติในอนาคต จึงเกิดเปน “โครงการ บทเรียนที่จบไปแลว อาจเปนเพราะนักเรียน โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร” ขึ้นภายใต ไมเขาใจวาบทเรียนนั้นนํามาใชในชีวิตจริงได ความรวมมือของสํานักงานคณะกรรมการการ จึงทําใหไมสามารถเชื่อมตอความรูเปนภาพใหญได อาชีวศึกษา (สอศ.) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร (Penthong, 2013) และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) หนวยงาน จากกระแสโลกาภิวัฒนและการ ในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ทําใหประเทศไทย รวมถึงมหาวิทยาลัยเครือขายในแตละภูมิภาค จําเปนตองเรงพัฒนาทรัพยากรมนุษย ที่จะเปน ซึ่งมีการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร ฐานสําคัญในการพัฒนาประเทศ หากแตฐาน วิชาชีพ (ปวช.) โดยการจัดกระบวนการเรียน การศึกษาของไทย ที่มีหนาที่ผลิตกําลังคน ยังไม การสอนแบบ Project Based Learning (PBL) สามารถตอบสนองได โดยในระบบการศึกษา โดยบูรณาการความรูดานวิทยาศาสตรและ ของไทยนั้น การผลิตบุคลากรทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี เขากับทักษะวิชาชีพ บมเพาะให จะมีแตผูที่มีความรูทางดานวิชาการเดน แตดอย นักเรียนมีความสามารถในการประดิษฐและ ทางการปฏิบัติ ตรงกันขามหากการผลิตบุคลากร คิดคนเชิงเทคโนโลยี ทั้งยังมีการนําผูเชี่ยวชาญ ทางดานชางฝมือ ที่เนนผูที่มีความชํานาญทาง จากภาคอุตสาหกรรม และอาจารยจาก ทักษะทางดานปฏิบัติแตดอยทางดานวิชาการ มหาวิทยาลัย มาชวยสอนและใหคําแนะนํา ก็ยอมไมสามารถตอยอดในการเรียนรูที่สูงขึ้น เพื่อสรางความคุนเคยกับโจทยและปญหาจริง ไปไดจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการเสริมสราง ในภาคอุตสาหกรรม โดยมีครูพี่เลี้ยงดูแลอยาง 226 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ใกลชิด ในลักษณะโรงเรียนประจํา (Suwannarat, ที่จะตองไดรับการฝกอบรมและศึกษา เพื่อพัฒนา 2012) ใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางในการ โครงการวิทยาลัยเทคโนโลยีฐาน จัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษาที่ถูกตอง วิทยาศาสตร (Science-Based Technology จากเหตุผลดังกลาวผูวิจัยจึงสนใจศึกษา College: SBTC) นํามาใชในวิทยาลัยที่มีการ แนวทางการจัดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็ม จัดการศึกษาทางอาชีวศึกษา เพื่อรองรับนักเรียน ศึกษา (STEM Education) สําหรับผูเรียนทางดาน ที่มีความสามารถพิเศษทางการประดิษฐคิดคน อาชีวศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียน พัฒนาเชิงเทคโนโลยี โดยจะเตรียมความพรอมของ สอน การเรียนรู สําหรับสถานศึกษาทางดานอาชีว นักเรียนใหมีพื้นฐานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ศึกษาอื่น ๆ โดยศึกษาจากสถาบันนํารองโครงการ เพียงพอ กระตุนใหเกิดกระบวนการเรียนรูและมี โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร ของวิทยาลัย ความสนใจที่จะพัฒนาตนเองใหเปน “นวัตกร เกษตรและเทคโนโลยีลําพูน จังหวัดลําพูน (innovator)” ไปสูการเปน “นักเทคโนโลยี (technologist)” ในอนาคตในทํานองเดียวกัน วัตถุประสงคการวิจัย กับที่มีนโยบายสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษ 1. เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรูตามแนว ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการศึกษา สะเต็มศึกษาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร ขั้นพื้นฐาน วิชาชีพ ในโครงการโรงเรียนฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน จังหวัดลําพูน เปนหนึ่งในสถานศึกษาโครงการ 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน นํารองของโครงการโรงเรียนฐานวิทยาศาสตร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในโครงการโรงเรียน จึงไดจัดทําหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา ฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร เพื่อมุงเนนให ลําพูน เกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา นักเรียนนักศึกษามีความสามารถในการประดิษฐ คิดคนชิ้นงานดานเกษตรกรรมที่มีพื้นฐานความรู ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและทักษะวิชาชีพ 1. ไดทราบถึงวิธีการจัดการเรียนรู เกษตรกรรม ที่จะพัฒนาไปสูการเปนนักเทคโนโลยี แนวทางการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา ในอนาคต ในการจัดการเรียนการสอนตามแนว (STEM Education) ของนักเรียนระดับ สะเต็มศึกษา (STEM Education) ตามโครงการ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในโครงการโรงเรียน โรงเรียนฐานวิทยาศาสตร ฐานวิทยาศาสตร ของวิทยาลัยเกษตรและ ทั้งนี้ ในปริบทของประเทศไทยในปจจุบัน เทคโนโลยีลําพูน พบวา การจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษา 2. ไดทราบถึงความคิดเห็นของนักเรียน เปนเรื่องใหมที่ผูสอนในระดับอาชีวศึกษาจําเปน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่มีตอการจัดการ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 227 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เรียนรูแบบสะเต็มศึกษา ในโครงการโรงเรียน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยสําหรับครูผูสอน ฐานวิทยาศาสตร ของวิทยาลัยเกษตรและ และครูพี่เลี้ยงครั้งนี้คือ แบบบันทึกภาคสนาม เทคโนโลยีลําพูน โดยผานการสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียน การสอน ลักษณะการสอน พฤติกรรมการสอน ขอบเขตการศึกษา ของครูผูสอน แผนการสอน พฤติกรรมของผูเรียน 1. ดานประชากร คือ ครูผูสอนและ และการสัมภาษณครูผูสอน จากนั้นทําการบันทึก ครูพี่เลี้ยง จํานวน 13 คน และนักเรียนระดับ ในแบบบันทึกภาคสนามตามหัวขอดังนี้ 1. เปดโลก ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1-3 จํานวน แนวความคิด 2. คนหาความเปนไปได 3. เลือก 83 คนในโครงการโรงเรียนฐานวิทยาศาสตร เรื่องที่โดนใจ 4. สรางและทดสอบ 5. ขั้นนําเสนอ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน และโฆษณา 2. ดานเนื้อหา คือ การจัดการเรียนรูแบบ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยสําหรับนักเรียน สะเต็มศึกษา (STEM Education) ในโครงการ ครั้งนี้คือ แบบสอบถามความคิดเห็นนักเรียนที่มี โรงเรียนฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและ ตอการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา เปนแบบ เทคโนโลยีลําพูน มาตราสวนประมาณคา (rating scale) 5 ระดับ ประกอบดวยประเด็นคําถามที่เกี่ยวของกับดาน ระเบียบวิธีวิจัย หลักสูตร จุดประสงคการเรียนรู สมรรถนะ งานวิจัยในครั้งนี้ เปนการศึกษารูปแบบ รายวิชา ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษาของนักเรียน ดานอุปกรณ สื่อการเรียนการสอน อาคารสถาน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาเทคโนโลยี ที่และดานการวัดผลและประเมินผล ชีวภาพ ในโครงการโรงเรียนฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย กลุมประชากรที่ใชในการศึกษาคือ ครู สรุปผลการวิจัย ผูสอนและครูพี่เลี้ยง จํานวน 13 คน สาขาวิชา 1. ผลการศึกษาการจัดการเรียนรูแบบ เทคโนโลยีชีวภาพ ในโครงการโรงเรียนฐาน สะเต็มศึกษา (STEM Education) วิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี 1.1 การจัดการเรียนรูแบบสะเต็ม ลําพูน และนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ศึกษา (STEM Education) ของนักเรียนระดับ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ในโครงการโรงเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในโครงการโรงเรียน ฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ลําพูน จํานวน 83 คน ลําพูน 228 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ผูวิจัยศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู 2. คนหาความเปนไปได (reviewing แบบใชโครงงานเปนฐาน ของมหาวิทยาลัย the possibilities) เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (Kmutt, 2012) 3. เลือกเรื่องที่โดนใจ (selecting the ซึ่งวิธีการจัดการเรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐาน topic) ผานกระบวนการจัดการเรียนรูทั้ง 5 ขั้นตอน และ 4. สรางและทดสอบ (producing and แสดงใหเห็นถึงบทบาทหนาที่ของผูที่เกี่ยวของ testing) ที่จะเขาไปมีสวนรวมในการจัดการเรียนรูและ 5. ขั้นนําเสนอและโฆษณา ประเมินผลการเรียนรู โดยสามารถแสดงใหเห็น (presenting andselling) เปนขั้น ๆ ดังนี้ จึงนํามาเปนขั้นตอนในการศึกษา 1. เปดโลกแนวความคิด (exploring ขอมูลและบันทึกขอมูลภาคสนาม ไดผลการ the ideas) ศึกษาดังตารางดังนี้

ตารางที่ 1 การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) จากการบันทึกภาคสนาม วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีลําพูน

ขั้นตอนการเรียน บทบาทของครู บทบาทของนักเรียน การสอน 1. เปดโลกแนวความคิด ในวิชาเรียนทั้งการเรียนภาคปฏิบัติและ นักเรียนสนใจและตั้งใจฟง (exploring the ideas) ภาคทฤษฎี มีการอธิบายและสาธิต พรอมทั้ง ในกิจกรรมที่ครูได แจงจุดประสงคการเรียนรู การประเมินผล มอบหมาย มีการสอบถาม ใหนักเรียนทราบทุกครั้ง แบงนักเรียน ในหัวขอที่สงสัยระหวาง เปนกลุมเทา ๆ กัน เพื่อทํากิจกรรม ครูผูสอน ที่มีการอธิบาย แบงกลุม ชวยกระตุนใหนักเรียนฝกการคิด ฝก เทากัน จากนั้นชวยกันคิด กระบวนการคิดคน ทดลองหาสิ่งใหม ๆ สํารวจและสื่อสารกัน อธิบายกิจกรรมหรือสิ่งที่ตองการใหศึกษา เพื่อใหไดหัวของานที่สนใจ เพื่อใหนักเรียนไดหัวขอที่สนใจจะทํา จะทําในกิจกรรม ในกิจกรรม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 229 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 1 (ตอ)

ขั้นตอนการเรียน บทบาทของครู บทบาทของนักเรียน การสอน 2. คนหาความเปนไปได ครูผูสอนไดใหนักเรียนคนควาขอมูล นักเรียนคนควาหาขอมูล (reviewing the เกี่ยวของกับหัวขอเรื่องที่นักเรียนสนใจ ในหัวขอที่สนใจ นักเรียน possibilities) แลวใหนํามาเสนอและอภิปรายรวมกัน จะไดทํางานทั้งการทํางาน ครูชวยชี้แนะในประเด็นที่ขาดหาย เพื่อให เปนกลุม ชวยกันคิดคน ไดขอมูลที่ครบถวน รวมถึงการอธิบาย ทดลอง และไดลงมือ ในสวนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับทักษะที่ทํา ปฏิบัติเอง เปนการเรียนรู การสอนอยู เพื่อใหนักเรียนไดคิดคน ดวยตนเอง ทดลอง หานวัตกรรมใหม ๆ 3. เลือกเรื่องที่โดนใจ ครูผูสอนใหนักเรียนอภิปรายขอมูลที่ได นักเรียนนําเสนอขอมูล (selecting the topic) และใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นรวมกัน และอภิปรายขอมูลรวมกัน จากนั้นใหนักเรียนตัดสินใจสรุปหัวขอ หาขอดี ขอเสีย สรุปและ กิจกรรมที่ตองการลงมือปฏิบัติ ตัดสินใจที่จะทําในหัวขอนั้น และเตรียมขอมูลการ นําเสนอผลงานในขั้นตอไป 4. สรางและทดสอบ ครูผูสอนใหแตละกลุมทํากรอบแนวคิด นักเรียนเสนอประเด็น (producing and แผนการปฏิบัติงาน ใหนักเรียนแสดง ปญหาที่พบในขณะที่ทํา testing) ความคิดเห็น ปญหาอุปสรรคที่พบเพื่อหา กิจกรรม ชวยกันหาแนวทาง แนวทางแกไขรวมกัน แกปญหารวมกัน ในรูปแบบ ที่หลากหลาย มีการสรุป ความรูที่ไดจากกิจกรรม 230 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 1 (ตอ)

ขั้นตอนการเรียน บทบาทของครู บทบาทของนักเรียน การสอน 5. ขั้นนําเสนอและ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทั้งกอน นักเรียนนําเสนอผลงาน โฆษณา (presenting และหลังเรียน บันทึกไวในทายกิจกรรม และ ที่ไดจากการทํากิจกรรม and selling) ใหนักเรียนประเมินรวมกัน ประเมินกลุม มีการจดบันทึกในระหวาง และประเมินครูผูสอน ครูผูสอนใหนักเรียน ทํากิจกกรม ขณะลงมือ คิดคนและออกแบบนําเสนอผลงานที่ได ปฏิบัติงาน นําเสนอชิ้นงาน โดยเลือกวิธีการที่เหมาะสม และนาสนใจ และผลงานในชั้นเรียน มีการประเมินความ พึงพอใจตอการจัด การเรียน การสอน นักเรียน มี feedback กลับไปยัง ครูผูสอนทั้งกอน ขณะ และ หลังทํากิจกรรมการเรียน

ผลการวิจัยพบวา บทบาทของครูผูสอน แบบลงมือปฏิบัติจริง การเรียนรูดวยตนเองมีชิ้นงาน ในวิชาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จะเปนการเรียน หลังจากการเรียนรู มีการคิดคนแกไขปญหา ที่เนนการทํางานเปนกลุม ครูมีหนาที่คอยกระตุน การบูรณาการการเรียนใหเขากับการใชในชีวิต ใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด ทดลองหา ประจําวัน สิ่งใหม ๆ รวมถึงกระบวนการทํางานรวมกัน 1.2 การจัดการเรียนรูตามแนว การวางแผน แกไขปญหา ครูผูสอนเปนผูที่คอย สะเต็มศึกษา (STEM Education) ตามแนวทาง ชวยเหลือและดูแลใหกิจกรรมสําเร็จ ชวยเหลือ ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นักเรียนในทุกเรื่อง นักเรียนจะไดทักษะเพื่อนําไป รวมมือกับ British Council และ Newton Fund ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ในการจัดกิจกรรมนี้จะจัดกิจกรรม สําหรับบทบาทของนักเรียน ในวิชาเรียน ทุกวันพุธ และวันพฤหัสบดี วันละ 1-2 กิจกรรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ นักเรียนไดฝก รวมทั้งหมด 30 กิจกรรม กิจกรรมทั้งหมดเปนการ กระบวนการทํางานเปนกลุมและกระบวนการคิด ออกแบบจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีว Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 231 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ศึกษาโดยความรวมมือกับBritish Council และ ใหมีการจัดอบรมนอกสถานที่ตามแตละทักษะ Newton Fundและวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และหนวยการเรียนรูทั้ง 5 หนวย เพื่อใหครูผูสอน ลําพูนเปนผูจัดการเวลา ไดเขาใจในกิจกรรมที่จะปฏิบัติกอนนํากิจกรรม อีกทั้งยังมีการสงเสริมใหครูผูสอนได มาใชกับผูเรียน พัฒนาทักษะของตนเอง โดยการสนับสนุน สงเสริม

ตารางที่ 2 บทบาทของครูและนักเรียนในการทํากิจกรรม ตามแนวทางของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาโดยความรวมมือกับ British Council และ Newton Fund

กิจกรรมการเรียนรู บทบาทของครู บทบาทของนักเรียน กิจกรรมทั้งหมด 1. ครูผูสอนจะไดรับการอบรมหลักสูตร นักเรียนจะไดทํากิจกรรม 30 กิจกรรม การทํากิจกรรมกอนใน module 1 ทุกกิจกรรมตาม เริ่มวันที่ 2. นํากิจกรรมทั้งหมดมาแบงตามความ กระบวนการอยางครบถวน 31/10/59 – 7/2/60 สนใจและความถนัดของครูผูสอน แตละกิจกรรมจะเชื่อมไป 3. ใชวิธีการสอนแบบรวมกัน หรือ สูทักษะ STEM ที่เปนสากล co-teaching ไดแก 4. กิจกรรมและแนวทางการสอนจะเปนไป 1. การแกปญหา ตามหลักสูตรตามคูมือที่กําหนด (PS/problem solving) 2. การคิดเชิงวิพากษ (CiT/ critical thinking) 3. การรวมมือรวมใจ (C/collaboration) 4. การสื่อสาร (Co/communication) 5. การคิดอยางสรางสรรค (CeT/creative thinking) 6. การวิจัย (R/research) ทักษะที่ไดจะนํามา บูรณาการกับการ ดําเนินชีวิตประจําวัน 232 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

รูปที่ 1 การนําเสนอผลงาน รูปที่ 2 ตัวอยางผลงานผูเรียน จากการทํากิจกรรม จากการทํากิจกรรมที่ 18

รูปที่ 3 ตัวอยางผลงานมีชื่อวา รูปที่ 4 คูมือสําหรับผูเรียนในการ โคมไฟหวงโซอันดารค ทํากิจกรรมของหนวยการเรียนรูที่ 1 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 233 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตารางที่ 3 คูมือในการทํากิจกรรมที่สงเสริมทักษะทางดาน STEM ซึ่งมีโครงสรางของหนวยการเรียน

หัวขอ คําอธิบาย กิจกรรม ชื่อของกิจกรรมมีลักษณะเปนคําถามที่เปดกวาง เพื่อที่จะ “กระตุน นักเรียน” ใหมีความอยากรู เพราะความอยากรูอยากเห็นเปนขั้นตอนแรก ในการสรางแรงจูงใจใหกับนักเรียน ภาพรวม คําอธิบายเกี่ยวกับกิจกรรมโดยเรียงเปนลําดับตามมุมมองของนักเรียน สื่อการเรียนรู รายการสิ่งของที่จําเปนในการดําเนินกิจกรรม ซึ่งรวมถึงใบความรู และใบงาน คลิปวิดีโอและสื่อการเรียนรูแบบมีปฏิสัมพันธ โดยคลิปวีดีโอ เปนภาษาอังกฤษและมีบทบรรยายภาษาไทยซึ่งผูสอนจะเลือกใชภาษา อังกฤษพรอมบทบรรยายหรือไมก็ไดขึ้นอยูกับระดับความสามารถ ของนักเรียน อยางไรก็ตามหนึ่งในวัตถุประสงคของหลักสูตรนี้คือ การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียนเพื่อเตรียมความพรอม สําหรับการเรียนรูในสถานที่ทํางานจริง ดังนั้น จึงเปนการดีหากใช คลิปวีดีโอที่เปนภาษาอังกฤษในการสอนนักเรียนทุกครั้ง เนื่องจาก คําบรรยายภาษาไทยดานลางนั้นยากที่จะอานใหทันภายในเวลาที่มีอยู จึงขอเสนอใหผูสอนเปดคลิปวีดีโอครั้งละสั้น ๆ และอภิปรายกับนักเรียน กอนที่จะดูในสวนถัดไป ขอเสนอแนะสําหรับเวลาที่จะใชในการอภิปราย ไดระบุไวใหกับผูสอนในสวนของรายละเอียดของภาษาและสถานะของ คลิปวีดีโอที่ภาคผนวกที่ 1 ทักษะหลักของ STEM แตละกิจกรรมจะเชื่อมไปสูทักษะ STEM ที่เปนสากล ไดแก  การแกปญหา (PS หรือ problem solving)  การคิดเชิงวิพากษ (CiTหรือ critical thinking)  การรวมมือรวมใจ (C หรือ collaboration)  การสื่อสาร (Co หรือ communication)  การคิดอยางสรางสรรค (Cet หรือ creative thinking)  การวิจัย (R หรือ research) ทักษะหลักทาง STEM ไดนํามาบูรณาการใหเขากับหลักสูตรเพื่อเนนการ พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียน ซึ่งรวมถึงการรูคิด (metacognition) 234 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 3 (ตอ)

หัวขอ คําอธิบาย การประเมิน การประเมินทั้งหมดนี้มีเจตนาจะใหเปนการประเมินเพื่อพัฒนาการ ที่เปนไปได เรียนรู โดยใหผูสอนพูดคุยกับนักเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรูของนักเรียน ในลําดับตอไป ผูสอนสามารถกําหนดงานที่จะใชสําหรับประเมิน นักเรียนในกิจกรรมตาง ๆ ดวยตนเองตามที่เหมาะสมผูสอนจะตอง พัฒนาแบบประเมินที่มีเกณฑที่งายสําหรับการประเมินสิ่งที่คาดหวัง ในการเรียนรูแตละแบบ เวลา ระยะเวลาที่แนะนําสําหรับแตละกิจกรรม เนื่องจากแตละหนวยการเรียนรู เปนการเรียนรูที่เนนใหนักเรียนนําตนเองใหมากที่สุด (learner – led) แตละกิจกรรมจึงอาจใชเวลานานกวาที่กําหนดไวในตาราง อยางไร ก็ตามคงยากที่แตละกิจกรรมจะใชเวลานอยกวาที่เสนอไว โดยเฉพาะ อยางยิ่งหากเนนการทํางานแบบรวมแรงรวมใจของนักเรียนและเนน การคิดขั้นสูง

จากการศึกษาการจัดการเรียนรูแบบ ที่จะเชื่อมโยงสูทักษะ STEM อยางสากล ไดแก สะเต็มศึกษา (STEM Education) ของทาง การแกปญหา การคิดสรางสรรค การรวมมือ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กิจกรรม รวมใจ การคิดสรางสรรค การสื่อสารและการวิจัย นี้เปนเพียงหนึ่งในหนวยการเรียนทั้งหมด ซึ่งมี 1.3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จํานวน 5 หนวยการเรียนรู พบวา บทบาทของครู ลานนา (มทร.ลานนา) ครูผูสอนมารวมกิจกรรม ผูสอน กิจกรรมจากคูมือและการอบรมใชใน การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาดังนี้ 1. ฟสิกส การเรียนการสอน จากทั้งหมด 30 กิจกรรม 2. คณิตศาสตร 3. พลังงานและสิ่งแวดลอม ครูผูสอนจะแบงหนาที่ในการสอนตามความ 4. ธุรกิจการเปนผูประกอบการ 5. กระบวนการคิด สนใจและความถนัดของแตละคน วิธีการสอน ทําโครงงาน และ 6. นาโนเทคโนโลยีเบื้องตน เปนแบบรวมกัน จํานวนคาบเรียน 16 คาบตอสัปดาห จํานวนเวลา บทบาทของนักเรียน ในการทํากิจกรรม เรียนอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามหลักสูตรของ ทุก ๆ กิจกรรม นักเรียนจะไดกระบวนการการเรียนรู แตละภาคการศึกษา กระบวนการเรียนการสอน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 235 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เปนไปตามหลักสูตรและวิธีการตามองคประกอบ อยูในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.61) หากพิจารณา ของแผนการเรียนการสอน เปนรายดานจะพบวาระดับความคิดเห็นในดาน 2. ผลการศึกษาการวิเคราะหขอมูล การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับมาก ความคิดเห็นของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร (คาเฉลี่ย 3.76) รองลงมาเปน ระดับความคิดเห็น วิชาชีพ ในโครงการโรงเรียนฐานวิทยาศาสตร ดานหลักสูตร จุดประสงคการเรียนรู สมรรถนะ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน พบวา รายวิชาในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.75) ระดับความ ระดับความคิดเห็นเรื่องการจัดการ คิดเห็นดานการวัดผลและประเมินผลในระดับมาก เรียนรูแบบสะเต็มศึกษาของนักเรียนระดับ (คาเฉลี่ย 3.57) และ ระดับความคิดเห็นดาน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในโครงการโรงเรียน อุปกรณ สื่อการเรียนการสอน อาคารสถานที่อยู ฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 3.35) ตามตารางที่ 4 ลําพูน ในภาพรวมพบวา ระดับความคิดเห็น

ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหคาเฉลี่ยรวม 4 ดาน ความคิดเห็นของนักเรียน

ประเด็นความคิดเห็น Mean S.D. ระดับความความคิดเห็น 1. ดานหลักสูตร จุดประสงคการเรียนรู สมรรถนะรายวิชา 3.75 0.12 มาก 2. ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3.76 0.16 มาก 3. ดานอุปกรณ สื่อการเรียนการสอน อาคารสถานที่ 3.35 0.13 ปานกลาง 4. ดานการวัดผลและประเมินผล 3.57 0.13 มาก ระดับความคิดเห็นโดยรวม 3.61 0.02 มาก 236 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ผลสะทอนของครูผูสอนและครูพี่เลี้ยง เปนอยางดี เปนไปตามจุดประสงคที่ผูสอนตั้งไว พบวา ในมุมมองของครูผูสอนเห็นวาการเรียนรู ดังนั้นในการจัดวิทยาการจัดการเรียนรูแบบ แบบสะเต็มศึกษาทําใหนักเรียนไดฝกความกลา STEM Education ครูผูสอนจําเปนตองสอนให แสดงออกในการนําเสนอผลงาน แสดงความ นักเรียนฝกทักษะการคิดเพิ่มมากขึ้น คิดเห็นรวมกัน ยอมรับในความคิดเห็นของผูอื่น อภิปรายผล เพราะกิจกรรมที่ทําจะเนนเปนการทํางานรวมกัน 1. การจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็ม เปนกลุม ทําใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด ศึกษา (STEM Education) ของนักเรียนระดับ วิเคราะห การทํางานอยางเปนระบบ อีกทั้งยังได ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในโครงการโรงเรียน ทักษะการคิดริเริ่มสรางสรรค สรางผลงานใหม ๆ ฐานวิทยาศาสตร มีความรวมมือจากหนวยงาน ออกมา อีกทักษะที่ทางนักเรียนจะไดรับคือ ที่เกี่ยวของในการจัดทําหลักสูตรและการจัดการ ทักษะการใชเทคโนโลยีในการคนหาขอมูลและ เรียนรู ดังนี้ 1. วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ไดใชกระบวนการหาคําตอบที่หลากหลาย แตยัง ลําพูน 2. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีขอกังวลที่พบ คือ กระบวนการเรียนรูแบบสะเต็ม British council และ Newton Fund 3. มหาวิทยาลัย ศึกษาเปนกระบวนการที่ดี นักเรียนไดรับและ เทคโนโลยีราชมงคลลานนา (มทร.ลานนา) ฝกฝนทักษะกระบวนการตาง ๆ แตในบางครั้ง จากผลการศึกษา พบวา การจัดการเรียน นักเรียนยังไมพรอมที่จะใหความรวมมือ ยังกังวล รูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) ของ ในเรื่องความพรอมของนักเรียนในการใหความ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในโครงการ รวมมือการทํากิจกรรมในบางกิจกรรม เชน โรงเรียนฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเกษตรและ กิจกรรมที่ตองใชภาษาอังกฤษเปนสวนใหญ เทคโนโลยีลําพูน มีกระบวนการจัดการเรียนรู นักเรียนจะเปนกังวลกับการใชภาษา ทําใหบางครั้ง โดยไดรับความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ไมไดรับความรวมมือเทาที่ควร สอดคลองกับ จากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน นงนุช เอกตระกูล (Aektrakul,2015) กลาววา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษารวมมือ การจัดการเรียนรูแบบ STEM Education เปนวิธี กับ British Council Newton Fund และ ที่ใหนักเรียนมีการฝกทักษะมากขึ้น มีการเชื่อมโยง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มีการ ความรูที่ตนมีมาใชแกปญหาที่ตัวเองกําลัง จัดการเรียนรู เอกสาร แผนการสอนที่ชัดเจน ประสบ แตเพราะนักเรียนยังขาดการฝกทักษะ กระบวนการเรียนรูมีการประยุกตใชใหเขากับ ในการคิดในหลาย ๆ มิติ ยังติดพฤติกรรมที่ สถานการณในปจจุบัน สอดแทรกการคิดวิเคราะห เมื่อแผนที่วางไวลมเหลวตองใหผูสอนชวย และลงมือปฏิบัติ โดยผูวิจัยไดดําเนินการศึกษา ไมเสาะแสวงหาความรูดวยตนเอง แตเมื่อผูสอน ตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี แนะนําและกระตุนใหรูจักวิเคราะหปญหาอยาง พระจอมเกลาธนบุรี (Kmutt, 2012) ดังนี้ 1. ขั้นที่ 1 ละเอียดและรอบคอบผูเรียนก็สามารถพัฒนาได เปดโลกแนวคิด 2. ขั้นที่ 2 คนหาความเปนไปได Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 237 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

3. ขั้นที่ 3 เลือกเรื่องที่โดนใจ 4. ขั้นที่ 4 สราง 3. การบูรณาการเปาหมายของการ และทดสอบ 5. ขั้นที่ 5 ขั้นนําเสนอและโฆษณา เรียนรู เปนการบูรณาการที่ยึดเปาหมายของการ จากขั้นตอนดังกลาวผูวิจัยไดนํามาเปนแนวทาง เรียนรูเปนหลัก โดยผูสอนอาจกําหนดหัวขอหรือ ในการสังเกตและทําการบันทึกการจัดการเรียนรู หัวเรื่องเปนประเด็นในการศึกษา แลวดูวาใน กระบวนการตาง ๆ ในวิชาทั้งภาคทฤษฎีและ ประเด็นที่จะศึกษานั้นมีเปาหมายที่ตองการให ภาคปฏิบัติ สอดคลองกับ สถาบันสงเสริมการสอน ผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับอะไร จากนั้นก็นําเนื้อหา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (IPST, 2014) ตาง ๆ ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกันกับประเด็น กระทรวงศึกษาธิการ ที่ใหไว ในการบูรณาการ ที่จะศึกษานั้นมาผสมผสานเชื่อมโยงกัน โดยมี การจัดการเรียนการสอนสามารถทําไดหลาย เปาหมายของการเรียนรูเปนเรื่องเดียวกัน รูปแบบ เชน การบูรณาการเนื้อหา (integration สะเต็มศึกษาเปนนวัตกรรมการ of subject areas) การบูรณาการเปาหมายของ เรียนรูรูปแบบหนึ่งที่บูรณาการวิทยาศาสตร การเรียนรู (integration of learning outcome) วิศวกรรมศาสตรเทคโนโลยี และคณิตศาสตร เปนตน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ เขาดวยกัน ใหผูเรียนนําความรูไปใชแกปญหา 1. การบูรณาการเนื้อหา เปนการนํา ในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการ เนื้อหาของสาระตาง ๆ หรือ ระหวางกลุมสาระ หรือผลผลิตใหมที่เปนประโยชนตอการดําเนิน สัมพันธเกี่ยวของเชื่อมโยงเปนเรื่องเดียวกัน ชีวิตและการประกอบอาชีพ ผานประสบการณ โดยอาจกําหนดหัวขอหรือหัวเรื่องเปนประเด็น ในการทํา กิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน ปญหา แลวนําเนื้อหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับหัวเรื่อง เปนฐาน (project-based learning) หรือ กิจกรรม หรือหัวขอนั้นมาผสมผสานกันโดยใชทักษะตาง ๆ การเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน (problem- เขามาเชื่อมโยง เพื่อใหผูเรียนไดความรู ทักษะ based learning) (Vaitayanggul, 2014) และเจตคติตามที่ตองการ จากกระบวนการจัดการเรียนรูจาก 2. การบูรณาการกระบวนการเรียนรู ทั้ง 3 หนวยงานทําใหนักเรียนไดทํากิจกรรมที่เนน เปนการนํารูปแบบและวิธีการตาง ๆ ของการ การลงมือปฏิบัติ และเปนการเสริมทักษะ ถายทอดความรูของผูสอนมาผสมผสานเขาดวยกัน กระบวนการคิดสรางสรรค กระบวนการทํางาน ในการจัดการเรียนรูแกผูเรียน หรือการจัดให รวมกัน เพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ผูเรียนไดสามารถแสวงหาความรูจากกระบวนการ ไดการจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษาของทาง และวิธีการตาง ๆ เพื่อใหไดมาซึ่งองคความรู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน ในโครงการ โดยผูสอนอาจกําหนดหัวขอหรือหัวเรื่อง เปน โรงเรียนฐานวิทยาศาสตร ตามนโยบายของ ประเด็นในการศึกษา แลวดูวาในประเด็นที่จะ กระทรวงการศึกษาภายใตความรวมมือของ ศึกษานั้นมีเนื้อหาอะไรบางและแตละเนื้อหา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อขยาย จะสอนดวยวิธีใด ฐานการศึกษา เนนผลิตนักเรียนใหมีความรูเชิง 238 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

วิทยาศาสตร และทักษะฝมือทางดานชาง และ แหงอนาคตไดอยางแทจริง (Siripattachai, 2013) สรางเปนนวัตกรรมทางเทคโนโลยีในแขนงตาง ๆ 2. จากการศึกษา พบวา ความคิดเห็น หนวยงานภายนอกที่ใหความรวมมือ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ กับทางวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน ที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา คือ 1) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยภาพรวมแลวอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณา รวมมือกับ British Council และ Newton Fund เปนรายดานแตละดานพบวา ชวยจัดกิจกรรมที่เสริมสรางทักษะเชื่อมโยงสู ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะ STEM ที่เปนสากล ซึ่งจะเปนทักษะดังนี้ จากการศึกษา พบวา ความคิดเห็น การแกปญหา การคิดเชิงวิพากษ การรวมมือ นักเรียนกับการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา รวมใจ การสื่อสาร การคิดอยางสรางสรรค โดยภาพรวมอยูในระดับมาก มีความเหมาะสม และการวิจัย เพื่อใหนักเรียนไดนําทักษะที่ได โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมุงสงเสริม รับมาบูรณาการกับการดําเนินชีวิตประจําวัน ใหนักเรียนไดฝกทักษะการแกปญหา การจัด 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา กิจกรรมใหนักเรียนมีความชวยเหลือซึ่งกัน (มทร.ลานนา) เปนมหาวิทยาลัยเครือขายใน และกันในกลุม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ภูมิภาค ซึ่งไดนําผูเชี่ยวชาญและอาจารยมาชวย ทําใหนักเรียนเกิดการบูรณาการความรูวิทยาศาสตร สอนและใหคําแนะนํา และรวมจัดการเรียนการสอน เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร ซึ่งสอดคลอง ในวิชาพื้นฐาน สอดแทรกกระบวนการคิดวิเคราะห กับกระบวนการจัดการเรียนรูตามที่ มหาวิทยาลัย เพื่อใหนักเรียนไดสรางความคุนเคยกับโจทย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (Kmutt, 2012) ปญหา สถานการณจริงจากภายนอก สรุปดังนี้ การเรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐานที่มี นอกจากนี้ STEM Education ยังเปน การเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยนําสาระ การจัดการศึกษาที่สามารถพัฒนาใหผูเรียน และทักษะพื้นฐานดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร นําความรูทุกแขนงทั้งดานความรู ทักษะการคิด และทักษะพื้นฐานดานวิชาชีพมาบูรณาการเปน และทักษะอื่น ๆ มาใชในการแกปญหา การ โครงงาน โดยมีอาจารยพี่เลี้ยงคอยใหคําแนะนํา คนควา สราง และพัฒนาคิดคนสิ่งตาง ๆ ในโลก และดูแลอยางใกลชิด เพื่อบมเพาะนักเรียนที่มี ปจจุบัน การเนนความเขาใจอยางลึกซึ้ง การมี ความสามารถพิเศษทางการประดิษฐคิดคน สวนรวมของผูเรียนกับขอมูล เครื่องมือทาง หรือการพัฒนาเชิงเทคโนโลยี โดยสรางเสริม เทคโนโลยี การสรางความยืดหยุนในเนื้อหาวิชา กระบวนการคิดริเริ่มสรางสรรคเพื่อพัฒนาไปสู ความทาทาย ความสรางสรรค ความแปลกใหม การเปน “ผูสรางสรรคเทคโนโลยี” หรือ “นัก และการแกปญหาอยางมีความหมายของบท เทคโนโลยี” ในอนาคต ดังนั้น การประยุกตใช เรียนใน STEM Education จึงเหมาะที่จะทําให วิธีการ/ขั้นตอนตาง ๆ ในการจัดการเรียนรูแบบใช เยาวชนไทยรุนใหมเกิดการเรียนรูและอยูในโลก โครงงานตามกรอบที่ไดกลาวแลวขางตนจะทําให Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 239 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ผูเรียน ซึ่งเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนา เกิดทักษะ โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตรมีจํานวน และความคิดรวมทั้งองคความรูที่หลากหลาย 132 หนวยกิต ความรูเชิงประยุกต ใน 8 กลุม อันจะนําไปสูกําลังคน นักคิด นักประดิษฐ สาระ ไดแก 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร นักเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงการ 3)วิทยาศาสตร 4) สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม จัดกิจกรรมใหนักเรียนมีสวนรวมในการนําเสนอ 5) สุขศึกษา พลศึกษา 6) ศิลปะ 7)การงานอาชีพ ผลงาน การจัดกิจกรรมมีอิสระใหนักเรียนในการ และเทคโนโลยี และ 8) ภาษาตางประเทศ และ แสดงความคิดเห็นและรับฟงความคิดเห็นของ การสรางทักษะปฏิบัติ ดานการสังเกต การคิด ผูอื่น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทําให วิเคราะห และการปฏิบัติเขาดวยกัน เพื่อนําไป นักเรียนไดฝกทักษะการแกปญหารวมกันกับ ประยุกตใชในการแกโจทยปญหาตาง ๆ หรือ เนื้อหาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ การจัดกิจกรรม สรางสรรคใหเปนชิ้นงาน อีกทั้งครูเปดโอกาส การเรียนการสอน เริ่มตนจากปญหาใกลตัว ใหนักเรียนซักถาม แสดงความคิดเห็นและรวมกัน ที่เกี่ยวของภายในสังคมของนักเรียน เชน สังคม ตอบคําถามขณะที่สอน ครูกระตุนใหนักเรียน จากที่บาน และสังคมจากที่โรงเรียน การจัด คนควา เพื่อแสวงหาความรูดวยตนเอง ครูแจง กิจกรรมการเรียนการสอนเปดโอกาสใหนักเรียน จุดประสงคการเรียนรูใหกับนักเรียนเพื่อใหทราบ แสวงหาความรูโดยใชทรัพยากรใกลตัว เชน แนวทางในการเรียนรูกระบวนการเรียนการสอน ที่บาน ที่โรงเรียน การจัดกิจกรรมใหนักเรียน ทําใหเกิดแนวคิดใหม ๆ กิจกรรมที่จัดสามารถ มีสวนรวมในการนําเสนอผลงาน และความ นําไปใชในชีวิตจริง การจัดการเรียนการสอนทําให เหมาะสมของเวลากับการจัดกิจกรรมการเรียน เขาใจไดดี ครูจัดเนื้อหาสาระประยุกตเขากับบริบท การสอน และสภาพแวดลอมปจจุบันและสามารถนําไป ดานหลักสูตร จุดประสงคการเรียนรู ใชไดจริง ครูจัดเนื้อหาสาระโดยเรียงลําดับจากงาย สมรรถนะ ไปสูยาก และนักเรียนมีการแลกเปลี่ยนความรู จากการศึกษา พบวา ความคิดเห็น ระหวางนักเรียน ครู และผูเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง นักเรียนกับการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา ดานการวัดผลและประเมินผล โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ซึ่งกิจกรรมการสอน จากการศึกษา พบวา ความคิดเห็น สงเสริมใหนักเรียนคิด วิเคราะห สังเคราะห เชน นักเรียนกับการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา การแสดงความคิดเห็น จับใจความสําคัญ ในดาน โดยภาพรวมอยูในระดับมาก โดยนักเรียนไดนํา หลักสูตร จุดประสงคการเรียนรู สมรรถนะเปนไป ความรูวิทยาศาสตร วิศวกรรม เทคโนโลยี และ ตามหลักสูตรการสอนที่ทาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี คณิตศาสตร สามารถนําไปคิดแกปญหาได พระจอมเกลาธนบุรี (Kmutt, 2012) ไดใหไวเปน มีการวัดและประเมินผลจากภาพจริงของ แนวทางที่วา หลักสูตรระดับประกาศนียบัตร การเรียนการสอนและพฤติกรรมที่นักเรียนได วิชาชีพ (ปวช.) สําหรับการจัดการเรียนรูใน แสดงออก สอดคลองกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 240 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

พระจอมเกลาธนบุรี (Kmutt, 2012) ที่วาการ โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ซึ่งครูใช ประเมินผลการจัดการเรียนรูแบบใชโครงงาน สื่อการสอนหลายประเภท เชน คอมพิวเตอร เปนฐานสําหรับโครงการโรงเรียนฐานวิทยาศาสตร เครื่องฉายสไลด เครื่องเลนดีวีดี เปนตน ครูใช จะใหความสําคัญกับการประเมินตามสภาพจริง สื่อการสอนตามลําดับขั้นของการใชอยางถูกตอง ระหวางการจัดการเรียนการสอน เพื่อติดตาม เปนขั้นตอนไมสับสน มีความเหมาะสมกับบทเรียน พัฒนาการการเรียนรูของนักเรียนและนําไปใช และระยะเวลา ครูเลือกใชสื่อการสอนที่ไมซํ้า เปนขอมูลในการพัฒนาผูเรียนดวยวิธีกระบวนการ สามารถเราความสนใจและกระตุนใหนักเรียน ตาง ๆ ตอไป นอกจากนั้นแลวยังตองประเมิน มีสวนรวมในการเรียนการสอน ครูนําสื่อที่พบเห็น เพื่อวัดผลการเรียนของผูเรียนหลังจบการเรียน ในชีวิตประจําวัน เชน หนังสือพิมพ แบบฟอรม แตละเรื่องเพื่อประเมินวาผูเรียนมีคุณลักษณะ ตาง ๆ ปายโฆษณา และอื่น ๆ มาใชในกิจกรรม ในแตละดานและมีความรูในแตละเรื่องมากนอย การเรียน ครูใชอุปกรณ สื่อการเรียนการสอน เพียงใด การวัดและประเมินผลการเรียนรูครอบคลุม สอดคลองกับเนื้อหา มีอาคารสําหรับหองปฏิบัติ ทั้งดานความรู ทักษะ พัฒนาการของนักเรียน การ ที่เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู ครูใชสื่อ และคุณธรรม อีกทั้งครูใชการวัดและประเมินผล การเรียนการสอนที่เปนรูปธรรม นักเรียนสามารถ จากชิ้นงานที่มอบหมาย การวัดและประเมินผล สัมผัสได มีหองเรียน สื่อ และสิ่งอํานวยความ สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดใหนักเรียน สะดวกในหองเรียนอยางเหมาะสมและเพียงพอ โดยใชรูปแบบการวัดและประเมินผลดวยวิธีการ อาคารที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ที่หลากหลาย มีกําหนดเกณฑในการวัดและ และมีเครื่องคอมพิวเตอร และระบบอินเตอรเน็ต ประเมินผลการเรียนรูอยางชัดเจนและเหมาะสม เหมาะสมเพียงพอ การวัดและประเมินผลสอดคลองกับเนื้อหา การจัด การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษาของ การเรียนการสอน การใชสื่อการสอน ตลอดจน ทางวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลําพูน จะเนน การจัดการเรียนรูตาง ๆ การวัดและประเมินผล การฝกทักษะทางดานการเกษตร เพื่อนําไปสู นักเรียนโดยการทดสอบภาคปฏิบัติ และเปด การผลิตเปนชิ้นงาน ผลงานหรือนวัตกรรมใหม ๆ โอกาสใหนักเรียนและผูปกครองไดประเมินการ และการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษาจะแทรกซึม เรียนรูและการจัดกิจกรรมของตนเอง ในทุกกระบวนการเรียนรู ทุกกิจกรรมผูเรียนจะได ดานอุปกรณ สื่อการเรียนการสอน ฝกทักษะจากการไดลงมือปฏิบัติตามโครงงาน อาคารสถานที่ ที่ไดฝกฝน ซึ่งทักษะที่ผูเรียนไดรับสามารถนํามา จากการศึกษา พบวา ความคิดเห็น ประยุกตใชในชีวิตประจําวันได นักเรียนกับการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 241 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ขอเสนอแนะ อื่น ๆ เชน ความสามารถในการคิดวิเคราะห แกไข ขอเสนอแนะตอการจัดการเรียน ปญหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนตน การสอน ดังนี้ 1. เวลาในการทํากิจกรรม สําหรับการ REFERENCES จัดกิจกรรมชวงบายที่นักเรียนมีความกระตือรือรน Aektrakul, N. (2015). The development of นอยลง อาจตองปรับเปลี่ยนเวลาและสลับกิจกรรม STEM learning to enhance learning เชา บาย เพื่อใหนักเรียนไมเบื่อในการทํากิจกรรม achievement and creativeproblem- และเวลาที่ใชในแตละกิจกรรมควรปรับลดลง solving ability (CPS) of students เหลือกิจกรรมละ 1 ชั่วโมง หรือปรับตามความ prathom 6. Research for education, เหมาะสม Assumption College Thonburi. 2. ควรปรับพื้นฐานความเขาใจในเนื้อหา (in Thai) ที่เรียนในเรื่องของ สะเต็มศึกษา (STEM Education) College of Agriculture and Technology เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจที่ตรงกันกอนที่จะเริ่ม Lamphun. (2007). Background of the กิจกรรมการเรียนการสอน project. Retrieved June 8,2016, from 3. ครูผูสอนควรแจงรายละเอียดและ http://www.lcat.ac.th/scencebased/ ทักษะที่นักเรียนจะไดรับจากกิจกรรมการเรียน stu2.htm (in Thai) การสอน เพื่อใหนักเรียนไดเขาใจ และนําไปใชได King Mongkut’s University of Technology อยางถูกตอง Thonburi,National Science Technology 4. ควรนําเนื้อหาไปประยุกตใชในดาน and Innovation Policy Office. (2012). ปฏิบัติมากกวาดานทฤษฎี เพื่อใหเกิดประโยชน Project Based Learning. Bangkok: และเสริมทักษะมากยิ่งขึ้น King Mongkut’s University of ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป Technology Thonburi. (in Thai) 1. ควรปรับปรุงขอคําถามในเครื่องมือ Pentong, S. (2013). STEM EDUCATION ที่ใชทั้งแบบบันทึกภาคสนาม และแบบสอบถาม Innovation for science and ใหครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เจาะลึก เพิ่มเนื้อหา สะเต็ม technology. Retrieved June 4, 2016, ศึกษา (STEM Education) เพื่อใหไดรายละเอียด from http://www.krusmart.com/ และขอมูลที่ชัดเจนมากขึ้น stem-education-innovation-thailand/ 2. ควรทําการศึกษาวิจัยผลการจัดการ (in Thai) เรียนรูสะเต็มศึกษา (STEM Education) กับตัวแปร 242 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Siripattachai, P. (2013). STEM Education Vaitayanggul,P. (2014). STEM Educational. and 21st century skills development. Bangkok: the institute for the Executive Journal, 33(2), 49-56. (in Thai) Promotion of Teaching Science and Suwannarat, P. (2012). Science - based Technology. (in Thai) school projects. Matichon, (3 January 2012). (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 243 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

แนวทางการพัฒนาการเชื่อมโยงสินคาและบริการทางการทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรม กีฬา และนันทนาการ ของผูประกอบการทองเที่ยว กลุมจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ GUIDELINES FOR DEVELOPING THE RELATION OF PRODUCTS AND CULTURAL TOURISM SERVICES, SPORTS AND RECREATION OF TOURISM ENTREPRENE URS IN BURIRAM, SURIN AND SISAKET PROVINCES นลินทิพย พิมพกลัด1* และ ภรณี หลาวทอง2 Nalinthip Pimklat1* and Poranee loatong2

สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย ประเทศไทย1*, 2 Management Program, Faculty of Management Science, Buriram Rajabhat University, Buriram, Thailand1*, 2

[email protected]*

บทคัดยอ งานวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการเชื่อมโยงสินคาและบริการ ทางการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ ของกลุมผูประกอบการทองเที่ยวกลุมจังหวัด บุรีรัมย สุรินทรและศรีสะเกษ พัฒนาแนวทางฯ ดวยการประชุมเชิงปฏิบัติการวางแผนแบบมีสวนรวม โดยใชวิธีการสุมแบบเจาะจงตัวกลุมตัวอยางที่มีความคาดหวังและหรือความตองการเขารวมกลุม ผูประกอบการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬา และนันทนาการของ กลุมจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และ ศรีสะเกษ จังหวัดละ 50 ราย รวมทั้งหมด 150 ราย และการตรวจสอบแนวทางฯ ดวยการอภิปราย แบบคณะดวยผูทรงคุณวุฒิ พรอมดวยสมาชิกสมาคมทองเที่ยวทั้ง 3 จังหวัดและผูประกอบการ ทองเที่ยวในพื้นที่ 3 จังหวัดที่มีความตองการเขารวมกลุมจํานวน 80 ราย ผลการศึกษาพบวาแนวทาง การพัฒนาการจัดการเชื่อมโยงสินคาและบริการทางการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬา และนันทนาการ ของกลุมผูประกอบการทองเที่ยวกลุมจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ แบงออกเปนสามดานหลัก ประกอบดวย (1) การเชื่อมโยงเสนทางทองเที่ยวกลุมทองเที่ยวเฉพาะ (2) การเชื่อมโปรแกรมการ 244 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ และ (3) การสรางมาตรฐานการบริการทางการทองเที่ยว ของกลุมผูประกอบการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬา และนันทนาการ

คําสําคัญ: การทองเที่ยว การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬา และนันทนาการ บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ

ABSTRACT The objectives of this research were: to study the guidelines for developing the relation of cultural, sports and recreation tourism’s products and services among tourism entrepreneurs in Buriram, Surin and Sisaket Provinces, and to develop the guidelines via participatory planning workshops using the purposive sampling method of 150 samples in total selected with an expectation and/or a desire to participate in cultural, sports and recreation tourism enterprise network groups in Buriram, Surin and Sisaket Provinces. Fifty samples per province, and to examine the guidelines via group discussions among senior advisors and experts including eighty members of tourism associations and entrepreneurs in these three provinces who requested to join the network. The results showed that the guidelines for developing the relation of cultural, sports and recreation tourism’s products and services among the entrepreneurs in Buriram, Surin and Sisaket Provinces were divided into three main aspects: 1) the relation of travel routes for specific tourism groups, 2) The relation of cultural, sports and recreation travel programs, and 3) the establishment of standards of tourism services among the entrepreneurs.

Keywords: tourism, cultural tourism sports and recreation, Buriram, Surin, Sisaket

บทนํา จังหวัดบุรีรัมยหรือเมืองปราสาทสองยุค ฟุตบอลแหงเดียวในประเทศไทยที่ไดมาตรฐาน ปราสาทที่หนึ่ง คือ ปราสาทสายฟาซึ่งเปนทีม ระดับเวิลดคลาสจากสหพันธฟุตบอลนานาชาติ ฟุตบอลที่สรางชื่อเสียงใหกับจังหวัดบุรีรัมย (Fédération Internationale de Football รวมถึงการมีความพรอมดานโครงสรางพื้นฐาน Association) และมาตรฐานระดับเอคลาสจาก เชน สนามฟุตบอล “ไอ-โมบาย สเตเดียม หรือชื่อ สมาพันธฟุตบอลแหงเอเชีย (Asian Football อยางเปนทางการวา ธันเดอร คาสเซิล สเตเดียม Confederation) (Buriramguru, 2017) สถานที่ (Thunder Castle Stadium) ซึ่งเปนสนาม ออกกําลังกาย สวนสาธารณะ สถาบันการศึกษา Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 245 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ที่มีความรูในการออกกําลังกาย เปนตน สงผล ชีวิตชุมชนกับการเลี้ยงชาง (Ministry of Tourism ทําใหเปนที่สนใจของนักทองเที่ยวเชิงกีฬา ซึ่งจะ and Sports, 2016) สําหรับจังหวัดศรีสะเกษ มีการใชจายในการทองเที่ยวครั้งละ 10,000 บาท เปนจังหวัดที่เปนประตูเชื่อมโยงอารยธรรมขอม ใชระยะเวลาในการทองเที่ยว 2 วัน และมีความถี่ โบราณ โดยมีความรวมมือในรูปแบบวงกลมทาง ในการทองเที่ยว 2 ครั้งตอป (Chiengkul & เศรษฐกิจของกลุมประเทศอินโดจีน ไทย-ลาว- Choibamroong, 2560) และสองปราสาท กัมพูชา-เวียดนาม กอใหเกิดความรวมมือในการ อารยธรรมขอม เชน อุทยานประวัติศาสตรพนมรุง พัฒนาพื้นที่ทองเที่ยว 3 ประเทศ 7 จังหวัด ไดแก ปราสาทเมืองตํ่า ปรางคกูสวนแตง อีกทั้งในป อุบลราชธานี-ศรีสะเกษ (ไทย) จําปาสัก-สาละวัน พ.ศ. 2557 ไดมีการเปดจุดผอนปรนทางการคา (ลาว) พระวิหาร-อุดรมีชัย-สตึงเตร็ด(กัมพูชา) ชองสายตะกู ที่ตําบลจันทบเพชร อําเภอบานกรวด การลงพื้นที่ทําการศึกษาสถานการณ กับบานจุบโกกี ตําบลอําปล อําเภอบันเตียอําปล ทางการทองเที่ยวพบวา จังหวัดบุรีรัมย สุรินทร จังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา และอยูหางจาก และศรีสะเกษนั้น มีความเชื่อมโยงกันใน ตัวเมืองบุรีรัมยประมาณ 70 กม. (Prachachat สองประเด็นหลัก ประกอบดวย หนึ่งความเชื่อมโยง Business, 2016) ซึ่งทําใหเกิดการเชื่อมโยง ทางอารยธรรมขอม เชน อุทยานประวัติศาสตร อารยธรรมขอมโบราณกับประเทศเพื่อนบาน พนมรุง ปราสาทเมืองตํ่า ปรางคกูสวนแตง เพื่อรองรับการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จังหวัดบุรีรัมย ปราสาทศีขรภูมิ ปราสาทภูมิโปน จังหวัดสุรินทรเปนจังหวัดที่มีชื่อเสียง กลุมปราสาทตาเมือน จังหวัดสุรินทร ปราสาท ในดานการเลี้ยงชางจนไดรับขนานนามวา “สุรินทร เขาพระวิหาร ปราสาทโดนตวล ปราสาทสระ ถิ่นชางใหญ” ที่นักทองเที่ยวสามารถสัมผัสไดถึง กําแพงใหญ จังหวัดศรีสะเกษ เปนตน และ วิถีชีวิต ความผูกพัน ประเพณีและวัฒนธรรมที่ สองความเชื่อมโยงในความหลากหลายและมี เกี่ยวของกับชาง และในป พ.ศ. 2559 การทองเที่ยว เอกลักษณวิถีวัฒนธรรมชาติพันธุไดแก ไทย แหงประเทศไทยไดกําหนดใหจังหวัดสุรินทร เขมร ไทยลาว ไทยกูย ไทยยอ ไทยเยอ เปนตน เปนเมืองตองหามพลาดพลัส ดวยโอกาสที่สําคัญ โดยแตละชาติพันธุจะมีวิถีชีวิตและวัฒนธรรม สามประการคือ การที่ชาวกัมพูชาในตลาดระดับบน เปนมรดกแหงสังคมที่แตกตางกันเชน การดํารง นิยมเดินทางเขามาตรวจสุขภาพและรักษาโรค ชีวิตการแตงกายอาหารการกิน เครื่องมือเครื่องใช ในโรงพยาบาลจังหวัดสุรินทร ทั้งโรงพยาบาล ศิลปะดนตรีขนบธรรมเนียมประเพณี งานเทศกาล รัฐบาลและเอกชน ดวยคุณภาพของบุคลากร ทองถิ่น เปนตน ทางการแพทยและพยาบาลที่มีความสามารถ การลงพื้นที่เพื่อสํารวจศักยภาพสินคา ในการสื่อสารภาษาเขมร การเชื่อมโยงเสนทาง และบริการการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬาและ ทองเที่ยวสุรินทรไปยังประเทศเพื่อนบานใน นันทนาการที่สามารถดึงดูดและเชื่อมโยงทางการ อาเซียนคือกัมพูชาผานดานชองจอม และวิถี ทองเที่ยวไดของจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ 246 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

พบวา นิว ไอ-โมบายสเตเดียม/สนามชางอินเตอร และอําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษซึ่งนับเปน จังหวัดบุรีรัมย ตลาดการคาชายแดนชองจอม โอกาสที่ดีในการรับตอนักทองเที่ยวตางชาติ จังหวัดสุรินทร และตลาดการคาชายแดนชอง จากประเทศกัมพูชาซึ่งมีจํานวนมากกวา 3.5 สะงํา จังหวัดศรีสะเกษ มีศักยภาพที่สามารถ ลานคน ที่มีความสนใจในดานวัฒนธรรม ดึงดูดและเชื่อมโยงทางการทองเที่ยวไดของ ขนบธรรมเนียม ประเพณีโบราณ และธรรมชาติ จังหวัดบุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษเปนลําดับแรก ของประเทศกัมพูชา (Pisanvanij, 2015) ที่ไมแตกตาง และจากการประเมินศักยภาพพบวาสินคา จากจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ ทั้งนี้ และบริการการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬา ขอมูลที่ไดจะเปนแนวทางการในการสรางความ และนันทนาการที่สามารถดึงดูดและเชื่อมโยง รวมมือที่เขมแข็งรวมกันระหวางผูประกอบการ ทางการทองเที่ยวไดของจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร ในจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษตอไป ศรีสะเกษ พบวาสามารถเชื่อมโยงระหวาง สามจังหวัดไดทั้งเชิงระยะเวลาการจัดกิจกรรม วัตถุประสงคการวิจัย และสามารถเชื่อมโยงไปยังประเทศกัมพูชาได เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการ โดยควรความสําคัญในเรื่องคุณภาพของที่พัก เชื่อมโยงสินคาและบริการทางการทองเที่ยว อาหารและรานจําหนายของฝากของที่ระลึก และ เชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการของ การประชาสัมพันธและชองทางสื่อสารขอมูล ผูประกอบการทองเที่ยวกลุมจังหวัดบุรีรัมย ทางการทองเที่ยว สุรินทร และศรีสะเกษ ขอมูลดังกลาวทําใหผูวิจัยเห็นถึงโอกาส ที่จะพัฒนาแนวทางการเชื่อมโยงการทองเที่ยว ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย เชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการของกลุม 1. ผูประกอบการทองเที่ยวจังหวัด ผูประกอบการทองเที่ยวของกลุมจังหวัดบุรีรัมย บุรีรัมย สุรินทรและศรีสะเกษ ผูจัดกิจกรรม สุรินทรและศรีสะเกษ เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยง การทองเที่ยว นายกสมาคมทองเที่ยวจังหวัด สงเสริมความรวมมือและสงตอนักทองเที่ยว บุรีรัมย สุรินทรและศรีสะเกษ ไดทราบถึงแนวทาง ใหกระจายไปยังจุดตาง ๆ ใหเพิ่มขึ้นสงผลทําให การพัฒนาการเชื่อมโยงสินคาและบริการทาง รายไดจากการทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น เชนเดียวกับ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ โครงการ 12 เมืองตองหามพลาดพลัส ซึ่งประสบ ของกลุมผูประกอบการทองเที่ยวกลุมจังหวัด ความสําเร็จจากการกระจายนักทองเที่ยวจาก บุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ เมืองหลักไปสูเมืองรอง (Ministry of Tourism and 2. นายกสมาคมการทองเที่ยว สภา Sports, 2016) อีกทั้งการมีจุดเชื่อมตอกับประเทศ อุตสาหกรรมจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และ กัมพูชาหลายแหง เชน อําเภอบานบานกรวด ศรีสะเกษ สามารถนําแนวทางดังกลาวเปนขอมูล ในจังหวัดบุรีรัมย อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร พื้นฐานในการกําหนดนโยบาย การจัดทําแผน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 247 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

พัฒนาเพื่อใหเกิดการบูรณา เชื่อมโยง สงเสริม ทางการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬาและ ความรวมมือระหวางทางบริการการทองเที่ยว นันทนาการของผูประกอบการทองเที่ยวกลุม เชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการของกลุม จังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ ในสามประเด็น ผูประกอบการทองเที่ยวกลุมจังหวัดบุรีรัมย หลักคือ การเชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวกลุม สุรินทรและศรีสะเกษตอไป ทองเที่ยวเฉพาะ การเชื่อมโยงโปรแกรมการ ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ ขอบเขตการวิจัย และการสรางมาตรฐานการบริการทางการ การวิจัยครั้งนี้ศึกษาแนวทางการ ทองเที่ยวของกลุมผูประกอบการทองเที่ยว พัฒนาการจัดการเชื่อมโยงสินคาและบริการ เชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ 1. สถานการณการ 1. การจัดประชุมเชิง แนวทางการพัฒนาการ 1. เกิดการรวมกลุม ทองเที่ยวของกลุมจังหวัด ปฏิบัติการวางแผนแบบ เชื่อมโยงสินคาและบริการ เครือขายผูประกอบการ บุรีรัมย สุรินทร และ มีสวนรวมเพื่อรางทาง ทางการทองเที่ยวฯ ทองเที่ยวกลุมจังหวัด ศรีสะเกษ การพัฒนาการเชื่อมโยง - เสนทางทองเที่ยว บุรีรัมย สุรินทร และ 2. ศักยภาพสินคาและ สินคาและบริการทางการ กลุมทองเที่ยวเฉพาะ ศรีสะเกษ เพื่อสรางความ บริการการทองเที่ยวเชิง ทองเที่ยวฯ - การเชื่อมโปรแกรม รวมมือระหวาง 3 จังหวัด วัฒนธรรม กีฬาและ 2. การอภิปรายแบบ การทองเที่ยวเชิง 2. เกิดการจัดการสินคา นันทนาการที่สามารถ คณะ เพื่อตรวจสอบทาง วัฒนธรรม กีฬาและ และบริการทางการ ดึงดูดและเชื่อมโยง การพัฒนาการเชื่อมโยง นันทนาการ ทองเที่ยวรวมกันของกลุม ทางการทองเที่ยวไดของ สินคาและบริการทางการ - การสรางมาตรฐาน เครือขายผูประกอบการ จังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และ ทองเที่ยวฯ การบริการทางการ ทองเที่ยว 3 จังหวัด โดยมี ศรีสะเกษ ทองเที่ยวของกลุมผู การแบงปน แลกเปลี่ยนและ ประกอบการทองเที่ยว รวมมือทางธุรกิจรวมกัน เชิงวัฒนธรรม กีฬาและ นันทนาการ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย 248 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ระเบียบวิธีวิจัย บุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ จังหวัดละ 50 ราย ระยะที่ 1 การรางแนวทางฯ ประกอบดวย รวมทั้งหมด 150 ราย ไดแก 1) กลุมผูประกอบการ (1) การศึกษาขอมูลทุติยภูมิเพื่อศึกษาสถานการณ ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและหรือสมาชิก การทองเที่ยวของกลุมจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร กลุมเครือขายผูประกอบการทองเที่ยวหรือ และศรีสะเกษ (2) การวิเคราะหขอมูลจาก ที่เขารวมกลุมสมาคมธุรกิจการทองเที่ยวทั้งสาม แบบสอบถามศักยภาพสินคาและบริการการ จังหวัด จํานวนจังหวัดละ 30 ราย รวมทั้งหมด ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ 90 ราย 2) ผูประกอบการในอุตสาหกรรมทองเที่ยว ที่สามารถดึงดูดและเชื่อมโยงทางการทองเที่ยวได จังหวัดบุรีรัมย สุรินทรและศรีสะเกษ (ที่ไมได ของจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ ประชากร เปนสมาชิกสมาคมแตมีความตองการรวมกลุม คือ กลุมผูประกอบการในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว เครือขายฯ) จํานวนจังหวัดละ 10 ราย รวมทั้งหมด และหรือสมาชิกกลุมเครือขายผูประกอบการ 30 ราย 3) ตัวแทนกลุมภาคีเครือขายภาครัฐ ทองเที่ยวหรือที่เขารวมกลุมสมาคมธุรกิจการ ภาคเอกชน ภาคชุมชนและภาคการศึกษาที่ ทองเที่ยวทั้งสามจังหวัด จํานวน 148 ราย ใชวิธี เกี่ยวกับการทองเที่ยวกลุมจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร การสุมกลุมตัวอยางเจาะจงตัวกลุมตัวอยางที่มี และจังหวัดศรีสะเกษ ที่เปนเจาของแหลงทองเที่ยว ความคาดหวังและหรือความตองการเขารวม หรือสถานที่ทองเที่ยวและหรือผูจัดกิจกรรม เครือขายผูประกอบการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การทองเที่ยว และตัวแทนภาคีเครือขายภาครัฐ กีฬาและนันทนาการของกลุมจังหวัดบุรีรัมย และชุมชนที่เปนเจาของแหลงและสถานที่ทองเที่ยว สุรินทรและ ศรีสะเกษ จํานวนจังหวัดละ 30 ราย และหรือผูจัดกิจกรรมการทองเที่ยว จังหวัดละ รวมทั้งหมด 90 ราย 10 ราย รวมทั้งหมด 30 ราย ระยะที่ 2 การพัฒนารางแนวทางฯ ระยะที่ 3 การตรวจสอบแนวทางการ ดวยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางแผนแบบ พัฒนาฯ ดวยการอภิปรายแบบคณะ ดวยผูทรง มีสวนรวม (Appreciation Influence Control : คุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญ 4 ทาน ประกอบดวย AIC) ประกอบกับเทคนิคการระดมสมอง เทคนิค นายกสมาคมทองเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย นายก การวิเคราะหเชิงกลยุทธ กับกลุมตัวอยางผูนํา สมาคมสงเสริมการทองเที่ยวจังหวัดสุรินทร และตัวแทนสมาชิกสมาคมทองเที่ยวและภาคี นายกสมาคมธุรกิจการทองเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ เครือขายที่เกี่ยวของทั้ง 3 จังหวัด และภาคี รักษาการสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวจังหวัด เครือขายทั้งวิสาหกิจตนนํ้าและปลายนํ้า โดยใช บุรีรัมย ผูแทนสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวจังหวัด วิธีการสุมแบบเจาะจงตัวกลุมตัวอยางที่มี สุรินทร(ผูดําเนินรายการ) พรอมดวยสมาชิก ความคาดหวังและหรือความตองการเขารวม สมาคมทองเที่ยวทั้ง 3 จังหวัดและผูประกอบการ กลุมเครือขายวิสาหกิจการทองเที่ยวเชิง ทองเที่ยวในพื้นที่ 3 จังหวัดที่มีความตองการ วัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการของกลุมจังหวัด เขารวมเครือขายจํานวน 80 ราย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 249 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ดําเนินชีวิตของกลุมนักทองเที่ยวเปาหมาย เชน สรุปผลการวิจัย กลุมนักแขงกีฬา กลุมนักทองเที่ยวชมและ จากการศึกษาแนวทางการทางการ เชียรกีฬา กลุมนักทองเที่ยวกิจกรรมทางกีฬา พัฒนาเชื่อมโยงสินคาและบริการทางการทอง กลุมนักทองเที่ยวกีฬาผจญภัย เปนตน รวมถึง เที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการของ มีการจัดกิจกรรมที่ตอบสนองรูปแบบการใชชีวิต กลุมผูประกอบการทองเที่ยวกลุมจังหวัดบุรีรัมย ของกลุมนักทองเที่ยวเปาหมาย สุรินทรและ ศรีสะเกษ สามารถสรุปผลไดดังนี้ 1.3 กลุมทองเที่ยวกีฬาและ 1. การเชื่อมโยงเสนทางทองเที่ยวกลุม นันทนาการกับประเพณีพื้นบานอารยธรรม ทองเที่ยวเฉพาะ ประกอบดวย อีสานใตรวมสมัย โดยมีแนวทางการดําเนินการ 1.1 กลุมทองเที่ยววิถีวัฒนธรรม 2 ประการหลัก คือ การสงเสริมโครงการฟนฟู อีสานใตแนวทางอนุรักษและรวมสมัย โดยมี อนุรักษและเผยแพรการละเลนพื้นบานและ แนวทางการดําเนินงานหลัก 2 ประการคือ กีฬาอีสานใต และการพัฒนาเปนศูนยกลาง การบูรณาการความรวมมือเสนทางทองเที่ยว ดานทองเที่ยวกีฬา วิถีวัฒนธรรมเกษตรสุขภาพ และโปรแกรมทองเที่ยวศรีบุรินทร อาทิ เสนทาง โดยการสรางการสรางเครือขายดานการเกษตร ทองเที่ยววัฒนธรรมและกีฬาศรีบุรินทร เสนทาง สุขภาพมารวมดวย อารยธรรมศรีบุรินทร เสนทางสายไหมศรีบุรินทร 1.4 กลุมทองเที่ยวเชื่อมโยง 3 ฤดูกาล เสนทาง 2 ชองทองอารยธรรมไทย-กัมพูชา เสนทาง แหงอีสานใต โดยมีการเชื่อมโยงสินคาและบริการ มหกรรมอาหารศรีบุรินทร เปนตน และการจัด การทองเที่ยวตามฤดูกาลอิงเกณฑภูมิอากาศ กิจกรรมเทศกาลและงานประเพณีเชื่อมโยงกัน และชวงเดือน เพื่อใหเกิดการทองเที่ยวในพื้นที่ได กลุมจังหวัดศรีบุรินทรอยางตอเนื่อง โดยมีการ ตลอดป ประกอบดวย เสนทางและโปรแกรมการ สงเสริมและหรือการเขารวมกิจกรรมการทองเที่ยว ทองเที่ยวชวงหนาหนาวหรือชวงเดือนตุลาคม – ของหนวยงานภาคีเครือขาย การทองเที่ยวตาม มกราคม คือ เสนทางนั่งชาง (หมูบานชางสุรินทร) ปฏิทินเทศกาลและประเพณีการทองเที่ยว (ฮีต 12 ชมหมอก (ผามออีแดง ศรีสะเกษ) สวนดอกไม ครอง 14) ของกลุมจังหวัดตอเนื่องกันตลอดป (เพลาเพลิน บุรีรัมย) เสนทางการทองเที่ยวชวง 1.2 กลุมทองเที่ยวและการแขงกีฬา ฤดูรอนหรือชวงเดือนกุมภาพันธ – พฤษภาคม สากลผสมผสานการเรียนรูอารยธรรมอีสานใต คือ เสนทางเฮาบึงเอินขวัญปใหมไทย (งาน รวมสมัย ดวย การพัฒนาแหลงและกิจกรรม สงกรานต) เสนทางและโปรแกรมการทองเที่ยว ทางทองเที่ยวกีฬาเพื่อความบันเทิงและสุขภาพ ชวงฤดูฝนหรือชวงเดือนมิถุนายน – กันยายน คือ ใหมีความหลากหลายและมีความเพลิดเพลิน ปลูกผลไม (ชมชิมช็อปผลไมศรีสะเกษ) วิถีชุมชน ดวยการกีฬาและนันทนาการ มีการจัดกิจกรรม (วัฒนธรรมขะแมร กวย) คนรักกีฬา (สนามกีฬา หรือสินคาและบริการตอบสนองรูปแบบการ ไอโมบาย และสนามชางจังหวัดบุรีรัมย) เปนตน 250 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

2. การสรางเครือขายกลุมผูประกอบการ ขามหุบเขาหรือวิวทุงนา เปนตน และ (4) คือ การ เพื่อเชื่อมโปรแกรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สรางศูนยบริการทางการกีฬาในเขต 3 จังหวัด กีฬาและนันทนาการ ดวยการ โดยมีแนวทางการ โดยการสรางความรวมมือกับผูประกอบการ ดําเนินการดังนี้ ทางสถานบริการสุขภาพและกีฬาในการสราง 2.1 การพัฒนาแหลงและสถานที่ มาตรฐานการบริการและการประกอบการในกลุม ทองเที่ยว โดยมีแนวทางการดําเนินงานหลัก เครือขาย ซึ่งอาจบูรณาการกับภาคีหนวยงาน 4 ประการ คือ (1) การกําหนดวิสัยทัศนและ ภาครัฐที่มียุทธศาสตรการพัฒนาทางดานกีฬา ยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงกีฬา ในการสรางความรวมมือรวมกัน เชน การพัฒนา ระดับกลุมจังหวัด โดยสรางวิสัยทัศนและ และยกระดับศูนยบริการทางการกีฬาสวนกลาง ยุทธศาสตรการพัฒนาของกลุมจังหวัดที่ใหมี และภูมิภาคใหไดมาตรฐาน การสรางการศูนย ทิศทางเดียวกัน โดยมีการลงทุนพัฒนาระดับ ฝกกีฬา การเก็บตัวฝกซอมของนักกีฬาที่มี โครงสรางพื้นฐาน สาธารณูปโภค การพัฒนา มาตรฐานและครบวงจร ทั้งในดานสถานที่และ มาตรฐานอุตสาหกรรมทองเที่ยวเชิงกีฬา การ อุปกรณการฝกซอม สถานที่พักนักกีฬา สถานที่ สงเสริมกิจกรรมทางการกีฬาและการทองเที่ยว บริการ ดานวิทยาศาสตรการกีฬาในสาขาตาง ๆ อยางตอเนื่อง การสรางสื่อประชาสัมพันธและ เพื่อใหสามารถสนองตอบความตองการของผูใช ชองทางการตลาดบนฐานการตลาดออนไลน บริการทางการกีฬา การพัฒนากลุมคลัสเตอรการทองเที่ยวเชิงกีฬา 2.2 กิจกรรมทองเที่ยว โดยมีแนวทาง เปนตน (2) การพัฒนาศักยภาพของแหลง การดําเนินงานหลัก 3 ประการ คือ (1) การสงเสริม ทองเที่ยวทางกีฬาและวัฒนธรรม โดยการกระตุน ศักยภาพเพื่อยกระดับอันดับผลการแขงขันระดับ การลงทุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อการ คุณภาพ ดวยการชนะผลการแขงขันและไดครอง พัฒนาและสรางแหลงทองเที่ยวทางกีฬาที่มี ถวยแชมปการแขงขันทุกระดับ หรือมีสถิติ ศักยภาพดึงดูดทางการทองเที่ยวสูงของกลุม การแขงขันที่มียอมรับระดับชาติและนานาชาติ นักทองเที่ยวตางชาติหรือนักทองเที่ยวคุณภาพ (2) การจัดกิจกรรมระดับชาติและนานาชาติในพื้นที่ (3) การสรางแหลงทองเที่ยวครบวงจรและ การสงเสริมการจัดกิจกรรมทางการทองเที่ยว ขนาดใหญ ที่มีการศักยภาพดึงดูดสูงหรือเปน ระดับชาติและนานาชาติในพื้นที่จังหวัดเพื่อเปน แหลงทองเที่ยวแหงใหมเปนการเสริมศักยภาพ การกระตุนและดึงดูดใหเกิดการนักทองเที่ยว แหงทองเที่ยวเดิมที่มีอยู สามารถเปนทางเลือก ทั้งชาวไทยและชาวตางชาติไดตัดสินใจเลือก ทางการทองเที่ยวและรองรับกลุมนักทองเที่ยว เขามาใชบริการทางการทองเที่ยวในพื้นที่มากขึ้น คุณภาพ ใหเขามาทองเที่ยวในจังหวัดบุรีรัมย เชน การประกวดประกวดดนตรี การประกวด และจังหวัดสุรินทรและจังหวัดศรีสะเกษ หรือ รองเพลง เปนตน และ (3) การสงเสริมการจัดการ จังหวัดใกลเคียงอื่น ๆ ไดมากขึ้น เชน การโหนสลิง แขงขันระดับกลุมประชาคมอาเซียน (AEC) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 251 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ดวยการจัดกิจกรรมการแขงขันกีฬาสากล หรือ กลุมชุมชนในพื้นที่ การไดรับสิทธิการเขารวม กีฬาประเพณีเฉพาะกับประเทศในกลุมประชาคม โครงการสนับสนุนและพัฒนาทางการตลาด อาเซียน จากหนวยงานภาคีเครือขายทางการทองเที่ยว 2.3 สินคาและบริการทองเที่ยว เปนตน ของผูประกอบทองเที่ยว โดยมีแนวทางการ 3. การสรางมาตรฐานการบริการทาง ดําเนินการหลัก 2 ประการ คือ (1) การบูรณาการ การทองเที่ยวของกลุมผูประกอบการทองเที่ยว และเชื่อมโยงการตลาดรวมกัน ดวยการจัด เชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ ประกอบดวย โครงการสรางความรวมมือระหวางคลัสเตอร 3.1 การจัดการสินคาและบริการ การทองเที่ยว เชน การเชื่อมโยงคลัสเตอรศรีบุรินทร การทองเที่ยว โดยมีแนวทางการดําเนินงานหลัก กับคลัสเตอรการทองเที่ยวจังหวัดนครพนมและ 4 ประการ คือ (1) การพัฒนามาตรฐานสินคา ประเทศลาว การเชื่อมโยงคลัสเตอรศรีบุรินทร และบริการทางการทองเที่ยวระดับศรีบุรินทร กับคลัสเตอรการทองเที่ยวลําปาง เปนตน และ โดยกําหนดทิศทางการทองเที่ยวเสริมจากธุรกิจหลัก (2) การพัฒนาระบบสินคาและบริการการทองเที่ยว (2) การพัฒนามาตรฐานการบริการทองเที่ยว ดวยอิเล็กทรอนิกส การนําเสนอบริการดวย กลุมเครือขายสูอาเซียน ดวยกิจกรรมพัฒนา สารสนเทศและเทคโนโลยีสมัยใหมผานสื่อ ศักยภาพบุคลากรดานทักษะภาษาอังกฤษและ และชองทางอิเล็กทรอนิกสหรือออนไลน เชน ประเทศเพื่อนบาน (กัมพูชา) การพัฒนาทักษะ ระบบติดตอซื้อ-ขายบริการอัตโนมัติ ระบบ สมาชิกเครือขายที่เกี่ยวของเชน ผูประกอบการ เครือขายสังคมออนไลนทางการโฆษณาและ เกษตรกรในการเปนมัคคุเทศกทองถิ่น (3) การ ประชาสัมพันธทางการตลาด เปนตน พัฒนามาตรฐานรานอาหารปลอดภัย ดวยการ 2.4 ความรวมมือทางทรัพยากร สงเสริมและการจัดการควบคุมเพื่อใหผูประกอบการ ของผูประกอบการทองเที่ยวหลัก โดยการกําหนด สมาชิกไดรับการรับรองมาตรฐานดานรานอาหาร แนวปฏิบัติและมาตรฐานการแบงปนทรัพยากร ปลอดภัยสําหรับนักทองเที่ยว และ (4) การพัฒนา และความรวมทางการคาระหวางผูประกอบการ มาตรฐานครัวไทยสูครัวโลก ดวยการสงเสริมและ สมาชิกกลุมเครือขาย เพื่อสรางขีดความสามารถ การพัฒนาผูประกอบการสมาชิกพัฒนาสินคา และศักยภาพทางการบริการเพิ่มขึ้น เชน การวาง และบริการดานอาหารไทยใหไดมาตรฐานและ มาตรฐานราคาและสวนลดพิเศษทางธุรกิจ มีความคิดสรางสรรค นําภูมิปญญาดานอาหาร แกธุรกิจเพื่อนสมาชิกรวมกัน การเชื่อมโยง ของไทยประยุกตใหมีมาตรฐานดานรสชาติ และ โปรแกรมทองเที่ยวกับกลุมเพื่อนสมาชิกโรงแรม การใชวัตถุดิบที่ประยุกตไดใหเขากับนักทองเที่ยว ที่พักและรานอาหาร การฝกอบรมพัฒนาบุคลากร ตางชาติที่สามารถรับประทานได หรือใหพัฒนา รวมกันระหวางกลุมประเภทธุรกิจเดียวกัน การ สูตรใหเปนสากลมากขึ้น เชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวกับเพื่อนสมาชิก 252 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

3.2 การตอนรับและการบริการ แนวทางของการสงเสริมและพัฒนาของกรม ของบุคลากร โดยมีแนวทางการดําเนินการหลัก สงเสริมสิ่งแวดลอม หรือเพื่อสรางการยอมรับ 2 ประการ คือ (1) การพัฒนามาตรฐานการบริการ ในมาตรฐานและการใหบริการเฉพาะที่มีเอกลักษณ และ (2) การพัฒนาบุคลากรทางสายวิชาชีพ การสงเสริมและรักษาสิ่งแวดลอมตามแนวโนม ทางกีฬาและการทองเที่ยว โดยตองมีการวางแผน ของพฤติกรรมนักทองเที่ยวยุคใหมที่ใสใจ ดานบุคลากรที่มีคุณวุฒิและไดมาตรฐานทาง สิ่งแวดลอมมากขึ้น วิชาชีพในพื้นที่กับสถาบันการศึกษาในพื้นที่ 3.4 ความรับผิดชอบตอเศรษฐกิจ เพื่อผลิตบุคลากรตามมาตรฐานหลักสูตรสาย สังคมและสิ่งแวดลอม โดยมีแนวทางการ วิชาการและวิชาชีพเฉพาะทางดานการทองเที่ยว ดําเนินการหลัก 3 ประการ คือ (1) การพัฒนา การกีฬาและสุขภาพ ไดแก บุคลากรดาน มาตรฐานราคาสินคาและบริการที่เปนธรรม วิทยาศาสตรการกีฬา บุคลากรดานวิทยาศาสตร โดยกลุมผูประกอบการทองเที่ยวจะตองรวมกัน สุขภาพ บุคคลากรดานมัคคุเทศก บุคลากร สรางมาตรฐานดานราคาสินคาและบริการใหมี ดานนําเที่ยว บุคลากรดานการบริการโรงแรม ทิศทางเดียวกัน และมีการจัดการควบคุมราคา ที่พัก บุคลากรดานวิทยาศาสตรการอาหาร สินคาและบริการใหเหมาะสม เชน คาที่พัก บุคลากรดานการสปาและเสริมความงาม เปนตน โรงแรมที่มีเกณฑมาตรฐานคุณภาพและราคา เพื่อสงตอระดับงานใหแกสถานประกอบการ เดียวกัน ราคาโปรแกรมการทองเที่ยวที่เชื่อมโยงกัน ทางอุตสาหกรรมทองเที่ยวและกีฬา เปนตน มีการกําหนดชุดราคาเดียวกัน (2) การพัฒนา 3.3 ความปลอดภัยชีวิตและทรัพยสิน มาตรฐานสินคาและบริการบนฐานสังคมและ ของนักทองเที่ยว โดยมีแนวทางการดําเนินการ การเปนเจาบานที่ดี กลุมผูประกอบการทองเที่ยว หลัก 2 ประการ คือ (1) การพัฒนามาตรฐาน ควรมีการเปนแนวปฏิบัติรวมกัน หรือการบันทึก การบริษัทนําเที่ยวและมัคคุเทศกตีทะเบียน ขอตกลงรวมกันในการใหบริการทางการทองเที่ยว โดยสงเสริมใหสมาชิกกลุมเครือขายพัฒนาใหได ที่เนนความสําคัญดานสังคมและการเปนเจาบาน การรับรองมาตรฐานระดับคุณภาพขององคกร ที่ดี เพื่อใหเกิดความประทับใจในการใหบริการ ธุรกิจนําเที่ยว และมีบัตรมัคคุเทศกเพื่อจะได และสรางความรูสึกปลอดภัยแกนักทองเที่ยวได สรางความนาเชื่อถือแกนักทองเที่ยวไดมากขึ้น และ (3) การพัฒนามาตรฐานสิ่งแวดลอมยั่งยืน และ (2) การพัฒนามาตรฐานสถานประกอบ ดวยกําหนดแนวปฏิบัติรวมกัน หรือการบันทึก การที่พักสีขาว กลุมผูประกอบการทองเที่ยว ขอตกลงรวมกันเพื่อการพัฒนามาตรฐานการ ควรมีการสงเสริมและพัฒนาสมาชิกโดยเฉพาะ ทองเที่ยวเชิงการอนุรักษและรักษาสิ่งแวดลอม กลุมประเภทโรงแรมและที่พักควรมีการสราง ของแหลงทองเที่ยว หรือการใหความสําคัญตอ มาตรฐานสถานประกอบการที่พักสีขาว ตาม การสรางและจัดการระบบสิ่งแวดลอมที่ดี Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 253 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

อภิปรายผลการวิจัย ตองการโดยมีระดับการแขงขันตํ่า ใชงบประมาณ 1. การทําการตลาดกลุมทองเที่ยวเฉพาะ ในการทําการตลาดไมสูงมาก อีกทั้งทําใหเปน จากการศึกษาพบวาแนวทางการพัฒนาการ ผูนําทางการตลาดเฉพาะกลุมที่สามารถสราง เชื่อมโยงสินคาและบริการทางการทองเที่ยว ความไดเปรียบทางการแขงขันในระยะยาวได เชิงวัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการของกลุม ซึ่งนับเปนกลยุทธที่สําคัญภายใตการแขงขัน ผูประกอบการทองเที่ยวกลุมจังหวัดบุรีรัมย ที่รุนแรงในตลาดการทองเที่ยว สอดคลองกับ สุรินทรและศรีสะเกษเนนการทําตลาดเฉพาะกลุม การศึกษา ของ Parrish, Cassill & Oxenham ที่มีรสนิยมและความตองการคลายคลึงกัน (2006) ที่พบวาการทําการตลาดแบบเฉพาะกลุม ทั้งนี้ เนื่องจากบริบททางการทองเที่ยวของ เปนกลยุทธที่มีประสิทธิภาพในการตอตาน จังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษมีตนทุน การแขงขันดานราคาในอุตสาหกรรมที่มีการ ทางวัฒนธรรมไมวาจะเปน แหลงทองเที่ยว วิถี เติบโตเต็มที่ ทั้งนี้เพราะสามารถระบุรายละเอียด ชีวิตวัฒนธรรม ดนตรี ศิลปะ งานเทศกาล ที่มี ในความตองการเฉพาะไดไมใชเพียงเฉพาะดาน ความพิเศษแตกตางและมีความเปนเอกลักษณะ ราคาเทานั้น อยางไรก็ตาม จากการสังเคราะห เฉพาะ สอดคลองกับรายงานการสํารวจสัดสวน งานวิจัยของ Toften & Hammervoll (2012) พฤติกรรมการเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศ พบวาถึงแมวาการทําการตลาดเฉพาะกลุม (Department of Tourism, 2014) ที่เห็นวา จะสรางโอกาสทางการตลาด แตอาจจะเกิดปญหา สิ่งดึงดูดนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติ การกินสวนแบงตลาดของตนเอง (cannibalization) ที่เดินทางมาเที่ยวจังหวัดบุรีรัมยครั้งแรกคือ กลาวคือสินคาหรือบริการนั้นไมไดเพิ่มสวนแบง สถานที่ทองเที่ยว ความปลอดภัย อาหาร และ ทางการตลาดใหมแตเกิดจากการแบงสวนของ เทศกาล เชนเดียวกับการทําการตลาดกลุม ฐานลูกคาเดิมของตนเอง การขาดแคลนของ นักทองเที่ยวเฉพาะของผูประกอบการทองเที่ยว ทรัพยากร การไมมีตลาด การขาดความรูของ ทางเลือกในอิตาลีเพื่อเพิ่มความสามารถในการ ลูกคา รวมถึงการโจมตีคูแขงและการตอบสนอง แขงขันระดับนานาชาติโดยเนนที่การสรางความ เชิงรุก เชน การใชแรงกดดันจากราคา การเผยแพร แตกตางในคุณคาและองคประกอบพื้นฐานของ ขาวสารในทางลบสูสาธารณะ ดังนั้น ผูประกอบการ ทรัพยากรธรรมชาติและประเพณีวัฒนธรรม ควรทําการศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของเพื่อกําหนด (Trunfio, Petruzzellis & Nigro, 2006) อีกทั้ง กลุมลูกคาเฉพาะใหชัดเจน ศึกษาความตองการ การทําตลาดเฉพาะกลุมที่ยังไมมีผูประกอบการ เฉพาะของกลุมลูกคา รวมถึงวิธีการตอบสนอง รายใดเขาไปทําการตลาด หรือการมีมูลคาเล็ก ความตองการของลูกคากลุมดังกลาว การประเมิน เกินกวาที่ผูประกอบการรายใหญจะใหความ ความสถานการณทางการตลาดเชน มูลคา โอกาส สําคัญ จะทําใหผูประกอบการสามารถคนหา การเติบโต ขอกฎหมายอีกทั้งควรทําการศึกษา สินคาและบริการที่สามารถตอบสนองความ ความเปนไปในการดําเนินงาน เชนเดียวกับ 254 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การศึกษาของ Alonso (2016) ที่พบวาภายใตการ ที่เห็นวาแหลงทองเที่ยวที่มีกิจกรรมนันทนาการ ดําเนินงานตลาดเฉพาะกลุมในบริบทการแขงขัน จะชวยทําใหนักทองเที่ยวเกิดความรูสึกผูกพัน ระดับสากล ผูประกอบการจําเปนตองพัฒนา และสรางชวยดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยว วิสัยทัศน การคิดวิเคราะห การคาดการณ การมี มากขึ้น ทั้งนี้ สินคาและบริการทองเที่ยวควรเนน มุมมองที่เปนสากล ซึ่งจะชวยสรางความยืดหยุน ความรวมมือระหวางกลุมผูประกอบการทองเที่ยว ของผูประกอบการในการวิเคราะหแงมุมของ ในจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ โดยใช ปญหาหรือสถานการณที่เกิดขึ้นใหสอดคลองกับ การสื่อสารทางการตลาดแบบครบวงจร (integrated บริบทการดําเนินงานของผูประกอบการ marketing communication) ดวยการใชเทคโนโลยี 2. การสรางเครือขายกลุมผูประกอบการ สารสนเทศเขามาชวยใหกลุมนักทองเที่ยว เพื่อเชื่อมโปรแกรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สามารถตัดสินใจซื้อสินคาและบริการทองเที่ยว กีฬาและนันทนาการ ในกิจกรรมสําคัญสี่ประการ ไดรวดเร็วที่สุด อีกทั้งสงผลทําใหเกิดประสิทธิภาพ ประกอบดวย หนึ่งการพัฒนาแหลงทองเที่ยว ในการบริหารจัดการดําเนินงานไดอยางมี ซึ่งหมายถึงสถานที่ทองเที่ยว กิจกรรม และ ประสิทธิภาพ (Liu, Chakpitak, Yodmongkol วัฒนธรรมประเพณีที่สะทอนใหเห็นถึงอารยธรรม & Cang. 2014) ทองถิ่นที่มีลักษณะเดน และสามารถดึงดูดความ สําหรับความรวมมือในการแบงปน สนใจของนักทองเที่ยวใหเขามาเที่ยวจังหวัด ทรัพยากรรวมกันในการเชื่อมโยงโปรแกรมการ บุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ ทั้งนี้ เนื่องจาก ทองเที่ยว ทั้งในดานของขอมูลเชิงลึกที่จะทําให แหลงทองเที่ยวเปนปจจัยที่สําคัญที่นักทองเที่ยว สามารถเขาถึงเรื่องราว ทรัพยากร วิถีชีวิต ใชในการตัดสินใจเลือกทองเที่ยว สอดคลองกับ ความเปนทองถิ่นพื้นบาน เพื่อนํามาพัฒนา การศึกษาที่พบวาแรงจูงใจของนักทองเที่ยว โปรแกรมทางทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬา ชาวไทยที่เดินทางมาทองเที่ยวบอนํ้ารอนรักษะวาริน และนันทนาการใหตรงกับความตองการของ และบอนํ้ารอนพรรั้ง คือ การเปนแหลงทองเที่ยว การตลาดกลุมทองเที่ยวเฉพาะ สอดคลองกับ ที่มีธรรมชาติอุดมสมบรูณ และกิจกรรมการ การศึกษาของ วณิฎา ศิริวรสกุล และวัชรินทร ทองเที่ยว ซึ่งเปนกิจกรรมนันทนาการทางวัฒนธรรม อินทพรหม (Siriworasakul & Intapromae, ที่สะทอนความเปนเอกลักษณของทองถิ่นที่ 2016) ที่พบวาการรวบรวมและจัดการองคความรู ตอบสนองตลาดกลุมทองเที่ยวเฉพาะเพื่อให ของชุมชนอยางมีระบบ ซึ่งสามารถพัฒนาใหเปน เสริมสรางใหนักทองเที่ยวรูสึกถึงการเปนสวนหนึ่ง แหลงเรียนรูที่สามารถสรางความพิเศษและสราง ของแหลงทองเที่ยว เกิดความรูสึกประทับใจ ความสามารถในการแขงขันได อีกทั้งสอดคลอง กับบรรยากาศของแหลงทองเที่ยวและกลับมา กับการศึกษาที่พบวาการแบงปนทรัพยากร เที่ยวอีก (Mayor, 2012) รวมถึงสอดคลองกับการ รวมกันจะชวยเพิ่มความรูทางการตลาดซึ่งจะชวย ศึกษาของ คณิต เขียววิชัย (Kheovichai, 2012) เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานใหเพิ่มมากขึ้น Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 255 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

โดยเฉพาะอยางยิ่งการทําการตลาดในระดับ ไดอยางถูกจุด สงผลทําใหเกิดความผิดพลาด เจาะลึกในภูมิภาคเพื่อคนหาความพิเศษหรือ ในการทํางานลดลง และเกิดการปรับปรุงพัฒนา ความแตกตางไปจากธุรกิจอื่นนั้นมีความจําเปน อยางตอเนื่อง ในสวนของมาตรฐานการทํางาน อยางยิ่งที่จะสรางเครือขายเพื่อคนหาขอมูล เกี่ยวกับการทองเที่ยวนั้น โดยปกติจะมีหนวยงาน ทรัพยากรในระดับทองถิ่นเพื่อพัฒนาเครือขาย ที่ทําการจัดคูมือเกณฑมาตรฐานการดําเนินงาน ธุรกิจใหสามารถจัดวางตําแหนงในความลุมลึก ไวแลว เชน เกณฑมาตรฐานการบริหารจัดการ ในความเปนทองถิ่นนั้นได (Byoungho & Sojin, แหลงทองเที่ยวโดยชุมชน มาตรฐานการจัดการ 2016; Owusu & Vaaland, 2016) อยางไรก็ตาม บริการในสถานประกอบการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การสรางเครือขายความรวมมือทางธุรกิจยังมี มาตรฐานการบริการเพื่อการทองเที่ยว ดังนั้น ขอควรระวังในกรณีการรวมกันผลิตสินคาและ การเขารวมหรือการใชมาตรฐานในการดําเนินงาน การเรียนรูเทคนิคการบริหารรวมกันซึ่ งอาจจะ จึงไมใชประเด็นที่นากังวล แตในทางปฏิบัติแลว เกิดปญหาการสูญเสียความลับทางธุรกิจไปได ผูปฏิบัติงานเปนผูที่เกี่ยวของโดยตรงกับลูกคา ดังการศึกษาที่พบวาขอจํากัดที่สําคัญในระบบ สามารถที่ทําตามมาตรฐานการทํางานที่กําหนด การดําเนินงานแบบเครือขาย คือ การระบุใน รวมถึงการสรางความประทับใจในการตอบสนอง สัญญาถึงการที่องคการตองสามารถใหขอมูล ความตองการของลูกคาได สามารถที่จะรับทราบ เชิงลึกที่ดียิ่งขึ้นแกเครือขายทางธุรกิจได (Ekman, ปญหา ความตองการและสงผานขอมูลนั้นเขาสู 2015) องคการเพื่อทําการแกไขและปรับปรุงการดําเนิน 3. การสรางมาตรฐานการทํางานรวมกัน งานขององคการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น สิ่งสําคัญอีกประการในการพัฒนาการเชื่อมโยง การบริหารงานในยุคปจจุบันนั้น ผูบริหารควรให สินคาและบริการทางการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ความสําคัญกับผูปฏิบัติงาน เพื่อใหเขาเหลานั้น กีฬา และนันทนาการ ของกลุมผูประกอบการ เกิดความรูสึกเปนสวนหนึ่งขององคการ พรอมที่จะ ทองเที่ยวกลุมจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร ์และ ทุมเทแรงกาย แรงใจ และแรงสติปญญาในการ ศรีสะเกษ คือ การสรางมาตรฐานการทํางาน ทํางานอยางเต็มที่ ผูบริหารทุกระดับควรเปนผูที่ รวมกัน การมีมาตรฐานการทํางานจะทําให ทําหนาที่ชวยเหลือสนับสนุน มากกวาที่จะเปน เครือขายทุกภาคสวนมีสวนรวมในการดําเนินการ ผูอํานวยการหรือผูสั่งการ และควรที่จะคนหา อยางมีประสิทธิภาพ มีระบบการทํางานที่ชัดเจน วิธีการที่จะพัฒนา สนับสนุนการปฏิบัติงานของ ลูกคามีความมั่นใจในสินคาและบริการสงผล ผูใตบังคับบัญชาใหสามารถทํางานไดอยาง ทําใหเกิดการยอมรับ การกลับมาซื้อซํ้า การบอกตอ เต็มความสามารถที่สุดเทาที่จะทําได เชนเดียวกับ และนํามาสูผลประกอบการที่เพิ่มขึ้น ในกรณี แนวคิดเรื่องพีระมิดกลับหัว (upside-down ที่เกิดขอผิดพลาดในการทํางานก็จะสามารถ pyramid) จึงเปนการมองยอนกลับจากระดับ วิเคราะหหาสาเหตุที่แทจริงเพื่อการแกไขปญหา ขององคการที่มีระดับชั้นจากผูบริหารระดับสูง 256 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ระดับกลาง ระดับตน และผูปฏิบัติงาน ตามลําดับ ดังนั้น ผูประกอบการควรมีการรวมกลุมอยาง ไปสูการนําลูกคาในฐานะเปนผูที่มีความสําคัญ เปนทางการเพื่อตั้งเปนศูนยรวมของผูประกอบ ขององคการไปไวในระดับบนโดยมีจุดมุงหมาย การและเปนพลังในการประสานความรวมมือ ที่จะตอบสนองความตองการของลูกคาเพื่อให กับหนวยงานของรัฐ สภาวิชาชีพ สถาบันการเงิน ไดรับความพึงพอใจสูงสุด ผูมีความสําคัญใน สถาบันการศึกษา องคกรเอกชนเพื่อขอรับ ระดับรองลงมาคือผูปฏิบัติงานที่จะตองปฏิบัติ สนับสนุนและชวยเหลือใหการทํางานมีความ งานอยางเต็มความสามารถเพื่อที่จะตอบสนอง เขมแข็งมากขึ้น ความมั่นใจของลูกคา ผูบริหารจะทําหนาที่ให 2. การพัฒนาความรวมมือและเชื่อมโยง คําแนะนํา ชวยเหลือ และแกไขปญหาการทํางาน ทางการทองเที่ยวรวมกันตองอาศัยการสนับสนุน ของผูปฏิบัติงานเพื่อเอื้ออํานวยการปฏิบัติงาน จากยุทธศาสตรของภาครัฐคอนขางมาก เพื่อเปน นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด (Schermerhorn, การสรางยุทธศาสตรบนฐานศักยภาพและ 2011) เชนเดียวกับการศึกษาของ Ingvaldsen, อัตลักษณทางการทองเที่ยวในรูปกลุมจังหวัด Holtskog & Ringen (2013) ที่พบการสังเกต อยางชัดเจน การทํางานอยางตอเนื่องและมีระบบจากผูบังคับ ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป บัญชาโดยอางอิงจากมาตรฐานการทํางาน และ 1. การพัฒนาเชื่อมโยงสินคาและบริการ การสื่อสารสองทางผานการสนทนาที่เหมาะสม ทองเที่ยวสูกลุมภูมิภาคและอาเซียน เพื่อพัฒนา จะทําใหเกิดปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูปฏิบัติงาน เสนทางทองเที่ยวที่เชื่อมโยงกันในทุกทิศทาง และผูบังคับบัญชาในการสรางความไววางใจ 2. การจัดทําระบบการตลาดเชิงรุก ระหวางกันและมีวัตถุประสงครวมกันในการ ดวยสื่อดิจิทัลในประเทศตาง ๆ เพื่อใหเกิด นําองคการสูความเปนเลิศ ซึ่งสิ่งที่สําคัญคือ ภาพลักษณและประชาสัมพันธทางการทองเที่ยว ผูบังคับบัญชาตองมีความสามารถในทางเทคนิค ใหในวงกวางขึ้น และรายละเอียดในการปฏิบัติงาน REFERENCES ขอเสนอแนะ Alonso, A. D. (2016). The entrepreneurial ขอเสนอแนะในการนําการวิจัยไปใช role within a global firm operating in 1. จากการจัดโครงการนํารองเพื่อ a niche market. European Business ทดลองการเชื่อมโยงโปรแกรมการเชื่อมโยง Review. 28(2), 118-136. เสนทางการทองเที่ยวพบวา ยังมีอุปสรรค Buriramguru. (2016). i-mobile Stadium. บางประการที่เกินอํานาจหนาที่ของผูประกอบการ Retrieved November 30, 2017, from เชน ความเสื่อมโทรมของแหลงทองเที่ยว ความ http://www.buriramguru.com/travel/ ปลอดภัย การขาดแคลนมัคคุเทศก เปนตน listing/buriram-united (in Thai). Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 257 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Byoungho, J. & Sojin, J. (2016). Toward a Jin, B. & Jung, S. (2016). Toward a deeper deeper understanding of the roles understanding of the roles of of personal and business networks personal and business networks and market knowledge in SMEs’ and market knowledge in SMEs’ international performance. Journal international performance. Journal of Small Business and Enterprise of Small Business and Enterprise Development. 23(3), 812-830. (in Development. 23(3), 812-830. Thai). Kheovichai, K. (2012). Recreation resource Chiengkul, W. & Choibamroong,T. (2560). as learning resources to attract Tourism behaviors of sport tourists tourists. Cultural Approach. 13(4), in Buriram. Humanities and Social 67-74. (in Thai). Sciences Journal Ubon Ratchathani Liu, X., Chakpitak, N., Yodmongkol, P. & Cang, S. Rajabhat University. 8(1), 90-109. (2014). Analysis of intellectual capital (in Thai). disclosure in cross-cultural e-tourism Department of Tourism. A survey report on enterprises. Journal of Intellectual proportion of domestic travel behavior Capital. 15(2), 249-263. (2014). Retrieved 30 December 2017, Mayor, V. (2012). A study of motivation from http://www.tourism.go.th/ and satisfactions of tourists visiting view/1/% (in Thai). Raksawarin and Porrang Hot Ekman, P. (2015). The enterprise system Springs in Ranong Provinces. M.A. revisited: how well does it capture Department of Tourism Management the company’s business network?. Faculty of Arts and Sciences, Dhurakij Journal of Business & Industrial Pundit University. (in Thai). Marketing. 30(2), 208-217 Ministry of Tourism and Sports. (2016). Ingvaldsen, J. A., Holtskog, H. & Ringen, G. 12 hidden gems…plus. Tourism (2013). Unlocking work standards Economic Review. 9 (October – through systematic work observation: december), 48-67. (in Thai). implications for team supervision. Owusu, A. R. & Vaaland, I. T. (2016). A Team Performance Management: business network perspective on An International Journal. 19(5/6), local content in emerging African 279-291. petroleum nations. International Journal 258 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

of Energy Sector Management. Siriworasakul, W. & Intapromae, W. (2016). 10(4),594-616. The knowledge management for Parrish, D. E., Cassill, L.N. & Oxenham, W. ecological and cultural tourism (2006). Niche market strategy for a development in Kokoet, sub-district, mature marketplace. Marketing Bangpa-in district, Phranakhon si Intelligence & Planning. 24(7), ayutthaya Provinces. PNRU Research 694-707. Journal Humanities and Social Pisanvanij, A. (2015). The opportunity of Sciences. 11(1), 42-49. (in Thai). Thai tourism business in Cambodia. Toften, K. & Hammervoll, T. (2016) Niche Retrieved December, 2017, from http:// marketing research: status and www.aseanthai.net/ewt_news.php? challenges. Marketing Intelligence nid=3397&filename=index (in Thai). & Planning. 31(3), 272-285. Prachachat Business. (2016). Dan Chong Sai Trunfio, M., Petruzzellis, L. & Nigro, C. (2006). Taku – Buriram: new border trade. Tour operators and alternative Retrieved July 24, 2016, from https:// tourism in Italy: exploiting niche www.prachachat.net/news_detail. markets to increase international php?newsid=1395325526 (in Thai). competitiveness. International Schermerhorn, J.R. (2011). Introduction to Journal of Contemporary Hospitality Management. Iowa: John Wiley & Management. 18(5), 426-438. Sons. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 259 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติการขอใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล เพื่อรองรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน LEGAL MEASURES ON QUALIFICATIONS APPLYING FOR DRIVING LICENSE DURING ACCESSION TO ASEAN ECONOMIC COMMUNITY พรเพ็ญ ไตรพงษ1* และ พีร พวงมะลิต2 Pornpen Traiphong1* and Phir Paungmalit2

หลักสูตรนิติศาสตร โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Bachelor of Law program, School of Law and Politics, Suan Dusit University, Bangkok, Thailand1*, 2

[email protected]*

บทคัดยอ การวิจัยนี้เปนการศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติการขอใบอนุญาตขับรถยนต สวนบุคคลเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค 3 ประการ 1) เพื่อศึกษา วิเคราะหหลักการ ยุทธศาสตรและแนวทางในการดําเนินงานขององคการสหประชาชาติและของ ตางประเทศ 2) เพื่อศึกษาวิเคราะหกฎหมาย แผนและระบบที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติของผูขอใบอนุญาต ขับรถยนตสวนบุคคลของประเทศไทยและประเทศตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางในเชิงนโยบาย และกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการเกี่ยวกับใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคลเพื่อเพิ่มความปลอดภัย ทางถนนตามมาตรฐานสากล โดยใชวิธีวิจัยแบบผสมทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุมตัวอยาง 400 คน ซึ่งสถิติในการวิเคราะหขอมูล คือ คารอยละ รวมถึงวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณเชิงลึก และวิจัยเชิงเอกสาร ผลวิจัยที่สําคัญมี 1. หลักการ ยุทธศาสตร และแนวทางระดับสากลมีความชัดเจนและตอเนื่องสามารถ นําเอามาใชเพื่อเพิ่มความปลอดภัยทางถนนในระดับภายในประเทศได แตก็ตองอาศัยการรับมาปฏิบัติ ใหเกิดผลเปนรูปธรรม 2. ประเทศไทยมีระบบและหลักเกณฑทางกฎหมายที่คอนขางดอยกวาประเทศอื่นที่ใชระบบ การใหใบอนุญาตขับรถเปนลําดับขั้น 260 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

3. ประเทศไทยใหการรับรองรางปฏิญญาอาเซียนวาดวยแผนยุทธศาสตรดานความปลอดภัย ทางถนน จึงมีขอเสนอใหเนนเชิงกลยุทธที่สําคัญในการทําใหมาตรฐาน กฎเกณฑ และกฎหมาย เพื่อความปลอดภัยทางถนนใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

คําสําคัญ: มาตรการทางกฎหมาย คุณสมบัติการขอใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน

ABSTRACT This research study on the legal measures on qualifications to apply for driving license during accession to ASEAN Economic Community, and aimed to 1) analyze principle, strategy and guideline on various actions of United Nations and foreign countries for enhancement of road safety, 2) analyze laws, plans and systems of Thailand, ASEAN members and other countries and, 3) provide suggestions on law and policy on management of the personal car’s driving license to enhance road safety pursuant to international standard. The research adopt mixed method which includes quantitative and qualitative methods and the There are 400 participants. The data analysis was done through descriptive statistics including percentage. Qualitative research is carried out by in-depth interview and related documents. The research showed the following significant results. 1) Principle, strategy and guideline in international level are definite and incessant in use for enhancing road safety in domestic level. 2) Thailand’s system and legal criteria are inferior from other countries which use the graduated driving licensing system (GDL). 3) ASEAN Declaration on Road Safety Strategy was certified by Thailand which focused on several strategic standards. The important points are for present car Harmonize standard, regulation and law on road safety.

Keywords: legal measures, qualifications to apply for driving license, ASEAN economic community Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 261 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทนํา กับประเทศในกลุมอาเซียน โดยอัตราการเสียชีวิต ในชวงแหงทศวรรษความปลอดภัย ของไทยนั้นมากกวาสิงคโปร ซึ่งมีอัตราการ ทางถนน (A Decade of Action for Road เสียชีวิตเพียงแค 3.6 คน อยูประมาณ 10 เทา Safety 2011-2020) โดยมติสมัชชาใหญองคการ (Academic Center for Road Safety, 2016) สหประชาชาติที่ A/RES/64/255 ไดใหความ โดยพบวาในป 2556 สาเหตุมาจากบุคคล/ผูขับขี่ สําคัญของการวางรากฐานดานวัฒนธรรม เปนสาเหตุหลักคิดเปนประมาณ 60% ของสาเหตุ ดานความปลอดภัย (safety culture) และระบบ ทั้งหมด เชน ขับรถเร็วเกินอัตราที่กฎหมาย ที่เอื้อตอความปลอดภัย (safe system) โดยมี กําหนด ขับรถกระชั้นชิด ไมชํานาญ เมาสุรา ฯลฯ เปาหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ จากสภาวการณของการเปนประชาคมเศรษฐกิจ ทางถนนลงไมเกิน 10 คนตอประชากรหนึ่งแสนคน อาเซียนมาตั้งแตป 2558 ซึ่งมีพื้นฐานที่ชัดเจน ในป 2563 เพื่อใหทุกภาคสวนมีทิศทางการ ทางกฎหมายและมีองคกรรองรับการดําเนินการ ดําเนินงาน และการแกไขปญหาอุบัติเหตุทาง เขาสูการเปนกลุมเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ ถนนประสบผลสําเร็จเปนรูปธรรมชัดเจน ในแผน มุงหมายใหมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ ปฏิบัติการ (global plan of action) ทศวรรษ การลงทุน แรงงานมีฝมืออยางเสรี และการ ความปลอดภัยทางถนนดังกลาวนั้นไดระบุถึง เคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้นกวาความตกลง องคประกอบหนึ่งแหงการสรางความปลอดภัย วาดวยเขตการคาเสรีอาเซียนที่มีมาแตเดิม โดยมี ดังกลาว นั่นคือ เสาหลักที่ 4 คือ ผูใชรถใชถนน การอํานวยความสะดวก การลดและปรับกฎเกณฑ อยางปลอดภัย (safer road users) โดยภายใต ในดานตาง ๆ (ASEAN Department, 2015) เสาหลักนี้ไดระบุถึงระบบการใหใบอนุญาตขับรถ กอใหเกิดสภาพการเดินทางขามพรมแดน แบบเปนลําดับขั้นสําหรับผูขับขี่หนาใหม เขา-ออก ของคนชาติในอาเซียนและคนตางชาติ (กิจกรรมที่ 8) ขอพิจารณาที่สําคัญประการหนึ่ง นอกภูมิภาค โดยมีจํานวนไมนอยที่เขามาขับขี่ สําหรับผูขับขี่ คือ ตองมีความรับผิดชอบรวมกัน รถยนตใชถนนในประเทศไทยมากยิ่งขึ้นดวย ที่จะตองปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑที่ ในทางกฎหมาย พระราชบัญญัติรถยนต เกี่ยวของ (Department of Disaster Prevention พ.ศ. 2522 หมวด 3 วาดวยใบอนุญาตขับรถ and Mitigation, 2010) มาตรา 42 และ มาตรา 42 ทวิ บัญญัติรับรองไววา นอกจากนี้ในรายงานความปลอดภัย ใหคนตางดาวซึ่งไดรับอนุญาตใหอยูใน ทางถนนของโลก พ.ศ. 2558 ซึ่งสํารวจจาก ราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวตามกฎหมายวา ประมาณ 180 ประเทศพบวาอุบัติเหตุทางถนน ดวยคนเขาเมืองอาจใชใบอนุญาตขับรถที่ออก ในประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตเปนอันดับ 2 ตามความตกลงวาดวยการยอมรับใบอนุญาต ของโลก หรือ 36.2 คน ตอจํานวนประชากร ขับรถยนตในประเทศที่ออกโดยประเทศอาเซียน หนึ่งแสนคนซึ่งเปนอันดับ 1 เมื่อเปรียบเทียบ ค.ศ. 1985 (Agreement on the Recognition of 262 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Domestic Driving Licenses issued by ASEAN อนุญาตขับรถ ซึ่งเปนระบบการขอและออกใบ countries) มาใชขับรถในราชอาณาจักรได อนุญาตขับรถประเภท ระบบอนุญาตใหใชสิทธิ ตามประเภทและชนิดของรถที่ระบุไวในใบอนุญาต (graduated licensing system) ซึ่งเนนการ ขับรถนั้น และคนชาติอาเซียนสามารถนําใบอนุญาต พัฒนาและทดสอบสมรรถนะผูประสงคจะขอใบ ขับรถที่ออกโดยประเทศอื่นในกลุมประเทศอาเซียน อนุญาตขับรถภายใตขั้นตอนหลายลําดับขั้น มาใชไดในประเทศไทย ขณะที่คนตางชาติก็มี เพื่อความปลอดภัย โดยเฉพาะผูขับขี่หนาใหม ตั้งแต สิทธิยื่นขอใบอนุญาตขับรถของประเทศไทยได ขั้นตอนทดสอบภาคทฤษฎีเบื้องตน ขอจํากัด ตลอดจนสามารถนําใบอนุญาตขับรถหรือใบ การใชใบอนุญาตขับรถชั่วคราว ทดสอบภาคทฤษฎี อนุญาตขับรถสมารทการดของประเทศไทยไปใช ขั้นสุดทาย และการทดสอบภาคปฏิบัติในการ ไดทันทีในประเทศอื่นในกลุมอาเซียน ขับรถในถนนหลวงจริง ในขณะที่ประเทศไทย สิ่งที่นาพิจารณา คือ แมจะใหสิทธิตาม และประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคอาเซียนกําหนด กฎหมายในการใชและการยื่นขอใบอนุญาตขับรถ คุณสมบัติของผูขอใบอนุญาตขับรถมีระบบและ สําหรับคนชาติของประเทศอื่นในกลุมอาเซียนได หลักเกณฑที่แตกตางออกไป ก็ตาม โดยทั่วไปในแตละประเทศอาเซียน ดังนั้น จึงเปนสิ่งทาทายที่วาภายใต มีความแตกตางในหลายสวน เชน สถาปตยการ ระบบและหลักเกณฑการขอและออกใบอนุญาต จราจรที่แตกตางกัน รถยนตที่ขับดวยพวงมาลัย ขับรถยนตสวนบุคคล รวมถึงเกณฑคุณสมบัติ ดานซายบาง ดานขวาบาง ภาษาในปายบอกทาง ของผูขอใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล และสถานที่ การบังคับใชกฎหมายเพื่อการใชรถ (โดยเฉพาะผูขับขี่หนาใหม) ที่ใชอยูในปจจุบัน ใชถนนไดอยางปลอดภัยในทางสัญจรรถยนต ของประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ในกลุม ฯลฯ โดยเฉพาะมีขอกังวลเกี่ยวกับความแตกตางกัน ประเทศอาเซียน (ยกเวนประเทศสิงคโปร) และมาตรฐานของระบบและหลักเกณฑในการ จะสามารถลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ การเพิ่ม ขอและออกใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล ความปลอดภัยทางถนนไดเพียงใดหากวา ของแตละประเทศในกลุมประเทศอาเซียน คนชาติในอาเซียนเขามาใชรถใชถนนใน คุณสมบัติของผูขอรับในอนุญาตขับรถยนต ประเทศไทย สวนบุคคล และทักษะความสามารถในการขับขี่ ของผูขับขี่รถยนตสวนบุคคลหนาใหม เปนผูขับขี่ วัตถุประสงคของการวิจัย ที่ขาดประสบการณ ระบบและหลักเกณฑดาน 1. เพื่อศึกษาวิเคราะหหลักการ ใบอนุญาตขับรถที่มีคุณภาพของหลายประเทศ ยุทธศาสตรและแนวทางในการดําเนินงานของ ที่เจริญและมีความปลอดภัยทางถนนในระดับ องคการสหประชาชาติและของตางประเทศ สูงครอบคลุมทั้งกอนการออกใบอนุญาตขับรถ ที่เกี่ยวของกับการเพิ่มความปลอดภัยทางถนน ขณะที่สอบใบอนุญาตขับรถ และหลังออกใบ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 263 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2. เพื่อศึกษาวิเคราะหกฎหมาย แผน ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล ทั้งนี้ ยังมี และระบบที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติของผูขอ การวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณเชิงลึก ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคลของประเทศไทย ใชแบบสัมภาษณคําถามปลายเปดเชิงลึก และประเทศตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งในและนอก เกี่ยวกับนโยบายและกฎหมายตาง ๆ เกี่ยวกับ อาเซียน คุณสมบัติของผูขอใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางในเชิงนโยบาย โดยทําการสัมภาษณคณะผูเชี่ยวชาญและบุคคล และกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการเกี่ยวกับ ที่เกี่ยวของ จํานวน 10 คน โดยวิธีเจาะจง ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคลเพื่อเพิ่ม ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง ความปลอดภัยทางถนนตามมาตรฐานสากล ที่วิจัย ไดแก ประชาชนที่ขอใบอนุญาตขับรถ หนาใหมในแตละภูมิภาค จําแนกตามรูปแบบ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย การจัดตั้งตามกฎหมายและภาค รวม 4 ภาค 1. ทราบถึงมาตรการดานความ จํานวน 400 คน เพื่อสอบถามถึงความคิดเห็น ปลอดภัยทางถนนในระดับสากลที่เกี่ยวของ เกี่ยวกับนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวของกับ กับแนวทางการกําหนดมาตรการทางกฎหมาย คุณสมบัติของผูขอใบอนุญาตขับรถยนต ดานคุณสมบัติของผูขอใบอนุญาตขับรถยนต สวนบุคคลของประเทศไทย อันเปนการยืนยันผล สวนบุคล ระบบและหลักเกณฑการออกใบอนุญาต ที่ไดจากการวิจัยเชิงคุณภาพ ขับรถยนตสวนบุคคล สําหรับผูขับขี่หนาใหมที่มี ขอบเขตดานระยะเวลา ใชระยะเวลา ประสิทธิผล ในแตละประเทศที่เกี่ยวของ ในการวิจัยทั้งหมด 12 เดือน 2. เปนขอมูลที่เปนประโยชนตอการ แกไขปรับปรุงมาตรการทางกฎหมาย และ สมมติฐานการวิจัย กําหนดวิธีดําเนินการดานคุณสมบัติของผูขอ ในทางกฎหมายประเทศไทยและ ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคล ระบบและ ประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคอาเซียน (ยกเวนประเทศ หลักเกณฑการออกใบอนุญาตขับรถยนต สิงคโปร) ยังคงมีการกําหนดคุณสมบัติของผูขอ สวนบุคคล สําหรับผูขับขี่หนาใหมที่มีประสิทธิผล ใบอนุญาตขับรถ ระบบและหลักเกณฑที่มุงเนน มากยิ่งขึ้นเพื่อเพิ่มความปลอดภัยทางถนน พัฒนาและทดสอบสมรรถนะตอผูประสงคจะขอ ใบอนุญาตขับรถหรือผูขับขี่หนาใหมที่ไมอาจ ขอบเขตของการวิจัย เอื้อตอการเพิ่มความปลอดภัยทางถนนไดอยาง ขอบเขตดานเนื้อหา มุงเนนการศึกษา มีประสิทธิผลเทาที่ควร และยังคงดอยกวา เอกสารตาง ๆ เกี่ยวกับนโยบายและกฎหมาย ประเทศที่ใชระบบการใหใบอนุญาตขับรถ ที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติของผูขอใบอนุญาต เปนลําดับขั้น แมวาในทางนโยบายพยายามให ขับรถยนตสวนบุคคล ระบบและหลักเกณฑการขอ ผูใชรถใชถนนไดอยางปลอดภัยก็ตาม 264 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ระเบียบวิธีวิจัย เปนประชาชนที่ขอใบอนุญาตขับรถหนาใหม การวิจัยในครั้งนี้เปนการศึกษาเรื่อง ในแตละภูมิภาค จําแนกตามรูปแบบการจัดตั้ง มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติการ ตามกฎหมายที่มีการกําหนดเปนภาค รวม 4 ภาค ขอใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคลเพื่อรองรับ ในภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมี และภาคใต รวมจํานวน 400 คน โดยขนาด ระเบียบวิธีวิจัยดังนี้ ของกลุมตัวอยางคํานวณอิงหลักของ Yamane’ 1. การวิจัยเชิงเอกสาร จากหลักการ โดยใชความคลาดเคลื่อนการกําหนดตัวอยาง วิศวกรรมการจราจร ระบบที่เอื้อตอความปลอดภัย ที่ระดับ รอยละ 5 คาความนาเชื่อมั่นที่ รอยละ 95 วัฒนธรรมจราจรที่ปลอดภัย แนวคิด ทฤษฎี ในแตละภาค ตามขนาดของกลุมตัวอยางตาม เกี่ยวกับกฎหมายจราจร แนวความคิดเกี่ยวกับ ภูมิภาค โดยสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก ใบอนุญาตขับรถ คุณสมบัติของผูขอใบอนุญาต คารอยละ จากนั้นดําเนินการสุมแบบสัดสวน ขับรถ ลักษณะตองหามตามกฎหมาย การอบรม เพื่อใหไดจํานวนกลุมตัวอยาง โดยมีรายละเอียด และการทดสอบระบบใบอนุญาตขับรถ และ ดังตอไปนี้ ระบบและหลักเกณฑใบอนุญาตขับรถของ จํานวนประชากรแยกตามภาค ประเทศในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อ ภาคกลาง 26,390,000 คน กลุมตัวอยาง วิเคราะหนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวของ จํานวน 163 คน กับคุณสมบัติของผูขอใบอนุญาตขับรถยนต ภาคเหนือ 11,275,000 คน กลุมตัวอยาง สวนบุคคล เพื่อเสนอแนะในเชิงนโยบายและ จํานวน 69 คน กฎหมายดานความปลอดภัยทางถนนในระดับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18,614,000 คน สากลอยางมีประสิทธิผล กลุมตัวอยาง จํานวน 114 คน 2. การวิจัยจากการสัมภาษณเชิงลึก ภาคใต 8,825,000 คน กลุมตัวอยาง จากคณะผูเชี่ยวชาญและบุคคลที่เกี่ยวของ จํานวน 54 คน รวมจํานวน 10 ทาน โดยเกณฑในการคัดเลือก การวิจัยจากการสุมกลุมตัวอยางใชการสุมแบบ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย เจาะจง ตามเกณฑคุณสมบัติของผูเชี่ยวชาญ สรุปผลการวิจัย ประเภทตาง ๆ ซึ่งนักวิจัยเปนผูเก็บขอมูลผูถูก องคการสหประชาชาติไดกําหนดให สัมภาษณ ซึ่งใชแบบสัมภาษณคําถามปลายเปด มีแผนปฏิบัติการทศวรรษแหงความปลอดภัย เชิงลึกเกี่ยวกับคุณสมบัติการขอใบอนุญาต ทางถนน พ.ศ. 2554-2563 (Global Plan of ขับรถยนตสวนบุคคลล Action A Decade of Action for Road Safety 3. การวิจัยจากแบบสอบถาม ประชากร 2011-2020) จากการเสนอขององคการอนามัยโลก และกลุมตัวอยาง โดยประชากรที่ศึกษา (World Health Organization) โดยมี Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 265 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เปาหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทาง ประสบการณและดําเนินการกับผูขับขี่ไดอยาง ถนนลงไมเกิน 10 คนตอประชากรหนึ่งแสนคน กาวหนา รวมถึงปองกันพฤติกรรมขับรถที่ไม ในป 2563 เพื่อใหทุกภาคสวนมีทิศทาง การ ปลอดภัยแตเนิ่น ๆ จากการใชวิธีการจํากัดการ ดําเนินงาน และการแกไขปญหาอุบัติเหตุทางถนน ขับรถและการกําหนดชวงเวลาเรียนรูและฝกฝน ประสบผลสําเร็จเปนรูปธรรมชัดเจน (Department ในแตละขั้นเพื่อเพิ่มพูนประสบการณขับขี่บน of Disaster Prevention and Mitigation, 2010) สนามฝกหัดและทองถนนจริงโดยมีผูสอน/ผูขับขี่ โดยพิจารณาหลักการวิศวกรรมการจราจรและ ที่ไดรับใบอนุญาตควบคุมดูแลกอนไดรับใบอนุญาต 5 เสาหลักในแผนปฏิบัติการทศวรรษแหงความ ขับรถ กอใหเกิดประโยชนดานความปลอดภัย ปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2554-2563 ขององคการ ทางถนน โดยสามารถลดอุบัติเหตุและความ สหประชาชาติระบุอยางชัดเจนวาครอบคลุมถึง สูญเสียทางถนนไดอยางมากในหลาย ๆ ประเทศ 4 ปจจัยหลัก ดานการจราจรและความปลอดภัย อาทิ มาเลเซีย และการใชระบบคะแนนพัฒนา ทางถนน คือ ผูขับขี่ ยานพาหนะ ถนน และ ผูขับรถ หรือ Driver Improvement Points สิ่งแวดลอม คณะผูวิจัยมุงเนนไปที่ปจจัยผูขับขี่ System (DIPS) ซึ่งเปนกฎเกณฑและการบังคับใช โดยเฉพาะอยางยิ่งผูขับรถยนตสวนบุคคล ซึ่งเปน ดานคุณสมบัติอยางจริงจัง และควบคุมพฤติกรรม หนึ่งในผูใชรถใชถนน (road users) ตามที่ระบุไว ของผูขับรถอยางเขมงวดในประเทศสิงคโปร ในแผนปฏิบัติการทศวรรษแหงความปลอดภัย จากการเปรียบเทียบระบบและเกณฑ ทางถนนขององคการสหประชาชาติซึ่งมีเปาหมาย คุณสมบัติของการขอใบอนุญาตขับรถยนต ในเสาหลักที่ 4 ใหผูใชรถใชถนนอยางปลอดภัย สวนบุคคลของ 6 ประเทศในกลุมประเทศสมาชิก (safer road users) ซึ่งหลักการ ยุทธศาสตร และ อาเซียน พบวามีระบบใบอนุญาตขับรถทั้งสาม แนวทางระดับสากลมีความชัดเจนและตอเนื่อง ระบบ คือ ระบบทั่วไปซึ่งมีใบอนุญาตขับรถชนิดเดียว สามารถนําเอามาใชเพื่อตอการเพื่อเพิ่มความ ระบบมีใบอนุญาตขับรถชั่วคราวซึ่งมีใบอนุญาต ปลอดภัยทางถนนในระดับภายในประเทศได ขับรถประเภทชั่วคราวและระบบลําดับขั้นซึ่งมี แตก็ตองอาศัยการรับมาปฏิบัติใหเกิดผลเปน ใบอนุญาตฝกหัดขับ โดยมีขอสังเกตวาถึงแม รูปธรรมเพื่อใหเกิดระบบที่เอื้อตอความปลอดภัย บางประเทศใชระบบทั่วไปแตก็มีใบอนุญาต (safe system approach) และวัฒนธรรมจราจร ฝกหัดขับดวย ในสวนของคุณสมบัติของผูยื่น ที่ปลอดภัย (safety culture) ภายในของแตละ คําขอฯ สวนใหญแลวไมคอยมีความแตกตางกัน ประเทศ โดยปรับใหเขากับสภาพแวดลอม และ มากนักเกี่ยวกับเกณฑอายุ เกณฑเฉพาะสําหรับ ปจจัยตาง ๆ ผูถือใบอนุญาตขับรถตางชาติ การทดสอบ จากที่ไดพิสูจนแลววาระบบใบอนุญาต ความพรอมทางรางกายและจิตใจ การอบรม ขับรถแบบเปนลําดับขั้นนั้นมีประสิทธิผล เพราะ การทดสอบทางทฤษฎี เปนกระบวนการการออกใบอนุญาตขับรถที่สราง 266 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ทั้งนี้ ประเทศไทยมีระบบและหลักเกณฑ ผูขอรับใบอนุญาตใหเหมาะสม ปรับปรุงวิธีการ ทางกฎหมายที่คอนขางดอยกวาประเทศอื่น อบรมทดสอบ ใหสามารถคัดกรองบุคคลเพื่อขับรถ ที่ใชระบบการใหใบอนุญาตขับรถเปนลําดับขั้น บนถนนไดจริง ปรับปรุงเกี่ยวกับใบรับรองแพทย แตในบางประเทศมีการปฏิบัติที่ดี (good เพื่อแสดงความพรอมทางรางกายและจิตใจ practice) และมีเปาหมายการดําเนินงานดาน เนื่องจากมีหลายโรคที่เปนอุปสรรคโดยตรง ความปลอดภัยทางถนนที่นาสนใจอยางประเทศ ตอการขับขี่ เชน โรคลมชัก โรคหลอดเลือดสมอง มาเลเซียซึ่งใชระบบใบอนุญาตลําดับขั้น โรคหัวใจ อาการงวงผลขางเคียงจากการรักษา (graduated licensing system) ซึ่งกําหนดให ดวยยาบางประเภท เปนสาเหตุใหเกิดอุบัติเหตุ ใบอนุญาตฝกหัดขับมีอายุ 2 ป ใบอนุญาตขับรถ ทางถนนมากมายหลายครั้ง การนําระบบตัดแตม ชั่วคราวมีอายุ 2 ป การอบรมภาคทฤษฎี 6 ชั่วโมง หรือเพิ่มแตมผูขับขี่เมื่อกระทําความผิดกลับมาใช มีระบบและยุทธศาสตรที่มุงหมายใหมีการ เต็มรูปแบบ ควบคุมความเสี่ยงภัย รวมถึงประเทศสิงคโปร ภาครัฐอาจพิจารณาปรับปรุงเขาสูวิธี ที่มีกฎเกณฑและการบังคับใชดานคุณสมบัติ การอบรมหรือสอนแบบ coaching ที่ใชกันอยู อยางจริงจัง และควบคุมพฤติกรรมของผูขับรถ ในหลายประเทศของทวีปยุโรป เทคนิควิธีการนี้ อยางเขมงวด ใชการสื่อสารโดยการถามคําถาม ไมใชการบอก อยางไรก็ตาม แผนปฏิบัติการระดับชาติ หรือบรรยายเนื้อหา กระตุนใหเกิดความนึกคิด ดานความปลอดภัยทางถนน และแผนปฏิบัติ ความลวงรูและความเขาใจในสิ่งตาง ๆ ดวยตัวเอง การของกรมการขนสงทางบกพยายามพัฒนา ทําใหผูรับการสอนมีบทบาทเปนผูสรางอยาง ปรับปรุงเกี่ยวกับมาตรการในการทําใบอนุญาต กระตือรือรน ไมใชมีบทบาทเปนผูรับเนื้อหา ขับรถ เชน การอบรม การทดสอบสมรรถภาพ ที่สอนแตฝายเดียว โดยทั่วไปจะใชระยะเวลา ทางรางกาย เมื่อยื่นขอครั้งแรกและตออายุ นานกวาการบอกหรือบรรยายเนื้อหา ทําใหผูรับ เกณฑทดสอบความรูทางทฤษฏี ใบรับรองแพทย การสอนกระตือรือรน มีสวนรวมอยางจริงจัง และอื่น ๆ เพื่อทําใหแนใจไดวาผูขับรถยนต ในกระบวนการเรียนรูไดดีกวา มีโอกาสเขาถึง สวนบุคคลมีคุณสมบัติเหมาะสมมากยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่ม เนื้อหาและนําไปปฏิบัติไดมากกวา ซึ่งมุงเนน สมรรถนะใหผูขับรถสามารถขับรถในทาง ใหเกิดความลวงรูและดวยความสํานึกรับผิดชอบ บนทองถนนไดอยางปลอดภัยมากขึ้นดังไดกลาว ดวยตัวเองมิใชเพียงเฉพาะมีความรูเกี่ยวกับ ขางตน แตยังตองปรับปรุงเชิงโครงสรางและ กฎจราจรและขอปฏิบัติในการขับรถที่ดี จากขอ ระบบใบอนุญาตขับรถใหหนึ่งคนมีเพียง 1 ใบ สังเกตที่วาเมื่อเขาเรียนในโรงเรียนสอนขับรถ อนุญาตขับรถ โดยการยุบรวมใบอนุญาตขับรถ ก็จะเรียนเกี่ยวกับกฎจราจร การใชเข็มขัดนิรภัย จากระบบกฎหมายเดิมที่กําหนดใหมีหลายใบ การจํากัดความเร็ว การจํากัดปริมาณแอลกอฮอล การกําหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามของ ฯลฯ แตหลังจากผานการทดสอบและขับรถ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 267 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ในชีวิตจริงแลว ในทางปฏิบัติมักจะไมคอยนํามาใช วิศวกรรมการจราจรและ 5 เสาหลักในแผน ขับรถตามใจตนเอง สรางกฎของตนเองในลักษณะ ปฏิบัติการทศวรรษแหงความปลอดภัยทางถนน เขาขางตัวเองเพราะเชื่อกันวาสามารถขับรถได พ.ศ. 2554-2563 ขององคการสหประชาชาติ ปลอดภัย อยางไรก็ตามเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558 ระบุอยางชัดเจนวาครอบคลุมถึง 4 ปจจัยหลัก ประเทศไทยไดใหการรับรองรางปฏิญญาอาเซียน คณะผูวิจัยมุงเนนไปที่ปจจัยผูขับขี่ โดยเฉพาะ วาดวยแผนยุทธศาสตรดานความปลอดภัย อยางยิ่งผูขับรถยนตสวนบุคคล ซึ่งเปนหนึ่งใน ทางถนน จึงมีขอเสนอใหมุงเนนแนวทางเชิงกลยุทธ ผูใชรถใชถนน (road users) ตามที่ระบุไวในแผน ที่สําคัญในการทําใหมาตรฐาน กฎเกณฑ และ ปฏิบัติการทศวรรษแหงความปลอดภัยทางถนน กฎหมายเพื่อความปลอดภัยทางถนนใหเปน ขององคการสหประชาชาติซึ่งมีเปาหมายใน อันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งชวยเสริมสรางความ เสาหลักที่ 4 ใหผูใชรถใชถนนอยางปลอดภัย สามารถ และพัฒนาความรูโดยวิธีการวิจัยและ (safer road users) จากการศึกษาพบวา สภาพ การประเมิน รวมถึงมีการติดตามตรวจสอบ ปญหาหรือสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุสวนใหญ และการรายงานความคืบหนา เกือบทุกประเทศ (รวมถึงประเทศไทยดวย) มาจาก อภิปรายผลการวิจัย ผูขับขี่สวนใหญที่มีพฤติกรรมการขับขี่ที่ประมาท นําประเด็นที่สําคัญจากผลการวิจัย ไมเหมาะสม ไมเคารพกฎจราจร ซึ่งแสดงใหเห็น เชิงปริมาณมาอภิปรายผลมาตรการทางกฎหมาย วาไมตระหนักถึงความปลอดภัยของผูใชรถใชถนน เกี่ยวกับคุณสมบัติการขอใบอนุญาตขับรถยนต ดวยกันหรืออีกนัยหนึ่งคือ ขาดจิตสํานึกในความ สวนบุคคลเพื่อรองรับการเขาสูประชาคม ปลอดภัยตอตนเองและสังคมซึ่งสอดคลองกับที่ เศรษฐกิจอาเซียน ดังนี้ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญคิดวาสาเหตุสําคัญ องคการสหประชาชาติไดกําหนดให ที่สุดของอุบัติเหตุที่เกิดจากผูขับขี่คือ ผูขับขี่ขับรถ มีแผนปฏิบัติการทศวรรษแหงความปลอดภัย ดวยความประมาท จํานวน 254 คน คิดเปน ทางถนน พ.ศ. 2554-2563 (Global Plan of รอยละ 63.50 ซึ่งสอดคลองกับสถิติและขอ Action A Decade of Action for Road Safety คนพบในหลายงานศึกษาวิจัยของ Ogden (1990) 2011-2020) จากการเสนอขององคการอนามัยโลก ที่สะทอนใหเห็นวา อุบัติเหตุทางถนนสวนใหญ (World Health Organization) โดยมีเปาหมาย เกิดขึ้นมาจากพฤติกรรมของมนุษยหรือผูขับขี่ ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลง นั่นเอง ผูขับขี่จึงตองรับผิดชอบตอความปลอดภัย ในป 2563 เพื่อใหทุกภาคสวนมีทิศทาง การ ในการขับรถภายใตระบบการจราจรขนสงทางถนน ดําเนินงานและการแกไขปญหาอุบัติเหตุ อันสอดคลองกับการสัมภาษณในประเด็นแรก ทางถนนประสบผลสําเร็จเปนรูปธรรมชัดเจน วาการเกิดอุบัติเหตุทางถนนสวนใหญที่มาจาก (Department of Disaster Prevention and ตัวผูขับขี่เอง และสอดคลองกับ แนวคิดของ Mitigation, 2010) โดยพิจารณาหลักการ สาโรจน คุมทรัพย (Khunsup, 1996) วาการ 268 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

กระทําความผิดตามกฎหมายจราจรมีลักษณะ เชนเดียวกัน รองลงมาคือ อายุ 20 ป จํานวน 115 คน ของความผิดที่เปนการกระทําโดยประมาท คือ คิดเปนรอยละ 28.75 อันดับสามคือ อายุ 17 ป กระทําโดยไมไดใชความระมัดระวัง ซึ่งบุคคล จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 20.75 ซึ่งสอดคลอง ในฐานะหรือภาวะวิสัยเชนนั้นสามารถใชความ กับ กรมการขนสงทางบก (Department of Land ระมัดระวัง แตไมไดใชอยางเพียงพอและสมควร Transport, 2014) คุณสมบัติของผูยื่นขอใบอนุญาต ความคิดเห็นของประชาชนที่ขอใบอนุญาตขับรถ ขับรถตามกฎหมายขนสงทางถนนป 1987 (The หนาใหมนั้น ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญคิดวา Road Transport Act, 1987) ซึ่งไดบัญญัติตองมี เกณฑอายุขั้นตํ่าของผูขอทําใบอนุญาตขับรถยนต อายุขั้นตํ่า 17 ป และสอดคลองกับ Indonesian สวนบุคคลควรอยูที่อายุ 18 ป จํานวน 168 คน National Police (2016) คุณสมบัติของผูยื่นขอ คิดเปนรอยละ 42.00 ซึ่งสอดคลองกับกระทรวง ใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายฉบับที่ 22 วาดวย คมนาคม (Ministry of Transport, 2557) การจราจรและขนสงทางถนนป 2009 (The law คุณสมบัติของผูยื่นขอใบอนุญาตขับรถตาม regarding Traffic and Road Transportation) กฎหมายจราจรทางบกป 1985 (Road Traffic ซึ่งไดบัญญัติตองมีอายุขั้นตํ่า 17 ปเชนเดียวกัน (Motor Vehicles Driving Licenses) (Rules,1985) และอายุ 15 ป จํานวน 34 คน คิดเปนรอยละ 8.50 ซึ่งไดบัญญัติอายุขั้นตํ่า 18 ปและสอดคลองกับ ซึ่งสอดคลองกับ AAA Foundation for Traffic กรมการขนสงทางบก (Land Transportation Safety (2012) ไดกลาววาในหลายมลรัฐของ Office, 2016) คุณสมบัติของผูยื่นขอใบอนุญาต ประเทศสหรัฐอเมริกาผูขอรับใบอนุญาตฝกหัด ขับรถตามประมวลกฎหมายขนสงทางบกและ ขับรถยนตจะตองมีอายุไมตํ่ากวาเกณฑ (15-16 จราจร ป 1964 (the Land Transportation and ป) พรอมกับมีพอแมหรือผูปกครองลงนามอนุ Traffic Code, 1964) หรือ the Republic Act (RA) 4136 ญาต โดยในการฝกหัดขับจะตองแสดงปายผู และ Administrative Orders ป 2015 ของประเทศ ขับขี่ฝกหัดขับ ฟลิปปนสซึ่งไดบัญญัติตองมีอายุขั้นตํ่า 18 ป

ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเด็น ไทย สิงคโปร ฟลิปปนส อินโดนีเซีย เมียนมาร มาเลเซีย คุณสมบัติของ 18 ป 18 ป 18 ป 17 ป สําหรับรถยนต 16 ป ใบอนุญาต 17 ป ผูยื่นขอฯ เกณฑอายุ (17 ป ใบอนุญาต ประเภท A ผูฝกหัด ฝกหัดขับ) 20 ป สําหรับรถยนต 18 ป ใบอนุญาต ประเภท B ขับรถ B Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 269 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ในสวนเรื่องระยะเวลาในการอบรม การอบรม และควรตองกําหนดมาตรการประเมิน ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญคิดวาควรกําหนด คุณสมบัติดานความรู ความสามารถ พฤติกรรม ระยะเวลาในการอบรมใหความรูแกผูขับขี่จํานวน การขับขี่ และความพรอมทางดานรางกาย และ 4 ชั่วโมง มีจํานวน 217 คน คิดเปนรอยละ 54.25 จิตใจในการขับขี่ เมื่อขอตออายุใบอนุญาต ซึ่งไมสอดคลองกับ กรมการขนสงทางบก ขับรถยนตสวนบุคคล และสิ่งสําคัญของความ (Department of Land Transport, 2014) คิดเห็นสวนใหญ คือ ความพรอมทางดาน ไดกําหนดกระบวนการใบอนุญาตขับรถ มีระบบ รางกาย และจิตใจ ควรมีการตรวจสมรรถภาพ การขอและออกใบอนุญาตขับรถแบบลําดับขั้น อยางสมํ่าเสมอเนื่องจากรางกายและจิตใจมีการ Graduated Driving Licensing System ตาม เปลี่ยนแปลงที่เปลี่ยนแปลงไปตามอายุและการ กฎหมายขนสงทางถนนป 1987 (the Road เจ็บปวย รองลงมาคือพฤติกรรมการขับขี่ ตองมี Transport Act, 1987) ใหผูยื่นขอฯ ตองเขารับ การอบรมกอนเพื่อทดสอบทักษะการขับขี่ และ การอบรมภาคทฤษฏีจํานวน 6 ชั่วโมงเกี่ยวกับ เปนการทบทวนความรูดานการจราจร จิตสํานึก ทฤษฎีการขับรถเพื่อความปลอดภัย (KPP01) ความปลอดภัย รวมถึงการสอบภาคทฤษฎี ในโรงเรียนสอนขับรถแลวจึงเขาสอบภาคทฤษฎี ควรเพิ่มขอเขียน และรอยละการสอบผานใหสูง เกี่ยวกับกฎหมายจราจรทางถนนและการขับขี่ กวาเดิม รวมถึงเพิ่มเติมเนื้อหาในสวนของวิธีการ ปลอดภัยหรือ Part 1 สําหรับผูที่สามารถสอบผาน ขับขี่อยางไรใหปลอดภัย หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ภาคทฤษฎีนี้ไมตองเขารับการอบรมภาคทฤษฎี การปฐมพยาบาลเบื้องตนตองทําอยางไร อยากใหมี (เริ่มใชมาตั้งแตกันยายน 2557) เมื่อสอบผาน การขออนุญาตฝกหัดขับในชวงระยะเวลาหนึ่ง ภาคทฤษฎีจะไดรับใบอนุญาตฝกหัดขับ และ เพื่อเปนการฝกฝนการขับรถใหมีความชํานาญ ไมสอดคลองกับผลการวิจัยจากการสัมภาษณ กอนออกใบอนุญาตขับขี่จริง แตทั้งนี้ปจจุบัน คณะผูเชี่ยวชาญที่เห็นวา ควรมีการเพิ่มชั่วโมง กรมการขนสงทางบกกําลังดําเนินการอยู

ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเด็น ไทย สิงคโปร ฟลิปปนส อินโดนีเซีย เมียนมาร มาเลเซีย การอบรม อบรมหลักสูตร ศึกษาดวยตนเอง 6 ชั่วโมง ศึกษาดวยตนเอง ทางทฤษฎี ของกรมการขนสง หรือโรงเรียนสอนขับรถ กับโรงเรียน หรือโรงเรียนสอนขับรถไดรับอนุญาต ทางบก 5 ชั่วโมง ไดรับอนุญาต สอนขับรถ หรือครูสอน ครูสอนภาคเอกชนไดรับอนุญาต ครูสอนภาคเอกชน ภาคเอกชน ไดรับอนุญาต 270 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ทั้งนี้ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญคิดวา ถึง 1 ป และสอดคลองกับ กรมการขนสงทางบก ระยะเวลาการถือใบอนุญาตขับรถชั่วคราวควร (Department of Land Transport, 2014) มีระยะเวลาเปนจํานวน 4 ป มีจํานวน 118 คน ประเทศเมียนมารไดกําหนดใหมีการขอใบอนุญาต คิดเปนรอยละ 29.50 ซึ่งไมสอดคลองกับ กรมการ ผูฝกหัดขับรถ โดยตองมีผูฝกสอนนั่งไปดวย ขนสงทางบก (Department of Land Transport, ขณะขับรถตามกฎหมายและกฎเกณฑที่เกี่ยวของ 2014) ตามกฎหมายจราจรทางบกป 1985 (Road อันสอดคลองกับ กรมการขนสงทางบก Traffic Motor Vehicles Driving Licenses) (Department of Land Transport, 2014) (Rules, 1985) และฉบับแกไขเพิ่มเติมถึงป 2015 คุณสมบัติของผูยื่นขอใบอนุญาตขับรถตาม ไดกําหนดใหใบอนุญาตขับรถชั่วคราว (Provisional กฎหมายขนสงทางถนนป 1987 (The Road Driving License) จะมีอายุ 6 เดือนและสามารถ Transport Act, 1987) ซึ่งไดกําหนดใหใบอนุญาต ตออายุไดจากหนวยงานตํารวจจราจร รองลงมา ฝกหัดขับ (Learner Driving License/LDL) คือ อื่น ๆ จํานวน 108 คน คิดเปนรอยละ 27.00 มีอายุ 2 ป ออกใหแกผูยื่นขอฯ ที่เขารับการอบรม จํานวน 1 ป และ 2 ป มีจํานวน 77 คน คิดเปน ภาคทฤษฏี ผานการสอบภาคทฤษฎีแลว อาจตอ รอยละ 19.25 ซึ่งสอดคลองกับ กรมการขนสง อายุใบอนุญาตขับขี่นี้ไดทุก 3 หรือ 6 เดือนจนถึง ทางบก (Department of Land Transport, สูงสุดที่ 2 ป สําหรับไปฝกหัดขับรถในภาคปฏิบัติ 2014) คุณสมบัติของผูยื่นขอใบอนุญาตขับรถ ตอไป หากหลังจากครบ 2 ปแลว ผูถือใบอนุญาต ตามกฎหมายขนสงทางถนนป 1987 (The Road ขับขี่อาจจําเปนตองเริ่มบทเรียนขับรถใหม Transport Act, 1987) ซึ่งไดกําหนดใหใบอนุญาต ทั้งกระบวนการเพื่อใหไดรับใบอนุญาตขับขี่ ขับรถชั่วคราว (Probationary Driving License/ ผูหัดขับรถ และสอดคลองกับ กรมการขนสง PDL) มีอายุประมาณ 2 ป ออกใหสําหรับผูที่ผาน ทางบก (Land Transportation Office, 2016) การสอบภาคปฏิบัติแลว คุณสมบัติของผูยื่นขอใบอนุญาตขับรถตาม สวนการกําหนดใหมีใบอนุญาตฝกหัดขับ ประมวลกฎหมายขนสงทางบกและจราจร ป 1964 และฝกหัดขับรถชวงระยะเวลาหนึ่งตามเกณฑ (The Land Transportation and Traffic Code ที่กําหนดกอนไดรับใบอนุญาตขับรถชั่วคราว 1964) หรือ (The Republic Act (RA) 4136 และ สําหรับผูขับขี่หนาใหมนั่น ผูตอบแบบสอบถาม Administrative Orders ป 2015 ของประเทศ สวนใหญเห็นดวย จํานวน 225 คน คิดเปนรอยละ ฟลิปปนสซึ่งไดกําหนดใหใบอนุญาตฝกหัดขับ 56.25 ซึ่งสอดคลองกับ AAA Foundation for (student permit) ตองไดรับความยินยอมเปน Traffic Safety (2012) โดยจะตองบันทึกชั่วโมง ลายลักษณอักษรจากบิดามารดาหรือผูปกครอง ที่ทําการฝกหัดขับลงในสมุดบันทึกใหครบและ ซึ่งผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเห็นดวยกับการ มีประสบการณการขับรถตามหลักเกณฑ (เชน กําหนดใหมีประกันภัยสําหรับผูฝกหัดขับ จํานวน ไมตํ่ากวา 30 ชั่วโมง) เปนระยะเวลา 6 เดือน 247 คน คิดเปนรอยละ 61.75 ซึ่งสอดคลองกับ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 271 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Ecitizen (2016) และ Hawksford (2009) (Motor Vehicles Driving Licenses) (Rules, กลาววา ในประเทศสิงคโปร ผูฝกหัดขับควรตอง 1985) และฉบับแกไขเพิ่มเติมถึงป 2015 ทําประกันความเสียหายดวย ไดกําหนดใหมีการควบคุมผูขับขี่ของสิงคโปร อยางไรก็ตาม ผูตอบแบบสอบถาม จะใชระบบคะแนนพัฒนาผูขับรถ หรือ Driver สวนใหญก็เห็นดวยกับการกําหนดใหมีการหัด Improvement Points System (DIPS) นอกจาก ขับขี่บนถนนจริง จํานวน 276 คน คิดเปนรอยละ การปรับและโทษอาญา โดยเมื่อผูถือใบอนุญาต 69.00 ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ OECD and ขับรถทําผิดกฎจราจร ผูถือใบอนุญาตขับรถ International Transport Forum (2008) ไดพบวา จะไดรับคะแนนแลวแตฐานความผิด เมื่อผูขับขี่ ไดมีการพิสูจนแลววาระบบใบอนุญาตขับรถ ไดคะแนนสะสมถึง 24 คะแนนภายในสองป แบบเปนลําดับขั้นนั้นมีประสิทธิผล เพราะวา ใบอนุญาตขับรถจะถูกพักการใชชั่วคราวครั้งแรก เปนกระบวนการการออกใบอนุญาตขับรถที่สราง เปนเวลา 3 เดือน และหลังจากระยะเวลาที่พน ประสบการณและดําเนินการกับผูขับขี่ไดอยาง การถูกพักการใชชั่วคราวนั้นผูขับขี่จะไดรับอนุญาต กาวหนา รวมถึงปองกันพฤติกรรมขับรถที่ไม ใหไดรับคะแนนลบไมเกิน 12 คะแนนภายใน ปลอดภัยแตเนิ่น ๆ ซึ่งระบบใบอนุญาตขับรถ ระยะเวลา 1 ป หากเกินกวานั้นใบขับขี่จะถูกพัก แบบเปนลําดับขั้นอาจใชวิธีการหลาย ๆ อยาง การใชอีกครั้ง ไมวาในกรณีใดก็ตาม การโดนพัก ดวยกัน โดยที่ประเทศสวีเดนไดกําหนดระยะเวลา การใชครั้งที่ 2 เปนระยะเวลา 6 เดือน ครั้งที่ 3 ประมาณ 120 ชั่วโมง เพื่อฝกประสบการณขับขี่ เปนระยะเวลา 1 ป ครั้งที่ 4 เปนระยะเวลา 2 ป บนทองถนนจริงโดยมีผูสอน/ผูขับขี่ที่ไดรับใบ ครั้งที่ 5 ขึ้นไปจะมีระยะเวลาครั้งละ 3 ป อยางไรก็ดี อนุญาตควบคุมดูแลกอใหเกิดประโยชนมาก การโดนพักการใชใบอนุญาตขับรถเกินกวา 1 ป โดยสามารถลดอุบัติเหตุทางถนนเมื่อขับขี่รถ สงผลทําใหใบขับขี่ถูกเพิกถอนใบอนุญาตขับรถ ในภายหลัง และสอดคลองกับผลการวิจัยจาก โดยอัตโนมัติ โดยผูขับขี่ตองไปเริ่มกระบวนการ การสัมภาษณคณะผูเชี่ยวชาญซึ่งผูใหสัมภาษณ เรียนและขอใบอนุญาตขับรถใหม โดยระยะ เห็นวาควรสนับสนุนการฝกขับบนถนนจริง เวลาการพักใชใบอนุญาตขับรถจะยังคงอยู ใหมากกวาเดิม เพื่อเปนการฝกฝนการขับรถ ซึ่งสอดคลองกับ Department of Land Transport ใหมีความชํานาญกอนออกใบอนุญาตขับขี่จริง (2014) ตามกฎหมายขนสงทางถนนป 1987 สวนการใชระบบตัดแตมนั้น ผูตอบ (The Road Transport Act, 1987) ไดกําหนดให แบบสอบถามสวนใหญเห็นดวยกับการใชระบบ เมื่อผูถือใบอนุญาตขับรถทําผิดกฎจราจรจะตอง ตัดแตมตอผูขับขี่ที่ขับรถฝาฝนกฎจราจร จํานวน ถูกดําเนินการตัดแตมตามความผิดนั้น ๆ และ 263 คน คิดเปนรอยละ 65.75 ซึ่งสอดคลองกับ สอดคลองกับผลการวิจัยจากการสัมภาษณ Department of Land Transport (2014) ตาม คณะผูเชี่ยวชาญที่เห็นดวยกับระบบการตัดแตม กฎหมายจราจรทางบกป 1985 (Road Traffic ผูขับขี่รถที่ฝาฝนกฎหมายจราจร แตตองมีระบบ 272 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยง ที่ระบุไวในใบอนุญาตขับรถนั้น และใหความ ไดดีกับหลาย ๆ หนวยงาน และตองมีการบังคับ สําคัญกับการใชใบอนุญาตขับรถระหวางประเทศ กฎหมายอยางเครงครัด หากมีการขับขี่ สมาชิกอาเซียนดวยกันในเรื่องของการอบรม ผิดกฎหมายเปนประจําควรมีการเพิกถอนใบ ใหความรูเกี่ยวกับระบบกฎเกณฑจราจรมากที่สุด อนุญาตตลอดชีวิต ซึ่งจะสงผลดีตอการขับขี่บน จํานวน 271 คน คิดเปนรอยละ 67.75 ซึ่ง ถนนในประเทศไทย สอดคลองกับผลการวิจัยจากการสัมภาษณ โดยที่ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ คณะผูเชี่ยวชาญในการกําหนดมาตรการใหเปน เห็นดวยกับการใหคนไทยสามารถใชใบอนุญาต สากลเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน ขับรถไทยไปใชขับรถไดในประเทศกลุมสมาชิก และควรมีการอบรมชาวตางชาติกอนอนุญาต อาเซียนอื่น ๆ โดยไมตองขอใบขับขี่สากล จํานวน ใหมีการขับขี่รถยนตสวนบุคคลในประเทศไทย 305 คน คิดเปนรอยละ 76.25 ซึ่งสอดคลองกับ เนื่องจากพวงมาลัยและเลนการขับขี่จะแตกตาง กรมการขนสงทางบก (Department of Land จากประเทศอื่น ๆ และใหความรูเกี่ยวกับปาย Transport, 2014) กําหนดวาในอนุญาตขับรถ จราจร สัญลักษณตางใหครบถวนดวย และหาก แบบสมารทการดที่ออกโดยกรมการขนสง คนไทยตองขับขี่รถยนตในตางประเทศกอนจะ ทางบกของประเทศไทยซึ่งมีทั้งภาษาไทยและ ขับขี่ได ตองมีการอบรมจากประเทศอื่น ๆ เชนกัน ภาษาอังกฤษ มีขอมูลและภาพถายของผูขอรับ ทั้งนี้ทั้งนั้นตองเปนประเทศที่ทําสัตยาบันกัน ใบอนุญาตขับรถ มีแถบแมเหล็กเก็บขอมูล เทานั้น เพราะการบังคับใชกฎหมายจะมีความ อิเล็กทรอนิกส มีการบันทึกขอจํากัดในการใช เทาเทียมกัน ใบอนุญาตขับรถ มีภาพอธิบายประเภทของรถ ที่ไดรับอนุญาตตามชนิดของใบอนุญาตขับรถ ขอเสนอแนะ สามารถนําไปใชขับรถยนตในประเทศสมาชิก 1. ควรปรับปรุงเกี่ยวกับมาตรการดาน อาเซียนอื่นได และสอดคลองกับความตกลง การทําใบอนุญาตขับรถ เชน การอบรม การทดสอบ วาดวยการยอมรับใบอนุญาตขับขี่รถยนตใน สมรรถภาพทางรางกาย เมื่อยื่นขอครั้งแรก ประเทศที่ออกโดยประเทศอาเซียน ค.ศ.1985 และตออายุ เกณฑทดสอบความรูทางทฤษฏี (Agreement on the Recognition of Domestic ใบรับรองแพทยและอื่น ๆ Driving Licenses Issued by ASEAN Countries, 2. ควรปรับปรุงเชิงโครงสรางและระบบ 1985) โดยทั้งนี้ 6 ประเทศสมาชิกอาเซียน ใบอนุญาตขับรถใหหนึ่งคนมีเพียง 1 ใบอนุญาต ไดทําความตกลงรวมกันเพื่อยอมรับใบอนุญาต ขับรถ โดยการยุบรวมใบอนุญาตขับรถจากระบบ ขับรถยนตภายในประเทศที่ออกโดยประเทศ กฎหมายเดิมที่กําหนดใหมีหลายใบ สมาชิกอาเซียนหนึ่งใหมาใชขับรถยนตใน 3. ควรปรับปรุงวิธีการอบรมทดสอบ ให ประเทศของตนตามประเภทและชนิดของรถ สามารถคัดกรองบุคคลเพื่อขับรถบนถนนไดจริง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 273 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

4. ควรปรับปรุงเกี่ยวกับใบรับรองแพทย from http://www.roadsafetythai.org/ เพื่อแสดงความพรอมทางรางกายและจิตใจ term-detail.php?id=42&cid=470. เนื่องจากมีหลายโรคที่เปนอุปสรรคโดยตรง (in Thai) ตอการขับขี่ เชน โรคลมชัก โรคหลอดเลือดสมอง ASEAN Department, Ministry of Foreign Affairs. โรคหัวใจ อาการงวงผลขางเคียงจากการรักษา (2015). ASEAN Community. Retrieved ดวยยาบางประเภท เปนสาเหตุใหเกิดอุบัติเหตุ October 10, 2015, from http://www. ทางถนนมากมายหลายครั้ง mfa.go.th/asean/contents/files/ 5. ควรนําระบบตัดแตมหรือเพิ่มแตม other-20150612-172511-932159.pdf ผูขับขี่เมื่อกระทําความผิดกลับมาใชเต็มรูปแบบ Department of Disaster Prevention and 6. ควรพิจารณาปรับปรุงเขาสูวิธีการ Mitigation. (2010). Navigational อบรมหรือสอนแบบ coaching ที่ใชกันอยูใน strategic map for decade of road หลายประเทศ safety 2010-2019. Bangkok, 7. ควรพิจารณาใหมีการสอบขับรถ Department of Disaster Prevention ในถนนจริงในอนาคตตอไปเพื่อใหเกิดความ and Mitigation and the secretary of ปลอดภัย center for road safety. (in Thai) Department of Land Transport of Thailand. กิตติกรรมประกาศ (2015). Department of Land Transport งานวิจัยนี้ไดรับการสนับสนุนจาก of Thailand’s News. (18 March 2015) งบบํารุงการศึกษา ประจําป พ.ศ. 2559 จาก Bangkok: Department of Land มหาวิทยาลัยสวนดุสิต Transport of Thailand. (in Thai) Department of Land Transport of Thailand, REFERENCES Relation and Communication Office, AAA Foundation for Traffic Safety. (2012). (2014). Department of Land Transport Graduated driver licensing research of Thailand’s Newsletter, 139 (12 review 2010-present, (November September 2014) N.p. (in Thai) 2012). Washington, DC. Department of Land Transport, Ministry Academic Center for Road Safety, (2016). of Transport, (2014). Handbook for Report on World Road Safety Situation ASEAN Readiness for Thai Transport 2015. Retrieved November 30, 2016, Operators (Myanmar). N.p. (in Thai) 274 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Department of Land Transport, Ministry of Land Transportation Office, (2016). Traffic Transport, (2014). Handbook for violation and administrative fees ASEAN Readiness for Thai Transport and charges. Retrieved November Operators (Malaysia). N.p. (in Thai) 30, 2016, from http://www.lto.gov. Department of Land Transport, Ministry of ph/index.php/services/drivers- Transport, (2014). Handbook for licensing/82-fines-penalties-for- ASEAN Readiness for Thai Transport traffic-and-administrative-violations Operators (Singapore). N.p. (in Thai) (in Thai) Ecitizen. (2016). Getting a driving license Ministry of Transport. (2016). Ministers meeting for motorcars (Class 3, 3A, 3C, report concerning Ministry of Transport 3CA). Retrieved May 9, 2016, (27 October 2016), Department from https://www.ecitizen.gov.sg/ of Land Transport of Thailand’s Topics/Pages/Getting-a-driving- Newsletter No. 390/2016. (in Thai) licence-for-motorcars-(Class-3,-3A). National Statistic Office, Government aspx?Tab=Overview (in Thai) Strategic Information Center. (2014) Hawksford. (2009). Getting a driving Road Accidents: more than lives that license in Singapore. Retrieved are lost. Retrieved April 30, 2014, July 1, 2009, from http://www. from http://www.nic.go.th/gsic/e- guidemesingapore.com/blog-post/ book/accident/accident.pdf (in Thai) singapore-life/getting-a-driving- OECD and International Transport Forum. license-in-singapore (2008). Towards zero: ambitious Indonesian National Police. (2016). Driving road safety targets and the safe License (SIM). Retrieved November system approach. France: OECD. 30, 2016, from https://www.polri. Khunsup, S. (1996). Traffic law enforcement go.id/layanan-sim.php in Bangkok. Master of Laws Ogden, K.W. (1990). Human factors in traffic Dissertation, graduate school engineering. ITE Journal (August), department, Chulalongkorn 41. University. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 275 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การบูรณาการโดยใชทฤษฎีและขอมูลขับเคลื่อนการคนหาตัวแบบภาวะผูนํา ระดับปฏิบัติการในองคการที่บริหารดวยวัฒนธรรมไทย THEORY AND DATA INTEGRATION DRIVEN MODEL TO EXPLORE THE OPERATIONAL LEADERSHIP STYLE IN THAI CULTURAL ORGANIZATION ระพีพรรณ พิริยะกุล1* จริยาภรณ ศรีสังวาลย2 อินทกะ พิริยะกุล3 และ นภาพร ขันธนภา4 Rapeepun Piriyakul1*, Jariyaporn Sri Sangwan2, Intaka piriyakul3 and Napaporn Khantanapha4

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1* โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย2 คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย3 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย4 Department of Computer Science Faculty of Science Ramkhamhaeng University, Bangkok, Thailand1* International Hospital in Thailand Chonburi Thailand2 Faculty of Social Sciences, Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand3 Faculty of Business Administration Southeast Asia University, Bangkok, Thailand4

[email protected]*

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาตัวแบบที่เหมาะสมในการเปนผูนําดานการดําเนินงาน ทางวัฒนธรรมของไทย จากการทบทวนวรรณกรรมและใชแบบสอบถาม 550 ชุดจากพยาบาลวิชาชีพ ของโรงพยาบาลเครือบริษัทกรุงเทพดุสิตเวชการ เพื่อวิเคราะหขอมูล ในการรับรูถึงภาวะความเปนผูนํา ในระดับปฏิบัติการในมิติของความสามารถในการสนับสนุนทรัพยากร และการสรางสัมพันธภาพ เพื่อสรางการมีสวนรวมและนําไปสูความสําเร็จของงาน ผลการวิจัยแสดงใหเห็นวาลักษณะความเปน ผูนําในการดําเนินงานดานการจัดการวัฒนธรรมของไทยมีความสามารถในการดึงดูดผูติดตามใน 2 องคประกอบ คือ ความผูกพันเชิงสัมพันธและความผูกพันเชิงอารมณในการยอมรับผูนําที่มีตอ ความสําเร็จในการปฏิบัติงานกับโดยมีปจจัยสงผาน คือ การมีสวนรวม 276 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

คําสําคัญ: ผูนําระดับปฏิบัติการ การบริหารดวยวัฒนธรรมไทย ความผูกพันจากความสัมพันธ

ABSTRACT This research aimed to find an applicable model for Thai cultural operational leadership. To investigate the cause and effect, we constructed a Theoretical model. And then applied 550 questionnaires getting from Bangkok Dusit Medical Service’s professional nurses to analyze the data. The covariance based was used to identify the structural equation model of the operational leadership of empowerment on the dimensions of resource support and relational support to motivate team’s involvement and lead to job performance. The results have shown that the strength characteristic of operational leadership with Thai cultural management was the ability to engage the followers on two components: relational and affective commitment to success on job performance with the involvement mediator.

Keywords: operational leadership, Thai management style, relational commitment

บทนํา การศึกษาตัวแบบเชิงโครงสรางที่ ลงไป เพื่อใหไดสมการโครงสรางที่เหมาะสมกับ ดําเนินการสวนใหญมักจะเปนการวิเคราะห ขอมูลที่แตกตางตามโดเมน (domain diversity) เชิงยืนยันโดยใชทฤษฎีและงานวิจัยเปนหลัก ทั้งนี้ เพราะขอมูลเชิงประจักษที่ปรากฏในสถาน ในการสรางกรอบแนวคิดวิจัยที่เรียกวา ตัวแบบ บริการแตละประเภท เชน โรงงาน โรงพยาบาล เชิงทฤษฎี (theoretical model) ซึ่งการ หรือ โรงแรม ก็จะมีมุมมองขอมูลในมิติของลูกคา วิเคราะหลักษณะนี้ ใชขอมูลเชิงประจักษ หรือพนักงานที่ใหบริการในธุรกิจแตละประเภท ในการทดสอบโดยการวิเคราะหตัวแบบ แตกตางกัน (Ambrose & Schmike, 2003) เชิงทฤษฎีที่กําหนด มักจะดําเนินการในระดับ ดวยเหตุผลดังกลาวนี้ การที่จะหาตัวแบบเชิงลึก การวิเคราะหหาความรูแบบทั่วไป (general ที่เหมาะกับองคการที่ดําเนินธุรกิจแตละกลุม analysis) เพื่อหาผลสรุป โดยไมวิเคราะห จึงจําเปนที่จะตองใชขอมูลของแตละลักษณะ ในระดับเชิงลึกเพื่อหารายละเอียดของตัวแบบ เปนตัวขับเคลื่อนในการวิเคราะห เพื่อจะได บนขอมูลเชิงประจักษแตละประเภท (Trembley ตัวแบบคุณลักษณะในเชิงลึกอันจักนําไปสู & Landreville, 2014) เพราะการใชทฤษฎี ประโยชนในเชิงของการบริหารองคการแตละ ขับเคลื่อนตัวแบบนั้นจะเปนยืนยันโดยภาพรวม ประเภทไดอยางเหมาะสม ในสวนของการวิเคราะหรายละเอียดใหลึกซึ้ง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 277 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ในงานวิจัยครั้งนี้ไดนําตัวแบบการศึกษา มักเนนที่การทํางานเพื่อใหการดําเนินการของ ลักษณะผูนํามาเปนแนวทางในการวิเคราะห องคการเปนไปอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ โดยการดําเนินการในระดับการสรางตัวแบบ คุณสมบัติของผูนําแบบนี้ตองมีความเชี่ยวชาญ โดยใชทฤษฎีสนับสนุนตัวแบบภาวะผูนํา ในการจัดการงานใหเปนไปตามหนาที่ทางการ เพื่อสรางตัวแบบเชิงทฤษฎี และใชขอมูล บริหาร (management functions) เชน การ สนับสนุนเพื่อคนหาตัวแบบที่เหมาะสมกับ วางแผน การติดตามควบคุม เปนตน และโดยนัย ลักษณะขอมูลเชิงประจักษ ภาวะผูนําสวนใหญ วัฒนธรรมทางสังคมไทย การที่งานจะสําเร็จก็ตอง มักใชแนวคิดผูนําที่อยูในระดับองคการ โดยมี อาศัยสัมพันธภาพระหวางผูนํากับผูตามดวย แนวคิดในลักษณะภาวะผูนําแบบรวมสมัย (leader and fallower relationship) นอกจากนี้ (contemporary leadership) ซึ่งนิยมใชกัน ผูนําลักษณะนี้ยังตองสรางความคาดหวังที่จะ ปจจุบัน เชน ผูนําแบบเต็มตัวแบบ (full range ไดรับจากความสําเร็จของงาน สงผลใหผูตาม leadership) ผูนําแบบปฏิรูป (transformation พรอมที่จะเขาไปมีสวนรวมในการทํางาน จากขอมูล leadership) ผูนําแบบแลกเปลี่ยน (transactional ลักษณะผูนําที่กลาวมานี้ เห็นไดวาผูนําแลกเปลี่ยน leadership) และผูนําที่แทจริง (authentic สามารถจัดสรรทรัพยากรขององคการไดใน leadership) ลักษณะผูนําแตละแบบที่กลาวมานี้ ระดับหนึ่ง ทั้งนี้ เพราะอยูในตําแหนงที่ไดรับ ไดมีการนําไปใชสนับสนุนภาวะผูนําในองคการ มอบอํานาจในการทรัพยากรได แตเมื่อผูนําอยูใน ประเภทตาง ๆ เชนองคการที่มุงเนนการสราง ระดับปฏิบัติการ การเสริมอํานาจ (empower) นวัตกรรมก็มักจะใชภาวะ ผูนําแบบปฏิรูป ซึ่งใช จากองคการจะมีอยางจํากัดและนอยมาก สงผล กลยุทธในการสรางความแตกตาง สามารถ ใหการคนหาคุณลักษณะของผูนําในระดับนี้ แขงขันกับภายนอก (competitive advantage) ที่สามารถทําใหทีมงานประสบผลสําเร็จ จึงเปน (Porter, 1985) ไดโดยเนนการที่สรางใหคน เรื่องที่นาสนใจ นอกจากนี้งานวิจัยสวนใหญก็มี ในองคการมีความคิดสรางสรรค การผลักดัน การศึกษาเรื่องนี้นอยมาก ใหองคการเปนการองคการแหงการเรียนรู ภาวะผูนําในระดับปฏิบัติการสวนใหญ ในขณะที่ผูนําแบบแลกเปลี่ยนจะเปนภาวะผูนํา จะมุงเนนความสําเร็จของงาน (task oriented) ที่ใชกระบวนการแลกเปลี่ยนระหวางผูนํากับ ในแตละสวน เชนฝายผลิต ฝายการตลาด ผูตามเพื่อใหไดรับผลงานตามขอตกลงโดยอยู และฝายปฏิบัติการที่อยูในขายเสี่ยง เชน ผูนํา ภายใตกฎ กติกาของหนวยงาน (rules and พยาบาล ผูนําหนวยกูชีพ เปนตน โดยนัยผูนํา regulations) (Bass, 1985; Burns, 1978) ในระดับปฏิบัติการดังที่ยกตัวอยางมานี้ มักจะตอง ลักษณะนี้อาจไมเหมาะกับองคการที่ตองการ ใชศิลปะและความสามารถเฉพาะตัวเพื่อทําให ความคิดสรางสรรคเพื่อนําไปสูการสราง งานกลุมสําเร็จไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถ นวัตกรรม (Schein, 2016) ผูนําแบบแลกเปลี่ยน สรางแรงจูงใจภายใน (self-motivated) เพื่อให 278 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

บรรลุเปาหมายการทํางาน (Burns, 1978) ถึงแมวา ตัวอยางขอมูลที่นํามาศึกษาในงานวิจัย มีการมุงเนนงานเชนเดียวกัน แตภาวการณเปน ครั้งนี้ คือ การรับรูภาวะผูนําหัวหนาพยาบาล ผูนําในระดับปฏิบัติการมักจะมีความแตกตาง แบบไทย โดยสมาชิกเปนพยาบาลวิชาชีพ กันในมิติของงาน เชน การปฏิบัติงานในโรงงาน การเลือกกลุมประชากรที่ศึกษาคือพยาบาล การปฏิบัติงานกูชีพ หรืองานการพยาบาลคนไข วิชาชีพในโรงพยาบาลเครือบริษัทกรุงเทพดุสิต นอกจากมิติของงานแลวมิติของวัฒนธรรม เวชการ ซึ่งเลือกโรงพยาบาลขนาด 250 เตียง ก็มีบทบาทเขามามีสวนที่ทําใหภาวะผูนําระดับ ขึ้นไป และมีศักยภาพการทางแพทยระดับ ปฏิบัติการมีความแตกตางกัน เชนในวัฒนธรรม ทุติยภูมิขึ้นไป ทั้งนี้ เพราะมีลักษณะการทํางาน ตะวันออกที่เนนการอยูรวมกัน ก็แตกตางจาก เปนทีมที่ชัดเจน จากผลสืบเนื่องดังที่กลาวแลว ชาติตะวันตกที่เนนความเปนตัวตน (Hofstede, ในประเด็นของภาวะผูนําระดับปฏิบัติการในการ 1973) เห็นไดวาวัฒนธรรมไทยที่มีรากฐานจาก เปนผูนํา จึงนําขอมูลของภาวะผูนําพยาบาล ศาสนาพุทธที่สอนใหเราชวยเหลือเพื่อนรวมโลก มาศึกษาเพื่อเปนตนแบบของภาวะผูนําระดับ สงผลใหคนไทยรวมทั้งองคการที่บริหารดวย ปฏิบัติการที่เปนผูที่อยูในการปฏิบัติงานโดยตรง วัฒนธรรมไทยจึงมีหลักการบริหารที่เนนเรื่อง ซึ่งตองอยูภายใตความเสี่ยง เชน ผูนําในโรงงาน การอยูรวมกัน ชวยเหลือ ใหความหวงใย (care) ตองดูแลความปลอดภัยของพนักงาน พยาบาล ถาสนับสนุนดวยทรัพยากรที่จับตองไดก็จะ ตองดูแลการรักษาคนไข หรือในกรณีของงาน เสียสละ (tangible support) แตถาไมมีก็ กูชีพ รวมทั้งงานอื่น ๆ ดังนั้น ผูนําจึงตองมีทั้ง สนับสนุนทางดานจิตใจ (emotional support) ศาสตรและศิลปะ มีความเขาใจในการทํางาน คือ แสดงความมีนํ้าใจ ความเอื้ออาทร ถึงกัน ที่อยูภายใตเงื่อนเวลา ความตองการของผูรับ แทนการบริจาคทรัพยสิน บริการตลอดจนเครือขาย ในสวนของการเปน เนื่องจากการศึกษาภาวะผูนําโดยทั่วไป ผูนําในกลุมงานก็ตองมีความเขาใจความแตกตาง มักจะมองขามความสําคัญภาวะผูนําในระดับ ของสมาชิกในกลุม ในความเปนปจเจกบุคคล ปฏิบัติการ ซึ่งเปนระดับที่สําคัญเพราะเปนผูนํา สามารถศรัทธาในการทํางาน สรางความไวเนื้อ ที่ตองทําหนาที่ทั้งเปนผูนํา และรวมทํางานกับกลุม เชื่อใจ (trust) วาผูนําจะไมมีวันทอดทิ้ง กลาหาญ กับงานดานหนาโดยตรงซึ่งตองเผชิญกับแรง ที่จะรับผิดชอบรวมกันในยามวิกฤติ (Zhou& กดดันหลายดาน ในภาวการณเชนนี้ การบริหาร Cannella,2008; Hinno et al., 2012) นอกเหนือ ทีมงานสําหรับผูนําระดับปฏิบัติงานในการบริหาร จากการเสาะหาภาวะความเปนผูนําในระดับ ภายใตวัฒนธรรมไทย จึงมีจุดเดนที่นาคนหาวา ปฏิบัติการที่บริหารดวยวัฒนธรรมไทยแลว มีความสามารถดานใดที่โดดเดน สามารถนํามา งานวิจัยยังตองเกี่ยวของกับการวิเคราะหตัวแบบ นิยามเปนอัตลักษณของผูนําระดับปฏิบัติการ ที่เหมาะสมสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ แบบไทย (Thai operational leadership) ได เพื่อหาความรูเชิงเหตุและผล (casualty) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 279 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

วัตถุประสงคของการวิจัย สุขุมวิท โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร เพื่อพัฒนาตัวแบบภาวะผูนําระดับ โรงพยาบาลพญาไท 1 โรงพยาบาลพญาไท 2 ปฏิบัติการที่บริหารดวยวัฒนธรรมไทยโดยอาศัย โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา และโรงพยาบาล ทฤษฏีและบูรณาการรวมกับขอมูลเชิงประจักษ เปาโล พหลโยธิน แผนการสุมตัวอยางที่ใช คือ แผนการสุมตัวอยางเชิงชั้นภูมิแบบงาย ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย โดยดําเนินการแบงชั้นภูมิตามโรงพยาบาล 1. ประโยชนเชิงบริหารไดตัวแบบ และจัดสรรขนาดตัวอยางแบบสัดสวน โดย ที่เหมาะสมในการนําใชในการใหความรูกับผูนํา แบบสอบถามประกอบดวยการรับรูภาวะความเปน ระดับปฏิบัติการที่บริหารดวยวัฒนธรรมไทย ผูนําพยาบาลในดาน การสนับสนุนดานทรัพยากร 2. ประโยชนในเชิงวิชาการไดตัวแบบ การสนับสนุนดานความสัมพันธ การมีสวนรวม คุณลักษณะของภาวะผูนําระดับปฏิบัติการ และผลการปฏิบัติงาน มาวิเคราะหเพื่อสอบยํ้า ที่บริหารดวยวัฒนธรรมไทย ตัวแบบเชิงเหตุตามที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรม เรียกวา ตัวแบบที่ 1 ขอบเขตของการวิจัย 2. วิเคราะหตัวแบบที่ 1 เพื่อวิเคราะห 1. ขอบเขตดานประชากรพยาบาล ปจจัยเหตุ (cause factor) ปจจัยสงผาน วิชาชีพของโรงพยาบาลเอกชนขนาด 100 เตียง (mediator factor) และปจจัยผล (effect factor) ขึ้นไป 3. วิเคราะหตัวแบบที่ 2 - 4 โดยการ 2. ดานเนื้อหา ศึกษาเฉพาะ ปจจัย นําปจจัยที่วิเคราะหวามีความสําคัญในตัวแบบ การรับรูภาวะผูนําระดับปฏิบัติการ การมีสวนรวม มาทําการสกัดปจจัยลําดับที่สอง และปรับตัว ของพยาบาล และ ผลการปฏิบัติงาน แบบสมการใหเหมาะสมกับขอมูลเชิงประจักษ 3. เก็บขอมูลชวงป พ.ศ. 2560 การทบทวนวรรณกรรม ระเบียบวิธีวิจัย เพื่อสรางกรอบแนวคิดวิจัยทางทฤษฎี งานวิจัยมีขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล (theoretical framework) โดยอาศัยทฤษฎีและ ดังนี้ งานวิจัยสนับสนุน แนวคิดภาวะความเปนผูนํา 1. นําขอมูลเชิงประจักษจากแบบ ประเภทตาง ๆ จึงถูกคัดเลือกและนํามาบูรณาการ สอบถามจํานวน 550 หนวยของพยาบาลวิชาชีพ รวมกัน ดังนี้ คุณสมบัติของผูนําแบบแลกเปลี่ยน จากโรงพยาบาลในเครือดุสิตเวชการที่มีขนาด มีลักษณะบางประการที่สนับสนุนงานของผูนํา 250 เตียงขึ้น และมีศักยภาพการทางแพทย ระดับปฏิบัติการในสายอาชีพพยาบาล เนื่องจาก ระดับทุติยภูมิขึ้นไป ไดแก โรงพยาบาลกรุงเทพ มีการเนนงานในแตละกรณีเปนหลัก เพราะการ โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต โรงพยาบาลสมิติเวช ใหการพยาบาลผูปวยในแตละกรณีก็มีความ 280 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

แตกตางกัน ผูนําในระดับหัวหนาของแตละ การรับรูถึงผลประโยชนจากการมีสวนรวม หนวยงานยอยเปนผูนําระดับตนที่มีบทบาท (involvement) (Kamasak, & Bulutlar, 2010) สําคัญ ในการทําหนาที่ประสานงานเชื่อมโยง การเปนผูนําในระดับปฏิบัติการในการ ระหวางผูบริหารระดับสูงกับพยาบาลระดับ บริหารแบบวัฒนธรรมไทยนั้น มักปรากฏตัวแบบ ปฏิบัติงาน และเชื่อมโยงความสัมพันธกับ การอยูรวมกันในทีมนั้นเสมือนญาติ พี่นองกัน พยาบาลที่มีอยูในทีม มีการสนับสนุนทรัพยากร มีความเอื้ออาทรกัน ผูนําจึงเปรียบเสมือนผูปกครอง ไดภายใตขอจํากัด โดยผูนําตองสามารถสรางแรง ในครอบครัว สมาชิกจะมีใจรักและทุมเทการ จูงใจใหลูกทีม สามารถดึงความรูความสามารถ ทํางานเพื่อใหครอบครัวมีความสุข ในขณะที่ ของตนและเพื่อนรวมงานใหสนับสนุนงาน ผูนําก็จะดูแลใหความสัมพันธกับสมาชิกอยาง ทั้งแรงกายและแรงใจ ทําใหคนไขและญาติ รักใครเชนกัน นั่นหมายความวาจุดเดนของ มีความรูสึกวาเขาเปนคนในครอบครัวเดียว ผูนําระดับนี้ก็คือการสนับสนุนสมาชิก ทั้งดาน กับเรา การมีเจตคติและพฤติกรรมการมีสวนรวม ทรัพยากร (resource support) และดานการ และการสํานึกในหนาที่ มีสวนชวยใหเกิดความ สรางความสัมพันธ (relational support) ทั้งในมิติ สําเร็จของงานและนําไปสูผลประโยชนของ ที่จับตองได และจับตองไมได (Deepan, 2007) องคการ ( Mitonga-Monga & Cilliers, 2012)

กรอบแนวคิดของการวิจัย

การสนับสนุน ทรัพยากร การมีสวนรวม ผลการปฏิบัติงาน ของสมาชิกในทีม การสนับสนุน การสรางความสัมพันธ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดที่พัฒนาจากทฤษฎี (theoretical model) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 281 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

งานวิจัยนี้ถูกสรางโดยฐานของทฤษฎี การสื่อสาร และ rewards of interaction หมายถึง ตาง ๆ ดังนี้ ทฤษฎี ERG (Existence, relatedness, ประโยชนตอบแทนที่ไดรับจากการเขารวมในการ and growth theory) ถูกพัฒนาโดยยึดพื้นฐาน สื่อสาร ซึ่งอาจปรากฏในระยะสั้น หรือระยะยาว ของทฤษฎีของ Maslow ซึ่งอาจเปรียบเทียบได จากการสื่อสารกับผูอื่นในสังคมโดยหลักการวัด ซึ่งเปรียบเทียบไดกับความตองการในขั้นที่ 3 จากแนวคิดอรรถประโยชนในเชิงเศรษฐศาสตร คือ ความตองการมีสัมพันธภาพ (relatedness เนื่องจากทั้งสองทฤษฎีคือ ทฤษฎีปริวรรตนิยม needs) เปนความตองการไดเปนที่ยอมรับ (exchange theory) และ ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน ระหวางการผูที่มีปฏิสัมพันธรวม และขั้นที่ 4 ทางสังคม (social exchange theory) มีความ ของ Maslow ในสวนที่พอใจกับการรับการยอมรับ เกี่ยวของกันมาก อาจจะกลาวไดวา ทฤษฎีการ นับถือจากผูอื่น (Alderfer,1972; Daft, 2006; แลกเปลี่ยนทางสังคม เปนสวนหนึ่งของทฤษฎี Yukl, 2006) ทฤษฎี ERG ชวยสนับสนุนงานวิจัย ปริวรรตนิยม ในงานวิจัยบางเรื่องจะกลาวทั้งสอง ครั้งนี้ ดาน relational support นอกจากนี้ ทฤษฎี ทฤษฎีไปดวยกัน เชนในงานศึกษาเรื่อง social ที่สนับสนุนที่สําคัญอีกทฤษฎี คือ ทฤษฎีการ exchange and cooperation in semi-virtual สื่อสารทางสังคม (social exchange theory) teamwork (Swanson, 1987) ไดศึกษาปจจัย ที่อธิบายถึงการสื่อสารวาเปนทฤษฎีที่เกี่ยวเนื่อง ที่สงผลตอการทํางานเปนกลุม ดวยเหตุผลที่วา กับทฤษฎีปริวรรตนิยมเชิงโครงสราง (Homans, การประเมินผลตอบแทนของคนงานมักจะมอง 1958) พื้นฐานของทฤษฎีนี้ ประกอบดวย เฉพาะตัวคนที่ทํางานเทานั้น แตไมไดประเมิน สมมติฐานที่วา ผูคนในสังคมมีความผูกพันและ ศักยภาพของการทํางานเปนกลุมซึ่งเรียกวา มีปฏิสัมพันธ (interaction) รวมกัน (Blumer, “self-managed teams” การประเมินผลโดย 1964) ปฏิสัมพันธทางสังคมนั้นเกิดโดยการสราง มองขามการประเมินผลของการทํางานเปนทีม ความหมายและสัญลักษณที่จะใชในการสื่อสาร ทั้งในดานผลตอบแทนทางตรงในรูปเงิน หรือ และการคิด เพื่อสรางการเรียนรูอันเกิดผลประโยชน รางวัล (tangible) หรือผลตอบแทนในรูปแบบอื่น สูงสุดตอตนเอง บนทางเลือกตาง ๆ ในการ ที่จับตองไมได (intangible) เชน การยกยอง ดําเนินการ การเรียนรูอาศัยการแลกเปลี่ยน ปญหาการละเลยการมองขามการทํางานของทีม ความรูกับสังคมในมิติตาง ๆ เชน สังคม เศรษฐกิจ เหลานี้สงผลใหการทํางานเปนทีมไมมีประสิทธิภาพ และจิตวิทยาของการอยูรวมกัน อาจแสดงรูปแบบ เทาที่ควร ทายสุดจะสงผลถึงการลดประสิทธิผล ของทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคมดวยตัวแบบ ของธุรกิจดวย (Alchian & Demsetz, 1972) ทางคณิตศาสตรดังตัวแบบ behavior (profits) = ปญหาของการบริหารการทํางานเปนทีม function( rewards of interaction, costs of มีหลากหลาย เชน การไมยอมอุทิศตัวใหกับทีม interact (Peter, 2001) โดย costs of interaction รวมทั้งการเปนตัวปญหาของทีม งานบริหาร หมายถึง การตองเสียตนทุนไปในการเขารวมกับ ก็ยิ่งจะยากขึ้น Wong & Burton (2001) แนะนําวา 282 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การบริหารการทํางานเปนทีมนั้น ตองเนนการ (2012) ขยายความวาความรูที่จะนําไปสูการ สรางสัมพันธภาพที่แนนแฟนกับสมาชิกทุกคน ปฏิบัติไดนั้นตองผานความรูสึกนึกคิด (self- ในทีม มีการยกยอง ชมเชยในความคิดที่แตละคน referent thoughts) ของตนเองกอน การรับรู แบงปน ใหเกียรติอยางเสมอภาค ภายใตสภาพ ความสามารถของตนเองเปนสวนหนึ่งของ แวดลอมและวัฒนธรรมขององคการที่ทีมสังกัด กระบวนการทางความคิดที่สัมพันธระหวางความรู ดังนั้น การแสดงออกของผูนําที่มีภาษากาย เชน และการกระทํา (Luthans &Peterson, 2002) นํ้าเสียง แววตา (body language) แสดงความ ปจจัยผลการปฏิบัติงานนั้นอธิบายดวย จริงใจ ก็จะสรางการรับรูและความประทับใจใหกับ ทฤษฎีฐานทรัพยากร (RBV) ที่กลาวถึง มุมมอง สมาชิกในทีม (Kollock, 1993) การบริหารทรัพยากรที่มีอยูในองคการ รวมทั้ง ในทางการตลาด ทฤษฎีความผูกพัน ศักยภาพของทรัพยากรมนุษยที่เปนสิ่งสําคัญ ความไววางใจ (commitment-trust theory) ขององคการ อันจะทําใหเกิดการไดเปรียบดาน (Morgan & Hunt, 1994) มาจากแนวคิดของทฤษฎี การแขงขันเหนือกวาองคการอื่น ทั้งนี้เพราะ ทางการตลาดที่วา ความผูกพันและความไววางใจ การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพเปนปจจัย เปนตัวแปรที่มีความสําคัญและเปนสื่อกลางของ ที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จของ การตลาด โดยพิจารณาวาความผูกพันจะสรางให องคการ (Barney, 1998; Amah & Ahiauzu, ลูกคายึดเกาะติดกับสินคานั้น ๆ ความผูกพันและ 2013) โดยการพัฒนาและดําเนินการวางแผน ความไววางใจจึงเปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่ง เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรใหตนทุนมีความ (Deepen, 2007) เมื่อนํามาปรับใชกับองคการ คุมคามากที่สุด เพื่อสรางความสามารถในการ จึงเปรียบไดวา บุคลากรจะเกิดความไววางใจ แขงขันอยางยั่งยืน (Barney, 1998; Wernerfelf, ตอองคการ ตอเมื่อองคการโดยผานตัวแทน คือ 1984) ตอมาไดมีการนํา RBV มาพัฒนาเปนการ ผูบังคับบัญชาสามารถแสดงภาวะผูนําที่ทําให บริหารเชิงมูลคา (VBM) ซึ่งหมายถึง การบริหาร ผูใตบังคับบัญชามีความเชื่อมั่นไวใจ จนกลายเปน ทรัพยากรตามฐานมูลคาที่แทจริง เพื่อสราง ความผูกพันตอองคการ ผลที่ตาม คือ ทําใหเกิด มูลคาใหกับผูถือหุนหรือผูมีสวนไดสวนเสีย ความรวมมือกันทํางาน บนพื้นฐานความสัมพันธ กับองคการมากที่สุด โดยนําแนวทางการวิเคราะห ระหวางผูนํากับผูตาม ตนทุนทั้งทางตรงและตนทุนแฝงมาใชในการ ทฤษฎีการรับรูความสามารถตนเอง คํานวณการดําเนินธุรกิจ รวมทั้งมีการวัดผล (self-efficacy theory) (Bandura,1997) หลักการ ตอบแทนที่ไมไดเปนตัวเงิน (non-financial) เชน ทฤษฎีนี้มีวา การที่บุคคลใด ๆ จะตัดสินใจดําเนินการ การผลทางคุณภาพและดานจิตใจ เชน ความ อะไร ตองมีการประเมินจากความรู ความสามารถ รวมมือ การลดความขัดแยง การวัดผลจากความ ของตนเองที่เคยทํามาแลว โดยเทียบเคียงกับ พึงพอใจของพนักงานและความพึงพอใจของ มาตรฐานหรือไดรับการยกยอง โดย Beauregard ลูกคา และผลตอบแทนกับผูถือหุนและองคการ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 283 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย การสรางความสัมพันธ” มีผลเชิงบวกอยางมี สรุปผลการวิจัย นัยสําคัญยิ่งตอ “ ปจจัยการมีสวนรวมในการทํางาน” ขั้นที่ 1) ผลการวิเคราะหตัวแบบ และ “ปจจัยการมีสวนรวมในการทํางาน” สงผล เชิงทฤษฎีที่สรางโดยอาศัย ทฤษฎีและงานวิจัย เชิงบวกอยางมีนัยสําคัญยิ่ง “ผลการปฏิบัติงาน” เพื่อเปนตนแบบ (theoretical model) ในการวิจัย ดังนั้นจึงปรับ theoretical model ในขอ 1) มาวิเคราะห ผลการทดสอบปจจัยสงผาน (mediator factor) ในเชิงลึกในตัวแบบตัวแบบที่ 2 ผลการวิเคราะห theoretical model ขั้นที่ 2) ผลการวิเคราะหโดยตัดปจจัย พบวา “ปจจัยการมีสวนรวมของสมาชิกในทีม” ที่ไมมีอิทธิพลในตัวแบบที่ 1 โดยอาศัยขอมูล เปน ปจจัยสงผานที่สมบูรณ (complete mediator) เชิงประจักษ ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้ ของ “ปจจัยการสนับสนุนการสรางความสัมพันธ” โดยผลการวิเคราะหในตัวแบบที่ 2 และ ผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพราะ “ปจจัยการ คาสัมประสิทธิ์นํ้าหนักเสนทางมีคาแตกตางจาก สนับสนุนการสรางความสัมพันธ” ไมมีผลตอ ตัวแบบที่ 1 ดังการเปรียบเทียบในตารางที่ 1 “ผลการปฏิบัติงาน” ในขณะที่ “ปจจัยการสนับสนุน

การสนับสนุน 0.015 ทรัพยากร 0.026 0.436**

การมีสวนรวม ผลการปฏิบัติงาน 0.365** ของสมาชิกในทีม

การสนับสนุน 0.022 การสรางสัมพันธ

ภาพที่ 2 ตัวแบบที่ 1 และผลการวิเคราะห ไดคาดัชนีความกลมกลืน x2/ df = 2.157 284 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

0.486** 0.512** การสนับสนุน การมีสวนรวม ผลการปฏิบัติงาน การสรางสัมพันธ ของสมาชิกในทีม

ภาพที่ 3 ตัวแบบที่ 2 พัฒนามาจากตัวแบบที่ 1 โดยการตัดปจจัยที่ไมมีอิทธิพลออก ผลการวิเคราะหขอมูลไดคาดัชนีความกลมกลืน x2/ df = 1.876

ตารางที่ 1 คาสัมประสิทธิ์นํ้าหนักของตัวแบบที่ 1 และ 2

ตัวแบบที่ 1 (พัฒนามาจากทฤษฎี) ตัวแบบที่ 2 (นําตัวแบบที่ 1 มาพัฒนาตอ) นํ้าหนักเสนอิทธิพล นํ้าหนักเสนอิทธิพล การสนับสนุนการสรางความสัมพันธ สงผลตอ การสนับสนุนการสรางความสัมพันธ สงผลตอ การมีสวนรวมในการทํางาน = 0.365** การมีสวนรวมในการทํางาน = 0.486** การสนับสนุนการสรางความสัมพันธ สงผลตอ การสนับสนุนการสรางความสัมพันธ สงผลตอ ผลการปฏิบัติงาน = 0.022 ผลการปฏิบัติงาน - NA การมีสวนรวมในการทํางาน สงผลตอ ผลการ การมีสวนรวมในการทํางาน สงผลตอ ผลการ ปฏิบัติงาน = 0.436** ปฏิบัติงาน = 0.512**

ขั้นที่ 3) ปรับจากตัวแบบ ในขั้นที่ 2 ยอยแลวตั้งชื่อปจจัยโดยใชแนวคิดความผูกพัน แลวนําขอมูลเชิงประจักษมาชวยในการปรับ เชิงพฤติกรรมและทัศนคติ ความกลมกลืนของตัวแบบ เรียกกระบวนการ (1) การสรางความผูกพันในเชิงสัมพันธ ลักษณะนี้วา Data Driven Model โดยนํา “ปจจัย (REL_COM) คา Cronbach’s Alpha 0.845 การสนับสนุนการสรางความสัมพันธ” (REL-MAN) (2) การสรางความผูกพันในเชิงอารมณ มาวิเคราะหปจจัยปจจัย (factor analysis) ดวยวิธี (AFF_COM) คา Cronbach’s Alpha 0.815 principal component สกัดออกเปนสองปจจัย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 285 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

REL_COM 0.443*** 0.943***

INV JOB_PER

AFF_COM 0.304***

Operat ional Leadership in Thai Management Style: RELATION COMMITMENT and AFFECTIVE COMMITMENT

ภาพที่ 4 ตัวแบบที่ 3 ผลการวิเคราะหไดดัชนีความกลมกลืน x2/ df = 1.442

ขั้นที่ 4) ปรับจากตัวแบบ ในขั้นที่ 3 โดยการ (2) กระ บวนการ (procedural) นําผลการปฏิบัติงาน (JOB_PER) มาวิเคราะห Cronbach’s Alpha 0.875 สกัดเปนปจจัยยอย แลวตั้งชื่อแตละปจจัยใชแนวคิด ผลการวิเคราะหตัวแบบดวย data ของ VBM driven model เปนตัวแบบที่ 4 ดังนี้ (1) ผลงาน (goal) คา Cronbach’s Alpha 0.923

REL_COM 0.443*** 0.673*** GOAL

INV

AFF_COM 0.304*** 0.623*** PROCEDURAL

Operational Leadership in Thai Management Style ภาพที่ 5 ตัวแบบที่ 4 ผลการวิเคราะหไดคาดัชนีความกลมกลืน x2/ df = 1.352 286 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 3 คาดัชนีความกลมกลืนเหมาะสมจาก การวิเคราะหแบบ SEM Co-Variance Based ในตัวแบบ Data Driven Model

ดัชนี คาจาก คาจาก คามาตรฐาน อางอิง ตัวแบบที่ 3 ตัวแบบที่ 4 Chi Square 10.092 10.821 - - Degree of Freedom 7 8 - - x2/ df 1.442 1.352 <= 3.00 Kline (1998); Ullman (2001) RMSEA 0.029 0.032 < 0.08 Browne & Cudeck(1993) P value 0.184 0.083 > 0.05 p= 0.05 NFI 0.995 0.993 > 0.95 Schumacker & Lomax,(2004) CFI 0.999 0.999 > 0.93 Byrne, (1994) GFI 0.994 0.995 0.90 Schumacker & Lomax ,(2004) AGFI 0.981 0.997 > 0.90 Byrne, (1994) IFI 0.999 0.997 > 0.90 Anderson & Gerbing, 1993; Hu & Bentler, 1995 RFI 0.983 0.985 > 0.90 Anderson & Gerbing, 1993; Hu & Bentler, 1995 RMR 0.018 0.019 < 0.08 Browne & Cudeck, 1993 ที่มา: จากการคํานวณดวย SEM แบบ Co Variance Based

ผลสรุปการวิเคราะหตัวแบบที่วิเคราะหตัวแบบที่ 1- 4 ไดผลดังการเปรียบเทียบตามตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ตารางเปรียบเทียบ x2/ df ของแตละตัวแบบ

ตัวแบบที่ x2/ df ลดลง Sobel Test 1 2.157 - - 2 1.876 0.281 P< 0.5 3 1.442 0.434 P< 0.01 4 1.352 0.090 P< 0.05 ที่มา: ผลการเปรียบเทียบการวิเคราะหจาก 4 ตัวแบบ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 287 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จากตัวแบบที่ 4 ในภาพที่ 3 เห็นไดวา สามารถในการบริหารความสัมพันธในเชิงลึก ภาวะผูนําในระดับปฏิบัติการดวยการบริหาร ใหผูตาม (follower) และผูที่เกี่ยวของกับผูตาม แบบไทย (operational leadership in Thai เชนสมาชิกในครอบครัว ในทีมงานรับรูและซึมซับ management style) ที่มีความกลมกลืนมากที่สุด ทั้งในมิติที่จับตองได คือ พฤติกรรม (behavior) ตามขอมูลเชิงประจักษที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ และมิติเชิงอารมณ (emotion) จนเกิดความผูกพัน พบวาภาวะความเปนผูนําระดับปฏิบัติการ ตอผูนําเชิงลึกและตอบสนองดวยการรวมมือ โดยใชขอมูลจากลุม พยาบาลวิชาชีพที่รับรูตอ รวมใจจนเกิดเปนผลงานที่มีคุณภาพตามเปาหมาย ผูนําที่บริหารโดยใชวัฒนธรรมไทย มีลักษณะเดน ที่กําหนดจากกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ ทําให (dominant characteristic) แบงเปน สองมิติ ใชทรัพยากรอยางคุมคา มีการทํางานดวยความ คือ มิติในการบริหารการสรางความผูกพันดวย สามัคคี ไมเกิดขอขัดแยง (conflict) ผลการวิจัย ความสัมพันธ (relational commitment) และมิติ ครั้งนี้แสดงใหเห็นวาปจจัยการมีสวนรวมของ ของการสรางความผูกพันเชิงอารมณ (affective ผูรวมทีม (Involvement) เปน ตัวแปรสงผาน commitment) ในการยอมรับความจริงใจของ ที่แทจริง (complete mediator) จากปจจัยเหตุ ผูนําวา จะอยูเคียงขางรวมทุกรวมสุขในการทํางาน คือ การบริหารความผูกพันเชิงสัมพันธภาพจาก โดยสัมประสิทธิ์ทั้งสองมิติมีคาอยูในระดับที่มี ผูนําระดับปฏิบัติการที่บริหารดวยวัฒนธรรมไทย นัยสําคัญอยางยิ่ง (p < 0.001) ตอปจจัยสงผาน การวิจัยนี้แสดงใหเห็นวา การสรางกรอบแนวคิด คือ การมีสวนรวมของผูรวมทีม (involvement) ในการศึกษาโดยการใชทฤษฎีเปนจุดเริ่มตน ดวยคา 0.443 และ 0.304 ตามลําดับ ในขณะที่ สวนการพัฒนาตัวแบบเชิงลึกนั้นจะไดจากการ ปจจัยการมีสวนรวมของผูรวมทีม (involvement) นําขอมูลในแตละกรณีมาศึกษา ซึ่งถือวาเปนการ สงผลตอผลการปฏิบัติงานในมิติของเปาหมาย นําทั้งสองสวนมาบูรณาการรวมกันเพื่อใหตัวแบบ (goal) และ กระบวนการ (procedural) ไดคา ที่เหมาะสม สัมประสิทธิ์สูงทั้งคูและมีคาใกลเคียงกันคือ 0.673 อภิปรายผลการวิจัย และ 0,623 โดยทั้งสองคามีระดับนัยสําคัญอยางยิ่ง การศึกษาครั้งนี้ไดขอคนพบใหมของ (p < 0.001) ภาวะผูนําระดับปฏิบัติการแบบไทย (Thai ตารางที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบการ operational leadership) ซึ่งสนับสนุนงานวิจัย ปรับตัวแบบจาก ตัวแบบที่ 1 ที่สรางตามทฤษฎี ของ Williams & Anderson (1991) และ Lewin และวรรณกรรมและการพัฒนา ตัวแบบที่ 2 3 et al. (1996) ซึ่งไดขอคนพบในงานวิจัยวา และ 4 โดยใชขอมูลเชิงประจักษในกลุมตัวอยาง ถาผูตามไดรับรูการมีปฏิสัมพันธชวยเหลือเกื้อกูล ที่ศึกษา เห็นไดวาตัวแบบที่ 4 เปนตัวแบบที่ อยางจริงใจก็จะประพฤติปฏิบัติตนเปนพนักงาน เหมาะสมที่สุดจากดัชนีวัดคาความเหมาะสม (fit ที่ดี (organizational citizenship behavior) คือ index) โดยมีปจจัยผูนําระดับปฏิบัติการที่มีความ ทํางานไดสําเร็จตามเปาหมาย มีความรักสามัคคี 288 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

สมาชิกในกลุม นอกจากนี้ งานวิจัยนี้ยังสนับสนุน ดานจิตใจ มีความรูสึกวาทุกคนในสังคมคือ งานของ Adair (2003) ที่ศึกษาภาวะผูแบบระดับ ญาติพี่นองกัน เอื้อเฟอกัน แบงปนกัน คุณสมบัตินี้ ปฏิบัติการวา ผูนําตองมีความสามารถทั้งศาสตร สงผลถึงการทํางานรวมกันในองคการ ดังนั้น และศิลป ในสวนของศิลปะ คือ ความเขาใจความ การที่ผูนําสามารถนํากลยุทธการสรางความสัมพันธ ตองการของสมาชิกที่เปนผูตาม (follower) เชิงอารมณได ก็จะทําใหผูตามเชื่อมั่น และรวมกัน งานวิจัยนี้แสดงใหเห็นถึงความแข็งแกรง ทํางานใหสําเร็จ ของวัฒนธรรมไทยที่ไดรับจากหลักศาสนาพุทธ รวมทั้งความสามารถในการนําพื้นฐานทาง ขอเสนอแนะ วัฒนธรรมไทยมาใชใหเปนประโยชน ในการ 1. ผลของงานวิจัยนี้สามารถนํามาใช สรางความผูกพันและการยอมรับในตัวผูนําเพื่อ ในการฝกอบรม ภาวะผูนําระดับปฏิบัติการในดาน ใหงานสําเร็จไดอยางกลมกลืน (harmonies) การสรางความสัมพันธเชิงอารมณ วาผูนําจะตอง ของผูนําระดับปฏิบัติการ โดยใชการแลกเปลี่ยน มีความสามารถในการสรางความสัมพันธในเชิง เปนทรัพยากรที่จับตองไมไดจากแนวคิดของ อารมณจนเกิดเปนความผูกพันโดยการสรางกับ ภาวะผูนําแบบแลกเปลี่ยนในมิติของทรัพยากร ตัวสมาชิกและครอบครัวของสมาชิกในทีมดวย ที่จับตองไดเปนทรัพยากรในมิติความสัมพันธ จนเกิดเปน “emotional – commitment” เชิงอารมณ ซึ่งมีคุณคา (value) ซึ่งสอดคลองกับ โดยอาศัยการสื่อสารและจิตวิทยา ในการอยู วัฒนธรรมไทยที่คนสวนใหญเปนชาวพุทธที่ รวมกับสมาชิกในทีม ตลอดจนการสรางความ มุงเนนการอยูรวมกันเกื้อกูลกัน ถึงแมจะไมมี ไวเนื้อเชื่อใจ (trust) ทั้งในชวงการปฏิบัติงาน เงินทองสนับสนุนแตก็จะสงกําลังใจไปชวยเหลือ และนอกเวลา ผูอื่นเมื่อเกิดปญหา นับเปนการสนับสนุนทาง 2. การวิจัยในอนาคตควรศึกษาตอคือ จิตใจ (emotional support) ทําใหผูรับเห็นคุณคา ตัวแบบของผูนําระดับปฏิบัติการ ในวัฒนธรรม (perceived value) ซึ่งบางครั้งสรางสามารถ ชาติอื่นเพื่อเชน ผูนําระดับปฏิบัติการที่เปน พลังใหเกิดขึ้นกับผูไดรับมากกวา การไดรับวัตถุ องคการญี่ปุน เพื่อเปรียบเทียบกับผลงานวิจัย นอกจากนี้คนไทยยังมีวัฒนธรรมที่แข็งแกรง ครั้งนี้ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 289 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

REFERENCES models. Newbury Park, CA: Sage. Adair, J. (2003). Effective strategic leadership. Bandura, A. (1997). Self-efficacy: the London: Macmillan. exercise of control. NY: Freeman. Armen A. Alchian & Harold D. (1972) Barney, J. (1998). Firm resources and Production, information costs, sustained competitive advantage. and economic organization. The Journal Management. 17 (1), 99-120. American Economic Review, 62(5), Bass, B.M. (1985). Leadership and 777-795. performance beyond expectations. Alessandri, G., Borgogni, L., Schaufeli, W. B., NY: Free Press. Caprara, G., & Consiglio, C. (2014). Beauregard, T.A. (2012). Perfectionism, self- From positive orientation to job efficacy and OCB: the moderating performance: the role of work role of gender. Personnel Review. engagement and self-efficacy 41(5), 590–608. beliefs. Journal of Happiness Studies, Blumer, P.M. (1964). Exchange and POWER doi :10.1007/s10902-0149533-4 IN SOCIAL LIFE. NY: John Wiley Ambrose, M.L., & Schminke, M. (2003). and Sons. Organization as a mediator of the Blumler, J.G., & Katz, E. (1974). The uses relationship between procedural of mass communications: current justice, interactional justice perceived perspectives on Gratifications organizational support and supervisory research. Beverly Hills, CA: Sage. trust. Journal of Applied Psychology, Browne, M. W. & Cudeck, R. (1989). Single 88, 295- 305. sample cross-validation indices for Amah, E. & Ahiauzu, A. (2013). Employee covariance structures. Multivariate involvement and organizational Behavioral Research. 24, 445-455. effectiveness. Journal of Management Browne, M. W. & Cudeck, R. (1993). Development, 32 (7), 661-674. Alternative ways of assessing model Anderson, J.C., & Gerbing, D.W. (1993). fit. In K.A. Monte Carlo evaluations of goodness- Burns, J. M. (1978). Leadership. NY: Harper of-fit indices for structural equation and Row. models. In K.A. Bollen, & J.S. Long Byrne, B. M. (1994). Structural equation (eds.), Testing structural equation modeling with EQS and EQS/ 290 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Windows. Thousand Oaks, CA: Sage Hofstede, G. (1984). Culture’s consequences: Publications. international differences in work- Deepan, J. K. (2007). Leadership, power, related values. 2nd edition. Beverly and positive relationships. In J. Hills CA: SAGE Publication. E. Dutton & B. R. Ragins (Eds.). Homans, G.C. (1958). Social behavior as Exploring positive relationships at exchange. American Journal of work: Building a theoretical and Sociology. 63, 597-606. research Foundation Mahwah. NJ: Hu, K.J. Baird, Reeve R, H.M. (1995). The Lawrence Erlbaum Associates, relationships between organizational 347- 371. culture, total quality management Demerouti, E., Bakker, A. B. & Leiter, M. practices and operational (2014). Burnout and job performance: performance. International. Journal the moderating role of selection, of Operations & Production optimization, and compensation Management. 31(7), 789-814. strategies. Journal of Occupational Kamasak, R., & Bulutlar, F. (2010). Influence Health Psychology. 19(1), 96-107. of knowledge sharing on innovation. doi:10.1037/a0035062 European Business Review. 22(3), Edwards, P.K. & Scullion H. (1982). Deviancy 306–317. theory and industrial praxis: a study Kline, R. B. (1998). Principles and practice of discipline and social control in of structural equation modeling. NY: an Industrial setting. Journal of Guilford Press. Sociology. 16(3), 332-340. Kollock, P. (1993). An eye for an eye leaves Guest, D. (2014). Employee engagement: everyone blind: cooperation and a skeptical analysis. Journal of accounting systems. Journal of Organizational Effectiveness: People American Sociological Review. and Performance. 1(2), 141-156. 58, 768-786. Hinno, S., Partanen, P. & Vehvilainen- Lewin Kurt, Lippitt, R., & White Ralph. Julkunen, K. (2012). Nursing (1996). Patterns of aggressive activities, nurse staffing and adverse behavior in experimentally created patient outcomes. Journal of Clinical social climates. Journal of Social Nursing. 21(11-12), 1564-1593. Psychology. 5, 271-301. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 291 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Luthans, F., & Peterson, S. J. (2002). equation modeling. 2nd edition. NJ: Employee engagement and manager Lawrence Erlbaum Associates. self-efficacy. Journal of Management Spahr Christopher. (2016). Confronting the Development. 21(5), 376-387. European Portuguese central vowel Mitonga-Monga, Coetzee, M., & Cilliers, F. distinction. Journal of Linguistics. V. N. (2012). Perceived leadership 61(2), 211–217. style and employee participation Swanson, D.L. (1987). Gratification seeking, in a manufacturing company in the media exposure, and audience democratic republic of Congo. Africa. interpretations: some direction for Journal of Business Management. research. Journal of Broadcast and 25(4), 45-64. Electronic Media. 31(3), 237-255. Morgan, J., Robert, M., & Hunt, S. D. Trembley Michale & Pascale -Edith (1994). Commitment-trust theory of Landreville. (2014). Information relationship marketing. Journal of sharing and citizenship behavior: Marketing. (58), 20-38. mediating the roles of empower, Peter, M. (2001). Structural contexts of procedural justice and perceived opportunities. USA: University of organizational support. International Chicago Press. Journal of Business Communication. Porter, M. (1985). Competitive strategy. NY: 52(4), 22 Free Press. Ullman, J. B. (2001). Structural equation Schein, E. H. (2006). Organizational culture modeling. In B. G. Tabachnick & L.S. and leadership. 3rd edition. John Fidell using multivariate statistics. 4th Willey And Son, San Francisco. edition. Needham Heights, MA: Allyn Schiele, Holger, Veldman, Jasper, & & Bacon. 653- 771. Hüttinger, Lisa., (2011). Supplier Weber, M. (1974). Theory of social and innovativeness and supplier pricing: economic organization. Parsons & the role of preferred customer status. A. M. Henderson. Trans. NY: Oxford International Journal of Innovation University Press. Management. 15(01), 1-27. Williams, L. J., & Anderson, S. E. (1991). Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2004). Job satisfaction and organizational A beginner’s guide to structural commitment as predictors of 292 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

organizational citizenship and in-role 6th edition. NJ: Prentice Hall. behaviors. Journal of Management. Zhou, J., Shin, S. J., & Cannella, A. A. 17, 601-617. (2008). Employee self-perceived Wong, S.S., & R.M., Burton. (2001). Virtual creativity after mergers and teams: what are their characteristics acquisitions: interactive effects and impact on team performance. of threat- opportunity perception, Computational and Mathematical access to resources, and support Organization Theory. 6, 339-360. for creativity. Journal of Applied Yukl, G. (2006). Leadership in organizations. Behavioral Science. 44, 397-421. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 293 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การปรับเปลี่ยนนโยบายแรงงานขามชาติสมัยรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา THE MIGRANT WORKER POLICY ADJUSTMENT OF GENERAL PRAYUTH CHAN-O-CHA’S GOVERNMENT หฤทัย จงวัฒนบัณฑิตย Haruetai Chongvatanabandit

หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบันฑิต สาขาวิชาการเมืองและการจัดการปกครอง คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย Master of Arts Program in Politics and Governance, Faculty of Political Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

[email protected]

บทคัดยอ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีจุดมงหมายในการคนหาปจจัยที่สงผลตอการปรับเปลี่ยนนโยบาย แรงงานขามชาติ และทาทีตอปจจัยดังกลาวของรัฐบาลในสมัยพลเอกประยุทธ จันทรโอชา การศึกษาครั้งนี้ใชการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีวิจัยเอกสารทางวิชาการ งานวิจัยตาง ๆ และคําแถลงการณของคณะรัฐบาลพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ผานทางนายกรัฐมนตรีหัวหนารัฐบาล รัฐมนตรีวาการกระทรวงตาง ๆ และหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ผลการศึกษาพบวา ปจจัยผลักดันที่มีผลตอการปรับเปลี่ยนนโยบายแรงงานขามชาติของ รัฐบาลพลเอกประยุทธ จันทรโอชา มีทั้งปจจัยภายในและภายนอกประเทศ ภายในประเทศ แรงงาน ขามชาติมีสวนใหเกิดปญหาอาชญากรรม การคายาเสพติด และเปนภัยตอความมั่นคงของชาติ สวนภายนอกประเทศ เกิดปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน มีการบังคับใชแรงงานเด็ก บังคับหญิง คาประเวณี การใชแรงงานทาสอันเชื่อมโยงไปสูการคามนุษย ทําใหถูกเพงเล็งโจมตี และไดรับแรงกดดัน อยางมากจากตางชาติและองคการระหวางประเทศ จากปจจัยดังกลาว ทําใหทาทีของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ซึ่งเขาสูอํานาจทางการเมืองโดยรัฐประหาร มีฐานะเปนรัฏฐาธิปตย มีความคลองตัว ในการใชอํานาจไดอยางรวดเร็วในการแกปญหา จึงใหความสําคัญเรื่องการแกไขปญหาแรงงานขามชาติ เปนวาระเรงดวน อันนําไปสูวาระแหงชาติอยางเปนรูปธรรมเพื่อเปนการลดแรงกดดัน ทั้งจากภายใน 294 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

และโดยเฉพาะอยางยิ่งจากตางประเทศ เพื่อสรางการยอมรับในเรื่องการใชอํานาจ พรอมทั้งเรงสราง ความเขาใจในเวทีระหวางประเทศ เพื่อไมใหกระทบบรรยากาศการคาและการลงทุน ภายหลังการ ดําเนินงานตามนโยบายแรงงานขามชาติที่ปรับเปลี่ยนโดยรัฐบาลนี้ ทําใหสถานการณการคามนุษย ในป 2559 ดีขึ้น ไดรับการเลื่อนอันดับอยู tier 2 watch list

คําสําคัญ: แรงงานขามชาติ การคามนุษย สิทธิมนุษยชน วาระแหงชาติ

ABSTRACT The purposes of this research are to study factors which influenced the adjustments of migrant worker policy under the government of General Prayuth Chan-O-Cha. and The reactions to these factors by the government. Qualitative research method was used for this research, based on academic papers, research papers and the official statements of the Government of Prayuth Chan-o-cha through the Prime Minister of the Government, ministers and the related government agencies. The research indicated that both internal factors within the country and external factors outside the country influenced the adjustments of migrant worker policy. For the internal factors, migrant workers contributed to the crimes, drug trafficking and threats to national security. For the external factors, human rights abuses, forced child labors, forced prostitutes and slave labors in Thailand which were linked to human trafficking. led to criticism and pressures by foreign and international organizations. From these factors, General Prayut Chan-o-cha, who came to power through a political coup, reacted rapidly to the issues by using his political status and power. As a national agenda, he emphasized the urgency of migrant workers issues, leading to concrete adjustments of migrant worker policy to reduce pressures from both within the country and outside the country and to establish acceptance of the power coming from the political coup. Furthermore, the adjustments of migrant worker policy were urgently communicated internationally to form the understanding. There, it would not affect Thailand’s international trades and international investments. From the implementation on the adjusted policies, Thailand’s human trafficking rank in 2016 was promoted to tier 2 Watch List.

Keywords: migrant worker, human trafficking, human rights, national agenda Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 295 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทนํา อยางหนักจากนานาประเทศ ประชาคมโลก การขยายตัวทางเศรษฐกิจจากภาค และองคกรระหวางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง เกษตรกรรมไปสูภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย มหาอํานาจอยางสหรัฐอเมริกา และสื่อตางชาติ ไดขยายตัวอยางรวดเร็ว สงผลใหงานในกลุม 3 ส กระทรวงการตางประเทศสหรัฐอเมริกาออก หรือ 3 d คืองานที่แสนยากลําบากหรือหนัก แถลงการณสถานการณการคามนุษยประจํา (difficult) งานที่สกปรก (dirty) และงานเสี่ยงภัย 2557 (dangerous) เชน งานกรรมกรในงานกอสราง โดยจัดใหไทยถูกลดระดับจากเดิมที่อยู ลูกจางในรานคาที่ตองทําทุกอยางตั้งแตขายของ ระดับ “เทียร 2 ที่ตองจับตามอง” (tier 2 watch list) จัดสินคา ยกของ ทําความสะอาด ลูกจางเกษตรกร ลงมาอยูระดับ “เทียร 3” (tier 3) ซึ่งเปนระดับตํ่าสุด ในไรนาและสวนผลไม แมบานทําความสะอาด และมีสถานการณการคามนุษยระดับเลวรายที่สุด หรืองานภาคประมงทะเลลากอวนที่ตองทํางาน สงผลเสียตอภาพลักษณ เศรษฐกิจ การเมือง เกือบตลอดวัน และสังคมโดยรวมของประเทศไทยเปนอยางมาก ปจจุบันคนไทยไมนิยมทํางานในลักษณะ ปญหาเหลานี้สะสมมาเปนเวลานาน แตไมมี ดังกลาว ประเทศไทยจึงมีความจําเปนตอง รัฐบาลใดใหความสําคัญกับการปรับเปลี่ยน พึ่งพาแรงงานขามชาติหรือแรงงานตางดาวจาก นโยบายแรงงานขามชาติหรือแรงงานตางดาว ประเทศเพื่อนบาน เชน พมา ลาว กัมพูชา เปนตน เนื่องจากไมมีปจจัยมากดดันหรือกระตุนใหปรับ เพื่อเขามาทดแทนแรงงานไทยที่ขาดแคลน นโยบายดังกลาว (ยังไมสําคัญหรือจําเปน ทั้งภาคประมง ภาคอุตสาหกรรม และภาคอื่น ๆ ในมุมมองของรัฐบาล) จึงยังไมมีรัฐบาลใด การหลั่งไหลเขามาของแรงงานขามชาติ โดยเฉพาะ ที่ผานมาในอดีตสามารถแกไขปญหานี้ไดอยาง แรงงานขามชาติที่ผิดกฎหมาย ไดกอใหเกิด มีนัยสําคัญและชัดเจนในระดับที่นาพอใจ ปญหาและสงผลกระทบตอความมั่นคงของ จึงนับเปนโอกาสดีที่รัฐบาลพลเอก ประเทศไทย ทั้งในดานการเมืองเศรษฐกิจและ ประยุทธ จันทรโอชา หรือรัฐบาลคณะรักษา สังคม รวมทั้งความสัมพันธระหวางประเทศ ความสงบแหงชาติ (คสช.) – อํามาตยาธิปไตย อยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาดาน (bureaucratic democracy) ซึ่งเขาสูอํานาจ การละเมิดสิทธิมนุษยชน และเชื่อมโยงไปสู ทางการเมืองโดย “รัฐประหาร” (Coup d’etat) ปญหาการคามนุษยที่มีผลกระทบโดยตรงตอ มีฐานะเปน “รัฏฐาธิปตย”คุมอํานาจอธิปไตย ความมั่นคงของมนุษย เพราะมนุษยถูกลดทอน (sovereignty) ในการปกครองประเทศที่จะพลิก ศักดิ์ศรีความเปนคนใหเปนเพียงสินคา ที่มีการ วิกฤตเปนโอกาสในการสรางการยอมรับเรื่อง ซื้อขายและเอารัดเอาเปรียบโดยไมคํานึงถึง การใชอํานาจในการปกครอง และลดแรงกดดัน สภาพรางกาย จิตใจ และความรูสึก จึงนําไปสู ทั้งจากภายในและตางประเทศในคราวเดียวกัน ประเด็นที่ประเทศไทยถูกเพงเล็ง โจมตีและกดดัน รัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา มีความ 296 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตระหนักดีวา ปญหาการคามนุษยเปนการละเมิด รัฐมนตรีไดเนนยํ้าวา “การดําเนินการแกไขปญหา สิทธิมนุษยชนอยางรายแรง จึงตองตัดสินใจ การคามนุษยของรัฐบาลเปนการปกปองคุมครอง ดําเนินการปรับเปลี่ยนโยบายแรงงานขามชาติ คนไทยและชาวตางชาติในประเทศไทยดวย” เปนวาระเรงดวนเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 และไดมอบนโยบายและแนวทางในการปองกัน โดยนายกรัฐมนตรีเปนประธานมอบนโยบาย ปราบปรามการคามนุษยแกหนวยงานที่เกี่ยวของ “การปองกันปราบปรามการคามนุษย” เปน นําไปปฏิบัติใหเปนรูปธรรมโดยเร็ว ซึ่งมีสาระ “วาระแหงชาติ” ในคราวประชุมเชิงปฏิบัติ สําคัญโดยสังเขป ดังนี้ 1. ปองกันกลุมเสี่ยง ธุรกิจ การเรื่องการคามนุษย ป 2558 ภายใตการ ทองเที่ยว 2.ดําเนินคดีผูกระทําผิด กระบวนการ ขับเคลื่อนของ คณะกรรมการนโยบายการจัดการ ยุติธรรม โดยเฉพาะการดําเนินคดีกับผูกระทําผิด ปญหาแรงงานตางดาว (กนร.) มุงเนนการ และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของอยางเด็ดขาด โดย ตรวจสอบ จับกุม บูรณาการหนวยงานภาครัฐ นายกรัฐมนตรีไดประกาศอยางชัดเจนวาจะไมมี เพื่อแกไขปญหาแรงงานขามชาติทั้งระบบอยาง การไวหนาผูใดหากมีการกระทําผิด 3. คุมครอง เรงดวน และเรงสรางความเขาใจที่ถูกตองกับ ชวยเหลือผูเสียหาย และพยาน 4. ใชกลไกเชิง นานาประเทศ เพื่อปกปองสิทธิของไทยในเวที นโยบายขับเคลื่อน ภาครัฐและภาคีเครือขาย ระหวางประเทศไมใหกระทบบรรยากาศการคา 5. พัฒนาบริหารขอมูล ภาครัฐและภาคีเครือขาย การลงทุนกับนักลงทุนและนักธุรกิจชาวตางชาติ นอกจากนี้ ประชาชนสามารถมีสวนรวมในการ พรอมทั้งปรับบทบาทของกองทัพไทยเพื่อรองรับ ปองกันและแกไขปญหาการคาประเวณีเด็ก ภัยคุกคามรูปแบบใหม (non - traditional และสตรีได โดยหากพบเห็นการกระทําความผิด threats) หรือกลุมเสี่ยง สามารถแจงขอมูลไดที่ “ศูนย รัฐบาลไดปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติ ชวยเหลือสังคม” สายดวน โทร 1300 บริการ ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 ตลอด 24 ชั่วโมง และถาประชาชนพบเบาะแส ใหมีการบูรณาการในทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ การทุจริตของเจาหนาที่รัฐ สามารถแจงเบาะแส ไดอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มาได 2 ชองทาง คือ โทรมาแจงที่เบอรโทรศัพท ซึ่งแตเดิมมีกระทรวงพัฒนาความมั่นคงฯ (พม.) สายดวน 1299 หรือหากเปนเอกสารหลักฐาน เปนหนวยงานหลัก กลายเปนการสรางกลไก สามารถสงผานมาไดทางตูปณ. 444 ระดับชาติ เพื่อใหเห็นวาประเทศไทยใหความ จากปจจัยดังกลาวทําใหผูวิจัยมีความ สําคัญ เปนวาระแหงชาติ ที่จะตองพัฒนากลไก สนใจในประเด็นเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนนโยบาย ใหมีประสิทธิภาพ โดยแตงตั้งคณะกรรมการ แรงงานขามชาติของรัฐบาลพลเอกประยุทธ ระดับชาติ มีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน เพื่อให จันทรโอชา นับแตการเขาสูอํานาจจนถึงปจจุบัน การสั่งการหนวยงานตาง ๆ สามารถตอบสนอง โดยตองการศึกษาวิเคราะหถึงปจจัยที่สงผลตอ และแกไขปญหาไดอยางรวดเร็ว โดยนายก การปรับเปลี่ยนนโยบายแรงงานขามชาติ และ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 297 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ทาทีตอปจจัยดังกลาวของรัฐบาลพลเอกประยุทธ 2. สามารถใชเปนแนวทางในการแกไข จันทรโอชา ปญหาแรงงานขามชาติที่ผิดกฎหมายโดยเฉพาะ ที่เกี่ยวกับขบวนการคามนุษยและการละเมิดสิทธิ วัตถุประสงคของการวิจัย มนุษยชนในรูปแบบตาง ๆ 1. เพื่อศึกษาถึงปจจัยผลักดันที่ทําให รัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ตองปรับเปลี่ยน ขอบเขตของการวิจัย นโยบายแรงงานขามชาติ ศึกษาถึงปญหาแรงงานตางดาวในกรอบ 2. เพื่อศึกษาถึงทาทีของรัฐบาล พลเอก ของนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวกับแรงงาน ประยุทธ จันทรโอชา ภายหลังจากไดรับแรงกดดัน ขามชาติ ทั้งปจจัยภายใน (internal factors) จากปจจัยดังกลาว และภายนอก (external factors) และบริบท สภาพแวดลอมตัวแสดง ที่สงผล (pressure) ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย ใหรัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา (policy 1. สามารถใชเปนแนวทางในการปรับปรุง maker) ปรับเปลี่ยนนโยบายแรงงานขามชาติ นโยบายใหสอดคลองกับสภาพปญหาในปจจุบัน อยางเรงดวนและประกาศเปนวาระแหงชาติ และใหเปนมาตรฐานสากล (policy adjustment)

กรอบแนวคิดของการวิจัย

structure policy process

policy external ปญหา internal adjustment factors factors decision policy maker pressure making

ภาพที่ 1 แสดงกรอบความคิดของการวิจัย 298 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ทฤษฎีที่ใชในการวิจัย กวางขวาง รวมถึงปญหาอาชญากรรม ประชาชน 1. ระบบโลก (world system) ของ สวนใหญยังคงมีทัศนคติตอคนตางดาววา Immanuel Wallerstien มีสวนในการกอใหเกิดปญหาอาชญากรรม 2. การเมืองเกี่ยวพันธ (linkage politics) เปนอันดับแรก มีการลักทรัพยในชุมชน การ ของ James N. Rosenau ลักทรัพยจากรานคา การรับซื้อของโจรและสง 3. ปฏิสัมพันธระหวางบริบทเชิงโครงสราง ไปขายยังประเทศของตนเอง และที่รายแรงมาก กับผูกระทํา (agency-structure) ของ Colin Hay คือ แรงงานตางดาวทํารายหรือฆานายจางคนไทย ประเด็นตอมาคือปญหาอาชญากรรมขามชาติ ระเบียบวิธีวิจัย แรงงานขามชาติผิดกฎหมายหรือลักลอบเขาเมือง การศึกษาครั้งนี้ใชการวิจัยเชิงคุณภาพ และคนตางดาว มีสวนในการคายาเสพติด เปนหลัก โดยวิธีวิจัยเอกสาร พรรณนาจากเอกสาร และลักลอบคาอาวุธเถื่อน เปนอันดับรองลงมา ทางวิชาการและราชการ งานวิจัยตาง ๆ บทความ พบการกระทําผิดหลายรูปแบบ องคกรอาชญากรรม วารสาร ขอมูลคําแถลงของรัฐบาลและหนวยงาน ขามชาติหรือแกงมาเฟย จะดําเนินกิจกรรม ราชการที่เกี่ยวของ ผิดกฎหมายในสองลักษณะ ลักษณะแรก คือ การขายสินคาและบริการที่ผิดกฎหมาย อาทิ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ยาเสพติด อาวุธ สินคาโจรกรรม การลักลอบ สรุปผลการวิจัย ขนแรงงานตางดาว การปลอมแปลงเอกสาร ผลการวิจัยพบวา บุคคล (Niyomsin, 2015) อีกลักษณะหนึ่ง คือ 1. ปจจัยผลักดันที่ทําใหมีการปรับเปลี่ยน อาชญากรรมประเภทอื่นที่ไมเขาขายการจัดหา นโยบายแรงงานขามชาติของรัฐบาล พลเอก อุปทานสินคาและบริการ เชน การแสวงหา ประยุทธ จันทรโอชา นั้น มีทั้งปจจัยภายใน ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และการฉอฉล ประเทศและปจจัยภายนอกประเทศ ตาง ๆ สําหรับอาชญากรรมประเภทแรกนั้น จะมี 2. ทาทีของรัฐบาล พลเอกประยุทธ ตนทุนทางธุรกิจที่ตํ่ากวาธุรกิจทั่วไป เนื่องจาก จันทรโอชา ตอปจจัยดังกลาว คือ ดําเนินการ ไมตองคํานึงถึงกฎเกณฑ หรือกติกาใด ๆ เชน แกไขปญหาแรงงานขามชาติอยางเรงดวน ลักลอบนําคนตางดาวเขามาขายแรงงานหรือ ในสวนของปจจัยภายในประเทศ บริการทางเพศในราคาที่ตํ่ากวาแรงงานทองถิ่น ไดแก ทําใหอาชญากรรมขามชาติเติบโตอยางไมหยุดยั้ง ปจจัยจากคนตางดาว อาชญากรรมขามชาติ (transnational crime) การหลั่งไหลเขามาของแรงงานขามชาติ เปนปญหาใหญของประเทศไทย เปนภัยคุกคาม ไดกอใหเกิดปญหาสงผลกระทบตอประเทศไทย ความมั่นคงรูปแบบใหม (non-traditional ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมอยาง security threat) ที่กระทบตอความปลอดภัย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 299 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

และความมั่นคงของชาติโดยตรง และประเด็น ตลอดจนประชาชนที่นิยมการปกครองแบบ ปญหาคนตางดาวมีสวนเปนพาหะนําโรคระบาด ประชาธิปไตย (democracy) และกลุมคนที่ไดรับ นั้นเปนอันดับสุดทาย ความเสียหายในการทําธุรกิจระหวางประเทศ ปจจัยจากขาราชการ ที่ถูกกีดกันทางการคา สวนปจจัยทางการเมือง ปญหาขาราชการประพฤติมิชอบจาก ภายนอกประเทศ จะไดรับแรงกดดันจากกลุม รายงานสถานการณการคามนุษยประจําป ประเทศตาง ๆ ที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย พ.ศ. 2557 มีรายงานวา มีเจาหนาที่ทุจริตทั้งสอง โดยเฉพาะกลุมประเทศมหาอํานาจซึ่งมีอิทธิพล ฝงชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบาน อํานวย กดดันในหลายดาน อาทิ ดานความสัมพันธ ความสะดวกใหแกการลักลอบนําเขาแรงงาน ระหวางประเทศ ความรวมมือทางทหาร ดาน ที่ไมมีเอกสารเขาประเทศไทยและประเทศ การคา การลงทุน และการเรียกรองใหคืนอํานาจ เพื่อนบาน ไดแก ลาว พมาและกัมพูชา และ กับประชาชนเพื่อนําไปสูการเลือกตั้ง “ซึ่งการ เจาหนาที่รัฐของไทยทั้งพลเรือนและทหารไดรับ ใชอํานาจของรัฐดานใดก็ตาม (ในที่นี้หมายถึง ผลประโยชนจากการลักลอบนําเขาผูแสวงที่พักพิง รัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา) หากสง ชาวโรฮิงญาจากพมาและบังคลาเทศ รวมทั้งสมรู ผลกระทบตอสิทธิมนุษยชนหรือปจเจกชน รวมคิดกันในการขายผูแสวงที่พักพิงชาวโรฮิงญา ความเปนธรรมในสังคม และสิทธิดานอื่น มักจะ เหลานี้เพื่อการบังคับใชแรงงานบนเรือประมง เผชิญกับแรงกดดัน จากกฎเกณฑ หลักปฏิบัติ นอกจากนี้เจาหนาที่ตํารวจไทยบางคนไดทําการ และจริยธรรมระหวางประเทศ ในระบบรัฐอยาง การโยกยายชายชาวโรฮิงญาจากศูนยกักกันในไทย หลีกเลี่ยงไดยาก” (Limmanee, 2015) และนําไปขายใหนักคามนุษย ในสวนปจจัยภายนอกประเทศ ไดแก ปจจัยจากทางการเมือง ปจจัยจากองคกรระหวางประเทศ ปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่ง ที่ไดรับ ปญหาคนไรรัฐและไรสัญชาติ องคการ แรงกดดันทั้งจากภายในประเทศและตางประเทศ สหประชาชาติ (The United Nations) ไดให ก็คือ การเขาสูอํานาจทางการเมืองของรัฐบาล ความสําคัญตอปญหาคนไรรัฐและไรสัญชาติ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นั้นมีที่มาจาก ซึ่งเปนหนึ่งในปญหาใหญที่เปนผลพวงมาจาก รัฐประหาร ซึ่งสามารถแบงไดเปนสองสวน คือเปน ปญหาแรงงานขามชาติหรือแรงงานตางดาว แรงกดดันจากปจจัยทางการเมืองภายในประเทศ ที่มักถูกเลือกปฏิบัติจากสังคม สุดทายคนเหลานี้ และจากปจจัยทางการเมืองภายนอกประเทศ มักจะถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยตกเปนเปา ในสวนปจจัยทางการเมืองภายในประเทศนั้น และเหยื่อของกระบวนการมิจฉาชีพ และมีอัตรา ยอมไดรับการตอตานจากหลายฝาย โดยเฉพาะ เสี่ยงสูงเปนพิเศษตอการตกเปนเหยื่อของ การ ฝายที่สูญเสียอํานาจและกลุมคนจํานวนมากที่ คามนุษย บุคคลไรสัญชาติในประเทศไทย ใหการสนับสนุนรัฐบาลเดิมที่ถูกโคนอํานาจลง มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทั้งจากการใหกําเนิดบุตร 300 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ระหวางการทํางานในประเทศไทยและจากสาเหตุ ปจจัยจากประเทศมหาอํานาจ อื่น ๆ รวมทั่วประเทศมีบุคคลไรสัญชาติในไทย ปญหาการแสวงหาผลประโยชนจาก มากกวา 2 แสนคน (Thairath Online, 2015) ธุรกิจทางเพศหรือการคาบริการทางเพศ เชน ซึ่งจากรายงานระดับโลก ประจําป 2557 ที่จัดทํา การบังคับสตรีและเด็กหญิงคาประเวณี หรือ โดย สํานักงานปองกันยาเสพติดและปราบปราม การบังคับเพื่อธุรกิจทางเพศรูปแบบอื่น ๆ ผูตก อาชญากรรมแหงสหประชาชาติ (United Nation เปนเหยื่ออาจอยูในภาวะจํายอม หรือถูกบังคับ Office on Drugs and Crime: UNODC) ระบุวา ขูเข็ญใหขายบริการทางเพศ อันเปนการ คามนุษย “ปญหาการคามนุษยเปนปรากฏการณระดับโลก ในธุรกิจทางเพศ ตามรายงานระดับโลกประจํา อยางแทจริง”แรงงานอพยพที่ขาดเอกสาร ไมมี ป 2557 ที่จัดทําโดยสํานักงานยาเสพติดและ สถานะที่ถูกตองตามกฎหมาย ซึ่งมักทําให อาชญากรรมแหงสหประชาชาติ ระบุวา ระหวาง กลุมคนเหลานี้ไมกลาแจงความตอเจาหนาที่ ป 2553 - 2555 พบผูเสียหายอยางนอยใน ตํารวจถึงปญหาที่ตนเผชิญอยู ความไรรัฐและ 124 ประเทศ จาก 153 ประเทศทั่วโลก ซึ่งผูเสียหาย ไรสัญชาติหมายถึงการไมไดรับการปกปอง สวนใหญจากการคามนุษยที่พบเปนหญิงและเด็ก คุมครองและดูแลในฐานะพลเมืองของรัฐ จึงงาย ถูกแสวงหาประโยชนทางเพศ บังคับใชแรงงาน ตอการควบคุมและกดขี่ โดยรายงานของ และเพื่อวัตถุประสงคอื่น จากสถิติการดําเนินคดี สหประชาชาติระบุวา “การขาดสถานภาพ ในป พ.ศ. 2557 พบวาประเทศไทยยังคงมี ทางกฎหมายที่ถูกตองเปนปจจัยหลักที่ทําให 3 สถานะ คือ เปนทั้ง ประเทศตนทาง ที่สงเด็ก คนเหลานี้เสี่ยงตอการถูกแสวงหาประโยชน” และผูหญิงไปคาทั้งในภูมิภาคและนอกภูมิภาค ในหลายสถานการณปรากฏวา เจาหนาที่ของรัฐ ประเทศทางผาน คือ เปนผูรับเด็กและผูหญิงจาก มีการทุจริตและประพฤติมิชอบ นอกจากนี้ ประเทศอื่น ทั้งในภูมิภาคและนอกภูมิภาคเขามา เจาหนาที่ของรัฐในหลายพื้นที่ปฏิเสธสิทธิมนุษยชน และผานไปประเทศอื่น และ ประเทศปลายทาง ขั้นพื้นฐานของคนไรสัญชาติ เชน ไมยอมรับแจงเกิด ของการคามนุษย คือ นําเด็กและผูหญิงจากที่ หรือไมยอมออกหนังสือรับรองการเกิดในประเทศ ตาง ๆ มาคาบริการทางเพศในประเทศไทย ใหแกบุตรของคนไรสัญชาติ ทั้งที่มีพยานหลักฐาน สถานการณการคามนุษยเด็กและผูหญิง ที่ชัดเจนวาบุตรของคนไรสัญชาตินั้นเกิดใน ในธุรกิจทางเพศ ทั้งการบังคับ ลอลวง กักขัง ประเทศไทย และการไมยอมรับใหเขาเรียน ทารุณกรรมในประเทศไทยตามที่ไดกลาวมา ในสถานศึกษา หรือไมยอมออกวุฒิการศึกษาให เปนสถานการณที่รุนแรงและเลวรายตอผูตก รวมทั้งไมยอมประกาศอนุญาตใหคนไรสัญชาติ เปนเหยื่อของการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน สงผล ที่จบการศึกษาในระบบการศึกษาไทยทํางานได ใหประเทศไทยโดยเฉพาะรัฐบาลฯ ไดรับแรง ตามวุฒิการศึกษา เปนตน กดดันอยางหนักจากกลุมประเทศมหาอํานาจ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 301 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

แมจะมีการมองวาประเทศเหลานั้น ใชเปน ซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงศาสตราจารยประจํา ขออางในการกีดกันทางการคาของประเทศไทย มหาวิทยาลัยจอรจทาวน (Georgetown เพื่อผลประโยชนของประเทศตนเองก็ตาม University) ไดชื่นชมความพยายามของสื่อ แตประเทศไทยก็ไมสามารถปฏิเสธการคามนุษย เดอะการเดียน ที่ไดใชเวลาถึง 6 เดือนในการ ในธุรกิจทางเพศได เพราะเปนสถานการณ ทํารายงานเชิงสอบสวนชิ้นนี้ เพื่อตีแผเบื้องหลัง ที่เกิดขึ้นจริงในหลายพื้นที่เกือบทุกจังหวัด อุตสาหกรรมการประมงไทย ที่พบวาการทํางาน ของประเทศ และมีความสลับซับซอนของวิธีการ กะละ 20 ชั่วโมง โดนลงโทษโดยการโบย และสภาพปญหา ตามที่ประเทศมหาอํานาจ รวมไปถึงการทรมาน และสังหารในที่สุด “เปนงาน กลาว ซึ่งสอดคลองกับรายงานของกระทรวงการ ที่สําคัญเทาเทียมกับการทํางานของรัฐบาลและ ตางประเทศสหรัฐอเมริกา องคการสหประชาชาติ คือ การที่นักขาวสามารถ ปจจัยจากสื่อตางชาติ เปดโปงเรื่องเลวรายนี้ได” ศ. มารค ลากอน ปญหาแรงงานขามชาติในภาค กลาวตออีกวา “การเปดเผยนี้มีผลตอรัฐบาล ประมงทะเลของไทยเปนปญหาที่สื่อตางชาติ ประเทศที่ถูกตีแผในแงความเชื่อถือทางการคา หนังสือพิมพเดอะ การเดียน (The Guardian) โดยความเชื่อมั่นในสินคาอาหารทะเลที่ถูกสง ของอังกฤษ ไดใหความสนใจและใหความสําคัญ ออกไปขายจากไทยลวนแตไดรับผลกระทบ เปนอยางยิ่ง อุตสาหกรรมประมงทะเลถือไดวา ทั้งสิ้น” เรือประมงสัญชาติไทยออกไปหาสัตวนํ้า เปนหนึ่งในอุตสาหกรรมที่สําคัญของประเทศไทย ในทะเล ตองใชชีวิตอยูในเรือที่ออกไปกลางทะเล กอใหเกิดจํานวนแรงงานเกี่ยวกับการประมง เปนเวลาตั้งแต 1-5 ป โดยตองทํางานอยางหนัก ถึง 1,000,000 คน ประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศ มีเวลาพักผอนตอวันนอยมาก จากสภาพการ ผูสงออกผลิตภัณฑสัตวนํ้าทะเลรายใหญของโลก ทํางานดังกลาว ทําใหเกิดปญหาทั้งการจางงาน และมีความตองการแรงงานเพื่อรองรับกับ ที่ไมเปนธรรม การละเมิดสิทธิแรงงาน และการ อุตสาหกรรมดังกลาวในอัตราที่สูง แตเนื่องจาก คามนุษย นอกจากนี้ ยังเสี่ยงตอการถูกทําราย สภาพการทํางานที่หนัก มีเวลาพักผอนตอวัน รางกายและถูกฆาจากหัวหนางานหรือไตกงเรือ นอย สภาพความเปนอยูลําบากมาก รวมถึง หากทํางานไมเปนที่พอใจหรือเกิดเรื่องทะเลาะ เรื่องอาหารและยารักษาโรคที่มีไมเพียงพอ วิวาท เรื่องราวการทํารายฆาฟนมักจะเงียบหายไป หนังสือพิมพเดอะการเดียน ไดเสนอขาว จนแรงงานขามชาติเรียกสถานการณแบบนี้วา เชิงวิเคราะห เปดเผยถึงแรงงานตางดาวในไทย “นักโทษทางทะเล” นอกจากนี้ เดอะการเดียน ที่ตองทํางานหนักเยี่ยงทาสบนเรือประมงในธุรกิจ ยังรายงานวา “ไทยมีความกาวหนานอยมาก คากุงวาอาจสงผลใหไทยถูกสหรัฐฯขึ้นบัญชี ในการแกปญหาแรงงานทาส” ถึงแมจะถูกกดดัน ดํา หากรัฐบาลไทยยังเพิกเฉยไมจัดการปญหา อยางหนักและตอเนื่องจากสหภาพยุโรปและ การคามนุษย เอกอัครราชทูต มารค ลากอน สหรัฐอเมริกา (Manager Online, 2017) 302 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การคามนุษยในประเทศไทยนั้น ไดกอ “เทียร 2 ที่ตองจับตามองหรือเฝาระวัง” ใหเกิดความเสื่อมเสียตอภาพลักษณของ (tier 2 watch list) คือ ประเทศมีเหยื่อการคามนุษย ประเทศไทยเปนอันมาก อีกทั้งทําใหถูกเพงเล็ง เพิ่มขึ้น และไมสามารถแสดงหลักฐานใหเห็นวา โจมตี และกดดัน ทั้งจากสื่อตางชาติ องคกร มีความพยายามอยางเพียงพอ ระหวางประเทศ และประเทศมหาอํานาจ “เทียร 3” (tier 3) คือ ประเทศที่มี โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมประเทศคูคาในสหภาพ สถานการณคามนุษยเลวรายที่สุด ไมปฏิบัติ ยุโรป (European Union : EU) และสหรัฐอเมริกา ตามมาตรฐานขั้นตํ่าตามกฎหมายของสหรัฐ ไดนําปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเด็น และไมแสดงใหเห็นวามีความพยายามที่จะแกไข การคามนุษยของประเทศไทยมาเปนมาตรการ ปรับปรุง กดดันและกีดกันทางการคา และลดระดับโดยการ ซึ่งปจจุบันการซื้อสินคาหรือบริการของ ออกแถลงรายงานสถานการณการคามนุษยของ ผูบริโภค โดยเฉพาะอยางยิ่งผูบริโภคในประเทศ ประเทศไทย ประจําป 2557 หรือ TIP Report ตะวันตก ไมไดคํานึงถึงแตเพียงคุณภาพของ 2014 (U.S. Embassy and Consulate in สินคาเทานั้น แตยังดูวากระบวนการผลิตสินคา Thailand, 2014) จาก “เทียร 2 ที่ตองจับตามอง” หรือบริการมีการเอารัดเอาเปรียบแรงงานหรือ (tier 2 watch list) ลงไปอยูระดับ “เทียร 3” ทําใหชุมชนในพื้นที่ไดรับความเดือนรอนหรือไม (tier 3) ซึ่งเปนระดับตํ่าสุด และมีสถานการณ หากปรากฏวามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน การคามนุษยเลวรายที่สุด กระบวนการผลิต สินคาเหลานั้นก็จะถูกปฏิเสธ โดย รายงานสถานการณการคามนุษย แมจะมีคุณภาพดีก็ตาม ทําใหเกิดปญหาการ มีหลักที่สําคัญอยู 3 ประการคือ การปองกัน สงออกระหวางผูประกอบธุรกิจการคาของไทย การคุมครอง และการดําเนินคดีเกี่ยวกับการ กับกลุมประเทศคูคาดังกลาว สงผลกระทบตอ คามนุษย โดยแบงเกณฑการจัดระดับประเทศ เศรษฐกิจ สังคม และภาพลักษณของประเทศไทย ตาง ๆ เปน 4 ระดับ ไดแก อยางรุนแรง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในสวนของ “เทียร 1” (tier 1) คือ ประเทศที่สามารถ การประมงที่ผิดกฎหมาย (IUU) ที่มีการใชแรงงาน ดําเนินการไดตามมาตรฐานขั้นตํ่าตามกฎหมาย ทาส เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน เชื่อมโยงกับ ของสหรัฐ ในการปองกันและบังคับใชกฎหมาย ปญหาสถานการณการคามนุษยของประเทศไทย การตอตานการคามนุษย ระดับที่เลวรายที่สุด หากไทยไมดําเนินการแกไข “เทียร 2” (tier 2) คือประเทศที่ดําเนิน อาจถูกกีดกันสินคาในภาคประมง มูลคากวา ตามมาตรฐานขั้นตํ่าตามกฎหมายของสหรัฐ 2 แสนลานบาทตอป (Thai Government, 2017) ไมครบถวน แตมีความพยายามในดําเนินการ เนื่องจากประชาคมโลกมีความพยายามใหการ ตามมาตรฐานขั้นตาง ๆ ใหเห็นอยางชัดเจน สนับสนุนการกําหนดความรับผิดชอบของธุรกิจ ในการ “เคารพสิทธิมนุษยชน” Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 303 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

จากสภาพปญหาตาง ๆ ตามที่ไดกลาวมา ประเทศคูคาในสหภาพยุโรป (EU) ที่มีอํานาจ ซึ่งสงผลกระทบตอประเทศไทยในชวงเวลา ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีในระดับสูง เรียกวา ไลเลี่ยกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการละเมิดสิทธิ รัฐศูนยกลาง (core) แสวงหาประโยชนทาง มนุษยชนอยางรายแรง ในประเด็นการคามนุษย เศรษฐกิจและการเมืองจากประเทศที่กําลัง ที่มีการนําแรงงานขามชาติมาใชเปนแรงงานทาส พัฒนา เรียกวา รัฐกึ่งชายขอบ (semi-periphery) การบังคับและลอลวงเด็กและผูหญิงใหคาบริการ และประเทศดอยพัฒนา เรียกวา รัฐชายขอบ ในธุรกิจทางเพศ ไดกลายเปนประเด็นรอน ทําให (periphery) ไดงาย อาทิ การใชอํานาจทาง ถูกเพ็งเล็งโจมตีและไดรับแรงกดดันอยางหนัก เศรษฐกิจและการเมือง องคกรระหวางประเทศ ทั้งจากสื่อตางชาติ องคกรระหวางประเทศ และ ที่ฝายตนมีบทบาทและอํานาจ เขาขมขู ครอบงํา ประเทศมหาอํานาจ ผลักดันใหการแกไขปญหา เอารัดเอาเปรียบประเทศที่กําลังพัฒนาและ การคามนุษยที่มีมาอยางยาวนานเปนรูปธรรม ประเทศดอยพัฒนา สงผลใหประเทศมหาอํานาจ มากขึ้น ประกอบกับการเขาสูอํานาจทางการเมือง มีอิทธิพลและบทบาท สามารถบังคับ กดดันให ของรัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา โดยการ กลุมประเทศดังกลาวทําตาม นอกจากนี้ปจจัย รัฐประหาร ทําใหภาพลักษณที่มาของอํานาจ ภายนอกประเทศยังสงผลใหเกิดแรงกดดันจาก ในการปกครองประเทศไมดี และไมถูกตองตาม ปจจัยภายในประเทศไทยตอรัฐบาล ฯ ตามมา หลักประชาธิปไตย (democracy) ทั้งในสายตา อีกดวย ทั้งจากกลุมทางการเมืองในประเทศ ของประชาชนในประเทศ และชาวตางประเทศ กลุมผลประโยชน (interest group) หรือกลุม ที่นิยมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ผลักดัน (pressure group) ตาง ๆ นักการเมือง ตลอดจนคานิยมในปจจุบันของประเทศไทย ชนชั้นนํา (elite) และประชาชนที่ไดรับความ เริ่มตื่นตัวใหความสําคัญเรื่องสิทธิมนุษยชน เสียหายจากปญหาดังกลาว ซึ่งเปนตัวแสดง และความเทาเทียมเสมอภาคในสังคมมากยิ่งขึ้น (actor) ที่มีสวนในการปรับเปลี่ยนนโยบาย อันเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงแนวคิด สาธารณะ(public policy) แรงงานขามชาติ ทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ ที่ยังตองพึ่งพาการ ของรัฐบาลฯ การรับรูของรัฐบาลหรือผูนํา สงออก การลงทุน และเทคโนโลยีจากตางประเทศ (perception) ตอประเด็นปญหาตาง วาอะไร รวมทั้งระบบเศรษฐกิจไทยผูกกับระบบเศรษฐกิจ คือผลประโยชนแหงชาติในการปฏิสัมพันธกับ โลก ตามทฤษฎีระบบโลก ของ Immanuel ประเทศอื่น ๆ (interaction) ซึ่งสอดคลองกับ Wallerstien (Khlaythabthim, 2010) ที่กลาววา ทฤษฎีการเมืองเกี่ยวพันธ ของ James N. ความไมเทาเทียมระหวางรัฐ และโครงสราง Rosenau (Buasak, 1987) อธิบายไววา การปรับ ความสัมพันธเชิงไมเทาเทียมเชนนี้ เปนการ นโยบายเปนผลจากปจจัยภายในและปจจัย เปดโอกาสใหประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งในที่นี้ ภายนอก ปจจัยภายนอกในที่นี้หมายถึง ระบบโลก หมายถึงประเทศมหาอํานาจสหรัฐอเมริกา และ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา รวมถึงการ 304 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ใหความสําคัญตอประเด็นปญหาในโลก จึงเปนปจจัยที่เปนแรงกดดันใหรัฐบาล ยุคปจจุบัน นอกจากนี้ ยังกลาวถึงปจจัยภายใน พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ไมสามารถเพิกเฉย ที่มีสวนเกี่ยวของในการพิจารณาที่ตองคํานึงถึง ตอปญหาดังกลาวได โดยผูมีสวนเกี่ยวของใน คือ กระบวนการกําหนดนโยบาย (policy maker) 1) ตัวผูกําหนดนโยบาย (actor) ซึ่งใน คือ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ตองตัดสินใจ กรณีศึกษานี้หมายถึง พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ปรับเปลี่ยนนโยบายแรงงานขามขาติ ใหสามารถ เปนการพิจารณาคุณลักษณะสวนตัว เชน คานิยม แกไขปญหาดังกลาวไดอยางสัมฤทธิผล เพื่อสราง ความเชื่อ ทัศนคติ และประสบการณของผูกําหนด การยอมรับในเรื่องการใชอํานาจ พรอมทั้งลดแรง นโยบาย กดดันทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ 2) บทบาทของผูนําซึ่งผันแปรไปตาม ในคราวเดียวกัน และทาทีของรัฐบาล พลเอก องคกรที่ตนสังกัด ในที่นี้คือองคกรรัฐบาล หรือ ประยุทธ จันทรโอชา ตอปจจัยทั้งภายในและ คณะรัฐมนตรี ที่พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ภายนอกประเทศ ก็คือ เรงดําเนินการแกไข เปนหัวหนาฝายบริหารคือนายกรัฐมนตรี ปญหาแรงงานขามชาติอยางเรงดวน เมื่อวันที่ 3) ลักษณะของรัฐบาล เปนการพิจารณา 3 เมษายน 2558 ณ ตึกสันติไมตรีทําเนียบรัฐบาล ลักษณะโครงสรางของรัฐบาลที่เปนตัวจํากัด ซึ่งมี พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี หรือเอื้ออํานวย ตอการกําหนดทางเลือกในการ เปนประธานและไดมอบนโยบาย การปองกัน กําหนดนโยบาย ซึ่งในที่นี้ โครงสรางของรัฐบาล ปราบปรามการคามนุษย ใหเปนวาระแหงชาติ และสมาชิกสภาฯ มาจากการแตงตั้งทั้งหมดจาก โดยมีรัฐมนตรีและผูบริหารระดับสูงจากทุก รัฐประหาร อํานาจสูงสุดเด็ดขาดอยูที่หัวหนา หนวยงานที่เกี่ยวของเขารวมรับฟง สรุปสาระ คณะรัฐประหารที่มีฐานะเปนรัฏฐาธิปตย จึงเอื้อ สําคัญไดวา ตองเรงรัดบูรณาการการทํางานของ อํานวยตอการกําหนดหรือปรับเปลี่ยนนโยบาย ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อชวยกันสรางความ ของรัฐบาลฯ เขาใจใหเกิดขึ้นทั้งในประเทศและตางประเทศ 4) ลักษณะโครงสรางสังคม ในที่นี้ เรงสรางมุมมองสังคมไทยใหตระหนักวา หมายถึงสังคมไทย เชนกรณีการเปลี่ยนแปลง การคามนุษยเปนภัยใกลตัวและเปนการกระทํา ทางโครงสรางสังคมไปสูวัยผูสูงอายุหรืออายุ ที่ผิดกฎหมาย ตองเคารพในสิทธิมนุษยชน เกิน 60 ป มีสวนทําใหเกิดปญหาการขาดแคลน ของเพื่อนมนุษยดวยกัน และเรงปรับปรุงแกไข แรงงาน หรือคานิยมในประเทศไทยที่เริ่มตื่นตัว กฎหมายตาง ๆ ที่เปนอุปสรรค เพื่อใหทุกหนวยงาน ใหความสําคัญในเรื่องการยอมรับและเคารพ ที่เกี่ยวของทํางานรวมกันอยางเปนระบบไดอยาง ในสิทธิสวนบุคคล ความเทาเทียมเสมอภาคใน แทจริงและกวดขันการบังคับใชกฎหมายอยาง สังคม และสิทธิมนุษยชน มากขึ้น จริงจัง ไมวาจะเปนสถานที่ทองเที่ยว สถาน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 305 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ประกอบการ โรงงาน การประมง พรอมทั้ง ระหวางบริบทเชิงโครงสรางกับผูกระทํา ของ ดําเนินการกับผูกระทําความผิดทั้งขาราชการ Colin Hay (Suksong, 2007) ซึ่งกลาวถึง และพลเรือนอยาเด็ดขาด (นโยบายและแนวทาง ผูกระทําการ (agency) ซึ่งในที่นี้หมายถึง รัฐบาล การแกไขปญหาฯ โดยสังเขปไดนําเสนอไวแลว พลเอกประยุทธ จันทรโอชาที่อยูภายใตบริบท ในทายบทนํา) เชิงโครงสราง จะมีแนวคิดการยอนมองตัวเอง อภิปรายผลการวิจัย และกลยุทธอยูในตัวเอง โดยมีวัตถุประสงค ในกรณีศึกษานี้ พบวาทั้งปจจัยภายใน ที่จะกระทําตามความตองการภายในใจ จึงมักจะ และภายนอกประเทศตางสงผลกดดันตอรัฐบาล กระทําตามสัญชาตญาณหรือนิสัยของตนเอง พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ในการตัดสินใจ แตจะมีการคิดทบทวนเพื่อวางกลยุทธในการ กระทําการปรับเปลี่ยนโยบายแรงงานขามชาติ กระทํา การรับรู ของผูนําหรือรัฐบาลตอประเด็น พรอมทั้งมีทาทีตอปจจัยดังกลาว โดยการ ปญหาตาง ๆ และวิเคราะหวาอะไรคือสิ่งสําคัญ ใหความสําคัญตอการแกไขปญหาแรงงาน หรือเปนประโยชนแหงชาติ ที่สัมพันธกับ ขามชาติอยางเรงดวน โดยเฉพาะอยางยิ่งดาน เจตนาและความเปนไปไดภายใตบริบทที่เอื้อ การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเด็นการคามนุษย ซึ่งพลเอกประยุทธ จันทรโอชา มีปจจัยที่เอื้อ ไดบูรณาการกับทุกภาคสวนทั้งภายในและ คือมีฐานะเปนรัฏฐาธิปตย รวมทั้งคํานึงถึง ภายนอกประเทศในแกไขปญหาดังกลาวอยาง ผลประโยชนที่จะไดรับ โดยพยายามสราง เต็มที่ หากพิจารณาสถานการณในชวงหลัง ความชอบทําเรื่องการใชอํานาจการปกครอง สงครามโลกครั้งที่ 2 เครือขายของระบบรัฐ อยางสรางสรรค เพื่อใหรัฐบาลไดรับการสนับสนุน ไดพัฒนารูปแบบมาสูระบบสหประชาชาติ ซึ่งมี และมีเสถียรภาพ พรอมทั้งลดแรงกดดันทั้งจาก การวางกรอบจํากัดอํานาจรัฐ โดยอาศัยขอตกลง ภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งในการตัดสินใจ กฎเกณฑ และองคกรระหวางประเทศ ทําใหรัฐ เลือกใชกลยุทธนั้น ผูกระทําแตละคนจะเลือกใช เผชิญกับขอจํากัดในการกําหนดนโยบายมากขึ้น กลยุทธที่แตกตางกัน แมจะอยูในสถานการณ เปนทวีคูณ ทั้งนี้เพราะเครือขายนโยบายของรัฐ เดียวกัน ทั้งนี้เพราะมีความสนใจและความชอบ มีความซับซอนและสับสนมากขึ้น จํานวนผูมี ที่แตกตางกันนั่นเอง สวนเกี่ยวของ ประเด็นปญหาและขนาดของ ภายหลังจากที่รัฐบาลไดดําเนินการ ปญหาที่ตองตัดสินใจเพิ่ม ในขณะที่มีความ แกไขปญหาดังกลาวขางตนแลว สถานการณ สามารถ ความเปนอิสระ ประสิทธิภาพและ การคามนุษยในประเทศไทยป 2559 ดีขึ้น และ ประสิทธิผลในการแกปญหาลดลง อํานาจรัฐ ไดรับการเลื่อนระดับจากเดิมในระดับ “เทียร 3” (ในที่นี้หมายถึง รัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา) (tier 3) ซึ่งเปนระดับตํ่าสุด ขึ้นมาอยูในระดับ จึงเผชิญกับการทาทายอยางไมมีทางเลี่ยง “เทียร 2 ที่ตองจับตามองหรือเฝาระวัง” (tier 2 สอดคลองกับแนวคิดทางทฤษฎีปฏิสัมพันธ watch list) ซึ่งเปนกลุมที่มีความพยายามอยาง 306 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

มีนัยสําคัญที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานขั้นตํ่าของ รัฏฐาธิปตยอยู ซึ่งจะเอื้อตอการวินิจฉัยสั่งการ สหรัฐอเมริกาใหเห็นอยางชัดเจนจากรายงาน ใหขาราชการและทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ สถานการณการคามนุษยของประเทศไทย ดําเนินการแกปญหาไดอยางรวดเร็วทันการณ ประจําป 2560 หรือ TIP Report 2017 เมื่อวันที่ เพื่อมิใหปญหาการคามนุษยกลับมาทวีความ 27 มิถุนายน 2560 กระทรวงการตางประเทศ รุนแรงไดอีก สหรัฐอเมริกาไดประกาศใหประเทศไทยยังคงอยู 3. การปราบปรามปญหาการทุจริตหรือ ในระดับ “เทียร 2 ที่ตองจับตามอง” (tier 2 watch ประพฤติมิชอบของเจาหนาที่รัฐหรือขาราชการ list) ตอเนื่องมาในป 2560 (BBC, 2017) ทําให ทุกระดับ อยางเด็ดขาดและตอเนื่อง เพื่อรัฐบาล ยังคงภาพลักษณที่ดี ทั้งในดานเศรษฐกิจ สหรัฐฯ และเจาหนาที่ฝายบังคับใชกฎหมายของ การเมือง และสังคมของประเทศ สหรัฐฯ ยังคงเปนหุนสวนรวมมือทํางานกับรัฐบาล ไทยและภาคประชาสังคมในไทยในการพยายาม ขอเสนอแนะ ขจัดปญหาการคามนุษย 1. รัฐบาล ตองเรงดําเนินการขับเคลื่อน 4. รัฐบาล ควรใหการสนับสนุน สงเสริม การแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน การดําเนินงานของบุคคล หนวยงาน มูลนิธิ อยางตอเนื่องตอไป โดยเฉพาะในประเด็น ที่เสียสละทํางานตอตานการคามนุษยและการ “การคามนุษย” ซึ่งถือเปนอาชญากรรมขามชาติ ละเมิดสิทธิมนุษยชน เชน นางวีรวรรณ หรือบุม ที่ทั่วโลกใหความสนใจและมีความพยายาม หรือ บูม มอสบี ซึ่งสหรัฐอเมริกาไดยกยองเปน ที่จะแกไข ทั้งในระดับประเทศไทย และในระดับ สาวไทยดีเดน “ตานการคามนุษย” ไดรับรางวัล สากล เพื่อใหคนไทยและชาวตางชาติไมตอง ทิปฮีโร (TIP Report HERO Acting to End ตกเปนเหยื่อของการคามนุษย และเพื่อแสดง Modern Slavery Award) จากผลงานพัฒนา ความจริงใจตอนานาประเทศ โดยเฉพาะประเทศ แนวทางการใหบริการดานการปองกันการคามนุษย มหาอํานาจสหรัฐอเมริกาและประเทศคูคา โดยใหความสําคัญกับผูเสียหายเปนหลัก (Daily ในสหภาพยุโรป เพื่อปกปองสิทธิของประเทศไทย News, 2017) ตลอดจนการรวมมือกับสํานักงาน ในเวทีระหวางประเทศ ไมใหกระทบบรรยากาศ ตํารวจแหงชาติจัดตั้งศูนย Children Advocacy การคาการลงทุน Center ใน จังหวัดเชียงใหม ซึ่งเปนศูนย 2. รัฐบาลควรตั้งเปาหมาย ใหประเทศไทย ชวยเหลือเด็กแหงแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดขึ้นไปอยูในระดับ “เทียร 1” (tier 1) ในอนาคต ศูนยปฏิบัติงานตอตานการคามนุษยมูลนิธิ ซึ่งจะชวยกระตุนผลักดันใหมีความพยายาม กระจกเงาที่ทํางานตอตานการคามนุษยใน เพิ่มมากขึ้น ในการที่จะบรรลุเปาหมาย โดย ประเทศไทยมานานหลายป หนวยงานประสานงาน อาศัยโอกาสในขณะที่รัฐบาลยังมีฐานะเปน เพื่อตอตานการคามนุษย ภาคเหนือตอนบน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 307 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ประเทศไทย (Trafcord), มูลนิธิเพื่อความเขาใจเด็ก Publisher Company Limited. (in Thai) (Focus) เปนตน เพื่อเปนแบบอยางที่ดีของ Manager Online. (2017). International news ประชาชนในประเทศ เปนการกลอมเกลาทาง agencies continue to report on สังคม และสงเสริมใหประชาชนมีสาธารณ Thailand’s illegal fishing. UN ประโยชนจิต และมีสวนรวมในทางการเมือง reported “Thailand continues to use รวมมือกับรัฐบาลในการชวยแกไขปญหาของ illegal slave labor” to catch fishes in สังคมและประเทศชาติ ผลจากความตั้งใจรวมมือ territorial waters – leave them killed ของทุกฝาย จะทําใหเกิดความผาสุขตอมหาชน and be hungry till death. Retrieved ทั้งคนไทย และชาวตางชาติในประเทศไทย อันจะ April 17, 2017, from http://www.manager. สงผลใหประเทศไทยมีความเปน “อารยประเทศ” co.th/Around/ViewNews.aspx?News ในสังคมโลกอยางยั่งยืน ID=9600000032660 (in Thai) Niyomsin, S. (2015). Transnational crime: REFERENCES threats to Thailand and ASEAN. BBC. (2017). Thailand remained on tier Retrieved June 3, 2017, from http:// 2 watch list of U.S. trafficking in www.ms.ipsr.mahidol.ac.th/ persons report. Retrieved August 1, ConferenceXI/article2558_detail. 2017, from http://www.bbc.com/thai/ php?article_id=31, 2558 (in Thai) thailand-40420468 (in Thai) Suksong, K. (2007). The change of political Buasak, S. (1987). Thailand’s foreign policy role of Southern folk artist: case study adjustment to Vietnam. Master’s Mr. Moon Aonnom the shadow cast. Thesis Faculty of Political Science, Master’s Thesis Faculty of Political Chulalongkorn University. (in Thai) Science, Chulalongkorn University. Daily News. (2017). The United States (in Thai) recognized outstanding Thai. Daily Thai Government. (2017). King’s Science to News. 2017(June 29, 2017), 1,16. sustainable development. Retrieved (in Thai) June 30, 2017, from http://www. Limmanee, A. (2015). Government, society, thaigov.go.th/news/contents/ and changes. Bangkok: Siam Paritus details/4242 (in Thai) 308 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Thairath Online. (2015). There are more (2014). Trafficking In Persons Report than 200,000 stateless persons in in 2014. Retrieved January 21, Thailand. Retrieved June 4, 2017, 2017, from https://th.usembassy. from https://www.thairath.co.th/ gov/th/our-relationship-th/official- clip/26172 (in Thai) reports-th/2014-trafficking-persons- U.S. Embassy and Consulate in Thailand. report-thailand-th/ (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 309 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

การพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคจากวรรณกรรมพื้นบาน THE DEVELOPMENT OF CREATIVE TOURISM ACTIVITY BASED ON A FOLK LITERATURE อภิศักดิ์ คูกระสังข Apisak Koograsang

สาขาวิชาการทองเที่ยวและการโรงแรม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย Tourism and Hotel Program, Faculty of Management Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand*

[email protected]*

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาและวิเคราะหเนื้อหาของวรรณกรรมพื้นบาน (นิทาน ปลาบูทอง) 2) เพื่อพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยงเชิงสรางสรรคจากวรรณกรรมพื้นบาน และ 3) เพื่อจัด กิจกรรมและประเมินผลการทองเที่ยวเชิงสรางสรรควรรณกรรมพื้นบาน โดยใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพใชวิธีการสัมภาษณเชิงลึกและการสนทนากลุม ผูให ขอมูล คือ นักวิชาการ 2 คน ปราชญชาวบาน 2 คน สมาชิกกลุมองคกรวัฒนธรรมและคนไทย 34 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณเชิงลึกและแบบประเมินการจัดกิจกรรมการทองเที่ยว เชิงสรางสรรค การวิเคราะหขอมูลใชวิธีการวิเคราะหเชิงเนื้อหา สําหรับการวิจัยเชิงปริมาณใชสถิติพรรณนา ในเรื่องของความถี่ ผลของการวิจัย พบวา 1) วรรณกรรมพื้นบานปลาบูทองมี 29 แหลงขอมูล จัดเปน 6 ประเภท คือ หนังสือ 9 เลม เว็บไซต 6 แหง ภาพยนตร 4 เรื่อง บทละครโทรทัศน 3 ตอน งานวิจัย 3 เรื่อง และยูทูป 4 เรื่อง ซึ่งผูใหขอมูลสวนใหญรูจักนิทานพื้นบานปลาบูทองเปนอยางดี โดยสอนใหรูจัก ในเรื่องความมีคุณธรรม จริยธรรมและความกตัญู 2) กิจกรรมสามารถจัดไดเปน 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 เปนกิจกรรมที่เกี่ยวกับการแตงตัวเหมือนตัวละครในเรื่องปลาบูทอง การสอนการแสดงและการทํา ของที่ระลึก กลุมที่ 2 คือ กิจกรรมที่เกี่ยวกับการทําอาหารและเครื่องดื่มม็อคเทล การระบายสีรูปปน ดินเผาปลาบูทอง และกลุมที่ 3 คือ การจัดกิจกรรมการทองเที่ยว 1 วันในสถานที่ที่เกี่ยวกับนิทาน ปลาบูทอง และ 3) การประเมินผลของกิจกรรม พบวา อยูในระดับที่พอใจในทุกกิจกรรม เชน การแตงตัว 310 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เหมือนกับตัวละคร การทําอาหารและเครื่องดื่มม็อคเทล การระบายสีรูปปนดินเผาปลาบูทอง การจัด กิจกรรมการทองเที่ยว 1 วัน ในสถานที่ที่เกี่ยวกับนิทานปลาบูทอง

คําสําคัญ: การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค ปลาบูทอง วรรณกรรมพื้นบาน กิจกรรม

ABSTRACT The objectives of this research were to 1) study and analyze the content from folk literature (The Golden Goby or Pla Boo Thong), 2) develop creative tourism activities from folk literature, and 3) provide and evaluate creative tourism activities. The research methodology included qualitative and quantitative analysis. The instrument employed for collecting qualitative data was in-depth interviews and focus group. The data were collected from two academic people, two scholars, a member form cultural organization, and thirty-four Thais people. The research tools were in-depth interview form and the evaluation of creative tourism activities development form. The data were analyzed by using content analysis. For quantitative analysis, the data analyzed by using descriptive statistics, frequency. The research findings were follows; 1) There were twenty-nine information sources which are classified into six categories: nine books, six websites, four movies, three television dramas, three researches, and four stories on Youtube. Most of key informants were quite well-known folk literature (the golden goby or Pla Boo Thong) which was taught on the merit and gratitude. 2) There were three group activities. The first group activities were about dressed up like the Golden Goby, teaching acting and handmade souvenir. The second group activities were Thai food cooking, The painting on golden goby sculpture. The last group activities were a day trip to a place related to the Golden Goby. 3) The evaluation on the creative tourism activity development was on satisfied level in all aspects: dressed up Goby, cooking, and The painting on golden goby sculpture and a day trip to a place related to the Golden Goby.

Keywords: creative tourism, golden goby, folk literature, activity Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 311 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทนํา อีกทางหนึ่งดวย และการปกปองมรดกทาง การนําแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ วัฒนธรรมผานความคิดเชิงสรางสรรค เปนแนวทาง เชิงสรางสรรคมาเพื่อพัฒนาประเทศดานการ การอนุรักษวัฒนธรรมที่ยั่งยืนสําหรับวัฒนธรรม ทองเที่ยว ที่เรียกวา การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค ที่มีความเขมแข็งในระดับนอย ซึ่งจะกอเกิด (creative tourism) เปนแนวทางการพัฒนา นวัตกรรมเชิงวัฒนธรรมในระดับสูงได ในการปรับโครงสรางภาคบริการ ใหสามารถ (UNESCO, 2006) ดวยแนวคิดนี้ที่นับวาตรงกับ สรางมูลคาเพิ่มกับสาขาบริการที่มีศักยภาพ ความสนใจและความตองการของนักทองเที่ยว และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมบนฐานความคิด ในยุคนี้ที่มีความสนใจทองเที่ยวเมืองไทย และมี สรางสรรคและนวัตกรรม โดยใหความสําคัญ เปาหมายอันดับแรกเพื่อเยี่ยมชมแหลงทองเที่ยว ตอการบริหารจัดการการทองเที่ยวใหเกิด ทางวัฒนธรรม ทั้งนี้ ยังเปนการสนับสนุนให ความสมดุลและยั่งยืน และเนนการพัฒนาการ นักทองเที่ยวไดเรียนรู ซึมซับอยางลึกซึ้งกับมรดก ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและเปนมิตรตอ ทางภูมิปญญาทางวัฒนธรรมไทยซึ่งเปนการ สิ่งแวดลอม คํานึงถึงความสมดุลและความ สืบสานวัฒนธรรมไทยไดเปนอยางดี สามารถในการรองรับของแหลงทองเที่ยว มีการพัฒนายกระดับมาตรฐานสินคาและ วัตถุประสงคการวิจัย บริการ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใหมีคุณภาพ 1. เพื่อศึกษาและวิเคราะหเนื้อหาของ และเพียงพอ ตลอดทั้งมีการบูรณาการ วรรณกรรมพื้นบาน (นิทานปลาบูทอง) การทองเที่ยวใหเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม 2. เพื่อพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งสาขาการผลิต เชิงสรางสรรคจากวรรณกรรมพื้นบาน และบริการอื่น ๆ (Office of the National 3. เพื่อจัดกิจกรรมและประเมินผล Economic and Social Development Board; การทองเที่ยวเชิงสรางสรรควรรณกรรมพื้นบาน NESDB, 2011) แนวคิดการพัฒนามรดกภูมิปญญา ประโยชนของการวิจัย ทางวัฒนธรรมเปนกิจกรรมการทองเที่ยว 1. เปนแนวทางในการพัฒนากิจกรรม เชิงสรางสรรคจําเปนจะตองมีตนทุนทาง เชิงวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยวตอยอดดวย วัฒนธรรมเดิม ซึ่งเมื่อพัฒนาแลวจะเปนการสราง ความคิดสรางสรรคเพิ่มมูลคาแกแหลงทองเที่ยว มูลคาเพิ่มแกมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมแลว 2. เปนการสืบสานมรดกทางภูมิปญญา ยังเปนการชวยสงเสริมและอนุรักษมรดก ทางวัฒนธรรมของไทยใหมีความคงอยูสืบไป ภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของไทยดวยการทองเที่ยว 312 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ขอบเขตของการวิจัย ทฤษฎีที่เกี่ยวของ การศึกษาในครั้งนี้มีขอบเขตในการ หลักการวิเคราะหวรรณกรรมทองถิ่น ศึกษาดังนี้ ขอบเขตการศึกษาของมรดกทาง ประกอบดวย 5 องคประกอบ ดังนี้ โครงเรื่อง ภูมิปญญาทางวัฒนธรรมที่ขึ้นทะเบียนเปนมรดก ตัวละคร ฉาก กลวิธีการแตง การใชภาษา ภูมิปญญาทางวัฒนธรรมแหงชาติโดยกระทรวง การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค หมายถึง วัฒนธรรมในสาขาวรรณกรรมพื้นบาน สาขา การทองเที่ยวที่มอบโอกาสใหผูเยี่ยมเยือน นิทานพื้นบาน เรื่อง นิทานปลาบูทอง (Ministry ไดพัฒนาศักยภาพเชิงสรางสรรคดวยการ of Culture, 2013) มีสวนรวมในประสบการณการเรียนรูที่เปน

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การพัฒนากิจกรรมการ ทดลองจัดกิจกรรม วรรณกรรมพื้นบาน ทองเที่ยวเชิงสรางสรรค และประเมินผล (Creative Activity)  นิทานพื้นบานปลาบูทอง  นักวิจัย + ผูเชี่ยวชาญ+  นักทองเที่ยว ผูที่เกี่ยวของ  รวมกิจกรรมเชิงสรางสรรค-  พัฒนากิจกรรมการทองเที่ยว การอบรมเชิงปฏิบัติการ- เชิงสรางสรรควรรณกรรม ผูเชี่ยวชาญ พื้นบาน-นิทานปลาบูทอง  ประเมินผลการจัดกิจกรรม

หลักการวิเคราะหวรรณกรรม ทฤษฎีการทองเที่ยว 1. แนวคิดการวางแผน ทองถิ่น เชิงสรางสรรค และนําเที่ยว โครงเรื่อง (plot) (Raymond, 2010b) 2. การประเมินผลการจัด ตัวละคร (characters) กิจกรรมการทองเที่ยว ฉาก (setting) กลวิธีการแตง (technique) การใชภาษา (language) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 313 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

คุณลักษณะตามแหลงทองเที่ยวที่ผูเยี่ยมเยือนนั้น การนํานักทองเที่ยวตามรายการนําเที่ยว และ เขารวม (Richards & Raymond, 2000) ขั้นที่ 3 หลังจากการทองเที่ยว มีการประเมินผล กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค การจัดกิจกรรมที่ไดขอมูลจากนักทองเที่ยว มีสองขอที่เปนปจจัยขั้นพื้นฐานของรูปแบบการ รายงานยอดการใชจาย (Piyapimonsit, 2001) ทองเที่ยวนี้ ไดแก การใชความคิดเชิงสรางสรรค เปนกิจกรรมของนักทองเที่ยว และเปนฉากหลัง ระเบียบวิธีการวิจัย สําหรับการทองเที่ยว โดยนักทองเที่ยวตองเขาไป การศึกษาครั้งนี้ ไดมีการดําเนินการ มีสวนรวมในการทํากิจกรรมการทองเที่ยวเชิง ใน 3 สวน ไดแก 1) ศึกษาและวิเคราะหเนื้อหา วัฒนธรรมที่ดั้งเดิมและเปนของแท ที่ถายทอด ของวรรณกรรมพื้นบาน (นิทานปลาบูทอง) โดยเจาของ เพื่อใหเกิดประสบการณจากการ 2) เพื่อพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค รวมกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งมี จากวรรณกรรมพื้นบาน 3) เพื่อจัดกิจกรรม เกณฑของกิจกรรมที่ทําใหเกิดประสบการณ และประเมินผลการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค มีสี่ประเภท ดังนี้ การเรียนรูไดรับจากการประชุม วรรณกรรมพื้นบาน ซึ่งมีระเบียบวิธีวิจัย ดังนี้ เชิงปฏิบัติการ การชิมไดรับจากประสบการณ การเก็บรวบรวมวิจัยโดยใชการตรวจสอบ ในการปฏิบัติงานศิลปะ การเห็นจากรายการ สามเสาดานวิธีรวบรวมขอมูล จาก 1) การศึกษา นําเที่ยว และการซื้อของจากหนารานหรือรานคา วิจัยเอกสารที่เกี่ยวของ เปนวรรณกรรมพื้นบาน (Richards, 2010) ปลาบูทอง จํานวน 29 แหลงขอมูล 2) การสัมภาษณ การวางแผนการจัดรายการนําเที่ยว เชิงลึก โดยใชเครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ หมายถึง การจัดรายการนําเที่ยว หรือการจัดรวม แบบสัมภาษณเชิงลึกและแบบประเมินการ ผลิตภัณฑสินคาและบริการการทองเที่ยวเขาดวยกัน จัดกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคผูให เพื่อตอบสนองตอความตองการนักทองเที่ยว ขอมูลหลัก จํานวน 38 คน เปนนักวิชาการ 2 คน (Pimonsompong, 2005 ) ปราชญชาวบาน 2 คน สมาชิกกลุมองคกร การวางแผนการจัดทองเที่ยว มีขั้นตอน วัฒนธรรมและคนไทย 34 คน และ 3) การสนทนา การดําเนินงาน ดังนี้ ขั้นที่ 1 กอนการเดินทาง กลุม ตัวแทนกลุมผูที่มีสวนไดสวนเสียและผูที่ ทองเที่ยว การติดตอสื่อสาร การวางแผนกําหนด เกี่ยวของ ไดแก นักวิชาการ มัคคุเทศก ตัวแทนบริษัท กลุมเปาหมาย การเขียนรายการนําเที่ยว การ ทองเที่ยว นักพัฒนาการทองเที่ยว นักทองเที่ยว วางแผนกําหนดสถานที่นําชม การวางแผน นักศึกษา กําหนดวันเดินทาง การประสานการใชบริการ การทดลองจัดกิจกรรม ซึ่งจัดใหผูที่สนใจ ธุรกิจทองเที่ยวตาง ๆ การคิดราคาตนทุนรายการ เขารวมกิจกรรมโดยความสมัครใจและประเมินผล นําเที่ยว การวางแผนการสงเสริมการตลาด ขั้นที่ 2 ความพึงพอใจ ระหวางการทองเที่ยว มีการบริการนักทองเที่ยว 314 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ผูใหขอมูลหลักแสดงความคิดเห็นวา สรุปผลการวิจัย นิทานปลาบูทองปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม จากการศึกษาวิจัยจากแหลงขอมูล ในเรื่องความกตัญู บาปบุญคุณโทษ / ทําดีไดดี ที่เกี่ยวของกับวรรณกรรมพื้นบาน นิทานปลาบูทอง ทําชั่วไดชั่ว ความซื่อสัตย และสอนไมใหมีความ โดยใชการตรวจสอบสามเสาดานวิธีรวบรวม อิจฉาริษยาใหแกคนไทย และรับรูวาแหลงกําเนิด ขอมูล ซึ่งมีผลการวิจัยดังตอไปนี้ ของนิทานพื้นบานปลาบูทอง คือ ภาคกลางและ วัตถุประสงคการวิจัย ขอ 1 ศึกษา ประจวบคีรีขันธ และวิเคราะหเนื้อหาของวรรณกรรมพื้นบาน ผูใหขอมูลหลักตองการเขารวมกิจกรรม (นิทานปลาบูทอง) การทองเที่ยวเพื่อเกิดความสนุกสนาน เปนกิจกรรม การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ การศึกษา สรางสรรค ไดเพิ่มพูนความรูประสบการณใหม ๆ ขอมูลเรื่องปลาบูทองจากการทบทวนวรรณกรรม สืบสานนิทานพื้นบาน และมีความนาสนใจ ทั้งนี้ ที่เปนแหลงทุติยภูมิ คนควาจากแหลงขอมูล ควรเปนกิจกรรมที่มีความสนุกและคิดกิจกรรม ประเภทตาง ๆ พบวา ประเภทของแหลงขอมูล ที่ตรงตามเนื้อเรื่องตนฉบับมากที่สุด เรื่องปลาบูทอง ประกอบดวย หนังสือ จํานวน 9 เลม สําหรับการออกแบบกิจกรรมการทองเที่ยว เว็บไซต จํานวน 6 แหลง ภาพยนตร จํานวน 4 ครั้ง กิจกรรมการทองเที่ยวแบบมีสวนรวม คือ มีบูธ บทละครโทรทัศน จํานวน 3 เรื่อง งานวิจัย 3 เรื่อง ใหแตงตัวเหมือนตัวละครและถายรูปเปนที่ระลึก ยูทูป 4 เรื่อง รวมเปน 29 แหลงขอมูล หรือแตงคอสเพลย ออกบูธพรอมจัดกิจกรรม การสัมภาษณ จากการสัมภาษณผูที่มี นันทนาการโดยใชแนวคิดปลาบูทอง ใหสวม ความเกี่ยวของกับงานวิจัย ไดแก นักศึกษา บทบาทสมมติแสดงเปนตัวละครปลาบูทอง อาจารย ขาราชการ มัคคุเทศกอาชีพ ธุรการ เกมคําถามปลาบูทอง การทําขนม เชน ขนม ครูพี่เลี้ยง ผูประกอบอาชีพอิสระ และพนักงานบริษัท รูปปลาบูทอง ขนมไทย มีบูธสอนทําอาหารพื้นบาน เอกชน จํานวน 38 คน ซึ่งเปนผูใหขอมูลหลัก พบวา มีการประกวดรองเพลง ปริศนาคําทายปลาบูทอง ผูใหขอมูลหลักรูจักนิทานพื้นบาน กิจกรรมทําของที่ระลึก การวาดภาพจิตรกรรม เรื่อง ปลาบูทอง แกวหนามา ไกรทอง สังขทอง นําเที่ยวคลองเพื่อถายทอดวิถีชีวิตเรื่องราว นางสิบสอง พิกุลทอง และรูจักตัวละครในเรื่อง ในทองเรื่องนิทานปลาบูทอง เดินปา มีการ นิทานพื้นบานปลาบูทอง คือ เอื้อย อาย แสดงตลก การละเลนพื้นบานการรอนรําขาว แมปลาบูทอง ขนิษฐา ขนิษฐี โดยฉากประทับใจ สําหรับขอเสนอแนะอื่น ๆ ไดแก ควรจัด ในนิทานพื้นบานปลาบูทอง ไดแก ฉากเอื้อย กิจกรรมการทองเที่ยวเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบาน กับแมปลาบูที่ทานํ้าแลวรอนรําใหอาหารพรอมกับ ใหมากขึ้น ควรจัดกิจกรรมอยางตอเนื่องเพื่อให พูดคุยกับแมปลาบู ฉากแมปลาบูตายแลวกลับชาติ นักทองเที่ยวไดจดจํา การจัดกิจกรรมใหนักทองเที่ยว ไปเกิดเปนสิ่งตาง ๆ เขารวมจะไดลึกซึ้งกับนิทานพื้นบาน ตองออกแบบ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 315 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กิจกรรมเพื่อไมใหนาเบื่อ และเปนกิจกรรมที่ดี ซึ่งตอมาเปนกษัตริยครองเมือง สงผลใหเห็นวา ควรอนุรักษเปนมรดกของชาติไทย การทําดียอมไดดีเสมอ วัตถุประสงคการวิจัย ขอ 2 เพื่อพัฒนา ผลการจัดการสนทนากลุม เรื่อง “การพัฒนา กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคจาก กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคจากวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบาน พื้นบาน” โดยผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิจัยจาก จากการจัดสนทนากลุม พบวา ผูเขารวม วัตถุประสงคที่ 1 จากการสัมภาษณผูใหขอมูล เปนนักวิชาการ มัคคุเทศก ตัวแทนบริษัท หลัก แลวใหผูเขารวมกิจกรรมแบงกลุมการ ทองเที่ยว นักพัฒนาการทองเที่ยว นักทองเที่ยว สนทนา นําผลการวิจัยเพื่อไปใชในการออกแบบ นักศึกษา จํานวน 30 คน โดยมีการจัดกิจกรรม กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค โดยแบง 2 รูปแบบ ดังนี้ ผูเขารวมอบรมออกเปน 3 กลุมยอย ซึ่งสามารถ ผลการสัมมนา เรื่อง “บทบาทของ สรุปการสนทนากลุมได ดังนี้ วรรณกรรมพื้นบานตอการจัดการทองเที่ยว กลุมที่ 1 การสอนการแตงตัวแบบ เชิงสรางสรรคมรดกภูมิปญญาสูชุมชนอยาง ตัวละครในวรรณกรรมพื้นบานแลวถายภาพนิ่ง ยั่งยืน” สรุปผลได ดังนี้ นิทานพื้นบานเปนนิทาน การเรียนการแสดงละครเวทีวรรณกรรมพื้นบาน ที่พอแมเลาใหแกลูกหลานฟงในรูปแบบของ การสรางสินคาของที่ระลึกเปนกรอบรูป เชน นิทานกอนนอน ซึ่งแทรกคติความเชื่อ คําสอน รูปใบโพธิ์ รูปตนมะเขือ รูปปลาบูทอง เปนตน ใหรูชั่วดี กตัญูรูคุณ หรือบอกเลาภูมิปญญา กลุมที่ 2 การสอนทําอาหารพื้นบาน สอดแทรกไวในนิทานพื้นบานอยางลงตัว ในกรณี ที่มีวัตถุดิบมาจากมะเขือ การทําผาบาติกลวดลาย ของนิทานพื้นบานปลาบูทองนั้นเปนนิทานที่สอน ตามตัวละครในวรรณกรรมพื้นบาน การสาน เรื่องกตัญูรูคุณ การที่ตัวละครเอกของเรื่องนั้น เครื่องจักสานเปนรูปตามตัวละครในวรรณกรรม สูญเสียมารดาจากโศกนาฏกรรมภายในครอบครัว การสอนการจับปลาดวยเครื่องมือทองถิ่น จากความอิจฉาริษยาของเมียอีกคนของเศรษฐี การออกแบบเกมนันทนาการ การใหความรูเกี่ยวกับ ผูเปนสามี สงผลใหตัวละครเอกที่ชื่อเอื้อย มะเขือ สรรพคุณทางยาสอนการปรุงยาจาก เกิดความรูสึกเหงาและคิดถึงมารดาที่จากไป มะเขือ และทําใหตองหาทางผอนคลายความเหงา กลุมที่ 3 กิจกรรมการทองเที่ยว 1 วัน โดยการไปคุยกับปลาบูที่ทานํ้า ตนมะเขือ ตนโพธิ์ มีการจัดกิจกรรมการทองเที่ยวไปยังสถานที่ ซึ่งเอื้อยเชื่อวาเปนมารดาของตนกลับชาติมาเกิด ทองเที่ยวที่ยอนรําลึกถึงวรรณกรรมพื้นบาน ซึ่งมิวายที่ตัวอิจฉาของเรื่องนั่นก็คือเมียอีกคน เรื่องปลาบูทอง ไดแก กิจกรรมเรียนรูการทํา ของพอ และลูกของนางทั้งสองกลั่นแกลงเอื้อย เครื่องปนดินเผา การปนจักรยานทําบุญไหวพระ ทั้งนี้อานิสงคความกตัญูตอมารดาทําให การสอนทําอาหารที่ใชวัตถุดิบมาจากบทละคร ทายที่สุดแลวเอื้อยไดเปนพระมเหสีของเจาชาย ในวรรณกรรมพื้นบาน การสอนพายเรือตามลํานํ้า 316 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การประดิษฐของที่ระลึกที่บอกเลาเรื่องราวใน นักทองเที่ยวเลือกกิจกรรมการทองเที่ยวดวย นิทานพื้นบานตอนที่สําคัญ ตนเอง ไดแก กิจกรรมการเรียนทําอาหาร กิจกรรม วัตถุประสงคการวิจัย ขอ 3 เพื่อจัด การเรียนผสมเครื่องดื่มม็อคเทลสมุนไพร กิจกรรม กิจกรรมและประเมินผลการทองเที่ยว การเรียนปนเซรามิกและลงสี กิจกรรมการเรียน เชิงสรางสรรควรรณกรรมพื้นบาน การแสดงละครเวทีปลาบูทอง กิจกรรมการสราง การทดลองจัดกิจกรรมการทองเที่ยว สินคาของที่ระลึกเปนกรอบรูป เชน รูปใบโพธิ์ เชิงสรางสรรคจากวรรณกรรมพื้นบาน มีผูเขารวม รูปตนมะเขือ รูปปลาบู เปนตน กิจกรรมการทํา กิจกรรมจํานวน 30 คน หลังจากที่เขารวมกิจกรรม ผาบาติกลวดลายตามตัวละครในวรรณกรรม การทองเที่ยวเชิงสรางสรรคจากวรรณกรรมพื้นบาน พื้นบาน กิจกรรมการสานเครื่องจักสานเปนรูป แลว ไดทําแบบประเมินผลการจัดกิจกรรม ตามตัวละครในวรรณกรรม กิจกรรมการสอน การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค พบวา กิจกรรม การจับปลาดวยเครื่องมือหาปลาทองถิ่น กิจกรรม การระบายสีเครื่องปนดินเผารูปปลาบูทอง มีคา การออกแบบเกมนันทนาการปลาบูทอง กิจกรรม คะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมา คือ การผสม การแกะสลักมะเขือ กิจกรรมการสอนปรุงยาจาก เครื่องดื่มมอกเทลปลาบูทอง การทําอาหารจาก มะเขือ กิจกรรมการสอนการพายเรือตามลํานํ้า มะเขือ และการเรียนการแตงตัวและถายภาพ เปนตน จากนั้นนัดหมายวันและเวลาที่นักทองเที่ยว ตามลําดับ และจัดการทองเที่ยวตามรายการ จะเขามาทองเที่ยว ผูรับผิดชอบออกใบนัดหมาย นําเที่ยวการทองเที่ยวเชิงสรางสรรควรรณกรรม ใหแกนักทองเที่ยว พื้นบานปลาบูทอง มีขั้นตอนในการดําเนินงาน ชําระคาบริการทองเที่ยว ไดแก การชําระ การบริการนักทองเที่ยวที่สนใจ ดังขั้นตอนดังนี้ ดวยเงินสดกับผูรับผิดชอบ หรือการโอนเงิน ขั้นตอนที่ 1 กอนการจัดทองเที่ยว ทางธนาคาร เมื่อนักทองเที่ยวชําระเงินแลวผูรับ นักทองเที่ยวที่สนใจติดตอผูรับผิดชอบ ผิดชอบออกใบสําคัญรับเงินใหแกนักทองเที่ยว ผานชองทางการสื่อสารตาง ๆ ไดแก โทรศัพท ผูรับผิดชอบทําการยืนยันการทองเที่ยวกับ เว็บไซต เครือขายสังคมออนไลน เชน เฟซบุค นักทองเที่ยว กอนวันนัดหมาย ประมาณ 1 - 2 วัน ไลน ทวิตเตอร อินสตาแกรม เปนตน และการ ขั้นตอนที่ 2 ระหวางการทองเที่ยว เดินทางเขามาพบดวยตนเอง ตอนรับนักทองเที่ยวดวยนํ้าดื่มมอกเทล นักทองเที่ยวกรอกใบจองรายการนําเที่ยว สมุนไพรพื้นบาน เลือกรูปแบบรายการนําเที่ยวที่เหมาะสม ไดแก ใหนักทองเที่ยวเลือกเรียนการแตงตัว ก.รายการนําเที่ยวสําหรับครึ่งวัน ข.รายการ ตามตัวละครพื้นบานที่นักทองเที่ยวตองการ นําเที่ยวสําหรับ 1 วัน และ ค.รายการนําเที่ยว โดยใหใสตลอดการปฏิบัติกิจกรรมการทองเที่ยว สําหรับ 2 วัน 1 คืน หลังจากเลือกรูปแบบ เชิงสรางสรรค การทองเที่ยวไดแลว จากนั้นเปดโอกาสให Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 317 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

นํานักทองเที่ยวปฏิบัติกิจกรรมการ ของภาคอีสาน และโนราของภาคใต และเปนการ ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคตามรูปแบบที่นักทองเที่ยว เสนอผานสื่อสมัยใหม ไดแก สื่อภาพยนตร ละคร ไดเลือกไวจนครบถวนสมบูรณ โทรทัศน ละครจักร ๆ วงศ ๆ ขอความรวมมือนักทองเที่ยวใหประเมินผล ในการสัมภาษณ พบวาผูใหขอมูลหลัก ความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมการทองเที่ยว รูจักนิทานพื้นบาน เรื่อง ปลาบูทอง แกวหนามา เชิงสรางสรรคเพื่อใชในการปรับปรุงกิจกรรม ไกรทอง สังขทอง นางสิบสอง พิกุลทอง สอดคลอง สงนักทองเที่ยวกลับโดยสวัสดิภาพ กับงานวิจัยของ ขวัญชนก นัยจรัญ (Naicharan, มอบของที่ระลึกจากชุมชน 2015) ที่พบวามีวรรณกรรมที่มีนิทานพื้นบาน ขั้นตอนที่ 3 หลังการจัดทองเที่ยว จํานวน 54 เรื่อง เปนนิทานพื้นบานที่คนไทย 3.1 ฝายบัญชีและการเงิน ทําบัญชี รูจักดีมาแตครั้งสมัยอดีต และใหความคิดเห็นวา การเงินรายรับรายจายจากการจัดกิจกรรม นิทานปลาบูทองปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม การทองเที่ยว ในเรื่องความกตัญู บาปบุญคุณโทษ การทําดี 3.2 วิเคราะหผลการประเมินความ ไดดี ทําชั่วไดชั่ว ความซื่อสัตย และสอนไมใหมี พึงพอใจจากนักทองเที่ยว ความอิจฉาริษยาใหแกคนไทย สอดคลองกับ 3.3 ผูรับผิดชอบหารือกัน เพื่อพิจารณา กฤษฎา อยูเย็น (Yuyen, 2003) ที่พบวาละคร ผลการประเมินความพึงพอใจของนักทองเที่ยว ปลาบูทองมีการปลูกฝงวัฒนธรรมดานตาง ๆ แนวทางการปรับปรุง และวิเคราะหขอดี ขอเสีย ไดแก ความเมตตากรุณา ความกตัญูกตเวที แนวทางการปรับปรุงการจัดการการทองเที่ยว ความขยันหมั่นเพียร ความอดทนอดกลั้น ของตนเอง และนําไปใชปรับปรุงการจัดการ ความเปนผูมีสัมมาคารวะ และดานความสามัคคี ทองเที่ยวครั้งตอไป ผูใหขอมูลหลักรับรูวาแหลงกําเนิดของ อภิปรายผลการวิจัย นิทานพื้นบานปลาบูทอง คือ ภาคกลางและ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ปลาบูทอง ประจวบคีรีขันธ สอดคลองกับ สืบพงศ ธรรมชาติ เปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมที่ขึ้นทะเบียน (Thammachat, 2016) ที่ไดศึกษาแลวพบวา เปนนิทานพื้นบานภาคกลาง (Ministry of ปลาบูทองเปนหนึ่งในหาของนิทานประโลมโลก Culture, 2012) สอดคลองกับนํ้ามนต อยูอินทร ของภาคใต (Yuin, 2014 ) ปลาบูทองมีพัฒนาการจากนิทาน ผูใหขอมูลหลักตองการเขารวม พื้นบานมุขปาฐะหรือใชสวด จดบันทึกในสมุดไทย กิจกรรมการทองเที่ยวเพื่อเกิดความสนุกสนาน หรือใบลาน พิมพโดยเครื่องพิมพเปนเลมเผยแพร เปนกิจกรรมสรางสรรค ไดเพิ่มพูนความรู เปนการแสดงพื้นบานภาคกลาง คือ ละครชาตรี ประสบการณใหม ๆ สืบสานนิทานพื้นบาน และ ละครนอก หุนกระบอก ลิเก เพลงทรงเครื่อง และ มีความนาสนใจ สอดคลองกับนํ้ามนต อยูอินทร หนังตะลุง เปนการแสดงพื้นบาน ไดแก หมอลํา (Yuin, 2014) วรรณกรรมพื้นบานปลาบูทอง 318 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ที่นําเสนอผานรูปแบบวรรณกรรมตาง ๆ สงผลให 2 องคประกอบ ไดแก 1) กิจกรรม 2) ฉากหลัง คนไทยชื่นชอบเพราะมีเนื้อเรื่องสนุกสนาน ซึ่งตองมีรวมกัน และ ไพทูรย ทองชิม และคณะ ชวนติดตาม อีกทั้งแทรกคติโลกธรรมไวดวย (Thongchim et al., 2013) ในการจัดกิจกรรม นอกจากนั้นแลว งานวิจัยของ ดวงพร พุทธวงค การทองเที่ยวจะตองมีเรื่องราวเชิงประวัติศาสตร และทรายทอง อุนนันกาศ ( Budhawong & รวมกับการจัดกิจกรรมการทองเที่ยวตามรอย Unnankart, 2013) ยังไดพบวา นักทองเที่ยว พระพุทธเจาหลวงในจังหวัดสงขลา เพื่อแสดง จะมีสวนรวมในกิจกรรมการทองเที่ยวโดยชุมชน กิจกรรมศิลปะ และวัฒนธรรมการแสดงทองถิ่น ไดนั้น พิจารณาจาก 2 ประการ คือ ประการที่ 1 นอกจากนั้นแลว การจัดกิจกรรมการ ความพึงพอใจในดานการบริหารจัดการ การ ทองเที่ยวเชิงสรางสรรค ยังสอดคลองกับการ อํานวยความสะดวก สภาพแวดลอม และการ ศึกษาของ วันทนา เนาววัน (Naowan, 2013) รักษาความปลอดภัย ประการที่สอง ดานการ ในการศึกษาบริบทชุมชนและศักยภาพของ มีสวนรวมในผลประโยชนใหแกชุมชนทองถิ่น ทรัพยากรทองเที่ยวชุมชนบางกระสั้น อําเภอ จะเกิดขึ้นไดดวยปจจัย 4 ประการ ไดแก ศักยภาพ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา ความพรอมของพื้นที่ การรักษาความหลากหลาย หากเปนชุมชนซึ่งมีทรัพยากรธรรมชาติ และ ของสินคาและบริการ การบริหารจัดการโดยชุมชน วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตก็จะสามารถจัดเปน มีสวนรวม และการรวมการพัฒนาการทองเที่ยว แหลงทองเที่ยวชุมชนได ซึ่งมีกิจกรรมที่นาสนใจ เขาอยูในการวางแผนพัฒนาขององคกรปกครอง ไดแก อาหารพื้นบาน งานหัตถกรรม วิถีเกษตร สวนทองถิ่นและหนวยงานราชการในระดับ ดั้งเดิม ชีวิตริมนํ้า การประมงพื้นบาน ภูมิปญญา จังหวัด และงานวิจัยของ รัชดา จิรัชมากุล สิ่งปลูกสรางบานทรงไทย และความกระตือรือรน (Jirathamakul, 2016) ที่พบวานักทองเที่ยว ของชุมชน ทั้งนี้ตองมีการสนับสนุนจากองคกร ที่แตกตางกัน จะมีความถี่ในการทองเที่ยว ปกครองสวนทองถิ่นหรืออาจมีการกําหนด แตกตางกันสภาพแวดลอมทางกายภาพ และ รูปแบบการทองเที่ยว เปนการทองเที่ยวแบบ การปฏิสัมพันธกับชุมชน ความถี่ในการทองเที่ยว ครึ่งวัน เต็มวัน แบบ 2 วัน 1 คืน โดยจัดใหมี ความภักดี มีผลตอความพึงพอใจโดยรวมของ การพักในชุมชนแบบหรือโฮมสเตย นักทองเที่ยว ความพึงพอใจรวมมีความสัมพันธ กับความภักดีตอการทองเที่ยวในชุมชน ขอเสนอแนะ ในการจัดกิจกรรมการทองเที่ยว การทดลองจัดกิจกรรมการวิจัยควรเชิญ เชิงสรางสรรคนั้น สอดคลองกับ เกร็ก ริชารด ผูที่มีความเชี่ยวชาญในการนํากิจกรรม เพื่อความ (Richard, 2010) ที่พบวา การจัดกิจกรรมตองมีการ สนุกสนานและตอเนื่องของกิจกรรมการทองเที่ยว บอกเลาเรื่องราวเปนเหมือนฉากหลังตามรูปแบบ เชิงสรางสรรคการเลือกกลุมตัวอยางที่ใชทดลอง การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค ซึ่งประกอบดวย วิจัยควรเลือกนักทองเที่ยวที่มีความตองการ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 319 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เขารวมกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคจริง basis for community-based tourism ซึ่งนักทองเที่ยวจะใหความสนใจในการทํากิจกรรม management. Retrieved June 26, และมีความลึกซึ้งตามรูปแบบฯ 2016, from http://www.dasta.or.th. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป (in Thai) 1. ควรทําการวิจัยในวรรณกรรมพื้น Jirathamakul, R. (2016). The development บานประเภทอื่น เพื่อเปนการฝกฝนความชํานาญ guidelines of creative cultural ในการวิจัยในงานรูปแบบอื่น community-based tourism of 2. ใหทดลองจัดกิจกรรมในการทองเที่ยว Ban Ka-nan Community, Thalang เชิงสรางสรรคในรูปแบบอื่น ไดแก การทองเที่ยว District, Phuket Province. Cultural เชิงเกษตร กิจกรรมเพื่อเด็กและครอบครัว ศิลปะ Approach, 3-17. (in Thai) การประพันธ กิจกรรมกลางแจง วิทยาศาสตร Ministry of Culture. (2013). Thai cultural ศิลปะเสนใยและการทอผา ศิลปะการทําอาหาร wisdom heritage. Retrieved July 3, ศิลปะการแสดง การเตนรํา และดนตรี การเดิน 2016, from http://ich.culture.go.th/ ตามรอยและการเที่ยวชมสถานที่ index.php/th/ich/folk-literature/253- tales/108-----m-s (in Thai) REFERENCES Naicharan, K. (2014). An analysis of Boonpanyarote, S. (2016). An analysis popularity reflection in Thai from of the dark side of selected tales folktales. Journal of humanities and figures, Ramkhamhaeng university. social sciences Mahasarakham Journal humanities edition. Volume 1, University. 33(6) November – December, issue 1, 175-191. (in Thai) 223-233. (in Thai) Budhawong, D. & Unnankart, P. (2013). Naowan, W. (2013). The development of The achievement of participation community-based tourism pattern in community-based. tourism activities: at Bangkrasun, Bang Pa-in District, a case study of Kad Kong Ta. Ayutthaya Province. Faculty of Walking Street, . Management Sciences, Phra Nakhon Panyapiwat Journal. 5(1) July – Si Ayutthaya Rajabhat University. December,1-16. (in Thai) Retrieved July 3, 2016, from http:// Designated Areas for Sustainable Tourism management.aru.ac.th/ctour/index. Administration (Public Organiza- php?option=com_content&view=ar tion). (2016). A manual of standard ticle&id=14&Itemid=13 (in Thai) 320 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Office of the National Economic and Social and European Tourism. NY: Cabi Development Board; NESDB. (2011). Publishing. Rukkanchanant, N. & The Eleventh National Economic Vanichwatanavorachai, S. (2016) and Social Development Plan (2012- The learning experiences by using 2016). Retrieved July 5, 2016, from literature-based for enhancing social http://www.nesdb.go.th/ Default. skills of early childhood”. Veridian aspx?tabid=395 (in Thai) E-Journal, Silpakorn University, 9(2), Pimonsompong, C. (2005). Planning and 815 – 827. Retrieved July 5, 2016, tourism marketing development. from https://www.tci-thaijo.org/in- Bangkok: Faculty of Humanities, dex.php/Veridian-E-Journal/article/ Kasetsart University. Retrieved July view/66941/54670 (in Thai) 5, 2016, from http://library.ap.tu. Srinutham, S. (2009). A study of the ac.th/dublin.php?ID=13399121568 construction of parental-child power (in Thai) relations in Pla Boo Thong. Chiangmai: Piyapimonsit, C. (2001). Measurement Chiangmai University. (in Thai) and evaluation: meaning and type. Thammachat, S. (2016). Ethics in the Retrieved July 10, 2016 from: http:// Southern literature of the folk tale www.watpon.com/Elearning/mea1. story. Walailak Abode of Culture htm (in Thai) Journal. February 27. 16(1) January – Richards, G. (2010). Creative tourism and June. 173-176. Retrieved July 5, 2016, local development. In Wurzburger, from https://www.tci-thaijo.org/index. R. (Ed.). Creative tourism a global php/cjwu/article/view/95387/74513 conversation how to provide unique Thongchim, P., Tarasuk, P. & Sakulcharnnarong, creative experiences for travelers N. (2013). Travel to resuscitate worldwide. Presented at the 2008 the historic routes retracing the Santa Fe & UNESCO International KingRama V in 5 Southern Province: Conference on Creative Tourism in Songkhla Phatthalung; Nakhon Santa Fe. (pp. 78–90). New Mexico. Si Thammarat; Trang and Satun. USA. City of Santa Fe, Texas, USA Sonkla: Hatyai University. (in Thai) on 28 September–2 October 2008. UNESCO. (2006). Towards sustainable strat- Richards, G. (2000). Cultural attractions egies for creative tourism discussion. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 321 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Report of the planning meeting for Nakornpathom: Film Archive (Public 2008 International conference on Organization). (in Thai) creative tourism. Santa Fe, New Yuyen, K. (2003). An Analysis of Virtue in Mexico, U.S.A. October 25-27, 2006 the Adapted Screenplay of Pla-Bu- Yuin, N. (2014). The evolution of fairy tales to Thong. Bangkok: Graduate School, fantasy films in Thai Society. Faculty Srinakharinwirot University (in Thai) of Arts, Mahidol University, Thailand. 322 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Research Article

ภาวะผูนําในการพัฒนาเครือขายสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษาอําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี LEADERSHIP IN DEVELOPMENT OF THE OTOP PRODUCT NETWORK IN CULTURAL ATTRACTIONS: A CASE STUDY OF SAMKHOK DISTRICT, PATHUMTHANI PROVINCE วชิรวิทย วิชาสวัสดิ์ Wachirawit Wichasawat

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย Department of Public Administration, Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand

[email protected]

บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาบริบทการดําเนินงานของเครือขายสินคา หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี และ 2) ศึกษาภาวะผูนําในการพัฒนาเครือขายสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี โดยใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณผูใหขอมูล จํานวน 15 คน วิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหเชิงเนื้อหาและการวิเคราะหสวนประกอบ ผลการวิจัยพบวา บริบท การดําเนินงาน ประกอบดวย ผูนํากลุม สมาชิกของกลุม ผลิตภัณฑโอทอป (OTOP) และแหลงทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ และภาวะผูนําในการพัฒนาเครือขายสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก พบวา สวนใหญจะแสดงออกดานการสรางแรงบันดาลใจ การใสใจตอสมาชิก รวมถึงการมีศีลธรรมในการดําเนินงาน การวางแผนการดําเนินงาน และการ เปดใจกวางรับสิ่งตาง ๆ โดยที่ดานการเสริมสรางจิตสํานึกตอสังคมยังแสดงออกไดไมเดนชัดนัก

คําสําคัญ: ภาวะผูนํา โอทอป แหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 323 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ABSTRACT This research was intended to study 1) the operational context of the OTOP product network in cultural attractions in Samkhok District, Pathumthani Province, and 2) the leadership in the development of the OTOP product network in cultural attractions in Samkhok District, Pathumthani Province. This research was qualitative with 15 in-depth interviews. The content analysis and componential analysis were applied for data analysis. The research results showed that the operational context of the OTOP product network consisted of the leaders, the group members, the OTOP products, and the cultural attractions at the sites. The leadership in the development of the OTOP product network in cultural attractions in Samkhok District found that most leaders expressed their leadership in the field of: encouraging inspirational motivation of subordinates, considering and well-wishing toward others, having morality in doing business, having capability in strategic thinking, and being openness. By encouraging the social consciousness, there is yet no clear expression.

Keywords: leadership, OTOP, cultural attractions

บทนํา อําเภอสามโคก ถือเปนแหลงทองเที่ยว ยุทธศาสตรที่ 1 การสรางความเขมแข็งใหแก ที่มีความสําคัญและโดดเดนของจังหวัดปทุมธานี ภาคการเกษตร การผลิต การคาและบริการ มีการตั้งถิ่นฐานของกลุมชาติพันธุที่หลากหลาย ดวยการดําเนินกลยุทธการพัฒนาการทองเที่ยว เชน มอญ จีน และมุสลิม เปนตน กอใหเกิด เชิงวัฒนธรรมและวิถีชาวปทุมธานี พบวา ไดมี วัฒนธรรมทองถิ่นที่มีอัตลักษณแตกตางกันไป การจัดตั้งกลุมผลิตสินคาโอทอป (OTOP) โดยใช และไดสืบสานและถายทอดเปนภูมิปญญา วัตถุดิบที่มีอยูในทองถิ่นผสมผสานกับภูมิปญญา ตอกันมาจนกลายเปนมรดกทางวัฒนธรรม พื้นบานรังสรรคมาเปนสินคาโอทอป (OTOP) ที่ลํ้าคาของชาวสามโคก (MSS Cable Network, ที่ไดรับความสนใจและมีคุณภาพจนไดรับการ 2017) นอกจากนั้น อําเภอสามโคกยังไดตอบสนอง คัดสรรใหเปนสุดยอดหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ นโยบายรัฐบาลโดยมุงยกระดับคุณภาพการผลิต ไทย หรือ OPC (OTOP Product Champion) สินคาและบริการ โดยการสงเสริมผลิตภัณฑ ระดับ 3 - 5 ดาว ไดแก กาละแม ไขเค็ม หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) และการ โคมไฟไมไผ เปนตน สวนสถานที่ทองเที่ยว ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามแผนยุทธศาสตร ในเขตอําเภอสามโคกซึ่งสวนใหญเปนแหลง การพัฒนาจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมประเภทศาสนสถาน 324 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตลอดสองริมฝงแมนํ้าเจาพระยาที่ไหลผาน (OTOP) ในการพัฒนาเครือขายสินคาที่ไดรับ ที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวและเชื่อมโยงกับ OPC ระดับ 3 - 5 ดาว ที่สามารถสรางชื่อเสียง เครือขายโอทอป (OTOP) ไดแก วัดเจดียทอง และเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วัดไผลอม วัดจันทรกะพอ และโบราณสถาน ในเขตอําเภอสามโคกใหสามารถดึงดูดใจ เตาโองอาง เปนตน (Khamwachirapithak et al., นักทองเที่ยวใหมาเยือน ผลของการวิจัยครั้งนี้ 2016; Thaitambon, 2017) จะเปนขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาภาวะ เมื่อพิจารณาแนวทางที่มุงสงเสริมสินคา ผูนําของกลุมสินคาโอทอป (OTOP) ที่มีศักยภาพ โอทอป (OTOP) และการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สามารถพัฒนารวมกับแหลงทองเที่ยวในทองถิ่น ใหมีความสอดคลองเกื้อกูลกัน โดยที่ทําใหการ ใหมีภาวะผูนําที่เหมาะสม และเปนประโยชน พัฒนาเครือขายสินคาโอทอป (OTOP) ในแหลง ตอหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของในการนําผลการ ทองเที่ยวทางวัฒนธรรมในเขตอําเภอสามโคก วิจัยมาประยุกตในการบริหารและจัดการกิจการงาน ใหมีความเปนเลิศทั้งในดานการผลิตสินคา ใหมีประสิทธิภาพและสามารถนํามาใชไดจริง โอทอป (OTOP) และใหสามารถเชื่อมโยงกับ ตามบริบทของทองถิ่น การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมได พบวาปจจัย การวางแผนการทํางานเปนสวนหนึ่งในการ วัตถุประสงคของการวิจัย ทําใหการพัฒนาดังกลาวนี้ประสบความสําเร็จ 1. ศึกษาบริบทการดําเนินงานของ แตปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่จะเปนเครื่อง เครือขายสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ชี้วัดความสําเร็จของกลุมสินคาดังกลาวนั้นได ในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก คือ ผูนําและภาวะผูนําของผูนํากลุมสินคาโอทอป จังหวัดปทุมธานี (OTOP) อาจกลาวไดวาผูนําเปนบุคคลที่มี 2. ศึกษาภาวะผูนําในการพัฒนา ความสําคัญของความมีประสิทธิภาพ และความ เครือขายสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) มีประสิทธิผลขององคการ ในขณะที่ภาวะผูนํา ในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก หมายถึงพฤติกรรมหรือกระบวนการที่บุคคลหนึ่ง จังหวัดปทุมธานี มีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่นหรือกลุมในการทํางาน เพื่อใหบรรลุผลตามเปาหมาย ทั้งนี้ หากผูนํา ขอบเขตของการวิจัย มีภาวะผูนําที่ดีจะสามารถนํากิจการขององคการ 1. ขอบเขตดานประชากร คือ ผูนํา ใหประสบความสําเร็จตามเปาหมาย และ กลุมสินคาโอทอป (OTOP) กลุมผูนําทางศาสนา ขับเคลื่อนไปสูความเขมแข็งขององคการได และเจาหนาที่ภาครัฐที่เกี่ยวของกับกลุมสินคา (Chongvisal, 2006; Surdcharee, 2007) โอทอป (OTOP) อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ดังนั้น ผูวิจัยจึงมีความสนใจในการ 2. ขอบเขตดานเนื้อหา ศึกษาเกี่ยวกับ ศึกษาภาวะผูนําของผูนํากลุมสินคาโอทอป บริบทการดําเนินงานของเครือขายสินคาโอทอป Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 325 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

(OTOP) และภาวะผูนําในการพัฒนาเครือขาย ระเบียบวิธีวิจัย สินคาโอทอป (OTOP) ในแหลงทองเที่ยว การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยในเชิง เชิงวัฒนธรรม อําเภอ สามโคก จังหวัดปทุมธานี คุณภาพ 3. ขอบเขตพื้นที่ที่ทําการศึกษา คือ ผูใหขอมูล ใชวิธีการคัดเลือกแบบ อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เจาะจง พิจารณาจากวัตถุประสงคของการวิจัย เปนสําคัญ โดยคัดเลือกจาก 3 กลุม คือ 1) ผูนํา กรอบแนวคิดของการวิจัย กลุมสินคาโอทอป (OTOP) ที่ไดรับการคัดสรร จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ สุดยอดหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑไทย หรือ OPC ไดแก การดําเนินงานวิสาหกิจชุมชน คุณลักษณะ (OTOP Product Champion) ระดับ 3 - 5 ดาว ของภาวะผูนํากลุมวิสาหกิจชุมชน (Meksuwan ไดแก กลุมวิสาหกิจชุมชนขนมไทย กลุมอาชีพ et al., 2015; Chongvisal, 2006) และ สตรีบานตนโพธิ์ กลุมอาชีพหัตถกรรมบานโพธิ์ แนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กลุมดอกไมประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติ กลุม (Jittungvarttana, 2005; Sanglimsuwan ดอกไมประดิษฐจากผาใยบัว กลุมวิสาหกิจชุมชน et al., 2012) สามารถกําหนดกรอบแนวคิด คอตตอนดีไซน และกลุมอาชีพบานโพธิ์ จํานวน ในการศึกษา ดังนี้ 7 คน 2) กลุมผูนําทางศาสนาและความเชื่อ

ผูนํากลุม ภาวะผูนําในการ สมาชิกของกลุม บริบทการดําเนินงาน พัฒนาเครือขาย ของเครือขายโอทอป โอทอป (OTOP) ผลิตภัณฑโอทอป (OTOP) อําเภอสามโคก แหลงทองเที่ยว

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 326 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ไดแก เจาอาวาสวัดที่ตั้งอยูริมฝงแมนํ้าเจาพระยา จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ และเชื่อมโยงกับกลุมสินคาโอทอป (OTOP) และการสัมภาษณผูใหขอมูล พบวา บริบทการ ไดแก วัดบานพราวนอก วัดบานพราวใน วัดสะแก ดําเนินงานของเครือขายสินคาโอทอป (OTOP) วัดเจดียทอง วัดไผลอม วัดจันทรกะพอ วัดสิงห ที่ไดรับรางวัล OPC ระดับ 3 ดาวขึ้นไป และ และโบราณสถานเตาโองอาง จํานวน 7 รูป และ เชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอ 3) เจาหนาที่ภาครัฐที่เกี่ยวของ ไดแก เจาหนาที่ สามโคก มีรายละเอียดปรากฏดังนี้ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี จํานวน 1) ผูนํากลุม พบวา เปนผูมีความรู 1 คน รวมผูใหขอมูลสําคัญทั้งสิ้น จํานวน 15 คน เกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่น มีความคิดสรางสรรค เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก มีวิสัยทัศนกวางไกล และกลาที่จะลองผิดลองถูก แบบสัมภาษณที่มีลักษณะขอคําถามปลายเปด ในหลากหลายวิธีการจนสามารถคิดคนผลิตภัณฑ ที่ไดรับการตรวจสอบความตรงของขอคําถามกับ ใหม ๆ ไดอยางเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีความ วัตถุประสงคในการสัมภาษณและความเหมาะสม สามารถในการเปนตัวกลางในการเปนผูนํากลุม ของขอคําถาม ในแงความถูกตองเหมาะสมของ ในการผลิตสินคาโอทอป เพื่อสรางอํานาจตอรอง ภาษาที่ใชจากผูเชี่ยวชาญ โดยผูวิจัยสัมภาษณ ทางการตลาดและประสานความรวมมือจาก แบบเจาะลึกเปนรายบุคคล หนวยงานภาครัฐ การวิเคราะหขอมูล ใชวิธีการวิเคราะห 2) สมาชิกของกลุม พบวา เปนการ เนื้อหา และการวิเคราะหสวนประกอบ ดวยการ รวมกลุมคนในชุมชนประมาณ 10-50 คน ที่มี จัดหมวดหมูขอมูลที่ไดจากขอคําถามจากการ อุดมการณเดียวกัน มีความตองการจะเรียนรู สัมภาษณ การตีความแยกตามประเด็นและ สิ่งใหม ๆ เพื่อสรางความเขมแข็งรวมถึงการ แหลงขอมูล หลังจากนั้นจึงวิเคราะหและประเมิน สรางเอกลักษณใหกับชุมชนของตนเองผานทาง ความหมายของขอมูลตามกรอบบริบทของ ผลิตภัณฑสินคาโอทอปใหมีตลาดรองรับ แหลงขอมูลตามประเด็นวัตถุประสงคของ สามารถสรางรายไดและทําเปนกิจการที่ยั่งยืน การวิจัย 3) ผลิตภัณฑ OTOP พบวา เปน ผลิตภัณฑที่เกิดจากการตอยอดภูมิปญญาทองถิ่น สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบประยุกต เพื่อตอบสนอง สรุปผลการวิจัย ความตองการของตลาด ซึ่งสวนใหญจะผลิต 1. บริบทการดําเนินงานของเครือขาย จากวัสดุดิบในทองถิ่นของตนเพื่อสรางการรับรู สินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในแหลง ถึงคุณคาของผลิตภัณฑโอทอปของทองถิ่นนั้น ๆ ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก 4) แหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ จังหวัดปทุมธานี พบวา สวนใหญเปนวัดตลอดเสนทางริมฝงแมนํ้า Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 327 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เจาพระยา มีกลุมผูผลิตสินคา OTOP ที่ไดรับ ดีไซน ดอกไมประดิษฐจากผาใยบัวของกลุม OPC ระดับ 3 ดาวขึ้นไป กระจายอยูตามแหลง ดอกไมประดิษฐจากผาใยบัว และโคมไฟไมไผ ทองเที่ยวที่เปนวัด และสามารถดึงดูดใหนักทองเที่ยว ลายดอกบัวของกลุมอาชีพหัตถกรรมบานโพธิ์ เดินทางมาทองเที่ยวดวยคุณคาของมรดกทาง ซึ่งอยูใกลแหลงทองเที่ยวถึง 3 แหง คือ วัดเจดีย วัฒนธรรมที่มีอยู และมีความเหมาะสมในการ ทอง วัดไผลอม และวัดจันทรกะพอ ทองเที่ยวเพื่อเรียนรูวัฒนธรรมทองถิ่นเชื่อมโยง 3) บัวธานีราชินีแหงไมนํ้าของกลุม กับเครือขายสินคา OTOP สามารถนําเสนอเปน ดอกไมประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติ อยูใกลแหลง กลุม ๆ ไดดังนี้ ทองเที่ยวถึง 3 แหง คือ วัดสะแก วัดสิงหและ 1) ไขเค็มของกลุมอาชีพสตรีบานตนโพธิ์ โบราณสถานเตาโองอาง อยูใกลวัดบานพราวในและวัดบานพราวนอก ทั้งนี้ สามารถแสดงรายละเอียดเครือ 2) ขนมกาละแมของกลุมวิสาหกิจชุมชน ขายกลุมสินคา OTOP ในแหลงทองเที่ยวเชิง ขนมไทย การบูรหอมแฟนซีของกลุมอาชีพบานโพธิ์ วัฒนธรรม อําเภอสามโคก ดังนี้ ผาหมทอมือของกลุมวิสาหกิจชุมชนคอตตอน

ตารางที่ 1 เครือขายกลุมสินคา OTOP ในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก

กลุมสินคาโอทอป (OTOP) รายละเอียด แหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 1. กลุมวิสาหกิจชุมชนขนมไทย ตั้งอยูที่ ตําบลคลองควาย มีสมาชิก - วัดเจดียทอง ที่มีเจดียทรงรามัญ หมู 6 ตําบลคลองควาย 20 คน มีสินคา OTOP คือ ขนมไทย แบบเจดียอนันทะ เจดียทรงปรางค โบราณ โดยที่ผลิตภัณฑขนมไทย ประดับดวยกระเบื้องเคลือบสวยงาม ที่ไดรับ OPC ระดับ 4 ดาว คือ และพระพุทธรูปปางมารวิชัยศิลปะ กาละแม มอญสรางดวยแกวหยกสีขาว 2. กลุมอาชีพสตรีบานตนโพธิ์ ตั้งอยูที่ ตําบลเชียงรากใหญ มีสมาชิก - วัดบานพราวใน ที่มีพระประธาน 15 คน มีสินคา OTOP คือ ผลิตภัณฑ หลวงพอโตและเจดียที่มีศิลปะแบบ ไขเค็ม และไดรับ OPC ระดับ 4 ดาว รัตนโกสินทรตอนตน - วัดบานพราวนอก ที่มีหอพระ ไตรปฎก ศาลาไมสักทรงไทย และ เจดียเกาแกทรงรามัญ 3. กลุมอาชีพหัตถกรรมบานโพธิ์ ตั้งอยูที่ ตําบลคลองควาย มีสมาชิก - วัดเจดียทอง 10 คน มีสินคา OTOP คือ งาน - วัดไผลอม หัตถกรรม โดยที่ผลิตภัณฑหัตถกรรม - วัดจันทรกะพอ ที่ไดรับ OPC ระดับ 3 ดาว คือ ที่มีศิลปะการกอสรางแบบไทย ผลิตภัณฑโคมไฟไมไผลายดอกบัว ประยุกตผสมรามัญ 328 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 1 (ตอ)

กลุมสินคาโอทอป (OTOP) รายละเอียด แหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4. กลุมดอกไมประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติ ตั้งอยูที่ ตําบลกระแชง มีสมาชิก 50 คน - วัดสะแก มีสินคา OTOP คือ ผลิตภัณฑดอกไม - วัดสิงหและโบราณสถานเตา ประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติ โดยที่ โองอาง ที่มีพิพิธภัณฑโบราณวัตถุ สินคาหรือผลิตภัณฑที่ไดรับ OPC ศิลปะมอญ และการทําอิฐมอญ ระดับ 3 ดาว คือ บัวธานี ราชินีแหง แบบโบราณดวยภูมิปญญาทองถิ่น ไมนํ้า ซึ่งเปนดอกไมประดิษฐจาก ใหเห็นอยูทั่วไป ยางพารา 5. กลุมดอกไมประดิษฐจากผาใยบัว ตั้งอยูที่ ตําบลบางเตย มีสมาชิก 10 คน - วัดเจดียทอง มีสินคา OTOP คือ ผลิตภัณฑ ดอกไมประดิษฐ โดยที่ผลิตภัณฑ ที่ไดรับ OPC ระดับ 4 ดาว คือ ดอกไม ประดิษฐจากผาใยบัว 6. กลุมวิสาหกิจชุมชนคอตตอนดีไซน ตั้งอยูที่ ตําบลบางเตย มีสมาชิก 22 คน - วัดเจดียทอง มีสินคา OTOP คือ ผลิตภัณฑผาทอ ของชาวมอญ โดยที่ผลิตภัณฑที่ไดรับ OPC ระดับ 4 ดาว คือ ผาหมทอมือ และระดับ 5 ดาว คือ กระเปาผา 7. กลุมอาชีพบานโพธิ์ ตั้งอยูที่ ตําบลคลองควาย มีสมาชิก - วัดเจดียทอง 21 คน มีสินคา OTOP คือ ผลิตภัณฑ - วัดไผลอม การบูร โดยที่ผลิตภัณฑที่ไดรับ OPC - วัดจันทรกะพอ ระดับ 3 ดาว คือ การบูรหอมแฟนซี

2. ภาวะผูนําในการพัฒนาเครือขาย สรุปองคประกอบของภาวะผูนําของผูประกอบ สินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในแหลง การวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมไทย ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก เพื่อเปนแนวทางในการศึกษา และจากการ จังหวัดปทุมธานี สัมภาษณผูใหขอมูล สามารถสรุปผลการ มิติในการศึกษาภาวะผูนําของ สัมภาษณปรากฏดังนี้ ผูนํากลุมสินคาโอทอป (OTOP) ประกอบดวย 2.1 การสงเสริมแรงบันดาลใจ หลายมิติ และเพื่องายตอการวิเคราะหขอมูล ผูใตบังคับบัญชา ในการศึกษาครั้งนี้ไดนําแนวคิดของ รัตติกรณ จากการสัมภาษณ พบวา การ จงวิศาล (Chongvisal, 2006) มาศึกษาและ สงเสริมแรงบันดาลใจของผูนํากลุมเปนการ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 329 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

แสดงออกของผูนําในการสรางแรงบันดาลใจ สําคัญที่สุดคือทําใหสมาชิกรูสึกมีคาและมีความ แกสมาชิก เกิดความรูสึกเปนสวนหนึ่งของกลุม สําคัญกับกลุม...” (ผูนํากลุม B) อยากใหกลุมมีชื่อเสียงและความสําเร็จรวมกัน 2.3 การมีศีลธรรมในการ ซึ่งผูนําตองใชความสามารถในการจูงใจ การ ประกอบการ เสริมแรง การชวยเหลือสมาชิกไดอยางเหมาะสม จากการสัมภาษณ พบวา การมี “...คนที่จะเปนผูนํากลุมนี่นะ ศีลธรรมในการประกอบการของผูนํากลุมเปนการ จะตองมีวิธีที่จะทําใหผูอื่นทําตามได ตองพูด แสดงออกของผูนําในการประพฤติปฏิบัติตาม คุยและรับฟง จะไดรูอะไร ๆ มามาสรางเปน หลักธรรมในการดําเนินงาน มีความมุงมั่นทุมเท เปาหมาย เปนความหวังรวมกันและตองทําใหได ใสใจตอผลิตภัณฑของกลุมและสมาชิกกลุม ดวยนะ...” (ผูนํากลุม A) ในเรื่องของความซื่อสัตยสุจริต “...ผูนําตองมีวิธีการจูงใจ “...โอกาสที่จะโกงสมาชิก ใหสมาชิกทํางานอยางทุมเทแรงใจ แรงกาย ในกลุม มันมีแนนอน เพราะเราเปนผูนํากลุม อยางกลุมของเราก็จะใหเงินพิเศษกับคนที่คิดคน มีชองทางเยอะแยะที่จะโกง แตถามวาเราจะทําไป ผลิตภัณฑใหม ๆ และตองเปนที่ตองการ ทําไม ในเมื่อเรารวมกลุมกันขึ้นมา มีอุดมการณ ของตลาดดวยนะ...” (ผูนํากลุม C) รวมกัน ขอใหยึดมั่นในศีลธรรมดีกวา ซื่อสัตยไว 2.2 การใสใจและปรารถนาดีตอ ทั้งตอตัวเองและคนอื่น รับรองยั่งยืนแนนอน...” ผูอื่น (ผูนํากลุม C) จากการสัมภาษณ พบวา “...ขึ้นชื่อวาผูนํา ที่สําคัญตองมี การใสใจและปรารถนาดีตอผูอื่นของผูนํากลุม สัจจะและมีเหตุผลที่จะอธิบายถึงสิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้น เปนภาวะผูนําที่ตองคํานึงถึงความแตกตางของ นั่นคือ ตองมีความซื่อสัตยทั้งตอตนเองและกลุม สมาชิก เชน ความรู ประสบการณ ความถนัด ไมเห็นแกเงินทองและสวนตางจากการขายสินคา นอกจากนั้น ความแตกตางระหวางสมาชิก ของกลุม ตองมีธรรมะประจําใจและเห็นแก ยังเปนสาเหตุที่อาจทําใหเกิดปญหาในกลุมได ประโยชนสวนรวมเปนที่ตั้ง...” (เจาอาวาสวัด B) ผูนํากลุมตองยอมรับและพยายามโนมนาว 2.4 ความสามารถในการคิดเชิง และชี้นําใหสมาชิกยอมรับความแตกตางซึ่งกัน ยุทธศาสตร และกัน จากการสัมภาษณ พบวา “...ผูนําตองเอาใจใสสมาชิก ความสามารถในการคิดเชิงยุทธศาสตรเปน เปนรายคน สอบถามปญหาในการทํางานอยู ความสามารถในการคิดวิเคราะหและตัดสินใจ เนือง ๆ ตองทําใหสมาชิกคนอื่น ๆ ในกลุมยอมรับ ของผูนํากลุม เปนการแสดงออกถึงการใช ความแตกตางของเพื่อนใหได เพราะวาบางคน ทักษะในการคิดแบบรวบยอดและแปลงมาเปน มีความรู บางคนมีความชํานาญไมเหมือนกัน ยุทธศาสตรการดําเนินงานของกลุมในการ 330 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

สรางสรรคผลิตภัณฑใหเกิดความแตกตาง เมืองนี้คงโดนผลกระทบนะ ไมทางตรงก็ทางออม ผสานกับศักยภาพของแหลงทองเที่ยวที่กลุมของ ผูนําจะตองมีแนวทางคืนกําไรสูชุมชนใหไดนะ...” ตนตั้งอยูทําใหเปนที่รับรูและตองการของตลาด (เจาหนาที่ภาครัฐ) “...การตัดสินใจอะไร ๆ เพื่อกลุม “...จิตสํานึกตอสังคม ไมใช ผูนําตองมีวิธีคิด ทั้งเรื่องของตลาด สถานการณ แคผูนํานะ สมาชิกเองก็ตองมีดวย แตผูนํา ดานการทองเที่ยว ความนิยมของนักทองเที่ยว ตองทํากอน สมาชิกถึงจะยอมรับวาเปนสิ่งที่ ที่มาสามโคก ตองเขาใจเรื่องราวตาง ๆ สุดทาย ถูกตองและดีงาม แลวจะเลียนแบบ ผูนําจึงตอง เมื่อไดผลสรุปแลว ก็ทําเปนขั้นตอน แบงงาน มองใหไกลขึ้นไปอีก ซึ่งจะทําใหเกิดความพอดี กันทํา ทําใหสมาชิกมั่นใจไดวาเปาหมายของกลุม กับสังคม และอาจจะปรึกษากับภาครัฐใหมาเปน จะเปนจริงได...” (ผูนํากลุม D) พี่เลี้ยงในเรื่องนี้ได...” (เจาอาวาสวัด E) 2.5 การเสริมสรางจิตสํานึกตอ 2.6 การเปดกวางยอมรับสิ่งตาง ๆ สังคม จากการสัมภาษณ พบวา จากการสัมภาษณ พบวา การเปดกวางยอมรับสิ่งตาง ๆ ของผูนํากลุม การเสริมสรางจิตสํานึกตอสังคมเปนบทบาทที่ เปนการแสดงออกของผูนําในฐานะผูควบคุม ผูนําที่มีความคิดในลักษณะการแสวงหากําไร และผูสรางสัมพันธภาพที่ดีภายในกลุม โดยการ อยางมีความรับผิดชอบ กลาวคือ ผูนําตองมี รับฟงความคิดเห็นของสมาชิกของกลุมดวยความ วิสัยทัศนสามารถมองอนาคตที่กวางไกลสําหรับ ยุติธรรม และสามารถบริหารจัดการกลุมไดอยาง สรางการเปลี่ยนแปลงทั้งในผลิตภัณฑและ เหมาะสม แหลงทองเที่ยวที่อาจจะไดรับผลกระทบจาก “...ผูนํากลุมตองพรอมยอมรับ การดําเนินงาน ผูนําตองทําใหสมาชิกของกลุม ความเห็นตางของสมาชิก ตองเอาความเห็นนั้น เกิดการตระหนักถึงผลกระทบที่ไมใชแตเพียง มาคิด เพราะมันอาจจะเปนประโยชนตอการ ผลประโยชนที่จะเกิดขึ้นภายในกลุม แตยัง นําไปใชจริงไดในวันขางหนาได...” (ผูนํากลุม A) หมายรวมถึงผลประโยชนที่กลับคืนสูทองถิ่น “...ผูนําตองคิดหาวิธีที่จะทําให ดวยเชนกัน กลุมพัฒนาใหดียิ่งขึ้น บางทีเราก็จะมีวิทยากร “...เราเปนแคกลุมธุรกิจเล็ก ๆ จากมหาวิทยาลัยบาง กรมพัฒนาชุมชนบาง แตก็ไมใชวาจะไมใสใจตอชุมชนนะ กลุมจะทํา มาใหความรูพัฒนาสินคาใหขายไดขายดีนะ...” อะไร ก็ใหคิด ใหระวัง ไมกอความเดือนรอนใคร (ผูนํากลุม C) แตจะใหทําแบบบริษัทใหญยังไมมี...” (ผูนํา จากการวิเคราะหความคิดเห็น กลุม F) เกี่ยวกับภาวะผูนําทั้ง 6 องคประกอบดังกลาว “...ผูนําจะตองทําใหสมาชิก ขางตน อาจกลาวไดวา บริบทดานผูนํากลุม เขาใจวาการทําธุรกิจของกลุม คนอื่น ๆ ในบานนี้ สมาชิกกลุม ผลิตภัณฑ และแหลงทองเที่ยว Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 331 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ในพื้นที่ มีความสัมพันธกับภาวะผูนํา ซึ่งผูนํา ความรวมมือกับภาครัฐและเอกชนที่มีสวน กลุมสวนใหญจะแสดงออกถึงการสรางแรง เกี่ยวของในการพัฒนาดานการตลาดเพื่อทําให บันดาลใจ การใสใจตอสมาชิก รวมถึงการมี เกิดการคาขายแบบไดผลประโยชนแกทั้งสองฝาย ศีลธรรมในการดําเนินงาน การวางแผนการ อยางยั่งยืน จนไดรับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบล ดําเนินงานสรางสรรคผลิตภัณฑใหมีคุณภาพ หนึ่งผลิตภัณฑไทย ระดับ 3-5 ดาว ดังเชนงาน และสรางความพึงพอใจแกลูกคาได และพรอม วิจัยของ ชุติมันต สะสอง และ คณะ (Sasong นอมรับคําแนะนําเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑใหดี et al., 2016) ที่ศึกษาเกี่ยวกับความรวมมือของ ยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังพบวาบริบทดานสมาชิก ผูมีสวนไดเสียและแผนธุรกิจที่มีบทบาทในการ กลุมที่เปนการรวมกลุมกันในลักษณะของ ขับเคลื่อนกลุมวิสาหกิจหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ธุรกิจขนาดเล็กมีความสัมพันธกับการเสริม ใหมีความไดเปรียบในการแขงขันอยางยั่งยืน สรางจิตสํานึกตอสังคม ถือเปนการจัดการ สรุปวาการดําเนินงานของกลุมวิสาหกิจจังหวัด เชิงสถานการณในพื้นที่แหลงทองเที่ยวที่ตอง แมฮองสอนกอกําเนิดจากนโยบายของรัฐบาล คํานึงถึงชุมชนทองถิ่น คุณคาทางประวัติศาสตร การจัดตั้งตามความตองการของสมาชิกในชุมชน และวัฒนธรรม และนักทองเที่ยวที่มาเยือน และการจัดตั้งขึ้นมาเพื่อแกปญหาทางดาน ซึ่งพบวายังแสดงออกไดไมเดนชัดนัก เศรษฐกิจชุมชน โดยใชวัตถุดิบที่มีอยูในชุมชน อภิปรายผลการวิจัย มาแปรรูปเปนผลผลิตดวยการประยุกตใช 1. บริบทการดําเนินงานของเครือขาย ภูมิปญญาทองถิ่นที่ไดสืบทอดมาถายทอด สินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในแหลงทองเที่ยว ลงสูผลิตภัณฑ นอกจากนี้ การสงเสริมเครือขาย เชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี สินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในแหลงทองเที่ยว ประกอบดวย ผูนํากลุม สมาชิกของกลุม ผลิตภัณฑ เชิงวัฒนธรรมในเขตอําเภอสามโคกที่สวนใหญ OTOP และแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เปนศาสนสถาน ขอมูลสวนนี้สอดคลองกับ ในพื้นที่ ซึ่งมีความสอดคลองเกื้อกูลและสนับสนุน การศึกษาของ กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ และคณะ กันของกิจกรรมการทองเที่ยว เปนผลมาจาก (Sanglimsuwan et al., 2012) ศึกษาการ การรวมกันคิดรวมกันทําของสมาชิกกลุมอยาง ทองเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรมอยางยั่งยืน พบวา เปนระบบ นอกจากนั้นยังไดนอมนําแนวคิด การอนุรักษและการพัฒนามรดกทางวัฒนธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเปนศาสตรพระราชา ใหคงอยู นอกจากจะเปนความภาคภูมิใจของ สูการพัฒนาอยางยั่งยืนมาประยุกตใช โดยมุง ประเทศแลว ยังมีคุณคาที่เปนประโยชนตอ สรางความเขมแข็งใหกับกลุมของตนเองโดยเนน การพัฒนาการศึกษาทางดานประวัติศาสตร การขับเคลื่อนจากภายใน มุงเนนการใชทรัพยากร ศิลปศาสตร ชาติพันธุวิทยา และมานุษยวิทยา และ ภูมิปญญาที่มีอยูในทองถิ่นและศักยภาพ อีกทั้งยังสามารถสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ ดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม บูรณาการ ชุมชนและประเทศผานทางการทองเที่ยว 332 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

และการศึกษาของ บุญเกียรติ ไทรชมภู วัดภาวะผูนําของผูประกอบการ SMEs ไทย (Caichompoo, 2014)ศึกษาเรื่องการพัฒนา ประกอบดวย 6 องคประกอบ ไดแก 1) การสงเสริม ผลิตภัณฑภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่คุงบางกะเจา แรงบันดาลใจผูใตบังคับบัญชา 2) การใสใจ (กระเพาะหมู) 6 ตําบล เพื่อการทองเที่ยวและ และปรารถนาดีตอผูอื่น 3) การมีศีลธรรมในการ รองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน พบวา ชุมชน ประกอบการ 4) ความสามารถในการคิดเชิง ประกอบอาชีพทําสวนผลไมสืบทอดภูมิปญญา ยุทธศาสตร 5) การเสริมสรางจิตสํานึกตอสังคม มาแตโบราณ มีผลิตภัณฑที่เกิดจากภูมิปญญา และ 6) การเปดกวางยอมรับสิ่งตาง ๆ และพบวา คือ ผลิตภัณฑจากวัสดุธรรมชาติ ผลไม อาหาร ผูประกอบการที่มีความสําเร็จในการประกอบ และการเลี้ยงขยายพันธุปลากัด เปนตน และ ธุรกิจตางกันมีภาวะผูนําแตกตางกัน โดย การพัฒนาผลิตภัณฑภูมิปญญาใหมีคุณคา ผูประกอบการที่มีความสําเร็จสูงจะมีภาวะผูนํา เพิ่มมากขึ้นเพื่อรองรับการเขาสูประชาคม สูงกวาผูประกอบการที่มีความสําเร็จตํ่าอยางมี อาเซียน สามารถทําไดโดยการกําหนดเกณฑ นัยสําคัญทางสถิติ และพบวาภาวะผูนําของ การคัดเลือกผลิตภัณฑชุมชนเพื่อใหไดผลผลิต ผูประกอบการ SMEs ไทย มีภาวะผูนํารวม ที่มีคุณภาพเปนที่ยอมรับมากขึ้น อยูในระดับมาก แตการศึกษาครั้งนี้ พบวา 2. ภาวะผูนําในการพัฒนาเครือขาย การแสดงออกภาวะผูนําในดานการเสริมสราง สินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในแหลงทองเที่ยว จิตสํานึกตอสังคมของผูนํากลุมสินคาโอทอป เชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี (OTOP) นี้ ยังไมไดใหความสําคัญมากนัก พบวา ผูนํากลุมสินคาโอทอป (OTOP) เปนผูมี เนื่องจากวาเปนการรวมกลุมธุรกิจขนาดเล็ก วิสัยทัศนมองการณกวางไกลที่มีการบูรณาการ การแสดงออกในประเด็นขององคประกอบ สินคาโอทอป (OTOP) และแหลงทองเที่ยว ดังกลาวนี้จึงยังไมเดนชัดเทาที่ควร แตทั้งนี้ ในทองถิ่นตนที่มีเรื่องราวทางประวัติศาสตร ก็อาจสามารถที่จะจัดกิจกรรมเพื่อสังคมไดตาม วัฒนธรรม และวิถีชีวิตทองถิ่น มีความสามารถ ความเหมาะสมได และนอกจากนั้น ผูนํากลุม ในการดําเนินงานและการสื่อสารจนสามารถ ยังเปนผูที่มีทักษะการดําเนินงานและสรางความ สรางชื่อเสียงและนํากลุมประสบความสําเร็จ ไววางใจแกสมาชิก ซึ่งมีความสําคัญตอการ ไดรับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ สรางความเขมแข็งของกลุม สอดคลองกับการ ไทย (OPC) ระดับ 3 ดาวขึ้นไป ผลการศึกษาครั้งนี้ ศึกษาของ คัชพล จั่นเพชร และคณะ (Janpetch ไดจําแนกภาวะผูนํากลุมสินคาโอทอป (OTOP) et al., 2016) ศึกษาเรื่องอิทธิพลของการรับรู เปน 6 ประเด็น ตามการศึกษาของ รัตติกรณ ภาวะผูนําแบบเปลี่ยนสภาพที่สงผลตอการ จงวิศาล (Chongvisal, 2006) ศึกษาเรื่อง ปฏิบัติงานเชิงสรางสรรคผานความไววางใจ การศึกษาภาวะผูนําของผูประกอบการวิสาหกิจ บนพื้นฐานอารมณความรูสึก และความรูความเขาใจ ขนาดกลางและขนาดยอมไทย พบวาเครื่องมือ พบวา ความสัมพันธทางการเปนผูนําแบบเปลี่ยน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 333 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สภาพที่มีผลอยางแทจริงตอความไววางใจ จากยอดขายสินคาเปนรายบุคคล การพากลุม ในการปฏิบัติงานโดยมีอิทธิพลตอการปฏิบัติงาน ไปทองเที่ยวในกรณีที่กลุมทํายอดขายไดตามเปา เชิงสรางสรรค อีกทั้งยังเปนแนวทางใหผูบริหาร การชวยเหลือเรื่องเงินลงทุนเบื้องตน และการ สามารถนําไปปรับบทบาทในการทํางานเพื่อสราง จัดหาวัตถุดิบในการผลิตใหแกสมาชิก เปนตน ความใกลชิดระหวางพนักงานกับผูบังคับบัญชา 2) ควรพัฒนาการสื่อสารภายในกลุม เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด เพื่อเสริมสรางความเขาใจอันดีระหวางกัน ในการปฏิบัติงาน 3) ผูนํากลุมควรแสดงบทบาทของ ดังนั้น การพัฒนาเครือขายสินคาโอทอป ความเปนผูนําที่มีความซื่อสัตยสุจริตในการ ในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก ปฏิบัติงาน สามารถประยุกตใชภาวะผูนําของกลุมเปนเครื่องมือ 4) ควรสงเสริมใหผูนําไดแสดงออก นําพาไปสูการสรางความเขมแข็งของกลุมได ถึงความสามารถในการบริหารจัดการในเชิง ซึ่งผูนํากลุมควรมีวิธีการที่จะสรางแรงจูงใจหรือ ประจักษ มีแผนการดําเนินงานอยางชัดเจน การชวยเหลือสมาชิกไดอยางเหมาะสม มีการ 5) ควรมีแผนงานที่แสดงออกถึงความ กําหนดวิสัยทัศนในการทํางานของกลุมที่มุง รับผิดชอบตอสังคมไดอยางเหมาะสม เชน การ ประโยชนสวนรวม แมวากลุมผูผลิตสินคาโอทอป บริจาคเงินใหชุมชน เชน โรงเรียน วัด เปนตน (OTOP) จะเปนเพียงกลุมธุรกิจขนาดเล็ก แตก็ การใหความรูการสอนทําสินคาโอทอป (OTOP) สามารถที่จะแสดงออกถึงความรับผิดชอบตอ ใหกับคนในชุมชนตลอดจนผูที่สนใจ และการ สังคมไดในรูปแบบที่เหมาะสมได การศึกษาครั้งนี้ นํากลุมรวมฟนฟูสภาพแวดลอมในชุมชน เปนตน อาจสามารถนําเสนอแนวทางการพัฒนาและ 6) ควรมีแผนการในการเสริมสราง สงเสริมภาวะผูนําในการพัฒนาเครือขายสินคา ความสัมพันธที่ดีระหวางสมาชิก สงเสริมให หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในแหลงทองเที่ยว สมาชิกของกลุมมีโอกาสไดเรียนรูรวมกัน เชิงวัฒนธรรม อําเภอสามโคก ดังนี้ ถึงสภาพการทํางานที่มีประสิทธิภาพของ 1) ควรสงเสริมใหผูนําแสดงออกถึง หนวยงานอื่น เชน การจัดทัศนศึกษาดูงาน หรือ การสรางแรงบันดาลใจใหกับสมาชิก การเสริมแรง การเชิญวิทยากรภายนอกมาใหความรูเกี่ยวกับ และการชวยเหลือตอบสนองความตองการ การตอยอดผลิตภัณฑของกลุม เปนตน ของสมาชิกใหเหมาะสม เชน การใหเงินรางวัล 334 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ขอเสนอแนะ ทองถิ่น ผูนําเปนผูมีความเปนผูนํา มีความรู 1. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ควรมี เกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่น และสามารถนํามา การขับเคลื่อนการดําเนินงานของกลุมสินคา พัฒนาเปนผลิตภัณฑที่มีคุณคาและเชื่อมโยงกับ โอทอป (OTOP) เพื่อความรับผิดชอบตอสังคม แหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมในพื้นที่ได ควรมีหนวยงานที่เกี่ยวของเขาไปสนับสนุน 3. ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป ตามศักยภาพที่มีความเชี่ยวชาญ ควรศึกษาโดยใชกลุมตัวอยางกลุมผูนําสินคา 2. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัย โอทอป (OTOP) ขนาดใหญเพื่อเปนการเพิ่ม ไปใช ควรนําไปเปนตนแบบของกลุมผูผลิตสินคา มุมมองภาวะผูนําที่มีตอการดําเนินงานกลุม โอทอป (OTOP) อื่น ๆ ที่มีความตองการจะพัฒนา โดยทําการศึกษาในประเด็นของปจจัยที่สงผลตอ ภาวะผูนําในการพัฒนาเครือขายสินคาโอทอป ภาวะผูนํากลุม และการมีสวนรวมในกระบวนการ (OTOP) ในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดําเนินงานของกลุม รวมทั้งการศึกษาความ เนื่องจากจุดเดนของเครือขายสินคาโอทอป พึงพอใจตอผลิตภัณฑสินคาโอทอป (OTOP) (OTOP) ในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอ ในมุมมองของนักทองเที่ยวในพื้นที่ เพื่อใหได สามโคก เปนการรวมกลุมธุรกิจขนาดเล็ก มีความ ขอมูลในการพัฒนาและสงเสริมสินคาโอทอป คลองตัวในการดําเนินงาน สามารถสรางสรรค (OTOP) ใหมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับ ผลิตภัณฑใหมีความโดดเดนมีอัตลักษณของ ความตองการของนักทองเที่ยวและตลาด เปนตน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 335 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

REFERENCES Khamwachirapithak, P., Maruekarajtinplaeng, Caichompoo, B. (2014). Local wisdom S. & Khamwachirapithak, M. (2016). products development at 6 GIS database making for network sub-districts of Khung Bangkachao development OTOP and places of area to serve tourism and ASEAN attractions along the riverside at community. PNRU Research Journal, Sam Khok and Amphoe Humanities and Social Sciences , Pathum Thani province. 5(2), 125-135. (in Thai) Journal of Research and Development, Chongvisal, R. (2006). The study of Valaya Alongkorn under Royal leadership of entrepreneurs in Thai Patronage (Humanities and Social small and medium sized enterprises. Sciences). 11(2), 1-11. (in Thai) In the Proceedings of 44th Kasetsart Meksuwan, A. & Wingwon, B. (2015). Role of University Annual Conference, leadership and member participation Subject: Social Sciences. Bangkhen in driving toward the strength of Campus, Kasetsart University. 275- sewing community enterprises, 282. (in Thai) Ban Mae Hawl, Hangchat district, Janpetch, K. & Jadesadalug, V. (2016). Lampang province. The Golden The influence of transformational Teak: Humanity and Social Science leadership perceptions affecting Journal (GTHJ). 21(3), 20-31. (in the creative working through affect – Thai) and cognition – based trust. PNRU MSS Cable Network. (2017). Enhancing Research Journal, Humanities and tourism and cultural identities of Social Sciences. 11(1), 125-135. Samkhok District, Pathumthani. (in Thai) Retrieved August 10, 2017, from Jittungvarttana, B. (2005). Sustainable http://www.msspathumthani.com/ tourism development. Bangkok: detail.php?id=1688 (in Thai) Press & Design. (in Thai) 336 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Sanglimsuwan, K. & Sanglimsuwan, Surdcharee, T. (2007). Leadership: S. (2012). Sustainable cultural the movement mechanism for heritage tourism. Executive Journal. the learning organization. Ubon 32(4), 139-146. (in Thai) Ratchathani: Ubon Ratchathani Sasong, C. & Wingwon, B. (2016). Rajabhat University. (in Thai) Stakeholders’ collaboration and Thaitambon. (2017). OTOP product champion: a business plan play a role in driving OPC. Retrieved August 10, 2017, the OTOP enterprises group to from http://www.thaitambon.com sustainable competitive advantage. (in Thai) Nakhon Phanom University Journal. 6(1), 124-133. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 337 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Research Article

ศิลปะสื่อภาพถาย: ความรุนแรงในความสงัด1 PHOTO-MEDIA ART: SILENT VIOLENCE วรพรรณ สุรัสวดี Worapun Surasawadee

สาขาทัศนศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย Visual Arts, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

[email protected]

บทคัดยอ การวิจัยสรางสรรค ศิลปะสื่อภาพถาย: ความรุนแรงในความสงัด มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา วิเคราะหปจจัยสังคมปจจุบันที่กอใหเกิดความรุนแรง ความรูสึกไมปลอดภัยในกรุงเทพมหานคร ตอนกลางคืน นํามาสรางสรรคผลงานภาพถาย โดยถายทอดบรรยากาศสถานที่ที่กระตุนการรับรู ความรุนแรง ความรูสึกไมปลอดภัยในกรุงเทพมหานครที่เงียบสงัดยามคํ่าคืน ขั้นตอนวิจัย 1) ศึกษา รวบรวมแนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการรับรู ความกลัว อาชญากรรม ขอมูลขาวสารและลักษณะพื้นที่ ที่เคยเกิดเหตุอาชญากรรม ศึกษาศิลปะภาพถายของศิลปนดานรูปแบบ แนวคิด ความงาม และ การสื่อความหมาย 2) เลือกสถานที่และลงพื้นที่ 3) สรางสรรคผลงาน 4) พัฒนาผลงาน 5) วิเคราะห สรุปและอภิปรายผลงาน ผลการวิจัยพบวา 1) การรับรูขาวสารจํานวนมากทําใหรูสึกหวาดกลัวตอภัยอาชญากรรมเพิ่มขึ้น และสภาพแวดลอมกระตุนความรูสึกไดโดยไมตองมีสิ่งที่เกิดขึ้นจริง 2) การสรางสรรคที่สมจริง กระตุน การรับรูความรุนแรง ความรูสึกไมปลอดภัยของผูชมได 3) เทคนิคตอภาพ เปนพาโนรามา ขยายมุม มองในการรับรู โดยขนาดภาพใหญทําใหผูชมรูสึกเหมือนเขาไปมีสวนรวมอยูในภาพและเกิดการรับรูดี

1 บทความวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธในหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาทัศนศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยมี รองศาสตราจารย กมล เผาสวัสดิ์ เปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 338 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ขึ้น และ 4) บริบทและสิ่งเราที่ชวยกระตุนความรูสึกกลัวในความรุนแรง ประกอบดวยสภาพแวดลอม บางอยางที่สื่อถึงการขาดการดูแล เชน อาคารที่มีสภาพเสื่อมโทรม รกราง ภาพกราฟติ หรือขยะ และ การเพิ่มความชัดเจน ของพื้นผิวชวยใหสื่อความหมายไดดียิ่งขึ้น

คําสําคัญ: ศิลปะสื่อภาพถาย ภาพถาย ความรุนแรง ความสงัด

ABSTRACT Research of Photo-media Art: Silent Violence aims to study factors that stimulate violence in Bangkok at night. The project presents harmful and dangerous atmosphere in some places in Bangkok through photos. The Research Processes are 1) Collect and study theories, ideas, and researches about how people perceive and fear of crimes, geographic and other information of places that crimes had been committed, photographic art about beauty and presentation 2) Observe and select places 3) Create the Photo-media Art 4) Improve and enhance and 5) Analyze, summarize, and debate. The Research Result are 1) The perception of crime news creates and increase fear of crimes. Moreover, bad environment of places can also stimulate fear of crimes without any real crime case in their areas. 2) The research that clearly show risky places in Bangkok can stimulate fear of crimes and violence among audiences. 3) Stitching images into panorama can enhance audience’s perception and engagement toward the dangerous atmosphere in those images. 4) Some signs such as, shabby buildings and house, graffiti on walls, and plenty of garbage on footpath and road are contexts and incentives that stimulate fear of violence.

Keywords: photo-media art, photography, violence, silent

บทนํา ภาพถายไมไดเปนเพียงการสะทอน ความรูพื้นฐานสําคัญของการถายภาพมาปรับใช สิ่งที่อยูตรงหนาออกมาเทานั้น แตยังเปนสื่อ กับวิธีการแสดงออกของตน (Sanasen, 2010) ศิลปะที่สามารถถายทอดอารมณหรือบรรยากาศ และยังเปนสื่อสมัยใหมทางวิทยาศาสตรที่มี ของภาพใหมีความงาม ความสมจริง กระตุน วิวัฒนาการกาวหนา การถายภาพจึงถือวาเปน การรับรูและความรูสึกของผูชมไดเปนอยางดี เครื่องมือหรือเทคนิคในการสรางงานศิลปะวิธีหนึ่ง ภาพถายเปนการนําองครวมทางศิลปะซึ่งเปน (Mukdamanee, 2010) ที่ทําใหผูชมเขาใจ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 339 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เรื่องราวไดรวดเร็ว และภาพถายจึงเปนภาษา เพราะระบบระบายอากาศไมดีและสิ่งผุพังมากมาย สากลที่มีความหมายในตัวเองสามารถสื่อสารได ในป พ.ศ. 2558 กรุงเทพมหานคร โดยไมตองใชตัวหนังสือ มีความถูกตองแมนยํา มีจํานวนประชากรมากที่สุดในประเทศจํานวน ที่บันทึกเหตุการณขณะนั้นทันทีและคงอยูไดนาน 5,696,409 คน เปนศูนยกลางของกิจกรรมตาง ๆ (Setthawat, 2007) การถายภาพเปนการสื่อสาร ทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การลงทุน ที่มีผลตอการรับรูและมีประสิทธิภาพในการสราง การตั้งถิ่นฐาน ประกอบอาชีพ การทองเที่ยว การจดจํา แตภาพถายที่สามารถสื่อความหมาย คนจํานวนมากตัดสินใจยายเขามาอยูกันอยาง ไดดีตองใชเทคนิคและศิลปะในการถายภาพ หนาแนน กรุงเทพมหานครจึงเปนศูนยรวม เพื่อแสดงออกถึงความรูสึกและอารมณของภาพ ของผูคนมากมายหลากหลาย เกิดเปนปญหา ไดชัดเจนขึ้น ภาพถายจึงเปนทั้งศาสตรและศิลป หลายดาน เชน การอยูอาศัย การประกอบอาชีพ (Jaruwannakorn, 2005) และเปนอุปกรณหนึ่ง การเดินทาง ซึ่งจะมีผลตอปญหามลพิษ จราจร ที่จะสื่อใหเห็นถึงอารมณ ความรูสึกในการถายทอด ยาเสพติด อาชญากรรม มีผูคนทํางานและใชชีวิต ออกมาเปนงานภาพถาย เชน แนวทางในการ ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืนจนดูประดุจวา ถายภาพเมือง (cityscape photography) ของ เปนเมืองที่ไมเคยหลับ อยางไรก็ตาม เมื่อถึงเวลา จอน ดีเบอร (Jon Deboer) ชื่องานชุด Mysterious กลางคืนที่ผูคนบางตา จะพบวามีบางพื้นที่ที่ดูเปลี่ยว Silhouettes Along Detroit’s Dark City Streets นากลัว โดยเฉพาะบริเวณตรอกซอกซอยตาง ๆ ที่ถายทอดบรรยากาศลึกลับของเมืองโดยคิดวา ที่ปราศจากไฟสองสวาง ยิ่งความเจริญทาง ตนเองเปนพวกถํ้ามอง ใชรูปแบบเปนภาพขาวดํา เทคโนโลยีมีบทบาทตอคนในสังคมมากขึ้น ที่มีความตัดกันของแสงสูง (high contrast) รูปแบบการประกอบอาชญากรรมก็ยิ่งเพิ่ม สื่อถึงบรรยากาศลึกลับยามคํ่าคืนสงผลใหเกิด ความรุนแรงซับซอนไปดวย ดัชนีวัดความหวาดกลัว ความรูสึกดานลบ ของกรุงลอนดอนและผูคน ภัยอาชญากรรมจึงเปนตัวชี้วัดสําคัญในดาน หลังเวลาเที่ยงคืน วามีความแตกตางจากเวลา คุณภาพชีวิตของคนในสังคม (Research Division กลางวันที่มีผูคนหนาแนนและวุนวาย ผลงาน of Office of Police Strategy, 2016) ดังเชนขอมูล ของ ชิโยดะ วารด (Chiyoda Ward) ศิลปนญี่ปุน จากสถาบันเศรษฐศาสตรและสันติภาพหรือ ชุดภาพผลงานชื่อ Recommend for walking at ไออีพี (The Institute for Economics and night 107 “Pictorial, Maruzen Alley” ถายภาพ Peace: IEP) ไดเปดเผยผลสํารวจในป พ.ศ. 2559 บรรยากาศของสถานที่ตาง ๆ ในโตเกียว ถายทอด วาประเทศไทยเปนเมืองที่มีปลอดภัยลดลง บรรยากาศของซอยที่อยูใกลกับสถานีรถไฟใตดิน เพราะไดอันดับที่ 125 ของโลกจาก 163 อันดับ ยูระคุโช (Yurakucho) เปนผลงานภาพถาย เปนอันดับที่ 17 ในเอเชียแปซิฟกจาก 19 อันดับ ซึ่งเปนภาพที่ไมมีคน สถานที่ที่ดูไมเปนระเบียบ คะแนนลดลงมา 0.049 คะแนน (The Institute แสดงใหเห็นวาบริเวณนี้มีบรรยากาศนาอึดอัด for Economics and Peace, 2016) 340 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

จากขอมูลจะเห็นวากรุงเทพมหานคร ของประชาชนเพิ่มสูงขึ้น (Research Division of ยังคงมีการเกิดอาชญากรรมหลายรูปแบบ Office of Police Strategy, 2016) เพราะมนุษย กลุมที่เกิดมากที่สุด คือ คดีประทุษรายตอทรัพย สามารถรับอิทธิพลจากสิ่งที่รับรูมากกวาสิ่งที่ โดยสถานที่ที่เปนเสนทางเปลี่ยว พื้นที่สาธารณะ เกิดขึ้นจริง หากมีความรูหรือประสบการณเดิมมาก ที่พักอาศัยที่บุคคลภายนอกเขาออกไดงาย จะทําใหสามารถตีความไดอยางรวดเร็วเสมือนจริง พื้นผิวถนนทางเดินเทาที่ไมเรียบรอย มุมอับ มากยิ่งขึ้น (IBS Center for Management ลับตาคนและมุมมืดเปนสวนหนึ่งของการเกิด Research as cited in Intuyos, 2013) อาชญากรรม ทําใหคนในสังคมยังมีความกลัว ความกลัวเปนความรูสึกที่เกิดขึ้นกับ ตอภัยอาชญากรรม และการรับรูขอมูลขาวสาร มนุษยทุกคนที่เกิดจากประสบการณทางตรง และ อาชญากรรมไมวาจะเกิดกับตนเอง รับรูจาก ประสบการณทางออมที่ไดจากการไดรับขอมูล บุคคลอื่น หรือจากสื่อเปนปจจัยที่มีผลตอความ ขาวสารหรือเกิดจากพันธุกรรม ตามทฤษฎีลําดับ หวาดกลัวอาชญากรรม แตพฤติกรรมที่แสดงออก ขั้นแรงจูงใจของมาสโลว มนุษยมีความตองการ ของแตละบุคคลไมเทากันขึ้นอยูกับทัศนคติ ขั้นพื้นฐานเปนแรงจูงใจในลําดับที่ 2 คือ ความ ความเชื่อสวนบุคคล (Research Division of ตองการความปลอดภัยตอตนเองและทรัพยสิน Office of Police Strategy, 2016) เมื่อไมไดรับการตอบสนองจะทําใหเกิดการผวา อยางไรก็ตาม ผูวิจัยพบวา การรับรู หรือความกลัวเนื่องจากมีความไมมั่นคงเพียงพอ ขาวสารเกี่ยวกับอาชญากรรมเรื่องการปลน จี้ (Maslow as cited in Keawkungwan, 2008) ชิงทรัพย ขมขืน การทํารายรางกาย หรือขอมูล ความกลัว คือความรูสึกถึงความไมปลอดภัย เกี่ยวกับวิธีการระวังตัวและปองกันตัวจากแหลง วาอาจจะมีอันตรายบางอยางเกิดขึ้น ตาง ๆ เชน ไมควรไปยังจุดเสี่ยง ระมัดระวัง ในการวิจัยนี้มุงศึกษาเรื่องของความกลัว กระเปา การสังเกตสิ่งรอบตัวตลอดเวลา การล็อค ภัยอันตราย นอกจากประสบการณ การรับรู ประตูทันทีที่ขึ้นรถ ยิ่งรับรูขอมูลมากเทาไร ขอมูลขาวสาร ความมั่นใจเรื่องการปฏิบัติงาน กลับสงผลใหเกิดความกลัวมากเทานั้น จนกลายเปน ของเจาหนาที่ตํารวจ และความสัมพันธกับ ความหวาดระแวงที่เกิดจากจินตนาการมากกวา เพื่อนบานแลว สิ่งเราเปนอีกปจจัยหนึ่งที่กระตุน ความเปนจริง โดยเฉพาะเมื่อตองอยูในพื้นที่ ใหเกิดความรูสึกกลัวคือชวงเวลา โดยชวงเวลาที่ เปลี่ยวยามคํ่าคืน ความกลัวดังกลาวสอดคลอง ทําใหเกิดความรูสึกหวาดกลัวมากที่สุดคือเวลา กับแผนแมบทของกรมตํารวจ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. กลางคืนหลังเที่ยงคืน (00.01 น. - 06.00 น.) สิ่งเรา 2535 - 2539) ในแผนความปลอดภัยตอชีวิตและ ที่สอง คือ บรรยากาศลักษณะของสภาพแวดลอม ทรัพยสิน ที่กลาววาการรับรูขาวสารจํานวนมาก ไฟสองสวาง มุมอับลับตา ความไมเปนระเบียบ มีสวนทําใหความรูสึกหวาดกลัวตอภัยอาชญากรรม สภาพบานเรือนที่เสื่อมโทรม วัตถุหรือรองรอย Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 341 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ขยะ กราฟฟตี้ เปนตน (Lorence et al., 2013; ทางแคบ มุมอับ ขยะ ถังขยะ และบุคคลที่มีทาที Nienvitoon, 2012; Chummanikul, 2000) และ คุกคาม จนเกิดเปนพฤติกรรมการเดินหลีกเลี่ยง ยังขึ้นอยูกับลักษณะหรือความสามารถในการ สิ่งเหลานั้น และ Lorence et al. (2013) ศึกษา รับรูของแตละบุคคล ทั้งดานกายภาพ ความคิด ความสัมพันธระหวางความกลัวอาชญากรรมกับ อารมณ คานิยม หรือแรงจูงใจ (Intuyos, 2013) สิ่งแวดลอม พบวา สภาพแวดลอมหรือสัญลักษณ การรับรู (perception) คือ กระบวนการ บางอยางที่สื่อถึงการขาดการดูแล เชน ฝุน ภาพ ตีความ ประมวลขอมูลตาง ๆ ตอสิ่งเราที่อยู กราฟติ ขยะ กระจกแตก หรืออาคารบานเรือน รอบตัวโดยผานอวัยวะรับความรูสึกแลวเกิด ที่มีสภาพเสื่อมโทรม รกราง นั้นสงผลใหเกิด การกระทําตอสิ่งเราที่มากระตุนไดทั้งภายในและ ความกลัวอาชญากรรม ดังนั้น ผูวิจัยจึงสรุปไดวา ภายนอก (Noppaked, 1997; Meechart, 2001) สภาพแวดลอมสามารถกระตุนใหเกิดความกลัว รวมกับการใชประสบการณเดิมแปลความหมาย ไดโดยไมตองขึ้นอยูกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ตอสิ่งที่ผานประสาทสัมผัสแลวเกิดความรูสึก แตสามารถใชสิ่งเราเพื่อกระตุนใหเกิดความกลัวได เกิดการตีความหมาย โดยจะคาบเกี่ยวกับความ ทฤษฎีการเขาใจภาพ (cognitive) เขาใจ ความรูสึก ความคิด ความจํา การเรียนรู จะเกิดขึ้นหลังจากผูรับสารมองเห็นภาพและ ความเขาใจ การตัดสินใจ และจึงเกิดการกระทํา เกิดความเขาใจภาพนั้น ๆ โดยการเขาใจสิ่งตาง ๆ (Suwansang, 1997) โดยสิ่งที่มีอิทธิพลตอการ เกิดจากความรูพื้นฐานหรือประสบการณกับ รับรูขึ้นอยูกับความตางกันของภูมิหลัง ประสบการณ ความสามารถในการตีความของแตละบุคคล ลักษณะบุคคล การเปลี่ยนแปลงของสิ่งตาง ๆ โดย แคโรลิน บลูมเมอร (Carolyn Bloomer) (Tarapod & Sirisuk, 2002) สวนอุปสรรคที่สงผล กลาววา การรับรูและการตีความสิ่งรอบตัวอาศัย ตอการรับรู คือ อคติ การมองภาพรวม ความคาด ปจจัย 9 ประการ ดังนี้ (Carolyn Bloomer as หวังและการกลาวโทษผูอื่น (Meechart, 2001) cited in Peter, 2006) 1) ความทรงจํา (memory) ดังนั้น การรับรูความกลัว คือ การตีความ นํามาเปรียบเทียบกับสิ่งใหมที่ไดรับรูซึ่งมีทั้ง เมื่อไดรับสิ่งเรารวมกับประสบการณ ขอมูล ความทรงจําเชิงบวกและเชิงลบ ทั้งความหมาย ความรูที่มีอยู แลวเกิดความรูสึกไมปลอดภัย เชิงรูปธรรมและนามธรรม โดยประสบการณ ยิ่งไดรับขอมูลมากยิ่งทําใหเกิดความกลัว แตใน จะชวยใหจําไดนานยิ่งขึ้น 2) ความสามารถ ขณะเดียวกันก็ไมไดขึ้นอยูกับการรับขอมูลเทานั้น ในการมองเห็นภาพ (projection) ขึ้นอยูกับ แตขึ้นอยูกับสิ่งเราดวย คือ บรรยากาศและสภาพ ประสบการณและจินตนาการ 3) การคาดหวัง แวดลอม สอดคลองกับ Park (2008) ไดศึกษา (expectation) มนุษยมักมองเห็นในสิ่งที่ตองการ ปจจัยทางสิ่งแวดลอมที่สงผลทางจิตวิทยาตอคน และคาดหวังวาจะเห็น ถาสิ่งนั้นไมเปนดังที่ เดินถนนจนทําใหเกิดความกลัวอาชญากรรม คือ คาดหวังอาจจะเกิดปฏิกิริยาตอบโตในทางลบ 342 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

4) การเลือกสรร (selectivity) การมองภาพ (Chayawatana, 2001) เพื่อกระตุนใหเกิดการ ที่มีรายละเอียดมาก ผูดูจะเลือกเฉพาะภาพที่ รับรูถึงความรุนแรงไมปลอดภัยที่อยูในความสงัด ตองการและที่เหลือจะกลายเปนพื้นที่ภาพรวม ของสถานที่ตาง ๆ ในกรุงเทพมหานครยามคํ่าคืน 5) พฤติกรรม (habituation) การรับรูตองฝกหัด ใหเปนคนชางสังเกตสิ่งรอบตัว 6) สิ่งเรา วัตถุประสงคของการวิจัย (salience) คือสิ่งที่สามารถดึงความสนใจได 1. เพื่อศึกษา วิเคราะหปจจัยของสังคม 7) การกําหนดจุดสนใจ (dissonance) จะตอง ยุคปจจุบันที่กอใหเกิดความรุนแรง ความรูสึก พิจารณาองคประกอบหลักและรองของภาพ ไมปลอดภัย ในบรรยากาศของกรุงเทพมหานคร 8) วัฒนธรรม (culture) วัฒนธรรมมีอิทธิพล ตอนกลางคืน ตองานศิลปะ มักเปนแรงบันดาลใจในการทํางาน 2. เพื่อสรางสรรคผลงานศิลปะ 9) คํา (words) สื่อภาพถาย โดยถายทอดบรรยากาศของสถานที่ จากขอมูลขางตนดังกลาวเปนแรง ใหกระตุนการรับรูถึงความรุนแรง ความรูสึก บันดาลใจที่ทําใหสรางผลงาน ศิลปะสื่อภาพถาย : ไมปลอดภัย ในกรุงเทพมหานครที่เงียบสงัด ความรุนแรงในความสงัด ที่ตองการแสดง ยามคํ่าคืน ความรูสึกไมปลอดภัยในบรรยากาศของ กรุงเทพมหานครตอนกลางคืน สรางสรรคผลงาน ขอบเขตของการวิจัย ศิลปะสื่อภาพถาย โดยถายทอดบรรยากาศของ ถายภาพในพื้นที่มีลักษณะเปนจุดเสี่ยง สถานที่ที่เขาไปแลวทําใหเกิดความรูสึกกลัว ของการเกิดเหตุอาชญากรรมเวลากลางคืน อันตรายที่จะเกิดตอชีวิตและทรัพยสิน อางอิง ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยถายทอดเปนศิลปะ ลักษณะสถานที่ที่เคยเกิดเหตุอาชญากรรม สื่อภาพถาย ลักษณะของพื้นที่เสี่ยงในกลุมคดีประทุษราย ความรุนแรง หมายถึง ความรูสึกกลัว ตอชีวิต รางกาย เพศ และกลุมคดีประทุษราย อันตรายจากการเกิดเหตุอาชญากรรม ตอทรัพย ผานการสรางสรรคผลงานถายทอด ความสงัด หมายถึง ความเงียบ แนวคิดดวยศิลปะภาพถาย เพราะภาพถาย ความเปลี่ยวที่เกิดขึ้นหลังเที่ยงคืนจนถึงกอน เปนสื่อกลางของการถายทอดอารมณ ความรูสึก พระอาทิตยขึ้น ทัศนคติความรูและประสบการณถือเปน ศิลปะสื่อภาพถาย หมายถึง การใช กระบวนการสื่อสารระหวางผูสงและผูรับสื่อ ภาพถายเปนองคประกอบหลักในการถถายทอด ความคิด Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 343 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

กรอบแนวคิดของการวิจัย

สื่อศิลปะการถายภาพ ทฤษฎีการรับรู ดานรูปแบบ ความงาม ความรุนแรงและความกลัว การสื่อความหมาย อิทธิพลของภาพ อาชญากรรมในเมืองใหญ ตอการรับรู ดานแนวคิด ดานการสรางสรรค

สถานที่ ชวงเวลา สภาพแวดลอม

สรางสรรคผลงานดวยเทคนิคการถายภาพ

พัฒนาผลงานดวยกระบวนการสรางสรรค

ภาพถายสะทอนความกลัวของสถานที่

ระเบียบวิธีวิจัย กระบวนการทํางาน การจัดแสดงงาน การนําเสนอ การวิจัยเชิงสรางสรรคชุดนี้ไดดําเนินการ ผลงาน และภาพรวมของงาน วิจัยตามระเบียบวิธีการสรางสรรคงานและขั้นตอน ใชการสอบถามและสัมภาษณ การวิจัย จําแนกไดเปน 5 ขั้นตอนดังนี้ 1) สอบถามเจาหนาที่ตํารวจเพื่อใหได 1. ศึกษาหลักแนวคิด ทฤษฎีจากเอกสาร ขอมูลของการเกิดเหตุในสถานที่ตาง ๆ งานวิจัยที่เกี่ยวกับอาชญากรรม ความกลัว การ 2) สัมภาษณชางภาพมืออาชีพและ รับรู ขอมูลขาวสารและลักษณะพื้นที่ที่เคยเกิดเหตุ ผูเกี่ยวของในสายงานสื่อสรางสรรค ถึงเทคนิค อาชญากรรม และศิลปะภาพถาย ศึกษารูปแบบ วิธีการถายภาพใหสื่ออารมณ และแนวคิดของผลงานทางทัศนศิลปของศิลปน 2. เลือกสถานที่ในการถายภาพและ ที่เกี่ยวของดานแนวคิด กับผลงานของศิลปน ลงพื้นที่ภาคสนาม นําขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่ ที่เกี่ยวของดานการสรางสรรค โดยศึกษาเทคนิค ที่เคยเกิดเหตุอาชญากรรม พื้นที่เสี่ยงตอการเกิด 344 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อาชญากรรม และคําแนะนําของเจาหนาที่ตํารวจ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ทําการสํารวจพื้นที่ที่สามารถถายทอดบรรยากาศ จากการศึกษารูปแบบและแนวคิดของ ของสถานที่กระตุนการรับรูถึงความรุนแรง ความ ผลงานทางทัศนศิลปของศิลปนที่เกี่ยวของ รูสึกไมปลอดภัย ในกรุงเทพมหานคร สรุปพื้นที่ ดานแนวคิด ไดแก ผลงานของ โมริ ริเวอร ฮิโรโต ในการถายภาพ (Mori River Hiroto) ไทน โพปป (Tine Poppe) 3. สรางสรรคผลงาน นําขอมูลที่ไดมา อีโด โซโล (Edo Zollo) กอรดอน โดโนฟาน วิเคราะห สังเคราะหตามแนวคิดทฤษฏีที่ศึกษา (Gordon Donovan) และ เอ็ดวารด มุงค (Edvard คือ แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู อารมณความรูสึก Munch) การรวบรวมผลงานที่เกี่ยวของดาน แนวคิดเกี่ยวกับศิลปะภาพถาย จากนั้นทําการ แนวคิดแบงไดเปน 3 สวนคือ 1) แนวคิดในการ รางตนแบบ และสรางสรรคผลงาน นําเทคนิค ถายทอดแงลบของเมือง ศิลปนสื่อถึงเรื่องทัศนียภาพ ที่ศึกษามาทดลองใชทั้งการถายภาพ การจัดวาง และบรรยากาศลักษณะเปนภาพถายมุมที่ไมนาดู เทคนิควิธีการ สถานที่ การถายทอด ลงพื้นที่ ในบริเวณตาง ๆ ดวยมุมมองระดับสายตา เพื่อทดลองถายภาพบรรยากาศของสถานที่ 2) การถายทอดบรรยากาศตอนกลางคืนที่มี ที่เลือกไวบางแหง โดยใชเลนสมุมกวางที่ระยะ ความเงียบเหงาแตกตางจากเวลากลางวันที่มี 17-40 มม. และทดลองใชมุมมองที่หลากหลาย ผูคนสัญจรจํานวนมาก ลักษณะของภาพจะมีการ เชน มุมกม มุมเงย มุมปกติ ภาพแนวตั้ง แนวนอน ทิ้งพื้นที่วางที่เปนมุมมืด 3) ความอันตรายหรือ เพื่อเปนแนวทางในการคัดเลือกมุมมองที่สงผล ความนากลัว ศิลปนสื่อสารอยางตรงไปตรงมา ตอการรับรูบรรยากาศความรุนแรงในความสงัด ถึงสถานที่ที่เปลี่ยว ราง หรือเปนสถานที่ที่เคย มากที่สุด เกิดเหตุอาชญากรรม มีรายละเอียดของเรื่องราว 4. พัฒนาผลงาน นําขอมูลที่ไดมา และพื้นผิวในภาพมากที่สุดเมื่อเทียบกับสอง วิเคราะห สังเคราะหในรูปแบบขององคประกอบ แนวคิดแรก จึงนําการถายทอดลักษณะของ ศิลป ความเปนเอกภาพ การสื่อความหมาย และ สถานที่จริงที่มีรายละเอียดมาก เนนพื้นผิว สรุปตามกรอบแนวคิด โดยมีเรื่องราวของ ศิลปะ ชวยกระตุนความรูสึกเปนแนวทางในการ สื่อภาพถาย: ความรุนแรงในความสงัด พัฒนา ถายทอดความรุนแรงในความสงัด ผลงานถายภาพ เพื่อเพิ่มมุมมองในการมองเห็น ผลงานของศิลปนที่เกี่ยวของดานการ ใหนาสนใจ สรางสรรคผลงาน ประกอบดวย ไดโดะ โมริยามา 5. การสรุปผลงาน เมื่อไดขอมูลในการ (Daido Moriyama) ทาคูมะ นากาฮิระ (Takuma ปรับปรุงแลวจึงรวมรวมและนํามาสรางสรรค Nakahira) และ จอน ดีเบอร (Jon Deboer) ผลงานจริง เปนภาพขนาดใหญ จํานวน 21 ภาพ ผลงานที่เกี่ยวของดานการสรางสรรคผลงาน แลวนําไปจัดแสดง ทั้งหมดเปนการถายภาพขาวดําที่มีความตัด กันของแสงสูง (High contrast) เพื่อถายทอด Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 345 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เรื่องราวของเมือง โดยเฉพาะของจอน ดีเบอร เพื่อชวยในการสื่อความหมาย พรอมทั้งทดลอง (Jon Deboer) ที่เนนเรื่องอารมณความรูสึก ปรับลักษณะของแสงสีและเทคนิคคละกัน 5 แบบ ลึกลับของเมืองหลังเวลาเที่ยงคืนที่ดูนาคนหาดวย คือ แสงธรรมชาติ ลดแสง ฉายแสงสีแดง ยอมสี มุมมองที่หลากหลาย และภาพขาวดํา จากภาพที่ทดลองถายทั้งหมด การเลือกสถานที่ในการถายภาพและ ผูวิจัยสรุปไดวาลักษณะของแสงธรรมชาติยังไม ลงพื้นที่ภาคสนามจากการสัมภาษณและคํา นาดึงดูดความสนใจ เพราะลักษณะของแสงสี แนะนําของเจาหนาที่ตํารวจ จากการสํารวจ ดูเปนปกติเหมือนที่เคยเห็นทั่วไป แตหากเพิ่ม พื้นที่พบวาบางพื้นที่ไมสามารถนํามาใชได เทคนิคของการลดแสง จะชวยใหภาพดูแปลกตา เนื่องจากเปนพื้นที่เปดกวางมากเกินไปจึงดู แหงและหมนยิ่งขึ้น นอกจากนี้การยอมแสงสีฟา ไมไดบรรยากาศของความรุนแรง หรือพื้นที่ ทําใหภาพดูเย็นลึกลับ และการเปลี่ยนเปนภาพ มีการปรับปรุงเรียบรอยแลว เชน ซอมบํารุงระบบ ขาวดําชวยลดเรื่องการรับรูเรื่องสีจะทําใหเกิด สองสวาง ปรับปรุงผิวถนน ทาสีกําแพงใหม หรือ ความรูสึกกดดันเขากับบรรยากาศดานลบไดดี มีการกอสราง ฯลฯ ทําใหบรรยากาศที่เคยมี ดานมุมมองของภาพ มุมมองที่คาดวาจะเลือก สูญเสียไป สรุปพื้นที่ในการถายภาพไดจํานวน ใชมี 2 ระดับ คือ มุมระดับสายตาและมุมตํ่า 21 ที่ จาก 11 เขต อันไดแก หลักสี่ บางเขน บางซื่อ มุมระดับสายตาทําใหผูชมมีความรูสึกเหมือนมี จตุจักร บางพลัด ธนบุรี บางกอกนอย สาทร สวนรวมเขาไปอยูในสถานที่นั้น มุมตํ่าทําให พญาไท ปทุมวัน และบางรัก เกิดความรูสึกถึงความมีพลัง ความยิ่งใหญของ การสรางสรรคผลงานโดยลงพื้นที่ สถานที่ที่มีมากกวาผูชม โดยการเลือกมุมระดับ เพื่อทดลองถายภาพบรรยากาศของสถานที่ สายตาหรือมุมตํ่าขึ้นอยูกับลักษณะบริเวณพื้นผิว ที่เลือกไวบางแหง โดยใชเลนสมุมกวางที่ระยะ (texture) ที่มีอยูในสถานที่ 17-40 มม. และทดลองใชมุมมองที่หลากหลาย การพัฒนาผลงาน เนื่องจากการทดลอง เชน มุมกม มุมเงย มุมปกติ ภาพแนวตั้ง ถายภาพครั้งที่ 1 พบวามุมมองที่ไดไมกวางมาก แนวนอน เพื่อเปนแนวทางในการคัดเลือก พอที่จะเพิ่มพื้นที่ในการรับรูของผูชม ถึงแมวา มุมมองที่สงผลตอการรับรูบรรยากาศความ สวนใหญจะถายภาพจากเลนสมุมกวางแลว รุนแรงในความสงัดมากที่สุด การถายสวนใหญ แตเนื่องจากขนาดมีผลตอการรับรูจะทําใหผูชม ตองใชไฟฉายระบาย (light painting) เพื่อเพิ่ม เกิดความสนใจมากขึ้น สอดคลองกับ ถวิล แสงบางมุมที่มืดมากหรือบริเวณที่ตองการเก็บ ธาราโภชน และ ศรัณย ศิริสุข (Tarapod & รายละเอียดของพื้นผิวใหชัดเจนขึ้น ทดลอง Sirisuk, 2002) วาลักษณะของสิ่งเรา (stimulus นําขยะ เชน ขวดนํ้า ขวดเบียร กระปองเบียร characteristic) ที่ทําใหบุคคลเกิดความใสใจ กนบุหรี่วางไวในพื้นที่ และเทนํ้าที่พื้นใหเกิด คือความเขม (intensity) เชน แสง สี เสียง และ มิติ เกิดการสะทอน และดูสกปรกมากขึ้นดวย ขนาด เปนตน ผูวิจัยจึงทดลองถายภาพในมุม 346 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ที่กวางขึ้นโดยการถายแพนหลายภาพแลวนํา หรืออาคารบานเรือนที่มีสภาพเสื่อมโทรม รกราง ภาพมาตอกัน (photo stitching) เพื่อเพิ่มมุมมอง สงผลใหเกิดความกลัวอาชญากรรม ลักษณะ ในการมองเห็นใหนาสนใจ มีผลกระทบตอการ ของพื้นที่ที่ถายทอดความรุนแรงในความเงียบ รับรู ใหผูชมรูสึกเสมือนยืนอยูในภาพ ทั้งยังเพิ่ม ชวงเวลากลางคืน สามารถแบงได 3 รูปแบบ ขนาดใหภาพใหสามารถพิมพในขนาดใหญขึ้น คือ พื้นที่ที่เปนซอยลึกและกวาง พื้นที่ที่เปน จากการพัฒนาการถายภาพดวยการตอภาพ ตรอกหรือซอยแคบ พื้นที่ที่มีมุมซับซอนหรือ พบวาการถายภาพพาโนรามาในแนวนอน มีทางแยก พื้นที่ที่รกราง ชวยเพิ่มการรับรูปบรรยากาศของสถานที่ได 1.2 การสรางสรรคผลงานที่จะ มากกวาพาโนรามาแนวตั้ง และความกวางของ ถายทอดบรรยากาศของสถานที่ใหกระตุนการ การถายภาพในระยะปกติ การปรับสีภาพเปน รับรูถึงความรุนแรง ความรูสึกไมปลอดภัย ขาวดําจะชวยลดเรื่องการรับรูเรื่องสีและทําให ในกรุงเทพมหานครที่เงียบสงัดยามคํ่าคืน เกิดบรรยากาศของความกดดันนากลัว และปรับ องคประกอบในการถายภาพที่เปนผลมาจาก ความตัดกันของแสง (contrast) ใหจัดขึ้นชวยเพิ่ม ลักษณะของสถานที่ ความรูสึกรุนแรงไดมากขึ้น - พื้นที่ที่เปนซอยลึกและกวาง สรุปผลการวิจัยสวนที่ 1 จะเห็นเสนนําสายตาในทิศทางเดียว พุงตรงไป 1. ปจจัยของสังคมยุคปจจุบันที่กอใหเกิด ดานหนา ความรุนแรง ความรูสึกไมปลอดภัย ในบรรยากาศ - พื้นที่ที่เปนตรอกหรือซอย ของกรุงเทพมหานครตอนกลางคืน แคบที่ตองแพนกลองเพิ่มหรือถอยออกจากซอย การถายภาพชุดนี้เปนการถายภาพ เพื่อถายจากดานหนาเขาไป ทําใหเกิดการ เมือง (cityscape photography) เปนภาพถาย เปรียบเทียบบรรยากาศที่แตกตางระหวางในซอย จํานวน 21 ชิ้น จากพื้นที่ 11 เขตในกรุงเทพมหานคร และปากซอย ที่ถายทอดความรุนแรงในความเงียบชวงเวลา - พื้นที่ที่มีมุมซับซอนหรือมี กลางคืนของกรุงเทพมหานคร เพื่อใหผูชมรูสึก ทางแยก ชวนใหคิดตอวาเสนทางที่แยกออกคือ ถึงบรรยากาศไมปลอดภัย โดยมีปจจัยทางสังคม ทางหนีของผูชมหรือทางมาของโจร และเห็นความ ดังนี้ แตกตางระหวางในซอยและปากซอย 1.1 พื้นที่ที่ขาดความเปนระเบียบ - พื้นที่ที่รกรางสวนใหญ มีขยะ ขาวของวางอยู กําแพงสกปรก มีการขีดเขียน ประกอบดวยตนไม แสงสวางสองนอย ทําให พื้นผิวหยาบ และแสงไฟสองสวางไมทั่วถึง ตองใชเวลาในการถายนานจึงเห็นความเคลื่อนไหว สอดคลองกับ Lorence et al. (2013) วาสภาพ ของพุมไม ชวยสรางบรรยากาศความไมนิ่ง แวดลอมหรือสัญลักษณบางอยางที่สื่อถึงการ ในความเงียบได ขาดการดูแล เชน ฝุน ภาพกราฟติ ขยะ กระจกแตก Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 347 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2. การสรางสรรคผลงานศิลปะสื่อ 2.2 เทคนิคการตอภาพ (stitching) ภาพถาย โดยถายทอดบรรยากาศของสถานที่ เปนภาพพาโนรามาชวยเปดมุมมองในการ ใหกระตุนการรับรูถึงความรุนแรง ความรูสึก มองเห็นใหกวางขึ้น เนื่องจากภาพมุมแคบทําให ไมปลอดภัย ในกรุงเทพมหานครที่เงียบสงัดยาม เกิดขอจํากัดในการรับรูอารมณ การเปดรูปแบบ คํ่าคืน การรับรูใหกวางกวาองศาของตามนุษย และการ 2.1 มุมมองในการถายภาพมี 2 พิมพภาพขนาดใหญทําใหกระตุนการรับรูของ ลักษณะใหญ คือ มุมระดับสายตาและมุมตํ่า ผูชมใหรูสึกเหมือนยืนอยูในภาพ สอดคลองกับ แตจะมีการกดหรือเงยกลองขึ้นบางเล็กนอย วันชัย มีชาติ (Meechart, 2001) กลาวถึงลักษณะ เพื่อใหไดมุมของภาพที่สอดคลองกับลักษณะ ของสิ่งเราที่มีอิทธิพลตอการรับรูมีลักษณะ พื้นที่นั้น ๆ เชน หากตองการใหเห็นพื้นจะกดกลอง ภายนอกที่ดึงดูดความสนใจที่มีความเขมความใหญ ลงเล็กนอย แตหากตองการใหเห็นความสูง ชวยดึงดูความสนใจไดดีกวาสิ่งที่มีขนาดเล็ก ของตึกหรือตนไมที่อยูดานบนจะเงยกลองขึ้น

ภาพที่ 1 ตัวอยางผลงานภาพถายที่ใชมุมระดับสายตาคูกับเลนสระยะไกล (telephoto lens) ถายในซอยที่มีความลึกและมีมุมอับซับซอนเพื่อดึงเนนมิติของภาพที่อยูระยะไกล เสมือนขณะเราเดินเขาไปจะตองมองสังเกตทางเพื่อระวังภัยดานหนา และดูวาตองเดิน ผานอะไรบาง ทั้งมิติของภาพที่อยูฉากหนาจะไมชัดเจน เหมือนการมองดวยสายตาคนปกติ 348 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ภาพที่ 2 ตัวอยางผลงานภาพถาย ภาพอยูในระดับสายตา เนนการถายภาพมุมตํ่า (low angle shot) ทําใหสิ่งที่ถูกถายดูมีพลังอํานาจ ถายโดยใชเลนสมุมกวาง (wide angle lens) ที่มีสวนทําให ขอบภาพกวางกวาปกติ ทิศทางพุงไปดานหนาที่มีความมืด ไมชัดเจน ผสมกับเรื่อง องคประกอบศิลปเรื่องลักษณะผิวที่ปรากฏใหเห็นทําใหเกิดความรูสึกทางอารมณ ทั้งจาก การสัมผัสโดยตรง (tactile texture) หรือการสัมผัสดวยการมองเห็น (visual texture) ซึ่งเกิดจากประสบการณที่เคยรับรูลักษณะผิวมากอน ทําใหเกิดความรูสึกไดแมไมไดสัมผัส ผิวนั้น พื้นผิวจึงมีสวนชวยในการกระตุนปลุกเราความรูสึกทางอารมณได การถายภาพ พื้นผิวหยาบไมเรียบ ทําใหเกิดนํ้าหนักของแสงเงาที่ชัดเจน ใหความรูสึกหยาบกระดาง แข็ง นากลัว ลึกลับนาคนหา เกิดเปนความรูสึกลวงตา

2.3 แนวทางของศิลปนที่ไดนํามาใช ของมุงคใชความหยาบกระดางเพื่อเพิ่มกระตุน คือการถายทอดในรูปแบบของภาพขาวดําที่มี ความรูสึกรุนแรงใหมากขึ้น สวนาการใชมุมมอง ความตัดกันของแสงมาก (high contrast) เพื่อเนน พาโนรามาเปนสิ่งที่ตางจากผลงานของศิลปน บรรยากาศใหดูมีความกดดัน โทนขาวดํา ที่ยกมา สวนใหญจะถายภาพในระยะปกติที่เลนส ชวยทําใหสามารถนําเสนอเรื่องของ ความมืด สามารถรับมุมมองนั้น ๆ ได ไดชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเรื่องของพื้นผิวในงาน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 349 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

สรุปผลการวิจัยสวนที่ 2 การขาดการดูแล เชน อาคารบานเรือนที่มีสภาพ 1. การรับรูขาวสารจํานวนมากมีสวน เสื่อมโทรม รกราง ภาพกราฟติ หรือขยะ โดยเพิ่ม ทําใหความรูสึกหวาดกลัวตอภัยอาชญากรรมของ ความชัดเจน (clarity) ของพื้นผิวชวยใหสื่อ ประชาชนเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้สภาพแวดลอม ความหมายไดดียิ่งขึ้น สามารถกระตุนใหเกิดความกลัวได โดยไมตอง อภิปรายผลการวิจัย ขึ้นอยูกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงแตสามารถใชสิ่งเรา แนวคิดในการสรางสรรคผลงานของ เพื่อกระตุนใหเกิดความกลัวได ผูวิจัยเกิดจากความรูสึกไมปลอดภัยในการ 2. การสรางสรรคผลงานนี้เกิดจาก เดินทางเวลากลางคืนในกรุงเทพมหานคร ประสบการณตรงของผูวิจัยที่มักรูสึกถึงความ เปนความกลัวอันตรายที่จะเกิดตอชีวิตและ ไมปลอดภัยในสถานที่ตาง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ทรัพยสินดวยศิลปะสื่อภาพถาย เพราะการ จนบางครั้งกลายเปนความกลัวที่เกิดจาก ถายภาพเปนการนําเสนอความเปนจริงที่เกิดขึ้น จินตนาการมากกวาความเปนจริง ดังนั้น ผูวิจัย ในสังคมปจจุบัน การใชเครื่องมือระบบดิจิทัล จึงตองการสรางสรรคผลงานใหกระตุนการ ทั้งกลองถายภาพดิจิทัล และโปรแกรมปรับแตงภาพ รับรูถึงความรุนแรง ความรูสึกไมปลอดภัย ทําใหสามารถปรับปรุงภาพเพื่อใหสื่อความหมาย ในกรุงเทพมหานครเปนผลงานภาพถาย เพราะ ที่ตองการไดชัดเจนยิ่งขึ้น กระบวนการสรางสรรค ภาพถายไมไดเปนเพียงการสะทอนสิ่งที่อยู ผลงานเริ่มจากการสํารวจคนหาสถานที่ที่มี ตรงหนาออกมาเทานั้น แตยังเปนสื่อศิลปะที่มี องคประกอบในการสื่อสารความรูสึกไมปลอดภัย ความสมจริง สามารถกระตุนการรับรูและความ เชน ตรอก ซอยที่มีมุมอับลับตา ซอยลึก เปลี่ยว รูสึกของผูชมไดเปนอยางดี ภาพผิวถนนไมเรียบรอย แสงไฟสองสวาง 3. จากการทดลองคนพบวา ขนาดของ ไมทั่วถึง เปนพื้นที่รกราง มีขยะ หรือการเขียน ภาพที่แคบไปเปนขอจํากัดในการรับรูภาพ จึงใช กราฟฟตี้ เปนตน สอดคลองกับ Lorence et al. เทคนิคตอภาพ (stitching) เปนพาโนรามา (2013) ที่ศึกษาความสัมพันธระหวางความกลัว เพื่อขยายมุมมองในการรับรูและชวยเพิ่มคุณภาพ อาชญากรรมกับสิ่งแวดลอม พบวา สภาพแวดลอม ของไฟลภาพใหสามารถพิมพในขนาดที่ใหญ หรือสัญลักษณบางอยางที่สื่อถึงการขาดการ ขึ้นได ซึ่งขนาดภาพที่ใหญทําใหผูชมรูสึกเหมือน ดูแล เชน ฝุน ภาพกราฟติ ขยะ กระจกแตก หรือ เขาไปมีสวนรวมอยูในภาพ ทําใหเกิดการรับรู อาคารบานเรือนที่มีสภาพเสื่อมโทรม รกราง นั้น ถึงบรรยากาศความรุนแรงในสถานที่นั้นไดดีขึ้น สงผลใหเกิดความกลัวอาชญากรรม จากนั้น 4. บริบทและสิ่งเราที่ชวยกระตุนใหเกิด จึงเขาไปทดลองถายภาพเพื่อหาองคประกอบและ ความรูสึกความกลัวในความรุนแรง ประกอบดวย การจัดองคประกอบที่เหมาะสม โดยไดเลือกใช สภาพแวดลอมหรือสัญลักษณบางอยางที่สื่อถึง มุมตํ่าและมุมระดับสายตาเพื่อใหวัตถุดูมีพลัง 350 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อํานาจมากกวาและเหมือนผูชมไดเขาไปอยูใน ไมปลอดภัยในความสงัดของกรุงเทพมหานครได สถานที่จริง สังคมสภาพแวดลอมสามารถกระตุน จากการทดลองไดคนพบวาความกวาง ใหเกิดความกลัวไดโดยไมตองขึ้นอยูกับสิ่งที่ ของภาพที่แคบไปเปนขอจํากัดในการรับรูภาพ เกิดขึ้นจริง แตสามารถใชสิ่งเราเพื่อกระตุนใหเกิด จึงตอภาพ (stitching) เปนพาโนรามาเพื่อขยาย ความกลัวได หากยิ่งไดรับขอมูลมากยิ่งทําให มุมมองในการรับรูและชวยเพิ่มคุณภาพของ เกิดความกลัว แตในขณะเดียวกันไมไดขึ้นอยูกับ ไฟลภาพใหสามารถพิมพในขนาดที่ใหญขึ้นได การรับขอมูลเทานั้น แตขึ้นอยูกับสิ่งเราดวย คือ โดยทดลองพิมพชิ้นงานจริง 2 ขนาด คือ กวาง บรรยากาศและสภาพแวดลอม สอดคลองกับ 42 x ยาว 90 เซนติเมตร เปรียบเทียบกับขนาด Park (2008) และ Lorence et al. (2013) ที่ศึกษา กวาง 70 x ยาว 150 เซนติเมตร ซึ่งภาพถาย ความสัมพันธระหวางความกลัวอาชญากรรมกับ พาโนรามาขนาดใหญสามารถทําใหเกิดการ สิ่งแวดลอม พบวา สภาพแวดลอมหรือสัญลักษณ รับรูความรูสึกเหมือนเขาไปยืนอยูในบรรยากาศ บางอยางที่สื่อถึงการขาดการดูแล เชน ฝุน ภาพ นั้นไดจริงเพราะมีขนาดกวางกวาองศาในการ กราฟติ ขยะ กระจกแตก หรืออาคารบานเรือน รับภาพของสายตามนุษยปกติ ประกอบกับ ที่มีสภาพเสื่อมโทรม รกราง นั้นสงผลใหเกิดความ สิ่งแวดลอม วัตถุ ความเงียบสงัดในภาพชวย กลัวอาชญากรรม ใหภาพสามารถสะทอนใหเห็นถึงความรุนแรง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 351 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

องคความรูในการสรางสรรคผลงาน ศิลปะสื่อภาพถาย : ความรุนแรงในความสงัด

ศิลปะสื่อภาพถาย : ความรุนแรงในความสงัด

ความกลัวในความรุนแรง ความสงัด

การรับรู ศักยภาพของผูรับสาร ความเงียบ ทัศนคติตอความปลอดภัย ไมมีผูคนสัญจร การทํางานของเจาหนาที่ เวลากลางคืน ความสัมพันธกับเพื่อนบาน

ประสบการณตรง/ ขอมูลขาวสาร

สิ่งเราที่ทําใหเกิดความกลัว

สถานที่ ผลงาน - เรื่องราว - มุมมอง - บรรยากาศ: มุมอับลับตา ความไมเรียบรอย - ความกวาง ความเสื่อมโทรม รองรอย ความมืด - ขนาด - วัตถุที่อยูในสถานที่: ขยะ กราฟกตี้ - โทนสี - พื้นผิว 352 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ในอดีตการถายภาพเปนเพียงการ ดานเปนความจริง (realism) และนําไปสูการ บันทึกภาพเหตุการณที่เกิดขึ้นของมนุษยหรือ โตแยงเกี่ยวกับความเปนจริงในภาพวาเปน กิจวัตรในแตละวัน เมื่อเวลาผานไปการถายภาพ สิ่งที่ไมอาจยืนยันได เพราะภาพถายดิจิทัล ถือเปนการบันทึกเวลาและพื้นที่ (time and สามารถทําใหเกิดความสมบูรณมากเกินพอดี space) ผานสายตาและความรูสึกของมนุษย (too perfect) และเกินจริง (too real) เปนความ ในเวลาชวงนั้น (Wright, 2016) การวาดไมสามารถ สมบูรณที่มนุษยไมอาจเห็นไดตามปกติ และ สื่อความเปนจริงไดเทากับภาพถาย เพราะ สอดคลองกับ Wright (2016) กลาววาเทคโนโลยี ภาพถายสามารถถายทอดความงามไดทันที ทําใหทั้งการถายภาพและการนําภาพจาก เพียงแคใชกลองถายภาพดังที่ Walton (as cited แหลงอื่นมาประยุกตใชใชงานไดงายขึ้น แตอาจ in Wilson, 2013) เสนอวาภาพถายไดนําเสนอ ลดความนาเชื่อถือของภาพลงเพราะไมสามารถ ความเปนจริงอยางถูกตองแทจริงและตรงไป พิสูจนไดวาภาพผลงานชิ้นสุดทายไมมีการ ตรงมา ความสามารถนี้ถือเปนลักษณะเดนของ แตงเติมเพิ่มมากกวาความจริง ภาพถายที่สามารถถายทอดจากมุมมองและ แนวคิดของชางภาพไดชัดเจน ทั้งยังสามารถ REFERENCES ทําใหผูชมเชื่อตามไดทันที และสอดคลองกับ Bangthmai, E. (2013). Composition for Lopes (as cited in Wilson, 2013) วาการมอง Bhooting. Nonthaburi: IDC Premier. วัตถุผานภาพถาย สามารถกระตุนใหเกิดความ (in Thai) สนใจเห็นไดเห็นสิ่งนั้นโดยตรงแลวยังมีความ Brantingham, P. J., & Brantingham, P. L. ชัดเจน ถูกตอง และจริงใจ (1990). Situational crime prevention ในยุคตอมาเมื่อการถายภาพไดรับการ in practice. Canadian journal of พัฒนาใหสามารถปรับปรุงแกไขภาพหลังการ criminology, 32, 17-40. (in Thai) ถายไดโดยเฉพาะในระบบดิจิทัล ทําใหลักษณะ Buacharoen, S. (2011). Artistic elements ของภาพไมสามารถถูกยืนยันไดวาเปนความจริง for photographers. Bangkok: M.I.S. ที่ถูกตองได อาจเรียกไดวาเปนภาพลวงตา (in Thai) เปนการแสดงความคลุมเครือระหวางความจริง Bubpachat, K. (1996). The fear of crimes กับจินตนาการ ดังที่ Mitchell (as cited in among women. Master of Arts Thonglert, 2002) กลาววาภาพดิจิทัล เปนสิ่งที่ (Sociology), Graduate School, คลุมเครือระหวางความจริงกับจินตนาการ Thammasat University. (in Thai) การพัฒนากระบวนการสรางภาพดวยคอมพิวเตอร Central Information Technology Center. ทําใหเกิดคําถามเกี่ยวกับคุณคาของภาพถาย (2015). Statistics of 5 criminal cases. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 353 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Retrieved September 15, 2016, from Lorence, T. et al. (2013). Fear of crime http://gis.police.go.th/cstat/stat/arr- and the environment: systematic percent/all (in Thai) review of UK qualitative evidence. Chayawatana, K. (2001). Using photograph. Retrieved February 20, 2018, In Teaching Publications of Introduction from https://bmcpublichealth. of Photograph and Movie. 14th edition. biomedcentral.com/articles/ Bangkok: Prachumchang. (in Thai) 10.1186/1471-2458-13-496 Chummanikul, P. (2000). Peoples fear Meechart, W. (2001). Public Service of crime. Master Degree of Arts, organization behavior. Bangkok: Political Science, Graduate School, Chulalongkorn University Press. Ramkhamhaeng University. (in Thai) (in Thai) Horayangkura, V. (2006). Human behavior Mukdamanee, V. (2010). Photos and Art. with environment: behavioral norms Fine Art Magazine. (January 2010): for design and planning. 6th edition. 96 - 99. (in Thai) Bangkok: Chulalongkorn University Nakwatchara, W. (2003). Psychopath. Press. (in Thai) 2nd edition. Bangkok: Amarin Printing & Intuyos, N. (2013). General psychology. Publishing. (in Thai) Bangkok: Chulalongkorn University National Statistical Office. (2015). Travel Press. (in Thai) situation in Thailand: Bangkok in Jaruwannakorn, C. (2005). The creation of print 2009-2015. Retrieved September product advertising photography by 20, 2016, from http://service.nso. using gestalt theory. Master of Fine go.th/nso/web/statseries/statseries and Applied Arts Program in Creative 23.html (in Thai) Arts Department of Creative Arts, Neungnorad, Y. (2015). Foundation to Faculty of Fine and Applied Arts, Psychology. Bangkok: Odeon Store. Chulalongkorn University. (in Thai) (in Thai) Keawkungwan, S. (2008). Personality Nienvitoon, K. (2012). The environmental psychology (know them know design to decrease the opportunity yourself). Bangkok: Moh-Chao-Ban of crime in residential area in Publishing House. (in Thai) urban community of Bangkok. 354 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

An Independent Study Submitted in article/13-public-relations/general- Partial Fulfillment of the Requirements news/113-15092559 (in Thai) for the Degree Master of Urban and Sanasen, O. (2010). Photo ART. Contemporary Environmental Planning Program in & Fine Art Photography Magazine. Urban and Environmental Planning (March 2010): 12 – 19. 2010 (in Thai) Department of Urban Design and Setthawat, T. (2007). Visual art: communication Planning Graduate School, Silpakorn design. Bangkok: Lakthaichangpim. University. (in Thai) (in Thai). Noppaked, R. (1997). Psychology of Soonphongsri, K. (2011). Modern art. perception. Bangkok: Prakaipreuk Bangkok: Chulalongkorn University Printing. (in Thai) Press. (in Thai) Park, J. (2008). Modeling the role of fear Suwanatud, Ch. (2004). Psychology and of crime in pedestrian navigation. developmental psychology. Bangkok: Retrieved Feburary 20, 2018, from Encyclopedia of Education Project https://vpn.chula.ac.th/+CSCO+007 Faculty of Education, Srinakharinwirot 5676763663A2F2F66726E6570752E University. (in Thai) 63656264687266672E70627A++/do Suwannanon, A. (2012). Report of analyze cview/304357417?accountid=15637 and produce of public sector crime Patintu, Ch. (2001). Visual Arts enlightenment. statistics the country (under the Bangkok: Kurusapa Business survey of crime statistics of public Organization. (in Thai). sector in 2012). Doctor of Philosophy Peter, S. (2006). Graphic design. Bangkok: Program, Criminology, Justice and Odeon Store. (in Thai) Social Justice, Suan Dusit Rajabhat Research Division of Office of Police University. (in Thai) Strategy. (2016). Report of Creating Suwansang, K. (1997). General psychology. Measuring Tool of Fear of Crime. Bangkok: Aksorn Vithaya. (in Thai) Retrieved September 20, 2016, Tarapod, T. & Sirisuk, S. (2002). Human from http://research.police.go.th/ behavior and self-development. index.php/component/content/ Bangkok: Tipwisut. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 355 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

The Institute for Economics and Peace. (2016). Tony, W. (1978). Conquer the fear. 2nd edition. 2016 Global Peace Index rankings. Translate by Wongchai, K. Bangkok: Retrieved September 20, 2016, Delphi Publishing. (in Thai) from http://static.visionofhumanity. Yoskrai, K. (2007). Photography for org/sites/default/files/Global%20 communication. Bangkok: Triple Peace%20 Index%20Report%20 Education. (in Thai) 2016_0.pdf Wilson, D. (2013). Photography. In Gaut, B. Thonglert, G. (2002). Formation, signification, & Lopes, D. editors. The routledge and imagination themes of companion to aesthetics. 3rd edition. photo-text target groups in printed NY: Routledge. p. 585-595. advertisements. Doctoral Degree Wright, T. (2016). The photography handbook. of Arts, Communication Arts, 3rd edition. NY: Routledge. Chulalongkorn University. (in Thai) 356 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Academic Article

ทศพิธราชธรรม : หลักธรรมอันพึงปฏิบัติ สําหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการประถมศึกษา

VIRTUES OR DUTIES OF THE KING: A PRACTICAL PRINCIPLE FOR ELEMENTARY TEACHER STUDENTS ดาวใจ ดวงมณี1* และ เกรียงศักดิ์ ชยัมภร2 Daojai Duangmanee1* and Kriangsak Chayamphorn2

สาขาวิชาการประถมศึกษา วิทยาลัยการฝกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2 Elementary Education Program, College of Teacher Education, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand1*, 2

[email protected]*

บทคัดยอ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชทรงเปนพระมหากษัตริยที่ครองราชย ยาวนานกวา 60 ป พระองคทรงดูแลประชาชนชาวไทยดวยทศพิธราชธรรม ไดแก 1. ทาน 2. ศีล 3. ปริจจาคะ 4. อาชชวะ 5. มัททวะ 6. ตปะ 7. อักโกธะ 8. อวิหิงสา 9. ขันติ และ 10. อวิโรธนะ ซึ่งพระองคทรงเปนแบบอยางที่ดีใหประชาชนชาวไทยนอมนําไปปฏิบัติ ทั้งนี้ ในรายวิชาการประถม ศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมสําหรับครูประถมศึกษา และรายวิชาการฝกปฏิบัติงาน วิชาชีพ 2 ไดนําหลักทศพิธราชธรรมมาบูรณาการในรายวิชาเพื่อใหนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา ไดจัดการความรูโดยคิดวิเคราะห สังเคราะห และสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรูถึงการนําทศพิธราชธรรม มาเปนหลักธรรมอันพึงปฏิบัติในสถานศึกษา โดยคํานึงถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหงชาติทั้ง 6 ดานไดแก 1. ดานคุณธรรม จริยธรรม 2. ดานความรู 3. ดานทักษะทางปญญา 4. ดานทักษะ ความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6. ดานทักษะการจัดการเรียนรู ดังนั้น จึงไดแนวทางการปฏิบัติตน สําหรับนักศึกษาครูสาขาวิชาการประถมศึกษาและเปนการสรางเสริมคุณลักษณะของบัณฑิต เพื่อที่จะกาวออกไปเปนครูประถมศึกษาที่มีคุณภาพเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยตอไป Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 357 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

คําสําคัญ: ทศพิธราชธรรม หลักธรรมอันพึงปฏิบัติ นักศึกษาครูสาขาวิชาการประถมศึกษา

ABSTRACT His Majesty King Bhumibol Adulyadej is the reigning monarch for more than 60 years. He cared for the Thai people with virtues or duties of the king included 1. charity (liberality; generosity), 2. high moral character, 3. self-sacrifice, 4. honesty (integrity) 5. kindness and gentleness 6. Austerity (self-control; non-indulgence), 7.non-anger (non-fury), 8. non violence (non-oppression), 9. Patience (forbearance; tolerance), and 10. non-deviation from righteousness; conformity to the law. His Majesty a good model. for the follow his virtues. of Thailand to practice. In Elementary Education course, Social Studies, Religion and Culture for Elementary Teachers and Practicum 2 course has virtues or duties of the king integrated in the course to provide for elementary student teachers knowledge management. Apply the virtues or duties of the king in schools with the Thai Qualifications Frameworks for Higher Education in all six areas, namely: 1. Ethics and Moral, 2. Knowledge, 3. Cognitive Skills, 4. Interpersonal Skills and Responsibility, 5. Numerical Analysis, Communication, and Information Technology Skills, and 6. Instructional Management Skills. Therefore, it has adopted the practice guidelines for elementary teacher students and has enhanced the characteristics of graduates in order to become qualified teachers to further develop Thai education.

Keywords: virtues or duties of the King, practical principle, elementary students teacher

บทนํา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวปรมินทร คุณภาพพรอมคือ ทั้งเกงและดีมาเปนกําลังของ ภูมิพลอดุลยเดช ไดพระราชทานพระบรม บานเมือง…” (Amorntham, 2016) จากพระบรม ราโชวาท แกคณะผูบริหารและสภาคณาจารย ราโชวาท สะทอนใหเห็นวา สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยตาง ๆ ณ ศาลาดุสิดาลัยเมื่อวันที่ ระดับอุดมศึกษาที่มีบทบาทในการผลิตครูจะตอง 3 ตุลาคม 2533 ไววา “...มหาวิทยาลัยมุงสั่งสอน จัดการศึกษาใหสอดคลองกับกรอบมาตรฐาน นักศึกษาใหเปนคนเกง ซึ่งเปนการดี แตนอกจาก คุณวุฒิของสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา จะสอนใหเกงแลวจําเปนอยางยิ่ง ที่จะอบรมใหดี ซึ่งมีมาตรฐานผลการเรียนรูทั้งหมด 6 ดาน ไปพรอมกันดวย ประเทศเราจึงจะไดคนที่มี ไดแก 1 ดานคุณธรรม จริยธรรม 2. ดานความรู 358 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

3. ดานทักษะทางปญญา 4. ดานทักษะความสัมพันธ “ครูของครู” ใหนักศึกษาครูไดนอมนําแนวทาง ระหวางบุคคลความรับผิดชอบ 5. ดานทักษะ ปฏิบัติของพระองคมาใชในการดําเนินชีวิต ดังนั้น การวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช บทความวิชาการนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อนําเสนอ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6. ดานทักษะการ แนวทางการนําทศพิธราชธรรมมาเปนแนวทาง จัดการเรียนรู ประพฤติปฏิบัติของนักศึกษาครูสาขาวิชาการ โดยที่การศึกษาระดับประถมศึกษา ประถมศึกษาในการฝกประสบการณวิชาชีพ เปนการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาภาค ในสถานศึกษาและนําไปประยุกตใชในการ บังคับที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีพื้นฐานทั้งความรู ประกอบวิชาชีพครูตอไป ทักษะกระบวนการและคุณธรรมที่จําเปน เพื่อนําไปสูการศึกษาระดับที่สูงขึ้นและเปนกําลัง กรอบในการวิเคราะห ในการพัฒนาประเทศ สาขาวิชาการประถม บทความวิชาการเรื่องทศพิธราชธรรม: ศึกษาซึ่งมีหนาที่ผลิตบัณฑิตครูประถมศึกษา หลักธรรมอันพึงปฏิบัติสําหรับนักศึกษาครูสาขา จึงจัดการศึกษาเพื่อใหนักศึกษาครูมีความรู วิชาการประถมศึกษามีกรอบแนวคิดในการ ความสามารถดานวิชาการและมีคุณธรรม วิเคราะห โดยนําหลักทศพิธราชธรรมทั้ง 10 ประการ เพื่อกาวไปเปนครูมืออาชีพไดอยางสมบูรณ มาเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อฝกประสบการณ โดยไดนอมนําหลักทศพิธราชธรรมซึ่งเปน วิชาชีพในสถานศึกษา ใหสัมพันธกับคุณลักษณะ หลักธรรมที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงยึดถือ บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา เปนหลักปฏิบัติ พระองคจึงเปรียบเสมือนเปน แหงชาติ ดังนี้ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 359 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ทศพิธราชธรรม แนวทางการปฏิบัติตามทศพิธราชธรรม 1. ทาน ภายใตมาตรฐานผลการเรียนรูคุณลักษณะบัณฑิต 2. ศีล ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ 3. ปริจจาคะ 1. ดานคุณธรรม จริยธรรม 4. อาชชวะ 2. ดานความรู 5. มัททวะ 3. ดานทักษะทางปญญา 6. ตปะ 4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ 7. อักโกธะ รับผิดชอบ 8. อวิหิงสา 5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ 9. ขันติ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 10. อวิโรธนะ 6. ดานทักษะการจัดการเรียนรู

ความหมายของทศพิธราชธรรม ผูอื่น ดวยเหตุนี้ทุกคนจึงสามารถกาวขึ้นมาเปน พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ผูนําได ประเทศชาติมีนายกรัฐมนตรีเปนผูนํา พ.ศ. 2559 ของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต) หมูบานหรือชุมชนก็จะมีผูนํา ครอบครัวก็จะมี (P. A. Payutto, 2016) ไดใหความหมายของ บิดาเปนผูนํา ในสถานศึกษาก็จะมีครูเปนผูนํา ทศพิธราชธรรมวา หมายถึง ธรรมพระราชา กิจวัตร ในหลายระดับ เชน ผูอํานวยการสถานศึกษา ที่พระเจาแผนดินควรประพฤติ คุณธรรมของ เปนผูนําของโรงเรียน ครูประจําชั้นเปนผูนํา ผูปกครองบานเมือง และธรรมของนักปกครอง ในระดับชั้น รวมถึงหนวยงานตาง ๆ ก็จะมีผูนํา และพระมหาหรรษา ธมฺมหาโส (Thammahaso, ดังนั้น บุคคลตาง ๆ สามารถที่จะนําหลักทศพิธ 2013) ไดกลาววาทศพิธราชธรรมไมไดหมายถึง ราชธรรมไปเปนหลักปฏิบัติเพื่อใหสังคมเกิดความ หลักธรรมของพระเจาแผนดินเทานั้น แตหมายถึง สันติสุขได ผูนําบานเมือง และผูที่ปกครองผูอื่น ทศพิธราชธรรม เปนหลักปฏิบัติสําหรับกลอมเกลาจิตใจเพื่อ ทศพิธราชธรรม: ธรรมะของพระราชาในการ สามารถปรับใจใหสอดรับกับวิกฤติตาง ๆ ที่เขามา ครองราชย กระทบ และทดสอบจิตใจ และสามารถตัดสินใจ ประเทศไทยปกครองดวยระบอบ ไดอยางถูกตอง ไมมีอคติ และมุงประโยชนสวนรวม ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ที่จะเกิดขึ้นแกสังคมเปนสําคัญ ดังนั้น จึงสรุปไดวา พระประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ นับตั้งแตพระบาท ทศพิธราชธรรม หมายถึง หลักธรรมสําหรับ สมเด็จพระเจาอยูหัวขึ้น รัชกาลที่ 9 ครองราชย พระเจาแผนดิน ผูนําบานเมือง ผูที่ตองปกครอง ในพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก ไดมีพระปฐม 360 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

บรมราชโองการวา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม ภูเขามีรายไดและไมทําลายปาไมบนภูเขา เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” ทรงสนับสนุนการจัดตั้งโรงเรียนเจาพอหลวง ตลอดเวลาในการครองราชยพระองคไดใชทศพิธ อุปถัมภ ในจังหวัดทางภาคเหนือเพื่อใหเด็ก ราชธรรมในการปกครองบานเมือง ประกอบดวย ชาวเขาไดศึกษาเลาเรียน โรงเรียนรมเกลา 1. ทาน 2. ศีล 3. ปริจจาคะ 4. อาชชวะ ในเขตจังหวัดภาคอีสาน โรงเรียนตํารวจ 5. มัททวะ 6.ตปะ 7. อักโกธะ 8. อวิหิงสา ตระเวนชายแดน โรงเรียนพระดาบส การจัดทํา 9. ขันติ 10. อวิโรธนะ ซึ่งหลักธรรมในแตละขอนั้น สารานุกรมสําหรับเยาวชน ทุนเลาเรียนหลวง ชาวไทยไดประจักษชัดเจนจากพระราชกรณียกิจ ทุนอานันทมหิดล เปนตน และพระจริยวัตรอันงดงามที่สามารถนํามาเปน 2. ศีล (high moral character) หมายถึง แบบอยาง ดังนี้ การประพฤติปฏิบัติดีทั้งกาย วาจา และใจ 1. ทาน (charity liberality; generosity) ในศาสนาพุทธ มีศีล 5 เปนหลักธรรมใหผูนับถือ หมายถึง การให ซึ่งเปนหลักธรรมคําสอนที่ ศาสนาไดปฏิบัติ ไดแก การไมฆาสัตว การไม ปรากฏในศาสนาตาง ๆ เชน ศาสนาพุทธ ลักทรัพย การไมประพฤติผิดในกาม การไมพูดจา กลาวถึงการใหทานวาเปนสวนหนึ่งของหลักธรรม สอเสียด ไมพูดโกหก การไมดื่มสุราหรือของ สังคหวัตถุ 4 โดยความหมายของทาน หมายถึง มึนเมา พระราชจริยวัตรของพระองคที่แสดงถึง การบริจาค การเสียสละ และการใหอภัยผูอื่น การตั้งมั่นในศีล ไดแก พระองคทรงมีรักในสมเด็จ สวนหลักคําสอนของศาสนาอิสลามไดกลาวถึง พระราชินีเพียงพระองคเดียว ทรงรักและเมตตา การใหทานซึ่งเรียกวา การบริจาคซะกาต เปนการ ตอสัตวไมทํารายสัตว พระองคทรงบริจาคทรัพย ขัดเกลาจิตใจของผูมีทรัพยสินใหสะอาดจาก เพื่อชวยเหลือประชาชนชาวไทยอยางสมํ่าเสมอ ความตระหนี่ ถี่เหนียว จากการศึกษาพระราช พระองคเสวยพระกระยาหารที่เรียบงายและ จริยวัตรของในหลวงรัชกาลที่ 9 พบวาพระองค เปนประโยชนโดยละเวนสิ่งของมึนเมา นอกจาก ทรงพระราชทานสิ่งของใหกับราษฎรที่ยากไร หรือ พระองครักษาศีล ประพฤติธรรมและเปนแบบอยาง ประสบภัยทุกครั้งที่พระองคเสด็จพระราชดําเนิน ที่ดีแกพสกนิกรแลวพระองคทรงมีพระบรมราโชวาท ไปในที่ตาง ๆ ประชาชนก็จะไดรับถุงพระราชทาน ที่เปนขอคิดเตือนใจใหกับบัณฑิตในวันพระราชทาน นอกจากนี้ ทรงพระราชทานทุนทรัพยสวนพระองค ปริญญาบัตรเพื่อเปนหลักปฏิบัติที่ดี ในชวยเหลือราษฎร เชน ทรงพระราชทาน 3. ปริจจาคะ (self - sacrifice) หมายถึง พระราชทรัพยสวนพระองค ในการทําการ การเสียสละความสุขสวนตนเพื่อประโยชน ทดลองเลี้ยงวัว เลี้ยงปลานิล ในพระตําหนัก สวนรวม หากติดตามขาวพระราชกรณียกิจ จิตรลดารโหฐาน ทรงจัดซื้อที่ดินตั้งโครงการ จะพบวาพระองคเสด็จไปยังถิ่นทุรกันดาร พระบรมราชานุเคราะหชาวเขา หรือโครงการหลวง เพื่อแกปญหาความเดือดรอนใหกับประชาชน เพื่อทําการทดลองปลูกพืชเมืองหนาวใหชาวไทย ทั่วทุกภูมิภาคและทรงงานอยางไมมีวันหยุด Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 361 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เพื่อราษฎรของพระองค เชน ในขณะที่พระองค พระองค ทําใหประชาชนชาวไทยจงรักภักดี ทรงเขารับการรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช แพทย ตอพระองค นอกจากนี้พระองคยังทรงให ที่ถวายการรักษาไดเลาวาแมพระองคจะทรง ความสําคัญกับความซื่อตรง ดังจะเห็น ไดจาก ประทับที่โรงพยาบาลแตยังทรงงานตลอดเวลา พระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับความซื่อตรง 4. อาชชวะ (honesty; integrity) เมื่อครั้งในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก หมายถึง ความซื่อตรง สุจริต มีความจริงใจ นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เมื่อวันที่ ดังจะเห็นไดจากพระปฐมบรมราชโองการเนื่องใน 28 มกราคม พ.ศ. 2503 วา “สําหรับผูที่สําเร็จ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ของพระบาทสมเด็จ การศึกษาไปแลวนั้น ตางคนตางแยกยายกัน พระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 “เราจะครองแผนดิน ไปประกอบอาชีพตามสาขาตาง ๆ ตามความรู โดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” ที่ไดศึกษาเลาเรียนมาและบําเพ็ญตนเพื่อเปน เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ตลอดชวงเวลา แบบอยางอันดีแกผูอื่น จึงขอฝากขอเตือนใจ ที่ครองราชย พระองคทรงปฏิบัติตามหลักทศพิธ ไววาการที่จะใชความรูในการประกอบอาชีพ ราชธรรมในการดูแลทุกขสุขของประชาชน ตอไปขางหนา ควรนึกถึงเกียรติและความซื่อตรง ชาวไทย จึงเปนที่ประจักษวา ในหลวงรัชกาลที่ 9 เพื่อประโยชนสวนรวมใหมาก บานเมืองจะเจริญ ทรงมีความซื่อตรงตอประชาชนของพระองค รุงเรืองก็ดวยอาศัยคนดีที่มีความรูชวยกัน รวมถึงเรื่อง เสียงปริศนา จากหนังสือ ที่สุดของ ประกอบกิจการงาน ฉะนั้น บรรดานักศึกษา หัวใจ สี่สิบเรื่องราวแสนนารัก ที่สุดของความผูกพัน ที่ไดรับเกียรติในวันนี้ จึงเปนผูที่ตองรับผิดชอบ ในหัวใจของคนไทยกับในหลวง เปนเรื่องราวของ ในความเจริญกาวหนาของชาติบานเมืองดวย ชายหนุมที่ตะโกนวา “ในหลวงอยาทิ้งประชาชนนะ” สวนหนึ่ง” (Tuleephrabath, 2016) ในขณะที่พระองคประทับรถพระที่นั่งไปสูสนามบิน 5. มัททวะ (kindness and gentleness) ดอนเมืองเพื่อเสด็จพระราชดําเนินกลับประเทศ หมายถึง ความสุภาพออนโยน ความออนนอม สวิสเซอรแลนด พระองคทรงนึกตอบใน ถอมตน ไมทะนงตน ดังจะเห็นไดจากภาพ พระราชหฤทัยวา “ถาประชาชนไมทิ้งขาพเจาแลว ประวัติศาสตรที่ประทับใจของชาวไทยทุกคน ขาพเจาจะทิ้งประชาชนไดอยางไร” อีก 20 ปตอมา คงเปนภาพที่พระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 ทรงโนม ชายที่ตะโกนซึ่งเปนพลทหารไดกราบบังคมทูล พระองคลงมารับดอกบัวจากหญิงชรา วาพระองคคงจําไมได ตอนนั้นเห็นหนาพระองค ที่ชื่อ ตุม จันทนิตย อายุ 102 ป และทรงแยม เศรามาก กลัวจะไมกลับมาจึงตะโกนรองไป พระสรวลอยางออนโยน เมื่อครั้งที่พระองค พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจึงทรงตอบวา เสด็จพระราชดําเนินไปยังจังหวัดนครพนม “นั่นแหละ ทําใหเรานึกถึงหนาที่ จึงตองกลับมา” เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 และทุกครั้ง จากเหตุการณที่กลาวมาแสดงใหเห็นวาพระองค ที่พระองคเสด็จไปพระราชดําเนินไปยังถิ่น มีความซื่อตรงและจริงใจตอประชาชนของ ทุรกันดารพบเจอราษฎร พระองคทรงโนมพระองค 362 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ลงเสมอราษฎร อยางไมถือพระองคเพื่อทรง ใสไวใหรุงรังเทานั้น ที่จะไมใหฝนชื้นไปถึงเสื้อผา ถามไถถึงทุกขสุขของราษฎร ดวยนั้นแทบไมมี แถมยังกลับไปถึงที่พักก็อาจมี 6. ตปะ (self–control; non - อาการคันจากเม็ดผื่นคันที่ตัวแมลงกัดตอย หรือ indulgence) พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต) เจ็บปวดเลือดไหลเพราะโดนทากกัดอีก” จากคํา Brahmagunabhorn (P.A.Payutto, 2016) บอกเลาของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล จะเห็นไดวา ไดใหความหมายวา การแผดเผากิเลสตัณหา พระองคทรงมีความเพียรอยางสูงสุด นอกจากนี้ มิใหเขาครอบงําจิตใจ ระงับขมใจได ไมยอม จะเห็นไดจากพระราชจริยวัตรในดานตาง ๆ หลงใหลหมกมุนในความสุขสําราญและความ ที่เกี่ยวกับความเพียร เชน ผลงานประดิษฐตาม ปรนเปรอ มีความเปนอยูสมํ่าเสมอ หรือสามัญ พระราชดําริกังหันนํ้าชัยพัฒนา ทรงศึกษาคนควา มุงมั่นแตจะบําเพ็ญเพียร ทํากิจใหบริบูรณ ออกแบบเรือใบและตอเรือใบดวยพระองคเอง ดังนั้น ตปะจึงหมายถึงยับยั้งชั่งใจไมใหกระทํา ทรงฝกเครื่องดนตรีหลายประเภท พระองคทรง ความผิด ไมหลงใหลและลุมหลงในสิ่งตาง ๆ พระราชนิพนธเพลงมากกวา 40 เพลง ทรงพระ มีความเพียรมุงมั่นในการทําภารกิจตาง ๆ ใหสําเร็จ ราชนิพนธหนังสือ ทรงพระราชนิพนธแปลหนังสือ ดังจะเห็นไดจากพระองคเสด็จพระราชดําเนิน เรื่อง นายอินทรผูปดทองหลังพระ ที่พระองค ไปยังถิ่นทุรกันดาร พื้นที่เสี่ยงภัยในสามจังหวัด ใชเวลาจากการทรงงานแปลวันละเล็กละนอย ชายแดนภาคใต พระองคเสด็จลงพื้นที่จริง รวมใชเวลา 3 ป และในป พ.ศ. 2538 พระองค เพื่อสํารวจปญหาและเพื่อหาแนวทางในการ ทรงแปลเรื่อง ติโต และเรื่องพระมหาชนก ที่เปน แกปญหา ดังจะเห็นไดจากภาพพระราชกรณียกิจ ชาดกในพระพุทธประวัติ พระองคทรงแปลจาก ที่คุนตาของชาวไทยทุกคนคือพระองคทรงถือ ภาษาสันสกฤตโบราณมาเปนภาษาไทยที่เขาใจงาย แผนที่ตลอดเวลา โดย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล โดยจัดพิมพในรูปแบบฉบับเต็มและฉบับการตูน อางถึงใน ธุลีพระบาท (Tuleephrabath, 2016) เพื่อใหเด็ก ๆ ไดอาน นอกจากนี้ในทุกป จะเห็น ไดเลาวา “ผูเขียนจึงไดกลาววา เพียงภาพขาว ไดวานอกจากพระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติ โทรทัศนนั้น ไมไดใหความรูสึกวาตรากตรํา เพื่อชวยเหลือราษฎรในทุก ๆ วัน พระองคยัง เหน็ดเหนื่อยขนาดไหน หากแตความจริงที่ปรากฏ สละเวลาอันนอยนิดในการสรางสรรคผลงาน ในแตละครั้งที่เสด็จนั้น สามารถดูไดจากผูติดตาม เพื่อประโยชนของประเทศชาติ และจําเห็นไดวา เสด็จทั้งหลายวา ไมเคยมีสักครั้งที่เสื้อผาจะไม พระองคทรงเปนแบบอยางใหคนไทยมีความเพียร เปยกชุม ถาไมใชเพราะเหงื่อที่เปลวแดดหรือ เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท เพราะความเหนื่อยที่ตองเดินทางไกล หรือเดิน 7. อักโกธะ (non-anger; non - fury) หรือเดินสลับวิ่งวิบากไปในปาดงพงไพรก็ดี ก็ตอง หมายถึง ความไมโกรธ หากไดอานบทความ เปยกไปดวยฝน และยิ่งเปนเพราะฝนทางภาคใต เกี่ยวกับชาวตางชาติไดกลาววาพระมหากษัตริย ดวยแลว ถึงจะใสเสื้อกันฝนก็เถอะ ก็เปนเพียง ของไทยไมยิ้ม พระองคก็ไมเคยโกรธแตทรงตรัส Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 363 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

วารอยยิ้มของพระองคคือรอยยิ้มของสมเด็จ ตอความรอน ความหนาว ความหิวกระหาย พระราชินี หรือ “She is my smile” หรือแมกระทั่ง 2. ความอดทนตอทุกขเวทนา ความเจ็บปวย เกิดเหตุการณที่ถูกผูไมหวังดีกลาววาพระองค 3. ความอดทนตออารมณยั่วยุใหโลภ โกรธ หลง พระองคไมเคยตรัสแสดงถึงความโกรธเพราะ จากการศึกษาพระจริยวัตรของพระองคพบวา พระองคมีพระเมตตาธรรม ไมวาพระองคจะถูก พระองคเสด็จพระราชดําเนินไปในถิ่นทุรกันดาร กาวลวงจากผูคนรอบขาง พระองคทรงมีเมตตา ที่หางไกลการคมนาคม เพื่อแกปญหาใหชาวบาน พระราชทานอภัยโทษเสมอ ที่ยากจน ดังจะเห็นจากพระบรมฉายาลักษณ 8. อวิหิงสา (non-violence; non – ที่คุนตาของประชาชนชาวไทยที่พระเสโทหลั่ง oppression) หมายถึง ความไมเบียดเบียน ที่ปลายพระนาสิก (จมูก) แสดงใหเห็นวาพระองค ไมทําใหผูอื่นเปนทุกขพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีขันติธรรมในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ รัชกาลที่ 9 ทรงมีพะราชหฤทัยที่เปยมไปดวย ทั้งปวง ความเมตตา ปรารถนาใหราษฎรทุกคนไมมี 10. อวิโรธนะ (non – deviation from ความทุกข พระองคทรงบําบัดทุกข บํารุงสุข righteousness; conformity to the law) หมายถึง โดยไมแบงเพศ แบงเชื้อชาติ แบงศาสนา นอกจากนี้ ความหนักแนน และเที่ยงธรรม รัฐธรรมนูญ ในการเสด็จพระราชดําเนินไปตางจังหวัดในถิ่น แหงราชอาณาจักรไทยไดกําหนดรูปแบบ ทุรกันดารในบางครั้งพระองคจะมีผูติดตามเสด็จ การปกครองของประเทศไทยวา ประเทศไทย ไมมากนัก รวมทั้งในบางครั้งพระองคเสด็จ มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระราชดําเนินสวนพระองคจะทรงขับรถยนต พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข พระองคทรง พระที่นั่งดวยพระองคเอง ซึ่งจะเห็นไดวาพระองค ปกครองโดยอยูภายใตรัฐธรรมนูญ ดังจะเห็น ทรงไมตองการใหประชาชนเดือดรอน ดวยเหตุนี้ ไดจากเมื่อครั้งประเทศไทยมีปญหาความขัดแยง ทุกที่ ๆ พระองคเสด็จพระราชดําเนินจะมีประชาชน ทางการเมืองไดแกเหตุการณ 14 ตุลาที่มี มาเฝารับเสด็จอยางเนื่องแนนและทุกคนแสดง นักศึกษาและประชาชนออกมาชุมนุมเรียกรอง ความปลื้มปติ บางคนมาจากตางจังหวัด บางคน ทางการเมืองเมื่อ พ.ศ. 2516 และเหตุการณ เปนชาวตางชาติ ทุกคนลวนแลวแตมาชื่นชม พฤษภาทมิฬที่เกิดการปะทะระหวางทหารและ พระบารมีและมีความสุขที่ไดรับเสด็จพระองค ประชาชนเมื่อ พ.ศ.2535 พระองคทรงใหผูขัดแยง นั่นแสดงใหเห็นถึงการแสดงความจงรักภักดีและ ทางการเมืองเขาเฝาจนเกิดการประนีประนอม สํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ชวยทําใหประเทศชาติผานเรื่องรายไปดวยดี 9. ขันติ (patience; forbearance; ซึ่งทั้งหมดนี้เปนเพราะพระองคทรงยึดมั่นใน tolerance) หมายถึง ความอดทนหรืออดกลั้น ความเที่ยงธรรม ความอดทนมี 3 ลักษณะไดแก 1. ความอดทน 364 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

คุณลักษณะบัณฑิตนักศึกษาวิชาชีพครู การประถมศึกษาไปใชในการจัดการเรียนรู ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แกปญหาการพัฒนาผูเรียนประถมศึกษาและ แหงชาติ วิจัยตอยอดองคความรู 4. ดานทักษะความ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา สัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ แหงชาติ พ.ศ.2552 จัดทํามาตรฐานคุณวุฒิ (interpersonal skills and responsibility) สําหรับการศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาตรี มีความไวตอความรูสึกของผูเรียนระดับประถม สาขาครุศาสตรและสาขาศึกษาศาสตร (หลักสูตร ศึกษา เอาใจใสและรับฟงความคิดเห็นของเด็ก หาป) โดยมีมาตรฐานผลการเรียนรูสําหรับสาขา และพัฒนาความสัมพันธระหวางบุคคลอยาง วิชาการประถมศึกษาทั้งหมด 6 ดาน สรุปได ดังนี้ มีความรับผิดชอบ 5. ดานทักษะการคิดวิเคราะห 1. ดานคุณธรรมจริยธรรม (ethics and moral) เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี ตองมีคุณธรรมจริยธรรมสําหรับครูประถมศึกษา สารสนเทศ (numerical analysis, communication ซึ่งคุรุสภาไดกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพทาง and information technology skills) มีการ การศึกษา พ.ศ.2556 เพื่อใหผูประกอบวิชาชีพครู วิเคราะหสรุปความคิดรวบยอดขอมูลจากผูเรียน ตองประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ ระดับประถมศึกษา สามารถสื่อสาร เลือก และ ของวิชาชีพ ทั้งหมด5หมวดซึ่งในแตละหมวด นําเสนอขอมูลสารสนเทศสําหรับผูเรียนระดับ ไดกําหนดคุณธรรมจริยธรรมไว เชน การมีวินัย ประถมศึกษาไดอยางเหมาะสม 6. ดานทักษะ ความซื่อสัตยสุจริต ความรับผิดชอบ ความเมตตา การจัดการเรียนรู (instructional management ความเสมอภาค ความชวยเหลือเกื้อกูล เปน skills) มีความเชี่ยวชาญการจัดการเรียนรู แบบอยางที่ดีทางกาย วาจาและใจ ไมรับผล สําหรับผูเรียนระดับประถมศึกษา ทั้งรูปแบบ ประโยชน เปนตน 2. ดานความรู (knowledge) ที่เปนทางการ (formal) รูปแบบกึ่งทางการ มีการบูรณาการความรูการประถมศึกษาที่ (non-formal) และรูปแบบไมเปนทางการ ครอบคลุมทั้งดานหลักการและแนวคิดการ (informal) อยางสรางสรรค รวมทั้งมีความ ประถมศึกษา พัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก เชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรูสําหรับผูเรียน ระดับประถมศึกษา รวมทั้งความรู ภาษาไทย ที่มีความสามารถพิเศษ ความสามารถปานกลาง คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนา และที่มีความตองการพิเศษอยางมีนวัตกรรม และวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ และภาษา เพื่อตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล ตางประเทศ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ จากมาตรฐานการเรียนรูของบัณฑิตครูทั้ง 6 ดาน ดนตรี นาฏศิลป การงานอาชีพ คอมพิวเตอร (The Higher Education Commission, Office ในระดับประถมศึกษา 3. ดานทักษะทางปญญา Ministry Higher Education of Education, (cognitive skills) มีการคิดวิเคราะห สังเคราะห 2011) ประเมินคา และนําความรูในศาสตรสาขา Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 365 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ทศพิธราชธรรม: หลักธรรมอันพึงปฏิบัติ จากมีความคิดที่พรอมจะใหโดยเริ่มจากการให สําหรับนักศึกษาครูสาขาวิชาการประถม ธรรมะ ใหแนวทางการประพฤติปฏิบัติที่ดีแก ศึกษา ผูเรียนสอดแทรกไปในระหวางการใหความรู ครูประถมศึกษามีบทบาทในการเปนครู ตาง ๆ รวมถึงการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดรับฟง ประจําชั้นตองดูแลและปกครองนักเรียนในหอง ธรรมะจากพระสงฆหรือผูเผยแพรคําสอนของ ใหมีความสงบเรียบรอยเปนไปตามขอตกลง ศาสนาตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนไดนําหลักธรรม ของหองและกฎระเบียบของโรงเรียน การที่จะ คําสอนมาใชในการดํารงชีวิตอยางมีความสุข ปกครองนักเรียนในหองไดอยางราบรื่น ไมเกิด นอกจากนี้ยังมีการใหวัตถุสิ่งของตามกําลังที่พอ ปญหา นักเรียนมีความรักใครสามัคคีกันครูตอง จะใหได เชน การใหอุปกรณการเรียนหรือสิ่งของ ใชหลักธรรมในการปกครองนักเรียน ดังนั้น เล็ก ๆ นอย ๆ การใหสิ่งของชวยเหลือนักเรียน ในฐานะที่ครูเปรียบเสมือนผูนําและผูปกครอง ที่เดือดรอน ดังจะเห็นไดจากขาวเด็กนักเรียน ของหองเรียน ครูจึงตองนอมนําทศพิธราชธรรม ที่ยากจน กําพราพอแม ตองใชชีวิตอยางลําพัง มาเปนแนวทางในการปฏิบัติตนใหเหมาะสม จะพบวาครูจะเปนบุคคลแรก ๆ ที่ชวยเหลือ ดวยเหตุนี้การจัดการเรียนการสอนจึงมีการ นักเรียนเหลานี้ หรือครูบนดอยที่เปรียบเสมือน บูรณาการทศพิธราชธรรมในรายวิชาการประถม เรือจางกลางภูเขาที่ตองเสียสละตนเองในการ ศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมสําหรับ เดินเทาขึ้นลงเขาไปซื้อหาอาหารมาใหเด็กนักเรียน ครูประถมศึกษา และการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ 2 ไดมีอาหารรับประทาน ครูเหลานี้เปนแบบอยาง ของนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา ไดจัด ที่ดีและเปนแรงบันดาลใจใหกับนักศึกษาครู และ กิจกรรมการเรียนรูใหกับนักศึกษาครูไดคิด การใหสุดทายคือ อภัยทาน นักศึกษาครูควรรูจัก วิเคราะห และสังเคราะหแนวทางการนําทศพิธ ใหอภัยหากลูกศิษยทําผิด ไมควรลงโทษรุนแรง ราชธรรมมาเปนแนวทางในการปฏิบัติตนใน จนเกิดอันตรายแตควรอธิบายดวยเหตุผล สถานศึกษา โดยคํานึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ศีล หมายถึงการรักษาศีลและปฏิบัติตาม ระดับอุดมศึกษาแหงชาติทั้ง 6 ดาน ซึ่งไดแนวทาง หลักธรรม ซึ่งสอดคลองกับกรอบมาตรฐาน ในการปฏิบัติตนดังนี้ ดานคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาครูควรเริ่มตน 1. ดานคุณธรรมจริยธรรม (ethics and จากการปฏิบัติตามหลักศีล5ซึ่งประกอบดวย moral) นักศึกษาวิชาชีพครูสาขาการประถมศึกษา ศีลขอที 1 การละเวนจากการฆาหรือทํารายคน ตองมีคุณธรรมจริยธรรมสําหรับครูประถมศึกษา และสัตวนักศึกษาครูตองเปนผูมีเมตตาตอลูกศิษย ทศพิธราชธรรมดานที่เกี่ยวของกับคุณธรรม ของตนเอง ไมทํารายรางกายหรือลงโทษดวย จริยธรรม ไดแก ทาน ศีล ปริจจาคะ และอาชชวะ ความรุนแรงจนทําใหไดรับบาดเจ็บ รวมถึง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ทาน หมายถึงการให มีความเมตตาตอสัตว ศีลขอที่ 2 การเวนจาก นักศึกษาครูสาขาวิชาการประถมศึกษาควรเริ่มตน การลักทรัพย นักศึกษาครูตองประพฤติตน 366 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เปนแบบอยางในการทําสิ่งตาง ๆ อยางสุจริต บัณฑิตครูอยางตอเนื่องในดานการปฏิบัติตาม ไมลักขโมยของในสถานศึกษาทั้งที่เรียนหรือ ศีล5 จะชวยแกปญหาคุณธรรมครูไดมาก ที่ไปฝกประสบการณวิชาชีพ แมจะมีความจําเปน นอกจากครูจะตองปฏิบัติตนตามหลักศีล 5 แลว เดือดรอนหรืออยากไดสิ่งของนั้น ควรจะเสาะหา ครูควรอบรมสั่งสอนและปลูกฝงคุณธรรมที่ ดวยความซื่อสัตยสุจริต โดยการประหยัดอดออม สอดคลองกับศีล 5 ใหกับนักเรียน เพื่อปองกัน หรือหารายไดพิเศษนอกเวลาเรียน ศีลขอที่ 3 ปญหาที่จะเกิดขึ้น เชน การใหความรูและให การละเวนจากการประพฤติผิดในกาม นักศึกษา ผูเรียนตระหนักถึงโทษของการทํารายรางกาย ครูตองไมมีเรื่องชูสาวในขณะที่เรียน ดูแลตนเอง ผูอื่น การลักขโมย การมีเพศสัมพันธกอนวัย ไมใหตั้งครรภกอนกําหนด หรือไปทําเรื่องเสื่อมเสีย อันควร การพูดโกหก การใชสารเสพติด การเลน ในสถานที่ตาง ๆ พึงระวังเรื่องชูสาวกับบุคลากร การพนัน รวมถึงการเที่ยวกลางคืน ในสถานศึกษาทั้งระดับมหาวิทยาลัยและ ปริจจาคะ หมายถึง การเสียสละ โรงเรียน เมื่อไปฝกปฏิบัติวิชาชีพในสถานศึกษา ความสุขสวนตนเพื่อประโยชนสวนรวม นักศึกษา ตองวางตัวใหเหมาะสมทั้งกับบุคลากรในโรงเรียน ครูตองฝกฝนใหตนเองเปนผูเสียสละเพื่องาน และนักเรียนที่สอน ศีลขอที่ 4 การละเวนจากการ สวนรวม เชนเมื่อมีกิจกรรมกลุมควรมาทุกครั้ง พูดปด พูดจาโกหก พูดจาสอเสียด นักศึกษาครู ไมมาสายจนใหเพื่อนรอ หรือหากมีกิจกรรม ตองใชทักษะการพูดเปนอยางมาก ดังนั้น ควรพูดจา สวนรวมควรเขามามีสวนรวม เพื่อเรียนรูการเสียสละ สุภาพ พูดใหเขาใจไดงาย และพูดเพื่อใหเกิด เวลาสวนตน เพราะในอนาคตบัณฑิตครูตองกาวสู มิตรภาพที่ดี ศีลขอที่ 5 การละเวนจากการดื่ม วิชาชีพครูอยางเต็มตัว ครูเปรียบเสมือนพอและแม สุราหรือของมืนเมา ซึ่งการดื่มสุราหรือของมึนเมา ของนักเรียน ตองคอยดูแลนักเรียนทั้งที่อยูใน ทําใหขาดสติและทําใหเกิดผลเสียที่ตามมา โรงเรียนและบางครั้งตองไปเยี่ยมเยียนนักเรียน ทั้งในเรื่องของอุบัติเหตุ การทะเลาะวิวาท ซึ่งทําให ที่บาน หรือคอยแกไขปญหาตลอดเวลา คุณครู เกิดผลเสียตอการเรียนและเปนแบบอยางที่ หลายคนตองรีบมาโรงเรียนแตเชาและกลับ ไมเหมาะสมตอลูกศิษยจากการติดตามขาว หลังจากนักเรียนกลับหมดแลว เวลาที่จะทํา ในหนาหนังสือพิมพจะพบวาปญหาจริยธรรมครู ภารกิจสวนตัวจึงนอยลงไปดวย หลายครั้งที่ ในที่เกิดขึ้นบอยกับเด็กนักเรียนคือปญหาครู ลูกศิษยมีเรื่องเดือดรอนก็ตองรีบชวยเหลือทันที เลนการพนัน ติดสุรา แตงกายและวางตัว และในวันหยุดหรือปดเทอมอาจตองมาทํางาน ไมเหมาะสมทําใหเกิดปญหาการลวงละเมิด ดังนั้นตองมีความพรอมที่จะเสียสละความสุข ทางเพศ และที่พบบอยมากจะมีเรื่องการทําราย ของตนเองเพื่อสวนรวม รางกายเด็ก การลงโทษเกินกวาเหตุ การใชคําพูด อาชชวะ หมายถึง ความซื่อตรงหรือ ที่รุนแรง กาวราวกับเด็ก จะเห็นไดวาหากมีการ ความซื่อสัตย บัณฑิตครูตองเปนผูที่ซื่อสัตย จัดกิจกรรมปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ใหกับ ทั้งตอตนเองและผูอื่น ในการเรียนการสอบ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 367 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตองมีความซื่อสัตย ไมลอกของงานของผูอื่นมาสง สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป ไมลอกขอสอบ โดยสถาบันผลิตครูควรจัดกิจกรรม การงานอาชีพ คอมพิวเตอรในระดับประถม ที่ใหบัณฑิตไดรับประสบการณจากผูที่ทํางาน ศึกษา จะเห็นไดวาครูประถมศึกษาตองมีความรู ดวยความซื่อสัตยมาแลกเปลี่ยนเรียนรูถึงวิธี ครอบคลุมหลายวิชา นักศึกษาครูสาขาวิชาการ การปฏิบัติตนและผลที่เกิดขึ้น เพื่อใหเกิดความ ประถมศึกษาตองฝกประสบการณวิชาชีพ ตระหนัก เมื่อไดรับการฝกฝนใหเปนผูมีความ ในระดับชั้นประถมศึกษาที่ตองฝกสอนไดมากกวา ซื่อสัตย เมื่อไปเปนครูก็จะเปนครูที่มีความ 1 วิชา ดังนั้น ทศพิธราชธรรมที่เกี่ยวของกับดาน ซื่อสัตย ทั้งนี้ สอดคลองกับงานวิจัยของ สุชาดา ความรู ไดแก ตปะ หมายถึงความเพียร จึงเปน กรเพชรปาณี (Kornpetpanee, 2005) ศึกษา สิ่งสําคัญอยางยิ่ง นักศึกษาครูสาขาวิชาการ เรื่องคุณลักษณะครูดีเดน: คุณธรรมและความรู ประถมศึกษาตองมีความเพียรในการหาความรู พบวา องคประกอบของครูดีเดนดานคุณธรรม เปนอยางยิ่ง เพราะครูประถมตองรูกวาง รูครอบคลุม จริยธรรมไดแก มีความรับผิดชอบ มีความ เนื้อหาในทุกรายวิชาตามที่หลักสูตรการศึกษา ยุติธรรม ซื่อสัตยสุจริต รูจักใหอภัยและเปน ขั้นพื้นฐานกําหนด ดังนั้น ตองเปดใจที่จะเรียนรู ผูเสียสละและสอดคลองกับ งานวิจัยของ คชกรณ ในศาสตรใหม ๆ อยางสมํ่าเสมอ ศึกษาหาความรู บัวคํา สุวิมล โพธิ์กลิ่น และ สมาน อัศวภูมิ จากแหลงความรูตาง ๆ เพื่อใหมีความแมนยํา (Buakham, Pohklin & Asavapoom, 2015) ในเนื้อหาและคิดบูรณาการความรูดานตาง ๆ ซึ่งไดวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาคุณธรรมและ มาจัดการเรียนการสอน รวมทั้งตองหาเวลา จริยธรรมของครู สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ ในการพัฒนาตนเอง เชนการเขารวมอบรมเพิ่มพูน การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบวา คุณธรรมที่ครู ความรูอยางสมํ่าเสมอ ศึกษาหาความรูจากแหลง ตองพัฒนาประกอบดวยความรับผิดชอบ ความรูตาง ๆ ทั้งจากตํารา สื่อออนไลน ซึ่งตอง ความซื่อสัตย ความอดทนอดกลั้นมีวินัยในตนเอง ใชเวลาในการศึกษาอยางถองแท และใช ใหความชวยเหลือผูอื่นและเสียสละ ความเพียรพยายาม มุงมั่นและทุมเท ในการ 2. ดานความรู (knowledge) มาตรฐาน คนหาความรูนั้นจะตองมีหลัก อาชชวะ ที่จะ ผลการเรียนรูดานความรูตามกรอบมาตรฐาน ซื่อสัตยในการสรางสรรคผลงานดวยตนเอง คุณวุฒิ มุงใหนักศึกษาครูสาขาวิชาการประถม ไมลอกเลียนแบบผูอื่นมาเปนของตน และมี ศึกษามีการบูรณาการความรูการประถมศึกษา ความออนนอมถอมตน หรือ มัททวะ เพื่อจะ ที่ครอบคลุมทั้งดานหลักการและแนวคิดการ แสวงหาความรู เชน การติดตอสื่อสารขอความ ประถมศึกษา พัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก รวมมือจากผูอื่นดวยความนอบนอม ใชวาจา ระดับประถมศึกษา รวมทั้งความรู ภาษาไทย สุภาพในการขอความรวมมือผูอื่น คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนา 3. ดานทักษะทางปญญา (cognitive และวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษและภาษาตางประเทศ skills) มาตรฐานผลการเรียนรูดานความรู 368 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มุงใหนักศึกษาครู บุคคลและความรับผิดชอบ (interpersonal skills สาขาวิชาการประถมศึกษามีการคิดวิเคราะห and responsibility) มาตรฐานผลการเรียนรู สังเคราะห ประเมินคา และนําความรูในศาสตร ดานความรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มุงให สาขาการประถมศึกษาไปใชในการจัดการเรียนรู นักศึกษาครูสาขาวิชาการประถมศึกษามีความ แกปญหาการพัฒนาผูเรียนประถมศึกษาและ ไวตอความรูสึกของผูเรียนระดับประถมศึกษา วิจัยตอยอดองคความรู ทศพิธราชธรรมที่เกี่ยวของ เอาใจใสและรับฟงความคิดเห็นของเด็ก และ กับดานทักษะทางปญญา ไดแก ตปะ หมายถึง พัฒนาความสัมพันธระหวางบุคคลอยางมีความ การยับยั้งชั่งใจไมใหกระทําความผิด มีความเพียร รับผิดชอบทศพิธราชธรรมที่เกี่ยวของกับดาน มุงมั่นในการทําภารกิจตาง ๆ ใหสําเร็จ นักศึกษา ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ ครูสาขาวิชาการประถมศึกษาตองนําความรู รับผิดชอบ ไดแก มัททวะ อักโกธะ และ ในศาสตรตาง ๆ ของสาขาวิชาการประถมศึกษา อวิหิงสา ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ มัททวะ มาใชในการจัดการเรียนการสอน มาใชในการคิด หมายถึงความออนโยนนักศึกษาครูประถมศึกษา แกปญหาใหกับผูเรียน จนนํามาสูการทําวิจัย เมื่อเขาสูสถานศึกษาจะตองสรางความสัมพันธ เพื่อหาแนวทางในการแกปญหาใหกับผูเรียน ที่ดีบุคลากรในโรงเรียนไดแกผูบริหาร ครูพี่เลี้ยง ในกระบวนการทั้งหมดนักศึกษาตองใชความ ครูในทุกระดับชั้น เจาหนาที่ ผูเรียน ผูปกครอง พากเพียร ความวิริยะอุตสาหะ ในการนําความรู คนในชุมชน ดังนั้น สิ่งสําคัญที่จะทําใหอยู มาผานกระบวนการคิดตาง ๆ วิเคราะหปญหา รวมกับผูอื่นไดอยางสันติสุขนั กศึกษาครูประถม ผูเรียนและหาแนวทางแกไข หากไมมีธรรมะ ศึกษาตองเปนครูที่ออนนอมถอมตน ยกมือไหว ในดานความเพียร นักศึกษาอาจไมประสบ แสดงความเคารพตอผูใหญ มีความออนโยน ความสําเร็จในการฝกปฏิบัติการในสถานศึกษา ตอผูเรียน ไมดา ไมพูดจาสอเสียด ไมกลาววา เพราะภาระงานที่ไดรับมอบหมายมีมากมาย ผูเรียนแตควรกลาวชื่นชมเมื่อผูเรียนทําดี และ และตองใชความเพียรพยายามและความวิริยะ กลาวใหกําลังใจแกผูเรียนที่ยังไมประสบความ อุตสาหะเปนอยางมาก รวมถึง ใชสติปญญาอยาง สําเร็จจะทําใหผูเรียนมีกําลังใจ ถาครูมีความ ซื่อสัตย สุจริต ไมคดโกง ไมลอกขอสอบ ซึ่งแสดงถึง ออนโยนตอเด็ก จะทําใหเด็กเปนคนมีนิสัยที่ การนํา หลักอาชชวะ มาใชไดอยางเหมาะสม ออนโยน แตถาครูแข็งกราวก็จะทําใหเด็ก นอกจากนี้ ยังรวมถึง การนําหลัก อวิหิงสา วัยประถมศึกษาเติบโตไปดวยความกาวราว คือการคิดเบียดเบียนผูอื่นไมใหผูอื่นทุกข เชน นอกจากนี้หลักธรรมที่จะชวยสรางสัมพันธภาพ การเอาเปรียบเพื่อนในการทํางานกลุม ไมแสดง ที่ดีกับผูอื่น ไดแก อักโกธะ หมายถึงความไมโกรธ ความคิดเห็นในการสรางสรรคงานรวมกับเพื่อน นักศึกษาครูประถมศึกษาตองไมโกรธหรือแสดง เปนตน ความเกรี้ยวกราดตอบุคคลรอบตัวในบางครั้ง 4. ดานทักษะความสัมพันธระหวาง อาจพบเจอเหตุการณที่ถูกตําหนิจากผูปกครอง Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 369 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

หรือครูในโรงเรียนก็ตองรูจักระงับความโกรธ ดานคุณธรรม ดานความสัมพันธกับผูอื่นดวย เพราะหากแสดงความโกรธออกไปจะเกิดผลเสีย ในดานการใชเทคโนโลยี นักศึกษาครูควรใชหลัก มากกวาผลดี อวิหิงสา หมายถึง ความไม ตปะ ในการมุงมั่นคนหาความรูที่ทันสมัย เบียดเบียนไมทําใหผูอื่นเปนทุกข การไม เปนปจจุบันและมีการคิดไตรตรองขอมูลจาก เบียดเบียนตอนักเรียนเชนใชงานนักเรียนมาก แหลงขอมูลที่หลากหลาย จากเว็บไซตของ จนเกินไปหรือลงโทษผูเรียนทําใหผูเรียนไดรับ หนวยงานรัฐที่นาเชื่อถือ เพื่อนํามาใชในการเรียน บาดเจ็บ หรือแมแตงานมอบหมายงานที่มาก และการนําเตรียมความรูเพื่อไปสอนผูเรียน เกินกําลังผูเรียนจนเกิดเปนความทุกข 6. ดานทักษะการจัดการเรียนรู 5. ดานทักษะการคิดวิเคราะหเชิงตัวเลข (instructional management skills) มาตรฐาน การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี (numerical ผลการเรียนรูดานนี้มุงใหนักศึกษาวิชาชีพครู analysis , communication and information มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรูสําหรับ technology skills) มาตรฐานผลการเรียนรู ผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ความสามารถ ดานความรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มุงให ปานกลาง และที่มีความตองการพิเศษอยางมี นักศึกษาครูสาขาวิชาการประถมศึกษามีความไว นวัตกรรม เพื่อตอบสนองความแตกตางระหวาง ในการวิเคราะหสรุปความคิดรวบยอดขอมูลจาก บุคคล ทศพิธราชธรรมที่เกี่ยวของกับดานทักษะ ผูเรียนระดับประถมศึกษา สามารถสื่อสาร การจัดการเรียนรู ไดแก ขันติ อวิโรธนะ และ เลือกและนําเสนอขอมูลสารสนเทศสําหรับ ตปะ ขันติ หมายถึง ความอดทน อดกลั้น ผูเรียนระดับประถมศึกษาไดอยางเหมาะสม ตอสิ่งที่มายั่วยุ การเปนนักศึกษาครูตองมีความ ทศพิธราชธรรมที่เกี่ยวของกับดานทักษะการคิด อดทนและอดกลั้นซึ่งมี 4 ลักษณะ ไดแก ลักษณะ วิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช ที่ 1. อดทนตอกิเลสตาง ๆ ที่จะมายั่วยุใหไมประสบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก อวิโรธนะ คือการ ความสําเร็จในการฝกประสบการณวิชาชีพครู นําเสนอขอมูลอยางเที่ยงธรรม ไมลําเอียง ความอดทนในลักษณะนี้เปนการอดทนในระดับ ตัวอยางเชน การเก็บคะแนนและตัดสิน สูงสุด สิ่งที่ตองพึงระวังมากที่สุดคือการไมทําผิด ผลการเรียนขอผูเรียนควรเปนไปอยางยุติธรรม ตอกฎระเบียบของโรงเรียน เชน การไปโรงเรียน มีการวัดและประเมินที่ตรวจสอบได ไมมีความ ตามเวลาปฏิบัติงานที่โรงเรียนกําหนด การแจง ลําเอียงใหคะแนนตามความพอใจ หรือการ เวลาขาด ลา มาสายใหถูกตอง การทุจริต แสดงผลงานผูเรียนบนปายนิเทศ ควรนําผลงาน ในดานการเงิน รวมถึงการเผยแพรขอมูลของ ของนักเรียนทุกคนมานําเสนอ ไมเลือกเฉพาะ ทางโรงเรียนอันทําใหโรงเรียนเกิดความเสียหาย คนที่มีผลการเรียนที่ดีเทานั้น รวมทั้งในการ หากไมปฏิบัติตามกฎระเบียบอาจสงผลเสีย เสริมแรงผูเรียนโดยการใหดาวควรนําเสนอขอมูล ขั้นรายแรงถึงกับตองถูกเชิญออกจากการ ของนักเรียนทุกคนในดานตาง ๆ เชน ดานวิชาการ ปฏิบัติงาน ซึ่งสงผลตอการจบการศึกษา อันจะ 370 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ทําใหเกิดผลกระทบตออนาคตในการทํางาน หองธรรมดา บางครั้งที่ตั้งหองเรียนอยูชั้นบนสุด ลักษณะที่ 2. อดทนตอความคําพูดที่มากระทบ ที่อยูใกลหลังคา หรือหองที่ไมมีลมพัดผาน จิตใจจนเกิดความไมพอใจ ไมทอถอยตอความ การพานักเรียนออกไปศึกษานอกสถานที่ตองเจอ เหนื่อยยาก แมจะถูกยั่วยุจากคําพูดหรือคํา แสงแดดที่รอน การยืนเวรหนาโรงเรียนอาจไมมี เสียดสีตาง ๆ ที่ทําใหโกรธ ไมพอใจ ก็ไมหมด ที่รมใหหลบแสงแดด การอดทนตอความหิว กําลังใจ ไมยอมละทิ้งหนาที่และทอถอย เพราะ กระหายซึ่งในบางครั้งครูตองมีรายวิชาที่สอน ในสถานการณที่แทจริงในบางครั้งอาจจะมี ตอเนื่องอาจทําใหไมไดรับประทานอาหารที่ตรง คําพูดหรือการกระทําที่ทําใหโกรธหรือไมพอใจ เวลา นอกจากจะตองมีความอดทนแลว ควรนําหลัก นักศึกษาครูตองมีความอดทนเปนอยางยิ่ง อวิโรธะ หรือความหนักแนน เที่ยงธรรมมาใช ตองไมตอบโตหรือพลั้งเผลอใชคําพูดที่ทําราย เนื่องจากเด็กประถมศึกษามีความแตกตางกัน ผูอื่น ลักษณะที่ 3. อดทนตอการเจ็บปวย ทั้งรางกาย อารมณ และสติปญญานักศึกษาครู ทางกาย นักศึกษาครูประถมศึกษาที่สอนทุกวัน ตองมีความเที่ยงธรรม วางใจเปนกลาง พิจารณา ตองพบกับนักเรียนที่หลากหลายเมื่อมาอยูใน สิ่งตาง ๆ อยางเที่ยงตรง ไมเอนเอียงดวยความรัก โรงเรียนอาจทําใหครูไดรับเชื้อโรค อาจทําให หรือความชัง และพรอมที่จะใหความชวยเหลือ เจ็บปวยแตดวยภาระของครูที่ไมสามารถละทิ้ง เกื้อกูลผูเรียนทุกคน (Tangchidsomkid, 2013) หนาที่การสอนได ถาหากไมเจ็บปวยรายแรง และสิ่งที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือการใชหลัก ก็ตองมาทําหนาที่และตองดูแลตนเองใหหาย ตปะ มาใชในการแสวงหาความรูและเทคนิค จากเจ็บปวยโดยเร็ว เพราะครูประถมศึกษา การสอนใหม ๆ มาใชในการจัดการเรียนการสอน สวนใหญทําหนาที่เปนครูประจําชั้นและตองสอน เชน การเขารวมอบรมเกี่ยวกับเทคนิคการเรียน มากกวา1วิชา ดังนั้นหากครูไมสามารถมาสอนได การสอน การสรางสรรคสื่อตาง ๆ เพื่อนํามา จะทําใหผูเรียนไมไดรับความรูอยางเต็มที่ พัฒนาในวิชาชีพครูของตนเอง ลักษณะที่ 4. อดทนตอความยากลําบากในสิ่งที่ อยูภายนอก เชน สภาพอากาศ ความเหนื่อยลา สรุป ตองานที่ตรากตรํา เพราะในการฝกประสบการณ วิชาชีพครูเปนวิชาชีพที่มีความสําคัญ วิชาชีพในสถานศึกษาตลอด 1 ปการศึกษา ตอประเทศชาติ ครูจึงตองเปนผูที่มีทั้งคุณธรรม นักศึกษาครูสาขาวิชาการประถมศึกษาตองเขาไป และความรู ในฐานะที่ครูคือผูที่ตองปกครอง อยูในระบบของโรงเรียนและไดรับมอบหมาย ผูเรียน นักศึกษาครูจึงควรไดรับการปลูกฝง ใหทําหนาที่ตาง ๆ มากมาย และตองมีความ คุณธรรมตั้งแตขณะที่ยังศึกษาหลักธรรมสําคัญ พบเจอกับผูเรียนที่มีความแตกตางกัน สิ่งที่ ประการหนึ่งที่จะทําใหเปนครูที่ดีคือ ทศพิธ จะตองอดทนมีมากมายเชนตอสภาพอากาศ ราชธรรม ซึ่งเปนหลักธรรมสําหรับพระราชา ที่รอน เพราะโรงเรียนสวนใหญเปนโรงเรียน ที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ไดยึดถือเปนหลักปฏิบัติ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 371 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

และเปนที่ประจักษแลววาประชาชนชาวไทย เมื่อกาวสูการเปนนักศึกษาครูฝกปฏิบัติงาน ตางมีความจงรักภักดีและศรัทธา ประเทศชาติ ในสถานศึกษาก็จะทําใหเปนผูที่มีความมุงมั่น มีความสงบสุข ดังนั้น เมื่อนักศึกษาครูนอมนํา ในการปฏิบัติหนาที่เพื่อใหความรูและแนะนํา ทศพิธราชธรรมมาเปนหลักปฏิบัติจะกอใหเกิด สั่งสอนศิษยอยางเต็มที่ มีความอดทนในภาระงาน ประโยชนทั้งตอตนเอง ตอผูเรียนและตอสังคม ที่ไดรับมอบหมายจากสถานศึกษา เปนที่รักใคร ประโยชนตอตนเอง คือ ทําใหเปนผูที่มีคุณธรรม ของบุคลากรในโรงเรียน ประสบความสําเร็จในการ ในใจ พรอมที่จะใหผูอื่น เปนผูมีความมานะอดทน เรียนรูงานในสถานศึกษา และเมื่อกาวไปประกอบ ขยันหมั่นเพียรแสวงหาความรูใหม ๆ เพื่อพัฒนา วิชาชีพครูจะชวยสรางประโยชนใหกับสังคมโดยเปน ตนเองอยางสมํ่าเสมอ เสียสละเวลาสวนตน ครูที่ดีทั้งกาย วาจาและใจ มีความรักและเมตตา เพื่อสวนรวมมีความออนโยน นอบนอมพรอมจะ ตอศิษย สามารถรวมงานกับผูอื่นไดอยางราบรื่น รวมงานกับผูอื่นไดทุกคนทําใหมีสัมพันธภาพ มีการพัฒนาตนเองเพื่อใหมีความกาวหนา ที่ดีและเปนที่รักใครของผูอื่น มีความอดทน ในวิชาชีพและภูมิใจในกาประกอบวิชาชีพครู อดกลั้นตอสิ่งที่มายั่วยุทําใหไมเปนผูโกรธงาย 372 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

REFERENCES 2015, from http://www.watnyanavas. Amorntham, U. (2016). King’s philosophy of net/uploads/File /books /pdf/ education. Bangkok: Sangdao Press. dictionary_of_buddhism_ pra-muan- (in Thai) dhaama.pdf (in Thai) Buakham, C., Suvimol, P. & Asavapoom, Phramahahansa Thammahaso. (2013). S. (2015). The moral and ethical Indicators for corporate leaders. development of teachers under Bangkok: Srisanaeh Printing. the Office of Basic Education (in Thai) Commission. Buabandit Journal Tangchidsomkid, W. (2013). Self-actualization of Education Administration. 15 for teacher. Bangkok: O.S Printing. (special edition), 271-278. (in Thai) The Higher Education Commission, Office Kornpetpanee, S. (2005). Essential Ministry of Education. (2011). Thai characteristics of outstanding Qualifications Framework for Higher teachers: ethics and efficacy. Education (TQF:HED). Retrieved Journal of Education Research and April 19, 2015, from http:// www.camt. Measurement. 3(1),196-211. (in Thai) cmu.ac.th/th/ form/tqf/education Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto). 5 year _m1 .pdf (in Thai) (2016). Dictionary of Buddhism Tuleephabath. (2016). Duties of The King. pramuandhaama. Retrieved April 19, Bangkok: Sangdao Press. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 373 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

Academic Article

แนวทางในการสรางสรรคบรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวกในศตวรรษที่ 21 สําหรับครูมืออาชีพ GUIDELINES TO CREATE A POSITIVE CLASSROOM CLIMATE IN THE 21ST CENTURY FOR PROFESSIONAL TEACHERS สุมนา โสตถิผลอนันต Sumana Sottipolanun

วิทยาลัยการฝกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย College of Teacher Education, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand

[email protected]

บทคัดยอ การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มุงเนนทักษะที่จําเปนสําหรับพัฒนาผูเรียน ซึ่งการเรียนรูในชั้นเรียน อยางมีประสิทธิภาพไมสามารถเกิดขึ้นได จนกวาครูผูสอนจะสามารถพัฒนาและลงมือจัดระเบียบวินัย ไดอยางเปนระบบ โดยการสรางสรรคบรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวกดวยความเอาใจใส เปนการทําให ผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูทางวิชาการ และเสริมสรางพัฒนาการดานจิตพิสัย คือ การรูจักที่จะเขาใจ ผูอื่น และสามารถอยูรวมกันในสังคมของเพื่อนรวมชั้นได โดยอาศัยแนวคิดการจัดการชั้นเรียนในการ ปองกันปญหา สนับสนุนสิ่งดี ๆ ใหเกิดขึ้น และแกไขพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม จากการที่ครูผูสอน ใชแนวทางในการสรางสรรคบรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวก ดวยใชวิธีการตาง ๆ อยางเอาใจใส ไดแก 1) จัดสภาพแวดลอมที่สนับสนุน เพื่อใหผูเรียนสรางหรือผลิตผลงานขึ้นมาจากกระบวนการกลุม และ ไดรับการชี้แนะใหรูจักชวยเหลือกัน 2) ใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนมากขึ้น ใชวิธีการเรียนรูแบบร ่วมมือ 3) ใชสื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศเปนฐาน และนํามาใชใหเกิดประโยชนดวยรูจักการแบงปน 4) ใชการสื่อสารใหมากขึ้น ใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและฟงโดยใชความเอาใจใส 5) เปดโอกาส ใหผูเรียนไดทําความเขาใจผูอื่น ใหความสนใจพฤติกรรมทุก ๆ พฤติกรรม โดยใชการสังเกตและเลือกใช วิธีการจัดการที่เหมาะสม 6) ฝกตนเองใหรูจักรับฟงและเปนผูฟงที่ดี เพื่อใหมีการสื่อสารอยางเขาใจ และ 7) ทําความรูจักผูเรียนรายบุคคล เพื่อนํามาใชในการวางแผนการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับ ผูเรียนมากที่สุด และชวยเหลือดานการปรับพฤติกรรมใหเหมาะสม 374 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

คําสําคัญ: บรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวก ความเอาใจใส การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ทักษะที่จําเปน ทักษะทางสังคม

ABSTRACT 21st Century learning focuses on the essential skills to develop learners. That the effective classroom learning cannot occur unless the teachers are able to develop and implement discipline systematically by creating positive classroom climate with empathy, encouraging students to participate in academic learning and enhancing the development of the affective domain that it is to learn to understand others, and can live together with their classmates. It is due to the fact that the concepts of positive classroom management can prevent bad things, support good things and can correct the worst behaviors of the students. The teachers, therefore, should use the guidelines to create a positive classroom climate with empathy that are; 1) setting an environment which can support the students to be able to create the products from group process and to know to help others, 2) encouraging the students to participate in the class by the collaborative learning, 3) using media and information technology by sharing with others, 4) emphasizing more communication to exchange others’ opinions and listen to others with empathy, 5) giving the students some opportunities to learn how to understand others and the teachers must attend all students’ behaviors by observing and select to use an appropriate management, 6) self-disciplining to listen others’ opinions and to be a good listener to understand a communication, and 7) knowing students individually that can be able to promote their learning style and some behaviors.

Keywords: positive classroom climate, empathy, 21st แentury learning, essential skills, social skill

บทนํา ในปจจุบัน การจัดการเรียนรูไดมุงเนน ทางสังคมและความกาวหนาทางเทคโนโลยี ทักษะแหงอนาคตใหมในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเปนการ ซึ่งมีผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิต ขณะที่ในทาง พัฒนาทักษะที่จําเปน (essential skills) ใหกับ ปฏิบัตินั้น การจัดการเรียนรู เปนสวนหนึ่งของการ ผูเรียน เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง จัดการชั้นเรียน และมักพบสิ่งตาง ๆ เกิดขึ้นใน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 375 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ชั้นเรียนไดเสมอ อีกทั้งมีผลตอการเรียนรู ระเบียบใหกับผูเรียน และสิ่งอํานวยความสะดวก ของผูเรียนโดยรวมได ทั้งสิ่งที่พึงประสงค เพื่อใหผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูสิ่งตาง ๆ ให (สภาพแวดลอมที่ดี) และสิ่งที่ไมพึงประสงค บรรลุเปาหมายได และความสําคัญของการ (สภาพแวดลอมที่ไมดี) โดยสภาพปญหาที่เกิด จัดการชั้นเรียน คือ การทําใหผูเรียนที่เปนเด็ก จากการจัดสภาพแวดลอม เชน ลักษณะการ ไดเรียนรูที่จะอยูรวมกันในสังคมได โดยมีการ จัดที่นั่งไมเหมาะสม หรือสื่ออุปกรณในหองเรียน แสดงพฤติกรรมทางสังคมอยางเหมาะสม ไมเหมาะสม (สิ่งแวดลอมทางกายภาพ) หรือ เชน การใหความรวมมือในกลุม ความรับผิดชอบ อาจเปนพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของผูเรียน และการปฏิบัติตนใหอยูในระเบียบวินัย เปนตน บางคน (สิ่งแวดลอมทางจิตสังคม) ทําใหเกิด ซึ่งผลการวิจัยของ สุมนา โสตถิผลอนันต อุปสรรคตอการเรียนรูของคนสวนใหญ คือ (Sottipolanun, 2015) เรื่อง การพัฒนาความ ผูเรียนไมสามารถเรียนรูไดอยางเต็มที่ ซึ่งหาก สามารถในการออกแบบการจัดการชั้นเรียน ไมไดรับการแกไข ผลที่เกิดขึ้น คือ ผลการเรียน โดยใชกระบวนการจัดทําโครงรางวิจัยเปนฐาน รูของผูเรียนไมเปนไปตามที่คาดหวัง หรือผล มีการใชแนวคิดการจัดการชั้นเรียนมาฝกปฏิบัติ สัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า ดวยสาเหตุวา 1) มีสิ่ง เพื่อใหเขาใจการตอบสนองความตองการพื้นฐาน รบกวนในชั้นเรียนอยูตลอดเวลา เชน การเลนกัน และวางแผนการจัดการชั้นเรียน พบวา นักศึกษา การพูดคุยกัน เกิดจากพฤติกรรมของผูเรียน ครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปที่ 3 สามารถระบุปญหา ดวยกัน 2) ชั้นเรียนที่ไมเปนระเบียบเรียบรอย การเรียนรูและกําหนดคุณลักษณะที่ตองการ เชน การเดินเขา-ออกในชั้นเรียน มีเสียงดังและ พัฒนาใหกับผูเรียน แบงเปน ดานพุทธิพิสัย สิ่งรบกวน และ 3) การจัดที่นั่งไมเหมาะสม เชน จํานวน 13 เรื่อง ดานทักษะพิสัย จํานวน 11 จัดเกาอี้นั่งไมเหมาะสมกับลักษณะการทํางาน เรื่อง และดานจิตพิสัย จํานวน 7 เรื่อง ผลการ กลุม หรือจัดเกาอี้นั่งที่ทําใหมองเห็นไมถนัด หรือ วิเคราะหปญหาการเรียนรู อยูในระดับดี คิดเปน มีเกาอี้นั่งแออัดเกินไป เปนตน จากสาเหตุเหลานี้ รอยละ 54.84 และสามารถเลือกแนวคิด/ทฤษฎี อาจทําใหเกิดปญหาทางวินัย นําไปสูการแสดง มาประยุกตใชในการสรางเปนนวัตกรรมหรือ พฤติกรรมที่กาวราว หรือผูเรียนไมสามารถชวยเหลือ เทคนิควิธีการสอน อยูในระดับดี คิดเปนรอยละ ตนเองได 48.39 ซึ่งในการออกแบบการจัดการชั้นเรียน การจัดการชั้นเรียนที่ดี เปนการชวยให เปนการฝกวิเคราะหปญหาการเรียนรูของผูเรียน การเรียนรูมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสามารถ แลววางแผนเพื่อแกไขปญหาใหตรงกับความ ตอบสนองความตองการพื้นฐานของผูเรียนได ตองการของผูเรียน โดยใชการจัดสภาพแวดลอม จึงจําเปนตองมีแนวทางสําหรับการเลือกวิธี ที่ดีในแตละบริบท เพื่อใหเอื้อตอการเรียนรูที่มี ดําเนินการ เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดลอมดี ประสิทธิภาพ และเอื้อตอการเรียนรูรวมกัน โดยมีการจัด 376 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ครูผูสอนที่เปนมืออาชีพ จึงตองสามารถ สภาพแวดลอมที่เปนระเบียบ โดยมีวัตถุประสงค จัดการชั้นเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ และ เพื่อใหผูเรียนสามารถมีสวนรวมในการเรียนรู วางแผนแกไขอยางเปนระบบ ดวยการสราง ทางวิชาการ และเสริมสรางพัฒนาการดานสังคม ขอกําหนดที่ชัดเจนภายใตความเขาใจในธรรมชาติ และคุณธรรมใหกับผูเรียน โดยเฉพาะในดาน ของผูเรียน และมีขั้นตอนการปฏิบัติที่ชัดเจน การอยูรวมกันในสังคม และการใชทักษะทักษะ เพื่อที่จะนําไปสูการพัฒนาผูเรียนตามที่ตองการ ที่จําเปนมาสรางนวัตกรรมเพื่อประโยชนตอสังคม โดยการจัดกิจกรรมในหองเรียนใหสอดคลอง โดยรวม ดังนั้น การจัดการชั้นเรียน จึงถือเปน กับแผนการจัดการชั้นเรียน และใชเทคนิคการ หัวใจสําคัญในการพัฒนาผูเรียนใหเกิดทักษะ เสริมสรางพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน ทางสังคม โดยครูผูสอนตองหาวิธีการปองกันและ เพื่อปองกันการเกิดพฤติกรรมที่กอกวนอยาง จัดการกับผูเรียนที่มีพฤติกรรมกอกวน ดวยการ สรางสรรค สงเสริมใหผูเรียนไดรับการพัฒนาทางคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งตรงกับแนวคิดของ คูนิน (The Kounin กรอบในการวิเคราะห model) ที่มุงเนนการปองกันไมใหเกิดปญหาวินัย การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มุงเนนทักษะ ดวยการใชกระบวนการกลุมในการจัดการเรียนรู ที่จําเปนสําหรับพัฒนาผูเรียน และการเรียนรู ซึ่ง Kratochwill (2017) ในฐานะครูฝกสอน ในชั้นเรียนจะมีประสิทธิภาพได เมื่อครูผูสอน ใหขอคิดในการปฏิบัติที่ครูผูสอนควรทํา 5 อยาง สามารถพัฒนาทักษะที่จําเปนและจัดระเบียบ ไดแก 1) การดูแลและสนับสนุนความสัมพันธ วินัยไดอยางเปนระบบ ตั้งแต การวางแผน ระหวางผูเรียน เพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดี ออกแบบการจัดการเรียนรูที่ดี และลงมือจัดการ 2) จัดการและดําเนินการเรียนการสอนในรูปแบบ ชั้นเรียนใหเปนไปอยางราบรื่น สามารถตอบสนอง ที่เขาถึงผูเรียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ความตองการพื้นฐานของผูเรียนได โดยทําให เรียนรู 3) ใชวิธีการจัดกลุม (group management) รูสึกมีความสุข และอยากที่จะเรียนรูสิ่งใหม ๆ สนับสนุนการมีสวนรวมของผูเรียนในงานดาน ทั้งดานวิชาการที่เปนการพัฒนาทักษะที่จําเปน วิชาการ 4) สงเสริมดานการพัฒนาทักษะทาง และดานทักษะทางสังคม ซึ่งครูผูสอนจะตอง สังคม และการควบคุมตนเองของผูเรียน และ ทําใหชั้นเรียนนั้น ไดชื่อวา “เปนหองเรียนแหง 5) ใชวิธีการที่เหมาะสมในการชวยเหลือผูเรียน ความสุข” โดยอาศัยความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ที่มีปญหาทางพฤติกรรม ซึ่งวิธีการดังกลาว การจัดการชั้นเรียน ที่มุงเนนใหผูเรียนอยูดวยกัน ชวยปรับพฤติกรรมที่เหมาะสม ทําใหผูเรียนได อยางเปนปกติสุข และสามารถเรียนรูไดอยาง เรียนรูที่จะอยูในสังคมไดอยางเปนสุข และการใช เปนธรรมชาติ ทฤษฎีทางเลือกของ วิลเลี่ยม เกลเซอร (William การจัดการชั้นเรียน เปนการจัดระเบียบ Glasser’s Choice theory) มุงใหความสําคัญ วินัยในชั้นเรียน หรือเปนการสรางและรักษา กับความตองการพื้นฐานและตอบสนองความ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 377 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตองการพื้นฐานของผูเรียน ดวยการจัดกิจกรรม ในหองเรียน และเตรียมบทเรียนที่มีประสิทธิภาพ ที่สามารถเติมเต็มความตองการของผูเรียน (effective lesson management) ซึ่งเปนการ ซึ่ง Sequeira (2007) ไดนําแนวคิดนี้ไปใชโดยการ ใชแนวคิดหลักของการจัดการมาวางแผน ควบคุมพฤติกรรมของผูเรียนที่มีลักษณะนิสัย เพื่อทําใหเกิดการจัดการชั้นเรียนที่ดี (good ที่ไมดี 7 อยาง โดยใชการแทนที่ดวยลักษณะนิสัย classroom management) โดยเขาเชื่อวา ที่ดี 7 อยาง และแนวคิดการจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูผูสอนตองใสใจในทุกสิ่งทุกอยางในชั้นเรียน ที่มุงเนนทั้งมิติของการปฏิบัติดานพฤติกรรม ซึ่งครูผูสอนที่มีประสิทธิภาพจะสามารถทําให การสอน และชวงเวลาของการจัดการชั้นเรียน ผูเรียนตั้งใจและทํากิจกรรมในบทเรียน โดยใช เชิงบวก เพื่อใหผูเรียนมีความสุข ดังนั้น การจัดการ วิธีการบรรยายเพียง 10-15 นาที แลวใหผูเรียน เรียนรูและการจัดการชั้นเรียน ตองดําเนินการไป ทํากิจกรรมกลุมดวยกัน จากการศึกษาโดยใช พรอม ๆ กัน เพื่อใหเกิดเปนสังคมแหงการเรียนรู การสังเกตผูเรียนในชั้นเรียน ตั้งแตระดับอนุบาล สรุปวา การจัดการชั้นเรียนที่ดี เปนการใช จนถึงระดับมหาวิทยาลัย และเปรียบเทียบ วิธีการตาง ๆ เพื่อชวยในการพัฒนาทั้งคุณลักษณะ พฤติกรรมครูผูสอนในการจัดการชั้นเรียน ทั้งที่ ที่ทําใหผูเรียนสามารถอยูในสังคมไดอยางเปนสุข เปนสภาพแวดลอมทางกายภาพ เชน จัดความ และพัฒนาทักษะที่จําเปน เพื่อนําไปสูการผลิต เปนระเบียบเรียบรอย การแบงสัดสวนของการ และสรางสรรคนวัตกรรมตาง ๆ ตามเปาหมาย ใชประโยชนในหองเรียนอยางชัดเจน การหยิบจับ และชวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดอยางเต็มที่ วัสดุอุปกรณไดอยางสะดวก และสภาพแวดลอม พรอมที่จะกาวไปสูสังคมแหงการเรียนรูใน เกี่ยวกับผูเรียนที่มีพฤติกรรมกอกวน โดยเขาเห็นวา อนาคตที่เปนศตวรรษที่ 21 ครูผูสอนมีการจัดการชั้นเรียนอยางเปนระบบ ดังนั้น ครูผูสอนที่มีประสิทธิภาพ จะใสใจกับ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการชั้นเรียนที่ชวย ผูเรียนและเขาไปรวมในกิจกรรมกับผูเรียน ปรับพฤติกรรมการเรียนรู จึงทําใหสามารถใสใจในสองกิจกรรมที่อยู แนวคิดการจัดการชั้นเรียนที่นาสนใจ ในเวลาเดียวกันได และมีการใชกิจกรรมที่ สามารถตอบสนองตอการปรับพฤติกรรม สนุกสนานดวย ขณะที่ เมื่อมีเหตุการณที่ไม การเรียนรูใหกับผูเรียนและชวยใหการเรียนรู คาดคิดขึ้นจากผูเรียนที่กอกวน คือ the ripple มีประสิทธิภาพมากขึ้น ไดแก effect หมายถึง การที่ครูผูสอนสามารถจัดการ 1. แนวคิดการจัดชั้นเรียนของคูนิน แกไขพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของผูเรียน (The Kounin model) นักการศึกษา ชื่อ Jacob คนหนึ่งแลว จะมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของผูเรียน S. Kounin (Kounin, 1977) มุงเนนการปองกัน คนอื่นๆ ดวย เปนการปองกันไมใหเกิดพฤติกรรม ไมใหเกิดปญหาวินัย (focuses on preventive ที่กอกวนได discipline) โดยใชการจัดการของกลุม 378 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Kounin สรุปพฤติกรรมของครูผูสอน (keeping lessons moving with avoiding ที่มีการจัดการชั้นเรียนอยางประสิทธิภาพ 5 abrupt changes) ประการ ดังนี้ 4. การใชกลุมจัดการ (group focus) 1. การเขาถึงผูเรียน (wittiness) หมายถึง หมายถึง ครูผูสอนสามารถจัดการใหนักเรียน ครูผูสอนสามารถรูทุกสิ่งที่เกิดขึ้นที่เปนพฤติกรรม ทํางานในกลุมอยางตั้งใจ โดยสมาชิกในกลุม ของผูเรียนในชั้นเรียน โดยใสใจกับทุกสิ่งทุกอยาง ตางก็มีความรับผิดชอบตอเนื้อหาในบทเรียน ที่เกิดขึ้นในหองเรียนตลอดเวลา เพื่อปองกัน ซึ่งชวยใหเกิดการเรียนรูที่ดีและพัฒนาทักษะทาง การเกิดปญหา โดยครูสามารถรับรูการเคลื่อนไหว สังคม ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียน พรอมที่จะเขาไป 5. การลดความนาเบื่อลง (teachers จัดการได can reduce satiation) หมายถึง ครูผูสอน 2. การเขาไปจัดการทันที (overlapping) สามารถหลีกเลี่ยงไมใหผูเรียนเบื่อ ดวยการ หมายถึง ครูผูสอนสามารถจัดการกับเหตุการณ เพิ่มเติมการเรียนรูที่หลากหลายและการจัด ตาง ๆ ไดมากกวาหนึ่งอยางในเวลาเดียวกัน สภาพแวดลอมในหองเรียน โดยสามารถใชวิธีการสื่อสารทางสายตา หรือ การใชแนวคิดของคูนิน จึงเปนการ ทาทางเขาไปจัดการกับผูเรียนที่มีพฤติกรรม จัดการชั้นเรียนที่มุงเนนการใชกิจกรรม และใช ไมพึงประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพ และแกไข กระบวนการกลุม โดยทําใหบทเรียนนาสนใจ ปญหาไดทันทวงที เชน เมื่อมีการแบงกลุมยอย ผูเรียนจะจดจอที่บทเรียนและมีสมาธิในการ ใหนักเรียนทํางานและครูผูสอนสังเกต พบวา เรียนรู มีการพัฒนาทักษะทางสังคม และการ มีบางคนไมทํางานที่มอบหมาย ครูจะเขาไป สื่อสารระหวางกัน จึงเกิดความเอาใจใสจากการ จัดการทันที โดยใชสายตาจองมอง เพื่อสื่อสาร ชวยเหลือกัน ใหรับรู หรือเขาไปใกลชิดเพื่อกระตุนใหกลับมา 2. ทฤษฎีทางเลือกของวิลเลี่ยม อยูกับบทเรียน ซึ่งวิธีการ overlapping จะไมมี เกลเซอร (William Glasser’s Choice theory) ประสิทธิภาพ ถาครูผูสอนไมไดใชวิธีการใน นักจิตวิทยา ชื่อ William Glasser wittiness (Gabriel & Matthews, 2011) ไดใชวิธีการรักษา 3. การจัดการอยางมีประสิทธิภาพ ที่มาจากชีวิตจริง (reality therapy) ซึ่งเปนวิธีการ (effective transitions or movement รักษาผูปวยแบบใหคําปรึกษา มีเปาหมาย management) หมายถึง ครูผูสอนสามารถ คือ การชวยเหลือใหบุคคลไดกลับมามี ดําเนินการสอนหรือทํากิจกรรมไดอยางราบรื่น สัมพันธภาพใหม โดยสรางสรรคการมีสัมพันธภาพ ปราศจากสิ่งรบกวนตาง ๆ โดยมีการเตรียมการ ระหวางบุคคลจากการใหคําปรึกษาของนักจิตวิทยา ในบทเรียนเปนอยางดีและมีประสิทธิภาพ และนํามาใชเปนฐานของทฤษฎีทางเลือก (choice Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 379 Vol.13 No.2 (July - December 2018) theory) โดยนํามาใชในการสอนมาตั้งแต ป 5. การแสดงพฤติกรรมออกมา (total ค.ศ.1965 สาระของแนวคิดทฤษฎีทางเลือก คือ behavior) ซึ่งมาจาก 4 องคประกอบ คือ การ ผูเรียนแสดงพฤติกรรมตาง ๆ ออกมานั้น ลวนเกิด กระทํา การคิด ความรูสึก และการแสดงออก จากการตัดสินใจเลือกแสดงพฤติกรรมนั้น ๆ ทางรางกาย ซึ่งเปนพฤติกรรมที่แสดงออกมา ออกมาดวยตนเอง ไมใชเกิดจากการควบคุม ใหเห็น ของครูผูสอนหรือคนอื่น โดยเขามีความเชื่อวา William Glasser ใหความสําคัญกับ ทุกอยางที่เราทํานั้นลวนมาจากการตัดสินใจ ความตองการพื้นฐาน และตอบสนองความ ของตัวเราเอง สวนพฤติกรรมที่เราแสดงออกมานั้น ตองการใหกับผูเรียน ดวยการนํามาสูแนวทาง ไดถูกเลือกมาแลว และสิ่งที่แสดงออกมานั้น การเติมเต็มความตองการ เพื่อสรางหองเรียน เกิดจากแรงขับภายในตัวของตนเอง ซึ่งอยูภายใต ใหมีคุณภาพ ซึ่งความตองการทางจิตวิทยา ความตองการพื้นฐานของมนุษย 5 อยาง ไดแก แนวคิดสําคัญของทฤษฎีทางเลือก 1. ความรูสึกรักและเปนเจาของ เติมเต็ม 5 อยาง มีดังนี้ (Gabriel & Matthews, 2011) ดวยวิธีการใหความรัก การแบงปน และการจัดให 1. ความตองการพื้นฐาน (basic needs) มีสวนรวมกับผูอื่น 5 อยาง ไดแก 1) ความรูสึกรักและเปนเจาของ 2. ความรูสึกมีพลัง เติมเต็มดวยวิธีการ (love and belonging) 2) ความรูสึกมีพลัง ชวยใหรูสึกวาไดรับสัมฤทธิ์ผล ทํางานสําเร็จ และ (power) 3) ความรูสนุกสนาน (fun) 4) ความรูสึก รูสึกวายังระลึกอยูในใจ ที่ไดรับการยอมรับ ผอนคลายและใชชีวิตเปนปกติ (survival) และ 3. ความรูสนุกสนาน เติมเต็มดวยการ 5) ความรูสึกเปนอิสระ (freedom) ทําใหมีเสียงหัวเราะและใหมีการเลนเกิดขึ้น 2. คุณภาพของสิ่งรอบตัว (quality 4. ความรูสึกผอนคลายและใชชีวิต world) ซึ่งเปนสิ่งรวมกันอยู ไดแก บุคคล กิจกรรม เปนปกติ เติมเต็มดวยวิธีการทํางานในหองเรียน การใหคุณคาความเชื่อที่เปนสิ่งสําคัญที่มนุษย ที่เปนปกติ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมในทางดีขึ้น แตละคนมีอยู โดยรูสึกวา มีความปลอดภัยและไดรับการ 3. ชีวิตจริงและการรับรู (reality and ยอมรับ perception) เปนการชี้แนะวาบุคคลควรมีกระทํา 5. ความรูสึกเปนอิสระ เติมเต็มดวย บนพื้นฐานของการรับรูสิ่งที่มีอยูในชีวิตจริง วิธีการทําใหทางเลือกนั้น ยังอยูในวิถีของตนเอง 4. การเปรียบเทียบสถานะ (comparing สามารถทํางานไดอยางเปนอิสระ place) เปนการสรางขึ้นจากสถานะทางสังคม ผลการศึกษาของ Sequeira (2007) วามีเปาหมายตองการใหเกิดพฤติกรรมที่ เรื่อง ผลการใชทฤษฎีทางเลือกในหองเรียน เหมาะสมระหวางเปนพฤติกรรมแบบใด กลาวถึง การนําแนวคิดของ William Glasser 380 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ไปใช เพื่อศึกษาวา “อะไรที่ทําใหเกิดประสิทธิภาพ ตองการพื้นฐานของมนุษย โดยเฉพาะความรูสึก ในการเรียนรู” โดยใชหลักจิตวิทยาเพื่อควบคุม รักและเปนเจาของกับความรูสึกมีพลังนั้น จะมี พฤติกรรมผูเรียน ซึ่งเปนการควบคุมพฤติกรรม ความสําคัญตอความสําเร็จของงาน ซึ่ง Sequeira จากภายนอก (external control psychology) พบวา ความรูสึกมีพลัง เปนพลังที่มีลักษณะ คือ พยายามควบคุมผูเรียนที่มีลักษณะนิสัยที่ไมดี ตางกัน แบงเปน 3 ชนิด ไดแก 1) รูสึกวาตนเอง 7 อยาง (seven deadly habits) โดยใชการแทนที่ มีพลังเหนือกวาผูอื่น (power over) เมื่อมีความ ดวยลักษณะนิสัยที่ดี 7 อยาง (Seven caring รูสึกนี้ (จัดเปนประเภทลักษณะนิสัยที่ไมดี habits) จากการสรางสัมพันธภาพที่ดีและใชชวง 7 อยาง) จะตองทําอยาไร เพื่อแกไขความรูสึก เวลาระยะหนึ่งในการปรับพฤติกรรม เพื่อใหเกิด แบบนี้ 2) รูสึกวาตนเองมีพลังรวมกับผูอื่น (power ความสําเร็จ ดังตารางตอไปนี้ with) จัดเปนความตองการในทางตรงขามกับ วิธีการปฏิบัติการชวยเหลือ ไดแก ขอแรก คือ รูสึกมีพลังเชนเดียวกับผูอื่น และ การรับฟงเพื่อใหเกิดความไววางใจ เนื่องจากคน 3) รูสึกวาผูอื่นมีพลังกอนมาสูตนเอง (power สวนมากมักมีเหตุผลของตนเอง และมักเรียนรู within) เปนความรูสึกที่เห็นความตองการของ ที่จะไมไววางใจผูอื่น ซึ่งการใชทฤษฎีทางเลือก ผูอื่นมากอนตนเอง ซึ่งในสองชนิดหลังนี้ สามารถ สามารถชวยใหครูผูสอนสรางสัมพันธภาพที่ดี ใชเปนแนวทางในการชวยเหลือกันได (จากลักษณะ และสรางสํานึกที่ดีใหกับชุมชนในหองเรียนได นิสัยที่ดี 7 อยาง) เนื่องจากเปนการศึกษาความเขาใจตอความ

ตารางที่ 1 ลักษณะนิสัยที่ไมดี 7 อยาง ควบคุมโดยใชการแทนที่ดวยลักษณะนิสัยที่ดี 7 อยาง

ลักษณะนิสัยที่ไมดี 7 อยาง ลักษณะนิสัยที่ดี 7 อยาง 1. ชอบจับผิด หรือวิจารณ (criticizing) 1. ใหการสนับสนุน ชวยเหลือ (supporting) 2. กลาวโทษ ตําหนิ (blaming) 2. ใหรับฟง (listening) 3. ถากถาง คอนแคะ (nagging) 3. ใหยอมรับ (accepting) 4. บน ครํ่าครวญ (complaining) 4. ใหความนับถือ เคารพ (respecting) 5. คุกคาม ขูเข็ญ (threatening) 5. ใหกําลังใจ (encouraging) 6. ลงโทษ ทําใหเจ็บปวด (punishing) 6. ใหไววางใจ เชื่อใจ (trusting) 7. ติดสินบนหรือใหสิ่งตอบแทน 7. ใหคําปรึกษา (negotiating differences) (bribing or rewarding to control) ที่มา : Sequeira (2007) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 381 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

การใชแนวคิดของ William Glasser ในการเรียนรู ดวยการผานพนปญหาตางๆ ที่เกิด จึงเปนการจัดการชั้นเรียนที่มุงเนนการปรับ ขึ้นไดอยางรวดเร็ว และผูเรียนรูสึกสนุกสนานตอ พฤติกรรมของผูเรียน ชวยใหผูเรียนไดเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สิ่งที่ครูผูสอนตองทํา คือ การ อยางมีความสุข โดยเลือกแสดงพฤติกรรมที่ คนหาวิธีที่จะจัดบรรยากาศในชั้นเรียน เพื่อสราง เหมาะสม เพื่อใหไดรับการยอมรับ ขณะที่ครู สัมพันธภาพระหวางผูเรียนกับครูผูสอน ดังนั้น ผูสอนตองจัดการชั้นเรียน ดวยความเอาใจใส มิติของการจัดการชั้นเรียนเชิงบวก (dimension ตอพฤติกรรมทุกพฤติกรรมของผูเรียน เพื่อให of classroom management) จึงประกอบดวย ผูเรียนแสดงพฤติกรรมที่ดี 2 องคประกอบ ไดแก 3. แนวคิดการจัดการชั้นเรียน องคประกอบที่ 1 การปฏิบัติดาน เชิงบวกของโรเบอรท ซี ได จูลิโอ พฤติกรรมการสอน แบงเปน 4 มิติ คือ 1) มิติดาน นักวิจัยทางการศึกษา ชื่อ Robert C. จิตวิญญาณ (spiritual dimension) เปนการแสดง Di Giulio (Giulio, 2006) ไดพัฒนาเกี่ยวกับ ใหผูเรียนเห็นวาไดรับการเอาใจใส และจะประสบ การจัดการชั้นเรียนเชิงบวกดวยเหตุผลจากปจจัย ความสําเร็จ 2) มิติดานกายภาพ (physical 4 อยาง คือ 1) ทําอยางไรครูผูสอนจึงจะเขาถึง dimension) เปนการจัดสภาพแวดลอมใหรูสึก ผูเรียน (มิติดานจิตวิญญาณ) 2) ทําอยางไร ปลอดภัยและเรียนรูไดอยางเต็มที่ 3) มิติดาน ครูผูสอนจึงจะจัดสิ่งแวดลอมในหองเรียนให การสอน (instructional dimension) เปนการ นาอยู (มิติดานกายภาพ) 3) ครูผูสอนจะใชทักษะ ทําใหผูเรียนสนใจในบทเรียน และ 4) มิติดาน การสอนเนื้อหาอยางไรใหนาสนใจ (มิติดาน การจัดการ (managerial dimension) เปนการ การสอน) และ 4) ครูผูสอนจะจัดการกับพฤติกรรม จัดการใหชั้นเรียนใหผูเรียนไดเรียนรูอยางราบรื่น ของผูเรียนใหอยูในกรอบ (มิติดานการจัดการ) องคประกอบที่ 2 เกี่ยวกับชวงระยะ การจัดการชั้นเรียนเชิงบวก (positive เวลา เปนการปฏิบัติดานปฏิบัติการสอนที่อาศัย classroom management) หมายถึง การจัด การจัดการเชิงบวกในขณะที่มีการสอน แบงเปน หองเรียนใหเปนสถานที่ที่มีความปลอดภัยกับ การจัดการใน 3 ประเภท คือ 1) การปองกัน ผูเรียนทุกคน และมีการสื่อสารอยางไมเปน การเกิดปญหา 2) การสนับสนุนสิ่งดี ๆ ใหเกิดขึ้น ทางการดวย โดยทั้งผูเรียนและครูผูสอนมีความ ในชั้นเรียน และ 3) การแกไขปญหาเมื่อเกิดสิ่ง รูสึกปลอดภัยและสามารถประสบความสําเร็จ ไมดีขึ้นในชั้นเรียน 382 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ตารางที่ 2 การจัดการชั้นเรียนเชิงบวกที่อาศัยองคประกอบทั้งดานการปฏิบัติและระยะเวลา

ประเภท การปฏิบัติดานพฤติกรรมการสอน และชวงระยะเวลา มิติดาน มิติดาน มิติดาน มิติดาน ของการสอน จิตวิญญาณ กายภาพ การสอน การจัดการ 1. การปองกัน วางแผนใหผูเรียน สรางหองเรียน เตรียมบทเรียน ใชวิธีการพื้นฐาน การเกิดปญหา ประสบความสําเร็จ ใหเปนชั้นเรียน ที่เปนแผนการสอน ในการจัดการ กอนการสอน และรูสึกไดรับ ที่มีบรรยากาศ ระยะยาว ปองกันการเกิด ความรัก เปนที่ เชิงบวกและรูสึก ความคับของใจ ยอมรับ ผอนคลาย 2. การสนับสนุน ยอมรับการใช การจัดที่นั่งแบบ ใชกลยุทธการสอน เดินไปมาและใช สิ่งดี ๆ ใหเกิดขึ้น ภาษาของผูเรียน ทํางานกลุม ให ที่มีประสิทธิภาพ สายตาสอดสาย ระหวางเรียน และตั้งใจฟง มีการ ผูเรียนทํางาน สังเกตการทํางาน ประสานสายตา และแลกเปลี่ยน ของผูเรียน ตอผูเรียน ความรู 3. การแกไขปญหา เตรียมแนวทาง ใชเวลานอกหรือ สอนแบบใกลชิด หยุดสอน หรือ ภายหลังเกิดปญหา ที่ชัดเจนเพื่อใหผู บริเวณที่เปนสวน หรือแบบตัวตอตัว แยกผูเรียนที่มี เรียนกลับมาเรียน ตัวในหองเรียน พฤติกรรมกอกวน ใหม หรือนอกหองเรียน ออกจากกลุม

ที่มา: Giulio (2006)

การจัดการชั้นเรียนเชิงบวกตามตาราง ผูเรียน ทั้งนี้ผูเรียนจะไดรับการพัฒนาตนเองทั้งดาน ขางตน จะเห็นวา มิติดานการสอนเปนเพียง วิชาการ ทักษะและคุณลักษณะไปพรอม ๆ กัน สวนหนึ่งเทานั้น และแนวคิดการจัดการชั้นเรียน การจัดการชั้นเรียนที่ดี จึงตองมุงเนน เชิงบวก ใหความสําคัญในทุกมิติในองคประกอบ ทั้งการจัดการเรียนรูเชิงวิชาการ และใหความ การปฏิบัติดานพฤติกรรมการสอนและทุกชวงเวลา สําคัญกับการตอบสนองความตองการพื้นฐาน ของการสอน ซึ่งครูผูสอนตองใชความเอาใจใส ของมนุษย ซึ่งก็คือ การอยูรวมกันไดในสังคม อยางมาก เพื่อทําความรูจักผูเรียนและเลือกใช แนวคิดทั้งหมดที่กลาวมา มีลักษณะรวมกัน คือ วิธีการตาง ๆ ใหเหมาะสมกับความตองการของ เปนความพยายามควบคุมพฤติกรรมของผูเรียน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 383 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ใหอยูในกรอบการเรียนรูที่ดี และเขาใจธรรมชาติ ปฏิบัติตาง ๆ ตามความตองการในบริบทของ ของผูเรียน ซึ่งมีลักษณะนิสัยที่มีความแตกตางกัน สังคมที่เปลี่ยนไปจากเดิม เพื่อความอยูรอดใน แตสามารถอยูรวมกันได ดังนั้น การจัดการ สังคมและชวยพัฒนาความเปนอยูในสังคมใหมี ชั้นเรียนที่ดี จึงเปนการจัดการชั้นเรียนเชิงบวก วิถีชีวิตที่ดี เพื่อพัฒนาผูเรียนใหสามารถประสบความสําเร็จ ทักษะที่จําเปน ที่ผูเรียนทุกคนจะไดรับ ในการเรียน ดวยการใหความสนใจกับความ ในการจัดการเรียนรูนั้น มีเปาหมายเพื่อใชใน ตองการพื้นฐานของผูเรียนมากกวา มุงผลสัมฤทธิ์ พัฒนาความสามารถเชิงวิชาการที่เปนความรู ทางวิชาการอยางเดียว เนื่องจาก การสราง และความเขาใจในเนื้อหาวิชามาสูการปฏิบัติ สัมพันธภาพที่ดี เปนปจจัยแหงความสําเร็จในการ โดยผูเรียนตองสามารถใชความคิดและสื่อสาร เรียนรูไดทุกเรื่อง ไดอยางมีประสิทธิภาพ ขณะที่ในบริบทการเรียน การสอน ผูเรียนตองเรียนรู เพื่อใหเกิดความ การจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียนโดยใช สําเร็จ ทักษะเหลานี้ ไดแก ทักษะการคิดอยางมี การจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 วิจารณญาณ (critical thinking) ทักษะการคิด ตามกรอบแนวคิดของการจัดการเรียนรู แกปญหา (problem solving) ทักษะการสื่อสาร ในศตวรรษที่ 21 ใหความสําคัญกับการเรียนรู (communications) และทักษะการใหความ ที่เกี่ยวของกับเนื้อหาวิชาการตาง ๆ และมุงเนน รวมมือ (collaboration) (Partnership for การเรียนรูในทักษะสําคัญตอการดํารงชีวิต คือ 21st Century Learning (P21), 2015) ซึ่งเปน 1) ทักษะการเรียนรูและสรางนวัตกรรม (learning ทักษะพื้นฐานที่สําคัญ and innovation skills) 2) ทักษะการใชสื่อสาร ลักษณะสําคัญของการจัดการเรียนรู สนเทศและเทคโนโลยี (information media จึงมุงเนนการลงมือปฏิบัติ เพื่อใหผูเรียนแสดง and technology skills – ICT skills ) และ ความสามารถออกมา โดยผานกิจกรรมตาง ๆ 3) ทักษะการใชชีวิตและการเปนมืออาชีพ (life and และมีการเทียบเคียงดวยมาตรฐาน พรอมกับ career skills) (Partnership for 21st Century มีการประเมินผลการเรียนรูจากภาระงาน Learning (P21), 2015) ซึ่งทักษะสําคัญเหลานี้ หรือชิ้นงานตาง ๆ ที่ทํา ซึ่งเปนการประเมิน ลวนเปนทักษะที่เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิต ประสิทธิภาพ โดยใชการประเมินความกาวหนา ในยุคการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตรและ (formative assessments) และการประเมิน เทคโนโลยี และในการจัดทําหลักสูตรการศึกษา สรุปรวม (summative assessments) ที่มุงเนน ก็ไดมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะวิชาที่สําคัญ ๆ การติดตามความรอบรู (mastery) ในการใช และสอดคลองกับบริบทของสภาพสังคมและ ทักษะที่จําเปนของผูเรียน และการปรับตัวของ วัฒนธรรมมากขึ้น ลักษณะการเรียนรูของผูเรียน การใชหลักสูตรและการสอน มาจากการใชวิธี ตองไดรับการเรียนรูเพิ่มเติม ในดานทักษะการ บูรณาการเนื้อหาวิชาที่ใหมีการปฏิบัติขามวิชา 384 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เพื่อมุงเนนการใชวิธีการเรียนรูแบบใชสมรรถนะ ชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ เปนฐาน (competency-based approach) ดวยความตองการอยากเรียนรู และสามารถ ซึ่งก็คือ การใชทักษะที่จําเปน นั่นเอง ทํางานรวมกันไดอยางเปนสุข โดยมีครูผูสอน ในทางปฏิบัติ สถานศึกษาไดนําแนว เปนผูอํานวยความสะดวกและเอาใจใสในการ การจัดการเรียนรู จากหลักสูตรแกนกลาง ปฏิบัติของผูเรียน การศึกษาพื้นฐาน ที่มุงเนนสมรรถนะสําคัญ แนวทางในการสรางสรรคบรรยากาศ 5 อยาง คือ 1) มีความรู 2) ความสามารถในการ ในชั้นเรียนเชิงบวก สื่อสาร 3) สามารถคิดและแกปญหา 4) สามารถ หองเรียนในศตวรรษที่ 21 ที่เปนหองเรียน ใชเทคโนโลยี และ 5) มีทักษะชีวิต ซึ่งความ แหงความสุข จะตองมีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สามารถเหลานี้ ลวนเปนการนําทักษะที่จําเปน อยางจริงจัง ดวยความเขาใจในตัวผูเรียนและ มาใช เปนเปาหมายในการพัฒนาผูเรียน และ การพัฒนาทักษะที่จําเปนใหสอดคลองกัน การจัดการเรียนรูกําลังเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เนื่องจาก การจัดสภาพแวดลอม อาศัยทั้งสภาพ คือ ไมมุงเนนความรู แตหันไปมุงเนนการใชความรู แวดลอมทางกายภาพ ที่เปนสิ่งอํานวยความ ผูเรียนตองไดรับการพัฒนาทักษะที่จําเปน สะดวกและเอื้อตอการเรียนรู และสภาพแวดลอม มากมาย หากแตวา ในการพัฒนาตองอาศัย เชิงจิตวิทยา ที่เปนบรรยากาศเชิงบวกดวยการ ความเขาใจในตัวผูเรียน และใชความตอเนื่อง ตอบสนองความตองการพื้นฐานของผูเรียน ในการพัฒนา รวมทั้ง การจัดสภาพแวดลอม โดยเฉพาะความรูสึกรักและเปนเจาของ ที่เอื้อตอการเรียนรู และมีเขาใจลักษณะของ ประกอบดวย ความรูสึกมีพลังที่เกิดจาก เนื้อหาวิชาเกี่ยวของกัน เพื่อบูรณาการเนื้อหา ความรวมมือรวมใจกันของกลุม จนเกิดความ กับทักษะที่ตองการพัฒนา ซึ่งเปนสิ่งที่ตองใช สําเร็จในการทํางาน จัดเปนมิติทางจิตวิญญาณ ความสามารถของครูผูสอนในการวางแผน และ คือ ผูเรียนตองการไดรับการเอาใจใส การยอมรับ ไดรับความรวมมือจากบุคคลตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และประสบความสําเร็จ สภาพแวดลอมเหลานี้ จึงจะเกิดผล นั่นแสดงวา ทุกรายวิชามีความสําคัญ อาศัยความเขาใจในการจัดการชั้นเรียนของ และสามารถนําไปสูการพัฒนาผูเรียนได โดยมี ครูผูสอน ที่ชวยใหเกิดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ จุดมุงเนนไปที่ผูเรียนไดรับการฝกปฏิบัติจริง และ การเรียนรูอยางเต็มศักยภาพ การเรียนรูเกิดจากความตองการของผูเรียนเอง การศึกษาเกี่ยวกับการจัดบรรยากาศ หรือที่เรียกวา เนนผูเรียนเปนสําคัญ ในชั้นเรียนเชิงบวก โดยใชการวิจัยเปนฐานของ การปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรูของผูเรียน Powell (2010) พบวา แนวทางการปฏิบัติในการ ทําใหมุงเนนไปที่การสรางองคความรูดวยตนเอง สอนสําหรับครูผูสอน นอกจากการใชวิธีการสอน และมีการปฏิบัติมากขึ้น โดยการเรียนรูแบบ ตามหลักสูตรแลว ครูผูสอนยังใชวิธีการสอนแบบ ลงมือทํา ความจําเปนในการจัดบรรยากาศใน ไมเปนทางการดวย เชน การใหคําปรึกษา และ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 385 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

การจัดการกับเหตุการณบางอยางที่เกิดขึ้น สามารถอยูรวมกันได นั่นคือ ตระหนักในความจริง โดยเหตุการณที่เกิดขึ้นลวนเปนวิธีการที่ไมได ที่วาผูเรียนมีความแตกตางกันทั้งสติปญญา ตั้งใจ แตผลที่ได คือ ผูเรียนไดรับการสงเสริม สังคม จริยธรรม และวุฒิภาวะทางอารมณ อีกทั้ง การเรียนรูและเพิ่มผลงานดานวิชาการ จากการ รูปแบบการเรียนรูที่แตกตางกัน ซึ่งเปนโอกาส สรางความเขาใจตนเอง (self-concept) การใช ของการสรางสรรคและพัฒนาผูเรียน โดยการ แรงจูงใจ (motivation) ซึ่งครูผูสอนเตรียม สรางขอขัดแยงขึ้นมา และเสริมพลังการเรียนรู ความพรอมใหกับผูเรียนในดานความรูสึกที่เปน แบบรวมมือ ทําใหไดรับความสนใจจากผูเรียน เจาของและรูสึกปลอดภัย มีอิสระในการมีสวนรวม ครูผูสอนใชมุมมองแบบองครวมกับผูเรียน อยางเต็มที่ในกระบวนการเรียนรู และทําแผน โดยไมแบงแยกฐานะทางสังคม วัฒนธรรม การจัดการเรียนรูในบทเรียน พรอมทั้งรูปแบบ และศาสนา ตลอดจนสื่อสารกับผูเรียน โดยใช การเรียนรูของผูเรียนรายบุคคล ซึ่งจะชวยพัฒนา ทั้งคําพูดและทาทางหรือสายตา และเลือกใช ทั้งเนื้อหาสาระทางวิชาการและดานจิตพิสัย วิธีการที่เหมาะสม เชน การฟงอยางใสใจ และ (affective domain) ของผูเรียนได แนวทางการ พยายามที่จะปองกันปญหาดวยวิธีการสื่อสาร ปฏิบัติการสอน ประกอบดวย 12 องคประกอบ อยางเขาใจ (apprehension) ซึ่งการใชวิธีการ คือ 1) ทําความรูจักผูเรียน 2) ทําในเรื่องเล็ก ๆ สอนที่มีประสิทธิภาพ คือ พัฒนาทักษะการคิด แตมีความหมาย 3) เปดเผยตัวเอง 4) สรางสรรค ขั้นสูงใหกับผูเรียน โดยใชวิธีการจัดบรรยากาศ และคงรักษาไวเกี่ยวกับการเชิญชวนใหเขา ใหมีการเคารพ (respect) ซึ่งกันและกัน หองเรียน 5) สงเสริมวัฒนธรรมการยอมรับ เมื่อกระทําอยางสมํ่าเสมอ จะชวยใหเกิดความ และใหความเมตตา 6) ชวยเปนกระบอกเสียง ไววางใจกัน จากการใหผูเรียนไดมีสวนเกี่ยวของ แทนผูเรียน 7) เรียนรูที่จะฟง 8) พูดอยาง กัน (involvement) ในการเรียนรู โดยชี้ใหเห็นวา ระมัดระวัง 9) สอนทักษะที่ชวยใหผูเรียนเปนตัว พื้นฐานของวิธีการดังกลาว มาจากการใชความ ของตัวเอง 10) สรางความยืดหยุน 11) สนับสนุน เอาใจใส (empathy) ตอผูเรียน หรือมีความ ใหจินตนาการและคิดสรางสรรค และ 12) มีอารมณ รูสึกรวม หมายถึง การยอมรับ ยืนยัน และเขาใจ ขัน การใชเทคนิควิธีการสอนดังกลาว ลวนเปน ในความรูสึกของความเปนตัวตนของมนุษย การจัดการชั้นเรียนที่มุงหวังใหเกิดประโยชนตอ ดวยกัน โดยธรรมชาติจะเกิดเมื่อมีการทํางาน ผูเรียน เปนความอาใจใสตอผูเรียน ดวยพฤติกรรม รวมกัน ซึ่งผูเรียนแตละคนจะมีความรูสึกเขาใจ ที่แสดงออกในเชิงบวกและสรางสรรคของครู ดวยการใชชีวิตที่อยูในบริบทเดียวกัน อาจกลาว ผูสอน ไดวา เปนความรูสึกผอนคลายและเปนกันเอง Abdool & Drinkwater (2005) กลาวถึง เหมือนกับการใชชีวิตที่เปนปกติ ครูผูสอนสามารถ แนวทางในการสรางสรรคบรรยากาศในชั้นเรียน แสดงออกดวยการใชแนวทางปฏิบัติตอผูเรียน เชิงบวก เพื่อใหผูเรียนที่มีคุณลักษณะแตกตางกัน 7 อยาง คือ 1) ใชคําถามปลายเปดซักถาม 2) สงบ 386 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

อารมณ เมื่อฝายหนึ่งมีการใชอารมณ 3) หลีกเลี่ยง 2. จัดการโดยใชวิธีการใหผูเรียน การใชเสียงดังในการตัดสินเมื่อเกิดปญหาขึ้น มีสวนรวมในการเรียนมากขึ้น เปนการใช 4) ใสใจกับคําพูดและการแสดงสีหนาของผูเรียน วิธีการเรียนรูแบบรวมมือ โดยผูเรียนทุกคน 5) ทําความเขาใจผูเรียนดวยการรูจักภูมิหลัง สามารถเขาถึงกิจกรรมการเรียนรูที่ครูผูสอน ของผูเรียนแตละคน 6) ปลอยใหเรื่องราวที่เกิดขึ้น จัดขึ้น เพื่อใหผูเรียนมีความสุขในสังคมของ คลี่คลาย โดยใชวิธีการฟงอยางตั้งใจ และ ตนเอง และเรียนรูที่จะใชชีวิตอยางเปนปกติ 7) กําหนดขอบเขตในการทํางานของผูเรียน เรียนรูที่จะเขาใจผูอื่น และการยอมรับ ชวยใหเกิดความเอาใจใสกันและมุงเนนไปที่ 3. จัดการโดยใชวิธีการเรียนรูที่ใชสื่อ ตัวงานที่ตองการใหเกิดความสําเร็จ เทคโนโลยีและสารสนเทศเปนฐาน เปนการ ดังนั้น การพัฒนาครูผูสอนในการจัดการ จัดการเรียนรูที่มุงใหผูเรียนสามารถเรียนรู เรียนรูในศตวรรษที่ 21 จึงอาศัยพื้นฐานการ ดวยการคนควาอยางอิสระ และรูจักเลือกใช จัดการชั้นเรียนที่มุงเนนการสรางสรรคบรรยากาศ ขอมูลอยางชาญฉลาด โดยครูผูสอนใหการชี้แนะ ที่ทําใหผูเรียนไดรับการพัฒนา ทั้งดานวิชาการ และใหคําแนะนําวิธีการ ซึ่งจะชวยใหผูเรียน และดานจิตพิสัย โดยที่ครูผูสอนตองพัฒนาตน สามารถเรียนรูไดดวยตนเอง และนําความรูที่ได ใหเปนผูมีคุณลักษณะความเอาใจใสตอผูอื่น มาใชใหเกิดประโยชน ดวยการรูจักการแบงปน ขณะเดียวกัน ก็ตองชวยใหผูเรียนไดเรียนรูและ ขอมูลหรือแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกัน รูจักการอยูรวมกัน เพื่อพัฒนาคุณลักษณะความ 4. จัดการโดยใชวิธีการสื่อสารให เอาใจใสตอผูอื่น ซึ่งหมายถึง การรูจักเขาใจผูอื่น มากขึ้น เปนการมุงเนนการใชทักษะพื้นฐาน คือ รับฟง ยอมรับ และชวยเหลือกัน เปนการ การอาน การเขียน และการคิดคํานวณ เพื่อให เสริมสรางความเปนเพื่อนรวมชั้นเรียนที่ดี ผูเรียนสามารถใชทักษะเหลานี้ไดอยางคลองตัว โดยใชแนวทางการจัดการชั้นเรียนที่แสดงถึง และไมเปนอุปสรรคตอการเรียนรู ขณะเดียวกัน ความเอาใจใส ดังนี้ ชวยใหมีการสื่อสารที่เปนการแลกเปลี่ยน 1. จัดการโดยใชวิธีการจัดสภาพ ความคิดเห็นกัน และใหมีการเรียนรูเกี่ยวกับ แวดลอมที่สนับสนุน เปดโอกาสใหผูเรียนได การรูจักการยอมรับ ใหความเคารพซึ่งกันและกัน ลงมือปฏิบัติ และสรางความรูขึ้นมาเอง จากการ ในการรับฟงความความคิดเห็น และใชความ เรียนรูและใชความคิดสรางสรรค เพื่อสรางหรือ เอาใจใสเปนหนทางสูความรวมมือและความ ผลิตผลงานขึ้นมา โดยใหใชกระบวนการกลุม สําเร็จในดานวิชาการ เปนการจัดสภาพแวดลอมทั้งดานกายภาพและ 5. จัดการโดยใชวิธีการที่เปดโอกาส บรรยากาศในชั้นเรียน ครูผูสอนจะเปนผูชี้แนะ ใหผูเรียนไดทําความเขาใจผูอื่น เปนการ ใหผูเรียนรูจักการชวยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อให ใชปฏิสัมพันธ จากการทํางานรวมกัน โดยมี งานดานวิชาการนั้นสําเร็จ กระบวนการกลุมเปนสื่อกลาง เพื่อใหผูเรียน Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 387 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

เขาใจในความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย การพัฒนาคุณลักษณะความเอาใจใส ซึ่งมี ดวยกัน ดวยการเรียนรูที่จะรูจักเขาใจ และ ความสําคัญตอการพัฒนาดานจิตพิสัยของ เห็นอกเห็นใจผูอื่น ซึ่งในขณะทํางานที่มีการ ผูเรียน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู ใชกระบวนการกลุม ครูผูสอนใหความสนใจ โดยอาศัยวิธีการเรียนรูแบบกระบวนการกลุม พฤติกรรมทุก ๆ พฤติกรรมของผูเรียน โดยใชการ การเรียนรูแบบรวมมือกัน เพื่อพัฒนาความคิด สังเกตและเลือกใชวิธีการจัดการที่เหมาะสม ไม สรางสรรค และใชการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะ ใชอารมณในการแกไขปญหา ยกยองความสําเร็จ ทางสังคม ดวยการเรียนรูที่จะรูจักทําความเขาใจ ของกลุมจากความรวมมือรวมใจในการทํางาน ผูอื่น และเอาใจใสตอผูอื่น ซึ่งเปนบรรยากาศ ของกลุม เชิงบวกที่ผูเรียนตองการไดรับ เนื่องจากสามารถ 6. จัดการโดยครูผูสอนฝกตนเอง ตอบสนองความตองการพื้นฐานของผูเรียนได ใหรูจักรับฟงและเปนผูฟงที่ดี เปดโอกาส ใหผูเรียนไดพูด นําเสนอ และอธิบาย โดยครู บทสรุป ผูสอนเปนผูฟงที่ดีและใชความใสใจ ทั้งตอ ความสําคัญในการสรางสรรค เรื่องราวที่นําเสนอและวิธีการนําเสนอ และ บรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวกในศตวรรษที่ 21 หากเกิดปญหาในชั้นเรียน ตองรับฟงผูเรียน ดวยความเอาใจใสเปนการเปดโอกาสในการ ไมดวนสรุปตัดสินใจ และชี้ประเด็นที่นาสนใจ พัฒนาผูเรียนทั้งเชิงวิชาการ คือ ทักษะที่จําเปน ใหกับผูเรียน เพื่อใหเกิดการสื่อสารอยางเขาใจ ตอการดํารงชีวิต และดานจิตพิสัยคือ รูจักการ และเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ อยูรวมกัน หรือความเปนเพื่อนรวมชั้นเรียนที่ดี 7. จัดการโดยครูผูสอนทําความรูจัก ซึ่งเปนคุณลักษณะอันพึงประสงค ที่เปนพื้นฐาน ผูเรียนรายบุคคล เปนการคนหารูปแบบ ของการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ และนําไปสูการ การเรียนและความถนัดของผูเรียนแตละคน สงเสริมการพัฒนาดานสังคม คุณธรรม จริยธรรม เพื่อนํามาใชในการวางแผนการจัดการเรียนรู ตอไป โดยการใหผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับความ ที่สอดคลองกับผูเรียนมากที่สุด และวางแผน เอาใจใส ซึ่งเปนการรูจักเขาใจผูอื่น และสามารถ หาแนวทางปองกันการเกิดปญหาทางพฤติกรรม อยูรวมกันในสังคมของเพื่อนรวมชั้นได ดวยการ ของผูเรียนที่อาจกอกวนได ใชกระบวนการกลุมและการเรียนรูแบบรวมมือ ความเปนมืออาชีพของครูผูสอน และพัฒนาทักษะที่จําเปนไปพรอม ๆ กัน จึงตองการการพัฒนาตน ใหมีทั้งทักษะการ ซึ่งชวยใหเรียนรูพฤติกรรมตาง ๆ ทั้งที่เหมาะสม จัดการเรียนรูที่เปนกรอบแนวคิดของการจัดการ และไมเหมาะสมของผูเรียน และการปฏิบัติ เรียนรูในศตวรรษที่ 21 ที่มุงเนนทักษะที่จําเปน ของครูผูสอนที่ใชความเอาใจใส และเขาใจ กับทักษะการจัดการชั้นเรียนโดยใชแนวทาง ความตองการพื้นฐานของมนุษย ตามแนวคิด สรางสรรคบรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวก มุงเนน การจัดการชั้นเรียน นํามาใชมุงเนนการปองกัน 388 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ปญหา สนับสนุนการเรียนรู และแกไขพฤติกรรม with Dr. Bob. Retrieved June 15, ที่ไมเหมาะสม โดยเฉพาะการรับมือกับพฤติกรรม 2013, from http://www.digiulio.com/ ที่ไมเหมาะสม สามารถปรับเปลี่ยนเปนพฤติกรรม ClassMgt/#_The_Matrix ที่เหมาะสม ครูผูสอนมืออาชีพ จําเปนตอง Kounin, J. (1977). The Kounin model พัฒนาตนใหมีคุณลักษณะความเอาใจใสตอผูอื่น of wittiness & organization. เพื่อนํามาใชในการสรางสรรคบรรยากาศใน Retrieved June 15, 2013, from ชั้นเรียนเชิงบวก และพัฒนาคุณภาพผูเรียน http://olameegdcequared.blogspot. ตอไป โดยผูเรียนจะไดรับการดูแลและไดรับ com/2013/01/group-management- ความชวยเหลือในการเรียนรู ทั้งเชิงวิชาการ kounin.html รวมกับการพัฒนาดานจิตพิสัย ซึ่งความสําเร็จ Kratochwill, T.R. (2017). Classroom ที่เกิดขึ้น คือ ผูเรียนสามารถใชทักษะที่จําเปน management -teachers modules. เพื่อนําไปใชตอยอดองคความรู และพัฒนาสังคม American Psychological Association. ตอไป Retrieved 9 September 2017, from http://www.apa.org/education/k12/ REFERENCES classroom-mgmt.aspx Abdool, A.D. & Drinkwater, M. (2005) Partnership for 21st Century Learning (P21). Guidelines to create a positive (2015). Framework for 21st Century classroom climate for religion learning. Retrieved 9 September education. Scriptura 89, 363-372. 2017, from http://www.p21.org/our- Retrieved November 10, 2017, from work/p21-framework. http://scriptura.journals.ac.za/pub/ Powell, S.D. (2010). Wayside teaching: article/viewFile/1023/974 connecting with students to support Gabriel, E. & Matthews, L. (2011). Choice learning. CA: Corwin. theory: an effective approach Sequeira, C. (2007). “Choice theory in the to classroom discipline and classroom.” Journal of Adventist management. The Journal of Education. February-March Adventist Education. February- Retrieved 9 September, 2017, from March, 20-23. Retrieved 9 September http://circle.adventist.org/files/jae/ 2017, from http://circle.adventist.org/ en/jae200769033507.pdf files/jae/en/jae201173032003.pdf Sottipolanun, S. (2015). Developing capability Giulio, R. C. (2006). Positive classrooms in designing classroom management Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 389 Vol.13 No.2 (July - December 2018) by using the research-based project Rajabhat University. Journal of for third-year students of Bachelor Chandrakasemsarn. 21(41), 77- 86. of Education program, College of (in Thai). Teacher Education. Phranakhon วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences)

ปที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561 Vol.13 No.2 July - December 2018 ISSN : 2286-7171

เจ้าของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วัตถุประสงค์ของการจัดพิมพ์วารสาร วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จัดท�าเป็นวารสารราย 6 เดือน (ปีละ 2 ฉบับ) มกราคม - มิถุนายน และ กรกฎาคม - ธันวาคม โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทรรศน์ และบทวิจารณ์หนังสือ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เช่น รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ พัฒนาชุมชน การบริหารและพัฒนาเมือง ประวัติศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ นาฏศิลปและการละคร ดนตรี นิติศาสตร์ ศิลปกรรม บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ การจัดการทั่วไป/คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การตลาด การท่องเที่ยวและการโรงแรม นิเทศศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บัญชี บริหารการศึกษา การศึกษาปฐมวัย หลักสูตรและการสอน เทคโนโลยีการศึกษา จิตวิทยาการศึกษา และ สาขาวิชาอื่น ๆ ตามการพิจารณาของกองบรรณาธิการ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางแลกเปลี่ยนข่าวสาร สาระส�าคัญ ประสบการณ์ด้านการวิจัยแก่นักวิจัย นักวิชาการ และบุคคลทั่วไป ที่สนใจ นโยบายการจัดพิมพ์ของวารสาร 1. บทความที่น�าเสนอเพื่อขอตีพิมพ์ ต้องเป็นบทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทรรศน์ หรือบทวิจารณ์ หนังสือ ซึ่งอาจเขียนได้ทั้งภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ 2. บทความที่จะได้รับการตีพิมพ์ต้องเขียนตามรูปแบบของ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ และต้องผ่านกระบวนการพิจารณากลั่นกรองโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องก่อน ทั้งนี้ บทความที่ตีพิมพ์ จะต้องเป็นบทความที่ยังไม่เคยรับการตีพิมพ์เผยแพร่มาก่อนหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากวารสารอื่น ๆ 3. บทความที่ตีพิมพ์/เผยแพร่ทุกบทความต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากผู้ประเมินบทความ (Peer Reviewed) ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่าสองท่านต่อหนึ่งบทความ ซึ่งทั้งผู้ประเมินบทความและผู้แต่ง จะไม่ทราบชืิ่อ ซึ่งกันและกัน (Double-blind Peer Review) โดยบทความที่ลงตีพิมพ์ได้นั้นจะต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ประเมินบทความ ทั้งสองท่านหรือสองในสามท่าน คณะที่ปรึกษา ดร.ถนอม อินทรก�าเนิด อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ศาสตราจารย์ ดร.สนิท อักษรแก้ว กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.ผดุงชาติ สุวรรณวงศ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร รองศาสตราจารย์ ดร.เปรื่อง กิจรัตน์ภร อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ศักดิ์ จักรกรณ์ ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ รัฐฉัตรานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.พิมลพรรณ เรพเพอร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย รองศาสตราจารย์ ดร.กุลทิพย์ ศาสตระจุริ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) รองศาสตราจารย์ ดร.ศิตา เยี่ยมขันติถาวร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัครพนท์ เนื้อไม้หอม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธาตรี ใต้ฟ้าพูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวนิต อรรถวุฒิกุล มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วลักษณ์กมล จ่างกมล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีร์ธนิกษ์ ศิริโวหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรองทอง จุลิรัชนีกร มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี อาจารย์ ดร.ชเนตตี ทินนาม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Dr.Sanjay B. Salunke Dr.Babasaheb Embedkar Marathwada University, Maharashtra (India) Dr.I Nyoman Sudiarta, SE., M.Par Udayana University, Bali (Indonesia) Anupama Dhavale Karnataka University, Karnataka (India) อาจารย์ ดร.ปรียา สมพืช มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์ ดร.สืบวงศ์ กาฬวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์ ดร.สราวุธ ณ พัทลุง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์ ดร.สุไม บิลไบ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์กัลยา นาคลังกา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย์รุ่งทิพย์ ศรีโสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้ประสานงานและเผยแพร่ นางเดือนเพ็ญ สุขทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวมัธนา เกตุโพธิ์ทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวศุภราพร เกตุกลม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวทัศนา ปิ่นทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวนวกมล พลบุญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวสุธารัตน์ จุ้ยเจริญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นายรัชตะ อนวัชกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นายจักรพันธ์ ก้อนมณี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ติดต่อกองบรรณาธิการ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรศัพท์/โทรสาร 0 - 2521 - 2288, 0 - 2521 - 1234 E-mail: [email protected] และ https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/login ก�ำหนดออก 2 ฉบับ ต่อ ปี (มกราคม - มิถุนายน และ กรกฎาคม - ธันวาคม) การเผยแพร่ ผู้ที่สนใจสามารถค้นหาที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/issue/archive พิมพ์ที่ หจก. ประยูรสาส์นไทย การพิมพ์ 44/132 ถ.ก�ำนันแม้น ซ.ก�ำนันแม้น 36 บางขุนเทียน จอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ : 0 - 2802 - 0377, 0 - 2802 - 0379, 08 - 1566 - 2540 บทบรรณาธิการ

วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561 ได้รวบรวม บทความเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการและการวิจัยในสาขา ที่เกี่ยวข้องกับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เนื้อหาสาระในวารสารฉบับนี้มีบทความจ�ำนวน 25 เรื่อง ทุกเรื่อง มีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหลากหลายสาขาอย่างมาก นอกจากนั้น ทุกบทความยังได้ผ่านการกลั่นกรองอย่างเข้มข้นจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร หวังเป็นอย่างยิ่งว่าวารสาร ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ทางวิชาการส�ำหรับนักวิชาการ นักวิจัย คณาจารย์ และ นักศึกษาต่อไป การจัดท�ำวารสารฉบับนี้ ส�ำเร็จได้ด้วยความร่วมมืออย่างดียิ่งจาก ผู้เขียน บทความ ผู้ทรงคุณวุฒิ กองบรรณาธิการ ตลอดจนบุคคลท่านอื่น ๆ ขอขอบพระคุณ เป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม บรรณาธิการวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ (Readers) ประจ�าวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)

ศาสตราจารย ดร.วัลลภ รัฐฉัตรานนท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รองศาสตราจารย ดร.ศิตา เยี่ยมขันติถาวร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย ดร.ศรุดา สมพอง มหาวิทยาลัยเวสเทิรน รองศาสตราจารย ดร.สุทธินันทน พรหมสุวรรณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รองศาสตราจารย ดร.นาตยา ปลันธนานนท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รองศาสตราจารย ดร.นพพร แหยมแสง มหาวิทยาลัยรามคําแหง รองศาสตราจารย ดร.คมสัน รัตนะสิมากูล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย รองศาสตราจารย ดร.อัศวิน เนตรโพธิ์แกว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) รองศาสตราจารยสุวัฒนา เลี่ยมประวัติ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปวีณา ลี้ตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิราพร ขุนศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธาตรี ใตฟาพูล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัฏฐมา นิลนพคุณ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธีรธนิกษ ศิริโวหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อริชัย อรรคอุดม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุชาดา พงศกิตติวิบูลย มหาวิทยาลัยบูรพา ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรนุช ลิมตศิริ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิชา แดงจํารูญ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูชวยศาสตราจารย ดร.วันชัย ปานจันทร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณรงคศักดิ์ จักรกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรินทร อินทพรหม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.จักรพันธ กิตตินรรัตน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.วณิฎา ศิริวรสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรวิทย ประสิทธิ์ผล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูชวยศาสตราจารย ดร.เดชรัต สุขกําเนิด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศรัณยธร ศศิธนากรแกว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ดร.เจษฎา มิ่งฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ดร.นิสิต อินทมาโน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดร.วิชุดา พรายยงค มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ดร.พิชัย แกวบุตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ดร.พวงผกา สิทธิจันทร มหาวิทยาลัยทักษิณ ดร.นภัสนันท วินิจวรกิจกุล มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ดร.มนต ขอเจริญ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ดร.ปรัชญา เปยมการุณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.สืบวงศ กาฬวงศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.สุไม บิลไบ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.ณัฐดนัย สุภัทรากุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.จุฬาลักษณ ชาญกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดร.เกรียงไกร โพธิ์มณี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สารบัญ

หน้า บทบรรณาธิการ ...... A รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ ประจ�าวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ...... B สารบัญ ...... C บทความวิจัย

การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ส�าหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ...... 1 เดช บุญประจักษ ปรีชา จั่นกลา และ นฤนาท จั่นกลา การเปรียบเทียบวรรณยุกต์ภาษาผู้ไทในต�าบลเรณู อ�าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม กับหมู่บ้านสองเมืองใต้ แขวงค�าม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ...... 15 เกศนี คุมสุวรรณ และ วิภาวรรณ อยูเย็น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในจังหวัดหนองบัวล�าภู ...... 30 จิราภรณ หลาฤทธิ์ และ ภัทรธิรา ผลงาม การสร้างนักสื่อสารชุมชนท้องถิ่นในการเผยแพร่แผนชุมชน เพื่อธ�ารงรักษาปาชายเลน ต�าบลหัวเขา จังหวัดสงขลา ...... 42 เจริญเนตร แสงดวงแข และ สินี กิตติชนมวรกุล องค์ประกอบปัจจัยที่มีผลต่อความส�าเร็จของธุรกิจค่ายมวยไทย ...... 63 ชาญชัย ยมดิษฐ การเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นของสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ...... 82 ณัฐนันท วิริยะวิทย การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ...... 99 นงคนิตย จันทรจรัส เพียงจันทร มณีเนตร ศาสตรา มาพร และ สุรชัย จันทรจรัส สารบัญ

หน้า

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการท�างานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ ...... 115 โนรี มีกิริยา และ อุทัยรัตน แสนเมือง การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการ โดยใช้บริบทของชุมชน ...... 131 เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ การจัดการเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรมหาสวัสดิ์ อ�าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ...... 146 เพ็ญศรี ฉิรินัง อรุณ รักธรรม และ สมพร เฟองจันทร การสื่อสารเพื่อเพิ่มพลังคนไร้สัญชาติเพื่อการเข้าถึงสิทธิตามกฎหมาย ...... 160 ภัทรา บุรารักษ ปัจจัยพยากรณ์ความตั้งใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของพระสงฆ์เขตกรุงเทพมหานคร ...... 177 ศรัณยธร ศศิธนากรแกว การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของจังหวัดสงขลา ด้านอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE) ...... 191 สาลินี ทิพยเพ็ง เสรี วงษมณฑา ชุษณะ เตชคณา และ ชวลีย ณ ถลาง ยุทธศาสตร์การสร้างความร่วมมือของชุมชนเกิดใหม่เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดปทุมธานี ...... 207 อัครเดช เนตรสุวรรณ เกษมชาติ นเรศ เสนีย และ บุญเลิศ ไพรินทร การเรียนรู้สะเต็มศึกษาส�าหรับนักเรียนระดับอาชีวศึกษา ...... 223 ธิดารัตน เสือคง แนวทางการพัฒนาการเชื่อมโยงสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กีฬา และนันทนาการ ของผู้ประกอบการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์และศรีสะเกษ ...... 243 นลินทิพย พิมพกลัด และ ภรณี หลาวทอง สารบัญ

หน้า

มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติการขอใบอนุญาตขับรถยนต์ส่วนบุคคล เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ...... 259 พรเพ็ญ ไตรพงษ และ พีร พวงมะลิต การบูรณาการโดยใช้ทฤษฎีและข้อมูลขับเคลื่อนการค้นหาตัวแบบภาวะผู้น�าระดับปฏิบัติการ ในองค์การที่บริหารด้วยวัฒนธรรมไทย ...... 275 ระพีพรรณ พิริยะกุล จริยาภรณ ศรีสังวาลย อินทกะ พิริยะกุล และ นภาพร ขันธนภา การปรับเปลี่ยนนโยบายแรงงานข้ามชาติสมัยรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ...... 293 หฤทัย จงวัฒนบัณฑิตย การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จากวรรณกรรมพื้นบ้าน ...... 309 อภิศักดิ์ คูกระสังข ภาวะผู้น�าในการพัฒนาเครือข่ายสินค้าหนึ่งต�าบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ในแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษาอ�าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ...... 322 วชิรวิทย วิชาสวัสดิ์ ศิลปะสื่อภาพถ่าย: ความรุนแรงในความสงัด ...... 337 วรพรรณ สุรัสวดี

บทความวิชาการ

ทศพิธราชธรรม : หลักธรรมอันพึงปฏิบัติส�าหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการประถมศึกษา ...... 356 ดาวใจ ดวงมณี และ เกรียงศักดิ์ ชยัมภร แนวทางในการสร้างสรรค์บรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวกในศตวรรษที่ 21 ส�าหรับครูมืออาชีพ ...... 373 สุมนา โสตถิผลอนันต การกระจายอ�านาจเปรียบเทียบประเทศเขตอนุภาคลุ่มแม่น�้าโขง ...... 390 วัชรินทร อินทพรหม วณิฎา ศิริวรสกุล และ ณัฏฐา เกิดทรัพย สารบัญ

หน้า

ภาคผนวก

ขั้นตอนการด�าเนินงานของการจัดท�า วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ...... 404 แบบฟอร์มเสนอบทความเพื่อพิจารณาน�าลงพิมพ์ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ...... 405 รายละเอียดการเตรียมบทความเสนอการตีพิมพ์ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ...... 407 PUBLISHING'S GUIDELINES ...... 419 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 403 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ภาคผนวก 404 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ขั้นตอนการดําเนินงานของการจัดทํา วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ผูเขียน (Authors) สงบทความผานระบบออนไลน

แกไข ไมเกิน 7 วัน กองบรรณาธิการ (Editors) พิจารณา ตรวจรูปแบบบทความ ไมผาน ผานระบบออนไลน (ไมเกิน 5 วัน) ปฏิเสธการตีพิมพ

ผูทรงคุณวุฒิ (Reviewers) พิจารณาบทความ ผานระบบออนไลน ไมผาน (ไมเกิน 30 วัน)

รับตีพิมพบทความแบบมีเงื่อนไข (ปรับแกไข)

ผูขียน (Authors) ปรับแกไขบทความ

ผูทรงคุณวุฒิ (Reviewers) พิจารณาบทความ ผานระบบออนไลน

แกไข ไมเกิน 3 วัน กองบรรณาธิการ (Editors) ผูเขียน (Authors) ปรับแกไข ตรวจสอบความถูกตอง

กองบรรณาธิการ (Editors) แจงผลยืนยันรับบทความ เพื่อลงตีพิมพ ตรวจสอบตนฉบับกอนตีพิมพ

พิมพเผยแพร Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 405 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

แบบฟอรมเสนอบทความเพื่อพิจารณานําลงพิมพ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

วันที่...... เดือน...... พ.ศ......

ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว)  บทความวิจัย  นักศึกษาระดับปริญญาโท ......  นักศึกษาระดับปริญญาเอก หลักสูตร...... สาขา...... มหาวิทยาลัย...... ที่อยูที่สามารถติดตอได เลขที่...... หมูที่...... ซอย...... ถนน...... ตําบล/แขวง...... อําเภอ/เขต...... จังหวัด...... รหัสไปรษณีย...... โทรศัพท...... E-mail...... ชื่อเรื่องบทความภาษาไทย ......

ชื่อเรื่องบทความภาษาอังกฤษ (ตัวพิมพใหญ) ......

มีความประสงคขอสง  บทความวิจัย  บทความวิชาการ  บทความปริทรรศน  บทวิจารณหนังสือ

ในการนี้ขาพเจายินดีใหกองบรรณาธิการวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร มีสิทธิ์ในการสรรหา ผูกลั่นกรองโดยอิสระ เพื่อพิจารณาตนฉบับที่ขาพเจา (และผูแตงรวม) สงมา และยินดียอมรับผลการ พิจารณาของผูทรงคุณวุฒิ

ลงชื่อ...... ผูสงบทความวิจัย (...... ) 406 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

* ขาพเจาขอรับรองวาบทความนี้ยังไมเคยลงตีพิมพในวารสารใดมากอน ตลอดจน "ไมอยู ระหวางการพิจารณาของวารสารฉบับอื่น" และจะไมนําสงไปเพื่อพิจารณาลงตีพิมพในวารสารอื่น ภายใน 90 วัน นับจากวันที่ขาพเจาไดสงบทความฉบับนี้ ** ในกรณีที่บทความนั้นมีเนื้อหาที่เกี่ยวของหรือพาดพิงกับหนวยงานหรือองคกรใด ตองไดรับ ความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากองคกรนั้น  ยินยอมรับเงื่อนไข  ไมยินยอมรับเงื่อนไข

ความเห็นของกองบรรณาธิการวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร  ถูกตองตามรูปแบบของบทความ  ไมถูกตองตามรูปแบบของบทความ

...... (...... ) กองบรรณาธิการวารสารวิจัยฯ วันที่...... เดือน...... พ.ศ...... Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 407 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

รายละเอียดการเตรียมบทความเสนอการตีพิมพ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรเปนวารสารราย 6 เดือน เผยแพร ปละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน และฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม จัดพิมพขึ้นเพื่อ เผยแพรผลงานวิจัยและผลงานวิชาการในลักษณะนิพนธตนฉบับ (Original Article) นิพนธปริทัศน (Review Article) และ บทวิจารณหนังสือ (Book Review) ในสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร แกนักวิจัย นักวิชาการ และบุคคลทั่วไปที่สนใจ

ขั้นตอนการดําเนินงานจัดทําวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1. รับตนฉบับจากผ ูสนใจตีพิมพบทความผานระบบ ThaiJo (https://www.tci-thaijo.org/index. php/PNRU_JHSS/author) 2. กองบรรณาธิการตรวจสอบความสมบูรณความถูกตองและคุณภาพของบทความตนฉบับ 3. กองบรรณาธิการเตรียมตนฉบับจัดสงใหผูทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ที่มีความเชี่ยวชาญ ในสาขาที่เกี่ยวของ ไมนอยกวาสองทานตอหนึ่งบทความ ทั้งนี้ ผูประเมินบทความ (Peer Review) และผูแตง (Author) จะไมทราบชื่อซึ่งกันและกัน (Double-blind Peer Review) โดยบทความที่ ลงตีพิมพไดนั้น จะตองผานความเห็นชอบจากผูประเมินบทความทั้งสองทาน หรือสองในสามทาน ทั้งนี้ ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความมีดังนี้ - Accept Submission = รับตีพิมพบทความโดยไมตองแกไข - Revisions Required = แกไขบทความโดยใหบรรณาธิการพิจารณาอีกครั้ง - Resubmit for Review = ผูแตงตองแกไขบทความสงกลับมาใหผูประเมินบทความ ตรวจสอบอีกครั้ง - Resubmit Elsewhere = ปฏิเสธรับตีพิมพบทความ กรณีที่ไมสอดคลองกับวัตถุประสงค ขอบเขตของวารสาร และการเตรียมบทความ ทั้งนี้ ใหผูแตงสงบทความตีพิมพในวารสารอื่น - Decline Submission = ปฏิเสธการตีพิมพบทความ - See Comments = พิจารณาขอเสนอแนะของผูประเมินบทความ 4. กองบรรณาธิการสงตนฉบับที่ปรับแกไขแลวพรอมสรุปผลการประเมินคุณภาพตนฉบับ และจัดสงผูแตงเพื่อปรับแกไข พรอมใหชี้แจงการปรับแกไขกลับมายังกองบรรณาธิการ 408 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

5. กองบรรณาธิการตรวจสอบการปรับแกไขความถูกตอง และรูปแบบการเขียนตนฉบับ 6. บรรณาธิการตอบรับการตีพิมพและเผยแพรตนฉบับดังกลาวผานระบบฐานขอมูลวารสาร อิเล็กทรอนิกสกลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/) จากนั้น จะออกหนังสือ ตอบรับการตีพิมพบทความอยางเปนทางการจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อีกครั้ง 7. กองบรรณาธิการรวบรวมตนฉบับและตรวจสอบความถูกตอง กอนจัดสงโรงพิมพเพื่อจัดทํา วารสารฉบับราง 8. กองบรรณาธิการตรวจสอบความถูกตองของวารสารฉบับรางจากโรงพิมพอีกครั้ง จากนั้น จึงสงตีพิมพและเผยแพร 9. กองบรรณาธิการเผยแพรวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ผานระบบฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกสกลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/)

หลักเกณฑในการสงบทความของวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร 1. บทความที่ผูแตงสงมาเพื่อตีพิมพจะตองเปนบทความที่ยังไมเคยตีพิมพเผยแพร หรือ อยูระหวางการเสนอขอตีพิมพจากวารสารอื่น ๆ 2. เนื้อหาและรูปภาพในบทความตองไมคัดลอก ลอกเลียน หรือไมตัดทอนจากบทความอื่น โดยเด็ดขาด (การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเปนความรับผิดชอบของผูแตงเทานั้น) 3. ผูแตงตองเขียนบทความตามรูปแบบที่กําหนดไวในระเบียบการสงบทความ วารสารวิจัย ราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 4. การพิจารณาบทความเพื่อตีพิมพในวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร จะพิจารณาเฉพาะบทความที่ไดรับการประเมินใหตีพิมพเผยแพรจากผูประเมินบทความ เทานั้น 5. กรณีมีขอเสนอแนะจากผูประเมินบทความ ผูแตงตองปรับแกไขตามขอเสนอแนะของ ผูประเมินบทความ และชี้แจงการแกไขตนฉบับดังกลาวมายังกองบรรณาธิการ ภายในเวลาที่กําหนด

คําแนะนําการเตรียมบทความเพื่อตีพิมพในวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร กองบรรณาธิการไดกําหนดรูปแบบการเตรียมบทความเพื่อตีพิมพในวารสารวิจัยราชภัฏ พระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ดังนี้ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 409 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทความตองพิมพในกระดาษขนาด A4 โดยตั้งคาหนากระดาษ ซาย 1 นิ้ว ขวา 1 นิ้ว บน 1 นิ้ว ลาง 1 นิ้ว (1 นิ้ว = 2.5 ซม.) บทความภาษาไทยและบทความภาษาอังกฤษตองพิมพดวยรูปแบบอักษร Cordia New บทความภาษาไทยที่มีศัพทเทคนิคหรือศัพทเฉพาะ ใหใชคําทับศัพท และ/หรือ ศัพทบัญญัติ พรอมวงเล็บคําศัพทภาษาอังกฤษนั้น เอกสารตองมีรูปแบบเดียวกันทั้งบทความ ทั้งนี้ บทความประเภทตาง ๆ ในวารสารเลมนี้ มีจํานวนหนาตอหนึ่งบทความแตกตางกันโดยประมาณ ดังนี้ 1. บทความทางวิชาการ (Academic article) ประมาณ 15 หนา ตอบทความ 2. บทความวิจัย (Research article) ประมาณ 15 หนา ตอ 1 บทความ 3. บทความปริทรรศน (Review article) ประมาณ 8 หนา ตอ 1 บทความ 4. บทวิจารณหนังสือ (Book review) ประมาณ 5 หนา ตอ 1 บทความ ใหพิมพผลงานดวยกระดาษ A4 พิมพหนาเดียว โดยทุกบทความตองมีบทคัดยอเปนภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ยกเวนบทวิจารณหนังสือ และมีสวนประกอบดังนี้

บทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทรรศน บทความหนังสือ (Academic Article) (Research Article) (Review Article) (Book Review) 1. บทนํา 1. บทนํา 1. บทนํา บทความที่วิพากษวิจารณ 2. กรอบในการวิเคราะห 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 2. บทสรุป เนื้อหาสาระ คุณคา และ 3. เนื้อหา 3. ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 3. เอกสารอางอิง คุณูปการของหนังสือ 4. สรุป (ถามี) บทความหรือผลงานศิลปะ 5. เอกสารอางอิง 4. ขอบเขตของการวิจัย อาทิ นิทรรศการ ทัศนศิลป 5. สมมติฐาน (ถามี) และการแสดงละครหรือดนตรี 6. กรอบแนวคิดของการวิจัย โดยใชหลักวิชาและดุลยพินิจ 7. ระเบียบวิธีวิจัย อันเหมาะสม 8. สรุปผลการวิจัยและอภิปราย ผลการวิจัย 8.1 สรุปผลการวิจัย 8.2 อภิปรายผลการวิจัย 9. ขอเสนอแนะ 10. เอกสารอางอิง 410 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

กรณีตีพิมพบทความเปนภาษาอังกฤษตองเรียงลําดับหัวขอดังตอไปนี้

Academic Article Research Article Review Article Book Review 1. Introduction 1. Introduction 1. Introduction The critique article should 2. Framework 2. Research Objectives 2. Conclusion critically evaluate the Analysis 3. Research Benefits (If any) 3. References subject, whether a book, 3. Content 4. Research Scope film, work of art, dance, 4. Conclusion 5. Hypothesis (If any) music performance 5. References 6. Conceptual Framework or even another article. 7. Methodology This has to be done 8. Research Results and looking at the content, Discussion the main points, and the 8.1 Research Results benefit proceeding from 8.2 Discussion it and how it expresses its 9. Suggestions and discipline. Recommendations 10. References

ชื่อเรื่อง: ควรกระทัดรัด ไมยาวจนเกินไป ถาบทความเปนภาษาไทย ชื่อเรื่องตองมีทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ชื่อเรื่องภาษาไทย ขนาด 18 ชนิดตัวหนา ตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษ ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ขนาด 18 ชนิดตัวหนา ตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษ ชื่อผูแตง: ชื่อเต็ม-นามสกุลเต็ม ของผูแตงครบทุกคน ทั้งบทความภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ ชื่อผูแตงภาษาไทย ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา กรณีเปนภาษาอังกฤษ ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา ตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษใตชื่อเรื่อง ชื่อผูแตงภาษาอังกฤษ ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา ตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษ ใตชื่อเรื่อง ขอความระวังในการจัดเตรียมบทความ (1) ชื่อผูแตง ไมใสตําแหนงทางวิชาการ ยศ ตําแหนงทหาร สถานภาพทาง การศึกษา หรือคํานําหนาชื่อหรือทายชื่อ เชน นาย, นาง, นางสาว, ผศ.ดร., PhD, ร.ต.ต., พ.ต.ท. (2) ไมควรระบุสถานภาพผูแตง เชน นักศึกษาปริญญาเอก, อาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธ, ผูชวยศาสตราจารย ดร., ผูอํานวยการ..., คณบดีคณะ...., พยาบาลวิชาชีพ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 411 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

หนวยงานที่ทําวิจัย: ผูแตงหลักตองใสที่อยูโดยละเอียด ประกอบดวย หนวยงานระดับตน หนวยงานหลัก จังหวัด ประเทศ และ E-mail Address ที่สามารถติดตอได ใหใสเครื่องหมาย ดอกจัน (*) กําหนดเปนตัวยก กํากับทายนามสกุลของผูแตงหลัก หนวยงาน หรือสังกัดที่ทําวิจัยภาษาไทย ขนาดตัวอักษร 12 ชนิดตัวธรรมดา ตําแหนง กึ่งกลางหนากระดาษใตชื่อผูแตงใหใสตัวเลขยก (1) กํากับทายนามสกุล และ ดานหนาหนวยงานหรือสังกัด ตัวอยางเชน สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย หนวยงานหรือสังกัดที่ทําวิจัยภาษาอังกฤษ ขนาด 12 ชนิดตัวธรรมดา ตําแหนง กึ่งกลางหนากระดาษใตชื่อผูแตง ตัวอยางเชน Communication Arts Progrom, Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand บทคัดยอ: บทคัดยอภาษาไทย และบทคัดยอภาษาอังกฤษ ตองมีความยาวระหวาง 200 ถึง 250 คํา บทคัดยอภาษาไทย หัวขอบทคัดยอขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษดานซายใตที่อยู/ หนวยงาน สังกัดของผูเขียน เนื้อหาบทคัดยอไทย 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพเปน 1 คอลัมน บรรทัดแรก เวน 1 Tab จากขอบกระดาษดานซาย และพิมพใหชิดขอบทั้งสองดาน บทคัดยอภาษาอังกฤษ หัวขอบทคัดยอขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษ ดานซายใตที่อยู/ หนวยงาน สังกัดของผูเขียน เนื้อหาบทคัดยอภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพเปน 1 คอลัมน บรรทัดแรก เวน 1 Tab จากขอบกระดาษดานซาย และพิมพใหชิดขอบทั้งสองดาน *** กรณีที่บทความเปนภาษาอังกฤษไมตองมีบทคัดยอภาษาไทย คําสําคัญ: ตองมีคําสําคัญอยางนอย 3 ถึง 5 คํา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ คําสําคัญภาษาไทย หัวขอคําสําคัญภาษาไทยขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษ ดานซาย ใตบทคัดยอภาษาไทย 412 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เนื้อหาภาษาไทยขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา เวนระหวางคําดวยการเคาะ 1 ครั้ง คําสําคัญภาษาอังกฤษ หัวขอคําสําคัญภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษ ดานซายใต บทคัดยอภาษาอังกฤษ เนื้อหาภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา เวนระหวางคําดวย Comma (,) เนื้อหา: เนื้อหาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพเปน 1 คอลัมน บรรทัดแรกเวน 1 Tab จากขอบกระดาษดานซาย และพิมพใหชิดขอบ ทั้งสองดาน หัวขอเรื่อง ภาษาไทยและอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษ ดานซายหัวขอยอย ภาษาไทยและภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา ระบุ หมายเลข หนาหัวขอยอยโดยเรียงตามลําดับหมายเลขตําแหนง ให Tab 0.75 เซนติเมตรจากอักษร ตัวแรกของหัวขอเรื่อง รูปภาพ: ขึ้นหนาใหม ใหมี 1 รูป ตอ 1 หนา และแยกบันทึกเปนไฟลภาพที่มีนามสกุล TIFFs, หรือ JPEGs ถาเปนภาพถายกรุณาสงภาพตนฉบับ เพื่อคุณภาพ ในการพิมพ หมายเลขรูปภาพ และกราฟ ใหเปนเลขอารบิก คําบรรยายและ รายละเอียดตาง ๆ อยูดานลางของรูปภาพ และกราฟ ตาราง: กรุณาขึ้นหนาใหม ใหมี 1 ตาราง ตอ 1 หนา หมายเลขตารางใหเปนเลขอารบิก คําบรรยายและรายละเอียดตาง ๆ อยูดานบนของตาราง ดังตัวอยางตอไปนี้

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหปจจัยดานแรงจูงใจดานปจจัยแรงดึงดูด

ปจจัยตาง ๆ Factor Commulative Communalities Loading Varience (%) ปจจัยที่ 1 : สถาปตยกรรม และความสําคัญของวัด 25.530 เปนวัดที่มีความสวยงาม 0.830 0.689 มีสถาปตยกรรมเปนเอกลักษณ 0.799 0.642 มีความสําคัญทางประวัติศาสตร 0.675 0.491 มีความโดดเดนแตกตางจากวัดอื่น ๆ 0.451 0.346 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 413 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

รูปแบบการพิมพเอกสารอางอิงในวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร การอางอิงเอกสารใหเขียนตามแบบ APA (American Psychological Association) หากรายการ อางอิงเปนหนังสือหรือบทความภาษาไทยที่มีบทแปลเปนภาษาอังกฤษกํากับอยูกอนแลว ใหใส วงเล็บทายรายการวา (in Thai) สําหรับ รายการอางอิงภาษาไทยที่ไมไดมีบทแปลภาษาอังกฤษไวกอน ใหยึดตามประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง หลักเกณฑการถอดอักษรไทยเปนอักษรโรมันแบบถายเสียง ทั้งนี้ ใหจัดเรียงลําดับตามลําดับตัวอักษรภาษาอังกฤษกอน-หลัง

ยกตัวอยางเชน Liochanmongkhon, N., Saengbunthai, S. & Kengwinit, T. (1994). KhumeuTuekthaeo. Bangkok: Rongphimaksonkanphim. (in Thai)

หลักเกณฑการอางอิงในเนื้อหา กรณีการอางอิงแทรกในเนื้อหา ใหใสชื่อสกุลผูแตงและปที่พิมพไวในวงเล็บ เชน ผูแตงเปนคนไทย: กาญจนา แกวเทพ พิมพเปน กาญจนา แกวเทพ (Kaewthep, 2011) ผูแตงเปนชาวตางประเทศ: Arthur Asa Berger พิมพเปน Berger (2011) หากการอางอิงมิไดกลาวถึงชื่อผูแตงไวกอนใหใสนามสกุลและปที่พิมพไวในวงเล็บ เชน ผูแตงคนไทย การทําวิจัยใหเสร็จ...(Kaewthep, 2011) ผูแตงเปนชาวตางประเทศ Research means … (Berger, 2011) ทั้งนี้ กรณีที่ผูแตงเปนคนไทย ใหใสชื่อสกุลที่ผูแตงใชจริงเปนภาษาอังกฤษ หากไมปรากฏ วาผูแตงคนดังกลาวเคยเขียนชื่อสกุลเปนภาษาอังกฤษมากอน อนุโลมใหใชหลักเกณฑการถอด อักษรไทยเปนอักษรโรมันแบบถายเสียงตามประกาศราชบัณฑิตยสถานได

หลักเกณฑการอางอิงทายบทความ ในการลงรายชื่อผูแตงคํานําหนาชื่อตามปกติใหตัดออก ไดแก นาย นาง นางสาว ตําแหนง ทางวิชาการ บรรดาศักดิ์ยศทางตํารวจ ยศทางทหาร และตําแหนงนักบวช ยกเวนผูแตงที่มีฐานันดรศักดิ์ นําหนาชื่อใหคงไวตามปกติ โดยไมตัดทิ้งหรือยายที่ 414 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ผูแตง 1 คน ใหลงชื่อสกุล และใชเครื่องหมาย Comma (,) คั่นชื่อสกุลตามดวยอักษรยอของชื่อตน โดยตองแปลเปนภาษาอังกฤษดวย กรณีเปนผูแตงคนไทยใหลงทายรายการอางอิงดวยวงเล็บวา (in Thai) เชน กาญจนา แกวเทพ พิมพเปน Kaewthep, K. กรณีเปนผูแตงเปนชาวตางประเทศ: ใหลงชื่อสกุล และใชเครื่องหมาย Comma (,) คั่นชื่อสกุล ตามดวยอักษรยอของชื่อตนและชื่อกลาง และใชเครื่องหมาย Full stop (.) ตามหลังอักษรยอ ทั้ง 2 ตัวเชน Christina F. Kreps ลงวา Kreps, C.F. ผูแตงไมเกิน 6 คน ใหลงชื่อผูแตงทุกคน โดยใชคําวา “&” กอนชื่อผูแตงคนสุดทาย ใหลงชื่อทั้งหมด ระหวาง ชื่อใหคั่นดวย “&” แลว Comma (,) กรณีเปนผ ูแตงคนไทยใหลงทายรายการอางอิงดวยวงเล็บวา (in Thai) เชน Kaewthep, K., Gunpai, K. & Sthapitanonda, P. ผูแตงเปนชาวตางประเทศ ใหลงชื่อผูแตงทุกคน โดยใชคําวา “&” กอนชื่อผูแตงคนสุดทาย ใหลงชื่อทั้งหมด ระหวางชื่อใหคั่นดวย “&” แลว Comma (,) เชน Edson, G. & Dean, D. ผูแตง 6 คนขึ้นไป ใหลงชื่อผูแตงเฉพาะคนแรก และตอดวยคําวา “et al.” กรณีเปนผูแตงคนไทยใหลงทายรายการอางอิงดวยวงเล็บวา (in Thai) เชน ผูแตงเปนคนไทย ใหใชคําวา “และคณะ” เชน ปาริชาต สถาปตานนท และคณะ. กรณีผูแตงเปนคนไทย ใหแปลเปนภาษาอังกฤษดวย เชน Sthapitanonda, P. et al. Bailyn, B. et al. ผูแตงเปนสถาบัน ใหเขียนกลับคํานําหนา เชน มหาดไทย, กระทรวง. กรมการปกครอง. โดยอยางนอยตองอางถึงระดับกรม และอางหนวยงานระดับสูงกอน

1. อางอิงจากหนังสือ รูปแบบ : ผูแตง.//(ป พ.ศ.ที่พิมพ).//ชื่อหนังสือ.//ครั้งที่พิมพ.(ถามี)//เมืองที่พิมพ/: //สํานักพิมพ. ตัวอยาง : Liochanmongkhon, N., Saenbunthai, S. & Kengwinit, T. (2527). Khumue Tuekthaeo. Bangkok: Rongphim Nam-aksonkanphim. (in Thai) Davis, C.V. (1980). Handbook of Applied Hydraulics. 3rd edition. NY: McGraw – Hill. Gunpai, K. (2008). Psychology of communication. Bangkok: Faculty of Communication Arts, ChulalongkornUniveristy. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 415 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2. อางอิงจากวารสาร รูปแบบ : ผูแตง.//(ป พ.ศ.ที่พิมพ).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร.//ปที่(ฉบับที่),//เลขหนา-เลขหนา. ตัวอยาง : Ozaki, M., Adachi, Y., Iwahori, Y. & Ishii, N. (1998). Application of fuzzy theory to writer recognition of Chinese characters. International Journal of Modeling and Simulation. 18(2), 112-116. Korbkeeratipong, K. & Taiphapoon, T. (2016). Branded content marketing communication in reality television program. Phranakhon Rajabhat Research Journal, Humanities and Social Sciences. 11(2), 1-11. (in Thai)

3. อางอิงจากวิทยานิพนธ รูปแบบ : ผูแตง.//(ป พ.ศ.ที่พิมพ).//ชื่อวิทยานิพนธ.//ชื่อปริญญา (เต็ม)//หนวยงาน ตัวอยาง : Roonkaseam, Nitta. (2006). Communication and practices of representation through the museums as texts in Thailand. Ph.D. Program in Communication Arts. Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University. (in Thai)

4. อางอิงจากสื่ออิเล็กทรอนิกสตาง ๆ รูปแบบ : ผูแตง.//(ป พ.ศ.ที่พิมพ).//ชื่อเรื่อง.//สืบคนเมื่อ//,//สืบคนจาก ตัวอยาง : Noam, E.M. (1994). Telecommunication policy issue for the next century. Retrieved June 7, 2006, from gopher://198.80.36...//global/telcom.txt Chuastapanasiri, T. (2009). Advertising literacy. Retrieved March 2, 2012, from http://resource. thaihealth.or.th/system/files/documents/ruuethaathanokhsnaaaefng1.pdf (in Thai)

5. อางอิงจากการสัมภาษณ รูปแบบ : ผูใหสัมภาษณ.//ตําแหนง (ถามี).//สัมภาษณ,//วันที่/เดือน/ป. ตัวอยาง : Sthapitanonda, P. Dean, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University. Interviewed on March 2, 2016. (in Thai) Smith, Mary john. Interview on January 31, 2008. Saengdoungkhae, J. Lecturer, Hatyai University. Interview on August 20, 2010. (in Thai) 416 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การสงบทความเพื่อตีพิมพในวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ผูแตงตองสงบทความผานทางระบบออนไลนเทานั้น โดยการสมัครสมาชิก (Register) วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ในระบบฐานขอมูลวารสาร อิเล็กทรอนิกสกลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/ PNRU_JHSS/user/register) เพื่อขอรับ Username และ Password แลวคลิกที่ปุม Log In เพื่อเขาสูระบบ ในกรณีที่เปนสมาชิกของวารสารแลว กรุณาเขาสูระบบ log in และดําเนินการสงบทความโดยดูตัวอยางการสงบทความไดที่ ขั้นตอนการ SUBMISSION

หมายเหตุ: กองบรรณาธิการฯ ขอสงวนสิทธิ์ ในการแกไขขอความบางสวนโดยไมกระทบตอเนื้อหา หลักของบทความ ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตามรูปแบบการตีพิมพของวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขา มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 417 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตัวอยาง

ชื่อเรื่องภาษาไทย (Cordia New ขนาด 18pt. ตัวหนา) English Title (Cordia New 18pt. bold) กัญณภัทร นิธิศวราภากุล1* นาตยา ปลันธนานนท2 และ นพวรรณ ฉิมลอยลาภ3 (Cordia New ขนาด 14 pt. ตัวธรรมดา) Kannaphat Nithitwaraphakun1*, Nataya Pilanthananond2 and Nopphawan Chimroylarp3 (Cordia New ขนาด 14 pt. ตัวธรรมดา)

หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2, 3 (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา) Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Kasetsart University, Bangkok, Thailand1*, 2, 3 (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา)

[email protected]* (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา)

บทคัดยอ (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหาบทคัดยอภาษาไทย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) คําสําคัญ: คําสําคัญ (1) คําสําคัญ (2) คําสําคัญ (3)

ABSTRACT (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหาบทคัดยอภาษาอังกฤษ (Cordia New 16pt. Normal) Keywords: keyword (1) keyword (2) keyword (3)

บทนํา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

วัตถุประสงคของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) 418 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ขอบเขตของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

กรอบแนวคิดของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ระเบียบวิธีวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) สรุปผลการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) อภิปรายผลการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ขอเสนอแนะ (Cordia New 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

REFERENCES (Cordia New 16 pt. bold) เนื้อหา (Cordia New 16 pt. normal) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 419 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

PHRANAKHON RAJABHAT RESEARCH JOURNAL HUMANITIES AND SOCIAL SCIENCES Vol.13 No.2 July - December 2018 ISSN : 2286-7171

The PNRU Research Journal, Humanities and Social Sciences is the official journal of Phranakhon Rajabhat University published twice yearly, with the first issue covering the months of January to June, and the second July to December. It seeks to publish the research results and academic works in the form of original articles, review articles, and book reviews, in the areas relevant to humanities and social sciences from all the researchers, academics, and interested people.

PUBLISHING’S OBJECTIVES Phranakhon Rajabhat University Research Journal, Humanities and Social Sciences was published semiannually (twice a year); January – June and July – December by the following objectives: 1. To publicize academic paper, research paper, review article and book review in the related fields of Humanities and Social Sciences such as Political Science, Public Administration, Community Development, Urban Administration and Development, Historical, Thai Language, English Language, Classical Dance and Drama, Music, Law, Fine and Applied Arts, Library and Information Science, General Management/Business Computer, Human Resources, Marketing, Tourism and Hotel Management, Communication Arts, 420 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Economics, Accounting, Educational Administration, Early Childhood Education, Curriculum and Instruction, Educational Technology, Educational Psychology and others fields which belong to editorial department consideration. 2. To be a channel to exchange information, important points, experience on research to researcher’s academicians and others who are interested

PUBLISHING’S POLICIES 1. The published article must be academic article, research article, review article or book review which would be either in Thai or English. 2. The published article must be written in the format of Phranakhon Rajabhat University Research Journal, Humanities and Social Sciences. It must be screened by qualified person in related fields. The published article must be an article that has not been published or during the consideration from other journals. 3. Every published article must be approved by at least two expert evaluators (peer reviewed) in relevant filed for an article. The evaluators and the authors must not know each other (Double-blind Peer Review). The published article must be approved from at least two experts or two from three.

SUBMISSION PROCESS 1. The original manuscript is required to submit through Thaijo online at https://www. tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/author 2. Editorial board members are responsible for the initial checks on correctness and quality of original manuscript. 3. At least two potential reviewers with the appropriate expertise are requested to review each original manuscript. To avoid bias, double-blind peer review policy is applied in this journal. the journal requirements, each manuscript is required to pass by unanimous consent of the two reviewers, or, two out of three reviewers. The decisions or comments by reviewers may be as follows: - Accept Submission - Revisions Required - Resubmit for Review Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 421 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

- Resubmit Elsewhere - Decline Submission - See Comments 4. The original manuscript and the evaluation form of the reviewers are collected, before sending back to the author for a revision. After that the author is requested to provide the revised details and revised manuscript for the editorial board. 5. The editorial board checks the revised details and original manuscript. 6. If the manuscript is satisfied and approved, the official letter of acceptance for publication will be provided for the author(s) and announced by the editor through the Thaijo online at https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRUJHSS/. 7. The editorial board collects all the manuscripts, before publishing the journal draft at the publishing house. 8. The journal draft is checked again, before the journal is published and distributed. 9. The PNRU journal Humanities and Social Sciences distributes the online journal through Thaijo online at https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/.

EDITORIAL CRITERIA 1. Manuscripts submitted to PNRU journal Humanities and Social Sciences should neither been published before nor be under consideration for publication in another journal. 2. Plagiarism, data fabrication, and image manipulation are not tolerated. All authors must have approved the submitted manuscript and agree to be accountable for their own contributions or any infringements of copyright appearing in the manuscript. 3. Authors should follow the author guidelines carefully. All manuscripts intended for publication in this journal should strictly be prepared and formatted as per the author guidelines for manuscript submission. 4. Only manuscripts approved by reviewers are published in this journal. 5. If the manuscript is required to revise, the author should resubmit the revised version to the editorial board within a suitable time frame. 6. To write an academic article, the article should consist of the following parts: (1) Introduction (2) Framework 422 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

(3) Analysis (4) Content (5) Conclusion (6) References 7. To write a research article, the article should consist of the following parts: (1) Introduction (2) Research Objectives (3) Research Benefits (If any) (4) Research Scope (5) Hypothesis (If any) (6) Conceptual Framework (7) Methodology (8) Research Results and Discussion 8.1 Research Results 8.2 Discussion (9) Suggestions and Recommendations (10) References 8. To write a review article, the article should consist of the following parts: (1) Introduction (2) Conclusion (3) References 9. To write a book review, the critique article should critically evaluate the subject, whether a book, film, work of art, dance, music performance or even another article. This has to be done looking at the content, the main points, and the benefit proceeding from it and how it expresses its discipline.

MANUSCRIPT PREPARATION GUIDELINES 1. The full article should be submitted in the Word File as an electronic file using Microsoft Office Word via the ThaiJo online: https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/ author 2. The article must be typed in single spacing. It is noted that Cordia New is required. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 423 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

3. Please submit tables as editable text and not as images. Number tables consecutively in accordance with their appearance in the text and place any table notes below the table body. 4. Citations in the text should follow the referencing style used by the American Psychological Association. 5. Please ensure that every reference cited in the text is also present in the reference list. If these references are included in the reference list, their last names should be written first, followed by the year of publication, for example, Roonkaseam (2015) or (Roonkaseam, 2015). For references with three or more authors, use the first author’s name and ‘et al.’ in the text (e.g. Roonkaseam et al., 2015). 6. To meet the standards of the journal, the editorial board has its rights to revise some passages in the manuscript without asking permission from the author. 7. All authors must have approved the submitted manuscript and agree to be accountable for their own contributions appearing in the manuscript. 424 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 403 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ภาคผนวก 404 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ขั้นตอนการดําเนินงานของการจัดทํา วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ผูเขียน (Authors) สงบทความผานระบบออนไลน

แกไข ไมเกิน 7 วัน กองบรรณาธิการ (Editors) พิจารณา ตรวจรูปแบบบทความ ไมผาน ผานระบบออนไลน (ไมเกิน 5 วัน) ปฏิเสธการตีพิมพ

ผูทรงคุณวุฒิ (Reviewers) พิจารณาบทความ ผานระบบออนไลน ไมผาน (ไมเกิน 30 วัน)

รับตีพิมพบทความแบบมีเงื่อนไข (ปรับแกไข)

ผูขียน (Authors) ปรับแกไขบทความ

ผูทรงคุณวุฒิ (Reviewers) พิจารณาบทความ ผานระบบออนไลน

แกไข ไมเกิน 3 วัน กองบรรณาธิการ (Editors) ผูเขียน (Authors) ปรับแกไข ตรวจสอบความถูกตอง

กองบรรณาธิการ (Editors) แจงผลยืนยันรับบทความ เพื่อลงตีพิมพ ตรวจสอบตนฉบับกอนตีพิมพ

พิมพเผยแพร Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 405 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

แบบฟอรมเสนอบทความเพื่อพิจารณานําลงพิมพ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

วันที่...... เดือน...... พ.ศ......

ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว)  บทความวิจัย  นักศึกษาระดับปริญญาโท ......  นักศึกษาระดับปริญญาเอก หลักสูตร...... สาขา...... มหาวิทยาลัย...... ที่อยูที่สามารถติดตอได เลขที่...... หมูที่...... ซอย...... ถนน...... ตําบล/แขวง...... อําเภอ/เขต...... จังหวัด...... รหัสไปรษณีย...... โทรศัพท...... E-mail...... ชื่อเรื่องบทความภาษาไทย ......

ชื่อเรื่องบทความภาษาอังกฤษ (ตัวพิมพใหญ) ......

มีความประสงคขอสง  บทความวิจัย  บทความวิชาการ  บทความปริทรรศน  บทวิจารณหนังสือ

ในการนี้ขาพเจายินดีใหกองบรรณาธิการวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร มีสิทธิ์ในการสรรหา ผูกลั่นกรองโดยอิสระ เพื่อพิจารณาตนฉบับที่ขาพเจา (และผูแตงรวม) สงมา และยินดียอมรับผลการ พิจารณาของผูทรงคุณวุฒิ

ลงชื่อ...... ผูสงบทความวิจัย (...... ) 406 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

* ขาพเจาขอรับรองวาบทความนี้ยังไมเคยลงตีพิมพในวารสารใดมากอน ตลอดจน "ไมอยู ระหวางการพิจารณาของวารสารฉบับอื่น" และจะไมนําสงไปเพื่อพิจารณาลงตีพิมพในวารสารอื่น ภายใน 90 วัน นับจากวันที่ขาพเจาไดสงบทความฉบับนี้ ** ในกรณีที่บทความนั้นมีเนื้อหาที่เกี่ยวของหรือพาดพิงกับหนวยงานหรือองคกรใด ตองไดรับ ความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากองคกรนั้น  ยินยอมรับเงื่อนไข  ไมยินยอมรับเงื่อนไข

ความเห็นของกองบรรณาธิการวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร  ถูกตองตามรูปแบบของบทความ  ไมถูกตองตามรูปแบบของบทความ

...... (...... ) กองบรรณาธิการวารสารวิจัยฯ วันที่...... เดือน...... พ.ศ...... Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 407 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

รายละเอียดการเตรียมบทความเสนอการตีพิมพ วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรเปนวารสารราย 6 เดือน เผยแพร ปละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน และฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม จัดพิมพขึ้นเพื่อ เผยแพรผลงานวิจัยและผลงานวิชาการในลักษณะนิพนธตนฉบับ (Original Article) นิพนธปริทัศน (Review Article) และ บทวิจารณหนังสือ (Book Review) ในสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร แกนักวิจัย นักวิชาการ และบุคคลทั่วไปที่สนใจ

ขั้นตอนการดําเนินงานจัดทําวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1. รับตนฉบับจากผ ูสนใจตีพิมพบทความผานระบบ ThaiJo (https://www.tci-thaijo.org/index. php/PNRU_JHSS/author) 2. กองบรรณาธิการตรวจสอบความสมบูรณความถูกตองและคุณภาพของบทความตนฉบับ 3. กองบรรณาธิการเตรียมตนฉบับจัดสงใหผูทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ที่มีความเชี่ยวชาญ ในสาขาที่เกี่ยวของ ไมนอยกวาสองทานตอหนึ่งบทความ ทั้งนี้ ผูประเมินบทความ (Peer Review) และผูแตง (Author) จะไมทราบชื่อซึ่งกันและกัน (Double-blind Peer Review) โดยบทความที่ ลงตีพิมพไดนั้น จะตองผานความเห็นชอบจากผูประเมินบทความทั้งสองทาน หรือสองในสามทาน ทั้งนี้ ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความมีดังนี้ - Accept Submission = รับตีพิมพบทความโดยไมตองแกไข - Revisions Required = แกไขบทความโดยใหบรรณาธิการพิจารณาอีกครั้ง - Resubmit for Review = ผูแตงตองแกไขบทความสงกลับมาใหผูประเมินบทความ ตรวจสอบอีกครั้ง - Resubmit Elsewhere = ปฏิเสธรับตีพิมพบทความ กรณีที่ไมสอดคลองกับวัตถุประสงค ขอบเขตของวารสาร และการเตรียมบทความ ทั้งนี้ ใหผูแตงสงบทความตีพิมพในวารสารอื่น - Decline Submission = ปฏิเสธการตีพิมพบทความ - See Comments = พิจารณาขอเสนอแนะของผูประเมินบทความ 4. กองบรรณาธิการสงตนฉบับที่ปรับแกไขแลวพรอมสรุปผลการประเมินคุณภาพตนฉบับ และจัดสงผูแตงเพื่อปรับแกไข พรอมใหชี้แจงการปรับแกไขกลับมายังกองบรรณาธิการ 408 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

5. กองบรรณาธิการตรวจสอบการปรับแกไขความถูกตอง และรูปแบบการเขียนตนฉบับ 6. บรรณาธิการตอบรับการตีพิมพและเผยแพรตนฉบับดังกลาวผานระบบฐานขอมูลวารสาร อิเล็กทรอนิกสกลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/) จากนั้น จะออกหนังสือ ตอบรับการตีพิมพบทความอยางเปนทางการจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อีกครั้ง 7. กองบรรณาธิการรวบรวมตนฉบับและตรวจสอบความถูกตอง กอนจัดสงโรงพิมพเพื่อจัดทํา วารสารฉบับราง 8. กองบรรณาธิการตรวจสอบความถูกตองของวารสารฉบับรางจากโรงพิมพอีกครั้ง จากนั้น จึงสงตีพิมพและเผยแพร 9. กองบรรณาธิการเผยแพรวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ผานระบบฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกสกลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/)

หลักเกณฑในการสงบทความของวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร 1. บทความที่ผูแตงสงมาเพื่อตีพิมพจะตองเปนบทความที่ยังไมเคยตีพิมพเผยแพร หรือ อยูระหวางการเสนอขอตีพิมพจากวารสารอื่น ๆ 2. เนื้อหาและรูปภาพในบทความตองไมคัดลอก ลอกเลียน หรือไมตัดทอนจากบทความอื่น โดยเด็ดขาด (การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเปนความรับผิดชอบของผูแตงเทานั้น) 3. ผูแตงตองเขียนบทความตามรูปแบบที่กําหนดไวในระเบียบการสงบทความ วารสารวิจัย ราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 4. การพิจารณาบทความเพื่อตีพิมพในวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร จะพิจารณาเฉพาะบทความที่ไดรับการประเมินใหตีพิมพเผยแพรจากผูประเมินบทความ เทานั้น 5. กรณีมีขอเสนอแนะจากผูประเมินบทความ ผูแตงตองปรับแกไขตามขอเสนอแนะของ ผูประเมินบทความ และชี้แจงการแกไขตนฉบับดังกลาวมายังกองบรรณาธิการ ภายในเวลาที่กําหนด

คําแนะนําการเตรียมบทความเพื่อตีพิมพในวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร กองบรรณาธิการไดกําหนดรูปแบบการเตรียมบทความเพื่อตีพิมพในวารสารวิจัยราชภัฏ พระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ดังนี้ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 409 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

บทความตองพิมพในกระดาษขนาด A4 โดยตั้งคาหนากระดาษ ซาย 1 นิ้ว ขวา 1 นิ้ว บน 1 นิ้ว ลาง 1 นิ้ว (1 นิ้ว = 2.5 ซม.) บทความภาษาไทยและบทความภาษาอังกฤษตองพิมพดวยรูปแบบอักษร Cordia New บทความภาษาไทยที่มีศัพทเทคนิคหรือศัพทเฉพาะ ใหใชคําทับศัพท และ/หรือ ศัพทบัญญัติ พรอมวงเล็บคําศัพทภาษาอังกฤษนั้น เอกสารตองมีรูปแบบเดียวกันทั้งบทความ ทั้งนี้ บทความประเภทตาง ๆ ในวารสารเลมนี้ มีจํานวนหนาตอหนึ่งบทความแตกตางกันโดยประมาณ ดังนี้ 1. บทความทางวิชาการ (Academic article) ประมาณ 15 หนา ตอบทความ 2. บทความวิจัย (Research article) ประมาณ 15 หนา ตอ 1 บทความ 3. บทความปริทรรศน (Review article) ประมาณ 8 หนา ตอ 1 บทความ 4. บทวิจารณหนังสือ (Book review) ประมาณ 5 หนา ตอ 1 บทความ ใหพิมพผลงานดวยกระดาษ A4 พิมพหนาเดียว โดยทุกบทความตองมีบทคัดยอเปนภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ยกเวนบทวิจารณหนังสือ และมีสวนประกอบดังนี้

บทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทรรศน บทความหนังสือ (Academic Article) (Research Article) (Review Article) (Book Review) 1. บทนํา 1. บทนํา 1. บทนํา บทความที่วิพากษวิจารณ 2. กรอบในการวิเคราะห 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 2. บทสรุป เนื้อหาสาระ คุณคา และ 3. เนื้อหา 3. ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 3. เอกสารอางอิง คุณูปการของหนังสือ 4. สรุป (ถามี) บทความหรือผลงานศิลปะ 5. เอกสารอางอิง 4. ขอบเขตของการวิจัย อาทิ นิทรรศการ ทัศนศิลป 5. สมมติฐาน (ถามี) และการแสดงละครหรือดนตรี 6. กรอบแนวคิดของการวิจัย โดยใชหลักวิชาและดุลยพินิจ 7. ระเบียบวิธีวิจัย อันเหมาะสม 8. สรุปผลการวิจัยและอภิปราย ผลการวิจัย 8.1 สรุปผลการวิจัย 8.2 อภิปรายผลการวิจัย 9. ขอเสนอแนะ 10. เอกสารอางอิง 410 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

กรณีตีพิมพบทความเปนภาษาอังกฤษตองเรียงลําดับหัวขอดังตอไปนี้

Academic Article Research Article Review Article Book Review 1. Introduction 1. Introduction 1. Introduction The critique article should 2. Framework 2. Research Objectives 2. Conclusion critically evaluate the Analysis 3. Research Benefits (If any) 3. References subject, whether a book, 3. Content 4. Research Scope film, work of art, dance, 4. Conclusion 5. Hypothesis (If any) music performance 5. References 6. Conceptual Framework or even another article. 7. Methodology This has to be done 8. Research Results and looking at the content, Discussion the main points, and the 8.1 Research Results benefit proceeding from 8.2 Discussion it and how it expresses its 9. Suggestions and discipline. Recommendations 10. References

ชื่อเรื่อง: ควรกระทัดรัด ไมยาวจนเกินไป ถาบทความเปนภาษาไทย ชื่อเรื่องตองมีทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ชื่อเรื่องภาษาไทย ขนาด 18 ชนิดตัวหนา ตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษ ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ขนาด 18 ชนิดตัวหนา ตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษ ชื่อผูแตง: ชื่อเต็ม-นามสกุลเต็ม ของผูแตงครบทุกคน ทั้งบทความภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ ชื่อผูแตงภาษาไทย ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา กรณีเปนภาษาอังกฤษ ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา ตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษใตชื่อเรื่อง ชื่อผูแตงภาษาอังกฤษ ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา ตําแหนงกึ่งกลางหนากระดาษ ใตชื่อเรื่อง ขอความระวังในการจัดเตรียมบทความ (1) ชื่อผูแตง ไมใสตําแหนงทางวิชาการ ยศ ตําแหนงทหาร สถานภาพทาง การศึกษา หรือคํานําหนาชื่อหรือทายชื่อ เชน นาย, นาง, นางสาว, ผศ.ดร., PhD, ร.ต.ต., พ.ต.ท. (2) ไมควรระบุสถานภาพผูแตง เชน นักศึกษาปริญญาเอก, อาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธ, ผูชวยศาสตราจารย ดร., ผูอํานวยการ..., คณบดีคณะ...., พยาบาลวิชาชีพ Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 411 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

หนวยงานที่ทําวิจัย: ผูแตงหลักตองใสที่อยูโดยละเอียด ประกอบดวย หนวยงานระดับตน หนวยงานหลัก จังหวัด ประเทศ และ E-mail Address ที่สามารถติดตอได ใหใสเครื่องหมาย ดอกจัน (*) กําหนดเปนตัวยก กํากับทายนามสกุลของผูแตงหลัก หนวยงาน หรือสังกัดที่ทําวิจัยภาษาไทย ขนาดตัวอักษร 12 ชนิดตัวธรรมดา ตําแหนง กึ่งกลางหนากระดาษใตชื่อผูแตงใหใสตัวเลขยก (1) กํากับทายนามสกุล และ ดานหนาหนวยงานหรือสังกัด ตัวอยางเชน สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย หนวยงานหรือสังกัดที่ทําวิจัยภาษาอังกฤษ ขนาด 12 ชนิดตัวธรรมดา ตําแหนง กึ่งกลางหนากระดาษใตชื่อผูแตง ตัวอยางเชน Communication Arts Progrom, Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand บทคัดยอ: บทคัดยอภาษาไทย และบทคัดยอภาษาอังกฤษ ตองมีความยาวระหวาง 200 ถึง 250 คํา บทคัดยอภาษาไทย หัวขอบทคัดยอขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษดานซายใตที่อยู/ หนวยงาน สังกัดของผูเขียน เนื้อหาบทคัดยอไทย 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพเปน 1 คอลัมน บรรทัดแรก เวน 1 Tab จากขอบกระดาษดานซาย และพิมพใหชิดขอบทั้งสองดาน บทคัดยอภาษาอังกฤษ หัวขอบทคัดยอขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษ ดานซายใตที่อยู/ หนวยงาน สังกัดของผูเขียน เนื้อหาบทคัดยอภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพเปน 1 คอลัมน บรรทัดแรก เวน 1 Tab จากขอบกระดาษดานซาย และพิมพใหชิดขอบทั้งสองดาน *** กรณีที่บทความเปนภาษาอังกฤษไมตองมีบทคัดยอภาษาไทย คําสําคัญ: ตองมีคําสําคัญอยางนอย 3 ถึง 5 คํา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ คําสําคัญภาษาไทย หัวขอคําสําคัญภาษาไทยขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษ ดานซาย ใตบทคัดยอภาษาไทย 412 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

เนื้อหาภาษาไทยขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา เวนระหวางคําดวยการเคาะ 1 ครั้ง คําสําคัญภาษาอังกฤษ หัวขอคําสําคัญภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษ ดานซายใต บทคัดยอภาษาอังกฤษ เนื้อหาภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา เวนระหวางคําดวย Comma (,) เนื้อหา: เนื้อหาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพเปน 1 คอลัมน บรรทัดแรกเวน 1 Tab จากขอบกระดาษดานซาย และพิมพใหชิดขอบ ทั้งสองดาน หัวขอเรื่อง ภาษาไทยและอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวหนา ตําแหนงชิดขอบกระดาษ ดานซายหัวขอยอย ภาษาไทยและภาษาอังกฤษขนาด 16 ชนิดตัวธรรมดา ระบุ หมายเลข หนาหัวขอยอยโดยเรียงตามลําดับหมายเลขตําแหนง ให Tab 0.75 เซนติเมตรจากอักษร ตัวแรกของหัวขอเรื่อง รูปภาพ: ขึ้นหนาใหม ใหมี 1 รูป ตอ 1 หนา และแยกบันทึกเปนไฟลภาพที่มีนามสกุล TIFFs, หรือ JPEGs ถาเปนภาพถายกรุณาสงภาพตนฉบับ เพื่อคุณภาพ ในการพิมพ หมายเลขรูปภาพ และกราฟ ใหเปนเลขอารบิก คําบรรยายและ รายละเอียดตาง ๆ อยูดานลางของรูปภาพ และกราฟ ตาราง: กรุณาขึ้นหนาใหม ใหมี 1 ตาราง ตอ 1 หนา หมายเลขตารางใหเปนเลขอารบิก คําบรรยายและรายละเอียดตาง ๆ อยูดานบนของตาราง ดังตัวอยางตอไปนี้

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหปจจัยดานแรงจูงใจดานปจจัยแรงดึงดูด

ปจจัยตาง ๆ Factor Commulative Communalities Loading Varience (%) ปจจัยที่ 1 : สถาปตยกรรม และความสําคัญของวัด 25.530 เปนวัดที่มีความสวยงาม 0.830 0.689 มีสถาปตยกรรมเปนเอกลักษณ 0.799 0.642 มีความสําคัญทางประวัติศาสตร 0.675 0.491 มีความโดดเดนแตกตางจากวัดอื่น ๆ 0.451 0.346 Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 413 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

รูปแบบการพิมพเอกสารอางอิงในวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร การอางอิงเอกสารใหเขียนตามแบบ APA (American Psychological Association) หากรายการ อางอิงเปนหนังสือหรือบทความภาษาไทยที่มีบทแปลเปนภาษาอังกฤษกํากับอยูกอนแลว ใหใส วงเล็บทายรายการวา (in Thai) สําหรับ รายการอางอิงภาษาไทยที่ไมไดมีบทแปลภาษาอังกฤษไวกอน ใหยึดตามประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง หลักเกณฑการถอดอักษรไทยเปนอักษรโรมันแบบถายเสียง ทั้งนี้ ใหจัดเรียงลําดับตามลําดับตัวอักษรภาษาอังกฤษกอน-หลัง

ยกตัวอยางเชน Liochanmongkhon, N., Saengbunthai, S. & Kengwinit, T. (1994). KhumeuTuekthaeo. Bangkok: Rongphimaksonkanphim. (in Thai)

หลักเกณฑการอางอิงในเนื้อหา กรณีการอางอิงแทรกในเนื้อหา ใหใสชื่อสกุลผูแตงและปที่พิมพไวในวงเล็บ เชน ผูแตงเปนคนไทย: กาญจนา แกวเทพ พิมพเปน กาญจนา แกวเทพ (Kaewthep, 2011) ผูแตงเปนชาวตางประเทศ: Arthur Asa Berger พิมพเปน Berger (2011) หากการอางอิงมิไดกลาวถึงชื่อผูแตงไวกอนใหใสนามสกุลและปที่พิมพไวในวงเล็บ เชน ผูแตงคนไทย การทําวิจัยใหเสร็จ...(Kaewthep, 2011) ผูแตงเปนชาวตางประเทศ Research means … (Berger, 2011) ทั้งนี้ กรณีที่ผูแตงเปนคนไทย ใหใสชื่อสกุลที่ผูแตงใชจริงเปนภาษาอังกฤษ หากไมปรากฏ วาผูแตงคนดังกลาวเคยเขียนชื่อสกุลเปนภาษาอังกฤษมากอน อนุโลมใหใชหลักเกณฑการถอด อักษรไทยเปนอักษรโรมันแบบถายเสียงตามประกาศราชบัณฑิตยสถานได

หลักเกณฑการอางอิงทายบทความ ในการลงรายชื่อผูแตงคํานําหนาชื่อตามปกติใหตัดออก ไดแก นาย นาง นางสาว ตําแหนง ทางวิชาการ บรรดาศักดิ์ยศทางตํารวจ ยศทางทหาร และตําแหนงนักบวช ยกเวนผูแตงที่มีฐานันดรศักดิ์ นําหนาชื่อใหคงไวตามปกติ โดยไมตัดทิ้งหรือยายที่ 414 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ผูแตง 1 คน ใหลงชื่อสกุล และใชเครื่องหมาย Comma (,) คั่นชื่อสกุลตามดวยอักษรยอของชื่อตน โดยตองแปลเปนภาษาอังกฤษดวย กรณีเปนผูแตงคนไทยใหลงทายรายการอางอิงดวยวงเล็บวา (in Thai) เชน กาญจนา แกวเทพ พิมพเปน Kaewthep, K. กรณีเปนผูแตงเปนชาวตางประเทศ: ใหลงชื่อสกุล และใชเครื่องหมาย Comma (,) คั่นชื่อสกุล ตามดวยอักษรยอของชื่อตนและชื่อกลาง และใชเครื่องหมาย Full stop (.) ตามหลังอักษรยอ ทั้ง 2 ตัวเชน Christina F. Kreps ลงวา Kreps, C.F. ผูแตงไมเกิน 6 คน ใหลงชื่อผูแตงทุกคน โดยใชคําวา “&” กอนชื่อผูแตงคนสุดทาย ใหลงชื่อทั้งหมด ระหวาง ชื่อใหคั่นดวย “&” แลว Comma (,) กรณีเปนผ ูแตงคนไทยใหลงทายรายการอางอิงดวยวงเล็บวา (in Thai) เชน Kaewthep, K., Gunpai, K. & Sthapitanonda, P. ผูแตงเปนชาวตางประเทศ ใหลงชื่อผูแตงทุกคน โดยใชคําวา “&” กอนชื่อผูแตงคนสุดทาย ใหลงชื่อทั้งหมด ระหวางชื่อใหคั่นดวย “&” แลว Comma (,) เชน Edson, G. & Dean, D. ผูแตง 6 คนขึ้นไป ใหลงชื่อผูแตงเฉพาะคนแรก และตอดวยคําวา “et al.” กรณีเปนผูแตงคนไทยใหลงทายรายการอางอิงดวยวงเล็บวา (in Thai) เชน ผูแตงเปนคนไทย ใหใชคําวา “และคณะ” เชน ปาริชาต สถาปตานนท และคณะ. กรณีผูแตงเปนคนไทย ใหแปลเปนภาษาอังกฤษดวย เชน Sthapitanonda, P. et al. Bailyn, B. et al. ผูแตงเปนสถาบัน ใหเขียนกลับคํานําหนา เชน มหาดไทย, กระทรวง. กรมการปกครอง. โดยอยางนอยตองอางถึงระดับกรม และอางหนวยงานระดับสูงกอน

1. อางอิงจากหนังสือ รูปแบบ : ผูแตง.//(ป พ.ศ.ที่พิมพ).//ชื่อหนังสือ.//ครั้งที่พิมพ.(ถามี)//เมืองที่พิมพ/: //สํานักพิมพ. ตัวอยาง : Liochanmongkhon, N., Saenbunthai, S. & Kengwinit, T. (2527). Khumue Tuekthaeo. Bangkok: Rongphim Nam-aksonkanphim. (in Thai) Davis, C.V. (1980). Handbook of Applied Hydraulics. 3rd edition. NY: McGraw – Hill. Gunpai, K. (2008). Psychology of communication. Bangkok: Faculty of Communication Arts, ChulalongkornUniveristy. (in Thai) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 415 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

2. อางอิงจากวารสาร รูปแบบ : ผูแตง.//(ป พ.ศ.ที่พิมพ).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร.//ปที่(ฉบับที่),//เลขหนา-เลขหนา. ตัวอยาง : Ozaki, M., Adachi, Y., Iwahori, Y. & Ishii, N. (1998). Application of fuzzy theory to writer recognition of Chinese characters. International Journal of Modeling and Simulation. 18(2), 112-116. Korbkeeratipong, K. & Taiphapoon, T. (2016). Branded content marketing communication in reality television program. Phranakhon Rajabhat Research Journal, Humanities and Social Sciences. 11(2), 1-11. (in Thai)

3. อางอิงจากวิทยานิพนธ รูปแบบ : ผูแตง.//(ป พ.ศ.ที่พิมพ).//ชื่อวิทยานิพนธ.//ชื่อปริญญา (เต็ม)//หนวยงาน ตัวอยาง : Roonkaseam, Nitta. (2006). Communication and practices of representation through the museums as texts in Thailand. Ph.D. Program in Communication Arts. Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University. (in Thai)

4. อางอิงจากสื่ออิเล็กทรอนิกสตาง ๆ รูปแบบ : ผูแตง.//(ป พ.ศ.ที่พิมพ).//ชื่อเรื่อง.//สืบคนเมื่อ//,//สืบคนจาก ตัวอยาง : Noam, E.M. (1994). Telecommunication policy issue for the next century. Retrieved June 7, 2006, from gopher://198.80.36...//global/telcom.txt Chuastapanasiri, T. (2009). Advertising literacy. Retrieved March 2, 2012, from http://resource. thaihealth.or.th/system/files/documents/ruuethaathanokhsnaaaefng1.pdf (in Thai)

5. อางอิงจากการสัมภาษณ รูปแบบ : ผูใหสัมภาษณ.//ตําแหนง (ถามี).//สัมภาษณ,//วันที่/เดือน/ป. ตัวอยาง : Sthapitanonda, P. Dean, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University. Interviewed on March 2, 2016. (in Thai) Smith, Mary john. Interview on January 31, 2008. Saengdoungkhae, J. Lecturer, Hatyai University. Interview on August 20, 2010. (in Thai) 416 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

การสงบทความเพื่อตีพิมพในวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ผูแตงตองสงบทความผานทางระบบออนไลนเทานั้น โดยการสมัครสมาชิก (Register) วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ในระบบฐานขอมูลวารสาร อิเล็กทรอนิกสกลาง (https://www.tci-thaijo.org/index.php/ PNRU_JHSS/user/register) เพื่อขอรับ Username และ Password แลวคลิกที่ปุม Log In เพื่อเขาสูระบบ ในกรณีที่เปนสมาชิกของวารสารแลว กรุณาเขาสูระบบ log in และดําเนินการสงบทความโดยดูตัวอยางการสงบทความไดที่ ขั้นตอนการ SUBMISSION

หมายเหตุ: กองบรรณาธิการฯ ขอสงวนสิทธิ์ ในการแกไขขอความบางสวนโดยไมกระทบตอเนื้อหา หลักของบทความ ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตามรูปแบบการตีพิมพของวารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขา มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 417 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

ตัวอยาง

ชื่อเรื่องภาษาไทย (Cordia New ขนาด 18pt. ตัวหนา) English Title (Cordia New 18pt. bold) กัญณภัทร นิธิศวราภากุล1* นาตยา ปลันธนานนท2 และ นพวรรณ ฉิมลอยลาภ3 (Cordia New ขนาด 14 pt. ตัวธรรมดา) Kannaphat Nithitwaraphakun1*, Nataya Pilanthananond2 and Nopphawan Chimroylarp3 (Cordia New ขนาด 14 pt. ตัวธรรมดา)

หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย1*, 2, 3 (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา) Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Kasetsart University, Bangkok, Thailand1*, 2, 3 (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา)

[email protected]* (Cordia New ขนาด 12 pt. ตัวธรรมดา)

บทคัดยอ (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหาบทคัดยอภาษาไทย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) คําสําคัญ: คําสําคัญ (1) คําสําคัญ (2) คําสําคัญ (3)

ABSTRACT (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหาบทคัดยอภาษาอังกฤษ (Cordia New 16pt. Normal) Keywords: keyword (1) keyword (2) keyword (3)

บทนํา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

วัตถุประสงคของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) 418 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ขอบเขตของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

กรอบแนวคิดของการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ระเบียบวิธีวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) สรุปผลการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) อภิปรายผลการวิจัย (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

ขอเสนอแนะ (Cordia New 16 pt. ตัวหนา) เนื้อหา (Cordia New ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา)

REFERENCES (Cordia New 16 pt. bold) เนื้อหา (Cordia New 16 pt. normal) Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 419 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

PHRANAKHON RAJABHAT RESEARCH JOURNAL HUMANITIES AND SOCIAL SCIENCES Vol.13 No.2 July - December 2018 ISSN : 2286-7171

The PNRU Research Journal, Humanities and Social Sciences is the official journal of Phranakhon Rajabhat University published twice yearly, with the first issue covering the months of January to June, and the second July to December. It seeks to publish the research results and academic works in the form of original articles, review articles, and book reviews, in the areas relevant to humanities and social sciences from all the researchers, academics, and interested people.

PUBLISHING’S OBJECTIVES Phranakhon Rajabhat University Research Journal, Humanities and Social Sciences was published semiannually (twice a year); January – June and July – December by the following objectives: 1. To publicize academic paper, research paper, review article and book review in the related fields of Humanities and Social Sciences such as Political Science, Public Administration, Community Development, Urban Administration and Development, Historical, Thai Language, English Language, Classical Dance and Drama, Music, Law, Fine and Applied Arts, Library and Information Science, General Management/Business Computer, Human Resources, Marketing, Tourism and Hotel Management, Communication Arts, 420 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

Economics, Accounting, Educational Administration, Early Childhood Education, Curriculum and Instruction, Educational Technology, Educational Psychology and others fields which belong to editorial department consideration. 2. To be a channel to exchange information, important points, experience on research to researcher’s academicians and others who are interested

PUBLISHING’S POLICIES 1. The published article must be academic article, research article, review article or book review which would be either in Thai or English. 2. The published article must be written in the format of Phranakhon Rajabhat University Research Journal, Humanities and Social Sciences. It must be screened by qualified person in related fields. The published article must be an article that has not been published or during the consideration from other journals. 3. Every published article must be approved by at least two expert evaluators (peer reviewed) in relevant filed for an article. The evaluators and the authors must not know each other (Double-blind Peer Review). The published article must be approved from at least two experts or two from three.

SUBMISSION PROCESS 1. The original manuscript is required to submit through Thaijo online at https://www. tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/author 2. Editorial board members are responsible for the initial checks on correctness and quality of original manuscript. 3. At least two potential reviewers with the appropriate expertise are requested to review each original manuscript. To avoid bias, double-blind peer review policy is applied in this journal. the journal requirements, each manuscript is required to pass by unanimous consent of the two reviewers, or, two out of three reviewers. The decisions or comments by reviewers may be as follows: - Accept Submission - Revisions Required - Resubmit for Review Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 421 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

- Resubmit Elsewhere - Decline Submission - See Comments 4. The original manuscript and the evaluation form of the reviewers are collected, before sending back to the author for a revision. After that the author is requested to provide the revised details and revised manuscript for the editorial board. 5. The editorial board checks the revised details and original manuscript. 6. If the manuscript is satisfied and approved, the official letter of acceptance for publication will be provided for the author(s) and announced by the editor through the Thaijo online at https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRUJHSS/. 7. The editorial board collects all the manuscripts, before publishing the journal draft at the publishing house. 8. The journal draft is checked again, before the journal is published and distributed. 9. The PNRU journal Humanities and Social Sciences distributes the online journal through Thaijo online at https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/.

EDITORIAL CRITERIA 1. Manuscripts submitted to PNRU journal Humanities and Social Sciences should neither been published before nor be under consideration for publication in another journal. 2. Plagiarism, data fabrication, and image manipulation are not tolerated. All authors must have approved the submitted manuscript and agree to be accountable for their own contributions or any infringements of copyright appearing in the manuscript. 3. Authors should follow the author guidelines carefully. All manuscripts intended for publication in this journal should strictly be prepared and formatted as per the author guidelines for manuscript submission. 4. Only manuscripts approved by reviewers are published in this journal. 5. If the manuscript is required to revise, the author should resubmit the revised version to the editorial board within a suitable time frame. 6. To write an academic article, the article should consist of the following parts: (1) Introduction (2) Framework 422 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)

(3) Analysis (4) Content (5) Conclusion (6) References 7. To write a research article, the article should consist of the following parts: (1) Introduction (2) Research Objectives (3) Research Benefits (If any) (4) Research Scope (5) Hypothesis (If any) (6) Conceptual Framework (7) Methodology (8) Research Results and Discussion 8.1 Research Results 8.2 Discussion (9) Suggestions and Recommendations (10) References 8. To write a review article, the article should consist of the following parts: (1) Introduction (2) Conclusion (3) References 9. To write a book review, the critique article should critically evaluate the subject, whether a book, film, work of art, dance, music performance or even another article. This has to be done looking at the content, the main points, and the benefit proceeding from it and how it expresses its discipline.

MANUSCRIPT PREPARATION GUIDELINES 1. The full article should be submitted in the Word File as an electronic file using Microsoft Office Word via the ThaiJo online: https://www.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/ author 2. The article must be typed in single spacing. It is noted that Cordia New is required. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences) 423 Vol.13 No.2 (July - December 2018)

3. Please submit tables as editable text and not as images. Number tables consecutively in accordance with their appearance in the text and place any table notes below the table body. 4. Citations in the text should follow the referencing style used by the American Psychological Association. 5. Please ensure that every reference cited in the text is also present in the reference list. If these references are included in the reference list, their last names should be written first, followed by the year of publication, for example, Roonkaseam (2015) or (Roonkaseam, 2015). For references with three or more authors, use the first author’s name and ‘et al.’ in the text (e.g. Roonkaseam et al., 2015). 6. To meet the standards of the journal, the editorial board has its rights to revise some passages in the manuscript without asking permission from the author. 7. All authors must have approved the submitted manuscript and agree to be accountable for their own contributions appearing in the manuscript. 424 วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)