<<

1

สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา Democratic Socialist Republic of

พฤษภาคม 2557

2

1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง ศรีลังกาตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรอินเดีย ไม่มีพรมแดนทางบกติดกับประเทศเพื่อน บ้าน พรมแดนทางน้้าทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับประเทศอินเดีย โดยห่างจากอินเดีย ประมาณ 80 กิโลเมตร มีอ่าวแมนนาร์ (Gulf of Mannar) และช่องแคบพาร์ค (Palk Strait) ขั้นพรมแดนระหว่างทั้งสองประเทศ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้มีพรมแดนทางน้้า ติดกับประเทศมัลดีฟส์ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับอ่าวเบงกอล (Bay of Bengal)

พื้นที่ มีพื้นที่ 65,610 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 1 ใน 8 ของพื้นที่ประเทศไทย เป็นพื้นดิน 64,630 ตารางกิโลเมตร และพื้นน้้า 980 ตารางกิโลเมตร

แผนที่

ลักษณะภูมิประเทศ ศรีลังกามีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นเกาะ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ สลับภูเขา และมีที่ราบชายฝั่ง โดยมีทะเลล้อมรอบทุกทิศทาง ทางตอนกลางเต็มไปด้วย ภูเขาและป่าไม้ ทางตอนใต้มีลักษณะเป็นเนินเขาและภูเขา ซึ่งมีแม่น้าสายส้าคัญที่หล่อ เลี้ยงประเทศศรีลังกา คือ แม่น้้ามหาเวลิ-คงคา (Mahaveli Ganga) ความยาวประมาณ 250 กิโลเมตร ส่วนทางตอนใต้มีแม่น้้าสายส้าคัญหล่อเลี้ยงประเทศ ได้แก่ แม่น้้าเกลานิคง คา (Kelani Ganga) และแม่น้้ากาลุคงคา (Kalu Ganga) จึงเหมาะแก่การเกษตรกรรมของ ประชากรภายในประเทศ

3

ลักษณะภูมิอากาศ ศรีลังกามีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน ในช่วงมรสุมจะมีฝนตกชุก โดยสามารถแบ่งช่วงมรสุมออกเป็น 2 ช่วง ประกอบด้วย

1. ตุลาคม – มกราคม มีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ฝนตกในภาคตะวันตก ภาคใต้ และภาคกลางของประเทศ

2. พฤษภาคม - สิงหาคม มีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฝนตกในภาคเหนือและ ตะวันออกของประเทศ

ทรัพยากรธรรมชาติ ศรีลังกามีทรัพยากรธรรมชาติจ้าพวกเหมืองแร่ พลังงาน และป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ โดยทรัพยากรธรรมชาติจ้าพวกสินแร่ประกอบด้วย หินปูน แร่กราไฟท์ ทราย แร่

อัญมณี และฟอสเฟต นอกจากนั้น ในปี พ.ศ. 2555 ยังมีการค้นพบแหล่งพลังงานส้ารอง ภายในประเทศแถบช่องแคบปาร์คในอ่าวแมนนาร์ โดยคาดการณ์ว่าจะมีน้้ามันดิบ ส้ารองประมาณ 1 พันล้านบาร์เรล อย่างไรก็ตาม ทรัพยากรธรรมชาติประเภทป่า ไม้มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยลดลงจากในปี พ.ศ. 2548 ที่มีพื้นที่ป่าประมาณ 19,330 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 30.8 ของพื้นที่ประเทศ ซึ่งในปี พ.ศ. 2554 มีพื้นที่ป่า 18,454 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 29.4 ของพื้นที่ประเทศ โดยปริมาณพื้นที่ป่าที่ลดลงประกอบกับการปล่อยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น มีแนวโน้มท้าให้ศรีลังกาเป็นอีกหนึ่งประเทศที่ต้องเผชิญกับความเสื่อมโทรมของ

ทรัพยากรธรรมชาติ อันมีส่วนท้าให้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในช่วงกลางปี พ.ศ.2555

เมืองหลวง กรุงโคลัมโบ () เมืองส าคัญ - เมืองแฮมแบนโทตา (Hambontota) เป็นเมืองท่าส้าคัญทางเศรษฐกิจและ ยุทธศาสตร์

- เมืองแคนดี้ (Kandy) ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่า และมีความส้าคัญทางพระพุทธศาสนา โดยมีพระบรมสารีริกธาตุ (พระเขี้ยวแก้ว) และต้นพระศรีมหาโพธิ์ - เมืองรัตนปุระ (Ratanapura) เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงด้านการเป็นแหล่งอัญมณี และเครื่องประดับของศรีลังกา

สถานที่ท่องเที่ยว ศรีลังกามีความพร้อมทางด้านการท่องเที่ยวทั้งการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์วิทยา การท่องเที่ยวในเชิงพุทธศาสนา ซึ่งเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวไทยให้ไปเที่ยวศรีลังกา

4

การท่องเที่ยวเชิงนิเวทน์วิทยา

ศรีลังกายังคงมีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นประเทศหมู่เกาะ ที่มีชายหาดและภูเขา อันเป็นปลายทางส้าคัญของนักท่องเที่ยว

ศูนย์กลางส าคัญทางพระพุทธศาสนา

ศรีลังกามีสถานที่ส้าคัญทางพระพุทธศาสนาโดยเป็นที่ประดิษฐานเขี้ยวแก้ว ต้นศรีมหาโพธิ์ พระบรมสารีริกธาตุ ตลอดจนรอยพระบาท 2. การเมืองการปกครอง ระบบการเมืองการ ระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐมีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ ปกครอง (Head of State)

พัฒนาการทางการเมือง ศรีลังกาเป็นประเทศที่มีอารยะธรรมเก่าแก่ประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชียใต้ ผ่านการ การปกครอง ปกครองจากมหาอ้านาจอาณานิคมตะวันตกมากถึง 3 ชาติ ได้แก่ โปรตุเกส เนเธอแลนด์ และอังกฤษ ขณะเดียวกันยังเผชิญกับสงครามกลางเมืองระหว่างเชื้อชาติสิงหลกับ

5

ทมิฬมานานกว่า 3 ทศวรรษ จนกระทั่งเกิดสันติภาพและความสงบในปี พ.ศ. 2552 อันเป็นปีแห่งการเริ่มต้นด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของ

ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ภาษาสิงหลเป็นภาษาประจ้าชาติมีการใช้ร้อยละ 74

ภาษาทมิฬร้อยละ 18 ภาษาอื่นๆ ร้อยละ 8

วันชาติ 4 กุมภาพันธ์ ของทุกปี ตรงกับวันประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2491

ประธานาธิบดี ฯพณฯ มหินทรา ราชปักษา (H.E.)

นายกรัฐมนตรี H.E. D. M. Jayaratne

คณะรัฐมนตรี Minister (Senior) for Good Governance and Infrastructure H.E.

Minister (Senior) for Human Resources

H.E. D.E.W. Gunasekara

Minister (Senior) for Rural Affairs H.E.

Minister (Senior) for Food Security H.E. P. Dayaratne

Minister (Senior) for Urban Affairs H.E. A.H.M. Fowzie

6

Minister (Senior) for Social Services H.E.

Minister (Senior) for Consumer Welfare

H.E. S.B. Navinne

Minister (Senior) for National Resources H.E.

Minister (Senior) for Scientific Affairs H.E. Prof.

Minister (Senior) for International Monetary Co-operation H.E. Dr. Sarath Amunugama

Minister of Irrigation and Water Resources Management H.E.

Minister of Health H.E.

Minister of Environment and Renewable Energy H.E. A.D.

Minister of Livestock and Rural Community Development H.E. Arumugan Thondaman

Minister of Water Supply and Drainage H.E.

Minister of Traditional Industries and Small Enterprise Development H.E.

Minister of Local Government and Provincial Councils H.E. A.L.M. Athaullah

Minister of Industry and Commerce

H.E. Abdul

7

Minister of Technology,Research and Atomic Energy H.E. Patali

Minister of Construction, Engineering Services, Housing and Common Amenities

H.E.

Minister of Justice H.E. Minister of Economic Development

H.E.

Minister of National Languages and Social Integration H.E. Wasudeva Nanayakkara

Minister of Higher Education H.E. S.B. Dissanayake

Minister of External Affairs H.E. Prof. G.L. Peiris

Minister of Public Administration and Home Affairs H.E. W.D.J. Seneviratna

Minister of Parliamentary Affairs H.E. Sumedha G. Jayasena

Minister of Postal Services H.E. Jeevan Kumaranatunga

Minister of Power and Energy H.E.

Minister of Petroleum Industries H.E. Anura Priyadarshana Yapa

8

Minister of Child Development and Women's Affairs H.E. Tissa Karalliyadda

Minister of Labour Relations and Productivity Improvement

H.E.

Minister of Education H.E. Bandula Gunawardena

Minister of Plantation Industries H.E.

Minister of Fisheries and Aquatic Resources Development H.E. Dr.

Minister of Lands and Land Development H.E.

Minister of Social Services H.E.

Minister of Private Transport Services H.E. R.M.C.B. Ratnayake

Minister of Agriculture H.E.

Minister of Mass Media and Information H.E. Dr.

Minister of Transport H.E.

Minister of Youth Affairs and Skills Development H.E. Dallus Alahapperuma

Minister of Co-operatives and Internal Trade H.E.

9

Minister of Rehabilitation and Prison Reforms H.E.

Minister of Indigenous Medicine

H.E.

Minister of Minor Export Crop Promotion H.E.

Minister of Foreign Employment Promotion and Welfare H.E.

Minister of Civil Aviation H.E. Piyankara Jayaratna

Minister of Coconut Development and Janata Estate Development H.E.

Minister of Culture and the Arts H.E. T.B. Ekanayake

Minister of Disaster Management H.E.

Minister of Special Projects H.E. S.M. Chandrasena

Minister of Resettlement H.E. M.H. Gunaratne Weerakoon

Minister of Public Relations and Public Affairs H.E. Dr.

Minister of Sports H.E.

Minister of State Resources and Enterprise Development H.E. Dayashritha Tissera

10

Minister of Telecommunication & Information Technology H.E.

Minister of National Heritage

H.E. Dr. Jagath M Balasooriya

Minister of Sugar Industry Development

H.E.

Minister of Public Management Reforms

H.E. Naveen Dissanayake

Minister of Investment Promotion H.E. Lakshman Yapa Abeywardena

Minister of Botanical Gardens and Public Recreation H.E. Jayaratne Herath

Minister of Education Services H.E.

Minister of Wildlife Resources Conservation H.E. Gamini Vijith Vijayamuni Zoysa

Minister of Productivity Promotion H.E. วันสถาปนาความสัมพันธ์ สถาปนาความสัมพันธ์ระดับอัครราชทูต 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 ทางการทูตกับไทย สถาปนาความสัมพันธ์ระดับเอกอัครราชทูต 27 ธันวาคม พ.ศ. 2504

11

เอกอัครราชทูตไทยประจ าศรีลังกา นาย นพพร อัจฉริยวนิช (Mr. NOPPORN ADCHARIYAVANICH)

เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจ าประเทศไทย General Shantha Kottegoda

การแบ่งเขตการปกครอง แบ่งเขตการปกครอง 9 จังหวัด 25 เขตการปกครองท้องถิ่น Central Province เมืองศูนย์กลางคือ Kandy Eastern Province เมืองศูนย์กลางคือ Trincomalee North Central Province เมืองศูนย์กลางคือ Anuradhapura Northern Province เมืองศูนย์กลางคือ Jaffna North Western Province เมืองศูนย์กลางคือ Western Province เมืองศูนย์กลางคือ Colombo Southern Province เมืองศูนย์กลางคือ Galle เมืองศูนย์กลางคือ Ratnapura เมืองศูนย์กลางคือ Badulla

12

3. เศรษฐกิจ อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับที่สูงนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนถึง ปัจจุบันไม่ต่้ากว่าร้อยละ 6.0 ยกเว้นในช่วงปี พ.ศ. 2552 ที่เกิดภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ โลกและความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศท้าให้มีอัตราการเจริญเติบโตเพียงร้อยละ 3.5 ทั้งนี้นับตั้งแต่การสิ้นสุดสงครามกลางเมือง ท้าให้รัฐบาลมีแนวทางในการพัฒนา ประเทศ และสามารถใช้อ้านาจในการปกครองประเทศได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นจึงมีการ วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ปี ฉบับที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2558 ภายใต้นโยบายหลัก “The emerging wonder of Asia – The development policy framework of government” เน้นทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยศรีลังกามีศักยภาพของ การเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่เชื่อมต่อระหว่างตะวันออกกับตะวันตก ระบบเศรษฐกิจ ทุนนิยม โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ภาคเกษตรกรรมร้อยละ 11.0 ภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 31.5 ภาคบริการร้อยละ 57.5

พัฒนาการทางด้าน ศรีลังกาประสบผลส้าเร็จเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงระหว่างปี พ.ศ. เศรษฐกิจ 2548-2552 ภายใต้การด้าเนินเป้าหมายมหินทรา จินตะนะ Mahinda Chintana Goal (MCG) อันเป็นปรัชญาทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่ให้ความส้าคัญกับทั้ง อัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจและความเท่าเทียมของการเข้าถึงทรัพยากรที่ส้าคัญ ของประเทศ ตลอดจนการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานที่ส้าคัญของประเทศอันจ้าเป็นต่อการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพื่อการน้าพาศรีลังกาเข้าสู่ยุคใหม่ในการแก้ปัญหาความ ขัดแย้งที่มีมาอย่างยาวนาน ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ส้าคัญ ประกอบด้วย ไฟฟ้า ท่าเรือ สนามบิน การประปาและชลประทาน ถนนและการขนส่ง การส่งเสริม เกษตรกรรมและผู้ประกอบการภายในประเทศ เสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่การ บริการสาธารณะและกิจการของรัฐบาล รวมทั้งสนับสนุนเอกชนและผู้ประกอบการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และเน้นการพัฒนาชนบทเป็นหลักส้าคัญ โดยรัฐบาลศรีลังกา มีบทบาทในการควบคุมระบบเศรษฐกิจการเมืองของประเทศ ท่ามกลางการตกเป็นประเทศอาณานิคมของตะวันตกและต่อด้วยภาวะสงครามกลาง เมืองยาวนานกว่าสามทศวรรษ บทบาทของรัฐบาลในการควบคุมระบบเศรษฐกิจ ในช่วงปลายของยุคอาณานิคมจนถึงก่อนการได้รับเอกราชยังไม่มีการพัฒนาทางด้าน อุตสาหกรรมที่ชัดเจนมากนัก ระบบเศรษฐกิจยังคงผูกติดกับประเทศอาณานิคม อังกฤษ แต่ภายหลังจากการได้รับเอกราชจากอังกฤษท้าให้ศรีลังกาเริ่มเข้าสู่ยุคการ

พัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (Economic Industrialization) อย่างเต็มรูปแบบ โดยสามารถแบ่งยุคของการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมออกเป็นสองระยะ ดังนี้ การพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระยะแรกอยู่ในช่วงเริ่มต้นการพัฒนาอุตสาหกรรม

13

ของประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2491-2519 ภายใต้ระบบการพัฒนาที่รัฐบาลมีบทบาท ในการควบคุมและชี้น้าอุตสาหกรรมของประเทศ (State-led Industrialization Process) ด้วยการใช้นโยบายอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการน้าเข้า (Import Substitution Industry: ISI) ด้วยการผลิตเพื่อกระจายสินค้าภายในประเทศเป็นหลัก อันเป็นการลดการน้าเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและ เพิ่มอัตราการจ้างงาน การพัฒนาอุตสาหกรรมระยะที่สองอยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านหลังปี พ.ศ. 2519 โครงสร้างนโยบาย การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศจากระบบการผลิตตามแนวนโยบาย อุตสาหกรรมแบบ ISI เข้าสู่แนวนโยบายที่มีการแทรกแซงของรัฐบาลน้อยลง และน้าไปสู่ ระบบเศรษฐกิจการตลาด (Market Economy) ที่เอกชนมีบทบาทต่อกระบวนการ ขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจมากขึ้น (Private-led industrialization process) ส่งผลให้รูปแบบ การผลิตเพื่อการน้าเข้า เปลี่ยนรูปเป็นการผลิตเพื่อการส่งออก (Export Oriented Industrialization: EOI)

ในระยะที่สองของการพัฒนาเศรษฐกิจศรีลังกามีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยส้าคัญ กล่าวคือ นอกจากจะเข้าสู่ยุคการผลิตเพื่อการส่งออก ยังเป็นการเริ่มต้นการปฏิรูป เศรษฐกิจครั้งส้าคัญเพื่อเข้าสู่ยุคแห่งการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ (Economics Liberalization) ด้วยการเน้นการส่งเสริมการลงทุนมีการก่อตั้งคณะกรรมาธิการ เศรษฐกิจโคลัมโบ (Greater Colombo Economic Commission: GCEC) ในปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันเป็นคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment: BOI) มีการตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่ออ้านวยความสะดวกต่อการลงทุนและโครงสร้าง พื้นฐานที่จ้าเป็นต่อการลงทุน ตลอดจนการแปรรูปโครงสร้างทางการคลัง (Fiscal Reform) และการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) สกุลเงิน รูปีศรีลังกา (Sri Lankan Rupee)

อัตราแลกเปลี่ยน1: ปี (พ.ศ.) รูปีศรีลังกา/เหรียญสหรัฐฯ รูปีศรีลังกา/ยูโร รูปีศรีลังกา/บาท 2553 115.27 156.90 3.589 2554 111.82 149.55 3.623 2555 114.88 149.98 4.093 2556 129.34 170.87 4.203 2557 (มีนาคม) 132.08 183.29 4.075

1 Central Bank of Sri lanka

14

อุตสาหกรรมหลัก ยางพาราแปรรูป ชา มะพร้าว ยาสูบ กิจการโทรคมนาคม การประกันภัย การ ธนาคาร การท่องเที่ยว การขนส่งทางน้้า ผ้า ปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมน้้ามัน เทคโนโลยีสารสนเทศ การก่อสร้าง ระบบการเงิน การธนาคาร

ดัชนีทางเศรษฐกิจที่ส าคัญ2:

ดัชนีตัวชี้วัด ปี พ.ศ. ทางเศรษฐกิจ 2553 2554 2555 2556 อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ) 8.00 8.20 6.40 6.80 มูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศ (FDI) 4.78 9.56 8.98 - (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ร้อยละ) 2.70 1.40 4.00 - อัตราเงินเฟ้อ (ร้อยละ) 6.20 6.07 6.80 7.50 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านเหรียญสหรัฐฯ) - 1.08 - 4.62 -4.00 - ดุลการค้า -4.05 -9.69 -8.71 - (พันล้านเหรียญสหรัฐฯ)* เงินทุนส ารองระหว่างประเทศ (พันล้าน 7.19 6.74 7.11 - เหรียญสหรัฐฯ) มูลค่าการส่งออกสินค้ามาไทย (พันล้าน 2.66 2.84 2.98 1.74 บาท)** มูลค่าการน าเข้าสินค้าจากไทย (พันล้าน 12.74 14.69 14.02 12.80 บาท)** ที่มา: * Sri Lanka Ministry of Commerce **กระทรวงพาณิชย์

ยุทธศาสตร์การพัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจที่ผ่านมาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่วง โดยในช่วงแรกบทบาทของ เศรษฐกิจและนโยบาย รัฐบาลในการชี้น้าอุตสาหกรรมของประเทศ ภายใต้นโยบายยุทธศาสตร์การพัฒนา ที่ส าคัญ อุตสาหกรรมแบบการผลิตเพื่อทดแทนการน้าเข้า ต่อมาได้ด้าเนินนโยบายที่เอกชนมี บทบาทต่อกระบวนการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจมากขึ้น น้าไปสู่รูปแบบการผลิต ภายใต้นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก

2 World Bank

15

ปัจจุบันการพัฒนาเศรษฐกิจอยู่ในแผนพัฒนา 5 ปี ฉบับที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ. 2553- 2558 ภายใต้เป้าหมาย MCG โดยการให้อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อทุกภาคส่วนของประเทศ การวางเป้าหมาย MCG มีลักษณะเด่นคือการเน้น การพัฒนาทุนทางสังคม (Social Capital) โดยให้บรรลุเป้าหมายในปี พ.ศ. 2559 คล้าย กับเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goal: MDG) ขององค์การสหประชาชาติ ด้วยการลดความยากจน ส่งเสริมการศึกษา การชลประทาน รวมทั้งการเพิ่มพื้นที่ป่าของประเทศ ขณะเดียวกันก็ให้ความส้าคัญต่อการพัฒนา ทางด้านเศรษฐกิจ การค้า อุตสาหกรรม การลงทุนภาคเอกชน การพัฒนาชนบท เกษตรกรรม การท่องเที่ยวและพลังงาน

ภายหลังจากได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีศรีลังกาสมัยที่ 2 ในปี พ.ศ. 2553 ประธานาธิบดีมหินทรา ราชปักษา ได้กล่าวสุนทรพจน์ถึงแนวทางยุทธศาสตร์การ พัฒนาเศรษฐกิจสังคม ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของวิสัยทัศน์ Mahinda Chintana – Vision for the future ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. ความมั่นคงทางสังคม โดยประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถเข้าถึง สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จ้าเป็น ได้แก่ ไฟฟ้า ประปา การศึกษาและการสาธารณสุข 3. การรักษาอัตตาลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีของศรีลังกา 4. การสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ ในฐานะประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ เพื่อ บูรณาการเข้าสู่เศรษฐกิจโลก และการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ 5. การพัฒนาเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายให้ศรีลังกาเป็นประเทศรายได้ปานกลาง (Middle Income Country) และเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based society)

ทิศทางทางการพัฒนา มหินทรา จินตะนะ (Mahinda Chintana Goals – Vision for the future: MCGs) เศรษฐกิจตามเป้าหมาย เป็นวิสัยทัศน์ด้านการพัฒนาแห่งอนาคตของศรีลังกา เปรียบเสมือนแผนพัฒนา มหินทรา จินตะนา ประเทศ 6 ปี ก้าหนดช่วงระยะเวลาระหว่าง พ.ศ. 2553-2559 โดยในช่วง 6 ปีของเป้าหมาย การพัฒนาประเทศตามแนวทาง MCGs จะเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เป็นสองเท่า ด้วยการเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจที่ให้ความส้าคัญกับภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ส่งผลให้โครงสร้างทาง เศรษฐกิจ มีสัดส่วนของภาคการเกษตรร้อยละ 11 ภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 31.5 และภาค บริการร้อยละ 57.5 โดยการขยายตัวภาคการเกษตรมีส่วนส้าคัญในการถ่วงดุลความ แตกต่างและลดช่องว่างระหว่างเขตเมืองและชนบท

16

ศรีลังกาได้ให้ความส้าคัญกับเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งมีแนวทางในการส่งเสริม การเปิดการค้าเสรี (Free Trade Agreement: FTA) กับประเทศอินเดียและ ปากีสถาน ตลอดจนข้อตกลงการค้าเสรีระดับภูมิภาคโดยเฉพาะกรอบเขตการค้าเสรี เอเชียใต้ (South Asian Free Trade Agreement: SAFTA) รวมทั้ง ความริเริ่มแห่ง อ่าวเบงกอลส้าหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative Multi - Sectorial Technical and Economic Cooperation: BIMSTEC) โดยจะส่งผลให้ศรีลังกาได้รับประโยชน์ในด้านการส่งออก การลงทุน รวมทั้ง การพัฒนาและการถ่ายทอดทางเทคโนโลยี อย่างไรก็ตามทิศทางการพัฒนาการพัฒนา ประเทศภายใต้ MCGs สามารถแบ่งประเด็นที่ส้าคัญๆ ได้ดังนี้

ด้านการส่งเสริมภาคเอกชน ปัจจุบันการลงทุนของภาคเอกชนมีสัดส่วนร้อยละ 15 - 17 ของอัตราการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ (Gross Domestic Product: GDP) ซึ่งเป้าหมาย MCGs เน้นให้ ภาคเอกชนลงทุนในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 22 ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2559

ด้านการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ที่ผ่านมา FDI ในศรีลังกายังมีสัดส่วนที่น้อย โดยอยู่ระหว่างร้อยละ 1.5 ของ GDP ตามเป้าหมาย MCGs จึงส่งเสริมการลงทุนในสาขาการท่องเที่ยว การพัฒนาเมือง เทคโนโลยี เวชภัณฑ์ และพลังงานหมุนเวียน

ด้านการปฏิรูปเพื่อการลงทุน รัฐบาลมีนโยบายในการลงทุนเพื่อลดช่องว่างด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระหว่าง ศรีลังกากับประเทศเพื่อนบ้าน ให้ความส้าคัญในการลงทุนในหลากหลายสาขา ได้แก่ การคมนาคม พลังงาน การประปา สาธารณสุข และการชลประทาน รวมทั้งด้าน พลังงานและการสร้างท่าเรือ อันเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ส้าคัญของการลงทุน

ด้านการปรับปรุงการบริหารจัดการและการลงทุนที่ยั่งยืน เน้นการปรับปรุงและการลงทุนด้านการประปา การชลประทาน และไฟฟ้า เพื่อให้การบริการ มีประสิทธิภาพ รวมทั้งสร้างแรงจูงใจต่อการลงทุนในสาขาดังกล่าว

ด้านการส่งเสริมด้านตลาดเงินและตลาดทุน ภาคการเงินมีความส้าคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลให้ความส้าคัญ ต่อการพัฒนาภาคการเงินและการธนาคาร ตลอดจนมีแนวนโยบายและมาตรการ ที่เหมาะสมต่อการสร้างความเข้มแข็งทางการเงิน การธนาคาร การประกันภัยและ ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันได้มีการพัฒนาตลาดหลักทรัพย์ให้มีการเติบโตเพื่อสร้าง โอกาสแก่นักลงทุน โดยปัจจุบันมีตลาดหลักทรัพย์โคลัมโบ (Columbo Stock Exchange: CSE) เป็นตลาดหลักทรัพย์ที่ส้าคัญมีมูลค่า 2.2 ล้านล้านรูปีศรีลังกา

17

เป้าหมาย MCGs กับการ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรกับความมั่งคั่งของประเทศ พัฒนาในสาขาต่างๆ ภาคการเกษตร ภาคการเกษตรมีสัดส่วนทางเศรษฐกิจเป็นร้อยละ 13 ของ GDP มีการจ้างงานร้อยละ 33 ของก้าลังแรงงาน โดยรัฐบาลให้ความส้าคัญกับการผลิตสินค้าเกษตรเพื่อรองรับ แนวโน้มของวิกฤตการณ์อาหารโลก ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรส่วนใหญ่ ได้แก่ ข้าว มะพร้าว ยางพารา และชา ซึ่งรัฐบาลมีทิศทางการด้าเนินนโยบายทางการเกษตรที่ ส้าคัญดังนี้ - สร้างความมั่งคงทางอาหารให้กับประชาชน - ยกระดับและเสริมสร้างความมั่นคงทางรายได้แก่เกษตรกร - เป็นหลักประกันทางราคาส้าหรับสินค้าเกษตร - ไม่แทรกแซงตลาดทั้งภายในศรีลังกาและตลาดระหว่างประเทศ - สนับสนุนเทคนิคการจัดการฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ - การใช้เมล็ดพันธุ์พืชให้ได้ผลผลิตที่สูงและปรับปรุงระบบการจัดการน้้า

การประมงและทรัพยากรทางน้้า ศรีลังกามีศักยภาพทางด้านการประมงทั้งน่านน้้าภายในและทางทะเล โดยสัดส่วนการ ประมง คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของ GDP และมีประชากรที่อยู่ในภาคการประมงมากถึง 650,000 คน อย่างไรก็ตามความท้าทายของศรีลังกาคือ การลดลงอย่างต่อเนื่องของ สินค้าด้านการประมงเนื่องจากข้อก้าหนดทางด้านเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะ (Exclusive Economic Zone) รวมทั้งเทคโนโลยีทางด้านการประมงยังคงไม่ได้รับการพัฒนา ก่อให้เกิดทิศทางการด้าเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ส้าคัญดังต่อไปนี้ - ส่งเสริมการท้าประมงน้้าลึก รวมทั้งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ อ้านวยความสะดวกแก่ภาคการประมง - ขยายตลาดสินค้าทั้งภายในและต่างประเทศด้วยการยกระดับคุณภาพ สินค้าส่งออก

อุตสาหกรรมการปศุสัตว์ เป็นสาขาที่ส้าคัญแห่งอนาคตโดยในปี พ.ศ. 2552 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1 ของ GDP โดยในอนาคตมีแนวทางในการเพิ่มผลผลิตทางด้านปศุสัตว์ให้มากขึ้น

การชลประทาน การชลประทานมีส่วนส้าคัญในการหล่อเลี้ยงภาคการเกษตร โดยมีทิศทาง แนวนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ส้าคัญดังนี้ - การพัฒนาแหล่งน้้าด้วยการขับเคลื่อนโครงการลงทุนขนาดใหญ่ (Mega Project) - ฟื้นฟูและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านการชลประทานให้ทันสมัย

18

- การลงทุนด้านการชลประทาน ในระหว่างปี พ.ศ. 2553-2563 มีความต้องการลงทุนทางด้านการชลประทาน 277.5 พันล้านรูปีศรีลังกา โดยคาดว่าแหล่งที่มาของเงินลงทุน 186.7 พันล้านรูปีศรีลังกา เป็นแหล่งเงินทุนจากต่างประเทศ

การสร้างความเข้มแข็งขององค์กรวิสาหกิจ

ด้านการไฟฟ้า วางเป้าหมายให้ประชาชนทั่วประเทศสามารถเข้าถึงการบริการทางด้านไฟฟ้า ในปี พ.ศ. 2555 และให้การบริการไฟฟ้ามีความเพียงพอต่อความต้องการในปี พ.ศ. 2563 โดยทิศทางยุทธศาสตร์ของการด้าเนินนโยบายที่ส้าคัญดังต่อไปนี้

- ด้านการผลิตกระแสไฟฟ้า ปัจจุบันมีการผลิตไฟฟ้าจากน้้ามันดิบที่มี ต้นทุนในการผลิตสูง ในอนาคตจะให้ความส้าคัญกับพลังงานน้้าและพลังงานถ่านหิน - ด้านการจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้ความส้าคัญกับการขยายสายส่งไฟฟ้า การสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ รวมทั้งคุณภาพของการจ่ายไฟฟ้า - ด้านการเพิ่มจ้านวนการใช้ไฟฟ้าในเขตพื้นที่ห่างไกลตัวเมือง รวมทั้ง ปรับปรุงคุณภาพให้ได้มาตรฐาน - ด้านการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน ในปี พ.ศ. 2563 มีเป้าหมายในการ ใช้พลังงานสะอาดร้อยละ 20 ของการผลิตไฟฟ้าภายในประเทศ

ด้านการโทรคมนาคม การติดต่อสื่อสารต้องการเทคโนโลยีทางด้านโทรคมนาคมที่ทันสมัย รัฐบาลมีแนว ทางการลงทุนทางด้านโทรคมนาคม เพื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยประชาชนทั่วไปสามารถ เข้าถึงได้ โดยมียุทธศาสตร์และนโยบายที่ส้าคัญดังนี้ - ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลโดยรัฐบาลมีนโยบายให้มีอินเตอร์เน็ตของรัฐบาล (Government Net) - ส่งเสริมให้ภาคเอกชนยกระดับการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย - ยกระดับระบบกิจการโทรคมนาคม โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้าน ดาวเทียม - ส่งเสริมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ด้วยการก้าหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งการสร้าง Telecommunication Service Parks

19

ด้านการประปา การเข้าถึงบริการด้านการประปาอย่างถูกสุขอนามัย เป็นสิ่งที่สามารถชี้วัดถึง ความส้าเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ และที่ส้าคัญเป็นตัวชี้วัดหนึ่งของ MDGs ดังนั้นจึง มียุทธศาสตร์และนโยบายพัฒนาด้านการประปาและระบบระบายน้้า โดยสามารถ สรุปสาระส้าคัญได้ดังต่อไปนี้ - ยุทธศาสตร์ระยะยาวด้านการประปาและการระบายน้้าในเมืองใหญ่ เช่น แคนดี แฮมแบนโททา เป็นต้น มีส่วนส้าคัญในการด้าเนินเศรษฐกิจของประชาชน โดยโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับการประปาและการระบายน้้าต้องสามารถรองรับ ความต้องการของประชาชนได้ในอนาคต นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2563 จะต้องมี ศูนย์กลางของระบบการระบายน้้าเสียของเมืองขนาดใหญ่ อันเป็นการสร้างความ เชื่อมั่นด้านการพัฒนาต่อการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน - ความจ้าเป็นของเมืองขนาดเล็ก ให้ความส้าคัญที่การยกระดับและ พัฒนาระบบในเขตเมืองขนาดเล็ก โดยปัจจุบันมีการเริ่มต้นโครงการในเมืองต่างๆ เช่น Valachchenai, Anamaduwa, Pathadumbara, Dambadeniya, Padaviya เป็นต้น

ภาคอุตสาหกรรม ศรีลังกามีขนาดภาคอุตสาหกรรมคิดเป็นร้อยละ 30 ของ GDP มีการจ้างงานร้อยละ 25 ของก้าลังแรงงานทั้งหมด โดยยุทธศาสตร์ของรัฐบาลในปี พ.ศ. 2563 ก้าหนดให้ ภาคอุตสาหกรรมมีสัดส่วนที่มีมูลค่าสูงสุด มีฐานความรู้ขั้นสูง หลากหลายสาขา และ สามารถแข่งขันกับตลาดต่างประเทศได้ สามารถสรุปสาระส้าคัญของการด้าเนิน นโยบายและยุทธศาสตร์ได้ดังนี้ - การลงทุนในภาคการผลิต จากสถิติ FDI ในปี พ.ศ. 2552 คณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment: BOI) สามารถดึงเม็ดเงินลงทุนในรูป FDI ได้ 601 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นอกจากนั้นได้มีการก้าหนดเป้าหมายของ FDI ในปี พ.ศ. 2563 ให้มีมูลค่า 15 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี แนวทางของรัฐบาลจึงมีมาตรการเพื่อ การเพิ่มปริมาณ FDI ที่ส้าคัญ เช่น ผู้ผลิตในเขตท้องถิ่นชนบทจะได้รับมาตรการในการ ลดหย่อนภาษีน้าเข้าวัตถุดิบ รัฐบาลมีแนวนโยบายในการอ้านวยความสะดวกส้าหรับ ผู้ประกอบการในการก่อตั้งความร่วมมือภาครัฐ-ภาคเอกชน (Public-Private Partnership: PPP) เป็นต้น - การสร้างความสมดุลทางด้านการพัฒนาระหว่างภูมิภาค โดยให้ ความส้าคัญกับการบูรณะ และปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานในเขตพื้นที่ที่มีระดับการพัฒนา น้อย รวมทั้งการพัฒนาโครงข่ายระบบโทรคมนาคม การบ้ารุงรักษาทางหลวง และการ อ้านวยความสะดวกด้านการคมนาคม นอกจากนั้นยังให้ความส้าคัญกับการสร้างสิ่ง อ้านวยความสะดวกในเขตส่งเสริมการลงทุนของ BOI ทั้งหมด 12 เขต

20

- สาขาการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมการผลิตที่ส้าคัญ ประกอบด้วย สิ่งทอ เทคโนโลยีสารสนเทศ/Business Process Outsourcing อัญมณีและ เครื่องประดับ ยางพารา ชา เครื่องไฟฟ้าและอิเล็คทรอนิก เวชภัณฑ์ และเหมืองแร่

การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง - ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานในช่วงระยะเวลา 10 ปี ของ พ.ศ. 2554- 2563 มูลค่า 3.226 ล้านล้านรูปีศรีลังกา โดยเพิ่มขึ้นจากช่วงเวลา 10 ปี ก่อนหน้าถึง ร้อยละ 98 - ส่งเสริมภาคเอกชนในการลงทุนในรูปแบบ PPP - ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศในด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการบริการ - สร้างทางรถไฟรางคู่ เพื่อส่งเสริมการค้าและเชื่อมโยงเมืองที่ส้าคัญๆ ของประเทศ รวมทั้งสร้างทางรถไฟเชื่อมระหว่างเมือง Talaimannar กับทางตอนใต้ ของอินเดีย - ส่งเสริมให้ท่าเรือโคลัมโบและแฮมแบนโททา เป็นศูนย์กลางเดินเรือจาก ทั่วทุกภูมิภาค - พัฒนาสนามบินนานาชาติบันนารายไนยเกให้ได้มาตรฐานสากล

ระบบการศึกษา - ส่งเสริมการศึกษาให้ประชาชนทุกคนต้องจบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษา - เด็กและเยาวชนจะต้องมีทักษะทางด้านภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์ มีความเข้าใจถึงวิธีการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ การยอมรับความเสี่ยง และมีทักษะ ในการควบคุมการเปลี่ยนแปลง - การใช้เทคโนโลยีในกระบวนการศึกษาเรียนรู้

การสาธารณสุข ศรีลังกามีความท้าทายที่ส้าคัญต่อการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการกลายพันธุ์ ของเชื้อโรค โครงสร้างประชากร ตลอดจนการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ปัจจุบันประชากรที่มี อายุสูงกว่า 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 11 มีการคาดการณ์ว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 16 และ 29 ในปี พ.ศ. 2563 และ 2593 ตามล้าดับ ดังนั้น นโยบายด้านการ สาธารณสุขที่ส้าคัญจึงประกอบด้วย - การด้าเนินนโยบายส่งเสริมการสาธารณสุขที่ดี โดยการให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ให้บริการที่ทันสมัย และส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการให้บริการด้านการ สาธารณสุข - ปรับปรุงสิ่งอ้านวยความสะดวกในการวิจัยทางด้านการสาธารณสุข - ปรับปรุงระบบการสาธารณสุขเคลื่อนที่

21

- สร้างโรงพยาบาลพิเศษส้าหรับผู้สูงอายุ - ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) ส่วนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เน้นการเป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อ ระหว่างตะวันออกกับตะวันตกหรือเป็นไข่มุกแห่งเอเชียบนเส้นทางสายไหมเส้นใหม่ จึงเน้นการพัฒนาด้านการบิน การเดินเรือ การค้า พลังงาน กิจการโทรคมนาคม น้าไปสู่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สนามบิน ท่าเรือ เส้นทางการคมนาคมและสะพาน

4. สังคมและวัฒนธรรม ธงชาติ

ความหมายของส่วนต่างๆ ของธงชาติศรีลังกา

ราชสีห์ หมายถึง ชาวสิงหล ดาบ หมายถึง อธิปไตยของประเทศ

ด้ามดาบ หมายถึง ดิน น้า ลม ไฟ แผงคอของราชสีห์ หมายถึง การนับถือศาสนา ปัญญา และสมาธิ เคราของราชสีห์ หมายถึง ค้าพูดที่บริสุทธิ์ จมูก หมายถึง สติปัญญา อุ้งเท้าหน้า หมายถึง ความมั่งคั่ง แถบสีเขียว หมายถึง ชาวมุสลิม แถบสีส้ม หมายถึง ชาวทมิฬ ขอบสีเหลือง หมายถึง ชนกลุ่มน้อยอื่นๆ ใบโพธิ์ หมายถึง ศาสนาพุทธ ใบโพธิ์ 4 ใบ หมายถึง ความมีเมตตา ความเป็นมิตร ความสุข และความสงบร่มเย็น พื้นสีแดงเข้ม หมายถึง ชนกลุ่มน้อยที่นับถือศาสนาอื่นๆ

22

สัญลักษณ์

ตราแผ่นดินเริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2515 โดยยอดบนเป็นรูปธรรมจักร มีพื้นหลังสีแดง สิงโต สีเหลืองก้าลังถือดาบ ส่วนพื้นหลังสีน้้าเงินมีดอกไม้สีเหลืองล้อมวงแหวนสีเงินอยู่บน แจกันธัญพืชที่มีดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อยู่ด้านข้าง ชุดประจ าชาติ

ชาวศรีลังกาจะแต่งตัวคล้ายกับชาวอินเดียละอินโดนีเซีย โดยได้รับอิทธิพลจากทั้ง 2 ประเทศ โดยผู้ชายจะมีวิธีการนุ่งผ้าคล้ายโจงกระเบน

23

ดอกไม้ประจ าชาติ ดอกบัวแฉก

ประชากร 21.2 ล้านคน ประกอบด้วยชาวสิงหล ร้อยละ 74 ชาวทมิฬ ร้อยละ 18 ชาวมุสลิม

ร้อยละ 7 และอื่นๆ ร้อยละ 1

ศาสนา พุทธศาสนาร้อยละ 70 ฮินดูร้อยละ 7 อิสลาม ร้อยละ 7 คริสเตียนร้อยละ 6 และอื่น ๆ ร้อยละ 10

โครงสร้างอายุประชากร ประชากรช่วงอายุระหว่าง 0-14 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.8 ประชากรช่วงอายุระหว่าง 15-24 ปี คิดเป็นร้อยละ 15.1

ประชากรช่วงอายุระหว่าง 25-54 ปี คิดเป็นร้อยละ 42.4 ประชากรช่วงอายุระหว่าง 55-64 ปี คิดเป็นร้อยละ 9.3

ประชากรที่มีอายุมากกว่า 65 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.4

ก าลังแรงงาน 18.194 ล้านคน

อัตราการเกิด 16.64 คนต่อประชากร 1,000 คน

24

7. โครงสร้างพื้นฐาน

การพัฒนาระบบคมนาคม ศรีลังกาเป็นเกาะที่มีความส้าคัญทางยุทธศาสตร์มีที่ตั้งที่มีศักยภาพของการเป็น ขนส่ง ศูนย์กลางด้านการคมนาคมขนส่งทั้งทางน้้าและทางอากาศ การด้าเนินนโยบายแห่งชาติของ รัฐบาลประการแรกให้ความส้าคัญกับการอ้านวยความสะดวกโครงสร้างพื้นฐานด้านการ ขนส่งและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน ประการที่สองให้ความส้าคัญกับ ความปลอดภัยและความรวดเร็วในการขนส่ง อย่างไรก็ตามสามารถจ้าแนกประเภท ของสิ่งอ้านวยความสะดวกที่ส้าคัญๆ ได้ดังนี้

ท่าเรือ ศรีลังกามีท่าเรือที่ส้าคัญๆ ทั้งหมด 6 แห่ง คือ โคลัมโบ (Columbo) แฮมแบน โททา (Hambantota) เกล (Galle) ทรินโมมาลี (Trincomalee) คันคาสันธุไร (Kankasanthurai) โอลุวิล (Oluvil) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านท่าเรือ เป็นส่วน ที่รัฐบาลศรีลังกาให้ความส้าคัญสูงสุด หากท่าเรือทุกแห่งดังกล่าวเสร็จสมบูรณ์จะเพิ่ม ศักยภาพในการขนส่งสินค้าสูงถึง 4.5 ล้านตันต่อปี

สนามบิน ศรีลังกามีสนามบินนานาชาติทั้งหมด 1 แห่ง คือสนามบินนานาชาติบันนา รายไนยเก (Bandaranaike International Airport) โดยสามารถรองรับผู้โดยสารได้ สูงถึง 4.5 ล้านคนต่อปี และสนามบินภายในประเทศทั้งหมด 12 แห่ง อย่างไรก็ตาม มีการสร้างสนามบินนานาชาติแห่งใหม่เพิ่มอีก 1 แห่ง คือ สนามบินนานาชาติมัตตาลา มีรันเวย์ยาวถึง 4 กิโลเมตร โดยสัดส่วนการลงทุนของภาคเอกชนต่อภาคอุตสาหกรรม การบินมีสัดส่วนสูงกว่าการลงทุนจากภาครัฐบาล

ทางรถไฟ ศรีลังการะบบรางรถไฟที่มีระยะทางรวมกัน 1,447 กิโลเมตร โดยมีสถานี รถไฟหลักๆ 172 สถานี และสถานีย่อยอีก 162 สถานี แต่ระบบการบริการและ การเชื่อมโยงยังไม่ดีมากนักจึงไม่เป็นที่นิยมจากผู้ใช้บริการ รวมทั้งการขนส่งสินค้า กล่าวคือ โดยปกติการบริการรถไฟในแต่ละมีจะมีการยกเลิกการเดินทางร้อยละ 7-8 อีกทั้งยังมีเพียงร้อยละ 30 เท่านั้นที่เดินทางตรงเวลา และความเร็วเฉลี่ยของรถไฟอยู่ ที่ 35-40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การบริการรถโดยสารสาธารณะ ปัจจุบันมีรถโดยสารสาธารณะของศรีลังกา มีทั้งหมด 22,500 คัน แบ่งออกเป็นรถโดยสารของรัฐบาล 5,000 คัน และของเอกชน 17,500 คัน ภายใต้การควบคุมของหน่วยงาน Sri Lanka Transport Board (SLTB)

พลังงานไฟฟ้า : สามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 11.52 พันล้านกิโลวัตต์ โดยมีความ ต้องการใช้ประมาณ 10.00 พันล้านกิโลวัตต์

25

ระบบโทรคมนาคม - มีการใช้โทรศัพท์พื้นฐาน 2.832 ล้านหมายเลข - มีการใช้โทรศัพท์มือถือ 19.336 ล้านหมายเลข - การเข้าถึงการใช้บริการอินเตอร์เน็ตทั้งหมด 1.777 ล้านคน

8. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับศรีลังกามีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็น ไทยกับศรีลังกา ทางการในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 โดยการสถาปนาความสัมพันธ์ดังกล่าว เป็นความสัมพันธ์ระดับอัครราชทูต จนกระทั้งมีการยกระดับความสัมพันธ์สู่ระดับ เอกอัครราชทูตในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2504 ปัจจุบันมี นายนพพร อัจฉริยวนิช เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจ้าศรีลังกา และพล.อ. (นอกราชการ) สุวันทะ แหนนะทิ เค ศานตะ โกฏเฏโกฑะ (H.E. Gen. (Retd.) Suwanda Hennadige Shantha Kottegoda) เป็นเอกอัครราชทูตศรีลังกาประจ้าประเทศไทย ซึ่งความสัมพันธ์เป็นไป อย่างราบรื่นและใกล้ชิด ประกอบกับทั้งสองประเทศมีประชากรส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ จึงส่งผลให้ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ที่ดีในทุกๆ ระดับตั้งแต่ผู้น้า รัฐบาลที่ปกครองประเทศจนถึงระหว่างประชาชนด้วยกัน ความสัมพันธ์ทางการเมืองและความมั่นคง ความสัมพันธ์ทางการเมืองและความ มั่นคงระหว่างไทยกับศรีลังกาอาจกล่าวได้ว่ามีมานับตั้งแต่ยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งศรี ลังกาเป็นฐานทัพส้าคัญของฝ่ายสัมพันธมิตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งอังกฤษ การติดต่อ ระหว่างฝ่ายไทยกับฐานทัพอังกฤษที่กรุงแคนดี้จึงเกิดขึ้นมานับตั้งแต่สมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ถึงแม้ว่าความสัมพันธ์ดังกล่าวจะเป็นความสัมพันธ์ที่ไม่ชัดเจนระหว่าง ทางการไทยและศรีลังกา หากแต่ความสัมพันธ์มีทั้งความไม่เข้าใจระหว่างทั้งสอง ประเทศและสะท้อนความสัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างกัน กล่าวคือ ความไม่สงบทาง การเมืองภายในศรีลังกาที่กลุ่มกบฎพยัคทมิฬอีแลม (Liberation Tigers of Tamil Elam: LTTE) ซึ่งมีกองทัพติดอาวุธอยู่ทางตอนเหนือของ ศรีลังกามีวัตถุประสงค์ใน การแบ่งแยกดินแดน จึงต้องเผชิญหน้ากับกองทัพของรัฐบาลกลาง โดยทางการ ศรีลังกามีความเข้าใจว่าอาวุธที่สนับสนุนกลุ่มติดอาวุธดังกล่าวมีการค้าผ่านประเทศ ไทย ซึ่งมีการซื้ออาวุธจากกัมพูชาส่งผ่านภาคใต้ของประเทศไทยขึ้นสู่ท่าเรือที่ คาบสมุทรจาฟนาทางตอนเหนือของศรีลังกา ขณะที่ทางการไทยโดยกระทรวงการ ต่างประเทศได้ชี้แจงว่าไทยไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับขบวนการค้าอาวุธดังกล่าว พร้อม ทั้งปฏิเสธว่าไม่มีขบวนการค้าอาวุธด้วย

26

อย่างไรก็ดีความสัมพันธ์ที่เข้าใจคลาดเคลื่อนดังกล่าวไม่ได้บั่นทอนความสัมพันธ์ ระหว่างทั้งสองประเทศ โดยในการเจรจาสันติภาพระหว่างกลุ่มกบฏพยัคทมิฬอีแลม กับรัฐบาลศรีลังกาไทยได้ท้าหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งกระบวนการสันติภาพ ซึ่งจัดขึ้นใน ประเทศไทยโดยมีผู้แทนจากทางการนอร์เวย์เป็นผู้เจรจาไกล่เกลี่ย (Mediation) โดยมีการ จัดขึ้นมากถึง 3 ครั้งระหว่างปี พ.ศ. 2545-2546 โดยสถานที่จัดการเจรจาครั้งที่ 1 ที่ฐานทัพเรือสัตหีบ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 ครั้งที่ 2 ที่สวนสามพราน เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 และครั้งที่ 4 ที่สวนสามพราน เมื่อเดือนมกราคม 2546 มากไปกว่านั้นในปี พ.ศ. 2546 ทั้งสองประเทศยังได้มีการตกลงเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสาร ระหว่างทั้งสองประเทศ โดยเรียกว่า Intelligence Exchange Cooperation ท้าให้ทั้งสอง ประเทศมทีการประชุมทวิภาคีระหว่างกองทัพทั้งสองประเทศนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึงปัจจุบันมากถึง 6 ครั้ง อีกทั้งยังมีความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่เรียกว่าคณะกรรมาธิการ ร่วม (Joint Commission) ระหว่างทั้งสองประเทศอีกด้วย ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าและการลงทุน : ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ระหว่างไทยกับศรีลังกา ความสัมพันธ์ที่เป็นรูปธรรมในระดับรัฐบาลมีคณะกรรมทวิ ภาคีร่วมระหว่างทั้งสองฝ่าย รวมทั้งข้อตกลงทางการค้าระหว่างทั้งสองประเทศที่ เรียกว่า Preferential Trade Arrangement (PTA) ส่วนการค้าระหว่างทั้งสอง ประเทศมีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยไทยได้เปรียบดุลการค้า ซึ่งในปี พ.ศ. 2555 มี มูลค่าการค้าระหว่างทั้งสองประเทศคิดเป็น 548.64 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยไทย ได้เปรียบดุลกาค้าคิดเป็นมูลค่า 358.17 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งมูลค่าการส่งออกของ ไทยไปศรีลังกาคิดเป็น 453.41 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และน้าเข้ามีมูลค่าเพียง 95.24 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ อย่างไรก็ตามตัวเลขทางการค้าดังกล่าวมีมูลค่าน้อยกว่าการค้า ระหว่างทั้งสองประเทศในปี พ.ศ. 2554 ที่มูลค่าการค้าสูงถึง 580.06 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ ทั้งนี้เนื่องจากเกิดอุทกภายในศรีลังกาช่วงระหว่างไตรมาสที่ 2-3 จึงส่งผลให้ การค้าระหว่างทั้งสองประเทศในปี พ.ศ. 2555 ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า

27

7. การค้า – การลงทุน

7.1 การค้า การค้าระหว่างประเทศของศรีลังกามีแนวโน้มขาดดุลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะมี การน้าเข้าสินค้าเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและโครงสร้างพื้นฐานภายในประเทศ โดยเฉพาะสินค้าจ้าพวกเหล็ก ปิโตรเลียม และยายนต์ ขณะที่สินค้าส่งออกเป็นสินค้า จ้าพวกสิ่งทอและสินค้าเกษตร โดยในปี พ.ศ. 2553 – 2555 ศรีลังกาขาดดุลทาง การค้าเพิ่มขึ้นจาก 4.05 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เป็น 8.71 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่ง แนวโน้มการขาดดุลทางการค้าสอดคล้องกับความต้องการน้าเข้าสินค้าเพื่อการพัฒนา ประเทศ

ประเทศคู่ค้าส าคัญ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ อิตาลี เบลเยียม เยอรมนี อินเดีย สิงคโปร์ จีน และอิหร่าน

สินค้าส่งออกส าคัญ เสื้อผ้า สิ่งทอ อัญมณี ชา ยางพารา และมะพร้าว

สินค้าน าเข้าส าคัญ ยานยนต์ น้้ามันปิโตรเลียม พลาสติก ปุ๋ยเคมี เหล็ก และฝ้าย

สินค้าน าเข้าจากไทย ปูนซีเมนต์ ผ้าผืน ปลาแห้ง เม็ดพลาสติก และน้้าตาลทราย

สินค้าส่งออกมาไทย อัญมณี เงินแท่งและทองค้า ผลิตภัณฑ์โลหะ ผ้าผืน และเสื้อผ้าส้าเร็จรูป

ตารางแสดงมูลค่าทางการค้าระหว่างไทย-ศรีลังกา

หน่วย : ล้านบาท รายการ ปี พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 ส่งออก 9,421.44 11,393.17 11,202.22 12,738.71 14,685.21 14,018.98 12,800.58

น าเข้า 1,258.11 2,240.88 2,117.69 2,661.83 2,839.68 2,983.83 1,741.45

ดุลการค้า 8,163.33 9,152.29 9,084.53 10,076.88 11,845.53 11,035.15 11,059.13

ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ การค้ากับไทยในปัจจุบัน ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างไทย-ศรีลังกา พบว่าไทยได้ดุลการค้า จากมูลค่าการส่งออกสินค้าไปยังศรีลังกา มากกว่ามูลค่าการน้าเข้าสินค้าจากศรีลังกา ทั้งนี้ดุลการค้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จนกระทั่งถึงสิ้นปี พ.ศ. 2556 โดยไทยได้ดุลการค้าเพิ่มขึ้นจาก 8,163.33 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2550 เป็น 11,059.13 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2556 จึงเป็นการสะท้อนศักยภาพทางเศรษฐกิจของ

28

ศรีลังกาที่เข้มแข็งขึ้นอย่างต่อเนื่อง

มาตรการทางด้านภาษี มาตรการทางด้านภาษีมีความส้าคัญต่อการด้าเนินนโยบายทางการค้า และมีความส้าคัญ ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันศรีลังกามีโครงสร้างทางภาษีศุลกากร

ที่ไม่ซับซ้อนมากนัก อีกทั้งยังมีการปรับโครงสร้างทางภาษีให้มีความซับซ้อนน้อยลง แต่ยังคงด้าเนินมาตรการภาษีเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมและภาคการผลิต

ภายในประเทศ มาตรการภาษีน าเข้า การเก็บภาษีน้าเข้ามีเป้าหมายส้าคัญต่อการเป็นแหล่งรายได้ ของรัฐบาล ตลอดจนปกป้องอุตสาหกรรมภาคการผลิตสินค้าภายในประเทศใน

ประเทศ โดยในปี พ.ศ. 2548 อัตราภาษีโดยเฉลี่ยของสินค้าอุตสาหกรรม (non-agricultural goods) ของศรีลังกามีอัตราภาษีน้าเข้าอยู่ที่ร้อยละ 8.3 ปัจจุบันศรี ลังกาแบ่งการจัดเก็บภาษีออกเป็น 5 อัตรา ลดลงจาก 6 อัตรา เมื่อเทียบกับอัตราภาษี ในปี พ.ศ. 2548 ประกอบด้วย - อัตราที่ปลอดภาษี ในสินค้าจ้าพวก สิ่งทอ ยา อุปกรณ์การแพทย์ - อัตราภาษีร้อยละ 2.5 ในสินค้าจ้าพวกวัตถุดิบ - อัตราภาษีร้อยละ 6 ในสินค้ากึ่งวัตถุดิบ - อัตราภาษีร้อยละ 15 ในสินค้าขั้นกลาง

- อัตราภาษีร้อยละ 28 โดยสินค้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าส้าเร็จรูป นอกจากนั้น ยังมีการระบุชนิดสินค้าเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางการด้าเนินนโยบาย ปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยเฉพาะสินค้าจ้าพวก รองเท้า เซรามิก และ สินค้าเกษตร อย่างไรก็ตาม ศรีลังกายังมีการก้าหนดสินค้าที่ห้ามส่งออก ประกอบด้วย สินค้าจ้าพวก ของเก่า หนังสือหายาก วัตถุทางมนุษยวิทยา ตลอดจนสัตว์ป่า ส่วน สินค้าการส่งออกที่ต้องมีใบอนุญาต (License Control) เช่น ไม้และท่อนซุง ไม้สัก

มาตรการที่มิใช่ภาษี การจ ากัดโควตาการน าเข้า: การจ้ากัดโควตาน้าเข้าหรือปริมาณการน้าเข้าสินค้าจาก ภายนอกประเทศรัฐบาลศรีลังกาได้ให้เหตุผลด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ศีลธรรม และ

ความมั่นคงของประเทศ โดยหากฝ่าฝืนจะถูกปรับหรือท้าการยึดสินค้า เช่น อาวุธทาง การทหาร อาวุธอันตราย ยาเสพติด เป็นต้น การก าหนดให้มีมาตรฐานการน าเข้าสินค้า : ศรีลังกาก้าหนดให้มีใบอนุญาตน้าเข้า ในประเภทสินค้าน้าเข้าที่เกี่ยวกับ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของประเทศ และเพื่อควบคุมปริมาณและราคาสินค้าภายในประเทศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการ ด้าเนินมาตรการจ้ากัดการน้าเข้าสินค้า โดยใช้เครื่องมือด้านมาตรฐานและใบรับรอง สินค้าเป็นการจ้ากัดการน้าเข้าสินค้า

29

7.2 การลงทุน มูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ในศรีลังกา มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2553 มีมูลค่า 4.78 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เป็น 9.56 และ 8.98 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ. 2554 และ 2555 ตามล้าดับ โดย มีแนวโน้มของมูลค่า FDI เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะศรีลังกาให้ความส้าคัญกับการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนภาคอุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งการลงทุนจาก

ผู้ประกอบการชาวต่างชาติ

การลงทุนของไทยในศรี ผู้ประกอบการไทยไปลงทุนในศรีลังกายังไม่มากนัก เนื่องจากเกิดปัญหาสงครามกลาง ศรีลังกา ที่นานกว่า 30 ปี โดยศรีลังกาเป็นประเทศที่มีศักยภาพทางด้านการผลิต ทั้งแรงงาน ราคาถูก สามารถขยายตลาดการค้าเข้าสู่ประเทศ ในแถบเอเชียใต้และตะวันออกกลาง รวมทั้งเป็นประเทศที่ได้สิทธิพิเศษทางด้านภาษี (Generalized System of Preferences: GSP) ปัจจุบันกลุ่มธุรกิจไทยเข้าไปลงทุนภาคบริการด้านโรงแรม และรีสอร์ท ตั้งแต่ระดับ 4 ดาวขึ้นไปมีทั้งหมด 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มเซ็นทารา

กลุ่มดุสิตธานี และกลุ่มอามารี

ข้อตกลงด้านการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนศรีลังกา (Sri Lanka Board of Investment) ได้ให้ กับไทย การส่งเสริมการลงทุนในศรีลังกา โดยเน้นมาตรการในการลดหย่อนภาษีให้กับประเทศ ต่างๆ ทั่วโลกรวม 38 ประเทศ ซึ่งไทยได้รับมาตรการส่งเสริมการลงทุนดังกล่าวในศรี ลังกา อีกทั้งยังมีสนธิสัญญาทวิภาคีด้านการลงทุนระหว่างทั้งสองประเทศ

มาตราการภาษีเพื่อ ยกเว้นภาษีส้าหรับผู้ประกอบการต่างชาติเพื่อดึงดูดการลงทุน ประกอบด้วย ภาษีเงิน ส่งเสริมการลงทุน ได้นิติบุคคล (Corporate Income Taxes) ภาษีศุลกากร (Custom Duty) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Taxes) ค่าธรรมเนียมการพัฒนาท่าเรือและสนามบิน (Port and Airport Development Duty) โดยเงื่อนไขและระยะเวลาการลดหย่อน ภาษีขึ้นอยู่กับมูลค่าและประเภทของการประกอบการ

30

แหล่งข้อมูล

Asian Development Bank. www.adb.org Asian Development Outlook 2014. Economic trends and prospects in developing Asia: South Asia, Sri Lanka. Board of Investment Sri Lanka. http://www.investsrilanka.com/ Exchange Rate. Central Bank of Sri Lanka. http://www.cbsl.gov.lk Mahida Chintana – Vision for the Future. Department of National Planning Ministry of Finance and Planning. www.treasury.gov.lk Office of Cabinet of Ministers - Sri Lanka. http://www.cabinetoffice.gov.lk Sri Lanka. Data. World Bank. http://data.worldbank.org/country/sri-lanka Sri Lanka Ministry of Economic Development. www.med.gov.lk กระทรวงพาณิชย์. www.moc.go.th คู่มือคนไทยในศรีลังกา. สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโคลัมโบ. ทวีปเอเชีย : สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา. กระทรวงการต่างประเทศ. www.mfa.go.th