สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา Democratic Socialist Republic of Sri Lanka

สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา Democratic Socialist Republic of Sri Lanka

1 สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา Democratic Socialist Republic of Sri Lanka พฤษภาคม 2557 2 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง ศรีลังกาตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรอินเดีย ไม่มีพรมแดนทางบกติดกับประเทศเพื่อน บ้าน พรมแดนทางน้้าทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับประเทศอินเดีย โดยห่างจากอินเดีย ประมาณ 80 กิโลเมตร มีอ่าวแมนนาร์ (Gulf of Mannar) และช่องแคบพาร์ค (Palk Strait) ขั้นพรมแดนระหว่างทั้งสองประเทศ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้มีพรมแดนทางน้้า ติดกับประเทศมัลดีฟส์ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับอ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) พื้นที่ มีพื้นที่ 65,610 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 1 ใน 8 ของพื้นที่ประเทศไทย เป็นพื้นดิน 64,630 ตารางกิโลเมตร และพื้นน้้า 980 ตารางกิโลเมตร แผนที่ ลักษณะภูมิประเทศ ศรีลังกามีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นเกาะ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ สลับภูเขา และมีที่ราบชายฝั่ง โดยมีทะเลล้อมรอบทุกทิศทาง ทางตอนกลางเต็มไปด้วย ภูเขาและป่าไม้ ทางตอนใต้มีลักษณะเป็นเนินเขาและภูเขา ซึ่งมีแม่น้าสายส้าคัญที่หล่อ เลี้ยงประเทศศรีลังกา คือ แม่น้้ามหาเวลิ-คงคา (Mahaveli Ganga) ความยาวประมาณ 250 กิโลเมตร ส่วนทางตอนใต้มีแม่น้้าสายส้าคัญหล่อเลี้ยงประเทศ ได้แก่ แม่น้้าเกลานิคง คา (Kelani Ganga) และแม่น้้ากาลุคงคา (Kalu Ganga) จึงเหมาะแก่การเกษตรกรรมของ ประชากรภายในประเทศ 3 ลักษณะภูมิอากาศ ศรีลังกามีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน ในช่วงมรสุมจะมีฝนตกชุก โดยสามารถแบ่งช่วงมรสุมออกเป็น 2 ช่วง ประกอบด้วย 1. ตุลาคม – มกราคม มีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ฝนตกในภาคตะวันตก ภาคใต้ และภาคกลางของประเทศ 2. พฤษภาคม - สิงหาคม มีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฝนตกในภาคเหนือและ ตะวันออกของประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ ศรีลังกามีทรัพยากรธรรมชาติจ้าพวกเหมืองแร่ พลังงาน และป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ โดยทรัพยากรธรรมชาติจ้าพวกสินแร่ประกอบด้วย หินปูน แร่กราไฟท์ ทราย แร่ อัญมณี และฟอสเฟต นอกจากนั้น ในปี พ.ศ. 2555 ยังมีการค้นพบแหล่งพลังงานส้ารอง ภายในประเทศแถบช่องแคบปาร์คในอ่าวแมนนาร์ โดยคาดการณ์ว่าจะมีน้้ามันดิบ ส้ารองประมาณ 1 พันล้านบาร์เรล อย่างไรก็ตาม ทรัพยากรธรรมชาติประเภทป่า ไม้มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยลดลงจากในปี พ.ศ. 2548 ที่มีพื้นที่ป่าประมาณ 19,330 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 30.8 ของพื้นที่ประเทศ ซึ่งในปี พ.ศ. 2554 มีพื้นที่ป่า 18,454 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 29.4 ของพื้นที่ประเทศ โดยปริมาณพื้นที่ป่าที่ลดลงประกอบกับการปล่อยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น มีแนวโน้มท้าให้ศรีลังกาเป็นอีกหนึ่งประเทศที่ต้องเผชิญกับความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ อันมีส่วนท้าให้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในช่วงกลางปี พ.ศ.2555 เมืองหลวง กรุงโคลัมโบ (Colombo) เมืองส าคัญ - เมืองแฮมแบนโทตา (Hambontota) เป็นเมืองท่าส้าคัญทางเศรษฐกิจและ ยุทธศาสตร์ - เมืองแคนดี้ (Kandy) ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่า และมีความส้าคัญทางพระพุทธศาสนา โดยมีพระบรมสารีริกธาตุ (พระเขี้ยวแก้ว) และต้นพระศรีมหาโพธิ์ - เมืองรัตนปุระ (Ratanapura) เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงด้านการเป็นแหล่งอัญมณี และเครื่องประดับของศรีลังกา สถานที่ท่องเที่ยว ศรีลังกามีความพร้อมทางด้านการท่องเที่ยวทั้งการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์วิทยา การท่องเที่ยวในเชิงพุทธศาสนา ซึ่งเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวไทยให้ไปเที่ยวศรีลังกา 4 การท่องเที่ยวเชิงนิเวทน์วิทยา ศรีลังกายังคงมีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นประเทศหมู่เกาะ ที่มีชายหาดและภูเขา อันเป็นปลายทางส้าคัญของนักท่องเที่ยว ศูนย์กลางส าคัญทางพระพุทธศาสนา ศรีลังกามีสถานที่ส้าคัญทางพระพุทธศาสนาโดยเป็นที่ประดิษฐานเขี้ยวแก้ว ต้นศรีมหาโพธิ์ พระบรมสารีริกธาตุ ตลอดจนรอยพระบาท 2. การเมืองการปกครอง ระบบการเมืองการ ระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐมีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ ปกครอง (Head of State) พัฒนาการทางการเมือง ศรีลังกาเป็นประเทศที่มีอารยะธรรมเก่าแก่ประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชียใต้ ผ่านการ การปกครอง ปกครองจากมหาอ้านาจอาณานิคมตะวันตกมากถึง 3 ชาติ ได้แก่ โปรตุเกส เนเธอแลนด์ และอังกฤษ ขณะเดียวกันยังเผชิญกับสงครามกลางเมืองระหว่างเชื้อชาติสิงหลกับ 5 ทมิฬมานานกว่า 3 ทศวรรษ จนกระทั่งเกิดสันติภาพและความสงบในปี พ.ศ. 2552 อันเป็นปีแห่งการเริ่มต้นด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของ ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ภาษาสิงหลเป็นภาษาประจ้าชาติมีการใช้ร้อยละ 74 ภาษาทมิฬร้อยละ 18 ภาษาอื่นๆ ร้อยละ 8 วันชาติ 4 กุมภาพันธ์ ของทุกปี ตรงกับวันประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2491 ประธานาธิบดี ฯพณฯ มหินทรา ราชปักษา (H.E.Mahinda Rajapaksa) นายกรัฐมนตรี H.E. D. M. Jayaratne คณะรัฐมนตรี Minister (Senior) for Good Governance and Infrastructure H.E. Ratnasiri Wickremanayake Minister (Senior) for Human Resources H.E. D.E.W. Gunasekara Minister (Senior) for Rural Affairs H.E. Athauda Seneviratne Minister (Senior) for Food Security H.E. P. Dayaratne Minister (Senior) for Urban Affairs H.E. A.H.M. Fowzie 6 Minister (Senior) for Social Services H.E. Milroy Fernando Minister (Senior) for Consumer Welfare H.E. S.B. Navinne Minister (Senior) for National Resources H.E. Piyasena Gamage Minister (Senior) for Scientific Affairs H.E. Prof. Tissa Vitharana Minister (Senior) for International Monetary Co-operation H.E. Dr. Sarath Amunugama Minister of Irrigation and Water Resources Management H.E. Nimal Siripala de Silva Minister of Health H.E. Maithripala Sirisena Minister of Environment and Renewable Energy H.E. A.D. Susil Premajayantha Minister of Livestock and Rural Community Development H.E. Arumugan Thondaman Minister of Water Supply and Drainage H.E. Dinesh Gunawardena Minister of Traditional Industries and Small Enterprise Development H.E. Douglas Devananda Minister of Local Government and Provincial Councils H.E. A.L.M. Athaullah Minister of Industry and Commerce H.E. Abdul Rishad Bathiudeen 7 Minister of Technology,Research and Atomic Energy H.E. Patali Champika Ranawaka Minister of Construction, Engineering Services, Housing and Common Amenities H.E. Wimal Weerawansa Minister of Justice H.E. Rauff Hakeem Minister of Economic Development H.E. Basil Rajapaksa Minister of National Languages and Social Integration H.E. Wasudeva Nanayakkara Minister of Higher Education H.E. S.B. Dissanayake Minister of External Affairs H.E. Prof. G.L. Peiris Minister of Public Administration and Home Affairs H.E. W.D.J. Seneviratna Minister of Parliamentary Affairs H.E. Sumedha G. Jayasena Minister of Postal Services H.E. Jeevan Kumaranatunga Minister of Power and Energy H.E. Pavithra Wanniarachchi Minister of Petroleum Industries H.E. Anura Priyadarshana Yapa 8 Minister of Child Development and Women's Affairs H.E. Tissa Karalliyadda Minister of Labour Relations and Productivity Improvement H.E. Gamini Lokuge Minister of Education H.E. Bandula Gunawardena Minister of Plantation Industries H.E. Mahinda Samarasinghe Minister of Fisheries and Aquatic Resources Development H.E. Dr. Rajitha Senaratne Minister of Lands and Land Development H.E. Janaka Bandara Tennakoon Minister of Social Services H.E. Felix Perera Minister of Private Transport Services H.E. R.M.C.B. Ratnayake Minister of Agriculture H.E. Mahinda Yapa Abeywardena Minister of Mass Media and Information H.E. Dr. Keheliya Rambukwella Minister of Transport H.E. Kumara Welgama Minister of Youth Affairs and Skills Development H.E. Dallus Alahapperuma Minister of Co-operatives and Internal Trade H.E. Johnston Fernando 9 Minister of Rehabilitation and Prison Reforms H.E. Chandrasiri Gajadeera Minister of Indigenous Medicine H.E. Salinda Dissanayake Minister of Minor Export Crop Promotion H.E. Reginald Cooray Minister of Foreign Employment Promotion and Welfare H.E. Dilan Perera Minister of Civil Aviation H.E. Piyankara Jayaratna Minister of Coconut Development and Janata Estate Development H.E. Jagath Pushpakumara Minister of Culture and the Arts H.E. T.B. Ekanayake Minister of Disaster Management H.E. Mahinda Amaraweera Minister of Special Projects H.E. S.M. Chandrasena Minister of Resettlement H.E. M.H. Gunaratne Weerakoon Minister of Public Relations and Public Affairs H.E. Dr. Mervyn Silva Minister of Sports H.E. Mahindananda Aluthgamage Minister of State Resources and Enterprise Development H.E. Dayashritha Tissera 10 Minister of Telecommunication & Information Technology H.E. Ranjith Siyambalapitiya Minister of National Heritage H.E. Dr. Jagath M Balasooriya Minister of Sugar Industry Development H.E. Lakshman Senewiratne Minister of Public Management Reforms H.E. Naveen Dissanayake Minister of Investment Promotion H.E. Lakshman Yapa Abeywardena Minister of Botanical Gardens and Public Recreation H.E. Jayaratne Herath Minister of Education Services H.E. Duminda Dissanayake Minister of Wildlife Resources Conservation H.E. Gamini Vijith Vijayamuni Zoysa Minister of Productivity Promotion H.E. Basheer Segu Dawood วันสถาปนาความสัมพันธ์ สถาปนาความสัมพันธ์ระดับอัครราชทูต 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 ทางการทูตกับไทย สถาปนาความสัมพันธ์ระดับเอกอัครราชทูต 27 ธันวาคม พ.ศ. 2504 11 เอกอัครราชทูตไทยประจ าศรีลังกา นาย นพพร อัจฉริยวนิช (Mr. NOPPORN ADCHARIYAVANICH) เอกอัครราชทูตศรีลังกาประจ าประเทศไทย General Shantha Kottegoda การแบ่งเขตการปกครอง แบ่งเขตการปกครอง 9 จังหวัด 25 เขตการปกครองท้องถิ่น Central Province เมืองศูนย์กลางคือ Kandy Eastern Province เมืองศูนย์กลางคือ Trincomalee North Central Province เมืองศูนย์กลางคือ Anuradhapura Northern Province เมืองศูนย์กลางคือ Jaffna North Western Province เมืองศูนย์กลางคือ Kurunegala Western Province เมืองศูนย์กลางคือ Colombo Southern Province เมืองศูนย์กลางคือ Galle Sabaragamuwa Province เมืองศูนย์กลางคือ Ratnapura Uva Province เมืองศูนย์กลางคือ Badulla 12 3. เศรษฐกิจ อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับที่สูงนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนถึง ปัจจุบันไม่ต่้ากว่าร้อยละ 6.0 ยกเว้นในช่วงปี พ.ศ. 2552 ที่เกิดภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ โลกและความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศท้าให้มีอัตราการเจริญเติบโตเพียงร้อยละ 3.5 ทั้งนี้นับตั้งแต่การสิ้นสุดสงครามกลางเมือง ท้าให้รัฐบาลมีแนวทางในการพัฒนา ประเทศ และสามารถใช้อ้านาจในการปกครองประเทศได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นจึงมีการ วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ปี ฉบับที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2558 ภายใต้นโยบายหลัก “The emerging wonder of Asia – The development policy framework of government” เน้นทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยศรีลังกามีศักยภาพของ การเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่เชื่อมต่อระหว่างตะวันออกกับตะวันตก

View Full Text

Details

  • File Type
    pdf
  • Upload Time
    -
  • Content Languages
    English
  • Upload User
    Anonymous/Not logged-in
  • File Pages
    30 Page
  • File Size
    -

Download

Channel Download Status
Express Download Enable

Copyright

We respect the copyrights and intellectual property rights of all users. All uploaded documents are either original works of the uploader or authorized works of the rightful owners.

  • Not to be reproduced or distributed without explicit permission.
  • Not used for commercial purposes outside of approved use cases.
  • Not used to infringe on the rights of the original creators.
  • If you believe any content infringes your copyright, please contact us immediately.

Support

For help with questions, suggestions, or problems, please contact us