56 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2558 Influences of Different Soup Stocks on Chemical and Organoleptic Properties of Tom Yum Chutipapha Suwankanit1*, Sawanya Pandolsook1, Varaporn Vittayaporn1, Kriserm Tohtubtiang3, and Naruemon Nantaragsa2 1Food Processing Technology Program, School of Culinary Arts 2Culinary Technology Program, School of Culinary Arts Suan Dusit Rajabhat University, 295 Nakorn Ratchasima Road, Dusit, Bangkok 10300 3Thai Food Quality Co., Ltd. 43 Tanasarn Bldg., Chiengmai Road, Klongsan, Bangkok 10600 *Email:
[email protected] บทคดั ยอ่ ต้มยาเป็นอาหารไทยที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายทั้งในกลุ่มคนไทยและคนต่างชาติ สมุนไพร หลายชนิดถูกน ามาใช้เพื่อท าน้าซุปต้มย า เนื้อสัตว์ที่นิยมใส่ในต้มย าคือกุ้งสด ต้มยาแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ต้มยาน ้าใส (TYNS) และต้มยาน ้าข้น (TYNK) งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสูตรต้มยาน ้าใสและน ้าข้น พร้อม กับรายงานคุณค่าทางสุขภาพของต้มย า ผลทางเคมีและประสาทสัมผัส รวมทั้งการยอมรับของผู้บริโภคต่อ ผลิตภัณฑ์ ต้มย าทั้งสองสูตรได้รับการพัฒนาจากเชฟผู้เชี่ยวชาญอาหารไทยที่มีชื่อเสียง ซึ่งอยู่ในวงการนานกว่า 30 ปี สูตรน้าซุปที่ศึกษาส าหรับต้มย าน้าใส 3 ชนิด คือ (1) น้าเปล่า (2) น้าต้มเปลือกกุ้ง และ (3) น้าต้มกระดูกไก่ สาหรับต้มย าน้าข้น ชนิดน้าซุปที่ศึกษา 3 ชนิด คือ (1) น้าต้มเปลือกกุ้งเติมด้วยนมข้นจืด (2) น้าต้มเปลือกกุ้งเติม ด้วยน้ากะทิ และ (3) น้าต้ม เปลือกกุ้งเติมด้วยวิปปิ้งครีมผสมน้ากะทิ ทั้งสามสูตรของต้มย าแต่ละชนิดถูกคัดเลือก ด้วยการประเมินความชอบแบบ 9-point hedonic scale โดยใช้ผู้ทดสอบที่ผ่านการฝึกฝนจ านวน 20 คน