แบบ มจพ.(วจ)2556

ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research project) เพื่อเสนอขอรับทุนอุดหนุนงานวิจัยจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้–แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ประจ าปีงบประมาณ 2556 ------ส่วนที่ ก : ลักษณะข้อเสนอโครงการวิจัย โครงการวิจัยสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ (โปรดระบุ) ( ) 1. การผลิตบัณฑิตที่มีมาตรฐานและคุณภาพ ( ) 2. ความเป็นเลิศทางด้านการวิจัยและนวัตกรรม ( ) 3. การบูรณาการองค์ความรู้เพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถของชุมชน ( ) 4. การด ารงศิลปวัฒนธรรมและรักษาระบบนิเวศของทรัพยากรธรรมชาติ ( ) 5. การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

ประเภทโครงการวิจัย (โปรดระบุ)

( ) ประเภท 1 ประเภทงานวิจัยส าหรับนักวิจัยหน้าใหม่

( ) ประเภท 2 ประเภทงานวิจัยสถาบัน (  ) ประเภท 3 ประเภทงานวิจัยทั่วไป อื่นๆ ( ) ประเภท 4 ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน

ส่วน ข : องค์ประกอบในการจัดท าโครงการวิจัย 1. ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) การศึกษาทบทวนพืชเผ่าเวอร์โนนิอีวงศ์ทานตะวัน ในประเทศ ไทย (ภาษาอังกฤษ) Revision of tribe (Compositae) in Thailand ข้อสรุปโครงร่างงานวิจัย (Concept Paper) สืบเนื่องจาการศึกษาการศึกษาสัณฐานวิทยาและชีวโมเลกุลของพืชเผ่าเวอร์โนนิอีใน ประเทศไทย (Bunwong, 2010) โดยศึกษาอนุกรมวิธานเชิงสัณฐานวิทยาและชีวโมเลกุลของพืชเผ่า เวอร์โนนิอีในประเทศไทย ได้สร้างรูปวิธานระบุสกุล ระบุชนิดและพันธุ์ บรรยายลักษณะพืช บันทึก ชื่อพื้นเมือง การกระจายพันธุ์ นิเวศวิทยา และภาพวาดลายเส้น รวมทั้งการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ทางสัณฐานวิทยาของพืชเผ่านี้ในประเทศไทยจากลักษณะวิสัย และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทาง วิวัฒนาการ โดยอาศัยข้อมูลล าดับนิวคลีโอไทด์ในไรโบโซมดีเอ็นเอ บริเวณ internal transcribed spacer (ITS) และคลอโรพลาสต์ดีเอ็นเอ บริเวณยีน ndhF และต าแหน่ง trnL-F

1 แบบ มจพ.(วจ)2556

ขณะนั้นข้อมูลบางส่วนยังไม่ครบถ้วนและยังไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์ภายในกลุ่มพืชที่ ศึกษาได้สมบูรณ์นัก จึงมีความจ าเป็นต้องหาข้อมูลและตรวจเอกสารเพิ่มเติม เพื่อน ามาใช้ในการ วิเคราะห์การจัดจ าแนกใหม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้องมากที่สุด ก่อนจะน าไปตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ การศึกษาในครั้งนี้มุ่งเน้นไปยังการศึกษา ทบทวนพืชเผ่าเวอร์โนนิอีในประเทศไทยทั้งหมด เพื่อให้ได้ข้อมูลด้านการกระจายพันธุ์ การบรรยาย ลักษณะพืชตามหลักอนุกรมวิธาน การระบุพืชให้สอดคล้องกับระบบการจัดจ าแนกใหม่ของ Robinson (2007, 2009) เพื่อน ามาสร้างรูปวิธานของพืชเผ่านี้ในประเทศไทย รวมทั้งรวบรวม ภาพประกอบของพืชกลุ่มนี้ เพื่อน าไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ

2. ผู้วิจัย (โปรดแนบประวัติผู้วิจัยในข้อเสนอโครงการวิจัย ส่วนที่ 2) หัวหน้าโครงการวิจัย / ผู้วิจัย ต าแหน่งทางวิชาการ ชื่อ-นามสกุล ดร. สุคนธ์ทิพย์ บุญวงค์ สังกัด มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ สัดส่วนในการท าวิจัย ร้อยละ 100 ระบุหน้าที่ในโครงการวิจัย ดร. สุคนธ์ทิพย์ บุญวงค์ ผู้ร่วมวิจัย ต าแหน่งทางวิชาการ ชื่อ-นามสกุล สังกัด สัดส่วนในการท าวิจัย ร้อยละ ..... ระบุหน้าที่ในโครงการวิจัย ที่ปรึกษาโครงการวิจัย (ถ้ามี) ต าแหน่งทางวิชาการ ชื่อ-นามสกุล สังกัด

3. สาขาวิชาหรือกลุ่มวิชาที่ท าการวิจัย ศึกษาพื้นฐาน (วิทยาศาสตร์)

4. ค าส าคัญ (keywords) ของโครงการวิจัย การศึกษาทบทวน เวอร์โนนิอี วงศ์ทานตะวัน ประเทศไทย Revision, Vernonieae, Asteracea, Thailand

5. ความส าคัญและที่มาของปัญหาที่ท าการวิจัย ฯ พืชวงศ์ทานตะวัน () เป็นอีกหนึ่งวงศ์ที่มีจ านวนสมาชิกมากที่สุด โดยมีประมาณ 1,535 สกุล 23,000 ชนิด ซึ่งประกอบด้วย 3 วงศ์ย่อย คือ Barnadesioideae, 2 แบบ มจพ.(วจ)2556

และ Asteroideae (Bremer, 1994) พืชในวงศ์นี้มีความผันแปรด้านลักษณะวิสัยมาก โดยพบได้ทั้ง ไม้ล้มลุกปีเดียว ไม้ล้มลุกหลายปี ไม้พุ่ม ไม้เลื้อยที่มีเนื้อไม้ และไม้ต้นขนาดใหญ่ มีการกระจายพันธุ์ ตั้งแต่ที่ราบจนถึงภูเขาสูงที่มีลักษณะเป็นพื้นที่โล่งมีแดดส่องถึง (Funk et al., 2005) พืชจ านวนมาก ในวงศ์ทานตะวันให้คุณค่าทางเศรษฐกิจและทางการแพทย์ ได้แก่ พืชผัก เช่น ผักกาดหอมพันธุ์ ต่างๆ พืชน้ ามัน เช่น ดอกค าฝอย ดอกทานตะวัน เป็นยาปราบศัตรูพืช เช่น ไพรีทรัม และเป็นไม้ ดอกประดับเช่น เยอบีร่า ทานตะวัน เบญจมาศ (Jansen and Palmer, 1987) พืชในวงศ์ทานตะวันส่วนมากจะมีการสะสมสารประกอบกลุ่ม sesquiterpene lactones ซึ่ง นิยมน ามาใช้เป็นยาปราบแมลงศัตรูพืช ยับยั้งการเจริญเติบโตของแมลง และยับยั้งการเจริญของ เซลล์มะเร็ง (Krishnakumari, 2003) การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ของพืชกลุ่มนี้มีบันทึกไว้อย่าง กว้างขวาง เช่น การแพทย์แผนโบราณของชาวเผ่า Yi ในตอนใต้ของประเทศจีน ใช้ V. saligna (Wall.) DC ส าหรับการบ าบัดโรคหลายชนิด เช่น เจ็บคอ ไอ วัณโรค และสภาวะแท้ง (Huang et al., 2003) ชาวอินเดียใช้ประโยชน์จาก V. cinerea Less., V. roxburghii Less., V. teres Wall. และ Elephantopus scaber L. ในการขับเหงื่อ ลดไข้ เป็นยาบ ารุงสุขภาพ และรักษาอาการปวดท้อง (Kirtikar et al., 1984) ในประเทศไทยมีการใช้ประโยชน์จากพืชเผ่านี้อย่างกว้างขวางเช่นกัน เช่น ใช้ V. elliptica DC. รักษาโรคที่เกี่ยวกับทางเดินอาหารและเป็นยาฆ่าพยาธิได้ (Saralamp et al., n.d.) มีรายงานทางวิทยาศาสตร์จ านวนมากเกี่ยวกับสารเคมีที่ได้จากพืชในสกุล เช่น sesquiterpenoids, flavonoids และ triterpenoids (Huang et al., 2003) สารสกัดจากเอทธานอลของ ต้น V. cinerea สามารถรักษาอาการอักเสบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรังได้ (Mazumder et al., 2003) สารสกัดจากใบและเปลือกของ V. tenoreana Oliv. สามารถต่อต้านเชื้อ Staphylococcus aureus, S. faecalis, Bacillus subtilis, B. cereus, Shigella dysenteriae และ Klebsiella pneumonia (Ogundare et al., 2006) สาร zaluzanin D ที่สกัดได้จากส่วนเหนือดินของ V. arborea Buch.-Ham. มีฤทธิ์ต่อต้านเชื้อราได้ (Krishnakumari, 2003) และมีการค้นพบสารชนิดใหม่ที่ชื่อว่า vernonioside G (1) ที่สกัดได้จากรากของ V. cumingiana Benth. และน าไปใช้ในการแพทย์แผนจีน (Liu et al., 2005) พืชวงศ์ทานตะวันมีจ านวนสมากชิกมากเป็นเป็นพืชวงศ์ใหญ่ที่สุด 1 ใน 3 วงศ์ของประเทศ ไทย และในจ านวนนี้เป็นชนิดที่อยู่ในเผ่าเวอร์โนนิอีมากที่สุด การศึกษาความสัมพันธ์ของพืชเผ่านี้มี ความยุ่งยาก เนื่องจากมีลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่ซับซ้อนและมีความผันแปรสูง การใช้ข้อมูล จากลักษณะใดลักษณะหนึ่งจึงไม่เพียงพอต่อการจ าแนกความสัมพันธ์ของพืชกลุ่มนี้ จากการศึกษา อนุกรมวิธานเชิงสัณฐานวิทยาและชีวโมเลกุลของพืชเผ่าเวอร์โนนิอีของ Bunwong (2010) นั้นแสดง ให้เห็นว่าพืชในกลุ่มนี้หลายชนิดต้องการข้อมูลทางชีววิทยาเพิ่มเติมเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ภายใน กลุ่ม เช่น Vernonia curtisii และ Koyamasia calcarea ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันทางสัณฐานวิทยา และลักษณะทางชีวโมเลกุล แต่ถูกจัดให้อยู่คนละสกุล เมื่อเปรียบเทียบกับพืชชนิดอื่นทั้งหมดใน แผนภาพสายสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ ( phylogenetic tree) พบว่าพืชทั้งสองชนิดนี้มีความใกล้ชิดกัน

3 แบบ มจพ.(วจ)2556

มากที่สุด และมีสายสัมพันธ์เป็นพี่น้อง (sister clade) กับพืชสกุล Acilepis ซึ่งหากจะรวม Vernonia curtisii และ Koyamasia calcarea เข้าเป็นสกุล Acilepis ก็จะท าให้ค าจ ากัดความของสกุล Acilepis เปลี่ยนไป จึงควรแยกเป็นสกุลใหม่ร่วมกัน แต่อย่างไรก็ตามก็ยังต้องการข้อมูลทางชีววิทยาอื่นมา ประกอบการตัดสินใจเพื่อความชัดเจนและน่าเชื่อถือ เช่น ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ด จ านวนโครโมโซม และข้อมูลเชิงชีวโมเลกุลที่มากขึ้น นอกจากนี้ยังมีพืชอีกหลายชนิดที่อยู่ใน สถานการณ์เดียวกันกับพืช 2 ชนิดนี้ ที่ต้องการ ข้อมูลเพิ่มเติมในการประกอ บค าอธิบายถึง ความสัมพันธ์ในการจ าแนกกลุ่ม ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปที่การรวบรวมข้อมูลทาง สัณฐานวิทยาของพืชทุกชนิดในเผ่าเวอร์โนนิอีที่พบในประเทศไทย เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดจ าแนก ใหม่ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมากที่สุด เพื่อความสะดวกของผู้ศึกษาด้านอื่นๆ ที่จะน าพืชกลุ่มนี้ไป ใช้ประโยชน์ต่อไป

6. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 1.เพื่อรวบรวมข้อมูลทางสัณฐานวิทยา และการกระจายพันธุ์ของพืชเผ่าเวอร์โนนิอี วงศ์ ทานตะวัน ในประเทศไทย ซึ่งเป็นองค์ความรู้ไหม่ 2. เพื่อท าการจัดจ าแนกพืชเผ่า Vernonieae ตามการจัดจ าแนกระบบใหม่ที่เป็นปัจจุบัน

7. ขอบเขตของโครงการวิจัย ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการกระจายพันธุ์ของพืชเผ่าเวอร์โนนิอีในประเทศไทย รวม ระยะเวลา 1 ปี ตั้งแต่เดือนกันยายน 2555 ถึงเดือนสิงหาคม 2556

8. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถ้ามี) และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย ข้อมูลด้านลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการกระจายพันธุ์ของพืชเผ่าเวอร์โนนิอีนี้จะเป็น ข้อมูลส าคัญที่สามารถน ามาใช้ประกอบการตัดสินใจจ าแนกพืชในชนิดที่มีปัญหาในเผ่านี้ได้ เช่น ย้ายสกุล หรือตั้งชื่อพืชชนิดใหม่ หรือสกุลใหม่ของโลก

9. การทบทวนวรรณกรรม/ สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง พืชเผ่า Vernonieae จัดอยู่ในวงศ์ย่อย (subtribe) Cichrioideae ซึ่งเป็นเผ่าที่มีความผันแปร ทั้งทางสัณฐานวิทยาและชีวโมเลกุลมาก โดยมีจ านวนสมาชิกประมาณ 98 สกุล 1,300 ชนิด (Jones, 1977) สกุล Vernonia มีความซับซ้อนและมีจ านวนชนิดมากที่สุด คือ ประมาณ 1,000 ชนิด (Keeley and Turner, 1990) ศูนย์กลางการกระจายพันธุ์ของพืชเผ่า Vernonieae ในเขตโลกเก่า (the old world) อยู่ที่ประเทศบราซิล ขยายไปทางตอนใต้ถึงประเทศอาร์เจนตินา และทางตอนเหนือถึง ประเทศแคนนาดา ส่วนในเขตโลกเก่าก็มีแบบแผนการกระจายพันธุ์ที่คล้ายกัน คือ มีศูนย์กลางการ

4 แบบ มจพ.(วจ)2556

กระจายพันธุ์ที่แอฟริกาตะวันออก และแพร่กระจายไปยังหมู่เกาะมาดากาสกา จนถึงประเทศจีน (Keeley and Jansen, 1994) ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของพืชเผ่า Venonieae โดยเฉพาะระดับ เผ่าย่อยยังไม่ชัดเจนนัก ทั้งนี้ได้มีการศึกษาโดยนักพฤกษศาสตร์หลายท่าน เช่น Bentham (1873) ได้ใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาในการจัดกลุ่มพืชเผ่านี้ Jones (1970, 1979); Huang (1971); Kingham (1976); Keeley & Jones (1977, 1979) และ Blackmore (1986) ศึกษาข้อมูลทางเรณู วิทยา Faust & Jones (1973) และ Isawumi (1996) ศึกษาลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์และไทร โคม Jone (1979); Dematteis (1998, 2002) และ Adegbite & Ayodele (2004) ศึกษาเซลล์วิทยา และโครโมโซม และ King & Jones (1982) ได้ศึกษาความหลากหลายของสารทุติยภูมิ (secondary metabolite) ของพืชกลุ่มนี้ แต่อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเหล่านี้ก็ยังไม่เพียงพอต่อการอธิบาย ความสัมพันธ์ภายในของพืชกลุ่มนี้ได้อย่างชัดเจนนัก จึงยังมีความจ าเป็นที่จะต้องศึกษาลักษณะอื่น เพิ่มเติมต่อไป Kerr (1936) รายงานจ านวนชนิดพืชวงศ์ทานตะวันในประเทศไทย ซึ่งมีจ านวน 16 สกุล 196 ชนิด ในจ านวนนี้เป็นพืชเผ่า Vernonieae 28 ชนิด หลังจากนั้น Koyama (1981) นักพฤกษศาสตร์ ชาวญี่ปุ่น ได้เข้ามาศึกษาและเก็บตัวอย่างพืชทั่วเมืองไทยจ านวนกว่า 500 หมายเลข และได้ตีพิมพ์ ผลงาน เกี่ยวกับ อนุกรมวิธานของพืชวงศ์ทานตะวันในประเทศไทย ตอนที่ 1-17 (taxonomic studies in the Asteraceae of Thailand 1-17; 1984-2005) โดยการรายงานครั้งแรกในปี ค.ศ. 1984 พบพืช สกุล Camchaya, Elephantopus, Ethulia และ Struchium นอกจากนี้ยังได้เสนอให้ย้าย Iodocephalus eberhardtii Gagnep. มาอยู่ในสกุล Camchaya ในปี ค.ศ.1993 นั้น Koyama รายงานว่ามีพืชในหมู่ (section) Decaneurum (DC.) Oliver ใน ประเทศไทยจ านวน 6 ชนิด ซึ่งมีลักษณะของวงใบประดับที่คล้ายกัน แบ่งเป็นไม้เลื้อยที่มีเนื้อไม้ 4 ชนิด และไม้ล้มลุกที่คล้ายไม้พุ่มอีก 2 ชนิด ได้แก่ Vernonia andersonii C.B.Clarke, V. eberhardtii Gagnep., V. garrettiana Craib, V. scandens DC., V. divergens (DC.) Edgew. และ V. saligna DC. และปี ค.ศ. 1997 ได้รายงานเพิ่มเติมว่ามีพืชที่มีเนื้อไม้จ านวน 5 ชนิด ซึ่งอยู่ในหมู่ Strobocalyx Blume ได้แก่ V. arborea Buch.-Ham., V. elliptica DC., V. parishii Hook.f., V. solanifolia Benth. และ V. volkameriifolia DC. โดยทุกชนิดมีลักษณะของเมล็ดและแพปพัสที่คล้ายกัน ปีต่อมา Koyama (1998) พบพืชในหมู่ Tephrodes DC. อีก 2 ชนิดได้แก่ V. benguetensis Elm. และ V. cinerea (L.) Less และหมู่ Cyanopis Blume อีก 1 ชนิด คือ V. patula (Dryand) Merr. Koyama (2003) ได้ย้ายหมู่ Calcarea (Kitam.) H.Koyama จากเดิมที่อยู่ในสกุล Camchaya มาเป็นสกุล Vernonia และรายงานว่ามีพืชที่พบเฉพาะบนภูเขาหินปูนจ านวน 4 ชนิด ได้แก่ V. birmanica (Kuntze) Merr., V. pseudo-birmanica H. Koyama, V. curtisii Craib และ V. calcarea (Kitam.) H.Koyama ซึ่งพืชเหล่านี้มีลักษณะของผลที่คล้ายกัน มีแพปพัสที่ร่วงง่าย และมีโครโมโซม 18 แท่ง หรือ เป็นโพลีพลอยด์ของจ านวนนี้ และในปีถัดมาเขาได้รายงานว่ามีพืชในหมู่ Xipholepis (Steetz) Benth จ านวน 6 ชนิด ได้แก่ V. doichangensis H.Koyama, V. namnaoensis H.Koyama, V.

5 แบบ มจพ.(วจ)2556 ngaoensis H.Koyama, V. roxburghii Less., V. silhetensis (DC.) Craib และ V. squarrosa (D.Don) Less. มีเพียง V. pulicarioides Gagnep. เท่านั้นที่อยู่ในหมู่ Claotrachelus Zoll. et Mor. Koyama (2005) พบพืชในหมู่ Lepidaploa หมู่ย่อย Paniculatae จ านวน 9 ชนิด ได้แก่ V. attenuata DC., V. chiangdaoensis H.Koyama, V. kingii C.B.Clarke, V. kradungensis H.Koyama, V. principis Gagnep., V. pseudosutepensis H.Koyama และ V. sutepensis Kerr และนอกจากนี้ยัง พบ V. aff. tonkinensis Gagnep. และ V. aff. virgata Gagnep. จากการรายงานของ Koyama (1984, 1993, 1997, 1998, 2003, 2004 และ 2005) พบ พืชในเผ่า Vernonieae จ านวนทั้งสิ้น 44 ชนิด ถึงแม้จะมีการรายงานจ านวนชนิดของพืชเผ่า Vernonieae ในประเทศไทยมาบ้างแล้วแต่ส่วนมากเป็นการรายงานเฉพาะด้านสัณฐานวิทยาเท่านั้น จึงมีความจ าเป็นที่จะต้องศึกษาข้อมูลทางชีววิทยาด้านอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ดีพอต่อการ น ามาใช้อธิบายความสัมพันธ์ของพืชในเผ่า Vernonieae โดยเฉพาะสกุล Vernonia ที่มีความซับซ้อน ด้านสัณฐานวิทยามาก รวมทั้งการศึกษาพืชบางชนิดในอดีตนั้น มีจ านวนตัวอย่างอ้างอิงที่ใช้ ประกอบการศึกษาน้อยมาก โรบินสันและสควาร์ลา (Robinson and Skvarla, 2006, 2007, 2009) ได้ศึกษา อนุกรมวิธานของพืชเผ่านี้ทั่วโลกและได้เปลี่ยนแปลงล าดับอนุกรมวิธานของพืชที่ กระจายพันธุ์ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งประเทศไทย โดยได้ตั้งชื่อพืชสกุลใหม่จ านวน 8 สกุล การศึกษาทบทวนพรรณไม้เผ่าเวอร์โนนิอี (Vernonieae) วงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) ใน ประเทศไทย (Bunwong, 2010) โดยได้ใช้ชื่อพืชตามระบบของโรบินสัน พบพืชจ านวน 5 เผ่าย่อย แบ่งเป็น 16 สกุล 48 ชนิด ในจ านวนนี้จัดเป็นพืช ถิ่นเดียวที่พบเฉพาะในประเทศไทยจ านวน 14 ชนิด ได้แก่ Acilepis chiangdaoensis, A. doichangensis, A. namnaoensis, A. ngaoensis, A. principis, A. sutepensis, A. pseudosutepensis, Camchaya pentagona, C. spinulifera, C. tenuiflora, Koyamasia calcarea, Vernonia curtisii var. tomentosa, V. kerrii และ V. pseudobirmanica การ ค้นพบ ครั้งนี้นับเป็นการเพิ่มข้อมูลพื้นฐานที่ส าคัญสาหรับการประยุกต์ใช้ประโยชน์และการวางแผน อนุรักษ์พืชกลุ่มนี้ในอนาคต

10. เอกสารอ้างอิงของโครงการวิจัย

Adegbite, A.E. and Ayodele, M.S. 2004. Cytogenetic and phylogenetic studies in the genus Vernonia Schreb. Feddes Repertorium 115(7-8): 513-518. Bentham, G. 1873. Notes on the classification, history and geographical distribution of the Compositae. Journal of the Linnean Society, Botany 13: 335-577. Blackmore, S. 1986. The identification and taxonomic significance of lophate pollen in the Compositae. Canadian Journal of Botany 64: 3101-3112. 6 แบบ มจพ.(วจ)2556

Bremer, K. 1994. Asteraceae: Cladistics and Classification. Timber Press, Portland Oregon. Bunwong, S. 2010. Morphological and Molecular Systematics Study of Vernonieae (Asteraceae) in Thailand. Ph.D. Thesis, Khon Kaen University. Dematteis, M. 1998. Chromosome studies of some Vernonia species (Asteraceae). Genetics and Molecular Biology 21(3): 381-385. _____. 2002. Cytotaxonomic analysis of South American species of Vernonia (Vernonieae: Asteraceae). Botanical Journal of the Linnean Society 139: 401- 408 Faust, W.Z. and Jones, S.B. 1973. The systematic value of trichome complements in a North American group of Vernonia (Compositae). Rhodora 75: 517-528. Funk, V.A., Bayer, R.J., Keeley, S., Chan, R., Watson, L., Gemeinholzer, B., Schilling, E., Panero, J.L., Baldwin, B.G., Garcia-Jacas, N., Susanna, A. and Jansen, R.K. 2005. Everywhere but Antarctica: using a supertree to understand the diversity and distribution of the Compositae. Biologiske Skrifter 55: 343-374. Huang, T.C. 1971. Pollen Flora of Taiwan. National Taiwan University, Botany Departments Press. Huang, Y., Ding, Z.-H. and Liu, J.K. 2003. A new highly oxygenated flavone from Vernonia saligna. Zeitschrift für Naturforschung 58: 347-350. Isawumi, M.A. 1996. Trichome types and their taxonomic value at the sectional and species level in West African Vernonia (Compositae). In: Compositae: Systematics. Proceedings of the International Compositae Conference, Kew 1994. D.J.N. Hind and H. Beentje (Eds). Vol. 1: 29-39. Jansen, R.K. and Palmer, J.D. 1987. A chloroplast DNA inversion marks an ancient evolutionary split in the sunflower family (Asteraceae). Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America 84: 5818-5822. Jones, S.B. 1970. Scanning electron microscopy of pollen as an aid to the systematics of Vernonia (Compositae). Bulletin of the Torrey Botanical Club 97(6): 325-335. _____. 1977. Vernonieae-Systematic Review. In: The Biology and Chemistry of the Compositae. V.H. Heywood, J.B., Harborne and B.L. Turner (Eds.), pp. 503-521. Academic Press, London.

7 แบบ มจพ.(วจ)2556

_____. 1979. Synopsis and pollen morphology of Vernonia (Compositae: Vernonieae) in the New World. Rhodora 81: 425-447. Keeley, S.C. and Jansen, R.K. 1994. Chloroplast DNA restriction site variation in the Vernonieae (Asteraceae), an initial appraisal of the relationship of New and Old World taxa and the monophyly of Vernonia. Systematics and Evolution 193: 249- 265. Keeley, S.C. and Jones, S.B. 1977. Taxonomic implications of external pollen morphology to Vernonia (Compositae) in the West Indies. American Journal of Botany 64(5): 576-584. Keeley, S.C. and Jones, S.B. 1979. Distribution of pollen types in Vernonia (Vernonieae: Compositae). Systematic Botany 4: 195-202. Keeley, S.C. and Turner, B.L. 1990. A preliminary cladistic analysis of the genus Vernonia (Vernonieae:Asteraceae). Plant Systematics and Evolution 4(l): 45-66. Kerr, A.F.G. 1936. Vernonia Schreb. Flora Siamensis Enumeratio 2(3): 236-245. King, B.L. and Jones, S.B. 1982. Chemosystematics of Vernonia series Flexuosae (Verninieae:Compositae). Bulletin of the Torrey Botanical Club 109(3): 279-286. Kingham, D.L. 1976. A study of the pollen morphology of tropical African and certain other Vernonieae (Compositae). Kew Bulletin 31: 9-26. Kirtikar, K.R., Basu, B.D. and I.C.S. 1984. Indian Medicinal . Latit mohan basu, India. Koyama, H. 1981. Taxonomic studies in the Compositae of Thailand 1. Acta Phytotaxonomica Geobotanica 32(1-4): 56-67. _____. 1984. Taxonomic studies in the Compositae of Thailand 3. Acta phytotaxonomica Geobotanica 15(1-3): 49-57. _____. 1993. Taxonomic studies in the Compositae of Thailand 10. Vernonia Schreb. Sect. Decaneurum (DC.) Oliver. Acta Phytotaxonomica Geobotanica 44(1): 29-34. _____. 1997. Taxonomic studies in the Compositae of Thailand 11. Vernonia Schreb. sect. Strobocalyx Bl. Bulletin of the Science Museum Series B (Botany) 23(4): 159-166. _____. 1998. Taxonomic studies in the Compositae of Thailand 12. Vernonia Schreb. sect. Tephrodes DC. and sect. Cyanopis Bl. Bulletin of the Science Museum Series B (Botany) 24(3): 109-115.

8 แบบ มจพ.(วจ)2556

_____. 2003. Taxonomic studies in the Compositae of Thailand 15. Vernonia Sect. Calcarea comb. nov. Bulletin of the Science Museum Series B (Botany) 29(1): 15-22. _____. 2004. Taxonomic studies in the Compositae of Thailand 16. Vernonia Sect. Xipholepis and Claotrachelus. Bulletin of the Science Museum Series B (Botany) 30(1): 21-34. _____. 2005. Taxonomic studies in the Compositae of Thailand 17. Vernonia Sect. Lepidaploa Subsect. Paniculatae. Bulletin of the Science Museum Series B (Botany) 31(2): 67-78. Krishnakumari, G.N., Masilamani, S., Ganesh, M.R., Aravind, S. and Sridhar, S.R. 2003. Zaluzanin D: a fungistatic sesquiterpene from Vernonia arborea. Fitoterapia 74: 479-482. Liu, Q.-H., Yuan, J.-Q., Suo, M.-R. and Yang, J.-S. 2005. Chemical Constituents of the Roots of Vernonia cumingiana Benth. Acta Botanica Sinica 47(8): 1016-1020. Mazumder, U.K., Gupta, M., Manikandan, L., Bhattacharya, S., Haldar, P.K. and Roy, S. 2003. Evaluation of anti-inflammatory activity of Vernonia cinerea Less. extract in rats. Phytomedicine 10: 185-188. Ogundare, A.O., Adetuyi, F.C. and Akinyosoye, F.A. 2006. Antimicrobial activities of Vernonia tenoreana. African Journal of Biotechnology 5(18): 1663-1668. Robinson, H. and Skvarla, J.J. 2006. Studies on the Gymnantheminae (Vernonieae: Asteraceae): restoration of the genus Monosis. Proceedings of the Biological Society of Washington 119: 600–607. ______. 2007. Studies on the Gymnantheminae (Vernonieae: Asteraceae) II: A new genus, Decaneuropsis, from China, India, and southeast Asia. Proceedings of the Biological Society of Washington 120: 359–366. ______. 2009. Study on the Paeotropical Vernonieae (Asteraceae): addition to the genus Acilepis from southern Asia. Proceedings of the Biological Society of Washington 122: 131–145. Saralamp, P., Chuakul, W., Temsiririrkkul, R. and Clayton, T. n.d. Medicinal Plant in Thailand. Vol. 1. Department of Pharmaceutical Botany, Faculty of Phamacy, Mahidol University, Bangkok.

11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เช่น การเผยแพร่ในวารสาร จดสิทธิบัตร ฯลฯ

9 แบบ มจพ.(วจ)2556

หน่วยงานที่ท าผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ได้บทความเผยแพร่ในวารสารวิชาการจ านวนที่มี Reviewer จ านวนอย่างน้อย 1 เรื่อง

12. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือผลวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลที่ได้จะเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนวิชาพฤกษศาสตร์ ส าหรับนักศึกษาสาขา เทคโนโลยีการผลิตพืช และเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

13. วิธีการด าเนินการวิจัย และสถานที่ท าการทดลอง/เก็บข้อมูล 13.1 วิธีด าเนินการวิจัย 1. ตรวจเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2. เก็บรวบรวมตัวอย่างเมล็ดของพืชเผ่าเวอร์โนนีอี วงศ์ทานตะวัน จากตัวอย่างพรรณไม้แห้ง และตัวอย่างดองที่เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์พืชในประเทศไทย และตัวอย่างสดที่จากภาคสนาม 3. เขียนบรรยายลักษณะพืชตามหลักอนุกรมวิธาน 4. สร้างรูปวิธานระบุ สกุล ชนิด และพันธุ์ 5. เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 13.2 สถานที่ท าวิจัย 1. พิพิธภัณฑ์พืชในประเทศไทย ได้แก่ พิพิธภัณฑ์พืชกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช (BKF) พิพิธภัณฑ์พืชสิรินธร (BK) พิพิธภัณฑ์พืชสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ (QBG) พิพิธภัณฑ์พืชภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ( KKU) และพิพิธภัณฑ์พืช ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU) 2. ห้องปฏิบัติการของศูนย์อนุกรมวิธานประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 3. มหาวิทยาลัยแม่โจ-้ แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

14. ระยะเวลาท าการวิจัย และแผนการด าเนินงานตลอดโครงการวิจัย (ให้ระบุขั้นตอนอย่าง ละเอียด) ระยะการวิจัย 1 ปี มีรายละเอียดดังน ี้ กิจกรรม เดือนทื่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1. ตรวจเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2. เก็บรวบรวมตัวอย่างจากภาคสนาม 3. บรรยายลักษณะพืช 4. สร้างรูปวิธาน 5. ตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ

10 แบบ มจพ.(วจ)2556

6. เขียนรายงานการวิจัย 15. ปัจจัยที่เอื้อต่อการวิจัย (อุปกรณ์วิจัย โครงสร้างพื้นฐาน ฯลฯ ) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ มีความพร้อมและสามารถสนับสนุนด้าน อุปกรณ์การวิจัยพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย เช่น กล้องสเตอริโอ ห้องปฏิบัติการ และอุปกรณ์ ส านักงาน

16. งบประมาณของโครงการวิจัย (แสดงรายละเอียดของงบประมาณ) งบประมาณตลอดการท าวิจัย 20,000 บาท มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ค่าอุปกรณ์และสารเคมี เช่น ขวดดองตัวอย่างขนาดต่างๆ แอลกอฮอล์ส าหรับดอง ตัวอย่าง กรดอะซิติก ฟอร์มาลีน 10,000 บาท 2. ค่าใช้สอย เช่น 2.1 ค่าน้ ามันเชื้อเพลิงส าหรับการเดินทางไปรวบรวมข้อมูล และตรวจสอบตัวอย่างแห้ง ที่เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์พืชต่างๆ 7,000 บาท 2.2 ค่าจัดท ารูปเล่มฉบับสมบูรณ์ 1,000 บาท 2.3 ค่าอุปกรณ์ส านักงาน และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น กระดาษปริ้นรูปสี หมึกปริ้น 2,000 บาท

17. ผลส าเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รายงานฉบับสมบูรณ์จ านวน 1 เล่ม 2. ได้บทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มี reviewer จ านวนอย่างน้อย 1 เรื่อง 3. ได้มีการเปลี่ยนสถานะ และตั้งชื่อใหม่ของพืชในกลุ่มนี้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการน าพืช กลุ่มนี้ไปใช้ประโยชน์ต่อไป

18. ค าชี้แจงอื่น ๆ (ถ้ามี) - 19. ลงลายมือชื่อ หัวหน้าโครงการวิจัยและคณะผู้วิจัย พร้อมวันเดือนปี วัน / เดือน / ปี ชื่อ - สกุล ลายมือชื่อ หน่วยงาน 19/ 11 / 2553 น.ส. สุคนธ์ทิพย์ บุญวงค์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ ฯ

11 แบบ มจพ.(วจ)2556

ส่วนที่ ค : ประวัติคณะผู้วิจัย 1. ต าแหน่งทางวิชาการ-ชื่อ -นามสกุล (ภาษาไทย) อาจารย์ ดร. สุคนธ์ทิพย์ บุญวงค์ (ภาษาอังกฤษ) Dr. Sukhonthip Bunwong

2. หมายเลขบัตรประชาชน 3331000327576

3. รับราชการ/พนักงานมหาวิทยาลัย เมื่อ วันที่ 4 สิงหาคม 2547 4. ต าแหน่งปัจจุบัน อาจารย์

5. หน่วยงานและสถานที่ติดต่อได้สะดวก ภาควิชา กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คณะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ โทรศัพท์ (ที่ท างาน) 054 648593-5 (ที่บ้าน)- โทรศัพท์มือถือ 089-7219809 E-mail address [email protected], [email protected]

6. ประวัติการศึกษา ปีที่ ระดับ วุฒิการศึกษา/ สาขาเอก ชื่อสถาบัน ประเทศ จบ การศึกษา ประกาศนียบัตร 2544 ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต ชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย 2547 ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย 2553 ปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย เอก

6. สาขาวิชาการที่มีความช านาญเป็นพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา) ระบุสาขาวิชาการ อนุกรมวิธานพืช (plant , systematic botany) กายวิภาคศาสตร์ของพืช (plant anatomy)

7. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยระบุ สถานภาพในการท างานวิจัยว่าเป็นผู้อ านวยการแผนงานวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย หรือ ผู้ร่วมวิจัยในแต่ละแผนงาน 7.1 ผลงานวิจัยที่ท าแล้วเสร็จ : ชื่อผลงานวิจัย ปีที่พิมพ์ การเผยแพร่ แหล่งทุน

12 แบบ มจพ.(วจ)2556

1. Bunwong, S., Chantaranothai, P. and Thammathaworn, A. 2004. Taxonomy of Tribe Vernonieae (Asteraceae) in Thailand. KKU Research Journal (Graduate Studies) 4: 1-11. 2. Pornpongrungreung, P., Vanijajiva, O. and Bunwong, S. 2006. A historical study of Thai Asteraceae. In: Proceedings of the International Compositae Alliance (TICA-Deep Achene). Barcelona, Spain. 3. Bunwong, S. and Chantaranothai, P. 2008. Pollen Morphology of the Tribe Vernonieae (Compositae) in Thailand. The Natural History Journal of Chulalongkorn University 8(1): 45-55. 4. Bunwong S., Robinson, H. & Chantaranothai, P. 2009. Taxonomic notes on Camchaya and Iodocephalus (Vernonieae: Asteraceae), and a new genus Iodocephalopsis. Proceedings of the Biological Society of Washington 122(3): 357-363. 5. Robinson, H., Bunwong, S. & Chantaranothai, P. 2010. A new genus, Kurziella from Thailand (Vernonieae: Asteraceae). Proceedings of the Biological Society of Washington. 123(2):174–178. 6. Bunwong, S. and Chantaranothai, P. 2010. A new record of Pseudelephantopus spicatus C.F.Baker (Asteraceae) from Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany). 38: 124 – 127. 7. Bunwong, S., Keeley S.C. and Chantaranothai, P. 2012. A new species of Camchaya (Asteraceae, Vernonieae) from Thailand. Phytokeys. 12: 53-57.

13