รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

โครงการจัดทำฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์

เสนอ

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์

โดย

สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กันยายน 2562 สารบัญ บทที่ หน้าที่

1 บทน า 1-1 1.1 ที่มา และความส าคัญ 1-1 1.2 วัตถุประสงค์ 1-2 1.3 ขอบเขตการด าเนินงาน 1-2 1.4 ขั้นตอนการศึกษา 1-3 1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1-3 1.6 แผนการด าเนินงาน 1-4 1.7 ขอบเขตพื้นที่จัดเก็บข้อมูล 1-5

2 วิธีการศึกษา 2-1 2.1 ขั้นตอนการส ารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ 2-1 2.2 ขั้นตอนการส ารวจข้อมูลเชิงเศรษฐกิจของย่านสร้างสรรค์ 2-10

3 การพัฒนาฐานข้อมูลและเว็ปไซต์น าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ 3-1 3.1 แนวคิดในการพัฒนาฐานข้อมูล และเว็ปไซต์น าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ 3-1 3.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนาฐานข้อมูล และเว็ปไซต์น าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ 3-3 3.3 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง 3-4 3.4 รูปแบบการเผยแพร่ และการใช้ประโยชน์ข้อมูล 3-5

4 สรุปผลส ารวจข้อมูลลักษณะทางกายภาพ 4-1 4.1 ผลส ารวจจ านวนอาคารในพื้นที่ 4-1 4.2 การประมาณการขนาดพื้นที่อาคาร จ าแนกตามประเภทอาคาร และพื้นที่ 4-3 4.3 ผลส ารวจพื้นที่ว่าง อาคารว่างในพื้นที่ 4-5

5 ผลส ารวจธุรกิจภายในย่านสร้างสรรค์ 5-1 5.1 ผลส ารวจปริมาณหน่วยธุรกิจ 5-6 สารบัญ บทที่ หน้าที่

5.2 ผลส ารวจกิจกรรมทางธุรกิจ และจ านวนหน่วยธุรกิจ แบ่งตามอุตสาหกรรมและการ 5-6 สร้างสรรค์ 5.3 ประมาณการขนาดพื้นที่ใช้สอยของแต่ละธุรกิจ จ าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 5-18 สร้างสรรค์ 5.4 ปริมาณหน่วยธุรกิจที่เปิดใหม่ในย่านสร้างสรรค์ และพื้นที่ต่อเนื่อง 5-19

6 ผลส ารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-1 6.1 พื้นที่สร้างสรรค์ประเภทอาคาร และพื้นที่จัดแสดง 6-1 6.2 พื้นที่สร้างสรรค์ประเภทกราฟิตี้ และอื่น ๆ 6-52

7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ 7-1 7.1 ธุรกิจบริการออกแบบ 7-2 7.2 ธุรกิจแกลเลอรี 7-10 7.3 ธุรกิจภาพถ่าย 7-15 7.4 ธุรกิจงานหัตถกรรม 7-20 7.5 ธุรกิจอาหาร และเครื่องดื่ม 7-23

8 การคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจ และ 8-1 แนวทางการด าเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนา และส่งเสริมพื้นที่สู่ย่านสร้างสรรค์ 8.1 คาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจ 8-1 8.2 แนวทางการด าเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนา และส่งเสริมพื้นที่สู่ย่านสร้างสรรค์ 8-3

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้าที่

1.1 รายละเอียด และแผนการด าเนินงาน 1-4

2.1 รายละเอียดการเก็บข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ ข้อมูลทางกายภาพของอาคาร และ 2-1 พื้นที่ 2.2 รายละเอียดการเก็บข้อมูลประเภทธุรกิจ 2-2 2.3 ประเด็นที่ใช้ในการส ารวจข้อมูลเชิงเศรษฐกิจ 2-10

4.1 จ านวนอาคารในพื้นที่ จ าแนกตามประเภทอาคาร และพื้นที่ 4-2 4.2 ประมาณการขนาดพื้นที่อาคาร (ตร.ม.) จ าแนกตามประเภทอาคาร 4-3 4.3 จ านวนอาคารว่างทั้งหมด รวมทาวเวอร์ (หลัง) จ าแนกตามประเภทอาคาร 4-5

5.1 จ าแนกธุรกิจตามกลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 5-3 5.2 จ านวนธุรกิจทั้งหมดในพื้นที่ (หน่วยธุรกิจ) 5-6 5.3 จ านวนกิจกรรมทางธุรกิจ และจ านวนหน่วยธุรกิจ แบ่งตามอุตสาหกรรมและการ 5-7 สร้างสรรค์ 5.4 ปริมาณธุรกิจ จ าแนกตามลักษณะการด าเนินงานในแต่ละอุตสาหกรรม 5-12 5.5 ประมาณขนาดพื้นที่ แบ่งตามกลุ่มอุตสาหกรรม 5-18 5.6 รายชื่อธุรกิจเปิดใหม่ในย่านสร้างสรรค์ และพื้นที่ต่อเนื่อง 5-20

6.1 รายละเอียดเกี่ยวกับโรงหนังปริ้นซ์ 6-2 6.2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 6-3 6.3 รายละเอียดเกี่ยวกับศูนย์การค้า OP Garden 6-5 6.4 รายละเอียดเกี่ยวกับ Serindia Gallery 6-5 6.5 รายละเอียดเกี่ยวกับ Atta Gallery 6-7 สารบัญตาราง ตารางที่ หน้าที่

6.6 รายละเอียดเกี่ยวกับศูนย์การค้า OP Place 6-9 6.7 รายละเอียดเกี่ยวกับอาคารอีสต์ เอเชียติก 6-11 6.8 รายละเอียดเกี่ยวกับบ้านเลขที่ 1 และโกดังบ้านเลขที่ 1 6-12 6.9 รายละเอียดเกี่ยวกับ Warehouse 30 6-13 6.10 รายละเอียดเกี่ยวกับ The Jam Factory 6-14 6.11 รายละเอียดเกี่ยวกับ ATT19 6-16 6.12 รายละเอียดเกี่ยวกับวัดแม่พระลูกประค า (กาลหว่าร์) 6-17 6.13 รายละเอียดเกี่ยวกับวัดแม่พระลูกประค า (กาลหว่าร์) 6-17 6.14 รายละเอียดเกี่ยวกับศูนย์การค้า River City 6-18 6.15 รายละเอียดเกี่ยวกับชุมชนมัสยิดฮารูณ 6-20 6.16 รายละเอียดเกี่ยวกับบ้านพักต ารวจน ้า 6-20 6.17 รายละเอียดเกี่ยวกับบ้านโซวเฮงไถ่ 6-21 6.18 รายละเอียดเกี่ยวกับศาลเจ้า โจว ซือ กง (วัดซุน เฮง ยี่) 6-22 6.19 รายละเอียดเกี่ยวกับ The Pininsula 6-23 6.20 รายละเอียดเกี่ยวกับ Mandarin Oriental Bangkok 6-23 6.21 สรุปประมาณการพื้นที่จัดแสดงภายในย่าน จ าแนกตามประเภทพื้นที่ 6-25 6.22 ปฏิทินกิจกรรมภายในย่าน 6-28 6.23 กิจกรรมภายในย่านที่เกี่ยวกับงานออกแบบ/ ศิลปะ 6-38 6.24 กิจกรรมภายในย่านที่เกี่ยวกับงานภาพถ่าย 6-44 6.25 กิจกรรมภายในย่านที่เกี่ยวกับงานภาพยนตร์ 6-45 6.26 กิจกรรมภายในย่านที่เกี่ยวกับงานแสดง/ ดนตรี 6-45 6.27 กิจกรรมภายในย่านประเภท Workshop/ Talk 6-45 6.28 กิจกรรมภายในย่านประเภทกิจกรรมทางสังคม 6-47 6.29 กิจกรรมภายในย่านประเภทงานของเอกชน 6-48 6.30 กิจกรรมภายในย่านประเภทอื่นๆ 6-48 สารบัญตาราง ตารางที่ หน้าที่

6.31 ความถี่ของกิจกรรมประเภทต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2561- 2562 6-49 6.32 ผลรวมต าแหน่งพื้นที่สร้างสรรค์ ประเภทผลงานศิลปะ 6-69

7.1 Supply Chain ของธุรกิจบริการออกแบบสถาปัตยกรรม 7-2 7.2 Supply Chain ของธุรกิจบริการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 7-5 7.3 Supply Chain ของธุรกิจบริการออกแบบแสงสว่าง 7-7 7.4 Supply Chain ของธุรกิจ Commercial Gallery 7-11 7.5 Supply Chain ของธุรกิจพื้นที่เช่าจัดแสดง 7-12 7.6 Supply Chain ของธุรกิจบริการล้าง-ขายฟิลม์ และ Workshop 7-15 7.7 Supply Chain ของธุรกิจ ปริ้นท์ภาพถ่าย 7-17 7.8 Supply Chain ของธุรกิจร้านดอกไม้ 7-20 7.9 Supply Chain ของธุรกิจร้านเครื่องดื่ม 7-23

8.1 อัตราการเติบโตของธุรกิจในพื้นที่ 8-1

สารบัญภาพ ภาพที่ หน้าที่

1-1 ขอบเขตพื้นที่จัดเก็บข้อมูล 1-5

3-1 เว็บ Capital Planning Platform ส าหรับน าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านต่าง ๆ 3-2 ของนครนิวยอร์ค ที่เปิดให้สาธารณะเข้าถึงข้อมูลและมีส่วนร่วมในการวางแผน เมืองบนฐานของข้อมูล โดย NYC Department of City Planning 3-2 เว็บ KiiD Maps ส าหรับจัดการ วิเคราะห์ และน าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ 3-2 เพื่อศึกษาศักยภาพย่านกล้วยน ้าไทในการพัฒนาเป็นย่านนวัตกรรม โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ร่วมกับบริษัท มอ แอนด์ ฟาร์มเมอร์ จ ากัดและทุนสนับสนุนจากส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ 3-3 โครงสร้างการท างานของฐานข้อมูลและเว็บไซต์ย่านสร้างสรรค์บางรักและพื้นที่ 3-3 ข้างเคียง 3-4 ส่วนติดต่อผู้ใช้งานซอฟต์แวร์ Quantum GIS ที่เปิดไฟล์ QGZ ส าหรับคณะวิจัย 3-7 และส ารวจใช้บันทึกและตรวจสอบข้อมูล 3-5 องค์ประกอบส่วนติดต่อผู้ใช้งานที่ออกแบบส าหรับคณะวิจัยและส ารวจบันทึก 3-7 และตรวจสอบข้อมูล 3-6 ตัวอย่างหน้าเว็บไซต์แสดงผลข้อมูลในชั้นข้อมูลกายภาพอาคาร เมื่อกดดูข้อมูล 3-9 อาคาร 3-7 หน้าเว็บไซต์แสดงผลส่วนคัดกรองข้อมูลประเภทอาคาร ในชั้นข้อมูลกายภาพ 3-10 อาคาร 3-8 หน้าเว็บไซต์แสดงผลชั้นข้อมูลอาคารบนแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม 3-10

4-1 ร้อยละของอาคารในพื้นที่ส ารวจ แยกตามประเภทอาคาร 4-1 4-2 ร้อยละของการประมาณการขนาดพื้นที่อาคาร แยกตามประเภทอาคาร 4-4 4-3 ร้อยละของจ านวนอาคารว่าง แยกตามประเภทอาคาร 4-6 สารบัญภาพ ภาพที่ หน้าที่

4-4 เปรียบเทียบระหว่างจ านวนอาคารทั้งหมด กับอาคารว่าง แยกตามประเภท 4-7 อาคาร (ร้อยละ)

5-1 ล าดับการคัดกรองข้อมูลธุรกิจ 5-1 5-2 สัดส่วนกิจกรรมทางธุรกิจ (ร้อยละ) จ าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 5-10 5-3 สัดส่วนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่ส ารวจ 5-11 5-4 สัดส่วนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์แต่ละประเภท จ าแนกตามลักษณะการ 5-17 ด าเนินงานของธุรกิจ

6-1 ต าแหน่งพื้นที่สร้างสรรค์ ประเภทอาคารและพื้นที่จัดแสดง 6-1 6-2 Prince Theatre Heritage Stay 6-2 6-3 อาคารไปรษณีย์กลาง บางรัก 6-3 6-4 OP Garden 6-4 6-5 Serindia Gallery 6-5 6-6 Atta Gallery 6-7 6-7 ศูนย์การค้า OP Place 6-9 6-8 อาคารอีสต์ เอเชียติก 6-11 6-9 บ้านเลขที่ 1 และโกดังบ้านเลขที่ 1 6-12 6-10 Warehouse 30 6-13 6-11 The Jam Factory 6-14 6-12 ATT19 6-15 6-13 วัดแม่พระลูกประค า (กาลหว่าร์) 6-16 6-14 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย 6-17 6-15 ศูนย์การค้า River City 6-18 6-16 บรรยากาศภายในชุมชนมัสยิดฮารูณ 6-19 สารบัญภาพ ภาพที่ หน้าที่

6-17 บ้านพักต ารวจน ้า 6-20 6-18 บ้านโซวเฮงไถ่ 6-21 6-19 ศาลเจ้า โจว ซือ กง (วัดซุน เฮง ยี่) 6-22 6-20 โรงแรม The Pininsula Bangkok 6-22 6-21 ผลงาน Lost Dog หน้าโรงแรม Mandarin Oriental Bangkok 6-23 6-22 ต าแหน่งพื้นที่ศิลปะ 6-52 6-23 แอ่งน ้าในจินตนาการ ของ Daan Botlek 6-53 6-24 รถไฟบ้านเกสร ด้านหลังธนาคารกรุงเทพฯ สาขาบางรัก 6-53 6-25 ผลงานของ Kashink (ศิลปินฝรั่งเศส) ร่วมกับ Wers (ศิลปินเปรู) 6-54 Mue Bon Muebon (ศิลปินชาวไทย) 6-26 ผลงานของศิลปิน Wers - Kashink - Mue Bon 6-54 6-27 #วาระนมแม่แห่งโลก โดยคุณศุภิสรา เปรมกมลมาศ (Supis) 6-55 6-28 กราฟิตี้บริเวณซอยข้าง Jewelry Hub 6-55 6-29 เด็กร้องไห้ โดยคุณทศพร เหมือนสุวรรณ 6-56 6-30 ผลงานของ BONUS TMC กับ LOLAY ศิลปินชาวไทย 6-56 6-31 ผลงานของ Alexmardi 6-57 6-32 ผลงานของ Sabek 6-57 6-33 ผลงานของ Alexmardi (2) 6-58 6-34 ผลงานของ Lolay 6-58 6-35 ผลงานของ BONUS TMC และ Phai Tanasan 6-59 6-36 ผลงานศิลปะบริเวณก าแพงรั้วไปรษณีย์กลาง บางรัก 6-59 6-37 ผลงานศิลปะ “Book” โดยคุณเหนือ จักรกฤษณ์ อนันตกุล 6-60 6-38 ผลงานศิลปะบริเวณ Warehouse 30 6-60 6-39 ผลงานศิลปะ “Education For All” โดยคุณน ้าน้อย ปรียศรี พรหมจินดา 6-61 6-40 ผลงานศิลปะบริเวณซอยพุทธโอสถ 6-61 สารบัญภาพ ภาพที่ หน้าที่

6-41 ผลงานของ Sten and Lex สองศิลปินจาก อิตาลี 6-62 6-42 ผลงานศิลปะแกสลักนูนต ่า โดย อเล็กซานเดอร์ ฟาร์โต (วิลส์) 6-62 6-43 ผลงานศิลปะบนก าแพงโรงงานน ้าปลา 6-63 6-44 ผลงานของ Daehyun Kim ศิลปินชาวเกาหลี 6-63 6-45 ผลงานของ Saddo ศิลปินชาว โรมาเนีย 6-64 6-46 ผลงานศิลปะ “กาลครั้งหนึ่งวันเด็ก” โดยพิเชษฐ์ รุจิวรารัตน์ 6-64 6-47 Graffiti บริเวณข้างซอยมหาพฤฒาราม 6-64 6-48 ผลงานศิลปะ “มหาวิทยาลัยชีวิต” โดยชาญณรงค์ ขลุกเอียด 6-65 6-49 ผลงานของ Escif ศิลปินจาก สเปน และชุมชนตลาดน้อย 6-66 6-50 ผลงานศิลปะ บริเวณหน้าร้านเทพฯบาร์ 6-67 6-51 ผลงานศิลปะ บริเวณอาคารเดอะ ฮับ สายเด็ก 6-67

บทที่ 1

บทน า

1.1 ที่มา และความส าคัญ จากการปรับเปลี่ยนสถานะของศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบสู่สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์กรมหาชน) เป็นการปรับเปลี่ยนสถานะและขยายบทบาทสู่หน่วยงานด้านนโยบายที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ของประเทศและสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ต้นแบบเพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิงพื้นที่ โดยมีโครงการต่อเนื่องในการส่งเสริมให้ย่านเจริญกรุงเป็นย่านสร้างสรรค์ (Creative District) ต้นแบบที่มีกลุ่ม นักสร้างสรรค์และนวัตกรเข้ามาทำงานและใช้ชีวิตในพื้นที่ ซึ่งจะทำให้ย่านสร้างสรรค์เจริญกรุงเป็นกลไกลใน การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครด้วยการฟื้นฟูกายภาพของย่านและการให้สิทธิประโยชน์เพื่อ ดึงดูดกลุ่มคนทำงานสร้างสรรค์และผู้ประกอบการที่เป็นต้นทุนทางความคิด และหน่วยทางทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการดึงดูดการลงทุนทางธุรกิจเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของพื้นที่ ในปี 2561 ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบได้ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์โดยได้แบ่ง พื้นที่การเก็บข้อมูลออกเป็น 5 พื้นที่ เป็นพื้นที่เก็บข้อมูลเดิม จำนวน 3 พื้นที่ ได้แก่ (1) พื้นที่บริเวณถนนเจริญ กรุง (2) พื้นที่บริเวณถนนเจริญนคร (3) พื้นที่บริเวณถนนเจริญรัถ และพื้นที่เก็บข้อมูลใหม่ จำนวน 2 พื้นที่ ได้แก่ (4) พื้นที่บริเวณหัวลำโพง และ (5) พื้นที่บริเวณซอยนานา จากการสำรวจข้อมูลเชิงกายภาพ พบว่า ใน พื้นที่หัวลำโพง มีจำนวนพื้นที่ว่างจำนวน 24 ตำแหน่ง เป็นพื้นที่ประเภทห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณิชย์ จำนวน 23 แห่ง และพื้นที่ว่างประเภทสิ่งก่อสร้าง (เพิง/หลังคาคลุม) จำนวน 1 ตำแหน่ง และในพื้นที่บริเวณ นานา มีจำนวนพื้นที่ว่าง จำนวน 16 ตำแหน่ง โดยเป็นพื้นที่ประเภทห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณิชย์ทั้งหมด จากการสำรวจข้อมูลธุรกิจ ใน 5 พื้นที่ พบว่า (1) ปริมาณกิจกรรมทางธุรกิจทุกประเภท (กิจกรรม) จำนวน 2,100 กิจกรรม (2) ปริมาณกิจกรรมที่มีสินค้า/บริการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (กิจกรรม) จำนวน 1,095 กิจกรรม (3) ปริมาณกิจกรรมที่มีการใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ (กิจกรรม) จำนวน 87 กิจกรรม และ (4) ปริมาณหน่วยธุรกิจที่ใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ (ร้าน) จำนวน 72 ร้าน โดย แบ่งเป็น 4 ประเภทธุรกิจสร้างสรรรค์ ได้แก่ ธุรกิจประเภทอาหารและเครื่องดื่ม จำนวน 22 ธุรกิจ ธุรกิจ ประเภทสินค้าผลิตภัณฑ์ (แฟชั่น เครื่องหนัง จิวเวลรี่และเครื่องเงิน เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน และ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 1 (Final Report) บทน า 1-1

สินค้าอื่น ๆ) จำนวน 33 ธุรกิจ ธุรกิจประเภทแกลเลอรี่ จำนวน 12 ธุรกิจ และธุรกิจบริการออกแบบ จำนวน 5 ธุรกิจ อย่างไรก็ตามในการวางแผนพัฒนาพื้นที่ย่านสร้างสรรค์ เจริญกรุง จำเป็นที่จะต้องมี การจัดเก็บข้อมูล เศรษฐกิจเชิงพื้นที่อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ข้อมูลมีความทันสมัยและสะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงและความ เคลื่อนไหวของพื้นที่นำมาใช้ในการวางแผนพัฒนาย่าน และใช้ในการจัดทำโครงการและกิจกรรม และสามารถ เผยแพร่ข้อมูลสู่กลุ่มเป้าหมายเพื่อการใช้ประโยชน์สาธารณะต่อไป ดังนั้นศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบจึงได้ จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์เพื่อใช้เป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ใช้ในการ กำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานของสำนักงานฯ ภายในย่าน และสามารถเป็นฐานข้อมูลในการ พัฒนาย่านเจริญกรุง-คลองสานให้เป็นย่านสร้างสรรค์ต่อไป

1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสำรวจข้อมูลความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของย่านสร้างสรรค์เจริญกรุง 2. เพื่อใช้กำหนดแนวทางการสื่อสารข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูลของกลุ่มเป้าหมาย

1.3 ขอบเขตการดำเนินงาน 1. สำรวจและบันทึกข้อมูลประจำปี 1.1 ข้อมูลจำนวนธุรกิจที่เพิ่มขึ้น / จำนวนธุรกิจสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้น / จำนวนพื้นที่สร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้น 1.2 จัดทำประเมิน คาดการณ์ และกำหนดเป้าหมายของการเติบโต 2. ศึกษาและให้คำแนะนำโปรแกรมจัดเก็บเชิงพื้นที่ และแนวทางการเชื่อมโยงการใช้ประโยชน์ข้อมูลกับ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน 3. ออกแบบการเผยแพร่และการใช้ประโยชน์ข้อมูล 3.1 Data Visualization สำหรับ - เปรียบเทียบจำนวน / ข้อมูลธุรกิจ / ข้อมูลพื้นที่ - การค้นหาข้อมูลพื้นที่ว่าง / ประเภทธุรกิจ / ราคาค่าเช่า / - การค้นหาตำแหน่งร้านค้า / การเปลี่ยนแปลงใช้ประโยชน์พื้นที่ของย่านที่เพิ่มขึ้น 3.2 การแสดงผลข้อมูล - พัฒนาการแสดงผลทั้งในส่วนของอินเตอร์เฟซ (Interface) ในการจัดเก็บและการแสดงผล ข้อมูลเชิงพื้นที่

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 1 (Final Report) บทน า 1-2

1.4 ขั้นตอนการศึกษา 1. ดำเนินการกำหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษาการสำรวจและบันทึกข้อมูล 2. สร้างเครื่องมือ และวางระบบการจัดเก็บและประมวลผล 3. เก็บข้อมูลกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์และธุรกิจสนับสนุนในย่านตามขอบเขตที่กำหนด 4. วิเคราะห์ข้อมูลประเมิน คาดการณ์ และกำหนดเป้าหมายของการเติบโต 5. ศึกษาโปรแกรมข้อมูลจัดเก็บเชิงพื้นที่ และแนวทางการเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่น ๆ 6. พัฒนาการแสดงผลข้อมูล

1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาย่านสร้างสรรค์เจริญกรุงในปีต่อ ๆ ไป 2. ระบบการจัดเก็บและประมวลผล แผนการบริหารข้อมูลของย่าน 3. ระบบการเผยแพร่และการใช้ประโยชน์ข้อมูลพื้นที่ย่าน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 1 (Final Report) บทน า 1-3

1.6 แผนการดำเนินงาน

ตารางที่ 1.1 รายละเอียด และแผนการดำเนินงาน เดือน 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน 6 รายละเอียด 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1. ดำเนินการกำหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา สำหรับการสำรวจและบันทึกข้อมูล 2. สร้างเครื่องมือ และวางระบบการจัดเก็บ และประมวลผล 3. เก็บข้อมูลกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์และ ธุรกิจสนับสนุนในย่านตามขอบเขตที่

กำหนด 4. วิเคราะห์ข้อมูลประเมิน คาดการณ์ และ กำหนดเป้าหมายของการเติบโต 5. ศึกษาโปรแกรมข้อมูลจัดเก็บเชิงพื้นที่ และแนวทางการเชื่อมโยงข้อมูลกับ

หน่วยงานอื่น ๆ 6. พัฒนาการแสดงผลข้อมูล

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 1 (Final Report) บทน า 1-4

1.7 ขอบเขตพื้นที่จัดเก็บข้อมูล

ภาพที่ 1-1 ขอบเขตพื้นที่จัดเก็บข้อมูล

พื้นที่เก็บข้อมูลหลัก: อยู่ในขอบเขตเส้นทึบครอบคลุมฝั่งเจริญกรุง ฝั่งคลองสาน และพื้นที่บางส่วนในย่านหัว ลำโพง

พื้นที่เก็บข้อมูลกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์เพิ่มเติม: อยู่ในของเขตเส้นประ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 1 (Final Report) บทน า 1-5

บทที่ 2

วิธีการศึกษา

2.1 ขั้นตอนการสำรวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ 1. การจัดทำแบบสำรวจข้อมูลภายในพื้นที่ (1) รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ ข้อมูลทางกายภาพ ประเภทการใช้งานอาคาร โดยมีรายละเอียด ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในส่วนของข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพตามข้อมูลในตารางที่ 2.1 ดังนี้

ตารางที่ 2.1 รายละเอียดการเก็บข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ ข้อมูลทางกายภาพของอาคาร และพื้นที่ ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล 1 รหัสอาคาร 2 จำนวนกิจกรรม/ ธุรกิจในอาคาร 3 บ้านเลขที่ ซอย ถนน 4 รูปแบบกายภาพอาคาร - อาคารพาณิชย์ ห้องแถว (เลือกเพียง 1 ข้อที่เด่นที่สุด) - อาคารสำนักงาน - อพาร์ทเม้นท์ คอนโดมิเนียม - โรงแรม - ศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้า - ตลาด - โรงพยาบาล สถานพยาบาล - สถาบันการศึกษา - ศาสนสถาน - สถานที่ราชการ - บ้านเดี่ยว - ทาวน์เฮ้าส์ - ที่โล่ง - พื้นที่สาธารณะ สวนสาธารณะ ลานกิจกรรม - โกดัง - อื่น ๆ (ระบุ)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-1

ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล 6 รายละเอียดภายในอาคาร/ กลุ่มอาคารที่มี - ชื่ออาคาร กลุ่มอาคาร สถานที่ การใช้งานมากกว่า 1 กิจกรรม - จำนวนชั้นของอาคาร - จำนวนห้อง (ยูนิต) ของกลุ่มอาคาร - ขนาดพื้นที่อาคาร (กว้าง x ยาว) - ขนาดพื้นที่ดิน (ตารางเมตร หรือ ตารางวา) 7 รายละเอียดพื้นที่ว่าง อาคารว่างที่ไม่มีการ - ชื่อผู้บริหารพื้นที่เช่า ใช้งาน หรือเปิดให้เช่า - เบอร์โทรติดต่อผู้บริหารพื้นที่เช่า - ลักษณะการเช่า (เซ้ง เช่า ขาย) - อัตราการเซ้ง เช่า ขาย - ราคาต่อตารางเมตร 8 ภาพถ่าย

(2) รวบรวมข้อมูลประเภทธุรกิจในพื้นที่ โดยมีรายละเอียดในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในส่วนของ ข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพตามข้อมูลในตารางที่ 2.2 ดังนี้

ตารางที่ 2.2 รายละเอียดการเก็บข้อมูลประเภทธุรกิจ ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล 1 รหัสอาคาร ข้อมูลเดียวกันกับแบบสำรวจกายภาพอาคาร 2 ชั้นที่ ตำแหน่งชั้นภายในอาคารของกิจกรรมนั้น ๆ 3 ปีที่เปิดกิจการ ระบุ พ.ศ. 4 ประเภทการใช้งาน หรือกิจกรรมภายใน - พักอาศัย เช่น บ้าน คอนโดมิเนียม อาคาร - ทำธุรกิจ/ค้าขาย เช่น อพาร์ทเม้นท์ โรงแรม โฮสเทล - สำนักงานให้เช่า เช่น ตึก CAT - บริการทางสังคม เช่น ชุมสายโทรศัพท์ การ ประปา การไฟฟ้า ไปรษณีย์ (ระบุชื่อ หน่วยงาน)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-2

ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล - สถาบันการศึกษา (ระบุชื่อสถาบันการศึกษา) พร้อมระบุระดับการศึกษาจากตัวเลือก ดังต่อไปนี้ • ต่ำกว่าประถม • ประถมศึกษา • มัธยมศึกษา • อุดมศึกษา • อาชีวศึกษา • อื่น ๆ (ระบุ) - ศาสนสถาน (ระบุชื่อ) พร้อมระบุประเภท/ ศาสนาจากตัวเลือก ดังต่อไปนี้ • ศาลเจ้า • พุทธ • คริสต์ • อิสลาม - อื่น ๆ (ระบุ) 5 ประเภทธุรกิจ - ขายของ (สินค้าจับต้องได้) - ธุรกิจบริการ 6 ลักษณะผู้ประกอบการ - ชาวไทย - ชาวต่างชาติ 7 ลักษณะกิจการ - ประกอบกิจการเอง - แฟรนไชส์ - อื่น ๆ (ระบุ) 8 กิจกรรมทางธุรกิจ - อุตสาหกรรมอาหาร • ออกแบบ หรือปรุงอาหาร • ขายอาหาร หรือรับสำเร็จมาปรุง • ออกแบบ หรือปรุงเครื่องดื่ม ของ หวาน • ขายเครื่องดื่ม ของหวาน • ขายวัตถุดิบทำอาหาร 8 กิจกรรมทางธุรกิจ (ต่อ) • ขายอุปกรณ์ทำอาหาร รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-3

ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล • ผลิตอาหาร (โรงงาน) - อุตสาหกรรมแฟชั่น • ออกแบบเครื่องแต่งกาย • ขายเสื้อผ้า • ขายผ้า • เย็บผ้า ตัดเสื้อ • ผลิตเสื้อผ้า (โรงงาน) • ตัดผม แต่งหน้า - อุตสาหกรรมหัตถกรรม (เครื่องหนัง) • ออกแบบเครื่องหนัง • ขายผลิตภัณฑ์จากหนัง • ขายวัสดุหนัง • ขายอุปกรณ์ประกอบ ตกแต่งเครื่อง หนัง • ผลิตเครื่องหนัง (โรงงาน) - อุตสาหกรรมหัตถกรรม (จิวเวลรี และ เครื่องเงิน) • ออกแบบจิวเวลรี เครื่องเงิน • ขายจิวเวลรี เครื่องเงิน • ขายวัสดุจิวเวลรี เครื่องเงิน • ขายอุปกรณ์ตกแต่งจิวเวลรี เครื่องเงิน • ผลิตจิวเวลรี เครื่องเงิน • ผลิตต้นแบบจิวเวลรี เครื่องเงิน • ผลิต หรือดัดเหล็กโลหะเกี่ยวกับจิว เวลรี เครื่องเงิน (โรงกลึง) - อุตสาหกรรมหัตถกรรม (กิ๊ฟท์ช็อป) • ออกแบบของที่ระลึก ของชำร่วย • ขายของที่ระลึก ของชำร่วย • ผลิตของที่ระลึก ของชำร่วย (โรงงาน) กิจกรรมทางธุรกิจ (ต่อ) - อุตสาหกรรมหัตถกรรม (งานฝีมือ) • จัดดอกไม้ ออกแบบตกแต่งดอกไม้ รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-4

ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล • ขายช่อดอกไม้สำเร็จรูป • ขายดอกไม้สด • ขายอุปกรณ์หัตถกรรม - อุตสาหกรรมการออกแบบ • ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน • ขายเฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน • ขายไม้ โลหะสำหรับการทำ เฟอร์นิเจอร์ • ผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ช่างไม้ ช่างเหล็ก ช่างฝีมือ ฯลฯ) - อุตสาหกรรมสถาปัตยกรรม • ออกแบบสถาปัตยกรรม ออกแบบแสง สว่าง • ขายสถาปัตยกรรมสำเร็จรูป • ขายแบบบ้านสำเร็จรูป • ขายอุปกรณ์ตัดโมเดล • ผลิตสถาปัตยกรรมสำเร็จรูป (โรงงาน) - อุตสาหกรรมทัศนศิลป์ • วาดภาพ ออกแบบและผลิตผลงาน (วิจิตรศิลป์) • ออกแบบกราฟิกส์ (ศิลปะประยุกต์) • ขายผลงานศิลปะ • บริการพื้นที่ให้ชมผลงานศิลปะ (แกล เลอรี) • บริการพื้นที่ให้เช่าจัดแสดงผลงาน ศิลปะ (แกลเลอรี หรือพื้นที่ให้เช่า) • ขายวัสดุอุปกรณ์วาดภาพ

กิจกรรมทางธุรกิจ (ต่อ) - อุตสาหกรรมดนตรี • ออกแบบและผลิตเพลง

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-5

ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล • ขายสิทธิการใช้เพลง (นายหน้าขาย เพลง) • ขายเทป ซีดี เพลงออนไลน์ • ขายเครื่องดนตรี อุปกรณ์ผลิตเพลง • บริการห้องอัดเสียง • บริการห้องซ้อมดนตรี • สอนดนตรี (โรงเรียน) - อุตสาหกรรมภาพยนตร์ • ออกแบบและผลิตภาพยนตร์ • ขายสิทธิการใช้ภาพยนตร์ (นายหน้า ขายภาพยนตร์) • ขายดีวีดี บลูเรย์ ภาพยตร์ออนไลน์ • ขายอุปกรณ์ผลิตภาพยนตร์ • บริการสตูดิโอถ่ายภาพยนตร์ • บริการตัดต่อภาพยนตร์ • ผลิตโมชั่นกราฟิกส์ แอนิเมชั่น ภาพยนตร์ - อุตสาหกรรมแพร่ภาพ กระจายเสียง • ออกแบบและผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ • ขายสิทธิการใช้รายการวิทยุโทรทัศน์ • ขายดีวีดี บลูเรย์ รายการวิทยุโทรทัศน์ ออนไลน์ • ขายอุปกรณ์ผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ • บริการสตูดิโอถ่ายทำรายการ • บริการตัดต่อรายการวิทยุโทรทัศน์ กิจกรรมทางธุรกิจ (ต่อ) • ผลิตโมชั่นกราฟิกส์ แอนิเมชั่นรายการ โทรทัศน์ - อุตสาหกรรมโฆษณา • ออกแบบ และผลิตโฆษณา รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-6

ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล • บริการถ่าย ล้าง อัดรูป ขายฟิลม์ • บริการสตูดิโอถ่ายภาพ - อุตสาหกรรมศิลปะการแสดง • ออกแบบการแสดง • สอนการแสดง (โรงเรียน) • บริการโมเดลลิ่ง • บริการโรงละคร - อุตสาหกรรมการพิมพ์ • บริการเขียนบทความ นิตยสาร เขียน หนังสือ (สำนักพิมพ์) • ขายบทความ นิตยสาร หนังสือ • บริการพิมพ์ (โรงพิมพ์ ร้านพิมพ์งาน ตัดสติ๊กเกอร์ ทำป้าย) - อุตสาหกรรมการแพทย์แผนไทย • บริการคลินิกแพทย์แผนไทย • บริการนวด สปา • ขายยาสมุนไพรไทย • ผลิตยาสมุนไพรไทย • ผลิตอุปกรณ์ สปา เครื่องหอม • ขายอุปกรณ์ สปา เครื่องหอม - อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม • ออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวด้าน ศิลปวัฒนธรรม • ขายทัวร์ท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรม • นำเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรม • ขายทัวร์ทั่วไป กิจกรรมทางธุรกิจ (ต่อ) • บริการเช่ารถ เช่าจักรยาน • ขนส่ง (รถบัส รถตู้ เรือ) - อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ • ออกแบบ และพัฒนาซอฟต์แวร์ • ขายซอฟต์แวร์ รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-7

ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล • ขายคอมพิวเตอร์ อ ุ ป ก ร ณ์ คอมพิวเตอร์ • ซ่อมคอมพิวเตอร์ - ขายสินค้าทั่วไป • เครื่องเขียน • ของเก่า ของสะสม • ร้านขายยาแผนปัจจุบัน - บริการอื่น ๆ • ตลาดสด • ร้านสะดวกซื้อ (7-11/ โชห่วย/ จิปาถะ) • โรงแรม • โฮสเทล • อพาร์ทเม้นให้เช่า หอพัก • โรงเรียนสอนพิเศษ • ธนาคาร บริการทางการเงิน • บริการด้านสุขภาพ เช่น คลินิกแพทย์ แผนปัจจุบัน คลินิกทันตกรรม คลินิก เสริมความงาม ตัดแว่น • สำนักงานทั่วไป (ระบุ) • ช่างฝีมือ งานช่างทั่วไป • โรงกลึง งานเหล็ก-โลหะทั่วไป • โรงรับจำนำ • ที่จอดรถ โกดังเก็บของ • ซ่อมรถ - อื่น ๆ (ระบุ) 9 พื้นที่สร้างสรรค์ - ตำแหน่งในแผนที่ย่าน - ชื่อผลงาน - ขนาดผลงาน (กว้าง x ยาว x สูง) - ขนาดพื้นที่ดิน (ตร.ม. หรือ ตร.วา) - ประเภทผลงาน รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-8

ลำดับที่ รายการข้อมูล รายละเอียดข้อมูล • Graffiti • Installation • Sculpter • อื่น ๆ (ระบุ) 10 ภาพถ่าย

2. วิธีการส ารวจข้อมูล

ในการส ารวจข้อมูลได้แบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลออกเป็น 6 พื้นที่ ดังนี้ 1. พื้นที่เจริญกรุง ได้แก่ พื้นที่ตั้งแต่บริเวณถนนสาทรเหนือ จนถึงซอยวัดแก้วฟ้า และตั้งแต่บริเวณริม แม่น ้าเจ้าพระยา จนถึงบริเวณใต้ทางพิเศษศรีรัช 2. พื้นที่คลองสาน ได้แก่ พื้นที่ตั้งแต่บริเวณถนนกรุงธนบุรี ถึงถนนลาดหญ้า พื้นที่ขนานสองฝั่งถนน เจริญนคร 3. พื้นที่ย่านศิลปะและการออกแบบ ได้แก่ พื้นที่บริเวณแยกไมตรีจิตต์ถึงถนนสันติภาพ ตั้งแต่บริเวณ ถนนไมตรีจิตต์ถึงถนนกรุงเกษม หรือพื้นที่บริเวณซอยนานา (N) 4. พื้นที่อาหาร พื้นที่บริเวณถนนนี้จงสวัสดิ์ถึงถนนมิตรภาพไทย-จีน ตั้งแต่บริเวณถนนเจริญกรุงถึง ซอยโชฎึกตัดถนนข้าวหลาม หรือพื้นที่หัวลำโพง (H) 5. พื้นที่เก็บข้อมูลกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์เพิ่มเติม ที่เชื่อมต่อกับพื้นที่ย่านอาหารเดิม (1) 6. พื้นที่เก็บข้อมูลกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์เพิ่มเติม ที่เชื่อมต่อกับพื้นที่ย่านอาหารเดิม (2)

3. การลงบันทึก และการวิเคราะห์ข้อมูล ในการบันทึกข้อมูลผู้สำรวจจะทำการบันทึกข้อมูลจากแบบสำรวจลงในซอฟต์แวร์ QGIS ผ่านการ ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล (Data Design) ซึ่งจะนำรายละเอียดจากแบบสำรวจมาจัดทำให้เป็นระบบ สามารถ บันทึกข้อมูลลงในซอฟต์แวร์ได้โดยตรง

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-9

ภาพที่ 2-1 ตัวอย่างผังข้อมูลในซอฟต์แวร์ QGIS

สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อผู้สำรวจได้บันทึกข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สามารถเรียกดูข้อมูลผ่าน ซอฟต์แวร์ QGIS ได้ตามชั้นของข้อมูล (Layers) ที่ได้บันทึกไว้

2.2 ขั้นตอนการสำรวจข้อมูลเชิงเศรษฐกิจของย่านสร้างสรรค์ ตารางที่ 2.3 ประเด็นที่ใช้ในการสำรวจข้อมูลเชิงเศรษฐกิจ ประเด็นที่สำรวจ คำอธิบาย ด้านธุรกิจ 1.1 การเติบโตทางเศรษฐกิจของธุรกิจสร้างสรรค์ - จำนวนธุรกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ สรุปข้อมูลการสำรวจ ปี 2562 และสำรวจเพิ่มเติม ในพื้นที่ต่อเนื่อง 2 ฝั่งของย่านอาหาร - มูลค่าสินค้า ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ผลิตในพื้นที่ สำรวจและประมาณการมูลค่าสินค้าและการ บริการด้วยการสัมภาษณ์ 1.2 การจ้างงาน - รายได้ของธุรกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ สำรวจและประมาณการผลประกอบการของธุรกิจ สร้างสรรค์ในพื้นที่ 1.3 สิ่งส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-10

ประเด็นที่สำรวจ คำอธิบาย - Supply Chain สำรวจห่วงโซ่อุปสงค์ธุรกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ - โครงสร้างพื้นฐานในการสนับสนุนธุรกิจ สำรวจโครงสร้างพื้นฐานในการสนับสนุนธุรกิจ สร้างสรรค์ในพื้นที่ สร้างสรรค์ในพื้นที่ - นิเวศสร้างสรรค์ (Creative Ecology) สำรวจระบบนิเวศสร้างสรรค์ในพื้นที่ - สิ่งส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ สำรวจสิ่งส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันทาง ธุรกิจของธุรกิจสร้างสรรค์ 1.4 ธุรกิจที่สนับสนุนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สำรวจประเภทธุรกิจที่สนับสนุนอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ ด้านพื้นที่ 1.5 Agglomeration ของธุรกิจบริการ ร้านอาหาร/ Café ร้านค้า - จำนวนธุรกิจในภาคบริการ สำรวจในพื้นที่ใหม่ และข้อมูลเดิม - รายได้ธุรกิจในภาคบริการ สำรวจและประมาณการรายได้ 1.6 ความเชื่อมโยงกับพื้นที่ - ข้อมูลการเดินทางของผู้ที่ทำงานในพื้นที่ สำรวจสุ่มตัวอย่างสัมภาษณ์กลุ่มคนทำงานในพื้นที่ - ข้อมูลระบบขนส่งสาธารณะ สำรวจทุกระบบขนส่งสาธารณะ - ข้อมูลคุณภาพทางเท้า สำรวจ และประเมินคุณภาพทางเท้า ด้านประชาชน 1.7 ความหลากหลายของประชากร - ลักษณะของแรงงานในพื้นที่ สำรวจโดยแบ่งตามทักษะของแรงงาน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 2 (Final Report) วิธีการศึกษา 2-11

บทที่ 3

การพัฒนาฐานข้อมูลและเว็ปไซต์น าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่

3.1 แนวคิดในการพัฒนาฐานข้อมูล และเว็ปไซต์น าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ ข้อมูลมีบทบาทส าคัญในการค้นหาโอกาส เข้าใจศักยภาพ หรือสนับสนุนการบริหารจัดการพื้นที่ เพื่อ เป็นฐานประกอบการตัดสินใจวางแผน ออกแบบ และพัฒนาย่านหรือเมืองร่วมกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับการพัฒนาย่านเจริญกรุง และพื้นที่ต่อเนื่องที่ต้องอาศัยข้อมูล เพื่อเป็นฐาน ให้กับการวางแผนพัฒนาย่านไปสู่ย่านสร้างสรรค์ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ซึ่งมีความ หลากหลายและซับซ้อน การวางแผนพัฒนาพื้นที่ ย่านหรือเมือง จึงจ าเป็นต้องท าเข้าใจผ่านข้อมูลในหลายมิติ เช่น สินทรัพย์ทางกายภาพ สินทรัพย์ทางเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ผู้คน และความสัมพันธ์ระหว่างกัน ขององค์ประกอบต่าง ๆ ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลเชิงพื้นที่ (spatial data) จึงเป็นข้อมูลที่มี ความซับซ้อนที่จ าเป็นต้องมีการจัดการข้อมูลและความสัมพันธ์ของข้อมูลอย่างเป็นระบบ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานข้อมูลดิจิทัล และซอฟต์แวร์สมัยใหม่ รวมถึงระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (GIS) ได้ท าให้นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล หรือผู้ใช้งาน สามารถออกแบบพัฒนา บริหารจัดการ วิเคราะห์ หรือน าเสนอข้อมูลและข้อมูลเชิงพื้นที่ที่มีความสัมพันธ์และมีความซับซ้อนได้โดยสะดวกผ่าน ซอฟต์แวร์ส าเร็จรูป ฐานข้อมูล หรือชุดค าสั่งต่าง ๆ เช่น ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ArcGIS QGIS หรือฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ PostgreSQL เทคโนโลยีเหล่านี้สามารถรวบรวมและจัดการข้อมูลจ านวนมากของ เมือง สนับสนุนข้อมูลที่มีความเที่ยงตรงจากระบบต าแหน่งพิกัด รวมถึงสามารถค านวณ วิเคราะห์ และ แสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว แม้ว่าเทคโนโลยีต่าง ๆ จะถูกใช้เพื่อสนับสนุนการจัดการข้อมูลและข้อมูลเชิงพื้นที่ย่านให้มี ประสิทธิภาพแล้ว กลไกส าคัญอีกกลไกหนึ่งต่อการพัฒนาย่านคือการท าให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในย่านและ สาธารณะมีส่วนร่วม ทั้งจากการเข้าถึง การใช้ประโยชน์ และการเป็นเจ้าของข้อมูล ที่จะสนับสนุนให้การ วางแผนและพัฒนาย่านเกิดจากการมีส่วนร่วมบนฐานของข้อมูล ทั้งร่วมคิด ร่วมตรวจสอบ และร่วมวางแผน การสร้างการมีส่วนร่วมในข้อมูลนั้นจะต้องอาศัยการเปิดข้อมูล (open data) และการน าเสนอข้อมูลให้เห็น เป็นภาพที่เข้าใจได้ง่าย (data visualization) เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงและเข้าใจข้อมูล สู่การเข้าใจปัญหา และศักยภาพของย่าน ที่จะต่อยอดไปสู่ในการพัฒนาย่านสร้างสรรค์ของทุกคนร่วมกัน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-1

ภาพที่ 3-1 เว็บ Capital Planning Platform ส าหรับน าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านต่าง ๆ ของนครนิวยอร์ค ที่ เปิดให้สาธารณะเข้าถึงข้อมูลและมีส่วนร่วมในการวางแผนเมืองบนฐานของข้อมูล โดย NYC Department of City Planning (ที่มา: https://capitalplanning.nyc.gov/map)

ภาพที่ 3-2 เว็บ KiiD Maps ส าหรับจัดการ วิเคราะห์ และน าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อศึกษาศักยภาพย่าน กล้วยน ้าไทในการพัฒนาเป็นย่านนวัตกรรม โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ร่วมกับ บริษัท มอ แอนด์ ฟาร์มเมอร์ จ ากัด และทุนสนับสนุนจากส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (ที่มา: https://kiid.in)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-2

3.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนาฐานข้อมูล และเว็ปไซต์น าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาโครงสร้างฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ดิจิทัลออนไลน์มาตรฐานที่เข้าถึงได้จาก ซอฟต์แวร์จัดการสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) หรือซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใหม่ ส าหรับเป็นศูนย์กลาง รวบรวมข้อมูลสินทรัพย์ย่านสร้างสรรค์บางรักและพื้นที่ข้างเคียง ด้านกายภาพ และองค์กรหรือ กิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ส าหรับน าเสนอข้อมูลย่านสร้างสรรค์บางรักและพื้นที่ข้างเคียง ให้ เห็นเป็นภาพ (data visualization) โดยเผยแพร่เป็นข้อมูลแบบเปิด (open data) ให้ผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย ผู้ใช้พื้นที่ย่านเจริญกรุง และพื้นที่ต่อเนื่อง และสาธารณะ สามารถเข้าถึงเพื่อการศึกษา ตรวจสอบ วิเคราะห์ หรือตัดสินใจ ในการศึกษา ท าความเข้าใจ ประเมินศักยภาพ หรือวางแผนการพัฒนาใน พื้นที่

เว็ปไซต์น าเสนอข้อมูล เว็ปไซต์น าเสนอข้อมูล ส าหรับสาธารณะ ส าหรับสาธารณะ ชุดค าสั่งพื้นฐานส าหรับพัฒนาเว็ปไซต์ ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ Quantum GIS (QGIS) HTML5 CSS3 JavaScript และบริการส าหรับ ฟอร์มส าหรับบันทึกและจัดการข้อมูล และค่า แสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ Mapbox GL JS ส าหรับติดต่อฐานข้อมูล

ชุดค าสั่งติดต่อและเรียกใช้ข้อมูล ระหว่างฐานข้อมูลและเว็ปไซต์ ชุดค าสั่งพัฒนาด้วยภาษา JavaScript (Node.js) หรือ PHP ติดตั้งบน Cloud Server

ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ดิจิทัล ฐานข้อมูล PostgreSQL และส่วนขยาย PostGIS ส าหรับจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ พร้อมพัฒนา ชุดค าสั่งส าหรับควบคุมการท างานที่เกี่ยวข้อง ติดตั้งบน Cloud Server

ภาพที่ 3-3 โครงสร้างการท างานของฐานข้อมูลและเว็บไซต์ ย่านสร้างสรรค์เจริญกรุง และพื้นที่ต่อเนื่อง (ที่มา: ผู้ร่วมวิจัย และบริษัท มอ แอนด์ ฟาร์มเมอร์ จ ากัด)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-3

3.3 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง 1. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System หรือ GIS) คือกระบวนการท างานที่เกี่ยวข้องกับการบันทึก รวบรวม ประมวลผล และรายงานข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ ส าหรับงานศึกษาวิจัยข้อมูลเชิงพื้นที่ เช่น ต าแหน่งและรูปแบบการตั้งชุมชน ต าแหน่งและ ความรุนแรงของภัยพิบัติ มูลค่าอสังหาริมทรัพย์ ความหนาแน่นประชากร โดยเป็นระบบที่เกิดจากการบูรณา การศาสตร์และเทคโนโลยีหลากสาขา เช่น ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ การท าแผนที่ สถิติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อให้สามารถรวบรวมข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ ประมวลผล และน าเสนอข้อมูล ในการช่วย ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตัดสินใจในการด าเนินการโครงการต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (http://www.colora do.edu/geography/gcraft/notes/intro/intro.html, https://th.wikipedia.org/ wiki/ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์) โดยผู้ใช้งานหรือผู้วิจัยสามารถใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านซอฟต์แวร์ส าเร็จรูป เช่น ArcGIS QGIS หรือซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใหม่เฉพาะงาน 2. บริการออนไลน์ด้านการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ (Mapping Data and Service) คือ บริการผ่านอินเตอร์เน็ตส าหรับให้ข้อมูลแผนที่ถนน อาคาร สถานที่ ประเภทพื้นที่ หรือภาพถ่าย ดาวเทียม พร้อมพิกัดต าแหน่งบนโลก เครื่องมือประมวลผล หรือการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ต่าง ๆ เช่น การ ค านวนระยะทางหรือพื้นที่ การวาดและแสดงผลแบบจุด เส้น พื้นที่ ในรูปแบบ 2 หรือ 3 มิติ โดยผู้พัฒนา ซอฟต์แวร์หรือเว็บไซต์สามารถเรียกใช้งานได้ผ่านส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ (Application Programming Inteface หรือ API) ของผู้ให้บริการ เช่น Mapbox GL JS Google Maps APIs Carto 3. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) คือ ฐานข้อมูลที่สามารถมีตารางข้อมูลได้หลายตาราง และเชื่อมโยงระหว่างตารางได้ เช่น ฐานข้อมูล หนึ่งมี 2 ตาราง ประกอบด้วยตารางข้อมูลกายภาพอาคาร และตารางข้อมูลบริษัท ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ สามารถเชื่อมโยงระหว่าง 2 ตารางได้ถ้าในตารางข้อมูลบริษัท มีคอลัมน์ที่ระบุรหัสอาคารให้ตรงกับตาราง อาคาร ซึ่งจะท าให้ทราบว่าอาคารแต่ละอาคารมีบริษัทใดอยู่บ้าง หรือบริษัทอยู่อาคารใดบ้าง เป็นต้น นอกจากนี้ฐานข้อมูลสามารถบันทึกข้อมูลได้หลายประเภท เช่น ตัวอักษร ตัวเลข ข้อมูลไฟล์ในรูปแบบ เลขฐานสอง รวมถึงข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์ เช่น จุด เส้น ขอบเขต รวมถึงมีค าสั่งในการค านวณและวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงพื้นที่ได้ เช่น ค านวณระยะทางรวมแต่ละเส้น ขนาดรวมของขอบเขตทั้งหมดในตาราง เป็นต้น การ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-4

ออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ในปัจจุบัน มีผู้พัฒนาหรือให้บริการที่หลากหลาย เช่น MySQL Microsoft SQL Server หรือ PostgreSQL พร้อมส่วนขยาย PostGIS ส าหรับรองรับข้อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นต้น

3.4 รูปแบบการเผยแพร่ และการใช้ประโยชน์ข้อมูล ผลการด าเนินงานเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลและเว็บไซต์น าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ ย่านสร้างสรรค์เจริญกรุงและ พื้นที่ข้างเคียง ตามวัตถุประสงค์ แบ่งเป็นการด าเนินงานใน 3 ด้าน ประกอบด้วย (1) การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูลด้วย PostgreSQL (2) การออกแบบและพัฒนาแบบแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ Quantum GIS (3) การออกแบบและพัฒนาการน าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยเทคโนโลยีเว็บ โดยมีรายละเอียดผลการด าเนินงาน ดังนี้

1. การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูลด้วย PostgreSQL การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ย่านสร้างสรรค์เจริญกรุงและพื้นที่ข้างเคียง ใช้ฐานข้อมูล PostgreSQL พร้อมส่วนขยาย PostGIS ส าหรับรองรับการจัดเก็บและวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลเชิงพื้น โดย ออกแบบเพื่อให้สามารถใช้งานแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลผ่านซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ Quantum GIS เป็นส าคัญ และใช้ส าหรับเว็บน าเสนอข้อมูลส าหรับสาธารณะ ฐานข้อมูลถูกติดตั้งบน Cloud Server เพื่อให้ คณะวิจัยและส ารวจสามารถเข้าใช้งานและแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลได้พร้อมกันกับการเข้าถึงการน าเสนอข้อมูลด้วย เว็บไซต์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ฐานข้อมูลย่านฯ มีชั้นข้อมูลหลัก ดังนี้ กายภาพอาคาร (Building) ส าหรับจัดเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ของกายภาพอาคาร โดยไม่รวมกิจกรรม การใช้งานอาคาร ยกเว้นอาคารที่มีผู้อยู่อาศัยหรือเป็นบ้านคน ประเภทข้อมูลในฐานข้อมูล เช่น พิกัดขอบเขต อาคาร ชื่ออาคาร ประเภทกายภาพอาคาร ขนาดพื้นที่ จ านวนชั้น มีหรือไม่มีผู้อยู่อาศัย เป็นต้น องค์กร หน่วยงาน (Organization) ส าหรับจัดเก็บข้อมูลองค์กร หน่วยงาน บริษัท ร้านค้าประเภท ต่าง ๆ ซึ่งแสดงถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ประเภทข้อมูลในฐานข้อมูล เช่น ชื่อองค์กร ประเภทองค์กร ประเภทธุรกิจ กิจกรรมทางธุรกิจซึ่งสัมพันธ์กับกลุ่มอุตสาหกรรม และการสร้างสรรค์ระดับต่าง ๆ เป็นต้น โดย

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-5

องค์กรจะถูกระบุต าแหน่งในอาคาร ผ่านตารางความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับกายภาพอาคาร รวมถึงชั้นใน อาคาร งานศิลปะ (Art) จัดเก็บข้อมูลผลงานศิลปะในพื้นที่ ประเภทข้อมูลในฐานข้อมูล เช่น ชื่อผลงาน ประเภทงานศิลปะ ขนาดผลงาน เป็นต้น นอกเหนือจากตารางชั้นข้อมูลหลัก และตารางความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับกายภาพอาคารแล้ว ฐานข้อมูลที่ได้ออกแบบและพัฒนามีกลุ่มคุณสมบัติที่สนับสนุนการจัดการข้อมูล ดังนี้ 1) ตารางข้อมูลย่อยเพื่อเชื่องโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลประเภทต่าง ๆ (Foreign Keys / Referenced Tables) เพื่อการจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบและยืดหยุ่นต่อการเพิ่มหรือลดประเภทข้อมูล เช่น ประเภทกายภาพอาคาร ประเภทองค์กรการศึกษา กิจกรรมทางธุรกิจ เป็นต้น 2) ชุดค าสั่งเพื่อควบคุมและตรวจสอบข้อมูลอัตโนมัติ (Trigger Functions) เช่น ค าสั่งตรวจสอบ จ านวนชั้นของอาคารที่ระบุส าหรับองค์กร ค าสั่งค านวณขนาดพื้นที่อาคารแบบอัตโนมัติ ค าสั่งบันทึกประวัติ การแก้ไขข้อมูล เป็นต้น 3) ตารางบันทึกประวัติการแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูล (Log Tables) ส าหรับชั้นข้อมูลหลัก ส าหรับ ตรวจสอบประวัติการด าเนินงานบันทึกแก้ไขข้อมูล และส ารองข้อมูลกรณีมีการแก้ไขหรือลบข้อมูล 4) ระบบผู้ใช้งาน (Logins) ส าหรับคณะวิจัยและส ารวจในการเข้าถึงฐานข้อมูลได้โดยตรงผ่าน ซอฟต์แวร์ Quantum GIS ทั้งนี้จ ากัดการเข้าถึงเฉพาะส่วนข้อมูลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น

2. การออกแบบและพัฒนาแบบแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ Quantum GIS การแก้ไขเพ่ิมเติมข้อมูลและข้อมูลเชิงพื้นที่ในฐานข้อมูล PostgreSQL พร้อมส่วนขยาย PostGIS ที่ ติดตั้งบน Cloud Server ใช้การเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตด้วยซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ Quantum GIS โดยได้ออกแบบแบบแก้ไขข้อมูล (Form) ส าหรับชั้นข้อมูลหลักแต่ละชั้น และจัดเตรียมชั้น ข้อมูลเสริมส าหรับการตรวจสอบการบันทึกข้อมูล ซึ่งได้บันทึกค่าการออกแบบดังกล่าวและค่าการเชื่อมต่อกับ ฐานข้อมูลในรูปแบบไฟล์ QGZ เพื่อให้คณะวิจัยและส ารวจสามารถแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลพร้อมกันได้โดยสะดวก

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-6

ภาพที่ 3-4 ส่วนติดต่อผู้ใช้งานซอฟต์แวร์ Quantum GIS ที่เปิดไฟล์ QGZ ส าหรับคณะวิจัยและส ารวจใช้บันทึกและตรวจสอบข้อมูล

ภาพที่ 3-5 องค์ประกอบส่วนติดต่อผู้ใช้งานที่ออกแบบ ส าหรับคณะวิจัยและส ารวจบันทึกและตรวจสอบข้อมูล

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-7

ชั้นข้อมูลหลักพร้อมแบบแก้ไข และชั้นข้อมูลเสริมส าหรับตรวจสอบข้อมูล มีดังนี้ 1) ชั้นข้อมูลบันทึก (ชั้นข้อมูลหลัก) ส าหรับแสดงผลชั้นข้อมูลหลัก และบันทึกแก้ไขข้อมูลและข้อมูล เชิงพื้นที่ด้วยแบบบันทึกข้อมูลที่ออกแบบ (ดูแบบแก้ไขที่ภาคผนวก: แบบแก้ไขข้อมูล) 2) ชั้นข้อมูลส าหรับตรวจสอบ ส าหรับน าเสนอสถานะและส าหรับตรวจสอบความสมบูรณ์ในการ บันทึกข้อมูล ประกอบด้วย องค์กรที่ยังไม่ระบุต าแหน่งในอาคาร อาคารที่ยังไม่มีการระบุองค์กร และอาคารที่ ระบุองค์กรและแบ่งสีอาคารตามประเภทองค์กร โดยชั้นข้อมูลนี้เป็นผลจากการประมวลผลชั้นข้อมูลหลักใน ระดับฐานข้อมูลโดยอัตโนมัติ 3) ภาพถ่ายดาวเทียม ส าหรับแสดงผลภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อตรวจสอบข้อมูลเชิงพื้นที่กับภาพถ่าย ดาวเทียมตามพิกัดจริง โดยใช้บริการภาพถ่ายดาวเทียมของ Google Maps Mapbox Bing และ ESRI เตรียม ไว้เป็นทางเลือก 4) ข้อมูลประเภท ส าหรับประกอบแบบแก้ไข เพื่อให้การแสดงผลข้อมูลประเภท ซึ่งเป็นข้อมูลเชิง ความสัมพันธ์ สามารถแสดงผลค าอธิบายของประเภทต่าง ๆ ได้ในแบบแก้ไข

3. การออกแบบและพัฒนาการน าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยเทคโนโลยีเว็บ เว็บไซต์น าเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ส าหรับสาธารณะเข้าถึงข้อมูลย่านฯ ประกอบด้วย 1) ฝั่งผู้ใช้งาน (Front-end) ท าหน้าที่แสดงและควบคุมการแสดงผลตัวอักษร แผนที่ กราฟิก หรือ แผนภูมิผ่านส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface หรือ UI) เพื่อให้ผู้ใช้งานสาธารณะสามารถเข้าถึง คัดกรอง และเห็นภาพรวมของข้อมูลและข้อมูลเชิงพื้นที่ผ่านเว็บเบราเซอร์ได้โดยสะดวก เข้าใจง่าย และรองรับการใช้ งานผ่านหน้าจอแสดงผลหลายขนาด (Responsive Design) ฝั่งผู้ใช้งานถูกพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีเว็บ มาตรฐาน HTML5 CSS3 และ JavaScript ประกอบกับการพัฒนาส่วนแสดงผลแผนที่และข้อมูลเชิงพื้นที่ ด้วย Mapbox GL JS และแผนภูมิสถิติด้วย Chart.js

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-8

ภาพที่ 3-6 ตัวอย่างหน้าเว็บไซต์แสดงผลข้อมูลในชั้นข้อมูลกายภาพอาคาร เมื่อกดดูข้อมูลอาคาร

องค์ประกอบและคุณสมบัติหลักของส่วนติดต่อผู้ใช้งาน มีดังนี้ ส่วนแสดงผลแผนที่และข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data / Map) น าเสนอแผนที่พ้ืนฐานและข้อมูล เชิงพื้นที่หรือรูปทรงอาคารจากชั้นข้อมูลที่เลือกในรูปแบบ 3 มิติ ประกอบด้วย กายภาพอาคาร องค์กรใน อาคาร และต าแหน่งงานศิลปะ ส่วนแสดงผลข้อมูลของอาคาร หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอาคาร (Popup) น าเสนอข้อมูล รายละเอียดของชั้นข้อมูลที่เลือกเมื่อคลิกที่รูปทรงอาคารหรือข้อมูลเชิงพื้นที่ในแผนที่ เช่น ข้อมูลรายละเอียด อาคารและเจ้าของ ข้อมูลองค์กรและประเภทองค์กรที่อยู่ในอาคาร เป็นต้น ส่วนเปลี่ยนชั้นข้อมูล (Layers) ส าหรับเปลี่ยนชั้นข้อมูลที่ต้องการดูข้อมูล ส่วนคัดกรองข้อมูล (Filters) ส าหรับคัดกรองข้อมูลที่น าเสนอในแผนที่ เช่น คัดกรองเฉพาะอาคาร ว่างในชั้นข้อมูลกายภาพอาคาร คัดกรองเฉพาะอาคารที่มีองค์กรประเภทธุรกิจสร้างสรรค์ เป็นต้น ส่วนแสดงผลสถิติข้อมูล (Statistics / Charts) น าเสนอข้อมูล สถิติ แผนภูมิสรุปข้อมูลของชั้น ข้อมูลที่เลือก ส่วนควบคุมแผนที่ (Map Controller) ส าหรับควบคุมแผนที่ ประกอบด้วยการย่อขยายแผนที่ เข็ม ทิศ องศามุมมองแผนที่ เปลี่ยนแผนที่พื้นฐานระหว่างแผนที่ถนนและแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม และแสดง ต าแหน่งปัจจุบันด้วย GPS

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-9

ภาพที่ 3-7 หน้าเว็บไซต์แสดงผลส่วนคัดกรองข้อมูลประเภทอาคาร ในชั้นข้อมูลกายภาพอาคาร

ภาพที่ 3-8 หน้าเว็บไซต์แสดงผลชั้นข้อมูลอาคารบนแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-10

ส่วนแสดงผลสถิติข้อมูลในแต่ละชั้นข้อมูลหลัก มีประเด็นการน าเสนอข้อมูล ดังนี้ 1) กายภาพอาคาร (Building) ประกอบด้วย - จ านวนอาคารทั้งหมด (หลัง) - จ านวนอาคารทั้งหมด รวมส่วนทาวเวอร์ (หลัง) - พื้นที่อาคารทั้งหมด (ตร.ม.) - จ านวนอาคารแบ่งตามประเภทกายภาพอาคาร (หลัง และร้อยละ) - พื้นที่อาคารแบ่งตามประเภทกายภาพอาคาร (ตร.ม. และร้อยละ) - จ านวนอาคารว่างทั้งหมด รวมทาวเวอร์ (หลัง) - พื้นที่อาคารว่างทั้งหมด (ตร.ม.) - พื้นที่อาคารว่างต่อพื้นที่อาคารทั้งหมด (ร้อยละ) - พื้นที่อาคารที่ใช้งานและที่ว่างแบ่งตามประเภทกายภาพอาคาร (ตร.ม. และร้อยละ) 2) องค์กร หน่วยงาน (Organization) - จ านวนองค์กรทั้งหมด (องค์กร) - จ านวนองค์กรแบ่งตามประเภทองค์กร (องค์กร และร้อยละ) - จ านวนองค์กรธุรกิจแบ่งตามกลุ่มอุตสาหกรรม (องค์กร และร้อยละ) - จ านวนองค์กรธุรกิจแบ่งตามการสร้างสรรค์ (องค์กร และร้อยละ) - จ านวนองค์กรธุรกิจแบ่งตามกลุ่มอุตสาหกรรมและการสร้างสรรค์ (องค์กร และร้อยละ) - พื้นที่องค์กรธุรกิจแบ่งตามกลุ่มอุตสาหกรรมและการสร้างสรรค์ (ตร.ม. และร้อยละ)

ขนาดพื้นที่องค์กร เป็นการประมาณการโดยค านวณจาก ขนาดพื้นที่ 1 ชั้นของอาคารที่องค์กรตั้งอยู่ ถ้าจ านวนองค์กรในอาคารมากกว่าจ านวนชั้นในอาคารใช้การค านวณ (ขนาดพื้นที่แต่ละชั้นของอาคาร x จ านวนชั้นของอาคาร)/จ านวนองค์กรทั้งหมดในอาคาร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-11

2. ฝั่งระบบ (Back-end) ประกอบด้วย 1) ส่วนเตรียมการแสดงผลฝั่งผู้ใช้งานหรือหน้าเว็บไซต์ 2) ส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ (Application Programming Interface หรือ API) ส าหรับ เรียกข้อมูลตามที่ก าหนดจากฐานข้อมูล เมื่อผู้ใช้งานส่งค าสั่งผ่านส่วนติดต่อผู้ใช้งานบนเว็บ แล้วส่งข้อมูล กลับไปยังฝั่งผู้ใช้งาน เพื่อแสดงผลในรูปแบบสถิติ แผนภูมิ หรือข้อมูลเชิงพื้นที่ โดยฝั่งระบบถูกพัฒนาด้วย ภาษา JavaScript ซึ่งประมวลผลด้วย Node.js การเลือกใช้การพัฒนาส่วนประสานข้อมูลระหว่างผู้ใช้งานและฐานข้อมูลในรูปแบบ API เพื่อให้การ พัฒนาต่อยอดในอนาคตสามารถมีการบริการจัดการการเข้าถึงข้อมูล แก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลผ่านช่องทางอื่น ๆ นอกเหนือจาก Quantum GIS ได้สะดวก รวมถึงสามารถเป็นช่องทางให้สาธารณะหรือนักพัฒนาเข้าถึงข้อมูล ทางคอมพิวเตอร์ได้ อย่างไรก็ตามการพัฒนาของระยะนี้ เป็นช่วงเร่ิมต้นพัฒนาจึงยังไม่มีความสมบูรณ์ และ จ ากัดการเข้าถึงเฉพาะเว็บไซต์ที่ก าหนดเท่านั้น

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 3 (Final Report) การพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็ปไซต์ 3-12

บทที่ 4

สรุปผลส ารวจข้อมูลลักษณะทางกายภาพ

ในบทนี้เป็นการแสดงผลการส ารวจ และวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ส ารวจ 4 แห่ง ได้แก่ พื้นที่เจริญกรุง พื้นที่เจริญนคร พื้นที่หัวล าโพง และพื้นที่นานา โดยแสดงผลการส ารวจตามล าดับ ต่อไปนี้ 4.1 ผลส ารวจจ านวนอาคารในพื้นที่ 4.2 ประมาณการขนาดพื้นที่อาคาร จ าแนกตามประเภทอาคาร 4.3 ผลส ารวจพื้นที่ว่าง อาคารว่าง

4.1 ผลการส ารวจจ านวนอาคารในพื้นที่ จากการส ารวจ พบว่า ภายในพื้นที่ส ารวจทั้ง 4 พื้นที่ รวม 3,871 หลัง ประกอบไปด้วยอาคาร พาณิชย์/ห้องแถว เป็นสัดส่วนที่มากที่สุด จ านวน 3,312 หลัง (ร้อยละ 85.56) ของปริมาณอาคารทั้งหมดใน พื้นที่ ดังภาพที่ 4-1

ภาพที่ 4-1 ร้อยละของอาคารในพื้นที่ส ารวจ แยกตามประเภทอาคาร รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 4 (Final Report) ผลส ารวจลักษณะทางกายภาพ 4-1

โดยมีรายละเอียดจ านวนอาคารในพื้นที่ จ าแนกตามประเภทอาคาร และพื้นที่ ดังตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 จ านวนอาคารในพื้นที่ จ าแนกตามประเภทอาคาร และพื้นที่ รวม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา ประเภทอาคาร (ตาม (หลัง) (หลัง) (หลัง) (หลัง) ประเภท) อาคารพาณิชย์ ห้องแถว 2,438 251 447 176 3,312 อาคารส านักงาน 66 32 4 1 103 อพาร์ทเม้นท์ คอนโดมิเนียม 28 11 2 - 41 โรงแรม 22 2 2 - 26 ศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้า 11 5 - - 16 ตลาด 1 4 - - 5 โรงพยาบาล สถานพยาบาล 7 - - - 7 สถาบันการศึกษา 43 4 - - 47 ศาสนสถาน 76 20 - 3 99 สถานที่ราชการ 11 1 - - 12 บ้านเดี่ยว 115 9 - - 124 ทาวน์เฮ้าส์ 1 - - - 1 ที่โล่ง 7 3 - - 10 พื้นที่สาธารณะ 3 - - - 3 สวนสาธารณะ ลานกิจกรรม โกดัง 19 4 10 - 33 อื่น ๆ 25 5 2 - 32 รวม (แยกพื้นที่) 2,873 351 467 180 3,871

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 4 (Final Report) ผลส ารวจลักษณะทางกายภาพ 4-2

4.2 การประมาณการขนาดพื้นที่อาคาร จ าแนกตามประเภทอาคาร และพื้นที่ โดยค านวณจากพื้นที่ฐานอาคาร และจ านวนชั้นของอาคาร โดยมีรายละเอียด ดังตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 ประมาณการขนาดพื้นที่อาคาร (ตร.ม.) จ าแนกตามประเภทอาคาร เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา รวม ประเภทอาคาร (ตร.ม) (ตร.ม) (ตร.ม) (ตร.ม) (ตามประเภท) อาคารพาณิชย์ 454,585.10 53,493.12 98,131.18 21,838.18 628,047.58 ห้องแถว อาคารส านักงาน 333,971.98 23,430.74 15,790.28 613.57 373,806.57 อพาร์ทเม้นท์ 77,856.41 346,585.51 4,581.43 - 429,023.35 คอนโดมิเนียม โรงแรม 903,086.67 123,599.83 13,778.65 - 1,040,465.15 ศูนย์การค้า 89,906.07 280,584.15 - - 370,490.22 ห้างสรรพสินค้า ตลาด 1,319.2 503.12 - - 1,822.32 โรงพยาบาล 68,963.95 - - 68,963.95 สถานพยาบาล สถาบันการศึกษา 113,144.41 6,879 - - 120,023.41 ศาสนสถาน 32,641.84 5,641.81 - 685.92 38,969.57 สถานที่ราชการ 21,345.45 1,380.74 - - 22,726.19 บ้านเดี่ยว 20,065.55 986.15 - - 21,051.70 ทาวน์เฮ้าส์ 221.95 - - 221.95 ที่โล่ง 10,156.96 7,068.75 - - 17,225.71 พื้นที่สาธารณะ 1,247.69 - - - 1,247.69 สวนสาธารณะ ลานกิจกรรม โกดัง 11,663.69 2,168.38 5,660.85 - 19,492.92

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 4 (Final Report) ผลส ารวจลักษณะทางกายภาพ 4-3

เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา รวม ประเภทอาคาร (ตร.ม) (ตร.ม) (ตร.ม) (ตร.ม) (ตามประเภท) อื่น ๆ 23,465.29 4,204.19 8,476.79 - 36,146.27 รวม (แยกพื้นที่) 2,164,018.38 856,525.49 145,416.21 23,137.67 3,107,112.90

จากการวิเคราะห์การประมาณขนาดพื้นที่อาคาร พบว่า จากการประมาณการขนาดพื้นที่ทั้งหมด 3,107,112.90 ตร.ม. อาคารประเภทโรงแรมใช้พื้นที่มากที่สุด 1,040,465.15 ตร.ม. (ร้อยละ 32.63) รองลงมา ได้แก่ อาคารประเภทอาคารพาณิชย์ และห้องแถว 628,047.58 ตร.ม. (ร้อยละ 19.7) และอาคารประเภท อพาร์ทเม้นท์ คอนโดมิเนียม 427,861.74 ตร.ม. (ร้อยละ 13.42) ตามล าดับ

ภาพที่ 4-2 ร้อยละของการประมาณการขนาดพื้นที่อาคาร แยกตามประเภทอาคาร รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 4 (Final Report) ผลส ารวจลักษณะทางกายภาพ 4-4

4.3 ผลส ารวจพื้นที่ว่าง อาคารว่างในพื้นที่ เป็นการแสดงผลการสำรวจรายละเอียดพื้นที่ว่างที่อยู่ภายในพื้นที่สำรวจ พร้อมทั้งจำแนก ประเภท พื้นที่ว่างนั้น ๆ โดยจากการสำรวจพบว่า ภายในพื้นที่ส ารวจมีจ านวนอาคารว่าง 177 แห่ง แบ่งเป็น พื้นที่เจริญ กรุง 146 แห่ง พื้นที่หัวล าโพง 16 แห่ง พื้นที่เจริญนคร 8 แห่ง และพื้นที่นานา 7 แห่ง ดังตารางที่ 4.3 เป็น พื้นที่ว่างประเภทอาคารพาณิชย์ ห้องแถว สูงที่สุด คิดเป็นร้อยละ 88.14 ของจ านวนพื้นที่ว่างทั้งหมด

ตารางที่ 4.3 จ านวนอาคารว่างทั้งหมด รวมทาวเวอร์ (หลัง) จ าแนกตามประเภทอาคาร ประเภทอาคาร เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา รวม (หลัง) (หลัง) (หลัง) (หลัง) (ตาม ประเภท) อาคารพาณิชย์ ห้องแถว 126 7 16 7 156 อาคารส านักงาน 10 1 - - 11 อพาร์ทเม้นท์ คอนโดมิเนียม 1 - - - 1 โรงแรม 1 - - - 1 ศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้า - - - - - ตลาด - - - - - โรงพยาบาล สถานพยาบาล - - - - - สถาบันการศึกษา - - - - - ศาสนสถาน - - - - - สถานที่ราชการ - - - - - บ้านเดี่ยว 4 - - - 4 ทาวน์เฮ้าส์ - - - - - ที่โล่ง - - - - - พื้นที่สาธารณะ - - - - - สวนสาธารณะ ลานกิจกรรม โกดัง 1 - - - 1 อื่น ๆ 3 - - - 3

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 4 (Final Report) ผลส ารวจลักษณะทางกายภาพ 4-5

ประเภทอาคาร เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา รวม (หลัง) (หลัง) (หลัง) (หลัง) (ตาม ประเภท) รวม (แยกพื้นที่) 146 8 16 7 177

ภาพที่ 4-3 ร้อยละของจ านวนอาคารว่าง แยกตามประเภทอาคาร

จากการวิเคราะห์ จ านวนพื้นที่ว่าง เทียบกับจ านวนอาคารทั้งหมด จ าแนกตามประเภทอาคาร พบว่า อาคารประเภทส านักงานมีสัดส่วนจ านวนพื้นที่ว่างสูงที่สุด 11 อาคาร (ร้อยละ 10.68) เทียบกับจ านวนอาคาร ประเภทส านักงานในพื้นที่ส ารวจ 103 อาคาร รองลงมาได้แก่ พื้นที่ว่างประเภทอื่น ๆ 3 อาคาร (ร้อยละ 9.09) จาก 33 อาคาร และพื้นที่ว่างประเภทอาคารพาณิชย์ ห้องแถว 156 (ร้อยละ 4.71) จาก 3,312 อาคาร ดังภาพ ที่ 4-4

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 4 (Final Report) ผลส ารวจลักษณะทางกายภาพ 4-6

ภาพที่ 4-4 เปรียบเทียบระหว่างจ านวนอาคารทั้งหมด กับอาคารว่าง แยกตามประเภทอาคาร (ร้อยละ)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 4 (Final Report) ผลส ารวจลักษณะทางกายภาพ 4-7

บทที่ 5

ผลสำรวจธุรกิจภายในย่านสร้างสรรค์

การนำเสนอข้อมูลธุรกิจในแต่ละพื้นที่จะแบ่งการนำเสนอตามการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจใน 3 ลักษณะ ดังนี้

ภาพที่ 5-1 ลำดับการคัดกรองข้อมูลธุรกิจ

1) ภาพรวมการดำเนินธุรกิจในพื้นที่สำรวจ (หน่วยธุรกิจ) เป็นข้อมูลที่แสดงปริมาณธุรกิจทั้งหมดใน พื้นที่สำรวจ 4 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่เจริญกรุง พื้นที่เจริญนคร พื้นที่หัวลำโพง และพื้นที่นานา โดยข้อมูลออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-1

- ปริมาณธุรกิจทุกประเภท (หน่วยธุรกิจ) คือ จำนวนรวมของหน่วยธุรกิจในพื้นที่ - ปริมาณธุรกิจที่มีสินค้า และบริการเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (หน่วยธุรกิจ) คือ จำนวน ธุรกิจที่มีลักษณะสินค้า และบริการที่เกี่ยวข้อง หรืออยู่ในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โดยดัดแปลงการจัด กลุ่มตามคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ โดยมีรายละเอียด ดังตารางที่ 5.1 - ปริมาณธุรกิจอื่น ๆ (หน่วยธุรกิจ) คือ ธุรกิจขายสินค้า และบริการทั่วไปที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ข้างต้น 2) ปริมาณธุรกิจ (หน่วยธุรกิจ) แบ่งตามประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ แบ่งการนำเสนอออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ - แบ่งตามกิจกรรมทางธุรกิจ (กิจกรรม) ประกอบไปด้วย ปริมาณกิจกรรมทางธุรกิจ (กิจกรรม) ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์หลัก (Core Creative Business) เป็นข้อมูลรายกิจกรรมทางธุรกิจที่มีสินค้า และบริการที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ สุดท้าย (End Product) ของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โดยมีรายละเอียด ดังตารางที่ 5.1 ปริมาณกิจกรรมทางธุรกิจ (กิจกรรม) ที่สนับสนุนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Related Creative Business) เป็นข้อมูลรายกิจกรรมทางธุรกิจที่มีสินค้า และบริการที่เป็นตัวสนับสนุน อุตสาหกรรมสร้างสรรค์หลักให้สามารถดำเนินธุรกิจต่อไปได้ โดยมีรายละเอียด ดังตารางที่ 5.1 - แบ่งตามลักษณะการดำเนินงานของแต่ละธุรกิจ (หน่วยธุรกิจ) ได้แก่ 1) บริการออกแบบ 2) บริการ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3) ขายผลิตภัณฑ์ 4) บริการออกแบบและขายผลิตภัณฑ์ 5) บริการออกแบบและ บริการอื่น ๆ 6) บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและขายผลิตภัณฑ์ และ 7) บริการออกแบบ บริการอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง และขายผลิตภัณฑ์ 3) ประมาณการขนาดพื้นที่ใช้สอยของแต่ละธุรกิจ จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (ตร.ม.) โดยเป็นการประมาณการจากขนาดพื้นที่ฐานอาคาร และจำนวนชั้นที่ธุรกิจตั้งอยู่

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-2

ตารางที่ 5.1 จำแนกธุรกิจตามกลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กลุ่มอุตสาหกรรม Core Creative Business Related Business อุตสาหกรรมอาหาร - ออกแบบ หรือปรุงอาหาร - ขายวัตถุดิบท าอาหาร - ขายอาหาร หรือรับส าเร็จมาปรุง - ขายอุปกรณ์ท าอาหาร - ออกแบบหรือปรุงเครื่องดื่ม ของ - ผลิตอาหาร (โรงงาน) หวาน - ขายเครื่องดื่ม ของหวาน อุตสาหกรรมแฟชั่น - ออกแบบเครื่องแต่งกาย - ขายผ้า - ขายเสื้อผ้า - เย็บผ้า ตัดเสื้อ - ผลิตเสื้อผ้า (โรงงาน) - ตัดผม แต่งหน้า อุตสาหกรรม เครื่องหนัง - ออกแบบเครื่องหนัง - ขายวัสดุหนัง หัตถกรรม - ขายผลิตภัณฑ์จากหนัง - ขายอุปกรณ์ประกอบตกแต่ง เครื่องหนัง - ผลิตเครื่องหนัง (โรงงาน) จิวเวลรี และ - ออกแบบจิวเวลรี และเครื่องเงิน - ขายวัสดุจิวเวลรี และเครื่องเงิน เครื่องเงิน - ขายจิวเวลรี และเครื่องเงิน - ขายอุปกรณ์ตกแต่งจิวเวลรี และเครื่องเงิน - ผลิตจิวเวลรี และเครื่องเงิน - ผลิตต้นแบบจิวเวลรี และ เครื่องเงิน - ผลิต หรือดัดเหล็กโลหะ เกี่ยวกับจิวเวลรี เครื่องเงิน (โรงกลึง) กิ๊ฟท์ช็อป - ออกแบบของที่ระลึก ของช าร่วย - ผลิตของที่ระลึก ของช าร่วย - ขายของที่ระลึก ของช าร่วย (โรงงาน) งานฝีมือ - จัดดอกไม้ ออกแบบตกแต่ง - ขายดอกไม้สด ดอกไม้ - ขายอุปกรณ์หัตถกรรม - ขายช่อดอกไม้ส าเร็จรูป

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-3

กลุ่มอุตสาหกรรม Core Creative Business Related Business อุตสาหกรรมออกแบบ - ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ของ - ขายไม้ โลหะส าหรับท า ตกแต่งบ้าน เฟอร์นิเจอร์ - ขายเฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน - ผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ช่างไม้ ช่างเหล็ก ช่างฝีมือ) อุตสาหกรรมสถาปัตยกรรม - ออกแบบสถาปัตยกรรม - ขายอุปกรณ์ตัดโมเดล ออกแบบแสงสว่าง - ผลิตสถาปัตยกรรมส าเร็จรูป - ขายบ้านส าเร็จรูป (เช่น เรือน (โรงงาน) ไทย ตู้คอนเทนเนอร์) - ขายแบบบ้านส าเร็จรูป (เช่น Royal House) อุตสาหกรรมทัศนศิลป์ - วาดภาพ ออกแบบและผลิตผล - บริการพื้นที่ให้ชมผลงานศิลปะ งานศิลปะ (วิจิตรศิลป์) (แกลเลอรี) - ออกแบบกราฟิกส์ - บริการพื้นที่เช่าจัดแสดงงาน (ศิลปะประยุกต์) ศิลปะ (แกลเลอรี หรือพื้นที่ให้ - ขายผลงานศิลปะ เช่า) - ขายวัสดุอุปกรณ์วาดภาพ อุตสาหกรรมดนตรี - ออกแบบ และผลิตเพลง - ขายเครื่องดนตรี อุปกรณ์ผลิต - ขายสิทธิการใช้เพลง (นายหน้า เพลง ขายเพลง) - บริการห้องอัดเสียง - ขายเทป ซีดี เพลงออนไลน์ - บริการห้องซ้อมดนตรี - สอนดนตรี (โรงเรียน) อุตสาหกรรมภาพยนตร์ - ออกแบบ และผลิตภาพยนตร์ - ขายอุปกรณ์ผลิตภาพยนตร์ - ขายสิทธิการใช้ภาพยนตร์ - บริการสตูดิโอถ่ายท าภาพยนตร์ (นายหน้าขายภาพยนตร์) - บริการตัดต่อภาพยนตร์ - ขายดีวีดี บลูเรย์ ภาพยนตร์ - ผลิตโมชันกราฟิกส์ แอนิเมชั่น ออนไลน์ ภาพยนตร์ อุตสาหกรรมแพร่ภาพ - ออกแบบและผลิตรายการวิทยุ - ขายอุปกรณ์ผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียง โทรทัศน์ โทรทัศน์ - บริการสตูดิโอถ่ายท ารายการ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-4

กลุ่มอุตสาหกรรม Core Creative Business Related Business - ขายสิทธิการใช้รายการวิทยุ - บริการตัดต่อรายการวิทยุ โทรทัศน์ โทรทัศน์ - ขายดีวีดี บลูเรย์ รายการวิทยุ - ผลิตโมชันกราฟิกส์ แอนิเมชั่น โทรทัศน์ออนไลน์ รายการโทรทัศน์ อุตสาหกรรมโฆษณา - ออกแบบ และผลิตโฆษณา - บริการถ่าย ล้าง อัดรูป ขาย ฟิลม์ - บริการสตูดิโอถ่ายภาพ อุตสาหกรรมศิลปะการแสดง - ออกแบบการแสดง - สอนการแสดง (โรงเรียน) - บริการโมเดลลิ่ง - บริการโรงละคร อุตสาหกรรมการพิมพ์ - บริการเขียนบทความ นิตยสาร - บริการพิมพ์ (โรงพิมพ์ ร้าน เขียนหนังสือ (ส านักพิมพ์) พิมพ์งาน ตัดสติ๊กเกอร์ ท าป้าย) - ขายบทความ นิตยสาร หนังสือ อุตสาหกรรมการแพทย์แผน - บริการคลินิกแพทย์แผนไทย - ผลิตยาสมุนไพรไทย ไทย - บริการนวด สปา - ผลิตอุปกรณ์ สปา เครื่องหอม - ขายยาสมุนไพรไทย - ขายอุปกรณ์ สปา เครื่องหอม

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิง - ออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวด้าน - ขายทัวร์ทั่วไป วัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรม - บริการเช่ารถ เช่าจักรยาน - ขายทัวร์ท่องเที่ยวด้าน - บริการพาหนะโดยสารประจ า ศิลปวัฒนธรรม ทาง (รถตู้ เรือ) อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ - ออกแบบ และพัฒนาซอฟต์แวร์ - ขายคอมพิวเตอร์ - ขายซอฟต์แวร์ - ซ่อมคอมพิวเตอร์

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-5

5.1 ผลส ารวจปริมาณหน่วยธุรกิจ

จากผลสำรวจธุรกิจในภาพรวม พบว่า มีจำนวนกิจกรรมทางธุรกิจในพื้นที่สำรวจทั้งหมด 1,391 ธุรกิจ แบ่งเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ จำนวน 818 ธุรกิจ (ร้อยละ 58.80) และกิจกรรมทาง ธุรกิจอื่น ๆ จำนวน 573 ธุรกิจ (ร้อยละ 41.2) โดยมีรายละเอียดข้อมูลการประกอบธุรกิจใน ดังตารางที่ 5.2

ตารางที่ 5.2 จ านวนธุรกิจทั้งหมดในพื้นที่ (หน่วยธุรกิจ) ปริมาณธุรกิจค้าขาย ปริมาณธุรกิจที่มีสินค้า/บริการที่ ปริมาณธุรกิจอื่น ๆ พื้นที่สำรวจ ทุกประเภท เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) เจริญกรุง 1,087 705 382 เจริญนคร 115 46 69 หัวลำโพง 142 49 93 นานา 47 18 29 รวม 1,391 818 573

5.2 ผลส ารวจกิจกรรมทางธุรกิจ และจ านวนหน่วยธุรกิจ แบ่งตามอุตสาหกรรมและการสร้างสรรค์

จากจ านวนธุรกิจที่มีสินค้า และบริการเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ทั้งหมด 818 ธุรกิจ (ตาราง ที่ 5.2) พบว่าภายใน 1 หน่วยธุรกิจสามารถประกอบกิจกรรมทางธุรกิจได้หลายประเภท ในแต่ละอุตสาหกรรม หรือสามารถประกอบกิจกรรมทางธุรกิจข้ามอุตสาหกรรมได้ อาทิ ร้านจิวเวลรีที่รับออกแบบและขายผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับจิวเวลรี จะถูกระบุข้อมูลทั้งในส่วนที่เป็นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ทั้ง Core Creative และ Relate Creative หรือ แกลเลอรีที่มีขายกาแฟจะถูกระบุกิจกรรมอยู่ในทั้งอุตสาหกรรมทัศนศิลป์ และอุตสาหกรรม อาหาร เป็นต้น ส่งผลให้ปริมาณธุรกิจในแต่ละอุตสาหกรรมมีจ านวนเทียบเท่า หรือน้อยกว่าปริมาณกิจกรรม ทางธุรกิจ และมีรายละเอียด ดังตารางที่ 5.3

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-6

ตารางที่ 5.3 จ านวนกิจกรรมทางธุรกิจ และจ านวนหน่วยธุรกิจ แบ่งตามอุตสาหกรรมและการสร้างสรรค์ อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) อุตสาหกรรมอาหาร 187 หน่วยธุรกิจ 25 หน่วยธุรกิจ 28 หน่วยธุรกิจ 10 หน่วยธุรกิจ Core Creative 227 31 29 14 Related Business 9 2 1 - อุตสาหกรรมแฟชั่น 82 หน่วยธุรกิจ 10 หน่วยธุรกิจ 2 หน่วยธุรกิจ 2 หน่วยธุรกิจ Core Creative 85 7 - 1 Related Business 51 9 2 2 อุตสาหกรรมหัตถกรรม: 5 หน่วยธุรกิจ - - - เครื่องหนัง Core Creative 7 - - - Related Business - - - - อุตสาหกรรมหัตถกรรม: 259 หน่วยธุรกิจ 2 หน่วยธุรกิจ 6 หน่วยธุรกิจ - จิวเวลรี และเครื่องเงิน Core Creative 346 3 - - Related Business 32 2 9 - อุตสาหกรรมหัตถกรรม: 47 หน่วยธุรกิจ - - - กิ๊ฟท์ช็อป Core Creative 65 - - - Related Business - - - - อุตสาหกรรมหัตถกรรม: 4 หน่วยธุรกิจ - - 2 หน่วยธุรกิจ งานฝีมือ Core Creative 5 - - - Related Business - - - 2 อุตสาหกรรมออกแบบ 52 หน่วยธุรกิจ 1 หน่วยธุรกิจ - - Core Creative 55 1 - - Related Business 1 - - - อุตสาหกรรม 6 หน่วยธุรกิจ 1 หน่วยธุรกิจ 7 หน่วยธุรกิจ 2 หน่วยธุรกิจ สถาปัตยกรรม Core Creative 6 1 7 2

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-7

อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) Related Business - - - - อุตสาหกรรมทัศนศิลป์ 46 หน่วยธุรกิจ - 2 หน่วยธุรกิจ - Core Creative 41 - - - Related Business 28 - 2 - อุตสาหกรรมดนตรี - 1 หน่วยธุรกิจ - - Core Creative - 1 - - Related Business - - - - อุตสาหกรรมภาพยนตร์ - - - - Core Creative - - - - Related Business - - - - อุตสาหกรรมแพร่ภาพ - - - - กระจายเสียง Core Creative - - - - Related Business - - - - อุตสาหกรรมโฆษณา 6 หน่วยธุรกิจ - 1 หน่วยธุรกิจ 1 หน่วยธุรกิจ Core Creative 2 - 1 - Related Business 5 - - 1 อุตสาหกรรม 1 หน่วยธุรกิจ - - - ศิลปะการแสดง Core Creative 1 - - - Related Business - - - - อุตสาหกรรมการพิมพ์ 5 หน่วยธุรกิจ - 2 หน่วยธุรกิจ - Core Creative 3 - 1 - Related Business 4 - 1 - อุตสาหกรรม 35 หน่วยธุรกิจ 7 ธุหน่วยธุรกิจ 2 หน่วยธุรกิจ - แพทย์แผนไทย Core Creative 35 6 2 - Related Business - 1 - -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-8

อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 12 หน่วยธุรกิจ - 1 หน่วยธุรกิจ - เชิงวัฒนธรรม Core Creative 10 - - - Related Business 12 - 1 - อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ 13 หน่วยธุรกิจ 1 หน่วยธุรกิจ - - Core Creative 16 1 - - Related Business 2 - - - สินค้า และบริการทั่วไป 459 หน่วยธุรกิจ 70 หน่วยธุรกิจ 95 หน่วยธุรกิจ 31 หน่วยธุรกิจ สินค้าทั่วไป 74 3 3 - บริการทั่วไป 192 24 54 6 อื่นๆ 197 43 38 25 หมายเหตุ: 1) ไม่สามารถรวมจ านวนหน่วยธุรกิจในแต่ละอุตสาหกรรมได้ เนื่องจาก 1 หน่วยธุรกิจสามารถประกอบ กิจกรรมทางธุรกิจได้หลายประเภท 2) ดูรายละเอียดรายกิจกรรมได้จากภาคผนวก ง

คิดเป็นสัดส่วนกิจกรรมทางธุรกิจ Core Creative และ Related Business จำแนกตามประเภท อุตสาหกรรมได้ ดังภาพที่ 5-2 โดยทุกอุตสาหกรรมมีสัดส่วนกิจกรรมทางธุรกิจที่เป็น Core Creative สูงกว่า กิจกรรมทางธุรกิจที่เป็น Related Business ยกเว้นอุตสาหกรรมโฆษณา อุตสาหกรรมการพิมพ์และ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีกิจกรรมทางธุรกิจที่เป็น Related Business สูงกว่ากิจกรรมทางธุรกิจ ที่เป็น Core Creative

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-9

ภาพที่ 5-2 สัดส่วนกิจกรรมทางธุรกิจ (ร้อยละ) จ าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

และเมื่อจ าแนกธุรกิจตามลักษณะการด าเนินงาน อันได้แก่ 1) บริการออกแบบ คือ ธุรกิจที่คิดสินค้า/บริการใหม่ในแต่ละอุตสาหกรรม 2) บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือ ธุรกิจที่ให้บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 3) ขายผลิตภัณฑ์ คือ ธุรกิจที่ขายสินค้า/ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 4) บริการออกแบบและขายผลิตภัณฑ์ 5) บริการออกแบบและบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6) บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและขายผลิตภัณฑ์ 7) บริการออกแบบ บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และขายผลิตภัณฑ์

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-10

โดยจากการวิเคราะห์ พบว่า ภายในพื้นที่ส ารวจมีหน่วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมหัตถกรรม: จิวเวลรี และเครื่องเงิน จ านวน 267 หน่วยธุรกิจ (ร้อยละ 34.20) อุตสาหกรรมอาหาร จ านวน 250 หน่วย ธุรกิจ (ร้อยละ 32.97) และอุตสาหกรรมแฟชั่น จ านวน 96 หน่วยธุรกิจ (ร้อยละ 11.58) สูงสุดเป็น 3 อันดับ แรก เมื่อเทียบกับจ านวนธุรกิจ 874 หน่วยธุรกิจ

ภาพที่ 5-3 สัดส่วนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่ส ารวจ

สามารถดูรายละเอียดปริมาณธุรกิจ จ าแนกตามลักษณะการด าเนินงานในแต่ละอุตสาหกรรม ได้จาก ตารางที่ 5.4

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-11

ตารางที่ 5.4 ปริมาณธุรกิจ จ าแนกตามลักษณะการด าเนินงานในแต่ละอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) อุตสาหกรรมอาหาร บริการออกแบบ 18 - 3 - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2 1 - - ขาย 150 22 25 8 ออกแบบ + บริการ 0 - - - ออกแบบ + ขาย 16 2 - 2 บริการ + ขาย 1 - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย 0 - - - อุตสาหกรรมแฟชั่น บริการออกแบบ - - 2 - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 27 4 - 1 ขาย 14 1 - - ออกแบบ + บริการ 2 1 - 1 ออกแบบ + ขาย 21 - - - บริการ + ขาย 8 3 - - ออกแบบ + บริการ + ขาย 10 1 - - อุตสาหกรรมหัตถกรรม: เครื่องหนัง บริการออกแบบ 1 - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย 2 - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย 2 - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมหัตถกรรม: จิวเวลรี และเครื่องเงิน บริการออกแบบ 5 - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย 161 1 1 -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-12

อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) ออกแบบ + บริการ 1 - - - ออกแบบ + ขาย 69 - - - บริการ + ขาย 4 - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย 19 1 1 - อุตสาหกรรมหัตถกรรม: กิ๊ฟท์ช็อป บริการออกแบบ - - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย 29 - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย 18 - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมหัตถกรรม: งานฝีมือ บริการออกแบบ 1 - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย 2 - - 2 ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย 1 - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมออกแบบ บริการออกแบบ - - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1 - - - ขาย 47 1 - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย 4 - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมสถาปัตยกรรม

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-13

อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) บริการออกแบบ 4 - 7 2 บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย 2 - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย - - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมทัศนศิลป์ บริการออกแบบ 4 - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 15 2 2 - ขาย 11 - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย 4 - - - บริการ + ขาย 8 - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย 4 - - - อุตสาหกรรมดนตรี บริการออกแบบ - 1 - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย - - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมภาพยนตร์ บริการออกแบบ - - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย - - - -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-14

อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมแพร่ภาพ กระจายเสียง บริการออกแบบ - - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย - - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมโฆษณา บริการออกแบบ 2 - 1 - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4 2 - 1 ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย - - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมศิลปะการแสดง บริการออกแบบ 1 - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย - - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมการพิมพ์ บริการออกแบบ - - 1 - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3 - 1 -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-15

อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) ขาย 1 - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย - - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย 1 - - - อุตสาหกรรมแพทย์แผนไทย บริการออกแบบ 34 - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1 7 2 - ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย - - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม บริการออกแบบ - - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 9 - 1 - ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ 3 - - - ออกแบบ + ขาย - - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - - อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ บริการออกแบบ 2 - - - บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - - - - ขาย 7 1 - - ออกแบบ + บริการ - - - - ออกแบบ + ขาย 4 - - - บริการ + ขาย - - - - ออกแบบ + บริการ + ขาย - - - -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-16

อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) (หน่วยธุรกิจ) อื่นๆ ขาย 74 3 3 บริการ 188 24 54 6 หมายเหตุ: ไม่สามารถรวมจ านวนหน่วยธุรกิจทุกอุตสาหกรรมได้ เนื่องจาก 1 หน่วยธุรกิจสามารถประกอบ กิจกรรมทางธุรกิจได้หลายประเภท หลายอุตสาหกรรม

จากการวิเคราะห์พบว่า การประกอบธุรกิจในพื้นที่ธุรกิจส่วนมากด าเนินธุรกิจผ่านขายผลิตภัณฑ์ สุดท้าย (End Product) ของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เป็นส่วนใหญ่ รองลงมาได้แก่ การให้บริการอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และบริการออกแบบพร้อมขายผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ ดังภาพที่ 5-5

ภาพที่ 5-4 สัดส่วนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์แต่ละประเภท จ าแนกตามลักษณะการด าเนินงานของธุรกิจ 5.3 ประมาณการขนาดพื้นที่ใช้สอยของแต่ละธุรกิจ จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

การประมาณการขนาดพื้นที่ใช้สอยของแต่ละธุรกิจ จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เป็นการ ประมาณการจากขนาดพื้นที่ฐานอาคาร และจำนวนชั้นที่ธุรกิจตั้งอยู่ โดยจากการสำรวจสามารถระบุขนาด พื้นที่ใช้สอยของแต่ละธุรกิจ จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ได้ดังตารางที่ 5.5

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-17

ตารางที่ 5.5 ประมาณขนาดพื้นที่ แบ่งตามกลุ่มอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (ตร.ม) (ตร.ม) (ตร.ม) (ตร.ม) อุตสาหกรรมอาหาร 25,249.21 6,435.95 6,063.86 705.03 อุตสาหกรรมแฟชั่น 8,596.82 1,019.22 74.26 86.98 อุตสาหกรรม 503.79 - - - หัตถกรรม: เครื่องหนัง อุตสาหกรรม 87,035.37 515.48 1,144.41 - หัตถกรรม: จิวเวลรี และเครื่องเงิน อุตสาหกรรม 16,894.33 - - - หัตถกรรม: กิ๊ฟท์ช็อป อุตสาหกรรม 662.97 - - 101.61 หัตถกรรม: งานฝีมือ อุตสาหกรรมออกแบบ 12,255.48 172.86 - - อุตสาหกรรม 1,175.43 2,000 4,432.4 258.36 สถาปัตยกรรม อุตสาหกรรมทัศนศิลป์ 16,235.14 - 196.47 - อุตสาหกรรมดนตรี - 55.64 - - อุตสาหกรรม - - - - ภาพยนตร์ อุตสาหกรรมแพร่ภาพ - - - - กระจายเสียง อุตสาหกรรมโฆษณา 4,899.7 - 47.36 16.33 อุตสาหกรรม 845.75 - - - ศิลปะการแสดง อุตสาหกรรมการพิมพ์ 864.47 - 354.99 - อุตสาหกรรมแพทย์ 2,789.85 582.29 1,274.59 - แผนไทย

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-18

อุตสาหกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (ตร.ม) (ตร.ม) (ตร.ม) (ตร.ม) อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 2,153.42 - 44.25 - เชิงวัฒนธรรม อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ 21,150.77 128.87 - - สินค้าทั่วไป 22,315.83 296.94 153.59 - บริการทั่วไป 94,704.16 13,143.5 9,826.42 603.58 หมายเหตุ: เนื่องจาก 1 ธุรกิจสามารถประกอบกิจกรรมทางธุรกิจได้หลายประเภท จึงไม่สามารถรวมพื้นที่ใน ภาพรวมได้

5.4 ปริมาณหน่วยธุรกิจที่เปิดใหม่ในย่านสร้างสรรค์ และพื้นที่ต่อเนื่อง จากการส ารวจพบว่า ระหว่างปี พ.ศ. 2561-2562 มีหน่วยธุรกิจที่เปิดใหม่ในย่านสร้างสรรค์ และพื้นที่ ต่อเนื่อง จ านวน 35 หน่วยธุรกิจ รายละเอียดดังตารางที่ 5.6 โดยจ าแนกเป็น ปี พ.ศ. 2561 จ านวน 10 หน่วย ธุรกิจ และปี พ.ศ. 2562 จ านวน 25 หน่วยธุรกิจ โดยแบ่งเป็น ธุรกิจประเภทร้านอาหาร คาเฟ่ เบเกอรี่ และบาร์ จ านวน 23 หน่วยธุรกิจ ธุรกิจประเภทฟิลม์/ ภาพถ่าย จ านวน 4 หน่วยธุรกิจ ธุรกิจประเภทแกลเลอรี จ านวน 4 หน่วยธุรกิจ ธุรกิจออกแบบสถาปัตยกรรม จ านวน 1 หน่วยธุรกิจ ธุรกิจอื่น ๆ จ านวน 3 หน่วยธุรกิจ ตารางที่ 5.6 รายชื่อธุรกิจเปิดใหม่ในย่านสร้างสรรค์ และพื้นที่ต่อเนื่อง ชื่อธุรกิจ ที่ตั้ง ปีที่เปิด ร้านอาหาร คาเฟ่ เบเกอรี่ บาร์ HEI JII เจริญกรุง 43 ตุลาคม 2561 135 Coffee Bar แยกสุรวงศ์ ตัดถนนเจริญกรุง ตุลาคม 2561 Sarnies เจริญกรุง 44 ธันวาคม 2561 Sentimental Cafe ซอยกลันตัน 2561 A2 Café ติด MRT หัวล าโพง ทางออก 1 2561 Someday Everyday เจริญกรุง 30 กุมภาพันธ์ 2562

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-19

ชื่อธุรกิจ ที่ตั้ง ปีที่เปิด Sweet Pista Bangkok Warehouse 30 กุมภาพันธ์ 2562 Mother Roaster ถนน มหาพฤฒาราม กุมภาพันธ์ 2562 Puffy Bearkery ตรงข้ามประตูวัดสวนพลู กุมภาพันธ์ 2562 To More Bar (มาแทน Soul Bar) ริมถนนเจริญกรุง เลยซอยนครเกษม 5 กุมภาพันธ์ 2562 วัวทอง โภชนา เจริญกรุง 45 กุมภาพันธ์ 2562 Baba Mama Café เชิงสะพานพิทยเสถียร มีนาคม 2562 KUA BKK (คั่ว) เจริญกรุง 73 มีนาคม 2562 อะเหน่ Raan A-ne เจริญกรุง 29 เมษายน 2562 Tokyo Hot เจริญกรุง 24 เมษายน 2562 Coin BKK (มาแทน Breath Bar) ใกล้ BTS สะพานตากสิน พฤษภาคม 2562 Taiguan Café (ไทง้วน) และ ปั้นเมือง ตลาดน้อย พฤษภาคม 2562 HOC (House of Commons) ปากซอยเจริญกรุง 24 มิถุนายน 2562 The Hidden Milkbar ปากซอยเจริญกรุง 32 มิถุนายน 2562 Chezmou เจริญกรุง 44 2562 Mahasan ระหว่างเจริญกรุง 69- 71 2562 Supanniga Eating Room เจริญกรุง 38 2562 Feng Zhu หน้า River City 2562 ร้านฟิล์ม/ ถ่ายภาพ Ilford Galleria (135 Coffee Bar) แยกสุรวงศ์ ตัดถนนเจริญกรุง ตุลาคม 2561 RDX Printshop เจริญกรุง 24 กุมภาพันธ์ 2562 Hyperdev ระหว่างซอยเจริญกรุง 30 - แยกสี่พระยา เมษายน 2562 Fotoclub BKK ปากซอยเจริญกรุง 32 พฤษภาคม 2562 Gallery RDX Offsite + RDX Print Shop ซอยเจริญกรุง 31 กุมภาพันธ์ 2562 ATT19 ซอยเจริญกรุง 30 กุมภาพันธ์ 2562 Slure สลัว ตรงข้ามซอยเจริญกรุง 57 เมษายน 2562

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-20

ชื่อธุรกิจ ที่ตั้ง ปีที่เปิด The Nestle Living and Gallery ซอยเจริญกรุง 45 2562 ออกแบบสถาปัตยกรรม Creative Crews ซอย โชฎึก ตลาดน้อย กรกฎาคม 2560 อื่น ๆ Bouquet Floral Studio OP Place พฤษภาคม 2561 ChulaFashion ซอยระหว่างเจริญกรุง 36-38 2561 ร้านสูท KBL Collection ถนนเจริญกรุง พฤษภาคม 2562

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 5 (Final Report) ผลส ารวจธุรกิจ 5-21

บทที่ 6

ผลส ารวจพื้นที่สร้างสรรค์

6.1 พื้นที่สร้างสรรค์ประเภทอาคาร และพื้นที่จัดแสดง

ภาพที่ 6-1 ต าแหน่งพื้นที่สร้างสรรค์ ประเภทอาคารและพื้นที่จัดแสดง

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-1

1) โรงหนังปริ้นซ์ (Prince Theatre Heritage Stay)

ภาพที่ 6-2 Prince Theatre Heritage Stay (ที่มา: Facebook Page: Prince Theatre Heritage Stay)

ตารางที่ 6.1 รายละเอียดเกี่ยวกับโรงหนังปริ้นซ์ ที่ตั้ง 441/1 ถนนเจริญกรุง (ศรีเวียง) แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500 เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 0-2090-2858 เว็ปไซต์ princeheritage.com เวลาเปิด-ปิด ขนาดพื้นที่ พื้นที่ฐานอาคาร (Footprint) ประมาณ 600 ตารางเมตร (สูง 2 ชั้น) ตัวอย่างกิจกรรม Sunday Mambo Madness 11 มีนาคม – 27 พฤษภาคม 2561 SVL Academy Live #7 5 กรกฎาคม 2561 FIFA Full Screen Final 14-16 กรกฎาคม 2561 Moving Picture, Moving Poetry 17 สิงหาคม 2561 Spooktacular Movies Week 26-31 ตุลาคม 2561 Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561 French Weekend Movieclub 28-29 ธันวาคม 2561 Dots Matter | TEDxCharoenkrung 27 มกราคม 2562 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 Endless Love Poetry and Art 16 กุมภาพันธ์ 2562 Performance French Weekend Movieclub 30 มีนาคม – 29 มิถุนายน 2562 รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-2

Mother's Day at Prince 12 สิงหาคม 2562 2) ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก

ภาพที่ 6-3 อาคารไปรษณีย์กลาง บางรัก (ที่มา: Kobkid.com และ https://gccircularliving.pttgcgroup.com)

ตารางที่ 6.2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก ที่ตั้ง 1160 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 0-2234-9530 เว็ปไซต์ เวลาเปิด-ปิด จันทร์ – ศุกร์ 8.00-20.00 น. เสาร์-อาทิตย์ 8.00-13.00 น. ขนาดพื้นที่ ลานด้านหน้าอาคาร ประมาณ 2,300 ตารางเมตร (ส่วนไปรษณีย์) ห้องไปรษณีย์นฤมิตร ประมาณ1,072 ตารางเมตร ห้องไปรษณีย์ฤดีสราญ ประมาณ 299 ตารางเมตร ห้องไปรษณีย์วิจิตรรจนา ประมาณ107 ตารางเมตร ห้องไปรษณีย์ฤดีภิรมย์ ประมาณ 307 ตารางเมตร โถงห้องไปรษณีย์ฤดีสราญ ประมาณ 274 ตารางเมตร ห้องไปรษณีย์โทรเลข ประมาณ 43 ตารางเมตร ขนาดพื้นที่ ชั้น 1: Meeting Point ขนาด 31.5 ตารางเมตร และแกลเลอรี ขนาด 289 ตาราง (ส่วน TCDC) เมตร ชั้น M: Auditorium A ขนาด 82.5 ตารางเมตร และ Auditorium B ขนาด 138 ตารางเมตร (สามารถเปิดใช้งานเป็นพื้นที่เดียวกันได้) ชั้น 2: Material and Design Innovation Center ขนาด 75 ตารางเมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-3

ชั้น 3: Meeting Room1 ขนาด 52.5 ตารางเมตร และMeeting Room2,3 ขนาด 36.5 ตารางเมตร และ Meeting Room4 ขนาด 107 ตารางเมตร ชั้น 4: Function Room ขนาด 266 ตารางเมตร ชั้น 5: Creative Space ขนาด 66 ตารางเมตร และ Public Rooftop Garden ขนาด 198 ตารางเมตร และ Member Rooftop Garden ขนาด 253 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม บริจาคโลหิต สภากาชาดไทย 24 สิงหาคม 2558 Co-create test day 28-30 พฤษภาคม 2559 MAGNUM RED VELVET – HOTEL de 25 เมษายน 2560 PLAY "พลิกธุรกิจออนไลน์ เพิ่มยอดปังดังร้อยล้าน 26 พฤษภาคม 2561 Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561 Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 ฤดูกาลแห่งรัก ณ บางรัก 14 กุมภาพันธ์ 2562

3) โอพี การ์เด้น (OP Garden)

ภาพที่ 6-4 OP Garden (ที่มา: timeout.com)

ตารางที่ 6.3 รายละเอียดเกี่ยวกับศูนย์การค้า OP Garden

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-4

ที่ตั้ง 4,6 ซอยเจริญกรุง36 แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 0-2235-8865 เว็ปไซต์ www.facebook.com/opgarden.bkk เวลาเปิด-ปิด ทุกวัน 10.30-21.30 น. ขนาดพื้นที่ ฐานอาคาร (footprint) ประมาณ 583.67 ตารางเมตร (สูง 2 ชั้น) ตัวอย่างกิจกรรม Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561 งานแฟชั่นโชว์ แบรนด์ This Monsters 5 มกราคม 2562 เปิดโชว์รูมเฟอร์นิเจอร์ VIVI Decorative ใน 26 มกราคม- 3 กุมภาพันธ์ 2562 งาน “10 Years of VIVI” กิจกรรม DIY Shorts Paint จากร้าน 10 มีนาคม 2562 Thismonster

4) Serindia Gallery

ภาพที่ 6-5 Serindia Gallery (ที่มา: https://serindiagallery.com)

ตารางที่ 6.4 รายละเอียดเกี่ยวกับ Serindia Gallery ที่ตั้ง ภายในศูนย์การค้า OP Garden 4,6 ซอยเจริญกรุง36 แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 02 238 6410 เว็ปไซต์ https://serindiagallery.com เวลาเปิด-ปิด อังคาร – อาทิตย์ 11.00-19.00 น. หยุดวันจันทร์ ขนาดพื้นที่ ประมาณ 230 ตารางเมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-5

ตัวอย่างกิจกรรม The Image of Buddha by Rachata 14 พฤศจิกายน 2562 – 15 มกราคม Siriyakul 2563 Revealed by Aor Suttiprapha 12 กันยายน – 31 ตุลาคม 2562 (Contemporary Ceramic) Friend Zone & Symmetry by Nine 8 สิงหาคม – 1 กันยายน 2562 Napat (Photography) ARTIST TALK WITH MORRISON 22 มิถุนายน 2562 POLKINGHORNE 148913: Paths of the Lotus Ink by 16 พฤษภาคม 2562 Morrison Polkinghorne Auto-graph by Tetsuya Kusu 4 เมษายน 2562 Design and Power: Artists' Talk at 1 กุมภาพันธ์ 2562 Subdued Exhibition Subdued: A Design Exhibition Curated 26 มกราคม 2562 by Rush Pleansuk Bangkok That Was: Photographs 1956- 28 พฤศจิกายน 2561 1961 by Fabrizio La Torre Nature Morte: Platinum Prints by 16 ตุลาคม 2561 Yumiko Izu and Kenro Izu New York Abstracts by Hisako 7 กันยายน 2561 Kobayashi Slit-scan Photography: Artist's Talk by 14 สิงหาคม 2561 Jaroslav Poncar 40 Years of Panorama Photography: 19 กรกฎาคม 2561 Life with the FT-2 Loves Get Better with Time Quietly by 7 มิถุนายน 2561 Sudaporn Teja Eden, Part 1: Photography and 8 มีนาคม 2561 Sculpture by Piyatat Hemmatat Aura by Chi Wing Lo 18 มกราคม 2561 5) ATTA Gallery รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-6

ภาพที่ 6-6 Atta Gallery (ที่มา: bangkokriver.com)

ตารางที่ 6.5 รายละเอียดเกี่ยวกับ Atta Gallery ที่ตั้ง ภายในศูนย์การค้า OP Garden 4,6 ซอยเจริญกรุง36 แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 02-238-6422, 089-143-7216 เว็ปไซต์ http://www.attagallery.com เวลาเปิด-ปิด อังคาร – อาทิตย์ 13.00-19.30 น. หยุดวันจันทร์ ขนาดพื้นที่ ประมาณ 65.5 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม A Human, a Monkey, an Alien by 24 กรกฎาคม 2562 Sungo Cho Anything / Anywhere 8 มิถุนายน – 20 กรกฎาคม 2562 00:00-23:59 by Cherry Boonyapan 9 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2562 Re-Writing Your Own Script with 2-3 มีนาคม 2562 @ TCDC Charon Kransen (ท าร่วมกับ CEA) Diversity Galore curated by Charon 27 กุมภาพันธ์ – 17 เมษายน 2562 Kransen Off the Wall Mini Exhibition 13 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 Marie Grewenig I-Land Mini Exhibition 13 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-7

Niklas Links Everyone and Everywhere is an Island 9 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 I-Land Mini Exhibition 12 ธันวาคม 2561 – 12 มกราคม Tabea Reulecke 2562 I-Land Mini Exhibition 8 พฤศจิกายน – 8 ธันวาคม 2561 Catarina Silva Opening of Garden of the Lost and 25 ตุลาคม 2561 – 5 มกราคม 2562 Found Off the Wall Mini Exhibition 19 ตุลาคม – 14 พฤศจิกายน 2561 Claire McArdle I-Land Mini Exhibition 4 ตุลาคม - 6 พฤศจิกายน 2561 Tod Todesire niko niko: itoaya 9 กันยายน – 20 ตุลาคม 2561 I-Land Mini Exhibition 6 กันยายน – 2 ตุลาคม 2561 Melinda Young Off the Wall Mini Exhibition 6 กันยายน – 2 ตุลาคม 2561 Christoph Straube She: Portraits & Contemporary 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 Jewelry Supachai Ketkaroonkul & Rudee Tancharoen Off the Wall Mini Exhibition 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 Group Exhibition: Pin of Interest I-Land Mini Exhibition 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 Herman Hermsen HD L3I$UR3 2 พฤษภาคม – 23 มิถุนายน 2561 Adam Grinovich, Florian Milker, Annika Pettersson Echoes of Order 29 มีนาคม – 28 เมษายน 2561 Carina Shoshtary & Attai Chen I-Land Mini Exhibition 29 มีนาคม – 28 เมษายน 2561 รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-8

Poly Nikolopoylou COLORS and the 'In-Between' 1 – 24 มีนาคม 2561 Supachai K. and Gallery Artists CHAINreaction 11 มกราคม – 25 กุมภาพันธ์ 2561 The HANDSHAKE project A(r)mor Mini Exhibition 29 พฤศจิกายน 2560 – 7 มกราคม Matt Lambert 2561 A/Part: The Existing of the Non- 3 พฤศจิกายน 2560 – 7 มกราคม Existence 2561 Taweesak Molsawat

6) ศูนย์การค้า โอพี เพลส (OP Place)

ภาพที่ 6-7 ศูนย์การค้า OP Place (ที่มา : Facebook/opplace.bkk)

ตารางที่ 6.6 รายละเอียดเกี่ยวกับศูนย์การค้า OP Place ที่ตั้ง 30/1 ซอยเจริญกรุง38 แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 02 266 0186

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-9

เว็ปไซต์ http://www.opthai.com เวลาเปิด-ปิด ทุกวัน 11.00-19.00 น. ขนาดพื้นที่ ฐานอาคาร (footprint) ประมาณ 2,379.62 ตารางเมตร (สูง 4 ชั้น) ตัวอย่างกิจกรรม นิทรรศการ “อาลัยรัก จากดวงใจ ถวายพ่อ 24 มกราคม 2560 หลวง” เปิดให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วม workshop งานภาพพิมพ์ไม้แกะสลักแบบญี่ปุ่นกับ อาจารย์ธณาเศรษฐ์ ศิรอภิวัลย์ นิทรรศการ “คิดถึงพ่อ จากดวงใจ ถวายพ่อ 9 – 30 กันยายน 2560 หลวง” กิจกรรม “AirBNB Thailand Host Day” 24 กันยายน 2560 งานแฟชั่นโชว์ แบรนด์ This Monsters 24 พฤศจิกายน 2561 นิทรรศการ "สุขสะพรั่งหรรษา" (The 30 พฤศจิกายน 2561 Greatest Happiness) Bangkok Art Biennale 19 ตุลาคม 2561 - 3 กุมภาพันธ์ 2562 Calligraphy Workshop “เขียนสวยอย่างมี 17 พฤศจิกายน 2561 ศิลป์” Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561 Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 นิทรรศการร้าน Princess Collection และ 25-30 มกราคม 2562 Himalayan “เที่ยวกลางคืน WALK WITH THE CLOUD 14 -15 มิถุนายน 2562 18 “ สถานที่ถ่ายท าคลิปโครงการ “สานต่อที่พ่อ ท า” สถานที่ถ่ายท าโฆษณา Samsung “ คิดจะ Selfie มันต้องมี Secret” แฟชั่นเซ็ต Lee Fall/Winter 2016 collection is now in store. ของ Lee Jeans รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-10

7) อาคารอีสต์ เอเชียติก (East Asiatic)

ภาพที่ 6-8 อาคารอีสต์ เอเชียติก (ที่มา: baanlaesuan.com)

ตารางที่ 6.7 รายละเอียดเกี่ยวกับอาคารอีสต์ เอเชียติก ที่ตั้ง ซอยเจริญกรุง40 แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ เว็ปไซต์ เวลาเปิด-ปิด ขนาดพื้นที่ ฐานอาคาร (footprint) ประมาณ 967.88 ตารางเมตร (สูง 3 ชั้น) ตัวอย่างกิจกรรม Co-create test day 28-30 พฤษภาคม 2559 สถานที่ถ่ายท าโฆษณา Future is now ม. 2560 กรุงเทพ A wall is a Screen 13 ธันวาคม 2560 Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 สถานที่ถ่ายท าโฆษณา “True Point x 2561 BNK48: ความสุขที่ต้องแลกของ BNK48” สถานที่ถ่ายท าโฆษณา “Test of Black: ค้น 2561 ให้ครบทุกมิติ” ของ Johny Walker Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-11

Bangkok Art Biennale 19 ตุลาคม 2561 – 3 กุมภาพันธ์ 2562 กิจกรรม "RIVERLATION" จาก UBERMUT PROJECT สถานที่ถ่ายท าโฆษณา “ใหม่! นีเวีย ซัน อินสแตนท์ ออร่า...อัพออร่าขึ้น 1 เบอร์ทันที ที่ใช้” สถานที่ถ่ายท าโฆษณา เมจิ บัลแกเรีย

8) บ้านเลขที่ 1 และโกดังบ้านเลขที่ 1

ภาพที่ 6-9 บ้านเลขที่ 1 และโกดังบ้านเลขที่ 1 (ที่มา: bangkokriver.com)

ตารางที่ 6.8 รายละเอียดเกี่ยวกับบ้านเลขที่ 1 และโกดังบ้านเลขที่ 1 ที่ตั้ง ถ.สี่พระยา ซอยกัปตันบุช แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 02 263 2500 เว็ปไซต์ https://house-numberone.com เวลาเปิด-ปิด ขนาดพื้นที่ ตัวบ้านสูง 2 ชั้น แต่ละชั้นสามารถรองรับแขกได้ประมาณ 60 คน พื้นที่สนามขนาด 675 ตารางเมตร พื้นที่ฐานอาคารโกดัง ประมาณ 230 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Object Talk 21 มกราคม 2561 Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561 รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-12

Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 งาน Private Event

9) Warehouse 30

ภาพที่ 6-10 Warehouse 30 (ที่มา: VoiceTV.com)

ตารางที่ 6.9 รายละเอียดเกี่ยวกับ Warehouse 30 ที่ตั้ง 50-60 ถ.เจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 084-364-8289 เว็ปไซต์ https://house-numberone.com เวลาเปิด-ปิด ทุกวัน 11.00-22.00 น. ขนาดพื้นที่ ประมาณ 300 ตารางเมตร / โกดัง (มีทั้งหมด 8 โกดัง) พื้นที่ลานจอดรถ ประมาณ 1,000 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม TEDx Charoenkrung 17 ธันวาคม 2560 Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 O-Thentic ตลาดจริงใจ 21 – 22 เมษายน 2561 Teleport Exhibition 24 พฤษภาคม 2561 For HER Art Charity by VS Collection 17 สิงหาคม 2561 35 36 Film Camera Weekend 4-5 สิงหาคม 2561 Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-13

ดูหนังฟังเดชา: Breaking Habits + คุยเรื่อง 6 กรกฎาคม 2562 กัญชากับเดชา ศิริภัทร 35 36 Film Camera Weekend #3 29-30 มิถุนายน 2562

10) The Jam Factory

ภาพที่ 6-11 The Jam Factory (ที่มา: https://www.facebook.com/TheJamFactoryBangkok/)

ตารางที่ 6.10 รายละเอียดเกี่ยวกับ The Jam Factory ที่ตั้ง 41/1-5 ถ.เจริญนคร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 088 244 2241 เว็ปไซต์ https://www.facebook.com/TheWarehouse30/ เวลาเปิด-ปิด ทุกวัน 10.00-20.00 น. ขนาดพื้นที่ ประมาณ 1,200 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม Artist Talk & Activities: Summer in 5 ตุลาคม 2562 Summary Jaruwat Summer In Summary 7 กันยายน 2562 Opening Reception DEN Opening Reception 26 มิถุนายน 2562

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-14

The Light Of Day exhibition by Uthis 4 เมษายน 2562 Haemamool Opening Reception Nikken Sekkei Experience, Integrated 23 มีนาคม 2562 Exhibition ระดมสมองกรองฝุ่น 5 กุมภาพันธ์ 2562 Lamunlamai Hand-Building & Hand- 2 กุมภาพันธ์ 2562 Painted Pottery at Art Ground 04 Energy Diary 01 Exhibition by Note 11 ธันวาคม 2561 Panayanggool Artist Talk : Papillon exhibition 28 ตุลาคม 2561 Papillon exhibition by Thanakorn 19 กันยายน 2561 Chai Telan NEON DIARY by Tachpasit Kunaporn 19 กรกฎาคม 2561 Dear Darkness, ความมืดที่รัก โดย ยุทธ 17 พฤษภาคม 2561 ดนัย ศรีไพบูลย์ Unknown Asia Art Exchange Osaka 16 พฤษภาคม 2561 2018 Crossing the Appearances Exhibition 5 เมษายน 2561 by Deborah Metsch 感0 - Kanzero Exhibition 24 กุมภาพันธ์ 2561 Cinema Journey 20 ปี เป็นเอก : หนัง 21 มกราคม 2561 กลางแปลง

11) ATT 19

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-15

ภาพที่ 6-12 ATT19 (ที่มา: bkkmenu.com)

ตารางที่ 6.11 รายละเอียดเกี่ยวกับ ATT19 ที่ตั้ง 19 ซอยกัปตันบุช เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 083-555-5739 เว็ปไซต์ https://www.facebook.com/ATT19.BKK/ เวลาเปิด-ปิด จันทร์ - เสาร์ 11.00 -19.00 น. ขนาดพื้นที่ 2,000 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 WHO I AM, a solo exhibition by 1 – 15 พฤษภาคม 2562 Douglas Diaz China: Luxury in the Details 29 มิถุนายน 2562 HANYU: UNIVERSE WITHOUT 28 กันยายน 2562 BOUNDARIES

12) วัดแม่พระลูกประค า (กาลหว่าร์)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-16

ภาพที่ 6-13 วัดแม่พระลูกประค า (กาลหว่าร์) (ที่มา: trawell.com)

ตารางที่ 6.12 รายละเอียดเกี่ยวกับวัดแม่พระลูกประค า (กาลหว่าร์) ที่ตั้ง 987 ซอยวาณิช 2 เขตสัมพันธวงศ์ แขวงตลาดน้อย กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 0-2266-4849 เว็ปไซต์ https://www.facebook.com/วัดแม่พระลูกประค ากาลหว่าร์-Holy-Rosary- Church-159664737493819/ เวลาเปิด-ปิด ทุกวัน (วันอาทิตย์ มีพิธีมิสซา 9.00 น) ขนาดพื้นที่ ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 Rosary Night with the Maitai Orchestra 13 มกราคม 2561 and Lighting Phenomenon

13) ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-17

ภาพที่ 6-14 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย (ที่มา: https://www.facebook.com/scb.thailand)

ตารางที่ 6.13 รายละเอียดเกี่ยวกับวัดแม่พระลูกประค า (กาลหว่าร์) ที่ตั้ง 1280 ซอยโยธา แขวงตลาดน้อย กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 02 237 5001 เว็ปไซต์ https://www.facebook.com/scb.thailand เวลาเปิด-ปิด จันทร์-ศุกร์ เวลา 08:30-15:30 น. ขนาดพื้นที่ พื้นที่สวนด้านหลัง ประมาณ 1,250 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562

14) ศูนย์การค้า River City

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-18

ภาพที่ 6-15 ศูนย์การค้า River City (ที่มา: bankok.com และ bangkokriver.com)

ตารางที่ 6.14 รายละเอียดเกี่ยวกับศูนย์การค้า River City ที่ตั้ง 23 ซอยเจริญกรุง 24 แขวงตลาดน้อย กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 02 237 0077 เว็ปไซต์ https://rivercitybangkok.com เวลาเปิด-ปิด ทุกวัน เวลา 10.00-22.00 น. ขนาดพื้นที่ พื้นที่อาคาร 47,567 ตารางเมตร (สูง 4 ชั้น) มีพื้นที่ให้เช่า ได้แก่ พื้นที่ Main Hall ห้อง RCB Auction ห้อง RCB Photographer’s Gallery ห้อง RCB Forum และพื้นที่ดาดฟ้า ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 RCB Music 28 กันยายน 2562 Auction Preview 23 กันยายน – 4 ตุลาคม 2562 (ประมูลวันที่ 5 ตุลาคม 2562) RCB Film Club 14 กันยายน 2562 RISE Ini Kalilah, Malaysia 14 กันยายน 2562 Young Picasso - Exhibition on screen 11 กันยายน 2562 [EOS] The New Mindset of Renaissance 7 กันยายน 2562 นิทรรศการ Love Any Time 5 กันยายน – 31 ตุลาคม 2562 นิทรรศการ Leonardo OPERA OMNIA 4 กันยายน – 7 ตุลาคม 2562

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-19

นิทรรศการ Italian Renaissance 8 สิงหาคม – 31 ตุลาคม 2562 นิทรรศการ From Monet to Kandinsky 31 สิงหาคม – 8 พฤศจิกายน 2562 Revolutionary Art A Passage to Renaissance 31 สิงหาคม 2562 STRATA PhotoBangkok Pop-up 17 สิงหาคม – 29 กันยายน 2562 Exhibitions 2019 เล่าเรื่องแม่ให้เห็นภาพ The Colors of 1-31 สิงหาคม 2562 Moms' Lives Italian Renaissance Lectures: Da 23-24 สิงหาคม 2562 Vinci and Michelangelo Bangkok Babes Illustration exhibition 11 กรกฎาคม – 16 กันยายน 2562 Taiwan Excellent Crafts 1 กรกฎาคม - 31 สิงหาคม 2562 นิทรรศการ Wandering Mind 26 มิถุนายน – 30 กันยายน 2562

15) ชุมชนมัสยิดฮารูณ

ภาพที่ 6-16 บรรยากาศภายในชุมชนมัสยิดฮารูณ (ที่มา: jcpr.cp.th และ timeout.com)

ตารางที่ 6.15 รายละเอียดเกี่ยวกับชุมชนมัสยิดฮารูณ ที่ตั้ง ซอยเจริญกรุง 36 แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 084 554 1516 เว็ปไซต์ https://www.facebook.com/Haroon-Mosque-มัสยิดฮารูณ- 197805857382906/ เวลาเปิด-ปิด ขนาดพื้นที่ รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-20

ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 Haroon Food Festival 2019 Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561

16) บ้านพักต ารวจน ้า

ภาพที่ 6-17 บ้านพักต ารวจน ้า (ที่มา: facebook.com/bangkokdesignweek และ rabbitweekend.com)

ตารางที่ 6.16 รายละเอียดเกี่ยวกับบ้านพักต ารวจน ้า ที่ตั้ง ซอยเจริญกรุง 36 แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ เว็ปไซต์ เวลาเปิด-ปิด ขนาดพื้นที่ ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561

17) บ้านโซวเฮงไถ่

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-21

ภาพที่ 6-18 บ้านโซวเฮงไถ่ (ที่มา: naisoop.com)

ตารางที่ 6.17 รายละเอียดเกี่ยวกับบ้านโซวเฮงไถ่ ที่ตั้ง 282 ซอยวาณิช 2 แขวงตลาดน้อย กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 080 218 7000 เว็ปไซต์ https://www.facebook.com/Sohengtai/ เวลาเปิด-ปิด อังคาร - อาทิตย์ 9.00-18.00 น. ขนาดพื้นที่ ขนาดฐานอาคาร ประมาณ 750 ตารางเมตร พื้นที่ส่วนกลางประมาณ 175 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 Awakening Bangkok: A festival of lights 16-25 พฤศจิกายน 2561 สถานที่ถ่ายท า MV เพลง หัวใจลิขิต ฉากถ่ายละครเรื่องเลือดมังกร ตอนหงษ์

18) ศาลเจ้า โจว ซือ กง (วัดซุน เฮง ยี่)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-22

ภาพที่ 6-19 ศาลเจ้า โจว ซือ กง (วัดซุน เฮง ยี่) (ที่มา: crkstory.com)

ตารางที่ 6.18 รายละเอียดเกี่ยวกับศาลเจ้า โจว ซือ กง (วัดซุน เฮง ยี่) ที่ตั้ง 752/1 ถ.เจริญกรุง แขวงตลาดน้อย กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ เว็ปไซต์ เวลาเปิด-ปิด 7.00-17.00 น. ขนาดพื้นที่ ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Design Week 2018 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2019 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562

19) The Peninsula Bangkok

ภาพที่ 6-20 โรงแรม The Pininsula Bangkok (ที่มา: http://www.bkkartbiennale.com/project/the-peninsula-bangkok/) ตารางที่ 6.19 รายละเอียดเกี่ยวกับ The Pininsula Bangkok ที่ตั้ง 333 ถ.เจริญนคร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-23

เบอร์ติดต่อ 02 020 2888 เว็ปไซต์ https://www.peninsula.com/en/bangkok/5-star-luxury-hotel-riverside เวลาเปิด-ปิด ตลอด 24 ชม. ขนาดพื้นที่ ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Art Biennale 19 ตุลาคม 2561 – 3 กุมภาพันธ์ 2562

20) Mandarin Oriental Bangkok

ภาพที่ 6-21 ผลงาน Lost Dog หน้าโรงแรม Mandarin Oriental Bangkok (ที่มา: http://www.bkkartbiennale.com/works-detail/?works=8)

ตารางที่ 6.20 รายละเอียดเกี่ยวกับ Mandarin Oriental Bangkok ที่ตั้ง 48 โอเรียลเต็ลอเวนิว เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ 02 659 9000 เว็ปไซต์ http://www.mandarinoriental.com/bangkok/ เวลาเปิด-ปิด ตลอด 24 ชม. ขนาดพื้นที่ บริเวณหน้าโรงแรม ประมาณ 250 ตารางเมตร ตัวอย่างกิจกรรม Bangkok Art Biennale 19 ตุลาคม 2561 – 3 กุมภาพันธ์ 2562 จากการส ารวจพบว่า ภายในย่านเจริญกรุง และพื้นที่ต่อเนื่องมีจ านวนพื้นที่สร้างสรรค์ประเภท อาคาร และพื้นที่จัดแสดง จ านวน 20 แห่ง กระจายอยู่บริเวณต่าง ๆ ของย่าน เป็นพื้นที่ของหน่วยงานภาครัฐ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-24

ภาคเอกชน และชุมชน ตลอดจนศาสนสถาน โดยลักษณะกายภาพของพื้นที่สร้างสรรค์เหล่านี้สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภทหลัก และมีประมาณการขนาดพื้นที่รวม ดังต่อไปนี้ 1) พื้นที่สร้างสรรค์ประเภทพื้นที่จัดแสดง ขนาดพื้นที่รวม 2,757 ตารางเมตร 2) พื้นที่สร้างสรรค์ประเภทลานโล่ง ขนาดพื้นที่รวม 6,101 ตารางเมตร 3) พื้นที่สร้างสรรค์ประเภทห้อง/ห้องให้เช่า ขนาดพื้นที่รวม 2,547 ตารางเมตร สามารถดูรายละเอียดพื้นที่ และขนาดพื้นที่ ได้จากตารางที่ 6.21

จากการวิเคราะห์กิจกรรมภายในย่านในตารางที่ 6.22 พบว่า ย่านเจริญกรุง และพื้นที่ต่อเนื่องมี การจัดกิจกรรมต่าง ๆ หลายประเภท โดยสามารถแบ่งออกเป็น กิจกรรมสร้างสรรค์ด้านงานออกแบบ/งาน ศิลปะ กิจกรรมสร้างสรรค์ด้านภาพถ่าย กิจกรรมสร้างสรรค์ด้านภาพยนตร์ กิจกรรมสร้างสรรค์ด้านดนตรี และ การแสดง กิจกรรมสร้างสรรค์ด้านการจัดท าเวิร์คชอป/เสวนา กิจกรรมสร้างสรรค์เชิงสังคม ไปจนถึงกิจกรรม อื่น ๆ ของภาคเอกชน โดยสามารถดูรายละเอียดได้จาก ตารางที่ 6.23 - 6.30

และจากการวิเคราะห์ความถี่ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ประเภทต่าง ๆ ดังตารางที่ 6.31 พบว่า เดือนที่ได้รับความนิยมในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์มากที่สุด คือ เดือนตุลาคม เดือนมกราคม และเดือน กุมภาพันธ์ รองลงมา คือ เดือน มิถุนายน และเดือนสิงหาคม โดยกิจกรรมสร้างสรรค์ด้านงานออกแบบ/งาน ศิลปะ เป็นกิจกรรมที่นิยมจัดแสดงยาวนานต่อเนื่องมากกว่า 1 เดือน ในขณะที่กิจกรรมสร้างสรรค์ประเภทอื่น ๆ นิยมจัดแสดงงานเพียง 1 วัน หรือต ่ากว่า 1 เดือน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-25

ตารางที่ 6.21 สรุปประมาณการพื้นที่จัดแสดงภายในย่าน จ าแนกตามประเภทพื้นที่ ประมาณการขนาดพื้นที่ (ตร.ม.) ชื่อโครงการ พื้นที่ฐานอาคาร (ตร.ม.) พื้นที่จัดแสดง ลานโล่ง ห้อง/ ห้องให้เช่า Prince Theatre Heritage Stay 600

ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 4,598 ลานด้านหน้าอาคาร 2,300 ห้องไปรษณีย์นฤมิตร 1,072 ห้องไปรษณีย์ฤดีสราญ 299 ห้องไปรษณีย์วิจิตรรจนา 107 ห้องไปรษณีย์ฤดีภิรมย์ 307 โถงห้องไปรษณีย์ฤดีสราญ 274 ห้องไปรษณีย์โทรเลข 43 Meeting Point (TCDC) 31.5 แกลเลอรี (TCDC) 289 Auditorium A (TCDC) 82.5 Auditorium B (TCDC) 138 Material and Design Innovation Center 75 รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-26

ประมาณการขนาดพื้นที่ (ตร.ม.) ชื่อโครงการ พื้นที่ฐานอาคาร (ตร.ม.) พื้นที่จัดแสดง ลานโล่ง ห้อง/ ห้องให้เช่า Meeting Room 1 (TCDC) 52.5 Meeting Room 2 (TCDC) 36.5 Meeting Room 3 (TCDC) 36.5 Meeting Room 4 (TCDC) 107 Function Room (TCDC) 266 Creative Space 66 Public Rooftop Garden 198 Member Rooftop Garden 253 OP Garden 583.67 Serindia Gallery 230 ATTA Gallery 65.5 OP Place 2,380 East Asiatic 967.88 บ้านเลขที่ 1 และโกดังบ้านเลขที่ 1 380

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-27

ประมาณการขนาดพื้นที่ (ตร.ม.) ชื่อโครงการ พื้นที่ฐานอาคาร (ตร.ม.) พื้นที่จัดแสดง ลานโล่ง ห้อง/ ห้องให้เช่า พื้นที่สนาม 675 อาคารโกดัง 230 Warehouse 30 2,400 ลานจอดรถ 1,000 The Jam Factory 1,200 ATT19 2,000 วัดแม่พระลูกประค า (กาลหว่าร์) 899.66 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย 789.36 พื้นที่สนามด้านหลังอาคาร 1,250 River City 8,862 ชุมชนมัสยิดฮารูณ บ้านพักต ารวจน ้า 480 บ้านโซวเฮงไถ่ 750 175 ศาลเจ้าโจวซือกง 760

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-28

ประมาณการขนาดพื้นที่ (ตร.ม.) ชื่อโครงการ พื้นที่ฐานอาคาร (ตร.ม.) พื้นที่จัดแสดง ลานโล่ง ห้อง/ ห้องให้เช่า The Peninsula Bangkok Madarin Oriental Bangkok พื้นท่ี่หน้าโรงแรม 250 รวม 2,757 6,101 2,547

ตารางที่ 6.22 ปฏิทินกิจกรรมภายในย่าน ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 24 มกราคม 2560 นิทรรศการ “อาลัยรัก จากดวงใจ ถวายพ่อหลวง” เปิดให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วม OP Place workshop งานภาพพิมพ์ไม้แกะสลักแบบญี่ปุ่นกับ อาจารย์ธณาเศรษฐ์ ศิ รอภิวัลย์ 24 สิงหาคม 2558 บริจาคโลหิต สภากาชาดไทย ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 28-30 พฤษภาคม 2559 Co-create test day ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก, East Asiatic 25 เมษายน 2560 MAGNUM RED VELVET – HOTEL de PLAY ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 9 – 30 กันยายน 2560 นิทรรศการ “คิดถึงพ่อ จากดวงใจ ถวายพ่อหลวง” OP Place 24 กันยายน 2560 กิจกรรม “AirBNB Thailand Host Day” OP Place

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-29

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 3 พฤศจิกายน 2560 – 7 มกราคม 2561 A/Part: The Existing of the Non-Existence Atta Gallery Taweesak Molsawat 29 พฤศจิกายน 2560 – 7 มกราคม 2561 A(r)mor Mini Exhibition: Matt Lambert Atta Gallery 17 ธันวาคม 2560 TEDx Charoenkrung Warehouse 30 2560 สถานที่ถ่ายท าโฆษณา Future is now ม.กรุงเทพ East Asiatic 11 มกราคม – 25 กุมภาพันธ์ 2561 CHAINreaction: The HANDSHAKE project Atta Gallery 18 มกราคม 2561 Aura by Chi Wing Lo Serindia Gallery 21 มกราคม 2561 Bangkok Object Talk บ้านเลขที่ 1 21 มกราคม 2561 Cinema Journey 20 ปี เป็นเอก: หนังกลางแปลง The Jam Factory 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2018 OP Place, OP Garden, ATTA 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2018 Gallery, Serindia Gallery ที่ท าการ ไปรษณีย์กลาง บางรัก, East Asiatic, บ้านเลขที่ 1, Warehouse 30, วัดแม่ พระลูกประค า (กาลหว่าร์), ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย. River City, ชุมชนมัสยิดฮารูณ, บ้านพัก ต ารวจน ้า, บ้านโซวเฮงไถ่, ศาลเจ้า โจว ซือ กง

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-30

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 24 กุมภาพันธ์ 2561 感0 - Kanzero Exhibition The Jam Factory 1 – 24 มีนาคม 2561 COLORS and the 'In-Between': Supachai K. and Gallery Atta Gallery Artists 8 มีนาคม 2561 Eden, Part 1: Photography and Sculpture by Piyatat Hemmatat Serindia Gallery 11 มีนาคม – 27 พฤษภาคม 2561 Sunday Mambo Madness Prince Theatre Heritage Stay 29 มีนาคม – 28 เมษายน 2561 Echoes of Order: Carina Shoshtary & Attai Chen Atta Gallery 29 มีนาคม – 28 เมษายน 2561 I-Land Mini Exhibition: Poly Nikolopoylou Atta Gallery 5 เมษายน 2561 Crossing the Appearances Exhibition by Deborah Metsch The Jam Factory 21 – 22 เมษายน 2561 O-Thentic ตลาดจริงใจ Warehouse 30 2 พฤษภาคม – 23 มิถุนายน 2561 HD L3I$UR3: Adam Grinovich, Florian Milker, Annika Atta Gallery Pettersson 16 พฤษภาคม 2561 Unknown Asia Art Exchange Osaka 2018 The Jam Factory 17 พฤษภาคม 2561 Dear Darkness, ความมืดที่รัก โดย ยุทธดนัย ศรีไพบูลย์ The Jam Factory 24 พฤษภาคม 2561 Teleport Exhibition Warehouse 30 26 พฤษภาคม 2561 "พลิกธุรกิจออนไลน์ เพิ่มยอดปังดังร้อยล้าน ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 7 มิถุนายน 2561 Loves Get Better with Time Quietly by Sudaporn Teja Serindia Gallery

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-31

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 5 กรกฎาคม 2561 SVL Academy Live #7 Prince Theatre Heritage Stay 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 She: Portraits & Contemporary Jewelry Atta Gallery Supachai Ketkaroonkul & Rudee Tancharoen 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 Off the Wall Mini Exhibition, Group Exhibition: Pin of Atta Gallery Interest 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 I-Land Mini Exhibition: Herman Hermsen Atta Gallery 14-16 กรกฎาคม 2561 FIFA Full Screen Final Prince Theatre Heritage Stay 19 กรกฎาคม 2561 Papillon exhibition by Thanakorn Chai Telan The Jam Factory 19 กรกฎาคม 2561 40 Years of Panorama Photography: Life with the FT-2 Serindia Gallery 4-5 สิงหาคม 2561 35 36 Film Camera Weekend Warehouse 30 14 สิงหาคม 2561 Slit-scan Photography: Artist's Talk by Jaroslav Poncar Serindia Gallery 17 สิงหาคม 2561 For HER Art Charity by VS Collection Warehouse 30 17 สิงหาคม 2561 Moving Picture, Moving Poetry Prince Theatre Heritage Stay 7 กันยายน 2561 New York Abstracts by Hisako Kobayashi Serindia Gallery 6 กันยายน – 2 ตุลาคม 2561 I-Land Mini Exhibition: Melinda Young Atta Gallery 6 กันยายน – 2 ตุลาคม 2561 Off the Wall Mini Exhibition: Christoph Straube Atta Gallery

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-32

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 9 กันยายน – 20 ตุลาคม 2561 niko niko: itoaya Atta Gallery 4 ตุลาคม - 6 พฤศจิกายน 2561 I-Land Mini Exhibition: Tod Todesire Atta Gallery 16 ตุลาคม 2561 Nature Morte: Platinum Prints by Yumiko Izu and Kenro Izu Serindia Gallery 19 ตุลาคม – 14 พฤศจิกายน 2561 Off the Wall Mini Exhibition: Claire McArdle Atta Gallery 19 ตุลาคม 2561 - 3 กุมภาพันธ์ 2562 Bangkok Art Biennale OP Place, The Pininsula Bangkok , Mandarin Oriental Bangkok, East Asiatic 25 ตุลาคม 2561 – 5 มกราคม 2562 Opening of Garden of the Lost and Found Atta Gallery 26-31 ตุลาคม 2561 Spooktacular Movies Week Prince Theatre Heritage Stay 28 ตุลาคม 2561 Artist Talk : Papillon exhibition The Jam Factory 24 พฤศจิกายน 2561 งานแฟชั่นโชว์ แบรนด์ This Monsters OP Place 16-25 พฤศจิกายน 2561 Awakening Bangkok: A festival of lights Prince Theatre Heritage Stay, ที่ ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก, OP Garden, OP Place, บ้านเลขที่ 1, Warehouse 30, ชุมชนมัสยิดฮารูณ, บ้านพักต ารวจน ้า, บ้านโซวเฮงไถ่ 17 พฤศจิกายน 2561 Calligraphy Workshop “เขียนสวยอย่างมีศิลป์” OP Place

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-33

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 28 พฤศจิกายน 2561 Bangkok That Was: Photographs 1956-1961 by Fabrizio La Torre Serindia Gallery 30 พฤศจิกายน 2561 นิทรรศการ “สุขสะพรั่งหรรษา” (The Greatest Happiness) OP Place 11 ธันวาคม 2561 Energy Diary 01 Exhibition by Note Panayanggool The Jam Factory 12 ธันวาคม 2561 – 12 มกราคม 2562 I-Land Mini Exhibition: Tabea Reulecke Atta Gallery 28-29 ธันวาคม 2561 French Weekend Movieclub Prince Theatre Heritage Stay 2561 สถานที่ถ่ายท าโฆษณา “True Point x BNK48: ความสุขที่ต้องแลกของ East Asiatic BNK48” 2561 สถานที่ถ่ายท าโฆษณา “Test of Black: ค้นให้ครบทุกมิติ” ของ Johny East Asiatic Walker 9 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 Everyone and Everywhere is an Island Atta Gallery 13 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 Off the Wall Mini Exhibition: Marie Grewenig Atta Gallery 13 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 I-Land Mini Exhibition: Niklas Links Atta Gallery 27 มกราคม 2562 Dots Matter | TEDxCharoenkrung Prince Theatre Heritage Stay 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 Bangkok Design Week 2019 Prince Theatre Heritage Stay, ที่ ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก, OP Place, OP Garden, ATTA Gallery, Serindia Gallery, East Asiatic, รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-34

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ บ้านเลขที่ 1, Warehouse 30, ATT19, วัดแม่พระลูกประค า (กาล หว่าร์), ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตลาดน้อย, River City, ชุมชนมัสยิด ฮารูณ, บ้านพักต ารวจน ้า,บ้านโซวเฮง ไถ่, ศาลเจ้า โจว ซือ กง 5 มกราคม 2562 งานแฟชั่นโชว์ แบรนด์ This Monsters OP Garden 25-30 มกราคม 2562 นิทรรศการร้าน Princess Collection และ Himalayan OP Place 26 มกราคม- 3 กุมภาพันธ์ 2562 เปิดโชว์รูมเฟอร์นิเจอร์ VIVI Decorative ในงาน “10 Years of VIVI” OP Garden 26 มกราคม 2562 Subdued: A Design Exhibition Curated by Rush Pleansuk Serindia Gallery 1 กุมภาพันธ์ 2562 Design and Power: Artists' Talk at Subdued Exhibition Serindia Gallery 2 กุมภาพันธ์ 2562 Lamunlamai Hand-Building & Hand-Painted Pottery at Art The Jam Factory Ground 04 5 กุมภาพันธ์ 2562 ระดมสมองกรองฝุ่น The Jam Factory 14 กุมภาพันธ์ 2562 ฤดูกาลแห่งรัก ณ บางรัก ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 16 กุมภาพันธ์ 2562 Endless Love Poetry and Art Performance Prince Theatre Heritage Stay 27 กุมภาพันธ์ – 17 เมษายน 2562 Diversity Galore curated by Charon Kransen Atta Gallery

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-35

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 2-3 มีนาคม 2562 Re-Writing Your Own Script with Charon Kransen (ท าร่วมกับ CEA) Atta Gallery + TCDC 10 มีนาคม 2562 กิจกรรม DIY Shorts Paint จากร้าน Thismonster OP Garden 23 มีนาคม 2562 Nikken Sekkei Experience, Integrated Exhibition The Jam Factory 30 มีนาคม – 29 มิถุนายน 2562 French Weekend Movieclub Prince Theatre Heritage Stay 4 เมษายน 2562 Auto-graph by Tetsuya Kusu Serindia Gallery 4 เมษายน 2562 The Light Of Day exhibition by Uthis Haemamool Opening The Jam Factory Reception 1 – 15 พฤษภาคม 2562 WHO I AM, a solo exhibition by Douglas Diaz ATT19 9 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2562 00:00-23:59 by Cherry Boonyapan Atta Gallery 16 พฤษภาคม 2562 148913: Paths of the Lotus Ink by Morrison Polkinghorne Serindia Gallery 8 มิถุนายน – 20 กรกฎาคม 2562 Anything / Anywhere Atta Gallery 14 -15 มิถุนายน 2562 “เที่ยวกลางคืน WALK WITH THE CLOUD 18 “ OP Place 22 มิถุนายน 2562 ARTIST TALK WITH MORRISON POLKINGHORNE Serindia Gallery 26 มิถุนายน 2562 DEN Opening Reception The Jam Factory 26 มิถุนายน – 30 กันยายน 2562 นิทรรศการ Wandering Mind River City 29 มิถุนายน 2562 China: Luxury in the Details ATT19

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-36

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 29-30 มิถุนายน 2562 35 36 Film Camera Weekend #3 Warehouse 30 1 กรกฎาคม - 31 สิงหาคม 2562 Taiwan Excellent Crafts River City 6 กรกฎาคม 2562 ดูหนังฟังเดชา: Breaking Habits + คุยเรื่องกัญชากับเดชา ศิริภัทร Warehouse 30 11 กรกฎาคม – 16 กันยายน 2562 Bangkok Babes Illustration exhibition River City 24 กรกฎาคม 2562 A Human, a Monkey, an Alien by Sungo Cho Atta Gallery 1-31 สิงหาคม 2562 เล่าเรื่องแม่ให้เห็นภาพ The Colors of Moms' Lives River City 8 สิงหาคม – 31 ตุลาคม 2562 นิทรรศการ Italian Renaissance River City 12 สิงหาคม 2562 Mother's Day at Prince Prince Theatre Heritage Stay 17 สิงหาคม – 29 กันยายน 2562 STRATA PhotoBangkok Pop-up Exhibitions 2019 River City 23-24 สิงหาคม 2562 Italian Renaissance Lectures: Da Vinci and Michelangelo River City 31 สิงหาคม – 8 พฤศจิกายน 2562 นิทรรศการ From Monet to Kandinsky Revolutionary Art River City 31 สิงหาคม 2562 A Passage to Renaissance River City 4 กันยายน – 7 ตุลาคม 2562 นิทรรศการ Love Any Time River City 7 กันยายน 2562 Jaruwat Summer In Summary Opening Reception The Jam Factory 7 กันยายน 2562 The New Mindset of Renaissance River City

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-37

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 11 กันยายน 2562 Young Picasso - Exhibition on screen [EOS] River City 12 กันยายน – 31 ตุลาคม 2562 Revealed by Aor Suttiprapha (Contemporary Ceramic) Serindia Gallery 14 กันยายน 2562 RCB Film Club River City 23 กันยายน – 4 ตุลาคม 2562 Auction Preview River City (ประมูลวันที่ 5 ตุลาคม 2562) 28 กันยายน 2562 HANYU: UNIVERSE WITHOUT BOUNDARIES ATT19 28 กันยายน 2562 RCB Music River City 5 ตุลาคม 2562 Artist Talk & Activities: Summer in Summary The Jam Factory 14 พฤศจิกายน 2562 – 15 มกราคม 2563 The Image of Buddha by Rachata Siriyakul Serindia Gallery

ตารางที่ 6.23 กิจกรรมภายในย่านที่เกี่ยวกับงานออกแบบ/ ศิลปะ ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก, East 28-30 พฤษภาคม 2559 Co-create test day Asiatic 3 พฤศจิกายน 2560 – 7 มกราคม 2561 A/Part: The Existing of the Non-Existence Taweesak Molsawat Atta Gallery 29 พฤศจิกายน 2560 – 7 มกราคม 2561 A(r)mor Mini Exhibition: Matt Lambert Atta Gallery 11 มกราคม – 25 กุมภาพันธ์ 2561 CHAINreaction: The HANDSHAKE project Atta Gallery

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-38

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 18 มกราคม 2561 Aura by Chi Wing Lo Serindia Gallery 21 มกราคม 2561 Bangkok Object Talk บ้านเลขที่ 1 OP Place, OP Garden, ATTA Gallery, Serindia Gallery ที่ท าการ ไปรษณีย์กลาง บางรัก, East Asiatic, บ้านเลขที่ 1, Warehouse 30, วัดแม่ 27 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2561 Bangkok Design Week 2018 พระลูกประค า (กาลหว่าร์), ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย. River City, ชุมชนมัสยิดฮารูณ, บ้านพัก ต ารวจน ้า, บ้านโซวเฮงไถ่, ศาลเจ้า โจว ซือ กง 24 กุมภาพันธ์ 2561 感0 - Kanzero Exhibition The Jam Factory 1 – 24 มีนาคม 2561 COLORS and the 'In-Between': Supachai K. and Gallery Artists Atta Gallery 29 มีนาคม – 28 เมษายน 2561 Echoes of Order: Carina Shoshtary & Attai Chen Atta Gallery 29 มีนาคม – 28 เมษายน 2561 I-Land Mini Exhibition: Poly Nikolopoylou Atta Gallery 2 พฤษภาคม – 23 มิถุนายน 2561 HD L3I$UR3: Adam Grinovich, Florian Milker, Annika Pettersson Atta Gallery 16 พฤษภาคม 2561 Unknown Asia Art Exchange Osaka 2018 The Jam Factory 17 พฤษภาคม 2561 Dear Darkness, ความมืดที่รัก โดย ยุทธดนัย ศรีไพบูลย์ The Jam Factory รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-39

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 24 พฤษภาคม 2561 Teleport Exhibition Warehouse 30 She: Portraits & Contemporary Jewelry: Supachai Ketkaroonkul 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 Atta Gallery & Rudee Tancharoen 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 Off the Wall Mini Exhibition, Group Exhibition: Pin of Interest Atta Gallery 6 กรกฎาคม - 26 สิงหาคม 2561 I-Land Mini Exhibition: Herman Hermsen Atta Gallery 7 กันยายน 2561 New York Abstracts by Hisako Kobayashi Serindia Gallery 6 กันยายน – 2 ตุลาคม 2561 I-Land Mini Exhibition: Melinda Young Atta Gallery 6 กันยายน – 2 ตุลาคม 2561 Off the Wall Mini Exhibition: Christoph Straube Atta Gallery 9 กันยายน – 20 ตุลาคม 2561 niko niko: itoaya Atta Gallery 4 ตุลาคม - 6 พฤศจิกายน 2561 I-Land Mini Exhibition: Tod Todesire Atta Gallery 16 ตุลาคม 2561 Nature Morte: Platinum Prints by Yumiko Izu and Kenro Izu Serindia Gallery 19 ตุลาคม – 14 พฤศจิกายน 2561 Off the Wall Mini Exhibition: Claire McArdle Atta Gallery OP Place, The Pininsula Bangkok, 19 ตุลาคม 2561 - 3 กุมภาพันธ์ 2562 Bangkok Art Biennale , Mandarin Oriental Bangkok, East Asiatic 25 ตุลาคม 2561 – 5 มกราคม 2562 Opening of Garden of the Lost and Found Atta Gallery

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-40

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ Prince Theatre Heritage Stay, ที่ ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก, OP 16-25 พฤศจิกายน 2561 Awakening Bangkok: A festival of lights Garden, OP Place, บ้านเลขที่ 1, Warehouse 30, ชุมชนมัสยิดฮารูณ, บ้านพักต ารวจน ้า, บ้านโซวเฮงไถ่ 30 พฤศจิกายน 2561 นิทรรศการ “สุขสะพรั่งหรรษา” (The Greatest Happiness) OP Place 11 ธันวาคม 2561 Energy Diary 01 Exhibition by Note Panayanggool The Jam Factory 12 ธันวาคม 2561 – 12 มกราคม 2562 I-Land Mini Exhibition: Tabea Reulecke Atta Gallery 9 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 Everyone and Everywhere is an Island Atta Gallery 13 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 Off the Wall Mini Exhibition: Marie Grewenig Atta Gallery 13 มกราคม – 23 กุมภาพันธ์ 2562 I-Land Mini Exhibition: Niklas Links Atta Gallery Prince Theatre Heritage Stay, ที่ ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก, OP Place, OP Garden, ATTA Gallery, 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2562 Bangkok Design Week 2019 Serindia Gallery, East Asiatic, บ้านเลขที่ 1, Warehouse 30, ATT19, วัดแม่พระลูกประค า (กาล หว่าร์), ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-41

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ ตลาดน้อย, River City, ชุมชนมัสยิด ฮารูณ, บ้านพักต ารวจน ้า,บ้านโซวเฮง ไถ่, ศาลเจ้า โจว ซือ กง

25-30 มกราคม 2562 นิทรรศการร้าน Princess Collection และ Himalayan OP Place 26 มกราคม 2562 Subdued: A Design Exhibition Curated by Rush Pleansuk Serindia Gallery Lamunlamai Hand-Building & Hand-Painted Pottery at Art 2 กุมภาพันธ์ 2562 The Jam Factory Ground 04 27 กุมภาพันธ์ – 17 เมษายน 2562 Diversity Galore curated by Charon Kransen Atta Gallery 23 มีนาคม 2562 Nikken Sekkei Experience, Integrated Exhibition The Jam Factory 4 เมษายน 2562 Auto-graph by Tetsuya Kusu Serindia Gallery The Light Of Day exhibition by Uthis Haemamool Opening 4 เมษายน 2562 The Jam Factory Reception 1 – 15 พฤษภาคม 2562 WHO I AM, a solo exhibition by Douglas Diaz ATT19 9 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2562 00:00-23:59 by Cherry Boonyapan Atta Gallery 16 พฤษภาคม 2562 148913: Paths of the Lotus Ink by Morrison Polkinghorne Serindia Gallery 8 มิถุนายน – 20 กรกฎาคม 2562 Anything / Anywhere Atta Gallery 26 มิถุนายน 2562 DEN Opening Reception The Jam Factory

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-42

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 26 มิถุนายน – 30 กันยายน 2562 นิทรรศการ Wandering Mind River City 29 มิถุนายน 2562 China: Luxury in the Details ATT19 1 กรกฎาคม - 31 สิงหาคม 2562 Taiwan Excellent Crafts River City 11 กรกฎาคม – 16 กันยายน 2562 Bangkok Babes Illustration exhibition River City 24 กรกฎาคม 2562 A Human, a Monkey, an Alien by Sungo Cho Atta Gallery 1-31 สิงหาคม 2562 เล่าเรื่องแม่ให้เห็นภาพ The Colors of Moms' Lives River City 8 สิงหาคม – 31 ตุลาคม 2562 นิทรรศการ Italian Renaissance River City 23-24 สิงหาคม 2562 Italian Renaissance Lectures: Da Vinci and Michelangelo River City 31 สิงหาคม – 8 พฤศจิกายน 2562 นิทรรศการ From Monet to Kandinsky Revolutionary Art River City 31 สิงหาคม 2562 A Passage to Renaissance River City 4 กันยายน – 7 ตุลาคม 2562 นิทรรศการ Love Any Time River City 7 กันยายน 2562 Jaruwat Summer In Summary Opening Reception The Jam Factory 7 กันยายน 2562 The New Mindset of Renaissance River City 11 กันยายน 2562 Young Picasso - Exhibition on screen [EOS] River City 12 กันยายน – 31 ตุลาคม 2562 Revealed by Aor Suttiprapha (Contemporary Ceramic) Serindia Gallery 23 กันยายน – 4 ตุลาคม 2562 Auction Preview River City (ประมูลวันที่ 5 ตุลาคม 2562) 28 กันยายน 2562 HANYU: UNIVERSE WITHOUT BOUNDARIES ATT19 รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-43

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 14 พฤศจิกายน 2562 – 15 มกราคม 2563 The Image of Buddha by Rachata Siriyakul Serindia Gallery

ตารางที่ 6.24 กิจกรรมภายในย่านที่เกี่ยวกับงานภาพถ่าย ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 8 มีนาคม 2561 Eden, Part 1: Photography and Sculpture by Piyatat Hemmatat Serindia Gallery 5 เมษายน 2561 Crossing the Appearances Exhibition by Deborah Metsch The Jam Factory 7 มิถุนายน 2561 Loves Get Better with Time Quietly by Sudaporn Teja Serindia Gallery 19 กรกฎาคม 2561 Papillon exhibition by Thanakorn Chai Telan The Jam Factory 19 กรกฎาคม 2561 40 Years of Panorama Photography: Life with the FT-2 Serindia Gallery 4-5 สิงหาคม 2561 35 36 Film Camera Weekend Warehouse 30 14 สิงหาคม 2561 Slit-scan Photography: Artist's Talk by Jaroslav Poncar Serindia Gallery 17 สิงหาคม 2561 Moving Picture, Moving Poetry Prince Theatre Heritage Stay 28 พฤศจิกายน 2561 Bangkok That Was: Photographs 1956-1961 by Fabrizio La Torre Serindia Gallery 29-30 มิถุนายน 2562 35 36 Film Camera Weekend #3 Warehouse 30 17 สิงหาคม – 29 กันยายน 2562 STRATA Photo Bangkok Pop-up Exhibitions 2019 River City 14 กันยายน 2562 RCB Film Club River City

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-44

ตารางที่ 6.25 กิจกรรมภายในย่านที่เกี่ยวกับงานภาพยนตร์ ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 21 มกราคม 2561 Cinema Journey 20 ปี เป็นเอก : หนังกลางแปลง The Jam Factory 11 มีนาคม – 27 พฤษภาคม 2561 Sunday Mambo Madness Prince Theatre Heritage Stay 26-31 ตุลาคม 2561 Spooktacular Movies Week Prince Theatre Heritage Stay 28-29 ธันวาคม 2561 French Weekend Movieclub Prince Theatre Heritage Stay 30 มีนาคม – 29 มิถุนายน 2562 French Weekend Movieclub Prince Theatre Heritage Stay

ตารางที่ 6.26 กิจกรรมภายในย่านที่เกี่ยวกับงานแสดง/ ดนตรี ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 16 กุมภาพันธ์ 2562 Endless Love Poetry and Art Performance Prince Theatre Heritage Stay 28 กันยายน 2562 RCB Music River City

ตารางที่ 6.27 กิจกรรมภายในย่านประเภท Workshop/ Talk ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ นิทรรศการ “อาลัยรัก จากดวงใจ ถวายพ่อหลวง” เปิดให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วม 24 มกราคม 2560 workshop งานภาพพิมพ์ไม้แกะสลักแบบญี่ปุ่นกับ อาจารย์ธณาเศรษฐ์ ศิ OP Place รอภิวัลย์ 17 ธันวาคม 2560 TEDx Charoenkrung Warehouse 30

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-45

ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 26 พฤษภาคม 2561 "พลิกธุรกิจออนไลน์ เพิ่มยอดปังดังร้อยล้าน ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 5 กรกฎาคม 2561 SVL Academy Live #7 Prince Theatre Heritage Stay 28 ตุลาคม 2561 Artist Talk : Papillon exhibition The Jam Factory 17 พฤศจิกายน 2561 Calligraphy Workshop “เขียนสวยอย่างมีศิลป์” OP Place 27 มกราคม 2562 Dots Matter | TEDxCharoenkrung Prince Theatre Heritage Stay 1 กุมภาพันธ์ 2562 Design and Power: Artists' Talk at Subdued Exhibition Serindia Gallery 2-3 มีนาคม 2562 Re-Writing Your Own Script with Charon Kransen (ท าร่วมกับ CEA) Atta Gallery + TCDC 10 มีนาคม 2562 กิจกรรม DIY Shorts Paint จากร้าน Thismonster OP Garden 14 -15 มิถุนายน 2562 “เที่ยวกลางคืน WALK WITH THE CLOUD 18 “ OP Place 22 มิถุนายน 2562 WITH MORRISON POLKINGHORNE Serindia Gallery 6 กรกฎาคม 2562 ดูหนังฟังเดชา: Breaking Habits + คุยเรื่องกัญชากับเดชา ศิริภัทร Warehouse 30 5 ตุลาคม 2562 Artist Talk & Activities: Summer in Summary The Jam Factory

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-46

ตารางที่ 6.28 กิจกรรมภายในย่านประเภทกิจกรรมทางสังคม ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 24 สิงหาคม 2558 บริจาคโลหิต สภากาชาดไทย ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 9 – 30 กันยายน 2560 นิทรรศการ “คิดถึงพ่อ จากดวงใจ ถวายพ่อหลวง” OP Place 17 สิงหาคม 2561 For HER Art Charity by VS Collection Warehouse 30 5 กุมภาพันธ์ 2562 ระดมสมองกรองฝุ่น The Jam Factory 14 กุมภาพันธ์ 2562 ฤดูกาลแห่งรัก ณ บางรัก ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 12 สิงหาคม 2562 Mother's Day at Prince Prince Theatre Heritage Stay

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-47

ตารางที่ 6.29 กิจกรรมภายในย่านประเภทงานของเอกชน ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 25 เมษายน 2560 MAGNUM RED VELVET – HOTEL de PLAY ที่ท าการไปรษณีย์กลาง บางรัก 24 กันยายน 2560 กิจกรรม “AirBNB Thailand Host Day” OP Place 2560 สถานที่ถ่ายท าโฆษณา Future is now ม.กรุงเทพ East Asiatic 24 พฤศจิกายน 2561 งานแฟชั่นโชว์ แบรนด์ This Monsters OP Place สถานที่ถ่ายท าโฆษณา “True Point x BNK48: ความสุขที่ต้องแลกของ 2561 East Asiatic BNK48” สถานที่ถ่ายท าโฆษณา “Test of Black: ค้นให้ครบทุกมิติ” ของ Johny 2561 East Asiatic Walker 5 มกราคม 2562 งานแฟชั่นโชว์ แบรนด์ This Monsters OP Garden 26 มกราคม- 3 กุมภาพันธ์ 2562 เปิดโชว์รูมเฟอร์นิเจอร์ VIVI Decorative ในงาน “10 Years of VIVI” OP Garden

ตารางที่ 6.30 กิจกรรมภายในย่านประเภทอื่นๆ ปีที่จัด ชื่อกิจกรรม สถานที่ 21 – 22 เมษายน 2561 O-Thentic ตลาดจริงใจ Warehouse 30 14-16 กรกฎาคม 2561 FIFA Full Screen Final Prince Theatre Heritage Stay

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-48

ตารางที่ 6.31 ความถี่ของกิจกรรมประเภทต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2561- 2562 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ประเภท ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. She: Portr งาน Awakening aits & A Human, ออกแบบ Bangkok: Princess The Light Contemp a Monkey, และศิลปะ A festival Collection Of Day orary an Alien of lights Jewelry Off the Italian Nature Wall Mini Subdued WHO I AM Renaissan Morte Exhibition ce The The I-Land Mini Exhibition: Everyone and Auto- Colors of Greatest DEN Herman Hermsen Everywhere is an Island graph Moms' Happiness Lives New York Abstracts by Energy Lamunla 148913: Taiwan Excellent Crafts Hisako Kobayashi Diary 01 mai From I-Land Mini Exhibition: I-Land Mini Exhibition: Nikken Monet to Melinda Young Tabea Reulecke Sekkei Kandinsky Off the Wall Mini Off the Wall Mini Exhibition: Christoph 00:00-23:59 Exhibition Straube

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-49

ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ประเภท ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. I-Land Mini Exhibition: niko niko: itoaya Anything / Anywhere Niklas Links Luxury in A Passage I-Land Mini Exhibition: Bangkok Design Week the to Renai Tod Todesire 2019 Details ssance Off the Wall Mini Diversity Galore curated by Charon Exhibition: Claire Bangkok Babes Kransen McArdle Opening of Garden of the Lost and Found 35 36 Film 35 36 Film STRATA ภาพถ่าย Bangkok Camera Camera Photo That Was Weekend Weekend Bangkok Slit-scan Photo graphy Moving Picture,

Moving Poetry

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-50

ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ประเภท ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ภาพยนตร์ Endless Love Spooktacu French Poetry lar Movies Weekend French Weekend Movieclub and Art Week Movieclub Performan ce Re-Writing Workshop/ WALK Calligra Your Own Talk WITH THE phy TED Script with CLOUD Workshop Charon

Kransen Design ARTIST Artist Talk and TALK Power Breaking DIY Shorts Habits +

Paint คุยเรื่อง กัญชา

สังคม ฤดูกาล Mother's บริจาค แห่งรัก Day at

โลหิต Prince ณ บางรัก

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-51

ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ประเภท ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. คิดถึงพ่อ ระดม จาก สมอง ดวงใจ กรองฝุ่น ถวายพ่อ

หลวง

For HER

Art Charity

This Mons This Mons เอกชน ters ters

10 Years of VIVI”

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-52

6.2 พื้นที่สร้างสรรค์ประเภทกราฟิตี้ และอื่นๆ

ภาพที่ 6-22 ต าแหน่งพื้นที่ศิลปะ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-53

1) บริเวณก าแพง Shangri-la Hotel, Bangkok

ภาพที่ 6-23 แอ่งน ้าในจินตนาการ ของ Daan Botlek (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท วาดภาพ (Painting) ขนาดประมาณ 3.5 x 20 เมตร

2) ด้านหลังก าแพง ธนาคารกรุงเทพฯ สาขาบางรัก

ภาพที่ 6-24 รถไฟบ้านเกสร ด้านหลังธนาคารกรุงเทพฯ สาขาบางรัก

ผลงานประเภท วาดภาพ (Painting) ขนาดประมาณ 1 x 2 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-54

3) อาคารธนกรณ์ (ถนนศรีเวียง)

ภาพที่ 6-35 ผลงานของ Kashink (ศิลปินฝรั่งเศส) ร่วมกับ Wers (ศิลปินเปรู) Mue Bon Muebon (ศิลปินชาวไทย)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 5 x 15.75 เมตร

4) อาคาร

ภาพที่ 6-26 ผลงานของศิลปิน Wers - Kashink - Mue Bon

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) และภาพวาด (Painting) ขนาดประมาณ 8x 12 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-55

5) ซอยเจริญกรุง 40

ภาพที่ 6-27 #วาระนมแม่แห่งโลก โดยคุณศุภิสรา เปรมกมลมาศ (Supis) (ที่มา: Facebook: Charoen Krung Creative District)

ผลงานประเภท วาดภาพ (Painting) ขนาดประมาณ 2.5 x 9.5 เมตร

6) ซอยข้าง Jewelry Hub

ภาพที่ 6-28 กราฟิตี้บริเวณซอยข้าง Jewelry Hub

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 2 x 7.5 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-56

7) ซอยวัดม่วงแค

ภาพที่ 6-29 เด็กร้องไห้ โดยคุณทศพร เหมือนสุวรรณ

ผลงานประเภท วาดภาพ (Painting) ขนาดประมาณ 3 x 12 เมตร

8) ซอยเจริญกรุง 32 (ตั้งแต่บริเวณ Warehouse 30 จนถึงท่าเรือ)

ภาพที่ 6-30 ผลงานของ BONUS TMC กับ LOLAY ศิลปินชาวไทย (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 4 x 3 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-57

ภาพที่ 6-31 ผลงานของ Alexmardi (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 5.4 x 3.8 เมตร

ภาพที่ 6-32 ผลงานของ Sabek (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 7.2 x 3.8 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-58

ภาพที่ 6-33 ผลงานของ Alexmardi (2) (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 3.6 x 1.9 เมตร

ภาพที่ 6-34 ผลงานของ Lolay (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 13.8 x 3.8 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-59

ภาพที่ 6-35 ผลงานของ BONUS TMC และ Phai Tanasan (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาด 3.6 x 3.8 เมตร

ภาพที่ 6-36 ผลงานศิลปะบริเวณก าแพงรั้วไปรษณีย์กลาง บางรัก

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-60

ภาพที่ 6-37 ผลงานศิลปะ “Book” โดยคุณเหนือ จักรกฤษณ์ อนันตกุล (ที่มา: Facebook Charoen Krung Creative District)

ผลงานประเภท วาดภาพ (Painting) ขนาดประมาณ 2 x 7.5 เมตร

9) Warehouse 30

ภาพที่ 6-38 ผลงานศิลปะบริเวณ Warehouse 30

ผลงานประเภท วาดภาพ (Painting) ขนาดประมาณ 1.5 x 30 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-61

10) ซอยเจริญกรุง 41 (ข้างก าแพงข้าวต้มเล่าตี่)

ภาพที่ 6-39 ผลงานศิลปะ “Education For All” โดยคุณน ้าน้อย ปรียศรี พรหมจินดา (ที่มา: Facebook Charoen Krung Creative District)

ผลงานประเภท วาดภาพ (Painting) ขนาดประมาณ 2.5 x 15 เมตร

11) ซอยพุทธโอสถ

ภาพที่ 6-40 ผลงานศิลปะบริเวณซอยพุทธโอสถ

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 9 x 12 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-62

12) ซอยเจริญกรุง 30

ภาพที่ 6-41 ผลงานของ Sten and Lex สองศิลปินจาก อิตาลี (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท วาดภาพ (Painting) ขนาดประมาณ 18 x 12.5 เมตร

13) ก าแพงสถานฑูตโปรตุเกส

ภาพที่ 6-42 ผลงานศิลปะแกสลักนูนต ่า โดย อเล็กซานเดอร์ ฟาร์โต (วิลส์)

ผลงานประเภท แกะสลักนูนต ่า ขนาดประมาณ 3.2 x 18 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-63

14) ก าแพงโรงน ้าปลา ตรา ปลาหมึก

ภาพที่ 6-43 ผลงานศิลปะบนก าแพงโรงงานน ้าปลา

ผลงานประเภท ภาพวาด (Painting) ขนาดประมาณ 10 x 12 เมตร

15) ซอยเจริญกรุง 28

ภาพที่ 6-44 ผลงานของ Daehyun Kim ศิลปินชาวเกาหลี (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) และ ภาพวาด (Painting) ขนาดประมาณ 2 x 2 เมตร และ 10 x 12 เมตร รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-64

ภาพที่ 6-45 ผลงานของ Saddo ศิลปินชาว โรมาเนีย (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 5 x 5 เมต

16) แยกมหาเศรษฐ์ ถนนสี่พระยา

ภาพที่ 6-46 ผลงานศิลปะ “กาลครั้งหนึ่งวันเด็ก” โดยพิเชษฐ์ รุจิวรารัตน์ (ที่มา: Facebook Charoen Krung Creative District)

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti) ขนาดประมาณ 2 x 15 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-65

17) ข้างซอยมหาพฤฒาราม

ภาพที่ 6-47 Graffiti บริเวณข้างซอยมหาพฤฒาราม

ผลงานประเภท กราฟิตี้ (Graffiti)

18) ซอยเจริญกรุง 31 (Foo John Building)

ภาพที่ 6-48 ผลงานศิลปะ “มหาวิทยาลัยชีวิต” โดยชาญณรงค์ ขลุกเอียด

ผลงานประเภท ภาพวาด (Painting) ขนาดประมาณ 2 x 12 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-66

19) ย่านตลาดน้อย

ภาพที่ 6-49 ผลงานของ Escif ศิลปินจาก สเปน และชุมชนตลาดน้อย (ที่มา: https://www.baanlaesuan.com/25274/design/lifestyle/bukruk-street-art และ https://pantip.com/topic/34931424 และ เพจไปคนเดียว)

ผลงานประเภท ภาพวาด (Painting)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-67

20) ย่านนานา

ภาพที่ 6-50 ผลงานศิลปะ บริเวณหน้าร้านเทพฯบาร์

ผลงานประเภทกราฟิตี้ (Graffiti)

ภาพที่ 6-51 ผลงานศิลปะ บริเวณอาคารเดอะ ฮับ สายเด็ก

ผลงานประเภท ภาพวาด (Painting) ขนาดประมาณ 2.5 x 25 เมตร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-68

จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ภายในย่านเจริญกรุง และพื้นที่ต่อเนื่อง มีจ านวนพื้นที่สร้างสรรค์ ประเภทผลงานศิลปะมากกว่า 20 จุดทั่วย่าน มีประเภทผลงานศิลปะที่หลากหลาย อาทิ กราฟิตี้ซึ่งได้รับความ นิยมมากที่สุด รองลงมาคือ ภาพวาด และงานแกะสลักตามล าดับ โดยพื้นที่เจริญกรุงเป็นพื้นที่ที่มีจ านวนพื้นที่สร้างสรรค์ ประเภทผลงานศิลปะมากที่สุด รองลงมา คือ พื้นที่ตลาดน้อย และพื้นที่นานา ตามล าดับ โดยสามารถดูรายละเอียดได้จาก ตารางที่ 6.32

ตารางที่ 6.32 ผลรวมต าแหน่งพื้นที่สร้างสรรค์ ประเภทผลงานศิลปะ ประเภทผลงาน พื้นที่ จ านวน (แห่ง) กราฟิตี้ ภาพวาด แกะสลัก เจริญกรุง 25 11 1 37 ตลาดน้อย - 6 - 6 นานา 1 1 - 2 รวม 26 18 1 45

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 6 (Final Report) ผลสารวจพื้นที่สร้างสรรค์ 6-69

บทที่ 7

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่

ในบทนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกในการประกอบธุรกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ (ขยายผลต่อเนื่องจาก การส ารวจเชิงลึกใน ปี พ.ศ. 2561) โดยผู้ส ารวจได้ด าเนินการขอความร่วมมือในการสัมภาษณ์ และสังเกตุ การณ์หน่วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ผลการขอความร่วมมือมีหน่วยธุรกิจที่ให้ความร่วมมือ เข้าเก็บข้อมูลทั้งสิ้น 15 ธุรกิจ จ าแนกตามประเภทสินค้าและบริการสร้างสรรค์ได้ ดังนี้

7.1 ธุรกิจบริการออกแบบ 6 ธุรกิจ - บริการออกแบบสถาปัตยกรรม 4 ธุรกิจ - บริการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 ธุรกิจ - บริการออกแบบแสงสว่าง 1 ธุรกิจ 7.2 ธุรกิจแกลเลอรี 3 ธุรกิจ - Commercial Gallery 1 ธุรกิจ - พื้นที่ให้เช่าจัดแสดง 2 ธุรกิจ 7.3 ธุรกิจภาพถ่าย 3 ธุรกิจ - บริการล้าง-ขายฟิลม์ และ Workshop 2 ธุรกิจ - บริการปริ้นท์ภาพถ่าย 1 ธุรกิจ 7.4 ธุรกิจงานหัตถกรรม 1 ธุรกิจ - ร้านดอกไม้ 1 ธุรกิจ 7.5 ธุรกิจอาหาร และเครื่องดื่ม 2 ธุรกิจ - ร้านเครื่องดื่ม 2 ธุรกิจ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-1

7.1 ธุรกิจบริการออกแบบ กลุ่มธุรกิจบริการออกแบบ จ านวน 6 ธุรกิจ พบว่าภายในกลุ่มมีลักษณะการด าเนินธุรกิจที่หลากหลาย สามารถจ าแนกได้เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) บริการออกแบบสถาปัตยกรรม จ านวน 4 ธุรกิจ 2) บริการ ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 ธุรกิจ และ 3) บริการออกแบบแสงสว่าง 1 ธุรกิจ โดยสรุปข้อมูลลักษณะการ ด าเนินกิจการ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้ ดังต่อไปนี้

1.1) บริการออกแบบสถาปัตยกรรม

ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ นักออกแบบ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) STU/D/O ออกแบบสถาปัตยกรรม สถาปนิก มัณฑนากร อาคาร Central 2011 ย้ายมาปี (หลากหลายประเภท) ภูมิสถาปนิก Station 2015

AA Design ออกแบบสถาปัตยกรรม สถาปนิก มัณฑนากร อาคาร Central 2013 ย้ายมาปี (บ้านพักอาศัย) ภูมิสถาปนิก Station 2015 Archive ออกแบบสถาปัตยกรรม สถาปนิก มัณฑนากร อาคาร Central 2013 ย้ายมาปี Studio (หลากหลายประเภท) ภูมิสถาปนิก Station 2015

Creative ออกแบบสถาปัตยกรรม สถาปนิก มัณฑนากร ซอย โชฎึก 2008 ย้ายมาปี Crews (หลากหลายประเภท) ภูมิสถาปนิก (ตลาดน้อย) 2016

ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 7.1

ตารางที่ 7.1 Supply Chain ของธุรกิจบริการออกแบบสถาปัตยกรรม รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - คิดและออกแบบตาม - เขียนแบบก่อสร้าง - น าเสนองานให้ลูกค้า โจทย์ที่ได้รับ โดยจะ - จัดท า BOQ - รวบรวมผลงานไว้ ออกแบบสถาปัตยกรรม - ท าโมเดล (บางหน่วย ในเว็ปไซต์/ เป็นหลัก และรับ ธุรกิจ) Facebook ออกแบบงาน - ทำ Visualization/ สถาปัตยกรรมภายใน 3D (In House & Outsource) รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-2

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย และภูมิสถาปัตยกรรมที่ - บรีฟงานผู้รับเหมา ไม่มีความซับซ้อนมาก - ตรวจสอบงาน - กรณีที่รับงานออกแบบ สถาปัตยกรรมภายใน หรือภูมิสถาปัตยกรรมที่ มีความซับซ้อนจะ ด าเนินงานออกแบบ ร่วมกันกับบริษัท ออกแบบสถาปัตยกรรม ภายใน หรือภูมิ สถาปัตยกรรมโดยเฉพาะ วัสดุ อุปกรณ์ - ร้านเครื่องเขียนใน เครื่องมือ สถานที่ พื้นที่ใกล้เคียง (สาม ย่าน และเยาวราช) - ร้านตัดอะคริลิก บริเวณวงเวียน 22 - ร้านปริ้นท์ (ขนาด กระดาษใหญ่กว่า A3 ขึ้นไป) บริเวณทอง หล่อ เอกมัย วัตถุดิบหลัก ผู้ด าเนินการ สถาปนิก สถาปนิก มัณฑนากร มัณฑนากร ภูมิสถาปนิก ภูมิสถาปนิก (ในบางกรณีจะเป็นความ ผู้รับจ้างทำ ร่วมมือระหว่างองค์กร) Visualization (Outsource) ผู้รับเหมา (Outsource)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-3

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย สถานที่ - บริษัทส่วนมากเคยตั้งอยู่ในพื้นที่อื่นมาก่อน แต่ย้ายมาในพื้นที่นี้เพราะต้องการ ความเชื่อมโยง ขยายบริษัท และค่าเช่าพื้นที่ยังไม่สูงมากนัก กับพื้นที่ - เลือกที่ตั้งส านักงานจากความสะดวกสบายในการเดินทาง (ติดรถไฟฟ้า MRT หัวล าโพง และใกล้ทางด่วน) และการใช้ชีวิตภายในย่าน อาทิ ร้านอาหาร ร้าน กาแฟ เป็นต้น - คนรู้จักชักชวนให้มาอยู่ในพื้นที่ และมาตามส านักงานที่เคยแชร์พื้นที่ร่วมกัน โครงสร้าง - พื้นฐาน ธุรกิจสนับสนุน - ธุรกิจออกแบบ หรือธุรกิจที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ใกล้เคียง (ทำงานออกแบบร่วมกัน) - ธุรกิจขายวัสดุตัดโมเดล เช่น ร้านขายอะคริลิค ย่านวงเวียน 22 ร้านเครื่องเขียน ย่านเยาวราช) - ธุรกิจร้านปริ้นท์แบบขนาดใหญ่กว่า A3 (ทองหล่อ เอกมัย)

- รับจ้างทำ Visualization

การแข่งขัน - ไม่ได้มองใครเป็นคู่แข่ง เนื่องจากมีความเชื่อว่าแต่ละบริษัทมีลักษณะเฉพาะของ

Ecology ตนเอง แต่ถ้าให้เปรียบเทียบการแข่งขันวิชาชีพ จะต้องเทียบจากประเภทของ โครงการในบริษัทที่รับงานขนาดใกล้เคียงกัน - ส่วนใหญ่ให้ค าตอบว่าจะศึกษาบริษัทอื่น เพื่อน ากลับมาพัฒนาตนเอง มาตรการ การให้ข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เฉพาะบริษัทที่ลงทะเบียนกับ ส่งเสริม หน่วยงานเท่านั้น ซึ่งบริษัทส่วนใหญ่ไม่ได้ลงทะเบียนกับหน่วยงานใด ๆ ) เครือข่าย เป็นสมาชิกสมาคมวิชาชีพ (สภาสถาปนิก/ สมาคมสถาปนิก) อุปสรรค - ความเข้าใจ วิธีการคิด (Mindset) ของลูกค้าต่อการใช้บริการนักออกแบบ - ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ และงบประมาณในการจ้างงานของลูกค้า - ทักษะทางด้านภาษา กฎหมาย ฯลฯ ในการท างานกับบริษัท/ลูกค้าต่างชาติ - คุณภาพงานของผู้รับเหมาก่อสร้าง ลักษณะ เจ้าของกิจการ (นักออกแบบ) แรงงาน ลูกจ้าง (นักออกแบบแสงสว่าง สถาปนิก ภูมิสถาปนิก มัณฑนากร แอดมิน) ผล ไม่สะดวกในการให้ข้อมูล ประกอบการ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-4

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย แต่ได้ให้ข้อมูลว่าภายใน 1 ปีจะพยายามรับออกแบบงานที่มีความหลากหลาย และมีการก าหนดจ านวนโครงการในแต่ละปี ความต้องการ - การประชาสัมพันธ์ในเรื่องของการใช้บริการนักออกแบบ - ต้องการให้ภาครัฐเป็นตัวอย่างของการจ้างงานนักออกแบบเฉพาะด้าน - การให้การสนับสนุนค่าบริการทางวิชาชีพในการประกวดแบบ - การสร้างกลุ่ม หรือเครือข่ายของนักออกแบบในพื้นที่บริเวณใกล้เคียง - การให้ความรู้ด้านการประกอบวิชาชีพ และการด าเนินธุรกิจ - การจัดท าสิทธิประโยชน์ให้กับผู้ประกอบการในพื้นที่ - การจัดท าประกันวิชาชีพ

2) บริการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม

ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) Field Landscape ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม อาคารตั้ง ฮั่ว ปัก 2015

ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 7.2

ตารางที่ 7.2 Supply Chain ของธุรกิจบริการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - คิด และออกแบบงาน - เขียนแบบก่อสร้าง - นำเสนองานให้ลูกค้า ภูมิสถาปัตยกรรม - จัดทำ BOQ - รวบรวมผลงานไว้ใน - Programming - ทำ Visualization/ 3D เว็ปไซต์ Process (In House & (Programming/ Site- Outsource กรณี Context/ Law & ร่วมงานกับบริษัทอื่น) Regulation) - บรีฟงานผู้รับเหมา - ตรวจสอบงาน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-5

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย - Design Process (Concept/ Physical/ Plan – Prelim) วัสดุ อุปกรณ์ ร้านปริ้นท์ (ขนาดกระดาษ เครื่องมือ สถานที่ ใหญ่กว่า A3 ขึ้นไป) บริเวณทองหล่อ เอกมัย วัตถุดิบหลัก พืชพันธุ์ต่าง ๆ ผู้ด าเนินการ ภูมิสถาปนิก ภูมิสถาปนิก (ในบางกรณีจะเป็นความ ผู้รับจ้างทำ Visualization ร่วมมือระหว่างองค์กร (Outsource) ร่วมกับวิชาชีพออกแบบ ผู้รับเหมา อื่น) (Outsource) สถานที่ - บริษัทที่เคยใช้พื้นที่ร่วมกัน (STU/D/O) ชวนให้มา ความ - ที่ตั้งไม่ห่างจากบ้านพักอาศัยมากนัก (พักอาศัยอยู่ย่านฝั่งธน) สามารถขึ้นทางด่วน เชื่อมโยงกับ มาได้ง่าย พื้นที่ - การเดินทางสะดวกสบายส าหรับพนักงาน เพราะใกล้ MRT และสถานีรถไฟ ท าให้ สามารถเดินทางไปท ากิจกรรมอื่น ๆ ได้ด้วย เช่น วิ่งที่สวนลุม โครงสร้าง -

พื้นฐาน

ธุรกิจ - ธุรกิจออกแบบ หรือธุรกิจที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ใกล้เคียง (ทำงานออกแบบร่วมกัน)

Ecology สนับสนุน - ธุรกิจร้านปริ้นท์แบบขนาดใหญ่กว่า A3 (สามย่าน) - รับจ้างทำ Visualization - ธุรกิจขายต้นไม้ (บริเวณคลองหลวง นครนายก และปราจีนบุรี) การแข่งขัน ไม่ได้มองใครเป็นคู่แข่ง มาตรการ ยังไม่ได้รับมาตรการส่งเสริมใด ๆ ส่งเสริม เครือข่าย เป็นสมาชิกสมาคมวิชาชีพ (สภาสถาปนิก/ สมาคมภูมิสถาปนิก)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-6

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย อุปสรรค - ความเข้าใจ วิธีการคิด (Mindset) ของลูกค้าชาวไทยในการใช้บริการนัก ออกแบบ ยังไม่เปิดเท่าลูกค้าชาวต่างชาติ - ความเข้าใจ วิธีการคิด (Mindset) ของลูกค้าต่อค่าบริการวิชาชีพ (คิดว่าแพง เกินไป) ส่งผลให้งานออกแบบถูกตีกรอบ ออกแบบได้ไม่เต็มที่ - การที่ไม่มีการสนับสนุนค่าบริการทางวิชาชีพในการประกวดแบบ ลักษณะ เจ้าของกิจการ และลูกจ้าง เป็นภูมิสถาปนิก แรงงาน ผล ไม่สะดวกในการให้ข้อมูล ประกอบการ ความ ไม่มีความต้องการใดเป็นพิเศษ ต้องการ

3) บริการออกแบบแสงสว่าง

ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) In Contrast Studio ออกแบบแสงสว่าง อาคาร Central 2013 ย้ายมาปี Station 2014

ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 7.3

ตารางที่ 7.3 Supply Chain ของธุรกิจบริการออกแบบแสงสว่าง รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - คิด และออกแบบงาน - เขียนแบบก่อสร้าง - นำเสนองานให้ลูกค้า ด้านแสงสว่างใน - จัดทำ BOQ - รวบรวมผลงานไว้ใน โครงการต่าง ๆ - ทำโมเดลทดลองการตก เว็ปไซต์ (สถาปัตยกรรม กระทบของแสง (In สถาปัตยกรรมภายใน House & Outsource) ภูมิสถาปัตยกรรม ตลอดจนงานอีเว้นท์ - ทำ Visualization/ 3D ต่าง ๆ) (In House) รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-7

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย - Design Process - การปรับแบบกับลูกค้า (Concept/ Physical/ และนักออกแบบใน Plan – Prelim) สาขาอื่น ๆ - บรีฟงานผู้รับเหมา - ตรวจสอบงาน วัสดุ อุปกรณ์ - Software ในการเขียน เครื่องมือ สถานที่ แบบ/ ขึ้น 3D/ การ จำลอง และวิเคราะห์ คุณภาพ แสง - อุปกรณ์ทำแบบ และ โมเดล วัตถุดิบหลัก หลอดไฟแบบต่าง ๆ ผู้ด าเนินการ นักออกแบบแสงสว่าง นักออกแบบแสงสว่าง (ก าหนดว่าจะต้องมีพื้นฐาน (ก าหนดว่าจะต้องมี ทางด้านการออกแบบ พื้นฐานทางด้านการ ทางด้านสถาปัตยกรรม ทั้ง ออกแบบทางด้าน ภายใน และภายนอก) สถาปัตยกรรม ทั้งภายใน และภายนอก) สถานที่ - เคยตั้งอยู่ในพื้นที่อื่นมาก่อน แต่ย้ายมาในพื้นที่นี้เพราะต้องการขยายบริษัท และ ความ ค่าเช่าพื้นที่ยังไม่สูงมากนัก เชื่อมโยงกับ - เลือกที่ตั้งส านักงานจากความสะดวกสบายในการเดินทาง (ติดรถไฟฟ้า MRT หัว พื้นที่ ล าโพง และใกล้ทางด่วน) และบรรยากาศของย่าน - คนรู้จักชักชวนให้มาอยู่ในพื้นที่

โครงสร้าง - Ecology พื้นฐาน ธุรกิจ - ธุรกิจในวงการก่อสร้าง อาทิ งานออกแบบสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมภายใน สนับสนุน ภูมิสถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น - ธุรกิจอีเว้นท์

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-8

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย - ธุรกิจรับท า Mockup Model ในการทดลองแสงสว่าง - Supplier หลอดไฟประเภทต่าง ๆ - ธุรกิจปริ้นท์งานขนาดใหญ่กว่า A3 (ย่านเอกมัย) การแข่งขัน มีบ้าง แต่น้อยมากเมื่อเทียบกับวงการออกแบบอื่น ๆ มาตรการ คิดว่าไม่มี ส่งเสริม เครือข่าย รู้จักธุรกิจออกแบบแสงสว่างอื่น ๆ แต่เน้นไปในลักษณะของการนัดพบปะสังสรรค์ มากกว่าแลกเปลี่ยนด้านธุรกิจ อุปสรรค - การขาดแคลนนักออกแบบแสงสว่าง (ต้องใช้ความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน) - การรับรู้ของบุคคลทั่วไปในเรื่องของการออกแบบแสงสว่าง - การรับงานต่อจากนักออกแบบอื่น ๆ ท าให้ไม่สามารถออกแบบงานได้อย่างเต็มที่ - การรับงานต่างประเทศ มีอุปสรรคทางด้านทักษะการสื่อสาร ลักษณะ นักออกแบบแสงสว่าง (ที่มีพื้นฐานทางด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม) แรงงาน ผล ไม่สะดวกให้ข้อมูล ประกอบการ แต่ได้ให้ข้อมูลว่าคิดค่าบริการวิชาชีพจากชั่วโมงแรงงาน (Man Hour) เพิ่ม ลด ตาม คาดการณ์วัตถุดิบ และบริการอื่น ๆ ที่จะต้องใช้จากการท างาน เช่น การตัดโมเดล ทดลงแสงสว่าง การปริ้นท์งาน เป็นต้น ความ อยากให้มีการประชาสัมพันธ์ในเรื่องของการออกแบบแสงสว่าง ต้องการ

ธุรกิจบริการออกแบบ เป็นส านักงานรับออกแบบสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม และออกแบบแสง สว่าง โดยให้บริการออกแบบตามความต้องการของผู้ว่าจ้าง และความเหมาะสมในการใช้งาน เริ่มจากการจัด วางประโยชน์ใช้สอยอาคาร (Programming Process) การออกแบบ และการทดลอง (Design Process) การ เขียนแบบก่อสร้าง การคิดค านวณค่าก่อสร้าง จัดท า BOQ การตัดโมเดล การท า Visualization ด้วยการ ด าเนินงานของสถาปนิก ภูมิสถาปนิก มัณฑนากร และนักออกแบบแสงสว่าง โดยในบางโครงการจะด าเนินการ ร่วมกับบริษัทออกแบบอื่น ๆ ในพื้นที่ใกล้เคียง พื้นที่ส านักงานถูกใช้เป็นพื้นที่ส าหรับการท างานของนัก ออกแบบ ประชุม และน าเสนองานให้กับลูกค้า

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-9

การเลือกที่ตั้งส านักงานส่วนใหญ่มาตามค าเชิญชวนของบริษัทที่รู้จักกัน และบริษัทที่เคยแชร์พื้นที่ ส านักงานร่วมกันมาก่อน อีกปัจจัยหลักในการเลือกที่ตั้ง คือ เรื่องของการเดินทางที่สะดวก ใกล้รถไฟฟ้าใต้ดิน บรรยากาศภายในย่านสามารถออกมาใช้ชีวิตประจ าวันทั่วไปได้ (การกินอยู่) มีธุรกิจสนับสนุนที่ส าคัญ คือ ธุรกิจออกแบบที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ธุรกิจขายอุปกรณ์ตัดโมเดลใน ย่านเยาวราช สามย่าน ธุรกิจปริ้นท์แบบขนาดใหญ่ ย่านทองหล่อ-เอกมัย ธุรกิจรับท า Mockup ธุรกิจ Supplier ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการด าเนินธุรกิจไม่ได้มองธุรกิจใดเป็นคู่แข่ง เนื่องจากแต่ละธุรกิจมีจุดเด่น และกลุ่มลูกค้าเป็นของ ตนเอง ปัจจุบันยังไม่ได้รับการสนับสนุน หรือส่งเสริมในการด าเนินธุรกิจใดจากภาครัฐ หรือหน่วยงาน องค์กร ใด มีเพียงการเป็นสมาชิกสภาสถาปนิก และสมาคมสถาปนิกฯ เพื่อติดตามข่าวสาร สถานการณ์ต่าง ๆ ใน วิชาชีพ อุปสรรคในการด าเนินธุรกิจส่วนมากจะเป็นเรื่องของแนวความคิดของกลุ่มบุคคลทั่วไปที่ยังไม่เข้าใจถึง คุณค่าของการใช้บริการนักออกแบบ ซึ่งส่งผลกระทบต่อค่าบริการวิชาชีพ หากไม่สามารถตกลงกันได้ระหว่าง ผู้ประกอบการ และลูกค้า ผู้ประกอบการจะท าการปฏิเสธงานไปโดยตรง ความต้องการสิ่งสนับสนุน คือ การประชาสัมพันธ์วิชาชีพนักออกแบบ โดยภาครัฐควรเป็นตัวอย่างใน การใช้นักออกแบบในโครงการต่าง ๆ ที่เป็นสาธารณะ ท าให้คนเข้าถึงนักออกแบบได้ง่ายขึ้น นอกจากนั้นยังมี ความต้องการให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ทั้งในเชิงวิชาชีพ และการประกอบธุรกิจ

7.2 ธุรกิจแกลเลอรี 2.1) Commercial Gallery

ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) ATT19 ขายสินค้าตกแต่งบ้าน และ ซอย กัปตันบุช 2019 บริการพื้นที่เช่าจัดแสดงงาน (ในอนาคตจะเพิ่ม Chef’s Table)

ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 7.4

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-10

ตารางที่ 7.4 Supply Chain ของธุรกิจ Commercial Gallery รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - การวางแผนบริหารจัดการ - การจ้างผลิตสินค้า - ประสานงาน พื้นที่ให้เช่าจัดแสดงงาน ตกแต่งบ้าน ระหว่างธุรกิจรับ- - ก าหนด Theme ในการ - จัดเตรียมพื้นที่จัด ส่งสินค้า กับลูกค้า จัดแสดง และติดต่อศิลปิน แสดง (แค่เชื่อมให้ แต่ ให้มา ร่วมจัดแสดงงาน ไม่ได้มีบริการจัดส่ง) (กรณีจัดแสดงเอง) - การหาสินค้า เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ ที่จะน ามาจัดแสดง/ วางขาย (ซื้อจากร้านค้าอื่น ซื้อจาก ศิลปิน และจากประมูล สินค้า) วัสดุ อุปกรณ์ แหล่งขายสินค้าตกแต่งบ้าน พื้นที่ และอุปกรณ์ เครื่องมือ สถานที่ ในต่างประเทศ เครื่องมือจัดแสดง วัตถุดิบหลัก ผู้ด าเนินการ - เจ้าของกิจการ (Curate - เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ งาน และสินค้า รวมถึง (Curate งาน และ บริหารจัดการพื้นที่จัด สินค้า) แสดง) - ศิลปินภายนอก - ผู้ช่วยในการ Curate งาน - ทีมจัดเตรียมสถานที่ ศิลปะ - ศิลปินภายนอก สถานที่ - เติบโตมาภายในย่าน และครอบครัวมีธุรกิจแกลเลอรีตั้งอยู่ข้าง ๆ ความเชื่อมโยง

- ประวัติศาสตร์ และเรื่องราวของย่านมีความเชื่อมโยงกับธุรกิจ (พื้นที่เจริญกรุง กับพื้นที่

เดิมเป็นแหล่งจิวเวลรี สินค้า Antique ผ้าไหม ฯลฯ) Ecology ธุรกิจสนับสนุน - ธุรกิจจัดงานแสดง อีเว้นท์ต่าง ๆ การแข่งขัน ไม่มองใครเป็นคู่แข่ง เนื่องจากแต่ละแกลเลอรีจะมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-11

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย มาตรการ ยังไม่ได้รับมาตรการส่งเสริมใด ๆ ส่งเสริม เครือข่าย เข้าร่วมกิจกรรม Bangkok Design Week อุปสรรค - ขาดทีมประชาสัมพันธ์ - ความคิด ความเข้าใจของคนไทยในการเข้าชมแกลเลอรี (คนไทยไม่กล้าเข้า แกลเลอรี เพราะรู้สึกว่าเป็นสถานที่ไกลตัว เข้ามาแล้วต้องซื้อ ไม่สามารถเข้า มารับชมเฉย ๆ ได้) ลักษณะ เจ้าของกิจการ (บริหารจัดการพื้นที่ จัดหาสินค้า) แรงงาน ลูกจ้าง (ผู้ช่วยจัดหางานศิลปะ ทีมจัดเตรียมสถานที่ และแม่บ้านท าความสะอาด) ผล ไม่สะดวกให้ข้อมูล ประกอบการ ความต้องการ - อยากได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐอื่น ๆ ที่นอกจาก CEA ในการพัฒนาย่าน เจริญกรุง เพราะตอนนี้รู้สึกว่าผู้ประกอบการธุรกิจ และชาวต่างชาติเป็นผู้ กระตุ้นย่าน - การสนับสนุนให้คนไทยเข้าถึงงานศิลปะในชีวิตประจ าวันได้มากขึ้น - การจัดท าโซนนิ่งย่าน ก าหนดสิทธิประโยชน์ให้ผู้ประกอบการ การสนับสนุน งาน Craft - การท าแผนที่ย่าน - การจัดท ามาตรการป้องกัน Gentrification และการรักษาไว้ซึ่งความเป็นเมือง เก่า เพราะย่านคือผู้คน ไม่ใช่ธุรกิจ

2.2) พื้นที่ให้เช่าจัดแสดง ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) The Nestle Living and พื้นที่ให้เช่าจัดแสดงงานAir ซอยเจริญกรุง 45 2019 Gallery bnb ออกแบบรองเท้า Ilford Galerie พื้นที่ให้เช่าจัดแสดงงาน ถนนสุรวงศ์ 2018 (135 Coffee Bar) ขายกล้อง

ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 7.5 รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-12

ตารางที่ 7.5 Supply Chain ของธุรกิจพื้นที่เช่าจัดแสดง รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - กำหนดและวางแผนการ - คัดเลือกผู้จัดแสดงผล - โปรโมทงานจัดแสดง จัดแสดง และการจัดงาน งาน (ทั้งที่ติดต่อขอเช่า - การจัดส่งผลงานให้ พื้นที่ และที่ติดต่อให้มา ลูกค้า จัดแสดง) - จัดเตรียมพื้นที่จัดแสดง - การปริ้นท์ภาพถ่าย - การประกอบกรอบ ภาพถ่าย วัสดุ อุปกรณ์ อุปกรณ์จัดแสดง เช่น เครื่องมือ สถานที่ โปรเจคเตอร์ จอทีวี วัตถุดิบหลัก ผู้ด าเนินการ เจ้าของกิจการ ศิลปิน เจ้าของกิจการ ศิลปิน สถานที่ - มีธุรกิจอื่นอยู่ภายในย่าน (Ilford Galerie เจ้าของเดียวกับ Bloom Pro Lab) ความ และเคยอยู่ในพื้นที่ข้างเคียง (ตึก Jewelry Trade Center) เนื่องจากเป็นพื้นที่ เชื่อมโยงกับ แรก ๆ ที่มีงานศิลปะ พื้นที่ - เลือกพื้นที่ เพราะชอบบรรยากาศย่าน ธุรกิจ - ศิลปิน

สนับสนุน การแข่งขัน ไม่รู้สึกว่ามีการแข่งขัน

Ecology มาตรการ ไม่เคยสนใจ ส่งเสริม เครือข่าย เครือข่ายศิลปิน ช่างกล้อง อาจารย์ภาควิชาถ่ายภาพ อุปสรรค - ความคิด ความเข้าใจของกลุ่มลูกค้า - ความมั่นใจในตนเองของศิลปิน - การใช้บริการขนส่งที่ไม่มีความระมัดระวัง

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-13

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย ลักษณะ เจ้าของกิจการ (บริหารจัดการพื้นที่) แรงงาน ลูกจ้าง (ต้องมีทักษะในเรื่องของการพิมพ์ การดูสีภาพ) ผล ไม่สะดวกให้ข้อมูล ประกอบการ ความ - อยากให้ CEA/ TCDC มีส่วนร่วมกับผู้ประกอบการอย่างจริงจัง และมีความ ต้องการ ต่อเนื่อง โดยเสนอแนะว่าในการเก็บข้อมูลต่าง ๆ ควรด าเนินโดยบุคลากรของ หน่วยงานเอง เพื่อให้หน่วยงานได้เรียนรู้รูปแบบการท างานจริง และจะได้มี ความเข้าใจโดยตรง - อยากให้ประเทศไทยเพิ่มคุณค่าของงานศิลปะผ่านการ Digitalize โดยมองว่า เป็นการเพิ่มมูลค่า และคุณค่าให้กับงานศิลปะได้ อีกทั้งยังท าให้คนเข้าถึงงาน ศิลปะได้ง่ายขึ้น พร้อมกับมี Archive งานศิลปะของชาติ - อยากให้ภาครัฐวางแผนการพัฒนาในระยะยาว และผลประโยชน์ทางอ้อมในการ พัฒนามากกว่านี้ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ยาวนาน - สนับสนุนการท างานของศิลปินด้วยการเปิดพื้นที่ให้ศิลปินจัดแสดงงาน รวมไป ถึงคนรุ่นใหม่ ๆ ด้วย - หน่วยงานรัฐควรท าหน้าที่เป็นแพลตฟอร์มกลางในการเชื่อมโยงเครือข่าย แล้ว ให้ผู้ประกอบการ ผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ มาเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาผ่านการ ท างานและความเชี่ยวชาญของแต่ละคน - อยากให้เกิดการสร้างกลุ่ม/ คลัสเตอร์ (Community/ Cluster) ของผู้ที่สนใจ งานศิลปะในแขนงต่าง ๆ ภายในย่าน - ควรมีการจัดท าการประชาสัมพันธ์ และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับย่านเจริญกรุง

ธุรกิจแกลเลอรี มีลักษณะการด าเนินธุรกิจ 2 รูปแบบ คือ Commercial Gallery กับพื้นที่ให้เช่าจัด แสดง โดย Commercial Gallery เป็นธุรกิจที่เน้นในเรื่องของการขายผลงานศิลปะ และผลิตภัณฑ์ที่น ามา จัดแสดง ไม่ว่าจะเป็นสินค้าตกแต่งบ้าน เสื้อผ้า เครื่องประดับ เป็นต้น โดยผู้ประกอบการจะเดินทางไปยัง ประเทศต่าง ๆ เพื่อน าเข้าสินค้ามาขายภายในร้าน ในขณะที่ธุรกิจแกลเลอรีประเภทให้เช่าจัดแสดงงาน จะมี การก าหนด หรือคัดเลือก Theme ในการจัดแสดง บริหารจัดการพื้นที่ และเวลาในการจัดแสดง โดย ด าเนินการร่วมกับศิลปินที่ใช้พื้นที่

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-14

สาเหตุในการเลือกที่ตั้ง คือ บรรยากาศของย่านที่มีเอกลักษณ์ มีความเกี่ยวข้องกับงานศิลปะตั้งแต่ใน อดีต อาทิ เป็นแหล่งจิวเวลรี และเครื่องเงิน เป็นต้น มีธุรกิจสนับสนุน คือ ธุรกิจจัดแสดงงานต่าง ๆ และศิลปิน ในการด าเนินธุรกิจไม่ได้มองธุรกิจประเภทเดียวกันเป็นคู่แข่ง เนื่องจากแต่ละธุรกิจมีแนวทางในการจัด แสดงงานที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน อุปสรรคในการด าเนินธุรกิจ คือ ความรู้สึกของลูกค้าที่มองว่าเรื่องของ ศิลปะเป็นเรื่องที่ไกลตัว ลูกค้าบางรายไม่กล้าที่จะเดินเข้ามาเยี่ยมชมพื้นที่ ความต้องการสนับสนุน คือ การสร้างการรับรู้เรื่องของงานศิลปะให้แทรกซึมเข้าไปในชีวิตประจ าวัน ของผู้คน การสร้างกลุ่ม/ คลัสเตอร์ (Community/ Cluster) ของผู้ที่สนใจงานศิลปะในแขนงต่าง ๆ ภายใน ย่าน การสนับสนุนการท างานของศิลปินด้วยการเปิดพื้นที่ให้ศิลปินจัดแสดงงาน รวมไปถึงคนรุ่นใหม่ ๆ

7.3 ธุรกิจภาพถ่าย 1) บริการล้าง-ขายฟิลม์ และ Workshop

ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) Foto Club ล้าง-ขายฟิลม์ เจริญกรุง 32 2019 Workshop HyperDev Film Lab ล้าง-ขายฟิลม์ เจริญกรุง 30 2019 (ข้อมูลจาก CEA)

ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ ตารางที่ 7.6

ตารางที่ 7.6 Supply Chain ของธุรกิจบริการล้าง-ขายฟิลม์ และ Workshop รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - เตรียมกิจกรรม - จัดกิจกรรม - จัดส่งไฟล์/ รูปให้ Workshop เกี่ยวกับการ Workshop/ เสวนา/ ลูกค้า ถ่ายภาพ Photo Walk - โปรโมทกิจกรรมผ่าน - ล้างฟิลม์ Facebook

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-15

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย - ติดต่อศิลปิน/ เครือข่าย เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ในการจัด Workshop - ติดต่อ Import ฟิลม์ แบบต่าง ๆ จาก ต่างประเทศ (ทั้ง Official & Unofficial) วัสดุ อุปกรณ์ - ห้องมืด เครื่องมือ สถานที่ - เครื่องปริ้นท์ภาพ วัตถุดิบหลัก ฟิลม์/ น ้ายาล้างแบบต่าง ๆ ผู้ด าเนินการ เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ ศิลปิน ลูกจ้าง ลูกจ้าง สถานที่ - เลือกสถานที่ตั้งจากความเป็นย่านสร้างสรรค์ ความเชื่อมโยง - พื้นที่มีประวัติศาสตร์การถ่ายรูปในประเทศไทย (เคยเป็นที่ตั้งของร้าน อ.จิตต์ กับพื้นที่ จงมั่นคง ช่างภาพห้องมืดยุคเก่า) - บรรยากาศของความเป็นย่านเก่า สามารถเชื่อมโยงกับกิจกรรมที่ตนเองจะท าได้ (Photo Walk) - บรรยากาศ สถานที่ตั้งท าให้คนรู้สึกสบายใจที่จะเดินเข้ามาที่ร้าน

ธุรกิจ - ธุรกิจขายอุปกรณ์ปริ้นท์ภาพ (EPSON/Canon) สนับสนุน* - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) คิดว่าสามารถท ากิจกรรมร่วมกันได้

Ecology - Siam Hop (ในอนาคต) คาดว่าจะท าทัวร์ถ่ายรูปร่วมกัน การแข่งขัน* ไม่มี ถ้ามองคือมองหาคู่แข่งที่จะพัฒนาให้เราดีขึ้น มาตรการ คิดว่าจะได้จาก CEA มากกว่าจากรัฐทั่วไป ส่งเสริม* เครือข่าย* เครือข่ายคนรักการถ่ายภาพ คนรักกล้องฟิลม์ อุปสรรค* - รูปแบบการท างานของหน่วยงานรัฐ (ช้า/ ไม่เป็นระบบ/ ไม่ทันสมัย) - การเรียกเก็บภาษีป้าย

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-16

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย ลักษณะ เจ้าของกิจการ (บริหารจัดการ Workshop ติดต่อน าเข้าฟิลม์ อุปกรณ์เครื่องมือ แรงงาน* ต่าง ๆ) พนักงาน (ล้างฟิลม์ - ร้านเป็นคนฝึกฝนทักษะให้ ผล ไม่สะดวกให้ข้อมูล ประกอบการ* ความต้องการ* - อยากได้การเชื่อมโยงกับบริษัทฟิลม์ หรืออุปกรณ์การถ่ายภาพขนาดใหญ่ เพื่อ รับการสนับสนุนในการจัดท า Workshop (มองว่าเป็นการแลกเปลี่ยนทางอ้อม ตัวธุรกิจจะเปรียบเสมือนเป็น marketing ให้กับบริษัทต่าง ๆ) - อยากให้มีการจัดท าพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ก าหนดขอบเขตพื้นที่ ระยะเวลาใน การพัฒนาให้ชัดเจน ท าให้ส าเร็จสักหนึ่งพื้นที่แล้วเป็นกรณีศึกษาให้กับพื้นที่อื่น ๆ หมายเหตุ (*): ข้อมูลจากร้าน Foto Club

2) บริการปริ้นท์ภาพถ่าย

ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) Bloom Pro Lab บริการปริ้นท์ภาพ ถ.สุรวงศ์ 2008 Co., Ltd (Museum Grade) ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 7.7

ตารางที่ 7.7 Supply Chain ของธุรกิจ ปริ้นท์ภาพถ่าย รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - วางแผนการวัตถุดิบ (ปี - สั่งพิมพ์ภาพตามออ - จัดส่งสินค้า หรือ ละ 2-3 ครั้งจาก เดอร์ของลูกค้า ลูกค้ามารับสินค้าเอง ประเทศเยอรมัน และ - น าภาพพิมพ์เข้ากรอบ ที่หน้าร้าน ญี่ปุ่น) - บรรจุสินค้า - ตรวจสอบคุณภาพไฟล์ จากลูกค้า - จัดวาง Lay Out ใน การพิมพ์

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-17

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย วัสดุ อุปกรณ์ กรอบรูป เครื่องมือ สถานที่ เครื่องปริ้นท์ วัตถุดิบหลัก กระดาษพิมพ์ภาพ ยี่ห้อ ILFORD (เป็นตัวแทน จ าหน่ายเจ้าเดียวในประเทศไทย), AWAGAMI, EPSON เครื่องพิมพ์ และหมึกพิมพ์ ยี่ห้อ EPSON

ผู้ด าเนินการ เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ ลูกจ้าง ลูกจ้าง สถานที่ - มีธุรกิจอื่นอยู่ภายในย่าน (Ilford Galerie เจ้าของเดียวกับ Bloom Pro Lab) ความเชื่อมโยง และเคยอยู่ในพื้นที่ข้างเคียง (ตึก Jewelry Trade Center) เนื่องจากเป็นพื้นที่ กับพื้นที่ แรก ๆ ที่มีงานศิลปะ - มีกลุ่มลูกค้าในพื้นที่ อาทิ โรงแรมต่าง ๆ โครงสร้าง พื้นฐาน ธุรกิจสนับสนุน ธุรกิจขายเครื่องพิมพ์ กระดาษพิมพ์ภาพ (ILFORD) หมึกพิมพ์ ศิลปิน โรงแรม พิพิธภัณฑ์ ฯลฯ การแข่งขัน ไม่รู้สึกว่ามีคู่แข่ง เนื่องจากตนเองเป็นตัวแทนจ าหน่ายเจ้าเดียวในประเทศไทย มาตรการ ไม่เคยได้รับ

ส่งเสริม Ecology เครือข่าย มีศิลปิน ช่างภาพที่รู้จักกันในวงการ อุปสรรค - ปัจจุบันคนไม่ค่อยพิมพ์ภาพถ่ายมากนัก เนื่องจากเก็บไว้ในระบบ Cloud - ลูกค้ามีความรู้สึกว่าค่าบริการสูงเกินไป - ในการจัดส่งสินค้า หากผู้รับสินค้าไม่มีความระมัดระวังในการจับ หรือขนย้าย สินค้า อาจก่อให้เกิดความเสียหายของภาพพิมพ์ได้ ลักษณะ เจ้าของกิจการ (มีความเชี่ยวชาญด้านทักษะการพิมพ์) แรงงาน ลูกจ้าง (ต้องมีทักษะด้านการมองสีของภาพ) ผล ไม่สะดวกให้ข้อมูล ประกอบการ ความต้องการ - ต้องการภาครัฐสนับสนุนวงการถ่ายภาพ สนับสนุนศิลปิน รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-18

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย - พิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ควรจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญในการตรวจรับผลงาน เนื่องจากมีหลาย กรณีที่หน่วยงานให้เจ้าหน้าที่ที่ไม่มีความเชี่ยวชาญมาตรวจรับ และขนย้าย ชิ้นงาน ท าให้เกิดความเสียได้

ธุรกิจภาพถ่าย มี 2 ประเภท คือ บริการล้าง-ขายฟิลม์ จัดเวิร์คชอป และธุรกิจปริ้นท์ภาพ โดยธุรกิจ แรกเป็นธุรกิจที่มีลักษณะการให้บริการโดยเปรียบตัวเองเป็นเหมือนสมาคมของคนรักการถ่ายภาพ ให้บริการ แสกน ขยายฟิลม์ อุปกรณ๋ ตลอดจนหนังสือถ่ายภาพ นอกจากนั้นยังมีการจัดนิทรรศการโชว์ภาพถ่าย กิจกรรม เวิร์คชอปให้ความรู้ เชิญชวนลูกค้าให้มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการถ่ายภาพ ส าหรับธุรกิจปริ้นท์ภาพเป็น ธุรกิจที่ให้บริการปริ้นท์ภาพถ่ายคุณภาพระดับพิพิธภัณฑ์ โดยเป็นตัวแทนจ าหน่ายเจ้าเดียวของประเทศไทยใน การขายกระดาษปริ้นท์ภาพ ยี่ห้อ ILFORD ธุรกิจที่ให้บริการเวิร์คชอปเลือกที่ตั้งจากความเป็นย่านสร้างสรรค์ เนื่องจากแนวทางในการพัฒนาย่าน ตรงกับกิจกรรมทางธุรกิจของตน ในขณะที่ธุรกิจปริ้นท์ภาพถ่ายเลือกที่ตั้งจากความที่พื้นที่มีความเกี่ยวข้องกับ งานศิลปะเป็นแห่งแรก ๆ ในกรุงเทพมหานคร ในการด าเนินธุรกิจไม่ได้มองว่าใครเป็นคู่แข่ง เนื่องจากมีแนวทางในการด าเนินธุรกิจที่ชัดเจน และเป็น ตัวแทนจ าหน่ายเจ้าเดียวในประเทศไทย อุปสรรคในการด าเนินธุรกิจ คือ ยุคสมัยที่เปลี่ยนไปในการจัดเก็บ ภาพถ่าย ปัจจุบันเน้นเก็บภาพถ่ายในระบบ cloud มากกว่าการปริ้นท์ หรือล้างฟิลม์ ความต้องการสิ่งสนับสนุน คือ การเชื่อมโยง สร้างเครือข่ายระหว่างผู้ประกอบการรายใหญ่ และ ผู้ประกอบการรายย่อย การให้สิ่งสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรม เป็นต้น

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-19

7.4 ธุรกิจงานหัตถกรรม 1) ร้านดอกไม้ ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) Bouquet บริการจัดช่อดอกไม้ OP Garden 2018 จัด Workshop

ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 7.8

ตารางที่ 7.8 Supply Chain ของธุรกิจร้านดอกไม้ รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - รับโจทย์ความต้องการ - จัดช่อดอกไม้ - จัดส่งช่อดอกไม้ให้ ของลูกค้า - จัดกิจกรรม ลูกค้า - ออกแบบช่อดอกไม้ โดย Workshop ศึกษาจากโอกาสในการ ใช้ สิ่งของที่จะแนบ พร้อมช่อ และโทนสี - วางแผนการจัดกิจกรรม Workshop ในแต่ละ รอบ - วางแผนการจัดสั่งดอกไม้ ประเภทต่าง ๆ (จากทั้ง ใน และต่างประเทศ) รวมถึงอุปกรณ์ในการจัด ช่อต่าง ๆ วัสดุ อุปกรณ์ ปากคลองตลาด ส าเพ็ง ภายในร้าน / สถานที่จัด เครื่องมือ สถานที่ จตุจักร พาหุรัด Workshop ต่างประเทศ อาทิ ประ เทศอิกัวดอร์ ฮอลแลนด์ เคนย่า ญี่ปุ่น เป็นต้น วัตถุดิบหลัก ดอกไม้ อุปกรณ์ตกแต่ง ผู้ด าเนินการ เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-20

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย ลูกจ้าง ลูกจ้าง สถานที่ - คิดว่าย่านเจริญกรุงก าลังจะกลับมาเป็นที่นิยม ความเชื่อมโยง - ชอบพื้นที่ริมน ้า กับพื้นที่ - มีกลุ่มลูกค้า โรงแรมระดับ 5 ดาว หลายแห่ง - เดินทางง่าย - ชอบมา TCDC โครงสร้าง พื้นฐาน ธุรกิจสนับสนุน ธุรกิจขายดอกไม้ ขายอุปกรณ์ตกแต่ง โรงแรม สถานที่จัดงาน การแข่งขัน น้อย เนื่องจากร้านมีเอกลักษณ์ในการจัดช่อเฉพาะตัว (เน้น Freeform & Garden) แต่ก็ระมัดระวังอยู่เสมอ มาตรการ ไม่เคยได้รับ เคยแต่จัดกิจกรรมร่วมกับ TCDC ซึ่งได้รับการตอบรับที่ดี ส่งเสริม เครือข่าย นางแบบ แมกกาซีน บล็อกในต่างประเทศ (ปัจจุบันจัดท า Editorial Shoot ประจ าปี เพื่อเป็นการโปรโมทร้าน)

Ecology อุปสรรค - สภาพอากาศของประเทศไทย เนื่องจากวัตถุดิบของธุรกิจเป็นดอกไม้สด ท าให้ ต้องมีการระมัดระวังอยู่เสมอ - แหล่งวัตถุดิบมีจ ากัด - ก าลังซื้อของลูกค้า (ลูกค้าหลายท่านคิดว่าราคาสูงเกินไป) - การหมุนเวียน Stock สินค้า - ความเข้าใจที่ไม่ตรงกันระหว่างผู้จัด กับลูกค้า - ลูกค้าบางรายมีความต้องการให้ก๊อปปี้แนวทางการจัดดอกไม้ของร้านอื่น - การท า Work Permit และการรับเงิน (กรณีรับงานต่างประเทศ) ลักษณะ เจ้าของกิจการ (มีทักษะความรู้ด้านการจัดอีเว้นท์ แฟชั่นชุดเจ้าสาว การจัดช่อ แรงงาน ดอกไม้) ลูกจ้าง (1 ท่านมีพื้นฐานทางด้านศิลปะ และอีกท่านท าหน้าที่บริหารจัดการ เอกสารต่าง ๆ แต่ทั้งสองท่านต้องจัดดอกไม้เป็น) ผล ไม่สะดวกให้ข้อมูล ประกอบการ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-21

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย แต่ได้ให้ข้อมูลว่า การจัดกิจกรรม Workshop แต่ละครั้งจะรับผู้เข้าร่วมรอบละ 8 คน โดยมีค่าใช้จ่าย 3,000-3,500 บาท/คน และในการจัดช่อเจ้าสาว ราคาขั้นต่อ อยู่ที่ 3,000 บาท ความต้องการ - เงินทุนในการบริหารจัดการ - Connection กับผู้ประกอบการ หรือลูกค้า (ต้องการเพิ่มเครดิตให้ตนเอง) - อยากให้พัฒนาย่านเจริญกรุงให้มีบรรยากาศแบบย่าน Soho ในต่างประเทศที่ ทุกคนสามารถเข้าถึงงานศิลปะได้

ธุรกิจรับจัดช่อดอกไม้ โดยเน้นกลุ่มช่อดอกไม้เจ้าสาว และจัดกิจกรรมเวิร์คชอปสอนจัดดอกไม้ โดย ผู้ประกอบการจะต้องวางแผนในการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการจัดช่อ ตั้งแต่ดอกไม้จนไปถึงอุปกรณ์ ตกแต่ง โดยสั่งซื้อจาก Supplier ทั้งจากในประเทศ และต่างประเทศ ในการออกแบบช่อดอกไม้จะศึกษาจาก โอกาสในการใช้ สิ่งของที่จะแนบพร้อมช่อ และโทนสี ธุรกิจแห่งนี้เลือกที่ตั้งจากความชอบบรรยากาศย่าน และการเป็นแหล่งรวมโรงแรมระดับ 5 ดาว ซึ่ง เป็นกลุ่มลูกค้าหลักของธุรกิจ โดยมีความเชื่อมั่นว่าย่านแห่งนี้ก าลังจะกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้ง ธุรกิจสนับสนุนหลักที่ส าคัญ คือ ธุรกิจขายดอกไม้ย่านปากคลองตลาด และแหล่งขายดอกไม้ใน ต่างประเทศ ในการด าเนินธุรกิจไม่ได้มองใครเป็นคู่แข่ง เนื่องจากลักษณะการจัดช่อของธุรกิจมีเอกลักษณ์ที่ชัดเจน แตกต่างจากร้านรับจัดช่อดอกไม้ทั่วไป อุปสรรคในการด าเนินธุรกิจ คือ สภาพอากาศของประเทศไทยที่มี ลักษณะร้อนชื้นท าให้ต้องมีการบริหารจัดการ หมุนเวียนดอกไม้อยู่เสมอ นอกจากนั้นแหล่งวัตถุดิบที่มีอยู่อย่าง จ ากัดท าให้บางครั้งไม่สามารถจัดหาดอกไม้ได้ตรงความต้องการของลูกค้า อีกอุปสรรคหนึ่งที่ส าคัญ คือ ความ เข้าใจในเรื่องของการออกแบบของลูกค้า ท าให้ลูกค้าบางรายคิดว่าราคาช่อสูงเกินไป ไปจนถึงการน าเอา รูปแบบการจัดช่อของร้านอื่นมาให้จัดเลียนแบบตาม ความต้องการสนับสนุนในการด าเนินธุรกิจ คือ การเชื่อมต่อกับแหล่งเงินทุนในการขยายธุรกิจ การ สร้างเครือข่ายระหว่างผู้ประกอบการ และลูกค้า

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-22

7.5 ธุรกิจอาหาร และเครื่องดื่ม 1) ร้านเครื่องดื่ม ชื่อกิจการ ลักษณะการให้บริการ ที่ตั้ง ปีก่อตั้ง (ค.ศ.) Baba Mama Kafe อาหาร กาแฟ ขนม อาหาร เชิงสะพาน 2019 เช้า พิทยเสถียร House of Commons กาแฟ เชิงสะพาน 2019 จัดกิจกรรม Wokrhsop พิทยเสถียร และพื้นที่ว่างให้เช่าจัด กิจกรรม Workshop

ในแต่ละขั้นตอนการด าเนินธุรกิจมีรายละเอียดกิจกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 7.9

ตารางที่ 7.9 Supply Chain ของธุรกิจร้านเครื่องดื่ม รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย กิจกรรม - คิดสูตรกาแฟ ขนม อาหาร - จัดหาวัตถุดิบ - การมีปฏิสัมพันธ์กับ - ทดลองสูตรอาหาร และ - ผสม/ ปรุงเครื่องดื่ม ลูกค้า เครื่องดื่ม ภายในร้าน - วางแผนการจัดกิจกรรม Workshop วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องท ากาแฟ เครื่อง การตกแต่งภายในร้าน เครื่องมือ สถานที่ ท าขนม ใช้อัตลักษณ์เดิมของ พื้นที่ (บ้าน/ ย่าน) วัตถุดิบหลัก เมล็ดกาแฟ ผู้ด าเนินการ เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ เจ้าของกิจการ บาริสต้า บาริสต้า บาริสต้า สถานที่ - ร้าน Baba Mama Kafe เป็นคนในพื้นที่ เติบโตภายในย่าน เลือกที่จะปรับปรุง ความเชื่อมโยง บ้านพักอาศัย และพื้นที่ท าธุรกิจเดิมของครอบครัว เพื่อประกอบธุรกิจใหม่ กับพื้นที่ - ร้าน HOC เคยเปิดอยู่ฝั่งคลองสาน แต่เลือกที่จะย้ายมาที่นี่เพราะมีลูกค้า

มากกว่า Ecology - ทั้งสองร้านตกแต่งร้านจากอัตลักษณ์เดิม ไม่ว่าจะเป็นบ้าน หรือตกแต่งด้วยแผน ที่ย่าน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-23

รายละเอียด พัฒนาสินค้า และบริการ ผลิต ขาย โครงสร้าง พื้นฐาน ธุรกิจสนับสนุน โรงคั่วเมล็ดกาแฟ การแข่งขัน ค่อนข้างสูง เนื่องจากภายในย่านร้านกาแฟเยอะ มาตรการ ไม่เคยได้รับ ส่งเสริม เครือข่าย ร้านอาหารในบริเวณใกล้เคียง อุปสรรค การปรับความเข้าใจ สร้างระเบียบในการบริหารจัดการธุรกิจของครอบครัว (Baba Mama Kafe) จ านวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวิร์คช็อป (HOC) ลักษณะ Baba Mama Kafe – เจ้าของกิจการ (เรียนจบทางด้านอาหาร เคยท าอาชีพเป็น แรงงาน Food Blogger), ผู้ประกอบอาหาร เป็นญาติพี่น้องของตน ซึ่งเจ้าของกิจการจะ เป็นคนสอนให้อีกที HOC – เจ้าของกิจการ 3 คนท าหน้าที่แตกต่างกัน 1 คนดูแลเรื่องร้านกาแฟ (มี พื้นฐานท าร้านกาแฟอื่นมาก่อน) อีก 2 คนท าหน้าที่ดูแลเรื่องการจัดกิจกรรม Workshop การปล่อยเช่าสถานที่ในการจัดกิจกรรม ผล ไม่สะดวกให้ข้อมูล ประกอบการ ความต้องการ - อยากให้มีการประชาสัมพันธ์ย่านอย่างต่อเนื่อง - การท ากิจกรรม Workshop ในพื้นที่ (สามารถติดต่อขอใช้สถานที่ได้) - อยากท ากิจกรรมร่วมกันระหว่างร้านค้า - อยากให้มีการขับเคลื่อนเรื่องการเรียนรู้ การอ่าน การท ากิจกรรม Workshop ร่วมกับชุมชน - การพัฒนาคลอง (รักษาความสะอาด ท าให้ร่มรื่น) - การรักษาไว้ซึ่งวิถีชีวิตของย่าน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-24

ธุรกิจอาหาร และเครื่องดื่ม ร้านหนึ่งเป็นธุรกิจที่ขายแต่อาหาร และเครื่องดื่ม และอีกร้านหนึ่งมี ให้บริการพื้นที่ว่างให้เช่าจัดเวิร์คชอป หรือมีการจัดเวิร์คชอปเอง โดยทั้งสองร้านจะมีการจัดเตรียมวัตถุดิบใน การขายกาแฟ โดยสั่งซื้อจากโรงคั่วในภาคเหนือโดยตรง ผู้ประกอบการทั้งสองแห่งมีพื้นฐานเกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่มมาก่อน โดยธุรกิจแรกผู้ประกอบการศึกษาจบทางด้านการท าอาหาร และร้านที่สองเคยท างาน อยู่ในร้านกาแฟอื่นมาก่อน ทั้งสองร้านได้มีความพยายามทดลองสูตรเครื่องดื่มใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา ธุรกิจแห่งแรกใช้อาคารพักอาศัยของครอบครัวเดิมในการประกอบกิจการธุรกิจ และธุรกิจที่สองย้าย มาจากฝั่งคลองสาน โดยให้สาเหตุในการเลือกที่ตั้งว่ามีกลุ่มลูกค้ามากขึ้น ธุรกิจสนับสนุนได้แก่ ธุรกิจขายวัตถุดิบต่าง ๆ อาทิ นม และเมล็ดกาแฟ เนื่องจากในพื้นที่มีร้านอาหาร และคาเฟ่หลายแห่ง จึงมองว่ามีคู่แข่งค่อนข้างมาก แต่ไม่ได้คิดว่าจะน า ตนเองไปเปรียบเทียบกับใคร อาศัยความผูกพัน การสร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า เป็นเครื่องมือหนึ่งในการด าเนิน ธุรกิจ อุปสรรคในการด าเนินธุรกิจ คือ การบริหารจัดการภายในร้าน และการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ความต้องการสิ่งสนับสนุน คือ การประชาสัมพันธ์ย่าน และการจัดกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดย มีความยินดีในการเป็นส่วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมภายในย่าน มีความต้องการเชื่อมโยงกับกลุ่มผู้ประกอบการ อื่น และการปรับปรุงพัฒนากายภาพย่านให้มีสภาพแวดล้อมที่สะอาด สวยงาม การวางแผนการพัฒนาย่านโดย ค านึงถึงกลุ่มคน วิถีชีวิตเดิมในพื้นที่ ซึ่งสามารถน าจุดเด่นเหล่านี้มาเป็นเอกลักษณ์ของย่านได้

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 7 (Final Report) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจสร้างสรรค์ 7-25

บทที่ 8

การคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจ และ แนวทางการดำเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนา และส่งเสริมพื้นที่สู่ย่านสร้างสรรค์

8.1 คาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจ การคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของการวางแผนพัฒนาเศรฐกิจ สร้างสรรค์ในพื้นที่ย่าน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินและเปรียบเทียบอัตราการเติบโตในช่วงระยะเวลา 1 ปี การกำหนดระยะเวลา 1 ปีมีข้อดีคือจะทำให้เห็นภาพรวมของการเติบโตตลอดทั้ง 12 เดือน แม้ว่าการเติบโตใน แต่ละไตรมาสจะมีความแปรผันจากตัวแปรและปัจจัยภายนอกที่มาจากหลายมิติ ในการศึกษาครั้งนี้การคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจจะใช้ตัวเลขจำนวนธุรกิจที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2560-2561 เป็นตัวเลขฐานของการคาดการณ์ ดังนั้นการคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2563 จะใช้จำนวนกิจกรรมทางธุรกิจที่เพิ่มขึ้นช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2561-2562 เปรียบเทียบกับตัวเลขฐานเดิม ว่ามีอัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง

ตารางที่ 8.1 อัตราการเติบโตของธุรกิจในพื้นที่ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 จำนวน ขนาดพื้นที่ จำนวน ขนาดพื้นที่ จำนวน รายละเอียด ขนาดพื้นที่ ธุรกิจที่ ที่เพิ่มขึ้น ธุรกิจที่ ที่เพิ่มขึ้น ธุรกิจ (ร้อยละ) เพิ่มขึ้น (ตร.ม) เพิ่มขึ้น (ตร.ม) ธุรกิจสร้างสรรค์ 4 1,240 8 3,030 6 25.14 ธุรกิจทั่วไป 6 700 17 965 12 52.74 รวม 10 1,940 25 3,995 16 69.44 หมายเหตุ: ในการคาดการณ์การเจริญเติบโตของการใช้พื้นที่ประกอบธุรกิจ จะไม่นับรวม ธุรกิจสร้างสรรค์ 1 ธุรกิจ ในปี พ.ศ. 2561 (ใช้พื้นที่ขนาด 1,000 ตารางเมตร) และ ธุรกิจสร้างสรรค์ 1 ธุรกิจในปี พ.ศ. 2562 (ใช้พื้นที่ขนาด 2,000 ตารางเมตร) และธุรกิจทั่วไป 1 ธุรกิจ ในปี พ.ศ. 2561 (ใช้พื้นที่ขนาด 500 ตารางเมตร) เพื่อเป็นการ ป้องกันไม่ให้ค่าเฉลี่ยของพื้นที่ที่เพิ่มขึ้นสูงเกินกว่าปกติ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 8 (Final Report) แนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ 8-1

(1) การคาดการณ์จำนวนธุรกิจ จำนวนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ประเมินจากอัตราการเติบโตเฉลี่ยในการ เพิ่มขึ้นของจำนวนธุรกิจในปี พ.ศ. 2561-2562 คือ จำนวน 6 ธุรกิจ โดย 6 ธุรกิจนี้สามารถกระจายอยู่ภายใน ขอบเขตพื้นที่ย่านสร้างสรรค์ และพื้นที่ต่อเนื่อง* หมายเหตุ: จากการสัมภาษณ์ที่ได้ให้สาเหตุของการเลือกที่ตั้งว่ามีแรงจูงใจมาจาก TCDC และ ความเป็นย่านสร้างสรรค์ (Creative District) จำนวน 3 ธุรกิจ จำนวนธุรกิจทั่วไป ประเมินจากใช้อัตราการเติบโตเฉลี่ยในการเพิ่มขึ้นของจำนวนธุรกิจในปี พ.ศ. 2561 – 2562 คือ จำนวน 12 ธุรกิจ (2) การคาดการณ์พื้นที่ในการประกอบธุรกิจ โดยในปี พ.ศ. 2560-2561 กิจกรรมธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ใช้พื้นที่เฉลี่ย 80 ตารางเมตร (240 ตารางเมตร/ 3 ธุรกิจ) ต่อหนึ่งกิจกรรมธุรกิจ และในปี พ.ศ. 2561-2562 กิจกรรมธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ใช้พื้นที่เฉลี่ย 147.14 ตารางเมตร (1,030 ตารางเมตร/ 7 ธุรกิจ) ต่อหนึ่ง กิจกรรมธุรกิจ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการใช้พื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ดังนั้นการคาดการณ์พื้นที่ประกอบกิจกรรมทางธุรกิจในปี 2563 จะ ใช้ปริมาณพื้นที่เฉลี่ยของปี พ.ศ. 2560-2562 คือ 127 (240+1030 ตารางเมตร/ 10 ธุรกิจ) ตารางเมตรต่อ หนึ่งกิจกรรมธุรกิจเป็นฐานในการคาดการณ์โดยจะนำไปขนาดพื้นที่ไปเชื่อมโยงกับตัวเลขการคาดการณ์ กิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นในปี 2563 ดังนั้นปริมาณพื้นที่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในปี พ.ศ. 2563 จะมีอัตราเพิ่มขึ้น ทั้งหมด 762 ตารางเมตร (127 ตารางเมตร x 6 ธุรกิจ) คิดเป็นร้อยละ 25.14 จากพื้นที่ที่เพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2561-2562 ในส่วนของธุรกิจทั่วไปในปี พ.ศ. 2560-2561 กิจกรรมธุรกิจทั่วไปใช้พื้นที่เฉลี่ย 40 ตารางเมตร (200 ตารางเมตร/ 5 ธุรกิจ) ต่อหนึ่งกิจกรรมธุรกิจ และในปี พ.ศ. 2561-2562 กิจกรรมธุรกิจทั่วไปใช้พื้นที่เฉลี่ย 56.76 ตารางเมตร (965 ตารางเมตร/ 17 ธุรกิจ) ต่อหนึ่งกิจกรรมธุรกิจ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการใช้ พื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมทางธุรกิจทั่วไปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ดังนั้นการคาดการณ์พื้นที่ประกอบกิจกรรมทาง ธุรกิจในปี 2563 จะใช้ปริมาณพื้นที่เฉลี่ยของปี พ.ศ. 2560-2562 คือ 42.46 (40+56.76 ตารางเมตร/ 23

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 8 (Final Report) แนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ 8-2

ธุรกิจ) ตารางเมตรต่อหนึ่งกิจกรรมธุรกิจเป็นฐานในการคาดการณ์โดยจะนำขนาดพื้นที่ไปเชื่อมโยงกับตัวเลข การคาดการณ์กิจกรรมทางธุรกิจทั่วไปที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2563 ดังนั้นปริมาณพื้นที่ธุรกิจทั่วไปในปี พ.ศ. 2563 จะมีอัตราเพิ่มขึ้น ทั้งหมด 509.52 ตารางเมตร (42.46 ตารางเมตร x 12 ธุรกิจ) คิดเป็นร้อยละ 52.74 จากพื้นที่ที่เพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2561-2562

8.2 แนวทางการดำเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนา และส่งเสริมพื้นที่สู่ย่านสร้างสรรค์ จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์จ านวน 15 ราย ได้ทราบความต้องการสนับสนุน และส่งเสริมการประกอบธุรกิจในย่าน ตลอดจนแนวทางการส่งเสริมพื้นที่สู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ ดังนี้

8.2.1 การเตรียมความพร้อมในการด าเนินธุรกิจ และการส่งเสริมธุรกิจสร้างสรรค์ (Supporting and Facilitating Creative Business) (1) วางแผนและกำหนดเป้าหมายในการสร้างเครือข่าย (Network/ Cluster/ Community) ของกลุ่มผู้ประกอบการในพื้นที่

เนื่องจากในพื้นที่มีความหลากหลายของกลุ่มธุรกิจ การสร้างเครือข่ายของกลุ่มผู้ประกอบการใน พื้นที่ เป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะทำให้กลุ่มผู้ประกอบการมีโอกาสได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระหว่างผู้ประกอบการ นัก สร้างสรรค์ และนักลงทุนด้วยกันเอง จากการสัมภาษณ์พบว่าทุกกลุ่มธุรกิจไม่คิดว่าผู้ที่ประกอบธุรกิจเดียวกัน จะเป็นคู่แข่งกัน เนื่องจากแต่ละธุรกิจมีเอกลักษณ์ จุดเด่น กลุ่มลูกค้า และเป้าหมายที่แตกต่างกัน ในทาง กลับกัน กลุ่มธุรกิจเหล่านี้กลับใช้โอกาสของความเป็นคลัสเตอร์ในการแชร์ทรัพยากร หรือร่วมกันพัฒนาธุรกิจ ผ่านการดำเนินงานร่วมกันระหว่างองค์กร นอกจากนั้นกลุ่มธุรกิจยังให้ความเห็นว่าการเกิดขึ้นของคลัสเตอร์ ต่าง ๆ จะเป็นตัวสนับสนุนให้ย่านมีภาพลักษณ์ที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นในเชิงเศรษฐกิจ สามารถดึงดูดกลุ่มคน ภายนอกที่มีความสนใจในสินค้า และบริการสร้างสรรค์ต่าง ๆ ให้ได้เข้ามาติดต่อ หาความรู้ ตลอดจนใช้บริการ ธุรกิจสร้างสรรค์เหล่านั้น เกิดการส่งต่องานระหว่างกลุ่มธุรกิจด้วยกัน เกิดเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจภายในย่าน ระยะยาว

(2) การส่งเสริมธุรกิจ/วิชาชีพสร้างสรรค์ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง

แม้ว่าปัจจุบันธุรกิจ/ วิชาชีพสร้างสรรค์ ได้รับการตอบรับที่ดีขึ้นจากกลุ่มบุคคลทั่วไปเมื่อเทียบกับ ในอดีต แต่ก็ยังถือว่าไม่ดีพอต่อการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เนื่องจากกลุ่มบุคคลทั่วไปยังไม่เข้าใจถึง

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 8 (Final Report) แนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ 8-3

กระบวนการทำงานของวิชาชีพ ทำให้ไม่เห็นความสำคัญของการออกแบบว่าจะสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของพวกเขาได้อย่างไร ส่งผลต่อเนื่องมายังการให้การสนับสนุนค่าบริการทางวิชาชีพ ตลอดจนการเข้าถึง แหล่งความรู้ และกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์อื่น ๆ เพราะรู้สึกว่าเป็นเรื่องไกลตัว ดังนั้นการประชาสัมพันธ์ธุรกิจ/ วิชาชีพสร้างสรรค์ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง จะเป็นการส่งเสริมให้คนรู้จัก และเห็นความสำคัญของการออกแบบ มากขึ้น (3) จัดเตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ ที่ช่วยสนับสนุนกลุ่มคนทำงานสร้างสรรค์

จากการสัมภาษณ์ กลุ่มผู้ประกอบการสร้างสรรค์ได้ให้ความเห็นว่าดำเนินธุรกิจ ณ ปัจจุบัน เป็น การดำเนินธุรกิจตามศักยภาพที่มี ยังไม่ได้รับการสนับสนุน หรือการอำนวยความสะดวกใดจากหน่วยงาน ภาครัฐ หรือเอกชนใด ซึ่งไม่ได้เป็นอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจแต่อย่างใด แต่คิดว่าการจัดเตรียมความพร้อม ด้านต่าง ๆ ที่สามารถช่วยสนับสนุนการดำเนินธุรกิจ และกลุ่มคนทำงานสร้างสรรค์ให้สามารถดำเนินกิจกรรม ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกสบายมากขึ้นนั้นจะประกอบไปด้วยด้านต่าง ๆ ดังนี้

ด้านการเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มนักสร้างสรรค์และนักลงทุน การดำเนินธุรกิจในปัจจุบันมี ข้อจำกัดในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน การขยายธุรกิจมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เงินทุนในการขยายโครงสร้าง องค์กร เพื่อให้สามารถให้บริการแก่โครงการต่าง ๆ ที่มีมูลค่าสูงขึ้นได้ โดยภาครัฐควรเป็นตัวกลางในการ ประสานกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์ให้สามารถเชื่อมเข้ากับแหล่งเงินทุนได้ง่ายขึ้น

ด้านการให้ความรู้ ทักษะในการประกอบธุรกิจ ปัจจุบันมีเพียงการให้ความรู้ ทักษะในการ พัฒนา ต่อยอดวิชาชีพ แต่การดำเนินธุรกิจนั้นมิอาจอาศัยความรู้ทางวิชาชีพได้เพียงอย่างเดียว กลุ่ม ผู้ประกอบการมีความต้องการที่จะเพิ่มเติมความรู้ด้านอื่น ๆ ในการดำเนินธุรกิจ อาทิ ความรู้ด้านภาษี ความรู้ ด้านการทำธุรกรรมต่าง ๆ การดำเนินงานร่วมกับบริษัทต่างชาติ ความรู้ทางด้านการเงิน เป็นต้น

ด้านการสนับสนุนพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่จัดแสดงงาน พื้นที่แลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ผู้ประกอบการ พื้นที่ให้ความรู้ด้านต่าง ๆ เป็นต้น

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 8 (Final Report) แนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ 8-4

8.2.2 การสร้างกลไกในการส่งเสริมพื้นที่สู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ (1) การกำหนดสิทธิประโยชน์ที่เชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการโดยประสานกับหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ ในการวางแผน และกำหนดสิทธิประโยชน์ที่ จะเป็นแรงจูงใจให้กลุ่มเป้าหมาย เช่น กลุ่มผู้ประกอบการสร้างสรรค์ และเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่ เข้า มาดำเนินธุรกิจ หรือปรับเปลี่ยนการใช้พื้นที่ของตนเองอย่างสร้างสรรค์ เช่น มาตรการลดหย่อยภาษีสำหรับ กลุ่มผู้ประกอบการ หรือเจ้าของอาคารที่ปรับเปลี่ยนหน้าที่ใช้สอยอาคาร (Adaptive Reuse) เป็นต้น การ กำหนดสิทธิประโยชน์นี้จะเป็นการส่งเสริมให้ย่านมีโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของตนเองให้พลิกฟื้นกลับมา เจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง (2) การกำหนดขอบเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ การพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ ควรดำเนินไปอย่างเป็นระบบ มีแบบแผนในการ พัฒนาที่ชัดเจน โดยการจัดเตรียมแนวทางการกำหนดขอบเขตพื้นที่ย่านให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษนั้นเป็น ปัจจัยหนึ่งในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับกลุ่มผู้ประกอบการสร้างสรรค์ให้เข้ามาประกอบธุรกิจในพื้นที่ เนื่องจากมีกรอบเวลาและนโยบายในการพัฒนาที่ชัดเจน เป็นต้น (3) การจัดเตรียมมาตรการในการป้องกันการเกิด Gentrification ในช่วงระยะหลังที่ผ่านมาพื้นที่ย่านได้รับความนิยมสูงขึ้น มีการเปิดตัวของกลุ่มธุรกิจใหม่ในพื้นที่ มากขึ้น แม้ว่าการเปิดใหม่ของกลุ่มธุรกิจเหล่านั้นจะเป็นการเปิดภายในพื้นที่อาคารเดิมภายในย่าน แต่ปัจจัยที่ ต้องพึงระวังคือ การกำหนดราคาค่าเช่าพื้นที่ในราคาที่สูง การกำหนดสัญญาเช่าระยะสั้น ที่ทำให้ทั้งกลุ่ม ผู้ประกอบการ และกลุ่มคนในพื้นที่เดิมที่พักอาศัย และประกอบธุรกิจภายในย่านต้องแบกรับค่าใช้จ่าย หรือ บริหารความเสี่ยงในการลงทุนที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง นับว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้ในอนาคตกลุ่มคนเหล่านี้ไม่ สามารถดำรงชีวิต หรือประกอบธุรกิจภายในย่านได้อีกต่อไป อนาคตย่านจะกลายเป็นเพียงย่านธุรกิจที่ไม่มีวิถี ชีวิต ไม่มีเอกลักษณ์ในการเป็นย่านสร้างสรรค์ ดังนั้นการจัดเตรียมมาตราการในการป้องกันปัจจัยเหล่านี้จะ เป็นการเปิดโอกาสให้ย่าน และผู้คนในย่านสามารถเติบโตไปพร้อม ๆ กันได้ในระยะยาว (4) การพัฒนาศักยภาพย่านจากอัตลักษณ์ของพื้นที่ จากความที่ย่านเจริญกรุงนี้มีประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา และดำรงอยู่มาถึง ปัจจุบัน ส่งผลให้ย่านมีลักษณะของการผสมผสานระหว่างความเก่า - ใหม่ ความหลากหลายต่าง ๆ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 8 (Final Report) แนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ 8-5

เปรียบเสมือน พื้นที่หลอมรวมความหลากหลาย (melting pot) เหล่านั้นไว้ด้วยกัน นอกจากนั้นยังเป็นย่านที่ อยู่ติดริมแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำสายหลักของประเทศ เปรียบเสมือนย่านวัฒนธรรมที่กลมกลืนไปกับ สภาพแวดล้อมของเมือง มีการเดินทางที่สะดวกสบาย สามารถเข้าถึงได้หลากหลายทางทั้งทางรถ และทางเรือ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้นับเป็นอัตลักษณ์หนึ่งที่บางพื้นที่ไม่สามารถให้ได้ ดังนั้น การต่อยอดอัตลักษณ์ของพื้นที่จะ เป็นการดึงดูดให้กลุ่มนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และต่างชาติได้มีโอกาสเดินทางเข้ามาทำความรู้จักย่านมาก ยิ่งขึ้น

8.2.3 การส่งเสริมกิจกรรมภายในย่าน (1) การสร้าง และจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ และการทำปฏิทินกิจกรรมสร้างสรรค์ภายในย่าน อย่างต่อเนื่อง โดยสร้างและจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ และการทำปฏิทินกิจกรรมสร้างสรรค์ภายในย่านทุกไตรมาส ในขนาดของงานที่อาจจะแตกต่างกันอย่างต่อเนื่อง และหากเป็นไปได้ควรประสานความร่วมมือกับกลุ่ม ผู้ประกอบการ และชุมชนในพื้นที่ เพื่อเป็นการสร้างการรับรู้ สร้างตัวตน และสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง หน่วยงาน กลุ่มผู้ประกอบการ และชุมชนในพื้นที่ให้มีความเข้มแข็ง และเห็นทิศทางในการพัฒนาพื้นที่สู่ความ เป็นย่านสร้างสรรค์ที่ชัดเจน เพื่อสร้างแรงดึงดูดให้บุคคลทั่วไปมาใช้พื้นที่ย่านและเข้าถึงงานสร้างสรรค์ได้มาก ขึ้น

(2) การส่งเสริมงานสร้างสรรค์ให้เข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวันของคนทั่วไป ปัจจุบันกลุ่มคนทั่วไปในภาพรวมยังมีความรู้สึกว่างานสร้างสรรค์เป็นเรื่องไกลตัว เป็นเรื่องของ สินค้า และบริการราคาแพง จึงไม่ค่อยมีใครให้คุณค่า หรือเห็นความสำคัญของงานสร้างสรรค์มากนั้น หาก ภาครัฐเป็นหน่วยานกลางในการสนับสนุนงานสร้างสรรค์ต่าง ๆ ให้ผู้คนสามารถเข้าถึงได้ง่ายมากขึ้นผ่านการให้ โอกาสนักออกแบบได้ดำเนินโครงการภาครัฐ หรือร่วมทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่พัฒนาย่าน โดยเริ่มจากโครงการนำ ร่อง หรือโครงการทดลองต่าง ๆ ตลอดจนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่องจะเป็นวิธีหนึ่งที่สนับสนุนให้ งานศิลปะ และงานออกแบบค่อย ๆ แทรกซึมเข้าไปในชีวิตประจำวันของผู้คนอย่างง่ายดาย ส่งผลให้กลุ่มคน ทั่วไปได้เริ่มเล็งเห็นความสำคัญของงานออกแบบว่าสามารถเข้าถึงได้ง่าย และสามารถช่วยยกระดับคุณภาพ ชีวิต และอำนวยความสะดวกสบายให้แก่พวกเขาได้

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 8 (Final Report) แนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ 8-6

(3) จัดทำแผนที่ย่านสร้างสรรค์ และพื้นที่ต่อเนื่อง โดยจัดทำเป็นแผนที่ท่องเที่ยวย่านที่นอกเหนือจากแผนที่เฉพาะงานกิจกรรม อีเว้นท์ต่าง ๆ โดย ระบุตำแหน่งพื้นที่สร้างสรรค์ในพื้นที่ ร้านค้า จุดที่น่าสนใจต่าง ๆ ภายในย่านเป็นต้น เพื่อเป็นการสื่อสารไปยัง กลุ่มเป้าหมายได้กว้างขวางขึ้น

8.2.4 การพัฒนาย่านสร้างสรรค์ให้เป็นย่านมีวิถีชีวิต หมายถึง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ภายในย่าน การบริหารจัดการสัดส่วนประเภท ธุรกิจภายในย่านให้สามารถรองรับกิจวัตรประจำวันทั่วไปทั้งของกลุ่มผู้ประกอบการ กลุ่มคนทำงานสร้างสรรค์ กลุ่มนักท่องเที่ยว และกลุ่มผู้อยู่อาศัยภายในย่านได้ อาทิ การพัฒนาโครงข่ายการสัญจรให้สามารถเดินทางไป ยังจุดต่าง ๆ ภายในย่านได้อย่างสะดวกสบายมากขึ้น การพัฒนาต่อยอดธุรกิจสินค้า และบริการอื่น ๆ อาทิ ร้านอาหารทั่วไป ร้านกาแฟ โรงแรม ฯลฯ เพื่อให้ผู้คนสามารถพักอาศัยอยู่ภายในย่านได้ตลอด 24 ชั่วโมง มิใช่ เพียงเดินทางเข้ามาภายในย่านเพื่อมาทำงานเพียงอย่างเดียว เป็นต้น เมื่อย่านสามารถรองรับการดำเนินชีวิต ของผู้คนได้ จะเกิดการหมุนเวียนเชิงเศรษฐกิจภายในย่านเอง ส่งผลให้ย่านมีวิถีชีวิต และสามารถเติบโตไปได้ ในระยะยาว

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 8 (Final Report) แนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ 8-7

ภาคผนวก ก โครงสร้างฐานข้อมูล

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” บทที่ 8 (Final Report) แนวทางการพัฒนาสู่ความเป็นย่านสร้างสรรค์ 8-8

รูปที่ - แผนภูมิแสดงโครงสร้างหลักของฐานข้อมูล: ชั้นข้อมูลกายภาพอาคาร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ก (Final Report) โครงสร้างฐานข้อมูล ก-1

รูปที่ - แผนภูมิแสดงโครงสร้างหลักของฐานข้อมูล: ชั้นข้อมูลองค์กร หน่วยงาน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ก (Final Report) โครงสร้างฐานข้อมูล ก-2

รูปที่ - แผนภูมิแสดงโครงสร้างหลักของฐานข้อมูล: ชั้นข้อมูลองค์กร หน่วยงาน (ต่อ)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ก (Final Report) โครงสร้างฐานข้อมูล ก-3

รูปที่ - แผนภูมิแสดงโครงสร้างหลักของฐานข้อมูล: ความสัมพันธ์ของต าแหน่งองค์กรในอาคาร

รูปที่ - แผนภูมิแสดงโครงสร้างหลักของฐานข้อมูล: ชั้นข้อมูลงานศิลปะ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ก (Final Report) โครงสร้างฐานข้อมูล ก-4

ภาคผนวก ข แบบแก้ไขข้อมูลเพิ่มเติม

รูปที่ - แบบแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลใน Quantum GIS: ชั้นข้อมูลองค์กร (ซ้ายบน) ข้อมูลองค์กรประเภทธุรกิจ (ขวาบน) ประเภทสถาบันการศึกษา (ซ้ายล่าง) และประเภทศาสนสถาน (ขวาล่าง)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ข (Final Report) แบบแก้ไขข้อมูล ข-1

รูปที่ - แบบแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลใน Quantum GIS: ชั้นข้อมูลงานศิลปะ (ซ้าย) และชั้นข้อมูลกายภาพอาคาร (ขวา)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ข (Final Report) แบบแก้ไขข้อมูล ข-2

รูปที่ - แบบแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลใน Quantum GIS: ความสัมพันธ์ของต าแหน่งองค์กรในอาคาร

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ข (Final Report) แบบแก้ไขข้อมูล ข-3

ภาคผนวก ค แบบส ารวจข้อมูล

แบบสำรวจกายภาพ และแบบสำรวจข้อมูลธุรกิจ

ตัวอย่างแบบสำรวจข้อมูลอาคาร ย่านที่สำรวจ ...... วันที่...... ชื่อผู้บันทึก ...... อาคาร แบบสำรวจพื้นที่โครงการจัดทำฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ เรียน ผู้ตอบแบบสำรวจ ข้าพเจ้า ผศ.ดร.พีรดร แก้วลาย และคณะ เป็นอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กำลังเก็บข้อมูลประกอบการศึกษาเรื่องการจัดทำฐานข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์ โดยได้รับการสนับสนุน จากสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (CEA) ซึ่งงานวิจัยครั้งนี้จะสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความอนุเคราะห์จากท่านเท่านั้น คณะผู้วิจัยตระหนักดีว่าการตอบแบบสอบถามครั้งนี้ อาจเป็นการรบกวนเวลาของท่าน แต่คณะผู้วิจัยก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะ ได้รับความกรุณาจากท่านในการสละเวลาตอบแบบสอบถามครั้งนี้ เนื่องจากผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นข้อมูลสำคัญสำหรับทุกภาคส่วน ในการพัฒนาพื้นที่ภายในย่าน คณะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ด้วย

ติดต่อ ขอแสดงความนับถือ ผศ.ดร.พีรดร แก้วลาย โทร 0896483884 Email: [email protected] ผศ.ดร.พีรดร แก้วลาย หัวหน้าโครงการวิจัย

รหัสอาคาร จำนวนกิจกรรม/ธุรกิจในอาคาร บ้านเลขที่/ซอย/ถนน

หมวดที่ 1: รูปแบบกายภาพอาคาร (เลือกเพียง 1 ข้อที่เด่นที่สุด) อาคารพาณิชย์ / ห้องแถว1 อาคารส านักงาน2 อพาร์ทเม้นท์/ คอนโด3 โรงแรม4 ศูนย์การค้า/ ห้างสรรพสินค้า5 ตลาด6 โรงพยาบาล/ สถานพยาบาล7 สถาบันการศึกษา8 ศาสนสถาน9 สถานที่ราชการ10 บ้านเดี่ยว11 ทาวน์เฮ้าส์12 ที่โล่ง13 พื้นที่สาธารณะ/สวนสาธารณะ/ ลานกิจกรรม14 โกดัง15 อื่น ๆ ระบุ......

หมายเหตุ: ตัวอย่างรูปแบบกายภาพอาคารที่ประจำอยู่ในพื้นที่ หมายเลข 2 อาคารสำนักงาน CAT Tower, Gems Tower หมายเลข 4 โรงแรม Shangri-la Hotel, Sheraton Hotel,Mandarin Oriental Hotel หมายเลข 5 ศูนย์การค้า/ ห้างสรรพสินค้า Robinson, River City, , OP Place, OP Garden, อุตสาหกรรมไทยใน ครัวเรือน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ค (Final Report) แบบส ารวจข้อมูล ค-1

หมายเลข 7 โรงพยาบาล สถานพยาบาล โรงพยาบาลเลิดสิน หมายเลข 8 สถาบันการศึกษา โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ หมายเลข 9 ศาสนสถาน โบสถ์อัสสัมชัญ วัดกาละว่าร์ วัดม่วงแค วัดสวนพลู หมายเลข 10 สถานที่ราชการ ไปรษณีย์กลาง สถานทูตโปรตุเกส สถานฑูตฝรั่งเศส หมายเลข 11 บ้านเดี่ยว บ้านเลขที่ 1 หมายเลข 14 พื้นที่สาธารณะ ลานหน้า River City หมายเลข 15 โกดัง Warehouse 30, The Jam Factory

กรณีเป็นอาคาร/กลุ่มอาคารที่มีการใช้งานมากกว่า 1 กิจกรรม ชื่ออาคาร/สถานที่ จำนวนชั้นของอาคาร ชั้น จำนวนห้อง (ยูนิต) ของอาคาร ห้อง ขนาดพื้นที่อาคาร (กว้าง x ยาว) ขนาดพื้นที่ดิน

*ระบุรายละเอียดของทุกกิจกรรมในแบบสำรวจกิจกรรม โดย 1 กิจกรรมใช้ 1 แบบสำรวจกิจกรรม

☐ ไม่มีการใช้งาน เช่น อาคารปิด อาคารให้เช่า ที่ว่างให้เช่า กรณีที่ไม่มีการใช้งาน เช่น อาคารปิด อาคารให้เช่า ที่ว่างให้เช่า* 1. ผู้บริหารพื้นที่เช่า ชื่อ (เจ้าของพื้นที่) เบอร์ติดต่อ 2. ลักษณะการขอใช้พื้นที่ ลักษณะการเช่า ☐เซ้ง ☐เช่า ☐ขาย อัตราการ เซ้ง/เช่า/ ขาย (ระบุ) ราคาต่อตารางเมตร (ระบุ) *จบการสำรวจ

แผนภาพประกอบการสำรวจ ภาพถ่าย

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ค (Final Report) แบบส ารวจข้อมูล ค-2

แบบสำรวจข้อมูลกิจกรรม ย่านที่สำรวจ ...... วันที่...... ชื่อผู้บันทึก ...... องค์กร

รหัสอาคาร ชั้นที่ ชื่อกิจการ/ สถานที่ ปีที่เปิดกิจการ (พ.ศ.)

หมวดที่ 2: ประเภทการใช้งาน หรือกิจกรรมภายในอาคาร ☐ พักอาศัย16* เช่น บ้าน คอนโดมิเนียม ☐ ทำธุรกิจ/ค้าขาย17 เช่น อพาร์ทเม้นท์ โรงแรม โฮสเทล ร้านอาหาร คาเฟ่ ตลาด ☐ สำนักงานให้เช่า18 เช่น ตึก CAT ☐ บริการทางสังคม19* เช่น ชุมสายโทรศัพท์ การประปา การไฟฟ้า ไปรษณีย์ เป็นต้น ☐ สถาบันการศึกษา* (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) [ ] ต่ำกว่าประถม [ ] ประถมศึกษา [ ] มัธยมศึกษา [ ] อุดมศึกษา [ ] อาชีวศึกษา [ ] อื่น ๆ ระบุ...... ☐ ศาสนสถาน* [ ] ศาลเจ้า [ ] พุทธ [ ] คริสต์ [ ] อิสลาม [ ] อื่น ๆ ระบุ...... ☐ อื่นๆ ระบุ......

หมายเหตุ: ตัวอย่างประเภทการใช้งาน หรือกิจกรรมภายในอาคารที่ประจำอยู่ในพื้นที่ หมายเลข 16 พักอาศัย The Room หมายเลข 17 ทำธุรกิจ/ ค้าขาย Shangri-la Hotel, Sheraton Hotel,Mandarin Oriental Hotel (ธุรกิจโรงแรม) Glur Hostel, Warehouse 30, The Jam Factory หมายเลข 18 สำนักงานให้เช่า CAT Tower, Gems Tower หมายเลข 19 บริการทางสังคม ไปรษณีย์กลางบางรัก, ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ, สำนักงานเขต, สถานฑูตฯ

หมวดที่ 3: ประเภทธุรกิจ ☐ ขายของ (สินค้าจับต้องได้) ☐ ธุรกิจบริการ ลักษณะผู้ประกอบการ: ☐ชาวไทย ☐ชาวต่างชาติ ลักษณะกิจการ: ☐ประกอบกิจการเอง ☐แฟรนไชส์ ☐อื่น ๆ (ระบุ)......

กลุ่มอุตสาหกรรม Core Creative Business Related Business อุตสาหกรรมอาหาร ☐ ออกแบบ หรือปรุงอาหาร ☐ ขายวัตถุดิบท าอาหาร ☐ ขายอาหาร หรือรับส าเร็จมาปรุง ☐ ขายอุปกรณ์ท าอาหาร ☐ ออกแบบหรือปรุงเครื่องดื่ม ของหวาน ☐ ผลิตอาหาร (โรงงาน) ☐ ขายเครื่องดื่ม ของหวาน รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ค (Final Report) แบบส ารวจข้อมูล ค-3

กลุ่มอุตสาหกรรม Core Creative Business Related Business อุตสาหกรรมแฟชั่น ☐ ออกแบบเครื่องแต่งกาย ☐ ขายผ้า ☐ ขายเสื้อผ้า ☐ เย็บผ้า ตัดเสื้อ ☐ ผลิตเสื้อผ้า (โรงงาน) ☐ ตัดผม แต่งหน้า

อุตสาหกรรม เครื่องหนัง ☐ ออกแบบเครื่องหนัง ☐ ขายวัสดุหนัง หัตถกรรม ☐ ขายผลิตภัณฑ์จากหนัง ☐ ขายอุปกรณ์ประกอบ ตกแต่งเครื่องหนัง ☐ ผลิตเครื่องหนัง (โรงงาน) จิวเวลรี และ ☐ ออกแบบจิวเวลรี และเครื่องเงิน ☐ ขายวัสดุจิวเวลรี และเครื่องเงิน เครื่องเงิน ☐ ขายจิวเวลรี และเครื่องเงิน ☐ ขายอุปกรณ์ตกแต่งจิวเวลรี และเครื่องเงิน ☐ ผลิตจิวเวลรี และเครื่องเงิน ☐ ผลิตต้นแบบจิวเวลรี และเครื่องเงิน ☐ ผลิต หรือดัดเหล็กโลหะ เกี่ยวกับ จิวเวลรี เครื่องเงิน (โรงกลึง) กิ๊ฟท์ช็อป ☐ ออกแบบของที่ระลึก ของช าร่วย ☐ ผลิตของที่ระลึก ของช าร่วย ☐ ขายของที่ระลึก ของช าร่วย (โรงงาน) งานฝีมือ ☐ จัดดอกไม้ ออกแบบตกแต่งดอกไม้ ☐ ขายดอกไม้สด ☐ ขายช่อดอกไม้ส าเร็จรูป ☐ ขายอุปกรณ์หัตถกรรม อุตสาหกรรมออกแบบ ☐ ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน ☐ ขายไม้ โลหะส าหรับท าเฟอร์นิเจอร์ ☐ ขายเฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน ☐ ผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ช่างไม้ ช่างเหล็ก ช่างฝีมือ) อุตสาหกรรมสถาปัตยกรรม ☐ ออกแบบสถาปัตยกรรม ☐ ขายอุปกรณ์ตัดโมเดล ออกแบบแสงสว่าง ☐ ผลิตสถาปัตยกรรมส าเร็จรูป ☐ ขายบ้านส าเร็จรูป (เช่น เรือนไทย ตู้ (โรงงาน) คอนเทนเนอร์) ☐ ขายแบบบ้านส าเร็จรูป (เช่น Royal House) อุตสาหกรรมทัศนศิลป์ ☐ วาดภาพ ออกแบบและผลิตผลงาน ☐ บริการพื้นที่ให้ชมผลงานศิลปะ ศิลปะ (วิจิตรศิลป์) (แกลเลอรี) ☐ ออกแบบกราฟิกส์ (ศิลปะประยุกต์) ☐ บริการพื้นที่เช่าจัดแสดงงานศิลปะ ☐ ขายผลงานศิลปะ (แกลเลอรี หรือพื้นที่ให้เช่า) ☐ ขายวัสดุอุปกรณ์วาดภาพ

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ค (Final Report) แบบส ารวจข้อมูล ค-4

กลุ่มอุตสาหกรรม Core Creative Business Related Business อุตสาหกรรมดนตรี ☐ ออกแบบ และผลิตเพลง ☐ ขายเครื่องดนตรี อุปกรณ์ผลิตเพลง ☐ ขายสิทธิการใช้เพลง (นายหน้าขาย ☐ บริการห้องอัดเสียง เพลง) ☐ บริการห้องซ้อมดนตรี ☐ ขายเทป ซีดี เพลงออนไลน์ ☐ สอนดนตรี (โรงเรียน) อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ☐ ออกแบบ และผลิตภาพยนตร์ ☐ ขายอุปกรณ์ผลิตภาพยนตร์ ☐ ขายสิทธิการใช้ภาพยนตร์ ☐ บริการสตูดิโอถ่ายท าภาพยนตร์ (นายหน้าขายภาพยนตร์) ☐ บริการตัดต่อภาพยนตร์ ☐ ขายดีวีดี บลูเรย์ ภาพยนตร์ ☐ ผลิตโมชันกราฟิกส์ แอนิเมชั่น ออนไลน์ ภาพยนตร์ อุตสาหกรรมแพร่ภาพ กระจายเสียง ☐ ออกแบบและผลิตรายการวิทยุ ☐ ขายอุปกรณ์ผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ โทรทัศน์ ☐ ขายสิทธิการใช้รายการวิทยุ โทรทัศน์ ☐ บริการสตูดิโอถ่ายท ารายการ ☐ ขายดีวีดี บลูเรย์ รายการวิทยุ ☐ บริการตัดต่อรายการวิทยุ โทรทัศน์ โทรทัศน์ออนไลน์ ☐ ผลิตโมชันกราฟิกส์ แอนิเมชั่น รายการโทรทัศน์ อุตสาหกรรมโฆษณา ☐ ออกแบบ และผลิตโฆษณา ☐ บริการถ่าย ล้าง อัดรูป ขายฟิลม์ ☐ บริการสตูดิโอถ่ายภาพ อุตสาหกรรมศิลปะการแสดง ☐ ออกแบบการแสดง ☐ สอนการแสดง (โรงเรียน) ☐ บริการโมเดลลิ่ง ☐ บริการโรงละคร อุตสาหกรรมการพิมพ์ ☐ บริการเขียนบทความ นิตยสาร ☐ บริการพิมพ์ (โรงพิมพ์ ร้านพิมพ์งาน เขียนหนังสือ (ส านักพิมพ์) ตัดสติ๊กเกอร์ ท าป้าย) ☐ ขายบทความ นิตยสาร หนังสือ

อุตสาหกรรมการแพทย์แผนไทย ☐ บริการคลินิกแพทย์แผนไทย ☐ ผลิตยาสมุนไพรไทย ☐ บริการนวด สปา ☐ ผลิตอุปกรณ์ สปา เครื่องหอม ☐ ขายยาสมุนไพรไทย ☐ ขายอุปกรณ์ สปา เครื่องหอม

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ☐ ออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวด้าน ☐ ขายทัวร์ทั่วไป ศิลปวัฒนธรรม ☐ บริการเช่ารถ เช่าจักรยาน ☐ ขายทัวร์ท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรม ☐ บริการพาหนะโดยสารประจ าทาง (รถตู้ เรือ)

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ค (Final Report) แบบส ารวจข้อมูล ค-5

กลุ่มอุตสาหกรรม Core Creative Business Related Business อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ☐ ออกแบบ และพัฒนาซอฟต์แวร์ ☐ ขายคอมพิวเตอร์ ☐ ขายซอฟต์แวร์ ☐ ซ่อมคอมพิวเตอร์ สินค้าทั่วไป ☐ เครื่องเขียน ☐ ของเก่า ของสะสม ☐ ขายยาแผนปัจจุบัน บริการอื่น ๆ ☐ ตลาดสด ☐ ร้านสะดวกซื้อ (7-11/ โชห่วย/จิปาถะ) ☐ โรงแรม ☐ โฮสเทล ☐ อพาร์ทเม้นท์ให้เช่า/หอพัก ☐ โรงเรียนสอนพิเศษ. ☐ ธนาคาร บริการทางการเงิน ☐ บริการด้านสุขภาพ เช่น คลินิกแพทย์ ทันตกรรม ตัดแว่น คลินิกเสริมความงาม ☐ ส านักงานทั่วไป (ระบุ...... ) ☐ ช่างฝีมือ/งานช่าง (ทั่วไป) ☐ โรงกลึง งานเหล็ก-โลหะ (ทั่วไป) ☐ โรงรับจ าน า ☐ ที่จอดรถ โกดังเก็บของ ☐ ซ่อมรถ อื่น ๆ (ระบุ)

แบบสำรวจข้อมูลพื้นที่สร้างสรรค์ พื้นที่สร้างสรรค์ หมวดที่ 5: ศิลปะในพื้นที่ ตำแหน่งในแผนที่ย่าน...... ชื่อผลงาน...... ขนาดผลงาน (กว้าง x ยาว x สูง) ...... ประเภทผลงาน: ☐Graffiti ☐Installation ☐Sculpter ☐ อื่น ๆ ระบุ......

แผนภาพประกอบการสำรวจ ตำแหน่งในผัง

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ค (Final Report) แบบส ารวจข้อมูล ค-6

ภาคผนวก ง ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ

อุตสาหกรรม ประเภทกิจกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) อุตสาหกรรมอาหาร Core Creative ออกแบบ หรือปรุงอาหาร 26 2 - 2 ขายอาหาร หรือรับส าเร็จ 114 19 17 5 มาปรุง ออกแบบหรือปรุง 11 2 3 1 เครื่องดื่ม ของหวาน ขายเครื่องดื่ม ของหวาน 63 8 9 6 Related ขายวัตถุดิบท าอาหาร 6 - 1 - Business ขายอุปกรณ์ท าอาหาร - 1 - - ผลิตอาหาร (โรงงาน) 3 1 - - อุตสาหกรรมแฟชั่น Core Creative ออกแบบเครื่องแต่งกาย 22 2 - 1 ขายเสื้อผ้า 41 5 - - Related ขายผ้า 3 - - - Business เย็บผ้า ตัดเสื้อ 22 5 2 1 ผลิตเสื้อผ้า (โรงงาน) 1 - - - ตัดผม แต่งหน้า 25 4 - 1 อุตสาหกรรมหัตถกรรม: เครื่องหนัง Core Creative ออกแบบเครื่องหนัง - - - - ขายผลิตภัณฑ์จากหนัง 2 - - - Related ขายวัสดุหนัง - - - - Business ขายอุปกรณ์ประกอบ - - - - ตกแต่งเครื่องหนัง ผลิตเครื่องหนัง (โรงงาน) - - - - อุตสาหกรรมหัตถกรรม: จิวเวลรี และเครื่องเงิน Core Creative ออกแบบจิวเวลรี และ 78 1 - - เครื่องเงิน

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ง (Final Report) ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ ง-1

อุตสาหกรรม ประเภทกิจกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) ขายจิวเวลรี และ 237 2 - - เครื่องเงิน Related ขายวัสดุจิวเวลรี และ 3 - 4 - Business เครื่องเงิน ขายอุปกรณ์ตกแต่งจิวเวล 2 - - - รี และเครื่องเงิน ผลิตจิวเวลรี และ 24 1 1 - เครื่องเงิน ผลิตต้นแบบจิวเวลรี และ 3 1 - - เครื่องเงิน ผลิต หรือดัดเหล็กโลหะ - - 4 - เกี่ยวกับ จิวเวลรี เครื่องเงิน (โรงกลึง) อุตสาหกรรมหัตถกรรม: กิ๊ฟท์ช็อป Core Creative ออกแบบของที่ระลึก ของ 4 - - - ช าร่วย ขายของที่ระลึก ของ 10 - - - ช าร่วย Related ผลิตของที่ระลึก ของ - - - - Business ช าร่วย (โรงงาน) อุตสาหกรรมหัตถกรรม: งานฝีมือ Core Creative จัดดอกไม้ ออกแบบ 1 - - - ตกแต่งดอกไม้ ขายช่อดอกไม้ส าเร็จรูป 2 - - - Related ขายดอกไม้สด - - - - Business ขายอุปกรณ์หัตถกรรม - - - 2

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ง (Final Report) ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ ง-2

อุตสาหกรรม ประเภทกิจกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) อุตสาหกรรมออกแบบ Core Creative ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ของ 2 - - - ตกแต่งบ้าน ขายเฟอร์นิเจอร์ ของ 25 1 - - ตกแต่งบ้าน Related ขายไม้ โลหะส าหรับท า - - - - Business เฟอร์นิเจอร์ ผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ช่างไม้ 1 - - - ช่างเหล็ก ช่างฝีมือ) อุตสาหกรรมสถาปัตยกรรม Core Creative ออกแบบสถาปัตยกรรม 2 1 6 2 ออกแบบแสงสว่าง ขายบ้านส าเร็จรูป (เช่น 2 - - - เรือนไทย ตู้คอนเทน เนอร์) ขายแบบบ้านส าเร็จรูป - - - - (เช่น Royal House) Related ขายอุปกรณ์ตัดโมเดล - - - - Business ผลิตสถาปัตยกรรม - - - - ส าเร็จรูป(โรงงาน) อุตสาหกรรมทัศนศิลป์ Core Creative วาดภาพ ออกแบบและ 3 - - - ผลิตผลงานศิลปะ (วิจิตร ศิลป์) ออกแบบกราฟิกส์ 2 - - - (ศิลปะประยุกต์) ขายผลงานศิลปะ 8 - - -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ง (Final Report) ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ ง-3

อุตสาหกรรม ประเภทกิจกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) Related บริการพื้นที่ให้ชมผลงาน 1 - 1 - Business ศิลปะ (แกลเลอรี) บริการพื้นที่เช่าจัดแสดง - - - - งานศิลปะ (แกลเลอรี หรือพื้นที่ให้เช่า) ขายวัสดุอุปกรณ์วาดภาพ - - - - อุตสาหกรรมดนตรี Core Creative ออกแบบ และผลิตเพลง - 1 - - ขายสิทธิการใช้เพลง - - - - (นายหน้าขายเพลง) ขายเทป ซีดี เพลง - - - - ออนไลน์ Related ขายเครื่องดนตรี อุปกรณ์ - - - - Business ผลิตเพลง บริการห้องอัดเสียง - - - - บริการห้องซ้อมดนตรี - - - - สอนดนตรี (โรงเรียน) - - - - อุตสาหกรรมภาพยนตร์ Core Creative ออกแบบ และผลิต - - - - ภาพยนตร์ ขายสิทธิการใช้ภาพยนตร์ - - - - (นายหน้าขายภาพยนตร์) ขายดีวีดี บลูเรย์ - - - - ภาพยนตร์ออนไลน์ Related ขายอุปกรณ์ผลิต - - - - Business ภาพยนตร์ บริการสตูดิโอถ่ายท า - - - - ภาพยนตร์

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ง (Final Report) ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ ง-4

อุตสาหกรรม ประเภทกิจกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) บริการตัดต่อภาพยนตร์ - - - - ผลิตโมชันกราฟิกส์ แอนิ - - - - เมชั่นภาพยนตร์ อุตสาหกรรมแพร่ภาพ กระจายเสียง Core Creative ออกแบบและผลิตรายการ - - - - วิทยุ โทรทัศน์ ขายสิทธิการใช้รายการ - - - - วิทยุ โทรทัศน์ ขายดีวีดี บลูเรย์ รายการ - - - - วิทยุ โทรทัศน์ออนไลน์ Related ขายอุปกรณ์ผลิตรายการ - - - - Business วิทยุ โทรทัศน์ บริการสตูดิโอถ่ายท า - - - - รายการ บริการตัดต่อรายการวิทยุ - - - - โทรทัศน์ ผลิตโมชันกราฟิกส์ แอนิ - - - - เมชั่น รายการโทรทัศน์ อุตสาหกรรมโฆษณา Core Creative ออกแบบ และผลิต 2 - 1 - โฆษณา Related บริการถ่าย ล้าง อัดรูป 4 - - 1 Business ขายฟิลม์ บริการสตูดิโอถ่ายภาพ 1 - - - อุตสาหกรรมศิลปะการแสดง Core Creative ออกแบบการแสดง 1 - - - Related สอนการแสดง (โรงเรียน) - - - - Business บริการโมเดลลิ่ง - - - -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ง (Final Report) ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ ง-5

อุตสาหกรรม ประเภทกิจกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) บริการโรงละคร - - - - อุตสาหกรรมการพิมพ์ Core Creative บริการเขียนบทความ 1 - 1 - นิตยสาร เขียนหนังสือ (ส านักพิมพ์) ขายบทความ นิตยสาร 2 - - - หนังสือ Related บริการพิมพ์ (โรงพิมพ์ 4 - - - Business ร้านพิมพ์งาน ตัดสติ๊กเกอร์ ท าป้าย) อุตสาหกรรมแพทย์แผนไทย Core Creative บริการคลินิกแพทย์แผน - - - - ไทย บริการนวด สปา 34 6 2 - ขายยาสมุนไพรไทย 1 - - - Related ผลิตยาสมุนไพรไทย - 1 - - Business ผลิตอุปกรณ์ สปา เครื่อง - - - - หอม ขายอุปกรณ์ สปา เครื่อง - - - - หอม อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Core Creative ออกแบบเส้นทาง 3 - - - ท่องเที่ยวด้าน ศิลปวัฒนธรรม ขายทัวร์ท่องเที่ยวด้าน 5 - - - ศิลปวัฒนธรรม Related ขายทัวร์ทั่วไป 11 - 1 - Business บริการเช่ารถ เช่าจักรยาน - - - -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ง (Final Report) ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ ง-6

อุตสาหกรรม ประเภทกิจกรรม เจริญกรุง เจริญนคร หัวล าโพง นานา (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) (กิจกรรม) บริการพาหนะโดยสาร 1 - - - ประจ าทาง (รถตู้ เรือ) อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ Core Creative ออกแบบ และพัฒนา 6 - - - ซอฟต์แวร์ ขายซอฟต์แวร์ 10 1 - - Related ขายคอมพิวเตอร์ 2 - - - Business ซ่อมคอมพิวเตอร์ - - - - สินค้า และบริการทั่วไป สินค้าทั่วไป เครื่องเขียน 7 - 1 - ของเก่า ของสะสม 15 - - - ขายยาแผนปัจจุบัน 10 3 2 - บริการอื่นๆ ตลาดสด 1 - - - ร้านสะดวกซื้อ 41 4 3 - โรงแรม 19 2 1 - โฮสเทล 16 1 3 2 อพาร์ทเม้นท์ให้เช่า 23 6 - - หอพัก โรงเรียนสอนพิเศษ 1 - 1 2 ธนาคาร บริการทางการ 16 6 3 - เงิน บริการด้านสุขภาพ 35 9 - 2 ส านักงานทั่วไป 19 1 12 - ช่างฝีมือ งานช่าง (ทั่วไป) 8 - 3 - โรงกลึง งานเหล็ก (ทั่วไป) 2 - 25 - โรงรับจ าน า 4 1 - - ที่จอดรถ โกดังเก็บของ 3 - 2 - ซ่อมรถ 2 - 1 -

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ง (Final Report) ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ ง-7

หมายเหตุ: 1) ไม่สามารถรวมจ านวนหน่วยธุรกิจในแต่ละอุตสาหกรรมได้ เนื่องจาก 1 หน่วยธุรกิจสามารถปกระกอบ กิจกรรมทางธุรกิจได้หลายประเภท

รายงานฉบับสมบูรณ์ “โครงการจัดท าฐานข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจย่านสร้างสรรค์” ภาคผนวก ง (Final Report) ผลส ารวจข้อมูลธุรกิจ ง-8