วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

Academic Journal Faculty of Education, Rajabhat University 1 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Academic Journal FacultyKaru of Sima Education, Journal Vol. Nakhon 1 No. 2 (July Ratchasima - December 2018) Rajabhat University วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Joural Vol. 1 No. 2 (July - December 2018) วัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการ บทความวิชาการ บทความวิจัย ของคณาจารย์ในมหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และผลงานของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีความประสงค์จะเผยแพร่บทความวิชาการ/บทความวิจัย

ส�ำนักงานกองบรรณาธิการ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (อาคาร 17 ชั้น 2) 340 ถนนสุรนารายณ์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ 044-009009 ต่อ 1126 โทรสาร 044-242636 ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐกรณ์ คิดการ คณบดีคณะครุศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความก่อนตีพิมพ์ บรรณาธิการ (Peer review) ภายนอก รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุทธ ไทยธานี รองคณบดีฝ่ายวิชาการและงานวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น�้ำ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ข้าราชการบ�ำนาญ อาจารย์ ดร.สิริรัตน์ นาคิน รองคณบดีฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิทธิชัย สมานชาติ กองบรรณาธิการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติกรณ์ นพอุดมพันธุ์ ศาสตราจารย์ ดร.บุญทัน ดอกไธสง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์ ปัญจบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สุวรี ฤกษ์จารี มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ดร.สมเกียรติ ชิดไธสง รองศาสตราจารย์ ดร.พวงเพ็ญ อินทรประวัติ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.อารี พันธ์มณี มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จังหวัดสระบุรี เขต 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พาสนา จุลรัตน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.จินตนา ศิริธัญญารัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ แหนจอน มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณี เจตจ�ำนงนุช โรงเรียนเตรียมสาธิตศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาระดี ชาญวิรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความก่อนตีพิมพ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (Peer review) ภายใน อาจารย์ ดร.วริศรา ยางกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิติพงษ์ ลือนาม อาจารย์ ดร.วันวิสาข์ โชรัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิราวรรณ์ ชาติบุตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนวัฒน์ ธิติธนานันท์ อาจารย์ ดร.ลลิตา ธงภักดี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อาจารย์ ดร.ลลิตา ธงภักดี อาจารย์ ดร.กาญจนา ท่อแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อาจารย์ ดร.วาสนา กีรติจ�ำเริญ ฝ่ายจัดการและเผยแพร่ อาจารย์ ดร.สมเกียรติ ทานอก นางสาวพัชสุดา จ�ำปาโพธิ์ นักวิชาการศึกษา อาจารย์ ดร.สิริรัตน์ นาคิน นางสาวสุรัชยากรณ์ วิพัฒน์โสภากร นักวิชาการศึกษา อาจารย์ ดร.อิสรา พลนงค์ นางสาวราตรี สุวรรณโยธี นักวิชาการศึกษา นายกฤษณะ พีระนวโชติ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา นายทัศนชัย ภิญโญทรัพย์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา นางรดาภัค พลค�ำแก้ว นักวิชาการพัสดุ นางสาวดลลักษณ์ ดาวโคกสูง นักวิชาการพัสดุ ก�ำหนดการตีพิมพ์เผยแพร่ ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ISSN : 2630-0745

ทุกบทความได้รับการตรวจความถูกต้องทางวิชาการ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ

2 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018) สารบัญ การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน เพื่อถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญา ของชุมชนบ้านโนนกุ่ม อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ...... 1 สุรชัยภัทรดิษฐ์ ภูมิภักดิเมธี ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 ...... 8 สุทัศน์ ชาญประโคน และ สรรฤดี ดีปู่ การศึกษาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก...... 16 วัชชิระ วรรณปะเข และ ศศิวรรณ พชรพรรณพงษ์ การพัฒนากิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง จังหวัดเชียงใหม่...... 26 สมศรี เลายี่ปา การศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียน ประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4...... 37 กรุณาพร ชุติโรจนไพศาลสิน, ไพศาล หวังพานิช และ สงวนพงศ์ ชวนชม การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน และความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการ เรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง...... 48 วิยะดา พงษ์วิจิตร, สมบูรณ์ ตันยะ และ นัฐยา บุญกองแสน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด...... 61 กาญจนา ตั้งทรัพย์, สมบูรณ์ ตันยะ และ สงวนพงศ์ ชวนชม การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา...... 74 วรรณปวีณ์ เศษศรี, สมบูรณ์ ตันยะ และ สงวนพงศ์ ชวนชม การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL...... 87 วิลาวัณย์ แสนศรี, สมบูรณ์ ตันยะ และ สงวนพงศ์ ชวนชม การพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus ...... 100 จีระภา แจ่มศรี, สมบูรณ์ ตันยะ และ นัฐยา บุญกองแสน Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 3 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

CONTENTS The conservation of art and culture of Tai-Yuan textiles: To inherita wisdom of the community of Non Kum village, Sikhiu District Nakhon Ratchasima Province...... 1 Surachaiphattharadit Phumphakdimethi The Relationship between Core values and Concept Based on Criteria of Quality Award (OBECQA) and The Excellent Performance School under The Secondary Educational Service Area Office 32...... 8 Suthat Chanprakhon and Sanrudee Deepu A study of Thai Analytical Reading Ability of Grade 11th Students using Six Thinking Hats with Graphic Organizers...... 16 Watchira Wanpaaccess and Sasiwan Pacharaponpong The Development of Teaching Activities According to Brain-based learning of Prathomsuksa 6 Students, Ban Pang Fang School, Chiang Mai Province ...... 26 Somsri Laoyeepa A Study of Utilizing the Learning Resources for Learning Activities in School under Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 4 ...... 37 Karunaporn Chutirodjanapaisansin, Paisan Vangpanit and Sanguanpong Chuanchom The Study about of Prathomsuksa 3 Students’ Learning Achievemant of Mathematical problems for Addition, Subtraction, Multiplication and Division Learning units and The Satisfaction of Learning Management by KWDL Technique in Combination with Brain Activity ...... 48 Wiyada Pongvichit, Somboon Tanya and Nathaya Boonkongsaen A Study of Prathomsuksa 5 Students’ Learning Achievement of Wind, Sky, Weather Learning Unit and Science Process Skills Using Inquiry Method with Mind Mapping ...... 61 Kanchana Tangsap, Somboon Tanya and Sanguanpong Chuanchom The Study about of Prathomsuksa 5 Students’ Learning Achievemant on Addition, Subtraction and Multiplying Decimals Learning units and Analytical Thinking Ability through CIPPA Learning Management...... 74 Wanpawee Sessree, Somboon Tanya and Sanguanpong Chuanchom The Study of Learning Achievement of One Variable-Linear Equations Unit and their analytical thinking ability of Mathayomsuksa 1 Students Using STAD Collaborative Learning Management together KWDL technique ...... 87 Wilawan Saensri, Somboon Tanya and Sanguanpong Chuanchom The Development of English Reading and Writing Abilities for Communication of Prathomsuksa 4 Students through KWL plus Technique ...... 100 Jeerapa Jamsri, Somboon Tanya and Nathaya Boonkongsaen

4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ ปีที่1 ฉบับที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม - ธันวาคม 2561) 2561) 1 - 7 KaruKaru Sima Sima Joural Journal Vol. Vol.1 No. 1 2No. (July 2 (July - December - December 2018) 2018) 1 - 7

การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน เพื่อถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญา ของชุมชนบ้านโนนกุ่ม อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา The conservation of art and culture of Tai-Yuan textiles : To inherita wisdom of The community of Non Kum village, Sikhiu District Nakhon Ratchasima Province สุรชัยภัทรดิษฐ์ ภูมิภักดิเมธี 1,* Surachaiphattharadit Phumphakdimethi 1,*

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าของชุมชนบ้านโนนกุ่ม อาเภอสีคิ้วํ จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาการถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญาการทอผ้าไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว และ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ประธานกลุ่มชุมชนทอผ้าไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว กลุ่มแม่บ้านที่อนุรักษ์วัฒนธรรมและอาชีพการทอผ้าไท-ยวน จํานวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์วิธีการประชุมกลุ่มย่อย วิเคราะห์ข้อมูลจาก การสัมภาษณ์ทัศนะของผู้เกี่ยวข้อง จากเอกสาร ตาราํ หนังสือ บทความ และฐานข้อมูลบนเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ํ ประกอบกัน หลังจากทําการวิเคราะห์เนื้อหาทั้งหมด จนได้เป็นข้อสรุปของผลการวิจัยและเขียนผลการวิจัย ในลักษณะ ของความเรียง เพื่อให้ผลงานวิจัยมีความสมบูรณ์มากที่สุด ดังนี้ 1. การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและวิถีการทอผ้าไท-ยวน โดยการเปิดให้บุคคลภายนอกเข้ามาศึกษา ดูงานที่ศูนย์การเรียนรู้ได้ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐบาลหรือภาคเอกชน และมีวิธีการถ่ายทอดได้หลายทาง โดยใช้เทคนิคการสาธิต การปฏิบัติจริง การบอกเล่า เพื่อให้ปฏิบัติตามโดยการท�ำให้ดูพร้อมทั้งการพูดคุย แลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน วิธีการเรียนรู้ส่วนใหญ่เกิดจากการลงมือท�ำ การลองผิดลองถูก ซึ่งกระบวนการเรียนรู้นี้ เป็นพลวัตรจนเกิดการสั่งสมและพัฒนาความรู้การทอผ้าไท-ยวน อยู่ตลอดเวลา ซึ่งแต่ละวิธีขึ้นอยู่กับองค์ความรู้ และกลุ่มเป้าหมายที่จะรับการถ่ายทอด

1คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 30000 Faculty of Humanities and Social Science, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima 30000, *Corresponding author, e-mail: [email protected]

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 1 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2. การถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญาผ้าทอไทยวนให้เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของชุมชน พบว่า 1) ควรมีการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐเพื่อส่งเสริมกลุ่มผ้าทอไท-ยวน ให้มีความยั่งยืนและควรมีการสนับสนุน กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 2) ควรมีการจัดหลักสูตรการทอผ้าให้กับสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นเพื่อให้สถาบัน ในท้องถิ่นช่วยสืบทอดและบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอน 3) ควรส่งเสริมการบันทึกลวดลายผ้าทอไท-ยวน เพื่อเป็นหลักฐานและถ่ายทอดภูมิปัญญาอันล้าค่าของบรรพบุรุษ คําสําคัญ : การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม, การถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญา, ผ้าทอไท-ยวน

ABSTRACT This research aims : 1) to study the conservation of art and culture of weaving of Ban Non Kum, Sikhiu, Nakhon Ratchasima. 2) to study the transfer of the weaving heritage of Thai folk wisdom. The population of this research is The Chairman of Thai Loi Community, Ban Non Kum, Sikhiu District, housed a group of 15 housewives who preserved culture and occupation. Interview Methodology Analyze data from Interviews with related people from the papers, articles, and databases on the research network. The data was analyzed after all content analysis. The results of the research. And write research results. In the nature of the composition The research is the most complete. 1. The way to inherit the arts. And weaving looms. By opening The outsiders came to study at the Learning Center. Whether government or private, and inherited through the school. Have to learn Teaching about the weaving. And administration The business of the community center of Ban Non Kum It has provided various positions for each member to take care of that section and also receives government support and The private sector, in terms of budget, tools and packaging design. There are many ways to broadcast using demo techniques. Practical, practical, informative, to follow by making it look and talk together. Most learning methods come from doing things. Trial and error This learning process is dynamic. The accumulation and development of Thai weaving knowledge at all times, each of which depends on the knowledge and target audience to receive. 2. Conservation of Thai Wisdom Woven Cloth to be a community's intellectual heritage: 1) The budget should be supported by the public sector to promote the use of Thai fabrics to be sustainable and should continue to support the activities. 2) Weaving curriculums for educational institutions so that the relevant institutions help to inherit and inherit to be one of the curriculums. 3) It should be encouraged to record patterns of weaving. To prove and convey the precious wisdom of the ancestors.

Keyword: The conservation of Local Art and Culture, Local Wisdom Transfer, Tai - Yuan Weaving Career

2 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

บทน�ำ ผ้าทอไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ถือเป็นมรดกทางภูมิปัญญาเพราะเป็น งานช่างฝีมือดั้งเดิมที่มีลักษณะและเอกลักษณ์พิเศษเฉพาะตัว กล่าวคือ มีกรรมวิธีในการผลิตสิ่งถักทอชนิดต่าง ๆ ด้วยความละเอียดอ่อนวิจิตรงดงาม ทั้งทางด้านการเลือกใช้สีสัน และความงดงามของลวดลายที่ประณีต ที่แสดงออกถึงอัตลักษณ์ของชาวไท-ยวน โยนกเชียงแสนในมิติต่างๆ ได้เป็นอย่างดีทั้งวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ คติความเชื่อ จารีต ประเพณีและวัฒนธรรมของตนนับว่าเป็นการถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน ผ้าทอไท-ยวนในปัจจุบันกําลังเข้าสู่ขั้นวิกฤต เพราะผู้สืบทอดในการทอผ้าจะมีในบางชุมชนเท่านั้น ส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุและขาดการถ่ายทอดให้กับเยาวชนคนรุ่นใหม่ บางชุมชนเลิกอาชีพการทอผ้า และหันไปรับเอาการทอผ้าชนิดอื่นที่ไม่ใช่อัตลักษณ์ตามแบบดั้งเดิมของชาวไท-ยวน การถ่ายทอดภูมิปัญญา อาชีพการทอผ้านั้นมีปัจจัยที่สําคัญคือ การมุ่งเน้นการสืบทอดให้กับคนรุ่นหลัง เพื่อสืบทอดอาชีพการทอผ้า ให้คงอยู่ให้เห็นคุณค่าสิ่งที่มีและยังเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองรวมถึงเป็นการผลักดันให้เกิดอาชีพที่สุจริต และรักในท้องถิ่นของตนเอง ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาการถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน เพื่ออนุรักษ์มรดกทางภูมิปัญญา ของชุมชนบ้านโนนกุ่ม อาเภอสีคิ้วํ จังหวัดนครราชสีมา โดยมีการส่งเสริม สนับสนุน ผลักดันเยาวชนรุ่นใหม่ในชุมชนให้เกิดความรักความหวงแหนในท้องถิ่นจากการร่วมมือ หลาย ๆ ด้าน คือด้านสถานศึกษาในระบบโรงเรียน ชุมชน วัด ผู้นําชุมชน เยาวชน ประชาชนในท้องถิ่น เพื่อค้นหาแนวทาง การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน สู่เยาวชนรุ่นหลัง จากที่มีปัจจัยหลายอย่างเข้ามาส่งผลให้ วัฒนธรรมและอาชีพการทอผ้าทอไท-ยวนนั้น อาจจะถูกนํามาใช้ ในชีวิตประจําวันลดน้อยลง หรืออาจจะ เลือนหายไปในอนาคตการที่คนในพื้นที่บ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว หรือคนไท-ยวน จะหันมาอนุรักษ์ วัฒนธรรมและอาชีพของตนเองเพื่อมิให้สูญหายไปจาก ชุมชน โดยการมีจัดการเรียนการสอนการทอผ้าใน โรงเรียน ชุมชน หรือศูนย์การเรียนรู้ต่างๆ ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใดๆ ก็ถือว่าเป็นเรื่องที่ดีที่บุคคลในชุมชนเริ่มหันมาให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมและอาชีพท้องถิ่นมากํ การอนุรักษ์มรดก ทางภูมิปัญญา ถูกอนุรักษ์ไว้ได้อย่างยั่งยืน อาจจะผ่านประเพณีหรือศิลปวัฒนธรรมพื้นที่เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย และเพิ่มพลังการอนุรักษ์ภูมิปัญญาอาชีพ การทอผ้าไท-ยวนในชุมชนได้มากขึ้น ชุมชนไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว จึงมีการปรับตัว เปลี่ยนแปลงทางด้านวัฒนธรรม ระบบการผลิต การจัดการทรัพยากร อาชีพ ความเชื่อทางศาสนาและพิธีกรรมเพื่อให้กลุ่มชาติพันธุ์ของตัวเองนั้นสามารถดํารงชาติพันธุ์อยู่รอด ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงต่างๆ จึงมีการปรับเปลี่ยนทางสังคม วัฒนธรรม และ วิถีชีวิตของตน มีสาเหตุมาจาก หลายประการทั้งนี้ก็เพื่อการอยู่รอด ซึ่งการผสมผสานกลมกลืนทางวัฒนธรรม ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางวัฒนธรรมหลายประการ เช่น ภาษา การแต่งกาย อาหาร และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปตามความเจริญของสังคม การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มชนต่าง ๆ ในอนาคตอาจจะไม่หลงเหลือเอกลักษณ์ของตนเองหากไม่ได้รับการส่งเสริม และพัฒนาไปในทิศทางที่เหมาะสม จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไทยวน เพื่อถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญา ของชุมชนบ้านโนนกุ่ม อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ในครั้งนี้ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว 2. เพื่อศึกษาการถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญาการทอผ้าไท-ยวนให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของบ้านโนนกุ่ม อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 3 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ขอบเขตการวิจัย ประเด็นที่ 1. ด้านประชากร การศึกษาครั้งนี้นอกจากจะมีการศึกษาจาก เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและอาชีพการทอผ้าทอไท-ยวน ชุมชนบ้านโนนกุ่ม อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ยังทําการศึกษาจากประชากร เนื่องจากประชากรมี ความรอบรู้ในสิ่งที่ผู้วิจัยจะทําการศึกษาเป็นอย่างดี ทั้งหมด 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มที่ 1 ประธานชุมชน 1 คน กลุ่มที่ 2 กลุ่มแม่บ้านที่อนุรักษ์วัฒนธรรมและอาชีพ การทอผ้าทอไท-ยวน จานวนํ 15 คน โดยใช้การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผู้วิจัยให้ความส�ำคัญ กับกลุ่ม หรือบุคคลที่มีส่วนส�ำคัญในการด�ำเนินงานกลุ่มทอผ้าไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม เพื่อค้นหาความรู้ของ ผู้ผลิตผ้าทอไท-ยวน ว่ามีการค้นหาความรู้อย่างไร การถ่ายทอดความรู้ของผู้ผลิตผ้าทอไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม เริ่มตั้งแต่การค้นหาความรู้ การรวบรวมความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตผ้าไหมว่ามีการถ่ายทอดความรู้ ที่ค้นหาและรวบรวมไว้อย่างไร เพื่อท�ำการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปและรวบรวมเป็นหมวดหมู่ และตีความเพื่ออธิบาย ลักษณะความเชื่อมโยงประเด็นต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ให้ตรงกับประเด็นและขอบเขตในการวิจัย ประเด็นที่ 2. ด้านเนื้อหา โดยศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับศึกษาเทคนิคการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้า ไท-ยวน การอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทอผ้าไท-ยวน ให้เป็นมรดกของชุมชน การได้รับการสนับสนุน จากหน่วยงานภาครัฐ รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับบริบทชุมชน เพื่ออธิบายถึงลักษณะที่เป็นส่วนส่งเสริม ให้การด�ำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจประสบความส�ำเร็จ

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มี 2 ส่วน ประกอบด้วย 1. แบบสัมภาษณ์ (Interview Form) เพื่อรวบรวมเกี่ยวกับวัฒนธรรมการทอผ้าทอไท-ยวน และสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการถ่ายทอดวัฒนธรรม การทอผ้าทอไท-ยวน ชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา โดยแบบสัมภาษณ์ 2. การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) เพื่อเป็นการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง ผู้ที่เข้าร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรมการทอผ้าทอมือของไท-ยวน ของบ้านโนนกุ่ม และ 3. แบบบันทึกการสังเกต

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับ ข้อมูลชาติพันธ์ไท-ยวน แนวคิดเรื่องภูมิปัญญา วัฒนธรรม การอนุรักษ์ และการพัฒนา การถ่ายทอดวัฒนธรรม ชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่ม ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับหน่วยงาน ที่ให้การสนับสนุนการถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมผ้าทอมือของชุมชนบ้านโนนกุ่ม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะใช้เป็นแนวทางในการลงพื้นที่เพื่อการสัมภาษณ์เชิงลึกต่อไป 2. ลงพื้นที่ชุมชนบ้านโนนกุ่ม อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ในการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง เพื่อให้ได้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) โดยกาหนดแนวคํ าถามปลายเปิดํ สัมภาษณ์พูดคุยกันกับประธานกลุ่มทอผ้า เกี่ยวกับวัฒนธรรมและอาชีพการทอผ้าทอไท-ยวน ซึ่งทาให้สามารถตอบได้ละเอียดทุกแง่ทุกมุมํ การสัมภาษณ์ โดยเล่าเรื่องผ่านชีวิตความเป็นอยู่จากอดีต สภาพการดํารงอยู่ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และมีการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) ร่วมกับกลุ่มแม่บ้านที่อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม อาชีพการทอผ้าไท-ยวน เกี่ยวกับการถ่ายทอดภูมิปัญญาอาชีพการทอผ้าทอไท-ยวน ของชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่ม อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา และเพื่อพูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันและกัน

4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

สรุปอภิปรายผล ในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน เพื่อถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญาของชุมชน บ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา นั้น ได้แยกประเด็นในการศึกษาในประเด็นส�ำคัญดังต่อไปนี้ ประเด็นที่ 1) การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา จากการสัมภาษณ์และจากการค้นคว้าศึกษา เอกสารเพิ่มเติม แต่เดิมนั้นชาวไท-ยวน ได้อพยพจากเชียงแสนลงมาเรื่อย ๆ และกระจายอยู่ตามแหล่งต่างๆ ของพื้นที่ในประเทศไทย ส่วนชาวไท-ยวน บ้านโนนกุ่ม อาเภอสีคิ้วํ จังหวัดนครราชสีมา ได้แยกมาจากชาวไท-ยวน อาเภอเสาไห้ํ จังหวัดสระบุรี เนื่องจาก ทางเจ้าเมืองสระบุรีมีความประสงค์ที่จะเลี้ยงโค จึงได้ทาการํ แบ่งชาวบ้านไท-ยวน ที่อาเภอเสาไห้ํ มาเป็นผู้ดาเนินการํ และพื้นที่แถบนั้นมีความอุดมสมบูรณ์เมื่อหมดหน้าที่ มอบหมายแล้วจึงไม่ยอมเดินทางกลับ พากันตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่นี่อาชีพหลักของชาวไท-ยวนในสมัยก่อนคือการทาํ ไร่ทานาํ ผู้หญิงเมื่อมีเวลาว่างจากการทางานก็จะทอผ้าํ เพื่อใช้สวมใส่กันภายในครัวเรือน ปัจจุบันการทอผ้าทอไท-ยวน นั้นไม่ได้ทอเฉพาะเพื่อสวมใส่ในครัวเรือนเท่านั้น เพราะได้มีการทอเพื่อจัดจําหน่าย สามารถสร้างรายได้ ให้แก่ครอบครัว และคนในชุมชนได้อีกด้วย ปัจจุบันอาชีพการทอผ้าทอไท-ยวนนั้น สําหรับชาวบ้านบางคนก็ได้ยึดถืออาชีพการทอผ้าเป็นอาชีพหลัก ส่วนบางคนก็ยึดเป็นอาชีพรอง สําหรับวัฒนธรรมและอาชีพการทอ ผ้าทอไท-ยวน นั้นยังคงมีให้เห็นอยู่ใน ชุมชนบ้านโนนกุ่ม อาเภอสีคิ้วํ จังหวัดนครราชสีมา ผู้สูงอายุในชุมชนบ้านโนนกุ่มทุกคนจะรู้ประวัติความเป็นมา ของชุมชนตนเอง แต่เด็กสมัยใหม่บางคนก็ไม่มีความรู้ในทางด้านนี้เลย ฉะนั้นทางชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่ม จึงได้มีการจัดเก็บเอกสารต่าง ๆ ที่สามารถใช้เป็นความรู้ให้แก่คนรุ่นหลังเอาไว้แต่อาจจะมีไม่ครบ ทางผู้วิจัยจึงได้หาข้อมูลเพิ่มเติมจากจากเอกสาร ตาราํ หนังสือ บทความ และฐานข้อมูลบนเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อมารวบรวม ไว้ด้วยกันในส่วนของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น ทางอําเภอได้จัดทํา Website ของทางอําเภอไว้และมี ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของศูนย์วิสาหกิจชุมชน ทอผ้าบ้านโนนกุ่มแห่งนี้อยู่ด้วย และยังมี website และ fan page ของศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไท-ยวน บ้านยวน นครจันทึก ของอาเภอสีคิ้วํ ไว้ให้ได้เรียนรู้อีกด้วย ประเด็นที่ 2) การถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญา ของชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่ม อาเภอสีคิ้วํ จังหวัดนครราชสีมา ได้มีกลไกในการถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญาการทอผ้าทอไท-ยวน โดยการเปิดให้บุคคลภายนอกสามารถเข้ามา ศึกษาดูงานที่ศูนย์การเรียนรู้ได้ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานรัฐบาล หรือหน่วยงานเอกชน เพราะทางศูนย์จะจัดกิจกรรม การเรียนรู้ต่างๆไว้คอยต้อนรับสาหรับผู้ที่สนใจเข้ามาํ ศึกษาดูงานที่ศูนย์แห่งนี้นอกจากนี้แล้ว ทางศูนย์วิสาหกิจ ชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่มได้ส่งตัวแทนสมาชิก ในกลุ่มไปเป็นวิทยากรและสอนงานให้แก่ ชุมชนต่างๆ อย่างต่อเนื่อง วิทยากรท้องถิ่น คือ คุณปราณีต วรวงสานนท์ ประธานชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่ม มาถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ผ้าทอไท-ยวน บ้านโนนกุ่มเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์มรดกทางภูมิปัญญา จึงเป็นไปในทางที่ดี ดูได้จาก ที่ได้จัดบุคลากรไปให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องและ ได้เปิดศูนย์วิสาหกิจชุมชนแห่งนี้ เป็นแหล่งให้ความรู้ และได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องจึงทาให้มีนักเรียนํ นักศึกษาหรือองค์กรต่าง ๆ จัดเข้ามาศึกษา ดูงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุรชัยภัทรดิษฐ์ หลอดค�ำวัฒนา (2552) กล่าวว่า อาชีพการทอผ้าเป็นอาชีพเก่าแก่ของชาวบ้านโนนกุ่ม อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา และการทอผ้านั้น ก็เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต มีการพึ่งพาซึ่งกัน และกันทั้งภายนอกและภายใน มีการปรับบทบาทและหน้าที่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางสังคมปัจจุบัน แนวทางการถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญาผ้าทอไท-ยวน

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 5 วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ ปีที่ 1 (มกราคม1 ฉบับที่ 2 - (กรกฎาคมมิถุนายน 2561) - ธันวาคม 10 - 212561) Karu SimaKaru Joural Sima Vol. Journal 1 No. 1Vol. (January 1 No. 2 - (JulyJune -2018) December 10 - 21 2018)

ของชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่มนั้น เป็นรูปแบบหนึ่งที่ประสบความสาเร็จํ เนื่องจากชุมชน สถานศึกษาร่วมมือกัน กับทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ช่วยกันส่งเสริมวัฒนธรรมและอาชีพการทอผ้าทอไท-ยวน จึงทําให้เกิด ความเข้มแข็งของการอนุรักษ์มรกทางภูมิปัญญาโดยปริยาย สรุปได้ว่า ทั้งการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและการถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญาของการทอผ้าไท-ยวน นั้น เป็นการศึกษาจากปราชญ์ชาวบ้านที่มีองค์ความรู้เดิมอยู่แล้วในด้านวิถีการทอผ้าจากรุ่นสู่รุ่นท�ำให้เห็น ถึงการอนุรักษ์การทอผ้าไท-ยวนดั้งเดิม แต่ทั้งนี้ได้มีการพัฒนาฝีมือด้านการทอผ้าด้วยการผสมผสานภูมิปัญญา และเทคโนโลยีเข้ามาจัดการให้ผ้าไทยวนมีลักษณะเด่นเป็นพิเศษ และเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ด้วยการส่งเสริมการผลิต การขายให้แก่ชุมชน จึงท�ำให้ผ้าทอมือไท-ยวนเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย นับว่าเป็นการอนุรักษ์ของเดิมไว้และส่งเสริมภูมิปัญญาได้เป็นอย่างดี ท�ำให้กลุ่มหรือชุมชนมีความเข้มแข็ง กลายเป็นวัฒนธรรมชุมชนที่ก่อให้เกิดสังคมเข้มแข็งตามมาในทุกๆด้าน

ข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยเกี่ยวกับการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน เพื่อถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญา ของชุมชนบ้านโนนกุ่ม อาเภอสีคิ้วํ จังหวัดนครราชสีมา ทาให้ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นํ แนวทางสาหรับการค้นคว้าํ หรือการศึกษางานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ผู้วิจัยได้ศึกษา ดังนี้

ข้อเสนอแนะในการนําผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ 1. การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมวิถีการทอผ้าไท-ยวน โดยผ่านทางโรงเรียน ผู้วิจัย เล็งเห็นว่าเป็นสิ่งที่ดี เด็กได้เรียนรู้ในสิ่งที่เป็น วัฒนธรรมของตนเองและยังสามารถไปช่วยที่บ้าน ประกอบอาชีพได้อีกด้วย ทางผู้วิจัย จึงคิดว่าทางโรงเรียน หน่วยงานต่าง ๆ และทางศูนย์วิสาหกิจชุมชน ควรให้การสนับสนุนต่อไป และนาไปปรับใช้ํ กับสภาพ บริบทอื่นๆในชุมชน นํารูปแบบของการร่วมมือของศูนย์วิสาหกิจชุมชนไปปรับใช้ในชุมชนอื่นๆ เพื่อให้สถานศึกษาต่างๆร่วมสืบทอด และสามารถส่งผ่าน วัฒนธรรมรุ่นสู่รุ่นได้เป็นอย่างดี 2. ทางชุมชนทอผ้าบ้านโนนกุ่ม ควรจัดทําwebsiteเป็นของตนเอง เนื่องจากทางศูนย์มีผู้มีความรู้ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา วัฒนธรรมและ เกี่ยวกับการทอผ้าทอ ของชาวไท-ยวน ซึ่งทางศูนย์ มีข้อมูลที่แน่นหนามาก ควรจัดทาwebsiteเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปํ และเพื่อใช้สาหรับจัดจํ าหน่ายสินค้าํ ของทางศูนย์ เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการจัดจําหน่าย

ข้อเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาแนวทางในการพัฒนาศิลปะลวดลายของผ้าทอให้เข้ากับยุคสมัยปัจจุบัน เช่น ผ้าทอไท-ยวนนั้นมีลวดลายอะไรบ้าง และแต่ลวดลายนั้นมีกระบวนการวิธีทออย่างไร ตั้งแต่การใส่ด้าย มัดด้าย การออกแบบลวดลาย เพราะผ้าทอไท-ยวนนั้น นอกจากผ้าซิ่นสําหรับใช้สวมใส่ที่มีชื่อเสียงแล้ว ยังมีผ้าที่ทอ เพื่อการใช้ในชีวิตประจําวันอีก เช่น ถุงย่าม ผ้าขาวม้า 2. ควรมีการศึกษาในเรื่องของแนวทาง การถ่ายทอดในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อนําไปปรับใช้ในชุมชน และสถานศึกษาร่วมถ่ายทอด หรือการนําไปปรับใช้ใน บริบทอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากอาชีพการทอผ้าไท-ยวน ทั้งในชุมชน ต่างชุมชนและสถานศึกษาอื่น

6 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

เอกสารอ้างอิง ดวงฤทัย อรรคแสง. (2552). กระบวนการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าไหมมัดหมี่ย้อมสีธรรมชาติ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น). พรรณี ชูมณี. (2548). การสืบสานภูมิปัญญาผ้าทอไทยวนอ�ำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี. กรุงเทพฯ : ส�ำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สรังสี แก้วพิจิตร. (2551). ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการผลิตผ้าไหมปักธงชัยเพื่อพัฒนาเป็นสินค้า มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม). สุรชัยภัทรดิษฐ์ หลอดค�ำวัฒนา. (2552) ภูมิปัญญาการทอผ้าพื้นเมืองไทยวน : แนวทางการจัดการเชิงธุรกิจ ชุมชน อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม). สุรชัยภัทรดิษฐ์ หลอดคาวัฒนา.ํ (2552). เอกลักษณ์ ภูมิปัญญาลวดลายผ้าไทยวน อาเภอสีคิ้วํ จังหวัดนครราชสีมา. สํานักงานวิจัยและพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานวิจัย วิทยาลัยนครราชสีมา. สุรชัยภัทรดิษฐ์ หลอดคาวัฒนาํ และคณะ. (2552). ประวัติความเป็นมาภูมิปัญญาผ้าทอพื้นเมืองไทยวน อาเภอสีคิ้วํ จังหวัดนครราชสีมา. (รายงานผลการวิจัย) นครราชสีมา. วิทยาลัยนครราชสีมา.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 7 วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ ปีที่ 2 1(กรกฎาคม ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม- ธันวาคม 2561) - ธันวาคม 8 - 152561) Karu SimaKaru Joural Sima Vol. Journal 1 No. 2Vol. (July 1 No.- December 2 (July - 2018)December 8 - 15 2018)

ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์ รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการดำ�เนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต32 The Relationship between Core values and Concept Based on Criteria of Quality Award (OBECQA) and The Excellent Performance School under The Secondary Educational Service Area Office 32 สุทัศน์ ชาญประโคน 1,*, สรรฤดี ดีปู่ 2 Suthat Chanprakhon 1,*, Sanrudee Deepu 2

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน จ�ำนวน 57 คน ครูที่รับผิดชอบงานในแต่และฝ่ายของโรงเรียน โรงเรียนละ 4 คน จ�ำนวน 228 คน รวมทั้งสิ้น 285 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 โดยภาพรวมมีค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ของโรงเรียนอยู่ในระดับมาก 2. ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 โดยภาพรวมมีผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของ``โรงเรียนอยู่ในระดับมาก

1นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยลัยราชภัฏนครราชสีมา, นครราชสีมา 30000 M.Ed. Student in Educational Administration, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand 2 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, นครราชสีมา 30000 Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand * Corresponding author, e-mail: [email protected]

8 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

3. ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงาน ที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 โดยภาพรวมพบว่ามีความสัมพันธ์กัน ในเชิงบวก ในระดับสูงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .89 ค�ำส�ำคัญ: ค่านิยม แนวคิดหลัก เกณฑ์รางวัลคุณภาพ ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศ

ABSTRACT This research aimed to study core values and concept based on criteria of quality award (OBECQA) and the excellent performance school under the secondary educational service area office 32, and to investigate the relationships between core values and concept based on criteria of quality award (OBECQA) and the excellent performance school under the secondary educational service area office 32, in the academic year 2017. The samples were 285 administrators and teachers. Statistics used included frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson product moment correlation coefficient. The results showed that: 1. The core values and concept based on criteria of quality award (OBECQA) under the secondary educational service area office 32 was rated at the very high level. 2. The excellent performance school under the secondary educational service area office 32 was rated at the very high level. 3. The relationships between core values and concept based on criteria of quality award (OBECQA) and the excellent performance school under the secondary educational service area office 32 is found that the core values and concept based on criteria of quality award (OBECQA) and the excellent performance school are related in a positive way and in a very high level with statistical significance level at the .01 and the correlation coefficient was .89 Keyword: Core values and Concept, Criteria of Quality Award, The Excellent Performance

บทน�ำ ความเจริญก้าวหน้าของสังคมในโลกปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากการปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) การเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0 (The Fourth Industrial Revolution) รวมถึงการด�ำเนินงาน ตามสัตยาบันในข้อตกลงเป้าหมายการพัฒนา เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ขององค์การสหประชาชาติ พ.ศ. 2573 รวมทั้งผลกระทบของการเป็นประชาคมอาเซียน และความต้องการ ก�ำลังคนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ท�ำให้ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก ตลอดจนการมีทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของประชากรที่ปรับเปลี่ยนไป ตามกระแสโลกาภิวัตน์ การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกท�ำลาย และเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว สังคมโลกที่เกิดการลื่นไหลระหว่างวัฒนธรรม สภาพสังคมที่มีความซับซ้อน ท่ามกลางสภาวะการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม ทั้งในและระหว่างประเทศ รวมถึง Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 9 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

การเผชิญวิกฤติร่วมกันในเรื่องของความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบรุนแรง ต่อมวลมนุษย์ (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2560 , น.7) สิ่งหนึ่งที่มีส่วนส�ำคัญยิ่งต่อการลดแรงกดดัน จากทั้งภายนอก และภายในประเทศ นั่นก็คือการศึกษา เพราะการศึกษาจะช่วยเตรียมคนรุ่นใหม่ที่มีทักษะ และความสามารถในการปรับตัวให้มีคุณลักษณะส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ได้อย่างรู้เท่าทัน คุณภาพของการจัดการศึกษาเป็นตัวบ่งชี้ที่ส�ำคัญประการหนึ่งที่แสดงถึงศักยภาพในการแข่งขัน เพราะการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของระบบการพัฒนาประเทศ เป็นกลไกหลักในการพัฒนาก�ำลังคนให้มีคุณภาพ สามารถด�ำรงชีวิต อยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างเป็นสุข ในกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ 21 โรงเรียนทุกแห่งมีหน้าที่ส�ำคัญที่จะท�ำให้การจัดการศึกษาเกิดความเป็นเลิศตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด ทั้งนี้จ�ำเป็นต้องปลูกฝังค่านิยม แนวคิดหลักต่างๆ ที่เกี่ยวข้องหลายประการ ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับค่านิยม แนวคิดหลัก ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพกับผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียนจึงเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญและจ�ำเป็น ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 มีโรงเรียนมัธยมศึกษาจ�ำนวน 66 โรงเรียน แต่มีโรงเรียนที่ได้รับการยกระดับเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล เพียง 4 โรงเรียน ที่มีระบบ การบริหารจัดการโรงเรียนด้วยระบบคุณภาพ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงความสัมพันธ์ ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ซึ่งเป็นรากฐานที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่าง ผลการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ ภายใต้กรอบการจัดการที่เน้นผลลัพธ์ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ ที่ส่งผลต่อระบบบริหาร จัดการองค์กรคุณภาพซึ่งน�ำไปสู่การปฏิบัติการและการให้ข้อมูลป้อนกลับ และความยั่งยืน ส่งผลให้โรงเรียน ผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพ และมีศักยภาพเทียบเคียงในระดับสากล อันจะเกิดประโยชน์แก่สังคมและประเทศชาติสืบไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 2. เพื่อศึกษาผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงาน ที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32

ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ซึ่งวิธีด�ำเนินการวิจัยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ได้แก่ โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 66 โรงเรียน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 57 โรงเรียน

1 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

1.3 ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ บุคลากรในโรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 57 โรงเรียน จ�ำแนกเป็น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน จ�ำนวน 57 คน และครูที่รับผิดชอบงานในแต่และฝ่ายของโรงเรียน โรงเรียนละ 4 คน จ�ำนวน 228 คน รวมทั้งสิ้น 285 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ค่านิยม แนวคิดหลัก ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ประกอบด้วย 2.1.1 มุมมองเชิงระบบ (Systems Perspective) 2.1.2 การนําองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership) 2.1.3 ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นนักเรียน (Student-Focused Excellence) 2.1.4 การให้ความสําคัญกับบุคลากร (Valuing People) 2.1.5 การเรียนรู้ระดับองค์กรและความคล่องตัว (Organizational Learning and Agility) 2.1.6 การมุ่งเน้นความสําเร็จ (Focus on Success) 2.1.7 การจัดการเพื่อนวัตกรรม (Managing for Innovation) 2.1.8 การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง (Management by Fact) 2.1.9 ความรับผิดชอบต่อสังคม (Societal Responsibility) 2.1.10 จริยธรรมและความโปร่งใส (Ethics and Transparency) 2.1.11 การส่งมอบคุณค่าและผลลัพธ์ (Delivering Value and Results) 2.2 ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ได้แก่ 2.2.1 การนําองค์กร (Leadership) 2.2.2 กลยุทธ์ (Strategy) 2.2.3 นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Student and Stakeholder) 2.2.4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management) 2.2.5 บุคลากร (Workforce) 2.2.6 การปฏิบัติการ (Operations) 2.2.7 ผลลัพธ์ (Results)

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) แบ่งเป็น 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นแบบส�ำรวจรายการ (Check List) ประกอบด้วย เพศ และต�ำแหน่ง ตอนที่ 2 ค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 เป็นแบบสอบถามมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ (Rating Scale) และตอนที่ 3 ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 เป็นแบบสอบถามมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ (Rating Scale) 2. วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูปทางสถิติ โดยมีรายละเอียดดังนี้

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 11 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2.1 วิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการแจกแจงความถี่ และการหาค่าร้อยละ 2.2 วิเคราะห์ค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2.3 วิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2.4 การหาความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 วิเคราะห์โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product moment correlation coefficient)

ผลการวิจัย 1. ค่านิยม แนวคิดหลัก (Core value and Concept) ประกอบด้วย 11 ประการ ได้แก่ 1) มุมมองเชิงระบบ 2) การนําองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ 3) ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นลูกค้า 4) การให้ความสําคัญ กับบุคลากร 5) การเรียนรู้ระดับองค์กรและความคล่องตัว 6) การมุ่งเน้นความสาเร็จํ 7) การจัดการเพื่อนวัตกรรม 8) การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง 9) ความรับผิดชอบต่อสังคม 10) จริยธรรมและความโปร่งใส และ 11) การส่งมอบ คุณค่าและผลลัพธ์ ผลการวิเคราะห์ค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ของโรงเรียนสังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน (X = 4.10, S.D. = 0.61) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านจริยธรรมและความโปร่งใส มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X= 4.23, S.D. = 0.78) รองลงมาได้แก่ การน�ำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ (X = 4.20, S.D. = 0.73) ส่วนค่านิยม แนวคิดหลักฯ ที่มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด ได้แก่ การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง (X = 3.97, S.D. = 0.75) 2. ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน ประกอบด้วยการบริหารจัดการองค์กร 7 ด้าน ได้แก่ 1) การน�ำองค์กร 2) กลยุทธ์ 3) ลูกค้า 4) การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 5) บุคลากร 6) การปฏิบัติการ และ 7) ผลลัพธ์ ผลการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 ผู้วิจัยวิเคราะห์โดยค�ำนวณค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วน�ำค่าคะแนนที่ได้ เทียบกับเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ พบว่า ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 โดยภาพรวม อยู่ในระดับ มาก (X = 4.09, S.D. = 0.61) เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน ด้านการนาองค์กรํ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X = 4.16, S.D. = 0.66) รองลงมาได้แก่ ด้านบุคลากร (X = 4.11, S.D. = 0.66) ส่วนผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศ ของโรงเรียนที่มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด ได้แก่ ด้านการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (X = 3.97, S.D. = 0.71) 3. ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงาน ที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 พบว่า ค่านิยม แนวคิดหลัก ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกในระดับสูงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .89 12 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. ค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับ มากทุกด้าน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าเกิดจากความร่วมแรงร่วมใจที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันของบุคลากรทุกระดับ ในการเปรียบดังแม่เหล็กที่มีพลังดึงดูดอันเนื่องมาจากเส้นแรงที่เป็นระเบียบมุ่งไปยังทิศทางเดียวกัน กลายเป็นค่านิยมองค์กรที่มุ่งหวังจะประสบความส�ำเร็จ สอดคล้องกับ ปิยะชัย บุญช่วย (2553) กล่าวว่า ความรู้เกี่ยวกับรางวัลคุณภาพแห่งชาติมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติ ต่อรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ทัศนคติต่อรางวัลคุณภาพแห่งชาติมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการ ให้ความร่วมมือในรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ความรู้เกี่ยวกับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการให้ความร่วมมือในรางวัลคุณภาพแห่งชาติ สอดคล้องกับ Mattin (2012) กล่าวว่า องค์กรที่ใช้ค่านิยมและแนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ จะบรรลุผลการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับ ส�ำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ (2558 , น.122) ได้กล่าวว่า ค่านิยม แนวคิดหลักเป็นความเชื่อและพฤติกรรมที่พบว่าฝังลึกอยู่ในองค์กรที่มีผลการด�ำเนินการ ชนะเลิศหลายแห่งค่านิยมและแนวคิดหลักจึงเป็นรากฐานที่ก่อให้เกิดการปฏิบัติที่เกี่ยวเนื่องกันระหว่าง ผลการด�ำเนินการที่ส�ำคัญและข้อก�ำหนดของการปฏิบัติการภายใต้กรอบการจัดการที่เน้นผลลัพธ์ ซึ่งน�ำไปสู่การปฏิบัติการการให้ข้อมูลป้อนกลับและความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่อง 2. ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน อาจเป็นเพราะ โรงเรียนมีการจัดการผลการด�ำเนินการของโรงเรียนอย่างบูรณาการ ก่อให้เกิดพลังของคุณค่าที่ดีให้แก่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งผลต่อความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่องของโรงเรียน การด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน สอดคล้องกับ มิ่งขวัญ เชื้อมโนชาญ (2558) ระบบการด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน สตรีวิทยา มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับ ฉัตรชนก จรัสวิญญู (2556) องค์กรที่ได้รับรางวัล TQA หรือ TQC จะเป็นองค์กรที่ประสบความส�ำเร็จและเป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรมที่ด�ำเนินการอยู่ การสร้างให้เกิด กระบวนการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่องในองค์กร 3. ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) กับผลการด�ำเนินงาน ที่เป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 พบว่า โดยภาพรวม มีความสัมพันธ์กันในเชิงบวก ในระดับสูงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .89 ที่เป็นเช่นนี้อาจเนื่องมาจาก ค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) มีความสัมพันธ์กัน ในเชิงบวกกับผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน ด้านกลยุทธ์ และด้านบุคลากรมากที่สุด ด้านกลยุทธ์ อาจเป็นเพราะว่าผู้บริหารสถานศึกษา มีกระบวนการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการที่ส�ำคัญสู่การปฏิบัติที่ทั่วถึงทั้งองค์กร มีกระบวนการจัดเตรียมแผนงานด้านทรัพยากรบุคคลเพื่อสนับสนุนความส�ำเร็จของแผนปฏิบัติการ แต่จะต้องมี การพัฒนากระบวนการจัดสรรทรัพยากร และงบประมาณ เพื่อสนับสนุนความส�ำเร็จของแผนปฏิบัติการให้ตรงกับ ความต้องการและสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ส่วนด้านบุคลากร เป็นเพราะโรงเรียนมีกระบวนการจัดการ การเปลี่ยนแปลงอัตราก�ำลังการประเมินขีดความสามารถ และการจัดการบุคลากรที่มาปฏิบัติหน้าที่ใหม่ มีกระบวนการ จัดการสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มีความปลอดภัย และสวัสดิภาพของบุคลากร และสอดคล้องกับ Mattin (2012) ที่กล่าวว่า ค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพมีความถูกต้องเชิงประจักษ์ และการวิจัยตรวจสอบพบว่า องค์กรที่ใช้ค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ จะบรรลุผลการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 13 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ 1.1 การวัดและการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน ที่พัฒนาจากความต้องการและกลยุทธ์ของโรงเรียน มีการวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อใช้สนันสนุนการประเมินผล การตัดสินใจ เพื่อการปรับปรุง และสร้างนวัตกรรม โดยสามารถเปรียบเทียบผลการด�ำเนินการกับระดับเทียบเคียงของคู่แข่ง ด้านผลการปฏิบัติงาน ของวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Performance Benchmarking) 1.2 ผู้บริหารสถานศึกษา ควรบริหารจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง ควรมีการก�ำ หนดนโยบาย หรือกรอบ ในการปฏิบัติงานในสถานศึกษาให้ชัดเจน มีการใช้เทคนิค SWOT สนับสนุนความต้องการ และแผนกลยุทธ์ ของโรงเรียน หรือการปฏิบัติงานโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA และสื่อข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญ เกี่ยวกับกระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ที่ส�ำคัญ รวมทั้งผลการด�ำเนินการของคู่แข่ง โดยใช้การ Benchmarking เพื่อความยั่งยืนขององค์กร โรงเรียนจ�ำเป็นต้องใช้ตัววัดและตัวชี้วัดเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ในสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการติดตาม จะท�ำให้โรงเรียนสามารถประเมิน และปรับเปลี่ยนตัววัดหรือตัวชี้วัดเหล่านั้น เพื่อให้สนับสนุนเป้าหมาย ของโรงเรียนได้ดียิ่งขึ้น 2. ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) และผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศของโรงเรียน เช่น ปัจจัยการบริหาร ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง 2.2 ควรมีการวิจัยและพัฒนารูปแบบของการสร้างค่านิยม แนวคิดหลักตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ (OBECQA) ของผู้บริหารสถานศึกษา และครู น�ำไปสู่การปรับเปลี่ยนกระบวนการ และวิธีการท�ำงานเพื่อยกระดับ มาตรฐานการปฏิบัติงานทั่วทั้งองค์กร ส่งผลให้โรงเรียนผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพ และมีศักยภาพเทียบเคียง ในระดับสากล อันจะเกิดประโยชน์แก่สังคม และประเทศชาติสืบไป

รายการอ้างอิง ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค. ฉัตรชนก จรัสวิญญู. (2556). การศึกษาความเชื่อมโยงเชิงโครงสร้างระหว่างองค์ประกอบของรางวัลคุณภาพ แห่งชาติของประเทศไทย วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย นเรศวร. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร). ปิยะชัย บุญช่วย. (2553). ความรู้ ทัศนคติ และการให้ความร่วมมือในรางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand quality award : TQA) ของส�ำนักงานบริษัทปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต, วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์). มิ่งขวัญ เชื้อมโนชาญ. (2558). การประเมินระบบการด�ำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ของโรงเรียนสตรีวิทยาสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 (การค้นคว้าอิสระมหาลัยบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช).

1 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ส�ำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. (2558). เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ปี 2559-2560. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตะวันออก. Mattin D. C. (2012). A National Study Comparing Baldrige Core Values and Concept with AACN Indicators of Quality : Facilitating CCNE-Baccalsureate Colleges of Nursing Move toward More Effective Continuous Performance Improvement Practices. Summitted to the Greduate Faculty as Partial fulfillment of the requirements for the Doctor of Philosophy Degree in Higher Education Administration the University of Toledo. Retrieved December 11, 2017, from http://utdr.utoledo.edu/cgi/viewcontent.cgi? article=1393&context=theses-dissertations.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 15 วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ ปีที่ 2 (กรกฎาคม1 ฉบับที่ 2 -(กรกฎาคม ธันวาคม 2561) - ธันวาคม 16 - 2561)25 Karu Sima KaruJoural Sima Vol. Journal 1 No. 2 Vol. (July 1 -No. December 2 (July - 2018) December 16 - 252018)

การศึกษาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบ ร่วมกับผังกราฟิก A study of Thai Analytical Reading Ability of Grade 11th Students using Six Thinking Hats with Graphic Organizers วัชชิระ วรรณปะเข 1* และ ศศิวรรณ พชรพรรณพงษ์ 2 Watchira Wannapahka 1* and Sasiwan Potcharapanpong 2

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก 2) เปรียบเทียบความสามารถ ในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ และ 3) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราะห์ภาษาไทยหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ70 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 โรงเรียนประทาย จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก และแบบวัด ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (%) และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 17.30 คะแนน หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 24.67 คะแนน 2) นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ3) นักเรียนมีความสามารถ ในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ: ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย, หมวกความคิดหกใบ, ผังกราฟิก

1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นครราชสีมา 30000 M.Ed. Student in Curriculum and Instruction, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand 2 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นครราชสีมา 30000 Facylty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand *Corresponding author, e-mail : [email protected]

16 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

Abstract The purposes of this research were 1) to study Thai analytical reading ability of Grade 11 th students using six thinking hats with graphic organizers 2) to compare Thai analytical reading ability before and after learning, and 3) to compare Thai analytical reading ability after learning with 70% criteria. The samples were 43 Grade 11 th students studying in the second semester of academic year 2017 at Prathai School, Nakhon Ratchsima province. The research instruments were 6 lesson plans using six thinking hats with graphic organizers and Thai analytical reading ability test. The data were analyzed by, percentage, and t-test. The results of the research were as followed: 1) The average score of Thai analytical reading ability before learning was 17.30 and after learning was 24.67. 2) Thai analytical reading ability after learning was higher than before learning at the .05 level of significance, and 3) Thai analytical reading ability after learning was higher than the 70 percent which was the criterion score at the .05 level of significance. Keywords: Thai analytical reading ability, six thinking hats, graphic organizers

บทน�ำ ระบบการศึกษาของประเทศไทยภายหลังปฏิรูปการศึกษาได้ให้ความส�ำคัญกับการศึกษาเพื่อพัฒนาความคิด โดยได้ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 24 ระบุไว้ว่าให้สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรม ให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียนโดยค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหา (ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545, น.14) และส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก�ำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของการคิด ไว้ในมาตรฐานที่ 4 ของการประกันคุณภาพสถานศึกษา ก�ำหนดให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ (ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, 2550, น.11) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก�ำหนดสมรรถนะของผู้เรียนไว้ 5 ประการ คือ มีความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2552, น.5) จะเห็นได้ว่าหลักสูตรฉบับนี้ได้ให้ความส�ำคัญในด้านสมรรถนะด้านการคิดของผู้เรียนไว้เป็นอย่างมาก เพราะการมีความสามารถในการคิดจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ จะท�ำให้สามารถ แก้ไขปัญหา รวมทั้งสามารถเลือกตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล ในยุคข่าวสารเทคโนโลยีในปัจจุบันที่มีความเจริญ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วมีการแข่งขันกันสูง การปูพื้นฐานการคิดและส่งเสริมการคิดให้แก่เด็กและเยาวชน จึงเป็นสิ่งที่มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง นับตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงระดับสูง การได้รับการพัฒนาการคิดตั้งแต่ เยาว์วัย จะช่วยพัฒนาความคิดให้ก้าวหน้า ส่งผลให้สติปัญญาเฉียบแหลม เป็นคนรอบคอบ ตัดสินใจได้ถูกต้อง สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆในชีวิตได้ดีเป็นบุคคลที่มีคุณภาพสามารถด�ำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเป็นสุข

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 17 วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ ปีที่ 1 (มกราคม1 ฉบับที่ 2 - (กรกฎาคมมิถุนายน 2561) - ธันวาคม 22 - 342561) Karu SimaKaru Joural Sima Vol. Journal 1 No. 1Vol. (January 1 No. 2 - (JulyJune -2018) December 22 - 34 2018)

ผลจากการฝึกให้คิดจะช่วยให้เกิดประโยชน์แก่เด็กและเยาวชน (ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, 2551, น.48) ด้วยการคิดเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ส�ำคัญของการเกิดการเรียนรู้ของบุคคล การคิดมีตั้งแต่ การคิดในระดับต�่ำสุดจนถึงการคิดในระดับสูง คือการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่า การคิด และกระบวนการคิดเป็นกลไกที่ส�ำคัญที่จะแยกแยะสิ่งที่ดีและไม่ดี การคิดจึงเป็นสิ่งหนึ่งที่จ�ำเป็นต่อการเรียนรู้ และเป็นคุณสมบัติที่จะต้องส่งเสริมให้เกิดกับเด็กไทย การคิดที่ควรปลูกฝังให้นักเรียนซึ่งเหมาะกับสังคม ที่มีสารสนเทศ และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วคือการคิดวิเคราะห์ซึ่งเป็นระบบการคิดที่เกิดจากการใช้เหตุผล ในการพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นการคิดอย่างต่อเนื่อง ผู้สอนจึงต้องแนะน�ำให้นักเรียนสามารถคิดเป็น รู้วิธีคิดเพื่อเผชิญกับสถานการณ์ การศึกษาจึงควรเน้นให้นักเรียนได้พิจารณาไตร่ตรองปัญหา ได้มีการสนทนา อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดร่วมกับผู้อื่น และสร้างประสบการณ์ (กรมวิชาการ, 2545, น.25) การพัฒนาทักษะการคิดของมนุษย์เป็นเรื่องที่วงการศึกษาทั้งในประเทศ และต่างประเทศได้ให้ความสนใจ มีการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์เกิดขึ้นมากมาย แต่อย่างไรก็ตาม ในสองทศวรรษที่ผ่านมาพบว่า การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ยังท�ำได้ในขอบเขตจ�ำกัด และยังไม่บรรลุ เป้าหมายสูงสุดที่ต้องการ ส่งผลให้นักเรียนขาดทักษะที่จ�ำเป็นต้องใช้ (ขจรศักดิ์ สีเสน, 2544, น.14-15) ปัญหาด้านการคิดวิเคราะห์ของเด็กไทยจึงควรได้รับการแก้ไขซึ่งครูจะต้องพยายามพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียนซึ่งทิศนา แขมมณีและคณะ (2544, น.97) ได้กล่าวว่า ผู้ที่จะส่งเสริม การคิดวิเคราะห์ให้กับเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นจ�ำเป็นต้องปรับปรุงเทคนิควิธีการเรียนรู้เพื่อให้เด็ก เกิดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาการคิดอยู่เสมอ การสอนคิดวิเคราะห์จึงจะประสบความส�ำเร็จ จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประทาย อ�ำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา จากส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รอบ 2 พบว่า มาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ ผลการประเมินอยู่ในระดับพอใช้ และมีข้อเสนอแนะจากการประเมินว่า ครูควรจัดการเรียนรู้ที่เน้นพฤติกรรมการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น คือระดับการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า มากกว่าระดับความรู้ ความจ�ำ จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกคิด ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์ต่าง ๆ ฝึกสรุปความคิด รวบยอดอย่างต่อเนื่อง และในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เกี่ยวกับด้านความรู้ ความคิดในสาระต่าง ๆ ควรวัดด้วยข้อสอบอัตนัย คือเป็นข้อสอบให้นักเรียนได้วิเคราะห์ แก้ปัญหา และสังเคราะห์ สถานการณ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยมีความเห็นว่าจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องต้องให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาการคิดของผู้เรียนควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะการอ่านในวิชาภาษาไทย เนื่องจากการอ่าน เป็นกิจกรรมที่มีความส�ำคัญในการศึกษาเล่าเรียนทุกระดับ หากผู้เรียนมีทักษะการอ่านที่ดีการเรียนวิชาต่าง ๆ ย่อมประสบความส�ำเร็จ การอ่านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาเป็นการอ่านขั้นสูงที่ผู้อ่านควรได้รับการฝึกฝน ในด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า โดยเฉพาะการแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์เรื่องที่อ่าน ประเมินค่าทั้งข้อดีและข้อด้อยอย่างมีเหตุผลโดยใช้แผนภาพแสดงความคิด และกระบวนการคิดวิเคราะห์ อย่างหลากหลาย สอดคล้องกับเดอโบโน (De Bono, 1992, P.97) ที่ได้เสนอการคิดแบบหมวกความคิดหกใบ โดยใช้หมวกเป็นสัญลักษณ์ของการคิด เช่น การคิดหาข้อเท็จจริง ข้อมูล ใช้หมวกสีขาว การคิดจากความรู้สึก อารมณ์ ใช้หมวกสีแดง การคิดหาข้อดี จุดเด่น ใช้หมวกสีเหลือง การคิดหาข้อเสีย จุดด้อย ใช้หมวกสีด�ำ การคิดหาแนวทางใหม่ ใช้หมวกสีเขียว การคิดสรุป การควบคุมการคิด ใช้หมวกสีฟ้า การคิดแบบหมวกความคิดหกใบ 18 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

เป็นการจัดระบบการคิดสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนา การคิดของผู้เรียนได้ง่าย เนื่องจากไม่มีความซับซ้อน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนได้พยายามคิดอย่างรอบด้าน ส�ำนักงานเลขาธิการการศึกษา (2550, น.5-7) ได้เห็นความส�ำคัญของการพัฒนาการคิดของผู้เรียน โดยใช้หมวกความคิดหกใบจึงได้เสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหมวกความคิดหกใบซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นน�ำเข้าสู่บทเรียนเป็นการจัดกิจกรรมที่เน้นกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจมีความพร้อมโดยใช้ค�ำถาม กระตุ้นให้ผู้เรียนน�ำประสบการณ์เดิมมาใช้เชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่ 2) ขั้นด�ำเนินการสอนเป็นกิจกรรม การเรียนรู้เพื่อกระตุ้นการคิดด้วยการตั้งค�ำถามหมวกความคิดหกใบ ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ร่วมกันแสดงออก ด้วยการตั้งค�ำถาม การตอบค�ำถาม ด้วยการใช้ค�ำถามตามสีของหมวกเพื่อร่วมกันวิเคราะห์เพื่อให้ได้ความจริง ข้อเท็จจริง หรือค�ำตอบที่ต้องการ 3) ขั้นสรุป ผู้เรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปข้อค้นพบ หรือสังเคราะห์ เป็นองค์ความรู้ใหม่ และ4) ขั้นประเมินผล เป็นการใช้วิธีการที่หลากหลายประเมินสิ่งที่ผู้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรม อย่างไรก็ตามส�ำนักงานเลขาธิการการศึกษาไม่ได้ให้แนวทางที่ชัดเจนในขั้นสรุปของขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคหมวกความคิดหกใบ ผู้วิจัยจึงสนใจน�ำเทคนิคผังกราฟิกซึ่งเป็นแบบของการสื่อใช้น�ำเสนอข้อมูล ที่ได้จากกระบวนการรวบรวมอย่างเป็นระบบ มีความเข้าใจง่าย กระชับ กระทัดรัด ชัดเจน (พิมพันธ์ เดชะคุปต์, 2543, น.149) และสอดคล้องกับการท�ำงานของสมองมนุษย์ที่มีการจดความรู้ต่างๆ ที่ได้เรียนรู้อย่างมีระบบ ในลักษณะที่เป็นโครงสร้างที่เรียกว่า “โครงสร้างทางปัญญา” (สุปรียา ตันสกุล, 2540, น.7) จากการศึกษาแนวคิดดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้เทคนิคหมวกความคิดหกใบร่วมผังกราฟิกเพื่อเป็นแนวทางพัฒนา การเรียนการสอนต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก 3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิกกับเกณฑ์ร้อยละ70

กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรจัดกระท�ำ ตัวแปรตาม

การจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก 1. ขั้นน�ำเข้าสู่บทเรียน ความสามารถในการอ่าน 2. ขั้นด�ำเนินการสอนด้วยการตั้งค�ำถามแบบหมวกความคิดหกใบ เชิงวิเคราะห์ภาษาไทย 3. ขั้นสรุปความรู้โดยใช้ผังกราฟิก 4. ขั้นประเมินผล

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 19 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นครราชสีมา ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 420 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประทาย สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 43 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random sampling) 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคหมวกความคิดหกใบ ร่วมกับผังกราฟิก หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องอ่านดีมีความรู้ จ�ำนวน 6 แผน แผนการจัดการเรียนรู้ละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ ข่าวและเหตุการณ์ นิทาน บทความ สารคดี เรื่องสั้น วรรณคดี ผู้วิจัยน�ำแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นไป ให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ตรวจสอบดัชนีความสอดคล้อง (Index of objective หรือ IOC) มีค่า 1.00 2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีลักษณะเป็นแบบวัดแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ คะแนนเต็ม 30 คะแนน โดยคัดเลือกข้อสอบที่มีค่าความยากง่าย (p) ตั้งแต่ 0.25- 0.71 และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) ตั้งแต่ 0.25-0.63 และค่าความเชื่อมั่น 0.79 3. การด�ำเนินการทดลอง การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น (Pre – experimental design) ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการทดลอง ด้วยตนเองที่โรงเรียนโรงเรียนประทาย สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมาตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 3.1 ก่อนการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบวัดความสามารถในการอ่านเชิงเคราะห์ภาษาไทย 3.2 ด�ำเนินการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 จ�ำนวน 6 แผน แผนการจัดการเรียนรู้ละ 2 ชั่วโมง รวม 12 ชั่วโมง 3.3 หลังการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก ผู้วิจัยให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบวัดความสามารถในการอ่านเชิงเคราะห์ภาษาไทยด้วยแบบทดสอบ ฉบับเดิมน�ำคะแนนที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 วิเคราะห์ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยหาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คะแนนความสามารถ ในการอ่านเชิงเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน 4.2 วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงเคราะห์ภาษาไทย ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test for dependent) 4.3 วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงเคราะห์ภาษาไทย ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยการทดสอบค่าที (One sample t-test)

2 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ผลการวิจัย ตารางที่ 1 ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก

คะแนนเต็ม ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ สถานการณ์ n คะแนนเต็ม การจับ การหา การสรุป X % S.D. ใจความ ความสัมพันธ์ ข้อคิดหรือ ส�ำคัญ ของข้อมูล หลักการ (7 คะแนน) (10 คะแนน) (13 คะแนน)

ก่อนเรียน 43 30 4.79 5.25 7.25 17.30 57.67 1.70 หลังเรียน 43 30 5.60 8.20 10.86 24.67 82.25 2.13

จากตารางที่ 1 ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก พบว่า ก่อนเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 17.30 คะแนนหรือคิดเป็นร้อยละ 57.67 โดยมีคะแนนการอ่านเชิงวิเคราะห์ก่อนเรียนแต่ละด้านดังนี้ ด้านการอ่านจับใจความส�ำคัญได้คะแนนเฉลี่ย 4.79 คะแนนจากคะแนนเต็ม 7 คะแนน ด้านการหาความสัมพันธ์ ของข้อมูลได้คะแนนเฉลี่ย 5.25 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และด้านการสรุปข้อคิดหรือหลักการ จากเรื่องที่อ่านได้คะแนนเฉลี่ย 7.25 คะแนนจากคะแนนเต็ม 13 คะแนน ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยหลังเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 24.67 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 82.25 โดยมีคะแนนการอ่านเชิงวิเคราะห์หลังเรียนแต่ละด้านดังนี้ ด้านการอ่าน จับใจความส�ำคัญได้คะแนนเฉลี่ย 5.60 คะแนนจากคะแนนเต็ม 7 คะแนน ด้านการหาความสัมพันธ์ของข้อมูล ได้คะแนนเฉลี่ย 8.20 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และด้านการสรุปข้อคิดหรือหลักการจากเรื่องที่อ่าน ได้คะแนนเฉลี่ย 10.86 คะแนนจากคะแนนเต็ม 13 คะแนน

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้

สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม X S.D. t P ก่อนเรียน 43 30 17.30 1.70 36.91* .000 หลังเรียน 43 30 24.67 2.13

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 2 พบว่า ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิกหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 21 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ70

สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม X S.D. % t P หลังเรียน 43 30 24.67 2.13 82.25 11.28* .000 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 3 พบว่า ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิกหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

อภิปรายผล จากผลการวิจัย พบว่า ก่อนเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยเท่ากับ 17.30 คะแนน และหลังเรียน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 24.67 คะแนน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.57 ทั้งนี้เนื่องจากการจัดการเรียนรู้ แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิกเป็นการพัฒนาสมองให้สามารถคิดแยกแยะได้อย่างหลากหลาย ประเด็นภายใต้หัวข้อเนื้อหาเรื่องเดียวกัน จึงช่วยควบคุมความคิดได้อย่างเป็นระบบ จากนั้นนักเรียนได้วิเคราะห์ หาเหตุผลภายใต้กรอบความคิดนั้นๆ ซึ่งช่วยให้คิดพิจารณาเรื่องได้อย่างครอบคลุม ดังที่เดอ โบโน (De Bono, 1992, น.18-19) ได้กล่าวว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบเป็นเทคนิคอย่างหนึ่ง ที่ช่วยให้นักเรียนได้ระดมสมองท�ำให้เกิดความคิดที่หลากหลาย และในตอนท้ายของการเรียน นักเรียนได้สรุปประเด็น โดยใช้ผังกราฟิกท�ำให้เกิดความเข้าใจภาพรวมของเรื่องที่อ่านเนื่องจากเทคนิคผังกราฟิกเป็นเครื่องมือ ที่สามารถสื่อสารถ่ายทอดความคิดให้เห็นเป็นรูปธรรม ข้อมูลที่น�ำเสนอได้จะต้องผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ ซึ่งเป็นการคิดขั้นสูงดังที่ ทิศนา แขมมณี (2559, น.388) กล่าวว่า ผังกราฟิกเป็นการจัดข้อมูลหรือความรู้ อย่างเป็นระบบ ให้เข้าใจและจดจ�ำได้ง่าย ผังกราฟิกเป็นเครื่องมือทางการคิดและท�ำให้นักเรียนได้แสดงความคิด ของตนเองออกมาเป็นรูปธรรม ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟฟิก ในงานวิจัยที่มีทังหมด 4 ขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นน�ำเข้าสู่บทเรียนเป็นการจัดกิจกรรมที่เน้นกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจมีความพร้อมที่จะเรียน โดยใช้วิธีการใช้ค�ำถาม กระตุ้น ซักถาม ทบทวน 2. ขั้นด�ำเนินการสอนเป็นการกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อกระตุ้นการคิดด้วยการตั้งค�ำถามหมวกความคิดหกใบ ลักษณะกิจกรรมมุ่งให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในกิจกรรมในการเรียนรู้มากที่สุด กล่าวคือ ให้ผู้เรียน มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันร่วมกันแสดงออกด้วยการตั้งค�ำถาม การตอบค�ำถาม โดยออกแบบกรอบของความคิด ด้วยการใช้ค�ำถามตามสีของหมวกซึ่งจะใช้หมวกสีใดก่อนหลังก็ได้และผู้เรียนสามารถใช้ค�ำถามของหมวกแต่ละสี ได้ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนครั้งจนกระทั้งได้ค�ำตอบหรือองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนอย่างชัดเจนในขั้นตอนนี้ จึงจ�ำเป็นต้องมีการร่วมกันวิเคราะห์เพื่อให้ได้ความจริง ข้อเท็จจริง หรือค�ำตอบที่ต้องการ 3. ขั้นสรุป เป็นการสรุปผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียน มีส่วนร่วม โดยผู้เรียนร่วมสรุปความรู้ภาพรวมของเรื่องที่เรียนหรือสรุปสาระส�ำคัญของบทเรียน โดยน�ำความรู้ทั้งหมด มาน�ำเสนอแรกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสรุปข้อค้นพบหรือสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่ 22 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

4. ขั้นประเมินผล ควรใช้วิธีการที่หลากหลายประเมินสิ่งที่ผู้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมซึ่งได้สรุป จากการทดสอบ การบันทึก การตรวจสอบผลงาน การประเมินผลอาจเป็นโอกาสให้ผู้เรียน เพื่อน ผู้ปกครอง ร่วมประเมินผลได้ ซึ่งผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ ศศินันท์ จันทร์ดี (2555) ที่พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้เทคนิคหมวกหกใบและเทคนิคผังกราฟิก เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ผลการพัฒนา พบว่านักเรียนได้คะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้นร้อยละ 35.33 หลังการจัดการเรียนรู้ แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิก นักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราะห์ภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน การวิจัยที่ตั้งไว้ ปัจจัยที่ท�ำให้การจัดการเรียนรู้แบบหมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิกท�ำให้นักเรียน มีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์สูงขึ้น น่าจะเกิดจากกิจกรรมตอบสนองความสนใจของนักเรียน เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมและมีบทบาทในการท�ำกิจกรรม ให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ วิจารณ์และอภิปราย เหตุผลซึ่งสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาตามแนวคิดของฮาวิกเฮอร์สที่กล่าวว่านักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาเป็นวัยที่ต้องการการแสดงออกทางความคิด (จินตนา ณ สงขลา, 2555, น.46) ผลการวิจัย สอดคล้องกับงานวิจัยของ บุปผา มุคุระ (2549) ที่ศึกษาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยใช้ หมวกความคิด 6 ใบ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัยพบว่าคะแนนทดสอบการอ่าน เชิงวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนหลังเรียน กับเกณฑ์ร้อยละ 70 พบว่าคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เนื่องจากนักเรียนได้รับการพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในทุกแผนการจัดการเรียนรู้ กล่าวคือนักเรียนได้อ่านเรื่องโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์จากเรื่องราวที่อ่าน ได้ฝึกตั้งประเด็นค�ำถาม ร่วมกันวิเคราะห์ พิจารณา แยกแยะ และใช้ผังกราฟิกชนิดต่างๆ ที่เหมาะสมกับบทอ่าน และสรุปผลการวิเคราะห์ กระบวนการพัฒนาการวิเคราะห์ที่ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง สม�่ำเสมอ ท�ำให้นักเรียน ได้เกิดทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ทั้งในด้านการจับใจความส�ำคัญของเนื้อหา ด้านความสัมพันธ์ และด้านหลักการ ซึ่งการวิจัยนี้ได้ให้นักเรียนได้รับประสบการณ์การอ่านเรื่องราวที่หลากหลาย ได้แก่ ข่าวเหตุการณ์ส�ำคัญ บทความ นิทาน เรื่องสั้น สารคดีน่ารู้ และวรรณคดีสอนใจซึ่งเป็นเรื่องราวที่นักเรียนสนใจและเป็นการกระตุ้น ให้นักเรียนเกิดการคิดสอดคล้องตามแนวคิดของเพียเจต์ที่ว่ากระบวนการคิดของบุคคลจะพัฒนาขึ้นได้ ถ้าการน�ำเสนอสิ่งเร้าใหม่ก่อให้เกิดช่องว่างระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของนักเรียน ดังนั้น การอ่านบทอ่าน ที่หลากหลายจึงเป็นส่วนส�ำคัญอีกประการหนึ่งที่ส่งผลต่อพัฒนาการการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียน

ข้อเสนอแนะ 1.ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ประสบความส�ำเร็จ ผู้สอนควรศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิกให้เข้าใจอย่างชัดเจนก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.2 ครูควรให้ความสนใจในการตั้งค�ำถาม และเอาใจใส่ในค�ำตอบของนักเรียนซึ่งต้องใช้เวลา และมีกลวิธีการสอนเพื่อเชื่อมโยงให้เข้าสู่ประเด็นส�ำคัญให้ได้และควรจัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่เป็นกันเอง เพื่อให้นักเรียนกล้าแสดงความคิดเห็น

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 23 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

1.3 ผู้บริหารควรส่งเสริมกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์แก่นักเรียน เช่น จัดให้มี การแข่งขันการอ่านเชิงวิเคราะห์ในสัปดาห์วันส�ำคัญ เป็นต้น 2. ข้อเสนอแนะส�ำหรับการท�ำวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการท�ำวิจัยการจัดการเรียนรู้โดยใช้หมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิกในกลุ่มสาระอื่น และระดับชั้นอื่นต่อไป 2.2 ควรมีการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้หมวกความคิดหกใบร่วมกับผังกราฟิกที่มีต่อ ตัวแปรตามอื่น เช่น ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ เป็นต้น

เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ. (2545). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ. ขจรศักดิ์ สีเสน. (2544). “การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการคิดสร้างสรรค์”. วารสารวิชาการ, 4(1),14-19. จินตนา ณ สงขลา. (2555). จิตวิทยาส�ำหรับครู. นนทบุรี: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป. ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการด้านการคิด, กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเม้นท์ (2559). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุปผา มุคุระ. (2549). การศึกษาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยใช้หมวกความคิด 6 ใบ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต). ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : 9119 เทคนิคพรินติง. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2543). นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้สู่การวิจัยในชั้นเรียน.ในแนวคิดและแนวปฏิบัติของ ครูมัธยมเพื่อการปฏิรูปการศึกษา, (145-149). พิมพันธ์ เดชะคุปต์, สุวัฒนา อุทัยรัตน์และ กมลพร บัณฑิตยานนท์, บรรณาธิการ, กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศศินันท์ จันทร์ดี. (2555). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคหมวกหกใบและเทคนิคผังกราฟิก เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร). สุปรียา ตันสกุล. (2540). ผลของการใช้รูปแบบการสอนแบบการจัดข้อมูลด้ายแผนภาพที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความสามารถแก้ปัญหา (วิทยานิพนธ์ดุษฏีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ.พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม. (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2550). กึ่งทศวรรษการประเมินคุณภาพภายนอก : รายงานผลการประชุมวิชาการเฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). ส�ำนักงานเลขาธิการการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบพัฒนาความคิดด้วยการใช้ค�ำถามหมวก 6 ใบ. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย.

2 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. De Bono, E. (1992). Six Thinking Hats for Schools. Melbourne, VIC: Hawker Brownlow Education.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 25 วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ ปีที่2 (กรกฎาคม 1 ฉบับที่ 2 - (กรกฎาคมธันวาคม 2561) - ธันวาคม 26 - 362561) Karu Sima KaruJoural Sima Vol. Journal 1 No. 2 Vol. (July 1 -No. December 2 (July - 2018) December 26 - 36 2018)

การพัฒนากิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการ ทางสมอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง จังหวัดเชียงใหม่ The Development of Teaching Activities According to Brain-based learning of Prathomsuksa 6 Students, Ban Pang Fang School, Chiang Mai Province สมศรี เลายี่ปา 1,* Somsri Laoyeepa 1,*

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดกิจกรรมการสอนของครูผู้สอน พัฒนากิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง และ 2) ศึกษาประสิทธิผลการใช้กิจกรรมการสอน ตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง โดยท�ำการศึกษาจากประชากรได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟืองจ�ำนวน 17 คน และครูผู้สอนจ�ำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเด็นค�ำถาม ในการสนทนากลุ่มย่อย แบบวิเคราะห์สภาพปัญหา กิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการ พัฒนาการทางสมอง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบบันทึกพฤติกรรมของนักเรียน และแบบประเมิน ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบ t – test ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาส�ำคัญในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน คือ ครูผู้สอนขาดทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการเตรียมการสอนที่อิงมาตรฐานและตัวชี้วัด ซึ่งส่งผลต่อการจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการ พัฒนาการทางสมอง โดยผลการศึกษาประสิทธิผลการใช้กิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง พบว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวมภายหลังการจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการ พัฒนาการทางสมองสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นักเรียนมีพฤติกรรมต่อการจัดกิจกรรมการสอนในระดับดี (m = 3.16, s = 0.37) และมีความพึงพอใจ ต่อกิจกรรมการสอนในระดับมาก (m = 3.60, s = 0.27) ค�ำส�ำคัญ: กิจกรรมการสอน, กระบวนการพัฒนาการทางสมอง, โรงเรียนบ้านปางเฟือง

โรงเรียนบ้านปางเฟือง เชียงใหม่ 50170 1 Bann Pang Fuang Shool, Chiangmai 50170, Thailand *Corresponding author, E-mail : [email protected]

26 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

Abstract The objective of this research were 1) to analyze the context of teaching activities, develop teaching activities according to Brain based learning and 2) to study the effectiveness of teaching activities according to brain-based learning. The study population included 17 Prathomsuksa 6 students and 8 teachers. The research tools were: Questionnaire, semi-Structure for focus group. Statistics used to analyze data were t-test and descriptive statistics. The results of found that main problem teaching and learning was lack of skills, knowledge and experience of teacher to prepare curriculum related to standards and indicator that influencing to teaching activities according to brain based learning process. The leaning achievement result of the students after the brain – based learning was undertaken were higher at the statistical significant at 0.05 level. The students' learning behavior toward teaching activities were at a good level. (m = 3.16, s = 0.37) The students satisfaction toward teaching activities were at the high level. (m = 3.60, s = 0.27) Keyword: Teaching activities, Brain–based learning, Ban Pang Fang School

บทน�ำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และพระราชบัญญัติ การศึกษาภาคบังคับพ.ศ. 2545 มีเจตนารมณ์ที่ส�ำคัญคือเป็นการจัดการศึกษาที่ยึดหลักผู้เรียนเป็นส�ำคัญ โดยกระบวนการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ เพื่อมุ่งหวังให้คนไทย เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการด�ำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยก�ำหนดแนวการจัดการศึกษาในมาตรา 23 ไว้ว่า การจัดการศึกษา ต้องเน้นให้ความส�ำคัญทั้งความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับการศึกษา โดยให้มีการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด ของผู้เรียน โดยค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ท�ำได้ คิดเป็น ท�ำเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง โดยผสมผสานสาระความรู้ ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุล ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสื่อการเรียนและอ�ำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้โดยประสานความร่วมมือ กับทุกฝ่าย (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) ซึ่งในการปฏิรูปการศึกษานั้นหัวใจส�ำคัญคือการปฏิรูปการเรียนรู้ หรือการเรียนการสอน โดยมุ่งให้ผู้เรียนรู้และเชื่อมโยงกับประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง (ประเวศ วะสี, 2543) ดังนั้น การปฏิรูปการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนจึงเป็นภารกิจที่มุ่งสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการที่ยั่งยืน ให้กับระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเน้นมาตรการพัฒนารูปแบบและวิธีการสอนให้มีความหลากหลาย และเหมาะสมกับธรรมชาติของผู้เรียน (สํานักงานปฏิรูปการศึกษา, 2544) โดยทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ คือแนวคิดในการส่งเสริมการเรียนรู้ตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง (Brain–based learning หรือ BBL) ที่มุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสมอง โดยจะท�ำให้เด็กมีพัฒนาการการเรียนรู้

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 27 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งนักวิจัยทั่วโลกค้นพบตรงกันว่าสมองของมนุษย์ทุกคนถูกออกแบบมา เพื่อการเรียนรู้ เพียงแต่การพัฒนาจะดีเพียงใดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและการจัดการเรียนรู้ที่อยู่รอบตัว (วิทยากร เชียงกูล, 2548) ดังนั้น Brain-based learning (BBL) จึงเป็นทางออกส�ำหรับวิกฤติการเรียนรู้ ของเด็กและเยาวชนไทย (กฤษณพงศ์ กีรติกร, 2547) จากการวิเคราะห์ผลการประเมินการทดสอบในรอบ 5 ปีการศึกษาย้อนหลังของโรงเรียนบ้านปางเฟือง พบว่า ผลทดสอบ O-net นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยของโรงเรียนในเขตพื้นที่ และต�่ำกว่าระดับประเทศ (ฝ่ายวิชาการโรงเรียนบ้านปางเฟือง, 2559) โดยผู้บริหารได้เล็งเห็นถึงประเด็นปัญหา ที่ควรได้รับการแก้ไขและพัฒนาอย่างเร่งด่วน เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านปางเฟือง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงได้ร่วมกับคณะครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พัฒนากิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนน�ำไปจัดการเรียนการสอน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระ เพื่อลดจ�ำนวนนักเรียนที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในการประเมินการทดสอบระดับต่าง ๆ และเป็นการวางรากฐานการศึกษาของชาติต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดกิจกรรมการสอนของครูผู้สอนให้แก่นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อพัฒนากิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง จังหวัดเชียงใหม่ 3. เพื่อศึกษาประสิทธิผลการใช้กิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง จังหวัดเชียงใหม่

ขอบเขตการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การวิจัยครั้งนี้ท�ำการศึกษาจากประชากรทั้งหมด 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประจ�ำปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบ้านปางเฟือง จ�ำนวน 17 คน 2) ครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษา ต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ประจ�ำปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบ้านปางเฟือง จ�ำนวน 8 คน ระยะเวลาด�ำเนินการ ธันวาคม 2558 – พฤษภาคม 2560

วิธีด�ำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย กิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ แบบบันทึกพฤติกรรม

28 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ของนักเรียนต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง และแบบประเมินความพึงพอใจ ต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ผู้วิจัยพัฒนากิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง เพื่อน�ำไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2559 2. ท�ำการทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 3. ด�ำเนินการสอนตามกิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง ในระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟืองที่ได้จัดท�ำขึ้น 4. ท�ำการทดสอบหลังเรียน (Post–test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ แบบบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง และแบบประเมิน ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง 5. วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ สรุปและอภิปรายผลการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติ t- test dependent samples ในการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน-หลัง ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และสถิติเชิงพรรณนาในการอธิบายค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของพฤติกรรมนักเรียน ต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง และความพึงพอใจต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการ พัฒนาการทางสมอง

ผลการวิจัย ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอน สภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนคือ ขาดทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการ เตรียมการสอนที่อิงมาตรฐานและตัวชี้วัดมากที่สุด ในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนพบว่า ครูผู้สอน ไม่บันทึกหลังสอนหรือประเมินระหว่างเรียนเพื่อปรับปรุงแก้ไขมากที่สุด ด้านการผลิตสื่อและการใช้สื่อ การเรียนการสอนพบว่า ครูผู้สอนขาดความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ในการผลิตสื่อ/ผลิตและใช้สื่อไม่ตรง ตามความต้องการของผู้เรียนมากที่สุด และด้านการวัดและประเมินผลพบว่า ครูผู้สอนขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการวิเคราะห์เนื้อหา ท�ำให้การวัดผลไม่ครอบคลุมและตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัดมากที่สุด ตอนที่ 2 ผลการพัฒนากิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง สภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันของโรงเรียนบ้านปางเฟืองส่งผลต่อการจัดกิจกรรม การสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในทั้ง 3 ขั้นตอน ซึ่งมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการพัฒนากิจกรรม การสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน บ้านปางเฟืองให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยกิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการ พัฒนาการทางสมองในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟืองประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอน ขั้นตอน การเรียนการสอน ระบบสนับสนุน และการประเมินประสิทธิผลการใช้กิจกรรม โดยมีความเหมาะสมของกิจกรรมการสอนและคู่มือการสอน ตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองอยู่ในระดับมาก (X = 4.44, SD = 0.65)

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 29 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ตอนที่ 3 ผลการศึกษาประสิทธิผลการใช้กิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวม 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายหลังการจัดกิจกรรม การสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง คะแนน N m s t p ก่อนเรียน 17 12.45 1.84 24.53* .000 หลังเรียน 17 20.68 2.45 * ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่า คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวม 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายหลังการจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ตารางที่ 2 พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนต่อจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง

พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน m s การแปลผล 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3.25 0.44 ระดับดี 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3.13 0.41 ระดับดี 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3.05 0.42 ระดับดี 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศาสนาและวัฒนธรรม 3.20 0.48 ระดับดี 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 3.24 0.53 ระดับดี 6. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3.26 0.35 ระดับดีมาก 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี 3.27 0.42 ระดับดีมาก 8. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 2.93 0.38 ระดับดี 9. พฤติกรรมการเรียนในภาพรวมทั้ง 8 สาระการเรียนรู้ 3.16 0.37 ระดับดี

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง มีพฤติกรรมการเรียน ต่อการจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในภาพรวมทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี (m = 3.16, s = 0.37) โดยนักเรียนมีพฤติกรรมต่อการจัดกิจกรรมการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี ในระดับดีมาก (m = 3.27, s = 0.42) รองลงมาคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ในระดับดีมาก (m = 3.26, s = 0.35) และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในระดับดี (m = 3.25, s = 0.44) ตามล�ำดับ

3 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ตารางที่ 3 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง

ความพึงพอใจ m s การแปลผล 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3.83 0.45 ระดับมาก 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3.84 0.43 ระดับมาก 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3.78 0.39 ระดับมาก 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศาสนาและวัฒนธรรม 3.58 0.29 ระดับมาก 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 3.49 0.18 ระดับปานกลาง 6. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3.63 0.17 ระดับมาก 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี 3.25 0.23 ระดับปานกลาง 8. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3.43 0.21 ระดับปานกลาง 9. พฤติกรรมการเรียนในภาพรวมทั้ง 8 สาระการเรียนรู้ 3.60 0.27 ระดับมาก

จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง มีความพึงพอใจ ต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในภาพรวมทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก (m = 3.60, s = 0.27) โดยมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับมาก (m = 3.84, s = 0.43) รองลงมาคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ในระดับมาก (m = 3.83, s = 0.45) และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในระดับมาก (m = 3.78, s = 0.39) ตามล�ำดับ

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย 1. ปัญหาส�ำคัญในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านปางเฟืองคือ ครูผู้สอนคือขาดทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการเตรียมการสอนที่อิงมาตรฐานและตัวชี้วัด ครูผู้สอนไม่บันทึกหลังสอนหรือประเมิน ระหว่างเรียนเพื่อปรับปรุงแก้ไข ครูผู้สอนขาดความรู้ความเข้าใจ ประสบการณ์ในการผลิตสื่อ/และใช้สื่อ ไม่ตรงตามความต้องการของผู้เรียน ครูผู้สอนขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการวิเคราะห์เนื้อหา ท�ำให้การวัดผล ไม่ครอบคลุม และไม่ตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัด ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ จัดการเรียนการสอน 2. ผลการพัฒนากิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟืองประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน ระบบสนับสนุน และการประเมินประสิทธิผลการใช้กิจกรรม ส�ำหรับความเหมาะสมของกิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองพบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X = 4.44, SD = 0.65) 3. ผลการศึกษาประสิทธิผลการใช้กิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง 3.1 คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในภาพรวม 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายหลังจาก

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 31 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

การจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.2 ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ต่อการจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการ พัฒนาการทางสมองในภาพรวมอยู่ในระดับดี (m = 3.16, s = 0.37) 3.3 ผลการประเมินความพึงพอใจ ต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (m = 3.60, s = 0.27) อภิปรายผลการวิจัย 1. สาเหตุที่กิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางเฟือง มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เนื่องจากกิจกรรมการสอน ที่สร้างและพัฒนาขึ้นดังกล่าวได้น�ำทฤษฎี และแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการ พัฒนาการทางสมอง ที่ค�ำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนและมีการจัดองค์ประกอบของการเรียนการสอนทั้งหมด อย่างมีระบบ สอดคล้องกันในทั้ง 3 ขั้นตอน ซึ่งนักการศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่า การจัดกิจกรรมการสอนที่จะช่วยให้ ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนได้นั้น ต้องเป็นการสอนที่มีการจัดระบบมีทฤษฎีและแนวคิดเป็น พื้นฐานรองรับ (Gagne & Briggs, 1979 ; Davies, 1981) ซึ่งแต่ละขั้นตอนของการพัฒนากิจกรรมการสอนฯ มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน โดยเริ่มจากการศึกษาข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ทั้งในด้านสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน และสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับรายวิชา ที่มีการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน เพื่อน�ำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานและเป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรมการสอนฯ ให้สนองตอบต่อสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านปางเฟืองอย่างแท้จริง และในด้านกิจกรรมการสอนฯ ผู้วิจัยได้พัฒนากิจกรรมการสอนจากการศึกษาความหมาย องค์ประกอบของ กิจกรรมการสอน ขั้นตอนการสร้างและพัฒนากิจกรรมการสอน ซึ่งมีหลักการแนวคิดของการพัฒนารูปแบบการสอน จากนักการศึกษาหลายท่าน เพื่อน�ำมาใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดขั้นตอนวิธีการและกระบวนการวิจัย ตามระเบียบวิธีวิจัย และพัฒนากิจกรรมการสอนในครั้งนี้โดยเฉพาะการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ พัฒนาการทางสมอง (Caine, R.N., and G. Caine.1990 ; Call, Nicola and Featherstone, Sally. 2003 ; Jensen,E. 2000 ; วิโรจน์ ลักขณาอดิศร, 2550 ; วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์, 2550) เพื่อน�ำมาเป็นทฤษฎีพื้นฐาน ในการก�ำหนดแนวทางเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งจากการที่ผู้วิจัยพัฒนากิจกรรมการสอนและคู่มือการสอน ตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองขึ้นตามหลักการและเหตุผลที่ถูกต้อง จึงเป็นผลให้กิจกรรมการสอน และคู่มือการสอนดังกล่าวสามารถน�ำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพและส่งผล ต่อการเพิ่มขึ้นของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวมทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวม 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายหลังการจัดกิจกรรมการสอน ตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง สามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยมากกว่าการเรียนโดยใช้กิจกรรมการสอนแบบเดิม เพราะการใช้กิจกรรมการสอนที่มีการพัฒนากระบวนการสอนโดยใช้แนวคิด และทฤษฎีที่เหมาะสม กับธรรมชาติของวิชา และธรรมชาติของผู้เรียน ผ่านกระบวนการที่เชื่อมโยงกันซึ่งเมื่อได้รับการฝึกฝนอย่างถูกวิธี สามารถช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ดี โดยกิจกรรมการสอนในครั้งนี้พัฒนาขึ้นจากพื้นฐาน

32 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ทฤษฎีการเรียนรู้โดยค�ำนึงถึงการท�ำงานของสมอง ยึดหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ของสมอง และจิตใจมนุษย์ตามแนวคิดของ Caine, R.N., and G. Caine. (1990) ซึ่งการน�ำไปประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนการสอนผู้วิจัยได้ใช้กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้โดยค�ำนึงถึงการท�ำงานของสมอง ตามแนวคิดของ Jensen, E. (2000) โดยน�ำแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้สู่ชั้นเรียน และการจัดสภาพแวดล้อมที่ค�ำนึงถึง การท�ำงานของสมอง ทั้งนี้ ครูผู้สอนได้มีการสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมในการเรียนรู้โดยการพักสมอง สร้างอารมณ์เชิงบวก ไม่พูดส่อเสียดหรือใช้ค�ำพูดไม่สุภาพ เพิ่มความกระตือรือร้น ชื่นชมกับชิ้นงานที่ผู้เรียนสร้างสรรค์ ตลอดจนการให้ค�ำแนะน�ำขณะเรียนอยู่บ่อยครั้ง จึงส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของนักการศึกษาหลายท่านที่ใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ ทางสมองของผู้เรียนส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นประถมศึกษาสูงขึ้น (Swift, E. 2007 ; รสริน พันธุ, 2550) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า แนวคิดดังกล่าวสามารถน�ำไปพัฒนาการเรียนการสอน ช่วยส่งเสริมความสามารถให้กับผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง Duman, B,2010 ; Connell, J. D. (2009) ; Hoge, P. T. (2003, May) 3. ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนต่อจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีการแสดงออกพฤติกรรมการเรียนระหว่างการจัดกิจกรรมการสอน ตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในภาพรวมทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับดี เป็นเพราะการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมาซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบปกตินั้น ส่วนใหญ่เป็นการสอน ของครูปกติ โดยครูจะยืนหน้าชั้นเรียนแล้วอธิบายเนื้อหา และให้นักเรียนเขียนหรือจดบันทึกตามหนังสือ อ่านตามหนังสือ และเรียนด้วยตนเอง ผู้เรียนจึงรู้สึกเบื่อหน่ายไม่มีกิจกรรมบันเทิง บรรยากาศในห้องเรียนจึงไม่สนุก เป็นผลให้ผู้เรียนขาดความตื่นตัวในกระบวนการเรียนการสอน ดังนั้นเมื่อผู้เรียนได้เรียนตามกิจกรรมการสอน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ซึ่งมุ่งเน้นให้ผู้เรียนคลายสมองด้วยกิจกรรมผ่อนคลายจึงท�ำให้ผู้เรียนเกิดสมาธิผ่อนคลาย สมองปลอดโปร่ง มีการยกตัวอย่าง และใช้ค�ำถามกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ตื่นตัวตลอดเวลา ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ด้วยตนเอง เรียนร่วมกันเป็นกลุ่ม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ได้แลกเปลี่ยนความคิด ซึ่งการที่ครูจัดการสอนโดยค�ำนึงถึง ความแตกต่างของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้ตามความถนัดของตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับ ประกาย ว่องวิการณ์ (2559) ที่ท�ำการศึกษาผลการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานที่มีต่อ ความสามารถในการอ่านจับใจความและความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 โดยนักเรียนที่ได้รับการสอนอ่านตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานมีความสามารถ และทักษะ การแสดงออกในการอ่านจับใจความ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้ ยังมีความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาภาษาไทยโดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งเป็นผลจากการปรับเปลี่ยน วิธีการจัดการสอนโดยค�ำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน โดยผู้วิจัยจะท�ำการขยายผลและประยุกต์ใช้กิจกรรม การจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองไปสู่การสอนในระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1–6 ของโรงเรียนบ้านปางเฟือง โดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้และเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียน 4. ด้านความพึงพอใจต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองในภาพรวมทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก อาจเป็นเพราะผู้เรียนรู้สึกมีความสุข และสนุกกับการจัดกิจกรรมการสอนที่ไม่ซ�้ำซากจ�ำเจ มีการถ่ายทอด และเรียนรู้เนื้อหาที่น่าสนใจ ผ่านการลงมือปฏิบัติจริงเพื่อเชื่อมโยงทฤษฎีกับการประยุกต์ใช้จริง

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 33 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ในชีวิตประจ�ำวัน นอกจากนี้ครูผู้สอนยังมีการเลือกใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย และเหมาะสมกับลักษณะ ของผู้เรียนและมีการจัดบรรยากาศในห้องเรียนและสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งส่งผลต่อความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน สอดคล้องกับงานวิจัยของ ประกาย ว่องวิการณ์ (2559) และฉวีวรรณ สีสม (2555) ที่กล่าวว่าผู้สอนควรเข้าใจถึงความต้องการพื้นฐานของผู้เรียนจัดสภาพการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนมีอิสระเอื้อต่อการเรียนรู้ จัดกิจกรรมที่มีความเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่ในตัวผู้เรียนด้วยประสบการณ์ ที่หลากหลายเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน นอกจากนั้นผู้สอนต้องมีความตระหนักถึงความพร้อมในการเรียนรู้ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้สอนและผู้เรียนควรมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ร่วมกันเรียนรู้อย่างกัลยาณมิตร กิจกรรมการเรียนการสอนควรมีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายมีความหมายต่อผู้เรียน เพื่อน�ำไปใช้ ในประสบการณ์จริงและเพื่อแสวงหาความรู้ต่อไป โดยผลการวิจัยของ อิศรา ก้านจักร และคณะ (2551) พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เรียนด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้ทางสมองของผู้เรียนโดยใช้ Brain based learning และการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการท�ำงานของสมองของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 เพิ่มสูงขึ้นและผู้เรียนกลุ่มทดลองมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้นจากเดิม โดยการเรียนรู้ที่ดี จะสามารถก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีและยาวนานได้ หากให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งในด้านสติปัญญา ร่างกายและจิตใจมากกว่าการฟังการบรรยายและการตอบค�ำถาม (Kemp & Deane, 1985) โดยครูควรให้ความเป็นกันเองกับผู้เรียนในขณะที่ผู้เรียนลงมือท�ำกิจกรรมในชั้นเรียน กระตุ้นให้เกิดแรงเสริม เพื่อให้ผู้เรียนมีก�ำลังใจในการท�ำงานและมีความมั่นใจในการแสดงความคิดเห็น พร้อมทั้งให้แรงเสริม ในทางบวกขณะที่ผู้เรียนออกน�ำเสนอผลงาน (วชิระ วิชชวุรนันท์, 2542)

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ประโยชน์ 1. ครูผู้สอนที่จะน�ำกิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมอง ที่ผู้วิจัย ได้ท�ำการพัฒนาขึ้นนี้ไปใช้ ควรศึกษาเพื่อท�ำความเข้าใจองค์ประกอบต่าง ๆ กิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนฯ ก่อนน�ำไปใช้ โดยสามารถปรับเปลี่ยนระดับชั้นและจ�ำนวนชั่วโมงการสอนในแต่ละขั้นตอนได้ตามความเหมาะสม โดยพิจารณาจากพื้นฐานของผู้เรียน และขอบเขตเนื้อหาในแต่ละสาระการเรียนรู้ 2. การใช้ค�ำถามปลายเปิดจะช่วยในการกระตุ้นการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้ เช่น “ท�ำไม” “อะไร” “อย่างไร” “ถ้า..แล้ว” ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ใช้สมองซีกซ้ายและซีกขวาสลับกัน ดังนั้นครูผู้สอน จึงควรเตรียมค�ำถามให้เหมาะสมกับเนื้อหาที่สอน โดยเรียงล�ำดับค�ำถามให้มีความยากง่าย และเลือกใช้ ให้หลากหลาย พร้อมทั้งสังเกตผู้เรียนในขณะที่สอนและจดบันทึกหลังการสอนทุกครั้ง 3. ครูผู้สอนควรก�ำหนดชิ้นงานในการสอนให้มีความยากง่าย และท้าทายความสามารถของผู้เรียน เพิ่มมากขึ้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน และท�ำให้นักเรียนเกิดความสนใจ ที่จะเรียนรู้อย่างไม่รู้จบ 4. ครูผู้สอนที่น�ำกิจกรรมการสอนและคู่มือการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทางสมองที่ผู้วิจัย ได้ท�ำการพัฒนาขึ้นนี้ไปใช้แล้ว ควรศึกษาเกี่ยวกับวิธีสอนแบบอื่น ๆ เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ ของขั้นตอนที่ก�ำหนดให้มีความหลากหลาย และแปลกใหม่ น่าสนใจอยู่เสมอ

3 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพและประสิทธิผลการสอนตามรูปแบบการสอน โดยใช้สมองเป็นฐาน กับรูปแบบการสอนอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากการสอนแบบปกติ อาทิเช่น การสอนแบบแก้ปัญหา เป็นฐาน (Problem-based learning) การสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นส�ำคัญ (Child center learning) เพื่อค้นหา รูปแบบการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียน สภาพบริบทของโรงเรียนและก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ในการจัดการเรียนการสอน 2. ควรมีการด�ำเนินการทดสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้จากหลากหลายวิธีนอกเหนือจากการใช้ แบบทดสอบความรู้ เพื่อให้สามารถวัดคุณภาพของผู้เรียนได้ตรงตามที่ก�ำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 3. ควรมีการขยายผลการศึกษาโดยเพิ่มขอบข่ายประชากรในการศึกษาเพื่อท�ำการเปรียบเทียบ ความ แตกต่างของกลุ่มตัวอย่าง ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดการสอนตามกระบวนการพัฒนาการทาง สมอง

เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.). กฤษณพงศ์ กีรติกร. (2547). ก่อร่าง...วางฐาน “สถาบันวิทยาการการเรียนรู้”. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2559, จาก http://www.nbl.or.th ฉวีวรรณ สีสม. (2555). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาเคมีทั่วไป โดยใช้สมองเป็นฐานส�ำหรับนักศึกษา สถาบันการพลศึกษา. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ). ประกาย ว่องวิการณ์. (2559). ผลการสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการ อ่านจับใจความและความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์). ประเวศ วะสี. (2543). ยุทธศาสตรทางปญญาและการปฏิรูปการศึกษาที่พาประเทศพนวิกฤต. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค. ฝ่ายวิชาการโรงเรียนบ้านปางเฟือง. (2559). รายงานการวิเคราะห์ผลทดสอบ O-net นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประจ�ำปี 2559. เชียงใหม่ : โรงเรียนบ้านปางเฟือง. (อัดส�ำเนา). รสริน พันธุ. (2550). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับ การสอนตามหลักการเรียนเพื่อรอบรู้โดยใช้ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่). วชิระ วิชชวุรนันท์. (2542). คู่มือการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. ก�ำแพงเพชร : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏก�ำแพงเพชร. วิทยากร เชียงกูล. (2548). เรียนลึก รู้ไว ใช้สมองอย่างมีประสิทธิภาพ.กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 35 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design. กรุงเทพฯ : ช้างทอง. วิโรจน์ ลักขณาอดิศร. (2550). การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานกับการสร้างเด็กเก่ง. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น ศิริชัย กาญจนวาสี. 2544. ทฤษฏีการทดสอบแบบดั้งเดิม. พิมพ์ครั้งที 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สํานักงานปฏิรูปการศึกษา. (2544). ปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติ พุทธศักราช 2542. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บุญศิริการพิมพ. อิศรา ก้านจักร และคณะ. (2551). ศักยภาพทางปัญญาของผู้เรียนที่เรียนด้วยนวัตกรรมที่ส่งเสริม ศักยภาพการเรียนรู้ ทางสมอง. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Caine, R.N., and G. Caine. (1990). Understanding a Brain Based Approach to Learning and Teaching. Educational Leadership. 48(2), PP.66-70. Call, Nicola and Featherstone, Sally. (2003) Thinking child – Brain – based learning for the foundation stage. Network Educational Press Ltd. Connell, J. D. (2009). The global aspects of brain-based learning. Educational Horizons, 88(1), PP.28-29. Cronbach, Lee. J. (1990) . Essentials of Psychology Testing. 5th ed. New York : Harper Collins Publishers Inc. Davies, I. (1981). Instructional technique. New York: McGraw-Hill. Duman, B. (2010). The effects of brain-based learning on the academic achievement of students with different learning styles. Educational Sciences : Theory and Practice, 10(4), PP.2077-2103. Gagne, R., & Briggs, L. (1979). Principles of instructional design. New York : Holt, Rinchart and Winston. Hoge, P. T. (2003, May). The integration of brain-based learning and literacy acquisition. Dissertation Abstracts International, 63(11), 3884-A. Jensen, E. (2000). Brain – based learning. The United States of America, The Brain StorePublishing. Kemp & Deane (1985). Planning and producing instructional media (5th edition). New York : Harper & Row. Swift, E. (2007). Shaking out the wiggles: How can movement affect brain-based learning in the classroom? (Ferguson township elementary school in pine grove mills,Pennsylvania). Abstract retrieved from http://www.ed.psu.edu/educ/pds/teacher-inquiry/2007/ swifteinquiry0607.pdf

36 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ปีที่ ฉบับที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม - ธันวาคม 2561) 2561) 37 - 47 KaruKaru Sima Sima Joural Journal Vol. 1 Vol. No. 1 2 No. (July 2 (July- December - December 2018) 2018) 37 - 47 การศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน ของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สำ�นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 A Study of Utilizing the Learning Resources for Learning Activities in School under Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 4 กรุณาพร ชุติโรจนไพศาลสิน 1,* ไพศาล หวังพานิช 2 สงวนพงศ์ ชวนชม 2 Karunaporn Chutirodjanapaisansin 1,* Paisan Vangpanit 2 Sanguanpong Chuanchom 2

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบ การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 จ�ำแนกตามต�ำแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์ในการสอน และขนาดสถานศึกษาที่สอน ส�ำหรับการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการใช้เป็นสื่อประกอบ การจัดการเรียนการสอน ด้านการใช้ประกอบการค้นคว้า และด้านการใช้เพื่อศึกษาเพิ่มเติม กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษา คือ ครูผู้สอน โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 ซึ่งปฏิบัติงานในปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 317 คน ใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test, F-test (One-Way Analysis of Variance) และทดสอบรายคู่โดยใช้วิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe's Method) ผลการวิจัย พบว่า 1. การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 พบว่า ในภาพรวมมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก

1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 M.Ed. Student in Educational Administration, Vongchavalitkul University. Nakhon Ratchasima 30000, Thailand 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 Faculty of Education, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand *Corresponding author, email : [email protected]

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 37 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2. การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู พบว่า 2.1 ครูที่มีต�ำแหน่งหน้าที่ต่างกัน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน ในภาพรวม และรายด้านทุก ๆ ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 ครูที่มีประสบการณ์ในการสอนต่างกัน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน แตกต่างกันในด้านการใช้ประกอบการค้นคว้า อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูที่มีประสบการณ์ ในการสอน ต�่ำกว่า 5 ปี แตกต่าง และมากกว่าครูที่มีประสบการณ์ในการสอน 5-10 ปี 2.3 ครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดต่างกัน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน แตกต่างกันในด้านการใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดกลาง แตกต่าง และมากกว่าครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ความส�ำคัญ : แหล่งเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน

ABSTRACT The research was purposed to 1) study of utilizing the learning resources for learning activities in school under Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 4, and 2) Compare of utilizing the learning resources for learning activities in school under Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 4 that has differed conditions. The sampling group that used in the study was the teacher under Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 4, who performs their duties in Academic Year 2016 of 317 teachers. Sampling by Stratified Random Sampling), the tool that used in the study is the questionnaires, the statistic that used to analyzed the data such as percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test (One-Way Analysis of Variance) and Scheffe's Method. It could concluded the research results as following. 1. Utilizing the learning resources for learning activities in school under Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 4 is found that in overall has utilizing the learning resources for learning activities in school under Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 4 was in a much level when considered by side is found that utilizing for research, utilizing for additional study and utilizing the media for teaching and learning. It was in a much level respectively. 2. Utilizing the learning resources for teaching and learning 2.1 The teacher who have differed position; they have utilizing the learning resources for learning activities in overall and by side was differed. 2.2 The teachers who have differed teaching experience; there is differed in significant statistic of .05 in the field of research by the teacher who have differed teaching experience lower than 5 years and more than the teacher who have teaching experience for 5-10 years.

38 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2.3 The teachers were under differed school size; they have differed in significant statistic of .05 utilizing the learning sources for teaching in the field of research that the teachers were under medium school size is differed and more than that the teachers were under small school size and large school size in significant statistic of .05 Keywords: Learning Resources, Learning Activities

บทน�ำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 23 (3) ได้ระบุไว้ว่า การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความส�ำคัญด้านความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับของการศึกษา ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทยและการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาและก�ำหนดให้การศึกษาเป็นระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การสร้างองค์ความรู้ อันเกิดจาก การจัดสภาพแวดล้อมสังคมแห่งการเรียนรู้ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญา และความรู้คู่คุณธรรม ให้สถานศึกษาได้จัดท�ำหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในส่วนที่เกี่ยวกับผลของปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของสถาบันครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทยและการประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญา พร้อมกันนี้เพื่อให้การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานบรรลุจุดมุ่งหมายที่ก�ำหนดไว้ สถานศึกษาเอกชน ต้องมีการประชาสัมพันธ์และร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและชุมชน ในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการ จ�ำเป็นต้องสนับสนุนส่งเสริมด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2557 น. 2) ดังที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 25 ความว่า รัฐจ�ำเป็นต้องส่งเสริมและจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุด ประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นสถานศึกษาทุกแห่งซึ่งมีหน้าที่ด�ำเนินงานสนองนโยบายตามพระราชบัญญัติการศึกษา ต้องส่งเสริม ให้ผู้เรียนรู้จัก รู้คุณค่า และใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และด�ำเนินการเพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ขึ้น ในสถานศึกษามาตรา 29 ก�ำหนดให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญาและวิทยาการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับ ผลของปัญหาและความต้องการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการพัฒนาร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2557, น. 18) ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 รับผิดชอบการบริหารจัดการการศึกษา ขั้นพื้นฐานในเขตอ�ำเภอสูงเนิน อ�ำเภอสีคิ้ว อ�ำเภอปากช่อง มีสถานศึกษาจ�ำนวนขนาดเล็กจ�ำนวนมาก และสถานศึกษามีความพร้อมที่แตกต่างกัน สถานศึกษาส่วนใหญ่ขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์เก่าล้าสมัย

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 39 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

อาคารเรียนที่ไม่เพียงพอ ช�ำรุดทรุดโทรม ขาดงบประมาณในการปรับปรุงซ่อมแซมให้มีประสิทธิภาพ นักเรียนยังมีปัญหาด้านการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ขาดทักษะการคิด วิเคราะห์ ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) จัดได้ว่าคุณภาพการศึกษายังไม่เป็นที่น่าพอใจต้องมีการปรับปรุงแก้ไข และผลการการเรียนของผู้เรียนพัฒนา ซึ่งจากการส�ำรวจข้อมูลของส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 ในปี พ.ศ. 2559 พบว่า การน�ำผลการใช้การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ในโรงเรียนประถมศึกษาส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 ยังมีปัญหา การขาดระบบ บริหารจัดการให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายและเพียงพอ ครูขาดความรู้และทักษะในการผลิตและ พัฒนาสื่อให้มีคุณภาพ ผู้เรียนขาดโอกาสในการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง รวมทั้งขาดการประสานงานและส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับบริการ แก่สังคมอย่างหลากหลายและเพียงพอ จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานและบุคลากรทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกัน จัดหาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ น�ำไปสู่ การสนองตอบตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 (ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมาเขต 4, 2559, น. 22) ผลการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ในโรงเรียนประถมศึกษาส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ยังขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์เก่าล้าสมัย อาคารเรียนที่ไม่เพียงพอ ช�ำรุดทรุดโทรม ขาดงบประมาณในการปรับปรุงซ่อมแซมให้มีประสิทธิภาพ ยังไม่มีการศึกษารายงาน การใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ชัดเจนและขาดการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ให้มีคุณภาพสูงขึ้น ผู้วิจัยมีความสนใจและมองเห็นความส�ำคัญในการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาที่จะน�ำ แหล่งเรียนรู้ในชุมชนมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งครูผู้สอนยังไม่ได้น�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ในการจัดการเรียนรู้เท่าที่ควร และเชื่อมั่นว่า ถ้าหากครูได้ใช้แหล่งเรียนรู้ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด จะช่วยตอบสนองการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช พ.ศ. 2542 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 จากการศึกษาในครั้งนี้จะเป็นแนวทางให้กับครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา รวมถึงหน่วยงาน ที่สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ใช้เป็นประโยชน์ในการจัดการศึกษา และวางแผนเพื่อปรับปรุงพัฒนาจากการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดจนใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส�ำหรับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับที่จะน�ำไปประกอบการพิจารณา ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้คงอยู่ในสภาพที่เหมาะสม เอื้ออ�ำนวยต่อการจัดการเรียนรู้ต่อไป

4 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 2. เพื่อเปรียบเทียบการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 จ�ำแนกตามต�ำแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์ ในการสอน และขนาดสถานศึกษาที่สอน

สมมติฐานการวิจัย การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 แตกต่างกันตามต�ำแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์ในการสอน และขนาดสถานศึกษาที่สอน

ขอบเขตการวิจัย การศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 มีขอบเขตการวิจัยดังนี้ 1. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูผู้สอน โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ซึ่งปฏิบัติงานในปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 1,816 คน ใน 181 โรงเรียน (ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 4, 2559, น. 41) 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูผู้สอน โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ซึ่งปฏิบัติงานในปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 317 คน ก�ำหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างตามตารางส�ำเร็จรูปของ ทาโร ยามาเน ที่ระดับความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 (Taro Yamane, 1973 อ้างถึงใน ธานินทร์ ศิลป์จารุ , 2551, น. 49) แล้วท�ำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ได้จ�ำนวนครูโรงเรียนขนาดเล็ก จ�ำนวน 56 คน ขนาดกลาง จ�ำนวน 156 คน และขนาดใหญ่ จ�ำนวน 105 คน 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียน ประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 โดยมีขอบเขตด้านเนื้อหา ดังนี้ 2.1 การใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน 2.2 การใช้ประกอบการค้นคว้า 2.3 การใช้เพื่อศึกษาเพิ่มเติม 3. ขอบเขตด้านตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ตัวแปรต้น (Independent Variable) ได้แก่ สภาพทั่วไปของครู ได้แก่ 1) ต�ำแหน่งหน้าที่ 2) ประสบการณ์ในการสอน 3) ขนาดสถานศึกษาที่สอน

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 41 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน

กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม สภาพทั่วไปของครู 1. ต�ำแหน่งหน้าที่ 1.1 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.2 ครู 2. ประสบการณ์ในการสอน การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน 2.1 ต�่ำกว่า 5 ปี 1. การใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียน 2.2 5-10 ปี 2. การใช้ประกอบการค้นคว้า 2.3 มากกว่า 10 ปี 3. การใช้เพื่อศึกษาเพิ่มเติม 3. ขนาดสถานศึกษาที่สอน 3.1 ขนาดเล็ก 3.2 ขนาดกลาง 3.3 ขนาดใหญ่

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

วิธีด�ำเนินการวิจัย การศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 มีขั้นตอนในการด�ำเนินการวิจัยดังนี้ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น เพื่อศึกษาการใช้ แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 สภาพทั่วไปของครู มีลักษณะเป็นแบบตรวจรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู 3 ด้าน คือ ด้านการใช้เป็นสื่อประกอบ การจัดการเรียนการสอน จ�ำนวน 10 ข้อ ด้านการใช้ประกอบการค้นคว้า จ�ำนวน 19 ข้อ และด้านการใช้ เพื่อศึกษาเพิ่มเติม จ�ำนวน 6 ข้อ รวมเป็น จ�ำนวน 35 ข้อ โดยเป็นแบบมาตราประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด 1.2 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การศึกษาครั้งนี้มีการสร้างเครื่องมือ และการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ดังนี้ 1.2.1 ศึกษาเอกสาร ต�ำรา บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหลักการ แนวคิดการใช้

4 2 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา 1.2.2 น�ำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาประมวลเป็นกรอบแนวคิดหลัก ก�ำหนดขอบเขตของ การวิจัยและก�ำหนดเครื่องมือในการวิจัย 1.2.3 สร้างแบบสอบถามให้ครอบคลุมตามกรอบแนวคิดของการวิจัย 1.2.4 น�ำแบบสอบถามเสนอให้คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตรวจสอบแล้วน�ำมา ปรับปรุงแก้ไข 1.2.5 น�ำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ตรวจสอบและพิจารณา ความถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ครอบคลุมประเด็นต่างๆ เพื่อพิจารณาความเที่ยงตรงและความสมบูรณ์ ของเนื้อหา (Content Validity) และหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถาม ได้ค่า IOC รายข้อ อยู่ระหว่าง 0.60-1.00 (บุญชม ศรีสะอาด, 2553, น. 49) 1.2.6 น�ำแบบสอบถามที่ปรับปรุงให้คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตรวจอีกครั้ง 1.2.7 น�ำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try-out) กับครู สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ซึ่งเป็นคนละกลุ่มกับกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม ด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.947 2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2.1 วิเคราะห์ต�ำแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์ในการสอน และขนาดสถานศึกษาที่สอน โดยใช้ค่าความถี่ และค่าร้อยละ 2.2 วิเคราะห์การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) และแปลความหมายค่าเฉลี่ยโดยใช้เกณฑ์ของ ธานินทร์ ศิลป์จารุ (2551, น. 54) 2.3 การทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ที่มีต�ำแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์ในการสอน และขนาดสถานศึกษาที่สอนต่างกัน โดยใช้ค่า t-test, F-test (One-Way Analysis of Variance) และทดสอบรายคู่โดยใช้วิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe's Method)

ผลการวิจัย การศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 สรุปผลการวิจัย ดังนี้ 1. การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงล�ำดับตามค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ล�ำดับแรกดังนี้ ด้านการใช้ประกอบการค้นคว้า ด้านการใช้เพื่อศึกษาเพิ่มเติม และด้านการใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนตามล�ำดับ 2. การเปรียบเทียบการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 43 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2.1 ครูที่มีต�ำแหน่งหน้าที่ต่างกัน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน ในภาพรวม และรายด้านทุกด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยด้านการใช้เป็นสื่อประกอบ การจัดการเรียนการสอน และด้านการใช้เพื่อศึกษาเพิ่มเติม ครูผู้สอนมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน น้อยกว่าหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนด้านการใช้ประกอบการค้นคว้าครูผู้สอนมีการใช้แหล่งเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอนมากกว่าหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 2.2 ครูที่มีประสบการณ์ในการสอนต่างกัน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนแตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านการใช้ประกอบการค้นคว้า โดยครูที่มีประสบการณ์ในการสอน ต�่ำกว่า 5 ปี แตกต่าง และมากกว่าครูที่มีประสบการณ์ในการสอน 5-10 ปี อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 ครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดต่างกัน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านการใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน โดยครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดกลาง แตกต่างและมากกว่าครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

อภิปรายผล การวิจัยครั้งนี้พบประเด็นที่ส�ำคัญที่จะน�ำมาอภิปรายผล ดังนี้ 1. ด้านการใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก โดยส่วนใหญ่ทางครูผู้สอนได้เชิญเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลหรือสาธารณสุขมาให้ความรู้เกี่ยวกับ สุขภาพอนามัยและสิ่งเสพติด ซึ่งเป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนจากบุคคล ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การน�ำเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้เฉพาะทางมาเป็นสื่อในการเรียนการสอนจะสามารถท�ำให้นักเรียนเข้าใจได้ อย่างแท้จริง สามารถสอบถามข้อสงสัยต่าง ๆ ได้อย่างตรงประเด็น จึงสามารถพัฒนาความรู้ให้กับผู้เรียน ได้เป็นอย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ นงค์ศรี ราชมณี (2553) ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับ เรื่อง การพัฒนา แหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนบ้านจาน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ผลการศึกษาพบว่าการแสวงหาสื่อความรู้ที่มีความหลากหลาย เช่น การใช้แหล่งการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความช�ำนาญในด้านต่างๆ มาเป็นวิทยากร เพื่อน�ำมาส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน จะส่งเสริมท�ำให้เกิดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ ที่จะเอื้อประโยชน์และสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้กับผู้เรียน ท�ำให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจ กระตุ้นความอยากรู้ อยากเห็น และมีความพึงพอใจในการเรียนการสอนยิ่งขึ้น 2. ด้านการใช้ประกอบการค้นคว้า มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก โดยครูผู้สอนได้มีการใช้ห้องปฏิบัติการของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ หรือมุมหนังสือในห้องเรียน เพื่อค้นคว้าเพิ่มเติม ในเวลาว่าง มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะเห็นได้ว่า การเรียนรู้จากการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเองจากห้องสมุด หรือแหล่งการการเรียนรู้อื่น ๆ จะท�ำให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ ความรู้ใหม่ ๆ นอกจากห้องเรียน โดยการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากห้องสมุด สื่อสารสนเทศต่าง ๆ ซึ่งเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถศึกษาหาความรู้ได้เองอย่างอิสระตามความต้องการ ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของ กัลยากร น้อยพญา (2552) ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับ เรื่อง การบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้เพื่อสนับสนุน การจัดการการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านทุ่งพร้าว อ�ำเภอแม่สรวย ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2 ผลการศึกษาพบว่า การเรียนรู้จากการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง จะท�ำให้ผู้เรียนสามารถศึกษา

4 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

หาความรู้ของตนเองได้อย่างอิสระตามความต้องการอยากเรียนรู้เพื่อให้ตรงความต้องการของผู้เรียนเป็นส�ำคัญ 3. ด้านการใช้เพื่อศึกษาเพิ่มเติม มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก โดยครูผู้สอนได้เน้นให้ผู้เรียนศึกษาความเชื่อจากพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น พิธีแห่นางแมวขอฝน พิธีท�ำขวัญข้าว พิธีบวชป่า ซึ่งเป็นการน�ำแหล่งการเรียนรู้ชุมชน ประเพณี วัฒนธรรมต่าง ๆ เข้ามาใช้เป็นแหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติม ให้กับนักเรียน ท�ำให้นักเรียนสามารถเข้าใจวิถีชุมชน ความเป็นอยู่ชุมชน รวมไปถึงวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของชุมชนให้นักเรียนสามารถเข้าใจ และเข้าถึงวัฒนธรรมต่าง ๆ ได้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งสอดคล้องกับ แนวคิดของ รวิพร มูณีวรรณ (2555) ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับ เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนประกอบการจัดการเรียนรู้ ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 และวิจัยของ บ�ำรุง ม่วงไหมทอง (2553) ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับ เรื่อง การน�ำแหล่งเรียนรู้ชุมชนมาใช้พัฒนา การเรียนการ สอนในโรงเรียนประถมศึกษา ในเขตอ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งได้น�ำแหล่งความรู้ ชุมชุมเข้ามา ใช้เป็นแหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติมให้กับนักเรียน ได้ทราบถึงแหล่งการเรียนรู้ของชุมชนมากยิ่งขึ้น 4. การเปรียบเทียบการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู พบว่า ต�ำแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์ในการสอน และขนาดโรงเรียน ที่แตกต่างกัน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะลักษณะของครูที่มีต�ำแหน่งหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน มีประสบการณ์ในการสอน และขนาดโรงเรียนที่ท�ำการสอนแตกต่างกันนั้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ บ�ำรุง ม่วงไหมทอง (2553) ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับ เรื่อง การน�ำแหล่งเรียนรู้ชุมชนมาใช้พัฒนาการเรียนการสอน ในโรงเรียนประถมศึกษา ในเขตอ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี งานวิจัยของ รวิพร มูณีวรรณ (2555) ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับ เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนประกอบการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 งานวิจัยของ สนอง สีพาฤทธิ์ (2552) ได้ท�ำการศึกษา เกี่ยวกับเรื่อง การศึกษาน�ำแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สิริยุพา ศกุนตะเสถียร (2555) ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับ เรื่อง การบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม ผลการศึกษาพบว่า ทั้งต�ำแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์ในการสอน และขนาดโรงเรียนที่แตกต่างกัน ได้มีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน มาใช้เพื่อสถานศึกษาแตกต่างกัน ตามกระบวนการจัดการแหล่งการเรียนรู้ที่ต่างกัน โดยมีการแหล่งค้นคว้า และการใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน แตกต่างกันตามประสบการณ์สอน และขนาดของโรงเรียน ซึ่งอาจจะมีสื่อการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน

ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป การศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1.1 การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ด้านการใช้เป็นสื่อประกอบ การจัดการเรียนการสอน ถึงแม้ภาพรวม และรายด้านจะมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมากก็ตาม แต่ในประเด็นการมีผู้ทรงคุณวุฒิ ปราชญ์ชาวบ้าน วิทยากรท้องถิ่น ครูภูมิปัญญาชาวบ้าน

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 45 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

มาให้ความรู้เกี่ยวกับ ดนตรีพื้นบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน การสืบสานวัฒนธรรมในท้องถิ่น ยังมีการใช้แหล่งเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอนน้อยที่สุด ดังนั้น ผู้บริหาร และครูผู้สอนควรสรรหาบุคลากรทั้งในชุมชนใกล้เคียง และชุมชนอื่นๆ หมุนเวียน สับเปลี่ยน มาให้ความรู้กับนักเรียนเพิ่มเติม เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่หลากหลาย ในแต่ละชุมชน และยังสร้างการเรียนรู้จากผู้ที่มีความรู้โดยตรงในขนมธรรมเนียน ประเพณี จากบุคลากร ที่มีความรู้โดยตรงของชุมชน 1.2 การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ด้านการใช้ประกอบการค้นคว้า ถึงแม้ภาพรวม และรายด้านจะมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมากก็ตาม แต่ในการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาความส�ำคัญของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับ แม่น�้ำล�ำธาร มีการใช้แหล่งเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับน้อยที่สุด ดังนั้น ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน ควรมีกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้มีการทัศนศึกษาภายในชุมชนของตนเอง ชุมชนใกล้เคียง โดยศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องของทรัพยากร ทางธรรมชาติชองชุมชน เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน ทรัพยากรทางธรรมชาติของชุมชนตนเองเพิ่มยิ่งขึ้น 1.3 การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ด้านการใช้เพื่อศึกษาเพิ่มเติม ถึงแม้ภาพรวม และรายด้านจะมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมากก็ตาม แต่ในการศึกษาความรู้ ประเพณีด้านพุทธศาสนาจากประเพณีต่างๆ เช่น การท�ำบุญตักบาตรในวันส�ำคัญ ประเพณีสิบสองเดือน (ฮีตสิบสอง คองสิบสี่) บุญเข้ากรรมบุญคูณลาน บุญข้าวจี่ บุญเผวส บุญกฐิน ยังมีการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อยที่สุด ดังนั้นผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน ควรมีการจัดกิจกรรมการเข้าท�ำบุญตักบาตรต่าง ๆ ในวันส�ำคัญ รวมถึงเข้าร่วมประเพณีต่าง ๆ ที่ทางชุมชนจัดขึ้น เพื่อให้นักเรียน ครู อาจารย์ เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อเป็นการเสริมสร้าง อนุรักษ์ ขนบธรรมเนียม ประเพณีพื้นบ้าน ให้อยู่คู่กับชุมชนตลอดไป 2. ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 โรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ควรมีการศึกษาถึงปัญหาของการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะท�ำให้ทราบถึงปัญหาที่แท้จริง ของการน�ำแหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อน�ำมาปรับปรุง พัฒนาให้ตรงตามวัตถุประสงค์ต่อไป 2.2 ควรศึกษาปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อการใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครู ในโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 เช่น นโยบายการบริหาร และรูปแบบการบริหารโรงเรียน เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่แท้จริงที่ส่งผลต่อการใช้แหล่งเรียนรู้ในการ จัดการเรียนการสอน

เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กัลยากร น้อยพญา. (2552). การบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้เพื่อสนับสนุน การจัดการการเรียนการสอนของ โรงเรียนบ้านทุ่งพร้าว (เพ็คกี้ฮิทค็อก) อ�ำเภอแม่สรวย ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2. (การศึกษาค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย).

4 6 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2551). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: บิสซิเนส อาร์แอนด์ดี. นงค์ศรี ราชมณี. (2553). การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนบ้านจาน สังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร). บ�ำรุง ม่วงไหมทอง. (2553). การน�ำแหล่งเรียนรู้ชุมชนมาใช้พัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียนประถมศึกษา ในเขตอ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต). รวิพร มูณีวรรณ. (2555). การใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนประกอบการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช). สนอง สีพาฤทธิ์. (2552). การศึกษาน�ำแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม). ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 4. (2559). การจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่ํ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4. นครราชสีมา: กลุ่มนโยบายและวางแผนส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4. สิริยุพา ศกุนตะเสถียร. (2555). การบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี).

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 47 วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ ปีที่2 (กรกฎาคม1 ฉบับที่ 2 - (กรกฎาคม ธันวาคม 2561) - ธันวาคม 48 - 2561)60 Karu Sima KaruJoural Sima Vol. Journal 1 No. 2 Vol. (July 1 -No. December 2 (July - 2018) December 48 - 60 2018)

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หารระคน และความพึงพอใจในการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง The Study about of Prathomsuksa 3 Students’ Learning Achievemant of Mathematical problems for Addition, Subtraction, Multiplication and Division Learning units and The Satisfaction of Learning Management by KWDL Technique in Combination with Brain Activity

วิยะดา พงษ์วิจิตร 1* สมบูรณ์ ตันยะ 2 นัฐยา บุญกองแสน 2 Wiyada Pongvichit 1 Somboon Tanya and Nathaya Boonkongsaen 2

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองกับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) ศึกษาความพึงพอใจในการเรียนโดย การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนประสารวิทยา ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/6 รวม 30 คน ได้มาโดยการสุ่ม แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน และแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนต่อการเรียน โดยการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย

1นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 M.Ed. Student in Curriculum and Instruction, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand 2คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 Faculty of Education, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand *Corresponding author, e-mail [email protected] 4 8 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับ การบริหารสมอง สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจในการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับ การบริหารสมองของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับมาก ค�ำส�ำคัญ : KWDL, การบริหารสมอง, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ABSTRACT The purposes of this research were 1) to compare the students’ learning achievement of learning management using KWDL technique in combination with brain activity between pretest and posttest 2) to compare the students’ learning achievement with the criteria 70 percent and to study the students’ satisfaction of learning management by KWDL technique in combination with brain activity. The samples were thirty students studying in Prathomsuksa 3/6 at Prasarn Wittaya school, Trimester 2, Academic Year 2018. The Cluster random sampling was employed in the study. The tools were lesson plans using KWDL technique in combination with brain activity, achievement test of mathematical problems for addition, subtraction, multiplication and division and a questionnaire on students’ satisfaction of learning management by KWDL technique in combination with brain activity. The statistical methods used to analyze the data were mean score (X) percentage, standard deviation (S.D.) and t-test. The research reveals that the students’ learning achievement of learning management using KWDL technique in combination with brain activity was significantly posttest score higher than pretest score and pretest score higher than 70 percent. The students’ satisfaction toward this method was in a high level. Keywords : KWDL, Brain Activity, learning achievement

บทน�ำ คณิตศาสตร์มีบทบาทส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ท�ำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบมีแบบแผนสามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างละเอียดถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาและน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม อีกทั้งคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาต่าง ๆ หลายสาขาเป็นวิชาที่ช่วยท�ำให้ผู้ที่ศึกษา มีความคิดอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ ดังนั้นคณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการด�ำเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และท�ำให้มนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552, น. 56) ในด้านของ

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 49 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่ควรมุ่งเน้นเฉพาะเนื้อหาวิชาเพียงอย่างเดียว ควรฝึกให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และน�ำไปประยุกต์ใช้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนควรศึกษาและให้ความสนใจเกี่ยวกับ ความรู้ต่าง ๆ รอบตัวอยู่เสมอเพื่อน�ำไปประยกต์ใช้ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ที่มุ่งเน้นการวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ให้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสังเคราะห์ เพราะโดยทั่วไปนักเรียนมักจะมีความสามารถ ในด้านการวิเคราะห์ แต่ยังมีความสามารถต�่ำในการสังเคราะห์ในระดับต�่ำ (ภัทรกุล จริยวิทยานนท์และ อินทิรา ศรีวัฒนะธรรมา, 2558) จากการรายงานผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของนักเรียนระดับชาติ (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 1 แบบสรุปรายงานผลการทดสอบของโรงเรียน (School 01) ด้านค�ำนวณ (Numeracy) มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 31.15 ซึ่งต�่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 และ ต�่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับประเทศ ส�ำหรับคะแนนเฉลี่ยร้อยละของสถานศึกษาระดับคุณภาพ อยู่ในระดับพอใช้ จึงนับว่าเป็นปัญหาที่ส�ำคัญอย่างยิ่งที่ควรได้รับการแก้ไข ซึ่งนักเรียนไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหาได้ โดยมีสาเหตุมาจากการที่นักเรียนไม่สามารถคิดวิเคราะห์โจทย์ปัญหาได้ ไม่เข้าใจโจทย์ปัญหาและไม่ได้รับ การฝึกฝนทักษะการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้นักเรียนยังไม่สามารถระบุได้ว่า จะน�ำวิธีการใดมาใช้ในการแก้ปัญหา ซึ่งสาเหตุดังกล่าวสอดคล้องกับปัญหาในการแก้โจทย์ปัญหาของ ชัยวัฒน์ สุทิลักษณ์ (2552, น.395) ที่ได้กล่าวถึงสาเหตุที่xนักเรียนส่วนใหญ่แก้โจทย์ปัญหาไม่ได้นั้น เนื่องมาจากนักเรียนไม่เข้าใจค�ำส�ำคัญและภาษาในโจทย์ เมื่ออ่านโจทย์แล้วไม่สามารถก�ำหนดวิธีการ การค�ำนวณได้ และยังขาดยุทธวิธีที่จะน�ำมาใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา ครูจึงจ�ำเป็นต้องสอนให้นักเรียนมีความสามารถ ในการตีความหรือเข้าใจภาษาที่ใช้ในโจทย์ให้ชัดเจนเสียก่อนเพื่อให้นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้ง่ายขึ้น การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ที่พัฒนามาจาก KWL ของ Ogle ในปี ค.ศ.1986 ที่ต้องอาศัย ทักษะการอ่านเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL นี้มีขั้นตอนด�ำเนินการเช่นเดียวกับการจัดการเรียนรู้ แบบ KWL เพียงแต่จะเพิ่มขั้นตอน D ขึ้นมา กลายเป็น 4 ขั้นตอน เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้แก้ปัญหา โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยเทคนิค KWDL มีดังนี้ ขั้นที่ 1 K : เรารู้อะไร หรือโจทย์บอกอะไรเราบ้าง (what we know) ขั้นที่ 2 W : เราต้องการรู้/ต้องการทราบอะไร หรือโจทย์ให้/บอกอะไรเราบ้าง (what we want to know) ขั้นที่ 3 D : เราท�ำอะไร/อย่างไร หรือเรามีวิธีการหาค�ำตอบอย่างไร (what we do) ขั้นที่ 4 L : เราเรียนรู้อะไรจากขั้นตอนที่ 3 (what we learned) สมองมีบทบาทส�ำคัญต่อการคิดจากการศึกษาค้นคว้าพบว่าสมองแต่ละส่วนมีบทบาทและหน้าที่ แตกต่างกัน แต่ท�ำงานประสานกันโดยมีเซลล์สมองหรือเซลล์ประสาท (neurons) เป็นตัวท�ำหน้าที่ส�ำคัญ คือ รับข้อมูลผสมผสานข้อมูลให้มีการบูรณาการและส่งต่อข้อมูลเพื่อช่วยให้รับรู้ข้อมูลจากการสัมผัส ควบคุม การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ การย่อยอาหาร การหลั่งฮอร์โมน ซึ่งต่างเป็นขบวนการท�ำงานที่สลับซับซ้อน ที่มีผลต่อการคิด การจินตนาการและการฝึกฝนการจดจ�ำ เป็นต้น ดังนั้นการคิดจึงเป็นคุณลักษณะที่ส�ำคัญ และจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ครูต้องน�ำเข้าสู่ห้องเรียน โดยการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้นักเรียน เกิดกระบวนการคิดวันละเล็กวันละน้อยเป็นล�ำดับขั้นตอนเพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะการคิด โดยทักษะการคิด ที่ส�ำคัญ คือ การคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาและการคิดประยุกต์ใช้ 5 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ในทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่าง ๆ ต่างก็มีสาระการเรียนรู้ที่ครูควรต้องออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ นักเรียนได้ฝึกคิด ฝึกปฏิบัติ ซึ่งท�ำได้หลากหลายวิธี อาทิ การตั้งค�ำถาม การจัดกิจกรรมชิ้นงาน เป็นต้น การบริหารสมอง (Brain Activity) เป็นแนวคิดของ Paul Dennison แห่ง Educational Kinesiology Foundation เป็นเทคนิคที่ท�ำให้สมองซีกซ้ายและซีกขวาท�ำงานประสานกัน เมื่อสมองท�ำงานประสานกันแล้ว จะมีสารชนิดหนึ่งที่เรียกว่า อะดรีนาลิน (Adrenalin) หลั่งออกมา ซึ่งสารชนิดนี้จะท�ำให้เกิดสมาธิ แม้เป็นเพียง ช่วงเวลาไม่กี่นาที แต่ก็ถือว่าเป็นช่วงหนึ่งของการเตรียมความพร้อมที่จะท�ำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และท�ำให้การคิดมีประสิทธิภาพ การบริหารสมองมีอยู่หลายท่าทาง (ดวงกมล คงฤทธิ์, 2557, น. 23-25) การบริหารสมอง หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายซึ่งมีอยู่ 3 ท่าหลักด้วยกัน คือ 1) การบริหารปุ่มสมอง ปุ่มขมับ ปุ่มใบหู 2) การเคลื่อนไหวสลับข้าง 3) การผ่อนคลาย ซึ่งการบริหารในท่าต่าง ๆ นี้ท�ำให้สมอง ทั้งสองซีกเกิดความสมดุล สมองตื่นตัว ผ่อนคลายความตึงเครียด พร้อมที่จะได้รับการเรียนรู้ (สุขพัชรา ซิ้มเจริญ, หมอชาวบ้าน บทความสุขภาพน่ารู้, 2553) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง เพื่อให้สอดคล้องกับการท�ำงาน ของสมองจะท�ำให้นักเรียนรู้สึกท้าทายและไม่น่าเบื่อหน่าย สามารถร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินต่อเนื่องได้เป็นเวลานานส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาความสามารถ จนเต็มศักยภาพของตนเอง ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์โจทย์ปัญหาได้อย่างเป็นขั้นตอน ท�ำให้นักเรียนเข้าใจโจทย์ปัญหาได้ชัดเจนเนื่องจากการแก้โจทย์ปัญหานั้นนักเรียนจะต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจ และหาความสัมพันธ์ของแต่ละส่วนในโจทย์ปัญหาให้ได้จึงจะสามารถแก้ปัญหาและหาค�ำตอบได้อย่างถูกต้อง ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ดังงานวิจัยของวีระศักดิ์ เลิศโสภา (2544, น. 62) ศึกษาวิจัยเรื่อง ผลของการใช้เทคนิคการสอน KWDL ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่พบว่าคะแนนเฉลี่ยการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียน การแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิคการสอน KWDL สูงกว่านักเรียนที่แก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ตามปกติ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของศิริพัฒน์ คงศักดิ์ (2550, น. 98) ศึกษาวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบ ผลการเรียนรู้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องเวลาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL และการจัดการเรียนรู้ตามแนว สสวท. ที่พบว่าผลการเรียนรู้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่จัดกิจกรรม การเรียนการสอนด้วยเทคนิค KWDL สูงกว่าผลการเรียนรู้ที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนว สสวท. โดยผู้วิจัยน�ำเอาเทคนิค KWDL ซึ่งเป็นวิธีการศึกษาหาค�ำตอบและการคิดค�ำนวณมาใช้ร่วมกับ การบริหารสมอง เพื่อกระตุ้นนักเรียนให้อยู่ในสภาวะที่สมองท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังเห็นได้จาก ผลการวิจัยของชนิสรา ใจชัยภูมิ (2552, น. 71-72) ศึกษาวิจัยเรื่องความติดคล่องแคล่วของเด็กปฐมวัย ด้วยการบริหารสมอง พบว่า ความคิดคล่องของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองท�ำกิจกรรมการบริหารสมอง สูงกว่าก่อนการทดลอง ซึ่งการจัดกิจกรรมการบริหารสมองทุกวันอย่างต่อเนื่องท�ำให้เด็กมีความคล่องแคล่ว ในการคิด เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองท�ำให้เกิดความช�ำนาญสอดคล้องกับเชิดศักดิ์ ดอดกระโทก (2553, น. 50-51) ศึกษาวิจัยเรื่องผลของโปรแกรมการบริหารสมองที่มีต่อความตั้งใจในการเรียนของนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 พบว่า นักเรียนที่ได้รับการบริหารสมองมีคะแนนความตั้งใจในการเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง ซึ่งเป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความผ่อนคลาย ลดความตึงเครียดและสร้างสมาธิ ก่อให้เกิด ความตั้งใจ มุ่งมั่นในการเรียน และสิ่งที่ได้รับมองหมายให้ท�ำ และผลการวิจัยของบุญอิ่ม สุขนิ่ม (2554, น. 54) Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 51 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ศึกษาวิจัยเรื่องผลของการจัดกิจกรรมบริหารสมองที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 1 พบว่า การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบทักษะพื้นฐาน ทางคณิตศาสตร์ของเด็กชั้นอนุบาลที่ 1 หลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลอง เพราะกิจกรรมบริหารสมอง เป็นกิจกรรมที่เด็กเกิดความสนุกสนาน ไม่รู้สึกเบื่อ ท�ำให้เด็กสนใจและกระตือรือร้นในการท�ำกิจกรรม จากสภาพปัญหาและความส�ำคัญดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองเพื่อใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน พร้อมกับส�ำรวจความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง กับเกณฑ์ร้อยละ 70 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ค�ำถามการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนหรือไม่ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 หรือไม่ 3. ความพึงพอใจในการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับใด

สมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง สูงกว่า ก่อนการจัดการเรียนรู้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70

5 2 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

3. ความพึงพอใจในการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับมาก

ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนประสารวิทยา อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 6 ห้อง รวม 183 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียน ประสารวิทยา อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จ�ำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มและใช้วิธีจับฉลากจาก 6 ห้องเรียนมา 1 ห้องเรียน ซึ่งโรงเรียนจัดนักเรียนคละความสามารถ 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรียนด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน และความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนต่อการเรียน โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง 3. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ในการด�ำเนินการวิจัยครั้งนี้ ด�ำเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ระหว่างวันที่ 8-31 มกราคม 2560 โดยใช้เวลาในการทดลองรวม 15 คาบ คาบละ 50 นาที

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง จ�ำนวน 15 แผน แผนละ 50 นาที 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน โดยเป็นแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบชนิด 4 เลือก จ�ำนวน 30 ข้อ 2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนต่อการเรียน โดยการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง เป็นแบบวัดแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จ�ำนวน 15 ข้อ ในด้านบรรยากาศในการเรียนรู้ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมของ (อังสนาศรี สวนแตง, 2555, น. 124-125) 3. การเก็บรวมรวมข้อมูล 3.1 ผู้วิจัยให้นักเรียนท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หารระคนก่อนเรียน (Pre-test) เพื่อวัดความรู้พื้นฐานและเก็บผลการทดสอบไปเปรียบเทียบ กับผลการทดสอบหลังเรียน 3.2 ผู้วิจัยด�ำเนินตามแผนการจัดการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับ

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 53 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

การบริหารสมอง จ�ำนวน 15 แผน แผนละ 50 นาที ดังนี้ ก) ขั้นเตรียมการบริหารสมอง (Brain Activity) ข) ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL 1) ชี้แจงจุดประสงค์และตกลงร่วมกันว่านักเรียนจะต้องท�ำกิจกรรมใดบ้างอย่างไร และ มีวิธีวัดและประเมินผลอย่างไร 2) อธิบายกิจกรรมการเรียนการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ว่าแต่ละตัวนั้นหมายถึงอะไร และนักเรียนจะต้องท�ำอะไรบ้างดังนี้ ขั้น K สิ่งที่โจทย์ก�ำหนดให้มีอะไรบ้างขั้นตอน ขั้น W สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ คืออะไร ขั้น D จะด�ำเนินการแก้โจทย์ตามวิธีการ (เขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงวิธีท�ำหาค�ำตอบ) ขั้น L ได้ค�ำตอบเท่าไร มีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร 3) ติดบัตรโจทย์และแผนผัง KWDL ยกตัวอย่างการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา ค) ขั้นฝึกทักษะ แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันท�ำใบงานฝึกวิเคราะห์โจทย์ และแก้ปัญหาตามแผนผัง KWDL ง) ขั้นวัดและประเมินผล ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มของนักเรียนมาน�ำเสนอและแสดงวิธีการ แก้โจทย์ปัญหาหน้าชั้นเรียน ถ้าตัวแทนกลุ่มน�ำเสนอไม่ผ่านสมาชิกในกลุ่มจะต้องช่วยกันอธิบายจนเพื่อนเข้าใจ แล้วกลับมาน�ำเสนอใหม่ และครูร่วมสรุปความรู้ทีได้เรียนมาอีกครั้ง 3.3 ผู้วิจัยให้นักเรียนท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หารระคน หลังเรียน (Post-test) และตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียน ของนักเรียนต่อการเรียน โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง

ผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ผู้วิจัยได้น�ำคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังตาราง 1

ตาราง 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง การทดสอบ จ�ำนวนนักเรียน คะแนนเต็ม X S.D. t p ก่อนการจัดการเรียนรู้ 15.90 5.03 30 30 8.635 .000 หลังการจัดการเรียนรู้ 22.27 2.46

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

5 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

จากตาราง 1 พบว่า คะแนนก่อนการจัดการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 15.90 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 5.03 และหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 22.27 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 2.46 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ผู้วิจัยได้น�ำคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังตาราง 2

ตาราง 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หาร ระคนของนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองกับเกณฑ์ร้อยละ 70

การทดสอบ จ�ำนวนนักเรียน คะแนนเต็ม คะแนนร้อยละ 70 X S.D. t p หลังเรียน 30 30 21 22.27 2.46 2.82* .000

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 2 พบว่า คะแนนหลังการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 22.27 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 2.46 ผลจากการทดลอง พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจในการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยได้น�ำคะแนนความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง โดยได้ท�ำการสอบถามหลังการทดลอง แล้วน�ำคะแนนมาค�ำนวณ เพื่อวิเคราะห์ด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจในการเรียน อยู่ในระดับมาก ดังตาราง 3

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 55 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ตาราง 3 ความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการ จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง

ข้อ ความพึงพอใจในการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ X S.D. ระดับ ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ความพึงพอใจ ด้านบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ 1. นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ 3.93 0.98 มาก 2. นักเรียนได้รับความสนุกสนานจากการเรียนรู้ 4.63 0.76 มากที่สุด 3. นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข 4.53 0.68 มากที่สุด 4. นักเรียนอยากตอบปัญหาในการจัดการเรียนรู้ 4.33 0.76 มาก 5. นักเรียนได้ท�ำงานกลุ่มร่วมกับเพื่อนมากขึ้น 4.53 0.90 มากที่สุด รวม 4.39 0.85 มาก ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. นักเรียนเข้าใจขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาดีขึ้น 4.50 0.63 มาก 7. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นและร่วมอภิปรายเพื่อหา 4.53 0.68 มากที่สุด แนวทางแก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ 8. นักเรียนได้วิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด 4.53 0.73 มากที่สุด 9. นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการหาค�ำตอบและแนวทาง 4.27 0.98 มาก การแก้ปัญหาด้วยตัวเองในการเรียนรู้ 10. นักเรียนรู้สึกผ่อนคลายด้วยการบริหารสมองในกิจกรรมการเรียนรู้ 4.37 1.03 มาก รวม 4.44 0.82 มาก ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 11. นักเรียนได้ฝึกการท�ำงานอย่างเป็นระบบและรอบคอบ 4.40 0.86 มาก จากการเรียนรู้ 12. นักเรียนได้ฝึกการคิดวิเคราะห์โจทย์ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 4.53 0.63 มากที่สุด จากการเรียนรู้ 13. นักเรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านการอ่าน 4.63 0.72 มากที่สุด จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 14. นักเรียนได้ช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันจากการเรียนรู้ 4.53 0.63 มากที่สุด 15. นักเรียนได้รับประสบการณ์และความรู้ใหม่ ๆ จากการเรียนรู้ 4.77 0.50 มากที่สุด รวม 4.57 0.68 มากที่สุด สรุปโดยภาพรวม 4.47 0.79 มาก

5 6 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

จากตาราง 3 พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWDLร่วมกับการบริหารสมองอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 4.47 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.79 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน ระดับมาก 2 ด้าน โดยนักเรียนมีความพึงพอใจสูงที่สุด ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 4.57 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.68 รองลงมาด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 4.44 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.82 และด้านบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 4.39 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.85 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ นักเรียนได้รับประสบการณ์และความรู้ใหม่ ๆ จากการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย (X) เ ท ่า ก ับ 4 . 7 7 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.50 รองลงมานักเรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านการอ่าน จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 4.63 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.75 และนักเรียนได้รับความสนุกสนานจากการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 4.63 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.76 ตามล�ำดับ ค่าเฉลี่ยที่นักเรียนมีความพึงพอใจต�่ำที่สุด คือนักเรียนมีความกระตือรือร้น ในการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 3.93ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.98

สรุปอภิปรายผล ผลการวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน และความพึงพอใจในการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย การจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง สรุปได้ดังนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองนักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้เนื่องมาจาก นักเรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์หาค�ำตอบของโจทย์ปัญหา ลงมือปฏิบัติตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามล�ำดับขั้นตอน มีการพัฒนาระดับความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ พร้อมทั้งก่อนเรียน ได้มีการเตรียมความพร้อมด้วยการฝึกบริหารสมอง ซึ่งช่วยให้นักเรียนเกิดความผ่อนคลายความตึงเครียด ท�ำให้สภาพจิตใจเกิดความพร้อมที่จะเรียนรู้ ดังที่โอเกิล Ogle 1986, อ้างถึงใน อังสนา ศรีสวนแตง (2555, น. 93) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาความสามารถ ทางการอ่านเชิงวิเคราะห์ ซึ่งช่วยให้นักเรียนสามารถด�ำเนินการวิเคราะห์โจทย์ได้อย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของศศิธร แก้วมี (2554, น. 92) ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิค KWDL ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิค KWDL สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 งานวิจัยของสุจิตรา ศรีสละ (2554, น. 69) ศึกษาวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เรื่องโจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหา และการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่าความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ที่ได้รับการสอนด้วยเทคนิค KWDL เรื่องโจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 57 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

สูงกว่าก่อนได้รับการสอนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ยังพบงานวิจัยของบุญอิ่ม สุขนิ่ม (2554, น. 54) ศึกษาวิจัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมบริหารสมองที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 1 ผลพบว่าทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรม บริหารสมองสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากที่กล่าวมาข้างต้น จึงท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ทั้งนี้เนื่องมาจากนักเรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์หาค�ำตอบ ของโจทย์ปัญหา ลงมือปฏิบัติตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามล�ำดับขั้นตอน มีการพัฒนาระดับความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ พร้อมทั้งก่อนเรียนได้มีการเตรียมความพร้อมด้วยการฝึกบริหารสมอง ซึ่งช่วยให้นักเรียนเกิดความผ่อนคลายความตึงเครียด ท�ำให้สภาพจิตใจเกิดความพร้อมที่จะเรียนรู้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมองกับเกณฑ์ร้อยละ 70 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้เนื่องมาจากนักเรียนสามารถด�ำเนินการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาได้อย่างเป็นขั้นตอน พร้อมทั้งก่อนเรียนรู้ ได้มีสภาพจิตใจที่พร้อมที่จะเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของสุจิตรา ศรีสละ (2554, น. 69) ศึกษาวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เรื่องโจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่มีต่อความสามารถ ในการแก้ปัญหา และการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่าความสามารถ ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนด้วยเทคนิค KWDL เรื่องโจทย์ปัญหาอสมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ยังพบงานวิจัยของจิราภรณ์ อุปภา (2554, น. 93) พบว่า ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผลการวิจัยพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ จากที่กล่าวมาข้างต้น จึงท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับ การบริหารสมองกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ทั้งนี้เนื่องมาจากนักเรียนสามารถด�ำเนินการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา ได้อย่างเป็นขั้นตอน พร้อมทั้งก่อนเรียนรู้ได้มีสภาพจิตใจที่พร้อมที่จะเรียนรู้ 3. ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่าโดยภาพรวมพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะ นักเรียนได้รับประสบการณ์และความรู้ใหม่ ๆ จากการเรียนรู้ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านการอ่าน และได้รับความสนุกสนานจากการเรียนรู้ได้ที่ช่วยให้เกิดความผ่อนคลายความตึงเครียด ท�ำให้สภาพจิตใจ เกิดความพร้อมที่จะเรียนรู้ สอดคล้องกับงานวิจัยของวีระศักดิ์ เลิศโสภา (2544, น. 62) พบว่า นักเรียนพึงพอใจ ต่อการสอนโดยใช้เทคนิคการสอน KWDL ในระดับมาก เช่นเดียวกับงานวิจัยของ จิราภรณ์ อุปภา (2554, น. 93) พบว่าผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 นักเรียนที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ โดยรวมและเป็นรายข้ออยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด เช่นเดียวกับงานวิจัย 5 8 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ของ ศศิธร แก้วมี (2555, น. 82) พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้การแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิค KWDL มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และงานวิจัยของของซัฟฟียะห์ สาและ (2559, น. 69) พบว่า ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับมากขึ้นไป จากที่กล่าวมาข้างต้น ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง นักเรียนได้รับประสบการณ์และความรู้ใหม่ ๆ จากการเรียนรู้ ได้รับการส่งเสริม และพัฒนาทักษะด้านการอ่านและได้รับความสนุกสนานจากการเรียนรู้ได้ที่ช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย ความตึงเครียด ท�ำให้สภาพจิตใจเกิดความพร้อมที่จะเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในคาบที่ 1-3 ครูควรอธิบายเน้นย�้ำกระบวนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWDL ตามล�ำดับขั้นตอน 1.2 จากผลการวิจัย พบว่า ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ช่วยท�ำให้นักเรียนมีผลการเรียนสูงขึ้น ดังนั้นควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง กับหน่วยการเรียนอื่น ๆ 1.3 ควรมีการเพิ่มระยะเวลาในการวิจัยโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการบริหารสมอง ให้นานยิ่งขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้มีการพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 การศึกษาในครั้งนี้ศึกษาเฉพาะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เท่านั้น จึงควรมีการศึกษากับนักเรียน ในระดับชั้นอื่น ๆ เพื่อใช้ในหน่วยการเรียนรู้และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นที่สามารถน�ำมาปรับใช้ให้เหมาะสม 2.2 ควรมีการวิจัยศึกษา เพื่อปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับ การบริหารสมอง กับการเรียนรู้แบบวิธีอื่น ๆ

เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2552. ส�ำนักงานคณะกรรมการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ______. (2559). รายงานผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) ชั้นประถมศีกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559. ฉบับที่ 1 แบบสรุปรายงานผลการทดสอบของ โรงเรียน (School01). กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ชนิสรา ใจชัยภูมิ. (2552). ความคิดคล่องแคล่วของเด็กปฐมวัยด้วยการบริหารสมอง. (ปริญานิพนธ์บัณฑิต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ). ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ. กรุงเทพฯ : แดแน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 59 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

เชิดศักดิ์ ดอดกระโทก. (2553). ผลของโปรแกรมการบริหารสมองที่มีต่อความตั้งใจในการเรียนของนักเรียน ช่วงชั้นที่ 1 (วิทยานิพนธ์หาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา). จิราภรณ์ อุปภา. (2554). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม). ซัฟฟียะห์ สาและ. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เรื่องค่ากลางของข้อมูล ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา). ดวงกมล คงฤทธิ์. (2557). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ภาพสวยตามจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากการเรียนรู้แบบ 4MAT ร่วมกับการบริหารสมอง (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา). บุญอิ่ม สุขนิ่ม. (2554). ผลของการจัดกิจกรรมบริหารสมองที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็ก ชั้นอนุบาลปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี). ภัทรกุล จริยวิทยานนท์และอินทิรา ศรีวัฒนะธรรมา. (2558). คณิตศาสตร์กับการพัฒนาประเทศ. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2560, จากhttps://web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/paper/math_develop.htm วีระศักดิ์ เลิศโสภา. (2544). ผลของการใช้เทคนิคการสอน เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). ศศิธร แก้วมี. (2555). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิค KWDL ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยทักษิณ). ศิริพัฒน์ คงศักดิ์. (2550). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องเวลาของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล และการจัดการเรียนรู้ตามแนว สสวท (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร). สุขพัชรา ซิ้มเจริญ. (2553). การบริหารสมอง (Brain Activation). บทความสุขภาพ โดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2560, จาก https://www.doctor.or.th/article/detail/10955. สุจิตรา ศรีสละ. (2554). ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เรื่องโจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (สารนิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ). อังสนา ศรีสวนแตง. (2555). การพัฒนาผลการเรียนรู้ เรื่องโจทย์ปัญหาระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL) ร่วมกับเทคนิค KWDL (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

6 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ปีที่ ฉบับที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม - ธันวาคม 2561) 2561) 61 - 73 KaruKaru Sima Sima Joural Journal Vol. 1 Vol. No. 1 2 No. (July 2 (July- December - December 2018) 2018) 61 - 73 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด A Study of Prathomsuksa 5 Students’ Learning Achievement of Wind, Sky, Weather Learning Unit and Science Process Skills Using Inquiry Method with Mind Mapping กาญจนา ตั้งทรัพย์ 1,* สมบูรณ์ ตันยะ 2 และสงวนพงศ์ ชวนชม2 Kanchana Tangsap 1,* Somboon Tanya 2 and Sanguanpong Chuanchom. 2

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดกับเกณฑ์ร้อยละ 60 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 19 คน โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป ต�ำบลโนนรัง อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ร้อยละ (%) การทดสอบที (t-test for dependent และ t-test for one sample) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์, การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด 1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 M.Ed. Student in Curriculum and Instruction, Vongchvalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 Faculty of Education, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand *Corresponding author, e-mail [email protected] Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 61 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ABSTRACT The purposes of this research were to 1) compare the students’ learning achievement of wind, sky, weather learning unit and science process skills units before and after using the inquiry method with mind mapping, 2) compare the students’ learning achievement and science process skills after using the inquiry method with mind mapping learning with 60 percent, the criteria. The research samples were nineteen of Prathomsuksa 5 students studying at Banmai Patiroop school, Noonrang subdistrict, Chum Phuang district, Nakhon Ratchasima province in the Academic Year 2017. Research tools were lesson plans of wind, sky, weather, achievement test and science process skills. The statistical methods used to analyze the data were mean score (X), percentage, standard deviation (S.D.) and t-test. The research reveals that the students’ learning achievement of wind, sky, weather and science process skills after using the inquiry method with mind mapping was higher than those before using the inquiry method with mind mapping with statistical and was higher than 60 percent significance at the .05 level. Keywords: Learning Achievement, Science Process Skills, Inquiry Method with Mind Mapping

บทน�ำ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 นั้น ผู้สอนควรจัดการเรียนการสอนเพื่อที่จะเติมเต็มทักษะ แก่ผู้เรียนอย่างหลากหลายและมีความเหมาะสมแก่ผู้เรียน ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนควรเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ความสามารถของตนในการคิด แสวงหาความรู้จากสิ่งต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและ ภายนอกห้องเรียน ซึ่งผู้สอนเป็นเพียงผู้ชี้แนะการเรียนรู้เท่านั้น การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ผู้สอนควรสร้างแรงบันดาลใจ ให้ผู้เรียนมีความอยากรู้ อยากเห็น อยากค้นหาค�ำตอบสนุกกับการสืบเสาะหาความรู้ การเรียนรู้นั้นควรเน้น ผู้เรียนเป็นส�ำคัญ เป็นที่ทราบกันดีว่าผู้สอนไม่สามารถที่จะเลือกสอนผู้เรียนตามความต้องการได้ แต่ผู้สอนเอง สามารถออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ของผู้เรียนได้ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนควรมีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยการค้นพบความหมายการเรียนรู้ ของตนเอง เรียนรู้เพื่อรู้จักโลกกว้างท�ำให้เข้าใจตนเองและผู้อื่นมากขึ้น การออกแบบกระบวนการสอนวิทยาศาสตร์ ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการคิด ค้นคว้า ลงมือท�ำ สรุป และน�ำเสนอสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้มา (ประสาท เนืองเฉลิม, 2558, น. 1-7) ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้กล่าวถึงคุณภาพผู้เรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาในเรื่องของความสามารถในการเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ว่า ยังอยู่ในระดับไม่น่าพอใจ ผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดกระบวนการคิดแบบแบบวิทยาศาสตร์ไม่สามารถใช้วิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา ในชีวิตประจ�ำวัน ไม่สามารถพัฒนาวิธีคิดและวิเคราะห์แบบมีเหตุผลไม่สามารถตั้งค�ำถามได้อย่างเหมาะสม และยังได้กล่าวถึงครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ไว้ว่า ผู้สอนขาดความรู้ความเข้าใจในวิชาที่สอนและขาดการพัฒนา ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคนิคการสอนที่เหมาะสม ซึ่งท�ำให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายต่อวิชาวิทยาศาสตร์ (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2550, น. 1)

62 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

กระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งผู้สอนจะกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดค�ำถาม และลงมือเสาะแสวงหาความรู้ (ทิศนา แขมมณี, 2552, น. 141) ท�ำให้ผู้เรียนมีโอกาสศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จึงมีความอยากรู้อย่างเรียนตลอดเวลา ท�ำให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิธีการจัดระบบความคิด และวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองนั้นท�ำให้เกิดความรู้ที่คงทน ในการเรียนรู้ รู้จักเชื่อมโยงการเรียนรู้ (วัชรา เล่าเรียนดี, 2550, น. 77) รวมทั้งท�ำให้เกิดทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ในการจัดการเรียนรู้นั้นควรให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเองมีการด�ำเนินการแก้ปัญหา โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้และแก้ปัญหาวิธีการ จัดการเรียนรู้วิธีหนึ่งที่สามารถตอบความสามารถที่แตกต่างของผู้เรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีการ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ก็คือการจัดการเรียนการสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ กล่าวคือ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ เน้นว่าการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น ด้วยตัวของผู้เรียน การเรียนรู้เรื่องใหม่จะมีพื้นฐานมาจากความรู้เดิม ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นส�ำรวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 4) ขั้นขยายความรู้ และ 5) ขั้นประเมินผล (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) แผนผังความคิดเป็นวิธีสอนที่เชื่อมโยงภาพหรือค�ำพูดด้วยเหตุผลแล้วโยงด้วยเส้นตามล�ำดับความคิด ท�ำให้เข้าใจปัญหาและอธิบายค�ำที่มีความหมายในกรอบสี่เหลี่ยมได้ดีขึ้น (จริยา สุจารีกุล, 2550, น. 94) การพัฒนาทักษะการคิดเกี่ยวกับการเชื่อมโยงขององค์ประกอบด้วยแผนผังความคิด ท�ำให้มองเห็นการคิด ระหว่างกรอบต่าง ๆ ท�ำให้เกิดความรู้ความเข้าใจในระบบยิ่งขึ้น (สุวิทย์ ค�ำมูล, 2547, น. 17) ในการวิเคราะห์ ประเด็นปัญหานั้น ผู้เรียนต้องมีประสบการณ์เดิมประกอบกับการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงต้องผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยผู้สอนก�ำหนดปัญหาหรือสถานการณ์ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางท�ำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ขึ้นตามวัตถุประสงค์ แผนผังความคิดจะท�ำให้ผู้เรียนสามารถทบทวนเนื้อหา ได้อย่างรวดเร็วและง่ายต่อการฟื้นความรู้ใหม่เนื่องจากใช้ถ้อยค�ำน้อยโดยเป็นการใช้ค�ำหรือวลีแทนแนวคิด ช่วยให้จดจ�ำเนื้อหาที่เรียนได้ง่ายและรวดเร็ว การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดจะ ท�ำให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ สามารถเรียนรู้ได้ง่าย รวดเร็ว และเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการน�ำความรู้ใหม่เชื่อมโยงเข้ากับความรู้หรือประสบการณ์เดิมและเกิดความรู้ใหม่อย่างเข้าใจและ เกิดความคงทนในการเรียนรู้โดยการสร้างแผนผังความคิดจะช่วยให้นักเรียนแจกแจงความคิดเพื่อให้เห็น ความสัมพันธ์ที่ถูกต้อง (ไสว ฟักขาว, 2544, น. 36-40) จากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559 ได้สรุปข้อมูลผลการสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพียง 40.27 ในระดับประเทศ มีคะแนนเฉลี่ยเพียง 41.22 ซึ่งไม่ถึงร้อยละ 50 และโรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป มีผลการประเมินคุณภาพ ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พบว่า ในปี 2559 มีคะแนนเฉลี่ย 37.31 (โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป, 2559) ซึ่งต�่ำกว่าเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในด้านผู้เรียนก�ำหนดให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาหลักจากการทดสอบระดับชาติไว้ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50 อาจมีปัจจัยที่ส่งผลท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ เช่น นักเรียนไม่เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ ไม่แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจึงท�ำให้ไม่เกิดการเรียนรู้ และในบางครั้ง ผู้สอนเองใช้เนื้อหาในหนังสือเรียน เพียงอย่างเดียวท�ำให้ไม่เกิดความน่าสนใจในการเรียน เกิดความเบื่อหน่าย Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 63 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ในการเรียน (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2550, น. 1) จากที่กล่าวมานั้นแนวทางการจัดการศึกษาดังกล่าว ผู้วิจัยได้เลือกวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด เพื่อช่วยส่งเสริมและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งเป็นการสอนที่เปิดโอกาสให้นักเรียนค�ำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน อิสระในการคิด สามารถคิดวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยเน้นนักเรียนเป็นส�ำคัญ มากขึ้น รวมทั้งเป็นแนวทางให้ผู้สอนน�ำไปใช้ ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน คิดเป็น ท�ำเป็น แก้ปัญหาเป็น น�ำไปใช้ในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน ให้นักเรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมที่จะพัฒนาตนเอง และสังคมต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับ แผนผังความคิด กับเกณฑ์ร้อยละ 60

ค�ำถามการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนหรือไม่ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 หรือไม่

สมมติฐานของการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60

กรอบแนวคิดในการวิจัย การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ครูผู้สอนจะใช้ค�ำถามกระตุ้น ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการแก้ปัญหา

6 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ผู้เรียนใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สืบเสาะหาความรู้ ครูเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการปฏิบัติกิจกรรม ผู้เรียนเกิดการค้นพบความรู้ด้วยตนเอง (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) ซึ่งจากแนวคิดที่กล่าวมาผู้วิจัยได้น�ำมาก�ำหนดเป็นขั้นการสอน 5 ขั้นดังนี้ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นส�ำรวจ และค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 4) ขั้นขยายความรู้ และ 5) ขั้นประเมินผล แผนผังความคิดท�ำให้ผู้เรียน เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สรุปประเด็นส�ำคัญแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนอย่างมีระบบ ช่วยจัดล�ำดับ ความส�ำคัญก่อนหลังของเนื้อหา น�ำมาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ขั้นส�ำรวจและค้นหา และขั้นอธิบายและลงข้อสรุป ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้อง กับเนื้อหาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วย 5 ทักษะ ได้แก่

ทักษะการสังเกต ทักษะการจ�ำแนกประเภท ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด 1. ขั้นสร้างความสนใจ 2. ขั้นส�ำรวจและค้นหา (ร่วมกับแผนผังความคิด) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (ร่วมกับแผนผังความคิด) ลม ฟ้า อากาศ 4. ขั้นขยายความรู้ 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. ขั้นประเมินผล

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 19 คน 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ 2.2.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 65 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

3. ระยะเวลาในการวิจัย การทดลองจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ใช้เวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง รวม 16 ชั่วโมง

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับ แผนผังความคิดที่ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นส�ำรวจและค้นหา (ร่วมกับ แผนผังความคิด) 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (ร่วมกับแผนผังความคิด) 4) ขั้นขยายความรู้ และ 5) ขั้นประเมินผล ผลการประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดโดยผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง 5 คน ผลปรากฏว่า แผนการจัดการเรียนรู้โดยรวมมีความเหมาะสมมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 น�ำแผนการจัดการเรียนรู้ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านดงบัง (สว่างวิทยา) จ�ำนวน 21 คน จ�ำนวน 2 แผน เพื่อดูความเหมาะสมของเวลาและกิจกรรมที่ใช้ซึ่งได้มีการปรับลดกิจกรรมบางส่วน เพื่อให้เพียงพอต่อเวลาในการเรียนการสอนในห้องเรียนจริง ก่อนน�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป 1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1.2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ ในแต่ละข้อถ้าตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน ที่มีค่าความยากง่าย (p) ตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.77 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) ตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.73 และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ เท่ากับ 0.77 1.2.2 แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ ในแต่ละข้อถ้าตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน ที่มีค่าความยากง่าย (p) ตั้งแต่ 0.33 ถึง 0.80 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) ตั้งแต่ 0.27 ถึง 0.73 และค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ทั้งฉบับ เท่ากับ 0.80 ทักษะกระบวนการที่ต้องการให้นักเรียนเกิดด้วยกัน 5 ทักษะ ซึ่งทักษะ ที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด ดังนี้ 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะ การจ�ำแนกประเภท 3) ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล 4) ทักษะการพยากรณ์ และ5) ทักษะการใช้ตัวเลข 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 ท�ำการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แล้วบันทึกผลการทดสอบ ไว้เป็นคะแนนก่อนเรียนส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล 2.2 ด�ำเนินการทดลอง ผู้วิจัยด�ำเนินการสอนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับ แผนผังความคิด โดยใช้เวลาในการสอน 16 ชั่วโมง 2.3 ท�ำการทดสอบหลังเรียน (Post-test) กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นฉบับเดียวกับการทดสอบก่อนเรียน แล้วบันทึกผลการทดสอบ ไว้เป็นคะแนนหลังเรียนส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล

66 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

3. การวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ร้อยละ (%) 3.2 ตรวจสอบการแจกแจงแบบปกติของคะแนนรวมของนักเรียน โดยใช้ Kolmogorov-Smirnov พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีค่าสถิติเท่ากับ .153 และ .164 ตามล�ำดับ ซึ่งไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าเป็นการแจกแจงแบบปกติ 3.3 วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบ สืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด โดยใช้สถิติทดสอบที (t-test for dependent) 3.4 วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 โดยใช้สถิติทดสอบที (t-test for one sample)

ผลการวิจัย จากการวิจัยเพื่อศึกษาการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับ แผนผังความคิด ผลการวิจัย ดังต่อไปนี้ 1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน เท่ากับ 6.21 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 20.70 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 21.32 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 71.05 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน และมีคะแนนความก้าวหน้าเฉลี่ยเท่ากับ 15.11 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 50.35 1.2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด แสดงดังตาราง 1

ตาราง 1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม X S.D. t p ก่อนเรียน 19 30 6.21 2.02 49.55* .000 หลังเรียน 19 30 21.32 2.36

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 67 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

จากตาราง 1 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 1.3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 7.21 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 24.04 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 20.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 68.25 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน และมีคะแนนความก้าวหน้าเฉลี่ยเท่ากับ 13.26 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 44.21 1.4 การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด แสดงดังตาราง 2

ตาราง 2 การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียน และหลังเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด

ทักษะกระบวนการ ก่อนเรียน หลังเรียน N คะแนนเต็ม t p ทางวิทยาศาสตร์ X SD X SD ทักษะการสังเกต 19 5 1.63 0.60 4.26 0.45 16.77* .000 ทักษะการจ�ำแนกประเภท 19 7 1.58 0.69 4.16 0.69 14.63* .000 ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล 19 7 1.53 0.70 4.37 0.68 24.71* .000 ทักษะการพยากรณ์ 19 5 1.26 0.81 3.84 0.60 14.63* .000 ทักษะการใช้ตัวเลข 19 6 1.21 0.54 3.84 0.60 15.08* .000 ภาพรวม 19 30 7.21 2.30 20.47 2.20 38.94* .000 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 2 พบว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อแยกเป็นทักษะพบว่า ทักษะการสังเกต ทักษะการจ�ำแนกประเภท ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ทักษะการพยากรณ์ และทักษะการใช้ตัวเลข ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับ แผนผังความคิด กับเกณฑ์ร้อยละ 60 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด มีคะแนนเฉลี่ย 21.32 คิดเป็นร้อยละ 71.05 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคลพบว่า นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 จ�ำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 100 68 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2.2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด กับเกณฑ์ร้อยละ 60 แสดงดังตาราง 3

ตาราง 3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด กับเกณฑ์ร้อยละ 60

สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม คะแนนร้อยละ 60 X S.D. t p หลังเรียน 19 30 18 21.32 2.36 6.13* .000

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 3 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด มีคะแนนเฉลี่ย 20.47 คิดเป็นร้อยละ 68.25 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคลพบว่า นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 จ�ำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.4 การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด จ�ำแนกรายทักษะกับเกณฑ์ร้อยละ 60 แสดงดังตาราง 4

ตาราง 4 การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด จ�ำแนกรายทักษะกับเกณฑ์ร้อยละ 60

ทักษะกระบวนการ คะแนนเต็ม คะแนนเต็ม N X S.D. t p ทางวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ทักษะการสังเกต 19 5 3.00 4.26 0.45 12.17* .000 ทักษะการจ�ำแนกประเภท 19 7 4.20 4.16 0.69 -.27 .793 ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล 19 7 4.20 4.37 0.68 1.07 .297 ทักษะการพยากรณ์ 19 5 3.00 3.84 0.60 6.09* .000 ทักษะการใช้ตัวเลข 19 6 3.60 3.84 0.60 1.75 .097 ภาพรวม 19 30 18 20.47 2.20 4.91* .000 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 69 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

จากตาราง 4 พบว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อแยกเป็นรายทักษะพบว่าทักษะการสังเกต และทักษะการพยากรณ์ หลังการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนทักษะการจ�ำแนกประเภท ทักษะการใช้ตัวเลข และทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ไม่สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 60 เมื่อก�ำหนดนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. สรุปอภิปรายผล การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด จากผลการวิจัยสามารถอภิปรายได้ดังนี้ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ เนื่องจากการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด เป็นวิธีการที่มีกระบวนการมีขั้นตอนการเรียนรู้ที่เป็นระบบชัดเจน มีเป้าหมายในการเรียนรู้ ท�ำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพราะแต่ละขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้แก่ ขั้นเร้าความสนใจ ขั้นนี้เป็นการน�ำเข้าสู่เนื้อหา ในบทเรียนหรือเรื่องที่น่าสนใจ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สุวิทย์ ค�ำมูล และอรทัย ค�ำมูล (2552, น. 136) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ คือกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าหาความรู้ โดยผู้สอนตั้งค�ำถาม กระตุ้นความคิดของผู้เรียน ค้นพบความรู้ในการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องด้วยตนเองและสรุปเป็นหลักการ หรือวิธีในการแก้ปัญหา สามารถน�ำไปใช้ได้ ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้น�ำแผนผังความคิด เข้ามาร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ในขั้นที่ 2 ขั้นส�ำรวจและค้นหา และขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป เพื่อเป็นเทคนิคในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้ง รวดเร็ว สามารถจดจ�ำข้อมูลได้ง่าย ซึ่งในขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียน น�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ สรุป เป็นความคิดรวบยอดของตนเอง แล้วน�ำเสนอออกมา ในรูปแบบแผนผังความคิด จากเนื้อหาหลักลดหลั่นเป็นล�ำดับ อย่างเป็นระบบ ก่อนที่จะสรุป ซึ่งท�ำให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ในสิ่งที่เกี่ยวข้องได้รวดเร็วและจดจ�ำได้ง่าย สามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมและเชื่อมโยงความรู้ใหม่ เข้าด้วยกัน โดยสรุปเป็นความคิดของตนเอง สอดคล้องกับแนวคิด ทิศนา แขมมณี (2551, น. 80) กล่าวว่า แผนผังความคิด เป็นผังที่แสดงความสัมพันธ์ของเนื้อหาหรือความคิดต่าง ๆ โดยใช้เส้น สี เครื่องหมาย หรือรูปทรงต่าง ๆ เพื่อแสดงความหมาย เป็นการจัดระเบียบความคิดเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาสาระนั้น ได้ง่ายและยาวนาน ซึ่งข้อค้นพบดังกล่าว สอดคล้องกับงานวิจัยของ อัจฉรา ประเสริฐจุมพล (2555) ; อุมาพร จงนอก (2557) ; นุชรินทร์ ชาพันดุง (2558) และ ปราณีต ช่างสีดา (2558) พบว่า หลังการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

7 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

1.2 จากการศึกษาพบว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจมาจากการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิด เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ใหม่ ๆ ด้วยตนเองโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือน�ำไปหาซึ่งค�ำตอบ โดยเฉพาะ ในขั้นส�ำรวจและค้นหา น�ำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนผังความคิดซึ่งเป็นความคิดรวบยอดตามความเข้าใจ ของผู้เรียนเอง ผู้เรียนได้ท�ำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการสังเกต ทักษะการจ�ำแนกประเภท ทักษะการลงความเห็น จากข้อมูล ทักษะการพยากรณ์และทักษะการใช้ตัวเลข และในขั้นอธิบายและลงข้อสรุปได้น�ำเสนอข้อมูล ในรูปแบบแผนผังความคิด ซึ่งเป็นความคิดรวบยอดตามความเข้าใจของผู้เรียนเอง ช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ อัจฉรา ประเสริฐจุมพล (2555) ; อุมาพร จงนอก (2557) และ นุชรินทร์ ชาพันดุง (2558) พบว่า หลังการจัดการเรียนรู้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนั้น เมื่อแยกเป็นรายทักษะพบว่าทักษะการสังเกต และทักษะการพยากรณ์ หลังการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิดสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนทักษะการจ�ำแนกประเภท ทักษะการใช้ตัวเลข และทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ไม่สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 60 เมื่อก�ำหนดนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทุกขั้นตอนส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะการสังเกตและทักษะการพยากรณ์ เมื่อนักเรียนได้ฝึกฝนบ่อยๆ ก็จะท�ำให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้น 2. ข้อเสนอแนะ 2.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ 2.1.1 จากผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ลม ฟ้า อากาศ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สูงขึ้น ดังนั้นจึงควรส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิดต่อไปเพื่อเป็นการพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น 2.1.2 การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิดมีขั้นตอนในการ จัดกิจกรรม ได้แก่ ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นส�ำรวจและค้นหา (ร่วมกับแผนผังความคิด) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (ร่วมกับแผนผังความคิด) ขั้นขยายความรู้ และขั้นประเมินผล ซึ่งขั้นต่าง ๆ ดังกล่าวต้องใช้เวลาในการสอนมาก ครูผู้สอนต้องควบคุมเวลาและก�ำหนดกิจกรรมในแต่ละขั้นให้ชัดเจนและยืดหยุ่นเวลาตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ 2.1.3 จากผลการทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในด้านทักษะการจ�ำแนกประเภท ทักษะการใช้ตัวเลข และทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ไม่สูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด ผู้สอนควรส่งเสริม และพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในด้านนี้ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในด้านทักษะการจ�ำแนกประเภท ทักษะการใช้ตัวเลข และทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลสูงขึ้น

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 71 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2.2 ข้อเสนอแนะในการวิจัยในครั้งต่อไป ควรมีการวิจัยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิดหรือรูปแบบ การสอนอื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. จริยา สุจารีกุล. (2550). วิทยาศาสตร์คือกระบวนการสืบเสาะหความรู้ แปลจาก Science as inquiry. กรงุเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์พับวิเคชั่นส์. ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : ด่านสุธาการพิมพ์. นุชรินทร์ ชาพันดุง. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการ จัดการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ร่วมกับผังมโนมติ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา). ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ปราณีต ช่างสีดา. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ พฤติกรรมและการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าของสัตว์ ความสามารถในการแก้ปัญหาและจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 จากการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังมโนทัศน์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา). โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป. (2559). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2559. นครราชสีมา : โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป จังหวัดนครราชสีมา. วัชรา เล่าเรียนดี. (2550). เทคนิคและกลยุทธ์วิธีพัฒนาทักษะการคิดวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุวิทย์ มูลค�ำ และอรทัย มูลค�ำ. (2552). 21 วิธีการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์. สุวิทย์ มูลค�ำ. (2547). กลยุทธ์การสอนคิดวิเคราะห์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ภาคพิมพ์. ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. ไสว ฟักขาว. (2544). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์. อัจฉรา ประเสริฐจุมพล. (2555). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ แหล่งน�้ำและอากาศ บนโลก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จากการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังมโนทัศน์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา).

7 2 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

อุมาพร จงนอก. (2557). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากการ จัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแผนผังความคิด (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา).

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 73 วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ ปีที่ 2 (กรกฎาคม1 ฉบับที่ 2 -(กรกฎาคม ธันวาคม 2561) - ธันวาคม 74 - 2561)86 Karu Sima KaruJoural Sima Vol. Journal 1 No. 2 Vol. (July 1 -No. December 2 (July - 2018) December 74 - 862018)

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา The Study about of Prathomsuksa 5 Students’ Learning Achievemant on Addition, Subtraction and Multiplying Decimals Learning units and Analytical Thinking Ability through CIPPA Learning Management วรรณปวีณ์ เศษศรี 1,* สมบูรณ์ ตันยะ 2 และสงวนพงศ์ ชวนชม 3 Wanpawee Sessree 1,* Somboon Tanya 2 and Sanguanpong Chuanchom.3

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลัง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบซิปปากับเกณฑ์ร้อยละ 60 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูปต�ำบลโนนรัง อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 19 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และแบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ร้อยละ การทดสอบนอนพาราเมตริก (Wilcoxon Matched pairs และ One-Sample Wilcoxon signed-ranks test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบซิปปาสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา, ความสามารถในการคิดวิเคราะห์

1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 M.Ed. Student in Curriculum and Instruction, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 Faculty of Education, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand *Corresponding author, e-mail [email protected] 7 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

Abstract The purposes of this research were to 1) compare the students’ learning achievement on addition, subtraction and multiplying decimals learning units and analytical thinking ability before and after using CIPPA learning management, 2) compare the students’ learning achievement and their analytical thinking ability after using CIPPA learning management with 60 percent, the criteria. The research samples were nineteen Prathomsuksa 5 students studying at Banmai Patiroop school, Chum Phuang district, Nakhon Ratchasima province in the Academic Year 2017. Research tools were lesson plans, achievement test of addition, subtraction, multiplying decimals learning units and a test of analytical thinking ability. The statistical methods used to analyze the data were mean score, percentage, standard deviation and nonparametric. (Wilcoxon Matched pairs and One-Sample Wilcoxon signed-ranks test) The research reveals that The students’ learning achievement and their analytical thinking ability after using CIPPA learning management was higher than those before using CIPPA learning management and was higher than 60 percent, the criteria with statistical significance at the .05 level. Keywords: CIPPA Learning Activity Management/Analytical Thinking Ability

บทน�ำ คณิตศาสตร์มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาการคิดของมนุษย์ ท�ำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดวางแผนอย่างรอบคอบ คิดอย่างมีระบบ มีระเบียบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล มีการท�ำงานเป็นขั้นตอน มีทักษะในการแก้ปัญหา (อัมพร ม้าคนอง, 2557, น. 3-5) การจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ผ่านมาพบว่ายังไม่ประสบผลส�ำเร็จเท่าที่ควร นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต�่ำ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสาเหตุ และปัจจัยหลายประการ เช่น หลักสูตร เนื้อหา ครูผู้สอน นักเรียน สภาพแวดล้อม ผู้ปกครอง การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ตลอดจนเทคนิคและวิธีการสอนของครู และอาจเนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ต้องใช้ทักษะและกระบวนการ ในการคิด และเนื้อหาส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับนามธรรม ท�ำให้ยากแก่การอธิบายและยกตัวอย่างให้เห็นชัดเจน จึงไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงปัจจุบัน ดังนั้นผู้สอนจึงต้องปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่ช่วยให้ผู้เรียน ได้พัฒนาความสามารถในการคิดผู้เรียนจ�ำเป็นต้องใช้การคิดวิเคราะห์เป็นเครื่องมือในการศึกษาหาความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ (สมนึก ภัททิยธนี, 2546, น. 3) การคิดเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ส�ำคัญของการเกิดการเรียนรู้ของบุคคลที่มีล�ำดับความยากง่าย หรือความซับซ้อน การคิดมีตั้งแต่การคิดในระดับต�่ำสุดจนถึงการคิดในระดับสูง คือ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่า ซึ่งการคิดวิเคราะห์นั้นเป็นความสามารถในการจ�ำแนก แยกแยะส่วนย่อย ๆ ให้เหตุผล จัดกลุ่มความสัมพันธ์ เพื่อหาข้อสรุป รวมทั้งหาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบเหล่านั้น และเชื่อมโยงเรื่องราว หรือเนื้อเรื่องต่าง ๆ เป็นกลไกที่ส�ำคัญที่จะแยกแยะสิ่งที่ดีและไม่ดี การคิดถึงสิ่งจ�ำเป็นต่อการเรียนรู้ในอนาคต

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 75 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

และเป็นคุณสมบัติที่จะต้องส่งเสริมให้เกิดกับเด็กไทย (บลูม, 1956, น. 201) ผู้สอนจึงต้องแนะน�ำให้นักเรียน สามารถคิดเป็น รู้วิธีคิด เพื่อเผชิญกับสถานการณ์ เน้นให้นักเรียนเกิดกระบวนการคิดอย่างรอบคอบ คิดอย่างมีแบบแผน มีล�ำดับ ท�ำให้เกิดการเรียนรู้อย่างเห็นแจ้งชัดจริงอย่างมีเหตุผล ช่วยส่งเสริมความฉลาด ทางสติปัญญา สามารถแก้ปัญหา รู้ข้อเท็จจริง จ�ำแนกแยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ประเมิน ตัดสินใจ คิดสร้างสรรค์และสรุปข้อมูลต่าง ๆ ด้วยความสมเหตุสมผล (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์, 2549, น. 32-45) จากสาเหตุและปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อยู่ในเกณฑ์ต�่ำ และจากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559 ได้สรุปข้อมูลผลการสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่าคะแนนสอบ วิชาคณิตศาสตร์ในระดับประเทศมีคะแนนเฉลี่ยเพียง 40.47 ซึ่งไม่ถึงร้อยละ 50 และโรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป มีผลคะแนน O-NET อยู่ในเกณฑ์ต�่ำคือมีคะแนนเฉลี่ย 33.75 น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ และเมื่อพิจารณาผลการผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) พบว่าระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรียนอยู่ในระดับต�่ำ เมื่อวิเคราะห์รายละเอียดของเนื้อหาสาระ พบว่า สาระที่นักเรียนได้คะแนนน้อยได้แก่ สาระจ�ำนวนและการด�ำเนินการ (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2559) ดังนั้น การจัดเนื้อหาสาระทางคณิตศาสตร์ต้องค�ำนึงถึงความยาก ง่าย ความต่อเนื่อง และล�ำดับขั้น ของเนื้อหา และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้องค�ำนึงถึงล�ำดับขั้นของการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์จริง ควรจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน โดยค�ำนึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคลรวมทั้งวุฒิภาวะของผู้เรียน (ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา, 2546, น. 5) และการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์จะมีประสิทธิภาพและบรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้นั้น ครูผู้สอนจะต้องมีการวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นส�ำคัญ เตรียมการสอนอย่างเป็นระบบ ด้วยการศึกษา วิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ และน�ำนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้การเรียนการสอน มีประสิทธิภาพมาใช้เพื่อพัฒนา รวมทั้งการจัดท�ำและจัดหาสื่อการเรียนรู้ประกอบการสอนตลอดจนวิธีการวัดผล ประเมินผลอย่างละเอียด มีการวางแผนการเรียนการสอนที่ดีและเหมาะสม (สิริพร ทิพย์คง, 2545, น. 13) จากการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบหนึ่ง ที่ส่งเสริมการคิดของผู้เรียน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้ผู้เรียนได้คิดสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการที่ส�ำคัญ คือ ให้ผู้เรียนทบทวนความรู้เดิม ผู้เรียนได้รับ แสวงหา รวบรวม ข้อมูลและประสบการณ์ ด้วยตนเองโดยใช้ทักษะกระบวนการต่าง ๆ สรุปและจัดระเบียบความรู้ ข้อมูล แสดงออกในสิ่งที่เรียนรู้ ด้วยวิธีต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ซึ่งการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซิปปาเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้หนึ่ง ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการพัฒนาทั้ง 4 ด้านของมนุษย์ ทั้งกิจกรรมทางด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ (ทิศนา แขมมณี, 2557, น. 282-284) จากที่กล่าวมา จึงเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา น่าจะเหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์เพราะส่งเสริมให้ผู้เรียนเน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เน้นทักษะกระบวนการ มีการตรวจสอบความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ท�ำให้ผู้เรียนเข้าใจและไม่ลืมง่าย เพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับครูผู้สอนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

7 6 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบซิปปา 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบซิปปากับเกณฑ์ร้อยละ 60

ค�ำถามการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนหรือไม่ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 60 หรือไม่

สมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปาสูงกว่า ก่อนการจัดกิจกรรม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปาสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 60

กรอบแนวคิดในการวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้หนึ่งที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไป ตามเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยมีแบบแผนแนวคิดหลัก 5 แนวคิดประสานกัน ได้แก่ 1) แนวคิดการสร้างความรู้ 2) แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้แบบร่วมมือ 3) แนวคิดเกี่ยวกับ ความพร้อมในการเรียนรู้ 4) แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้กระบวนการ และ 5) แนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนการเรียนรู้ จากแนวคิดทั้ง 5 แนวคิด เมื่อน�ำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถเลือกใช้วิธีสอน และเทคนิคต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย จากแนวคิดหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางประกอบด้วย ขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีลักษณะสอดคล้องกับแนวคิด 5 ประการ มี 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การทบทวนความรู้เดิม 2) การแสวงหาความรู้ใหม่ 3) การศึกษาท�ำความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และ เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม 4) การแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม 5) การสรุปและการจัดระเบียบ ความรู้ 6) การปฏิบัติและ/หรือการแสดงผลงานผู้เรียน และ7) การประยุกต์ใช้ความรู้ เมื่อจัดการเรียนรู้

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 77 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ครบทั้ง 7 ขั้นตอน จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการพัฒนาทั้ง 4 ด้านของมนุษย์ ทั้งกิจกรรมทางด้านร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ (ทิศนา แขมมณี, 2557, น. 282-284) และการวิจัยของ ธนัญญา ทะยอมใหม่ (2554) ที่มีผลการวิจัยสอดคล้องกันว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา สามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ และพัฒนาการคิดวิเคราะห์ ผู้วิจัยจึงใช้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ซึ่งแยกการวิเคราะห์ออกเป็น 3 ประเด็น คือ วิเคราะห์ความส�ำคัญ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ และวิเคราะห์หลักการ (บลูม, 1956, น. 202) ดังภาพประกอบ 1

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา 1) การทบทวนความรู้เดิม 2) การแสวงหาความรู้ใหม่ 3) การศึกษาท�ำความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม การบวก การลบ และการคูณทศนิยม 4) การแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 5) การสรุปและจัดระเบียบความรู้ 6) การปฏิบัติและ/หรือการแสดงผลงาน 7) การประยุกต์ใช้ความรู้

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 19 คน 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม 2.2.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3. ระยะเวลาในการวิจัย ท�ำการทดลองการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา หน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และ

7 8 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

การคูณทศนิยม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ใช้เวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง รวม 16 ชั่วโมง

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา มี 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1.1.1 การทบทวนความรู้เดิม เป็นขั้นที่การดึงความรู้เดิมของผู้เรียนในเรื่องที่จะเรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของตน ซึ่งผู้สอนอาจใช้วิธีการต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลายวิธี 1.1.2 การแสวงหาความรู้ใหม่ เป็นการแสวงหาข้อมูลความรู้ใหม่ของผู้เรียนจากแหล่งข้อมูล หรือแหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่งผู้สอนอาจจัดเตรียมมาให้ผู้เรียนหรือให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้ 1.1.3 การศึกษาท�ำความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม เป็นขั้นที่ผู้เรียนศึกษาและท�ำความเข้าใจกับข้อมูล/ความรู้ที่หามาได้ ผู้เรียนสร้างความหมายของ ข้อมูล/ประสบการณ์ใหม่ ๆ โดยใช้กระบวนต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น ใช้กระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม ในการอภิปราย และสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งจ�ำเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม 1.1.4 การแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม เป็นขั้นที่ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ ในการตรวจสอบความรวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่น และได้รับประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อม ๆ กัน 1.1.5 การสรุปและจัดระเบียบความรู้ เป็นขั้นของการสรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิม และความรู้ใหม่ และจัดสิ่งที่เรียนให้เป็นระบบระเบียบเพื่อให้ผู้เรียนจดจ�ำสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 1.1.6 การปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงาน เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียน ได้มีโอกาสแสดงผลงานการสร้าง ความรู้ของตนให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนได้ตอกย�้ำหรือตรวจสอบความเข้าใจของตน และช่วยส่งเสริม ให้ผู้เรียนใช้ความคิดสร้างสรรค์ แต่หากต้องมีการปฏิบัติตามข้อมูลที่ได้ ขั้นนี้จะเป็นขั้นปฏิบัติ และมีการแสดงผลงาน ที่ได้ปฏิบัติด้วย ในขั้นนี้ผู้เรียนสามารถแสดงผลงานด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การจัดนิทรรศการ การอภิปรายการแสดง บทบาทสมมติ เรียงความ วาดภาพ ฯลฯ และอาจจัดให้มีการประเมินผลงานโดยมีเกณฑ์ที่เหมาะสม 1.1.7 การประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นขั้นของการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการน�ำความรู้ความเข้าใจ ของตนไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่หลากหลาย เพิ่มความช�ำนาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหา และความจ�ำในเรื่องนั้น ๆ เป็นการให้โอกาสผู้เรียนใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ เป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ผลการประเมินคุณภาพแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา โดยผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 คน ผลปรากฏว่า แผนการจัดการเรียนรู้โดยรวมมีความเหมาะสมมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.65 และน�ำแผน การจัดการเรียนรู้ที่ไปทดลองใช้ (Try-out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านดงบัง(สว่างวิทยา) จ�ำนวน 21 คน จ�ำนวน 2 แผน พบว่า กิจกรรมที่ใช้ในแผนการจัดการเรียนรู้ใช้เวลามากเกินไป จึงมีการ ปรับลดกิจกรรมเพื่อให้เหมาะสมกับเวลา ก่อนน�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 79 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 1.2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ มีค่าระดับความยากง่าย (p) ระหว่าง 0.50-0.77 และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) มีค่าตั้งแต่ 0.27-0.80 และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับได้เท่ากับ 0.95 มีขั้นตอนการสร้าง ดังนี้ 1.2.1.1 ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เอกสารเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล การเรียนรู้และการสร้างข้อสอบปรนัย 1.2.1.2 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียนรู้ จ�ำนวน 50 ข้อ 1.2.1.3 น�ำแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 1.2.1.4 น�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ จ�ำนวน 5 คน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยพิจารณาค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อสอบและจุดประสงค์การเรียนรู้ พบว่าแบบทดสอบมีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง 0.60-1.00 พร้อมปรับปรุงแก้ไขให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 1.2.1.5 น�ำแบบทดสอบที่หาค่าดัชนีความสอดคล้องแล้ว เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องก่อนน�ำไปทดลองใช้ 1.2.1.6 น�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป จ�ำนวน 13 คน และโรงเรียนบ้านดงบัง (สว่างวิทยา) จ�ำนวน 17 คน ที่เคยเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม รวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 30 คน 1.2.1.7 น�ำผลคะแนนที่ได้จากการทดสอบ มาวิเคราะห์เป็นรายข้อเพื่อวิเคราะห์หาค่า ความยากง่าย (p) และหาค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) ของข้อสอบแต่ละข้อ แล้วคัดเลือกข้อสอบจ�ำนวน 30 ข้อ 1.2.1.8 น�ำแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้ จ�ำนวน 30 ข้อ ไปหาค่าความเชื่อมั่นของ แบบทดสอบทั้งฉบับ 1.2.1.9 น�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 30 ข้อ ไป ใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 1.2.2 แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ผู้วิจัยใช้ของธนัญญา ทะยอมใหม่ (2554) เป็นแบบทดสอบแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.37 ถึง 0.77 มีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกอยู่ระหว่าง 0.27 ถึง 0.60 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.72 ซึ่งแบ่งตามเนื้อหาสาระ ดังนี้ 1.2.2.1 การวิเคราะห์ความส�ำคัญ 1.2.2.2 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ 1.2.2.3 การวิเคราะห์หลักการ 2. การด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน 8 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2.2 ด�ำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 8 แผนการจัดการเรียนรู้ ใช้เวลา 16 ชั่วโมง โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา 2.3 ทดสอบหลังเรียน (Post-test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เมื่อด�ำเนินการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ครบแล้ว โดยใช้แบบทดสอบชุดเดิมกับที่ใช้ทดสอบก่อนเรียน 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และ การคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา โดยการหาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3.2 ตรวจสอบการแจกแจงปกติของคะแนนรวมของนักเรียน โดยใช้ Kolmogorov-Smimov Test พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะห์มีค่าสถิติเท่ากับ .007 และ .024 ตามล�ำดับ ซึ่งมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าเป็นการแจกแจงแบบไม่ปกติ จึงได้เลือกใช้สถิติ นอนพาราเมตริก ในการทดสอบ 3.3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และ การคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลัง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา โดยใช้สถิตินอนพาราเมตริก (Wilcoxon Matched pairs) 3.4 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และ การคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบซิปปา เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 โดยใช้สถิตินอนพาราเมตริก (One-Sample Wilcoxon signed-ranks test)

ผลการวิจัย 1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบซิปปา มีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา พบว่า ก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 10.21 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 34.04 หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 21.58 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 71.93 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน และมีคะแนนความก้าวหน้าเฉลี่ยเท่ากับ 11.37 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 37.89 1.2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา ดังแสดงในตาราง 1

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 81 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ตาราง 1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยมของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม X S.D. z p ก่อนเรียน 19 30 10.21 5.00 3.83* .000 หลังเรียน 19 30 21.58 3.91

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 1.3 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบซิปปา พบว่า ก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 12.89 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 42.98 หลังเรียน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 20.89 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 69.65 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน และมีคะแนนความก้าวหน้า เฉลี่ยเท่ากับ 8.00 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 26.67 1.4 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา ดังแสดงในตาราง 2

ตาราง 2 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลัง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม X S.D. z p ก่อนเรียน 19 30 12.89 4.62 3.84* .000 หลังเรียน 19 30 20.89 2.62

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 2 พบว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบซิปปากับเกณฑ์ร้อยละ 60 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา มีคะแนนเฉลี่ย 21.58 คิดเป็นร้อยละ 71.93 เมื่อก�ำหนดเกณฑ์การผ่านร้อยละ 60 พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์จ�ำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา กับเกณฑ์ร้อยละ 60 82 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ตาราง 3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบซิปปา กับเกณฑ์ร้อยละ 60 สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม คะแนนร้อยละ 60 X S.D. z p หลังเรียน 19 30 18 21.58 3.91 3.30* .001

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 3 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบซิปปา มีคะแนนเฉลี่ย 20.89 คิดเป็นร้อยละ 69.65 เมื่อก�ำหนดเกณฑ์การผ่านร้อยละ 60 พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์จ�ำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.4 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา กับเกณฑ์ร้อยละ 60

ตาราง 4 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา กับเกณฑ์ร้อยละ 60 สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม คะแนนร้อยละ 60 X S.D. z p หลังเรียน 19 30 18 20.89 2.62 3.42* .001

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 4 พบว่าความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. สรุปอภิปรายผล การวิจัยเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบซิปปา ผู้วิจัยมีประเด็นหลักส�ำคัญในการอภิปราย ดังต่อไปนี้ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้การบวก การลบ และการคูณทศนิยมของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 83 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัดการเรียนรู้แบบซิปปาในขั้นทบทวนความรู้เดิมผู้เรียนมีโอกาสทบทวนความรู้เดิม โดยกิจกรรมเกม เพลง ซึ่งท�ำให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานและสามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมได้ดี นอกจากนี้ ผู้เรียนจะมีโอกาสได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกันจากการท�ำกิจกรรมกลุ่มมีการสรุปความรู้ทั้งจากตัวเองและกลุ่ม การสรุปความรู้เดิมเพื่อเชื่อมกับความรู้ใหม่ และได้น�ำเสนอผลงานของตนเองและกลุ่ม และครูยังมีการเสริมแรง โดยการชื่นชมผลงานและจัดแสดงผลงาน ท�ำให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตน และให้ค�ำแนะน�ำ ส�ำหรับข้อบกพร่องเพื่อใช้ในการปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น การวิจัยครั้งนี้ยังสอดคล้องกับแนวคิดของทิศนา แขมมณี (2557, น. 11) กล่าวว่ารูปแบบการเรียนการสอนตามหลักซิปปา เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถช่วยผู้เรียน เกิดกระบวนการสร้างความรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อตนเอง อันจะส่งผลถึงความเข้าใจ และการคงความรู้ ผู้เรียนได้เคลื่อนไหวลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ และความสนใจ ของผู้เรียน รวมทั้งช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัวและส่งเสริมการน�ำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ กิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าวเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านบุคคล ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของธนัญญา ทะยอมใหม่ (2554), เกษสุดา สุราฤทธิ์ (2557) และวราภรณ์ อาทิจวงศ์ (2558) พบว่า หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม และสูงกว่าเกณฑ์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 1.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า นักเรียนที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่า เกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา เป็นกิจกรรมที่ให้โอกาสให้นักเรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองตามแนวคิด การสร้างความรู้ น�ำมาใช้ในการเรียนการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ให้ผู้เรียนได้คิดสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการที่ส�ำคัญ คือ ให้ผู้เรียนทบทวนความรู้เดิม ผู้เรียนได้รับแสวงหา รวบรวม ข้อมูลและประสบการณ์ ด้วยตนเองโดยใช้ทักษะกระบวนการต่าง ๆ สรุปและจัดระเบียบความรู้ ข้อมูล แสดงออกในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยวิธีต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ซึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปาในขั้นที่ 3 ถึงขั้นที่ 5 นักเรียนได้ท�ำความเข้าใจ กับข้อมูลความรู้ใหม่ที่หามาได้ เชื่อมโยงกับความรู้เดิมโดยใช้กระบวนการคิด เป็นการแยกแยะสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนย่อยต่าง ๆ และสามารถรวบรวมความรู้ และข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างมีระบบที่จะน�ำไปสู่ การแก้ปัญหาได้ เป็นการใช้กระบวนการท�ำงานเป็นกลุ่ม ได้มีปฏิสัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกันในกลุ่ม ท�ำให้นักเรียนได้พัฒนากระบวนการทางสมองระดับสูง ในการพิจารณา สถานการณ์คิดหาเหตุผล การจ�ำแนกและการแก้ปัญหา เชื่อมโยงสิ่ง ต่าง ๆ จนน�ำไปสู่การประยุกต์ใช้ ซึ่งสอดคล้องกับประพันธ์ศิริ สุเสารัจ (2551, น. 48) ซึ่งกล่าวว่า การคิดวิเคราะห์เป็นการจ�ำแนกแยกแยะข้อมูล องค์ประกอบของสิ่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวัตถุ เรื่องราว เหตุการณ์ต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อค้นหาความจริง ความส�ำคัญ แก่นแท้ องค์ประกอบหรือหลักการของเรื่องนั้น ๆ ทั้งนี้อาจแฝงซ่อนอยู่ภายในสิ่งต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ได้อย่างชัดเจน รวมทั้งหาความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงของสิ่งต่าง ๆ ว่าเกี่ยวพันกันอย่างไร อาศัยหลักการใดจนได้ความคิดเพื่อน�ำไปสู่การสรุป การประยุกต์ใช้ การท�ำนาย หรือคาดการณ์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของกฤษฎา แก้วสิงห์ (2551) ได้ศึกษาความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีการวัดและประเมินควบคู่กับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 4 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ ผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ และเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงขึ้นหลังใช้การวัด 8 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

และประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ควบคู่กับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และสอดคล้องกับงานวิจัย ของธนัญญา ทะยอมใหม่ (2554) และเกษสุดา สุราฤทธิ์ (2557) ได้ศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา และสูงกว่าเกณฑ์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัย ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 2.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ 2.1.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา ในขั้นตอนการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม นักเรียนมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และได้ข้อสรุปที่แตกต่างกัน ดังนั้นควรท�ำความเข้าใจกับนักเรียน ตั้งแต่เริ่มต้นว่าความส�ำเร็จของกลุ่มขึ้นอยู่กับความร่วมมือของสมาชิกภายในกลุ่ม ดังนั้น การใช้กระบวนการกลุ่ม และการเรียนรู้แบบร่วมมือ จะช่วยให้นักเรียนมีโอกาสช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีโอกาสเป็นผู้ประสบความส�ำเร็จ และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน 2.1.2 ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา ครูจะต้องเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ครบถ้วน เพราะในแต่ละกิจกรรมมีการใช้สื่อที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้มากขึ้น 2.1.3 การน�ำเสนอผลงานและชื่นชมผลงาน ควรมีการน�ำเสนอหลายรูปแบบ ไม่ควรน�ำเสนอ เฉพาะรายงานหน้าห้องเรียนแบบเดียว ควรมีการจัดป้ายนิเทศ หรือนิทรรศการหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนทุกคนในกลุ่มควรได้น�ำเสนอผลงาน เพื่อฝึกให้นักเรียนกล้าแสดงออก และภูมิใจในผลงานของตนเอง 2.1.4 ควรมีการควบคุมเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้เสร็จภายในเวลาที่ก�ำหนด เพราะกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนต้องใช้เวลาในการฝึก ดังนั้นครูต้องวางแผนการใช้เวลาและควบคุมเวลา เพื่อให้กิจกรรมด�ำเนินไปครบขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 2.2 ข้อเสนอแนะในการวิจัยในครั้งต่อไป 2.2.1 ควรมีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปาในสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับชั้นหรือรายวิชาอื่น ๆ ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอนให้นักเรียนมีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น 2.2.2 ควรมีการน�ำการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปาร่วมกับรูปแบบการสอนอื่น ๆ ที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน

เอกสารอ้างอิง กฤษฎา แก้วสิงห์. (2551). การศึกษาความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีการวัดและประเมินควบคู่กับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครราชสีมา เขต 4 (วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ). เกษสุดา สุราฤทธิ์. (2557). การใช้เครื่องค�ำนวณเชิงกราฟประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบซิปปา เรื่อง ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ส�ำหรับนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา). เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2549). การคิดเชิงวิเคราะห์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 85 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธนัญญา ทะยอมใหม่. (2554). การศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ การบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบซิปปา (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา). ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : 9119 เทคนิคพริ้นดิ้ง. วราภรณ์ อาทิจวงศ์. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้ แบบซิปปา (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา). สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2559). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2560, จาก http//www.niets.or.th ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา. (2546). การประกันคุณภาพสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. สิริพร ทิพย์คง. (2545). หลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. อัมพร ม้าคนอง. (2557). คณิตศาสตร์ส�ำหรับครูมัธยม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Bloom, Benjamin S. (1956). A Guide to Mathematics for the Intelligent Nonmathematician. New York: Simon and Schuster.

86 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ปีที่ ฉบับที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม - ธันวาคม 2561) 2561) 87 - 99 KaruKaru Sima Sima Joural Journal Vol. 1 Vol. No. 1 2 No. (July 2 (July- December - December 2018) 2018) 87 - 99 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL The Study of Learning Achievement of One Variable-Linear Equations Unit and their analytical thinking ability of Mathayomsuksa 1 Students Using STAD Collaborative Learning Management together KWDL technique วิลาวัณย์ แสนศรี 1,* สมบูรณ์ ตันยะ 2 และสงวนพงศ์ ชวนชม 2 Wilawan Saensri 1,* Somboon Tanya 2 and Sanguanpong Chuanchom 2

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL กับเกณฑ์ร้อยละ 60 กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนห้วยบงวิทยา อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 13 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบทดสอบวัดความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ เทคนิค KWDL สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน/ความสามารถในการคิดวิเคราะห์/การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL

1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 M.Ed. Student in Curriculum and Instruction, Vongchvalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 Faculty of Education, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand *Corresponding author, e-mail [email protected] Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 87 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

Abstract The purposes of this research were to compare the students learning achievement of one variable- linear equations learning unit and their analytical thinking ability before and after using STAD collaborative learning management together with KWDL technique ant to compare the students learning achievement of one variable- linear equations unit and their analytical thinking ability after using STAD collaborative learning management together with KWDL with 60 percent, the criteria. The samples were thirteen Mathayomsuksa 1 students who studying at Huaybong school, Chum Phuang district, Nakhon Ratchasima province in the Academic Year 2017. The tools were lesson plans, achievement test and analytical thinking ability test. The statistical methods used to analyze the data were mean (X) , percentage, standard deviation(S.D.) and t-test. The research reveals that the students’ learning achievement of one variable-linear equations learning unit and their analytical thinking ability using STAD collaborative learning management together with KWDL was posttest score higher than pretest score, and posttest score higher than 60 percent, the criteria with statistical significance at the .05 level. Keyword : Analytical Thinking / Learning Achievement / STAD Collaborative Learning Management together with KWDL technique

บทน�ำ การจัดการศึกษาในปัจจุบัน มุ่งหวังที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มองกว้าง คิดไกล ใฝ่รู้ รู้จักคิดวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ พร้อมทั้งแก้ปัญหาและพึ่งพาตนเองด้วยปัญญา (บุญชม ศรีสะอาด, 2545, น. 35) เนื่องจากการคิดเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ส�ำคัญของการเรียนรู้ของบุคคล โดยการคิดและกระบวนการคิดเป็นกลไกที่ส�ำคัญในการแยกสิ่งดีและไม่ดี การคิดจึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต่อการเรียนรู้ และเป็นคุณลักษณะที่ต้องส่งเสริมให้เด็ก ควรปลูกฝังให้เด็กคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ครูผู้สอนจึงต้องแนะน�ำ ให้เด็กคิดเป็น รู้วิธีคิด เพื่อเผชิญกับสถานการณ์สมัยใหม่ เพื่อสร้างประสบการณ์ พัฒนาการกระท�ำและ การตัดสินใจ (กรมวิชาการ, 2545, น. 25) และการคิดเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ทั่วโลก การพัฒนาความสามารถ ในการคิดช่วยให้นักเรียนเป็นผู้เรียนที่เรียนรู้ตลอดชีวิตและประสบความส�ำเร็จ สามารถแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2554, น. 14) คณิตศาสตร์มีความส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ โดยช่วยพัฒนาการคิดของมนุษย์ท�ำให้มีการคิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดวางแผนอย่างรอบคอบ และท�ำให้มนุษย์มีเหตุผล ท�ำงานเป็นระบบ มีทักษะ ในการแก้ปัญหา (อัมพร ม้าคะนอง, 2557, น. 3-5) และคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการศึกษาและพัฒนาศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ท�ำให้เป็นคนที่สมบูรณ์ คิดเป็น ท�ำเป็น แก้ปัญหาเป็น และมีความสมดุล ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและอารมณ์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่งจากความส�ำคัญดังกล่าว มนุษย์ทุกคนจึงต้องเรียนรู้คณิตศาสตร์(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551ก, น. 1) และคณิตศาสตร์ยังเป็นวิชา ที่ว่าด้วยเหตุผล กระบวนการคิด และการแก้ปัญหาท�ำให้สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน

88 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

รอบคอบ สามารถคาดการณ์วางแผนตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมซึ่งเป็นประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวัน ดังนั้นการคิดอย่างมีเหตุผลจึงเป็นหัวใจส�ำคัญของการสอนคณิตศาสตร์ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2550, น. 6-17) พร้อมทั้งช่วยเสริมสร้างคุณลักษณะ และสมรรถภาพหลาย ๆ อย่าง ให้เกิดในแต่ละบุคคล การใช้เหตุผลในการตัดสินใจและการค้นพบหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง (เมธา พงศ์ศาสตร์, 2549, น. 7) การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก�ำหนดสาระ การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไว้ 6 สาระ ดังนี้ จ�ำนวนและการด�ำเนินการ การวัด เรขาคณิต พีชคณิต การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551ข, น. 4-13) ซึ่งในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ผ่านมาแม้ว่านักเรียนจะมีความรู้ความเข้าใจ เนื้อหาสาระเป็นอย่างดี แต่ก็มีนักเรียนบางส่วนยังด้อยความสามารถเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การแสดงหรือ อ้างอิงเหตุผล ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต�่ำ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสาเหตุ และปัจจัยหลายประการ เช่น หลักสูตร เนื้อหา ครูผู้สอน นักเรียน สภาพแวดล้อมผู้ปกครอง การจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ตลอดจนเทคนิคและวิธีการสอนของครู และคณิตศาสตร์ยังเป็นวิชาที่พลิกแพลง มีกฎระเบียบ ที่ต้องท่องจ�ำมากและต้องท�ำแบบฝึกหัดมาก ท�ำให้นักเรียนเกิดความกลัว ท้อแท้ ขาดความมั่นใจในการเรียน ประกอบกับปัญหาในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ของครูทั่วไปที่เข้าใจว่า การสอนคณิตศาสตร์ คือ การสอนหรืออธิบายเนื้อหาสาระ แล้วให้นักเรียนท�ำแบบฝึกหัดก็เป็นการเพียงพอ แท้ที่จริงการสอนคณิตศาสตร์ทุกสาระการเรียนรู้นั้นต้องพยายามให้นักเรียนปฏิบัติจริงควบคู่กับ การคิดค�ำนวณ และในบางสาระการเรียนรู้ครูต้องสาธิตให้เข้าใจหลักการควบคู่กับการอธิบาย (สมนึก ภัททิยธนี, 2546, น. 3) ซึ่งสาเหตุและปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์อยู่ในเกณฑ์ต�่ำ และจากรายงานผลการผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 ได้สรุปข้อมูลผลการสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ในระดับประเทศมีคะแนนเฉลี่ยเพียง 29.31 ซึ่งไม่ถึงร้อยละ 50 และโรงเรียน ห้วยบงวิทยา มีผลคะแนน O-NET อยู่ในเกณฑ์ต�่ำคือมีคะแนนเฉลี่ยเพียง 22.30 โดยน้อยกว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2559) และสาระที่ได้คะแนนน้อยคือ สาระที่ 4 พีชคณิต ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับสมการ อสมการ และการแก้โจทย์ปัญหา การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือรูปแบบหนึ่ง โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4 คน โดยคละเพศและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นนักเรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน โดยให้สมาชิกของกลุ่ม ได้เรียนรู้เนื้อหาสาระที่ผู้สอนจัดเตรียมไว้ แล้วท�ำการ ทดสอบความรู้ คะแนนที่ได้จากการทดสอบของสมาชิกแต่ละคนน�ำเอามาบวกเป็นคะแนนรวมของทีม ดังนั้นสมาชิกกลุ่มจะต้องมีการก�ำหนดเป้าหมายร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อความส�ำเร็จของตนเอง และความส�ำเร็จของกลุ่ม ซึ่งมีข้อดีคือ ผู้เรียนมีความเอาใจใส่รับผิดชอบตนเองและกลุ่มร่วมกับเพื่อนสมาชิก ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกันได้ร่วมมือกันเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนผลัดกันเป็นผู้น�ำ ผู้เรียนได้ฝึก และเรียนรู้ทักษะทางสังคม และผู้เรียนมีความตื่นเต้นสนุกกับการเรียนรู้ (สุวิทย์ มูลค�ำ และอรทัย มูลค�ำ, 2553, น. 170-175) ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของเดือนฉาย จงสมชัย (2554, น. 50) ที่พบว่านักเรียน ที่ได้รับการสอนโดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกว่านักเรียน ที่ได้รับการสอนแบบปกติ และมีความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมากที่สุด นครชัย ชาญอุไร Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 89 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

(2547, น. 100) ที่พบว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือตามเทคนิค STAD ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า การสอนแบบปกติ และวัลยา บุญอากาศ (2556, น. 84) พบว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือตามเทคนิค STAD ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนสูงกว่าการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เทคนิค KWDL ( Know – Want – Do – Learned) ก�ำเนิดขึ้นมาจากแนวคิดของชอว์และคณะ (Shaw, J.M. and others, 1997, pp. 482-486) ซึ่งเป็นค�ำย่อมาจาก K = (What we know) เรารู้อะไร หรือโจทย์บอกอะไรเราบ้าง W = (What we want to know) เราต้องการรู้ ต้องการทราบอะไร หรือโจทย์บอกอะไรบ้าง D = (What we do) เราท�ำอะไร อย่างไร เรามีวิธีการหาค�ำตอบอย่างไร L = (What we learned) เราเรียนรู้อะไร หาค�ำตอบสาระความรู้วิธีศึกษาค�ำตอบ และขั้นตอนการคิดค�ำนวณ (วัชรา เล่าเรียนดี, 2547, น. 97) ซึ่งเหมาะกับการสอนในวิชาที่มีการอ่านเพื่อวิเคราะห์และท�ำความเข้าใจ เช่น การแก้โจทย์ปัญหา ในวิชาคณิตศาสตร์ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนฝึกคิดวิเคราะห์โจทย์ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนละเอียดถี่ถ้วน ท�ำให้นักเรียนท�ำความเข้าใจโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างชัดเจน และหาวิธีการแก้ปัญหาได้อย่างหลากหลาย อันเป็นผลให้นักเรียนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันของตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ได้เป็นอย่างดี (พิมพาภรณ์ สุขพ่วง, 2548, น. 8-9) ซึ่งสอดคล้อง กับผลการวิจัยของสุจิตรา ศรีสละ (2554, น. 69) ที่พบว่าการสอนด้วยเทคนิค K-W-D-L ท�ำให้ความสามารถ ในการแก้ปัญหาและความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนได้รับการสอน และนิยม เกรียท่าทราย (2548, น. 91-91) พบว่าการสอนด้วยเทคนิค K-W-D-L ท�ำให้ผลการเรียนรู้เรื่องโจทย์ปัญหาพื้นที่ผิว และปริมาตรของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และศศิธร แก้วมี (2554, น.81-82) พบว่านักเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค K-W-D-L มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สูงขึ้นกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ จากปัญหา แนวคิด และเอกสารที่เกี่ยวข้องดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการเลือกการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD มาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนร่วมกับเทคนิค KWDL มีการส่งเสริมให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์ มีความรู้ความเข้าใจ ในคณิตศาสตร์ที่จ�ำเป็น สามารถน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สามารถแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย มีเหตุผล มีการพัฒนาความคิด การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ พร้อมทั้ง ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL กับเกณฑ์ร้อยละ 60

9 0 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ค�ำถามการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้หรือไม่ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิคKWDL สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 หรือไม่

สมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60

ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนห้วยบงวิทยา อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 13 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนห้วยบงวิทยา อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ที่ศึกษาใน จ�ำนวน 13 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2.2.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3. ระยะเวลาในการวิจัย การทดลองการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL หน่วยการเรียนรู้ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ในระหว่าง วันที่ 15 มกราคม 2561 – 2 กุมภาพันธ์ 2561 ใช้เวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง รวม 16 ชั่วโมง

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 91 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

เทคนิค KWDL เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ�ำนวน 8 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง ใช้เวลาในการสอนรวม 16 ชั่วโมง 1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1.2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ โดยผ่านการตรวจสอบ ของผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 5 คน พบว่า มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.60 - 1.00 ค่าความยากง่าย อยู่ระหว่าง 0.23 – 0.79 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกระหว่าง 0.23 – 0.64 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.86 1.2.2 แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ โดยปรับปรุงแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ของ ภาวิณี ค�ำชารี (2550, น. 158-164) และแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ของศิริพร ค�ำภักดี (2549, น. 160-164) โดยมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.32 - 0.70 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกอยู่ระหว่าง 0.23 - 0.47 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.78 2. การด�ำเนินการทดลอง ผู้วิจัยด�ำเนินการทดลองดังนี้ 2.1 ก่อนท�ำการทดลองผู้วิจัยได้ท�ำการทดสอบก่อนการจัดการเรียนรู้ (Pretest) กับนักเรียน กลุ่มตัวอย่างด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ฉบับละ 30 ข้อ 2.2 เริ่มด�ำเนินการทดลอง โดยการชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ซึ่งเป็นเทคนิคการสอนแบบใหม่ โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จัดให้นักเรียนที่เรียนเก่ง ปานกลาง และเรียนอ่อนในสัดส่วน 1 : 2 : 1 2.3 ด�ำเนินการจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอนในแผนการจัดการเรียนรู้ 2.4 เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนรู้ครบทุกแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว จึงท�ำการสอบหลังการจัดการเรียนรู้ (Posttest) โดยใช้แบบทดสอบชุดเดิมกับที่ใช้ทดสอบก่อนการจัดการเรียนรู้ 3. การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้ 3.1 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.2 ทดสอบการแจกแจงแบบปกติ (Shapiro-Wilk W test) เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างมีจ�ำนวน 13 คน (น้อยกว่า 30 คน) พบว่า คะแนนมีการแจกแจงแบบปกติ ดังนั้นสามารถวิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบทีได้ 3.3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยการทดสอบที (t-test for Dependent Sample) 3.4 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กับเกณฑ์ที่ก�ำหนดร้อยละ 60 โดยการทดสอบที (t-test for one sample)

92 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ผลการวิจัย 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ดังแสดงในตาราง 1

ตาราง 1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม X S.D. t p ก่อนเรียน 13 30 8.46 3.04 28.30* .000 หลังเรียน 13 30 21.61 3.79

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 1 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่า ก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยก่อนการจัดการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.46 คะแนน และหลังการจัดการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 21.61 คะแนน 1.2 ผลเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ดังแสดงในตาราง 2

ตาราง 2 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม X S.D. t p ก่อนเรียน 13 30 8.92 1.80 24.50* .000 หลังเรียน 13 30 20.84 2.73 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 2 พบว่าความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยก่อนการจัดการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.92 คะแนน และหลังการจัดการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 20.84

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 93 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ เทคนิค KWDL กับเกณฑ์ร้อยละ 60 มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL กับเกณฑ์ร้อยละ 60 ดังแสดงในตาราง 3

ตาราง 3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL กับเกณฑ์ร้อยละ 60 สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม คะแนนร้อยละ 60 X S.D. t p หลังเรียน 13 30 18 21.61 3.79 3.43* .005 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 8 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 21.61 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.79 และมีค่าทีเท่ากับ 3.43 2.2 เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL กับเกณฑ์ร้อยละ 60 แสดงในตาราง 4

ตาราง 4 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL กับเกณฑ์ร้อยละ 60 สภาพการณ์ N คะแนนเต็ม คะแนนร้อยละ 60 X S.D. t p หลังเรียน 13 30 18 20.84 2.73 3.75* .003

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 4 พบว่าความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 20.84 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.73 และมีค่าทีเท่ากับ 3.75

สรุปผลการวิจัย การวิจัยเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ เทคนิค KWDL สรุปผลการวิจัย ดังต่อไปนี้

9 4 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL พบว่า 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยก่อนการจัดการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.46 คะแนน หลังการจัดการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 21.61 คะแนน 1.2 ความสามารถในการวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 โดยก่อนการจัดการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.92 คะแนน หลังการจัดการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 20.84 คะแนน 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ เทคนิค KWDL กับเกณฑ์ร้อยละ 60 พบว่า 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 21.61 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.79 และมีค่าทีเท่ากับ 3.43 2.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 20.84 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.73 และมีค่าทีเท่ากับ 3.75

อภิปรายผล การวิจัยเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ เทคนิค KWDL ผู้วิจัยมีประเด็นหลักส�ำคัญในการอภิปราย ดังต่อไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ในข้อ 1 และข้อ 2 ทั้งนี้เนื่องมาจาก การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ท�ำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยสมาชิกในกลุ่มมีความสามารถ แตกต่างกัน ทุกคนจะต้องพัฒนาความรู้ของตนเองตามการช่วยเหลือแนะน�ำความรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อน�ำไปสู่ ผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของสลาวิน (Slavin, 1995, pp. 55-56) ที่สรุปไว้ว่าการแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่มย่อย ให้สมาชิกในกลุ่มมีระดับความสามารถต่างกันเรียนด้วยกัน ท�ำกิจกรรมร่วมกัน สมาชิกช่วยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งสมาชิกทุกคนต้องตระหนักถึงความส�ำคัญของตนและท�ำเพื่อความส�ำเร็จของกลุ่ม

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 95 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

และเมื่อน�ำมารวมกับเทคนิค KWDL เป็นการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เป็นการคิดวิเคราะห์ที่มีระบบ โดยสมาชิกช่วยกันอ่านและวิเคราะห์โจทย์ร่วมกัน นักเรียนที่เก่งกว่าก็อ่านให้นักเรียนที่อ่อนกว่าฟัง จึงส่งผลให้มี พัฒนาการที่ดีขึ้นหลังการจัดกิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของชอว์และคณะ (Shaw, J.M. and others, 1997, pp. 482-486) ที่ได้น�ำเทคนิคนี้สอนการอ่าน ใช้สอนคณิตศาสตร์ เนื่องจากการหาค�ำตอบของโจทย์ปัญหา ต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจและวิเคราะห์โจทย์ก่อนจึงค�ำนวณหาค�ำตอบ และยังสอดคล้องกับน�้ำทิพย์ ชังเกตุ (2547, น. 96-97) ที่ได้ศึกษาเรื่องการผลการเรียนรู้เรื่องโจทย์ปัญหาการคูณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ซึ่งปรากฏว่าผลการเรียนรู้ของนักเรียน หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปาริชาต สมใจ (2549, น. 97-98) ที่ได้ศึกษาเรื่องการพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่องโจทย์ปัญหา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเทคนิคกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับเทคนิค KWDL ซึ่งปรากฏว่า ผลการเรียนรู้ของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ .01 2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่านักเรียนที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ในข้อ 1 และข้อ 2 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการใช้เทคนิค KWDL ที่มีการวิเคราะห์เป็นระบบในการแยกแยะเรื่องราวจากโจทย์ จึงท�ำให้นักเรียนมีความก้าวหน้าหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งสอดคล้องกับของชอว์และคณะ (Shaw, J.M. and others, 1997, pp. 482-486) ที่น�ำเทคนิค KWDL มาใช้สอนในวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการฝึกให้ตระหนักในกระบวนการ ท�ำความเข้าใจตนเองมีการวางแผน ตั้งจุดมุ่งหมาย ตรวจสอบความเข้าใจในตนเอง มีการจัดระบบข้อมูล เพื่อการดึงมาใช้ภายหลังอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีประโยชน์ในการฝึกทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสรุป และน�ำเสนอ และเมื่อน�ำมารวมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL เป็นการจัดการเรียนการสอนที่แบ่งเป็นกลุ่มเล็ก คละความสามารถ เก่ง ปานกลาง อ่อน กลุ่มละ 4 คน โดยนักเรียนที่เก่งช่วยเหลือให้ค�ำแนะน�ำในการเรียนให้กับนักเรียนที่อ่อน และเทคนิคนี้เป็นการพัฒนาการอ่าน และคิดวิเคราะห์ประเด็นปัญหาเป็นขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ตามแผนผัง KWDL โดยในกลุ่มต้องช่วยกัน เพื่อชัยชนะของกลุ่ม นักเรียนที่เก่งฝึกและช่วยอธิบายให้เพื่อนที่เรียนอ่อน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2553, น. 197) ได้กล่าวถึง เทคนิค STAD ว่าเป็นเทคนิคที่ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยการลงมือ ปฏิบัติสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4 คน ซึ่งมีความสามารถแตกต่างกัน เน้นให้มีการแบ่งงาน การช่วยเหลือกันภายในกลุ่ม เพราะคะแนนของทุกคนมีความส�ำคัญต่อกลุ่ม โดยน�ำมาเฉลี่ย เป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มใดมีคะแนนเฉลี่ยสูงได้รับรางวัล สอดคล้องกับ นรมน วงศ์มณี (2555, น. 96) ที่ศึกษา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL พบว่าความสามารถในการคิด วิเคราะห์หลังได้รับการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 75 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ไม่สูงกว่าเกณฑ์ ที่ก�ำหนด แต่มีความก้าวหน้าร้อยละ 32.24 เนื่องจากเกณฑ์นั้นตั้งไว้ค่อนข้างสูง และสูงกว่าที่ผู้วิจัยตั้งไว้ ซึ่งตั้งไว้เพียงร้อยละ 60

96 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ข้อเสนอแนะ การวิจัยเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ เทคนิค KWDL ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 1. ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ 1.1 การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้น ดังนั้นจึงควรส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ต่อไป เพื่อเป็นการพัฒนา การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1.2 ครูควรศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ให้เข้าใจ จัดเตรียมสื่อให้พร้อมและจัดบรรยากาศในห้องเรียนให้ส่งเสริมการเรียนรู้ 1.3 การจัดนักเรียนเข้ากลุ่มต้องจัดให้ถูกต้องตามเทคนิค STAD คือ ในกลุ่มต้องประกอบไปด้วย นักเรียนที่เก่ง ปานกลาง และอ่อน 1.4 การประเมินผล มีการทดสอบเป็นรายบุคคล น�ำคะแนนทุกคนในกลุ่มมารวมกัน เพื่อหาคะแนน พัฒนาการของกลุ่ม กลุ่มที่มีคะแนนสูงสุดได้รับค�ำชมเชย และได้รับค�ำชมเชย 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยในครั้งต่อไป 2.1 ควรท�ำการวิจัยโดยน�ำเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ไปจัดการเรียนการสอนกับสาระอื่น ๆ และระดับชั้นอื่น ๆ 2.2 ควรท�ำการวิจัยโดยน�ำเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ไปใช้ในการเรียนการสอน หน่วยการเรียนอื่น ๆ ในสาระคณิตศาสตร์ เช่น โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร การหาปริมาตร เป็นต้น 2.3 ควรท�ำการวิจัยผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ที่มีต่อความสามารถทางคณิตศาสตร์ในด้านอื่น ๆ เช่น ความสามารถในการให้เหตุผลความสามารถ ในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการเชื่อมโยง เป็นต้น 2.4 ควรท�ำการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน

รายการอ้างอิง กรมวิชาการ. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภัณฑ์. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551ก). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551ข). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. ชัยวัฒน์ สุทิลักษณ์ (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ (พิมพ์ครั้งที่ 3).กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์อินเตอร์คอปเปอร์ชั่น.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 97 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

เดือนฉาย จงสมชัย. (2554). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่องสามการเชิงเส้นตัวแปรเดียว กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม). นครชัย ชาญอุไร. (2548). การพัฒนาชุดการเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม). นรมน วงศ์มณี. (2555). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้โจทย์ปัญหา เรื่องการหารและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับ KWDL. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา). นิยม เกรียท่าทราย. (2548). การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องโจทย์ปัญหาการหาพื้นที่ผิว และปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL (วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร). น�้ำทิพย์ ชังเกตุ. (2547). การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่องโจทย์ปัญหาการคูณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร). บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. ปาริชาต สมใจ. (2549). การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่องโจทย์ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเทคนิคกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับเทคนิค KWDL (วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร). พิมพาภรณ์ สุขพ่วง. (2548). การพัฒนาผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องโจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือกันแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับเทคนิค KWDL (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร). ภาวิณี ค�ำชารี. (2550). การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน และทศนิยม และการคิดวิเคราะห์ ระหว่างวิธีเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD สอดแทรกเมตาคอกนิชัน วิธีเรียนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ และวิธีเรียนตามคู่มือครู สสวท (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม). เมธา พงศ์ศาสตร์. (2549). เอกสารประกอบการสอนทักษะการสอนคณิตศาสตร์. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วัชรา เล่าเรียนดี. (2547). เทคนิควิธีการเรียนรู้ส�ำหรับครูมืออาชีพ. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วัลยา บุญอากาศ. (2556). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี). สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2550). การวัดประเมินผลเพื่อคุณภาพการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : ซ เซเว่นพริ้นติ้งกรุ๊ป. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, (2554). การอบรมครูด้วยระบบทางไกล กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา หลักสูตรมาตรฐานการอบรมครู ปีที่ 1 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : สกสค.

98 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์กรมหาชน). (2559). ประกาศผลสอบ O-NET รายโรงเรียน. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.onetresult.niets.or.th สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์. สุจิตรา ศรีสละ. (2554). ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค K-W-D-L เรื่องโจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (สารนิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ). สุวิทย์ มูลค�ำ และอรทัย มูลค�ำ. (2553). 19 วิธีจัดการเรียนรู้ : เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์. ศศิธร แก้วมี. (2554). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิค K-W-D-L ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยทักษิณ). ศิริพร ค�ำภักดี. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และเรื่องพหุนาม ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนแบบเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) กับการสอนตามคู่มือ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม). อัมพร ม้าคนอง. (2557). คณิตศาสตร์ส�ำหรับครูมัธยม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Shaw, J.M. & others. (1997). Cooperative Problem Solving : Using K-W-D-L as an Organizational Technique. [Online]. Available : http://eric.ed.gov [2017, November 2] Slavin, R. E. (1995). Cooperative Learning. : Theory, Research and Practice. Baston : Allyn & Bacon.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 99 วารสารครุสีมาวารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ปีที่ (กรกฎาคม 1 ฉบับที่ 2- ธันวาคม (กรกฎาคม 2561) - ธันวาคม 100 - 1122561) Karu Sima JouralKaru Sima Vol. Journal1 No. 2 (JulyVol. 1 - No.December 2 (July 2018)- December 100 - 112 2018)

การพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus The Development of English Reading and Writing Abilities for Communication of Prathomsuksa 4 Students through KWL Plus Technique จีระภา แจ่มศรี 1,* สมบูรณ์ ตันยะ 2 และนัฐยา บุญกองแสน 2 Jeerapa Jamsri 1,* Somboon Tanya 2 and Nathaya Boonkongsaen 2

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus 2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus กับเกณฑ์ร้อยละ 60 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านและการเขียน และ แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ความสามารถในการเขียนเพื่อการสื่อสาร ไม่สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 3) ความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus อยู่ในระดับมาก ค�ำส�ำคัญ: ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร, การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus

1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 M.Ed. Student in Curriculum and Instruction, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand, 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา 30000 Faculty of Education, Vongchavalitkul University, Nakhon Ratchasima 30000, Thailand *Corresponding author, e-mail: [email protected] 100 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ABSTRACT The purposes of this research were 1) to compare prathomsuksa 4 students’ reading and writing abilities for communication before and after learning through KWL Plus technique, 2) to compare those abilities with 60 percent, the standard criteria, and 3) to study the students’ satisfaction on learning through KWL Plus technique. The samples were 24 prathomsuksa 4 students studying at Banmaipatiroop School, Chumphuang District, Nakhon Ratchasima Province who studied in the second semester of Academic Year 2017. The tools include: lesson plan through KWL Plus technique, reading test, writing test, and a questionnaire on students’ satisfaction. The statistical methods were mean, percentage, standard deviation and t-test. The results of this study revealed that the students’ reading and writing abilities for communication through KWL Plus technique were statistically significant difference at 0.05 level which had posttest score higher than pretest score. The students’ English reading abilities for communication through KWL Plus technique were posttest score higher than 60 percent, the standard criteria, with statistically significant difference at 0.05 level, but not significantly the students’ English writing abilities. The students’ satisfaction on learning through KWL Plus technique was high level. Keywords: English Reading Abilities for Communication, English Writing Abilities for Communication, KWL Plus Technique

บทน�ำ ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประชาคมโลก ที่ได้รับผลกระทบอย่างมากจากการเจริญเติบโตของเทคโนโลยี สารสนเทศ เทคโนโลยีนี้สร้างสภาพโลกไร้พรมแดนขึ้น ซึ่งในทุกวันจะมีสารสนเทศที่มีมวลมหาศาลเข้ามายัง ประเทศไทย สังคมไทย และคนไทย สารสนเทศเหล่านี้ส่วนใหญ่ล้วนเป็นภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาสากล การจัดการศึกษาของประเทศไทยในขณะนี้จึงต้องพัฒนาความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษของคนไทย ให้อยู่ในระดับที่จะรับและเข้าใจสารสนเทศภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี ซึ่งในสังคมโลกปัจจุบันการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่งในชีวิตประจ�ำวัน เนื่องจากเป็นเครื่องมือส�ำคัญ ในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม และวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก น�ำมาซึ่งมิตรไมตรีและความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความเข้าใจตนเองและผู้อื่นดีขึ้น (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, น. 1) จากความส�ำคัญและความจ�ำเป็นดังกล่าว ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนไทยในสังคมไทยให้มีคุณธรรมและมีความรอบรู้ อย่างเท่าทัน มีความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อน�ำไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้อย่างมั่นคง ซึ่งแนวทางการพัฒนาดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มี พื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พื้นฐานที่จ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิต

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 101 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชน ในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะทางด้านเทคโนโลยี สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่นและสามารถอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, น. 2) รัฐบาลจึงได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและ ความก้าวหน้าทางวิทยาการ และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 22 ที่ได้บัญญัติไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนส�ำคัญที่สุด ภาษาอังกฤษเป็นพื้นฐานส�ำคัญที่นักเรียนทุกคนต้องเรียนรู้ ซึ่งได้รับการจัดล�ำดับความส�ำคัญ และก�ำหนดให้เรียนทุกช่วงชั้น โดยสถานศึกษาสามารถจัดเป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐานที่นักเรียนทุกคนต้องเรียน และจัดเป็นสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยก�ำหนดลักษณะเฉพาะของการเรียนภาษาอังกฤษไว้ว่า ไม่ได้เรียน เพื่อความรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษเท่านั้น แต่เรียนภาษาอังกฤษเพื่อให้สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร กับผู้อื่นได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนที่ดี นักเรียนจะต้องมีโอกาสได้ฝึกทักษะ การใช้ภาษาให้มากที่สุดทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ควรจัดกิจกรรมให้หลากหลาย ทั้งการฝึกทักษะทางภาษา และการฝึกนักเรียนให้รู้วิธีการเรียนภาษาด้วยตนเองอันจะน�ำไปสู่การพึ่งตนเองได้ และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต ดังนั้นนักเรียนจึงต้องศึกษา ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น และสามารถถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่นได้ นักเรียนจึงต้องมี ทักษะในการรับสาร คือทักษะการฟังและการอ่าน และทักษะในการส่งสาร คือทักษะการพูดและการเขียน ส�ำหรับทักษะการอ่านเป็นทักษะที่จ�ำเป็นและส�ำคัญอย่างยิ่ง เพราะการอ่านท�ำให้เกิดสติปัญญา ความรู้ความสามารถ รวมทั้งช่วยเปลี่ยนแปลงการด�ำเนินชีวิต พัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีที่สุด ดังนั้นการปลูกฝังให้รักการอ่านตั้งแต่เยาว์วัย จึงเป็นพื้นฐานการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ, 2549, น. 1) ในการจัดการเรียนการสอน ด้านทักษะการอ่านซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานของการเรียนไม่ว่าจะวิชาใดก็ตาม ล้วนต้องใช้การอ่านทั้งสิ้น ทักษะการอ่านถือว่าจ�ำเป็นมากที่สุดส�ำหรับนักเรียนไทย เพราะการอ่านเป็นเครื่องมือ ที่ส�ำคัญท�ำให้บุคคลก้าวหน้า ทันต่อเหตุการณ์ การอ่านสามารถท�ำได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ เป็นทักษะ ที่ควรได้รับการส่งเสริม เป็นสิ่งที่สามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ตลอดเวลา และเป็นทักษะที่คงอยู่ กับนักเรียนไปตลอดชีวิต เพราะนักเรียนสามารถใช้ทักษะการอ่านในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา รวมทั้งในการเรียนในระดับสูงหรือในการประกอบอาชีพ (สุมิตรา อังวัฒนากุล, 2540, น. 13) ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนจ�ำเป็นต้องพัฒนาตนเอง ค้นคว้าหาความรู้และจัดหาสื่อมาช่วย ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาให้นักเรียนใช้การอ่านเป็นเครื่องมือในการเสาะแสวงหาความรู้ ท�ำให้มีความรู้กว้างขวาง พัฒนาความคิดให้ทันต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ การเขียนภาษาอังกฤษก็ถือว่ามีความส�ำคัญไม่น้อยกว่าทักษะอื่น ๆ เพราะการเขียนเป็นกระบวนการ ที่ต่อเนื่องกับทักษะการฟังและการพูด หลังจากที่ได้รับข้อมูลมาจากการพูดก็มีการจดบันทึกให้คนอื่น ๆ รู้ และเข้าใจ การจดบันทึกก็คือการเขียน การเขียนเป็นทักษะที่ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้และจดจ�ำในสิ่งที่เรียนได้ ไม่ว่าจะเป็นการสะกดค�ำ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน การใช้ไวยากรณ์ และค�ำศัพท์ต่าง ๆ ดังนั้นถ้าผู้เรียน มีการฝึกฝนทักษะการเขียนอย่างสม�่ำเสมอ ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้และจดจ�ำสิ่งที่เรียนได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ การเขียนยังมีความส�ำคัญต่อชีวิตประจ�ำวันเพราะเป็นเครื่องมือในการสื่อสารเพื่อให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลตรง ตามวัตถุประสงค์ของผู้เขียน การเขียนภาษาอังกฤษเป็นทักษะที่ยากและซับซ้อนมากกว่าทักษะอื่น 102 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

เพราะต้องอาศัยความรู้และข้อมูลจากทักษะการฟัง พูด อ่าน การรวบรวมความคิด ล�ำดับเหตุการณ์ เพื่อถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาเขียน ดังนั้นการฝึกให้ผู้เรียนมีความสามารถในการเขียนจึงเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่ง (กรมวิชาการ, 2542, น. 30) จากการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ท�ำให้ทราบว่า นักเรียนมีปัญหาในเรื่องการอ่านเป็นอย่างมากเนื่องจากนักเรียนขาดความสนใจในการอ่านหนังสือและการค้นคว้า จึงท�ำให้อ่านไม่ออก ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางด้านการอ่านอยู่ในระดับต�่ำ ซึ่งสอดคล้องกับค�ำกล่าวของ ศาสตราจารย์ ดร.เจอรัลด์ ฟราย ในการบรรยายเรื่อง การปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูปประเทศไทย ว่า “ปัญหาที่น่าเป็นห่วงคือ เด็กไทยไม่ชอบอ่านหนังสือ ไม่ชอบคิด และไม่สนใจศึกษา ท�ำให้คุณภาพการศึกษา ค่อนข้างต�่ำ โดยให้ข้อเสนอแนะว่าควรปรับปรุงคุณภาพการศึกษาให้เท่าเทียมกัน โดยเฉพาะในยุคโลกาภิวัตน์ เด็กจะต้องเก่งภาษามากขึ้น และต้องปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ” (ภัทณิดา พันธุมเสน, 2554, น. 11) จากปัญหาดังกล่าวครูผู้สอนควรหาวิธีการปรับปรุงแก้ไขเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักเรียน เห็นความส�ำคัญของการอ่าน เพราะการอ่านช่วยเพิ่มพูนความรู้ การอ่านมากท�ำให้เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ มีความคิดกว้างไกล เนื่องจากการอ่านเป็นการจุดประกายความคิดของผู้อ่าน (มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์, 2548, น. 19) จากที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่า การอ่านและการเขียนเป็นสิ่งที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อการเรียนภาษาอังกฤษ แต่ปัญหาการอ่านและการเขียนเป็นปัญหาส�ำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษในทุกชั้นเสมอ โดยเฉพาะการสอน ในระดับชั้นประถมศึกษาพบว่าผลการเรียนรู้ทางด้านการอ่านและการเขียนของนักเรียนต�่ำกว่ามาตรฐานการเรียนรู้ จากผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป พบว่าผลการทดสอบต�่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน โดยได้คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน เพียงร้อยละ 29.22 (โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป, 2559, น. 1-2) ซึ่งอยู่ในระดับต�่ำกว่าเกณฑ์เป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องแก้ไขโดยด่วน หากไม่รีบแก้ไขปัญหาเหล่านี้จะท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ทั้งทางด้านการอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษต�่ำกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดและไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ จากการศึกษาและค้นคว้าวิธีการสอนอ่านและการสอนเขียนภาษาอังกฤษนั้นมีหลายวิธี แต่ผู้วิจัยพบว่า วิธีสอนแบบ KWL Plus เป็นวิธีสอนที่สามารถพัฒนาได้ทั้งในด้านการอ่านและการเขียนในเวลาเดียวกัน เนื่องมาจากวิธีสอนแบบ KWL Plus ประกอบไปด้วยขั้นตอนการสอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้น K (Know) รู้อะไร 2) ขั้น W (Want to know) ต้องการรู้อะไร 3) ขั้น L (Learned) ได้เรียนรู้อะไร และ 4) ขั้น Plus สรุปเนื้อเรื่องที่อ่านโดยใช้แผนภูมิความหมาย เป็นการสอนอ่านที่จัดกิจกรรมการอ่านที่ใช้พื้นประสบการณ์เดิม ไปช่วยตีความในเนื้อหาที่อ่าน เช่น มีการคาดคะเนเนื้อหาที่ใช้อ่าน การตรวจสอบความถูกต้องของการคาดคะเน และการตั้งค�ำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และการสรุปความเรื่องที่อ่านไว้ตอนท้าย ซึ่งจะสามารถช่วยให้นักเรียน มีความเข้าใจในสิ่งที่อ่านมากขึ้น ดังงานวิจัยการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่าน และเจตคติต่อการ อ่านภาษาอังกฤษโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี เค ดับเบิลยู แอล พลัส (KWL - Plus) กับการจัดการเรียนรู้ ตามคู่มือครูของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสารสาสน์สมุทรปราการ ของพรรณพร วิริยะสกุลพันธุ์ (2558, น. 75) พบว่าผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และงานวิจัยการศึกษาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้วิธีสอนแบบ KWL-Plus ของพูนพิศมัย แย้มขยาย (2555, น. 78) พบว่าความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีสอน แบบ KWL-Plus สูงขึ้น Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 103 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus เพื่อพัฒนาให้นักเรียน สามารถใช้การอ่านเป็นเครื่องมือในการเสาะแสวงหาความรู้ ท�ำให้มีความรู้กว้างขวาง พัฒนาความคิด ให้ทันต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถใช้การเขียนในการสื่อสารกับบุคคลอื่น ๆ และน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus กับเกณฑ์ร้อยละ 60 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus

ค�ำถามการวิจัย 1. ความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้หรือไม่ 2. ความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 หรือไม่ 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus อยู่ในระดับใด

สมมติฐานการวิจัย 1. ความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ 2. ความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus อยู่ในระดับมาก

ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 24 คน ได้มาโดย วิธีการเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling)

104 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 1) ความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2) ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus 3. ระยะเวลาด�ำเนินการ ระยะเวลาการศึกษาค้นคว้าวิจัยในครั้งนี้ ด�ำเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ซึ่งจัดการเรียนการสอนระหว่างวันที่ 9 มกราคม 2561 – 28 กุมภาพันธ์ 2561 โดยด�ำเนินการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ตามแผนจ�ำนวน 8 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง เป็นเวลา 16 ชั่วโมง

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษ เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60-1.00 ค่าความยากง่าย (p) ระหว่าง 0.50-0.70 และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) ระหว่าง 0.37-0.58 แบบทดสอบวัดความสามารถ ในการเขียนภาษาอังกฤษ เป็นแบบทดสอบให้เขียนค�ำศัพท์จากภาพและเรียงค�ำให้เป็นประโยครวม 15 ข้อ มีค่าความยากง่าย (p) ระหว่าง 0.40-0.80 และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) ระหว่าง 0.20-0.60 และเป็นแบบทดสอบ แบบให้เขียนบรรยายภาพ จ�ำนวน 1 ข้อและแบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 2. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 2.1 วิเคราะห์ความสามารถในการอ่านและเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารก่อนและหลัง การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.2 วิเคราะห์เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการทดสอบที (t-test for dependent) 2.3 วิเคราะห์เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 โดยการทดสอบที (One sample t-test) 2.4 วิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus โดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 105 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ผลการวิจัย ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus น�ำเสนอตามตารางที่ 1-2 ดังนี้

ตาราง 1 การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคKWL Plus

การทดสอบ N X S.D. t p ก่อนเรียน 24 10.25 1.67 26.862* .000 หลังเรียน 24 19.67 2.71

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 1 พบว่า คะแนนผลการทดสอบก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย (X) เ ท ่า ก ับ 1 0 . 2 5 แ ล ะ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 1.67 และผลการทดสอบหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 19.67 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.71 ผลการทดลองความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ย พบว่าความสามารถ ในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคนิค KWL Plus สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตาราง 2 การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคนิค KWL Plus

การทดสอบ N X S.D. t p ก่อนเรียน 24 9.54 2.20 30.631* .000 หลังเรียน 24 17.25 2.83

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 2 พบว่า คะแนนผลการทดสอบก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย (X) เ ท ่า ก ับ 9 . 5 4 แ ล ะ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.20 และผลการทดสอบหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 17.25 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.83 ผลการทดลองความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ย พบว่าความสามารถ ในการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus กับเกณฑ์ ร้อยละ 60

106 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus กับเกณฑ์ ร้อยละ 60 น�ำเสนอตามตารางที่ 3-4 ดังนี้

ตาราง 3 การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus กับเกณฑ์ ร้อยละ 60

การทดสอบ n คะแนนเต็ม เกณฑ์ X S.D. t p หลังเรียน 24 30 18 19.67 2.71 3.009* .006

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 3 พบว่า คะแนนผลการทดสอบหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (X) เ ท ่า ก ับ 1 9 . 6 7 แ ล ะ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.71 ผลการทดลองความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ย พบว่า หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตาราง 4 การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus กับเกณฑ์ ร้อยละ 60 การทดสอบ n คะแนนเต็ม เกณฑ์ X S.D. t p หลังเรียน 24 30 18 17.25 2.83 -1.29 .207

จากตาราง 4 พบว่า คะแนนผลการทดสอบหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (X) เ ท ่า ก ับ 1 7 . 2 5 แ ล ะ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.83 ผลการทดลองความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ย พบว่า หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ไม่สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60

ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus น�ำเสนอตามตารางที่ 5 ดังนี้

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 107 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

ตาราง 5 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus ที่ รายการประเมิน X S.D. ระดับ ความพึงพอใจ 1 นักเรียนชอบที่ครูให้โอกาสแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ 4.67 0.56 มากที่สุด เรื่องที่อ่าน 2 นักเรียนพอใจที่ได้ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากข้อสงสัย 4.62 0.49 มากที่สุด ด้วยตนเอง 3 นักเรียนพอใจที่ได้มีส่วนร่วมในการเรียนและเรียนรู้ 4.29 0.80 มาก ร่วมกับเพื่อนๆ 4 นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้และแสดงความคิดเห็น 4.45 0.77 มาก กับเพื่อนๆจากการค้นคว้า 5 นักเรียนชอบท�ำงานในใบกิจกรรม 4.20 0.77 มาก 6 นักเรียนชอบวิธีและกิจกรรมที่ครูน�ำมาสอน 4.08 0.77 มาก 7 นักเรียนพอใจมากที่ได้เรียนภาษาอังกฤษ 4.54 0.77 มากที่สุด 8 นักเรียนชอบสื่อประกอบการสอนที่ครูน�ำมาสอน 4.58 0.58 มากที่สุด 9 นักเรียนชอบที่ได้มีส่วนร่วมในการสรุปบทเรียน 4.12 0.74 มาก 10 นักเรียนพอใจที่ครูคอยช่วยเหลือให้ความสะดวก 4.70 0.46 มากที่สุด ในการท�ำกิจกรรม

รวม 4.42 0.67 มาก

จากตาราง 5 พบว่าความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 4.42, S.D.= 0.67) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด 5 ข้อ ระดับมาก 5 ข้อ โดยนักเรียนมีความพึงพอใจสูงสุด 3 อันดับแรก ดังนี้ นักเรียนพอใจที่ครูคอยช่วยเหลือให้ความสะดวก ในการท�ำกิจกรรมมากที่สุด (X = 4.70, S.D.= 0.46) รองลงมานักเรียนชอบที่ครูให้โอกาสแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน (X = 4.67, S.D.= 0.56) และนักเรียนพอใจที่ได้ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากข้อสงสัย ด้วยตนเอง (X = 4.62, S.D.= 0.49) ตามล�ำดับ

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล จากการวิจัยการพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. ความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 108 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus ไม่สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 3. ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เทคนิค KWL Plus พบว่าความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก อภิปรายผล การวิจัยในครั้งนี้เป็นการพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus จากผลการวิจัย สามารถอภิปรายได้ดังนี้ 1. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังจากการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้ และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1 ที่ตั้งไว้ เนื่องด้วยนักเรียนได้ใช้ความรู้เดิมในการอ่าน ประกอบกับผู้วิจัยได้ซักถามพร้อมตั้งค�ำถามก่อนและ ระหว่างอ่านเกี่ยวกับประเด็นส�ำคัญของเรื่องเพื่อน�ำไปสู่ความสามารถในการแปลความ และสรุปความ การจดบันทึกข้อมูลในทุกขั้นตอนของการอ่าน การเขียนแผนผังความคิดและการสรุปใจความส�ำคัญ ซึ่งเป็นการ สอนอ่านโดยใช้วิธี KWL Plus ท�ำให้นักเรียนประสบความส�ำเร็จในการอ่าน ซึ่งเป็นผลมาจากการฝึกฝน คือ ฝึกให้บอกใจความส�ำคัญ ฝึกให้เลือกข้อมูลจากการบันทึกลงสู่แผนผังความคิด ฝึกให้จ�ำแนกประเภทข้อมูล ที่ได้บันทึกไว้ ซึ่งการฝึกฝนที่กล่าวมาเป็นการฝึกขั้นพื้นฐานในการคิดวิเคราะห์ สามารถท�ำให้ได้ข้อมูลใหม่ ขึ้นมาเรื่อยๆ ต่างจากการรับรู้เพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ทักษะการจ�ำแนกท�ำให้เกิดความเข้าใจและเกิดความคงทน ในการจ�ำ ส่งผลให้ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังจาก การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สูงกว่าก่อนเรียนและสอดคล้องกับงานวิจัยของ Carr และ Ogle (1987, pp. 626-631) ที่ได้พัฒนากระบวนการ KWL Plus เพื่อพัฒนาความสามารถในการเข้าใจและสรุปความ โดยทดลองใช้กับนักเรียนระดับ 9 ชั้นมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต�่ำและ นักเรียนที่อยู่ในโครงการสอนซ่อมเสริม โดยใช้วิธีการสังเกตและสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ ผลการศึกษาปรากฏว่า นักเรียนสามารถถ่ายโอนวิธี KWL Plus ไปสู่สถานการณ์การอ่านเรื่องใหม่ได้ รวมทั้งมีความเข้าใจ จากการอ่านเรื่อง ตลอดจนมีทักษะการเขียนย่อความได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัย ของกรรณิการ์ สีเหลือง (2548, น.70) ผลการวิจัยพบว่า คะแนนความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้กลวิธี KWL Plus ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง มีความแตกต่างกัน โดยหลังการทดลองมีคะแนนสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สอดคล้องกับงานวิจัยของคะนึงนิตย์ ม่วงสี (2553, น. 60) ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนโดยวิธี KWL Plus หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจัยของวิสิฏฐา แรงเขตการ (2551, น. 69) พบว่าทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 2 สูงขึ้นและอยู่ในระดับปานกลางหลังได้รับการสอนโดยวิธี KWL Plus สอดคล้องกับ งานวิจัยของพูนพิศมัย แย้มขยาย (2555, น. 77) ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีสอนแบบ KWL-Plus สูงขึ้นและสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 109 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

และสอดคล้องกับงานวิจัยของไกรษร ชายฮวด (2553, น. 77) ผลการวิจัยพบว่า ทักษะการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ KWL Plus มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด ด้วยปัจจัยที่นักเรียนได้ใช้ความรู้เดิม ประกอบกับผู้วิจัยได้ซักถาม ตั้งค�ำถามก่อนและระหว่างอ่าน เพื่อน�ำไปสู่ความสามารถในการแปลความและสรุปใจความ การจดบันทึก การเขียนแผนผังความคิด ซึ่งเป็นการสอนอ่าน โดยใช้วิธีสอนแบบ KWL Plus ท�ำให้นักเรียนประสบความส�ำเร็จในการอ่าน ซึ่งเป็นผลมาจากการฝึกฝน คือ ฝึกให้บอกใจความส�ำคัญ การเลือกข้อมูลลงสู่แผนผังความคิด ซึ่งการฝึกฝนนี้เป็นการฝึกขั้นพื้นฐาน ในการคิดวิเคราะห์ สามารถท�ำให้ได้ข้อมูลใหม่ขึ้นมาเรื่อย ๆ ต่างจากการรับรู้อย่างเดียว ส่งผลให้ความสามารถ ในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ 2. ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังจากการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ เป็นไปตามสมมติฐาน เนื่องจากการสอน โดยใช้เทคนิค KWL Plus นั้นเป็นการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนได้คิดและอ่านอย่างมีระบบ สามารถเชื่อมโยง ต่อเนื่องกันตามล�ำดับขั้นตอนท�ำให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน และสามารถรวบรวมข้อมูลจากเรื่องที่อ่าน ได้อย่างครอบคลุมด้วยการจดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ เริ่มต้นจาขั้น K (Know) ขั้นนี้นักเรียนจดบันทึกสิ่งที่ตนมี ความรู้เดิมเกี่ยวกับหัวข้อเรื่องที่จะอ่านไว้ หลังจากนั้นในขั้น W (Want to know) นักเรียนเขียนค�ำถาม ที่ต้องการรู้จากเรื่องที่อ่าน โดยมีการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนระหว่างผู้วิจัยกับนักเรียนเพื่อให้ค�ำถาม ครอบคลุมและหลากหลาย หลังจากนั้นในขั้น L (Learned) เมื่อนักเรียนได้อ่านเรื่องแล้วนักเรียนต้องเขียนค�ำตอบ ส�ำหรับค�ำถามที่ตั้งไว้และเขียนบันทึกความรู้ใหม่ๆ เพิ่มเติมจากการอ่าน เมื่อมาถึงกิจกรรมขั้น Plus นักเรียนต้องสร้างแผนผังความคิด ซึ่งได้จากการจัดระบบข้อมูลที่ได้เขียนบันทึกไว้ให้เป็นใจความหลัก ใจความรอง โดยใช้ค�ำ ข้อความสั้น ๆ และกระชับ ใช้ภาษาของตนเองแล้วเชื่อมโยงข้อมูลดังกล่าวให้มีความสัมพันธ์กัน โดยมีผู้วิจัยและเพื่อนนักเรียนในห้องช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องระหว่างน�ำเสนอ เป็นผลให้นักเรียนมีความสามารถ ในการเขียนดีขึ้น ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus นั้นเป็นการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมทักษะการเขียนสรุปความ สอดคล้องกับแนวคิดของ Carr และ Ogle (1987, pp. 626-631) ที่กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus สามารถส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านและการเขียนสรุปความ ดังงานวิจัยของพูนพิศมัย แย้มขยาย (2555, น. 78) พบว่า ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีสอนแบบ KWL-Plus สูงขึ้นและสอดคล้องกับงานวิจัยของ วิสิฏฐา แรงเขตการ (2551, น. 69) พบว่า ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนสูงขึ้นและอยู่ในระดับดี หลังได้รับการสอนโดยวิธี KWL Plus ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค KWL Plus ไม่สูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ เป็นเพราะทักษะการเขียนเป็นทักษะที่ยากที่สุด เป็นทักษะที่มีความซับซ้อน ต้องใช้เวลาในการพัฒนา สอดคล้องกับค�ำกล่าวของ Reid (2000, pp. 16-19) ที่ว่าการเขียนเป็นทักษะที่ต้องได้รับการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาความคิดที่จะเขียนให้ผู้อ่านเข้าใจ และสาเหตุส�ำคัญอีกประการหนึ่งคือ เกณฑ์ร้อยละ 60 ที่ตั้งไว้สูงเกินไป จึงท�ำให้ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนไม่สูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด

110 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

3. ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เทคนิค KWL Plus พบว่าความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก นักเรียนแต่ละคนในกลุ่ม จะมีความส�ำคัญเสมอกัน ทุกคนมีผลคะแนนในกลุ่ม ทุกคนได้ร่วมกันปฏิบัติเพื่อให้กลุ่มประสบผลส�ำเร็จ สอดคล้องกับแนวความคิดของ ศุภศิริ โสมาเกตุ (2544, น. 49) ได้กล่าวถึงทฤษฎีของความพึงพอใจไว้ว่า 1) ความพึงพอใจน�ำไปสู่การปฏิบัติงาน การตอบสนองความต้องการของผู้ปฏิบัติงานจึงเกิดความพึงพอใจ จะท�ำให้เกิดแรงจูงใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานที่สูงกว่าผู้ที่ไม่ได้รับการตอบสนอง 2) ผลการปฏิบัติงาน น�ำไปสู่ความพึงพอใจความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและผลการปฏิบัติงานจะถูกเชื่อมโยงด้วยปัจจัยอื่น ๆ ผลการปฏิบัติงานที่ดีจะน�ำไปสู่ผลตอบแทนที่เหมาะสมซึ่งในที่สุดจะน�ำไปสู่การตอบสนองความพึงพอใจ ผลการปฏิบัติงานย่อมได้รับการตอบสนองในรูปของรางวัลหรือผลตอบแทนซึ่งแบ่งออกเป็นผลตอบแทนภายใน และผลตอบแทนภายนอก

ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัย ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ 1. ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ 1.1 กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค KWL Plus มีขั้นตอนที่เป็นกิจกรรมกลุ่ม ซึ่งเป็นกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นโดยการพูด เพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน นอกจากนี้ ยังเป็นการให้นักเรียนที่เก่งได้มีโอกาสช่วยเหลือเพื่อนที่อ่อนกว่า ดังนั้นผู้สอนควรมีวิธีกระตุ้นให้นักเรียนทุกคน ได้คิด พูด แสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นของเพื่อนทั้งภายในกลุ่มตนเองและกลุ่มอื่น 1.2 เนื่องจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWL Plus ให้ความส�ำคัญต่อประสบการณ์เดิม ของนักเรียน ดังนั้นผู้สอนควรส�ำรวจความรู้เดิมเพื่อเลือกเนื้อเรื่องที่นักเรียนมีความรู้มาบ้างแล้วจะท�ำให้ นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น แข่งขันในการตั้งค�ำถาม ตอบค�ำถาม การเขียนแผนผังความคิดและ การเขียนสรุปความ เพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศที่สนุกสนานในห้องเรียน 1.3 ผู้สอนควรเปิดกว้างในเรื่องของรูปแบบการจัดท�ำแผนผังความคิด เพื่อเป็นการฝึกฝนและส่งเสริม ให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ ควรให้นักเรียนกลุ่มอื่นได้มีส่วนร่วมและกล่าวค�ำชื่นชมในการน�ำเสนอผลงาน เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ 2. ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการวิจัยโดยใช้เทคนิค KWL Plus ในระดับชั้นอื่นๆ เพื่อให้เห็นความเปลี่ยนแปลง ในด้านผลสัมฤทธิ์ และการมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ 2.2 ควรมีการน�ำเทคนิค KWL Plus ไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 111 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

รายการอ้างอิง กรมวิชาการ. (2542). คู่มือการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : การศาสนา. กระทรวงศึกษาธิการ. (2549). แนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรรณิการ์ สีเหลือง. (2548). ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้กลวิธี KWL Plus (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร). ไกรษร ชายฮวด. (2553). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ KWL Plus (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น). คะนึงนิตย์ ม่วงสี. (2553). ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนโดย KWL-Plus (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา). พูนพิศมัย แย้มขยาย. (2555). การศึกษาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้วิธีสอนแบบ KWL-Plus (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา). พรรณพร วิริยะสกุลพันธุ์. (2558). การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่าน และเจตคติต่อการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี เค ดับเบิลยู แอล พลัส (KWL - Plus) กับการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครู ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสารสาสน์สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ (วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี). ภัทณิดา พันธุมเสน. (2554). ปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูปประเทศไทย. วารสารการศึกษาไทย, 8(80) น.11. มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์. (2548). อ่านเป็น : เรียนก่อน-สอนเก่ง. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์. โรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป. (2559). ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET). นครราชสีมา : ฝ่ายวิชาการโรงเรียนบ้านใหม่ปฏิรูป. วิสิฏฐา แรงเขตรการ. (2551). การสอนแบบ เค ดับเบิ้ลยู แอล พลัส เพื่อเพิ่มพูนทักษะการอ่านและการเขียน ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับต้น (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่). ศุภสิริ โสมาเกตุ. (2544). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนและความพึงพอใจในการเรียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการเรียนรู้โดยโครงงานกับการเรียนรู้ตามคู่มือครู (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม). สุมิตรา อังวัฒนากุล. (2540). กิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : ภาควิชามัธยมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Carr, E & Ogle, D. (1987). K-W-L Plus : Strategy for Comprehension and Summarization. Journal of Reading, 30(7), pp.626-631. Reid, S. (2000). The Prentice Hall Guide for Collage Writers. New Jersey : Prentice Hall.

112 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

คำ�แนะนำ�ในการส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารครุสีมา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา เป็นวารสารวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยและบทความวิชาการด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ของคณาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา รวมถึงหน่วยงานภายนอก โดยมีก�ำหนดการตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 2 ฉบับ (ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน และฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม) เพื่อให้การตีพิมพ์บทความมีความ ถูกต้องและได้มาตรฐาน จึงก�ำหนดเกณฑ์และค�ำแนะน�ำในการส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารครุสีมาดังนี้ หลักเกณฑ์โดยทั่วไป 1. เป็นบทความที่ไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่หรืออยู่ในระหว่างการน�ำเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสาร รายงานหรือสิ่งพิมพ์อื่นใด 2. เป็นบทความวิจัย (research article) บทความวิชาการ (academic article) หรือปริทัศน์ หนังสือ (book review) ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 3. บทความวิจัยของนักศึกษาจะต้องผ่านการพิจารณาของอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษา ต้องลงนามในใบรับรองบทความ 4. หากเป็นงานแปลหรือเรียบเรียงจากภาษาต่างประเทศ ต้องมีหลักฐานการอนุญาตให้ตีพิมพ์ เป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์ 5. เนื้อหาของบทความหรือข้อคิดเห็นที่พิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนบทความเท่านั้น กองบรรณาธิการไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย 6. บทความจะได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารครุสีมา ก็ต่อเมื่อบทความได้ผ่านการพิจรณา กลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review) ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับบทความก่อนอย่างน้อย 2 ท่าน 7. บทความที่ไม่ผ่านการพิจารณาให้ตีพิมพ์ กองบรรณาธิการจะแจ้งให้ผู้เขียนทราบ แต่จะไม่ส่ง ต้นฉบับคืนผู้เขียน 8. ระยะเวลาในการด�ำเนินการพิจารณากลั่นกรองบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารครุสีมา ใช้เวลา ประมาณ 2 เดือน กองบรรณาธิการจะออกหนังสือตอบรับการตีพิมพ์เมื่อบทความผ่านการพิจรณาของ ผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว และผู้ส่งบทความปรับแก้ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิแล้วเท่านั้น หากมีความจ�ำเป็น เร่งด่วน โปรดส่งลงตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่นแทน 9. การตีพิมพ์เผยแพร่บทความในวารสารครุสีมา จะไม่มีการเก็บเงินเพื่อเป็นค่าด�ำเนินการใด ๆ เนื่องจากถือว่าเป็นส่วนหนึ่งในการบริการวิชาการของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยผู้เขียนจะได้รับวารสารจ�ำนวน 2 เล่ม ค�ำแนะน�ำการเขียนและส่งต้นฉบับ หากต้นฉบับไม่เป็นตามค�ำแนะน�ำต่อไปนี้ บทความจะถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ (reject) ทันที 1. ต้นฉบับจะเขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ แต่ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียน และเชิงอรรถข้อมูล ของผู้เขียน ต้องมีทั้งภาษาไทยและอังกฤษ (กรณีนักศึกษา ให้ระบุหลักสูตรและสถานที่ศึกษา กรณีอาจารย์/ นักวิชาการให้ระบุสถานที่ท�ำงาน พร้อมระบุอีเมลของ Corresponding ด้วย)

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 113 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2. ต้นฉบับจะต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอักฤษ เขียนให้สั้นที่สุดไม่เกิน 15 บรรทัด หรือ 250 ค�ำ (มิใช่เป็นการน�ำเอาบทคัดย่อในรายงานการวิจัยทั้งหมดมาใส่ในบทความ) ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ และสรุปผลการวิจัย พร้อมค�ำส�ำคัญ (Keywords) อยู่ใต้บทคัดย่อ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3-5 ค�ำ 3. ต้นฉบับต้องมีความยาวไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ A4 (รวมตาราง รูปภาพ และรายการอ้างอิง) โดยตั้งค่าหน้ากระดาษ ระยะด้านบนและซ้าย เท่ากับ 3.00 ซม. ด้านขวาและล่าง เท่ากับ 2.50 ซม. จัดรูปแบบ 1 คอลัมน์ ระยะห่างระหว่างบรรทัดแบบเดี่ยว (single) และระยะกั้นหลังให้ตั้งขอบแนวเท่ากัน 4. ใช้ตัวอักษร “TH Sarabun New” ชื่อบทความใช้ตัวอักษรขนาด 18 ตัวหนา ชื่อผู้เขียน ชื่อหัวข้อ และหัวข้อย่อยใช้ตัวอักษรขนาด 16 ตัวหนา บทคัดย่อและเนื้อความต่าง ๆ ใช้ตัวอักษรขนาด 16 ตัวปกติ ส่วนเชิงอรรถข้อมูลของผู้เขียนใช้ตัวอักษรขนาด 10 ตัวปกติ 5. เนื้อหาของบทความประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ บทความวิจัย ประกอบด้วย บทน�ำ (ระบุความส�ำคัญและปัญหาการวจัย รวมถึงแนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวข้อง) วัตถุประสงค์การวิจัย ค�ำถามการวิจัย (ถ้ามี) สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) ขอบเขตการวิจัย (ระบุประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา ระยะเวลาด�ำเนินการ) วิธีด�ำเนินการวิจัย (ระบุเครื่องมือ การด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมุลหรือการทดลอง วิธีวิเคราะห์ข้อมูล) ผลการวิจัย (อาจมีภาพ ตาราง และ แผนภูมิประกอบเท่าที่จ�ำเป็น) สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และรายการอ้างอิง (ใช้ระบบ APA) บทความที่สรุปจากวิทยานิพนธ์ให้ใส่ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาหลังชื่อผู้เขียน พร้อมทั้งลงเชิงอรรถด้วย บทความวิชาการ ประกอบด้วย บทน�ำ เนื้อหา บทสรุป และรายการอ้างอิง (ใช้ระบบ APA) ปริทัศน์หนังสือ ประกอบด้วย การวิเคราะห์วิจารณ์หนังสือหรือต�ำราวิชาการเล่มใดเล่มหนึ่งอย่างเป็น วิชาการ บทวิจารณ์ ควรประกอบด้วยองค์ประกอบหรือโครงสร้างของหนังสือ เนื้อหาของหนังสือในภาพรวม และเนื้อหาของแต่ละส่วนโดยย่อ ข้อดี ข้อจ�ำกัด และ/หรือประโยชน์ของหนังสือนั้น 6. ถ้ามีภาพประกอบ กราฟ หรือตาราง ควรเป็นภาพถ่ายขาว-ด�ำที่ชัดเจนคมชัด พร้อมระบุล�ำดับ และหัวข้อ 7. ส่งต้นฉบับในรูปแบบไฟล์ Word 2 ชุด ที่อีเมล [email protected] โดยชุดแรกใส่ชื่อผู้เขียน และเชิงอรรถข้อมูลของผู้เขียน ส่วนต้นฉบับชุดที่ 2 ให้ปกปิดชื่อผู้เขียนและเชิงอรรถข้อมูลของผู้เขียน (เพื่อส่งผู้ทรงคุณวุฒิ)

114 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลในเนื้อเรื่อง และในรายการอ้างอิง ให้ใช้ตามรูปแบบ APA (American Psychological Association)

1. การอ้างอิงในเนื้อหาหน้าข้อความ ตัวอย่าง อมร รักษาสัตย์ (2544) ชนกภัทร ผดุงอรรถ (2546, น. 45) Poole (2002) Phadungath (2003, pp. 278-279) 2. การอ้างอิงหรือบรรณานุกรม 2.1 หนังสือ ตัวอย่าง ปิยะ นากสงค์ และพันธุ์ทวี วรสิทธิกุล. (2545). ดูหนังฟังเพลงเล่นเกมส์ร้องคาราโอเกะ. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย. Magee, J. & Kramer, J. (2006). Concurrency state models & java programs. West Sussex, UK: John Wiley. 2.2 วาสาร ตัวอย่าง ปิยะวิทย์ ทิพรส. (2553). การจัดการป้องกันและลดสารให้กลิ่นโคลน Geosmin ในผลิตภัณฑ์ แปรรูปสัตว์น�้ำ. วารสารสุทธิปริทัศน์, 24(72), น. 103-119. Siriwongworawat, S. (2003). Use of ICT in Thai libraries: An overview. Program: Electronic Library and Information Systems, 37(1), pp.38-43 Tandra, R., Sahai, A. & Veeravalli, V. (2011, March). Unified space-time metrics to evaluate spectrum sensing. IEEE Communications Magazine, 49(3), pp. 54-61. 2.3 รายงานการวิจัย ตัวอย่าง กิติพงษ์ ลือนาม. (2553). การพัฒนารูปแบบการสอนสอดแทรกความรู้ด้านจริยธรรมเน้นการ จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเรื่อง การทดสอบสมมุติฐาน : รูปแบบผสาน ระเบียบวิธี (รายงานผลการวิจัย). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. Chitomrath, T. (2011). A Study of factors regarding firm charcteristics That affect financingdecisions of public public companies listed on the stock exchange of Thailand (Research Report). Bangkok: Dhurakij Pundit University.

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 115 วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

2.4 วิทยานิพนธ์ ตัวอย่าง วันชนะ กลั่นพรมสุวรรณ. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารการฝึกนักศึกษา วิชาทหารในกองทัพบกไทย (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครราชสีมา). สมหญิง ชูชื่น. (2559). การสังเคราะห์อนุพันธ์ของแนพโทควิโนน (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา). Nickels, D. W. (2005). The relationship between IT-business alignment and Oeganizational culture: An exploratory study (Doctoral dissertation, University of Memphis). 2.5 เว็บเพจ สุรชัย เลี้ยงบุญ. (2554). จัดระเบียบส�ำนักงานทนายความ. สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2554, จาก http://www.lawyerscouncil.or.th/2011/index.php?name=knowledge CNN Wire Staff. (2011). How U.S. forces killed Osama Bin Laden. Retrieved May 3, 2011, from http://www.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/05/02/bin. laden.raid.index.html

116 วารสารวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารครุสีมา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) Karu Sima Journal Vol. 1 No. 2 (July - December 2018)

Academic Journal Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University 117