ค ำน ำ

ประเทศไทยมีพื้นที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น ท ำให้มีควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพสูง ทั้งควำม หลำกหลำยของถิ่นที่อยู่อำศัย ควำมหลำกหลำยด้ำนชนิดพันธุ์ และควำมหลำกหลำยด้ำนพันธุกรรม ในกลุ่ม สิ่งมีชีวิตที่เป็นพืช สัตว์ แมลง และเห็ด มีกำรค้นพบชนิดพันธุ์ใหม่ในหลำยพื้นที่ แต่ในขณะเดียวกันควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพเหล่ำนี้ก ำลังถูกคุกคำม ท ำให้จ ำนวนชนิดและปริมำณลดลงอย่ำงมำก หลำยชนิดอยู่ใน สถำนภำพใกล้สูญพันธุ์ และบำงชนิดสูญพันธุ์ไปแล้ว ประกอบกับองค์ควำมรู้ทำงด้ำนควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพของสิ่งมีชีวิตในบำงกลุ่ม หรือบำงชนิดยังมีกำรศึกษำน้อย หรือไม่มีข้อมูลพื้นฐำนอยู่เลย กรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำ และพันธุ์พืช ได้เล็งเห็นถึงควำมส ำคัญของกำรอนุรักษ์ควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ของประเทศไทย จึงมอบหมำยให้ส ำนักวิจัยกำรอนุรักษ์ป่ำไม้และ พันธุ์พืช จัดท ำโครงกำรส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ ร่วมกับกลุ่มงำนวิชำกำร ส ำนัก บริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 ด ำเนินกำรส ำรวจข้อมูลด้ำนพรรณพืช แมลง และเห็ด เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐำนให้แก่ หน่วยงำนภำคสนำมในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ อีกทั้งเป็นข้อมูลทำงวิชำกำรที่ใช้ในกำรเผยแพร่ หรือสื่อคุณค่ำของ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อกำรบริหำรจัดกำรควำมหลำกหลำย ทำงชีวภำพ ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 (นครสวรรค์) ได้รับมอบหมำยให้ท ำกำรส ำรวจในพื้นที่ป่ำ อนุรักษ์ คือ เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี ใช้ระยะเวลำในกำรด ำเนินกำรส ำรวจ รวบรวมข้อมูล และจัดท ำรำยงำนฉบับสมบูรณ์ รวมทั้งสิ้น 12 เดือน รำยงำนผลโครงกำรส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในพื้นที่เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำ แข้ง จังหวัดอุทัยธำนี ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 ฉบับนี้ เป็นเนื้อหำส่วนของข้อมูลกำรศึกษำควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพด้ำนพรรณพืช, แมลง และเห็ด โดยในปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 ได้ด ำเนินกำรใน ระบบนิเวศป่ำเบญจพรรณและป่ำดิบเขำ ซึ่งข้อมูลที่ได้รับจะเป็นประโยชน์โดยตรงต่อเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ ห้วยขำแข้ง และสำมำรถน ำไปจัดท ำเป็นฐำนข้อมูลควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ เพื่อใช้เป็น ประโยชน์ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในภำพรวมของกรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำ และพันธุ์พืช ต่อไป คณะผู้ส ำรวจและจัดท ำรำยงำนหวังว่ำรำยงำนฉบับนี้ จะเป็นฐำนข้อมูลที่ช่วยในกำรวำงแผน จัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติในเขตพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ ของเจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติงำนที่เกี่ยวข้อง เป็นประโยชน์ต่อกำร ศึกษำวิจัยของนิสิต นักศึกษำ และผู้ที่สนใจต่อกำรศึกษำวิจัยในขั้นต่อไป คณะผู้ส ำรวจและจัดท ำรำยงำน

สารบัญ

ค าน า ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค สารบัญรูปภาพ จ สารบัญภาคผนวก ช บทที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ที่ด าเนินการ 1 บทที่ 2 : ทบทวนวรรณกรรม 10 บทที่ 3 : อุปกรณ์และวิธีการ 20 บทที่ 4 : ผลการส ารวจ 45 ความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืช 45 ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง 74 ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด 78 บทที่ 5 : สรุปและวิจารณ์ 81 บทที่ 6 : ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 88 กิตติกรรมประกาศ 91 เอกสารอ้างอิง 92 คณะผู้ด าเนินการ 97 ภาคผนวก 99 ค

สารบัญตาราง ตารางที่ เรื่อง หน้า 1 ข้อมูลสภาพภูมิอากาศของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 4 2 การด าเนินการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วย 44 ขาแข้ง 3 จ านวนชนิดพรรณไม้จ าแนกตามวิสัยที่พบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 45 4 ค่าความส าคัญ (IV) 30 อันดับแรกของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small 49 tree)ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ) 5 ค่าความส าคัญ (IV) 30 อันดับแรกของไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) 50 ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ) 6 ค่าความส าคัญ (IV) 30 อันดับแรกของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small 52 tree)ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา) 7 ค่าความส าคัญ (IV) 17 อันดับแรกของไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) 53 ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา) 8 ชนิดพันธุ์ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีค่าความส าคัญ 54 สูงสุด 5 อันดับแรกของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจ พรรณ) 9 ชนิดพันธุ์ของไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีค่าความส าคัญสูงสุด 5 56 อันดับแรกของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ) 10 ชนิดพันธุ์ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีค่าความส าคัญ 58 สูงสุด 5 อันดับแรกของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา) 11 ชนิดพันธุ์ของไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีค่าความส าคัญสูงสุด 5 59 อันดับแรกของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา) 12 เปรียบเทียบข้อมูลเชิงปริมาณของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) 60 จ าแนกตามแปลงตัวอย่างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ) 13 เปรียบเทียบข้อมูลเชิงปริมาณของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) 62 จ าแนกตามแปลงตัวอย่างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา) 14 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และค่าความสม่ าเสมอ ของไม้ต้น (tree) และ 63 ไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ) 15 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และค่าความสม่ าเสมอ ของไม้ต้น (tree) และ 66 ไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา) 16 ค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Similarity index) ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก 69 (small tree) ระหว่างแปลงตัวอย่าง (ป่าดิบเขา) ง

สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ เรื่อง หน้า 17 ผลการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดราในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วย 79 ขาแข้ง 18 ค่าเฉลี่ยของค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและค่าความสม่ าเสมอของเห็ดราใน 80 แต่ละชนิดป่า

สารบัญรูปภาพ ภาพที่ เรื่อง หน้า 1 ขอบเขตพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี 2 2 ลักษณะหินปูนของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 5 3 แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดอุทัยธานี 6 4 ค าอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดอุทัยธานี 7 5 ต าแหน่งของแปลงตัวอย่างศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของสังคมป่าเบญจพรรณ 22 ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2560 6 ต าแหน่งของแปลงตัวอย่างศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของสังคมป่าดิบเขา 23 ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 7 การวางแปลงตัวอย่างชั่วคราวศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ และเก็บข้อมูล 25 โครงสร้างทางด้านตั้งของสังคมพืช (Profile Diagram) และการปกคลุมของเรือนยอด (Crown Cover Diagram) 8 ต าแหน่งของแปลงตัวอย่างความหลากหลายทางชีวภาพของผีเสื้อกลางวัน ในเขตรักษา 31 พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 9 ต าแหน่งของแปลงตัวอย่างความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงกลางคืน ในเขตรักษา 32 พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 10 ลักษณะการวางแปลงจับผีเสื้อกลางวัน 33 11 การท าแผนผัง Venn diagram 35 12 ต าแหน่งของแปลงตัวอย่างศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดราในเขตรักษา 39 พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 (ป่าดิบเขา) 13 ต าแหน่งของแปลงตัวอย่างศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดราในเขตรักษา 40 พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 (ป่าเบญจพรรณ) 14 ลักษณะแปลงส ารวจเห็ดราและแนวการเดินส ารวจเห็ดราในแปลงตัวอย่าง 41 15 วงศ์ที่มีจ านวนชนิดพันธุ์พืชสูงสุด 5 วงศ์แรก 46 16 วงศ์ที่มีจ านวนต้นมากที่สุด 5 วงศ์แรก 46 17 วงศ์ที่มีจ านวนชนิดพันธุ์พืชสูงสุด 10 วงศ์แรก 47 18 วงศ์ที่มีจ านวนต้นมากที่สุด 10 วงศ์แรก 47 19 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และค่าความสม่ าเสมอ ของไม้ต้น (tree) และ 65 ไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ของแต่ละแปลงตัวอย่างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขา แข้ง (ป่าเบญจพรรณ) 20 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และค่าความสม่ าเสมอ ของไม้ต้น (tree) และ 66 ไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในแต่ละแปลงตัวอย่างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขา แข้ง (ป่าดิบเขา) 21 ค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Similarity index) ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก 68 (small tree) ระหว่างแปลงตัวอย่าง (ป่าเบญจพรรณ) ฉ

สารบัญรูปภาพ (ต่อ) ภาพที่ เรื่อง หน้า 22 ภาพวาดโครงสร้างด้านตั้ง (profile diagram) และการกระจายตัวด้านราบ (plot 71 plan) ของป่าเบญจพรรณ (แปลงที่ HKK60_MD24) 23 ภาพวาดโครงสร้างด้านตั้ง (profile diagram) และการกระจายตัวด้านราบ (plot 73 plan) ของป่าดิบแล้ง (แปลงที่ HKK60_HE3) 24 เปรียบเทียบการปรากฏของชนิดและปริมาณของผีเสื้อกลางวันที่พบในสังคมป่า 75 เบญจพรรณฤดูร้อน ฤดูฝน และทั้งสองฤดูที่ส ารวจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 25 ค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (H') และค่าความสม่ าเสมอ (J') ของผีเสื้อ 75 กลางวัน ที่ส ารวจในป่าเบญจพรรณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง 26 แผนภาพ Venn diagram จ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบในป่าเบญจพรรณ เขต 76 รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ประจ าปีงบประมาณ 2560 27 วงศ์ที่มีจ านวนชนิดเห็ดสูงสุด 5 ล าดับแรกที่พบในแต่ละชนิดป่า 79 28 จ านวนชนิดพันธุ์ของเห็ดราในแต่ละชนิดป่า 79 29 ค่าเฉลี่ยของค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและค่าความสม่ าเสมอของเห็ดราใน 80 แต่ละชนิดป่า

สารบัญภาคผนวก ภาคผนวก เรื่อง หน้า 1 ตารางบัญชีรายชื่อพรรณไม้ที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 100 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2560 2 บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวัน ในป่าเบญจพรรณของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 117 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2560 3 บัญชีรายชื่อมอทในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ 126 พ.ศ. 2558-2560 4 ตารางบัญชีรายชื่อเห็ดราที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 129 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ป่าดิบเขา) 5 ตารางบัญชีรายชื่อเห็ดราที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 130 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ป่าเบญจพรรณ) 6 ภาพพรรณไม้ที่ส าคัญตามค่า IV ในสังคมพืชป่าเบญจพรรณ จากมากไปหาน้อย 131 7 ภาพพรรณไม้ที่ส าคัญตามค่า IV ในสังคมพืชป่าดิบเขา จากมากไปหาน้อย 134 8 ชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบจ านวน 24 ชนิด จากผลการส ารวจในสังคมป่าเบญจพรรณ 136 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 9 ชนิดมอทที่พบจ านวน 12 ชนิด จากผลการส ารวจในสังคมป่าเบญจพรรณ 137 ปีงบประมาณพ.ศ.2560 10 ภาพเห็ดราที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 (ป่าดิบเขา) 138 11 ภาพเห็ดราที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 (ป่าเบญจ 139 พรรณ) 12 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วย 140 ขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 : เลือกพื้นที่ที่ท าการวางแปลงตัวอย่าง (บนซ้าย), เดินเข้าไปวางแปลงตัวอย่างส ารวจพรรณไม้ (บนขวา), ส่องเข็มทิศเพื่อวางแปลง ตัวอย่าง (ล่างขวา) และลากเชือกวางแปลงส ารวจพรรณไม้ (ล่าง ขวา) 13 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วย 141 ขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 : บันทึกข้อมูลแปลงตัวอย่าง (บนซ้าย), วัดขนาด ล าต้นของไม้ต้น (บนขวา), บันทึกข้อมูลต้นไม้ (ล่างซ้าย) และเก็บตัวอย่างพรรณไม้ (ล่างขวา) 14 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดรา ในเขตรักษาพันธุ์ 142 สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 : เดินทางเข้าแปลงตัวอย่าง 15 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพของผีเสื้อกลางวัน ในเขต 145 รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ซ

สารบัญภาคผนวก (ต่อ) ภาคผนวก เรื่อง หน้า 16 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพของมอท ในเขตรักษาพันธุ์ 146 สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 17 พิกัดและที่ตั้งแปลงตัวอย่างส ารวจพรรณพืชและเห็ดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วย 147 ขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2560 18 พิกัดและที่ตั้งของแปลงตัวอย่างส ารวจผีเสื้อกลางวัน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขา 148 แข้ง 19 พิกัดและที่ตั้งของแปลงตัวอย่างส ารวจแมลงกลางคืน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขา 149 แข้ง 20 แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของแปลงตัวอย่าง (P001) 150 21 แบบบันทึกข้อมูลไม้ต้นในแปลงตัวอย่างขนาด 10x10 เมตร และข้อมูลไม้หนุ่มใน 151 แปลงตัวอย่างขนาด 4x4 เมตร (P002) 22 แบบบันทึกข้อมูลไม้ต้นในแปลงตัวอย่างขนาด 10x10 เมตร และข้อมูลท า profile 152 (P003) 23 แบบบันทึกข้อมูลส าหรับใช้ในการรายงานผลการส ารวจบัญชีรายชื่อพรรณไม้ 153 (P004) 24 ตารางข้อมูลความหลากหลายด้านพืชจากการส ารวจในพื้นที่ (P005) 154 25 ตารางบันทึกข้อมูลฐานข้อมูลอนุกรมวิธานพืช (P006) 156 26 แบบบันทึกข้อมูลผีเสื้อกลางวัน (ตารางที่ 1) 158 27 แบบบันทึกข้อมูลแมลงกลางคืน (ตารางที่ 2) 159 28 แบบบันทึกข้อมูลบัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวัน (ตารางที่ 3) 160 29 แบบบันทึกข้อมูลบัญชีรายชื่อมอท (ตารางที่ 4) 161 30 แบบบันทึกข้อมูลบัญชีรายชื่อด้วง 162 31 แบบบันทึกข้อมูลสัณฐานวิทยาของเห็ด 163 32 แบบตารางบันทึกข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 164

1

บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ด ำเนินกำร

ประวัติควำมเป็นมำ (กลุ่มงานวิชาการ, 2546) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในอดีตนั้นพื้นที่ป่าบางส่วนมีการให้สัมปทานการท าไม้แก่ บริษัท ไม้อัดไทย (ปี พ.ศ. 2498) แต่เนื่องจากรัฐบาลโดยกรมป่าไม้ในขณะนั้น เห็นว่าพื้นที่ลุ่มน้ าตอนบนของ ห้วยขาแข้ง และห้วยทับเสลา มีสภาพป่าสมบูรณ์และสัตว์ป่าชุกชุม ประกอบกับเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าที่หา ยากหลายชนิด เช่น สมเสร็จ, เลียงผา, เก้งหม้อ, ควายป่า, ละองหรือละมั่ง และแมวลายหินอ่อน ควรจะรักษา พื้นที่ไว้เป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า นอกจากนี้พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยขาแข้งและห้วยทับเสลาตอนบนยังเป็นแหล่ง ต้นน้ าที่ส าคัญของแม่น้ าแม่กลองและแม่น้ าสะแกกรัง ซึ่งมีความส าคัญยิ่งต่อการเกษตรและเศรษฐกิจด้านอื่น ด้วย รัฐบาลจึงได้ด าเนินการผลักดันจนสามารถประกาศให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง โดยประกาศเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเมื่อ พ.ศ. 2515 ตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 201 และประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 89 ตอนที่ 132 เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2515 เป็นแห่งที่ 5 ของประเทศไทย ในขณะนั้นมีพื้นที่ รับผิดชอบประมาณ 1,091,379 ไร่ (1,631 ตารางกิโลเมตร) และได้มีการประกาศผนวก พื้นที่เพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2529 อีก 589,775 ไร่ ท าให้มีเนื้อที่เป็น 1,609,150 ไร่ (23,574.64 ตารางกิโลเมตร) ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 103 ตอนที่ 87 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 และได้ผนวกพื้นที่ใน ส่วนตอนเหนือและฝั่งตะวันออกเพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2535 ครอบคลุมพื้นที่ต าบลระบ า ต าบลป่าอ้อ อ าเภอลาน สัก, ต าบลทองหลาง อ าเภอห้วยคด, ต าบลคอกควาย ต าบลแก่นมะกรูด อ าเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี และ บางส่วนครอบคลุมพื้นที่ต าบลแม่ละมุ้ง อ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก จากการที่ได้ผนวกพื้นที่เพิ่มเติม ครอบคลุม ป่าสงวนแห่งชาติที่อยู่ติดกันและยังคงมีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของควายป่า ซึ่งเป็นสัตว์ป่าสงวน ชนิดหนึ่งของประเทศไทย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 109 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ท าให้มีพื้นที่รวมในปัจจุบัน 1,737,587ไร่ (2,780 ตารางกิโลเมตร) ที่ตั้งและอำณำเขตติดต่อ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 15 องศา 00 ลิปดา ถึง 15 องศา 47 ลิปดา เหนือ เส้นแวงที่ 99 องศา 00 ลิปดา ถึง 99 องศา 27 ลิปดา ตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ ต าบลระบ า และต าบลป่าอ้อ อ าเภอลานสัก, ต าบลทองหลาง อ าเภอห้วยคด, ต าบลคอกควาย และต าบลแก่นมะกรูด อ าเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี และบางส่วนของจังหวัดตาก ในท้องที่ต าบลแม่ละมุ้ง อ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก มีเนื้อที่ประมาณ 1,737,587 ไร่ หรือ 2,780 ตารางกิโลเมตร (ภาพที่ 1) โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้

2

ภำพที่ 1 ขอบเขตพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี 3

ทิศเหนือ ติดต่อกับ อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง ทิศใต้ ติดต่อกับ อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ และอุทยานแห่งชาติพุเตย ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ป่าสงวนแห่งชาติห้วยคอกควาย ป่าห้วยทับเสลา และพื้นที่ท ากิน บางส่วน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ลักษณะภูมิประเทศ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ครอบคลุมพื้นที่ส่วนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัย ประกอบด้วยสันเขาน้อยใหญ่หลายสันเรียงสลับซับซ้อนในแนวทิศเหนือ–ใต้ มียอดเขาสูงสุดอยู่ทางตอนเหนือ ของพื้นที่ คือ ยอดเขาปลายห้วยขาแข้ง สูง 1,687 เมตรจากระดับน้ าทะเลปานกลาง สภาพภูมิประเทศลาดเท ไปทางตอนใต้ นอกจากนี้ยังมีภูเขาสูงอยู่อีกหลายลูก ได้แก่ เขาใหญ่ และขาเขียว อยู่ทางด้านตะวันออกของ พื้นที่ เขาองเอี้ยง, เขากะเลีย, เขาองค์ทั่ง, เขากรึงไกร และเขาบันได อยู่ทางตอนใต้ของพื้นที่ ท าให้เป็นแหล่งต้นน้ า ล าธารของล าน้ าหลายสาย ที่ส าคัญคือ ล าห้วยห้วยขาแข้ง อยู่บริเวณตอนกลางของพื้นที่ มีน้ าไหลตลอดทั้งปี จาก ทิศเหนือไปทิศใต้ลงสู่แม่น้ าแม่กลอง มีความยาวของล าห้วยประมาณ 100 กิโลเมตร มีที่ราบไม่กว้างขวางมาก นักริมสองฝั่งของล าห้วย ทางซีกตะวันตกของพื้นที่เป็นป่าทึบและภูเขาสลับซับซ้อน ก่อให้เกิดล าธารสั้นๆ หลาย สายไหลลงห้วยขาแข้ง ทางซีกตะวันออกมีล าห้วยส าคัญหลายสาย ได้แก่ ล าห้วยไอ้เยาะ ที่มีต้นน้ ามาจากเขา นางร าและเขาเขียว, ล าห้วยแม่ดีเกิดจากเทือกเขาน้ าเย็น ไหลลงสู่ล าห้วยขาแข้ง และล าห้วยทับเสลา หล่อเลี้ยง พื้นที่เกษตรกรรมในท้องที่อ าเภอลานสัก, อ าเภอหนองฉาง, อ าเภอหนองขาหย่าง และอ าเภอห้วยคด จังหวัด อุทัยธานี เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งมีลุ่มน้ าที่ส าคัญแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่ ลุ่มน้ าห้วยขาแข้ง ลุ่มน้ าห้วยทับเสลา, ลุ่มน้ าห้วยระบ า, ลุ่มน้ าห้วยสองทาง, ลุ่มน้ าห้วยองค์ทั่ง และลุ่มน้ าห้วยวิง ลักษณะภูมิอำกำศ โดยสภาพรวมพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อยู่ในแนวเชื่อมต่อระหว่างภูมิอากาศใน แถบร้อน (Tropical climate) กับภูมิอากาศในแบบกึ่งร้อน (Subtropical climate) มีการแบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือนเมษายน โดยเดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนมากที่สุด ฤดู ฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม แหล่งที่มาของฝนสู่พื้นที่จาก 3 แหล่ง คือ ฝนจาก ลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ ฝนจากอิทธิพลของพายุหมุนเขตร้อน และฝนจากร่องความกดอากาศ และฤดูหนำว ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนมกราคม ช่วงที่มีอากาศหนาวจัดจะมีระยะเวลาสั้นมากไม่เกินครึ่งเดือน อยู่ระหว่าง เดือนธันวาคม ถึงเดือนมกราคมเท่านั้น

4

สถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า ได้ท าการตรวจวัดข้อมูลสภาพภูมิอากาศของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าห้วยขาแข้ง โดยใช้เครื่องตรวจวัดอากาศ ท าการเก็บข้อมูลตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 255 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลการเก็บข้อมูลสภาพภูมิอากาศดังนี้ ตำรำงที่ 1 ข้อมูลสภาพภูมิอากาศของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง TEMPARATURE (°C) ป ี พ.ศ. เดอื น RAINFALL (MM) MIN MAX 2559 ตลุ าคม 21 24 19 2559 พฤศจิกายน 19 25 18 2559 ธนั วาคม 17 25 0 2560 มกราคม 17 25 17 2560 กมุ ภาพนั ธ์ 15 27 0 2560 มนี าคม 19 31 25 2560 เมษายน 22 32 26 2560 พฤษภาคม 23 33 26 2560 มถิ ุนายน 23 32 9 2560 กรกฎาคม 23 31 14 2560 สิงหาคม 23 30 22 2560 กนั ยายน 23 31 19 AVERAGE 20 29 16

จากการเก็บข้อมูลปริมาณน้ าฝน พบว่า มีปริมาณน้ าฝนค่าเฉลี่ย 16 มิลลิเมตรต่อปี ส่วน เดือนที่มีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยมากที่สุด คือ เดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 มีปริมาณน้ าฝน 26 มิลลิเมตร และเดือนที่ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 และเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 มีปริมาณน้ าฝน 0 มิลลิเมตร จากการเก็บข้อมูลอุณหภูมิ พบว่า อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในรอบปี 29 องศาเซลเซียส และ อุณหภูมิเฉลี่ยต่ าสุดในรอบปี 20 องศาเซลเซียส ส่วนเดือนที่มีอุณหภูมิสูงสุด คือ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 มีอุณหภูมิสูงสุดถึง 33 องศาเซลเซียส และเดือนที่มีอุณหภูมิต่ าสุด คือ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 มีอุณหภูมิ ต่า สุดอยู่ที่ 15 องศาเซลเซียส

5

ลักษณะธรณีวิทยำ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง มีลักษณะภูมิศาสตร์เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนวางตัวในแนว ทิศเหนือ–ใต้ พื้นที่ส่วนใหญ่มีธรณีสันฐานเป็นหินแกรนิต เนื้อสีขาวหรือสีจาง ปกคลุมพื้นที่ตอนกลางของลุ่มน้ า ห้วยขาแข้ง ลุ่มน้ าห้วยทับเสลา และเทือกเขาเขียว–เขาใหญ่ พื้นที่ตอนเหนือตามแนวเทือกเขาปลายห้วยขาแข้ง เป็นหินควอร์ตไซด์ ส่วนพื้นที่ด้านตะวันตก ด้านตะวันออกเฉียงใต้ และด้านใต้ เป็นแนวหินปูนเนื้อทราย–ทราย แป้ง (sandy and silty limestone) หินปูนเนื้อดิน (argillaceous) (รวมทั้งเทือกเขาหินแดงที่เป็นพื้นที่ศึกษา ความหลากหลายของพรรณพืช) ซึ่งเกิดในยุคออร์โดวิเชียน (ordovician) เกิดขึ้นมา 505–438 ล้านปีมาแล้ว สลับกับแนวหินดินดานกึ่งหินชนวน (slaty shale) และหินดินดานเนื้อปนทราย (sandy shale) (ภาพที่ 2–4) (กรมทรัพยากรธรณี, 2551)

ภำพที่ 2 ลักษณะหินปูนเป็นหินเกิดในยุคออร์โดวิเชียน (ordovician) เกิดขึ้นมา 505–438 ล้านปีมาแล้ว ส่วน ใหญ่เป็นหินปูนเนื้อทราย–ทรายแป้ง (sandy and silty limestone) (ภาพซ้าย) ลักษณะภูเขาหินปูนเนื้อทราย จะมีความแกร่งมากกว่าหินปูนเนื้อโดโลไมต์ จึงถูกกัดกร่อนยาก ยอดเขาและหน้าผาไม่แหลมคมมาก, เขาหิน แดง ด้านหลังที่ท าการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ภาพขวา)

6

ภำพที่ 3 แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดอุทัยธานี

7

ภำพที่ 4 ค าอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดอุทัยธานี 8

ทรัพยำกรทำงชีวภำพ ทรัพยำกรป่ำไม้ กลุ่มงานวิชาการ (2546) รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ป่าอนุรักษ์ภายใต้การก ากับดูแลของ ส านักบริหารจัดการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 6 (นครสวรรค์) หรือส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 (นครสวรรค์) ใน ปัจจุบันกล่าวถึงสภาพป่าที่พบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง แบ่งออกเป็น 5 ชนิดป่า ส าหรับข้อมูลการ บรรยายสังคมพืชแต่ละชนิดได้น าผลการศึกษาของประหยัด (2528) และ Bunyavejchewin et al (2009) มา เขียนบรรยายเพิ่มความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ดังนี้ 1. ป่ำดิบเขำ (Hill Evergreen Forest) ครอบคลุมพื้นที่ 15 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ทั้งหมด พบที่ระดับความสูงมากกว่า 1,000 เมตรจากระดับน้ าทะเลปานกลาง ไม้เด่น เช่น ก่อในสามสกุลคือ Quercus, Castanopsis, Lithocarpus เป็นต้น พบในพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นภูเขาสูงชัน หรือยอดเขาสูงทางด้านเหนือ, ตะวันตก และตะวันออกของพื้นที่ 2. ป่ำดิบชื้น (Moist Evergreen Forest) ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 8 เปอร์เซ็นต์ ของ พื้นที่ทั้งหมด พบในหุบห้วยที่มักจะมีน้ าไหลตลอดปี หรือพบในพื้นที่ดินลึกในเขตที่ราบลุ่มใกล้ล าห้วย ที่ระดับ ความสูงไม่เกิน 1,000 เมตรจากระดับน้ าทะเลปานกลาง พบมากทางด้านตะวันออก (รอบเขาเขียว-เขาใหญ่ และหน่วยพิทักษ์ป่าไซเบอร์) และทางเหนือของพื้นที่ (ริมห้วยคลองพลู, หน่วยพิทักษ์ป่ากะปุกกะเปียง และ หน่วยพิทักษ์ป่าห้วยน้ าตื้น) พรรณไม้ที่ส าคัญ เช่น ยางนา, ยางกล่อง, ตะเคียนทอง, กระบาก, หาด, กระทุ่ม ล าพูป่า, ข่อย เป็นต้น เรือนยอดป่าจะแน่นทึบด้วยพรรณไม้ชั้นรองและไม้วัยรุ่นของพรรณไม้ชั้นเรือนยอด พื้น ป่าค่อนข้างรกทึบด้วยพรรณไม้พุ่มและไม้ล้มลุกที่ต้องการแสงน้อย และพบไม้พื้นล่างจ าพวกไม้ วงศ์ปาล์ม- หวาย, วงศ์ขิงข่า และวงศ์บอน อยู่เป็นจ านวนมาก นอกจากนี้ยังมีเถาวัลย์ขนาดใหญ่หลายชนิดอยู่เป็นจ านวน มาก 3. ป่ำดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 18 เปอร์เซ็นต์ ของ พื้นที่ทั้งหมด พบกระจายอยู่ในระดับเดียวกันและพื้นที่บริเวณเดียวกับป่าดิบชื้น แต่ความชื้นในดินน้อยกว่า เช่นพื้นที่สูงขึ้นมาจากริมห้วย หรือพื้นที่เลยที่ราบลุ่มริมน้ าขึ้นมา เป็นพื้นที่ลาดชันมีการระบายน้ าได้ดี วงศ์ที่ ส าคัญที่พบ ได้แก่ วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae), วงศ์เปล้า (Euphorbiaceae), วงศ์ตาเสือ (Meliaceae) และวงศ์กระดังงา (Annonaceae), พรรณไม้ที่ส าคัญ เช่น ยางแดง, สะเดาบัก, อาจพบยางนา, ตะเคียนทองขึ้น ผสมบ้าง เป็นต้น ส่วนพรรณไม้ชั้นรอง เช่น ยางโอน, กัดลิ้น, ค้างคาว, กระเบากลัก, มะไฟ, สะทิบ, คอแลน เป็นต้น

9

4. ป่ำผสมผลัดใบ หรือ ป่ำเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) เป็นป่าที่พบเป็น บริเวณกว้างที่สุดของ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 46 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ ทั้งหมด ขึ้นในระดับความสูงไม่เกิน 950 เมตรจากระดับน้ าทะเลปานกลาง เป็นป่าผลัดใบ โดยจะทิ้งใบในช่วง เดือนธันวาคม และออกใบใหม่ในช่วงเดือนเมษายน พรรณไม้เด่นวงศ์ที่ส ำคัญ คือ วงศ์ถั่ว (Leguminosae), วงศ์สมอ () และวงศ์ตะแบก (Lythraceae) เช่น เสลา, ตะแบกเกรียบ, มะค่าโมง, แดง, ตะคร้อ, สมอพิเภก, อินทนิลบก, สมพง, คูน, ไผ่ป่า, ไผ่ซาง, ไผ่รวก, ไผ่บงใหญ่ เป็นต้น ป่ำผสมผลัดใบ หรือ ป่ำเบญจพรรณ พบปรากฏอยู่ทั่วไป แต่จะพบจ านวนมากบริเวณตอนกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ และ ตอนใต้ ของพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 5. ป่ำเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ ของ พื้นที่ทั้งหมด ขึ้นในระดับความสูง 200–600 เมตรจากระดับน้ าทะเลปานกลาง เป็นป่าผลัดใบ พบในพื้นที่แห้ง แล้ง ดินตื้นเก็บความชื้นได้ไม่นาน หรือดินทรายจัด หรือดินที่มีหินผสมอยู่มาก พรรณไม้ที่ส าคัญ เช่น เต็ง, รัง เหียง, พลวง, ยางกราด, ผักหวาน เป็นต้น ป่าเต็งรังจะผลัดใบในช่วงเดือนมกรำคม–เดือนมีนำคม และออกใบ ใหม่ในช่วงเดือนเมษายน ป่าชนิดนี้พบได้ทั่วไปสลับกับป่าผสมผลัดใบ ได้แก่ บริเวณเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ เขาหินแดง, วงตีไก่, มอขรุขระ, หน่วยพิทักษ์ป่าห้วยแม่ดี และหน่วยพิทักษ์ป่าทุ่งแฝก ทรัพยำกรสัตว์ป่ำ (สถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า, 2555) 1. สัตว์จ ำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม จากการส ารวจสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พบทั้งหมด 164 ชนิด เช่น ชะนีมือขาว, ลิงวอก, หมาใน, หมาจิ้งจอก, หมูป่า, หมาไม้, หมูหริ่ง, ละองหรือละมั่ง, สมเสร็จ, หมีควาย, ชะมดแผงหางปล้อง, กวาง, แมวลายหินอ่อน, เสือลายเมฆ, เสือดาว, เสือโคร่ง, เสือด า, ช้างป่า, วัวแดง, เม่น, ควายป่า,กระทิง, อีเห็นข้างลาย เป็นต้น 2. สัตว์จ ำพวกนก จากการส ารวจนก พบทั้งหมด 407 ชนิด เช่น เหยี่ยวรุ้ง, เหยี่ยวทุ่ง, นกเค้าเหยี่ยว, นกเค้ากู่, นกเงือกกรามช้าง, นกเงือกคอแดง, นกแก๊ก, นกกก, นกหัวขวาน, นกอีวาบตั๊กแตน, นกเด้าดิน, นกเด้าลม, นกอุ้มบาตร, นกกะรางหัวหงอก, นกกะรางหัวขวาน, นกโพระดกธรรมดา, นกตีทอง, นกปรอดสวน, นกขุนแผน, นกโพระดกหน้าผากด า, ไก่ป่า, ไก่ฟ้าหลังเทา, นกยูง เป็นต้น 3. สัตว์จ ำพวกเลื้อยคลำน จากการส ารวจสัตว์เลื้อยคลาน พบทั้งหมด 97 ชนิด เช่น ตุ๊กแกบ้าน, จิ้งเหลนภูเขาอินเดีย, จิ้งเหลนดินจุดด า, จิ้งเหลนห้วยท้องแดง, แย้, กิ้งก่าเขาหนามยาว, เต่าหก, เต่าหกเหลือง, ตุ๊กแกบินหางหยัก, ตะกวด, ตะพาบแก้มแดง, งูหางมะพร้าว, งูจงอาง, งูเหลือม เป็นต้น 4. สัตว์จ ำพวกสะเทินน้ ำสะเทินบก จากการส ารวจสัตว์สะเทินบกสะเทินน้ า พบทั้งหมด 46 ชนิด เช่น จงโคร่ง, กบทูต, กบหนอง, คางคกแคระ คางคกบ้าน, ปาดแคระ, อึ่งอ่างบ้าน, อึ่งขาค า เป็นต้น

10

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม

1. ความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืช ป่าเบญจพรรณ (Mixed deciduous forest) เป็นสังคมพืชที่ประกอบไปด้วยพรรณพืชที่ ผลัดใบหรือทิ้งใบเป็นองค์ประกอบส ำคัญ กำรผลัดเปลี่ยนใบจะใช้เวลำค่อนข้ำงยำวนำน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งใน ฤดูแล้ง พรรณไม้จะผลัดใบมำก เป็นเหตุให้พรรณไม้มีวงปีในเนื้อไม้หลำยชนิด เช่น สัก, แดง, ประดู่, มะค่ำโมง, พะยูง, ชิงชัน, พฤกษ์, ถ่อน, ตะเคียนหนู, หนำมกรำย, รกฟ้ำ, ขะเจำะ, พี้จั่น เป็นต้น ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง ป่ำชนิดนี้มีพื้นที่ครอบคลุมประมำณ 731,937.50 ไร่ พบ ในพื้นที่ที่มีควำมสูงจำกระดับน้ ำทะเลปำนกลำงประมำณ 450-900 เมตร ปัจจัยก ำหนดที่ส ำคัญได้แก่ ควำมลึก ของดิน, ช่วงควำมแห้งแล้งและระดับควำมสูงจำกน้ ำทะเล ลักษณะหลักในกำรจ ำแนก ได้แก่ กำรผลัดใบเพื่อลด กำรคำยน้ ำในช่วงที่น้ ำในดินขำดแคลนในฤดูแล้ง คือพรรณไม้เกือบทั้งหมดในสังคม จะทิ้งใบในช่วงเดือน ธันวำคม และผลิใบใหม่ในเดือนเมษำยน กำรจ ำแนกออกจำกป่ำในกลุ่มผลัดใบด้วยกันอำศัยโครงสร้ำงของ สังคม โดยเฉพำะในด้ำนองค์ประกอบของชนิดพรรณไม้ คือไม้เด่นในชั้นเรือนยอดจะไม่มีไม้ผลัดใบในวงศ์ไม้ยำง (Dipterocarpaceae) ปรำกฏอยู่ และที่ส ำคัญจะมีไม้ไผ่ขึ้นผสมอยู่ด้วย เนื่องจำกป่ำชนิดนี้ค่อนข้ำงโปร่งจึงมี เถำวัลย์ขนำดใหญ่ขึ้นผสมอยู่มำก และมีควำมแห้งแล้งและใบที่ร่วงลงมำ ป่ำชนิดนี้จึงมักเกิดไฟป่ำทุกปี ไม้ส ำคัญในเรือนยอดบนสุด ได้แก่ มะค่ำโมง (Afzelia xylocarpa), สมพง (Tetrameles nudiflora), เสลำขำว (Lagerstroemia tomentosa), สมอพิเภก (Ter. bellirica), ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminata), ขี้อำย (Ter. nigrovenulosa), ตะคร้ ำ (Garuga pinnata), พะยอม (Shorea roxburghii), ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus), เลี่ยน (Melia azedarach), กะหนำนปลิง (Pterospermum acerifolium) เป็นต้น ไม้ชั้นรองของป่ำชนิดนี้ ได้แก่ อินทนิลบก (Lag. macrocarpa), มะเฟืองช้ำง (Lepisanthes tetraphylla), ก้ำนเหลือง (Nauclea orientalis), ส ำโรง (Sterculia foetida), รำชพฤกษ์ (Cassia fistula), เสี้ยวดอกขำว (Buahinia variegata) และมีไม้ไผ่ขึ้นผสมอยู่หลำยชนิดในชั้นนี้ เช่น ไผ่ป่ำ (Bambusa bambos), ไผ่บง (Bam. nutans), ไผ่ซำง (Dendrocalamus strictus), ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata), ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) และไผ่ข้ำวหลำม (Cephalostachyum pergracile)

11

สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ (2542) ท ำกำรศึกษำข้อมูลพื้นฐำนด้ำนพรรณพืชบริเวณสถำนี วิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง โดยกำรวำงแปลงตัวอย่ำงถำวรขนำด 50x80 เมตร จ ำนวน 1 ชนิดป่ำต่อ 1 แปลงตัวอย่ำง ขนำด 10x10 เมตร ซ้อนทับภำยใน จ ำนวน 40 แปลง พบว่ำ ป่ำเบญจพรรณ มีควำมหลำกหลำยของพรรณไม้ที่เป็นไม้ต้น (มีขนำด DBH ตั้งแต่ 4.5 เซนติเมตร ที่ระดับควำมสูง 1.3 เมตร จำกพื้นดิน) 50 ชนิด ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยของ Shannon-Wiener Index 1.3651 ส่วนของลูกไม้ (DBH น้อยกว่ำ 4.5 เซนติเมตร ที่ระดับควำมสูง 1.3 เมตร และมียอดสูงกว่ำ 1.3 เมตร ) มีพรรณไม้ทั้งสิ้น 42 ชนิด ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยของ Shannon-Wiener Index 1.07 ส ำหรับ ชนิดพันธุ์ที่มีค่ำ IV สูงสุด 5 อันดับแรกของไม้ต้น ได้แก่ เปล้ำหลวง (Croton sp.) (32.96), สะแกวัลย์ ( squamosum) (27.74), ตะแบกเปลือกบำง (Lagerstroemia cochinchinense) (25.88), เสลำ (Lag. sp.) (24.48), และตะคร้ ำ ( oleosa) (20.19) ส่วนลูกไม้ ได้แก่ หนำมขี้แรด (Caesalpinia cucullata) (42.51), เปล้ำหลวง (34.90), สะแกวัลย์ (33.09), เสลำเปลือกบำง (Lag. venusta) (30.20), ปอฝ้ำย (Sterculia colorata) (24.85) สุนทร (2551) จำกผลกำรศึกษำลักษณะทำงนิเวศ โดยวำงแปลงตัวอย่ำงถำวรทั้งหมด 20 แปลงตัวอย่ำง มีขนำดแปลงตัวอย่ำง 100x100 เมตร แบ่งเป็น ป่ำเต็งรัง 10 แปลง และป่ำเบญจพรรณ 10 แปลง พบว่ำ พรรณไม้ที่พบในป่ำเบญจพรรณทั้งสิ้น 121 ชนิด เป็นไม้ยืนต้น 87 ชนิด, ไม้ล้มลุก 11 ชนิด, ไม้เลื้อย 15 ชนิด และหญ้ำ 8 ชนิด มีจ ำนวนชนิดพันธุ์ที่พบในแปลงตัวอย่ำงถำวรระหว่ำง 51-71 ชนิดต่อแปลง ไม้ยืนต้นมีค่ำควำมหนำแน่นอยู่ระหว่ำง 625–1,552 ต้นต่อเฮกตำร์, พื้นที่หน้ำตัดมีค่ำอยู่ระหว่ำง 17.1-25.98 ตำรำงเมตรต่อเฮกตำร์ และค่ำควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ (Shannon-Wiener Index) อยู่ ระหว่ำง 3.9654-4.6709 ส่วนลูกไม้มีค่ำควำมหนำแน่นอยู่ระหว่ำง 1,775–3,825 ต้นต่อเฮกตำร์ และค่ำควำม หลำกหลำยของชนิดพันธุ์ (Shannon-Wiener Index) อยู่ระหว่ำง 2.0879-3.0287 ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) เป็นสังคมพืชที่กระจำยในช่วงควำมสูงมำกกว่ำ 1,000 เมตรจำกระดับน้ ำทะเลปำนกลำงขึ้นไป โครงสร้ำงของป่ำชนิดนี้จะมีควำมซับซ้อนน้อยกว่ำป่ำดิบชื้น มีพรรณไม้ สูงเด่นน้อยมำกและโครงสร้ำงของไม้ชั้นกลำงก็พัฒนำไม่มำก เรือนยอดที่ปกคลุมส่วนใหญ่เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ทั้งสิ้น พรรณไม้ชั้นที่ปกคลุมดินส่วนใหญ่เป็นหญ้ำหรือกก ซึ่งเป็นสัญญำณของไฟไหม้ในอดีต ไม้ยืนต้นที่มีเรือน ยอดขึ้นปกคลุมไม้ยืนต้นชนิดอื่นๆ ส่วนใหญ่เป็นไม้วงศ์ก่อ (Fagaceae) เช่น มังตำน (Schima wallichii), ฮัก น้อย (Gluta obovata), มะมือ (Choerospondias axillaris), คำงคำก (Nyssa javanica), เหล็กกี (Tarennoidea wallichii), มะห้ำ (Syzygium albiflorum), แหลบุก (Phoebe lanceolata), ก ำลังเสือ โคร่ง (Betula alnoides), ลั่นทมเขำ (Carpinus londoniana) เป็นต้น ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง พบในพื้นที่ที่มีควำมสูงจำกระดับน้ ำทะเลปำกลำง 1,000- 1,554 เมตร เช่น บริเวณยอดเขำปลำยห้วยขำแข้ง บริเวณเทือกเขำเขียว เทือกเขำใหญ่และเทือกเขำน้ ำเย็น ป่ำ ชนิดนี้มีอยู่ประมำณ 235,156.25 ไร่ (376.25 ตำรำงกิโลเมตร) ปัจจัยอันเป็นตัวก ำหนดสังคม (Limiting factors) ได้แก่ ควำมหนำวเย็นและควำมชื้นอันเนื่องมำจำกควำมสูง อุณหภูมิจึงค่อนข้ำงต่ ำตลอดปี ปกติ อุณหภูมิจะไม่เกิน 20 องศำเซลเซียส โครงสร้ำงทำงด้ำนตั้งของป่ำดิบเขำในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง แปรผันไปตำมลักษณะภูมิประเทศ คือ บริเวณยอดเขำสูงที่รับลมจัดจะมีไม้ใหญ่ขึ้นอยู่ห่ำงๆ ลักษณะของควำม สูงไม่เกิน 10 เมตร พื้นป่ำมีหญ้ำและพืชล้มลุกปกคลุมหนำแน่นบริเวณหุบเขำที่มีดินลึก และมีโครงสร้ำงของชั้น เรือนยอด 3 ชั้นเรือนยอด ดังนี้ 12

เรือนยอดชั้นบนสุดอำจสูงถึง 35 เมตร พรรณไม้ที่ส ำคัญได้แก่ วงศ์ไม้ก่อ เช่น ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima), ก่อหนำม (Castanopsis sp.), ก่อนก (Lithocarpus polyatachyus), ก่อใบเลื่อม (Castanopsis tribuloides) เป็นต้น เรือนยอดชั้นรองสูงประมำณ 15-20 เมตร พรรณไม้ที่ส ำคัญได้แก่ มะนำวควำย (Citrus medica var.medica), เหมือดเขำ (Symplocos sp.), เข็มขำว (Tarenna collinsiae), ปอขี้แฮด (Miliusa lineata) เป็นต้น เรือนยอดชั้นไม้พุ่มสูงไม่เกิน 7 เมตร และชั้นคลุมดินสูงประมำณ 1 เมตร ซึ่งกำรแยกชั้น ค่อนข้ำงเด่นชัดเฉพำะชั้นคลุมดินเท่ำนั้น ดอกรัก (2546) กำรศึกษำโครงสร้ำงของสังคมพืชในอุทยำนแห่งชำติแก่งกระจำน พบว่ำ ชนิด ของสังคมพืชประกอบด้วย สังคมป่ำดิบแล้ง ป่ำดิบชื้น ป่ำผสมผลัดใบ ป่ำดิบเขำระดับต่ ำ และป่ำเต็งรัง ซึ่งป่ำ ดิบแล้งจัดเป็นสังคมที่ปกคลุมพื้นที่มำกที่สุด มีจ ำนวนชนิดไม้ที่ส ำรวจพบมำกถึง 103 ชนิด พรรณไม้ที่มีค่ำดัชนี ควำมส ำคัญสูงสุด คือ ทลำยเขำ และยมหอม มีค่ำดัชนีควำมหลำกเท่ำกับ 3.21 ส่วนใหญ่ป่ำดิบชื้นพรรณไม้ที่ ค่ำควำมส ำคัญสูงสุด คือ ปออีเก้ง มีค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยเท่ำกับ 3.29 สังคมป่ำดิบเขำระดับต่ ำพรรณไม้ที่มี ค่ำดัชนีควำมส ำคัญสูงสุด คือ ขี้หนอนควำยใบคู่ และไทร มีค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยเท่ำกับ 3.55 และป่ำเบญจ พรรณไม้ที่มีค่ำดัชนีควำมส ำคัญสูงสุด คือ งิ้วป่ำ และมะกอก มีค่ำดัชนีควำมหลำยเท่ำกับ 1.78 และป่ำเต็งรัง พรรณไม้ที่มีค่ำดัชนีควำมส ำคัญสูงสุด คือ ประดู่ เก็ดด ำ รกฟ้ำ มีค่ำดัชนีควำมหลำยเท่ำกับ 2.97 จำกค่ำควำม หลำกหลำยชนิดพันธุ์ พบว่ำ สังคมพืชป่ำดิบเขำระดับต่ ำมีควำมหลำกหลำยมำกที่สุด ถัดมำคือ สังคมป่ำดิบชื้น ป่ำดิบแล้ง และป่ำผสมผลัดใบ ตำมล ำดับ 13

2. ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง กลุ่มงำนวิชำกำร (2559) ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 นครสวรรค์ ได้ท ำกำรศึกษำควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพของผีเสื้อกลำงวัน ในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ 1 แห่ง โดยใช้วิธีกำรศึกษำเหมือนกับ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 จ ำนวนแปลงตัวอย่ำงที่ส ำรวจทั้งหมด 3 แปลงตัวอย่ำง มีผลกำรศึกษำดังนี้ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี ได้ด ำเนินกำรเลือกจุดส ำรวจบริเวณ ป่ำเบญจพรรณ (บริเวณห้วยเหลือง สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ แยกกม. 13) และป่ำดิบเขำ (บริเวณเขำเขียว สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ) ดังนี้ 1.สังคมพืชป่าเบญจพรรณ ผีเสื้อกลำงวันพบทั้งหมด 529 ตัว จ าแนกเป็น 106 ชนิด 62 สกุล 5 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ ผีเสื้อขำหน้ำพู่ (NYMPHALIDAE) 389 ตัว 59 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ ำ (PIERIDAE) 65 ตัว 13 ชนิด, วงศ์ ผีเสื้อสีน้ ำเงิน (LYCAENIDAE) 37 ตัว 19 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหำงติ่ง (PAPILIONIDAE) 28 ตัว 10 ชนิด และวงศ์ ผีเสื้อบินเร็ว (HESPERIIDAE) 10 ตัว 5 ชนิด ส่วนชนิดของผีเสื้อกลำงวันที่พบในป่ำเบญจพรรณปริมำณมำก ที่สุด 5 ล ำดับแรก คือ ผีเสื้อกลำสีธรรมดำ (Neptis hylas kamarupa) 74 ตัว, ผีเสื้อสีตำลจุดตำห้ำธรรมดำ (Ypthima baldus baldus) 50 ตัว, ผีเสื้อจรกำหนอนยี่โถ (Euploea core godartii) 29 ตัว, ผีเสื้อตำลพุ่มสี่ จุดเรียง (Mycalesis mineus mineus) 21 ตัว, ผีเสื้อเณรธรรมดำ (Eurema hecabe contubernalis)และ ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดำ(Catopsilia pomona pomona f. hilaria) พบชนิดละ 8 ตัว กำรศึกษำค่ำดัชนีควำม หลำกหลำยของชนิด H´ = 3.876 และ ค่ำควำมสม่ ำเสมอของชนิด J´ = 0.831 2.สังคมพืชป่าดิบเขา ผีเสื้อกลางวันพบทั้งหมด 19 ตัว 12 ชนิด 9 สกุล 4 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ผีเสื้อขำหน้ำพู่ (NYMPHALIDAE) 14 ตัว 8 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ ำ (PIERIDAE) 2 ตัว 1 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อสีน้ ำเงิน (LYCAENIDAE) 2 ตัว 2 ชนิด และวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว(HESPERIIDAE) 1 ตัว 1 ชนิด ส่วนชนิดของผีเสื้อกลำงวันที่ พบในป่ำดิบเขำปริมำณมำกที่สุด 5 ล ำดับแรก คือ ผีเสื้อตำลพุ่มเหลือบม่วง (Mycalesis francisca sanatana) 5 ตัว, ผีเสื้อตำลพุ่มสี่จุดเรียง (Mycalesis mineus mineus), ผีเสื้อขำวแคระ(Leptosia nina nina), ผีเสื้อกลำสีธรรมดำ(Neptis hylas kamarupa) พบชนิดละ 2 ตัว กำรศึกษำค่ำดัชนีควำมหลำกหลำย ของชนิด H´ = 2.302 และ ค่ำควำมสม่ ำเสมอของชนิด J´ = 0.926 ควำมคล้ำยคลึงกันของผีเสื้อกลำงวัน ที่ส ำรวจพบในสังคมป่ำเบญจพรรณ มีค่ำควำมคล้ำยคลึงของ ชนิดผีเสื้อกลำงวัน (ISs) เท่ำกับ 40.58 % 14

โกวิทย์ (2551) ศึกษำควำมหลำกหลำย และควำมสัมพันธ์ของพืชอำหำรกับผีเสื้อกลำงวันใน ป่ำฮำลำ-บำลำ จังหวัดยะลำ และนรำธิวำส พบว่าหนอนผีเสื้อกลางวันมีความเฉพาะเจาะจงกับพันธุ์ไม้ที่เป็น พืชอาหาร ซึ่งมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์เหมือนกัน คือ หนอนผีเสื้อกลำงวันสำมำรถกัดกินพันธุ์ไม้ที่เป็นพืช อำหำรได้หลำยชนิด แต่ส่วนใหญ่อยู่ในสกุล และ วงศ์เดียวกัน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งชนิดพันธุ์ไม้ที่อยู่ในสกุล เดียวกันนั้น พบว่ำหนอนผีเสื้อกลำงวันสำมำรถกินทดแทนกันได้ แต่ก็มีกลุ่มหนอนผีเสื้อกลำงวันบำงส่วนที่กัดกิน พันธุ์พืชอำหำรที่อยู่ต่ำงวงศ์กันได้ เช่น กลุ่มหนอนผีเสื้อสกุลจรกำ (Euploea spp.) บำงชนิดสำมำรถกัดกินใบ พืชอำหำรในวงศ์ตีนเป็ด (APOCYNACEAE) และ วงศ์ไทร-ขนุน (MORACEAE) กลุ่มหนอนผีเสื้อสกุลหนอนจ ำปี (Graphium spp.) สำมำรถกัดกินใบพืชอำหำรใน วงศ์กระดังงำ (ANNONACEAE) และวงศ์จ ำปี-จ ำปำ (MAGNOLIACEAE) เป็นต้น ซึ่งกำรกัดกินพืชอำหำรของหนอนผีเสื้อกลำงวันที่อยู่ต่ำงวงศ์กันนั้น พบว่ำพันธุ์ไม้ที่ เป็นพืชอำหำร มีลักษณะทำงพฤกษศำสตร์หลำยอย่ำงใกล้เคียง ลักษณะควำมเฉพำะเจำะจงของหนอนผีเสื้อ กลำงวันกับกลุ่มพืชอำหำร แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มชนิดผีเสื้อกลำงวันที่สำมำรถกัดกินพันธุ์ไม้ได้หลำยชนิด แต่ต้องเป็นพันธุไม้ในสกุล เดียวกัน เช่น กลุ่มหนอนผีเสื้อสกุลอ๊ำชดุ๊ค (Lexias spp.), หนอนผีเสื้อสกุลไซเรียนเล็ก (Terinos spp.), หนอน ผีเสื้อสกุลพ่อมด (Rhinopalpa spp.) และหนอนผีเสื้อสกุลเหลืองหนำมประดับเพชร (Polyura spp.) เป็นต้น 2. กลุ่มชนิดผีเสื้อกลำงวันที่สำมำรถกัดกินพันธุ์ไม้ได้หลำยชนิด หลำยสกุล แต่ต้องเป็น พันธุ์ไม้ในวงศ์เดียวกัน เช่น กลุ่มหนอนผีเสื้อสกุลหำงติ่ง (Papilio spp.), กลุ่มหนอนผีเสื้อสกุลหนอนใบรัก (Parantica spp.), กลุ่มหนอนผีเสื้อสกุลถุงทอง (Troides spp.) และ กลุ่มหนอนผีเสื้อสกุลหนอนใบกุ่ม (Appias spp.) เป็นต้น 3. กลุ่มหนอนผีเสื้อกลำงวันที่กินพันธุ์ไม้ที่เป็นพืชอำหำรที่อยู่ต่ำงวงศ์กัน ได้แก่ กลุ่มหนอน ผีเสื้อสกุลจรกำ (Euploea spp.) กลุ่มหนอนผีเสื้อสกุลหนอนจ ำปี (Graphium spp.) และกลุ่มหนอนผีเสื้อ สกุลปีกไข่ใหญ่ (Hypolimnas spp.) เป็นต้น ตัวอย่ำงอำหำรของหนอนผีเสื้อกลำงวันที่ส ำคัญจำกกำรศึกษำของโกวิทย์ (2551) มีดังนี้ กลุ่มสกุลผีเสื้อถุงทอง (Troides spp) (ชนิดที่ศึกษำ ได้แก่ ผีเสื้อถุงทองธรรมดำ, ผีเสื้อถุง ทองปักษ์ใต้ และผีเสื้อถุงทองป่ำสูง) ผีเสื้อหำงตุ้มจุดชมพู, ผีเสื้อปีกค้ำงคำวธรรมดำ มีพืชอำหำรเป็นพืชสกุล กระเช้ำสีดำ (Aristolochia spp.) และพืชสกุลหูหมี (Thottea spp.) กลุ่มสกุลผีเสื้อหางติ่ง (Papilio spp.) (ชนิดที่ศึกษำ ได้แก่ ผีเสื้อหำงติ่งธรรมดำ, ผีเสื้อ หำงติ่งนำงละเวง, ผีเสื้อหำงติ่งชะอ้อนม ผีเสื้อหนอนมะนำว, ผีเสื้อหำงติ่งสะพำยขำว, ผีเสื้อหำงติ่งสะพำยเขียว) มีพืชอำหำรเป็นพืชวงศ์ส้ม (Rutaceae) หลำยสกุล เช่น สกุลสมุยหอม (Clausena spp.), พืชสกุลน้ ำข้ำว (Glycosmis spp.), พืชสกุลหัสคุณ (Micromelum spp.), พืชสกุลส้ม-มะนำว (Citrus spp.) เป็นต้น

15

กลุ่มสกุลผีเสื้อหนอนจ าปี (Graphium spp.) (ชนิดที่ศึกษำ ได้แก่ ผีเสื้อหนอนจ ำปี ธรรมดำ, ผีเสื้อหนอนจ ำปีจุดแยก, ผีเสื้อสะพำยฟ้ำ, ผีเสื้อม้ำลำยลำยจุด) มีพืชอำหำรเป็นพืชวงศ์อบเชย (Lauraceae) หลำยสกุล เช่น Cinnamomum spp., Litsea spp., Persea spp. เป็นต้น พืชวงศ์กระดังงำ (Annonaceae) หลำยสกุล เช่น Artabotrys spp., Cyathostemma spp., Melodorum spp., Polyalthia spp., Fissistigma spp., Friesodielsia spp. เป็นต้น พืชวงศ์จ ำปี-จ ำป่ำ (Magnoliaceae) และสกุล Michelia spp. กลุ่มวงศ์ย่อยผีเสื้อกะทกรก (Subfamily Acracinae) บำงสกุล หรือบำงชนิด ได้แก่ ผีเสื้อหนอนหนำมกะทกรก (Acraea violae), ผีเสื้อกะทกรกธรรมดำ (Cethosia cyane euanthes), ผีเสื้อ ตำลหำงแหลมมลำยู (Vindula dejone erotella) มีพืชอำหำรเป็นกะทกรก (Passiflora foetida), แต่ผีเสื้อไซ เรี่ยนเล็ก (Terinos terpander robertsia) มีพืชอำหำรเป็นพืชในสกุลก่อเกรียม (Rinores spp.) (Family Violaceae) กลุ่มวงศ์ย่อยผีเสื้อหนอนใบรัก (Subfamily Danainae) ในสกุล Danaus spp. (ชนิดที่ ศึกษำ คือ ผีเสื้อหนอนใบรักธรรมดำ), สกุล Tirumala spp. (ชนิดที่ศึกษำ ได้แก่ ผีเสื้อหนอนใบรักฟ้ำใหญ่, ผีเสื้อหนอนใบรักฟ้ำแถบกว้ำง), สกุล Parantica spp. (ชนิดที่ศึกษำ ได้แก่ ผีเสื้อหนอนใบรักสีตำล, ผีเสื้อ หนอนใบรักขีดยำว, ผีเสื้อหนอนใบรักขีดสั้น) และ สกุล Ideopsis spp. (ผีเสื้อหนอนใบรักฟ้ำสีคล้ ำ) มีพืช อำหำรเป็นพืชในวงศ์ดอกรัก (Asclepiadaceae) กลุ่มสกุลผีเสื้อจรกา (Euploea spp.) (ชนิดที่ศึกษำ ได้แก่ ผีเสื้อจรกำใหญ่, ผีเสื้อจรกำ ลำยจุด, ผีเสื้อจรกำเมียลำย, ผีเสื้อจรกำหนอนยี่โถ, ผีเสื้อจรกำด ำขำว, ผีเสื้อจรกำจุดฟ้ำ) มีพืชอำหำรเป็นพืชใน วงศ์ตีนเป็ด (Apocynaceae) และวงศ์มะเดื่อ-ไทร (Moraceae) กลุ่มผีเสื้อวงศ์ย่อยผีเสื้อเณร (Subfamily Coliadinae) ในสกุลผีเสื้อหนอนคูน (Catopsitalia spp.) (ชนิดที่ศึกษำ ได้แก่ ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดำ, ผีเสื้อหนอนคูนลำยกระ) และในสกุลผีเสื้อ เณร Eurema spp. (ผีเสื้อเณรธรรมดำ, ผีเสื้อเณรแอนเดอร์สัน) มีพืชอำหำรเป็นพืชวงศ์ถั่วหลำยสกุล เช่น สกุล คูน (Cassia spp.), สกุลขี้เหล็ก (Senna spp.), และสกุลโสน (Sesbania spp.) กลุ่มวงศ์ย่อยผีเสื้อหนอนกะหล่ า (Subfamily Pierinae) ในสกุลผีเสื้อหนอนใบกุ่ม (Appias spp.) (ชนิดที่ศึกษำ ได้แก่ ผีเสื้อหนอนใบกุ่มขอบตำลไหม้, ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเส้นด ำ) และผีเสื้อขำว แคระ (Leptosia nina malayana) มีพืชอำหำรเป็นพืชในวงศ์ชิงชี่ (Capparaceae) หลำยสกุล เช่น สกุล ผักเสี้ยน (Cleome spp.), สกุลกุ่ม (Crateva spp.), สกุลชิงชี่ (Capparis spp.), แต่ผีเสื้อหนอนกำฝำก ธรรมดำ (Delias hyparete metarete) มีพืชอำหำรเป็นพืชในสกุลกำฝำก (Macrosolen sp.) วงศ์กำฝำก (Loranthaceae) และต้นรำตรี (Cestrum nocturnum) วงศ์มะเขื่อ (Solanaceae)

16

3.ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด เห็ดจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอำณำจักรเห็ดรำ (Kingdom of Fungi) เนื่องจำกไม่มีคลอโรฟิลล์ และไม่สำมำรถสังเครำะห์อำหำรได้ด้วยตนเอง ไม่มีระบบเส้นประสำทหรือประสำทสัมผัสไม่มีอวัยวะส ำหรับ กำรเคลื่อนไหวโดยเฉพำะ จึงท ำให้แตกต่ำงจำกสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรพืชและสัตว์ แต่เห็ดรำนั้นมีกำรพัฒนำ จนกระทั่งสร้ำงโครงสร้ำงขนำดใหญ่ หรือที่เรียกว่ำ ดอกเห็ด (fruiting body) ที่สำมำรถมองเห็นได้ด้วยตำเปล่ำ สัมผัส และจับต้องได้ ดอกเห็ดมีรูปร่ำง สี และลักษณะแตกต่ำงกันมำกมำยหลำยแบบ เมื่อดูวิธีกำรเกิดของ เซลล์สืบพันธุ์แบบมีเพศของเห็ดพบว่ำเห็ดจัดอยู่ในไฟลัม (Phylum) ของรำ 2 ไฟลัม คือ Phylum Ascomycota และ Basidiomycota (อนงค์ และคณะ, 2551) กลุ่มงำนวิชำกำร (2555ก, 2555ข, 2555ค) ได้ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของ เห็ดรำ ในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ 3 แห่ง โดยใช้วิธีกำรศึกษำเหมือนกับปีงบประมำณ พ.ศ. 2555 จ ำนวนแปลง ตัวอย่ำงที่ส ำรวจทั้งหมด 4 แปลงตัวอย่ำง มีผลกำรศึกษำดังนี้ 1. เขตห้ำมล่ำสัตว์ป่ำถ้ ำประทุน จังหวัดอุทัยธำนี ท ำกำรส ำรวจ บริเวณหุบมะนำว ซึ่ง เป็นป่ำดิบแล้ง พบเห็ดชนิดต่ำงๆ จ ำนวนทั้งหมด 26 ตัวอย่ำง สำมำรถจัดจ ำแนกได้ในระดับอันดับ 9 อันดับ, ระดับวงศ์ 14 วงศ์, ระดับสกุล 23 สกุล และ ระดับชนิด 24 ชนิด และมีเห็ดที่ไม่สำมำรถจ ำแนกได้ในระดับ ชนิด 2 ตัวอย่ำง วงศ์ที่พบมำกที่สุด คือ วงศ์ MARASMIACEAE จ ำนวน 5 ตัวอย่ำง และสกุลที่พบมำกที่สุด คือ สุกล Marasmius จ ำนวน 4 ตัวอย่ำง เมื่อแบ่งเป็นกลุ่มเห็ดตำมลักษณะรูปร่ำง ที่พบจ ำนวนมำกที่สุด คือ กลุ่ม เห็ดหิ้ง (11 ตัวอย่ำง) และหำกแบ่งตำมบทบำทและหน้ำที่ต่อระบบนิเวศของเห็ด ที่พบมำกที่สุด คือ กลุ่มเห็ดผู้ ย่อยสลำยอินทรียวัตถุ (saprophytic mushroom) (22 ตัวอย่ำง) ซึ่งเป็นเห็ดที่ขึ้นบนเศษซำกพืชที่เป็นขอนไม้ 2. เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี ท ำกำรส ำรวจบริเวณมอขรุขระ ซึ่ง เป็นป่ำเต็งรัง พบเห็ดชนิดต่ำงๆ จ ำนวนทั้งหมด 14 ตัวอย่ำง สำมำรถจัดจ ำแนกได้ในระดับอันดับ 5 อันดับ ระดับวงศ์ 10 วงศ์, ระดับสกุล 11 สกุล และ ระดับชนิด 13 ชนิด และมีเห็ดที่ไม่สำมำรถจ ำแนกได้ในระดับ ชนิด 1 ตัวอย่ำง วงศ์ที่พบมำกที่สุด คือ วงศ์ PLUTEACEAE จ ำนวน 3 ตัวอย่ำง และสกุลที่พบมำกที่สุด คือ สกุล Amanita จ ำนวน 3 ตัวอย่ำง เมื่อแบ่งเป็นกลุ่มเห็ดตำมลักษณะรูปร่ำง ที่พบจ ำนวนมำกที่สุด คือ กลุ่ม เห็ดครีบ (8 ตัวอย่ำง) และหำกแบ่งตำมบทบำทและหน้ำที่ต่อระบบนิเวศของเห็ด ที่พบมำกที่สุด คือ กลุ่มเห็ด เอคโตไมคอร์ไรซำ (ectomycorrhizal mushroom) (8 ตัวอย่ำง) 3. เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำเขำสนำมเพรียง จังหวัดก ำแพงเพชร ท ำกำรส ำรวจ บริเวณจุด สกัดหินกอง ซึ่งเป็นป่ำเต็งรัง พบเห็ดชนิดต่ำงๆ จ ำนวนทั้งหมด 29 ตัวอย่ำง สำมำรถจัดจ ำแนกได้ในระดับ อันดับ 6 อันดับ, ระดับวงศ์ 12 วงศ์, ระดับสกุล 15 สกุล และ ระดับชนิด 14 ชนิด และมีเห็ดที่ไม่สำมำรถ จ ำแนกได้ในระดับชนิด 15 ตัวอย่ำง วงศ์ที่พบมำกที่สุด คือ วงศ์ PLUTEACEAE จ ำนวน 6 ตัวอย่ำง และสกุลที่ พบมำกที่สุด คือ สุกล Russula จ ำนวน 6 ตัวอย่ำง เมื่อแบ่งเป็นกลุ่มเห็ดตำมลักษณะรูปร่ำง ที่พบจ ำนวนมำก ที่สุด คือ กลุ่มเห็ดครีบ (17 ตัวอย่ำง) และหำกแบ่งตำมบทบำทและหน้ำที่ต่อระบบนิเวศของเห็ด ที่พบมำก ที่สุด คือ กลุ่มเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซำ (14 ตัวอย่ำง) กลุ่มงำนวิชำกำร สบอ.12 นครสวรรค์ (2556) ได้ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ของเห็ดรำ ในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ 2 แห่ง โดยใช้วิธีกำรศึกษำเหมือนกับปีงบประมำณ พ.ศ. 2555 จ ำนวนแปลง ตัวอย่ำงที่ส ำรวจทั้งหมด 4 แปลงตัวอย่ำง มีผลกำรศึกษำดังนี้ 17

1. เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี ท ำกำรส ำรวจบริเวณภูเขำหินปูน ซึ่งเป็นป่ำเบญจพรรณแล้ง พบเห็ดชนิดต่ำงๆ จ ำนวนทั้งหมด 14 ตัวอย่ำง สำมำรถจัดจ ำแนกได้ในระดับอันดับ 2 อันดับระดับวงศ์ 4 วงศ์, ระดับสกุล 8 สกุล และ ระดับชนิด 3 ชนิด และมีเห็ดที่ไม่สำมำรถจ ำแนกได้ในระดับ ชนิด 11 ตัวอย่ำง วงศ์ที่พบมำกที่สุด คือ วงศ์ POLYPORACEAE จ ำนวน 6 ตัวอย่ำง และหำกแบ่งตำมบทบำท และหน้ำที่ต่อระบบนิเวศของเห็ด ที่พบมำกที่สุด คือ กลุ่มเห็ดผู้ย่อยสลำยอินทรียวัตถุ (8 ตัวอย่ำง) 2. เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำเขำสนำมเพรียง จังหวัดก ำแพงเพชร ท ำกำรส ำรวจบริเวณป่ำ เบญจพรรณ พบเห็ดชนิดต่ำงๆ จ ำนวนทั้งหมด 27 ตัวอย่ำง สำมำรถจัดจ ำแนกได้ในระดับอันดับ 7 อันดับ, ระดับวงศ์ 11 วงศ์, ระดับสกุล 16 สกุล และ ระดับชนิด 4 ชนิด และมีเห็ดที่ไม่สำมำรถจ ำแนกได้ในระดับชนิด 23 ตัวอย่ำง วงศ์ที่พบมำกที่สุด คือ วงศ์ TRICHOLOMATACEAE จ ำนวน 5 ชนิด และหำกแบ่งตำมบทบำท และหน้ำที่ต่อระบบนิเวศของเห็ดที่พบมำกที่สุด คือ กลุ่มเห็ดผู้ย่อยสลำยอินทรียวัตถุ (14 ตัวอย่ำง) กลุ่มงำนวิชำกำร สบอ.12 นครสวรรค์ (2557) ได้ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ของเห็ดรำ ในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ 2 แห่ง โดยใช้วิธีกำรศึกษำเหมือนกับปีงบประมำณ พ.ศ. 2556 จ ำนวนแปลง ตัวอย่ำงที่ส ำรวจทั้งหมด 5 แปลงตัวอย่ำง มีผลกำรศึกษำดังนี้ 1. เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี ท ำกำรส ำรวจบริเวณหน่วยฯเขำ บันได ซึ่งเป็นป่ำเต็งรัง พบเห็ดชนิดต่ำงๆ จ ำนวนทั้งหมด 8 ตัวอย่ำง สำมำรถจัดจ ำแนกได้ในระดับอันดับ 4 อันดับระดับวงศ์ 5 วงศ์, ระดับสกุล 5 สกุล และ ระดับชนิด 3 ชนิด วงศ์ที่พบมำกที่สุด คือ วงศ์ SCLERODERMATACEAE จ ำนวน 3 ชนิด และหำกแบ่งตำมบทบำทและหน้ำที่ต่อระบบนิเวศของเห็ด ที่พบ มำกที่สุด คือ กลุ่มเห็ดผู้ย่อยสลำยอินทรียวัตถุ กลุ่มงำนวิชำกำร สบอ.12 นครสวรรค์ (2558) ได้ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ของเห็ด ในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ 1 แห่ง โดยใช้วิธีกำรศึกษำเหมือนกับปีงบประมำณ พ.ศ. 2557 จ ำนวนแปลง ตัวอย่ำงที่ส ำรวจทั้งหมด 13 แปลงตัวอย่ำง มีผลกำรศึกษำดังนี้ 1. เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี กำรส ำรวจบริเวณป่ำดิบแล้งและ ป่ำเบญจพรรณ โดยสังคมป่ำดิบแล้ง บริเวณเส้นทำงขึ้นเขำเขียว คือ แปลงที่ DEF58_1, DEF58_2, DEF58_3 และเส้นทำงไปหน่วยพิทักษ์ป่ำน้ ำตื้น คือ แปลงที่ DEF58_4, DEF58_5 พบเห็ดรำทั้งหมด 65 ตัวอย่ำง จ ำแนก ออกเป็น 45 ชนิด 29 สกุล 17 วงศ์ 8 อันดับ ในจ ำนวน 45 ชนิด และสังคมป่ำเบญจพรรณ บริเวณเส้นทำงซับ หิน แปลงที่ MDF58_1, บริเวณ กม.13 แปลงที่ MDF58_2, บริเวณโป่งงู แปลงที่ MDF58_3, บริเวณหลังครัว ริมธำร แปลงที่ MDF58_4 และเส้นทำงไปหน่วยพิทักษ์ป่ำน้ ำตื้น คือ แปลงที่ MDF58_5 - MDF58_8 พบเห็ด รำทั้งหมด 52 ตัวอย่ำง จ ำแนกออกเป็น 39 ชนิด 23 สกุล 15 วงศ์ 7 อันดับ ในจ ำนวน 39 ชนิด กลุ่มงำนวิชำกำร สบอ.12 นครสวรรค์ (2559) ได้ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ของเห็ดรำในพื้นที่ป่ำอนุรักษ์ 1 แห่ง โดยใช้วิธีกำรศึกษำเหมือนกับปีงบประมำณ พ.ศ. 2558 จ ำนวนแปลง ตัวอย่ำงที่ส ำรวจทั้งหมด 5 แปลงตัวอย่ำง มีผลกำรศึกษำดังนี้ 1. เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี กำรส ำรวจบริเวณป่ำดิบสังคมป่ำ ดิบแล้ง เส้นทำงคลองคร้อ (แปลงตัวอย่ำง DEF59_1, DEF59_2, DEF59_3) เส้นทำงไปหน่วยพิทักษ์ป่ำน้ ำตื้น (แปลงตัวอย่ำง DEF59_4) และเส้นทำงขึ้นเขำเขียว (แปลงที่ DEF59_5) พบเห็ดทั้งหมด 85 ตัวอย่ำง จ ำแนก ออกเป็น 65 ชนิด 32 สกุล 23 วงศ์ 10 อันดับ ในจ ำนวน 65 ชนิด 18

นภำพร และ พัชรำ (2547) ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ดใน เส้นทำงเดินศึกษำธรรมชำติเขำหินแดง ในพื้นที่เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี โดยท ำกำร ส ำรวจในปี 2546 ปี 2547 พบทั้งสิ้น 31 วงศ์ 171 ชนิด ชนิดที่พบมำกที่สุดพบในวงศ์ Tricholomataceae 38 ชนิด, Polyporaceae 33 ชนิด, Amanitaceae 12 ชนิด, Russularceae 10 ชนิด และ Coprinaceae 9 ชนิด เป็นต้น จำกกำรศึกษำเส้นทำงเดินศึกษำธรรมชำติเขำหินแดง ในแต่ละฤดูพบว่ำในฤดูหนำว (เดือน พฤศจิกำยน - เดือนกุมภำพันธ์) เห็ดที่พบส่วนใหญ่เป็นเห็ดที่มีโครงสร้ำงแข็งและเหนียวสำมำรถทนต่อสภำพ แห้งแล้งได้ ส่วนใหญ่จะเกิดบนตอไม้และบนขอนไม้ เช่น Coltricia perennis, Microporus xanthopus, Fomitopsis feei เป็นต้น ในฤดูฝน (เดือนมิถุนำยน - เดือนตุลำคม) ใบไม้ที่ทับถมกันเริ่มเน่ำ ดินมีควำมชื้นใน ระดับที่เหมำะสมกับกำรเกิดของเห็ดหลำยชนิด มีผลท ำให้มีควำมหลำกหลำยของชนิดที่พบมำกขึ้น เมื่อท ำกำร แบ่งควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ดตำมฤดูกำล พบว่ำจ ำนวนชนิดของเห็ดมีกำรเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตลอด ทั้งปี เริ่มจำกเดือนพฤศจิกำยน จ ำนวนชนิดของเห็ดที่พบมีจ ำนวนมำก เพรำะเป็นช่วงปลำยฝนต้นหนำว ป่ำจึง ยังมีควำมอุดมสมบูรณ์และยังมีควำมชื้นอยู่ แต่ในช่วงเดือนธันวำคม - เดือนกุมภำพันธ์ จ ำนวนชนิดของเห็ดที่ พบมีจ ำนวนลดลง เพรำะเป็นช่วงฤดูหนำว ควำมชื้นลดลงป่ำจึงมีสภำพแห้งแล้ง ในช่วงเดือนมิถุนำยนและเดือน กรกฎำคม เป็นช่วงเริ่มเข้ำสู่ฤดูฝน จำกกำรเข้ำไปศึกษำพบว่ำป่ำมีควำมชื้นเพิ่มมำกขึ้น จึงท ำให้พบจ ำนวนชนิด ของเห็ดมำกขึ้น ในเดือนสิงหำคมจำกกำรศึกษำพบว่ำป่ำมีควำมชื้นลดลงสังเกตได้จำกสภำพป่ำที่มีควำมแห้ง แล้งเป็นผลให้จ ำนวนชนิดของเห็ดที่พบมีจ ำนวนลดลง แต่ในเดือนกันยำยนและเดือนตุลำคม จำกที่ได้ท ำกำร ส ำรวจเป็นช่วงที่มีฝนตกท ำให้มีควำมชื้นเพิ่มขึ้นมำจำกเดือนสิงหำคม จ ำนวนชนิดของเห็ดที่พบจึงเพิ่มมำกขึ้น และจำกกำรศึกษำจ ำนวนชนิดของเห็ดในแต่ละ Order ที่พบในเส้นทำงเดินศึกษำธรรมชำติเขำหินแดงในแต่ละ สภำพป่ำ พบว่ำในป่ำเบญจพรรณเป็นป่ำที่พบควำมหลำกหลำยของเห็ดมำกที่สุด เนื่องจำกป่ำเบญจพรรณ ประกอบด้วย ต้นไม้ผลัดใบหลำยชนิดขึ้นปะปนกัน และจะผลัดใบไม่พร้อมกันท ำให้เก็บรักษำควำมชื้นได้ดี และ สภำพทั่วไปของป่ำชนิดนี้ค่อนข้ำงแห้งแล้ง ในฤดูแล้ง (เดือนมีนำคม - เดือนพฤษภำคม) และค่อนข้ำงชุ่มชื้นใน ฤดูฝน จึงท ำให้ป่ำเบญจพรรณมีควำมเหมำะสมต่อกำรเจริญเติบโตของเห็ดมำกที่สุด ส่วนป่ำเต็งรังมีกำรพบ ควำมหลำกหลำยของเห็ดรองลงมำจำกป่ำเบญจพรรณ เนื่องมำจำกป่ำเต็งรังเป็นป่ำผลัดใบมีลักษณะเป็นป่ำ โปร่ง และในช่วงฤดูแล้งจะมีกำรทิ้งใบหมด จึงท ำให้ควำมชื้นลดลงอย่ำงรวดเร็ว เป็นผลให้มีควำมหลำกหลำย ของจ ำนวนชนิดของเห็ดน้อยกว่ำ ป่ำเบญจพรรณ และป่ำดิบแล้งเป็นป่ำที่มีระบบนิเวศที่ไม่ค่อยเหมำะสมต่อ กำรเกิดดอกเห็ด อำจเนื่องมำจำกในช่วงฤดูแล้งจะเกิดไฟป่ำบ่อยครั้งท ำให้ไม่มีอินทรียวัตถุที่ส ำคัญต่อกำร เจริญเติบโตของเห็ด บำรมี (2549) ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของเห็ดในสถำนีเกษตรหลวงอ่ำงขำง จังหวัด เชียงใหม่บริเวณเส้นทำงเดินศึกษำธรรมชำติป่ำสนเขำบ้ำนขอบด้งซึ่งเป็นเส้นทำงเดินที่ผ่ำนป่ำธรรมชำติที่มีไม้ สนสำมใบ (Pinus kesiya) เป็นไม้เด่น และบริเวณเส้นทำงเดินศึกษำธรรมชำติสวนป่ำไม้สำธิต เป็นเส้นทำงเดิน ผ่ำนสวนป่ำไม้กระถินดอยจันทร์ทองไต้หวัน เมเปิ้ลหอม กำรบูร และ ไผ่ชนิดต่ำง ๆจำกกำรเก็บตัวอย่ำงเห็ดทุก เดือนเป็นเวลำ 12 เดือนภำยในพื้นที่ศึกษำทั้งป่ำสนเขำธรรมชำติ และสวนป่ำไม้สำธิต พบเห็ดทั้งหมด 140 ชนิด สำมำรถวินิจฉัยได้ 105 ชนิด จัดอยู่ใน 54 สกุล 31 วงศ์ 18 อันดับ และ 2 ชั้นย่อย ใน 1 ชั้น คือ Basidiomycetes จำกชนิดเห็ดที่พบทั้งหมด 140 ชนิดนั้น พบในป่ำสนเขำธรรมชำติ 47 ชนิด, สวนป่ำกระถิน ดอย 39 ชนิด, สวนป่ำเมเปิ้ลหอม 44 ชนิด และสวนป่ำไผ่ 45 ชนิดเห็ดที่ส ำรวจพบทั้งหมด 140 ชนิด เมื่อ จ ำแนกตำมบทบำทและหน้ำที่ในระบบนิเวศ สำมำรถจ ำแนกได้เป็น 4 กลุ่ม คือ

19

2.1 กลุ่มเห็ดผู้ย่อยสลำยอินทรียวัตถุ พบทั้งหมด 78 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 55.71 2.2 กลุ่มเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซำ พบทั้งหมด 44 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 31.43 2.3 กลุ่มเห็ดที่เป็นปรสิตของพืช พบทั้งหมด 2 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 1.43 คือ Ganoderma lucidum (Curt. ex Fr.) Karst. ซึ่งเป็นเห็ดที่ก่อให้เกิดโรคที่บริเวณโคนต้น ล ำต้น และรำกของ ไม้ใบกว้ำง 2.4 กลุ่มเห็ดที่ไม่สำมำรถจ ำแนกบทบำทและหน้ำที่ได้ พบทั้งหมด 16 ชนิด คิดเป็นร้อย ละ 11.43 ในกำรศึกษำครั้งนี้เห็ดที่ส ำรวจพบและมีรำยงำนว่ำรับประทำนได้ (edible) มี 19 ชนิด ในเห็ด ที่รับประทำนได้ 19 ชนิดนี้มีอยู่ 8 ชนิดที่มีคุณสมบัติทำงกำรแพทย์ และเห็ดที่ไม่สำมำรถรับประทำนได้มี 16 ชนิด ในเห็ดที่ไม่สำมำรถรับประทำนได้ 16 ชนิดนี้มีอยู่ 2 ชนิด เป็นเห็ดที่มีพิษ (poisonous) และมีอยู่ 4 ชนิด ที่มีคุณสมบัติทำงกำรแพทย์ ส่วนเห็ดที่เหลืออีก 105 ชนิด เป็นเห็ดที่ไม่ทรำบข้อมูลว่ำรับประทำนได้หรือไม่ เมื่อน ำข้อมูลดอกเห็ดทั้งหมดมำหำค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยของชนิดเห็ดในแต่ละเดือน พบว่ำช่วงระหว่ำงเดือน พฤษภำคม – เดือนกันยำยน พ.ศ. 2547 เป็นช่วงที่พบจ ำนวนชนิดของเห็ดมำก และค่ำดัชนีควำมหลำกหลำย ของชนิดเห็ดสูงในทุกประเภทป่ำ แต่เมื่อพิจำรณำรวมทั้งปีพบว่ำจ ำนวนชนิดของเห็ดใน แต่ละประเภทป่ำมีค่ำ ใกล้เคียงกันคือ ป่ำสนเขำธรรมชำติ 46 ชนิด, สวนป่ำกระถินดอย 39 ชนิด, สวนป่ำเมเปิ้ลหอม 44 ชนิด และ สวนป่ำไผ่ 45 ชนิด เมื่อน ำจ ำนวนชนิดของเห็ดที่พบในแต่ละประเภทป่ำมำเปรียบเทียบเพื่อศึกษำควำมคล้ำยคลึง กันของชนิดเห็ดพบว่ำชนิดของเห็ดภำยในแต่ละประเภทป่ำที่ส ำรวจมีควำมคล้ำยคลึงกันอยู่ระหว่ำง 4.65 – 33.33 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งจัดว่ำมีควำมคล้ำยคลึงกันน้อยเมื่อน ำจ ำนวนชนิดของเห็ดที่พบแต่ละเดือนในแต่ละพื้น ที่มำหำควำมสัมพันธ์กับปริมำณน้ ำฝนแต่ละเดือนพบว่ำ จ ำนวนชนิดของเห็ดมี ควำมสัมพันธ์กับปริมำณน้ ำฝน แต่ละเดือนอย่ำงเด่นชัดนั่นคือ จ ำนวนชนิดของเห็ดมีมำกในช่วงเดือนที่มีปริมำณน้ ำฝนมำก ซึ่งได้แก่ ช่วงเดือน พฤษภำคม – เดือนกันยำยน พ.ศ. 2547 และจ ำนวนชนิดของเห็ดน้อยลงในช่วงเดือนที่มีปริมำณน้ ำฝนน้อย จนถึงเกือบไม่มีน้ ำฝนเลย ซึ่งได้แก่ช่วงเดือนตุลำคม พ.ศ. 2547 – เดือนเมษำยน พ.ศ.2548 อุทัยวรรณ และคณะ (2539) ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของเห็ดในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ ห้วยขำแข้ง โดยกำรวำงแปลงตัวอย่ำงถำวรขนำด 100 เมตร X 100 เมตร จ ำนวน 1 แปลงในป่ำเต็งรัง และป่ำ เบญจพรรณ ท ำกำรเก็บตัวอย่ำง 1-2 ครั้งต่อฤดูกำล เป็นระยะเวลำ 1 ปี พบเห็ดชนิดต่ำง ๆ ในป่ำเต็งรัง 79 ตัวอย่ำง สำมำรถจัดจ ำแนกได้ในระดับสกุล 8 ตัวอย่ำง ระดับชนิด 12 ตัวอย่ำง โดยจ ำนวนดอกเห็ดที่พบในฤดู ร้อน ฤดูฝน และฤดูหนำว เป็น 1, 62 และ 16 ตัวอย่ำงตำมล ำดับ เห็ดที่พบใน ป่ำเบญจพรรณมี 89 ตัวอย่ำง สำมำรถจัดจ ำแนกได้ในระดับสกุล 2 ตัวอย่ำง ระดับชนิด 15 ตัวอย่ำง โดยจ ำนวนดอกเห็ด ที่พบในฤดูร้อน ฤดู ฝน และฤดูหนำว เป็น 13, 64 และ 12 ตัวอย่ำงตำมล ำดับ

20

บทที่ 3 อุปกรณ์ และวิธีการส ารวจ

วัตถุประสงค์ 1. ส ำรวจควำมหลำกหลำยระดับชนิดของพืช, แมลง และเห็ด ที่ปรำกฏในระบบนิเวศของสังคมพืช ป่ำเบญจพรรณ และป่ำดิบเขำระดับต่ ำ ในพื้นที่เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จ.อุทัยธำนี 2. เพื่อจัดท ำบัญชีรำยชื่อพรรณพืช, แมลง และเห็ด ที่พบในพื้นที่เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จ.อุทัยธำนี 3. รวบรวมข้อมูลพืชพรรณที่ส ำคัญ คือ เป็นพืชถิ่นเดียว (Endemic species), พืชหำยำก (Rare species), พืชที่ก ำลังถูกคุกคำม (Threatened ) รวมถึงพรรณพืชต่ำงถิ่นรุกรำน (Invasive species) 1. ความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืช 1.1 ขอบเขตการศึกษา ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 ได้ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของพรรณพืช ใน ระบบนิเวศของสังคมพืชป่าเบญจพรรณ และป่าดิบเขาระดับต่ า โดยวำงแปลงตัวอย่ำงชั่วครำวขนำด 20x50 ตำรำงเมตร จ ำนวนทั้งหมด 10 แปลงตัวอย่ำง โดยวำงแปลงตัวอย่ำงในป่ำเบญจพรรณ จ ำนวน 6 แปลง และ ป่ำดิบเขำระดับต่ ำ จ ำนวน 4 แปลง ทั้งนี้เพื่อใช้ในกำรบรรยำยลักษณะโครงสร้ำงของระบบนิเวศทั้งในเชิง ปริมำณ ได้แก่ กำรวิเครำะห์องค์ประกอบของชนิดพันธุ์ กำรวิเครำะห์ควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ กำร วิเครำะห์ควำมคล้ำยคลึงกันระหว่ำงสังคมพืช กำรวิเครำะห์ควำมสม่ ำเสมอของสังคมพืช และกำรบรรยำย ลักษณะโครงสร้ำงของระบบนิเวศในเชิงคุณภำพ ได้แก่ กำรจัดท ำบัญชีรำยชื่อพรรณพืช กำรบรรยำยโครงสร้ำง ป่ำประกอบภำพโครงสร้ำงทำงด้ำนตั้งของสังคมพืช (Profile Diagram) และกำรปกคลุมของเรือนยอด (Crown Cover Diagram) และข้อมูลทำงกำยภำพที่ได้จำกกำรส ำรวจในภำคสนำมและกำรตรวจเอกสำร นอกจำกนี้ยัง มีกำรตรวจประเมินสถำนภำพให้แก่พรรณพืชที่ถูกจัดสถำนภำพกำรคุกคำมทั้งในบัญชี Red List Data ของ สหภำพสำกลว่ำด้วยกำรอนุรักษ์ (IUCN) ส ำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (ONEP) และชนิดพันธุ์เฉพำะถิ่น (endemic species) รวมถึงศึกษำถึงปัจจัยกำรคุกคำมต่ำงๆ ในบริเวณที่ท ำ กำรส ำรวจ ซึ่งครอบคลุมประเด็นที่ท ำกำรศึกษำดังนี้

21

1.2 อุปกรณ์ ส าหรับวางแปลงตัวอย่าง ส าหรับเก็บตัวอย่างพรรณไม้ 1. แผนที่พื้นที่ที่ส ำรวจ มำตรำส่วน 1:50,000 1. ถุงพลำสติกส ำหรับเก็บตัวอย่ำง 2. GPS 2. แท็กหมำยเลข 3. เทปวัดระยะ 50 เมตร และ 25 เมตร 3. มีด, กรรไกรตัดกิ่ง และไม้สอย 4. สำยวัด หรือ DBH tape 4. กล้องถ่ำยรูป 5. เข็มทิศ 5. แผงอัดพรรณไม้ 6. Data sheet 6. กระดำษหนังสือพิมพ์ 7. เชือกฟำง 8. ดินสอ 1.3 วิธีการ 1. การตรวจเอกสาร กำรตรวจเอกสำรและศึกษำข้อมูลที่เกี่ยวข้องเชิงพื้นที่ ข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวกับกำรศึกษำ ระบบนิเวศป่ำไม้ และกำรศึกษำพรรณพืช ในพื้นที่ศึกษำและพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อประกอบกำรพิจำรณำก่อน เลือกจุดวำงแปลงส ำรวจ และใช้เป็นข้อมูลอ้ำงอิงในกำรจ ำแนกชนิดพรรณพืช ตลอดจนเขียนวิจำรณ์ผล กำรศึกษำ 2. การคัดเลือกจุดวางแปลงตัวอย่างชั่วคราว ท ำกำรเลือกบริเวณที่ส ำรวจโดยพิจำรณำจำกควำมหลำยหลำยของสังคมพืชที่ศึกษำ หรือ สังคมย่อยที่ปรำกฏในพื้นที่ และขนำดพื้นที่ศึกษำ เพื่อก ำหนดจุดส ำรวจให้กระจำยเป็นตัวแทนครอบคลุมทุก สังคมพืชย่อย และกระจำยทั่วพื้นที่ศึกษำ โดยพยำยำมเลือกพื้นที่ที่ไม่ซ้ ำหรือใกล้กันเกินไปในแต่ละปีที่มี กำรศึกษำซ้ ำสังคมพืชเดิม กำรคัดเลือกหมู่ไม้ตัวอย่ำง (sample stands) เพื่อวำงแปลงตัวอย่ำงชั่วครำว ควร เป็นหมู่ไม้ที่มีควำมเป็นเนื้อเดียวกัน (homogeneity) หรือเป็นชนิดป่ำเดียวกันให้มำกที่สุดทั้งพื้นที่แปลง ไม่ ควรวำงแปลงบริเวณแนวเชื่อมต่อของป่ำ 2 ชนิด (transition zone) และควรคัดเลือกหมู่ไม้ที่มีสภำพค่อนข้ำง สมบูรณ์ ถูกรบกวนจำกมนุษย์น้อยที่สุด ปี พ.ศ. 2560 เลือกพื้นที่วำงแปลงตัวอย่ำงทั้งหมด 10 แปลง ศึกษำสังคมพืชป่ำเบญจ พรรณ จ ำนวน 6 แปลง (ในสังคมพืชป่ำเบญจพรรณได้ท ำกำรศึกษำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556-2558 จ ำนวน 18 รวม ปี พ.ศ. 2560 จ ำนวนแปลงทั้งหมด 24 แปลง) และสังคมพืชป่ำดิบเขำ จ ำนวน 4 แปลง โดยมีจุดพิกัด UTM และควำมสูงจำกระดับน้ ำทะเล ตำมภำคผนวกที่ 17 (ภำพที่ 5-6)

22

ภาพที่ 5 ต ำแหน่งของแปลงตัวอย่ำงศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของสังคมป่ำเบญจพรรณ ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง ปีงบประมำณ พ.ศ. 2556-2560 23

ภาพที่ 6 ต ำแหน่งของแปลงตัวอย่ำงศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของสังคมป่ำดิบเขำ ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง ปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 24

1.4 วิธีการเก็บข้อมูลภาคสนาม การศึกษาด้านระบบนิเวศ 1. เก็บข้อมูลรำยละเอียดทั่ว ๆ ไปของแปลงตัวอย่ำงที่ศึกษำ เช่น สถำนที่ตั้ง, ชนิดป่ำ, ควำมสูงจำกระดับน้ ำทะเลปำนกลำง, พิกัด UTM ระบบ WGS 1984 ZONE 47N, ควำมลำดชัน, ทิศด้ำนลำด, จ ำนวนชั้นเรือนยอด, พรรณไม้พื้นล่ำง เป็นต้น ตำมแบบฟอร์ม P001 (ภำคผนวกที่ 20) 2. วำงแปลงตัวอย่ำงชั่วครำวขนำด 20x50 ตำรำงเมตร และแบ่งเป็นแปลงย่อยขนำด 10x10 ตำรำงเมตร จ ำนวน 10 แปลง (ภำพที่ 7) แล้วท ำกำรเก็บข้อมูลไม้ต้น (tree) ของไม้ต้นทุกต้นที่มีขนำด เส้นผ่ำนศูนย์กลำงเพียงอก (DBH) ตั้งแต่ 4.5 เซนติเมตร หรือขนำดเส้นรอบวงที่ควำมสูงระดับอก (GBH) ตั้งแต่ 15 เซนติเมตร ขึ้นไป และบันทึกข้อมูลต้นไม้ ได้แก่ ชื่อชนิด, ขนำดเส้นรอบวงที่ควำมสูงระดับอกที่สูงจำก พื้นดิน 1.3 เมตร, ควำมสูง, ตำมแบบฟอร์ม P002 (ภำคผนวกที่ 21) 3. ในกำรศึกษำนี้ก ำหนดให้ท ำภำพโครงสร้ำงทำงด้ำนตั้งของสังคมพืช (Profile Diagram) และกำรปกคลุมของเรือนยอด (Crown Cover Diagram ต่อ Plot plan) จ ำนวน 2 ภำพต่อสังคมพืช ที่เห็นว่ำ เป็นตัวแทนของแต่ละสังคมพืชหรือสังคมย่อย โดยเก็บข้อมูลในแปลงขนำด 10 x 50 ตำรำงเมตร (ท ำในแปลง ขนำด 20x50 ตำรำงเมตร) ท ำกำรวัดข้อมูลเช่นเดียวกับแปลงที่ไม่ท ำ Profile diagram แต่วัดข้อมูลเพิ่มจำก เดิม ได้แก่ ควำมกว้ำงเรือนยอด และพิกัด X : Y ของต้นไม้ โดยก ำหนดให้แนว Base line ตำมควำมยำวของ แปลงเป็นแกน X หรือแนวทิศ N และควำมกว้ำงของแปลงเป็นแนวแกน Y หรือแนวทิศ E เพื่อใช้ในกำรวัดพิกัด ต ำแหน่งต้นไม้ และวัดควำมกว้ำงเรือนยอดในแนว N, S, E และ W (ภำพที่ 8) และบันทึกข้อมูลตำมแบบฟอร์ม P003 (ภำคผนวกที่ 21) 4. กำรวำงแปลงส ำหรับกำรวัดไม้หนุ่ม (sapling) (ไม้หนุ่มของไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้พุ่มรอเลื้อย ที่มีขนำด DBH น้อยกว่ำ 4.5 เซนติเมตร หรือขนำด GBH น้อยกว่ำ 15 เซนติเมตร และมีควำมสูงจำกพื้นดิน มำกกว่ำ 130 เซนติเมตร ขึ้นไป) โดยกำรวำงแปลงขนำด 4x4 ตำรำงเมตร ซ้อนทับมุมใดมุมหนึ่งในแปลงขนำด 10x10 ตำรำงเมตร ก็ได้ แต่ต้องวำงแปลงให้เป็นระบบเดียวกันทั้งแปลง แล้วท ำกำรบันทึกข้อมูลไม้หนุ่ม โดย กำรระบุชนิด และนับจ ำนวนต้นไม้ทุกต้น ตำมแบบฟอร์ม P002

25

ภาพที่ 7 กำรวำงแปลงตัวอย่ำงชั่วครำวศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ และเก็บข้อมูลโครงสร้ำงทำง ด้ำนตั้งของสังคมพืช (Profile Diagram) และกำรปกคลุมของเรือนยอด (Crown Cover Diagram) การศึกษาด้านความหลากชนิดของพรรณพืช 1. กำรส ำรวจ ศึกษำ และเก็บรวบรวมข้อมูลพรรณไมในภำคสนำม ส ำรวจ และเก็บ ตัวอย่ำงพรรณไมในภำคสนำม ตัวอย่ำงละ 2-3 ตัวอย่ำง โดยต้องเก็บตัวอย่ำงพรรณไมให้ได้ตัวอย่ำงที่สมบูรณ์ คือ มีใบพรอมดอก หรือผล แล้วน ำมำศึกษำในห้องปฏิบัติกำร โดยกำรท ำตัวอย่ำงพรรณไมแหง และถ่ำยภำพ บันทึกลักษณะต่ำงๆ เช่น ลักษณะวิสัย, ถิ่นอำศัย, รูปร่ำง, สีของใบ, ดอก และผล เป็นต้น บันทึกข้อมูล ภำคสนำมด้ำนนิเวศวิทยำ ไดแก่ ชนิดสังคมพืช, สภำพถิ่นอำศัย, ควำมสูงจำกระดับน้ ำทะเลทะเลปำนกลำง, บันทึกข้อมูลพรรณไม ไดแก่ ลักษณะวิสัย, ควำมสูงของต้น, ลักษณะทำงสัณฐำนวิทยำบำงประกำรที่จะ เปลี่ยนแปลงไป เมื่อท ำเป็นตัวอย่ำงพรรณไมแหง เช่น สีของดอก และผล, ขนำดของดอกและผล เป็นต้น และ บันทึกข้อมูลอื่นๆ ไดแก สถำนที่, พิกัด, วัน เดือน ปีที่เก็บตัวอย่ำง, ชื่อพื้นเมือง (ถ้ำมี) และกำรใช้ประโยชน (ถ้ำมี) 2. กำรศึกษำตัวอย่ำงพรรณไม้ในห้องปฏิบัติกำร ศึกษำลักษณะทำงสัณฐำนวิทยำ ของตัวอย่ำงพรรณไมที่เก็บมำจำกภำคสนำมโดยละเอียด เพื่อกำรระบุพืช ( Identification) เป็น กำรตรวจหำชื่อพฤกษศำสตร์ที่ถูกต้อง ซึ่งกำรวินิจฉัยชื่อมำจำกกำรค้นคว้ำตำมล ำดับ ดังนี้ 2.1 หนังสือพรรณพฤกษชำติของประเทศไทย ประเทศใกล้เคียง 2.2 ตรวจสอบจำกเอกสำร และสิ่งตีพิมพ์ด้ำนพฤกษศำสตร์เฉพำะเรื่องอื่นๆ ได้แก่ วำรสำร หรือหนังสือ 2.3 ตรวจสอบค ำบรรยำย รูปภำพ และถิ่นก ำเนิดเพิ่มเติมจำกเว็บไซด์ทำง พฤกษศำสตร์ที่น่ำเชื่อถือ 2.4 ตรวจเทียบเคียงกับตัวอย่ำงพรรณไม้แห้งในพิพิธภัณฑ์พืชของกรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำ และพันธุ์พืช เพื่อควำมถูกต้องอีกครั้ง 3. ส ำหรับกำรตรวจสอบกำรใช้ชื่อพฤกษศำสตร์ ชื่อพ้อง กำรสะกด และกำรจัดวงศ์ จะยึด ตำมหนังสือพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็มสมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557 (THAI PLANT NAMES TEM SMITINAND) 4. เขียนรำยงำนผลกำรวิจัย กำรเขียนรำยงำนผลส ำรวจโดยจัดท ำบัญชีรำยชื่อพรรณพืชที่ พบในแปลงตัวอย่ำง แล้วตรวจสอบสถำนภำพพืชตำมหนังสือ Thailand Red Data: Plants (Santisuk et al., 2006), หนังสือ A Preliminary Check-list of Threatened Plants in Thialand (Pooma et al., 2005) และ หนังสือพืชหำยำกของประเทศไทย (รำชันย์, 2551) ท ำกำรบันทึกข้อมูลลงในตำรำงส ำหรับท ำรำยงำน 26

(แบบฟอร์ม P004 : ภำคผนวกที่ 23 และตำรำงส ำหรับฐำนข้อมูล, แบบฟอร์ม P005-P006 : ภำคผนวกที่ 24-25) สรุปจ ำนวนวงศ์ สกุล และชนิดพรรณพืช แยกตำมกลุ่มวิสัยพืช 5. วิจำรณ์ผลกำรศึกษำระบบนิเวศต่ำงๆ ที่ได้มีกำรจ ำแนกชนิดต่อชนิดย่อยของสังคมพืช ร่วมกับข้อมูลสภำพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยอันก่อให้เกิดควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศป่ำไม้ และกำรปรำกฏของ ชนิดพันธุ์ที่เป็นไม้ดัชนี หรือที่มีควำมส ำคัญ 1.5 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ 1. กำรวิเครำะห์องค์ประกอบของชนิดพันธุ์ (Species composition) 1.1 ควำมหนำแน่น (density, D) คือ จ ำนวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดที่ก ำหนดที่ปรำกฏ ในแปลงตัวอย่ำงต่อหน่วยพื้นที่ที่ท ำกำรส ำรวจ

จ ำนวนต้นทั้งหมดของชนิด A ที่ปรำกฏในแปลงตัวอย่ำง DA = หน่วยพื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอย่ำงที่ส ำรวจ

1.2 ควำมเด่น (dominance, Do) ในที่นี้ใช้ควำมเด่นด้ำนพื้นที่หน้ำตัด (basal area, BA) คือ พื้นที่หน้ำตัดของล ำต้นไม้ชนิดที่ก ำหนด ที่ได้จำกกำรวัดที่ระดับควำมสูง 1.30 เมตร จำกพื้นดินต่อ หน่วยพื้นที่ที่ท ำกำรส ำรวจ

พื้นที่หน้ำตัดของไม้ชนิด A DoA = หน่วยพื้นที่ทั้งหมดของแปลงตัวอย่ำงที่ส ำรวจ

27

1.3 ควำมถี่ (frequency, F) คือ สัดส่วนร้อยละของจ ำนวนแปลงตัวอย่ำงที่ปรำกฏ พันธุ์ไม้ชนิดนั้นต่อจ ำนวนแปลงที่ท ำกำรส ำรวจ

จ ำนวนแปลงตัวอย่ำงของไม้ชนิด A FA = x 100 จ ำนวนแปลงตัวอย่ำงทั้งหมดที่ส ำรวจ

1.4 ควำมหนำแน่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative Density, RD) คือ สัดส่วนของควำม หนำแน่นของชนิดไม้ที่ต้องกำรต่อค่ำควำมหนำแน่นของไม้ทุกชนิดในสังคมเป็นค่ำร้อยละ

ควำมหนำแน่นของไม้ชนิด A RDA = x 100 ควำมหนำแน่นของไม้ทุกชนิดในสังคม

1.5 ค่ำควำมเด่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative Dominance, RDo) คือ ค่ำสัดส่วน ของควำมเด่นของชนิดไม้ที่ต้องกำรต่อค่ำควำมเด่นทั้งหมดของไม้ทุกชนิดในสังคม คิดเป็นค่ำร้อยละ

ควำมเด่นของไม้ชนิด A RDoA = x 100 ควำมเด่นของไม้ทุกชนิดในสังคม 1.6 ค่ำควำมถี่สัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative Frequency, RF) คือ ค่ำควำมถี่ของชนิด ไม้ที่ต้องกำรต่อค่ำควำมถี่ทั้งหมดของไม้ทุกชนิดในสังคม คิดเป็นค่ำร้อยละ

ควำมถี่ของไม้ชนิด A RFA = x 100 ควำมถี่ของไม้ทุกชนิดในสังคม

1.7 ค่ำควำมส ำคัญของชนิดพันธุ์ไม้ (Importance Value, IV) คือ ผลรวมของค่ำควำม หนำแน่นสัมพัทธ์ ควำมเด่นสัมพัทธ์ และควำมถี่สัมพัทธ์ ของชนิดไม้นั้นในสังคม ซึ่งมีค่ำรวมเท่ำกับ 300 (IV = 300) ซึ่งหำได้จำกสูตร

IVA = RDA + RDoA + RFA

IVA = ค่ำควำมส ำคัญของชนิดพันธุ์ไม้ A RDA = ควำมหนำแน่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ A RDoA = ค่ำควำมเด่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ A RFA = ค่ำควำมถี่สัมพัทธ์ของชนิดไม้ A 1.8 ค่ำพื้นที่หน้ำตัด (Basal Area, BA) ของแต่ละหน่วย ทั้งที่เป็นต้นและเป็นกิ่ง โดย ใช้สมกำรดังนี้ BA = GBH2 / (4 x (22/7)) BA = พื้นที่หน้ำตัด 28

GBH = ขนำดเส้นรอบวงที่ควำมสูงระดับอกสูงจำกพื้นดิน 1.3 เมตร 2. กำรวิเครำะห์ควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ (Species diversity) 2.1 ค่ำ Shannon-wiener Index คือ ดัชนีควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ที่ให้ ควำมส ำคัญกับจ ำนวนหน่วยที่พบของแต่ละชนิดพันธุ์ด้วย โดยใช้สมกำรดังนี้ s H' = _ Ʃ Pi log2 Pi i = 1 H' = Shannon-wiener Index Pi = สัดส่วนของจ ำนวนต้นไม้ชนิดที่ i กับจ ำนวนหน่วยของชนิดพันธุ์ทั้งหมด S = จ ำนวนชนิดพันธุ์ทั้งหมด 3. กำรวิเครำะห์ควำมคล้ำยคลึงกันระหว่ำงสังคมพืช (Species diversity) 3.1 ค่ำดัชนีควำมคล้ำยคลึง (Similarity Index, ISs) ของแต่ละสังคม โดยใช้สมกำร ของ Sorrensen (1948) ดังนี้ 2W ISs = x 100 A + B ISs = Similarity Index W = จ ำนวนชนิดที่ปรำกฏทั้งในสังคม A และ B A = จ ำนวนชนิดที่ปรำกฏทั้งหมดในสังคม A B = จ ำนวนชนิดที่ปรำกฏทั้งหมดในสังคม B 4. กำรวิเครำะห์ควำมควำมสม่ ำเสมอของชนิดพันธุ์ 4.1 ค่ำควำมสม่ ำเสมอ (Shannon Evenness) ของแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้สมกำรดังนี้ H´ J' = log2 S J' = Shannon Evenness H' = Shannon-wiener Index S = จ ำนวนชนิดพันธุ์ทั้งหมด

ข้อมูลเชิงคุณภาพ จัดท ำภำพโครงสร้ำงทำงด้ำนตั้งของสังคมพืช (Profile Diagram) และกำรปกคลุมของ เรือนยอด (Crown Cover Diagram/Plot plan) ของแปลง ขนำด 10 x 50 เมตร จ ำนวน 2 แปลงต่อสังคมพืช เมื่อได้ภำพโครงสร้ำงทำงด้ำนตั้ง (stratification) ให้ท ำกำรแบ่งชั้นเรือนยอดของแต่ละสังคม แล้วท ำกำร บรรยำยสังคมพืชที่ปรำกฏเด่นในแต่ละชั้นเรือนยอด

29

2. ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง 2.1 ขอบเขตการศึกษา ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของแมลงในระบบนิเวศป่ำเบญจพรรณและป่ำดิบ เขำ ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี ซึ่งส ำนักวิจัยกำรอนุรักษ์ป่ำไม้และพันธุ์พืชก ำหนดให้ ศึกษำแมลงในกลุ่มผีเสื้อกลำงวันทุกขนำด, ผีเสื้อกลำงคืนกลำงคืน (มอท) ที่มีขนำดเมื่อกำงปีกกว้ำงมำกกว่ำ 4 เซนติเมตร และด้วงขนำดควำมยำวล ำตัวตั้งแต่ 3 เซนติเมตร ท ำกำรศึกษำสองฤดูกำล คือ ฤดูร้อน และฤดูฝน โดยในปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 ผีเสื้อกลำงวันด ำเนินกำรศึกษำ โดยกำรใช้สวิงดักจับบนเส้นทำงด่ำนใน ช่วงเวลำ 9:00-12:00 จ ำนวน 6 เส้นส ำรวจ ส่วนผีเสื้อกลำงคืนและด้วงด ำเนินกำรศึกษำ โดยกำรใช้หลอดไฟ แสงจันทร์ติดตั้งในป่ำเบญจพรรณ จ ำนวน 2 จุด ซึ่งจะน ำข้อมูลที่ได้มำวินิจฉัยชื่อชนิดเพื่อจัดท ำบัญชีรำยชื่อ แมลง ส ำหรับข้อมูลผีเสื้อกลำงวันจะวิเครำะห์ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของ Shannon-Wiener Index ค่ำดัชนีควำมคล้ำยคลึง (Similarity index) ของ Sorrensen และค่ำควำมสม่ ำเสมอของ Shannon Evenness ด้วย เพื่อเปรียบเทียบผลกำรศึกษำระหว่ำงสังคมป่ำ จ ำนวนตัว และจ ำนวนชนิด 2.2 อุปกรณ์ 1. แผนที่พื้นที่ที่ส ำรวจ มำตรำส่วน 1:50,000 10. สวิงจับผีเสื้อ 2. GPS 11. กรงตำข่ำย (ขังผีเสื้อ) 3. เทปวัดระยะ 50 เมตร และ 25 เมตร 12. กล่องพลำสติก (เก็บซองผีเสื้อ) 4. เข็มทิศ 13. จอผ้ำขำวขนำด 1.2x1.5 เมตร 5. Data sheet 14. เครื่องปั่นไฟ 6. ปำกกำ ดินสอ ยำงลบ และไม้บรรทัด 15. หลอดไฟแสงจันทร์ 7. กล้องถ่ำยรูป 16. แบตเตอร์รี่ 8. นำฬิกำข้อมือ 17. ปลั๊กไฟ 9. ซองกระดำษรูปสำมเหลี่ยม 18. สำยไฟและหัวคีบขั้วแบตเตอรี่ 2.3 วิธีการ 1. การตรวจเอกสาร กำรตรวจเอกสำรและศึกษำข้อมูลที่เกี่ยวข้องเชิงพื้นที่ ข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวกับกำรศึกษำ ระบบนิเวศป่ำไม้ที่พบในพื้นที่ และด้ำนแมลง หรือที่มีในพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อประกอบกำรพิจำรณำก่อนเลือกจุด วำงแปลงส ำรวจ และใช้เป็นข้อมูลอ้ำงอิงในกำรจ ำแนกชนิดแมลง ตลอดจนเขียนวิจำรณ์ผลกำรศึกษำ 2. การคัดเลือกจุดวางแปลงตัวอย่างชั่วคราว และพื้นที่ศึกษาในปี พ.ศ. 2555-2558 ท ำกำรเลือกบริเวณที่ส ำรวจโดยพิจำรณำจำกควำมหลำยหลำยของสังคมพืชที่ศึกษำ หรือ สังคมย่อยที่ปรำกฏในพื้นที่ และขนำดพื้นที่ศึกษำ เพื่อก ำหนดจุดส ำรวจให้กระจำยเป็นตัวแทนครอบคลุมทุก สังคมพืชย่อย และกระจำยทั่วพื้นที่ศึกษำ โดยพยำยำมเลือกพื้นที่ที่ไม่ซ้ ำหรือใกล้กันเกินไปในแต่ละปีที่มี กำรศึกษำซ้ ำสังคมพืชเดิม ก ำหนดให้ท ำกำรวำงเส้นส ำรวจจ ำนวน 6 เส้น ในแต่ละชนิดป่ำหรือสังคมย่อย โดย กำรส ำรวจแมลงจะคัดเลือกพื้นที่ในบริเวณใกล้เคียงกับกำรส ำรวจควำมหลำกหลำยด้ำนพรรณพืช และกำร ส ำรวจผีเสื้อกลำงวัน, ผีเสื้อกลำงคืน (มอท) และด้วง ควรท ำกำรส ำรวจบริเวณใกล้เคียงกัน ปี พ.ศ. 2558 ด าเนินการส ารวจผีเสื้อกลางวัน จ านวน 10 แปลงตัวอย่าง โดยส ำรวจใน ป่ำเบญจพรรณ จ ำนวน 6 แปลง บริเวณซับหิน หน่วยพิทักษ์ป่ำกระปุกกระเปรียง หน่วยพิทักษ์ป่ำยำงแดง และ ป่ำดิบแล้งจ ำนวน 4 แปลง บริเวณเขำเขียว สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ คลองพู หน่วยพิทักษ์ป่ำน้ ำตื้น และ 30

แมลงกลำงคืน (มอท และด้วง) ด ำเนินกำรส ำรวจ จ ำนวน 4 แปลงตัวอย่ำง โดยส ำรวจในป่ำเบญจพรรณ จ ำนวน 3 แปลง บริเวณหน่วยพิทักษ์ป่ำกระปุกกระเปรียง หน่วยพิทักษ์ป่ำยำงแดง และป่ำดิบแล้ง จ ำนวน 1 แปลง บริเวณเขำเขียว สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ ปี พ.ศ. 2559 ด าเนินการส ารวจผีเสื้อกลางวัน จ านวน 3 แปลงตัวอย่าง โดยส ำรวจใน ป่ำดิบแล้งจ ำนวน 3 แปลง บริเวณคลองคร้อ สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ หน่วยพิทักษ์ป่ำน้ ำตื้น และแมลง กลำงคืน (มอท และด้วง) ด ำเนินกำรส ำรวจ จ ำนวน 2 แปลงตัวอย่ำง โดยส ำรวจป่ำดิบแล้ง จ ำนวน 1 แปลง บริเวณเขำเขียว สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำและบริเวณหน่วยพิทักษ์ป่ำกระปุกกระเปรียง จ ำนวน 1 แปลง ปี พ.ศ. 2560 ด าเนินการส ารวจผีเสื้อกลางวัน จ านวน 3 แปลงตัวอย่าง โดยส ำรวจใน ป่ำเบญจพรรณจ ำนวน 2 แปลง บริเวณห้วยเหลือง สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ แยกกม. 13 และแมลงกลำงคืน (มอท และด้วง) ด ำเนินกำรส ำรวจ จ ำนวน 1 แปลงตัวอย่ำง โดยส ำรวจป่ำดิบเขำ จ ำนวน 1 แปลง บริเวณเขำ เขียว สถำนีวิจัยสัตว์ป่ำเขำนำงร ำ โดยมีที่ตั้ง จุดพิกัด UTM ควำมสูงจำกระดับน้ ำทะเล ปรำกฏตำมภำพที่ 8 และภำคผนวกที่ 18-19

31

HKK59-DE_M2

ภาพที่ 8 ต ำแหน่งของแปลงตัวอย่ำงควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของผีเสื้อกลำงวัน ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ ห้วยขำแข้ง ปี พ.ศ. 2560 32

ภาพที่ 9 ต ำแหน่งของแปลงตัวอย่ำงควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของแมลงกลำงคืน ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ ห้วยขำแข้ง ปี พ.ศ. 2560 33

2.4 การเก็บข้อมูลภาคสนาม การส ารวจข้อมูลผีเสื้อกลางวัน 1. เมื่อก ำหนดจุดส ำรวจได้แล้ว ท ำกำรวำงแนวเส้นส ำรวจ 2 เส้น ระยะทำงเส้นละ 100 เมตร โดยมีระยะห่ำง 50 เมตร ในแนวขนำนกัน ทั้งสองแนวส ำรวจ ใช้สวิงจับผีเสื้อกลำงวันทุกตัวในรัศมีด้ำน ละ 5 เมตร (ภำพที่ 10)

ภาพที่ 10 ลักษณะกำรวำงแปลงจับผีเสื้อกลำงวัน 2. กำรส ำรวจผีเสื้อกลำงวันภำยในเส้นส ำรวจจะท ำ 2 ช่วงเวลำ คือ ช่วงเช้ำ ระหว่ำงเวลำ 9.00–12.00 น. และช่วงบ่ำย ระหว่ำงเวลำ 13.00–16.00 น. ใช้เวลำแต่ละช่วง 2 ชั่วโมง เดินส ำรวจ แบบต่อเนื่องโดย ไม่หยุดพัก โดยเดินอย่ำงช้ำๆ วนไป-มำ ใน 2 เส้นทำง ซึ่งจะด ำเนินกำรส ำรวจ 2 ฤดูกำล คือ ฤดูร้อน และฤดูฝน 3. จับผีเสื้อกลำงวันทุกตัวในเส้นทำงด้วยสวิง โดยใช้ผู้ส ำรวจจ ำนวน 2 คนๆ ซึ่งมีสวิงคน ละ 1 อัน เดินใกล้เคียงกัน เมื่อจับผีเสื้อได้ใส่ลงซองกระดำษสำมเหลี่ยม บันทึกรหัสตัวอย่ำง และเวลำที่จับได้ ชื่อผู้เก็บ หรือชื่อชนิด (ถ้ำทรำบ) โดยไม่เก็บผีเสื้อกลำงวันในระหว่ำงกำรเปลี่ยนเส้นส ำรวจ และไม่ใช้เวลำ จ ำแนกชื่อชนิดผีเสื้อในช่วงเวลำส ำรวจ

34

4. เมื่อครบก ำหนดเวลำส ำรวจ ให้น ำผีเสื้อกลำงวันมำจ ำแนกชนิดผีเสื้อ ซึ่งการศึกษาครั้ง นี้ ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 ใช้วิธีการถ่ายรูปตัวผีเสื้อทั้งด้ำนบน และด้ำนล่ำง โดยกำรจัดท่ำเหมือน กำรถูกเซตด้วยกำรใช้นิ้วมือจับอย่ำงเบำมือ ป้องกันกันผีเสื้อตำย เมื่อถ่ำยรูปแล้วให้ท ำกำรบันทึกข้อมูลรหัส ตัวอย่ำงหรือชื่อชนิด เวลำที่จับได้ ชื่อผู้เก็บ และหมำยเลขภำพถ่ำยในช่องหมำยเหตุ ตำมแบบบันทึกข้อมูล ตำรำงที่ 1 (ภำคผนวกที่ 32) แล้วน ำมำวินิจฉัยชื่อชนิดในภำยหลัง ทั้งนี้หากถ่ายรูปผีเสื้อในช่วงเวลาพัก กลางวัน จ าเป็นจะต้องขังผีเสื้อไว้ในกรงชั่วคราว เพื่อมิให้ผีเสื้อบินกลับเข้าแปลงแล้วถูกจับซ้ าได้อีก และ ควรปล่อยผีเสื้อออกจากกรงหลังเวลาการส ารวจแล้วเสร็จ การส ารวจข้อมูลแมลงกลางคืน (มอท และด้วง) 1. ก ำหนดพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลผีเสื้อกลำงคืนและด้วง จ ำนวน 4 จุด ให้อยู่บริเวณเดียวกับ พื้นที่ที่เก็บตัวอย่ำงผีเสื้อกลำงวัน 2. ติดตั้งกับดักแสงไฟ โดยใช้หลอดไฟฟ้ำแบบแบล็คไลท์ 1820 วัตต์ (หลอดสั้น) ใช้จอผ้ำ ขำวขนำด 1.20X1.50 เมตร เป็นพื้นที่ดักแมลง 3. กำรส ำรวจแมลงกลำงคืน จะท ำในช่วงเวลำ 19.00-21.00 น. และ 06.00 น. และท ำ 2 ฤดูกำล เช่นเดียวกับผีเสื้อกลำงวัน ด้วยกำรบันทึกภำพมอท และด้วง ที่มำเกำะบนจอผ้ำ และบริเวณใกล้เคียง เช่น พื้นดิน, เสำ และ ต้นไม้ โดยบันทึกเฉพำะมอทที่มีขนำดเมื่อกำงปีกมำกกว่ำ 4 เซนติเมตร (หุบปีกแล้วยำว มำกกว่ำ 2 เซนติเมตร) และด้วงที่มีขนำดล ำตัวยำวมำกกว่ำ 3 เซนติเมตร เมื่อถ่ำยรูปแล้วให้ท ำกำรบันทึก ข้อมูลรหัสตัวอย่ำงหรือชื่อชนิด (ถ้ำทรำบ) เวลำที่พบ ชื่อผู้เก็บ และหมำยเลขภำพถ่ำยในช่องหมำยเหตุ ตำม แบบบันทึกข้อมูลตำรำงที่ 2 (ภำคผนวกที่ 27) แล้วน ำมำวินิจฉัยชื่อชนิดในภำยหลัง เพื่อน ำไปท ำบัญชีรำยชื่อ และควำมชุกชม 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล กำรค ำนวณและวิเครำะห์ข้อมูลได้ท ำเฉพำะของผีเสื้อกลำงวันเท่ำนั้น ส่วนข้อมูลของด้วง และ มอทไม่มีกำรค ำนวณและวิเครำะห์ข้อมูล แต่ได้จัดท ำเป็นบัญชีรำยชื่อพร้อมระบุจ ำนวนชนิดและจ ำนวนตัวที่ ส ำรวจพบ 1. กำรวินิจฉัยชื่อชนิด ชนิดย่อย และฟอร์ม น ำรูปถ่ำยแมลง มำท ำกำรวินิจฉัยชื่อด้วยกำรตรวจสอบกับหนังสือ หรือเอกสำรอ้ำงอิง ต่ำงๆ ซึ่งในกำรศึกษำครั้งนี้ ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 ได้อ้ำงอิงในกำรจ ำแนกชื่อวิทยำศำสตร์ และกำร สะกดชื่อ แยกตำมกลุ่มแมลง ดังนี้

35

1.1 ผีเสื้อกลางวัน จะอ้ำงอิงตำมหนังสือ Butterflies in Thailand ของ Pinratana (1981, 1983, 1985, 1988), Pinratana & Eliot. (1992) โดยมีกำรระบุชื่อสกุล (Genus) ชื่อชนิด (Species) ชื่อชนิดย่อย (Subspecies) และฟอร์มำ (forma) ส ำหรับระบบกำรจัดจ ำแนกวงศ์ ใช้ระบบกำรจัดวงศ์ 5 วงศ์ ตำม สุรชัย และคณะ (2542) และ สุรชัย (2553) โดยชื่อเหล่ำนี้จะบันทึกลงในตำรำงบัญชีรำยชื่อในภำคผนวก ที่ 29 ส ำหรับกำรนับจ ำนวนชนิดเพื่อกำรวิเครำะห์ข้อมูลเชิงปริมำณต่ำงๆ จะพิจารณาเฉพาะชื่อสกุล และชื่อ ชนิด เท่านั้น ส่วนชื่อชนิดย่อย (Subspecies) และฟอร์มา (forma) จะไม่น ามานับเป็นจ านวนชนิด 1.2 มอท เกรียงไกร (2555), Pinratana & Lampe (1990) และ Inoue et al. (1997) บันทึกรำยชื่อมอท หลังกำรจ ำแนกชนิดแล้วทั้งหมดลงในตำรำงบัญชีรำยชื่อในภำคผนวกที่ 35 1.3 ด้วง Ek-Amnuay (2002) กำรตรวจกำรสะกดชื่อวิทยำศำสตร์และชื่อที่ยอมรับ ล่ำสุด บันทึกรำยชื่อด้วงหลังกำรจ ำแนกชนิดแล้วทั้งหมดลงในตำรำงบัญชีรำยชื่อในภำคผนวกที่ 36 1.4 การตรวจการสะกดชื่อวิทยาศาสตร์และชื่อที่ยอมรับล่าสุดของมอท และด้วงจะ ยึดถือตามเว็ปไซด์ Catalogue of Life Version 2011-2013 Annual Checklist 2. ตรวจสอบสถำนภำพกลุ่มแมลงคุ้มครอง จำกหนังสือของฉวีวรรณ และคณะ (2544) และ ส ำนักวิจัยกำรอนุรักษ์ป่ำไม้และพันธุ์พืช (2552) 3. ท ำแผนผัง Venn diagram เปรียบเทียบข้อมูล ชนิดของผีเสื้อกลำงวันที่ส ำรวจพบใน ฤดูร้อน ฤดูฝน และชนิดที่พบทั้ง 2 ฤดู (ภำพที่ 11)

ภาพที่ 11 กำรท ำแผนผัง Venn diagram

36

4. ค ำนวณหำค่ำควำมคล้ำยคลึงกัน ของ Sorensen (Indices of similarity or Community coefficients) จำกสูตร 2W ISs = x 100 (A + B) A = เป็นจ ำนวนชนิดพันธุ์หรือค่ำวัดทั้งหมดในสังคม A B = เป็นจ ำนวนชนิดพันธุ์หรือค่ำวัดทั้งหมดในสังคม B W = เป็นค่ำปรำกฏร่วมกันทั้งในสังคม A และสังคม B 5. ค ำนวณหำค่ำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ Shannon’s Index (Ludwig and Reynolds, 1988) จำกสูตร

푠 퐻′ = − ∑ (푃푖 ln 푃푖) 푖=1 Pi = สัดส่วนของชนิด i ต่อจ ำนวนของชนิดทั้งหมด S = จ ำนวนชนิดทั้งหมด H' = ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ 6. ค ำนวณหำค่ำควำมสม่ ำเสมอ Shannon Evenness จำกสูตร 퐻′ 퐽′ = ln 푆 J' = ค่ำควำมสม่ ำเสมอ H' = ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ S = จ ำนวนชนิดทั้งหมด

37

3.ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด 3.1 ขอบเขตการศึกษา ท ำกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ด ในระบบนิเวศป่ำไม้ของเขตรักษำพันธุ์สัตว์ ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้เลือกศึกษาในระบบนิเวศป่าดิบเขาระดับต่ าและป่า เบญจพรรณ ด้วยวิธีกำรวำงแปลงตัวอย่ำงชั่วครำวขนำด 20 เมตร x 50 เมตร จ ำนวน 10 แปลง (ใช้แปลง ตัวอย่ำงเดิมจำกกำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพด้ำนพรรณพืช) เก็บข้อมูลเฉพาะในฤดูฝน และ ก าหนดให้ศึกษาเฉพาะเห็ดขนาดใหญ่ (เส้นผ่านศูนย์กลางของดอกเห็ดที่บานมีขนาดตั้งแต่ 2 ซม. ขึ้นไป) ส่วนเห็ดที่มีรูปทรง เส้นด้าย ทรงกระบอก เป็นแผ่นหรือรูปทรงอื่นๆ จะศึกษาเฉพาะที่มีขนาดดอกรวมก้าน ยาวตั้งแต่ 1 ซม. ขึ้นไป เดินส ำรวจเห็ดทุกชนิดที่ปรำกฏในแปลงตัวอย่ำง น ำข้อมูลมำวินิจฉัยชื่อชนิด บทบำท หน้ำที่ในระบบนิเวศ วิเครำะห์ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ดรำในแต่ละแปลงตัวอย่ำง โดยใช้ค่ำ ดัชนีควำมหลำกหลำยของ Shanon-Wiener Index of Diversity และกำรวิเครำะห์ค่ำควำมสม่ ำเสมอของ Shannon Evenness

3.2 อุปกรณ์ 1) กระดำษหนังสือพิมพ์ 9) ไม้บรรทัด 2) มีด หรือเสียม 10) มีดโกน หรือมีดคัตเตอร์ 3) กล่องพลำสติก (เก็บตัวอย่ำงเห็ด/อบสปอร์) 11) กระดำษขำวด ำ (พิมพ์สปอร์) 4) กระดำษสติกเกอร์ หรือ label ตัวอย่ำง 12) แว่นขยำย 5) กระดำษบันทึกข้อมูล 13) กล้องถ่ำยรูป 6) ดินสอ และปำกกำ 14) ผ้ำด ำ (ฉำกถ่ำยรูป) 7) เครื่องบอกต ำแหน่งทำงภูมิศำสตร์ (GPS) 15) ตะกร้ำใส่เห็ด 8) ปำกคีบ

3.3 วิธีการ 1. การตรวจเอกสาร กำรตรวจเอกสำรและศึกษำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกำรจ ำแนกเห็ด ข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวกับกำรศึกษำ เห็ดรำในพื้นที่ศึกษำและพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อใช้เป็นข้อมูลอ้ำงอิงในกำรจ ำแนกชนิดเห็ด โดยมีวิธีกำรเก็บตัวอย่ำง ที่ใกล้เคียงกันดังต่อไปนี้ 1.1 จดบันทึกสภำพแวดล้อมที่เห็ดเกิด ได้แก่ ต ำแหน่งจุดที่ส ำรวจพบ สภำพป่ำในบริเวณนั้น สภำพเห็ดที่เกิด อินทรียวัตถุที่เห็ดขึ้น เพื่อใช้เป็นข้อมูลในกำรจ ำแนกเห็ดแต่ละชนิด 1.2 บันทึกภำพของเห็ดที่พบในสภำพธรรมชำติ ก่อนที่จะท ำกำรเก็บตัวอย่ำงเห็ด โดยใช้กล้อง ดิจิตอลบันทึกภำพ ลักษณะรูปร่ำง แหล่งก ำเนิดหรือถิ่นที่อยู่อำศัย สีของเห็ดแต่ละชนิด 1.3 เก็บตัวอย่ำงเห็ดที่มีองค์ประกอบที่สมบูรณ์ สังเกตุและบันทึกลักษณะกำรเกิดของเห็ดที่พบ 1.4 ศึกษำโครงสร้ำงภำยนอกของเห็ด ลักษณะทำงสัณฐำนวิทยำของเห็ดโดยละเอียด ทั้งโครงสร้ำง ภำยนอกและลักษณะที่ต้องตรวจสอบด้วยกล้องจุลทัศน์ให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดที่สุด ได้แก่ ลักษณะ ขนำด สี กลิ่น หมวกเห็ด ครีบ วงแหวน เยื่อหุ้มโคน ก้ำน เพื่อเป็นประโยชน์ในกำรจ ำแนกชนิดของเห็ด ในพื้นที่ศึกษำได้ มีกำรส ำรวจเห็ดรำไปแล้ว 5 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2555-2559 ในระบบนิเวศป่ำเต็งรัง ป่ำเบญจพรรณ และป่ำดิบ แล้ง ซึ่งมีวิธีกำรส ำรวจดังนี้

38

2. การคัดเลือกจุดวางแปลงตัวอย่างชั่วคราว กำรส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ดรำ จะส ำรวจในแปลงตัวอย่ำงที่ใช้ส ำรวจ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพด้ำนพรรณพืช (ขนำด 20 x 50 เมตร) จ ำนวน 10 แปลงตัวอย่ำง ซึ่งจะเลือกให้ ครอบคลุมสังคมพืชย่อย โดยน ำผลกำรจ ำแนกสังคมพืชมำใช้พิจำรณำเลือกแปลงตัวอย่ำงที่มีระยะห่ำงกัน มำกกว่ำ 1 กิโลเมตร หรือให้ครอบคลุมเป็นตัวแทนที่ดีของสังคมพืชป่ำดิบเขำระดับต่ ำ โดยเลือกบริเวณเส้นทำง ขึ้นเขำเขียว 4 แปลงตัวอย่ำง (แปลงตัวอย่ำง HKK60_HE1, HKK60_HE2, HKK60_HE3, HKK60_HE4) และ สังคมพืชป่ำเบญจพรรณ 4 แปลงตัวอย่ำง โดยเลือกบริเวณทำงไปห้วยเหลือง 2 แปลง (แปลงตัวอย่ำง HKK60_MD1, HKK60_MD2) และทำงขึ้นเขำนำงร ำ 2 แปลง (แปลงตัวอย่ำง HKK60_MD3, HKK60_MD4) โดยมีจุดพิกัด UTM และควำมสูงจำกระดับน้ ำทะเล ตำมภำคผนวกที่ 17 (ภำพที่ 12-13)

39

ภาพที่ 12 ต ำแหน่งของแปลงตัวอย่ำงศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ดรำ ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ ห้วยขำแข้ง ปี พ.ศ. 2560 (ป่ำเบญจพรรณ) 40

แปลงตัวอย่าง KSP56_6

แปลงตัวอย่าง KSP56_5

ภาพที่ 13 ต ำแหน่งของแปลงตัวอย่ำงศึกษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ดรำ ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ ห้วยขำแข้ง ปี พ.ศ. 2560 (ป่ำดิบเขำ) 41

3. วิธีการเก็บข้อมูลภาคสนาม 3.1 ก ำหนดขนำดของเห็ดที่จะท ำกำรศึกษำ กลุ่มเห็ดครีบ (Agarics) จะศึกษำเฉพำะชนิดที่มี ดอกบำน ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงตั้งแต่ 2 ซม. ขึ้นไป ส่วนเห็ดรำที่มีรูปทรง เส้นด้ำย ทรงกระบอก เป็นแผ่น หรือรูปทรงอื่นๆ จะศึกษำเฉพำะที่มีขนำดดอกรวมก้ำนยำวตั้งแต่ 1 ซม. ขึ้นไป เก็บข้อมูลเฉพำะในช่วงฤดูฝน แปลงละ 1 ครั้ง 3.2 เก็บข้อมูลด้วยกำรเดินส ำรวจ โดยแบ่งแปลงตัวอย่ำงออกเป็นขนำด 10 x 50 เมตร จ ำนวน 2 แปลง (ซ้ำย-ขวำ) ซึ่งจะเดินส ำรวจทีละด้ำน แล้วเดินวนกลับมำ ในลักษณะรูปตัวยู เดินซ้ ำ 2 ครั้ง ตำมภำพที่ 14

50 เมตร

20

เ 10 10

ภาพที่ 14 ลักษณะแปลงส ำรวจเห็ดรำและแนวกำรเดินส ำรวจเห็ดรำในแปลงตัวอย่ำง

3.3 เมื่อพบดอกเห็ด ให้ท ำกำรจดบันทึกลักษณะสัณฐำนที่จ ำเป็นซึ่งสังเกตได้เฉพำะในแปลง ตัวอย่ำง หรือลักษณะสัณฐำนที่อำจสลำยหำยไปได้ง่ำยหลังจำกเก็บเห็ดออกมำจำกป่ำ บันทึกข้อมูลตำม แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลเห็ด (ภำคผนวกที่ 31) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในกำรวิเครำะห์ผลและจ ำแนกชนิดเห็ดรำต่อไป ข้อมูลที่เก็บในภำคสนำมมีดังนี้ 3.3.1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ รหัสตัวอย่ำง ชื่อผู้เก็บ สถำนที่ พืชอำศัย 3.3.2 จ ำนวนดอกเห็ดที่ปรำกฏทั้งหมด 3.3.3 กำรขึ้นของดอกเห็ด เช่น เกิดจำกดิน, ขึ้นบนขอนไม้ กิ่งไม้ โคนต้นไม้ รำกไม้ เป็นต้น 3.3.4 วัสดุที่เห็ดขึ้น เช่น มูลสัตว์, เนื้อไม้, เปลือกไม้, ซำกใบไม้, บนดิน เป็นต้น 3.3.5 กำรเกิดของดอกเห็ด เช่น ดอกเดี่ยว, ดอกเดี่ยวกระจำยเป็นวงกว้ำง, เป็นกระจุกหรือ ขึ้นเป็นกลุ่ม เป็นต้น 3.3.6 ลักษณะผิวของหมวกเมื่อสัมผัส 3.3.7 สีของเนื้อในและกำรเกิดน้ ำยำงของเนื้อเห็ดด้ำนใน รวมถึงกำรเปลี่ยนสีเมื่อถูกอำกำศ

3.4 กำรบันทึกภำพเห็ดรำ โดยได้ถ่ำยภำพเห็ดให้ครบทุกด้ำนของดอกเห็ด ทุกระยะกำร เจริญเติบโต ควำมผันแปรของขนำด ลักษณะกำรขึ้นของดอกเห็ด และจะต้องผ่ำดอกเห็ดตำมยำว เพื่อให้เห็น ลักษณะกำรติดของครีบ ลักษณะเนื้อในหมวก และก้ำนด้วย นอกจำกนี้ในกำรถ่ำยรูปควรใช้ไม้บรรทัดเป็น สเกล พร้อมรองพื้นด้วยผ้ำสีด ำหรือสีเข้มที่ไม่สะท้อนแสงในภำพถ่ำยด้วย 42

3.5 เก็บตัวอย่ำงเห็ดรำโดยใช้ช้อนปลูกหรือมีด เก็บให้ได้ทุกระยะกำรเจริญเติบโต ตั้งแต่ดอกอ่อน จนถึงดอกแก่ ควรเก็บดอกเห็ดให้มีโครงสร้ำงที่สมบูรณ์มำกที่สุด และเห็นเส้นใยที่โคนดอกว่ำขึ้นกับวัสดุใดกำรเก็บ เห็ดควรแยกเห็ดแต่ละชนิดไว้คนละห่อกัน ส่วนภำชนะที่ใช้ห่อเห็ดควรเป็นกระดำษหนังสือพิมพ์ หรือกระดำษไข เพื่อเก็บรักษำควำมชื้นของดอกเห็ดไว้ได้ เพรำะถ้ำดอกเห็ดแห้งสีของดอกเห็ดอำจเปลี่ยนไปน ำตัวอย่ำงที่ห่อกระดำษ เก็บรักษำไว้ในตะกร้ำที่แข็งแรงป้องกันดอกเห็ดช้ ำหรือหัก 3.6 เมื่อกลับมำถึงที่พัก น ำตัวอย่ำงดอกเห็ดที่เก็บมำจำกในแปลงตัวอย่ำง มำตรวจพิสูจน์ ลักษณะอย่ำงหยำบ (Macro-Identification) หรือลักษณะทำงสัณฐำนวิทยำที่เหลือจำกกำรตรวจสอบเบื้องต้น ในป่ำ เช่น ขนำด, สี, พิมพ์สปอร์, กลิ่น, รสชำติ, กำรเป็นเงำ, กำรมียำงไหล, ลักษณะหมวกเห็ด, ครีบ, รูท่อ, ก้ำนดอก, ห่วงหรือวงแหวน, ปลอกก้ำนดอก, สิ่งประดับดอกเห็ด เป็นต้น แล้วบันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์ม เก็บข้อมูลเห็ดรำ เพื่อเป็นข้อมูลในกำรวินิจฉัยชื่อต่อไป 3.7 ท ำกำรพิมพ์สปอร์ (เฉพำะเห็ดครีบ) กำรพิมพ์สปอร์ต้องท ำขณะที่ดอกเห็ดยังสดอยู่ โดย ตัดส่วนของก้ำนออกให้ชิดกับครีบ คว่ ำดอกด้ำนที่มีครีบลงระหว่ำงกระดำษสีขำว-ด ำ เก็บไว้ในกล่องปิดฝำ ประมำณ 2 ชั่วโมง หรือ 1 คืน ครบก ำหนดเวลำแล้วเงยดอกเห็ดขึ้น เพื่อตรวจดูสีของสปอร์ที่ปรำกฏบน กระดำษ บันทึกข้อมูลของสปอร์ลงในแบบฟอร์มเก็บข้อมูลเห็ดรำ

4. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 ความหลากหลายด้านชนิดพันธุ์ 4.1.1 กำรจ ำแนกชนิด จะใช้รูปอนุกรมวิธำนกำรจ ำแนกสกุลเห็ดครีบ (กิตติมำ, 2556) นอกจำกนี้ยังตรวจสอบจำกเอกสำรของ กลุ่มงำนกีฏวิทยำและจุลชีววิทยำป่ำไม้ (2554), กลุ่มงำนวิชำกำร (2555 ง), งำนจุลชีววิทยำป่ำไม้ (2552), นิวัฒ (2553), ฝ่ำยสิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยำและพลังงำน (2550), รำชบัณฑิตยสถำน (2539), ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภำพแห่งชำติ (2544), ส ำนักงำนพัฒนำเศรษ กิจจำกฐำนชีวภำพ (2552), ส ำนักวิจัยกำรอนุรักษ์ป่ำไม้และพันธุ์พืช (2554), อนงค์ และคณะ (2551) และ อุทัยวรรณ และคณะ (2539) หลังจำกนั้น จะส่งให้ผู้เชี่ยวชำญตรวจสอบควำมถูกต้องอีกครั้ง โดยกำรศึกษำ เห็ดรำในครั้งนี้ กำรจ ำแนกชนิด (classification) และชื่อชนิดพันธุ์ จะยึดชื่อและชนิดพันธุ์ตำม Chandrasrikul, et al. (2011) 4.1.2 จัดท ำเป็นบัญชีรำยชื่อ พร้อมระบุจ ำนวนชนิด ตำมตัวอย่ำงในภำคผนวกที่ 4 4.1.3 ตรวจสอบข้อมูลกำรใช้ประโยชน์ของเห็ดว่ำเป็นเห็ดกินได้หรือเห็ดมีพิษ และ ตรวจสอบ หน้ำที่ในระบบนิเวศอีกครั้ง (ตรวจซ้ ำข้อมูลที่บันทึกในภำคสนำม) โดยตรวจสอบจำกเอกสำรอ้ำงอิง แล้วบันทึก เห็ดรำลงในตำรำงข้อมูลควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ดตำมภำคผนวกที่ 32 4.1.4 ทั้งนี้เห็ดที่ไม่สำมำรถจ ำแนกชนิดได้ แต่คำดว่ำน่ำจะต่ำงชนิดกันจะถูกตั้งชื่อตำมรหัส ตัวอย่ำง เพื่อให้สำมำรถน ำมำวิเครำะห์ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยได้ 4.2 ค านวณค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ ด้วยสูตรของ Shannon-Wiener Index of Diversity ในแต่ละแปลงตัวอย่ำง ตำมสูตรดังนี้

S H´ = - ∑ Pi (ln Pi) i = 1 H´ = ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ S = จ ำนวนชนิดพันธุ์ทั้งหมด 43

Pi = สัดส่วนของจ ำนวนเห็ดชนิดที่ i ต่อผลรวมของจ ำนวนเห็ด ทั้งหมดของทุกชนิดในสังคม

4.3 ค านวณค่าความสม่ าเสมอ ด้วยสูตรของ Shannon Evenness ในแต่ละแปลงตัวอย่ำงตำม สูตรดังนี้ J´ = H´

ln S J´ = ค่ำควำมสม่ ำเสมอ H´ = ค่ำดัชนีควำมหลำกหลำยของชนิด ตำมสูตร Shanon-Wiener S = จ ำนวนชนิดพันธุ์ทั้งหมด 4.4 วิจารณ์ผลและสรุปผล จำกข้อมูลที่วิเครำะห์ และเปรียบเทียบกับกำรตรวจเอกสำร

44

ระยะเวลาด าเนินการ กำรส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในพื้นที่เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัด อุทัยธำนี ได้ด ำเนินกำรส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ จ ำนวน 3 ด้ำน ได้แก่ พรรณพืช, แมลง และเห็ด เริ่มด ำเนินกำรส ำรวจและรวบรวมข้อมูลควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ และข้อมูลทุติยภูมิของพื้นที่ศึกษำ ตั้งแต่ เดือนตุลำคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนกันยำยน พ.ศ. 2560 (ตำรำงที่ 2) ตารางที่ 2 กำรด ำเนินกำรส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในพื้นที่เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง การด าเนินงาน เดือน 1. รวบรวมข้อมูลควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ เดือนตุลำคม–เดือนพฤศจิกำยน พ.ศ. 2559 และข้อมูลทุติยภูมิของพื้นที่ศึกษำ 2. ส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของพรรณพืช เดือนพฤศจิกำยน พ.ศ. 2559 เดือนมีนำคม พ.ศ. 2560 เดือนเมษำยน พ.ศ. 2560 3. ส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของแมลง ฤดูร้อนเดือนมีนำคม พ.ศ. 2560 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน และฤดูฝน ฤดูฝนเดือนเมษำยน พ.ศ. 2560 4. ส ำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของเห็ด เดือนมิถุนำยน-เดือนกรกฎำคม พ.ศ. 2560 5. วิเครำะห์ข้อมูล และเขียนรำยงำนกำรส ำรวจ เดือนตุลำคม-เดือนพฤศจิกำยน พ.ศ. 2560

45

บทที่ 4 ผลการส ารวจ

1. ความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืช 1.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืช ผลการส ารวจความหลากหลายของพรรณพืชในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัด อุทัยธานี ด าเนินการระหว่างปี พ.ศ. 2555-2559 ด้วยการวางแปลงตัวอย่างชั่วคราวขนาด 20x50 ตารางเมตร ศึกษาสังคมพืชที่พบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง มาแล้ว 3 ชนิดป่า ได้แก่ สังคมพืชป่าเต็งรัง สังคมพืช ป่าเบญจพรรณ และสังคมพืชป่าดิบแล้ง ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ด าเนินการวางแปลงทั้งหมด 10 แปลง ตัวอย่าง โดยด าเนินการส ารวจในสังคมป่าดิบเขาจ านวน 4 แปลงตัวอย่าง และป่าเบญจพรรณ 6 แปลงตัวอย่าง โดยในสังคมพืชป่าเบญจพรรณนั้นเป็นการศึกษาเพิ่มเติม ซึ่งได้ด าเนินการส ารวจในสังคมพืชป่าเบญจพรรณไป แล้วจ านวน 18 แปลงตัวอย่าง (รวมทั้งหมด 24 แปลงตัวอย่าง) ซึ่งการรายงานฉบับนี้จะได้ท าการบรรยาย สังคมพืชป่าเบญจพรรณในภาพรวมของผืนป่าห้วยขาแข้ง ส าหรับป่าดิบเขาจะท าการรายงานการบรรยายสังคม พืชเฉพาะเบื้องต้นจากจ านวนแปลงตัวอย่างที่เก็บไปแล้ว 4 แปลงตัวอย่าง โดยมีผลการส ารวจดังต่อไปนี้ ผลการศึกษาพบพรรณไม้ในสังคมพืชเบญจพรรณ และสังคมพืชป่าดิบเขาที่สามารถจ าแนกได้ พบพรรณไม้จ านวน 305 ชนิด 203 สกุล 79 วงศ์ หรือแบ่งตามวิสัยได้เป็นไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม 226 ชนิด, ไม้ เลื้อยและไม้รอเลื้อย 35 ชนิด, ไม้ล้มลุก 33 ชนิด, กล้วยไม้ 1 ชนิด, เฟิน 5 ชนิด, ปาล์ม 1 ชนิด และไผ่ 4 ชนิด (ตารางที่ 3) บัญชีรายชื่อพรรณไม้ทั้งหมดตามภาคผนวกที่ 1 ตารางที่ 3 จ านวนชนิดพรรณไม้จ าแนกตามวิสัยที่พบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

วิสยั จำ นวนชนิด ไมย้ ืนตน้ และไมพ้ มุ่ 226 ไมเ้ ลอื้ ยและไมร้ อเลอื้ ย 35 ไมล้ ้มลุก 33 กล้วยไม้ 1 เฟนิ 5 ปาล์ม 1 ไผ่ 4 รวมทงั้ หมด 305 46

ป่าเบญจพรรณ จากผลการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพรรณ (ปี พ.ศ. 2556-2560) พบ พรรณไม้ทั้งหมด 225 ชนิด 159 สุกล 66 วงศ์ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืชสูงสุด 5 วงศ์แรก ได้แก่ วงศ์ถั่ว (FABACEAE) 32 ชนิด, วงศ์ชบา () 24 ชนิด, วงศ์กระเพรา (LAMIACEAE) 13 ชนิด, วงศ์เปล้า (EUPHORBIACEAE) 10 ชนิด และวงศ์เข็ม (RUBIACEAE) 9 ชนิด (ภาพที่ 15)

ภาพที่ 15 วงศ์ที่มีจ านวนชนิดพันธุ์พืชสูงสุด 5 วงศ์แรก วงศ์ที่มีจ านวนต้นมากที่สุด 5 วงศ์แรก ของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ความสูงระดับอก (GBH) มากกว่า 15 เซนติเมตร. ได้แก่ วงศ์เปล้า (EUPHORBIACEAE) 353 ต้น, วงศ์ถั่ว (FABACEAE) 191 ต้น, วงศ์ตะแบก (LYTHRACEAE) 170 ต้น, วงศ์ชบา (MALVACEAE) 147 ต้น และวงศ์ล าไย (SAPINDACEAE) 133 ต้น (ภาพที่ 16)

ภาพที่ 16 วงศ์ที่มีจ านวนต้นมากที่สุด 5 วงศ์แรก 47

ป่าดิบเขา จากผลการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพรรณ (ปี พ.ศ. 2560) พบพรรณไม้ ทั้งหมด 89 ชนิด 67 สกุล 38 วงศ์ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืชสูงสุด 5 วงศ์แรก ได้แก่ วงศ์อบเชย (LAURACEAE) 12 ชนิด, วงศ์ตาเสือ (MELIACEAE) 8 ชนิด, วงศ์เปล้า (EUPHORBIACEAE) 7 ชนิด, วงศ์หว้า (MYRTACEAE) 5 ชนิด และวงศ์ล าไย (SAPINDACEAE) 5 ชนิด (ภาพที่ 17)

ภาพที่ 17 วงศ์ที่มีจ านวนชนิดพันธุ์พืชสูงสุด 10 วงศ์แรก วงศ์ที่มีจ านวนต้นมากที่สุด 5 วงศ์แรก ของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ความสูงระดับอก (GBH) มากกว่า 15 เซนติเมตร. ได้แก่ วงศ์อบเชย (LAURACEAE) 57 ต้น, วงศ์เปล้า (EUPHORBIACEAE) 44 ต้น, วงศ์ล าไย (SAPINDACEAE) 28 ต้น, วงศ์ข้าวสาร (PRIMULACEAE) 17 ต้น, และวงศ์ตาเสือ (MELIACEAE) 16 ต้น (ภาพที่ 18)

ภาพที่ 18 วงศ์ที่มีจ านวนต้นมากที่สุด 10 วงศ์แรก 48

1.2 ลักษณะเชิงปริมาณของสังคมพืช ชนิดพรรณไม้ที่ส าคัญที่มีค่า IV 30 อันดับแรกในสังคมพืชป่าเบญจพรรณ ผลการวิเคราะห์ค่าความส าคัญของหมู่ไม้ทั้ง 24 แปลง พบว่า องค์ประกอบของพรรณพืช ที่เป็นไม้ยืนต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ความสูงระดับอก (GBH) มากกว่า 15 เซนติเมตร ขึ้นไป มีทั้งสิ้น 137 ชนิด โดยชนิด ที่ส าคัญ (IV สูงสุด) 30 ล าดับแรก ได้แก่ ตะคร้อ (21.44), เปล้าแพะ (19.74), เปล้าใหญ่ (16.68), ตะแบกเปลือกบาง (15.80), สวอง (12.13), เสลาขาว (10.92), ปอขาว (9.51), ประดู่ (7.34), ติ้วเกลี้ยง (7.11), ขี้อ้าย (7.08) เป็นต้น (ตารางที่ 3) รายละเอียดชื่อ วิทยาศาสตร์ และสถานภาพ ปรากฏในภาคผนวกที่ 1 (ตารางบัญชีรายชื่อพรรณไม้) และภาคผนวกที่ 6 (ภาพ พรรณไม้ที่ส าคัญตามค่า IV สูงสุด 30 ชนิดแรก) ส าหรับในภาพรวมขององค์ประกอบพรรณพืชที่เป็นไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ความสูงระดับอก (GBH) น้อยกว่า 15 เซนติเมตร สูงมากกว่า 130 เซนติเมตร มีทั้งสิ้น 86 ชนิด โดยชนิดที่ส าคัญ (IV สูงสุด) 30 ล าดับแรก ได้แก่ เปล้าใหญ่ (29.40), ปอบิด (22.10), เปล้าแพะ (17.44), เสี้ยวป่า (8.27), กระเจาะ (6.23), สะแกนา (6.09), คนทา (5.99), ข้าวตาก (5.55), ตะแบกเปลือกบาง (5.33), แคหางค่าง (4.71) เป็นต้น (ตารางที่ 4) รายละเอียดชื่อวิทยาศาสตร์ และสถานภาพ ปรากฏในตารางผนวกที่ 1 49

ตารางที่ 4 ค่าความส าคัญ (IV) 30 อันดับแรกของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ)

Relative NO Species BA (sq-m/ha) Density Dominance Frequency IV Density Dominance Frequencey 1 ตะคร้อ 25.943 47.5 1.081 30 7.65 5.73 8.06 21.44 2 เปล้าแพะ 10.247 69.2 0.427 22.92 11.35 2.27 6.12 19.74 3 เปล้าใหญ่ 9.825 57.9 0.409 18.75 9.5 2.18 5 16.68 4 ตะแบกเปลือกบาง 30.245 33.8 1.260 13.33 5.54 6.7 3.56 15.8 5 สวอง 37.687 8.8 1.570 8.75 1.44 8.35 2.34 12.13 6 เสลาขาว 32.340 10 1.348 7.92 1.64 7.17 2.11 10.92 7 ปอขาว 15.600 17.9 0.650 11.67 2.94 3.46 3.11 9.51 8 ประดู่ 21.033 7.5 0.876 5.42 1.23 4.66 1.45 7.34 9 ตวิ้ เกลี้ยง 6.081 17.5 0.253 10.83 2.87 1.35 2.89 7.11 10 ขี้อา้ ย 18.563 7.9 0.773 6.25 1.3 4.11 1.67 7.08 11 มะกอก 15.208 7.1 0.634 6.25 1.16 3.37 1.67 6.2 12 กระเจาะ 3.198 17.1 0.133 9.58 2.8 0.71 2.56 6.07 13 ข้าวตาก 7.948 15.4 0.331 5.42 2.53 1.76 1.45 5.74 14 ปรู 13.292 6.7 0.554 4.58 1.09 2.95 1.22 5.26 15 แดง 6.402 10 0.267 7.5 1.64 1.42 2 5.06 16 งิ้วป่า 5.257 10 0.219 7.92 1.64 1.16 2.11 4.91 17 กาสามปีก 8.950 6.7 0.373 6.67 1.09 1.98 1.78 4.85 18 สมอร่อง 5.994 11.7 0.250 5.42 1.91 1.33 1.45 4.69 19 แคหางคา่ ง 2.293 12.1 0.096 7.92 1.98 0.51 2.11 4.6 20 ผ่าเสี้ยน 7.367 6.3 0.307 5.42 1.03 1.63 1.45 4.11 21 กระบก 10.741 3.3 0.448 2.92 0.55 2.38 0.78 3.71 22 มะเกลือเลือด 8.967 4.2 0.374 3.75 0.68 1.99 1 3.67 23 เมา่ ไข่ปลา 1.448 10 0.060 6.25 1.64 0.32 1.67 3.63 24 ชิงชัน 7.707 4.2 0.321 3.75 0.68 1.71 1 3.39 25 ฉนวน 8.776 3.8 0.366 2.92 0.62 1.94 0.78 3.34 26 แสมสาร 3.649 7.1 0.152 5 1.16 0.81 1.33 3.3 27 เกด็ ด า 1.331 9.2 0.056 5.42 1.5 0.3 1.45 3.25 28 ตะแบกเกรียบ 1.658 9.6 0.069 4.17 1.57 0.37 1.11 3.05 29 คนทา 1.661 7.1 0.069 5.42 1.16 0.37 1.45 2.98 30 ราชพฤกษ์ 2.214 6.3 0.092 5.42 1.03 0.49 1.45 2.97

50

ตารางที่ 5 ค่าความส าคัญ (IV) 30 อันดับแรกของไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ)

Number of Number of Relative NO Species Density Frequency IV tree subplot Density Frequencey 1 เปล้าใหญ่ 157 60 4.1 25 16.17 13.29 29.4 2 ปอบิด 155 28 4 11.67 15.93 6.17 22.1 3 เปล้าแพะ 99 33 2.6 13.75 10.17 7.27 17.44 4 เสี้ยวป่า 29 24 0.8 10 2.98 5.29 8.27 5 กระเจาะ 22 18 0.6 7.5 2.26 3.96 6.23 6 สะแกนา 40 9 1 3.75 4.11 1.98 6.09 7 คนทา 39 9 1 3.75 4.01 1.98 5.99 8 ข้าวตาก 24 14 0.6 5.83 2.47 3.08 5.55 9 ตะแบกเปลือกบาง 24 13 0.6 5.42 2.47 2.86 5.33 10 แคหางคา่ ง 18 13 0.5 5.42 1.85 2.86 4.71 11 จันมนั 18 11 0.5 4.58 1.85 2.42 4.27 12 นมววั 21 9 0.5 3.75 2.16 1.98 4.14 13 แข้งแคระ 20 9 0.5 3.75 2.06 1.98 4.04 14 เกด็ ด า 10 10 0.3 4.17 1.03 2.2 3.23 15 สะทิบ 15 7 0.4 2.92 1.54 1.54 3.08 16 พลับพลา 19 5 0.5 2.08 1.95 1.1 3.05 17 เสลาขาว 12 8 0.3 3.33 1.23 1.76 3 18 ชิงชี่ 11 8 0.3 3.33 1.13 1.76 2.89 19 ปรู 10 8 0.3 3.33 1.03 1.76 2.79 20 ตวิ้ เกลี้ยง 12 7 0.3 2.92 1.23 1.54 2.78 21 เมา่ ไข่ปลา 9 8 0.2 3.33 0.92 1.76 2.69 22 คางแมว 14 5 0.4 2.08 1.44 1.1 2.54 23 มะเมา่ สาย 11 6 0.3 2.5 1.13 1.32 2.45 24 ตะแบกเกรียบ 9 6 0.2 2.5 0.92 1.32 2.25 25 ปอเจี๋ยน 8 6 0.2 2.5 0.82 1.32 2.14 26 ไข่เตา่ 12 4 0.3 1.67 1.23 0.88 2.11 27 ล าป้าง 10 4 0.3 1.67 1.03 0.88 1.91 28 โมกมนั 6 5 0.2 2.08 0.62 1.1 1.72 29 พญารากด า 8 4 0.2 1.67 0.82 0.88 1.7 30 อนิ ทนิลบก 5 5 0.1 2.08 0.51 1.1 1.62 51

ชนิดพรรณไม้ที่ส าคัญที่มีค่า IV 30 อันดับแรกในสังคมพืชป่าดิบเขา ผลการวิเคราะห์ค่าความส าคัญของหมู่ไม้ทั้ง 4 แปลง พบว่า องค์ประกอบของพรรณพืชที่ เป็นไม้ยืนต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ความสูงระดับอก (GBH) มากกว่า 15 เซนติเมตร ขึ้นไป มีทั้งสิ้น 96 ชนิด โดยชนิด ที่ส าคัญ (IV สูงสุด) 30 ล าดับแรก ได้แก่ มะคัดดง (18.27), สะทิบ (14.55), พิลังกาสา (12.32), ฝาละมี (10.97), ล าไยป่า (10.03), จ าปีศรีเมืองไทย (9.43), หมีโป้ง (8.51), ทังช่อ (8.50), ตีนเป็ดเขา (8.35), ทะโล้ (7.61) เป็นต้น (ตารางที่ 5) รายละเอียดชื่อ วิทยาศาสตร์ และสถานภาพ ปรากฏในภาคผนวกที่ 1 (ตารางบัญชีรายชื่อพรรณไม้) และภาคผนวกที่ 7 (ภาพ พรรณไม้ที่ส าคัญตามค่า IV สูงสุด 30 ชนิดแรก) ส าหรับในภาพรวมขององค์ประกอบพรรณพืชที่เป็นไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ความสูงระดับอก (GBH) น้อยกว่า 15 เซนติเมตร สูงมากกว่า 130 เซนติเมตร มีทั้งสิ้น 17 ชนิด โดยชนิดที่ส าคัญ (IV สูงสุด) 17 ล าดับแรก ได้แก่ มะคัดดง (61.55), พิลังกาสา (34.10), มะลิไส้ไก่ (23.36), กระดูกไก่ (8.53), ล าไยป่า (8.53), สอยดาว (8.53), เชียด (8.53), เสลาขาว (8.53) เป็นต้น (ตารางที่ 6) รายละเอียดชื่อวิทยาศาสตร์ และสถานภาพ ปรากฏในตารางผนวกที่ 1

52

ตารางที่ 6 ค่าความส าคัญ (IV) 30 อันดับแรกของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา)

Relative NO Species BA (sq-m/ha) Density Dominance Frequency IV Density Dominance Frequencey 1 มะคดั ดง 2.588 75 0.647 42.5 9.87 1.47 6.93 18.27 2 สะทิบ 4.395 47.5 1.099 35 6.38 2.43 5.74 14.55 3 พลิ ังกาสา 5.294 42.5 1.324 22.5 5.7 2.93 3.69 12.32 4 ฝาละมี 17.123 5 4.281 5 0.67 9.48 0.82 10.97 5 ล าไยป่า 4.178 30 1.045 22.5 4.03 2.31 3.69 10.03 6 จ าปีศรีเมอื งไทย 11.646 10 2.912 10 1.34 6.45 1.64 9.43 7 หมโี ป้ง 5.481 22.5 1.370 15 3.02 3.03 2.46 8.51 8 ทังช่อ 11.303 7.5 2.826 7.5 1.01 6.26 1.23 8.5 9 ตนี เป็ดเขา 9.710 10 2.428 10 1.34 5.37 1.64 8.35 10 ทะโล้ 8.371 10 2.093 10 1.34 4.63 1.64 7.61 11 พญารากด า 5.773 17.5 1.443 10 2.35 3.2 1.64 7.19 12 กรวยใบเกลี้ยง 3.059 20 0.765 15 2.68 1.69 2.46 6.83 13 หน่วยนกงมุ 5.314 10 1.329 7.5 1.34 2.94 1.23 5.51 14 แกว้ ลาย 4.428 10 1.107 10 1.34 2.45 1.64 5.43 15 ยางโอน 1.442 15 0.361 15 2.01 0.8 2.46 5.27 16 เชียด 3.285 12.5 0.821 10 1.68 1.82 1.64 5.14 17 อเี มง็ 0.698 17.5 0.174 12.5 2.35 0.39 2.05 4.79 18 หมากสะคงั่ 1.046 15 0.262 12.5 2.01 0.58 2.05 4.64 19 ต าแยแมว 1.160 17.5 0.290 10 2.35 0.64 1.64 4.63 20 ไทรย้อยใบทู่ 6.590 2.5 1.648 2.5 0.34 3.65 0.41 4.4 21 คอแลน 0.541 15 0.135 12.5 2.01 0.3 2.05 4.36 22 ตาเสือใหญ่ 1.399 12.5 0.350 10 1.68 0.77 1.64 4.09 23 หวา้ ห้วย 0.538 12.5 0.135 12.5 1.68 0.3 2.05 4.03 24 เมา่ ช้าง 3.074 7.5 0.769 7.5 1.01 1.7 1.23 3.94 25 HE60_2-7 5.621 2.5 1.405 2.5 0.34 3.11 0.41 3.86 26 หอมไกลดง 1.559 10 0.390 10 1.34 0.86 1.64 3.84 27 ตองลาด 1.505 10 0.376 10 1.34 0.83 1.64 3.81 28 ก าพี้ 0.674 12.5 0.169 10 1.68 0.37 1.64 3.69 29 ตาเสือ 5.052 2.5 1.263 2.5 0.34 2.8 0.41 3.55 30 กว่ มขาว 0.379 12.5 0.095 10 1.68 0.21 1.64 3.53

53

ตารางที่ 7 ค่าความส าคัญ (IV) 17 อันดับแรกของไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา)

Number Number Relative NO Species Density Frequency IV of tree of subplot Density Frequencey 1 มะคดั ดง 16 13 2.5 32.5 32.67 28.93 61.55 2 พลิ ังกาสา 8 8 1.3 20 16.33 17.78 34.1 3 มะลิไส้ไก่ 6 5 0.9 12.5 12.24 11.11 23.36 4 กระดกู ไก่ 2 2 0.3 5 4.08 4.44 8.53 5 ล าไยป่า 2 2 0.3 5 4.08 4.44 8.53 6 สอยดาว 2 2 0.3 5 4.08 4.44 8.53 7 เชียด 2 2 0.3 5 4.08 4.44 8.53 8 เสลาขาว 2 2 0.3 5 4.08 4.44 8.53 9 ขี้หนอน 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26 10 ยางโอน 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26 11 ต าแยช้าง 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26 12 พญารากด า 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26 13 สะทิบ 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26 14 หมโี ป้ง 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26 15 หวา้ 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26 16 Orophea sp. 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26 17 กว่ มขาว 1 1 0.2 2.5 2.04 2.22 4.26

54

ชนิดพรรณไม้ที่ส าคัญที่มีค่า IV สูงสุด 5 อันดับแรกของป่าเบญจพรรณ ในแต่ละแปลงตัวอย่าง ไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีค่า IV สูงสุด 5 อันดับแรก โดยรวม ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ได้แก่ ตะคร้อ (21.44), เปล้าแพะ (19.74), เปล้าใหญ่ (16.68), ตะแบก เปลือกบาง (15.80) และสวอง (12.13) เมื่อพิจารณาแยกในแต่ละแปลงตามตารางที่ 7 พบว่า เปล้าแพะ และ เปล้าใหญ่ มีค่า IV สูงสุด ทั้งถึง 4 แปลงตัวอย่าง แสดงให้เห็นว่าเปล้าแพะ และเปล้าใหญ่มีการสืบพันธุ์และ เจริญเติบโตได้ดีกว่าพันธุ์ไม้ชนิดอื่นๆ จะเห็นได้ว่าพรรณไม้ในสกุล Croton เป็นพันธุ์ไม้เบิกน าที่ปรากฏในแปลง ตัวอย่างถึง 12 แปลงตัวอย่าง ซึ่งแสดงว่าพรรณไม้ในสกุล Croton มีการเจริญเติบโตได้ดี และสามารถเข้าปก คลุมพื้นที่แทนชนิดพันธุ์ไม้ชนิดอื่นๆ ได้ และรองลงมาก็คือ ตะคร้อ ซึ่งเป็นพรรณไม้ที่มีความเด่นรองลงมาจาก พรรณไม้ในสกุล Croton ซึ่งปรากฏในแปลงตัวอย่างจ านวนใกล้เคียงกับพรรณไม้ในสกุล Croton ถึง 11 แปลง ตัวอย่าง นอกจากนี้ยังมีพรรณไม้ชนิดอื่นๆ ที่มีความคล้ายคลึงกันในเกือบทุกแปลง เช่น ปอขาว, สวอง, ตะแบก เปลือกบาง, เสลาขาว, เป็นต้น ตารางที่ 8 ชนิดพันธุ์ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีค่าความส าคัญสูงสุด 5 อันดับ แรกของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ)

IV RANK 1 2 3 4 5 กางขี้มอด HKK56_MD1 ปอขาว (123.82) ตะคร้ า (28.88) กมุ่ บก (21.71) เกด็ ด า (21.15) (27.29) กระเจาะ HKK56_MD2 ปอขาว (82.63) มะกา (45.07) คางแมว (30.32) ทองเดอื นห้า (27.19) (34.89) แคหางคา่ ง เสลาเปลือกบาง HKK56_MD3 เปล้าแพะ (59.57) คางแมว (43.07) ปอขาว (27.41) (27.52) (27.45)

HKK56_MD4 กระเจาะ (58.52) ปอขาว (52.45) ปอฝ้าย (39.07) เปล้าแพะ (35.1) เกด็ ด า (29.14)

เสลาเปลือกบาง HKK56_MD5 ทองเดอื นห้า (48.21) งิ้วป่า (45.92) กระเจาะ (34.49) แสมสาร (30.7) (47.22) ตะแบกเกรียบ มะเกลือเลือด HKK56_MD6 เปล้าแพะ (64.42) แดง (20.73) สวอง (17.4) (61.06) (49.43)

HKK57_MD7 ชิงชัน (58.18) เสลาขาว (53.14) ขี้อา้ ย (44.14) มะคา่ โมง (35.47) อแี ปะ (34.2)

ยอเถื่อน HKK57_MD8 งิ้วป่า (73.85) มะกอก (30.29) ปอขาว (26.5) มะกกั (21.64) (27.37)

HKK57_MD9 งิ้วป่า (66.77) กระเจาะ (49.61) ตะคร้ า (37.03) ฉนวน (34.16) ตาตมุ่ บก (32.6)

กระเจาะ HKK57_MD10 สวอง (76.82) มะกอก (35.16) ตะคร้อ (24.99) มะคา่ โมง (24.74) (32.11) 55

ตารางที่ 8 ต่อ

IV RANK 1 2 3 4 5 ตะแบกเปลือกบาง ตวิ้ เกลี้ยง HKK58_MD11 ตะคร้อ (37.06) สวอง (26.44) ขี้อา้ ย (25.71) (87) (27.66) ตะแบกเปลือกบาง ผ่าเสี้ยน HKK58_MD12 ตะคร้อ (48.83) เปล้าแพะ (19.95) สวอง (18.73) (93.61) (21.85) ตะแบกเปลือกบาง HKK58_MD13 ตะคร้อ (56.72) ขี้อา้ ย (48.81) สวอง (47.04) เปล้าแพะ (28.58) (27.13) HKK58_MD14 เปล้าใหญ่ (42.29) สมอพเิ ภก (29.32) แดง (23.11) ตะคร้อ (21.29) โมกมนั (19.53) มะเกลือเลือด HKK58_MD15 เปล้าแพะ (92.98) ฉนวน (24.36) ตะคร้อ (19.25) กอ่ นก (15.68) (22.13)

HKK58_MD16 เปล้าแพะ (48.05) เปล้าใหญ่ (46.96) กระบก (26.4) เสลาขาว (19.23) ประดแู่ ดง (17.16)

HKK58_MD17 เปล้าใหญ่ (67.96) เปล้าแพะ (37.88) ฉนวน (21.67) อนิ ทนิลบก(19.19) ตะคร้อ (16.29)

HKK58_MD18 เปล้าใหญ่ (131.86) เปล้าแพะ (49.78) กระบก (32.94) พะยอม (31.59) ส้านใหญ่ (17.5) เสลาขาว ตะแบกเปลือกบาง HKK60_MD19 ตะคร้อ (115.84) สวอง (56.24) ปรู (24.98) (35.01) (24.67) มะเฟอื งช้าง HKK60_MD20 ปรู (46.77) เสลาขาว (46.34) ตะคร้อ (36.27) ชิงชัน (22.55) (33.23) HKK60_MD21 ปรู (47.05) ตะคร้อ (46.45) ประด ู่ (34.58) เสลาขาว (25.06) แดง (22.12)

มะขามป้อม HKK60_MD22 มะมว่ งป่า (32.99) ตวิ้ เกลี้ยง (28.16) โมกใหญ่ (17.41) เปล้าใหญ่ (17.03) (18.42) HKK60_MD23 สมอร่อง (38.92) เปล้าใหญ่ (27.8) ตะคร้อ (19.43) แคฝอย (19.33) คนทา (19.26)

HKK60_MD24 เปล้าใหญ่ (38.42) กาสามปีก (25.04) ตวิ้ เกลี้ยง (21.4) ตะคร้อ (20.33) ไข่เน่า (19.67) เปล้าใหญ่ ตะแบกเปลือกบาง HKK_MD ตะคร้อ (21.44) เปล้าแพะ (19.74) สวอง (12.13) (16.68) (15.80)

56

ไม้หนุ่ม(sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีค่า IV สูงสุด 5 อันดับแรก โดยรวมของเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ได้แก่ เปล้าใหญ่ (29.40), ปอบิด (22.10), เปล้าแพะ (17.44), เสี้ยวป่า (8.27) และ กระเจาะ (6.23) เมื่อพิจารณาข้อมูลในตารางที่ 8 พบว่ารายชื่อชนิดพันธุ์ที่ปรากฏและล าดับความส าคัญของ ชนิดพันธุ์เด่นยังคงเป็นพรรณไม้ในสกุล Croton ซึ่งได้แก่ เปล้าใหญ่ และเปล้าแพะ แสดงว่าพรรณไม้ในสกุล Croton มีการสืบต่อพันธุ์ที่ดี และยังเป็นไม้รุ่นของไม้ต้นอีกด้วย นอกจากพรรณไม้ในสกุล Croton ที่เป็นไม้รุ่น ของไม้ต้นแล้ว ยังมีพรรณไม้ชนิดอื่นๆ เป็นไม้รุ่นของไม้ต้น เช่น กระเจาะ, ข้าวตาก เป็นต้น และยังมีพรรณไม้ที่ เป็นไม้พุ่มและไม้เถาปรากฏอยู่ เช่น ปอปิด, เสี้ยวป่า, ปอเจี๋ยน, คนทา เป็นต้น ตารางที่ 9 ชนิดพันธุ์ของไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีค่าความส าคัญสูงสุด 5 อันดับแรก ของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ)

IV RANK 1 2 3 4 5 จันมนั , เกด็ ด า กระเจาะ, มะกอก, HKK56_MD1 - - - (57.14) ปอขาว (28.57)

HKK56_MD2 กระเจาะ (84.44) ปอบิด (52.22) ขี้หนอน (42.22) ปรู (21.11) -

จันมนั , กมุ่ บก, ตะแบกเกรียบ HKK56_MD3 คางแมว (87.25) กระเจาะ (41) มะกา, เปล้าแพะ - (30.75) (10.25)

HKK56_MD4 กระเจาะ (68.82) เกด็ ด า (31.95) ขี้หนอน (25.65) ปอขาว (15.98) นมววั , โมกมนั (11.21)

ชิงชัน, นมววั HKK56_MD5 กระเจาะ (84.44) - มะกา (34.29) - (48.57) ตะแบกเกรียบ HKK56_MD6 เปล้าแพะ (59.74) แข้งแคระ (24.34) ปอบิด (23.33) มะเฟอื งช้าง (11.05) (19.17) เถาวห์ นามเหลี่ยม, เสี้ยวป่า, HKK57_MD7 แข้งแคระ (68.57) ปอเจี๋ยน (34.29) - - คงคาเดอื ด, โมกมนั (24.29) เสี้ยวป่า, ตานด า, HKK57_MD9 ปอเจี๋ยน (90) - - - เกด็ ด า (36.67) เกด็ ด า, กางขี้มอด HKK57_MD10 แข้งแคระ (102.78) ปอเจี๋ยน (58.33) - - (19.44)

HKK58_MD11 เปล้าใหญ่ (65.4) พลับพลา (34.6) ปอบิด (31.38) สะแกนา (28.45) ประยงค ์ (12.32) 57

ตารางที่ 9 ต่อ

IV RANK 1 2 3 4 5 ตะแบกเปลือกบาง HKK58_MD12 ปอบิด (64.42) เปล้าใหญ่ (45.52) คนทา (17.45) แคหางคา่ ง (16.72) (23.19)

HKK58_MD13 ปอบิด (54.01) เปล้าใหญ่ (43.42) สะแกนา (25.91) ตวิ้ เกลี้ยง (11.49) คนทา (10.6)

ปอบิด, ชิงชัน, HKK58_MD14 เปล้าใหญ่ (64.1) เสี้ยวป่า (21.98) - ประด ู่ (17.22) ราชพฤกษ,์ ตะขบป่า, HKK58_MD15 เปล้าใหญ่ (79.64) สะทิบ (27.15) ล าเป็ด (25.34) หมเี หมน็ , เกด็ แดง - ตะแบกเปลือก บาง (13.57) เปล้าแพะ, สะทิบ, HKK58_MD16 เปล้าใหญ่ (38.7) ล าป้าง (31.73) - - เสลาขาว (24.04) พญารากด า HKK58_MD17 มะเมา่ สาย (39.23) เปล้าแพะ (31.23) เปล้าใหญ่ (25.69) สะทิบ (17.85) (31.38) แคหางคา่ ง ชิงชัน, ประด ู่ HKK58_MD18 ข้าวตาก (75.44) เปล้าแพะ (51.32) - (46.05) (13.6)

HKK60_MD19 เปล้าแพะ (95.8) นมววั (29.25) ข้าวตาก (27.8) ไข่เตา่ (27.19) หนามเกยี่ วไก ่ (15.23)

HKK60_MD20 เปล้าใหญ่ (54.21) ปรู, ชิงชี่ (45.8) - เสี้ยวป่า (37.41) นมววั (16.78)

HKK60_MD21 เปล้าใหญ่ (42.58) ชิงชี่ (41.46) เสี้ยวป่า (31.93) ปรู (26.05) ลาย (21.29)

เมา่ ไข่ปลา, เสี้ยวป่า กอ่ แพะ, ตวิ้ เกลี้ยง HKK60_MD22 - อนิ ทนิลบก (22.5) - (33.33) (21.67) เสลาขาว, เปล้าแพะ HKK60_MD23 คนทา (45.21) เสี้ยวป่า (29.58) กาสามปีก (22.5) เมา่ ไข่ปลา (17.42) (12.16) ตะคร้อ, ตาเสือใหญ่, HKK60_MD24 เปล้าใหญ่ (53.88) ยางโอน (27.15) เสี้ยวป่า (21.39) สมอร่อง (15.14) กรวยป่า (10.69)

HKK_MD เปล้าใหญ่ (29.40) ปอบิด (22.10) เปล้าแพะ (17.44) เสี้ยวป่า (8.27) กระเจาะ (6.23) 58

ชนิดพรรณไม้ที่ส าคัญที่มีค่า IV สูงสุด 5 อันดับแรกของป่าดิบเขา ในแต่ละแปลงตัวอย่าง ไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีค่า IV สูงสุด 5 อันดับแรก โดยรวม ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ได้แก่ มะคัดดง (18.27), สะทิบ (14.55), พิลังกาสา (12.32), ฝาละมี (10.97) และล าไยป่า (10.03) เมื่อพิจารณาแยกในแต่ละแปลงตามตารางที่ 9 เห็นว่า มะคัดดง เป็นชนิดพันธุ์ไม้ เด่นที่ปรากฏถึง 3 แปลงตัวอย่าง เนื่องจากมะคัดดงมีวิสัยเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก และมีการเจริญเติบโตได้ดีใน พื้นที่ที่เป็นร่มเงาในที่ชุ่มชื้น นอกจากมะคัดดงแล้วเรายังพบชนิดพันธุไม้ที่ชอบระบบนิเวศคล้ายกับมะคัดดง ที่ สามารถอยู่อาศัยภายใต้ร่มเงาของไม้ใหญ่ในป่าดิบเขาในที่ชุ่มชื้นได้ดีอีก ได้แก่ มะห้าใต้, ล าไยป่า, หมีโป้ง, สะทิบ เป็นต้น ในแปลงตัวอย่างยังปรากฏชนิดพันธุ์ไม้ที่เป็นองค์ประกอบที่บอกได้ว่าเป็นป่าดิบเขา ได้แก่ ทะโล้ มะห้าใต้ เป็นต้น ตารางที่ 10 ชนิดพันธุ์ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีค่าความส าคัญสูงสุด 5 อันดับแรกของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา)

IV RANK 1 2 3 4 5 ไทรย้อยใบท ู่ HKK60_HE1 สะทิบ (34.73) ทังช่อ (26.70) มะห้าใต ้ (14.20) หวา้ (13.81) (15.86) พญารากด า กรวยใบเกลยี้ ง HKK60_HE2 ตนี เป็ดเขา(25.60) มะคดั ดง (24.58) ทะโล้ (20.39) (26.06) (25.81) หน่วยนกงมุ HKK60_HE3 ฝาละม ี (37.08) ล าไยป่า (19.31) ต าแยแมว (17.31) มะคดั ดง (15.66) (18.09) จ าปีศรีเมอื งไทย HKK60_HE4 พลิ ังกาสา (46.14) หมโี ป้ง (35.91) มะคดั ดง (28.46) อเี มง็ (13.33) (15.06)

HKK60_HE มะคดั ดง (18.27) สะทิบ (14.55) พลิ ังกาสา (12.32) ฝาละม ี (10.97) ล าไยป่า (10.03)

59

ไม้หนุ่ม(sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีค่า IV สูงสุด 5 อันดับแรก โดยรวมของเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ได้แก่ มะคัดดง (61.55), พิลังกาสา (34.10), มะลิไส้ไก่ (23.36), กระดูกไก่ (8.53), ล าไยป่า (8.53), สอยดาว (8.53), เชียด (8.53) และเสลาขาว (8.53) เมื่อพิจารณารายชื่อพรรณไม้ที่ปรากฏใน แต่ละแปลงตัวอย่าง พบว่า ชนิดพันธุ์ไม้ที่ปรากฏในแปลงตัวอย่าง โดยส่วนใหญ่เป็นไม้รุ่นของไม้ยืนต้นและไม้ ต้นขนาดเล็ก ที่ปรากฏในแต่ละแปลงตัวอย่าง (ตารางที่ 10) ได้แก่ มะคัดดง, พิลังกาสา, ล าไยป่า และสะทิบ ตารางที่ 11 ชนิดพันธุ์ของไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีค่าความส าคัญสูงสุด 5 อันดับแรกของ แต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา)

IV RANK 1 2 3 4 5

กระดกู ไก,่ HKK60_HE1 มะคดั ดง (60) พลิ ังกาสา, สอยดาว - - สะทิบ (20) (40) ขี้หนอน, HKK60_HE2 มะลิไส้ไก ่ (88.32) มะคดั ดง (62.99) พญารากด า, เชียด - -

(16.23)

พลิ ังกาสา, ล าไยป่า, กว่ มขาว, หวา้ , เชียด, HKK60_HE3 - - - มะคดั ดง (40) Orophea sp. (20)

ยางโอน, หมโี ป้ง, HKK60_HE4 มะคดั ดง (75.71) พลิ ังกาสา (55.24) เสลาขาว (27.62) - ต าแยช้าง (13.81)

กระดกู ไก,่ ล าไยป่า, HKK60_HE มะคดั ดง (61.55) พลิ ังกาสา (34.1) มะลิไส้ไก ่ (23.36) สอยดาว, เสลาขาว, -

เชียด (8.53)

60

1.3 ลักษณะเชิงปริมาณอื่นๆ ของสังคมพืช ป่าเบญจพรรณ จากการศึกษาไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง มีลักษณะเชิงปริมาณโดยรวม ดังนี้ จ านวนต้นต่อแปลง มีค่าอยู่ระหว่าง 13-156 ต้นต่อแปลง (เฉลี่ย 61 ต้นต่อแปลง), จ านวนชนิดพันธุ์ต่อแปลง มีค่าอยู่ระหว่าง 8-31 ชนิดต่อแปลง (เฉลี่ย 18 ชนิดต่อ แปลง), ความหนาแน่น มีค่าอยู่ระหว่าง 130–1,560 ต้นต่อเฮกตาร์ (เฉลี่ย 610 ต้นต่อเฮกตาร์) และค่า พื้นที่หน้าตัด มีค่าอยู่ระหว่าง 3.7725-29.3103 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์ (เฉลี่ย 18.619 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์) (ตารางที่ 11) เมื่อพิจารณาในแต่ละแปลงตัวอย่างจะเห็นว่าแปลง HKK58_MD14 มีค่าความหนาแน่น สูงสุด และจ านวนต้นมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ในบริเวณนั้นเป็นพื้นที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เพราะพื้นที่โดย ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบ อยู่ใกล้กับล าห้วย สังคมพืชที่ขึ้นจึงมีหลายชนิดพันธุ์ และ ต้นไม้ส่วนใหญ่มีความสูง พอสมควร ป่าค่อนข้างทึบ เพราะในบริเวณนั้นมีไผ่ขึ้นปกคุลมกระจายทั่วพื้นที่ ต้นไม้ที่ต้องการแสงแดด จึงมี ความสูงมาก ทั้งนี้เพื่อการเจริญเติบโตของพรรณไม้ต่อไป ส าหรับ HKK60_MD21 มีพื้นที่หน้าตัดมากที่สุด แต่ กลับมีจ านวนชนิดน้อย เพราะว่าพื้นที่ในบริเวณที่วางแปลงเป็นพื้นที่ลาดชันเล็กน้อย พื้นที่อยู่ติดล าห้วย มีชั้น ดินที่ลึก และมีหินปะปนอยู่กับดิน ต้นไม้ในแปลงส่วนใหญ่ จึงมีขนาดใหญ่และสูง ตารางที่ 12 เปรียบเทียบข้อมูลเชิงปริมาณของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) จ าแนก ตามแปลงตัวอย่างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ)

PLOT จำ นวนตน้ (tree/plot) จำ นวนชนิด (sp./plot) พนื้ ทหี่ น้ำตดั (sq-m/ha) ควำมหนำแน่น (tree/ha) HKK56_MD1 37 10 9.128 370

HKK56_MD2 24 10 7.185 240

HKK56_MD3 39 14 3.773 390

HKK56_MD4 105 19 5.868 1050

HKK56_MD5 23 12 10.814 230

HKK56_MD6 69 14 11.115 690

HKK57_MD7 13 8 20.982 130

HKK57_MD8 28 13 6.622 280

HKK57_MD9 22 11 6.395 220 61

ตารางที่ 12 ต่อ

PLOT จำ นวนตน้ (tree/plot) จำ นวนชนิด (sp./plot) พนื้ ทหี่ น้ำตดั (sq-m/ha) ควำมหนำแน่น (tree/ha) HKK57_MD10 17 12 9.651 170

HKK58_MD11 75 19 29.310 750

HKK58_MD12 71 16 26.088 710

HKK58_MD13 52 18 23.596 520

HKK58_MD14 156 31 18.993 1560

HKK58_MD15 91 22 27.376 910

HKK58_MD16 79 23 23.745 790

HKK58_MD17 81 23 18.942 810

HKK58_MD18 50 9 16.215 500

HKK60_MD19 31 8 33.666 310

HKK60_MD20 28 15 26.352 280

HKK60_MD21 46 19 45.851 460

HKK60_MD22 75 33 16.847 750

HKK60_MD23 141 36 29.332 1410

HKK60_MD24 110 30 19.001 1100

HKK_MD 13-156 8-36 3.773-45.851 130-1560

เฉลยี่ 74 21 24.331 735 62

ป่าดิบเขา จากการศึกษาไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง มีลักษณะเชิงปริมาณโดยรวม ดังนี้ จ านวนต้นต่อแปลง มีค่าอยู่ระหว่าง 59-86 ต้นต่อแปลง (เฉลี่ย 75 ต้นต่อแปลง), จ านวนชนิดพันธุ์ต่อแปลง มีค่าอยู่ระหว่าง 34-38 ชนิดต่อแปลง (เฉลี่ย 36 ชนิดต่อแปลง), ความหนาแน่น มีค่าอยู่ระหว่าง 580–860 ต้นต่อเฮกตาร์ (เฉลี่ย 745 ต้นต่อเฮกตาร์) และค่าพื้นที่หน้าตัด มีค่า อยู่ระหว่าง 22.591-57.474 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์ (เฉลี่ย 45.168 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์) (ตารางที่ 12) เมื่อพิจารณาในแต่ละแปลงตัวอย่างจะเห็นว่าแปลง HKK60_HE4 มีความหนาแน่นของไม้ ต้นสูงสุด (860 ต้นต่อเฮกตาร์) เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันน้อย เป็นพื้นที่ราบเชิงเขา มีระดับความสูง จากน้ าทะเลปานกลางไม่ค่อยสูงมาก พื้นที่แปลงอยู่ใกล้กับล าห้วย ดินจึงมีความชื้นค่อนข้างสูง จึงท าให้มีพรรณ ไม้ขึ้นปกคลุมค่อนข้างมาก ส่วนแปลง HKK60_HE1 มีความหนาแน่นของต้นไม้น้อยที่สุด (580 ต้นต่อเฮกตาร์) เนื่องจากพื้นที่แปลงตัวอย่าง มีสภาพค่อนข้างเป็นพื้นที่โล่ง อยู่บนสันเขา จึงท าให้มีพรรณไม้ขึ้นปกคลุกอยู่น้อย ต้นไม้ส่วนใหญ่ที่ปรากฏในแปลงจึงมีความสูงอยู่มาก พรรณไม้พื้นล่างจึงมีการเจริญเติบโตได้ไม่ดี และตั้งตัวได้ ยาก ส่วนค่าพื้นที่หน้าตัดของแปลง แปลง HKK60_HE2 มีค่ามากที่สุด (57.474) เพราะต้นไม้ที่ปรากฏในแปลง มีต้นไม้ขนาดใหญ่และสูง ดินมีความชื้นค่อนข้างสูง จึงเหมาะแก่เจริญเติบโตของไม้ใหญ่ได้ดี และค่า พื้นที่หน้าตัดของแปลง HKK60_HE4 มีค่าน้อยที่สุด (22.591) เพราะต้นไม้ส่วนใหญ่ที่ปรากฏในแปลงมีขนาด ล าต้นเล็กเป็นส่วนใหญ่ ถึงแม้จะมีจ านวนต้นต่อแปลงมากกว่า HKK60_HE2 ก็ตาม ก็ไม่เพียงพอท าให้ค่า พื้นที่หน้าตัดสูงเทียบเท่ากัน ตารางที่ 13 เปรียบเทียบข้อมูลเชิงปริมาณของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) จ าแนก ตามแปลงตัวอย่างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา)

Plot จำ นวนตน้ (tree/plot) จำ นวนชนิด (sp./plot) พนื้ ทหี่ น้ำตดั (sq-m/ha) ควำมหนำแน่น (tree/ha)

HKK60_HE1 59 34 53.814 590

HKK60_HE2 74 38 57.474 740

HKK60_HE3 79 37 46.793 790

HKK60_HE4 86 36 22.591 860

HKK60_HE 59-86 34-38 22.591-57.474 590-860

เฉลยี่ 75 36 45.168 745

63

1.4 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity Index) และค่าความสม่ าเสมอ (Shannon Evenness) ป่าเบญจพรรณ ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในแปลงตัวอย่างทั้งหมด 5 แปลง (HKK_MD1-24) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง พบว่า ค่า H (́ Shannon-wiener’s Index) อยู่ระระหว่าง 1.771-4.613 (เฉลี่ย 3.327) และค่า J (́ Shannon Evenness) อยู่ระว่าง 0.559-0.963 (เฉลี่ย 0.830) (ตารางที่ 13 และภาพที่ 19) จากข้อมูลในตารางที่ 13 พบว่า แปลง HKK60_MD22 มีค่า H สูงสุด́ (4.613) แสดงให้ เห็นว่า ในแปลง HKK60_MD22 มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์มากที่สุด ทั้งนี้เนื่องมาจากมีจ านวนชนิดพันธุ์ ที่พบในแปลงมาก (33 ชนิด) และมีค่า J มาก́ แสดงว่าชนิดพันธุ์ไม้กับจ านวนต้นไม้ที่พบในแปลงมีการกระจาย อย่างสม่ าเสมอ เมื่อเทียบกับแปลง HKK60_MD23 ที่มีจ านวนชนิดมากที่สุด (36 ชนิด) แต่กับมีค่า J ́น้อย แสดงว่าชนิดพันธุ์ไม้กับจ านวนต้นไม้ที่พบในแปลงมีการกระจายไม่สม่ าเสมอ ส่วนแปลง HKK57_MD10 มีค่า J สูงสุด́ (0. 9635) แสดงให้เห็นว่า ในแปลง HKK57_MD10 มีการกระจายของชนิดพันธุ์ไม้และจ านวนต้น ใกล้เคียงกัน (12 ชนิด และ 17 ต้น ตามล าดับ) แต่ก็มีค่า H น้อย́ แสดงว่ามีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ น้อย ทั้งนี้เนื่องมาจากมีจ านวนชนิดพันธุ์ และจ านวนต้นที่พบในแปลงน้อย ตารางที่ 14 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และค่าความสม่ าเสมอ ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้น ขนาดเล็ก (small tree) ของแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ)

Plot จำ นวนตน้ (tree/plot) จำ นวนชนิด (sp./plot) Shannon-wiener's Index Shannon Evenness HKK56_MD1 37 10 2.744 0.826

HKK56_MD2 24 10 3.043 0.916

HKK56_MD3 39 14 3.389 0.890

HKK56_MD4 105 19 3.376 0.795 HKK56_MD5 23 12 3.307 0.922

HKK56_MD6 69 14 2.790 0.733

HKK57_MD7 13 8 2.873 0.958 64

ตารางที่ 14 ต่อ

Plot จำ นวนตน้ (tree/plot) จำ นวนชนิด (sp./plot) Shannon-wiener's Index Shannon Evenness HKK57_MD8 28 13 3.288 0.888

HKK57_MD9 22 11 3.171 0.917

HKK57_MD10 17 12 3.454 0.963

HKK58_MD11 75 19 3.305 0.778 HKK58_MD12 71 16 2.811 0.703

HKK58_MD13 52 18 3.515 0.843

HKK58_MD14 156 31 4.156 0.839

HKK58_MD15 91 22 3.307 0.742

HKK58_MD16 79 23 3.496 0.773

HKK58_MD17 81 23 3.424 0.757

HKK58_MD18 50 9 1.771 0.559

HKK60_MD19 31 8 2.122 0.707

HKK60_MD20 28 15 3.539 0.906

HKK60_MD21 46 19 3.764 0.886

HKK60_MD22 75 33 4.613 0.914

HKK60_MD23 141 36 4.356 0.843

HKK60_MD24 110 30 4.237 0.863

HKK_MD 13-156 8-36 1.771-4.613 0.559-0.963

เฉลยี่ 68 20 3.431 0.816 65

ภาพที่ 19 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และค่าความสม่ าเสมอ ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาด เล็ก (small tree) ของแต่ละแปลงตัวอย่างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าเบญจพรรณ) ป่าดิบเขา ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในแปลงตัวอย่างทั้งหมด (HKK_HE1-4) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง พบว่า ค่า H (́ Shannon-wiener’s Index) อยู่ระว่าง 4.510-4.864 (เฉลี่ย 4.705) และค่า J (́ Shannon Evenness) อยู่ระว่าง 0.872-0.934 (เฉลี่ย 0.909) (ตารางที่ 14 และภาพที่ 19) จากข้อมูลในตารางที่ 14 พบว่า แปลง HKK60_LM3 มีค่า H และ́ ค่า J สูงสุด́ (4.864 และ 0.934 ตามล าดับ) แสดงว่ามีความหลากหลายของชนิดพันธุ์มากที่สุด และมีชนิดพันธุ์ไม้กับจ านวนต้นไม้ที่ พบในแปลงมีการกระจายอย่างสม่ าเสมอแปลงมากกว่าแปลงอื่นๆ แต่จะเห็นว่าค่า H ในแต่ละแปลงก็มีค่า́ ใกล้เคียงกันกับแปลง HKK60_HE3 ทั้งนี้เนื่องจากในแต่ละแปลงตัวอย่างมีจ านวนชนิดพันธุ์และจ านวนต้นไม้ไม่ ความสม่ าเสมอกัน จึงท าให้มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์น้อยกว่านั้นเอง

66

ตารางที่ 15 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และค่าความสม่ าเสมอ ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้น ขนาดเล็ก (small tree) ในแต่ละแปลงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา)

Plot จำ นวนตน้ (tree/plot) จำ นวนชนิด (sp./plot) Shannon-wiener's Index Shannon Evenness HKK60_HE1 59 34 4.687 0.921

HKK60_HE2 74 38 4.759 0.907

HKK60_HE3 79 37 4.864 0.934

HKK60_HE4 86 36 4.510 0.872 HKK60_HE 59-86 34-38 4.510-4.864 0.872-0.934

เฉลยี่ 74.5 36.25 4.705 0.909

ภาพที่ 20 ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และค่าความสม่ าเสมอ ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาด เล็ก (small tree) ในแต่ละแปลงตัวอย่างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง (ป่าดิบเขา) 67

1.5 ความคล้ายคลึงกันระหว่างสังคมพืช (Species similarity) ป่าเบญจพรรณ ค่าความคล้ายคลึงกันระหว่างสังคมพืช ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง พบว่า ค่าดัชนีความคล้ายคลึงระหว่างแปลงตัวอย่าง มีความ คล้ายคลึงกันมากกว่า 50% มีเพียง 3 คู่เท่านั้น คือ แปลง HKK58_MD11 กับ HKK58_MD12 (56%), HKK58_MD16 กับ HKK58_MD17 (57%) และ HKK60_MD23 กับ HKK60_MD24 (50%) แม้ว่าการเลือก ต าแหน่งวางแปลงตัวอย่างจะกระจายอยู่ห่างกันก็ตาม (ภาพที่ 5 : ต าแหน่งการวางแปลง) ทั้งนี้เนื่องมาจาก สภาพพื้นที่ของทั้ง 6 แปลง มีชนิดพันธุ์ที่พบคล้ายคลึงกันมากกว่าแปลงอื่นๆ ซึ่งสังเกตได้จากค่าดัชนีความ คล้ายคลึงที่แปลงตัวอย่างทั้ง 3 คู่ มีค่าเกือบเท่ากัน นอกจากนี้ยังมีแปลงตัวอย่างที่มีค่าความดัชนีความ คล้ายคลึงกันสูง มากกว่า 40% ได้แก่ แปลง HKK56_MD1 กับ HKK56_MD2, HKK56_MD2 กับ HKK56_MD4, HKK56_MD3 กั บ HKK56_MD4, HKK56_MD3 กั บ HKK56_MD6, HKK58_MD11 กั บ HKK58_MD13, HKK58_MD13 กับ HKK60_MD19, HKK60_MD19 กับ HKK60_MD20, HKK60_MD19 กับ HKK60_MD21, HKK60_MD22 กับ HKK60_MD23 และ HKK60_MD22 กับ HKK60_MD24 ซึ่งจะเห็น ว่าแปลงตัวอย่างที่มีค่าความคล้ายคลึงกันมากถึง 40% ขึ้นไปนั้น ส่วนใหญ่เป็นแปลงที่อยู่ในสภาพพื้นที่ที่อยู่ ใกล้เคียงกัน มีองค์ประกอบของชนิดพันธุ์ที่คล้ายคลึงกัน และมีสภาพภูมิอากาศที่ใกล้เคียงกัน จึงท าให้แปลง ตัวอย่างมีค่าความดัชนีความคล้ายคลึงกันสูงตามที่ปรากฏขึ้นมาตามตารางที่ 14

68

ภาพที่ 21 ค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Similarity index) ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ระหว่างแปลงตัวอย่าง (ป่าเบญจพรรณ)

MD1 MD2 47 MD3 20 35 MD4 34 40 41 MD5 15 28 24 29 MD6 0 7 40 21 24 MD7 3 5 0 0 9 2 MD8 25 27 19 21 27 7 14 MD9 13 15 8 23 31 7 7 26 MD10 10 14 10 23 27 12 17 22 27 MD11 3 1 2 2 12 15 14 4 0 20 MD12 4 6 11 12 19 16 5 5 2 20 56 MD13 2 3 7 8 13 11 16 2 0 24 47 39 MD14 7 0 7 7 4 12 5 9 3 12 30 20 25 MD15 6 7 29 16 11 33 11 6 11 13 18 24 16 19 MD16 4 9 23 20 7 21 8 4 0 5 17 21 23 26 39 MD17 2 8 23 16 6 25 5 2 7 5 19 17 21 34 39 57 MD18 0 6 17 12 4 17 0 0 0 3 3 9 8 7 30 33 20 MD19 3 0 0 2 11 13 15 3 0 31 35 36 45 23 16 15 9 3 MD20 3 3 5 2 11 9 23 3 7 19 28 23 25 22 14 15 13 3 43 MD21 0 2 8 8 6 20 8 0 0 12 31 32 29 25 16 22 17 14 46 46 MD22 0 1 2 5 6 4 4 0 1 3 19 14 16 20 17 26 17 19 9 7 12 MD23 1 0 4 6 5 9 1 3 1 9 21 17 18 28 16 24 26 4 10 11 14 41 MD24 3 4 7 5 8 11 9 5 0 12 25 19 18 34 26 32 33 15 15 15 17 40 50 MD1 MD2 MD3 MD4 MD5 MD6 MD7 MD8 MD9 MD10 MD11 MD12 MD13 MD14 MD15 MD16 MD17 MD18 MD19 MD20 MD21 MD22 MD23 MD24 69

ป่าดิบเขา ค่าความคล้ายคลึงกันระหว่างสังคมพืช ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง พบว่า ค่าดัชนีความคล้ายคลึงระหว่างแปลงตัวอย่าง มีความ คล้ายคลึงกันมากกว่า 30% คือ แปลง HKK60_HE3 กับ HKK60_HE4 เนื่องจากต าแหน่งการเลือกวางแปลง อยู่ใกล้เคียงกัน และมีสภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงกัน (ตามภาพที่ 6 : ต าแหน่งการวางแปลง) และนอกจากนี้ยัง มีคู่แปลงตัวอย่างที่มีความคล้ายคลึงกันมากกว่า 20% ได้แก่ HKK60_HE2 กับ HKK60_HE4, HKK60_HE2 กับ HKK60_HE3 และ HKK60_HE1 กับ HKK60_HE2 จะเห็นว่าแปลงตัวอย่างที่มีค่าดัชนีความคล้ายคลึงเพียง แค่ 20% ทั้งนี้เนื่องจากแปลงตัวอย่างดังกล่าวเป็นแปลงที่พบอยู่ในระดับความสูงใกล้เคียงกัน และมี องค์ประกอบของชนิดพันธุ์ที่คล้ายคลึงกันอยู่น้อย จึงมีค่าความดัชนีความคล้ายคลึงเพียง 20% เท่านั้น (ตาราง ที่ 16) ตารางที่ 16 ค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Similarity index) ของไม้ต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ระหว่างแปลงตัวอย่าง (ป่าดิบเขา)

HKK60_HE1

HKK60_HE2 22

HKK60_HE3 14 23

HKK60_HE4 16 25 32

HKK60_HE1 HKK60_HE2 HKK60_HE3 HKK60_HE4 70

1.6 การบรรยายสังคมพืช การแบ่งสังคมพืชในการศึกษาครั้งนี้ อ้างอิงตามหลักการของ Kutintara (2008) คือ ในระดับ สังคมหลัก (subformation) พิจารณาจากองค์ประกอบของชนิดพันธุ์ และชนิดพันธุ์ที่เป็นดัชนีของสังคม ซึ่ง การศึกษาครั้งนี้ท าการวางแปลงตัวอย่างทั้งสิ้น 10 แปลงตัวอย่าง แบ่งเป็น ป่าเบญจพรรณ จ านวน 6 แปลง (ได้ท าการศึกษาไปแล้ว จ านวน 18 แปลง รวมทั้งหมด 24 แปลง) และป่าดิบเขา จ านวน 4 แปลง โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ป่าเบญจพรรณ (Dry mixed deciduous forest) ป่าเบญจพรรณ เป็นป่าผลัดใบ ที่พบในพื้นที่แห้งแล้ง มีฤดูแล้งที่ยาวนานมากกว่า 6 เดือน ปกติมีปริมาณน้ าฝนน้อยกว่า 1,200 มิลลิเมตรต่อปี พื้นที่ดังกล่าวมักเป็นพื้นที่ลาดเทที่มีการระบายน้ าดี มีดิน เนื้อหยาบอุ้มน้ าไม่ดี หรืออาจเป็นพื้นที่ที่มีชั้นดินตื้น มีหินโผล่ทั่วไป หรือมักพบบนภูเขาสูงชัน ในฤดูแล้งพรรณ ไม้เกือบ ทุกชนิดจะผลัดใบ และมีไฟป่าเกิดขึ้นเป็นประจ าในช่วงเดือนกุมภาพันธ์–เดือนเมษายน และผลิใบใหม่ ในช่วงเดือนพฤษภาคม ในช่วงที่ไม้ผลัดใบเรือนยอดทั้งป่าจะโล่งจนกระทั่งมองเห็นพื้นดินและพื้นหิน เรือนยอด ป่าสูง 8–35 เมตร ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความลึกของดิน และความลาดชันของพื้นที่ การกระจายตัวของป่าเบญจพรรณจะพบในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงหรือมีชั้นดินตื้น บริเวณที่พบ เช่น เทือกเขาหินแดง เทือกเขาทางตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณหน่วยพิทักษ์ป่ากะปุกกะเปียง เทือกเขาตอนใต้และตะวันตกเฉียงใต้ของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในบริเวณหน่วยพิทักษ์ป่าซับฟ้าผ่า และหน่วยพิทักษ์ป่ากรึงไกร ป่าเบญจพรรณในการส ารวจครั้งนี้สามารถแบ่งชั้นเรือนยอดเป็น 4 ชั้นเรือนยอด ดังนี้ 1. เรือนยอดชั้นบน มีความสูงประมาณ (25-) 30–35 เมตร เรือนยอดไม่ต่อเนื่อง ประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิด ชนิดพันธุ์ไม้เด่นในเรือนยอดชั้นนี้ ได้แก่ ปอขาว, ตะแบกเปลือกบาง, เสลาขาว, สมอร่อง, มะเกลือเลือด, ประดู่, แดง, แสมสาร, สวอง, กระเจาะ, งิ้วป่า, ขี้อ้าย, มะกอก, ทองเดือนห้า เป็นต้น 2. เรือนยอดชั้นรอง มีความสูง 8–25 เมตร พันธุ์ไม้เรือนยอดชั้นนี้ค่อนข้างหลากหลาย ชนิดพันธุ์ไม้เด่น เช่น เปล้าใหญ่, เปล้าแพะ, ตะคร้อ, กางขี้มอด, ตะคร้ า, จันมัน, แข้งแคะ, พลับพลา, เสี้ยวป่า, มะเม่าสาย, เม่าไข่ปลา, ขี้หนอน, ชิงชัน, ฉนวน, ราชพฤกษ์, ผ่าเสี้ยน, กรวยป่า, ข้าวตาก เป็นต้น 3. เรือนยอดชั้นล่าง สูงต่ ากว่า 8 เมตร เช่น เปล้าแพะ, ปอปิด, เม่าไข่ปลา, คนทา, เม่าสร้อย เป็นต้น รวมถึงลูกไม้และไม้ต้นขนาดเล็กของพันธุ์ไม้เรือนยอดชั้นบนและเรือนยอดชั้นรอง 4. ชั้นพื้นป่า สูงไม่เกิน 2 เมตร ได้แก่ ส้มกุ้งผา, หยาดหิน, ชาฤาษีน้อย, ผักกาดหิน, มะลิวัลย์เถา, ข่าลิง, กระทือลิง, เปราะใหญ่, เปราะป่า เป็นต้น ไผ่เป็นองค์ประกอบหลักของเรือนยอดชั้นบน และเรือนยอดชั้นล่าง ได้แก่ ไผ่ซางนวล, ไผ่หนาม, ไผ่รวก เป็นต้น 71

ภาพที่ 22 ภาพวาดโครงสร้างด้านตั้ง (profile diagram) และการกระจายตัวด้านราบ (plot plan) ของป่าเบญจพรรณ (แปลงที่ HKK60_MD24) 72

2. ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest) ป่าดิบเขาเป็นป่าไม่ผลัดใบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งพบในพื้นที่ที่มีความสูงจาก ระดับน้ าทะเลปากลาง 1,000-1,554 เมตร ในบริเวณพื้นที่ที่มีระดับความสูงมาก จะมีสภาพภูมิอากาศหนาว เย็นและมีความชื้นสูงตลอดปี ในฤดูหนาวจะมีอุณหภูมิต่ าถึง 0 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูปกติอุณหภูมิจะไม่เกิน 20 องศาเซลเซียส ในฤดูฝนตามยอดเขาจะถูกปกคลุมด้วยหมอก ท าให้ฝนตกชุกมากกว่าในพื้นที่อื่นๆและ โครงสร้างทางด้านตั้งของป่าดิบเขาในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งจะแปรผันไปตามลักษณะภูมิประเทศ คือ บริเวณยอดเขาสูงที่รับลมจัดจะมีไม้ใหญ่ขึ้นอยู่ห่างๆ พื้นป่ามีหญ้าและพืชล้มลุกขึ้นปกคลุมหนาแน่นบริเวณ หุบเขาที่มีดินลึก ตามกิ่งไม้และล าต้นของไม้ใหญ่มักมีมอส, เฟิน, กล้วยไม้ ขึ้นเกาะอยู่หนาแน่น นั้นแสดงถึงว่ามี ความชื้นสูง การกระจายตัวของป่าดิบเขาจะพบในพื้นที่สูงตามยอดเขาต่างๆ ตั้งแต่ 1,000 เมตรจาก ระดับน้ าทะเลปานกลางขึ้นไป บริเวณที่พบ ได้แก่ บริเวณเทือกเขาทางตอนเหนือและทางตะวันออกเฉียงใต้ ของพื้นที่, บริเวณยอดเขาปลายห้วยขาแข้ง, บริเวณเทือกเขาเขียว เทือกเขาใหญ่และเทือกเขาน้ าเย็น ป่าดิบเขาในการส ารวจครั้งนี้สามารถแบ่งชั้นเรือนยอดเป็น 2 ชั้นเรือนยอด ดังนี้ 1. เรือนยอดชั้นบน เป็นเรือนยอดหลักต่อเนื่องหนาแน่น มีความสูงประมาณ 20-35 เมตร พันธุ์ไม้เรือนยอดชั้นบนมีหลากหลายชนิด ชนิดพันธุ์ไม้เด่นที่ส าคัญ ได้แก่ ก่อหิน, ก่อเหน่ง, ก่อแอบ, ค้างคาวอีลิด, ตีนเป็ดเขา, มณฑา, หว้าดอย, กระท้อน, แหน, อินทวา เป็นต้น 2. เรือนยอดชั้นรอง ขึ้นกระจายห่างๆ สูงประมาณ (3-5-8-10) เมตร พันธุ์ไม้เรือน ยอดชั้นรอง ได้แก่ หนามมะเค็ด, หมากขี้อ้ายขาว, ล าไยป่า, มะคัดดง, ผักหวานเมา, ตาเสือใหญ่, ตะพุนเฒ่า, แก้วมหาวัน, พิลังกาสา เป็นต้น ชั้นคลุมดินไม่แน่นทึบมากนัก ส่วนใหญ่เป็นไม้ล้มลุก เช่น เฟิน, ขิงข่า, บอน และ กล้วยไม้ดิน หรือบางพื้นที่ที่มีช่องว่าง จะมีกล้าไม้ของพันธุ์ไม้ของเรือนยอดชั้นบนหนาแน่น

73

ภาพที่ 23 ภาพวาดโครงสร้างด้านตั้ง (profile diagram) และการกระจายตัวด้านราบ (plot plan) ของป่าดิบเขา (แปลงที่ HKK60_HE3) 74

2. ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง 2.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของผีเสื้อกลางวัน (Butterflies) การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันใน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ได้ด าเนินการในป่าเบญจพรรณ (สถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า, ห้วยเหลือง, แยก กม.13) ในการส ารวจพบผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 529 ตัว จ าแนกเป็น 106 ชนิด 62 สกุล 5 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) 389 ตัว 59 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ า (PIERIDAE) 65 ตัว 13 ชนิด, วงศ์ ผีเสื้อสีน้ าเงิน (LYCAENIDAE) 37 ตัว 19 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) 28 ตัว 10 ชนิด และวงศ์ ผีเสื้อบินเร็ว (HESPERIIDAE) 10 ตัว 5 ชนิด ในฤดูร้อน พบทั้งหมด 256 ตัว จ าแนกเป็น 65 ชนิด 40 สกุล 5 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) 201 ตัว 40 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ า (PIERIDAE) 31 ตัว 9 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) 11 ตัว 7 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อสีน้ าเงิน (LYCAENIDAE) 10 ตัว 7 ชนิด และวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว(HESPERIIDAE) 2 ตัว 2 ชนิด และในฤดูฝนพบทั้งหมด 273 ตัว จ าแนกเป็น 73 ชนิด 48 สกุล 5 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) 40 ตัว 187 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อสีน้ าเงิน (LYCAENIDAE) 14 ตัว 27 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ า (PIERIDAE) 34 ตัว 8 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) 18 ตัว 8 ชนิด และวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว(HESPERIIDAE) 7 ตัว 3 ชนิด มีรายละเอียดตามภาพที่ 24 ผีเสื้อกลางวันที่พบในฤดูร้อนปริมาณมากที่สุด 5 ล าดับแรก คือ ผีเสื้อกลาสีธรรมดา (Neptis hylas kamarupa) 56 ตัว, ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ (Euploea core godartii) 27 ตัว, ผีเสื้อโยมา (Yoma sabina vasuki) 15 ตัว, ผีเสื้อสีตาลจุดตาห้าธรรมดา (Ypthima baldus baldus) 12 ตัว และผีเสื้อจรกา สองขีด (Euploea sylvester harrisii) 9 ตัว ส่วนผีเสื้อกลางวันที่พบในฤดูฝนปริมาณมากที่สุด 5 ล าดับแรก คือ ผีเสื้อสีตาลจุดตาห้าธรรมดา (Ypthima baldus baldus) 38 ตัว, ผีเสื้อตาลพุ่มสี่จุดเรียง (Mycalesis mineus mineus) 21 ตัว, ผีเสื้อกลาสีธรรมดา (Neptis hylas kamarupa) 18 ตัว, ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา (Catopsilia pomona pomona f. hilaria) 15 ตัว และผีเสื้อแพนซีตาลไหม้ (Junonia iphita iphita) 12 ตัว มีรายละเอียดตามบัญชีรายชื่อในภาคผนวกที่ 2 และภาพตัวอย่างผีเสื้อกลางวันที่พบในพื้นที่ส ารวจ 24 ชนิด แสดงในภาคผนวกที่ 8

75

600 529 500 400 300 256 273 200 106 100 65 73 0 ฤดูร้อน ฤดูฝน รวมทั้งสองฤดู จ านวนตัว จ านวนชนิด

ภาพที่ 24 เปรียบเทียบการปรากฏของชนิดและปริมาณของผีเสื้อกลางวันที่พบในสังคมป่าเบญจพรรณ ฤดูร้อน ฤดูฝน และทั้งสองฤดูที่ส ารวจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ดัชนีความหลากหลายและค่าความสม่ าเสมอ เมื่อน าผลการส ารวจผีเสื้อกลางวันในพื้นที่ มาค านวณค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพตามสูตร ของ Shannon’s Index (H') และค่าความสม่ าเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness (J') พบว่า ค่าดัชนี ความหลากหลาย (H') ของฤดูร้อน (3.394) มีค่าน้อยกว่าฤดูฝน (3.696) ส่วนค่าความสม่ าเสมอ (J') ที่พบว่า ใน ฤดูร้อนมีค่าความสม่ าเสมอ (J' = 0.813) มีค่าน้อยกว่าในฤดูฝนมีค่า (J' = 0.862) และเมื่อน าทั้งสองฤดูมา ค านวนตามสูตรของ Shannon’s Index (H') และค่าความสม่ าเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness (J') พบว่ามีค่าความหลากหลาย (H') เท่ากับ 3.876 และค่าค่าความสม่ าเสมอ (J') เท่ากับ 0.831 (ภาพที่ 25)

5

3.696 3.876 4 3.394

3 2 0.813 0.862 0.831 1 0 ฤดูร้อน ฤดูฝน รวมทั้งสองฤดู

H' J'

ภาพที่ 25 ค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (H') และค่าความสม่ าเสมอ (J') ของผีเสื้อกลางวัน ที่ส ารวจใน ป่าเบญจพรรณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 76

เปรียบเทียบความคล้ายคลึงกันของผีเสื้อกลางวัน ที่ส ารวจพบในฤดูร้อนและฤดูฝน โดยใช้ แผนภาพ Venn diagram จากชนิดของผีเสื้อกลางวันที่ส ารวจพบในฤดูร้อน 65 ชนิด และชนิดของผีเสื้อกลาง วันที่ส ารวจพบในฤดูฝน 73 ชนิด พบว่ามีชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบทั้ง 2 ฤดู จ านวน 106 ชนิด พบเฉพาะในฤดู ร้อน 37 ชนิด และพบเฉพาะในฤดูฝน 45 ชนิด (ภาพที่ 26 มีค่าความคล้ายคลึงของชนิดผีเสื้อกลางวัน (ISs) เท่ากับ 40.58 %

ความคล้ายคลึง

ฤดูร้อน ฤดูฝน

ภาพที่ 26 แผนภาพ Venn diagram จ านวนชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ประจ าปีงบประมาณ 2560

77

2.2 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของมอท () การศึกษาความหลากหลายของมอทในป่าเบญจพรรณ ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง พบว่าในการส ารวจครั้งนี้ พบมอททั้งหมด 116 ตัว 45 ชนิด 40 สกุล 12 วงศ์ ในฤดูร้อน ส ารวจพบ 98 ตัว โดยเรียงล าดับจากมากไปหาน้อยคือ วงศ์มอทหนอนคืบ (Geometridae) 19 ตัว, วงศ์มอทหนอนกระทู้ (Noctuidae) 17 ตัว, วงศ์มอทลายเสือ(Arctiidae) 15 ตัว วงศ์ มอทหนอนมะไฟ (Zygaenidae) 10 ตัว และวงศ์มอทเหยี่ยว () 9 ตัว ในฤดูฝนส ารวจพบ 18 ตัว โดยเรียงล าดับจากมากไปหาน้อยคือ วงศ์มอทหนอนคืบ (Geometridae), วงศ์มอทหนอนกระทู้ (Noctuidae) และวงศ์มอทเหยี่ยว (Sphingidae) พบวงศ์ละ 3 ตัว, วงศ์มอทลายเสือ(Arctiidae) 2 ตัว, วงศ์ CRAMBIDAE, วงศ์มอทหนอนมังกร (Notodontidae) และวงศ์มอท LYMANTRIIDAE พบวงศ์ละ 1 ตัว ชนิดมอทที่พบในฤดูร้อน จ านวนที่พบมากที่สุด ได้แก่ มอท Macrobrochis prasena (Macrobrochis prasena) 9 ตัว, มอททองเงิน (Semiothisa eleonora) 9 ตัว, มอทเหยี่ยวป้ายชาดใหญ่ (Callambulyx rubricosa rubricosa) 8 ตัว, มอทหนอนมะไฟลายเลือน (Cyclosia papilionaris) 7 ตัว, มอท Limacodidae sp. (Limacodidae sp.) 6 ตัว และมอทลายเสือครีมท้องเหลือง (Creatonotos transiens) 5 ตัว ชนิดมอทที่พบในฤดูฝน จ านวนที่พบมากที่สุด ได้แก่ มอทเปลือกไม้ลายเลือน (Cleora pupillata) 3 ตัว, มอทลายเสือท้องแดง (Amerila astreus) 2 ตัว, มอทตานกฮูกเล็ก (Erebus caprimulgus) 2 ตัว, มอทลายเสือครีมท้องเหลือง (Creatonotos transiens), มอทหนอนชบาลายเลือน (Nausinoe pueritia) และมอทหนอนคืบเขียวขีดกลาง (Ornithospila submonstrans) พบชนิดละ 1 ตัว 2.3 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของด้วง (Beetles) การศึกษาความหลากหลายของด้วงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 ใน สังคมป่าเบญจพรรณพบด้วงจ านวน 1 สกุล 1 ชนิด คือ ด้วงกว่าง (Xylotrupes gideon) 2.4 แมลงคุ้มครองที่พบในพื้นที่ศึกษา จากการตรวจสอบสถานภาพแมลงคุ้มครองในพื้นที่ อยู่ในสถานภาพสัตว์ป่าคุ้มครอง พบ จ านวน 1 ชนิดคือ ผีเสื้อถุงทองธรรมดา (Troides aeacus thomsoni Bates)

78

3.ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด 3.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์เห็ด ผลการส ารวจความหลากหลายของเห็ดราในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัด อุทัยธานี ซึ่งด าเนินการในระบบนิเวศป่าดิบเขาและป่าเบญจพรรณ ด้วยการวางแปลงตัวอย่างชั่วคราวขนาด 20 x 50 เมตร จ านวน 8 แปลง โดยการเก็บข้อมูลแปลงละ 1 ครั้ง ในฤดูฝน ช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน พ.ศ. 2560 ในระบบนิเวศป่าดิบเขา พบเห็ดราทั้งหมด 14 ตัวอย่าง จ าแนกออกเป็น 13 ชนิด 12 สกุล 9 วงศ์ 6 อันดับ เมื่อจ าแนกตามบทบาทและหน้าที่ในระบบนิเวศ สามารถจ าแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ

1) กลุ่มเห็ดผู้ย่อยสลายอินทรียวัตถุ พบทั้งหมด 10 ชนิด เช่น ดาวดิน Geastrum sp.1, เห็ด ดันหมี Daldinia concentrica (Bolt.) Ces et De Not และ เห็ดจวักงู Amauroderma rugosum (Fr.) Tor เป็นต้น 2) กลุ่มเห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา พบทั้งหมด 3 ชนิด เช่น เห็ดโคน Termitomyces sp.1 และ ลูกดินสะเก็ด Scleroderma verrucosum Pers

วงศ์ที่พบจ านวนชนิดมากที่สุด 5 ล าดับแรก คือ วงศ์ Polyporaceae พบ 4 ชนิด วงศ์ Marasmiaceae พบ 2 ชนิด วงศ์ Ganodermataceae พบ 1 ชนิด วงศ์ Geastraceae พบ 1 ชนิด และ วงศ์ Russulaceae พบ 1 ชนิด (ภาพที่ 27)

ในระบบนิเวศป่าเบญจพรรณ พบเห็ดราทั้งหมด 19 ตัวอย่าง จ าแนกออกเป็น 18 ชนิด 11 สกุล 7 วงศ์ 5 อันดับ เมื่อจ าแนกตามบทบาทและหน้าที่ในระบบนิเวศ สามารถจ าแนกได้เป็น 1 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มเห็ดผู้ย่อยสลายอินทรียวัตถุ พบทั้งหมด 18 ชนิด เช่น เห็ดตีนตุ๊กแก Schizophyllum commune Fr., เห็ดหูหนู Auricularia sp.1 และ เห็ดรังผึ้ง Polyporus alveolaris (DC.:Fr.) Bond. & Sing. เป็นต้น วงศ์ที่พบจ านวนชนิดมากที่สุด 5 ล าดับแรก คือ วงศ์ Xylariaceae พบ 5 ชนิด วงศ์ Auriculariaceae พบ 4 ชนิด วงศ์ Marasmiaceae พบ 3 ชนิด วงศ์ Polyporaceae พบ 3 ชนิด และ วงศ์ Agaricaceae พบ 1 ชนิด (ภาพที่ 27) การศึกษาเห็ดราในครั้งนี้ พบชนิดเห็ดทั้งที่รับประทานได้และรับประทานไม่ได้ รายละเอียด และภาพถ่ายแต่ละชนิดอยู่ในภาคผนวกที่ 10-11

79

ภาพที่ 27 วงศ์ที่มีจ านวนชนิดเห็ดสูงสุด 5 ล าดับแรกที่พบในแต่ละชนิดป่า ผลการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดรา จ านวนชนิดพันธุ์ของเห็ดราที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าห้วยขาแข้ง ป่าเบญจพรรณ มีค่ามากกว่า ป่าดิบเขา รายละเอียดตามตารางที่ 17 และภาพที่ 28 ตารางที่ 17 ผลการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดราในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ชนิดป่า จ านวนชนิด จ านวนสกุล จ านวนวงศ์ จ านวนอันดับ ป่าดิบเขา 13 12 9 6 ป่าเบญจพรรณ 18 11 7 5

ภาพที่ 28 จ านวนชนิดพันธุ์ของเห็ดราในแต่ละชนิดป่า

80

ดัชนีความหลากหลายและค่าความสม่ าเสมอ ค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพตามสูตรของ Shannon-Wiener Index of Diversity (H ́) และค่าความสม่ าเสมอตามสูตรของ Shannon Evenness (J ́) โดยรวมของเห็ดราในป่าดิบเขา ในเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง มีค่า H ́ เฉลี่ย = 1.508 และค่า J ́ เฉลี่ย = 0.588 และเห็ดราในป่าเบญจ พรรณ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง มีค่า H ́ เฉลี่ย = 2.595 และค่า J ́ เฉลี่ย = 0.898 (ตารางที่ 18 และภาพที่ 29)

ตารางที่ 18 ค่าเฉลี่ยของค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและค่าความสม่ าเสมอของเห็ดราในแต่ละ ชนิดป่า

ชนิดป่า Shannon-Wiener Index Shannon-Evenness ป่าดิบเขา 1.508 0.588 ป่าเบญจพรรณ 2.595 0.898

ภาพที่ 29 ค่าเฉลี่ยของค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและค่าความสม่ าเสมอของเห็ดราในแต่ละชนิดป่า

81

บทที่ 5 สรุปและวิจารณ์ผลการส ารวจ

วิจารณ์ 1. ความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืช 1. ความหลากหลายด้านชนิดพันธุ์ เมื่อเปรียบเทียบบัญชีรายชื่อชนิดพันธุ์พืชที่ปรากฏใน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง พบว่า ป่าเบญจพรรณพบ 225 ชนิด (24 แปลง) และป่าดิบเขาพบ 90 ชนิด (4 แปลง) จะเห็นว่าความหลากชนิดของป่าเบญจพรรณมีมากที่สุด เนื่องจากจ านวนชนิดพันธุ์พืชที่รวบรวมนั้น เกิดจากการส ารวจข้อมูลในพื้นที่ที่มีจ านวนแปลงไม่เท่ากัน หากเมื่อเปรียบเทียบในปีเดียวกัน (ปี พ.ศ. 2560) ป่าเบญจพรรณพบ 81 ชนิด (6 แปลง) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ที่มีระบบนิเวศที่ชุ่มชื้นกว่าย่อมมีความ หลากหลายของชนิดพันธุ์สูงกว่าพื้นที่ที่มีระบบนิเวศที่แห้งแล้งกว่า 2. พรรณไม้ในป่าเบญจพรรณเมื่อแยกเป็นวงศ์ ที่มีจ านวนต้นมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ วงศ์ถั่ว (FABACEAE), วงศ์ชบา (MALVACEAE), วงศ์กระเพรา (LAMIACEAE), วงศ์เปล้า (EUPHORBIACEAE) และวงศ์เข็ม (RUBIACEAE) เมื่อเปรียบเทียบกับผลการศึกษาความหลากหลายของสังคมพืชป่าดิบเขาที่ส ารวจ ในปีเดียวกัน จะเห็นว่ามีจ านวน 1 วงศ์ ที่พบวงศ์เหมือนกัน คือ วงศ์เปล้า (EUPHORBIACEAE) ซึ่งถือว่าพบ วงศ์พรรณไม้เด่นที่มีคล้ายคลึงกันอยู่น้อยมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายชนิดแล้ว ชนิดพันธุ์ไม้ที่พบทั้งในป่า เบญจพรรณและป่าดิบเขาพบไม่กี่ชนิด ได้แก่ กรวยป่า, พญารากด า, มันปลา, ยางโอน, ล าไยป่า, ขี้หนอน, สะทิบ และหว้า ซึ่งแสดงให้เห็นว่าพรรณไม้เหล่านี้สามารถเจริญเติบโตได้ในระบบนิเวศที่ชุ่มชื้นในป่าดิบเขา และเป็นพรรณไม้เบิกน าของป่าทั้งสองชนิดด้วย 3. พรรณพืชที่มีความส าคัญ ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ที่เป็นไม้ยืนต้น (tree) และไม้ต้นขนาดเล็ก (small tree) ที่มีค่า IV สูงสุด 5 อันดับแรก ในป่าเบญจพรรณ ได้แก่ ตะคร้อ (21.44), เปล้าแพะ (19.74), เปล้าใหญ่ (16.68), ตะแบกเปลือกบาง (15.80) และสวอง (12.13) หากเปรียบเทียบกับ ข้อมูลจากการศึกษาของสถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า (2542) เป็นการวางแปลงขนาด 50x80 ตารางเมตร มี ชนิดพันธุ์ที่มีค่า IV สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ เปล้าใหญ่ (32.96), สะแกวัลย์ (27.74), ตะแบกเปลือกบาง (25.88), เสลาขาว (24.48), และตะคร้ า (20.19) เมื่อพิจารณาจากรูปโครงสร้างป่า (Profile diagram) จะเห็น ว่ามีลักษณะโครงสร้างป่าที่คล้ายคลึงกัน และมีองค์ประกอบของชนิดพันธุ์เหมือนกัน 2 ชนิด คือ เปล้าใหญ่ และ ตะแบกเปลือกบาง ความแตกต่างของผลการศึกษา เป็นเพราะการเลือกวิธีการวางแปลงที่แตกต่าง โดย สถานีวิจัยเขานางร า (2542) ใช้วิธีการเลือกวางแปลงขนาดใหญ่เพียง 1 แปลง ขนาดพื้นที่แปลง 4,000 ตาราง เมตร ส่วนการศึกษาครั้งนี้เลือกการวางแปลงขนาดเล็กกระจายให้ครอบคลุมหมู่ไม้ย่อยๆ ของป่าเบญจพรรณ ทั่วทั้งป่าห้วยขาแข้ง ในขนาดพื้นที่แปลง 18,000 ตารางเมตร จึงได้ความหลากหลายที่เป็นตัวแทนโดยรวมของ ป่าเบญจพรรณ 4. ค่าความหนาแน่นและพื้นที่หน้าตัด ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในสังคมพืชป่า เบญจพรรณ ขนาดของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป มีพื้นที่หน้าตัดเฉลี่ย 24.331 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์ และค่าความหนาน่าเฉลี่ย 735 ต้นต่อเฮกตาร์ ส่วนสังคมพืชป่าดิบเขา มีพื้นที่หน้าตัด เฉลี่ย 45.168 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์ และค่าความหนาน่าเฉลี่ย 745 ต้นต่อเฮกตาร์ สังเกตได้ว่าในป่าดิบเขามี ค่าความหนาแน่นมากกว่าป่าเบญจพรรณ และก็มีพื้นที่หน้าตัดมากกว่าป่าเบญจพรรณ แสดงว่าในป่าดิบเขา 82

เป็นป่าที่มีความหนาแน่นของต้นไม้มาก ต้นไม้ที่พบโดยส่วนใหญ่จะมีขนาดล าต้นที่ใหญ่ จึงท าให้พื้นที่หน้าตัด มากกว่า ซึ่งตรงกันข้ามกับป่าเบญจพรรณ ต้นไม้ที่พบจะมีขนาดแคระแกรน ท าให้ขนาดล าต้นหรือพื้นที่หน้าตัด จะน้อย ทั้งนี้เนื่องมาจากต้นไม้ในป่าเบญจพรรณจ านวนมากมีการแก่งแย่งอาหารและปัจจัยการเจริญเติบโต มากกว่าในป่าดิบเขา จึงท าให้ต้นไม้ในป่าดิบเขามีการเจริญเติบโตได้ดีมีและมีขนาดล าต้นใหญ่ 5. ค่าดัชนีความหลากหลาย ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในสังคมพืชป่าเบญจ พรรณ มีค่าดัชนีความหลากหลายเฉลี่ย 3.327 ค่าความสม่ าเสมอเฉลี่ย 0.830 และสังคมพืชป่าดิบเขา พบว่า มี ค่าดัชนีความหลากหลายเฉลี่ย 4.705 และค่าความสม่ าเสมอเฉลี่ย 0.909 แสดงให้เห็นว่าป่าดิบเขาเป็นป่าที่มี ความหลากหลายของพรรณไม้สูงกว่าพืชป่าเบญจพรรณเป็นอย่างมาก ตามที่ได้กล่าวไปแล้วใน ข้อ 1 2. ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง 1 .จากการส ารวจความหลากหลายผีเสื้อกลางวันในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งใน สังคมป่าเบญจพรรณ เปรียบเทียบในฤดูร้อนกับฤดูฝนพบว่า ฤดูฝนมีความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวัน ใกล้เคียงกับในฤดูร้อน โดยในฤดูฝนพบผีเสื้อกลางวัน 73 ชนิด ส่วนในฤดูร้อนพบ 65 ชนิด แต่อย่างไรก็ตาม ค่าดัชนีความคล้ายคลึง (40.58 %) แสดงให้เห็นว่าชนิดผีเสื้อในสองสังคมป่านี้มีความคล้ายคลึงกันค่อนข้างสูง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากความชื้น, ปริมาณน้ าฝน และพืชอาหารที่พบได้ในฤดูซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันไป ซึ่งตรง กับค ากล่าวของ ธานี (2555) พบว่าลักษณะของแต่ละสังคมป่าที่ท าการศึกษาจ านวนชนิด และจ านวนตัวของ ผีเสื้อกลางวันแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆ อย่างเช่น พืชอาหารของผีเสื้อกลางวัน การเลือกพื้นที่ในการ ส ารวจในแต่ละครั้ง ฤดูกาลในการจับ ซึ่งเหล่านี้ส่งผลต่อการออกมาหาอาหาร และการจับคู่ผสมพันธุ์ของผีเสื้อ กลางวัน ซึ่งท าให้ค่าดัชนีในแต่ละสังคมป่าแตกต่างกัน 2. ในการส ารวจความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันประจ าปี 2560 ค่าดัชนีความ หลากหลายของผีเสื้อกลางวันในฤดูร้อน (3.394) มีค่าน้อยกว่าในฤดูฝน (3.696) ซึ่งมีค่าแปรผันตรงกับจ านวน ชนิดที่ส ารวจได้ในแต่ละฤดูกาล (ฤดูร้อน ได้ 65 ชนิด, ฤดูฝน ได้ 73 ชนิด) เนื่องจากสภาพพื้นที่ป่าที่ท าการ ส ารวจในแต่ละฤดูกาลที่มีความแตกต่างกัน จึงท าให้จ านวนชนิดและค่าความหลากหลายทางชีวภาพมีความ แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ซึ่ง เราจะพบชนิดของผีเสื้อมากหรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่ความชื้นที่เหมาะสม และพืช อาหารอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การแพร่กระจายพันธุ์ของผีเสื้อกลางวัน แต่อย่างไรก็ตาม พงศ์เทพ (2552) รายงานว่า อุณหภูมิ แสง และความชื้นสัมพัทธ์มีผลต่อความชุกชุมของผีเสื้อกลางวัน ดังนั้นในการศึกษาเพื่อหา ความสัมพันธ์ระหว่างผีเสื้อกลางวันและปัจจัยแวดล้อม จ าเป็นต้องใช้ระยะเวลาส ารวจที่ยาวนานขึ้น แต่ใน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดท าบัญชีความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในพื้นที่ศึกษา จึงไม่ได้มีการ ส ารวจและเก็บข้อมูลปัจจัยแวดล้อม ในการวิจารณ์จึงเป็นเพียงการตั้งข้อสังเกตจากผลการศึกษาที่ได้เท่านั้น 3. ในการส ารวจมอทในปี พ.ศ. 2560 ในสังคมเบญจพรรณพบมอททั้งหมด 116 ตัว 45 ชนิด 40 สกุล 12 วงศ์ ในฤดูร้อนพบมอททั้งหมด 98 ตัว 36 ชนิด 32 สกุล 12 วงศ์ ในฤดูฝนมอททั้งหมด 18 ตัว 14 ชนิด 14 สกุล 7 วงศ์ และเมื่อรวมจ านวนวงศ์ที่พบทั้งสองฤดูได้ 4.08 % จากจ านวนวงศ์ที่พบทั้งหมด 14 วงศ์ เทียบจากรายงานที่พบว่ามอทในประเทศไทยมีมากกว่า 20,000 ชนิด และจ านวนวงศ์ทั้งสิ้น 29 วงศ์ (Hutacharern C. and Nopachon Tubtim, 1995)

83

3. ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด 1.ความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อเปรียบเทียบค่า H ́ ในแต่ละแปลง ไม่พบแนว ความสัมพันธ์ของค่า H ́ กับชนิดสังคมพืชย่อยที่ชัดเจน เนื่องจากมีจ านวนแปลงตัวอย่างที่น้อยเกินไป และมีการเก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมพืชย่อยอาจวิเคราะห์เชิงลึกใน ระดับชนิดพันธุ์ที่ปรากฏของเห็ดกับชนิดของซากพืชหรือต้นไม้ที่เห็ดราชนิดนั้นอาศัยอยู่ แต่การศึกษาครั้งนี้ไม่ สามารถกระท าได้ เนื่องจากการวินิจฉัยชนิดเห็ดราที่พบไม่สามารถระบุชื่อชนิดที่พบได้เพียงพอ และไม่ สามารถยืนยันได้ว่าเห็ดที่พบในแต่ละแปลงเป็นเห็ดราชนิดเดียวกัน แม้จะระบุชื่อได้ในระดับสกุล (Genus) เดียวกันก็ตาม เพราะการจะระบุชื่อชนิดได้จ าเป็นต้องมีการเก็บตัวอย่างที่สมบูรณ์ มีอุปกรณ์ เอกสารที่พร้อม และผู้วิจัยต้องมีความเชี่ยวชาญเพียงพอ ซึ่งหน่วยงานในระดับส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 ขาดแคลน 2. เมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาความหลากชนิดเห็ดราในแต่ละชนิดป่า (ผลการศึกษาของ พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ที่ด าเนินการในปีเดียวกัน) เรียงตามล าดับจากมาก – น้อย ดังนี้ ป่าเบญจพรรณ > ป่าดิบเขา (ตารางที่ 1) ปัจจัยที่น่าจะเกี่ยวข้องกับการพบจ านวนชนิดและดอกเห็ดจ านวนน้อยนั้น น่าจะมาจากช่วงเวลา การเข้าไปส ารวจเห็ดรา เป็นช่วงที่ฝนทิ้งช่วง ท าให้ซากพืชและป่าค่อนข้างแห้ง และเห็ดราที่พบส่วนใหญ่ยังเป็น เห็ดที่เก่าและแห้งแล้ว 3. การจ าแนกกลุ่มเห็ดราตามหน้าที่ในระบบนิเวศ จากข้อมูลการตรวจเอกสารของกลุ่มงาน วิชาการ ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษืที่ 12 (นครสวรรค์) (2555ก, 2555ข, 2555ค) และผลการศึกษาในปี พ.ศ. 2556-2559 และปี 2560 พบว่ากลุ่มเห็ดราส่วนใหญ่ในป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณชื้น และป่าเบญจ พรรณแล้ง (เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง) ส่วนใหญ่มากกว่า 50 % มีบทบาทเป็นกลุ่มผู้ย่อยสลาย อินทรียวัตถุ (saprophyte) ขณะที่กลุ่มเห็ดราส่วนใหญ่ในป่าเต็งรัง มีบทบาทเป็นเอคโตไมคอร์ไรซา (ectomycorrhiza) แสดงให้เห็นว่าชนิดพันธุ์ไม้ในป่าเต็งรังมีความ สัมพันธ์กับความหลากหลายของชนิด พันธุ์เห็ดรา ส่วนป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าเบญจพรรณชื้น และป่าเบญจพรรณแล้ง ความหลากหลายของ ชนิดพันธุ์เห็ดราสัมพันธ์กับระดับความชุ่มชื้นและชนิดพันธุ์ของซากพืชที่เห็ดราขึ้นอยู่ ทั้งนี้น่าจะเป็นเพราะว่า ในป่าเต็งรัง เป็นป่าที่แห้งแล้งมาก ดินไม่อุดมสมบูรณ์ มีปริมาณซากพืชบนพื้นป่าน้อยกว่าป่าชนิดอื่นๆ ดังนั้นเห็ดราที่ขึ้นได้ส่วนใหญ่จึงมีความจ าเป็นต้องพึ่งพาอาศัย (mutualism : การพึ่งพาอาศัยกันแบบ แยกจากกันไม่ได้) ร่วมกับรากของพืชที่มีชีวิตเพื่ออาศัยดูดอาหารจากรากพืช ส่วนเส้นใยเห็ดที่พันรอบราก พืชจะช่วยรักษาความชื้นและย่อยสลายธาตุอาหารในดิน ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ท าให้พืชผู้ให้อาศัย (host) เจริญเติบโตได้ดี โดยเฉพาะพืชในวงศ์ยาง (Dipterocarpaceae) ในป่าเต็งรังมักจะพบเห็ดราในกลุ่มนี้

84

สรุป 1. ความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืช 1. ความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืช ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งที่ด าเนินการส ารวจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รวมทั้ง 2 ชนิดป่า พบพรรณพืชที่สามารถจ าแนกชนิดได้ ทั้งไม้ยืนต้นจนถึงไม้พื้นล่าง พบจ านวน 305 ชนิด 203 สกุล 79 วงศ์ เมื่อแบ่งตามชนิดป่า ในป่าเบญจพรรณพบ 225 ชนิด 159 สุกล 66 วงศ์ และป่าดิบเขาพบ 90 ชนิด 67 สกุล 39 วงศ์ 2. ชนิดพรรณไม้ที่ส าคัญ (ค่า IV) 10 อับดับแรก ในสังคมพืชป่าเบญจพรรณ ที่เป็นไม้ต้นและไม้ต้นขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลาง มากกว่า 4.5 เซนติเมตร ได้แก่ ตะคร้อ (21.44), เปล้าแพะ (19.74), เปล้าใหญ่ (16.68), ตะแบกเปลือกบาง (15.80), สวอง (12.13), เสลาขาว (10.92), ปอขาว (9.51), ประดู่ (7.34), ติ้วเกลี้ยง (7.11) และขี้อ้าย (7.08) ส่วนพรรณไม้ที่เป็นไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง น้อยกว่า 4.5 เซนติเมตร สูงมากกว่า 130 เซนติเมตร ได้แก่ เปล้าใหญ่ (29.40), ปอบิด (22.10), เปล้าแพะ (17.44), เสี้ยวป่า (8.27), กระเจาะ (6.23), สะแกนา (6.09), คนทา (5.99), ข้าวตาก (5.55), ตะแบกเปลือกบาง (5.33) และแคหางค่าง (4.71) ในสังคมพืชป่าดิบเขา ที่เป็นไม้ต้นและไม้ต้นขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลาง มากกว่า 4.5 เซนติเมตร ได้แก่ มะคัดดง (18.27), สะทิบ (14.55), พิลังกาสา (12.32), ฝาละมี (10.97), ล าไยป่า (10.03), จ าปีศรีเมืองไทย (9.43), หมีโป้ง (8.51), ทังช่อ (8.50), ตีนเป็ดเขา (8.35) และทะโล้ (7.61) ส่วนพรรณไม้ที่ เป็นไม้หนุ่ม (sapling) และไม้พุ่ม (shrub) ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง น้อยกว่า 4.5 เซนติเมตร สูงมากกว่า 130 เซนติเมตร ได้แก่ มะคัดดง (61.55), พิลังกาสา (34.10), มะลิไส้ไก่ (23.36), กระดูกไก่ (8.53), ล าไยป่า (8.53), สอยดาว (8.53), เชียด (8.53) และเสลาขาว (8.53) 3. ค่าดัชนีความหลากหลาย ในป่าเบญจพรรณ มีค่าดัชนีความหลากหลาย (Shannon-wiener’s Index) อยู่ระ ระหว่าง 1.771-4.613 (เฉลี่ย 3.327) และค่าความสม่ าเสมอ (Shannon Evenness) อยู่ระหว่าง 0.559-0.963 (เฉลี่ย 0.830) ส่วนในสังคมพืชป่าดิบเขา ค่าดัชนีความหลากหลาย (Shannon-wiener’s Index) อยู่ ระหว่าง 4.510-4.864 (เฉลี่ย 4.705) และค่าความสม่ าเสมอ (Shannon Evenness) อยู่ระหว่าง 0.872-0.934 (เฉลี่ย 0.909)

85

4. ลักษณะเชิงปริมาณอื่นๆ สังคมพืชป่าเบญจพรรณ พบว่า จ านวนต้นต่อแปลง มีค่าอยู่ระหว่าง 13-156 ต้นต่อแปลง (เฉลี่ย 61 ต้นต่อแปลง), จ านวนชนิดพันธุ์ต่อแปลง มีค่าอยู่ระหว่าง 8-31 ชนิดต่อแปลง (เฉลี่ย 18 ชนิดต่อ แปลง), ความหนาแน่น มีค่าอยู่ระหว่าง 130–1,560 ต้นต่อเฮกตาร์ (เฉลี่ย 610 ต้นต่อเฮกตาร์) และค่า พื้นที่หน้าตัด มีค่าอยู่ระหว่าง 3.7725-29.3103 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์ (เฉลี่ย 18.619 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์) สังคมพืชป่าดิบเขา พบว่า จ านวนต้นต่อแปลง มีค่าอยู่ระหว่าง 59-86 ต้นต่อแปลง (เฉลี่ย 75 ต้นต่อแปลง), จ านวนชนิดพันธุ์ต่อแปลง มีค่าอยู่ระหว่าง 34-38 ชนิดต่อแปลง (เฉลี่ย 36 ชนิดต่อแปลง), ความหนาแน่น มีค่าอยู่ระหว่าง 580–860 ต้นต่อเฮกตาร์ (เฉลี่ย 745 ต้นต่อเฮกตาร์) และค่าพื้นที่หน้าตัด มีค่า อยู่ระหว่าง 22.591-57.474 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์ (เฉลี่ย 45.168 ตารางเมตรต่อเฮกตาร์)

86

2. ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง 2.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของผีเสื้อกลางวัน (Butterflies) 1.สังคมป่าเบญจพรรณ ผีเสื้อกลางวันพบทั้งหมด 529 ตัว จ าแนกเป็น 106 ชนิด 62 สกุล 5 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) 389 ตัว 59 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ า (PIERIDAE) 65 ตัว 13 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อสีน้ าเงิน (LYCAENIDAE) 37 ตัว 19 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) 28 ตัว 10 ชนิด และ วงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (HESPERIIDAE) 10 ตัว 5 ชนิด ส่วนชนิดของผีเสื้อกลางวันที่พบในป่าเบญจพรรณปริมาณมาก ที่สุด 5 ล าดับแรก คือ ผีเสื้อกลาสีธรรมดา (Neptis hylas kamarupa) 74 ตัว, ผีเสื้อสีตาลจุดตาห้าธรรมดา (Ypthima baldus baldus) 50 ตัว, ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ (Euploea core godartii) 29 ตัว, ผีเสื้อตาลพุ่มสี่ จุดเรียง (Mycalesis mineus mineus) 21 ตัว, ผีเสื้อเณรธรรมดา (Eurema hecabe contubernalis)และ ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา(Catopsilia pomona pomona f. hilaria) พบชนิดละ 8 ตัว การศึกษาค่าดัชนีความ หลากหลายของชนิด H´ = 3.876 และ ค่าความสม่ าเสมอของชนิด J´ = 0.831 2.สังคมป่าดิบเขา ผีเสื้อกลางวันพบทั้งหมด 19 ตัว 12 ชนิด 9 สกุล 4 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) 14 ตัว 8 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ า (PIERIDAE) 2 ตัว 1 ชนิด, วงศ์ผีเสื้อสีน้ าเงิน (LYCAENIDAE) 2 ตัว 2 ชนิด และวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว(HESPERIIDAE) 1 ตัว 1 ชนิด ส่วนชนิดของผีเสื้อกลางวันที่ พบในป่าดิบเขาปริมาณมากที่สุด 5 ล าดับแรก คือ ผีเสื้อตาลพุ่มเหลือบม่วง (Mycalesis francisca sanatana) 5 ตัว, ผีเสื้อตาลพุ่มสี่จุดเรียง (Mycalesis mineus mineus), ผีเสื้อขาวแคระ(Leptosia nina nina), ผีเสื้อกลาสีธรรมดา(Neptis hylas kamarupa) พบชนิดละ 2 ตัว การศึกษาค่าดัชนีความหลากหลาย ของชนิด H´ = 2.302 และ ค่าความสม่ าเสมอของชนิด J´ = 0.926 ความคล้ายคลึงกันของผีเสื้อกลางวัน ที่ส ารวจพบในสังคมป่าเบญจพรรณ มีค่าความคล้ายคลึงของชนิดผีเสื้อ กลางวัน (ISs) เท่ากับ 40.58 %

2.2 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของมอท (Moths) การศึกษาความหลากหลายของมอทในป่าเบญจพรรณ ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง พบว่าในการส ารวจครั้งนี้ พบมอททั้งหมด 116 ตัว 45 ชนิด 40 สกุล 12 วงศ์ ในฤดูร้อน ส ารวจพบ 98 ตัว โดยเรียงล าดับจากมากไปหาน้อยคือ วงศ์มอทหนอนคืบ (Geometridae) 19 ตัว, วงศ์มอทหนอนกระทู้ (Noctuidae) 17 ตัว, วงศ์มอทลายเสือ(Arctiidae) 15 ตัว วงศ์ มอทหนอนมะไฟ (Zygaenidae) 10 ตัว และวงศ์มอทเหยี่ยว (Sphingidae) 9 ตัว ในฤดูฝนส ารวจพบ 18 ตัว โดยเรียงล าดับจากมากไปหาน้อยคือ วงศ์มอทหนอนคืบ (Geometridae), วงศ์มอทหนอนกระทู้ (Noctuidae) และวงศ์มอทเหยี่ยว (Sphingidae) พบวงศ์ละ 3 ตัว, วงศ์มอทลายเสือ(Arctiidae) 2 ตัว, วงศ์ CRAMBIDAE, วงศ์มอทหนอนมังกร (Notodontidae) และวงศ์มอท LYMANTRIIDAE พบวงศ์ละ 1 ตัว ชนิดมอทที่พบในฤดูร้อน จ านวนที่พบมากที่สุด ได้แก่ มอท Macrobrochis prasena (Macrobrochis prasena) 9 ตัว, มอททองเงิน (Semiothisa eleonora) 9 ตัว, มอทเหยี่ยวป้ายชาดใหญ่ (Callambulyx rubricosa rubricosa) 8 ตัว, มอทหนอนมะไฟลายเลือน (Cyclosia papilionaris) 7 ตัว, มอท Limacodidae sp. (Limacodidae sp.) 6 ตัว และมอทลายเสือครีมท้องเหลือง (Creatonotos transiens) 5 ตัว 87

ชนิดมอทที่พบในฤดูฝน จ านวนที่พบมากที่สุด ได้แก่ มอทเปลือกไม้ลายเลือน (Cleora pupillata) 3 ตัว, มอทลายเสือท้องแดง (Amerila astreus) 2 ตัว, มอทตานกฮูกเล็ก (Erebus caprimulgus) 2 ตัว, มอทลายเสือครีมท้องเหลือง (Creatonotos transiens), มอทหนอนชบาลายเลือน (Nausinoe pueritia) และมอทหนอนคืบเขียวขีดกลาง (Ornithospila submonstrans) พบชนิดละ 1 ตัว 2.3 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของด้วง (Beetles) การศึกษาความหลากหลายของด้วงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 ใน สังคมป่าเบญจพรรณพบด้วงจ านวน 1 สกุล 1 ชนิด คือ ด้วงกว่าง (Xylotrupes gideon) 2.4 แมลงคุ้มครองที่พบในพื้นที่ศึกษา จากการตรวจสอบสถานภาพแมลงคุ้มครองในพื้นที่ อยู่ในสถานภาพสัตว์ป่าคุ้มครอง พบ จ านวน 1 ชนิดคือ ผีเสื้อถุงทองธรรมดา (Troides aeacus thomsoni Bates)

3. ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด ในป่าดิบเขา พบเห็ดราทั้งหมด 13 ชนิด 12 สกุล 9 วงศ์ 6 อันดับ จ าแนกตามบทบาทและ หน้าที่ในระบบนิเวศ สามารถจ าแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเห็ดผู้ย่อยสลายอินทรียวัตถุ และกลุ่มเห็ดเอคโตไม คอร์ไรซา วงศ์ที่พบจ านวนชนิดมากที่สุด 5 ล าดับแรก คือ Polyporaceae พบ 4 ชนิด วงศ์ Marasmiaceae พบ 2 ชนิด วงศ์ Ganodermataceae พบ 1 ชนิด วงศ์ Geastraceae พบ 1 ชนิด และ วงศ์ Russulaceae พบ 1 ชนิด ในป่าเบญจพรรณ พบเห็ดราทั้งหมด 18 ชนิด 11 สกุล 7 วงศ์ 5 อันดับ จ าแนกตามบทบาท และหน้าที่ในระบบนิเวศ สามารถจ าแนกได้เป็น 1 กลุ่ม คือ กลุ่มเห็ดผู้ย่อยสลายอินทรียวัตถุ วงศ์ที่พบจ านวน ชนิดมากที่สุด 5 ล าดับแรก คือ วงศ์ Xylariaceae พบ 5 ชนิด วงศ์ Auriculariaceae พบ 4 ชนิด วงศ์ Marasmiaceae พบ 3 ชนิด วงศ์ Polyporaceae พบ 3 ชนิด และ วงศ์ Agaricaceae พบ 1 ชนิด ค่าความหลากหลายทางชีวภาพ เห็ดราในป่าดิบเขา มีค่า H ́ เฉลี่ย = 1.508 และค่า J ́ เฉลี่ย = 0.588 และเห็ดราในป่าเบญจพรรณ มีค่า H ́ เฉลี่ย = 2.595 และค่า J ́ เฉลี่ย = 0.898

88

บทที่ 6 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

1. ความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืช การศึกษา ความหลากหลายของสังคมพืชป่าดิบเขา มีปัญหาในการจ าแนกชนิดพันธุ์ไม้ เนื่องจากในสังคมพืชป่าดิบเขา มีองค์ประกอบของชนิดพันธุ์ไม้บางชนิดที่ไม่สามารถจ าแนกได้ ขาดผู้เชี่ยวชาญ ในการจ าแนกพรรณไม้ และคู่มือในการจ าแนกพรรณไม้ หากมีการท าโครงการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ควรมี คู่มือในการจ าแนกพรรณไม้มากกว่านี้ และผู้เชี่ยวชาญที่จ าแนกและตรวจสอบพรรณไม้ได้ ทั้งนี้จักได้รวบรวม ข้อมูล เพื่อที่สามารถน าข้อมูลที่รวบรวมได้ไปใช้ประโยชน์ต่อการส ารวจสังคมพืชป่าดิบแล้งได้อีกในครั้งต่อไป ลักษณะของการด าเนินโครงการ มีหลายกิจกรรมการส ารวจ (พืช แมลง เห็ด) ซึ่งในแต่ละ กลุ่มสิ่งมีชีวิตยังมีกิจกรรมการส ารวจบัญชีรายชื่อ การวางแปลง การค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการ การวิเคราะห์ ข้อมูล ซึ่งการท างานอย่างมีคุณภาพถือว่าเป็นปริมาณงานที่มาก ไม่เหมาะสมต่องบประมาณที่ได้รับ และ บุคลากรในส านักงานที่มีข้อจ ากัดทั้งอัตราก าลัง และความรู้ความช านาญเฉพาะด้านของกลุ่มสิ่งมีชีวิตแต่ละ ด้าน ดังนั้นควรก าหนดปริมาณงานหรือลักษณะการด าเนินงานที่เหมาะสม ให้สัมพันธ์กับความเชี่ยวชาญของ บุคลากรหรือความต้องการของแต่ละส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ซึ่งจะท าให้การท างานมีความต่อเนื่อง สามารถ น าข้อมูลในแต่ละปีที่ด าเนินงานในช่วงเวลาเดียวกันมาต่อยอดการวิเคราะห์และอ้างอิงในปีต่อไปได้ ลักษณะการท างานที่ต้องขึ้นอยู่กับฤดูกาล การวางแปลง ติดตามเก็บใบ ดอก และผลของ พรรณไม้ท าให้ออกไปปฏิบัติราชการหลายครั้ง เพื่อติดตามตัวอย่างและข้อมูลที่ขาด และติดตามถ่ายรูป เพื่อ น ามาวินิจฉัยชื่อชนิด ซึ่งฤดูฝนเป็นฤดูที่มีพรรณไม้หลายชนิดออกดอกติดผล ในขณะที่ต้องส ารวจความ หลากหลายในด้านเห็ด และแมลง ไปพร้อมกัน จึงท าให้มีปริมาณงานมากเกินไป และเป็นช่วงที่ใกล้ก าหนดส่ง ข้อมูลเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และจัดท ารายงานให้ทันปีสิ้นงบประมาณ (30 กันยายน) ปัญหาดังกล่าวมี ความเกี่ยวเนื่องมาถึงเรื่องงบประมาณที่ได้รับ เพราะการออกไปปฏิบัติราชการเก็บข้อมูลมีงบประมาณไม่ เพียงพอ ควรมีการเก็บข้อมูลที่ไม่ซ้อนทับกันระหว่างการศึกษาในแต่ละกลุ่มสิ่งมีชีวิต

89

2. ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง 2.1.การเดินทางเข้า การเดินทางเข้าถึงแปลงส ารวจในแต่ละแปลงและแต่ละครั้ง ค่อนข้างที่ จะใช้เวลามากพอสมควรเนื่องจากเส้นทางในการเดินทางยากล าบากจ าเป็นต้องใช้รถยนต์ขับเคลื่อนสี่ล้อในการ เดินทาง โดยความยากล าบากจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อต้องท าการส ารวจในฤดูฝนที่เส้นทางจะมีความเสียหายจากฝน ตกหนัก 2.2 ความแปรปรวนของฤดูกาล ในปี 2560 นั้นสภาพลมฟ้าอากาศมีความแปรปรวนเช่น ใน ฤดูฝน ฝนตกจะตกหนักมากจนบางวันเราไม่สามารถเข้าพื้นที่ไปเก็บตัวอย่างได้ ซึ่งส่งผลต่อการวางแผนการ ส ารวจเป็นอย่างมาก 2.3 การจับแมลงกลางคืน ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ ช่วงฤดูฝนที่ท าการเก็บตัวอย่างแมลงกลางคืน จ านวนชนิดและจ านวนตัวที่ได้น้อยมาก เนื่องจากสภาพอากาศที่แปรปรวน ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าฝนจะตก หรือไม่ จนเป็นเหตุให้ไม่สามารถวางกับดักแสงไฟได้ และจากการศึกษาพบว่าสภาพอากาศมีผลต่อการปรากฏ ของผีเสื้อกลางคืนเป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น เมื่อตั้งกับดักแสงไฟหลังจากฝนหยุดตก ปริมาณแมลงที่จับได้จะมี จ านวนมากกว่าวันที่สภาพอากาศปกติ 2.4 วิธีการในการส ารวจผีเสื้อกลางวัน เป็นอีกปัจจัยที่ท าให้การจับผีเสื้อได้ทั้งจ านวนตัว และจ านวนชนิด ที่แตกต่างกัน โดยยังมีอีกหลายชนิดที่ปรากฏในพื้นที่ศึกษาแต่ไม่สามารถจับได้ หรือจับได้น้อย เนื่องจากพฤติกรรมการบินของผีเสื้อที่รวดเร็ว เช่น ผีเสื้อวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (HESPERIIDAE) หรือผีเสื้อที่มักหลบ ซ่อนในพุ่มไม้ทึบ ยากที่จะใช้สวิงช้อนจับได้ เช่น สกุลผีเสื้อหางติ่ง (Papilio spp.) สกุลผีเสื้อตาลหนาม (Charaxes spp.) ผีเสื้อใบไม้ใหญ่ (Kallima inachus siamensis) หรือ ผีเสื้อเหลืองหนามธรรมดา (Polyura athamas athamas) ขณะเดียวกันผีเสื้อที่มักจะจับได้ง่ายเพราะตัวเล็ก ชอบเกาะอยู่กับที่นานๆ และบินช้า มักจะจับได้เป็นจ านวนมาก เช่น ผีเสื้อในกลุ่มวงศ์ผีเสื้อสีน้ าเงิน (LYCAENIDAE) และกลุ่มสกุลผีเสื้อเณร (Eurema spp.) ดังนั้นในการส ารวจความหลากหลายที่มีเป้าประสงค์เพื่อให้ทราบถึงชนิดและจ านวนของ สิ่งมีชีวิตที่ต้องการศึกษา จ าเป็นต้องมีการใช้วิธีแบบผสมผสานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในเวลาอันสั้นเพื่อให้ ทันต่อการวางแผนการจัดการพื้นที่ และเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติที่ถูกคุกคามอยู่ตลอดเวลา

90

3. ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ท าให้ในช่วงฤดูฝนมีฝนทิ้งช่วง โดยเฉพาะในปีนี้พื้นที่ ศึกษามีปริมาณน้ าฝนน้อยกว่าปกติ และสภาพป่าค่อนข้างแห้งแล้งมีไฟป่าไหม้แปลงตัวอย่าง ท าให้มีผลต่อการ เกิดดอกเห็ด หรืออาจมีดอกเห็ดเกิดขึ้นถี่น้อยลง ไม่ตรงกับช่วงที่เข้าไปเก็บข้อมูล นอกจากนี้เห็ดราบางชนิดจะมี ช่วงเวลาสั้นๆในการออกดอก เฉพาะช่วงฤดูกาล หรือเดือน จึงท าให้พลาดโอกาสที่จะพบชนิดเห็ดราที่น่าจะพบ ได้ในพื้นที่ที่ศึกษา ท าให้จ านวนชนิดและจ านวนดอกเห็ดน้อยกว่าปกติ ตลอดจนได้ตัวอย่างเห็ดที่ไม่สมบูรณ์ ตามที่วิทยากรก าหนด ดังนั้นการเก็บตัวอย่างเห็ดถูกก าหนดให้ท า 1 ครั้ง/แปลง ในช่วงฤดูฝน จึงท าให้ได้ข้อมูล ความหลากหลายของเห็ดเพียงบางส่วน ไม่เป็นตัวแทนที่ดีในการวิเคราะห์ หรือวิจารณ์ผล ข้อมูลที่ได้จึงเป็น เพียงบัญชีรายชื่อเห็ดราบางส่วนที่พบในช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น ซึ่งการศึกษาที่จะท าให้ได้ข้อมูลความ หลากหลายของเห็ดราที่แท้จริง ควรมีการศึกษาอย่างต่อเนื่องทุกฤดูกาล และมากกว่า 1 ปี (ซึ่งมีผลต่อการ ก าหนดวิธีการ และงบประมาณ) การจ าแนกชนิดพันธุ์เห็ดรา เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีเอกสารค้นคว้าน้อย และยังมีผู้เชี่ยวชาญ น้อยมาก ท าให้คณะผู้วิจัยใช้เวลามากในการค้นคว้าและการจ าแนกชนิดเบื้องต้น จึงมีปัญหาในการจ าแนกชนิด ผิดจ านวนมาก อย่างไรก็ตามคณะผู้ศึกษายังได้รับการตรวจสอบชนิดอีกครั้งจากคณะวิทยากร ซึ่งก็ยังมีตัวอย่าง จ านวนมากไม่สามารถจ าแนกชนิด สกุล วงศ์ หรือระดับอันดับได้ ซึ่งมีผลต่อค่าดัชนีความหลากหลาย ที่ จ าเป็นต้องจ าแนกได้ว่าเป็นเห็ดราชนิดหนึ่งให้ได้ (แม้จะไม่ทราบว่าจัดอยู่ในระดับอนุกรมวิธานใด) ดังนั้นจึงท า ให้ผลการศึกษามีความน่าเชื่อถือลดลง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพด้านเห็ดราถือว่าเป็นงานที่ต้องใช้ ความละเอียด ความใส่ใจอย่างมาก มีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีอุปกรณ์และเอกสารที่พร้อม ที่ส าคัญมีความ จ าเป็นต้องมีผู้ศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่จบการศึกษามาโดยตรง ดังนั้น การศึกษาความ หลากหลายทางชีวภาพด้านเห็ดรา โดยเจ้าหน้าที่ที่ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 ที่ไม่ใช้นักวิจัยที่ เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน จึงท าให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือน้อย ผลงานวิจัยที่ได้ก็มีความน่าเชื่อถือลดลง ตาม ยากที่จะน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ แต่เจ้าหน้าที่ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 น่าจะเป็นส่วนหนึ่ง ของคณะผู้วิจัยด้านเห็ดรา โดยมีหน้าที่เก็บข้อมูลภาคสนามและตัวอย่างให้นักวิจัยด้านเห็ดราในส านักวิจัย การอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช เพื่อเป็นการขยายการเก็บตัวอย่างเห็ดราออกไปทั่วประเทศ อย่างรวดเร็ว และเป็นการประหยัดเวลา และงบประมาณได้มาก

91

กิตติกรรมประกาศ

การส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัด อุทัยธานี และรายงานการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เกิดขึ้นได้ เนื่องจากส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช เห็นถึงความส าคัญของการส ารวจและรวบรวมข้อมูลความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ และในการด าเนินงานครั้งนี้ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับ ความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ และเจ้าหน้าที่ในสังกัด ขอขอบพระคุณส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช และคณะวิทยากรส าหรับการ ถ่ายทอดวิธีการและแนวทางในการด าเนินงานเก็บข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพในด้านต่าง ๆ หัวหน้า กลุ่มงานวิชาการ ที่ให้ค าปรึกษา และข้อคิดอันเป็นประโยชน์ต่อการด าเนินงาน คุณวีรยา โอชะกุล หัวหน้าเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง คุณวีระพงศ์ โคระวัตร และคุณสันต์ภพ แซ่ม่า ผู้ช่วยหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง คุณสมโภชณ์ ดวงจันทราศิริ หัวหน้าสถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า และเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ที่ให้ความ ช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกในการส ารวจข้อมูลภาคสนาม คณะผู้วิจัยยังได้รับความอนุเคราะห์ในการ วินิจฉัยชื่อมอทและด้วง จากท่านผู้เชี่ยวชาญ คือ คุณนพชนม์ ทับทิม, คุณวีรศักดิ์ ทิชัย และคุณล าใย อิทธิ จันทร์ และคณะผู้วิจัยยังได้รับความอนุเคราะห์ในการวินิจฉัยชนิดเห็ดจากคณะวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านเห็ด คือ คุณกิตติมา ด้วงแค และคุณบารมี สกลรักษ์ ซึ่งต้องขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ที่ได้สละเวลาในความ ช่วยเหลือครั้งนี้เป็นอย่างยิ่ง ท้ายสุดที่ส าคัญอย่างยิ่งคือขอขอบคุณคณะท างานทุกท่าน ที่ช่วยให้การส ารวจความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และการจัดท ารายงานเล่มนี้จนส าเร็จได้ตาม วัตถุประสงค์ แม้ว่าจะมีข้อจ ากัด และอุปสรรคมากมายขณะปฏิบัติงาน แต่ทุกคนก็ได้พยายามท าให้โครงการ ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ส าเร็จลุล่วงด้วยดี

คณะผู้ส ารวจและจัดท ารายงาน 92

เอกสารอ้างอิง

กรมทรัพยากรธรณี. 2551. แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดอุทัยธานี. กลุ่มงานวิชาการ. 2546. ข้อมูลพื้นฐานของหน่วยงานภายใต้การก ากับดูแลของส านักบริหารจัดการใน พื้นที่ ป่าอนุรักษ์ 6 (นครสวรรค์). ส านักบริหารจัดการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 6 (นครสวรรค์). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. กลุ่มงานกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้. 2554. ชนิดพันธุ์ยีสต์ เห็ด ราโรคพืช และราแมลง ในกลุ่มป่าแก่ง กระจาน. ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. กลุ่มงานวิชาการ. 2555 (ข). รายงานการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วย ขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี. ส านักบริหารพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 12 (นครสวรรค์). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช. กลุ่มงานวิชาการ. 2555 (ค). รายงานการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขา สนามเพรียง จังหวัดก าแพงเพชร. ส านักบริหารพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 12 (นครสวรรค์). กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. กลุ่มงานวิชาการ. 2555 (ง). คู่มือการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ตอน ท าความรู้จักกับเห็ดในป่า. ส านักบริหารพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 12 (นครสวรรค์), กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช.นิร นาม. 2556. หินปูน. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. แหล่งที่มา: http://th.wikipedia.org/w/index. php?title=หินปูน&oldid=4822206/, มิถุนายน 2556 กลุ่มงานวิชาการ. 2556 (ก). รายงานการส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ า ประทุน จังหวัดอุทัยธานี. สานักบริหารพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 12 (นครสวรรค์). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช. กิตติมา ด้วงแค. 2556. การใช้คู่มือการจ าแนกเห็ดครีบในระดับสกุล (เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตร การส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ เมื่อวันที่ 10 - 15 มีนาคม พ.ศ. 2556). ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (เอกสารไม่ตีพิมพ์). เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. 2555. Photographic guide to Moths in Thailand. Banna Nature Education Center.NakhonNayok,

93

เอกสารอ้างอิง

โกวิทย์ หวังทวีทรัพย์. 2551. ความหลากชนิดพืชอาหารของผีเสื้อกลางวันในป่าฮาลา-บาลา จังหวัดยะลา – นราธิวาส (เอกสารประกอบการประเมินขึ้นระดับต าแหน่ง ซี 7). ส่วนอนุรักษ์และป้องกัน ทรัพยากรป่าไม้, ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 (สาขาปัตตานี) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. โกวิทย์ หวังทวีทรัพย์, โรเบิร์ต คันนิ่งแฮม, สุรชัย ชลด ารงค์กุล, ภัทพิมล ไสว และ สุภโชติ อึ๊งวิจารณ์ ปัญญา. 2544. คู่มือตรวจวิเคราะห์แมลงคุ้มครอง. อินทิเกรเต็ด โปรโมชัน เทคโนโลยี จ ากัด, กรุงเทพ. งานจุลชีววิทยาป่าไม้. 2552. เห็ดและรา จากป่าดอยเชียงดาว. กลุ่มงานกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้, ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. นภาพร พูลเพิ่ม และ พัชรา ยะไข่. 2548. ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดในเส้นทางเดินศึกษา ธรรมชาติเขาหินแดง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี. (โครงการวิจัย ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ด), คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์. นิวัฒ เสนาะเมือง. 2553. เห็ดป่าเมืองไทย : ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์. ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร, คณะเกษตรและศูนย์วิจัยอนุกรมวิธานประยุกต์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บารมี สกลรักษ์. 2549. ความหลากหลายของเห็ดในสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ประหยัด ฐิตะธรรมกุล. 2528. การเปลี่ยนแปลงของพืชพรรณตามความสูง ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วย ขาแข้ง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร พงศ์เทพ สุวรรณวารี. 2553. ความสัมพันธุ์ของความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันและระบบนิเวศป่าแบบ ต่างๆ ในสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. เห็ดกินได้และเห็ดมีพิษในประเทศไทย. ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพฯ. ราชันย์ ภู่มา. 2551. พืชหายากของประเทศไทย. ส านักงานหอพรรณไม้, ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และ พันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

94

เอกสารอ้างอิง

ฝ่ายสิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยาและพลังงาน. 2550. เห็ดในป่าสะแกราช. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.), กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กรุงเทพฯ. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. 2544. เห็ดและราในประเทศไทย. ส านักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.). สถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า. 2542. รายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “การด าเนินงานโครงการตามมาตรการเพิ่ม การใช้จ่ายภาครัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ (โครงการมิยาซาวา). ส านักงานป่าไม้เขตนครสวรรค์ กรมป่าไม้. 109 น สุรชัย ชลด ารงค์กุล, พงษ์เทพ ทับเที่ยง, และศุภชัย แพแพทย์. 2542. ผีเสื้อ - คู่มือส ารวจและสื่อ ความหมาย ธรรมชาติ. บริษัท สทรีท พรินติ้ง จ ากัด. กรุงเทพฯ. สุรชัย ชลด ารงค์กุล. 2553. บันทึกผีเสื้อ. ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ. ส านักงานพัฒนาเศรษกิจจากฐานชีวภาพ. 2552. บัญชีรายชื่อการทรัพย์สินชีวภาพเรื่อง จุลินทรีย์ เห็ด. ส านักงานพัฒนาเศรษกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช. 2554. คู่มือการส ารวจความหลากหลายของเห็ด. กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช. 2552. แมลงคุ้มครอง (ภาพโปสเตอร์). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. สถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า. 2556. รายงานผลการปฏิบัติงาน สถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2556. กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า, ส านักอนุรักษ์สัตว์ป่า, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ ป่า และพันธุ์พืช. อนงค์ จันทร์ศรีกุล, พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์, อุทัยวรรณ แสงวณิช, Tsutomu Morinaga, Yoshinori Nishizawa, และYasuaki Murakami. 2551. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ ใน ประเทศไทย. ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. อุทัยวรรณ แสงวณิช, อนงค์ จันทร์ศรีกุล, พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์, จรัล เจตนะจิตร, ดีพร้อม ไชยวงศ์เกียรติ และกุศล ตั้งใจพิทักษ์. 2539. การศึกษาความหลากหลายของเห็ดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง. รายงานผลการวิจัยประจ าปี, โครงการวิจัยรหัส KIP 46.5.1.39.

95

เอกสารอ้างอิง

อุทิศ กุฎอินทร์. 2542. นิเวศวิทยาพื้นฐานเพื่อการป่าไม้. ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้, คณะวนศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. Bunyavejchewin, S. 1985. Analysis of the tropical dry deciduous forest of Thailand, II vegetation in relation to topographic and soil gradients. Nat. Hist. Bull., Siam Soc. 33(1) 3-20. Bunyavejchewin, S., J.V. LaFrankie, P.J. Baker, S.J. Davies & P.S. Ashton. 2009. Forest Trees of Haui Kha Khaeng Wildlife Sanctuary. Thailand: Data from the 50-Hectare Forest Dynamics Plot. Center for Tropical Forest Science. National Parks, Wildlife and Plant Conservation Department, Thailand. Burkill, I.H. 1966. A Dictionary of the Economic Products of the Malay Peninsula. Vol. II. Ministry of Agriculture and Co-operatives, Kuala Lumpur. 244 p. Chandrasrikul, A., P. Suwanarit, U. Sangwanit, S. Lumyong, A. Payapanon, N. Sanoamuang, C.Pukahuta, V.Petcharat, U.Sardsud, K. Duengkae, U.Klinhom, S. Thongkantha and S. Thongklam. 2011. Cheaklist of Mushroom (Basidiomycetes) in Thailand. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Plannin, Bangkok, Thailand. Ek-Amnuay, P. 2002. Beetles of Thailand. Amarin Book Center Co., Ltd. Bangkok. Hutacharern C. and Nopachon Tubtim, 1995. Checklist of Forest in Thailand. Office of Environmental Policy and Planning, Bangkok, Thailand. Inoue, H., R.P. Kennett and I.J. Kitching. 1997. Moths of Thailand, Vol. 2 (Sphingidae). Chok Chai Press. Bangkok. Kutintara, U. 1975. Structure of ; the dry dipterocarp forest. Ph. D. dissertation. Colorado State Univ., Fort. Collins, Colo. Pinratana, A.. 1981. Butterflies in Thailand, Vol. 4 (Lycaenidae). The Viratham Press. Bangkok. Pinratana, A.. 1983. Butterflies in Thailand, Vol. 2 (Pieridae and Amathusiidae). The Viratham Press. Bangkok.

96

เอกสารอ้างอิง

Pinratana, A.. 1985. Butterflies in Thailand, Vol. 5 (Hesperiidae). The Viratham Press. Bangkok. Pinratana, A.. 1988. Butterflies in Thailand, Vol. 6 (Satyridae, Libytheidae and Riodinidae). The Viratham Press. Bangkok. Pinratana and E. J. Lampe. 1990. Moths of Thailand, Vol. 1 (Saturniidae). Bosco Offset. Bangkok. Pinratana and J.N. Eliot. 1992. Butterflies in Thailand, Vol. 1 (Papilionidae and Danaidae). Bosco Offset. Bangkok. Pinratana and J. N. Eliot. 1996. Butterflies in Thailand, Vol. 3 (Nymphalidae) (second and revised edition). Bosco Offset. Bangkok. Pooma, R., S. Suddee, V. Chamchumroon, N. Koonkhuntod, K. Pattarahirankanok, S. Sirimongkoland and M. Poopath. 2005. A Preliminary Check-list of Threatened Plants in Thialand. Forest Herbarium, National Park, Wildlife and Plant Conservation Department, Bangkok, Thailand. Richards, P.W. 1996. The Tropical Rain Forest an Ecological Study. Cambridge University Press, Cambridge. 575 p. Santisuk, T., K. Chayamarit, R. Pooma and S. Suddee. 2006. Thailand Red Data : Plant. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Vermeulen, J. and T. Whitten. 1999. Biodiversity and Cultural Property in The Management of Limestone Resource. The world bank. Washington, D.C. 120p.

97

คณะผู้ด ำเนินกำร

ที่ปรึกษำ นายวิทยา หงษ์เวียงจันทร์ ผู้อ านวยการส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 (นครสวรรค์) นางอัจฉรา ซิ้มเจริญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 (นครสวรรค์) นางกรภัทร์ ด ารงค์ไทย ผู้อ านวยการส านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช นายมนัส รวดเร็ว ผู้อ านวยการส่วนความหลากหลายทางชีวภาพ นางสาววีรยา โอชะกุล หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

คณะผู้ด ำเนินกำรส ำรวจข้อมูลภำคสนำม คณะท างานตามค าสั่งส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 ที่ 406/2558 ลงวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2558 เรื่อง ให้ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า และพนักงานราชการปฏิบัติงานโครงการส ารวจความหลากหลายทาง ชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์และเผยแพร่ สร้างจิตส านึก และการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ชีวภาพ ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 ประกอบด้วย นางอัจฉรา ซิ้มเจริญ นักวิชาการป่าไม้ช านาญการ หัวหน้าโครงการ นายสมพร พากเพียร นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ คณะท างาน นายนพดล เพิ่มพูน พนักงานราชการ คณะท างาน นางสาวขนิษฐา บุญมา พนักงานราชการ คณะท างาน นายอ่อนสา นรสาร พนักงานราชการ คณะท างาน* นายถาวร ถาดวิจิตร พนักงานราชการ คณะท างาน* นายบุญเลิศ เกิดสมบูรณ์ พนักงานราชการ คณะท างาน*

หมำยเหตุ * เจ้าหน้าที่สถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร า 98

คณะผู้จัดท ำรำยงำน คณะบรรณำธิกำร นางอัจฉรา ซิ้มเจริญ นักวิชาการป่าไม้ช านาญการ คณะผู้เรียบเรียง นายนพดล เพิ่มพูน พนักงานราชการ นางสาวขนิษฐา บุญมา พนักงานราชการ นางสาวเกศินี แก้วปราณี พนักงานจ้างเหมาเอกชน 99

ภาคผนวก

100

ภาคผนวกที่ 1 ตารางบัญชีรายชื่อพรรณไม้ที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2560

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 1 เสนียดน้อย Justicia sp. ACANTHACEAE H ü ü ü 2 หปู ากกา Thunbergia fragrans Roxb. var. fragrans ACANTHACEAE C ü ü 3 พันงูปา่ Achyranthes sp. AMARANTHACEAE H ü ü 4 กกุ๊ Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. ANACARDIACEAE T ü ü ü ü 5 มะกอก Spondias pinnata (L.f.) Kurz ANACARDIACEAE T ü ü ü ü 6 มะกกั Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman ANACARDIACEAE T ü ü ü ü 7 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura Kurz ANACARDIACEAE T ü ü 8 มะม่วงหวั แมงวัน Buchanania lanzan Spreng. ANACARDIACEAE T ü ü ü 9 Orophea sp. Orophea sp. ANNONACEAE S/T ü ü 10 กะเจยี น Hubera cerasoides (Roxb.) Chaowasku ANNONACEAE ST ü ü ü 11 ขางหวั หมู Miliusa velutina (Dunal) Hook.f. & Thomson ANNONACEAE T ü ü 12 จกั หนั Orophea polycarpa A. DC. ANNONACEAE S/ST ü ü 13 ตา หยาวเขา Alphonsea ventricosa (Roxb.) Hook. f. & Thomson ANNONACEAE T ü ü 14 นมวัว Uvaria dulcis Dunal ANNONACEAE C ü ü ü 15 ปอขี้แฮด Miliusa lineata (Craib) Alston ANNONACEAE T ü ü 16 ยางโอน Monoon viride (Craib) B. Xue & R. M. K. Saunders ANNONACEAE T ü ü ü 17 สะแกแสง Cananga brandisiana (Pierre) I. M. Turner ANNONACEAE T ü ü 18 หญา้ หวั กระชาย Chlorophytum laxum R.Br. ANTHERICACEAE H ü ü 19 ตนี เปด็ เขา Alstonia rostrata C. E. C. Fisch. APOCYNACEAE T ü ü

20 โมกมัน Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. APOCYNACEAE ST ü ü ü ü ü

(ต่อ)

1

ที่

ภาคผนวก

101

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 21 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens Wall. ex G.Don APOCYNACEAE ST ü ü ü 22 สม้ ลม Aganonerion polymorphum Pierre ex Spire APOCYNACEAE C ü ü 23 อบเชยเถา Zygostelma benthami Baill. APOCYNACEAE C ü ü ü ü 24 บกุ หนิ Arisaema sp. ARACEAE H ü ü 25 พลชู ้าง Scindapsus officinalis Schott ARACEAE C ü ü ü 26 เพยี้ ฟาน Macropanax dispermus (Blume) Kuntze ARALIACEAE T ü ü 27 กระเช้าถงุ ทอง Aristolochia pothieri Pierre ex Lecomte ARISTOLOCHIACEAE C ü ü 28 สามสบิ Asparagus racemosus Willd. ASPARAGACEAE C ü ü 29 เทยี นปา่ Impatiens sp. BALSAMINACEAE H ü ü ü 30 สม้ กงุ้ ผา Begonia murina Craib BEGONIACEAE H ü ü 31 กาสะลองคา Radermachera ignea (Kurz) Steenis BIGNONIACEAE T ü ü 32 แคฝอย Stereospermum cylindricum Pierre ex Dop. BIGNONIACEAE T ü ü 33 แคหวั หมู Markhamia stipulata Seem. var. stipulata BIGNONIACEAE T ü ü ü 34 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla (Wall. ex G.Don) Steenis BIGNONIACEAE T ü ü ü ü 35 ปบี Millingtonia hortensis L. f. BIGNONIACEAE T ü ü 36 กอ้ ม Ehretia laevis Roxb. BORAGINACEAE ST ü ü ü 37 สกั หนิ Cordia globifera W.W.Sm. BORAGINACEAE T ü ü 38 ตะคร้ า Garuga pinnata Roxb. BURSERACEAE T ü ü ü Garuga floribunda Decne. var. gamblei (King ex W. W. Sm.) 39 ตะคร้ าหนิ BURSERACEAE ST ü ü Kalkman 102

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 40 พวมพร้าว Canarium patentinervium Miq. BURSERACEAE T ü ü 41 กรวยแหลม Aphananthe cuspidata (Blume) Planch. CANNABACEAE T ü ü 42 กมุ่ บก Crateva adansonii DC. subsp. odorata Jacobs CAPPARACEAE T ü ü 43 เกยี่ วไก่ Capparis echinocarpa Pierre ex Gagnep. CAPPARACEAE C ü ü 44 คอ้ นกลอง Capparis grandis L. f. CAPPARACEAE ScanS ü ü 45 ชิงชี่ Capparis micracantha DC. CAPPARACEAE S/ST ü ü 46 หนามเกยี่ วไก่ Capparis versicolor Griff. CAPPARACEAE S ü ü 47 ข้าวสารคา่ ง Cardiopteris quinqueloba (Hassk.) Hassk. CARDIOPTERIDACEAE C ü ü 48 มะดกู Siphonodon celastrineus Griff. CELASTRACEAE T ü ü 49 พะวา Garcinia speciosa Wall. CLUSIACEAE T ü ü 50 ขี้อา้ ย triptera Stapf COMBRETACEAE T ü ü ü ü ü Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Guill. & Perr. var. 51 ตะเคยี นหนู COMBRETACEAE T ü ü lanceolata C.B.Clarke 52 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata Craib & Hutch. COMBRETACEAE T ü ü ü ü 53 สมอไทย Terminalia chebula Retz. COMBRETACEAE T ü ü ü ü 54 สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. COMBRETACEAE T ü ü 55 สะแกนา Combretum quadrangulare Kurz COMBRETACEAE T ü ü 56 สะแกวัลย์ Combretum punctatum Blume COMBRETACEAE C ü ü 57 หญา้ หวั รากน้อย Cyanotis sp.1 COMMELINACEAE H ü ü 58 สาบเสอื Chromolaena odoratum (L.) R.M.King & H.Rob. COMPOSITAE ExH ü ü ü 103

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 59 หนาดดอย Laggera pterodonta (DC.) Sch.Bip. ex Oliv. COMPOSITAE H ü ü 60 จงิ จอ้ ผี Jacquemontia paniculata (Burm.f.) Hallier f. CONVOLVULACEAE C ü ü ü Alangium salviifolium (L.f.) Wangerin subsp. hexapetalum 61 ปรู CORNACEAE S/ST ü ü ü Wangerin 62 ฝาละมี Alangium kurzii Craib CORNACEAE T ü ü 63 มะระหนู Gomphogyne heterosperma (Wall.) Kurz CUCURBITACEAE C ü ü 64 สกลุ เจยี วกหู่ ลาน Gomphogyne sp. CUCURBITACEAE C ü ü 65 ปรงเขา Cycas pectinata Griff. CYCADACEAE S VU T ü ü 66 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata (Blume) Hoogland DILLENIACEAE T ü ü ü ü 67 กลอย Dioscorea hispida Dennst. DIOSCOREACEAE C ü ü 68 มันนก Dioscorea spp. DIOSCOREACEAE C ü ü 69 มันหมู Dioscorea membranacea Pierre DIOSCOREACEAE C ü ü 70 กระบาก Anisoptera costata Korth. DIPTEROCARPACEAE T ü ü 71 ตะเคยี นทอง Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE T ü ü 72 พะยอม Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE T ü ü 73 ไข่เตา่ Diospyros martabanica C.B.Clarke EBENACEAE T ü ü 74 ตานดา Diospyros montana Roxb. EBENACEAE T ü ü 75 พญารากดา Diospyros variegata Kurz EBENACEAE T ü ü ü ü 76 มะพลบั เจา้ คณุ Diospyros winitii H. R. Fletcher EBENACEAE ST ü ü 77 ลา ตาควาย Diospyros coaetanea (Craib) Fletcher EBENACEAE ST ü ü 104

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 78 ลา บดิ Diospyros vera (Lour.) A. Chev. EBENACEAE T ü ü 79 กาลน Elaeocarpus floribundus Blume ELAEOCARPACEAE T ü ü 80 มะมุ่น Elaeocarpus lacunosus Wall. ex Kurz ELAEOCARPACEAE T ü 81 มะมุ่นดง Elaeocarpus serratus L. ELAEOCARPACEAE T ü 82 เหมือดโลด Polyosma elongata Geddes ESCALLONIACEAE T ü ü 83 ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum (A. Juss.) Baill. EUPHORBIACEAE ST ü ü 84 แข้งแคะ Cleistanthus papyraceus Airy Shaw EUPHORBIACEAE ST ü ü ü 85 คา แสด Mallotus philippensis (Lam.) Mull. Arg. EUPHORBIACEAE ST ü ü ü 86 ซ าซาเตยี้ harmandii Gagnep. EUPHORBIACEAE S ü ü ü ü 87 ตองผา้ Sumbaviopsis albicans (Blume) J.J.Sm. EUPHORBIACEAE T ü ü 88 ตาตมุ่ บก Falconeria insignis Royle EUPHORBIACEAE T ü ü ü 89 ตา แยแมว Acalypha indica L. EUPHORBIACEAE H ü ü 90 เตง็ หนาม Bridelia retusa (L.) A.Juss. EUPHORBIACEAE ST ü ü 91 เตา้ หลวง Macaranga gigantea (Rchb.f. & Zoll.) Mull.Arg. EUPHORBIACEAE T ü ü 92 เปลา้ แพะ Croton hutchinsonianus Hosseus EUPHORBIACEAE ST ü T ü ü ü ü 93 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii N.P.Balakr. EUPHORBIACEAE S ü ü ü ü 94 มะกา Bridelia ovata Decne. EUPHORBIACEAE ST ü ü ü ü 95 มะกายคดั Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg. EUPHORBIACEAE S/T ü ü 96 มะคดั ดง Ostodes paniculata Blume EUPHORBIACEAE ST ü 97 มะไฟ Baccaurea ramiflora Lour. EUPHORBIACEAE T ü ü 105

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 98 สอยดาว Mallotus paniculatus Mull.Arg. EUPHORBIACEAE T ü ü 99 เม่าไข่ปลา Antidesma ghaesembilla Gaertn. EUPHORBIACEAE ST ü ü ü ü 100 กระเจาะ Millettia leucantha Kurz var. leucantha FABACEAE T ü ü ü 101 กระดกู องึ่ Dendrolobium triangulare (Retz.) Schindl. FABACEAE S ü ü ü 102 กระพเี้ ขาควาย Dalbergia cultrata Graham ex Benth. FABACEAE T ü ü ü 103 กระพจี้ นั่ Millettia brandisiana Kurz FABACEAE T ü ü 104 กระพนี้ างนวล Dalbergia cana Graham ex Kurz FABACEAE T ü ü 105 กางขี้มอด Albizia odoratissima (L.f.) Benth. FABACEAE T ü ü ü ü 106 กา จาย Caesalpinia digyna Rottler FABACEAE C ü ü 107 กา พี้ Dalbergia ovata Graham ex Benth. var. ovata FABACEAE T ü ü 108 เกด็ ดา Dalbergia assamica Benth. FABACEAE ST ü ü ü ü 109 ฉนวน Dalbergia nigrescens Kurz FABACEAE T ü ü ü 110 ชิงชัน Dalbergia oliveri Gamble FABACEAE T ü ü ü ü ü 111 แดง Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. FABACEAE T ü ü ü ü ü 112 ถวั่ ดนิ โคก Sophora exiqua Craib FABACEAE H ü ü 113 ถวั่ สามปกี Flemingia sootepensis Craib FABACEAE S ü ü 114 ทองเดอื นหา้ Erythrina stricta Roxb. var. stricta FABACEAE T ü ü 115 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus Kurz FABACEAE T ü ü ü ü ü 116 ประดเู่ ครือ Dalbergia velutina Benth. FABACEAE C ü ü ü ü 117 ประดแู่ ดง Phyllocarpus septentrionalis Donn. Sm. FABACEAE ExT ü ü 106

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 118 ปอเจยี๋ น Bauhinia bracteata (Graham ex Benth.) Baker FABACEAE C ü ü ü 119 ผเี สอื้ Christia obcordata (Poir.) Bakh. f. FABACEAE H ü ü 120 ฝาง Caesalpinia sappan L. FABACEAE ScanS ü ü ü 121 พฤกษ ์ Albizia lebbeck (L.) Benth. FABACEAE T ü ü 122 มะคา่ แต้ Sindora siamensis Teijsm. & Miq. var. Siamensis FABACEAE T ü ü 123 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib FABACEAE T ü ü 124 ราชพฤกษ์ Cassia fistula L. FABACEAE T ü ü ü ü ü 125 สะบา้ ลงิ Entada glandulosa Pierre ex Gagnep. FABACEAE C ü ü 126 สาธร Millettia leucantha Kurz var. buteoides (Gagnep.) P.K.Lôc FABACEAE T ü ü ü 127 เสยี้ วปา่ Bauhinia saccocalyx Pierre FABACEAE ScanS ü ü ü ü ü 128 แสมสาร Senna garrettiana (Craib) Irwin & Barneby FABACEAE T ü ü ü ü 129 แสลงพันเถา Bauhinia pulla Craib FABACEAE C ü ü 130 หมามุ้ย Mucuna pruriens (L.) DC. FABACEAE C ü ü 131 หางกระรอก Uraria acaulis Schindl. FABACEAE H ü ü ü 132 หงิ่ หาย Crotalaria sp. FABACEAE H ü ü ü 133 อเี ม็ง Dalbergia lanceolaria L. f. FABACEAE T ü ü 134 กอ่ นก Lithocarpus polystachyus (Wall. Ex A. DC.) Rehder FAGACEAE T ü ü 135 กอ่ แพะ Quercus kerrii Craib FAGACEAE T ü ü 136 กอ่ เหน่ง Lithocarpus elegans (Blume) Hatus. ex Soepadmo FAGACEAE T ü ü 137 กอ่ แอบ Quercus austrocochinchinensis Hickel & A. Camus FAGACEAE T ü ü 107

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 138 กรวยปา่ Casearia grewiifolia Vent. var. grewiifolia FLACOURTIACEAE ST ü ü ü ü ü 139 กระดกู ไก่ Aeschynanthus acuminatus Wall. ex A.DC. GESNERIACEAE EH ü ü 140 ชาฤาษนี ้อย Paraboea aff. nana Triboun & Dongkumfu GESNERIACEAE H ü ü ü 141 ผกั กาดหนิ Streptocarpus sp. GESNERIACEAE H ü ü 142 หยาดหนิ Chirita rupestris Ridl. GESNERIACEAE H ü ü ü 143 ตวิ้ เกลยี้ ง Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume HYPERICACEAE T ü ü ü ü Cratoxylum formosum (Jacq.) Benth. & Hook. F. ex Dyer 144 ตวิ้ ขน HYPERICACEAE T ü ü subsp. pruniflorum (Kurz) Gogelein Cratoxylum formosum (Jacq.) Benth. & Hook. F. ex Dyer 145 ตวิ้ ขาว HYPERICACEAE T ü ü subsp. formosum 146 กระบก Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn. IRVINGIACEAE T ü ü ü 147 กระดกู กบ Hymenopyramis brachiata Wall. ex Schauer LAMIACEAE C ü ü 148 กาสามปกี Vitex peduncularis Wall. ex Schauer LAMIACEAE T ü ü ü ü ü 149 ไข่เน่า Vitex glabrata R.Br. LAMIACEAE T ü ü 150 คางแมว Gmelina asiatica L. LAMIACEAE ScanS ü ü ü 151 จนั มัน Premna mollissima Roth LAMIACEAE T ü ü ü 152 ตะพุนเฒา่ Vitex quinata (Lour.) F. N. Williams LAMIACEAE ST ü ü 153 เทยี นขโมยน้ า Glossocarya sp. LAMIACEAE C ü ü 154 เปยี ด Premna pyramidata Wall. ex Schaur LAMIACEAE T ü ü 155 ผา่ เสยี้ น Vitex canescens Kurz LAMIACEAE T ü ü ü ü ü 108

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 156 สวอง Vitex limonifolia Wall. ex Walp LAMIACEAE T ü ü ü ü ü 157 สกั Tectona grandis L.f. LAMIACEAE T ü ü 158 สกั ขี้ไก่ Premna tomentosa Willd. LAMIACEAE T ü ü 159 หญา้ นกเคา้ Leucas sp. LAMIACEAE H ü ü ü 160 หมากสะคงั่ Vitex cochinchinensis Dop LAMIACEAE ST/T ü ü 161 อแี ปะ Vitex scabra Wall. ex Schauer LAMIACEAE ST/T ü ü 162 กอ่ หนิ Phoebe tavoyana (Meisn.) Hook. f. LAURACEAE T ü ü 163 เชียด Cinnamomum iners Reinw. ex Blume LAURACEAE T ü ü 164 ตองลาด Actinodaphne henryi Gamble LAURACEAE T ü ü 165 ทงั ช่อ Litsea costalis (Nees) Kosterm. LAURACEAE T ü ü 166 เทพทาโร Cinnamomum parthenoxylon (Jack) Meisn. LAURACEAE T ü ü 167 ฝหี มอบ Beilschmiedia fagifolia Nees LAURACEAE ST ü ü 168 สะทบิ Phoebe paniculata (Nees) Nees LAURACEAE T ü ü ü ü 169 หน่วยนกงุม Beilschmiedia gammieana King ex Hook. f. LAURACEAE T ü ü 170 หน่วยนกงุมใบขน Beilschmiedia velutinosa Kosterm. LAURACEAE T ü ü 171 หมากขี้อา้ ยขาว Cryptocarya albiramea Kosterm. LAURACEAE T ü ü 172 หมีโปง้ Litsea monopetala (Roxb.) Pers. LAURACEAE ST ü ü 173 หมีเหม็น Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Rob. LAURACEAE T ü ü 174 แหน Persea declinata (Blume) Kosterm. LAURACEAE T ü ü 175 อนิ ทวา Persea gamblei (Hook. f.) Kosterm. LAURACEAE T ü ü 109

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 176 กระโดน Careya arborea Roxb. LECYTHIDACEAE T ü ü 177 จกิ ดอน Barringtonia badia Prance LECYTHIDACEAE T ü ü 178 ตมู กาขาว Strychnos nux–blanda A.W.Hill LOGANIACEAE ST ü ü 179 ตะแบกเกรียบ Lagerstroemia cochinchinensis Pierre LYTHRACEAE T ü ü Lagerstroemia duperreana Pierre ex Gagnep. var. 180 ตะแบกเปลอื กบาง LYTHRACEAE T ü ü ü duperreana 181 สมอร่อง Lagerstroemia subangulata (Craib) Furtado & Montien LYTHRACEAE T ü ü 182 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa C.Presl LYTHRACEAE T ü ü ü ü ü 183 อนิ ทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa Wall. ex Kurz LYTHRACEAE T ü ü ü 184 แกว้ มหาวัน Magnolia floribunda (Finet & Gagnep.) Figlar MAGNOLIACEAE T ü ü 185 จา ปศี รีเมืองไทย Magnolia thailandica Noot. & Chalermglin MAGNOLIACEAE T ü ü 186 มณฑา Magnolia liliifera (L.) Baill. var. liliifera MAGNOLIACEAE S/T ü ü 187 กระเจานา Corchorus aestuans L. MALVACEAE H ü ü 188 กะหนานปลงิ Pterospermum acerifolium (L.) Willd. MALVACEAE T ü ü 189 ขามควั ะ Pterospermum semisagittatum Buch.–Ham. MALVACEAE T ü ü 190 ข้าวตาก hirsuta Vahl MALVACEAE S ü ü ü 191 ขี้อน้ Helicteres elongata Wall. ex Bojer MALVACEAE S ü ü ü 192 ขี้อน้ ใหญ่ Pavonia repanda Spreng. MALVACEAE US ü ü 193 งิ้วปา่ Pierre var. anceps MALVACEAE T ü ü ü 194 ตองเตา่ Pterospermum cinnamomeum Kurz MALVACEAE T ü ü 110

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 195 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa Juss. MALVACEAE ST ü ü ü ü 196 ปอขาว Sterculia pexa Pierre MALVACEAE T ü ü ü ü 197 ปอแฉก Hibiscus lobatus MALVACEAE H ü ü 198 ปอแดง Sterculia guttata Roxb. MALVACEAE T ü ü 199 ปอตบู๊ หชู ้าง Sterculia villosa Roxb. MALVACEAE T ü ü ü 200 ปอบดิ Helicteres isora L. MALVACEAE S ü ü ü 201 ปอฝา้ ย Sterculia hypochra Pierre MALVACEAE T T ü ü 202 ปอมืน Colona floribunda (Kurz) Craib MALVACEAE ST ü ü 203 ปอหู Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem. MALVACEAE S/ST ü ü 204 ปออเี กง้ Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. MALVACEAE T ü ü 205 พลบั พลา tomentosa Sm. MALVACEAE T ü ü ü 206 ยาบขี้ไก่ Grewia laevigata Vahl MALVACEAE T ü ü 207 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa (C.B.Clarke) Craib MALVACEAE T ü ü 208 ลาย L. MALVACEAE T ü ü 209 ลา ปา้ ง Pterospermum diversifolium Blume MALVACEAE T ü ü 210 เลยี งมัน Berrya cordifolia (WillD.) Burret MALVACEAE T ü ü ü 211 กระทอ้ น Sandoricum koetjape (Burm. f.) Merr. MELIACEAE T ü ü 212 กดั ลนิ้ Walsura trichostemon Miq. MELIACEAE T ü ü 213 แกว้ ลาว Walsura pinnata Hassk. MELIACEAE T ü ü 214 คา้ งคาว Aglaia edulis (Roxb.) Wall. MELIACEAE T ü ü 111

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 215 คา้ งคาวอลี ดิ Dysoxylum cyrtobotryum Miq. MELIACEAE T ü ü 216 ตาเสอื Aphanamixis polystachya (Wall.) R. Parker MELIACEAE T ü ü 217 ตาเสอื ใบเลก็ Aglaia spectabilis (Miq.) S. S. Jain & Bennet MELIACEAE T ü ü 218 ตาเสอื ใหญ่ Aglaia spectabilis (Miq.) S. S. Jain & Bennet MELIACEAE T ü ü 219 ประยงค์ Aglaia odorata Lour. MELIACEAE S/ST ü ü 220 ประยงคป์ า่ Aglaia odoratissima Blume MELIACEAE S/ST ü ü 221 ยมหอม Toona ciliata M. Roem. MELIACEAE T ü ü 222 เลยี่ น Melia azedarach L. MELIACEAE T ü ü 223 ไทรยอ้ ยใบทู่ Ficus microcarpa L. f. MORACEAE T ü ü 224 ไทรหนิ ขอบใบหยกั Ficus anastomosans Kurz MORACEAE S ü ü 225 มะหาดข่อย Artocarpus nitidus Trécul MORACEAE T ü ü 226 หม่อนหลวง Morus macroura Miq. MORACEAE T ü ü 227 หาด Artocarpus lacucha Roxb. MORACEAE T ü ü 228 มะพร้าวนกกก Horsfieldia amygdalina (Wall.) Warb. var. amygdalina MYRISTICACEAE T ü ü 229 เลอื ดควายใบใหญ่ Knema furfuracea (Hook. f. & Thomson) Warb. MYRISTICACEAE T ü ü Syzygium oblatum (Roxb.) Wall. ex A. M. Cowan & Cowan 230 มะหา้ MYRTACEAE T ü ü var. oblatum Syzygium oblatum (Roxb.) Wall. ex A. M. Cowan & Cowan 231 มะหา้ ใต้ MYRTACEAE T ü ü var. laevicaule (Duthie) Chantar. & J. Parn. 232 หว้า Syzygium cumini (L.) Skeels MYRTACEAE T ü ü ü ü 112

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 233 หว้าดอย Syzygium balsameum Wight) Wall. ex Walp. MYRTACEAE T ü ü 234 หว้าหว้ ย Syzygium nervosum A. Cunn. ex DC. MYRTACEAE T ü ü 235 แหว้ Syzygium ripicola (Craib) Merr. & L. M. Perry MYRTACEAE S ü ü 236 ขี้อน้ เครือ Boerhavia chinensis (L.) Asch. & Schweinf. NYCTAGINACEAE H ü ü ü 237 เถาหนามเหลยี่ ม Nyctanthes aculeata Craib OLEACEAE C ü ü 238 มะลวิ ัลยเ์ ถา Jasminum siamense Craib OLEACEAE H ü ü ü ü 239 มะลไิ สไ้ ก่ Jasminum elongatum (Bergius) Willd. OLEACEAE ScanS ü ü 240 ผกั หวาน Melientha suavis Pierre OPILIACEAE S ü ü 241 ผกั หวานเมา Urobotrya siamensis Hiepko OPILIACEAE S/ST ü ü 242 แคหนิ Stereosandra tetragonum DC. ORCHIDACEAE T ü ü 243 หมูกลงิ้ Eulophia andamanensis Rchb.f. ORCHIDACEAE TerO ü ü 244 คอ้ Livistona speciosa Kurz PALMAE P ü ü 245 กดู ใบเลก็ Adiantum zollingeri Mett. ex Kuhn PARKERIACEAE F ü ü 246 เฟินกา้ นดา ใบพัด Adiantum erylliae C. Chr. & Tard. PARKERIACEAE F ü ü 247 หางนาคบก Adiantum caudatum L. PARKERIACEAE F ü ü 248 ไคร้มด Glochidion eriocarpum Champ. PHYLLANTHACEAE ST ü ü 249 มะขามปอ้ ม Phyllanthus emblica L. PHYLLANTHACEAE ST/T ü ü ü 250 มันปลา Glochidion sphaerogynum (Müll. Arg.) Kurz PHYLLANTHACEAE S/ST ü ü ü 251 เม่าช้าง Antidesma bunius (L.) Spreng. PHYLLANTHACEAE ST ü ü 252 ไผน่ วล Dendrocalamus pendulus Ridl. POACEAE B ü ü 113

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 253 ไผบ่ ง Bambusa nutans Wall. Ex Munro POACEAE B ü ü 254 ไผป่ า่ Bambusa bambos (L.) Voss POACEAE B ü ü 255 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis Gamble POACEAE B ü ü ü 256 ผกั ปกี ไก่ Pyrrosia cf adnascens (G.Forst.) Ching POLYPODIACEAE EF ü ü 257 พิลงั กาสา Ardisia polycephala Wall. ex A. DC. PRIMULACEAE S/ST ü ü 258 พรมคต Heliciopsis terminalis (Kurz) Sleumer PROTEACEAE T ü ü 259 ตะครอง Ziziphus cambodiana Pierre RHAMNACEAE ST ü ü 260 เลบ็ เหยยี่ ว Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia RHAMNACEAE C ü ü 261 กระทมุ่ เขา Neonauclea calycina (Bartl. ex DC.) Merr. RUBIACEAE T ü ü 262 กระทมุ่ เนิน Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze RUBIACEAE T ü ü ü 263 ขว้าว Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale RUBIACEAE T ü ü 264 ตดหมูตดหมา Paederia sp. RUBIACEAE C ü ü 265 ผกั คา้ งคาว Hedyotis ovatifolia Cav. RUBIACEAE H ü ü ü 266 ยอเถอื่ น Morinda elliptica Ridl. RUBIACEAE ST ü ü 267 ยอปา่ Morinda coreia Ham. RUBIACEAE T ü ü 268 สม้ กบ Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. RUBIACEAE T ü ü ü ü 269 หญา้ ตนี มือตดุ๊ ตู่ Ophiorrhiza sp. RUBIACEAE H ü ü 270 หนามมะเคด็ Canthium parvifolium Roxb. RUBIACEAE S ü ü 271 กะอวม Acronychia pedunculata (L.) Miq. RUTACEAE S/ST ü ü 272 สอ่ งฟ้า Clausena heptaphylla ( DC.) Wight & Arn. RUTACEAE S ü ü 114

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 273 กรวยกระ Casearia graveolens Dalzell SALICACEAE T ü ü 274 กรวยใบเกลยี้ ง Casearia calva Craib SALICACEAE T ü ü 275 ตะขบปา่ Flacourtia indica (Burm.f.) Merr. SALICACEAE ST ü ü 276 กว่ มขาว Acer laurinum Hassk. SAPINDACEAE T ü ü 277 ขี้หนอน Zollingeria dongnaiensis Pierre SAPINDACEAE T ü ü ü ü ü 278 คงคาเดอื ด Arfeuillea arborescens Pierre SAPINDACEAE T ü ü 279 คอแลน Nephelium hypoleucum Kurz SAPINDACEAE T ü ü 280 ตะคร้อ Schleichera oleosa (Lour.) Oken SAPINDACEAE T ü ü ü ü 281 มะเฟืองช้าง Lepisanthes tetraphylla (Vahl) Radlk. SAPINDACEAE T ü ü ü ü ü 282 ลา ไยปา่ Paranephelium xestophyllum Miq. SAPINDACEAE ST/T ü ü ü ü 283 หอมไกลดง Harpullia arborea (Blanco) Radlk. SAPINDACEAE T ü ü 284 สดี าบนุ ทา Madhuca floribunda (Pierre ex Dubard) H. J. Lam SAPOTACEAE T ü ü 285 แววมยรุ า Torenia fournieri Lind. ex E.Fourn. SCROPHULARIACEAE H ü ü 286 ผกั ควา Selaginella ostenfeldii Hieron. SELAGINELLACEAE F ü ü ü 287 กอมขม Picrasma javanica Blume SIMAROUBACEAE T ü ü 288 คนทา Harrisonia perforata (Blanco) Merr SIMAROUBACEAE ScanS ü ü ü ü ü 289 ดบั ยาง Solanum erianthum D.Don SOLANACEAE S ü ü 290 กา ยาน Styrax benzoides Craib STYRACACEAE T ü ü 291 สมพง Tetrameles nudiflora R. Br. TETRAMELACEAE T ü ü 292 ทะโล้ Schima wallichii (DC.) Korth. THEACEAE T ü ü 115

ภาคผนวกที่ 1 ต่อ

สภานภาพ ชนิดปา่ ปที สี่ า รวจ ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ วิสยั Endemic Red data¹ Threat.² Rare³ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา 2556 2557 2558 2560 293 เหมือดแกว้ Sladenia celastrifolia Kurz THEACEAE ST ü ü 294 กระเชา Holoptelea integrifolia Planch. ULMACEAE T ü ü 295 ตา แยช้าง Dendrocnide stimulans (L. f.) Chew URTICACEAE S/ST ü ü 296 หญา้ หนอนตาย Pouzolzia sp. URTICACEAE H ü ü 297 หานช้างฮอ้ ง Dendrocnide basirotunda (C. Y. Wu) Chew URTICACEAE S/ST ü ü 298 เถาวัลยป์ นู Cissus repanda Vahl VITACEAE C ü ü ü 299 สม้ กงุ้ Ampelocissus martinii Planch. VITACEAE C ü ü 300 กระทอื ลงิ Globba schomburgkii Hook.f. ZINGIBERACEAE H ü ü 301 ข่าลงิ Globba nuda K. Larsen ZINGIBERACEAE H ü ü 302 เปราะปา่ Kaempferia pulchra (Ridl.) Ridl. ZINGIBERACEAE H ü ü 303 เปราะใหญ่ Kaempferia elegans (Wall.) Baker ZINGIBERACEAE H ü ü 304 มหาอดุ ม Curcuma cochinchinensis Gagnep. ZINGIBERACEAE H ü ü 305 ว่านหาวนอน Kaempferia rotunda L. ZINGIBERACEAE H ü ü summa 305 ชนิด 203 สกลุ 79 วงศ ์

116

หมายเหตุ (ท้ายตารางภาคผนวกที่ 1) สถานภาพ ¹ = Santisuk et al. (2006) E Endemic พบถิ่นเดียว (เฉพาะประเทศไทย) ² = Pooma et al. (2005) R Rare หายาก ³ = ราชันย์ (2551) EX Extinct สูญพันธุ์ Forest type EW Extinct in the wild สูญพันธุ์ในธรรมชาติ DE ป่าดิบแล้ง CR Critically Endangered ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง MD ป่าผลัดใบผสม EN Endangered ใกล้สูญพันธุ์ SL ป่าละเมาะเขาหินปูน VU Vulnerable มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ NT Near threatened ใกล้ถูกคุกคาม Habit AqH ไม้ล้มลุกที่อาศัยอยู่ในน า (aquatic herb) O กล้วยไม้ (orchid) AqF เฟินที่อาศัยอยู่ในน า (aquatic fern) P หมาก หรือปาล์ม (palm) C ไม้เถา, ไม้เลื อย (climber) PaH กาฝากล้มลุก (parasitic herb) CB ไม้ไผ่เลื อย (climber bamboo) PaS กาฝากพุ่ม (parasitic shrub) CF เฟินเลื อย (climber fern) S ไม้พุ่ม (shrub) CP หมาก หรือปาล์มเลื อย หรือหวาย S/ST ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก (Climber palm) (Shrub/shrubby tree) CrH ไม้ล้มลุกเกาะเลื อย (creeping herb) SapH ไม้ล้มลุกกินซาก (saprophytic herb) E พืชอิงอาศัย (epiphytic) SapO กล้วยไม้กินซาก (saprophytic orchid) EF เฟินอิงอาศัย (epiphytic fern) ScanS ไม้พุ่มรอเลื อย (scandent shrub) EH ไม้ล้มลุกอิงอาศัย (epiphytic herb) ST ไม้ต้นขนาดเล็ก (shrubby tree) EO กล้วยไม้อิงอาศัย (epiphytic orchid) T ไม้ต้น (tree) ES ไม้ล้มลุกอิงอาศัย (epiphytic shrub) Ter พืชอาศัยตามพื นดิน (terrestrial) F เฟิน (fern) TerF เฟินอาศัยตามพื นดิน (terrestrial fern) G หญ้า (grass) TerO กล้วยไม้อาศัยตามพื นดิน (terrestrial orchid) H ไม้ล้มลุก (herb) US ไม้พุ่มขนาดเล็ก (undershrub) HC ไม้เถาล้มลุก (herbaceous climber) US/S ไม้พุ่มขนาดเล็กถึงกึ่งไม้พุ่ม (undershrub/shrub) 117

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

7

1

4

1

4

1

2

4

2

1

2560

-

-

-

-

-

2

1

2

1

3

1

1

5

1

3

4

1

8

2

1

11

2558

)

2560

Family

-

(

2558

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

HESPERIIDAE

HESPERIIDAE

HESPERIIDAE

HESPERIIDAE

HESPERIIDAE

HESPERIIDAE

HESPERIIDAE

HESPERIIDAE

HESPERIIDAE

)

Moore

Fruhstorfer

Hewitson

C.& R. Felder

(Hewitson)

Moore

Evans

Moore

Fabricius Fabricius

Moore

Fruhstorfer Fruhstorfer

Fruhstorfer

Cramer

Scientific Name Scientific

(

Fruhstorfer

Moore

(Fruhstorfer)

Fabricius

(Moore)

(Fabricius)

Moore

Moore

ิ ท

ื ่ อ

Arhopala anthelus anthelus anthelus Arhopala

Spindasis lohita himalayanus lohita Spindasis

Surendra quercetorum Surendra quercetorum

Acytolepis puspa puspa puspa Acytolepis

Anthene lycaenina lycambes lycaenina Anthene

Hypolycaena erylus himavantus erylus himavantus Hypolycaena

Ticherra acte acte

Castalius rosimon Castalius rosimon

Spindasis syama peguanus peguanus syama Spindasis

Abisara abnormis Abisara

Cheritra freja

Loxura atymnus fuconius fuconius atymnus Loxura

Potanthus ganda ganda ganda ganda Potanthus

Psolos fuligo subfasciatus subfasciatus fuligo Psolos

Iambrix salsala Iambrix salsala

Ampittia dioscorides camertes dioscorides Ampittia

Simiskina phalia binghami Simiskina phalia

Badamia exclamationis Badamia

Caprona agama agama Caprona

Hasora taminatus malayana malayana taminatus Hasora

Hasora chromus chromus Hasora

)

(

ี ก

ื ่ อ

ี ย

ิ ้

ี ต

ิ ้

ุ ่

ุ บ

็ ม

ี ด

ี ด

Arhopala

ุ ่

ึ ่

่ า

ิ ้

ุ ่

ี ก

ี ต

ิ ๋

ิ ๋

Simiskina Simiskina phalia

Hasora taminatus Hasora

Hasora chromus Hasora

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

บัญชีรายชื่อผีเสื้อกลางวันในป่าเบญจพรรณของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณพ.ศ.

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

2 2

ี ่

9

8

7

6

5

4

3

2

1

21

20

19

18

17

16

15

14

13

12

11

10

ภาคผนวกที่ 118

-

1

2

4

8

1

1

2

1

2

1

3

1

1

1

1

1

2

2

11

15

15

2560

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

5

3

2

1

4

39

34

47

15

2558

)

Family

(

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

LYCAENIDAE

)

(C.& R. Felder)

Fruhstorfer

(Linnaeus)

Horsfield

Fruhstorfer

Fruhstorfer

(Fruhstorfer)

Fruhstorfer

Scientific Name Scientific

(Godrat)

(Stoll)

(

(Hewitson)

Distant

Fruhstorfer

(Fruhstorfer)

Moore

(Evans)

(de (de Nicevill)

(Cramer)

(Doherty)

Moore

(Westwood)

(Cramer)

ิ ท

ื ่ อ

Neptis hordonia hordonia hordonia Neptis

Yoma sabina vasuki Yoma sabina

Junonia lemonias lemonias lemonias lemonias Junonia

Junonia iphita iphita iphita Junonia

Moduza procris Moduza milonia

Lethe europa niladana niladana Lethe europa

Tanaecia lepidea sthavara lepidea Tanaecia

Ancema blanka minturna blanka Ancema

Caleta Caleta roxus roxana

Chliaria othona othona othona Chliaria othona

Chilades pandava pandava pandava pandava Chilades

Jamides celeno Jamides celeno

Jamides alecto ageladas Jamides ageladas alecto

Prosotas lutea sivoka sivoka lutea Prosotas

Nacaduba berenice aphya berenice aphya Nacaduba

Anthene emolus emolus Anthene

Arhopala pseudocentaurus nakula nakula pseudocentaurus Arhopala

Drupadia theda fabricii fabricii theda Drupadia

Drupadia ravindra ravindra Drupadia

Sinthusa malika amata malika amata Sinthusa

Neomyrina nivea periculosa periculosa nivea Neomyrina

Curetis bulis bulis

)

(

่ า

ี ้ ย

ี ก

ื ่ อ

่ า

ี ค

ี ก

ี ค

้ ว

ุ ก

ี ต

ี ต

้ อ

ี เ

ี ส

ี ต

ี แ

ู ่

ิ ้

์ เ

ิ ่

ี ด

ี ด

ม า

ี ห

(ต่อ)

Sinthusa malika Sinthusa

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

2 2

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี ่

43

42

41

40

39

38

37

36

35

34

33

32

31

30

29

28

27

26

25

24

23

22

ภาคผนวกที่

119

1

4

1

4

1

1

1

5

6

6

1

6

4

1

8

3

10

50

21

29

11

74

2560

1

9

3

1

8

2

1

7

1

2

2

8

37

13

10

10

68

74

44

39

10

2558

110

)

Family

(

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

)

C. & R. Felder

C. & R. Felder

Moore

Moore

Moore

Rothschild & Jordan Rothschild

C.&R. C.&R. Felder

Butler

(Cramer)

Scientific Name Scientific

Linnaeus

(Male)

(Linnaeus)

(

Fruhstorfer

Grose Smith

Moore

Moore

Sulzer

(Fabricius)

Moore

Lucuas

Fabricius

(Linnaeus)

ิ ท

ื ่ อ

Parantica agleoides aegleoides agleoides Parantica

Parantica aglea melanoidae aglea melanoidae Parantica

Ypthima baldus baldus Ypthima baldus

Ypthima savara savara savara Ypthima savara

Melanitis leda leda Melanitis leda

Cupha erymanthis Cupha lotis

Hypolimnas bolina bolina bolina Hypolimnas

Vindula erota erota Vindula

Charaxes solon sulphureus Charaxessulphureus solon

Charaxes hierax bernardus

Mycalesis Mycalesis mineus mineus

Mycalesis Mycalesis perseoides

Mycalesis francisca sanatana Mycalesis sanatana francisca

Euthalia evelina compta evelina Euthalia

Euploea core godartii Euploea

Euploea sylvester harrisii Euploea

Euploea modesta modesta modesta Euploea

Euploea algea limborgii Euploea

Euploea phaenareta catelnaui catelnaui phaenareta Euploea

Euploea mulciber mulciber Euploea

Neptis hylas kamarupa kamarupa hylas Neptis

Neptis columella martabana columella Neptis

)

(

ั ้ น

ี ่

ี ด

ี ด

้ า

่ ้ า

ี จ

ื ่ อ

้ า

ั ้ น

ื อ

ี ด

่ า

ี ต

ี ่ จ

ี ่

์ ส

ี ด

ุ ่

ุ ่

ุ ่

ี ้ เ

ี ธ

ี แ

่ ใ

ี ก

ุ ๊

ี ต

ี ต

(ต่อ)

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

2

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี ่

65

64

63

62

61

60

59

58

57

56

55

54

53

52

51

50

49

48

47

46

45

44

ภาคผนวกที่ 120

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1

4

3

7

4

2

2560

1

3

2

2

1

2

1

1

1

3

1

2

1

3

1

4

1

2

2

20

17

2558

132

)

Family

(

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

)

(Butler)

Moore

Fruhstorfer

(Drury)

Doyere

(Moore)

Moore

(Swinhoe)

Moore

(Fabricius)

Scientific Name Scientific

Fruhstorfer

(

Fruhstorfer

(Fruhstorfer)

(Fruhstorfer)

Butler

Moore

(Fabrieius)

H. Druce H.

Moore

(Fruhstorfer)

C. & R. Felder

ิ ท

ื ่ อ

Euploea douledayi evalida douledayi Euploea

Cethosia cyane euanthes Cethosia cyane

Neptis clinia susruta clinia Neptis

Neptis sappho astola sappho Neptis

Neptis paraka paraka paraka paraka Neptis

Neptis miah nolana miah Neptis nolana

Kallima limborgii Kallima limborgii

Doleschallia bisaltide siamensis bisaltide Doleschallia

Junonia almana almana (Linnaeus) almana almana Junonia

Junonia hierta hiertaJunonia

Cyrestis thyodamas Cyrestisthyodamas thyodamas

Polyura arja arja arja arja Polyura

Phalanta phalantha phalantha phalantha phalantha Phalanta

Phalanta alcippe alcippoides alcippoides alcippe Phalanta

Rohana tonkiniana Rohana

Tanaecia cocytus cocytus cocytus Tanaecia

Lexias pardalis jadeitina Lexias pardalis

Libythea geoffroy alompra alompra geoffroy Libythea

Ariadne ariadne pallidior ariadne Ariadne

Ariadne merione Ariadne ginosa

Elymnias hypermnestra Elymnias tinctoria

Tirumala septentrionis septentrionis Tirumala septentrionis

)

(

ั ก

็ ก

ื ่ อ

ึ บ

ุ ่

ุ ่

ี ฟ

ี ด

ื อ

็ ก

ื อ

้ า

ิ ง

ู เ

็ ก

ี ม

ี เ

ี ่

ุ ๊

ี ล

ี ภ

ี แ

ี เ

์ ข

ื อ

ื อ

ื อ

ั ว

(ต่อ)

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

2

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี ่

87

86

85

84

83

82

81

80

79

78

77

76

75

74

73

72

71

70

69

68

67

66

ภาคผนวกที่ 121

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2560

1

2

8

2

1

6

2

5

1

1

1

1

4

1

1

3

2

4

8

8

11

13

2558

)

Family

(

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

)

Butler

C.& R. Felder

Fabricius

Fruhstorfer

Butler

(Linnaeus)

hierax

Moore

Fruhstorfer

Fruhstorfer

Fruhstorfer

(Fabricius)

f.

(Moore)

de Niceville de Niceville

Scientific Name Scientific

Herbst

Moore

(

Stichel

C. & R. Felder

(Fruhstorfer)

Corbet

(Kollar)

Moore

(Fabricius)

ิ ท

ื ่ อ

Acraea violae violae Acraea

Ariadne specularia arca specularia Ariadne

Tirumala gautama gautama Tirumala gautama

Cirrochroa tyche mithila

Cirrochroa aoris olivacea Cirrochroa aoris olivacea

Cirrochroa surya siamensis

Melanitis Melanitis zitenius zitenius

Melanitis phedima ganapati Melanitis phedima

Vagrans Vagrans egista sinha

Hypolimnas misippus misippus misippus Hypolimnas

Faunis canens arcesilas canens Faunis

Euthalia aconthea garuda aconthea Euthalia

Euthalia Kanda marana Kanda Euthalia

Charaxes hierax bernardus

Mycalesis sangaica Mycalesis tunicula sangaica

Mycalesis Mycalesis mineus macromalayana

Parthenos sylvia gambrisius sylvia Parthenos

Athyma ranga Athyma ranga

Euploea klugii erichsonii Euploea

Euploea camaralzeman malayica camaralzeman Euploea

Euploea radamanthus radamanthus radamanthus Euploea

Euploea camaralzeman camaralzeman camaralzeman Euploea

)

(

ี ด

์ ข

hierax

.

f

ื ่ อ

้ า

ี ย

้ า

ื อ

ุ ่

่ า

ื อ

ี ต

ี ต

Mycalesis Mycalesis mineus

ี ก

์ ส

้ า

ี น

็ ก

ุ ่

ุ ่

่ เ

้ น

ี ต

ี ก

่ า

ี อ

ี อ

ี อ

่ า

(ต่อ)

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

2

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี ่

99

98

97

96

95

94

93

92

91

90

89

88

109

108

107

106

105

104

103

102

101

100

ภาคผนวกที่ 122

-

-

1

2

3

1

2

4

1

2

1

2

3

1

3

2

6

3

1

4

7

1

2560

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

14

17

2558

)

Family

(

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

)

Fruhstorfer

(Drury)

(Frushtorfer)

C.& R. Felder

Fruhstorfer

Fruhstorfer

Fabricius

Scientific Name Scientific

Corbet

Westwood Westwood

(

Fruhstorfer

(Frushtorfer)

Staudinger

Linnaeus

Riley & Godfrey

Aoki &Aoki Yamaguchi

Moore

Marshall

Moore

Fruhstorfer

Moore

Evans

(Moore)

ิ ท

ื ่ อ

Tanaecia jahnub jahnub Tanaecia

Euthalia djata siamica djata Euthalia

Mycalesis perseus blasius Mycalesis perseus blasius

Mycalesis malsara Mycalesis malsara

Mycalesis Mycalesis intermedia

Mycalesis thailandica Mycalesis thailandica

Mycalesis Mycalesis mnasicles perna

Athyma ranga Athyma ranga

Neptis magadha magadha magadha magadha Neptis

Neptis aurelia aurelia aurelia aurelia Neptis

Tanaecia julii odilina julii Tanaecia

Discophora sondaica zal sondaica Discophora

Kallima inachus siamensis inachus Kallima

Junonia atlites Junonia

Polyura athamas athamas athamas athamas Polyura

Telicota ohara jix ohara Telicota

Tanaecia lepidea sthavara sthavara lepidea Tanaecia

Mycalesis mineus macromalayana Mycalesis mineus macromalayana

Lexias pardalis jadeitina Lexias pardalis

Lexias pardalis disrteana disrteana Lexias pardalis

Libythea narina rohini narina Libythea

Libythea myrrha hecuraLibythea

)

(

้ า

็ ก

ื ่ อ

้ า

์ ข

ั ่

ี ก

ี เ

ุ ่

ุ ่

ุ ่

ุ ่

ุ ่

ี ล

ี แ

้ น

ื อ

์ เ

่ ล

ั ว

ั ว

Telicota ohara jix ohara Telicota Evans

Tanaecia lepidea sthavara lepidea Tanaecia

Mycalesis mineus macromalayana

Lexias pardalis jadeitina Lexias pardalis

Lexias pardalis disrteana Lexias pardalis

(ต่อ)

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

2

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี ่

131

130

129

128

127

126

125

124

123

122

121

120

119

118

117

116

115

114

113

112

111

110

ภาคผนวกที่ 123

-

-

-

-

-

-

-

-

-

5

1

1

2

2

2

1

2

1

1

9

2

12

2560

-

-

1

2

4

1

4

1

2

2

6

1

14

73

49

10

51

13

16

11

2558

159

112

)

Family

(

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

NYMPHALIDAE

NYMPHALIDAE

)

Linnaeus

Fruhstorfer

Fruhstorfer

(Fruhstorfer)

(Fabricius)

(Rothschild)

Moore

Fruhstorter

Wallace

Fruhstorfer

Fruhstorfer

(Linnaeus)

(Fruhstorfer)

Hewitson

Scientific Name Scientific

Bates

(

(Cramer)

G.R.Grey

Cremer

Westwood

C. & R. Felder

(Tytler)

janus

f.

Linnaeus

ิ ท

ื ่ อ

Graphium antiphates pompilius Graphium antiphates

Papilio demoleus malayanus demoleus Papilio

Graphium Graphium evemon eventus

Graphium doson axion Graphium doson

Graphium eurypylus cheronus Graphium eurypylus

Graphium Graphium macareus indochinensis

Graphium Graphium xenocles kephisos

Chilasa clytia clytia clytia Chilasa

Chilasa agestor Chilasa agestor

Pachliopta aristolochiae asteris aristolochiae Pachliopta

Papilio mahadeva mahadeva mahadeva mahadeva Papilio

Papilio paris paris Papilio

Papilio polytes romulus polytes Papilio

Papilio nephelus chaon nephelus Papilio

Graphium Graphium agamemnon agamemnon

Parantica melaneus plataniston Parantica

Danaus genutia genutia Danaus

Graphium sarpedon luctatius Graphium sarpedon

Graphium Graphium megarus megapenthes

Troides aeacus thomsoni Troides aeacus

Lexias Lexias dirtea merguia

Symbrenthia lilaea lilaea lilaea lilaea Symbrenthia

)

(

ื อ

ื ่ อ

ี ต

ื ่ อ

ี น

ี จ

ี จ

ี ธ

็ ก

ุ ๊

ุ ้

ิ ่

ิ ่

ิ ่

ิ ่

ิ ง

ิ ง

ุ ง

(ต่อ)

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

2

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี ่

153

152

151

150

149

148

147

146

145

144

143

142

141

140

139

138

137

136

135

134

133

132

ภาคผนวกที่ 124

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2

1

1

1

8

1

3

1

1

1

18

18

2560

-

6

9

6

5

6

1

1

2

2

1

2

34

12

28

19

21

15

15

25

17

2558

548

)

Family

(

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PIERIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

PAPILIONIDAE

)

Fabricius

Fabricius

C.& R. Felder

(Linnaeus)

crocole crocole

(Moore)

hilaria

f.

(Linnaeus)

f. f.

Butler

Moore

(Moore)

Scientific Name Scientific

Wallace

Shirozu & Shirozu YaTa

Linnaeus

(

Linnaeus

Swinhoe

Lucus

Fruhstorfer

Moore

C. & R. Felder

(Fabricius)

H.Druce

Fabricius

Doubleday

ิ ท

ื ่ อ

Appias lyncida vasava lyncida Appias

Pareronia valeria lutescens Pareronia valeria

Hebomoia glaucippe glaucippe glaucippe Hebomoia

Cepora nadina nadina Cepora nadina

Eurema Eurema simulatrix inouei

Catopsilia pomona pomana pomona Catopsilia

Catopsilia pomona pomona pomona pomona Catopsilia

Appias albina darada albina Appias

Appias libythea olferna libythea Appias

Ixias Ixias pyrene verna

Leptosia nina nina nina Leptosia

Cepora Cepora nerissa dapha

Cepora iudith lea lea Cepora iudith

Eurema blanda silhetana Eurema blanda

Gandaca harina burmana harina Gandaca

Eurema hecabe Eurema contubernalis hecabe

Chilasa clytia clytia f. janus janus f. clytia clytia Chilasa

Lamproptera curius Lamproptera

Papilio memnon agenor Papilio

Papilio helenus helenus helenus Papilio

Graphium Graphium nomius swinhoei

Graphium Graphium aristeus hermocrates

)

(

้ า

ี ด

้ า

้ า

้ น

ี ด

็ ก

ื ่ อ

ุ ่

ุ ่

ุ ่

้ ม

้ ม

ี ย

ี ก

ี ก

ิ ่

ิ ่

ื อ

ื อ

ื อ

ิ ง

Eurema Eurema simulatrix

(ต่อ)

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

ื ้ อ

2

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี เ

ี ่

175

174

173

172

171

170

169

168

167

166

165

164

163

162

161

160

159

158

157

156

155

154

ภาคผนวกที่

125

7

3

2560

2813

-

-

2558

)

Family

(

PIERIDAE

PIERIDAE

)

Shirôzu & Shirôzu Yata

5 5

de Niceville de

Scientific Name Scientific

(

85

ิท

177 177

ื่อ

2813

)

Eurema simulatrix Eurema tecmessa

Eurema andersoni sadanobui sadanobui andersoni Eurema

2560

-

2558

(

)

(

ัน

ื่อ

ูเ

(ต่อ)

ื้

ื้

2

ีเ

ีเ

ี่

177

176

ภาคผนวกที่ 126

ภาคผนวกที่ 3 บัญชีรายชื่อมอทในป่าเบญจพรรณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2560

ลา ดบั ที่ ชื่อสามัญ(ไทย) ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific Name) วงศ ์ (Family) 2558 2560 1 มอทลายเสือครีมท้องเหลือง Creatonotos transiens (Walker) ARCTIIDAE 18 6 2 มอทลายเสือท้องแดง Amerila astreus (Drury) ARCTIIDAE 11 2 3 มอท Argina argus Argina argus Kollar ARCTIIDAE 1 - 4 มอท Barsine cruciata Barsine cruciata Walker ARCTIIDAE 2 - 5 มอท Spilosoma ericsoni Spilosoma ericsoni (Semper) ARCTIIDAE 1 - 6 มอทชีแตม้ ชวา Cyana javanica (Butler) ARCTIIDAE 1 - 7 มอทลายเสือเหลืองเส้นด้าคู่ Barsine euprepioides (Walker) ARCTIIDAE 1 - 8 มอท Lemyra jankowskii Lemyra jankowskii ARCTIIDAE - 1 9 มอท Macrobrochis prasena Macrobrochis prasena ARCTIIDAE - 9 10 มอทเจาะไมล้ ายเสี้ยน Xyleutes adusta Roepke COSSIDAE 4 2 11 มอทเจาะไมส้ ้มเล็ก Xyleutes mineus (Cramer) COSSIDAE 1 - 12 มอทเจาะตน้ สัก Xyleutes ceramicus Walker COSSIDAE 2 - 13 มอทหนอนชบาลายเลือน Nausinoe pueritia (Cramer) CRAMBIDAE 6 1 14 มอทริ้วทองจิ๋ว Eristena sp. CRAMBIDAE - 1 15 มอทหนอนกอ่ มว่ งลาย Pygospila tyres CRAMBIDAE - 1 16 มอทหนอนมว้ นใบขอบด้า Cydalima diaphanalis CRAMBIDAE - 1 17 กว่างชน Xylotrupes gideon DYNASTINAE - 5 18 ดว้ งดดี ELATERIDAE 1 - 19 มอทยักษข์ นปุยสีจาง Tagora pallida Walker EUPTEROTIDAE 4 - 20 สกลุ Eupterotidae Eupterotidae sp. EUPTEROTIDAE - 2 21 มอทเปลือกไมล้ ายเลือน Cleora pupillata (Walker) GEOMETRIIDAE 69 5 22 มอททองเงนิ Semiothisa eleonora (Villers) GEOMETRIIDAE 44 9 23 มอทปิงกาสาเส้นโคง้ Pingasa ruginaria Guenée GEOMETRIIDAE 2 2 24 มอทปีกพู่ Pterothysanus noblei Shwinhoe GEOMETRIIDAE 19 1 25 มอทราบปีกแหลม Micronia aculeata Guenée GEOMETRIIDAE 3 5 26 มอทหนอนคบื Hyposidra talaca Hyposidra talaca (Walker) GEOMETRIIDAE 18 1 27 มอทหนอนคบื เขียวขีดกลาง Ornithospila submonstrans Walker GEOMETRIIDAE 40 1 28 มอท Amblychia angeronaria Amblychia angeronaria Guenée GEOMETRIIDAE 5 - 29 มอท Zamarada excisa Zamarada excisa Hampson GEOMETRIIDAE 1 - 30 มอทเปลือกไมแ้ ตม้ จุด Biston inouei GEOMETRIIDAE 1 - 31 มอทเปลือกไมล้ ายคลื่น Cleora determinata (Walker) GEOMETRIIDAE 303 - 32 มอททองเฉียงพร้าคราม Dysphania subrepleta (Walker) GEOMETRIIDAE 1 - 33 มอทปิงกาสาเส้นหยัก Pingasa chlora chlora (Stoll) GEOMETRIIDAE 1 - 34 มอทหนอนคบื เขียวล้าไย Pelagodes falsaria (Prout) GEOMETRIIDAE 35 - 35 มอทหนอนหนามเส้นขอบขาว Parasa repanda (Walker) LIMACODIDAE 1 - 36 มอทหนอนหอย Procoderma velutina Procoderma velutina LIMACODIDAE - 1 37 สกลุ Limacodidae Limacodidae sp. LIMACODIDAE - 6 38 มอทเหลืองทรายล้อมตาล Toxoproctis cosmia LYMANTRIIDAE 1 - 39 มอทท้องเหลืองปีกลาย Imaus munda (Walker) LYMANTRIIDAE 1 - 40 มอทไลแมนขาวท้องชมพู Lymantria sp. LYMANTRIIDAE - 3 127

ภาคผนวกที่ 3 (ต่อ) ลา ดบั ที่ ชื่อสามัญ(ไทย) ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific Name) วงศ ์ (Family) 2558 2560 41 มอทตานกฮูก Erebus hieroglyphica Erebus hieroglyphica (Drury) NOCTUIDAE 79 4 42 มอทตานกฮูกเล็ก Erebus caprimulgus (Fabricius) NOCTUIDAE 27 2 43 มอทตานกฮูกใหญ่ Erebus macrops (Linnaeus) NOCTUIDAE 12 1 44 มอทลายเสือแถบใหญ่ Peridrome subfascia Walker NOCTUIDAE 10 1 45 มอทลายเสือแถบกว้าง Peridrome orbicularis Walker NOCTUIDAE 3 2 46 มอทหนอนกระทปู้ ีกหลังเหลืองด้า Thyas coronata Fabricius NOCTUIDAE 37 1 47 มอทหนอนกระทฟู้ า้ วาว Ischyja inferna Swinhoe NOCTUIDAE 11 1 48 มอทหนอนมะเดอื่ จุดขาวเล็ก Asota caricae Fabricius NOCTUIDAE 7 1 49 มวนหวานขีดเฉียง Eudocima hypermnestra (Cramer) NOCTUIDAE 1 - 50 มอท dotata Artena dotata (Fabricius) NOCTUIDAE 1 - 51 มอท Asota ficus Asota ficus (Fabricius) NOCTUIDAE 6 - 52 มอท Avatha chinensis Avatha chinensis (Warren) NOCTUIDAE 2 - 53 มอท Buzara luteipalpis Buzara luteipalpis (Walker) NOCTUIDAE 1 - 54 มอท Chasmina candida Chasmina candida candida Walke NOCTUIDAE 2 - 55 มอท Episparina tortuosalis Episparina tortuosalis (Moore) NOCTUIDAE 3 - 56 มอท Episparis liturata Episparis liturata (Fabricius) NOCTUIDAE 1 - 57 มอท Hamodes pendleburry Hamodes pendleburry Prout NOCTUIDAE 4 - 58 มอท Oxyodes scrobiculata Oxyodes scrobiculata (Fabricius) NOCTUIDAE 50 - 59 มอท Pindara illibata Pindara illibata (Fabricius) NOCTUIDAE 1 - 60 มอท Platyja umminia Platyja umminia (Cramer) NOCTUIDAE 1 - 61 มอทพริ ามหน้าเข้ม Spirama retorta (Clerk) NOCTUIDAE 7 - 62 มอทพริ ามหน้ายักษ์ Spirama helicina (Hubner) NOCTUIDAE 50 - 63 มอทมวนหวานธรรมดา Eudocima falonia (Linnaeus) NOCTUIDAE 6 - 64 มอทลายเสือไร้แถบ Neochera inops (Walker) NOCTUIDAE 35 - 65 มอทสร้อยอนิ ทนิลท้องส้ม Tinolius quadrimaculatus (Walker) NOCTUIDAE 2 - 66 มอทสิมพลีสีอฐิ Sympis rufibasis Guenée NOCTUIDAE 7 - 67 มอทหนอนกระท ู้ Ischyja sp Ischyja sp. NOCTUIDAE 2 - 68 มอทหนอนกระทเู้ ส้นรัศมี Apsarasa radians (westwood) NOCTUIDAE 2 - 69 มอทหนอนกระททู้ ้องลายเหลือง Hypocala rostrata (Fabricius) NOCTUIDAE 2 - 70 มอท Arcte modesta Arcte modesta Hoeven NOCTUIDAE - 1 71 มอท Erebus ephesperis Erebus ephesperis NOCTUIDAE - 1 72 มอท Entomogramma torsa Entomogramma torsa Guenee NOCTUIDAE - 1 73 มอท Ericeia pertendens Ericeia pertendens (Walker) NOCTUIDAE - 3 74 มอทตาลประดบั มกุ Pachylepis dilectissima Walker NOCTUIDAE - 2 75 มอทโล่จุดตาขาว Gangarides rosea (Walker) NOTODONTIDAE 2 1 76 มอท Baradesa lithosioides Baradesa lithosiodes lithosiodes Moore NOTODONTIDAE 262 - 77 มอทหนอนมงั กร Stauroplitis accomodus Stauroplitis accomodus Schintlmeister & Fang NOTODONTIDAE 1 - 78 มอทหนอนมงั กรกงิ่ ไม้ Phalera sp. NOTODONTIDAE 9 - 79 มอทหนอนมงั กรล้าไย Tarsolepis elephantorum Banziger NOTODONTIDAE 4 - 80 มอท Baradesa omissa Baradesa omissa Rothschild NOTODONTIDAE - 5 128

ภาคผนวกที่ 3 (ต่อ)

ลา ดบั ที่ ชื่อสามัญ(ไทย) ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific Name) วงศ ์ (Family) 2558 2560 81 มอท Phalera raya Phalera raya Moore NOTODONTIDAE - 2 82 มอทหนอนไหมอรี ี่ Samia canningii Hutton SATURNIIDAE 1 - 83 มอท Parum colligata Parum colligata (Walker) SPHINGIDAE 6 2 84 มอทเหยี่ยวป้ายชาดใหญ่ Callambulyx rubricosa rubricosa (Walker) SPHINGIDAE 26 8 85 มอทเหยี่ยวลายทหารเข้ม Daphnis hypothous hypothous (Cramer) SPHINGIDAE 9 1 86 มอทเหยี่ยวองุ่น Acosmeryx shervillii Boisduval SPHINGIDAE 2 1 87 มอท Acosmeryx anceus Acosmeryx anceus subdentata (Rothschild & Jordan) SPHINGIDAE 1 - 88 มอท Acosmeryx pseudomissa Acosmeryx pseudomissa Mell SPHINGIDAE 6 - 89 มอท Ambulyx pryeri Ambulyx pryeri Distant SPHINGIDAE 2 - 90 มอท Ambulyx sericeipennis Ambulyx sericeipennis agana (Jordan) SPHINGIDAE 1 - 91 มอท Ambulyx substrigilis Ambulyx substrigilis substrigilis (Westwood) SPHINGIDAE 2 - 92 มอท Daphnis placida Daphnis placida placida (Walker) SPHINGIDAE 2 - 93 มอท Hippotion rosetta Hippotion rosetta (Swinhoe) SPHINGIDAE 2 - 94 มอท dyras dyras (Walker) SPHINGIDAE 2 - 95 มอท Poliana leucomelas Poliana leucomelas Rothschild & Jordan SPHINGIDAE 2 - 96 มอท Psilogramma increta Psilogramma increta (Walker) SPHINGIDAE 1 - 97 มอท Smerinthulus diehli Smerinthulus diehli Hayes SPHINGIDAE 1 - 98 มอทเหยี่ยว Marumba juvencus Marumba juvencus Rothschild & Jordan SPHINGIDAE 1 - 99 มอทเหยี่ยวTheretra oldenlandiae Theretra oldenlandiae oldenlandiae (Fabricius) SPHINGIDAE 1 - 100 มอทเหยี่ยวขอบตวั ด้าสีคล้า Psilogramma menephron menephron (Cramer) SPHINGIDAE 4 - 101 มอทเหยี่ยวบอนเขียว Pergesa acteus (Cramer) SPHINGIDAE 3 - 102 มอทเหยี่ยวบอนยักษ์ Theretra nessus (Drury) SPHINGIDAE 1 - 103 มอทเหยี่ยวปีกเส้นตรง Theretra lycetus (Cramer) SPHINGIDAE 1 - 104 มอทเหยี่ยวสี่บงั้ Ampelophaga dolichoidea (R.Felder) SPHINGIDAE 1 - 105 มอทจรวดสีเทาลายขวาง Meganoton nyctiphanes (Walker) SPHINGIDAE 2 - 106 มอทหนอนมะไฟลายเลือน Cyclosia papilionaris ZYGAENIDAE 1 7 107 มอทหนอนมะไฟ Pidorus atratus Pidorus atratus (hotaruga) ZYGAENIDAE - 1 108 มอทหนอนมะไฟธรรมดา Cyclosia panthona ZYGAENIDAE - 2 รวม (ป ี 2558-2560) 1445 ตวั 108 ชนิด 78 สกลุ 14 วงศ์ 1445

129

ภาคผนวกที่ 4 ตารางบัญชีรายชื่อเห็ดราที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ป่าดิบเขา) บทบาท/หน้าที่ ลา ดบั ที่ ชื่อทอ้ งถนิ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อนั ดบั วัสดอุ าศยั /พืชอาศยั กลมุ่ เหด็ จา นวนดอก ในระบบนิเวศ 1 Stereum sp.1 Stereaceae Russulales กงิ่ ไมผ้ ุพงั ย่อยสลาย เห็ดแผ่นหนัง 7 2 เห็ดจวักงู Amauroderma rugosum (Fr.) Tor GanodermataceaePolyporales บนพนื้ ดนิ ย่อยสลาย เห็ดหงิ้ 3 3 Trametes sp.1 Polyporaceae Polyporales กงิ่ ไมผ้ ุพงั ย่อยสลาย เห็ดหงิ้ 5 4 เลูกดนิ สะเกด็ Scleroderma verrucosum Pers SclerodermataceaeBoletales บนพนื้ ดนิ เอคโตไมคอร์ไรซา เห็ดลูกฝุ่น 1 5 ดาวดนิ Geastrum sp.1 Geastraceae Phallales บนพนื้ ดนิ ย่อยสลาย เห็ดดาวดนิ 1 6 เห็ดโคน Termitomyces sp.1 TricholomataceaeAgaricales บนพนื้ ดนิ เอคโตไมคอร์ไรซา เห็ดครีบ 2 7 เห็ดดนั หมี Daldinia concentrica (Bolt.) Ces et De Not Xylariaceae Xylariales บนตน้ ไม้ ย่อยสลาย เห็ดคอร์ไดเซป 85 8 Russula sp.1 Russulaceae Russulales บนพนื้ ดนิ เอคโตไมคอร์ไรซา เห็ดครีบ 2 9 Marasmius maximus Hongo Marasmiaceae Agaricales ซากใบไม+้ กงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดครีบ 4 10 กรวยทองตากู Microporus xanthopus (Fr.) Kuntze Polyporaceae Polyporales บนกงิ่ ไม้ ย่อยสลาย เห็ดหงิ้ 7 11 Marasmiellus corticum Singer Marasmiaceae Agaricales กงิ่ ไมผ้ ุพงั ย่อยสลาย เห็ดครีบ 1 12 Polyporus sp.1 POLYPORACEAE Polyporales กงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดหงิ้ 30 13 Polyporus sp.2 POLYPORACEAE Polyporales กงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดหงิ้ 3 ป ี 60 ปา่ ดบิ เขา 13 ชนิด 12 สกลุ 9 วงศ์ 6 อนั ดบั

130

ภาคผนวกที่ 5 ตารางบัญชีรายชื่อเห็ดราที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ป่าเบญจพรรณ)

บทบาท/หน้าที่ ลา ดบั ที่ ชื่อทอ้ งถนิ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ อนั ดบั วัสดอุ าศยั /พืชอาศยั กลมุ่ เหด็ จา นวนดอก ในระบบนิเวศ 1 เห็ดหูหนู Auricularia sp.1 Auriculariaceae Auriculariales บนกงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดหูหนู 4 2 เห็ดตนี ตกุ๊ แก Schizophyllum commune Fr. SchizophyllaceaeAgaricales บนขอนไมท้ ตี่ ายแล้ว ย่อยสลาย เห็ดครีบ 7 3 Aleuria sp.1 PyronemataceaePezizales บนกงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย รูปถ้วย 9 4 Marasmius sp.1 Marasmiaceae Agaricales บนพนื้ ดนิ ย่อยสลาย เห็ดครีบ 2 5 Xylaria sp.1 Xylariaceae Xylariales บนขอนไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดคอร์ไดเซป 34 6 Pleurocybella porrigens (Pers.) Singer Marasmiaceae Agaricales บนเถาวัลย์ ย่อยสลาย เห็ดครีบ 8 7 Agaricus sp.1 AGARICACEAE Agaricales บนกงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดครีบ 5 8 เห็ดดนั หม ี Daldinia concentrica (Bolt. Ex Fr.) Ces.et de Not Xylariaceae Xylariales บนขอนไมผ้ ุ ย่อยสลาย คอร์ไดเซป 12 9 เห็ดนิ้วมอื คนตาย Xylaria polymorpha (Pres.) Grev. Xylariaceae Xylariales บนขอนไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดคอร์ไดเซป 8 10 Xylaria sp.2 Xylariaceae Xylariales บนขอนไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดคอร์ไดเซป 3 11 เห็ดหูหนู Auricularia sp.2 Auriculariaceae Auriculariales บนขอนไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดหูหนู 5 12 เห็ดหูหนู Auricularia sp.4 Auriculariaceae Auriculariales บนกงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดหูหนู 22 13 เห็ดพดั ใบลาน Polyporus grammocephalus Berk. POLYPORACEAE Polyporales กงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดหงิ้ 11 14 ร่มแดงหอม Marasmius jasminodorus Wannathes, Desjardin & Lamyong MARASMIACEAE Agaricales ซากใบไม้ ย่อยสลาย เห็ดครีบ 5 15 เห็ดหูหนู Auricularia sp.3 Auriculariaceae Auriculariales บนกงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดหูหนู 19 16 เห็ดรังผึ้ง Polyporus alveolaris (DC.:Fr.) Bond. & Sing. Polyporaceae Polyporales บนกงิ่ ไมผ้ ุ ย่อยสลาย เห็ดหงิ้ 3 17 เห็ดกรวยทองตากู Microporus xanthopus (Fr.) Kuntze Polyporaceae Polyporales บนกงิ่ ไม้ ย่อยสลาย เห็ดหงิ้ 5 18 เห็ดขี้ช้าง Poronia gigantea Sacc. Xylariaceae Xylariales บนซากขี้ช้าง ย่อยสลาย เห็ดคอร์ไดเซป 25 ป ี 60 ปา่ เบญจพรรณ 18 ชนิด 11 สกลุ 7 วงศ์ 5 อนั ดบั 131

ภาคผนวกที่ 6 ภาพพรรณไม้ที่ส าคัญตามค่า IV ในสังคมพืชป่าเบญจพรรณ จากมากไปหาน้อย

ตะคร้อ เปล้าแพะ Schleichera oleosa Croton hutchinsonianus

เปล้าใหญ่ สวอง Croton roxburghii Vitex limonifolia

เสลาขาว ปอขาว Lagerstroemia tomentosa Sterculia pexa

132

ภาคผนวกที่ 6 (ต่อ)

ประดู่ ขี้อ้าย Pterocarpus macrocarpus Terminalia triptera

มะกอก กระเจาะ Spondias pinnata Millettia leucantha

แดง งิ้วป่า Xylia xylocarpa Bombax anceps

133

ภาคผนวกที่ 6 (ต่อ)

ตะคร้อ เปล้าแพะ Schleichera oleosa Croton hutchinsonianus

เปล้าใหญ่ สวอง Croton roxburghii Vitex limonifolia

เสลาขาว ปอขาว Lagerstroemia tomentosa Sterculia pexa

134

ภาคผนวกที่ 7 ภาพพรรณไม้ที่ส าคัญตามค่า IV ในสังคมพืชป่าดิบเขา จากมากไปหาน้อย

มะคัดดง พิลังกาสา Ostodes paniculata Ardisia polycephala

ฝาละมี จ าปีศรีเมืองไทย Alangium kurzii Magnolia thailandica

หมีโป้ง ทังช่อ Litsea monopetala Litsea costalis 135

ภาคผนวกที่ 7 ต่อ

ตีนเป็ดเขา ทะโล้ Alstonia rostrata Schima wallichii

กรวยใบเกลี้ยง หน่วยนกงุม Casearia calva Beilschmiedia gammieana

แก้วลาย อีเม็ง Walsura pinnata Dalbergia lanceolaria 136

ภาคผนวกที่ 8 ชนิดผีเสื อกลางวันที่พบจ านวน 24 ชนิด จากผลการส ารวจในสังคมป่าเบญจพรรณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

วงศ์ PAPILIONIDAE (A, E, S-T), วงศ์ NYMPHALIDAE (B-D, F-I, K-M, O-Q, U-W), วงศ์ LYCAENIDAE (J, N) และวงศ์ PIERIDAE (R) : A. ผีเสื อม้าลายลายจุด (Graphium megarus megapenthes), B. ผีเสื อใบไม้ใหญ่ (Kallima inachus siamensis), C. ผีเสื อบารอนจุดแดง (Euthalia djata siamica), D. ผีเสื อแพนซีตาลไหม้ (Junonia iphita iphita), E. ผีเสื อสะพายฟ้า (Graphium sarpedon luctatius), F. ผีเสื ออ๊าชดุ๊กธรรมดา (Lexias pardalis jadeitina), G. ผีเสื อ กลาสีธรรมดา (Neptis hylas kamarupa), H. ผีเสื อกลาสีแดง (Neptis hordonia hordonia), I. ผีเสื อไวท์เคาท์ขอบ ฟ้า (Tanaecia julii xiphiones), J.ผีเสื อแสดหางยาว (Loxura atymnus fuconius), K. ผีเสื อจรกาด าขาว (Euploea radamanthus radamanthus), L. ผีเสื อหางติ่งธรรมดา (Papilio polytes romulus), M. ผีเสื อแถบขาว (Moduza procris milonia), N. ผีเสื อขาวหางริ ว (Cheritra freja freja), O. ผีเสื อขี โอ่ลายแถบ (Laringa horsfieldi glaucescens), P. ผีเสื อเสือดาวใหญ่ (Phalanta phalantha phalantha), Q. ผีเสื อเหลืองหนามธรรมดา(Polyura athamas athamas), R. ผีเสื อหนอนคูนธรรมดา(Catopsilia pomona pomona f. pomona), S. ผีเสื อโยมา (Yoma sabina vasuki), T. ผีเสื อหางติ่งมหาเทพ (Papilio mahadeva mahadeva), U. ผีเสื อหางตุ้มจุดชมพู (Pachliopta aristolochiae asteris), V. ผีเสื อหนอนละหุ่งลายหัก (Ariadne ariadne pallidior), W. ผีเสื อเลอะเทอะ ป่าไผ่(Lethe europa niladana), X. ผีเสื อแพนซีสีตาล (Junonia lemonias lemonias) 137

ภาคผนวกที่ 9 ชนิดมอทที่พบจ านวน 12 ชนิด จากผลการส ารวจในสังคมป่าเบญจพรรณ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560

วงศ์ NOCTUIDAE (A, D, F-G, L), วงศ์ SPHINGIDAE (B, J), วงศ์ ARCTIIDAE (C),วงศ์ NOTDONTIDAE (K), วงศ์ GEOMETRIDAE (I), วงศ์ ZYGAENIDAE (H) และวงศ์ COSSIDAE (E) : A. มอทหนอนกระทู้ปีก หลังเหลืองด า (Thyas coronata), B. มอทเหยี่ยวป้ายชาดใหญ่ (Callambulyx rubricosa rubricosa), C. มอท Spilosoma ericsoni (Spilosoma ericsoni), D. มอทหนอนกระทู้ฟ้าวาว (Ischyja inferna), E. มอทเจาะไม้ ลายเสี ยน (Marumba saishuiana saishuiana), F. มอทErebus ephesperis (Erebus ephesperis), G. มอท ตานกฮูก Erebus hieroglyphica (Erebus hieroglyphica), H. มอทหนอนมะไฟธรรมดา(Cyclosia panthona), I. มอทราบปีกแหลม (Micronia aculeata), J. มอทเหยี่ยว Parum colligata (Parum colligata), K. มอท Phalera raya (Phalera raya), L. มอทตาลประดับมุก (Pachylepis dilectissima) 138

ภาคผนวกที่ 10 ภาพเห็ดราที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 (ป่าดิบเขา)

เห็ดจวักงู ลูกดินสะเก็ด Amauroderma rugosum (Fr.) Tor Scleroderma verrucosum Pers Ganodermataceae Sclerodermataceae

เห็ดโคน เห็ดดาวดิน Termitomyces sp.1 Geastrum sp.1 Tricholomataceae Geastraceae

เห็ดดันหมี Polyporus sp.1 Daldinia concentrica (Bolt.) Ces et De Not Polyporaceae Xylariaceae

139

ภาคผนวกที่ 11 ภาพเห็ดราที่ส ารวจพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปี พ.ศ. 2560 (ป่าเบญจพรรณ)

เห็ดหูหนู เห็ดตีนตุ๊กแก Auricularia sp.1 Schizophyllum commune Fr. Auriculariaceae Schizophyllaceae

Xylaria sp.1 Pleurocybella porrigens (Pers.) Singer Xylariaceae Marasmiaceae

เห็ดนิ้วมือคนตาย เห็ดรังผึ้ง Xylaria polymorpha (Pres.) Grev. Polyporus alveolaris (DC.:Fr.) Bond. & Sing. Xylariaceae Polyporaceae

140

ภาคผนวกที่ 12 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 : เลือกพื นที่ที่ท าการวางแปลงตัวอย่าง (บนซ้าย), เดินเข้าไปวางแปลงตัวอย่างส ารวจ พรรณไม้ (บนขวา), ส่องเข็มทิศเพื่อวางแปลงตัวอย่าง (ล่างขวา) และลากเชือกวางแปลงส ารวจพรรณไม้ (ล่าง ขวา)

141

ภาคผนวกที่ 13 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 : บันทึกข้อมูลแปลงตัวอย่าง (บนซ้าย), วัดขนาดล าต้นของไม้ต้น (บนขวา), บันทึก ข้อมูลต้นไม้ (ล่างซ้าย) และเก็บตัวอย่างพรรณไม้ (ล่างขวา) 142

ภาคผนวกที่ 14 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดรา ในเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 : เดินทางเข้าแปลงตัวอย่าง

143

ภาคผนวกที่ 14 (ต่อ) : การตรวจสอบลักษณะทางสัณฐานของเห็ดตามแบบฟอร์ม เมื่อกลับถึงที่พัก 144

ภาคผนวกที่ 14 (ต่อ) : อุปกรณ์ตรวจสอบสัณฐานของเห็ดและแบบฟอร์มบันทึกลักษณะสัณฐานเห็ด

145

ภาคผนวกที่ 15 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพของผีเสื อกลางวัน ในเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

146

ภาคผนวกที่ 16 ภาพการปฏิบัติงานส ารวจความหลากหลายทางชีวภาพของมอท ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

147

ภาคผนวกที่ 17 พิกัดและที่ตั งแปลงตัวอย่างส ารวจพรรณพืชและเห็ดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2560

148

ภาคผนวกที่ 18 พิกัดและที่ตั งของแปลงตัวอย่างส ารวจผีเสื อกลางวัน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

149

ภาคผนวกที่ 19 พิกัดและที่ตั งของแปลงตัวอย่างส ารวจแมลงกลางคืน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

UTM WGS 1984 ZONE 47P ปที สี่ า รวจ plot forest type location E N 2555 HKK55-DD_M1 ป่าเตง็ รัง ศนู ย์มรดกโลกห้วยขาแข้ง - - 2555 HKK55-DD_M2 ป่าเตง็ รัง ศนู ย์มรดกโลกห้วยขาแข้ง - - 2555 HKK55-DD_M3 ป่าเตง็ รัง ศนู ย์มรดกโลกห้วยขาแข้ง - - 2555 HKK55-DD_M4 ป่าเตง็ รัง ศนู ย์มรดกโลกห้วยขาแข้ง - - 2556 HKK56-MD_M1 ป่าเบญจพรรณ สถานีวิจัยสัตว์ป่าเขานางร้า 531442 1711475 2556 HKK56-MD_M2 ป่าเบญจพรรณ จุดชมวิวเขานางร้า 532256 1712628 2556 HKK56-MD_M3 ป่าเบญจพรรณ ศนู ย์มรดกโลกห้วยขาแข้ง 534244 1725801 2556 HKK56-MD_M4 ป่าเบญจพรรณ หอคอยดสู ัตว์ ทที่ ้าการเขตฯ 533902 1725705 2557 HKK56-MD_M5 ป่าเบญจพรรณ หน่วยพทิ ักษป์ ่ากรึงไกร 521062 1661802 2557 HKK56-MD_M6 ป่าเบญจพรรณ หน่วยพทิ ักษป์ ่ากรึงไกร 521161 1661813 2557 HKK57-DD_M5 ป่าเตง็ รัง หน่วยพทิ ักษป์ ่าเขาบันได 522833 1684963 2557 HKK57-DD_M6 ป่าเตง็ รัง หน่วยพทิ ักษป์ ่าเขาบันได 523349 1684973 2557 HKK57-DD_M7 ป่าเตง็ รัง หน่วยพทิ ักษป์ ่าเขาบันได 526150 1683267 2557 HKK57-DD_M8 ป่าเตง็ รัง หน่วยพทิ ักษป์ ่าเขาบันได 526131 1682618 2558 HKK58-MD_M7 ป่าเบญจพรรณ หน่วยพทิ ักษป์ ่ากะปุกกะเปรียง 525648 1731344 2558 HKK58-MD_M8 ป่าเบญจพรรณ วังปลา 517861 1712481 2558 HKK58-MD_M9 ป่าเบญจพรรณ หน่วยพทิ ักษป์ ่ายางแดง 518068 1710434 2558 HKK58-DE_M2 ป่าดบิ แล้ง ถนนสุดเขาเขียว 532773 1710509 2559 HKK59-DE_M1 ป่าดบิ แล้ง หน่วยพทิ ักษป์ ่ากะปุกกะเปรียง 525648 1731344 2559 HKK59-DE_M3 ป่าดบิ แล้ง ถนนสุดเขาเขียว 532773 1710509 2560 HKK60-MD_M10 ป่าเบญจพรรณ ห้วยเหลือง 529512 1706711 2560 HKK60-MD_M11 ป่าเบญจพรรณ ห้วยเหลือง 529314 1707179

150

ภาคผนวกที่ 20 แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของแปลงตัวอย่าง (P001)

แบบบันทึกที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของแปลงตัวอย่าง (P001) ชนิดป่า(forest type)………………………………………สงั คมยอ่ ย (ถา้ จา แนกได)้ ………………………………….. แปลง (plot)...... พิกดั (coordinate)…Zone………N…………………E…………………Error...... ….. สถานท ี่(location) ...... วนั ท ี่ (date) ...... ผบู้ นั ทกึ (collector)…………………………………………………………. ความสูงเหนือระดบั น้า ทะเล(mean sea level)………………………………………………………….……………..… ความชัน (slope) ...... ทศิ ดา้ นลาด (aspect)……………………………………………………… สภาพพ้ืนท(ี่ topography)…( ยอดเขา /สนั เขา / ทลี่ าดชัน / ทรี่ าบ / แอง่ / ร่องน้า )……………………………………….. จา นวนช้นั เรือนยอด(tree layer)…………………………ช้นั ความสูงของเรือนยอดบนสุด………………....……ม. เรือนยอดช้นั บน(upper) สูง………ม. ไดแ้ ก……………………………………………………………………………่ …………………………………………………………………………………………………………………………. เรือนยอดช้นั กลาง(middle)สูง………ม. ไดแ้ ก………………………………………………………………………่ ………………………………………………………………………………………………………………………… เรือนยอดช้นั ลา่ ง(lower) สูง………ม. ไดแ้ ก………………่ .………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ไมพ้ ุม่ (shrub layer) สูง………ม. ไดแ้ ก………………………่ .………..………………...... …...... …………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… พืชคลมุ ดิน(ground cover) ไดแ้ ก………………………………………………………………………………………่ ………………………………………………………………………………………………………………………… พืชอิงอาศยั (epiphytic) ไดแ้ ก…………………………………………………………………่ .………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… หินตน้ กา เนิด (หินปนู , หินแกรนิต, หินทราย, หินดินดาน, หินทราย, หินตะกอน, หินกรวดลกู รัง)…………………… หมายเหต(ุ Remark)…………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………

151

ภาคผนวกที่ 21 แบบบันทึกข้อมูลไม้ต้นในแปลงตัวอย่างขนาด 10x10 เมตร และข้อมูลไม้หนุ่มในแปลงตัวอย่าง ขนาด 4x4 เมตร (P002) forest type………………………………….stand………………………….location………………………………………………….. Tree Sapling plot species DBH/GBHheight remark plot species count remark 152

ภาคผนวกที่ 22 แบบบันทึกข้อมูลไม้ต้นในแปลงตัวอย่างขนาด 10x10 เมตร และข้อมูลท า profile (P003)

st ชนิดพนั ธุ์ GBH total height1 branchความกวา้ งเรือนยอด (m) พิกดั (m) plot subplot remark (species) (cm) (m) (cm) N S E W X Y 153

่ า ป ท ภ

เ ะ ร ป (forest (forest type)

ม ไ พ า ณ ร ภ ร น พ า อ (status) ถ ห ส น า ง ก ั น

า ั ย ส ิ ส ว (habit) ...... ั ด ว ห ง ั จ ์

ศ ง ว ี ช (Family) ั ญ

) . บ ผ ะ ส ล

(

)

น Threatened Plants in Thailand Threatened in Plants Thailand

ม ค ......

) 04 ้ อ ็ น อ 2

( 0 ล ป ภ ้

เ P ด )

ม ( า จ ว

ไ ว อ แ น ณ ร ิ ่ ง ร ห า ส ั ร ว ส ะ ง ต พ ล ( ล อ ์ ิ แ ป ห ต ท แ า น น ั ก ช า ิ น ง อ ม ) ิ ต ก ั ร ์ น จ ม ร ร ะ น ว ส ธ า ต ล ์ ร

...... ร ส ส า แ ็ ม ท ล

ก า ส จ ต น ั า ย บ เ ศ ร ว

า ิ ย น า ท า ร ย ไ ิ ต ต พ ั า ย ก ศ ท ร ม ส ล ิ ท ไ ง ส ท ท ว ผ เ ศ

ล ื ่ อ น ะ น ็ ม ท ป เ ช ร ผ า ต ง ะ แ เ แ (scientific (scientific name) ป

ร ย ะ ง น ย ้ ใ า ป ล อ ร ่ ง ม ท แ ข ไ ไ ร ห ย ก า

ศ านผลการส ารวจบัญชีรายชื่อพรรณไม้ ณ ้ แ า า ก ท ร ม ย บ เ ร ไ น า ะ ย ้ ใ พ โ ร ณ ห ช ก ร น ใ ื ช ป ร ย ่ ง น บ ั พ ้ แ

พ า ร ห ) ง ื อ ห ้ แ ห 1 ้ ใ ก ั ( ส า ม

ม ไ ง ั น ส จ ไ ) ื อ า น ว ม ณ ง ์ ส ณ ส ร ร ร า ห ั ง ญ ั ร า ร อ ...... ล ก ม ร น ี ่ ส ่ า า พ ก ฟ า พ ห า ี ่ ท จ ื อ ์ ป บ ส จ

ว ส าหรับใช้ในการรายงส ส ษ ท ื ่ อ บ ว า ป ง ั ง า ั ต ช Plants ร ไ แ จ : ้ อ น ส ภ า ั ่ ว ู ล ( ่ า ท ห ส ท ม ล ม ม ู ล ย ้ อ ม า า ม ด ้ ข ้ า ต ต โ ้ อ 006 ช ่ ง ห ก ก ้ ใ ี ข P ( ต ย บ ี ) ย ี ช ห

ร ข

แ บันทึกข้อมูล ร ใ ค

เ ง เ ี ่ เ

ั ญ ร

า ง / ื อ ้

ท า พ บ ิ ื ่ า ภ อ ม ม ง า ้ ก เ ั ญ ู ม ม ไ

์ ป แบบ า เ ช ภ ื ม

ว ภ ใ ร ณ ื น า

น 3 ั ต พ า ม ร พ ส า

ั ย 2 ส ื ่ อ า ุ ์ ต ร ื ่ อ ื ่ อ ถ ิ ส ธ ช ต . Red Data Thailand พ ( ช ช ว ส ั น 1 ) ื ่ อ ุ . . . . พ 3 ช ต 2 3 4 5 ( า ย ี ่

ห า ษ เ ท ี ร ก ั ย ั บ ร ช า ด ต ั ญ ม (no.) า

ข ภาคผนวกที่ บ เ ห ล 154

ั ญ

า ส ม (IV) า ว ค ่ า ค ์

ธ ั ท พ ั ม ส ่ น ด (Rdo) เ ม า ว ค ์

ธ ั ท พ ั ม ส น ่ น แ (RD) า น ห ม า ว ค ี ่ ถ ม า (F) ว ค

่ น ด เ ม (Do) า ว ค

ั ด ต า ้ น ี ่ ห ท ื น พ (BasalArea)

น ่ น แ า น (D) ห ม า ว ค ์

ศ ง ...... ว ั ด (Family) ว ห ง ั

)

ื ่ อ ช ั ง ู ้ ต

P005 ( (Author name) (Author

ด ิ น ...... ช ุ อ บ ภ ะ เ ร

า อ ค (specefic epithet) (specefic ) . var

ย ื อ อ ่ ร ย ห ั บ . ด ะ ร ...... subsp ( ล บ

า ต

ื ่ อ ช ั ง ู ้ ต

ผ ลายด้านพืชจากการส ารวจในพื นที่ (Author name) (Author )

007 ด ิ P ( น

ช ุ ี ่ บ ท ะ ื น ร

า พ ค น ใ จ (specefic epithet) (specefic ว ร 4

า ุ ล ส ก ร า ส ก ื ่ อ ...... ก ช า ่ (Genus) า ์ ป จ 3 ว ื ช ) ั ต ง พ ั า ส ญ น ่ า ล ม ้ า ล า ก

ด ตารางข้อมูลความหลากห า ม

ย า ้ ื ่ อ ษ า า ช

ห 4 ล ต ภ ห

( 2 ข เ ก / 2 า )

า ่ ล ง ค ์ ป ห ื า อ ว ม ม ิ ภ ั ต เ า ม ู ุ ์ ส ว ื น ธ ภ ค พ ั ม น ู ล ื ่ อ า พ ม ช ต า ้ อ ( ี ่ ษ ข ท ง ั ก า ร ั บ ร ต ด

า ภาคผนวกที่

ข (no.) า ต เ ล 155

หมายเหตุ ท้ายตารางข้อมูลความหลากหลายด้านพืชจากการส ารวจในพื นที่ (P007) 1. ตารางข้อมูลแบบ Excell 2. ชื่อพื นเมืองเรียกตามท้องที่ที่ส ารวจ 3. ชื่อสามัญที่เรียกโดยทั่วไป จากหนังสือพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์ (ตัวหนา) 4. ชื่อพฤกษศาสตร์แบ่งเป็น 3 ช่อง (ชื่อสกุล, ค าระบุชนิด และชื่อผู้ตั ง) กรณีเป็นชนิดย่อยให้ใส่ใน 5. วิสัย ใช้การแบ่งตามหนังสือพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์ 6. สถานภาพ ให้ใช้ข้อมูลจากหนังสือ (1) พืชหายากของประเทศไทย ส านักงานหอพรรณไม้ (2) Threatened Plants in Thailand ส านักงานหอพรรณไม้ (3) Thailand Red Data:Plants ส านักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) 7. ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางและความสูงวัดเฉพาะไม้ต้นที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเกินกว่า 100 เซนติเมตร 8. ให้แยกการส ารวจแต่ละครั งเป็นคนละ sheet รวมอยู่ในไฟล์เดียวกัน

156

Picture

none

6 NT

5 VU

4 EN Status 3 CR

2 EW

1 EX

Local name Local

(E) Common Name Common

Author name Author

)

6 00 P

Species

) 008 P

(

ื ช พ Genus น

า ิ ธ ว ม ร ก ุ น อ ู ล ม ้ อ ข Family น

า ตารางบันทึกข้อมูลฐานข้อมูลอนุกรมวิธานพืช(

ล 5

ม 2 ้ อ ข ึ ก ท ั น บ ง Order Order า ร

า ภาคผนวกที่ ต 157

หมายเหตุ ท้ายตารางบันทึกข้อมูลฐานข้อมูลอนุกรมวิธานพืช (P008) 1. EX (Extinct) = สูญพันธุ์ 2. EW (Extinct in the wild) = สูญพันธุ์ในธรรมชาติ 3. CR (Critically Endangered) = ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง 4.EN ( Endangered) = ใกล้สูญพันธุ์ 5.VU ( Vulnerable) = มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 6. NT (Near threatened) = ใกล้ถูกคุกคาม

158

ุ ต ห เ ย า ม ห ็ บ ก ู ้ เ ผ ศ ร พ ต เ ม เ ...... ั ด ว ห ง ั จ ...... ) ี ่ ………………… ์ MSL ท ( ศ ง

ง ู ง ล ว ส ป ม แ (Family) า

......

อ ั น ว ภ ู ...... เ ง ด า า ฤ อ ล ก ื อ ส ี เ ผ ู ล ม ้ อ ข ึ ก ์ ท ร ั น ต ......

บ ส )

ล า 1 ศ บ ี ่

า า ท ย ต UTM ง ( ิ ท

า ว ร ั ด า ื ่ อ ิ ก ต ช พ

(Scientific Name) (Scientific

) 1 ...... ็

ตารางที่ ( ก ี ่ เ ท ั น ว

...... ่ า ญ ั ) ป ม ย ด ิ

า ผีเสื อกลางวัน ท น ส ไ ช ( ื ่ อ ...... ี ่ ช ท น า ถ

แบบบันทึกข้อมูล

บ 6 ก

เ 2 า ล ว เ ั

บ คผนวกที่ ด

ล ภา 159

ุ ต ห เ

ย า ม ห ์ ศ ง ว ี ่ ร (Family) อ ต ร เ ต ต ม บ เ แ ู ...... ด .....

ฤ า ้ ...... ฟ ์ น ู ง ร ฟ ...... ส ต ไ ด ั ส 00 ม . า ว า ศ ห ว า ...... 06 ง ั ค

ย จ า ฟ ิ ท ล ไ ว ว ิ ด ื ่ อ เ ช น เ า (Scientific Name) (Scientific ก ่ ง ล ห แ

) ญ ั ) ม ย ...... า ี ่ ...... ท ส อ ไ ท ( ื ่ อ ี ่ ...... ภ น ั เ ช ท ว า ง

อ ล ะ ป ล แ แ ( .

็ บ

น ก ู ้ เ ฟ ไ ...... ผ ) ง 00 . ส แ 21 ั ก น UTM - ว ด (

น ั บ ั ด

ก ) 00 ก จ ิ .

ก 2 พ า 19 จ

า ง า ล ล ล ว ม เ ว เ

ตารางที่ ( ล

ม พ ้ อ า ข ภ ึ ก ั ส ห ท ร ั น บ ...... ) ่ า ม ี ่ 2 ...... ี ่

ป แมลงกลางคืน

ซ ท ( ิ ด ี ่ ...... ท

น ง น ท ย า า x ช น ั ถ ร ก ว ส า ต ง ล

ม แบบบันทึกข้อมูล

ิ ด 7

น 2 ช ั

บ คผนวกที่ ด

า ภา ล 160

ภาคผนวกที่ 28 แบบบันทึกข้อมูลบัญชีรายชื่อผีเสื อกลางวัน (ตารางที่ 3)

ตารางท ี่ 3 บญั ชีรายชื่อผเี สอื้ กลางวัน พ.ศ...... ชนิดปา่ ...... เขตรักษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ ...... จงั หวัด...... ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จา นวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 161

ภาคผนวกที่ 29 แบบบันทึกข้อมูลบัญชีรายชื่อมอท (ตารางที่ 4)

ตารางท ี่ 4 บญั ชีรายชื่อผเี สอื้ กลางคนื พ.ศ...... ชนิดปา่ ...... เขตรักษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ ...... จงั หวัด...... ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จา นวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 162

ภาคผนวกที่ 30 แบบบันทึกข้อมูลบัญชีรายชื่อด้วง

ตารางท ี่ 5 บญั ชีรายชื่อดว้ ง พ.ศ...... ชนิดปา่ ...... เขตรักษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ ...... จงั หวัด...... ลา ดบั ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ จา นวน(ตวั ) (ไทย) (Scientific Name) (Family) ฤดฝู น ฤดรู ้อน 163

ภาคผนวกที่ 31 แบบบันทึกข้อมูลสัณฐานวิทยาของเห็ด 164

์ ส

ิ ม

ื ่ อ

ู ป

ี ่

้ า

ิ ก

ป่าอนุรักษ์

ิ ด

ื ช

/

ั ส

ิ ่

ื ่ อ

ู ้

ื ่ อ

ื ่ อ

ื ่ อ

บันทึกข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดในพื นที่

ิ ด

ื ่ อ

แบบตาราง

2

3

ี ่

ล ภาคผนวกที่